Aw7forsemi

Page 1


เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7 เรื่อง พัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึกทางปญญา ระหวางวันที่ 6 - 7 พฤศจิกายน 2551 ณ หองคอนเวนชั่น โรงแรมแอมบาสซาเดอร ถนนสุขุมวิท ซอย 11 กรุงเทพมหานคร

สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7 เรื่อง พัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึกทางปญญา ระหวางวันที่ 6 - 7 พฤศจิกายน 2551 ณ หองคอนเวนชั่น โรงแรมแอมบาสซาเดอร ถนนสุขุมวิท ซอย 11 กรุงเทพมหานคร

จำนวนพิมพ

700 เลม

จัดพิมพเผยแพร : สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 328 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2610-5452-3 โทรสาร 0-2354-5530, 0-2354-5491

พิมพที่

: หางหุนสวนจำกัดภาพพิมพ 296 ซอยจรัญสนิทวงศ 40 ถนนจรัญสนิทวงศ บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท 0-2433-0026-7, 0-2433-8586 โทรสาร 0-2433-8587

ผูพิมพผูโฆษณา ภาพปก

: นายอนันต ศรีฉ่ำพันธ : หจก.ภาพพิมพ


สารบัญ 1. โครงการ 2. กำหนดการ 3. เอกสารประกอบการอภิปรายและบรรยาย 3.1 เอกสารประกอบการอภิปราย เรื่อง การบูรณาการศาสตรเพื่อการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย l การพัฒนาเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยเขตภาคกลาง โดย ศาสตราจารยศุภมาศ พนิชศักดิ์พัฒนา l การบูรณาการศาสตรผานเครือขายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย โดย ดร.มานิต บุญประเสริฐ l แนวคิดพื้นฐานเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู โดย ผูชวยศาสตราจารยกิตติภูมิ มีประดิษฐ 3.2 เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง รูปแบบการพัฒนาบัณฑิตแบบองครวม (Whole Person Development) : กรณีศึกษาจาก Lingnan University l The “Spine” of the Curriculum : General Education Precisely Defined โดย Professor Eugene Eoyang Chen 3.3 เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง Integrated Learning Program (ILP) การผลิตบัณฑิตแบบองครวม l Integrated Learning Program (ILP) การผลิตแบบองครวม : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน โดย รองศาสตราจารยสุภาพ ณ นคร 3.4 เอกสารประกอบการอภิปรายระดมความคิดเห็น l การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย โดย รองศาสตราจารยวศิน อิงคพัฒนากุล l การสรางรายวิชาคุณธรรมผานกระบวนการบูรณาการศาสตร โดย ผูชวยศาสตราจารยชวลิต โอฬาพิริยกุล 3.4 เอกสารประกอบการนำเสนอแนวทางการพัฒนาศาสตรแหงบูรณาการ ผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย l ทศวรรษหนากิจการนักศึกษาเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ โดย อาจารยจิรวัฒน วีรังกร 4. บทความทางวิชาการ l ผลึกแหงปญญา โดย รองศาสตราจารยศุภฤกษ สินสุพรรณ

1 4 7 7 9 17 23 35

37 45 47

49 51 59 71 73

81



โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7 เรื่อง พัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึกทางปญญา ระหวางวันที่ 6 - 7 พฤศจิกายน 2551 ณ หองคอนเวนชั่น โรงแรมแอมบาสซาเดอร ถนนสุขุมวิท ซอย 11 กรุงเทพมหานคร หลักการและเหตุผล สถาบันอุดมศึกษาทุกแหงมีพันธกิจในการใหการศึกษาชั้นสูงทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ การจัด ฝกอบรม และพัฒนาทักษะที่เปนความตองการในการพัฒนาทองถิ่น ชุมชน และประเทศชาติ มีการศึกษาวิจัย และพัฒนาองคความรูที่กอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม พัฒนาและถายทอดเทคโนโลยี จัดบริการ ทางวิชาการ และ ทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม ซึ่ง สำนักงาน คณะกรรมการ การ อุดมศึกษา เปน หนวยงาน ที่ มีหนาที่ใหการสงเสริมสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาไดดำเนินงานตามภารกิจดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล โดยเฉพาะ การพัฒนาคุณภาพ ของ ทรัพยากร บุคคล ใหมีคุณภาพ สมบูรณพรอม ทั้งดาน วิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม และเปนผูนำสังคมที่ดีได สามารถอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข ตามแนวของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ตลอดจนมาตรฐานการศึกษาของชาติที่ไดกำหนด คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงคทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก โดยเปาหมายของการจัดการศึกษา อยูที่การพัฒนาคนไทยทุกคนใหเปน “คนเกง คนดี และมีความสุข” มีการพัฒนาที่เหมาะสมกับชวงวัย และ มาตรฐานการอุดมศึกษาที่กำหนดเปาหมายในการผลิตบัณฑิตดังนี้ “บัณฑิตระดับอุดมศึกษาเปนผูมีความรู มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรูและการพัฒนาตนเอง สามารถประยุกตใชความรูเพื่อ การดำรงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุขทั้งรางกายและจิตใจ มีความสำนึกและความรับผิดชอบในฐานะ พลเมืองและพลโลก” กอปรกับที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดทำกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบั บ ที ่ 2 ( พ. ศ. 2 5 5 1 - 3 5 6 5 ) ได กำหนด เป า หมาย ของ กรอบ คื อ การ “ ยกระดั บ คุ ณ ภาพ อุ ด มศึ ก ษา ไทย เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพสูตลาดแรงงานและพัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสรางความรู และนวัตกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศในโลกาภิวัตน รวมทั้งการพัฒนาที่ยั่งยืน ของทองถิ่นไทย โดยใชกลไกของธรรมาภิบาล การเงิน การกำกับมาตรฐาน และเครือขายอุดมศึกษาบนพื้นฐาน ของเสรีภาพและวิชาการ ความหลากหลาย และเอกภาพเชิงระบบ” สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาบัณฑิตใหเปนผูที่ มีคุณภาพพรอมสมบูรณทั้งดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม เปนสำคัญมาอยางตอเนื่อง โดยได สงเสริมสนับสนุนและดำเนินงานโครงการบัณฑิตอุดมคติไทยอยางเปนรูปธรรมตั้งแตป 2540 เพื่อการเรงรัด พัฒนาศักยภาพนิสิตนักศึกษาซึ่งเปนทรัพยากรบุคคลที่สำคัญยิ่งใหมีความรูควบคูกับการมีคุณธรรมจริยธรรม เปนบัณฑิตอุดมคติไทยที่มีทั้งความเกง ความดี และความสามารถรับผิดชอบตอตนเอง ตอองคกร และสังคม โดยสวนรวม สามารถออกไปใชชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุขเพื่อเปนกำลังสำคัญของการพัฒนาประเทศ


2 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

และยังไดกำหนดเปาหมายในการเรงรัดการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยโดยการพัฒนารูปแบบการสั่งสอนและ การเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม ใหมีการปฏิบัติอยางเหมาะสมในสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งจัดตั้งเครือขาย การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ที่มีเปาหมายในการดำเนินงานใหครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศไดอยางรวดเร็วและ มีความคงอยูอยางยั่งยืน เพื่อใหการพัฒนาบัณฑิตกาวไปสูความเปนบัณฑิตอุดมคติไทยอยางแทจริง และเปนการประกัน คุณภาพบัณฑิตใหมีความรูควบคูกับการมีคุณธรรม จริยธรรม ตามเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรฐาน การศึกษาของชาติ มาตรฐาน การอุดมศึกษา และกรอบแผนอุดมศึกษา ระยะยาว ฉบับที่ 2 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงจัดใหมีการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 7 เรื่อง “พัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึกทางปญญา” ขึ้น

วัตถุประสงค 1. เพือ่ เผยแพรแนวคิดและทิศทางการดำเนินงานการพัฒนาบัณฑิตอุดมศึกษาไทยตามแนวการพัฒนา ศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึกทางปญญา 2. เพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยตาม แนวการพัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึกทางปญญา 3. เพื่อสงเสริมและพัฒนาความรวมมือของเครือขายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย

กิจกรรมดำเนินการ 1. กระแส (Theme) ของการประชุมวิชาการครั้งนี้ ไดแก “พัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขาย บัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึกทางปญญา” 2. กิจกรรมการบรรยายและการอภิปราย ในประเด็น “ทิศทางการพัฒนาบัณฑิตไทยตามแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป” “การพัฒนาสังคมไทยผานการอุดมศึกษา” “การบูรณาการศาสตรเพื่อการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย” “เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสังคมแหงความสุข” “รูปแบบการพัฒนาบัณฑิตแบบองครวม (Whole Person Development) : กรณีศึกษาจาก Lingnan University” “จิตปญญาศึกษากับการพัฒนาสังคมไทย” “Integrated Learning Program (ILP) การผลิตบัณฑิตแบบองครวม” “การผลิตบัณฑิตเพื่อสังคมไทยในเวทีโลก”


3 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

กลุมเปาหมาย จำนวนประมาณ 600 คน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผูบริหารสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผูบริหารสถาบันอุดมศึกษา คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา นิสิตนักศึกษา ผูสนใจทั่วไป อนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย เจาหนาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

วัน เวลา สถานที่ วันพฤหัสบดีที่ 6 และวันศุกรที่ 7 พฤศจิกายน 2551 ณ หองคอนเวนชั่น โรงแรมแอมบาสซาเดอร ถนนสุขุมวิท 11 กรุงเทพมหานคร

ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. บุ ค ลากรในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาได ร ั บ รู  ร ั บ ทราบแนวคิ ด และทิ ศ ทางการดำเนิ น งานการพั ฒ นา บัณฑิตอุดมคติไทยตามแนวการพัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึก ทางปญญา 2. สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาได แ นวทางในการกำหนดทิ ศ ทางการขยายผลและพั ฒ นาการดำเนิ น งาน พัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยตามแนวการพัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึกทางปญญา 3. สถาบันอุดมศึกษาในเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย มีความรวมมือกันในการแลกเปลี่ยนองคความรู ประสบการณ และการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม

หนวยงานที่รับผิดชอบ สำนั ก มาตรฐานและประเมิ น ผลอุ ด มศึ ก ษา สำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กระทรวง ศึกษาธิการ


กำหนดการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7 เรื่อง พัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย : สูการตกผลึกทางปญญา ระหวางวันที่ 6 - 7 พฤศจิกายน 2551 ณ หองคอนเวนชั่น โรงแรมแอมบาสซาเดอร สถนนสุขุมวิท ซอย 11 กรุงเทพมหานคร

วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน 2551 เวลา 08.00 – 09.00 น. 09.00 – 09.30 น.

09.30 – 10.30 น. 10.30 – 10.45 น. 10.45 – 12.00 น.

ลงทะเบียน พิธเี ปด และบรรยายพิเศษ เรือ่ ง ทิศทางการพัฒนาบัณฑิตไทยตามแผนพัฒนา อุดมศึกษาระยะยาว 15 ป โดย รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กลาวรายงาน โดย ผูอำนวยการสำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา การบรรยาย เรื่อง การพัฒนาสังคมไทยผานการอุดมศึกษา โดย ศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน รับประทานอาหารวางและเครื่องดื่ม อภิปราย เรื่อง การบูรณาการศาสตรเพื่อการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย โดย ศาสตราจารยศุภมาศ พนิชศักดิ์พัฒนา ดร.มานิต บุญประเสริฐ ผูชวยศาสตราจารย ดร.กิตติภูมิ มีประดิษฐ ดำเนินการอภิปรายโดย ดร.จิรวัฒน วีรังกร

12.00 – 13.00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.30 น.

การบรรยาย เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสังคมแหงความสุข โดย อาจารยวิวัฒน ศัลยกำธร ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ รับประทานอาหารวางและเครื่องดื่ม การบรรยาย เรื่อง จิตปญญาศึกษากับการพัฒนาสังคมไทย โดย พระธรรมโกศาจารย อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

14.30 – 14.45 น. 14.45 – 16.30 น.


5 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

วันศุกรที่ 7 พฤศจิกายน 2551 เวลา 09.00 – 10.30 น.

10.30 – 10.45 น. 10.45 – 12.00 น.

การบรรยาย เรื่อง รูปแบบการพัฒนาบัณฑิตแบบองครวม (Whole Person Development) : กรณีศึกษาจาก Lingnan University โดย Phofessor Eugene Eoyang Chen สรุปโดย ผูชวยศาสตราจารยณยศ ครุกิจโกศล รับประทานอาหารวางและเครื่องดื่ม การบรรยาย เรื่อง Integrated Learning Program (ILP) การผลิตบัณฑิต แบบองครวม : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน โดย รองศาสตราจารยสุภาพ ณ นคร

12.00 – 13.00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.15 น.

การบรรยาย เรื่อง การผลิตบัณฑิตเพื่อสังคมไทยในเวทีโลก โดย ดร.บุญเกียรติ โชควัฒนา กรรมการผูอำนวยการ บริษัท ไอซีซี อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) รับประทานอาหารวางและเครื่องดื่ม เปดอภิปรายระดมความคิดเห็น โดย รองศาสตราจารย นพ.อำนาจ อยูสุข รองศาสตราจารย ดร.วศิน อิงคพัฒนากุล ผูชวยศาสตราจารย ชวลิต โอฬาพิริยกุล สรุปผลการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7 และนำเสนอแนวทาง การพัฒนาศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย โดย รองศาสตราจารยสุภาพ ณ นคร ดร.จิรวัฒน วีรังกร

14.15 – 14.30 น. 14.30 – 15.45 น.

15.45 – 16.30 น.

สนใจเขารวมการประชุมวิชาการระดับชาติฯ ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 02-610-5452-3



เอกสารประกอบการอภิปราย เรื่อง การบูรณาการศาสตรเพื่อการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย



การพัฒนาเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยเขตภาคกลาง ศาสตราจารย ดร.ศุภมาศ พนิชศักดิ์พัฒนา*

หากมอง ยอนหลังถึงตอน เริ่มตนของ เครือขายสถาบันอุดมศึกษาภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิต อุ ด มคติ ไทย แล ว ผู  ร  ว มงาน หลาย ท า น คง นึ ก ขอบคุ ณ สกอ. ที ่ ได เป น ผู  คิ ด ริ เ ริ ่ ม ให มี เครื อ ข า ย นี ้ ขึ ้ น มา เมือ่ ป พ.ศ. 2545 เพราะในทายทีส่ ดุ ในปน้ี (พ.ศ. 2551) เมือ่ เครือขายตองเผชิญกับความไมแนนอนของงบประมาณ และการดำเนินการ เราตางมองตา และถามกันวา “เราจะทำอยางไรตอไป” คำถามเชนนี้ บงบอกถึงความหวงใยและการมองเห็นประโยชนของเครือขาย ที่ไดเปนศูนยกลาง แหงแรงผลักดันใหงานบัณฑิตอุดมคติไทยในหลาย ๆ สถาบัน ไดพัฒนาขึ้นอยางเปนรูปธรรม ไมวาจะเปนการ พัฒนารายวิชาศึกษาทั่วไป การสอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และกิจกรรมนักศึกษานอกชั้นเรียน รู ป แบบการพั ฒ นางานบั ณ ฑิ ต อุ ด มคติ ไ ทยโดยเครื อ ข า ยเช น นี ้ นั บ เป น เอกลั ก ษณ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น ได ก็ดวยการ “เกื้อหนุน จุนเจือ เอื้อเฟอ และแบงปนประสบการณ” รวมกันโดยแท เมื่อถึงตอนนี้ ทำใหเรานึกถึงคำถามเมื่อตอนเริ่มเครือขายโดย สกอ. วา “เครือขาย ? มีไปทำไม?”

กอนมาเปนเครือขาย เมื่อป พ.ศ. 2545 ผูเขียนดำรงตำแหนงรองอธิการบดีฝายวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซึ่งมหาวิทยาลัยไดประกาศเจตนารมณใหประชากรของมหาวิทยาลัยไดทราบโดยทั่วกันวา “นิสิตคือหัวใจของ มหาวิ ท ยาลั ย ” ดังนั้นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจึงใหความ สำคัญดานการพัฒนานิสิตเปนอยางมาก ทัง้ โดยการทุม เทงบประมาณและวางแผนการดำเนินกิจกรรม โดยเนนการเรียนรูตลอดชี  วติ เห็นไดจากการเรงรัด พัฒนาระบบ ICT จนกระทั่งในเวลาตอมา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดชื่อวา เปนมหาวิทยาลัยชั้นนำ ของชาติดาน ICT และยังเห็นไดจากการปรับปรุงสำนักหอสมุดใหเปน “หองสมุดที่มีชีวิต (Living Library)” ที่ไดรับการกลาวขานถึง และมีผูมาขอเยี่ยมชมเปนประจำ นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยยังมีโครงการ “บัณฑิต ยุคใหม” ซึ่งนิสิตใหมทุกคนตองเขารวมกิจกรรม โดยคณาจารยที่ดำเนินกิจกรรมจะไดรับปริมาณงานเพิ่มเติม แตในขณะนั้นยังไมไดมีการขับเคลื่อนอยูหลายดาน เชน การเพิ่มจำนวนและการพัฒนาบุคลากร ผูรับผิดชอบ กิจกรรมนิสิต ชมรมนิสิต สโมสรนิสิต อาจารยที่ปรึกษาชมรม และใบรายงานผล (transcript) กิจกรรมนิสิต

*

ประธานคณะกรรมการประสานกิ จ เครื อ ข า ยบั ณ ฑิ ต อุ ด มคติ ไ ทยเขตภาคกลาง พ.ศ. 2545-2551, คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจกั ร กรุงเทพ 10900 และคณะอนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา


10 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

“เครือขาย ? มีไปทำไม?” สกอ. ไดแบงเครือขายสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยออกเปน 6 เครือขาย โดยในเขตภาคกลางไดกำหนดใหมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเปนสถาบันแมขาย และไดกำหนดวัตถุประสงค ในการดำเนินการ เพื่อกอใหเกิด... l การเรียนรูรวมกัน l การพัฒนานิสิตนักศึกษาใหเปนบัณฑิตที่พึงประสงคของประเทศ l ความรวมมือระหวางสถาบัน

ในการดำเนินการในปแรก สกอ. ไดใหงบประมาณมา 170,000 บาท ซึ่งเมื่อดูตามวัตถุประสงค แลว ก็เปนเรื่องยากลำบากที่จะดำเนินการใหลุลวงได เพราะจำนวนสถาบันในเครือขายที่ สกอ. กำหนด มีเปนจำนวนมากถึง 96 สถาบัน ตอมาลดลงเหลือ 84 สถาบัน ครอบคลุม 12 จังหวัด โดยเฉพาะอยางยิ่ง วัตถุประสงคการพัฒนานิสิตนักศึกษาใหเปนบัณฑิตที่พึงประสงคของประเทศนั้น จากจำนวนนิสิตนักศึกษา เปนแสนคนแลว สกอ. ใหงบประมาณมาเพียงหัวละประมาณ 1 บาท แลวเราจะเอาตัวรอดไดอยางไร แถมตอนประชุมกัน เราก็อยากใหเครือขายนี้ ยั่งยืน ปกติ เครือขายหลายเครือขาย เกิดขึ้น แลวก็รอแบงเคก เคกหมดก็เลิกกัน นี่เคกก็ไมมี ไมมีเคก งานนี้ ทำเพื่อชาติโดยแท แตใหยั่งยืน และทุกสถาบันตองมีสวนรวม และตองยั่งยืน เราจะทำอยางไร??? ทายที่สุด เราบอกกันวา เราจะเสียสละรวมกัน ลงขันกัน สถาบันละ 3,000 บาท ซึ่งควรจะไดเงินปละ ประมาณ 250,000 บาท รวมกับงบที่ไดจาก สกอ. ก็จะมีงบดำเนินการปละประมาณ 420,000 บาท โดยทุกป เรากำหนดใหมีประชุมวิชาการ หมุนเวียนกันเปนเจาภาพ มีงบประมาณให 30,000 บาท ใหเจาภาพไดรับเกียรติ ประกันการขาดทุนเอาเอง (ซึง่ เราไดรบั ความรวมมืออยางดีใน 5 ปทีเรา ่ ไดรบั งบประมาณเทานี้ มีสถาบันทีรั่ บเปน เจาภาพคือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ป 2545-2546, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ป 2547, มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา ป 2548, และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ป 2549) งบสวนที่เหลือ เราจะชวยกันคิดวา แตละป เราจะทำอะไร เราตางใหสัญญากัน (ทั้งที่ไมคอยแนใจนัก) วา เราจะรวมกันอยางนี้แหละ และจะตองยั่งยืน


11 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

มี ก ารดำเนิ น การ โดยคณะกรรมการหลั ก 1 ชุ ด คื อ คณะกรรมการประสานกิ จ เครื อ ข า ยฯ และ มีคณะอนุกรรมการ 3 ชุด คือ 1. คณะอนุกรรมการดำเนินกิจกรรมการสรางรายวิชาและการจัดการเรียน การสอนในหมวดวิชา ศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนานิสิตนักศึกษา 2. คณะอนุกรรมการดำเนินกิจกรรมการสอนที่มุงเนน ความรูคูคุณธรรม และการสอดแทรกจริยธรรม ในการสอน 3. คณะอนุกรรมการดำเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนานิสิตนักศึกษานอกชั้นเรียน ในการประชุมครัง้ แรก ไดมีการเลือกสถาบันใหมาเปนคณะกรรมการประสานกิจ 30 สถาบัน สถาบันทีเ่ หลือ ใหมีสวนรวมในคณะอนุกรรมการโดยสมัครใจ และเรากำหนดวาระกรรมการใหทำงาน 2 ป ต อ มา สกอ. ได ก รุ ณ าให ง บประมาณในป 2550 เป น เงิ น 4.5 ล า นบาท และป 2551 เป น เงิ น 5 ลานบาท ทำใหสามารถดำเนินกิจกรรมไดเปนอยางดี โดยเฉพาะอยางยิ่งกิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา นอกชั้นเรียน และสามารถเพิ่มงบการประชุมวิชาการได โดยสถาบันเจาภาพในป 2550 คือสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข และป 2551 คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การเรียนรูรวมกัน และความรวมมือระหวางสถาบัน เครือขายที่ประสบความสำเร็จนั้นนาจะเริ่มที่ สมาชิกตางมีปญหาคลายคลึงกัน และมีเปาหมาย เดียวกัน ทำงานรวมกัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู ใชการจัดการความรูใหเกิดประโยชน มีความเปนกัลยาณมิตร และไมเปนเครือขายของการแบงเคก สำหรับในสวนของเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยนั้น ปจจัยสำคัญของความสำเร็จอีกประการหนึ่ง คือ มีความหลากหลายของสถาบันในเครือขาย เชน เครือขายภาคกลางมีสถาบันของรัฐ 26 สถาบัน (31%) เอกชน 28 สถาบัน (33 %) และอื่นๆ อีก 30 สถาบัน (36%) ซึ่งก็คือสถาบันดานวิชาชีพ และสวนใหญสังกัด กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงกลาโหม สถาบันเหลานีมี้ เอกลักษณดานการเรียนการสอน และการฝกอบรม นิสิตนักศึกษาที่นาสนใจและมีเสนหกวาสถาบันในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการอยูมาก ไมมีงบประมาณสนับสนุนจากกระทรวงสาธารณสุข และจากกระทรวงกลาโหม เขาใจวายังไมมี การประสานงานในการดำเนินการของเครือขายรวมกันจากกระทรวงศึกษาธิการ


12 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

แต ล ะวาระของคณะกรรมการประสานกิ จ ได จ ั ด ให ม ี ก ารเยี ่ ย มชมกิ จ กรรมเพื ่ อ พั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ที่พึงประสงค เชนที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง มหาวิทยาลัย ขอนแกน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และยังไดเดินทางไปดูงานที่มูลนิธิฉือจี้ ไตหวัน นอกจากความรูที่ไดรับ จากการเยี่ยมชมแลว ยังไดเกิดความคุนเคยระหวางกัน ทำใหความรวมมือระหวางสถาบันเปนไปอยางดียิ่ง

การบูรณาการในการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย จากการทำงาน รวมกันในเครือขาย ทำใหไดทราบทั้งสถานภาพ และกิจกรรม ของ แตละสถาบัน ทำใหไดเรียนรูรวมกันวา จำเปนจะตองกำหนดเอกลักษณและคุณลักษณะที่พึงประสงคของบัณฑิตแตละ สถาบัน ซึ่งการจะใหถึงพรอมคุณลักษณะดังกลาว จำเปนตองบูรณาการจากการเรียนการสอน (โดยเฉพาะ อยางยิ่งในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป) การสอนสอดแทรก และกิจกรรมนอกชั้นเรียน ลักษณะเดนของ เครือขายก็คือ การมีกิจกรรม เครือขาย ที่สมาชิกเครือขายตองชวยกันคิดและ ทำรวมกัน มิไดใชคำวาเครือขายเพื่อแบงเคก แลวตางคนตางทำ จึงเกิดการเรียนรูรวมกัน และพึ่งพาอาศัยกัน ทั้ง 3 อนุกรรมการ มีโครงการดี ๆ มากมายเกิดขึ้นและไดเรียนรูรวมกัน เชน l

l l

การสรางเสริมประสบการณและแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา นิสิตนักศึกษา การสรางและพัฒนากิจกรรมของรายวิชาศึกษาทั่วไปของสถาบันในเครือขาย การบรรยายพิเศษเกี่ยวกับหลักการในการพัฒนารายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป


13 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

l l

l l l l l l l l l

l l l l

การดำเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป การจัดทำซีดีรวบรวมรายวิชาศึกษาทั่วไปที่มุงเนนกิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษาของสถาบัน อุดมศึกษาเครือขายเขตภาคกลาง การฝกอบรมเทคนิคการสรางรายวิชาเพื่อเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมแกนิสิต การฝกอบรมเทคนิคการสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม การจัดทำหนังสือรวบรวมประสบการณการสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม การประชุมสัมมนาการสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในระดับอุดมศึกษา โครงการเพื่อนเยี่ยมเพื่อนในสถาบันที่เปนแบบอยางของการสอนที่มุงเนนความรูคูคุณธรรม การฝกอบรมเทคนิคการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมในการสอน การสัมมนาเพื่อหาวิธีการสอนและหลักที่เหมาะสมเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม รูปแบบการจัดกิจกรรมรับนองใหมเชิงสรางสรรค การ สร า ง หลั ก สู ต ร ฝ ก อบรม และ การ บริ ห าร โครงการ กิ จ กรรม เสริ ม หลั ก สู ต ร เพื ่ อ พั ฒ นา นิ ส ิ ต นักศึกษา มาตรการในการควบคุมและกำกับดูแลการจัดกิจกรรมรับนองใหม การพัฒนาบุคลากรเครือขายเพื่อพัฒนานิสิตนักศึกษาภายใตนโยบายคุณธรรมนำความรู การจัดทำคูมือการพัฒนานิสิตนักศึกษาดานคุณธรรม จริยธรรม ดวยกิจกรรมเสริมหลักสูตร โครงการอบรมแกนนำเครือขายนิสิตนักศึกษา เรื่อง “รวมพลังสรรคสรางคุณธรรมนำชีวิตดวย แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง”


14 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

l l l

โครงการอบรมแกนนำเครือขายนิสิตนักศึกษา เรื่อง “รวมพลังสรรคสรางความดีใหแผนดิน” โครงการประกวดขับรองเพลงประสานเสียงอุดมศึกษา โครงการประกวดการเขียนบทความเรื่อง “ทำดีเพื่อแผนดิน”

จากการเรียนรูรวมกัน และความรวมมือระหวางสถาบัน โดยอาศัยระยะเวลาพอควร ทำใหสถาบัน ที่เขารวมเริ่มตระหนักและเห็นความสำคัญในการดำเนินงานในรูปแบบเครือขาย เกิดการพัฒนาสถาบันตนเอง ขึ้นหลายมิติ ตั วอย างเช น ในมหาวิ ทยาลัยเกษตรศาสตร เกิ ด การขั บเคลื ่ อ นหลายด าน ที ่เห็นไดช ั ด เจนก็ ค ื อ การเพิ่มจำนวนบุคลากรดานกิจการนิสิตใหมีครบทุกคณะวิชา การพัฒนาบุคลากรผูรับผิดชอบกิจกรรมนิสิต การพัฒนาอาคารและชมรมนิสิต สโมสรนิสิต และการใหมีใบรายงานผล (Transcript) กิจกรรมนิสิต จากการเรียนรูดังกลาวจะเห็นไดวา ศาสตรแหงบูรณาการผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยนั้น ความสำเร็จจะเกิดขึ้นไดก็ดวยการบูรณาการที่จะตองเกิดขึ้นแบบองครวมในแตละสถาบัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความเขาใจ เอาใจใส ใหความสำคัญจากผูบริหารระดับสูงของสถาบัน การกำหนดเอกลักษณและคุณลักษณะ ของบัณฑิตโดยทุกภาคสวนมีสวนรวมในการกำหนด การวางแผนดำเนินการใหครอบคลุมขอกำหนดดังกลาว การ ดำเนิ น การ ให เกิ ด เป น มรรคผล ตาม แผน โดยเฉพาะ อย า งยิ ่ ง การ รณรงค ให เกิ ด ความ ร ว มมื อ ร ว มใจ จากบุคลากรทุกระดับในสถาบัน (เพราะตอมความรูสึกของคนในประเทศที่มีประวัติศาสตรอันยิ่งใหญ ยาวนาน นั้น เกิดการรับรูไดคอนขางชา) และใหนิสิตนักศึกษาไดมีสวนรวมในกิจกรรมใหมากที่สุด

ความจริงที่มักถูกมองขาม โดยความเปนจริง งานพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ สวนใหญเปนงานประเภท no incentive, no work load ไมรูจะเอาไปกรอกในชองไหนของแบบฟอรมภาระงาน เพราะไมใชภาระงานหลักของกองใดกองหนึ่ง มิได เปนงานในภาระงานประจำของกอง ไมไดเปนน้ำหนักภาระงานหลักในการคำนวณภาระงานสอน วิจัย บริการ วิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผูที ท่ ำงานนีจึ้ งคอยชืน่ ชมกันเองวาเปนผูเลิ  ศในความเสียสละ เห็นประโยชน ของอนุชนในชาติที่กำลังจะเติบใหญในภายภาคหนา อานิสงสที่ไดคงจะทำใหมีวิชาเอาไวปองกันลูกหลานมิให ติดเกม ฯลฯ ผูทำงานในเครือขายนี้จึงควรมีลักษณะเปนผูมีมนุษยสัมพันธดี ยอเปน ยอขึ้น เชียรเกง ขูเปน ออดออนได มีลูกอึด ลูกตื้อ และมีน้ำใจ โดยทั่วไปแลว ความเขมแข็งของเครือขายขึ้นอยูกับสถาบันแมขายคอนขางมาก บุคลากรในแมขาย นอกจากจะตองมีภาวะผูนำแลว ตองประกอบดวยผูมีจิตสำนึกในการใหบริการสูง มีทีมงานที่ดี โดยเฉพาะ อยางยิง่ กลุม งานเลขานุการ ผูบ ริหารระดับสูงใหความสำคัญและตองสนับสนุน เพราะหนังเรือ่ งนีชื้ อ่ วา “ผูเ สียสละ” มิใชเรื่อง “ขามาคนเดียว” สำหรับเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยเขตภาคกลาง มีลักษณะพิเศษอยางหนึง่ ก็คือ สถาบันในเครือขาย ที่กำหนดใหโดย สกอ. มีสถาบันนอกกระทรวงศึกษาธิการอยูมากถึงหนึ่งในสาม ซึ่งมาจากกระทรวง สาธารณสุข กระทรวงกลาโหม สภากาชาดไทย เปนตน ทำใหเกิดความหลากหลายดานประสบการณ และแนวคิด และที่สถาบันเหลานี้มีความโดดเดนเปนพิเศษก็คือ เสมือนไดรับการฝกฝนใหเปนผูที่พรอม ใหความรวมมือรวมใจ ขณะที่สถาบันในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการดวยกันมีลักษณะตางคนตางอยูมากกวา


15 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

เมื่อสถาบันเหลานี้มีโอกาสทำงานรวมกัน ตางจึงเรียนรูวัฒนธรรมองคกรของกันและกัน ตางชื่นชมในจุดเดน ที่แตกตางกัน จึงเกิดการพัฒนาวัฒนธรรมการทำงานรวมกันเปนอยางมาก เทาที่ทราบ นับแตนี้ไป ระบบเครือขายที่ถูกกำหนดขึ้นใหมจะประกอบดวยสถาบันในสังกัดผูให งบประมาณเทานั้น คือกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งนาเสียดาย อันที่จริงแลว การสรางบัณฑิตในอุดมคติ โดยระบบเครือขายของสถาบันการศึกษานั้น หากมองเปน ภาพรวมแลว เปนความจำเปนของชาติ ซึ่งทุกมิติ ทุกภาคสวนที่มีสถาบันการศึกษา จำเปนตองดำเนินการ รวมกัน ไมควรใหระบบราชการเปนขอจำกัดการระดมสรรพกำลัง หรือการทำงานรวมกัน หากการทำงานของเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยเขตภาคกลางถือวาประสบผลสำเร็จ ก็นาที่จะไดทราบ ความจริงรวมกันวา หากขาดเพือ่ นตางสถาบันเหลานี้ ผลงานของเครือขายในเขตภาคกลางอาจไมสามารถพัฒนา มาถึงจุดที่เห็นอยูนี้ก็อาจเปนได นับแตนีไป ้ การทำงานของเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย ซึง่ ถือเปนเครือขายระดับ C จะตองขึน้ กับเครือขาย ระดับ B ซึ่งจำเปนตองเขาใจการทำงานในรูปแบบเครือขายที่แทจริง หากเครือขายระดับ B เปนเครือขายดำเนิน โครงการเชนเดียวกับ C ก็จะตองอธิบายใหไดวา B ตางจาก C อยางไร มิเชนนัน้ แลวก็จะมีปญหาดานงบประมาณ ที่ C ตองขึ้นกับ B ทายที่สุดปญหาเรื่องการแบงเคกก็อาจเกิดขึ้นได จากลักษณะความไมเขาใจดังกลาว ทำใหหลายสถาบันคาดวา เปนการจัดระเบียบใหมโดย สกอ. ซึ่งทายที่สุดแลวก็อาจไมมีเครือขาย C ทำใหขณะนี้เราตางถามกันวา “เราจะทำอยางไรตอไป”

เหลียวหลัง แลหนา สำหรับหวงเวลาที่ผานมา อาจมีความจำเปนที่ตองมีเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย ขณะเดียวกัน สกอ. ก็ไดตั้งเครือขายที่มีลักษณะเฉพาะมากขึ้น เชนเครือขายของวิชาศึกษาทั่วไป เครือขายในการพัฒนาบุคลากร ซึ่งในขณะนั้น คณะกรรมการประสานกิจก็ไดประชุมพิจารณาในเรื่องนี้วา จะยุติบทบาทในเรื่องวิชาศึกษาทั่วไป หรือไม และจะยุติเรื่องการพัฒนาวิชาการในดานการสอนสอดแทรกหรือไม แตหลังจากไดพิจารณาแลวก็ยัง เห็นวา การพัฒนาบัณฑิตที่พึงประสงคนั้น จำเปนตองบูรณาการทั้งในสวนวิชาศึกษาทั่วไปในชั้นเรียน ทั้งตอง สอดแทรกความรูด านคุณธรรมจริยธรรมในวิชาทีสอน ่ อยูทุ กเมือ่ เชือ่ วัน และจำเปนตองใหนิสติ นักศึกษาไดฝกฝน แลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณนอกชั้นเรียน จึงจะสรางภูมิคุมกันใหแกนิสิตนักศึกษาในยุคโลกาภิวัตนนี้ได ในปจจุบัน สกอ. ไดจัดระเบียบเครือขายเสียใหม โดยจัดสถาบันอุดมศึกษาเปนเครือขายเพื่อรองรับ นโยบายหลักจากเครือขายหลัก (คือเครือขาย A) เครือขายทีเ่ กิดกอนการจัดระเบียบ เชน เครือขายบัณฑิตอุดมคติ ไทย จึงมีลักษณะเปนเครือขายเฉพาะกิจ ที่ไมนาจะใชเครือขายถาวร คือเกิดขึ้นตามความตองการ และความ จำเปนในระยะหนึ่ง เมื่อความจำเปนนอยลง ก็สามารถสลายเครือขายได แมแตองคประกอบของเครือขาย B และ C ของเขตภาคกลางก็แตกตางกัน ซึ่งยังหาผูอธิบายไมได เชน ทำไมจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจึงอยูภาคกลางตอนบน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจึงอยูภาคกลางตอนลาง ทำไมมหาวิทยาลัยที่หางกันแคถนนกั้น เชน มหาวิทยาลัยศรีปทุมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจึงอยูกัน คนละเขต ใหเปนที่วาเหวใจระหวางเราเปนยิ่งนัก


16 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

จึงอาจคาดการณไดวา เครือขาย C ที่มีสมาชิกในเครือขายแตกตางจากเครือขาย B ซึ่งเปนเครือขาย ถาวร เมื่อเครือขาย C มีลักษณะเฉพาะกิจเชนนี้ ยอมจะคอย ๆ ถูกลดบทบาทลง และหมดไปเมื่อหมด ความจำเปน ความหมดไป นาจะมาจากการจัดสรรงบประมาณจากเครือขาย B ดังนั้น จะเห็นไดวา ความยั่งยืน ของเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย จะเกิดขึ้นไดก็ดวยความเหนียวแนน เปนอันหนึ่งอันเดียวกันของตัวเครือขายเอง งบประมาณที่มาจากเครือขายบนจะไมแนนอน ซึ่งจะมากหรือนอย จะขึ้นอยูกับนโยบายของเครือขายบน และประเด็นปญหาของชาติในขณะนั้น ๆ เปนตัวกำหนด ขนาดของเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยในอนาคต ก็จะมีจำนวนสมาชิกนอยลง เนื่องจากภาระที่ตอง พึง่ ตนเอง และถามหาวิทยาลัยขนาดใหญทีมี่ จำนวนอาจารยประมาณ 1,000 คนขึน้ ไป ซึง่ สามารถบริหารกิจกรรม ทั้งสามกิจกรรมของเครือขายไดเองอยูแลวลดบทบาทของตนเองลง ความออนแอของเครือขายก็จะเกิดขึ้น และ จะกลายเปนเครือขายที่ไมคอยมีบทบาทสำคัญในการสรางบัณฑิตที่พึงประสงคอีกตอไป เปนสัจธรรมของการ เกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไป ทางออกในข อ จำกั ด ของงบประมาณ ที ่ เ ป น ไปได อ ี ก ทางหนึ ่ ง ก็ ค ื อ การเพิ ่ ม จำนวนเงิ น ลงขั น ซึ่งบางเครือขายกำหนดไวปละ 10,000 – 15,000 บาท หากสถาบันสมาชิกเห็นความสำคัญ ก็อาจมีเงินกอน ที่พอเพียงใหดำเนินกิจกรรมตอไปได จากประสบการณ ที่ผานมา จะสามารถเก็บเงินลงขันไดประมาณ 70-80% ของจำนวนสมาชิก หมายความไดวา หากเปนการดำเนินการตอไปในลักษณะนี้ จะเหลือจำนวนสมาชิก ในเครือขายนอยลงตามจำนวนเงินที่เก็บได ซึ่งไมแนใจวา เจตนารมณของ สกอ. อยากใหเปนไปเชนใด อยางไรก็ตาม อาจมีกระบวนทัศนใหม ที่บทบาทของเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยอาจพัฒนาไดมากขึ้น จากการสนับสนุนงบประมาณตางแหลง เชนจากกระทรวงสาธารณสุข หรือกระทรวงมหาดไทย โดยความ รวมมือของกระทรวงศึกษาธิการ ความเปน B หรือ C จึงมิใชประเด็นสำคัญในกระบวนทัศนนี้ แตเปน การมองปญหารวมกันและสลายขอบเขตของระบบราชการ โดยมองประโยชนชาติเปนหลัก ภาพที่คาดวา ใครๆ ก็อยากเห็นเชนนี้ มีทางเกิดขึ้นไดหรือไม???

20 ตุลาคม 2551


การบูรณาการศาสตรผานเครือขายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ดร.มานิต บุญประเสริฐ* บทความนี้มีวัตถุประสงค เพื่อนำเสนอแนวคิดการบูรณาการศาสตรในการทำงานรวมกันเพื่อพัฒนา บัณฑิตอุดมคติไทย

ความหมายของการบูรณาการศาสตร (Interdisciplinarity) การบูรณาการ ศาสตรเปนคำที่มีความหมาย กวาง องคการยูเนสโก ใน การประชุมวิชาการ เรื่อง Interdisciplinarity in General Education ทีกรุ ่ งปารีส ในป 1985 ไดนิยามความหมายการบูรณาการศาสตร สำหรับใชในการสื่อสารเพื่อความเขาใจตรงกันระหวางผูเขารวมประชุมวา การบูรณาการศาสตรเปนรูปแบบ หนึ่งของความรวมมือระหวางศาสตรตางๆ ที่มีสวนในกระบวนการแกปญหาที่เปนความสนใจรวมกัน และทำใหบรรลุผลสำเร็จอันเปนจุดหมายปลายทางรวมกัน โดยปจจัยสำคัญคือการรักษาความสมดุล ของศาสตรที่บูรณาการ แตละฝายตองรับฟง เขาใจแนวคิดและวิธีการของแตละศาสตร ถาขาดความสมดุลของ ความสำคัญแตละฝาย คุณภาพของความรวมมือก็จะต่ำ และดวยความรวมมือระหวางศาสตรในการแกปญหา ในบางกรณีทำใหเกิดความรูใหม การบูรณาการศาสตรจึงเปนการใชความรูจากสองสาขาวิชาการหรือมากกวา เพื่อทำความเขาใจปญหาที่ซับซอนเกินกวาที่จะแกไขไดโดยความรูจากสาขาวิชาเดียว ที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซินกรีนเบยมีคำขวัญในการศึกษาวา การเชื่อมโยงการเรียนรูสูชีวิต นักศึกษา ที่กรีนเบยจะไมเลือกศึกษาเพียงสาขาวิชาเอกเดียวแบบเดิมเชน ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร ฟสิกส เปนตน แตจะเลือกเรียนวิชาผสมผสานที่สามารถใชความรูในชีวิตจริงได เชน นักสิ่งแวดลอมจะไมเพียงศึกษาวิชา วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมเทานั้น เขาตองมีความรูทางดานรัฐศาสตร และสังคมวิทยาดวย หรืออธิบายให เขาใจงายขึ้น การบูรณาการศาสตรที่ใชในที่นี้ ก็คือการจัดโปรแกรมการเรียนโดยการเลือกศึกษาวิชาจากตาง สาขาทีเกี ่ ย่ วของ ทีจ่ ะมีสวนเสริมความรูสาขาวิ  ชาทีศึ่ กษาอยู อันจะเปนประโยชนในการเขาใจปญหาหรือแกปญ  หา ในการทำงานในชีวิตจริง

บทบาทและแนวคิดทางการศึกษา เปนที่ตระหนักกันดีวาความรูจะมีคุณคาเมื่อความรูมีประโยชนตอผูเรียนหรือตอบสนองความตองการของ ผูเรียน (relevance) หรือมีประโยชนทางสังคม ในปจจุบัน การศึกษาที่มีประสิทธิภาพตองสามารถชวยใหผูเรียน ใชความรู ทักษะ ในการแกปญหาพื้นฐานในชีวิตได การศึกษาเปนการเตรียมความรู ทักษะและทัศนคติสำหรับ บุคคลเพื่อการดำรงชีวิตอยางมีคุณภาพ ปญหาในชีวิตจริงมิไดแบงแยกออกเปนสวนๆ หากแตจะตองใช การบูรณาการความรูทั้งมวลเพื่อแกปญหา แตทั้งนี้มิไดหมายความวาความสำคัญของการศึกษาวิจัยใน ศาสตรหลักจะลดลง * คณะอนุกรรมการการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


18 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

บริบทที่เปลี่ยนไป ในอดีต ประเด็นในการศึกษาวิจยั จะเปนการแกปญ  หาเชิงเดีย่ วทีไม ่ ซบั ซอน อยูใน  วงจำกัดของศาสตรใด ศาสตรหนึง่ แตปจจุบนั ลักษณะของปญหาในการวิจยั มีความซับซอนมากขึน้ เปนพหุลักษณะ มีปจจัยทางสังคม และทางเทคนิคหลายปจจัยที่เกี่ยวพันระหวางสาขาวิชาความรู ตองการความรวมมือและปฏิสัมพันธระหวาง ศาสตร การพัฒนาความรูของศาสตรตางๆ ในศตวรรษที่ผานมาไดกาวหนาไปอยางมากโดยเฉพาะทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแขนงตางๆ ประกอบกับความกาวหนา ความสะดวกและรวดเร็วของเทคโนโลยี สื่อสารและสารสนเทศในยุคดิจิตัล เรียกไดวาเปนการปฏิวัติประสิทธิภาพและศักยภาพของเทคโนโลยีคมนาคม ซึ่งมีผลทำใหโลกเปลี่ยนโฉมหนาไปอยางรวดเร็ว จำเปนที่วงการศึกษาตองตั้งโจทยใหม กำหนดกรอบความคิด และทัศนะเกี่ยวกับปญหาของโลกใหม โลกยุคดิจิตัลและความกาวหนาของการจัดระบบฐานขอมูลความรู ทำใหเกิดการขยายเครือขายความรูไปอยางไมมีขอบเขตจำกัด บุคคลที่มีความสามารถเขาถึงแหลงความรู ก็ยอมไดเปรียบ ในขณะเดียวกันปญหาของสังคมโลกปจจุบันก็มีความซับซอนมากขึ้นทั้งขนาดของปญหา และความรุนแรงของผลกระทบที่ตามมา เชน ปญหาความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอม ปญหาโลกรอน เปนตน ซึง่ วงการศึกษาและจรรยาบรรณวิชาชีพคงไมสามารถเพิกเฉยได แนนอนวาปญหาเหลานีมิ้ ไดจำกัดอยูใน  ขอบเขต ของศาสตรใดศาสตรหนึ่ง การแกปญหาจำเปนตองใชวิธีบูรณาการศาสตร และความรวมมือระหวางผูเชี่ยวชาญ ในสาขาวิชาตาง ๆ เชนเดียวกับการแกปญ  หาของมนุษยและสังคมหลายปญหาทีมี่ ความซับซอนมาก ตัวอยางเชน การรักษาโรคเอดส ที่ตองการการวิจัยทางดานเภสัชศาสตร การศึกษาทางคลินิก ความรูทาง  สถิติในการสำรวจ และวิธีการใหการศึกษา ซึ่งการดำเนินการโครงการเชนนี้ยอมมีนัยสำคัญทางเศรษฐกิจและสังคมดวย

แนวคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะปจเจกบุคคล ปจจุบันการพิจาณาคุณลักษณะปจเจกบุคคล อาจเปรียบไดกับการบูรณาการศาสตรในการแกปญหา สมัยกอนบุคคลแตละคนมีความหมายเปนเพียงอนูเล็กๆ ของสังคม ตองการความรูเพียงเพื่อใหสามารถ ปฏิบัติงานไดก็พอแลว การที่จะไปมีสวนเกี่ยวของกับปญหาของสังคมใหญถือวามิใชความรับผิดชอบของตน จึ ง ไม น า ประหลาดใจ ที ่ การ แบ ง ขอบเขต สาขา วิ ช าการ ก็ เป น ไปตาม การ แบ ง กลุ  ม ของ ชน ชั ้ น ใน สั ง คม แตในความเปนจริงปจจุบนั ในยุคทีความรู ่ ได  ขยายตัวเต็มทีและ ่ มีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ทำใหชวงความตาง ระหวางสาขาวิชาจะแคบลงเรื่อยๆ คานิยมเกี่ยวกับความรูและบทบาทที่บุคคลพึงมีในสังคมและสิ่งแวดลอม ทางวัฒนธรรมก็เปลี่ยนไปเชนเดียวกัน ในสังคมประชาธิปไตย การเขาไปมีสวนรวมในสังคมเปนไปตามหลักการ แนวคิดของระบอบการปกครอง บุคคลจึงไมเพียงแตรับรูป ญหารวมสมัยเทานัน้ แตตองมีความสามารถทีจ่ ะเขาใจ ปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเห็นความสัมพันธระหวางปจจัยเหลานี้ที่มีผลตอชีวิตความเปนอยูของ บุคคลในสังคมโดยรวม และมีสวนรับผิดชอบในการพัฒนาชุมชนและสังคม การมีความรูที่จะเขาใจความเปนไปของสังคมถือเปนเรื่องที่มีความจำเปน ทุกคนตระหนักดีวาสื่อสาร มวลชนไดมีบทบาทสำคัญในสังคมปจจุบัน มีการสงขาวสารที่มีปริมาณมากเกินกวาที่บุคคลคนหนึ่งจะรับได ทั้งหมด มีทั้งขอเท็จจริงเชิงปริมาณ ความคิดเห็นสวนบุคคล การโฆษณาชวนเชื่อ ฯลฯ บุคคลจึงตองสามารถ


19 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ทำความเขาใจ แยกแยะ ประเมิน และเลือกใชสารสนเทศ เปนกรอบในการเขาใจสังคมและมีชีวิตในสังคม อยางมีประสิทธิภาพ เชนเดียวกัน งานวิจัยทางจิตวิทยาที่ศึกษาบุคลิกภาพของมนุษยในการเรียนรู และไดแบง ความรูหรือทักษะออกเปนสามดาน คือดานพุทธิศึกษา จริยศึกษา และหัตถศึกษา เมื่อศึกษาลึกลงไปก็พบวา องคประกอบทั้งสามสวนมีความเกี่ยวพันกันอยางมากในการพัฒนาความรู การใชความรู และทักษะชีวิต ไมสามารถแบงแยกเปนสวน ๆ ได

การนำแนวคิดการบูรณาการศาสตรไปใช แนวคิดการบูรณาการศาสตร จะสามารถนำไปใชในทางปฏิบัติในการแกปญหาการเรียนการสอน และการวิจัยไดอยางไร ในประเด็นนี้ไดมีการพิจารณาใน 4 รูปแบบ (ยูเนสโก 1985) โดยใชประเด็นปญหา เปนตัวตั้ง ดังนี้ 1. การบูรณาการศาสตรที่ใกลเคียง (Interdisciplinarity of neighbouring disciplines) รูปแบบนี้ เปนกรณีปญหาเกี่ยวของมีความสัมพันธกับศาสตรที่ใกลเคียงกันสองศาสตร ซึ่งความรูทั้งสอง ศาสตรจะมีสวนชวยในการแกปญหาในการสอน และการวิจัย เชน การสอนภาษาตางประเทศตองอาศัยความรู และวิธีการศึกษาของภาษาศาสตร และวิธีการสอนภาษาตางประเทศมาประกอบกัน เพื่อเขาใจธรรมชาติของ ผูเรียนและการไดภาษา ทั้งสองศาสตรยังคงลักษณะเฉพาะของตนเองอยู ปญหาคือทำอยางไรบัณฑิตจึงจะ มีสมรรถนะทางภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาสากลไดมาตรฐาน 2. การบูรณาการปญหา ((Interdisciplinarity of problems) รูปแบบนี้ ใชในกรณีกลุมปญหาที่ไมสามารถกำหนดใหอยูในศาสตรหนึ่งศาสตรใดได โดยเฉพาะปญหา ของมนุษยชาติหรือสังคม เนื่องจากมีปจจัยเหตุตาง ๆ จากหลายมิติที่เกี่ยวของกับปญหา ในการวิเคราะห และกำหนดขอบเขตของปญหาตลอดจนการกำหนดวิธีการศึกษาหาทางแกปญหา จำเปนตองมีความรวมมือ ทางวิชาการและใชความรูหลายสาขาเขามาชวยแกปญหาเชน ปญหาโลกรอน เปนตน 3. การบูรณาการวิธีการ (Interdisciplinarity of methods) รูปแบบนี้ หมายถึงวิธีการในศาสตรหนึ่งสามารถนำไปใชในการวิจัยหรือการสอนของศาสตรอื่นๆ เชน Game theory, Problem based learning เปนตน ปญหาการสอนใหผูเรียนพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห การตัดสินใจ จะใชวิธีใดที่ไดผล ผูสอนตองเตรียมตัวปรับเปลี่ยนวิธีการสอนอยางไร 4. การบูรณาการแนวคิด ( Interdisciplinarity of concepts) รูปแบบนี้ หมายถึงกรณีที่แนวคิดที่พัฒนาในศาสตรหนึ่งๆ นำไปบูรณาการกับศาสตรอื่น หรือแทน รูปแบบและแนวคิดทีใช ่ อยู เชน การหาทางออกในการแกปญ  หาความขัดแยงในสังคมไทยปจจุบนั ปญหาความ แตกตางทางแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จะนำไปสูความแตกแยกของสังคมถาขาดความรวมมือระหวางบุคคลจากศาสตรตางๆ ที่จะชวยเสนอแนวคิด หาทางออกอยางสมานฉันท ปญหาทีจ่ ะตองชวยกันกำหนดคือเปาหมายของสังคมไทยคืออะไร การเปลีย่ นแปลง โดยขาดการบูรณาการฐานภูมิปญญาไทยจะทำใหคนไทยมีความเปนอยูดีขึ้นและมีความสุขจริงหรือ


20 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ปญหาอุดมศึกษาไทยปจจุบัน อุดมศึกษาไทยในสองทศวรรษที่ผานมามีการขยายตัวเชิงปริมาณอยางรวดเร็ว มีผลตอคุณภาพผลผลิต โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับคุณภาพของบัณฑิต (สุธรรม อารีกุล และคณะ 2540 อางในรายงานการวิจัย เรื่องรูปแบบ ที่เหมาะสมในการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย) ดังนี้ q ปญหาเกี่ยวกับความสามารถทางภาษา q ปญหาทางดานคุณธรรมจริยธรรม q ปญหาความรูความสามารถทางวิชาการ q ปญหาขาดความสามารถในเชิงคิด วิเคราะห และการคิดเชิงบูรณาการ การมองประเด็นปญหา ตลอดจนวิธีการแกปญหาแบบแยกสวน q ปญหาดานขาดการเรียนรูการใชเทคโนโลยีสมัยใหม q ป ญ หา การ ขาด นิ ส ั ย ใฝ ร ู  ความรู  รอบตั ว ทั ่ ว ไปทาง การเมื อ ง เศรษฐกิ จ สั ง คม ของ บั ณ ฑิ ต ยังมีไมมากพอ การวิจัยเรื่อง สัตตศิลา หลักเจ็ดประการสำหรับการเปลี่ยนผานการศึกษาเขาสูยุคเศรษฐกิจฐานความรู (ไพฑูรย สินลารัตน และคณะ, 2550, หนา จ) กลาววาการใชกระบวนการและวิธีการทางการศึกษาเพื่อสราง คนไทย ใหมีคุณลักษณะของคนที่อยูในยุคสังคมเศรษฐกิจฐานความรู ตองมีวัฒนธรรมของการสราง และได กำหนดคุณลักษณะที่จำเปนในวัฒนธรรมการสราง โดยเปรียบเทียบกับลักษณะผูเรียนในวัฒนธรรมการรับ ดังนี้ ลักษณะผูเรียนในวัฒนธรรมการรับ

ลักษณะผูเรียนในวัฒนธรรมการสราง

เชื่อตามที่ไดฟง ขาดความมั่นใจ ไมอดทน/ ไมชอบทำงานหนัก ไมแสวงหาขอมูล ขาดความกระตือรือรน คิดตามแบบเดิม เปนผูบริโภค ทำอะไรแตพอผาน ทำงานคนเดียว ไมนึกถึงสวนรวม เอาตัวเองรอด ขาดคุณธรรมจริยธรรม ไมสนใจสันติวีธี ขาดอัตลักษณไทย

รูจักคิดวิเคราะห มั่นใจในตนเอง อดทนทำงานหนัก แสวงหาความรู กระตือรือรนในความรู คิดสรางสรรค เปนผูผลิต มุงความเปนเลิศ ทำงานเปนทีม รับผิดชอบตอสวนรวม คำนึงถึงสังคม มีคุณธรรม ยึดมั่นในสันติธรรม มีความเปนไทย


21 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

และ ความ มุงหวัง คุณลักษณะ ของ บัณฑิตไทย ตาม แผน พัฒนา อุดมศึกษาระยะยาว 2550-2565 (ดร.สรรค วรอินทร) ประกอบดวย q การเรียนรูและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง q การเรียนรูวิชาการวิชาชีพเชิงปฏิบัติจริง q สรางคุณลักษณะผูประกอบการ q ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม q พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแกปญหา q คานิยมไทย ประเพณีและวัฒนธรรม q ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง q สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย เมื่อพิจารณาปญหาคุณภาพบัณฑิตในระยะที่ผานมา ในยุคที่การอุดมศึกษาเปดกวางใหผูที่ตองการ เขาศึกษาไดศึกษา การขยายตัวเชิงปริมาณอยางรวดเร็วทำใหระบบอุดมศึกษาปรับตัวไมทัน ตั้งแตการไมเขาใจ ผูเรียนที่มีภูมิหลังตางกัน วิธีการสอนนักศึกษากลุมใหญที่มีความสามารถแตกตางกัน ความสนใจตางกัน ระบบ อาจารยที่ปรึกษาตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกและแหลงเรียนรูไมพอเพียง และเมื่อพิจารณาสังคมอนาคต ที่ซับซอนขึ้น ที่บุคคลตองมีความรู ทักษะ ทัศนคติ ที่พรอมจะรับการเปลี่ยนแปลง ทำใหตองกลับมาพิจารณา บทบาทของการศึกษาในยุคเปลี่ยนผาน และจำเปนตองเปลี่ยนแปลงอยางกาวกระโดด โครงการพัฒนาบัณฑิต อุดมคติไทยจึงเปนรูปแบบหนึ่งของความรวมมือระหวางนักวิชาการสาขาวิชาตางๆ ที่มีเปาหมายรวมกันคือ การสรางบัณฑิตที่มีคุณลักษณะพึงประสงคเหมาะสมกับสังคมไทยและอนาคต

โครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย โครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย เปนกิจกรรมที่ริเริ่มโดยทบวงมหาวิทยาลัยขณะนั้น โครงการฯ ไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2540 วัตถุประสงคของโครงการคือ 1. เรงรัดและพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นิสิต นักศึกษา ใหมีความรูอยางแทจริงในสาขาวิชาการ วิชาชีพ ควบคูกับการมีคุณธรรมจริยธรรม เปนบัณฑิตที่มีคุณภาพและเปนที่พึงประสงคตามความตองการ ของตลาดแรงงาน สังคม และประเทศ 2. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมตางๆ ที่เสริมสรางกระบวนการเรียนรู รวมกัน นำภูมิปญญาไทยมาบูรณาการใหเหมาะสมกับทองถิ่น ชุมชน และความกาวหนาทางดานวิชาการ วิชาชีพ เพื่อกาวไปสูความเปนสากล 3. ใหแนวคิดและแนวทางการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยไดขยายผล และมีความสัมพันธตอเนื่อง ไปทุกระดับการศึกษา สามารถประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาได ในการดำเนินงาน ทบวงมหาวิทยาลัยไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการประสานการดำเนินกิจกรรมพัฒนา บัณฑิตอุดมคติไทย ซึง่ ประกอบดวยอาจารยจากหลายสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษาตางๆ มารวมกันทำหนาที่ วางแผนพัฒนา กำหนดทิศทางและแนวทางดำเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงค ในชวงสิบปที่ผานมา มีการทดลอง พัฒนากิจกรรมซึ่งไดผลดี และไดเผยแพรไปยังสถาบันอุดมศึกษาผานเครือขายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย


22 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

6 เครือขาย แบงตามภูมิภาคตาง ๆ รูปแบบกิจกรรมโดยเนนการสรางคุณธรรมจริยธรรมประกอบดวย 1. การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในกิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษาของสถาบัน 2. การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนการสอนรายวิชา 3. การสรางรายวิชาใหม เพื่อสรางทักษะชีวิต ความสามารถในการแกปญหา มีทักษะในการวิเคราะห อีกทั้งปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมที่จำเปนสำหรับชีวิตและสังคมที่ดีงาม แนวทางการสรางรายวิชาใหมมีดังนี้ q ศึกษาสภาพแวดลอม สถานการณปจจุบันของประเทศและสังคมโลก q กำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงคที่จะใหเกิดกับผูเรียน q สังเคราะหเปาหมาย รูปแบบเนื้อหา วิธีการสอน สื่อ การวัดผล q ปรับปรุงรูปแบบ เนื้อหา วิธีการสอนใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

บทสรุป การทำงานรวมกันของผูที่มีความรูเฉพาะดานในการแกปญหา ทั้งดานการสอน การวิจัยที่เปนความสนใจ รวมกัน เชนการสอนและปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งการแกปญหาทางสังคม ตองเริ่มจากการมีศรัทธา ตอรูปแบบการทำงานรวมกันแบบบูรณาการศาสตร การรับฟงแนวคิดที่แตกตางอยางเปดใจ มีทักษะในการ สื่อสารขามสาขาวิชาและทำงานเปนทีม การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติเปนงานรวมกันของทุกศาสตรที่เปดสอน ในมหาวิทยาลัย ในระยะที่ผานมา ทางโครงการฯ ไดจัดประชุมใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูการบริหารจัดการ เปนประจำ เพื่อใหการดำเนินงานมีความตอเนื่อง มีการติดตามผลการดำเนินงานประกอบการวิจัยเพื่อรวบรวม แนวปฏิบัติที่ดี ทำการเผยแพรไปสูหนวยงานและสถาบันการศึกษา เพื่อพัฒนาการดำเนินงานใหมีประสิทธิภาพ เพื่อบรรลุเปาหมายรวมกัน นั่นคือการสรางบัณฑิตคุณภาพที่สอดคลองกับความคาดหวังของสังคม

เอกสารอางอิง คณะกรรมการ อุดมศึกษา, สำนักงาน. “รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษา วิเคราะห รูปแบบที่เหมาะสม ในการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย.” กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจำกัด ภาพพิมพ, 2546. ไพฑูรย สินลารัตน และคณะ. สัตตศิลา หลักเจ็ดประการสำหรับการเปลี่ยนผานการศึกษาเขาสูยุคเศรษฐกิจ ฐานความรู. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550. สรรค วรอินทร. “แผนพัฒนาอุดมศึกษา 15 ป กับทิศทางการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม.” กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2551. (อัดสำเนา). Online access: http://www.uwgb.edu/iia//index.htm Unesco. “Interdisciplinarity and General Education.” Paper presented at UNESCO International Symposium on Interdisciplinarity and General Education at Headquarters, Paris, 1985.

`


แนวคิดพื้นฐานเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู ผูชวยศาสตราจารยกิตติภูมิ มีประดิษฐ*

1. บทนำ ปญหาที่สำคัญในการพัฒนาศักยภาพของคนสวนใหญจะอยูในดานคุณภาพการศึกษาของประชากร ซึ่งยังเปนปญหาตอเนื่องและตองเรงรัดแกไขอยางเรงดวน นอกจากนั้นการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานยัง ไมสามารถจัดไดทั่วถึงในกลุมเด็กดอยโอกาส เชน เด็กเรรอน เด็กยากจน และเด็กชนกลุมนอย เปนตน และ เปนที่ยอมรับในหมูนักการศึกษาและนักวิชาการทั่วไปวาการวางรากฐานการพัฒนาศักยภาพของคนจะตอง ใชการศึกษาเปนเครื่องมือ ตองมีการวางรากฐานการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานใหขยาย การบริการครอบคลุมไดกวางขวางขึ้น โดยการดำเนินงานทางดานการศึกษาตองสามารถใหการศึกษาในระดับ ตางๆ ครอบคลุมประชากรในวัยเรียนไดมากขึน้ สวนการใหบริการการศึกษาแกเด็กดอยโอกาสประเภทเด็กพิการ เด็กเรรอน ซึ่งสวนใหญยังไดรับบริการไมทั่วถึง เนื่องจากความตองการของผูดอยโอกาสแตละกลุมมีความ แตกตางกันมาก ยิง่ ถากระบวนการเรียนรูที ทำ ่ กันอยูใน  บางแหงเนนทีการ ่ สอน (Teaching) แบบครูเปนผูส อนมาก เกินไป การทำเชนนี้ไมชวยใหเด็กผูเรียนสามารถพัฒนาตนเองไดสูงสุดตามศักยภาพได จึงมีความจำเปนที่จะ ตองปรับเปลีย่ นเสียใหม ใหมีกระบวนการเรียนรูที เน ่ นเด็กเปนศูนยกลาง เพือ่ ใหเด็กพัฒนาศักยภาพตนเองไดอยาง เต็มที่อยางรอบดานทั้งความรูความสามารถและคุณลักษณะสามารถเรียนรูวิธีคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล วิธีการแสวงหาความรูเพิ่มเติมและมีการเรียนรูทักษะชีวิตที่จำเปนในการพัฒนาตนเอง ในระบอบประชาธิปไตย โอกาสทางการศึกษาของคนทั้งมวลมีความสำคัญยิ่ง เพราะการศึกษาเปนปจจัยที่สำคัญที่ทำใหคนเทาเทียมกัน ในสังคมตางๆ มักมีชัน้ วรรณะทีทำ ่ ใหคนไมเทาเทียมกัน หลักการสำคัญในทางพุทธศาสนา บุคคลไมวา ชาติตระกูล อยางไร แตเมื่อมาบวชก็เสมอภาคกันหมด การบวชคือการมีสิกขาหรือศึกษา หรือการเปนบุคคลเรียนรูนั่นเอง ฉะนั้น การศึกษาอยางทั่วถึง และการศึกษาที่มีคุณภาพดีที่ทำใหบุคคลเปนอิสระ พึ่งตนเองได เปนปจจัยพื้นฐาน ของประชาธิปไตย สื่อสารมวลชนที่เปนอิสระ เปนกลาง และมีความสามารถสูง มีความสำคัญในการพัฒนา ศักยภาพของประชาชนโดยทั่วถึงและรวดเร็ว ความแตกฉานทางสติปญญาของคนทั้งมวล คือการพัฒนา ประชาธิปไตย ซึง่ กระบวนการตางๆ ทีกล ่ าวมานีเป ้ นสิง่ จำเปนทีต่ องกระทำใหปรากฏผลเปนรูปธรรมอยางเรงดวน และการดำเนินการตองกระทำอยางตอเนือ่ งเปรียบเสมือนเปนบทบัญญัตทีิ นั่ กการศึกษาไทยจะตองรูแจ  งเห็นจริง และไมสามารถปฏิเสธความรับผิดชอบของตนตอกระแสการปฏิรูปการเรียนรูได

* ผูอำนวยการสำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ประธานคณะอนุกรรมการดำเนินกิจกรรมการสรางรายวิชาและ การจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนานิสิตนักศึกษา


24 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

2. สภาพแวดลอมที่เรงรัดใหตองปฏิรูปการเรียนรู ในการสรางสรรคอนาคตของประเทศชาติ เราตองกำหนดวาเราอยากเห็นอนาคตของมนุษยเปน อยางไร เราตองคำนึงถึงสภาพความเปนจริงในปจจุบันและแรงผลักดันตางๆ ที่เปนตัวกำหนดการเปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้นกับโลกหรือประเทศไทยในอนาคต แรงผลักดันหลักๆ ที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับมนุษย ประเทศ และโลก มีอยูประมาณ  10 แรงผลักดัน (ดิเรก พรสีมา, 2543 : 6) คือ (1) ปริมาณและคุณภาพประชากร (2) สถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมและมลพิษ (3) ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) สภาพเศรษฐกิจ (5) สภาพและความรุนแรงของปญหาสังคม ความยากจน สิ่งเสพติดและเอดส (6) สภาพและความรุนแรงของปญหาดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยม (7) การดูแลและสงเสริมผูด อยโอกาสและผูมี ความสามารถพิเศษ (8) คุณภาพและบริการเพือ่ การพักผอนหยอนใจ (9) ความเปนประชาธิปไตยและการทุจริตคอรัปชั่นและ (10) คุณภาพและความทั่วถึงของบริการทางการศึกษา แรงผลักดันตางๆ เหลานี้เกี่ยวของสัมพันธกัน การเพิ่มหรือลดแรงผลักดันอยางใดอยางหนึ่งจะสงผลกระทบ ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอแรงผลักดันทางสังคมอื่นๆ อยางหลีกเลี่ยงไมได เรามักพูดกันมากวาคนเปนทรัพยกรมนุษย และเราจะพัฒนาทรัพยากรมนุษย แตบางทีเราอาจจะเพลิน ลืมไปวา ทรัพยากรมนุษยเปนศัพทคอนขางใหม มีอายุไมนานเทาไร และเกิดขึ้นเพื่อสนองแนวคิดในการพัฒนา แบบที่เรากำลังติเตียนกันอยูวาผิดพลาดมีโทษรายและจะตองเลิก นักเศรษฐศาสตรมองมนุษยเปนเครื่องมือ หรือเปนทุนที่จะใชสนองวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่ง เชนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ หรือเพื่อพัฒนาสังคม แตความจริงมนุษยคงไมใชมีความหมายเพียงเทานั้นเราควรมองมนุษยในฐานะที่เปนคนเพื่อตัวของเขาเองดวย ซึ่งเปนชีวิตที่มีคุณคา มีความหมายในตัวของตัวของเขาเอง แตทั้งนี้ไมใชจะเลิกความหมายที่เปนทรัพยากร ไปเสียเลยคือจะตองใหมีความหมายทั้งสองอยาง ทั้งในแงที่มนุษยเปนทรัพยากร และในแงของความเปนมนุษย ที่มีคุณคามีความหมายในตัวเองและความหมายในแงหลังนี้มีความสำคัญมาก โดยเฉพาะการศึกษาจะตอง พัฒนาคนโดยมีจุดหมาย ใหเปนชีวิตที่มีคุณคาในตัวของเขาเอง ใหเปนชีวิตที่งดงามและสมบูรณในตัวเอง ซึ่งอาจจะใชคำวา เพื่อความเปนมนุษยที่สมบูรณ ขอนาสังเกตตอไปคือศัพทคำวา สังคมแหงการเรียนรู ซึ่งแปลมาจาก Learning society แลวก็มีวัฒนธรรมแหงการเรียนรู Learning culture หรือแมแตคำวา Knowledge society ในเรื่องนี้เราคงจะตองถามกันเหมือนกันวา ที่วาสังคมของการเรียนรูนั้นคืออยางไร เพราะวาการที่เราสนับสนุนใหคนมีการเรียนรูมากนั้น ถาการเรียนรูนั้นเปนไปในทางสนองแนวคิดแบบเดิม เชน แนวคิดแบบหาผลประโยชนตามลัทธิทุน ก็เทากับวาเราสงเสริมใหมนุษยเรียนรูไป  เพือ่ จะไดพัฒนาความสามารถ ใหมากยิง่ ขึน้ ในการหาผลประโยชน เชนนีเป ้ นตน เพราะฉะนัน้ จะตองมีความชัดเจนในความหมายและวัตถุประสงค ของการเรียนรู (พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต), 2540, 12)

3. ความจริงเกี่ยวกับการเรียนรู กอนที่จะกลาวถึงการปฏิรูปการเรียนรูเรานาจะทำความเขาใจกอนวาความรูและปญญาคืออะไร และ กอนที่จะกลาวถึงการปฏิรูปการเรียนรูเรานาจะทำความเขาใจกอนวาความรูและปญญาคืออะไร และความ เขมแข็งทางปญญาเกิดขึ้นไดอยางไร เนื่องจากการศึกษาของไทยสวนใหญไมไดศึกษามาจากฐานของ ความจริง คนไทยที่มีการศึกษาจึงเปนคนที่ไมรูความจริง สังคมไทยจึงเปนสังคมที่ใชความจริงนอยเพราะเรา


25 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

จัดการศึกษาไปเรื่อยๆ โดยไมทำความเขาใจเกี่ยวกับความรูหรือญาณวิทยา เสียกอนยิ่งเรื่องปญญาดวยแลว เรายิ่งไมสนใจ การศึกษาเปนเพียงการสอนเทคนิคเพื่อนำไปใช แตไมใชใหเกิดปญญาเพื่อความเปนมนุษย ในการศึกษาทั้งหมดตองกลับไปตั้งคำถามทางญาณวิทยาวา ความรูคืออะไร ปญญาคืออะไร (ประเวศ วะสี, ม.ป.ป., อางถึงโดย สัญลักษณ เทียมถนอม, 2544 : 124-125) สำหรับสิ่งที่ตอเชื่อมระหวางความรูและ ปญญาคือการรู ผูสอนทุกคนจะตองทราบวาการรูแบงออกเปน 4 ระดับ (ชัยอนันต สมุทวณิช, 2543 :185) คือ (1) การไมรูวาไมรู นับวาเปนสถานการณที่สุดโดง และไมสามารถกอใหเกิดการเขาถึงตัวความรูได (2) การไมรูวารู หลายเรื่องเกี่ยวของกับสัญชาตญาณ บางก็วาความสามารถในการรูจักภาษาเปนเรื่องที่บรรจุ อยูในยีนสของมนุษยมาตั้งแตปฏิสนธิโดยที่คนเราไมรูวาเรารูหรือเกิดจากการระลึกไมได จึงไมรูวารูสวนผูที่ ระลึกชาติไดนัน้ คือผูที จำได ่ จากการถูกสะกดจิต สิง่ ทีสั่ ง่ สมอยูใน  จิตใตสำนึกจึงปรากฏขึน้ การไมรูว า รูนี ้ เปนเรือ่ ง ของจิตใตสำนึกซึ่งคน ๆ หนึ่งเคยรูแตระลึกไมได (3) การรูวาไมรูเปนสภาวะที่อาจกอใหเกิดการเรียนรูก็ได ถาผูรู วาไมรูไมมีความอยากที่จะขจัดความไมรูนั้นเสีย ไมวาจะถูกบังคับใหเรียนมากอยางไรก็เกิดความรูไดยาก และเมื่อเลือกไดไมถูกตอง ถูกบังคับหรือกำหนด ก็จะไมขวนขวายดวยตนเองที่จะรู และ (4) การรูวารู เปนสภาวะ ที่เปนอุดมคติ และเปนเปาหมายสูงสุดของการเรียนรู โดยเฉพาะการรูจักตนเอง ดังนั้นเมื่อเราพูดถึงกระบวนการ เรียนรู เราจะตองทำความเขาใจและแยกแยะระหวางการรูและความรูกอน ซึ่งในมุมมองของ ศาสตราจารย นพ.อารี วัลยะเสวี แลว “ปญญาคือ สามารถเอากอนความรูนี่ มาเกี่ยวเนื่อง มาโยงกัน มาโยงกันวา เหตุปจจัย เหตุปจจัย เหตุปจจัย มาถึงเกิดปญญา แลวปญญานี่แหละนำ มาสูการแกปญหา มีความรูอยางเดียวไมสามารถแกปญหาไดถึงจะแกก็แกในปญหาที่ไมสมบูรณ ยกตัวอยาง มาเลเรีย เรารูวิ ธฆี าเชือ้ มาเลเรียก็จบแตพอเรือ่ งของเบาหวานมันไมจบอยางมาเลเรีย เพราะเบาหวานมันเกิดจาก พฤติกรรมการกิน อาหารที่กินแตบางคนก็วากรรมพันธุก็มีสวน “(อารี วัลยะเสวี ,ม.ป.ป., อางถึงโดย สัญลักษณ เทียมถนอม , 2544 :48) จากมุมมองดังกลาวทำใหสังคมไทยตองเริม่ แกไขตัง้ แตเรือ่ งองคความรู วิธกี ารหาความรู หรือกระบวนการแสวงหาความรูตองมีทั้งในตัวบุคคล ตองมีทั้งในองคกร ตองมีทั้งในสังคม จึงจะทำใหเกิดสังคม แหงการเรียนรูได ธรรมชาติของสังคมไทยมักชอบสอนใหเด็กทองจำ ทั้ง ๆ ที่ศาสนาพุทธโดยสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงกลาววา อยาเชื่อตามกาลามสูตร อยาเชื่อตามอาจารยวา อยาเชื่อตามคนนั้นวา อยาเชื่อตาม คนนีว้ า ตองประสบดวยตนเอง ตองคิดดวยตนเองแลวจึงเชือ่ ซึง่ ทัง้ หมดนีมี้ ในกาลามสูตร กาลามสูตรไมเปนเพียง แตหลักการแหงความรู การเสาะแสวงหาความรู การนำความรูสูการปฏิบัติ และการทดสอบความรูจากโลก ที่เปนจริง แตเปนหลักการของเหตุผลและการยืนยันความจริงที่ปรากฏใหปรากฏเปนหลักการอันเปนแกนแท ของวิทยาศาสตร แตสังคมไทยก็ทองกาลามสูตรโดยไมดูวิธีการหาความรูโดยกาลามสูตร ซึ่งในโลกอนาคต การโยงใยความรูซึ ง่ กันและกันจะทำใหทุกคนไดเรียนมากขึน้ และมีวิธกี ารหาความรูโดย  วิธกี ารตางๆ ดังนัน้ ถาใคร ที่รูวิธีการสื่อ เรียนรูจากอันนี้มันก็จะไดเปรียบ เพราะการเรียนรูมันเปนหัวใจของโลก ไมใชองคความรูแต สังคมไทยเราไปเนนที่องคความรู ซึ่งควรเนนที่วิธีการหาความรู กระบวนการเรียนรู องคความรูที่เขามีมีอยูแลว เราก็ตองรู ตองเพิ่มไปจากนั้น ตองรูโดยวิธียืนบนไหลยักษไมใชเริ่มจากก.ไกใหม (สิปปนนท เกตุทัต, ม.ป.ป., อางถึงโดย สัญลักษณ เทียมถนอม, 2544 : 109-110) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กำหนดแนวการจัดการศึกษาของประเทศไวในหมวดที่ 4 ตัง้ แตมาตราที่ 22 ถึงมาตราที่ 29 ซึง่ ในภาพรวมตองการ


26 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ใหมีการปฏิรูปการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ถือวาผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได โดยคำนึงถึงหลักจิตวิทยาในการจัดการเรียนการสอนที่ตองพัฒนาขีดความสามารถของตนเองใหเปนไปตาม ธรรมชาติที่สอดคลองกับความถนัดและความสนใจของผูเรียน การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ จึงมีเปาหมายที่สำคัญที่สุด คือ การจัดการใหผูเรียนเกิด การเรียนรู ซึ่งเนนความตองการ ความสามารถ ความสนใจ และวิธีการเรียน โดยครูเปนผูอำนวยความสะดวก ที่จะกอใหเกิดการเรียนรู โดยมีความเชื่อพื้นฐานอยางนอย 3 ประการ คือ (นวลจิตต เชาวกีรติพงศ และคณะ, 2545 : 11) คือ (1) เชื่อวาทุกคนมีความแตกตางกัน (2) เชื่อวาทุกคนสามารถเรียนรูได และ (3) เชื่อวาการ เรียนรูเกิดไดทุกที่ทุกเวลา นั่นก็คือการที่จะใหบรรลุเปาหมายการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ คือ ตองการใหคุณลักษณะที่พึงประสงคของคนไทย เปนคนเกง ดี มีสุข โดยมีการพัฒนาที่เหมาะสมกับวัย พัฒนาคน ตามธรรมชาติ และศักยภาพตรงตามความตองการ ทั้งในดานทางกายและจิตใจ สติปญญา ความรูและทักษะ คุณธรรมและจิตสำนึกที่พึงประสงค และอยูในสังคมไดอยางปกติสุข ตัวบงชี้ดานผูเรียนเปนสำคัญ (พิมพพันธ เดชะคุปต, 2544) ควรมีดังนี้ 1. ผูเรียนสรางความรู (Construction) รวมถึงสิ่งประดิษฐดวยตนเอง 2. ผูเรียนใชทักษะกระบวนการ (Process skills) คือกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมสรางความรู ดวยตนเอง 3. ผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน (Participation) และมีปฏิสัมพันธ (Interaction) 4. ผูเรียนสามารถนำความรูไปใชได (Application) โดยนัยดังกลาวขางตน ในการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษา จึงไดกำหนด ลักษณะของผูเรียนเพื่อเปนแนวทางการจัดการศึกษาไวในแผนพัฒนานักศึกษา ในระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545 - 2549) (สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย, 2543) ดังนี้ 1. มีความรูทักษะ (ดานวิชาการ วิชาชีพ) และความสามารถระดับสากล เรียนรู (ใฝรู) ตลอดชีวิต มีสติปญญาและวิจารณญาณ มีวิธีคิดอยางเปนระบบและสามารถแกไขปญหาได 2. มีจิตสำนึกและภาคภูมิใจในความเปนไทย สามารถใชภูมิปญญาไทยในการพัฒนาประเทศ 3. มีจิตสำนึกและศักยภาพในการสรางงาน 4. มีคุณธรรมจริยธรรม วินัย ความรับผิดชอบ และความเปนผูนำ 5. มีความเปนประชาธิปไตย 6. ตระหนักในคุณคาทรัพยากร ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น ในการวางแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ไดตอยอดแนวคิดขางตน โดยกำหนดแนวทางพัฒนา เยาวชน นักศึกษาและบัณฑิตในอนาคตวา (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2550, : 20) “...อุดมศึกษาควรสงเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตร เพื่อเพิ่มพื้นที่การเรียนรูของเยาวชนและนักศึกษา ในรูปแบบของทักษะชีวิต ทักษะสังคม(Socialization) สมรรถนะพื้นฐานที่ขามพื้นความรูวิชาการ (Base line competencies) การสะสมความรูและความสามารถเชิงบูรณาการที่ผังตัว (Tacit Knowledge and ability)….” “...นอกเหนือจากวิชาการแลว อุดมศึกษาควรจัดใหมีการเรียนการสอนและกิจกรรมโดยเฉพาะ อยางยิ่ง พัฒนาการทางดานการสื่อความ การตัดสินใจ การพัฒนาความเปนผูนำ การแกปญหา การทำงาน


27 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

เปนทีม ความอดทน คุณธรรม.....” ในแนวปฏิ บ ั ต ิ จ ึ ง กำหนดกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒ ิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห ง ประเทศไทย (National Qualifications Framework for Higher Education in Thailand -NQF) เปนขอบเขตการเรียนรู (Domain of Learning) (กฤษณพงศ กีรติกร, 2550 : แอลแลน, เอียน (Allan, Ian) แปลโดย ทองอินทร วงศโสธร, 2550) มี 5 ดาน คือ 1. ความรู ความสามารถในการจำ และการนำเสนอ 2. ทักษะความคิดและเชาวปญญา 3. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4. ทักษะการวิเคราะหและการสื่อสาร 5. การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อใหบรรลุขอบเขตการเรียรรูดังกลาวขางตน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2550, หนา 25) ไดกำหนดไวในคูมือประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ในองคประกอบที่ 2 การเรียน การสอน ตัวบงชี้ที่ 2.2 วามีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ โดยกำหนดแนวปฏิบัติที่ดีไวดังนี้ “...มี ก ารพั ฒ นารู ป แบบการสอนที ่ เ น น ผู  เ รี ย นเป น สำคั ญ พร อ มทั ้ ง มี ก ารจั ด ทรั พ ยากรสนั บ สนุ น การจัดการเรียนการสอน อาจมีรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดังตอไปนี้ การเรียนรูจากกรณีปญหา (Problem - Based Learning : PBL) การเรียนรูเปนรายบุคคล (Individual Study) การเรียนรูแบบสรรคนิยม (Constructivism) การสอนแบบ เอส ไอ พี (SIP) การเรียนรูแบบแสวงหาความรูดวยตนเอง (Self-Study) การเรียนรูจากการทำงาน (Work - Based Learning) การเรียนรูที่เนนการวิจัยเพื่อสรางองคความรู (Research -Based Learning) และ การเรียนรูที่ใชวิธีการสรางผลงานจากการตกผลึกทางปญญา (Crystal – Based Learning)...” การเรียนรูที่ใชวิธีสรางผลงานจากการตกผลึกทางปญญา (Crystal-Based Approach) คือ การจัด การเรียนรูในรูปแบบนี้ เปนการสงเสริมใหผูเรียนไดสรางสรรคความรูความคิดดวย ตนเองดวยการรวบรวม ทำความเขาใจ สรุป วิเคราะห และสังเคราะหจากการศึกษาดวยตนเอง เหมาะสำหรับบัณฑิตศึกษา เพราะผูเ รียน ที่เปนผูใหญ มีประสบการณเกี่ยวกับศาสตรที่ศึกษามา ในระดับหนึ่งแลว วิธีการเรียนรูเริ่มจากการทำความ เขาใจกับผูเ รียนใหเขาใจวัตถุประสงคของการเรียนรูตาม  แนวนี้ จากนัน้ ทำความเขาใจในเนือ้ หาและประเด็นหลักๆ ของรายวิชา มอบหมายใหผูเรียนไป ศึกษาวิเคราะหเอกสาร แนวคิดตามประเด็นที่กำหนด แลวใหผูเรียนพัฒนา แนวคิดในประเด็นตางๆ แยกทีละประเด็น โดยใหผูเรียนเขียนประเด็นเหลานั้นเปนผลงานในลักษณะที่เปน แนวคิด ของตนเองที่ผานการกลั่นกรอง วิเคราะหเจาะลึกจนตกผลึกทางความคิดเปนของตนเอง จากนั้น จึงนำเสนอใหกลุมเพื่อนไดชวยวิเคราะห วิจารณอีกครั้ง

4. ปรัชญาการศึกษากับการปฏิรูปการเรียนรู ในเบื้องตนนักการศึกษาทุกคนควรเขาใจความหมายของการศึกษา ซึ่งมีทั้งความหมายที่คลายคลึงกัน และแตกตางกัน แตในสาระสำคัญของความหมายสามารถแบงไดเปน ความหมายในมุมมองแบบแคบ และแบบกวาง โดยความหมายในแบบแคบจะมองการศึกษาเปนกระบวนการสั่งสอน อบรม ถายทอดความรู ผานสถาบันการศึกษาที่สังคม สรางขึ้นเพื่อทำหนาที่สรางคนใหเปนไปตาม ความตองการ ของ สังคม และ


28 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ประเทศชาติ ขณะที่ความหมายในแบบกวางมองการศึกษาเปนกระบวนการหลอหลอมชีวิตของมนุษยตั้งแต เกิดจนตาย โดยมองวาการศึกษาไมไดจำกัดอยูในระบบโรงเรียนเทานั้น แตเกิดขึ้นไดตลอดประสบการณในชีวิต ของมนุษย สำหรับปรัชญาการศึกษาซึ่งเปนที่รวมของความรูอันเกี่ยวของกับการศึกษาซึ่งมีบทบาทในการควบคุม ทิศทางการจัดการศึกษาใหเปนไปตามความเชือ่ ของปรัชญาทียึ่ ดถืออยู สำหรับในวงการศึกษาไทยระบบปรัชญา ที่ไดรับการกลาวถึงอยางแพรหลายประกอบไปดวย (หทัยรัตน ศักดิ์เนรมิต, 2544 : 116 – 117) (1) ลัทธิสารัตถนิยม (Essentialism) เปนลัทธิที่มีแนวคิดวา การเรียนเปนงานหนักและไมไดมุงหวังวา จะตองนำไปใชในทันทีแตมุงไปที่จุดหมายในอนาคต ครูตามความเชื่อลัทธินี้จะตองเปนผูนำในการเรียนของเด็ก หัวใจของกระบวนการการศึกษา คือ การนำเอาเนื้อหาวิชามาเชื่อมโยงประสานกันและใชวินัยในการกอใหเกิด การเรียนรูฝกฝนทางสติปญญา (2) ลัทธินิรนั ตรวาท (Perennialism) เชือ่ วาการศึกษาเปนการแสงหาความจริงซึง่ ควรเปนแบบอยางเดียว กันสำหรับทุกคน จุดมุง หมายของการศึกษา คือ พัฒนาคนใหเปนคนโดยใหความมีเหตุผลเปนเครือ่ งมือ ครูในลัทธิ นี้ถือเปนผูนำทางปญญาแกเด็ก นอกจากนี้ยังเชื่อวาความรูจากอดีตไมเคยเกา นักเรียนควรไดศึกษางานนิพนธ ที่ถายทอดความรูความคิดจากหลายยุคที่ผานมาซึ่งจะทำใหไดเรียนรูความจริงที่มีคากวาความรูที่นักเรียน หาเองตามความสนใจ (3) ลัทธิพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) มีแนวคิดวาการศึกษาตองไดรับการปรับปรุงใหสอดคลอง กับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป การศึกษาไมควรสอนใหคนยึดมั่นในความรูที่กำหนดไวตายตัวแตตอง เปนการหาหนทางเพื่อคนหาความรูใหมๆ อยูเสมอ การเรียนควรเรียนในสิ่งที่ผูเรียนสนใจโดยยึดผูเรียน เปนศูนยกลาง บทบาทครูตามลัทธินีจึ้ งเปนผูให  คำแนะนำปรึกษาและการเรียนควรอาศัยวิธแก ี ปญ  หา (Problem solving method ) มากกวาการเที่ยวทองจำเนื้อหา (4) ลัทธิบูรณาการนิยม (Reconstructionism) มีความเชือ่ วา การศึกษาเปนเครือ่ งมือในการปฏิรปู สังคม เพื่อสรางสังคมใหมใหดีพรอมตามอุดมการณของมนุษย การศึกษาตองคำนึงถึงสังคมและสอนใหตระหนักถึง สังคมมากกวาตนเอง ครูตามแนวคิดลัทธินี้ตองเปนผูหาทางใหผูเรียนไดมองเห็นความถูกตองและความจำเปน ในการสรางสังคมใหมตามวิถีทางแหงประชาธิปไตย สวนการเรียนการสอนควรอาศัยวิธีแบบวิทยาศาสตร และ ใหความสนใจกับจุดหมายปลายทางของการเรียนรูมากกวาจะไปเนนถึงวิธีการเรียนการสอน (5) ลัทธิอัตถิภาวนิยม (Existentialism) มีแนวคิดวา มนุษยสามารถกำหนดวิถีชีวิตได โรงเรียนมีหนาที่ สรางคนใหเปนตัวของตัวเอง จึงตองใหผูเรียนมีโอกาสเลือกเรียนโดยอาศัยเหตุผลที่ใครครวญแลว จุดหมายของ การศึกษาคือการสรางคนใหรับผิดชอบในสิ่งที่ตนไดเลือกและกระทำ ครูจึงมีหนาที่สรางเด็กใหมีวินัยในตนเอง จากระบบปรัชญาการศึกษาทั้ง 5 นี้จะเห็นไดวาตางมีแนวคิดที่อาจสอดคลองและแตกตางกันออกไป ซึ่งเราไมสามารถตัดสินไดวา ลัทธิใดถูกหรือผิดหรือใครดีกวากัน การนำแนวคิดตางๆ ที่ปรากฏในปรัชญา การศึกษามาใช นักการศึกษาจะใชตองอาศัยหลักการผสมผสานบนความเหมาะสมกับสภาพทางสังคมไทย ในแตละยุคสมัย ดังนั้นปรัชญาการศึกษาจึงยังคงทำหนาที่เสมือนแสงสวางนำทางที่ชวยใหการจัดการศึกษา ของประเทศไทยบรรลุผลสำเร็จตอไป


29 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

5. ทฤษฏีทางการศึกษาที่เกี่ยวของกับการปฏิรูปการเรียนรู ความมุง หมายของการศึกษาถือเปนสิง่ สำคัญทีก่ อใหเกิดแนวทางในการจัดการศึกษาของประเทศ เพราะ ความมุงหมายของการศึกษาเปนเปาหมาย อุดมการณหรือความตองการที่วางไวเพื่อเปนแนวทางในการจัด การศึกษา ซึ่งอาจแตกตางกันไปตามความคิด ความเชื่อของปรัชญาที่แตละบุคคลยึดถือ และอาจเปลี่ยนแปลง ไปไดตามเวลาและสภาพการณของประเทศ ในสวนของความสำคัญของการศึกษาไดมีผูก ลาวถึงไวหลายประเด็น ซึ่งในภาพรวมแลวก็เปนที่ยอมรับกันดีวาการศึกษามีบทบาทสำคัญในการพัฒนาคนซึ่งเปนพื้นฐานสำคัญใน การพัฒนาประเทศในทุกๆ ดาน ดังนั้นสังคมและประเทศชาติคงไมอาจพัฒนาไดหากขาดการใหความสำคัญ กับภาคการศึกษา ทฤษฎีทางการศึกษาที่จะนำเสนอตอไปนี้เปนทฤษฎีการเรียนรูทั้ง 5 ของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาแหงชาติ จัดทำขึ้นเพื่อนำมาใชพัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพื่อเตรียมคนใหสามารถเผชิญกับ สภาพกระ แสสังคม ที่เปลี่ยนแปลง ไปไดอยางรวดเร็วทั้งใน ปจจุบันและ อนาคต (หทัยรัตน ศักดิ์เนรมิต, 2544 : 118 – 119) ซึ่งประกอบไปดวย (1) ทฤษฎีการเรียนอยางมีความสุข มีองคประกอบที่ชวยทำใหการเรียนของเด็กดำเนินไปอยาง มีความสุข 6 ประการ คือ (1.1) การยอมรับวาเด็กเปนมนุษยที่มีหัวใจและสมองสามารถตัดสินเลือกเรียนได ดวยตนเอง (1.2) ครูมีความเมตตาเปนแบบอยางที่ดีแกเด็ก มีจิตสำนึกในการเปนผูใหและมีความพรอมเพื่อ การสอนอยางมีคุณภาพอยูเสมอ (1.3) เด็กมีความภาคภูมิในตนเองรูจักตนเองยอมรับจุดดี จุดดอย และ พรอมที่จะปรับปรุงแกไขตนเอง (1.4) เด็กมีโอกาสเลือกเรียนตามความถนัดความสนใจและความสามารถตน (1.5) บทเรียนสนุกจูงใจใหคนหาความรูเพื  ่อพัฒนาความคิด และสัมพันธกับวิถีชีวิตจริง และ (1.6) สิ่งที่เรียนรู สามารถนำไปใชในชีวิตประจำวันได (2) ทฤษฎีการเรียนรูแบบมีสวนรวม มีแนวคิดวาการเรียนรูจากครูซึ่งเนนเนื้อหาเปนหลักไมเพียงพอ ตอการดำรงชีวติ อยางมีคุณภาพในปจจุบนั เพราะสังคมเปลีย่ นแปลงเร็ว สิง่ ทีต่ องสราง คือ มิตใหม ิ ทางการศึกษา ใหเปนการศึกษาตลอดชีพ สรางสังคมแหงการเรียนรู ซึ่งหนทางที่จะนำไปสูมิติดังกลาว คือ การสอนใหผูเรียน สามารถแสวงหาความรูไดดวยตนเองไดปฏิบัติจริงเรียนรูจากสิ่งแวดลอมรอบตัว โดยผูเรียนตองรับผิดชอบตอ การเรียนรูของตนเอง (3) ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิด เปนทฤษฎีที่เห็นความสำคัญของการพัฒนาการคิด ของผูเรียนจึงไดคนหาวิธีการตางๆ เพื่อนำมาใชพัฒนาความสามารถดานการคิดซึ่งแนวทางที่นักการศึกษาใช ในการพัฒนาการคิดสามารถสรุปได 3 แนวทาง คือ (3.1) การสอนเพื่อใหคิด (Teaching for thinking) เปนการเสริม การปรับเปลีย่ นการสอนเนือ้ หาวิชาการเพือ่ เพิม่ ความสามารถในดานการคิดของเด็ก (3.2) การสอน การคิด (Teaching of thinking) เปนการสอนเพื่อฝกทักษะการคิดโดยเนนกระบวนการทางสมองที่นำมาใช ในการคิดโดยเฉพาะ และ (3.3) การสอนเกี่ยวกับการคิด (Teaching about Thinking) เปนการสอนที่เนนการใช ทักษะการคิดเปนเนื้อหาสาระในการสอนเพื่อชวยใหผูเรียนไดรูและเขาใจวาตนรูอะไร ตองการอะไร และยังไมรู อะไรตลอดจนควบคุมการคิดของตนเองได


30 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

(4) ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อการพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย : ศิลปะ ดนตรี กีฬา มีแนวคิดวา การพัฒนาการเรียนรูดาน ศิลปะ ดนตรี กีฬา อยูบนพื้นฐานของหลักการเรียนรู 3 สวน คือ หลักความเหมือน หลักความตาง และหลักความเปนตัวของตัวเองบนรากเหงาทางวัฒนธรรมของชุมชน (5) ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อการพัฒนาสุนทรีภาพและลักษณะนิสัย : การฝกฝนกาย วาจา ใจ มีแนวคิด  บทของสังคมยุคใหมดวยการกำหนดลักษณะนิสยั ใหครอบคลุมคุณธรรมและ ในการเตรียมเด็กใหสามารถเขาสูบริ จริยธรรมพื้นฐานที่สำคัญ คือ (5.1) มีมารยาทและวิถีแหงการปฏิบัติตนทางกาย วาจา ใจขั้นพื้นฐาน (5.2) มีสติ สัมปชัญญะในการครองตัว (5.3) มีคุณธรรมประจำตน (5.4) รักในเพื่อนมนุษย และ (5.5) รักในธรรมชาติ การจะสรางลักษณะนิสัยดังกลาวนี้ใหกับเด็กไมใชมาจากการจดที่ครูสั่งแตตองใชกลยุทธการสอน ใหมๆ เชน การเรียนรูดวยเกม กิจกรรม การฝกสมาธิ การเรียนรูจากชีวิตจริง การแนะแนวจากครู และ มีการประเมินผลอยางตอเนื่อง ซึ่งครูจำเปนตองเอาใจใสการพัฒนาลักษณะนิสัยเด็กอยางจริงจัง

6. แนวคิดที่สำคัญเพื่อปฏิรูปการเรียนรู แนวคิดสำคัญทางการศึกษาที่ถูกกลาวถึงในการพัฒนาการศึกษาปจจุบันมีดังนี้ (1) แนวคิดการศึกษาเพื่อปวงชน เปนแนวคิดที่เห็นวาการศึกษาเปนสิทธิและหนาที่ของประชาชน ทั้งชาติ แตละประเทศนำแนวคิดนี้มาใชโดยตราเปนกฎหมายใหมีการศึกษาภาคบังคับที่กำหนดไปวาประชาชน จะตองเลาเรียนในโรงเรียนเปนเวลาอยางนอยกี่ป (2) แนวคิดโอกาสอันเทาเทียมกันทางการศึกษา เปนแนวคิดที่คูเคียงกับแนวคิดการจัดการศึกษา เพือ่ ปวงชน โดยการวางแผนพัฒนาการศึกษาผูวาง  แผนจะนำแนวคิดเรือ่ งความเปนธรรมในสังคมมาประกอบการ วางแผนเพราะเปนที่ยอมรับวา การศึกษาที่ไมเปนธรรมจะถือวาเปนการพัฒนาการศึกษาที่สมบูรณได (3) แนวคิดการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เปนแนวคิดดัง้ เดิม ที่ใชมาจนปจจุบันในการรางหลักสูตรการศึกษาตองมีความสอดคลองกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศ (4) แนวคิดการศึกษาตลอดชีวิต เปนแนวคิดที่ริเริ่มโดยองคกร UNESCO ซึ่งมีหลักคิดอยูวาสังคม ยุคใหมเปลีย่ นแปลงเร็ว ความรูค วามสามารถของคนอาจลาหลังใชการไมไดถาไมไดรบั การศึกษาเพิม่ เติมอยูเสมอ  ในปจจุบันแนวคิดทั้ง 4 ถือวามีบทบาทสำคัญในการจัดและพัฒนาการศึกษาเพราะเปนแนวคิดที่ สอดคลองกับสภาพสังคมในปจจุบันเปนอยางดี กระบวนการเรียนรูเกี่ยวของกับสิ่งตาง ๆ (ชัยอนันต สมุทวณิช, 2543 :184) คือ (1) ตัวความรู (Body of knowledge) วิชาตางๆ ที่มีลักษณะแยกเปนรายละเอียด มีการจัด ในรูปของแขนงหรือหมวดวิชา โดยอาจมีบูรณาการเชื่อมโยงกันหรือแยกสวนกันก็ได ตัวความรูนี้ มีปรากฏ ในรูปของตำรา สื่อการสอนหลายประเภท ตลอดจนตามสื่ออื่นๆ เชน อินเทอรเน็ต (Internet) วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ นิตยสาร วารสาร หนังสืออางอิง และ (2) การรู (Knowing) ไดแกและวิธกี ารทีผู่ ส อนแนะนำสัง่ สอน ใหผูเรียนใชในการแสวงหาตัวความรู หรือผูเรียนมีความอยากรูและหาวิธีการแสวงหาสิ่งที่อยากรูนั้นดวยตนเอง ในทางพุทธศาสนากลาววามนุษยประกอบดวยขันธ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ โดย (1) รูป ซึ่งอาจตีความหมายไดวาคือรางกาย (2) เวทนา ซึ่งอาจตีความหมายไดวาคือ ความรูสึก (Feeling, Senses) (3) สัญญา ซึ่งอาจตีความหมายไดวาคือ ความจำ (Memory) (4) สังขาร ซึ่งอาจตีความหมายไดวา


31 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

คือ ธรรมารมณทั้งปวง เชน ความคิดเรื่องสิ่งใดดีสิ่งใดไมดี เจตคติ เปนตน (Sense of values, Attitude, etc.) ซึ่งรวมเรียกวาดานจริยะ (Affective domain) และ (5) วิญญาณ ซึ่งอาจตีความหมายไดวาคือความรู และ เนือ่ งจากมนุษยนีย้ อมหนาไปดวยอกุศลมูล (โลภ โกรธ หลง ) ซึง่ ทำใหทุกขยิง่ ในพุทธประวัตกล ิ าววาพระพุทธองค ทรงพยายามอยางยิง่ ทีจะ ่ หลุดพนไปจากความทุกข ไดทรงศึกษาโยคะก็แลว ทรงศึกษาตะบะก็แลว ก็ยังไมหลุดพน ไปได พูดอยางธรรมดาๆ ก็วา พระองคพยายามพัฒนาขันธทั้ง 5 อยางยิ่ง โดยวิธีตางๆ กัน จนในที่สุดโดยวิธี ของพระองคเองทรงเขาใจในเรื่องไตรลักษณ ปฏิจจสมุปบาท อริยสัจสี่ มรรคมีองคแปด และอื่นๆ และวิธีการ ตางๆ จนกระทั่งตรัสรู และทรงหลุดพนไปได ซึ่งเปนผลของการพัฒนาขั้นสูงสุด หรือพูดอยางธรรมดาก็คือ พระองคไดประสบความงอกงามขั้นสูงสุดจนหลุดพนไปไดนั่นเอง เมื่อประมวลความคิดดังกลาวเขาดวยกัน ก็พอจะกลาวไวสำหรับใชในการดำเนินการศึกษาของเยาวชน หรือบุคคล ทั้งปวง ในสังคมไดวา “การศึกษาคือ ความงอกงามเนื่องจากไดพัฒนาขันธทั้ง 5 ของแตละบุคคลเพื่อลดอกุศลมูลใหเหลือนอยที่สุดเทาที่จะทำได“ (สาโรช บัวศรี, 2517 : อางถึงโดย สุนทร โคตรบรรเทา, 2544 : 32–33) โดยบทบัญญัติที่จะสามารถบอก ทิศทางและกำหนดกรอบการปฏิบัติที่ทุกฝายในชาติจะตองยึดถือตามคือ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งบังคับใชตั้งแตวันที่ 20 สิงหาคม 2542 อันมีผลใหเกิดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งเปนวาระสำคัญ แหงชาติ ตามแนวคิ ด ของศาสตราจารย ดร.สาโรช บั ว ศรี การศึ ก ษาจะเกิ ด ขึ ้ น ได ขั น ธ ท ั ้ ง 5 ของมนุ ษ ย ตองถูกพัฒนา ซึ่งในสภาพการณปจจุบันเครื่องมือที่จะชวยใหการพัฒนาขันธทั้ง 5 ใหประสบผลไดนั้นคือ การปฏิรูปการเรียนรู ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 6 ไดกลาวถึงลักษณะคนไทย ที่พึงประสงค คือเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู คุณธรรม มีจริยธรรม และ วัฒนธรรม ในการดำรงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ทั้งนี้ในความหมายดังกลาวก็คือมนุษย ที่ถูกลดอกุศลมูลใหเหลือนอยที่สุดเทาที่จะทำได สำหรับในมาตรา 7 ไดกลาวถึงเปาหมายของกระบวนการ เรียนรู ไววาตองมุงปลูกฝงจิตสำนึก ที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรง  เปนประมุข รูจ กั รักษาและสงเสริม สิทธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิศ์ รีความเปนมนุษย ภาคภูมใจ ิ ในความเปนไทย รูจ กั รักษาผลประโยชนของสวนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งสงเสริมศาสนาและศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและความรู อันเปนสากล อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝรูและเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง ซึ่งกลาวโดยสรุปก็คือการพัฒนาขันธทั้ง 5 ของมนุษยนั่นเอง และทั้งมาตรา 6 และ 7 จะสำเร็จลุลวงไดนั้นตองอาศัยมาตรา 8 : การจัดการศึกษา โดยเปน การจัดการศึกษาตลอดชีวิต สังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรูอยาง ตอเนื่อง ตอจากนี้ไปการเรียนการสอนที่เรียกวา ครูเปนศูนยกลาง (Teacher centered) ก็จะลดความสำคัญลง จะเหลือไวใชในกรณีที่ผูสอนตองการถายทอดความคิดรวบยอด (Concept) เกี่ยวกับเรื่องตางๆ บางครั้ง บางคราวไปยังผูเรียนเทานั้น และในหลายๆ กรณี การพัฒนาความคิดรวบยอดในตัวผูเรียนอาจกระทำ ดวยตัวผูเรียนเองก็ได ดวยการปฏิบัติทดลองซึ่งจะทำใหผูเรียนเรียนรูและสรางความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ เรื่องนั้นๆ ขึ้นมาเองได การเรียนรูของผูเรียนจะเกิดขึ้นโดยผานกระบวนการเรียนดวยการแสวงหาความรูและ ทดลองปฏิบัติดวยตนเอง เปนกระบวนการเรียนรูที่เกิดขึ้นควบคูกับพัฒนาการดานคุณธรรมและจริยธรรม


32 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ในตัวผูเรียน (รูปที่ 1) หลังจากที่ทุกฝายเขาใจบทบาทและภารกิจของตนแลวการปฏิรูปการเรียนรูก็จะเกิดขึ้น ซึ่งคำถาม ที่รอ คำ ตอบ จากทุกฝายก็คือ ผูเรียน ไดเพิ่มความ ดี ความ เกง และ ความ สุขมากนอยเพียงใด

เนื้อหากิจกรรมสอดคลองกับ ความสนใจและความถนัด

เรียนรูไดทุกเวลาทุกสถานที่ ประสานกับผูปกครอง ชุมชน เพื่อพัฒนาผูเรียน

สรางสภาพแวดลอมการเรียนรู สื่อการเรียน สิ่งอำนวยความสะดวก การเรียนรู

ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การแกปญหา

เรียนจาก การปฏิบัติ ทดลอง คิดเปน ทำเปน ใฝรู รักการอาน

ปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม

รูปที่ 1 วิสัยทัศนกระบวนการเรียนรู (ที่มา : ดิเรก พรสีมา, ปฏิรูปการศึกษาไทย, 2543 : 42)

7. บทสรุป ปญหาในการพัฒนาศักยภาพคนไทยสวนใหญจะอยูในด  านคุณภาพการศึกษา ซึง่ ยังเปนปญหาตอเนือ่ ง และตองเรงรัดแกไขอยางเรงดวน ยิ่งถากระบวนการเรียนรูที่ทำกันอยูในบางแหงเนนที่การสอนแบบครู เปนผูสอนมากเกินไป การทำเชนนี้ไมชวยใหเด็กผูเรียนสามารถพัฒนาตนเองไดสูงสุดตามศักยภาพไดจึงมีความ จำเปนที่จะตองปรับเปลี่ยนเสียใหม ใหมีกระบวนการเรียนรูที่เนนเด็กเปนศูนยกลาง เพื่อใหเด็กพัฒนาศักยภาพ ตนเองไดอยางเต็มที่อยางรอบดาน ทั้งความรู ความสามารถ และคุณลักษณะ สามารถเรียนรูวิธีคิดวิเคราะห อยางมีเหตุผล วิธีการแสวงหาความรูเพิ่มเติมและมีการเรียนรูทักษะชีวิตที่จำเปนในการพัฒนาตนเอง สภาพความเปนจริงในปจจุบันและแรงผลักดันตางๆ ที่เปนตัวกำหนดการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นกับ โลกหรือประเทศไทยในอนาคต โดยเฉพาะการศึกษาจะตองพัฒนาคนโดยมีจุดหมาย ใหเปนชีวิตที่มีคุณคา ในตัวของเขาเอง ใหเปนชีวิตที่งดงามและสมบูรณในตัวเอง ซึ่งอาจจะใชคำวาเพื่อความเปนมนุษยที่สมบูรณ การที่เราสนับสนุนใหคนมีการเรียนรูมากนั้น ถาการเรียนรูนั้นเปนไปในทางสนองแนวคิดแบบเดิมก็เทากับวา เราสงเสริมใหมนุษยเรียนรูไปในการหาผลประโยชน เพราะฉะนั้นจะตองมีความชัดเจนในความหมายและ วัตถุประสงคของการเรียนรู แนวคิดสำคัญทางการศึกษาที่ถูกกลาวถึงในการพัฒนาการศึกษาปจจุบัน เชน แนวคิดการศึกษาเพื่อ ปวงชน แนวคิดโอกาสอันเทาเทียมกันทางการศึกษา แนวคิดการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ


33 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

และสังคมของประเทศ และ แนวคิดการศึกษาตลอดชีวิต ในปจจุบันแนวคิดทั้ง 4 ถือวามีบทบาทสำคัญในการ จัดและพัฒนาการศึกษาเพราะเปนแนวคิดที่สอดคลองกับสภาพสังคมในปจจุบันเปนอยางดี ลักษณะคนไทยที่พึงประสงค คือเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู คุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข และเปาหมายของ กระบวนการเรียนรู ตองมุงปลูกฝงจิตสำนึก ที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรง  เปนประมุข รูจ กั พึง่ ตนเอง มีความคิดริเริม่ สรางสรรค ใฝรและ ู เรียนรูด วยตนเองอยางตอเนือ่ ง ตอจากนี้ไปการเรียนการสอนที่เรียกวา ครูเปนศูนยกลางก็จะลดความสำคัญลง ผูเรียนก็จะไดรับการเพิ่ม ความดี ความเกง และความสุขมากขึ้น

บรรณานุกรม กฤษณพงศ กีรติกร. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานอุดมศึกษา ในแผน พัฒนาอุดมศึกษาในแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว. (อัดสำเนา), 2550. คณะกรรมการการอุดมศึกษา, สำนักงาน. การสังเคราะหองคความรูเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียน เปนสำคัญ. (อัดสำเนา), 2548. . คูมือการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา. ภาพพิมพ, 2550. . กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565). (อัดสำเนา), 2551. ชัยอนันต สมุทวณิช . “ ทรรศนะ แนวคิด แนวทางในการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู “ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปที่ 25 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2542 – มกราคม 2543. กรุงเทพ ฯ, 2543. นวลจิตต เชาวกีรติพงศและคณะ. การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ. ภาพพิมพ, 2545. พิมพพันธ เดชะคุปต. การเรียนการสอนทีเน ่ นผูเ รียนเปนสำคัญ : แนวคิด วิธี และเทคนิคการสอน1. เดอะมาสเตอร กรุปแมเนจเมนท, 2544. ดิเรก พรสีมา. ปฏิรูปการศึกษาไทยทำอยางไร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ ส.รุงทิพย ออฟเซ็ท, 2543 ประเวศ วะสี. การพัฒนาประชาธิปไตยและการปฏิรูปทางการเมือง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพหมอชาวบาน, 2537. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต) . การสรางสรรคปญญาเพือ่ อนาคตของมนุษยชาติ กรุงเทพฯ :มูลนิธพุิ ทธธรรม, 2540. สัญลักษณ เทียมถนอม. การศึกษาไทยในสถานการณโลก : กรุงเทพฯ, สำนักพิมพมิติใหม, 2543. สุนทร โคตรบรรเทา. รวมบทความและงานเขียน ศาสตราจารย ดร.สาโรช บัวศรี การศึกษา ปรัชญาการศึกษา ประชาธิปไตยและจริยธรรม : กรุงเทพฯ, ชมรมเด็ก, 2544. หทัยรัตน ศักดิ์เนรมิต. แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยในสังคมยุคสารสนเทศ : กรุงเทพฯ, ภาคนิพนธ, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2544 . แอลแลน, เอียน. (Allan, Ian 2550). (ราง) กรอบคุณวุฒิแหงชาติสำหรับการศึกษาระดับอุดมศึกษาของ ประเทศไทย. แปลจาก The Development of a Higher Education Qualifications framework โดย ทองอินทร วงศโสธร. (อัดสำเนา).



เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง รูปแบบการพัฒนาบัณฑิตแบบองครวม (Whole Person Development) : กรณีศึกษาจาก Lingnan University



The “Spine” of the Curriculum: General Education Precisely Defined Eugene Eoyang Chen Professor Emeritus of Humanities, Lingnan University Director of General Education, 2000-2008 The notion of General Education had its origins in the late nineteenth century as a corrective against the extremes of vocationalism and the excesses of over-specialization, and as a replacement for the classical education which was then taught at university. But from its beginning, General Education harbored two dialectically (if not categorically) opposed objectives: one, to provide the maximum variety in the curriculum; the other, to provide a “common core” which every student must learn. Each objective, if carried to an extreme, can lead to abuses. Breadth of exposure may lead to dilettantism, and a “common core” can turn into an intractable dogmatism and curricular rigidity. The drive toward a balanced curriculum resulted in the notion of distribution, where a student was required to take a number of courses in each of several categories, usually designated as the natural science, the social sciences, and the humanities.1 Special courses were designed in each of these areas for those who were not specializing in those fields. As for the core curriculum, two strategies were used, one a specially designed set of courses that surveyed Western civilization (which was the approach that John Erskine and his colleagues attempted at Columbia University), the other was a reading of “the Great Books” (which was first attempted by Charles Mills Gayley at Berkeley in 1901, and then advanced by Robert Hutchins and Mortimer Adler in the 1930s at the University of Chicago and ultimately adopted at St. John’s College). The attempt at breadth reflected the notion of “universal learning,” which John Cardinal Henry Newman, among others, saw as the essence of a university. A century later, Clark Kerr was to update this notion with his concept of the university as a “multiversity”. If the university is to be a seat of learning, the student who studies at a university must, in a sense, sample the multifarious academic offerings a university has to offer. However, with the explosion of knowledge, and the proliferation of academic departments to encompass an expanding knowledge base, it became increasingly difficult for anyone to master all fields: the possibility of being a “Renaissance Man,” adept in all fields of knowledge, was all but precluded in a constant and continuing proliferation of new fields and areas of study. When academic departments were established at Harvard and the University of Virginia in 1825 in emulation of the German university system, there were but a handful of departments. Virginia started off with seven: ancient languages, modern languages, mathematics, natural philosophy, moral philosophy, chemistry, and medicine.2 1 2

Harvard, in the early part of the century, and the University of Chicago in the middle, divided the natural sciences into the physical sciences and the biological sciences. Cf. W. H. Cowley and Don Williams, International and Historical Roots of American Higher Education (New York: Garland Publishing, 1991).


38 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

By the beginning of the 20th century, Columbia University had 42 departments; a hundred years later, it had 85.3 One of the reasons that a Renaissance man is not possible in the modern world is simply because there are incomparably more fields to master than there were in the Renaissance. The attempt to instill breadth into the university curriculum depended on a certain academic synecdoche, where a part stood for the whole. There could be no possibility of comprehensive coverage. And so General Education invented distribution requirements, where students were required to take a number of courses in each of three broad areas. However, it was not feasible for students to take merely any course in the various disciplines intended for specialists and majors; special courses had to be devised for the non-specialists, and these remain a staple of General Education offerings today. As for a core curriculum, a monolithic program of study no longer seems possible, or even desirable. Even the concept of the canon is not universal: different cultures exemplify different attitudes toward canons that include and that exclude. In Christianity, to cite an exclusively Western example, the Biblical canon is different in the Protestant and Catholic traditions. A core curriculum of “great books” is vulnerable to the same criticism that a classical education was subjected to in the late nineteenth century.4 If, however, the “Great Books” curriculum has succeeded in its various iterations, it has not been because of the quality of the content, but in the teaching methodology, where students are enjoined to confront each text on his or her own, without the crutch of secondary sources or a lecturer telling them what to think. The other objective of General Education, breadth, is both simpler and more difficult to address: simpler because by encouraging more free electives, the student can pursue virtually any subject he or she wants; more difficult because the student cannot always be relied upon to make the most sagacious choice of subject matter. But General Education has always wavered between breadth and coherence, between an uncommon variety and a common core. It was asked to serve two objectives: one, to maintain a minimum standard of intellectual quality among all students no matter what the specialization, and two, to provide the student with a broad perspective and a certain coherence to his otherwise disparate studies. These two objectives, while not mutually exclusive, tend to conflict with each other. Diversity makes it difficult to establish a common metric; and a core tends to impose a canon of essential texts on the student.5 3

4

5

Hershey H. Friedman, “The Obsolescence Of Academic Departments,” Radical Pedagogy 3:2 (Fall 2001), http:// radicalpedagogy.icaap.org/content/issue3_2/friedman.html; accessed 2008.7.15. Unlike the classics, which are an unarguable and finite canon, “Great Books” are constantly expanding, as a result of the growing awareness of other cultures and the graduate recognition of their classics. The difficulty of a common metric is, by the way, not restricted to General Education. In some ways, the grading system itself is an arbitrary fiction which, for the sake of convenience, everyone adopts. No one could insist on the exact equivalence of grades across disciplines: that, say, an A in one course is exactly equivalent, in either order of difficulty or in value, to an A in another course. As Harry Lewis has said, “. . . when there is no agreement even on what is an A and what is a B, much less on what is a B and what is a B+, it makes no sense to average out one professor’s As with another’s Bs”; Excellence Without a Soul: Does Liberal Education Have a Future? (New York: Public Affairs Press, 2006), p. 121.


39 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

Whenever minimum standards fall, as they did in the late nineteenth century with the proliferation of electives championed by Charles Eliot, president of Harvard, and again a century later, in the 1970s and 1980s with the fervor for multiculturalism and ethnicity, General Education is invoked to restore quality control. It is clear that neither the extreme of one curriculum for all, nor the extreme of totally free choice makes for a meaningful and relevant educational experience. Those who insist on a common core are compelled to defend the core canon; but giving the student unlimited options may also lead to intellectual chaos, where a college education is “just a bunch of courses.” The “vocationalism” of the late nineteenth century is different from preparing for a job in the twenty-first century. In the nineteenth century, and for most of the twentieth century, one could rely on the job one secured, and the profession one entered, to be a lifetime proposition. The position you found at graduation and the profession you trained for essentially set you up for life. Now, with outsourcing, downsizing, corporate takeovers, and employees looking for an occupation they enjoy, the “vocation” one studies for in university will not always sustain a career.6 To be prepared for the future, one must learn how to be adaptable and a narrow focus on a particular specialty is no longer as practical as it was a century ago.7 The problem with minimum standards is, as always, a matter of definition. Whose minimum? The grammar that an English professor has to perfect needs to be both more precise and more complex than the grammar that an engineer uses. In many cases, grammatical mistakes do not affect meaning for the engineer, and there are disciplines and fields where proficient English is not necessary. Should one insist on the same minimum when 90% of the population is literate as when less than 5% of the population was literate? And what about the minimum standard for university students? Should we expect the same minimum standards when the university population is as much as 20 times what it was two generations ago? When E. D. Hirsch, Jr. published his book on cultural literacy, he was essentially saying that no one is literate who does not know what he knows. It may be shocking to meet a Stanford graduate (as I have) who did not know what the Oedipus Complex was, but not many are dismayed that many literate people do not know Newton’s Third Law of Thermodynamics. Any canon tends to be ethnocentric if not egocentric. That might have been acceptable half a century ago, when all one needed to be cosmopolitan was to know only about Western civilization, but today, a global canon would be so voluminous that it would be hard to encompass in one course— or even several. The answer in many curricula is to be, as they say, eclectic, to choose examples from as many different cultures as possible and to focus on the texts selected. The choice is not quite random, but it isn’t arbitrary either. 6 7

Of course, doctors and dentists are exceptions, although I suspect that not a few dentists and doctors have second thoughts sometime in their careers. It is ironic that the same students who insisted on practical vocational training complained after the Great Depression “that they did not have a broad enough education to allow them to adapt to other types of jobs” (Kenneth Boning, “Coherence in General Education: A Historical Look,” The Journal of General Education 56:1, 8; also, McGrath, E. J., et al., “General education in professional education,” in G. M. Whipple (Ed.), The thirty-eighth yearbook of the National Society for the Study of Education, part II: General education in the American college (pp. 219–256). Bloomington, IL: Public School Publishing Co., 1939), pp. 219-56.


40 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

World literature courses are attempts to expose the student to as many different cultures as possible. Organized around a theme or character, choices can be made not on the basis of their relative importance in the culture (establishing such a hierarchy would be interminable, if not, ultimately, futile), but on how they illustrate a different perspective on the theme or character chosen. In this exercise, it is often pedagogically more effective to contrast examples from non-cognate cultures, where the social and philosophical paradigms are discernibly, sometimes dramatically, different. For example, the campaign among some humanists to promote cultural literacy tends to ignore other forms of literacy. While many scientists and engineers incorporate the humanities in their lives—playing an instrument, read mysteries, visiting art galleries, not many humanists are sufficiently knowledgeable about the importance of science in our lives, aside from the usual lip service about the “technological revolution” that is part of modern life. Brian Greene, the author of The Elegant Universe, a very readable exposition on the “arcane” field of “string theory” in physics, has written: “America’s educational system fails to teach science in a way that allows students to integrate it into their lives.”8 At bottom is the conception of what Greene calls “the vertical nature of science”: “You must master A before moving on to B. Certainly, when it comes to teaching the technicalities . . . the verticality of science is unassailable.” “But science is so much more than its technical details,” Greene insists. “And with careful attention to presentation, cutting-edge insights and discoveries can be clearly and faithfully communicated to students independent of those details; in fact, those insights and discoveries are precisely the ones that can drive a young student to want to learn the details. What Greene describe is a General Education course on science. Greene is right—” We must embark on a cultural shift that places science in its rightful place alongside music, art and literature as an indispensable part of what makes life worth living”—as part of a General Education curriculum. Recent attempts to modify the General Education have not always made sense. Harvard University, for example, convened a faculty committee to revise its General Education program in 2002 and, after three years of deliberation, admitted it was stymied. It reverted back to a laissez-faire solution, and devised a curriculum which apportioned roughly equal numbers of slots in various fields, and let the departments decide how to occupy these slots. Harry Lewis, Jr., who was dean of Harvard college from 1995- 2003, described the effort this way: . . . a draft report on the new general education requirement was floated. One member of the committee responsible for the report described its substance in this way: “In the end the committee thought the best thing was to put a row of empty bottles up there and see how the faculty wanted to fill them.” Student reporters described the Faculty as “frustrated by an endeavor that has faltered for lack of time, guidance, and a unifying principle.” “How could the Faculty of a great university talk for two years about the most basic questions of undergraduate education and come up with a curriculum consisting of empty bottles?”9 Harry Lewis’s

8 9

“Put a Little Science in Your Life”, The International Herald-Tribune, June 2, 2008, p. 6. Excellence Without a Soul: Does Liberal Education Have a Future? (New York: Public Affairs, 2007), p. 24


41 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

exasperation with Harvard is almost palpable.10 The way out of the dilemma of combining coherence and breadth in General Education is to require a sequence of courses in different categories, where the first, and required category would include courses on Critical Thinking, Logic, or Epistemology. Subsequent categories could focus on different perspectives: whether interdisciplinary or crosscultural. But General Education courses cannot be merely slightly revised versions of introductory courses in a subject: they must be tailored to the nonspecialist audience. The nature of specialization being what it is, courses tailored to non-specialists are generally regarded as less challenging than those in a specialty, but this is a common misconception. Just because a course is not “advanced” does not mean that it has to be less intellectually challenging. Indeed, one is dubious about the assumption, rarely challenged, that an advanced course is always more difficult that an “elementary” course. The reason a General Education can be more challenging is that it questions the premises that are often taken for granted in each discipline: the emphasis on empirical evidence in science; the reliance of quantitative data in the social sciences; and the dependence on intuition and imagination in the humanities. General Education courses that make sense of the curriculum must validate each discipline in the context of an overall perspective on heuristic methodologies. Properly taught, they will enhance rather than detract from the curricular offerings in each discipline. At present, “General Education” connotes many things to many people. For some it reflects a principle of balance: if one is going to specialize in one of the three general areas of study—generally defined in the United States as the humanities, the social sciences, and the natural sciences— then one needs to be at least passingly familiar with the other two. For others, it is a rubric under which to lump all sorts of basic courses, from English composition to computer literacy. But, properly understood, General Education is none of these things. The concept of General Education, like any powerful idea, is often subject to misinterpretation. Perhaps it would be useful to stipulate what General Education is not before one proceeds to determine what it is. General Education is not a random selection of unrelated courses; it is not even a “balanced diet” of disparate academic offerings; it is not intellectual dilettantism. Its concern with fundamental issues – indeed with the concept of the fundamental – does not preclude its being analytically rigorous or philosophically astute. General Education involves not one discipline, but many: philosophy, for its speculations on reality and truth; social science, for its focus on human experience; natural science, for its emphasis on empirical and experimental evidence as the basis for truth; literature, for its insights into works of the imagination and its appreciation of art in words; the arts, for their exploration of, and their participation in, expressions of feeling and forms of beauty. General Education courses ought never to be the foundational, introductory courses in any discipline: it is not Economics, Physics, or 10

By contrast, Portland State University, faced with severe budget cuts, and not favored by the Oregon State legislature, analyzed the problem and came up with a viable program, called “University Studies”, which was implemented despite the usual faculty squabbles over compensation, academic priorities, and territoriality. See “The Portland State University Studies Initiative: General Education for the New Century (Part 1),” guest edited by Leslie Rennie-Hill and Michael A. Toth, The Journal of General Education, 48.2 (1999).


42 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

Biology 101. These courses are to initiate the specialists in these fields to further study in the discipline. But what is appropriate to the foundational course in a specialty who is to take many more courses in the discipline cannot be appropriate for a student whose General Education course in a particular discipline is likely to be his or her first and last course in that discipline. The student who majors in a discipline needs a first flight of stairs to take him to the next higher level, but the students in a General Education course will not be pursuing further studies in that field, so its objective is perforce different. Its emphasis is not on rules or on formulas that may last only a few years, but on principles and precepts that will last a lifetime. It is always asking enduring questions rather than merely producing modish and fashionable answers. Its object is to teach the student, not the subject; its objective is to take closed minds and open them. It offers, instead of training that will become quickly outmoded, a habit of discovery and of selfdiscovery that will sustain the student through the volatile and unpredictable future. To that end, General Education should provide courses that will integrate the skills and the insights gained in other courses. The goal of the program is to instill in students an unquenchable desire for learning, as well as to transmit the techniques by which they can continue their education themselves after the degree. Other courses may equip students with the means that will enable them to function effectively in a profession; General Education courses should address the fundamental questions of life: what to live for, why one must constantly strive to improve, and how to find inner peace. If other courses teach the student what she or he needs to know, General Education is preoccupied with the questions one should be thinking about. Properly conceived, General Education courses do not compete with courses in specific disciplines: they enhance those courses. The ideal General Education makes sense of all the other courses in the curriculum. My vision of General Education might best be illustrated by a double metaphor: General Education is the “spine” of the curriculum in two senses: first, it is the spine, as in the spine of a book, which keeps the pages (the other courses) together; second, it is the spine, as in the spine along the back of the body, which connects up with all parts of the anatomy, and gives both flexibility and rigidity to the torso. Just as the spine in the body is the nerve center of the body, so an effective General Education Program should be the nerve center of the curriculum, making connections from one course to another, making some sense of the curriculum. It should not be viewed as either supplementary or complementary, and it should not be taught by a ghetto of “General Education” specialists, who might be effective teachers but who are not active researchers in their field. General Education should be taught by senior as well as junior staff. What follows are suggestions of what I believe should be offered in a healthy General Education curriculum. First, it should provide a strong foundation in the first year of critical thinking, methods of analysis, or the epistemology of knowledge as a preparation for the other courses, and not just General Education courses, in the university curriculum. By “foundation” I do not intend the word as a euphemism for “remedial”. General Education foundational courses should teach the intellectual tools of analysis, critical thinking, and syncretic speculation.


43 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

Second, General Education should provide options for each student to complement (or compensate for) their primary area of interest. There ought to be humanities courses for science and business students; science courses for humanities students; social science courses for humanities and natural science students. These are what I call showcase courses, because they “showcase” the field to those who have not yet been initiated to it. There is a twofold purpose: one, to acquaint the non-specialist with some understanding of the scientific perspective; and two, to attract students to disciplines about which they were heretofore ignorant. These courses are, in some sense, reflective: they situate a discipline or a field of study in a larger, multiple perspective, whether cross-cultural or interdisciplinary. Third, there should be offerings in what I call synergistic courses across the disciplines that would engage more than one methodology and view the world from more than one perspective. General Education should promote new courses with new methodologies, new approaches, new perspectives. For example, an economics course could compare different economies across the world, which would involve not merely a concern with the financial aspects of an economy, but with the cultural and sociological aspects of a culture or country; another course could focus on “string theory” in physics and music (this might involve a team-taught course with a particle physicist and a musicologist interested in music theory); lefthandedness in the universe and society, involving both parity theory in particle physics (the work of Yang Chen-ning and Lee Tsung-dao) and lefthandedness in society and language, could well stimulate crossdisciplinary insights in a provocative course; “The Topic of Cancer” could be the title of a course involving epidemiology, genetics, environmental studies, medicine, sociology, toxicology on a subject of great general interest. I have taught a course on “Cross-Cultural Studies in Film, in which Western (mainly American) and Asian films (mainly Chinese) were used to compare and contrast different mindsets on such themes as: cross-dressing (Some Like It Hot and Farewell My Concubine); old age (Tokyo Story and On Golden Pond); love and companionship (The Road Home and When Harry Met Sally); extramarital relations (Love in the Afternoon and Springtime in a Small Village); romance (Chunhyang and Wuthering Heights). An intriguing course could be designed on the subject of “Corruption, Collusion, and Connections (guanxi),” which would involve economics, ethics, cultural studies, sociology, political science, and would interest students in international business and international affairs as well as anthropology and area studies students. The subject would be of interest to anyone who does business, or intends to do business, around the world— which, in this globalized world, means virtually everyone. I’ve often thought that a fascinating course could be taught in “Invention, Imagination, and Entrepreneurship”, focusing on the innovative ideas in science, intellectual history, and commerce. The point about these courses is that they address crucial issues that cannot be adequately addressed in one discipline or in one department. Some of the most important issues confronting the world today cannot be consigned to one discipline (peace is another candidate for a topic that must be studied across disciplines). The way the academic and research institutions are routinely set, a research topic is not likely to get the attention it deserves if it does not fall within a coherent discipline. But the reason why intractable questions have eluded us may not be because they are too complicated to solve, but because they


44 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

require too many disciplines to interact heuristically with each other. The model of what is unknown, despite our tendency to assume otherwise, may not resemble the models with which we are already familiar. Not only may this be true: it may also explain why certain unknowns remain unknown for as long as they do. To stimulate the creation of these courses, one should never ask anyone to teach a General Education course as such, since few people know that a General Education course is. What I recommend is that one invite faculty to teach a course that is not restricted to the required or elective courses in their department, but rather to design a course that might be fun to teach. Surely, academics have had their noses held to the academic grindstone so much that many of them wouldn’t welcome an occasional course that would expand their horizons and satisfy their curiosity. Too many faculties teach the same thing year after year; for them to undertake a totally different teaching experience is not only to expand their horizons but to reinvigorate their teaching.11 General Education should not viewed merely as a stimulus for students; it could also be part of a faculty’s attempt to keep itself fresh and vibrant by teaching every now and then a venturesome course for a disparate body of students. One positive pedagogical effect of provocative General Education courses is that they would challenge the hegemony of each discipline, the tendency of a specialized methodology to vaunt its own strengths, and to denigrate all other competing methodologies. Only by engaging the student in these comparative and contrastive challenges across disciplines and fields of study can a university “make sense” to the student, so that a college curriculum is not simply “a bunch of courses”. These interdisciplinary courses would synergistically reinforce each other, as well as reinforce the holistic nature of knowledge and of knowing, rather than, as too often happens at present, its balkanization into separate and isolated research preoccupations. In making presentations about General Education at Lingnan University, I felt the need to create a logo, a visual symbol of what General Education represents, Not endowed with a budget to hire a logo-development firm, I had to resort to a simple crudely designed image, as follows: As I reviewed this logo, the semantics of the design began to emerge. First of all, the logo is an encompassing circle, reminding us that General Education is more holistic than analytical, more integrated than fragmentary: it should not be viewed as either complementary or supplementary, but as an integral part of a liberal arts education (the A’s, if you like, of the ABCs). The second feature of the logo that bears comment is the style of the G and the E, and their juxtaposition. There is an attempt at symmetry, at a dialectic rather than a categorical opposition: the two letters reflect and deflect each other: they are nearly the same but they are different. Visually, then, this similarity and dissimilarity represents the basis of all understanding, seeing analogies and homologies at the same time that one recognize salient differences. The “E” is also reversed, a deliberate distortion of orthography, but one which does not undermine the recognizability of the “E”. Aesthetically, there is a dynamic between the G and the E which represents the synergies we spoke of in the last chapter. The logo turns out to be very apt for my vision of General Education: holistic, synergistic, and dialectical. 11

At Lingnan University, within eight years, and without financial incentives, the number of instructors teaching General Education courses over an eight year period increased from ten to fifty, or from 8% to over 40% of the faculty.


เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง Integrated Learning Program (ILP) การผลิตบัณฑิตแบบองครวม



Integrated Learning Program (ILP) การผลิตบัณฑิตแบบองครวม : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน รองศาสตราจารยสุภาพ ณ นคร* Integrated Learning Program (ILP) หรือ Program for Integrated Learning (PIL) หรือ Integrated Learning Strategy (ILS) เปนโปรแกรมหรือกลยุทธในการจัดการเรียนรูเพื่อเสริมกับการเรียนการสอนที่ใชการ บรรยายเปนหลัก (Lecture-based Curriculum) สำหรับ Integrated Learning Program ของ Lingnan University ไดเริ่มตนใชในป ค.ศ.2001-2002 โดยมีจุดมุงหมายวาโปรแกรมตางๆ จะชวยเติมเต็มกระบวนการเรียนรู ชวย เสริมสรางวิธีการคิดและการตัดสินใจ และยังชวยใหนักศึกษาปรับตัวใหอยูรวมกับผูอื่นได และที่สำคัญคือชวย จุดประกาย (Inspire) วิธคิี ดแบบ Critical Thinking รวมทั้งขยายโลกแหงการเรียนรูเรื่องวัฒนธรรมดวย Five Domains of the ILP : มหาวิทยาลัย Lingnan ไดวางกรอบการเรียนรูของ ILP ไว 5 ดานคือ • Civic Education • Social and Emotional Development • Intellectual Development • Aesthetic Development • Physical Education ตัวอยางกิจกรรมของ ILP Civic Education Public Elections Series : • Abide by the Rules Support Clean Elections Workshop • Abide by the Rules Support Clean Elections-Marketing Proposal Writing Competition Social Services Series : • Workshop of volunteers and Voluntary Services • Healthy Cookies Workshop Global Warning and Me Series : • My Experience in Pole • Life Reflection on Global Changing Climate Art of Healthy Life Series : • Eat, Drink and Be Healthy • Secret in Body • Eating Disorders

* ผูอำนวยการสำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแกน ประธานอนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


48 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

Intellectual Development Learning to Learn Series : • Personality Dimensions and Learning Styles • Brain Gym and Learning • Dancing with Mind Map • Workshop on Brain-Based Learning Art of Thinking Series : • How to develop a Colorful Mind Thought-provoking Series : • AIDs and the Immune System • From crisis to Opportunity • Nature Exploration • Farewell Winter Career Preparation Series : • Personality Dimensions and Career Building • Powerful Presentation • Job Hunting Forum Art of Communication Series : • Enjoying English through Popular Music Physical Education : • Swimming Programmers • Ball Games • Physical Fitness • Martial Arts Social and Emotional Development : • Intra-personal Intelligence Series • Inter-personal Intelligence Series • Quality Image Talk • Positive Living Series • Training for Office-bearers of Student Societies Aesthetic Development : • Cultural Forum • Drama Programmer • Music Programmer • Visual Art Programmer • Dance Programmer • Food Making and Tasting Programmer • Traveling and Aesthetic Series • Chinese Opera Programmer


เอกสารประกอบการอภิปรายระดมความคิดเห็น



การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย รองศาสตราจารยวศิน อิงคพัฒนากุล*

1. ความนำ ปจจุบัน การผลิตบัณฑิตของสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ทั้งสถาบันอุดมศึกษาที่เปนของภาครัฐ และสถาบันอุดมศึกษาของภาคเอกชน ตลอดจนสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางนั้น ตางมุงหวังการผลิตบัณฑิต ใหมีคุณภาพ คุณธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคของสังคม ทั้งนี้ แตละสถาบันตางมีจุดเดน เอกลักษณ เฉพาะสถาบัน รวมทั้งมีศักยภาพ และขอจำกัดที่แตกตางกัน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการซึ่งเปนหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการผลิตบัณฑิตไดพยายามกำหนดมาตรฐานคุณภาพ การศึกษาใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน เชน การกำหนดมาตรฐานหลักสูตรการศึกษา การพัฒนาระบบและ กลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เปนตน อยางไรก็ตาม การดำเนินการดังกลาวนั้น เปนการดำเนินงาน ที่ใหความสำคัญกับการกำกับคุณภาพมาตรฐานที่สรางความเชื่อมั่นไดในระดับหนึ่ง และสามารถสะทอน การพัฒนาดานคุณภาพ และคุณลักษณะของบัณฑิตอันพึงประสงคของสังคม สวนการพัฒนาคุณธรรม ของบัณฑิตนั้น เปนเรื่องที่มีความสำคัญและตองใชระยะเวลานาน รวมทั้งตองระดมสรรพกำลังในการพัฒนา และปลูกฝงคุณธรรมแกบัณฑิต ดังนั้น สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงเสริมสรางความเขมแข็ง ของสถาบันอุดมศึกษาในดานที่เกี่ยวกับคุณธรรมของบัณฑิตในรูปของเครือขายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย โดยแนวความคิดดังกลาวไดพัฒนาขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2540 เปนตนมาอยางตอเนื่อง โดยใหความสำคัญกับ การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาการศึกษาทัว่ ไป การสอนสอดแทรกในรายวิชาตางๆ การบรรจุไวเปนสวนหนึง่ ขององคประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสรางจิตสำนึกของบัณฑิต ใหเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม

2. วัตถุประสงค สำนักงาน คณะกรรมการ การอุดมศึกษาไดดำเนินการ โครงการ พัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย โดย มี วัตถุประสงคในการเรงรัดพัฒนาศักยภาพนิสติ นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาใหมีความรูควบคู  กั บการมีคุณธรรม จริยธรรม เปนบัณฑิตอุดมคติไทยที่มีทั้งความเกง ความดี และความสามารถรับผิดชอบตอตนเอง ตอองคกร และสังคมโดยสวนรวม สามารถออกไปใชชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข เพื่อเปนกำลังสำคัญของการ พัฒนาประเทศ รวมทัง้ สงเสริมสนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษามีการพัฒนาความสัมพันธเชือ่ มโยงและแลกเปลีย่ น ขอมูลขาวสาร ประสบการณดานการเรียนการสอน นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร และเสริมสราง ความเขมแข็งในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ไดแก คณาจารย นิสิตนักศึกษา ใหมีจิตสำนึกดานคุณธรรม จริยธรรม เปนบัณฑิตอุดมคติไทยที่พึงประสงค โดยเนนใหมีการครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศไดอยางรวดเร็ว * อนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


52 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

และมีความคงอยูอยางยั่งยืน โดยสามารถสรุปวัตถุประสงคที่สำคัญของการดำเนินโครงการพัฒนาบัณฑิต อุดมคติไทย ดังตอไปนี้ 2.1 สรางเครือขายความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษาในการแลกเปลีย่ นองคความรู ประสบการณ การเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม 2.2 เสริมสรางสมรรถนะบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาใหตระหนักในการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม โดยการบูรณาการในเนื้อหาวิชา การสรางหลักสูตรใหม การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร รวมทั้งการถายทอดและ การแลกเปลี่ยนองคความรู 2.3 สงเสริมการสรางชุดวิชา สือ่ ประกอบการเรียนการสอน และสือ่ ประกอบการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร สำหรับการขยายผลการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย 2.4 พัฒนาเครือขาย นิสิต นักศึกษา ใหมีจิตสำนึกดานคุณธรรม จริยธรรม สามารถนำมาปฏิบัติในชีวิต ประจำวันได สามารถถายทอดสูสังคมไดอยางยั่งยืน เปนตนแบบของคนคุณภาพ

3. โครงสรางการดำเนินงานโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย จุดกำเนิดของ การดำเนินโครงการ พัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย เกิดขึ้นจากแนวความคิดของ ทบวง มหาวิทยาลัย (ในขณะนั้น) โดยไดพัฒนาโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยเพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีไดมีมติ เห็นชอบในหลักการโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2540 ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวาโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยไดมีการดำเนินการที่เปนรูปธรรมอยางจริงจัง ภายหลังจากที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย อาจกลาวไดวาการดำเนินงานโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยทีเป ่ นรูปธรรมชัดเจนนัน้ โดยสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดแตงตั้งคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน ประกอบดวย - คณะทำงานกำหนดนโยบายและกิจกรรมการสรางเครือขายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย (คำสั่ง ทบวงมหาวิทยาลัยที่ 278/2545 ลงวันที่ 30 สิงหาคม 2545) ประชุมจำนวน 4 ครั้ง - คณะอนุกรรมการเสนอแนะนโยบายและกิจกรรมการสรางเครือขายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย (คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่ 11/2546 ลงวันที่ 19 มีนาคม 2546) ประชุมจำนวน 14 ครั้ง - คณะ อนุกรรมการ พัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย (คำสั่งสำนักงาน คณะกรรมการ การอุดมศึกษา ที่ 34/2547 ลงวันที่ 28 กันยายน 2547) ประชุมจำนวน 28 ครั้ง (ขอมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2551) นอกจากนี้ เพื่อใหการดำเนินงานการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเปน การเสริมความเขมแข็งของการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดกำหนด ใหมีการสรางเครือขายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย โดยแบงเปน 6 เขตพื้นที่ และมีสถาบันอุดมศึกษา ทำหนาที่ประสานงานในลักษณะ “แมขาย” ประกอบดวย เครือขายภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหมเปนแมขาย (17 จังหวัด/ 53 สถาบันอุดมศึกษา) เครือขายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแกนเปนแมขาย (19 จังหวัด/57 สถาบัน อุดมศึกษา) เครือขายภาคกลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเปนแมขาย (12/ จังหวัด/ 105 สถาบันอุดมศึกษา)


53 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

เครือขายภาคใต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปนแมขาย (14 จังหวัด/42 สถาบันอุดมศึกษา) เครือขายภาคตะวันออก มหาวิทยาลับูรพาเปนแมขาย (8 จังหวัด/ 21 สถาบันอุดมศึกษา) เครือขายภาคตะวันตก มหาวิทยาลัยศิลปากรเปนแมขาย (6 จังหวัด/27 สถาบันอุดมศึกษา)

4. ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย 4.1 การดำเนินงานของเครือขาย จากการทีเครื ่ อขายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยไดดำเนินการอยางจริงจังมาตัง้ แตปงบประมาณ พ.ศ. 2545 ดังนั้น คณะอนุกรรมการเสนอแนะนโยบายและกิจกรรมการสรางเครือขายการพัฒนาบัณฑิต อุดมคติไทย จึงไดสรุปผลการดำเนินงานดังนี้ ปงบประมาณ พ.ศ. 2545 เปนชวงแรกของการพัฒนากรอบความคิดและแนวทางปฏิบัติสำหรับ การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย เนื่องจากคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย จึงจำเปนตองแปลงนโยบายสูการปฏิบัติเพื่อใหสัมฤทธิ์ผลที่เปนรูปธรรม ปงบประมาณ พ.ศ. 2546 ใหความสำคัญกับการสรางเครือขายความรวมมือระหวางสถาบัน อุดมศึกษาในแตละภูมภิ าค สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงสนับสนุนงบประมาณการพัฒนาเครือขาย บัณฑิตอุดมคติไทยขึ้น จำแนกเปน 6 เครือขาย ดังรายละเอียดที่กลาวไวแลวในตอนตน นอกจากนี้ คณะอนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยไดสรุปผลการดำเนินงานของโครงการ พัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ดังนี้ ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 เพื่อใหเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงานพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ปงบประมาณ พ.ศ. 2547 จึงเปนปแรกที่เครือขายตางๆ ไดดำเนินกิจกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ที่เปนรูปธรรมอยางจริงจังและตอเนื่อง ปงบประมาณ พ.ศ. 2548 การดำเนินงานของเครือขายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยมีความชัดเจน และมีความเขมแข็งมากยิ่งขึ้น แตยังเปนการดำเนินงานโดยแตละเครือขาย ขาดการกำหนดทิศทางรวมกัน ทำใหขาดการสรางพลังหลักในการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ปงบประมาณ พ.ศ. 2549 ผลการดำเนินงานเครือขายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยไดขยายผล มากยิ่งขึ้น กอใหเกิดผลกระทบกับสังคมในวงกวาง แตละเครือขายมีการพัฒนาตนเองใหมีความเขมแข็ง มากยิ่งขึ้น ปงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพิ่มบทบาทการดำเนินงาน ของเครือขายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ภายใตโครงการคุณธรรมนำความรูระดับอุดมศึกษา ผลการดำเนินงานการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยในระดับการปฏิบัติตามนโยบาย โดยเครือขาย การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยทั้ง 6 เครือขาย ระหวางปงบประมาณ พ.ศ. 2546 ถึงปงบประมาณ พ.ศ. 2548 สามารถจำแนกไดเปน 2 สวน คือ การบริหารจัดการเครือขาย และการดำเนินกิจกรรมของเครือขาย โดยพบวา แตละเครือขายมีโครงสรางการบริหารจัดการเครือขาย และการดำเนินกิจกรรมของเครือขายที่แตกตางกัน โดยแตละเครือขายจะไดรับการสนับสนุนงบประมาณการบริหารเครือขายแตกตางกัน ขึ้นอยูกับจำนวนสถาบัน


54 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

อุดมศึกษาในเครือขาย และในแตละปงบประมาณนั้น สถาบันเครือขายจะจัดทำแผนปฏิบัติงานของเครือขาย เสนอสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณา ดังรายละเอียดตอไปนี้ 4.1.1 เครือขายภาคเหนือ บริ ห าร เครื อ ข า ย ใน ลั ก ษณะ คณะกรรมการ/ คณะ อนุ ก รรมการ โดย ประกอบด ว ย คณะกรรมการประสานกิจเครือขายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาคเหนือเพือ่ พัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย คณะกรรมการ บริหารเครือขายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาคเหนือตอนลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย และคณะอนุกรรมการ บูรณาการเครือขายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาคเหนือตอนลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย โดยกำหนด ใหมีการประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการปละ 2 ครั้งในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน และพื้นที่ภาคเหนือ ตอนลาง รวมทั้งจัดตั้งเครือขายรอง 4 สถาบัน ไดแก มหาวิทยาลัยแมโจ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง มหาวิทยาลัย นเรศวร และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค กำหนดใหมีการประชุมปละ 1 ครั้ง โดยไดรับงบประมาณ สนับสนุนการดำเนินงานเครือขายจำนวน 170,000 บาทตอป รวมทั้งเงินสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมจาก สถาบันอุดมศึกษาในเครือขาย สวนกิจกรรมการดำเนินงานของเครือขายประกอบดวยกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรูระหวางเครือขาย กิจกรรมวิชาการ และกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 4.1.2 เครือขายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การบริหารจัดการเครือขายโดยใชคณะกรรมการบริหารเครือขายซึ่งประกอบดวยสถาบัน อุดมศึกษาในเครือขายจำนวน 16 คน มีการประชุมปละประมาณ 4-5 ครั้ง และนำเสนอผลงานของเครือขาย ปละ 1 ครั้ง โดยไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจำนวนปละ 170,000 บาท และงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมจากสถาบันอุดมศึกษาในเครือขาย ซึ่งกิจกรรมการดำเนินงานของ เครือขาย ประกอบดวยกิจกรรมพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนานักศึกษา กิจกรรมการสัมมนาและนำเสนอผลงานประจำป กิจกรรมการจัดทำเอกสารและสื่อเผยแพรประชาสัมพันธ และกิจกรรมการวิจัยตามสถาบันอุดมศึกษาเครือขายการบัณฑิตอุดมคติไทย 4.1.3 เครือขายภาคกลาง กำหนด โครงสร า ง การ บริ ห าร เครื อ ข า ย ใน ลั ก ษณะ คณะกรรมการ ประสาน กิ จ และ คณะอนุกรรมการจำนวน 3 ชุด คือ คณะอนุกรรมการการสรางรายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณะอนุกรรมการ การสอนที่เนนความรูคูคุณธรรม และคณะอนุกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา กำหนดใหมีการประชุมทุก 2 เดือน และมีการประชุมเพือ่ สรุปผลการดำเนินงานเครือขายปละ 1 ครัง้ โดยไดรบั งบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาจำนวนปละ 170,000 บาท และเรียกเก็บจากสถาบันอุดมศึกษาในเครือขาย สถาบันละ 3,000 บาทตอป ทั้งนี้ เครือขายภาคกลางสามารถดำเนินกิจกรรมดานพัฒนาบุคลากรเครือขาย กิจกรรมดานสงเสริม องคความรูใหม  กิจกรรมดานการจัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู กิจกรรมดานการประชุมวิชาการเครือขายประจำป และกิจกรรมการสัมมนาเพื่อหาทิศทางรวมกันในประเด็นปญหารวมของทุกสถาบัน 4.1.4 เครือขายภาคใต จากการที่ลักษณะทางภูมิศาสตรของภาคใต ประกอบกับการเกิดภัยพิบัติธรรมชาติ และ ความไมสงบสุขในพื้นที่อยางตอเนื่อง ทำใหการสรางเครือขายภาคใตที่มีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปน


55 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

แมขายมีขอจำกัดในการปฏิบัติงาน แมวาจะไดมีความพยายามพัฒนาเครือขายภาคใตแลวก็ตาม แตเครือขาย ภาคใตสามารถดำเนินงานเครือขายไดคอนขางจำกัด โดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดสนับสนุน งบประมาณจำนวน 170,000 บาทตอป โดยเครือขายภาคใตไดดำเนินกิจกรรมการประชุมสถาบันเครือขาย กิจกรรมการพัฒนากระบวนการเรียนรูคุณธรรม จริยธรรม และทักษะชีวิตในสถาบันอุดมศึกษาเครือขายภาคใต 4.1.5 เครือขายภาคตะวันออก บริหารจัดการโดยคณะกรรมการเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยภาคตะวันออก กำหนดการ ประชุมปละ 3 ครั้ง และไดรับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจำนวน 110,000 บาท ตอป และงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันอุดมศึกษาเครือขายในการจัดกิจกรรมของเครือขายซึ่งประกอบ ดวย กิจกรรมการประชุมวิชาการ กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ และกิจกรรมการสัมมนาทางวิชาการ 4.1.6 เครือขายภาคตะวันตก ดำเนินการบริหารจัดการในรูปของคณะกรรมการบริหารเครือขายภาคตะวันตกเพื่อพัฒนา บัณฑิตอุดมคติไทย จัดการประชุมปละ 1 ครั้ง และคณะอนุกรรมการบูรณาการเครือขายภาคตะวันตกเพื่อ พัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย เปนการจัดประชุมหมุนเวียนตามสถาบันอุดมศึกษาในเครือขายจำนวน 6 ครั้งตอป ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจำนวน 110,000 บาทตอป และ งบประมาณสนับสนุนจากสถาบันอุดมศึกษาเครือขายในการจัดกิจกรรมของเครือขาย คือ กิจกรรมการ จัดทำแผนการดำเนินงานเครือขาย กิจกรรมวิชาการสัญจร กิจกรรมคายอาสาพัฒนาชนบท กิจกรรมการแขงขัน กีฬาเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย กิจกรรมสัมมนาเชิงชวยเหลือดานวิชาการสถาบันอุดมศึกษาเครือขาย ภาคตะวันตก กิจกรรมทางศาสนาเพื่อสันติภาพ กิจกรรมเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี กิจกรรมสัมมนาทางวิชาการนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาเครือขายภาคตะวันตกเพื่อพัฒนาบัณฑิต อุดมคติไทย กิจกรรมฝกอบรมบัณฑิตอุดมคติไทยภาคตะวันตกเพื่อการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ศิลปวัฒนธรรมและ สิง่ แวดลอม กิจกรรมรณรงคเมาไมขับ ลดอบายมุข งดเหลาเขาพรรษา กิจกรรมออกแบบตราสัญลักษณเครือขาย บัณฑิตอุดมคติไทย และกิจกรรมแตงเพลงเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยภาคตะวันตก จากรายละเอียดดังกลาว พบวา แตละเครือขายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยมีความแตกตาง กันในดานรูปแบบการบริหารจัดการเครือขาย การไดรับการจัดสรรงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา การสนับสนุนงบประมาณการดำเนินกิจกรรม และการดำเนินกิจกรรมของสถาบันอุดมศึกษา ในเครือขาย ซึ่งจะมีขอจำกัด และศักยภาพของแตละเครือขายที่แตกตางกันไป โดยคณะอนุกรรมการพัฒนา บัณฑิตอุดมคติไทยมีสวนสำคัญในการติดตามตรวจสอบผลการดำเนินงานของเครือขาย 4.2 การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ขอบเขตการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยเกี่ยวของโดยตรงกับ ผลการดำเนินงานจากการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย โดยแบงออกเปน 4.2.1 แผนพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย (พ.ศ. 2549-2551) การจัดทำแผนพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยเปนผลสืบเนื่องมาจากนโยบายการยกระดับ คุณภาพมาตรฐานการอุดมศึกษาไทย ซึ่งใหความสำคัญในเรื่องคุณภาพบัณฑิต แผนดังกลาวเกิดจาก


56 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

การบูรณาการกฎหมาย นโยบาย แผนระดับตางๆ ผลการวิเคราะหเชิงยุทธศาสตร รวมกับการระดมความคิด ของผูท เ่ี กีย่ วของกับนิสติ นักศึกษาจากทุกภาคสวน และถายทอดลงไปสูก ารปฏิบตั ผิ า นเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย มีรายละเอียด ดังนี้ วิสัยทัศน “พัฒนาสังคมอุดมปญญา เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย” 1. 2. 3. 4.

พันธกิจ เพื่อกำหนดกรอบคุณลักษณะบัณฑิตอุดมคติไทย เพื่อจัดทำขอเสนอแนวทางการดำเนินงานพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย เพื่อสรางองคความรูเพื่อการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย เพื่อสงเสริมสนับสนุนการสรางบัณฑิตอุดมคติไทยของสถาบันอุดมศึกษา

ประเด็นยุทธศาสตร 1. สรางสรรคองคความรูพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย 2. สงเสริมศักยภาพสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย 3. สนั บ สนุ น ความ ร ว มมื อ ระหว า ง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ที ่ มุ  ง เน น การ พั ฒ นา นั ก ศึ ก ษา แบบองครวม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

8.

กลยุทธการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ศึกษากรอบคุณลักษณะบัณฑิตอุดมคติของสังคมไทย พั ฒ นา ระบบ บริ ห าร จั ด การ ของ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ที ่ มุ  ง เน น การ พั ฒ นา นั ก ศึ ก ษา แบบองครวม พัฒนาอาจารยและบุคลากรเพื่อการพัฒนานักศึกษา จัดหลักสูตรและกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อการพัฒนานักศึกษา สรางองคความรูเกี  ย่ วกับการพัฒนานักศึกษาในรูปแบบตาง ๆ ทีหลากหลาย ่ เพือ่ ใหเกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน พัฒนาความเขมแข็งของเครือขายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย การสรางความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษากับหนวยงานภายนอก (สถานประกอบ การ หนวยงานเอกชน องคกรเอกชน การศึกษาระดับพื้นฐาน รัฐวิสาหกิจ และผูใช บัณฑิต) การเสริมสรางความยัง่ ยืนของโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยและโครงการเครือขาย การพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย

4.2.2 โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมเพือ่ พัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยโดยผานเครือขาย บัณฑิตอุดมคติไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดดำเนินการคุณธรรมนำความรู ซึ่งเปนไปตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ โดยใหความสำคัญกับเครือขายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ดังนั้น


57 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

จึงพัฒนา “โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยโดยผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติ ไทย” ขึ ้ น เพื ่ อ อาศั ย ความ เข ม แข็ ง ของ เครื อ ข า ย ใน การ ผลั ก ดั น ให เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ ใน การ ดำเนิ น งาน โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ 1. สงเสริมและสนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษาในแตละเครือขายไดรวมคิดรวมพัฒนา หลักสูตร รูปแบบและกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนาคุณภาพ บัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 2. สงเสริมใหสถาบันการศึกษาในแตละเครือขายไดรวมคิด สรางกิจกรรมในและนอก หลักสูตรการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ รวมทั้งการเผยแพรกิจกรรมที่มีการดำเนิน งานที่มีผลสัมฤทธิ์สูง เพื่อเปนรูปแบบที่ดีใหแกสถานศึกษาอื่น ๆ 3. ผลักดันใหมีการจัดกิจกรรมการเรียนรูรวมกันทั้งในสวนแมขายและเครือขายสถาบัน อุดมศึกษาในภูมิภาค เพื่อพัฒนาคุณภาพบัณฑิตอยางตอเนื่อง เพื่อสรางประสบการณและเครือขายการเรียนรู ระหวางสถาบันการศึกษาในแตละเครือขาย 4. จัดใหมีกิจกรรมการเรียนรูรวมกันอยางตอเนื่อง ระหวางบุคลากรทางการศึกษาและ สถานศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ เพื่อพัฒนาแนวคิดและสรางนวัตกรรมในการพัฒนาผูเรียนเพื่อใหถึง จุดมุงหมายการผลิตบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอยางยั่งยืน 5. สรางโอกาสการมีสวนรวมของนิสิตนักศึกษา บุคลากรทางการศึกษาและประชาชน ทั่วไปในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการมีสวนรวมในกิจกรรมสัมมนาตางๆ เพื่อแสดงความคิดเห็น ในประเด็นการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมโดยใชคุณธรรมเปนพื้นฐานของกระบวนการเรียนรูตางๆ 6. จัดสัมมนาและ/หรือเสนอผลงานการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตในเครือตางๆ ทั้งนี้ กำหนดใหมีการดำเนินกิจกรรมรวมกับเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยในการดำเนิน กิจกรรมที่ตอบสนองวัตถุประสงคดังกลาว โดยประกอบดวย ดานการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป : ศาสตรในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม เพื่อสรางคนดีใหแผนดิน กิจกรรมการฝกอบรมเทคนิคการสอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในรายวิชาตางๆ ดานกิจกรรมนักศึกษา กิจกรรมประชุมเชียรและรับนองใหมอยางสรางสรรค กิจกรรมสรางภูมิตานทานแกนักศึกษาเพื่อการใชชีวิตที่มีเหตุผล กิจกรรม เสริมสรางความ เปนไทยเพื่อกอใหเกิดการรักชาติ กตัญูตอแผนดินและ สรางจิตสำนึกสาธารณะแกนักศึกษา คณะอนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยและเครือขายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยได พัฒนาโครงการเพื่อรองรับ “โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยโดยผานเครือขาย บัณฑิตอุดมคติไทย” ประกอบดวย


58 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

การสัมมนาผูนำกิจกรรมประชุมเชียรและรับนองใหม เรื่อง รูปแบบการพัฒนากิจกรรม ประชุมเชียรและรับนองใหมเชิงสรางสรรค การสรางภูมิตานทานแกนักศึกษาเพื่อการใชชีวิตที่มีเหตุผล การเสริมสรางความเปนไทยเพื่อกอใหเกิดการรักชาติ กตัญูตอแผนดินและสรางจิต สาธารณะแกนักศึกษา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป : ศาสตรในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมเพื่อสรางคนดีใหแผนดิน การพัฒนาผูสอนวิชาศึกษาทั่วไป : เทคนิคการสอนเพื่อปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมสงเสริมการปฏิบัติศาสนกิจเพื่อใหนิสิตนักศึกษามีคุณภาพชีวิตที่ถึงพรอมดวย กาย วาจา ใจ ยิ่งขึ้น กิจกรรมการเฟนหาคนดีของสถาบันเพื่อการสรางคนดีตนแบบ (Role Model) 4.2.3 การจัดประชุมวิชาการ/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/การสัมมนา ระหวางปงบประมาณ พ.ศ. 2546 ถึงปงบประมาณ พ.ศ. 2551 คณะอนุกรรมการพัฒนา บัณฑิตอุดมคติไทยและเครือขายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยไดรวมกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดใหมีการประชุมวิชาการ/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/การสัมมนาที่เกี่ยวกับการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยทั้ง ในระดับชาติและระดับเครือขาย โดยเฉพาะในสวนของการประชุมวิชาการ/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/การสัมมนา ในระดับเครือขาย 4.2.4 การพัฒนากรอบแนวคิดดานคุณธรรมจริยธรรมเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย คณะอนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยไดพัฒนากรอบแนวคิดดานคุณธรรมจริยธรรม เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยโดยเสนอใหสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาใชเปนกรอบในการกำหนด องคประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถาบันอุดมศึกษา ทั้งนี้ คณะกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา (ค.ป.ภ.) พิจารณาแลว มีความเห็นวาเรื่องคุณธรรมจริยธรรม เป น เรื ่ อ ง พื ้ น ฐาน และ วั ด ได ยาก และ มีข อ เสนอ แนะ ให นำเสนอ บน เว็ บ ไซต ของ สำนั ก งาน คณะกรรมการ การอุดมศึกษาเพื่อเผยแพรใหสถาบันอุดมศึกษาพิจารณานำไปใชประโยชนในการพัฒนานักศึกษา


การสรางรายวิชาคุณธรรมผานกระบวนการบูรณาการศาสตร ชวลิต โอฬาพิริยกุล1, 2

“ผูสอนเปลี่ยนผูเรียนเปลี่ยน เปลี่ยนผูเรียนผูสอนเปลี่ยนอีก” 1. บทนำ ปรากฏการณโลกาภิวัตนซึ่งเทคโนโลยี-เศรษฐกิจ-การเมือง สังคม-วัฒนธรรม ทรัพยากร-สิ่งแวดลอม และจิตวิญญาณมีความเกี่ยวพันที่สงผลกระทบซึ่งกันและกันอยางรวดเร็ว ทำใหวิถีชีวิตของสังคมเปลี่ยนแปร และเปลี่ยนดุลยตลอดเวลา ศักยภาพความรูเทาทันปรากฏการณที่เกิดขึ้นอยางเขาใจ ศักยภาพสามารถกำหนดรู กำหนดเลือกได เหมาะควร และอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข เปนอีกลักษณะคุณธรรม-จริยธรรมที่พึงประสงค กระบวนการ เรียนรูคุณธรรม ที่เนน การ คิด อยางมีวิจารณญาณ ใหเกิด กระบวนการรูเรียน รูเทา ทันการณ เทาทันตน และการชีวิต โดยการบูรณาการสหศาสตร และเทคนิคกระบวนสอนในหองเรียน จึงเปน อีกแขนงศาสตรที่ควรสงเสริมพัฒนา

2. ความคิดรวบยอด การรวมกันศึกษา พัฒนา และขยายผลคุณคาแหงคุณธรรม จริยธรรม และทักษะชีวิต โดยคนรุนหนึ่ง ที่มีประสบการณชีวิต และความชำนาญในศาสตรการสอน สูคนอีกรุนหนึ่งผานกระบวนสอนเนื้อหารายวิชานั้น อาจดำเนินการได โดยการรอยเรียงความหลากหลายของสาระแหงสหศาสตร ประสบการณชีวิต และยุคสมัย ที่มีความเชื่อมโยงเกี่ยวของกัน ใหเลื่อนไหลผานจริตของผูเรียนดวยเทคนิคกระบวนสอนที่เหมาะสม เพื่อกระตุน ใหผูเรียนเกิดคิดแงมุมใหม และเห็นมุมมองใหมที่เหมาะควร ดวยบรรยากาศทุกคาบการสอนที่ผอนคลาย และเปนมิตร และดวยเทคนิคการสอนที่ประกอบดวย กิจกรรม เกม ภาพ และคำพูดคำถามที่เราความคิด ทำใหผูเรียนตางคิด ใครครวญ และตัดสินใจเลือกแสดง แงมุมความเห็นตน แลกเปลี่ยนกัน โดยผูสอนอาจตะลอมใหเกิดเรียนรูสาระของบทเรียน หรือปลอยใหกระแส ความเห็นเลื่อนไหลไปตามจริตที่ตางกัน.. ดวยความหลากหลายแหงมุมมองทีแต ่ ละผูเ รียนเสนอ และบรรยากาศการเรียนทีมี่ เสรีภาพทางความคิด การณแหงบทเรียนอาจแปรพัฒนาไป ตามกระแสทัศนคติ และสภาพนิยมแหงยุคสมัยของผูเรียน ซึ่งผูสอนก็รู ปรับบทเรียน เพื่อประคองกระแสเรียนรูใหตอเนื่อง และมีพัฒนาการเชิงบวก

1 2

ผูชวยศาสตราจารย ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


60 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

การสรางรายวิชา (กระบวนการเรียนรู) คุณธรรม “นอกจากผูสอนไดบูรณาการศาสตรเปนบทเรียนแลว ยังได กลุมผูเรียนที่ (คอนขาง) สนใจ ทำใหกระบวนการสรางรายวิชาคุณธรรม นอกจากกอใหเกิด กระบวนการศึกษาวิจัยทดลอง (เพื่อสรางสาระบทเรียน) ภาระงานสอน (เพื่อถายทอดวิถีวัฒนธรรมที่เหมาะควร และความดีงาม ผานยุคสมัย) และกลุมผูเรียน (เพื่อศึกษา-วิจัยทดลอง) แลว ยังเปนโอกาสที่จะพัฒนาระบบระเบียบวิธีศึกษา ใหขยายกวางองคความรูเปน..ศาสตรใหม คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปดสอนรายวิชา 340-324 ศาสตรและศิลปแหง ปญญาชน (Science and Arts for Intellectual) ที่มีลักษณะเปนรายวิชาบูรณาการศาสตร และยุคสมัย ดวย วัตถุประสงค จะสงเสริมพัฒนาทักษะชีวิตในผูเรียน เพื่อการดำรงตนในสังคมโลกยุคโลกาภิวัตนไดอยาง มีคุณภาพ และคุณธรรม สามารถวิเคราะหดวยการคนควา การฟง และการคิดอยางมีวิจารณญาณ และ การนำเสนอความคิด

3. ขอมูลรายวิชา 340-324 ศาสตรและศิลปแหงปญญาชน (Science and Arts for Intellectual) 3 คำอธิบายรายวิชา (ภาษาไทย) บู ร ณาการ ทั ก ษะ ชี ว ิ ต วิ ท ยา การ และ คุ ณ ธรรม เพื ่ อ การ พั ฒ นา ตน เอง สามารถ วิเคราะหและเขาใจ ชีวิต มนุษย สังคม โลก และโลกาภิวัตนดวยการคิดอยางมีวิจารณญาณ (ภาษาอังกฤษ) Integration of life skills, knowledge and virtue for self-evolution ; Ability to analyze and perceive life, man, societies, world and globalization via critical thinking . จำนวนหนวยกิจ ประเภทวิชา กลุมผูเรียน วิธีการสอน

2(1-2-3) (ชั่วโมงบรรยาย ชั่วโมงปฏิบัติการ และศึกษาดวยตนเอง) เลือกเสรี นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญชั้นปที่ 3 ขึ้นไป ( / ) บรรยาย ( / ) ปฏิบัติ - กิจกรรมกลุม ( / ) ปฏิบัติภาคสนาม ( / ) สัมมนา ( / ) อื่นๆ อาทิ อภิปราย จัดนิทรรศการ สรางชิ้นงาน ตารางสอน สัปดาหละ 1 คาบ (ทุกวันศุกร เวลา 13.00 - 16.00 น) หนวยงานรับผิดชอบ ภาควิชาวิทยาศาสตรทั่วไป คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ลักษณะการเรียนการสอน กระบวนการเรียนการสอนมุงพัฒนาทักษะ และความสามารถเชิงสังคมแกผูเรียน ดวยวิธีกำหนด สถานการณใหผูเ รียนเกิดกระบวนการเรียนรูขึ น้ เองไดในตน ภายใตการมีปฏิสมั พันธรวมกับสมาคมทีประกอบด ่ วย กลุม ผูเ รียน และผูส อนทีมี่ ความตางวัย ตางประสบการณ ตางความเชือ่ ตางภูมหิ ลัง ตางนิสยั ตางภาระรับผิดชอบ และตางความสามารถในตางดานที่ตางกัน ตามทักษะชีวิตของแตละคนที่มีสะสมกันมา สงเสริมความมี 3

รายวิชานี้ เปดสอนครั้งแรก ภาคการศึกษา 2 ปการศึกษา 2543


61 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

สัมผัสเชิงจิตวิญญาณ เขาใจการมีอยูและเปนไปของธรรม (ธรรมชาติ) รวมทั้ง การเสริมองคความรูสหศาสตร แบบบูรณการ วิธีการสอน เนนกระตุนใหผูเรียนรวมเสนอความเห็น แลกเปลี่ยนความคิด ความรู และประสบการณ ซึ่งผูเรียนมีตางกัน มีกิจกรรมกระตุนใหผูเรียนแสดงอัตลักษณ และโลกทัศนตน มีกิจกรรมที่จัดผูเรียนเปน กลุมยอย และอื่นๆ เพื่อใหผูเรียนมีโอกาส ตรวจสอบทัศนคติ และแลกเปลี่ยนประสบการณ ความรู ความเชื่อเพื่อ ตางสามารถเก็บเกี่ยวประโยชนแหงการพัฒนาตน ซึ่งตางคน ตางกัน การวัดประเมินผล

ประเมินจากคุณภาพงาน และความเปนผูมีความรับผิดชอบของผูเรียน

4. กรณีศึกษา การสอนครั้งที่ 14 4.1 คูมือการสอน ประจำภาคการศึกษา 1 ปการศึกษา 2550 ลำดับ

วัน-เดือน-ป

บทเรียน วันเขาชั้นเรียน (จ 4 มิถุนายน 2550)

1

ศ 8 มิย. 2550

นิเทศกระบวนการเรียนการสอน : เรียนรูพฤติกรรม IQ & EQ จากการดูภาพยนตร เรื่อง Good Will Hunting (ผูเรียนเขียนแนะนำตัว(ฉบับยอ) และผูสอนเกริ่นแนะนำกระบวนการเรียนการสอน)

2

ศ 15 มิย. 2550

ปฐมบท : เรียนรูประวัติศาสตร, ความเชื่อ, สังคม, วัฒนธรรม จากการดูหนัง เรื่อง อลิซาเบท ราชินพรหมจรรย ี (ผูเรียนเขียนแนะนำตัว (ตามอัธยาศัย), มอบเอกสารอานประกอบรายวิชา และ ผูสอนตกลงแผนการสอนกับผูเรียน)

3

ศ 22 มิย. 2550

คุณคา : รูเรียน เขาใจตน & รูเลือกคุณคา (ประเมินผูเรียน, ความตาง, คุณคา, ความเปนบัณฑิต)

4

ศ 29 มิย. 2550

ความเกง : เรียนรูเขาใจตน & รูคิดเชิงบวก (ความเกง - IQ - EQ - พหุปญญา - มิติมุมมองความพิการ)

5

ศ 6 กค. 2550

มองมนุษย 1 : เรียนรูเขาใจตน และ เขาใจผูอื่น (โลกทัศน - Johari Awareness - Maslow - Balance Theory)

6

ศ 13 กค. 2550

แลหนัง - แลตน : เรียนรูเข  าใจจิตใจตนเอง จากการดูหนัง เรื่อง อะบิวตี้ฟูล ไมด (A Beautiful Mind) (ความมีสมาธิ, ปรุงแตงจิต, ความโลภโกรธ หลง, ฟุงซาน, จิตใจดีงาม, การใหโอกาส)

7

ศ 20 กค. 2550

นิเทศเอกสารประกอบรายวิชาโดยนักศึกษา 1

8

ศ 27 กค. 2550

นิเทศเอกสารประกอบรายวิชาโดยนักศึกษา 2

สอบกลางภาค, ม.อ.วิชาการ, สัปดาหวิทยาศาสตร และกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูรอนครั้งที่ 24 (30 กรกฎาคม - 19 สิงหาคม 2550)


62 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ลำดับ

วัน-เดือน-ป

บทเรียน

9

ศ 24 สค. 2550

มองมนุษย 2 : เรียนรูสื่อสาร & รูสานสัมพันธ (UNO - พูดกระเซา - สื่อสารภาษาพูด - พูดดี)

10

ศ 31 สค. 2550

โลกาภิวัตน : เรียนรูเข  าใจโลก & โลกาภิวัฒน (วิเคราะหสังคมโลก - วิพากษบทความพลังเพื่อโลกสันติสุขมิไดเกิดขึ้นเอง)

11

ศ 7 กย. 2550

จินตนาการ : เรียนรูสั มผัสความงาม & พลังจินตนาการ (สูสัมผัสทางใจ - เราคุณธรรม - เราจินตนาการ - สรางสรรคความคิด)

12

ศ 14 กย. 2550

สภาพความดีงาม เราคุณธรรม (เรือมนุษย) - ความพอเพียง

13

ศ 21 กย. 2550

ปจฉิมบท : เรียนรูภัยบริโภคนิยม จากการดูหนังเรื่อง เรื่องจริงช็อกโลก (An Convenient Truth) (สัมผัสปญหาโลก,ตระหนักภัยโลกรอน,รูคุณคาเศรษฐกิจพอเพียง,ประเมินรายวิชา)

14

ศ 28 กย. 2550

ผลงานแหงการเรียนรูรวมกันโดยผูเรียน 1

15

ศ 5 ตค. 2550 วันสุดทายของการเรียน

ผลงานแหงการเรียนรูรวมกันโดยผูเรียน 2 สอบปลายภาค (6 - 19 ตุลาคม 2550)

4.2 แผนการสอน ประจำภาคการศึกษา 1 ปการศึกษา 2550 4 แผนการสอนรายวิชา 340-324 ศาสตรและศิลปแหงปญญาชน 5 คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2550 (สอนครั้งที่ 14) (ก) คำอธิบายรายวิชา (Course Description) (ภาษาไทย) บูรณาการทักษะชีวิต วิทยาการ และคุณธรรมเพื่อการพัฒนาตนเอง สามารถวิเคราะห และเขาใจชีวิต มนุษย สังคม โลก และโลกาภิวัตนดวยการคิดอยางมีวิจารณญาณ (ภาษาอังกฤษ) Integration of life skills, knowledge and virtue for self - evolution ; Ability to analyze and perceive life, man, societies, world and globalization via critical thinking. (ข) คุณสมบัติผูเรียนที่พึงประสงค 1 เปนคนใฝรู และปรารถนาจะพัฒนาตน 2 เปนผูเชื่อถือได และมีความรับผิดชอบ 3 เปนผูแตงกายสะอาด และเรียบรอย 4 เปนผูเขาเรียนทุกคาบการสอน 4 5

เอกสารแจกผูเรียน รายวิชานี้ เปดสอนครั้งแรก ภาคการศึกษา 2 ปการศึกษา 2543


63 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

5 เปนผูตรงตอเวลา (ไมเขาชั้นเรียนสาย หรือตองออกจากหองเรียนกอนหมดเวลา) 6 เปนผูมีสวนรวมในชั้นเรียนสม่ำเสมอ มีจิตอาสา และปฏิบัติหนาที่งานกลุมที่ไดรับมอบหมาย (ค) การประเมินผลการเรียน สาระการประเมิน คือ 1. ความเปนผูเชื่อถือได และมีความรับผิดชอบในเรื่องตอไปนี้ - แตงกายสะอาด และเรียบรอย - เขาเรียนทุกคาบการสอน - ตรงตอเวลา (ไมเขาชั้นเรียนสาย หรือ ตองออกจากหองเรียนกอนหมดเวลา) - มีความตั้งใจ มีน้ำใจ และมีสวนรวมในชั้นเรียน อยางสม่ำเสมอ - สงงาน (งานทำคนเดียว และงานกลุม) ที่ไดรับมอบหมายครบทุกชิ้น และตรงเวลา - คุณภาพของผลงาน (ทั้งงานทำคนเดียว และงานกลุม) 2. แบบการประเมิน - ไมมีการสอบ - มีการประเมินในทุกคาบการสอน - มีงานมอบหมายในคาบการสอน และการบาน (งานทำคนเดียว และงานกลุม) - เพื่อนรวมชั้นเรียน มีสวนรวมในการประเมินผลดวย (ง) ปฏิทินการสอน (อาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม) ลำดับ

วัน-เดือน-ป

บทเรียน

วันเขาชั้นเรียน (4 มิถุนายน 2550) 1 ศ 8 มิย. 2550 นิเทศกระบวนการเรียนการสอน 2 ศ 15 มิย. 2550 ปฐมบท 3 ศ 22 มิย. 2550 คุณคา 4 ศ 29 มิย. 2550 ความเกง 5 ศ 6 กค. 2550 มองมนุษย 1 6 ศ 13 กค. 2550 แลหนัง - แลตน 7 ศ 20 กค. 2550 นิเทศเอกสารประกอบรายวิชาโดยผูเรียน 1 8 ศ 27 กค. 2550 นิเทศเอกสารประกอบรายวิชาโดยผูเรียน 2 สอบกลางภาค, ม.อ.วิชาการ, สัปดาหวิทยาศาสตรและกีฬามหาวิทยาลัยโลกครั้งที่ 24 (30 กค. - 19 สค.50) 9 ศ 24 สค. 2550 มองมนุษย 2 10 ศ 31 สค. 2550 โลกาภิวัตน 11 ศ 7 กย. 2550 คิดจินตนาการ 12 ศ 14 กย. 2550 สภาพความดีงาม 13 ศ 21 กย. 2550 ปจฉิมบท 14 ศ 28 กย. 2550 ผลงานแหงการเรียนรูรวมกันโดยผูเรียน 1 15 ศ 5 ตค. 2550 ผลงานแหงการเรียนรูรวมกันโดยผูเรียน 2 สอบไล (6 - 19 ตุลาคม 2550)


64 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

(จ) งานมอบหมายผูเรียน ชิ้นที่ 1 (งานเดี่ยว) 6 สรุปความ เอกสารประกอบรายวิชา จำนวน 1 เรื่อง ใหผูเรียนเลือกยอความเอกสารจำนวน 1 เรื่อง จากรายการเอกสารอานประกอบราย วิชาศาสตรและศิลปแหงปญญาชนประจำภาคการศึกษาที่จัดให ลักษณะผลงาน คือ บทสรุปความซึ่งพิมพดวยขนาดตัวอักษร 14 ความยาวไมเกิน 1หนากระดาษ A4 ตามแบบฟอรมที่กำหนดให วันสงผลงาน คือ วันศุกรที่ 6 กรกฎาคม 2550 เวลา 13.00น. ชิ้นที่ 2 (งานเดี่ยว)

เขียนบทความเรื่อง “ ความปรารถนาของขาพเจา “ ใหผูเรียนเขียนบทความเรื่อง “ความปรารถนาของขาพเจา” ที่มีรายละเอียดเชื่อมโยง เหตุปจจัยของความปรารถนาแหงตัวตนของตนโดยอิสระ ลักษณะผลงาน คือ บทความซึ่งพิมพดวยขนาดตัวอักษร 14 ความยาวไมเกิน 1 หนากระดาษ A4 ตามแบบฟอรมที่กำหนดให วันสงผลงาน คือ วันศุกรที่ 14 กันยายน 2550 เวลา 13.00 น.

ชิ้นที่ 3 (งานเดี่ยว)

เสนอวิสัยทัศน ความเชื่อ จินตนาการ และโลกทัศนแหงตัวตน ใหผูเรียนเขียนผังเชื่อมโยงความคิด(Mind map / Concept map) เพื่อสื่อวิสัยทัศน ความเชื่อ จินตนาการ และโลกทัศนแหงตัวตนของตนโดยอิสระ ภายใตชื่อเรื่องตอไปนี้ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ชีวิตที่ดีงาม สังคมอุดมคติ โลกที่สวยงาม ความปกติแหงธรรม ลักษณะผลงาน คือ ผังเชื่อมโยงความคิด บนหนากระ ดาษ A4 วันสงผลงาน คือ วันศุกรที่ 14 กันยายน 2550 เวลา 13.00 น. l

l

l

l

ชิ้นที่ 4 (งานกลุม) 7

6 7

การนิเทศเอกสารประกอบรายวิชาโดยผูเรียน ใหผูเรียนเลือกจับกลุมกันเปนกลุมละ 3 คน แลวนัดประชุมกันเองเพื่อเลือกเรื่อง (จากรายการเอกสารอานประกอบรายวิชาฯ )ที่กลุมสนใจจะรวมกันศึกษา เพื่อนิเทศ ใหเพื่อนรวมชั้นเรียนฟง จำนวน 3 เรื่อง เรียงลำดับตามความสนใจ (และใหแจงราย ชือ่ เรือ่ งนิเทศ 3 เรือ่ ง พรอมรายชือ่ สมาชิกกลุม ในวันแจงเรือ่ งนิเทศ) กรณีทมี่ี กลุม สนใจ นิเทศเรื่องเดียวกันเกิน 2 กลุม ผูสอนจะพิจารณา จัดแบงเรื่องนิเทศใหเอง โดยจะ พิจารณาถึงความกอนหลังในการเสนอแจงเรือ่ งนิเทศ และ รายชือ่ สมาชิกกลุม (ซึง่ ผูส อน จะประกาศลำดับการนิเทศเอกสารฯ ของแตละกลุม ในวันประกาศกำหนดการ)

งานเดี่ยว คือ งานที่ผูเรียนแตละคนตองทำดวยตนเอง (ไมลอกงานผูอื่น) งานกลุม คือ งานซึ่งกลุมผูเรียนที่จับกลุมกันเองแลวรวมมือกันทำจนสำเร็จ


65 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ลักษณะผลงาน คือ แตละกลุมนิเทศเนื้อหาของเอกสารประกอบรายวิชาจำนวน 1 เรื่อง หนาชั้น เรียน โดยใชเวลาไมเกิน 15 นาที/กลุม (โดยอาจใชเครื่องฉายภาพ และ/หรือ เอกสารประกอบการนำเสนอได) เนื้อหาการนิเทศควรตองมี 3 องคประกอบ คือ 1 ความ สรุปเนื้อหาเอกสาร (โดยยอ) 2 ความ สรุปผลการวิเคราะห และวิจารณเนื้อหาเอกสาร 3 ความ สรุปประเด็นที่กลุมเรียนรูจากการศึกษาเอกสาร และ สงเอกสารรายงาน ความสรุปแตละองคประกอบ แยกตามแบบฟอรมที่ กำหนดใหโดยพิมพดวยขนาดตัวอักษร 14 (พรอมเอกสารประกอบการนำเสนอ (ถามี)) วันสงผลงาน วันแจงเรื่องนิเทศ คือ วันศุกรที่ 6 กรกฎาคม 2550 เวลา 13.00 น. วันประกาศกำหนดการ คือ วันศุกรที่ 13 กรกฎาคม 2550 เวลา 13.00 น. วันเสนอผลงาน คือ วันศุกรที่ 20 / 27 กรกฎาคม 2550 l l l

ชิ้นที่ 5 (งานกลุม)

ผลงานนักศึกษาประจำภาคการศึกษา1 ปการศึกษา 2551 ใหผูเรียนที่เขียนผังเชื่อมโยงความคิดเรื่องเดียวกันจับกลุมกันกลุมละไมเกิน 3 คน และนัดประชุมกันเพื่อจัดทำบอรดแสดงผังเชื่อมโยงความคิดเรื่องที่กลุมสนใจ พรอม คำอธิบายโดยยอ และจัดเตรียมเนื้อหา เพื่อนำเสนอผังเชื่อมโยงความคิดภายใตชื่อ เรื่องที่สมาชิกกลุมสนใจหนาชั้นเรียน ลักษณะผลงาน คือ 1. จัดทำบอรดนิทรรศการขนาด 45 ซม. x 65 ซม.จำนวน 1 บอรด ซึ่งมีเนื้อหา ประกอบดวย ผังภาพเชื่อมโยงความคิดจำนวนไมเกิน 2 ผังภาพ(แตละภาพมี ขนาดพอเหมาะกับหนากระดาษ A4) พรอมคำอธิบาย ซึ่งพิมพดวยขนาดตัว อักษร 14 จำนวนไมเกิน 1 หนากระดาษ A4 และ 2. นำเสนอผลงานกลุมหนาชั้นเรียน โดยใชเวลาไมเกิน 15 นาที/กลุม และจัด ทำสำเนา เอกสารผังเชื่อมโยงความคิดพรอมคำอธิบาย อีกจำนวน 1 ชุด สง ภายหลังเสร็จสิ้นการนำเสนอ วันสงผลงาน วันเสนอผลงาน คือ วันศุกรที่ 28 กันยายน / 5 ตุลาคม 2550 l


66 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

(ฉ) รายการเอกสารอานประกอบรายวิชา ขอมูลสำรวจเอกสาร ลำดับ ไมมี มี เอกสาร 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

รายการบทความอานประกอบรายวิชา ชื่อรายการหนังสือที่ (เลือกสำเนาบางบท) เอกภพ สรรพสิ่ง และมนุษยชาติ (รอฮีม ปรามาส) ธรรมชาติ จินตนาการ ความงาม มิตรภาพ และ ปญญา (ประเวศ วะสี) มนุษยกับศาสนา (ปรีชา ชางขวัญยืน และ สมภาร พรมทา) ศาสนศาสตรเบื้องตน (กีรติ บุญเจือ) วิสัชนาธรรมกับทานพุทธทาส (ประกายธรรม รวบรวม) มีอะไรในพระไตรปฎก สิ่งที่ชาวพุทธควรรู ? (พระธรรมปฎก) พุทธปรัชญาจากพระไตรปฏก (สุนทร ณ รังสี) ฤทธิศาสตร (ศิยะ ณัญฐสวามี) ปญญาวิวัฒน (สมัคร บุราวาส) โลกแหงความรู (สัญญา สัญญาวิวัฒน) ความเปนมนุษยกับพัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรม (ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม ) วิวัฒนาการทฤษฎีและการประยุกตฯ:พุทธเศรษฐศาสตร (อภิชัย พันธเสน) สังเคราะหองคความรู เศรษฐกิจพอเพียง (อภิชัย พันธเสน) ปรัชญาจีน: จากขงจื่อถึงเหมาเจอตง (เฝงอิ่วหลัน - แปลโดย ส.สุวรรณ) สรางสันติดวยมือเรา (พระไพศาล วิสาโล) คลื่นลูกที่สาม (อัลวิน ทอฟฟเลอร) สิทธิมนุษยชน เสนทางสูสันติประชาธรรม (เสนห จามริก)

หมายเหตุ : เอกสารชุดนี้จัดเปนแฟม ใหผูเรียนยืมอานประกอบการเรียนการสอนรายวิชา 340-324 ขอใหผูเรียนนำสงคืน ผูสอน ในวันปจฉิมบท (นักศึกษาที่ขาดความรับผิดชอบ โดยไมสงคืนแฟมเอกสารประกอบรายวิชาชุดนี้ จะถูก ลดเกรด / ไมไดรับการประเมินเกรด)

4.3 ผลประเมินการจัดการเรียนการสอน ประจำภาคการศึกษา 1 ปการศึกษา 2550 การจัดการเรียนการสอน (โดยสรุป) มีผลสัมฤทธิ์ “ระดับมาก” เมือ่ ประเมินอิงความคาดหวังผลสัมฤทธิ์ ตามคำอธิบายรายวิชาคือ บูรณาการทักษะชีวิต วิทยาการ และคุณธรรมเพื่อการพัฒนาตนเอง สามารถวิเคราะห และเขาใจ ชีวิต มนุษย สังคม โลก และโลกาภิวัตนดวยการคิดอยางมีวิจารณญาณ คือ หลังเรียนจบ ผูเรียนคิดวาตนเองไดรับการสงเสริมใหมีความเขาใจชีวิต (4.23), เขาใจตนเอง และ เขาใจผูอื่น (4.18), เขาใจสังคมไทย สังคมโลก และโลกาภิวัตน (4.18), เขาใจธรรมชาติ และสรรพสิ่ง (4.14) และ มีทักษะการคิดหลากหลาย อาทิ คิดนอกกรอบ และคิดริเริ่ม (4.18), คิดแวบรู และคิดแบบ หยั่งรู (3.82), คิดใครครวญหลากหลายมิติ (4.14), คิดวิเคราะห คิดเชื่อมโยงอยางรูเทาทัน และเทาทันรู (3.91), คิดแกไขปญหาเรื่องทั่วๆ ไป (4.05), คิดแยงสงสัย และแยงแบบความเชื่อตางๆ (4.05), คิดประมวล และสรุป ความคิดรวบยอด (4.00) และ มีทักษะการนำเสนอดวยการพูด (3.95) และไดรับการสงเสริมใหสนใจฟง และ อานสาระหลากหลายวิทยาการ (4.00) (คาดัชนี มีความหมายระบุระดับมากนอย คือ 5-มากที่สุด, 4-มาก, 3-พอใช, 2-นอย และ 1-ไมมี)


67 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

5. ปจฉิมบท (ความคิดเห็นของผูพัฒนารายวิชา) (ก) ปจจัยที่ทำใหผูเรียนสนใจ คือ ไมมีสอบ สามารถใชเปนรายวิชาทำเกรดได ไดแสดงความเห็นอิสระ (ไมมีผิด-มีถูก) บรรยากาศ การเรียนเปนมิตร ฟงเพลง เลนเกม ดูหนัง และไดพูดคุยแลกเปลี่ยนความเห็นระหวางกลุมผูเรียน และอื่นๆ (ข) ปจจัยทำใหผูเรียนไมสนใจ / ไมประสบความสำเร็จในการเรียน คือ ไมชอบลักษณะการเรียนการสอน ขาดความอดทน ขาดความรับผิดชอบ มีงานมอบหมายใหตอง ทำมาก ตองเขาเรียนทุกคาบ และอื่นๆ

6. ภาคผนวก (ขอมูลประเมินผูเรียน และ ประเมินกระบวนวิชา)


68 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

(ขอมูลประเมินตนกอนเรียน)

แบบประเมินตน และ ผลการประเมิน ชื่อ-สกุล ........................................................................ รหัส .......................... ภาควิชา............................. คณะ.............................................................................. วันที่ ......................... สถานที่.............................. 1 ทานคิดวา ทานสนใจฟงและอาน, มีทักษะการคิด, มีทักษะการนำเสนอ และมีความเขาใจเรื่องตอไปนี้ เพียงใด? (กรุณาตอบทุกขอโดยระบุระดับมากนอย ไดแก 5 คือมากที่สุด, 4 คือมาก, 3 คือพอใช, 2 คือนอย และ 1 คือไมมี) 5

4 3 2 1 (คาเฉลี่ย) ผลประเมิน ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) สนใจฟงและอาน สาระเรื่องซุบซิบนินทาในสังคม 2.80 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) สนใจฟงและอาน สาระวิชาการเฉพาะตำราเรียน 3.20 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) สนใจฟงและอาน สาระหลากหลายวิทยาการ 3.50 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) สนใจฟงและอาน สาระศาสนาที่นับถือ 2.85 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) สนใจฟงและอาน สาระหลากหลายความเชื่อ และศาสนา 3.15 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) สนใจฟงและอาน สาระเชิงปรัชญา และนามธรรม 2.50 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการคิด คิดนอกกรอบ คิดริเริ่ม 3.20 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการคิด คิดแวบรู และคิดแบบหยั่งรู 2.79 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการคิด คิดใครครวญหลากหลายมิติ 2.90 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการคิด คิดวิเคราะห คิดเชื่อมโยงอยางรูเทาทัน และเทาทันรู 3.15 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการคิด คิดเชิงปรัชญา นามธรรม และอุดมคติ 2.85 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการคิด คิดแกไขปญหา เรื่องทั่วๆไป 3.60 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการคิด คิดแยงสงสัย และแยงแบบความเชื่อตางๆ 3.40 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการคิด คิดฝนกระแส คานิยม และแบบการใหคุณคาตาง ๆ 2.95 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการคิด คิดประมวล และสรุปความคิดรวบยอด 3.00 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการนำเสนอดวยการพูด 2.90 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะการนำเสนอดวยการเขียน 2.90 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) มีทักษะนำเสนอความเห็น การถกแยง และแลกเปลี่ยนความเห็น 2.90 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) เขาใจชีวิต 3.50 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) เขาใจตนเอง และเขาใจผูอื่น 3.35 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) เขาใจสังคมไทย สังคมโลก และโลกาภิวัตน 3.15 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) เขาใจธรรมชาติ และสรรพสิ่ง 3.25 2 ทานคิดวา สภาพคุณงามความดี คืออะไร? .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................


69 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

(ขอมูลประเมินกระบวนวิชา)

แบบประเมินกระบวนวิชา และ ผลการประเมิน ชื่อ-สกุล ........................................................................ รหัส ..........................ภาควิชา.............................. คณะ.............................................................................. วันที่ .........................สถานที่............................... 1 ทานคิดวา กระบวนการเรียนการสอนรายวิชา 340-324 ศาสตรและศิลปแหงปญญาชน สงเสริมทาน ให สนใจฟงและอาน, มีทักษะการคิด, มีทักษะการนำเสนอ และมีความเขาใจเรื่องตอไปนี้เพียงใด? (กรุณาตอบทุกขอโดยระบุระดับมากนอย ไดแก 5 คือมากที่สุด, 4 คือมาก, 3 คือพอใช, 2 คือนอย และ 1 คือไมมี) 5 ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( (

) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) )

4 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )

3 ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( ( (

) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) )

2 1 ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( )

(คาเฉลี่ย) ผลประเมิน สนใจฟงและอาน สาระเรื่องซุบซิบนินทาในสังคม 2.73 สนใจฟงและอาน สาระวิชาการเฉพาะตำราเรียน 2.68 สนใจฟงและอาน สาระหลากหลายวิทยาการ 4.00 สนใจฟงและอาน สาระศาสนาที่นับถือ 3.36 สนใจฟงและอาน สาระหลากหลายความเชื่อ และศาสนา 3.73 สนใจฟงและอาน สาระเชิงปรัชญา และนามธรรม 3.64 มีทักษะการคิด คิดนอกกรอบ คิดริเริ่ม 4.18 มีทักษะการคิด คิดแวบรู และคิดแบบหยั่งรู 3.82 มีทักษะการคิด คิดใครครวญหลากหลายมิติ 4.14 มีทักษะการคิด คิดวิเคราะห คิดเชื่อมโยงอยางรูเทาทัน และเทาทันรู 3.91 มีทักษะการคิด คิดเชิงปรัชญา นามธรรม และอุดมคติ 3.73 มีทักษะการคิด คิดแกไขปญหา เรื่องทั่วๆไป 4.05 มีทักษะการคิด คิดแยงสงสัย และแยงแบบความเชื่อตางๆ 4.05 มีทักษะการคิด คิดฝนกระแส คานิยม และแบบการใหคุณคาตาง ๆ 3.64 มีทักษะการคิด คิดประมวล และสรุปความคิดรวบยอด 4.00 มีทักษะการนำเสนอดวยการพูด 3.95 มีทักษะการนำเสนอดวยการเขียน 3.77 มีทักษะนำเสนอความเห็น การถกแยง และแลกเปลี่ยนความเห็น 3.77 เขาใจชีวิต 4.23 เขาใจตนเอง และเขาใจผูอื่น 4.18 เขาใจสังคมไทย สังคมโลก และโลกาภิวัตน 4.18 เขาใจธรรมชาติ และสรรพสิ่ง 4.14


70 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

2 ทานมีขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนรายวิชานี้ อยางไรบาง ? (โปรดระบุ) .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................


เอกสารประกอบการนำเสนอ แนวทางการพัฒนาศาสตรแหงบูรณาการ ผานเครือขายบัณฑิตอุดมคติไทย



ทศวรรษหนากิจการนักศึกษาเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ ดร.จิรวัฒน วีรังกร*

บทนำ การพัฒนานักศึกษาเพื่อใหเปนบัณฑิตอุดมคตินั้น สถาบันอุดมศึกษาไดใชกลไกหลายดานในการ ดำเนินงาน ทัง้ กลไกดานการจัดการเรียนการสอน อาจารยทีป่ รึกษา กิจการนักศึกษา เปนตน การพัฒนานักศึกษา สูบั ณฑิตอุดมคติในปจจุบนั และอนาคตนัน้ เปนทีย่ อมรับกันโดยทัว่ ไปวาจำเปนตองใชกลไกการพัฒนาหลายดาน ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน และกลไกที่สำคัญประการหนึ่งในการพัฒนานักศึกษา คือ งานกิจการนักศึกษา ซึ่งในอดีตที่ผานมางานกิจการนักศึกษายังมีบทบาทตอการพัฒนานักศึกษาไมมากนัก แตในปจจุบันและอนาคต มีปจจัยหลายประการที่บงชี้วา งานกิจการนักศึกษาจะตองมีบทบาทมากขึ้น และมีความเกี่ยวของกับชีวิตของ นักศึกษาตั้งแตแรกเขาจนสำเร็จการศึกษา มีบทบาทที่เกี่ยวของกับนักศึกษาทุกคน เนื่องจากธรรมชาติของงาน กิจการนักศึกษาเปนงานทีไม ่ ใชลักษณะของงานประจำทีมี่ แนวทางการดำเนินงานตายตัว แตเปนงานทีมี่ ลักษณะ ของการปรับเปลี่ยนไปตามสภาวการณของสังคม ลักษณะผูเรียน และทิศทางการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย เนื่องจากในอนาคตมีเหตุปจจัยหลายประการที่นาจะสงผลตอการดำเนินงานกิจการนักศึกษาเปนอยางมาก ซึง่ ผูเกี  ย่ วของกับงานกิจการนักศึกษาควรจะไดเรียนรูเพื  อ่ การเตรียมการ เพือ่ การออกแบบรูปแบบการดำเนินงาน ที่เหมาะสม ควรไดศึกษาเพื่อประโยชนตอการเตรียมตนเองเพื่อความพรอมในการดำเนินงานในอนาคต บทความนี้ตองการชี้ใหเห็นวา ทศวรรษหนาถือเปนทศวรรษแหงการเปลี่ยนแปลงที่มีอัตราเรงสูง เปน ทศวรรษแหงความทาทายของบุคคลในวงการอุดมศึกษาทีจะ ่ ตองหากลยุทธการดำเนินงานในการพัฒนากำลังคน ที่พรอมรับมือและสนับสนุนทิศทางการพัฒนาประเทศ มีปจจัยหลายประการที่บงชี้วา ทิศทางการพัฒนา นักศึกษาของมหาวิทยาลัยควรจะตองถูกหยิบยกใหเปนวาระของมหาวิทยาลัย (University Agenda) ซึ่งกลไก การพัฒนานักศึกษาซึ่งหมายถึงกลไกกิจการนักศึกษาดวยจะตองมีความชัดเจนในทิศทางและการกาวเดิน ที่เชื่อมโยงกัน มีการจัดระบบงานที่ตองพรอมรองรับตอการปรับเปลี่ยน งานกิจการนักศึกษาจึงหนีไมพนที่จะ ตองมองหนาหาอนาคตเพื่อกำหนดทิศทางการกาวเดินบนเสนทางแหงความทาทายดังกลาว คำถามจึงมีอยูวา ทศวรรษหนางานกิจการนักศึกษา ทิศทางการกาวเดิน แนวโนมควรจะเปนไปในทิศทางใดเพื่อเปนจุดเริ่มตนของ การวิเคราะห ถกเถียง และคนหาทิศทางที่เหมาะสมตอไป

งานกิจการนักศึกษา : ยิ่งนานป ยิ่งทวีความสำคัญมากขึ้น งานกิจการนักศึกษาในอดีตสมัยยุคแรกของการจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหมๆ จุดเนนสวนใหญจะอยูที่ การปกครองนักศึกษาเพื่อดูแลใหการใชชีวิตของนักศึกษาเปนไปดวยความเรียบรอย อยูในกรอบระเบียบ * อนุกรรมการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


74 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

วินัย ตลอดจนการจัดสวัสดิการที่จำเปนตอการใชชีวิตในมหาวิทยาลัย เชน การจัดบริการดานทุนการศึกษา เปนตน ตอมาเมื่อมหาวิทยาลัยขยายตัวมากขึ้น งานกิจการนักศึกษาก็ไดมีการขยายตัวในการดำเนินงานดาน การจัดบริการและสวัสดิการเพื่อสนับสนุนการใชชีวิตของนักศึกษา การควบคุมดูแลดานวินัยนักศึกษา และ การสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาใหกวางขวางยิ่งขึ้น จวบจนถึงยุคปจจุบันแนวคิดในการพัฒนานักศึกษามุงไป ที่การพัฒนานักศึกษาแบบองครวม คือ การพัฒนาที่เนนพัฒนาการครบทุกดาน ทั้งดานสติปญญา ทักษะและ ความสามารถ บุคลิกภาพ สุขภาพ และคุณธรรม จริยธรรม ทำใหงานกิจการนักศึกษาจำเปนตองปรับบทบาท จากเดิมมามุงเนนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาเพิ่มขึ้น และเมื่อมองหนาหาอนาคต จะพบวา เสนทาง การพัฒนานักศึกษาจากนี้ไปจะมุงเนน “การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา”เพิ่มมากขึ้น เพราะบทบาทการพัฒนา นักศึกษาของมหาวิทยาลัยจะไมไดมุงเนนกระบวนการพัฒนาในสวนของการเรียนการสอนแตเพียงอยางเดียว แต ให ความ สำคั ญ ต อ กระบวนการ ด า น กิ จ การ นั ก ศึ ก ษา เพิ ่ ม มากขึ ้ น เนื ่ อ งจาก การ พั ฒ นา นั ก ศึ ก ษา ด ว ย กระบวนการ เรี ย น การ สอน แต เ พี ย ง อย า งเดี ย ว ไม อาจ สร า ง พั ฒ นาการ ให แก นั ก ศึ ก ษา ได ครบ ทุ ก ด า น ดังนั้นงานกิจการนักศึกษาจึงจำเปนตองรับผิดชอบและเติม เต็มการพัฒนานักศึกษาในสวนที่กลไกดาน การเรียนการสอนไมอาจดำเนินการไดครบถวนเชนดานบุคลิกภาพ การเสริมสรางภาวะผูนำ สุขภาพ และ ด า น คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ซึ ่ ง ใน ส ว น นี ้ จะ พบ ว า ล ว น เป น ประเด็ น สำคั ญ ที ่ สั ง คม ไทย กำลั ง เรี ย กร อ ง และ ให ความ สำคั ญ ใน ทุ ก วั น นี ้ ดั ง นั ้ น จึ ง เห็ น ได ว า งาน กิ จ การ นั ก ศึ ก ษา ใน ป จ จุ บ ั น และ อนาคต จึ ง มิ ใช งาน ใน เชิง สนับสนุน การ พัฒนา นักศึกษา ใน รูปแบบ ของ การ จัด บริการ และ สวัสดิการ การ สราง ลักษณะ นิสัย และการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาอีกตอไป แตจะกาวไปสูงานที่มีภารกิจสงเสริมและพัฒนาคุณภาพบัณฑิต เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามภารกิจการผลิตบัณฑิต ซึ่งเปนภารกิจแรกของมหาวิทยาลัย จึงอาจกลาว ไดวาขอบขายการดำเนินงานของกิจการนักศึกษาจะขยายมากขึน้ และสงผลตอการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตมากขึน้ ดังนั้นบทบาทของงานกิจการนักศึกษาในปจจุบันและอนาคต จึงครอบคลุมถึงภารกิจหลักดังตอไปนี้ * การจัดบริการเพื่อสนับสนุนการใชชีวิตของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย * การเสริมสรางลักษณะนิสัย ดานความมีระเบียบวินัย มีคานิยมที่เหมาะสมตอการดำเนินชีวิต * การสงเสริมประสบการณการเรียนรูนอกชั้นเรียน และ * การสงเสริมพัฒนาการของ นักศึกษา ที่มุงเนนการพัฒนาบุคลิกภาพ สุขภาพ และการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม

การดำเนินงานกิจการนักศึกษา : เรียนรูอดีต เพื่อขีดปจจุบัน จากการศึกษาเพื่อประมวลประเด็นปญหาเกี่ยวกับเยาวชนคนรุนใหม ทั้งจากการสะทอนความคิด ของนักวิชาการ จากโพลสำนักตางๆ และจากขอคิด ขอเขียนผานทางหนาสื่อมวลชน จะพบวาขณะนี้มีเสียง เรียกรองใหสถาบันการศึกษาไดใหความสำคัญในการพัฒนาผูเรียนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่อง ตอไปนี้ * การขยายผลปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูชีวิตนักศึกษานักศึกษา เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกันใหแก นักศึกษา


75 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

* การปลูกฝงดานวินัยนักศึกษา อันไดแก - การแตงกายที่เหมาะสม - พฤติกรรมการใชชีวิต - การงดเวนการใชความรุนแรงในการแสดงออก - การงดเวนอบายมุข สิ่งเสพติด - การเรียนรูกาลเทศะ * การปลูกฝงจิตสำนึกสาธารณะ ความรับผิดชอบตอสังคม * การพัฒนานักศึกษาสูความเปนสากล * การพัฒนาทักษะทางภาษาไทย โดยเฉพาะการใชภาษาทางการพูด * การพัฒนาทักษะภาษาตางประเทศและการเรียนรูวัฒนธรรมนานาชาติ * การอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย * การเสริมสรางแนวคิดสมานฉันท สันติวิธี และวิถีประชาธิปไตย * การพัฒนาคุณธรรม ซึ่งประเด็นตาง ๆ เหลานี้ ลวนแตเปนประเด็นที่เกี่ยวของกับการสรางเจตคติ และลักษณะนิสัยของ นักศึกษาแทบทั้งสิ้น และเชื่อวาในอนาคตจะมีประเด็นอื่นๆ ถูกหยิบยกเพิ่มมากขึ้น ประเด็นตางๆ เหลานี้ ลวนเปนประเด็นที่สถาบันอุดมศึกษาจะตองขบคิด หยิบยกและหามาตรการเพื่อเสริมภูมิคุมกันใหแกนักศึกษา ของมหาวิทยาลัย ซึง่ ตองยอมรับวาแตละเรือ่ งจะกลายเปนเรือ่ งยากทีไม ่ อาจจะดำเนินการแตเพียงลำพังโดยกลไก ดานกิจการนักศึกษาที่มีอยู แตเปนเรื่องที่จะตองขับเคลื่อนรวมกันของหลายหนวยงานในสถาบัน และเมื่อ หันมามองหนวยงานที่รองรับการดำเนินงานเพื่อพัฒนานักศึกษา อันไดแก หนวยงานดานกิจการนักศึกษาของ มหาวิทยาลัย จะพบวาแนวโนมภาระงานของงานกิจการนักศึกษาในอนาคตจะเพิ่มมากขึ้นอยางหลีกหนีไมพน เพราะปญหานักศึกษาจะเพิม่ ทวีมากขึน้ การกำกับเพือ่ ปองกันและดูแลนักศึกษาของมหาวิทยาลัยใหเปนไปดวย ความเรียบรอย จำเปนตองเตรียมการและออกแบบเพื่อความพรอมในการรับมือกับการดำเนินงาน แตประเด็น ที่สถาบันอุดมศึกษาควรไดกลับไปทบทวนและพิจารณา คือ ความพรอมรองรับการดำเนินงานของหนวยงาน ดานกิจการนักศึกษา เพราะมีตัวบงชี้หลายประการที่ชี้วา งานกิจการนักศึกษาจำเปนตองไดรับการพัฒนา เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งในการดำเนินงาน อันไดแก * หากนำเปาหมายการพัฒนานักศึกษาทั้งในปจจุบันและอนาคตเปนตัวตั้งของการพิจารณา จะพบวา งานกิจการนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในภาพรวมยังไมพรอมรองรับกับการขยายตัวและการเจริญเติบโต ที่รวดเร็วของมหาวิทยาลัย เพราะขาดการเตรียมการทางดานระบบงาน รูปแบบการดำเนินงาน และความพรอม ทางดานกำลังคน * โครงสรางการดำเนินงานดานกิจการนักศึกษาในปจจุบัน เปนโครงสรางที่ใชมานานกวา 30 ป และ สถาบันอุดมศึกษาเกือบทุกแหงใชโครงสรางเดียวกันหมด ทั้งที่บริบทของแตละสถาบันมีความแตกตางกัน ทำใหการดำเนินภารกิจดานกิจการนักศึกษายังทำไดไมเต็มที่ ยิ่งในอนาคต การขยายตัวของภารกิจเพิ่มมากขึ้น และลักษณะงานที่ยุงยากซับซอนมากขึ้น โครงสรางที่เปนอยูจะเปนอุปสรรคตอการขับเคลื่อนงานในอนาคต


76 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

* การขาดการเตรียมการดานกำลังคนในทุกระดับ ไมวาจะเปนผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย ระดับ คณะ ระดับปฏิบตั การ ิ จะสงผลตอการดำเนินงานกิจการนักศึกษาในอนาคต เนือ่ งจากศักยภาพในการดำเนินงาน ไมเพียงพอที่จะรับมือกับงานยุงยากมากขึ้นในอนาคต บุคลากรกิจการนักศึกษาในอนาคตจำเปนตองไดบุคคล ที่มีความรูปฏิบัติและทักษะปฏิบัติที่หลากหลาย เนื่องจากเปนงานที่เกี่ยวของกับคนและมวลชน ตองการ ไดบุคลากรปฏิบัติงานซึ่งมีความเปนมืออาชีพมากขึ้น (Student Affairs Professional) เนื่องจากในอนาคต งานกิจการนักศึกษาจะเปนงานที่จำเปนตองใชศาสตรที่หลากหลายเพื่อการดำเนินงาน โจทยสำหรับสถาบันอุดมศึกษาที่จะตองคิดตอไป คือ จะ พัฒนาระบบงานดานกิจการนักศึกษา ใหมีความเขมแข็งเพียงพอตอการดำเนินงานในอนาคตอยางไร จะเรงพัฒนาศักยภาพบุคลากรอยางไร จะมีแนวทางสงเสริมสนับสนุนใหอาจารยเขามามีสวนรวมในงานกิจการนักศึกษาอยางไร และจะมีแนวทาง ในการเตรียมบุคลากรที่จะกาวสูผูบริหารสายงานกิจการนักศึกษาในอนาคตอยางไร ประเด็นเหลานี้เปนประเด็น ที่ตองเรงคิดและหาขอสรุปตอไป

สองกลองมองอนาคต : ปจจัยผลกระทบตอการดำเนินงานกิจการนักศึกษา โลกทุกวันนี้ สอนใหตองมองไปขางหนาเพื่อเตรียมการรับมือกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่จะมีขึ้นอยาง ตอเนื่อง จากการศึกษาเอกสารที่อธิบายภาพเชิงอนาคตจะพบวา มีประเด็นที่จะสงผลตอการดำเนินงานกิจการ นักศึกษา หลายประการ อาจกลาวโดยสรุปพอใหเห็นภาพดังนี้ * จากเอกสารแผนพัฒนาอุดมศึกษา 15 ป (พ.ศ. 2551 – 2565) ของสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ชี้วา ความตองการคุณลักษณะของบัณฑิตในอนาคตตองการบัณฑิตที่มีคุณภาพสูงขึ้นกวา ในอดีต ทิศทางการพัฒนานักศึกษาตองมุงสูการเติม เต็ม ศักยภาพนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น ทั้งศักยภาพการคิด การทำงาน การเรียนรู ทักษะการเปนผูนำ และการมีภูมิคุมกันในตนเองที่เขมแข็งมากขึ้น * การกำหนดกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ของ สกอ. ชี้วา การพัฒนานักศึกษาในอนาคต จะตองคำนึงถึงมาตรฐานคุณภาพบัณฑิตของระดับการศึกษา และมาตรฐานดานผลสัมฤทธิทางการเรียนรู (Learning Outcome) ของนักศึกษา นั่นคือ มุงเนนความสามารถในการแสดงออกซึ่งสมรรถนะ (Competency) ซึ่งสามารถวัดได ประเมินได ซึ่งจะสงผลใหมหาวิทยาลัยตองออกแบบการดำเนินงานเพื่อพัฒนานักศึกษา เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานดังกลาว ซึ่งงานกิจการนักศึกษายอมตองออกแบบการดำเนินงานเพื่อใหสอดคลอง กับทิศทางดังกลาวเชนกัน * ความตองการศักยภาพของกำลังคนที่เปลี่ยนแปลงไปของสถานประกอบการยิ่งนานป ยิ่งตองการ คุณภาพบัณฑิตที่มีศักยภาพและสมรรถนะสูงขึ้น งานกิจการนักศึกษาควรเติมเต็ม สมรรถนะในเรื่องใด และ จะรูไดอยางไรวา สมรรถนะใดควรเติม เต็ม ชี้ใหเห็นวา งานกิจการนักศึกษาจะตองมีฝายวิชาการเพื่อวิเคราะห ภาพอนาคต เพื่อนำมาประกอบใชในการดำเนินงาน * คุณลักษณะของนักศึกษาตนทุน (input) ที่เปลี่ยนแปลงไป นักศึกษาที่เขามาศึกษาในมหาวิทยาลัย ในอนาคตจะมีคุณลักษณะที่หลากหลายกวาในอดีต มีความคิด ความเชื่อ คานิยม พฤติกรรมการใชชีวิต ที่เปลี่ยนไป ความจำเปนที่จะตองเตรียมการเพื่อความพรอมรองรับดำเนินงาน และการมีฐานขอมูลนักศึกษา (Student Database) เพื่อประกอบการพิจารณาทิศทางดำเนินงาน จึงเปนสิ่งจำเปนสำหรับการดำเนินงาน ในอนาคต


77 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

* สภาพการเรียนการสอนที่เปลี่ยนแปลงไป มีการนำแนวคิดใหมๆ มาใชในการจัดการเรียนการสอน มากขึ้น มีการสรางทางเลือกในการเรียนรูที่หลากหลายมากขึ้น เชน e-learning ลวนเปนสิ่งที่บุคลากรกิจการ นักศึกษาจะตองติดตาม ศึกษา เพื่อพิจารณาวาการดำเนินงานกิจการนักศึกษาในอนาคตจะมีแนวทางในการ ดำเนินงานอยางไร * สภาพปญหาของสังคมที่รุมเราดวยปญหาที่หลากหลาย ชี้ใหเห็นถึงแนวทางการสรางบัณฑิต ในยุคใหมที่ตองเปลี่ยนไปจากเดิม งานกิจการนักศึกษายอมหนีไมพนตอการพิจารณาเพื่อแสวงหาแนวทาง ใหม ๆ ที่เหมาะสมตอการสรางคนในอนาคต * ภายใตความหลากหลายของศาสตรและสาขาวิชา ความหลากหลายของลักษณะนักศึกษา และ ความหลากหลายในความเปนตนแบบที่ดี (Role Model) ของอาจารย ชี้วา การดำเนินงานดานกิจการนักศึกษา ภายใตความหลากหลายที่มีอยู ในอนาคตอาจจะตองแบงกลุมเปาหมายนักศึกษาเพื่อเปนแนวทางในการ ดำเนินงาน การจัดบริการที่หลากหลายรูปแบบและวิธีการ การจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบและวิธีการ เปนประเด็นการดำเนินงานกิจการนักศึกษาที่จะตองพิจารณาในอนาคต

ทิศทางของงานกิจการนักศึกษาบนเสนทางที่ทาทาย หาก “นักศึกษา คือ หัวใจของประเทศ” งานกิจการนักศึกษาตองถือวาอยูในหวงเวลาแหงการตองครุนคิด พิจารณาถึง “กาวเดิน” ที่เหมาะสม หากงานกิจการนักศึกษาไมแข็งแรง ไมเขมแขง เชื่อไดแนนอนวาสถาบัน อุดมศึกษาก็จะตองประสบปญหาและความยุงยากในการดูแลใหนักศึกษาถึงฝงฝนที่สถาบันมุงหวังดวยเชนกัน แนวคิดและทิศทางการดำเนินงานกิจการนักศึกษาในปจจุบันและอนาคต คงหนีไมพนที่จะอยูภายใต แนวคิดที่วา * งานกิจการนักศึกษาเพื่อนักศึกษาทุกคนในมหาวิทยาลัย * งานกิจการนักศึกษาเพื่อสงเสริมการเรียนรูของนักศึกษา * งานกิจการนักศึกษาเพื่อตอบสนองความหลากหลายในสังคม สถาบันอุดมศึกษา และ * งานกิจการนักศึกษาเพื่อสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค เมื ่ อ มองย อ นอดี ต ที ่ ผ  า นมา ก า วเดิ น ของงานกิ จ การนั ก ศึ ก ษามี ล ั ก ษณะพั ฒ นาไปตามสภาวะ ที่การเปลี่ยนแปลงที่ชา และการเปลี่ยนแปลงไมมีผลกระทบตอการดำเนินงานเทาไรนัก จึงอาจไมไดมีการคิด เพื่อการเตรียมการสำหรับอนาคต แมจะมีการขยายงานบางแตโครงสรางเดิมที่มีอยูยังพอรับมือได แตคงเห็นได ชัดเจนวาในอนาคตสภาวะการเปลี่ยนแปลงจะมีสูงมาก งานกิจการนักศึกษาจะตองเชื่อมโยงกับฝายตางๆ ของ สถาบันและนอกสถาบันมากขึ้น ปญหานักศึกษาในสถาบันจะขยายตัวเพิ่มมากขึ้น การดำเนินงานเชิงกลยุทธ จะมีมากขึ้นเพื่อใหสามารถดำเนินงานไดทันการ ตัวบงชี้เหลานี้ชี้วา งานกิจการนักศึกษาถึงเวลาที่จะตอง ทบทวน เหลียวหลัง แลหนาเพื่อมองอนาคต จากภาพในอนาคต ชี้วาประเด็นที่จะตองทบทวนการดำเนินงานของงานกิจการนักศึกษามีอยูหลาย ประการ ไมวาจะเปน * งานกิจการนักศึกษาจะตองมุง การแสวงหากาวเดินอยางมีทิศทาง เนนการมุง มองภาพการดำเนินงาน ในอนาคต เพื่อนำมากำหนดกาวเดินในปจจุบัน


78 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

* การพัฒนาระบบการดำเนินงานกิจการนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เพือ่ รับมือการดำเนินงานในอนาคต และใหเหมาะสมกับภารกิจการดำเนินงานที่จะตองขยายตัวเพิ่มมากขึ้น * การสรางสรรคกิจกรรมเพื่อการพัฒนานักศึกษาที่สอดคลองกับวิถีที่เปลี่ยนแปลงไป และลักษณะ ของเยาวชนคนรุนใหม * การใหความสำคัญตอการเตรียมกำลังคนดานกิจการนักศึกษาเพื่อรองรับอนาคต (ผูบริหารงาน กิจการนักศึกษา ผูปฏิบัติงานกิจการนักศึกษา และอาจารยที่ปรึกษากิจการนักศึกษา) * การพิจารณาปรับสถานะ ของหนวยงานกิจการนักศึกษาควรจะเปนอยางไร ควรจะเปนหนวยงาน เพื่อรองรับการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัย มีสถานะขึ้นตรงตอสำนักงานอธิการบดีเชนเดิม หรือควรจะเปน หนวยงานสรางคุณภาพบัณฑิต ตามภารกิจที่ 1 ของมหาวิทยาลัย สถานะของงานกิจการนักศึกษาจะสงผลเปน อยางมากตอการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตในอนาคต * งานกิจการนักศึกษาจำเปนจะตองมีฐานขอมูลที่หลากหลายเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานในอนาคต การดำเนินงานดานวิจัยสถาบันเพื่อเปนขอมูลสารสนเทศแกมหาวิทยาลัยและผูเกี่ยวของในการดำเนินงาน ดานกิจการนักศึกษา * การสรางเครือขายการดำเนินงานทั้งภายในสถาบันและระหวางสถาบันเพื่อสรางความรวมมือ สำหรับสนับสนุนการดำเนินงานกิจการนักศึกษาในอนาคตเปนสิ่งจำเปน * งานกิจการนักศึกษาในอนาคตอาจจำเปนตองมุง เสริมสรางความเขาใจการดำเนินงานแกทุกฝายมากขึน้ และพรอมทำหนาที่จัดสงขอมูลและขอเสนอแนะเชิงนโยบายดานนักศึกษาตอมหาวิทยาลัย

สรุป งานกิจการนักศึกษาในอนาคต คงจะตองปรับรูปแบบการดำเนินงานเพื่อใหเหมาะสมและสามารถ ดำเนินภารกิจไดภายใตความหลากหลาย การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว และลักษณะนักศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไป การดำเนินงานจะเปนไปในทิศทางของการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ที่เพิ่มมากขึ้น บุคลากรกิจการนักศึกษา ในอนาคตจำเปนตองเตรียมตนเองพรอมรับมือกับงานที่มีความยุงยากมากขึ้น เนื่องจากเปนการทำงานที่ เกี่ยวของกับ “คน” และ “มวลชน” ตองใช “ความรูปฏิบัติ ทักษะและความสามารถที่หลากหลาย” และมีเครือขาย เพือ่ สรางความรวมมือในการดำเนินงาน เนือ่ งจากความรูปฏิ  บตั ทีิ จะ ่ ใชในการดำเนินงานในสถาบันเริม่ ไมเพียงพอ งานกิจการนักศึกษาคงจะตองดำเนินงานในเชิงรุกมากขึ้น เพราะตองไดรับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย ที่มากพอเพื่อทำใหงานกิจการนักศึกษามีความเขมแข็งมากขึ้น เพราะผลที่เกิดขึ้นในทายที่สุด ก็คือการได “บัณฑิตที่มีคุณภาพ” ของมหาวิทยาลัยนั่นเอง


บทความทางวิชาการ



ผลึกแหงปญญา1 Wisdom Crystallization ศุภฤกษ สินสุพรรณ 2

บทนำ ในระบบนิเวศมนุษยเปนสิ่งมีชีวิตระดับสูงที่มีรูปลักษณเปนกายหยาบ กอปรดวยปญญาที่สามารถ ใชเปนเครื่องมือในการคิด วิเคราะห และสังเคราะหความรูจากสิ่งตาง ๆ ที่อยูรายรอบ ทั้งลักษณะที่เปนรูปธรรม และนามธรรมไดจากสิ่งใกลตัวและไกลตัวออกไปจนถึงระดับที่เชื่อมโยงไดทั่วจักรวาล โดยอาศัยการบูรณาการ เปนวิถีพรอมกับจินตนาการ (imagination) เปนตัวขับเคลื่อนจนเกิดความรูในเบื้องตน เกิดรอบรูจากภูมิปญญา ที่สูงขึ้นในทามกลาง จนสามารถหยั่งรูและเขาใจธรรมชาติของสรรพสิ่งไดอยางชัดเจนทุกเรื่องราวในเบื้องปลาย สิ่งดังกลาวสามารถรังสรรคไดในมนุษยทุกคน ถามีความเชื่อมั่นในศักยภาพที่มีในตนอยางถูกตอง

นัยยะแหงความหมาย คำวา ผลึกและปญญา เปนภาษาทีรู่ จ กั กันในระดับบุคคลทัว่ ไปและระดับนักวิชาการ หรือนักคิดทัง้ หลาย ซึ่งสามารถเขาใจกันโดยไมตองแปลความ แตไหนๆ เราจะพูดกันถึงเรื่องที่ตองอาศัยคำเหลานี้เปนคำหลัก (keyword) จึงควรใหนิยามและมีคำอธิบายเพื่อชวยใหเกิดความเขาใจที่ตรงกันในเบื้องตนไวกอน ผลึกในที่นี้ผูเขียนขอใหนิยามเองวา “ผลลัพธสุดทายที่สมบูรณ สามารถนำไปใชใหเกิดประโยชน (อยาง ถูกตอง) ไดตามคุณสมบัตของ ิ สิง่ นัน้ ๆ” อุปมาดังตัวอยางของเกลือทีเ่ กิดจากการทำปฏิกริ ยิ าเคมีระหวางสารละลาย NaOH กับ HCl จนได NaCl (เกลือแกง) และ H2O (น้ำ) ของแข็งในรูปเกลือที่ปรากฏเปนเกล็ดขาวแชตัวอยู ในน้ำเมือ่ ระเหยน้ำออกไปจะไดผลลัพธเปนเกลือสีขาวทีแห ่ ง แตจะมีความชืน้ เล็กนอยตามสภาพธรรมชาติ รูปราง และรสชาดของสารใหมจะกลายเปนผงสีขาว หรือเปนกอนและมีรสเค็ม ซึง่ แตกตางกันอยางสิน้ เชิงกับคุณสมบัติ ของกรดเกลือ (HCl) และโซดาไฟ (NaOH) สภาวะที่เกิดขึ้นจนไดของแข็งหรือตะกอนเกลือ เรียกกันในภาษาที่ เขาใจงาย ๆ คือ ตกผลึก ในนิยามของคำวา “ปญญา (wisdom)” โดยภาพกวางจะหมายถึง ความรอบรู รูทั่ว เขาใจ หรือรูซึ้ง (ประยุทธ ปยุตโต, 2528) กลาวคือ เปนความรอบรูใน  สรรพสิง่ ทัง้ หลายและปรากฏการณของมัน (สมัคร บุราวาศ, 2542) ความหมายดังกลาวจะมีความใกลเคียงกับคำวา ญาณ (ความหยั่งรู) และวิชชา (รูแจงแทงตลอด) ในขั้นปรมัตถ ทั้งสามคำนี้เมื่ออิงกับเนื้อหาใน “ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร” แลวจะพบวา ญาณ ปญญา และวิชชา เปนลำดับขั้นตอนของสภาวะรูที่เชื่อมโยงไปมาซึ่งกันและกัน ดังคำบาลีและคำแปลที่วา .. จักขุง อุทปาทิ ญาณัง อุทปาทิ ปญญา อุทปาทิ วิชชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ.. (จักขุ คือ การเห็นชัดไดเกิดขึ้นแลวแกเรา (ตถาคต) 1

2

มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น (2551). วารสารศาสตร ท ั ่ ว ไป มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น . ป ท ี ่ 1 ฉบั บ ที ่ 2 พ.ค.-ส.ค. 2551. หจก.โรงพิมพคลังนานาวิทยา ขอนแกน. รองศาสตราจารย ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน


82 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ญาณ คือ การหยั่งรูชัดไดเกิดขึ้นแลวแกเรา ปญญา คือ ความรอบรูไดเกิดขึ้นแลวแกเรา วิชชา คือ การรูแจงแทง ตลอดไดเกิดขึ้นแลวแกเรา แสงสวาง คือ ความสวางไสวไดเกิดขึ้นแลวแกเรา) โดยเกิดสภาวะรูอยางสมบูรณ ในเรื่องอริยสัจ 4 ดวย ปริวัฏฏ 3 อาการ 12 (วัดปาสามัคคีศิริพัฒนาราม, 2547) ซึ่งตัวปญญาเองจัดอยู ในสวนของมรรค แตวิชชานั้นเปนนิโรธ จัดอยูในสวนของผล (ประพต เศรษฐกานนท,.......) สำหรับญาณ อาจ จัดเปนมรรค (ญาณในขั้นตาง ๆ ของวิปสสนาญาณ) หรือเปนผลก็ได (อาสวักขยญาณ จุตูปปาตญาณ และ ปุ พ เพ นิ ว าสา ญาณ) ดั ง นั ้ น ป ญ ญา ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น กั บ มนุ ษ ย จึ ง สามารถ แยก พิ จ ารณา ออก ได เป น 2 มิ ต ิ คื อ ปญญาในระดับโลกียะ (ทางโลก) และปญญาในระดับโลกุตตระ (ทางธรรม) โดย มุมมองของผลึกแหง ปญญาในที่นี้จะเนนปญญาในระดับโลกียะ ซึ่งเปนปญญาทั่ว ๆ ไปกอน แตจะขออิงปญญาในกรอบของ พุทธศาสนา (ปญญา 3) มาเปนหลักในการอธิบายความตอไป ดังนั้น ดวยนิยามดังกลาวขางตน เราจึงใหนัยยะของผลึกแหงปญญาวาเปน “ปญญาอันเกิดจากการ ไตรตรองดีแลวอยางถูกตอง ที่สามารถแสดงออกทางวาจา ทางกาย หรือทางใจ (ความคิด) แลวกอใหเกิดผลดี หรือเกิดประโยชนที่ถูกตองกับสิ่งที่กำลังมีปฏิสัมพันธ”

ปญญา 3 ปญญาจัดเปนสวนสำคัญในไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปญญา) ในกรอบของผลึกแหงปญญา มุมมองของ ผูเขียนตองการมุงเนนปญญาในศาสนาพุทธ ซึ่งแจกแจงรายละเอียดไวในเรื่องของปญญา 3 ระดับ อันไดแก สุตตมยปญญา จินตมยปญญา ภาวนามยปญญา กลาวโดยขยายความในความหมายของปญญาทั้งสามประเภทขางตน ก็คือ สุตตมยปญญา หมายถึง ปญญาที่เกิดจากการเรียนรูหรือไดรับการถายทอดจากสิ่งนอกตัว เชน จาก การฟงหรือบอกเลาจากผูอื่น จากการอานหนังสือหรือตำราดวยตนเอง การคนควาขอมูลผานสื่อตาง ๆ หรือจาก ขาวสารที่ถูกเสนอถูกถายทอดสืบตอกันมา แลวถูกบันทึกเปนความจำ(สัญญา) เก็บไวโดยพรอมที่จะระลึกยอน (recall) กลับมาใชงานไดในรูปของการจำไดหมายรู ปญญาระดับนี้ถือวายังไมใชปญญาที่แทจริงของตน คือ ยัง ไมใชปญญาทีถู่ กสรางหรือพัฒนาดวยตัวเองอยางเต็มศักยภาพ เปนเพียงแตอาศัยปฏิสมั พันธระหวางสิง่ บอกเลา หรือสิ่งที่ มาปรากฏใหรับรู และความจำไดหมายรู เปนเหตุปจจัยในการกอเกิดปญญา ซึ่งปญญาขั้นนี้อาจเรียก สั้น ๆ วา “ปญญารูจำ” จินตมยปญญา เปนปญญาขั้นกลางที่เกิดขึ้นในตัว คือ เกิดจากการคิด วิเคราะห สังเคราะหเรื่องราว ใด ๆ ที่สนใจ เพื่อหาเหตุผลโดยอาศัยมูลเหตุจากการไดรับขอมูลในขั้นสุตตมยปญญามาพิจารณาแยกแยะ วิเคราะห จนมีความเขาใจถึงทีม่ าทีไป ่ สามารถอธิบายความหรือหาเหตุผลได ปญญาระดับนีเรี้ ยกงายๆวา “ปญญา รูคิด” ปญญาขั้นกลางอาจถือไดวาเปนสะพานเชื่อมตอเพื่อนำไปสูปญญาในระดับที่สาม การใชกระบวนการคิด โดยแยบ- คาย (โยนิโสมนสิการ) และการคิดแบบบูรณาการจัดไดวาอยูในขั้นจินตมยปญญา ภาวนามยปญญา เปนปญญาระดับทีสาม ่ ทีได ่ จากการเรียนรูหรื  อทดสอบโดยการปฏิบตั ดิ วยตัวเองจนได ประสบการณจริง สามารถรูสภาวะที่เปนความจริงแทของธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ ดวยตัวเอง ตัวอยางที่เห็นไดงาย


83 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

คือ ปญญาที่รูรสหวานของน้ำผึ้ง (สมมติบัญญัติ) จากการสัมผัสดวยลิ้น กลาวคือ ไมวาผูนั้นจะเปนชายหรือ หญิง เด็กหรือผูใหญ ผิวสีใด เชื้อชาติใด ฐานะใด ตราบเทาที่ผูนั้นมีความเปนปกติทางรางกาย (ลิ้นไมบกพรอง) จะมีสภาวะรูว า สิง่ ทีสั่ มผัสนัน้ คือความหวาน โดยไมจำเปนตองสือ่ ดวยภาษาพูดหรือเขียน สภาวะรูดั งกลาวคลาย กับรูแบบสัญชาตญาณคือ รูเองเฉพาะตน ไมสามารถบอกเลาหรือคาดเดาเอาจากสุตตมยปญญาหรือจินตมย ปญญากอนหนานีได ้ เลย สภาวะรูดั งตัวอยางแมจะเรียกไดวาเปน “ปญญารูจ ริง” แตยังถือวาเปนปญญาในระดับ โลกียะ คือ รูระดับในโลกแหงสมมติบัญญัติ ยังไมอาจกลาวไดเต็มปากวารูในระดับปรมัตถหรือระดับเหนือโลก จนกวาจะผานการพัฒนาทางจิต โดยอาศัยสมาธิทีถู่ กตองเปนบาทฐานจนกระทัง่ สามารถเห็นสิง่ ทีกำลั ่ งปฏิสมั พันธ ในปจจุบนั ขณะมีสภาวะเปนนามรูป (ไมยึดติดกับสมมติบัญญัตทางโลก) ิ ทีแปรเปลี ่ ย่ นไปตามกฎแหงไตรลักษณ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)

บูรณาการ มีคำอีกคำหนึ่งซึ่งเกี่ยวโยงกับปญญาที่ควรรูจักในนิยามหรือความหมายเอาไวก็คือ คำวา “บูรณาการ” ในบทความนีจะ ้ หมายถึง “การเชือ่ มโยงซึง่ กันและกันระหวางสิง่ หนึง่ กับสิง่ อืน่ ๆ” ในมิตแห ิ งการพัฒนาปญญาหรือ เรียกอีกอยางหนึ่งวาการพัฒนาจินตมยปญญา จะพุงเปาไปสูการคิดอยางเชื่อมโยงจากสิ่งแรกไปสูสิ่งที่สองและ สิ่งตอ ๆ ไป ผลแหงการใชบูรณาการในการพัฒนาปญญาจะทำใหมนุษยสามารถฝกฝนความคิดใหเกิดความรู อยางหลากหลาย แตสามารถเชื่อมโยงกันไดในสิ่งใด ๆ ที่ตนสนใจ ทำใหปญญาถูกพัฒนาขึ้นในทามกลางการ บูรณาการ สุดทายสามารถไดคำตอบทุก ๆ ขั้นตอนของการบูรณาการในสิ่งเหลานั้นได การบูรณาการเปนสิ่งที่สามารถกระทำไดอยางไรขอบเขตจำกัด กลาวคือ เราสามารถตั้งหลักจาก เรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ แลวใชปญญาคิดเชือ่ มโยงเรือ่ งทีตั่ ง้ ขึน้ โยงใยกับฐานความรูที ได ่ จากสุตตมยปญญาปะติดปะตอ ไปไดเรื่อยๆ ตราบเทาที่เรายังเห็นชองทางของการเชื่อมโยง แตเราก็สามารถตัดตอน (หยุด) การบูรณาการ นั้น ๆ ได เมื่อรูสึกวาการเชื่อมโยงที่ยืดยาวอยางไรขอบเขตไมมีประโยชน ไมไดสาระ ไมไดคำตอบจากปญหา ในเรื่องที่เราตั้งขึ้น ดังนั้น เมื่อนำมาประยุกตกับการ “เรียนรู” ในเรื่องใด ๆ ไมวาจะเปนเรื่องทางโลกลวน ๆ หรือ ทางธรรมลวน ๆ หรือทัง้ สองอยางผสมกัน การบูรณาการจะเปรียบเหมือนสะพานเชือ่ มใหเกิดเสนทางแหงปญญา ที่สามารถถายทอดทั้งความรูและปญญาจากเรื่องหนึ่งกระโจนเขาสูความชัดเจนในเรื่องเดียวกัน หรือกระโดด ไปสูเรื่องอื่นที่เกี่ยวของหรือใกลเคียงกันไดโดยงาย แตสิ่งสำคัญที่สุดที่จำเปนตองมีในเบื้องตนคือ ปญญา จากสาระดังกลาวขางตน เราสามารถสรุปหลักการแหงการเรียนรูอยางบูรณาการ ซึ่งเทียบไดกับการ พัฒนาจินตมยปญญาวา “การใชปญญาเพื่อแสวงหาคำตอบอยางเปนระบบในเรื่องใดๆ จนบรรลุผล โดยคิด พิจารณาองคประกอบยอยของเรื่องนั้นๆ อยางลุมลึก คิดใหเกิดการเชื่อมโยงซึ่งกันและกันใหมากที่สุด ซึ่งใน ทามกลางกระบวนการคิดจะเกิดการเรียนรูจากสาระ (เนื้อหา) ที่ซอนอยูและเกิดปรากฏการณแหงการพัฒนา ภูมิปญญาใหสูงขึ้นเปนลำดับ” ถาจะสรุปใหสั้นกวานี้ก็คือ “การใชปญญาเพื่อพัฒนาปญญาใหยิ่งๆ ขึ้นไป”

ปญญาโลกปญญาธรรม โดยทั่วไปเรามักไดยินคนพูดถึง การ “ตกผลึกทางความคิด” มากกวาคำวา “ตกผลึกทางปญญา” แต ความจริงแลวความคิดกับปญญามักจะเดินควบคูกั นไป เราคงไมสามารถบอกไดวาผูใด  มีปญญาในระดับตกผลึก


84 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

หากผูนั้นไมแสดงออกทางวาจา (คำพูด) ทางกาย (พฤติกรรมและการกระทำ) รวมทั้งการสื่อสารดวยขอเขียน บทความ แตขอ เวนไวใน เรื่องของ การแสดงออก ทางใจ เพราะ โดย ทั่วไปแลวไมมีใคร รับรูสื่อทางใจ ของ ผูอื่นได ยกเวนผูที่มีทิพยอำนาจ ดังนั้น การตกผลึกทางใจโดยไมแสดงออกทางกายและวาจา จะหมายถึง การอยูรูเพียงคนเดียว เปนปจจัตตังเฉพาะตัว คำถามที่ควรจะมีคำตอบเกี่ยวกับผลึกแหงปญญาในเบื้องตนก็คือ (1) การพัฒนาปญญาในตัวมนุษยจนถึงระดับตกผลึกในความหมายขางตน สามารถกระทำไดหรือไม (2) ถาสามารถกระทำได จะมีวิธีการอยางไร (ใชอะไรในการสรางปญญา) (3) จะใชสิ่งใดเปนดัชนีชี้วัดบุคคลนั้น ๆ วามีปญญาที่ตกผลึกแลว (4) ปญญาที่ตกผลึกอยูในระดับใด (ต่ำ ปานกลาง สูง) (5) ตกผลึกในมิติในโลก (ปญญาโลก) หรือเหนือโลก (ปญญาธรรม) เริ่มตนคงพิจารณาในภาพกวางระหวางปญญาโลกและปญญาเหนือโลกแบบยอนกลับทางในประเด็น คำถามขอ (3) ขางตนกอนวา ถาบุคคลมีปญญาที่ตกผลึกผลลัพธที่เกิดขึ้นทั้งปจเจกบุคคลและสังคมรอบขางจะ เปน อยางไร คำตอบนาจะสรุปไดวา ปญญาโลก

1. โดยภาพรวมบุคคลจะมีปญญาในการดำเนินชีวติ อยางถูกตองสมดุล ไมเบียดเบียน ตนเองและผูอื่นทางกาย วาจา ปฏิบัติตนตามกติกาของสังคม ถายทอดหรือชี้แนะ สิ่งดีงามใหแกสังคม 2. พิจารณาระดับปจเจกบุคคลในกรอบของปญญา 3 สุตตมยปญญาทีตกผลึ ่ ก นาจะ เปนการใชความสามารถในการจำไดอยางมีประสิทธิภาพ (จำไดมาก จำไดแมน) แมวาจะยังไมรูความหมายหรือเขาใจอยางถองแท การที่มีความจำไดมากมาย (พหูสตู ) ถือวาเปนกาวแรกของผลแหงการพัฒนาความรูจำ  โดยถาสามารถพัฒนา ตอไป จน ถึงระดับจินตมย ปญญาแลวจะ เกิดโยนิโสมน สิการอยางนอยใน ขั้น วิภชั ชวาทะและการสืบสาวเหตุปจจัย (อิทปั ปจจยตา) ความเขาใจในสิง่ ทีเคย ่ จำได ก็จะเกิดขึ้น และนาจะใชปญญาระดับนี้เรียนรูสิ่งตางๆ ไดดีขึ้น มาถึงขั้นนี้นับวา ผูนั น้ มีตนทุนทางดานปญญารูคิ ดไดไมเลวนัก สวนปญญาในขัน้ ภาวนามยปญญา ถารูรสหวาน  ของน้ำผึง้ (ดวยสติ) ดังตัวอยางทีกล ่ าวไปแลวขางตน ก็ถือไดวา ปญญา 3 ทางโลกไดพัฒนามาถึงปลายทางแลว เพราะผานประสบการณรูอย  างไรขอสงสัย แลววา น้ำผึ้ง (สมมติบัญญัติทางภาษาไทย) มีรสหวาน (รูดวยตัวเอง) ทุกครั้งที่ เสพน้ำผึ้งก็จะรูชัดถึงรสหวานนั้น (รูตลอดชีวิตอยางไมลืม) และยังสามารถ (คิด) เปรียบเทียบกับรสหวาน ของออย น้ำตาล น้ำเชื่อมไดอีกตางหาก โดยยอนกลับไป ใชจินตมยปญญา จากคลังความรูที่เก็บไวในสุตตมยปญญา โดยไมหลงเขาใจ วาน้ำผึ้งคือ ออย น้ำตาล หรือน้ำเชื่อม ดังนั้น รูและคิดจะทำงานประสานกัน (สิริวรุณ, 2548) 3. พิจารณาดานสังคมจะพบวาสังคมมีแนวโนมจะสงบสุข ไมมการ ี เบียดเบียนใน ระดับ ที่รุนแรงเกินการควบคุม


85 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ปญญาธรรม 1. ในสวนของบุคคลจะเหมือนกับ 2 ขอแรก ในปญญาโลกทั้งระดับภาพรวมและ ปจเจกบุคคล 2. บุคคลจะมีปญญาในขั้นปลอยวางในระดับที่ตนเองมีศักยภาพ 3. สังคมมีศานติ รมเย็น เผื่อแผ ชวยเหลือเกื้อกูลตอกันในระดับกวาง สำหรับคำถามในขออื่น ๆ ถาตั้งสมมติฐานตามขอ (1) วา มนุษยสามารถพัฒนาปญญาจนตกผลึกได คำถามสวนที่เหลือเฉพาะขอ (2) และ (4) คงจะมีคำตอบในภาพรวมดวยตารางที่ 1 ดังนี้ ตารางที่ 1 องคประกอบที่ใชสรางปญญาตามไตรสิกขาและระดับปญญาที่ตกผลึก องคประกอบที่ใช สรางปญญา

ศีล

สมาธิ

สุตตมยปญญา

อิทธิบาท 4 ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา

ฉันทะ วิริยะ

อินทรีย 5 ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา

สมาธิ

โพชฌงค 7 สติ ธัมมวิจยะ วิริยะ ปติ ปสสัทธิ สมาธิ อุเบกขา อริยทรัพย 7 ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปญญา มรรค 8 สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมัตตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ

ปจจัยที่กอใหเกิดปญญา 3 (ปญญาโลก)

ศรัทธา พาหุสัจจะ

สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ

ฉันทะ วิริยะ วิมังสา

ศรัทธา วิริยะ สติ ศรัทธา วิริยะ สติ

สมาธิโพชฌงค สติโพชฌงค วิริยะโพชฌงค

ศีล

จินตมยปญญา

สติโพชฌงค ธัมมวิจยะโพชฌงค วิริยะโพชฌงค

ภาวนามยปญญา ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา

ศรัทธา วิริยะ สติ ปญญา

สติโพชฌงค วิริยะโพชฌงค อุเบกขาโพชฌงค

ปญญา

สัมมาทิฏฐิ


86 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

ตารางที่ 1 องคประกอบที่ใชสรางปญญาตามไตรสิกขาและระดับปญญาที่ตกผลึก (ตอ) องคประกอบที่ใช สรางปญญา

ศีล

ปจจัยที่กอใหเกิดปญญา 3 (ปญญาโลก) สุตตมยปญญา จินตมยปญญา ภาวนามยปญญา

ฌาณ 8

สมถะกัมมัฏฐาน บุญกิริยาวัตถุ 10

สมาธิ

ภาวนามัย

ศีลมัย วิภัชชวาทะ สืบสาวเหตุปจจัย (อิทัปปจจยตา) คุณคาแทคุณคาเทียม อรรถธรรมสัมพันธ เราคุณธรรม

โยนิโสมนสิการ 10

วิภัชชวาทะ

มงคล 38

คบบัณฑิต พหูสูต สนทนาธรรมตามกาล ฟงธรรมตามกาล

รูศิลปวิทยา

มงคล 38 โยนิโสมนสิการ อริยทรัพย 7

โยนิโสมนสิการ มงคล 38

โยนิโสมนสิการ อริยทรัพย 7

กลาง

อิทธิบาท 4 อินทรีย 5

อิทธิบาท 4 อินทรีย 5

อิทธิบาท 4 อินทรีย 5 บุญกิริยาวัตถุ 10 มงคล 38

สูง

โพชฌงค 7

โพชฌงค 7

โพชฌงค 7 มรรค 8 (สมถะกัมมัฏฐาน)

ต่ำ

ระดับของปญญาที่ตกผลึก

แยกแยะสวนประกอบ สามัญลักษณ อยูกับปจจุบัน อริยสัจ 4 เห็นคุณโทษและ ทางออก


87 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7

คำถามที่นาหาคำตอบ ปญญาที่ตกผลึกดังกลาวมาทั้งหมดตั้งแตตน ผูเขียนขอทำความเขาใจกอนวาเปนเพียงปญญาทางโลก ยังไมกาวลวงสูปญญาในระดับปรมัตถแตอยางใด แตกอนจะพิจารณาผลึกแหงปญญาขั้นปรมัตถ มีเหตุการณ สำคัญในสมัยพุทธกาลที่ควรนำมาเปดประเด็นเปนกรณีศึกษากอน คือ การแสดง “ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร” ของพระพุทธองคในวันเพ็ญเดือนแปด ณ ปาอิสปิ ปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี แกปจจวัคคีย พระอัญญาโกณฑัญญะสามารถฟงธรรมจากการเทศนาครั้งแรกนี้จนได ดวงตาเห็นธรรม คำถามแรกคือ ใชหรือไมวาพระอัญญาโกณฑัญญะมี ภาวนามยปญญา ที่สะสมไวเต็มเปยม แลว จนเพียงพอที่จะใชสุตตมยปญญา ที่ไดรับการบอกเลาจากพระพุทธเจา ขณะเดียวกันก็ใชจินตมยปญญา สงจิตพิจารณา (คิดอยางเปนระบบดวยตนเอง) จนเขาใจอยางถูกตอง จากที่เคยผานการปฏิบัติอยางถูกตองมา แลวในอดีต แตยังขาดความมั่นใจ จนกระทั่งไดรับการชี้แนะหรือยืนยันขั้นสุดทาย (confirm) จากการฟงสิ่งที่ ถูกตองจากสุตตมยปญญานี่เอง จึงสามารถเขากระแสแหงการหลุดพนไดดวยการใชปญญา 3 อยางสอดคลอง และสมดุลในที่สุด แตยุคปจจุบัน เรามีพระไตรปฎกที่เปนแหลงอางอิงถึงกรรมวิธีที่ไดมาซึ่งปญญาธรรม อยางหลากหลายจนเลือกไมถูก แตไมสามารถสัมผัสหรือเขาสูสภาวะรูในปญญาธรรมไดอยางมั่นใจ คำถาม ตอไปคือมนุษยในยุคนี้จะตองสรางผลึกแหงปญญาทางโลกใหบรรลุถึงเสียกอนหรืออยางไร จึงจะมีโอกาสเขาสู ผลึกแหงปญญาธรรม

เอกสารอางอิง 1. ประพต เศรษฐกานนท, บรรณาธิการ (.............) เจ็ดวันบรรลุธรรม สำนักพิมพศรีปญญา จังหวัดนนทบุรี. 2. ประยุทธ ปยุตโต (2528) พจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับประมวลธรรม พิมพครั้งที่ 4 มหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร. 3. วัดปาสามัคคีศิริพัฒนาราม (2547) คูมือพุทธบริษัท ทำวัตรเชา-เย็น แปลและสวดมนตพิธีบางบท บริษัท โรงพิมพตะวันออก จำกัด (มหาชน) 4. สมัคร บุราวาศ (2542) ปญญา : จุดกำเนิดและกระบวนการพัฒนาทางปญญาของมนุษยชาติ พิมพครั้งที่ 2 สำนักพิมพศยาม กรุงเทพมหานคร. 5. สิริวรุณ (2548) คิดใหเปนเดี๋ยวเห็นเอง สำนักพิมพสุขภาพใจ บริษัทตถตาพับลิเคชั่น จำกัด กรุงเทพมหานคร.




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.