บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 2556

Page 1

แนะนําผูบริหารและบุคลากร ประจําปการศึกษา 2556 รองศาสตราจารย นิแวเตะ หะยีวามิง รักษาการคณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

นายซบรี หะยีหมัด รองคณบดีฝายบริหารและแผน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

นายอนุวัตร วอลี รองคณบดีฝายวิชาการและวิจัย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ดร.อิบรอเฮม สือแม รองคณบดีฝายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

นายซอบรี อามาลีนา หัวหนากลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

นายรอมสรรค เศะ หัวหนากลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หัวหนาโครงการจัดตั้งศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นายรอมลี เจะดอเลาะ หัวหนากลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

นายนิซอยบูลดิน นิเงาะ หัวหนาสํานักงานคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี


แนะนําผูบริหารและบุคลากรคณะ ประจําปการศึกษา 2556 กลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร นางสาวนูรุลฮุสนา อับดุลลาฏีฟ นางสาวสุอัยดา บือแน นางนูรฮุดา มะสาแม นายสาฮีดัน อับดุลมานะ นายอับดุลฟาตะห มะสาแม MR.TAM SAKIRIN นางสาวสัลวา ปุนยัง นายคอเละ ลังสารี นายมะรอนิง อุเซ็ง นายบูรฮาน สาและ

อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร (ลาศึกษาตอปริญญาโท) อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร (ลาศึกษาตอปริญญาโท) อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร

กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต นายซอและห ตาเละ นายสะอาด อาแซ นายซูไฮมิน เจะมะลี นายยะโกะ ขาเร็มดาเบะ นางนัจญมีย สะอะ นางสาวรอปอะ กือจิ นางสุมิตรา แสงวนิชย นางสาวโซเฟย อับดุลลอฮฺ

อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต

กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ นายสุไลมาน หะยีสะเอะ ผศ. ดร.ซอบีเราะห การียอ นายซากี นิเซ็ง นายอดินันท หวังพิทยา นายปติ สันหีม ดร.ปนัสย นนทวานิช นางสาวกูซูซานา ยาวออาซัน

อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ (ลาศึกษาตอปริญญาเอก) อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ


สํานักงานคณะ นายอีบาดุรอฮมาน การี

เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป

นายอิบรอฮีม แวสะมะแอ

เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป

นายฮาซัน มาหะมะ

เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป

นางสาวนูรไลลา มูละซอ

เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป

นางสาวอาบีร หะยีสาอิ

เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป

นางสาวรุสนาณี เบ็ญลาเต็ฟ

เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป

นางสาวแวอามีเนาะ สาแมงกานิง

เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป

นายมูฮัมหมัดรอนี อาแวกะจิ

เจาหนาที่หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

นายซารีฟ เจะแม

นักวิทยาศาสตร(ฟสิกส) (ลาศึกษาตอปริญญาโท)

นางสาวสัลมา หมาดมานัง

นักวิทยาศาสตร(เคมี)

นางสาวมารีเยาะ ดอเลาะ

นักวิทยาศาสตร(เคมี)

นางสาวสุฮัยลา อาแซ

นักวิทยาศาสตร(จุลชีววิทยา)

นางสาวฮัสนะห ยูโซะ

นักวิทยาศาสตร(จุลชีววิทยา)

นายมะลีกี สะมาแม

พนักงานรักษาความสะอาด

นางสาวฮายาตี รอดิง

พนักงานรักษาความสะอาด


27 กันยายน 2556 ครบการกอตั้งคณะ เปนปที่ 10 มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาเปน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแหงแรกใน ประเทศไทย โดยสถาปนาขึ้นเมื่อ ป พ.ศ.2541 ซึ่งมีเจตนาอันแนวแนในการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมที่สอดคลองกับหลักการอิสลาม โดยทําการผลิตบัณฑิตใหมีความรอบรู ศรัทธา และปฏิบัติตามอัล-กุรอาน และสุนนะฮฺ มีคุณธรรม จริยธรรมที่สูงสง มีวิสัยทัศนที่กวางไกล และเปนแบบอยางที่ดีในการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งของ ตนเอง ครอบครัว และสังคม โดยผานกระบวนการศึกษาคนควาหาความรูในสาขาวิชาตาง ๆ ที่วางอยูบนหลักสมดุล ครอบคลุม ตอเนื่อง และบูรณากดวยเหตุนี้ ในการประชุมสภาวิทยาลัยอิสลามยะลา วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2546 ไดมี มติอนุมัติหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) จึงไดจัดตั้ง “คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ชีคกอซิม บิน มุหัมมัด อาล-ษานีย” เพื่อจัดการเรียนการสอน ศึกษาคนควา วิจัย ทางดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ และวิทยาศาสตรสาขาอื่น ๆ ในแขนงวิทยาศาสตรบริสุทธิ์ วิทยาศาสตรบูรณาการ และวิทยาศาสตร ประยุกต โดยตอยอดภูมิปญญาเดิมและสรางความรูใหมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน วิจัยทางวิทยาศาสตร และอื่น ๆ ที่มี ความสอดคลองกับหลักการอิสลาม ในชวงแรกไดจัดตั้งสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรนานาชาติ)เปนสาขาวิชาแรกและสาขาวิชา เดียว และในปการศึกษา พ.ศ.2547 เปนปแรกที่ไดเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) หลักสูตรนานาชาติ ตอมาวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ.2549 ไดจัดตั้งสาขาวิชาวิทยาศาสตร ขึ้นเปนสาขาวิชาที่สองของคณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ในปการศึกษา พ.ศ.2549 เปนปแรกที่ไดเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร) และ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร)หลักสูตรปรับปรุง ในปเดียวกัน ปจจุบัน คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ไดแบงหนวยงานออกเปน 2 สาขาวิชาและ 1 หนวยงาน คือ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาศาสตร และสํานักงานคณะ เปดสอนหลักสูตรในระดับ ปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร) และหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร) หลักสูตรนานาชาติ สําหรับปการศึกษา 2556 ทางคณะ มีหลักสูตร ทั้งหมด 5 หลักสูตร หลักสูตรเกา 2 หลักสูตร 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร

มีนักศึกษาอีก 2 รุน

2. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร

มีนักศึกษา อีก 3 รุน

หลักสูตรใหม 3 หลักสูตร 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554)

2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต

(หลักสูตรใหม พ.ศ.2554)

ตลอดระยะเวลาที่กอตั้งคณะ เราไดทําการสอน การวิจัย การบริการวิชาการและการบูรณาการอิสลาม เพื่อให คณะ ดําเนินไปตามวัตถุประสงคแหงการกอตั้ง ถึงแมวาจะเจอปญหาและอุปสรรคมา แตไมไดทําใหคนทํางานหยุดความ พยายาม เราตองการกําลังใจ กําลังกายจากทุกๆคน เพื่อมาชวยกันสรางสถาบันแหงนี้ใหเปนสถาบันของทุกคนและสราง ประโยชนตอลูกหลานเราในอนาคตตอไป อินชาอัลลอฮฺ * อยูใ่ นช่วงของการพัฒนาหลักสูตร เพือเสนออนุมตั ิจากสภามหาวิทยาลัย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.