สังคมเศาะหาบะฮฺ: สังคมรุกั้วะและสุยุด ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา เขียน อุษมาน ยูโซะ ถอดความ มวลการสรรเสริญเป็นเอกสิทธิ์ของอัลลอฮฺพระผู้อภิบาลแห่งสากลโลก ความศานติสถาพรขอจง ประสบแด่น บีมุฮัมมัด ผู้ถูกส่ง มาเพื่อแผ่ความเมตตาสู่สากลโลก ตอลดจนวงศ์ว านและเศาะหาบะฮฺ ทั้งหลายของท่าน สังคมของท่านเราะซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เป็นสังคมที่ได้รับการตั้งสมญาโดยอัลกุ รอานว่าเป็น “สังคมแห่งการรุกั้วะและสุญูด” หมายความว่าเป็นสังคมที่ชอบรุกู้วและสุญูด (หมายถึง ละหมาด) โดยพร้อมเพรียงกัน นี่คือลักษณะการดํารงละหมาด โดยเฉพาะละหมาดฟัรฎูทั้งห้าเวลา ทั้งที่ เป็นการละหมาดในช่วงกลางวันและช่วงกลางคืน เพราะละหมาดฟัรฎูในรูปแบบญะมาอะฮฺจะได้รับการ เป็นสักขีพยาน ดังคําตรัสของอัลลอฮฺที่ว่า lTSRQPONMm
“ท่านจะเห็นพวกเขาอยู่ในสภาพที่รุกั้วะ และสุญูด เพื่อแสวงหาความดีและความโปรดปราน จากอัลลอฮฺ” (อัลฟัตหฺ 48:29) หมายความว่า ท่านจะเห็นพวกเขาตั้งมั่นอยู่ในการอิบาดะฮฺทั้งรุกั้วะและสุญูดโดยคาดหวังอย่างเต็ม เปี่ยมในผลตอบแทนจากอัลลอฮฺ รวมทั้งความโปรดปรานจากพระองค์ สังคมของเราะซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมจะอยู่ในสภาพที่รุกั้วะและสุญูดโดยพร้อม เพรียงกัน อยู่ต ลอดเวลา หลัง จากนั้นพวกเขาก็จะแยกย้ายกันออกไปหาความประเสริฐของอัลลอฮฺ (ปัจจัยยังชีพ) และความโปรดปรานของพระองค์ด้วยความขะมักเขม้นและจริงจังตามภาระงานและ หน้าที่ต่างๆของแต่ละคน เช่นเรียน สอน ค้าขาย ดะวะฮฺ และอื่นๆ ส่วนละหมาดสุนัต โดยเฉพาะละหมาดกลางคืน (กิยามุลลัยล์) จะเป็นการละหมาดในรูปแบบ ส่ว นบุคคล ยกเว้น ละหมาดตะรอวีหฺ ซึ่ง โดยปกติแ ล้ว บุคคลทั่ว ไปไม่สามารถเป็น สักขีพยานต่อการ ละหมาดประเภทนี้ได้ อัลลอฮฺตรัสว่า ÍÌËÊÉÈÇÆÅÄÃÂÁÀ¿¾½¼»º¹¸m
lÒÑÐÏÎ
“ผู้ทที่ ําการภักดีในยามค่ําคืน ในสภาพทีส่ ุญูด และยืนละหมาด โดยที่เขาหวั่นเกรงต่อโลกอาคิเราะฮฺ และ หวังความเมตตาของพระผู้อภิบาลของเขา (จะมีเกียรติเท่ากับผู้ที่ไม่ได้ปฏิบัติเช่นนั้นกระนั้นหรือ?) จงกล่าวเถิด มุฮัมมัดว่า บรรดาผูท้ รี่ ถู้ ึงแก่นแท้ของอัลลอฮฺและแก่นแท้ของตัวเองและบรรดาผู้ไม่รู้จะเท่าเทียมกันกระนัน้ หรือ? แท้จริงบรรดาผู้มีสติปัญญาอันบริสุทธิเ์ ท่านั้นที่จะรําลึกถึงอัลลอฮฺเสมอ” (อัซซุมัร 39:9) เพื่อให้มุสลิมทุกคนแสดงออกถึงคุณลักษณะต่างๆดังกล่าว ข้าพเจ้าขอเชิญชวนให้ทุกคนยึดมั่น ปฏิบัติกับการละหมาดฟัรฎูในรูปของญะมาอะฮฺ พยายามอยู่ในมัสยิดอย่างน้อยขณะกําลังอิกอมะฮฺ และ ดํารงการละหมาดด้วยความสํารวมตน พร้อมกับยึดมั่นปฏิบัติกับละหมาดสุนัตต่างๆ เพราะจุดยืนของคน ต่อการละหมาดนั้นมีด้วยกัน 3 กลุ่ม คือ