ปที่ 3 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 ฉบับที่ 4
ปที่ 3 ตุลาคม - ธันวาคม 2559 ฉบับที่ 4
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลงานวิจัย และ งานบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา 2. เ พื่ อ เป็ น สื่ อ กลางในการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ และการเข้าถึงองค์ความรู้ของภาคประชาชน
ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร.น�ำยุทธ ดร.ภาสวรรธน์ นายภฤศพงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา นายกิติชัย นายเกรียงไกร
สงค์ธนาพิทักษ์ วัชรด�ำรงค์ศักดิ์ เพชรบุล เขาสุเมรุ ระมิงค์วงศ์ ธารพรศรี
จัดท�ำโดย
คลังความรู้ชุมชน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ต�ำบลป่าป้อง อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 50220 โทร.053 - 266516-8 ข้อ เขียนหรือบทความใดๆ ที่ตี พิ มพ์เผยแพร่ ในวารสารแก้ว ปั ญญา ฉบั บ นี้ เป็ น ความคิ ด เห็ น เฉพาะตั ว ของผู ้ เขี ย น คณะผู ้ จั ด ท� ำ ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเห็ น ด้ ว ยและไม่ มี ข ้ อ ผู ก พั น กั บ คณะผู ้ จั ด ท� ำ และสถาบั น ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา แต่อย่างใด
2
บทบรรณาธิการ เมือ่ วันที่ 13 ตุลาคม 2559 ส�ำนักพระราชวังประกาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มหิตลา ธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถ บพิตร สวรรคต เป็นวันสูญเสียครั้งใหญ่หลวงของพสกนิกร ประชาชนชาวไทยทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในวารสารฉบั บ นี้ จึ ง ขอน� ำ เสนอผลงานแจกั น ศิ ล ปกรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ได้จัดสร้างผ่านกระบวนการที่ใช้องค์ความรู้ ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี กั บ ศิ ล ปะมาบู ร ณาการ สร้างสรรค์ผลงานร่วมกัน และทูลเกล้าถวายซึง่ ความจงรักภักดี ต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เมื่อปีพุทธศักราช 2549 ซึง่ เป็นปีมหามงคลด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครอง ราชย์ยาวนานที่สุดในโลก พร้ อ มร่ ว มเดิ น ทางเรี ย นรู ้ ชุ ม ชนกั บ โครงการยก ระดับคุณภาพชีวิตชุมชนแบบมีส่วนร่วม บ้านดอนมูล ในการ พัฒนาวิถีการเกษตรปลอดภัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงบ้านดอนมูล รวมถึงเนื้อหาสาระองค์ความรู้ในคอลัมน์ ต่าง ๆ อีกมากมายเช่นเคย
ขอน้อมศิระกราน กราบแทบพระยุคลบาท ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นหาที่สุดมิได้ บรรณาธิการ
คอลัมน์ 4 ขอแสดงความยินดี รอบรั้ว 6 12 เปิดมุมมอง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
แสดงความไว้อาลัย ถวายแด่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
14
เรื่องเล่า ชาวล้านนา
แจกันศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติ... “น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9”
18 งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง
กระบวนการสร้างสรรค์ แจกันศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติฯ
22
ชุมชนเดินทาง
แปลงผักของอัศวินโต๊ะกลม
องค์กรแห่งการเรียนรู้
การบูรณาการจัดการความรู้ โดยความคิด หลายระบบเพื่อผลิตผลงานวิจัยของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ซะป๊ะ สเปซ
ปล่อยโคม...ปล่อยทุกข์
ต่อนยอน ตะลอนทัวร์ “ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรียงไกร เมืองไม้และป่างาม”
24 28 30 32 34
คู่คิด มิตรชุมชน
RMUTL Community Engagement
ใคร...? ได้อะไร...? จากการด�ำเนินโครงการบริการวิชาการ?
18 14
22 24
30
32 3
ขอแสดง ความยินดี ขอแสดงความยินดีกบั คณาจารย์ ทีไ่ ด้รบั ต�ำแหน่ง ทางวิชาการ ดังรายชือ่ ต่อไปนี้
4
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เผด็จ ทุกข์สูญ สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.บัญจรัตน์ โจลานันท์ สาขาวิชาวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณรงค์ฤทธิ์ พิมพ์ค�ำวงศ์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรพิมล จุลพันธ์ สาขาวิชาการประมง คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรศักดิ์ เชี่ยวชาญ สาขาวิชาภาษาไทย คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ราเชนทร์ ชูศรี สาขาวิชาการการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศราวุธ พั้วป้อง สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษดา กาวีวงศ์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร ทิพย์ศรี สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เยาวนาถ นรินทร์สรศักดิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีบรรจุ ภัณฑ์ คณะศิลปกรรมและ สถาปัตยกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สืบพงศ์ จรรย์สืบศรี สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะศิลปกรรมและ สถาปัตยกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัยวัฒน์ ค�ำฝั้น สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมและ สถาปัตยกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณิฐิมา เฉลิมแสน สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาคภูมิ จารุภูมิ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์
5
คอลัมน์ : ข่าวรอบรั้ว
รอบรัว้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 รศ.ดร.สิริโฉม พิเชษฐ บุญเกียรติ ผูอ้ ำ� นวยการกองการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ า นนา เชี ย งราย อาจารย์ ภี ร าวิ ช ญ์ ชั ย มาลา ผู้รับผิดชอบโครงการ รวมถึงคณะกรรมการในการด�ำเนิน โครงการ 4 กิจกรรมย่อย เข้าร่วมโครงการติดตามความ ก้าวหน้าและสรุปบทเรียน โครงการ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของ หมูบ่ า้ น/ชุมชนแบบมีสว่ นร่วม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้รับเกียรติผู้ทรงคุณวุฒิจากท่านอุดม มณีขัติย์ รศ.สุทัศน์ จุลศรีไกรวัล รศ.ดร.อภิรักษ์ เพียรมงคล ดร.อรุณี ยศบุตร และ อาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี รองผูอ้ ำ� นวยการสถาบันถ่ายทอด เทคโนโลยีสู่ชุมชน รวมถึงบุคลากรสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยี สู่ชุมชน ร่วมตรวจเยี่ยมพื้นที่ด�ำเนินงานของโครงการ
เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2559 ผศ.มนูญ เมฆอรุณกมล รองอธิการบดี มทร.ล้านนา ล�ำปาง ให้เกียรติเป็นประธาน เปิดโครงการติดตามความก้าวหน้าและสรุปบทเรียน โครงการ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของหมู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชนแบบมี ส ่ ว นร่ ว ม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 โอกาสนี้ ได้รับเกียรติผู้ทรง คุณวุฒิจากท่านอุดม มณีขัติย์ รศ.สุทัศน์ จุลศรีไกรวัล และ รศ.ดร.อภิรักษ์ เทียรมงคล และอาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี รองผู้อ�ำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน รวมถึง คณะกรรมการด�ำเนินโครงการฯ ร่วมตรวจเยี่ยมพื้นที่ด�ำเนิน งานของโครงการ
6
วันที่ 6 กรกฎาคม2559 ผศ.พรรณี นุกูล คาม ผอ.กองบริหารทรัพยากร มทร.ล้านนา พิษณุโลก น�ำทีม คณาจารย์ พนักงาน นักศึกษา ต้อนรับผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก ในการติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานโครงการ “ยก ระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของหมู ่ บ ้ า น ชุ ม ชนแบบมี ส ่ ว นร่ ว ม” ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 ณ บ้านคลองตาล หมู่ที่ 8 ต.หนองแขม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก โดยมีการรายงาน ผลการด�ำเนินงาน โดย อาจารย์ปิยะพงษ์ วงค์ขันแก้ว และ คณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการฯ จากนั้น ผู้ทรงคุณวุฒิ พร้อมคณาจารย์และชาวบ้าน ลงพืน้ ที่ โรงสีขา้ วชุมชนต�ำบล หนองแขม พื้นที่ไร่นาสวนผสม และ พบกับกลุ่มอาชีพเสริม (การเลีย้ งสุกร , การเลีย้ งไก่พนื้ เมือง) กลุม่ ผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ ว และศูนย์การเรียนรู้
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 รศ.ดร.คมสัน อ�ำนวยสิทธิ์ รองอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา น่าน นายบรรจง อูปแก้ว ผู้รับผิดชอบโครงการ รวมถึงคณะ กรรมการในการด�ำเนินโครงการ 6 กิจกรรมย่อย เข้าร่วม โครงการติดตามความก้าวหน้าและสรุปบทเรียน โครงการ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของหมู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชนแบบมี ส ่ ว นร่ ว ม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้รบั เกียรติผทู้ รงคุณวุฒจิ าก ท่านอุดม มณีขัติย์ รศ.สุทัศน์ จุลศรีไกรวัล รศ.ดร.อภิรักษ์ เพียรมงคล ดร.อรุณี ยศบุตร และอาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี รองผู้อ�ำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน รวมถึง บุคลากรสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน ร่วมตรวจเยี่ยม พื้นที่ด�ำเนินงานของโครงการ
วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 อาจารย์สวุ รรณีย์ ขยันการนาวี สาขาอุตหกรรมการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตร อาจารย์ปิยะพร เสมาทอง สาขาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เจ้าหน้าที่งานวิจัยและ บริการวิชาการ กองการศึกษา มทร.ล้านนา ตาก ผู้รับผิดชอบ โครงการ เข้าร่วมโครงการติดตามความก้าวหน้าและสรุปบท เรียน โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน/ชุมชนแบบ มีส่วนร่วม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้รับเกียรติผู้ทรง คุณวุฒิจากท่านอุดม มณีขัติย์ รศ.สุทัศน์ จุลศรีไกรวัล และ รศ.ดร.อภิรักษ์ เพียรมงคล และอาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี รองผู้อ�ำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน รวมถึง บุคลากรสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสชู่ ุมชน โดยมีนายสมจิตร ขวัญใจผู้ใหญ่บ้านอยู่ดี เครือข่ายต่าง ๆ คณะกรรมการด�ำเนิน โครงการฯ ร่วมตรวจเยี่ยมพื้นที่ด�ำเนินงานของโครงการ
7
วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 ผศ.อรุณ โสตถิกุล ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยเทคโนโลยี เกษตร เข้าร่วมโครงการติดตามความก้าวหน้า และสรุปบทเรียน โครงการยกระดับคุณภาพ ชีวิตของหมู่บ้าน/ชุมชนแบบมีส่วนร่วม ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้รับเกียรติผู้ทรง คุ ณ วุ ฒิ จ ากท่ า นอุ ด ม มณี ขั ติ ย ์ รศ.สุ ทั ศ น์ จุลศรีไกรวัล และรศ.ดร.อภิรกั ษ์ เพียรมงคล และ อาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี รองผู้อ�ำนวยการ สถาบั น ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี สู ่ ชุ ม ชน รวมถึ ง บุคลากรสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน โดยมี ผศ.พงศ์ ยุ ทธ นวลบุญ เรือง ผู้รับ ผิด ชอบโครงการ คณะกรรมการด�ำเนินโครงการฯ ร่วมตรวจเยี่ยมพื้นที่ด�ำเนินงานของโครงการ
วั น ที่ 2 3 ก ร ก ฎ า ค ม 2 5 5 9 อาจารย์วรเชษฐ์ หวานเสียง ตัวแทนคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ ว่าที่ร.ต.ชัยภูมิ สีมา ผู้รับผิดชอบโครงการ รวมถึงคณะกรรมการ ในการด� ำ เนิ น โครงการ เข้ า ร่ ว มโครงการ ติ ด ตามความก้ า วหน้ า และสรุ ป บทเรี ย น โครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน/ ชุมชนแบบมีส่วนร่วม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้ รั บ เกี ย รติ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ าก ท่านอุดม มณีขัติย์ รศ.สุทัศน์ จุลศรีไกรวัล รศ.ดร.อภิรกั ษ์ เพียรมงคล ดร.อรุณี ยศบุตร และ นายเกรียงไกร ธารพรศรี รองผูอ้ ำ� นวยการสถาบัน ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน รวมถึงบุคลากร สถาบั น ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี สู ่ ชุ ม ชน โดยมี นายทรงวุฒิ นิตภิ กั ดิ ์ นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลโหล่งขอด ก�ำนันต�ำบลโหล่งขอด ผู้ใหญ่ บ้านหลวง หัวหน้าส่วนราชการ เครือข่ายต่าง ๆ ร่วมตรวจเยี่ยมพื้นที่ด�ำเนินงานของโครงการ
8
วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 ดร.ชินานาฏ วิทยาประภากร ผู้รับผิดชอบโครงการ รวมถึง คณะกรรมการในการด�ำเนินโครงการ เข้าร่วม โครงการติดตามความก้าวหน้าและสรุปบทเรียน โครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชนแบบมีส่วนร่วม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้ รั บ เกี ย รติ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ าก ท่านอุดม มณีขัติย์ รศ.สุทัศน์ จุลศรีไกรวัล รศ.ดร.อภิรักษ์ เพียรมงคล ดร.อรุณี ยศบุตร และอาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี รองผู้อ�ำนวย การสถาบั น ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี สู ่ ชุ ม ชน รวมถึ ง บุ ค ลากรสถาบั น ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี สูช่ มุ ชน โดยมีนายอรุณ ธนะหมี นายกเทศมนตรี ต�ำบลแม่ปั๋ง ผู้ใหญ่บ้านแม่แพง หัวหน้าส่วน ราชการ เครือข่ายต่าง ๆ ร่วมตรวจเยี่ยมพื้นที่ ด�ำเนินงานของโครงการ
วั น ที่ 22 กรกฎาคม 2559 ผศ.ถาวร ฟั่นชมภู คณบดีคณะศิลปกรรมและ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา คณะผู้บริหาร นายไพโรจน์ วรพจน์พรชัย ผู้รับผิดชอบโครงการ รวมถึง คณะกรรมการในการด�ำเนินโครงการ เข้าร่วม โครงการติดตามความก้าวหน้าและสรุปบทเรียน โครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน/ ชุมชนแบบมีส่วนร่วม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้ รั บ เกี ย รติ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ าก ท่านอุดม มณีขัติย์ รศ.สุทัศน์ จุลศรีไกรวัล รศ.ดร.อภิรักษ์ เพียรมงคล ดร.อรุณี ยศบุตร และอาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี รองผู้อ�ำนวย การสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน รวม ถึ ง บุ ค ลากรสถาบั น ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี สู ่ ชุมชน โดยมีนายกิติพัฒน์ สุนทรพันธุ์ นายก เทศมนตรีตำ� บลเวียงพร้าว หัวหน้าส่วนราชการ เครือข่ายต่าง ๆ คณะกรรมการด�ำเนินโครงการฯ ร่วมตรวจเยี่ยมพื้นที่ด�ำเนินงานของโครงการ
9
วันที่ 21 กรกฏาคม 2559 ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ เสรฐสุดา ปรีชานนท์ ผู้ช่วย คณบดีด้านงานวิจัยและบริการวิชาการ คณะ บริห ารธุรกิจและศิล ปศาสตร์ มหาวิทยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ โครงการ เข้าร่วมโครงการติดตามความก้าวหน้า และสรุปบทเรียน โครงการยกระดับคุณภาพ ชีวติ ของหมูบ่ า้ น ชุมชนแบบมีสว่ นร่วม ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ.2559 ได้รบั เกียรติผทู้ รงคุณวุฒิ จากท่านอุดม มณีขัติย์ รศ.สุทัศน์ จุลศรีไกรวัล รศ.ดร.อภิรักษ์ เพียรมงคล ดร.อรุณี ยศบุตร และนายเกรียงไกร ธารพรศรี รองผู้อ�ำนวย การสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน รวมถึง บุคลากรสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน โดยมีผใู้ หญ่บา้ นแม่สายป่าเมีย่ ง เครือข่ายต่าง ๆ คณะกรรมการด�ำเนินโครงการฯ ร่วมตรวจเยีย่ ม พื้นที่ด�ำเนินงานของโครงการ วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ส่งมอบเครื่องตัดเมล็ดบัวต้นแบบ เพื่อการน�ำ ไปใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมฯ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2559 ณ บริษัท ลานนาเกษตร อุตสาหกรรม จ�ำกัด อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ รศ.ดร.พานิช อินต๊ะ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิจัย และ ดร.วรวลัญช์ รุ่งเรืองศรี หัวหน้าโครงการฯ น�ำ คณะผู้ร่วมวิจัย ได้แก่ อ.ทะนุ ประเสริฐสุนทร อ.ดร.สุรีวรรณ ราชสม และ อ.เผ่าภิญโญศ์ ฉิ ม พะเนาว์ ส่ ง มอบผลงานเครื่ อ งตั ด เมล็ ด บั ว ต้ น แบบ ให้ แ ก่ บริ ษั ท ลานนาเกษตร อุตสาหกรรม จ�ำกัด พร้อมจัดกิจกรรมบริการ วิ ช าการ ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ แ ละสาธิ ต วิ ธี การใช้งานเครื่องตัดเมล็ดบัวต้นแบบ ให้แก่ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานของบริ ษั ท เชี ย งใหม่ เฮลตี้ โปรดักส์ จ�ำกัด และบริษทั ลานนาเกษตร อุตสาหกรรม จ�ำกัด ซึ่งนอกจากจะได้มีการ ถ่ายทอดองค์ความรู้แล้ว ยังได้มีร่วมปรึกษา หารือเกี่ยวกับแนวทางการท�ำวิจัยร่วมกับภาค อุ ต สาหกรรม เพื่ อ พัฒ นางานวิจัยร่วมกันใน อนาคต
10
วั น ที่ 2 5 ก ร ก ฎ า ค ม 2 5 5 9 ดร.ภาสวรรธน์ วัชรด�ำรงค์ศักดิ์ รองอธิการบดี ด้านวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี กล่าวต้อนรับ ดร.สิงห์แก้ว ป๊อกเทิง่ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันวิจยั และ พัฒนา ผู้บริหาร รวมถึงเจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยและ พัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จ�ำนวน 22 คน ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานบริการ วิชาการ เครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร ภายใต้โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของ หมูบ่ า้ น ชุมชน แบบมีสว่ นร่วม ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 โดยมี อาจารย์ภฤศพงศ์ เพชรบุล ผูอ้ ำ� นวยการ สถาบั น ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี สู ่ ชุ ม ชน ผู ้ บ ริ ห าร บุ ค ลากร สถาบั น ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี สู ่ ชุ ม ชน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานบริการวิชาการ ปัจจัย ที่ก่อให้เกิดผลส�ำเร็จ ปัญหาและอุปสรรค รวมถึง แนวทางในการแก้ไขปัญหาในการด�ำเนินงานด้าน บริการวิชาการ
มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ล้านนา ได้รับรางวัล Gold Award ถ้วยรางวัลจาก นายกรั ฐ มนตรี (พลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา) ในงาน “มหกรรมงานวิจยั แห่งชาติ 2559 (Thailand Research Expo 2016) ระหว่างวันที่ 17 – 21 สิงหาคม 2559 ตัง้ แต่เวลา 08.00 – 18.00 น. ณ ชัน้ 22 และ 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอก คอนเวนชั น เซ็ น เตอร์ เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ กรุ ง เทพฯ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หรือ วช. และหน่ ว ยงานเครื อ ข่ า ยในระบบวิ จั ย ได้ ร ่ ว มจั ด แสดงงาน “มหากรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2559” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาได้มอบ หมายให้ ส ถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาร่ ว มกั บ สถาบั น ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี สู ่ ชุ ม ชนให้ เข้ า ร่ ว มน� ำ เสนอ ผลงานภาคนิทรรศการ โดยน�ำผลงานวิจยั เรือ่ งความ หลากหลายของปลาในลุ่มน�้ำน่าน ซึ่งมี ผศ.อมรชัย ล้อทองค�ำ อาจารย์ประจ�ำคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มทร.ล้านนา เป็นเจ้าของผลงาน
11
12
13
คอลัมน์ : เรื่องเล่าชาวล้านนา (เรียบเรียง โดย ร.เรือ พายไป)
แจกัน
ศิลปกรรม เฉลิมพระเกียรติ...
“น้อมเกล้าน้อม กระหม่อมถวาย พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9”
สถิตในดวงใจตราบนิจนิรนั ดร์ น้อมศิระกรานกราบแทบพระยุคลบาท ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 14
ด้วยในปีพุทธศักราช 2549 เป็นปีมหามงคลด้วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวนานที่สุด ในโลก ในฐานะทีม่ หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็น หน่วยงานของภาครัฐที่ได้แสดงความจงรักภักดีด้วยกิจกรรม ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย อาจารย์ และบุคลากร ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ได้รว่ มกันระดมสรรพก�ำลังทัง้ คณาจารย์ นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ และศิลปิน จัดสร้างแจกันศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริ ราชสมบัตคิ รบ 60 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รั ช กาลที่ 9 ในวโรกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา
ครบ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เพือ่ น้อมเกล้าน้อมกระหม่อม ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 โดยได้จดั สร้าง แจกันศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติฯ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร ความสูง 120 เซนติเมตร จัดวางบนฐาน ไม้สักแกะสลักขนาด 60 เซนติเมตร ยาว 60 เซนติเมตร สูง 80 เซนติเมตร จ�ำนวน 9 ใบ โดยแจกันแต่ละใบได้จารึก ภาพพระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 อันแสดงถึงพระบุญญาธิการ พระปรีชาสามารถและการเผยแพร่พระเกียรติคุณขององค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทีท่ รงปกครองแผ่นดิน ยาวนานกว่ากษัตริย์พระองค์ใด ในประวัติศาสตร์ชาติไทย
15
แจกันศิลปกรรมฯ ใบที่ 1 ชื่อ เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ พระบรมสาทิสลักษณ์ เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แจกันศิลปกรรมฯ ใบที่ 2 ชื่อ สืบราชสันตติวงศ์ พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประทับภายใต้มหาเศวตฉัตร พระราชทานพระบรมราชโองการ “ เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชน ชาวสยาม ” แจกันศิลปกรรมฯ ใบที่ 3 ชื่อ พระคู่พระบารมี พระบรมสาทิสลักษณ์ขององค์ลน้ เกล้าทัง้ 2 พระองค์ เมื่อครั้งอภิเษกสมรส แจกันศิลปกรรมฯ ใบที่ 4 ชื่อ เย็นศิระ ธ คุ้มเกล้า พระบรมสาทิ ส ลั ก ษณ์ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร และสมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เมื่อครั้ง ทรงพระเยาว์ แจกันศิลปกรรมฯ ใบที่ 5 ขื่อ องค์อัครศาสนูปถัมภ์ พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงผนวช แจกันศิลปกรรมฯ ใบที่ 6 ชื่อ พระราชอัจฉริยภาพ พระบรมสาทิสลักษณ์ที่แสดงถึงพระปรีชาสามารถ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในด้านต่าง ๆ แจกันศิลปกรรมฯ ใบที่ 7 ชือ่ พระบิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย พระบรมสาทิสลักษณ์ที่แสดงถึงผลการทดลองใน โครงการต่าง ๆ “ธ ทดลองกิจทั้งผองก็เรียงราย” แจกันศิลปกรรมฯ ใบที่ 8 ชื่อ เทิดไท้เหนือเกล้าชาวไทย พระบรมสาทิสลักษณ์ที่แสดงถึงความจงรักภักดีของ ไพร่ฟ้าประชาชนที่มีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แจกันศิลปกรรมฯ ใบที่ 9 ชื่อ เสด็จออกมหาสมาคม พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประทับยืน ณ สีหบัญชร พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นศูนย์ รวมดวงใจของไทยทุกคน
16
และได้ทูลเกล้าฯ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2550 ซึ่งได้จัดแสดงไว้ ณ งานของถวายส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 บริเวณสนามเสือป่า เขตดุสิต กรุงเทพฯ สร้างความปลื้มปิติให้กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา และคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติเป็นอย่างมาก
17
คอลัมน์ : งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง
กระบวนการ สร้างสรรค์ แจกันศิลปกรรม เฉลิมพระเกียรติฯ การสร้างแจกันศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติ เพื่อน้อม เกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่อง ในวโรกาสมหามงคลฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เป็นการ สร้ า งสรรค์ แจกั น ศิ ล ปกรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ ลั ก ษณะ ศิลปกรรมล้านนาร่วมสมัย โดยน�ำความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีและศิลปะ เข้ามาผสมผสานกันได้อย่างกลมกลืน และกระบวนการด้านเทคนิคเซรามิก ดังนี้
วัตถุดิบเนื้อดินปั้น
ดินทีน่ ำ� มาใช้ในการผลิตเครือ่ งปัน้ ดินเผา โดยทัว่ ๆ ไป มี ห ลากลั ก ษณะตามแหล่ ง ดิ น ที่ น� ำ มาใช้ คุ ณ สมบั ติ ข องดิ น ที่ดีคือ เมื่อน�ำมาปั้นเป็นผลิตภัณฑ์แล้ว เผาจะต้องไม่แตก
18
อาจารย์กิติชัย ระมิงค์วงศ์ สาขาเทคโนโลยีเซรามิก คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่
ดินบางแหล่งเผาแล้วแตก เนื่องจากมีแร่ก�ำมะถันมาก หรือมี เศษหินปูนเจือปนอยูใ่ นดินมาก ก่อนน�ำดินมาใช้ปน้ั ผลิตภัณฑ์ ควรจะสอบถามแหล่งข้อมูลจากผูร้ ู้ หรือสอบถามจากผูท้ เี่ คยใช้ ดินจากแหล่งนัน้ มาแล้วได้ผลดีและต้องน�ำดินนัน้ มาทดลองปัน้ และเผาดูก่อนเพื่อทดสอบคุณภาพของดิน 1. ดินขาว คือดินที่มีความบริสุทธิ์กว่าดินชนิดอื่น ทนความร้อนสูง ประมาณ 1,300 องศาเซลเซียสน�ำมาใช้ผลิต ถ้วยชามสีขาว เนื้อโปร่งแสง แหล่งดินขาวจะอยู่แถบภูเขาสูง เป็นดินทีม่ มี ลทินอยูน่ อ้ ยและเป็นดินทีม่ แี ร่ธาตุและอินทรียสาร น้อย มีแร่เหล็กอยูไ่ ม่เกิน 0.5 – 1 เปอร์เซ็นต์ แหล่งดินขาวของ ไทยได้แก่ ดินขาวเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ดินขาวแจ้ห่ม จังหวัดล�ำปาง ดินขาวระนองและดินขาวนราธิวาส เป็นต้น
2. ดินด�ำ เกิดจากดินขาวทีถ่ กู กระแสน�ำ้ พัดพามารวม กับอินทรียสาร พวกซากพืชและซากสัตว์จนระยะเวลาผ่าน ไปหลายล้านปี ดินขาวจึงเกิดความเหนียวและมีสีด�ำมากขึ้น เมือ่ น�ำไปเผาแล้วจะได้สคี อ่ นข้างขาว เนือ่ งจากอินทรียสารและ คาร์บอนจะถูกเผาไหม้หมดไปที่อุณหภูมิ 500 – 900 องศา เซลเซียส ดินด�ำมีแร่เหล็กต�ำ่ แต่มอี นิ ทรียสารสูงจะต้องใช้ระยะ เวลาในการเผานานถ้าเผาในเวลาสั้นชิ้นงานจะแตกร้าว ดินด�ำ ส่วนใหญ่ทนความร้อนสูง เผาทีอ่ ณ ุ หภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส ดินด�ำ มีแหล่งก�ำเนิดใกล้แหล่งดินขาว โดยทั่วไปมีอยู่น้อยใน แหล่งธรรมชาติ 3. ดินเชื้อ คือดินด�ำที่ผ่านการเผาในอุณหภูมิสูง 1,250 องศาเซลเซียส แล้วน�ำมาบด ร่อนผ่านตะแกรงหยาบ ให้ได้เม็ดดินขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 2 มิลลิเมตร ใช้ผสม ในเนื้อดินประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ เพื่อลดการหดตัวและการ แตกร้าวของเนื้อดินขณะผึ่งแห้ง กรณีที่จะน�ำดินเชื้อมาใช้ผสม จะใช้ เ ฉพาะในการสร้ า งชิ้ น งานที่ มี ข นาดใหญ่ ห รื อ งาน ประติมากรรม เพื่อช่วยให้เกิดโครงสร้างของรูปทรงที่แข็งแรง
การเตรียมเนื้อดินปั้น
ก่อนน�ำดินมาใช้ จะต้องผ่านกระบวนการล้างดิน เอากรวด ทราย และเกลือแร่ในดินออก โดยการน�ำดินขาว และดินด�ำที่ล้างแล้วมาชั่งตามอัตราส่วน น�ำไปบดในหม้อบด (Ball mill) ด้วยวิธีบดเปียกเพื่อให้เนื้อดินมีความละเอียดเป็น เนือ้ เดียวกัน เนือ้ ดินทีบ่ ดแล้วจะเป็นเนือ้ ดินเหลว แล้วน�ำไปผ่าน เครื่องอัด (Filter press) ไล่น�้ำออก จนได้ดินเหนียวเป็นแผ่น แล้วน�ำดินแผ่นหนา ๆ ทีไ่ ด้ไปนวดด้วยเครือ่ งนวดดิน (Extruder) เพื่อบดผสมเนื้อดินให้มีความชื้นสม�่ำเสมอกัน ดินที่ผ่านการ นวดแล้วควรหมักทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ ก่อนน�ำมาปั้น
การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน
เนื้อดินที่ผ่านการหมักแล้ว น�ำมานวดเพื่อไล่โพรง อากาศ ให้เนือ้ ดินมีความเหนียวสม�ำ่ เสมอเท่ากัน แล้วน�ำมาขึน้ รูปด้วยแป้นหมุนไฟฟ้า โดยปกติการขึ้นรูปชิ้นงานขนาดใหญ่ ด้วยแป้นหมุนขนาดใหญ่ ต้องแบ่งการขึ้นรูปเป็น 3 - 4 ระยะ เพื่อรอให้ดินหมาดและทรงตัวได้ดี
การท�ำให้แห้ง
แจกันที่ขึ้นรูปเสร็จแล้วทั้ง 9 ใบ ต้องน�ำไปผึ่งให้แห้ง ใช้ระยะเวลาประมาณ 3 สัปดาห์ เพื่อให้ดินแห้งสนิทก่อนน�ำ ไปเผา ถ้าดินยังมีความชื่นอยู่ เมื่อน�ำไปเผาดิบจะท�ำให้แจกัน แตกหรือระเบิดในการเตาเผา
19
การเผาเซรามิก
การเผาเซรามิก โดยทั่วไปแบ่งออกเป็นสองขั้นตอน คือ การเผาดิบ และการเผาเคลือบ การเผาดิ บ เป็ น ขั้ น ตอนแรก โดยเผาที่ อุ ณ หภู มิ 750 องศาเซลเซี ย ส ใช้ เ ตาเผาเชื้ อ เพลิ ง แก๊ ส ใช้ เวลาใน การเผาไล่ความชื้นออกจากเนื้อดินโดยเริ่มอุณหภูมิห้องที่ 28 – 200 องศาเซลเซียส ใช้ระยะเวลา 24 ชั่วโมง และจาก 200 – 750 องศาเซลเซียส อีก 12 ชัว่ โมง รวมระยะเวลาเผาดิบ 36 ชั่ ว โมง การเผาดิ บ จะใช้ เวลานานกว่ า การเผาเคลื อ บ เนื่องจากการเผาครั้งแรก แจกันศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติฯ ทีผ่ า่ นกระบวนการ เผาดิบ ที่อุณหภูมิ 750 องศาเซลเซียสเนื้อดินสีด�ำจะเปลี่ยน เป็นสีอิฐนวล มีความแข็งแกร่งเพิ่มขึ้น สะดวกและปลอดภัย ในการเคลื่อนย้ายจากนั้นน�ำไปตกแต่งด้วยวิธีการระบายสีใต้ เคลือบ การเขียนภาพจิตรกรรมบนแจกัน ที่ผ่านการขัดแต่ง พื้นผิวแล้ว น�ำมาตกแต่งด้วยการระบายสีใต้เคลือบ เป็นภาพ จิตรกรรมและลวดลายตามที่ต้องการ การเคลือบโดยปกติจะใช้วิธีการชุบเคลือบ เนื่องจาก แจกั น มี ข นาดใหญ่ จึ ง ต้ อ งใช้ วิ ธี ก ารพ่ น เคลื อ บแทนการ ชุบเคลือบแบบธรรมดา น�ำ้ เคลือบทีน่ ำ� มาพ่นเป็นน�ำ้ เคลือบชนิด ใส โดยพ่นทับสีใต้เคลือบให้มีความหนาของเคลือบประมาณ 1 มิ ล ลิ เ มตร เพื่ อ ป้ อ งกั น สี ที่ เขี ย นตกแต่ ง ไม่ ใ ห้ ห ลุ ด ลอก และเพิ่มความสดใสให้กับภาพจิตรกรรม การเผาเคลือบ เป็นการเผาขั้นตอนที่ 2 ที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส ใช้ระยะเวลา 18 ชัว่ โมง เพือ่ ให้นำ�้ เคลือบ หลอมละลายเป็นแก้วใสเคลือบทับให้ครอบคลุมทัง้ พืน้ ผิวแจกัน ศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติฯ โดยวิธกี ารเผาในบรรยากาศแบบ สันดาปสมบูรณ์ (Oxidation firing) จนอุณหภูมลิ ดลงเหลือไม่ เกิน 100 องศาเซลเซียส จึงจะเปิดเตาเผาได้ กระบวนการสร้ า งสรรค์ แ จกั น ศิ ล ปกรรมเฉลิ ม พระเกียรติฯ เป็นกระบวนการทีใ่ ช้องค์ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีกบั ศิลปะมาบูรณาการสร้างสรรค์ผลงานร่วมกัน โดยผ่านการทดลอง การทดสอบ การเผา การขึ้นรูปชิ้นงาน การออกแบบ การเขียนภาพจิตรกรรม ที่ต้องใช้ความละเอียด รอบคอบ มีทกั ษะ ประสบการณ์ และความประณีต จึงสามารถ สร้างสรรค์ผลงานที่มีความสมบูรณ์และงดงามได้
20
21
ใคร...? ได้อะไร...? จากการ ด�ำเนิน โครงการ บริการ วิชาการ?
คอลัมน์ RMUTL Community Engagement (ย.ยักษ์ เขี้ยวใหญ่)
ฉบับนีข้ อเล่าถึงผลทีเ่ กิดขึน้ จากการด�ำเนินงานบริการ วิชาการ ผ่าน โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีสว่ นร่วม ในเรือ่ งของ ใครหรือผูเ้ กีย่ วข้องกับการ ด�ำเนินกิจกรรมได้อะไร จากการด�ำเนินการโครงการดังกล่าว ซึงเป็นโครงการบริการวิชาการที่มีลักษณะสัมพันธ์กับชุมชน ( community engagement) โดยมี เป้าหมายส�ำคัญคือ การเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทางที่ดีขึ้น บนหลักการพื้นฐาน ในการด�ำเนินงาน 4 ประการ คือ ร่วมคิดร่วมท�ำแบบหุ้น ส่วน (Partnership) เกิดประโยชน์ร่วมกันแก่ผู้เกี่ยวข้องทุก ฝ่าย (Mutual benefit) มีการใช้ความรู้และเกิดการเรียนรู้ ร่วมกัน (Scholarship) และเกิดผลกระทบต่อสังคมทีป่ ระเมิน ได้ (Social impact) การบริการวิชาการต่อสังคม ซึ่งมีการด�ำเนินงานใน ลักษณะร่วมกันคิด ร่วมกันท�ำ ร่วมกันแบ่งปันแชร์ทรัพยากร ในการด�ำเนินงาน อาทิ บุคลากร สถานที่ รวมถึงงบประมาณ ในการด�ำเนินงานร่วมกัน เป็นการสร้างเครือข่ายงานบริการ วิชาการร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นเพื่อบูรณาการงานบริการ วิชาการสู่ชุมชนร่วมกัน เป็นแนวทางในการท�ำให้การบริการ วิชาการสู่ชุมชนตรงกับความต้องการของคนในชุมชนมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลถึงความอย่างยั่งยืน โดยมีผลที่เกิดขึ้นกับ บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินกิจกรรม อาทิ ครูอาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา ตลอดจนผลการด�ำเนินงานทีเ่ กิดขึน้ กับ ชุมชน สามารถอธิบายได้โดยสรุปดังนี้
22
ครู อาจารย์ นักวิจัย
บุคลากร ที่เกี่ยวข้อง มีโอกาสน�ำเอาองค์ความรู้ที่ได้ จากงานวิจัยลงไปให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม เพราะมีการร่วมกันคิด ร่วมท�ำกันตั้งแต่เริ่มด�ำเนินโครงการ กับชุมชน ท�ำให้น�ำผลงานวิจัยที่ตรงกับความต้องการของ ชุมชนไปถ่ายทอด และช่วยแก้ปญ ั หาให้กบั ชุมชนได้จริง ตลอด จน ปัญหาจากชุมชนที่ยังไม่มีวิธีแก้ไข ยังน�ำมาเป็นโจทย์วิจัย ให้นักวิจัยในมหาวิทยาลัย ร่วมกันด�ำเนินการวิจัย เพื่อสร้าง องค์ความรู้น�ำไปถ่ายทอดเพื่อแก้ปัญหาให้กับชุมชนได้ต่อไป รวมทั้งเป็นการสร้างความรู้เพื่อใช้ในการเรียนการสอนใน วิชาและหลักสูตรที่เกี่ยวข้องต่อไป ซึ่งจะส่งผลให้การเรียน การสอนมี ก ารบู ร ณาการกั บ งานวิ จั ย การบริ ก ารวิ ช าการ ซึ่งจะท�ำให้ผู้เรียน ได้ประสบการณ์จากเหตุการณ์จริงเป็น แนวทางที่ เ ป็ น ตั ว อย่ า งและปลู ก ฝั ง ทั ศ นคติ ใ นการท� ำ งาน เพือ่ สังคมให้กบั นักศึกษาทีจ่ ะส�ำเร็จการศึกษาในอนาคตต่อไป
นักศึกษา
การร่วมด�ำเนินกิจกรรมของนักศึกษาท�ำให้มีโอกาส ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง น�ำความรู้จากห้องเรียนมาฝึก ประยุกต์ เรียนกับพื้นที่จริงท�ำให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจ ในเรื่องที่ตัวเองศึกษาอยู่ได้ และเห็นอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่ง ขึน้ รวมทัง้ ได้ซมึ ซับการรูปแบบ วิธกี ารท�ำงานเพือ่ สังคม ซึง่ เป็น แนวทางในการสร้างทัศนคติในทางบวกและสร้างแรงบันดาลใจ ในการท�ำงานกับชุมชนให้กับนักศึกษาอีกด้วย
สังคมชุมชน
ที่ผ่านมาการบริการวิชาการโดยทั่วไปส่วนใหญ่ จะเป็นไปในลักษณะให้ชุมชนเป็นผู้รับ หน่วยงานที่ลงพื้นที่ เป็ น ผู ้ ใ ห้ ซึ่ ง งานวิ จั ย และบริ ก ารวิ ช าการจากเดิ ม ที่ ส ่ ว นใหญ่ เ ป็ น ความต้ อ งการของนั ก วิ ช าการเอง ซึ่ ง ผลงานอาจไม่ ไ ด้ น� ำ ไปสู ่ ก ารใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ แก้ ปั ญ หาในชุ ม ชนอย่ า งแท้ จ ริ ง และยั่ ง ยื น แต่ เ มื่ อ มี ก าร ด� ำ เนิ น งานวิ จั ย และบริ ก ารวิ ช าการแบบมี ส ่ ว นร่ ว ม ที่เริ่มจากปัญหาและความต้องการของชุมชน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ ถึงปัญหาความต้องการที่แท้จริง ร่วมกันพัฒนา โจทย์และทิศทางในการด�ำเนินการยังจะก่อให้เกิดความยัง่ ยืน ในชุมชนทีแ่ ท้จริง ท�ำให้ชมุ ชนเห็นประโยชน์ทจี่ ะเกิดขึน้ จาก การด�ำเนินกิจกรรม พร้อมที่จะลงแรงร่วมกิจกรรม จนท�ำให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เห็นความส�ำคัญของผลกระทบใน ทางบวกทีเ่ กิดขึน้ จึงได้มนี โยบายทีจ่ ะร่วมด�ำเนินโครงการกับ ทางมหาวิทยาลัยโดยเป็นความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ไม่วา่ จะ เป็นบุคลากร อุปกรณ์ ตลอดจน ร่วมสนับสนุนงบประมาณ ในการด�ำเนินกิจกรรม ท�ำให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมและ ยั่งยืนยิ่งขึ้น จะเห็ น ได้ ว ่ า โครงการยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต หมู่บ้าน/ชุมชนแบบมีส่วนร่วม ของมหาวิทยาลัยฯ เป็นอีก โครงการหนึ่งที่ใช้ การร่วมคิด ร่วมท�ำ ของคนในชุมชนและ บุคคลกรของมหาวิทยาลัย ซึง่ จะร่วมกันน�ำผลงาน องค์ความรู้
ของอาจารย์ นักวิจัยของมหาวิทยาลัย ไปสู่การปรับใช้เพื่อใช้ ประโยชน์ของคนในชุมชนได้อย่างตรงเป้าหมายมากยิง่ ขึน้ รวม ทัง้ ร่วมสะท้อนปัญหาในชุมชน สูโ่ จทย์วจิ ยั เพือ่ แก้ไขปัญหาให้ กับชุมชนได้ตรงจุดและตรงเวลา ซึ่งเป็นแนวทางที่จะน�ำความ สุขสู่ชุมชนได้อย่างยั่งยืน สมกับ สโลแกน ของโครงการที่ว่า “ร่วมคิด ร่วมท�ำ น�ำความสุขสูช่ มุ ชน” แล้วพบกันใหม่ครับ
23
แปลง ผัก ของ อัศวิน โต๊ะกลม
โครงการยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ชุ ม ชน หมู ่ บ ้ า น แบบมีสว่ นร่วม ในการพัฒนาวิถกี ารเกษตรปลอดภัย ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบ้านดอนมูล สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ส�ำหรับสถาบันวิจัยเทคโนโลยี เกษตรแล้ว ชุมชนบ้านดอนมูลถือเป็น เพื่อนบ้านที่ไปมาหาสู่และไต่ถามสาร ทุกข์สุกดิบกันมาตลอด หมู่บ้านเล็กๆ ติ ด ถนนพหลโยธิ น แห่ ง นี้ ร ายล้ อ มไป ด้วยท้องนาบนที่ราบลุ่ม ด้วยพื้นที่ใน เขตชลประทานกิ่ ว ลมและแม่ น�้ ำ วั ง ที่ ไหลผ่านตลอดแนวอาณาเขตหมู่บ้าน ท�ำให้ชาวชุมชนสามารถท�ำการเกษตร ได้ตลอดทั้งปี แต่ส่วนใหญ่พวกเขาจะ เลือกท�ำนาปีละ 2 ครั้งและทิ้งผืนนาให้ ว่างเปล่าไป อย่ า งไรก็ ต าม อาชี พ ของ ชาวดอนมูลไม่ได้มีเพียงแต่ในท้องนา พวกเขาได้แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มอาชีพ นอกจากกลุม่ ปลูกข้าวแล้วยังมีกลุม่ ปลูก ถั่วเหลือง กลุ่มเลี้ยงหมู และกลุ่มเลี้ยง วัว และถึงรายได้หลักจากการเกษตรใน พื้นที่ไม่ถึง 100 ตารางกิโลเมตรจะพอ หล่อเลีย้ งชีวติ ได้ แต่การขาดแคลนความ รู ้ ด ้ า นการตลาดก็ ท� ำ ให้ สิ น ค้ า เกษตร
24
ของชุมชนยังสร้างรายได้ไม่มากเท่าที่ ควรและห่างไกลกับการสร้างความยัง่ ยืน ในชุมชน เพราะเป็ น บ้ า นใกล้ เ รื อ น เคียงที่มองเห็นข้อดีข้อด้อยกันมานาน ทีมงานจากสถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร (สวก.) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา จึงตัดสินใจเลือกชุมชน บ้ า นดอนมู ล เป็ น เป้ า หมายในการ ยกระดั บ ภายใต้ โ ครงการ ‘ยกระดั บ คุณภาพชีวติ ชุมชนแบบมีสว่ นร่วมในการ พัฒนาวิถีการเกษตรปลอดภัยตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบ้านดอนมูล’ และเดินหน้าลุยเต็มที่ “ชุ ม ชนกั บ เราต่ า งก็ คุ ้ น เคย กั น เป็ น อย่ า งดี ผู ้ น� ำ ของเขาก็ เ ข้ ม แข็ง การท�ำงานจึงเริ่มต้นได้เลยแบบ ไม่ ต ้ อ งเกริ่ น น� ำ มากมายให้ เ สี ย เวลา” ผศ.สุ ม าฬี พรหมรุ ก ขชาติ จาก สถาบั น วิ จั ย เทคโนโลยี เ กษตร บอก อย่างนั้น
คอลัมน์ : ชุมชนเดินทาง
25
บทสรุปจากโต๊ะกลม ห ลั ง จ า ก ล ง พื้ น ที่ ร ่ ว ม กั บ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลพิ ชั ย เพื่ อ ส�ำรวจปัญหาและความต้องการในชุมชน ที ม งานจาก สวก. ก็ ไ ด้ พ บว่ า ความ ต้องการอันดับต้นๆ ของชาวชุมชนแห่ง นี้คือการพัฒนาอาชีพและการปลูกผัก ปลอดสารพิษ แม้ ค วามต้ อ งการและความ กระตื อ รื อ ร้ น จะชั ด เจนแค่ ไ หน แต่ จากประสบการณ์ที่ผ่านมา อาจารย์สุ มาฬี บอกว่า สิ่งแรกที่ต้องท�ำไม่ใช่การ อบรมให้ ค วามรู ้ “แต่ เ ป็ น การนั่ ง ลง
2 ไร่ ได้ขยับกว้างขึ้นเรื่อยๆ ด้วยความ สนใจจากชาวชุมชนและค�ำแนะน�ำจาก กลุ่มอาจารย์ถึงผักที่ทั้งปลูกง่ายและน�ำ ไปขายที่ตลาดต้นยางใกล้บริเวณนั้นได้ ด้วย หรือกระทั่งการใช้บริโภคเองใน ครัวเรือน ขณะเดี ย วกั น ทางที ม งาน โครงการฯ ก็ ค อยเป็ น พี่ เ ลี้ ย งในเรื่ อ ง องค์ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ ระบบการปลู ก การดู แ ลผั ก และการจั ด การสภาพ แวดล้อมริมน�้ำวัง ไปจนถึงการจัดการ จากโครงการ ‘ผั ก สวนครั ว ผลผลิ ต และบริ ห ารจั ด การผลิ ต ผั ก รั้ ว กิ น ได้ ’ ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ในชุ ม ชนท� ำ ให้ ปลอดภั ย ที่ ริ ม แม่ น�้ ำ วั ง รวมถึ ง ผั ก สวน ชาวบ้ า นดอนมู ล ยกเรื่ อ งการปลู ก ผั ก ครัวรั้วกินได้เพื่อให้แปลงผักเดินหน้า เห็ น มากกว่ า โต๊ ะ แบบหน้ า กระดาน โดยมีทางทีมงานคอยกระตุ้นไปเรื่อยๆ” เมื่อได้ภาพที่ชัดเจนของการ มุ ่ ง สู ่ ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมของ โครงการฯ จึงเริ่มต้นขึ้นทั้งในแต่ละบ้าน และบนพื้ น ที่ ส ่ ว นรวมริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ วั ง
รอยเท้าในแปลงผัก และนาข้าว
‘ผักสวนครัว รั้วกินได้ ’ แล้วแลกเปลี่ยนกัน” อาจารย์บอก “สิ่งที่เรารู้มีเพียงหลักการและ หลักการไม่ใช่ทุกอย่าง ชาวบ้านเองก็มี ภูมปิ ญ ั ญาทีส่ บื ทอดต่อกันมา การพูดคุย จะดึงความรู้ของทั้งสองฝั่งเข้ามาเชื่อม โยงกันและทดลองตามหลักการให้ชมุ ชน ได้เห็น เขาจะเข้าใจเมือ่ ได้เห็นของจริง ดี กว่าเอาแต่พูดให้เขาเชื่ออยู่ฝ่ายเดียว” ความตั้งใจที่ว่ายังสะท้อนออก มาให้เห็นในรายละเอียดเล็กๆ อย่างการ จัดโต๊ะเป็นวงกลม “เริ่ ม จากการสื่ อ สารหั ว ข้ อ ที่พวกเขาต้องการเรียนรู้ และการจัด โต๊ ะ แบบอั ศ วิ น โต๊ ะ กลมให้ ทุ ก คนได้ เห็นหน้ากันจะช่วยให้กล้าแสดงความ
26
ปลอดภัยมาเป็นอันดับแรก ประกอบกับ พืน้ ทีร่ มิ แม่นำ�้ วังหลายกิโลเมตรถูกปล่อย ทิ้งไว้จนรกร้าง ทีมงานจึงมองว่าน่าจะ ผนวกเข้าด้วยกันได้ “เราเสนอให้ ใช้ พื้ น ที่ ต รงนั้ น ท� ำ เรื่ อ งผั ก ปลอดภั ย เพราะนอกจาก จะตอบโจทย์แล้วยังช่วยในเรื่องทัศนีย และด้วยบ้านดอนมูลเป็นชุมชนต้นน�้ำ การปลูกผักปลอดสารก็จะส่งผลดีต่อ ชุมชนปลายน�้ำด้วย” ห ลั ง ศึ ก ษ า ดู ง า น ก ลุ ่ ม ผั ก ปลอดภัยในจังหวัดล�ำปางเพื่อค้นหารูป แบบการผลิตที่เหมาะสมแล้ว ชุมชน ก็ ไ ด้ คั ด เลื อ กสมาชิ ก และพื้ น ที่ ส� ำ หรั บ การด�ำเนินงานจนพื้นที่ซึ่งตั้งต้นแค่ราว
ไปได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งยังจัดให้มีการ ประกวดออกแบบปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ ของชุมชนโดยได้รบั ความร่วมมือทัง้ จาก ชุมชนและนักศึกษาของสถาบันเอง กิ จ กรรมของโครงการยั ง ครอบคลุ ม ไปถึ ง การผลิ ต ปั จ จั ย ทาง การเกษตรในการท�ำเกษตรปลอดภั ย ตั้งแต่สารก�ำจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติในการดูแลรักษา อย่าง น�้ำส้มควันไม้และน�้ำหมักชีวภาพ โดยมอบหมายให้ ส มาชิ ก กลุ ่ ม ใช้ วั ส ดุ เหลือทิ้งทางการเกษตรและในครัวเรือน เพื่อผลิตน�้ำหมักชีวภาพ ไม่เพียงแค่นน้ั ทีมงานโครงการ ยังได้จดั เวทีแลกเปลีย่ นเรียนรูเ้ ชิงปฏิบตั ิ
การในการท�ำปุ๋ยอินทรีย์เพื่อให้ชุมชน สามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์ในแบบต่างๆ ไว้ ใช้ในชุมชน รวมถึงการท�ำจุลินทรีย์จาว ปลวกและเลี้ยงไส้เดือนดินที่ช่วยปรับ โครงสร้างดินให้ดีขึ้นจากการไถพรวน แบบธรรมชาติในแบบทีเ่ ครือ่ งจักรกลไม่ สามารถท�ำได้ “ไส้เ ดื อนดินยังช่วยเพิ่มธาตุ อาหารให้ กั บ ดิ น กระตุ ้ น ความเจริ ญ เติ บ โต แถมยั ง เป็ น ตั ว บ่ ง ชี้ ถึ ง การปน เปื ้ อ นสารเคมี ใ นดิ น ได้ จ ากปริ ม าณ ความหนาแน่นของประชากรไส้เดือน” อาจารย์อธิบาย ขยับไปจากแปลงผักชาวดอน มูลส่วนใหญ่ฝากชีวิตไว้กับอาชีพหลัก ในท้ อ งนา แต่ ต ลอด 3 ปี ที่ ผ ่ า นมา ชาวชุมชนกลับต้องพึ่งพาเมล็ดพันธุ์ข้าว จากภายนอก ไม่มสี ทิ ธิควบคุมมาตรฐาน และคุณภาพของเมล็ดพันธุข์ า้ วได้เลย ยิง่ ไม่ตอ้ งถามถึงความมัน่ คงทางอาหารและ เศรษฐกิจในท้องถิ่นที่ดูจะรางเลือน 1,095 วันที่ต้องเสียเงินไปกับ เมล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วท� ำให้ ช าวบ้ า นดอนมู ล ตระหนักได้ว่า ถึงเวลาต้องมีพันธุ์ข้าว เป็นของตัวเอง เพื่อหันหัวกลับสู่เส้น ทางการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงจริงๆ เสียที “ตอนนี้ ความต้องการเมล็ด พันธุ์ข้าวที่ดีเพื่อใช้เป็นเมล็ดพันธุ์และ การบริ โ ภคมี ม ากขึ้ น หากชาวบ้ า น สามารถผลิ ต ได้ ข ้ า วที่ ป ลอดภั ย และ เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพในปริมาณที่ เพียงพอต่อความต้องการและกระจายไป สู่พื้นที่ใกล้เคียง ก็จะสามารถสร้างฐาน ในอาชีพท�ำนาของชุมชนให้มนั่ คงขึน้ ได้” เป้ า หมายของที ม งานคื อ ถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกรในด้าน การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวให้ได้มาตรฐาน และคุณภาพตามหลักวิชาการเทคโนโลยี เมล็ดพันธุ์พืช และสร้างกระบวนการมี ส่วนร่วมของในการคัดเลือกพันธุ์ข้าวที่ เหมาะสมกับพื้นที่ชุมชน
นั บ ตั้ ง แต่ คั ด เลื อ กผู ้ เข้ า ร่ ว ม โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน จาก นัน้ จึงจัดเสวนาโต๊ะกลมแลกเปลีย่ นเรียน รู้ ต่อด้วยการท�ำแปลงทดสอบพันธุ์ข้าว ที่เหมาะสม และท�ำจุดเรียนรู้การขยาย แหนแดงเพือ่ เสริมความอุดมสมบูรณ์ของ ดินนาและลดการใช้ปยุ๋ เคมี เคียงคูไ่ ปกับ การเลี้ยงสัตว์และท�ำของใช้ท่ัวไปในครัว เรือนเองอย่าง น�้ำยาล้างจานและแชมพู เพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้รอบด้าน มากขึ้น “เป้าหมายของเราคือการสร้าง ทักษะให้เกษตรกรบ้านดอนมูลสามารถ ผลิ ต ข้ า วปลอดภั ย รวมถึ ง เมล็ ด พั น ธุ ์ ส�ำหรับชุมชน จนถึงการเพิ่มบทบาทใน การสร้างความมั่นคงด้านอาหารและ เศรษฐกิ จ ชุ ม ชนภายใต้ ก ระบวนการ ผลิตทีเ่ ป็นมิตรทัง้ ต่อชาวชุมชน ผูบ้ ริโภค ภายนอก และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วย” นั่นจึงจะสามารถมุ่งหน้าไปสู่ การปลูกข้าวในแบบที่เลี้ยงชีพได้อย่าง ยั่งยืน – อาจารย์สุมาฬี บอก
ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
“เป้าหมายในปีแรกคือการส่ง เสริมสิง่ ทีช่ มุ ชนมีอยูแ่ ล้ว” อาจารย์เล่า “เหมือนเป็นฐานที่เราต้องอุดรูรั่วและ เสริมให้แข็งแรงเสียก่อน” ถึงจะเป็นบ้านใกล้เรือนเคียง แต่การ ‘เสริม’ ของอาจารย์ไม่ใช่การ ป้อนทุกสิ่งทุกอย่างแต่เป็นการกระตุ้น ให้ชุมชนเรียนรู้ที่จะท�ำได้เองด้วย “อย่างเรือ่ งผักปลอดภัย เราได้ ให้ชุมชนได้เรียนรู้ชนิดของผักในแต่ละ ฤดูกาลมากขึ้น ท้ายที่สุด ชนิดของผัก ที่ปลูกก็ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของพวก เขาเอง เมื่อพวกเขาสามารถดูแลตัวเอง ได้ ทางเราก็จะขยับไปดูในชุมชนอื่น ซึ่ง หมู่บ้านแห่งนี้ก็สามารถเป็นตัวอย่างได้ เพราะพวกเขาท�ำส�ำเร็จมาแล้ว” เช่ น เดี ย วกั บ กิ จ กรรมอื่ น ๆ ทีท่ างทีมงานโครงการฯ จะเน้นการมอบ องค์ความรู้และฝึกฝนให้ชาวชุมชนดอน มูลสามารถเดินหน้าต่อเองได้ในทุกด้าน บวกกับความสนใจที่ไปในทางเดียวกัน ของชุ ม ชนท� ำ ให้ พ อเห็ น ความยั่ ง ยื น ที่ ปลายทาง ดังสุภาษิตจีนบทหนึ่งได้กล่าว ไว้ ‘หากท่านให้ปลาแก่คนจน เขาจะมี ปลากินเพียงแค่วันเดียว แต่ถ้าท่าน สอนวิธีจับปลาให้เขา เขาจะมีปลากิน ตลอดชีวิต’
27
การบูรณาการจัดการความรู้โดยความคิดหลายระบบ เพื่อผลิตผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ดร.ไพรพันธ์ ธนเลิศโศภิต drpaipan@gmail.com
การบูรณาการจัดการความรูโ้ ดยความ คิดหลายระบบเพือ่ ผลิตผลงานวิจยั ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) จัดให้มีโครงการส่งเสริม ผลิต ผลงานวิจัย ภายใต้ชื่อโครงการ “การผลิตผลงานวิจัย มทร.ล้านนา (Hands-on Research and Development: HRD) โดยระยะที่ 1 เริ่มโครงการตั้งแต่เดือนกันยายน 2554 - ก.ย.2556 มน์ :องค์กรแห่งการเรียนรู้ ดร.ไพรพั นธ์ ธนเลิ รวมระยะเวลา 2 ปีศโศภิ 1 เดืต อน drpaipan@gmail.com ทั้งนี้ก่อนที่จะโครงการดังกล่าวนี้ มทร.ล้คอลั านนามี ผลงานวิจัยที่ได้รับ การตีพิมพ์สูงที่สุดเมื่อปี 2553 ในระดับชาติ 25 เรื่อง นานาชาติ 13 เรื่อง หลังจากมีโครงการนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กั บ หน่ มทร.ล้ า นนา มทร.ล้ า นนามี ผ ลงานวิ จั ย ที่ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ สู ง สุ ดงานวิ ต่ อ เนืจ่อั ยงเพิ ่ม ขึ้นว ยงานภายนอกด้ อย่ า งมี นั ย สำคั ญวทุยกทัปี้ ง นี้ โดยปี (มทร.ล้านนา) จัดให้มีโครงการส่งเสริม ผลิต ผลงานวิจัย ภาย ได้ด�ำเนินการบริหารงานวิจัยโดยการบูรณาการการจัดการ พ.ศ.2556 มีผลงานตีพิมพ์ระดับชาติ 88 เรื่อง และนานาชาติ 15 เรื่อง ทั้งนี้ โครงการ HRD ได้ใช้ ใต้ชอื่ โครงการ “การผลิตผลงานวิจยั มทร.ล้านนา (Hands-on ความรู้แบบการคิดหลายระบบ (System Thinking ) เช่น ระบบการจัดการความรู้การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ (System Thinking) เป็นการเรียนรู้ Research and Development:HRD) โดยระยะที่ 1 การท�ำระบบนักวิจัย พี่เลี้ยง (Mentoring System) ซึ่งมีทั้ง โดยองค์รวมขององค์กร เป็นการเรียนรู้หาวิธีการ (How to) ในการรักษาสมดุล (Balancing) เริ่มโครงการตั้งแต่เดือนกันยายน 2554 - กันยายน 2556 พี่เลี้ยง แก่นักวิจัยรุ่นใหม่ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ของปัจ2จัปียทั1้งภายในและภายนอกที ่จะกระทบต่ อองค์ กร เครื่องมือีอกทีทัง้่สยัำคังมีญกหนึ ่ใช้ในการจั รวมระยะเวลา เดือน ทั้งนี้ก่อนที่จะโครงการดั งกล่าวนี ้ และการใช้ ารจั่งดทีสรรเงิ นทุนวิจดยั การ ในโครงการย่อยซึง่ ความรู ด ้ ง ั กล่ า วได้ แ ก่ การจั ด สรรงบประมาณการวิ จ ย ั ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานภายนอกเป็ น ทำงานร่ วมกัต่นอไป ทั้งนี้ มทร.ล้านนามีผลงานวิจยั ทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์สงู ทีส่ ดุ เมือ่ ปี 2553 จะกล่าวในหัวข้อการด�ำเนินงานตามหลัก PDCA และยั25งเป็เรือ่นงการส่ งเสริม13 งานวิ กับงหน่ วยงานภายนอกด้ วย บทััต้งิทนีี่ด้ ี มทร.ล้ านนา ได้ดจำเนิ การบริ ในการบริ หารงานวิ ัยดังนกล่ าว ยัหงใช้ารประโยชน์ ในระดับชาติ นานาชาติ เรือ่ จงัยหลั จากมี โครงการนี้ แนวปฏิ งานวิมีจผัยลงานวิ โดยการบู บบการคิ ดหลายระบบ Thinking มทร.ล้านนา จยั ทีไ่ รด้ณาการการจั รบั การตีพมิ พ์ดสการความรู งู สุดต่อเนือ่ ้แงเพิ ม่ จากผลการด� ำเนิน(System โครงการ เพื ่อเพิ่มผลลั) พเช่ธ์นให้การ แก่ ตัวชี้วัด ทำระบบนั ก วิ จ ย ั พี เ ่ ลี ย ้ ง (Mentoring System) ซึ ง ่ มี ท ง ้ ั พี เ ่ ลี ย ้ ง แก่ น ก ั วิ จ ย ั รุ น ่ ใหม่ ท ง ้ ั ภายในและ ขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทุกปี โดยปี พ.ศ.2556 มีผลงานตีพิมพ์ โครงการส่งเสริมการท�ำต�ำแหน่งทางวิชาการ (โรงเรียน ผศ. รศ.) ทยาลัย 15และการใช้ อีกทั้งยัHRD งมีการจั ดสรรเงินาทุนนา นวิจซึัย่งในโครงการย่ ่งจะกล่า่ปวใน ระดับชาติภายนอกมหาวิ 88 เรือ่ ง และนานาชาติ เรือ่ ง ทัง้ นี้ โครงการ ของมทร.ล้ เป็น การจัดท�อำยซึ โครงการที ระสบความ หั ว ข้ อ การดำเนิ น งานตามหลั ก PDCA ต่ อ ไป ทั ง ้ นี แ ้ นวปฏิ บ ต ั ท ิ ด ่ ี ี ในการบริ ห ารงานวิ จ ย ั ดั ง กล่ า ว ยั ง ใช้กษา ทัง้ นี้ ได้ ใช้ ร ะบบการจั ด การความรู ้ ก ารเรี ย นรู ้ อ ย่ า งเป็ น ระบบ ส�ำเร็จและครอบคลุมตัวชีว้ ดั การประกันคุณภาพการศึ ธ์ให้แก่ งตักล่ วชีา้ววนีัดโครงการส่ งเสริบมตั การทำตำแหน่ ง จยั (Systemประโยชน์ Thinking)จากผลการดำเนิ เป็นการเรียนรู้ นโครงการ เพื่อเพิ่มผลลัพโครงการดั ้ ถือเป็นแนวปฏิ ทิ ดี่ ใี นการบริหารงานวิ ทางวิ ชาการ (โรงเรียน ผศ. ของมทร.ล้ น การจัดทำโครงการที ่ประสบความสำเร็ จและวยงานอืน่ กต์ใช้กบั การบริ หารงานวิจยั ของหน่ โดยองค์ ร วมขององค์ ก ร รศ.) เป็ น การเรี ย นรูา้ หนนา าวิ ธี ซึ่งซึเป็ง่ สามารถประยุ ครอบคลุ ตัวชี้วัดการประกั ณภาพการศึกษา กล่าวนี้ ถือเป็นตแนวปฏิ ี่ดีในการ การ (How to) มในการรั ก ษาสมดุ ลนคุ(Balancing) ของทั้งนีได้้ โครงการดั การด�ำเนินงการโครงการผลิ ผลงานวิบจัตยิทของ มทร.ล้านนา (Hands-on Research ปั จ จั ย ทับริ ้ ง ภายในและภายนอกที ่ จ ะกระทบต่ องค์ กหรารงานวิ หารงานวิจัยซึ่งสามารถประยุ กต์ใช้กับอการบริ จัยของหน่ วยงานอืand ่นได้Development: HRD) ได้ปฏิบตั ิ แนวคิมทร.ล้ ดการจัานนา ดการความรู แ้ บบหลายResearch ระบบของ Peter เครื่ อ งมื อ ที่ ส� ำ คั ญการดำเนิ หนึ่ ง ที่ ใช้นใการโครงการผลิ นการจั ด การความรู ้ ดั ง กล่จัยา ว ของ ตผลงานวิ (Hands-on and Senge (1994) ดัง้แรูบบหลาย ปที่ 1 ระบบของ Peter Senge ได้ แ ก่ การจั ด สรรงบประมาณการวิ จั ยปร่ฏิวบมกััตบิแนวคิ หน่ วดยงาน Development: HRD) ได้ การจัดการความรู ภายนอกเป็ น ท�ดัำงงานร่ (1994) รูปที่ 1ว มกั น และยั ง เป็ น การส่ ง เสริ ม
รูปที่ 1 การคิดหลายระบบของบูรณาการบริหารงานวิจยั มทร.ล้านนา โครงการผลิตผลงานวิจยั ของ มทร.ล้านนา (Hands-on Research and Development: HRD) (อ้างอิงจาก ณพศิษฎ์ จักรพิทกั ษ์, 2537)
28
จากรูปที่ 1 สามารถอธิบายการบูรณาการการวิจัย ร่วมกับการจัดการเรียนการสอน การบริการวิชาการและการ พัฒนาระบบทรัพยากรบุคคล โดย ระบบการจัดการความรู้ การบริหารงานวิจัยของ มทร.ล้านนา โดยถ่ายทอดในรูปแบบ การคิดหลายระบบ (System Thinking) ดังนี้ ระบบที่ 1 ระบบการเรียนการสอน ระบบที่ 2 ระบบการวิจัย ระบบที่ 3 ระบบการให้บริการวิชาการ ระบบที่ 4 ระบบการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์กร ระบบการเรียนการสอนต้องมีการพัฒนาหลักสูตร หรือการปรับปรุงหลักสูตร โดยบุคลากรที่ท�ำงานต้องมีความ รู้เรื่องความต้องการบัณฑิตของภาคอุตสาหกรรม เพื่อน�ำไป พัฒนาสมรรถนะของอาจารย์ รวมถึงการเรียนรู้ที่ได้เพื่อให้ได้ นักศึกษาที่มีคุณสมบัติดังประสงค์ หลักสูตรต้องตรงกับความ ต้องการของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งต้องฝึกนักศึกษาให้มีทักษะ การท�ำงาน (Hands-on) เพื่อสร้างโอกาสที่ดีในการท�ำงาน ระบบวิ จั ย ต้ อ งมี ค วามรู ้ ค วามต้ อ งการและการ ท�ำความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานภายนอก เพือ่ สร้างระเบียบวิธวี จิ ยั ใหม่ น�ำผลการวิจยั ออกตีพมิ พ์เผยแพร่ และมีการน�ำความรูจ้ ากงานวิจยั ไปถ่ายทอดแก่หน่วยงานอืน่ ๆ ระบบการบริการวิชาการ เกิดจากการเรียนรู้เพื่อ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี เพื่ อ สร้ า งองค์ ก รให้ เ ป็ น องค์ ก รสร้ า ง มูลค่าเพิ่ม นอกจากนี้การเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ระหว่าง บุคลากรในองค์กรและหน่วยงานภายนอกยังได้จากการดูแล การเป็นพี่เลี้ยง การให้ค�ำปรึกษา ซึ่งจะสอดรับกับระบบการ วิจัยที่ควรมีการท�ำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก และมีการ ช่วยเหลือกันในระหว่างบุคลากรภายใน ระบบพัฒนาทรัพยกรบุคคล เป็นการหาความรู้และ วิธีการใหม่ๆ เพื่อพัฒนาบุคลากรทั้งสายวิชาการและสาย ปฏิบัติการ โดยการสร้างการท�ำงาน การลงทุนร่วมกันเช่นการ ท�ำวิจัยร่วมเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างกัน ซึ่งจะสอดรับ กับระบบวิจยั และระบบบริการวิชาการทีเ่ ป็นการแสวงหาองค์ ความรู้ใหม่ และการถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรู้ ดั ง จ ะ เ ห็ น ว ่ า ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ จั ย ของมทร.ล้านนา เป็นการบูรณาการพันธกิจของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้แก่ การเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ รวมถึงการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามหลักการจัดการความรู้ โดยวิธีคิดหลายระบบ (System Thinking) ทั้งนี้ ผลการด�ำเนินการของแนวปฏิบัติที่ดีดังกล่าว ส่งผลให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามีผลการ ตีพมิ พ์เผยแพร่ผลงานวิชาการทีม่ คี ณ ุ ภาพ ทัง้ ในระดับชาติและ นานาชาติ ดังแสดงในหัวข้อต่อไปคือ ผลกระทบและประโยชน์ คุณค่า
29
ปล่อยโคม... ปล่อยทุกข์ คอลัมน์ : ซะป๊ะ สเปซ
ชาวล้ า นนาที่ มี ค วามเชื่ อ ต่ า งจาก ประเพณี ล อยกระทงของภาคกลาง อย่างสิ้นเชิง แต่เดิม ชาวล้านนาจะท�ำการ ‘ลอยสะเปา’ โดยใช้ไม้ไผ่สานเป็นเรือ ขนาดเล็ ก ภายในบรรจุ ด ้ ว ยข้ า วของ เครื่องใช้และข้าวปลาอาหารบนแพต้น กล้วยลอยไปตามแม่น�้ำ ด้วยความเชื่อ ว่าสะเปาจะน�ำพาข้าวของทั้งหมดไปสู่ ภพหน้าหลังเสียชีวติ แต่เมือ่ เวลาผ่านไป กระทงรูปทรงกลมจากภาคกลางก็เข้า สู่ล้านนาพร้อมกับการส่งเสริมการท่อง เที่ยว จนสะเปากลายเป็นอดีตสีจาง ๆ เคียงคูไ่ ปกับการลอยสะเปาคือ การจุดผางประทีปและการปล่อยโคม ท� ำ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ของประเพณี ย่ี เ ป็ ง คือ การท�ำบุญด้วยแสงสว่าง กลายเป็น ประเพณีแห่งแสงสีและความอบอุ่นใน ช่วงปลายฝนต้นหนาวในปัจจุบัน แต่ไม่ เกี่ยวข้องอันใดกับการบูชาพระแม่คงคา ส่ ว นตั ว โคมลอยนั้ น ถื อ เป็ น แสงสว่างสร้างบุญ บนปฏิทิน...ประเพณีการลอย เครื่องหมายที่ชาวพุทธใช้แสดงออกถึง โคมปรากฏตั ว อยู ่ ใ นช่ อ งเดี ย วกั น กั บ การเป็นพุทธบูชาต่อพระพุทธศาสนา ประเพณี ยี่ เ ป็ ง หรื อ ลอยกระทงของ ปัจจุบันก็ยังจะเห็นได้ว่า โคมลอยได้ถูก เมื่อปฏิทินเวียนมาถึงเดือนสิบ สอง หลายคนตั้งหน้าตั้งตารอคอยภาพ โคมลอยเล็ ก ใหญ่ สี เ หลื อ งสว่ า งเกาะ กลุม่ ลอยล่องเอือ่ ยเฉือ่ ยบนผืนฟ้าสีดำ� ที่ ปรากฏทั้งแก่สายตาผู้แหงนมองท้องฟ้า ยามค�ำ่ คืนและบนภาพถ่ายโปสการ์ด สือ่ และโลกออนไลน์ แต่ทศั นียภาพสวยงามนัน้ กลับ กลายเป็นดาบสองคม ปัจจุบนั ประเพณี ลอยโคมได้ เ ลยเถิ ด ไปเป็ น การแห่ กั น ปล่ อ ยจนโคมลอยแน่ น ท้ อ งฟ้ า เพี ย ง เพื่อให้ได้เก็บภาพสวยงาม โดยไม่ได้ นึกถึงอันตรายมากมายจนหลายพื้นที่ ในจังหวัดเชียงใหม่ถูกสั่งห้ามปล่อยโคม ตามเวลาที่ก�ำหนดเพื่อความปลอดภัย ของส่วนรวม ทุกประเพณีมเี รือ่ งราว เช่น เดียวกับการลอยโคมที่ไม่ได้มีเพียงด้าน ความสวยงามให้ใครหยิบฉวยไปเล่นเอา ล่อเอาเถิดได้ตามความพอใจส่วนตัว
30
น�ำมาเป็นเครื่องใช้ในงานต่าง ๆ ทั้งที่ เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา งานบุญส�ำคัญ หรื อ แม้ แ ต่ โ อกาสส� ำ คั ญ ต่ า ง ๆ ชาวล้านนาต่างเชือ่ ว่า โคมทีถ่ กู ปล่อยขึ้นฟ้าจะน�ำพาทุกข์โศกเคราะห์ ภัยลอยติดไปด้วย ส่งเสริมชะตาชีวิตให้ รุ่งเรืองเหมือนโคมที่ลอยสูงขึ้นไป ทั้ง ยั ง ถื อ เป็ น การแสดงความกตั ญ ญู ต ่ อ บรรพบุรุษด้วย
ประเภทของโคม
โคมในงานยี่เป็งไม่ได้มีเพียง โคมลอยอย่ า งเดี ย ว แต่ ทั้ ง หมดมี 4 ประเภท ทัง้ โคมลอย โคมติว้ โคมแขวน และโคมพัด โคมติ้ว เป็นโคมไฟขนาดเล็ก ที่ห้อยอยู่กับซีกไม้ไผ่ ผู้คนมักถือไปใน ขบวนแห่และน�ำไปแขวนไว้ที่วัด ขณะที่ โคมแขวน เป็ น โคมที่ ใ ช้ แ ขวนบู ช า พระพุทธรูปทั้งแขวนตามวัดหรื อ ตาม หิ้งพระ และมีทั้งรูปดาวและรูปตะกร้า ส่วน โคมพัดท�ำจากกระดาษสา เป็นรูปกรวยสองอันพันรองแกนเดียวกัน ไม่ มี ล วดลายด้ า นนอก ส่ ว นด้ า นใน
จะตัดแต่งเป็นรูปทรงต่าง ๆ ในทางพุทธ ศาสนา เมื่อจุดโคมด้านใน แสงสว่าง จะท�ำให้เกิดเงาบนกรวยคล้ายตัวหนัง ตะลุงของทางภาคใต้ และสุ ด ท้ า ย โคมลอย เป็ น โคมใหญ่มีรูปร่างคล้ายบอลลูน ตัวโครง ท�ำจากซีกไม้ไผ่หุ้มด้วยกระดาษสา เมื่อ จุดโคม ความร้อนจากเปลวไฟจะท�ำให้ โคมลอยตัวขึ้น บางท้องถิ่นของทางเหนือได้ จัดประเภทโคมลอยเป็นว่าวชนิดหนึ่ง เพราะท�ำมาจากกระดาษว่าว และแบ่ง โคมลอยออกเป็นสองชนิดตามลักษณะ การใช้งาน โคมลอยชนิดทีใ่ ช้ปล่อยในเวลา กลางวันถูกเรียกว่า ‘ว่าวข้าวกล่อง’ เนื่ อ งจากรู ป ทรงเมื่ อ ลอยบนท้ อ งฟ้ า คล้ายคลึงกับกล่องข้าวที่ผู้คนในอดีต นิยมใช้ใบตาลแห้งมาจักเป็นเส้นแล้ว สานเป็นกล่องข้าวไว้บรรจุข้าวเหนียวที่ นึง่ สุกเก็บไว้กนิ โคมชนิดนีอ้ าศัยหลักการ ลอยตัวของควันไฟในเวลากลางวัน โดย ใช้วิธีการรมให้ควันไฟเข้าไปรวมกันอยู่ ภายในตัวโคมจนเต็มที่ จากนั้นปริมาณ ควันไฟที่อัดแน่นจะช่วยพยุงให้ตัวโคม สามารถลอยขึ้นไปได้ ส่ ว นโคมลอยชนิ ด ที่ ป ล่ อ ย ในเวลากลางคืนถูกเรียกว่า ‘ว่าวไฟ’ หรื อ ‘ว่ า วควั น ’ ลอยได้ โ ดยอาศั ย หลั ก การลอยตั ว จากความร้ อ นของ ไฟที่ ก� ำ ลั ง ไหม้ ไ ส้ โ คมตรงฐานล่ า ง ของโคมลอย เป็ น แรงขั บ ให้ ตั ว โคม สามารถลอยพุ ่ ง ขึ้ น สู ่ ท ้ อ งฟ้ า ได้ โคมชนิดนี้ถูกเรียกว่า ว่าวควัน มาตลอด จนเปลี่ยนมาเป็นโคมลอยหลัง สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง จากค�ำเรียก ของทหารไทยที่มาประจ�ำการทางเหนือ ความสวยงามของแสงไฟจากไส้โคมที่ ลอยขึ้นไปอยู่บนฟ้ายามค�่ำคืนท�ำให้มัน กลายเป็นโคมที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น ตามยุคสมัย
โคมแน่นฟ้า..ปัญหาเพียบ
เสี ย งเตื อ นอย่ า งจริ ง จั ง จาก หน่วยงานต่าง ๆ รวมถึงเสียงติติงจาก หลายคนเริ่มดังขึ้นเรื่อย ๆ ถึงการลอย โคมที่สร้างอุบัติเหตุไฟไหม้มากมายทั้ง บนฟ้าและบนดิน โคมลอยในอดีตเป็นโคมขนาด เล็กจากวัสดุธรรมชาติโดยใช้ไม้ไผ่เป็น ฐาน แล้วใช้เส้นลวดที่หาซื้อง่ายๆ ขึง ยึดกับก้อนกระดาษ อัดชุบพาราฟินเป็น เชื้อเพลิงหุ้มด้วยกระดาษสีขาว ท�ำให้ ลอยได้ไม่สูงและไม่นานเกิน 15 นาที ทั้งยังไม่มีผู้คนแห่แหนกันลอยมากเท่า ปัจจุบัน ซึ่งต่างพัฒนาโคมลอยให้บินได้ สูงและนานขึน้ ด้วยวัสดุสงั เคราะห์ ไม่วา่ จะเป็นลวด พลาสติก และเชือ้ เพลิงชนิด อื่นๆ จนสูงในระดับเดียวกับเครื่องบิน นั่ น ท� ำ ให้ ท างส� ำ นั ก นโยบาย และแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) หารื อ กั บ ส่ ว นราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ก� ำ หนดต้ น แบบของโคมที่ เ หมาะ สมคือต้องใช้วัสดุที่ผลิตและเชื้อเพลิง จากธรรมชาติ ใช้กระดาษว่าวชนิดบาง มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 90 เซนติเมตร สูงไม่เกิน 140 เซนติเมตร จากเดิมทีเ่ คยใช้ ลวดยาวเป็นตัวยึดโครงโคมไฟ ก็เปลี่ยน มาใช้เชือกธรรมดาขนาด 70 เซนติเมตร ซึ่ ง จะลดการใช้ ล วดให้ เ หลื อ เพี ย ง
20 เซนติเมตรและต้องใช้ลวดชนิดอ่อน เพื่อลดความยาวของลวดตัวน�ำที่ท�ำให้ เกิดไฟฟ้าลัดวงจรภายในจนไปกระทบ กับระบบการจ่ายกระแสไฟฟ้า ทั้งยังลด ปัญหาไฟไหม้ได้อีกด้วย นอกจากนี้ ขนาดไส้ของเชื้อ เพลิงจะต้องเหมาะกับโคม มีข้อห้ามไม่ ให้พ่วงหรือผูกติดพลุ ดอกไม้ไฟหรือสิ่ง อืน่ ใดไปกับโคมทีป่ ล่อย เชือ้ เพลิงทีใ่ ช้จะ ต้องไหม้สลายหมดขณะลอยในอากาศไม่ เกิน 5 นาที อาจจะยุ ่ ง ยากไปสั ก หน่ อ ย แต่เพื่อให้ประเพณีลอยโคมที่สวยงาม และมีความส�ำคัญต่อศาสนาและวิถชี วี ติ ชาวล้านนายังคงอยู่ต่อไป เพราะแสงสว่างจากโคมได้ถูก สร้างขึ้นเพื่อสุขและบุญกุศล หากแสง สว่างนั้นกลับไปสร้างทุกข์ให้ผู้คน บุญ กุศลคงไม่เกิดขึ้น และประเพณีลอยโคม ก็คงเสื่อมถอยหายไปตามกาลเวลา อ้างอิงข้อมูลจาก ประเพณี.net www.m-culture.go.th library.cmu.ac.th madchima.org
31
“
ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรียงไกร เมืองไม้และป่างาม
32
“
คอลัมน์ : ต่อนยอน ตะลอนทัวร์ : อารีรัตน์ พิมพ์นวน
เมื่ อ พู ด ถึ ง จั ง หวั ด ตาก จั ง หวั ด ที่ คิ ด ว่ า หลายๆ คนเพียงได้ยินชื่อเท่านั้นก็จะมีความคิดตรงกันว่า จังหวัดนี้ “คงร้อนจริงๆ”ร้อนสมกับค�ำว่า “ตาก” เแต่ในความเป็นจริงนัน้ จังหวัดตากยังมีธรรมชาติที่สวยงามรอให้นักท่องเที่ยวเข้าไป สัมผัส เมืองตาก เป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคเหนือตอนล่าง มีชื่อ เดิมว่า “เมืองระแหง” ในอดีตเป็นเมืองทีม่ ชี าวมอญอาศัยอยูม่ า ก่อน ดังมีหลักฐานศิลปะมอญปรากฏอยู่ นอกจากนีย้ งั มีหมูบ่ า้ น เล็กๆ ที่ตั้งอยู่ในอ�ำเภอแม่สอด ห่างจากอ�ำเภอเมืองประมาณ แปดสิบกว่ากิโลเมตร เป็นชุมชนเล็กๆ ที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่ ส�ำคัญ คือ น�้ำพุร้อนแม่กาษา น�้ำตกแม่กาษา ถ�้ำเจ้าแม่อุษา และมีชุมชนเล็กๆ แต่เข้มแข็ง คือ “ชุมชนบ้านแม่กาษา” บ้านแม่กาษา มีอตั ลักษณ์ของหมูบ่ า้ นทีแ่ สดงถึงความ เป็นตัวตนของหมู่บ้าน ซึ่งถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานของความ เหมือนกันทัง้ ด้านวัฒนธรรมประเพณี วิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ เกิด การยอมรับร่วมกันของหมูบ่ า้ นและมีการปฏิบตั สิ บื ต่อกันมาจน เกิดเป็นวัฒนธรรมการด�ำรงชีวติ ทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะของหมูบ่ า้ น เป็นสิ่งที่ครอบคลุมวิถีการด�ำเนินชีวิตของหมู่บ้านจนเกิดเป็น อัตลักษณ์ ซึ่งพบว่าคนในหมู่บ้านมีวิถีชีวิตแบบพี่งพาอาศัยกัน มีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ นอกจากนี้แล้วในบริเวณใกล้ เคียงยังมีแหล่งเรียนรูส้ ถานศึกษาของหมูบ่ า้ น คือ โรงเรียนแม่ กาษาและชมรมผูส้ งู อายุ คนในชุมชนส่วนใหญ่มพี นื้ ฐานอาชีพ คือ การท�ำเกษตรกรรม มีแบบแผนอาคารสถาปัตยกรรมแบบ ร่วมสมัย การนับถือศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และความเชือ่ ของหมู่บ้านนับถือศาสนาพุทธ ความเชื่อของหมู่บ้านยังคงมี การนับถือเจ้าแม่อุษา เลี้ยงผีใหญ่ประจ�ำหมู่บ้าน มีประเพณี เลีย้ ง ผีฝายทีน่ ำ�้ ตก ประเพณีแห่เทียนผ้าพรรษา ประเพณีเลีย้ ง
ผีใหญ่ เดือน 5 และ เดือน 9 ประเพณี ไหว้ศาลหลักเมือง และ เจ้าแม่อุษา นอกจากความสวยงามของธรรมชาติทรี่ งั สรรค์ขนึ้ มา ของชุมชนเล็กๆ แห่งนี้แล้ว ชุมชนแห่งนี้ยังมีการสร้างความ ร่วมมือเพื่อให้เกิดความยั่งยืนภายใน ชาวบ้านแม่กาษามีส่วน ร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการที่จะพัฒนาหมู่บ้านอย่าง จริงจังขึ้น ท�ำให้เกิดความร่วมมือของคณาจารย์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ซึ่งได้มี “โอกาส” เข้าร่วมโครง การเพื่ิอหาประสบการณ์และเรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของ ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานโครงการยกระดับ คุณภาพชีวิตหมู่บ้านชุมชน ซึ่งเป็นโครงการที่เพิ่มโอกาสใน การสร้างอาชีพของชุมชน ผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ภายใต้วิถีชีวิตเดิมของชุมชน ได้แลกเปลี่ยนรู้ซึ่งกันและกัน สามารถพัฒนาพร้อมยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนได้ และ ท�ำให้เราได้รู้ว่า “เราเรียนรู้ที่จะให้คนอื่น ไม่ใช่เพราะเรามี เหลือมากมาย แต่เรียนรูท้ จี่ ะให้เพราะรูด้ ี ว่าการไม่มมี นั เป็น อย่างไร” ท้ายนีห้ ากใครได้ไปจังหวัดตากแล้ว ก็อย่าลืมลองไป เทีย่ วชมธรรมชาติของหมูบ่ า้ นแม่กาษาสักครัง้ แล้วท่านจะเกิด ความประทับใจอย่างไม่ลืมเลือน............... ที่มา... MAE KASA VILLAGE PROFILE การเรียนรู้ในหมู่บ้าน เพื่อเพิ่มศักยภาพ บุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา หมูบ่ า้ น แม่กาษา หมู่ 2 ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก.
33
ส�ำหรับท่านที่มีค�ำถาม ข้อสงสัย สามารถส่งค�ำถามมายัง : โครงการคู่คิด มิตรชุมชน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ต.ป่าป้อง อ.ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 50220 โทร.053 - 266516-8 E-mail : Kaewpanya@rmutl.ac.th
34
35