ปที่ 4 มกราคม - มีนาคม 2560 ฉบับที่ 1
บทบรรณาธิการ ปที่ 4 มกราคม - มีนาคม 2560 ฉบับที่ 1
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลงานวิจัย และ งานบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา 2. เ พื่ อ เป็ น สื่ อ กลางในการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ และการเข้าถึงองค์ความรู้ของภาคประชาชน
ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร.น�ำยุทธ ดร.ภาสวรรธน์ นายภฤศพงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา นายกิติชัย นายเกรียงไกร
สงค์ธนาพิทักษ์ วัชรด�ำรงค์ศักดิ์ เพชรบุล เขาสุเมรุ ระมิงค์วงศ์ ธารพรศรี
จัดท�ำโดย
คลังความรู้ชุมชน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ต�ำบลป่าป้อง อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 50220 โทร.053 - 266516-8 ข้อ เขียนหรือบทความใดๆ ที่ตี พิ มพ์เผยแพร่ ในวารสารแก้ว ปั ญญา ฉบั บ นี้ เป็ น ความคิ ด เห็ น เฉพาะตั ว ของผู ้ เขี ย น คณะผู ้ จั ด ท� ำ ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเห็ น ด้ ว ยและไม่ มี ข ้ อ ผู ก พั น กั บ คณะผู ้ จั ด ท� ำ และสถาบั น ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา แต่อย่างใด
ก้าวเข้าสู่ปี 2560 อย่างเต็มรูปแบบแล้ว โดยในปีนี้ ตรงกับปีนักษัตร “ปีไก่” หรือปีระกา ถ้าเป็นพยัญชนะ 44 ตัว ของอักษรไทย ก.ไก่ ก็เป็นเหมือนพยัญชนะตัวแรก ฉบับนี้ ก็ เ ลยขอเริ่ ม ต้ น พู ด ถึ ง จุ ด เริ่ ม ต้ น ของ วิ วั ฒ นาการของ งานบริ ก ารวิ ช าการของมหาวิ ท ยาลั ย โครงการยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต หมู ่ บ ้ า นชุ ม ชน แบบมี ส ่ ว นร่ ว ม ที่ ไ ด้ น ้ อ มน� ำ เอากระบวนทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความก้ า วหน้ า อย่ า งยั่ ง ยื น ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 15 ประการ มาเป็นแนวทางการด�ำเนินงานเพื่อยกระดับ คุ ณ ภาพชี วิ ต ให้ ดี ขึ้ น บนฐานสั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู ้ ภายใต้แนวคิด “การพัฒนาหมูบ่ า้ น ชุมชนต้องสร้างพืน้ ฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ก่อน แล้วจึงค่อยเสริม ค่อยสร้าง ความเจริญและเศรษฐกิจขั้นสูงต่อไป” พร้ อ มกั น นี้ ติ ด ตามผลงาน “นั ก สื บ ฝุ ่ น ละออง” รองศาสตราจารย์ ดร.พานิช อินต๊ะ นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ รางวัลพระราชทาน ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 จากมูลนิธิส่งเสริม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ และเนือ้ หา สาระที่น่าสนใจภายในเล่มอีกมากมายเช่นเคย สวัสดีปีระกา...เบิกฟ้าใหม่ บรรณาธิการ
คอลัมน์ 32
30
12 18 22
6 ขอแสดงความยินดี 7 รอบรั้ว 12 เปิดมุมมอง
อ�ำนาจในมือชาวนา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
องค์กรแห่งการเรียนรู้
การขับเคลื่อนงานบริการวิชาการ ด้วยโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชนแบบมีส่วนร่วม
ซะป๊ะ สเปซ
14 เรื่องเล่า ชาวล้านนา
กระบวนทัศน์การพัฒนาใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
“โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้านชุมชน แบบมีส่วนร่วม”
18 งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง
DustDETEC นักสืบฝุ่นละออง
20
ชุมชนเดินทาง
RMUTL Community Engagement
การจัดการความรู้ ในยุคไทยแลนด์ 4.0
ชีวิตง่ายๆ ใช้จ่ายสบายๆ “แบบออนไลน์” แค่กดคลิก ก็ได้ของแล้ว! !!!! ตอนที่ 1
ต่อนยอน ตะลอนทัวร์ “Slow life ณ ผาหมอน”
คู่คิด มิตรชุมชน
งานบริการวิชาการเพือ่ สังคม กับภารกิจ สร้างคน สร้างความรู้ สร้างชุมชนและผู้ประกอบการ
22 28 30 32 34
4
5
ขอแสดง ความยินดี
ขอแสดงความยินดีกบั คณาจารย์ ทีไ่ ด้รบั ต�ำแหน่ง ทางวิชาการ ดังรายชือ่ ต่อไปนี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินานาฏ วิทยาประภากร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (เคมี) คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระพินทร์ ขัดปิก สาขาวิชาวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลทรัพย์ ผ่องศรีสุข สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉราภรณ์ พูลยิ่ง สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น�้ำมนต์ โชติวิศรุต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ ร.ต.ประกาศิต ศรีทะแก้ว สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าคณะ วิศวกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธิตินันท์ กุมาร สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์
6
รองศาสตราจารย์ วาสนา สายมา สาขาวิชาเทคโนโลยี ออกแบบและผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมและ สถาปัตยกรรมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนกวรรณ เวชกามา สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์
คอลัมน์ : ข่าวรอบรั้ว
รอบรัว้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุดม สุธาค�ำ รองอธิการบดี มทร.ล้านนา เชียงราย พร้อมด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ ผู้อ�ำนวยการกอง บริหารทรัพยากร ดร.อังกูร ว่องตระกูล ผู้อ�ำนวยการกอง การศึกษา และคณาจารย์ มทร.ล้านนา เชียงราย เข้าร่วมการ ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารการเตรียมความพร้อม การเชือ่ มโยงกลุม่ อุตสาหกรรมและการสร้างเครือข่ายเพื่อยกระดับคลัสเตอร์ เกษตรอาหารแปรรูปพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงรายและจังหวัดใกล้เคียง จัดโดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมและสถาบันอาหาร กระทรวง อุตสาหกรรม และได้เชิญ ดร.ยรรยง เฉลิมแสน คณบดีคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา มาเป็น วิทยากรบรรยายในหัวข้อ “เมืองนวัตกรรมเกษตรและอาหาร ล้านนา” ณ โรงแรมเดอะ เลเจ้น เชียงราย บูติกริเวอร์รีสอร์ท แอนด์สปา อ.เมือง จ.เชียงราย ด้วยโครงการ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าวฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดย อาจารย์ ดร.สุรพล ใจวงค์ษา อาจารย์ประจ�ำสาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา ล�ำปาง นางสาวหทัยชนก พัดทะอ�ำพัน นักวิจัยฯ และอาจารย์ สุพัฒน์ ใต้เวชศาสตร์ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการอาหาร และสาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา ล� ำ ปาง ร่ ว มกั น เป็ น วิ ท ยากรอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร การแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากข้ า ว การท� ำ ข้ า วแกงทอดรส ไส้อั่ว เต้าฮวยฟรุ๊ตสลัดข้าวหอมล้านนา และข้าวเหนียวแก้ว ให้กับกลุ่มปลูกข้าว บ้านบ่อเกลือ อ.บ่อเกลือ จ.น่าน ในวันที่ 20พฤศจิ ก ายน 2559 จ� ำ นวน 25 คน โดย อ.สุ พั ฒ น์ ใต้ เ วชศาสตร์ ได้ ดั ด แปลงงานวิ จั ย เรื่ อ งข้ า วแกงทอด ของอาจารย์เพลินใจ ตังคณะกุล และคณะ จากสถาบันค้นคว้า และพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มาถ่ายทอดเทคโนโลยีการท�ำข้าวแกงทอดรสไส้อวั่ ผลของการ อบรม ชุมชนกลุ่มปลูกข้าว ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการสร้าง มูลค่าเพิ่มจากการปลูกข้าว และแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว ต่อไปในอนาคต
7
คณะที ม งานฝ่ า ยยวิ จั ย และบริ ก ารวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา พิ ษ ณุ โ ลก ร่ ว มต้ อ นรั บ ที ม งานธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร(ธ.ก.ส.) จังหวัดสุโขทัยและ ผู้น�ำกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน จ�ำนวน 11 คน จาก ที่เดินทางมาศึกษาดูงานตาม โครงการพัฒนาศักยภาพกลุม่ วิสาหกิจชุมชนต้นแบบหลักสูตร “การผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ วชุมชนและการแปรรูป” โดยเข้าศึกษาดู งาน ณ ศูนย์เรียนรูช้ มุ ชนบ้านทุง่ ใหญ่ ต.นิคมพัฒนา อ.บางระก�ำ จ.พิษณุโลก โดยวันที่ 21 ธันวาคม 2559 มีเกษตรผู้ประสบ ผลส�ำเร็จภายใต้โครงการหมู่บ้านนาโยนและผลิตเมล็ดพันธุ์ ชุมชน เป็นวิทยากรให้ความรู้ จากนัน้ วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เข้ า ศึ ก ษาดู ง าน ณ โรงสี ข ้ า วมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา พิษณุโลก เพือ่ รับความรูใ้ นเรือ่ งกระบวนการ หลังการเก็บเกี่ยว วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 รองศาสตราจารย์ ดร.คมสัน อ�ำนวยสิทธิ์ รองอธิการบดี พร้อมด้วย ผู้บริหาร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา น่ า น เข้ า พบ ผู้ว่าราชการจังหวัดน่านนายไพศาล วิมลรัตน์ เพื่อร่วมหารือ แลกเปลี่ ย นแนวทางยุ ท ธศาสตร์ ก ารบริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน กับ แนวทางของจังหวัด น่าน ร่วมพูดคุยถึงการด�ำเนินงานของมหาวิทยาลัยฯ ด้าน การวิ จั ย การบริ ก ารวิ ช าการ เพื่ อ ชุ ม ชนในแขนงต่ า งๆ ของมหาวิทยาลัยฯ
น้ อมระลึก ในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ ข้าพเจ้า คณะผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และ ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ได้ ร่วมจัดขบวนแห่พิธีเปิดงานตากสินมหาราชานุสรณ์ และงาน กาชาดจังหวัดตาก ประจ�ำปี 2559 และนิทรรศการเฉลิม พระเกี ย รติ ฯ นิ ท รรศการเรี ย งร้ อ ยเรื่ อ งราวจากปฐม อาชี พ ช่ า งไม้ ต ากสู ่ มทร.ล้ า นนา ตาก 80 ปี การสาธิ ต การจั บ จี บ ผ้ า การสาธิ ต การท� ำ อาหารขึ้ น โต๊ ะ เสวย และ การแข่ ง ขั น มิ นิ วิ ท ยสั ป ระยุ ท ธ์ ต าก ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ระหว่ า ง วั น ที่ 28 ธั น วาคม 2559 ถึ ง วั น ที่ 3 มกราคม 2560
8
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 ดร.กิจจา ไชยทนุ คณบดี ค ณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ และ อาจารย์สาคร ปันตา หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรม ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ให้การต้อนรับ ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์คม สุ ค นธสรรพ์ รองคณบดี รั บ ผิ ด ชอบงานวิ จั ย คณะแพทยศาสตร์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาคม ตันตระกูล ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิคณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ณ ห้อง ประชุมส�ำนักงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ อาคาร เรียนรวม ชั้น 3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้ า นนา ถ.ห้ ว ยแก้ ว ในโอกาสที่ เ ดิ น ทางเข้าหารือการท�ำความร่วมมือการท�ำวิจัย และพั ฒ นาเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อ ทางด้ า นการ แพทย์ ระหว่างคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม่ กั บ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ให้ ส ามารถตอบโจทย์ ก ารใช้ ง านในทางการ แพทย์ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง นอกจากนี้ ใ นที่ ป ระชุ ม หารือยังมีแนวคิดในการร่วมกันพัฒนาหลักสูตร การเรี ย นการสอนเพื่ อ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วาม สามารถทางด้ า นวิ ศ วกรรมการแพทย์ ห รื อ biomedical engineering อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง ภายหลั ง การหารื อ ดั ง กล่ า วแล้ ว เสร็ จ จะได้ มี ก ารน� ำ ข้ อ สรุ ป ต่ า งๆ น� ำ เสนอต่ อ ผู้บริหารของทั้งสองมหาวิทยาลัยเพื่อให้ความ เห็นชอบและก�ำหนดกรอบระยะเวลา ขั้นตอน วิธีการในการด�ำเนินงานร่วมกันต่อไป
คณะอาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเกษตร จ.เชียงใหม่ ลงพื้นที่หมู่บ้านโป่งบัวบาน ม.11 ต�ำบลแม่ปั๋ง อ� ำ เภอพร้ า ว จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ในการท� ำ แผนที่ เ ดิ น ดิ น เพื่ อ จั ด ท� ำ ฐาน ข้อมูลชุมชนแบบมีส่วนร่วม (Village Profile) ระหว่างวันที่ 18 - 20 พฤศจิกายน 2559 ในส่วนการลงพื้นที่ครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “พัฒนาศักยภาพบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ด้านสังคมด้วยการเรียนรู้ชุมชน”
ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง การศึกษานอก โรงเรียนอ�ำเภอพร้าว ร่วมกับคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จัดนิทรรศการแสดงผลงานทาง วิชาการงานศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพบนพื้นที่สูง โครงการพระราชด�ำริสถานี พัฒนาเกษตรพื้นที่สูงตามพระราชด�ำริ ดอยม่อนล้าน ส่งเสริมงานพัฒนา อาชีพผ้าปักชนเผ่าอาข่า (โบราณ) และเสวนา เรื่อง การส่งเสริมงานพัฒนา อาชีพผ้าปักชนเผ่าอาข่า (แบบโบราณ) โดยนายไพโรจน์ วรพจน์พรชัย อาจารย์สาขาออกแบบสิ่งทอและเครื่องประดับหัวหน้าโครงการ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 ณ ห้องสมุดประชาชนอ�ำเภอพร้าว ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
9
อาจารย์เมทิน ี น้อยเรือน อาจารย์แคทรียา พร้อมเพรี ย ง และนางสาวบุ ษ บา ฟู ต า ตั ว แทน คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ และศิ ล ปศาสตร์ พร้ อ มด้ ว ย ว่าที่ ร.ต.ชัยภูมิ สีมา ตัวแทนคณะวิศวกรรมศาสตร์ ลงพืน้ ทีห่ มูบ่ า้ นแม่สายป่าเมีย่ ง ต.โหล่งขอด อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ เพื่อจัดท�ำฐานข้อมูลชุมชนแบบมีส่วน ร่วม (Village Profile) โดยจะน�ำข้อมูลทีไ่ ด้ไปต่อยอด โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตของหมู่บ้านชุมชน แบบมีสว่ นร่วม ในการนีค้ ณะท�ำงานได้ลงส�ำรวจเส้น ทางน�ำ้ ตกตาดเหมย และการท�ำยาสมุนไพรของชาว บ้าน ระหว่างวันที่ 5 -7 พฤศจิกายน 2559 ส� ำ หรั บ การลงพื้ น ที่ ใ นการท� ำ Village Profile ในครั้ ง นี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของโครงการ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของหมู ่ บ ้ า นชุ ม ชนแบบมี ส่ ว นร่ ว ม กรณี ศึ ก ษาหมู ่ บ ้ า นแม่ ส ายป่ า เมี่ ย ง ต.โหล่งขอด อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ โดยในอนาคตจะมี การน�ำข้อมูลทีไ่ ด้จากการลงพืน้ ทีไ่ ปใช้ในการพัฒนา หมู่บ้านแม่สายป่าเมี่ยงต่อไป
บุ ค ล า ก ร วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ สหวิ ท ยาการ ได้ แ ก่ อาจารย์ วิ สู ต ร อาสนวิ จิ ต ร ในฐานะตั ว แทนมหาวิ ท ยาลั ย พี่ เ ลี้ ย ง และที ม งาน โครงการวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ ( SBTC ) ได้ เข้ า ร่ ว มและน� ำ เสนองานวิ จั ย ระดั บ นานาชาติ [IKMAP2016] ณ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น ในหัวข้อ A Knowledge Management Framework of Thai STEM for Education : A Case Study Science Based Technology College. ซึง่ มีนกั วิจยั จากต่างประเทศได้ให้ ความสนใจในด้านการพัฒนาการศึกษาแบบ STEM Education และได้ ส อบถามถึ ง การน� ำ STEM มาใช้ ใ นด้ า น การศึกษาเทคโนโลยีและการเกษตรของโครงการวิทยาลัย เทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ จ.ล�ำพูน ทีท่ มี มหาวิทยาลัยฯ พี่เลี้ยง ได้ไปเป็นพี่เลี้ยงด้านวิชาการ ที่ส อดคล้ อ ง กั บ การพั ฒ นาทั ก ษะผู ้ เ รี ย นในศตวรรษที่ 21 ตามนโยบายการพั ฒ นาประเทศไทย ยุ ค 4.0 โดยการเดินทางไปน�ำเสนอผลงานในครัง้ นี้ ได้ รับทุนสนับสนุนภายใต้โครงการวิทยาลัยเทคโนโลยีฐาน วิทยาศาสตร์
10
รศ.ดร.น�ำยุทธ สงค์ธนาพิทกั ษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นประธานเปิดศูนย์ความเป็นเลิศทาง วิชาการด้านการประยุกต์ใช้ไฟฟ้าแรงสูงพลาสมาและไมโครนาโนบับเบิลเพือ่ การเกษตรขัน้ สูง เพือ่ เป็นศูนย์แห่งการเรียนรูแ้ ละวิจยั การสร้างฟองอากาศขนาดจิว๋ ในน�ำ้ หรือเครือ่ งนาโนบับเบิล ซึง่ สามารถน�ำไปต่อยอดเพือ่ การเกษตรขัน้ สูง ณ อาคารวิศวกรรมไฟฟ้า โดยการเปิ ด ศู น ย์ ค รั้ ง นี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในกิ จ กรรมของงานประชุ ม วิ ช าการนานาชาติ 1st International Symposium on Application of High-voltage, Plasmas & Micro/Nano Bubbles to Agriculture and Aquaculture ( RMUTL 1st ISHPMNB 2017 ) ซึ่งทาง มทร.ล้านนาจะเป็นเจ้าภาพจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 5-6 มกราคม พ.ศ.2560 ซึ่งจะเป็นกิจกรรมในการ ครบรอบ 12 ปี การสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภายใต้แนวคิด “Local concern Global Solution : Moving Across MIT Border Through Human Capacities Building” 18 มกราคม พ.ศ. 2560
รศ.ดร. น�ำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ร่วมลงนามความร่วมมือกับ กลุ่มบริษัท ดัชมิลล์ จ�ำกัดโดยนายธีระยุทธ ฉายสว่างวงศ์ ประธานกรรมการ กลุ่ม บริษัท ดัชมิลล์ จ�ำกัด ในการร่วมกัน ศึกษาวิจัยและทดลองการผลิตและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากพืชเพื่อการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มให้ เป็นเชิงอุตสาหกรรมและพาณิชย์พัฒนาการท�ำฟาร์มโคนมและสร้างเกษตรโคนมรุ่นใหม่แบบยั่งยืน เพื่อพัฒนาหลักสูตร และการอบรมนักปฏิบัติการในโรงงานที่เกี่ยวข้อง ณ ห้องประชุม 1 อาคารอ�ำนวยการ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2559
11
การขับ เคลือ่ น
งานบริการ วิชาการ
ด้วยโครงการ ยกระดับ
คุณภาพชีวติ หมูบ่ า้ นชุมชน แบบมี ส่วนร่วม อาจารย์ภฤศพงศ์ เพชรบุล
ผู้อ�ำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน
ท�ำไมต้องมีโครงการยกระดับฯ ขึ้นมา
เราต้ อ งการปรั บ รู ป แบบงานบริ ก าร วิชาการของมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็น 1 ใน 4 พันธกิจ หลักของมหาวิทยาลัย เพื่อจะได้สร้างผลงานการ บริการวิชาการให้ได้ผลลัพธ์ ผลกระทบ ที่เป็นรูป ธรรม แนวคิดของแต่เดิมตั้งต้นเริ่มจากการบริการ วิชาการของมหาวิทยาลัยเข้าไปอบรมให้กับกลุ่ม คน ซึ่งท�ำตามความเชี่ยวชาญของอาจารย์แต่ละ คน ซึ่งเป็นเหมือนการเกณฑ์เอาผู้เข้าอบรมเข้า มาร่วม บางคนก็ต่อยอดไปถึงการใช้ประโยชน์ได้
12
คอลัมน์ : เปิดมุมมอง โดย อารีรัตน์ พิมพ์นวน
บางคนก็ไม่ได้เอาไปใช้ เพราะบางทีให้ เบี้ยเลี้ยง มีค่าตอบแทนให้ ถึงจะเข้า มาร่วมโครงการ ท�ำให้ไม่ได้เกิดผลลัพธ์ ตามทีเ่ ราคิดไว้ ซึง่ เราต้องการเป้าหมาย ของการบริการวิชาการ คือ การเอาองค์ ความรู ้ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ไปใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สร้างมูลค่า ให้กับผู้ที่สามารถ เอาไปใช้ประโยชน์ได้ แต่ถ้าหาก เรา ยังท�ำแบบเดิม คือ เอาองค์ความรู้ของ มหาวิทยาลัยไปให้กับผู้ที่ไม่ได้เอาไปใช้ ประโยชน์ หรือเอาไปใช้กใ็ ช้สว่ นน้อย มัน ท�ำให้เราสูญเสียต้นทุนไปเปล่าประโยชน์ ก็เลยเป็นที่มาว่าให้เราต้องปรับรูปแบบ ของการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย ใหม่ ผ่านโครงการยกระดับคุณภาพชีวติ หมู่บ้านชุมชน แบบมีส่วนร่วม โดยการ มุ่งเน้นในรูปแบบของ Area base ที่มี หลักการส�ำคัญก็คือ ต้องไปศึกษาความ ต้องการที่แท้จริงของพื้นที่นั้นๆ แล้ว เราก็มีความเชื่อว่าในพื้นที่หนึ่งมันไม่ได้ สามารถแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความ ต้องการได้ด้วยศาสตร์ความรู้ด้านเดียว ต้องเข้าไปศึกษาดูในทุกมิติ และต้องมี การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งหลักการ เบือ้ งต้นของการเลือกว่าจะไปทีไ่ หน ขึน้ อยู่กับบริบทของหน่วยงานพื้นที่ต่างๆ เพราะเรามีพื้นที่อยู่ 6 พื้นที่ ว่าความ สะดวกในการเข้าไปด�ำเนินการหรือใกล้ ในท้องถิน่ นัน้ เป็นพืน้ ทีท่ มี่ กี ระบวนการ การมีส่วนร่วม มีผู้น�ำชุมชนที่ดี โดยการ เลือกผ่านกลไกของรัฐ เช่น พัฒนาชุมชน ที่จะเป็นคนชี้เป้าหมายให้ว่าที่ไหน การ บริหารงานดูจากรูปแบบเดิมแล้วก็มา คุยกันในทีมบริหารว่าการด�ำเนินงานมี ปัญหาอะไร แล้วก็ปรับเป็นรูปแบบออก มาเป็นคู่มือการด�ำเนินงาน จัดประชุม สร้างความเข้าใจ เชิงนโยบายมีผู้ทรง คุณวุฒิ ทุกหน่วยงานเข้าร่วมด้วย แล้ว ก็ปรับรูปแบบน�ำเสนอ เราจะเป็นฝ่าย สนับสนุนในเรื่องต่างๆ ของทีมที่เข้ามา ด�ำเนินงานตั้งกรอบวิธีการด�ำเนินงาน ให้ ตามเงื่อนไข วิธีการวัดผล ให้หัวหน้า
โครงการไปคิดออกแบบโครงการมา แล้ว เอามาน�ำเสนอ เราดูแค่ว่ามันตรงกับ กรอบหรือผลผลิตที่เราต้องการไหม ถ้า ตรงก็สนับสนุนให้ท�ำ ให้เค้าด�ำเนินการ เราก็สนับสนุนวิชาการ ให้คำ� แนะน�ำเรือ่ ง เครือข่าย แหล่งงบประมาณในการลงพืน้ ที่ จึงเป็นที่มาของโครงการนี้
อย่างไร ทีนี้พอเค้าได้เรียนรู้ เมื่อไหร่ที่ เกิ ด ปั ญ หาขึ้ น อี ก หรื อ ต้ อ งการพั ฒ นา ในพื้นที่นั้นด้วยตนเอง เค้าก็รู้ว่าเค้าจะ ติดต่อกับอย่างไร ท�ำอย่างไร รู้วิธีการ ในการพัฒนา แนวทางการติดต่อ รู้วิธี การหาเครือข่าย การเอาองค์ความรู้ไป ใช้ประโยชน์ รู้แหล่งที่มีองค์ความรู้อยู่ รู้วิธีการประยุกต์ใช้ เพราะเราไม่ได้ขาด โครงการยกระดับฯ ไม่ใช่โครงการ จากเค้าเลย ถ้าหากเค้าเห็นว่ามีองค์ ปีตอ่ ปี แต่เป็นโครงการระยะยาว ความรู้ที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยที่จะเป็น ประโยชน์ต่อเค้า เค้าก็สามารถมาติดต่อ ท�ำไมจึงต้องมีระยะยาว เพือ่ อะไร กับเราได้ แล้วเราก็จะไปสานต่อว่าเค้ายัง ขาดหรือต้องการเพิ่มเติมอะไรอีก แต่จะ โดยหลักการของโครงการ คือ ไม่ใช่การเข้าไปอยู่ร่วมท�ำตลอดเวลากับ การเข้าไปเรียนรู้ในชุมชนจริงๆว่าความ เค้าเหมือนการเริ่มต้นท�ำโครงการ ต้องการหรือปัญหาของชุมชนคืออะไร ทีภ่ าควิชาการจะเข้าไปช่วยเหลือได้ จาก การท�ำงานในช่วงแรกๆ ท�ำให้เราเห็น หลังจากครบ 3 ปีแล้วชุมชน ว่าบางปัญหาไม่สามารถแก้ให้มันจบได้ จะสามารถอยู่ได้ ในระยะเวลาสั้นๆ ท�ำให้ไม่ได้ผลลัพท์ ผลกระทบที่แท้จริง เพราะฉะนั้นเพื่อ เราไม่ได้มีหน้าที่เข้าไปท�ำต่อ ให้เกิดความยั่งยืนให้ชุมชนสามารถอยู่ แต่ เรามี ห น้ า ที่ เข้ า ไปตามดู เป็ น การ ได้โดยตนเอง ปัญหาถูกแก้อย่างจริงจัง ติ ด ตามถ้ า หากเค้ า มี ป ระเด็ น ที่ อ ยาก และสามารถแก้ปัญหาเองต่อไปได้เอง จะพัฒนาต่อ บทบาทของเค้าก็จะเป็น จะต้องท�ำจนเกิดผลลัพท์ ผลกระทบ ผู้ท�ำ แต่ขอให้เราเป็นที่ปรึกษา เราก็จะ เพราะฉะนั้ น ก็ เ ลยเป็ น เหตุ ว ่ า เราไม่ สนับสนุน เพราะวัตถุประสงค์ต่อคือ ให้ สามารถจ�ำกัดขอบเวลาให้อยู่ในช่วงงบ ชุมชนสามารถอยู่ได้ด้วยตนเอง ให้เค้า ประมาณได้ เราต้องขยายไปตามความ พัฒนาตนเองให้เป็นก่อน สามารถแก้ จ� ำ เป็ น ของแต่ ล ะพื้ น ที่ โ ดยเฉลี่ ย แล้ ว ปัญหาเป็นก่อน พอเค้าแก้ปัญหาของ จะอยู่ประมาณ 3 ปี ให้เห็นผลจริงๆ ตนเองได้ เราก็จะฝ่ายที่คอยสนับสนุน ผลลั พ ท์ เราไม่ ดู เ ฉพาะ ผลลั พ ท์ เท่านั้นเอง และเราต้องมีการติดตาม (OUTPUT) เพราะว่าการที่ชุมชนจะอยู่ ประเมินผล ความยั่งยืน ซึ่งเป็นนโยบาย เองได้ การที่ชุมชนจะแก้ไขปัญหาเอง ที่ ป รั บ ปรุ ง ใหม่ เมื่ อ การด� ำ เนิ น งาน ได้ ผมว่าต้องเห็นตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม โครงการเสร็จสิ้นแล้ว หน่วยงานต้อง ก่อน แล้วต่อไปเค้าก็จะสามารถท�ำเอง มี ก ารเข้ า ไปติ ด ตามและรั บ ทราบการ ต่อไปได้ และน�ำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน รายงานผลความเคลื่อนไหวของชุมชน “ความยั่งยืนที่ชุมชนได้รับ” ให้กับมหาวิทยาลัยทราบ ตั้ ง แต่ ก ารเริ่ ม ต้ น ของการ น�ำโครงการเข้าไป มีนักวิชาการเข้าไป ที่มา: จากบทสัมภาษณ์ส่วนหนึ่ง จากงานวิจัย เพื่อให้เค้าเรียนรู้ว่าการแก้ปัญหาหรือ การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อการถ่ายทอดองค์ ้สู่ชุมชน กรณีศึกษา:โครงการยกระดับ การพัฒนาแต่ละเรื่องสามารถเอาภาค ความรู คุณภาพชีวิตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช วิ ช าการ งานวิ จั ย ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ มงคลล้านนา น.ส.อารีรัตน์ พิมพ์นวน
13
คอลัมน์ : เรื่องเล่าชาวล้านนา (เรียบเรียง โดย ร.เรือ พายไป)
กระบวนทัศน์การ
9
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่
“
“
พัฒนาในพระบาทสมเด็จ
โครงการยกระดับ คุณภาพชีวิตหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม
14
เมือ่ กระแสความเปลีย่ นแปลงของงานบริการวิชาการ ก้าวสู่ยุค “เน้นผลรูปธรรม” เน้น “กระบวนการมีส่วน ร่วม” มากกว่าความร่วมมือ เพื่อให้เกิด “ความยั่งยืน” แล้ว ยังสอดคล้องตามเกณฑ์ประเมินมหาวิทยาลัยจากส่วนต่างๆ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จึงปรับกระบวนทัศน์ การด�ำเนินงานด้านบริการวิชาการในปี 2553 โดยน้อมน�ำเอา หลักการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มาเป็นแนวทางการ ด�ำเนินงาน กล่าวคือกระบวนทัศน์ในการพัฒนาในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั คือ การพัฒนาทีก่ อ่ ให้เกิด ความก้าวหน้า อย่ า งยั่ ง ยื น ต้ อ งอาศั ย ทั้ ง การมี ค นที่ มี ค วามสามารถ มีวิทยาการที่ดี และมีการบริหาร จัดการที่ดี การพัฒนาอย่าง ค่อยเป็นค่อยไปเป็นล�ำดับ ต่อยอดจากรากฐานเดิมที่มั่นคง มิใช่เร่งรัด ก้าวกระโดด หรือนิยมชมชอบสิ่งใหม่ ๆ โดยทิ้ง ของเดิม หรือน�ำแนวคิด วิทยาการหรือเทคโนโลยี สมัยใหม่ มาใช้โดยไม่ค�ำนึงถึงความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพการณ์ ของท้องถิ่น ทั้งในด้าน ภูมิศาสตร์ ด้านสังคม วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความต้องการของประชาชนในพื้นที่
การพัฒนาต้องไม่กระจุกตัวอยู่เฉพาะพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งแต่ ต้องพัฒนาให้ทั่วถึง นอกจากนี้ยังทรง เน้นว่าการพัฒนา ประเทศได้ นั้ น ต้ อ งพั ฒ นาคนเป็ น ล� ำ ดั บ แรก เพื่ อ ให้ ค นมี ความรู้ ความเข้าใจ สามารถ แสดงความคิดเห็น สามารถ มี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นา ซึ่ ง โครงการพระราชด� ำ ริ ต ่ า งๆ เป็นตัวอย่างของ แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยพระองค์ ทรงบูรณาการทั้งวิทยาการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม และ มีการบริหารจัดการที่ดีมีการติดตามและประเมินผลอย่าง เป็นระบบและต่อเนื่อง ผลจากการด� ำ เนิ น งานโครงการน� ำ ร่ อ งของ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ตามที่ ไ ด้ น� ำ หลั ก คิ ด ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มาเป็ น กรอบ ทิ ศ ทางการจั ด ท� ำ ภารกิ จ ด้ า นบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คม โดยการบู ร ณาการด้ า นการเรี ย น การสอน การวิ จั ย และ การบริการวิชาการให้เป็นเรื่องเดียวกัน ผ่านการขับเคลื่อน โครงการ “ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ หมู ่ บ ้ า น ชุ ม ชน แบบมี ส ่ ว นร่ ว ม” ซึ่ ง เป็ น กิ จ กรรมที่ น� ำ ผลงานวิ จั ย
กระบวนทัศน์การพัฒนาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่9
15
ผลงานประดิษฐ์ องค์ความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไป สร้ า งงานและหรื อ พัฒ นาอาชีพยกระดับ คุณภาพชีวิตและ เพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจชุมชนท้องถิน่ ในรูปแบบการมีสว่ นร่วม โดยร่วมกันค้นหาปัญหา ก�ำหนดประเด็นการพัฒนาชุมชนให้ ประชาชนมีความรู้ มีอาชีพ มีงานท�ำมีความมั่นคงและยั่งยืน เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ให้ดขี นึ้ บนฐานสังคมแห่งการเรียนรู้ และจากการด�ำเนินโครงการดังกล่าวของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา นั บ ว่ า บรรลุ ผ ลส� ำ เร็ จ เป็ น อย่างดี ท�ำให้ในปี พ.ศ.2554 ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาเล็งเห็นการด�ำเนินการที่เป็นรูปธรรม และการน�ำ ผลที่ ไ ด้ ไ ปใช้ จ ริ ง ที่ ส มควรเป็ น ต้ น แบบในการด� ำ เนิ น งาน บริการวิชาการ จึงได้บรรจุโครงการดังกล่าวให้เป็นอีกหนึ่ง โครงการภายใต้งานอุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล ทัง้ 9 แห่งร่วมกันขับเคลือ่ นโครงการยกระดับคุณภาพ ชีวิตของหมู่บ้าน ชุมชน แบบมีส่วนร่วม 84 หมู่บ้าน ชุมชน เฉลิมพระเกียรติ ในศุภมงคลสมัยทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักกรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ 7 รอบ เฉลิมพระชนพรรษาครบ 84 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ปัจจุบันการด�ำเนินงานบริการวิชาการ โครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้านชุมชน แบบมีส่วนร่วม ของ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ยั ง คงยึ ด มั่ น ใน การน้อมน�ำเอากระบวนทัศน์ในการพัฒนาที่ก่อให้เกิดความ ก้าวหน้าอย่างยัง่ ยืนในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 มาก� ำ หนดเป็ น กรอบทิ ศ ทางในการขั บ เคลื่ อ นโครงการ ดั ง พระราชด� ำ รั ส ตอนหนึ่ ง “การพั ฒ นาหมู ่ บ ้ า น ชุ ม ชน ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ก่อน แล้วจึง
16
17
คอลัมน์ : งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง
DustDETEC นักสืบฝุ่นละออง รองศาสตราจารย์ ดร. พานิช อินต๊ะ และคณะ วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่
ขณะที่เชียงใหม่และหลายจังหวัดทางภาคเหนือของ ประเทศไทยตกอยู่ในสภาพเมืองในหมอก(ควัน)ทันทีที่ย่างเข้า ฤดูร้อน แต่สถานีตรวจวัดฝุ่นละอองกลับยังมีไม่ครอบคลุม เครื่องตรวจวัดและเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองในประเทศไม่ได้รับ การพัฒนา ขาดผู้ผลิตเครื่องมือวัดฝุ่นที่มีมาตรฐานในประเทศ ทั้งยังต้องพึ่งพาการน�ำเข้าจากต่างประเทศเสียทั้งหมด นอกจากสนนเม็ดเงินทีส่ ญ ู ไปจากการน�ำเข้าเครือ่ งมือ ดังกล่าวจากต่างประเทศราว 2 แสนถึง 10 ล้านบาทแล้ว ผูค้ น ยังได้แต่เพียงจ้องมองหมอกควันสีขาวปกคลุมทั่วเมืองโดยไม่ อาจรับรู้ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศได้ทันที
18
เพราะเหตุนี้ DustDETEC จึงเกิดขึ้น DustDETEC เป็นเครื่องวัดและวิเคราะห์ขนาดฝุ่น ละอองขนาดเล็กในอากาศ ผลงานดีกรีรางวัลระดับดี จาก เวทีผลงานประดิษฐ์คิดค้นประจ�ำปี 2557 ของสภาวิจัยวิจัย แห่งชาติ ด้วยจุดเด่นที่สามารถตรวจวัดคุณภาพอากาศที่มี ความเข้มข้นของฝุน่ ละอองเกินมาตรฐานถึง 1 แสนไมโครกรัม ต่ อ ลู ก บาศก์ เ มตร และเก็ บ ตั ว อย่ า งเพื่ อ น� ำ ไปวิ เ คราะห์ องค์ประกอบทางเคมีและความเป็นพิษต่อไปได้ ยิ่ ง กว่ า นั้ น ยั ง ใช้ เ วลาตอบสนองเพี ย งประมาณ 0.1 วินาที และมีราคาถูกกว่าเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในปัจจุบนั ถึง 3 เท่า
แต่ท�ำงานได้คุณภาพไม่แพ้กัน ภายใต้หลักการวัดอนุภาคฝุ่น ละอองขนาดเล็กตามข้อก�ำหนดขององค์กรพิทักษ์สิ่งแวดล้อม อเมริกา (US EPA) และสอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพอากาศ ในบรรยากาศตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 และกฎหมายฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ปัจจุบัน นอกจากขนาดกะทัดรัด น�ำ้ หนักเบาแล้ว DustDETEC ยังสามารถเลือกเก็บผลการวัดด้วยหน่วยความจ�ำในเครื่อง หรือเชื่อมต่อข้อมูลทั้งในรูปแบบกราฟิกเวลาจริงและไฟล์ เอกสาร และสามารถรายงานผลระยะไกลจากแหล่งวัดฝุ่น ผ่านแอพพลิเคชันได้ทันที โดยเครื่องมือดังกล่าวใช้แบตเตอรี ที่ท�ำงานได้ต่อเนื่องนานกว่า 10 ชั่วโมง ด้วยคุณสมบัติเหล่านี้ ท�ำให้ DustDETEC ก�ำลังจะ มีบทบาทในการเตือนภัยมลพิษทางอากาศให้ชาวเชียงใหม่ โดยร่วมมือกับ ไลฟ์บ็อกซ์ สถานีโทรทัศน์ระบบถ่ายทอด สดออกอากาศออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต เพื่อถ่ายทอดสดทั้ง ภาพและข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ จากสถานีตรวจ วัดคุณภาพอากาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ดอยสะเก็ด ต่อจากนี้ ผู้คนจะได้ไม่ต้องเฝ้ามองท้องฟ้าเพียง อย่ า งเดี ย ว แต่ ยั ง เข้ า ใจในสถานการณ์ วิ ก ฤติ ห มอกควั น เพื่อรับมือได้อย่างทันท่วงทีอีกด้วย
คุณปนัดดา พิมลศรี
วิศวกรระดับ 6 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จังหวัดล�ำปาง
“ปกติแล้ว เราได้สั่งซื้อเครื่องมือในการตรวจวัดค่าฝุ่นละออง ผ่านทางตัวแทนจ�ำหน่ายซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง ทั้งยังต้องแยก เครื่องส�ำหรับวัดค่าแต่ละชนิด และต้องน�ำฟิลเตอร์มาทดลอง ในห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจสอบค่าที่ได้ ท�ำให้มีค่าใช้จ่ายสูง และไม่อาจทราบผลได้ทันที แต่ จ ากการท� ำ วิ จั ย ร่ ว มกั บ อาจารย์ พ านิ ช อิ น ต๊ ะ ทางอาจารย์ ไ ด้ น� ำ เครื่ อ งมื อ ของมาตรวจวั ด ที่ บ ่ อ เหมื อ ง เปรียบเทียบกับเครื่องมือเดิมและได้ผลการตรวจรับอยู่ใน เกณฑ์เดียวกัน นอกจากนี้ เครื่อง DustDetec ยังเป็นระบบ ออนไลน์ที่สามารถเรียกข้อมูลได้ตลอดเวลา ท�ำให้ตรวจวัดได้ สะดวกมากขึน้ จะยิง่ เป็นผลดีในอนาคตเนือ่ งจากบ่อเหมืองของ เราจะลึกลงไปอีกท�ำให้เดินทางล�ำบาก แม้จะอยูใ่ นช่วงทดลอง ใช้ แต่เราก็ได้เห็นแล้วว่าเครือ่ งดังกล่าวให้ผลทีด่ พี อๆ กับเครือ่ ง ที่เราเคยใช้มาก่อนหน้านี้”
19
คอลัมน์ RMUTL Community Engagement (ย.ยักษ์ เขี้ยวใหญ่)
งานบริ ก ารวิ ช าการเพื่ อ สั ง คม กับภารกิจ สร้างคน สร้างความรู้ สร้ า งชุ ม ชนและผู ้ ป ระกอบการ
งานบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย จ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีต่ อ้ งพัฒนาให้เท่าทันกับการเปลีย่ นแปลงภายใต้ปจั จัยเงือ่ นไข ต่างๆตามกระแสสังคม ที่ผ่านมาการด�ำเนิน “โครงการยก ระดับคุณภาพชีวติ หมูบ่ า้ นชุมชน แบบมีสว่ นร่วม” เป็นแนวทาง ที่ ดี ใ นการท� ำ ให้ ก ารบริ ก ารวิ ช าการสู ่ ชุ ม ชนตรงกั บ ความ ต้องการของคนในชุมชนมากยิง่ ขึน้ ชุมชนมีสว่ นร่วม โดยมีการ ร่วมคิด ร่วมท�ำ โดยการท�ำประชาคมกับคนในชุมชนและหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีโอกาสที่จะส่งผลถึงความอย่างยั่งยืนใน อนาคต หน่วยงานในชุมชน อาทิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้าร่วมหารือเพื่อก�ำหนดแนวทางในการท�ำงานร่วมกันในงาน บริการวิชาการสู่ชุมชน โดยมีลงนามความร่วมมือในด้านงาน บริการวิชาการ โดยร่วมจัดท�ำแผนเพื่อก�ำหนดทิศทางในการ ด�ำเนินงานบริการวิชาการร่วมกันให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา ท้องถิ่นและยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย โดยใช้งบประมาณ จากหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับของมหาวิทยาลัยฯ ท�ำให้งานบริการตรงกับความต้องการและใช้ประโยชน์ได้จริง มากยิ่งขึ้น ส�ำหรับแนวทางในการด�ำเนินการต่อไป การด�ำเนิน การบริ ก ารวิ ช าการต้ อ งผลั ก ดั น ให้ คนในชุ ม ชนด� ำ เนิ น การร่ ว มกั บ ในรู ป แบบการร่ ว มกลุ ่ ม อาจเป็ น ทั้ ง ในรู ป แบบ
20
สหกรณ์ วิสาหกิจ เพื่อให้มีการพึ่งพาตนเอง อยู่ได้ด้วย ตนเองลดการพึ่งพาจากภายนอก รวมทั้งควรผลักดันให้เกิด การด�ำเนินกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise หรือ SE) เพื่ อ ให้ มี ก ารลงทุ น ด� ำ เนิ น กิ จ การในชุ ม ชน นอกจากจะ มี ก ารจ้ า งงานในชุ ม ชนเอง และ ผลก� ำ ไรที่ เ กิ ด ขึ้ น น� ำ มา พัฒนาชุมชนในด้านต่างๆแล้ว ยังส่งผลให้เกิดประโยชน์ ให้ กั บ ชุ ม ชนเองในทุ ก ด้ า นไม่ ว ่ า จะเป็ น ความอบอุ ่ น ใน ครอบครัวที่ได้ท�ำงานในภูมิล�ำเนา ด้านเศรษฐกิจ ตลอดจน สาธารณูปโภคและสิ่งแวดล้อม นัยโดยรวมคือการยกระดับ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ มี ม หาวิ ท ยาลั ย มี ส ่ ว นร่ ว มในด้ า นวิ ช าการ ตลอดจนใช้ชุมชนเหล่านั้นเป็นแหล่งศึกษา (Social Lab) ฝึกปฏิบัติให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ปฏิบัติจริงอีกด้วย นอกจากการลงไปด�ำเนินการบริการกับชุมชนแล้ว ผู ้ ป ระกอบการทั้ ง ในอุ ต สาหกรรมทุ ก ขนาด ต่ า งก็ มี ค วาม ต้องการองค์ความรู้ จากงานวิจัยในมหาวิทยาลัยเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มมูลค่าเพิ่ม ดังนั้น มหาวิทยาลัย จะด�ำเนินการบริการวิชาการ โดยเป็นพี่เลี้ยงทางวิชาการ รั บ ปั ญ หาตามความต้ อ งการมาด� ำ เนิ น การวิ จั ย เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิต อันจะส่งผลกระทบทั้งทางตรงและ ทางอ้ อ มกั บ ความเป็ น อยู ่ ความมั่ น คงของคนในชุ ม ชน
ตลอดจนส่งผลกระทบต่อชุมชนนั้นๆต่อไป รวมทั้งการให้ แนวคิดทีจ่ ะเชิญชวนให้สถานประกอบการเหล่านัน้ นึกถึงชุมชน มากยิ่งขึ้น โดยอาจมีการร่วมน�ำส่วนหนึ่งของรายได้มาร่วม พัฒนาชุมชนในด้านต่างๆโดยกิจกรรม CSR หรือการมุ่งสู่การ เป็นกิจการเพื่อสังคม (SE) ในอนาคตซึ่งจะส่งผลให้เกิดความ ยั่งยืนในชุมชนต่อไป ในการด�ำเนินงานบริการวิชาการเพือ่ สังคม มีผลลัพท์ ที่มีคุณค่าเกิดขึ้น หลายประเด็น อาทิเช่น 1) ได้พัฒนาอาชีพเดิม และสร้างอาชีพใหม่เพื่อเพิ่ม มูลค่าเศรษฐกิจให้กับหมู่บ้าน ชุมชน และภาคอุตสาหกรรม สถานประกอบการทุกขนาด 2) มีองค์ความรูใ้ หม่ กระบวนการถ่ายทอดความรูใ้ หม่ ที่ทัดเทียมกับโลกยุคปัจจุบัน เพื่อตอบสนองความต้องการต่อ ภาคประชาชน ภาคอุตสาหกรรม 3) เพิม่ ขีดความสามารถของบุคลากรของประเทศใน การท�ำงานด้านบริการวิชาการ 4) คุณค่าที่มีประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยร่วมพัฒนา ศักยภาพของประชาชนให้มีความพร้อมในด้านการด�ำรงชีวิต และมีอาชีพทีม่ นั่ คง โดยการพัฒนาประชากรของประเทศ และ ร่วมแก้ไขปัญหาความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวติ ให้มจี ติ ใจ ดี มีศีลธรรม มีงานท�ำ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส ทั้ ง นี้ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ในฐานะเป็ น สถาบั น อุ ม ศึ ก ษา โดยสถาบั น ถ่ า ยทอด เทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้ด�ำเนินงานภายใต้ภาระกิจ ส่งเสริม สนั บ สนุ น งานบริ ก ารวิ ช าการเพื่ อ สั ง คมต่ า งๆ อาทิ เช่ น ร่ ว มกั บ สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แห่ ง ประเทศไทย (วว.) กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี ด� ำ เนิ น กิ จ กรรมคู ป องวิ ท ย์ เ พื่ อ โอทอป เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตให้กบั ผูป้ ระกอบการโดยมีการ ด�ำเนินงานร่วมกันและสนับสนุนงบประมาณร่วมกันระหว่าง ผู้ประกอบการกับหน่วยงานภาครัฐ โครงการเพิ่มผลิตภาพ แรงงานไทย โดยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 8 นครสวรรค์ กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน เพื่ อ พั ฒ นาความรู ้ ทั ก ษะความ สามารถของพนักงานด้วย STEM (Workforce) ให้กับสถาน ประกอบการจังหวัดนครสวรรค์ ตาก พิจิตร และก�ำแพงเพชร รวมทั้งมหาวิทยาลัยฯ ได้การด�ำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของหมู ่ บ ้ า นชุ ม ชนแบบมี ส ่ ว นร่ ว ม ที่ มี ห ลั ก การด� ำ เนิ น งานเพื่ อ ร่ ว มพั ฒ นาศั ก ยภาพของ ประชาชนให้มีความพร้อมในด้านการด�ำรงชีวิต และมีอาชีพ ที่ มั่ น คง เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการสร้ า งปั จ จั ย สนั บ สนุ น ต่ า งๆ ซึ่งตรงกับทิศทางและความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Demand) และท� ำ ให้ เ กิ ด กระบวนการบู ร ณาการกั บ ภาคส่วนอื่นๆ (Integrated Supply) พัฒนาทรัพยากรบุคคล ในภาคประชาชน เพื่อให้เกิดความพร้อมสร้างผู้น�ำในท้องถิ่น ส�ำหรับขับเคลื่อนหมู่บ้านชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตบนรากฐาน สังคมแห่งการเรียนรู้ “สร้างคน สร้างงาน สร้างความรู้ สร้างชุมชน” การพัฒนาทีก่ อ่ ให้เกิดความก้าวหน้าอย่างยัง่ ยืน โดย น้อมน�ำเอาหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาเป็นแนวทางการด�ำเนินงานแสวงหาค�ำตอบ ให้กับสังคม สามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ ที่เป็นประโยชน์ และเป็นแนวทางที่เหมาะสม อันก่อให้เกิด ความมั่นคง ความเข้มแข็ง และการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชน สังคม ประเทศชาติ และนานาชาติ ต่อไป พบกันฉบับหน้าครับ
21
อ�ำนาจ ในมือ ชาวนา โครงการยกระดับชุมชนปลูกข้าว บ้านคลองตาล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพืน้ ทีพ่ ษิ ณุโลก
ผลลัพธ์ที่ได้ยังไม่ส�ำคัญเท่าจิตส�ำนึกและความเข้าใจในกระบวนการ จากชื่อคลองตันสู่คลองตาล ... กว่าสองศตวรรษที่ชุมชนแห่งนี้ตั้งอยู่บน ที่ราบลุ่มแม่น�้ำน่านและฝากชีวิตไว้กับเกษตรกรรมมาตลอด โดยเฉพาะการท�ำนา แต่ชีวิตที่ต้องวัดดวงกับสภาพฟ้าฝนและปริมาณน�้ำในแต่ละปี ไม่ได้ท�ำให้ ชีวิตเกษตรกรง่ายขึ้นนัก ด้วยลักษณะที่ราบลุ่มมีน�้ำท่วมขัง ทั้งยังมีพื้นที่อยู่ทั้งในและนอกเขต ชลประทาน กว่าร้อยละ 90 ของชุมชนแห่งนี้จึงเป็นผืนนาที่มีการท�ำนาปีละหลาย ครัง้ ปัญหาทีช่ าวชุมชนต้องเจอไม่หยุดหย่อนมีทงั้ น�ำ้ หลากท่วมนาและขาดแคลนน�ำ้ แม้จะอยู่ใกล้เขื่อนนเรศวรก็ตาม ขณะทีก่ ารท�ำนาหลายครัง้ ยังส่งผลสะเทือนต่อต้นทุนการผลิตทีส่ งู ขึน้ เพราะ การปลูกนอกฤดูกาลตามธรรมชาติ รวมถึงการขาดความรู้เรื่องดินที่เหมาะสมและ มลพิษจากการใช้สารเคมี ที่ท�ำให้เกษตรกรหมู่ 8 บ้านคลองตาลขาดทุนกันเป็นแถว และการท�ำนาแล้วขาดทุน...ไม่ใช่เรื่องสนุก อีกด้านหนึ่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก เป็นเจ้าของผลงานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการปลูกข้าวแบบโยนกล้าที่ได้ขยายผล ไปยังจังหวัดต่างๆ ในเขตภาคเหนือตอนล่างมาแล้วได้วิเคราะห์ชุมชนนี้และพบว่า การขาดทุนมาจากต้นทุนการผลิตที่ส่วนหนึ่งมาจากเมล็ดพันธุ์ที่น�ำเข้ามา หลังจากมองเห็นปัญหา ประกอบกับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากผู้น�ำและ สมาชิกชุมชน ทางมทร.จึงเลือกชุมชนแห่งนี้มาเข้าร่วมในโครงการ ‘ยกระดับชุมชน ปลูกข้าวบ้านคลองตาล’ เพื่อปรับแนวทางเกษตรกรรมในชุมชนให้ไปในทิศทางที่ ควรจะเป็น
22
คอลัมน์ : ชุมชนเดินทาง
23
ตัดเส้นทางขาดทุน
“แม้เกษตรกรบางรายจะปลูกข้าวไว้กินเอง แต่ก็มี บางคนทีไ่ ม่ยอมกินข้าวทีต่ วั เองปลูก” ดร.ยรรยง เฉลิมแสน เล่า “เขาบอกว่า มันมีสารเคมี” หนึ่งในสาเหตุที่ท�ำให้ชาวนาบ้านคลองตาลประสบ ภาวะขาดทุนคือการควักเงินซื้อข้าวจากภายนอกมาบริโภค ทางออกง่ายๆ คือลดสารเคมี และเปลีย่ นแนวทางการปลูกข้าว ซึ่งเทคนิคท�ำนาโยนจาก มทร.ล้านนา พิษณุโลก สามารถตอบ โจทย์ส่วนนี้ได้ แต่ความง่ายกลายเป็นยากทันทีเมือ่ บางกลุม่ ในชุมชน ไม่เชื่อผลลัพธ์จากการท�ำนาโยน ทั้งที่เกษตรกรบางรายใน ชุมชนแห่งนี้มีอาชีพรับจ้าง เพาะกล้า และโยนกล้าอยู่แล้ว “แม้จะมีบางคนท�ำอยู่แต่เขาไม่สามารถชี้น�ำเพื่อน บ้านได้ แต่เมื่อหน่วยงานภาครัฐหรือมหาวิทยาลัยเข้าไปก็ กลายเป็นอีกเรื่องหนึ่ง” อาจารย์ยรรยง เล่า “หลังจากการ ชีแ้ จงและอธิบายเหตุผล รวมถึงท�ำให้เกิดตัวอย่างเพือ่ ให้เห็น ว่า การลดต้นทุนด้วยการผลิตข้าวปลอดภัยเป็นสิ่งที่เป็นไป ได้ แต่สงิ่ แรกทีต่ อ้ งท�ำก่อนอย่างอืน่ คือ การสร้างจิตส�ำนึกให้ พวกเขารู้สึกศรัทธาในการผลิตข้าวปลอดภัยเสียก่อน” จากนั้นจึงเข้าสู่การวางแผนการผลิตข้าวปลอดภัย วิธีการปลูกข้าว และการบริหารจัดการศัตรูข้าว โดยมีเป้า หมายหลักๆ ในการท�ำกิจกรรมปีแรกคือ จิตส�ำนึกในในวิธกี าร ทางการเกษตรแบบผสมผสานกับเกษตรชีวภาพ และกระตุน้ ให้ ชาวชุมชนออกความคิดเห็น
24
อาจารย์ยรรยง เล่าว่า เมื่อเกิดข้อสงสัยขึ้น ทีมงาน โครงการฯ ได้สร้างพื้นที่ให้ชาวชุมชนได้เปิดวงสนทนาเพื่อ โยงประเด็ น การท� ำ งานจนเข้ า ใจและมองเห็ น ปั จ จั ย ต่ า งๆ ทีฉ่ ดุ ต้นทุนการผลิตของพวกเขาให้สงู ขึน้ โดยไม่จำ� เป็น หลังจาก นัน้ ชาวชุมชนจึงได้เห็นผลอย่างชัดเจนว่าในแปลงทีท่ ำ� นาแบบ หว่านมีศัตรูพืชมากกว่านาแบบโยนกล้า รวมถึงนาที่ใช้ปุ๋ยเคมี และฉีดสารเคมีด้วย “หลายคนบอกว่า ท�ำนาไม่เคยมีเงินเก็บเลย แต่บาง คนที่ใช้น�้ำหมักชีวภาพ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์กลับมีเงินเก็บ เมื่อเกิด การเปรียบเทียบกันในวงพูดคุย ความสนใจทีจ่ ะเรียนรูก้ เ็ กิด ขึ้นโดยอัตโนมัติ” ถัดจากการปรับโฉมแนวทางการปลูกข้าวคือการจัด ตั้งโรงสี แม้ว่าเมื่อผ่านกระบวนการผลิตข้าวปลอดภัยแล้วจะ ไปสีที่โรงสีใดก็ได้ แต่ผู้ผลิตก็ต้องเข้าไปควบคุมกระบวนการ ถ้าเช่นนั้น คงดีกว่าหากมีโรงสีของชุนชนเอง “ชาวบ้ า นบางส่ ว นมี แ นวคิ ด ผลิ ต มี ข ้ า วขายใน ชุมชน และมีงบประมาณเตรียมพร้อมไว้ส่วนหนึ่งแล้ว การ เข้ามาของโครงการฯ จึงเป็นโอกาสดีทที่ างชุมชนจะได้ความ รู้ในการจัดตั้งโรงสีชุมชนที่เหมาะสมได้” มหาวิทยาลัยจึง ได้ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีจากคณะบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์ รวมถึงคณะวิศวกรรมศาสตร์ให้กับกลุ่มเกษตรกร ทีส่ นใจ ทัง้ ในเรือ่ งพืน้ ทีแ่ ละพาไปดูงานเพือ่ ให้มกี ารแลกเปลีย่ น ประสบการณ์กับเจ้าของกิจกรรมโรงสีในพื้นที่อื่น จากนั้นได้ เปิดเวทีประชาคมให้ชาวบ้านกลุ่มที่ไม่ไปได้ร่วมตัดสินใจด้วย
ข้อดีอย่างหนึ่งคือ ชุมชนมีความต้องการเดียวกัน ในการมี ข ้ า วที่ ส ะอาดและปลอดภั ย ทั้ ง ไว้ ข ายและกิ น เอง – อาจารย์บอก เป็ น เรื่ อ งธรรมดากั บ การเจอปั ญ หาในระหว่ า ง การท� ำ งาน ทั้ ง แบบที่ จั ด การได้ แ ละแบบที่ น อกเหนื อ การควบคุ ม อย่ า งไรก็ตาม อาจารย์ยรรยง มองว่า สิ่งที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง กว่ า ผลในระยะสั้ น ๆ ของการท� ำ งานคื อ ความรู ้ ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ ง เช่ น สภาพอากาศที่ ร ้ อ นมากท� ำ ให้ เกิ ด เพลี้ ย ระบาดได้ เมื่ อ รู ้ แ ละเข้ า ใจมากขึ้ น เกษตรกร ก็ ส ามารถอธิ บ ายผลที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในช่ ว งเวลานั้ น ๆ และ วางแผนบริ ห ารจั ด การได้ เ อง ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ท างโครงการฯ คาดหวังไว้
เมล็ดพันธุ์ฟื้นชุมชน
นอกจากกระบวนการปลูกข้าว เมล็ดพันธุก์ เ็ ป็นต้นทุน เบื้องต้นที่ส�ำคัญ แต่เกษตรกรบ้างคลองตาลมักซื้อเมล็ดพันธุ์ จากพ่อค้ารายย่อย กลายเป็นการโยนความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ ในชุมชนออกจากมือตัวเองไปสู่คนภายนอก เพราะพวกเขาไม่ อาจแน่ใจในความถูกต้องตรงตามสายพันธุ์ ความสมบูรณ์ และ ความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ข้าวได้เลย “ประเด็ น นี้ ผ มเลยมาตั้ ง โจทย์ ว ่ า ในเมื่ อ ชุ ม ชนต้ อ งการเมล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วปี ล ะหลายตั น สู ญ เงิ น ร ว ม กั น แ ล ้ ว ป ี ล ะ ห ล า ย สิ บ ล ้ า น ท� ำ ไ ม จึ ง ไ ม ่ ท� ำ เมล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วแล้ ว ขายกั น เอง เพื่ อ ให้ เ งิ น จ� ำ นวน นั้ น หมุ น เวี ย นอยู ่ ใ นชุ ม ชน” อาจารย์ ย รรยง เล่ า การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวจึงได้เริ่มขึ้นโดยได้อาจารย์ จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรคอยให้ค�ำ แนะน�ำและดูแลการผลิตให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ขณะที่ ชุมชนได้คัดเลือกเกษตรกรฝีมือดีมาเป็นอาสาสมัครผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าว หลังจากท�ำความเข้าใจแล้ว บรรดาอาจารย์จึงค่อยๆ ถ่ายทอดวิทยายุทธ์ในแต่ละขั้นตอนการผลิตเมล็ดพันธุ์จนจบ ทั้งกระบวนการ อย่างไรก็ตาม อาจารย์กังวลถึงศักยภาพของการลด ความชื้นในเมล็ดพันธุ์จ�ำนวนมหาศาลที่จะผลิตออกมา “มีทางเลือกสองทางในการลดความชื้น ถ้าไม่ใช้ ลานตากขนาดใหญ่ก็ต้องเป็นเครื่องอบเมล็ดพันธุ์ ซึ่งตัด ลานตากไปได้เลย เพราะล�ำพังแค่ถนนหรือสนามคอนกรีต ในหมู่บ้านก็ไม่พอรองรับข้าวเป็นสิบตันได้ แต่การใช้เครื่อง อบเมล็ด ก็ติดปัญหาอยู่ที่งบประมาณซึ่งไปลงกับโรงสีแล้ว รวมถึงการที่ชุมชนยังไม่เห็นความส�ำคัญนัก” อาจารย์บอก อย่างที่บอกไปข้างต้น...ความเข้าใจคือจุดเริ่มต้นของ ทุกอย่าง ดังนั้น ในขั้นตอนถัดไปคือการท�ำให้เกษตรกรมอง เห็นความส�ำคัญอย่างยิง่ ยวดในการเก็บรักษาคุณภาพของเมล็ด ภายใต้การใช้เครื่องลดความชื้นและอบเมล็ดพันธุ์ รวมถึงการ สร้างเครื่องดังกล่าวต่อไป
ว่าด้วยไก่
พ้ น ไปจากเรื่ อ งราวในนาข้ า ว การท� ำ ประชาคม หมูบ่ า้ นยังปรากฏประเด็นอาชีพเสริม ทีช่ มุ ชนแห่งนีไ้ ด้หยิบยก เรื่องการเลี้ยงไก่เหลืองหางขาวขึ้นมา “ตอนนี้ ท างมหาวิ ท ยาลั ย ได้ ส ่ ง เสริ ม การเพาะ เลี้ยงไก่เหลืองหางขาวอยู่แล้ว ซึ่งตัวมหาวิทยาลัยของเรา ก็ตั้งอยู่ในต�ำบลบ้านกร่างด้วย” อาจารย์ยรรยง อธิบาย
25
“ไก่เหลืองหางขาวที่นิยมเป็นพันธุ์แท้ดั้งเดิม ต้อง เป็นไก่บ้านกร่าง บ้านหัวเท จังหวัดพิษณุโลก เพราะถือเป็น ไก่ในประวัติศาสตร์ที่ครั้งหนึ่งสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมัยทรงพ�ำนักอยูใ่ นประเทศพม่าได้ทรงน�ำไก่เหลืองหางขาว จากพิษณุโลกไปชนชนะไก่ของพระมหาอุปราชา” ด้ ว ยเหตุ นี้ ไก่ เ หลื อ งหางขาวจึ ง มี อี ก ชื่ อ เรี ย กว่ า ไก่เจ้าเลี้ยง และไก่พระนเรศวร ถือเป็นความภาคภูมิใจของ ชาวพิษณุโลก ทั้งยังมีการอนุรักษ์และพัฒนาไก่สายพันธุ์นี้มา โดยตลอด กลับมาทีบ่ า้ นคลองตาล อาจารย์บอกว่า ผลผลิตจาก การน�ำไก่เหลืองหางขาวมาเพาะเลีย้ งได้ทงั้ ไข่และลูกไก่ ซึง่ ขาย ได้ในราคาสูงกว่าไก่ทั่วไปด้วย “ดังนั้น เราจึงให้ไก่กับเกษตรกรที่มีความพร้อม และมีประสบการณ์ในการเลี้ยงไก่นับสิบปี โดยที่ทางเราได้ ไปตรวจดูความเหมาะสมของโรงเรือนและสภาพแวดล้อม โดยรวม ทั้งยังต้องผ่านการสัมภาษณ์อย่างเข้มงวดเพื่อให้ ได้เกษตรกรที่เหมาะสมจริงๆ” นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของไร่นาสวนผสม ซึ่งอาจารย์ บอกว่า เป็นไอเดียที่ส่งตรงมาจากจากเกษตรกรรายหนึ่งใน ชุมชนบ้านคลองตาล “เขาเป็นเกษตรกรมือใหม่ที่สนใจไร่นาสวนผสม แบบปลูกผักกินเอง เพราะมุมมองที่น่าสนใจ เราจึงเข้าไป พูดคุยและสังเกตวิธีการบริหารจัดการ พร้อมทั้งให้ก�ำลังใจ
26
ความรู้ หลักการและวิธีคิดเพิ่มเติม รวมถึงเรื่องของการ ท�ำนาโยนที่เขาก�ำลังท�ำอยู่ในตอนนี้” แม้อาชีพเสริมในปีแรกจะมุง่ ไปทีเ่ รือ่ งของการเลีย้ งไก่ แต่ในหลังจากนี้ ทีมงานโครงการฯ จะขยับไปในส่วนอืน่ ๆ ทีท่ าง ชุมชนได้เสนอมา ไม่วา่ จะเป็นการเลีย้ งหมู การปลูกผักสวนครัว รวมถึงอาชีพอื่นด้วย เช่ น เดี ย วกั บ การท� ำ บั ญ ชี ต ้ น ทุ น การผลิ ต โดย ซึง่ อาจารย์ยรรยง มองว่า เป็นตัววัดความส�ำเร็จของงาน โดยใน ปีแรกจะเป็นการปูพื้นถึงความจ�ำเป็นในการท�ำบัญชีครัวเรือน ของเกษตรกรก่อน และจะเริ่มจัดท�ำบัญชีในปีต่อไป “เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้รวมค่าแรงของตัวเอง ไปเป็นต้นทุน จึงท�ำให้คิดว่ายังได้ก�ำไรอยู่ แต่เราเข้าไปเปิด ประเด็นให้พวกเขาเห็นภาพว่า ความเป็นจริงไม่ใช่อย่างทีค่ ดิ และเขาต้องลดต้นทุนมากกว่านี้ให้ได้” ถึงจะเป็นปีแรก แต่ดว้ ยความกระตือรือร้นจากชุมชน ทั้งตัวเกษตรกรที่ต้องการแก้ปัญหาของตัวเอง และผู้น�ำที่ พยายามหากิจกรรมไปให้สมาชิกในชุมชนได้เสมอ ประกอบ กับประสบการณ์การท�ำงานของบรรดาอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ท�ำให้ทีมงาน มทร.ล้านนา พิษณุโลก ค่อนข้างมั่นใจถึงการขับ เคลื่อนโครงการในปีต่อๆ ไป เพื่อให้ชาวชุมชนแห่งนี้ยังสามารถหล่อเลี้ยงวิถีชีวิต เกษตรกรรมที่ยาวนานมากว่า 200 ปีได้เหมือนที่เคยเป็นมา
27
การจัดการ ความรู้ในยุค ไทยแลนด์ 4.0
ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ยุ ค ป ั จ จุ บั น เป็ น การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ในลั ก ษณะที่ เ รี ย กว่ า ไทยแลนด์ 4.0 เป็ น ระบอบเศรษฐกิ จ ที่ มี ลั ก ษณะ ท� ำ น้ อ ยได้ ม าก ด้ ว ยการน� ำ ความรู ้ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ เทคโนโลยี ส ารสนเทศสมั ย ใหม่ ม า สร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Creation) แทนเศรษฐกิจแบบเดิมที่เน้นการผลิตใน อุตสาหกรรมหนักและการส่งออก เหมือนดังเช่นหลายทศวรรษที่ผ่านมาของ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยให้หลุดพ้นกับดักของประเทศได้แก่ กับดัก รายได้ปานกลาง กับดักด้านความเหลือ่ มล�ำ้ กับดักด้านประสิทธิภาพ และกับดัก ด้านการคอร์รปั ชัน่ โดยใช้เศรษฐกิจบนฐานรากของการใช้ความรู้ (Knowledge Economy) และความคิดสร้างสรรค์มาสร้างนวัตกรรม (Innovation) และ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เพื่อประสิทธิภาพในการท�ำงานและการรังสรรค์ นวัตกรรมใหม่ ๆ
คอลัมน์ :องค์กรแห่งการเรียนรู้ โดย ก.ไก่ฟ้าพญาลอ
28
ในการจั ด การความรู ้ ใ นยุ ค ไทยแลนด์ 4.0 สร้ า ง ความได้เปรียบในการแข่งขันบนฐานรากความรู้ที่ เน้นการขับ เคลื่อนและพัฒนาทุกภาคส่วนด้วยองค์ความรู้ (Knowledge) นวัตกรรม (Innovation) โดยสามารถสรุปผลกระบวนการการ จัดการความรู้ที่ส�ำคัญดังนี้ 1.การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) เพื่อบ่งชี้เป้าหมายของการจัดการความรู้ โดยมุ่งเน้นการแก้ปัญหาขององค์กรที่เร่งด่วน ยกระดับการ ท�ำงานขององค์กร พร้อมทั้ง วิเคราะห์ โอกาสและปัจจัย ความส�ำเร็จ 2.การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) เป็ น การดึ ง ข้ อ มู ล ความรู ้ จากบุคลากร (Knowledge Capture) และศึกษาข้อมูล เพิ่มเติมจากการค้นคว้าของบุคลากร กลุ่มงาน และหารือ แลกเปลี่ยนความรู้ที่ได้จากความรู้ที่มีและความรู้ที่แสวงหา เพิ่ ม เติ ม 3.การจั ด ความรู ้ ใ ห้ เ ป็ น ระบบ (Knowledge Organization) เป็ น การสั ง เคราะห์ ข ้ อ มู ล กระบวนการ ร่วมกันกับบุคลากรที่เกี่ยวข้องและจัดหมวดหมู่ความรู้ที่ได้ให้ เหมาะสมกับการพัฒนาระบบ 4.การประมวลผลและการกลัน่ กรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เป็ น การร่ ว มจั ด ท� ำ มาตรฐานข้ อ มู ล ระหว่ า งกลุ ่ ม งาน
(การป้ อ น จั ด เก็ บ และรายงาน) เพื่ อ ท� ำ ความเข้ า ใจและ ใช้งานได้ง่าย - นิยามศัพท์ ค�ำจ�ำกัดความ ให้ผู้เกี่ยวข้อง สามารถสื่อความหมาย ให้ไปในทิศทางเดียวกัน 5.การเข้าถึง ความรู้ (Knowledge Access) เป็นสร้างกระบวนการช่องทาง ให้ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าร่วมได้ทุกทีทุกเวลาทุก สถานที่โดยอาศัยเทคโนโลยี 6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) การแลกเปลีย่ นข้อคิดเห็น และจัดเก็บ ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาร่วมกันและการสร้างเครือ ข่ายในการปฏิบตั ทิ ดี่ ี (COP) 7.การเรียนรู้ (Learning) ถ่ายทอด ความรู้ วิธกี ารใช้งานระบบ สูบ่ คุ ลากรในกลุม่ งานให้ครอบคลุม และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพหรื อ ถ่ า ยทอดความรู ้ แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี (Best practice) ของวิธกี ระบวนการ แนวทางการพัฒนาระบบ สู่กลุ่มงาน หรือผู้สนใจ ให้เกิดการเรียนรู้ การจัดการความรู้ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ช่วยให้เรียนรู้ จากความจริง เรือ่ งจริง และน�ำมาขยายผลได้ จนเกิดการยกระดับ ความรู้ (Spiral)ขององค์กร โดยอาศัยกระบวนการจัดการ ความรู้ทั้ง 7 กระบวนข้างต้น ที่สอดคล้องกับบริบทบุคคล เทคโนโลยี และเครื่ อ งมื อ การบริ ห ารของศตวรรษที่ 21 ในการพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานรากความรู้
29
ชีวิตง่ายๆ ใช้จ่าย สบายๆ
“
แบบ ออน ไลน์
“
แค่กดคลิก ก็ได้ของ แล้ว! !!!!
ตอนที่ 1 คอลัมน์ : ซะป๊ะ สเปซ โดย พิษณุ
30
คงต้องยอมรับว่าโลกทุกวันนี้ คนที่ใช้อินเตอร์เน็ต ทั่วโลก ร่วมถึงคนไทยที่ใช้อินเตอร์เน็ตตอนนี้อาจจะมากถึง 50 ล้านคน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ถึง 70-80 % ของคนทัง้ ประเทศ เลยก็ว่าได้ และมีอยู่อย่างหนึ่งที่คนเล่นอินเตอร์เน็ต คงจะไม่มี ใครปฎิเสธได้ว่าไม่รู้จัก การซื้อ ขายของบนอินเตอร์เน็ต ที่เรา เรียกกันแบบเดิมๆว่า อี-คอมเมิร์ซ “E-Commerce” คือการ ท�ำให้ธุรกิจการซื้อ ขาย บนโลกออนไลน์ ที่สามารถเติบโตได้ อย่างรวดเร็ว นั้นก็เป็นจุดหนึ่งที่ก่อให้เกิด “ธุรกิจออนไลน์” หลายๆรูปแบบออกมาทั้ง ช้อปปิ้ง จอง จ่าย เราสามารถเลือก ใช้บริการได้บนโลกออนไลน์ ได้ทุกที่ที่มีอินเตอร์เน็ต
ท� ำ ให้ ทุ ก วั น นี้ การซื้ อ ขายของบนโลกออนไลน์ เป็นเรื่องที่ง่าย มีความสะดวกสบาย รวดเร็ว ประหยัดเวลา มาพร้อมกับความเชื่อมั่น ในการให้บริการ ของผู้ขาย มีการรับ ประกันความพึ่งพอใจในสินค้า มีการคุ้มครองลูกค้า การคืน สินค้าที่ช�ำรุดหรือได้รับความเสียหาย และสามารถที่จะมาเก็บ เงินปลายทาง (ของมา เงินไป) ไม่ตอ้ งเสีย่ งว่าเมือ่ เสียเงินไปแล้ว จะต้องมาลุ้นว่าจะได้รับของหรือเปล่า นั้นก็เป็นกลยุทธ์และ เครื่องมืออย่างหนึ่งที่สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ซื้อ การใช้อนิ เตอร์เน็ตบนมือถือเริม่ มีการขยายตัวมากขึน้ ทุกเดือน มันอาจจะกลายเป็นเครื่องมือที่จะใช้งานเป็นหลักใน การซื้อ ขาย ของบนโลกออนไลท์ ที่มีฟังก์ชั่นการใช้งานที่ง่าย สะดวกทุกที่ เข้าใจง่าย
การท�ำให้ธุรกิจบนอินเตอร์เน็ต มีคนจ�ำนวนใช้เพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ ไม่เว้นแต่เจ้าของธุรกิจใหญ่ๆ ก็ต้องเปลี่ยนกลยุทธ์ วิธีการท�ำตลาดบนโลกออนไลน์ ที่มีการแข็งขันกันเพิ่มมาก เรื่อยๆ ท�ำให้มีส่วนแบ่งทางการตลาดของธุรกิจที่มีทุนน้อย สามารถเข้ามาแข็งขันท�ำตลาดได้บนโลกออนไลน์ ท�ำให้คน อยากท�ำธุรกิจออนไลท์ เพิม่ มากขึน้ เพราะมีความสะดวกสบาย ใช้เวลาไม่นาน ซึ่งในโลกออนไลน์คนที่จะท�ำให้ธุรกิจให้ส�ำเร็จ ได้ สินค้าต้องมีคุณภาพ มีจ�ำหน่ายอย่างต่อเนื่อง มีโปรโมชั่น สม�่ำเสมอ เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการซื้อมากขึ้น ตอนต่อไปผมจะมาพูดถึงธุรกิจอื่นๆบ้าง ที่เข้ามา เชือ่ มโยงกับ “ธุรกิจบนโลกออนไลน์” โปรดติดตามกันนะครับ กับ ชีวติ ง่ายๆ ใช้จา่ ยสบายๆ “แบบออนไลน์” แค่กดคลิก ก็ได้ ของแล้ว! !!!! ตอนที่ 2
31
“
คอลัมน์ : ต่อนยอน ตะลอนทัวร์ โดย อารีรัตน์ พิมพ์นวน
“
Slow life ณ ผาหมอน
“ผาหมอน” หมู่บ้านเล็ก ๆ ของชาวกะเหรี่ยงปกาเกอะญอ ที่ซ่อน ตัวอยู่ท่ามกลางธรรมชาติของนาขั้นได โ อ บ ล ้ อ ม ไ ป ด ้ ว ย ขุ น เข า ตั้ ง อ ยู ่ ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง มุ่งตรงสู่ยอด ดอยอินทนนท์ สภาพถนนเป็นดินแดงคด เคี้ยวไปมา ต้องอาศัยความช�ำนาญของ ผู้น�ำทางในการเข้าไปยังหมู่บ้าน
32
บ้านผาหมอน........ชื่อนี้หลาย คนอาจไม่เคยรูจ้ กั หรือได้ยนิ มาก่อน และ ไม่คิดว่าสถานที่แห่งนี้จะมีสวรรค์บนดิน แทรกอยู่ท่ามกลางธรรมชาติที่งดงาม เงียบสงบ มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ทุกที่เมื่อ ได้ยา่ งก้าวเข้าไปในดินแดนแห่งนี ้ ทุกอณู ของพื้นที่ล้วนมีกลิ่นอายแห่งความสุข ความสงบ ขับกล่อมไปด้วยเสียงดนตรี
ของธรรมชาติ เสียงลมพัด เสียงใบไม้กลิน่ อายแห่งธรรมชาติ หรีดหริ่งเรไรขับขาน อากาศที่อยู่รอบตัวสดชื่นเย็นสบายจน สามารถสูดโอโซนเข้าไปได้อย่างเต็มปอด เป็นสถานที่ที่สามารถปลดปล่อยทุกสิ่ง วางไว้ข้างหลังแล้วเข้าสู่ธรรมชาติอย่าง แท้จริง
สิง่ ทีโ่ ดดเด่นของบ้านผาหมอน อีกอย่าง คือ บ้านพักแบบส่วนตัว เป็นบ้าน ที่ อ ยู ่ บ นสั น ดอยมองเห็ น ทิ ว ทั ศ น์ ธรรมชาติที่สวยงาม แสนสงบ รวมถึง แปลงดอกไม้ เ มื อ งหนาวที่ ป ลู ก อยู ่ ท่ามกลางนาข้าว หากต้องการชมนาข้าว ขั้นบันไดที่เป็นช่วงสีเขียวชอุ่มสดใสของ ท้องทุง่ นาขัน้ บันได บวกกับเมฆหมอกปุย ฝอยเหมือนดั่งต้นไม้หายใจต้องมาช่วง ต้นฤดูช่วงกลางเดือนกันยายนถึงกลาง เดือนตุล าคม แต่อยากหากสัม ผั สกั บ ทุ่งสีทองในฤดูเก็บเกี่ยวควรเดินทางมา ปลายเดือนตุลาคมถึงต้นพฤศจิกายน ด้ ว ยความที่ บ ้ า นผาหมอน เป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วธรรมชาติ โ ดย แท้ จ ริ ง ทางมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา โดยสถาบันถ่ายทอด เทคโนโลยีสู่ชุมชน จึงได้ล งพื้นที่ เ พื่ อ น� ำ ข้ อ มู ล เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วมาจั ด ท� ำ เป็ น แผนที่ เ ส้ น ทางการท่ อ งเที่ ย ว เชิ ง วั ฒ นธรรมกลุ ่ ม ชาติ พั น ธ์ ให้ กั บ ชุมชนบ้านผาหมอนส�ำหรับไว้เป็นต้น แบบแผนที่ ที่ ส ามารถบอกพิ กั ด ได้ อย่างชัดเจนให้แก่นักท่องเที่ยว รวมถึง ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ท ราบถึ ง แหล่ ง ท่องเที่ยวที่กระจายตัวอยู่อย่างทั่วถึงใน ทุกพื้นที่ มนต์ เ สน่ ห ์ ด ้ า นความหลาก หลายทางวั ฒ นธรรม โดยเฉพาะของ ชนเผ่า ท�ำให้มเี อกลักษณ์วฒ ั นธรรมของ แต่ละชนเผ่าที่แตกต่างกันออกไปและมี เสน่หเ์ ฉพาะตนเอง มีวถิ ชี วี ติ ทีเ่ ดินควบคู่ ไปอย่างสมดุลกับธรรมชาติ เป็นแม่เหล็ก ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ลองเข้ามาสัมผัส กับธรรมชาติอย่างแท้จริง
33
ส�ำหรับท่านที่มีค�ำถาม ข้อสงสัย สามารถส่งค�ำถามมายัง : โครงการคู่คิด มิตรชุมชน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ต.ป่าป้อง อ.ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 50220 โทร.053 - 266516-8 E-mail : Kaewpanya@rmutl.ac.th
34
35