วารสารแก้วปัญญา ปีที่ 2 เล่มที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2559)

Page 1

วารสาร ปีที่ 2 มกราคม - มีนาคม 2558 ฉบับที่ 1

สารอวยพรเนื่องในวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ รองศาสตราจารย์ น�ำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ ทศวรรษแห่งความภูมิใจ... ‘มหาวิทยาลัยอันเป็นมงคลแห่งราชา’

งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง : อุดช่องโหว่ล�ำไยอบแห้ง และจากปุ๋ยถึงดิน ความส�ำคัญของ ‘ขา’

โครงการ : การสร้างเตาอบพืชผลทางการเกษตรจากพลังงานแสงอาทิตย์ฯ บ้านทีวะเบยทะ จ.ตาก

www.kaewpanya.com

ISSN : 2392-5892


วารสาร ปีที่ 2 มกราคม - มีนาคม 2558 ฉบับที่ 1

สารอวยพรเนื่องในวันขึ้นปี ใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ รองศาสตราจารย์ น�ำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ ทศวรรษแห่งความภูมิใจ... ‘มหาวิทยาลัยอันเป็นมงคลแห่งราชา’

งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง : อุดช่องโหว่ล�ำไยอบแห้ง และจากปุ๋ยถึงดิน ความส�ำคัญของ ‘ขา’

โครงการ : การสร้างเตาอบพืชผลทางการเกษตรจากพลังงานแสงอาทิตย์ฯ บ้านทีวะเบยทะ จ.ตาก

www.kaewpanya.com

ISSN : 2392-5892

วัตถุประสงค์

1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลงานวิจัย และ งานบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา 2. เ พื่ อ เป็ น สื่ อ กลางในการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ และการเข้าถึงองค์ความรู้ของภาคประชาชน

ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย์ ดร.น�ำยุทธ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประพัฒน์ ดร.ภาสวรรธน์ นายภฤศพงศ์ นายแมน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา นายกิติชัย นายเกรียงไกร นายศรีธร ดร.กัญญณัฐ ดร.อังกูร

สงค์ธนาพิทักษ์ เชื้อไทย วัชรด�ำรงค์ศักดิ์ เพชรบุล ตุ้ยแพร่ เขาสุเมรุ ระมิงค์วงศ์ ธารพรศรี อุปค�ำ ศิริธัญญา ว่องตระกูล

จัดท�ำโดย

คลังความรู้ชุมชน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ต�ำบลป่าป้อง อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 50220 โทร.053 - 266516-8 ข้อเขียนหรือบทความใดๆ ที่ตี พิ มพ์เผยแพร่ ในวารสารแก้ว ปั ญญา ฉบั บ นี้ เป็ น ความคิ ด เห็ น เฉพาะตั ว ของผู ้ เขี ย น คณะผู ้ จั ด ท� ำ ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเห็ น ด้ ว ยและไม่ มี ข ้ อ ผู ก พั น กั บ คณะผู ้ จั ด ท� ำ และสถาบั น ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา แต่อย่างใด

บทบรรณาธิการ ปีมะแมวนกลับมาอีกครั้ง เริ่มต้นศักราชใหม่กันด้วยข่าว น่ายินดีกบั บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาทุกท่าน ที่ได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจาก สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจ�ำปีการศึกษา 2556 เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2556 ที่ผ่านมา และในวันที่ 18 มกราคม 2558 ถือเป็น วันครบรอบหนึง่ ทศวรรษแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล ในปี 2558 นี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น�ำโดย รองศาสตราจารย์ ดร.น�ำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี ได้จัดเตรียมงานอย่างยิ่งใหญ่เพื่อแสดงศักยภาพของมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นพิธีเฉลิมพระเกียรติ มอบรางวัลราชมงคลสรรเสริญ นิทรรศการเล่าขานราชมงคลล้านนา RMUTL Open House กาดหมั้ว คัวกิ๋น ย้อนถิ่นล้านนา รวมถึงนิทรรศการต่างๆ มากมาย ที่พลาดไม่ได้ด้วยประการทั้งปวง ด้วยบรรยากาศเทศกาลน่ายินดีและปลื้มปีติ วารสาร แก้ ว ปั ญ ญาฉบั บ ต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ นี้ จึ ง ขอน� ำ เสนอเรื่ อ งราวความ เป็ น มาของมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนาเพื่ อ ก้ า ว สู ่ ท ศวรรษใหม่ รองศาสตราจารย์ น� ำ ยุ ท ธ สงค์ ธ นาพิ ทั ก ษ์ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ตามมา ด้ ว ยสารอวยพรเนื่ อ งในวั น ขึ้ น ปี ใ หม่ พุ ท ธศั ก ราช 2558 ซึ่งจะน�ำผู้อ่านเดินทางต่อเพื่อไปแวะเวียน ‘ห้องคลังความรู้ชุมชน’ สุดทันสมัยแห่งมหาวิทยาลัยในดอยสะเก็ด เช่นเดียวกันกับสาระความรู้ที่มีพร้อมในทุกเล่ม ทั้งผล งานวิจยั สูช่ มุ ชน หมูบ่ า้ นในโครงการยกระดับคุณภาพชีวติ หมูบ่ า้ น/ ชุมชนระดับชาติ และปีใหม่แบบราชมงคลล้านนา รวมถึงคู่คิด มิตรชุมชน ที่จะมาไขปัญหาให้เช่นเคย สุดท้ายนี้ ไม่ว่าปีที่แล้วจะอย่างไร วารสารแก้วปัญญาก็ ขอให้ทกุ ท่านเริม่ ก้าวใหม่อย่างมีพลังและมีความสุขตลอดทัง้ ปีและ ตลอดไป สุขีปีแพะ บรรณาธิการ


คอลัมน์ 4

รอบรั้ว ชุมชนเดินทาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

24

โครงการ : การสร้างเตาอบพืชผลทางการเกษตรจาก พลังงานแสงอาทิตย์ฯ บ้านทีวะเบยทะ จ.ตาก

10

เปิดมุมมอง

12

เรื่องเล่า ชาวล้านนา

ความส�ำคัญของ

‘ขา’

สารอวยพรเนื่องในวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘ รองศาสตราจารย์ น�ำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ทศวรรษแห่งความภูมิใจ... ‘ มหาวิทยาลัยอันเป็นมงคลแห่งราชา’

ร้อยแปดพันเรื่อง ส่งสุขแบบปีใหม่ไทย

16

26

คุยกับนักวิจัย

อาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี เจ้าของผลงาน ‘เครื่องคว้านเมล็ดล�ำไยแบบสองหัวคว้าน’ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา เขาสุเมรุ หนึ่งในเจ้าของผลงาน ‘การเพิ่มประสิทธิภาพการใส่ปุ๋ยโดยการวิเคราะห์ดิน’

18-21 งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง

ต่อนยอน ตะลอนทัวร์

เปิดประตู ‘คลังความรู้ชุมชน’

30

อุดช่องโหว่ล�ำไยอบแห้ง จากปุ๋ยถึงดิน

พันธกิจมหาวิRMUTL ทยาลั ยเพื่อสังคม คู่คิด มิตรชุมชน Community Engagement

22

‘พันธกิจสัมพันธ์’ สู่ความยั่งยืน

32


รอบรั้ว

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ผศ.ประพั ฒ น์ เชื้ อ ไทย รองอธิ ก ารบดี ด ้ า นบริ ห าร ยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนพั ฒ นา พร้ อ มด้ ว ย ดร.ภาสวรรธน์ วัชรด�ำรงค์ศกั ดิ์ รองอธิการบดีดา้ นวิจยั และการถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) ได้ให้การ ต้อนรับ ผศ.จักรกฤษณ์ เยรัมย์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการ วิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) และคณะ ทัง้ นี้ คณะจาก มทร.อีสานได้เข้าศึกษาดูงานแนวทางการ ด�ำเนินงานบริการวิชาการ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2557 ภายใต้ โครงการคาราวานการถ่ายทอดเทคโนโลยีและจัดเก็บองค์ความรู้ เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ สังคม/ชุมชน พร้อมร่วมแลกเปลีย่ นเรียน รู้กับคณะท�ำงานจากสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน พร้อมทั้ง เข้าเยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีเซรามิกส์ และ โรงงานน�ำ้ ดืม่ ต้นแบบ มทร.ล้านนา ณ คลังความรูช้ มุ ชน มทร.ล้านนา (ดอยสะเก็ด) โดยมีอาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี และ ผศ.ยุทธนา เขาสุเมรุ รองผู้อ�ำนวยการสถาบันฯ ได้ให้การต้อนรับและน�ำชม ตลอดรายการ ผศ.ดร.บัญจรัตน์ โจลานันท์ อาจารย์ประจ�ำคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้รบั การจดอนุสทิ ธิบตั ร ‘สูตรเม็ดดินทีใ่ ช้เป็นวัสดุปลูกหรือ เป็นวัสดุทนี่ ำ� ไปใช้บำ� บัดขยะอินทรียแ์ ละกรรมวิธกี ารผลิต’ (อนุสิทธิบัตร เลขที่ 9329) ผลงานดังกล่าวเป็นการต่อยอดจากโครงการวิจัย เรือ่ งการประยุกต์ใช้วสั ดุเม็ดชนิดใหม่เป็นบัลกิง้ เอเจนท์สำ� หรับ การหมักปุ๋ยอินทรีย์ : พฤติกรรมจนล์ศาสตร์และคุณภาพปุ๋ย หมัก ได้รับทุนสนับสนุนจาก ส�ำนักงานกองทุนส�ำหรับการ วิจัย (ฝ่ายวิชาการ) ประจ�ำปี 2550 และโครงการวิจัยเรื่อง นวัตกรรมเม็ดลูกดินส�ำหรับวัสดุปลูกพืชและปุ๋ยละลายช้า ได้รับทุนสนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (ฝ่ายเกษตร) ประจ�ำปี 2553

4

วารสาร


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินแทนพระองค์ในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2556 จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิเข้ารับพระราชทานปริญญากิตติมศักดิ์ จ�ำนวน 7 ราย และมี ผู้ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญาตรี เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งสิ้น 4,511 คน ในวันที่ 17 ธันวาคม 2557 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี

เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2557 คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และ นั ก ศึ ก ษา จากกระบวนวิ ช าสิ่ ง แวดล้ อ มและพั ฒ นา สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ได้ลงพื้นที่ภายใต้โครงการ ‘บูรณางานวิจัยกับการเรียนการ สอน การวิจัย หรือการบริการวิชาการสู่สังคม เพื่อเตรียม ความพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน’ เพือ่ ถ่ายทอดองค์ความรู้ เรือ่ งการท�ำน�ำ้ ยาล้างจาน แก่กลุม่ ผูส้ งู อายุปา่ จี ้ ณ หมูบ่ า้ นป่าจี้ อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่

วารสาร

5


ผศ.สนิท พิพิธสมบัติ รองอธิการบดีด้านวิชาการ และกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้าน นา (มทร.ล้านนา) ได้กล่าวต้อนรับ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ คิโยชิ โยชิกาวา รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเกีย วโต ในโอกาสที่ เ ดิ น ทางมาเป็ น ที่ ป รึ ก ษางานวิ จั ย ให้ กั บ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ในระหว่างวันที่ 1-21 ธันวาคม 2557 ในการประชุมผ่านระบบทางไกล (VDO Conference) ร่วมกับอีก 5 เขตพื้นที่ของ มทร.ล้านนา ส� ำ หรั บ ศาสตราจารย์ โยชิ ก าวา ได้ เข้ า รั บ พระราชทานปริ ญ ญาบั ต รดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ เมื่ อ ปี 2544 และเป็นผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยเกียวโตซึ่งผลิต งานวิจัยทั้งระดับชาติและสากล โดยเฉพาะในด้านการศึกษา เกีย่ วกับการใช้ประโยชน์จากนิวเคลียร์ประยุกต์ ปรัชญาญีป่ นุ่ รุ่นใหม่ รวมถึงการจัดการศึกษาและท�ำงานวิจัยร่วมกับภาค อุตสาหกรรม นอกจากนี้ รศ.ดร.น�ำยุทธ สงค์ธนาพิทกั ษ์ อธิการบดี มทร.ล้านนา ยังได้ให้ขอ้ แนะน�ำแก่อาจารย์ทที่ ำ� วิจยั ในโอกาสที่ ได้รบั ค�ำปรึกษาด้านงานวิจยั จากผูม้ ปี ระสบการณ์อย่างสูง เพือ่ ให้กลุม่ นักวิจยั ของมหาวิทยาลัยเข้าสูก่ ารวิจยั อย่างเป็นระบบ และพัฒนากลุ่มต่อไป

สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) เป็นเจ้าภาพจัดโครงการฝึกอบรมการบริหารจัดการความรู้ และการจัดการเรียนรู้สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมือง โดยแบ่งออกเป็น 2 รุ่นคือ รุ่นที่ 1 จัดขึ้นระหว่าง วันที่ 13-16 ตุลาคม 2557 และรุ่นที่ 2 ในระหว่างวันที่ 2730 ตุลาคม 2557 ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก คุณศุภมิตร ชลประเสริฐ ผู้ อ�ำนวยการฝ่ายจัดการความรู้และสารสนเทศ ส�ำนักงาน กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติเป็นประธานเปิดงาน และ ดร.ภาสวรรธน์ วัชรด�ำรงศักดิ์ รองอธิการบดีด้านวิจัย และการถ่ายทอดเทคโนโลยี มทร.ล้านนา ได้กล่าวต้อนรับผู้ เข้าร่วมโครงการฯ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้าน นา (ดอยสะเก็ด) เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2557 ที่ผ่านมา

6

วารสาร


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) คว้า 6 เหรียญรางวัลจากการส่งผลงานวิจยั สิง่ ประดิษฐ์เข้าร่วม ประกวดในงาน Seoul International Invention Fair 2014 (SIIF) จากสมาคมส่งเสริมการประดิษฐ์และการวิจยั ของสาธารณรัฐ เกาหลี (Korea Invention Promotion Association: KIPA) โดยคว้ามาได้ 6 เหรียญรางวัล ประกอบด้วย 1 เหรียญทอง จาก ‘การลดพลังงานในการเผาเซรามิก’ ผลงานของดร.ภาคภูมิ จารุภูมิ และคณะ อีก 1 เหรียญเงิน จาก ‘การประยุกต์ใช้ไฟฟ้า แรงดันสูงกระแสตรง ส�ำหรับดักจับกลุ่มควันจากการประกอบอาหารผลงาน’ ของ อาจารย์วิสูตร อาสนวิจิตรและคณะ และอีก 4 เหรียญทองแดง จาก ‘การพัฒนาคอนกรีตบ่มตัวเองโดยใช้เถ้าก้นเตา’ ผลงานของ ดร.สนธยา ทองอรุณศรี และคณะ ‘การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวชุมชนที่มีประสิทธิภาพเชิงนิเวศน์เศรษฐกิจ’ ผลงานของ ดร.สุรพล ใจวงษา ‘การพัฒนา มิโซะอินทรีย์ที่มีคุณสมบัติด้านอนุมูลอิสระและคุณสมบัติพรีไบโอติกสูง’ ผลงานของ ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี และ ‘การสกัดสารสี จาก บีทรูทแดง โดยการใช้สนามไฟฟ้าแบบพัลส์’ ผลงานของ ผศ.ดร.พานิช อินต๊ะและคณะ งานดังกล่าวมีผลงานส่งเข้าประกวดทั้งสิ้น 766 ผลงานจาก 34 ประเทศ ส�ำหรับหน่วยงานในประเทศไทยที่เข้าร่วมมี ทั้งหมด 15 หน่วยงาน โดย รศ.ดร.น�ำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี มทร.ล้านนา พร้อม ผศ.ประพัฒน์ เชื้อไทย รองอธิการบดี ด้านยุทธศาสตร์และแผนพัฒนา และดร.ภาสวรรธน์ วัชรด�ำรงค์ศักดิ์ รองอธิการบดีด้านวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้ร่วม ให้ค�ำแนะน�ำและให้ก�ำลังใจแก่ทีมนักวิจัย

วารสาร

7


เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 ดร.ภาสวรรธน์ วัชรด�ำรงค์ศักดิ์ รองอธิ ก ารบดี ด ้ า นวิ จั ย และการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี และคณะผู ้ บ ริ ห าร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) เขตพื้นที่น่าน ได้ร่วม ประชุมหารือแนวทางความร่วมมือด้านวิชาการระหว่าง มทร.ล้านนา กับบริษัท โรงงานไฟฟ้าหงสา จ�ำกัด ณ ห้องประชุมชมพูพูคา มทร.ล้านนา เขตพื้นที่น่าน การประชุมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้มีการท�ำงานวิจัยเพื่อ แก้ปัญหาหรือเพิ่มสมรรถนะการท�ำงาน และเพิ่มศักยภาพความสามารถทาง เทคโนโลยีที่ใช้ในกิจการของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

อาจารย์ ป ิ ย ะนุ ช สิ นั น ตา ผู ้ ช ่ ว ยคณบดี ฝ ่ า ยวิ จั ย และพั ฒ นา คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่น่าน ได้น�ำนักศึกษาภาควิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ออกให้บริการวิชาการสู่ชุมชน เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์สามวัยสานสายใยรักแห่งครอบครัว ต�ำบลม่วงตึด๊ อ�ำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน โดยได้มอบแบบจ�ำลองสามมิติเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง จ�ำนวน 9 ชุด ให้กับทางศูนย์ฯ เพื่อขยายผลการด�ำเนินงานใน โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร นอกจากนี้ เหล่านักศึกษายังร่วมกันบ�ำเพ็ญประโยชน์ตามกิจกรรมที่ มุ่งส่งเสริมให้นักศึกษามีความเอื้ออาทรทั้งต่อบุคคลและสังคม ถือเป็นอีกหนึ่ง กิจกรรมทีส่ ง่ เสริมให้ผเู้ รียนสามารถน�ำความรูท้ ไี่ ด้จากการปฏิบตั จิ ริงมาผนวกเข้า กับการเรียนการสอนในวิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2557 คณะครูและนักเรียนจากโรงเรียน บุญวาทย์วิทยาลัย จ�ำนวน 54 คน ได้เข้าศึกษาดูงานในโครงการบ่ม เพาะอาชีพ (แม่วังฟาร์มเห็ด) โดยประกอบไปด้วยนักศึกษาจาก 2 คณะ 3 สาขาวิชา ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ และนักศึกษาสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ทัง้ นี้ การศึกษาดูงานดังกล่าวได้ นายธีรวัฒน์ ถาฝัน ผูจ้ ดั การแม่วงั ฟาร์มเห็ด คอยให้ความรู้ในภาคทฤษฎี ส�ำหรับภาคปฏิบัติ สมาชิกในแม่วัง ฟาร์มเห็ดได้แบ่งกลุ่มกิจกรรมออกเป็น 3 ฐาน ได้แก่ฐานสอนท�ำอาหารวุ้น และการท�ำเชือ้ จากเมล็ดข้าวฟ่าง ฐานการผสมขีเ้ ลือ่ ยและการอัดก้อนขีเ้ ลือ่ ย ปิดท้ายด้วยฐานเปิดดอกเห็ด โดยมี อาจารย์ปรีดา ตัญจนะ อาจารย์กรณิศ เปี้ยอุดร และอาจารย์ญาดา ค�ำลือมี ที่ปรึกษาแม่วังฟาร์มเห็ด เป็นผู้ร่วม สังเกตการณ์

8

วารสาร


ดร.อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เป็นประธานเปิดงาน โครงการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผล กระทบจากภัยแล้ง ปี 2557/2558 ‘ภาครัฐร่วมใจ ช่วยเหลือเกษตรกรไทย สู้ภัยแล้ง’ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 ณ อาคารวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ในโอกาสนี้ รศ.เดชา นาวานุเคราะห์ ประธานสภาคณาจารย์และ ข้าราชการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้มอบของที่ระลึกให้ กับ ดร.อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย พร้อมด้วยนายอนันต์ ลิลา รองปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ รวมถึงนายวิทูรัช ศรีนาม รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก เพื่อต้อนรับและขอบคุณคณะผู้ร่วมงาน ภายในงาน มีการจัดแสดงนิทรรศการเกีย่ วกับสถานการณ์นำ�้ และความ จ�ำเป็นในการงดปลูกข้าวนาปรัง มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร องค์ความรูใ้ นการ ผลิตข้าว/การลดต้นทุนการผลิต ไปจนถึงนิทรรศการเกี่ยวกับการจ้างแรงงาน การฝึกอาชีพในมาตรการเสริม ได้แก่ การส่งเสริมอาชีพด้านปศุสัตว์ ประมง การฝึกอาชีพในและนอกภาคการเกษตร การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว และการสนับสนุนพืชปุย๋ สด รวมทัง้ มีการสนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกร อาทิ การแจกเมล็ดพันธุ์ถั่วโดยกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นต้น

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็จพระราชด�ำเนินไปยังโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 55 อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก ในวันที่ 24 ธันวาคม 2557 เพื่อทรงติดตามการด�ำเนินงานส่ง เสริมการศึกษาและวิชาชีพแก่เยาวชน ที่ไม่เพียงแต่การเรียนการสอนด้าน วิชาการ แต่ยงั ส่งเสริมด้านวิชาชีพแก่นกั เรียน เพือ่ สร้างรายได้เสริมระหว่าง เรียนและน�ำไปประกอบอาชีพต่อไปในอนาคตด้วย อาทิ โครงการเครือ่ งเงิน ที่มอบความรู้และทักษะด้านหัตถกรรมเครื่องเงินแก่เหล่านักเรียน ถือเป็น เพียงแห่งเดียวของภาคเหนือตอนล่างทีส่ ง่ นักเรียนเข้าร่วมเรียนในระบบทวิ จนสามารถผลิตเครื่องเงินจ�ำหน่ายได้ ทั้ ง นี้ สาขาวิ ศ วกรรมอุ ต สาหการ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ตาก ได้สนับสนุนเครื่อง รีดลวดเงินเพือ่ เพิม่ มูลค่าให้ผลิตภัณฑ์ ทัง้ ยังใช้งานสะดวก ประหยัดแรงงาน และใช้พื้นที่ปฏิบัติงานน้อย นอกจากนี้ ยังมีการฝึกอบรมวิชาชีพเสริมอื่นๆ ให้นกั เรียน โดยน�ำไปจ�ำหน่ายทีร่ า้ นค้าของโรงเรียน และในงานวิชาการด้าน การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ทั้งยังจัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางการศึกษาที่ขยายผลสู่ชุมชน เช่น เดียวกับงานอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ผ่านกิจกรรมการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่ ที่เน้นการเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ป่า 7 ชนิด เพื่อน�ำกลับคืนสู่ป่าตามโครงการ อนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืช อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

วารสาร

9


10

วารสาร

เปิดมุมมอง :


วารสาร

11


เรื่องเล่า ชาวล้านนา :

ทศวรรษแห่งความภูมิใจ... ‘มหาวิทยาลัยอันเป็นมงคลแห่งราชา’ กว่ า 70 ปี ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ได้จัดการศึกษาที่แสดงถึง ความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพในพื้นที่ภาคเหนือ ไม่ว่าจะเป็นช่างอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม สถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และเกษตรกรรม จวบจนปัจจุบัน สถาบันการศึกษาแห่งนี้ยังคง พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่ ว ่ า เรื่ อ งราวใดย่ อ มมี จุ ด เริ่ ม ต้ น ... สถาบันการศึกษาแห่งนี้ก็เช่นเดียวกัน 12

วารสาร


จาก ‘วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละอาชี ว ศึ ก ษา’ ตามที่พระราชบัญญัติวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ได้ประกาศไว้ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 สถาบัน การศึ ก ษาและวิ จั ย แห่ ง นี้ ไ ด้ จั ด การเรี ย นการสอนด้ า น อาชีวศึกษาตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ อนุปริญญา และปริญญาตรี ภายใต้การดูแลของส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งยังขยายไปถึงการท�ำวิจัย ส่งเสริมการศึกษาทาง ด้านวิชาชีพ และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม เรื่อยมาจน กระทั่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ให้เป็น ‘สถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล’ อันมีความหมายว่า ‘สถาบันอันเป็นมงคลแห่ง พระราชา’ และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2532 ด้ ว ยหลายแรงแข็ ง ขั น ที่ จั บ มื อ กั น สร้ า งสรรค์ การศึกษาด้านวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ได้เดินหน้า สร้างบัณฑิตนักปฏิบัติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ เป้าหมายทางการศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบายแห่งชาติและ

ความต้องการของตลาดแรงงาน จากนั้นจึงได้ปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติฉบับเดิม และยกร่างเป็นพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ด้วยเหตุนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลจึง เกิดขึ้นและแยกย่อยไปเป็นมหาวิทยาลัย 9 แห่ง ภายใต้ การก�ำกับดูแลของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธั ญ บุ รี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลกรุ ง เทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระนคร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล รัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิชัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสวุ รรณภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ส�ำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประกอบไปด้ ว ย 6 เขตพื้ น ที่ แ ละ 1 สถาบั น พื้ น ที่ น ่ า น พื้นที่ตาก พื้นที่พิษณุโลก พื้นที่ล�ำปาง พื้นที่เชียงราย และ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร แต่ล ะแห่งต่างเน้นการส่ ง

วารสาร

13


เสริมวิชาการแบบปฏิบัติจริง รวมถึงการวิจัย การผลิตครูวิชาชีพ และให้ บริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่สังคม รวมทั้งการท�ำนุ บ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ปูทางสร้างโอกาสให้ผู้ส�ำเร็จ การศึกษาได้มีหนทางศึกษาต่อด้านวิชาชีพเฉพาะทางในระดับปริญญา เป็นหลัก เช่นเดียวกับปัจเจกบุคคล แต่ละพื้นที่ต่างก็ล้วนมีลักษณะเด่น เฉพาะตัว ถึงอย่างนั้น บนความเป็นตัวของตัวเองในแนวทางภารกิจ ของสถาบั น และทุ ก เขตพื้ น ที่ ล้ ว นเป็ น ไปเพื่ อ เป้ า หมายในการสร้ า ง ‘บัณฑิตนักปฏิบตั ’ิ ผูม้ ที กั ษะทางวิชาชีพติดตัว พร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม ตอบโจทย์ ค วามเป็ น ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ที่ เ พี ย บพร้ อ มทั้ ง ความเก่ ง และ มนุษยธรรม เพื่อสรรค์สร้างสังคมและประเทศชาติต่อไปในอนาคต นับได้ว่าจากก้าวแรกของการเป็นมหาวิทยาลัยจนเข้าสู่ปีที่ 10 ไฟแห่งความมุ่งมั่นของสถาบันการศึกษาแห่งนี้ยังคงคุโชน และในวาระครบรอบหนึ่งทศวรรษวันสถาปนามหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ทางมหาวิ ท ยาลั ย โดยอธิ ก ารบดี รศ.ดร.น�ำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ คณะผู้บริหาร รวมทั้งอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ได้พร้อมใจกันจัดงานแสดงศักยภาพอย่างยิ่งใหญ่ในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558 ไม่วา่ จะเป็นพิธเี ฉลิมพระเกียรติฯ มอบรางวัลราชมงคลสรรเสริญ ปาฐกถา พิเศษนิทรรศการเล่าขานราชมงคลล้านนา RMUTL Open House กาดหมัว้ คัวกิ๋นย้อนถิ่นล้านนา ลานเสวนา Global Concerns, Local Solutions และนิทรรศการต่างๆ มากมาย อาทิ นิทรรศการโครงการหลวงโครงการ พระราชด�ำริ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนเฉลิมพระเกียรติฯ นิทรรศการผลงานด้านวิชาการ และผลงานวิจยั ทัง้ ระดับชาติและนานาชาติ เหล่านี้เพื่อเฉลิมฉลองหนึ่งทศวรรษมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา หนึ่งใน ‘มหาวิทยาลัยอันเป็นมงคลแห่งพระราชา’ อย่างสมเกียรติภูมิ

14

วารสาร


วารสาร

15


“เพื่ อ ให้ ชุ ม ชนน� ำ ไปใช้ ประโยชน์ได้จริง เราต้องรู้ โจทย์ ป ั ญ หาของชุ ม ชนให้ ชั ด เจนก่ อ น และหาทาง แก้ ไขให้ ต รงจุ ด งานของ ผมจึ ง มั ก เป็ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ที่ ส ามารถน� ำ ไปใช้ ไ ด้ เ ลย บวกกั บ ความถนั ด ด้ า น วิศวกรรม ท�ำให้มีการสร้าง เครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ ที่ ช ่ ว ยแก้ ปัญหาของชุมชนแต่ละแห่ง ในแต่ละปี ป ั ญ ห า ไ ด ้ ที่ รั บ การแก้ ไขโดยตรง ได้ ผ ล อย่างรวดเร็ว กลายเป็นแรง บั น ดาลใจในการท� ำ วิ จั ย เพื่อชุมชนของผม แต่ก่อน หน้ า นั้ น นั ก วิ จั ย จะต้ อ ง คลุกคลีกับชุมชนอย่างมาก เพื่อสังเกตทั้งกระบวนการ ท� ำ งานของชุ ม ชน รวมถึ ง ลั ก ษณะภู มิ ป ั ญ ญาที่ พ วก เขามีอยู่ หน้าที่ของนักวิจัย ไม่ใช่การท�ำลายภูมิปัญญา ดั้งเดิม แต่เป็นการพัฒนา ให้ ดี ขึ้ น โดยผสมผสาน องค์ความรู้และเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เข้ า กั บ ภู มิ ป ั ญ ญา ประยุ ก ต์ เ พื่ อ ปิ ด ช่ อ งโหว่ ที่ เ คยมี ซึ่ ง ตรงนี้ จ ะท� ำ ให้ ผลลัพธ์เกิดขึน้ เร็วและชุมชน ให้การยอมรับ ทั้งยังสร้าง นวัตกรรมใหม่ๆ ขึ้นมาได้ ด้วย”

คุยกับนักวิจัย : The Researcher

อาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี

เจ้าของผลงาน ‘เครื่องคว้านเมล็ดล�ำไยแบบสองหัวคว้าน’

16

วารสาร


คุยกับนักวิจัย : The Researcher

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ยทุ ธนา เขาสุเมรุ หนึ่งในเจ้าของผลงาน ‘การเพิ่มประสิทธิภาพการใส่ปุ๋ยโดยการวิเคราะห์ดิน’ “โจทย์หรือปัญหาของแต่ละชุมชนมัน ปรากฏชัดเจนอยูแ่ ล้วในช่วงเวลานัน้ ๆ การหาวิธี แก้ ไขให้ ต รงจุ ด จึ ง ต้ อ งเริ่ ม ต้ น จากตั ว ชุ ม ชน จากการลงไปสัมผัสปัญหานัน้ ๆ และหาแนวทาง ทดลองให้ ต อบโจทย์ ต ามปั ญ หาที่ ม องเห็ น แล้วค่อยๆ พัฒนาไปจนกระทั่งพบสาเหตุที่แท้ จริง เพราะการท�ำงานวิจยั จากโจทย์ปญ ั หาจริงๆ ผลงานจะถูกน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริงและเป็น รูปธรรมกว่าการตอบสนองความอยากรู้ของ นักวิจัยเพียงอย่างเดียว ในการท�ำงานวิจัยหลายเรื่องที่ผ่านมา ทั้งเรื่อง. สารกระตุ้นการออกดอกของล�ำไย. การจั ด การดิ น และปุ ๋ ย อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่อการผลิตล�ำไย.และอื่นๆ มีองค์ประกอบ หลายส่ ว นที่ จ ะท� ำ ให้ ง านสมบรณ์ ม ากขึ้ น นอกจากปั ญ หาที่ แ ท้ จ ริ ง ความต้ อ งการที่ แ ท้ จริงแล้ว ความร่วมมือของเกษตรกรหรือชุมชน ทีมนักวิจยั เครือข่ายนักวิจยั จากหน่วยงานต่างๆ รวมถึงโค้ชหรือนักวิจัยรุ่นพี่ แหล่งทุนสนับสนุน ตลอดจนมหาวิทยลัยต่างมีผลส่งเสริมให้งานมี คุณภาพมากขึ้น รางวัลที่ยิ่งใหญ่ของการท�ำงานวิจัย อาจไม่ ใช่ ร างวั ล จากเวที ป ระกวดแข่ ง ขั น แต่ คือ. ความสุขที่ได้รับที่จากที่ผลงานถูกน�ำไปใช้ รอยยิ้มจากผู้ใช้ผลงาน ได้แอบเห็นหนังสือหรือ ต�ำราที่เราเขียนถูกเปิดอ่าน ถูกใช้เป็นแนวทาง ในการประกอบอาชีพ ก็เป็นรางวัลที่ยิ่งใหญ่ มีคุณค่าและสร้างแรงบรรดาลใจให้ สร้างสรรค์ งานวิจัยเพื่อชุมชนต่อไป” วารสาร

17


งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง:

อุดช่องโหว่ล�ำไยอบแห้ง เครื่องคว้านเมล็ดล�ำไยแบบสองหัวคว้าน อาจารย์เกรียงไกร ธารพรศรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

เมื่อปัญหาผลผลิตล้นตลาดกลายเป็นวงจรอันหดหู่ ที่เกษตรกรไทยต้องเผชิญแทบทุกปี การแปรรูปจึง เป็นทางออกในหลายครั้ง เช่นเดียวกับสถานการณ์ ผลล�ำไยสดจ�ำนวนมหาศาลที่ถูกเปลี่ยนไปเป็นล�ำไย อบแห้งสีทอง ถึงอย่างนั้น ด้วยกรรมวิธีการผลิต แบบดั้งเดิมเริ่มมีช่องโหว่ที่ส่งผลต่อคุณภาพผลผลิต การอุดช่องโหว่จึงได้เริ่มขึ้น 18

วารสาร


จากเดิ ม ที่ ใช้ เ ครื่ อ งมื อ ‘ตุ ๊ ด ตู ่ ’ หรื อ ด้ า มช้ อ น ที่ มี ป ลายแหลมคมคว้ า นเมล็ ด ล� ำ ไยออก ซึ่ ง อาจท� ำ ให้ คุ ณ ภาพของเนื้ อ ล� ำ ไยลดลง เนื่ อ งจากรู ป ทรงไม่ ก ลม สวยสม�่ ำ เสมอ ปั ญ หาเรื่ อ งความสะอาด ส่ ง ผลให้ ร าคา ตก ทั้ ง ยั ง ล่ า ช้ า เพราะต้ อ งใช้ แรงงานคนจ� ำ นวนมาก ซึ่ ง อาจเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ จ ากเครื่ อ งมื อ ได้ ห ากแรงงานขาดความ ช� ำ นาญ ด้ ว ยเหตุ นี้ อาจารย์ เ กรี ย งไกร ธารพรศรี จาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรช่างกลโรงงานและสาขา วิศวกรรมแม่พิมพ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จึงได้สร้าง ‘เครือ่ งคว้านเมล็ดล�ำไยแบบสองหัวคว้าน’ ขึน้ เพือ่ อุดช่องโหว่นั้น เครื่องคว้านเมล็ดล�ำไยแบบสองหัวคว้านถือเป็น การน�ำตุ๊ดตู่ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาชุมชน มาพัฒนาต่อยอดให้ ท�ำงานได้ตอบโจทย์มากขึ้น ด้วยการประยุกต์ใช้ตุ๊ดตู่มาเป็น หัวคว้านทั้งสอง สามารถท�ำงานได้ครั้งละสองผลพร้อมกัน และถอยออกมาพร้อมกับดึงเมล็ดของล�ำไยออกมาด้วย โดย มีจานหมุนคอยล�ำเลียงล�ำไยเข้าใกล้มือคนป้อน มีรูโดยรอบ จ�ำนวน 16 รู เพื่อให้ผลล�ำไยเข้าไปได้รูละ 1 ผล การหมุนของ จานจะสัมพันธ์กับจังหวะการหมุนของชุดป้อนหรือชุดเบ้าจับ ล�ำไย ท�ำงานเป็นจังหวะสม�่ำเสมอ จากนัน้ เมล็ดของล�ำไยจะถูกดันทิง้ ออกไปในรางเพือ่ แยกออกไปโดยอัตโนมัติ ส่วนเนือ้ และเปลือกล�ำไยจะติดไปกับ เบ้าจับแล้วถูกเขีย่ ออกด้วยระบบกลไกของเครือ่ งท�ำให้ตกแยก ออกไปที่รางรับอีกทาง

เครื่องชนิดนี้ท�ำให้เนื้อล�ำไยกลมสวยงามไม่ฉีกขาด ทั้งยังมีชุดท่อส่งล�ำไยกลับไปยังถาด เพื่อป้องกันกรณีล�ำไย ล้นรางหรือคนป้อนไม่ทัน ท�ำให้ผลล�ำไยกลิ้งกลับลงมาที่เดิม ประกอบกับชุดเบ้าจับผลล�ำไยสามารถปรับขนาดและขยาย ได้ตามรูปทรงของผลล�ำไย ผลที่ได้คือล�ำไยที่ถูกคว้านเมล็ดออกได้เร็วถึงชั่วโมง ละ 30 กิโลกรัม หรือวันละ 240 กิโลกรัม ด้วยแรงงานคนคุม เครื่องเพียงคนเดียว ซึ่งเร็วขึ้นถึง 8 เท่าเมื่อเทียบกับแรงงาน คนที่ท�ำได้เพียงคนละ 25-30 กิโลกรัมต่อวัน เมือ่ น�ำผลล�ำไยทีผ่ า่ นเครือ่ งคว้านไปอบแห้งเป็นเนือ้ สีทอง จากเนื้อล�ำไยสด 240 กิโลกรัม จะเหลือน�้ำหนักเนื้อ ล�ำไยอบแห้งสีทอง 28 กิโลกรัม ด้วยรูปทรงกลม เกรดดี ท�ำให้ จ�ำหน่ายได้กโิ ลกรัมละ 250 บาท สร้างรายได้กลุม่ แปรรูปล�ำไย สูงถึงวันละ 7,000-10,000 บาท ถือเป็นการแก้ปัญหาให้กับ กลุ่มผู้ประกอบการแปรรูปล�ำไยได้อย่างตรงจุด ด้วยคุณสมบัติเหล่านี้ ท�ำให้เครื่องคว้านเมล็ดล�ำไย แบบสองหัวคว้าน สามารถคว้ารางวัลที่ 2 ในโครงการจัด ประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจ�ำปี 2553 ภายใต้หัวข้อ ‘เครื่องจักรกล พลังงาน และ สิ่งแวดล้อมเพื่อการเกษตร’ และยังคงพัฒนาต่อเนื่องเพื่อ ให้เครื่องดังกล่าวมีขนาดเล็กลง คุณสมบัติดีขึ้น สามารถเข้า ถึงผู้ประกอบการได้ในวงกว้าง พร้อมกับเป็นการส่งเสริมให้ คุณภาพของล�ำไยอบแห้งสามารถขยับไปสู่ตลาดสากลได้

วารสาร

19


งานวิจัยไม่ขึ้นหิ้ง:

จากปุ๋ยถึงดิน

การเพิ่มประสิทธิภาพการใส่ปุ๋ยโดยการวิเคราะห์ดิน สถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

แต่ไหนแต่ไรมา แนวทางจัดการดิน และปุ๋ยของ เกษตรกรไทยมักยึดโยงอยู่กับประสบการณ์ และค�ำบอกเล่า ทั้งจากเพื่อนบ้าน ความเชื่อ หรือค�ำโฆษณา บ่อยครั้งเป็นการตีขลุมอย่าง กว้างบนความเข้าใจผิดๆ ว่า ยิง่ เพิม่ ปุย๋ ยิง่ เพิม่ ปริมาณและคุณภาพผลผลิต แต่มักหลงลืมดู ปริ ม าณธาตุ อ าหารเดิ ม ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ในดิ น แห่งนั้นๆ 20

วารสาร


เมื่อใส่ปุ๋ยโดยไม่ดูความต้องการของพืชและธาตุใน ดิน เหตุการณ์จึงกลับกลายเป็นว่า ยิ่งเพิ่มปุ๋ย ยิ่งก่อผลเสีย ตามมา เพราะนอกจากสมดุลธาตุอาหารในดินที่เสียไปและ ประสิทธิภาพของปุ๋ยที่ลดลงแล้ว ยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ผลัก ให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นโดยไม่จ�ำเป็น แถมได้ผลผลิตคุณภาพ ต�่ำ ส่งผลให้ไม้ผลเสื่อมโทรมได้ง่าย เพราะเห็นความไม่สมบูรณ์จากการใส่ปุ๋ยอย่างไม่ สมเหตุสมผลที่เกิดขึ้นกับต้นล�ำไย ทีมวิจัยจากสถาบันวิจัย เทคโนโลยีการเกษตรจึงได้ศึกษา ‘การเพิ่มประสิทธิภาพ การใส่ปุ๋ยโดยการวิเคราะห์ดิน’ เพื่อเป็นข้อมูลที่จะน�ำไปสู่ การตัดสินใจใส่ปุ๋ย ปรับทิศทางการจัดการดินและปุ๋ยให้เข้าสู่ วิถที ถี่ กู ต้อง ทัง้ ยังเป็นข้อมูลให้เกษตรกรได้ศกึ ษา ตัง้ แต่ความ รูเ้ กีย่ วกับดินและปุย๋ ธาตุอาหารพืชและธาตุอาหารในดิน แล้ว น�ำผลการวิเคราะห์ดินมาเป็นข้อมูล ซึ่งจะท�ำให้ใส่ปุ๋ยได้อย่าง เหมาะสมและมีเหตุผลมากขึ้น ทัง้ นี้ เกษตรกรสามารถวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหาร ในดินได้ทงั้ จากการส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์ตามหน่วยงานต่างๆ หรือด้วยการใช้ชุดวิเคราะห์ดินอย่างรวดเร็ว โดยชุดวิเคราะห์ ดินดังกล่าวสามารถน�ำไปใช้ในแปลงปลูกพืช เพือ่ แสดงให้เห็น ปริมาณธาตุอาหารในดินได้ง่ายและเร็วกว่ากระบวนการใน ห้องปฏิบัติการ นอกจากจะมีราคาถูกกว่า ยังมีเพียงพอที่จะเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ ปุ ๋ ย และเกษตรกรสามารถอ่ า นค่ า วิเคราะห์ได้ง่ายๆ ผ่านค่าบ่งชี้ปริมาณสูง ปานกลาง หรือต�่ำ โดย ‘สูง’ หมายถึง มีธาตุอาหารเพียงพอต่อความต้องการของ พืช อาจไม่จำ� เป็นต้องใส่ปยุ๋ หรือ ลดการใส่ปยุ๋ ได้ ‘ปานกลาง’ หมายถึง หากไม่ใส่หรือเพิม่ ปุย๋ อีกในอนาคต ธาตุอาหารอาจไม่ เพียงพอต่อความต้องการของพืช และ ‘ต�่ำ’ หมายถึง ต้องใส่ ปุ๋ยตามค�ำแนะน�ำเนื่องจากธาตุอาหารในดินมีไม่เพียงพอ เพราะปุ๋ยสัมพันธ์อย่างยิ่งกับดิน เกษตรกรจึงต้อง ศึกษาและเข้าใจว่า ปริมาณมากไม่เท่ากับผลผลิตมากเสมอไป และการใส่ใจดูบริบทแวดล้อมก่อนใส่ปยุ๋ ถือเป็นกุญแจส�ำคัญที่ อาจพลิกเหตุการณ์ได้

วารสาร

21


RMUTL Community Engagement ‘พันธกิจสัมพันธ์’ สู่ความยั่งยืน ‘พันธกิจมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม’ หรือ University Engagement เริ่มรู้จักแพร่หลาย กันมากขึ้น. หลังจากเครือ ข่ายมหาวิทยาลัยเพือ่ สังคม (Engagement Thailand – EnT) ซึง่ เปิดตัวอย่างเป็นทางการไปเมือ่ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2557 ได้นิยามไว้ว่า เป็นการท�ำงานเชิงวิชาการร่วมกันระหว่าง มหาวิทยาลัยกับสังคมในพันธกิจหลักทุกด้านของมหาวิทยาลัย เพื่อเป้าหมายส�ำคัญในการเปลี่ยนแปลงสังคมสู่ทิศทางที่ดีขึ้น และการท� ำ งานร่ ว มกั น ที่ ว ่ า นั้ น ตั้ ง อยู ่ บ นหลั ก การพื้ น ฐาน 4 ประการ คื อ หุ ้ น ส่ ว นร่ ว มคิ ด ร่ ว มท� ำ (Partnership) ผู้เกี่ยวข้องได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน (Mutual benefit) ร่วมกันใช้ความรู้และเรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) และสร้าง แรงกระเพือ่ มต่อสังคมในระดับทีป่ ระเมินได้ (Social impact) ขณะเดี ย วกั น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ได้ตอบสนองความต้องการของชุมชนและสังคม ผ่านการ เชื่อมโยงพันธกิจตามภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยทั้ง 4 ด้าน ตั้งแต่การจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการ และการ ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ในท�ำนองเดียวกับนิยามข้างต้น มหาวิทยาลัยได้ ขับเคลื่อนโครงการบริการวิชาการที่มีลักษณะสัมพันธ์กับ ชุมชน รวมถึงผู้ประกอบการมาโดยตลอด (Community engagement) และนับตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา ภารกิจ ดังกล่าวได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ด้วยโครงการยกระดับคุณภาพชีวติ ของ หมู่บ้าน/ชุมชนแบบมีส่วนร่วม

22

วารสาร

ด้วยพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวฯ ที่ว่า ‘การพัฒนาหมู่บ้าน ชุมชน ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ ก่อน แล้วจึงค่อยสร้าง ค่อยเสริม ความเจริญ และ เศรษฐกิจขัน้ สูงต่อไป’ ทีอ่ ญ ั เชิญมาเป็นหลัก ในการด�ำเนินงาน ได้ก�ำหนดเส้นทางโครงการสู่เป้าหมายใน การเตรียมความพร้อมของชุมชนส�ำหรับการด�ำรงชีวิตและ มีอาชีพทีม่ นั่ คง โดยเริม่ จากกระบวนการมีสว่ นร่วมจากชุมชน เพือ่ เป็นศูนย์กลางการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมวิเคราะห์ปญ ั หา และหาทางออก ผ่านการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงวิชาการจาก มหาวิทยาลัยมาสานต่อกับองค์ความรูเ้ ดิม เพือ่ เสริมแรงให้เกิด ความยัง่ ยืนขึน้ โดยยึดความต้องการของชุมชนเป็นหลักแทนที่ จะเป็นความต้องการของนักวิชาการเอง เพราะการขับเคลื่อนงานวิจัยและบริการวิชาการ แบบมีส่วนร่วมที่เริ่มต้นจากปัญหาและความต้องการของ ชุมชนจะสามารถตอบโจทย์การพัฒนาได้อย่างแท้จริง ส� ำ หรั บ ปี พ.ศ.2558 เนื่ อ งในโอกาสที่ ส มเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระชนมายุครบ 60 พรรษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้จับ มือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีก 8 แห่ง ร่วมกัน ด�ำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมู่บ้าน/ชุมชน แบบมีส่วนร่วม ทั้งหมด 60 หมู่บ้านทั่วประเทศ เพื่อสานต่อ ภารกิจ ‘พันธกิจสัมพันธ์’ ทีจ่ ะสร้างความเปลีย่ นแปลงให้เกิด ขึ้นต่อไปในอนาคต


วารสาร

23


ชุมชนเดินทาง :

‘ขา’

ความส�ำคัญของ

โครงการ : การสร้างเตาอบพืชผลทางการเกษตรจากพลังงาน แสงอาทิตย์ฯ บ้านทีวะเบยทะ จ.ตาก 24

วารสาร


พลิกชีวิตชุมชน

ส�ำหรับการพัฒนาชุมชนไปสู่การพึ่งพาตนเอง ‘ขา’ หรือรากฐานอันแข็งแกร่งถือเป็นหัวใจส�ำคัญ ที่จะรองรับการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต อย่างเช่น พลังงานธรรมชาติจากน�้ำและแสงอาทิตย์ ทีม่ สี ว่ นส�ำคัญในการพลิกฟืน้ ชีวติ ชาวปกากะญอแห่งหมูบ่ า้ นที วะเบยทะ ผ่านโครงการ การสร้างเตาอบพืชผลทางการเกษตร จากพลังงานแสงอาทิตย์ฯ อันมาจากพระราชด�ำริฯ ของสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี จากความตั้ ง พระราชหฤทั ย ของพระองค์ ใ นการ พลิกฟื้นความเป็นอยู่ของชาวปกากะญอ ได้ถ่ายทอดไปยัง 38 หน่วยงาน ทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดตาก กรมชลประทาน และกรมทางหลวง ที่ระดมความคิดจนกลายเป็นแผนพัฒนา 5 ด้าน ตัง้ แต่การศึกษา พัฒนาอาชีพ แก้ปญ ั หาชุมชน อนุรกั ษ์ ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม และสาธารณสุข ให้เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ 5 หมู่บ้าน และบ้านทีวะเบยทะคือหนึ่งในนั้น แผนพั ฒ นาดั ง กล่ า วได้ เ ปิ ด โลกทั ศ น์ ใ ห้ ชุ ม ชน จนสามารถสร้ า งระบบพลั ง งานไฟฟ้ า พลั ง งานน�้ ำ และแสงอาทิ ต ย์ รวมถึ ง เตาหุ ง ต้ ม ประหยั ด พลั ง งานขึ้ น มาได้ ระบบพลั ง งานไฟฟ้ า จากธรรมชาติ ทั้ ง สองทางได้ ท� ำ ให้ ช าวชุ ม ชนมี ไ ฟฟ้ า ใช้ ต ลอดปี ถื อ เป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นาในส่ ว นอื่ น ๆ ทั้ ง ยั ง สามารถดู แ ลระบบ ของเตาเองได้ แถมยั ง ลดควั น ในครั ว เรื อ น ท� ำ ให้ ป ั ญ หา ทางเดิ น หายใจลดลงตามไป พร้ อ มกั บ สุ ข ภาพที่ ดี ขึ้ น เมื่อร่างกายแข็งแรง สมองก็แจ่มใส่จนสามารถสร้าง ผลผลิตอื่นๆ ขึ้นมาอย่าง เชื้อราก�ำจัดแมลงบั่ว พริกกะเหรี่ยง คุณภาพเยี่ยม และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากพริกกะเหรี่ยง

บทเรียนที่ปลายทาง

สิ่งที่เรียกได้ว ่าเป็น ‘ขา’ ที่ผ ลักดันให้โครงการ สามารถก้าวขึ้นไปคว้าธงชัยได้คือ ความเข้มแข็งและการ มองเห็นเป้าหมายร่วมกันของทีมงาน ไม่ว่าจะเป็นอาจารย์ นักศึกษา เครือข่าย OFFROAD ชาวบ้าน และกลุม่ แกนน�ำ โดย แต่ละฝ่ายก็ได้บทเรียนจากการท�ำงานฝากไว้ให้ได้เรียนรูต้ อ่ ไป ในฝั่งอาจารย์ต่างก็ได้เรียนรู้ การปรับใช้ความรู้ให้ เข้ากับพื้นที่จริงอย่างเหมาะสม การแปรความรู้จาก มทร. ให้ เข้ากับการพัฒนาพื้นที่ ทั้งยังได้เรียนรู้วิถีชีวิต และสานสาย สัมพันธ์อันดีระหว่างอาจารย์ นักศึกษา และชาวปกากะญอ ส่วนฟากชุมชนเองก็ได้เรียนรู้และปรับตัวให้อยู่ร่วมกับการใช้ พลังงานธรรมชาติได้อย่างเหมาะสมกลมกลืน พร้อมทั้งเป็น ส่วนหนึ่งในการพัฒนาพื้นที่ของตัวเอง แม้ทั้งสองฝ่ายจะได้เรียนรู้และบรรลุเป้าหมายของ โครงการ แต่นี่ก็เป็นเพียงก้าวแรก และจะมีก้าวต่อๆ ไปหลัง จากนี้ โดยมีแนวทางของโครงการเป็นรากฐานในการพัฒนา ชุมชนของคนรุ่นต่อไปให้เติบโตและสร้างความยั่งยืนได้ใน ระยะยาว

เสริมก�ำลังขา

หากหมายจะเดินไปข้างหน้า แต่ขาอ่อนแรง มีหรือจะ ก้าวไปถึงเส้นชัย หน่วยงานทัง้ 38 แห่งจึงระดมสมองถ่ายทอด องค์ความรู้เพื่อเสริมความแข็งแรงให้กับรากฐานของชุมชน โดยเน้นการร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อศึกษาสภาพปัญหาของ พื้นที่ เช่ น เดี ย วกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าช มงคลล้ า นนา เขตพื้ น ที่ ต าก ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายด้ า นการ พั ฒ นาการศึ ก ษา จนได้ ผ ลิ ต สื่ อ การสอนแบบมั ล ติ มี เ ดี ย จากฝี มื อ ของกลุ ่ ม อาจารย์ ใ ห้ กั บ โรงเรี ย นต� ำ รวจตระเวน ชายแดนในบ้ า นที ว ะเบยทะ ทั้ ง ยั ง ผสานศาสตร์ ใ นด้ า น งานบริ ก ารวิ ช าการ ร่ ว มวางแผนพั ฒ นาประเด็ น ที่ อ ยู ่ ในขอบเขตความสามารถของตนร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานอื่ น ที่ เกี่ ย วข้ อง เพื่ อเสริมให้แนวทางการท�ำงานเข้มแข็งยิ่งขึ้น

วารสาร

25


ร้อยแปดพันเรื่อง:

ส่งสุขแบบปีใหม่ไทย สิ้นปีผ่านไป ปีใหม่ก้าวเข้ามา หลั ง จากเข็ ม นาฬิ ก าขยั บ เข้ า สู ่ วิ น าที แ รกของวั น ที่ 1 มกราคม หลายคนก็ได้ฉลองกับปีใหม่ ตื่นเต้น กับอนาคตและเป้าหมายที่วางไว้ ด้วย เข้าใจดีว่าหัวใจส�ำคัญของวันสุดท้าย และวันแรกเริม่ ของปีคอื ทุกอย่างย่อม มีการสิ้นสุดและเริ่มต้น และอย่างที่หลายคนว่าไว้... เริ่ม ต้นดีย่อมมีชัยไปกว่าครึ่ง

ตามธรรมเนียมไทยแต่เดิมจึงมักมีการปัดกวาดบ้าน เรือนให้สะอาดตั้งแต่ก่อนวันขึ้นปีใหม่ ตกแต่งอย่างสวยงาม ตามก�ำลังสามารถ เพือ่ เปิดทางต้อนรับสิง่ ดีงามให้เข้ามาสูช่ วี ติ ในวันรุ่งขึ้น ไม่เพียงที่อยู่อาศัยหรือที่ท�ำงาน แต่การช�ำระให้ สะอาดเอี่ยม ยังหมายรวมไปถึงจิตใจด้วย ชาวไทยจึงมักถือ โอกาสนี้ท�ำบุญตักบาตรหรือท�ำกุศลตามอัธยาศัย พร้อมทั้ง

26

วารสาร

เดินทางไปเยี่ยมเยือนญาติพี่น้องและมิตรสหาย เพื่ออวยพร และขอพรอันจะเป็นศิริมงคลแก่ตนเองตลอดทั้งปี แต่ย้อนกลับไปในอดีตของไทย โอกาสข้างต้นไม่ได้ เกิดขึ้นในวันที่ 1 มกราคมเช่นทุกวันนี้ แต่ได้เปลี่ยนแปลงมา แล้วถึง 4 ครั้ง เริ่มต้นตามจารีตประเพณีแต่ดั้งเดิมของไทยที่ถือ เอาวันแรม 1 ค�่ำเดือนอ้ายเป็นวันขึ้นปีใหม่ สอดคล้องกับคติ แห่งพุทธศาสนาซึ่งถือเอาฤดูหนาวเป็นการเริ่มต้นปี ได้หัน มาก�ำหนดตามปฏิทินทางจันทรคติโดยขยับมาเป็นวันขึ้น 1 ค�่ำเดือนห้า แต่หลังจากนั้น ได้หันมาถือเอาทางสุริยคติและ ก�ำหนดให้เป็นวันที่ 1 เมษายน ตั้งแต่ พ.ศ. 2432 เป็นต้นมา อย่ า งไรก็ ต าม ชาวไทยส่ ว นใหญ่ โ ดยเฉพาะในชนบทยั ง คงยึดถือวันสงกรานต์เป็นวันเริ่มต้นปี จนกระทั่งเกิดการ เปลีย่ นแปลงการปกครองสูร่ ะบอบประชาธิปไตย ทางราชการ จึงได้ประกาศให้จัดงานเฉลิมฉลองวันปีใหม่ในปีพ.ศ. 2477 ขึ้ น เป็ น ครั้ ง แรกในกรุ ง เทพฯ และแพร่ ห ลายออกไปสู ่ ต่ า งจั ง หวั ด ในปี ต ่ อ ๆ มา จนมี ก ารจั ด งานทั่ ว ทุ ก จั ง หวั ด ในปี พ.ศ. 2479 โดยมีชอื่ เรียกว่า ‘วันตรุษสงกรานต์’และการ เปลีย่ นแปลงครัง้ ทีส่ ี่ ได้เริม่ ขึน้ ในสมัยจอมพล ป. พิบลู สงคราม ที่ปรับเปลี่ยนวันปีใหม่ไทยเป็นวันที่ 1 มกราคม ตรงกับ วันปีใหม่ของสากล เพื่อความสะดวกในการติดต่อกับนานา ประเทศ โดยเริม่ ต้นในปี พ.ศ. 2484 ถือเป็นการเปลีย่ นแปลง ครั้งล่าสุดและสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน


บัตรส่งสุข

ไม่เพียงแต่วันแห่งการเริ่มต้นปีที่ถูกปรับเปลี่ยน ธรรมเนียมประจ�ำปีใหม่ก็ถูกเพิ่มเติมไปตามยุคสมัย ที่ขยาย มาถึงการมอบบัตรอวยพรและของขวัญแสดงถึงการระลึกถึง ความดีงามและส่งมอบไมตรีแก่กัน วัฒนธรรมการส่งบัตรอวยพรเกิดขึ้นในต่างประเทศ มานานกว่า 200 ปีแล้ว โดยปรากฏในรูปแบบ ‘บัตรเยี่ยม’ (Visiting Card) เป็นบัตรกระดาษขนาดเท่าไพ่ นิยมเขียน ข้อความ หรือพิมพ์รปู ภาพต่างๆ ลงไปเพือ่ เยีย่ มเยียนกันในวัน ขึน้ ปีใหม่ ต่อมาแพร่หลายไปในเทศกาลต่างๆ เช่น วาเลนไทน์ และคริสต์มาส และไทยได้รบั เอาวัฒนธรรมนีเ้ ข้ามาผนวกรวม กับของเดิมอีกที กลายเป็นการส่งบัตรอวยพรที่เรียกกันว่า ‘ส.ค.ส.’ หรือ ‘ส่งความสุข’ นั่นเอง ส�ำหรับในประเทศไทย เชือ่ กันว่าบัตรอวยพรปีใหม่ที่ เก่าแก่ทสี่ ดุ คือ บัตรอวยพรจากฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จ

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อกว่า 120 ปีก่อน โดยในรัชสมัย ของพระองค์เป็นยุคที่มีการติดต่อสื่อสารกับต่างประเทศอยู่ บ่อยครั้ง จึงติดพ่วงรับเอาขนบธรรมเนียมจากต่างแดนเข้ามา ด้วย แม้จะยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดถึงช่วงเวลาเริ่มต้นของ การส่งบัตรอวยพร แต่ปรากฏส�ำเนาค�ำพระราชทานพรขึ้น ปีใหม่ในปี พ.ศ.2409 ของพระองค์ ในหนังสือพิมพ์บางกอก รี ค อร์ ด เดอร์ (The Bangkok Recorder) ฉบั บ วั น ที่ 13 มกราคม พ.ศ.2409 แปลได้ใจความว่า “ทรงขอส่งบัตร ตีพิมพ์ค�ำอวยพรนี้ถึงบรรดากงสุล เจ้าหน้าที่กงสุลต่างๆ และ ชาวต่างประเทศที่ทรงคุ้นเคยโดยทั่วถึงกัน” หลังจากนัน้ ‘ส.ค.ส.’ ได้กลายเป็นสิง่ ทีน่ ยิ มส่งให้กนั ใน วันขึน้ ปีใหม่ และเปลีย่ นรูปแบบลวดลายให้หลากหลายมากขึน้

วารสาร

27


ของขวัญสไตล์ มทร.ล้านนา เคียงคู่มากับบัตรอวยพร คือของขวัญวันปีใหม่ ไม่วา่ จะทัง้ ในรูปแบบชิน้ เดียวหรือกระเช้าบรรจุความ ปรารถนาดีหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการมอบให้ตาม หน้าที่ของผู้น้อยที่มีต่อผู้ใหญ่หรือเป็นการจับสลากแบ่งของ ขวัญท่ามกลางความสนุกสนาน แต่โดยนัยต่างก็เพื่อให้ผู้รับ ได้ต้อนรับปีใหม่ที่ไฉไลกว่าเดิม ไม่เพียงแต่บุคคล หน่วยงานต่างๆ เองก็เช่นเดียวกัน ทีส่ ง่ มอบของขวัญ โดยปัจจุบนั มีการรณรงค์อย่างแข็งขันไม่ให้ มอบหรือสอดแทรกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ลงในกระเช้า เพื่อ ให้ปีใหม่เริ่มต้นอย่างสดใสไม่มึนเมาอยู่ในอบายมุข จึงมักมี การจัดหาขนม อาหาร เครื่องดื่มทั้งแบบที่ดีต่อสุขภาพ และ เป็นการสนับสนุนสินค้าท้องถิ่นไปในตัว เช่นเดียวกันกับที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาท�ำมาอย่างสม�ำ่ เสมอ ในการมอบของขวัญสุดพิเศษทีบ่ รรจุผลิตภัณฑ์จากความตัง้ ใจ และฝีมือที่ผ่านการพัฒนามาอย่างดีในแต่ละปี ส�ำหรับปีนี้ ชาว มทร.ล้านนา ได้พัฒนาขนมอบที่ใช้ วัตถุดิบคุณภาพดีจากท้องถิ่นชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นฟักทอง แครอท สัปปะรด กลายเป็นผลิตภัณฑ์สองชนิดคือ คุก้ กีธ้ ญ ั พืช ผสมผักผลไม้ชนิดนุ่ม และทาร์ตสัปปะรด คุ้กกี้ธัญพืชผสมผักผลไม้ชนิดนุ่มหรือซอฟต์คุ้กกี้ ใน กล่องสีน�้ำตาลคาดตัวอักษรทองหรูหรา ภายในบรรจุกล่อง เล็กสี่กล่องในโทนสีเดียวกัน ประกอบไปด้วย คุกกี้ลูกเกด คุกกี้ฟักทอง คุ้กกี้ข้าวโอ๊ต และคุ้กกี้แครอท คุ ้ ก กี้ นุ ่ ม ทั้ ง สี่ ช นิ ด ได้ ผ ่ า นการพั ฒ นาจากสู ต รต้ น ต�ำรับคุ้กกี้ชนิดนุ่มจากแคนาดา ในปี 1996 โดยหลังจากที่

28

วารสาร

ผู้พัฒนาสูตรได้รับทุน THAI CANADIAN HRD PROJECT L-3003 ไปฝึกอบรมด้าน BAKERY TECHNOLOGY จึงได้น�ำ ความรู้พื้นฐานผนวกกับวัฒนธรรมไทยและใจรัก มาพัฒนา สูตรที่ผสมผสานระหว่างวัตถุดิบคุณภาพดีจากต่างประเทศ และในประเทศ เช่น ข้าวโอ๊ต องุ่นแห้ง ช็อคโกแลตชิพด�ำ (Dark chocolate ship) ฟักทอง แครอท และน�้ำตาลอ้อย คุ้กกี้เหล่านี้ได้ผ่านกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน สะอาดและปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค เช่นเดียวกับ ทาร์ตสับปะรด ที่พัฒนาจากแนวคิดการใช้ประโยชน์จากสัปปะรดสายพันธุ์ ปัตตาเวีย ที่เป็นผลไม้ยอดนิยมของเกษตรกรจังหวัดล�ำปาง เพราะให้ผลผลิตดีและรสชาติหวานหอม ทาง มทร.ล้านนา จึงได้แปรรูปให้เป็นสัปปะรดกวน ส�ำหรับท�ำไส้ผลิตภัณฑ์ทาร์ต ท�ำให้ทาร์ตอุดมไปด้วยเส้นใย อาหารถึง 40 เปอร์เซ็นต์จากตัวสัปปะรด เมื่อบวกกับวัตถุดิบ คุณภาพดี รสชาติทาร์ตสัปปะรดจึงนุ่มนวลชวนลิ้มลอง ทาร์ตสัปปะรดถูกบรรจุอยู่ในกล่องสีส้มอ่อนคาด ค�ำว่า ‘มะขะนัด’ ที่หมายถึงสัปปะรดในภาษาเหนือ ซึ่งบรรจุ ภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ทงั้ สองชนิดล้วนผ่านการบรรจงออกแบบ จากเหล่าอาจารย์ของทางมหาวิทยาลัย ถือเป็นของขวัญทีท่ าง มหาวิทยาลัยตั้งใจในทุกขั้นตอน เพราะการเปิดศักราชด้วยสิ่งดีๆ จะสร้างก�ำลังใจ ในการต้อนรับสิ่งใหม่เข้ามาในชีวิตได้ ไมตรีที่มอบให้จึงเป็น เสมือนก�ำลังใจ เป็นของขวัญสู่การเริ่มต้นใหม่อย่างแท้จริง


วารสาร

29


ต่อนยอน ตะลอนทัวร์ :

เปิดประตู ‘คลังความรู้ชุมชน’ ไม่ เ พี ย งแต่ วั ด วาอาราม และสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ธรรมชาติอันสวยงามที่ท�ำให้ดอยสะเก็ดไม่ใช่แค่ทางผ่านให้ ล้อหมุนสู่จังหวัดเชียงราย และอ�ำเภอแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของ ‘คลัง’ อีกด้วย ขึ้นชื่อว่า คลัง ย่อมหมายถึงที่เก็บง�ำของมีค่า และ เราต่างรู้ว่า ความรู้คือทรัพย์อันมีค่าที่สุด คลังแห่งดอยสะเก็ด จึ ง เป็ น ‘คลั ง ความรู ้ ชุ ม ชน’ ซึ่ ง อยู ่ ใ นอาณาบริ เวณของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตดอยสะเก็ด ตรงข้ามเขื่อนแม่กวงอุดมธารา คือเส้นทางมุ่งหน้าสู่ มหาวิทยาลัยท่ามกลางมวลไม้และหุบเขา ซึง่ คลังความรูช้ มุ ชน ตั้งอยู่บนชั้นสองของอาคารวิจัยพัฒนาภูมิปัญญาผลิตภัณฑ์ ท้องถิ่น แม้มุมมองจากภายนอกอาคารอาจชวนให้นึกถึงห้อง ปฏิบัติการหรือห้องสมุดทั่วไป แต่เมื่อย่างก้าวเข้าไปภายใน บรรยากาศของความสวยงาม ทันสมัย และกระตุ้นการเรียน รู้ปรากฏอยู่เต็มบริเวณ สามารถรองรับความต้องการหลาก หลายของผู้เข้ามาใช้งาน

30

วารสาร

ไม่วา่ จะเป็นชัน้ หนังสือขนาดใหญ่ทบี่ รรจุองค์ความรู้ ชุมชนรอบด้านทัง้ วารสาร ต�ำราวิชาการ งานวิจยั และหนังสือ ดีมีสาระมากมายที่ได้รับการจัดวางอย่างเหมาะสม และไม่ ต้องปวดหัวกับระบบการจัดหนังสือที่เข้าใจยาก ท่ามกลาง บรรยากาศผ่อนคลายแบบ ‘กระซิบพูดคุยได้’ นอกจากนี้ ยังมีพนื้ ทีบ่ ริการคอมพิวเตอร์ และระบบ อินเทอร์เน็ตไร้สาย เพื่อการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศอย่างลื่น ไหล พร้อมโต๊ะและปลั๊กไฟที่มีกระจายอยู่ทั่วทั้งห้อง ท�ำให้ใช้ อุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ได้แบบไม่สะดุด รวมถึงมุมส�ำหรับเด็ก ห้องฟังเพลง ชมภาพยนตร์ ห้องประชุม พื้นที่จัดนิทรรศการ และร้านกาแฟหอมกรุ่นพร้อมเสิร์ฟเครื่องดื่มชวนให้จิตใจ ปลอดโปร่ง องค์ประกอบเหล่านีท้ ำ� ให้คลังความรูช้ มุ ชนกลายเป็น ห้องสมุดที่สร้างความเพลิดเพลินกับการหาความรู้มหาศาล และเปิดประตูตอ้ นรับทัง้ นักศึกษา นักวิจยั และผูค้ นทัว่ ไป ได้ เข้ามาใช้บริการหาความรู้ ท�ำวิจยั หรือสะสางการบ้านได้อย่าง เต็มที่


ไม่เพียงแต่บริการด้านหนังสือและสื่อความรู้หลาก หลายช่องทาง คลังความรู้ชุมชนแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา ยังปวารณาตัวเป็น ‘ศูนย์กลางกิจกรรม สร้างสรรค์’ ถือเป็นศูนย์กลางในการประสานงานและให้ บริการพืน้ ทีส่ ำ� หรับจัดกิจกรรมต่างๆ ทัง้ จากหน่วยงานภายใน และเครือข่ายภายนอก และตามชื่ อ ‘คลั ง ความรู ้ ชุ ม ชุ น ’ กิ จ กรรมที่ จั ด ขึ้ น จึ ง ต้ อ งเป็ น กิ จ กรรมเชิ ง สร้ า งสรรค์ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการเรี ย นรู ้ ข องชุ ม ชน การแลกเปลี่ ย นความรู ้ ประสบการณ์การถ่ายทอดภูมิปัญญาชุมชน และกิจกรรม ส�ำหรับเยาวชนเพือ่ ปลูกฝังจิตส�ำนึกในการร่วมพัฒนาท้องถิน่ ได้ในอนาคต เพือ่ ให้หอ้ งสมุดแห่งนีเ้ ป็นห้องสมุดมีชวี ติ ทีค่ วามรู้ ไม่ได้จบอยู่เพียงแค่ตัวอักษรในหนังสือเท่านั้น

แม้จะตัง้ อยูน่ อกตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม่ แต่สารพัน ความรู้ ความทันสมัย และความมีชีวิตชีวาของสถานที่แห่ง นี้ก็โดดเด่นไม่แพ้ห้องสมุดแห่งใด ซึ่งนอกจากความรู้ภายใน ห้ อ งคลั ง ความรู ้ ชุ ม ชนแล้ ว ทางมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลล้ า นนา ยั ง ให้ บ ริ ก ารผ่ า นเว็ บ ไซต์ แ ก้ ว ปั ญ ญา (www.kaewpanya.com) อีกด้วย ไม่เพียงแต่ความรู้คับแก้ว แต่ห้องคลังความรู้ชุมชน ยังสามารถเป็นสถานที่หย่อนใจ ถือเป็นจุดส�ำคัญอีกแห่งใน เชียงใหม่ที่น่าลองเข้าไปเยี่ยมชม ห้องคลังความรู้ชุมชน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (ดอยสะเก็ด) จังหวัดเชียงใหม่ เปิดให้ใช้บริการตามวันและเวลาราชการ สนใจศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.kaewpanya.com

วารสาร

31


ส�ำหรับท่านที่มีค�ำถาม ข้อสงสัย สามารถส่งค�ำถามมายัง : โครงการคู่คิด มิตรชุมชน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ต.ป่าป้อง อ.ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 50220 โทร.053 - 266516-8 E-mail : Kaewpanya@rmutl.ac.th

32

วารสาร


ค�ำถาม : มีวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างไร จาก : คุณสาลิกา ชัยดวงดี อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ คุณเจียรไนย ชัยนาค อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ คุณชัชวาล ใจพรหม อ�ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ คุณสุดาทิพย์ ชัยประภา อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ใจด้วง อ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ คุณวริทธิ์นันท์ วังษะรัตน์ อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ คุณนพพล

ค�ำตอบ :

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อคือ การน�ำส่วนของเนื้อเยื่อ พืช ได้แก่ เนื้อเยื่อเจริญ ยอดตาอ่อน ตา ล�ำต้น หัว หรือ โปรโตพลาสต์ มาเลีย้ งในอาหารสังเคราะห์ทเี่ หมาะสมต่อการ เจริญและพัฒนาการของพืช ซึ่งประกอบด้วยแร่ธาตุ วิตามิน น�้ำตาล สารเร่งการเจริญเติบโต สภาวะควบคุมแสง อุณหภูมิ และความชื้น โดยชิ้นส่วนของพืชเหล่านี้สามารถเจริญเติบโต เป็นต้นและขยายได้เป็นจ�ำนวนมาก วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเริ่มจากน�ำต้นกล้าออก จากขวดเพาะเลีย้ ง ล้างวุน้ ทีต่ ดิ บริเวณโคนรากออกให้สะอาด เตรียมวัสดุชำ� โดยใช้ทราย ขีเ้ ถ้าแกลบ และขุยมะพร้าวทีร่ อ่ น เอาเส้นใยออกแล้ว ผสมในอัตราส่วน 1:1:1 ลงในกระบะเพาะ ช�ำหรือถุงพลาสติก ในการปลูก ควรให้วสั ดุกลบส่วนรากให้หมด หลังจาก ปลูกต้องรดน�้ำให้ชุ่ม จากนั้นน�ำไปเก็บไว้ในที่ร่มร�ำไร ไม่มีลม โกรก หมั่นพ่นน�้ำบ่อยๆ และควบคุมความชื้นอย่างสม�่ำเสมอ หลังปลูกประมาณ 10-15 วัน ให้น�ำพืชออกรับแสงแดดเพิ่ม

ขึ้นเพื่อให้ต้นกล้าแข็งแรงจนสามารถน�ำต้นออกไปปลูกใน แปลงต่อไป พืชที่สามารถเพาะเลี้ยงได้ส�ำเร็จ ได้แก่ กล้วยไม้ กระชายด�ำ ดาหลา หงส์เหิน กระเจียว ประทุมมา หน่อไม้ฝรัง่ พริก พญาเศวต ขิงแดง-ขิงชมพู ปูเล่ และมะไห่ ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีทั้งสามารถผลิตต้น พันธุ์พืชปริมาณมากได้ในเวลารวดเร็ว ทั้งยังเป็นพืชพันธุ์ที่ ปราศจากโรค ต้านทานและทนทานโรคได้ รวมถึงการเก็บ รักษารวบรวมพันธุ์พืช ปรับปรุงให้ได้พันธุ์ใหม่ และยังเป็น ประโยชน์ตอ่ การศึกษาทางชีวเคมีและสรีระวิทยาของพืชด้วย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ผศ.ดร.อภิชาติ ชิดบุรี อาคารปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร โทรศัพท์ 054-342553 ต่อ 285 หรือ E-mail : chidburee@yahoo.com วารสาร

33


ค�ำถาม : โรคในพริกชีฟ้ า้ มีอะไรบ้าง สามารถป้องกัน และก�ำจัด ได้อย่างไร จาก : คุณณัฐมน รัชนาภรณ์ อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน ค�ำตอบ :

โรคแอนแทรคโนสหรือโรคกุ้งแห้ง ซึ่งเกิดจากเชื้อรา คอลเลตโคตริคัม

โรคใบด่าง ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส

โรคเหี่ยวฟิวซาเรียม เกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียม

34

วารสาร

โรคพืชที่มักเกิดกับพริก ได้แก่ • โรคแอนแทรคโนสหรือโรคกุ้งแห้ง ซึ่งเกิดจากเชื้อรา คอลเลตโคตริคัม • โรคใบด่าง ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส • โรคใบจุดตากลม เกิดจากเชื้อราเซอโคสปอรา • โรคเหี่ยวฟิวซาเรียม เกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียม • โรครากเน่าโคนเน่า เกิดจากเชื้อราสเครอโรเตียม • โรคเหี่ยวเขียวพริก เกิดจาเชื้อแบคทีเรี ซูโดโมแนส • โรคยอดเน่าหรือโรคเน่าเปียก เกิดจากเชื้อรา โชอะเน๊ฟ ฟอรา อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญได้แนะน�ำว่า การจัดการโรค เหล่านี้ควรใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ซึ่งเป็นสารชีวภัณฑ์แทน สารเคมี โดยเชื้อราดังกล่าวเป็นจุลินทรีย์เชื้อราที่เป็นปฏิปักษ์ ต่ อ เชื้ อ ราโรคพื ช สามารถขยายพั น ธุ ์ โ ดยการสร้ า งสปอร์ เมื่ อ น� ำ มาเพาะเลี้ ย งจะสร้ า งเส้ น ใยสี ข าวและสปอร์ สีเขียว สามารถพบทั่วไปในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ และ มีอินทรียวัตถุสูง ทั้งนี้ เชื้อราไตรโคเดอร์มาจะเข้าไปรบกวนกิจกรรม การด�ำรงชีวิตของเชื้อราโรคพืช เช่น ยับยั้งการเจริญเติบโต ยับยั้งการขยายพันธุ์ ช่วยกระตุ้นให้พืชสร้างภูมิต้านทานต่อ เชื้อโรค กระตุ้นให้รากและล�ำต้นเจริญเติบโตและแข็งแรง ก่อนน�ำไปใช้ ให้น�ำหัวเชื้อราไตรโคเดอร์มาในรูป เชื้อสดไปผสมกับอินทรียวัตถุ เช่น ร�ำ หรือ ปุ๋ยหมักเสียก่อน เมือ่ เชือ้ ราไตรโคเดอร์มาเพิม่ ปริมาณแล้วก็สามารถน�ำไปใช้ได้ โดยตรง และควรใช้ให้หมด ภายใน 1-2 วัน สามารถใช้กับ พืชผัก พืชไร่ ไม้ดอก ไม้ประดับ และไม้ผล โดยรองก้นหลุม หรือโรยรอบโคนต้นหลังปลูกพืช -พืชผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ ส� ำ หรั บ ต้ น เล็ ก ใช้ ต ้ น หรื อ หลุ ม ละ 1 ช้ อ นแกง ส่วนไม้ผลปลูกใหม่ต้นใหญ่ใช้ 4-5 ช้อนแกงต่อหลุม หรือ ต่ อ ตารางเมตร จากนั้ น ใช้ วั ส ดุ ค ลุ ม ดิ น เช่ น ฟางข้ า ว หญ้ า แห้ ง ฯลฯ และให้ ค วามชื้ น โดยการรดน�้ ำให้ กั บ พื ช อย่าให้ดินแห้ง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ผศ.กัลลีวัลย์ สุขช่วย และ รศ.ดร.จินันทนา จอมดวง งานอารักขาพืช สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร โทรศัพท์ 054-342553 ต่อ 224-225


วารสาร

35


สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ต.ป่าป้อง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 50220


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.