การปลูกข้าวตอซัง

Page 1


การปลูกขาวตอซัง

จากสภาพปญหาการขาดแคลนแรงงาน ตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น และสภาพดินที่เสือ่ มลง เปนขอจํากัดทีท่ ําใหเกษตรกรตองคิดหาวิธกี ารลดตนทุนการผลิตใหต่ําลง ลดการใชสารเคมีและปรับปรุง สภาพแวดลอมใหดีขึ้น กรมสงเสริมการเกษตรขอแนะนําวิธีการปลูกขาวแบบลมตอซัง นําไปปฏิบัติใช ในไรนา ดังนี้ การปลูกขาวแบบลมตอซัง คือ การปลูกขาวโดยอาศัยตอซังเดิม ใหแตกหนอขึ้นมาเอง จึงไมตองใชเมล็ดพันธุ ไมตอ งไถพรวน ไมตองเผาฟาง หลักการสําคัญคือ ใหตนขาวแตกหนอขึน้ มาจาก ตอซังขาวขอแรกที่อยูติดดิน แลวเจริญขึ้นมาเปนตนขาวที่ตองการ

การปลูกขาวแบบลมตอซังมีเทคนิคและวิธกี ารปฏิบตั ิ 1. แปลงที่ปลูกขาวรุนแรกตองมีการเตรียมดินและทําเทือกใหไดระดับสม่ําเสมอ และ ปลูกขาวโดยวิธีหวานน้ําตม แปลงนาสามารถควบคุมปริมาณน้ําได หรือควรอยูในเขตชลประทาน 2. พันธุขา วทีใ่ ชปลูกเปนพันธุไมไวตอชวงแสง อัตราเมล็ดพันธุ 15 - 20 ก.ก. / ไร อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 120 วัน 3. กอนเก็บเกีย่ วขาวรุน แรกประมาณ 10 วัน ถามีน้ําขังใหระบายออกจากแปลง ถาไมมี น้ําใหระบายน้าํ เขาแปลง เมือ่ ดินในแปลงเปยกทัว่ กันแลว ใหระบายน้าํ ออก เพื่อใหดินมีความชื้นหมาดๆ คือ ไมแหงหรือเปยกเกินไปหลังเก็บเกี่ยวขาว 4. เก็บเกี่ยวขาวในระยะ “ พลับพลึง ” เพราะตนขาวยังสดอยูไมแหงเกินไป 5. ตอซังที่ใชปลูกขาวแบบลมตอซังตองไมมีโรคและแมลงรบกวน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกขาวแบบลมตอซัง

6. หลังเก็บเกีย่ วตองเกลี่ยฟางขาวใหกระจายทัว่ ทัง้ แปลงอยางสม่ําเสมอ ทําการย่าํ ตอซัง ใหลมนอนราบ อยาใหตอซังกระดกขึ้น (ย่าํ ตอนเชามืด ดินมีความชื้น ตอซังและฟางนิ่ม โดยใชอขี ลุบ หรือ ลอรถมัดติดกัน 5 ลอลากย่าํ ) 7. หลังจากย่ําตอซังแลว ตองคอยดูแลไมใหนา้ํ เขาแปลง โดยทํารองระบายน้ํา เมื่อมี ฝนตกลงมาตองรีบระบายออกใหทนั ถาปลอยไวหนอขาวจะเสียหาย 8. เมื่อหนอขาวมีใบ 3 - 4 ใบ หรือ 10 - 15 วัน หลังลมตอซัง ใหระบายน้าํ เขาแปลง ใหดินแฉะแตไมทวมขัง ใสปุยครั้งแรก สูตร 46 - 0 - 0 อัตรา 15 - 20 ก.ก. / ไร เพื่อเปนปุยแกตนขาว และชวยการยอยสลายฟางไดดีขึ้น 9. เมื่อขาวอายุได 35 - 40 วัน หลังลมตอซัง ใสปุยครั้งที่สอง สูตร 16 - 20 - 0 อัตรา 20 - 25 ก.ก. /ไร 10. เมือ่ ขาวอายุได 50 - 55 วัน หลังลมตอซัง ถาขาวเจริญเติบโตไมดีใหใสปุยครั้งที่สาม สูตร 46 - 0 - 0 อัตรา 15 - 20 ก.ก. / ไร 11. เมือ่ ขาวอายุใกลเก็บเกี่ยว (ประมาร 80 วันหลังลมตอซัง ) ใหระบายน้ําออกจากแปลง เพื่อใหดินมีความชื้นหมาดๆ

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกขาวแบบลมตอซัง

สิ่งที่ควรคํานึงในการปลูกขาวแบบลมตอซัง การปลูกขาวแบบลมตอซัง มีเงื่อนไขและขอจํากัด ดังนี้ 1. อยูในเขตหรือพื้นทีท่ ี่สามารถควบคุมปริมาณน้ําได 2. เก็บเกี่ยวขาวในระยะ “ พลับพลึง ” ซึง่ ตนขาวจะยังสดไมแหงเกินไป เวลาใชทาํ เปน “ ตนพันธุ ” หนอขาวจะแตกเปนตนขาวใหมที่แข็งแรงและเจริญเติบโตดี 3. เกลี่ยฟางขาวคลุมตอซังใหสม่ําเสมอทั่วทั้งแปลง 4. ตอซังที่ใชปลูกขาวแบบลมตอซัง ตองไมมีโรคและแมลงรบกวน ถามีโรคและแมลง รบกวนตองไถทิ้ง เตรียมดินและปลูกแบบหวานน้ําตมใหม 5. การปลูกขาวแบบลมตอซังไมตองหวานเมล็ดพันธุขาวเสริม

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกขาวแบบลมตอซัง

ขอดีของการปลูกขาวแบบลมตอซัง 1. ลดตนทุนการผลิต :- คาเตรียมดิน คาเมล็ดพันธุ คาสารเคมีควบคุมและกําจัดวัชพืช ฯลฯ ไรละประมาณ 900 บาท 2. ยนระยะเวลาการปลูกขาวใหเร็วขึ้น 10 - 15 วัน (ไมเสียเวลาเตรียมดินและหวานขาว) 3. เปนการรักษาสภาวะแวดลอม เพราะลดการใชสารเคมีกําจัดวัชพืชและหอยเชอรี่ 4. ลดปญหาการเผาฟางขาว โดยนํามาใชประโยชนในการคลุมแปลงนา เพื่อรักษา ความชืน้ ในดิน

ที่มา/ขอมูล

: แผนพับ การปลูกขาวตอซัง กรมสงเสริมการเกษตร

เรียบเรียง

: ไพบูลย พงษสกุล กรมสงเสริมการเกษตร

จัดทํา

: รุจิพร จารุพงศ กรมสงเสริมการเกษตร

จัดทําและเผยแพรทางเวบไซด

: กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.