เทคนิคการผลิตมะนาวนอกฤดูหรือมะนาวหน้าแล้ง

Page 1

กรมสงเสริมการเกษตร 2548


หนา 1

เทคนิคการผลิตมะนาวนอกฤดูหรือมะนาวหนาแลง

การผลิตมะนาวนอกฤดูใหประสบผลสําเร็จนั้น ไมมีสูตรสําเร็จรูปตายตัว ชาวบานตองเขาใจถึงธรรมชาติของตนมะนาว รวมทั้งมีการจัดการดานเขตกรรมตาง ๆ อยางถูกตอง ดังตอไปนี้

1. ฤดูกาลการผลิตมะนาว ในรอบ 1 ป ตนมะนาวที่ใหผลตามฤดูกาลนั้น สามารถใหผลผลิตไดถึง 2 ครั้ง คือ

ครั้งแรก ( วงจรที่ 2 ) ตนมะนาวมีการออกดอกในชวง ระหวางเดือน สิงหาคม - กันยายน ผลมะนาวที่นํามาใชประโยชนจากน้ําคั้นได นับตั้งแตออกดอกจนถึง เก็บเกี่ยว อยูระหวาง 4 ½ ถึง 5 ½ เดือน

ตนมะนาวมีดอกชุดสุดทายประมาณเดือน


หนา 2

พฤษภาคมเปนตนไป อันเปนชวงเขาสูฤดูกาลปกติ

ครั้งที่ 2 ตนมะนาวจะมีดอกที่เปนชุดใหญอีกครั้ง ( วงจรที่ 1 ) ประมาณ ปลายเดือนมีนาคมและเมษายน เมือ่ ผานชวงของฤดูแลงและไดรับฝนติดตามมา การ เก็บเกี่ยวของผลมะนาวในรุนนี้จะตรงกับชวงเดือนสิงหาคมและกันยายน และเก็บเกี่ยว ผลผลิตในเดือนธันวาคมและมกราคม อันเปนชวงปลายของฤดูกาลของมะนาวและราคา ของผลมะนาวจึงเริ่มเขยิบตัวสูงขึ้น ตั้งแตในชวงนี้เปนตนไป ดังนั้นหากชาวสวนตองการ การผลิตใหมะนาวออกนอกฤดูไดก็จําเปนตองหากรรมวิธีในการหลีกเลี่ยงหรือสรางจุดเหลื่อม หรือใชวิธียับยั้งชวงวงจรของการออกดอกครั้งใหญทั้งสองนี้ ใหได

วงจรที่ 1 ออกดอก ม.ค

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

เก็บเกี่ยว พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

ออกดอก

พ.ย.

ธ.ค. เก็บเกี่ยว

วงจรที่ 2


หนา 3

2. คุณภาพของดอกมะนาว การออกดอกของมะนาวนั้นโดยปกติมักเกิดขึ้น พรอมกับยอดออนที่ผลิขึ้นมาใหม ดอกมะนาวนั้นสามารถแบงระดับชั้นของคุณภาพ ( ซึ่ง เกี่ยวของกับการติดผลและขนาดของผล ) ไดเปน 3 ระดับ ดังนี้ 2.1 ดอกที่เกิดพรอมกับปลายยอดออนที่ผลิใหม จัดเปนดอกที่มี คุณภาพสูงที่สุด 2.2 ดอกที่เจริญจากตาขางของใบที่แกหรือใบที่มีอายุมากกวา1ฤดูกาล ดอกเหลานี้ถือเปนดอกที่มีคุณภาพรองลงมา สาเหตุอาจเนื่องมาจากขณะที่มีการผลิใบออน นั้นสภาพตนยังไมสมบูรณหรือสภาพแวดลอมไมเหมาะสม 2.3 ดอกที่เกิดจากกิ่งที่ไมมีใบ จัดเปนดอกที่มีคุณภาพเลวที่สุด เนื่องจากไมมีใบในการชวยสรางอาหารมักพบเปนดอกตัวผู ( ไมมีเกสรตัวเมียหรือลีบไป ) โอกาสที่จะติดผลไดจึงต่ํามากมักมีขนาดเล็กและไมสมบูรณ

3. การออกดอกของมะนาว ตนมะนาวมีการออกดอกไดดีเมื่อผานชวงของ ความแลงมาระยะหนึ่งประมาณ 20 - 30 วัน ทั้งนี้ ยอมแลวแตความสมบูรณของตน ขนาดของทรงพุมตน และสภาพของดิน หากเปนดินทรายจะชักนําไดงายกวา สิ่งที่ตองจําไว ใหมากสิ่งหนึ่งคือ มะนาวจะไมมีการออกดอกในกิ่งที่มีการติดผลอยู ดังนั้น หากตองการให


หนา 4

กิ่งมีการออกดอกในชวงที่ตองการตามที่กําหนดไว ก็จําเปนจะตองกําจัดดอกหรือผลออน ในกิ่งเหลานั้นออกไปใหหมดเสียกอน

4. เทคนิคการผลิตมะนาวนอกฤดูแบบตาง ๆ จําเปนที่จะตองใชหลาย ๆ ลักษณะเขามารวมกัน ดังนี้ 4.1 การปลิดดอกและผลออนของมะนาว มะนาวมีการออกดอกใน ฤดูกาลใหญ 2 ระยะ รวมทั้งกิ่งที่มีผลผลิตติดอยูก็ไมสามารถออกดอกไดอีกดวย ดังนั้น การที่ จะใหตนมะนาวออกดอกไดดีตามตองการจึงจําเปนตองกําจัดดอกและผลออนที่ไมตองการใน ฤดูกาลนั้นออกทิ้งไปเสียกอน การตัดแตงกิ่งนอกจากจะเปนการกําจัดดอกและผลออนออกไป ไดบางสวนแลว ยังเปนตัวกระตุนใหมีการผลิยอดออนใหมทคี่ อนขางสม่ําเสมออีกดวย ซึ่ง ไมควรตัดลึกมากควรจํากัดอยูที่ปลายกิ่งระดับ 5 - 10 ซม. สามารถกําจัดดอกและผลออนที่ เหลือโดยใชสารควบคุมการเจริญเติบโต เชน NAA เขมขน 2,000 ppm พนในระยะ กลีบดอกโรย และ ethephon 300 ppm ใชพนในระยะดอกบานรวมถึงผลออนในระยะกลีบ ดอกโรย


หนา 5

ดอก / ผลออนถูกทําลาย ออกดอก

ออกดอกเพื่อให

เก็บเกี่ยวผล

ติดผลนอกฤดู มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย. ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.

พนสารปลิด ดอก / ผลออน

การปลิดดอกและผลออนในวงจรที่ 2 ทําใหตนมีการยืดชวงเวลาออกดอกไปใน ระหวางเดือนตุลาคม – พฤศจิกายนแทน ซึ่งจะมีผลมะนาวแกเก็บเกี่ยวไดชวงนอกฤดูเดือน มีนาคม – เมษายน 4.2 การยับยั้งการออกดอกของตนมะนาวในฤดู สารควบคุมการ เจริญเติบโตที่มีชื่อวา จิบเบอเรลลิกแอซิด (GA3 ) มีคุณสมบัตชิ วยในการสงเสริมการ เจริญเติบโตทางกิ่งใบ ใชพนเพื่อยับยั้งการออกดอกในไมยืนตน 4.3 การกําจัดใบ ตนมะนาวที่สมบูรณมากมีพุมตนแนนทึบหรือมี ลักษณะที่เรียกวา บาใบ การปลิดใบออกบางบางสวน อาจมีผลในดานการลดระดับไนโตรเจน ในตนใหลดต่ําลง อันเปนการชวยปรับระดับของคารโบไฮเดรต ( carbohydrate ) ตอระดับ


หนา 6

ของไนโตรเจน ( nitrogen ) หรือที่เรียกวา ซี/เอ็นเรโซ ( C/N ratio ) ใหสูงขึ้น อาจชวยใหมี การออกดอกดีขึ้นได 4.4 การใชสารเคมี สารในกลุมชะลอการเจริญเติบโต เชน สารพาโคลบิวทราโซล มีบทบาทในการยับยั้งการสังเคราะห GA ในธรรมชาติของตนพืช ดังนั้นพืชจึงมี การเจริญทางกิ่งใบลดลงสงผลใหมีโอกาสในการออกดอกมากขึ้น สําหรับขั้นตอนการเตรียมการใชสารกับตนมะนาวมีดังนี้ 1. เลือกตนมะนาวที่มีสภาพสมบูรณ ( แนะนําใหปลิดผลและตัดชอดอกออกให หมดเพื่อชวยใหมีเปอรเซ็นตการออกดอกที่ดีขึ้น ) 2. วัดขนาดเสนผาศูนยกลางของพุมตน 3. ควรใหน้ํากับตนมะนาวใหชุมกอนการราดสาร 4. ทรงพุมตนมะนาวที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 เมตร ใหใชสาร พาโคลบิวทราโซล 1.5 กรัม ( a.i. ) ผสมน้ํา 1 ลิตร ( สารการคาสวนใหญมีเนื้อสารออกฤทธิ์ 10 % ดังนัน้ จึงตองใชสาร 15 กรัม / 1 เมตร )ราดบริเวณรอบโคนตน 5. รดน้ําตามภายหลังการใชสารเพื่อชวยใหการดูดดึงสารขึ้นสูพุมตนไดดี 6. บํารุงตนใหสมบูรณอยางสม่ําเสมอ


หนา 7

ขอควรคํานึง 1. การใชสารพาโคลบิวทราโซลราดลงดิน อาจมีผลขางเคียงไปยับยั้งการ เจริญเติบโตในสวนของระบบรากของตนมะนาวได ในกรณีที่ใชสารนี้เกินกวาที่แนะนํา

ตนมะนาวอาจทรุดโทรมหรืออาจตายได 2. ควรเลือกใชเฉพาะกับตนที่สมบูรณเทานั้น 3. ตนที่เคยราดสารมาแลว ควรเวนการใชสารนี้อีกในปตอมาการใชสารนี้ กับตนมะนาวตอเนื่องกันอาจทําใหตนตายได

5. ปจจัยตางๆที่เกี่ยวของ เชน การเตรียมการปลูก การจัดการสวนที่ดีและ ถูกตองเปนสวนสําคัญตอสัมฤทธิ์ผลของการนําไปผลิตมะนาวนอกฤดูโดยไมใชสาร สิ่งซึ่ง ชาวสวนไมควรมองขามในปจจัยที่เกี่ยวของมีดังนี้ 5.1 โครงสรางของดิน ดินที่มีลักษณะเปนทราย มีการระบายน้ําที่ดีจะ มีผลทําใหชกั นําการออกดอกไดดีกวาดินที่อุมน้ําสูงและดินเหนียว 5.2 การเตรียมการปลูก ควรเตรียมแปลงปลูกในลักษณะของแปลง ยกสูงเปนแบบลูกฟูก ที่ทําใหการระบายน้ําไดดี การชักนําการออกดอกจึงทําไดงายขึ้น


หนา 8

5.3 ขนาดของพุมตน มะนาวที่มีขนาดพุมตนที่เล็กกวา สามารถชักนํา การออกดอก เพื่อการผลิตนอกฤดูไดดีกวา ตนตอบสนองตอสภาพการงดน้ําไดเร็วมากขึ้น ( ใชเวลาสั้นกวา ) 5.4 การปฏิบตั ิเพื่อชักนําการออกดอก ควรจะตองเขาใจถึงธรรมชาติ และนิสัยการออกดอก กิ่งมะนาวจะไมมีการออกดอก หากวากิ่งนั้นยังคงมีผลติดอยู เมื่อเปน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองทําลายดอกหรือผล ในชวงที่ไมปรารถนาออกทิ้งไปกอน กิ่งจึงจะ สามารถออกดอกได การเปลี่ยนแปลงจากตาใบไปเปนตาดอก ยังสามารถควบคุมไดดวยปุย ทางใบที่มีธาตุโพแทสเซียม ( K ) สูงในระยะที่ตาผลิกอน มีความยาวยอดมากกวา 7.5 ซม. การฉีดพนปุยทางใบที่มี N – P – K ในสัดสวน 1 – 1 – 3 ; 1 – 1 – 4 ; 1 – 1 – 5 หรือ 1 – 2 – 5 ในระยะยอดออนผลิ จะมีบทบาทชวยใหการสรางตาดอกดีมากยิ่งขึ้น 5.5 การปองกันการกําจัดศัตรูพืช ศัตรูพืชที่สําคัญของมะนาว ไดแก เพลี้ยไฟ หนอนชอนใบ ไรแดง และโรคแคงเกอร หากใบถูกทําลาย ความสมบูรณของตนจะ ลดลง ทําใหออกดอกลดลงตามไปดวย 6. การยืดอายุการเก็บรักษา ผลมะนาวสามารถยืดอายุการเก็บรักษาไดเปนเวลา ไมนอยกวา 2 เดือนขึ้นไป หากมีกรรมวิธีในการปฏิบัติที่ถูกตอง


หนา 9

การผลิตมะนาวนอกฤดู จําเปนตองใชหลายๆวิธีมารวมกัน จึงจะไดผลดี จากประสบการณที่ไดเคยแนะนําใหชาวสวนปฏิบัติมักไดผลไมมากนักไมเหมือนที่คาดหวัง เนื่องจากชาวสวนยังคงยึดถือวิธีที่ไดกระทํากันอยู ปญหาที่ชาวสวนไมสามารถปฏิบัติไดสําเร็จ อาจสรุปเปนขอๆ ไดดังนี้ 1. ชาวสวนไมมีความตั้งใจจริง ซึ่งในวงจรที่ 2 นี้ หากตนมะนาวมีผลผลิต เต็มตนในทุกกิ่ง โอกาสชักนําใหออกดอกในระหวางเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน เปนไปไดยาก ยิ่งขึ้น ทั้งนี้ธรรมชาติของมะนาวและสมจะไมมีการออกดอกจากกิ่งที่มีผลติดอยู 2. ชาวสวนสวนใหญไมเขาใจวงจรการออกดอก-ติดผลของมะนาวอยาง แทจริง ทําใหไมอาจนําเทคนิคดังกลาวไปใชได 3. ชาวสวนมะนาวหวังพึ่งเพียงกรรมวิธีที่เปนสูตรสําเร็จอยางงายๆ 4. สภาพตนมะนาวขาดความสมบูรณไมเหมาะสมสําหรับการผลิต

เรียบเรียงโดย

:

จัดทํา/เผยแพรทางเว็บไซดโดย :

เกตุอร

ทองเครือ

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.