นโยบาย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
สารบัญ นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๘.......................I ผังมโนทัศน์นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๘...III บทที่ ๑ ความเป็นมา .......................................................................................... ๑ บทที่ ๒ องค์ประกอบนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ...................๑๐ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ..................................................................................๑๐ วิสัยทัศน์ ............................................................................................................................. ๑๐ พันธกิจ................................................................................................................................ ๑๐ เป้าประสงค์ ........................................................................................................................ ๑๐ ยุทธศาสตร์ ......................................................................................................................... ๑๑ ผลผลิต ................................................................................................................................ ๑๕ จุดเน้น ................................................................................................................................ ๑๖ บทที่ ๓ การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ .............................................................๑๙ ภาคผนวก ก....................................................................................................... ก ภาคผนวก ข....................................................................................................... ช ภาคผนวก ค...................................................................................................... ฌ ภาคผนวก ง ....................................................................................................... ฎ ภาคผนวก จ ....................................................................................................... ฐ ภาคผนวก ฉ....................................................................................................... ต ภาคผนวก ช....................................................................................................... ต ภาคผนวก ซ....................................................................................................... ธ
I
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘
เพื่ อ ให้ ก ารศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานของประเทศไทย มี คุ ณ ภาพมาตรฐานระดั บ สากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพสูงสุดในตน มีความรู้และ ทั ก ษะที่ แ ข็ ง แกร่ง และเหมาะสม เป็ น พื้ น ฐานส าคั ญ ในการเรี ย นรู้ ร ะดั บ สู งขึ้ น ไป และการ ด ารงชี วิ ต ในอนาคต ส านั กงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน โดยความเห็ นชอบของ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ ดังนี้ ๑. เร่ ง รั ด ปฎิ รู ป การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ให้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงระบบ และกระบวนการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ ทันโลก ให้สาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ๒. เร่งพัฒนาความแข็งแกร่งทางการศึกษา ให้ผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท รวมถึง เด็กพิการ และด้อยโอกาส มีความรู้ และทักษะแห่งโลกยุคใหม่ควบคู่กันไป โดยเฉพาะทักษะ การอ่าน เขียน และการคิด เพื่ อให้มีความพร้อมเข้าสู่การศึกษาระดับสูง และโลกของการ ทางาน ๓. เร่งปรับ ระบบสนั บ สนุ น การจัด การศึ ก ษา ที่ ส อดคล้อ งไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น มี ก ารประสานสั ม พั น ธ์ กั บ เนื้ อ หา ทั ก ษะ และกระบวนการเรี ย นการสอน ประกอบไปด้ ว ย มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการสอน การพัฒ นาทางวิชาชีพ สภาพแวดล้อม การเรียนรู้ ๔. ยกระดับความแข็งแกร่งมาตรฐานวิชาชีพครูและผู้บริหารสถานศึกษา ให้ครูเป็น ผู้ ที่ มี ค วามสามารถและทั ก ษะที่ เหมาะสมกั บ การพั ฒ นาการเรี ย นรู้ ข องผู้ เรี ย น ผู้ บ ริ ห าร สถานศึกษามีความสามารถในการบริหารจัดการ และเป็นผู้นาทางวิชาการ ครูและผู้บริหาร สถานศึกษาประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี แก่ผู้เรียน สร้างความมั่นใจและไว้วางใจ ส่งเสริมให้ รับผิดชอบต่อผลที่เกิดกับนักเรียน ที่สอดคล้องกับวิชาชีพ ๕. เร่งสร้างระบบให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นองค์กรคุณภาพที่แข็งแกร่ง และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ค วามสามารถรั บ ผิ ด ชอบการจั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานที่ มี คุ ณ ภาพ และมาตรฐานได้เป็นอย่างดี ๖. เร่งรัดปรับปรุงโรงเรียนให้เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง มีแรงบันดาลใจ และมี วิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ชัดเจน เป็นสถานศึกษาคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ ที่สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล
II
๗. สร้างระบบการควบคุมการจัดการการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ที่มีข้อมู ล สารสนเทศ และข่าวสาร เกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอนอย่างพร้อมบริบูรณ์ และมีนโยบาย การประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม ๘. สร้ า งวั ฒ นธรรมใหม่ ใ นการท างาน เร่ ง รั ด การกระจายอ านาจและความ รับผิดชอบ ปรับ ปรุงระบบของโรงเรียน ให้เป็ นแบบร่วมคิดร่วมทา การมีส่วนร่วม และการ ประสานงาน สามารถใช้เครือข่ายการพัฒ นาการศึกษาระหว่างโรงเรีย นกับโรงเรียน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ กลุ่มบุคคล องค์กรเอกชน องค์กรชุมชน และองค์กรสังคม อืน่ ๙. เร่งปรับ ระบบการบริห ารงานบุคคลมุ่งเน้ นความถูกต้อง เหมาะสม และเป็ น ธรรม ให้เป็นปัจจัยหนุนในการเสริมสร้างคุณภาพและประสิทธิภาพ ขวัญและกาลังใจ สร้าง ภาวะจูงใจ แรงบันดาลใจ และความรับผิดชอบในความสาเร็จตามภาระหน้าที่ ๑๐. มุ่งสร้างพลเมืองดี ที่ตื่นตัว และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้ และ ทาให้การศึกษานาการแก้ปัญหาสาคัญของสังคม ๑๑. ทุ่มเทมาตรการเพื่อยกระดับคุณภาพสถานศึกษาที่พัฒนาล้าหลัง และโรงเรียน ขนาดเล็กที่ไม่ได้คุณภาพ เพื่อไม่ให้ผู้เรียนต้องเสียโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ
๑
บทที่ ๑ ความเป็นมา ในสภาพปั จ จุ บั น ประเทศไทยก าลั ง เข้ า สู่ สั ง คมผู้ สู ง อายุ ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงต่ าง ๆ ทั้ ง ทางการเมื อ ง เศรษฐกิ จ สั ง คม ของไทยอย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดคะเนว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ อัตราส่วนการเป็นภาระของประชากรวัยแรงงานต่อประชากรผู้สูงอายุ จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นดังภาพต่อไปนี้ อัตราส่วนการเป็นภาระ วัยแรงงานต่อผูส้ ูงอายุ ๒๕๕๐ ๒๕๖๐ ๒๕๗๐
วัยแรงงาน ๖ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน
วัยแรงงาน ๔ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน
วัยแรงงาน ๓ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน
การลงทุนด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข และด้านสวัสดิการสังคม การมีอัตราภาวะเจริญพันธุ์ที่ต่ากว่าระดับทดแทน อาจเป็นปัญหาในระยะยาว ประชากรรวมของประเทศ ๖๖.๐๔ ล้านคน ปี ๒๕๕๐ จะเพิ่มขึ้นในอัตรา ที่ลดลงจนถึงปี ๒๕๖๘ มีจานวนประชากรสูงสุด ๗๐.๖๕ ล้านคน และ เริ่มลดลงจากนั้น
ภาพประกอบ ๑ แผนภูมิแสดงอัตราส่วนการเป็นภาระ (วัยแรงงานต่อผู้สูงอายุ: Aged Dependency Rate) ๑
กล่าวคือ จากเดิ ม ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ประชากรวัย แรงงาน ๖ คน ดูแ ลประชากรวัย สูงอายุ ๑ คน ในขณะที่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ต้อ งใช้ป ระชากรวัยแรงงาน ๔ คน ต่อประชากรวัย สูงอายุ ๑ คน และลดลงเป็น ๓ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ประชากรวัยแรงงานแต่จะคนจึงต้องมี ภาระมากขึ้นเพื่อดูแลประชากรวัยสูงอายุที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ นอกเหนือจากสถานการณ์ด้าน ประชากรดังกล่าว ช่วงเวลาที่ประเทศไทยต้องเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ของประเทศ ให้ เอื้ อ ต่ อ การสร้ า งความสามารถในการแข่ ง ขั น เพื่ อ ก้ า วออกจากกั บ ดั ก ของประเทศรายได้ ป านกลาง ย่ อ มส่ ง ผลให้ ก ารศึ ก ษา โดยเฉพาะการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ทวีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากประเทศต้องการทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ สามารถแข่งขันกับนานาชาติ จนสร้างรายได้ที่เพียงพอต่อการดูแลประชากรวัยสูงอายุของไทย ซึ่งมีสัดส่วนต่อประชากรวัยอื่น ๆ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง (
).
๑สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๒๕๕๑ “วิสัยทัศน์ประเทศไทย....สู่ปี ๒๕๗๐.” วารสาร
เศรษฐกิจและสังคม. ปีที่ ๔๕ ฉบับที่ ๓. หน้า๔๖. กรกฎาคม-กันยายน
๒
กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถึง ความจาเป็นในสถานการณ์ข้างต้น จึงมุ่งพัฒนานักเรียนทุกคนในมิติด้านคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียน บรรลุถึงศักยภาพสูงสุดในตน มีความรู้และทักษะการอ่านเขียนและคิดคานวณที่ เข้มแข็ง ซึ่งเป็นพื้นฐานสาคัญในการเรียนรู้และการดารงชีวิตในอนาคต อย่างไรก็ตามสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องเผชิญปัญหาและความท้าทาย ในการพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐานของชาติ สาระสาคัญดังนี้ ๑. ด้านคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย ยังไม่ถึงระดับ มาตรฐานสากล ถึงแม้จะมีแนวโน้ม ว่าจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วงของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพผู้เรียนในระดับนานาชาติ ซึ่งในปีการศึกษา ๒๕๕๕ ผลการประเมิน คุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ และระดับนานาชาติ เป็นดังต่อไปนี้ ๑.๑ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในวิชาหลัก ๕ วิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมฯ และภาษาอังกฤษ ไม่มีระดับชั้นใดที่ได้ คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ ๕๐ รายละเอียดดังนี้ -วิชาภาษาไทย ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนทุกระดับชั้นสูงกว่าร้อยละ ๔๐ โดยชั้น มัธยมศึ กษาปี ที่ ๖ มี คะแนนสูงขึ้ น ส่วนนั กเรียนชั้ นประถมศึ กษาปี ที่ ๖ และมั ธยมศึ กษาปี ที่ ๓ มี คะแนนน้ อยกว่าปี ๒๕๕๕ โดยเฉพาะชั้ นมั ธยมศึ กษาปี ที่ ๓ มี คะแนนน้ อยกว่ าปี เดิ มประมาณ ๑๐ คะแนน -วิชาคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีคะแนน เกิ นกว่ าร้อยละ ๔๐ ซึ่ งเป็ นคะแนนที่ สู งขึ้ นกว่ าปี ก่ อนและสู งกว่ าชั้ นมั ธยมศึ กษาปี ที่ ๓ และ ๖ โดยระดับชั้นมัธยมศึกษาทั้งสองระดับมีคะแนนน้อยกว่าปีก่อนเล็กน้อย -วิชาวิทยาศาสตร์ ทั้ง ๓ ระดับชั้นมีคะแนนสูงกว่าร้อยละ ๓๐ โดยมีเพียงชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ทีม่ ีคะแนนสูงกว่าปีก่อน -วิชาสังคมฯ ทั้ง ๓ ระดับชั้นมีคะแนนอยู่ระหว่างร้อยละ ๓๐-๔๐ โดยล้วนมี คะแนนต่ากว่าปีที่ผ่านมา - วิชาภาษาอังกฤษ คะแนนอยู่ในระหว่างร้อยละ ๒๕-๓๔ โดยชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๓ และ ๖ มีคะแนนสูงกว่าปีผ่านมา ดังภาพประกอบ ๒
๓
ภาพประกอบ ๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ มัธยมศึกษา ปีที่ ๓ และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๐-๒๕๕๖
๑.๒ ผลการประเมินระดับนานาชาติ ๑.๒.๑ ผล ก ารท ด ส อ บ Programme for International Student Assessment (PISA) ซึ่งเป็นการทดสอบนักเรียนอายุ ๑๕ ปีในระดับนานาชาติ เมื่อพิจารณาผล ของนักเรียนจากประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการทดสอบปี ๒๐๑๒ นักเรียนไทยได้ผลคะแนนสูงกว่าทั้งมาเลเซีย และอินโดนีเซียทุกวิชา แต่ต่ากว่าสิงคโปร์ซึ่งมีผล คะแนนทุ กวิชาในกลุ่ มบนสุ ดของโลก และเวียดนามซึ่งเพิ่ งเข้าทดสอบเป็ นครั้งแรก ทั้ งสอง ประเทศมีผลคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ย OECD ในขณะที่นักเรียนไทยยังมีคะแนนไม่ถึงค่าเฉลี่ยของ นักเรียนในกลุ่มประเทศ OECD เมื่อเปรียบเทียบ PISA ปี ๒๐๐๙ กับปี ๒๐๑๒ พบว่าในปี ๒๐๑๒ นักเรียน ไทยมีผลการประเมินเพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน ในด้านการอ่านและวิทยาศาสตร์ โดยคณิตศาสตร์ เพิ่มขึ้นเล็กน้อย และเมื่อจัดลาดับจาก ๖๕ ประเทศ การอ่านของนักเรียนไทย อยู่ในช่วงลาดับที่ ๔๗- ๕๑ คณิตศาสตร์อยู่ในช่วงลาดับที่ ๔๘-๕๒ และวิทยาศาสตร์อยู่ในช่วงลาดับที่ ๔๗-๔๙
๔
ภาพประกอบ ๓ คะแนนผลการทดสอบ PISA ของนักเรียนไทยตั้งแต่ปี ๒๐๐๐-๒๐๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๕๖)
เมื่อเปรียบเทียบกับผลการทดสอบที่ผ่านมาตั้งแต่การทดสอบครั้งแรก ในปี ๒๕๔๓ พบว่าในปี ๒๕๕๖ นักเรียนไทยทาคะแนนสอบได้สูงกว่าทุกปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะ ในวิชาวิทยาศาสตร์และการอ่านซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในภาพของโรงเรียน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพบว่า สามารถทาคะแนนได้สูงขึ้นอย่างมาก ทั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึ กษาเดิม(เปิดสอนมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖) และขยาย โอกาสทางการศึกษา(โรงเรียนที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนต้น และ ในบางโรงเรีย นเปิ ด สอนถึ ง มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย) โดยเฉพาะโรงเรี ย นขยายโอกาสทาง การศึกษาสามารถทาคะแนนวิชาคณิตศาสตร์และการอ่านเพิ่มขึ้นถึงหนึ่งระดับ อย่างไรก็ตาม ผลการประเมิ นในปี นี้ จากการวิเคราะห์ผลจาแนกตามภู มิภ าค พบว่า นัก เรียนในภาคกลาง ยกเว้นกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีคะแนนต่ากว่าภาคอื่น ๆ โดยระหว่างกลุ่มโรงเรียน ต่ าง ๆ ผลคะแนนต่ างกั น มาก กลุ่ ม โรงเรีย นจุ ฬ าภรณราชวิ ทยาลั ย ไม่ เพี ย งคะแนนสู งกว่ า ค่ าเฉลี่ ย OECD คะแนนยั งสู งเปรีย บเที ย บได้ กั บ ประเทศผู้ น าของโลก (วิ ท ยาศาสตร์ ๕๖๕ การอ่ า น ๕๕๔ ทั้ ง สองวิ ช ามี ค ะแนนต่ ากว่ า เพี ย งเซี ย งไฮ้ -จี น ซึ่ ง เป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของโลก คณิตศาสตร์ ๕๗๐ ต่ากว่าเพียงเซียงไฮ้-จีน และสิงคโปร์) ในขณะที่โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด กรมสามัญศึกษาเดิมและโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษายังต่ากว่าค่าเฉลี่ย OECD ประเทศ ไทยจึงจาเป็น ต้องส่งเสริมการพั ฒ นาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้น ฐานอย่างต่อเนื่องในโรงเรียน ทุกประเภท ๑.๓ ผลการประเมิ น ระดั บ นานาชาติ TIMSS ปี ๒๐๑๑ เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ๒๐๐๗ พบว่านักเรียนไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ มีผลคะแนนวิชาวิทยาศาสตร์สู งขึ้น เป็นอันดับที่ ๒๕ ของจาก ๖๓ ประเทศทั่วโลก และขึ้นมาเป็นอันดับสองของภูมิภาคอาเซียน รองจากสิงคโปร์ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาผลคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของไทยพบว่าลดลงเช่นเดียวกับ มาเลเซี ย และอิ น โดนี เซี ย โดยมาเลเซี ย อยู่ ใ นอั น ดั บ ที่ ๒๖ สู ง กว่ า ไทยที่ อั น ดั บ ที่ ๒๘ ดังภาพประกอบ ๔
๕
ภาพประกอบ ๔ แนวโน้มคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์จากการประเมิน TIMSS ของไทย ปี ๒๕๕๐-๒๕๕๔ ที่มา : ๑. ๒.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,สถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาของประเทศไทย ๒๕๕๕. ไตรมาส ๑ ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๖ สานักทดสอบทางการศึกษา,ข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรกฎาคม ๒๕๕๒.
๒.
ด้านโอกาสทางการศึกษา ที่ผ่านมาการจัดการศึกษาของประเทศไทยประสบความสาเร็จด้านการขยายโอกาส ทางการศึ กษาระดั บการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน โดยสามารถเพิ่ มจานวนปี การศึ กษาเฉลี่ยของประชากร อายุ ระหว่ าง ๑๖-๖๙ ปี จากร้ อ ยละ ๕.๓ ในปี ๒๕๒๙ เป็ น ร้ อ ยละ ๘.๓ ในปี ๒๕๕๓ และ เพิ่ มการเรี ยนต่ อหลั งจบการศึ กษาภาคบั งคั บ ได้ แก่ การเรี ยนต่ อระดั บมั ธยมศึ กษาตอนปลาย จากร้อยละ ๖.๙ ในปี ๒๕๒๙ เป็นร้อยละ๕๓.๗ ในปี ๒๕๕๓๑ นอกจากนี้ ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๕๑ ถึง ๒๕๕๕ อัตราการออกกลางคันของนักเรียนมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากผล การดาเนินโครงการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ๑๕ ปี ดังนี้
)
๑ดิลกะ ลัทธิพิพัฒน์ (๒๕๕๕
ผลกระทบของการสร้างความรับผิดชอบทางการศึกษาต่อสัมฤทธิผลของนักเรียนไทย เอกสาร
นาเสนอในการสัมมนาวิชาการประจาปี ๒๕๕๔ เรื่องยกเครื่องการศึกษาไทย: สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ร่วมจัดโดยสานักงาน คณะกรรมการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สานักงานปฏิรูป และมูลนิธิสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนา ประเทศไทย วันที่ ๑๕กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์.
๖
ภาพประกอบ ๕ อัตราการออกกลางคัน ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ. ปีการศึกษา ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕
แม้เด็กไทยส่วนใหญ่ได้รับโอกาสทางการศึกษาโดยมีอัตราการเข้าเรียนค่อนข้าง สูงเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรวัยเรียน แต่เมื่อพิจารณาประชากรกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ได้แก่ กลุ่ ม ผู้ มี รายได้ ต่ าสุ ด ร้อ ยละ ๑๐ ของประชากร ยั งไม่ ส ามารถเข้ า ถึ งบริ ก ารทางการศึ ก ษา โดยมี ร ะดั บ การศึ ก ษาไม่ เกิ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ถึ ง ร้ อ ยละ ๙๔ และเมื่ อ เปรี ย บเที ย บ ระหว่างชายหญิ ง กลุ่ ม เด็ กชายมี แนวโน้ ม ที่ จ ะไม่ ป ระสบผลส าเร็จ ในการเรีย นและเสี่ย งต่ อ การออกกลางคั น ๑ ซึ่ ง ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานจะต้ อ งส่ ง เสริ ม การให้บริการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชากรวัยเรียนในกลุ่มนี้ต่อไป ๓.
ด้านการบริหารจัดการ แม้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ปี พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒ โรงเรียน สั งกั ด ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ทั้ งระดั บ ปฐมวั ย ประถมศึ ก ษา และ มัธยมศึกษาจะได้รับการรับรองถึงกว่าร้อยละ ๘๐ แต่การกระจายอานาจการบริหารการจัด การสู่ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาและสถานศึ ก ษา และการมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ภาคส่ ว น ในการบริห ารจั ด การยั งท าได้ น้ อ ย ๒ สถานศึ ก ษาที่ มี ศั ก ยภาพและความพร้อ มสู งในการจั ด การศึกษามีเพียงร้อยละ ๑๗๓ ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของไทยเมื่อจัดลาดับแล้วถือว่าต่า ๑
คารับรองการปฏิบัติราชการสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (๒๕๕๒). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑). สิ่งพิมพ์ สกศ. ลาดับที่๕๗/๒๕๕๒. ๓ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (๒๕๕๕). รายงานการวิจัยการประเมินศักยภาพและความพร้อมของสถานศึกษาขัน ้ พื้นฐาน เพื่อ รองรับการกระจายอานาจการจัดการศึกษา. สิ่งพิมพ์ สกศ. ลาดับที่๑๗/๒๕๕๕. ๒
๗
โดยเมื่ อ พิ จ ารณางบประมาณรายจ่ายด้ านการศึ ก ษาต่ อ ผลิต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมภายในประเทศ อยู่ ที่ อั น ดั บ ๕๒ จาก ๕๗ ประเทศที่ เข้ า ร่ ว มรั บ การประเมิ น สมรรถนะในการแข่ ง ขั น ด้านการศึกษาปี ๒๕๕๒ รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณให้ในสัดส่วนที่สูง แต่ประสิทธิภาพการใช้ จ่ า ยอยู่ ใ นเกณฑ์ ต่ า ๑ โดยงบประมาณการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานของไทยยั ง คงถู ก จั ด สรรจาก ด้านอุปทานเป็นหลัก และงบประมาณกว่าร้อยละ ๗๕ ไม่มีความสัมพันธ์กับจานวนนักเรียน โดยตรง ๒ ๔. ความสามารถในการแข่งขัน กุญแจสาคัญในการแข่งขันในเวทีโลก คือ คุณภาพและสมรรถภาพของคนไทย ทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒ นาเด็กไทย ให้มีความพร้อมรองรับการเป็นสังคมผู้สูงอายุ ในอนาคต คุณภาพและสมรรถภาพดังกล่าว หมายถึง ความสามารถในการอ่าน เขียน การคิด คานวณ คิด วิเคราะห์ ความสามารถทางเทคโนโลยี และการสื่อ สารด้วยภาษาต่ างประเทศ ทั้ งภาษาสากล และภาษาของประเทศเพื่ อ นบ้ าน เป็ น ต้ น นอกจากนี้ เด็ ก ไทยควรมี ทัก ษะ ที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ ความรู้ในวิชาแกนตามศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะชีวิตและทักษะ อาชีพ ทั กษะการเรียนรู้และการสร้างนวัตกรรม และทั กษะทางข้อ มูล สื่อ และเทคโนโลยี๓ พร้ อ มทั้ ง ทั ก ษะชี วิ ต ในระบบเศรษฐกิ จ สั ง คมพหุ วั ฒ นธรรม ท่ า มกลางความเปลี่ ย นแปลง สถานการณ์รุนแรงและภัยพิบัติต่าง ๆ นอกจากนี้ จริยธรรมในการทางาน เป็นคุณสมบัติ ของ พนักงานที่ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรเอกชนในประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา พิจารณาว่า สาคัญ ที่ สุ ด เหนื อ กว่ า การท างานเป็ น ที ม การมี ค วามสามารถในการตั ด สิ น ใจ การคิ ด วิ พ ากษ์ ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ และความสามารถในการอ่านและคานวณขั้นพื้ นฐาน๔ (รายละเอียดดังภาคผนวก ซ) ความท้าทายดังกล่าวเป็นแรงผลักดันให้การศึกษาไทยต้องมีการ พั ฒ นาอย่ า งเร่ ง ด่ ว นโดยการเรี ย นรู้ ยุ ค ใหม่ ต้ อ งสอนให้ น้ อ ยลงและเรี ย นรู้ ใ ห้ ม ากขึ้ น ให้ ความสาคัญกับทักษะมากกว่าสาระการเรียนรู้ ให้นักเรียนเป็นผู้ชี้ทิศทางการเรียนรู้ เรียนแบบ ร่วมมื อ กั น เรีย นกั น เป็ น ที ม และประเมิ น ผลแบบใหม่ โดยถามวิ ธีคิ ด ประเมิ น เป็ น ที ม และ ข้อสอบไม่เป็นความลับ แต่เป็นตัวกระตุ้นให้เรียนรู้๕ แต่ ใ นปั จ จุ บั น การศึ ก ษ าไทยยั ง ไม่ ส ามารถให้ ก ารศึ ก ษ าที่ มี คุ ณ ภ าพ และ เตรียมความพร้อมนักเรียนให้มีศักยภาพในการแข่งขันกับประชาคมโลกได้ แม้แต่การพิจารณา ๑วิทยากร
เชียงกูล (๒๕๕๓) สภาวะการศึกษาไทย ปี ๒๕๕๑/๒๕๕๒: บทบาทการศึกษากับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ศูนย์
สารสนเทศทางการศึกษา สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่ ๑๘/๒๕๕๓. มูลนิธิสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (๒๕๕๖). รายงานฉบับสมบูรณ์การจัดทายุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เกิดความรับผิดชอบ ๒
๓วิจารณ์
พานิช (๒๕๕๕) การจัดการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ ๒๑. วันที่ได้รับข้อมูล ๒๐ตุลาคม ๒๕๕๕จากแหล่งข้อมูล
http://www.scbfoundation. com/ projects/wcms/userfiles/files/ moso_market๓/Review_doc.pdf ๔Conference Boatd (May, ๒๐๑๓) . The Business Council Survery of Chief Executive. แหล่งข้อมูล http://www.thebusinesscouncil.org/assets/TCB_BCS_MAY_๒๐๑๓.pdf วันที่ได้รับข้อมูล ๓ เมษายน ๒๕๕๗ หน้า๗-๘ ๕วิจารณ์ พานิช (๒๕๕๕) .
๘
ดั ช นี ก ารพั ฒ นามนุ ษ ย์ ข องโครงการพั ฒ นาแห่ ง สหประชาชาติ พบว่ า ประเทศไทยมี ดั ช นี การพัฒนาทุนมนุษย์ในอันดับที่ ๘๑ จากทั้งหมด ๑๓๔ ประเทศ ซึ่งเป็นลาดับที่ต่ากว่าอันดับ ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจซึ่งได้อันดับที่ ๓๔ โดยประเทศไทยมีสภาพการพัฒนา ทางเศรษฐกิ จ สั ง คมต่ ากว่ า ประเทศที่ มี ป ระชากรและทรั พ ยากรใกล้ เคี ย งกั น สะท้ อ นว่ า ประเทศไทยพั ฒ นาน้ อ ยกว่าประเทศอื่ น นอกจากนี้ ดั ช นี ขี ด ความสามารถทางการแข่ งขั น เปรียบเทียบกับ ๖๐ ประเทศ โดย IMD ในปี ๒๕๕๗ พบว่าลดลงจากเดิม ๒ อันดับ มาอยู่ที่ อันดับที่ ๒๙ โดยตัวชี้วัดด้านการศึกษา โดยรวมอยู่อันดับที่ ๕๔ ซึ่งตัวชี้วัดที่อันดับลดลงมาก ที่สุด คือ คุณภาพอุดมศึ กษาที่ตอบสนองต่อการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ตามด้วยอัตราการเข้า เรียนมัธยมศึกษา และตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่ถูกจัดลาดับไว้ต่าที่สุดที่ลาดับ ๕๗ คือ ผลการ สอบ TOEFLรายละเอียดดังนี้
ทีม ่ า: สสค.
ดังนั้ น หากประเทศไทย โดยทุ กภาคส่ วนในสั งคมไทยไม่หั น มาให้ ค วามส าคั ญ กั บ การ พัฒนาการศึกษาอย่างจริงจัง จะส่งผลให้ความสามารถของประเทศไทยเมื่อเทียบกับประเทศ อื่น ๆ ในโลก ลดต่าลงไปอีก๑ ๑วิทยากร เชียงกูล (๒๕๕๓) สภาวะการศึกษาไทย ปี ๒๕๕๑/๒๕๕๒: บทบาทการศึกษากับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ศูนย์
สารสนเทศทางการศึกษา สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่ ๑๘/๒๕๕๓
๙
จากข้อมูลข้างต้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กาหนดนโยบายที่ สอดคล้องกับแผนระดับชาติที่เกี่ยวข้องได้แก่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๙)รายละเอียด ตามภาคผนวก ก และ ข และแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) ของกระทรวง ศึกษาธิการ แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) และความคิ ด เห็ น ของผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทั้ ง ในส่ ว นกลาง และ ในเขตพื้ น ที่ การศึ กษาทั่ วประเทศจากแบบสอบถาม จากการประชุมสั มมนาข้อเสนอนโยบายสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้ นพื้ นฐาน เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมปริ๊นซ์ พ าเลซ กรุงเทพมหานคร และจากการประชุมปฏิบัติการจั ดทาร่างนโยบายสานักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ในวั น ที่ ๒๖ – ๒๘ ธั น วาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมปริ๊ น ซ์ พ าเลซ กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ด้วยตระหนักดีว่าการศึกษายังมีโอกาสพัฒนาได้ในสังคมไทยเนื่องจาก พ่อแม่ผู้ปกครองยังคงคาดหวัง และให้ความสาคัญอย่างสูงต่อการศึกษาของบุตรหลานของตน โดย ในปี ๒๕๕๒ ครัวเรือนไทยใช้จ่ายเพื่ อการศึกษากว่า ๗๘,๘๒๕ ล้านบาท๑ การปฏิบัติงานในระยะ ต่ อ ไปของส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จึ ง เน้ น ย้ าการพั ฒ นาการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐานในมิติของคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยใช้กลไกการกระจายอานาจเดิม และการส่งเสริม การสร้ างความรับ ผิ ด ชอบต่ อ คุ ณ ภาพนั ก เรีย นให้ แ ก่ ผู้ ป ฏิ บั ติ ทั้ งในส่ ว นกลาง ในเขตพื้ น ที่ การศึกษา และในโรงเรียน รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และพัฒนาเพิ่มเติม ในประเด็นที่เป็นความท้าทายต่าง ๆ ซึ่งมีสาระสาคัญในบทต่อไป
(
).
๑ มูลนิธิสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย ๒๕๕๖ รายงานฉบับสมบูรณ์การจัดทายุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ให้เกิดความรับผิดชอบ
๑๐
บทที่ ๒ องค์ประกอบนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่ อ ให้ ก ารศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานของประเทศไทย พั ฒ นาไปในทิ ศ ทางที่ ส อดคล้ อ ง กับการเปลี่ยนแปลงของประเทศ และของโลก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ผลผลิต และจุดเน้น ดังนี้ วิสัยทัศน์ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานของประเทศไทย มี คุ ณ ภาพและมาตรฐานระดั บ สากล๑ บนพื้นฐานของความเป็นไทย พันธกิจ ๑. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนทุก คน ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ๒. ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย นมี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม มี คุ ณ ลั ก ษณ ะอั น พึ ง ประสงค์๒ ตามหลักสูตร ๓. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบ ต่อคุณภาพการศึกษา เป้าประสงค์ เพื่อให้ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย มีคุณ ภาพและมาตรฐาน ระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึง กาหนดเป้าประสงค์ดังนี้ ๑. นักเรียนระดับระดับก่อนประถมศึกษามีพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัย และ ได้สมดุล และนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน มีพัฒนาการเหมาะสมตามช่วงวัยและมี คุณภาพ ๑
มาตรฐานระดับสากล รวมถึง ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล และการบริหาร จัดการด้วยระบบคุณภาพ ๒ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็น ลักษณะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ประกอบด้วยคุณลักษณะ ๘ ประการ ได้แก่ ๑)รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒)ซื่อสัตย์สุจริต ๓)มีวินยั ๔)ใฝ่เรียนรู้ ๕)อยู่อย่างพอเพียง ๖)มุ่งมั่นในการทางาน ๗)รักความเป็นไทย ๘)มีจิตสาธารณะ
๑๑
๒. ประชากรวั ย เรี ย นทุ ก คนได้ รั บ โอกาสในการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน อย่ า งทั่ ว ถึ ง มีคุณภาพ และเสมอภาค ๓. ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น มี ทักษะที่เหมาะสม และ มีวัฒนธรรมการทางานที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ๔. ส านั กงานเขตพื้ นที่ การศึ กษาและสถานศึ กษามี ประสิ ทธิ ภาพ และเป็ น กลไก ขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่คุณภาพระดับมาตรฐานสากล ๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานบูรณาการการทางาน เน้ นการ บริหารแบบมีส่วนร่วม กระจายอานาจและความรับผิดชอบสู่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษา ๖. พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นพิเศษ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท เป้าประสงค์ที่ ๑ นักเรียนระดับระดับก่อนประถมศึกษามีพัฒนาการที่เหมาะสม ตามช่วงวัย และได้สมดุล และนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน มีพัฒนาการเหมาะสม ตามช่วงวัยและมีคุณภาพ กลยุทธ์ ๑. จัดระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ ๒. ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ แก่ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนที่เหมาะสมกับวัย ทักษะ และคุณลักษณะที่ จาเป็นของนักเรียนที่สถานประกอบการต้องการ และที่จาเป็นต่อการใช้ชีวิตในอนาคต เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยสู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ๓. สนั บ สนุ น การจั ด สรรงบประมาณ ในรู ป แบบที่ ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ รวมถึงระดับและประเภทของผู้เรียนด้วย ๔. ส่งเสริมการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ รวมถึงการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน สังคม และท้องถิ่น ๕. ใช้สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริม การเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๖. จัดระบบนิเทศ ติดตามผล และรายงานผล ให้มีความเข้มแข็งและต่อเนื่อง เป็น รูปธรรม และหลากหลายมิติ เน้นการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ๗. สนับสนุนให้มีการแนะแนวผู้เรียน ให้มีแรงจูงใจในการเรียน เพื่อการเรียนต่อ และการมีอาชีพสุจริต เพื่อความมั่นคงในชีวิต ด้วยผู้แนะแนวที่หลากหลาย เช่น ครู ผู้ประกอบ อาชีพต่างๆ ทั้งที่เป็นผู้ปกครอง ศิษย์เก่า ผู้ที่ทางานสถานประกอบการใน/นอกพื้นที่
๑๒
๘. ส่งเสริมสนับสนุนการนาการทดสอบ O-Net การประเมินของ PISA และระบบ การทดสอบกลางของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาเป็นส่วนหนึ่งในการ จัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน ๙. ส่งเสริม การประกั น คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษา ให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง เพื่ อ รองรับการประเมินภายนอก ๑๐. จัดระบบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีการเรียนการสอน ทั้งวิชาสามัญ และ วิชาชีพ เพื่อรองรับการมีอาชีพตั้งแต่การเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๑. ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสาร และภาษาอาเซียนอย่างน้อย ๑ ภาษา เพื่ อรองรับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ และสู่มาตรฐานสากล ๑๒. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกผู้เรียนที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่ อ เรี ย นต่ อ ให้ มี วิ ธี ก ารคั ด เลื อ กที่ ห ลากหลาย สอดคล้ องกั บหลั กสู ตรการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน นอกเหนือจากการวัดความรู้ และความสามารถในการสอบแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ขยายโอกาสเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียน ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และมีคุณภาพ เป้าประสงค์ที่ ๒ ประชากรวัยเรียนทุ กคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้น พื้นฐาน อย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และเสมอภาค เป้าประสงค์ที่ ๖ พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นพิเศษ กลยุทธ์ ๑. พัฒ นาระบบข้อมูล สารสนเทศ นั กเรียนเป็นรายบุคคล ทั้งในเชิงปริมาณและ คุณภาพให้มีประสิทธิภาพ ๒. สนับสนุนการบริหารจัดการงบประมาณ ประเภทงบเงินอุดหนุนรายหัวให้ผู้เรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้แบบตามตัวผู้เรียน(Demand-side Financing) มีการเชื่อมโยงกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และหน่วยงานที่จัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน เน้นการบริหารงบประมาณที่มี ประสิทธิภาพ ๓. ส่งเสริมให้ผู้เรียนทุ กระดับ และทุกประเภท มีโอกาสเข้าเรียนในโรงเรียนที่ มี คุณภาพ Smart School เรียนจนจบหลักสูตร มีโอกาสเรียนต่อ มีอาชีพที่สุจริต และมั่นคงใน ชีวิต ๔. สนับสนุน โรงเรียนดีมีคุณภาพ Smart School ทั้งในระดับประถมศึกษาและ ระดับมัธยมศึกษา ให้เป็นโรเรียนที่รูปแบบการเรียนการสอนที่มุ่ งสู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐาน ของความเป็นไทย ให้ครอบคลุมทุกจังหวัด อาเภอ ตาบล ๕. สนับสนุนให้โรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในพื้นที่พิเศษ มีโอกาสจัดการศึกษาด้านวิชาชีพทั้งที่จัดเอง และสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น เพื่อเป็น การสร้างอาชีพสุจริตให้กับผู้เรียน
๑๓
๖. ส่งเสริมการจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบปกติ รูปแบบเพื่อ ความเป็นเลิศ รูปแบบเพื่อเด็กพิการ เด็กด้อยโอกาส และรูปแบบการศึกษาทางเลือก จัดให้มี ความเหมาะสมและเต็มศักยภาพของผู้เรียน และยังคงระดับคุณภาพตามมาตรฐาน ๗. ส่งเสริมสนับสนุนระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้มีความเข้มแข็งและต่อเนื่อง ๘. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วางแนวทางการดูแลช่วยเหลือ และจัดการศึกษา ที่เหมาะสม แก่เด็กด้อยโอกาสที่ไม่อยู่ในทะเบียนราษฎร์ เช่น บุตรหลานของแรงงานต่างด้าว เด็กไร้สัญชาติ เด็กพลัดถิ่น เด็กต่างด้าว เด็กไทยที่ไม่มีเลขประจาตัวประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา เป้าประสงค์ที่ ๓ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น มีทักษะที่ เหมาะสม และมีวัฒนธรรมการทางานที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ เป้าประสงค์ที่ ๖ พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นพิเศษ กลยุทธ์ ๑. พัฒนาองค์ความรู้ และสมรรถนะของครู ผ่านการปฏิบัติจริงและการช่วยเหลือ อย่างต่อเนื่อง ๑.๑ เผยแพร่องค์ความรู้ และแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับ นวัตกรรม วิธีการจัดการเรียนการ สอน การพัฒนาการคิ ด และการวัดประเมิ นผล ให้สามารถพัฒ นาและประเมิ นผลนัก เรียนให้ มี คุณภาพตามศักยภาพเป็นรายบุคคล ๑.๒ พัฒนาครูที่มีอยู่ให้สามารถจัดการเรียนรู้ในวิชาที่โรงเรียนต้องการ ได้ด้วย ตนเองหรือใช้สื่อเทคโนโลยี ๑.๓ ส่ งเสริม ระบบการนิ เทศแบบกั ล ยาณมิ ต รโดยเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และ โดยเพื่อนครูทั้งในโรงเรียนเดียวกัน หรือระหว่างโรงเรียน หรือภาคส่วนอื่น ๆ ตามความพร้อม ของโรงเรียน ๑.๔ ส่งเสริมให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครูในพื้นที่ ทั้งในโรงเรียนเดียวกัน ระหว่างโรงเรียน หรืออื่น ๆ และในองค์กรสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกหน่วยงาน ๑.๕ ส่งเสริมให้ครูมีสมรรถนะภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารและทักษะการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อจัดการเรียนรู้ได้ในระดับดี ๒. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มที่มีความจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาเร่งด่วน ๓. เสริมสร้างระบบแรงจูงใจ เพื่อให้ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีขวัญกาลังใจ ในการทางาน สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ๓.๑ ยกย่องเชิดชูเกียรติครูที่เป็นครูมืออาชีพ และบุคลากรทางการศึกษา ที่ มี ผลงานเชิงประจักษ์ทั้งด้าน ๑) การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ๒) การดูแลช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
๑๔
๓) การมีจิตวิญญาณความเป็นครู มีคุณธรรม จริยธรรมและเป็นตัวอย่างที่ดี แก่สังคม ๓.๒ ส่งเสริมความก้าวหน้าของครู ให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้น ให้สอดคล้องกับรายได้ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ๔. ประสานและสนับสนุนให้กับองค์กรและคณะบุคคลที่เกี่ยวข้อง จัดเตรียมและ จัดสรรครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีความสามารถสอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียน และสังคม ๔.๑ สร้างความตระหนักกับองค์กรที่มีบทบาทโดยตรงกับการบรรจุครูในพื้นที่ ถึงความจาเป็นต้องจัดสรรครูให้ตรงวิชาที่โรงเรียนขาดแคลน ๔.๒ สร้างค่านิยมสาหรับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ให้รับผิดชอบต่อผลด้าน คุณภาพของการจัดการศึกษา ๔.๓ ประสานสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาผลิ ต ครูที่ มี วิ ช าเอกตรงกั บ ความต้ อ งการ / สามารถจัดการเรียนรู้เพื่อผู้เรียนที่มีความแตกต่างหลากหลายได้ และสอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนที่มีความแตกต่างหลากหลายได้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ เป้าประสงค์ ที่ ๔ สานั กงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีประสิทธิภาพ และเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่คุณภาพระดับมาตรฐานสากล เป้ าประสงค์ ที่ ๕ ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานบู รณาการ การทางาน เน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วม กระจายอานาจและความรับผิดชอบสู่สานักงานเขต พื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา เป้าประสงค์ที่ ๖ พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นพิเศษ กลยุทธ์ ๑. กระจายอานาจ ๑.๑ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และสถานศึ ก ษา มีความสามารถและมีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการด้วยตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๒ บูรณาการการทางานพั ฒ นาคุณ ภาพการศึกษาระหว่างหน่ วยงานต่ างๆ ในส่ ว นกลาง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา/สถานศึ ก ษาพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ตามบริบทได้เพิ่มขึ้น ๑.๓ พั ฒ นาระบบติ ด ตามตรวจสอบ การบริ ห ารจั ด การงบประมาณที่ มี ประสิทธิภาพ ๑.๔ สร้างเครือข่าย/กลไกที่ สามารถรับรู้ปัญ หา และแก้ไขปัญ หาการบริหาร จัดการงบประมาณที่ไม่เหมาะสม/ถูกต้อง ตามหลักธรรมาภิบาล ได้อย่างรวดเร็ว
๑๕
๒. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ๒.๑ เร่งสร้างความรู้ความเข้าใจให้ กับ ผู้ บ ริห ารสถานศึ กษา ถึงความจ าเป็ น และประโยชน์ของการส่งเสริมการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ในการพัฒนาการศึกษา ๒.๒ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมสนับสนุนทรัพยากร ๒.๒.๑ ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ส าธารณชนทราบถึ ง ความต้ อ งการได้ รั บ การช่วยเหลือของโรงเรียน โดยเฉพาะโรงเรียนที่ขาดแคลน อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร ๒.๒.๒ ประสานทุกภาคส่วนให้เข้ามาช่วยเหลือโรงเรียนที่มีความมุ่งมั่น พัฒนาคุณภาพการศึกษา แต่มีความขาดแคลนมาก ๒.๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ หน่วยงานในสังกัด โดยประชาชนทุกภาคส่วน ๒.๓.๑ สร้างช่ อ งทางรับ ฟั งความคิ ด เห็ น /ข้ อ เสนอแนะ/เรื่อ งร้ อ งเรี ย น ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และติดตาม ตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ๒.๓.๒ ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ส าธารณชน เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการก ากั บ ติดตาม ตรวจสอบการทางานของโรงเรียนในท้องถิ่น และหน่วยงานในสังกัดมากขึ้น ๓. ส่งเสริมให้สถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และองค์คณะบุคคล มีความรับผิดชอบต่อผลการดาเนินงาน ๓.๑ ส่ งเสริม ให้ มี การเชิด ชู เกี ย รติ สถานศึ ก ษา สานั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และองค์ คณะบุคคลที่เกี่ยวข้อง ที่นั กเรียนในพื้ นที่ มีผลสัม ฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น / อัตรา การออกกลางคันลดลง /มีพฤติกรรมเสี่ยงลดลง ๓.๒ สร้างช่องทางรับฟังความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/เรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง กับองค์กร/องค์คณะบุคคลที่เกี่ยวข้อง และติดตามตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ผลผลิต สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงผลผลิตเดิม มี ๖ ผลผลิตได้แก่ ๑) ผู้จบการศึกษาก่อนประถมศึกษา ๒) ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ ๓) ผู้จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย ๔) เด็กพิการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสมรรถภาพ ๕) เด็กด้อยโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๖) ผู้ที่มีความสามารถพิเศษได้รับการพัฒนาศักยภาพ โดยมี ห น่ วยกากั บ ประสาน ส่ งเสริม การจัด การศึ กษาคื อ สานั กงานเขตพื้ น ที่ การศึกษาประถมศึกษา จานวน ๑๘๓ เขต สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จานวน ๔๒ เขต และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ซึ่งมีสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหน่วยปฏิบัติการ
๑๖
การจัดการศึกษา เพื่ อให้ ภารกิจดังกล่าวสามารถตอบสนองสภาพปั ญหาและรองรับการขับเคลื่ อน นโยบายกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายรัฐบาล จุดเน้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดจุดเน้นการดาเนินการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยแบ่งเป็น ๓ ส่วนดังนี้ ส่วนที่ ๑ จุดเน้นด้านผู้เรียน ๑.๑ นักเรียนมีสมรรถนะสาคัญ สู่มาตรฐานสากล ดังต่อไปนี้ ๑.๑.๑ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ ๓ มี ค วามสามารถด้ า นภาษา ด้านคานวณ และด้านการใช้เหตุผลที่เหมาะสม ๑.๑.๒ นั ก เรีย นประถมศึ ก ษาปี ที่ ๖ เป็ น ต้ น ไปได้ รั บ การส่ งเสริ ม ให้ มี แรงจูงใจสู่อาชีพ ด้วยการแนะแนว ทั้งโดยครูและผู้ประกอบอาชีพต่างๆ (ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า สถานประกอบการใน/นอกพื้ น ที่ ) และได้ รั บ การพั ฒ นาความรู้ ทั ก ษะที่ เหมาะสมกั บ การประกอบอาชีพสุจริตในอนาคต ๑.๑.๓ นั กเรียนชั้ น ประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมั ธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ (O-NET) กลุ่มสาระหลัก เพิ่มขึ้นเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓ ๑.๒ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม รักความเป็นไทย ห่างไกลยาเสพติด มี คุณลักษณะและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม ๑.๒.๑ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ใฝ่ดี ๑.๒.๒ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ใฝ่เรียนรู้ ๑.๒.๓ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่อย่างพอเพียง ๑.๒.๔ นั กเรียนระดั บมั ธยมศึกษาตอนปลาย มี ความมุ่ งมั่น ในการศึก ษา และการทางาน ๑.๓ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามต้ อ งการพิ เ ศษได้ รั บ การส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา เต็มศักยภาพ ๑.๓.๑ เด็ก พิ การได้รับ การพั ฒ นาศัก ยภาพเป็ น รายบุ ค คลด้วยรูป แบบที่ หลากหลาย ๑.๓.๒ เด็กด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้ของหลักสูตร และอัตลักษณ์แห่งตน ๑.๓.๓ นั ก เรีย นที่ มี ค วามสามารถพิ เศษ ได้ รั บ การส่ ง เสริ ม ให้ มี เป็ น เลิ ศ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พื้ นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ภาษา กีฬ า ดนตรี และศิลปะ
๑๗
๑.๓.๔ นั ก เรี ย นที่ เรี ย นภายใต้ ก ารจั ด การศึ ก ษาโดยครอบครั ว สถาน ประกอบการ บุคคล องค์กรวิชาชีพ องค์กรเอกชน องค์กรชุมชน และองค์กรสังคมอื่น และการ ทางเลือก ได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน ๑.๓.๕ เด็กกลุ่มที่ต้องการการคุ้มครองและช่วยเหลือเป็นกรณีพิเ ศษ ได้รับ การคุ้มครองและช่วยเหลือเยียวยา ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย ส่วนที่ ๒ จุดเน้นด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา ๒.๑ ครูได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ และสมรรถนะ ผ่านการปฏิบัติจริงและ การช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง ๒.๑.๑ ครู ได้ รั บการพั ฒ นาองค์ ความรู้ เกี่ ยวกั บการพั ฒ นาการคิ ด การวั ด ประเมินผลของครู ให้สามารถพัฒนาและประเมินผลนักเรียนเป็นรายบุคคล ๒.๑.๒ ครูสามารถจัดการเรียนรู้ในวิชาที่โรงเรียนต้องการ ได้ด้วยตนเอง หรือใช้สื่อเทคโนโลยี ๒.๑.๓ ครูได้รับการนิเทศแบบกัลยาณมิตร โดยเขตพื้นที่การศึกษา และ โดยเพื่อนครูทั้งในโรงเรียนเดียวกัน หรือระหว่างโรงเรียน หรือภาคส่วนอื่น ๆ ตามความพร้อม ของโรงเรียน ๒.๑.๔ ครูได้รับการช่วยเหลือให้จัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิผล โดย ชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครูในพื้นที่ ทั้งในโรงเรียนเดียวกัน ระหว่างโรงเรียน หรืออื่น ๆ ตาม ความเหมาะสม ๒.๑.๕ ส่งเสริมให้ครูมีสมรรถนะภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารและทักษะ การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดการเรียนรู้ได้ในระดับดี ๒.๒ พัฒ นาผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มที่มีความจาเป็นต้องได้รับการพัฒ นา เร่งด่วน ๒.๓ ครูและบุ คลากรทางการศึก ษาที่ เป็ น มื อ อาชี พ มี ผ ลงานเชิ งประจั ก ษ์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติอย่างเหมาะสม ๒.๔ องค์ ก รและคณะบุ ค คลที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด เตรี ย มและจั ด สรรครู ตระหนัก และดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษาบรรจุใหม่/ย้ายไป บรรจุ มีความสามารถสอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียน ชุมชนและสังคม ส่วนที่ ๓ จุดเน้นด้านการบริหารจัดการ ๓.๑ สถานศึกษาและส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึกษา บริห ารจั ดการโดยมุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ เน้ น การกระจายอ านาจ การมี ส่ ว นร่ ว ม และมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผลการ ดาเนินงาน (Participation and Accountability) ๓.๑.๑ โรงเรีย นที่ ไม่ ผ่ านการรับ รองคุ ณ ภาพภายนอก และที่ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ได้รับการแก้ไขแทรกแซง ช่วยเหลือ
๑๘
นิเทศ ติดตาม และประเมินผล โดยสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทาหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุน และเป็นผู้ประสานงานหลัก ให้โรงเรียนทาแผนพัฒนาเป็นรายโรงร่วมกับผู้ปกครองชุมชน และ องค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ๓.๑.๒ สถานศึกษาบริหารจัดการโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ เน้นการมีส่วนร่วมอย่าง แท้จริง และการมีความรับผิดชอบต่อผลการดาเนินงาน ๓.๑.๓ สานักงานเขตพื้ นที่การศึกษา บริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ โดย มุ่งเน้น การมีส่ วนร่วม และความรับ ผิ ดชอบต่ อ ผลการดาเนิ น งาน มี ระบบการนิ เทศ เร่งรัด ติดตาม ประเมินผลสถานศึกษาและครูที่เข้มแข็ง ๓.๑.๔ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา เชิ ด ชู เกี ย รติ โรงเรีย นที่ นั ก เรี ย นมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น/ อัตราการออกกลางคันลดลง/ มีพฤติกรรมเสี่ยงลดลง ๓.๑.๕ องค์คณะบุคคลที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการศึกษา เร่งรัดและติดตาม การดาเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างเข้มแข็ง เป็นกัลยาณมิตร ๓.๒ สถานศึก ษาและส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา จั ด การศึ ก ษาอย่ า งมี คุณภาพ ตามมาตรฐาน ๓.๒.๑ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ได้ ม าตรฐานส านั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษา ๓.๑.๕ สถานศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายใน ได้ระดับ มาตรฐานของ สานั กงานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และหรือ ผ่านการรับ รองจากส านัก งานรับ รองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
๑๙
บทที่ ๓ การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน เป็ น องค์ ก รของรั ฐ ขนาดใหญ่ ครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศ ให้บริการแก่ประชาชนจานวนมาก หลากหลาย และเกี่ยวข้อง กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงกว้าง ภารกิจส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศสูง การดาเนินการ ตามนโยบายส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานให้ ส าเร็ จ จึ ง จ าเป็ น ต้ อ งได้ รั บ ความร่วมมือของทุกภาคส่วน ทั้งผู้รับบริการ ผู้ปฏิบัติในพื้นที่ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่น ๆ ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ปัจจัยสู่ความสาเร็จและแนวทางการดาเนินการที่สาคัญที่ส่งผลต่อ การขับเคลื่อนนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติ ดังนี้ ปัจจัยสู่ความสาเร็จ ๑. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๘ กาหนดให้ “สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา” โดยการมีส่วนร่วม อย่างแท้จริงมีความหมายครอบคลุม ทั้งการเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินงาน (participate) การ เข้ามาร่วมมือร่วมใจเพื่อพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้บรรลุวัตถุประสงค์ (collaborate) และ การประสานการทางานระหว่างกลุ่มต่าง ๆ (coordinate) ๑ แสดงดังภาพต่อไปนี้
ซึ่งการมีส่วนร่วม จะต้องเกิดขึ้นภายในสานักงานคณะกรรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกระดับ ทั้งส่วนกลาง เขตพื้ น ที่ และโรงเรียน รวมไปถึงระหว่างสานั กงานคณะกรรมการการศึ กษา ขั้นพื้นฐานทุกระดับกับองค์กรอื่นๆ ภายนอก อีกด้วย เช่น กระทรวงมหาดไทย องค์กรเอกชน องค์กรศาสนาและภาคประชาชน โดยเมื่อถึงระดับพื้นที่และโรงเรียน การมีส่วนร่วมของภาค ประชาชนจะมีบทบาทสูง ซึ่งการมีส่วนร่วมของประชาชนอาจแบ่งได้เป็นระดับต่าง ๆ ๕ ระดับ ดังภาพต่อไปนี้๒
๑
สุรัฐ ศิลปะอนันต์ (๒๕๕๖). บรรยายหัวข้อ “ทิศทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในอนาคต” ในการประชุมเสวนา ข้อเสนอนโยบาย การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร จัดโดยสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒ประยูร อัครบวร (๒๕๕๒). การบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. หน้า ๕๐.
๒๐
๒. ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเกิดความตระหนักในความรับผิดชอบต่อนักเรียน เนื่องจากการพัฒนาคนที่สมบูรณ์ต้องพัฒนาทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒ นธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข๑ ซึ่งเป็นการพัฒนาอย่างเป็นองค์รวม และเกิดขึ้นได้ตลอดเวลารวมไปถึงเมื่อนักเรียน อยู่นอกโรงเรียนด้วย จึงจาเป็นที่จะต้องให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน ตั้งแต่ผู้ปกครอง ชุมชน ครูและผู้บริหารโรงเรียน บุคลากรทางการศึกษาทั้งในโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษา และ ข้ า ราชการในส่ ว นกลาง สื่ อ มวลชน และภาคส่ ว นอื่ น ๆ ของสั งคม เกิ ด ความตระหนั ก ว่ า ตนเอง มี ส่ ว นร่ว มรับ ผิ ด ชอบต่ อ การพั ฒ นาของนั ก เรีย น ซึ่ งในปั จ จุ บั น แม้ จ ะเป็ น เพี ย งเด็ ก และเยาวชน แต่ในอนาคตจะเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ต้องมีคุณภาพ เพื่อจะสามารถรับผิดชอบ ระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไป มู ล นิ ธิ ส ถาบั น วิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาประเทศไทย (Thailand Development Research Institute: TDRI) ได้เสนอบทบาทและหน้าที่ที่แต่ละภาคส่วนสามารถดาเนินการได้ เพื่อยกระดับความรับผิดชอบของระบบการศึกษา ดังตารางต่อไปนี้๒
๑
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๖ มูลนิธิสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (๒๕๕๖). รายงานฉบับสมบูรณ์: การจัดทายุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เกิดความรับผิดชอบ. หน้า ๕. ๒
๒๑ ภาคส่วน หน่วยงานภาครัฐ เช่น สพฐ. กคศ. และ สทศ.
โรงเรียน ผู้บริหารและ ครู ผู้ปกครอง ชุมชน/ ท้องถิน่
บทบาทและหน้าที่ - การปรับปรุงกรอบหลักสูตรแกนกลางใหม่ และกระบวนการคัดเลือกสื่อ เทคโนโลยี และ ตาราเรียน - การกาหนดกรอบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาและการประเมินผลงานครูโดยให้ เชื่อมโยงกับสัมฤทธิผลทางการศึกษาของนักเรียนเป็นสาคัญ - การปรับปรุงระบบฝึกอบรมและพัฒนาครู - การอานวยความสะดวกและสร้างกลไกให้ผู้ปกครองและสังคม สามารถกากับและ ตรวจสอบโรงเรียนได้ง่ายขึ้น ดังเช่นการปรับปรุงข้อสอบมาตรฐานให้มีคุณภาพและการ เปิดเผยข้อมูลผลการสอนระดับโรงเรียนซึ่งเป็นแกนหลักของการสร้างความรับผิดชอบ - การปรับการเงินเพื่อการศึกษาให้เป็นเงินอุดหนุนรายบุคคลมากขึน้ และการกาหนด มาตรการเพื่อสนับสนุนการระดมทุนของโรงเรียน - การสนับสนุนให้โรงเรียนและครู ได้พัฒนาตามผลการประเมิน - การจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนและรับผิดชอบต่อกระบวนการเรียนการสอน และรับผิดชอบ ต่อสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนและห้องเรียน - การติดตามดาเนินงานและผลงานของโรงเรียน สพท. และ สพฐ. และการเรียกร้อง นโยบายการศึกษาต่อ สพฐ. และ สพท. ร่วมกันกาหนดทักษะทีต่ ้องการ
การส่งเสริมให้ หลั กการและปั จจัยสู่ค วามสาเร็จดั งกล่ าวขับ เคลื่อนนโยบายไปสู่ การปฏิ บั ติ ได้ จาเป็ น ต้อ งมีแ นวทางการดาเนิ น การที่ ชัด เจน ในปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดแนวทางการดาเนินการที่สาคัญ ดังนี้ ๑. บู รณาการการท างานของส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานกั บ ทั้งหน่วยงานทุกระดับในสังกัด และหน่วยงาน รวมทั้งภาคส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้น ๒. ดาเนิน การชี้แจง ประชาสั มพั น ธ์สร้างความรู้ ความเข้าใจนโยบายสานัก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้บุคลากร หน่วยปฏิบัติ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาค ส่วน ได้รับทราบอย่างชัดเจนเพื่อการมีส่วนร่วม และสนับสนุนให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ๓. พัฒนาศักยภาพของครู บุคลากรทางการศึกษาต่าง ๆ และข้าราชการในส่วนกลาง ให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งปฏิบัติงานด้วยเทคนิควิธีการใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสร้างขวัญและกาลังใจด้วยการยกย่อง ชมเชยให้รางวัลเมื่อสามารถดาเนินการได้ประสบผลสาเร็จ ๔. พัฒนาระบบ/เกณฑ์ การสนั บสนุ นทรัพยากรต่าง ๆ ให้ ตอบสนองต่ อความต้ องการ จาเป็นของการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่มากขึ้น ๕. พัฒ นาระบบการติดตามการดาเนินงาน ทั้งการดาเนินงานตามนโยบาย และ การติ ด ตามการสนั บ สนุ น ทรั พ ยากรต่ า ง ๆ ให้ ก ารท างานทั้ ง ในส่ ว นกลาง และในพื้ น ที่ มี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุด
ก
ภาคผนวก ก สรุปสาระสาคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขด้วยความเสมอภาคเป็นธรรมและมีภูมิคุ้มกันต่อ การเปลี่ยนแปลง” พันธกิจ ๑. สร้างสังคมเป็นธรรมและเป็นสังคมที่มีคุณภาพทุกคนมีความมั่นคงในชีวิตได้รับ การคุ้ ม ครองทางสั ง คมที่ มี คุ ณ ภาพอย่ า งทั่ ว ถึ ง และเท่ าเที ย มมี โอกาสเข้ าถึ งทรั พ ยากรและ กระบวนการยุ ติ ธรรมอย่ างเสมอภาคทุ ก ภาคส่ วนได้ รับ การเสริม พลั งให้ ส ามารถมี ส่ วนร่ว ม ในกระบวนการพัฒนาภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใสเป็นธรรม ๒. พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีคุณธรรมเรียนรู้ตลอดชีวิตมีทักษะและการดารงชีวิต อย่างเหมาะสมในแต่ ละช่วงวัยสถาบั น ทางสั งคมและชุ มชนท้ องถิ่น มีค วามเข้มแข็งสามารถ ปรับตัวรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง ๓. พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู้ความคิด สร้างสรรค์ และภู มิปั ญ ญาสร้างความมั่น คงด้านอาหารและพลังงานปรับ โครงสร้างการผลิ ต และการบริโภคให้ เป็ น มิ ตรกั บ สิ่งแวดล้อ มพร้อ มสร้างความเชื่ อมโยงกั บ ประเทศในภู มิ ภ าค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ๔. สร้ า งความมั่ น คงของฐานทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม สนั บ สนุ น การมี ส่ วนร่วมของชุ ม ชนรวมทั้ งสร้างภู มิ คุ้ ม กัน เพื่ อรองรับ ผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเสริมสร้างสังคมที่เป็นธรรมและเป็นสังคมสันติสุข ๒. เพื่อพัฒนาคนไทยทุกกลุ่มวัยอย่างเป็นองค์รวมทั้งทางกายใจสติปัญญาอารมณ์ คุณธรรมจริยธรรมและสถาบันทางสังคมมีบทบาทหลักในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ ๓. เพื่ อ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ให้ เติ บ โตอย่ างมี เสถี ย รภาพคุ ณ ภาพและยั่ งยื น มี ค วาม เชื่อมโยงกับเครือข่ายการผลิตสินค้าและบริการบนฐานปัญญานวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นมี ค วามมั่ น คงทางอาหารและพลั งงานการผลิ ต และการบริ โภคเป็ น มิ ต ร ต่อสิ่งแวดล้อมนาไปสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่า ๔. เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เพียงพอต่อการรักษา สมดุลของระบบนิเวศและเป็นฐานที่มั่นคงของการพัฒนาประเทศ
ข
เป้าหมายหลัก ๑. ความอยู่ เย็ น เป็ น สุ ข และความสงบสุ ข ของสั งคมไทยเพิ่ ม ขึ้ น ความเหลื่ อ มล้ า ในสังคมลดลงสัดส่วนผู้อยู่ใต้เส้นความยากจนลดลงและดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชั่นไม่ต่ากว่า ๕.๐ คะแนน ๒. คนไทยมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องมีสุขภาวะดีขึ้นมีคุณธรรมจริยธรรมและสถาบัน ทางสังคมมีความเข้มแข็งมากขึ้น ๓. เศรษฐกิจเติบโตในอัตราที่เหมาะสมตามศักยภาพของประเทศให้ความสาคัญกับ การเพิ่มผลิตภาพรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ๓.๐ต่อปีเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ของประเทศเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศให้มีไม่ต่ากว่าร้อยละ ๔๐.๐ ๔. คุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มประสิทธิภาพการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกรวมทั้งเพิ่มพื้นที่ป่าไม้เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ตัวชี้วัด ๑. ดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุขดัชนีความสงบสุขสัดส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มประชากร ที่ มี ร ายได้ สู ง สุ ด ร้ อ ยละ ๑๐.๐ กั บ กลุ่ ม ที่ มี ร ายได้ น้ อ ยร้ อ ยละ ๑๐.๐ สั ด ส่ ว นผู้ อ ยู่ ใ ต้ เส้ น ความยากจนสัดส่วนแรงงานนอกระบบที่สามารถเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคมและดัชนีภาพลักษณ์ การคอร์รัปชั่น ๒. จ านวนปี ก ารศึ ก ษาเฉลี่ ย ของคนไทยผู้ เรี ย นทุ ก ระดั บ การศึ ก ษามี คุ ณ ธรรม จริย ธรรมสั ด ส่ว นประชากรที่ เข้ าถึงโครงข่ายคมนาคมและอิ น เทอร์เน็ ตความเร็วสู ง จานวน บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาอัตราการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อและดัชนีความอบอุ่นของครอบครัว ๓. อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอัตราเงินเฟ้อผลิตภาพการผลิตรวมอันดับ ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศสัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ๔. คุ ณ ภาพน้ าและอากาศร้ อ ยละของพื้ น ที่ ป่ า ไม้ ต่ อ พื้ น ที่ ป ระเทศและสั ด ส่ ว น การปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหัวเปรียบเที ยบกับ ลาดับขั้น การพั ฒ นาที่ แสดงโดยผลิตภั ณ ฑ์ มวลรวมในประเทศต่อหัว ยุทธศาสตร์การพัฒนา ๑. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคมให้ความสาคัญกับ ๑.๑ การสร้างความมั่ น คงทางเศรษฐกิ จและสังคมให้ ทุ ก คนในสั งคมไทย ควบคู่กับการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงและสร้างโอกาสในชีวิต ให้แก่ตนเองมุ่งปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้มีฐานการพัฒนาที่ทั่วถึงและยั่งยืนพัฒนาเศรษฐกิจ ฐานรากที่ มี ค วามหลากหลายและแข็ ง แกร่ ง มากขึ้ น ส่ ง เสริ ม การจั ด สรรทรั พ ยากรให้ เกิ ด
ค
ความเป็นธรรมปรับโครงสร้างภาษีทั้งระบบให้สนับสนุนการกระจายรายได้และเป็นเครื่องมือ สร้างความเป็นธรรมในการจัดสรรทรัพยากรและการถือครองทรัพย์สินพัฒนาการใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการเข้ าถึงข้อ มูลข่าวสารในการพั ฒ นาอาชี พส่ งเสริมบทบาทของ ภาคธุรกิจเอกชนในการเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมแก่คนในสังคมไทย รวมทั้ง ยกระดับคุณ ภาพระบบการคุ้มครองทางสังคมให้ ครอบคลุมทุ กคนอย่างทั่วถึงสอดคล้องกั บ ความต้องการและความจาเป็น ๑.๒ การจั ด บริก ารทางสั งคมให้ ทุ ก คนตามสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐานเน้ น การสร้าง ภูมิคุ้มกันระดับปัจเจกและสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาประเทศ มุ่งพัฒนาระบบบริการสาธารณะให้มีคุณภาพและมีช่องทางการเข้าถึงอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง การจัดหาที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยการเข้าถึงระบบสาธารณูปโภคพัฒนาระบบสวัสดิการ ทางสั งคมให้ มี คุ ณ ภาพและประสิ ท ธิภ าพพั ฒ นาระบบการเงิน ฐานรากและระบบการออม ที่ห ลากหลายเสริมสร้างเจตคติ ด้ านความเสมอภาคระหว่างหญิ งและชายและพั ฒ นาระบบ ฐานข้อมูลในการคุ้มครองทางสังคมให้ ครอบคลุมประชาชนทุกคนตามสิทธิและสามารถเข้าถึง บริการอย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๓ การเสริม สร้างพลังให้ ทุ กภาคส่ วนสามารถเพิ่ มทางเลือกการใช้ ชีวิ ต ในสังคมและมี ส่ วนร่ว มในเชิ งเศรษฐกิ จสังคมและการเมื องได้ อย่ างมีคุณ ค่าและศัก ดิ์ ศรี ให้ทุกคนสามารถแสดงออกทางความคิดอย่างสร้างสรรค์เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของ ชุมชนในการจัดการปัญหาของชุมชนด้วยตนเองสนับสนุนการรวมกลุ่มอาชีพที่สอดคล้องกับ ศักยภาพของพื้น ที่ ส่งเสริมให้ ภาคเอกชนภาคประชาสังคมและองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่ น เป็นพลังร่วมในการพัฒนาสังคมพัฒนามาตรฐานระบบการคุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มช่องทางการ เข้าถึงข้อมูลและองค์ความรู้เกี่ยวกับสิทธิของผู้บริโภคส่งเสริมบทบาทสตรีในระดับการบริหาร และการตั ดสิ น ใจทั้ งในระดั บ ชาติ และระดั บ ท้ อ งถิ่ น เพื่ อ สนั บ สนุ น การขั บ เคลื่อ นการพั ฒ นา ประเทศ ๑.๔ การสานสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมให้มีคุณค่าร่วมและตระหนัก ถึงผลประโยชน์ของสังคมและเสริมสร้างการบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพโปร่งใส มีระบบตรวจสอบและการรับผิดชอบที่รัดกุมโดยสร้างค่านิยมใหม่ที่ยอมรับร่วมกันบนฐานของ ความไว้เนื้อเชื่อใจและเกื้อกูลกันในสังคมส่งเสริมวัฒนธรรมการเมืองที่มีธรรมาภิบาล นาไปสู่ การเป็ น ประชาธิ ป ไตยที่ ถู ก ต้ อ งและเหมาะสมเสริ ม สร้ างระบบบริ ห ารราชการให้ เข้ ม แข็ ง มีประสิทธิภาพมีระบบถ่วงดุลอานาจการตรวจสอบที่เข้มงวดและรอบด้านพัฒนาข้าราชการ ให้มีคุณภาพสูงมีคุณธรรมจริยธรรมทางอาชีพ และมีความรับผิดรับชอบปฏิ รูปการเมืองไทย ทั้งระบบให้เป็นประชาธิปไตยของมวลชนสร้างความเท่าเทียมในกระบวนการยุติธรรมและเพิ่ม ช่องทางในการรับข้อร้องเรียนและให้ความช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้เสียหายและผู้ได้รับผลกระทบ จากกระบวนการยุติธรรมรวมทั้งสนับสนุนการใช้สื่อเพื่ อสังคมทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น และสังคมออนไลน์ให้เป็นพลังหนุนเสริมการพัฒนา
ง
๒. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาคนสู่ สั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต อย่ า งยั่ ง ยื น ให้ความสาคัญกับ ๒.๒ การพัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงมุ่งพัฒนา คุ ณ ภาพคนไทยทุ ก ช่ ว งวั ย สอดแทรกการพั ฒ นาคนด้ ว ยกระบวนการเรี ย นรู้ ที่ เสริ ม สร้ า ง วัฒ นธรรมการเกื้ อกู ลพั ฒ นาทั ก ษะให้ ค นมีก ารเรียนรู้ต่อ เนื่ อ งตลอดชี วิตต่ อ ยอดสู่ การสร้าง นวัตกรรมที่เกิดจากการฝึกฝนเป็นความคิดสร้างสรรค์ปลูกฝังการพร้อมรับฟังความคิดเห็นจาก ผู้อื่นและจิตใจที่มีคุณธรรมซื่อสัตย์มีระเบียบวินัยพัฒนาคนด้วยการเรียนรู้ในศาสตร์วิทยาการให้ สามารถประกอบอาชีพได้อย่างหลากหลายสอดคล้องกับแนวโน้มการจ้างงานและเตรียมความ พร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสร้างจิตสานึกให้คนไทยมีความรับผิดชอบต่อสังคมเคารพ กฎหมายหลักสิทธิมนุษยชนสร้างค่านิยมการผลิ ตและบริโภคที่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมเรียนรู้ การรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ ๒.๓ การส่งเสริมการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมโดยสร้าง เสริมสุขภาวะคนไทยให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจพัฒนาความรู้และทักษะ ในการดู แ ลสุ ข ภาพของตนเองครอบครั ว ชุ ม ชนสร้ างการมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นานโยบาย สาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพควบคู่กับการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพพร้อมทั้ง การส่งเสริมการแพทย์ทางเลื อกการพั ฒ นาระบบฐานข้อ มูลสุขภาพของประเทศการพั ฒ นา บุคลากรด้ านสาธารณสุขให้เหมาะสมทั้ งการผลิตและการกระจายบุ คลากรตลอดจนการใช้ มาตรการการเงินการคลังเพื่อสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ๒.๔ การส่ ง เสริม การเรี ย นรู้ต ลอดชี วิ ต มุ่ ง สร้ างกระแสสั งคมให้ ก ารเรีย นรู้ เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนมีนิสัยใฝ่รู้รักการอ่านตั้งแต่วัยเด็กและส่ งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน ของคนต่างวัยควบคู่กับการส่งเสริมให้องค์กรกลุ่มบุคคลชุมชนประชาชนและสื่อทุกประเภท เป็นแหล่งเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์สื่อสารด้วยภาษาที่เข้าใจง่ายรวมถึงส่งเสริมการศึกษาทางเลือก ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและสนับสนุน ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๒.๕ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคมเป็นการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งและพัฒนาบทบาทของสถาบันหลักทางสังคมให้เอื้อต่อการพัฒนาคนสร้างค่านิยม ให้คนไทยภูมิใจในวัฒนธรรมไทยและยอมรับความแตกต่างของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ที่ ล ดปั ญ หาความขั ด แย้ งทางความคิ ด และสร้า งความเป็ น เอกภาพในสั ง คมสร้ างเครื อ ข่ าย ความร่ ว มมื อ ทางวั ฒ นธรรมร่ ว มกั บ ประชาคมโลกโดยเฉพาะประชาคมอาเซี ย นให้ เกิ ด การไหลเวี ย นทางวัฒ นธรรมในรูป แบบการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ส่ งเสริ ม ความเข้ าใจระหว่ าง ประชาชนในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสาร ๓. ยุท ธศาสตร์ความเข้มแข็ งภาคเกษตรความมั่น คงของอาหารและพลังงาน ให้ความสาคัญกับ
จ
๓.๑ การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็ นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็ง และยั่งยืนฟื้นฟูและส่งเสริมค่านิยมวัฒนธรรมที่ดีและวิถีชีวิตทางการเกษตรที่ให้ความสาคัญกับ การพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ๓.๒ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและศั ก ยภาพการผลิ ต ภาคเกษตรสนั บ สนุ น การผลิตทางการเกษตรที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่พัฒนาและเสริมสร้างองค์ความรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่เหมาะสมทางการเกษตรรวมทั้งสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการผลิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้แก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง ๓.๓ การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ผลผลิ ต ทางการเกษตรตลอดห่ ว งโซ่ ก ารผลิ ต สนับสนุนการผลิตและบริการของชุมชนในการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรอาหารและพลังงาน ส่งเสริมสถาบันการศึกษาในพื้นที่ให้ร่วมทาการศึกษาวิจัยกับภาคเอกชน ๓.๕ การสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพัฒ นาพลังงานชีวภาพในระดับ ครัวเรือนและชุมชนโดยส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกต้นไม้และปลูกป่ าโดยชุมชนและเพื่อชุมชน เพิ่มขึ้นส่งเสริมให้เกษตรกรทาการเกษตรด้วยระบบเกษตรยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพี ยงสนับ สนุ นให้ มีการจัดการและเผยแพร่อ งค์ความรู้และการพั ฒ นาด้านอาหารศึ กษา ทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่องและทั่วถึงรวมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมของบุคคล และชุม ชนสนั บ สนุ น การสร้างเครือข่ ายการผลิ ตและการบริโภคที่ เกื้ อกู ลกั น ในระดั บ ชุม ชน ที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกันส่งเสริมการนาวัตถุดิบทางการเกษตรที่ผลิตได้ในชุมชนและที่เหลือใช้ จากการเกษตรมาผลิตเป็นพลังงานทดแทนในชุมชน ๓.๖ การสร้างความมั่ น คงด้า นพลังงานชี ว ภาพเพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นา ประเทศและความเข้มแข็งภาคเกษตรด้วยการปลูกจิตสานึกในการใช้พลังงานชีวภาพอย่างมี ประสิทธิภาพและคุ้มค่า ๓.๗ การปรั บ ระบบบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความมั่ น คง ด้ า นอาหารและพลั ง งานโดยสนั บ สนุ น บทบาทของเกษตรกรเครื อ ข่ า ยปราชญ์ ช าวบ้ า น ภาคเอกชนและชุ ม ชนให้ เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการก าหนดทิ ศ ทางและวางแผนการผลิ ต ทางการเกษตรปรับกระบวนการทางานของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องให้มีการร่วมมือ และ บู ร ณาการการท างานอย่ างจริง จั ง ทั้ ง ในส่ ว นกลางและระดั บ พื้ น ที่ พั ฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล สารสนเทศด้านอาหารและพลังงานตั้งแต่การผลิตการตลาดไปจนถึงการบริโภคพัฒนากฎหมาย ที่ เกี่ ยวข้อ งกั บ การพั ฒ นาด้ านการเกษตรส่ งเสริม ความร่วมมื อ ระหว่างประเทศทั้ งในระดั บ พหุภาคีและทวิภาคีโดยเฉพาะประชาคมอาเซียนที่ก่อให้เกิดความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน ๕. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคง ทางเศรษฐกิจและสังคมให้ความสาคัญกับ ๕.๓ การสร้ า งความพร้ อ มในการเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น เสริ ม สร้ า ง ความเข้มแข็งให้สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับ สากล
ฉ
๕.๑๐ การปรั บ ปรุ ง และเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ของภาคี ก ารพั ฒ นา ภายในประเทศตั้ งแต่ระดับ ชุ มชนท้ องถิ่น ส่งเสริม ศักยภาพด้านวิชาการและเครือข่ายของ สถาบันการศึกษาของไทยที่สร้างความใกล้ชิดและปฏิสัมพันธ์กับประเทศในอนุภูมิภาค
ช
ภาคผนวก ข วัตถุประสงค์และแนวนโยบายตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๙) เป็นกรอบการดาเนินการตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง และ การพัฒนา การศึกษาของประเทศ ซึ่งได้กาหนดวัตถุประสงค์และแนวนโยบาย๑ ดังนี้ วัตถุประสงค์ ๑ พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุล เพื่อเป็นฐานของการพัฒนา แนวนโยบาย ๑.๑ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ในทุกระดับและ ประเภทการศึกษา แนวนโยบาย ๑.๒ ปลู ก ฝั ง และเสริ ม สร้ า งให้ ผู้ เรี ย นมี ศี ล ธรรม คุ ณ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม มีจิตสานึกและมีความภูมิใจในความเป็นไทย มีระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะ คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม และยึดมั่น ในการปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข และรังเกียจการทุจริต ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง แนวนโยบาย ๑.๓ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนทุกคนตั้งแต่แรกเกิด จนตลอดชี วิ ต ได้ มี โอกาสเข้ าถึ งบริก ารการศึ ก ษาและการเรี ย นรู้ โดยเฉพาะผู้ ด้ อ ยโอกาส ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ยากจน อยู่ใน ท้องถิ่นห่างไกล ทุรกันดาร แนวนโยบาย ๑.๔ ผลิตและพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของ ประเทศ และเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันและร่วมมือกับนานาประเทศ แนวนโยบาย ๑.๕ พั ฒนามาตรฐานและระบบการประกั นคุ ณภาพการศึ กษา ทั้งระบบประกัน คุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก แนวนโยบาย ๑.๖ ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มี คุณภาพและ มาตรฐาน มีคุณธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี วัตถุประสงค์ ๒ สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญาและการเรียนรู้ แนวนโยบาย ๒.๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาอบรม และเรียนรู้ของสถาบันศาสนา และสถาบันสังคม ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย แนวนโยบาย ๒.๒ ส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น เครือ ข่ ายภู มิ ปั ญ ญา และการเรีย นรู้ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม พลศึกษา กีฬา เป็นวิถีชีวิตอย่างมีคุณภาพและตลอดชีวิต แนวนโยบาย ๒.๓ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม และ ทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ และสร้างกลไกการนาผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ ๑สานกังานเลขาธิการสภาการศึกษา
(๒๕๕๓). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.๒๕๕๒-ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑). กรุงเทพฯ: สกศ. พิมพ์ครั้งที่ ๓
ซ
วัตถุประสงค์ ๓ พัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคม เพื่อเป็นฐานในการพัฒนาคน และ สร้างสังคม คุณธรรม ภูมิปัญญาและการเรียนรู้ แนวนโยบาย ๓.๑ พัฒนาและนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาสทางการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต แนวนโยบาย ๓.๒ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยเร่งรัดกระจายอานาจการ บริ หาร และจั ดการศึ กษาไปสู่ สถานศึ กษา เขตพื้ นที่ การศึ กษา และองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ น แนวนโยบาย ๓.๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ประชาชน ประชาสังคม และทุกภาคส่วน ของสังคมในการบริหารจัดการศึกษา และสนับสนุนส่งเสริมการศึกษา แนวนโยบาย ๓.๔ ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ และการลงทุ นเพื่ อการศึกษา ตลอดจนบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ แนวนโยบาย ๓.๕ ส่ งเสริ ม ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศด้ า นการศึ ก ษา พัฒนาความเป็นสากล ของการศึกษาเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน และเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันของประเทศภายใต้กระแส โลกาภิวัฒน์ ขณะเดียวกันสามารถอยู่ร่วมกันกับพลโลก อย่างสันติสุข มีการพึ่งพาอาศัยและเกื้อกูลกัน
ฌ
ภาคผนวก ค เป้าหมายยุทธศาสตร์และตัวบ่งชี้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) เป้ าหมายยุ ทธศาสตร์ ตั วบ่ งชี้ แ ละค่าเป้ าหมายการปฏิ รูป การศึก ษาไทยภายใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๑๑ กาหนดไว้ ดังนี้ เป้าหมายยุทธศาสตร์ข้อ ๑ คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพ และได้มาตรฐาน ระดับสากล ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบระดับชาติ มีคะแนนเฉลี่ย มากกว่า ร้อยละ ๕๐ ๑.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น เป็นไม่ต่ากว่า ค่าเฉลี่ยนานาชาติ (ผลทดสอบ PISA) ๑.๓ ความสามารถด้านภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ ๓ ต่อปี ๑.๔ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ ๓ ต่อปี ๑.๕ สัดส่วนผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษา : สามัญศึกษาเป็น ๖๐ : ๔๐ ๑.๖ ผู้ ส าเร็จอาชี วศึ กษาและอุ ดมศึ กษามี คุ ณภาพระดั บสากล และเป็ นไปตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ ๑.๗ จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทย (อายุ ๑๕-๕๙ ปี) เพิ่มขึ้นเป็น ๑๒ ปี เป้าหมายยุทธศาสตร์ข้อ ๒ คนไทยใฝ่รู้ : สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รักการอ่าน และ แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง ๒.๑ ผู้ เรีย นทุ ก ระดั บ การศึ ก ษา ไม่ ต่ ากว่าร้ อ ยละ ๗๕ มี ทั ก ษะในการแสวงหา ความรู้ได้ด้วยตนเอง รักการ เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๒.๒ อัตราการรู้หนังสือของประชากร (อายุ ๑๕-๖๐ ปี) เป็นร้อยละ ๑๐๐ ๒.๓ ผู้เข้ารับบริการในแหล่งเรียนรู้เพิ่มขึ้นปีละอย่างน้อยร้อยละ ๑๐ ๒.๔ คนไทยใช้ เวลาอ่ า นหนั ง สื อ นอกเวลาเรี ย น/นอกเวลาท างานโดยเฉลี่ ย อย่างน้อยวันละ ๖๐ นาที ๒.๕ สั ด ส่ ว นผู้ ที่ ใช้ อิ น เทอร์ เน็ ต เพื่ อ การเรี ย นรู้ ต่ อ ประชากรอายุ ๖ ปี ขึ้ น ไป เป็นร้อยละ ๕๐
๑สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,
กรุงเทพฯ: สกศ.)
เป้าหมายยุทธศาสตร์และตัวบ่งชี้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑)
ญ
เป้าหมายยุทธศาสตร์ข้อ ๓ คนไทยใฝ่ดี : มีคุณธรรมพื้นฐาน มีจิตสานึกและค่านิยม ที่พึงประสงค์ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีจิตสาธารณะ มีวัฒนธรรมประชาธิปไตย ๓.๑ ผู้เรียนทุกระดับการศึกษาไม่ต่ากว่าร้อยละ ๗๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และ มีความเป็นพลเมือง ๓.๒ จานวนคดีเด็กและเยาวชนที่ถูกดาเนินคดี โดยสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน ลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี ๓.๓ จานวนเด็กอายุต่ากว่า ๑๕ ปีที่ตั้งครรภ์ ลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี ๓.๔ จานวนเด็กและเยาวชนเข้ารับการบาบัดยาเสพติดลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี ๓.๕ สัดส่วนคนไทยที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ ต่อผู้อื่นและสังคมอย่างสม่าเสมอ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๕ ต่อปี เป้าหมายยุทธศาสตร์ข้อ ๔ คนไทยคิดเป็นทาเป็น แก้ปัญหาได้: มีทักษะในการคิด และปฏิบัติ มีความสามารถในการแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร ๔.๑ ผู้เรียนในระดั บ การศึก ษาไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๗๕ มี ความสามารถในการคิ ด วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ ๔.๒ ผู้สาเร็จการอาชีวศึกษาและการอุ ดมศึ กษา มี สมรรถนะเป็ นที่ พึ งพอใจของผู้ใช้ และมีงานทาภายใน ๑ ปี รวมทั้งประกอบอาชีพอิสระเพิ่มขึ้น ๔.๓ กาลังแรงงานที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๖๕ และมีสมรรถนะทางวิชาชีพตามมาตรฐาน
ฎ
ภาคผนวก ง ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑. ในสหรัฐอเมริกา โดยภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งเสนอกรอบความคิด เพื่ อ การเรีย นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ประกอบไปด้ วยสาระวิชาหลั ก ความรู้ ทั ก ษะ และระบบ ส่งเสริมการเรียนรู้ (อ้างถึงโดยมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, ๒๕๕๖)๑ ดังนี้ สาระวิชาหลัก (core subjects): ภาษาอังกฤษ การอ่าน หรือศิลปะการใช้ภาษา ภาษาต่างประเทศ ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ การปกครองและหน้าที่พลเมือง ความรู้ส าคัญ ในการดารงชี วิต ในศตวรรษที่ ๒๑ (๒๑ st Century Themes): ความรู้ เรื่อ งโลก ความรู้ด้ านการเงิน เศรษฐกิ จ ธุ ร กิ จ และการเป็ น ผู้ ป ระกอบการ ความรู้ ด้านพลเมือง ความรู้ด้านสุขภาพ และความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills): ความคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมี วิจารณญาณและการแก้ไขปัญ หา การสื่อสารและ การร่วมมือทางาน ทั ก ษะด้ า นสารสนเทศ สื่ อ และเทคโนโลยี (Information, Media, and Technology Skills): ทั ก ษะด้ า นสารสนเทศ ทั ก ษะด้ า นสื่ อ และทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ทั กษะชี วิ ตและอาชี พ (Life and Career Skills): ความยื ดหยุ่ นและความสามารถ ในการปรับตัว ความคิดริเริ่มและการชี้นาตนเอง ทักษะทางสังคมและทักษะข้ามวัฒ นธรรม การเพิ่มผลิตภาพและความรู้รับผิด และความเป็นผู้นาและความรับผิดชอบ ระบบส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑: มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตร และวิธีการสอน การพัฒนาวิชาชีพ และสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ แสดงให้เห็นดังภาพต่อไปนี้
๑
มูลนิธิสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย(๒๕๕๖). รายงานฉบับสมบูรณ์: การจัดทายุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เกิดความรับผิดชอบ หน้า ๕.
ฏ
กรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ม า: ดั ด แปลงมาจาก Bellanca and Brandt (๒๐๑๑) ทั ก ษะแห่ ง อนาคตใหม่ : การศึ ก ษาเพื่ อ ทศวรรษที่ ๒๑ แป ลจาก ๒ ๑ st Century Skills: Rethinking How Students Learn แป ลโดย วรพจน์ วงศ์ กิ จ รุ่ ง เรื อ ง และ อธิป จิตตฤกษ์ หน้า ๓๔
ฐ
ภาคผนวก จ แนวปฏิบัติในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลั กสู ต รแกนกลางการศึ กษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ทธศั กราช ๒๕๕๑ มุ่ งพั ฒ นาผู้เรีย น ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่าง มีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ในการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ จาเป็นต้องอาศัยการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึ กษา คณะกรรมการสถานศึกษา ครูผู้สอน ครูประจาชั้น ผู้ปกครอง และชุมชนต้องร่วมมือกันปลูกฝัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง จึงต้องพิจารณาถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่สถานศึกษากาหนดให้จัดขึ้น แล้วส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งอาจดาเนินการพัฒนาด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เช่น ๑. บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ๒. จัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๓. จัดโครงการเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔. ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์โดยสอดแทรกในกิจวัตรประจาวัน แนวปฏิบัติในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น สามารถพัฒนา ได้โดยการนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตัวชี้วัด และพฤติกรรมบ่งชี้ที่วิเคราะห์ไว้ไปบูรณาการ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโครงการต่าง ๆ และกิจวัตรประจาวันของ ผู้เรียน ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวชี้วัด ๑.๑ เป็นพลเมืองดี ของชาติ
๑.๒ ธารงไว้ซึ่งความ เป็นชาติไทย
พฤติกรรมบ่งชี้ ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพของชาติ ร้องเพลงชาติ และอธิบายความหมายของเพลงชาติ ได้ถูกต้อง ๑.๑.๒ ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่พลเมืองดี ของชาติ ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ปรองดอง ๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรม ที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง ที่เป็น ประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ๑.๒.๒ หวงแหน ปกป้อง ยกย่อง ความเป็น ชาติไทย
วิธีการพัฒนา กิจกรรม กลุ่ม กิจวัตร พัฒนา โครงการ สาระ ประจาวัน ผู้เรียน
ฑ
วิธีการพัฒนา กิจกรรม กลุ่ม กิจวัตร พัฒนา โครงการ สาระ ประจาวัน ผู้เรียน
ตัวชี้วัด
พฤติกรรมบ่งชี้
๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่น และปฏิบตั ิตน ตามหลักของ ศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทูน สถาบัน พระมหากษัตริย์
๑.๓.๑ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ๑.๓.๒ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาทีต่ นนับถือ ๑.๓.๓ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน
๑.๔.๑ มีส่วนร่วมหรือจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับ สถาบันพระมหากษัตริย์ ๑.๔.๒ แสดงความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระมหากษัตริย์ ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต ตัวชี้วัด ๒.๑ ประพฤติ ตรงตาม ความเป็นจริง ต่อตนเอง ทั้งทางกาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติ ตรงตาม ความเป็นจริง ต่อตนเอง ทั้งทางกาย วาจา ใจ
พฤติกรรมบ่งชี้
วิธีการพัฒนา กิจกรรม กลุ่ม กิจวัตร พัฒนา โครงการ สาระ ประจาวัน ผู้เรียน
๒.๑.๑ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง ปราศจากความลาเอียง ๒.๑.๒ ปฏิบัติตนโดยคานึงถึงความถูกต้อง ละอายและเกรงกลัวต่อการกระทาผิด ๒.๑.๓ ปฏิบัติตามคามั่นสัญญา
๒.๒.๑ ไม่ถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่น มาเป็นของตนเอง ๒.๒.๒ ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ๒.๒.๓ ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง
ฒ
๓. มีวินัย ตัวชี้วัด ๓.๑ ปฏิบตั ิตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว โรงเรียน และ สังคม
พฤติกรรมบ่งชี้ ๓.๑.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และ สังคม ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ๓.๑.๒ ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน และรับผิดชอบใน การทางาน
วิธีการพัฒนา กิจกรรม กลุ่ม กิจวัตร พัฒนา โครงการ สาระ ประจาวัน ผู้เรียน
๔. ใฝ่เรียนรู้ ตัวชี้วัด
พฤติกรรมบ่งชี้
วิธีการพัฒนา กิจกรรม กลุ่ม กิจวัตร พัฒนา โครงการ สาระ ประจาวัน ผู้เรียน
๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมีความเพียรพยายาม ในการเรียนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
๔.๒ แสงหาความรู้ ๔.๒.๑ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ จากแหล่งเรียนรู้ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ต่าง ๆ ทัง้ ภายใน แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก และภายนอก โรงเรียน และเลือกใช้สื่อ โรงเรียน ได้อย่างเหมาะสม ด้วยการเลือกใช้ ๔.๒.๒ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจาก สื่ออย่าง สิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ เหมาะสม บันทึก ๕.๒.๓ แลกเปลี่ยนความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ความรู้ วิเคราะห์ เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน สรุปเป็นองค์ ความรู้ และ สามารถนาไปใช้ ในชีวติ ประจาวันได้
๔.๑ ตัง้ ใจ เพียรพยายาม ในการเรียน และเข้าร่วม กิจกรรม การเรียนรู้
ณ
๕. อยู่อย่างพอเพียง ตัวชี้วัด
พฤติกรรมบ่งชี้
๕.๑ ดาเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม
๕.๑.๑ ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี รวมทั้งการใช้เวลาอย่างเหมาะสม ๕.๑.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี ๕.๑.๓ ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความ รอบคอบ มีเหตุผล ๕.๑.๔ ไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ทาให้ผู้อื่น เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อผู้อื่น กระทาผิดพลาด ๕.๒.๑ วางแผนการเรียน การทางาน และ การใช้ชีวิตประจาวันบนพื้นฐานของ ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ๕.๒.๒ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับ และ ปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข
๕.๒ มีภูมิคุ้มกันใน ตัวทีด่ ี ปรับตัว เพื่ออยู่ในสังคม ได้อย่างมี ความสุข
วิธีการพัฒนา กิจกรรม กลุ่ม กิจวัตร พัฒนา โครงการ สาระ ประจาวัน ผู้เรียน
๖. มุ่งมั่นในการทางาน ตัวชี้วัด ๖.๑ ตัง้ ใจและ รับผิดชอบใน การปฏิบตั ิหน้าที่ การงาน ๖.๒ ทางานด้วยความ เพียรพยายาม และอดทนเพื่อ ให้งานสาเร็จ ตามเป้าหมาย
พฤติกรรมบ่งชี้ ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย ๖.๑.๒ ตัง้ ใจและรับผิดชอบในการทางาน ให้สาเร็จ ๖.๑.๓ ปรับปรุงและพัฒนาการทางาน ด้วยตนเอง ๖.๒.๑ ทุ่มเททางาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อ ปัญหาและอุปสรรคในการทางาน ๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรค ในการทางานให้สาเร็จ ๖.๒.๓ ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
วิธีการพัฒนา กิจกรรม กลุ่ม กิจวัตร พัฒนา โครงการ สาระ ประจาวัน ผู้เรียน
ด
๗. รักความเป็นไทย ตัวชี้วัด ๗.๑ ภาคภูมิใจใน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความ กตัญญูกตเวที ๗.๒ เห็นคุณค่าและ ใช้ภาษาไทย
พฤติกรรมบ่งชี้ ๗.๑.๑ แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวทีต่อ ผู้มีพระคุณ ๗.๑.๒ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย ๗.๑.๓ ชักชวน แนะนาให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย ๗.๒.๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสาร ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
วิธีการพัฒนา กิจกรรม กลุ่ม กิจวัตร พัฒนา โครงการ สาระ ประจาวัน ผู้เรียน
๘. มีจิตสาธารณะ ตัวชี้วัด
พฤติกรรมบ่งชี้
๘.๑ ช่วยเหลือผู้อื่น ด้วย ๘.๑.๑ ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูทางาน ความเต็มใจ และ ด้วยความเต็มใจ พึงพอใจ โดยไม่ ๘.๑.๒ อาสาทางานให้ผู้อื่นด้วยกาลังกาย กาลังใจ หวังผลตอบแทน และกาลังสติปัญญา โดยไม่หวัง ผลตอบแทน ๘.๑.๓ แบ่งปันสิ่งของ ทรัพย์สิน และอื่นๆ และ ช่วยแก้ปัญหาหรือสร้างความสุข ให้กับผู้อื่น ๘.๒ เข้าร่วมกิจกรรม ๘.๒.๑ ดูแล รักษาสาธารณสมบัติ และ ที่เป็นประโยชน์ สิ่งแวดล้อมด้วยความเต็มใจ ต่อโรงเรียน ชุมชน ๘.๒.๒ เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ และสังคม ๘.๒.๓ เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา หรือร่วม สร้างสิ่งที่ดีงามของส่วนรวม ตาม สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ด้วยความกระตือรือร้น
วิธีการพัฒนา กิจกรรม กลุ่ม กิจวัตร พัฒนา โครงการ สาระ ประจาวัน ผู้เรียน
ต
ภาคผนวก ฉ จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ถ
ภาคผนวก ช SWOT สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ส่งแบบสอบถามไปยังสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ ทั้งเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา ถึงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการดาเนินการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มคน ๒ กลุ่ม ได้แก่ ๑. บุ ค ลากรของส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ตั้ ง แต่ ผู้ อ านวยการส านั ก งาน เขตพื้นที่การศึกษา รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เจ้าหน้าที่ด้านนโยบายและแผน ศึกษานิเทศก์ และเจ้าหน้าที่ด้านอื่นๆ ๒. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ในเขตพื้นที่ ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียนสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหาร โรงเรีย นเอกชน บริษั ท/ห้ างร้าน/สถานประกอบการ ผู้บ ริห ารโรงเรียนอาชี วศึก ษา องค์ ก ร ศาสนา หน่วยงานรัฐอืน่ ๆ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ประมวล และวิเคราะห์แบบสอบถาม ดังกล่าว สรุปเป็นจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ของ การดาเนินการของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นดังนี้ ปัจจัยภายใน จุดแข็ง ๑. บุคลากรมีความสามารถ ๒. องค์กรมีเครือข่ายกระจายอยู่ทั่วประเทศ ๓. ภารกิจของหน่วยงานเป็นที่ตระหนักว่า มีความสาคัญต่อประเทศ ๔. โครงสร้างชัดเจน มีภาระงานชัดเจน ๕. สื่อเทคโนโลยีที่หน่วยงานในสังกัดได้รับ มีความทันสมัย
ปัจจัยภายนอก โอกาส ๑. ได้รับงบประมาณมาก ๒. นโยบายสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง มากขึ้น เน้นการปฏิบัติที่โรงเรียน เน้นคุณภาพ ส่งเสริมการศึกษา ให้เท่าเทียมชัดเจน ๓. ความทันสมัยของเทคโนโลยีในสังคม ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สอดคล้องกับ ศักยภาพมากขึ้น / ช่วยโรงเรียนทางาน ได้รวดเร็ว ๔. ทุกภาคส่วนตื่นตัว /มีส่วนร่วมในการจัด มากขึ้น ๕. เครือข่ายการทางานทั่วประเทศ จึงมีช่องทางรับฟังความคิดเห็นที่กว้าง และลึก ๖.การทางานมีกฎหมายรองรับ
ท
ปัจจัยภายใน จุดอ่อน ๑. โรงเรียนขนาดเล็กจานวนมาก ไม่พร้อม จัดการศึกษาให้ได้คุณภาพ ๒. โครงสร้างส่วนกลางซ้าซ้อน ขาดประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ ๓. บุคลากรทางานไม่เต็มประสิทธิภาพ ๔. การกระจายอานาจจากส่วนกลาง ยังเป็นไปอย่างจากัด ๕. มีการปรับเปลี่ยนนโยบายบ่อย ๖. การใช้สื่อยังไม่คุ้มค่า ๗. งบประมาณงบอุดหนุนนักเรียนรายบุคคล/ ซ่อมแซมอาคาร/ครุภัณฑ์ยังไม่เพียงพอ ๘. ขาดครูเฉพาะทาง
ปัจจัยภายนอก อุปสรรค ๑. ค่าครองชีพสูงผู้ปกครอง/ประชาชนร่วมมือ ในการจัดน้อยลง ๒. เปลี่ยนรัฐมนตรีบ่อยเกินไป ทาให้นโยบาย ไม่ต่อเนื่อง ๓. การเมืองแทรกแซงการบริหารจัดการด้าน งบประมาณ และบุคลากร ๔. ขาดการส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่เป็นรูปธรรม ๕. ปัญหาสังคม/อบายมุข/สื่อไม่สร้างสรรค์ ๖. การดาเนินการบางเรื่องยังขาดกฎหมายรองรับ
ธ
ภาคผนวก ซ คุณสมบัติของพนักงานที่ผู้บริหารสูงสุดของภาคเอกชนที่เป็นสมาชิกสภาธุรกิจ ของสหรัฐอเมริกาให้ความสาคัญ (ข้อมูล ณ พฤษภาคม ๒๕๕๖) สาคัญมาก
สาคัญปานกลาง
ไม่สาคัญ
จริยธรรมการทางาน การทางานเป็นทีม การตัดสินใจ การคิดเชิงวิพากษ์ การใช้งานคอมพิวเตอร์ การอ่านและคานวณพื้นฐาน
การเขียนและการสื่อสาร การมีความคิดสร้างสรรค์
แรงจูงใจใฝ่พัฒนา ความเชี่ยวชาญทางเทคนิค ความพร้อมในการทางาน ความพร้อมของสุขภาพ/ร่างกาย
ทักษะทางเครื่องกล ที่มา: ดัดแปลงมาจาก Chart ๔ หน้า๗-๘ ในThe Business Council Survery of Chief Executive. เขียนโดย The Conference Boardแหล่ ง ข้ อ มู ล http://www.thebusinesscouncil.org/assets/TCB_BCS_MAY_๒๐๑๓.pdf วั น ที่ ไ ด้ รั บ ข้ อ มู ล ๓ เมษายน ๒๕๕๗