งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556 จานวนพิมพ์ 200 เล่ม พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556 ผู้จัดพิมพ์ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวนพิมพ์ 200 เล่ม ถนนราชดาเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 ผู้จัดพิมพ์ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โทร. 0 2288 5883 โทรสาร 0 22815216 ถนนราชดาเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 พิมพ์ที่ ห้างหุ้นส่วนจากัด เชน ปริ้นติ้ง โทร 0 2288 5883 โทรสาร 0 22815216 7/414 ม. 5 ต.บางใหญ่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140 พิมพ์ที่ ห้างหุ้นส่วนจากัด เชน ปริ้นติ้ง โทร. 0-2927-8194, 08-1489-4161
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging Publication สานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั ้นพื้นฐาน, inสานั กพัฒนานวัตData กรรมการจัดการศึกษา งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ, สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา --กรุงเทพฯ : สานักงานฯ, 2556.134 หน้า-- (1) งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ, --กรุ งเทพฯ : สเานั กงานฯ, 1. การศึ กษาพิ ศษ—วิ จัย.2556.134 1. ชื่อเรื่อง หน้า-- (1) 1. การศึกษาพิเศษ—วิจัย. 1. ชื่อเรื่อง 371.9072 ISBN 978-616-202-8212 371.9072 ISBN 978-616-202-8212 © ลิขสิทธิ์ของสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน © ลิขสิทธิ์ของสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำนำ หนังสือ “งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความ ต้องการพิเศษ” นี้ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทาขึ้นเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยของครู ผู้บริหาร และศึกษานิเทศก์ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนที่มี ความต้องการพิเศษ ซึ่งเป็นผลของการจัดการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ. ศ. 2545 มาตรา 30 ที่มุ่งให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียน การสอนที่มีประสิทธิภาพส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ ละ ระดับการศึกษา เพื่อให้เด็กและเยาวชนของชาติได้รับ การศึกษาที่มีคุณภาพ เหมาะสมกับบริบทของสังคม และความต้องการของผู้เรียน ส านั ก พั ฒ นานวั ต กรรมการจั ด การศึ ก ษา ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ขอขอบคุณเจ้าของผลงานวิจัยทุกท่านที่ได้นาประสบการณ์อันมีค่ามาสร้างเป็นแบบอย่างที่ดีและขอบคุณ คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทุกท่านที่ได้กลั่ นกรองคัดเลือกและตรวจสอบผลงานวิจัยดีมีคุณภาพ ขอบคุณ นักวิจัยทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือในการนาเสนอผลงานวิจัยครั้งนี้ด้วยดี
(นางพจมาน พงษ์ไพบูลย์) ผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
สารบัญ หน้า บทนา
1
1. การศึกษาความสามารถในการอ่านคาของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยชมพู จังหวัดเชียงราย จากการใช้เทคนิค แม่แบบควบคู่กับการเสริมแรงทางบวก ผู้วิจัย ณัฏฐณิชา ขันใจ
4
2. การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้ด้านการอ่านโดยการบูรณาการแนวคิดพหุสัมผัส และแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใต้พื้นฐานการเรียนรวมเพื่อเสริมสร้างความสามารถ ความสนใจและความคงทนในการอ่านของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ผู้วิจัย นางฉวีวรรณ โยคิน
22
3. ผลการจัดการเรียนรู้สาระทัศนศิลป์เรื่องทัศนศิลป์สร้างสรรค์ของนักเรียนที่มีความบกพร่อง 36 ทางการได้ยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การสอน แบบส่งเสริมจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ (พ.ศ. 2555) ผู้วิจัย นายชินกร คาภูธร 4. รายงานผลการพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยคของนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยินชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้แบบฝึกการเขียนตามโครงสร้างประโยคประกอบภาพ ผู้วิจัย นางสาวพัชราพร ศรีจันทร์อินทร์
46
5. รายงานการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแก่น ผู้วิจัย นางขนิษฐา โสธรรมมงคล และนายชนาธิป กาละพันธ์
59
6. การแก้ปัญหาการเรียนรู้เรื่องตาแหน่งจุดเบรลล์โดยใช้บล็อกเรลล์ นักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการเห็นโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต้จังหวัดสุราษฏร์ธานี ผู้วิจัย นายสิทธิศักดิ์ ชิตพิทักษ์
85
7. การใช้กิจกรรมห้องธรรมานุบาลเพื่อเพิ่มสมาธิในเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ที่ภาวะไม่หยุดนิ่ง ผู้วิจัย นายโต้ง พรมกุล
102
8. การศึกษาผลของกิจกรรมการกระตุ้นการรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหวที่มีต่อการแสดง พฤติกรรมซ้าๆความสามารถในการสบตาการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ของเด็กออทิสติก ผู้วิจัย นางพัชรีวรรณ พรมกุล
116
1
บทนํา การวิจัยทางการศึกษาพิเศษ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มีสาระในการจัดการศึก ษาขั้นพื้นฐาน ใหเด็กวัยเรียนทุกคนมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับการจัดการศึกษา ใหผูมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู หรือมีรางกาย พิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแลหรือดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคล ดังกลาวมีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนพิเศษ การศึกษาขั้นพื้นฐานเปนพิเศษ ในที่นี้หมายถึง การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลที่มีความตองการ พิเ ศษโดยรัฐดวยวิธีการสอน การจัดดําเนินการ และการใหบริก ารสอน เครื่องมือและอุปกรณในการ จัดการเรียนการสอนที่สนองตอบตอความสามารถ และความตองการของเด็กพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้นฐาน สง เสริมการทําวิจัยเพื่อ พัฒนาการจัดการศึกษา สําหรับคนพิการไวใน แผนพัฒ นาการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ ระยะ 5 ป ( พ.ศ. 2555- 2559) ยุทธศาสตรที่ 2 ดังนี้ ยุทธศาสตร 2 วิจัยและพัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู การวัดประเมินผลใหเหมาะสม สําหรับคนพิการ เปาประสงค : คนพิก ารไดรับการศึก ษาอยางมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาในทุก ระบบ สอดคลองกับความตองการจําเปนพิเศษของแตละบุคคล และมีทักษะการดํารงชีวิตสามารถประกอบอาชีพ พึ่งพาตนเองได มาตรการ 1. สงเสริมการวิจัย การพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการจัดหลักสูตร นวัตกรรมในการจัดการ เรียนรู กระบวนการเรียนรู การทดสอบทางการศึกษา การวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับความตองการ จําเปนของคนพิการแตละประเภทและบุคคล 2. พัฒนาระบบและใหการสนับสนุนสื่อ สิ่งอํานวยความสะดวก บริการ และความชวยเหลืออื่นใด ทางการศึกษาใหสอดคลองกับความตองการจําเปนของคนพิการแตละประเภทในทุกระบบและรูปแบบ การศึกษา 3. สงเสริมใหมีการบูรณาการการใชหลักสูตรในการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการของหนวยงานที่ เกี่ยวของเพื่อสงเสริมการมีงานทําของคนพิการ
2
2
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
4. กําหนดระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีการ เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการศึกษาการเทียบโอน สําหรับคนพิการแตละประเภทในทุกระบบ และรูปแบบการศึกษา ปจ จุบันสํานัก งานคณะกรรมการการศึก ษาขั้นพื้นฐาน จัดการศึก ษาสําหรับ นักเรียนที่มีความ ตองการพิเศษ ในรูปแบบระบบโรงเรียน แบงเปน 2 กลุม คือ บุคคลที่มีความพิการ และบุคคลดอยโอกาส โดยจัดโรงเรียนเปน 4 รูปแบบ สําหรับบุคคลที่มีความพิการ จัดบริการในโรงเรียน 3 รูปแบบ คือ 1.โรงเรียนเฉพาะความพิการ เปนโรงเรียนสําหรับบริการแกเด็กพิการคอนขางรุนแรงไมสามารถไป เรียนกับเด็กทั่วไปได รับนักเรียนพิการที่มีความพิการในระดับรุนแรงจากคนพิการในวัยเรียนทั่วประเทศ เขาเรียนแบบประจําในทุกชวงชั้น (ปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย) ไดแกโรงเรียนที่สอนเด็กที่มีความ บกพรองทางการไดยิน โรงเรียนที่สอนเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา โรงเรียนที่สอนเด็ก ที่มีความ บกพรองทางการเห็น โรงเรียนที่สอนเด็กที่มีความบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพ รวม 43 แหง 2. ศูนยการศึก ษาพิเศษ เปนศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่ม (Early Intervention) ฟนฟู เตรียมความพรอมเด็กพิการทุกประเภท เพื่อการสงตอไปยังโรงเรียนหรือสถานบริการที่เหมาะสมกับเด็ก อีกทั้งบริการวิชาการบริก ารและความชวยเหลืออื่นๆ ซึ่งมีศูนยการศึกษาพิเศษเขตการศึกษาจํานวน 13 แหง ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดจํานวน 63 แหง ครบทุกจังหวัดทั่วประเทศ 3. โรงเรียนจัดการเรียนรวม 1 เปนโรงเรียนปกติทั่วไปในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่จัด ใหเด็กพิการมีโอกาสเรียนรวมกับเด็กทั่วไป และขณะนี้สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําลัง ทดลองนํารองการจัดการศึกษา แบบเรียนรวม2 ในโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทั่วประเทศ เพื่อบริการการศึกษาแกเด็กวัยเรียน ทุกคนใหครอบคลุมทุกพื้นที่ สําหรับบุคคลดอยโอกาส จัดบริการในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห โรงเรียนราชประชานุเคราะห ในรูปแบบโรงเรียนประเภทที่ 4 คือ 4. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห โรงเรียนราชประชานุเคราะห เปนสถานศึกษาที่มีท้ังอยูประจําหรือ ไป-กลับจัดใหกับเด็กดอยโอกาสตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ 10 ประเภท ไดแก เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือ เด็ก กําพรา เด็ก ในชุ ม ชนกลุม นอ ย เด็ก ที่ ไดรั บ ผลกระทบจากโรคติดต อรา ยแรงหรื อที่สั ง คมรัง เกีย จ 1
เรียนรวม (Mainstreaming) การจัดการศึกษาใหเด็กพิการเขาไปเรียนในชั้นปกติ เรียนหลักสูตรเดียวกับเด็กปกติ จบหลักสูตรดวย
มาตรฐานเดียวกับเด็กปกติ
2
เรียนรวม ( Inclusion ) การจัดการศึกษาใหผูเรียนที่มีวิธีการเรียนรูที่แตกตางกันบรรลุศักยภาพสูงสุดตามความเหมาะสมของแตละ คนในโรงเรียนเดียวกัน ตามหลักสูตรแตกตางหลากหลายตามศักยภาพในการเรียนรูของผูเรียน
33เ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ ศษ
3
เด็เด็ กเรกรเรอรนอนเด็เด็ กทีก่ถทีูก่ถทํูกาทํรารยทารุ ณณเด็เด็ กทีก่มทีีป่มญีปหาเกี ่ยวกั บยาเสพติ ด ดเด็เด็ กในสถานพิ นิจนและคุ มครองเด็ ก กและ ายทารุ ญหาเกี ่ยวกั บยาเสพติ กในสถานพิ ิจและคุ มครองเด็ และ เยาวชน กทีก่อทียู่อธยูุรธกิุรจกิทางเพศ กทีก่ถทีูก่ถบัูกงบัคังบคัใชบใช แรงงาน กยากจน ้ง หมด ยนยน เยาวชนเด็เด็ จทางเพศเด็เด็ แรงงานและเด็ และเด็ กยากจนรวมทั รวมทั ้ง หมด5050โรงเรี โรงเรี จากสถานการณ มในอนาคต านัากนังานคณะกรรมการการศึ กษาขั ้น ้น จากสถานการณแนวโน แนวโน มในอนาคต( 2548 ( 2548– –2568) 2568)(สํ(สํ กงานคณะกรรมการการศึ กษาขั พื้นพืฐาน เด็เกด็วักยวัเรียยเรีนที ่มีค่มวามต องการพิ เศษเพิ ่มขึ่ม้นขึทุ้นกทุปกปดังดันัง้นนัแผนพั ฒนาการจั ดการศึ กษา ้นฐาน: 2555) : 2555)จะมี จะมี ยนที ีความต องการพิ เศษเพิ ้นแผนพั ฒนาการจั ดการศึ กษา สําสํหรั บคนพิ การหรื อผูอมผูีคมวามต องการพิ เศษที ่สํา่สคัําญคัคืญอคืการส งเสริ มให มีงมานวิ จัยจเพื ่อสร างองค ความรู ดาดนาน าหรั บคนพิ การหรื ีความต องการพิ เศษที อการส งเสริ มให ีงานวิ ัยเพื ่อสร างองค ความรู คนพิ การการเพราะ จัยจเปัยเป นกระบวนการหาความรู อยอายงเป นระบบด วยวิวยวิ ธีกธารทางวิ ทยาศาสตร นฐาน คนพิ เพราะการวิ การวิ นกระบวนการหาความรู างเป นระบบด ีการทางวิ ทยาศาสตรเปเป นฐาน แหแห งการพั ฒนานวั ตกรรมมี ความสํ าคัาญคัญตอตการพั ฒนาประเทศ กทีก่มทีีค่มวามต องการพิ เศษมี ศักศยภาพและ งการพั ฒนานวั ตกรรมมี ความสํ อการพั ฒนาประเทศเด็เด็ ีความต องการพิ เศษมี ักยภาพและ ความต องการที ่แตกต างหลากหลาย จึงจตึงอตงเรี ยนรู การพั ฒนาลู กศิกษศิยษพยิเพศษแต ละคนด วยการศึ กษาวิ จัยจัย ความต องการที ่แตกต างหลากหลายครูครู องเรี ยนรู การพั ฒนาลู ิเศษแต ละคนด วยการศึ กษาวิ ดวดยตั วครูวครู เองเองเพราะ คือคผูือวผูิเวศษณ ที่จทะสร างอัางอั ศจรรย ใหใเหด็เกด็ทีก่มทีีค่มวามต องการพิ เศษเศษ วยตั เพราะครูครู ิเศษณ ี่จะสร ศจรรย ีความต องการพิ หนัหนั ง สืงอสืเลอ เล ม นีม้รนีวมผลงานวิ จัยจของครู ผูวผิเูวศษณ อง่องที่ผทีา่ผนการคั ดเลืดเลื อกให นํานเสนอ ้ร วมผลงานวิ ัยของครู ิเศษณรวม รวม 8 8เรื่เรื านการคั อกให ําเสนอ ผลงานวิ จัยจในงาน ชาการนํ าเสนอผลการวิ จัยจทางการศึ กษา( ผลงานวิ ัยในงานสัมสัมนาวิ มมนาวิ ชาการนํ าเสนอผลการวิ ัยทางการศึ กษา(OBEC OBECResearch ResearchSymposium Symposium 2013) างวัางวั นทีน่ ที10่ 10– –1212มิถมิุนถายน ราเคิ ลแกรนด กสีก่ สีกรุ่ กรุ งเทพมหานคร 2013) ระหว ระหว ุนายน2556 2556ณณโรงแรมมิ โรงแรมมิ ราเคิ ลแกรนดหลัหลั งเทพมหานคร เปเป นงานวิ จัยจพััยฒพันาการจั ดการเรี ยนยนสําสํหรั บเด็บเด็ กทีก่มทีีค่มวามบกพร องทางการเรี ยนรู 2 2เรื่อเรืง่อบกพร องทาง นงานวิ ฒนาการจั ดการเรี าหรั ีความบกพร องทางการเรี ยนรู ง บกพร องทาง การได ยินยิน3 3เรื่อเรืง่อบกพร องทางการเห็ น น1 1เรื่อเรืง่อบกพร องทางสติ ปญปญาที ่ภาวะไม หยุหดยุนิด่งนิ่1ง 1เรื่อเรืง่อและ การได ง บกพร องทางการเห็ ง บกพร องทางสติ ญญาที ่ภาวะไม ง และ เด็เด็ กออติ สติสคติค1 เรื กออติ 1 ่อเรืง่อง
4 ชื่องานวิจัย การศึกษาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบานหวยชมพู จังหวัดเชียงราย จากการใชเทคนิคแมแบบควบคู กับการเสริมแรงทางบวก พ.ศ. 2555 ชื่อผูวิจัย ณัฏฐณิชา ขันใจ โรงเรียนบานหวยชมพู สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1
หลักการความเปนมาและความสําคัญของปญหา ภาษาเปนสิ่ง ที่มีความสําคัญ ตอชีวิตมนุษยอยางยิ่ง เพราะมนุษยใชภาษาเปนเครื่องมือในการ ติดตอสื่อสารซึ่งกันและกัน การสรางความเขาใจ และความสัมพันธที่ดีตอกัน รวมทั้งเปนเครื่องมือในการ แสวงหาความรูและประสบการณ การพัฒนาความรู การคิดวิเคราะหตลอดจนนําไปใชในการพัฒนาอาชีพ ใหมีความมั่นคงทางสังคม และเศรษฐกิจ การใชภาษาจําเปนตองมี การเรียนรู เพื่อนําไปใชและอนุรัก ษ สืบสานใหคงอยูคูชาติตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในเรื่องการอานซึ่งเปนพื้นฐานในการเรียนรูวิชาการตาง ๆ เปนเครื่องมือสําคัญที่ทําใหบุคคลเติบโตขึ้น เปนบุคคลที่รักการเรียนรู บุคคลที่มีความสามารถในการอา น จะเปนผูที่มีโอกาสประสบความสําเร็จในชีวิตสูงกวาบุคคลที่ไรความสามารถในการอาน การอานจึงเปน เครื่องมือที่นําบุคคลสูความสําเร็จ และมีความสําคัญ อยางยิ่งตอการดํารงชีวิต และความเปนปก แผน ของสังคมไทย คนไทยจึงจําเปนตองตระหนักถึงความสําคัญของภาษาไทย ตองทําความเขาใจ และศึกษา หลักเกณฑทางภาษา และฝกฝนใหมีทักษะ ฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทยใหมีประสิทธิภาพ เพื่อนําไปใช ในการสื่อสาร การเรียนรู การเสริมสรางความเขาใจอันดีตอกัน การสรางความเปนเอกภาพของชาติ (เปลื้อง ณ นคร. 2538 : คํานํา ; กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 ข : 6) การจัด และสงเสริมการเรียนการสอนภาษาไทยในสถานศึกษาเปนหนาที่สําคัญที่ผูบริหารควรสราง ความตระหนักแกครูทุก คนใหเ ห็นความสําคัญของภาษาไทย แมครูที่ส อนสาระการเรียนรูอื่น โดยเปน แบบอยางที่ดีและรวมกันสงเสริมการใชภาษาไทยของนักเรียน มีการคัดเลือกครูดี มีประสิทธิภาพใหสอน ภาษาไทย เชน เขาใจเด็ก อดทน และเสียสละเวลาใหความสําคัญ แกเด็กที่มีปญหาการเรียน รูจักชื่นชม ความดีความสามารถของเด็ก ใหป รากฏบาง สนับสนุนเด็กที่มีความสามารถใหพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีการวิเคราะหและจัดอัตราเรียนที่เหมาะสมในการสอนภาษาไทยแตละชวงชั้น จัดเวลาสําหรับซอมเสริม และพัฒนาความสามารถของนักเรียนเปนกลุม หรือรายบุคคล มีการสงเสริมใหครูเลือกสรรวิธีสอนและวัด
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ5เศษ
5
ประเมินผลรูปแบบตาง ๆ จัดการเรียนการสอนใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะทางภาษาทุกดานอยางปกติ มิใช เนนการทําขอทดสอบ และเนนนักเรียนเขาประกวดกิจ กรรมภาษาไทยเฉพาะราย มีการบูรณาการการ จั ด การเรี ย นรู ภ าษาไทยร ว มกั บ กิ จ กรรมส ง เสริ ม การอ า นการเขี ย นและการเรี ย นสาระการเรี ย นรู อยางเหมาะสมสรางความรับผิดชอบรวมกันของครู และบุคลากรในสถานศึกษา มีการสนับสนุนใหครูจัดทํา สื่อเสริม ตาง ๆ สําหรับ นัก เรีย นอยางเหมาะสมและเพียงพอ พัฒ นาสื่อในทองถิ่นใหไดม าตรฐานและ แพรหลาย รวมทั้งสงเสริมนักเรียนใหสามารถผลิตสื่อไดเองดวย เชน การแตงเรื่องประกอบภาพ การจัดทํา หนั ง สื อ ทํ า มื อ เป น ต น และมี ก ารนิ เ ทศภายในสถานศึ ก ษาและพั ฒ นาอย า งเป น ระบบ (สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2550 : 23) ในปจจุบันแนวโนมของการจัดการศึกษาในประเทศไทยมีแนวคิดในการจัดการศึกษาที่คํานึงถึง ความตองการพิเศษของนักเรียนรายบุคคลมากขึ้น โรงเรียนหลายแหงไดพยายามจัดการเรียนการสอน เพื่อ ชวยเหลือเด็กที่มีความตองการพิเศษ เห็นไดจากโรงเรียนที่มีการจัดการเรียนรวม ซึ่งเปนการจัดการศึกษาที่ สอดคลองกับแนวพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (แกไขเพิ่ม เติม ฉบับ ที่ 2 พ.ศ. 2545) มาตรา 10 วรรค 2 ระบุวา “การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู หรือมีรางการพิการ หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่ง ไม สามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแล หรือดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคลดังกลาวมีสิท ธิ และโอกาสไดรับ การศึกษาขั้นพื้นฐานเปนพิเศษ” ซึ่งการจัดการศึกษาควรมีรูปแบบที่เหมาะสม เนนที่ความสามารถในการ เรียนรู ชวยพัฒนานักเรียนเต็มตามศักยภาพ โดยมีกระบวนการเรียนรูที่ใหนักเรียนมีบทบาทสําคัญ ตาม พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545) มาตรา 22 ระบุ วา “การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเอง และถือวาผูเรียน มีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนมีความสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มศักยภาพ” เด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรูเปนเด็กที่มีความตองการพิเศษกลุมหนึ่งที่มีสิทธิไดรับ โอกาสทางการศึกษาเชนเดียวกันกับเด็กทั่วไปตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งเด็กกลุมนี้เปนเด็กกลุมที่พบไดมาก ในระบบโรงเรียนปกติ สถิติที่เชื่อถือไดระบุวา มีเด็กเหลานี้อยูระหวาง 3-5% ในระบบโรงเรียน หากเด็ก กลุมนี้ไมไดรับความชวยเหลือที่ถูกวิธี อาจทําใหเด็กตองออกจากโรงเรียนกลางคัน (ผดุง อารยะวิญู. 2544 : คํานํา) เด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรู คือเด็กที่มีระดับสติปญญาอยูในเกณฑปานกลาง หรือสูงกวา ปานกลาง แตมีกระบวนการทํางานของสมองในสวนการจัดการขอมูลที่มีลักษณะแตกตางจากบุคคลทั่วไป
6
6
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ไดแก การรับรู การจําแนกขอมูลที่ไดรับผานประสาทสัมผัส การจัดเก็บขอมูลในหนวยความจํา การแปล ความหมาย ตลอดจน การนําขอมูลมาใช ซึ่งเปนขอจํากัดที่สงผลกระทบตอทักษะการเรียนดานใดดานหนึ่ง หรือหลายดาน ไดแก การอาน การเขียน และการคิ ดคํ า นวณทํ า ให เ ด็ ก มี ผ ลสัม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นไม สอดคลองกับระดับความสามารถที่แทจริง (Crouse. 1996 : 6) ปญ หาการเรียนรูดานการอาน เปนปญหาที่พบมากกวาปญหาการเรียนรูดานอื่น ๆ กลาวคือ อยางนอย ประมาณรอยละ 50 ของกลุมเด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรูเปนประเภทที่มีปญหาดานการ อาน และ ประมาณรอยละ 20 ของนัก เรียนระดับ ประถมศึก ษามีความเสี่ยงที่จ ะมี ปญ หาการอาน (Spafford & Grosser. 2005 : 48) ปญหาการเรียนรูดานการอานมีลักษณะเฉพาะที่แตกตางกันในกลุม ของตนเอง (Heterogeneity) เชน ลักษณะความบกพรองดานการประมวลผลในระบบเสียง หรือลักษณะ การตระหนักรับรูโครงสรางทางภาษา ลักษณะความจําระหวางการประมวลผลขอมูลกับการเก็บขอมูลใน ความทรงจําระยะสั้น เปนตน (Siegel. 2003 : 160) มีงานวิจัยจํานวนมากระบุวารอยละ 80 ของเด็กที่มีปญ หาทางการเรียนรูมีปญ หาในการอาน (ผดุง อารยะวิญู. 2544 : 65) ซึ่งหลักการสอนเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานตองใหเด็กเขาใจ จุดมุงหมายสําคัญของการอาน โดยครูเปนผูสงเสริมแนะนําใหเด็กเลือกอานตามความสนใจ จัดใหเด็กได อานในชวงเวลาสั้นๆ เปนประจําทุกวัน มุงเนนความสําเร็จในการอานและครูใหการเสริมแรงประสานงาน กับ ผูปกครอง โดยแจงใหท ราบ ความสําเร็จความกาวหนาในการอาน และเสนอแนะใหผูป กครองจัด กิจกรรมการอานที่บานในลัก ษณะเดียวกัน จัดหาหนังสือในการอานไวมาก ๆ เพื่อใหเด็กไดมีโอกาสฝก ทักษะในการอาน และการเขียน เชน จัดชุมนุม การละคร สโมสรกวี สโมสรนักอาน หนังสือพิมพประจํา หอง (กระทรวงศึกษาธิการ. 2543 : 20) เทคนิคแมแบบเปนการใหผูรับการฝกไดสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสมของตัวแบบทั้ง ทางดานภาษาและทาทาง ซึ่งผูที่จะแสดงพฤติกรรมใหดูอาจเปนผูฝกหรือสมาชิกในกลุมหรืออาจใชตัวแบบ จากเทปบันทึกภาพก็ได การฝกพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสมโดยใชวิธีการเสนอตัวแบบจะชวยให ผูรับการฝกเรียนรูไดเร็วกวาการใหคําแนะนํา การอธิบายโดยไมเห็นพฤติกรรมจริง การเสนอตัวแบบจะชวย ใหการฝกพฤติกรรมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นหากใชรวมกับการซักซอมบทบาทของพฤติกรรม แล ะ ก า ร ใหขอมูลยอนกลับ (นภาพร ปรีชามารถ. 2545 : 137)
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ7เศษ
7
ดังนั้นการเรียนรูจากการเลียนแบบจึงเปนอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหมนุษยสามารถเรียนรูสิ่งตาง ๆ ไดอยาง กวางขวางขึ้น ทั้งแมแบบที่มีชีวิตและแมแบบที่เปนสัญลักษณ สอดคลองกับผลการวิจัยของเฟลมมิงและริค วูด (Fleming and Rickwood. 2001: 2047-2071) ไดศึกษาผลของวีดีโอเกมซึ่งเปนเกมที่ใชความรุนแรง กับเกมที่ไมใชความรุนแรงที่มีตอความกาวราว เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางวีดีโอเกมที่ใชความกาวร าว และอารมณของเด็ก นักเรียนเกรด 3 ถึง เกรด 6 โรงเรียนรัฐบาล จํา นวน 71 คน อายุร ะหวาง 8-12 ป แบงเปนนักเรียนชาย 36 คน และ นักเรียนหญิง 35 คน นักเรียนทุกคนจะไดเลนวีดีโอเกมทั้งที่เปนเกมที่ไม ใชความรุนแรงและเกมที่ใชความรุนแรง ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีอารมณกาวราวเพิ่มขึ้นหลังจากไดเลน เกมที่ใชความรุนแรง และนักเรียนหญิงจะถูกกระตุนอารมณกาวราวจากการเลนวีดีโอเกมไดมากกวา นักเรียนชาย จากสภาพปญหาของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ดังกลาวมานั้น ผูวิจัยจึงเห็นวาการ สอนอานคําจากการใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก เพื่อศึกษาความสามารถในการอานคํา ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูทั้งกอน และหลังไดรับการเรียนรู จากการใชเทคนิค แมแบบ ควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ซึ่งคาดวาจะเปนแนวทางหนึ่งในการพัฒนาและสงเสริมใหนักเรียนไดอานคํา ได อันเปนพื้นฐานของการอานในระดับสูงตอไป 2.1 วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก 2. เพื่อเปรียบเทียบ ความสามารถในการอานคําของนักเรียน ที่มีความบกพรองทางการเรียนรู กอนและหลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก 2.2 ระเบียบวิธีการวิจัย แบบแผนการทดลอง การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงทดลอง ( Experimental Research) ดําเนินการทดลองตามแบบแผนการ ทดลองที่ผ สมผสานระหวางแบบกลุม เดียวมีก ารวัดกอนและหลัง (One-Group Pre-test Post-test Design) (Amy and Chavat. 2008 : 130-131 ; ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 249) ดังนี้ กลุมทดลอง ทดสอบกอน ทดลอง ทดสอบหลัง 𝜠 𝑇� 𝛸 𝑇� เมื่อ 𝛦 แทน เด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรู คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 และคนที่ 5
𝑇� แทน การประเมินความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูกอน
8
8
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
การทดลอง 𝛸 แทน การฝกโดยใชโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก
𝑇� แทน การประเมินความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังการทดลอง ประชากร
ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ที่กําลังศึกษาอยูใน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบานหวยชมภู จังหวัดเชียงราย ปการศึกษา 2554 จํานวน 6 คน กลุมตัวอยาง /กรณีศึกษา กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ เปนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ที่กําลัง ศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบานหวยชมภู จังหวัดเชียงราย ปการศึกษา 2554 จํานวน 6 คน เลือกโดยวิธีเจาะจง ซึ่งคัดแยกโดยใชแบบสํารวจปญหาในการเรียนรู และแบบสํา รวจปญหาในการ เรียนรูเฉพาะดานของผดุง อารยะวิญู และแบบประเมินความสามารถทางเชาวปญญาของกรมสุขภาพจิต มีระดับสติปญญาปกติ ไมมีความพิการซ้ําซอน ไมมีปญหาดานอารมณ พฤติกรรม เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวยโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก และแบบทดสอบการอานคํา การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือดําเนินการดังนี้ 1. โปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ออกแบบโปรแกรมการเรียนรู ้ โดยใช้ เทคนิคแม่แบบควบคู่กับการเสริมแรง ดําเนินการสร้ างโปรแกรมการเรียนรู ้ โดยใช้ เทคนิคแม่แบบควบคู่กับการเสริมแรง ให้ ผู ้ เชี�ยวชาญตรวจสอบพิจารณาความถูกต้ องเหมาะสมของเนื � อหา ทําการปรับปรุงแก้ ไข นําโปรแกรมการเรียนรู ้ โดยใช้ เทคนิคแม่แบบควบคู่กับการเสริมแรงทางบวกที�ปรับปรุงแก้ ไขแล้ว ไปทดลองใช้ กับนักเรียนที�มีความบกพร่องทางการเรียนรู ้ ที�ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ9เศษ
9
จากภาพประกอบเปนลําดับขั้นของการสรางโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับ การเสริมแรงทางบวกซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ศึกษาขอมูล และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก 2. ออกแบบโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ซึ่งเปน การออกแบบกระบวนการฝกการเรียนรูใหนักเรียนมีความสามารถในการอานคําโดยการสังเกตและทําตาม แมแบบที่กําหนด รวมถึงใหการเสริมแรงทางสังคมควบคูกับการเสริมแรงดวยเบี้ยอรรถกร ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยใชครู วีดีทัศน และนักเรียนเปนแมแบบ โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นนํา เปนการสรางบรรยากาศของความรัก ความอบอุน ความไววางใจ และความ มั่นคงทางอารมณใหกับเด็ก โดยการทักทาย รองเพลง เลานิทาน อานหนังสือใหฟง ยิ้มแยมแจมใสกับเด็ก โอบกอดเด็กดวยความนุมนวลออนโยน ทําการตกลงเงื่อนไขในการฝกการเรียนรู การใหแรงเสริมโดยใหเด็ก เรียงลําดับสิ่งที่ชอบที่ตองการเปนรางวัล ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดําเนินการ ประกอบดวย 3 ขั้นตอนยอย ดังนี้ 2.1 การอานคําโดยอาศัยตาสังเกตภาพ เปนการอานคําจากบัตรภาพโดยใชครูเปนแมแบบ 2.2 การอานคําโดยใชเสียงพาไป ใชหูวิเคราะหเสียง เปนอานคําจากวีดีทัศนโดยใชวีดีทัศนเปน แมแบบ 2.3 การอานคําโดยอาศัยการจํารูปคํา เปนอานคําจากบัตรคําบัตรภาพโดยใชนักเรียนเปนแมแบบ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นสรุป เปนการสรุปรวมกันถึงผลที่ไดจากการเรียนรู ใหการเสริมแรงทางสังคม โดย นักเรียนจะไดรับคําชมเชยวาเกงและยิ้มใหเกงมากและยิ้มใหและเกงที่สุดและยิ้มให ตามลําดับการอานได ถูกตองของนักเรียน ควบคูกับการเสริมแรงดวยเบี้ยอรรถกร โดยใหดาว และเมื่อมีการสะสมไดครบอาจมี การใหรางวัลตามที่ไดตกลงกันไวตามเงื่อนไขในขั้นนํา 3. ดําเนินการสรางโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก 4. นําโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ใหผูเชี่ยวชาญ ดานการศึกษาพิเศษ จิตวิทยา วัดผล และ การวิจัยทางการศึกษา จํานวน 3 คน ตรวจสอบพิจารณาความ ถูกตองเหมาะสมของเนื้อหา โดยใช IOC ในระหวางวันที่ 1-25 เมษายน 2554 ไดคา IOC เทากับ 1.0 แสดง วาโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวกมีความเที่ยงตรงดานโครงสราง เนื้อหา หลังจากนั้น นําคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญที่ไดรับการตรวจพิจารณาแลวทําการปรับปรุงแกไข โดยได ทําการปรับปรุงรูปภาพให ชัดเจนยิ่งขึ้น การเรียงลําดับ ขั้นตอนการสอน จากงายไปสูยาก และการเพิ่ม กิจกรรมใหมีความหลากหลาย เพื่อใหนักเรียนไดมีโอกาสฝกฝนเนื้อหาที่ไดเรียนไปแลว
10
10
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
5. นําโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวกที่ปรับปรุงแกไข แลวไปทดลองใชกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนครบุรีวิทยา ที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 5 คน เพื่อตรวจสอบความเปนไปไดในการดําเนินการจริง ดานเวลา ปญหาและอุปสรรคอื่น ๆ ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2554 พบวานักเรียนที่มีความบกพรองทางการ เรียนรู สามารถปฏิบัติกิจกรรมในโปรแกรมการเรียนรู โดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ไดครบถวนทุกกิจกรรม ในเวลาที่กําหนดไดจริง ไมพบปญหา และอุปสรรคในการทดลองใช 2. แบบทดสอบการอานคํา ออกแบบแบบทดสอบการอ่านคํา ดําเนินการสร้ างแบบทดสอบการอ่านคํา ให้ ผู ้ เชี�ยวชาญตรวจสอบพิจารณาความถูกต้ องเหมาะสมของเนื � อหา
จากภาพประกอบเปนลําดับขั้นของการสรางแบบทดสอบการอานคําซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ศึกษาขอมูล และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับแบบทดสอบการอานคํา 2. ออกแบบแบบทดสอบการอานคําเปนลักษณะบัตรคําทั้งหมด 20 คํา และตั้งเกณฑการให คะแนนการอานคํา การใหคะแนนคําที่นักเรียนอานไดถูกตอง อานถูกตองแตอานชา ไมมั่นใจแตอานได ถูกตองหรือแกไขคําที่อานผิดดวยตนเองจะได 1 คะแนน และคําที่อานไมได ออกเสียงผิด อานเพิม่ คํา อาน สลับตัวอักษรหรือไมออกเสียงจะได 0 คะแนน เกณฑการตัดสิน การนําคะแนนการอานมาแปลผล เพื่อประเมินความสามารถในการอานคําจาก คะแนนเต็ม 20 คะแนน 16 - 20 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูในระดับดีมาก 14 - 15 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูใ นระดับดี 12 - 13 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูในระดับปานกลาง 10 - 11 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูในระดับผานเกณฑขั้นต่ํา 0 - 9 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูในระดับที่ตองแกไขปรับปรุง 3. ดําเนินการสรางแบบทดสอบการอานคํา
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ11เศษ
11
4. นําแบบทดสอบการอานคําใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 คน ตรวจสอบพิจารณาความถูกตอง เหมาะสมของเนื้อหา โดยใช IOC ในระหวางวันที่ 16-30 มิถุนายน 2554 ไดคา IOC เทากับ 1.0 แสดงวา แบบทดสอบการอานคํามีความเทีย่ งตรงดานโครงสราง และเนื้อหา สามารถนาไปใชไดจริง การเก็บรวบรวมขอมูล 1. ทําหนัง สือ เพื่อขออนุญ าตผูอํา นวยการโรงเรียนบานหวยชมภู และทํา หนัง สือขออนุญ าต ผูปกครอง เพื่อดําเนินการทดลองกับกลุม ตัวอยาง ซึ่ง เปนนัก เรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูชั้น ประถมศึกษาปที่ 2 2. นําแบบประเมินความสามารถในการอานคําไปทดสอบนักเรียนกลุมตัวอยางกอนสอน (Pretest) โดยทดสอบเปนรายบุคคล เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยใหนักเรียนอานคําในบัตรคํา 3. ดําเนินการทดลอง ผูวิจัยเปนผูดําเนินการสอนดวยตนเอง โดยปฏิบัติตาม โปรแกรมการจัดการ เรียนรูที่จัดทําขึ้น ใชเวลาในการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 ระหวางวันที่ 23 มกราคม - 2 มีนาคม พ.ศ. 2555 สัปดาหละ 5 วัน รวมทั้งสิ้น 30 ครั้ง ตามกําหนดการจัดการเรียนรู การวิเคราะหขอมูล 1. สถิติที่ใชในการวิเคราะหคุณภาพของเครื่องมือ 1.1 การวิเคราะหความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยดัชนีความสอดคลองระหวางขอทดสอบกับ พฤติกรรมที่ตองการวัด (Item-Objective Congruency Index) คํานวณจากสูตร (Waltz, Strickland and Lenz. 2005 : 180-181 ; พวงรัตน ทวีรัตน. 2540 : 117) ดังนี้ IOC =
∑� �
เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอทดสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ∑R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด 𝑁 แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด 2. สถิติบรรยาย/สถิติเชิงพรรณา (Descriptive statistics) 2.1 รอยละ (Percentage) เปนการเปรียบเทียบความถี่ หรือจํานวนที่ตองการกับความถี่หรือ
จํานวนทั้งหมดที่เทียบเปน 100 หาคารอยละจากสูตร (Healey. 1993 : 23-26) ตอไปนี้ �
P = x 100 �
เมื่อ P แทน คารอยละ f แทน ความถี่ที่ตองการแปลงใหเปนคารอยละ
12
12
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
N แทน จํานวนความถี่ทั้งหมด 2.2 มัธยฐาน (Median) เปนคาคะแนนที่อยูตรงกลางที่แบงคะแนนออกเปนสองกลุมเทา ๆ กันทํา โดยนําคะแนนที่ไดมาเรียงตามลําดับจากมากไปนอยหรือจากนอยไปหามาก เขียนแทนดวย Mdn คํานวณ ไดจากสูตร (Devore and Peck. 2001 : 94) Mdn = 𝑙𝑟𝑙 + �
เมื่อ Mdn แทน คามัธยฐาน lrl i N fb
.��� ∑ �� ��
�𝑖
แทน ขีดจากัดลางที่แทจริงของชั้นที่มีมัธยฐานอยู แทน ความกวางของอันตรภาคชั้น แทน จํานวนขอมูลทั้งหมด แทน ผลรวมของความถี่สะสมใตชั้นที่มีมัธยฐานอยู
fw
แทน ความถี่ของชั้นที่มีมัธยฐานอยู 2.3 คาพิสัยระหวางควอไทล (Interquartile Range) คํานวณไดจากสูตร (Healey. 1993 : 97-99 ; Jame D. Wynne. 1982 : 63-64) 𝐼𝑄𝑅 = 𝑄� − 𝑄� 𝑄� = 𝑙𝑟𝑙 + �
𝑄�
�� .���� ∑ ��
𝑄� = 𝑙𝑟𝑙 + �
เมื่อ 𝐼𝑄𝑅 แทน คาพิสัยควอไทล
.���� ∑ �� ��
�𝑖
�𝑖
แทน คาที่ตําแหนง 75% หรือจํานวน 1/3 ของจํานวนขอมูลที่มี
𝑄� แทน คาที่ตําแหนง 25% หรือจํานวน 1/4 ของจํานวนขอมูลที่มี lrl แทน ขีดจํากัดลางที่แทจริงของชั้นที่ควอไทลอยู i แทน ความกวางของอันตรภาคชั้น
N fb fw
แทน จํานวนขอมูลทั้งหมด แทน ความถี่สะสมของชั้นที่ต่ํากวาชั้นที่ควอไทลอยู แทน ความถี่ของชั้นที่ควอไทลอยู
13
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ13เศษ
3. สถิติที่ใชทดสอบสมมุติฐาน 3.1 การศึกษาความสามารถ ในการอานคํา ทําการทดสอบระดับความสามารถโดยใชสถิติ The sign test for Median : One Sample ในการทดสอบโดยใชสูตร คาคะแนนมัธยฐานจากการทดสอบ คํานวณไดจากสูตร (ไพฑูรย โพธิสาร. 2554 : 57-60) �
𝑃 − 𝑣𝑎𝑙𝑢𝑒 = 𝑃 �𝑄� ≤ 𝑡 | 𝑃 = � �
�
หรือ 𝑃 − 𝑣𝑎𝑙𝑢𝑒 = 𝑃 �𝑄� ≤ 𝑡 | 𝑃 = � เมื่อ 𝑃[𝑋 ≤ 𝑀� ] = 𝑃[𝑋 ≥ 𝑀� ] =
� �
… … … (1)
�
… … … (2)
𝐻� : 𝑀 ≥ 𝑀� 𝐻� ∶ 𝑀 ≤ 𝑀� 𝐻� ∶ 𝑀 = 𝑀� 𝐻� : 𝑀 < 𝑀� ; หรือ 𝐻� ∶ 𝑀 > 𝑀� ; หรือ 𝐻� ∶ 𝑀 ≠ 𝑀� P – value แทน คาความนาจะเปน ซึ่งคํานวณไดที่จะปฏิเสธ 𝐻� ∶ 𝑀 = 𝑀�
หรือมีคา α ที่กําหนดไว M แทน คามัธยฐานที่คํานวณได
𝑀� แทน คามัธยฐานที่เปนเกณฑ/ที่กําหนดไว X แทน คาสังเกตที่วัดไดของชุดขอมูล
เมื่อ
t แทน จานวนของคาสังเกต (X) ที่มีคามากกวาหรือนอยกวา 𝑀�
(1) 𝐻� : 𝑀 < 𝑀� ; จะใชคา t ซึ่งนับจากที่ x มากกวา 𝑀� (𝑄� ) และหาก 𝑋 − 𝑀� = 0 จะใหเปน +
(2) 𝐻� : 𝑀 > 𝑀� ; จะใชคา t ซึ่งนับจากที่ x นอยกวา 𝑀� (𝑄� ) และหาก 𝑋 − 𝑀� = 0 จะใหเปน −
(3) 𝐻� : 𝑀 ≠ 𝑀� ; จะใชคา t ซึ่งนับจากที่ x นอยกวา 𝑀� (𝑄� ) โดยคิด P – value x 2
และหาก 𝑋 − 𝑀� = 0 จะใหเปน − 3.2 การเปรียบเทียบความสามารถ ในการอานคํา ของนักเรียนที่มีความบกพรองทาง การเรียนรู กอน และ หลังไดรับการเรียนรู โดยใชเทคนิคแมแบบ ควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก ทําการเปรียบเทียบ โดยใชวิธีทดสอบ แบบ The Wilcoxon Matched-Pairs Signed-Ranks Test คํานวณไดจากสูตร (Howell. 2008 : 503-507 ; นิภา ศรีไพโรจน. 2524 : 92) 𝐷 =𝑌−𝑋
14
14
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
เมื่อ D แทน คาความแตกตางระหวางคะแนน X และ Y กอน และหลังการทดลอง X แทน ความสามารถในการอานคํา กอนการทดลอง Y แทน ความสามารถในการอานคํา หลังการทดลอง หาความแตกตางของขอมูลแตละคูกํากับดวยเครื่องหมายบวก หรือลบ จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาจัดลําดับ จากนอยไปหามาก โดยใหคาที่นอยที่สุดอยูในอันดับที่ 1 (จัดอันดับโดยไมคิดเครื่องหมาย) หาผลรวมของ อันดับที่มีเครื่องหมายบวก และผลรวมของอันดับที่มีเครื่องลบ คาของผลรวมของอันดับที่มีคานอยกวาเปน คา T ที่จะทําการทดสอบ คํานวณไดจากสูตร (Gibbons, Jean Bickinson.1971: 109) 𝐸 (𝑇 ) = 𝑆� =
�(���)
� ��(���)(����) ��
เมื่อ 𝐸 (𝑇) แทน คาเฉลี่ยของผลรวมอันดับที่นอยกวา 𝑁
แทน จํานวนนักเรียนที่มคี วามบกพรองทางการเรียนรู
𝑆� แทน คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.3 ผลการศึกษา 1. ศึกษาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับ
การเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก มีผลการวิเคราะหขอมูล ดังตาราง 1-2 ตาราง 1 จํานวนคะแนน คามัธยฐาน และคาพิสัยควอไทลความสามารถในการอานคําของนักเรียนทีม่ ีความ บกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก คนที่ 1 2 3 4 5 6 𝑀𝑑𝑛 𝐼𝑄𝑅
คะแนนกอนเรียน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) 3 0 7 9 7 0 5 7
ระดับ แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง
คะแนนกอนเรียน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) 18 17 20 19 18 15 18 2
ระดับ ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ15เศษ
15
จากตาราง 1 พบวาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับการเรียนรูโ ดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับ การเสริมแรงทางบวก โดยกอนสอนนัก เรียนมี คะแนนการอานคํา ระหวาง 0 - 9 คะแนน คามัธยฐานเทากับ 5 และคาพิสัยควอไทลเ ทากับ 7 ซึ่ง มี ความสามารถในการอานคําระดับ แกไขปรับ ปรุง และหลัง จากการสอน นักเรียนมีคะแนนการอานคํา ระหวาง 15 - 20 คะแนน คามัธยฐานเทากับ 18 และคาพิสัยควอไทลเทากับ 2 ความสามารถในการอานคํา อยูในระดับดีมาก ตาราง 2 การเปรีย บเทีย บคามั ธยฐานที่คํา นวณไดกับ ค ามัธยฐานที่ เ ปนเกณฑร ะดับ ดี ของ ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใช เทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก เครื่องหมาย คะแนนหลังเรียน คามัธยฐาน P - value (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ที่เปนเกณฑระดับดี + 18 14-15 + 0.0156 17 + 20 + 19 + 18 + 15 + 18 >=14 6 0 2 จากตาราง 2 พบวา คามัธยฐานของความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการ เรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก แตกตางจาก นักเรียน คนที่ 1 2 3 4 5 6 𝑀𝑑𝑛 𝐼𝑄𝑅
คามัธยฐานทีเ่ ปน เกณฑระดับดี (ระหวาง 14 - 15 คะแนน) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 จัดวา อยูในระดับดี ซึ่งสอดคลอง กับสมมติฐานขอที่ 1 ที่ตั้งไววา ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มี ความบกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก อยูในระดับดี 1. การเปรียบเทียบความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู กอน และหลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก มีผลการวิเคราะห ขอมูล ดังตาราง 3
16
16
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ตาราง 3 การเปรียบเทียบความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู กอนและหลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก คะแนนความสามารถ ในการอานคํา นักเรียน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) คนที่ กอน X หลัง Y 1 3 18 2 0 17 3 7 20 4 9 19 5 7 18 6 0 15 รวม * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5
ผลตาง ของ คะแนน D=Y-X 15 17 13 10 11 15
ลําดับที่ของ ความ แตกตาง 4.5 6 3 1 2 4.5
ลําดับที่ตาม เครื่องหมาย + + 4.5 +6 +3 +1 +2 + 4.5 T� = 21
T 0∗
T� = 0
จากตาราง 3 พบวา ความสามารถในการอานคําของนักเรียน ที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับการเรียนรูโดย ใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก สูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานขอที่ 2 ที่วาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก เพิ่มขึ้น 2.4 สรุปผลและการวิจารณ 1. ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ก อ นการสอนโดย ใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก อยูในระดับแกไขปรับปรุง หลังจากไดรับการเรียนรู โดย ใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก อยูในระดับดี สอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวในขอ 1 ที่วา ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรู โดยใช เทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก อยูในระดับดี ปจจัยที่สงผลดังกลาว อาจเนื่องจากการสอน โดยผสมผสานเทคนิคหลายเทคนิคนี้ เปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีลําดับขั้นตอน เพื่อสรางให นักเรียนเกิดความรู ความเขาใจ เปนวิธีการสอนที่กระตุน และสงเสริมใหนักเรียนเรียนรูโดยผานประสาท สัมผัสรับรูหลายชองทางพรอม ๆ กัน โดยการฟง การมองเห็น การเชื่อมโยงเสียงของแมแบบกับตัวอักษร นอกจากนี้ โมงิ (2553 : 74-76) กลาววา การรับรูจากประสาทสัมผัสหลายดานประกอบกัน คือการใช
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ17เศษ
17
ประสาทสัมผัสหลาย ๆ ดานรวมกัน จะเปนการกระตุนสมองสวนที่เรียกวา คอรเทกซ (Cortex) ที่ทําหนาที่ ในการบูร ณาการสิ่งที่เกี่ยวกับการรับรูทั้งหมด ซึ่งเปนการเพิ่มโอกาสใหสามารถจดจําไดดีขึ้น ทําใหเกิด ความจําที่แมนยํา การที่นักเรียนไดเรียนรูโดยเริ่มตนจาก แมแบบ และทักษะพื้นฐานที่จําเปนสํา หรับการ เรียนอานคํา การทบทวนความรูเ ดิม หรือเนื้อหาที่เ รียนไปแลว ซึ่งเปนการชวยใหนักเรียนไดเ พิ่มความ คล อ งแคล ว ในการใช ทั ก ษะ และเน น ย้ํ า ความรู ที่ ไ ด เ รี ย นไปแล ว การที่ นั ก เรี ย นได รั บ รู ว า ตนเองมี ความสามารถในการอานเพิ่ม มากขึ้น จากผลบันทึก การอานที่ส ะทอนถึงความสํา เร็จ ในการอาน ทําให นักเรียนมีประสบการณที่ดีในการอานมากขึ้น การใหการเสริมแรงทางบวกสงผลตอแรงจูงใจ โดยเฉพาะ แรงจูงใจภายใน ตามที่ เบเกอร ; และวิก ฟลด (Wigfield. 2000: 143 ; citing Baker; & Wigfield. 1999) สปาฟฟอรด; และกรอสเซอร (Spafford; & Grosser. 2005: 199) และศรียา นิยมธรรม ( 2549: 67-68) เห็นสอดคลองกันวา การสงเสริมใหเด็กรับรู และมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในทางบวก จะทําใหเด็กเกิดแรงจูงใจภายใน ซึ่งจะกระตุนใหเด็กอานหนังสือ และใชการอานเชื่อมโยงกับการเรียนรูใน เรื่องอื่น ๆ จนกระทั่งเด็กสามารถกําหนดทิศทางการอานดวยตนเองไดในอนาคต 2. ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการ เรียนรู โดย ใชเทคนิค แมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก เพิ่มขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคลองกับ สมมติฐานที่ตั้งไวในขอ 2 ที่วา ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก เพิ่มขึ้น ปจจัยที่สงผลดังกลาว อาจเนื่องจาก กอนเริ่มกิจกรรมการสอน ผูสอนใหนักเรียนทํากิจกรรม เล็ก ๆ นอย ๆ เพื่อสรางแรงจูงใจในการเรียน อีกทั้ง กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวกมีความแปลกใหม นาสนใจ และ กระตุนใหนักเรียนไดใชประสาทสัมผัสรับรูในการเรียน หลายชองทาง ไดแก การฟง การมองเห็น และการออกเสียง ทําใหนักเรียนสนุกสนาน ตื่นเตนในกิจกรรม การเรียนรู ซึ่งเปนการเสริมแรงจูงใจในการเรียนอาน การออกเสียงซ้ํา ๆ ตามแมแบบวีดีทัศน ตามแมแบบที่ เปนครู และตามแมแบบที่เปนเพื่อนนักเรียนดวยกัน ซึ่งนักเรียนไมเคยรวมกิจกรรมเชนนี้มากอน ทําใหน า ตื่นเตน สนใจ และตั้งใจเรียนรูจากแมแบบ ซึ่งสอดคลองกับประสาท อิศรปรีดา (2547: 331 - 334) ที่ กลาววา การเสนอเนื้อหาแปลกใหม และวิธีก ารที่ห ลากหลายเปนวิธีก ารชวยสรางแรงจูง ใจ วิธีห นึ่ง นอกจากนั้นในการเสริมแรงทางบวกดวยเบี้ยอรรถกร นักเรียนยังสามารถเลือกเรียงลําดับสิ่งที่ตนเองชอบ และแลกเปนรางวัลไดตามเงื่อนไข เมื่อสามารถอานไดอยางถูกตอง และสะสมดาวไดครบแลว ซึ่งเปนไปตาม แนวคิดของการเสริมแรงทางบวก ของ แคซดิน (Kazdin. 1982: 106) ไดเสนอหลักการใหการเสริมแรง ทางบวกแกเด็กวา ตัวเสริมแรงจะมีคุณภาพมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความพอใจของเด็กวาสามารถรับรู
18
18
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
เงื่อนไขไดม ากนอ ยเพียงใดถาเด็ก รั บ รูเ งื่อนไขไดม ากจะทํา ใหตั วเสริม แรงมี ป ระสิ ท ธิภาพมากในการ เสริมสรางพฤติกรรมเปาหมาย และ มีผลทําใหพฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นสม่ําเสมอ สวนคาลิช (Kalish. 1981 : 61-72) เชื่อวาพื้นฐานทางการเรียนรูนั้น ขึ้นอยูกับรางวัลที่ใหทันทีและมีแนวโนมใหเด็กเรียนรูและทํา พฤติกรรมนั้นซ้ําอีก 2.5 ขอเสนอแนะ 1. ผูสอนตองเนนการออกเสียง จากแมแบบที่ชัดเจน เพื่อใหนักเรียนรับรูลักษณะของเสียง และ การใชอวัยวะในการออกเสียง 2. ผูสอนตองทบทวนความรู และทักษะเดิมที่นักเรียนเรียนไปแลว กอนสอนเนื้อหาใหมทุกครั้ง 3. ผูสอนตองใหนักเรียนทุกคนมีโอกาสใชประสาทสัมผัสรับรูต างๆ ในการเรียนเนื้อหา และการ ฝกฝนตามแมแบบ ซึ่งการใชประสาทสัมผัสของนักเรียนตองเปนการใชประสาทสัมผัสรับรูอยางนอย 3 ดาน พรอม ๆ กัน และใชสื่อแมแบบอยางนอย 3 ชนิดขึ้นไป 4. กิจกรรมการเรียนการสอนควรใหนักเรียนมีสวนรวมในการทากิจกรรม เชน การแสดงความ คิดเห็น การทดลองปฏิบัติ และการสาธิตเปนแมแบบดวยตนเอง เพื่อสรางความมั่นใจ และกระตุนแรงจูงใจ ในการอานคํามากยิ่งขึ้น 3. บรรณานุกรม/เอกสารอางอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). แนวทางการจัดการเรียนรวมในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว. _______. (2545ข). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คูมือ การจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคา และพัสดุภัณฑ. ศรียา นิยมธรรม. (2549). ปญหายุงยากทางการเรียนรู. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : แวนแกว. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากับการแกปญหาอานไมออกเขียนไมได. กรุงเทพฯ : สํานัก วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. สมพร สุทัศนีย ม.ร.ว. (2522 ). การศึกษาเรื่องผลของการใชแรงเสริมทางสังคมตอพฤติกรรมเงียบ ขรึมผิดปรกติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 . วิทยานิพนธ ศศ.ม.(จิตวิทยา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. อัดสําเนา.
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ19เศษ
19
สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. (2524). การปรับพฤติกรรม. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ______. (2536). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ______. (2543). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. สุประวีณ ทัดภูธร. (2548). ผลของการใชเทคนิคการสอนโดยการสรางผังโยงความสัมพันธความหมาย รูปแมงมุมควบคูกับการใหขอมูลยอนกลับที่มีตอทักษะการอานเพื่อความเขาใจของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนออเงิน ( ออน-เหม อนุสรณ )เขตสายไหมกรุงเทพฯ. ปริญญานิพนธ กศม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สุจริต เพียรชอบ. (2523). วิธีการสอนอานภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช. ผองพรรณ เกิดพิทักษ. (2536). การปรับพฤติกรรมเบื้องตน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการแนะแนวและ จิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ไพฑูรย โพธิสาร. (2552). การใชสถิตินอนพาราเมตริกทดสอบคามัธยฐานกับเกณฑ The sign test for median : one sample. ครุสาร. ปที่ 3 (ฉบับที่ 1). 57-60. พวงรัตน ทวีรัตน. 2540. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒประสานมิตร. โมงิ, เคนอิจิโร. (2553). ความลับของสมอง เรียนอยางไรใหสมองมีความสุข. แปลโดยบัณฑิต โรจนอารยานนท. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สมาคมสงเสรมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุน). แมนมาส ชวลิต.( 2534 ). การพัฒนาการอานภาษาไทย หนวยที่ 1 -7. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นิภา ศรีไพโรจน. (2524). สถิติประยุกตทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพรุงเรืองธรรม. นภาพร ปรีชามารถ. (2545). จิตวิทยาการปรับพฤติกรรมในชั้นเรียน. ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษา และ การแนะแนว คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. บันลือ พฤกษะวัน. (2524). หลักสูตรการบูรณาการทางการสอน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
20
20
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ประทีป จินงี่. (2540). เอกสารประกอบการสอนวิชา : การวิเคราะหพฤติกรรมและการปรับ พฤติกรรม. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ประเทือง ภูมิภัทราคม. (2540). การปรับพฤติกรรม : ทฤษฎีการประยุกต. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. ประสาท อิศรปรีดา. (2547). จิตวิทยาการศึกษา. ขอนแกน: คลังนานาวิทยา. เปลื้อง ณ นคร. (2538). ศิลปะแหงการอาน. กรุงเทพฯ : ขาวฟาง. ผดุง อารยะวิญู. (2544). เด็กที่มีปญหาในการเรียนรู. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แวนแกว. Baker, L.; & Wigfield, A. (1999, October - December). Dimensions of Children’s Motivation for Reading and Their Relations to Reading Activity and Reading Achievement. Reading Research Quarterly. 34(4): 452 - 477. Bandura, Albert. (1986). Social Learning Theory. Englewood Cliffs. NJ : Prentice Hall. ______. (1989). Social Cognitive Theory. Annals of Child Development, 6, p. 1-6 Crouse, Scott L. (1996). LD Self-Advocacy Manual. Retrieved November 21, 2005, from http://www.ldpride.net/selfadvocacy.htm#Table%20of%20Contents Devore Jay and Peck Roxy. (2001). Statistic The Exploration and Analysis of Data. 4�� ed. Australia : Duxbury. Fleming, Michele. , Rickwood, Debra J. (2001, October). Effect of Violent Versus Nonviolent Video Games on Children’s Arousal, Aggressive Mood, and Positive Mood. Journal of Applied Social Psychology, 31 (10 ) : 2047-2071. Healey, Joseph F. (1993). Statistics a tool for social research. 3�� ed. California :
Wadsworth. Howell, David C. (2008). Fundamental Statistics for the Behavioral Sciences. United States of America : Thomson.
6��
ed.
Jame D. Wynne. (1982). Learning Statistics a commom sense approach. New York : Macmillan Publishing. Kalish, Harry I. (1981). From Behavior Science to Behavior Modification. New York : McGraw-Hill Brooks Cole. Kazdin, Alan E. Behavior Modification in Applied Setting. _Illinois : Dorsy Press, 1977. ______. The Token Economy : A Review and Evaluation. New York : Plenum Press, 1980.
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ21เศษ
21
Lefrancois, Guy R. (2000). Psychology for Teaching: a dear is not a choirboy. 10�� ed.
Belmont, Calif.: Wadsworth/Thomson Learning. Patterson. (1980). Theories of Counseling and Psychotherapy. New York : Harper &
Row. Siegel, Linda S. (2003). Basic Cognitive Processes and Reading Disabilities. In Handbook of Learning Disabilities. Edited by Swanson, H. Lee; Harris, Karen R.;& Graham, Steve. pp. 158 - 181. New York : Guilford. Spafford, Carol A.; & Grosser, George S. (2005). Dyslexia and Reading Difficulties : Research and Resource Guide for Working with All Struggling Readers. 2nd ed. Boston: Pearson Education.
22 ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนายุทธศาสตรการจัดการเรียนรูดานการอานโดยการบูรณาการแนวคิดพหุสัมผัส และแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวมเพื่อเสริมสรางความสามารถ ความสนใจและความคงทนในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูระดับ ประถมศึกษา ชื่อผูวิจัย นางฉวีวรรณ โยคิน ความสําคัญและที่มาของปญหา จากผลการสํารวจนักเรียนที่ความบกพรองทางการเรียนรูโดยคณะกรรมการการคัดเลือกและ จําแนกความพิการเพื่อการศึกษาของไทย คัดกรองนักเรียนกลุมเสี่ยงจํานวน ๙,๘๒๘ โรง ซึ่งเปน ๑ ใน ๓ ของโรงเรียนระดับประถมศึกษาทั่วประเทศ พบนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูที่เรียนรวมในชั้น เรียนปกติ จํานวน ๑๕๓,๓๕๔ คน พบปญหาการอานมากที่สุดและจากการศึกษาและสํารวจนักเรียนที่มี ความบกพรองทางการเรียนรูของผูวิจัยและคณะทํางาน ไดแก ครูโรงเรียนแกนนําจัดการเรียนรวม และ บุคลากรศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดหนองคาย โดยใชแบบคัดแยกเด็กที่มีความบกพรองทางการ เรียนรู ของสพฐ. และแบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพรองทางการเรียนรูและออทิสซึม [KUSSI Rating Scales: ADHD/LD/Autism (PDDs)] คัดแยกนักเรียน โรงเรียนแกนนําจัดการเรียนรวมสังกัด สํานักงานเขตพื้นการศึกษาหนองคาย เขต ๑ เขต ๒ และเขต ๓ พบ นักเรียนมีความบกพรองทางการ เรียนรู มีจํานวนมากที่สุด และพบวามีปญหาดานการอานมากที่สุด อีก ดวย(ศูนยการศึกษาพิเ ศษประจํา จังหวัดหนองคาย, ๒๕๕๒) ซึ่งทักษะการอานเปนทักษะพื้นฐานที่มีความสําคัญและมีคุณคายิง่ ตอการเรียนรู ในสาระอื่นๆ ฉะนั้นจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ครูผูสอนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูจะตองแกไข ปญ หาอยางเรง ดวนถาปลอยไวนานอาจจะกอใหเ กิด อุป สรรคตอการเรียนรูในสาระอื่นและสง ผลต อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติได ดังนั้นผูวิจัย จึงไดทําการศึกษายุทธศาสตรในการจัดการเรียนรูดาน การอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ระดับประถมศึกษา เพื่อนํามาใชในการแกปญหา และชวยเหลือ นัก เรียนให มีความสามารถในการอานดีขึ้นและเพื่อ ยกระดับ ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนใน ระดับชาติตอไป
วัตถุประสงค ๑. เพื่อพัฒ นายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูโดยการบูร ณาการแนวคิดพหุสัม ผัสและแนวคิด ภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวมเพื่อเสริมสรางความสามารถ ความสนใจและความคงทนใน การอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ระดับประถมศึกษา
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ23 เศษ
23
๒. เพื่อศึกษาผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูโดยการบูรณาการแนวคิดพหุสัมผัสและ แนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวมของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดาน การอาน ระดับประถมศึกษา ดังนี้ ๒.๑ ศึกษาความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ๒.๒ ศึกษาความสนใจในการเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ๒.๓ ศึกษาความคงทนในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน
ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยและพัฒนา มีวิธดี ําเนินการวิจัย ๓ ระยะ ดังนี้ ระยะที่ ๑ การศึกษาวิเคราะหขอมูลพื้นฐาน และสภาพปญหาการจัดการการเรียนรูดานการ อานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู กลุมเปาหมาย ไดแก กลุมที่ ๑ ครูผูสอนนักเรียนที่ มีความบกพรองทางการเรียนรู ที่มีประสบการณในการสอน นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูไมนอยกวา ๓ ป และไดรับแตงตั้งเปนครูการศึกษาพิเศษ หรือ ผานการอบรมไดรับวุฒิบัตร ครูการศึกษาพิเศษโดยมีจํานวนชั่วโมงอบรมไมนอยกวา ๒๐๐ ชั่วโมง สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย ปการศึกษา ๒๕๕๔ จํานวน ๔๗ คน กลุมที่ ๒ ครูชํานาญการพิเศษสาขาการศึก ษาพิเศษ ที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเ ศษระดับ ปริญญาโทขึ้นไป สัง กัดสํานักงานเขตพื้นที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษาอุดรธานี และขอนแกน ปก ารศึก ษา ๒๕๕๔ จํานวน ๙ คน กลุมที่ ๓ ผูปกครองนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ในเขตพื้นที่ใหบริการของ โรงเรียนบานทาสําราญ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคายเขต ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๕๔ จํานวน ๓๘ คน เครื่องมือที่ใช ไดแก แบบสั ม ภาษณ สรางและตรวจสอบคุณภาพ ใหเปนไปตามหลักทาง วิชาการโดยแบบสัมภาษณที่ดีมีคุณภาพ มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) การเก็บรวบรวมขอมูล กลุมที่ ๑ ใชการสัมภาษณเชิงลึก กลุมที่ ๒ ใชการสนทนากลุม และ กลุมที่ ๓ ใชการสัมภาษณเชิงลึก การวิเคราะหขอมูล ใชการวิเคราะหขอมูล เชิงคุณภาพโดยการวิเคราะหขอมูล แบบอุปนัย (Analytic Induction) ใชการแยกขอมูลอยางเปนระบบ ตีความหมาย และสรางขอสรุปจากขอมูลที่ไดจาก การสัมภาษณ
24
24
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ระยะที่ ๒ การพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน กําหนดกระบวนการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน แบงออกเปน ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที๑่ การวิเคราะหขอมูลพื้นฐานและสภาพปญหาการจัดการการเรียนรูจากระยะ ๑ ขั้นตอนที๒่ การกําหนดยุทธศาสตรในการจัดการเรียนรูดานการอาน ซึ่ง ไดองคประกอบของ ยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ๔ องคประกอบ คือ องค ป ระกอบที่ ๑ ด า นกระบวนการจั ด การการเรี ย นรู ด า นการอ า นโดยการ บูรณาการแนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติ องคประกอบที่ ๒ ดานการมีสวนรวมของผูปกครอง ไดแก การมีสวนรวมที่บานและ การมีสวนรวมที่โรงเรียน องค ป ระกอบที่ ๓ ด า นการจั ด ทํ า แผนการจั ด การศึ ก ษาเฉพาะบุ ค คล (Individualized Education Program : IEP) องคป ระกอบที่ ๔ ด านการจั ดสภาพแวดลอ ม ได แก การจัดสภาพแวดล อมทั้ ง ภายในและภายนอกหองเรียน ขั้นตอนที่๓ การตรวจสอบยุทธศาสตร โดยผูเชี่ยวชาญดานการศึกษาพิเ ศษจํานวน ๕ ทาน ไดแก ๑) รองศาสตราจารย ดร.อัญชลี สารรัตนะ ประธานสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนการศึกษาพิเศษ มหาวิท ยาลัยขอนแกน ๒) ดร. สุจินดา ผองอัก ษร ที่ป รึก ษาดานการศึก ษาพิเ ศษและผูดอยโอกาส ๓) รองศาสตราจารย ดร.นิตย บุหงามงคล อาจารยพิเศษภาควิชาหลักสูตรและการสอนการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยขอนแกน ๔) รองศาสตราจารย ดร.ดารณี ศักดิ์ศิริผล ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา การศึก ษาพิเ ศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโ รฒประสานมิตร ๕) ผูชวยศาสตราจารย ดร.จุฬามาศ จันทรศรีสุคต อาจารยคณะครุศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ระยะที่ ๓ ศึกษาผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรู ประชากร และกลุมตัวอยาง ประชากร คือ นักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ ๔ มีอายุเฉลี่ยประมาณ ๑๐ ป มี ความพรอมในการเรียนและไมมีปญหาเรื่องความสัมพันธระหวางการใชกลามเนื้อมือและสายตา ที่มีความ บกพรองทางการเรียนรูดานการอานในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต ๑ และไมมีความบกพรองอื่นซอนไดแก ความบกพรองทางสติปญ ญา ความบกพรองทางการเห็น ความบกพรองทางการไดยิน และความบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพ กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ มีอายุเฉลี่ยประมาณ ๑๐ ป มี ความพรอมในการเรียนและไมมีปญหาเรื่องความสัมพันธระหวางการใชกลามเนื้อมือและสายตาซึ่งอาจเปน
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ25เศษ
25
ตัวแปรแทรกซอนของการทดลอง เลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง จากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ ที่มี ความบกพรองทางการเรียนรูดานการอานและไมมีความบกพรองอื่นซอนจํานวน ๗ คน โรงเรียนบานทา สําราญ อําเภอทาบอ จังหวัดหนองคาย ซึ่งเปนโรงเรียนที่ไดรับเกียรติบัตรเหรียญทองยอดเยี่ยมการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนสําหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษเรียนรวม และโลการบริหารจัดการเรียนรวม ดีเดนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต น คื อ ยุ ท ธศาสตรก ารจั ดการการเรียนรูโ ดยการบู ร ณาการ แนวคิ ด พหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวมเพื่อเสริมสรางความสามารถความ สนใจ และความคงทนในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ระดับประถมศึกษา ตัวแปรตาม ไดแก ความสามารถในการอาน ความสนใจในการเรียน และ ความคงทนในการอาน วิ ธี ดํ า เนิ น การศึ ก ษา เป น การวิ จั ย แบบการทดลองเบื้ อ งต น (Pre-Experimental Research) ใชแบบแผนการทดลองกลุมเดียวทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน (One–Group Pretest – Posttest Design) เครื่องมือที่ใช ไดแก ๑) แผนการจัดการเรียนรูดานการอาน ๔๐ แผน ๒) หนังสือนิทานเสริมสรางการอานสระ จํานวน ๑๐ เรื่อง ๓) แบบทดสอบความสามารถในการอ าน ไดแ ก แบบทดสอบอานสะกดคํา , แบบทดสอบอานออกเสียงและแบบทดสอบอานจับใจความ ๔) แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจในการเรียน ไดแก แบบสังเกตพฤติกรรมแสดง ความสนใจในการเรียนการสอน, แบบบันทึกผลการสังเกตชวงความสนใจในการทํากิจกรรมของนักเรียน และแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน การสรางและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ - การสรางแผนการจัดการเรียนรูและหนังสือนิทานเสริมสรางการอานสระ ใชการ ประเมินคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item–Objective Congruence: IOC ) ของวัตถุประสงค หนวยการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อการเรียนรู และการวัดและประเมินผล - การสรางแบบทดสอบความสามารถในการอาน และแบบสังเกตพฤติกรรมความ สนใจในการเรียน การประเมินความสอดคลอง ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity และวิเคราะห หาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (Reliability) การเก็บรวบรวมขอมูล เก็บคะแนนการทดสอบความสามารถในการอานกอนเรียนและ หลังเรียน การสังเกตพฤติกรรมความสนใจในการเรียน และเก็บคะแนนการทดสอบความคงทนในการอาน หลังเรียนไปแลว ๒ สัปดาห
26
26
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
การวิเคราะหขอมูล ใชการวิเคราะหขอมูลดังนี้ - วิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณโดยวิเคราะหคะแนนความสามารถในการอานออกเสียง อานสะกดคําและอานจับใจความ - วิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพโดยบันทึกการสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนของนักเรียน และสรางขอสรุปจากขอมูลที่ไดจากการสังเกต สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก - สถิติพื้นฐาน ไดแก คาเฉลี่ย คารอยละ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนําเสนอ ขอมูลโดยใชกราฟแสดงความสามารถในการอานสะกดคํา อานออกเสียง และอานจับใจ ความเปนรายบุคคล - สถิติอางอิง วิเ คราะหเ ปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนความสามารถในการ อานกอนเรียนและหลังเรียน ใชสถิติ The Wilcoxon Matched Paired Signed–Ranks test
ผลการศึกษา นําเสนอผลการศึกษา ๒ ตอนดังนี้ ตอนที่ ๑ ผลการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน ผลการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานของนักเรียนที่มคี วาม บกพรองทางการเรียนรูร ะดับ ประถมศึก ษา ไดยุท ธศาสตรก ารจัดการการเรียนรูดานการอานสําหรับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูระดับประถมศึกษา ซึ่งมีองคประกอบของยุทธศาสตร ๔ ดาน ดังนี้ ๑. ดานกระบวนการจัดการเรียนรูโดยการบูรณาการแนวคิดพหุสัมผัส และแนวคิด ภาษา แบบธรรมชาติ ซึ่งผลการพัฒนายุทธศาสตรได ขั้นตอนการจัดการการเรียนรู 3 ขั้น ไดแก ขั้นที่ ๑ นักเรียนมีสวนรวมในการกําหนดจุดมุงหมายในการเรียนและเรียนรูทักษะ พื้นฐานตามเนื้อหาสาระ ขั้นที่ ๒ นําความรูไปใช ขั้นที่ ๓ นําเสนอ และประเมินผลงาน ๒. ดานการมีสวนรวมของผูปกครองซึ่ง เปนยุทธศาสตรที่สนับสนุนและสง เสริม ดาน กระบวนการจัดการเรีย นรู ดานการอานใหมีป ระสิท ธิภาพยิ่ง ขึ้นผลการพัฒ นายุท ธศาสตรไดแนวทาง ปฏิบัติการมีสวนรวมของผูป กครอง ๒ แนวทาง คือ ๑) การมีสวนรวมที่บาน และ ๒) การมีสวนรวมที่ โรงเรียน ๓. ดานการจัดทําแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ซึ่ง เปนยุทธศาสตรที่ส นับสนุนและ สงเสริมดานกระบวนการจัดการเรียนรูดานการอานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผลการพัฒนายุทธศาสตรได แนวทางปฏิบัติในการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลและไดแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ของนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน ๗ คน ที่เปนเด็กที่มีความบกพร องทางการเรียนรู และมีลักษณะ ความบกพรองดานการอาน
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ27เศษ
27
๔. ดานการจัดสภาพแวดลอม ซึ่งเปนยุทธศาสตรที่สนับสนุนและสงเสริมดานกระบวนการ จัดการเรียนรูดานการอานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นซึ่งผลการพัฒนายุทธศาสตร ไดแนวทางปฏิบัติในการจัด สภาพแวดลอม ๒ แนวทาง คือ ๑) การจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน ๒) การจัดสภาพแวดลอม ภายนอกหองเรียน ตอนที่ ๒ ผลการใชยุทธศาสตร ผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานเสนอผลการใชยุทธศาสตร ตามลําดับ ดังนี้ ๒.๑ ความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรอ งทางการเรียนรูโดยรวม เฉลี่ยไดคะแนนรวมเฉลี่ยกอนเรียน ๒๒.๘๕ คิดเปนรอยละ ๓๘.๐๙ คะแนนรวมเฉลี่ย ระหวางเรียน ๕๔.๕๗ คิดเปนรอยละ ๙๐.๙๕ และคะแนนรวมเฉลี่ยหลังเรียนได ๕๔.๗๑ คิดเปนรอยละ ๙๑.๑๙ จัดระดับ ความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู พบวา นักเรียนมีความสามารถใน การอานอยูในระดับดี ๓ คน ระดับดีมาก ๔ คน และโดยรวมเฉลี่ยมีความสามารถในการอานอยูในระดับดี มาก และผลการเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ระหวางกอนเรียน และหลังเรียน พบวา คะแนนกอนเรียนและหลังเรียนมีความแตกตางกัน โดยคะแนนหลัง เรียน สูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๒.๒ ความสนใจในการเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ดานการอาน ความสนใจในการเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน เมื่อพิจารณาความถี่ของการแสดงพฤติกรรมความสนใจในการเรียนของนักเรียนทั้ง ๗ คน พบวา มีความถี่ ของการแสดงพฤติกรรมความสนใจในการเรียนระหวางเรียน มากกวากอนเรียนโดยกอนเรียนมีความถี่ของ การแสดงพฤติกรรมจํานวน ๑๐ ครั้ง และระหวางเรียน จํานวน ๒๓ ครั้ง ผลการเปรียบเทียบระยะเวลา ชวงความสนใจในการทํากิจกรรม กอนเรียนและระหวางเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู พบวา ระยะเวลาชวงความสนใจ ในการทํากิจกรรม มีความแตกตางกัน โดยระหวางเรียนมีระยะเวลาชวง ความสนใจในการทํากิจกรรม สูงกวา กอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๒.๓ ความคงทนในการอ า นของนัก เรี ย นที่ มีความบกพร องทางการเรี ย นรู ดานการอาน ความคงทนในการอาน ของนั ก เรียนที่มีความบกพรอ งทางการเรีย นรูพ บว า คะแนนความสามารถในการอานหลังเรียน ๒ สัปดาห ไดคะแนนโดยรวมเฉลี่ยทั้ง ๗ คน ๕๖.๘๕ คะแนน คิดเปนรอยละ๙๔.๗๕ เมื่อพิจ ารณาความสามารถในการอานหลัง เรียนและความคงทนในการอานของ นัก เรีย น พบวา คะแนนความสามารถในการอานหลัง เรียน ๒ สัป ดาห ไดคะแนนไมต่ํากวาคะแนน ความสามารถในการอานหลังเรียน นักเรียนมีความคงทนในการอาน
28
28 งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
สรุปผลและการวิจารณ ผูวิจัยสรุปผลและวิจารณ ในสวนที่เกี่ยวของกับผลการใชยุทธศาสตร ซึ่งสามารถสรุปผลและวิจารณ ไดดังนี้ ๑. ความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู การจัดการเรียนรูดานการอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู พบวา เมื่อ นักเรียนไดรับ การจัดกระบวนการเรียนรูดานการอานโดยใชยุท ธศาสตรการจัดการเรียนรูดานการอาน คะแนนความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ไดคะแนนรวมเฉลี่ยหลังเรียน สูงกวา กอนเรียน และมีความสามารถในการอานเฉลี่ย อยูในระดับดีมาก และผลการเปรียบเทียบคะแนน ความสามารถในการอาน พบวา คะแนนกอนเรียนและหลังเรียน มีความแตกตางกัน โดยคะแนนหลังเรียน สูงกวา กอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.๐๕ ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว อธิบายไดดังนี้ ๑.๑ ยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานโดยบูร ณาการแนวคิดพหุสัม ผัสและ แนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวม มีประสิทธิภาพ จึงทําใหนักเรียนที่มี ความบกพรอง ทางการเรียนรู มีความสามารถในการอานสูงขึ้นซึ่ง ความสามารถในการอานของนักเรียนที่พัฒนาขึ้น เกิด จากการที่นักเรียนไดเรียนรูดานการอานจากการจัดกระบวนการเรียนรูที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น โดยการบูรณาการ แนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติซึ่งนักเรียนไดผานกระบวนการเรียนรูตามเนื้อหาสาระและ การไดฝก ทักษะภาษา แบบองครวมของภาษา ไดแก การฝกทักษะการฟง พูด อานและเขียน โดยเนื้อหา สาระออกแบบเป นหนวยการเรียนนิทานเสริม สรางความสามารถในการอานซึ่งเปนหนวยการเรียนที่ นักเรียนชอบและมีเนื้อหาที่นาสนใจมีความเหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรูของนักเรียน เนื้อหา สาระมีความยากงายเหมาะสม และเนื้อหาสาระในหนวยการเรียนรูไดผานการตรวจสอบอยางมีคุณภาพ จากผูเชี่ยวชาญดานการศึกษาพิเศษซึ่งสอดคลองกับ แบล และคณะ (Blair et al., ๑๙๙๒: ๕) ไดเสนอวา ปจจัยที่เกี่ยวของกับการอาน ไดแก เนื้อหาสาระของเรื่องที่อาน ลักษณะหรือลีลาการเขียนของเรื่องที่อาน โครงสรางของหนังสือ และความนาอานของหนังสือ และสอดคลองกับ คลีมอน (Clemons, ๑๙๘๙) ได ศึกษาผลการทดลองใชการสอนแบบพหุสัมผัสกับนักเรียน การทดลองใชกจิ กรรมการเรียนการสอน คือ ให นักเรียนไดทํากิจกรรมการเคลื่อนไหวอยางสนุกสนานในระหวางเรียนโดยใชการสอนแบบองครวมทางภาษา และการทํากิจกรรมการอานแบบพหุสัมผัส ผลการศึกษา พบวา นักเรียนมีความสามารถในการอานมากขึ้น สอดคลองกับ อัม พา นกอิ่ม (๒๕๕๐) ไดศึก ษาความสามารถในการอานคําพื้นฐานของเด็ก ที่มีความ บกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ โดยใชเกมทางภาษา พบวา เด็กที่มีความ บกพรองทางการเรียนรูดานการอานที่ไดรับการรับสอนโดยใชเกมทางภาษามี ความสามารถในการอานคํา พื้นฐานอยูในระดับดีมาก และเด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอานที่ไดรับการสอนโดยใชเกม
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ29เศษ
29
ทางภาษามีความสามารถอานคําพื้นฐาน หลังการสอน สูงกวากอนการสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๑.๒ การจัดกระบวนการเรียนรูในขั้นที่ ๒ ไดสงเสริมใหนักเรียนไดใชชองทางการเรียนรู หลัก ๔ ทางคือ ทางการเห็น ทางการไดยิน การสัมผัส และการเคลื่อนไหว ในการรับรูขอมูล โดยใชเทคนิค วิธีที่สอดคลองกับธรรมชาติของนักเรียน แตละบุคคล เพื่อสรางขอสรุป และมีการจัดเรียงลําดับจุดประสงค /เนื้อหาใหนักเรียนไดเรียนรูอยางตอเนื่อง เชื่อมโยงจากงายไปหายาก นักเรียนไดมีโอกาสในการรับรูขอมูล ผานประสาทสัมผัสตางๆในการฝกทักษะการอาน จึงสงเสริมความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรูไดดี และในกระบวนการจัดการเรียนรูทุกขั้นตอน ครูไดดูแลเอาใจใสใหนักเรียนได ปฏิบัติกิจ กรรมการเรียนรูตามขั้นตอนยุท ธศาสตรก ารจัดการการเรียนรูดานการอานอยางเต็ม ที่ตาม ความสามารถของนัก เรียนแตล ะคน และการใหนัก เรียนรับทราบผลการทํางานของตนเอง ยังสง ผลตอ ความสามารถในการอานของนักเรียนอีกดวย (Tubb, Boehne, & Paese, ๑๙๙๑; Sideridis, ๒๐๐๒) ซึ่ง สอดสอดคลองกับสมัย กุตระแสง (๒๕๕๑) ไดศึกษาความสามารถในการอานและสะกดคําภาษาไทยของ นักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรู จากการสอนอานและสะกดคําโดยใชแบบฝกทักษะ ผลการศึกษาพบวา แบบฝกทักษะการอานและสะกดคําภาษาไทยที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว ความสามารถใน การอานและสะกดคําภาษาไทยของนัก เรียนที่มีปญ หาทางการเรียนรู หลัง การสอนอานและสะกดคํา ภาษาไทย อยูในระดับดีมาก และความสามารถในการอานและสะกดคําภาษาไทยของนักเรียนที่มีปญหา ทางการเรียนรูกอนและหลังการสอนอานและสะกดคําโดยใชแบบฝกทักษะการอานและสะกดคําภาษาไทย สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.๐๕ อีกประการหนึ่งในองคประกอบของยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน ไดจัดให มีการมีสวนรวมของผูปกครอง โดยจัดใหมีสวนรวมที่โรงเรียนและที่บานในการดูแลชวยเหลือบุตรหลานดาน การอานซึ่งผูปกครอง ไดสนทนา พูดคุย พาเด็กอาน ทบทวน เนื้อหาในหนวยการเรียน เปนการเพิ่มเติม ซ้ํา ย้ํา ทวนจากที่เคยเรียนมาแลวจากโรงเรียน และการดูแล ชวยเหลือ ตรวจสอบ การบาน หรือแบบฝกหัดที่ นักเรียนไดรับมอบหมายดานการอาน สงเสริมนักเรียนใหมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอนที่บาน ซึ่ง ตองใหความสนใจและมีการตอบโต มีการกํากับดูแลความกาวหนาในวิชาทักษะของนักเรียนเปนรายวัน ตลอดจนมีการรายงานพฤติกรรมการอานเปนหลักฐานของการรายงานพฤติกรรมการเรียนประจําวันซึ่งการ จัดใหผูปกครองมีสวนรวม ดังกลาว ทําให นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูมีความสามารถในการ อานสูงขึ้น (เมอรเซอร และเมอรเซอร (Mercer & Mercer, ๑๙๗๔ อางถึงใน หนวยศึกษานิเทศก, ๒๕๓๘) ๒. ความสนใจในการเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ในการจัดการเรียนรูดานการอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพร องทางการเรียนรู พบวา นักเรียนไดรับการจัดกระบวนการเรียนรู โดยใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานโดยบูรณาการ แนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวม พบวา โดยรวมทั้ง ๗ คน มี
30
30
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ความถี่ของการแสดงพฤติกรรมความสนใจในการเรียนระหวางเรียน มากกวา กอนเรียน และระยะเวลาชวง ความสนใจในการทํากิจกรรมของนักเรียนระหวางเรียนสูงกวากอนเรียน ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว และนักเรียนทีมีความบกพรองทางการเรียนรู มีความสนใจในการทํากิจกรรมระหวางเรียน สูงกวา กอนเรียน อธิบายไดดังนี้ ๒.๑ ในการจั ด กระบวนการเรี ยนรู ตามแนวคิ ด การเรี ย นรู ผ านการใช ป ระสาทสั ม ผั ส ที่ หลากหลาย และในขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู ขั้นที่๑ และขั้นที่ ๒ นักเรียนไดเลนเกมและรวมกัน วางแผนเพื่อเอาชนะฝายตรงกันขาม การเคลื่อนไหวรางกายตามจังหวะเพลงสระในหนวยการเรียนรูทุก หนวย หรือ การแขงขัน เกมอานคําจับคู ทําใหนักเรียนเกิดความสนุกสนาน อยากรวมกิจกรรมและมีความ กระตือรือรนในการเขารวมกิจกรรมการ ซึ่งสอดคลองกับธรรมชาติของเด็ก ในวัยประถมศึกษาที่ไมอยูน่ิง ตองการเคลื่อนไหวหรือทํากิจกรรมอยูตลอดเวลา จึงสงผลใหนักเรียนทีมีความบกพรองทางการเรียนรูมี ความสนใจในการทํากิจกรรม ระหวางเรียน สูงกวา กอนเรียน และอีกประการหนึ่ง ในขณะที่นักเรียนกําลัง มีความสนใจในการเรียนอยูนั้น ครูทําหนาที่ใหคําแนะนํา ใหนักเรียนสามารถเรียนรูแตละขั้นเปนอยางดี มี การใชคําถามเพื่อกระตุนใหนักเรียนคิดหาคําตอบอยูเสมอ ทําใหนักเรียนมีความสนใจในการเรียนอยูเสมอ เมื่อพิจ ารณาความถี่ของพฤติกรรมที่แสดงความสนใจในการเรียน พบวา นักเรียนมีก ารรวมกันซัก ถาม พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนบอยขึ้น มีการตอบคําถามโดยครูไมตองเรียกชื่อใหตอบและมีความตั้งใจในการ ทํางานที่ไดรับมอบหมายงานเสร็จทันเวลา และอีกประการหนึ่ง การจัดกิจกรรมการเรียนรูในขั้นที่ ๒ การนํา ความรูไปใช ซึ่ง เปนความรูที่ไดจากการฝก ทัก ษะยอยและการเขียนแผนภาพคําสําคัญ การเรียงลําดับ เหตุการณจากเรื่องที่อาน เพื่อสรุปใจความสําคัญของเรื่อง เปนกิจกรรมที่ชวยใหนักเรียนไดฝกทักษะในการ เชื่อมโยงขอมูลทําใหนักเรียนมีความสนใจในการอานจับใจความดีขึ้น (Boyle, ๑๙๙๓; Gardill, ๑๙๙๗; Dicecco & Gleason, ๒๐๐๒) และสําหรับ กิจ กรรมการเรียนรูในขั้นที่ ๓ การนําเสนอผลงานและ ประเมินผลใหนักเรียนไดรับการประเมินผลการทํางานจากครูและเพื่อนภายหลังการเสนอแผนภาพโครง เรื่องหรือแผนผังความคิดของเรื่องที่อานซึ่งผลงานของนักเรียนแตละคนจะไมเหมือนกันแลวแตความสนใจ และความสามารถของนักเรียนจะเขียนแผนผังออกมา กิจกรรมดังกลาวจึงสงผลตอความสนใจในการเรียน ไดดี ซึ่งสอดคลองกับ Breznitz (๑๙๙๗) ที่พบวา การจัดกระบวนการเรียนรูและการแสดง พฤติกรรมของ นักเรียนในการฝกทักษะดานการอานเหลานี้ลวนเปนพฤติกรรมที่แสดงใหเห็นวานักเรียนมีความสนใจในการ เรียนอยูเสมอ จึงกลาวไดวาการจัดกระบวนการเรียนรูดานการอานตามยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรู ดานการอานที่พัฒนาขึ้นนี้ชวยใหนักเรียนมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สอดคลองกับงานวิจัยของ อุทัย ดวงใหญ (๒๕๔๙) ไดทําการศึกษา ผลของการจัดกิจกรรมประสบการณตามแนวภาษาแบบธรรมชาติที่มีตอ พัฒนาการดานการอาน เขียนและความสนใจในการเรียนของเด็กปฐมวัยผลการศึกษา พบวา เด็กปฐมวัยที่ ไดรับการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณตามแนวภาษาแบบธรรมชาติมีพัฒนาการดานการอาน เขียน และ ความสนใจในการเรียนสูงกวากอนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณตามแนวภาษาแบบธรรมชาติอยางมี
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ31เศษ
31
นัยสําคัญทางสถิติที่ร ะดับ .๐๑ โดยมีพัฒ นาการดานการอาน เขียนและความสนใจในการเรียนสูง ขึ้น ตามลําดับ ๒.๒ ในการจัดเนื้อหา สาระการเรียนรู ไดสรางหนวยการเรียนรู เปนหนังสือนิทานเสริมสราง ความสามารถในการอานสระที่เปนสระเดี่ยวจํานวน ๑๐ หนวยการเรียน ซึ่งเนื้อหาสาระจะเปนนิทาน อาน แลวชวนใหติดตาม มีสี ภาพ และขนาดตัวอักษร ที่ดึงดูดความสนใจของนักเรียนและมีกระบวนการสรางที่ ผานการตรวจสอบอยางมีคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญ จึงทําใหนักเรียนมีความสนใจในการเรียน อยากเรียน อยากอานมากกวาแบบเรียนปกติในระดับชั้นเดียวกัน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดการจัดการเรียนรูภาษาแบบ ธรรมชาติ ใหนัก เรียนทํางานเกี่ยวกับการอานและเขียนจากสภาพแวดลอมที่เ ปนชีวิตจริงเกี่ยวกับ การ ดํารงชีวิตและมีเนื้อหาสาระที่มีความหมายตอเด็ก ซึ่งสอดคลองกับ กูดแมน (Goodman, ๑๙๗๐) มีความ เชื่อวาการสอนภาษาเปนเรื่องสําคัญสําหรับชีวิตเด็ก และเด็กตองเรียนรูภาษา ตองใชภาษาเพื่อการเรียนรู ครูจะตองตระหนักในความสําคัญของการจัดเนือ้ หาสาระการเรียนรู ควรเนื้อหา หรือภาษาในสิ่งที่เด็กชอบ เด็กจึงจะอยากเรียน ซึ่งเนื้อหาจึงมีความสําคัญตอ ความสนใจในการเรียนของเด็ก อีกประการหนึ่ง ในองคประกอบของยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน ไดมี การจัดสภาพแวดลอมทั้งภายในและนอกหองเรียนที่สงเสริมตอการเรียนรูดานอาน โดยจัดใหมี มุมสื่อ อุปกรณ ไดแกบัตรคํา บัตรคํา ดินน้ํามันสําหรับใหนักเรียนไดฝกขดเปนรูปสระ พยัญชนะ แลวฝกอาน หรือ มีก ระบะทรายสํา หรับ ฝก ขีด เขีย นเปน คํา มีมุ ม ส ง เสริม การอา นโดยจัดใหมี ห นั ง สือ นิท านเสริ ม สรา ง ความสามารถในการอานที่ไดพัฒนาขึ้น และการจัดสภาพแวดลอมภายนอก โดยจัดใหมีกิจกรรมสงเสริมการ อาน สวนหยอมการอาน ศาลารักการอาน หรือหองสมุดเคลื่อนที่ ที่มีความหลากหลายของการเลือกใชประ สัมผัสในการเรียนรูดานการอาน ใหนักเรียนไดฝกทักษะการอานตามความถนัด ความสนใจ ความตองการ ซึ่งการจัดสภาพแวดลอมจึงสงผลตอความสนใจในการเรียนของนักเรียนไดดีขึ้น ๓. ความคงทนในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ในการจัดการเรียนรูดานการอานสําหรับนัก เรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู เมื่อ นักเรียนไดรับการจัดกระบวนการเรียนรู โดยใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานโดยบูรณาการ แนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวม พบวา นักเรียนไดคะแนน ความสามารถในการอานหลังเรียน ๒ สัปดาห ไมต่ํากวา คะแนนความสามารถในการอานหลังเรียน นักเรียน มีความคงทนในการอาน อธิบายไดดังนี้ ๓.๑ ในการจัดกระบวนการเรียนรู นักเรียนไดใชประสาทสัมผัสตางๆ อยางมีความหมายทํา ใหนักเรียนสามารถจดจําประสบการณที่ไดเรียนรูไดดีกวาการเรียนที่นักเรียนมีโอกาสรับรูโดยเนนการับรู ผานประสาทสัมผัสบางดาน กิจกรรมที่นักเรียนไดฝกทักษะการอานไดแก การอานออกเสียง การอานสะกด คํา และการอานจับใจความ ในหนึ่งหนวยการเรียนที่มีจํานวนคํา ๑๐ คํา ซึ่งเปนคําเดิม ซ้ําๆ แตมีการฝก ทักษะหลากหลายรูปแบบ หลากหลายกิจกรรมและเปนการฝก ซ้ํา ย้ํา ทวน จึงทําใหนักเรียนจําและอานคํา
32
32
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
นั้นไดดีขึ้น สอดคลองกับ ธอนไดรที่กลาววา การกระทําซ้ําๆ หรือการซักซอมนั้นจะเกิดประโยชนอยางดีตอ ความคงทนของขอมูลในระยะสั้นๆ และในการจัดกระบวนการเรียนรู ไดใหนักเรียนเขียนแผนภาพคํา สําคัญจากเนื้อหาที่เรียนในแตละหนวยแลวนําไปแสดงไวที่ปายนิเทศในชั้นเรียนเพื่อใหนักเรียนไดเห็นและ อานคําจากผลงานการเขียนของนักเรียนเอง ทําใหนักเรียนมีความประทับใจในคําที่เขียนและมีความสุขทํา ใหนักเรียนสามารถจดจําสิ่งที่เรียนรูไดดี ซึ่งการจัดกิจกรรมดังกลาวจึง เปนวิธีการรับรูผานประสาทสัมผัส หลายทางซึ่งเปนวิธีการที่เหมาะสมกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน (Greene, ๑๙๙๓; cited by Wadlington, ๒๐๐๐) และสงผลใหนักเรียนมีความคงทนในการอานไดดี อีกประการหนึ่งในองคประกอบของยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน ไดมีการ จัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียนที่สง เสริม ตอการเรียนรูดานอานโดยมีก ารจัดทําปายนิเ ทศ บัตร คําประกอบภาพ ไดแก บัตรคําอานออกเสียง อานสะกดคํา และอานจับใจความ ไวใหนักเรียนไดเห็นไดอาน ทุ ก วั น นอกจากนี้ ยั ง จั ด ให มี มุ ม ส ง เสริ ม การอ า นในห อ งเรี ย นโดยจั ด ให มี ห นั ง สื อ นิ ท านเสริ ม สร า ง ความสามารถในการอานทั้ง ๑๐ หนวยการเรียนใหนักเรียนไดอานเพิ่มเติมในเวลาวาง หรือในชวงพัก กลางวันและเปดโอกาสใหนักเรียนไดยืมกลับไปอานที่บานกับผูปกครองดวย จึงทําใหนักเรียนจําและอานคํา เดิมได นักเรียนจึงไดคะแนนความสามารถในการอานหลังเรียน ๒ สัปดาห ไมต่ํากวา คะแนนความสามารถ ในการอานหลังเรียน ซึ่งสอดคลองกับ ผดุง อารยะวิญู (๒๕๔๕) ไดกลาวถึงการจัดสภาพแวดลอมในชั้น เรียนรวม วาการจัดชั้นเรียนแบบเรียนรวมเพื่อใหเด็กปกติและเด็กพิเศษไดเรียนรวมกันและมีปฏิสัมพันธกัน เพื่อชวยเหลือกันในดานการอาน ควรจัดใหมีมุมใดมุมหนึ่งในหองเรียน ใหเปนมุมสําคัญเพื่อจุดประสงค เฉพาะอยาง และสอดคลองกับงานวิจัยอีกหลายเรื่องที่ทดลองเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการสอนดวยวิธี ที่เ นนเรื่องการรับ รูและการจําของนัก เรียน พบวาชวยใหนัก เรียนสามารถเรียนรูดานการอานไดดีขึ้น (Torgesen, ๑๙๙๔; Pinkard, ๑๙๙๙ cited by Hiebert & Pearson, ๒๐๐๐: ๑๓๖; Dooly, ๑๙๙๔;) นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของจรีลักษณ จิรวิบูลย (๒๕๔๕) ทําการศึกษาการพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนระดับประถมศึก ษาที่มีความบกพรองในการเรียนรูดานการอานตาม แนวคิ ด พหุ สั ม ผั ส และแนวคิ ด สื่ อ กลางการสอน ผลการศึ ก ษาพบว า นั ก เรี ย นที่ อ ยู ใ นกลุ ม ทดลองมี ความสามารถในการอาน ความคงทนในการเรียนรู การเห็นคุณคาในตนเองและความสนใจในการเรียนสูง กวานักเรียนในกลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๓.๒ ในองคป ระกอบของยุท ธศาสตรการจัดการเรียนรูดานการอาน ไดมีการจัดทําแผน การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ซึ่งผูวิจัยไดจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรู ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวน ๗ คน ที่มีลักษณะความบกพรองดานการอานตรงกัน โดยผูปกครองและผูเกี่ยวของมีสวนรวมในการวางแผน ชวยเหลือ ดูแล การบาน ภาระงาน และพานักเรียน ฝกอานคําจากหนวยการเรียน สวนโรงเรียนไดจัดบริการสอนเสริมดานการอานใหกับนักเรียนเพิ่มเติมใน เวลาหลังเลิกเรียน คือ ๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ น. ของทุกวันที่เปดเรียน เพื่อชวยเหลือนักเรียนดานการอาน จึงทํา ใหนักเรียนทีความคงทนในการอาน
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ33 เศษ
33
ขอเสนอแนะ ๑. ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช ผลการวิจัยพบวาความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูเมื่อ ใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานมีดังนี้ ๑.๑ ความสามารถในการอานของนักเรียน โดยรวมเฉลี่ย ไดคะแนน หลังเรียน สูงกวากอน เรียน และระดับความสามารถในการอานของนักเรียนเฉลี่ยอยูในระดับดีมาก แสดงใหเห็นวา ยุทธศาสตร การจัดการการเรียนรูดานการอานมีประสิทธิภาพ ครูที่ทําหนาที่จัดการเรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนที่ มีความบกพรองในการเรียนรูดานการอาน ระดับประถมศึกษา ควรนํายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดาน การอานนี้ไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยศึกษารายละเอียดของการใชยุทธศาสตรการจัดการ การเรียนรูดานการอานจากคูมือการใชอยางละเอียดกอนที่จะนําไปใช ๑.๒ ความสนใจในการเรียน นักเรียนมีความถี่ของการแสดงพฤติกรรมความสนใจในการ เรียนระหวางเรียนมากกวากอนเรียน และมีระยะเวลาชวงความสนใจในการทํากิจกรรม ระหวางเรียน สูง กวากอนเรียนแสดงใหเห็นวา ยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานมีประสิทธิภาพ ครูที่ทําหนาที่ จัดการเรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองในการเรียนรูดานการอาน ระดับประถมศึกษา ควรนํายุทธศาสตรก ารจัดการการเรียนรูดานการอานนี้ไปใชในการจัดกิจ กรรมการเรียนการสอนและ สามารถปรับกระบวนการจัดการเรียนรูและเวลาที่ใชในแตละกิจกรรมใหเหมาะสมกับลักษณะความตองการ จําเปนพิเศษของนักเรียน ๑.๓ ความคงทนในการอาน ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู พบวา คะแนน ความสามารถในการอานผานไป ๒ สัปดาห นักเรียนไดคะแนนไมนอยกวาคะแนนความสามารถในการอาน หลังเรียน นักเรียนมีความคงทนในการอาน แสดงใหเห็นวา ยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน มีประสิทธิภาพ ครูที่ทําหนาที่จัดการเรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองในการเรียนรูดาน การอาน ระดับ ประถมศึก ษา ควรนํายุท ธศาสตรก ารจัดการการเรียน รูดานการอานนี้ไปใชในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนและควรมีการ ฝก ซ้ํา ย้ํา ทวน ทบทวนบอยๆ จากเรื่องที่เรียนไปแลว หรือ มีการ จัดสภาพแวดลอมทั้งในและนอกหองเรียนใหเอื้อและสงเสริมตอการเรียนรูดานการอานของนักเรียน ๒. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป ผูที่สนใจทําการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานสําหรับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ระดับประถมศึกษา ควรมีการศึกษาวิจัยในดานตางๆ ดังนี้ ๒.๑ ศึกษาผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน สําหรับนักเรียน ที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ดานการอาน ระหวางนักเรียนที่มีระดับอายุที่แตกตางกัน
34
34
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
๒.๒ ศึกษาผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน สําหรับนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรู ดานการอาน ที่มีตอการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ ของนักเรียนที่เปนกลุม ตัวอยาง
เอกสารอางอิง การศึกษานอกโรงเรียน. (๒๕๔๕). นวัตกรรมการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลและ การจัดทําแผนการสอนเฉพาะบุคคล. กรุงเทพฯ: คุรุสภา. คณะกรรมการการคัดเลือกและจําแนกความพิการเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๑). คูมือการคัดแยกและสงตอคนพิการเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: คุรุสภา. จรีลักษณ จิรวิบูลย. (๒๕๔๕). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนระดับ ประถมศึกษาที่มีความบกพรองในการเรียนรูดานการอานตามแนวคิดพหุสัมผัสและ แนวคิดสื่อกลางการสอน. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา มัธยมศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ผดุง อารยะวิญู. (๒๕๔๕). เด็กที่มีปญหาในการเรียน. กรุงเทพฯ: แวนแกว. หนวยศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. (๒๕๓๘). เอกสารประกอบ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ยุทธศาสตรการสอนเด็กที่มีปญหาในการเรียนรู. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ สมัย กุตระแสง .(๒๕๕๑). การศึกษาความสามารถในการอานและสะกดคําภาษาไทยของ นักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรูชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ จากการสอนอานและสะกดคํา โดยใชแบบฝกทักษะ. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. (๒๕๔๔). การจัดการศึกษาสําหรับเด็กที่มี ปญหาทางการเรียนรู. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว. อัมพา นกอิ่ม. (๒๕๕๐). การศึกษาความสามารถในการอานคําพื้นฐานของเด็กที่มีความบกพรอง ทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ โดยใชเกมทางภาษา. ปริญญานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อุทัย ดวงใหญ. (๒๕๔๙). ผลของการจัดกิจกรรมประสบการณตามแนวภาษาแบบธรรมชาติที่มี ตอพัฒนาการดานการอาน เขียนและความสนใจในการเรียนของเด็กปฐมวัย. ปริญญา นิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Blair, J. S., Tuner, P., & Schaudt, O. R. (1992). Reading development and dyslexia. London: Whurr Publishers.
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ35เศษ
Boyle, J. R. (1993). Teaching student with mild disabilities. To use a cognitive Mapping strategy to facilitate reading comprehension. Dissertation AbstractsInternational, 3398 A. Breznitz, Z. (1997). Effects of accelerated reading rate on memory for text among dyslexic readers. Journal of Education Psychology, 89 (June), 289 -297. Clemons, L. K. ( 1989). Degrees of implementation of multisensory research. Dissertation Abstracts International, 51, 0122 A. Dicecco, V. M., & Gleason, M. M. (2002). Using graphic organizers to attain relational knowledge from expository text. Journal of Learning Disabilities, 306. Dooley, B. (1994). Multisensorially integrating reading and composition: Effects on achievement of remedial reader in Middle School. Dissertation Abstracts International, 55, 1513 A. Dicecco, V. M., & Gleason, M. M. (2002). Using graphic organizers to attain relational knowledge from expository text. Journal of Learning Disabilities, 306. Gardill, M. C. (1997). Reading Comprehension of Students with Learning Disabilities. Dissertation Abstracts International, 58, 1658 A. Goodman, K. S., & Goodman, Y. M. (1995). Learning to Read is Natural. Cited in D. J. Leu. & C. K. Kinzer. Effective Reading Instruction, K-8. 3rd ed. New Jersey. Hiebert, H. F., & Pearson, P. D. (2000). Building on the pas, bridging to the future: A research agenda for the center for the improvement of early reading achievement. The Journal of Educational Research, 93 (January), 230-241. Torgesen, J. K. (1994). Longitudinal studies of phonological processing and reading. Journal of Learning Disabilities, 27(September), 276-86.
35
36 ชื่อเรื่องวิจัย : ผลการจัดการเรียนรูสาระทัศนศิลปเรื่องทัศนศิลปสรางสรรคของนักเรียนที่มี ความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชการสอนแบบ สงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค พ.ศ. 2555 ชื่อผูวิจัย : ชินกร คําภูธร โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหความหมายของจินตนาการไววา จินตนาการ หมายถึง การ สรางภาพขึ้นในใจ ซึ่งภาพที่สรางขึ้นในใจนั้น มีบทบาทอยางมากตอการดํา เนินชีวิตของมนุษย (ชูเกียรติ มุงมิตร, 2554) จินตนาการ เปนเรื่องเกี่ยวของกับจินตภาพ คือการสรางภาพในสมองหรือนึกคิดเปนภาพ จึง เกี่ยวกับความคิดสรางสรรคอยากหลีกเลี่ยงไมได ถือเปนทักษะเบื้องตนของความคิดสรางสรรค จะทําใหสมอง พัฒนาไดดี เมื่อสมองดีแลวก็จะนําไปสูจินตนาการ ความคิดสรางสรรค และสติปญญาที่ดีเปนอันดับตอมา จินตนาการทําใหเด็กมีวิธีคิดที่ยืดหยุน ไมยึดติดอยูกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และจินตนาการยังชวยพาใหคนพนไปจาก ความจริงบางอยางในชีวิตที่ตึงเครียดและกดดัน นอกจากนั้นจินตนาการก็ยังนําไปสูการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ ประดิษฐกรรมหลายๆอยางบนโลก (ชาตรี วิทูรชาติ , ม.ป.ป.) ความคิดสรางสรรคในงานศิลปะนั้น เกิดจาก การใชจินตนาการอยางอิสระ กลาวคือ จินตนาการเปนองคประกอบที่สําคัญของการแสดงออกที่บงบอกวางาน นั้นเปนความคิดสรางสรรค (นิพนธ ทวีกาญจน, 2533) ความคิดสรางสรรคเปนคุณลักษณะที่มีอยูในตัวเด็กทุก คน ตั้งแตแรกเกิดและสามารถสงเสริมใหพัฒนาขึ้นได เด็ก ที่มีค วามบกพรองทางการไดยิ น จะมีขอ จํากัดในดานการสื่อสารไมส ามารถเขาใจสิ่ ง ที่เ ป น นามธรรมไดอยางลึกซึ้ง ปญหาสําคัญของผูที่มีความบกพรองทางการไดยิน คือภาษาหรือการสื่อสารกับผูอื่น ยิ่ง มี ก ารสู ญ เสีย การได ยิน มากเทาใด พัฒ นาการทางภาษาก็ ยิ่ง จะชาและบกพร องมากเท านั้ น แม จ ะมี องคประกอบอื่น ๆ มาเกี่ยวของ เชน สายตา สติปญญา ก็ไมไดทําใหปญหานี้หายไป ปญหาอีกดานที่พบของ เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยินคือ ปญหาทางดานอารมณ เพราะสาเหตุของภาษาทําใหการสื่อความหมาย และความเขาใจเปนไปไดยากลําบาก ถาหากไปอยูในสังคมที่ไมเปนที่ยอมรับแลวก็ยอมเพิ่มปญหามากขึ้น ทํา ใหเด็กสุขภาพจิตเสื่อมมีปมดอยทําใหเด็กเกิดความคับของใจกอใหเกิดปญหาทางอารมณได (รักชนก สุทธิ ประภา, 2550) ปจจัยสําคัญที่ทําใหเด็กเกิดการเรียนรูใดๆก็ตามยอมมีพื้นฐานมาจากการรับรู โดยผานประสาท สัมผัสทั้ง 5 คือ 1) ตา 2) หู 3) ผิวหนัง 4) จมูก 5) ลิ้น ซึ่งจากการวิจัยทางการศึกษาพบวา ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 นี้มนุษยเราสามารถรับรูจากอวัยวะตางๆ เหลานี้นอยมากแตกตางกัน ดังนี้ คือตาสามารถรับรูไ ด 83% หู สามารถรับรูได 11% ผิวหนัง จมูกและลิ้นสามารถรับรูไดรวม 6% (เลิศ อานันทนะ, 2535) ซึ่งจินตนาการ เปนความรูสึกที่เ กิดขึ้นจากการรับรูดวยประสาทสัมผัส ฉนั้นนักเรียนที่บ กพรองดานประสาทรับรูทางหูจึง
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
37
37
สูญเสียโอกาสในการสัมผัสรับรูดานนี้ไป จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ผูเกี่ยวของตองทําการกระตุนและพัฒนา ประสาทสัมผัสในการรับรูสวนอื่นๆ ที่ยังหลงเหลืออยูใหทํางานอยางเต็มประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษาใหกับเด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน เรื่องของความคิดสรางสรรคเปนที่ ยอมรับกันวามีความสําคัญมากตอผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ นอกจากนี้ความคิดสรางสรรคยังมีผลตอการปรับตัว และตอการคิดคนนวัตกรรมตาง ๆ เนื่องจากความคิดสรางสรรคเปนความสามารถที่สําคัญ อยางหนึ่งของ มนุ ษย ซึ่ง มี คุณ ภาพมากกวา ความสามารถด านอื่น ๆ และเปน ป จ จั ยที่ จํา เป น ยิ่ง ในการส ง เสริม ความ เจริญกาวหนาของประเทศ ดังนั้นในการพัฒนาความคิดสรางสรรค จึงควรเริ่มมาตั้งแตวัยเด็กเพราะวัยเด็กเปน วัยที่อยากรูอยากเห็น มีจินตนาการสูง มีความกระตือรือรนที่จะเรียนรูและสนใจตอสิ่งแปลกใหมรอบตัว ไมวา จะเปนเด็กปกติหรือเด็กที่มีความตองการพิเศษ โดยเฉพาะเด็กที่มีความบกพรองทางการไดยินนั้น ประสาท สัมผัสดานการฟงเสียง ไมอาจใชเปนประสาทนําไดเทากับประสาทตา ผูบกพรองทางการไดยินจึงตองอาศัยการ รับรูทางสายตามาชวยในการรับรูอยางมากและการรับรูจากการสัมผัสก็มีสวนชวยเชนกัน (ศรียา นิยมธรรม, 2551) สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ซึ่งเปนหนวยงานที่มีหนาที่ในการพัฒนาการศึกษาของชาติ ไดเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงดําเนิน โครงการวิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรูที่สงเสริมความคิดสรางสรรค ในปการศึกษา 2549-2550 โดย นําเอาองคความรูและรูปแบบการจัดการเรียนรูที่มีความชัดเจนเหมาะสมและใชชื่อรูปแบบการจัดการเรียนรูที่ พัฒนาขึ้นวา การจัดการเรียนรูแบบสงเสริมความคิดสรางสรรค มีการทดลองใชในโรงเรียน ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน 10โรงเรียนใน 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ ผลการใชรูปแบบการเรียนรู พบวา นักเรียนมีผลการเรียนรูใน ภาพรวมสูงขึ้น ทั้งดานความคิดสรางสรรค พฤติกรรมการเรียนรู ความรู ความจํา ความเขาใจในการนําไปใช ซึ่งการจัดการเรียนรูแบบสงเสริมความคิดสรางสรรค มีขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรูที่สําคัญ คือการสราง ความตระหนักเพื่อกระตุนและเราความสนใจของผูเรียนเขาสูเรื่องที่จะเรียนรู การระดมพลังความคิด เพื่อเปน การดึงศักยภาพของผูเรียนใหคนหาคําตอบหรือคิดออกแบบและสรางสรรคชิ้นงานดวยตนเอง การนําเสนอเพื่อ วิพากษวิจารณ แสดงความคิดเห็น การวัดประเมินผลและการเผยแพรผลงานจากการสรางสรรค (สํานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา, 2550) กระบวนการจัดการเรีย นรูของศิล ปะในปจ จุบันพบวา ครูนั้นยังขาดกระบวนการจัดการเรียนรูท่ี สงเสริมกระตุนจินตนาการและความคิดสรางสรรคของผูเรียน ครูยังยึดตนเองเปนศูนยกลางในการจัดการ เรียนรู ทําใหผูเรียนขาดความสุขในการเรียนรูศิลปะ ทั้งยังสงผลใหผลการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ อยูในระดับคอนขางต่ํา วิรุณ ตั้งเจริญ และคณะ (2542) ไดศึกษาการใชกิจกรรมสรางสรรคตามแนวซีไอเอส เอสที (CISST) ซึ่ง เปนกิจ กรรมในโครงการวิจัยเพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับ เด็ก ที่มีความสามารถพิเศษดาน ทัศนศิลปศึกษาและกําหนดสมมติฐานตามแนวคิดซีไอเอสเอสที (CISST) ซึ่งเชื่อวา การสรางสรรคศิลปะเด็ก เพื่อพัฒ นาเด็ก ที่มีความสามารถพิเ ศษดานทัศนศิล ป ใหส ามารถพัฒนาไดเต็ม ตามศัก ยภาพเพื่อสรางสรรค ศิลปะรวมสมัยปจจุบัน ทั้งศิลปะสมัยใหม (modern art) และศิลปะหลังสมัยใหม (post-modern art) จําเปน
38
38
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
จะตองพัฒนากิจกรรมใหแสดงความคิดสรางสรรค (Creativity) จินตนาการ (Imagination) ความรูสึกสัมผัส (Sensibility) การจัดระบบภาพ (Systematization) และการพัฒนารูปทรง (Transformation) ดวยสภาพบริบทดังกลาวขางตนและการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ผูวิจัยมีความเชื่อวาจินตนาการ และความคิดสรางสรรคมีความสัมพันธและเกี่ยวเนื่องกันซึ่งจําเปนตองสงเสริมใหเกิดขึ้นไปพรอมกันในตัวของ ผูเรียนจึงไดพัฒนารูปแบบการสอนขึ้นโดยประยุกตมาจากรูปแบบการสอนแบบสงเสริมความคิดสรางสรรคของ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและแนวคิด CISST ของวิรุณ ตั้งเจริญ และคณะ(2542) ซึ่งผูวิจัยไดปรับ เพิ่มในสวนขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยเพิ่มจุดเนนในเรื่องการสัมผัสรับรูเขาไปในขั้นตอนการสอน ดัง นี้ 1) ขั้นสัม ผัสรับ รูและตระหนัก 2) ขั้นระดมพลัง จินตนาการผานภาษามือ 3) ขั้นจินตนาการและ สรางสรรคชิ้นงาน 4) ขั้นนําเสนอผลงาน 5) ขั้นวัดผลประเมินผล 6) ขั้นเผยแพรผลงาน โดยเรียกรูปแบบที่ ประยุกตพัฒนาขึ้นวา การสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค ซึ่งขณะเดียวกัน ผูวิจัยมีงาน รับผิดชอบในการสอนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ผูวิจัยจึงเห็นความสําคัญของการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรคของนักเรียน อันนําไปสูการพัฒนาผลการเรียนรูในกลุมการ เรียนรูศิลปะ ดังนั้นจึงสนใจศึกษาผลการจัดการเรียนรู สาระทัศนศิลป เรื่องทัศนศิลปสรางสรรค ของนักเรียน ที่มีความบกพรองทางการไดยินระดับชั้นประถมศึก ษาปที่ 5 โดยใชก ารสอนแบบสง เสริมจินตนาการและ ความคิดสรางสรรค เพื่อใหนักเรียนมีผลการเรียนรูผานเกณฑที่กําหนดไว 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียน เรื่องทัศนศิล ปส รางสรรค ของนัก เรียนที่มีความบกพร อง ทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค ตามเกณฑรอ ยละ 70 โดยมีจํานวนนักเรียนผานเกณฑรอยละ 80 ขึ้นไป 2. เพื่อศึก ษาทัก ษะการสรางสรรคผ ลงานทัศนศิล ป ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค ตามเกณฑรอยละ 80 โดยมีจํานวนนักเรียนผานเกณฑรอยละ 80 ขึ้นไป 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค 3.
นิยามศัพทเฉพาะ การสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค หมายถึงรูปแบบที่ผูวิจัย ใชจัดการเรียนรู เรื่องทัศนศิลปสรางสรรค ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินโดย ผูวิจัยสรางขึ้นจากการประยุกตและพัฒนามาจากรูปแบบการสอนแบบสงเสริมความคิดสรางสรรค (สํานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา, 2550) และแนวคิด CISST (วิรุณ ตั้งเจริญและคณะ, 2542) อันประกอบดวย 6 ขั้นตอนคือ 1) ขั้นสัมผัสรับรูและตระหนัก 2) ขั้นระดมพลังจินตนาการผานภาษามือ 3) ขั้นจินตนาการและ สรางสรรคชิ้นงาน 4) ขั้นนําเสนอผลงาน 5) ขั้นวัดผล/ประเมินผล 6) ขั้นเผยแพรผลงาน
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
39
39
ทัศนศิลปสรางสรรค หมายถึง การสรางสรรคง านศิลปะที่สามารถมองเห็นและรับรูไดดวยตา อัน ประกอบดวยการวาดเสน การวาดภาพระบายสีและการปน นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน หมายถึง นักเรียนที่สูญเสียการไดยินทั้งหูตึงและหูหนวก ซึ่ง กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัด ขอนแกน ผลการจัดการเรีย นรู หมายถึง คะแนนที่ไดจ ากแบบวัดผลสัม ฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนจากแบบ ประเมินผลงานทัศนศิลปของนักเรียนในระหวางเรียน คะแนนจากแบบทดสอบความคิดสรางสรรคและขอ คนพบจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียน ที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชการสอนแบบสงเสริม จินตนาการและความคิดสรางสรรค 4. กระบวนการดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงทดลอง รูปแบบ Pre-Experimental โดยใชรูปแบบการทดลอง One – shot case Study โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาผลการจัดการเรียนรูส าระทัศนศิลป เรื่อง ทัศนศิล ป สรางสรรค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชการสอนแบบ สงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรคโดยใชกลุมเปาหมาย ซึ่งเปนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน จํานวน 16 คน เครื่ องมือที่ ใช ในการวิจัย ประกอบด วย แผนการจั ดการเรีย นรู โดยใช ก ารสอนแบบส ง เสริ ม จินตนาการและความคิดสรางสรรค จํานวน 7 แผน เวลาเรียน 14 ชั่วโมง รายวิชาศิลปะ สาระทัศนศิลป หนวยการเรียนรู เรื่องทัศนศิลปสรางสรรค ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยมีรายละเอียดของแผนการจัดการ เรียนรูในหนวยทัศนศิลปสรางสรรค ประกอบดวย ปฐมนิเทศการเรียนรู และกิจกรรมสัมผัสรับรู เสนสัมผัส จินตนาการจากแสงเงา สีสันของจินตนาการ จินตนาการงานปน รวมพลัง จินตนาการ นิท รรศการงาน ทัศนศิลปจากจินตนาการ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจํานวน 1 ชุด เปนขอสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 35 ขอ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบสงเสริม จินตนาการและความคิดสรางสรรค จํานวน 1 ชุด มี 3 ดาน ประกอบดวย ดานกิจกรรมการเรียนรู ดาน ครูผูสอน และดานพัฒนาการอารมณและการเรียนรู รวม 12 ขอ แบบประเมินผลงานการสรางสรรคงาน ทัศนศิลป แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู จํานวน 1 ชุด แบบทดสอบความคิดสรางสรรคฉบับรูปภาพ จํานวน 1 ชุด ประกอบดวย 3 กิจกรรม คือกิจกรรมชุดที่ 1 การตอเติมภาพจากวงรี กิจกรรมชุดที่ 2 การตอ เติมภาพจากเสนตาง ๆ ใหสมบูรณ กิจกรรมชุดที่ 3 การตอเติมภาพจากเสนคูขนาน โดยผูวิจัยประยุกตใชมา จากแบบทดสอบความคิดสรางสรรคของทอรแรนซ ฉบับรูปภาพ การเก็บรวบรวมขอมูลไดดําเนินการตามลําดับ ดังนี้ ปฐมนิเทศนักเรียนใหมีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับการจัดกิจ กรรมการเรียนรู โดยใชก ารสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค ชี้แจง บทบาทของครูและนักเรียน วิธีการวัดและประเมินผล ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแผนการจัดการ เรียนรูกับกลุมเปาหมาย จํานวน 7 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมระยะเวลาในการทดลองใชแผนการสอน
40
40
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
14 ชั่วโมง วัดประเมินทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียน ในระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยแบบ ประเมินผลงานการสรางสรรคงานทัศนศิลป ทดสอบหลังเรียน ดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัดความคิดสรางสรรคของนักเรียน โดยใชแบบทดสอบความคิดสรางสรรค จํานวน 1 ชุด ดําเนินการศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนตอการจัดการเรียนรู ดวยแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบ สงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค จํานวน 1 ชุด การวิเคราะหขอมูล ใชสถิติในการวิเคราะหขอมูล คือ คาเฉลี่ย (μ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคารอยละ 5. สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยสรุปไดวา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการ และความคิดสรางสรรค ผานเกณฑรอยละ 70 โดยมีนักเรียนที่ผานเกณฑคิดเปนรอยละ 81.75 มีคะแนน เฉลี่ยรวม รอยละ 75.89 ซึ่งผานเกณฑตามวัตถุประสงคของการวิจัย 2) ทักษะการสรางสรรคผลงาน ทัศนศิลปของนักเรียน ผานเกณฑรอยละ 80 โดยมีนักเรียนที่ผานเกณฑคิดเปนรอยละ100 มีคะแนนเฉลี่ย รวม รอยละ 86.34 ซึ่งผานเกณฑตามวัตถุประสงคของการวิจัย 3) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการ จัดการเรียนรูโดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค โดยรวมทั้ง 3 ดาน คือ ดาน กิจกรรมการเรียนรู ดานครูผูสอน ดานพัฒนาการทางอารมณและการเรียนรู นักเรียนมีระดับความคิดเห็นใน ระดับพึงพอใจมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวม 4.9 6. อภิปรายผล ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการวิจัยพบวา มีนักเรียนผานเกณฑ จํานวน 13 คนคิดเปน รอยละ 81.75 ซึ่ง สรุปไดวา ผานเกณฑที่กําหนดเอาไว ตามวัตถุประสงคของการวิจัย ทั้งนี้เนื่องจากการ จัดการเรียนรู โดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค นั้นไดเนนกระบวนการวัดและ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหมีความเหมาะสมกับลักษณะความพิการของนักเรียนโดยผูวิจัยปรับแบบ ประเมินใหมีการสื่อสารดวยภาพมากกวาใชคําอธิบายหรือภาษาเขียนซึ่งนักเรียนที่มีความบกพรองทางการได ยินมีขอจํากัดในเรื่องของภาษา ซึ่งผดุง อารยะวิญู (2542) ไดกลาววาเด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน มี ปญหาเกี่ยวกับภาษา เชน มีความรูเกี่ยวกับคําศัพทในวงจํากัด เรียงคําที่เปนประโยคผิดหลักภาษา ซึ่งเด็กที่ยิ่ง มีการสูญเสียการไดยินมากเทาใด ยิง่ มีปญหาในทางภาษามากขึ้นเทานั้น เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน จํานวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา ทั้งนี้เพราะวาวิธีการเรียนการสอนตลอดจนการวัดผลที่ปฏิบัติกันอยูใน ปจจุบันเหมาะที่จะนํามาใชกับเด็กปกติมากกวา วิธีก ารบางอยางจึงไมเหมาะสําหรับเด็กที่มีความบกพรอง ทางการไดยิน ยิ่งไปกวานั้น เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยินมีปญหาทางภาษาและมีทักษะทางภาษาจํากัด จึงเปนอุปสรรคในการทําขอสอบ เพราะผูที่ทําขอสอบไดดีนั้นตองมีความรูทางภาษาเปนอยางดี ดวยเหตุนี้เด็ก ที่มคี วามบกพรองทางการไดยิน จึงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคอนขางต่ํากวา เด็กปกติซึ่งสอดคลองกับศรียา
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
41
41
นิยมธรรม (2551) กลาวไววาปญหานําของผูที่มีความบกพรองทางการไดยินคือภาษาหรือการสื่อสารกับผูอื่น การสูญเสียการไดยินมากเทาใด พัฒนาการทางภาษาก็ยิ่งลาชามากเทานั้น จากหลักการและเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยจึงไดดําเนินการจัดทําแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีความเหมาะสมกับนักเรียน โดยลดทอนขอสอบ ที่เปนภาษาเขียนใหนอยลง แลวเนนขอสอบเชิงสัญลักษณและรูปภาพ ใหมีสัดสวนมากขึ้น อีกทั้งการจัดทําสื่อ การเรียนรู ใบความรู ประกอบแผนการจัดการเรียนรูในแตละแผน ผูวิจัยไดเนนการใชภาพประกอบและสื่อที่ สามารถรับรู และสัมผัส ไดดวยตา เปนหลักสําคัญ จึงทําใหนักเรียนมีผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนผานเกณฑที่ กําหนดไว ซึ่งจากหลักการดังกลาวขางตน สอดคลองกับแนวคิดของ ศรียา นิยมธรรม (2550) ที่กลาววาเด็กที่มี ความบกพรองทางการไดยิน เรียนรูจากการเห็นเปนประสาทสัมผัสนํา ดานทักษะการสรางสรรคผลงานทัศนศิลปของนักเรียน จากผลการวิจัย พบวา มีนักเรียนผานเกณฑ จํานวน 16 คนคิดเปนรอยละ 100 ซึ่งสรุปไดวาผานเกณฑที่กําหนดเอาไวตามวัตถุประสงคของการวิจัย ทั้งนี้ เนื่องจากในกระบวนการจัดการเรียนรูที่ใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค มีจุดเนน ในการสรางประสบการณใหนักเรียนในเรื่อง การรับรูสัมผัสและรูสึกผานกิจกรรมที่หลากหลาย เชน การวาด ภาพวัตถุสมั ผัส การวาดเสนสัมผัส การจินตนาการรูปรางจากแสงเงา การเขียนภาพจากเพลง การปนจาก จินตนาการ การวาดภาพจากนิทาน เปนตน ซึ่งกิจกรรมดังกลาวนั้น จัดโดยใชขั้นตอนการสอน 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสัมผัสรับ รูและตระหนัก 2) ขั้นระดมพลัง จินตนาการผานภาษามือ 3) ขั้นจินตนาการและ สรางสรรคชิ้นงาน 4) ขั้นนําเสนอผลงาน 5) ขั้นวัดผลประเมินผล 6) ขั้นเผยแพรผลงาน ในการจัดการเรียนรู เนนเปดโอกาสใหนัก เรียนไดแสดงออกอยางอิส ระ เนนการกระตุนประสาทสัม ผัสหรือการรับ รู จึงทําให นักเรียนสามารถสรางสรรคงานไดดวยความเปนอิสระและมีความสุข สนุกสนานในการปฏิบัติกิจกรรมสงผลให นักเรียนสามารถแสดงออกดานจินตนาการและความคิดสรางสรรคไดอยางมีคุณภาพ สอดคลองกับพีรณา ริ กุลสุรกาน (2549) กลาวไววา นักเรียนมีประสบการณมากกวา (ทั้งที่เกิดขึ้นจริงและในจินตนาการ) จะมีสมอง ที่ซบั ซอนกวาและเรียนรูไดงายกวา ครูจึงสามารถชวยใหนักเรียนเรียนรูไดดีขึ้น โดยการกระตุนจินตนาการ นั่นเอง นักเรียนสามารถจินตนาการไดดีเมื่ออยูในสภาวะผอนคลายและพรอมที่จะเรียนรู ดวยเหตุดังกลาว จึง ทําใหนักเรียนมีผลการประเมินทักษะการสรางสรรคผลงานทัศนศิลปผานเกณฑที่กําหนดไว ซึ่งผลการวิจัย ดังกลาว สอดคลองกับแนวคิดของทฤษฎีพัฒนาการและทฤษฎีความรูสึกและการเห็นทางศิลปะวาเมื่อเด็ก ไดรับการกระตุนและสงเสริมประสบการณทางดานความรูสึกสัมผัส โดยใชกิจกรรมสรางสรรค ทางศิลปะที่ ออกแบบไดส อดคลองกับระดับวุฒิภาวะ เปดโอกาสใหเ ด็ก ไดแสดงออกทางดานอารมณ ความรูสึก อยาง เสรีภาพแลว คุณภาพของการรับรูยอมพัฒนาดีขึ้นดวย วิรุณ ตั้งเจริญ (2539) กลาวไวและสอดคลองกับ ศรี ยา นิยมธรรม (2550) วากลุม เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน ควรไดรับ การสงเสริมทํานองเดียวกับ โครงการซีไอเอสเอสที (CISST) ที่ก ระตุนความสามารถดา นตางๆ ทั้ง ความคิดสร างสรรค จิน ตนาการ ความรูสึกสัมผัส ความสามารถเชิงระบบและความสามารถในการพัฒนารูปทรง ปรากฏการณที่แสดงความรูสึก สัมผัส ประกอบดวยภาพสัมผัส วัตถุสมั ผัส โสตสัมผัส กลิ่นสัมผัส ซึ่งในกระบวนการจัดการเรียนรู ผูวิจัยไดนํา แนวคิด กิจกรรมสรางสรรคซีไอเอสเอสที (CISST) มาประยุกตใชกับนักเรียน เชน การเขียนภาพจากวัตถุสัมผัส การวาดภาพสัม ผัส การเขียนภาพจากเพลง (การสั่นสะเทือนของเสียง) การเขียนภาพจากนิท าน การ
42
42
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
จินตนาการรูปรางจากแสงเงา การปน จากจินตนาการ เปนตน อีกทั้งยังมีกิจกรรมที่เนนการสัมผัส รับรู อี ก หลายกิจกรรม ภายใตการจัดกิจกรรมการเรียนรูดังกลาว ขางตน สงผลใหนักเรียนมีความสุข สนุกสนานและ รูสึกเปนอิสระ ผอนคลายในการสรางสรรคงาน ซึ่งสงผลโดยตรงใหผลงานที่สรางสรรคขึ้น เปนผลงานที่สื่อ จินตนาการของนักเรียนไดอยางสูงสุด เปนผลงานที่มีความนาสนใจ แปลกใหม สอดคลองกับ นิพนธ ขันแกว (2551) ที่ ก ลา วไว วา การแสดงออกทางศิ ล ปะของนั ก เรี ยนจะเริ่ม จากการรับ รู รู สึก เกิ ด ประสบการณ ประสบการณจะนําไปสูการสรางสรรครูปแบบใหมๆ ตามความคิดจินตนาการของแตละคน จากผลการวิจัย และเอกสารหลัก การตางๆ ที่ก ลา วมาขางตน ผูวิจั ยจึง อภิป รายผลโดยสรุป ไดวา การสอนแบบสง เสริ ม จิน ตนาการและความคิ ด สร า งสรรค เป น การสอนที่ เ น น การกระตุ น การรั บ รู สั ม ผั ส แล ว รู สึ ก เพื่ อ เกิ ด ประสบการณ นําไปสูการสรางภาพขึ้นในใจ แลวแสดงออกมาเปนผลงานศิลปะที่สะทอนความคิดจินตนาการ ไดอยางสูงสุด ดังผลการวิจัยที่ปรากฏใหเห็นไดวา นักเรียนผานเกณฑการประเมิน ดานทักษะการสรางสรรค ผลงานทัศนศิลป คิดเปนรอยละ 100 ดานความคิดสรางสรรคของนักเรียน ผลการวิจัยพบวาคะแนนเฉลี่ยการประเมินความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 ดาน คือ ความคิดริเริ่ม ความคิดคลอง ความคิดยืดหยุน และความคิดละเอียดลออ คิดเปนรอยละ 83.35 โดยมีนักเรียนที่ผานเกณฑ จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 81.73 ผลการวิจัยดังกลาวสอดคลองกับชูเกียรติ มุงมิตร (2554) ที่กลาววา จินตนาการเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับจินตภาพ คือ การสรางภาพในสมองหรือนึกคิด เปนภาพ จึงเกี่ยวกับความคิดสรางสรรคอยางหลีกเลี่ยงไมได ถือเปนทักษะเบื้องตนของความคิด รังสรรค ตนทัพไทย (2553) ไดศกึ ษาการจัดกิจกรรมทัศนศิลปที่สงเสริมความคิดสรางสรรค ตามการจัดกิจกรรมการ เรียนรู ของ สกศ. ผลการศึก ษาพบวา นัก เรียนมีความคิดสรางสรรคห ลัง เรียนสูง กวากอนเรียน อยางมี นัยสําคัญ ทางสถิติที่ร ะดับ .05 ดัง นั้นจึง อภิป รายผลไดว า การจัดการเรียนรูที่ ใชก ารสอนแบบสง เสริ ม จินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนการจัดการเรียนรูที่สงผลใหนักเรียนมีความคิดสรางสรรคผานเกณฑที่ กําหนดไวได เนื่องดวยรูปแบบดังกลาวมุงกระตุนจินตนาการ ซึ่งจินตนาการเปนบอเกิดของความคิดสรางสรรค เมื่อนักเรียนไดรับรู สัมผัส รูสึกแลวเกิดเปนประสบการณจะทําใหนักเรียนสามารถแสดงออกทางจินตนาการได อยางสูงสุด เมื่อจินตนาการสูง ความคิดสรางสรรคก็จะสูงตามดวย ดังที่นิพนธ ขันแกว (2553) ไดกลาววา จินตนาการจุดกอเกิดความคิดสรางสรรค สอดคลองกับนิพนธ ทวีกาญจน (2533) กลาววาจินตนาการบอเกิด ความคิดสรางสรรคในงานศิลปะ ความคิดสรางสรรคในงานศิลปะนั้น เกิดจากการใชจินตนาการอยางอิสระ จินตนาการเปนสิ่งสําคัญในการสงเสริมความคิดสรางสรรค อันสอดคลองกันกับผลการวิจัยที่พบวานักเรียนที่ เรียนโดยการใชก ารสอนแบบสง เสริม จินตนาการและความคิดสรางสรรค มี คะแนนการประเมินความคิด สรางสรรคผานเกณฑที่กําหนดไว ดานความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูผลการวิจัยพบวา นัก เรียนมี ความ คิดเห็นตอการจัดการเรียนรูโ ดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรคในระดับพอใจมาก ที่สุดโดยมีคาเฉลี่ยรวม 4.90 โดยดานกิจกรรมการเรียนรู มีความคิดเห็นในระดับพอใจมากที่สุด (𝜇=4.86) ดานครูผูสอน มีความคิดเห็นในระดับ พอใจมากที่สุด (𝜇=5) และดานพัฒนาการทางอารมณและการเรียนรู มี
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ 43เศษ
43
ความคิดเห็นในระดับ พอใจมากที่สุด (𝜇 = 4.90) แสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนรู โดยใชการสอนแบบ สงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนรูปแบบการจัดการเรียนรูที่มีความสอดคลองกับมาตรฐานการ เรียนรู สาระทัศนศิลป มาตรฐาน ศ 1.1 ที่ไดระบุไววา สรางสรรคงานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิด ตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน (โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน, 2551) ซึ่งการจัดการเรียนรูในรูปแบบนี้ มีลักษณะเดน คือ เนนใหผูเรียนไดรับรู สัมผัส และรูสึกแลวเกิดประสบการณ เปนการจัดการเรียนรูโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ โดยผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูจากการปฏิบัติจริง มีการจัด ประสบการณใหผูเรียนไดพบไดเห็น ไดยิน (การสั่นสะเทือนของเสียง)ไดสัมผัส ซึ่งเปนการกระตุนจินตนาการ ของนักเรียน อีกทั้งเนนบรรยากาศในการเรียนรูใหนักเรียนมีอิสระในการคิด การปฏิบัติงาน และการเรียนรู อีก ทั้งในระหวางการจัดการเรียนรู ผูวิจัยไดสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียน พบวานักเรียนสวนใหญ ให ความสนใจในทุกๆกิจกรรมของการจัดการเรียนรู มีสวนรวมในการทํากิจกรรม มีการรวมแสดงความคิดเห็น อยางมั่นใจ มีการทํางานที่ไดรับมอบหมายดวยความรับผิดชอบเสร็จทันเวลา อีกทั้งพฤติกรรมของนักเรียน ในขณะทํางานสรางสรรค มีบรรยากาศของความสุข สนุกสนาน ซึ่งชี้ใหเห็นวานักเรียนเกิดความเขาใจและ มั่นใจในการแสดงออกทางศิลปะมากขึ้น ขอสังเกตพฤติกรรมดังกลาวนั้น สอดคลองกับผลวิจัยที่พบวานักเรียน มีความคิดเห็นระดับพึงพอใจมากที่สุด ตอการจัดการเรียนรู โดยใชการสอนแบบสง เสริมจินตนาการและ ความคิดสรางสรรค การวิจัยครั้งนี้ แสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนรูที่ใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิด สรางสรรค ทําใหนักเรียนไดรับการกระตุนจินตนาการและความคิดสรางสรรคผานกิจกรรมที่เนนการสัมผัสรับรู รูสึก เกิดประสบการณ อันนําไปสูการสรางภาพขึ้นในใจแลวแสดงออกมาเปนผลงานที่สะทอนจินตนาการ และความคิดสรางสรรค ที่สื่อคุณคาทางดานความงามของศิลปะได อันสอดคลองกับ หลัก สูตรที่กําหนด มาตรฐานการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป มาตรฐาน ศ 1.1 ที่ระบุวาสรางสรรคงาน ทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะหคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิด ตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้สถาบันพัฒนาครู อาจารย และ บุคลากรทางการศึกษา (2553) ไดกลาววา ความคิดสรางสรรคของเด็ก ๆ จะคอย ๆ สูงขึ้นตามอายุ จนกระทั่ง เด็กเรียนอยูประมาณระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 พัฒนาการดานความคิดสรางสรรคของเด็กจะลดลงอยาง เห็นไดชัด หรือหยุดชะงักหายไปเลย ซึ่งมีสาเหตุมาจากสภาพแวดลอมทางโรงเรียน กฎระเบียบที่เขมงวด และ การปรับตัวใหเขากับผูอื่น ทําใหเ ด็กขาดความเปนอิสระ ทั้ง ดานความคิดและการกระทํา อันเปนผลทําให ความคิดสรางสรรคลดลง นอกจากนี้ นิพนธ ขันแกว (2553) กลาวไววา สภาพการจัดการเรียนรูในสาระ ศิลปะ พบวาการจัดการเรียนรู มุงเนนใหความสําคัญ เฉพาะดานความคิดสรางสรรค ทําใหจินตนาการยังเปน สิ่งที่ถูกละเลย และขาดความสําคัญ ในกระบวนการจัดการเรียนรูของศิลปะในปจจุบัน อันสงผลใหผูเรียนขาด ความสุขในการเรียน อีกทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูในระดับที่คอนขางต่ํา กลาวโดยสรุปการจัดการเรียนรูโดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค เปน การจัดการเรียนรูที่มีความเหมาะสมและสอดคลองกับธรรมชาติของรายวิชาศิลปะในสาระทัศนศิลป อีกทั้งมี
44
44
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ความเหมาะสมกับสภาพของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน รวมทั้งการจัดการเรียนรูรูปแบบนี้ยังเปน การแกไขปญหาในเรื่องการแสดงออกทางจินตนาการและความคิดสรางสรรคของนักเรียนในวัยประถมปลาย และเปนรูปแบบอันมุงเนนการพัฒนา สงเสริม ทั้งจินตนาการและความคิดสรางสรรคของนักเรียน ควบคูกันไป อันสงผลใหนักเรียนเกิดความมั่นใจในการแสดงออกทางศิลปะ และมีความสุข สนุกสนานในการเรียนรูศิลปะ ตามวัยของนักเรียน 7. ขอเสนอแนะจากการวิจัย มีดังนี้ 7.1 ขอเสนอแนะทั่วไป ประกอบดวย 1) การจัดการเรียนรู นักเรียนควรไดรับการกระตุนทางดานการรับรูสัมผัส ผานประสาทสัมผัส ทั้ง 5 อันประกอบดวย ตา หู ผิวหนัง จมูก ลิ้น เพราะเปนการสั่งสมประสบการณ อันนําไปสูการแสดงออก ทางจินตนาการไดอยางสูงสุด 2) การจัดการเรียนรู ครูศิลปะควรสงเสริมกิจกรรมทางดานทักษะการปฏิบัติ ควบคูกับการจัด กิจกรรมทางดานการรับรู ชื่นชม ใหกับนักเรียนไปพรอมๆ กัน โดยสรางประสบการณทางดานสุนทรียะใน ลักษณะสั่งสมจากการรูสึก คิดและจินตนาการ 3) การจัดกิจกรรมการเรียนรูทางศิลปะ ครูผูสอนควรใหความสําคัญถึงความสุข สนุกสนาน และ ความเปนอิสระ ผอนคลาย ของนักเรียน เพราะสิ่งเหลานี้มีผลใหนักเรียนมีความเชื่อมั่นและเห็นคุณคาในการ แสดงออกของตนเองอันจะนําไปสูการเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนรูศิลปะอยางยั่งยืน 4) นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ประสาทสัมผัสรับรูทางหู สูญเสียโอกาสในการรับรู อยางเต็มที่ไป ครูผูสอนจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองจัดกิจกรรมที่เนนการกระตุนและพัฒนาประสาทสัมผัส ในการรับรู สวนอื่น ๆ ที่ยังหลงเหลืออยูใหทํางานอยางเต็มประสิทธิภาพ เพื่อใหนักเรียนไดเกิดการเรียนรูเต็ม ตามศักยภาพ 7.2 ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไปประกอบดวย 1) ควรมีการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรูที่สามารถสงเสริมจินตนาการของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการไดยินในรูปแบบอื่นๆตอไป 2) ควรมีการศึกษา เปรียบเทียบในเรื่องจินตนาการทางศิลปะของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยินกับนักเรียนที่พิการดานอื่น ๆ หรือเปรียบเทียบกับนักเรียนปกติ 3) ควรมีการศึกษาการใชกิจกรรมสรางสรรคตามแนวคิดซีไอเอสเอสที (CISST) ซึ่งเปนกิจกรรม ที่เนนการตรวจสอบความคิดสรางสรรค จินตนาการ ความรูสึก สัมผัส กับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการ ไดยินอยางตอเนื่อง 4) ควรมีการศึกษาเพื่อใหไดขอความรูในประเด็นที่กลาววา การที่นักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยิน มีขอจํากัดในเรื่องของภาษาและการสื่อสาร จึงทําใหนักเรียนในกลุม นี้ มีการใชจินตนาการ มากกวาหรือสูงกวาคนปกติทั่วไป
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ45 เศษ
45
บรรณานุกรม ชาตรี วิฑูรชาติ. (มปป). สมองดีเพราะมีจินตนาการ. กรุงเทพฯ : Life & Family ชูเกียรติ มุงมิตร. (2554). จินตนาการ. http//www.rta.Mi.th/chukiat/story/dreaming.html นิพนธ ขันแกว. (2551). การพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู ทีใชเทคนิคการสรางสรรคศิลปะเพือ่ สงเสริมจินตนาการ รายวิชา ศ 31101 ศิลปะ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ตามแนวคิดความรูสึก และการเห็นทางศิลปะ. โรงเรียนแกนนครวิทยาลัย. ___________. (2553). สูจบิ ัตรการประกวดศิลปกรรมปตท. เยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 5. คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. นิพนธ ทวีกาญจน. (2533). 3 มิติ ทัศนะทางศิลปะและศิลปศึกษา. กรมฝกหัดครู. ผดุง อารยะวิญู. (2542). การศึกษาสําหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: P.A.ATR & PRINTING CO,LTD. พีรณา ริกุลสุรกาน. (2549). คูมือครูสําหรับเสริมสรางสมองของเด็กวัยเรียน ระดับปฐมวัย-อุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : แฮปป แฟมิลี่. รักชนก สุทธิประภา. (2550). ผลการจัดกิจกรรมเลานิทานภาษามือ ตอความมีวินัยในตนเองของ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัด อุดรธานี. รายงานการศึกษาอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. รังสรรค ตนทัพไทย. (2553). ผลการจัดกิจกรรมทัศนศิลปที่สงเสริมความคิดสรางสรรคตามการจัด กิจกรรมการเรียนรูของ สกศ. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน. (2551). หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน. ขอนแกน : เอกสารอัดสําเนา. เลิศ อานันทนะ. (2535). เทคนิควิธีการสอนศิลปะเด็ก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิชัย วงศใหญ. (2535). ศิลปศึกษา-ศึกษาศิลปะ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิรุณ ตั้งเจริญและคณะ. (2542). รูปแบบการจัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษดานทัศนศิลป. กรุงเทพ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. ศรียา นิยมธรรม. (2550). ทัศนศิลปเพื่อการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : แวนแกว. _____________. (2551). ความบกพรองทางการไดยิน ผลกระทบทางจิตวิทยาการศึกษาและสังคม พิมพครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแวนแกว. สถาบันพัฒนาครู อาจารยและบุคลากรทางการศึกษา. (2553). การจัดการเรียนรูแบบสงเสริมความคิด สรางสรรค. http://www.guruonline.in.th. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). การจัดการเรียนรูแบบสงเสริมความคิด สรางสรรค. กรุงเทพฯ : กลุมสงเสริมนวัตกรรมการเรียนรูของครูและบุคลากร ทางการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู.
46 งานวิจัยเรื่อง: การพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยินชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสราง ประโยคประกอบภาพ ป พ.ศ. 2555 ชื่อผูวิจัย : นางสาวพัชราพร ศรีจันทรอินทร โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ภาษาเปนวัฒนธรรมอยางหนึ่งที่ แสดงใหเ ห็นถึงความเปน เอกลัก ษณของชาติ เปนสมบัติท าง วัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพ และเสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เนื่องจากภาษาเปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสาร ชวยสรางความเขาใจและความสัมพันธที่ดีตอกัน ประเทศไทยเรามีภ าษาไทยเปนภาษาประจํา ชาติ เป นเครื่องมือ ที่สําคัญ ในการติดตอสื่อ สารในชีวิ ต ประจําวัน อีกทั้งยังเปนเครื่องชวยในการถายทอดวัฒนธรรม ความรู ประสบการณจากคนรุนหนึ่งไปยัง คนอีกรุนหนึ่งใหมีความเขาใจตรงกัน เปนหนึ่งใจเดียวกัน ทําใหสามารถประกอบธุรกิจ การงาน และการ ดํา รงชีวิ ต ร ว มกั น ในสัง คมประชาธิ ป ไตยไดอ ย า งสัน ติ สุ ข เป น เครื่ อ งมือ ที่ ใ ช ในการแสวงหาความรู ประสบการณจากแหลงขอมูล สารสนเทศตางๆ เพื่อพัฒนาความรู ความคิด วิเ คราะหวิจ ารณ และ สรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความกาวหนาทางวิ ทยาศาสตรเทคโนโลยี ตลอดจน นําไปใชในการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงทางสังคม และเศรษฐกิจ (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2545:1) ดังนั้นภาษาไทยจึงเปนสมบัติของชาติที่ควรแกการเรียนรู เพื่ออนุรักษและสืบสานใหคงอยูคูชาติ ไทยตลอดไป ในปจจุบันนี้โลกกาวหนาเจริญเร็ว การเรียนการสอนไดรับการพัฒนาอยูตลอดเวลา การสอน ภาษาไทยก็เชนกันไดมีการปรับปรุงพัฒนาเสมอมา นอกจากจะยึดหลักระเบียบประเพณีเดิมแลวยังได หลัก สากลมาประยุกตใชเพื่อความทันสมัยกับความสําคัญของการสอนภาษาไทยยุคพัฒนา (คณาจารย สมาน มิตร. 2547: 17) และการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐานกลุมประสบการณตาง ๆ จําเปนตองใช ภาษาไทยในการจัดการเรียนการสอน และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาผูเรียนในทุก ๆ ดาน ทั้งตัวผูเรียน สังคมและประเทศชาติ ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยจึงจําเปนอยางยิ่งในการที่จะใหมี ความสัมพันธสอดคลองกันเปนลักษณะของการบูรณาการ หรือเรียกวาทักษะสัมพันธ การจัดกิจกรรม การ เรียนการสอนดังกลาวจะประสบผลสําเร็จไดมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับองคประกอบที่สําคัญ ไดแก ครู นักเรียน สื่อการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอน และบรรยากาศในหองเรียน เปนตน (กิดานันท มลิทอง. 2548: 8) ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของภาษาไทย เปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสาร เพื่อใหเกิดความ เขาใจตรงกัน และตรงตามจุดมุงหมายไมวาจะเปนการแสดงความคิด ความตองการ และความรูสึ ก
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ47เศษ
47
คําในภาษาไทยยอมประกอบดวยเสียง รูปพยัญ ชนะ วรรณยุกต และความหมาย สวนประโยคเปน การเรียงคําตามหลักเกณฑของภาษา และประโยคหลายประโยคเรียงกันเปนขอความ นอกจากนั้นคําใน ภาษาไทยยังมีเสียงหนัก-เบา มีระดับของภาษา ซึ่งตองใชใหเหมาะแกกาลเทศะและบุคคล ภาษายอมมี การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ตามสภาพวัฒนธรรมของกลุมคน ตามสภาพของสังคม และเศรษฐกิจ การใชภาษาเปนทัก ษะที่ผูใชตองฝก ฝนใหเ กิดความชํานาญ ไมวาจะเปนการอาน การเขียน การพูด การฟง และการดูสื่อตางๆ รวมทั้งตองใชใหถูกตองตามหลักเกณฑทางภาษา เพื่อสื่อสารใหเกิดประสิทธิภาพ และใชอยางคลองแคลว มีวิจารณญาณ และมีคุณธรรม (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546) การเรียนการสอนระดับชั้นประถมศึกษา นักเรียนจะประสบความสําเร็จในการเรียนวิชาตาง ๆ มากนอยเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับความสามารถในการเขาใจความหมายของคํา การจับใจความในเรื่องที่อาน และสามารถเขียนถายทอดความรูสึกนึกคิดจากเรื่องที่อาน เขียนขยายความจากที่อาน เขียนบรรยายสิ่งที่ อาน เขียนประยุกต โดยใชความสําคัญจากสิ่งที่เคยอานรวมกับความรูสึกนึกคิดของตน (เต็มสิริ ดีกลาง. 2548: 2) ลักษณะของการเรียนภาษาเปนการฝกทักษะ ซึ่งทักษะที่ยากสําหรับผูเรียน ไดแก ทักษะ ทางดาน การเขียน อันเปนทักษะการสื่อสารที่ใชตัวอักษรแทนคําพูด โดยบันทึกเปนถอยคําและความคิด ของผูเขียน เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันระหวางผูเขียนกับผูอาน (กรมวิชาการ. 2546: 2) นักเรียนจะมี ทักษะการเขียนเกิดขึ้นไดจําเปนตองมีความรูและความเขาใจความหมายของคํา ที่เขียนและสงเสริมให ฝกฝนการเขียนอยางสม่ําเสมอและตอเนื่องตลอดเวลา ความมุงหมายของการสอนภาษาก็เพื่อสงเสริม พัฒนาการของนักเรียนในทางภาษาซึ่งประกอบดวย ทักษะการฟง ทักษะการพูด ทักษะการอาน และ ทักษะการเขียน ซึ่งทักษะทั้ง 4 ประเภทนี้ ถือวา การเขียนเปนการถายทอดความคิด ความรูสึก และ ความเขาใจของตนเองออกมาเปนตัวอักษร สัญลักษณ หรือรูปภาพ เพื่อสื่อความหมายใหผูอื่นไดเขาใจ การเขียนจึงเปนทักษะการแสดงออกทางภาษาที่สําคัญในการเรียนและการสอนเกือบทุกวิชาตองอาศัยการ เขียนเพื่อบันทึกและแสดงความรูสึกของตนออกมา อีกทั้งการเขียนยังเปนทักษะที่สลับซับซอนกวาทักษะ อื่น จึงตองมีการฝกฝนทักษะการเขียนกันอยางตอเนื่อง (อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ. 2548:2) ผูที่มีทักษะการ เขียนที่ดี จะตองมีความสามารถในการเรียงรอยถอยคําอยางเปนระบบและถูกตองตามหลักภาษาเขียน อีก ทั้งการเขียนจะตองอาศัยทักษะสายตา การเคลื่อนไหวของกลามเนื้อเล็ก การทํางานประสาน กันระหวาง สายตากับการบังคับมือ และทักษะการเรียบเรียงแนวความคิดอีกดวย (ผดุง อารยะวิญู. 2544: 75 - 76) การเขียนเปนเครื่องมือในการสื่อสารระหวางผูเขียนกับผูอาน เปนวิธีการถายทอดความคิดโดยใช สัญลักษณที่กําหนดขึ้นเปนสื่อกลาง อาจเปนภาพ เปนสัญลักษณ หรือตัวอักษรคือภาษา ในที่นี้จะ กลาวถึงการเขียนที่ใชภาษาเปนเครื่องมือในการสื่อสาร ผูสื่อสารจะถายทอดความรู ขอเท็จจริงความคิด ทัศนะ หรืออารมณ จินตนาการ ลงไปเปนถอยคําภาษา เมื่อผูรับสารคือผูอาน อานแลวก็จะเขาใจหรือ เห็นสิ่งที่ผูเขียนตองการสื่อนั้น แตทั้งนี้มีขอแมวา ผูเขียนตองมีความสามารถในการถายโยงสิ่งที่จะสื่อนั้น ใหเปนภาษาที่ถูกตองชัดเจนตามที่ผูเขียนตองการเปนเรื่องไมงายนักที่จะสื่อสารใหผูอานเขาใจตรงกันกับผู
48
48
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
สื่อสาร บางครั้งผูอานก็มีจํานวนมาก ก็ยิ่งเพิ่มความยากใหแกผูสื่อสารที่จะตองพยายามใชภาษาใหไดผล ตามตองการ ( บุปผา บุญทิพย. 2547: 3 ) ในการเขียนประโยคเมื่อผูเขียนรูจักใชคําที่ถูกตองแลว ผูเขียน จะตองรูจักคํามาผูกเปนประโยคใหสัมพันธกันไดดวย จึงจะสื่อความหมายของเรื่องที่เขียนชัดเจน (ศักดิ์ศรี ปาณะกุล; และนิรมล ศตวุฒ.ิ 2546 : 38 ) จากนโยบายการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ไดยึดหลัก ผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนทุก คนมีความสามารถและพัฒนาตนเองได การจัดกระบวนการเรียนรูตองจัด เนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตาง ระหวางบุคคล และใหสถานศึกษาพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา (วิชัย ตันศิริ. 2543: 67 - 84 )โดยเฉพาะนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน หากมีการสูญเสียการไดยินมากก็ยิ่งมี ปญหาในทางภาษามากขึ้น การจัดการศึกษาสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินจึงตองใชระบบ ประสาทตาหรือการมองเห็นเพื่อการเรียนรูเปนสําคัญ ดังนั้นประสาทตาจึงมิใชเพียงสิ่งที่จะสงเสริมการ เรียนรูใหดีขึ้นเทานั้น แตเปนสิ่งจําเปนอยางมากในการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการไดยิน การจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลนั้น จะตองมีรูปแบบ การเรียนการสอน และสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสม เพราะรูปแบบวิธีการเรียนการสอนและสื่อการ เรียนการสอน จะชวยใหการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ ชวยสราง แรงจูงใจ และชวยกระตุนความสนใจของนักเรียนเรียนใหมีสวนรวมในการเรียน ทําใหนักเรียนเรียนเขาใจ ชัดเจน สามารถเรียนรูไดมากขึ้นในเวลาที่จํากัด เชื่อมโยงนามธรรมใหเปนรูปธรรม ทําสิ่งที่ซับซอนใหงาย ขึ้น (กิดานันท มลิทอง. 2543: 89-93) ซึ่งปจจุบันนี้รูปแบบการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอนมี หลากหลายชนิดและมีการพัฒนาไปจากเดิมอยางมาก โดยแตเดิมสวนมากจะเนนการสอนแบบบรรยาย ตามหนังสือเรียน แตในปจจุบันมีวิธีการสอนหลากหลายรูปแบบวิธีการที่จะนํามาใชสอนเพื่อใหเหมาะสม กับศักยภาพของนักเรียนแตละคนโดยจะเนนผูเรียนเปนสําคัญ การเขียนเปนวิธีก ารสื่อสารที่สําคัญ สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ซึ่ง ตองใช ติดตอกับคนปกติ แตภาษาเขียนของเด็กเหลานี้มักมีขอบกพรองมากมาย ทั้งในดานการเขียนคํา ปริมาณ คํา การใชชนิดของคํา นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินจะมีความสามารถ ในการเขียนปริมาณคําได อยางจํากัด ประโยคที่นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินเขียนก็จะเปนประโยคสั้น ๆ ใชคําในแตละ ประโยคนอย และมักเขียนคําตกหลน ตลอดจนเรียงลําดับคําในประโยคผิด จึงควรเปนหนาที่ของ ครูผูสอนและผูที่เกี่ยวของกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินโดยตรงที่จ ะตองหาวิธีแกไขความ บกพรองในดานการเขียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินเหลานี้ นักเรียนทุกคนสามารถเขียน หนังสือได หากไดรับการสอนที่ถูกวิธี ปญหาในการเขียนอยางหนึ่งของนักเรียนก็คือไมสามารถนึกหาคําที่ จะนํามาเขียนได เขียนประโยคผิดหลักภาษา เรียงประธาน กริยา กรรม ไมถูกตอง จึงตองเลือกคํามา ให ต ามที่ ค รู กํ า หนดเมื่ อ เด็ ก มี ทั ก ษะในการเขี ย นประโยคจากตั ว อย า งได แ ล ว เด็ ก จะเขี ย นได เ อง (ผดุง อารยะวิญู. 2545 :ค )
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ49เศษ
49
จากระบบการสื่อสารดังกลาวสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินจะมีพัฒนาการทาง ภาษาและการพูดลาชากวาปกติ ทั้ง นี้เพราะประสาทหูซึ่ง เปนประสาทที่สําคัญในการเรียนรูภาษานั้น บกพรองไป จึงทําใหไมสามารถไดยินเสียงหรือไดยินนอยมาก ทําใหไมสามารถสื่อสารกับบุคคลอื่นไดอยาง ปกติ ฉะนั้นบุคคลเหลานี้จึงขาดความเขาใจภาษา ทั้งในภาษาพูด และภาษาเขียน บุคคลเหลานี้รูคําศัพท ในวงจํากัด เรียงคําในประโยคผิดหลักภาษา เขียนคําตกหลน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยที่ไดศึกษาเกี่ยวกับ ความสามารถทางการเขียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินระดับชั้นประถมศึกษา ผลจากการ วิจัยพบวา นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินนั้นมีปญหาทางดานการเขียน คือ เขียนคําตกหลน เขียนเรียงคําในประโยคสลับที่กันไมถูกตองตามหลักโครงสรางของ ประโยค คือ ประธาน กริยา กรรม เชน ประโยค แมกินขาว นักเรียนจะเขียนประโยคไมถูกตองในลักษณะสลับที่ของ ประธาน กริยา กรรม เปน แมขาวกิน เปนตน (พนัส นาคบุญ. 2550 ; พัชนีย เจริญโลทองดี. 2546) จากสภาพปญหาที่ไดพบในการจัดการเรียนการสอนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินโรงเรียน โสตศึกษาจังหวัดขอนแกน พบวา มีสาเหตุของปญหาที่มีความสอดคลองกับแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ บุคคล (IEP) ของนักเรียนแตละคน พอสรุปได ดังนี้ 1. สาเหตุจ ากตัวผูเรียน ซึ่งเปนเด็ก ที่มีความตองการพิเศษประเภทบกพรองทางการไดยิน มีขอจํากัดในเรื่ องของการรับ รู ความสนใจ ความจํา การใชภาษาคอ นขางนอย หรือใชไมถูก ตอ ง ตามหลักไวยากรณ มักเขาใจเรื่องราวคลาดเคลื่อนจากความเปนจริง เพราะฟงไมชัด บางครั้งการสื่อสารกับ ผูอื่นไมเขาใจทําใหเด็กมีปญหาทางอารมณและการปรับตัว สวนความสามารถทางสติปญญามีทั้งฉลาด ปานกลาง โง เหมือนเด็กปกติ แตผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคอนขางต่ํากวาเด็กปกติ เนื่องจากมีปญหา เกี่ยวกับภาษาทําใหเปนอุปสรรคในการเรียน 2. สาเหตุจากครูผูสอน ครูผูสอนยังมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียน การสอน การใชภ าษามือ และเทคนิคที่ เ กี่ยวของในการจัด กิจ กรรมการเรียนการสอนนั ก เรี ยนที่ มี ความบกพรองทางการไดยนิ นอย ในการที่จะพัฒนานักเรียนใหมีความกาวหนาขึ้นไดอยางเปนที่นาพอใจ เนื่องจากยังขาดการคนควาอยางตอเนื่อง และการสื่อสารที่เขาถึงนักเรียนทําใหเกิดชองวางในเรื่องของการ ใชภาษาในการสื่อสาร 3. ขาดแคลนสื่อการเรียนการสอน ครูมีความรูความเขาใจการผลิตสื่อเฉพาะดานนอยถึงแม บางครั้งครูผูสอนจะตระหนักถึงความสําคัญที่จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ เหมาะสมใหกับนักเรียน ที่มีความตองการพิเศษประเภทบกพรองทางการไดยิน จึง ทําใหครูผูส อนละเลยหรือขามเนื้อหาหรือ กิจกรรมที่จําเปนตองฝกฝนไป ทําใหเด็กขาดโอกาสที่จะไดรับการฝกฝนในกิจกรรมนั้นๆ ดวย ปญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนที่มีความตองการพิเศษประเภทบกพรองทางการไดยิน เปนปญหาที่ตองปรับปรุงแกไข คือ การเขียนของนักเรียน ไมสามารถเขียนประโยคใหถูกตองตามหลัก ไวยากรณได ซึ่ง จากการประมวลสาเหตุของปญหาดังกลาวขางตน ผูศึกษาไดหาแนวทางแกปญหาโดย การนําวิธีการผลิตสื่อมาใชใหถูกตองและเหมาะสม เปนประเภทแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค
50
50
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ประกอบภาพ เพื่อสรางความสนใจ และฝกฝนใหเด็กเกิดการเรียนรูการเขียนประโยคใหสามารถจดจําและ นําไปใชในชีวิตประจําวันได การใช แบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค ประกอบภาพ เปนนวัตกรรมหนึ่งที่ผูศึกษา เลือกนํามาพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน เนื่องจากมีการใชสื่อแบบบูรณาการที่จะชวยใหนักเรียนเกิดความ สนุกสนาน เราใจใหนักเรียนสนใจที่จะเรียนวิชาภาษาไทยมากขึ้น ชวยใหนักเรียนมีความสามารถทางดาน การเขียนประโยคสูงขึ้น และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได ดวยเหตุผลดังกลาวผูศึกษาจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสราง ประโยคประกอบภาพ เพื่อเปนแนวทางสําหรับครูผูสอนในการพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน กลุม สาระการเรียนรู ภาษาไทยใหมี ประสิท ธิภาพยิ่ ง ขึ้ นและมี ความเหมาะสมตามศั ก ยภาพของ แตละบุคคล 2.1 วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ของ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ 3. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการ ไดยินระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 กอนและหลังการสอนโดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค ประกอบภาพ 2.2 ระเบียบวิธีการวิจัย รูปแบบการวิจัยและแบบแผนการทดลองในงานวิจัย การศึกษาครั้ งนี้เ ปนการศึ กษากึ่ง ทดลอง (Quasi Experimental Research) โดยใชรู ป แบบทดสอบกอนและหลังการทดลอง เปนการศึกษากลุมตัวอยางเดียว (One Group Pretest - Posttest Design) ซึ่งเขียน เปนรูปแบบการศึกษาดังนี้ (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ อางถึงในวันเพ็ญ ดี แปน,2550)
51
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ51เศษ
ตารางที่ 1 แสดงรูปแบบการศึกษา กลุมทดลอง สอบกอนเรียน E T1 เมื่อ
วิธีสอน X
สอบหลังเรียน T2
E แทน กลุมตัวอยางที่มีปญหาดานการเขียนสะกดคํา X แทน การสอนโดยใชแบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําจากภาพ T1 แทน การทดสอบวัดความสามารถดานการเขียนสะกดคํา กอนเรียน T2 แทน การทดสอบวัดความสามารถดานการเขียนสะกดคํา หลังเรียน ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถม ศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน จํานวน 11 คน กลุมตัวอยาง เปนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ที่กําลังศึกษาในชั้นประถม ศึกษาปที่ 4/2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัด ขอนแกน จํานวน 6 คน คัดเลือกกลุมตัวอยางโดยวิธีเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งผูศึกษาเปนครู ประจําชั้น ไดวิเคราะหผูเรียนจากแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 1. แบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ 2. แผนการจัดการเรียนรู 3. แบบทดสอบวัดความสามารถการเขียนประโยค การเก็บรวบรวมขอมูล มีขั้นตอนการดําเนินการ ดังนี้ 1. กอนทําการทดลอง ผูศึกษาทําการทดสอบกอนเรียน (Pre-test) กับนักเรียน กลุมตัวอยาง ดวยแบบทดสอบวัดความสามารถการเขียนประโยค ที่ผูศึกษาสรางขึ้น จํานวน 30 ขอ ใช เวลาในการทดสอบ 1 ชั่วโมง 2. ดําเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู แผนที่ 1 ถึงแผนที่10 โดยใชแบบฝก การเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ จํานวน 10 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวม 20 ชั่วโมง ระยะเวลา 6 สัปดาห ประกอบดวยแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ จํานวน 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 โครงสรางประโยคพื้นฐาน ประกอบดวย แบบฝกที่ 1 ประโยค 2 สวน แบบฝกที่ 2 ประโยค 3 สวน แบบฝก ที่ 3 ประโยคขยายประธาน แบบฝกที่ 4 ประโยคขยายกริยา แบบฝกที่ 5 ประโยค ขยายกรรม และชุดที่ 2 การเขียนประโยค ประกอบดวย แบบฝกที่ 6 เติมคําในประโยคจากรูปภาพ ที่กําหนดให แบบฝกที่ 7 เขียนใหมใหถูกตอง แบบฝกที่ 8 เรียงคําในประโยคจากรูปภาพที่กําหนดให แบบฝกที่ 9 เขียนประโยคจากรูปภาพและความหมายที่กําหนดให แบบฝกที่ 10 เขียนประโยประกอบภาพ ระหวางการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ครูจะสาธิตและอธิบายขั้นตอนของการทําแบบฝกทีละขั้น
52
52
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
อยางละเอียด ใหนักเรียนดูและฟงกอนที่จะไดปฏิบัติจริงตามขั้นตอนของแบบฝกการเขียนตามโครงสราง ประโยคประกอบภาพ 3. หลังจากสิ้นสุดการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู ครบทั้ง 10 แผน ผูศึกษาทําการ ทดสอบ วัดความสามารถดานการเขียนประโยคหลังเรียน (post-test) กับนักเรียนกลุมตัวอยางอีกครั้ง โดยใช แบบทดสอบวัดความสามารถดานการเขียนประโยคชุดเดียวกันกับที่ใชทดสอบกอนเรียน การวิเคราะหขอมูล 1. การศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค โดยการหาคาเฉลี่ย คะแนนแตละหนวย และจากการทดสอบสิ้นสุดการทดลองแลวนํามาประเมินโดยใช 80/80 จากการ คํานวณคา E1 และ E2 2. การศึกษาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการได ยินในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ทําการ วิเคราะหขอมูลโดยหาสถิติพื้นฐาน ไดแก คาคะแนนเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเกณฑการ ประเมินระดับความสามารถในการเขียนประโยค 3. การเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการ ไดยิน โดยการวิเคราะหคะแนนกอนและหลังสอนโดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบ ภาพ วิเคราะหขอมูลโดยวิธีการทดสอบ The Wilcoxon Matched-Pairs Signed-Rank Test ของ (บุญชม ศรีสะอาด, 2546 ) สถิติที่ใช การศึกษาครั้งนี้ใชคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย ( X ) และ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 104-106 ) 2.3 ผลการศึกษา การพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ปรากฏผลดังนี้ 1. ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน พบวา แบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ที่ สรางขึ้นมีคาเทากับ 85.66/ 83.66 ซึ่งมีคาเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว คือ 80/80 2. ความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับ ชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 หลังจากการไดรับการสอน โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ มีค า คะแนนเฉลี่ ย เท า กั บ 36.66 หมายถึง มีค วามสามารถในการเขี ย นประโยคอยู ใ นระดั บ ดีมาก 3. นั ก เรี ยนที่มี ความบกพร องทางการไดยิ น ที่ได รับ การสอนโดยใชแบบฝก การเขี ยน ตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ มีความสามารถในการเขียนประโยคกอนและหลังการทดลอง แตกตาง
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ53เศษ
53
กั น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 โดยหลั ง การทดลองนั ก เรี ย นมี ค วามสามารถใน การเขียนประโยคสูงกวากอนทดลอง 2.4 อภิปรายผล การพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ พบประเด็นที่นํามา อภิปราย ดังนี้ ความสามารถในการเขียนประโยค โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบ ภาพ หลังเรียนสูงกวากอนเรียน ทั้งนี้เนื่องมาจากแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ เริ่มจากงายไปหายาก มีรูปภาพ มีความหมายของคํา จึงทําใหผูเรียนมีทักษะในการเขียนตามโครงสราง ประโยคสูงขึ้น ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของแคลนตัน (Clanton. 1977 : 7220) ที่พบวา คะแนนของ กลุมทดลองหลังจากทําแบบฝกหัดสูงกวาคะแนนกอนทําแบบฝกหัด สอดคลองกับผลการวิจัยของ ชวอรต และ โดห ริ่ ง (Schwartz and Doehring. 1977 : 55) ได ศึ ก ษาความสามารถใน การเขียนสะกดคําของนักเรียนระดับ 2 ถึงระดับ 6 จํานวน 160 คน โดยใชรูปภาพที่มีความหมายและ แบบทดสอบการเขียนสะกดคําแบบเลือกตอบ และแบบทดสอบการเขียนสะกดคํายาก พบวา นักเรียนกลุม ที่ เ รี ย นโดยใช รู ป ภาพที่ มี ค วามหมาย มี แ นวโน ม ของการเขี ย นสะกดคํ า สู ง กว า นั ก เรี ย นที่ เ รี ย น การเขียนสะกดคําแบบธรรมดา จะเห็นไดวาการใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ทําใหนัก เรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน มีผ ลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนเพิ่ม ขึ้น แสดงวานัก เรียน มีความสามารถทางการเขียนตามโครงสรางประโยค หลังเรียนสูงกวากอนเรียน ดังนั้น แบบฝกการเขียน ตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ จึงมีประสิทธิภาพตามเกณฑ และเหมาะสําหรับนําไปใชในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 2.5 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอน 1. ควรใชรูปภาพและคําสั่งที่สั้นๆ เขาใจงายในการจัดทําแบบฝก และควรแจงผลการทําแบบ ฝกใหนักเรียนทราบทันทีและทุกครั้ง เพื่อใหนักเรียนไดแกไขและจําคําที่ถูกตองจะทําใหนักเรียนไดพัฒนา ความสามารถในการเขียนประโยคของตนใหดียิ่งขึน้ 2. ควรคัดเลือกคําที่นักเรียนมีประสบการณหรือใชในชีวิตประจําวัน เพื่อสรางกําลังใจ และ ความสนุกสนานในการทําแบบฝก ดังนั้น ครูผูสอนจึงควรเลือกคําที่จะนํามาใชใหเหมาะกับระดับชั้นและ ความตองการของนักเรียน 3. ควรนําหลักจิตวิทยาหรือหลักการทางทฤษฎีมาใชประกอบในการสรางแบบฝก จะทําให แบบฝกมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียน
54
54 งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป 1. ควรมีการพัฒนาและศึกษาระดับความยากงายของการเขียนประโยค โดยใชภาพประกอบ ในบทเรียนชวงชั้นอื่นๆ เพื่อเปนแนวทางในการเขียนประโยคใหถูกตองตามโครงสรางประโยค 2. ควรศึกษาและจัดทําแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อสรางความเราใจและเกิดทักษะการใชสื่อเทคโนโลยี 3. ควรศึกษาความสามารถในการจําประโยคของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน เพื่อ พัฒนาความกาวหนาในการเขียนประโยคตามโครงสราง
บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมวิชาการ. (2545). การจัดสาระการเรียนรู กลุมทักษะการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2554 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว. __________. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). การจัดทําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. กิดานันท มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีสื่อสารและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. อรุณการพิมพ. เกศสุคนธ แมนมณี . (2546). การศึกษาความสามารถในการเขียนพยัญชนะไทยของเด็กกลุมอาการดาวน ระดับฝกได โดยใชแบบฝกทักษะ . ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สํานักงาน. (2548). แบบฝกหัดสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 1 ชุดพื้นฐานการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. __________. (2548). แบบฝกหัดสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 2 ชุดพื้นฐานการเรียนรู ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.
55 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
55
__________. (2548). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 1 ชุดพื้นฐานการเรียนรู ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. __________. (2548). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 2 ชุดพื้นฐานการเรียนรู ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. คณาจารยสมานมิตร. (2547). หลักการสอนภาษาไทยสําหรับเยาวชน. กรุงเทพฯ: สุริยสาสน. จํารัส จินดาวงศ. (2545). การศึกษาความสามารถเขียนสะกดคําของเด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 จากการสอนโดยใชเกมฝกทักษะการเขียนสะกดคํา. ปริญญา นิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. จุไรรัตน มาประสพ. (2546). การศึกษาความสามารถในการเขียนประโยคของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน. ปริญญา นิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒประสานมิตร. อัดสําเนา. ชวาล แพรัตกุล. (ม.ป.ป.). เทคนิคการเขียนขอสอบ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพิทักษอักษร. เต็มศิริ ดีกลาง. (2548). ผลของการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญที่มีตอความสามารถในการเขียน ภาษาไทย-องนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสามเสนนอก (ประชาราษฎรอนุกูล) เขตดิน แดง. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ถวัลย มาศจรัส. (2546). นวัตกรรมการศึกษาชุด แบบฝกหัด – แบบฝกทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียน และการจัดทําผลงานทางวิชาการอาจารย 3 และบุคลากรทางการศึกษา (ครูชํานาญการ ครูเชี่ยวชาญ และครูเชี่ยวชาญพิเศษ). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพธารอักษร. ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตรการสอน: องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สํานักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เทียมจันทร ดําเนินนิรันดรและคนอื่นๆ. (2547). การพัฒนาแบบฝกทักษะการอานและเขียน ภาษาไทยโดยใชภาพประกอบภาษามือ สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3. สารนิพนธ กศ.ม.(หลักสูตรและการสอน). พิษณุโลก : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. ธฤฏ ศานติ์สุทธิกุล และคนอื่นๆ. (2545). Designer’s ProClipArts Vol.2. กรุงเทพฯ : เจเนซิส มีเดียคอม. __________. (2546). คลิปอารตการศึกษา. กรุงเทพฯ : เจเนซิส มีเดียคอม.
56
56
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
นลินนุช อํานวยสิน. (2546). การศึกษาความสามารถในการเขียนสะกดคําของเด็กที่มีปญหาทาง การเรียนรู โดยใชชุดการสอนเขียน . ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวิจัยทางการวัดผล. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก. ผดุง อารยะวิญู. (2544). เด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู. กรุงเทพฯ: พี. เอ. อารท. แอนด พริ้นติ้ง จํากัด. __________. (2546). การศึกษาสําหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. __________. (2546). การวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการอานไมออกเขียนไมได. กรุงเทพฯ: คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พัชนีย เจริญโลหทองดี. (2546). การศึกษาความสามารถในการเขียนสะกดคําของเด็กที่มีความ บกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ในโรงเรียนโสตศึกษา จากการสอน โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. พิณฑิพย วิจิตรจามรี. (2544). การศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมสําหรับนักศึกษาหูหนวก กรณีศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานิพนธ. ศศ.ม. (งานบริการฟนฟู สมรรถภาพคนพิการ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. อัดสําเนา. พนัส นาคบุญ. (2550). การศึกษาความสามารถในการเขียนประโยคของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยินระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. วารี ถิระจิตร. (2545). การศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. วิชาการ, กรม . (2546). คูมือการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในชั้นเรียนรวม ระดับชวงชั้นที่ 1 – 2 เลม 2 เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา. _________ . (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขนพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คูมือการจัดการ เรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ:โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. วิลาวัลย สุภิรักษ. (2545). การพัฒนาแบบฝกทักษะภาษาไทย เรื่องการเขียนสะกดคําไมตรงตาม มาตราตัวสะกด สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6. วิทยานิพนธ กศ.ม.พิษณุโลก : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. อัดสําเนา. วิชัย ตันศิร.ิ (2544). โฉมหนาการศึกษาไทยในอนาคต แนวคิดสําคัญของการปฏิรูปในพระราชบัญญัติ การศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศรียา นิยมธรรม. (2544). ความบกพรองทางการไดยิน ผลกระทบทางจิตวิทยาการศึกษาและสังคม. กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. __________. (2550). ทัศนศิลปเพื่อการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. ศรียา นิยมธรรม;และประภัสสร นิยมธรรม. (2547). พัฒนาการทางภาษา. กรุงเทพ : ภาควิชาการศึกษา
วิชัย ตันศิร.ิ (2544). โฉมหนาการศึกษาไทยในอนาคต แนวคิดสําคัญของการปฏิรูปในพระราชบัญญัติ การศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศรียา นิยมธรรม. (2544). ความบกพรองทางการไดยิน ผลกระทบทางจิตวิทยาการศึกษาและสังคม. : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ 57 กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. 57 __________. (2550). ทัศนศิลปเพื่อการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. ศรียา นิยมธรรม;และประภัสสร นิยมธรรม. (2547). พัฒนาการทางภาษา. กรุงเทพ : ภาควิชาการศึกษา พิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สมศักดิ์ สินธุระเวชญและคณะ. (2546). แบบฝกหัดสาระการเรียนรูภาษาไทย ชุดปฏิรูป : รูวิธีการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวัฒนาพานิช. __________.(2547). สื่อการเรียนรู ภาษาไทย 4 สมบูรณแบบ ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ชวงชั้นที่ 2 กลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวัฒนาพานิช. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2548). แบบฝกหัดสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 1 ชุดพื้นฐานการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตร การศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว. __________. (2550). สํานักบริหารการศึกษาพิเศษ. แบบฝกทักษะการอานและการเขียน. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. สุรางค โควตระกูล. (2544).จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. หรรษา บุญนายืน. (2546). การศึกษาความสามารถทางการเขียนสะกดคํายากของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ในโรงเรียนเรียนรวม โดยใชแบบฝก สะกดคํา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2548). ภาษาในสังคมไทย: ความหลายหลาย การเปลี่ยนแปลงและ การพัฒนา. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อารี พันธมณี. (2546). จิตวิทยาสรางสรรคการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ใยไหม เอดดูเคท. ภาษาอังกฤษ Clanton , Patricin Brantley. (1977,February). “The Effectiveness of the Letter Cloze Procedure as a Method of Teaching Spelling,” Dissertation Abstracts International. 38(5) : 7226-A. Haydon, Deborah M. (1987). An Interpretation of the Writing Process and Written Language Strategies Used by a Selected Group of Hearing Impaired Children. Missouri : University of Missouri – Columbia. McPeake, J. G. (1979,June). “ The Effects of Original Systematic Study Worksheets Reading Level and Sex on the Spelling Achievement of Sixth Grade Students,” Dissertation Abstracts International. 39(12) : 7199-A .
58
58
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
Schwartz, Syhbil and Doehring, Donald. (1977,September). “ A Developmental Study of Children’s Ability to Abstract Spelling Patterns, ” Research in Education. 12(9) : 55 . Yoshinsja, Itano. (1996). “ Examining Written – Language Skills of Students Who are Deaf, Hard of Hearing, and Normally Hearing,” The Volta Review. 98(1) ; 1.
59 ชื่องานวิจัย : รายงานการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินโรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน ชื่อผูวิจัย : นางขนิษฐา โสธรรมมงคล และนายชนาธิป กาละพันธ โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัด ขอนแกน สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ความสําคัญ การจัดการศึกษาในประเทศไทยมุงเนนการศึกษาเพื่อปวงชน สงผลใหประชาชนทุกคนไดรับสิทธิ และโอกาสในการเรียนรูทั้งในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ทั้งนี้โดยมีกฎหมายรองรับ คือรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศไทย บัญญัติไวในมาตรา 49 “บุคคล ยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม เก็บคาใชจาย”มาตรา 22 ระบุวา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและ พัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียน มีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ เกี่ยวกับปญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร ในการนําเสนอสาระสําคัญ การวิจัย เพื่อพัฒนานโยบายการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษาของไทย และกรอบนโยบายการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษา ของไทย โดย ชินภัทร ภูมิรัตน (2544 : 11-14) ไดสรุปเสนอปญหาดานตางๆ ไวดังนี้ 1) ดานการจัด การเรียนการสอนการศึกษาขั้นพื้นฐานสวนใหญยัง เนนวิธีก ารอธิบ ายและการสาธิต ทําใหนักเรียนขาด กระบวนการคิดและการทดลองปฏิบัติ 2) ดานสื่อการเรียนรู พบวายัง มีขอจํากัดอยูม ากขาดความ หลากหลาย ขาดคุณภาพมาตรฐานและราคาที่เหมาะสม 3) ดานการวัดและประเมินผล สวนใหญเนนที่ ความรูความจํา เนนการเลือกคําตอบมากกวาการวัดกระบวนการคิด ทําใหนักเรียนขาดทักษะอื่น ๆ เชน ทักษะการสังเกตการทดลองปฏิบัติ เปนตน การใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร เปน อีกวิธีการหนึ่งที่จะทําใหนักเรียนมีทักษะในกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพิ่มมากขึ้น ตามที่ ปยวรรณ ตา คํา (2545 : 69-70) กลาววา การจัดกิจ กรรมการเรียนการสอนวิท ยาศาสตรที่มีป ระสิทธิภาพนั้น จําเปนตองดําเนินการในรูปแบบที่หลากหลายไมวาจะเปนเทคนิควิธีการและสื่อที่ใช ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรในระดับที่ดีขึ้น หลังจากเรียนโดยใชชุดกิจกรรมเพื่อ สงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรจํานวน 13 ชุด ซึ่งชุดกิจกรรมดังกลาวสามารถสงเสริมทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและกอใหเกิดการพัฒนาการทางดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ นักเรียนได ดังนั้น การใชชุดกิจกรรมจึงเปนวิธีการหนึ่งที่จะชวยสงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหเกิดในตัวนักเรียน เพราะรูปแบบหรือชุดกิจกรรมมีการประมวลเนื้อหา แนวคิด วิธีการ กิจกรรม และสื่อที่ สอดคลองกันจะชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดมุงหมายที่วางไว สําหรับการจัดการศึกษาสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ครูสามารถนํากิจกรรม การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรที่เนนการใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรมาชวยพัฒนาใหนักเรียน
60
60
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
เกิดองคความรูทางวิทยาศาสตร จนสามารถนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันได เนื่องจาก ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรจะกระตุนใหนักเรียนไดทํากิจกรรมและเรียนรูดวยตนเอง เมื่อนักเรียนได เรียนหรือทํากิจ กรรมดวยตนเองจะเกิดการเรียนรูจากประสบการณตรงที่ไดรับ ซึ่ง สอดคลองกับ ความ ตองการของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินเปนอยางยิ่ง แตในสภาพปจจุบันการจัดการเรียนการ สอนวิชาวิทยาศาสตร สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของ โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน ประสบปญหาเกี่ยวกับผูเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้น พื้นฐาน เนื่องมาจากไมไดรับการพัฒนามาตั้งแตเด็กๆ และขาดการสงเสริมทักษะกระบวนการอยางตอเนื่อง เทาที่ควร อีกทั้งยังขาดบุคลากรครูที่มีความชํานาญและเชี่ยวชาญในดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เพราะครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตรบางคนไมไดจบสาขาวิชาวิทยาศาสตร หรือเทคนิควิธีการสอนไมสามารถ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรไดอยางเต็มที่ และปจจัยสําคัญประการหนึ่งคือ วัสดุอุปกรณท่ี จําเปนพื้นฐานในการสงเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร รวมทั้งสื่อการเรียนการสอนมีไม เพียงพอ จากสภาพปญ หาตางๆ ที่ไดพ บจะเห็นไดวาการเรียนรูและฝกฝนทางดานทัก ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรมีความสําคัญอยางยิ่งตอการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร เพราะทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรเปนพื้นฐานในการแสวงหาความรู การคิดคนประดิษฐสิ่งใหมๆ และสามารถนําไปประยุกตใช ในการแกปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ผูวิจัยไดศึกษาคนควาหาวิธีการ เพื่อใหการจัดการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และจากการศึกษาคนควาเอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ผูวิจัยพบวา การใชชุดกิจกรรมเปนวิธีการหนึ่งที่จะชวยพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหเกิดขึ้นในตัวนักเรียน ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะสรางชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร โดยมุงหวังวาชุดกิจกรรมที่ผูวิจัยสรางขึ้นจะชวยพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้น พื้นฐานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ที่กําลังศึกษาวิชาวิทยาศาสตรและเปนพื้นฐานในการ แสวงหาความรูในแขนงวิชาอื่นตอไป
6161เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
61
กรอบแนวคิ กรอบแนวคิดในการวิ ดในการวิจัยจัย ตัวตัแปรต วแปรตน น ชุดชุกิดจกิกรรมทั จกรรมทักษะกระบวนการ กษะกระบวนการ ทางวิ ทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตรขั้นขพืั้น้นพืฐาน ้นฐาน จําจํนวน านวน8 8กิจกิกรรม จกรรมไดไดแกแก 1.1.ทักทัษะการสั กษะการสังเกต งเกต 2.2.ทักทัษะการลงความคิ กษะการลงความคิดเห็ ดเห็นจาก นจาก ขอขมูอลมูล 3.3.ทักทัษะการจํ กษะการจําแนกประเภท าแนกประเภท 4.4.ทักทัษะการวั กษะการวัด ด 5.5.ทักทัษะการคํ กษะการคํานวณ านวณ 6.6.ทักทัษะการหาความสั กษะการหาความสัมพัมนพัธนธ ระหว ระหวางสเปสกั างสเปสกับสเปส บสเปส และสเปสกั และสเปสกับเวลา บเวลา 7.7.ทักทัษะการจั กษะการจัดกระทํ ดกระทําและสื าและสื่อ ่อ ความหมายข ความหมายขอมูอลมูล
ตัวตัแปรตาม วแปรตาม
นักนัเรีกเรียนที ยนที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรองทางการ องทางการ ไดไดยินยนิ ชั้นชัมั้นธมัยมศึ ธยมศึกษาป กษาปที่ ท4ี่ 4 ปกปารศึ การศึกษา กษา2554 2554โรงเรี โรงเรียนโสตศึ ยนโสตศึกษา กษา จังจัหวั งหวัดขอนแก ดขอนแกน นมีผมีลสั ผลสัมฤทธิ มฤทธิ์ดา์ดนทั านทักษะ กษะ กระบวนการทางวิ กระบวนการทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตรขั้นขพืั้น้นพืฐาน ้นฐาน สูงสูขึง้นขึ้นหลัหลังใชงใชชุดชกิุดจกิกรรมทั จกรรมทักษะ กษะ กระบวนการทางวิ กระบวนการทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตร
วัตวัถุตปถุระสงค ประสงคของงานวิ ของงานวิจัยจัย 1.1. เพืเพื่อสร ขั้นขพืั้น้นพืฐาน ่อสรางชุางชุดกิดจกิกรรมเพื จกรรมเพื่อพั่อฒ พัฒนาทั นาทักษะกระบวนการทางวิ กษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตร ้นฐานสําสํหรั าหรับ บ นักนัเรีกเรียนที ยนที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรองทางการได องทางการไดยินยินโรงเรี โรงเรียนโสตศึ ยนโสตศึกษาจั กษาจังหวั งหวัดขอนแก ดขอนแกน น 2.2. เปรี เปรียบเที ยบเทียบผลสั ยบผลสัมมฤทธิ ฤทธิ์ด์ดานทั านทักกษะกระบวนการทางวิ ษะกระบวนการทางวิททยาศาสตร ยาศาสตรขของนั องนักกเรีเรียยนน โดยใช โดยใช ชุดชุกิดจกิกรรมเพื จกรรมเพื่อ่อพัพัฒฒนาทั นาทักกษะกระบวนการทางวิ ษะกระบวนการทางวิททยาศาสตร ยาศาสตรขขั้นั้นพืพื้น้นฐาน ฐาน สํสําาหรั หรับบนันักกเรีเรียยนที นที่ม่มีคีความบกพร วามบกพรอองง ทางการได ทางการไดยินยินโรงเรี โรงเรียนโสตศึ ยนโสตศึกษาจั กษาจังหวั งหวัดขอนแก ดขอนแกน น สมมติ สมมติฐานของงานวิ ฐานของงานวิจัยจัยในการศึ ในการศึกษาครั กษาครั้งนี้ง้มนีีส้มมมติ ีสมมติฐานของการศึ ฐานของการศึกษา กษาดังดันีง้ นี้ 1.1. ไดไดชุดชกิุดจกิกรรมเพื จกรรมเพื่อพั่อฒพัฒนาทั นาทักษะกระบวนการทางวิ กษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตรขั้ขนั้นพืพื้น้นฐาน ฐาน ทีที่ม่มีปีประสิ ระสิททธิธิภภาพ าพ ตามเกณฑ ตามเกณฑ70/70 70/70 2.2. นักนัเรีกเรี ยนที ่มีค่มวามบกพร องทางการได ยินชัย้นินมัชัธ้นยมศึ กษาป ที่ 4 ทมีี่ ค4ะแนนผลสั มฤทธิม์ดฤทธิ านทั์ดกาษะน ยนที ีความบกพร องทางการได มัธยมศึ กษาป มีคะแนนผลสั กระบวนการทางวิ ทยาศาสตรท ยาศาสตร หลังเรียนสูหงลักวงเรี ากยอนสู นเรีงยกวนาโดยใช กษะกระบวนการทาง ทักษะกระบวนการทางวิ กอนเรีชยุดนกิจกรรมเพื โดยใช่อชพัุดฒกินาทั จกรรมเพื ่อพัฒนาทักษะ วิทกระบวนการทางวิ ยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน
62
62 งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ระเบียบวิธีการวิจัย การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสราง ชุดกิจ กรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนโสตศึก ษาจัง หวัดขอนแกน และเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร โดยใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นพื้นฐานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัด ขอนแกน ประกอบดวย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. ตัวแปรที่ศึกษา 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 5. การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุม ตัวอยางที่ใชใ นการวิจั ย คือ นัก เรีย นที่มีค วามบกพรองทางการไดยิ น ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน จํานวน 28 คน ที่ไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน ไดแก ชุดกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ตัวแปรตาม ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดทําการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน โดยการใช ชุดกิจกรรมควบคูกับการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 1. กลุม ตัวอยางที่ใช ในการศึกษาครั้ งนี้คื อ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการได ยิน ชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน จํานวน 28 คน 2. นําชุดกิจ กรรมเพื่อพัฒ นาทัก ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานมาใชประกอบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียน มีขั้นตอน ดังนี้
63เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
63
2.1 ใหนัก เรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินที่เ ปนกลุม ตัวอยาง ทําแบบทดสอบ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร กอนการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร จํานวน 30 ขอ 2.2 ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตร โดยนําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานบูรณาการการเรียนรูกับแผนการจัดการเรียนรู ซึ่งระยะเวลาที่ ใช ใ นการเก็ บ รวบรวมข อ มู ล จากการศึ ก ษา โดยการใช ชุ ด กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรบูรณาการในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรใหสอดคลองกับเนื้อหาหนวยการเรียนรู 3. ทําการทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร หลังการใชชุดกิจกรรม เพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน โดยใชแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ฉบับเดียวกับที่ใชทดสอบกอนการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 4. นําคะแนนที่ไดจากการทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทั้ง กอนและหลัง การใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร มาวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป และสรุปผลการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล การดําเนินการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย 1. ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน 2. แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นตอนการสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. การสรางชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ในการจัดทําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นพื้นฐานสําหรับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ผูวิจัยเปนผูรับผิดชอบในการจัดการเรียน การสอนนั้นไดดําเนินการตามลําดับขั้นตอน ดังตอไปนี้ 1.1 ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิดและทําความเขาใจเกี่ยวกับการสรางชุดกิจ กรรม เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร จากตําราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ 1.2 กําหนดจุดมุงหมายของชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นพื้นฐานแตละทักษะ ซึ่งมีทั้งหมดจํานวน 8 ชุด ไดแก 1) ชุดกิจกรรมทักษะการสังเกต 2) ชุดกิจกรรมทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล 3) ชุดกิจกรรมทักษะการจําแนกประเภท 4) ชุดกิจกรรมทักษะการวัด
64
64
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
5) ชุดกิจกรรมทักษะการคํานวณ 6) ชุดกิจกรรมทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 7) ชุดกิจกรรมทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล 8) ชุดกิจกรรมทักษะการพยากรณ 1.3 กําหนดรูปแบบของกิจกรรม และวิธีการประเมินผลใหสอดคลองกับจุดมุงหมายของ ชุดกิจกรรมแตละกิจกรรม 1.4 สรางชุดกิจ กรรมเพื่อพัฒ นาทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร ขั้นพื้นฐานที่ใช ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหเปนไปตามจุดมุงหมาย ที่กําหนดไวทั้งหมด 8 ชุด แตละชุดมีโครงสรางองคประกอบ ดังนี้ 1) ชื่อกิจกรรม 2) คําชี้แจง 3) จุดมุงหมาย 4) แนวคิด 5) ขั้นตอนในการดําเนินกิจกรรม 6) การประเมินผล 1.5 นําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานที่สรางขึ้นไป ใหผูเ ชี่ยวชาญตรวจสอบเกี่ยวกับโครงสรางองคประกอบ และความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยการหาคาดัชนี IOC (Index of Item Objective Congruence) เพื่อนําขอบกพรองมาปรับปรุงแกไข ใหสมบูรณยิ่งขึ้นโดยตัดสินจากความคิดเห็นที่สอดคลองกันของผูเชี่ยวชาญรอยละ 80 ขึ้นไปเปนเกณฑ 1.6 ประมวลผลการตรวจสอบของผูเ ชี่ยวชาญทั้ง 5 ทาน ที่ไดใหขอคิดเห็นในการ ปรับปรุงแกไข คือ ปรับปรุงเนื้อหาของกิจกรรมใหเหมาะสมกับเวลา และปรับแกขอความบางขอความในชุด กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใหเหมาะสม ถูกตองยิ่งขึ้น 1.7 นําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ที่ปรับปรุงแกไขแลว ไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2554 จํานวน 23 คน พบวา นักเรียนใชเวลา ในการทําชุดกิจกรรมโดยเฉลี่ยประมาณ 45 นาที และควรเพิ่มสีสันใหสวยงาม นาสนใจยิ่งขึ้น 1.8 นําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ปรับปรุงแลวไปใชจริง กับกลุมตัวอยาง เปนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินชั้นมั ธยมศึกษาปที่ 4 ปการศึกษา 2554 จํานวน 28 คน 2. การสรางแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน แบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้น เปนแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ที่ใชทดสอบกอนเรียน และหลัง เรียน เพื่อศึก ษาการพัฒ นาทักษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร ขั้นพื้นฐาน โดยผูวิจัยไดสราง แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ตามลําดับขั้นดังตอไปนี้
65เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
65
2.1 ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิดและทําความเขาใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน จากเอกสาร ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.2 สรางแบบทดสอบวัดทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร ใหครอบคลุม ทัก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ทั้ง หมด 8 ทักษะ โดยแบบทดสอบแตล ะขอเปนแบบปรนัย เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 40 ขอ 2.3 นําแบบทดสอบที่สรางขึ้น ไปใหผูเชี่ยวชาญ ตรวจสอบคุณลักษณะและความตรง เชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยการหาคาดัชนี IOC (Index of Item Objective Congruence) เพื่อหา ขอบกพรองมาปรับปรุงแกไขใหสมบูรณยิ่งขึ้นโดยตัดสินจากความคิดเห็นที่ส อดคลองกันของผูเ ชี่ยวชาญ รอยละ 80 ขึ้นไป เปนเกณฑ 2.4 นําแบบทดสอบที่ป รับ ปรุง แกไขแลว ไปทดลองใชกับนัก เรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2554 จํานวน 23 คน จากนั้นนํามาวิเคราะหหาความยาก งาย และคาอํานาจการจําแนกของแบบทดสอบเปนรายขอ โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร B-Index 2.5 คัดเลือกขอสอบที่มีคาความยากงาย (p) ระหวาง .20 - .80 และคาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต .20 ขึ้นไป จํานวน 30 ขอ แยกเปนการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตา ง ๆ ดังนี้ 1) ทักษะการสังเกต จํานวน 4 ขอ 2) ทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล จํานวน 4 ขอ 3) ทักษะการจําแนกประเภท จํานวน 4 ขอ 4) ทักษะการวัด จํานวน 4 ขอ 5) ทักษะการคํานวณ จํานวน 4 ขอ 6) ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส สเปสกับเวลา จํานวน 3 ขอ 7) ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล จํานวน 4 ขอ 8) ทักษะการพยากรณ จํานวน 3 ขอ 2.6 นําแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ที่ไดจากการคัดเลือก จํานวน 30 ขอ ไปใชจริงกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียน โสตศึกษาจังหวัดขอนแกน ปการศึกษา 2554 จํานวน 28 คน
การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช ผูวิจัยไดนําขอมูลที่เก็บรวบรวม มาวิเคราะห โดยดําเนินการวิเคราะหขอมูลเพื่อเปรียบเทียบ ทัก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร ก อนและหลั ง การใช ชุด กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานมาวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลมี ดังนี้
66
66
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
1. คารอยละ (%) คาเฉลี่ย ( X ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 2. ใชสถิติคาเฉลี่ยเปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 กอนและหลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร โดยใช t-test (Dependent Samples) ผลการศึกษา จากการศึก ษาผลการใชชุดกิจ กรรมเพื่อพัฒ นาทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตรสําหรับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เมื่อไดสรุปผลการศึกษาแลว สามารถอภิปราย ผลการวิจัยไดดังนี้ 1. การศึก ษาครั้ง นี้ ไดชุดกิ จ กรรมเพื่อพัฒ นาทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตรสําหรั บ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 8 ชุด ดังนี้ ชุดกิจกรรมทักษะการ สังเกต ชุดกิจกรรมทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล ชุดกิจกรรมทักษะการจําแนกประเภท ชุดกิจกรรม ทักษะการวัด ชุดกิจกรรมทักษะการคํานวณ ชุดกิจกรรมทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ชุดกิจกรรมทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล และชุดกิจกรรมทักษะการ พยากรณ ซึ่งพบวา ชุดกิจกรรมที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนได 2. การเปรี ยบเทียบผลสั ม ฤทธิ์ด านทั ก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตรของนัก เรีย นที่ มี ความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 กอนและหลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร พบวา นักเรียนมีคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อ พั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร สู ง กว า คะแนนก อ นการใช ชุ ด กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะ กระบวนการทางวิท ยาศาสตร อยางเปนที่นาพอใจ โดยพิจ ารณาจากการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนน การทดสอบวั ด ทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร ห ลัง กั บ กอ นการใชชุ ด กิ จ กรรมเพื่ อพั ฒ นาทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียน (x2 - x1= 8.90) นักเรียนมีคะแนนจากการทําแบบทดสอบ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร หลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร สูงขึ้น และมีคะแนนผานเกณฑที่กําหนดไว คือ ไดคะแนนเฉลี่ยเกิน 21 คะแนน ซึ่งคิดเปนรอยละ 70 ขึ้นไป นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ดานทัก ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร หลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร สูง กวาก อนการใช ชุดกิ จ กรรมเพื่อพั ฒ นาทัก ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรอยางมีนัยสําคัญทีร่ ะดับ .01 อภิปรายผลการศึกษา จากการที่ผูวิจัยซึ่งเปนครูผูสอนไดดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวิชานี้ ดังที่ได อภิปราย ผล ผลการศึกษาที่ไดพบวาสอดคลองกับที่สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2546 :
67เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
67
216) ไดสรุปไวเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรวาตองเนนกระบวนการที่นักเรียนเปนผูคิด ลงมือปฏิบัติ ศึกษาคนควาอยางมีระบบดวยกิจกรรมหลากหลายทั้งการทํากิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสํารวจตรวจสอบ การทดลองในหองปฏิบัติการ การสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูล ปฐมภูมิและทุติยภูมิ การทําโครงงานวิทยาศาสตร โดยคํานึงถึงวุฒิภาวะ ประสบการณเดิม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมตางกันที่นักเรียนไดรับรูมาแลว การเรียนรูของนักเรียนจะเกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ และ ผลการศึกษาวิจัยของ อนงค บุตรวงค (2544 : 73) ที่ไดทําการวิจัยเรื่องผลการใชชุดฝกทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรที่เนนแหลงวิทยาการในชุมชนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ในโรงเรียนขยายโอกาสทาง การศึกษา ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชชุดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ที่เนน แหลงวิทยาการในชุมชน มีคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังการสอนสูงกวาคะแนนกอนการ สอน และยังสอดคลองกับการศึกษาวิจัยของ กําพู เลิศปรีชากมล (2544 : 61) ไดทําการวิจัยเรื่องการใช ชุดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสํานักงานการ ประถมศึกษา อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม ผลการวิจัยพบวา คะแนนกอนเรียนและหลังเรียน มีความ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาวิจัยของ ปยวรรณ ตาคํา (2545 : 69) ที่ทําการวิจัยเรื่อง ผลการใชชุดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ใชชุดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร มีคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังการใชชุดกิจกรรม สูงกวาคะแนนทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรกอนการใชชุดกิจกรรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสอดคลองกับ การศึกษาของ กานตธิดา สังขเรียง (2548 : 89) ไดทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร ผลการวิจัยพบวา คะแนนเฉลี่ยของความสามารถดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ นักเรียน ชวงชั้นที่ 3 หลังไดรับการประเมินตามสภาพจริงควบคูกับการใชชุดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรสูงกวากอนการประเมินและอยูในระดับดี ขอเสนอแนะ จากการที่ไดศึกษา เรื่องการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังนี้ การนําผลการศึกษาไปใช ในสวนที่เกี่ยวของสําคัญระดับตาง ๆ ไดแก 1. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานัก บริห ารงานการศึกษาพิเ ศษ และ สถาบันสง เสริมการสอนวิท ยาศาสตรและเทคโนโลยี ตองกําหนดนโยบายดานการจัดการเรียนการสอน วิทยาศาสตรแนวใหมที่เนนทักษะกระบวนการและใหผูเรียนสามารถสืบเสาะหาความรูดวยตนเองไดใหเปน ระบบและชัดเจน โดยรวบรวมขอมูลผลการศึกษาวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของซึ่งรวมทั้ งผลการศึกษาเรื่องนี้ดวย และสภาพความเปนจริงตาง ๆ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในปจจุบัน เพื่อกําหนดทิศทาง และ
68
68
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
จัดทํากลยุทธในระดับตางๆ ใหมีความเปนไปไดและสามารถปฏิบัติเปนผลสําเร็จได และควรจัดใหมีลามภาษา มือหรือกําหนดคําศัพทภาษามือโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร เพื่อเอื้อใหกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการได ยินไดศึกษา คนควาไดตอไป 2. โรงเรียนควรดําเนินการในเรื่องนี้ กลาวคือ นํารายงานผลการศึกษานี้ และผลการศึกษา เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู ของกลุมสาระการเรียนรูวิชาตางๆ ประมวลผลเปนขอมูลประกอบการวางแผน พัฒนาคุณภาพการศึกษาดานตางๆ ที่เกี่ยวของของโรงเรียน รวมทั้งการสงเสริมพัฒนาใหครูผูสอนไดพัฒนา ตนเองใหมีความรู ทักษะความสามารถดานการจัดการเรียนรู การผลิตและใชสื่อการเรียนรูประกอบการ จัดการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางเปนระบบ 3. ตัวครูผูสอนตองพัฒ นาตนเองทั้งดานภาษามือ และการจัดการเรียนรูวิชาวิท ยาศาสตร ใหเปนไปตามแนวทางที่สอดคลองกับทิศทางการปฏิรูปการเรียนรู ทิศทางและเปาหมายการจัดการเรียนรู วิทยาศาสตรนําขอมูลและผลการศึกษานี้เปนแนวทางปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรูในรอบปตอไป และ การจัดการเรียนรูรายวิชาอื่นๆ ที่รับผิดชอบ รวมทั้งการมีหรือการสรางเครือขายรวมพัฒนาระหวางครู โรงเรียนเดียวกัน กลุมสาระการเรียนรูเดียวกันหรืออื่นๆ เพื่อศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันในการ พัฒนาการจัดการศึกษาตอไป บรรณานุกรม กานตธิดา สังขเรียง. (2548). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โดยใชการประเมินตามสภาพจริง. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. กําพู เลิศปรีชากมล. (2544). การใชชุดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ชินภัทร ภูมิรัตน. (2544). รายงานการสัมมนาเรื่องนโยบายการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษาของไทย. [ออน-ไลน].แหลงที่มา : http://www.onec.go.th ปยวรรณ ตาคํา. (2545). ผลการใชชุดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2546). การจัดสาระการเรียนรูกลุม วิทยาศาสตร หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว อนงค บุตรวงศ. (2544). ผลการใชชุดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่เนนแหลงวิทยาการ ใน ชุมชน. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
69 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
ภาคผนวก
ตัวอยางแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ตัวอยางชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ตัวอยางภาษามือ ภาพประกอบการเก็บขอมูล
69
70
70
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ตัวอยางแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน
แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 ประจําปการศึกษา 2554 คําชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ เปนแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ 2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว โดยทําเครื่องหมายกากบาท (X) ในกระดาษคําตอบ ทักษะการสังเกต 1. ขอใดใชประสาทสัมผัสมากที่สุด ก. ลําไยรสหวาน ผลใหญ เนื้อหนา ข. มะนาวมีสีเหลือง ผิวมีรอย รสเปรี้ยว กลิ่นหอม ค. แตงโมลูกใหญ เนื้อสีแดง รสหวาน ง. นอยหนาผิวขรุขระ รสหวาน เมล็ดสีดํา 2. ขอใด ไมใช ขอมูลจากการสังเกตตนกุหลาบ ก. มีผึ้งจับที่ดอกกุหลาบ ข. ใบกุหลาบมีหนอนกินใบ ค. ตนกุหลาบเจริญเติบโตไดดีเพราะใสปุย ง. ใบกุหลาบกวางประมาณ 2 เซนติเมตร 3. ขอมูลใดเปนการสังเกตเชิงปริมาณ ก. มีมดดํา ทํารังที่สนามหญา ข. มะขามมีรสหวาน ราคาดี ค. แตงโมลูกละ 10 บาท ง. มะมวงมีประมาณ 100 ผล 4. ในการสังเกต ขอใดใชประสาทสัมผัสเพียงอยางเดียว ก. น้ําแกวนี้ใส ไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมมีรส ข. ผาเช็ดหนาผืนนี้ นุมมาก ค. ขนมเคกกอนนี้ อรอย มีกลิ่นหอม ง. รถยนตคันนี้สีขาว วิ่งเร็วแตเสียงดังมาก
71
ตัวอยางชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน
ทักษะการสังเกต
ขนิษฐา โสธรรมมงคล นายชนาธิป กาละพันธ
72
72
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ทักษะการสังเกต
แนวคิด การสังเกตเปนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานขั้นแรกที่มีความสําคัญมากที่สุด เพื่อใหผูเรียนเขาใจความหมายของการสังเกต ประเภทของขอมูลที่ไดจากการสัง เกต วิธีการสังเกต อยางถูกตองและชัดเจน การสังเกตเปนพฤติกรรมที่มีไดและสามารถฝกไดกับทุกคนและสามารถสังเกตได จนเปนความชํานาญหรือเปนทักษะ เพื่อใชในการศึกษาและคนควาหาความรูทางวิทยาศาสตร
การสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใชประสาท สัมผัส อยางใดอยางหนึ่ง หรือ ทั้ง 5 คือ หู ตา จมูก ลิ้นและกาย สัมผัส เพื่อรวบรวมขอมูล รายละเอียดของ สิ่งตางๆ โดยไมใส ความคิดเห็นสวนตัว
73เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
73
จุดมุงหมาย 1. จุดมุงหมายทั่วไป เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจความหมายและมีทักษะในการสังเกต 2. จุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม 2.1 อธิบายความสําคัญของการสังเกตไดถูกตอง 2.2 ระบุประเภทของประสาทสัมผัส ที่ใชในการสังเกตสิ่งของหรือสถานการณนั้นไดถูกตอง 2.3 บอกผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางตาไดถูกตอง 2.4 บอกผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางจมูกไดถูกตอง 2.5 บอกผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางลิ้นไดถูกตอง 2.6 บอกผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางผิวกายไดถูกตอง หมายเหตุ ชุดกิจกรรมนี้ไมวัดทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางหู เพื่อความเหมาะสม กับธรรมชาติของผูเรียน
เวลาที่ใช 45 นาที
การประเมินผล 1. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับ 1.1 ความหมายของการสังเกต 1.2 ประเภทของประสาทสัมผัสที่ใชในการสังเกต 1.3 ผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัส ตา จมูก ลิ้น และผิวกาย 2. นักเรียนและครูรวมกันประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม
74
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
74
ใบความรู
ทักษะการสังเกต
การสังเกต (Observing) หมายถึง การใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง หรือประสาทสัมผัส เขาไปสํารวจวัตถุ หรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติ หรือ จากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็น ของผูสังเกตลงไปดวย ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย ขอมูลที่ไดจากการสังเกต มี 2 ประเภท คือ ขอมูลเชิงคุณภาพ และขอมูลเชิงปริมาณ ในการสังเกตสิ่งตาง ๆ ทุกครั้งตองพยายาม ใชประสาทสัมผัสใหมากที่สุด โดยสังเกตใหไดขอมูลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ประการสําคัญคือ ขอมูล ที่ได ตองเปนผลจากการสังเกตโดยตรง โดยไมมีการลงความเห็นสวนตัว
ขอมูลที่ไดจากการสังเกตแบงไดเปน 3 ประเภท คือ 1 2
3
การสังเกตเชิงคุณภาพ การสังเกตเชิงปริมาณ
การสังเกตการเปลี่ยนแปลง
การสังเกตเชิงคุณภาพ การสังเกตเชิงคุณภาพ ใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 มีลักษณะ ดังนี้ 1. การดู เชน วัตถุมีรูปราง สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม วงรี สีดํา สีเหลือง 2. การดม เชน วัตถุที่ดมกลิ่นหอม ฉุน เหม็น 3. การชิม เชน วัตถุมีรสหวาน รสขม รสเปรี้ยว รสเค็ม 4 กายสัมผัส เชน วัตถุผิวขรุขระ ผิวลื่น เรียบ แข็ง นิ่ม หยาบ 5 การฟง เชน เสียงกระซิบ เสียงกระดิ่ง เสียงกอง (ยกเวน )
75เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
75
การสังเกตเชิงปริมาณ การสัง เกตเชิง ปริมาณ เปนการสังเกตที่อาศัยสิ่งอางอิง มาเกี่ยวของดวย สิ่ง อางอิงอาจเปน หนวยมาตรฐานเอสไอ (SI) เชน เมตร กิโลกรัม หรือหนวยมาตรฐานใด ๆ เชน เซนติเมตร องศาเซลเซียส มิลลิเมตร การสังเกตเชิงปริมาณ ไดแก 1. หองนี้มีขนาดกวางประมาณ 4 เมตร 2. ลูกฟุตบอลลูกนี้หนักประมาณ 1 กิโลกรัม 3. วัตถุนี้มีขนาดยาวประมาณ 4 เซนติเมตร กวางประมาณ 3 เซนติเมตร หนาประมาณ 2 เซนติเมตร หรืออาจใชสิ่งอื่น ๆ เปนตัวอางอิงก็ได เชน วัตถุ A มีอุณหภูมิเทากับอุณหภูมิหอง วัตถุ B มีขนาดเทากับลูกปงปอง ซึ่งใชอุณหภูมิของหองและขนาดของลูกปงปองเปนตัวอางอิง การสังเกตเชิงปริมาณ สามารถสื่อความหมายสิ่งที่สังเกตไดแมนยํานาเชื่อถือและใกลเคียงกวาการสังเกตเชิงคุณภาพ ดังตัวอยางตอไปนี้ เสาไฟฟาตนนี้สูงมาก (การสังเกตเชิงคุณภาพ) เสาไฟฟาตนนี้สูงประมาณ 10 เมตร (การสังเกตเชิงปริมาณ) การสังเกตการเปลี่ยนแปลง การสังเกตการเปลี่ยนแปลง หมายถึง การทําใหวัตถุหรือสถานการณที่สังเกตเกิด การเปลี่ยนแปลง แลวสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เชน นําวัตถุแชในน้ํา ใหความรอน หรือทุบดวยของหนักหรือออกแรงกด บีบ เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและตองบอกเงื่อนไข ที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดวย เชน เมื่อแชใน น้ําที่อุณหภูมิเทาใด หรือเมื่อใสลงในภาชนะที่มีรูปรางอยางไร ขอบเขตที่ตองคํานึงถึงในเรื่องการสังเกต การสัง เกตแตล ะครั้ง ไมวาจะสัง เกตวัตถุ เหตุก ารณห รือปรากฏการณใดๆ ก็ตามผูสัง เกต ตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ 1. การสังเกตแตละครั้งตองใชประสาทสัมผัสใหมากที่สุด ไมใชเฉพาะตาเพียงอยางเดียว 2. การสังเกตตองสังเกตทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณและดูการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่เปนไปได
76
76
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ทักษะการสังเกต ชุดกิจกรรม ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม 1. นักเรียนรับบัตรกิจกรรมทักษะการสังเกต 2. นักเรียนในกลุมรวมกันศึกษาบัตรกิจกรรม 3. ตัวแทนกลุมรับอุปกรณที่ใชในการทํากิจกรรม 4. นักเรียนทํากิจกรรม ทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางตา จมูก ปาก และการ สัมผัส 5. นักเรียนรวมกันอภิปราย คิดวิเคราะห ถึงผลที่ไดจากการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัส 6. นักเรียนบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมลงในบัตรกิจกรรม 7. หัวหนาหองรับแนวคําตอบเพื่อตรวจความถูกตอง โดยสลับกันตรวจ 8. หัวหนาหองรวบรวมบัตรกิจกรรม และแนวคําตอบบัตรกิจกรรมคืนครู คําชี้แจงวิธีทํากิจกรรม กิจกรรมที่ 1 ใหนักเรียนสังเกตกลองหมายเลข 1 - 10 โดยใชประสาทสัมผัส ( ตา จมูก กาย ) กิจกรรมที่ 2 ใหนักเรียนพิจารณาขอความตอไปนี้ วาขอใดเปนการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัส ดานใดบาง กิจกรรมที่ 3 ขอใดเปนการสังเกต ใหใสเครื่องหมาย / ขอใดไมใชการสังเกตใหใสเครื่องหมาย X หนาขอ
77
กรรมที่ 1่ 1 บับัตตรกิรกิจจกรรมที “ อะไรอยูในกลอง ” ชื่อ.................................................................................... .................................................................................... สกุล...................................................................................................... ......................................................................................................เลขที่............................ .......................... คําชี้แจง ใหนักเรียนสังเกตกลองหมายเลข 1-10 โดยใชประสาทสัมผัส แลวบันทึกผลการปฏิบัติกจิ กรรม 1. สรุปกลองหมายเลข 1 ไดแก ................................................................................................... 2. สรุปกลองหมายเลข 2 ไดแก ................................................................................................... 3. สรุปกลองหมายเลข 3 ไดแก ................................................................................................... 4. สรุปกลองหมายเลข 4 ไดแก ................................................................................................... 5. สรุปกลองหมายเลข 5 ไดแก ................................................................................................... 6. สรุปกลองหมายเลข 6 ไดแก ................................................................................................... 7. สรุ สรุปปกล กลอองหมายเลข งหมายเลข 77 ได ไดแแกก ................................................................................................... ................................................................................................... 7. 8. สรุ สรุปปกล กลอองหมายเลข งหมายเลข 88 ได ไดแแกก ................................................................................................... ................................................................................................... 8. 9. สรุ สรุปปกล กลอองหมายเลข งหมายเลข 99 ได ไดแแกก ................................................................................................... ................................................................................................... 9. 10. สรุ สรุปปกล กลอองหมายเลข งหมายเลข 10 10 ได ไดแแกก ................................................................................................... ................................................................................................... 10.
เกณฑ ารใหคคะแนน ะแนน เกณฑกการให
ขขออละ ละ 11 คะแนน คะแนน คะแนนทั คะแนนทั้ง้งหมด หมด 10 10 คะแนน คะแนน ได ได
คะแนน คะแนน
78
78
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
แนวคําตอบบัตรกิจกรรมที่ 1 คําชี้แจง ใหนักเรียนสังเกตกลองหมายเลข 1-10 โดยใชประสาทสัมผัส (ตา จมูก กาย) แลวบันทึกผล การปฏิบัติกิจกรรม 1. สรุปกลองหมายเลข 1
ไดแก ใบเตย
2. สรุปกลองหมายเลข 2
ไดแก ใบชะพลู
3. สรุปกลองหมายเลข 3
ไดแก ผักชีหอม
4. สรุปกลองหมายเลข 4
ไดแก หอมแดง
5. สรุปกลองหมายเลข 5
ไดแก ใบมะเขือเทศ
6. สรุปกลองหมายเลข 6
ไดแก ใบมะกรูด
7. สรุปกลองหมายเลข 7
ไดแก ใบมะขาม
8. สรุปกลองหมายเลข 8
ไดแก ผักชีลาว
9. สรุปกลองหมายเลข 9
ไดแก ตนหอม
10. สรุปกลองหมายเลข 10
ไดแก กระเทียม
หมายเหตุ สิ่งของที่จะนํามาทดลองอาจเปลี่ยนแปลงได
79
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
79
กรรมที่ ่ 22 บับัตตรกิรกิจจกรรมที “ ใชสัมผัสสวนไหนดี ” ชื่อ.................................................................................... .................................................................................... สกุล...................................................................................................... ......................................................................................................เลขที.่........................... .......................... คํคําาชีชี้แ้แจง ใหนักเรียนพิจารณาขอความตอไปนี้ วาขอใดเปนการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสดานใดบาง
หู ตา จมูก ลิ �้น กายสัมผัสส ผลการสังเกต 1. มะนาวลูกสีเขียวเปรี้ยวมากกวาลูกสีเหลือง
ระสาทสัมผัส ใชประสาทสั
2. ตูเก็บของใบนี้ มีกระจก 2 บาน สูง 1 เมตร 3. หลอดไฟที่เปดไวนาน จะมีความรอนที่ตัวหลอด 4. ดอกมะลิ เปนดอกไมสีขาว และมีกลิ่นหอม 5. สบูกอนนี้ มีฟองที่นุมมาก 6. ถนนที่สรางใหม มีรองน้ําอยูทั้งสองขาง 7. มะมวงหนาเรือนพยาบาลมีอยู 10 ลูก 8. แชมพูสระผมซัลซิล ทําใหผมฉันนุมและหอม 9. เวลาตีกลอง จะมีเสียงดังและแรงสั่นสะเทือนที่พื้น 10.วันนี้มีฝนตกหนัก จนน้ําทวมถนน
เกณฑการใหคะแนน
ขอละ 1 คะแนน คะแนนทั้งหมด 10 คะแนน ได
คะแนน
80
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
80
แนวคําตอบบัตรกิจกรรมที่ � 2 จง ให ใหนนกั ักเรีเรียยนพิ นพิจารณาขอความตอไปนี้ วาขอใดเปนการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสดานใดบาง คํคําาชีชี้แ้แจง
หู ตา จมูก ลิ �้น กายสัมผัสส ผลการสังงเกต เกต ผลการสั มะนาวลูกกสีสีเเขีขียยวเปรี วเปรี้ย้ยวมากกว วมากกวาาลูลูกกสีสีเเหลื หลือองง 1.1. มะนาวลู
แนวการตอบ แนวการตอบ ตา ลิลิ้น้น ตา
ของใบนี้ ้ มีมีกกระจก ระจก 22 บาน บาน สูสูงง 11 เมตร เมตร 2.2. ตูตูเเก็ก็บบของใบนี
ตา ตา
หลอดไฟที่เ่เปปดดไวไวนนาน าน จะมี จะมีคความร วามรออนที นที่ต่ตัวัวหลอด หลอด 3.3. หลอดไฟที
กายสัมมผัผัสส กายสั
ดอกมะลิ เป เปนนดอกไม ดอกไมสีขาว และมีกลิ่นหอม 4.4. ดอกมะลิ
ตา จมู จมูกก ตา
สบูกกอ นนี้ มีฟองที่นุมมาก 5.5. สบู
กายสัมมผัผัสส ตา ตา กายสั
ถนนที่ส่สรราางใหม งใหม มีมีรรอ งน้ําอยูทั้งสองขาง 6.6. ถนนที
ตา ตา
มะมววงหน งหนาาเรืเรือนพยาบาลมีอยู 10 10 ลูลูกก 7.7. มะม
ตา ตา
แชมพูสสระผมซั ระผมซัลลซิซิลล ทํทําาให ใหผมฉันนนุนุมมและหอม และหอม 8.8. แชมพู เวลาตีกกลอง ลอง จะมี จะมีเเสีสียยงดั งดังและแรงสั่นสะเทือนที่พื้น 9.9. เวลาตี 10.วันนนีนี้ม้มีฝีฝนตกหนั นตกหนัก จนน้ําทวมถนน 10.วั
กายสัมมผัผัสส จมู จมูกก กายสั กายสัมมผัผัส หูหู กายสั ตา ตา
81
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
บัตรกิจกรรมที่
3
“ ใช....ไมใช ” ชื่อ.................................................................................... สกุล......................................................................................................เลขที่........................... คําชี้แจง ขอใดเปนการสังเกต ใหใสเครื่องหมาย / ขอใดไมใชการสังเกตใหใสเครื่องหมาย X หนาขอ 1. ..................... สมมีรสหวาน 2. ..................... เทียนแทงนีส้ ีสวยคงมีราคาแพงมาก 3. ..................... นาฬิกาแขวนผนังเดินเสียงดังมาก 4. ..................... อากาศรอนอบอาวคงจะมีฝนตก 5. ..................... เสื้อสีแดงตัวนี้มลี ายดอกไม 6. ..................... การบูรมีกลิ่นหอม 7. ..................... รถยนตคันนีส้ ีแดง วิ่งเร็ว เสียงดัง คงจะมีราคาแพงมาก 8. ..................... กระดาษแผนนี้มผี ิวขรุขระ 9. ..................... ถาฝนตกลงมามากน้ําอาจจะทวม 10. ..................... หองนอนหองนี้มีความยาว 4 เมตร
เกณฑการใหคะแนน
ขอละ 1 คะแนน คะแนนทั้งหมด 10 คะแนน ได
คะแนน
82
82
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
แนวคํ าตอบบั ตรกิจกรรมที� 3 คําชี้แจง ขอใดเปนการสังเกต ใหใสเครื่องหมาย / ขอใดไมใชการสังเกตใหใสเครื่องหมาย X หนาขอ 1. ........... /.......... สมมีรสหวาน 2. ......... X........... เทียนแทงนี้สีสวยคงมีราคาแพงมาก 3. ........... /.......... นาฬิกาแขวนผนังเดินเสียงดังมาก 4. ......... X........... อากาศรอนอบอาวคงจะมีฝนตก 5. ........... /.......... เสื้อสีแดงตัวนี้มีลายดอกไม 6. ........... /.......... การบูรมีกลิ่นหอม 7. ......... X........... รถยนตคันนี้สีแดง วิ่งเร็ว เสียงดัง คงจะมีราคาแพงมาก 8. ........... /.......... กระดาษแผนนี้มีผิวขรุขระ 9. ......... X........... ถาฝนตกลงมามากนาอาจจะทวม 10. ........... /.......... หองนอนหองนี้มีความยาว 4 เมตร
83
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ83เศษ
สรุปองค์ ความรู้ เชิงปริ มาณ เชิงคุณภาพ
เชิงการเปลี�ยนแปลง
ประเภทข้ อมูล ไม่ คาดคะเน
การสังเกต
ตา
ไม่ ใส่ ความคิดเห็น
ประสาทสั มผัส
จมูก ลิ้น
ผิวกาย
84
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
84 ตัวอยาง ภาษามือ
ทักษะการสั งเกต คําศัพท
ทักษะ
สังเกต
ชัดเจน
ฝก
ความหมาย
ภาษามือ
85 ชื่อผลงานวิจัย
การแกปญหาการเรียนรู เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล นักเรียนที่มี ความบกพรองทางการเห็น โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใตจังหวัดสุราษฎรธานี
ชื่อ-ชื่อสกุลผูวิจัย
นายสิทธิศักดิ์ ชิตพิทักษ ครูวิทยฐานะชํานาญการ โรงเรียนสอนคนตาบอด ภาคใต จังหวัดสุราษฏรธานี 2555
ความสําคัญความเปนมา มนุษยเราในสังคมยอมมีความแตกตางกัน บางคนเกิดมาดวยรางกายที่แข็งแรงสมบูรณ แตบางคน เกิดมาพิการ คานิยมในสังคมมักประทับตราวาคนพิการเปนคนที่แตกตางไปจากคนปกติ เปนบุคคลที่ไร ความสามารถและเปนภาระของสังคม คนพิการจึงมีการรับรูเกี่ยวกับตนเองวา “เปนคนกลุมนอย” พวกเขา จึงเกิดความรูสึกวาตนเองไมมีคุณคา ไมมีความสามารถ ไมเปนที่ยอมรับของสังคม และพยายามปฏิเสธ ความพิการของตนเอง โดยแยกตัวออกจากสังคมเพื่อปกปดขอบกพรองของตนเอง (สุปราณี สนธิรัตน . 2539) มนุษยสามารถเรียนรูโดยผานทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ทางตา ทางหู ทางการสัมผัส ทางจมูก และทางลิ้น โดยสามารถรับรูไดดีที่สุดจากการมองเห็นดวยตาถึง 83% รองลงมา คือ จากการฟง 10% จากการดมกลิ่นดวยจมูก 4% ทางการสัมผัสแตะตองดวยมือ 2% และการเรียนรูจากการลิ้มรส ดวยลิ้นเพียง 1% เทานั้น ดังนั้นผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น จึงประสบปญหาในการเรียนมากกวา นักเรียนปกติการจัดการศึกษาสําหรับผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นในอดีตตองเขารับการศึกษาใน โรงเรียน เฉพาะของผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นซึ่งมีอยูนอยมาก ทํา ใหผูเรียนที่มีความบกพรอง ทางการเห็นขาดโอกาสทางการศึกษาและเปนภาระตอสังคมในที่สุด แตในปจจุบันผูเรียนที่มีความบกพรอง ทางการเห็นสามารถเขาเรียนในชั้นเรียนปกติกับนักเรียนปกติได (ศรียา นิยมธรรม. 2541) ซึ่งความเปนจริง แลวสังคมเราไมสามารถแยกคนที่มีความบกพรองทางการเห็นออกทั้งในดานสังคมและดานการศึกษาได ดังนั้นจึงควรที่จะใหผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นไดมีโอกาสเรียนรวมชั้นกับนักเรียนปกติใหมากที่สุด เพราะการจัดการเรียนแบบการเรียนรวมของผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นกับนักเรียนปกติ จะเกิด ประโยชนหลายดานทั้งกับตัวนักเรียนและสังคมสวนรวมอี กดวย (บังอร ตนปาน. 2535) นอกจากนี้แลว ผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นมักจะมีความสามารถพิเศษหลายประการ หากไดรับการสงเสริมอยาง ถูกตองแลว ก็ยอมจะมีโอกาสที่จะไดพัฒนาศักยภาพของตนเองใหสามารถทํา งานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมเปนภาระแกครอบครัวและสังคมอีกทั้งยังสามารถทําประโยชนและชวยพัฒนาสังคมไดอีกดวย
86
86
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
การจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นนั้น มีขอจํากัดในการเรียนรู เพราะไมสามารถใชสายตารับรูสิ่งตาง ๆ ที่มองเห็นได สงผลใหโลกทัศนของนักเรียนมีนอย นักเรียนที่มี ความบกพรองทางการเห็นตองเรียนรูจากประสาทการรับรูดานการฟง การดมกลิ่น การชิมรส และการ สัมผัส การจัดกิจกรรมการเรียนรูในระดับปฐมวัย จึงตองเนนใหนักเรียนไดเรียนรูผานประสาทสัมผัสทั้ง 5 อยางเหมาะสม เพื่อพัฒนาศักยภาพการใชประสาทสัมผัสที่เหลืออยูของนักเรียนใหมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยผานกระบวนการเรียนรูทักษะตางๆ 7 ทักษะ คือ ทักษะกลามเนื้อเล็ก ทักษะกลามเนื้อใหญ ทักษะการ ชวยเหลือตนเอง ทักษะการสื่อสาร ทักษะทางสังคม ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ และทักษะ การสรางความคุนเคยกับสภาพแวดลอมและการเคลื่อนไหว จากการศึกษาของผูวิจัยในการจัดกิจกรรมการเรียนการรูในระดับปฐมวัย พบวา นักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเห็นประสบปญหาดานการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพร อมทางวิชาการมากที่สุด โดยเฉพาะเรื่องการอาน เขียน อักษรเบรลลเบื้องตน ซึ่งเปนทักษะที่นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น ตองไดรับการฝกฝนใหมีความรู เขาใจ มีทักษะในการอาน เขียน และใชอุปกรณประกอบการเรียนอยาง ถูกตอง ซึ่งปญหาที่พบ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ไดแก การใช สเลท สไตลัสไมถูกวิธี ไมรูตําแหนงของ จุดอักษรเบรลล เขียนอักษรเบรลลไมถูกตอง และตองใชเวลาในการฝกอาน เขียน อักษรเบรลลมากกวา ทักษะดานอื่นๆ ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน เปน ทักษะที่นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นตองไดรับการฝกตั้งแตระดับปฐมวัย เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรู จดจําตําแหนงของจุดอักษรเบรลลพยัญชนะ สระ อักษรไทย อังกฤษ ตัวเลข ฝกการสัมผัสจุดนูน และฝก อาน เขียนอักษรเบรลลใหมีพื้นฐานที่ถูกตอง สามารถนําความรูไปใชกับการเรียนในระดับที่สูงขึ้นไดอยางมี ประสิทธิภาพ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูทักษะการเตรียมความพรองทางวิชาการ สาระการเตรียมความ พรอมอักษรเบรลลเบื้องตน การฝกอาน เขียน อักษรเบรลลพบวา นักเรียนประสบปญหาในการเรียนรูเรื่อง ตําแหนงจุดของอักษรเบรลล เรียนรูไดชา ตองใชเวลาสรางความเขาใจใหกับ นักเรียนมากกวาการเรียนรู เนื้อหาเรื่องอื่น ๆ ทั้งนี้เนื่องมาจากนักเรียนมีพื้นฐานการเรียนรูเรื่องการอาน เขียน อักษรเบรลลไมถูกตอง และสื่อที่ใชประกอบการเรียนรูมีไมสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนรู ไมเหมาะสมกับสภาพความพิการของ นักเรียน จากปญหาดังกลาวผูวิจัยจึงไดสรางบล็อกเบรลลขึ้น เพื่อใชเปนสื่อการสอนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล ใหนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น ไดมีสื่อประกอบการเรียนรูที่สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนรู สรางความรูความเขาใจเรื่องตําแหนงจุดเบรลลทั้ง 6 จุดใน 1 กลุม ซึ่งเปนพื้นฐานความรูเบื้องตนในการฝก อาน เขียน อักษรเบรลลที่ถูกตอง ทั้งนี้ยังเปนประโยชนกับครูผูสอนไดมีสื่อการสอนที่มีคุณภาพ เหมาะสม
87
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
87
สอดคลองกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู ซึ่งสงผลใหการจัดการเรียนรูประสบความสําเร็จนักเรียนมี ความรู มีความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน มีผลการประเมินสูงขึ้นบรรลุตามวัตถุประสงคที่วางไว 2.1 วัตถุประสงคการวิจัย 1) เพื่อสรางบล็อกเบรลล สื่อการสอนทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียม ความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลลที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2) เพื่อศึกษาระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อก เบรลล 3) เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินกอนและหลังเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล 2.2 ระเบียบวิธีการวิจัย 1) รูปแบบการวิจัยและแบบแผนการทดลองในงานวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดใชแบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538) ดังนี้ ตารางแสดงแบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design กลุม กลุมทดลอง
Pre-test T�
Treatment X
Post-test T�
สัญลักษณที่ใชในแบบแผนการทดลอง T� หมายถึง การประเมินผลกอนเรียน X หมายถึง การจัดการเรียนรู เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอม อักษรเบรลลเบื้องตน T� หมายถึง การประเมินผลหลังเรียน
2) ประชากร/กลุมตัวอยาง การวิจั ยครั้ง นี้ป ระชากรคือ นัก เรี ยนชั้น อนุ บ าล 2 โรงเรี ยนสอนคนตาบอดภาคใต จัง หวั ด สุร าษฎรธ านี ในภาคเรี ยนที่ 1 ป ก ารศึก ษา 2555 จํา นวน 4 คน ไดม าดว ยการเลื อ กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) (พิสณุ ฟองศรี. 2552)
88
88
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
3) เครื่องมือวิจัย 3.1 บล็อกเบรลล สื่อการสอนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล 3.2 แผนการจัดประสบการณการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการสาระการเตรียม ความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล 3.3 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 4) การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้ 4.1 กอนการดําเนินการวิจัยผูวิจัยไดแจงวัตถุประสงคและแนะนําการใชบล็อกเบรลลสื่อการสอน เรื่องตําแหนงจุดเบรลลใหนักเรียนไดสัมผัส รูจักและใชเปน แลวจึงประเมินความรูพ้ืนฐานกอนเรียนของ นักเรียน โดยใชแบบประเมินผลกอนเรียนและบันทึกผลการประเมินกอนเรียนเปนรายบุคคล 4.2 จัดกิจกรรมการเรียนรูทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความ พรอมอักษรเบรลลเบื้องตน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล เปนสื่อการเรียนรูของนักเรียน ควบคูกับแผนการจัดประสบการณการเรียนรูที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น 5 กิจกรรม และหลังเสร็จสิ้นกระบวนการ เรียนรูของแตละกิจกรรม มีการประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนเปนรายบุคคลในแตละกิจกรรม 4.3 หลังเสร็จสิ้นกระบวนการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียม ความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตนเรื่องตําแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลล ผูวิจัยดําเนินการประเมินผล การเรียนรูหลังเรียน โดยใชแบบประเมินชุดเดิมซึ่งเปนชุดเดียวกับแบบประเมินกอนเรียนและบันทึกผลการ ประเมินเปนรายบุคคล 4.4 นําขอมูล จากผลการประเมินกอนและหลัง เรียนมาตรวจสอบความถูก ตอง วิเ คราะหแ ละ แปรผลขอมูลตอไป 5) การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยนําแบบประเมินผลกอนและหลังเรียน ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการ เตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล นํามาตรวจใหคะแนน และวิเคราะหขอมูล ดังนี้ 5.1 การใหคะแนนและเกณฑการแปลผลคะแนนนักเรียนทําไดถูกตอง ให 1 คะแนน และนักเรียน ทําไมถูกตอง ให 0 คะแนน 5.2 เกณฑการแปลผลคะแนนและระดับความสามารถของนักเรียนคะแนน 0-5 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 6-10 หมายถึง ปานกลาง และคะแนน 11-15 หมายถึง ดี 5.3 การวิเคราะหขอมูล 5.3.1 วิเคราะหประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
89
89
สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อก เบรลลที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 5.3.2 วิเคราะหระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใช บล็อกเบรลล โดยใชคาเฉลี่ย รอยละ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.3.3 เปรียบเทียบผลการประเมินกอนและหลังเรียนเรื่องตําแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลล โดยใชการทดสอบของ วิลค็อกซัน (Wilcoxon matched pairs signed ranks test) 6) สถิติที่ใช สถิติพื้นฐาน คาเฉลี่ย รอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใชในการทดสอบ 6.1.1 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของคะแนนกอนเรียน และหลังเรียน ทดสอบโดยการทดสอบ ความแตกตางของกลุม ตัวอยางที่ไมเ ปนอิส ระจากกัน โดยใช ก ารทดสอบของวิล ค็อกซัน ( Wilcoxon matched pairs signed ranks test) ใชสูตรดังนี้ (นิภา ศรีไพโรจน. 2555 : ออนไลน) มีสูตรดังนี้ D= Y–X เมื่อ D แทน คาความแตกตางของคะแนน X และ Y กอนและหลังการทดลอง X แทน คะแนนของการทดสอบกอนการทดลอง Y แทน คะแนนของการทดสอบหลังการทดลอง จัดอันดับคาความแตกตางจากคานอยไปหาคามาก กํากับอันดับที่ดวยเครื่องหมายบวก หรือเครื่องหมายที่มีอยูเดิม หาผลรวมของอันดับที่มีเครื่องหมายบวก และมีเครื่องหมายลบตามลําดับคาของ ผลรวมที่นอยกวา (โดยไมคํานึงถึงเครื่องหมาย) เราเรียกคานี้วา T 6.2.2 สูตรการหาคาประสิทธิภาพ (E� /E� ) ของกิจกรรมการเรียนรู เรื่องตําแหนงจุดเบรลล
โดยใชบล็อกเบรลล นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นโดยใชสูตรการหาคา E� /E� (เผชิญ กิจระการ.
2544)
2.3 ผลการวิจัย ตอนที่ 1 การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรูทักษะการเตรียมความพรอมทาง วิชาการสาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดย ใชบล็อกเบรลลตามเกณฑ 80/80 1.1 การวิเคราะหห าประสิทธิภาพดานกระบวนการ (E� ) ของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการ เตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง
90
90
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลลจากคะแนนการประเมินกิจกรรมการเรียนรูระหวางเรียน 5 กิจกรรม ซึ่งปรากฏผลดังนี้ ตารางการวิเคราะหหาประสิทธิภาพดานกระบวนการ (E� ) ของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการ เตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตนหนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล นักเรียน ลําดับที่ 1 2 3 4 รวม
ผลการประเมินกิจกรรมการเรียนรูระหวางเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 7 7 8 8 6 5 5 6 7 7 6 7 7 6 7 7 � X
รวม กิจกรรมที่ 5 40 คะแนน 8 38 7 29 7 34 7 34 135 33.75 3.68 84.37
S.D. เฉลี่ยรอยละ E� = 84.37 จากตารางพบวาคะแนนเฉลี่ยของการประเมินผลกิจกรรมการเรียนรูระหวางเรียน 5 กิจกรรม โดย
ภาพรวมนัก เรียนมีคะแนนเฉลี่ยที่ 33. 75 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 84.37 คะแนน ดัง นั้น กิจกรรม การเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลล เบื้ อ งต น หน ว ยการเรี ย นรู ที่ 4 เรื่ อ งตํ า แหน ง จุ ด เบรลล โ ดยใช บ ล็ อ กเบรลล เ ป น สื่ อ การสอนนั้ น มี ประสิทธิภาพดานกระบวนการ E� เทากับ 84.37
1.2 การวิเคราะหหาประสิทธิภาพดานผลลัพธ (E� ) ของกิจกรรมการเรียนรูทัก ษะการเตรียม ความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเ บื้องตนหนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล จากคะแนนการประเมินผลหลังเรียน ซึ่งปรากฏผลดังนี้
ตารางการวิเคราะหหาประสิทธิภาพดานผลลัพธ (E� ) ของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียม ความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอัก ษรเบรลลเ บื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ตําแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลล
91
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
91
นักเรียน ลําดับที่ 1 2 3 4 รวม
คะแนนกอนเรียน (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) 5 3 3 4 15 3.75 .95 25.00
คะแนนหลังเรียน (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) 15 10 14 14 53 � 13.25 X S.D. 2.21 เฉลี่ยรอยละ 88.33 E� = 88.33 จากตาราง พบวาคะแนนเฉลี่ยของการประเมินผลหลังเรียนโดยรวม นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยทั้งกลุม ที่ 13.25 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยรอยละทั้งกลุมที่ 88.33 คะแนน ดังนั้นกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการ เตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ตําแหนงจุดเบรลลโดยบล็อกเบรลลเปนสื่อการสอนนั้น มีประสิทธิภาพดานผลลัพธ E� เทากับ 88.33 1.3 ผลการวิเคราะหการหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอม
ทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยบล็อกเบรลลตามเกณฑ 80/80 ซึ่งปรากฏผลดังนี้ ตารางผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพดานกระบวนการและดานผลลัพธ ของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการสาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตนหนวยการเรียนรู ที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล ตามเกณฑ 80/80 ประสิทธิภาพ
N
คะแนน คะแนนเต็ม 40 15
� X 33.75 13.25
S.D. 3.68 2.21
รอยละ 84.37 88.33
ประสิทธิภาพดานกระบวนการ (E� ) 4 4 ประสิทธิภาพดานผลลัพธ (E� ) มีคาประสิทธิภาพ (E� /E� ) เทากับ 84.37/88.33 จากตารางพบวาประสิทธิภาพดานกระบวนการ E� เทากับ 84.37 และประสิทธิภาพของผลลัพธ E� เทากับ 88.33 ดังนั้นกิจกรรมการเรียนรูทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียม
92
92
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลลเปนสื่อ
การสอนนั้น มีประสิทธิภาพ (E� /E� ) เทากับ 84.37/88.33 สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว 92 92 ตอนที่ 2 การวิเคราะหระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดย มพรอมอักษรเบรลล น หนวยการเรีความพร ยนรูที่ อ4มอั เรื่อกงตํ ษรเบรลล าแหนงเจุบืด้อเบรลล งตน หนโดยใช วยการเรี บล็อยกเบรลล นรูที่ 4 เรืเป่อนงตํสื่อาแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลลเปนสื่อ ใชบเบืล็้อองต กเบรลล ผูว�ิจ)ัยเท จัดากิกัการสอนนั จบกรรมการเรี ชาการ สูสาระการเตรี มความที่ตั้งไว สอนนั้น มีประสิทธิภาพ (Eเมื�่อ/E ้น มียปนรู ระสิ ภาเกณฑ าพ (E�80/80 84.37/88.33 สูทงทักกวธิษะการเตรี /ยEมความพร ่ตาั้งกัไวบอมทางวิ 84.37/88.33 งกวาเกณฑ ย80/80 � ) ทีเท
อมอักรษรเบรลล เ บื้องตน หน วยการเรี ที่ ก4เรีเรืยร่อนะดังตํเรืบา่อความสามารถทางการเรี แหน ง จุดงเบรลล โ ดยใช ล็อขกเบรลล ้น าแหนงจุดเบรลล โดย ตอนที่ 2 การวิพรเคราะห ะดับความสามารถทางการเรี ตอนที ่ 2ยการวิ นรูยขนรูองนั เคราะห งตําแหน จุดเบรลล โดยยบนรู องนักเรียเสร็ น เรืจ่อสิงตํ กระบวนการ เรียนรูแลใชวบผูล็วอิจกเบรลล ัยไดวิเคราะห ระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียน จากคะแนนการ ล็อกเบรลล นผลกอยนนรูและหลั งเรียนเมืซึ่องยปรากฏผลดั นี้ ชาการ เมื่อผูวิจัยจัดกิประเมิ จกรรมการเรี ทักษะการเตรี ผูมความพร วิจัยจัดกิจองกรรมการเรี มทางวิ ยนรูสาระการเตรี ทักษะการเตรียยมความ มความพรอมทางวิ ชาการ สาระการเตรียมความ ตารางผลการวิ ะแนนก ยน และระดั ของบล็อกเบรลล เสร็ จสิ้น มอัก ษรเบรลลเ บื้องตน หน วยการเรียพร นรูเอคราะห ทมอั ี่ 4 กเรืษรเบรลล ่อคงตํ าแหนเอบืงนและหลั จุ้อดงตเบรลล น หนงเรีโวดยใช ยการเรี บล็ยอนรู กเบรลล ทบี่ ความสามารถ 4 เรืเสร็ ่องตํจาสิแหน ้น ทางการเรี ง จุดเบรลลยโนรู ดยใช
เรื่อวิเงตํ าแหนระดั งกระบวนการ จุดบเบรลล โดยใช บล็แอลกเบรลล บวนการ เรียนรูแลนัวกเรี ผูวยิจนัยได คราะห ความสามารถทางการเรี เรียนรู ว ผูวิจยั นรู ไดวขิเองนั คราะห กเรียระดั น จากคะแนนการ บความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียน จากคะแนนกา
เมินผลกอน และหลังเรียน ซึ่งปรากฏผลดั ประเมิ งนี้ นผลกอน และหลังเรียน ซึ่งปรากฏผลดังนี้ นักเ คราะห เรียน คะแนนกอนและหลั คะแนน ตารางผลการวิ ร เ คราะห บ อทางการเรี คะแนน ร บะความสามารถ ดั บ ทางการเรียนรูขอ ตารางผลการวิ งเรียน และระดั บะความสามารถ คดัะแนนก นและหลังยเรีนรูยนของและระดั บที่ โดยใชบล็อกนักเบรลล อกนเรี งเรียน ความสามารถ รียน เรื่องตําแหนงลํจุาดดัเบรลล เรียยนนเรื่องตําแหนงความสามารถ จุดเบรลล โดยใชบล็อหลั กเบรลล 1 5 ปรับปรุง 15 ดี 2 3 ปรับปรุง 10 ปานกลาง รียน คะแนน รนักเรียะน ดั บ คะแนน ร ะ ดั บ คะแนน ร ะ ดั บ 3 3 ปรับปรุง 14 ดี บที่ กอนเรียน ความสามารถ ลําดับที่ หลั กอนเรี งเรียยนน ความสามารถ หลังเรียน ความสามารถ 4 4 ปรับปรุง 14 ดี 5 ปรั 1 บปรุง 15 5 ดีปรับปรุง 15 ดี รวม 15 53 3 ปรั 2 บปรุง 10 3 ปานกลาง ปรับปรุง 10 ปานกลาง � 3.75 ปรั บ ปรุ ง 13.25 ดี X 3 ปรั 3 บปรุง 14 3 ดีปรับปรุง 14 ดี S.D. .95 2.21 4 ปรั 4 บปรุง 14 4 ดีปรับปรุง 14 ดี รอยละ 25.00 88.33 15 รวม 53 15 53 � 3.75 ปรับปรุง � 13.25 3.75 ดีปรับปรุง 13.25 ดี X X ผลการประเมินกอนและหลั บล็อกเบรลล การ .95 จากตาราง พบวาS.D. 2.21 .95 งเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลลโดยใช2.21 ประเมินผลกอนเรียน รนัอกยละ เรียนมีคะแนนเฉลี88.33 ่ยทั้งกลุมที่ 3.75 คะแนน มีระดับความสามารถทางการเรี ยน ละ 25.00 25.00 88.33 รูอยูใ นระดับ ปรับ ปรุง ทุ ก คน สว นการประเมิ นผลหลัง เรียน นัก เรีย นมีค ะแนนเฉลี่ยทั้ ง กลุ ม ที่ 13.25 คะแนนมี บความสามารถทางการเรี ยงนรู ยูในระดั ระดับล็บอดีกเบรลล จํงเรีานวน 3่อคน ปานกลาง จากตาราง พบวาผลการประเมิ นกรอะดั นและหลั จากตาราง งเรียน เรื่อพบว งตําแหน าผลการประเมิ จุดอเบรลล นโดยใช กอบนและหลั ยน เรืการ งตําและระดั แหนงจุดบเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล การ
1 คน ซึ่งแสดงให นนวมผลก าทีกิ่ จ3.75 เรืคบ่อะแนนเฉลี งตําแหนง่ยจุทัด้งเบรลล โดยใช บล็อกเบรลล นสื่อ เมินผลกอนเรียน จํนัากนวน เรียนมี คะแนนเฉลี ประเมิ ่ยทัเ้งห็กลุ อกรรมการเรี นเรีคะแนน ยน นักเรียมีนรู ยรนมี ะดั ความสามารถทางการเรี กลุมที่ 3.75 ยนคะแนน มีระดับเปความสามารถทางการเรี ยน คุณภาพ รูชอวยูยพั ฒนาระดั ยนรู ก มเรีทีย่ ง13.25 นให ในระดับ ปรับ ปรุการสอนนั ง ทุ ก คน ส้นวมีนการประเมิ นใ นระดั ผลหลั บง เรี ปรับยบความสามารถทางการเรี นปรุนังกทุเรีกยคน นมีสควะแนนเฉลี นการประเมิ ่ยทัข้ งองนั นกลุ ผลหลั เรียสนูงขึนั้นกทุเรีกคน ย นมีค ะแนนเฉลี่ยทั้ ง กลุ ม ที่ 13.25 ตอนที่ 3 วิเคราะหยนรู เปรีอคะแนนมี ยบผลการประเมิ นกอ3นและหลั งเรียนรู ยบนอปานกลาง เรื งตําแหน โดยใช คะแนนมีระดับความสามารถทางการเรี ยูยใบเที นระดั รบะดั ระดับความสามารถทางการเรี บ ดี จํานวน คน และระดั ยูใ่อนระดั บระดังจุบดเบรลล ดี จํานวน 3 คน และระดับปานกลา
บล็อเห็กเบรลล โดยใชการทดสอบของวิ ค็อกซังนจุดเ(Wilcoxon matched pairs test) โดยใชบล็อกเบรลล เปนสื่อ วน 1 คน ซึ่งแสดงให นวา กิจกรรมการเรี จํานวน ยนรู1 เรืคน ่องตํซึลา่งแสดงให แหน ห็เบรลล นวา กิจโดยใช กรรมการเรี บล็อกเบรลล ยนรู เรื่เป อsigned งตํนสืาแหน ่อ ranks งจุดเบรลล สอนนั้นมีคุณภาพ ชวยพัฒนาระดับความสามารถทางการเรี การสอนนั้นมีคุณภาพ ยนรูชขวยพั องนัฒกนาระดั เรียนใหบสความสามารถทางการเรี ูงขึ้นทุกคน ยนรูของนักเรียนใหสูงขึ้นทุกคน ตอนที่ 3 วิเคราะห เปรียบเทียบผลการประเมิ ตอนที นกอ่ นและหลั 3 วิเคราะห งเรียเปรี น เรืยบเที ่องตํยาบผลการประเมิ แหนงจุดเบรลลนโดยใช กอนและหลังเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใช
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
93
93
ผูวิจัยนําคะแนนจากผลการประเมินกอนและหลังเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล โดยใชการทดสอบของวิลค็อกซัน ( Wilcoxon matched pairs signed ranks test) ซึ่งปรากฏผลดังนี้ ตารางแสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินกอนและหลังเรียน เรื่องตํา แหนง จุดเบรลลโ ดยใช บล็อกเบรลล โดยใชการทดสอบของวิลค็อกซัน (Wilcoxon matched pairs signed ranks test) คะแนน ลําดับตามเครื่องหมาย นักเรียน ผลตางของ ลําดับที่ ลําดับที่ คะแนน ของความตาง บวก กอนเรียน หลังเรียน ลบ 1 5 15 10 5.5 +5.5 2 3 10 7 2.5 +2.5 3 3 14 11 6.5 +6.5 4 4 14 10 5.5 +5.5 T+=20 T-=0 T=0∗ * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง แสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนการประเมินผลกอนและหลังเรียน เรื่องตําแหนงจุด เบรลลโดยใชบล็อกเบรลล โดยใชการทดสอบของวิลค็อกซัน ( Wilcoxon matched pairs signed ranks test) พบวา มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 5.0 แสดงวาการเรียนรูเรื่องตําแหนงจุด เบรลลโดยใชบล็อกเบรลลสงผลใหนักเรียนมีผลการประเมินสูงขึ้น 2.4 สรุปผลและการอภิปรายผล สรุปผล การแกปญหาการเรียนรูเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล นักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเห็น โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใตจังหวัดสุราษฎรธานี สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ 1) กิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษร เบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนง จุดเบรลลโ ดยใชบล็อกเบรลลเ ปนสื่อการสอนนั้นมี ประสิทธิภาพที่ 84.37/88.33 สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว 2) ระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล พบวา กอนเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยทั้งกลุมที่ 3.75 คะแนน มีระดับความสามารถทางการเรียนรูอยูใน ระดับปรับปรุงทุกคน สวนหลังเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยของกลุมที่ 13.25 คะแนน มีระดับความสามารถ ทางการเรียนรูอยูในระดับ ดี จํานวน 3 คน และอยูในระดับ ปานกลาง จํานวน 1 คน ซึ่งแสดงใหเห็นวา กิจกรรมการเรียนรูเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลลเปนสื่อการสอนนั้นมีประสิทธิภาพชวยพัฒนา ระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนใหสูงขึ้นทุกคน
94
9494
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
กเรียนชั ยนชั้น้นอนุอนุบบาลาล2 2ทีที่เรี่เยรีนรู ยนรูเรืเ่อรืงตํ ่องตําแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลโดยใช โดยใชบบล็อล็กเบรลล อกเบรลลมีผมีลการประเมิ ผลการประเมินน 3)3)นันักเรี ผลการประเมิน หลัหลังเรีงเรียนสู ยนสูงขึง้นขึ้นโดยการเปรี โดยการเปรียบเที ยบเทียบผลการประเมิ ยบผลการประเมินนกอกนและหลั อนและหลังเรีงเรียนยนพบว พบวา านันักเรี กเรียนมี ยนมีผลการประเมิ ผลการประเมินน นมีผลการประเมินสูงสูขึง้นขึ้นอยอยางมี างมีนนัยสํัยาสํคัาญคัญทางสถิ ทางสถิติทติที่ระดั ี่ระดับบ.05.05 การอภิปปรายผล รายผล การอภิ
การแกปปญญหาการเรี หาการเรียนรู ยนรู เรื เรื่องตํ ่องตําแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลโดยใช โดยใชบบล็อล็กเบรลล อกเบรลลนันักเรี กเรียนที ยนที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรององ การแก ที่มีความบกพรอง ทางการเห็ ทางการเห็นนโรงเรี โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต ยนสอนคนตาบอดภาคใตจังจัหวั งหวัดสุดรสุาษฎร ราษฎรธานี ธานีดังดันีงนี้ ้ จกรรมการเรียนรู ยนรู ทั ทักษะการเตรี กษะการเตรียมความพร ยมความพรอมทางวิ อมทางวิชาการ ชาการสาระการเตรี สาระการเตรียมความพร ยมความพรอมอั อมอักษร กษร 1)1)กิจกิกรรมการเรี มความพรอมอักษรเบรลล เบรลลเบืเบื้อ้องตงตนนหนหนวยการเรี วยการเรียนรู ยนรูทที่ 4ี่ 4เรืเรื่อ่งตํ องตําแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลโดยใช โดยใชบบล็ล็อกเบรลล อกเบรลลเปเปนนสื่สือ่การสอนนั อการสอนนั้น้นมีมี นสื่อการสอนนั้น มีประสิ 84.37/88.33หมายความว หมายความวา านันักเรี กเรียนได ยนไดคะแนนเฉลี คะแนนเฉลี่ย่รยอรยละของการ อยละของการ ประสิททธิภธิภาพาพ (E(E��/E/E��) ) เทเทากัาบกับ84.37/88.33
ลี่ยรอยละของการประเมิ ประเมินนกิจกิกรรมการเรี จกรรมการเรียนรู ยนรูระหว ระหวางเรี างเรียนยน5 5กิจกิกรรม จกรรมเทเทากัาบกับ84.37 84.37และได และไดคะแนนเฉลี คะแนนเฉลี่ยร่ยอรยละจากการ อยละจากการ
ลี่ยรอยละจากการประเมิ ประเมินนผลหลั ผลหลังเรีงเรียนยนเทเทากัาบกับ88.33 88.33แสดงว แสดงวา ากิจกิกรรมการเรี จกรรมการเรียนรู ยนรูททักษะการเตรี ักษะการเตรียมความพร ยมความพรอมทางวิ อมทางวิชาการ ชาการ พรอมทางวิชาการสาระการเตรี สาระการเตรียมความพร ยมความพรอมอั อมอักษรเบรลล กษรเบรลลเบืเบื้องต ้องตนนหนหนวยการเรี วยการเรียนรู ยนรูทที่ 4ี่ 4เรืเรื่องตํ ่องตําแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลโดยใช โดยใชบบล็อล็กอก บรลล โดยใชบล็อเบรลล กเบรลลเปเปนนสื่อสืการสอนนั ่อการสอนนั้น้นมีปมีประสิ ระสิททธิภธิภาพสู าพสูงกว งกวาเกณฑ าเกณฑ80/80 80/80ทีที่ตั้ง่ตไวั้งไวซึ่งซึสอดคล ่งสอดคลองกั องกับบงานวิ งานวิจัยจของนนท ัยของนนท
บงานวิจัยของนนทนานา วัชวัรธนาคม ชรธนาคม(2546) (2546)ไดไดศึกศษาผลการใช ึกษาผลการใชสื่อสประสม ื่อประสมในการพั ในการพัฒฒนาความสามารถทางการฟ นาความสามารถทางการฟงของเด็ งของเด็กทีกที่ม่ีมี การฟงของเด็กที่มความบกพร ีความบกพรองทางสติ องทางสติปปญญญาญาระดั ระดับบกอกนประถมศึ อนประถมศึกษา กษาเพืเพื่อพั่อพัฒฒนาสื นาสื่อประสมที ่อประสมที่ใช่ใใชนการฝ ในการฝกทักทักษะการฟ กษะการฟง งและ และ
กทักษะการฟง และเพืเพื่อเปรี ่อเปรียบเที ยบเทียบความสามารถทางการฟ ยบความสามารถทางการฟงของเด็ งของเด็กทีกที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรองทางสติ องทางสติปปญญญาญาระดั ระดับบกอกนประถมศึ อนประถมศึกษา กษา บกอนประถมศึกษากอกนและหลั อนและหลังการฝ งการฝกทักทักษะการฟ กษะการฟงโดยใช งโดยใชสื่อสประสม ื่อประสมผลการศึ ผลการศึกษาพบว กษาพบวาสืา่อสืประสมที ่อประสมที่พ่พัฒัฒนาขึ นาขึ้น้นมีปมีประสิ ระสิททธิภธิาพ ภาพ
าขึ้นมีประสิทธิภาพทีที่ 83.55/84.16 ่ 83.55/84.16เปเปนนไปตามเกณฑ ไปตามเกณฑทที่กํี่ากหนดไว ําหนดไวทที่ 80/80 ี่ 80/80และสอดคล และสอดคลองกั องกับบงานวิ งานวิจัยจของรั ัยของรับบขวัขวัญญวรรณภู วรรณภูมิมิ งรับขวัญ วรรณภูม(2555) ิ(2555)ไดไดศึกศึษาการพั กษาการพัฒฒนาและผลการใช นาและผลการใชหหนันังสืงอสืภาพประกอบคํ อภาพประกอบคํา คล า คลองจอง องจองเพืเพื่อ่พัอพัฒฒนาทั นาทักษะทางภาษา กษะทางภาษา นาทักษะทางภาษาสําสํหรั าหรับบเด็เด็กชัก้นชั้นอนุอนุบบาล1 าล1ภาคเรี ภาคเรียนที ยนที่ 1่ 1ปปการศึ การศึกษา กษา2555 2555 โรงเรี โรงเรียนบ ยนบานหนองหอย านหนองหอยสําสํนัานักกงานเขตพื งานเขตพื้น้นทีที่ ่
สํานัก งานเขตพื้นทีการศึ ่การศึกษาประถมศึ กษาประถมศึกษาชั กษาชัยภูยภูมิมเขต1 ิ เขต1เพืเพื่อ่สร อสรางหนั างหนังสืงอสืภาพประกอบคํ อภาพประกอบคําคล าคลองจองพั องจองพัฒฒนาทั นาทักกษะทางภาษา ษะทางภาษา นาทัก ษะทางภาษาสําสํหรั าหรับบเด็เด็กให กใหมีปมีประสิ ระสิททธิภธิภาพตามเกณฑ าพตามเกณฑ80/80 80/80ผลการวิ ผลการวิจัยจพบว ัยพบวา าหนัหนังสืงอสืภาพประกอบคํ อภาพประกอบคําคล าคลองจอง องจองเพืเพื่อ่อ
บคําคลองจอง เพื่พัอพัฒฒนาทั นาทักษะทางภาษาสํ กษะทางภาษาสําหรั าหรับบเด็เด็กชัก้นชั้นอนุอนุบบาลป าลปทที่ 1ี่ 1โดยรวมมี โดยรวมมีปประสิ ระสิททธิภธิภาพเท าพเทากัาบกับ92.78/88.13 92.78/88.13ซึ่งซึสู่งงสูกว งกวา า 8/88.13 ซึ่งสูงกวเกณฑ าเกณฑทที่ตั้งี่ตไวั้งไวคือคือ80/80 80/80จากเหตุ จากเหตุผลดั ผลดังกล งกลาวในข าวในขางต างตนนแสดงให แสดงใหเห็เห็นนวาวบล็ าบล็อกเบรลล อกเบรลลสื่อสการสอนที ื่อการสอนที่ผูว่ผิจูวัยิจสร ัยสรางาง
ารสอนที่ผูวิจัยสราขึง้นขึ้นนันั้น้นมีคมีาคประสิ าประสิททธิภธิภาพที าพที่ 83.75/88.33 ่ 83.75/88.33สูงสูกว งกวาเกณฑ าเกณฑ80/80 80/80ทีที่ตั้ง่ตไวั้งไวใชใชเปเปนนสื่อสืการสอนทั ่อการสอนทักษะการเตรี กษะการเตรียมยม นทักษะการเตรียมความพร ความพรอมทางวิ อมทางวิชาการสาระการเตรี ชาการสาระการเตรียมความพร ยมความพรออมอัมอักกษรเบรลล ษรเบรลลเ บืเ บื้อ้องตงตนนหนหนวยการเรี วยการเรียนรู ยนรูทที่ 4ี่ 4เรืเรื่อ่อง ง
ารเรียนรูที่ 4 เรื่อตํงาตํแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลนักนัเรี กเรียนที ยนที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรองทางการเห็ องทางการเห็นนโรงเรี โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต ยนสอนคนตาบอดภาคใตจังจหวั ังหวัดด คใตจังหวัด สุราษฎรธานี ธานีไดไดอยอายงมี างมีปประสิ ระสิททธิภธิภาพาพ ราษฎร
สุ สุ
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
95
95
2) ระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล พบวา กอนเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยทั้งกลุมที่ 3.75 คะแนน มีระดับความสามารถทางการเรียนรูอยูใน ระดับปรับปรุงทุกคน สวนหลังเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยของกลุมที่ 13.25 คะแนน มีระดับความสามารถ ทางการเรียนรูอยูในระดับ ดี จํานวน 3 คน และอยูในระดับ ปานกลาง จํานวน 1 คน แสดงใหเ ห็นวา กิจกรรมการเรียนรูเรื่องตําแหนง จุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล เปนสื่อการสอนนั้นมีประสิทธิภาพ ชวย พัฒนาระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนใหสูงขึ้นทุกคน ทั้งนี้ เนื่องมาจากผูวิจัยไดสรางบล็อก เบรลลตามขั้นตอนและวิธีการที่ถูกตองตามหลักวิชาการ คํานึงถึงความถูกตองเหมาะสมของสื่อกับสภาพ ความบกพรองของนัก เรียน และความสอดคลองกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู ซึ่งตรงกับวิวรรธน จันทรเทพย(2555) กลาวไวในหลักการใชสื่อวากอนใชสื่อควรเตรียมตัวผูสอนเตรียมตัวเด็ก เตรียมสื่อให พรอมกอนนําไปใช นําเสนอสื่อเพื่อใหบรรลุผล สรางความพรอมและเราความสนใจ ใชสื่อตามลําดับขั้นของ แผนการจัดกิจกรรม ไมควรใหเด็กเห็นสื่อหลายๆ ชนิดพรอมๆ กัน เปดโอกาสใหเด็กไดรวมใชสื่อ และขอ ควรระวังในการใชสื่อการสอนในระดับปฐมวัย ควรระวังในเรื่องวัสดุที่ใชตองไมมีพิษไมหักและแตกงาย มี พื้นผิวเรียบไมเ ปนเสี้ยน ขนาดไม ควรมีขนาดใหญเ กินไป เพราะยากตอการหยิบยก อาจจะตกแตกมา เสียหาย เปนอันตรายตอเด็กหรือใชไมสะดวก ทั้งนี้ยังสอดคลองงานวิจัยของกุหลาบ ยนตพงษ (2546) ได วิจัยเรื่องการจัดประสบการณโดยใชสื่อเตรียมเด็กใหสงบ นักเรียนชั้ นอนุบาลปที่ 1/4 โรงเรียนอัสสัมชัญ ระยอง ผลการวิจัยพบวาการจัดประสบการณโดยใชสื่อเตรียมเด็กใหสงบนั้น เปนกิจกรรมที่เหมาะกับเด็ก เปนอยางมากกับการจัดกิจกรรม เมื่อมีสื่อเด็กจะใหความสนใจกับการจัดกิจกรรมที่มีสื่อประกอบการปฏิบัติ จริง เพราะชวยกระตุนความสนใจเด็กใหมีสมาธิ และมีจินตนาการ คลอยตามจากรูปธรรมไปหานามธรรมได ดี ทั้งนี้ยังเปลี่ยนอิริยาบถใหเด็กเกิดความสนใจในการเรียนรูสิ่งตางๆ จากสื่อไดอยางตอเนื่องอีกดวย ซึ่งเด็ก จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปอยางมาก เกิดความสนุกสนาน ตั้งใจ และอยูนิ่งไดพรอมที่จะเริ่มกิจกรรมใหม ตอไป รูจักรอคอย ปฏิบัติตามลําดับกอนหลังไดดี อยูในกติกาที่ตกลงรวมกัน ดังนั้นจากการจัดกิจกรรมโดย การใชสื่อในการเตรียมใหเด็กสงบกอนการจัดกิจกรรมตางๆ จึงมีประโยชนในการจัดกิจกรรมใหกับเด็กเปน อยางมากและควรปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ เพื่อเปนการเตรียมพื้นฐานดานการเรียนในระดับที่สูงขึ้นตอไป และ ยังสอดคลองกับรับขวัญ วรรณภูมิ (2555) ไดศึกษาการพัฒนาและผลการใชหนังสือภาพประกอบคําคลอง จอง เพื่อพัฒ นาทัก ษะทางภาษาสํา หรับ เด็ก ชั้นอนุบาล1 โรงเรียนบานหนองหอย สํา นัก งานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึก ษาชัยภูมิ เขต 1 ผลการวิจัยสรุปไดวาหนังสือภาพประกอบคําคลองจองเพื่อพัฒนา ทักษะทางภาษาสําหรับเด็กชั้นอนุบาลปที่1 มีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาทักษะทางภาษาของนักเรียนให สูงขึ้น เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนไดเรียนรูอยางมีความสุข สงเสริมความเขาใจ และจินตนาการของเด็กไดดี สงผลใหผูเรียนมีพัฒนาการทักษะทางภาษาเพิ่มขึ้น มีความรู ความคิดกวางไกล
96
96
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
และมีนิสัยรักการอาน เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเอง ตามลําดับขั้นของการพัฒนาทุกดานอยางสมบูรณและเต็ม ศักยภาพ จากเหตุตามที่กลาวมานั้นสนับสนุนใหบล็อกเบรลล สื่อการสอนเรื่องตําแหนงจุดเบรลลที่ผูวิจัย สรางขึ้นนั้น เปนสื่อที่มีคุณภาพ ชวยแกปญหาการเรียนรู และ เพิ่มระดับความสามารถทางการเรียนรูของ นักเรียนใหสูงขึ้น เปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัยที่กําหนดไวอยางแทจริง 3) ผลการประเมินกอนและหลังเรียน ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียม ความพรอ มอัก ษรเบรลล เ บื้ องต น เรื่อ งตํา แหน ง จุด เบรลล โดยใช บ ล็อ กเบรลล เ ป น สื่อ การสอนนั้ น ผลการวิ จั ย พบว า นั ก เรี ย นมีผ ลการประเมิ น หลั ง เรี ย นสูง ขึ้ น อย า งมี นัย สํ า คั ญ ทางสถิติ ที่ ร ะดั บ .05 ผลการวิจัยปรากฏเชนนี้ เนื่องมาจากการสรางและการผลิตบล็อกเบรลล สื่อการสอนทักษะการ เตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใตจังหวัดสุราษฎรธานี มีการดําเนินการ อยางมีระบบ กลาวคือ มีวางแผนการดําเนินงาน ศึกษาขอมูล สอบถามผูที่มีประสบการณดานการสอน นัก เรีย นที่ มีค วามบกพร อ งทางเห็น พรอ มทั้ง มี ก ารวิ เ คราะห ข อ มูล นั ก เรี ย นเป น รายบุ คคล กํา หนด วัตถุประสงค วางแผนและออกแบบสื่อการสอนอยางเปนระบบ ผานการตรวจสอบ จากผูเชี่ยวชาญที่มี ความรูและเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและการสอนดานภาษาและวิจัยทางการศึกษา และดานการศึกษาพิเศษ ผูวิจัยนําขอแนะจากผูเชี่ยวชาญมาปรับปรุงแกไขอยางจริงจังในทุกขั้นตอน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของทวี พร จันทรเนย (2555) กลาวไวในขั้นตอนการผลิตสือ่ สําหรับเด็ก ตองมีการสํารวจความตองการของการใช สื่อใหตรงกับจุดประสงคสาระการเรียนรูและกิจกรรม วางแผนการผลิต กําหนดจุดมุงหมายและรูปแบบของ สื่อใหเหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก ผลิตสื่อตามรูปแบบที่เตรียมไว นําสื่อไปทดลองใชหลาย ๆ ครั้ง เพื่อหาขอดี ขอเสี ย จะไดป รับ ปรุง แกไขใหดียิ่ง ขึ้น และนําสื่อที่ป รับ ปรุง แกไขแลวไปใชจ ริง และ สอดคลองกับงานวิจัยของ ภาวนา เบาสูงเนิน (2552) ไดวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อผสม เพื่อเตรียมความพรอม ทางคณิตศาสตร ชั้นอนุบาลปที่ 2 โรงเรียนดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบวา ความพรอม ทางคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นอนุบ าลปที่ 2 โรงเรียนดานขุนทด หลัง จากใชสื่อผสม สูงกวากอนจัด ประสบการณอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ซึ่งสื่อผสมที่ผูวิจัยสรางขึ้นประกอบการวิจัย ประกอบดวย นิทาน รูปภาพ และแบบฝก สงผลใหนักเรียนมีพัฒนาการดานการคิดและคิดสรางสรรคเพิ่มขึ้น สามารถเห็น ปญหาและหาแนวทางแกปญ หาไดอยางชัดเจน เพิ่มความเขาใจในเรื่องที่ครูสอน ทั้งนี้ยังสอดคลองกับ คําแนะนําของทิศนา แขมมณี (2545) กลาวแนะนําถึงการจัดการเรียนรูของครูผูสอนวาตองเปลี่ยนบทบาท จากผูชี้นําและถายทอดความรูเปนผูช วยเหลือ สงเสริม สนับสนุนในการแสวงหาความรูจากสื่อและแหลง เรียนรูต าง ๆ และใหขอ มูลที่ถูกตองแกนักเรียน เพื่อนําขอมูลเหลานั้นไปใชสรางสรรค ความรูของตนเอง และสง เสริม ใหจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเ รียนเปนสํา คัญ ดวยวิธีก ารที่ห ลากหลายใหนัก เรียนมี
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
97
97
ประสบการณจากการเรียนรูที่เนนการปฏิบัติจริง ไดศึกษาหาความรูดวยตนเองและสงเสริมพฤติกรรมการใฝ รูใฝเรียน นอกการผลิ ตสื่อแลวผูวิจัย เห็นวาการใชเทคนิคและวิธีก ารสอนที่ห ลากหลาย เริ่ม ตนโดยการ แนะนําสื่อประกอบการสอนใหนักเรียนไดเรียนรูจากการสัมผัสลักษณะ รูปทรง สวนประกอบของสื่อ ใชการ สอนนักเรียนแบบตัวตอ ตัว กอนการจัดกิจกรรมมีการสรางบรรยากาศในหองเรียนใหนาสนใจ รวมทั้ง รูปแบบการจัดกิจกรรมที่เนนใหนักเรียนไดชวยเหลือซึ่งกันและกันและเมื่อนักเรียนเกิดการเรียนรูระดับหนึง่ แลว ครูปรับเปลี่ยนเทคนิคการสอนเปนแบบครูแนะนํานักเรียนปฏิบัติตาม พรอมกับใชเทคนิคการเสริมแรง ทางบวกใหรางวัล แกนักเรียน ในขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูไดถูกตองอยางเหมาะสม ให ความสําคัญกับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนเปนรายบุคคล ซึ่งเปนหัวใจหลักในการจัดกิจกรรม การเรียนรูของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น ทั้งนี้ยังสอดคลองกับ Sture (2003) ไดสรุปวาการ พัฒนานักเรียนมีทั้งการพัฒนารูปแบบการสอนพัฒนาสื่อการสอน หรือพัฒนาวิธีการสอนที่เหมาะสม สงผล ตอการพัฒนานักเรียน เพราะรูปแบบการสอน วิธีการสอนและสื่อที่หลากหลาย ทําใหเด็กรูสึกสนุกสนาน ไม เบื่อหนาย ชวยสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรู มี พัฒนาการที่ดีขึ้น และยังสอดคลอง กับนนทนา วัชร ธนาคม (2546) ที่ไดศึกษาผลการใชสื่อประสม ในการพัฒนาความสามารถทางการฟงของเด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญา ระดับกอนประถมศึกษา ผลการศึกษาพบวาสื่อประสมที่พัฒนาขึ้นชวยใหเด็กที่มี ความบกพรองทางสติปญญา ระดับกอนประถมศึกษา มีความสามารถทางการฟงหลังการใชสื่อประสมสูง กวากอนการใชสื่อประสม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากเหตุผลตามที่กลาวมา ชวยสนับสนุนให เห็นวา บล็อกเบรลล เปนที่มีคุณภาพชวยพัฒ นาสง เสริม การเรียนรูของนัก เรีย นได เต็ม ตาม ศัก ยภาพ สามารถการแกปญหาการเรียนรู เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล ครั้งนี้ประสบผลสําเร็จ ซึ่งจาก ผลการประเมินที่สูงขึ้นแสดงใหเห็นวานักเรียนมีความรู มีความเขาใจ จดจําตําแหนงอักษรเบรลลไดถูกตอง บรรลุตามวัตถุประสงคของการวิจัยตั้งไว 2.5 ขอเสนอแนะ 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรูในครั้งนี้พบวา นักเรียนมีความกระตือรือรน สนใจตอการปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรูทุกกิจกรรม เนื่องมาจากนักเรียนไดเรียนรูผานสื่อการเรียนรู “บล็อกเบรลล” ซึ่งเปน นวัตกรรมใหม ซึ่งชวยสรางความสนใจ กระตุนการเรียนรู และสรางความสนุกสนานผานกิจกรรมการเรียนรู ทุกกิจกรรม 2) นักเรียนไดเรียนรูผานกิจกรรมการเรียนรูตามแผนการจัดประสบการณเรียนรู ที่มีขั้นตอนการ เรียนรูอยางเหมาะสม คือ การเรียนรูเปนรายบุคคลโดยครูแนะนํา เพื่อนชวยแนะนํา และมีกิจกรรมการ แขงขันประกอบการเรียนรู ซึ่งชวยสรางบรรยากาศการเรียนรูใหนาสนใจ กระตุนความอยากรูอยากเรียน และเสริมสรางพัฒนาการการเรียนรูของนักเรียนไดเต็มตามศักยภาพ
98
98
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
3) บล็อกเบรลล สื่อการสอนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล ชวยใหครูผูสอนเห็นพัฒนาการในการเรียนรู ของนักเรียนไดอยางชัดเจน ทราบถึงจุดเดนจุดดอยของนักเรียนเปนรายบุคคลไดเปนอยางดี ซึ่งชวยใหครู สามารถแกปญหาการเรียนรูของนักเรียนไดอยางทันทวงที 3. บรรณานุกรม กมลรัตน หลาสุวงษ. (2528). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. กองทุนสงเสริมและพัฒนาการใชอักษรเบรลลแหงชาติ. (2554). คูมือมาตรฐานการใชอักษรเบรลล ในประเทศไทย . เอกสารทางวิชาการ. กองทุนฯ. กรุงเทพมหานคร. กิดานันท มลิทอง. (2543). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพ : อรุณการพิมพ. กุหลาบ ยนตพงษ. (2546). การจัดประสบการณโดยใชสื่อเตรียมเด็กใหสงบ นักเรียนชั้นอนุบาล ปที่ 1/4. โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง : จังหวัดระยอง. กันยา สุวรรณแสง. (2544). จิตวิทยาทั่วไป. (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : อักษรพิทยา. เกยูร วงศกอม. (2548). ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสติ . เกษม สาหรายทิพย. (2545). การประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช. 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. งานพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือฯ. (2547). ทักษะการอาน เขียนและพิมพอักษรเบรลลขั้นพื้นฐาน . เชียงใหม : โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ ในพระบรมราชินูปถัมภ เชียงใหม. จิราภา เต็งไตรรัตนและคณะ. (2547). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ชัยยงค พรหมวงศ. (2545). เอกสารประกอบคาสอนชุดวิชาสื่อการสอนระดับประถมศึกษา. พิมพครั้งที่ 20 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2526). เทคโนโลยีการศึกษา:หลักการและแนวปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ : โรงพิมพวัฒนาพานิช เชียรศรี วิวิธสิร. (2527). วิทยาการเรียนรูของผูใหญ. ภาควิชาการศึกษาผูใหญ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. กรุงเทพฯ
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
99
ดวงเดือน ศาสตรภัทร. (2546). จิตวิทยาและจิตวิทยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. ทวีพร จันเนย. (2555). การเลือกใชสื่อ. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 สืบคนไดจาก http://www.analusis.ispace.in.th/WBI_AM1/webpage/e-media16.html ทิศนา แขมมณีและคณะ. (2536). หลักการและรูปแบบการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามวิถีชีวิตไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตรการสอน. พิมพครั้งที่ 4. สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : กรุงเทพฯ. นนทนา วัชรธนาคม. (2546). การศึกษาผลของการใชสื่อประสมในการพัฒนาความสามารถทางการ ฟงของเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ระดับกอนประถมศึกษา. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชนครราชสีมา. นิภา ศรีไพโรจน. (2555). หลักการวิจัยเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2555 สืบคนไดจาก http://202.29.15.51/technology/uploads/file/vijai/Research10.pdf บุญชม ศรีสะอาด. ( 2546). การวิจัยเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. บังอร ตนปาน. (2535). การเรียนรวมของเด็กพิเศษ. เอกสารการสอน ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะวิชาครุศาสตร วิทยาลัยครูสวนดุสิต. กรุงเทพฯ. เบญจา ชลธารนนท. (2545). การสอนเด็กที่มีความตองการพิเศษ. เอกสารทางวิชาการ ภาควิชาการศึกษาพิเศษ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต : หจก. เพทายการพิมพ, กรุงเทพฯ. ปราณี รามสูต. (2528). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : เจริญกิจ. ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. (2543). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนยสื่อกรุงเทพฯ ผดุง อารยะวิญู. (2542). การศึกษาสาหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแวนแกว. พรรณี ชเจนจิต. (2538). จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ตนออแกรมมี.่ พิสณุ ฟองศรี. (2552). วิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทดานสุทธาการพิมพ จํากัด. ภาวนา เบาสูงเนิน. (2552). การพัฒนาสื่อผสมเพื่อเตรียมความพรอมทางคณิตศาสตร ชั้นอนุบาลป ที่ 2 โรงเรียนดานขุนทด จังหวัดนครราชสิมา. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา.
99
100
100
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
มณิสรา ปาลรัตน. (2549). การใชชุดเตรียมกอนเรียนอักษรเบรลลเพื่อฝกทักษะการอานอักษร เบรลลของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น. การคนควาอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. รัชนีพร สุพร. (2553). หลักการผลิตสื่อและหลักการการใชสื่อ. ภาควิชาหลักการทฤษฎีและวิสัยทัศน ทางการศึกษา : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. รับขวัญ วรรณภูมิ. (2555). รายงานผลการพัฒนาและผลการใชหนังสือภาพประกอบคาคลองจอง เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาสาหรับเด็กชั้นอนุบาล 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 โรงเรียน บานหนองหอย. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิควิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. วิวรรธน จันทรเทพย. (2555). สื่อและแหลงการเรียนรู. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2555 สืบคนไดจาก http://nuijang17.blogspot.com/2008/01/5.html วีระศักดิ์ สารกรณ. (2555). สื่อกับเด็กพิเศษ. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที2่ 8 ตุลาคม 2555 สืบคนไดจาก http://www.specialnk.com/index.php ศรียา นิยมธรรม. (2541). การเรียนรวมสาหรับเด็กปฐมวัย. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : เลิฟแอนดลิพเพลส. ______. (2542). การวัดและประเมินผลทางการศึกษาพิเศษ. ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรจ ประสานมิตร พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : พี เอ อารตแอนดพริ้นติ้ง. ศึกษาธิการ. กระทรวง. (2539). แนวการจัดประสบการณ ระดับกอนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. ______. กระทรวง. (2546). พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. ศึกษาธิการ. กระทรวง. (2546). คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. ศันสนีย จะสุวรรณ. (2555). สื่อการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2555. สืบคนไดจาก http://www.google.co.th/url สมทรง พันธสุวรรณ. (2529 ). การศึกษาสาหรับคนที่มีความบกพรองทางการเห็น. การศึกษาพิเศษ คณะวิชาครุศาสตร. วิทยาลัยครูสวนดุสิต. กรุงเทพฯ .
: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
101
101
______. (2545). การอาน เขียน พิมพอักษรเบรลล. ภาควิชาการศึกษาพิเศษ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. หจก.จงเจริญการพิมพ. สมนึก ภัททิยธนี. (2549 ). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ : ประสานการพิมพ. สอนคนตาบอดกรุงเทพ. โรงเรียน. (2555). ประวัติความเปนของอักษรเบรลล. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2555. สืบคนไดจาก http://www.blind.or.th/index.php สอนคนตาบอดภาคใต จังหวัดสุราษฏรธานี. โรงเรียน. (2546). หลักสูตรสถานศึกษา การศึกษาปฐมวัย โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต จังหวัดสุราษฏรธานี. สุราษฏรธานี : สอนคนตาบอดภาคใต. สงัด อุทรานันท. (2537). พืน้ ฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ : วงเดือนการพิมพ. สุคนึง สุนทรวรคุณ. (2542). เด็กที่มีความบกพรองทางการเห็น. โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. สํานักพิมพเสมาธรรม. สุปราณี สนธิรัตน. (2539). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : วรวุฒิการพิมพ. (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, คณะสังคมศาสตร, ภาควิชาจิตวิทยา. สุภาณี เส็งศรี. (2555). การวิเคราะหสื่อ. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2555. สืบคนไดจาก http://www.analusis.ispace.in.th/WBI_AM1/webpage/e-media5.html สิรินันท สุรไพฑูรย แซผุง. (2554). การสอนพูด โดยใชยุทธวิธีการเรียนรูผานการมองสําหรับเด็ก บกพรองทางการไดยิน ศูนยการศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 จังหวัดขอนแกน. รายงาน การ วิจัยใน ชั้นเรียน สาขาการพัฒนาศักยภาพและเตรียมความพรอมเด็กบกพรองทางการไดยิน ศูนยการศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 จังหวัดขอนแกน. Denise, W. Winre. (2000). Meaningful intergration mathematice Methods instrucyion and fieldexperiment. Action in Teacher Education. Isikoglu, Nesrin . (2002). Intergration of Computer Teacher into Early Childhood Curriculum. Dissertation Abstracts International. Sturke,Beverly Rose. (2003) . Learning Two Language : Assessing a Dual Language Bilingual Kindergarten Program (English as a Second Language,Spanish). Dissertation Abstracts International.
102 ชื่องานวิจัย : การใชกิจกรรมหองธรรมานุบาลเพื่อเพิ่มสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ที่มีภาวะไมอยูนิ่ง ชื่อผูวิจัย : โตง พรมกุล ครู คศ.2 โรงเรียนฉะเชิงเทราปญญานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา 2553 ที่มาและความสําคัญ ทั่วโลกยอมรับวา ทรัพยากรมนุษยสําคัญยิ่งกวาทรัพยากรอื่นใด เพราะมนุษยเปนผูนําทรัพยากรอื่นมา ใชประโยชน และถามนุษยมีคุณภาพ มีกําลัง มีสติปญญาดีก็จะสามารถใชทรัพยากรตางๆ ไดอยางเหมาะสม และเกิดประโยชนสูงสุดตอสังคมโลก กลุมชวงวัยที่มีความสําคัญและเตรียมตัวเพื่อการเติบโตเปนผูใหญคือวัย เด็ก ในสภาพบริ บ ทป จจุบั น สัง คมได รับ อิท ธิพลของโลกาภิ วัฒ น และความทันสมั ย สมาชิก ในสั งคมมี แนวโนมที่จะใหความสําคัญตอวัตถุอํานาจ มากกวาคุณคา ของความเปนมนุษย ผูคนพึงพอใจและแสวงหาเรื่อง ทางวัตถุ เปนดานหลัก นํามาซึ่งปญหาตางๆ มากมาย ทั้งในระดับชุมชน ครอบครัว บุคคล และเด็กที่นับวาเปน ตนกลาที่จะเติบโตเปนทรัพยากรที่ล้ําคา ในการพัฒนาประเทศ ซึ่งจากภาวะของโลกปจจุบันตนกลาเหลานี้มี ความเสีย่ ง ในการถูกทําลาย ดวยรูปแบบที่หลากหลาย และยิ่งถาเด็กเหลานี้ เปนเด็กพิการที่มีความบกพรอง ทางสติปญญายิ่งมีโอกาส ที่จะเปนตนกลา ทีม่ ีคณ ุ ภาพนอยมาก คนพิการไดชื่อวาเปนสมาชิกสวนหนึ่งของสังคมไทย ถึงแมวาจํานวนของคนพิการจะมีอัตราสวนที่ไม มากนัก ถาเทียบกับจํานวนประชากรทั้งหมดของประเทศไทย ถาเทียบกับจํานวนประชากรทั้งหมดของประเทศ ไทย แตคนพิการก็เปนสมาชิกสวนหนึ่งของสังคมไทย ที่มีความสําคัญไมนอยไปกวาคนปกติหรือสมาชิกกลุม อื่นๆ คนพิการเหลานี้จึงไดรับ ผลกระทบดังกลาวนี้โดยตรง ดวยความพิการเอง และดวยการไมสามารถ เขาถึงแหลงทรัพยากรไดเทาเทียมกับบุคคลคนปกติ ทําใหคนพิการไดรับความทุกข มีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ยากลําบาก ไม ไดรับ การดู แล สนั บ สนุ นเท าที่ ควรจะเป น นับ เป นป ญ หาที่ เ กิ ดขึ้นและส ง ผลกระทบต ออารมณ สงคม ตลอดจนสิง่ แวดลอมของเด็ก จึงจําเปนที่สังคม ชุมชน ผูป กครองและครู ผูบริหารจะตองมีความรูความเขาใจ ตอภาวะดังกลาวนีเ้ ปนอยางดีดว ย เพราะในปจจุบันบุคคลทีม่ ีความรูค วามเขาใจในเรื่องดังกลาวนัน้ ยังอยูใน วง แคบ ทําใหมีเด็กพิการจํานวนมากไดรับการปฏิเสธดวยเหตุผลที่หลากหลายไมใหเขาชั้นเรียนปกติ รวมกับเด็ก ปกติอื่นๆ เพราะความไม เขาใจของครู และผูบ ริห ารโรงเรียน สังคมละเลยผลั กใหเ ปนภาระของผูป กครอง ผูปกครอง สงตอปญหาเหลานีส่ ูโรงเรียนการศึกษาพิเศษ โดยหวังวาโรงเรียนการศึกษาพิเศษ จะบําบัดรักษาให เด็กเหลานีห้ ายขาดแลวกลับคืนสูสงคม สงผลใหเด็กเหลานีไ้ มไดรับการแกไข และสงเสริมอยางถูกวิธี
103เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
103
โรงเรียนฉะเชิงเทราปญ ญานุกูล จัง หวัดฉะเชิงเทรา สั งกัดสํานัก บริ หารงานการศึ กษาพิ เ ศษ เป น โรงเรียนประเภทประจํา เปดทําการเรียนการสอนแก เด็กที่ มีความบกพรองทางสติ ปญญา ตั้งแต ระดับชั้น อนุบาลถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ตัง้ แตปการศึกษา 2539 เปนตนมา พบวาจํานวนเด็ก ที่มีความบกพรอง ทางสติปญญามีจํานวนมากขึน้ และปญหาสําคัญที่เปนอุปสรรคตอการเรียนรู ทําใหพัฒนาการของเด็กไมเปนไป ตามวัย จนทําใหเด็กเหลานีถ้ กู ผลักออกจากสังคม คือ ภาวะไมอยูน ิ่ง ซึ่งภาวะไมอยูน ิ่งเปนปญหาที่พบไดบอยใน เด็กที่มีพัฒนาการลาชา (Pervasive Developmental Disorder : PDD) เชนในกลุมเด็กออทิสติก (autistic), นอกจากนี้ ยังเปนปญหาพบไดบอยในเด็กที่มีสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactive Disorder : ADHD), เด็ก ที่มีภาวะดาวนซิ นโดรม ( Down’s Syndrome), และเด็ก ที่มีความบกพรองทางสติปญ ญา ( Mental Retardation : MR) ซึ่งภาวะไมอยูน ิ่งนี้ มีผลกระทบ โดยตรงตอสมาธิ ความตั้งใจในการทํากิจกรรม หรือ งานของเด็ก เด็กที่ไมอยูน ิ่ง มักมีปญหาในการทํากิจกรรมหรือ งานที่ตองนั่งอยูกับที่เด็กหันเหความ สนใจไปจากกิจกรรมที่ทําอยูไ ดงาย ทําใหไมสามารถ ทํางานไดแลวเสร็จ ปญหาในเรื่องสมาธิและความตั้งใจ สงผลกระทบตองานในวัยเดก ซึ่งไดแก การเรียน และการเลน มักจะพบอยูเสมอวา เด็กที่มีภาวะไมอยูนิ่งมี ปญหาพัฒนาการ ดานการดูแลตนเอง การรับรู และการเรียนรูของเด็กในกลุมนี้มักชากวาเด็กในวัยเดียวกัน ( APA, 1994; Case-Smith & Miller, 1999; Ermer & Dunn, 1998; Greenspan & Wieder, 1997) นอกจากนี้ความคับของใจในความสามารถที่ดอยกวาเพื่อน ตลอดจนความหุนหันวูวามที่เ ด็กมักจะควบคุ ม ตนเองไมได ซึ่งมักพบไดบอยในเด็กกลุ มนี้ กอใหเกิดปญหา ทางดานอารมณและดานสังคมตามมา ( APA, 1994) จึงมีความจําเปนอยางยิง่ ที่จะตองหาวิธกี ารบําบัดรักษา โรงเรียนฉะเชิงเทราปญญานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดแสวงหาแนวทางการบําบัดรักษาเด็กเหลานี้ อยางหลากหลาย แนวทางหนึ่ง ที่เ ปนตัวเลือกสําหรับ การบําบัดรัก ษาเด็ก เหล านี้คือ หลัก พุท ธธรรม ทาง พระพุทธศาสนา การที่จะนําศาสนามาเกี่ยวของกับวิชาใด ๆ ที่ตั้งอยูบนหลักทางวิทยาศาสตรนั้น นับวา เปน เรื่องที่ทําไดยาก และเสี่ยงตอความผิดพลาดเปนอยางยิ่ง เพราะศาสนาเปนเรื่องที่ละเอียดออน ลึกซึ้ง และ เกี่ยวของกับศรัทธาความเชื่อของแตละบุคคล อยางไรก็ตาม การศึกษาอดีตความเปนมา และสภาวะที่เปนอยู ในปจจุบันของสังคมไทย ก็พอจะชวยใหเกิดความมั่นใจไดบางบางประการวา ศาสนานาจะเกี่ยวของกับวิชา ตางๆ ได โดยเฉพาะวิชาที่เ กี่ยวกับการดําเนินชีวิตของมนุษย พระพุท ธศาสนา เปนเสมือนสายโลหิตแหง วัฒ นธรรมที่ ฝง แนนอยูในความรูสึก และหลอเลี้ ยงจิ ตใจ สัง คมไทยมาหลายชั่ วอายุ คน หลั ก คําสอนทาง พระพุทธศาสนาสอนใหคนเรารูจ ักความจริงของธรรมชาติ และชีวิต สอนใหรูจักตนเอง พิจารณาแกไขปญหา ของตนเองดวยหลักเหตุผล โดยอาศัยหลักคําสอนของพระพุทธเจาที่เรียกวาพุทธธรรม
104
104
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ดวยเหตุ นี้ผูวิจัยจึงไดศึกษาหลั กพุทธธรรมทางพระพุท ธศาสนาและหลักการเรียนรู สําหรั บเด็กที่ มี ความบกพรองทางสติปญญา ออกแบบเปนกระบวนการจัดการเรียนหองธรรมานุบาลเพื่อเพิ่มสมาธิ ในเด็กที่มี ความบกพรองทางสติปญญาที่มภี าวะไมอยูน ิ่งใหมีพัฒนาการที่ดขี นึ้ 2.1 วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาผลการใชกิจกรรมหองธรรมานุบาล ตอการเพิ่มสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ที่มีภาวะไมอยูนิ่ง 2.2 ระเบียบวิธีการวิจัย รูปแบบการวิจัย และแบบแผนการทดลองในงานวิจัย เปนการวิจัยแบบ Single Subject Design รูปแบบ ABA Design (Leary, 1995 : 378, 396) ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากร คือ เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่ง อายุระหวาง 7-10 ป และกําลัง ศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ของโรงเรียนฉะเชิงเทราปญญานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา ในปการศึกษา 2553 จํานวน 48 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย การศึก ษาครั้ง นี้ ใช ก ลุ ม ตัว อย าง จํ านวน 6 คน โดยการเลือ กแบบเฉพาะเจาะจง ( Purposive Sampling) จากจํ านวนประชากร 48 คน โดยมีเ กณฑ ในการคัดเลือก คือ เปนเด็ก ที่มีอาการไมอยู นิ่ ง ลุกลี้ลกุ ลน ควบคุมระดับการทํากิจกรรมของตนเองไมไดและขาดความอดทนตอการรอคอย ซึง่ ทาง โรงเรียนได ทําการบันทึกอายุ เพศ อาการของเด็กที่บงชี้วา เปนเด็กมีภาวะอยูไมนิ่งตลอดจนการวินิจฉัยโรคของเด็กแตละ คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก 1. ชุดฝกกิจกรรมหองธรรมานุบาล 2. อุปกรณการสังเกต และแบบบันทึกพฤติกรรมเกี่ยวกับการมีสมาธิ ชุดฝกกิจกรรมหองธรรมานุบาล ลักษณะของชุดฝกกิจกรรมหองธรรมานุบาล เปนกิจกรรมเพื่อเพิ่มสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทาง สติปญญา ประกอบดวยกิจกรรมที่สําคัญ 7 กิจกรรม คือ
105เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
105
1) กิจกรรมเตรียมความพรอม เปนกิจ กรรมที่มุงเตรียมความพรอมทั้ งทางร างกาย จิตใจ อารมณของนัก เรียนเบื้องตน ให มีความ พรอมที่จะเรียนรู และทํากิจกรรมตางๆ ตอไป ซึ่งประกอบดวย การตรวจสุขภาพ การสํารวจรางกาย การทํา ภารกิจสวนตัว การดูตารางการปฏิบัตกิ ิจกรรม การฟงกฎกติกาการใชหอง และการไหวพระสวดมนต 2) กิจกรรมอิริยาบถเดิน เปนกิจกรรมที่สงเสริมการเรียนรูและการรับรูสั่งงานของสมอง ชวยประสานสัมพันธระหวางระบบ ประสาทและกล ามเนื้ อเพื่อกระตุนและพั ฒนาปฏิกิริยาความเร็ วในการปฏิ บัติทักษะการเคลื่อนไหว ความ รวดเร็ ว ในการคิ ด และการตั ด สิ น ใจให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น อี ก ทั้ ง เป น การนํ า เอาหลั ก การทาง พระพุทธศาสนาในเรื่องการทําสมาธิ ดวยการเดินจงกรม ซึ่งเป นนามธรรมเขาใจยาก นํา สูสิ่งที่เป นรูปธรรม นักเรียนที่มีความบกพรองทางสติปญญา สามารถปฏิบัติ เขาใจไดงาย เกิดการเรียนรูจดจํา จนเกิดภาพของการ เดินจงกรมที่ถูกตองในสมองแลวสามารถนําภาพที่เกิดขึน้ นั้น เปนพื้นฐานในการเดินจงกรม ตามแบบแผนของ คนทัว่ ไปได โดยกิจกรรมนี้นักเรียนจะมีสมาธิจดจออยู กับการทํากิจกรรม และรูสึกสนุกตลอดเวลาขณะทํา กิจกรรม ซึ่งทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรูไ ดดว ยตนเองเปนอยางดี 3) กิจกรรมอิริยาบถยืน กิจกรรมนี้เปนกิจกรรมเตรียมความพรอมในการเรียนรูของนักเรียนในการทําสมาธิ โดยเริ่มเรียนรูใ นสิง่ ที่เปนรูปธรรม ใหนักเรียนยืนดูความเคลือ่ นไหว และพยายามรักษาการทรงตัว ของรางกายตนเองแลวพิจารณา ตนเอง (กายคตาสติ) วานักเรียนยืนในทาทางใด (ยืนตรง เอียงซาย เอียงขวา เปนตน) รูสึกอยางไร เปนการดึง นักเรียนออกจากสิง่ แวดลอมรอบกายใหกลับมาอยูกับตัวเอง เกิดสมาธิจดจอกับการทํากิจกรรมที่กําหนดไวให 4) กิจกรรมอิริยาบถนัง่ เปนกิจกรรมที่มุงเนนใหนักเรียนไดเกิดการเรียนรูผานระบบประสาทรับความรูส ึกของนักเรียน ไมวา จะ เปนการรับสัมผัส การมองเห็น เปนอุบายวิธีที่หยุดความฟุงซานของจิต ซึ่งมักจะฟุงซานไปตามอารมณตางๆ โดยใชสมาธิยดึ ดึงอารมณอยางใดอยางหนึ่งในกรรมฐาน 40 กองมาบริกรรม จนกระทั่งจิตแนบแนนในกิจกรรม ที่ทํา อีกทั้งยังเปนการมุง ใหนักเรียนไดทํากิจกรรมที่สามารถคงชวงความสนใจ (Attention span) ในการทํา กิจกรรมไดจนเสร็จสิ้นกระบวนการทํากิจกรรม 5) กิจกรรมอิริยาบถนอน เปนกิจกรรมที่มุงเนนใหนักเรียนไดเกิดการเรียนรู การพักผอนที่ดที ี่สุดคือการนอนหลับ และเรียนรูทา ที่ใชนอนซึ่งเปนสิ่งสําคัญมาก เนื่องจากจะสงผลใหผูนอนหลับสนิทตลอดคืน และตื่นขึ้นมาดวยความ สดชื่น แจมใส พรอมที่จะทํากิจกรรมระหวางวันไดอยางมีประสิทธิภาพ
106
106
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
6) กิจกรรมผอนคลาย เปนกิจกรรมที่ใชทาทางตางๆ ผนวกกับการเจริญสติ เปนการบริหารกายและจิต เพื่อใหเกิดสติ สมาธิ และพัฒนาจิตของผูฝ กไปตามการเคลือ่ นไหว ซึ่งจะสงผลใหผูฝกมีสมาธิ มีสติ ตัง้ มั่น สุขภาพแข็งแรง และมีการ จัดระเบียบรางกายในทาทางที่ถกู ตอง 7) กิจกรรมสงเสริมปญญา เปนกิจ กรรมเรียนรู เพื่อให เกิดปญ ญา มุ งสงเสริมใหนักเรียนเกิดการสรางจินตนาการ ผานการเล า นิทานประกอบการแสดงของหุนผาและวัสดุธรรมชาติ เชื่อมโยงเรื่องราว เหตุการณตางๆ ที่สอดคลองสัมพันธ กับชวงวัยและชีวติ ประจําวันของนักเรียน ซึ่งเนื้อหาของนิทานจะประกอบไปดวยตัวอยางแหงการทําความดี และบุคคลทีเ่ ปนแรงบันดาลใจในการทําความดี เพื่อใหนักเรียนนําหลัก คุณธรรมเหลานีไ้ ปใช ในชีวติ ประจําวัน อุปกรณการสังเกต และ แบบบันทึกพฤติกรรมเกี่ยวกับการเพิ่มสมาธิ ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ 1) ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เอกสารที่เกี่ยวของกับเด็ก ที่มีความบกพรอง ทางสติปญญา เอกสารที่เกี่ยวของกับภาวะไมอยูนิ่ง ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการสังเกต แล ะบั นทึ ก พฤติกรรม เลือกวิธกี ารเหมาะสมกับตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ เลือกการสังเกตพฤติกรรมเปาหมายโดยการ บันทึกดวยวีดีทัศน ใชการสังเกต และการบันทึกพฤติกรรม แบบชวงเวลา สังเกตพฤติกรรมครั้งละ 10 นาที แบงชวงเวลาเปน 20 ชวง ๆ ละ 30 วินาที สังเกตพฤติกรรมสัปดาหละ 1ครั้ง (Case- Smith and Bryan, 1999 : 491-492) 2) จัดเตรียมกลองถายวีดีทัศน 3) จัดทําแบบบันทึก พฤติก รรมแบบชวงเวลา (สมโภชน เอี่ยมสุ ภาษิต , 2539 : 73) นําไปให ผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาตรวจสอบคุณภาพของการสงเกต และ บันทึกพฤติกรรม นํามาแกไขปรับปรุงตาม คําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ ตัวอยาง แบบสังเกตพฤติกรรมสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่ง แบบบันทึกชวงเวลาของการเกิดพฤติกรรม (ในเวลา 10 นาที แบงเปน 20 ชวง ๆ ละ 30 วินาที) วันที่ .............. ครั้งที่สังเกต................................... ชื่อผูสังเกตพฤติกรรม.............................................. เริ่มสังเกตพฤติกรรมเวลา...........................................สิ้นสุดเวลา......................................................... พฤติกรรมที่สังเกต ไดแก
107เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ การมีสมาธิ ชวงเวลาที่ 1 2 3 4
5
6
เมื่อมีพฤติกรรม ใสเครื่องหมาย
7
8
9
107
10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
ตามที่กําหนดไว
ไมมีพฤติกรรม ใส 0 สรุปผลการสังเกตพฤติกรรม การมีสมาธิ = ………………….. ชวงเวลา ขอสังเกต............................................................................................. หมายเหตุ............................................................................................ ปญหา และ อุปสรรค............................................................................ วิธีการดําเนินการทดลอง กอนเริ่มทําการทดลอง 1. ผูวิจัยขอใหทางโรงเรียนออกหนังสือเพื่อเรียนเชิญผูเชี่ยวชาญดานการฝกสมาธิ ตามรูปแบบทาง พระพุทธศาสนาเปนผูตรวจสอบคุณภาพของกิจกรรมหองธรรมานุบาล และเรียนเชิญผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยา เปนผูตรวจสอบคุณภาพของการสังเกต และบันทึกพฤติกรรมแบบชวงเวลา 2. ผูวิจยั นํากิจกรรมหองธรรมานุบาล ไปทดลองใชกับเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา 2 คน 3. ผูสังเกตพฤติกรรม คือผูวจิ ยั และครูกิจรรมบําบัด ฝกการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมเปาหมายกอน ลงมือเก็บขอมูลจริงเพื่อดูความชัดเจนของพฤติกรรมเปาหมายและแกไขขอบกพรองตางๆ ที่เกิดขึ้น หาความ เที่ยงระหวางผูส ังเกต 2 คน โดยใชคา แคปปา (K) โดยไดคา เทากับ 1 ดําเนินการทดลอง ใชเวลาในการทดลองรวม 18 สัปดาห โดยระยะที่ 1 เปนระยะเสนฐานใชเวลา 4 สัปดาห ระยะที่ 2 เปนระยะที่ฝกเด็กดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล ใชเวลา 10 สัปดาห และระยะที่ 3 เปนระยะถอดถอนใชเวลา 4 สัปดาห การเก็บรวบรวมขอมูล รวบรวมจากการสังเกตพฤติกรรมดวยวิธีการดังนี้
108
108
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
1. ใชวีดีทั ศนบั นทึ ก พฤติ กรรมของเด็ก เป นเวลา 10 นาที ที่ห องฝ ก เป นชวงที่ เด็ก ได เ ลน หรื อทํา กิจกรรมที่ชอบ หรือ กําหนดใหไดอยางเสรี และมีครูผูฝกอยูด วย โดยจัดสภาพแวดลอม สถานการณ เวลา และ สถานที่คงเดิมทุกครั้งในการบันทึกพฤติกรรม 2. นําวีดที ัศนมาสังเกตพฤติกรรมโดยผูส ังเกต 2 คน คือ ผูวิจัย และนักกิจกรรมบําบัด เปนผูบันทึกลง ในแบบบันทึกพฤติกรรมที่เตรียมไว 3. การสั งเกต และ บันทึกพฤติก รรมจะแบง เวลา 10 นาที ออกเป น 20 ชวง ช วงละ 30 วินาที ผู สังเกตหยุดภาพในวีดีทัศนทุก 30 วินาที และทําการสังเกตพฤติกรรมเปาหมายและทําการบันทึกลงในแบบ บันทึกพฤติกรรม การวิเคราะหขอมูล 1. ขอมูลที่ไดจากการบันทึกพฤติกรรมของผูสังเกต นํามาหาคาความเทีย่ งระหวางผูสังเกต 2 คน โดย ใชคา แคปปา (K) 2. ขอมูลจากการบันทึกพฤติกรรมเปนจํานวนชวงเวลาที่มีพฤติกรรมเปาหมายเกิดขึ้น ทําเปนคารอย ละของจํานวนชวงเวลา หาคาเฉลีย่ ของจํานวนชวงเวลาและคาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่เกิดพฤติกรรม ในแตละระยะการทดลองทั้ง 3 ระยะ แสดงขอมูลดวยกราฟเสน และสรุปผลการวิจัยโดยการวิเคราะหดวย สายตา และการเปรียบเทียบคาเฉลีย่ รอยละของจํานวนชวงเวลา ในแตละระยะของการทดลอง กราฟเสน แสดงผลการวิเคราะหขอมูล กลุมตัวอยางคนที่ 1
109เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
109
จากภาพประกอบ 1 แสดงวา คาเฉลยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 (A1) มีคา เทากับ 35 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 72 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความบกพรอง ทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 66.25 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลงและมีแนวโนมที่จะคงที่ กลุมตัวอยางคนที่ 2
จากภาพประกอบ 2 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 ( A1) มีคา เทากับ 51.25 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 72.50 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูน ิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึน้ ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลีย่ รอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคา เทากับ 65 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อ หยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลง
110
110
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
กลุมตัวอยางคนที่ 3
จากภาพประกอบ 3 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 ( A1) มีคา เทากับ 30 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 66.5 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความบกพรอง ทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 56.25 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลง กลุมตัวอยางคนที่ 4
111เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
111
จากภาพประกอบ 4 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 ( A1) มีคา เทากบ 46.25 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 73.5 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 56.25 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลงและมีแนวโนมคงที่ กลุมตัวอยางคนที่ 5
จากภาพประกอบ 5 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 (A1) มีคา เทากับ 30 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 67.5 0 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 55 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อ หยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลงและมีแนวโนมคงที่
112 112
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
กลุมตัวอยางคนที่ 6
จากภาพประกอบ 6 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 (A1) มีคา เทากับ 48.75 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 79 ซึ่งมีคาเพิ่ม ขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 ( A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 63.75 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลง สถิติที่ใช สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือคารอยละ คาเฉลี่ย และหาคาความเที่ยงระหวางผูสังเกต 2 คน (แคปปา) แสดงผลการวิจัยดวยกราฟ วิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหดว ยสายตา และการเปรียบเทียบ คาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่มีพฤติกรรมในการทดลองแตละระยะ 2.3 ผลการศึกษา การใชกิจกรรมหองธรรมานุบาลมีผลตอการเพิ่มขึน้ ของสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญ ญาทีม่ ี ภาวะไมอยูน ิ่ง
113 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
113
2.4 สรุปผลและการวิจารณ สรุปผล เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูน ิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรม หองธรรมานุบาลมีสมาธิเพิ่มขึน้ อภิปรายผล การทดลองในครั้งนี้ทําการทดลองกลุมตัวอยางเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะ ไมอยูน ิ่ง จํานวน 6 คน เปนเพศชาย 4 คน และเพศหญิง 2 คน ผลการวิจัยพบวา เด็กจํานวน 6 คน ที่ไดรับ การฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาลเพื่อเพิ่มสมาธิ มีสมาธิเพิ่มขึน้ สอดคลองกับผลการศึกษา ของ วันวิ สาข กาญจนศรีกุล (2547) ไดศกึ ษาผลการพัฒนาสมาธิและจินตนาการสําหรบเด็กสมาธิสั้น ชัน้ ประถมศึกษาป ที่ 3 พบวาพัฒนาการดานสมาธิและจินตนาการดีขนึ้ และสอดคลองกับที่พระธรรมปฎก (2541) กลาววา สมาธิ มีประโยชนในการเตรียมจิตใหอยูใ นสภาพพรอมและงายแกการปลูกฝงคุณธรรมตาง ๆ และเสริมสรางนิสัยที่ดี และในภาวะที่จิตใตสํานึกทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพ คือในสภาวะที่รางกายและจิ ตใจมีความผอนคลาย นอกจากนี้สุจติ รา รณรืน่ (2532) กลาวถึงประโยชน ของสมาธิตอ ชีวติ ประจําวันไววา ชวยทําใหจิตใจผอนคลาย หายเครียด เกิดความสงบ หายกระวนกระวาย วิตกกังวล เปนเครื่องพักผอนใหใจสบาย และมีความสุขเปน เครื่องเสริมประสิทธิภาพในการทํางาน ในการเลาเรียน หรือทํากิจกรรมทุกอยาง เพราะจิตที่เปนสมาธิจะไม ฟุง ซาน วอกแวกเลื่อนลอย ซึ่ ง เป นอาการหนึ่ง ของโรค ADHD ดัง นั้นการฝ กสมาธิจึง เป นเครื่ องมืออั น ประสิทธิภาพอันหนึ่ง ในการพัฒนาพฤติกรรมของเด็กที่มีภาวะไมอยูนิ่ง ชวยเสริมสุขภาพ และใชแกไขโรคได รางกาย และจิตใจอาศัยกัน และมีอิทธิพลตอกัน ผูมีจิตใจผองใสเบิกบานยอมมีสุขภาพดีและเปนภูมิคุมกันโรค ไปในตัว 2.5 ขอเสนอแนะ 1. ควรเปรียบเทียบจํานวนครั้งที่ใชในการฝกตอสัปดาหวามีผลแตกตางกันหรือไม 2. ควรมีการศึกษาถึงความคงทนของการมีสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ที่มีภาวะไมอยูนิ่งโดยการใชกิจกรรมหองธรรมานุบาล 3. ควรศึกษาผลของการบําบัดในเด็กโต และวัยรุนที่มีตอพัฒนาการดานตางๆใหมากขึ้น
114
114
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
3. บรรณานุกรม / เอกสารอางอิง บรรณานุกรม พระธรรมปฏก (ประยุทธ ประยุตโต). (2541). สมาธิแบบพุทธ. กรุงเทพฯ : สหธรรมก. สุจิตรา รณรื่น. (2532). การฝกสมาธิ (Practice of Meditation). กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์. สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. (2539). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. American Psychiatric Association. (1994). Diagnostic and statistical manual of mental disorder. 4th ed. Washington, DC : Author. Case-Smith, J; & Miller, H. (1999). Occupational therapy with children with pervasive developmental disorders. American Journal of Occupational Therapy, 53, 506-513. Ermer, J. & Dunn, U. (1998). The sensory profile : A discriminant analysis of children with and without disabilities. American Journal of Occupational Therapy. 52, 283-289. 4. กิตติกรรมประกาศ การศึก ษาวิจั ยฉบับ นี้สํ าเร็จ ได ดว ยความกรุณ าของ นายไพฑู ร ย ศรีท อง ผู อํา นวยการโรงเรีย น ฉะเชิง เทราปญญานุกูล และประธานคณะกรรมการสถานศึกษา สมาคมครู ผูป กครอง นักเรียนโรงเรียน ฉะเชิง เทราปญ ญานุกูล ที่ใหก ารสง เสริม สนับ สนุนทุนในการดําเนินงานวิ จัย จนการศึก ษาวิจัยนี้สําเร็ จ สมบูรณ ขอขอบพระคุณคณะกรรมการทีป่ รึกษางานวิจัย นางสุชาดา ผดุงวิเชียร ครู คศ. 3 โรงเรียนฉะเชิงเทรา ปญญานุกูล นางสาวรัชนี เขตสาลี นักจิตวิทยาชํานาญการ โรงพยาบาลราชบุรี ที่ไดกรุณา ชวยเหลือ ให คําแนะนํา ตรวจแกไขขอบกพรองตางๆ ตลอดจนใหขอ คิดและกําลังใจจนการศึกษาวิจัยนี้ สําเร็จสมบูรณ และ ขอขอบคุณ คณะกรรมการดําเนินงานวิจยั ในโครงการสงเสริมบุคลากรของโรงเรียน ดําเนิ นจั ดทํา วิจัยคูขนานกั บ การปฏิ บั ติง านที่ ไดก รุ ณ าให ขอเสนอแนะในการศึ ก ษาเพื่ อให มี ความถู ก ตอ ง สมบูรณยงิ่ ขึ้น ผูศกึ ษาขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณแพทยหญิงวัชรา ริ้วไพบูลย และสถาบันสรางเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สิรนิ ธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ ผูใหทุนสนับสนุนในการดําเนินกิจกรรม
ศูนย
115เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
115
ขอขอบพระคุ ณ คุณ พ อ คุ ณแม และผู มี พระคุ ณทุ ก ท า นที่ ได ใ ห โ อกาสทางการศึ ก ษา ช วยเหลื อ สนับสนุนและใหกําลังใจดวยดีตลอดมา ทา ยที่สุ ด นี้ คุ ณ คา และคุ ณ ประโยชน ของการศึ ก ษาวิจั ย ฉบั บ นี้ ขอมอบเปน เครื่ อ งบูช าคุณ ของ บุพการีคือมารดาบิดาผูใหกําเนิด พระคุณของคุณครู อาจารย ผูประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูให ตลอดทัง้ ผูมีอุป การคุณทุก ๆ ทาน 5. การนําไปใชประโยชนทางการศึกษา ดานผูเรียน 1. สงเสริมใหผูเรียนสามารถจดจอในการทํากิจกรรมภายในระยะที่กําหนดใหได 2. สงเสริมใหผูเรียนรูจักการรอคอยในการทํากิจกรรมเดี่ยว หรือกิจกรรมกลุมรวมกับเพื่อน ในหองเรียนหรือตางชั้นเรียนได เชน การรอคอยขณะรับประทานอาหาร การรอคอยการเลนรวมกับเพื่อน เปน ตน 3. สงเสริมใหผูเรียนที่มีภาวะไมอยูนิ่ง สามารถมีสมาธิเพิ่มมากขึ้น ดานครู ครูสามารถนํากิจกรรมหองธรรมานุบาล ไปบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อเปนการลด พลังงานสวนเกิน และเพิ่มสมาธิ กอนการจัดกิจกรรมที่มีความซับซอนหรือตองการสมาธิ ในการทํากิจกรรม ตอไป สถานศึกษา 1. สงผลใหสถานศึกษาเปนศูนยกลางแหงการเรียนรูทางการศึกษาพิเศษที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง 2. สถานศึกษามี Best practice ประจําสถานศึกษา 3. สถานศึกษาไดรูปแบบการมีสวนรวมขององคกรทางสังคมคือ วัด บาน โรงเรียน ในการพัฒนา เด็กที่ มีความบกพรองทางสติปญญา 4. สถานศึกษามีนวัตกรรมที่ทําใหนกั เรียนไดรับการพัฒนาในทิศทางที่ถกู ตอง รวดเร็ว ประหยัด เวลา และลดคาใชจาย วงการวิชาชีพ 1. เกิดการเชื่อมโยงความรวมมือระหวางทีมสหวิชาชีพที่หลากหลายที่ทํางานกับนักเรียนพิเศษ 2. ผลงานวิจัย สงผลใหเกิดเปนองคความรูใหมสําหรับใชเปนบําบัดทางเลือก ซึ่งเกิดผลดีตอ วงการ วิชาชีพการศึกษาพิเศษ ที่มีตวั เลือกที่หลากหลายที่จะนํามาใชบําบัดนักเรียน
116 ชื่อเรื่องวิจัย : การศึกษาผลของกิจกรรมการกระตุนการรับความรูสึกและการเคลื่อนไหวที่มีตอการแสดง ชื่อผูวิจัย :
พฤติกรรมซ้ํา ๆ ความสามารถในการสบตาการมีปฏิสัมพันธกับผูใหญของเด็กออทิสติก นางพัชรีวรรณ พรมกุล โรงเรียนฉะเชิงเทราปญญานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2552
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ประเทศชาติจะมีการพัฒนาที่ยั่งยืนไดในอนาคต ขึ้นอยูกับประชากรเด็กที่มีความสมบูรณ ทั้งทาง รางกายและจิตใจ การสงเสริมใหเด็กทุกคนมีพัฒนาการที่เหมาะสมไปตามวัยถือเปนสิ่งที่สําคัญ เนื่องจาก พัฒนาการทุกชวงวัยมีความตอเนื่อง และสงผลกระทบถึงกันเมื่อเด็กเติบโตขึ้น แตเด็กบางคนใชวาจะมีโอกาส เชนนี้โดยเฉพาะเด็กที่มีลักษณะเบี่ยงเบนจากปกติไปมากในมิติตางๆของพัฒนาการ เชน สติปญญา รางกาย อารมณ สังคม (ศรีเรือน แกวกังวาน, 2540 : 334) เด็กออทิสติกเปนเด็กกลุมหนึ่งมีความบกพรองของ พัฒนาการหลายดาน ไดแกความบกพรองในการสื่อสาร ความบกพรองในจินตนาการ ความบกพรองในการมี ปฏิสัมพันธทางสังคม และมีการแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ (Dalton and Forman, 2000 : 87-88) ; (Dingle and Dulcan, 1998 : 586-587) ; ( Polin and ditmar, 1997 : 40) ; (shaner, 2000 : 44-45 ) ; (Teplin, 1999 : 591) มีขอมูลมากมายเกี่ยวกับวิธีการตางๆ เพื่อใชในการบําบัดรักษาเด็กออทิสติก โดยมี จุดมุงหมายเพื่อชวยใหเด็กสามารถมีพัฒนาการไดใกลเคียงหรือเทียบเทาเด็กปกติ (Kaplan and Sadock, 1998 : 1187) ; (Howlin, 1998 : 5) ; (Richard, 2000 : 5) เด็กออทิสติกจะมีปญหาเกี่ยวกับการรับความรูสึกและการรับรู(Sensory and Perceptual Problems) ในเรื่องของการไดยิน การเห็น การรับสัมผัส การดมกลิ่น และการรับรส ( Attwood, 1993 : 35-45) ; (American Psychaitric Association, 1996 : 67-68 ) ; (Roger and other, 2001 : 166 ) ; (Teplin, 1999 :593 ) ซึ่งสามารถสังเกตเห็นความผิดปกติเหลานี้ไดชัดเจน ในกรณีที่เด็กมีปญหา เกี่ยวกับ การรับ ความรูสึ ก การบํ าบัดโดยใชห ลัก การผสมผสานการรับ ความรูสึก เปนวิ ธีก ารหนึ่ ง ซึ่ง มี รายงาน ผลการวิจัยจํานวนมากพบวาไดผลดีตอเด็กคือเปนการเพิ่มกระบวนการการรับความรูสึก และการ เคลื่อนไหว ( Motor, Sensory processing) และเพิ่มทักษะทางวิชาการ แตยังไมสามารถสรุปผลชี้ชัดได (Cohn, 2001 : 285) และ ในประเทศไทยมีการศึกษาเรื่องนี้นอยมาก กิจกรรมบําบัดดวยวิธีการรับ ความรูสึกและการเคลื่อนไหว(Sensorimotor Approach) เชน กิจกรรมบําบัดดวยหลักการผสมผสานการรับความรู (Sensory Integration Therapy) มี พื้ น ฐานจาก ทฤษฎีการผสมผสานความรูสึก (Sensory Integration Theory) ซึ่งคิดขึ้นโดยแอร( Ayres, 1989 ) นัก กิจกรรมบําบัดชาวอเมริกัน เปนการศึกษาเกี่ยวกับการทํางานของระบบประสาท การที่บุคคลสามารถปรับตัว
117
117เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
ตอสิ่งแวดลอมเพื่อการดํารงชีวิตอยางอิสระมีกระบวนการรับความรูสึก (Registration) มีการ ผสมผสาน ขอมูลความรูสึก (Integration) และมีการแสดงออกของพฤติกรรมการปรับตัว (Adaptive Response) โดย หลักการวาพัฒนาการของมนุษยนั้นเกิดขึ้นอยางเปนขั้นเปนตอน (Sequence) การทํางานระบบประสาท สวนกลาง (Central Nervous System) มีขั้นตอนและขึ้นตอกัน ขอมูลจากอวัยยะรับสัมผัสชนิดใดก็ตามจะ สงผลกระทบตอรางกายทุกสวน (สรอยสุดา วิทยากร, 2544 : 47-56) เด็ก ออทิส ติก สวนมากมีก ารรับ ความรูสึกจากประสาทสัมผัสตางๆ ที่ตางๆไปจากปกติซึ่งเปนผลจากการทําหนาที่ของสมอง การบําบัดดวยวิธี นี้ไดรับความสนใจอยางมาก ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของกิจกรรมการกระตุนการรับ ความรูสึก และการ เคลื่อนไหวที่มีตอแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ของเด็ก ออทิ สติก เพื่อชวยพัฒนาใหเด็กเต็มศักยภาพ 1.1 วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลการใชกิจกรรมการกระตุนการรับความรูสึก และการเคลื่อนไหวที่มีตอแสดงพฤติกรรม ซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ของเด็กออทิสติก 1.2 ระเบียบวิธีการวิจัย แบบแผนการวิจัย เปนการวิจัยแบบ Single Subject Design รูปแบบ ABA Design หลายเสนฐานขามพฤติกรรม (Multiple Baseline Across Behavior) ( Lear, 1995 : 387,396) กราฟแสดงแบบแผนการทดลองแบบ ABA Design หลายเสนฐานขามพฤติกรรม เปนการสังเกต และบันทึกพฤติกรรม 3 พฤติกรรมของตัวอยางที่ศึกษาในเวลาเดียวกัน ไดแก 1. การแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ความถี่ของพฤติกรรม 100 ระยะที่ 1 (A1) 50
ระยะที่ 2 (B)
ระยะที่ 3 (A2)
ความถี่ของพฤติกรรม 100 118
118่ 2 (B) ระยะที
ระยะที่ 1 (A1)
งานวิจัยทางการศึ ระยะที่ 3 (A2)กษาพิเศษ
50
0 0
4
14 4
18 18
14 ครัครั� งที้งที� ่
ปฏิสัมพันธกับผูใหญ 2.การมี ความสามารถในการสบตา ความถี ความถี่ข่ของพฤติ องพฤติกกรรม รรม 100 100 ระยะที่ 1่ 1(A1)(A1) ระยะที
ระยะที่ 2่ 2(B)(B) ระยะที
ระยะที่ 3่ 3(A2)(A2) ระยะที
5050
00
44
14 14
1818
ครั้ง้งทีที่ ่ ครั ระยะปฏิA1สัมพัหมายถึ การมี นธกับผูใงหญระยะเสนฐาน ยัง ไมมีก ารฝก ตัวอยางที่ศึกษา ทําการสัง เกต และ บันทึก พฤติกรรมสัปดาห ละ่ข1องพฤติ ครั้ง รวม ความถี กรรม4 สัปดาห 100 ระยะที่ 1 (A1)
ระยะที่ 2 (B)
ระยะที่ 3 (A2)
50
0
4
14
18
ครั้งที่ ระยะ A1 หมายถึง ระยะเสนฐาน ยัง ไมมีก ารฝก ตัวอยางที่ศึกษา ทําการสัง เกต และ บันทึก พฤติกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 4 สัปดาห
119เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
119
ระยะ B1 หมายถึง ระยะที่ใหตัวแปรอิสระ ทําการฝกตัวอยางที่ศึกษาดวยชุดแบบฝกกระตุน การ รับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว ทําการสังเกต และบันทึกพฤติกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 10 สัปดาห ระยะ A2 หมายถึง ระยะถอดถอน หยุดทําการฝกตัวอยางที่ศึกษา ทําการสังเกต และ บันทึก พฤติกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 4 สัปดาห ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากร คือ เด็กออทิสติก เพศชาย อายุ 10 ป ไดรับการวินิจฉัยจากนักกิจกรรมบําบัดวา มีภาวะ ความบกพร อ งของการรั บ ความรู สึ ก และ การเคลื่ อ นไหวมี ป ญ หาเกี่ ยวกั บ การแสดงพฤติ ก รรมซ้ํ า ๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยาง คือ เด็กออทิสติกเพศชาย อายุ 10 ป ไดรับการวินิจฉัยจากนักกิจกรรมบําบัดวา มีภาวะความบกพรองของการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวมีปญหาเกี่ยวกับการแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ จํานวน 1 คน ทําการเลือกตัวอยางโดยการเจาะจง ตัวอยางที่ศึกษามีภูมิลําเนาอยูจังหวัดกรุงเทพฯ เรียนอยูชั้นอนุบาล 2 โดยขณะนี้เรียนอยูในโรงเรียน การศึกษาพิเศษเฉพาะทาง ไมสามารถที่อานได สื่อสารไดบางโดยใชรูปภาพ การชี้นิ้ว ไมสามารถที่จะ เขียนได ไมเคยไดรับการฝกการปรับพฤติกรรมจากโรงพยาบาล หรือศูนยกระตุนพัฒนาการใดเลย ไมมี โรคประจําตัว เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก 1. ชุดแบบฝกกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และการเคลื่อนไหวโดยนักกิจกรรมบําบัด 2. อุปกรณการสังเกต และแบบบันทึกพฤติกรรมเกี่ยวกับการแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ชุดแบบฝกกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และการเคลื่อนไหวโดยนักกิจกรรมบําบัด ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ 1. ศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมบําบัดดวยวิธีการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว (Sensorimotor Approach) โดยเฉพาะทฤษฎีการผสมผสานการรับความรูสึก (Sensory Integration Theory) ของแอร และ การนําทฤษฎีนี้มาเปนกรอบอางอิงในการบํา บัดเด็กออทิสติก นําเด็กออทิสติกตรวจวินิจฉัย ประเมิน
120
120
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ความบกพรองของกระบวนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว วางแผนถึงแนวทางการแกไข ลักษณะของ กิจกรรมที่ใชในการบาบัด 2. ผูวิจัยคิดชุดกิจกรรมการฝกซึ่งเปนกิจกรรมเฉพาะสําหรับตัวอยางที่ศึกษาเทานั้น ชุดกิจกรรมนี้ ผูวิจัยคิดขึ้นโดยทําการสํารวจทรัพยากร และจัดหาทรัพยากรเพิ่มเติมที่จําเปนในการฝก 3. นําชุดกิจกรรมการฝกที่คิดขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเพื่อดูความเหมาะสมของชุดกิจกรรม การฝกกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหววามีความเฉพาะเจาะจงกับลักษณะของตัวอยาง ที่ใชในการวิจัย แกไขปรับปรุงตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ ลักษณะของชุดฝกกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว เปนกิจ กรรม เพื่อการ กระตุนระบบประสาทสัม ผั ส พื้นฐานทั้ง 5 ดาน แตจ ะใหความสํา คั ญ กับ ระบบการทรงตัว (Vestibular System) ระบบกลามเนื้อเอ็นขอ ( Proprioceptive System ) และระบบการรับสัมผัส (Tactile System) กิจกรรมที่ทําทุกครั้งเมื่อเริ่มตน และสิ้นสุดการฝก คือ การแปรงดวยวิธีของวิลบารเกอร (Wilbarger ‘s Brushing Protocol) ซึ่งเปนการกระตุนระบบการสัมผัส และระบบกลามเนื้อเอ็นขอเพื่อลดภาวการณ ตอบสนองตอตัวกระตุนการรับความรูสึกที่มากกวาปกติ (Sensory Defensiveness) มีวิธีการแปรง คือ ใช แปรงที่ขนไมออน หรือแข็งเกินไป เวลาแปรงตองไมเกิดการสัมผัสแผวเบา (Light Touch) และตองไม มีรอยขูด ขีดบนผิวหนังโดยตรง หามแปรงบริเวณศีรษะ ทอง และ บริเวณ ผิวหนังที่เปนแผล จากนั้นตามดวย การกดบริเวณขอตอตางๆ ( Gentle Joint Compression ) ตําแหนงละ 10 ครั้ง คือที่ ไหล ขอศอก ขอมือ นิ้วมือ สะโพก เขา ขอเทา และนิ้วเทา (สุภาวดี มั่นเขตวิทย,2544 : 24-25) ; (Schneck, 2001 : 146) กิจกรรมอื่นๆ ไดแก - โยกหมอนกลม (Bolster Swing) - ไกวชิงชา - ขี่จักรยาน - ไถสกูตเตอรบอรด - การสัมผัสพื้นผิวลักษณะตางๆ - การกลิง้ ตัว - การลื่นไถล - การเดิน - การวิ่ง - การบีบ
121
121เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ - การดึง - การปนปาย (Rogers, 2001 : 186-196) นํากิจกรรมยอยตางๆ เหลานี้มาใชรวมกันเพื่อออกแบบเปนชุดฝกกิจกรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และ การเคลื่อนไหว จํานวน 10 กิจกรรม ไดแก การแปรง การทาโลชั่น การกลิ้งตัว การนวดแปง การเดินทรงตัว การเลนเครื่องเลนสนาม การเลนบอบอล การลอดทออุโมงค การ
กระโดดแทมโพลีน การตักลูกปงปอง โดยผูฝกใชเวลาในการฝกเด็กแตละวันรวมเวลาทั้งหมดประมาณ 45 นาที โดยฝกติดตอกัน หรือ ฝกไปหยุดพักไป ทําการฝกจํานวน 5 วันตอสัปดาห และทุกสัปดาหจะทําการ ประเมินพฤติกรรม และวิเคราะหความเหมาะสมของกิจกรรม การเลือกกิจกรรมในการฝกแตละครั้งไมเหมือนกัน โดยพิจารณาจากปญหากระบวนการ รับความรูสึกที่มีในขณะนั้น เลือกกิจกรรมตามความตองการ และความสนใจของเด็กสงเสริมใหเด็ก มีการเคลื่อนไหวดวยตนเอง มีความกระตือรือรน มีสวนรวม และอยากทํากิจกรรมตางๆ ดวยแรงจูงใจ ของตนเอง (Ayres, 1989 : 15, 100, 140, 142) ตัวอยางการบันทึกกิจกรรมที่ใชฝกแตละครั้ง วันที่
เวลา
กิจกรรม
2/11 /52 1. การแปรง 2. การเดินทรงตัว 3. การนวดแปง
5 30 10
(นาที)
ขอสังเกต - ชอบใหแปรง - ทรงตัวไดดีแตยังหลบสิ่งกีด
หมายเหตุ - ทําทุกครั้ง
ขวางไดไมคลอง - ถามือเลอะจะเช็ดออกทันที
หมายเหตุ กิจกรรมแตละครั้งจะไมเหมือนกัน ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ 1. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับเด็กออทิสติก และการแสดงพฤติกรรมตางๆ ไดแก พฤติกรรมซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการสังเกต และ บันทึก พฤติกรรม เลือกวิธีการเหมาะสมกับตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ เลือกการสังเกตพฤติกรรมเปาหมายโดยการ บันทึกดวยวีดีทัศน ใชการสังเกต และการบันทึกพฤติกรรมแบบชวงเวลา สังเกตพฤติกรรมครั้งละ 10 นาที แบงชวงเวลาเปน 20 ชวง ๆ ละ 30 วินาที สังเกตพฤติกรรมสัป ดาหละ 1 ครั้ง (Case- Smith and Bryan, 1999 : 491-492) 2. จัดเตรียมกลองถายวีดที ัศน
122
122
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
3. จัดทําแบบบันทึกพฤติกรรมแบบชวงเวลา (สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต, 2539 : 73) นําไปให ผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาตรวจสอบคุณภาพของการสังเกต และ บันทึกพฤติกรรม นํามาแกไขปรับปรุงตาม คําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ ตัวอยางการบันทึกพฤติกรรม แบบบันทึกชวงเวลาของการเกิดพฤติกรรม (ในเวลา 10 นาที แบงเปน 20 ชวง ๆ ละ 30 วินาที) วันที่ .............. ครั้งที่สังเกต................................... ชื่อผูสังเกตพฤติกรรม.............................................. เริ่มสังเกตพฤติกรรมเวลา...........................................สิ้นสุดเวลา......................................................... พฤติกรรมที่สังเกต ไดแก 1. การแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ชวงเวลาที่ 1
2
3
4
5
6
7
8
9
10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
8
9
10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
8
9
10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
2. ความสามารถในการสบตา ชวงเวลาที่ 1
2
3
4
5
6
7
3. การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ชวงเวลาที่ 1
2
3
4
5
6
7
(เมื่อมีพฤติกรรม ใสเครื่องหมายตามที่กําหนดไว ( )) (ไมมีพฤติกรรม ใส 0) สรุปผลการสังเกตพฤติกรรม 1. การแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ
= ………………….. ชวงเวลา
2. ความสามารถในการสบตา = ………………….. ชวงเวลา 3. การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ = ………………….. ชวงเวลา ขอสังเกต............................................................................................. หมายเหตุ............................................................................................ ปญหา และ อุปสรรค............................................................................
123 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
123
วิธีการดําเนินการทดลอง กอนเริ่มทําการทดลอง มีขั้นตอน ดังนี้ 1. ผูวิจัยขอใหทางโรงเรียนออกหนังสือเพื่อเรียนเชิญผูเชี่ยวชาญกิจกรรมบําบัดเปนผูตรวจสอบ คุณภาพของชุดแบบฝกกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว และเรียนเชิญผูเชี่ยวชาญ จิตวิทยาเปน ผูตรวจสอบคุณภาพของการสังเกต และบันทึกพฤติกรรมแบบชวงเวลา 2. ผูสังเกตพฤติกรรม คือ ครูการศึกษาพิเศษ และนักกิจกรรมบําบัด(ผูวิจัย) ฝกการสังเกต และ บันทึกพฤติกรรมเปาหมายกอนลงมือเก็บขอมูลจริงเพื่อดูความชัดเจนของพฤติกรรมเป าหมาย และแกไข ขอบกพรองตางๆ ที่เกิดขึ้น (McQueen and Knussen, 1999 : 235) หาความเที่ยงระหวางผูสังเกต 2 คน โดยใชคาแคปปา (K) โดยไดคามากกวา 0.6 ขึ้นไป 5 ครั้งติดตอกัน (สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต, 2539 : อางอิงจาก Cooper, Heron and Heward, 1987) ดําเนินการทดลอง ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง 18 สัปดาห แบงเปน 3 ระยะ คือ 1. ระยะเสนฐาน (ระยะ A1) ยังไมมีการฝกตัวอยางที่ศึกษา ทําการสังเกต และบันทึกพฤติกรรม สัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 4 สัปดาห 2. ระยะทดลอง (ระยะ B) ผูวิจัยทําการฝกเด็กดวยชุดแบบฝกกระตุนการรับความรูสึก และการ เคลื่อนไหว สัปดาหละ 5 วันวันละ 45 นาที ทุกสัปดาหจะประเมินความกาวหนาของเด็ก และความเหมาะสม ของกิจกรรมที่ฝก สังเกต และบันทึกพฤติกรรม สัปดาหละ 1 ครั้ง เปนระยะเวลา 10 สัปดาห 3. ระยะถอดถอน (ระยะ A2) หยุดทําการฝกตัวอยางที่ศึกษา ทําการสังเกต และบันทึก พฤติกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 4 สัปดาห การรวบรวมขอมูล รวบรวมจากการสังเกตพฤติกรรมดวยวิธีการดังนี้ 1. ใชวีดีทัศนบันทึกพฤติกรรมของเด็กเปนเวลา 10 นาที ที่หองฝกเปนชวงที่เด็กไดเลน หรือทํากิจกรรมที่ชอบ หรือ กําหนดใหไดอยางเสรี และมีผูบําบัดอยูดวย โดยจัดสภาพแวดลอม สถานการณ เวลา และสถานที่คงเดิมทุกครั้งในการบันทึกพฤติกรรม 2. นําวีดีทัศนมาสัง เกตพฤติกรรมโดยผูสัง เกต 2 คน คือนักกิจกรรมบําบัด (ผูวิจัย) และครู การศึกษาพิเศษ เปนผูบันทึกลงในแบบบันทึกพฤติกรรมที่เตรียมไว
124
124 3.
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
การสังเกต และบันทึกพฤติกรรมจะแบงเวลา 10 นาที ออกเปน 20 ชวง ชวงละ 30 วินาที
ผูสังเกตหยุดภาพในวีดีทัศนทุก 30 วินาที และทําการสังเกตพฤติกรรมเปาหมายทุกพฤติกรรมไปพรอมกัน การวิเคราะหขอมูล 1. ขอมูลที่ไดจากการบันทึกพฤติกรรมของผูสังเกต นํามาหาคาความเที่ยงระหวางผูสังเกต 2 คน โดยใชคาแคปปา (K) ซึ่งคํานวณไดจากสูตร (𝑃𝑜 − 𝑃𝑐 ) 𝐾= (1 − 𝑃𝑐 ) Po คือ สัดสวนของความสอดคลองระหวางการเกิด และไมเกิดพฤติกรรมหาไดจากการนําผลบวก ของความสอดคลองของจํานวนชวงเวลาของการเกิด และไมเกิดพฤติกรรมระหวางผูสังเกต หารดวยจํานวน ชวงเวลาที่สังเกตทั้งหมด Pc คือ สัดสวนของความสอดคลองที่คาดหวัง ซึ่งอยูบนพื้นฐานของความบังเอิญ หาไดจากการเอา ผลคูณของชวงเวลาที่เกิดพฤติกรรมของผูสังเกตทั้ง 2 คน แลวหารดวยชวงเวลาที่สังเกตทั้งหมดยกกําลังสอง (สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต, 2539 : 82 ; อางอิงจาก Cohen, 1995) 2. ขอมูลจากการบันทึกพฤติกรรมเปนจํานวนชวงเวลาที่มีพฤติกรรมเปาหมายเกิดขึ้นทําเปนคารอย ละของจํ า นวนช ว งเวลา นํ า ข อ มู ล มาแสดงด ว ยกราฟ สรุ ป ผลการวิ จั ย โดยการวิ เ คราะห ท างสายตา (Visual Analysis) (Personson and Baer, 1992 : 15-38) และการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรอยละของ จํานวนชวงเวลาในแตละระยะของการทดลอง สถิติที่ใช สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือคารอยละ คาเฉลี่ย และหาคาความเที่ยงระหวางผูสังเกต 2 คน (แคปป า ) แสดงผลการวิ จั ย ดว ยกราฟ วิ เ คราะห ข อ มู ล โดยการวิ เ คราะห ด วยสายตา และการ เปรียบเทียบคาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่มีพฤติกรรมในการทดลองแตละระยะ 1.3 ผลการศึกษา ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดเปนจํานวนชวงเวลา นํามาทําเปนคารอยละของจํานวนชวงเวลาในการ สังเกต และ บันทึกแตละครั้ง หาคาเฉลี่ยของจํานวนชวงเวลาในแตละระยะการทดลอง ทําเปนคาเฉลี่ย รอยละของจํานวนชวงเวลา ของพฤติกรรมเปาหมาย 3 พฤติกรรม แสดงผลการทดลองดังนี้
125เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
125
จากภาพประกอบ 1 แสดงวาคาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่เกิดพฤติกรรมซ้ําๆ ในระยะที่ 1 (A1) มีคาเทากับ 67.5 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 32.0 ซึ่งมีคาลดลงสอดคลองกับสมมติฐานขอที่ 1 ที่กําหนดวา เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกกระตุนดวยกิจกรรมการรับความรูสึก และการเคลื่อนไหวมีพฤติกรรมซ้ําๆ ลดลง ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่เกิดพฤติกรรมซ้ําๆมีคาเทากับ 42.5 ซึ่ง เพิ่มขึ้นจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหพฤติกรรมซ้ําๆ เพิ่มมากขึ้น เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวมีพฤติกรรม ซ้ําๆ ลดลง
จากภาพประกอบ 2 แสดงวาคาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีความสามารถในการสบตาในระยะที่ 1 (A1) มีคาเทากับ 35 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 71 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้น สอดคลองกับสมมติฐานขอที่ 2 ที่กําหนดวาเด็ก ออทิสติก ที่ไดรับ การฝก ดวยกิจ กรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และการเคลื่อนไหว มี ความสามารถในการสบตาเพิ่มมากขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีความสามารถในการสบตา มีคาเทากับ
126
126
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
60 ซึ่งลดลง จากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหความสามารถในการ สบตาลดลง และมีแนวโนมลดลง เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวมี ความสามารถในการสบตาเพิ่มขึ้น
ภาพประกอบ 3 แสดงวาคาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ในระยะที่ 1 (A1) มีคาเทากับ 32.5 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 68 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้น สอดคลองกับสมมติฐานขอที่ 3 ที่กําหนด วาเด็กออทิสติกที่ไดรับ การฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และการเคลื่อนไหว มีปฏิสัมพันธกับ ผูใหญเพิ่มมากขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีปฏิสัมพันธกับผูใหญ มีคาเทากับ 5 7.5 ซึ่ง ลดลง จากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝก แลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาห การมีปฏิสัมพันธกับ ผูใหญ ลดลงและมีแนวโนมคงที่ เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวมีปฏิสัมพันธ กับผูใหญเพิ่มมากขึ้น 1.4 สรุปและการวิจารณ สรุปผล 1. เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึกและการเคลื่อนไหว มีการแสดง พฤติกรรมซ้ําๆ ลดลง 2. เด็ก ออทิส ติก ที่ไดรั บ การฝก ดว ยกิจ กรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และการเคลื่อนไหว มี ความสามารถในการสบตาเพิ่มมากขึ้น
127
127 127 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ เศษ
127
ดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรู และการเคลื ัมจพัจกรรมกระตุ นกรรมกระตุ ธ ออทิ ับการฝ การฝมีกกปดดฏิววสยกิ ยกิ การรับบความรู ความรูสสึกึกและการเคลื และการเคลื่อ่อนไหว นไหวมีมีปปฏิฏิสสัมัมพัพันนธธ 3.3.เด็เด็สกกึกออทิ สสติติกกทีที่ไ่ไดดร่อรับนไหว นนการรั หญเเพิพิ่ม่มมากขึ มากขึ้น้น กักับบผูผูใใหญ การวิจจารณ ารณ//อภิ อภิปปรายผล รายผล การวิ
ายุ 10 ป พบวาเด็กมีพฤติกผลการศึ รรมซ้ ําๆกกษากั ลดลง วามสามารถในการ ผลการศึ ษากับบเด็เด็มีกคกออทิ ออทิสสติติกกอายุ อายุ 10 10 ปป พบว พบวาาเด็เด็กกมีมีพพฤติ ฤติกกรรมซ้ รรมซ้ําําๆๆ ลดลง ลดลง มีมีคความสามารถในการ วามสามารถในการ ใหญเพิ่มมากขึ้น สอดคล องกั่ม่มบมากขึ ผลการศึ กษาของแมคเคลี โฮลท สบตาเพิ มากขึ และมี หญ มากขึ้น้นสอดคล สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของแมคเคลี ษาของแมคเคลียยและ และโฮลท โฮลท-สบตาเพิ ้น้นและมี ปปฏิฏิสสัมัมพัพันนธธกกยับับและ ผูผูใใหญ เเพิพิ่ม่ม-มากขึ
1) ซึ่งศึกษาในเด็กออทิ ติ(McClure กอายุ 13and ป พบว าพฤติกรรมการทํ ยอทส(McClure and Holz-Yotz, 1991) ซึาซึ่งร่งศึาศึกยกษาในเด็ ษาในเด็กกออทิ ออทิสสติติกกอายุ อายุ 13 13 ปป พบว พบวาาพฤติ พฤติกกรรมการทํ รรมการทําารราายย ยอท Holz-Yotz, 1991) เพิ่มมากขึ้น สอดคลตนเองลดลง องกับผลการศึ กษาของโรเซนทาล-มาเลก ตนเองลดลง และมี างสังงคมเพิ คมเพิ่มและมิ ่มมากขึ มากขึ้น้น สอดคล สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของโรเซนทาล-มาเลก ษาของโรเซนทาล-มาเลก และมิ และมิ และมี ปปฏิฏิสสัมัมพัพันนธธททางสั ศึกษาในวัยรุนออทิสทเชล ติทเชล กอายุ(Rosenthal-Michell, เฉลี่ย 15 ป พบวาพฤติ กรรมการกระตุ นยยรุรุนนออทิ (Rosenthal-Michell, 1997) ษาในวั ออทิสสติติกกอายุ อายุเเฉลี ฉลี่ย่ย 15 15 ปป พบว พบวาาพฤติ พฤติกกรรมการกระตุ รรมการกระตุนน 1997) ซึซึ่ง่งศึศึกกษาในวั
ศึกษาของลาริงตัน ตนเองลดลง (Larrington,และสอดคล 1987) ซึ่งศึอกองกั ษาในวั ยรุนออทิ สติก งงตัตันน (Larrington, ตนเองลดลง และสอดคล งกับบผลการศึ ผลการศึ ษาของลาริ (Larrington, 1987) 1987) ซึซึ่ง่งศึศึกกษาในวั ษาในวัยยรุรุนนออทิ ออทิสสติติกก กกษาของลาริ สมลดลง สงบมากขึอายุ ้นอายุ มีค15 วามตื ่นพบว ตั วามากขึ (Alert) และสามารถทํ 15 าพฤติ พฤติก้นกรรมที รรมที หมาะสมลดลงาสงบมากขึ สงบมากขึ้น้น มีมีคความตื วามตื่น่นตัตัววมากขึ มากขึ้น้น (Alert) (Alert) และสามารถทํ และสามารถทําา ปป พบว ่ไ่ไมมเเหมาะสมลดลง
hneck, 2001 : 147, 171) กล กิจกรรมบํ าบัดด(Schneck, วยวิธีการรั2001 บ2001 :: 147, กรรมที ุดมุมุงางหมายได หมายได ซแนก (Schneck, 147, 171) 171) กล กลาาววววาา กิกิจจกรรมบํ กรรมบําาบับัดดดดววยวิ ยวิธธีกีการรั ารรับบ กิกิจจกรรมที ่ม่มีจีจาุดวว ซแนก ธีที่เหมาะสมในการบํ า บัดเด็ ติก และวั่อ่อยนไหวเป รุนออทินนสวิวิติธธกีทีททํี่เี่เหมาะสมในการบํ าหมาะสมในการบํ ใหมี ความรู และสการเคลื การเคลื นไหวเป ออทิสสติติกกและวั และวัยยรุรุนนออทิ ออทิสสติติกกทํทําาให ใหมมี ี ความรู สสึกึก ออทิ และ าาบับัดดเด็เด็กกออทิ
ารดูแลตนเอง (Self-care) การเล วงความสนใจ( นาการเพิ ในด นตาางๆ งๆ คืคืออAttention) การดูแแลตนเอง ลตนเอง (Self-care) (Self-care) การเล การเลนนชชววงความสนใจ( งความสนใจ( Attention) Attention) พัพัฒฒนาการเพิ ่ม่มขึขึ้น้นชในด าานต การดู การพัฒนาการทํางานของสมองการศึ ะทํ ในเด็กเล็ฒฒกนาการทํ พฤติกกรรม รรม และปฏิ และปฏิกสสษาส ธททางสั างสังจงคม คมาในการพั ในการพั นาการทําางานของสมองการศึ งานของสมองการศึกกษาส ษาสววนใหญ นใหญจจะทํ ะทําาในเด็ ในเด็กกเล็เล็กก พฤติ ัมัมพัพันนวธนใหญ กพรอง แตในการวิจคืคืัยออครัตัตั้ง้งนีแต ้ เศึเริริก่ม่มษาในเด็ ตินาการบกพร กอายุ 10 ปออแอร แต พบวาาเด็เด็กกกออทิ แตใในการวิ นการวิจจัยัยครั ครั้ง้งนีนี้ ้ ศึศึกกษาในเด็ ษาในเด็กกออทิ ออทิสสติติกกอายุ อายุ 10 10 ปป แอร แอร พบว มีมีพพัฒัสฒนาการบกพร งง แต
ดกลาววา เมื่อเด็กอายุ(Ayres, 10 ป 1989 การเจริ เติ อกล การรั (Ayres, 1989 ::ญ45) 45)บนัโตของการเชื นักกกิกิจจกรรมบํ กรรมบํ่อาาบัมต บัดดกล อายุ 10 10 ปป การเจริ การเจริญญเติเติบบโตของการเชื โตของการเชื่อ่อมต มตออการรั การรับบ าาววววาบา เมืเมื่อ่อเด็เด็กกอายุ nection) เกือ บสมบู ร ณสสึกหรื ร ณ แล ว ฮุInterconnection) บInterconnection) เนอร และ ดั น น เกืเกืออบสมบู ความรู ึก ((อ สมบูSensory Sensory บสมบูรรณณ หรื หรืออสมบู สมบูรรณณแแลลวว ฮุฮุบบเนอร เนอร และ และ ดัดันนนน ความรู
) กลาววากิจกรรมบํ(Huebner า(Huebner บัดดวยวิธand ีกand ารรัDunn, บDunn, ความรู2001 สึกและการเคลื ่อกลนไหว 2001 22-24) กล กรรมบําาบับัดดดดววยวิ ยวิธธีกีการรั ารรับบความรู ความรูสสึกึกและการเคลื และการเคลื่อ่อนไหว นไหว :: 22-24) าาววววาากิกิจจกรรมบํ กการวาประสบการณ(Sensorimotor การรับความรูสึกApproach) และการเคลื (Sensorimotor Approach)่อนันันไหว การวาาประสบการณ ประสบการณกการรั ารรับบความรู ความรูสสึกึกและการเคลื และการเคลื่อ่อนไหว นไหว (Sensory (Sensory ้น้นมีมีหหลัลั(Sensory กกการว
โครงสรางของเซลลand สand มองMotor (NeuralExperiences) Structure) และส ผลตามมาต Motor Experiences) จะมีผงผลต ลตออโครงสร โครงสรอาางของเซลล งของเซลลสสมอง มอง (Neural (Neural Structure) Structure) และส และสงงผลตามมาต ผลตามมาตออ จะมี ของเด็ ก โตและผู ใการแสดงพฤติ หญ ยั ง คงมี ส มบักกตรรม ิ นิ ว รอลพลาสติ ซิ ตี้ (Neuralกกโตและผู การแสดงพฤติ รรม แตพพบว บวาาสมองของเด็ สมองของเด็ โตและผู ใ ใหญ หญยยั งั งคงมี คงมีสสมบั มบัตติ นิ นิ วิ วรอลพลาสติ รอลพลาสติซซิ ติ ตี้ ี้ (Neural (Neural แต การปรับเปลี่ยนการทํPlasticity) างานของเซลล ประสาทอยู เชนกัน Plasticity) หมายถึ ความสามารถในการปรั เปลี่ย่ยนการทํ นการทําางานของเซลล งานของเซลลปประสาทอยู ระสาทอยูเเชชนนกักันน ซึซึ่ง่งหมายถึ งงความสามารถในการปรั บบเปลี
ะของจํานวนชวงเวลาที่เกิดพฤติ กรรมซ้ ลดลงในระยะที ่ อย งที่ศ่ศําึกึกๆษามี ษามี เฉลี่ย่ยรรออยละของจํ ยละของจํ นวนชววงเวลาที งเวลาที่เ่เกิกิดดพฤติ พฤติกกรรมซ้ รรมซ้ําําๆๆ ลดลงในระยะที ลดลงในระยะที่ ่ ตัตัววอย าางที คคาาเฉลี าานวนช ความรูสึกและการเคลื องกับผลการศึ กษาของนิ รุทสสติึกึก์ และการเคลื ับการฝ การฝซึกก่งดสอดคล ดววยกิ ยกิจจกรรมกระตุ กรรมกระตุ การรั ความรู และการเคลื่อ่อนไหว นไหวซึซึ่ง่งสอดคล สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของนิ ษาของนิรรุทุทติติ์ ์ ไดไดร่อรับนไหว นนการรั บบความรู
5) สอดคลองกับผลการศึ กษาของจาง : 162; สอดคล อมรคณารั และ(Schneck,2001 าพร ชิชินนชัชัยย (2545) (2545) สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของจาง ษาของจาง (Schneck,2001 (Schneck,2001 ::162; 162; อมรคณารั ตตนน และ สุสุภภาพร งกับผลการศึกษาของ เคส-สมิ ท และไบรอั (Case-Smith and citing Jang, 1996) นและ และ สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของ ษาของ เคส-สมิ เคส-สมิทท และไบรอั และไบรอันน (Case-Smith (Case-Smith and and citing Jang, 1996) สอดคล
พฤติกรรมซา ๆของ Bryan, เด็ กออทิ1999 ส1999 ติกเปน:: การปรั Bryan, 495) ซึบซึ่งแต ่งอธิ อธิงบกระแสประสาท( บายว ายวาาพฤติ พฤติกกรรมซ รรมซาา ๆของ ๆของ เด็เด็กกออทิ ออทิสสติติกกเปเปนนการปรั การปรับบแต แตงงกระแสประสาท( กระแสประสาท( 495) Arousal) บาราเน็ ก ฟอสเตอร และเบอร น ่น่นตัตัวว (( Arousal) ในระบบการรั ความรู ภาวะตื Arousal) บาราเน็ บาราเน็กก ฟอสเตอร ฟอสเตอร และเบอร และเบอรกกสัสันน พื่อเพิ่มภาวะตื่นตัว (Modulate) Modulate) ในระบบการรั บบความรู สสึกึกเพืเพื่อ่อเพิเพิก่ม่มสัภาวะตื
128
128
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
(Baranek, Foster and Berkson, 1997) พบวา ภาวะการตอบสนองการรับความรูสึกทางการสัมผัสที่ มากกวาปกติ (Tactile Defensiveness) มีความสัมพันธกับพฤติกรรมซ้ําๆ ซึ่งมักพบวาสัมพันธกับลักษณะ ออทิสติก ตัวอยางที่ศึกษามีคาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่มีความสามารถในการสบตาเพิ่มขึ้นในระยะที่ ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว สอดคลองกับสมมติฐานการวิจัยที่ กําหนดให ซแนก ( Schneck, 2001 : 147, 171) กลาววา กิจกรรมบําบัดดวยวิธีการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวเปนวิธีที่เหมาะสมในการบําบัดเด็กออทิสติกและวัยรุนออทิสติกทําใหมี พัฒนาการเพิ่มขึ้นใน ดานตางๆ คือการดูแลตนเอง (Self-care) การเลน ชวงความสนใจ (Attention) พฤติกรรม และปฏิสัมพันธ ทางสังคม ในการพัฒนาการทํางานของสมอง ตัวอยางที่ศึกษามีคาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่มีปฏิสัมพันธกับผูใหญเพิ่มขึ้นในระยะที่ไดรับ การฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว สอดคลองกับผลการศึกษาของลินเดอร แมน และ สจวต ( Linderman and Stewart, 1999) และ สอดคลองกับผลการศึกษาของเคส-สมิท และไบรอัน ( Case-Smith and Bryan, 1999 : 496) ซึ่งอธิบายวาการมีปฏิสัมพันธมากขึ้นมีความสัมพันธ กับกระบวนการรับความรูสึก ( Sensory Processing) เพราะเด็ก สามารถตอบสนองตอผูใหญไดดีข้ึน สามารถจัดระเบียบ (Organize) ของการตอบสนอง และ สามารถแปลความหมาย (Interprete) ขอมูล ความรูสึกที่ซับซอนที่เกี่ยวของกับปฏิสัมพันธทางสังคมได ปฏิสัมพันธทางสังคมอาจเปนเรื่องยากสําหรับเด็ก ออทิสติก เพราะขอมูลความรูสึกทางสังคมมีมากมาย ทําใหระบบประสาทสวนกลางมีภาวะตื่นตัวมากเกินไป 1.5 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะทั่วไป ในการฝกเด็กนั้นควรมีการสังเกตเด็กตลอดเวลา และ อยาบังคับเด็กใหทําในสิ่งที่ไมชอบ มิลเลอร (Miller, 1998 : Online) อธิบายวาเปนสิ่งสําคัญที่ตองทําการสังเกตเด็กอยางระมัดระวัง และ ตองเคารพ ตอความชอบที่จะทํากิจกรรมของเด็ก ถาเด็กทําทาทางกลัว หรือ มีความยากลําบากในการทา กิจกรรมก็อยา บังคับเด็กเพราะพบไดเสมอๆ วาความกลัว หรือ ความยากลําบากนั้นมีพื้นฐานมาจากการทํางานของระบบ ประสาท และ เด็กไมสามารถใชจิตสํานึกควบคุมได (Concious Control) ชุดแบบฝก กิจ กรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และ การเคลื่อนไหว มีความเหมาะสมกับ เฉพาะ ตัวอยางที่ศึกษาเทานั้น ในกรณีเด็กออทิสติกรายอื่นควรไดรับคําแนะนําจากนักกิจกรรมบําบัดเปนเฉพาะราย ไป และในการฝกเด็กนั้นตองมีความรูความเขาใจ และทําอยางตอเนื่อง สรอยสุดา วิทยากร (2541 : 3-4) อธิบายวา เนื่องจากเด็กออทิสติกมีความสามารถ และ พฤติกรรมคอนขางแตกตางกัน ในการใหโปรแกรมทาง
129เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
129
กิจกรรมบําบัดนั้นควรคํานึงถึงปญหาเรงดวน ความรุนแรงของปญหารวมทั้งความสามารถพื้นฐานของเด็กแต ละคนดวย จึงจําเปนตองมีโปรแกรมการรักษาพิเศษสําหรับบุคคลแตละบุคคล ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรเปรียบเทียบจํานวนครั้งที่ใชในการฝกตอสัปดาหวามีผลแตกตางกันหรือไม 2. ควรศึกษาความคงทนของผลการบําบัด 3. ควรศึกษาทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติกจากการใชกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การ เคลื่อนไหว 2. บรรณานุกรม/เอกสารอางอิง บรรณานุกรม นิรุทติ์ อมรคณารัตน และ สุภาพร ชินชัย. (2545). “ผลของการกระตุนระบบ Tactile และ Vestibular ตอการลดพฤติกรรม Stereotyped ในเด็กออทิสติก,” ในบทคัดยอเสนอ ผลงานวิชาการการ ประชุมวิชาการระดับชาติเรื่อง ครู หมอ พอแม : มิติแหงการพัฒนา ศักยภาพบุคคลออทิสติก. หนา 88. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ศรีเรือน แกวกังกาล. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกชวงวัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ______. (2543). จิตวิทยาเด็กพิเศษ แนวคิดสมัยใหม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุภาวดี มัน่ เขตวิทย. (2544). “Addressing Sensory Issues in Children,” ในเอกสารการประชุม วิชาการสาขากิจกรรมบําบัด เนื่องในโอกาสคณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาปนาครบรอบ 25 ป. หนา 15-116. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ______. (2545, มกราคม-เมษายน). “เจตคติของนักกิจกรรมบาบัดตอการมีสวนรวมของผูปกครองใน การบําบัดรักษาทางกิจกรรมบาบัด,” วารสารกิจกรรมบาบัด. 7(1) : 23-30. สรอยสุดา วิทยากร. (2544, มกราคม-เมษายน). “กิจกรรมบาบัดสาหรับภาวะออทิสซึม,” วารสาร กิจกรรมบาบัด. 3(1) : 3-5. ______. (2544). “กรอบอางอิงการผสมผสานความรูสึกของสมอง (The Sensory Integrative Frame of Reference),” ในกรอบอางอิงในกิจกรรมบาบัดเด็ก . บรรณาธิการโดย วิไลวรรณ มณีจักร และคนอื่นๆ. หนา 47-124. เชียงใหม : คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ______. (2545). “กิจกรรมการสัมผัส-การเคลื่อนไหวรวมกับกิจกรรมทาง Sensory Integration ในเด็กออทิสติก,” ในบทคัดยอการเสนอผลงานวันวิชาการ การประชุมวิชาการระดับชาติเรื่อง
130
130
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ครู หมอ พอ แม : มิติแหงการพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติก. หนา 89. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. (2539). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. American Psychiatric Association. (1996). Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders. 4th ed. Washington DC : The American Psychiatric Association press. Attwood, T. (1993). Why Does Chris Do That ?. London : The National Autistic Society. Ayres, J. (1989). Sensory Integration and the Child. Los Angeles : western Psychological Services. Baranek, G. T., Reinhartsen, D. B. & Wannamaker, s.w. (2001). “Play : Engaging Young Children with Autism,” In Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by R. A. Huebner. P. 313-351. Gaithersburg : Aspen Publishers Baron-Cohen, S. & Bolton, P. (1993). Autism the Fact. London : The National Autistic Society. Case-Smith, J. & Bryan, T. (1999, September/October). “Occupational Therapy With Children With Pervasive Developmental Disorders,” American Journal of Occupational Therapy. 53 (5) : 5.6-513. Cohn, E. S. (2001, May/June).”Parent Perspective of Occupational Therapy Using a Sensory Integrative Approach,” American Journal of Occupational Therapy. 55 (3) : 285-292. Dalton, R. & Forman, M. A. (2000). “ Pervasive Developmental Disorders and Childhood Psychosis,” in Nelson Textbook of Pediatrics. 16th ed. Edited by R.E. Behrman, R.M. Kliengman & H. B. Jenson. P. 87-88 Philadelphia : W. B. Saunders. Dingle, A. D. & Dulcan, M. K. (1998). “Psychiatric Disorders of Childhood and Adolescence,” in Clinical Psychiatry for Medical Students. 3rd ed. Edited by A. Stoudemire. P. 524606. Philadelphia : Lippincott-Raven. Howlin, P. (1998). Autism : Preparing for Adulthood. New York : Routledge.
131เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ
131
Huebner, R. A. & Dunn, W. (2001). “Introduction and Basic Concepts,” in Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by R. A. Huebner. P.3-40. Gaithersburg : Aspen Publishers. Huebner, R. A. & Kraemer, G. W. (2001). “Sensorimotor Aspects of Attachment and Social Relatedness in Autism,” in Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by R. A. Huebner. P. 209-244. Gaithersburg : aspen Publishers. Kaplan, H. I. & Sadock, B. J. (1998). Kaplan and Sadock’s Synopsis of Psychiatry Behavioral Sciences / Clinical Psychiatry. 8th ed. Baltimore : Willams & Wilkins. Larrington, G.G. (1987). “A Sensory Integration Based Program With a Severely Retarded / Autistic Teenater : An Occupational Therapy Case Report.” Occupational Therapy in Health Care. 4 : 101-117. Linderman, T. M. & Stewart, K. B. (1999, March / April). “Sensory Integrative Based occupational Therapy and Functional Outcomes in Young Children With Pervasive Fevelopmental Disorders : A Single Subject Study, “American journal of Occupational Therapy. 53 (2) : 207-213. McClure, M. K. & holtz-Yotz, M. (1991). Case Report : The Effects of Sensory Stimulatory Treatment on an Autistic Child,” American Joumal of Occpational Therapy. 45 : 1138-1142. McQueen, R. A. & Knussen, C. (1999). Research Methods in Psychology : A Practical Introduction. Hemel Hemstead : Prentice Hall Europe. Miller-Kuhaneck, H. & Glennon, T. J. (2001). “An Introduction to Autism and the Pervasive Developmental Disorders,” in Autism : A Comprehensive Occupational Therapy Approach. Edited by H. Miller-Kuhaneck. P. 1-22. Bethesda : The American Occupational Therapy Association. Parsonson, B. S. & Baer, D. M. (1992). “The visual Analysis of Data, and Current Research into the Stimuli Controlling It,” in Single-Case Research Design and Analysis : New Direction for Psychology and Education. Edited by T. R. kratochwill & J. R. Levin. P. 15-40. Hillsdale : Lawrence Erlbaum.
132
132
งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
Polin, R. A. & Ditmar, M. F. (1997). Pediatrics Secrets. 2nd ed. Philadelphia : Hanley & Belfus. Richard, G. J. (2000). The Source for Treatment Methodologies in Autism. East Moline : Lingui System. Rogers, S. L. (2001). “Sensory Integration in Child-Centered Therapy,” in Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by R. A. Huebner. P. 179-207. Gaithersburg : Aspen Publishers. Rogers, S. L. et al (2001). “Common Diagnosis in Pediatric Occupational Therapy Practice,” in Occupational Therapy for children. 4th ed. Edited by J. Case- Smith. P. 136-187. St. Louis : Mosby. Rosenthal-Malek, A. & Mitchell, S. (1997). “Brief Report : The Effects of Exercise on the Self-Stimulatory Behaviors and Positive Responding of Adolescents With Autism,” Joumal of Autism And Developmental Disorders. 27(2) : 193-201. Schneck, C. M. (2001). “The Efficacy of a Sensorimotor Treatment Approach by Occupational Therapist,” in Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by r. A Huebner. P. 139-178. Gaithersburg : Aspen Publishers. Shaner, R. (2000). Board Review Series Psychiatry. 2nd ed. Philadeiphia : Lippincott Williams & Wilkins. Stocks, J. T. (1999). Introduction to Single Subfect Designs. (Online). Available Telnet : home.attbi.com/~inference/ssd/issd02.htm. Teplin, S. W. (1999). “Autism and Related Disorders,” in Developmental-Behavioral Pediatrics. 3rd ed. Edited by M. D. Levine, W. Bl. Carey & A. C. Crocker. P. 589605. Philadelphia : W. B. Saunders.
คณะกรรมการกาหนดกรอบการคัดเลือกผลงานวิจัยและนิทรรศการ 1. นางสาววันทนา วงศ์ศิลปภิรมย์
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. นางวาทินี ธีระตระกูล
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. นางบุญชู ชลัษเฐียร
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. นางพจมาน พงษ์ไพบูลย์
ผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา รักษาการในตาแหน่งที่ปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส
5. นางสาววันเพ็ญ สุจิปุตโต
รองผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
6. นางสาววิภาพร นิธิปรีชานนท์
นักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
คณะกรรมการวิเคราะห์คัดเลือกรายงานวิจัยและนวัตกรรม 1. นางสาววันทนา วงศ์ศิลปภิรมย์
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. นางวาทินี ธีระตระกูล
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. นางบุญชู ชลัษเฐียร
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. นางพจมาน พงษ์ไพบูลย์
ผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา รักษาการในตาแหน่งที่ปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส
5. รองศาสตราจารย์กานดา พูลลาภทวี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
6. รองศาสตราจารย์วรรณ์ดี แสงประธีปทอง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพรัช สู่แสนสุข
มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
8. นายราชา มหากันธา
มหาวิทยาลัยมหิดล
บรรณาธิการกิจ นางพจมาน พงษ์ไพบูลย์
ผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา รักษาการในตาแหน่งที่ปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส
นางอรนุช มั่งมีสุขศิริ
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา