ชุดเอกสารสร้างวัฒนธรรมการวิจัย เล่ม2.pdf

Page 1


แนวดําเนินการสร้ างวัฒนธรรมการวิจัย สํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน บทนํา การวิจยั เป็ นกระบวนการในการแสวงหาความรู ้อย่างเป็ นระบบ น่าเชื่ อถือและเป็ นเครื่ องมือสําคัญ ประการหนึ่ งของการพัฒนาประเทศและการพัฒนาบุ คลากรทางการศึกษา ซึ่ งระบุ ไว้ในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมพ.ศ. 2545) มาตรา 24 (5) และมาตรา 30 ให้สถานศึกษา ส่ งเสริ ม สนับสนุ นให้มีการจัดการเรี ยนรู ้ ควบคู่กบั การวิจยั และสร้ างความเข้าใจเกี่ ยวกับการเรี ยนรู้ ที่เน้น นักเรี ยนเป็ นสําคัญโดยใช้กระบวนการวิจยั เป็ นเครื่ องมื อ การประเมิ นคุ ณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 25542558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุ ณภาพการศึกษา (องค์การ มหาชน) มาตรฐานที่ 3 การจัด การเรี ย นการสอนที่ เน้ น นัก เรี ย นเป็ นสํ า คัญ ตัวบ่ ง ชี้ ที่ 6.2 ระบุ ใ ห้ ค รู จ ัด การศึกษา ค้นคว้าและวิจยั เพื่อพัฒนาสื่ อและกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นนักเรี ยนเป็ นสําคัญ การจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ของครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อนําไปสู่ การสร้ า งวัฒนธรรมการวิจยั ของนัก เรี ย น จึ ง เป็ นนโยบายเร่ ง ด่ วนที่สํา นัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน ต้องดําเนิ นการตามกรอบการปฏิ รูปการศึกษารอบสอง รวม 4 ด้าน คือ ปฏิรูปครู ยุคใหม่ ปฏิรูป นักเรี ยนยุคใหม่ ปฏิรูปสถานศึกษายุคใหม่และปฏิรูปแหล่งเรี ยนรู ้ยุคใหม่ โดยส่ งเสริ มสนับสนุ นให้ทุกเขต พื้นที่การศึกษาดําเนิ นโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั เพื่อให้หน่วยงานในสังกัด ส่ งเสริ ม ให้ความรู ้ และ เทคนิ ค แก่ ค รู ในการจัดการเรี ยนรู ้ ให้ นัก เรี ย นใช้ก ระบวนการวิจยั เพื่ อยกระดับ ความรู ้ ความเข้าใจและ ความสามารถในจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั อย่างต่อเนื่ อง จนเกิ ดเป็ นวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนขึ้น ในขณะเดียวกันครู ก็เกิดวัฒนธรรมการจัดการเรี ยนรู้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ไปพร้อมกัน

วัตถุประสงค์

1. สร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ให้นกั เรี ยน 2. สร้างวัฒนธรรมการจัดการเรี ยนรู้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 3. พัฒนาความสามารถของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนในการส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยน ใช้กระบวนการวิจยั 4. พัฒนาความสามารถของศึกษานิเทศก์ในการนิ เทศ ติดตามการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั ของครู และการส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน


2

เป้ าหมาย

1. นักเรี ยน ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้ าหมายมีวฒั นธรรมการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ 2. ครู ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้ าหมายมีวฒั นธรรมการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 3. ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้ าหมายมีความสามารถในการส่ งเสริ มให้ครู จดั การเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 4. ศึกษานิเทศก์ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้ าหมายมีความสามารถในการนิ เทศติดตามการจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ของครู และการส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน

นิยามศัพท์

วัฒนธรรมการวิจัย หมายถึง การที่กลุ่มบุคคลหรื อสังคมมีการแสวงหาความรู ้อย่างเป็ นระบบ และ สมํ่าเสมอจนเป็ นนิสัย ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 4 ขั้น ได้แก่ 1. ตั้งคําถาม หมายถึง การกําหนดประเด็นปั ญหาที่นาํ ไปสู่ การค้นหาคําตอบ 2. เตรียมการค้ นหาคําตอบ หมายถึง การกําหนดวิธีดาํ เนินการหาคําตอบ 3. ดําเนินการค้ น หาและตรวจสอบคํา ตอบ หมายถึ ง การดํา เนิ นงานเพื่อหาคํา ตอบตามวิธี ที่กาํ หนดไว้ แล้วพิจารณาความถูกต้อง ครบถ้วนของการดําเนิ นงานและคําตอบที่ได้รับตลอดช่วงการดําเนิ นงาน เป็ นระยะ ๆ และปรับปรุ ง จนได้คาํ ตอบที่สามารถขจัดความขัดแย้งทางความคิดภายในตน ความขัดแย้งทางความคิด ระหว่างบุคคล หรื อความขัดแย้งระหว่างความคิดกับหลักฐานเชิงประจักษ์ 4. สรุ ปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ หมายถึ ง การสรุ ปผลการดําเนิ นการค้นหาคําตอบ และรายงานผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย การสร้ างวัฒนธรรมการวิจัย หมายถึง การดําเนิ นงานของสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา และคณะบริ หารจัดการระดับภาค เพื่อให้นกั เรี ยนมีวฒั นธรรมการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ โดยใช้วิธีการที่ทาํ ให้ครู มีวฒั นธรรมการจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนมีความสามารถในการ ส่ งเสริ มให้ครู จดั การเรี ยนรู ้ โดยให้นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั และศึ กษานิ เทศก์ มี ความสามารถในการ นิ เทศติ ดตามการจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นักเรี ยน ครู และนักเรี ยนมี วฒั นธรรมการวิจยั ซึ่ งวิธีการดังกล่าวใช้ กระบวนการ 6 ขั้น ได้แก่ จุดประกาย ท้าทายความคิด ร่ วมจิตวิจยั ก้าวไกลด้วยคาราวาน ขยายฐานเครื อข่าย และสื บสายวัฒนธรรมวิจยั 1. จุดประกาย หมายถึ ง ขั้นเตรี ยมการดําเนิ นงานโครงการ รวมทั้งการสร้ างความเข้าใจในแนวทาง การดําเนินงาน ที่ตรงกันระหว่างผูร้ ับผิดชอบทุกระดับ


3

2. ท้าทายความคิด หมายถึง ขั้นเริ่ มปฏิบตั ิการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนในโรงเรี ยน โดยครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 3. ร่ ว มจิ ต วิ จ ัย หมายถึ ง ขั้น ปฏิ บ ัติ ก ารสร้ า งวัฒ นธรรมการวิ จ ัย ของนัก เรี ย น โดยครู แ ละ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง จนครู มีทกั ษะการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั และนักเรี ยนมีทกั ษะ การเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั 4. ก้าวไกลด้วยคาราวาน หมายถึง ขั้นปฏิบตั ิการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยน โดยครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้กบั โรงเรี ยนอื่น ๆ ที่เข้าร่ วมโครงการ ในลักษณะการศึกษาดูงาน เพื่อปรับปรุ ง/พัฒนาแนวคิดและการปฏิบตั ิงานในการดําเนิ นงานให้สมบูรณ์ยง่ิ ขึ้น 5. ขยายฐานเครื อข่าย หมายถึง ขั้นปฏิบตั ิการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยน โดยครู และ บุ ค ลากรที่ เกี่ ยวข้องขยายผลการสร้ างวัฒ นธรรมการวิจยั ให้ก ับ ครู และนักเรี ยนในโรงเรี ยนเดี ยวกันหรื อ โรงเรี ยนอื่น 6. สื บสายวัฒนธรรมวิจยั หมายถึง ขั้นปฏิบตั ิการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยน โดยครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จนนักเรี ยนเกิดวัฒนธรรมการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ ครู เกิดวัฒนธรรมการจัดการเรี ยนรู้ โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั การจัดการเรี ยนรู้ โดยให้ นักเรียนใช้ กระบวนการวิจัย หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ของครู ดว้ ย วิธีการที่ หลากหลาย ที่มุ่งเน้นให้นักเรี ยนเรี ยนรู ้ หรื อแสวงหาความรู ้ โดยใช้กระบวนการวิจยั ซึ่ งประกอบด้วย 4 ขั้น ได้แก่ 1) ตั้งคําถาม 2) เตรี ยมการค้นหาคําตอบ 3) ดําเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคําตอบ และ 4) สรุ ป และนําเสนอผลการค้นหาคําตอบ การเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการวิจัย หมายถึง การแสวงหาความรู ้และสร้างองค์ความรู ้อย่างเป็ นระบบ ด้วยขั้นตอนหลัก 4 ขั้น ได้แก่ 1) ตั้งคําถาม 2) เตรี ยมการค้นหาคําตอบ 3) ดําเนิ นการค้นหาและตรวจสอบ คําตอบ และ 4) สรุ ปและนําเสนอผลการค้นหาคําตอบ วัฒนธรรมการจัดการเรียนรู้ โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจัย หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ของครู ที่ มุ่ งเน้น ให้ นัก เรี ย นบรรลุ มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ตัวชี้ วัด หรื อ ผลการเรี ย นรู ้ ต ามหลัก สู ต รโดยใช้ กระบวนการหรื อแสวงหาความรู ้อย่างเป็ นระบบ ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 4 ขั้น ได้แก่ 1) ตั้งคําถาม 2) เตรี ยมการค้นหาคําตอบ 3) ดําเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคําตอบ และ 4) สรุ ปและนําเสนอผลการค้นหา คําตอบ ความสามารถในการส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู้ โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจัย หมายถึ ง การจัดการ อย่างเป็ นระบบของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนที่เอื้ออํานวยให้ครู สามารถจัดการเรี ยนรู้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ความสามารถในการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรี ยนรู้ โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจัย หมายถึง


4

การช่ วยเหลื อ แนะนํา ให้คาํ ปรึ กษาของศึกษานิ เทศก์เพื่อให้ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้ นั ก เรี ยนใช้ กระบวนการวิ จ ัย และให้ ค รู จ ัด การเรี ย นรู ้ โดยให้ นั ก เรี ย นใช้ ก ระบวนการวิ จ ัย ได้ อ ย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพจนเกิดวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยน


4

ความสํ าเร็จของการสร้ างวัฒนธรรมการวิจัยและตัวชี้วดั ความสํ าเร็จ การสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ได้กาํ หนดสภาพความสําเร็ จและตัวชี้วดั ความสําเร็ จของครู นักเรี ยน ผูบ้ ริ หารและศึกษานิเทศก์แต่ละระยะ ดังนี้ ระยะที่ ครู นักเรี ยน ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ (ปี การศึกษา) ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. จุด ประกาย (2/2553)


6

ระยะที่

(ปี การศึกษา)

2. ท้ าทาย ความคิด (1/2554)

ความสํ าเร็จ 1. มีความรู ้ ความ เข้าใจ แนวการ จัดการเรี ยนรู ้โดย ให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั 2. จัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั

ครู

ตัวชี้วดั

1. ความรู ้ ความ เข้าใจ แนวการ จัดการเรี ยนรู ้โดย ให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั 2. แผนการจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการ วิจยั 3. การจัดการ เรี ยนรู ้ตามแผน

นักเรี ยน ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. เรี ยนรู ้โดยใช้ กระบวนการวิจยั

1. ความรู ้เกี่ยวกับ วิธีการหาความรู ้ โดยใช้กระบวน การวิจยั 2. ชิ้นงาน/ ผลงานจากการ เรี ยนรู ้โดยใช้ กระบวนการ วิจยั

ผู้บริหาร ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. มีความรู ้ ความเข้าใจแนว การจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั และแนวทางการ ส่งเสริ มการจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั 2. ส่งเสริ มครู จัดการเรี ยนรู ้ให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั อย่างต่อเนื่อง

1. ความรู ้ ความเข้าใจ แนวการจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั และแนวทางการ ส่งเสริ มการจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั 2. แผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม การส่งเสริ มการ จัดการเรี ยนรู ้โดย ให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั ระยะ 3 ปี 3.การ ส่งเสริ มตามแผน 3. มีการส่งเสริ ม ตามแผน

ศึกษานิเทศก์ ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. มีความรู ้ ความเข้าใจ แนว การจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั และแนวทาง การ ส่งเสริ มการจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั 2. นิเทศติดตามการ จัดการเรี ยนรู ้โดย ให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั ของครู และการ ส่งเสริ มของ ผูบ้ ริ หาร

1. ความรู ้ ความเข้าใจ แนว การจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั และแนวทาง การส่งเสริ มการ จัดการเรี ยนรู ้โดย ให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการ วิจยั 2. โครงการ แผนการนิเทศ วิธีการ และ เครื่ องมือ 3. การนิเทศติดตาม ตามแผน 4. ผลการนิเทศ (ระยะที่ 1)


7

ระยะที่

(ปี การศึกษา)

3. ร่ วม จิตวิจัย (2/2554 และ 1/2555)

ครู

นักเรี ยน ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั - มีทกั ษะการ 1. ครู ทาํ แผนการ - มีทกั ษะการ 1. ใช้การเรี ยนรู ้ จัดการเรี ยนรู ้ จัดการเรี ยนรู ้ เรี ยนรู ้โดยใช้ โดยใช้ โดยให้นกั เรี ยน โดยให้นกั เรี ยน กระบวนการวิจยั กระบวนการวิจยั ใช้ ใช้ ได้อย่างถูกต้อง กระบวนการวิจยั กระบวนการวิจยั 2. ชิ้นงาน/ ได้ดว้ ยตนเอง ผลงานจากการ อย่างถูกต้อง เรี ยนรู ้โดยใช้ กระบวนการวิจยั 2. การจัดการ เรี ยนรู ้ตามแผน อย่างถูกต้อง 3. ความ หลากหลายของ เทคนิควิธีการ จัดการเรี ยนรู ้ฯ

ผู้บริหาร ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. นิเทศติ ดตาม 1. แผนงาน/ การจัดการ โครงการ/ เรี ยนรู ้โดยให้ กิจกรรมการ นักเรี ยนใช้ ส่ งเสริ มการ กระบวนการวิจยั จัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยน ใช้ กระบวนการวิจยั 2. การนิเทศ กํากับติดตาม การจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั ของครู

ศึกษานิเทศก์ ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. นิเทศติดตาม 1. โครงการ การจัดการ แผนการนิเทศ เรี ยนรู ้โดยให้ วิธีการ และ นักเรี ยนใช้ เครื่ องมือ กระบวนการวิจยั 2. การนิเทศ ของครู และการ ติดตาม ตามแผน ส่ งเสริ มของ ผูบ้ ริ หาร อย่าง ต่อเนื่อง


8

ระยะที่

(ปี การศึกษา)

4. ก้ าวไกล ด้ วย คาราวาน (2/2555)

ครู

นักเรี ยน ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. มีการ 1. มีแผนการ 1. ใช้การเรี ยนรู ้ 1. ผลงาน พัฒนาการ จัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้ ชิ้นงานหรื อ จัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยน กระบวนการวิจยั รายงานการ โดยให้นกั เรี ยน ใช้ ได้อย่างสมบูรณ์ ค้นหาคําตอบที่ ใช้ กระบวนการวิจยั ถูกต้อง ถูกต้องและ กระบวนการวิจยั ที่พฒั นาแล้วจาก เชื่อถือได้ การใช้ขอ้ มูลจาก ทั้ง 4 ขั้นตอน การแลกเปลี่ยน หลัก เรี ยนรู ้และ ข้อเสนอแนะใน การปรับปรุ ง

ผู้บริหาร ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. ส่ งเสริ ม 1. แผนงาน/ สนับสนุน โครงการ/ งบประมาณให้ กิจกรรมการ เกิดการ ส่ งเสริ มการ แลกเปลี่ยน จัดการเรี ยนรู ้ เรี ยนรู ้ท้งั ใน โดยให้นกั เรี ยน และนอก ใช้ โรงเรี ยน กระบวนการวิจยั ที่เป็ นผลจากการ แลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้ 2. งบประมาณ สนับสนุน แผนงาน โครงการอย่าง เพียงพอ

ศึกษานิเทศก์ ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. ส่ งเสริ ม 1. ข้อมูล สนับสนุนให้ โรงเรี ยนในการ เกิดกิจกรรม จัดกิจกรรมของ แลกเปลี่ยน ทุกโรงเรี ยน เรี ยนรู ้ 2. แผนการ นิเทศ ประสานงาน จัดกิจกรรม แลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้ระหว่าง โรงเรี ยน 3. บันทึกการ นิเทศและ ข้อเสนอแนะ


9

ระยะที่

(ปี การศึกษา)

4. ก้ าวไกล ด้ วย คาราวาน (2/2555) (ต่อ)

ความสํ าเร็จ

ครู

ตัวชี้วดั

นักเรี ยน ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั

ผู้บริหาร ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 3. มีรายงานการ แลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้มีผลการ แลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้และ ข้อเสนอในการ ปรับปรุ งการ ส่ งเสริ มและการ จัดการเรี ยนรู ้ที่ เป็ นผลจากการ แลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้ 4. มีการส่ งเสริ ม ตามแผน

ศึกษานิเทศก์ ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั


10

ระยะที่

ครู

(ปี การศึกษา)

ความสํ าเร็จ

5. ขยาย ฐาน เครือข่ าย (1/2556)

1. มีการขยายผล การจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยน ใช้ กระบวนการวิจยั

นักเรี ยน

ตัวชี้วดั

ความสํ าเร็จ

1. จํานวนครู ที่ สามารถจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจั ย เพิ่มขึ้น (นับ คนที่เข้าร่ วม)

1. มีกลุ่ม ชมรม การจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้ กระบวนการวิจยั

ตัวชี้วดั

1. จํานวนกลุ่ม ชมรมหรื อ นักเรี ยนที่เรี ยนรู ้ โดยใช้ กระบวนการวิจยั

ผู้บริหาร ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. ส่ งเสริ มการ จัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยน ใช้ กระบวนการวิจั ย ของครู 2. ส่ งเสริ มการ ขยายเครื อข่าย

1. จํานวนครู ที่ สามารถจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจั ย เพิ่มขึ้น 2. จํานวน โรงเรี ยนหรื อครู ที่เป็ นเครื อข่าย จัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยน ใช้ กระบวนการวิจั ย เพิม่ ขึ้น

ศึกษานิเทศก์ ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. นิเทศติดตาม การจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจั ย ของครู และ การส่ งเสริ มของ ผูบ้ ริ หาร 2. นิเทศส่ งเสริ ม การขยาย เครื อข่าย

1.จํานวนผูบ้ ริ หาร ที่สามารถส่ งเสริ ม การจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการ วิจยั เพิ่มขึ้น 2. จํานวนครู ท่ี สามารถจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการ วิจยั เพิ่มขึ้น 3. จํานวนโรงเรี ยน หรื อครู ที่เป็ น เครื อข่ายจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั เพิ่มขึ้น


11

ระยะที่

(ปี การศึกษา)

6. สื บสาย วัฒนธรรม วิจัย (2/2556)

ครู

นักเรี ยน ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. มีวฒั นธรรม 1. การจัดการ 1. มี 1. เรี ยนรู ้โดยใช้ การจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ วัฒนธรรม กระบวนการวิจยั เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ การวิจยั ใน อย่างต่อเนื่ องและ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั การเรี ยนรู ้ สมํ่าเสมอ กระบวนการวิจยั อย่างต่อเนื่ อง (การสัมภาษณ์ และสมํ่าเสมอ การสังเกต) (การสัมภาษณ์ การสังเกต) 2. รายงานผล การจัดจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั

ผู้บริหาร ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. ส่ งเสริ มการ 1. แผนงานหรื อ จัดการเรี ยนรู ้ โครงการ โดยให้นกั เรี ยน ส่ งเสริ มการ ใช้กระบวนการ จัดการเรี ยนรู ้ วิจยั อย่างเป็ น โดยให้นกั เรี ยน ระบบและ ใช้กระบวนการ ต่อเนื่อง วิจยั 2. รายงานการ นิเทศติดตาม การจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้ กระบวนการ วิจยั ของครู

ศึกษานิเทศก์ ความสํ าเร็จ ตัวชี้วดั 1. นิเทศติดตาม 1. รายงานผล การจัดการเรี ยนรู ้ การนิเทศติดตาม และการส่ งเสริ ม การจัดการ การจัดการเรี ยนรู ้ เรี ยนรู ้โดยให้ โดยให้นกั เรี ยน นักเรี ยนใช้ ใช้ กระบวนการวิจยั กระบวนการวิจยั ของครู และการ ของครู ส่ งเสริ มของ ผูบ้ ริ หาร โรงเรี ยน


12

แนวดําเนินการโครงการสร้ างวัฒนธรรมการวิจัย (Road map) แนวทางการดําเนินงานสร้ างวัฒนธรรมการวิจัย กําหนดไว้ 6 ระยะ ตามแผนภาพ ดังนี้ จุดประกาย

ท้ าทายความคิด

5

5

1.สนก.มีแผนและแนว

การดําเนินงานที่ชดั เจน ปฏิบตั ิได้จริ ง .สนก.มีเอกสาร ประกอบการดําเนินงาน และเครื่ องมือเก็บ รวบรวมข้อมูลที่มี คุณภาพ .การสร้างวัฒนธรรม การวิจยั ที่คณะ ผูว้ ิจยั ครู ผูบ้ ริ หารและศน.เข้าใจ ตรงกัน .สนก.มีเป้ าหมายการ สร้างวัฒนธรรมการวิจยั ที่คณะผูว้ ิจยั ครู ผบู้ ริ หาร และ ศน.เข้าใจตรงกัน .สนก.มีโครงการสร้าง วัฒนธรรมการวิจยั แต่ ละเขตพื้นที่การศึกษาที่ สอดคล้องกับนโยบาย

2 3 4 5

1.ครูและบุคลากรที่

เกี่ยวข้องมีความ รู้ความ เข้าใจการดําเนินงานการ จัดการเรี ยนรู้โดยใช้ กระบวนการวิจยั และปรับ แผนการจัดการเรี ยนรู้ .ครู มีแผนการจัดการ เรี ยนรู้โดยใช้กระบวน การ วิจยั และจัดการเรี ยนรู้ตาม แผน .นักเรี ยนเรี ยนรู้โดยใช้ กระบวนการวิจยั .ผูบ้ ริ หารมีแผนงาน/ โครงการที่สนับสนุนการ สร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยน .ศน.มีแผนการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ กระบวนการวิจยั

2 3 4 5

ร่ วมจิตวิจัย

ก้ าวไกลด้ วยคาราวาน

5

1.ครู มีรูปแบบการ

จัดการเรี ยนรู้โดยใช้ กระบวน การวิจยั 2.ครู มีแนวคิดในการ แก้ ปัญหาในการ ดําเนินงาน 3.นักเรี ยนมีรูปแบบ การเรี ยนรู้โดยใช้ กระบวน การ วิจยั 4.โรงเรี ยนมีกลุ่ม/ ชุมนุม/ชมรมการวิจยั ตามความสนใจของ นักเรี ยน 5.โรงเรี ยนมีผลงานที่ เกิดจากการเรี ยนรู้โดย ใช้กระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน

5

ขยายฐานเครือข่ าย

5

1.ครูและบุคลากรที่

1ครูและบุคลากรที่

2

2

3

3

4

4

เกี่ยวข้องเรี ยนรู้การสร้าง วัฒนธรรมการวิจยั ใน โรงเรี ยน .ครู และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องมีความมัน่ ใจใน การดําเนินงานและมี พัฒนาการในการจัดการ เรี ยนรู้เพิ่มขึ้น .นักเรี ยนมีความมัน่ ใจ และมีการพัฒนาการเรี ยนรู้ โดยมีผลงานการเรี ยนรู้ จากการใช้กระบวนการ วิจยั .สนก.มีรายงานความ ก้าวหน้าผลการดําเนิน งาน .สนก.มีการเผยแพร่ การ ดําเนินงานผ่านสื่อสาร มวลชนในท้องถิ่นและ ระดับชาติ

5

เกี่ยวข้องเรี ยนรู้การสร้าง วัฒนธรรมการวิจยั ใน โรงเรี ยน ครู และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องมีความมัน่ ใจ และมีพฒั นา การในการ ดําเนิน งานเพิ่มขึ้น นักเรี ยนมีการพัฒนา การเรี ยนรู้และมีผลงาน การเรี ยนรู้โดยใช้ กระบวนการ วิจยั เพิ่มขึ้น โรงเรี ยนมี กลุ่ม/ ชุมนุม/ชมรมการวิจยั ตาม ความสนใจของนักเรี ยน เพิ่มขึ้น โรงเรี ยนมีเครื อข่าย การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ กระบวนการวิจยั

5

สื บสายวัฒนธรรมวิจยั

5 1.ครู และนักเรี ยนมี วัฒนธรรมการวิจยั 2.ครู และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิ ใจ ในผลงานของตนเอง 3. ครู และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องมีรูปแบบการ จัดการเรี ยนรู้ การนิเทศ และการบริ หารจัดการใน การสร้างวัฒนธรรมการ วิจยั ในโรงเรี ยน 4. คณะบริ หารจัดการ ระดับภาค มีรายงานผล ความสําเร็จของการ ดําเนินงานในระดับภาค 5. สนก. มีรายงานผลการ ดําเนินงานและเผยแพร่ ผ่านสื่ อทั้งในท้องถิ่นและ

30

แผนภาพ Road map สู่ การสร้ างวัฒนธรรมการวิจัย ระยะที่ 1 จุดประกาย (ตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554) : ผู้รับผิดชอบ – สํ านักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษา (สนก.) เป้าหมาย 1. สนก. มีแผนและแนวการดําเนินงานที่ชดั เจนปฏิบตั ิได้จริ ง 2. สนก. มีเอกสารประกอบการดําเนิ นงาน และเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีคุณภาพ 3. สนก. มีกลุ่มเป้ าหมาย และผูร้ ับผิดชอบการดําเนินงานที่ชดั เจนและเหมาะสม 4. สนก. มีเป้ าหมายการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนที่คณะผูว้ จิ ยั ครู ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน และศึกษานิเทศก์ เข้าใจตรงกัน 5. สนก. มีโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนแต่ละเขตพื้นที่การศึกษาที่สอดคล้อง กับนโยบาย


13 แนวดําเนินงาน 1. สนก. วางแผนการดําเนิ นงาน 2. สนก. ประสานงานหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง (คณะผูว้ จิ ยั นักวิชาการ อาจารย์ มหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์เขตพื้นที่การศึกษา) 3. สนก. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการจัดทําแนวการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยน 4. สนก. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการจัดทําเอกสารและเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูล 5. สนก. ประชุมปฏิบตั ิการบรรณาธิ การกิจ หาคุณภาพเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูลและเอกสาร โครงการ 6. สนก. ประชุมชี้แจงและสร้างความเข้าใจและฝึ กปฏิบตั ิการจัดกิจกรรมสร้างวัฒนธรรมการ วิจยั ให้แก่ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมาย ระยะที่ 2 ท้าทายความคิด (เมษายน 2554 – กันยายน 2554) : ผู้รับผิดชอบ –โรงเรียน/คณะบริหารจัดการ ระดับภาค และสํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา เป้าหมาย 1. ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความรู ้ความเข้าใจการดําเนินงานการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั และบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความรู ้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง 2. ครู มีแผนการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั และจัดการเรี ยนรู ้ตามแผน 3. นักเรี ยนเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั 4. ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนมีแผนงาน/โครงการที่สนับสนุ นการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยน ในโรงเรี ยน 5. ศึกษานิเทศก์มีแผนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั แนวดําเนินงาน 1. สนก. ประชุ มเชิ งปฏิบตั ิการสร้างความเข้าใจและจัดทําโครงการเกี่ยวกับการสร้างวัฒนธรรม การวิจยั ในโรงเรี ยน 2. ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องปฏิบตั ิการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนในโรงเรี ยน 3. ครู จดั การเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 4. นักเรี ยนเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั 5. คณะบริ หารจัดการระดับภาค ผูน้ ิเทศ และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน นิ เทศ ติดตาม และประเมินผล 6. คณะบริ หารจัดการระดับภาค สรุ ปความก้าวหน้าการดําเนินงาน


14 ระยะที่ 3 ร่ วมจิตวิจัย (ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555) : ผู้รับผิดชอบ – สํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัด การศึกษา/โรงเรี ยน และคณะบริหารจัดการระดับภาค เป้าหมาย 1. ครู มีทกั ษะการจัดการเรี ยนรู ้และการแก้ปัญหาในการดําเนินงานโดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั 2. นักเรี ยนมีทกั ษะการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั 3. ผูบ้ ริ หารและศึกษานิเทศก์นิเทศติดตามการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 4. โรงเรี ยนมีกลุ่ม/ชุมนุม/ชมรมการวิจยั ตามความสนใจของนักเรี ยน 5. มีผลงานที่เกิดจากการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน แนวดําเนินงาน 1. ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องปฏิบตั ิการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนในโรงเรี ยน 2. คณะบริ หารจัดการระดับภาค ศึกษานิเทศก์ และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน นิ เทศ ติดตาม และ ประเมินผลการจัดการเรี ยนรู้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 3. คณะบริ หารจัดการระดับภาคประชุมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้การดําเนินงานของโรงเรี ยนระดับ ภูมิภาค 4. คณะบริ หารจัดการระดับภาคสรุ ปการดําเนินงานและรวบรวมผลงานที่เกิดจากการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการวิจยั ระยะที่ 4 ก้ าวไกลด้ วยคาราวาน (ตุลาคม 2555 – มีนาคม 2556): ผู้รับผิดชอบ –โรงเรียน/ คณะบริ หารจัดการ ระดับภาค และสํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา เป้าหมาย 1. ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเรี ยนรู ้เกี่ยวกับการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนใน โรงเรี ยนและพัฒนาการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยนให้สมบูรณ์ยง่ิ ขึ้น 2. นักเรี ยนมีความมัน่ ใจและมีการพัฒนาการเรี ยนรู ้โดยมีผลงานกลุ่ม จากการเรี ยนรู ้ดว้ ย กระบวนการวิจยั เพิ่มขึ้น 3. สนก. มีรายงานความก้าวหน้าผลการดําเนินงาน 4. สนก. มีการเผยแพร่ ผา่ นสื่ อสารมวลชนในท้องถิ่นและระดับชาติ แนวดําเนินงาน 1. ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องปฏิบตั ิการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนในโรงเรี ยน 2. คณะบริ หารจัดการระดับภาค ศึกษานิเทศก์ และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน นิ เทศ ติดตาม และ ประเมินผลการจัดการเรี ยนรู้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั


15 3. คณะบริ หารจัดการระดับภาคจัดคาราวานการประชุมปฏิบตั ิการ การจัดการเรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ทั้งในและนอกเขตพื้นที่ 4. สนก. ประชุมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้การดําเนินงานของโรงเรี ยนกลุ่มเป้ าหมายในระดับชาติ 5. สนก. เผยแพร่ การดําเนิ นงานการสร้างวัฒนธรรมวิจยั ผ่านสื่ อสารมวลชนในท้องถิ่นแล ระดับชาติ ระยะที่ 5 ขยายฐานเครือข่ าย (เมษายน 2556 - กันยายน 2556) : ผู้รับผิดชอบ–โรงเรียน และคณะบริหารจัดการระดับภาค เป้าหมาย 1. ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเรี ยนรู ้เกี่ยวกับการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนใน โรงเรี ยน 2. ครู และบุคลากรผูป้ ฏิบตั ิงานมีความมัน่ ใจและมีพฒั นาการในการดําเนินงานเพิ่มขึ้น 3. นักเรี ยนมีการพัฒนาการเรี ยนรู ้และมีผลงานการเรี ยนรู ้ของตนเองโดยใช้กระบวนการวิจยั เพิ่มขึ้น 4. โรงเรี ยนมีกลุ่ม/ชุมนุม/ชมรมการวิจยั ตามความสนใจของนักเรี ยนเพิ่มขึ้น 5. โรงเรี ยนมีเครื อข่ายการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั แนวดําเนินงาน 1. ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องปฏิบตั ิการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยน และสร้างเครื อข่าย ทั้งในโรงเรี ยนและระหว่างโรงเรี ยน 2. คณะบริ หารจัดการระดับภาค ศึกษานิเทศก์ และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน นิ เทศ ติดตาม และ ประเมินผลการจัดการเรี ยนรู้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 3. คณะบริ หารจัดการภาคประชุมปฏิบตั ิการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้การดําเนิ นงานของโรงเรี ยนในภูมิภาค ระยะที่ 6 สื บสายวัฒนธรรมวิจัย (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557) : ผู้รับผิดชอบ –โรงเรียน/คณะบริ หาร จัดการระดับภาค และสํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา เป้าหมาย 1. นักเรี ยนมีวฒั นธรรมการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ 2. ครู มีวฒั นธรรมการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 3. ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนมีการส่ งเสริ มการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนอย่างเป็ นระบบ 4. ศึกษานิเทศก์มีการนิเทศอย่างเป็ นระบบ 5. คณะบริ หารจัดการระดับภาค มีรายงานผลความสําเร็ จของการดําเนินงานในระดับภาค 6. สนก. มีรายงานผลการดําเนินงานการสร้างวัฒนธรรมวิจยั และเผยแพร่ ผา่ นสื่ อทั้งในท้องถิ่น และระดับชาติ


16 แนวดําเนินงาน 1. ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องปฏิบตั ิการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของนักเรี ยนในโรงเรี ยน 2. คณะบริ หารจัดการระดับภาค ศึกษานิเทศก์และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน นิ เทศ ติดตาม และ ประเมินผลการจัดการเรี ยนรู้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 3. คณะบริ หารจัดการระดับภาคประชุ มปฏิ บตั ิการสรุ ปผลการดําเนิ นงานการสร้ างวัฒนธรรม การวิจยั ในโรงเรี ยนและเขียนรายงานผลความสําเร็ จของการดําเนินงานในระดับภาค 4. สนก. ประชุมนําเสนอผลการดําเนิ นงานระดับชาติ 5. สนก. เผยแพร่ ผา่ นสื่ อสารมวลชนในท้องถิ่นและระดับชาติ

แนวทางการพัฒนาบุคลากร ในการสร้ างวัฒนธรรมการวิจัย

1. ผู้รับการพัฒนา ผูร้ ับการพัฒนาได้แก่ ศึกษานิเทศก์ ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน ครู และนักเรี ยน 2. เป้าหมายการพัฒนา 2.1 เชิ งปริมาณ นักเรี ยนโรงเรี ยนละ 2 ห้องเรี ยน ครู โรงเรี ยนละ 2 คน ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนเขตพื้นที่การศึกษาละ 2 คน ศึกษานิเทศก์เขตพื้นที่การศึกษาละ 1 คน 2.2 เชิ งคุณภาพ นักเรี ยนร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้ าหมาย มีวฒั นธรรมการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ ครู ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้ าหมาย มี วฒั นธรรมการจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นักเรี ยน ใช้กระบวนการวิจยั ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนร้ อยละ 80 ของกลุ่ มเป้ าหมาย มี ความสามารถในการส่ งเสริ มให้ ครู จัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ศึกษานิ เทศก์ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้ าหมาย มีความสามารถในการนิ เทศ ติดตามการจัดการ เรี ยนรู ้ โดยให้ นัก เรี ยนใช้ก ระบวนการวิจยั ของครู และการส่ งเสริ ม การจัด การเรี ย นรู ้ โดยให้ นัก เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั ของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน 3. วิธีการพัฒนา 3.1 ประชุมปฏิบตั ิการจัดทําแนวทางการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั และจัดทําเอกสารแนวทาง การสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 3.2 ประชุมปฏิบตั ิการสร้างความเข้าใจโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั และฝึ กปฏิบตั ิ การจัดกิจกรรมสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ให้ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เน้นให้


17 นักเรี ยนเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั และปรับแผนการจัดการเรี ยนรู ้ 3.3 ประชุมปฏิบตั ิการสร้างความเข้าใจและดําเนิ นการโครงการในโรงเรี ยนให้กบั ศึกษานิเทศก์ ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนและครู ในระดับภาค เขตพื้นที่ และโรงเรี ยน 3.4 คณะบริ หารจัดการระดับภาค นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานโครงการ อย่างน้อยภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง 3.5 ศึกษานิเทศก์เขตพื้นที่การศึกษา นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานโครงการ อย่างน้อย ภาคเรี ยนละ 4 ครั้ง ต่อโรงเรี ยน 3.6 จัดประชุมปฏิบตั ิการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้การดําเนินการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยนระดับเขตพื้นที่การศึกษา ภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง 3.7 จัดประชุมปฏิบตั ิการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้การดําเนินการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยนระดับภาค ปี ละ 1 ครั้ง 3.8 จัดประชุมปฏิบตั ิการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้การดําเนินการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยนระดับชาติ ปี ละ 1 ครั้ง 3.9 นําเสนอผลการดําเนินงานโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ระดับชาติ 1 ครั้ง 3.10 เผยแพร่ การดําเนินงานโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ผ่านทางเว็บไซต์ระดับ โรงเรี ยน เขตพื้นที่ ระดับภาค และระดับชาติ

แนวทางการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล

1. ผู้นิเทศ ติดตาม และประเมินผล - คณะบริ หารจัดการระดับภาค - นักวิชาการอิสระ - อาจารย์มหาวิทยาลัย - ศึกษานิเทศก์เขตพื้นที่การศึกษา - ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน 2. ผู้รับการนิเทศ ติดตามและประเมินผล - ครู ผสู ้ อน - ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน - ศึกษานิเทศก์เขตพื้นที่การศึกษา 3. วิธีการนิเทศ ติดตามและประเมินผล - การนิเทศภายใน - การนิเทศแบบกัลยาณมิตร - การเยีย่ มนิเทศชั้นเรี ยน


18 -

การนิเทศแบบเสริ มพลัง (Empowering Supervision) การนิเทศแบบคลินิก การนิเทศทางไกลผ่านระบบ Internet การนิเทศเชิงพัฒนา การนิเทศแบบร่ วมมือ ฯลฯ


19 4. ประเด็นการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล - การเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน - การจัดการเรี ยนรู้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ของครู - การส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน - การนิเทศติดตามของศึกษานิเทศก์เขตพื้นที่การศึกษา 4. ระยะเวลาในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ระยะที่ 2 เดื อนพฤษภาคม 2554 – กัน ยายน 2554 จํานวน 4 ครั้ ง และสรุ ป ความก้าวหน้าการ ดําเนินงานระดับภาค ระยะที่ 3 เดือนตุลาคม 2554 – กันยายน 2555 จํานวน 8 ครั้ง และการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ระดับภาค จํานวน 1 ครั้ง ระยะที่ 4 เดื อนตุ ลาคม 2555 – มีนาคม 2556 จํานวน 4 ครั้ ง และการสัมมนาแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ระดับชาติ จํานวน 1 ครั้ง ระยะที่ 5 เดื อนพฤษภาคม 2556 – กันยายน 2556 จํานวน 4 ครั้ง การสัมมนาแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ระดับภาค จํานวน 1 ครั้ง ระยะที่ 6 เดือนตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557 จํานวน 4 ครั้ง และการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรี ยน ระดับชาติ จํานวน 1 ครั้ง

การประเมินผลการดําเนินงาน

1. หัวข้ อประเมิน ประเมินภาพความสําเร็ จของการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ - INPUT ได้แก่ การบริ หารจัดการ บรรยากาศ และแหล่งเรี ยนรู ้ของโรงเรี ยน - PROCESS ได้แก่ การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน การจัดการเรี ยนรู ้ของครู การส่ งเสริ มของผูบ้ ริ หาร โรงเรี ยน การนิเทศติดตามของศึกษานิเทศก์ - OUTPUT ได้แก่ วัฒนธรรมการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน วัฒนธรรมการจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ของครู - OUTCOME ได้ แ ก่ วัฒ นธรรมการวิ จ ัย ในการเรี ยนรู ้ ใ นชี วิ ต ประจํา วัน ของนั ก เรี ยน วัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยน เครื อข่ายวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยนและระหว่างโรงเรี ยน 2. ระยะเวลา 2.1 การประเมินก่อนการดําเนินงาน ช่วงเวลาปฏิบตั ิงาน ระยะที่ 2 (เมษายน 2554) 2.2 การประเมินระหว่างการดําเนินงาน ช่วงเวลาปฏิบตั ิงาน ระยะที่ 4 (มีนาคม 2556) 2.3 การประเมินเมื่อสิ้ นสุ ดการดําเนินงาน ช่วงเวลาปฏิบตั ิงาน ระยะที่ 6 (มีนาคม 2557)


20 3. วิธีการและเครื่ องมือประเมินตัวชี้วดั กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วดั นักเรี ยน 1. ความรู ้เกี่ยวกับการหาความรู ้ โดยใช้กระบวนการวิจยั 2. มีชิ้นงาน/ผลงานจากการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการวิจยั 3. ใช้การเรี ยนรู้โดยใช้ กระบวนการวิจยั ได้อย่างถูกต้อง 4. ชิ้นงาน/ผลงานจากการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการวิจยั ถูกต้อง 5. ผลงาน/ชิ้นงานที่มีคุณภาพ 6. จํานวนนักเรี ยนที่เรี ยนรู ้โดยใช้ กระบวนการวิจยั 7. มีการเรี ยนรู ้โดยใช้ กระบวนการวิจยั อย่างต่อเนื่ อง และสมํ่าเสมอ ครู 1. ความรู ้ความเข้าใจแนวการ จัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั 2. มีแผนการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 3. มีการจัดการเรี ยนรู ้ตามแผน 4. ครู ทาํ แผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั ได้ดว้ ยตนเอง อย่างถูกต้อง 5. มีการจัดการเรี ยนรู ้ตามแผน อย่างถูกต้อง 6. ความหลากหลายของเทคนิค วิธีการจัดการเรี ยนรู้

วิธีการประเมิน การสัมภาษณ์และ การสังเกต การประเมินผลงาน

เครื่องมือประเมิน แบบสัมภาษณ์และ แบบสังเกต แบบประเมินผลงาน

การสังเกต

แบบสังเกต

การประเมินผลงาน

แบบประเมินผลงาน

การประเมินผลงาน การบันทึกข้อมูล

แบบประเมินผลงาน แบบบันทึกข้อมูล

การประเมิน การสังเกต แบบประเมินและ แบบสังเกต การประเมินก่อนอบรม แบบประเมินก่อนอบรม และการสัมภาษณ์ และแบบสัมภาษณ์ การประเมินผลงาน

แบบประเมินผลงาน

การสัมภาษณ์และการ สังเกต การประเมินผลงาน

แบบสัมภาษณ์และ แบบสังเกต แบบประเมินผลงาน

การสังเกต

แบบสังเกต

การสังเกต

แบบสังเกต


21 กลุ่มเป้าหมาย

ผูบ้ ริ หาร โรงเรี ยน

ตัวชี้วดั 7. มีผลการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้และ ข้อเสนอในการปรับปรุ งการ จัดการเรี ยนรู ้ที่เป็ นผลจากการ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ 8. มีแผนการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ที่ พัฒนาให้ดีข้ ึนและหลากหลาย 9. มีการจัดการเรี ยนรู ้ตามแผน อย่างถูกต้อง 10. จํานวนครู ที่สามารถจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั เพิม่ ขึ้น 11. มีการจัดการเรี ยนรู ้โดยให้ นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั อย่าง ต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ 1. มีความรู ้ความเข้าใจแนวการ จัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั และแนวทาง การส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้โดย ให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 2. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้โดย ให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 3. มีการส่ งเสริ มตามแผน 4. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้โดย ให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั 5. มีการส่ งเสริ มตามแผน 6. มีผลการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้และ ข้อเสนอในการปรับปรุ งการ ส่ งเสริ มและการจัดการเรี ยนรู ้ที่

วิธีการประเมิน การประเมินผลงาน

เครื่องมือประเมิน แบบประเมินผลงาน

การประเมินผลงาน

แบบประเมินผลงาน

การสังเกต

การสังเกต

การบันทึกข้อมูล

แบบบันทึกข้อมูล

การประเมิน การสังเกต แบบประเมินและ แบบสังเกต การประเมินก่อนอบรม แบบประเมินก่อนอบรม และการสัมภาษณ์ และแบบสัมภาษณ์

การประเมินผลงาน

แบบประเมินผลงาน

การสัมภาษณ์ การประเมินผลงาน

แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินผลงาน

การสัมภาษณ์ การประเมินผลงาน

แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินผลงาน


22 กลุ่มเป้าหมาย

ศึกษานิเทศก์

ตัวชี้วดั เป็ นผลจากการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ 7. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้โดย ให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ที่ เป็ นผลจากการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ 8. มีการส่ งเสริ มตามแผน 9. จํานวนครู ที่สามารถจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั เพิ่มขึ้น (นับคน ที่เข้าร่ วม) 10. รายงานผลการส่ งเสริ มการ จัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั 1. มีความรู ้ความเข้าใจแนวการ จัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั และแนวทาง การนิเทศติดตามการจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการ วิจยั และและแนวทางการส่ งเสริ ม การจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยน ใช้กระบวนการวิจยั 2. มีโครงการ แผนการนิ เทศ วิธีการ และเครื่ องมือ 3. มีการนิเทศติดตาม ตามแผน 4. มีโครงการ แผนการนิ เทศ วิธีการ และเครื่ องมือ 5. มีการนิเทศติดตาม ตามแผน 6. มีผลการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้และ ข้อเสนอในการปรับปรุ งการนิเทศ การจัดการเรี ยนรู ้และการส่ งเสริ ม ที่เป็ นผลจากการแลกเปลี่ยน

วิธีการประเมิน

เครื่องมือประเมิน

การประเมินผลงาน

แบบประเมินผลงาน

การสัมภาษณ์ การบันทึกข้อมูล

แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกข้อมูล

การประเมินผลงาน

แบบประเมินผลงาน

การประเมินก่อนอบรม แบบประเมินก่อนอบรม และการสัมภาษณ์ และแบบสัมภาษณ์

การประเมินผลงาน

แบบประเมินผลงาน

การสัมภาษณ์ การประเมินผลงาน

แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินผลงาน

การสัมภาษณ์ การประเมินผลงาน

แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินผลงาน


23 กลุ่มเป้าหมาย

ตัวชี้วดั เรี ยนรู ้ 7. มีโครงการ/แผนการนิเทศ/ วิธีการ/เครื่ องมือที่เป็ นผลจากการ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ 8. มีการนิเทศติดตาม ตามแผน 9. จํานวนครู ที่สามารถจัดการ เรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั เพิ่มขึ้น (นับคน ที่เข้าร่ วม) 10. รายงานผลการนิ เทศติดตาม การจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยน ใช้กระบวนการวิจยั ของครู และ การส่ งเสริ มของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน

วิธีการประเมิน

เครื่องมือประเมิน

การประเมินผลงาน

แบบประเมินผลงาน

การสัมภาษณ์ การบันทึกข้อมูล

แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกข้อมูล

การประเมินผลงาน

แบบประเมินผลงาน

เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการประเมินผล 1. สํ าหรับครู

1. ฉบับที่ 1 แบบประเมินความรู ้ความเข้าใจการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยน 2. ฉบับที่ 2 แบบสํารวจข้อมูลพื้นฐานของโรงเรี ยน 3. ฉบับที่ 3 แบบสังเกตการสอนของครู 4. ฉบับที่ 4 แบบประเมินแผนจัดการเรี ยนรู ้ 5. ฉบับที่ 5 แบบประเมินตนเองของครู ผสู ้ อน 6. ฉบับที่ 6 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ของครู ผูส้ อน 2. สํ าหรับนักเรียน 1. ฉบับที่ 7 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน 2. ฉบับที่ 8 แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน 3. ฉบับที่ 9 แบบประเมินชิ้นงานของนักเรี ยน 4. ฉบับที่ 10 แบบประเมินตนเองของนักเรี ยน 5. ฉบับที่ 11 แบบสอบถามความคิดเห็นของครู ผสู ้ อนที่มีต่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน


24 3. สํ าหรับผู้บริหาร

1. ฉบับที่ 1 แบบประเมินความรู ้ความเข้าใจการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยน 2. ฉบับที่ 12 แบบนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดําเนิ นการจัดการเรี ยนโดยผูเ้ รี ยน ใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ สําหรับผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน 4. สํ าหรับศึกษานิเทศก์ 1. ฉบับที่ 1 แบบประเมินความรู ้ความเข้าใจการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในโรงเรี ยน 2. ฉบับที่ 13 แบบบันทึกข้อมูลและผลการนิเทศ 3. ฉบับที่ 14 แบบติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของศึกษานิเทศก์

การรายงานผลการดําเนินงาน

1. รายงานความก้าวหน้า ช่วงเวลาปฏิบตั ิงานระยะที่ 2 (กันยายน 2554) 2. รายงานความก้าวหน้า ช่วงเวลาปฏิบตั ิงานระยะที่ 4 (มีนาคม 2556) 3. รายงานผลความสําเร็ จของการดําเนินงาน ช่วงเวลาปฏิบตั ิงานยะที่ 6 (มีนาคม 2557)

ประเด็น/หัวข้ อการรายงานผลการดําเนินงาน

ประเด็น/หัวข้อการรายงานผลการดําเนินงาน ประกอบด้วย 1. ชื่อโครงการ 2. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ 3. ความเป็ นมาของโครงการ 4. วัตถุประสงค์ 5. กลุ่มเป้ าหมาย 6. ระยะเวลาในการดําเนินงาน 7. เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 8. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 9. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 10. สรุ ปผลการดําเนินงาน อภิปราย และข้อเสนอแนะ


25

สารบัญ คํานํา สารบัญ เกริ่ นนํา วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย นิยามศัพท์ ความสําเร็ จของการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั และตัวชี้วดั ความสําเร็ จ แนวดําเนินการโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั แนวทางการพัฒนาบุคลากร ในการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั แนวทางการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การประเมินผลการดําเนินงาน เครื่ องมือที่ใช้ในการประเมิน การรายงานผลการดําเนิ นงาน ประเด็น/หัวข้อการรายงานผลการดําเนินงาน

หน้า 1 1 1 1 1 2 4 11 16 17 17 18 21 23


26

คํานํา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ได้จดั ทําเอกสาร “แนวการจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยน ใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้” เพื่อใช้ในการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู ้ ความสามารถในการวิจยั และจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ตามโครงการ สร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รายละเอียดในเอกสาร ประกอบด้วยส่ วนสําคัญคือ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย นิยามศัพท์ การสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ความสําเร็ จของ การสร้างวัฒนธรรมการวิจยั และตัวชี้วดั ความสําเร็ จ แนวดําเนินการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั แนวทางการ พัฒนาบุคลากรในการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั แนวทางการนิเทศติดตามและประเมินผล สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะกรรมการดําเนิ นโครงการทุกท่านที่ ร่ วมดําเนิ นการจัดทําและพัฒนาเอกสารให้มีคุณภาพสามารถนําไปใช้ได้อย่างมี ป ระสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งจะเป็ น ประโยชน์แก่ครู นักเรี ยน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ใช้และพัฒนาการวิจยั อย่างต่อเนื่องให้เกิดวัฒนธรรม การวิจยั อย่างแพร่ หลายต่อไป

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


27 คณะผู้จัดทํา คณะทีป่ รึกษา ๑. ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน ๒. ดร.ชัยพฤกษ์ เสรี รักษ์ ๓. ดร.สมเกียรติ ชอบผล ๔. ดร.อรทัย มูลคํา คณะยกร่ างและปรับปรุ งเอกสาร ๑. รศ.ดร.สมพงษ์ แตงตาด ๒. รศ.ดร.ปรี ชา วิหคโต ๓. ผศ.พันธ์นีย ์ วิหคโต ๔. ดร.เฉลิม ฟักอ่อน ๕. อาจารย์สมหวัง คันธรส ๖. นางวิไล แสงเหมือนขวัญ ๗. นางประภัสสร ไชยชนะใหญ่ ๘. น.ส.ประภาพรรณ เส็ งวงศ์ ๙. นายวีระพันธุ์ สวัสดี ๑๐. นายอดุลย์ วงษ์ใหญ่ ๑๑. นางศิริชาติ วงษ์ใหญ่ ๑๒. นางอัมพรพรรณ เทพหล้า ๑๓. ดร.ไพจิตร สะดวกการ ๑๔. นางสาวอุษณี ย ์ ลีลาพรพิสิทฐิ์ ๑๕. ดร.ชาตรี นาคะกุล ๑๖. นายไตรรงค์ เจนการ ๑๗. น.ส.รัตนทิพย์ เอื้อชัยสิ ทธิ์ ๑๘. นางธนชพร ตั้งธรรมกุล ๑๙. นายวีระศักดิ์ บุญญาพิทกั ษ์

เลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ปรึ กษาสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยถมศึกษา เขต ๑๖ สงขลา ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยถมศึกษา เขต ๑๖ สงขลา


28 ๒๐. นายอินสวน สาธุ เม ๒๑. นายชวลิต จันทร์ ศรี ๒๒. น.ส.วิริยะ บุญยะนิวาสน์ ๒๓. นายไสว ภู่ทบั ทิม ๒๗. นางสาวจิตรา ภิญโอภาส ๒๘. นางบัวบาง บุญอยู่ ๒๙. นางสุ รัตน์นารี จี๋คีรี

๓๐. นางสกาวรัตน์ ไกรมาก ๓๑. นางลลนา กนแกม

๓๒. นางจุฑารัตน์ เดชวงศ์ญา ๓๓. นายวิจิตร ว่องวิการณ์ ๓๔. นางสาววิภาพร นิธิปรี ชานนท์ ๓๕. ดร.อรนุช มัง่ มีสุขศิริ ๓๖. นางมัณฑนา ปรี ยวนิตย์ ๓๗. นางสุ ดจิตร์ ไทรนิ่มนวล ๓๘. นายพลรพี ทุมมาพันธ์ ๓๙. นายพรชัย ถาวรนาน ๔๐. น.ส.จุฑารัตน์ ก๋ องคํา

ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสิ นธุ์ เขต ๑ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต ๓ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทราเขต ๑ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต ๑ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒ กทม. ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต ๑ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๔ เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พะเยา เขต ๒ ครู รร.ยะหาศิรยานุกลู สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๕ นราธิ วาส ยะลา ปั ตตานี ครู รร.อนุบาลเชียงใหม่ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๑ ครู รร.อนุบาลสว่างอารมณ์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทยั ธานี เขต ๑ นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ครู ช่วยราชการ สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา พนักงานพิมพ์ดีด สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา


29 บรรณาธิการกิจ ๑. นางสาววิภาพร นิธิปรี ชานนท์ ๒. ดร.อรนุช มัง่ มีสุขศิริ ๓. นางบัวบาง บุญอยู่ ๔. ดร.ไพจิตร สะดวกการ ๕. นายวีระพันธุ์ สวัสดี ออกแบบปก ๑. นายศศวรรธรน์ ขรรทัพไทย

นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต ๑ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ

ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทราปราการ เขต ๑



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.