สารเครือข่าย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน ฉบับที่ 1

Page 1

สาร

เครือื ขายการแพทยฉก เคร ุ เฉิน ปที่ 1

www.niems.go.th

ประจําเดือน กรกฎาคม - กันยายน พ.ศ. 2558

ฉบับที่

01

พลังทองถิ่นไทย

สูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางยั่งยืน

องคการบริหารสวนจังหวัดสขลา พรอมเปนเจาภาพหลัก รวมกับสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติและภาคีเครือขายองคกรปกครอง สวนทองถิ่น ตอจากองคการบริหารสวนจังหวัดอุบลราชธานี ในการจัดประชุมการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับชาติ ครั้งที่ 2 “พลังทองถิ่นไทย สูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางยั่งยืน” ในวันที่ 24-26 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมลี การเดน พลาซา อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงคเพื่อสรางองคความรูและแลกเปลี่ยนเรียนรูงานการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น และเพื่อสรางความเขมแข็งของภาคีเครือขายดานการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสามารถดําเนินงานและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉินได โดยมีกลุมเปาหมาย คือ ผูบริหารและเจาหนาที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั่วประเทศ และ ภาคีเครือขาย จํานวน ประมาณ 2,200 คน มีคาลงทะเบียนคนละ 500 บาท สามารถลงทะเบียนผาน Website ขององคการบริหารสวน จังหวัดสขลา และสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

สํานักประสานการแพทยฉุกเฉินและเครือขายสัมพันธ สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ


º · º Ã Ã ³ Ò ¸Ô¡ Ò Ã

ารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน ฉบับนี้ เปนฉบับปฐมฤกษ ที่สถาบันการแพทย ฉุกเฉินแหงชาติ โดยสํานักประสานการแพทย ฉุ ก เฉิ น และเครื อ ข า ยสั ม พั น ธ จั ด ทํ า ขึ้ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ สื่อสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู การพัฒนาระบบ นวัตกรรมงาน การแพทยฉุกเฉิน และจุดประกายในการขับเคลื่อนงานการแพทย ของประเทศไทย กับเครือขายการแพทยฉุกเฉิน ทั้งภาครัฐ ภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และ หนวยงานที่เกี่ยวของ ตลอดเปนเครื่องมือสารสัมพันธกับบุคลากร ที่เกี่ยวของในระบบการแพทยฉุกเฉิน เนื้อในฉบับนี้ไดนําเสนอ การบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉินโดยองคการบริหารสวนจังหวัด การกระจายอํ า นาจการบริ ก ารการแพทย เ ฉิ น ตามเจตนารมณ พรบ.การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ.2551 ระบบสารสนเทศปฏิบัติการ การแพทยฉกุ เฉิน บทเรียนเครือขายภาคเอกชนในภาระกิจชวยเหลือ ผูป ระสบภัยแผนดินไหวประเทศเนปาล และเครือขายองคกรปกครอง สวนทองถิ่น โดยมีองคการบริหารสวนจังหวัดสงขลา เปนเจาภาพ หลัก รวมกับสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ กําหนดจัดประชุม การแพทยฉกุ เฉินขององคกรปกครองสวนทองถิน่ ระดับชาติ ครัง้ ที่ 2 “พลังทองถิ่นไทย สูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางยั่งยืน” ในวันที่ 24-26 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมลี การเดน พลาซา อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ขอเชิญชวนเครือขายการแพทย ฉุกเฉินรวมเขารวมประชุม กระผมและกองบรรณาธิการ หวังวา สารเครือขายฉบับนี้คงเปนประโยชนตอทุกทาน หากมีสิ่งใดแนะนํา กองบรรณาธิการยินดีนอมรับ

คณะที่ปรึกษา  นายแพทยอนุชา เศรษฐเสถียร นายแพทยไพโรจน บุญศิริคําชัย นายแพทยภูมินทร ศิลาพันธุ นายสุรชัย ศิลาวรรณ นายพรชัย โควสุรัตน นายนิพนธ บุญญามณี

บรรณาธิการ  นายพิเชษฐ หนองชาง   ผูชวยบรรณาธิการ นางสาวชฎารัตน เกิดเรียน   กองบรรณาธิการ นายพงษพิษณุ ศรีธรรมานุสาร วาที่รอยเอกอรรณพ สุขไพบูลย

Ê Ò Ã ºÑÞ

3 4 5 6 7 8

¡ÒáÃШÒÂÍíÒ¹Ò¨·ŒÍ§¶Ôè¹ã¹¡ÒúÃÔËÒà ¨Ñ´¡ÒáÒÃá¾· ©Ø¡à©Ô¹ โดย ดร.นพ.ไพโรจน บุญศิริคําชัย รองเลขาธิการสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ¡ÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹áÅкÃÔËÒèѴ¡ÒÃÃкº ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹â´Âͧ¤ ¡ÒúÃÔËÒÃʋǹ ¨Ñ§ËÇÑ´ÍغÅÃÒª¸Ò¹Õ โดย นางนิมมลา สวัสดิ์พันธ ¡ÒÃࢌҶ֧¢Í§»ÃЪҪ¹ áÅкÙóÒÃкº¡ÒÃá¾·Â ©¡ Ø à©Ô¹¢Í§Í§¤ ¡Òà ºÃÔËÒÃʋǹ¨Ñ§ËÇѴʧ¢ÅÒ โดย นางปยะพร โยธี ¡ÒúÃÔËÒáÒèѴ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹¢Í§ ͧ¤ ¡ÒúÃÔËÒÃʋǹ¨Ñ§ËÇÑ´ÁËÒÊÒäÒÁ โดย ดร.ยิ่งยศ อุดรพิมพ ประธานคณะทํางาน องคการบริหารสวนจังหวัดมหาสารคาม ÃкºÊÒÃʹà·È»¯ÔºÑμÔ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹ Operating Information System : OIS โดย นางอัญชลี บัวทอง โรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก º·àÃÕ¹à¤Ã×Í¢‹ÒÂÀÒ¤àÍ¡ª¹ã¹ÀÒÃСԨª‹Ç àËÅ×ͼٌ»ÃÐʺÀÑÂἋ¹´Ô¹äËÇ»ÃÐà·È๻ÒÅ สรุปและเรียบเรียง โดย นายนิติศักดิ์ บุญมานนท มูลนิธิกุศลศรัทธาสุราษฎรธานี

นางนลินรัตน เรืองจิรยศ นายบัณฑิต พีระพันธ นางนวนันทน อินทรักษ วาที่รอยตรีการันต ศรีวัฒนบูรพา นางพัชรี รณที นางสาวเทียมจันทร ฉัตรชัยกนันท นางสาวชฎารัตน เกิดเรียน

ติดตอประสานงาน 

email : chadarat.k@niems.go.th


การกระจายอํานาจทองถิ่น ในการบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉิน โดย ดร.นพ.ไพโรจน บุญศิริคําชัย รองเลขาธิการสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

ารขับเคลื่อนเพื่อพัฒนางานการแพทยฉุกเฉิน ในสวนของ การปองกัน เฝาระวัง เตรียมความพรอมและการเขาถึงของ ประชาชนนั้น ยังคงตองยึดหลักการ สาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care) เปนแนวทางการมีสวนรวมของชุมชน (Community Participation) เพือ่ ใหสอดรับกับการใหบริการการแพทยฉกุ เฉิน (EMS) โดยเฉพาะการแพทย ฉุกเฉินกอนโรงพยาบาลนั้นเพื่อใหครอบคลุมทุกพื้นที่จําเปนตองยึดหลักการ กระจายอํานาจ ใหองคกรปกครองปกครองสวนทองถิ่น (Decentralization) เพื่อใหระบบทางดวนของโรงพยาบาลสามารถเชื่อมโยงไปจนถึงพื้นที่จุด เกิดเหตุได

กาวยางการแพทยฉุกเฉินทองถิ่นไทย สูการจัดการตนเองไดอยางยั่งยืน เปน Theme การประชุมวิชาการเฉพาะภาคสวนที่เปนองคกรปกครองสวน ทองถิ่นลวนๆ เปนครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อวันที่ 27-29 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ที่โรงแรมสุนีย แกรนดโฮเตล จังหวัดอุบลราชธานี พลิกโฉมการจัดการ การแพทยฉุกเฉินของประเทศไทยจากการจัดการโดยโรงพยาบาลของรัฐ หรือสาธารณสุขและองคกรปกครองสวนทองมีสวนรวมและเปนผูสนับสนุน เปลี่ยนเปนการเริ่มเขาสูการบริหารจัดการโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น ดวยตนเองและรัฐเปนผูสนับสนุน นายกสมาคมองคการบริหารสวนจังหวัด แหงประเทศไทย นายกสมาคมองคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย และนายกสมาคมสันติบาตเทศบาลแหงประเทศไทย รวมแสดงสัตยาบรรณ แสดงจุดยืนพัฒนาระบบการแพทยฉกุ เฉินโดยทองถิน่ ทัง้ ประเทศเปนผูบ ริหาร จัดการดวยตนเอง

วันที่ 7 พฤษภาคม 2557 สมาคมองคการบริหารสวนจังหวัดแหง ประเทศไทยโดยนายกสมาคมฯ รวมกับประธานสมาพันธองคการบริหารสวน จังหวัดทั้ง 4 ภาค ไดจัดการประชุมที่จังหวัดกระบี่และประกาศเจตนารมณ ร ว มกั น เรี ย กร อ งให มี ก ารกระจายอํ า นาจกั น อย า งเต็ ม ที่ ใ นประเทศไทย ซึ่งเชื่อวาการใหเปนจังหวัดปกครองตนเองหรือการเลือกตั้งทุกระดับจะเปน ทางแกไขปญหาคอรัปชั่นและปญหาระบบเจาขุนมูลนายได เปนทางออกของ ปญหาความขัดแยง การกระจายอํานาจประกอบดวยการกระจายการคลังของ ประเทศดวย รัฐบาลทองถิน่ สามารถจัดการไดหมดยกเวนงานดานตางประเทศ กองทัพ เงินตราและศาล เทานั้นที่ยังคงเปนบทบาทของรัฐบาลกลาง

เจตนารมณของพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ.2551... สงเสริมองคกรปกครองสวนทองถิ่นเขามามีบทบาทในการบริหาร จัดการเพื่อใหเกิดความรวมมือในการปฏิบัติงานดานการแพทย ฉุกเฉินรวมกัน อันจะทําใหผูปวยฉุกเฉินไดรับการคุมครองสิทธิ ในการเข า ถึ ง ระบบการแพทย ฉุ ก เฉิ น อย า งทั่ ว ถึ ง เท า เที ย ม มี คุณภาพมาตรฐาน โดยไดรับการชวยเหลือและรักษาพยาบาลที่ มีประสิทธิภาพและทันตอเหตุการณมากขึ้น จึงจําเปนตองตรา พระราชบัญญัตินี้และพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ.2551 มาตรา 33 วรรคสอง บัญญัติวา ให กรรมการการแพทยฉุกเฉิน สนับสนุนและประสานองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อกําหนด หลักเกณฑใหองคกรดังกลาวเปนผูดําเนินงานและบริหารจัดการ ระบบการแพทยฉุกเฉินในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่

อกจากภารกิจดานโครงสรางพื้นฐาน องคกรปกครองสวน ทองถิ่น ยังตองจัดบริการประชาชน ทองถิ่นขนาดเล็กและ งบประมาณนอย รถพยาบาลฉุกเฉินและบุคลากรกูชีพมีจํากัด ความสามารถ ชวยผูป ว ยฉุกเฉินใหทนั ทวงทียอ มกระทําไดยากเพียงลําพัง ในภาครัฐกระทรวง สาธารณสุขก็ยากทีจ่ ะจัดสรรงบประมาณ ทัง้ ขาราชการทีจ่ ะพัฒนาการบริหาร จัดการระบบการแพทยฉุกเฉินนอกโรงพยาบาลยิ่งมีขอจํากัดมาก หลาย ประเทศทั้งภาคพื้นยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน เกาหลีหรือไตหวัน ลวนแตอยู ในการจัดการของรัฐบาลทองถิน่ ทัง้ สิน้ หนวยดับเพลิงจะมีทงั้ รถกูภ ยั ดับเพลิง และรถพยาบาลบริหารจัดการดวยกัน องคการบริหารสวนจังหวัดอุบลราชธานี เขามามีบทบาทบริหารจัดการระบบการแพทยฉุกเฉินที่รวมถึงการมีศูนย รับแจงเหตุและสั่งการ 1669 อยูในความรับผิดชอบ เมื่อมีความรวมมือ ขององคการบริหารสวนจังหวัดอุบลราชธานีกับองคการบริหารสวนตําบล และเทศบาลทัง้ จังหวัด ศักยภาพการบริหารจัดการระบบการแพทยฉกุ เฉินเพิม่ ขึ้นมากและสามารถครอบคลุมพื้นที่ไดทั่วทั้งจังหวัด พัฒนาทั้งระบบสื่อสาร และสารสนเทศที่ทันสมัย เชื่อมตอกับโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงคซึ่งเปน โรงพยาบาลศูนยสังกัดกระทรวงสาธารณสุขไดเปนอยางดี มีการสนับสนุน ระบบเทเลเมดิซีนเพื่อใหแพทยสามารถดูแลและใหคําปรึกษาไดตลอดเวลา สามารถจายคาตอบแทนแพทยอํานวยการได การชวยเหลือดานการแพทย ในระบบการแพทยฉุกเฉินกอนโรงพยาบาลยังอยูในมือของผูเชี่ยวชาญทาง การแพทย ทองถิน่ เปนผูบ ริหารจัดการ และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกํากับ มาตรฐาน แนวทางการแบงบทบาททั้งสามดังกลาว การที่องคกรปกครอง สวนทองถิ่นบริหารจัดการงานการแพทยฉุกเฉิน จึงเปนการกระจายอํานาจ ใหกับประชาชน สําคัญยิ่งตอการใหบริการกูชีพของประเทศไทยในอนาคต ไดอยางยั่งยืน สอดคลองกับ Theme ของงานวิชาการระดับชาติครั้งที่สอง ที่จังหวัดสงขลาวา พลังทองถิ่นไทย สูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยาง ยั่งยืน

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน

3


การดําเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทยฉุกเฉิน โดยองคการบริหารสวนจังหวัดอุบลราชธานี โดย นางนิมมลา สวัสดิ์พันธ

สํ า

นักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี สถาบันการ แพทยฉุกเฉินแหงชาติ และองคการบริหารสวนจังหวัด อุบลราชธานี ภายใตนโยบายผูว า ราชการจังหวัดอุบลราชธานี ไดดาํ เนินการจัด ระบบบริการการแพทยฉุกเฉินระดับจังหวัดอุบลราชธานีขึ้น เริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2549 จนถึงปจจุบนั โดยองคการบริหารสวนจังหวัดอุบลราชธานี ไดดาํ เนินการ เชารถยนตดดั แปลงหลังคายกสูงพรอมอุปกรณชว ยชีวติ เพือ่ ใชเปนรถพยาบาล ประจําหนวยบริการการแพทยฉุกเฉิน ชวยเหลือบรรเทาความเดือดรอนของ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ตามโครงการระบบบริการการแพทย ฉุกเฉินเพือ่ ประชาชนชาวจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2553 จํานวน 60 คัน และ โครงการระบบบริการการแพทยฉกุ เฉินเพือ่ ประชาชนชาวจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2554 จํานวน 30 คัน รวม 90 คัน โดยมีเครือขายไดแกสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร และมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี เพื่อดําเนินการระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน จัดตั้งหนวย ปฏิบัติการฉุกเฉินและบริการรับสงผูปวยในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ในป งบประมาณ 2555 องคการบริหารสวนจังหวัดอุบลราชธานีไดดาํ เนินการจัดหา รถยนตดัดแปลงหลังคายกสูงเปนรถพยาบาลฉุกเฉินพรอมอุปกรณชวยชีวิต จํานวน 130 คัน เนื่องจากจํานวนรถพยาบาลฉุกเฉินที่มีอยูไมเพียงพอในการ ใหบริการและเพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินจังหวัดอุบลราชธานี

โดยขยายเครือขายลงสูท อ งถิน่ ครอบคลุมพืน้ ทีท่ กุ ตําบล กอปรกับผูว า ราชการ จังหวัดอุบลราชธานี มีนโยบายใหดําเนินการ 1 ตําบล 1 หนวยกูชีพ โดยมี เปาหมายใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ ในจังหวัดอุบลราชธานี มีทมี กูช พี กูภ ยั ประจําตําบล เพือ่ พัฒนาระบบบริการกูช พี กูภ ยั และเปนการเตรียมความพรอม ในการเผชิญเหตุและชวยเหลือผูป ระสบภัยไดอยางถูกตอง การใหบริการรักษา พยาบาลผูบาดเจ็บและเจ็บปวยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุกอนนําสงโรงพยาบาล ป 2555 ได จั ด ตั้ ง หน ว ยปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น กู  ชี พ คุ ณ ธรรมและ รับผิดชอบรถปฏิบตั กิ าร จํานวน 15 คัน และรถยนตตู 2 คัน เจาหนาทีป่ ระจํา หนวยกูช พี คุณธรรม จํานวน 90 คน ปฏิบตั งิ านในเขตอําเภอเมืองอุบลราชธานี และอําเภอวารินชําราบ เนื่องจากมีประชากรหนาแนน ทําใหประชาชนได รับการชวยเหลือและเขาถึงการบริการทางการแพทยอยางทันทวงทีและมี ประสิทธิภาพ และอํานวยความสะดวกแกญาติผูปวยและโรงพยาบาลตางๆ ในการสงตอผูปวยหนักซึ่งอยากกลับไปพักผอนที่บานเปนครั้งสุดทาย ผูปวย ที่ชวยเหลือตนเองไมได ผูปวยพิการ หรือผูปวยหนักจากตางจังหวัดกลับบาน ที่จังหวัดอุบลราชธานี

4

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน

ป 2557 องคการบริหารสวนจังหวัดอุบลราชธานี ไดบริหารจัดการ ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการจังหวัดอุบลราชธานี เต็มรูปแบบ โดยไดรับการ ถายโอนภารกิจศูนยรบั แจงเหตุและสัง่ การจังหวัดอุบลราชธานี จากสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี เมื่อ 19 พฤษภาคม 2557 ซึ่งเปนองคกร ปกครองสวนทองถิน่ แหงแรกของประเทศไทย ทีไ่ ดรบั รับการถายโอนภารกิจนี้ ใหบริการประชาชนแบบบูรณาการ Integrate Emergency Management (I-EMS) โดยใชบริการทางหมายเลข 1669 ในการแจงเหตุดว น เหตุรา ย ไฟไหม อุบัติเหตุฉุกเฉิน พาคนรักกลับบาน เพื่อใหบริการประชาชนไดอยางทันทวงที ตลอด 24 ชั่วโมง และสั่งการไปยังหนวยปฏิบัติการในเครือขายระบบบริการ การแพทยฉกุ เฉินจังหวัดอุบลราชธานี ในการออกเหตุชว ยเหลือประชาชน ซึง่ ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการจังหวัดอุบลราชธานี ประกอบดวย แพทยอํานวย การ (Medical Director) จํานวน 1 คน หัวหนาศูนยรับแจงเหตุและสั่งการฯ จํานวน 1 คน ผูกํากับการปฏิบัติการฉุกเฉิน (Supervisor) จํานวน 3 คน ผูประสานงานปฏิบัติการฉุกเฉิน (Coordinator) จํานวน 8 คน ผูรับแจง และจายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน (Call Taker) จํานวน 25 คน และพนักงาน วิทยุสื่อสาร 2 คน มีอัตรากําลังรวม 40 อัตรา ผลัดเปลี่ยนเวรกัน ปฏิบัติงาน ตลอด 24 ชั่วโมง

ระบบสื่อสารโดยมีโทรศัพทพื้นฐาน รับสาย 1669 จํานวน 50 คูส าย ติดตัง้ เครือ่ งบันทึกเสียงสนทนา โทรศัพทพนื้ ฐานทัว่ ไป จํานวน 2 คูส าย และโทรศัพทระบบเคลื่อนที่ พรอมเครื่องวิทยุโทรคมนาคมสําหรับสถานีฐาน (Base Station) ระบบ VHF เครื่องวิทยุโทรคมนาคมชนิดมือถือ (Handhold portable station) มีกําลังรับสงไมเกิน 5 วัตต เครื่องวิทยุโทรคมนาคมผาน เครือขายอินเตอรเน็ต (E-radio) เพื่อเชื่อมการติดตอระบบวิทยุสื่อสาร ระบบ SSB ระบบเครือขาย (LAN) ระบบอินเตอรเน็ต เครื่องโทรสาร ระบบวิทยุ คมนาคมระบบทรังค (Trunked Radio) วิทยุคลื่นความถี่ประชาชน (Citizen Band, CB) ระบบ GPS ในรถกูชีพ และระบบ Streaming Technology ใชกับหนวยกูชีพคุณธรรมขององคการบริหารสวนจังหวัดอุบลราชธานี สถิติในการใหบริหารผูเจ็บปวยฉุกเฉิน จากการรับแจงเหตุและ สั่งการ ป 2555 จํานวน 67,980 ครั้ง ป 2556 จํานวน 80,017 ครั้ง และป 2557 จํานวน 73,992 ครั้ง


การเขาถึงของประชาชนและบูรณาระบบ การแพทยฉก ุ เฉินขององคการบริหารสวนจังหวัดสงขลา โดย นางปยะพร โยธี องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนหนวยงานที่ใกลชิดกับประชาชน รูจักพื้นที่ รูปญหา และความตองการของประชาชน และเปนหนวยงานที่มี หนาที่ในการจัดใหบริการสาธารณะ ซึ่งการใหบริการรถพยาบาลฉุกเฉินใน พื้นที่ไดเปนที่ยอมรับกันวาเกิดประโยชนกับประชาชนอยางแทจริง ผูบริหาร เจาหนาที่เปนคนในพื้นที่ตางก็ทําหนาที่รับใชประชาชน ทําเพื่อบานเกิดเมือง นอน เหมือนดังคํากลาวของ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรี ที่กลาวไววา เกิดเปนคนตองทดแทนคุณแผนดิน กอปรกับในสภาวการณ ป จ จุ บั น การเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ อุ บั ติ ภั ย มี ม ากขึ้ น มากมายและหลากหลาย รูปแบบ เปนสิ่งที่ทุกฝายตองใหความรวมมือกัน ตองชวยแกปญหารวมกัน อยางบูรณาการ องคการบริหารสวนจังหวัดสงขลา โดยนายกนิพนธ บุญญามณี ได เ ล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ และความจํ า เป น ในเรื่ อ งความปลอดภั ย และชี วิ ต ของประชาชน จึงกําหนดเปนนโยบายดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของ ประชาชน โดยจัดใหมีรถตูพยาบาลประจําตําบลเพื่อใหกับเทศบาลและ องคการบริหารสวนตําบล รวมทั้งองคกรที่เกี่ยวของในจังหวัดสงขลา นําไป ใชสาํ หรับรับสงผูป ว ยอุบตั เิ หตุฉกุ เฉินไปยังสถานพยาบาลไดทนั ทวงที เปนการ สงเคราะหผูดอยโอกาสและชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุ ประสบภัยตางๆ ได

เริ่มดําเนินการมาตั้งแต ป 2548 จัดซื้อตูรถพยาบาลจํานวน 25 คัน และ ในป 2549 จัดซื้อเพิ่มอีก 30 คัน ใหบริการในพื้นที่ที่มีปญหาดานอุบัติเหตุ ฉุกเฉินจํานวนมาก และตอมาในป 2553 ไดจัดซื้อรถพรอมตูพยาบาลและ ครุภัณฑทางการแพทย จํานวน 18 คัน รวมมีรถใหบริการทั้งสิ้น 73 คัน โดยรวมบูรณาการกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและมูลนิธิในจังหวัดสงขลา มีการกระจายรถไปในพื้นที่ตําบลตางๆ ทั้ง 16 อําเภอ ซึ่งจากการประมวลผล จากรายงานการใชรถพยาบาลประจําเดือนพบวามีการใชรถพยาบาลฉุกเฉิน ในการรับสงผูปวยหรือผูประสบเหตุ นับวันจะเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับมี องคกรปกครองสวนทองถิ่นและหนวยงานที่เกี่ยวของหลายแหงไดแจงความ ประสงคเขารวมดําเนินการระบบการแพทยฉุกเฉิน โดยขอรับรถพยาบาล นําไปใหบริการประชาชนในพื้นที่มากขึ้น ในป 2557 จึงจัดซื้อรถตูเพิ่มอีก 20 คัน ป 2558 จัดซื้อ 25 คัน รวมเปนรถพยาบาลที่ใหบริการทั้งสิ้น จํานวน 118 คัน และกําหนดไวในแผนป 2559 จะจัดใหมรี ถพยาบาลใหบริการในพืน้ ที่ ครอบคลุมทุก อปท.จํานวน 141 แหง อีกทั้งจะจัดใหมีศูนยรับแจงเหตุและ สั่งการจังหวัด และไดรวมกับตํารวจภูธรจังหวัดสงขลาในการรับแจงเหตุ ความปลอดภัย (191) และดับเพลิง อยูในศูนยเดียวกัน ใชกลอง CCTV เฝาระวังเหตุและปฏิบัติการ

นอกจากการดํ า เนิ น การในการพั ฒ นาอุ ป กรณ การตรวจสอบ สภาพรถและครุภัณฑประจําป เพื่อใหมีความพรอมในการปฏิบัติภารกิจแลว องคการบริหารสวนจังหวัดสงขลา ไดดําเนินการพัฒนาบุคลากรของหนวย ปฏิบตั กิ ารทัง้ ในรูปแบบของการอบรม สัมมนา และการแลกเปลีย่ นเรียนรูเ พือ่ ใหผูปฏิบัติงานที่มีความรู สามารถชวยกูชีพกูภัยไดอยางมีประสิทธิภาพและ เปนที่ยอมรับมากขึ้น สามารถพัฒนาทีมกูชีพใหแข็งแกรง พรอมปฏิบัติงานได ตลอด 24 ชั่วโมง โดยการ บูรณาการกับหนวยงานในพื้นที่อยางเปนรูปธรรม ในการดําเนินการแพทยฉุกเฉินขององคการบริหารสวนจังหวัด สงขลา มุงหวังใหเกิดประโยชนแกประชาชนในจังหวัดสงขลา และสราง เครือขายในการใหบริการการแพทยฉุกเฉิน ใหเปนไปตามเจตนารมณของ

พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ.2551 และการใหบริการการแพทย ฉุกเฉินครอบคลุมทุกพื้นที่ เปนไปตามแผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2556–2559 ในป 2558 นี้ องคการบริหารสวนจังหวัดสงขลา เปนเจาภาพ หลักรวมกับสถาบันการแพทยฉกุ เฉินแหงชาติ และภาคีเครือขาย จัดประชุม การแพทยฉุ ก เฉิ น ขององคก รปกครองสว นท อ งถิ่ น ระดั บ ชาติ ครั้ ง ที่ 2 “พลั ง ท อ งถิ่ น ไทย สู  เ ส น ทางปฏิ รู ป การแพทย ฉุ ก เฉิ น อย า งยั่ ง ยื น ” ในวันที่ 24-26 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมลี การเดน พลาซา อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรูแ ละขับเคลือ่ นงานการแพทยฉกุ เฉินของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน

5


การบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉินของ องคการบริหารสวนจังหวัดมหาสารคาม โดย ดร.ยิ่งยศ อุดรพิมพ ประธานคณะทํางาน องคการบริหารสวนจังหวัดมหาสารคาม

แรงบันดาลใจที่ทําใหเกิดระบบ EMS ที่ยิ่งใหญแกพี่นองประชาชน ในวันที่ 17 พฤษภาคม 2556 กระผม ไดประสบอุบัติเหตุรถยนตพลิกควํ่าหลายตลบ บาดเจ็บสาหัสตองเขารับการผาตัดโดยเรงดวน เพราะมีเลือดคัง่ ในสมอง เพียงเสีย้ ววินาที ถาไมมีเบอร 1669 ถาไมมีรถกูชีพ โรงพยาบาลเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม กระผมคง ไมไดมานั่งเขียนบทความฉบับนี้เปนแน

ากประสบการณตรงทีไ่ ดรบั ดวยตนเองจึงไดเห็นความสําคัญ ของการกูชีวิต ที่จะตองทํางานประสานกันอยางเปนระบบ กระผมไดมองเห็นปญหาและความไมสมบูรณในการกูช พี ไมวา จะเปนบุคลากร ที่แจงขาว รับขาว ที่ใหการชวยเหลือ รถยนต วัสดุอุปกรณในการชวยเหลือ ตลอดจนวิธีการสื่อสารและการรองขอความชวยเหลือจากศูนยรับแจงเหตุ แมกระทั่งบุคลากรทางการแพทยที่ไปใหการชวยเหลือ ยังขาดความรู ทักษะ ในการชวยฟนคืนชีพแบบทันสมัย รวดเร็วและทันเวลา อยางไรก็ตาม กระผม โชคดีมากทีม่ ที มี กูช พี ชวย และสงตัวไป รพ. เพือ่ ทําการรักษาไดทนั เวลา ทําให ไมเสียชีวิต จากเหตุการณครั้งนั้น ทําใหกระผมตั้งปณิธานจะจัดทําระบบกูชีพ ใหบริการแกพี่นองประชาชนชาวจังหวัดมหาสารคามที่ทันสมัยและดีขึ้นกวา เดิมใหได เมือ่ ฟน ขึน้ มาหลังจากผาตัด ผมไดนกึ ถึงภาพทีจ่ ติ เราไปทองเทีย่ วใน ที่ตางๆ จริงหรือไมจริงไมรู แตที่ทราบคือฟนขึ้นมาในวันวิสาขบูชาในป 2556 ไดเห็นเทวดามาสงเรา เทวดาบอกวาเมือ่ ฟน แลว แข็งแรงแลว จะตองไปดําเนิน การเพือ่ ชวยชีวติ คนทีป่ ระสบเหตุ ไมวา เขาจะยากดี มีจน อยางไรก็ตาม สมควร ทีจ่ ะไดรบั การชวยเหลือเทาเทียมกันอยางทัว่ ถึง เขาจะใชญาติเราหรือไมกต็ าม

ไมมีใครสามารถทํานายอนาคตเราไดวาจะเกิดเมื่อใด ไมวาจะเปน ตัวเรา ญาติพี่นองเรา ในการทํา EMS ทั้งจังหวัด ก็จะเปนการไปชวยเขา เปนการทําบุญกุศลอยางสูงยิ่ง ในฐานะที่เปนผูบริหารทองถิ่นซึ่งมีหนทางที่ จะดําเนินการได ก็ไดมีกองสงเสริมคุณภาพชีวิต ซึ่งมีบุคลากรที่มีศักยภาพสูง และมีความพรอมในการทีจ่ ะทํางานรวมถึงไดคาํ แนะนําของสถาบันการแพทย ฉุกเฉินแหงชาติเปนอยางดี ใหความสะดวกทุกเรื่อง

6

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน

ปจจุบันขณะนี้เราไดฝกอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย (40 ชั่วโมง) และทีส่ าํ คัญอยางยิง่ นายกองโท ดร.คมคาย อุดรพิมพ นายกองคการบริหาร สวนจังหวัดมหาสารคาม ผูบริหารสูงสุดของ อบจ.มหาสารคาม ไดใหความ สําคัญในการฝกอบรมเปน FR (40 ชม) ดวยตนเอง จนจบหลักสูตร ไดรบั ใบประกาศนียบัตร ถือวา เปน นายก อบจ. ที่เปน FR คนแรกของ อง ประเทศไทย นี่คือแรงบันดาลใจ แตอุปสรรคปญหาในการ ดําเนินการ ก็ยอมมีบางจากความไม เขาใจของสมาชิกสภาฯ ที่จะอนุมัติ งบประมาณในการดําเนินการ ทั้งความ หวาดระแวงของ สตง. แตเราก็ทําความ เขาใจชี้แจงของความสําคัญและประโยชนน ที่จะเกิดขึ้นกับพี่นองประชาชน อาจจะเปปนญาติ พี่นองของเราก็ได อาจจะประสบเหตุก็เปนได ดวยความตั้งใจที่มุงมั่นและ ศรัทธา เพื่อใหชาวจังหวัดมหาสารคามไดมีระบบการแพทยฉุกเฉินที่สมบูรณ แบบ เต็มศักยภาพ และมีคุณภาพ โดยจะพัฒนาใหแพทยสามารถเห็นผูปวย ทราบอาการผูปวยกอนถึงโรงพยาบาล ในการนี้ขอขอบพระคุณ อบจ.อุบลราชธานี อบจ.หนองบัวลําภู ที่ใหความกรุณาเปนสถานที่ศึกษาดูงาน และประสบการณ เพิ่มพูนความรู ขอบพระคุณ ดร.นพ.ไพโรจน บุญศิริคําชัย รองเลขาธิการสถาบันการแพทย ฉุกเฉินแหงชาติ และคณะวิทยากรจากสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ โรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก อบต.ปากโทก จังหวัดพิษณุโลก ทีไ่ ดใหคาํ แนะนําเปนอยางดี ขอขอบพระคุณมา ณ ทีน่ ี้ ทีท่ าํ ใหองคการบริหาร สวนจังหวัดมหาสารคาม มีระบบ EMS อยางมีคุณภาพ และยั่งยืนตอไป


ระบบสารสนเทศปฏิบัติการแพทยฉุกเฉิน Operating Information System: OIS โดย นางอัญชลี บัวทอง โรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ เปนผูพัฒนา และรวมมือกับสํานักงาน  ความเปนมาและความสําคัญ งานบริการการแพทยฉุกเฉินปจจัยที่ทําใหงานสําเร็จสิ่งหนึ่งคือ สาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลกเพื่อนํารองใชระบบ สารสนเทศ ดานปฏิบัติการ ระบบสารสนเทศการแพทยฉุกเฉิน (Information Technology การแพทยฉุกเฉิน ภายใตปฏิบัติการ Operation Information System : for Emergency Medical Service system : ITEMS) OIS โดยเริ่มดําเนินการ พฤศจิกายน 2557 มีหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก ซึ่งเปนระบบที่นําเอาเทคโนโลยีทางสารสนเทศมาใชในประเทศไทย ตั้งแต 1) ศูนยรับแจงเหตุและสั่งการจัหวัด 2) หนวยปฏิบัติการ และชุดปฏิบัติการ พ.ศ.2554 จนถึงปจจุบัน ระบบ ITEMS เปนเพียงเครื่องมือในการบันทึก 3) หองฉุกเฉินในแตละโรงพยาบาล มีเครือขายที่เขารวมไดแก โรงพยาบาล ขอมูลการออกปฏิบัติการที่พัฒนามาจาก ระบบบันทึกขอมูล (Record) ภาครัฐ จํานวน 9 หนวยงาน โรงพยาบาลเอกชนจํานวน 4 หนวยงาน ดังนั้นเพื่อใหการบันทึกขอมูลการปฏิบัติการใหเปนปจจุบัน (Real Time) โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 1 หนวยงาน โรงพยาบาลกระทรวงกลาโหม จึ ง ได มี ก ารพั ฒ นาต อ ยอดระบบสารสนเทศภายใต แ นวคิ ด ที่ เรี ย กว า 1 หนวยงาน องคการบริหารสวนตําบล/จังหวัด จํานวน 6 หนวยงาน Operation Information System (OIS) หรือ ITEMS Version 3 โดย มูลนิธิอาสาสมัคร 3 หนวยงาน

 การเตรียมความพรอมเพื่อรองรับกับระบบ OIS 1. เตรียมบุคลากรที่เกี่ยวของไดแกศูนยรับแจงเหตุและสั่งการ และ หนวยปฏิบตั กิ ารโดยจัดอบรมและทํา work shop จําลองสถานการณ ทัง้ หมด 3 ครั้ง 2. เตรียมอุปกรณ ประกอบดวย Computer = CPU Core i5, Ram 4 GB ขึ้นไป เขาสูเว็บไซต สพฉ. www.niems.go.th จะมีระบบที่เกี่ยวของ 4 ระบบ ไดแก ระบบรับแจงเหตุและสั่งการ (สําหรับศูนยรับแจงเหตุและ สั่งการ) ระบบลงเวลาชุดปฏิบัติการ(Ambulance Check-In) ระบบแมขาย ออกคําสงปฏิบัติการแพทยฉุกเฉิน (Operation Unit) ระบบโรงพยาบาลรับ ผูป ว ยฉุกเฉิน (Emergency Room)ระบบติดตามการปฏิบตั กิ ารแพทยฉกุ เฉิน (Coordinator) 3. ระบบรายงานปฏิบัติการสําหรับชุดปฏิบัติการใชมือถือโหลดผาน Application สามารถใชงานไดขณะออกปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ เหมาะกับ Android version 4.00 ขึน้ ไป ซึง่ จะชวยลดภาระงานและการรายงานเปนจริง

- เหตุ - เวลาเกิดเหตุ - จุดเกิดเหตุ - ภาวะและความ รุนแรง

เวลาแจงเหตุ เวลารับแจงเหตุ ตําแหนงพิกัด คัดแยกเพื่อจายงาน

ปรากฏชุดปฏิบัติการที่ใกล และเหมาะสม เรียงลําดับ

แจงไปยังหนวยที่ เหมาะสม

เวลาแจงหนวย sound

หนวยรับแจง เวลาหนวยรับแจง หนวยแจงชุดปฏิบัติการ เวลาชุดรับแจง เวลาออกจากฐาน เวลาถึงจุดเกิดเหตุ คัดแยก ณ จุดเกิดเหตุ ปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ แจงศูนยสั่งการเลือก รพ. นําสงผูปวยไปถึง รพ.

 ประโยชนการใชระบบปฏิบัติการ OIS ลดภาระงาน มีขอมูลการรับแจงเหตุเปนแบบ Real time มีการ ประสานงานทีช่ ดั เจนเริม่ ตัง้ แตสงั่ การ หนวยปฏิบตั กิ ารรับคําสัง่ ขณะชุดปฏิบตั ิ การออกทํางานจนถึงเสร็จสิ้นภารกิจ มีระบบตรวจสอบไดทันที ขอมูลที่ได มีความเที่ยงตรง ลดตนทุนในระยะยาว  ปญหาและอุปสรรค มีขอจํากัดของสัญญาณ Internet ของหนวยปฏิบัติการ เครื่อง Computer ในแตละหนวยสวนใหญ จะใชรวมกับงานอื่นๆ ทําใหขอมูลสงตอ จึงลาชา และระบบปฏิบัติการยังใหมจึงตองมีการพัฒนาตอไป

ระบบการทํางานของ : OIS

เวลาถึง รพ. เวลากลับถึงฐาน

รพ. บันทึกชื่อผูปวยฉุกเฉิน เลข ๑๓ หลักสิทธิ คัดแยก ประเมินการปฏิบัติการ

กระบวนการสงตองานของระบบ OIS รับแจง

ITEMS Call Taker and Dispatcher

เลือกหนวย

ITEMS Call Emergency Room

เลือกชุด

ITEMS Operation Vehicle

สงขอมูล สงขอมูล

ITEMS Call Coordinator

สงขอมูล

เลือกโรงพยาบาล

ITEMS Operation Unit

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน

7


º·àÃÕ¹à¤Ã×Í¢‹ÒÂÀÒ¤àÍ¡ª¹ã¹ÀÒÃСԨª‹ÇÂàËÅ×ͼٌ»ÃÐʺÀÑÂἋ¹´Ô¹äËÇ»ÃÐà·È๻ÒÅ (26 àÁÉÒ¹ - 15 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2558)

ÊÃØ»áÅÐàÃÕºàÃÕ§ â´Â ¹Ò¹ÔμÔÈÑ¡´Ôì ºØÞÁÒ¹¹· (ÍŒ¹) ÁÙŹԸԡØÈÅÈÃÑ·¸ÒÊØÃÒɮà ¸Ò¹Õ 26-30 เม.ย. 2558 รวมทีมประสาน บุคลากรที่มีความชํานาญดานตางๆ เพื่อเขารวม ภาระกิจจํานวน 7 คน ทีมประกอบดวยคนไทย 5 คน ชาวเนปาล 1 คน อังกฤษ 1 คน ประกอบ ดวย 1.นายนิติศักดิ์ บุญมานนท 2.นายณัฐวุฒิ คณิตธนันต 3.นายฉัตรชัย สุทธนุน 4.นายโกวิท ดาวเรือง 5.นายวารี พลไกร 6.นาย Steven Drylie ชาวอังกฤษ 7.นาย Gautam Prasad Adhikari ชาวเนปาล พรอมทั้งดําเนินการดาน เอกสาร (พาสปอร, วีซา, ตั๋วเครื่องบิน) ติดตอ ดานขอมูลกับ สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ, กระทรวงการตางประเทศ, สถานฑูตเนปาลประจํา ประเทศไทย, สื่อมวลชน (ชอง3), บริษัทกลางฯ 1 พ.ค. 2558 กํ า หนดเดิ น ทางสู  ประเทศเนปาล ดวยเครื่องบินสายการบินเนปาลแอรไลน เครื่องดีเลยถึง 3 ครั้ง จาก 17.00 เปน 22.00 และ 01.15 เครื่องจึงสามารถออกเดินทางสูประเทศเนปาลได 2 พ.ค. 2558 ถึงประเทศเนปาลในชวงเชา ประมาณ 04.00 น.เดินทาง ออกจากสนามบิน เขาที่พักและพบกับผูนําทองถิ่น ในเมือง Katmandu ระหวาง พูดคุยถึงแนวทาง มีผูนําทองถิ่นในที่ตางๆ ทราบวามีทีม rescue จากประเทศไทย มาเพื่อจะเขาชวยเหลือผูประสบภัย จึงเขามาขอความช วยเหลือเปนจํานวนมาก ชวงบาย ทีมจึงเดินทางไปพบกับทานทูตไทยประจําเนปาลและรายงานตัวกับ พล.ต.ปริญา ขุนนาศรี รองเจากรมยุทการทหาร หัวหนาชุดปฎิบตั งิ านของทหารไทยในประเทศเนปาล 3 พ.ค. 2558 เข า พื้ น ที่ BAKTAPUR พบความ เสียหายเปนวงกวาง ประชาชนมีความตองการที่พักและ อาหาร สวนใหญผูประสบภัยอาศัยโดยกางเตนทและ ขึ ง ผ า ใบนอนข า งถนนและลานกว า ง ที ม เดิ น เท า ตรวจสอบในพื้ น ที่ เ พื่ อ จะให ก ารช ว ยเหลื อ หากมี การรองขอจากชาวบานในกรณียังมีผูติดอยูในซาก อาคารบานเรือน 4 พ.ค. 2558 เขาพื้นที่ Devi Tar 1 บานเรือนเสียหายทัง้ หมด 175 หลัง มีผไู ดรบั บาดเจ็บ ขาผิดรูป และไหปลาราหัก จําเปนตองเขารักษาตัวที่ รพ. ทางทีมไมสามารถนําออกมาไดเนือ่ งจากเสนทางเปน ไหลเขาจึงทําการปฐมพยาบาลเบื้องตนและประสานทาง ทหารเพือ่ ใหนาํ ฮ. ไปรับผูบ าดเจ็บ ระหวางเดินเทาไดมชี าวบาน ผูเดือดรอนและไดรับบาดเจ็บเขาขอความชวยเหลือเปนจํานวนมาก 5 พ.ค. 2558 เขาพื้นที่ Tauked และ Machchhcgoan ทางทีมไดรับขอมูล วาเบื้องตนยังมีผูไดรับบาดเจ็บอยูในพื้นที่จํานวนมาก จึงตัดสินใจเดินทางเขาพื้นที่เพื่อ ใหการชวยเหลือผูป ระสบภัยอยางเต็มความสามารถ ใชระยะเวลาในการเดินดวยรถยนต ประมาณ 2-3 ชม. มีผูไดรับบาดเจ็บและเจ็บปวยเขารับการดูแลจากทีมหลายราย 6 พ.ค. 2558 เขาพบทหารไทยบานทานทูต แจงสรุปถึงภารกิจ ปญหาและ อุปสรรคระหวางการปฎิบัติงาน จัดเตรียมอุปกรณสวนจําเปนที่ขาด วางแผนในการ ดําเนินภาระกิจสําหรับวันตอไป

7 พ.ค. 2558 เขาพื้นที่ Shakhu ภาระกิจรวมกับนักธุรกิจชาวเนปาลที่ จัดเตรียมอาหารเพื่อนําไปแจกจายใหกับชาวบานผูเดือดรอน สวนทางทีมยังคงดําเนิน การเรื่องชวยเหลือผูบาดเจ็บเชนเดิม ชวงบายไดรับแจงวามีโรงเรียนภายในพื้นที่ ใกล เ คี ย ง ให ก ารดู แ ลเด็ ก ผู ประสบภั ย เป นจํ า นวนหลายสิ บ รายจึ ง จั ด อาหารแห ง เขาชวยเหลือ (SHREE SANKHU PRIMARY SCHOOL) อาหารที่ไดนํามามอบใหกับ ผูประสบภัยในวันนี้ไดรับการสนันสนุนจากทั้งทางนักธุรกิจในพื้นที่เนปาลและจากทาง ทานฑูตไทยในประเทศเนปาล รวมถึงสิง่ ของทีป่ ระชาชนคนไทยรวมบริจาคมายังเนปาล ทางทีมไดนําสงถึงมือผูประสบภัยอยางทั่วถึง วันที่ 8 พ.ค. เขาพื้นที่ Sindhupalchowk เพื่อชวยเหลือทางดานอาหาร และการดูแลผูบ าดเจ็บ การบรรทุกของเขาพืน้ ทีเ่ ปนไปดวยความยากลําบากตองขนถาย ของใสรถอีแตนเพื่อนําสงถึงหมูบาน ระยะทางทั้งไปและกลับพบบานเรือนเสียหาย จํานวนมาก ระหวางทางพบบานเรือนประชาชนทีไ่ มมคี วามมัน่ คง กําลังพังเสียหายขณะ รถของทีมกําลังวิ่งผานจึงลงตรวจสอบวาไมมีผูไดรับบาดเจ็บ ชวงเย็นไดสงมอบของให กับชุมชนสิปาโป มีตัวแทนรับของโดยผูใหญบาน 9 พ.ค. 2558 เขาพื้นที่ Gohate, Sipa pokhare เขาชวยเหลือผูไดรับ บาดเจ็บในพื้นที่เปนจํานวนมาก ระยะเวลาในการดําเนินการกวา 7 ชม. 30 นาที จึง เสร็จภาระกิจ 10 พ.ค. 2558 จัดเตรียมอุปกรณตางๆ เพื่อเขาพื้นที่แคมปที่ 3 เพื่ออํานวย ความสะดวกใหกับทีมแพทยชุดที่ 3 ที่เดินทางมาถึง ณ โรงเรียนจันทณี 11 พ.ค. 2558 เขาพื้นที่ตั้งแคมป จัดเตรียมที่พัก ประชุมร วมกับทีม แพทยไทย วางแผนในการดําเนินงาน ระหวางนั้นในชวงเวลาประมาณ 20.38 น. มีอาฟเตอรช็อคเกิดขึ้นรับรูถึงแรงสั่นสะเทือนไดและเกิดในชวงดึกอีก 3-4 ครั้ง มีการ เฝาระวังดวยการตั้งขวดนํ้ากับพื้นดินเพื่อดูการสะเทือนของนํ้าในขวด 12 พ.ค. 2558 ตั้ งโรงพยาบาลสนามมีชาวบานใกลเคียงเดินทางเข า มารับการรักษาเปนจํานวนมาก 12.51 น. มีการสั่นสะเทือนรุนแรงชาวบาน หมอ เจาหนาที่แตกตื่นกับเหตุการณ บานเรือนพังเพิ่มเติม มีการสไลดของภูเขาหลายจุด ซึ่งเปนแผนดินไหวครั้งใหมขนาด 7.4 ริกเตอร 13 พ.ค. 2558 จัดทีมรวมกับทีมแพทย เดินทางเขาพื้นที่ ตันเดตา, ซันดี, แยมดี มอบอาหารแหง ถุงมือใหกับชาวบานที่กําลังซอมแซมบานเรือน ตลอดทั้งวัน มีอาฟเตอรช็อคอยูเปนระยะๆ 14 พ.ค. 2558 เก็บอุปกรณ เพือ่ ออก เดินทางจากแคมปเขา เมือง Katmandu เตรียม ตัวกลับประเทศไทยในวันรุงขึ้น มีแผนดินไหว 2 ครั้งรุนแรง เราไดรับแจงมีคนติดภายในบาน 3 คน เขาชวยเหลือ เขาออกมากอนที่เราไปถึง เดินเทาประมาณ 1 ชม. 15 พ.ค 2558 มุ  ง หน า สู  ส นาม บินเนปาล ขึ้นเครื่องบินสายการบินเนปาล แอรไลน เที่ยวบิน AR401 เวลา 11.15 น. ถึงประเทศไทย 15.30 โดยประมาณ โดย สวัสดิภาพ

สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ (สพฉ.) 88/40 หมูที่ 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 84 พรรษา สาธารณสุขซอย 6 ถนนติวานนท ตําบลตลาดขวัญ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท 0 2872 1669 โทรสาร 0 2872 1602-5 www.niems.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.