สำ�นักงานใหญ่ : กรุงเทพมหานคร
123 อาคารซันทาวเวอร์ส เอ ชั้น 27-30 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2686-1800, 0-2620-8999, 0-2610-2222 โทรสาร : 0-2617-8230-33, 0-2617-8235, 0-2617-8244-46
สาขาสุราษฎร์ธานี
สาขาขอนแก่น
213/17 หมู่ 1 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลมะขามเตี้ย อำ�เภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์ : 077-910-180-3 โทรสาร : 077-910-075
381/46-47 หมู่ 17 ถนนมิตรภาพ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ : 043-271-506-9 โทรสาร : 043-271-505
สาขาพิษณุโลก
สาขาเชียงใหม่
5/16-17 หมู่ 5 ถนนสิงหวัฒน์ ตำ�บลบ้านคลอง อำ�เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ : 055-259-043 โทรสาร : 055-259-048
109/4 ถ.เชียงใหม่-ลำ�ปาง (ท.ล.11) กม.98.7 เทศบาลตำ�บลช้างเผือก อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ : 053-217-318, 053-217-398 โทรสาร : 053-217-308
www.sam.or.th Cover_final3.indd 1
09-Nov-15 9:13:28 AM
aw_sam_final.indd 2
02-Dec-15 8:17:15 AM
ใบลงนามรับทราบและถือปฏิบัติ
ข้าพเจ้าได้รบั และอ่านคูม่ อื การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บริษทั บริหารสินทรัพย์ สุขมุ วิท จ�ำกัด แล้ว ข้าพเจ้าเข้าใจ รับทราบ และน้อมรับเป็นหลักปฏิบตั ใิ นการ ปฏิบตั งิ านต่อไป
ลงชือ่ : .................................................... ( ............................................... ) ต�ำแหน่ง : .................................................... ฝ่าย : .................................................... วันที่ : ................../................/...............
aw_sam_final.indd 1
02-Dec-15 8:17:15 AM
aw_sam_final.indd 2
02-Dec-15 8:17:15 AM
สารจาก กรรมการผู จ้ ดั การ บริษทั บริหารสินทรัพย์สขุ มุ วิท จ�ำกัด (บสส.) เป็นสถาบันการเงิน มีสถานะเป็น รัฐวิสาหกิจตามพระราชบัญญัตวิ ธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 ได้ยดึ หลักการและแนวทาง การก�ำกับดูแลทีด่ ใี นรัฐวิสาหกิจ ปี 2552 ของส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง โดยยึดหลักการส�ำคัญ 7 ประการ ได้แก่ Accountability Responsibility Equitable Treatment Transparency Value Creation Ethics และ Participation รวมถึงวิสยั ทัศน์ขององค์กรทีว่ า่ “บสส. เป็นบริษทั บริหารสินทรัพย์ ระดับชาติ ทีม่ บี ทบาทในการบริหารสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพของระบบสถาบันการเงินอย่าง มีธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม” เพื่อเป็นกรอบในการด�ำเนินการ ด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บสส. จึงมีความมุ่งมั่นที่จะด�ำเนินธุรกิจด้านการบริหาร สินทรัพย์ดว้ ยความโปร่งใส ซือ่ สัตย์สจุ ริต และตรวจสอบได้ ด้วยส�ำนึกรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย เพือ่ ให้องค์กรเจริญเติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน คณะกรรมการบริษทั ฝ่ายจัดการ และพนักงานทุกคนของ บสส. เป็นก�ำลังหลักในการสร้างวัฒนธรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ขี นึ้ ในองค์กร ดังนัน้ การศึกษาท�ำความเข้าใจและปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ อี ย่างเคร่งครัดจะเป็นส่วนส�ำคัญทีข่ บั เคลือ่ น บสส. ให้เติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนต่อไป เพื่อเป็นการแสดงถึงพันธสัญญาที่จะร่วมกันยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน จึงขอให้พนักงานทุกคนท�ำความเข้าใจและน�ำไปเป็นหลักปฏิบตั เิ พือ่ ธ�ำรงไว้ซงึ่ การก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ขี อง บสส. ต่อไป
(นายชูเกียรติ จิตติไมตรีสกุล) กรรมการผูจ้ ดั การ ตุลาคม 2558
aw_sam_final.indd 3
02-Dec-15 8:17:15 AM
aw_sam_final.indd 4
02-Dec-15 8:17:16 AM
หมวดที่ 1 บททั่วไป
สารบัญ 7
วิสัยทัศน์
พันธกิจ ความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
9 9 10 12
หมวดที่ 2 การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
13
นิยามและความหมาย หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส. ส่วนที่ 1 การด�ำเนินงานของ บสส. ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี - การบริหารจัดการสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ส่วนที่ 2 องค์ประกอบ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท กรรมการผู้จัดการและฝ่ายจัดการ - องค์ประกอบ คุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัท และการแต่งตั้ง - บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท - บทบาทหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ - บทบาทหน้าที่ของฝ่ายจัดการ ส่วนที่ 3 นโยบายและแนวทางปฏิบัติงาน ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ของ บสส. - นโยบายเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้สื่อโทรคมนาคม - แนวทางการเปิดเผยข้อมูล - นโยบายเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง - นโยบายเกี่ยวกับรายการทางบัญชีและการจัดท�ำงบการเงิน - นโยบายการเข้าออกส�ำนักงาน
14 16 22 22 24
aw_sam_final.indd 5
24 24 25 26 27 27 29 31 31 31
02-Dec-15 8:17:16 AM
GOOD
aw_sam_final.indd 6
02-Dec-15 8:17:16 AM
หมวดที่
บททั่วไป
aw_sam_final.indd 7
02-Dec-15 8:17:16 AM
หมวดที่ 1 บททั่วไป
ในฐานะที่ บ ริ ษั ท บริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ สุ ขุ ม วิ ท จ� ำ กั ด (บสส.) เป็ น รัฐวิสาหกิจ ตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 ที่มีส่วน ส�ำคัญในการแก้ไขปัญหาสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพของสถาบันการเงินของ รัฐและเอกชน และฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีจึงเป็นหลักการส�ำคัญในการสร้างระบบ ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการที่ดีให้เกิดขึ้นในองค์กร บสส. จึงให้ความส�ำคัญกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีการ ก�ำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์และแบบแผนในการปฏิบตั ดิ า้ นการก�ำกับดูแล กิ จ การที่ ดีอ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรมรวมถึ ง การลงมื อ ปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแท้จริง เพื่อน�ำไปสู่การเป็นองค์กรที่มี ความน่าเชือ่ ถือและเป็นทีย่ อมรับจากสังคม ส�ำหรับการจัดท�ำนโยบายและ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บสส.จึงได้น�ำหลักการและแนวทางในการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องรัฐวิสาหกิจ มาเป็นแนวทางในการปฏิบตั ริ วมทัง้ ได้จัดท�ำประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณ เพื่อเป็นแนวทางในการ ประพฤติปฏิบัติตนควบคู่ไปกับข้อบังคับและระเบียบการพนักงานของ บสส.
8
aw_sam_final.indd 8
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:16 AM
วิสัยทัศน์ บสส. เป็นบริษัทบริหารสินทรัพย์ระดับชาติ ที่มีบทบาทในการบริหารสินทรัพย์ ด้อยคุณภาพของระบบสถาบันการเงิน อย่างมีธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์ต่อ เศรษฐกิจ และสังคม
พันธกิจ
1. 2. 3. 4.
ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ให้ได้รับข้อยุติโดยเร็ว และลดส่วนสูญเสียให้ เหลือน้อยที่สุด บริหารจัดการทรัพย์สนิ รอการขาย (NPA) ให้ได้ผลตอบแทนในระยะ เวลาที่เหมาะสม สร้างและพัฒนาบุคลากรมืออาชีพด้านการบริหารสินทรัพย์ ที่มี ความสามารถและจริยธรรม พัฒนาระบบงานด้านบริหารสินทรัพย์ ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อความ เติบโตและยั่งยืนขององค์กร คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 9
9
02-Dec-15 8:17:16 AM
ความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance : GCG) หรือ บรรษัท ภิบาลทีด่ ี คือ การจัดโครงสร้างให้มรี ะบบการบริหารจัดการทีด่ ใี นองค์กร บสส. ตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการบริหารกิจการที่มีหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ดังนั้นจึงได้จัด ท�ำนโยบาย และหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อน�ำมาใช้เป็นหลักในการปฏิบัติงาน หลักการส�ำคัญในการจัดท�ำนโยบายและหลักการก�ำกับดูแลทีด่ ี บสส. ได้นำ� หลักการ และแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นรัฐวิสาหกิจปี 2552 ของส�ำนักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง และหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องหน่วย งานรัฐวิสาหกิจอื่น ๆ มาใช้เป็นต้นแบบ โดยมุ่งเน้นการสร้างความสมดุลในการบริหาร จัดการระหว่างการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎเกณฑ์ และการบริหารผลประกอบการ โดย มีวตั ถุประสงค์ในการจัดท�ำ ดังนี้ 1. เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของ บสส. ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ คณะ กรรมการบริษทั ฝ่ายจัดการ พนักงาน และลูกค้า ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ฝ่ายจัดการ และ พนักงาน มีหน้าทีใ่ นการปฏิบตั งิ านด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต โดยคณะกรรมการบริษทั มีหน้า ทีใ่ นการก�ำกับดูแลนโยบาย และกลยุทธ์ในการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี ห้เกิดประโยชน์สงู สุด ฝ่ายจัดการมีหน้าทีน่ ำ� นโยบาย และกลยุทธ์ไปปฏิบตั ใิ ห้บรรลุผล ส�ำหรับพนักงานจะมีหน้า ทีใ่ นการปฏิบตั งิ านโดยใช้ความรู้ ความสามารถ ในการท�ำงานอย่างเต็มทีแ่ ละมีการพัฒนา ศักยภาพตนเองอย่างต่อเนือ่ ง 2. เพือ่ ส่งเสริมให้ฝา่ ยจัดการและพนักงาน ตระหนักถึงความส�ำคัญและประโยชน์ของ การเป็นบรรษัทภิบาลทีด่ มี ากกว่าการออกกฎเกณฑ์เชิงบังคับ และด�ำเนินกิจการภายใต้ จิตส�ำนึกทีด่ ตี อ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย โดยเริม่ จากกระบวนการภายในองค์กรก่อนแล้วจึงขยาย ต่อไปในส่วนอืน่ ๆ เช่น เริม่ ต้นจากการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส โดยก�ำหนดให้มกี าร เปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องเหมาะสม 3. เพือ่ ให้มรี ะบบ ระเบียบ และแนวทางปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้องเหมาะสมในการปฏิบตั งิ าน โดยมีฝา่ ยจัดการเป็นผูน้ ำ� ต้นแบบทีด่ ี มีการบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการควบคุม ภายในและตรวจสอบภายในทีน่ า่ เชือ่ ถือ มีการจัดซือ้ จัดจ้างทีโ่ ปร่งใสยุตธิ รรม มีการส่งเสริม ผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถทีม่ คี ณ ุ ธรรม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่ ปฏิบตั ติ อ่ พนักงาน อย่างเสมอภาคมีการประเมินผลทีม่ คี ณ ุ ธรรม สนับสนุนกิจกรรมเพือ่ สร้างสรรค์สงั คม มีการ ก�ำกับและดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 10
aw_sam_final.indd 10
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:17 AM
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มี 6 กลุ่ม ได้แก่
1.
ุ้น
คณะกรรมการ บริษัท
3.
ผู้ถ
ือห
น ักงา พน
2.
5.
าร
จัดก
ฝ่าย
สมดุลของ Stakeholder ทุกกลุ่ม
ิจ ษฐก เศร สังคม เเละ
6.
ลูกค้า
4.
aw_sam_final.indd 11
02-Dec-15 8:17:17 AM
นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บสส. ให้ความส�ำคัญกับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ เป็นส่วนส�ำคัญของการ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ขององค์กร ให้สามารถตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สามารถให้บริการแก่ลกู ค้าและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพดังนัน้ เพือ่ เป็นการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เป็นรัฐวิสาหกิจ ทีม่ หี ลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ จี งึ ก�ำหนดนโยบาย และจัดท�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี นึ้ เพือ่ น�ำมาปฏิบตั ใิ ห้เกิดความเป็นธรรมกับผูม้ ี ส่วนได้สว่ นเสียทุกกลุม่ และมีการบริหารจัดการองค์กรเป็นไปด้วยความโปร่งใสซือ่ สัตย์ สุจริต และรักษาสมดุลระหว่างการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับระเบียบ กฎเกณฑ์แนว ปฏิบตั ิ ค่านิยม และวัฒนธรรมองค์กร โดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้บรรลุพนั ธกิจของ บสส. บสส. เป็นรัฐวิสาหกิจทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ในการบริหารสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพ ของสถาบันการเงิน จึงมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบหลักในการแก้ไขปัญหาและแบ่งเบา ภาระหนีด้ อ้ ยคุณภาพของสถาบันการเงินภาครัฐและเอกชน เพือ่ ให้สถาบันการเงินกลับมามี ความสามารถในการให้สนิ เชือ่ ในภาคเศรษฐกิจได้ตอ่ ไป และมีเป้าหมายในการน�ำเงินส่งคืน กองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (กองทุนฯ) ในฐานะผูถ้ อื หุน้ และเจ้า หนีข้ อง บสส. ได้ตามก�ำหนดซึง่ ภารกิจดังกล่าวต้องด�ำเนินการไปพร้อมกับการขยายตัวของ ธุรกิจเพือ่ พัฒนาไปสูค่ วามมัน่ คงขององค์กรในระยะยาว ดังนัน้ จึงมีการจัดตัง้ คณะท�ำงานจัดท�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี นึ้ ซึง่ ต่อมา ได้มอบหมายให้ฝา่ ยบริหารความเสีย่ งและก�ำกับ ท�ำหน้าทีใ่ นการจัดท�ำนโยบายและหลัก การการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บสส. น�ำเสนอต่อกรรมการผูจ้ ดั การ เพือ่ พิจารณาใช้เป็น แนวทางในการด�ำเนินการของ บสส.ให้เป็นบรรษัทภิบาลทีด่ ตี อ่ ไป และมีฝา่ ยจัดการของ บสส. เป็นผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง (Change Agent)ในองค์กร เพือ่ เผยแพร่นโยบายและหลัก การการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ไี ปสูพ่ นักงานทุกระดับ รวมถึงผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกับ บสส. ให้ สามารถน�ำนโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั อิ ย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บสส. มุง่ เน้นให้ฝา่ ยจัดการ และพนักงานตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการเป็นบรรษัทภิบาลทีด่ ี มากกว่าการสร้างกฎเกณฑ์เชิงบังคับ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้เป็นองค์กรแห่งความโปร่งใส เปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง เหมาะสมไม่ปกปิดความผิด หรือหวังผลประโยชน์สว่ นบุคคล ตลอดจนให้การปฏิบตั งิ านในทุกขัน้ ตอนอยูบ่ นพืน้ ฐาน ของระบบคุณธรรม จริยธรรมและเกิดประโยชน์สงู สุดต่อองค์กรผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย รวมถึง เศรษฐกิจและสังคมไทย 12
aw_sam_final.indd 12
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:17 AM
หมวดที่
การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
ของ บสส.
aw_sam_final.indd 13
02-Dec-15 8:17:17 AM
หมวดที่ 2 การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ีของ บสส. นิยามและความหมาย “การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี” หมายถึง การจัดการภายในองค์กรเพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท ฝ่ายจัดการ พนักงาน และลูกค้า โดยค�ำนึงถึงผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียกับการด�ำเนินกิจการของ บสส. เพื่อให้มีการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี และสามารถด�ำเนินการอย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และมี ภาพลักษณ์ที่ดี เป็นที่ยอมรับในสังคม “บสส.” หมายถึง บริษัท บริหารสินทรัพย์สุขุมวิท จ�ำกัด “เศรษฐกิจและสังคม” หมายถึง สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศไทยที่อยู่รอบตัว “ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย” หมายถึง ผู ้ ที่ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การด� ำ เนิ น กิ จ การของ บสส. ทั้ ง หมด คื อ คณะกรรมการบริษัท ฝ่ายจัดการ พนักงาน ผู้ถือหุ้น ลูกค้า 14
aw_sam_final.indd 14
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:17 AM
“คณะกรรมการบริษัท” หมายถึง คณะกรรมการบริษัท บริหารสินทรัพย์สุขุมวิท จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ก�ำหนด นโยบาย และปฏิบัติงานโดยรับผิดชอบต่อบริษัทและผู้ถือหุ้น อีกทั้งมี บทบาทในการควบคุมดูแลการด�ำเนินงานของฝ่ายจัดการ ให้บรรลุตาม เป้าหมายของ บสส. “ผู้ถือหุ้น” หมายถึง ผู้ถือหุ้นของ บสส. คือ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบัน การเงิน (กองทุนฯ) “ฝ่ายจัดการ” หมายถึง กรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ และผู้บริหารฝ่าย “ผู้บังคับบัญชา” หมายถึง ผู้บังคับบัญชาระดับผู้บริหารส่วนหรือผู้จัดการสาขาขึ้นไป “พนักงาน” หมายถึง บุคคลที่ บสส. ว่าจ้างให้เข้ามาท�ำงานเป็นการประจ�ำ “ลูกค้า” หมายถึง บุคคล หรือ นิติบุคคล ผู้ใช้บริการของ บสส. เช่น ลูกหนี้ ผู้ซื้อทรัพย์ คู่ค้าคู่สัญญา และตัวแทนหรือผู้แทนของบุคคลดังกล่าว ตลอดจนผู้ที่มา ติดต่อด�ำเนินการเกี่ยวข้องกับบสส. “จริยธรรม” หมายถึง คุณความดีที่ใช้เป็นข้อปฏิบัติในการประพฤติที่ดี โดยมีพื้นฐานมาจาก ศีลธรรมหรือจารีตประเพณี วัฒนธรรมของคนในแต่ละสังคม “จรรยาบรรณ” หมายถึง หลั ก ความประพฤติ ป ฏิ บั ติ อั น เหมาะสม แสดงถึ ง คุ ณ ธรรมและ จริยธรรม ทีพ่ งึ ปฏิบตั ใิ นการประกอบวิชาชีพ ทีบ่ คุ คลในแต่ละวิชาชีพได้ ประมวลขึน้ เป็นหลักไว้ หรือก�ำหนดขึน้ เพือ่ ให้สมาชิกในสาขาวิชาชีพนัน้ ยึดถือปฏิบตั โิ ดยมุง่ เน้นถึงการปลูกฝังจริยธรรม และเสริมสร้างให้สมาชิก มีจิตส�ำนึกในการประพฤติ ปฏิบัติตนในทางที่ถูกที่ควรและมุ่งหวังให้ สมาชิกได้ยดึ ถือเพือ่ รักษาชือ่ เสียง และส่งเสริมเกียรติคณ ุ ของสมาชิกและ วิชาชีพของตน คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 15
15
02-Dec-15 8:17:18 AM
หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส. บสส. ได้นำ� หลักการและแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ในรัฐวิสาหกิจปี 2552 ของ สคร. มาประยุกต์ใช้รว่ มกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องหน่วยงานรัฐวิสาหกิจอืน่ ๆ ในการจัดท�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บสส. โดยก�ำหนดหลักการส�ำคัญไว้ ดังนี้
หลักการส�ำคัญในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มี 7 ด้าน ได้แก่ 1. Accountability ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติหน้าที่และการตัดสินใจของตนเอง สามารถชี้แจง เหตุผลประกอบการตัดสินใจได้ 2. Responsibility ความส�ำนึกในหน้าที่ด้วยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ 3. Equitable Treatment การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยสุจริตและเท่าเทียมกัน 4. Transparency ความโปร่งใสใน 2 ลักษณะ ดังนี้ - ความมีขนั้ ตอนในการด�ำเนินงานทีส่ ามารถตรวจสอบได้ - มีการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญอย่างเหมาะสม ถูกต้องและครบถ้วน (Transparency of Information Disclosure) คือ มีการแสดงผลประกอบการอย่างโปร่งใสแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 5. Value Creation การสร้างมูลค่าเพิม่ แก่กจิ การทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดยการเปลีย่ นแปลง หรือ เพิม่ มูลค่าใด ๆ นัน้ จะต้องเป็นการเพิม่ ความสามารถในทุกด้าน เพือ่ การแข่งขัน 6. Ethics การส่งเสริมพัฒนา การก�ำกับดูแล และจรรยาบรรณทีด่ ใี นการประกอบธุรกิจ 7. Participation การมีสว่ นร่วมในความรับผิดชอบต่อสังคม และส่งเสริมให้มกี ารท�ำประโยชน์แก่สงั คม ประชาชน และสิ่งแวดล้อม เช่น การรณรงค์หรือการท�ำกิจกรรมช่วยเหลือสังคม สิง่ แวดล้อม หรือส่งเสริมคุณภาพชีวติ เป็นต้น 16
aw_sam_final.indd 16
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:18 AM
1.
7.
Accountability
2.
Participation
Responsibility
6.
Ethics
GCG
3.
Equitable Treatment
5.
Value Creation
4.
Transparency
บสส. มุ ่ ง หวั ง ที่ จ ะเป็ น องค์ ก รที่ ด�ำ เนิ น กิ จ การ ภายใต้การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ดังนั้น ฝ่ายจัดการ และพนักงานจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ และแนวทางของการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เพื่ อ เป็ น การสร้ า งแรงผลั ก ดั น ให้ เ กิ ดการปรั บ เปลี่ ย น วิถีทางในการปฏิบัติงาน และส่งเสริมแนวความคิด เกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ให้ เกิดขึ้นในเชิงบวก ส�ำหรับรายละเอียด ของหลักการส�ำคัญของการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี มีดังต่อไปนี้ คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 17
17
02-Dec-15 8:17:19 AM
1. Accountability หมายถึง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผลการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ แ ละการตั ด สิ น ใจของตนเอง สามารถชีแ้ จงเหตุผลประกอบการตัดสินใจได้ ได้แก่ ปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทของตนเองด้วยความซื่อสัตย์ และปฏิบัติงาน โดยยึดมั่นในความถูกต้อง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในองค์กร และพร้อมน�ำเสนอแนวคิดใหม่ ๆ เพื่อให้ บสส. บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย รั บ ผิ ด ชอบต่ อ การกระท� ำ ของตนเอง และพร้ อ มให้ มี ก ารติ ด ตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานอยู่เสมอ พิจารณาและตัด สิน ใจในงานที่ รั บผิ ด ชอบอย่ า งรอบคอบ รวมทั้ ง มี ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจของตนเองไม่บ่ายเบี่ยงหรือผลักภาระ ของตนเองไปให้ผู้อื่น ไม่ละทิง้ งานของตนเอง ทัง้ งานในหน้าทีห่ ลัก และงานในหน้าทีท่ พี่ งึ ต้อง ปฏิบัติต่อผู้อื่น 2. Responsibility หมายถึง ความส�ำนึกในหน้าทีด่ ว้ ยขีดความสามารถและประสิทธิภาพทีเ่ พียงพอ ได้แก่ ก�ำหนดภารกิจหน้าที่ของแต่ละต�ำแหน่งไว้อย่างชัดเจนเพื่อให้เกิดความ รับผิดชอบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยสมรรถนะทีเ่ หมาะสมตรงกับต�ำแหน่ง รวมทัง้ สามารถส่งมอบงานให้องค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ก�ำหนดภารกิจของฝ่ายจัดการ ให้เป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนด ทิศทางและจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ของ บสส. ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และพันธกิจขององค์กร โดยฝ่ายจัดการเป็นผูผ้ ลักดันให้แผนยุทธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัติงานจริงและเกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดี พร้อมกับมีการวางแผน การติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ านอย่างสม�ำ่ เสมอและจัดให้มกี าร ตรวจสอบและควบคุมภายใน รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงขององค์กร อย่างเป็นระบบ เพือ่ ให้องค์กรบรรลุเป้าหมายตามทีค่ าดหวังไว้ ด้วยความ ถูกต้องและเป็นธรรม
18
aw_sam_final.indd 18
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:19 AM
ก�ำหนดให้พนักงานของ บสส. ทุกคนต้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีสมรรถนะ ที่ตรงต่อหน้าที่ในความรับผิดชอบ และมีความตระหนักว่าภารกิจที่ รับผิดชอบนั้นมีผลต่อองค์กรในภาพรวมอย่างไร รวมถึงให้ความร่วมมือ กับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดต่อบสส.
3. Equitable Treatment หมายถึง การปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียโดยสุจริตและเท่าเทียมกัน ได้แก่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีส่ จุ ริตต้องได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างเป็นธรรม เช่น ลูกค้า จะต้องได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างเป็นธรรม และการพิจารณาอย่างเสมอภาค และเท่าเทียม การบริหารและการจัดการจะต้องค�ำนึงถึงประโยชน์และมูลค่าโดยรวม ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียไม่วา่ จะเป็นกองทุนฯ ในฐานะผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ ผูม้ ี ส่วนได้สว่ นเสียและผูท้ ปี่ ฏิบตั งิ านกับ บสส. ซึง่ จะต้องได้รบั การคุม้ ครอง และปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน 4. Transparency หมายถึง ความโปร่งใสใน 2 ลักษณะ ดังนี้ ความมีขั้นตอนในการด�ำเนินงานที่สามารถ ตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญอย่างเหมาะสม ถูกต้อง และครบถ้วน (Transparency of Information Disclosure) คือ มีการแสดงผล ประกอบการอย่างโปร่งใสแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ มีขั้นตอนการท�ำงานและการตัดสินใจที่ชัดเจน มีหลักเกณฑ์ในการใช้ ดุลยพินิจที่โปร่งใสสามารถเปิดเผยได้ ประกอบกับมีการแสดงรายงาน และวิเคราะห์ผลประกอบการแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีการวางแผนยุทธศาสตร์การด�ำเนินงานอย่างเป็นธรรม ชัดเจน ใช้ขอ้ มูล ที่เพียงพอและสามารถใช้งานได้ทันเวลา โดยค�ำนึงถึงผลกระทบต่อผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย มีคณะกรรมการตรวจสอบ และฝ่ายตรวจสอบภายใน ทีส่ ามารถให้ความเห็น และช่ ว ยติ ด ตามการด� ำ เนิ น การของฝ่ า ยจั ด การโดยสามารถเสนอ ข้อคิดเห็นและแนวทางได้อย่างอิสระ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้เกิดการปฏิบตั งิ านอย่างโปร่งใส คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 19
19
02-Dec-15 8:17:20 AM
มีช่องทางให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ หรือ ร้องเรียนอย่างเพียงพอ ตลอดจนมีการรับฟังและพิจารณาเรือ่ งร้องเรียน ทุกเรื่องอย่างมีระบบและเป็นธรรม 5. Value Creation หมายถึง การสร้างมูลค่าเพิม่ แก่กจิ การทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดยการเปลีย่ นแปลง หรือเพิม่ มูลค่าใด ๆ นัน้ จะต้องเป็นการเพิม่ ความสามารถในทุกด้าน เพือ่ การแข่งขัน ได้แก่ มีการก�ำหนดวิสยั ทัศน์ (Vision) ให้เหมาะสมกับพันธกิจ (Mission) ขององค์กร เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการด�ำเนินงานได้อย่างแท้จริง การสร้างมูลค่าเพิ่มต้องค�ำนึงถึงการสร้างและพัฒนาความสามารถใน ทุก ๆ ด้าน ทั้งธุรกิจ บุคลากรและสังคม โดยต้องค�ำนึงถึงผลลัพธ์ทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาว การเพิ่มมูลค่าใด ๆ จะต้องเป็นการเพิ่มความสามารถในทุกด้านเพื่อให้ สามารถแข่งขันได้และเกิดคุณค่ากับองค์กร 6. Ethics หมายถึง การส่งเสริมพัฒนา การก�ำกับดูแล และจรรยาบรรณทีด่ ใี นการประกอบธุรกิจ ได้แก่ ฝ่ายจัดการและพนักงานของ บสส. จะต้องยึดถือและปฏิบตั ติ ามจริยธรรม และจรรยาบรรณที่ก�ำหนดไว้อย่างเคร่งครัด โดยมีการจัดท�ำประมวล จริยธรรมและจรรยาบรรณ หรือ code of conduct ทีช่ ดั เจนและสามารถ เข้าใจได้ง่าย การสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เพื่อให้พนักงานสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง คณะกรรมการบริษัท และฝ่ายจัดการ จะต้องค�ำนึงถึงแนวทางและ วิธีการในการขจัดปัญหา และความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (conflict of interest) อย่างเหมาะสม ค�ำนึงถึงความเสมอภาค ความยุติธรรม และ ไม่เลือกปฏิบัติ ซือ่ สัตย์สจุ ริต รักความสามัคคี มีศลี ธรรม และธ�ำรงไว้ซงึ่ วัฒนธรรมอันดีงาม 20
aw_sam_final.indd 20
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:20 AM
7. Participation หมายถึง การมีสว่ นร่วมในความรับผิดชอบต่อสังคม และส่งเสริมให้มกี ารท�ำประโยชน์ แก่สังคม ประชาชน และสิ่งแวดล้อม เช่น การรณรงค์หรือการท�ำกิจกรรม ช่วยเหลือสังคม สิ่งแวดล้อม หรือส่งเสริมคุณภาพชีวิต เป็นต้น การจัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการกระจายโอกาสให้สงั คม เช่น การจัดกิจกรรมรณรงค์ดา้ นสิง่ แวดล้อม หรือความเป็นอยูข่ องคนในสังคม การปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายจัดการและพนักงานที่ค�ำนึงถึงจรรยาบรรณ และประมวลจริยธรรมในการจ�ำหน่ายสินทรัพย์รอการขาย และแก้ไข ปัญหาสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ที่รับโอนมาให้ส�ำเร็จลุล่วงไปอย่างรวดเร็ว โปร่งใส ยุติธรรม ให้ข้อมูลแก่ลูกค้าอย่างถูกต้องครบถ้วน เพียงพอและ สามารถฟื้นฟูกิจการของลูกค้า ขณะเดียวกันต้องพยายามลดความเสีย หายให้เกิดน้อยทีส่ ดุ กับภาครัฐและประชาชน ซึง่ จะช่วยสร้างเสถียรภาพ และความมั่นคงต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมต่อไป เพื่อประกอบการตัดสินใจของลูกค้า บสส. ต้องให้ข้อมูลแก่ลูกค้าอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วนเพียงพอและเชื่อถือได้ ด�ำเนินการในด้านต่าง ๆ เพือ่ ป้องกันการทุจริต การติดสินบน การรับสินบน รวมไปถึงการไม่เรียกและรับของขวัญ ของก�ำนัล จากผูเ้ กีย่ วข้องในธุรกิจ
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 21
21
02-Dec-15 8:17:20 AM
หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
ส่วนที่
1
การด�ำเนินงานของ บสส. ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) หรือบรรษัทภิบาล ที่ดี เป็นการเสริมสร้างให้มีระบบการบริหารจัดการที่ดีในองค์กร บสส.จึงน�ำหลักการ และแนวทางการก�ำกับดูแลที่ดีมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการองค์กรเพื่อให้การ ด�ำเนินงานมีความโปร่งใส สามารถเปิดเผยข้อมูลในการปฏิบตั งิ านและสามารถตรวจ สอบได้ ทั้งนี้เพื่อน�ำไปสู่การบริหารจัดการที่ดีใน บสส.
การบริหารจัดการสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ บสส. ก�ำหนดหลักการ วิธีปฏิบัติ และเงื่อนไขในการบริหารจัดการสินทรัพย์ด้อย คุณภาพที่ชัดเจนและเป็นมาตรฐาน ตั้งแต่กระบวนการรับซื้อ รับโอน การบริหารจัดการ สินทรัพย์ด้อยคุณภาพ โดยมีคณะกรรมการบริษัท และ/หรือคณะท�ำงานต่าง ๆ เป็น ผู้พิจารณาและอนุมัติ 22
aw_sam_final.indd 22
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:20 AM
1. การรับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ บสส. ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ ก ารเข้ า ประมู ล ซื้ อ และการรั บ โอนสิ น ทรั พ ย์ ด้อยคุณภาพ จากสถาบันการเงินของรัฐและเอกชนให้เป็นไปตามที่กฎหมาย ก�ำหนด และเป็นไปตามนโยบายของ บสส. โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ ในการบริหาร จัดการสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพต่อไปได้ดว้ ย และบสส. มีขนั้ ตอนในการเข้าประมูล ซื้อและการรับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพอย่างชัดเจน โปร่งใสโดยจะมีการบอก กล่าวการโอนสิทธิให้ลูกค้าทราบตามหลักกฎหมาย 2. การบริหารจัดการสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ บสส. พิจารณาอนุมัติแผนปรับโครงสร้างหนี้อย่างรอบคอบ โดยค�ำนึงถึง ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย โดยจะพิจารณาเปรียบเทียบ จากทางเลือกต่าง ๆ และมีการทบทวนก่อนที่จะมีการพิจารณาแผนการปรับ โครงสร้ า งหนี้ โดยน� ำ ผลการพิ จ ารณาแผนปรั บ โครงสร้ า งหนี้ เ สนอต่ อ คณะกรรมการบริษทั และ/หรือ คณะท�ำงานต่าง ๆ เพือ่ พิจารณาตามล�ำดับอ�ำนาจ อนุมัติ โดยคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะท�ำงานต่าง ๆ อาจมีข้อเสนอ แนะและสามารถทักท้วง หรือยับยั้งแผนการปรับโครงสร้างหนี้ได้ 3. การบริหารจัดการและการจ�ำหน่ายทรัพย์สินรอการขาย การบริหารจัดการสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพของ บสส. นอกจากการรับซือ้ และการ รับโอนสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพจากสถาบันการเงินแล้ว ยังหมายรวมถึงการรับซือ้ และการรับโอนทรัพย์สินรอการขายของสถาบันการเงินต่าง ๆ การซื้อทรัพย์ หลักประกันของสถาบันการเงินต่าง ๆ จากการขายทอดตลาด ของกรมบังคับคดี ตลอด จนการรับช�ำระหนีเ้ ป็นทรัพย์สนิ จากการตีโอนทรัพย์หลักประกันตามสัญญาปรับ โครงสร้างหนี้ ซึง่ ทรัพย์ดงั กล่าวจะโอนเข้ามาเป็นทรัพย์สนิ รอการขายของ บสส. เพือ่ น�ำมา บริหารจัดการและจ�ำหน่ายให้กบั ผูส้ นใจซือ้ ต่อไป
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 23
23
02-Dec-15 8:17:21 AM
ส่วนที่
2
องค์ประกอบ บทบาทหน า้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษทั กรรมการผู ้จัดการ และฝ ่ายจัดการ
1. องค์ประกอบ คุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัทและการแต่งตั้ง กองทุนฯ มีการก�ำหนดบทบาทและหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ทีช่ ดั เจน กรรมการ เป็นบุคคลที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้มีความรู้ความสามารถมีคุณสมบัติเหมาะสมและไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัตคิ ณ ุ สมบัตมิ าตรฐาน ส�ำหรับกรรมการและพนักงาน รัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 รวมทัง้ กฎหมายและกฎเกณฑ์ทางการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ไม่มสี ว่ น ได้สว่ นเสียกับกิจการของ บสส.รวมไปถึงการสรรหากรรมการบริษทั ด�ำเนินการด้วยความ โปร่งใส
2. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่ด�ำเนินงานของ บสส. ให้ประสบความส�ำเร็จตาม วัตถุประสงค์ ในการบริหารสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพโดยการปรับโครงสร้างหนี้ หรือโดยการ ใช้มาตรการอืน่ ใด เพือ่ ประโยชน์ตอ่ การฟืน้ ฟูเศรษฐกิจรวมทัง้ มีอำ� นาจหน้าทีว่ างนโยบาย และก�ำกับการด�ำเนินงานโดยทัว่ ไปในกิจการของ บสส. โดยมีอำ� นาจหน้าทีร่ วมถึง 24
aw_sam_final.indd 24
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:21 AM
1) ก�ำหนดทิศทาง วิสัยทัศน์ เป้าหมาย นโยบาย รวมทั้งพิจารณาให้ความเห็นชอบ งบประมาณในการด�ำเนินงานของ บสส. 2) การก�ำหนดมาตรการเพื่อให้ฝ่ายจัดการ ด� ำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย และแผนงานที่ก�ำหนด 3) ออกข้อบังคับ ระเบียบ และหลักเกณฑ์ในเรือ่ งอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการบริหารงาน หรือด�ำเนินกิจการของ บสส. และมอบอ�ำนาจให้ฝ่ายจัดการสามารถด�ำเนินงาน ให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ 4) เ ป็ น ผู ้ น� ำ และเป็น แบบอย่างในการปฏิบัติงานที่ ดี ปฏิ บัติ ต ามกฎหมาย และ สอดคล้องกับแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส. 5) ดูแลให้ฝ่ายจัดการ มีระบบหรือกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการความเสี่ยงอย่างครอบคลุม คณะกรรมการบริษัท ได้ให้ความส�ำคัญใน การด� ำ เนิ น การตามหลัก การก�ำกับ ดูแ ลกิจการที่ ดี และให้ ค วามส� ำ คั ญต่ อ การ สื่อสารให้พนักงานทุกระดับได้รับทราบ และปฏิบัติตนตามนโยบายการก�ำกับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี รวมถึ ง ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ใ ห้ กั บ พนั ก งาน โดยก� ำ หนดให้ มี ก ารส� ำ รวจความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ต ลอดจนก� ำ หนด มาตรฐานในการปฏิบัติงาน และมีการวางระบบการรายงานผลการด�ำเนินงาน อย่างสม�่ำเสมอโดยจัดให้มีการรายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี เพื่อแสดง ผลการด�ำเนินการและแนวทางในการบริหารจัดการ อีกทั้งมีการจัดตั้งคณะ ท� ำ งานต่ า ง ๆ หรื อ มอบอ� ำ นาจให้ ฝ ่ า ยจั ด การในการพิ จ ารณาการปรั บ โครงสร้างหนี้ และการขายทรัพย์สินรอการขายของ บสส. เพื่อช่วยในการ กลั่นกรองและดูแลงานต่าง ๆ ให้ครบถ้วนก่อนมีการน� ำเสนอคณะกรรมการ บริษัททราบหรือพิจารณาต่อไป และก�ำหนดแนวทางการจัดท�ำศูนย์รับเรื่อง ร้ อ งเรี ย นส� ำ หรั บ ลู ก ค้ า และผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย อย่ า งเปิ ด เผยพร้ อ มทั้ ง ได้ มอบหมายให้ ฝ ่ า ยจั ด การสรุ ป ผลดั ง กล่ า วให้ กั บ คณะกรรมการบริ ษั ท ทราบ รวมทั้งได้ให้ความส�ำคัญต่อการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบ ต่าง ๆ อย่างเคร่งครัดด้วย
3. บทบาทหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ กรรมการผูจ้ ดั การในฐานะผูบ้ ริหารสูงสุดขององค์กรต้องเป็นผูม้ ภี าวะผูน้ ำ� และมีวสิ ยั ทัศน์ มีความรับผิดชอบต่อการด�ำเนินการขององค์กรให้บรรลุเป้าหมายของ บสส. รวมทั้ง เป็นผู้ผลักดันและสร้างแรงจูงใจให้พนักงานทุกระดับเห็นความส�ำคัญต่อการเป็นส่วน คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 25
25
02-Dec-15 8:17:21 AM
หนึ่งของความส�ำเร็จขององค์กร ส่งเสริมให้มีการสร้างวัฒนธรรมองค์กร และมีความคิด สร้างสรรค์ใหม่ ๆ มาใช้ในงานอีกทั้งให้ความส�ำคัญกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย มีการ สื่อสารทิศทางกลยุทธ์และความส�ำเร็จขององค์กรไปยังพนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนประชาสัมพันธ์ให้บุคคลภายนอกได้เข้าใจการด�ำเนินการของ บสส. และหา โอกาสในการขยายธุรกิจให้กับ บสส.
4. บทบาทหน้าที่ของฝ่ายจัดการ ฝ่ายจัดการของ บสส. ได้แก่ กรรมการผูจ้ ดั การ รองกรรมการผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยกรรมการ ผู้จัดการ และผู้บริหารฝ่าย บทบาทหน้าทีข่ องฝ่ายจัดการจะต้องร่วมกันรับผิดชอบต่อการปฏิบตั งิ านของ บสส. ให้ บรรลุผลส�ำเร็จตามนโยบายและเป้าหมายขององค์กร และมีอ�ำนาจหน้าที่ตามที่ก�ำหนด ไว้ในข้อบังคับ หรือระเบียบที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดหรือมอบหมายไว้ ฝ่ายจัดการ ต้องมีความตัง้ ใจทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามนโยบายและหลักการการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ให้บรรลุ ผล เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดี (rolemodel) ในการสร้างจิตส�ำนึกของการท�ำงานตามแนวทาง การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีให้กับพนักงานใต้บังคับบัญชาทุกคนใน บสส. โดยตระหนักถึง ความส�ำคัญของการปฏิบัติงานเพื่อคุ้มครองสิทธิและประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ฝ่ายจัดการจึงต้องสร้างความร่วมมือร่วมใจให้เกิดขึน้ ในองค์กรสร้างบรรยากาศของการท�ำงาน เป็นทีม ส่งเสริมให้ฝ่ายจัดการและพนักงานมีวิธีคิดและปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ เป็นระบบ รวมถึงก�ำหนดแนวทางการป้องกันและลดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่างรอบคอบ ตลอดจนการให้ความส�ำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน และจัด ให้มรี ะบบการติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานเพื่อประเมินผลในภาพรวมของ บสส. อีกทั้งต้องให้ความส�ำคัญกับการบริหารและจัดการความเสี่ยงขององค์กร (Risk Management) เพื่อให้กระบวนการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพมีการจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
26
aw_sam_final.indd 26
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:23 AM
ส่วนที่
3
นโยบายและแนวทางปฏิบตั ิงานตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บสส.
1. นโยบายเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้สื่อโทรคมนาคม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ ถือเป็นความรับผิดชอบ ของพนักงานทุกคน ที่พึงปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด ดังนั้นเพื่อให้มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม บสส.จึงก�ำหนดแนวทางการจัดท�ำจรรยาบรรณของ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ IT Security เพื่อให้พนักงานทุกคนมีความตระหนัก รับทราบและเข้าใจถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการท�ำงานได้อย่างถูกต้องเหมาะ สม และสอดคล้องกับประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ นอกจากนี้ บสส. คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 27
27
02-Dec-15 8:17:23 AM
ก�ำหนดห้ามมิให้พนักงานเปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับของ บสส. ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของ องค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือข้อมูลอื่นใดที่ใช้ประกอบการท�ำงาน ส�ำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ บสส. ก�ำหนดแนว ปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วกับการรักษาความปลอดภัยของระบบข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของ บสส. เป็นการเฉพาะ ทั้งนี้เพื่อให้พนักงานที่ได้รับสิทธิในการเข้าถึงฐานข้อมูลต่าง ๆ ของ บสส. ต้องปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติโดยเคร่งครัด หากมีการฝ่าฝืนหรือท�ำความเสียหาย แก่ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โปรแกรมระบบงานและฐานข้อมูลของ บสส. พนักงานที่ กระท�ำการดังกล่าวจะได้รับการพิจารณาวินัยตามความเหมาะสม 1.1 การใช้อินเทอร์เน็ต (Internet) บสส. อนุญาตให้พนักงานสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และค้นหาข้อมูลสนับสนุนการท�ำงานของ พนักงาน อย่างไรก็ตาม บสส. ห้ามมิให้พนักงานใช้ระบบอินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อการท�ำงาน หรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อ บสส. บสส. ห้ามมิให้พนักงานท�ำการเปิดเผยข้อมูลด้วยการส่งต่อข้อมูลทาง เทคโนโลยีสารสนเทศที่ไม่ถูกต้อง เช่น การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารของบุคคลอืน่ ทีไ่ ม่ได้รบั อนุญาตจากผูเ้ ป็นเจ้าของหรือผูท้ มี่ สี ทิ ธิใน ข้อมูลนัน้ แสดงความคิดเห็นส่วนบุคคล ทัง้ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินงาน ของ บสส. และไม่เกีย่ วกับการท�ำงานของ บสส. รวมถึงข้อมูลทีก่ อ่ ให้เกิดความ เข้าใจ คลาดเคลือ่ นไปจากความเป็นจริงโดยการอ้างอิงถึงจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) และสถานะการเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจหรือพนักงาน บสส. 1.2 การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) บสส. อนุญาตให้พนักงานทุกระดับ ใช้ E-mail โดยก�ำหนดให้มีรหัสผู้ใช้ (Password) ของ E-mail address เพื่อใช้ ในการสื่อสารกับบุคคลทั้งภายในและภายนอก บสส. ดังนั้นในการใช้ E-mail พนักงานจึงต้องค�ำนึงถึงการใช้ภาษาทีส่ ภุ าพ ใช้คำ� ทีเ่ ป็นทางการ รวมทัง้ ใช้สแี ละ ขนาดของตัวอักษรทีเ่ หมาะสม ทัง้ นีพ้ นักงานทุกคนต้องไม่สง่ ข้อความใด ๆ ทีอ่ าจ ก่อให้เกิดปัญหา เกิดความขัดแย้งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของ บสส. หรือ การส่งจดหมายลูกโซ่ทจี่ ะก่อให้เกิดความเสียหายต่อพนักงาน บสส. หรือบุคคลอืน่ ตลอดจนห้ามมิให้มีการส่งข้อความที่ผิดกฎหมาย ละเมิดสิทธิเสรีภาพ และเกิด ความเสียหายแก่บคุ คลอืน่ ขัดต่อจริยธรรม จรรยาบรรณ และศีลธรรมอันดี หรือ ส่งข้อมูลทีอ่ าจมีไวรัสทีส่ ง่ ผลต่อประสิทธิภาพการท�ำงานโดยรวมของระบบเครือข่าย 28
aw_sam_final.indd 28
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:23 AM
คอมพิวเตอร์ของ บสส. ทั้งนี้พนักงานของ บสส. ทุกคนจะต้องมีความตระหนัก รับรู้ เข้าใจและให้ความส�ำคัญว่าการที่ บสส.ได้อนุญาตให้พนักงานใช้ E-mail ในการติดต่อสื่อสารนั้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานและ ภารกิจของ บสส. เท่านั้น 1.3 การใช้สื่อโทรคมนาคม บสส. ได้มกี ารสนับสนุนอุปกรณ์การสือ่ สารโทรคมนาคม เช่นโทรศัพท์ โทรสาร โทรศัพท์เคลือ่ นที่ เพือ่ ให้พนักงานสามารถใช้ในการสือ่ สารส�ำหรับการปฏิบตั งิ าน ของ บสส. รวมทั้งเปิดโอกาสให้พนักงานสามารถใช้ในกิจกรรมส่วนตัวได้ตาม สมควรแต่ไม่อนุญาตให้นำ� ไปใช้ในธุรกิจส่วนตัวของพนักงานโดยเด็ดขาด ทัง้ นีใ้ น การใช้สื่อโทรคมนาคมของ บสส. นั้น พนักงานจะต้องให้ความส�ำคัญถึงการใช้ งานว่าจะต้องไม่ใช้เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจส่วนตนและไม่ใช้ไปในทางที่ผิด กฎหมายหรือผิดจริยธรรมจรรยาบรรณและศีลธรรมรวมทัง้ วัตถุประสงค์อนื่ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อความเสียหายของ บสส. และบุคคลอื่น บสส. ห้ามมิให้มีการดักฟังเสียงหรือมีการบันทึกเทปใด ๆ ในเรื่องที่ไม่จ�ำเป็น และไม่อยู่ในภาระหน้าที่ของงาน โดยจะมีการยกเว้นให้มีการบันทึกเทปกรณีที่ เนือ้ หาทีบ่ นั ทึกเป็นส่วนหนึง่ ของการตัดสินใจในการท�ำงาน หรือใช้ประกอบการ ด�ำเนินงานในขั้นตอนส�ำคัญ ๆ และมีการอนุญาตให้มีการบันทึกเทปได้เท่านั้น
2. แนวทางการเปิดเผยข้อมูล บสส. มีแนวทางในการเปิดเผยข้อมูลด้วยความโปร่งใส กล่าวคือมีการจัดท�ำรายงาน ผลการด�ำเนินการเสนอต่อกองทุนฯ ทุกสิน้ ปี และจัดท�ำรายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำ ปี เพื่อเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณชน 2.1 การเปิดเผยข้อมูล และความโปร่งใส บสส. ให้ความส�ำคัญกับการรายงานผลการปฏิบตั งิ านเพือ่ แสดงความโปร่งใส ในการด�ำเนินการ บสส. ได้ปฏิบัติตามนโยบายและกรอบยุทธศาสตร์ของ บสส. และจัดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลอย่างสม�่ำเสมอ สามารถให้มีการ ตรวจสอบและอธิบายการปฏิบตั งิ านภายใต้การบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมได้ อีกทัง้ มีการจัดท�ำรายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีทสี่ ะท้อนถึงแผนยุทธศาสตร์ องค์กรและตัวชี้วัดผลการด�ำเนินงานหลัก และผลส�ำเร็จเมื่อเทียบกับเป้าหมาย ต่อคณะกรรมการบริษทั และมีการสือ่ สารข้อมูลผลการด�ำเนินงานของ บสส. ให้ พนักงานในองค์กรรับทราบอย่างสม�่ำเสมอรวมทั้งเปิดโอกาสให้พนักงานมี คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 29
29
02-Dec-15 8:17:23 AM
ส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมกันปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ขององค์กร และต้องมีการเปิดเผยข้อมูลที่จ�ำเป็นให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรับทราบ ตามมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลทั่วไปทั้งนี้ในการเปิดเผยข้อมูลจ�ำเป็นจะต้อง เป็นข้อมูลทีม่ กี ารกลัน่ กรองแล้วมีความถูกต้อง น่าเชือ่ ถือเพียงพอต่อการตัดสินใจ และมีความเป็นปัจจุบัน ส�ำหรับแนวทางในการเปิดเผยข้อมูลของ บสส. จะมี ข้อมูลทีพ่ งึ จะเปิดเผยได้เช่นข้อมูลการบริหารจัดการสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพ ข้อมูล ผลการบริหารจัดการสินทรัพย์ด้อยคุณภาพตามมาตรฐานสากล ส่วนข้อมูล ลูกหนีร้ ายตัวนัน้ ในปัจจุบนั สามารถเปิดเผยได้ตามความยินยอมของลูกหนี้ รวม ทั้งข้อมูลแผนการด�ำเนินงานและผลการด�ำเนินงาน เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถตรวจสอบการด�ำเนินการว่าได้เป็นไปตามแผนทีก่ ำ� หนดไว้ โดยข้อมูลดัง กล่าวจะอยูใ่ นรายงานรายไตรมาสและรายงานประจ�ำปี ส่วนงบการเงินและฐานะ การเงินนั้นจะเปิดเผยในรายงานงบการเงินและรายงานฐานะทางการเงินของ บสส. ซึง่ เป็นไปตามข้อบังคับว่าด้วยการบัญชี โดยมีสำ� นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองงบการเงิน โดยการรายงานข้อมูลด้านการเงินจะ ด�ำเนินการเป็นรายไตรมาส ราย 6 เดือนและประจ�ำปี รวมทั้งหากมีเหตุการณ์ ส�ำคัญ นอกจากเรื่องผลการด�ำเนินงานทั่วไปแล้ว บสส. จะเปิดเผยข้อมูลที่มี ผลกระทบต่อการด�ำเนินการของ บสส.ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบเช่นกัน 2.2 การเปิดเผยข้อมูลตามพระราชบัญญัตขิ อ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ในฐานะที่ บสส. เป็นรัฐวิสาหกิจ จึงได้ด�ำเนินการเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารของ บสส. ต่อประชาชนให้เป็นไปตามกฎหมายดังกล่าวโดยการก�ำหนด ระเบียบ บสส. ว่าด้วยการจัดให้มีข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูตาม พระราชบัญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ไว้อย่างชัดเจนทั้งนี้เพื่อ จัดระเบียบและความปลอดภัยของข้อมูล โดยค�ำนึงถึงความสะดวกของประชาชน ผูข้ อตรวจดูขอ้ มูลข่าวสารเป็นส�ำคัญด้วย นอกจากนี้ บสส.ก�ำหนดให้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารเพื่อด�ำเนินการก�ำหนดหลักเกณฑ์ แนวทางปฏิบัติ ติดตาม ควบคุม ตรวจสอบ ประสานงาน และรวบรวมข้อมูลข่าวสารทีเ่ ป็นข้อมูล ที่ต้องจัดให้ประชาชนเข้าตรวจดูด้วยซึ่งเป็นการด�ำเนินการจัดให้ผู้ที่มีส่วนได้ ส่วนเสียของ บสส. ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน
30
aw_sam_final.indd 30
คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
02-Dec-15 8:17:23 AM
3. นโยบายเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ให้ บสส. มีการบริหารจัดการทีถ่ กู ต้องและเหมาะสม สามารถแก้ไขปัญหาสินทรัพย์ ด้อยคุณภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บสส. จึงจัดให้มรี ะบบการตรวจสอบและการควบคุม ภายในรวมทั้งการบริหารจัดการความเสี่ยง ผู้ตรวจสอบภายในมีหน้าที่ส�ำคัญในการ สอดส่องดูแลการควบคุมภายในและตรวจสอบรายการที่ส�ำคัญอย่างสม�่ำเสมอ และให้ ความมั่นใจว่า บสส. มีระบบที่มีประสิทธิผลซึ่งเสริมความน่าเชื่อถือของงบการเงิน โดยมี คณะกรรมการตรวจสอบท�ำหน้าทีต่ รวจสอบการด�ำเนินงานภายในให้ถกู ต้องตรงตามนโยบาย และตรงตามมาตรฐานการท�ำงานที่ก�ำหนดไว้ พร้อมกับติดตามการแก้ไขประเด็นปัญหา ต่าง ๆ และสอบทานระบบการควบคุมภายในของ บสส. ให้เหมาะสมเป็นจริงครบถ้วน และเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ โดย บสส. ได้จดั ท�ำรายงานการตรวจสอบเสนอต่อส�ำนักงานคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดินทุกปี ในส่วนของการบริหารความเสี่ยง บสส. ได้จัดตั้งหน่วยงานที่ท�ำ หน้าที่ตรวจสอบและดูแลการบริหารความเสี่ยงโดยตรง เพื่อปกป้องมิให้องค์กรได้รับ ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้
4. นโยบายเกีย่ วกับรายการทางบัญชีและการจัดท�ำงบการเงิน การบันทึกรายการทางบัญชีและการจัดท�ำงบการเงินเป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ ค�ำ สัง่ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง นโยบายการบัญชีรวมถึงการเปิดเผยข้อมูลทีค่ รบถ้วนและถูก ต้องตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป การวางแผน ควบคุม และประสานงานการใช้ งบประมาณเป็นไปอย่างมีระบบ ถูกต้องและตรวจสอบได้
5. นโยบายการเข้าออกส�ำนักงาน บสส. ให้ความส�ำคัญต่อการดูแลรักษาความปลอดภัยขององค์กรและพนักงาน ดังนั้นเพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยและป้องกันความเสียหายต่อพนักงาน ทรัพย์สิน และข้อมูลของ บสส. จึงก�ำหนดหลักเกณฑ์การเข้าออกส�ำนักงาน โดยก�ำหนดให้มรี หัสผ่าน เข้าออกส�ำนักงานและการบันทึกข้อมูลเวลาเข้าออกในบัตรพนักงาน และก�ำหนดให้มกี าร ตรวจบัตรพนักงานโดยรณรงค์ให้พนักงานติดบัตรพนักงานตลอดเวลาทีอ่ ยูภ่ ายในบริษทั รวมทั้งจัดท�ำบัญชีการเข้าออกของผู้มาติดต่องานกับ บสส. อย่างเป็นระบบ ตลอดจน ติดตัง้ กล้องวงจรปิดภายในส�ำนักงานในจุดทีส่ ำ� คัญเพือ่ ความปลอดภัย ส�ำหรับการบันทึกเทป หรือดูกล้องวงจรปิดจะต้องมีการด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอ หากมีสิ่งผิดปกติ จะต้องมีการรายงานให้ฝ่ายจัดการทราบทันที คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บสส.
aw_sam_final.indd 31
31
02-Dec-15 8:17:23 AM
ฝ ายจัดการ
พนักงาน Equitable Treatment ลูกค า Accountability ะกรรมการบร�ษัท ณ ค n o ti a re C e lu a V
ผู ถือหุ น
Ethics
พนักงาน
Responsibility
ิจเเละสัง
เศรษฐก
arency
Transp
คม
Participation
aw_sam_final.indd 32
02-Dec-15 8:17:23 AM
สำ�นักงานใหญ่ : กรุงเทพมหานคร
123 อาคารซันทาวเวอร์ส เอ ชั้น 27-30 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2686-1800, 0-2620-8999, 0-2610-2222 โทรสาร : 0-2617-8230-33, 0-2617-8235, 0-2617-8244-46
สาขาสุราษฎร์ธานี
สาขาขอนแก่น
213/17 หมู่ 1 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลมะขามเตี้ย อำ�เภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์ : 077-910-180-3 โทรสาร : 077-910-075
381/46-47 หมู่ 17 ถนนมิตรภาพ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ : 043-271-506-9 โทรสาร : 043-271-505
สาขาพิษณุโลก
สาขาเชียงใหม่
5/16-17 หมู่ 5 ถนนสิงหวัฒน์ ตำ�บลบ้านคลอง อำ�เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ : 055-259-043 โทรสาร : 055-259-048
109/4 ถ.เชียงใหม่-ลำ�ปาง (ท.ล.11) กม.98.7 เทศบาลตำ�บลช้างเผือก อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ : 053-217-318, 053-217-398 โทรสาร : 053-217-308
www.sam.or.th Cover_final3.indd 1
09-Nov-15 9:13:28 AM