สมช. ยุคใหม่ : ก้าวสู่อนาคต
โทรศัพท์ 02 - 629 - 8000 ต่อ 4512, 02 - 629 - 8042, 02 - 142 - 0141 โทรสาร 02 - 143 - 9350 www.nsc.go.th
สำ�นักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
กลุ่มพัฒนาองค์ความรู้ความมั่นคง สำ�นักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
สมช. ยุคใหม่ : ก้าวสู่อนาคต
สำ�นักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ Office of the National Security Council
2
58tp_�������_SI_CMYK.indd 2
8/26/2558 BE 2:28 PM
58tp_�������_SI_CMYK.indd 1
8/26/2558 BE 2:28 PM
2
58tp_�������_SI_CMYK.indd 2
8/26/2558 BE 2:28 PM
สมช. ยุคใหม่ ก้าวสู่อนาคต
3
58tp_�������_SI_CMYK.indd 3
8/26/2558 BE 2:28 PM
58tp_�������_SI_CMYK.indd 4
8/26/2558 BE 2:28 PM
คำ�นำ� มาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้ก�ำหนดว่าให้มี “ส�ำนักงาน สภาความมั่นคงแห่งชาติ” ซึ่งมีหน้าที่ด�ำเนินกิจการให้เป็นไปตามมติสภาความมั่นคงแห่งชาติ อาจกล่าวได้ว่า ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้ถือก�ำเนิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ โดยในระยะแรกนั้น พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ คนแรก ได้อาศัยตึกบัญชาการ ท�ำเนียบรัฐบาลเป็นที่ตั้ง ของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ประกอบกับยังมีข้าราชการในส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติไม่มาก นัก จึงมิได้มีการแบ่งส่วนงานภายในให้ชัดเจน อย่างไรก็ดี ต่อมา ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้ปฏิบัติ ภารกิจทั้งตามมติสภาความมั่นคงแห่งชาติ และตามสภาวะแวดล้อมความมั่นคงที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็น พลวัตร โดยส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติได้เข้าไปเป็นหน่วยงานน�ำในกระบวนทัศน์ของประชาคมความ มั่นคงของประเทศไทย ด้วยภารกิจงานด้านการรักษาความมั่นคงของชาติ ทั้งการให้ค�ำปรึกษา และข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ต่อนายกรัฐมนตรีในฐานะประธานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ในการบริหารจัดการภัยความมั่นคงต่างๆ ที่ผ่านมาในอดีตอย่างต่อเนื่อง ในการนี้ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลักในการ ก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติในภาพรวมให้แก่ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องน�ำไปปฏิบัติอย่าง เป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติจงึ จ�ำเป็นต้องปฏิรปู องค์กรให้มคี วามทันสมัย อยูเ่ สมอ สามารถตอบสนองการท�ำงานด้านความมัน่ คงได้ในทุกสถานการณ์ และทันท่วงทีจากพันธกิจและภารกิจ งานที่เพิ่มมากขึ้น ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ จึงได้ท�ำการย้ายที่ตั้งจากตึกบัญชาการ ท�ำเนียบรัฐบาล มา ตั้งยังตึกส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (ตึกแดง) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ในภายหลัง ส�ำนักงานสภาความมั่นคง แห่งชาติได้พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้าง ตลอดจนภารกิจของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติให้สามารถ ด�ำเนินกิจการความมั่นคงที่ท้าทายมากขึ้นในทุกๆ วัน จึงได้มีการจัดตั้งส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ส่วนแยก ณ ศูนย์ราชการเฉลิมมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ถนนแจ้งวัฒนะ จากจุดแรกเริ่มของการก่อตั้งส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติจวบจนถึงปัจจุบัน ส�ำนักงานสภา ความมัน่ คงแห่งชาติได้กอ่ เกิดมาแล้วเป็นเวลากว่า ๕๖ ปี ในการนี้ คณะผูบ้ ริหารส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ พิจารณาแล้วเห็นว่าการรวบรวมประวัติศาสตร์การก่อตั้งส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ และผลงานอันเป็น ทีป่ ระจักษ์ในการป้องกันและรักษาความมัน่ คงแห่งชาติ เพือ่ ให้เป็นอนุสรณ์แก่ขา้ ราชการรุน่ หลังสืบไป ให้ตระหนัก ถึงความส�ำคัญของภารกิจหลักของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาตินับเป็นเรื่องที่เป็นคุณอนันต์อย่างยิ่ง
58tp_�������_SI_CMYK.indd 5
ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สิงหาคม ๒๕๕๘
8/26/2558 BE 2:28 PM
58tp_�������_SI_CMYK.indd 6
8/26/2558 BE 2:28 PM
สารบัญ
. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว . บทความพิเศษ . ณ อดีตกาล
หน้า ๘ ๑๐
๑. การก่อตั้งและพัฒนาการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ๒. ก่อร่างสร้างส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ๓. ผลการด�ำเนินการภารกิจที่สำ� คัญ (จากอดีตถึง พ.ศ.๒๕๕๔)
. ณ ปัจจุบันกาล
๒๔ ๒๔ ๓๐ ๓๓
๕๓ ๕๓ ๕๙ ๖๙ ๗๕
๑. ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติในยุคปัจจุบัน ๒. สถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคง ๓. การท�ำงานและผลผลิตตามภารกิจด้านความมั่นคง ๔. องค์กรและกลไกการน�ำนโยบายและยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
. สมช. ยุคใหม่ : ก้าวสู่อนาคต
.
๑. การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ทางความคิด (Paradigm-Shift) ในการจัดท�ำนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติ ๒. การแก้ไขปรับปรุง พ.ร.บ. สภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ ๓. การก�ำหนดทิศทางและยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง เมื่อประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ๔. การจัดตั้งสถาบันคลังสมองของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ๕. การจัดระบบฐานข้อมูลภาครัฐด้านความมั่นคง
บรรณานุกรม
58tp_�������_SI_CMYK.indd 7
๘๐ ๘๑ ๘๙ ๙๐ ๙๑ ๙๓ ๙๖
8/26/2558 BE 2:28 PM
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับงานความมั่นคง พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการเสด็จออกมหาสมาคม เนื่องในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ “ บ้านเมืองของเราเป็นปึกแผ่นมั่นคง และร่มเย็นเป็นปรกติสุข สืบมาช้านาน เพราะเรามี ความยึดมั่นในชาติ และต่างร่วมแรงร่วมใจกัน บ�ำเพ็ญกรณียกิจต่างๆ ตามหน้าที่ โดยถือประโยชน์ ส่วนรวมของชาติเป็นเป้าหมายสูงสุด ท่านทั้งหลายในมหาสมาคมนี้ ตลอดจน คนไทยทุกหมู่เหล่า จึงควรได้ท�ำความเข้าใจในหน้าที่ของตนให้กระจ่าง แล้วตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด ด้วย ความไม่ประมาท และด้วยความมีสติ รู้ตัวอยู่เสมอ เพราะการกระท�ำโดยประมาท ขาดความ รอบคอบ เป็นเหตุให้เกิดความผิดพลาดเสียหายในหน้าที่ และ การกระท�ำโดยขาดสติยั้งคิด ขาด เหตุผลความรู้จักถูกผิดนั้น เป็นเหตุให้เกิดความหลง ความลืมตัว น�ำพาให้กระท�ำสิ่งที่ไม่ใช่หน้าที่ โดยชอบได้ ซึ่งเป็นอันตรายมาก อาจน�ำความเสื่อมสลายมาสู่ตนเอง ตลอดถึงประเทศชาติได้ จึง ขอให้ทุกคนได้สังวรระวังไว้ให้มาก และประคับประคองกายใจให้เที่ยงตรงหนักแน่น ในอันที่จะ ปฏิบัติภารกิจของตนให้ถูกตรงตามหน้าที่ เพื่อความมั่นคงและเพื่อประโยชน์สุขอันยั่งยืนของชาติ ไทยเรา ”
58tp_�������_SI_CMYK.indd 8
ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๓
8/26/2558 BE 2:28 PM
บทความพิเศษ
58tp_�������_SI_CMYK.indd 9
8/26/2558 BE 2:28 PM
บทความพิเศษ ด้วยพระบารมีแผ่นดินนีจ้ งึ ร่มเย็นเป็นสุข “สถาบันพระมหากษัตริย”์ ถือเป็นสถาบันหลักของชาติทอี่ ยูค่ กู่ บั แผ่นดินไทยมาช้านาน และเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของปวงชนชาวไทยให้เป็นอันหนึง่ อันเดียวกันมาตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั พระมหากษัตริย์ ทุกพระองค์ทรงไว้ซงึ่ ทศพิธ ราชธรรมให้อาณาประชาราษฎร์อยูอ่ ย่างสงบสุขร่มเย็น และด้วยพระมหากรุณาธิคณ ุ นานัปการทีส่ ง่ ผลให้ประเทศไทย เป็นปึกแผ่น รุง่ เรือง เป็นเอกราช มาจนถึงปัจจุบนั สถาบันพระมหากษัตริยจ์ งึ เป็นทีเ่ คารพเทิดทูน และเหล่าพสกนิกร ได้แสดงออกถึงความจงรักภักดีและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ เสมอมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช พระมหากษัตริยร์ ชั กาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จกั รี ทรงเป็นพระมหา กษัตริยท์ คี่ รองราชย์สมบัตยิ าวนานทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ชาติไทย โดยพระองค์ทรงยึดถือหลักทศพิธราชธรรมในการ ปกครองประเทศ ทรงเป็นธรรมราชาตามพระปฐมบรมราชโองการทีพ่ ระราชทาน แก่ประชาชนชาวไทยไว้วา่ “เราจะ ครองแผ่นดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม” และนับตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา ตลอดระยะเวลา แห่งการครองสิรริ าชสมบัตเิ ป็นทีป่ ระจักษ์ชดั แก่สายตาชาวไทย และชาวโลกแล้วว่าพระองค์ได้ทรงอุทศิ ก�ำลังพระวรกาย และก�ำลังพระสติปญั ญาเพือ่ ประโยชน์สขุ ของประชาชนมาโดยตลอด พระองค์ได้เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเยีย่ มราษฎร ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ทัว่ ประเทศไทย เพือ่ ให้ทราบถึงความเป็นอยูแ่ ละการด�ำเนินชีวติ ของราษฎร อันน�ำมาซึง่ โครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริจำ� นวนมาก เพือ่ มุง่ แก้ปญ ั หาความเดือดร้อนทุกข์สขุ ของประชาชนและเพือ่ ให้ประชาชน ของพระองค์มคี วามกินดีอยูด่ ี ด้วยเหตุผลนานัปการเหล่านีไ้ ด้กอ่ ให้เกิดความจงรักภักดีและเทิดทูนทีป่ ระชาชนชาวไทย มีตอ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเป็นพระประมุขทีเ่ ปีย่ มไปด้วยพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม ในยามเกิดวิกฤตภัย พระองค์ทรงมีบทบาทส�ำคัญในการสร้างความสมานฉันท์ ความสามัคคี ความปรองดองให้เกิดขึน้ แก่คนในชาติ เพือ่ ให้ประเทศกลับสูภ่ าวะปกติสขุ ดังจะเห็นได้จากกรณีเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๖ ทีน่ สิ ติ นักศึกษา ประชาชนจ�ำนวนมากออกมาชุมนุมประท้วงรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร จนเกิดการ ปะทะต่อสูก้ นั อย่างรุนแรงน�ำมาซึง่ ความสูญเสียอย่างมาก ในการนี้ พระองค์ทรงขอให้ทกุ ฝ่ายตัง้ สติยบั ยัง้ ความรุนแรง ระงับเหตุรนุ แรง เพือ่ น�ำบ้านเมืองกลับสูภ่ าวะปกติดงั ทีป่ รากฏใน พระราชด�ำรัสว่า “วันนีเ้ ป็นวันมหาวิปโยคทีน่ า่ เศร้า สลดอย่างยิง่ ในประวัตศิ าสตร์ชาติไทย ตลอดระยะเวลา ๖ – ๗ วันทีผ่ า่ นมา ได้มกี ารเรียกร้องและการเจรจากัน จนกระทัง่ นักศึกษาและรัฐบาล ท�ำข้อตกลงกันได้ แต่แล้วการขว้างระเบิดขวด และยิงแก๊สน�ำ้ ตาท�ำให้เกิดการปะทะ กัน และมีคนได้รบั บาดเจ็บหลายคน ความรุนแรงได้ทวีขนึ้ ทัว่ พระนครถึงขัน้ จลาจล และยังไม่สนิ้ สุด มีคนไทยด้วยกัน เสียชีวติ นับร้อย ขอให้ทกุ ฝ่ายทุกคนจงระงับเหตุแห่งความรุนแรงด้วยการตัง้ สติยบั ยัง้ เพือ่ ให้ชาติบา้ นเมืองคืนอยูใ่ น สภาพปกติ” หรือแม้กระทัง่ ในกรณีวกิ ฤตการณ์ทางการเมืองในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ.๒๕๓๕ สังคมไทยได้เกิด
10
58tp_�������_SI_CMYK.indd 10
8/26/2558 BE 2:28 PM
ความแตกแยกอย่างรุนแรงอีกครั้งหนึ่ง พระองค์ได้ทรงใช้พระบารมีและพระเมตตาจนท�ำให้บ้านเมืองกลับเข้าสู่ ความสงบสุขเรียบร้อยได้อกี ครา โดยในเหตุการณ์คราวนัน้ พระองค์ทรงมีพระราชด�ำรัสว่า “ประเทศของเรา ไม่ใช่ ประเทศของหนึง่ คน สองคน เป็นประเทศของทุกคนต้องเข้าหากัน ไม่เผชิญหน้ากัน แก้ปญ ั หา เพราะว่าอันตรายมีอยู่ เวลาคนเราเกิดความบ้าเลือดปฏิบตั กิ ารรุนแรงต่อกัน มันลืมตัว ลงท้ายก็ไม่รวู้ า่ ตีกนั เพราะอะไร แล้วก็จะแก้ปญั หาอะไร เพียงแต่วา่ จะต้องเอาชนะ แล้วก็ใครจะชนะ ไม่มที างชนะ อันตรายทัง้ นัน้ มีแต่แพ้ คือ ต่างคนต่างแพ้ ผูท้ เี่ ผชิญหน้า ก็แพ้ แล้วก็แพ้ทสี่ ดุ ก็คอื ประเทศชาติ ประชาชนจะเป็นประชาชนทัง้ ประเทศ ไม่ใช่ประชาชนเฉพาะในกรุงเทพมหานคร ถ้าสมมติวา่ กรุงเทพมหานครเสียหาย ประเทศก็เสียหายไปทัง้ หมด แล้วก็จะมีประโยชน์อะไร ทีจ่ ะทะนงตัวว่าชนะ เวลาอยูบ่ นกองสิง่ ปรักหักพัง” เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการท�ำให้สงั คมโดยรวมอยูร่ ว่ มกันโดยสันติสขุ การสร้างความ ปรองดองให้เกิดขึน้ ในสังคม ในด้านความมัน่ คงของประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีประราชด�ำรัสในการอธิบายความหมาย ของความมัน่ คงแห่งชาติไว้อย่างชัดเจน ในพิธถี วายสัตย์ปฏิญาณตน และสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ เมือ่ วัน อาทิตย์ที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า พระราชวังดุสติ ว่า “ประเทศชาตินนั้ ประกอบด้วยผืน แผ่นดินกับประชาชน และผืนแผ่นดินนัน้ เป็นทีเ่ กิด ทีอ่ าศัย ทีอ่ ำ� นวยประโยชน์สขุ ความมัน่ คงร่มเย็นแก่ประชาชน ให้ สามารถรวมกันอยูเ่ ป็นปึกแผ่น เป็นชาติได้ ความมัน่ คงปลอดภัยของประเทศ จึงมิได้อยูท่ กี่ ารปกป้องรักษาแผ่นดินไว้ ด้วยแสนยานุภาพแต่เพียงอย่างเดียว หากจ�ำเป็นทีป่ ระชาชนจะต้องมีความวัฒนาผาสุก ปราศจากทุกข์ยากเข็ญด้วย” จากพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สรุปความได้วา่ ความมัน่ คงแห่งชาติ มิได้หมายความ เพียงความเข้มแข็งด้วยแสนยานุภาพทางการทหารเพียงอย่างเดียว แต่ความมัน่ คงทีแ่ ท้จริง และถาวร ต้องกอปรขึน้ ด้วยความร่มเย็นผาสุก หรือความพึงพอใจของประชาชนในชาติทกุ เผ่าพันธุ์ พอใจในสภาพชีวติ ความเป็นอยูแ่ ละหน้าที่ ในการสถาปนาความผาสุก และความพึงพอใจนี้ มิใช้หน้าทีข่ องฝ่ายหนึง่ ฝ่ายใด แต่ทกุ ฝ่ายต้องร่วมมือร่วมใจกัน สถาปนาความมัน่ คงของชาติให้เกิดขึน้ พระราชกรณียกิจทีส่ ำ� คัญอีกประการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั คือ แนวพระราชด�ำริเรือ่ งเศรษฐกิจ พอเพียง เพือ่ น�ำมาใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวติ และแนวทางการพัฒนาบริหารประเทศ ราษฎรไทยให้มคี ณ ุ ภาพ ชีวติ ความเป็นอยูท่ ดี่ ี หรือมีปจั จัย ๔ เพียงพอในการด�ำรงชีวติ อย่างปกติสขุ โดยมุง่ เน้น “หลักของการพึง่ ตนเอง” เน้น คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา มุง่ พัฒนาความเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน มีความมัน่ คงในชีวติ มีความเท่าเทียม กัน และการมีสว่ นร่วมทางการเมืองท่ามกลางกระแสยุคโลกาภิวตั น์ ทีเ่ กิดขึน้ และเพือ่ ความอยูร่ อดของประเทศชาติ ดังทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชด�ำรัสแก่ คณะบุคคลต่างๆ ทีเ่ ข้าเฝ้าถวายชัยมงคล เนือ่ งในโอกาสเฉลิม พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสติ ดาลัย เมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ว่า “การจะเป็นเสือนัน้ มันไม่สำ� คัญ ส�ำคัญอยู่ ทีเ่ ราพออยูพ่ อกิน และมีเศรษฐกิจเป็นอยูแ่ บบพอมีพอกินแบบพอมีพอกินหมายความว่า อุม้ ชูตวั เองไว้ให้มคี วามพอ เพียงกับตัวเอง” สะท้อนให้เห็นถึงพระวิสยั ทัศน์ของพระองค์ทที่ รงมองสถานการณ์อย่างกว้างไกลรอบด้าน เพือ่ เตรียม ความพร้อมในการรับมือต่อภาวะวิกฤตต่างๆ ตลอดจนหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้ และส่งผลกระทบต่อ ประเทศชาติในอนาคต
11
58tp_�������_SI_CMYK.indd 11
8/26/2558 BE 2:28 PM
พระองค์ยงั ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจในฐานะพระมหากษัตริยน์ กั พัฒนาด้วยการทุม่ เทก�ำลังพระวรกายและ ก�ำลังพระสติปญ ั ญา เพือ่ บ�ำบัดทุกข์บำ� รุงสุขของพสกนิกรของพระองค์ ดังจะเห็นผลความส�ำเร็จได้จากโครงการอัน เนือ่ งมาจากพระราชด�ำริจำ� นวนมาก พระองค์ทรงยึดถือประโยชน์สขุ ของประชาชนเป็นทีต่ งั้ ซึง่ ครอบคลุมการพัฒนา ในด้านต่างๆ ทั้งด้านคุณภาพชีวิตของประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเกษตร การศึกษา การประดิษฐ์ เป็นต้น ทรงเป็นพระมหากษัตริยใ์ นระบอบประชาธิปไตยทีม่ บี ทบาทในการพัฒนาชาติและพัฒนาคน เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ และสภาพความเป็นอยูข่ องประชาชนให้ดขี นึ้ อย่างรอบด้าน
12
58tp_�������_SI_CMYK.indd 12
8/26/2558 BE 2:28 PM
เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ นายอนุสิษฐ คุณากร (ดำ�รงตำ�เเหน่ง ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗-ปัจจุบัน)
58tp_�������_SI_CMYK.indd 13
8/26/2558 BE 2:28 PM
ณ อดีตกาล
58tp_�������_SI_CMYK.indd 14
8/26/2558 BE 2:28 PM
ณ อดีตกาล เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ตั้งเเต่อดีตถึงปัจจุบัน
58tp_�������_SI_CMYK.indd 15
8/26/2558 BE 2:29 PM
๑. พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (๒๕๐๒ – ๒๕๐๔)
๔. พลเอก เล็ก แนวมาลี (ตุลาคม ๒๕๑๖ – พฤศจิกายน ๒๕๑๗)
๒. พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (ตุลาคม ๒๕๐๕ – มีนาคม ๒๕๑๑)
๕. พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (ธันวาคม ๒๕๑๗ – ๓๐ กันยายน ๒๕๒๓)
๓. พลเอก จิร วิชิตสงคราม (เมษายน ๒๕๑๑ – ตุลาคม ๒๕๑๖) 16
58tp_�������_SI_CMYK.indd 16
8/26/2558 BE 2:29 PM
๘. พลเอก จรัล กุลละวณิชย์ (๑ ตุลาคม ๒๕๓๔ – ๓๐ กันยายน ๒๕๓๙)
๖. นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ (๑ ตุลาคม ๒๕๒๓ – ๑๕ สิงหาคม ๒๕๒๙)
๙. พลเอก บุญศักดิ์ กำ�แหงฤทธิรงค์ (๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ – ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๑)
๗. นายสุวิทย์ สุทธานุกูล (๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ – ๓๐ กันยายน ๒๕๓๔)
๑๐. นายขจัดภัย บุรุษพัฒน์ (๖ มกราคม ๒๕๔๒ – ๓๐ กันยายน ๒๕๔๕) 17
58tp_�������_SI_CMYK.indd 17
8/26/2558 BE 2:29 PM
๑๑. พลเอก วินัย ภัททิยกุล (๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๕ – ๒๙ กันยายน ๒๕๔๙)
๑๔. พลโท สุรพล เผื่อนอัยกา (๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ – ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๒)
๑๒. นายประกิจ ประจนปัจจนึก (๑ ตุลาคม ๒๕๔๙ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๐)
๑๕. นายถวิล เปลี่ยนศรี (๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๒ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗)
๑๓. พลโท ศิรพงศ์ บุญพัฒน์ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ – ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑)
58tp_�������_SI_CMYK.indd 18
8/26/2558 BE 2:29 PM
อดีตเลขาธิการธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติกับภารกิจด้านความมั่นคง
พล.อ.อ. สิทธิ เศวตศิลา กับภารกิจด้านความมั่นคง
น.ต. ประสงค์ สุ่นศิริ กับภารกิจด้านความมั่นคง
19
58tp_�������_SI_CMYK.indd 19
8/26/2558 BE 2:29 PM
อดีตเลขาธิการธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติกับภารกิจด้านความมั่นคง
นายสุวิทย์ สุทธานุกูล กับภารกิจด้านความมั่นคง
พลเอก จรัล กุลละวณิชย์ กับภารกิจด้านความมั่นคง
20
58tp_�������_SI_CMYK.indd 20
8/26/2558 BE 2:29 PM
อดีตเลขาธิการธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติกับภารกิจด้านความมั่นคง
พลเอก บุญศักดิ์ ก�ำแหงฤทธิรงค์ กับภารกิจด้านความมั่นคง
นายขจัดภัย บุรุษพัฒน์ กับภารกิจด้านความมั่นคง
21
58tp_�������_SI_CMYK.indd 21
8/26/2558 BE 2:29 PM
อดีตเลขาธิการธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติกับภารกิจด้านความมั่นคง
นายขจัดภัย บุรุพัฒน์ กับภารกิจด้านความมั่นคง
พลเอก วินัย ภัททิยกุล กับภารกิจด้านความมั่นคง
นายประกิจ ประจนปัจจนึก กับภารกิจด้านความมั่นคง
22
58tp_�������_SI_CMYK.indd 22
8/26/2558 BE 2:29 PM
อดีตเลขาธิการธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติกับภารกิจด้านความมั่นคง
พลโท ศิริพงศ์ บุญพัฒน์ กับภารกิจด้านความมั่นคง
พลโท สุรพล เผื่อนอัยกา กับภารกิจด้านความมั่นคง
นายถวิล เปลี่ยนศรี กับภารกิจด้านความมั่นคง
23
58tp_�������_SI_CMYK.indd 23
8/26/2558 BE 2:29 PM
ณ อดีตกาล ๑. การก่อตั้งและพัฒนาการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ๑.๑ ประวัติและความเป็นมา
สภาความมั่นคงแห่งชาติถือก�ำเนิดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๔๕๓
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั โดยทรงมีพระราชด�ำริเพือ่ ให้การด�ำเนินงานทาง ด้านการทหารเพื่อการป้องกันประเทศมีการพิจารณากันอย่างละเอียดรอบครอบ มีประสิทธิภาพและมีการ ประสานกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีสภาขึ้นเพื่อท�ำหน้าที่ดังกล่าว แต่ในครั้งนั้นยังไม่มีชื่อเรียกเป็น การเฉพาะ เรียกแต่เพียงว่าเป็นสภาเกี่ยวกับการป้องกันพระราชอาณาจักรเท่านั้น สภานี้มีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประธาน สมาชิกอืน่ ได้แก่ เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ จอมพลทหารบก และ จอมพลทหารเรือทั้งที่ประจ�ำการและนอกประจ�ำการ โดยมีเสนาธิการทหารบกเป็นเลขานุการ นอกจากนี้ อาจมี พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เสนาบดีกระทรวงที่เกี่ยวข้องซึ่งมีหน้าที่ราชการที่จะต้องปรึกษาในสภา เข้าประชุมเป็นครั้งคราวด้วย ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระราชด�ำริวา่ สภาทีต่ งั้ ขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๔๕๓ ซึ่งมีภารกิจในการพิจารณาป้องกันพระราชอาณาจักรนั้น สมควรจะได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ที่ได้เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนกิจการทหารที่ได้มีการวิวัฒนาการมาโดยล�ำดับ ดังนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๔๗๐ ให้ยกเลิกสภาเดิม และตั้งสภาขึ้นใหม่ โดยมีชื่อว่า
24
58tp_�������_SI_CMYK.indd 24
8/26/2558 BE 2:29 PM
“สภาป้องกันพระราชอาณาจักร”๑ สภานี้มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นองค์ประธานในต�ำแหน่ง “สภานายก” ส่วน “อุปนายก” สุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจากสมาชิกสภา โดยสมาชิกประจ�ำของสภานี้ ประกอบ ด้วยอภิรัฐมนตรี เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม๒ นอกจากนี้ ยังมีสมาชิกทีป่ รึกษาซึง่ อาจแต่งตัง้ เป็นครัง้ คราวตามความจ�ำเป็น ได้แก่ หัวหน้ากรมใหญ่ในกระทรวง กลาโหม และหัวหน้ากรมใหญ่ในกระทรวงทหารเรือ ส่วนต�ำแหน่งเลขานุการนั้นสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ แต่งตั้งผู้ใด (ผู้ดำ� รงต�ำแหน่งเลขานุการไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุม) สภาการป้องกันพระราชอาณาจักร มีหน้าทีพ่ จิ ารณาและตกลงใจในนโยบายการป้องกันพระราชอาณาจักร ประสานงานระหว่างกระทรวง ทบวง กรม ฝ่ายทหารกับฝ่ายพลเรือนที่เกี่ยวข้อง และพิจารณาตกลงใจในกิจการ อันจะพึงปฏิบตั ิ นอกจากนี้ ยังมีหน้าทีพ่ จิ ารณาเรือ่ งอืน่ ๆ ตามทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ปรึกษา อีกด้วย ต่อมาเมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๔๗๕ ได้มีประกาศจัดระเบียบป้องกันราชอาณาจักรขึ้นใหม่ สภาผู้แทน ราษฎรจึงได้ถวายความเห็นให้ยกเลิกสภาการป้องกันพระราชอาณาจักร และก็ได้ทรงมีพระบรมราชโองการโปรด เกล้าฯ ให้ยกเลิกสภานี้เมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๗๕ ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๘๒ - ๒๔๘๗ ซึ่งอยู่ในช่วงของสงครามโลกครั้งที่ ๒ แม้ว่าประเทศไทยจะได้รับ ประกาศตัวเป็นกลางแต่กย็ งั ได้รบั ผลกระทบจากสงคราม โดยเฉพาะเอกราชและอธิปไตยของชาติจนต้องประกาศ ใช้กฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักรเมื่อ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๘๔ และในที่สุดเมื่อ ๑๑ มกราคม ๒๔๘๗ จึงได้มีประกาศ ใช้ “พระราชบัญญัติสภาการสงคราม”๓ ซึ่งนับได้ว่าเป็นพระราชบัญญัติฉบับแรกเกี่ยวกับเรื่องสภาความมั่นคง แห่งชาติ พระราชบัญญัติสภาการสงคราม ก�ำหนดให้จัดตั้ง “สภาการสงคราม” ขึ้น ประกอบด้วยประธาน รอง ประธาน กรรมการ และเลขาธิการ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามค�ำแนะน�ำของคณะรัฐมนตรี สภา การสงครามมีหน้าทีพ่ จิ ารณาเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการสงคราม ทัง้ ในทางทหาร ทางเศรษฐกิจทางการเมือง ทัง้ การเมือง ในประเทศ และการเมืองระหว่างประเทศ ตลอดจนสวัสดิภาพของประชาชนและมีอ�ำนาจปฏิบัติกิจการทั้งปวง อันจะเป็นประโยชน์แก่การด�ำเนินการสงคราม สภาการสงครามมีอายุได้ ๘ เดือน ก็ต้องเลิกล้มไป เนื่องจากได้มี การออก “พระราชบัญญัติสภาป้องกันราชอาณาจักร”๔ ขึ้นแทน “สภาป้องกันราชอาณาจักร” มีอำ� นาจหน้าที่เหมือนสภาการสงครามทุกประการ ต่างกันแต่เพียงว่าองค์ ประกอบของคณะกรรมการนั้น แทนที่จะได้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอแต่งตั้ง แต่ได้ระบุไว้แน่ชัดในกฎหมายว่า ประกอบด้วยใครบ้าง และไม่เรียกว่าเป็นกรรมการแต่จะเรียกว่าเป็นสมาชิก โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหมเป็นรองประธาน ส่วนสมาชิกอืน่ ประกอบด้วย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่าง ประเทศ เสนาธิการทหาร เสนาธิการทหารบก เสนาธิการทหารเรือ เสนาธิการทหารอากาศ แม่ทัพใหญ่ รอง แม่ทัพใหญ่ นอกจากนี้ ยังเปิดโอกาสให้มีสมาชิกอื่นอีกได้ไม่เกิน ๕ นาย ซึ่งจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ตามค�ำแนะน�ำของคณะรัฐมนตรี ส่วนตัวบุคคลที่ด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการสภาป้องกันราชอาณาจักร ได้แก่ เสนาธิการทหาร และใช้เจ้าหน้าที่ในกรมเสนาธิการทหารเป็นผู้ปฏิบัติงานทั้งหมด ๑ “ประกาศตัง้ สภาป้องกันพระราชอาณาจักร,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๔ (๓๑ กรกฎาคม ๒๔๗๐): ๑๑๕ – ๑๑๗ ๒ “ประกาศตัง้ อุปนายกสภาปัองกันพระราชอาณาจักร,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๔ (๘ เมษายน ๒๔๗๑): ๑๖ – ๑๗ ๓ “พระราชบัญญัตสิ ภาการสงคราม พุทธสักราช ๒๔๘๗,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๖๑ ตอนที่ ๔ (๑๑ มกราคม ๒๔๘๗): ๔๖ – ๔๘ ๔
“พระราชบัญญัตสิ ภาป้องกันราชอาณาจักร พุทธสักราช ๒๔๘๗,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๖๑ ตอนที่ ๕๖ (๑๐ กันยายน ๒๔๘๗): ๗๙๘ – ๘๐๑
58tp_�������_SI_CMYK.indd 25
25
8/26/2558 BE 2:29 PM
ต่อมาได้มี “พระราชบัญญัติสภาป้องกันราชอาณาจักร (ฉบับที่ ๒)๕” ออกใช้เมื่อ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๑ กฎหมายฉบับนี้ ได้แก้ไขเพิม่ เติมพระราชบัญญัตสิ ภาป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ.๒๔๘๗ โดยมีสาระส�ำคัญ ดังนี้ ๑.) สภาป้องกันราชอาณาจักร ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม เป็นรองประธาน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทุกกระทรวงเป็นสมาชิก เสนาธิการกลาโหมผูบ้ ญั ชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ เสนาธิการทหารบก เสนาธิการทหารเรือ และเสนาธิการ ทหารอากาศ เป็นสมาชิก กับมีสมาชิกอื่นอีกได้ไม่เกิน ๔ นาย ซึ่งจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามค�ำ แนะน�ำของคณะรัฐมนตรี ๒.) สภาป้องกันราชอาณาจักรมีสถานะเป็นสภาที่ปรึกษาและเสนอความคิดเห็นต่อคณะรัฐมนตรีใน เรื่องการป้องกันราชอาณาจักร มีหน้าที่พิจารณาเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการทหาร การเศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจน สวัสดิภาพของประชาชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันราชอาณาจักร นอกจากนี้ ยังมีอ�ำนาจแต่งตั้งคณะ กรรมาธิการ หรือแต่งตั้งบุคคลเพื่อกระท�ำกิจการหรือพิจารณาสอบสวนข้อความใดๆ อันอยู่ในอ�ำนาจหน้าที่ของ สภาป้องกันราชอาณาจักร แล้วรายงานต่อสภาป้องกันราชอาณาจักร และมีอำ� นาจเรียกบุคคลใดๆ มาสอบถาม หรือให้ชี้แจงแสดงความคิดเห็นในกิจการที่เกี่ยวข้องได้ ต่อมา เมื่อ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๕ ได้มี “พระราชบัญญัติสภาป้องกันราชอาณาจักร (ฉบับที่ ๓)๖” มี การเปลี่ยนแปลงจากเดิมเพียงเล็กน้อย คือ ให้เพิ่มรองเสนาธิการกลาโหมเป็นสมาชิก และให้ด�ำรงต�ำแหน่งรอง เลขาธิการสภาป้องกันราชอาณาจักรด้วย อย่างไรก็ดี เมื่อ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๙ ได้มีพระราชบัญญัติสภา ป้องกันราชอาณาจักรฉบับใหม่ออกใช้ โดยให้ยกเลิกพระราชบัญญัติเก่าทั้งหมด “สภาป้องกันราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัติ ฉบับปี พ.ศ.๒๔๙๙ ๗” มีองค์ประกอบและอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. สมาชิกสภาป้องกันราชอาณาจักร ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม เป็นรองประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม เป็นสมาชิก กับมีสมาชิกอืน่ อีกไม่เกิน ๕ นาย ซึ่งจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามค�ำแนะน�ำของคณะรัฐมนตรี และให้คณะผู้บัญชาการผสม เข้าร่วมประชุมด้วยทุกครัง้ นอกจากนี้ ประธานสภาป้องกันราชอาณาจักร จะเชิญให้รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงอืน่ ตลอดจนบุคคลใดที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมด้วยก็ได้ และเมื่อ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัตินี้อีกครั้งหนึ่ง โดยให้เพิ่มผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นสมาชิกสภาป้องกันราชอาณาจักรด้วย8 ๒. ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอ�ำนาจหน้าที่ มีดังนี้ ๑) สร้างแผนความคิดและวางโครงการป้องกันราชอาณาจักร ตลอดจนพิจารณาจัดวางนโยบาย ของชาติในการรักษาความมั่นคง และความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร และพิจารณาก�ำหนดนโยบายด้านการ ทหาร และการรักษาความสงบภายใน ๕ “พระราชบัญญัตสิ ภาป้องกันราชอาณาจักร (ฉะบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๑.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๖๔ ตอนที่ ๗ (๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๑): ๗๘ – ๘๑ ๖ “พระราชบัญญัตสิ ภาป้องกันราชอาณาจักร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๕,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๕๔ (๙ กันยายน ๒๔๙๕): ๑๐๓๗ – ๑๐๓๙ ๗
“พระราชบัญญัตสิ ภาป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๔๙๙,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๗๓ ตอนที่ ๑๑ (๓๑ มกราคม ๒๔๙๙): ๔๕ – ๔๙
26
58tp_�������_SI_CMYK.indd 26
8/26/2558 BE 2:29 PM
๒) พิจารณาการประสานงานในด้านการป้องกันราชอาณาจักร ระหว่างราชการทหาร ราชการฝ่าย พลเรือน ราชการต�ำรวจ และประชาชน ๓) พิจารณาการป้องกันราชอาณาจักร แล้วเสนอคณะรัฐมนตรีเพือ่ พิจารณาและด�ำเนินการ ๔) อาจตัง้ คณะกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการ หรือบุคคลเพือ่ กระท�ำกิจการหรือพิจารณาสอบสวน ข้อความใดๆ อันเกีย่ วกับการป้องกันราชอาณาจักร แล้วรายงานต่อสภาป้องกันราชอาณาจักร ในพระราชบัญญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๔๙๙ ซึง่ ประกาศใช้เมือ่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๙ ก�ำหนดให้สภาป้องกันราชอาณาจักรเป็นทบวงการเมือง มีฐานะเทียบเท่ากรม และให้อยูใ่ นบังคับบัญชา ของนายกรัฐมนตรี และเนือ่ งจากตามพระราชบัญญัตไิ ด้ระบุให้เสนาธิการกลาโหม ท�ำหน้าทีเ่ ลขาธิการสภาป้องกัน ราชอาณาจักรด้วย ดังนัน้ งานของสภาป้องกันราชอาณาจักรจึงได้ฝากไว้กบั กรมเสนาธิการกลาโหม และมีเจ้าหน้าที่ ของกรมเสนาธิการกลาโหมเป็นผูป้ ฏิบตั งิ าน สภาป้องกันราชอาณาจักรได้ดำ� เนินการเรือ่ ยมาจนกระทัง่ ถึง พ.ศ. ๒๕๐๒ จึงได้มกี ารปรับปรุง อีกครัง้ หนึง่ และนับเป็นการเปลีย่ นแปลงครัง้ ส�ำคัญ คือ ได้มบี ทบัญญัตใิ ห้ยกเลิก “สภาป้องกันราชอาณาจักร” และประกาศ ใช้ “พระราชบัญญัตสิ ภาความมัน่ คงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒๙” เป็น “สภาความมัน่ คงแห่งชาติ” จนกระทัง่ ทุกวันนี้ ๑.๒ สภาความมั่นคงแห่งชาติที่เป็นรูปธรรม จากสภาป้องกันพระราชอาณาจักร สูส่ ภาการสงคราม จากนัน้ เป็นสภาป้องกันราชอาณาจักร และสุดท้าย สูก่ ารสร้างสภาความมัน่ คงแห่งชาติทเี่ ป็นรูปธรรม จากการประกาศใช้ “พระราชบัญญัตสิ ภาความมัน่ คงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒” เมือ่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๒ โดยเปลีย่ นชือ่ จาก “สภาป้องกันราชอาณาจักร” เป็น “สภาความ มัน่ คงแห่งชาติ” ได้มกี ารเปลีย่ นแปลงในสาระส�ำคัญ คือ ๑. จ�ำนวนสมาชิกได้บญ ั ญัตไิ ว้ คือ ๑) นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ๒) รองนายกรัฐมนตรี เป็นรองประธาน ๓) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เป็นสมาชิก ๔) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง เป็นสมาชิก ๕) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ เป็นสมาชิก ๖) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย เป็นสมาชิก ๗) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม เป็นสมาชิก ๘) ผูบ้ ญ ั ชาการทหารสูงสุด เป็นสมาชิก ๙) เลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ เป็นสมาชิกและเลขานุการ วิธีการที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งบุคคลอื่นไม่เกิน ๔ หรือ ๕ คนเป็นสมาชิกด้วยนั้น ไม่มีใน พระราชบัญญัตนิ ี้ แต่ประธานสภาความมัน่ คงแห่งชาติจะเชิญบุคคลใดมาร่วมการประชุมหรือให้มาชีแ้ จงแสดงความ คิดเห็นในทีป่ ระชุมก็ได้ ๙
“พระราชบัญญัตสิ ภาความมัน่ คงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๗๖ ตอนที่ ๙๒ (๒๙ กันยายน ๒๕๐๒): ๔๒๓ – ๔๒๖
27
58tp_�������_SI_CMYK.indd 27
8/26/2558 BE 2:29 PM
ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติทไี่ ด้จดั ตัง้ ขึน้ เป็นส่วนราชการทีม่ ฐี านะเทียบเท่ากรม สังกัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี และขึน้ ตรงต่อนายกรัฐมนตรี หัวหน้าส่วนราชการซึง่ เรียกชือ่ ว่า เลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ เป็น ข้าราชการพลเรือนสามัญระดับปลัดกระทรวง และข้าราชการประจ�ำในส�ำนักงานก็เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ การด�ำเนินงานของสภาความมัน่ คงแห่งชาติเป็นไปในรูปของการระดมความคิดเห็นจากทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง โดยมี การจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมาปรึกษาในเรื่องต่างๆ ที่ส�ำคัญ ได้แก่ คณะกรรมการร้อยกรองงาน คณะกรรมการ ประสานงาน คณะกรรมการนโยบาย คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ คณะกรรมการนโยบายและอ�ำนวย การแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล และคณะกรรมการอ�ำนวยข่าวกรองแห่งชาติ เป็นต้น ๒. ในด้านที่เกี่ยวกับอ�ำนาจหน้าที่ ได้ก�ำหนดไว้ดังนี้ ๑) พิจารณาเสนอแนะคณะรัฐมนตรีในเรื่องนโยบายภายใน นโยบายต่างประเทศ และนโยบาย การทหารกับการเศรษฐกิจ และอื่นๆ อันเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติให้สอดคล้องต้องกัน เพื่อให้กิจการทหาร และกระทรวง ทบวง กรม และองค์การอื่นๆ ของรัฐ สามารถประสานกันได้อย่างใกล้ชิดเป็นผลดีต่อความมั่นคง แห่งชาติ ๒) พิจารณาเรื่องที่เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติ ตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ๓) สภาความมั่นคงแห่งชาติ อาจตั้งคณะกรรมการให้พิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใด ตามที่สภาความมั่นคงแห่งชาติจะมอบหมายก็ได้ คณะกรรมการที่สภาความมั่นคงแห่งชาติแต่งตั้งตามความใน วรรคก่อน อาจเชิญบุคคลใดๆ มาสอบถามหรือให้ชี้แจงแสดงความคิดเห็นในกิจการใดๆ อันเกี่ยวกับความมั่นคง แห่งชาติได้ ๔) ให้มีส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ มีหน้าที่ด�ำเนินการให้เป็นไปตามมติของสภาความ มัน่ คงแห่งชาติ และให้มเี ลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบและจะให้มรี องเลขาธิการ สภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นผู้ช่วยปฏิบัติราชการก็ได้ การเปลี่ยนแปลงที่สำ� คัญในส่วนที่เกี่ยวกับหน้าที่ มีข้อสังเกตที่ควรพิจารณา ๒ ประการ คือ ๑) เจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติสภาป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๔๙๙ ให้ท�ำหน้าที่ในเรื่องการ ทหาร และการรักษาความสงบภายใน ส่วนพระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้ขยายหน้าที่ ของสภาความมัน่ คงแห่งชาติออกไปถึงนโยบายต่างประเทศ นโยบายเศรษฐกิจ และอืน่ ๆ อันเกีย่ วกับความมัน่ คง แห่งชาติ ๒) แต่เดิมสภาป้องกันราชอาณาจักร มีหน้าที่ประสานงานระหว่างราชการทหาร ราชการต�ำรวจ ราชการพลเรือน และประชาชน ส่วนสภาความมั่นแห่งชาติในปัจจุบัน มีหน้าที่ประสานงานเพิ่มขึ้นอีกอย่างหนึ่ง คือ “องค์การอื่นๆ ของรัฐ” อันหมายถึง รัฐวิสาหกิจกว้างขวางกว่าเดิมมาก เมื่อได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติเมื่อ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๒ แล้ว นายก รัฐมนตรีในขณะนัน้ ได้แต่งตัง้ ให้ พลตรีหลวงวิจติ รวาทการ เป็น เลขาธิการสภาความมัน่ แห่งชาติ และพลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ เป็นรองเลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ จึงนับได้วา่ พลตรีหลวงวิจติ รวาทการเป็น เลขาธิการ
28
58tp_�������_SI_CMYK.indd 28
8/26/2558 BE 2:29 PM
ท่านแรกของสภาความมั่นคงแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติฉบับปัจจุบัน ต่อจากนั้น ก็ได้มีเลขาธิการส�ำนักงาน สภาความมั่นคงแห่งชาติ สืบต่อเนื่องมาอีกหลายท่าน นับตัง้ แต่พระราชบัญญัตสิ ภาความมัน่ คงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้ประกาศใช้เป็นกฎหมาย และมีนายก รัฐมนตรีเป็นประธานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ซึง่ ได้แต่งตัง้ ให้พลตรี หลวงวิจติ รวาทการ (ขณะนัน้ ได้ดำ� รงต�ำแหน่ง ปลัดบัญชาการอยูด่ ว้ ย) ด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ยังไม่เคยมีการประชุมสภาความมัน่ คง แห่งชาติเป็นทางการเลย จนกระทัง่ ในสมัยของนายกรัฐมนตรี จอมพลถนอม กิตติขจร ซึง่ เป็นประธานสภาความ มัน่ คงแห่งชาติ ได้มบี ญ ั ชาให้เปิดประชุมสภาความมัน่ คงแห่งชาติ โดยปกติจะจัดให้มกี ารประชุมเดือนละครัง้ และอาจเรียกประชุมพิเศษได้แล้วแต่กรณีและสถานการณ์ ซึง่ นายกรัฐมนตรีจะได้พจิ ารณาและสัง่ การเป็นคราว ๆ ไปตามความจ�ำเป็น การประชุมครัง้ แรกได้จดั ขึน้ เมือ่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ ประกอบด้วยสมาชิกตามทีร่ ะบุในพระราชบัญญัตสิ ภาความมัน่ คงแห่งชาติ ทัง้ ๙ ท่าน และประธาน ั ชาให้เชิญบุคคลอืน่ เข้าร่วมฟังการประชุมเพือ่ รับทราบนโยบายและชีแ้ จงแสดงความ สภาความมัน่ คงแห่งชาติ ได้มบี ญ คิดเห็นอีก คือ ผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก ผูบ้ ญ ั ชาการทหารเรือ ผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ และอธิบดีกรมต�ำรวจ นอกจากนัน้ เพือ่ ช่วยเหลือเลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ให้ดำ� เนินการประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ประธานสภาความมัน่ คงแห่งชาติยงั ได้อนุมตั ใิ ห้ รองเลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ และผูช้ ว่ ยเลขาธิการสภา ความมั่นคงแห่งชาติ เข้าร่วมฟังการประชุม และช่วยเหลือด�ำเนินการในกองเลขาธิการของที่ประชุมด้วย โดยมี ระเบียบวาระในการประชุมทีส่ ำ� คัญ คือ ๑) ฟังค�ำชีแ้ จงสรุปสถานการณ์สำ� คัญทัง้ ภายในและภายนอกประเทศทีเ่ กีย่ วกับความมัน่ คงแห่งชาติ ๒) เรือ่ งส�ำคัญอันเกีย่ วกับความมัน่ คงของชาติ ทีป่ ระธานจะแจ้งให้ทปี่ ระชุมทราบ ๓) พิจารณาเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติตามทีค่ ณะรัฐมนตรี หรือประธานสภาความ มัน่ คงแห่งชาติจะได้สั่งให้ที่ประชุมพิจารณา หรือตามที่กระทรวง ทบวง กรมอื่น คณะกรรมการของสภาความ มั่นคงแห่งชาติ หรือส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติเสนอขึ้นมา ผลการประชุมสภาความมั่นคงแห่งชาติ ถ้าเป็นนโยบายที่จะต้องปฏิบัติโดยรีบด่วน ประธานสภาความ มั่นคงแห่งชาติในต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี จะสั่งให้หัวหน้าหน่วยที่เกี่ยวข้องรับไปปฏิบัติโดยทันที ถ้าเป็นเรื่อง นโยบายที่ส่วนราชการหลายหน่วยจะต้องถือปฏิบัติก็จะน�ำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป อนึ่ง ผลการประชุมสภาความมั่นคงแห่งชาติทุกครั้งจะไม่มีการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนหรือเปิดเผยต่อ สาธารณชนอย่างเด็ดขาด เพราะถือเป็นเรื่องลับและเกี่ยวเนื่องกับความมั่นคงปลอดภัยของประเทศชาติ ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๗ มีพระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)๑๐ แก้ไขเพิ่มเติม โดยสาระ ส�ำคัญของพระราชบัญญัติมิได้เปลี่ยนแปลง เพียงแต่ให้เพิ่มจ�ำนวนสมาชิกขึ้นอีก ๑ ท่าน คือ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ๑.๓ กลไกของสภาความมั่นคงแห่งชาติ ในส่ ว นที่ เ กี่ ย วกั บ การด� ำ เนิ น งานของสภาความมั่ น คงแห่ ง ชาติ ในระยะเริ่ ม แรกได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง ๑๐
“พระราชบัญญัตสิ ภาความมัน่ คงแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๐๗,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๑ ตอนที่ ๙๖ (๖ ตุลาคม ๒๕๐๗): ๖๔๙ – ๖๕๑
29
58tp_�������_SI_CMYK.indd 29
8/26/2558 BE 2:29 PM
คณะกรรมการร้อยกรองงานของสภาความมั่นคงแห่งชาติขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๓ เพื่อช่วยเหลือกลั่นกรองงานให้ แก่สภาความมั่นคงแห่งชาติ จึงถือได้ว่าเป็นกรรมการคณะแรกของสภาความมั่นคงแห่งชาติ ค�ำว่า “ร้อยกรอง” นี้ พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ในขณะนั้นเป็นผู้คิดขึ้น ต่อมา เมื่อ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการวางแผนขึ้นในสภาความมั่นคง แห่งชาติ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคณะกรรมการนโยบาย) จึงนับเป็นกรรมการคณะที่ ๒ ต่อจากคณะกรรมการ ร้อยกรองงานฯ และเมื่อ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๙ ก็ได้มีการแต่งตั้งกรรมการคณะที่ ๓ คือคณะกรรมการ ประสานงาน ต่อจากนั้น ก็ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาอีกหลายคณะเพื่อท�ำหน้าที่แตกต่างกันไป ซึ่งชื่อ ของคณะกรรมการจะเป็นเครื่องบ่งบอกภารกิจของกรรมการคณะนั้น เช่น คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ คณะกรรมการปฏิบัติการจิตวิทยาแห่งชาติ คณะกรรมการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติ คณะกรรมการอ�ำนวยการแก้ไขปัญหาความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ คณะกรรมการอ�ำนวยการข่าวกรอง แห่งชาติ คณะกรรมการพิจารณาแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล คณะกรรมการอ�ำนวยการและประสานการ ปฏิบัติตามนโยบายความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล และคณะกรรมการอ�ำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหา อาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สภาความมั่นคงแห่งชาติได้พิจารณาเสนอแนะนโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่ ส�ำคัญอยู่หลายเรื่อง รวมทั้ง มาตรการปฏิบัติต่างๆ ต่อนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งก่อให้ เกิดผลดีต่อความมั่นคงปลอดภัยของประเทศชาติ และความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้เข้าร่วมประชุมสุดยอดอาเซียนกับนายกรัฐมนตรี และได้ เดินทางไปเจริญความสัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีน ร่วมกับนายกรัฐมนตรี พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช อีกทั้ง ยังมีบทบาทส�ำคัญในการเสนอวิธีการออก “นโยบาย ๖๖/๒๕๒๓๑๑” โดยใช้ “การเมืองน�ำการ ทหาร” จนสามารถมีชัยชนะต่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ได้ร่วมแก้ไขปัญหาผู้อพยพลี้ภัยอินโดจีน จ�ำนวน ๑ ล้านคนเศษ ให้หมดสิ้นไปด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนชาวไทยสามารถอยู่รอดปลอดภัยได้อย่างมั่นคง
๒. ก่อร่างสร้างส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
๒.๑ การปฏิบัติราชการของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติในตอนต้น ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) ตามมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้กำ� หนดไว้วา่ “ให้มสี ำ� นักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ มีหน้าทีด่ ำ� เนินกิจการให้เป็นไปตามมติของ สภาความมั่นคงแห่งชาติ และให้มีเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ และจะให้มี รองเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นผู้ช่วยปฏิบัติราชการก็ได้” ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติจงึ ได้จดั ตัง้ ขึน้ ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ พร้อมกับสภาความมัน่ คงแห่งชาติ เป็นส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี และขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี โดยมีหัวหน้าส่วน ราชการซึ่งเรียกชื่อว่า “เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ” เป็นข้าราชการพลเรือนระดับปลัดกระทรวง และ ๑๑
(ส�ำเนา) ค�ำสัง่ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๖๖/๒๕๒๓ เรือ่ ง นโยบายต่อสูเ่ พือ่ เอาชนะคอมมิวนิสต์, เข้าถึงเมือ่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘, เข้าถึงได้ จาก http://www.polsci.chula.ac.th/pitch/modernthaipolitics2012/6623.pdf
30
58tp_�������_SI_CMYK.indd 30
8/26/2558 BE 2:29 PM
ข้าราชการประจ�ำในส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติก็เป็นข้าราชการพลเรือน ยกเว้นข้าราชการที่มาช่วย ราชการจากส่วนราชการอื่น ซึ่งมีทั้งที่เป็นทหารและต�ำรวจ การด�ำเนินงานของสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ในระยะเริม่ แรก ซึง่ มีพลตรีหลวงวิจติ รวาทการ เป็นเลขาธิการ สภาความมั่นคงแห่งชาติ การจัดและการด�ำเนินงานของสภาความมั่นคงแห่งชาติได้จัดขึ้นโดยอาศัยหลักการ ประหยัด แต่ให้ทำ� งานได้ผล ทัง้ นีใ้ นฐานะทีท่ า่ นด�ำรงต�ำแหน่งปลัดบัญชาการส�ำนักนายกรัฐมนตรีอยูด่ ว้ ย นอกจาก จะอาศัยส่วนหนึ่งของตึกบัญชาการส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นที่ตั้งของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ยังได้ ยืมตัวข้าราชการจากส่วนราชการอื่น ๆ ในส�ำนักนายกรัฐมนตรี มาช่วยราชการเป็นประจ�ำอีกด้วย ในด้านการ ด�ำเนินงานก็ได้อาศัยส่วนราชการในส�ำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนขอความร่วมมืออย่างใกล้ชดิ จากระทรวง ทบวง กรม อื่น ๆ เช่น กระทรวงกลาโหม กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ กรมต�ำรวจ ฯลฯ จึงท�ำให้สามารถด�ำเนินงานไปได้ผลพอสมควร โดยในระยะเริม่ แรกใช้งบประมาณเพียงปีละประมาณ ๔ แสน บาทเท่านั้น ซึ่งส่วนมากได้ถูกจ่ายไปในเรื่องของเครื่องเขียน แบบพิมพ์ เบี้ยประชุมของคณะกรรมการ และค่า พาหนะเดินทาง เป็นต้น การแบ่งงานกันภายในส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ เดิมแบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ๆ ๓ ส่วน เสมือนว่า เป็นการแบ่งส่วนราชการ คือ ส่วนกลาง ส่วนนโยบาย และส่วนประสานงานตามแบบของสหรัฐฯ แต่ละส่วนมี นายทหารชั้นนายพลเป็นหัวหน้าส่วน มีผู้ช่วย ๑ นาย (เว้นส่วนนโยบาย) เฉพาะส่วนนโยบายได้แบ่งออกเป็น ๔ กอง คือ กองการเมืองภายใน กองการเมืองภายนอก กองนโยบายเศรษฐกิจ และกองนโยบายการทหาร แต่ละ กองมีหวั หน้ากอง ๑ นาย ให้สว่ นงานของคณะกรรมการร้อยกรองงานของสภาความมัน่ คงแห่งชาติได้แบ่งงานให้ ผู้ที่มาช่วยราชการออกเป็น ๔ คณะ คือ ๑) คณะช่วยราชการด้านการเมืองภายในประเทศ ๒) คณะช่วยราชการ ด้านการเมืองต่างประเทศ ๓) คณะช่วยราชการด้านการทหาร และ ๔) คณะช่วยราชการด้านการเศรษฐกิจและ การคลัง ๒.๒ พัฒนาองค์กรตามยุคสมัยให้ทันต่อสถานการณ์ความมั่นคงที่เปลี่ยนแปลงไป การจัดตั้งส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ โดยมีภารกิจหลักเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ในการพิจารณาเสนอแนะนโยบายและ มาตรการปฏิบตั เิ พือ่ ความมัน่ คงแห่งชาติทกุ ด้านและอ�ำนวยการประสานการปฏิบตั นิ โยบายเหล่านัน้ ทัง้ ด้านทหาร และพลเรือนให้ประสานสอดคล้องกัน เพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองภายใน การเมืองระหว่างประเทศ การป้องกันประเทศ และด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม ซึ่งได้เพิ่มความส�ำคัญขึ้นในปัจจุบัน เพือ่ ให้การท�ำงานภายในของส�ำนักงานสภาความมัน่ คงมีความคล่องแคล่ว สะดวกแก่ขา้ ราชการส�ำนักงาน สภาความมัน่ คงแห่งชาติ และผูป้ ระสานงานติดต่อ จึงมีความจ�ำเป็นต้องจัดระบบการท�ำงานภายในให้ชดั เจนและ มีประสิทธิภาพ ดังนั้น ในสมัย พันเอกพระยาศริวิสารวาจา เป็นเลขาธิการฯ ได้มีการเร่งรัดให้คณะกรรมการช่วย ทีป่ รึกษาระเบียบบริหาร ส�ำนักนายกรัฐมนตรี พิจารณาแบ่งส่วนราชการของส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ๑๒
31
58tp_�������_SI_CMYK.indd 31
8/26/2558 BE 2:29 PM
ให้เสร็จสิ้นไป ซึ่งถือได้ว่าเป็นการแบ่งโครงสร้างองค์กรภายในอย่างเป็นรูปธรรมเป็นครั้งแรก ดังปรากฏผลตาม ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เมือ่ ๑๔ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๐๖ เรือ่ งการแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คง แห่งชาติ โดยให้แบ่งเป็น ๑) ส�ำนักงานเลขานุการกรม ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ แผนก คือ แผนกสารบรรณและ แผนกคลัง ๒) กอง ๑ ๓) กอง ๒ ๔) กอง ๓ และ ๕) กอง ๔ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ เมือ่ คณะรัฐมนตรีได้อนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ คณะกรรมการประสานงานเป็นส่วนปฏิบตั งิ านของ สภาความมัน่ คงแห่งชาติขนึ้ แล้ว ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ จึงเห็นความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องตัง้ หน่วยงานขึน้ ใหม่ เพื่อรับหน้าที่ช่วยเหลือในด้านเลขานุการและติดต่อประสานงาน จึงได้จัดตั้งกอง ๕ ๑๓ เพิ่มขึ้นมาอีก ๑ กอง เมื่อ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ต่อมาในสมัยของพลเอก จิร วิชิตสงคราม เป็นเลขาธิการฯ ก็ได้จัดตั้งกองเพิ่มขึ้นอีก ๑ กอง คือ กอง ๖ จัดตัง้ เมือ่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ๑๔ เพือ่ ท�ำหน้าทีร่ องรับงานด้านการเตรียมพร้อมแห่งชาติ และเมือ่ พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา ด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการฯ ก็ได้จัดตั้งกอง ๗ ขึ้น เมื่อ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๓๑๕ เป็นกอง กิจการพิเศษ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบงานทีไ่ ม่อยูใ่ นภาระหน้าทีข่ องกองหนึง่ กองใดโดยเฉพาะ เช่น งานอ�ำนวยการข่าว กรอง และงานแก้ไขปัญหาก่อการร้ายสากล เป็นต้น ในภายหลัง สมัยนายกรัฐมนตรี นายชวน หลีกภัย ได้มีการ ปรับปรุงภารกิจของส�ำนักงานสภาความมั่นคงให้มีความทันสมัยอีกครั้ง แต่ยังคงโครงสร้างในรูปแบบเดิม คือ มี ๑ ส�ำนัก และ ๗ กอง๑๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ได้ปรับปรุงโครงสร้างภายในอีกครัง้ เพือ่ ให้เหมาะสม กับสถานการณ์และสภาพการงานในเวลานัน้ จึงได้มกี ารแบ่งส่วนราชการส�ำน�ำงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติเสียใหม่ โดยแบ่งออกเป็น ๑ ส�ำนัก ๗ กอง๑๗ อันได้แก่ ๑) ส�ำนักงานเลขานุการกรม ๒) กองความมัน่ คงด้านการป้องกันประเทศ ๓) กองความมัน่ คงด้านการเมือง ๔) กองความมัน่ คงกิจการพิเศษ ๕) กองความมัน่ คงด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๖) กองความมัน่ คงด้านเศรษฐกิจ ๗) กองความมัน่ คงด้านสังคมจิตวิทยา และ ๘) กองอ�ำนวยข่าวกรอง ความมัน่ คง ในห้วงปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ในสมัยนายกรัฐมนตรีพนั ต�ำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ได้มกี ารปฏิรปู ระบบราชการให้มี ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ได้มกี ารพัฒนาองค์กรภายในอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้การท�ำงาน สอดคล้องกับภัยคุกคามและสถานการณ์ดา้ นความมัน่ คงทีป่ ระเทศก�ำลังเผชิญ จึงเป็นทีม่ าของการแบ่งส่วนราชการ ภายในให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ โดยเมือ่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ตามกฎกระทรวงการแบ่งส่วนราชการส�ำนักงาน สภาความมัน่ คงแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๕๑๘ ได้แบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น ๔ ส�ำนัก ๑ กอง ประกอบด้วย ๑) ส�ำนักเลขานุการกรม ๒) กองอ�ำนวยการข่าวกรอง ๓) ส�ำนักความมัน่ คงกิจการชายแดนและ การป้องกันประเทศ ๔) ส�ำนักความมัน่ คงกิจการภายในประเทศ และ ๕) ส�ำนักความมัน่ คงกิจการภายนอกประเทศ ดังได้กล่าวมาแล้วว่า ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ มีสถานะเป็นหน่วยงานเลขานุการของ สภาความมั่นคงแห่งชาติ ซึ่งมี นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงที่เกี่ยวข้องร่วมเป็น
32
๑๒ “ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรือ่ ง การแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๐, ตอนที่ ๖๐ (๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๐๖): ๒๒ ๑๓ “ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรือ่ ง การแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๒, ตอนที่ ๖๗ (๒๐ สิงหาคม ๒๕๐๘): ๑ ๑๔ “ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรือ่ ง การแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๗, ตอนที่ ๒๒ (๑๗ มีนาคม ๒๕๑๓): ๘๕ ๑๕ “พระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๒๓,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๙๗, ตอนที่ ๒๐ (๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๓): ๒๕ ๑๖ “พระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๓๗,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๑, ตอนที่ ๕ ก (๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗): ๑ ๑๗ “พระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๑,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๔, ตอนที่ ๖๒ ก (๒๒ กันยายน ๒๕๔๑): ๑ ๑๘
“กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๔๕,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๙, ตอนที่ ๑๐๓ ก (๙ ตุลาคม ๒๕๔๕): ๔๙
58tp_�������_SI_CMYK.indd 32
8/26/2558 BE 2:29 PM
สมาชิกทั้งด้านกลาโหม มหาดไทย การคลัง การต่างประเทศ และคมนาคม รวมทั้งผู้บัญชาการทหารสูงสุด และเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ รับผิดชอบในฐานะสมาชิกและเลขานุการของสภาความมั่นคงแห่งชาติ การจัดตั้ง ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ โดยมีภารกิจหลักเป็นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ในการพิจารณาเสนอแนะนโยบายและ มาตรการปฏิบตั เิ พือ่ ความมัน่ คงแห่งชาติทกุ ด้านและอ�ำนวยการประสานการปฏิบตั นิ โยบายเหล่านัน้ ทัง้ ด้านทหาร และพลเรือนให้ประสานสอดคล้องกันเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองภายใน การเมืองระหว่างประเทศ การป้องกันประเทศ และด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ซึ่งได้เพิ่มความส�ำคัญขึ้นในระยะปัจจุบัน ๒.๓ โครงสร้างการบริหารและการจัดองค์กร โครงสร้างและการจัดระบบงานภายในองค์กร ได้มีการพัฒนามาโดยต่อเนื่องเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพ การท�ำงาน และให้สอดคล้องสถานการณ์ความมัน่ คงและสภาวะแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปการพัฒนาด�ำเนินการมา ตั้งแต่ยุคสมัยอดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา มาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ส่วนในด้านการปรับและเพิม่ อัตราก�ำลัง ได้พฒ ั นามาเป็นระยะตามหลักการของมติคณะรัฐมนตรีทผี่ า่ นมา ซึง่ ให้เพิม่ อัตราก�ำลังได้ในปีละไม่เกินร้อยละสองโดยทีส่ ำ� นักงานสภาความมัน่ คง-แห่งชาติมฐี านอัตราก�ำลังเดิมไม่มาก จ�ำนวน ที่เพิ่มได้จึงน้อยไม่สัมพันธ์กับภารกิจที่มากขึ้น จากในระยะเริ่มตั้งแต่องค์กรซึ่งมีอัตราก�ำลังประมาณ ๖๐ คน สุดท้าย ส�ำนักงานฯ ได้เพิม่ มาเป็นจ�ำนวน ๑๒๖ คนในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ในสมัยอดีตเลขาธิการ นายสุวทิ ย์ สุทธานุกลู
๓. ผลการด�ำเนินการภารกิจที่ส�ำคัญ (จากอดีต ถึง พ.ศ. ๒๕๕๔)
ผลงานของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ที่ผ่านมา มีทั้งงานการก�ำหนดนโยบายความมั่นคงตาม ห้วงระยะเวลา เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการด�ำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ งานวางแผนเตรียมพร้อม แห่งชาติ งานการแก้ไขปัญหาเส้นเขตแดน งานการแก้ไขปัญหาตามแนวชายแดน งานการแก้ไขปัญหาผู้อพยพ ลีภ้ ยั งานการแก้ไขปัญหาชนกลุม่ น้อย งานเสริมสร้างความมัน่ คงกับประเทศเพือ่ นบ้าน งานการป้องกันและแก้ไข ปัญหา การก่อการร้ายสากล ตลอดจน การประสานงาน ติดตาม และประเมินผลนโยบายต่างๆ เหล่านั้น โดยมี เป้าหมายส�ำคัญในอันที่จะน�ำความสงบเรียบร้อยและร่มเย็นเป็นสุขมาสู่บ้านเมือง ทั้งนี้ การด�ำเนินการเพื่อรักษา ความมั่นคงของชาติในช่วงที่ผ่านมา ได้แก่ ๓.๑ การแก้ไขปัญหาญวนอพยพ๑๙ หลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ ฝรั่งเศสได้พยายามเข้ามาครอบครองอินโดจีนอีกครั้งในปี พ.ศ.๒๔๘๘ ๒๔๘๙ โดยฝรัง่ เศสด�ำเนินการปราบปรามคนเวียดนามอย่างรุนแรง ท�ำให้กลุม่ คนเหล่านีไ้ ด้อพยพเข้าสูป่ ระเทศไทย และก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคงของไทยอย่างมีนัยยะส�ำคัญ ในขณะเดียวกันการแก้ไขปัญหาญวนอพยพ ประสบกับอุปสรรคหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทัศนคติและท่าทีในทางลบของประชาชนในพื้นที่และ เจ้าหน้าที่บางฝ่ายที่มีต่อญวนอพยพ ๑๙
ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป.), ๑๙ – ๒๗
33
58tp_�������_SI_CMYK.indd 33
8/26/2558 BE 2:29 PM
สภาพปัญหา ๑) ด้านการเมือง ฝ่ายคอมมิวนิสต์ใช้ญวนอพยพบางส่วนในการแทรกซึมและสนับสนุนผูก้ อ่ การร้าย คอมมิวนิสต์ทปี่ ฏิบตั กิ ารอยูใ่ นจังหวัดต่าง ๆ ๒) ด้านเศรษฐกิจ รัฐบาลไทยไม่ได้กดี กันชาวญวนอพยพทางเศรษฐกิจ ๓) ด้านสังคม ความรูส้ กึ ชาตินยิ มของชาวญวนอพยพท�ำให้จงรักภักดีตอ่ เวียดนามเหนือ และผลักดันให้ เกิดการรวมกลุม่ เพือ่ แยกตนเองออกจากสังคมไทย ๔) ด้านการปกครอง ชาวญวนอพยพอาศัยกระจัดกระจายอยูต่ ามจังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อีกทัง้ การรวมกลุม่ กันอย่างแน่นแฟ้นของชาวญวนอพยพท�ำให้ยากต่อการปกครอง การด�ำเนินการต่อชาวญวนอพยพ ท่าทีของรัฐบาลต่อชาวญวนอพยพในระยะแรกนัน้ รัฐบาลไม่ได้จำ� กัดเรือ่ งถิน่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของชาวญวนอพยพ นอกจากนี้ ยังได้สงั่ การให้จงั หวัดชายแดนทีต่ ดิ ต่อกับลาวและกัมพูชา อ�ำนวยความสะดวกและให้ความช่วยเหลือชาว ญวนอพยพอีกด้วย ต่อมาในสมัยของจอมพล ป. พิบลู สงคราม (พ.ศ. ๒๔๙๒) เห็นว่าการเคลือ่ นไหวของพรรค คอมมิวนิสต์และพวกเวียดมินห์ในกลุม่ ญวนอพยพเป็นภัยต่อความมัน่ คงไทย จึงได้เริม่ มาตรการควบคุมญวนอพยพ โดยก�ำหนดเขตพืน้ ทีก่ ารอยูอ่ าศัยและการเคลือ่ นไหวของญวนอพยพ รวมทัง้ แสวงหาแนวทางเพือ่ ส่งพวกเขาเหล่า นีก้ ลับไปยังเวียดนาม นโยบายในการแก้ไขปัญหาในระยะแรก จากการปฏิบตั กิ ารของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยทีร่ นุ แรงขึน้ เป็นล�ำดับจนอาจส่ง ผลกระทบร้าย แรงต่อความมัน่ คงของชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ รัฐบาลจึงก�ำหนดนโยบายต่อชาวญวนอพยพโดยมีหลักการส�ำคัญ คือ 1) ยืนยันทีจ่ ะส่งชาวญวนอพยพทีเ่ หลือจากการส่งกลับระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๐๓ – ๒๕๐๗ กลับไปเวียดนามทัง้ หมด 2) ระหว่างทีร่ อการส่งกลับก็จะด�ำเนินการควบคุมอย่างเข้มงวดกวดขันเพือ่ ป้องกันมิให้ชาวญวนด�ำเนิน การใด ๆ ทีจ่ ะเป็นภัยต่อความมัน่ คงปลอดภัยของชาติ 3) ด�ำเนินมาตรการในทางบวกต่อชาวญวนทีท่ ำ� มาหากินด้วยความสุจริต 4) ให้ลกู หลานญวนอพยพศึกษาในโรงเรียนไทย มิให้เปิดสอนกันเองในหมูญ ่ วนอพยพ นอกจากนี้ รัฐบาลได้จดั ตัง้ หน่วยเฉพาะกิจขึน้ เรียกว่า ศูนย์ประสานงาน ๑๑๔ ขึน้ อยูก่ บั กองอ�ำนวยการรักษา ความมัน่ คงภายในท�ำหน้าทีใ่ นการประสานการปฏิบตั กิ บั หน่วยงานในพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้การด�ำเนินตามนโยบายเป็นไปอย่าง มีเอกภาพ มีการขยายอัตราก�ำลังเจ้าหน้าทีเ่ พือ่ ด�ำเนินการส�ำรวจจ�ำนวนชาวญวนทีถ่ กู ต้อง จัดท�ำประวัตแิ ละบัตร ประจ�ำตัว เพิม่ ประสิทธิภาพทางการข่าว และด�ำเนินการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาเพือ่ เอาชนะใจชาวญวนอพยพทีต่ กค้าง นโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่น�ำไปสู่การยุติปัญหาญวนอพยพ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติได้เสนอนโยบายการแก้ไขปัญหาญวนอพยพ พ.ศ. ๒๕๓๕ ขึ้น เพื่อให้ คนเหล่านี้อาศัยอยู่ในไทยเป็นการถาวร เป็นคนไทยทั้งทางพฤตินัยและนิตินัย บนหลักการของความถูกต้องและ สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง
34
58tp_�������_SI_CMYK.indd 34
8/26/2558 BE 2:29 PM
ผู้อพยพชาวเวียดนามรอนแรมมาทางเรือ
สภาพพื้นที่ที่เพิ่งจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๗
พื้นที่อพยพ 2 อ. ตาพระยา จ. ปราจีนบุรี
น.ต. ประสงค์ สุ่นศิริ อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
รับฟังรายงานจากหัวหน้าชมรมฤทธิเสน
35
58tp_�������_SI_CMYK.indd 35
8/26/2558 BE 2:29 PM
นายขจัดภัย บุรุษพัฒน์ อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคง แห่งชาติ พูดคุยกับผู้อพยพชาวเวียดนาม
เด็กเวียดนามในพื้นที่ควบคุม ชายแดนที่ทางการจัดตั้งขึ้น
ศูนย์ควบคุมผู้หลบหนีเข้าเมืองที่ อ.สีคิ้ว จ.นครศรีราชสีมา รับผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวเวียดนามที่หลบหนีเข้าไทย ตั้งเเต่กลางเดือน มี.ค. ๒๕๓๒
๓.๒ การแก้ไขปัญหาม้งลาวในประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๑๘ – ๒๕๕๒)๒๐ การอพยพข้ามเส้นแบ่งพรมแดนรัฐชาติของชาวม้งจากประเทศลาวเข้าสูป่ ระเทศไทยเป็นผลพวงมาจากการล่า อาณานิคมของประเทศยุโรปกับการเกิดขึน้ ของรัฐชาติสมัยใหม่ ความขัดแย้งทางการเมืองทีเ่ กิดขึน้ ในยุคสงครามเย็นและ กระแสโลกาภิวตั น์ ทัง้ นี้ มีหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ยนื ยันว่า เริม่ แรกตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๑๘ มีชาวม้งเข้ามาตัง้ รกรากทาง ภาคเหนือของประเทศไทย เนือ่ งมาจากการล่าอาณานิคมของสหรัฐฯ ทีใ่ ช้ลาวสูงเป็นขบวนการต่อต้านรัฐบาลลาว รัฐบาล ลาวจึงเห็นว่าม้งทีม่ าจากลาวสูงเหล่านีเ้ ป็นภัยต่อความมัน่ คง หลังจากลาวเปลีย่ นแปลงการปกครองเป็นระบอบสังคมนิยม ท�ำให้มชี าวม้งจากลาวอพยพมายังไทยมากถึง ๑๒๐,๖๖๕ คน ซึง่ ท�ำให้ไทยต้องแบกรับภาระในการให้ความช่วยเหลือเป็น จ�ำนวนมากนานกว่า ๕ ปี ซึง่ ในขณะนัน้ ยังไม่มกี ฎหมายตรวจคนเข้าเมือง และเนือ่ งจากการแก้ไขปัญหาผูอ้ พยพชาวม้งที่ มีจำ� นวนมาก รัฐบาลไทยจึงมีนโยบายให้สญั ชาติกบั ชาวม้งทีอ่ พยพเข้ามาในครัง้ แรกนี้ ต่อมา มีมง้ อีกพวกทีข่ า้ มมาจากพม่าซึง่ อยูใ่ นเขตอิทธิพลของกะเหรีย่ ง อพยพมาทางจังหวัดพิษณุโลก และไปตัง้ ถิน่ ฐานทีจ่ งั หวัดตาก ท�ำให้มจี ำ� นวนม้งอพยพมากขึน้ กว่าเดิม และหลังจากลาวมีการขีดเส้นแบ่งพรมแดนทีช่ ดั เจนจัดตัง้ รัฐบาล และบัญญัตกิ ฎหมายขึน้ ปกครองประเทศ ชาวม้งจึงกลายเป็นกลุม่ คนชายขอบและถูกแบ่งแยกออกเป็นพลเมือง ของประเทศต่าง ๆ ดังนัน้ การอพยพข้ามเส้นแบ่งพรมแดนไปยังประเทศอืน่ โดยไม่ได้ปฏิบตั ติ ามหลักกฎหมายตรวจคน เข้าเมืองสากลของชาวม้ง จึงท�ำให้ชาวม้งในกลุม่ หลังนีต้ อ้ งกลายเป็นผูอ้ พยพลีภ้ ยั ทีผ่ ดิ กฎหมาย รัฐบาล พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ จึงก�ำหนดนโยบายต่อผูอ้ พยพอินโดจีน โดยมิให้ตงั้ รกรากถาวรและไม่มกี ารให้สญั ชาติไทย เพือ่ ผลักดันให้ผอ้ ู พยพ ทัง้ หมดออกจากไทย และอาจไปตัง้ ถิน่ ฐานในประเทศทีส่ ามแทน หรือเดินทางกลับประเทศต้นทางโดยสมัครใจ จาก นโยบายการปิดศูนย์รบั ผูอ้ พยพชาวม้งจากลาวก็มมี ง้ จ�ำนวนหนึง่ ได้หลบหนีออกมาและไปอยูท่ วี่ ดั ถ�ำ้ กระบอก สมทบกับ ๒๐
ประสิทธิ์ ลีปรีชา, สุภางค์ จันทวานิช, พลตรี สิทธิเดช วงศ์ปรัชญา และพลเอก นิพทั ธ์ ทองเล็ก, ม้งลาวในประเทศไทย นโยบายและการด�ำเนิน การของภาครัฐไทย (๒๕๑๘ – ๒๕๕๒), (กรุงเทพฯ: ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด อรุณการพิมพ์, ๒๕๕๔)
36
58tp_�������_SI_CMYK.indd 36
8/26/2558 BE 2:29 PM
ม้งทีม่ อี ยูก่ อ่ นหน้านีแ้ ล้วซึง่ เป็นม้งทีม่ าจากภาคเหนือเพือ่ มาบ�ำบัดยาเสพติดซึง่ ตอนแรกมีอยูไ่ ม่กรี่ อ้ ยคน แต่หลังจากทีม่ ี การหลบหนีจากศูนย์อพยพจึงท�ำให้มมี ง้ จ�ำนวนมากขึน้ ราวหมืน่ คน อย่างไรก็ดี ผูอ้ พยพชาวม้งทีห่ ลบหนีไปอาศัยในวัดถ�ำ้ กระบอกบางส่วนไม่ตอ้ งการกลับไปใช้ชวี ติ ในลาว บางส่วนต้องการไปตัดฝิน่ และมีบางส่วนเป็นชาวม้งลาวอพยพทีร่ วมตัว กันเป็นขบวนการต่อต้านรัฐบาลลาว (ขตล.) สภาพปัญหา 1) ด้านการเมือง มีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของไทยและลาว 2) ด้านการปกครอง ผูอ้ พยพชาวม้งอาศัยอยูก่ ระจัดกระจายในจังหวัดต่าง ๆ ทางภาคเหนือ และมีจำ� นวน มาก ท�ำให้เกิดความยากล�ำบากต่อการปกครอง 3) ปัญหายาเสพติด จากการปลูกฝิน่ เกิดปัญหาชาวม้งผูป้ ลูกติดยาเสพติดจากฝิน่ เป็นจ�ำนวนมาก และบาง ส่วนยังถูกลักลอบน�ำมาขายในกรุงเทพฯ และส่งต่อไปยังต่างประเทศอีกด้วย การด�ำเนินการต่อชาวม้งอพยพ ในเวลานัน้ รัฐบาลลาวพยายามกดดันรัฐบาลไทยให้จดั การปัญหาม้งวัดถ�ำ้ กระบอกเพือ่ ไม่ให้เป็นแหล่งซ่องสุม ของกองก�ำลังกูช้ าติทจี่ ะมีผลต่อการต่อต้านรัฐบาลลาว ซึง่ การเคลือ่ นไหวของชาวม้งอาจท�ำให้เกิดผลกระทบต่อความ สัมพันธ์ของไทยและลาวได้ ไทยจึงร่วมมือกับสหรัฐอเมริกาขอให้มนี โยบายผ่อนปรนเพือ่ รับผูอ้ พยพชาวม้งไปตัง้ ถิน่ ฐานยัง ประเทศทีส่ ามท�ำให้สามารถแก้ไขปัญหา “ม้งวัดถ�ำ้ กระบอก” จนเป็นผลส�ำเร็จ รวมทัง้ สามารถปิดชุมชนม้งลาวในทีพ่ กั สงฆ์วดั วัดถ�ำ้ กระบอกได้สำ� เร็จ อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์ดงั กล่าวก่อให้เกิดกระแสของชาวม้งหลัง่ ไหลเข้าสูไ่ ทยอีกระลอกเนือ่ งจากยังมีมง้ บาง ส่วนทีย่ งั หลงเหลืออยูไ่ ด้หลบหนีไปอยูท่ บี่ า้ นห้วยน�ำ้ ขาว จังหวัดเพชรบูรณ์ และมีการโฆษณาหลอกลวงผูอ้ พยพชาวม้งจาก ลาวมาเพิม่ เติม โดยอ้างว่าจะมีการพาไปตัง้ ถิน่ ฐานทีป่ ระเทศทีส่ ามจึงมีชาวม้งอพยพเข้ามาอีกราวหมืน่ คน จนกลายเป็น ชาวม้งลาวบ้านห้วยน�ำ้ ขาวและชาวม้ง ลาวหนองคายในเวลาต่อมา ซึง่ รัฐบาลไทยพยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าวบนพืน้ ฐาน ของพระราชบัญญัตคิ นเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ พร้อมร่วมมือในลักษณะทวิภาคีกบั รัฐบาลลาวเพือ่ แก้ไขปัญหานี้ แม้เบือ้ ง ต้นลาวจะมิได้ให้ความร่วมมือกับไทยเท่าใดนัก แต่ลาวได้ปรับทัศนคติและให้ความส�ำคัญมากขึน้ เนือ่ งจากลาวเกรงว่า ปัญหาดังกล่าวจะเป็นภัยคุกคามความมัน่ คงต่อลาวมากขึน้ ในอนาคต ทัง้ นี้ ความตกลงดังกล่าวน�ำไปสูห่ ลักการส�ำคัญ คือ ชาวม้งลาวอยูใ่ นสถานะ “ผูล้ กั ลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย” เพือ่ แสดงให้เห็นว่าไม่มกี ารสูร้ บประหัตประหารหรือ ปราบปรามชาวม้งในลาว นโยบายการแก้ไขปัญหาในระยะแรก การด�ำเนินการแก้ไขปัญหาชาวม้งลาวประสบกับปัญหาและอุปสรรคมาโดยตลอด แม้วา่ ไทยจะตัง้ กลไกตรวจสอบ และคัดกรองขึน้ เพือ่ พิสจู น์สญั ชาติและสอบสวนสาเหตุการหลบหนีเข้ามา แต่ทว่า ประชาคมระหว่างประเทศ องค์กรสิทธิ มนุษยชน และองค์กรชาวม้งลาวในสหรัฐฯ ได้กดดันให้ไทยยุตกิ ารส่งข่าวชาวม้งลาวกลับประเทศ เนือ่ งจากเห็นว่า กระบวนการคัดกรองไม่โปร่งใส อีกทัง้ กองทัพไทยได้อำ� นวยความสะดวกให้ชาวม้งลาวยอมสมัครใจกลับประเทศ ซึง่ เป็นการ เพิม่ ความหวังในการไปตัง้ ถิน่ ฐานในประเทศทีส่ ามให้แก่ ชาวม้งลาวท�ำให้ชาวม้งลาวส่วนใหญ่ไม่สมัครใจกลับประเทศ
37
58tp_�������_SI_CMYK.indd 37
8/26/2558 BE 2:29 PM
ส่งผลให้การแก้ไขปัญหามีแนวโน้มทีจ่ ะไม่แล้วเสร็จตามระยะเวลาตามทีไ่ ด้ตกลงกันไว้ ซึง่ อาจกระทบต่อความสัมพันธ์ ระหว่างไทย - ลาว ได้ นโยบายความมัน่ คงทีน่ ำ� ไปสูก่ ารยุตปิ ญั หาม้งลาว ไทยสามารถสร้างความเชือ่ มัน่ แก่ประชาคมโลกได้วา่ การด�ำเนินการเพือ่ แก้ไขปัญหาดังกล่าวของไทยเป็นไปด้วย ความโปร่งใส อีกทัง้ ลาวยังแสดงเจตนารมณ์ชดั เจนว่า จะให้การดูแลเป็นพิเศษต่อชาวม้งในฐานะบุคคลในความห่วงใย (POC) กลุม่ หนองคายและกลุม่ screened - in บ้านห้วยน�ำ้ ขาว ไทยจึงตัดสินใจอ�ำนวยความสะดวกโดยใช้กฎหมายส่ง ชาวม้งลาวบ้านห้วยน�ำ้ ขาวและชาวม้งลาวหนองคายกลับประเทศเมือ่ วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ทัง้ นี้ ก่อนการส่ง กลับรัฐบาลไทยได้อนุญาตให้ผแู้ ทนสหรัฐฯ และสถานเอกอัครราชทูตทีเ่ กีย่ วข้องเข้าไปสัมภาษณ์ชาวม้งลาวหนองคายเพือ่ ให้เป็นไปตามล�ำดับขัน้ ตอนการตัง้ ถิน่ ฐานในประเทศทีส่ ามซึง่ ต้องเริม่ ต้นในประเทศไทย
การเจรจา3ฝ่าย ไทย-ลาว-ส�ำนักงานข้าหลวงใหญ่ฯ ที่หลวงพระบาง เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาผู้อพยพชาวลาวในไทย ระหว่างวันที่ ๒๗-๒๙ มิถุนายน ๒๕๓๔
คณะผู้ร่วมเจรจาฝ่ายไทย-ลาว-ส�ำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้สหประชาชาติ
การส่งผู้อพยพชาวลาวกลับถิ่นฐานเดิมตามโครงการส่งกลับโดยความสมัครใจ
38
58tp_�������_SI_CMYK.indd 38
8/26/2558 BE 2:29 PM
๓.๓ การแก้ไขปัญหาอดีตทหารจีนคณะชาติ (ทจช.)๒๑ พฤติกรรมการณ์ของ อดีต ทจช. หรือกองทัพปลดแอกของจีนคอมมิวนิสต์ในสมัยสงครามเย็น ซึง่ ไม่สามารถ เข้าไปมีอำ� นาจในจีนแผ่นดินใหญ่ได้ดงั เดิม จึงหลบหนีเข้าสูพ่ รมแดนทางตอนเหนือของไทย โดยมักมีพฤติการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับการค้ายาเสพติด การสู้รบกับกองก�ำลังชนกลุ่มน้อยเพื่อแย่งชิงพื้นที่อิทธิพล การปฏิบัติการละเมิด อธิปไตย/กฎหมายบ้านเมือง เป็นต้น การกระท�ำดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงความปลอดภัยในพื้นที่ ชายแดนภาคเหนืออย่างมาก การจัดตัง้ กองทัพ ๓ และกองทัพ ๕ อดีต ทจช. ทีไ่ ม่ยอมกลับไต้หวันได้พากันหลบหนีเข้าสูพ่ รมแดนภาคเหนือของไทย โดยแบ่งออกเป็นหลาย กลุม่ ทีส่ ำ� คัญ คือ (๑) กองทัพ ๕ กลุม่ นายพลต่วนซีหวุน่ อาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีอ่ ำ� เภอแม่สายและอ�ำเภอแม่จนั จังหวัด เชียงราย มีกำ� ลังประมาณ ๑,๕๐๐ คน (๒) กองทัพ ๓ กลุม่ นายพลลีวนั ขวัน่ อาศัยกระจัดกระจายในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ รวมทัง้ อ�ำเภอเชียงของและอ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย มีกำ� ลังประมาณ ๔,๐๐๐ คน (๓) กลุม่ นาย พลม้า จิง โก๊ะ มีกองก�ำลังอยูใ่ ต้บงั คับบัญชาประมาณ ๔๐๐ – ๕๐๐ คน อาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีอ่ ำ� เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อย่างไรก็ดี แม้จะมีการรวมกลุม่ กัน แต่ยงั ไม่สามารถปกครองบังคับบัญชากันได้อย่างเด็ดขาด เนือ่ งจากจีนฮ่อถืออาวุธ เหล่านีข้ าดระเบียบวินยั และละเมิดต่อกฎหมายบ้านเมืองไทย นายพล ต่วนซีหวุน่ จึงคิดควบคุมระเบียบวินยั ของกอง ก�ำลังดังกล่าวด้วยการจัดตัง้ กองทัพ ๕ โดยมีนายพลต่วนซีหวุน่ เป็นผูบ้ ญ ั ชาการ และมีกองบัญชาการอยูท่ ดี่ อยแม่สะ ลอง ต�ำบลป่าซาง อ�ำเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย นอกจากนี้ นายพลลีวนั ขวัน่ ได้เป็นผูบ้ ญ ั ชาการ ณ กองบัญชาการ ถ�ำ้ ง๊อบ ต�ำบลปงต�ำ อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สภาพปัญหา 1) ปัญหาการละเมิดอธิปไตยของชาติ ทีเ่ กิดจากการรวบรวมก�ำลัง การตัง้ ฐานการปฏิบตั กิ าร ในเขตไทย การสะสมอาวุธยุทโธปกรณ์ทรี่ า้ ยแรง การล�ำเลียงยาเสพติด และการแสดงอ�ำนาจ และอิทธิพลเหนืออาณาบริเวณ พรมแดนไทย 2) ปัญหาการค้ายาเสพติดและสินค้าผิดกฎหมาย ซึง่ เป็นแหล่งรายได้หลักเพือ่ บ�ำรุงกองก�ำลังให้ดำ� รงอยูไ่ ด้ 3) ปัญหาการจัดตัง้ โรงเรียนเถือ่ น เพือ่ สอนภาษาจีนบริเวณทีต่ งั้ กองบัญชาการ ทัง้ นี้ โรงเรียนดังกล่าว ถูกจัดตัง้ ขึน้ โดยพลการ มิได้อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ ซึง่ ฝ่าฝืนพระราชบัญญัตโิ รงเรียนราษฎร์ ของไทยอย่างชัดเจน 4) ปัญหาความสัมพันธ์กบั พม่า เนือ่ งจากจีนฮ่อถืออาวุธนี้ ได้อาศัยไทยเป็นฐานปฏิบตั กิ ารค้าฝิน่ ในพม่า รวมทัง้ ยังเป็นตัวการส�ำคัญทีใ่ ห้ความช่วยเหลือและสนับสนุนกบฏพม่า ท�ำให้รฐั บาลพม่าไม่พอใจอย่างมาก เพราะ ท�ำการปราบปรามยาก และอดีต ทจช. เหล่านีย้ งั เคยเป็นศัตรูถงึ ขัน้ รบพุง่ กับพม่ามาก่อนอีกด้วย การด�ำเนินการต่ออดีตทหารจีนคณะชาติ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ จึงร่วมมือกับหน่วยงานความมัน่ คงทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ แก้ไขปัญหาดังกล่าว ด้วยการควบคุมการตัง้ ถิน่ ฐานของ ทจช. การแปลงสัญชาติให้เป็นไทยโดยไม่ขดั กับหลักกฎหมายทีม่ ใี ช้อยู่ การจัดตัง้ ๒๑
ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป.), ๒๘ – ๓๔
39
58tp_�������_SI_CMYK.indd 39
8/26/2558 BE 2:29 PM
หมูบ่ า้ นให้อยูอ่ าศัยถาวร และปรับปรุงการศึกษาเถือ่ นของ ทจช. ให้เป็นไปตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ จน น�ำไปสูก่ ารแปรสภาพกองก�ำลังติดอาวุธให้เป็นพลเรือน นโยบายในการแก้ไขปัญหาในระยะแรก ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ น�ำโดย น.ต.ประสงค์ สุน่ ศิริ อดีตเลขาธิการสภาความ มัน่ คงแห่งชาติ พร้อมคณะ ได้ลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ศึกษาข้อเท็จจริงบนดอยแม่สะลอง อ�ำเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ สภาความมัน่ คงแห่งชาติ ได้เสนอยุทธศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาอดีต ทจช. ให้คณะรัฐมนตรีเห็น ชอบ โดยมีสาระส�ำคัญ คือ อนุญาตให้อดีต ทจช. และครอบครัวสามารถอาศัยอยูใ่ นประเทศไทยต่อได้ ในฐานะ “ผู้ อพยพ” โดยให้สว่ นใหญ่อาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีท่ เี่ คยอาศัยอยู่ แต่ให้จดั ก�ำลังส่วนหนึง่ จากกองทัพที่ ๓ และ กองทัพที่ ๕ ไปอาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีท่ างราชการก�ำหนด และให้บคุ คลเหล่านีม้ สี ภาพเป็นราษฎรธรรมดามิใช่กองก�ำลังทหาร ในระหว่างปลายปี พ.ศ. ๒๕๑๓ – ๒๕๑๗ เกิดการปะทะกันระหว่างอดีต ทจช. และผูก้ อ่ การร้ายคอมมิวนิสต์ (ผกค.) ทีอ่ าศัยอยูใ่ นดอยหลวงและดอยผาหม่น จังหวัดเชียงรายขึน้ อดีต ทจช. ได้รบั ชัยชนะ เนือ่ งจากมีความช�ำนาญ ในการสูร้ บแบบกองโจรในสภาพภูมปิ ระเทศทีเ่ ป็นป่าเขามากกว่า ท�ำให้ ผกค. ต้องทิง้ ฐานทีม่ นั่ และหมดอิทธิพลลง ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลไทยจึงมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงกลาโหมร่วมกันเสนอหลักการส�ำคัญเกีย่ ว กับคุณสมบัตขิ อง อดีต ทจช. เพือ่ ด�ำเนินการให้เป็นบุคคลต่างด้าวและสามารถแปลงสัญชาติเป็นไทยโดยไม่ขดั กับ หลักกฎหมายทีม่ อี ยู่ จากนโยบายดังกล่าว ท�ำให้ อดีต ทจช. พร้อมครอบครัวราว ๓,๐๐๐ คน ได้รบั สัญชาติไทยและ มีสทิ ธิหน้าทีเ่ ช่นเดียวกับคนไทย นโยบายความมัน่ คงทีน่ ำ� ไปสูก่ ารยุตปิ ญ ั หาอดีตทหารจีนคณะชาติ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ได้ตดิ ตามสถานการณ์และผลการปฏิบตั นิ โยบายอย่างสม�ำ่ เสมอ อีกทัง้ ได้เดินทางไปศึกษาข้อเท็จจริงในพืน้ ที่ ท�ำให้พบว่า ยังมีปญ ั หาบางประการในการแก้ไขปัญหาอดีต ทจช. จึงได้เสนอ แนะนโยบายต่อรัฐบาลและคณะรัฐมนตรี ซึง่ มีมติเห็นชอบเมือ่ วันที่ ๑๒ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๒๗ ดังนี้ 1) ด้านการปกครอง ก�ำหนดให้กระทรวงมหาดไทยเข้าไปจัดตัง้ และปกครองหมูบ่ า้ นอดีต ทจช. ทัง้ ๑๑ พืน้ ที่ ในเขต ๒ จังหวัด (เชียงใหม่และเชียงราย) ตามพระราชบัญญัตลิ กั ษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ เพือ่ ให้หน่วยงานราชการ อืน่ ๆ สามารถเข้าไปพัฒนาและดูแลได้ 2) ด้านการควบคุม ก�ำหนดให้กระทรวงมหาดไทยควบคุมดูแลหมูบ่ า้ นอดีต ทจช. ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก ทหาร โดยก�ำหนดมาตรการควบคุมการอนุญาตออกนอกพืน้ ทีใ่ ห้รดั กุมยิง่ ขึน้ และให้กองทัพภาคที่ ๓ รับผิดชอบ ด้านการรักษาความมัน่ คง 3) ด้านการศึกษา ระงับการเปิดสอนภาษาจีนทีม่ หี ลักสูตรและผูส้ อนผิดระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ 4) ด้านการให้สญ ั ชาติและสถานะคนต่างด้าว ก�ำหนดให้กระทรวงมหาดไทยเป็นผูร้ บั ผิดชอบหลัก โดย พิจารณาให้สญ ั ชาติตามประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๓๓๗ แต่หากถูกจับกุมในคดีสำ� คัญทีเ่ ป็นภัยต่อความมัน่ คงของ ไทยให้พจิ ารณาถอนสัญชาติ จากการด�ำเนินการเพือ่ แก้ไขปัญหาอดีต ทจช. ตามทีส่ ภาความมัน่ คงแห่งชาติ ได้เสนอแนะต่อรัฐบาล และ
40
58tp_�������_SI_CMYK.indd 40
8/26/2558 BE 2:29 PM
ได้รบั ความร่วมมือจากหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้องเป็นอย่างดี ท�ำให้ปญ ั หาดังกล่าวสามารถคลีค่ ลายลงได้ ๓.๔ การแก้ไขปัญหาผู้อพยพอินโดจีนในประเทศไทย๒๒ สภาพภูมศิ าสตร์ทไี่ ทยมีชายแดนติดต่อกับประเทศเพือ่ นบ้าน ท�ำให้ประสบปัญหายุง่ ยากมาโดยตลอด ท�ำให้ ไทยหลีกเลีย่ งปัญหาผูอ้ พยพและหลบหนีเข้าเมืองได้ยาก ทัง้ นี้ ผูอ้ พยพอินโดจีนได้หลบหนีเข้ามายังไทยเมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๘ นับว่าเป็นกลุ่มที่สร้างปัญหาและความยุ่งยากมาสู่ประเทศไทยเป็นอย่างมาก เพราะส่งผลกระทบต่อผล ประโยชน์แห่งชาติทงั้ ทางตรงและทางอ้อม โดย สภาความมัน่ คงแห่งชาติ. ได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการแก้ไขปัญหา นีอ้ ย่างต่อเนือ่ งเป็นเวลานาน ๒๐ ปี สาเหตุของการอพยพเข้าสูไ่ ทย ได้แก่ ฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้ามาครอบครองประเทศในอินโดจีน และเวียดนาม เข้ายึดครองกัมพูชา สภาพปัญหา การอพยพเข้ามาสูไ่ ทย ได้สง่ ผลกระทบต่อการบริหารและการปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาระค่าใช้จา่ ย และบุคลาการในการด�ำเนินงาน อีกทัง้ การล่วงล�ำ้ อธิปไตยจากฝ่ายตรงข้ามก่อให้เกิดตลาดมืด นอกจากนี้ ยังเป็น สาเหตุสำ� คัญทีก่ อ่ ให้เกิดผลกระทบต่อภาพพจน์ทดี่ ขี องไทยอีกด้วย นโยบายในการแก้ไขปัญหาระยะแรก ในระยะแรกรัฐบาลมุง่ ด�ำเนินการสกัดกัน้ และผลักดันผูอ้ พยพอินโดจีนออกนอกประเทศ แต่ไม่เป็นผลเท่าใด นัก จึงใช้วธิ คี วบคุมไว้เพือ่ หาทางส่งออกนอกประเทศให้ได้ทสี่ ดุ นโยบายความมัน่ คงทีน่ ำ� ไปสูก่ ารยุตปิ ญ ั หาผูอ้ พยพอินโดจีน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ รัฐบาลได้กำ� หนดนโยบายผ่อนผันให้บคุ คลดังกล่าวอาศัยอยูใ่ นไทยเป็นการชัว่ คราว เพื่อรอการส่งกลับถิ่นฐานเดิมเมื่อสถานการณ์เอื้ออ�ำนวยให้ ขณะเดียวกันก็ผ่อนปรนให้เดินทางไปตั้งถิ่นฐานใน ประเทศทีส่ ามได้ ทัง้ นี้ สภาความมัน่ คงแห่งชาติ. ได้เสนอแนะแนวทางการสกัดกัน้ และผลักดัน การควบคุม การ สอบสวนแยกประเภท และการแก้ไขปัญหาทีถ่ าวร (Durable solutions) เพือ่ เป็นกรอบและทิศทางให้สว่ นราชการ ทีเ่ กีย่ วข้องน�ำไปปฏิบตั ิ การด�ำเนินการของรัฐบาลในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ รัฐบาลมีจดุ มุง่ หมาย คือ การเรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ตระหนักว่า ปัญหาผูอ้ พยพอินโดจีนเป็นปัญหาระหว่าง ประเทศทีท่ กุ ประเทศต้องร่วมมือแก้ไข และให้ความช่วยเหลือเพือ่ แบ่งเบาภาระของไทย ซึง่ ประสบความส�ำเร็จพอ สมควร เพราะสามารถกระตุน้ ให้กลุม่ ประเทศอาเซียนให้ความสนใจและตระหนักถึงความส�ำคัญของปัญหาผูอ้ พยพ ลีภ้ ยั อินโดจีน โดยไทยได้สง่ คณะผูแ้ ทนไทยเข้าร่วมประชุมทุกครัง้ ทีม่ กี ารพิจารณาเกีย่ วกับปัญหาผูอ้ พยพอินโดจีน เช่น การประชุมสมัชชาสหประชาชาติ การประชุมของคณะกรรมการบริหารของ UNHCR (Excom) ณ นครเจนีวา เป็นต้น จากการร่วมมือกันของส่วนราชการต่างๆ ทีร่ ว่ มกันด�ำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังต่อเนือ่ ง ทัง้ กระทรวง การต่างประเทศ กระทรวงมหาดไทย กองบัญชาการทหารสูงสุด กองบัญชาการกองทัพไทย รวมทัง้ ความร่วมมือของ ส�ำนักงานข้าหลวงใหญ่แห่งสหประชาชาติ และประเทศต่างๆ ในการรับผูอ้ พยพไปประเทศทีส่ ามและการส่งกลับ ๒๒
ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป.), ๓๕ – ๕๐
41
58tp_�������_SI_CMYK.indd 41
8/26/2558 BE 2:29 PM
ถิน่ ฐานเดิมจ�ำนวนหนึง่ ในทีส่ ดุ เราก็สามารถแก้ไขปัญหาผูอ้ พยพจ�ำนวนมากมายเหล่านีไ้ ด้
ชาวกัมพูชาที่หลบหนีเข้าไทย เมื่อต้นปี พ.ศ. ๒๕๒๒
พล.อ.อ. สิทธิ เศวตศิลา เมื่อครั้งด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ตรวจเยี่ยมผู้อพยพ
ผู้อพยพแบกข้าวสารที่ได้รับการแจกจ่ายกลับที่พัก
น.ต. ประสงค์ สุ่นศิริ รัฐมนตรีต่างประเทศไทยกับข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัย สหประชาชาติ ในพิธีเปิดพื้นที่อพยพ 2 อ.ตาพระยา จ. ปราจีนบุรี
42
58tp_�������_SI_CMYK.indd 42
8/26/2558 BE 2:29 PM
ชาวกัมพูชาชายแดนกลุ่มเขมรแดง
พิธีปิดพื้นที่อพยพ 2 อ.ตาพระยา จ. ปราจีนบุรี
นายขจัดภัย บุรุษพัฒน์ อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ร่วมประชุมคณะกรรมการบริหาร ส�ำนักงาน ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยสหประชาชาติ ที่นครเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์
นายขจัดภัย บุรุษพัฒน์ อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ พบปะสนทนากับข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยสหประชาชาติ
เขมร ๔ ฝ่าย ในการประชุมที่ปารีส เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒
รมว. ต่างประเทศไทยไปประชุมที่ปารีสเมื่อ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๒
คณะเจ้าหน้าที่ไทยไปร่วมการประชุมแก้ไขปัญหากัมพูชา
การประชุมเมื่อปี ๒๕๓๒ ได้ปูหนทางสู่การลงนามในแผนสันติภาพ เมื่อ ๒๓ ต.ค. พ.ศ. ๒๕๓๔
43
58tp_�������_SI_CMYK.indd 43
8/26/2558 BE 2:29 PM
นายอาสา สารสิน รัฐมนตรีต่างประเทศลงนามในแผนสันติภาพ
เจ้าสีหนุ ลงพระนามในแผนสันติภาพ
นายอาสา สารสิน รมว. ต่างประเทศไทยเข้าพบเจ้าสีหนุ ณ พระราชวังเขมริน ในพนมเปญ
เจ้าสีหนุประทานเลี้ยงอาหารกลางวันแก่คณะผู้แทนไทยที่เดินทางไป ร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจสามฝ่ายในการส่งชาวกัมพูชา กลับมาตุภูมิ เมื่อ ๒๑ พ.ย. ๒๕๓๔
๓.๕ การแก้ไขปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้ ๒๓ สาเหตุที่แท้จริงของปัญหาดังกล่าวมิได้เกิดจากความขัดแย้งในเรื่องศาสนาหรือวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน แต่เกิดจากปัญหาด้านสังคมจิตวิทยา ได้แก่ ความไม่เข้าใจกันและความหวาดระแวงระหว่างกันทุกฝ่าย รวมทั้ง ปัญหาความไม่สงบที่เกิดจากการก่อการร้าย และการแทรกแซงแสวงประโยชน์จากผู้ไม่หวังดีทั้งในและนอก ประเทศ โดยส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ได้เข้าไปมีบทบาทในการเสนอแนะนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ จังหวัดชายแดนภาคใต้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการด�ำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ ข้าไปปฏิบตั งิ านในจังหวัดชายแดนใต้ ท�ำให้การพัฒนาและการแก้ไขปัญหาความมัน่ คงจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประสบผลส�ำเร็จเป็นที่น่าพอใจ สภาพปัญหา ๑) ด้านสังคมจิตวิทยา ปัญหาเกิดจากความไม่เข้าใจและความหวาดระแวงของชาวไทยทีน่ บั ถือศาสนา อิสลาม ซึ่งต้องการด�ำรงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมมุสลิมไว้ ซึ่งบุคคลบางกลุ่มเข้าไปแสวงประโยชน์ หยิบยกขึน้ เป็นเงือ่ นไขสร้างความแตกแยก อีกทัง้ การด�ำเนินงานของราชการทีผ่ า่ นมายังขาดความเข้าใจถึงความ ต้องการพืน้ ฐานของคนไทยทีน่ บั ถือศาสนาอิสลาม และการแก้ไขปัญหาในอดีตก็เป็นไปโดยไม่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาอย่างแท้จริง ๒๓
ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป.), ๕๑ – ๖๓
44
58tp_�������_SI_CMYK.indd 44
8/26/2558 BE 2:29 PM
๒) ด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัญหาความยากจน แม้วา่ รัฐบาลจะพยายามเข้าไปแก้ไขปัญหา แต่สภาพปัญหาสังคมและการเมืองในจังหวัดชายแดนภาคใต้กลับเป็นอุปสรรคในการด�ำเนินการอย่างมาก ๓) ด้านการเมือง จุดอ่อนส�ำคัญทีม่ กั ถูกน�ำไปใช้สร้างความแตกแยกในพืน้ ทีน่ ี้ ได้แก่ ความไม่เข้าใจกัน ระหว่างเจ้าหน้าทีร่ ฐั /ข้าราชการกับประชาชนชาวมุสลิมในพืน้ ที่ ทัง้ นี้ ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับ ประชาชนมีผลกระทบโดยตรงต่อปัญหาด้านการเมืองการปกครอง เนื่องจาก ข้าราชการบางส่วนยังขาดความ เข้าใจในขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น ๔) ด้านการก่อการร้ายหรือการก่อความไม่สงบ การด�ำเนินการของภาครัฐที่ผ่านมา ท�ำให้เหลือเพียง กลุ่มโจรก่อการร้าย (จกร.) ซึ่งได้ด�ำเนินการปราบปรามควบคู่ไปกับการใช้การเมืองน�ำเพื่อดึงผู้หลงผิดให้กลับมา อยู่ร่วมกับสังคมโดยปกติสุข การแก้ไขปัญหาในอดีต พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงก�ำหนดหลักรัฏฐประศาส- นโยบายส�ำหรับ การปฏิบัติราชการในมณฑลปัตตานีไว้เป็นการเฉพาะ นอกจากนี้ ในสมัยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้กำ� หนดหลักการปกครองสีจ่ งั หวัดภาคใต้ของกระทรวงมหาดไทยเพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั ริ าชการ ของข้าราชการในพื้นที่ ซึ่งมีสาระส�ำคัญ ดังนี้ ๑) ข้าราชการทุกฝ่ายทีร่ บั ราชการอยูใ่ นจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล ต้องค�ำนึงถึงหน้าที่ และความรับผิดชอบของตน ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสามัคคี มีความซื่อสัตย์สุจริต ส่วนกิจการราษฎรนั้น ขอให้ถือว่าเป็นหน้าที่ต่อคนไทยด้วยกัน ไม่ควรดูถูกเหยียดหยามชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลามว่าเป็นคนต่าง ชาติต่างศาสนา ต้องพยายามสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน ๒) คนไทยทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเสมอกัน ๓) ข้าราชการต้องถือหลักปฏิบตั ใิ ห้ได้นำ�้ ใจและงาน ไม่ควรท�ำให้เกิดการกระทบกระทัง่ กันหรือใช้สทิ ธิ บีบบังคับ ๔) เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองในพื้นที่ ควรปฏิบัติให้เข้ากับขนบธรรมเนียมประเพณีและศาสนาอิสลาม ๕) การแต่งตั้งข้าราชการไปประจ�ำในพื้นที่นั้น ควรเลือกเฟ้นข้าราชการที่มีความเหมาะสมเป็นพิเศษ เนื่องจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีการจัดการปกครองแบบพิเศษ ๖) ข้าราชการประจ�ำในพื้นที่ดังกล่าว ควรมีทักษะทางภาษามลายู และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องที่เป็นอย่างดี นโยบายในการแก้ไขปัญหา เริม่ แรกนัน้ การแก้ไขปัญหามีลกั ษณะเป็นประเด็นๆ ไปโดยมิได้มองปัญหาแบบเป็นองค์รวม เช่น นโยบาย เกี่ยวกับปอเนาะ นโยบายเกี่ยวกับเยาวชนไทยมุสลิมไปเรียนทางศาสนาที่เจดดาห์และไคโร นโยบายการแก้ไข ปัญหาขบวนการโจรก่อการร้าย นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นต้น แต่ทว่าไม่สามารถแก้ไขปัญหาความไม่สงบในอย่างถาวรได้
45
58tp_�������_SI_CMYK.indd 45
8/26/2558 BE 2:29 PM
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่เกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ตามข้อเสนอของสภาความมั่นคงแห่งชาติ โดยมีเหตุผลส�ำคัญทีจ่ ะให้เกิดการประสานงานระหว่างส่วนราชการต่างๆ ในการแก้ไขปัญหาความมัน่ คงของพืน้ ที่ ทั้งนี้ นโยบายฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้นิยมพูดและใช้ภาษาไทย มีความเชื่อ มั่นศรัทธาในการปกครองและสถาบันหลักของประเทศ ให้ประชาชนปลอดภัยจากโจรผู้ร้ายและการด�ำเนินการ ก่อความไม่สงบ ให้กลุ่มประเทศมุสลิมเข้าใจสถานการณ์ที่แท้จริงเกี่ยวกับการปกครองและความเป็นอยู่ของชาว ไทยที่นับถือศาสนาอิสลามและนโยบายของรัฐบาล ตลอดจนให้การบริหารงานแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนใต้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในการด�ำเนินการตามแนวนโยบายนัน้ ได้กำ� หนดให้มกี ารจัดตัง้ กลไกเพือ่ ขับเคลือ่ นนโยบายอย่างมีเอกภาพ ได้แก่ ศูนย์อำ� นวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) กองบัญชาการผสมพลเรือน ต�ำรวจ ทหารที่ ๔๓ (พตท.๔๓) และคณะกรรมการอ�ำนวยการแก้ไขปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปชต.) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติเกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบกับนโยบายที่ได้มีการทบทวนใหม่เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๓๑ มี วัตถุประสงค์ คือ การสร้างความเข้าใจเพื่อให้เกิดความสามัคคีในชาติ และการเกิดความสงบสันติ ประชาชนมี ความปลอดภัยในชีวติ ทรัพย์สนิ จากการก่อการร้ายและโจรผูร้ า้ ย ทัง้ นี้ เมือ่ พิจารณาสถานการณ์และแนวโน้มเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ พบว่า ปัญหาพื้นฐานของจังหวัดชายแดนภาคใต้แก่นแท้มีปัญหาส�ำคัญ คือ ความไม่เข้าใจอันน�ำ ไปสู่ความหวาดระแวงและความไม่สงบ ดังนั้น การมองปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จึงต้องพิจารณาให้ชัด ว่าศาสนา นิกาย รวมทั้ง ภาษามลายูท้องถิ่นไม่ใช่ตัวปัญหา แต่ปัญหาอยู่ที่กลุ่มบุคคลที่ไม่หวังดีใช้เรื่องเหล่านี้มา เป็นเครื่องแบ่งแยกสังคมหรือใช้ความรุนแรงในการก่อการร้าย สรุปการวิเคราะห์สถานการณ์ได้ ดังนี้ ๑) ปัญหาด้านสังคมจิตวิทยา ปัญหาพื้นฐานที่ส�ำคัญ คือ ปัญหาความไม่เข้าใจซึ่งกันและกัน อันน�ำไป สู่ความหวาดระแวง ประกอบกับปัจจัยภายนอกที่ส�ำคัญ ๒ ปัจจัย คือ การส่งออกปฏิวัติอิสลามของอิหร่านที่เข้า มาเผยแพร่แนวความคิด และปัญญาชนรุ่นใหม่ที่มีแนวทางรับเอาความคิดของอิหร่าน ทั้งนี้ รัฐบาลควรด�ำเนิน การ ๒ ส่วนเพื่อแก้ไขปัญหานี้ ได้แก่ ส่วนที่หนึ่ง การเรียนรู้และใช้ภาษาไทยเพื่อเป็นสื่อในการท�ำความเข้าใจซึ่ง กันและกัน และการให้สังคมเปิดมากขึ้น ๒) ปัญหาด้านการเมืองการปกครอง ต้องเร่งเพิ่มประสิทธิภาพของเจ้าหน้าที่รัฐในการสร้างความเชื่อ ถือและศรัทธากับประชาชนชาวมุสลิม และต้องให้ผนู้ ำ� มุสลิมเข้ามาร่วมแก้ไขปัญหาในลักษณะ “มุสลิมแก้ปญ ั หา มุสลิม” ๓) ปัญหาด้านการเมืองระหว่างประเทศ ต้องด�ำเนินนโยบายต่างประเทศที่จะท�ำให้ประเทศมุสลิม เห็นว่าผลประโยชน์ทางด้านการเมืองระหว่างประเทศ การค้า และการลงทุน มีความส�ำคัญและมีผลประโยชน์ ยิ่งกว่าที่จะใช้วิธีการแทรกซึมบ่อนท�ำลาย นอกจากนี้ ควรเสริมความสัมพันธ์กับประเทศมุสลิมสายกลางอีกด้วย ๔) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ที่ผ่านมาไม่สามารถแก้ไขปัญหาด้านนี้ได้เท่าใดนัก เนื่องจากมีความไม่
46
58tp_�������_SI_CMYK.indd 46
8/26/2558 BE 2:29 PM
ปลอดภัยจากการก่อการร้ายที่มีอยู่มาก ดังนั้น จึงควรแก้ไขปัญหาด้านการเมืองและสังคมจิตวิทยาเสียก่อน ในขณะเดียวกันจะต้องเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและมีฐานเศรษฐกิจที่กว้างออกไป ให้สอดคล้องกับสภาพพื้น ฐานทางเศรษฐกิจของพื้นที่โดยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นแผนแม่บทรองรับ ๕) ปัญหาการรักษาความสงบ การแก้ไขปัญหาควรแก้ไขอย่างรอบด้าน ทั้งนโยบายต่างประเทศ และ นโยบายการเมืองและสังคมจิตวิทยา ซึ่งจะสามารถช่วยให้การใช้ความรุนแรงของกลุ่มผู้ก่อการร้ายถูกโดดเดี่ยว ถ้าสามารถดึงคนส่วนใหญ่ให้เป็นฝ่ายปฏิเสธการใช้แนวทางรุนแรงได้ ก็จะเป็นการแก้ไขปัญหาอย่างถาวร นโยบายความมั่นคงแห่งชาติจังหวัดชายแดนภาคใต้ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ การด�ำเนินงานตามนโยบายความมั่นคงแห่งชาติเกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๓๕ นั้นมี ความคืบหน้าด้วยดี สามารถคลี่คลายปัญหาบางส่วนลงได้ จึงได้มีการก�ำหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติเกี่ยว กับจังหวัดชายแดนใต้ พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๔๑ ขึ้นมาใหม่ โดยจัดล�ำดับความส�ำคัญทางด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ไปพร้อมๆ กับการด�ำเนินการด้านสังคมจิตวิทยา การแก้ไขปัญหา ความไม่สงบโดยใช้การเมืองน�ำทหาร การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับกลุ่มประเทศมุสลิม และการใช้การ ประชาสัมพันธ์เพือ่ ให้เห็นถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวไทยทีน่ บั ถือศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาค ใต้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทย นโยบายความมั่นคงแห่งชาติจังหวัดชายแดนภาคใต้ปี ๒๕๔๒ การประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมา รวมทั้ง การศึกษาปัญหาและการให้ แนวความคิดในการก�ำหนดนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติเกีย่ วกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ในระยะ ๕ ปีตอ่ ไป คือ พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๔๖ ทั้งนี้ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้จัดเวทีการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในสังคมใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้หลายครั้ง เพื่อร่วมถกประเด็นและร่วมร่างวิสัยทัศน์และนโยบายในช่วง ๕ ปีต่อไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นนโยบายความมั่นคงแห่งชาติเกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ ฉบับสุดท้าย ทั้งนี้ นโยบายมีสาระส�ำคัญ ดังนี้ ๑) พี่น้องชาวมุสลิมสามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรีตามสิทธิและหน้าที่ในรัฐธรรมนูญ เช่นเดียวกับคนไทยทั้งหลาย ๒) ความหลากหลายทางวัฒนธรรมเป็น “ปัญญาของสังคม” ที่จะเป็นต้นทุนของสังคมในการแก้ไข ปัญหาต่างๆ และสร้างความสามัคคีและความมั่นคงของชาติ ๓) ให้ความส�ำคัญกับพี่น้องชาวมุสลิมทุกคนอย่างเท่าเทียม รวมทั้ง ควรปรับปรุงแก้ไขระเบียบกฎ เกณฑ์ต่างๆ อย่างเป็นธรรมให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในท้องที่ และพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้ ดียิ่งขึ้นด้วยการสร้างภูมิคุ้มกันในสังคม การให้มีชุมชนที่เข้มแข็งและประสานความร่วมมือแก้ไขปัญหาในสังคม ให้มีความสงบร่มเย็น มีความสามัคคี มีความสุข เช่นเดียวกับสังคมส่วนอื่นๆ ในชาติ ๔) ใช้หลักการแก้ปัญหาในเชิงรุกเพื่อเชื่อมโยงศักยภาพของสังคมมุสลิม ให้สามารถปรับตัวเดินหน้า ไปกับสังคมส่วนรวม
47
58tp_�������_SI_CMYK.indd 47
8/26/2558 BE 2:29 PM
นโยบายฉบับนี้ ได้รบั ความสนใจจากประชาคมโลก เนือ่ งจากเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหา ทีส่ อดคล้องกับ บริบทโลกในปัจจุบนั ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ จึงได้แปลนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติเกีย่ วกับจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๔๖) ออกเป็นภาษาอังกฤษ ภาษามาเลเซีย (รูม)ี และภาษามลายูทอ้ งถิน่ (ยาวี) ๓.๖ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ เป็นนโยบายที่จัดท�ำขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการแก้ไขปัญหา ความมัน่ คงแห่งชาติ โดยในกระบวนการก�ำหนดนโยบาย ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ได้ระดมความคิดเห็น จากผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในวงงานความมั่นคงแห่งชาติ ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาควิชาการอย่างกว้างขวาง และได้น�ำเสนอสภาความมั่นคงแห่งชาติ และคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ก่อนแบ่งมอบให้ส่วนราชการและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรับไปปฏิบัติ โดยมีความมุ่งหมายให้นโยบาย ความมั่นคงแห่งชาติเป็นกรอบและทิศทางกว้างๆ ในระดับชาติ และกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้องจะต้องไป จัดท�ำแผน ปฏิบัติการรองรับตามล�ำดับความส�ำคัญเร่งด่วน ทั้งนี้เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาที่กระทบต่อความ มั่นคงแห่งชาติ และรักษาผลประโยชน์แห่งชาติได้อย่างแท้จริง และบังเกิดผลเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ นโยบายความ มั่นคงแห่งชาติที่ผ่านมามีทั้งสิ้น ๓ ฉบับ ได้แก่ 1. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๔)๒๔ เพื่อการรักษาผลประโยชน์สูงสุดของชาติ และเสริมสร้างความมั่นคงของชาติในทุกด้าน อย่างแท้จริง จึงได้ก�ำหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๔ ขึ้น มีรายละเอียด ดังนี้ ๑) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ เฉพาะหน้า มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขสถานการณ์วิกฤตโดยให้เกิดผลกระทบต่อประเทศชาติน้อยที่สุด ซึ่งผู้น�ำ ภาครัฐควรแสดงสภาวะผู้น�ำและแสดงท่าทีอย่างชัดเจนในการแก้ไขปัญหา เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจและ ความเชื่ อ มั่ น ของคนในชาติ ทั้ ง นี้ เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม ๓ ประการ ได้ แ ก่ การเปลีย่ นแปลงระบบและวิธคี ดิ ใหม่ การเปลีย่ นผูน้ ำ� ในการแก้ไขปัญหา และการเปลีย่ นวิธกี ารจัดการใหม่ อย่างไร ก็ดี ภาครัฐควรปรับปรุงกลไกรัฐให้ทำ� หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพในการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์ และ เตือนให้ทราบแนวโน้มของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า รวมทั้งหน่วยข่าวจะต้องรายงานข่าวอย่างรวดเร็ว ตรงไปตรงมา เพือ่ ให้รฐั บาลได้รบั ทราบสถานการณ์ทถี่ กู ต้อง ทันต่อเหตุการณ์ และสามารถเตรียมความพร้อมใน การป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ .๒๕๔๑ – ๒๕๔๔) มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพทางการเมือง รวมทั้ง เสริมสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และการป้องกันประเทศของไทย เพื่อให้ชาติสามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงปลอดภัย มีการปรับตัวอย่างมีเอกภาพในบริบทกระแสสังคมโลกยุคใหม่ ซึ่งนโยบายความมั่นคงแห่งชาติฉบับนี้ ประกอบ ด้วยนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ๖ ด้าน คือ ด้านการเมืองภายในประเทศ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมจิตวิทยา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงานและสิ่งแวดล้อม ด้านการป้องกันประเทศ และด้านการต่างประเทศ ๒๔
ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๔), (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป.)
48
58tp_�������_SI_CMYK.indd 48
8/26/2558 BE 2:29 PM
2. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๔๙) ๒๕ สาระส�ำคัญของนโยบายฉบับนี้ คือ มุ่งรักษาผลประโยชน์และความมั่นคงของชาติให้เกิดความสมดุล ทุกด้าน สามารถสนับสนุนนโยบายด้านอื่นๆ ของรัฐบาล และส่งเสริมให้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ด�ำเนินไปได้โดยราบรื่น ไม่มีปัจจัยเสี่ยงต่อความมั่นคง รวมทั้ง ให้ความส�ำคัญต่อความมั่นคง ด้านคุณภาพและ ศักยภาพของคนในชาติเป็นล�ำดับสูงสุด ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนส�ำคัญในการปรับจุดเน้นการรักษาความมั่นคงของชาติ ที่ให้ความส�ำคัญในมิติความมั่นคงของประชาชนเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี นโยบายฉบับนี้มิได้แยกเป็นแต่ละด้าน ตามองค์ประกอบของความมัน่ คงแห่งชาติเช่น นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติในช่วงผ่านมา ทัง้ นี้ ก็เพือ่ สร้างกรอบ ยุทธศาสตร์การด�ำเนินการเพือ่ รักษาผลประโยชน์และความมัน่ คงของชาติอย่างเป็นเอกภาพ สอดคล้อง เชือ่ มโยง และสมดุลทุกด้าน ทั้งด้านการเมืองภายในประเทศ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านการป้องกัน ประเทศ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจน ด้านการต่างประเทศ ในการพิจารณาเสนอแนะนโยบายดังกล่าว ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้ใช้กระบวนการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม โดยการระดมความคิดเห็นจากภาคราชการ ภาควิชาการ และผู้ทรงคุณวุฒิ ภาคเอกชนและผู้น�ำชุมชนทั้งในส่วนกลางและในทุกภูมิภาค รวมทั้ง การศึกษาข้อมูลทางวิชาการ นอกจากนี้ ยังได้น�ำรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ. ๒๕๔๐) นโยบายของ รัฐบาล และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๙ มาประกอบพิจารณาด้วย จากนั้นจึงน�ำเสนอสภา ความมัน่ คงแห่งชาติ ซึง่ มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน แล้วจึงเสนอให้คณะรัฐมนตรีเพือ่ ทราบ ก่อนจะแจ้ง ให้สว่ น ราชการและหน่วยงานต่างๆ รับไปปฏิบัติ อย่างไรก็ตาม พบว่าการน�ำนโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ นบางเรือ่ งมีปญ ั หามาจากผูป้ ฏิบตั ขิ าดความเข้าใจ เป้าหมายของนโยบาย และปัญหาการจัดสรรงบประมาณที่ยังไม่ตอบสนองการปฏิบัติตามนโยบายไว้เป็น การเฉพาะ นอกจากนี้ การน�ำนโยบายไปสู่การปฏิบัติยังมีอุปสรรคจากสถานการณ์ความมั่นคงที่แปรเปลี่ยนไป ตามความผันผวนของปัจจัยภายในและภายนอกประเทศ ซึง่ บางครัง้ เกิดสถานการณ์ความมัน่ คงใหม่ทเี่ ป็นปัจจัย แทรกซ้อนปัญหาเดิมที่มีอยู่ ท�ำให้ไม่สามารถปฏิบัติตามแนวนโยบายที่ได้ก�ำหนดไว้อย่างเต็มประสิทธิภาพได้ 3. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔)๒๖ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้ง องค์กรภาครัฐ ภาควิชาการ และผู้ทรงคุณวุฒิภาคการเมือง ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยวิเคราะห์การเคลือ่ นตัวของสถานการณ์ความมัน่ คงอย่างต่อเนือ่ ง ในระยะทีม่ กี ารใช้นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๔๙ และพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงในบริบทต่างๆ ซึ่ง ข้อสรุปส�ำคัญจากเวทีการมีส่วนร่วมดังกล่าวบ่งชี้ว่านโยบายความมั่นคงแห่งชาติฉบับใหม่ ควรให้ความส�ำคัญ กับการรักษาเสถียรภาพความมั่นคงภายในประเทศและการป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ เป็นล�ำดับต้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ การให้สงั คมรูเ้ ท่าทันและสามารถปรับตัวผ่านพ้นวิกฤติในช่วงเปลีย่ นทางทางการเมือง รวมทัง้ การจัดการให้คนในชาติสามารถอยู่ร่วมกันด้วยสันติวิธีได้ แม้มีความเห็นที่แตกต่างกัน เพื่อสร้างความสมานฉันท์ ๒๕ ๒๖
ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๔๙), (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป.) ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔), (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป.)
49
58tp_�������_SI_CMYK.indd 49
8/26/2558 BE 2:29 PM
ภายในชาติ ซึ่งเป็นแรงผลักดันส�ำคัญในการเสริมสร้างพื้นฐานที่มั่นคงในการเตรียมความพร้อมที่จะเผชิญภาวะ ความเปลีย่ นแปลงด้านต่างๆ โดยเฉพาะภัยคุกคามข้ามชาติและวิกฤติจากภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติทมี่ ผี ลกระทบใน วงกว้าง นโยบายความมั่นคงแห่งชาติฉบับนี้ ประกอบด้วยนโยบาย ๒ ส่วน ได้แก่ 1) นโยบายเฉพาะหน้า มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้สงั คมไทยผ่านพ้นสถานการณ์วกิ ฤติดา้ นการเมือง สังคม และเศรษฐกิจไปได้โดย เกิดผลกระทบน้อยที่สุด ทุกฝ่ายในชาติเข้าใจและรู้เท่าทันสถานการณ์ที่เป็นจริงมีความไว้วางใจกัน พร้อมเผชิญ และแก้ไขปัญหาร่วมกัน 2) นโยบายความมั่นคงในระยะ ๕ ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่เกื้อหนุนให้การพัฒนาทุกด้านด�ำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง ประชาชนภายในชาติมีความสมัครสมานสามัคคีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สามารถรักษาคุ้มครองผลประโยชน์สำ� คัญ ของชาติไว้ได้อย่างยั่งยืน สังคมไทยมีภูมิคุ้มกันจากความขัดแย้งและวิกฤติการณ์ต่างๆ ประเทศไทยได้รับการ ยอมรับในศักดิ์ศรีและความเชื่อมั่นจากนานาประเทศ ตลอดระยะเวลาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ จนถึง พ.ศ. ๒๕๕๔ จะเห็นได้ว่าผล การด�ำเนินงานของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ที่ผ่านมานั้นสามารถป้องกัน บรรเทา และแก้ไขปัญหา ความมั่นคงของชาติได้อย่างดีเยี่ยม เป็นที่ประจักษ์ต่อส่วนราชการด้านความมั่นคงด้วยกัน โดยส�ำนักงานสภา ความมัน่ คงแห่งชาติ มีบทบาทหลักในการเสนอแนะนโยบายการแก้ไขปัญหาความมัน่ คงของชาติหลายเรือ่ งด้วยกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การแก้ไขปัญหาญวนอพยพ การแก้ไขปัญหาม้งลาวในประเทศไทย การแก้ไขปัญหาอดีตทหาร จีนคณะชาติ การแก้ไขปัญหาผูอ้ พยพอินโดจีน การแก้ไขปัญหาความมัน่ คงจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการก�ำหนด นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ นอกจากการเสนอแนะนโยบายแล้ว ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติยังได้ ท�ำหน้าที่ติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย และประสานการปฏิบัติของหน่วยงานราชการต่างๆ ตลอดจนแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อให้ประชาชนชาวไทยสามารถอยู่รอดปลอดภัยอย่างมั่นคงและถาวร
50
58tp_�������_SI_CMYK.indd 50
8/26/2558 BE 2:29 PM
ณ ปัจจุบนั กาล
58tp_�������_SI_CMYK.indd 51
8/26/2558 BE 2:29 PM
เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ นายอนุสิษฐ คุณากร (ดำ�รงตำ�เเหน่ง ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ - ปัจจุบัน)
58tp_�������_SI_CMYK.indd 52
8/26/2558 BE 2:29 PM
ณ ปัจจุบันกาล ๑. ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติในยุคปัจจุบัน
๑.๑ วิสัยทัศน์ “มุ่งเป็นองค์กรหลักในการก�ำหนดทิศทาง และยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นหลักประกันในการรักษา ความมั่นคงและผลประโยชน์แห่งชาติอย่างยั่งยืน” ๑.๒ พันธกิจ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ มีพันธกิจ ดังนี้ ๑) ก�ำหนดทิศทาง พัฒนา เสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ รวมทัง้ พัฒนาองค์ความรูใ้ นการบริหาร จัดการปัญหาที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์และพลวัตร การเปลี่ยนแปลง ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ๒) อ�ำนวยการ ประสานงาน และพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และภารกิจความมั่นคงของชาติ ทั้งในภาวะปกติและภาวะไม่ปกติไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ๓) พัฒนาการบริหารราชการเกี่ยวกับภารกิจความมั่นคงของชาติให้มีกลไก ระบบ และมาตรฐาน การท�ำงานให้เป็นไปตามหลักนิติธรรมและหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ๑.๓ ภารกิจและอ�ำนาจหน้าที่ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติมีหน้าที่เป็นที่ปรึกษา เสนอแนะนโยบาย มาตรการ และแนวทาง ปฏิบัติด้านความมั่นคงแห่งชาติ อ�ำนวยการ ประสานงานให้เป็นไปตามนโยบาย รวมทั้งจัดท�ำแผนเตรียมพร้อม แห่งชาติตอ่ สภาความมัน่ คงแห่งชาติ และคณะรัฐมนตรี เพือ่ ปกป้องผลประโยชน์แห่งชาติ ป้องกันและแก้ไขปัญหา ด้านความมัน่ คง ตลอดจน การพัฒนาและการจัดองค์ความรูด้ า้ นความมัน่ คงทีม่ คี ณ ุ ภาพ โดยให้มอี ำ� นาจหน้าที๒๗ ่ ดังต่อไปนี้ ๑) ด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสภาความมั่นคงแห่งชาติและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ๒) เสนอความเห็นต่อสภาความมั่นคงแห่งชาติหรือคณะรัฐมนตรีเพื่อประกอบการพิจารณา ก�ำหนด โดยนโยบายและยุทธศาสตร์หรือแผนงานและการอื่นที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงแห่งชาติ ๓) อ�ำนวยการและประสานการปฏิบตั ติ ามนโยบายและยุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติกบั หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกันอย่างมีบูรณาการ ๔) ศึกษา วิจยั พัฒนา ติดตามสถานการณ์ความมัน่ คง และประเมินการเปลีย่ นแปลงของสถานการณ์ และสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงในเชิงยุทธศาสตร์ ๕) เสนอแนะและจัดท�ำนโยบาย อ�ำนวยการ ประสานการปฏิบัติ ติดตาม ประเมินผล และพัฒนา นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ยุทธศาสตร์และแผนงานที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงแห่งชาติ ทั้งในด้านความมั่นคง ๒๗ “กฏกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๕๔,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๓๘ ก (๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔): ๑๗ – ๑๘
53
58tp_�������_SI_CMYK.indd 53
8/26/2558 BE 2:29 PM
ภายในประเทศ ความมั่นคงในภูมิภาค และความมั่นคงระหว่างประเทศ ครอบคลุมถึงภัยคุกคามความมั่นคง ภายใน ภัยคุกคามข้ามชาติ ภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ รวมทั้งการป้องกันประเทศและการเตรียมพร้อมแห่งชาติ การอ�ำนวยการข่าวกรอง การจัดการความขัดแย้ง และการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตลอดจนการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงแห่งชาติ และเสนอความเห็นต่อสภาความมั่นคงแห่งชาติหรือคณะรัฐมนตรี ๖) ติดตาม ประเมินผล รายงานการปฏิบัติตามนโยบายความมั่นคงแห่งชาติและนโยบายและ ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงแห่งชาติ ๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก�ำหนด ให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของส�ำนักงานสภาความมั่นคง แห่งชาติ หรือตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ๑.๔ เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติได้กำ� หนดเป้าหมายการให้บริการส่วนราชการอื่นๆ ไว้ดังนี้ ๑) นโยบาย ยุทธศาสตร์ และการบริหารจัดการระดับนโยบายเกี่ยวกับภารกิจการรักษา ความมั่นคง ของชาติในภาพรวม มีความเหมาะสม สอดคล้อง ทันต่อสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลง สามารถบังเกิดผล ในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒) นโยบาย ยุทธศาสตร์ และการบริหารจัดการระดับนโยบาย เพื่อการเตรียมความพร้อมในภาวะ วิกฤตเร่งด่วน ฉุกเฉิน เฉพาะกรณี และพื้นที่เฉพาะ สามารถบังเกิดผลในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓) นโยบาย ยุทธศาสตร์ และการบริหารจัดการระดับนโยบาย เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความมั่นคงของชาติในรูปแบบใหม่ สามารถบังเกิดผลในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและก้าวทันต่อ การเปลี่ยนแปลง
54
58tp_�������_SI_CMYK.indd 54
8/26/2558 BE 2:29 PM
55
58tp_�������_SI_CMYK.indd 55
8/26/2558 BE 2:29 PM
- กลุมงานประเมินภัยคุกคาม - กลุมงานประเมินกำลังอำนาจของชาติ - กลุมงานพัฒนา อำนวยการเเละ ประสานนโยบายขาวกรองเเหงชาติ - ฝายสนับสนุน
สำนักประเมินภัยคุกคาม
- กลุมนโยบายความมั่นคงเเหงชาติ - กลุมงานอำนวยการ ประสานนโยบาย เเละพัฒนาแผนความมั่นคง - ฝายสนับสนุน
สำนักนโยบาย เเละแผนความมั่นคง
กลุมภารกิจนโยบาย เเละบริหารเเผนงาน ความมั่นคง
สมช. - ศูนยความรูเพื่อความมั่นคง - กลุมงานพัฒนาความรู - กลุมงานสงเสริมความรวมมือ ทางวิชาการ - ฝายสนับสนุน
กลุมพัฒนา องคความรูความมั่นคง
- กลุมความมั่นคงกิจการชายเเดน - กลุมความมั่นคงทางทะเล - กลุมความมั่นคงประเทศรอบบาน เเละอนุภูมิภาคกลุมน้ำโขง - ฝายสนับสนุน
สำนักยุทธศาสตรความมั่นคง เกี่ยวกับภัยคุกคามขามประเทศ
- กลุมงานปองกันเเละเเกไขปญหา อาชญากรรมขามชาติ - กลุมงานปองกันเเละเเกไขปญหา การกอการรายสากล - ฝายสนับสนุน
สำนักยุทธศาสตรความมั่นคง ระหวางประเทศ - กลุมงานความมั่นคงระหวางประเทศ - กลุมงานความมั่นคงอาเซียน - กลุมงานความมั่นคงตามพันธกรณี ระหวางประเทศ - ฝายสนับสนุน
สำนักยุทธศาสตรความมั่นคง กิจการชายเเดนเเละประเทศรอบบาน
- กลุมงานเสริมสรางความมั่นคงของ สถาบันพระมหากษัตริย - กลุมงานความมั่นคงดานสังคมจิตวิทยา - กลุมงานปองกันเเละเเกไขปญหาการ โยกยายถิ่นฐานของประชากรเเละสิทธิ มนุษยชน - ฝายสนับสนุน
สำนักยุทธศาสตรความมั่นคง ภายในประเทศ
- กลุมงานยุทธศาสตรการเตรียมพรอม เเละการปองกันประเทศ - กลุมงานอำนวยการการบริหาร วิกฤตการณความมั่นคง - กลุมงานอำนวยการระบบขอมูล เเละเครือขายการบริหารวิกฤตการณ - ฝายสนับสนุน
สำนักยุทธศาสตรการเตรียมพรอม เเละปองกันประเทศ
- กลุมงานสงเสริมความมั่งคงจังหวัด ชายเเดนภาคใต - กลุมงานปองกันเเละเเกไขปญหาการ ความขัดเเยงชนตางวัฒนธรรม - ฝายสนับสนุน
สำนักยุทธศาสตรความมั่นคง
หมายเหตุ งานในกลุมภารกิจสนับสนุน ทางวิชาการเเละเครือขายการมีสวนรวม ตามเสนประ เปนการจัดสวนราชการ ภายในของ สมช.
- กลุมงานบริหารเเละพัฒนาทรัพยากรบุคคล - กลุมงานบริหารงานคลัง - กลุมงานพัฒนาแผนปฏิบัติราชการภายใน องคกร - กลุมงานบริหารงานสารบรรณเเละ ประชาสัมพันธ - กลุมงานบริหารงานพัสดุ อาคารสถานที่ เเละยานพาหนะ - กลุมงานบริหารการประชุม - ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
สำนักเลขาธิการ
กลุมภารกิจสนับสนุน ทางการบริหาร
- กลุมงานใหความเห็นเเละคำปรึกษากฏหมาย ความมั่นคง - กลุมงานการใชเเละพัฒนากฏหมายความมั่นคง - ฝายสนับสนุน
กลุมงานกฏหมาย
จังหวัดชายเเดนใตเเละชนตางวัฒนธรรม
กลุมยุทธศาสตรเเละอำนวยการความมั่นคงเฉพาะดาน
ตรวจสอบภายใน
กลุมพัฒนาระบบบริหาร
กลุมภารกิจสนับสนันทางวิชาการ เเละเครือขายการมีสวนรวม
๑.๕ โครงสร้างหน่วยงาน
จากอดีตจนถึงปัจจุบนั ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ได้มกี ารปรับปรุง เปลีย่ นแปลง และพัฒนาหน่วย งานอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ สร้างให้หน่วยงานมีความเป็นเลิศและมีความเชีย่ วชาญในการบริหารจัดการและด�ำเนินการที่ เกีย่ วข้องกับงานความมัน่ คงของประเทศ คณะผูบ้ ริหารของส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ประกอบด้วย เลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ซึง่ มี ฐานะเทียบเท่าปลัดกระทรวงเป็นผูบ้ งั คับบัญชาและเป็นผูบ้ ริหารงานสูงสุดขององค์กรมีรองเลขาธิการสภาความมัน่ คง แห่งชาติ รับผิดชอบช่วยเหลือปฏิบตั งิ านด้านนโยบายและการบริหารงานขององค์กร จ�ำนวน ๓ คน และมีผชู้ ว่ ย เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ช่วยเหลือรับผิดชอบปฏิบัติภารกิจด้านนโยบายและการบริหารตามที่ได้รับ มอบหมาย ขณะเดียวกัน ยังมีผรู้ บั ผิดชอบระดับทีป่ รึกษาจ�ำนวน ๒ ต�ำแหน่ง ได้แก่ ๑) ทีป่ รึกษาด้านนโยบายยุทธศาสตร์ ความมัน่ คง และ ๒) ทีป่ รึกษาด้านการประสานกิจการความมัน่ คง รวมถึง มีตำ� แหน่งระดับผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้าน ในสาขาความมัน่ คงด้านต่างๆ ๖ ต�ำแหน่ง ได้แก่ ๑) ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านยุทธศาสตร์ความมัน่ คง ๒) ผูเ้ ชีย่ วชาญ เฉพาะด้านป้องปรามการก่อการร้าย ๓) ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านความมัน่ คงภายในประเทศ ๔) ผูเ้ ชีย่ วชาญปฏิบตั ริ าชการ ผูช้ ว่ ยเลขาธิการศูนย์อำ� นวยการบริหารจังหวัดชายแดนใต้ ๕) ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านความมัน่ คงระหว่างประเทศ และ ๖) ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านปัญหาความมัน่ คงข้ามชาติ ทัง้ นี้ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติมรี ายละเอียด การแบ่ง ส่วนราชการ ดังนี้ ๑.๕.๑ กลุม่ ภารกิจนโยบายและบริหารแผนงานความมัน่ คง ประกอบด้วย ๑) ส�ำนักนโยบายและแผนความมัน่ คง (สนผ.) มีหน้าที่ เสนอแนะจัดท�ำนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ มาตรการ และแนวทางการปฏิบตั ดิ า้ นความมัน่ คงแห่งชาติ รวมถึงภัยคุกคามความมัน่ คงรูปแบบใหม่ จัดท�ำแผน ความมัน่ คงเพือ่ เชือ่ มโยงนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติไปสูแ่ ผนปฏิบตั ขิ องกระทรวงและส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง เสนอ แนะแผนการบริหารราชการแผ่นดินในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับนโยบายความมัน่ คง ของชาติ ให้สอดคล้องเชือ่ มโยงกับ นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ ให้คำ� ปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่สว่ นราชการ และองค์กรทีเ่ กีย่ วข้องในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้อง กับนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ รวมทัง้ อ�ำนวยการและประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานความมัน่ คงแห่งชาติ ให้มเี อกภาพ และติดตาม ประเมินผลและรายงานการปฏิบตั ติ ามนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติและนโยบายยุทธศาสตร์ ทีเ่ กีย่ วข้องกับความมัน่ คงแห่งชาติ ๒) ส�ำนักประเมินภัยคุกคาม (สปภ.) ท�ำหน้าที่ ประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ภาพรวม ในเชิงยุทธศาสตร์ อันเป็นภัยต่อความมัน่ คงแห่งชาติ ประสาน รวบรวม และจัดท�ำฐานข้อมูลการข่าวกรอง ตลอดจนแจ้งเตือนภัยคุกคาม ทีม่ ผี ลกระทบต่อความมัน่ คงในระดับชาติ และเสนอแนะ จัดท�ำนโยบายอ�ำนวยการ พัฒนา และประสานการปฏิบตั ิ ด้านการข่าวกรองกับประชาคมข่าวกรองทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ รวมทัง้ ติดตาม ประเมินผล และรายงาน การปฏิบตั ติ ามวงรอบ ๑.๕.๒ กลุม่ ภารกิจยุทธศาสตร์และอ�ำนวยการความมัน่ คงแห่งชาติ ประกอบด้วย ๑) ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงภายในประเทศ (สภน.) ท�ำหน้าที่ ประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ ด้านกิจการภายในประเทศทีก่ ระทบต่อความมัน่ คงของสถาบันพระมหากษัตริย์ ปัญหาความมัน่ คงทางด้านสังคม
56
58tp_�������_SI_CMYK.indd 56
8/26/2558 BE 2:29 PM
จิตวิทยา ปัญหาการโยกย้ายถิน่ ฐานของประชากร และการคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน รวมถึงจัดท�ำฐานข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง เสนอแนะ จัดท�ำนโยบายและพัฒนายุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติเกีย่ วกับความมัน่ คงของสถาบันพระมหากษัตริย์ การเสริมสร้างจิตส�ำนึกความมัน่ คง การเสริมสร้างความสามัคคีและสันติวธิ ี ปัญหาการโยกย้ายถิน่ ฐานของประชากร และการคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน รวมทัง้ ติดตาม ประเมินผลรายงานการปฏิบตั ติ ามวงรอบ และเสนอแนะแนวทาง มาตรการ อ�ำนวยการและประสานการปฏิบตั ติ ามนโยบายกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ๒) ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงระหว่างประเทศ (สรป.) ท�ำหน้าที่ ประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ดา้ น กิจการระหว่างประเทศทีก่ ระทบต่อความมัน่ คง ซึง่ ครอบคลุมกลุม่ ประเทศมหาอ�ำนาจ ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ ประเทศโลกมุสลิม สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน และกิจการระหว่างประเทศ รวมถึง จัดท�ำฐานข้อมูลเกีย่ วข้อง เสนอแนะ จัดท�ำนโยบาย และพัฒนายุทธศาสตร์ความมัน่ คงระหว่างประเทศเพือ่ รักษาความ มัน่ คงของชาติและตามพันธกรณีระหว่างประเทศในด้านความมัน่ คง รวมทัง้ ติดตามประเมินผล รายงานการปฏิบตั ิ ตามวงรอบ และเสนอแนะแนวทาง มาตรการ อ�ำนวยการและประสานการปฏิบตั ติ ามนโยบายกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ๓) ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงกิจการชายแดนและประเทศรอบบ้าน (สชป.) ท�ำหน้าที่ ประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ทกี่ ระทบต่อความมัน่ คงชายแดน ความมัน่ คงแห่งชาติทางทะเล ความมัน่ คงต่อประเทศรอบบ้าน และอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง รวมถึงจัดท�ำฐานข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง เสนอแนะ จัดท�ำนโยบาย และความมัน่ คงต่อประเทศ รอบบ้านและอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง รวมทัง้ ติดตาม ประเมินผลรายงานการปฏิบตั ติ ามวงรอบ และเสนอแนะแนวทาง มาตรการ อ�ำนวยการ และประสานการปฏิบตั ติ ามนโยบายกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ๔) ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงเกีย่ วกับภัยคุกคามข้ามชาติ (สภช.) ท�ำหน้าที่ ประเมิน วิเคราะห์ สถานการณ์ภยั คุกคามข้ามชาติทกี่ ระทบต่อความมัน่ คงแห่งชาติการก่อการร้ายสากล และอาชญากรรมข้ามชาติ รวม ถึงจัดท�ำฐานข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง เสนอแนะ จัดท�ำนโยบาย และพัฒนายุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติเกีย่ วกับการป้องกัน และแก้ไขปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ การก่อการร้ายสากล และอาชญากรรมข้ามชาติ รวมทัง้ ติดตาม ประเมินผล และ รายงานการปฏิบตั ติ ามวงรอบ ตลอดจนเสนอแนะแนวทาง มาตรการ อ�ำนวยการและประสานการปฏิบตั ติ ามนโยบาย กับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ๕) ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงจังหวัดชายแดนภาคใต้และชนต่างวัฒนธรรม (สชต.) ท�ำหน้าที่ ประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ปญั หาความมัน่ คงจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการจัดการความขัดแย้งพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงจัดท�ำฐานข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง ประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ปญ ั หาความขัดแย้งระหว่างชนต่างวัฒนธรรมใน ภูมภิ าคต่าง ๆ และการจัดการความขัดแย้งในพืน้ ที่ รวมทัง้ จัดท�ำฐานข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง เสนอแนะ จัดท�ำนโยบาย และ พัฒนายุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติเกีย่ วกับนโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยุทธศาสตร์ เกีย่ วกับการแก้ไขปัญหาความมัน่ คงจังหวัดชายแดนภาคใต้และยุทธศาสตร์เกีย่ วกับนโยบายเพือ่ แก้ไขปัญหาความขัด แย้งระหว่างชนต่างวัฒนธรรมในภูมภิ าคต่าง ๆ รวมทัง้ ติดตาม ประเมิน รายงานการปฏิบตั ติ ามวงรอบ และเสนอ แนะแนวทาง มาตรการ อ�ำนวยการและประสาน การปฏิบตั ติ ามนโยบายกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ๖) ส�ำนักยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมและการป้องกันประเทศ (สตป.) ท�ำหน้าที่ ประเมิน วิเคราะห์
57
58tp_�������_SI_CMYK.indd 57
8/26/2558 BE 2:29 PM
สถานการณ์ทมี่ คี วามเสีย่ งสูงและน�ำไปสูว่ กิ ฤติการณ์ระดับชาติ ซึง่ เป็นการกระท�ำจากมนุษย์ และจากภัยธรรมชาติ ภัยคุกคามด้านการทหาร และสถานการณ์ทมี่ ผี ลกระทบต่อการป้องกันประเทศ รวมถึงจัดท�ำฐานข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง เสนอแนะ จัดท�ำนโยบาย และพัฒนายุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติ เกีย่ วกับยุทธศาสตร์ การเตรียมพร้อมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ แผนบริหารวิกฤติการณ์ และแผนผนึกก�ำลังและทรัพยากรเพือ่ ป้องกันประเทศ รวม ทัง้ ติดตาม ประเมินผล และรายงานการปฏิบตั ติ ามวงรอบ เสนอแนะแนวทาง มาตรการ อ�ำนวยการและประสาน การปฏิบตั ิ ตามนโยบายกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องพัฒนาระบบ กลไก และแผนการบริหารจัดการภาครัฐในภาวะวิกฤติ เพือ่ ให้ครอบคลุมในด้านการเตรียมพร้อมด้านทรัพยากร ด้านการป้องกัน การแก้ไข การฟืน้ ฟู และการประสานเชือ่ ม โยงระบบบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เสริมสร้างความร่วมมือ และเครือข่ายบริหารเหตุการณ์ในภาวะ วิกฤติกบั หน่วยงาน และองค์กรในภาควิชากร ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ ๑.๕.๓ กลุม่ ภารกิจสนับสนุนทางการบริหาร ส�ำนักเลขาธิการ (สลก.) ท�ำหน้าที่ ด�ำเนินการเกีย่ วกับการบริหารงานทัว่ ไป งานสารบรรณ ระบบงาน และการบริหารงานบุคคล การเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถานที่ และยานพาหนะ งาน ประชาสัมพันธ์ การพัฒนาแผนปฏิบตั ริ าชการภายใน การบริหารงานประชุม การจัดท�ำและพัฒนาระบบสารสนเทศ ด้านความมัน่ คงกับส่วนราชการและประชาคมข่าวกรองทัง้ ในและต่างประเทศ และ การพัฒนาระบบสารสนเทศ ภายในหน่วยงาน ๑.๕.๔ กลุม่ ภารกิจอืน่ ๆ ๑) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (กพบ.) ท�ำหน้าที่ เสนอแนะและให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้บริหารเกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ รวมทัง้ ติดตาม ประเมินผล และจัดท�ำรายงานการปฏิบตั ริ าชการของหน่วยงาน ๒) กลุม่ ตรวจสอบภายใน (ตส.) ท�ำหน้าที่ ตรวจสอบการด�ำเนินการภายในหน่วยงาน เพือ่ สร้างและ พัฒนาระบบควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง และคุณภาพการตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานของกรมบัญชี กลาง และมาตรฐานสากล ๓) ศูนย์ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริต ท�ำหน้าที่ จัดท�ำแผนปฏิบตั กิ ารป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมชิ อบของส่วนราชการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐและนโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง การบูรณาการและ ขับเคลือ่ นแผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตและการส่งเสริมคุม้ ครองจริยธรรมในส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ๑.๕.๕ กลุม่ ภารกิจสนับสนุนทางวิชาการและเครือข่ายการมีสว่ นร่วม กลุม่ พัฒนาองค์ความรูค้ วามมัน่ คง (กพอ.) ท�ำหน้าที่ สนับสนุนงานทางวิชาการขององค์กร มีทปี่ รึกษา ด้านยุทธศาสตร์ความมั่นคง ด�ำเนินงานศูนย์ความรู้ด้านความมั่นคงระดับชาติ เสริมสร้างวัฒนธรรมความรู้ องค์ความรู้ด้านความมั่นคง ฐานความรู้ด้านความมั่นคง พัฒนาและส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรทางวิชาการ ด้านความมั่นคง กลุ่มคลังสมองทั้งภายในและภายนอกประเทศ รวมทั้งเครือข่ายภาคประชาชน
58
58tp_�������_SI_CMYK.indd 58
8/26/2558 BE 2:29 PM
๒. สถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงของบริบทความมั่นคง
สถานการณ์ความมั่นคงที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ จะมีแนวโน้มความรุนแรงของปัญหา และมีขอบเขตของ ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อผลประโยชน์ในวงกว้าง สรุปสาระส�ำคัญสถานการณ์และแนวโน้ม ดังนี้ ๒.๑ ความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ สถานการณ์ กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เน้นในเรื่องสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคเป็นหลัก การที่ดี แต่มีบุคคลจ�ำนวนหนึ่งใช้สิทธิเสรีภาพนั้นไปในทางที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะการใช้สิทธิในการแสดงออก อย่างเสรีภาพทีเ่ ป็นการล่วงละเมิดต่อพระเกียรติและพระราชอ�ำนาจพระมหากษัตริย์ ประกอบกับความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีสอื่ สารเป็นปัจจัยเสริมให้มกี ารเผยแพร่ความคิดดังกล่าวอย่างรวดเร็ว อีกทัง้ ความขัดแย้งและแข่งขัน กันทางการเมืองอย่างรุนแรงในช่วงทีผ่ า่ นมาก็มกี ารน�ำพระองค์ทา่ น และสถาบันพระมหากษัตริยเ์ ข้าไปเกีย่ วข้อง กับการเมืองโดยที่พระองค์มิได้ทรงทราบหรือยุ่งเกี่ยวด้วย ในห้วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา ความเคลื่อนไหวที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสถาบันฯ ได้เพิ่มระดับและขอบเขต ออกไปอย่างกว้างขวาง ทั้งที่มีลักษณะเชื่อมโยงสถาบันฯ เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทางการเมือง ตลอดจนมีการ กล่าวอ้างความเท็จเพือ่ ดูหมิน่ ใส่รา้ ยอันเป็นการบ่อนท�ำลายต่อสถาบันฯ และการปรากฏแนวคิดในเชิงปฏิรปู รวม ถึงการวิพากษ์วิจารณ์ประเด็นการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับการหมิ่นสถาบันฯ ที่ขัดต่อหลักสิทธิและเสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน ซึง่ สถานการณ์ดงั กล่าวเป็นประเด็นทีม่ คี วามอ่อนไหว น�ำมาซึง่ ความขัดแย้งระหว่างกลุม่ ต่าง ๆ ในสังคม ประกอบกับความผูกพันเชือ่ มโยงของประชาชนบางส่วน โดยเฉพาะในหมูเ่ ยาวชนรุน่ ใหม่ทมี่ ตี อ่ สถาบันฯ ถูกลดทอนลง เนื่องจากขาดความเข้าใจ ความตระหนักรู้อย่างถูกต้อง แท้จริงถึงความส�ำคัญของสถาบัน พระมหากษัตริย์ ในฐานะที่เป็นศูนย์รวมจิตใจและจุดยึดเหนี่ยวของสังคมไทย แนวโน้ม ประชาชนส่วนใหญ่ยังคงมีความศรัทธา จงรักภักดีและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ โดย ไม่มีเงื่อนไข อย่างไรก็ตาม ยังมีประชาชนบางส่วนที่มีความคิดเห็นต่างไปโดยอาจก�ำหนดได้เป็น ๕ กลุ่ม คือ ๑) กลุ่มคนที่มีความศรัทธาและจงรักภักดีต่อสถาบันโดยไม่มีเงื่อนไข ๒) กลุ่มคนที่แสวงประโยชน์จากความใกล้ชิด หรือแอบอ้างสถาบันพระมหากษัตริยเ์ พือ่ ประโยชน์สว่ นตน ๓) กลุม่ คนทีว่ พิ ากษ์วจิ ารณ์สถาบันพระมหากษัตริย์ ในเชิงวิชาการโดยเจตนาให้สถาบันปรับบทบาทและภารกิจให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ๔) กลุม่ ผุถ้ กู ชักจูงโดยรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ คือ กลุม่ คนทีไ่ ด้รบั ข้อมูลข่าวสารบิดเบือนหรือข้อมูลอันเป็นเท็จท�ำให้มคี วามคิดในทางลบต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ และ ๕) กลุ่มคนที่มีแนวคิดทัศนคติและเจตนาที่เป็นปฏิปักษ์ต่อสถาบันอย่างเด่นชัดซึ่งมีทั้งกลุ่มที่มีเจตนาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศ และกลุ่มที่ไม่นิยมระบอบกษัตริย์แต่ไม่ถึงขั้นล้มล้างการปกครอง รวมทั้งกลุ่มที่ทัศนคติในเชิงลบแต่ไม่มีพฤติกรรมเป็นปฏิปักษ์ที่เห็นชัดเจน คนเหล่านี้ส่วนใหญ่ใช้การสื่อสารทาง สื่อสังคมออนไลน์ซึ่งตรวจสอบได้ยากในการเผยแพร่ข้อมูลที่มีการบิดเบือนและผลิตซ�้ำซึ่งกระทบต่อสถาบัน ใน ระยะต่อไปหากมีการน�ำเสนอข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ที่บิดเบือนจากข้อเท็จจริง หรือมีการน�ำสถาบันหลักของ ชาติมาเป็นเครือ่ งมือทางการเมือง อาจเป็นส่วนหนึง่ ของการพัฒนาไปสูค่ วามขัดแย้งของกลุม่ คนทีม่ คี วามคิดเห็น
59
58tp_�������_SI_CMYK.indd 59
8/26/2558 BE 2:29 PM
แตกต่างและน�ำไปสู่การสร้างความแตกแยกและเกลียดชังระหว่างกันในสังคม ซึ่งอาจท�ำให้เกิดผลในทางลบต่อ ความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติในอนาคต
นายอนุสิษฐ คุณากร เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ. น�ำคณะเจ้าหน้าที่ สภาความมั่นคงแห่งชาติ. ร่วมลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ ๘ ต.ค. ๒๕๕๗
๒.๒ ปัญหาความแตกแยกและการใช้ความรุนแรงในสังคมไทย สถานการณ์ พัฒนาการทางการเมืองของไทยมีทิศทางที่น�ำสังคมไทยวิวัฒน์ไปสู่วัฒนธรรมการเมืองที่ ประชาชนต้องการมีส่วนร่วมตัดสินใจในนโยบายของรัฐมากขึ้น โดยเฉพาะการกระจายความมั่งคั่งและอ�ำนาจ จัดการทรัพยากรส�ำคัญ โดยประชาชนแสดงออกด้วยการใช้สิทธิทางการเมืองและเสรีภาพพลเมืองในการเลือก ตั้ง และการปกป้องสิทธิของตนหรือสิทธิของชุมชนท้องถิ่น ในขณะที่สังคมไทยก�ำลังอยู่ในกระบวนการ เปลีย่ นแปลงทางโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง แต่ยงั คงมีปญ ั หาเชิงโครงสร้างจากความเหลือ่ มล�ำ้ ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงโลกทัศน์ที่แตกต่างกันของกลุ่มคนในสังคมเป็น ปัจจัยผลักดันให้เกิดความแตกแยกทางความคิดระหว่างคนกลุ่มต่าง ๆ ในห้วงที่ผ่านมาการเคลื่อนไหวทางการเมืองถูกขับเคลื่อนด้วยเป้าหมายสุดโต่งทางการเมือง ส่งผลให้ สภาวะการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวน�ำไปสู่ความขัดแย้งทางการเมืองที่มีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น รวมถึง ความอดทนอดกลั้นของคนกลุ่มต่าง ๆ ในสังคมมีแนวโน้มลดต�ำ่ ลง กอปรกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท�ำให้ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็วและสังคมโลกได้มีการเติบโตและพัฒนาชุดความคิดหรือองค์
60
58tp_�������_SI_CMYK.indd 60
8/26/2558 BE 2:29 PM
ความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องสังคมไทยเป็นสังคมที่ได้รับอิทธิพลจากกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเช่น เดียวกันความขัดแย้งส่วนใหญ่ จึงมีลักษณะเป็นความขัดแย้งทางความคิดซึ่งมีด้วยกันหลายระดับ คือ ๑) ระดับ ครัวเรือน เกิดจากสมาชิกในครัวเรือนมีความเห็นที่แตกต่างกัน ๒) ระดับชุมชน คือการที่คนในชุมชนสนับสนุน พรรคการเมืองที่แตกต่างกันและไม่สามารถร่วมมือกันพัฒนาชุมชนได้ ๓) ระดับองค์กร เกิดจากความคิดเห็นที่ แตกต่างในหน่วยงานส่งผลให้บคุ ลากรไว้วางใจกันน้อยลงเป็นอุปสรรคต่อการขับเคลือ่ นนโยบายองค์กรให้ดำ� เนิน ต่อไปได้ และ ๔) ระดับชาติ เป็นความขัดแย้งของกลุ่มคนที่มีความคิดเห็นทางการเมืองแตกต่างกันซึ่งเป็นปัญหา ที่มีแนวโน้มจะขยายตัวกว้างขวางและรุนแรงมากขึ้นส่งผลโดยรวมต่อการพัฒนาและสร้างความสมานฉันท์ของ ประเทศ แนวโน้ม ในห้วงที่ผ่านมา สังคมไทยก�ำลังอยู่ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่โดยที่ยังคงมีปัญหา เชิงโครงสร้างจากความเลื่อมล�ำ้ ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้เป็น ปัจจัยผลักดันให้เกิดความแตกแยกทางความคิดระหว่างคนกลุ่มต่าง ๆ ในสังคมส่งผลให้น�ำไปสู่ความขัดแย้ง ทางการเมืองที่มีความรุนแรงและซับซ้อน อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ปัญหาความขัดแย้ง และการใช้ความรุนแรง ในสังคมไทยที่จะน�ำไปสู่การใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาได้มีการพัฒนาเข้าสู่ยุคของการบริหารจัดการที่ใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในมิติต่าง ๆ อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น รวมทั้งบทเรียนในอดีตที่สังคมได้ เรียนรู้ผลกระทบจากการใช้ความรุนแรง การแตกแยกสามัคคีที่ส่งผลให้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมมีแนวโน้ม ของการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาลดลง
นายอนุสิษฐ คุณากร เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ให้สัมภาษณ์แก่สื่อมวลชนเกี่ยวกับสถานการณ์ภายในประเทศ ณ อาคารส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ท�ำเนียบรัฐบาล
61
58tp_�������_SI_CMYK.indd 61
8/26/2558 BE 2:29 PM
๒.๓ การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ั นาการ สถานการณ์ ปัญหาความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ทเี่ กิดขึน้ มาอย่างยาวนานเป็นปัญหาทีม่ พี ฒ ทีม่ คี วามซับซ้อน ละเอียดอ่อน และมีความเชือ่ มโยงกันหลายมิตโิ ดยมีใจกลางของปัญหา คือ เรือ่ งอัตลักษณ์ชาติพนั ธุ์ มาลายู ศาสนาอิสลาม และประวัตศิ าสตร์รฐั ปัตตานี โดยการต่อสูท้ ใี่ ช้ความรุนแรงเป็นผลมาจากคนกลุม่ หนึง่ ทีม่ ี อุดมการณ์ตอ้ งการแบ่งแยกดินแดน ได้นำ� เงือ่ นไขอัตลักษณ์มาขยายผลในการใช้ ความรุนแรงท�ำให้เกิดบรรยากาศ ความกลัว เเละความไม่ไว้วางใจระหว่างรัฐกับประชาชนและประชาชนกับประชาชน เพิม่ มากขึน้ นอกจากนี้ ได้ ปรากฏมีปญ ั หาใหม่ทมี่ แี นวโน้มเพิม่ มากขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ คือ ปัญหายาเสพติด ปัญหาภัยแทรกซ้อน บทบาทของ ภาคประชาสังคมโดยเฉพาะเยาวชนทีเ่ ห็นต่างจากรัฐ และถูกดึงเข้ามามีสว่ นร่วมในการเคลือ่ นไหวทีส่ อดคล้องกับ อุดมการณ์ของผู้เห็นต่างจากรัฐ การเข้ามีบทบาทและแทรกแซงขององค์กรระหว่างประเทศที่เป็นการเพิ่มความ ซับซ้อนของปัญหามากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ปัญหาดังกล่าวยังไม่มีท่าทีที่จะคลี่คลายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งการขยายตัว ของปัญหาได้สง่ ผลกระทบต่อความปลอดภัยของประชาชนในพืน้ ทีแ่ ละสังคมไทยโดยรวม แนวโน้ม สถานการณ์ในอนาคตเป็นเรือ่ งท้าทาย การบรรเทาปัญหาดังกล่าวต้องเสริมสร้างกระบวนการสร้าง สันติสขุ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ เป็นประเด็นทีต่ อ้ งเผชิญกับความท้าทายต่าง ๆ จากสถานการณ์ความรุนแรงทีย่ งั คงปรากฏ อยูจ่ ากกลุม่ ผูก้ อ่ เหตุรนุ แรงในพืน้ ที่ โดยความรุนแรงทีเ่ กิดขึน้ อาจส่งผลให้เกิดการขยายตัวของอ�ำนาจของกลุม่ ผูม้ ี อิทธิพลและกลุม่ ธุรกิจผิดกฎหมาย ตลอดจนท�ำให้สถานการณ์การก่อเหตุรนุ แรงมีเพิม่ มากยิง่ ขึน้ ความยืดเยือ้ ของ สถานการณ์ความรุนแรงทีย่ งั คงปรากฏอยู่ เป็นการเพิม่ ความเสีย่ งต่อการขยายตัวของปัญหาภัยแทรกซ้อน ทีอ่ าจ เป็นแรงจูงใจให้กลุ่มก่อการร้ายจากภายนอกประเทศเข้ามาสนับสนุนกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง และเป็นอุปสรรคต่อ บรรยากาศของแนวทางการพูดคุยกับผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องต่าง ๆ เพือ่ น�ำไปสูก่ ารลดเหตุรนุ แรง และการสร้างสันติสขุ ให้แก่ประชาชนในพืน้ ที่ ตลอดจนเป็นอุปสรรคต่อเสถียรภาพความมัน่ คงโดยรวมของภูมภิ าค
นายอนุสิษฐ คุณากร เลขาธิการสภาความมั่นคง-แห่งชาติ. เป็นประธานในการประชุมส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อติดตามผลการจัดท�ำแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
62
58tp_�������_SI_CMYK.indd 62
8/26/2558 BE 2:29 PM
๒.๔ ความขัดแย้งและการใช้กำ� ลังทางทหาร สถานการณ์ ยังคงมีปัญหาความไม่เข้าใจและความหวาดระแวงที่อาจท�ำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างไทย กับประเทศเพื่อนบ้าน แต่สามารถจ�ำกัดขอบเขตและระดับความรุนแรงให้อยู่ในเฉพาะพื้นที่ โดยเป็นผลจากการ เสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือทีใ่ กล้ชดิ กัน และการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตเชิงป้องกัน รวม ถึงทิศทางความร่วมมือของประเทศในภูมภิ าคทีม่ งุ่ สูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียน อย่างไรก็ตาม เมือ่ พิจารณาปัจจัย ทีเ่ กีย่ วโยงกับสถานการณ์ขอ้ พิพาทในภูมภิ าค สถานการณ์ภายในของประเทศเพือ่ นบ้าน และบทบาทของประเทศ มหาอ�ำนาจทีเ่ กีย่ วข้องกับภูมภิ าค และการทีป่ ระเทศไทยมีชายแดนทัง้ ทางบกและทางทะเลติดกับประเทศเพือ่ น บ้านหลายประเทศโดยยังมีปญ ั หาความไม่ชดั เจนของเส้นเขตแดนและอาณาเขตทางทะเลระหว่างกัน การแย่งชิง ทรัพยากรระหว่างกัน การเคลื่อนไหวของกองก�ำลังติดอาวุธตามแนวชายแดน รวมถึงมีสิ่งบ่งชี้ถึงการเพิ่มงบ ประมาณทางทหารของประเทศในภูมิภาคเพื่อพัฒนาศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถทางการทหารอย่าง ต่อเนือ่ งจึงยังคงมีความเสีย่ งทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารใช้กำ� ลังทหารต่อกัน หากเกิดความขัดแย้งรุนแรงและไม่มกี ารบริหาร จัดการปัญหาร่วมกันที่มีประสิทธิภาพ แนวโน้ม แม้จะมีข้อบ่งชี้ถึงการสะสมกองก�ำลังทางทหารในภูมิภาคที่อาจเป็นภัยคุกคามต่อเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอ�ำนาจรัฐของไทย แต่การใช้กำ� ลังทางทหารจะไม่ขยายวงกว้างเหมือนในอดีต แต่ จะเกิดขึ้นหรือจ�ำกัดวงในพื้นที่ที่เป็นพื้นที่เฉพาะเท่านั้น เพราะทุกประเทศต่างมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศมากกว่า หากมีประเด็นความขัดแย้งจะใช้การแก้ไขปัญหาด้วยการเจรจาอย่างสันติวิธี
นางกนกทิพย์ รชตะนันทน์ รองเลขาธิการสภาความมั่นคง-แห่งชาติ เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการศึกษาปัญหา และภัยคุกคามความมั่นคงของชาติ ในวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๘
๒.๕ ความมัน่ คงของประชาคมอาเซียน สถานการณ์ พัฒนาการของกลุม่ ประเทศอาเซียนทีก่ ำ� หนดการจัดตัง้ “ประชาคมอาเซียน”ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ท�ำให้อาเซียนมีความเชือ่ มโยงกันมากขึน้ ทัง้ ทางการเมือง ความมัน่ คง เศรษฐกิจ และสังคม อันจะน�ำไปสูก่ ารเสริม
63
58tp_�������_SI_CMYK.indd 63
8/26/2558 BE 2:29 PM
สร้างพัฒนาการทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก เน้นแก้ไขข้อพิพาทและความขัดแย้งในภูมภิ าคอย่าง สันติ เสริมสร้างปฏิสมั พันธ์ของประเทศสมาชิกอาเซียน และระหว่างอาเซียนกับนานาชาติ รวมทัง้ เพิม่ โอกาสการติดต่อ เชือ่ มโยงผ่านเส้นทางคมนาคมในภูมภิ าค อย่างไรก็ตาม การเป็นประชาคมอาเซียนเป็นความท้าทาย โดยเฉพาะการที่ ประเทศสมาชิกยังมีลกั ษณะการปกครองและเศรษฐกิจทีแ่ ตกต่างกัน การสร้างความเป็นประชาคม และการเปิดกว้าง ของการติดต่อระหว่างกันอย่างเสรีทำ� ให้มคี วามเสีย่ งทีจ่ ะเกิดผลกระทบต่อความมัน่ คงของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน ประเด็นการย้ายถิน่ ฐานของประชากรในภูมภิ าค และการขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติและเศรษฐกิจนอกระบบ แนวโน้ม การเป็นประชาคมอาเซียนจะน�ำไปสูก่ ารเพิม่ ขึน้ ของการติดต่อระหว่างกัน ทัง้ การเชือ่ มโยงเส้นทาง คมนาคมในภูมภิ าคอย่างกว้างขวาง ซึง่ เป็นทัง้ โอกาสและประเด็นท้าทาย โดยเฉพาะเรือ่ งเสรีภาพในการเคลือ่ นย้าย ถิน่ ฐาน และสินค้าระหว่างประเทศสมาชิกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อีกทัง้ การมีกฎเกณฑ์ วิธกี าร มาตรฐาน ระบบการท�ำงานทีต่ า่ งกัน จะน�ำไปสูป่ ญ ั หาการปรับตัว ซึง่ จ�ำเป็นต้องมีการก�ำหนดกรอบ ทิศทาง และการสร้างความ พร้อมต่อการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว
นายอนุสิษฐ คุณากร เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ. น�ำคณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุม ว่าด้วยความร่วมมือในการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการลาดตระเวนตามล�ำแม่น�้ำโขงระหว่างประเทศจีน ลาว เมียนมาร์ และไทย ณ โรงแรม รอยัล ปริ๊นเซส จ. เชียงใหม่ ในวันที่ ๑๗ – ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
๒.๖ ภัยคุกคามข้ามชาติ สถานการณ์ ปัจจุบนั ภัยคุกคามข้ามชาติได้ขยายตัวอย่างรวดเร็วตามสภาวะโลกาภิวตั น์ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อระบบ เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และความมัน่ คงของชาติโดยรวม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผลกระทบจากการก่อการร้ายและ อาชญากรรมข้ามชาติ ในด้านปัญหาการก่อการร้าย แรงขับเคลือ่ นของการต่อสูเ้ ชิง อุดมการณ์ยงั คงมีอยูอ่ ย่างเข้มแข็ง และขยายอุดมการณ์ความเชือ่ ไปสูค่ นและกลุม่ บุคคลในพืน้ ทีท่ มี่ เี งือ่ นไขพร้อมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงตนเองเป็นผูก้ อ่ การร้าย ในหลายรูปแบบ โดยเงือ่ นไขทีเ่ ป็นปัจจัยผลักดันทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ความคับแค้นอันเนือ่ งมาจากปัญหาการไม่ได้รบั ความ เป็นธรรมทัง้ ในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอัตลักษณ์ทางเชือ้ ชาติและวัฒนธรรม และการแปรเปลีย่ นความเชือ่ ทางศาสนาให้เป็นพลังผลักดัน นอกจากนี้ การเผยแพร่แนวคิดรุนแรงของกลุม่ ก่อการร้ายสากล และกลุม่ หัวรุนแรงใน
64
58tp_�������_SI_CMYK.indd 64
8/26/2558 BE 2:29 PM
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยงั คงด�ำรงอยู่ โดยได้รบั แรงบันดาลใจจากต่างประเทศและการแทรกซึมเข้ามาปฏิบตั กิ ารเองจาก กลุม่ ก่อการร้ายนอกภูมภิ าคทีอ่ าศัยช่องว่างด้านการรักษาความปลอดภัยและชายแดนทีเ่ ปราะบางของประเทศในภูมภิ าค รวมถึงการเชือ่ มโยงติดต่อและการเผยแพร่ความคิดอุดมการณ์ของกลุม่ ก่อการร้ายผ่านทางอินเทอร์เน็ตและสังคมออนไลน์ แม้วา่ ประเทศไทยจะไม่ใช่เป้าหมายการโจมตีโดยตรงของกลุม่ ก่อการร้ายสากล แต่ยงั คงมีความจ�ำเป็นทีต่ อ้ งเฝ้าระวัง ความเสีย่ ง โดยเฉพาะการใช้เป็นสถานทีพ่ กั พิงและอ�ำนวยความสะดวกในการก่อการร้ายจากกลุม่ ก่อการร้ายทัง้ ในและ นอกภูมภิ าคและการก่อความรุนแรงในเมือง ส�ำหรับปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ อันประกอบด้วยการค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ การค้าอาวุธ การฟอกเงิน การกระท�ำอันเป็นโจรสลัด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ มีการขยายตัวและควบคุมได้ยาก โดยมีการพัฒนารูปแบบและวิธกี ารทีซ่ บั ซ้อนจากการใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงปัญหาการบังคับใช้กฎหมายท�ำให้การก่ออาชญากรรมข้ามชาติทำ� ได้สะดวกและรวดเร็วยิง่ ขึน้ มีการพัฒนาเป็น เครือข่ายทีเ่ ข้มแข็งและมีเจ้าหน้าทีข่ องรัฐเกีย่ วข้อง นอกจากนี้ ยังพบว่าความเชือ่ มโยงระหว่างการก่อการร้ายและ อาชญากรรมข้ามชาติมแี นวโน้มขยายตัวมากขึน้ และมีขดี ความสามารถสูงขึน้ แนวโน้ม ภัยคุกคามทัง้ จากการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติจะทวีความรุนแรงมากขึน้ เมือ่ มีการจัด ตัง้ ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เนือ่ งจากการเปิดเสรีดา้ นการเดินทาง การท่องเทีย่ ว การแพร่ขยายแนวความคิด หัวรุนแรงและการรวมกลุม่ บุคคลทีม่ คี วามคิดดังกล่าว ในขณะทีป่ ระสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายของประเทศสมาชิก ยังมีความแตกต่างกัน และการบูรณาการความร่วมมือด้านความมัน่ คงเป็นไป อย่างล่าช้า รวมถึงการแสวงหาอ�ำนาจและ ผลประโยชน์ขององค์กรการก่อการร้ายสากล และองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติมแี นวโน้มขยายตัวมากขึน้ ในระยะต่อไป และมีความเสีย่ งมากขึน้ ของการบ่มเพาะเครือข่ายภายในประเทศ และการใช้สถานทีเ่ พือ่ การพักพิงชัว่ คราวของกลุม่ ก่อการร้ายอันจะเป็นอันตรายต่อความมัน่ คงภายในประเทศ และเกียรติภมู ขิ องประเทศ
พลโท พงศกร รอดชมพู รองเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ (ขวา) เข้าเยี่ยมชมระบบฐานข้อมูล CMIS (Case Management Investigation System) หรือ การบูรณาการระบบฐานข้อมูล-อาชญากรรมของไทย โดยมี พล.ต.ต อภิชาติ สุริบุญญา (ซ้าย) ให้การต้อนรับ ณ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ
65
58tp_�������_SI_CMYK.indd 65
8/26/2558 BE 2:29 PM
๒.๗ การย้ายถิ่นฐานของประชากร สถานการณ์ การย้ายถิน่ ฐานของประชากรจากประเทศรอบบ้านเข้าสูป่ ระเทศไทยส่วนใหญ่ เป็นการย้าย ถิ่นในลักษณะเข้าเมืองผิดกฎหมายที่ส่งผลให้เกิดปัญหาการผลักดัน/ส่งกลับ ส่งผลให้มีผู้ย้ายถิ่นจ�ำนวนมากยัง ตกค้างอยูใ่ นประเทศไทย และเกิดปัญหาการเมืองระหว่างประเทศ โดยเฉพาะกลุม่ ทีข่ ดั แย้งกับรัฐบาลของประเทศ ต้นทาง โดยสาเหตุการย้ายถิ่นที่สำ� คัญ ประกอบด้วย ปัจจัยด้านการเมือง คือ สถานการณ์ภายในประเทศเพื่อน บ้าน และปัจจัยด้านเศรษฐกิจ คือ ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประเทศไทยกับประเทศ เพือ่ นบ้านทีแ่ ตกต่างกันส่งผลให้เกิดปัญหาอืน่ ๆ ตามมา เช่น ปัญหาสาธารณสุข ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล ตามกฎหมาย ปัญหาการศึกษา ปัญหาความขัดแย้งกับชุมชนชาวไทย ตลอดจนปัญหาศักยภาพในการแข่งขันของ ประเทศไทยในระยะยาว นอกจากนี้ ปรากฏการย้ายถิ่นที่ใช้ประเทศไทยเป็นทางผ่านเพิ่มมากขึ้น โดยปัญหาดัง กล่าวมีความละเอียดอ่อนและส่งผลกระทบในหลายมิตทิ งั้ ความมัน่ คงของมนุษย์ ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน และ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แนวโน้ม ประเทศไทยต้องปฏิบัติตามกฎบัตรอาเซียน ซึ่งจะก่อให้เกิดการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งมีผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายประชากรอย่างเสรี จะส่งผลให้ปัญหาที่มีอยู่ทวีความซับซ้อนและรุนแรงมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะประเด็นปัญหาความขัดแย้งของคนต่างวัฒนธรรม
(ซ้าย) นายอนุสิษฐ คุณากร รองเลขาธิการ (ในขณะนั้น) นายถวิล เปลี่ยนศรี เลขาธิการสภาความมั่นคง แห่งชาติ (กลาง) นายพรชาต บุนนาค รองเลขาธิการ (ขวา) ประชุมการบริหารจัดการชายแดน ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค ในวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๗
๒.๘ ความมั่นคงระหว่างประเทศ สถานการณ์ ปัจจุบัน ซึ่งในภูมิภาคเอเชียได้เกิดประเทศมหาอ�ำนาจใหม่ ทั้ง จีน รัสเซีย อินเดีย และญี่ปุ่น ทีต่ า่ งพยายามขยายอิทธิพล แย่งชิงบทบาท และผลประโยชน์ ทัง้ ในมิตทิ างด้านความมัน่ คง เศรษฐกิจ สังคม และ อื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีนที่มีแนวโน้มจะเพิ่มบทบาทขึ้นอย่างมาก ส่วนสหรัฐฯ มีท่าทีชัดเจนว่ายังคง ต้องการรักษาบทบาทและอิทธิพลของตนในภูมิภาคต่อไป
66
58tp_�������_SI_CMYK.indd 66
8/26/2558 BE 2:29 PM
แนวโน้ม ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออกเป็นภูมิภาคที่ประเทศมหาอ�ำนาจก�ำลังให้ ความสนใจ และเข้ามามีบทบาทมากขึ้นทุกขณะ หากในอนาคตประเทศมหาอ�ำนาจต่างๆ เกิดความขัดแย้งกัน ก็ อาจส่งผลกระทบต่อความมัน่ คง และผลประโยชน์ของไทยซึง่ อยูใ่ นภูมภิ าคนีไ้ ด้ นอกจากนี้ ในระยะต่อไป ประเทศ มหาอ�ำนาจอาจมีการใช้พลังอ�ำนาจทางทหารและทางเศรษฐกิจ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ของตน โดยอาจเข้า มาแทรกแซงกิจการภายในของประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคมากขึน้ สภาพการณ์ดงั กล่าวจะส่งผลกระทบต่อเสรีภาพ ในการด�ำเนินนโยบายต่างประเทศของไทย รวมทั้งก่อให้เกิดความยากล�ำบากในการรักษาดุลยภาพทางความ สัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศมหาอ�ำนาจ
การเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ และเข้าเยี่ยมคารวะนายกรัฐมนตรีไทยของ ฯพณฯ AJIT DOVAL ที่ปรึกษาด้านความมั่นคงของนายกรัฐมนตรีอินเดีย
การเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ฯพณฯ AJIT DOVAL ที่ปรึกษาด้านความมั่นคง ของนายกรัฐมนตรีอินเดียและคณะ ถ่ายภาพร่วมกับคณะเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
67
58tp_�������_SI_CMYK.indd 67
8/26/2558 BE 2:29 PM
H.E. Mr. Harsh Vardhan Shringla เอกอัครราชทูตอินเดียประจ�ำประเทศไทย หารือข้อราชการกับนายอนุสิษฐ คุณากร เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ. เรื่องการเตรียมการประชุมคณะอนุกรรมการด้านการเมืองและความ มั่นคง ระหว่างไทย-อินเดีย ณ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ท�ำเนียบรัฐบาล
๒.๙ วิกฤตการณ์ความมัน่ คงและภัยพิบตั ิ สถานการณ์ วิกฤตการณ์ความมัน่ คงและภัยพิบตั เิ ป็นประเด็นความมัน่ คงทีน่ บั ว่าเป็นเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ใน ชัว่ ขณะเวลาหนึง่ แต่มคี วามรุนแรงและส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงของประเทศอย่างรอบด้าน และเกีย่ วข้องกับ ความปลอดภัยของประชาชนเป็นวงกว้าง ทัง้ ภัยพิบตั หิ รือภัยธรรมชาติและภัยทีม่ นุษย์สร้างขึน้ ซึง่ เชือ่ มโยงกัน โดย เฉพาะผลกระทบจากการท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ส่งผลให้เกิดอุทกภัยและวาตภัยขนาดใหญ่ หรือ ภัยแล้งทีม่ คี วามรุนแรงเพิม่ มากขึน้ อย่างต่อเนือ่ งในหลายพืน้ ที่ และไม่อาจคาดการณ์สภาพทีจ่ ะเกิดขึน้ และผลทีต่ าม มาได้งา่ ยเหมือนในอดีต ท�ำให้ระดับของภัยมีขนาดใหญ่และมีความรุนแรงเพิม่ ขึน้ ซึง่ ส่งผลให้ประชาชนทีป่ ระสบภัย พืน้ ทีต่ า่ งๆ มีความสูญเสียชีวติ และทรัพย์สนิ เพิม่ มากขึน้ ด้วย ซึง่ ทีผ่ า่ นมาพบว่าประเทศไทยยังมีความสามารถไม่เพียง พอในด้านความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และความเตรียมพร้อมของระบบการบริหารในภาวะวิกฤตการณ์ ท�ำให้เมือ่ เกิดวิกฤตการณ์ขนึ้ มักประสบปัญหากับความล่าช้าในการรับมือและบรรเทาภัยพิบตั ิ รวมทัง้ การฟืน้ ฟูสถานการณ์ แนวโน้ม วิกฤตการณ์ความมัน่ คงและภัยพิบตั ทิ เี่ กิดขึน้ จากการกระท�ำของมนุษย์และธรรมชาติมแี นวโน้มจะ ทวีความรุนแรงยิง่ มากขึน้ และเกิดขึน้ บ่อยครัง้ เนือ่ งจาก ๓ สาเหตุหลัก คือ ๑) ปัญหาความขัดแย้งของคนภายใน ประเทศ และความขัดแย้งระหว่างประเทศเพือ่ นบ้านทีน่ ำ� ไปสูก่ ารใช้ความรุนแรงมีแนวโน้มมากยิง่ ขึน้ และขยายวง กว้างจนส่งผลกระทบกับความมัน่ คงของประเทศ ๒) การขยายตัวของภัยคุกคามจากขบวนการการก่อการร้ายจาก ภายนอกประเทศ และขบวนการก่อความไม่สงบภายในประเทศ ๓) การใช้ทรัพยากรอย่างสิน้ เปลือง จนเกิดภาวะ เสือ่ มโทรมของสภาพแวดล้อม น�ำไปสูป่ ญ ั หาภาวะโลกร้อน ซึง่ ก่อให้เกิดภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติขนาดใหญ่ทมี่ คี วาม รุนแรงและท�ำให้เกิดความสูญเสียในชีวติ และทรัพย์สนิ เป็นอย่างมาก
68
58tp_�������_SI_CMYK.indd 68
8/26/2558 BE 2:29 PM
๒.๑๐ ภัยคุกคามความมั่นคงรูปแบบใหม่ สถานการณ์ สถานการณ์โลกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ อาทิการแย่งชิง ทรัพยากรและพลังงาน ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม โรคระบาดขนาดใหญ่ และภัยคุกคาม ความมั่นคงทาง ไซเบอร์ โดนเฉพาะปัญหาความมั่นคงที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และเครือข่ายมีแนวโน้มจะเป็นประเด็นที่ มีความเสี่ยง ทั้งการโจมตีและการจารกรรมทางไซเบอร์ เนื่องจากการก�ำหนดมาตรการป้องกันท�ำได้ยาก และ ไม่ทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ ประเทศก�ำลังพัฒนาจะตกเป็นเป้าหมายการโจมตีมากขึ้นเพราะมี ความล้าหลังทางเทคโนโลยีและขาดความรูใ้ นการก�ำหนดมาตรการป้องกันทีต่ อ้ งใช้ผทู้ มี่ คี วามช�ำนาญเฉพาะทาง แนวโน้ม ปัญหาความมัน่ คงรูปแบบใหม่ทไี่ ด้รบั การประเมินว่าจะขยายไปสูก่ ารเป็นภัยคุกคามความมัน่ คง ของชาติในอนาคต อาทิ ความมัน่ คงทางอาหาร พลังงาน และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ทอี่ าจก่ออันตรายต่อ ระบบความมั่นคงของประเทศ ดังที่เกิดขึ้นมาแล้วในหลายประเทศ ตลอดจนแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่ก�ำลัง ทรุดโทรมและเสือ่ มถอยน้อยลง อันเป็นผลจากค่านิยมการบริโภคทางวัตถุ ตลอดจนอิทธิพลของกลุม่ ทุนข้ามชาติ ที่เข้ามาแสวงประโยชน์ที่ท�ำให้ประเทศไทยและคนไทยสูญเสียโอกาสทางเศรษฐกิจหากไม่มีการศึกษาอย่างรอบ ด้านเพื่อก�ำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือแผนการระดับชาติ เพื่อจัดการกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ย่อมเป็นอันตราย ต่อความมั่นคงของประเทศ โดยสรุป จากสถานการณ์ด้านความมั่นคงทั้งหมดที่กล่าวข้างต้น เห็นได้ว่ามิติของความมั่นคงที่มีอิทธิพล ต่อประเทศไทยในห้วงระยะเวลาอันใกล้ มีนัยยะของความหลากหลาย และมีขอบข่ายกว้างขวางจึงจ�ำเป็นอย่าง ยิ่งที่จะต้องก�ำหนดเป็นนโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติที่สอดรับกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่าง แท้จริง และสามารถเป็นกรอบทิศทางที่ทำ� ให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งความมั่นคง ปลอดภัย และสามารถอยู่ร่วม กันได้อย่างสงบสุข รวมทั้งเป็นภูมิคุ้มกันในการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ๆ ในอนาคตได้อย่างยั่งยืน
๓. การท�ำงาน และผลผลิตตามภารกิจด้านความมั่นคง
ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ มีพันธกิจที่ส�ำคัญในการก�ำหนดกรอบทิศทาง พัฒนา และเสนอแนะ นโยบายและยุทธศาสตร์ความมัน่ คงของประเทศในภาพรวม เพือ่ ให้ทกุ หน่วยงานได้มกี รอบแนวคิดทีต่ รงกัน ซงึ่ จะท�ำให้การด�ำเนินงาน และบริหารจัดการปัญหาด้านความมั่นคงของชาติมีประสิทธิภาพ และทันท่วงที ในการนี้ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้ค�ำนึงถึงความส�ำคัญของกระบวนการจัดท�ำนโยบายและ ยุทธศาสตร์ความมัน่ คงในทุกรายละเอียดและทุกขัน้ ตอน จึงน�ำมาซึง่ ผลลัพธ์ทกี่ อ่ ให้เกิดประโยชน์แก่ประเทศ อัน ได้แก่ นโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคงที่สามารถน�ำไปปรับใช้ได้ในทุกบริบทความมั่นคง ไม่ว่าจะเป็นความ มัน่ คงในความหมายกว้างหรือในความหมายเฉพาะ โดยมีรายละเอียดของกระบวนการจัดท�ำนโยบายความมัน่ คง แห่งชาติและยุทธศาสตร์ความมั่นคงเฉพาะด้าน และผลการด�ำเนินการตามภารกิจที่ส�ำคัญ ดังนี้ ๓.๑ กระบวนการพิจารณาก�ำหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน ๑. ประเมินสถานการณ์ และปัญหาโดยอาศัยข้อมูลจากประชาคมข่าวกรอง การศึกษา วิเคราะห์และ
69
58tp_�������_SI_CMYK.indd 69
8/26/2558 BE 2:29 PM
ประเมินสถานการณ์ ด้านการเมือง การทหาร การเศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนแนวโน้มของสถานการณ์ในระยะ ๕ ปีข้างหน้า จากประเมินสถานการณ์ที่ได้ จากองค์กรข่าวกรอง ทัง้ ฝ่ายพลเรือนและทหาร รวมทัง้ การประเมินสถานการณ์ของคณะทีป่ รึกษาการข่าวจัดท�ำ เอกสารประกอบการพิจารณาเสนอแนะคณะกรรมการนโยบายของสภาความมั่นคงแห่งชาติ ซึ่งมีภารกิจในการ พิจารณานโยบายโดยตรง ๒. เปิดเวทีจัดประชุมสัมมนาในพื้นที่ภูมิภาคต่างๆ เพื่อรับฟังความเห็นจากหน่วยงานภาครัฐองค์กร พัฒนาเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม ๓. รวบรวมข้อมูล และความเห็นน�ำไปสู่การยกร่างนโยบายความมั่นคงแห่งชาติฉบับใหม่ หลังจากที่ ประชุมได้มีการพิจารณาโดยกว้างขวางแล้ว จนได้ข้อมูลจากการเสนอแนะด้านต่างๆ จะประมวลข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะทีไ่ ด้ เข้าสูก่ ารพิจารณาของสภาความมัน่ คงแห่งชาติ เพือ่ ให้ได้ความเห็นชอบแล้วเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาต่อไป ๔. เสนอต่อสภาความมัน่ คงแห่งชาติและ/หรือคณะรัฐมนตรี เมือ่ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้วจะก�ำหนด เป็นนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ โดยเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจะแจ้งมตินั้นมายังเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่ง ชาติ พร้อมกับแจ้งไปยังส่วนราชการที่เลขาธิการคณะรัฐมนตรีพิจารณาเห็นว่าควรแจ้งให้ทราบ ๓.๒ การเสนอแนะนโยบายความมั่นคงแห่งชาติเฉพาะเรื่อง การจัดท�ำนโยบายที่ก�ำหนดเป็นการเฉพาะส�ำหรับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ ด�ำเนินภารกิจด้านความมั่นคงที่ครอบคลุมในด้านต่างๆ นั้น มีกระบวนการในการด�ำเนินงานคล้ายคลึงกับการ ก�ำหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติทั่วไป ๓.๓ กระบวนการน�ำนโยบายไปปฏิบัติ นอกจากการเสนอแนะนโยบายความมั่นคงแห่งชาติแก่คณะรัฐมนตรีแล้ว สภาความมั่นคงแห่งชาติยัง ด�ำเนินงานในฐานะเป็นผูป้ ระสานการปฏิบตั ิ และติดตามประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ ให้ได้ผลมากที่สุด การด�ำเนินงานในด้านนี้นับว่ามีความส�ำคัญมาก เพราะแม้ว่าจะได้ก�ำหนดนโยบายไว้ดีเพียงใด หากไม่มีการน�ำสู่การปฏิบัติหรือไม่ตรงตามจุดมุ่งหมาย นโยบายที่ก�ำหนดขึ้นก็จะไม่บรรลุผล ซึ่งมีขั้นตอนการน�ำ นโยบายไปสู่การปฏิบัติ ดังนี้ ๑. การมอบหมายให้ส่วนราชการต่างๆ รับนโยบายไปปฏิบัติ เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาก�ำหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติแล้ว ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่ง ชาติจะน�ำนโยบายที่ก�ำหนดขึ้น เข้าพิจารณาในคณะกรรมการประสานงานของสภาความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อ ท�ำความเข้าใจกับหน่วยปฏิบัติไปให้กระทรวง ทบวง กรม ที่รับผิดชอบโดยตรงเป็นส่วนราชการเจ้าของเรื่อง และ ส่วนราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจะก�ำหนดให้เป็นส่วนราชการร่วมกันรับผิดชอบ ๒. การติดตามผลการปฎิบัติ เมื่อมอบหมายให้กระทรวง ทบวง กรม รับนโยบายไปด�ำเนินการแล้ว งานขั้นต่อไปของส�ำนักงาน
70
58tp_�������_SI_CMYK.indd 70
8/26/2558 BE 2:29 PM
สภาความมั่นคงแห่งชาติ คือ การติดตามผลการปฏิบัตินโยบายของส่วนราชการต่างๆ การติดตามผลการปฏิบัติ มีลักษณะส�ำคัญ ๒ ประการ คือ ๑) การติดตามผลการด�ำเนินงานเพื่อผลทางอ้อม คือ เพื่อช่วยเหลือสนับสนุน หรือแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติ และ ๒) การติดตามเพื่อผลทางตรง คือ ติดตามดูว่าหน่วยงานต่างๆ ที่ได้ รับมอบหมายให้ปฏิบัติตามนโยบายนั้น ได้มีการปฏิบัติที่ตรงตามหลักการและเป้าหมายของนโยบายที่ก�ำหนดไว้ หรือไม่ ๓.๔ การประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย หลังจากการแบ่งมอบนโยบายให้สว่ นราชการต่างๆ รับผิดชอบแล้ว เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยประสานงานของ สภา ความมั่นคงแห่งชาติจะจัดท�ำการประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายเป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม โดยมีจุดมุ่ง หมายที่จะเปรียบเทียบ และตรวจสอบผลการปฏิบัติตามนโยบายที่ส่วนราชการต่างๆ น�ำไปปฏิบัติว่าได้ผลตาม วัตถุประสงค์ของนโยบายมากน้อยเพียงใด ตลอดจนเพือ่ ทราบปัญหาอุปสรรคข้อขัดข้องในการปฏิบตั ติ ามนโยบาย และรายงานการประเมินผลการปฏิบตั นิ ใี้ ห้คณะกรรมการประสานงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ และคณะรัฐมนตรี ได้ทราบ ประกอบกับข้อพิจารณาเสนอแนะเพื่อการวินิจฉัยสั่งการด้วย และหากสถานการณ์เปลี่ยนแปลง เจ้าหน้าที่อาจเสนอแนะให้มีการพิจารณาทบทวน หรือปรับปรุงนโยบายนั้น ให้เหมาะสมหรือทันสมัย สามารถ ปฏิบัติให้สอดคล้องกับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ๓.๕ ผลการด�ำเนินการตามภารกิจด้านความมั่นคงที่ส�ำคัญ ๑. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติเป็นนโยบายระดับชาติ ทีก่ ำ� หนดกรอบทิศทางหลักด้านความมัน่ คงและ ใช้เป็นกรอบแนวทางการด�ำเนินงานของส่วนราชการในการรักษาผลประโยชน์และความมัน่ คงของชาติให้มี ความ สอดคล้องกัน และท�ำให้การบริหารราชการแผ่นดินในภาพรวม สามารถบูรณาการและด�ำเนินงานร่วมกันได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โดยนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ มีสาระส�ำคัญ ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ - ส่วนที่หนึ่ง นโยบายส�ำคัญเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงที่เป็นแก่นหลักของชาติ ซึ่งนโยบาย ส่วนนี้ ประกอบด้วย ๓ ประเด็นนโยบาย ได้แก่ ๑) การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลัก ๒) การสร้างความเป็น ธรรมและสมานฉันท์ และ ๓) การแก้ไขและป้องกันปัญหาการก่อความไม่สงบ และการใช้ความรุนแรงในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ - ส่วนที่สอง นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทั่วไป ประกอบด้วย (๑) เสริมสร้างเสถียรภาพและ ภูมิคุ้มกันความมั่นคงและการจัดการภัยคุกคาม อาทิ การป้องกันการแก้ปัญหาการก่อการร้าย และอาชญากรรม ข้ามชาติ ผู้หลบหนีเข้าเมือง ความมั่นคงบริเวณชายแดน และผลประโยชน์ทางทะเล (๒) เสริมสร้างศักยภาพการ ป้องกันประเทศ เช่น การสนับสนุนภารกิจนอกเหนือสงคราม (๓) พัฒนาความพร้อมเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง อาทิ ระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ ฐานความมัน่ คงของทรัพยากรธรรมชาติ ความมัน่ คงด้านอาหารและพลังงาน และ (๔) เสริมสร้างเกียรติภูมิ และรักษาผลประโยชน์ของชาติในระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อาทิ การเสริมสร้างสภาวะแวดล้อมที่สันติ การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
71
58tp_�������_SI_CMYK.indd 71
8/26/2558 BE 2:29 PM
๒. นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗ นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ มาจากกรอบแนวคิด การมองความซับซ้อนและเงื่อนไขของปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่เชื่อมโยงใน ๓ ระดับ ได้แก่ ๑) ระดับบุคคล คือ การใช้ความรุนแรงบนพืน้ ฐานความคิดความเชือ่ ส่วนบุคคลทีอ่ าจเกิดจากปัจจัยแวดล้อม ที่แตกต่างกัน ๒) ระดับโครงสร้าง คือ การบริหารจัดการภายในพื้นที่ซึ่งอาจ ไม่ครอบคลุมหรือไม่สอดคล้องต่อ ความต้องการของท้องถิ่น และ ๓) ระดับวัฒนธรรม คือ เกิดจากความรู้สึกไม่ได้รับการยอมรับและเคารพในวิถี ชีวิตและอัตลักษณ์ของคนมุสลิม โดยสาระส�ำคัญของนโยบายเป็นการมุง่ เน้นการแก้ปญ ั หาจากเงือ่ นไขดังกล่าว โดยยึดแนวทางบนพืน้ ฐานการมีสว่ นร่วมอย่างจริงจังของทุกภาคส่วนภายใต้หลัก “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” เป็นหลักส�ำคัญในมิตขิ อง การเข้าใจ คือ การสร้างความเข้าใจรากฐานของความขัดแย้งและการใช้ความรุนแรง อาทิ การสร้างความเข้าใจ และการฟืน้ คืนความไว้วางใจของประชาชนต่อรัฐ และเสริมสร้างการตระหนักรูใ้ นคุณค่าของการอยูร่ ว่ มกันอย่าง สันติภายใต้ความหลากหลาย ในมิติของการเข้าถึง คือ การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและ เน้นแนวทางด้านสันติวธิ เี ป็นหลัก โดยการส่งเสริมและเปิดพืน้ ทีใ่ ห้มกี ารพูดคุยอย่างต่อเนือ่ งจากผูท้ มี่ สี ว่ นได้สว่ น เสียในพืน้ ที่ และอาศัยความร่วมมือจากภายนอกหรือองค์กรทีไ่ ม่ใช่รฐั เพือ่ ให้เกิดกระบวนการเสริมสร้างสันติภาพ ในการแสวงหาทางออกร่วมกันจากปัญหาความขัดแย้งและการใช้ความรุนแรง และในมิตขิ องการพัฒนา โดยการ สนับสนุนส่งเสริมให้มีการพัฒนาภายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ทั้งการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาศักยภาพ ของประชาชน และการบริหารจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน ๓. ยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ (มติคณะรัฐมนตรี ๒๔ เมษายน ๒๕๕๕) ยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ มุ่งเน้นแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองที่ตกค้างอยู่ใน ประเทศไทยเป็นเป้าหมายส�ำคัญ โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติภายใต้ความสมดุล ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ ความ มั่นคง และหลักสิทธิมนุษยชน ตลอดจนบูรณาการทุกภาคส่วนในการร่วมกันแก้ไขปัญหากระจายอ�ำนาจการ บริหารจัดการลงสู่ระดับพื้นที่อย่างเหมาะสม ด�ำเนินการทั้งมาตรการเชิงรุกและเชิงรับป้องกันการอพยพเข้ามา ใหม่อย่างเป็นระบบ รวมทัง้ จัดระบบฐานข้อมูลเพือ่ สนับสนุนการแก้ปญ ั หาโดยยุทธศาสตร์แก้ปญ ั หาผูห้ ลบหนีเข้า เมืองทั้งระบบมีเป้าหมายครอบคลุม ๒ กลุ่มหลัก คือ กลุ่มที่อยู่ในประเทศไทย แบ่งออกเป็นกลุ่มที่อาศัยอยู่มา นานและมีปัญหาในการส่งกลับ กลุ่มที่มีความจ�ำเป็นต่อเศรษฐกิจ รวมทั้งผู้หลบหนีเข้าเมืองอื่นๆ และ กลุ่มที่จะ ลักลอบเข้ามาใหม่ สาระส�ำคัญของยุทธศาสตร์ในภาพรวมประกอบด้วย ๔ ยุทธศาสตร์หลัก ได้แก่ ๑) ยุทธศาสตร์ การจัดการปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองที่อยู่ในประเทศไทย ๒) ยุทธศาสตร์การป้องกันการลักลอบหลบหนีเข้ามา ใหม่ ๓) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้านเพือ่ ป้องกันและแก้ปญ ั หาผูห้ ลบหนีเข้าเมือง ๔) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ซึง่ แบ่งออกเป็น ระยะเร่งด่วน โดยมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการทีเ่ กีย่ วข้องรองรับ และระยะต่อไป โดยให้ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติพจิ ารณาแก้ไข และ/หรือปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ ทุก ๒ ปี
72
58tp_�������_SI_CMYK.indd 72
8/26/2558 BE 2:29 PM
๔. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ มุ่งหมายให้คน ชุมชน และพืน้ ทีม่ ภี มู คิ มุ้ กัน และมีความพร้อมในการป้องกันและเผชิญปัญหา และภัยคุกคามความมัน่ คงอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ปญ ั หาความมัน่ คงในแต่ละพืน้ ที่ และมุง่ เน้นการพัฒนาเพือ่ เสริมความมัน่ คงเชิงรุก โดย ครอบคลุมพื้นที่ทุกจังหวัด ทั้งพื้นที่จังหวัดชายแดน จังหวัดชายฝั่งทะเล และพื้นที่จังหวัดชั้นใน โดยอาศัย กระบวนการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม การป้องกันประเทศ ซึ่งเป้าหมายในภาพรวมของยุทธศาสตร์ ได้แก่ การเสริมสร้างศักยภาพและภูมิคุ้มกันของคน ชุมชน และพื้นที่เป้าหมายอย่างยั่งยืน การจัดระบบป้องกันเพื่อจัด ระเบียบชายแดน การเสริมสร้างความมั่นคงในมิติวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาฐานข้อมูลและองค์ ความรู้ด้านความมั่นคง และการเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศเพื่อนบ้าน
๕. ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑ ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมแห่งชาติ เป็นกรอบแนวทางให้หน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้มี การเตรียมความพร้อมเพือ่ เผชิญกับสาธารณภัย ภัยด้านความมัน่ คง และสถานการณ์ฉกุ เฉินทีไ่ ม่สามารถคาดเดา ได้ โดยมุ่งเน้นแนวทางการรับมือ และการบริหารจัดการวิกฤตการณ์และภัยคุกคามต่าง ๆ ทั้งที่เกิดจาก
73
58tp_�������_SI_CMYK.indd 73
8/26/2558 BE 2:29 PM
ภัยธรรมชาติและภัยทีม่ นุษย์สร้างขึน้ โดยมุง่ เน้นให้ทกุ ภาคส่วนสามารถด�ำเนินงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในช่วงก่อนและระหว่างเกิดภาวะวิกฤติ โดยมีแนวทางการป้องกัน แก้ไข และบรรเทาสถานการณ์ ตลอดจน หลังภาวะวิกฤติ โดยมีแนวทางในการฟืน้ ฟูความเสียหายของชาติจากภัยต่าง ๆ ทัง้ นี้ ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อม แห่งชาติมีความมุ่งหมายในภาพรวม คือ การพัฒนาศักยภาพการเตรียมพร้อมของชาติในการเผชิญกับภาวะ ไม่ปกติ เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและศักยภาพของคน ชุมชน และสังคมในการเตรียมพร้อมของชาติ เสริมสร้างความ ร่วมมือการเตรียมพร้อมด้านความมัน่ คงและสาธารณภัยกับต่างประเทศ ให้มกี ารผนึกก�ำลังและบูรณาการแผนการ เตรียมพร้อมในทุกระดับที่ประสานสอดคล้องอย่างเป็นระบบ ให้การบริหารจัดการมีเอกภาพ ประสิทธิภาพ และทันท่วงที ๖. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ความมัน่ คงของชาติทางทะเล ได้กำ� หนดขึน้ เพือ่ เป็นแนวทางการใช้และการพัฒนาเครือ่ งมือ ตลอดจนก�ำลังอ�ำนาจแห่งชาติ เพื่อน�ำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ของชาติทางทะเลที่ได้ก�ำหนดไว้ ภายใต้สภาวะ แวดล้อมทีเ่ ต็มไปด้วยปัญหาและภัยคุกคามทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั และอนาคต เพือ่ เตรียมความพร้อมทัง้ ในเชิงรุก เชิง ป้องกัน และป้องปรามอย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ บนพืน้ ฐานความร่วมมือของทุกภาคส่วนทัง้ ภายในประเทศ และระหว่างประเทศ ตลอดจนเป็นการด�ำเนินยุทธศาสตร์บนพื้นฐานของการใช้ก�ำลังอ�ำนาจของชาติอย่างสมดุล โดยค�ำนึงถึงความสอดคล้องของหลักการ และพันธกรณีตา่ ง ๆ ประเด็นสาระส�ำคัญของยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย ๑) การพัฒนาศักยภาพความมั่นคงของชาติทางทะเล ๒) การคุ้มครองการใช้ประโยชน์จากทะเล ๓) การสร้าง ความสงบเรียบร้อย และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทะเล ๔) การสร้างความสมดุลและยัง่ ยืนของทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม ๕) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์ความรู้ และความตระหนักรู้ความส�ำคัญของทะเล และ ๖) การบริหารจัดการผลประโยชน์ของชาติทางทะเลขององค์กรของรัฐ ๗. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของไทยต่อมหาอ�ำนาจ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของไทยต่อมหาอ�ำนาจ ก�ำหนดขึ้นเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ใช้เป็นกรอบ ในการก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความมั่นคงต่อประเทศ/กลุ่มประเทศ มหาอ�ำนาจ โดยจุดเน้นของยุทธศาสตร์ คือ การวิเคราะห์ถึงแนวโน้ม และโอกาสของไทยต่อมหาอ�ำนาจในภาพ รวม โดยการให้ความส�ำคัญกับบทบาทของมหาอ�ำนาจต่อภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมุง่ เน้นความสัมพันธ์ ที่ดี รวมถึงการสร้างการยอมรับและการสนับสนุนที่ดีจากมหาอ�ำนาจเพื่อเสริมสร้างและรักษาผลประโยชน์ของ ชาติ ซึ่งกลยุทธ์และแนวทางเชิงยุทธศาสตร์การด�ำเนินความสัมพันธ์และความร่วมมือ ได้แก่ ๑) การเสริมสร้าง ความร่วมมือและความสัมพันธ์ ๒) การส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างดุลยภาพ ๓) การเสริมสร้างความเข้มแข็ง และพัฒนาอ�ำนาจต่อรองของไทย และ ๔) การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างไทยกับมหาอ�ำนาจ ๘. ยุทธศาสตร์ต่อประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ยุทธศาสตร์ตอ่ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน เป็นแนวทางส�ำหรับการเตรียมความพร้อม ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของอาเซียนได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถเตรียมตัว
74
58tp_�������_SI_CMYK.indd 74
8/26/2558 BE 2:29 PM
และมีความพร้อมในการผลักดันผลประโยชน์ดา้ นความมัน่ คงของไทยในอาเซียนได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึน้ โดย ภาพรวมของการด�ำเนินยุทธศาสตร์ มุง่ เน้นการสร้างเอกภาพของอาเซียนและสร้างดุลยภาพทางอ�ำนาจกับประเทศ มหาอ�ำนาจ การสร้างความพร้อมภายในประเทศ และการสร้างความร่วมมือทีด่ ขี องสมาชิกอาเซียนเพือ่ รับมือกับ การติดต่อเชือ่ มโยงในอนาคต รวมทัง้ การสร้าง ความตระหนักรู้ และทัศนคติทเี่ หมาะสมของประชาชนต่ออาเซียน ๙. ยุ ท ธศาสตร์ ค วามมั่ น คงแห่ ง ชาติ ใ นการป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หาอาชญากรรมข้ า มชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘ ยุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติฯ เป็นกรอบการ ด�ำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ เพื่อให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทาง การด�ำเนินงาน และท�ำให้การประสานความร่วมมือของส่วนราชการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทัง้ เพือ่ เป็นการ พัฒนาประสิทธิภาพของการด�ำเนินงานด้านการข่าว ด้านกฎหมาย ด้านการจัดเก็บข้อมูล และด้านบุคลากร ตลอด จนการให้ความรูแ้ ก่ประชาชน เพือ่ มิให้ตกเป็นเป้าหมายการด�ำเนินการขององค์กรอาชญากรรม โดยแนวทางของ ยุทธศาสตร์ในภาพรวม ได้แก่ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลไกภาครัฐในการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ และการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งและความร่วมมือในการแก้ไข ปัญหาของภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม รวมทั้งการเสริมสร้างกลไกในการบริหารจัดการเพื่อให้การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ๑๐. ยุทธศาสตร์ข่าวกรองแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ข่าวกรองแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ เป็นกรอบในการด�ำเนินการของประชาคมข่าว กรองและหน่วยราชการอื่น ๆ ที่มิใช่หน่วยข่าว เพื่อให้เกิดเอกภาพในการปฏิบัติให้สอดคล้องเป็นไปในลักษณะ บูรณาการ มีทศิ ทางและเป้าหมายเดียวกัน ทัง้ นี้ โดยค�ำนึงถึงความมัน่ คงและผลประโยชน์แห่งชาติเป็นเป้าหมาย สูงสุด ซึง่ ได้จดั ล�ำดับความส�ำคัญเพือ่ ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์อย่างมีทศิ ทางทีช่ ดั เจน โดยมุง่ ด�ำเนินการต่อเป้าหมาย ภัยคุกคามที่เป็นแก่นหลักของประเทศ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคง และสภาวะแวดล้อมที่สันติสุข ลดความเสี่ยง จากเป้าหมายภัยคุกคามทุกรูปแบบ เสริมสร้างผลประโยชน์ และโอกาสของประเทศ สร้างภูมคิ มุ้ กันของสังคมทุก ระดับ และพัฒนาศักยภาพงานข่าวกรอง ทัง้ นี้ ได้ให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ให้มปี ระสิทธิภาพ ซึ่งจะท�ำให้การพัฒนางานด้านข่าวกรองขยายไปสู่ทุกภาคส่วนของสังคมให้มีความพร้อมปรับตัวเพื่อรองรับการ จัดการภัยคุกคามความมัน่ คงและสถานการณ์ทเี่ ป็นโอกาสในการเสริมสร้างความมัน่ คงทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว และสลับซับซ้อน
๔. องค์กรและกลไกการน�ำนโยบายและยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
๔.๑ ส�ำนักนโยบายและแผนความมั่นคง รับผิดชอบการจัดท�ำนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ มาตรการ และแนวทางการปฏิบัติด้านความมั่นคงของชาติ และการจัดท�ำแผนความมั่นคงเพื่อเชื่อมโยงกับนโยบายความ มัน่ คงแห่งชาติไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ตลอดจนการเสนอแนะแผนการบริหารราชการแผ่นดินในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับนโยบาย
75
58tp_�������_SI_CMYK.indd 75
8/26/2558 BE 2:29 PM
ความมัน่ คงแห่งชาติ โดยมีกลไกในการด�ำเนินการ คือ ๑) คณะกรรมการนโยบายของสภาความมัน่ คงแห่งชาติ (กนม.) ๒) คณะกรรมการประสานงานของสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ๓) คณะกรรมการขับเคลือ่ นและบูรณาการการด�ำเนิน การของสภาความมัน่ คงแห่งชาติ (กขม.) และ ๔) คณะกรรมการร้อยกรองงานของสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ๔.๒ ส�ำนักประเมินภัยคุกคาม รับผิดชอบการประเมิน และวิเคราะห์สถานการณ์ที่อาจกระทบต่อ ความมัน่ คงของชาติ พร้อมทัง้ แจ้งเตือนภัยล่วงหน้า ตลอดจนจัดท�ำ เสนอแนะ อ�ำนวยการ ประสานงานและพัฒนา นโยบายข่าวกรองแห่งชาติ โดยมีกลไกในการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) คณะกรรมการอ�ำนวยการข่าวกรองแห่งชาติ (อขช.) ๒) คณะอนุกรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพงานข่าวกรอง (อปปข.) ๓) คณะอนุกรรมการประสานนโยบายและอ�ำนวย การข่าวกรองความมัน่ คง (อปนข.) ๔) คณะอนุกรรมการพิจารณาสถานการณ์ทมี่ ผี ลกระทบต่อความมัน่ คงแห่งชาติ (อสกช.) ส�ำนักประเมินภัยคุกคาม นอกจากจะรับผิดชอบงานด้านการข่าวกรองแล้ว ยังรับผิดชอบการให้ขอ้ เสนอแนะ และประสานการปฏิบตั ติ ามนโยบายการรักษาความปลอดภัยของชาติ โดยมีกลไกในการด�ำเนินการ ได้แก่ ๑) คณะ กรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ (กรช.) และ ๒) คณะอนุกรรมการประสานการปฏิบตั ติ ามนโยบาย การรักษาความปลอดภัยของชาติ (อป.กรช.) ๔.๓ ส�ำนักยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมและการป้องกันประเทศ มีหน้าที่รับผิดชอบการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ซึ่งด�ำเนินการภายใต้ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัฒนาเพือ่ เสริมสร้างความมัน่ คงของชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมีกลไกการด�ำเนินการ ประกอบด้วย ๑) ระดับ นโยบาย คือ คณะกรรมการนโยบายและอ�ำนวยการพัฒนาเพือ่ เสริมสร้างความมัน่ คงของชาติ (นพช.) โดยมีนายก รัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีทไี่ ด้รบั มอบหมายเป็นประธาน ๒) ระดับภาค ได้แก่ (๑) คณะกรรมการพัฒนาเพือ่ ความมัน่ คงในระดับพืน้ ทีใ่ นเขตกองทัพภาคที่ ๑ – ๔ (พมพ.ทภ. ๑ – ๔) โดยมีแม่ทพั ภาคที่ ๔ เป็นประธาน และ (๒) คณะกรรมการพัฒนาเพือ่ ความมัน่ คงในระดับพืน้ ทีใ่ นเขตทัพภาคเรือ ที่ ๑ – ๓ (พมพ.ทรภ. ๑ – ๓) โดยมี ผูบ้ ญ ั ชาการทัพเรือภาคที่ ๑ – ๓ เป็นประธาน และ ๓) ระดับจังหวัด ได้แก่ คณะกรรมการบริหารงานแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) โดยมีผวู้ า่ ราชการจังหวัดเป็นประธาน ส�ำนักยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมฯ ยังได้รบั มอบหมายให้กำ� กับดูแลการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ การเตรียม พร้อมแห่งชาติ โดยมีกลไกส�ำคัญ คือ คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ ซึง่ มีอำ� นาจหน้าทีใ่ นการประเมิน วิเคราะห์ สถานการณ์ทมี่ คี วามเสีย่ งสูง และน�ำไปสูภ่ าวะวิกฤติการณ์ระดับชาติ รวมทัง้ เสนอแนะจัดท�ำนโยบาย และพัฒนา ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมแห่งชาติ ตลอดจนอ�ำนวยการและประสานการปฏิบตั งิ านกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง พัฒนาระบบกลไก และการบริหารจัดการภาครัฐในภาวะวิกฤติ เพือ่ ให้ครอบคลุมการเตรียมพร้อมด้านทรัพยากร ด้านการป้องกัน การแก้ไข การฟื้นฟู และการประสานเชื่อมโยงระบบบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีเลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติเป็นประธาน ๔.๔ ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงกิจการชายแดนและประเทศรอบบ้าน รับผิดชอบการวิเคราะห์ และ ประเมินสถานการณ์ทกี่ ระทบต่อความมัน่ คงชายแดน ความมัน่ คงทางทะเล รวมถึงความมัน่ คงต่อประเทศรอบบ้าน
76
58tp_�������_SI_CMYK.indd 76
8/26/2558 BE 2:29 PM
และอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง นอกจากนัน้ ยังมีหน้าทีใ่ นการเสนอแนะ และจัดท�ำยุทธศาสตร์ความมัน่ คงทีเ่ กีย่ วข้อง กับชายแดน ความมัน่ คงทางทะเลและประเทศรอบบ้าน ตลอดจนประสานงาน อ�ำนวยการการปฏิบตั ติ ามยุทธศาสตร์ พร้อมทัง้ ติดตาม ประเมินผลและรายงานการปฏิบตั ติ ามวงรอบ ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงกิจการชายแดนและประเทศรอบบ้านได้แบ่งกลไกในการด�ำเนินงานออกเป็น ๓ ด้าน ประกอบด้วย ๑) ภารกิจด้านความมัน่ คงชายแดน คือ คณะอนุกรรมการพิจารณาการเปิดจุดผ่านแดน และ คณะอนุกรรมการพิจารณาปัญหาเขตแดนของประเทศไทย ๒) ภารกิจด้านความมัน่ คงกับประเทศรอบบ้านและ อนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง ได้แก่ คณะอนุกรรมการพิจารณาสถานการณ์ประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ ผี ลกระทบต่อไทย และ คณะอนุกรรมการพิจารณาร่างยุทธศาสตร์ความมัน่ คงของไทยต่อประเทศรอบบ้าน และ ๓) ภารกิจด้านความมัน่ คง ทางทะเล คือ คณะกรรมการนโยบายและอ�ำนวยการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (นอปท.) โดยมีคณะ อนุกรรมการภายใต้การก�ำกับดูและของคณะกรรมการดังกล่าว ได้แก่ คณะอนุกรรมการจัดการความรู้เพื่อผล ประโยชน์แห่งชาติทางทะเล (อจชล.) คณะอนุกรรมการด้านกฎหมายและองค์กรในการรักษาผลประโยชน์และความ มัน่ คงทางทะเล คณะอนุกรรมการด้านการให้ความรูเ้ กีย่ วกับผลประโยชน์และความมัน่ คงของชาติทางทะเล คณะ อนุกรรมการพิจารณาสถานการณ์ทมี่ ผี ลกระทบต่อความมัน่ คงของชาติทางทะเล และคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ ศึกษาการจัดตัง้ สถาบันวิชาการทางทะเล ๔.๕ ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงเกีย่ วกับภัยคุกคามข้ามชาติ รับผิดชอบการวิเคราะห์ และประเมิน สถานการณ์ภยั คุกคามข้ามชาติ การก่อการร้ายสากลและอาชญากรรมข้ามชาติ รวมทัง้ จัดท�ำนโยบายและพัฒนา ยุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติเกีย่ วกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ การก่อการร้ายสากล และ อาชญากรรมข้ามชาติ ตลอดจนอ�ำนวยการ และประสานการปฏิบตั ิ รวมทัง้ ติดตาม ประเมินผลและรายงานการ ปฏิบตั ติ ามนโยบายและยุทธศาสตร์ฯ ตามวงรอบ โดยมีกลไกการด�ำเนินการ คือ ๑) คณะกรรมการนโยบายและ อ�ำนวยการแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล ๒) คณะกรรมการอ�ำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรม ข้ามชาติ ซึง่ มีคณะอนุกรรมการภายใต้การก�ำกับดูแลคณะกรรมการอ�ำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรม ข้ามชาติ คือ คณะอนุกรรมการการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงเกีย่ วกับภัยคุกคามข้ามชาติ ยังมีหน้าทีใ่ นการสร้างความร่วมมือด้านความมัน่ คง กับนานาอารยประเทศ โดยมีกลไกความร่วมมือในการป้องกันการก่อการร้ายสากลและอาชญากรรมข้ามชาติ ดังนี้ ๑) คณะกรรมการความร่วมมือด้านความมัน่ คงระหว่างไทยและอินเดีย และ ๒) คณะกรรมการความร่วมมือด้าน ความมัน่ คงระหว่างไทยกับเวียดนาม ๔.๖ ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงจังหวัดชายแดนภาคใต้และชนต่างวัฒนธรรม รับผิดชอบการแก้ไข ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามนโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึง่ เป็นนโยบายระดับชาติ และแผนปฏิบตั กิ ารแกไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ควบคูไ่ ปกับแผนขับเคลือ่ นขบวนการพูดคุยเพือ่ สันติสขุ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีกลไกในการด�ำเนินการ คือ ๑) คณะกรรมการขับเคลือ่ นการแก้ไขปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (คปต.) และมีสำ� นักเลขานุการคณะกรรมการขับเคลือ่ นการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
77
58tp_�������_SI_CMYK.indd 77
8/26/2558 BE 2:29 PM
(สล.คปต) สนับสนุนการปฏิบตั งิ าน และ ๒) คณะกรรมการอ�ำนวยการพูดคุยเพือ่ สันติสขุ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย มีสำ� นักเลขานุการคณะกรรมการอ�ำนวยการพูดคุยเพือ่ สันติสขุ จังหวัดชายแดนภาคใต้อำ� นวยความสะดวกในการ ปฏิบตั งิ าน ๔.๗ ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงภายในประเทศ รับผิดชอบการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ภายใน ประเทศทีก่ ระทบต่อความมัน่ คงและสถาบันหลักของชาติ ปัญหาความมัน่ คงทางด้านสังคมจิตวิทยา ปัญหาการโยก ย้ายถิน่ ฐานของประชากร และการคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมัน่ คงภายในประเทศ ยังมีหน้าทีใ่ นการจัดท�ำ เสนอแนะ พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งชาติทเี่ กีย่ วข้องความมัน่ คงภายใน ประเทศ ตลอดจนประสานงาน อ�ำนวยการ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายและยุทธศาสตร์ตาม วงรอบ โดยมีกลไกในการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) คณะอนุกรรมการควบคุมผูห้ ลบหนีภยั การสูร้ บจากพม่า ๒) คณะ อนุกรรมการเฉพาะกิจติดตามผลการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบในระยะ เร่งด่วน ๓) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจพิจารณายกร่างระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการแก้ไขผูห้ ลบหนีเข้า เมืองทั้งระบบ พ.ศ.... และ ๔) คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการพิจารณาอนุญาตให้องค์กรเอกชนต่างประเทศ ด�ำเนินงานในประเทศไทย ๔.๘ ส�ำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงระหว่างประเทศ รับผิดชอบการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ ความมัน่ คงระหว่างประเทศในกลุม่ ประเทศมหาอ�ำนาจ ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ ประเทศโลกมุสลิม ประเทศใน กลุม่ อาเซียนทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงของไทย รวมทัง้ เสนอแนะ จัดท�ำ พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ความ มัน่ คงระหว่างประเทศเพือ่ รักษาความมัน่ คงของชาติ และตามพันธกรณีระหว่างประเทศในด้านความมัน่ คง ตลอด จนอ�ำนวยการ ประสานงาน ติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายและยุทธศาตร์ทเี่ กีย่ วข้องตามวงรอบ โดยมีกลไกทีเ่ กีย่ วข้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ความมัน่ คงระหว่างประเทศ คือ ๑) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ เพือ่ ศึกษาบทบาทและอิทธิพลของประเทศมหาอ�ำนาจ ต่อภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศไทย (อบมท.) และ ๒) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจพิจารณาเสนอแนะยุทธศาสตร์ดา้ นการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ส�ำหรับกลไกทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั ติ ามพันธกรณีระหว่างประเทศ ประกอบด้วย ๑) คณะกรรมการอ�ำนวย การและประสานงานควบคุมและตรวจสอบวัสดุอปุ กรณ์ทสี่ ามารถน�ำมาใช้กอ่ เหตุรา้ ย ๒) คณะอนุกรรมการประสาน งานการด�ำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาวุธขนาดเล็กและอาวุธเบา (อปลบ.) และ ๓) คณะอนุกรรมการประสาน งานการด�ำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาวุธทีม่ อี านุภาพท�ำลายล้างสูง ๔.๙ กลุ่มพัฒนาองค์ความรู้ความมั่นคง รับผิดชอบการศึกษา วิเคราะห์ และวิจยั สถานการณ์ ปัญหาและ ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับความมัน่ คงโดยอาศัยหลักการและกรอบแนวคิดทางวิชาการ ตลอดจนสร้างองค์ความรูด้ า้ น ความมัน่ คงทีเ่ หมาะสมกับบริบทของประเทศ รวมทัง้ พัฒนาและเสริมสร้างเครือข่ายสถาบันความมัน่ คงทัง้ ในและ ระหว่างประเทศ โดยมีกลไกทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ๑) คณะกรรมการศูนย์ความมัน่ คงศึกษาสภาความมัน่ คงแห่งชาติ และ ๒) คณะกรรมการจัดท�ำข้อเสนอแนะทางวิชาการด้านความมัน่ คงของส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ
78
58tp_�������_SI_CMYK.indd 78
8/26/2558 BE 2:29 PM
สมช. ยุคใหม่ ก้าวสูอ่ นาคต
58tp_�������_SI_CMYK.indd 79
8/26/2558 BE 2:29 PM
สมช. ยุคใหม่: ก้าวสู่อนาคต
สถานการณ์ และปัญหาความมั่นคงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาอย่างเป็นพลวัต ส�ำนักงานสภา ความมัน่ คงแห่งชาติในฐานะทีเ่ ป็นหน่วยงานหลักในการให้คำ� ปรึกษาด้านความมัน่ คงแก่นายกรัฐมนตรีและสมาชิก สภาความมั่นคงแห่งชาติ ตลอดจนก�ำหนดทิศทางในการด�ำเนินงานด้านความมั่นคงของประเทศ รวมทั้งก�ำหนด และจัดท�ำนโยบาย/ยุทธศาสตร์ดา้ นความมัน่ คงเพือ่ ให้หน่วยปฏิบตั แิ ละส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้องน�ำไปปฏิบตั ิ เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์สำ� คัญในการรักษาความมัน่ คงของชาติในภาพรวม ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติจงึ จ�ำเป็น ต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาภารกิจ โครงสร้างและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับส�ำนักงานฯ อย่าง สม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้สำ� นักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติเป็นหน่วยงานทีเ่ ป็นเลิศ และเป็นผูน้ ำ� ในด้านการป้องกันและ แก้ไขสถานการณ์ด้านความมั่นคงอย่างแท้จริง ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติยุคใหม่ได้ก�ำหนดกรอบแนวคิด และบทบาทด้านความมั่นคงไว้อย่าง มีประสิทธิภาพ โดยค�ำนึงถึงสถานการณ์ปจั จุบนั ใช้เป็นฐานข้อมูล ความคิด และพัฒนาไปสูก่ ารประเมินสถานการณ์ ความมัน่ คงของชาติในอนาคต สถาปัตยกรรมความมัน่ คงทีส่ ำ� นักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติได้ออกแบบนัน้ เป็น ไปเพื่อน�ำพาประเทศก้าวสู่อนาคตด้านความมั่นคงอย่างวัฒนาถาวร ชาติและประชาชนมีความมั่นคง อยู่รอด ปลอดภัย ผาสุข และมีสันติสุขอย่างยั่งยืน โดยส�ำนักงานฯ มุ่งพัฒนาภารกิจที่ส�ำคัญ โดยใช้กลยุทธการเปลี่ยน
80
58tp_�������_SI_CMYK.indd 80
8/26/2558 BE 2:29 PM
กระบวนทัศน์ในการก�ำหนดและจัดท�ำยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติ การปรับปรุงพระราชบัญญัติสภาความ มั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ ให้มีความทันสมัย การเป็นผู้นำ� ในการก�ำหนดกรอบแนวทางและยุทธศาสตร์การเข้า สูป่ ระชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน และการจัดตัง้ สถาบันคลังสมองด้านความมัน่ คง (National Security Think Tank) ของประเทศ ซึ่ง มีรายละเอียด ดังนี้
๑. การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm-Shift) ทางความคิดในการจัดท�ำนโยบายและ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติ
๑.๑ กรอบคิดว่าด้วยการนิยามความหมาย “ความมั่นคงแห่งชาติ” ที่ผ่านมาประเทศไทยได้ผ่านประสบการณ์ในการเผชิญกับภัยความมั่นคงที่คุกคามด้านความอยู่รอด ปลอดภัยและความเจริญก้าวหน้าของชาติมาโดยตลอด เช่น ภัยคุกคามทีก่ ระทบต่อบูรณภาพแห่งดินแดน ปัญหา เสถียรภาพทางการเมือง ปัญหาระบบเศรษฐกิจ ปัญหาความมั่นคงด้านพลังงาน ปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ ฯลฯ ภัยคุกคามด้านความมัน่ คงเหล่านีม้ คี วามหลากหลายและเปลีย่ นแปลงอย่างเป็นพลวัต ดังนัน้ การมองปัญหา ความมัน่ คงของชาติจงึ เป็นสิง่ ท้าทายทีร่ ฐั ต้องเผชิญและรัฐต้องจัดล�ำดับความส�ำคัญหรือการก�ำหนดความจ�ำเป็น เร่งด่วนในการจัดการกับปัญหานั้นๆ โดยการจัดความส�ำคัญของความมั่นคงของชาติอาจแตกต่างกันไปในแต่ละ ยุคสมัย โดยปกติแล้วการก�ำหนดนโยบายด้านความมั่นคงแห่งชาติมักจะเน้นแต่ในเรื่องของภัยคุกคาม ทางทหารเป็นส�ำคัญ ซึ่งถือเป็นภัยคุกคามหลักของรัฐ ส่วนปัญหาอื่นๆ จะเป็นประเด็นส�ำคัญรองลงมา แต่ภายหลังจากการสิน้ สุดสงครามเย็น การพิจารณาปัญหาในเรือ่ งความมัน่ คงเริม่ มีความท้าทายและมีความหลาก หลายมากขึ้นกว่าด้านการทหารและการป้องกันประเทศ ดังนั้น การก�ำหนดทิศทางของนโยบายด้านความมั่นคง ของชาติจงึ ต้องอาศัยกรอบการรับรูใ้ หม่ๆ เพือ่ ติดตามสภาพแวดล้อมของปัญหาความเปลีย่ นแปลงให้มคี วามรอบ ด้านมากยิ่งขึ้น เมือ่ สภาพแวดล้อมของโลกได้มคี วามเปลีย่ นแปลงไปภายหลังการสิน้ สุดสงครามเย็น เช่น การเปลีย่ น ดุลอ�ำนาจของโลก การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบทุนนิยม การไหลเวียนของทรัพยากรต่างๆ อย่างเสรี ท�ำให้ภัย ที่คุกคามความอยู่รอดปลอดภัยและความเจริญก้าวหน้าของชาติหลายอย่างเข้ามาในรูปแบบที่ไม่เคยเกิดขึ้น มาก่อน เช่น ปัญหาการก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ ความขัดแย้งทางอัตลักษณ์และชาติพันธุ์ซึ่งประเด็น ปัญหาด้านความมั่นคงใหม่ (Non Traditional Issues) การจัดการกับภัยนี้ อาจต้องการกรอบแนวคิดในการ วิเคราะห์และจัดการในแนวทางทีต่ า่ งไปจากปัญหาเดิม และความเปลีย่ นแปลงของภัยคุกคามต่างๆ ก็เริม่ มีปจั จัย หลายอย่างที่บ่งชี้ว่าจ�ำเป็นต้องมีการปรับมุมมองเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติให้สอดคล้องต่อสถานการณ์ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ปัจจุบันปัญหาความมั่นคงแห่งชาติเริ่มมีการกล่าวถึงสิ่งที่เรียกว่าปัญหาความมั่นคงใหม่ (Non Traditional Security) ซึ่งเป็นปัญหาความมั่นคงที่ทั่วโลกก�ำลังเผชิญอยู่ และผู้ซึ่งท�ำหน้าที่ในการแก้ไขปัญหา
81
58tp_�������_SI_CMYK.indd 81
8/26/2558 BE 2:29 PM
ความมั่นคงของชาติจ�ำเป็นต้องมีกรอบการมองหรือกระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) ในการวิเคราะห์ภัยที่ คุกคามความมัน่ คงแห่งชาติ เพือ่ ทีจ่ ะแสวงหาหรือก�ำหนดแนวทางในการตอบสนองในการจัดการกับปัญหาเหล่า นั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป อย่างไรก็ดี การท�ำงานด้านความมั่นคงในประเทศไทยมีหลายส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยแต่ละหน่วย ต่างมีหลักคิด/หลักนิยมในเรื่อง “ความมั่นคง” ที่แตกต่างกัน ดังนั้น จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาคม ความมัน่ คงทุกหน่วยต้องมีวสิ ยั และกรอบคิดด้านความมัน่ คงไปในทิศทางเดียวกันเสียก่อน โดยเริม่ จากการก�ำหนด นิยามความมั่นคงให้มีเอกภาพและเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน เพื่อให้สามารถรักษาความมั่นคงของประเทศในภาพ รวมได้ ทั้งนี้ การก�ำหนดนิยาม “ความมั่นคง” ได้ถูกท�ำการศึกษาจากหลายส�ำนักคิดและทฤษฎีซึ่งส�ำนักงานสภา ความมั่นคงแห่งชาติ ได้น�ำมาประมวลไว้พอสังเขป ดังนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ำรัสในการอธิบายความหมายของความมั่นคงแห่งชาติไว้ อย่างชัดเจน ในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ เมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๔๔ ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า พระราชวังดุสิต ว่า “ประเทศชาตินั้นประกอบด้วยผืนแผ่นดินกับประชาชน และผืน แผ่นดินนั้นเป็นที่เกิด ที่อาศัย ที่อ�ำนวยประโยชน์สุข ความมั่นคงร่มเย็นแก่ประชาชนให้สามารถรวมกันอยู่เป็น ปึกแผ่น เป็นชาติได้ ความมัน่ คงปลอดภัยของประเทศจึงมิได้อยูท่ กี่ ารปกป้องรักษาผืนแผ่นดินไว้ดว้ ยแสนยานุภาพ แต่เพียงอย่างเดียว หากจ�ำเป็นที่ประชาชนจะต้องมีความวัฒนา ผาสุก ปราศจากทุกข์เข็ญด้วย”๒๘ จากกระแส พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สรุปได้ว่า “ความมั่นคงแห่งชาติ” มิได้หมายความเพียงความ เข้มแข็งด้วยแสนยานุภาพทางการทหารเพียงอย่างเดียว แต่ความมัน่ คงทีแ่ ท้จริงและถาวรต้องกอรปขึน้ ด้วยความ ร่มเย็นผาสุก หรือความพึงพอใจของประชาชนในชาติทุกเผ่าพันธุ์ พอใจในสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ และหน้าที่ใน การสถาปนาความสุขและความพึงพอใจนี้ มิใช่หน้าทีข่ องฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ แต่ทกุ ฝ่ายต้องร่วมมือร่วมใจกันสถาปนา ความมั่นคงของชาติให้เกิดขึ้น พลตรี หลวงวิจิตร วาทการ ได้ให้ค�ำนิยามของ “ความมั่นคงแห่งชาติ”๒๙ คือ การที่ชาติทรงตัวอยู่อย่าง แน่นหนาถาวร ด�ำรงเอกราช มีเสถียรภาพแห่งชาติ มีความสงบสุขภายในประเทศ มีความแน่นอนในชีวติ เศรษฐกิจ ของพลเมือง คาดหมายรายได้ของรัฐได้ถูกต้องใกล้เคียงกับความเป็นจริง ค่าของเงินตรามีเสถียรภาพ รัฐไม่ต้อง ประสบความยุง่ ยาก ระส�ำ่ ระสาย ไม่เกิดการเปลีย่ นแปลงใดๆ ได้งา่ ย ผูค้ นพลเมืองรูส้ กึ มีความปลอดภัย มีความหวัง และความไว้วางใจในอนาคต และยังไว้วางใจต่อไปอีกว่า ถึงแม้ความผันผวนหรือเหตุร้ายอันใดจะเกิดขึ้นมา รัฐสามารถจะต่อสู้หรือป้องกันได้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง “ความมั่นคงแห่งชาติ” คือ ความปลอดภัยแห่งชาติ จะไม่ได้รบั ภยันตรายใดๆ ทัง้ ในด้านสังคม การทหาร เศรษฐกิจ และการเมืองชาติมนั่ ใจว่าไม่ประสบกับความยาก ล�ำบากหรือความเดือดร้อนจากภยันตรายต่างๆ ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ทั้งชาติไม่ต้องเสี่ยงท�ำอะไร ลงไปโดยขาดความมั่นใจ นอกจากนี้ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรได้เสริมอีกว่า “ความมัน่ คงแห่งชาติ”๓๐ ทีใ่ ช้ในวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักรมีลักษณะที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมที่เกี่ยวพันกันอยู่ในรูปศาสตร์ต่างๆ สามารถที่จะรวมความ ๒๘ ๒๙
82
ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ, ตามรอยพระบาทชาติมนั่ คง, พิมพ์ครัง้ ที่ ๒, (กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, ๒๕๕๓), ๔๘ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, “เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๘ คูม่ อื เรือ่ งความมัน่ คงแห่งชาติ” (คูม่ อื ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาตามหลักสูตรของวิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) และหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) ประจ�ำปีการศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ – ๒๕๕๔) ๒ ๓๐ อ้างแล้ว, ๓ – ๔
58tp_�������_SI_CMYK.indd 82
8/26/2558 BE 2:29 PM
จากประเด็นต่างๆ ในความหมายของแต่ละองค์ประกอบประยุกต์ขึ้นพิจารณาร่วมกับความหมายที่ท่านผู้ทรง คุณวุฒิให้ไว้เพื่อหาข้อยุติเป็นความหมายประยุกต์จ�ำแนกเป็นด้านต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์สภาวะ แวดล้อมว่ามีผลกระทบต่อความมั่นคงแห่งชาติประการใด เพื่อจะได้หาวิธีด�ำเนินการให้สอดคล้องกับเรื่องของ “ยุทธศาสตร์ชาติ” Freedman อ้างค�ำอธิบาย ความมั่นคงของ A. Wolfers ว่า “ความมั่นคงแห่งชาติ” “ในทาง ภววิสัย (Objective sense) คือ การไม่มีภัยคุกคาม และในทางอัตวิสัย (Subjective sense) คือ การไม่มี ความกลัวว่าจะมีภัยคุกคาม” (Lawrence Freedman, 1992: 731) ซึ่งสามารถแปลความได้ว่า ชาติที่มั่นคง คือ ชาติที่ไม่มีภัยคุกคามและไม่รู้สึกกลัวว่ามีภัยคุกคาม ปัจจุบันการนิยามความหมายของเรื่อง “ความมั่นคงแห่งชาติ” เป็นนิยามที่มีความเปลี่ยนแปลงและ เชือ่ มโยงในมิตดิ า้ นต่างๆ มากขึน้ ซึง่ เกิดจากความเปลีย่ นแปลงของกระแสโลกทีม่ คี วามเชือ่ มโยงถึงกันทัง้ ทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยีการสื่อสาร จนกระทั่งท�ำให้การนิยามความหมายของ “ความมั่นคง แห่ ง ชาติ ” กลายเป็ น ความหมายที่ ก ว้ า ง และท� ำ ให้ ง านความมั่ น คงจ� ำ เป็ น ต้ อ งทบทวนและวิ เ คราะห์ ความเปลี่ยนแปลงของภัยคุกคามรูปแบบใหม่ๆ ด้วย เช่น ภัยจากการก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ ภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ตลอดจนปัญหาความขัดแย้งของคนในสังคมที่เกิดจากความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจ ปัญหาความ ขัดแย้งทางการเมือง และความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม นอกจากนีย้ งั รวมถึงความท้าทาย ใหม่ๆ ของกระแสโลกที่เริ่มหันมาให้ความส�ำคัญกับหลักการของประชาธิปไตย และหลักสิทธิมนุษยชนซึ่งท�ำให้ ภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับงานด้านความมัน่ คงจ�ำเป็นต้องปรับตัวและพัฒนาโครงสร้างทีค่ ำ� นึงถึงความเปลีย่ นแปลง และผลกระทบในวงกว้างมากยิ่งขึ้น ปัญหาความมัน่ คงของชาติเดิมทีเ่ ป็นเรือ่ งทีอ่ ยูใ่ นกรอบของความมัน่ คงภายในชาติ เริม่ มีมติ ทิ ขี่ ยายวงกว้าง ออกไปสูป่ ญ ั หาความมัน่ คงในระดับภูมภิ าคและระดับโลก ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ทวี่ า่ ด้วยเรือ่ งสิทธิมนุษยชน ก็ได้ท�ำให้ “ความมั่นคง” กลายเป็นเรื่องที่เชื่อมโยงในมิติที่ย่อยลงมา เช่น เรื่องที่เกี่ยวกับความมั่นคงของมนุษย์ (Human Security) และความมั่นคงของชุมชนท้องถิ่น (Community Security) ด้วย โดยสรุป ค�ำนิยาม “ความมั่นคงแห่งชาติ” ไม่มนี ิยามกลางที่ได้รบั การยอมรับทัว่ ไป ปัจจุบันความมั่นคง แห่งชาติเน้นใช้ความเชื่อมโยงกับ “ภัยคุกคาม” ของชาติ ซึ่งแต่ละชาติได้ให้ความส�ำคัญกับ “ภัยคุกคาม” และใช้ เป็นหลักในการพิจารณาการด�ำเนินการต่างๆ เพื่อสร้าง และ/หรือรักษาไว้ซึ่ง “ความมั่นคงแห่งชาติ” ๑.๒ ความเปลี่ยนแปลงของโลกและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ “ความมัน่ คงของชาติ” ยังปราศจากค่านิยมทีเ่ ป็นแกนกลางหรือทีไ่ ด้รบั การยอมรับทีเ่ ป็นสากล (universal definition) รัฐจึงต้องน�ำภัยคุกคามตามที่ประเทศให้ความส�ำคัญมาก�ำหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติขึ้น ประเทศไทยเช่นเดียวกันได้น�ำภัยคุกคามที่ได้รับการจัดล�ำดับภัยแล้วมาก�ำหนดเป็นความส�ำคัญเร่งด่วนในการ แก้ไขปัญหาในนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ซึ่งประเทศไทยต้องรู้เท่าทันภัยคุกคามรูปแบบใหม่และความ เปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ซงึ่ อุบตั ขิ นึ้ มาท่ามกลางความเปลีย่ นแปลงของโลกยุคใหม่หรือโลกาภิวตั น์ มคี วาม
83
58tp_�������_SI_CMYK.indd 83
8/26/2558 BE 2:29 PM
สลับซับซ้อนและยากต่อการคาดการณ์มากขึน้ กว่าเดิม และต่างไปจากภัยคุกคามความมัน่ คงแห่งชาติ ซึง่ รัฐต่างๆ คุน้ เคย เช่น ความขัดแย้งด้านอุดมการณ์ทางการเมือง หรือความขัดแย้งทีน่ ำ� ไปสูก่ ารใช้กำ� ลังทหารในอดีตทีม่ กี าร จ�ำแนกฝ่ายและมองเห็นเป้าหมายหรือศัตรูได้อย่างชัดเจน โลกยุคใหม่เป็นสภาพแวดล้อมทีท่ ำ� ให้ทกุ ส่วนมีการเชือ่ มโยงถึงกันหมดเสมือนหนึง่ เป็นเครือข่ายทีใ่ กล้ชดิ กัน ท�ำให้ภัยที่คุกคามต่อรัฐและประชาชนซึ่งอุบัติใหม่นั้นมีความเป็นสากลหรือเป็นภัยคุกคามที่ ไร้พรมแดน และมี คุณลักษณะของการข้ามชาติมากขึน้ ตลอดจนเกิดผูแ้ สดงบทบาททีไ่ ม่มฐี านะเป็นรัฐ (Non State Actors) ปรากฏ ให้เห็นมากขึ้นในเวทีระหว่างประเทศ เช่น กลุ่มผู้ก่อการร้ายสากล (International Terrorists) กลุ่มแบ่งแยกดิน แดน (Sepanatist Movements) และองค์กรพัฒนาเอกชน (Non - Governmental Organizations/NGOs) การเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม องค์กรภาคประชาสังคมต่างๆ (Civil Society Organizations/CSOs) และมี แนวโน้มว่าในระยะต่อไป ทั้ง NGOs และ CSOs จะเข้ามามีบทบาทในกระบวนการก�ำหนดนโยบายสาธารณะ มากขึ้น แนวคิดเรื่องภัยคุกคามรูปแบบใหม่ในที่นี้ค�ำว่า “รูปแบบใหม่” หรือ “การอุบัติใหม่” มีนัยที่ส�ำคัญ ๒ ประการ คือ ประการแรก หมายถึง ปัญหาความมัน่ คงใหม่ (Non Traditional Security) ทีก่ อ่ ตัวหรือมีพฒ ั นาการ ขึ้นมาพร้อมกับกระแสโลกาภิวัตน์ เช่น อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต (Cyber Crime) อาชญากรรมข้ามชาติ (Trans national Crime) การแพร่กระจายของอาวุธที่มีอานุภาพท�ำลายล้างสูง เป็นต้น ประการที่สอง หมายถึง ภัยคุกคามที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีตและกลับมาแสดงความรุนแรงได้อีกในปัจจุบัน ซึ่งอาจใช้ค�ำว่า “อุบัติซ�้ำ (Re - emerging)” เช่น การเกิดโรคระบาดใหญ่ (Pandemics) หรืออาจหมายถึง ภัยคุกคามที่ก่อตัวขึ้นมาจาก ปัญหาที่เป็นรากเหง้าอยู่ในสังคม แล้วเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ก่อให้เกิดปัจจัยผลักดันให้ ปัญหาดังกล่าวปรากฏขึ้นมาเด่นชัดหรือพัฒนาไปจนเป็นประเด็นหลักที่กระทบต่อความมั่นคงและสร้างความ รุนแรงเสียหายได้กว่าที่เคยเป็นอยู่ ดังเช่น กรณีของความขัดแย้งด้านศาสนาและกระแสชาติพันธุ์นิยม (Ethno nationalism) ในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ภัยคุกคามอุบัติใหม่ซึ่งกลายมาเป็นปัญหาความมั่นคงของยุคสมัยใหม่นี้ ส่วนหนึ่งได้รับผลกระทบจาก สภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปในโลกยุคโลกาภิวตั น์ซงึ่ เป็นปัจจัยผลักดันให้ปญ ั หาต่างๆ มีความซับซ้อนและหลากหลายยิง่ ขึน้ ปัจจัยผลักดันเหล่านี้ ได้แก่ การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติการเสือ่ มโทรม ของระบบนิเวศน์ การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ (Climate Change) การแข่งขันแย่งชิงพลังงาน ปัญหาด้าน ประชากร การเติบโตของระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศรวมไปถึงการ คมนาคมสื่อสารยุคใหม่ที่เอื้อต่อการเคลื่อนย้ายสินค้าและประชากรทั้งยังช่วยให้การเผยแพร่แนวคิดอุดมการณ์ ของกลุ่มต่างๆ เป็นไปได้อย่างกว้างขวางรวดเร็ว ภัยคุกคามซึง่ อุบตั ขิ นึ้ ใหม่นอี้ าจมีคณ ุ ลักษณะเด่นเช่นเดียวกับสภาวการณ์ของสังคมโลกปัจจุบนั คือมีความ สลับซับซ้อนและยากต่อการคาดการณ์ เชือ่ มโยงถึงกันและกัน และสามารถเปลีย่ นแปลงได้อย่างรวดเร็วไร้พรมแดน คุณลักษณะเหล่านีท้ ำ� ให้ภยั คุกคามซึง่ อุบตั ใิ หม่กลายเป็นภัยทีย่ ากต่อการประเมิน วิเคราะห์ และจัดการแก้ไข โดย
84
58tp_�������_SI_CMYK.indd 84
8/26/2558 BE 2:29 PM
อาศัยเพียงองค์ความรู้และความช�ำนาญในกรอบการมองแบบเดิมๆ หรือกระบวนทัศน์แบบเก่าได้ โดยสรุป กรอบการมองภัยคุกคามรูปแบบใหม่ และการรับมือกับปัญหาความมั่นคงซึ่งอุบัติใหม่เป็นสิ่งที่ ต่างไปจากการแก้ไขปัญหาแบบเดิมที่มักเน้นไปที่ภัยคุกคามซึ่งก�ำลังเผชิญอยู่โดยตรงเท่านั้น การมองปัญหา ความมั่นคงในยุคใหม่ควรใช้กรอบการมองปัญหาอย่างเป็นองค์รวม ทั้งภัยคุกคามด้านต่างๆ และระบบความ สัมพันธ์ที่เชื่อมโยงภัยคุกคามต่างๆ เข้าด้วยกัน รวมไปถึงปัจจัยผลักดันซึ่งแวดล้อมปัญหา ซึ่งปัจจัยผลักดันที่ว่านี้ อาจไม่ได้เป็นภัยคุกคามโดยตรง หากแต่สามารถผลักดันส่งผลกระทบให้เกิดความไม่มั่นคงไร้เสถียรภาพ หรือ มีสว่ นท�ำให้เกิดความขัดแย้งใหม่ๆ ขึน้ ได้ ในขณะเดียวกันภัยคุกคามเรือ่ งหนึง่ อาจมีสว่ น เป็นปัจจัยผลักดันให้เกิด พัฒนาการของภัยคุกคามอีกเรื่องหนึ่งที่แยกกันไม่ออก ดังนั้น การวิเคราะห์ปัญหาความมั่นคงในยุคใหม่ นักความมั่นคงและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานจ�ำเป็นต้องแสวงหาองค์ความรู้ที่หลากหลายในการน�ำมาเป็นกรอบ ในการมองและเตรียมความพร้อมในการรับมืออยู่ตลอดเวลา ๑.๓. แนวโน้มของภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่าภัยคุกคามรูปแบบใหม่เป็นเรือ่ งทีเ่ ป็นทัง้ ปัญหาความมัน่ คงทีเ่ กิดขึน้ ใหม่ และอาจ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาแล้วและเกิดขึ้นซ�้ำ ในที่นี้จึงเป็นการน�ำเสนอโดยสรุปย่อให้เห็นภาพว่าแนวโน้มต่างๆ ในปัจจุบันมีภัยคุกคามด้านใดบ้างที่เรียกว่าเป็นภัยคุกคามใหม่ ๑) ด้านภูมิรัฐศาสตร์ เมื่อสิ้นสุดยุคสงครามเย็น อิทธิพลของมหาอ�ำนาจที่เคยมีส่วนส�ำคัญต่อ การก�ำหนดแบบแผนของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในภูมิภาคเปลี่ยนไป ปัจจัยด้านภูมิรัฐศาสตร์หรือที่ตั้ง ทางภูมิศาสตร์ของประเทศ กลับมามีนัยส�ำคัญต่อการก�ำหนดปัญหาความมั่นคงของชาติเหมือนในอดีต โดยเห็น ได้จากความขัดแย้งระหว่างรัฐต่างๆ ที่เกิดขึ้น มีมูลเหตุส�ำคัญประการหนึ่งมาจากปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ทั้งสิ้น ประเทศไทยเองก็ตอ้ งเผชิญกับปัญหาในประเด็นนีอ้ ย่างมากมาย กล่าวคือ ปัญหากับเพือ่ นบ้านทีม่ พี รมแดนติดต่อกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัญหาเส้นเขตแดน ปัญหาพืน้ ทีท่ บั ซ้อน ปัญหาด้านทรัพยากรและระบบนิเวศน์ ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ปัญหาอาชญากรรมและการสู้รบตามแนวชายแดน ปัญหาแรงงานข้ามชาติและผู้หลบหนีเข้าเมือง เป็นต้น ๒) ด้านความมัน่ คงของมนุษย์ การเปลีย่ นแปลงของสถานการณ์โลกส่งผลกระทบต่อวิถชี วี ติ และความ เป็นอยู่ของผู้คนได้อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากวิกฤตเศรษฐกิจและการ เปลีย่ นแปลงของระบบนิเวศน์ซงึ่ กลายมาเป็นส�ำคัญ เช่น ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม วิกฤตเศรษฐกิจท�ำให้เกิดปัญหา การว่างงาน คุณภาพชีวิตตกต�่ำ และอาชญากรรมในสังคม เป็นต้น ส่วนความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์และ การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ เป็นปัจจัยพื้นฐานส�ำคัญที่อาจน�ำไปสู่ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชุมชนกับ ชุมชน ชุมชนกับรัฐ และความขัดแย้งระหว่างรัฐมากขึน้ ในระยะต่อไป ปัญหาเหล่านีไ้ ม่เพียงแต่จำ� เป็นต้องจัดการ กับปัญหาภายใน หากแต่ยังต้องแสวงหาแนวทางรับมือกับปัญหาที่เกี่ยวข้องร่วมกันระหว่างรัฐต่างๆ อาทิ เช่น ปัญหาภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง หรือปัญหาการจัดสรรทรัพยากรน�้ำระหว่างประเทศ ๓) ปัญหาความมั่นคงด้านพลังงาน เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ประชาคมโลกต้องเผชิญอย่างไม่อาจ หลีกเลีย่ งได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศทีข่ าดแคลนแหล่งพลังงานของตนเองและต้องพึง่ พาการน�ำเข้าย่อมก่อให้
85
58tp_�������_SI_CMYK.indd 85
8/26/2558 BE 2:29 PM
เกิดความอ่อนแอทั้งทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ การแสวงหาทางเลือก ทั้งในด้านของพลังงานทางเลือกที่ สามารถน�ำมาใช้ได้จริง และแหล่งของการน�ำเข้าเป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายรัฐในระยะต่อไป ทัง้ นี้ ทรัพยากร ทัง้ ทางบกและทาง ทะเลมีจำ� นวนจ�ำกัดจึงก่อให้เกิดปัญหาการช่วงชิงแหล่งทรัพยากรน�ำมาสูค่ วามขัดแย้งระหว่างรัฐ หรือระหว่างรัฐกับ ชุมชนในประเทศได้ นอกจากนี้ อาจท�ำให้ประเทศมหาอ�ำนาจเข้ามาแทรกแซง เช่น กรณีการสร้างเขือ่ นกัน้ แม่นำ�้ โขง ของจีนทีท่ ำ� ให้ประเทศปลายน�ำ้ ในเอเชียได้รบั ผลกระทบโดยตรง นอกจากนี้ ประเด็นส�ำคัญทีม่ องข้ามมิได้ คือ การ พัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ในการใช้ประโยชน์ในทางสันติเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าและเพือ่ ประโยชน์ในการศึกษาด้าน ต่างๆ ซึง่ ประเทศเพือ่ นบ้านของไทยหลายประเทศมีการศึกษาวิจยั และทดลองการพัฒนาเพือ่ ใช้ประโยชน์ในทางสันติ จึงท�ำให้ไทยต้องมีการพัฒนาเพือ่ ทัดเทียมกับประเทศต่างๆ ด้วย ๔) อาชญากรรมข้ามชาติ ปัญหาความมัน่ คงทีข่ ยายตัวอย่างรวดเร็วตามกระแสโลกาภิวตั น์ ทีเ่ ห็นได้ ชัดเจนมาก คือ ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ ซึง่ หมายถึงการกระท�ำขององค์กรหรือกลุม่ บุคคลสมคบและร่วมมือกัน กระท�ำความผิดต่อเนือ่ งจากประเทศหนึง่ ไปยังอีกประเทศหนึง่ หรือหลายประเทศอันเป็นความผิดตามกฎหมายอาญา และบทลงโทษของประเทศที่องค์กรหรือกลุ่มบุคคลเหล่านั้นด�ำเนินการ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อแสวงหาผล ประโยชน์และอ�ำนาจทีข่ ดั ต่อหลักกฎหมายและศีลธรรม ก่อให้เกิดผลกระทบต่อความสัมพันธ์และความมัน่ คงของ บุคคล องค์กร เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอืน่ ๆ รวมทัง้ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อันได้แก่ การค้าอาวุธ การค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ การฟอกเงิน การลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย การปลอมแปลงเอกสาร อาชญากรรมทางเศรษฐกิจและคอมพิวเตอร์ ตลอดจนการก่อการร้าย ถึงแม้วา่ อาชญากรรมข้ามชาติจะไม่ใช่ปญ ั หาใหม่ แต่การทีอ่ งค์กรอาชญากรรมสามารถขยายตัวข้าม ภูมภิ าคและมีการร่วมมือกันระหว่างองค์กรได้อย่างกว้างขวาง มีทนุ มหาศาลและอาจเข้าแทรกแซงในกิจการ ของรัฐ ได้ และยังเริม่ ทวีความซับซ้อนและพัฒนาทักษะแบบมืออาชีพยิง่ ขึน้ เช่น ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่างๆ ทีท่ ำ� ให้ภาครัฐจ�ำต้องปรับตัวให้ทนั กับขีดความสามารถของอาชญากร ๕) การก่อการร้าย พัฒนาการของการก่อการร้ายจากยุคสงครามเย็นจนถึงระยะเริม่ ต้นศตวรรษ ที่ ๒๑ แสดงให้เห็นพลังทีข่ บั เคลือ่ นลัทธิกอ่ การร้าย ซึง่ เปลีย่ นจากอุดมการณ์แบบฝ่ายซ้ายมาเป็นแนวคิดแบบอนุรกั ษ์นยิ ม และมีแนวโน้มของการใช้ความรุนแรงมากขึน้ ตัวอย่างเช่น ความคิดความเชือ่ ทางศาสนาได้กลายมาเป็นพลังผลักดัน ทีส่ ำ� คัญต่อพฤติกรรมทางการเมือง โดยกลุม่ ก่อการร้ายเองก็อาศัยศาสนาเป็นเครือ่ งมือยึด และขับเคลือ่ นกิจกรรม ทางการเมืองทีใ่ ช้ความรุนแรงโดยน�ำไปเชือ่ มโยงกับความเชือ่ ทางศาสนา (Religious Terrorism) ขณะเดียวกันแนวคิด เรือ่ งชาตินยิ มก็ยงั คงมีอยู่ และมีการขยายความครอบคลุมชาติพนั ธ์นยิ มท�ำให้เกิดปัญหาการก่อการร้ายแบบชาติพนั ธุ์ นิยม (Ethno - Terrorism) ซึง่ เห็นได้ชดั เจนจากกรณีการเรียกร้องเพือ่ แบ่งแยกดินแดนและการต่อสูก้ บั รัฐบาลซึง่ ฝ่ายทีม่ กี ำ� ลังน้อยกว่าเลือกใช้การก่อการร้ายเป็นเครือ่ งมือ ปัญหาการก่อการร้ายมีความแตกต่างจากในอดีต คือ กลุม่ หรือองค์กรก่อการร้ายในปัจจุบนั มิได้เป็น องค์กรทีช่ ดั เจนเช่นในอดีต แต่กลุม่ ก่อการร้ายปัจจุบนั เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ของกลุม่ ซึง่ มีอดุ มการณ์ความเชือ่ ร่วม กันและมีความสัมพันธ์เชือ่ มโยงกัน โครงสร้างและระดับความเชีย่ วชาญของกลุม่ ต่างๆ นัน้ อาจแตกต่างกัน แต่มกั จะ
86
58tp_�������_SI_CMYK.indd 86
8/26/2558 BE 2:29 PM
ร่วมงานกันโดยอาศัยการคมนาคมสือ่ สาร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางอินเทอร์เน็ตในการส่งข่าวสาร การฝึกอบรม การ แบ่งปันตัวบุคคล รวมทัง้ ในการเผยแพร่อดุ มการณ์ แนวโน้มของภัยคุกคามใหม่มคี วามสลับซับซ้อน ยากต่อการคาดการณ์ เชือ่ มโยงถึงกัน และสามารถ เปลีย่ นแปลงได้อย่างรวดเร็ว ท�ำให้ยากต่อการประเมิน วิเคราะห์ และจัดการแก้ไข โดยอาศัยเพียงองค์ความรูแ้ ละ ความช�ำนาญในกรอบการมองแบบเดิมๆ การจัดการกับปัญหาความมัน่ คงใหม่จงึ จ�ำเป็นต้องอาศัยกระบวนการศึกษา และการสร้างองค์ความรูใ้ หม่ๆ อยูต่ ลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูท้ ตี่ อ้ งปฏิบตั งิ านด้านความมัน่ คง เพือ่ เป็นส่วน ส�ำคัญในการก�ำหนดแนวทาง มาตรการ กลไกและเครือ่ งมือแก้ไขปัญหาแบบใหม่ให้สอดคล้องกัน และเป็นส่วนส�ำคัญ ในการเตรียมพร้อมส�ำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน หรือนักความมั่นคงใหม่ ในการรับมือกับสถานการณ์ที่อาจ เปลีย่ นแปลงต่อไปในอนาคต ๑.๔. กระบวนทัศน์ดา้ นการก�ำหนดนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ ในอดีตการก�ำหนดนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ ซึง่ เป็นแนวทางหรือหนทางปฏิบตั ใิ นการรักษาความมัน่ คง ในมิตขิ องชาติเป็นส�ำคัญ โดยมุง่ ไปทีก่ ารปกป้องรัฐจากภัยคุกคามความมัน่ คงแบบเดิม (Traditional Security) ทีเ่ น้นไปในเรือ่ งของภัยทางทหารทีค่ กุ คามต่อผลประโยชน์แห่งชาติในระดับส�ำคัญ (Vital Interests) หรือเน้นปัญหา ทีค่ กุ คามต่อการด�ำรงอยูข่ องรัฐ อย่างไรก็ดี ในปัจจุบนั กระบวนทัศน์ในการมองปัญหาความมัน่ คงได้เปลีย่ นไปตาม การเปลีย่ นแปลงของสถานการณ์โลก เช่น การเปลีย่ นแปลงด้านเศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศเริม่ เข้ามามี บทบาทส�ำคัญต่อเสถียรภาพและความเจริญก้าวหน้าของรัฐแทนทีป่ ระเด็นด้านการทหาร และแนวโน้มในอนาคต ความขัดแย้งทีม่ พี นื้ ฐานจากประเด็นด้านเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศอาจมีบทบาทส�ำคัญและเสีย่ งต่อการน�ำ ไปสูป่ ญ ั หาการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ หรือการก่อสงครามผลประโยชน์ (War of Interests) โดยทีข่ ดี ความ สามารถด้านการแข่งขันทางเศรษฐกิจ รวมถึงเทคโนโลยีจะกลายเป็นปัจจัยส�ำคัญทีก่ ำ� หนดผลส�ำเร็จในการด�ำเนิน นโยบายของรัฐ ในขณะเดียวกัน ปัญหาความมัน่ คงใหม่ยงั มีแนวโน้มทีจ่ ะมองไปทีป่ ญ ั หาหรือภัยทีค่ กุ คามต่อ ปจั เจกบุคคล หรือต่อวิถชี วี ติ ของประชาชนว่าเป็นภัยคุกคามความมัน่ คงของชาติ หรือคุกคามต่อความอยูร่ อด ปลอดภัย และเป็น ตัวชี้วัดถึงความส�ำเร็จหรือความเจริญก้าวหน้าของชาติด้วยเช่นเดียวกัน แนวโน้มดังกล่าวนี้ จึงเป็นสิ่งท้าทายให้ เจ้าหน้าทีท่ รี่ บั ผิดชอบหรือเรียกว่า “นักความมัน่ คง” จ�ำเป็นต้องขยายกรอบการมองให้ครอบคลุมทัง้ ในมิตคิ วาม มัน่ คงของรัฐ (State Security) และความมัน่ คงในชีวติ ความเป็นอยูข่ องบุคคลภายในรัฐทีเ่ รียกว่าความมัน่ คงของ มนุษย์ (Human Security) ควบคู่กันไป กล่าวคือ เป็นการมองความมั่นคงโดยค�ำนึงว่าผลประโยชน์ของชาติ (National Interests) ย่อมครอบคลุมถึงถึงผลประโยชน์ของรัฐ (State Interests) และผลประโยชน์ของคนในชาติ (Human Interests) ด้วย ส�ำหรับประเด็นด้านความมั่นคงของมนุษย์นี้เป็นแนวคิดที่ได้รับการผลักดันอย่างต่อ เนือ่ งจากองค์การสหประชาชาติและองค์กรต่างๆ มาโดยตลอด ซึง่ ถือเป็นแรงผลักดันจากภายนอกทีท่ ำ� ให้รฐั ต่างๆ ต้องปรับมุมมองต่อความมัน่ คงให้สอดคล้องกับความเปลีย่ นแปลงและระเบียบใหม่ของโลกมากยิง่ ขึน้ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ในฐานะทีเ่ ป็นหน่วยงานเสนอแนะด้านนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ และ
87
58tp_�������_SI_CMYK.indd 87
8/26/2558 BE 2:29 PM
นโยบาย/ยุทธศาสตร์ความมัน่ คงเฉพาะเรือ่ งได้นำ� กรอบแนวคิดด้านล�ำดับภัยคุกคามความมัน่ คงต่างๆ มาจัดท�ำแผน นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติเพือ่ ป้องกันมิให้ปญ ั หาเหล่านัน้ ลุกลามบานปลายหรือแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ให้หมดไป เพือ่ รักษาไว้ซงึ่ ความสงบสุขเรียบร้อยของประชาชนและประเทศ ๑.๕ ความเปลี่ยนแปลงของนโยบายด้านความมั่นคงแห่งชาติที่ได้จากการเปลี่ยนกระบวน-ทัศน์ใน การก�ำหนดนโยบาย กระบวนทัศน์ในการก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ของส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติมกี ารพัฒนา ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานการณ์ความมั่นคงของประเทศอย่างไม่หยุดยั้ง จากนโยบายด้านความมั่นคงทั้ง ๔ ฉบับที่สำ� นักงานฯ เป็นผู้ให้ทิศทาง ก�ำหนด และจัดท�ำขึ้นนั้น ล้วนแล้วแต่มีพัฒนาการของกรอบแนวคิดและ วิธีการด�ำเนินการอยู่ตลอดเวลา เมื่อมองย้อนกลับไปในอดีตจะเห็นได้ว่านโยบายความมั่นคงแห่งชาติฉบับต่างๆ นั้นมีความแตกต่างกัน ออกไป โดยในห้วงแรกของการก�ำหนดและจัดท�ำนโยบายความมัน่ คงแห่งชาติจะพิจารณาจากสถานการณ์ทมี่ ภี ยั และศัตรูที่ชัดเจน เช่น ภัยจากลัทธิคอมมิวนิตส์ ซึ่งวิธีการก�ำหนดนโยบายด้านความมั่นคงจะใช้การระดม ความคิดเห็นจากผูแ้ ทนส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้องในประชาคมความมัน่ คง และผูท้ รงคุณวุฒจิ ากภาครัฐ อย่างไรก็ดี การก�ำหนดและวิธีในการจัดท�ำนโยบายดังกล่าวไม่อาจตอบสนองต่อภัยความมั่นคงที่เกิดขึ้นใหม่ได้ ดังนั้น ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติจึงได้ปรับกระบวนทัศนต์ในการก�ำหนดและจัดท�ำนโยบายความมั่นคง ดังจะ เห็นได้จากพัฒนาการของนโยบายเรื่อยมา ซึ่งสามารถสรุปสาระส�ำคัญได้ ดังนี้ ๑) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๔๔ มีสาระส�ำคัญ คือ เป็นแนวคิดในการแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้าในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล และการใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยให้ความส�ำคัญกับ สถานการณ์เฉพาะหน้าด้านเศรษฐกิจและรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ นอกจากนี้ นโยบายฉบับนีย้ งั ปูทางให้ทกุ ภาคส่วน เข้ามามีส่วนร่วมในการก�ำหนดนโยบายความมั่นคงฉบับต่อไปอีกด้วย ๒) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๔๙ ได้ให้ความส�ำคัญกับผลประโยชน์แห่งชาติ รวมทั้งค�ำนึงถึงบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญประกอบกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๙ น�ำมาจัด ท�ำเป็นแนวนโยบายความมั่นคง ทั้งยังได้เพิ่มกรอบแนวคิดด้านความมั่นคงแบบใหม่ ได้แก่ วิสัยทัศน์ด้าน ความมั่นคง และปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ โดยวิธีการด�ำเนินการก�ำหนดนโยบายนั้น ได้เปิดโอกาสให้มีการระดม ความคิดเห็นจากภาคราชการ ภาควิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้น�ำชุมชนทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเข้ามา ร่วมพิจารณาวางทิศทางด้านความมั่นคงของประเทศร่วมกัน ๓) นโยบายความมั่นคง พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๕ ยังคงใช้กระบวนทัศน์เดิมในการก�ำหนดทิศทางและ จัดท�ำนโยบายรวมไปถึงการให้ภาคประชาชนะและภาควิชาการเข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการในการก�ำหนด นโยบาย อย่างไรก็ตาม นโยบายฉบับนีเ้ ริม่ มีการก�ำหนดความส�ำคัญและ/หรือล�ำดับ (Prioritizetion) ของภัยหรือ สถานการณ์ความมั่นคง โดยมีการแบ่งสารัตถะของนโยบายตามความส�ำคัญของภัย ได้แก่ ส่วนแรกเป็นนโยบาย เฉพาะหน้าที่ให้ความส�ำคัญกับการพาสังคมให้พ้นจากสถานการณ์ทางการเมือง และส่วนที่ ๒ เป็นนโยบายที่ให้
88
58tp_�������_SI_CMYK.indd 88
8/26/2558 BE 2:29 PM
ความส�ำคัญกับการด�ำเนินการตามวิสัยทัศน์ด้านความมั่นคงและปกป้องผลประโยชน์แห่งชาติเป็นหลัก ๔) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๔ ได้เปลี่ยนกรอบแนวคิดในการจัดท�ำนโยบาย ที่ส�ำคัญโดยได้เพิ่มเติมประเด็นค่านิยมหลักของชาติเป็นส�ำคัญ ดังต่อไปนี้ ๑) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหา กษัตริย์ อันเป็นสถาบันหลักของชาติ ๒) เชื่อมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ๓) มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และหลักนิติธรรม ๔) เห็น คุณค่าในคุณธรรม จริยธรรม วิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของสังคมไทย ๕) เคารพศักดิ์ศรีความ เป็นมนุษย์ และยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความเชื่อ อัตลักษณ์ และวัฒนธรรม บนพื้นฐาน ของการยึดมั่นในการเป็นพหุสังคม และ ๖) อยู่ร่วมกับประชาคมโลกอย่างสันติด้วยมิตรภาพอันดี ทั้งยังให้ความ ส�ำคัญในประเด็นผลประโยชน์แห่งชาติดว้ ย ในการนี้ นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติฉบับใหม่ได้กำ� หนดล�ำดับความ ส�ำคัญ โดยพิจารณาความเสี่ยง และผลกระทบต่อความมั่นคงที่เป็นแก่นหลักของชาติ โดยก�ำหนดความส�ำคัญ เป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ นโยบายเสริมสร้างความมั่นคงที่เป็นแก่นหลักของชาติ และส่วนที่ ๒ นโยบายความ มั่นคงแห่งชาติทั่วไป ซึ่งการจัดสรรทรัพยากรจะให้นำ�้ หนักต่อนโยบายเสริมสร้างความมั่นคงที่เป็นแก่นหลักของ ชาติเป็นล�ำดับส�ำคัญในระดับต้น ทั้งนี้ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทั้งสองส่วนต้องได้รับการขับเคลื่อนไปพร้อม กัน เพื่อให้เกิดภาพแห่งความส�ำเร็จโดยรวมและสามารถรักษาผลประโยชน์แห่งชาติได้อย่างครบถ้วน จากการเปลี่ยนกระบวนทัศนศ์ในการก�ำหนดนโยบายความมั่นคงในแต่ละห้วงปี จะเห็นได้ว่าส�ำนักงาน สภาความมั่นคงแห่งชาติได้มีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งได้ปรับเปลี่ยน กรอบแนวคิดจากเดิมที่ให้ความส�ำคัญกับล�ำดับภัยคุกคามมาเป็นการตอบสนองต่อหลักค่านิยมของชาติและผล ประโยชน์แห่งชาติให้มากขึ้น เพื่อให้ชาติด�ำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงสืบไป
๒. การแก้ไขปรับปรุง พ.ร.บ. สภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒
๒.๑ ความเป็นมา ในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ ให้ทุกส่วนราชการเร่งจัดท�ำร่างกฎหมายใหม่หรือปรับปรุงร่างกฎหมายและเสนอไปยังคณะรัฐมนตรีโดยเร็ว โดย เฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของกฎหมายที่ล้าสมัยหรือเพื่อแก้ไขปัญหาส�ำคัญของประเทศ ประกอบกับรองนายก รัฐมนตรีรบั ผิดชอบงานด้านกฎหมาย (นายวิษณุ เครืองาม) ได้สงั่ การให้สำ� นักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติพจิ ารณา แก้ไขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยสภาความมั่นคงแห่งชาติ เนื่องจากเป็นกฎหมายที่ได้ใช้บังคับมานานสมควรแก้ไข ปรับปรุงให้สอดคล้องกับบริบทของสถานการณ์ด้านความมั่นคงที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้สามารถรักษาผล ประโยชน์ของชาติและแจ้งเตือนภัยคุกคามรูปแบบใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ๒.๒ การด�ำเนินการของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) ได้เตรียมการเพื่อแก้ไขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยสภาความ มั่นคงแห่งชาติมาระยะหนึ่งแล้ว โดยได้มีการจัดประชุมภายในหน่วยงานและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหลายครั้ง
89
58tp_�������_SI_CMYK.indd 89
8/26/2558 BE 2:29 PM
เพือ่ รับฟังความคิดเห็นและก�ำหนดประเด็นในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย รวมทัง้ ศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบ การ จัดตัง้ และกลไกการท�ำงานของสภาความมัน่ คงแห่งชาติในต่างประเทศเพือ่ ให้มคี วามสมบูรณ์ในทางวิชาการมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งขณะนี้ได้ยกร่างพระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อเตรียมการเสนอตามขั้นตอนต่อไป ส�ำหรับประเด็นการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยสภาความมั่นคงแห่งชาติที่ส�ำคัญ ได้แก่ ๑) การเพิ่ม องค์ประกอบของสมาชิกสภาความมั่นคงแห่งชาติให้ครบถ้วนเหมาะสมยิ่งขึ้น เช่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุตธิ รรม ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักข่าวกรองแห่งชาติ และผูบ้ ญ ั ชาการเหล่าทัพ ๒) การปรับปรุงอ�ำนาจ หน้าที่ของสภาความมั่นคงแห่งชาติและส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติให้สามารถบูรณาการแผนงานด้าน ความมั่นคง นโยบายและยุทธศาสตร์ความมั่นคงกับหน่วยงานของรัฐ และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งการก�ำหนดกลไกให้นโยบายความมั่นคงแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติได้จริง ส�ำหรับการด�ำเนินการต่อไป สภาความมัน่ คงแห่งชาติ จะได้จดั รับฟังความคิดเห็นจากผูม้ สี ว่ นได้เสียและ เสนอร่างพระราชบัญญัตสิ ภาความมัน่ คงแห่งชาติตอ่ สภาความมัน่ คงแห่งชาติพจิ ารณาให้ความเห็นชอบก่อนเสนอ คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป
๓. การก�ำหนดทิศทางและยุทธศาสตร์ดา้ นความมัน่ คงเมือ่ ประเทศไทยเข้าสูป่ ระชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน
การประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน ครั้งที่ ๑๔ เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ อ.หัวหิน จ.เพชรบุรี ผู้น�ำ อาเซียนได้ลงนามรับรองให้มีแผนงานจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนขึ้น (ASEAN Political Security Community (APSC) Blueprint) โดยแผนงานดังกล่าวต้องการให้อาเซียนมีบทบาทส�ำคัญในการ จัดการสภาวะแวดล้อมทางด้านความมั่นคงในภูมิภาค ส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีพัฒนาการทางการ เมืองตามครรลองประชาธิปไตย เน้นยึดหลักธรรมภิบาลและนิติธรรม ตลอดจนแก้ไขความขัดแย้งและข้อพิพาท ในภูมิภาคโดยสันติวิธี ผ่านการะบวนการทางการทูต การเจรจาหารือ และ/หรือฉันทามติ บนพื้นฐานของการ เคารพอธิปไตยแห่งรัฐ และไม่แทรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิก ประเทศไทยและอาเซี ย นมี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะก้ า วไปสู ่ ก ารเป็ น ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คง อย่างแท้จริง แต่การที่อาเซียนจะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวยังคงมีปัญหาอุปสรรค และความท้าทายอยู่มาก ที่ส�ำคัญ คือ การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนมีระดับของพัฒนาการทางการเมืองและเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน ยังมี ความไม่ไว้วางใจกันหลงเหลืออยูม่ าก พร้อมกับมีมมุ มองเกีย่ วกับผลประโยชน์ทางความมัน่ คงทีแ่ ตกต่างกัน ท�ำให้ ขาดความเป็นเอกภาพในการด�ำเนินนโยบายต่างประเทศ ในขณะที่ปัจจุบันเป็นเวลาที่ประเทศมหาอ�ำนาจ ต่างแข่งขันกันแผ่ขยายอิทธิพลในภูมิภาคอย่างเข้มข้น การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนจะเป็นโอกาสอย่างมากส�ำหรับประเทศอาเซียนและไทย ในด้าน เศรษฐกิจและการค้า แต่ก็อาจส่งผลกระทบด้านความมั่นคงอย่างมากด้วย อันเป็นผลจากเขตแดนระหว่างไทย
90
58tp_�������_SI_CMYK.indd 90
8/26/2558 BE 2:29 PM
กับประเทศรอบบ้านมีระยะทางยาว ในขณะทีป่ ระเทศรอบบ้านของไทยส่วนใหญ่ยงั มีปญ ั หาข้อจ�ำกัดในการบริหาร จัดการชายแดน จึงคาดได้ว่าปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ และภัยข้ามชาติต่างๆ จะขยายตัวมากขึ้นซึ่งมีความ จ�ำเป็นที่ประเทศไทยต้องเตรียมรับมือกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้การพัฒนาเศรษฐกิจและการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียนเป็นไปอย่างราบรื่น ปราศจากความเสี่ยงทางความมั่นคง สภาวะแวดล้อมดังกล่าวข้างต้นถือเป็นหัวเลีย้ วหัวต่อทีส่ ำ� คัญของอาเซียน ประเทศไทยในฐานะทีม่ บี ทบาท ร่วมก่อตัง้ อาเซียนจึงควรสนับสนุนและผลักดันให้แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมการเมือง และความมัน่ คงอาเซียน เดินหน้าไปสูเ่ ป้าหมายทีว่ างไว้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับบริบททางการเมือง และความมัน่ คงในภูมภิ าคทีเ่ ปลีย่ น ไป ในขณะเดียวกันก็จ�ำเป็นต้องเตรียมความพร้อมภายในประเทศในการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงและความ เสี่ยงทางความมั่นคงที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งพยายามใช้ประโยชน์จากความร่วมมือที่จะมีมากขึ้นในอาเซียน ให้เป็น ไปในทางที่จะส่งเสริมผลประโยชน์ความมั่นคงของไทยทั้งของรัฐและของประชาชนไทยด้วยเช่นกัน ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติเตรียมความพร้อมในการเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน ด้วยการก�ำหนดและจัดท�ำยุทธศาสตร์ต่อประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน โดยมี วัตถุประสงค์ส�ำคัญเพื่อสร้างความพร้อมให้เกิดขึ้นภายในประเทศ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาสังคมให้พร้อมร่วมมือกับประเทศสมาชิกอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน้นการเตรียมความพร้อมในการ รับมือและป้องกันปัญหาทีเ่ กิดจากการเชือ่ มโยงและเชือ่ มต่อประเทศสมาชิกอาเซียนเข้าด้วยกัน เช่น ปัญหาความ มั่นคงรูปแบบใหม่ และภัยข้ามชาติต่างๆ โดยใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการชายแดนอย่างมีคุณภาพ ขณะเดียวกัน ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องมีการปรับปรุง และแก้ไขกฏหมาย และกฎระเบียบต่างๆ ให้สอดคล้องกับข้อกฎหมาย และกฎระเบียบอาเซียนอย่างเหมาะสม โดยไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติและอธิปไตย พร้อมทั้งสร้างความ ตระหนักรู้และทัศนคติที่ดีต่อการเป็นประชาคมอาเซียนให้เกิดขึ้นต่อประชาชน เพื่อสร้างความรู้สึกเป็นมิตร ระหว่างประเทศสมาชิก
๔. การจัดตั้งสถาบันคลังสมองของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
โดยปัจจุบนั สถานการณ์ภยั คุกคามทีม่ ผี ลกระทบต่อความมัน่ คงมีแนวโน้มทีจ่ ะทวีความรุนแรงหลากหลาย เชื่อมโยงและมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินการในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาดังกล่าวของ หน่วยงานด้านความมัน่ คง ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติจงึ จ�ำเป็นต้องมีการปรับรูปแบบ และแนวคิดในการ แก้ไขปัญหาให้เท่าทันต่อสถานการณ์ภัยคุกคามที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงดังกล่าว โดยแนวทางหนึ่งที่ส�ำคัญ ได้แก่ การจัดตัง้ สถาบันคลังสมองขึน้ ในส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ เพือ่ เป็นช่องทางในการสนับสนุนข้อมูล ที่เกี่ยวข้องในการรักษาความมั่นคงตามหลักเชิงวิชาการที่สมบูรณ์ ด้วยการน�ำทรัพยากรบุคลากรจากภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และประชาชน เข้ามามีสว่ นร่วมในการให้ขอ้ มูล รวมทัง้ เสนอแนะการแก้ไขปัญหาในลักษณะ ของ THINK TANK เพื่อท�ำหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล สังเคราะห์และน�ำเสนอนโยบาย ทั้งการคิด การ วิเคราะห์เชิงนโยบาย และการศึกษา การวิเคราะห์เฉพาะกรณี รวมทั้งท�ำหน้าที่การประสานเชื่อมโยงระหว่าง
91
58tp_�������_SI_CMYK.indd 91
8/26/2558 BE 2:29 PM
การน�ำผลการศึกษาในเชิงวิชาการไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้มขี อ้ มูลประกอบการพิจารณาในการจัดตัง้ สถาบันคลังสมองด้านความมัน่ คงได้อย่างครบถ้วนและ มีการศึกษาอย่างรอบด้านทั้งจากภายในประเทศและระหว่างประเทศ กลุ่มพัฒนาองค์ความรู้ความมั่นคง จึงได้ ว่าจ้างสถาบันวิจยั แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด�ำเนินงานโครงการเพือ่ ศึกษารูปแบบและแนวทางในการจัดตัง้ สถาบันคลังสมองด้านความมัน่ คงของส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลพืน้ ฐานในการพิจารณา จัดตั้งสถาบันคลังสมอง และเห็นสมควรด�ำเนินการ ดังต่อไปนี้ ๑. การจัดตั้งคลังสมองด้านความมั่นคง สมควรใช้กลไกที่มีผลบังคับใช้อยู่แล้วในปัจจุบันของ ส� ำ นั ก งานสภาความมั่ น คงแห่ ง ชาติ ม าผสมผสานกั บ แนวคิ ด ตามผลวิ จั ย ทางวิ ช าการของสถาบั น วิ จั ย แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผ่านขัน้ ตอน/กระบวนการด�ำเนินการอย่างมีกลยุทธ์ทดี่ ี มีหว้ งระยะเวลาในด�ำเนิน การที่เป็นขั้นเป็นตอน และสอดคล้องกับสถานการณ์ด้านความมั่นคงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ๒. จัดท�ำค�ำสั่งส�ำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อจัดตั้งสถาบันคลังสมองด้านความมั่นคงขึ้นในส�ำนักงาน สภาความมั่นคงแห่งชาติ โดยก�ำหนดให้เป็นหน่วยงานภายใต้การก�ำกับดูแลของส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่ง ชาติ มีการจัดโครงสร้างภายในของสถาบันเพือ่ รองรับการบริหารจัดการองค์ความรู้ ทัง้ ในส่วนทีเ่ ป็นข้อมูลเอกสาร และข้อมูลอีเล็กทรอนิกส์ มีระบบการบริหารจัดการของสถาบันในรูปแบบคณะกรรมการและอนุกรรมการด้าน ต่างๆที่เกี่ยวข้อง มีการแต่งตั้งที่ปรึกษาของสถาบันโดยคัดสรรจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ตามภารกิจของ ส�ำนักต่างๆในส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ทั้งนี้บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสถาบันเบื้องต้นจะก�ำหนดให้ เจ้าหน้าทีจ่ ากกลุม่ พัฒนาองค์ความรูค้ วามมัน่ คงเป็นผูป้ ฏิบตั งิ านประจ�ำสถาบันคลังสมอง และมีการพิจารณาจัด จ้างเจ้าหน้าทีเ่ พือ่ ปฏิบตั งิ าน และ/หรือขอรับการสนับสนุนเจ้าหน้าทีจ่ ากส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้องด้านความมัน่ คง เพิ่มเติมได้ตามความจ�ำเป็น ส�ำหรับงบประมาณด�ำเนินการของสถาบันจะขอรับการสนับสนุนจากรัฐบาล ๓. เมือ่ สถาบันคลังสมองด้านความมัน่ คงมีความพร้อม และมีประสบการณ์ในการด�ำเนินการมาอย่าง เพียงพอ เห็นสมควรยกระดับสถาบันคลังสมองด้านความมัน่ คงของส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติขนึ้ อีกครัง้ เพื่อให้เป็นสถาบันทางวิชาการที่มีความเป็นอิสระและมีสถานะเป็นนิติบุคคล และมีการจัดจ้างบุคลากรผู้มีความ รู้ความสามารถทางวิชาการที่เหมาะสมทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ มาปฏิบัติงานภายในสถาบันคลังสมอง ด้านความมั่นคง ในส่วนของงบประมาณด�ำเนินการนอกจากจะได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลแล้ว สถาบันคลัง สมองสามารถหารายได้ด้วยตนเอง อาทิ การจ�ำหน่ายผลงานวิจัย รายได้จากการเสนอของบประมาณเพื่อศึกษา วิจัย รายได้จากการจัดประชุม/สัมมนา/การฝึกอบรม ทั้งนี้การยกระดับสถาบันคลังสมองด้านความมั่นคงในขั้น นี้ จะพิจารณาแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.สภาความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อก�ำหนดโครงสร้าง บุคลากร และอ�ำนาจ/หน้าที่ ของสถาบันคลังสมองด้านความมั่นคงต่อไป โดยสรุป ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติมีความมุ่งมั่นปรารถนาที่จะเป็นองค์กรหลักในการพิทักษ์ รักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์และความมั่นคงของชาติ โดยจะเห็นได้พัฒนาการที่ส�ำคัญส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่ง ชาติข้างต้น ได้แก่ การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการก�ำหนดนโยบายให้ตอบสนองต่อทั้งค่านิยมหลักของชาติ
92
58tp_�������_SI_CMYK.indd 92
8/26/2558 BE 2:29 PM
ผลประโยชน์แห่งชาติ และตามความส�ำคัญของภัยที่อาจเกิดขึ้นได้ในประเทศ ขณะเดียวกัน การเป็นผู้เชี่ยวชาญ ในงานด้านความมัน่ คงจ�ำเป็นต้องอาศัยงานวิชาการต่างๆ ทีส่ ามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้กบั บริบทความมัน่ คงของ ประเทศ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ จึงวางแผนที่จะพัฒนากลุ่มพัฒนาองค์ความรู้ความมั่นคงให้เป็น สถาบันวิชาการด้านความมั่นคงของชาติ เพื่อให้คำ� ปรึกษา ข้อคิดเห็นและ/หรือข้อเสนอแนะด้านการรักษาความ ความมั่นคงที่อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการและน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ในทางปฏิบัติได้ นอกจากนี้ ปัจจัยที่จะช่วย ส่งเสริมความเป็นเลิศของหน่วยงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ การปรับปรุงกฎหมายให้มี ความทันสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ ซึ่งมีความล้าหลังและ ไม่เอื้ออ�ำนวยต่อการปฏิบัติงานได้อย่างทันท่วงที และในส่วนของการรักษาความมั่นคงในภูมิภาค ส�ำนักงานสภา ความมั่นคงแห่งชาติก็มิได้ละเลยการปฏิบัติหน้าที่ส�ำคัญในการเป็นเสาหลักของประชมคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน จากทุกบทบาทและหน้าที่ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติได้วางรากฐานอนาคต ความมั่นคงของประเทศไว้อย่างรอบครอบและรอบด้าน ซึ่งจะสามารถน�ำพานาวาด้านความมั่นคงไปสู่ส�ำเร็จ ได้ใน อนาคตอันใกล้ ให้สมกับเป็น สมช. ยุคใหม่ : ก้าวสู่อนาคต เพื่อประเทศไทยที่แข็งแกร่ง
๕. การจัดระบบฐานข้อมูลภาครัฐด้านความมั่นคง
เมือ่ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะรัฐมนตรีมมี ติให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง จัดท�ำฐานข้อมูลกลางโดยเชือ่ มโยงข้อมูลในการด�ำเนินงานจากฐานข้อมูลต่างๆ ให้เป็นระบบเดียวกัน โดยในกรณี ข้อมูลทีอ่ าจจะส่งผลกระทบต่องานด้านความมัน่ คง ให้มกี ารคัดกรองโดยส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ขณะ เดียวกันนายกรัฐมนตรีมีบัญชาให้ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ด�ำเนินการพิจารณาบูรณาการข้อมูลอัต ลักษณ์บุคคล (Biometric Identity Management) ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และสามารถใช้ประโยชน์ข้อมูล ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดปัญหาการสวมสิทธิ์บุคคล โดยมีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร เป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านระบบสารสนเทศ และรักษาความปลอดภัยข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ได้จัดท�ำแนวทางการจัดท�ำฐานข้อมูล และคัดกรองข้อมูลด้านความ มั่นคง ฐานข้อมูลออกเป็นส่วนฐานข้อมูลระดับนโยบาย และฐานข้อมูลในระดับการปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดการ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างหน่วยงานความมั่นคง เป็นการเสริมประสิทธิภาพการท�ำงานของหน่วยปฏิบัติการ และท�ำให้หน่วยระดับสัง่ การสามารถมองเห็นภาพกว้าง สามารถตัดสินใจได้อย่างรอบคอบ เพือ่ เพิม่ โอกาสในการ บรรลุจุดประสงค์ของนโยบายที่ออกมา และก�ำหนดนโยบายได้อย่างถูกต้อง ซึ่งโครงการน�ำร่องในการจัดท�ำฐาน ข้อมูลในระยะแรกนัน้ ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ใช้การบูรณาการฐานข้อมูลด้านการแก้ไขปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ เนื่องจากปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ถือว่าเป็นปัญหาส�ำคัญอย่างยิ่ง และข้อมูลปัญหาภาคใต้ มีจ�ำนวนมากและกระจัดกระจายกันอยู่ ไม่ได้บูรณาการกันระหว่างหน่วยงานภายในพื้นที่ ซึ่งทางเลขาธิการสภา ความมัน่ คงแห่งชาติได้เล็งเห็นถึงข้อนีจ้ งึ ได้เลือกทีจ่ ะจัดท�ำฐานข้อมูลการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็น
93
58tp_�������_SI_CMYK.indd 93
8/26/2558 BE 2:29 PM
อันดับแรก และเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เจ้าหน้าที่จากส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้เดินทาง ลงพื้นที่ จังหวัดปัตตานี และยะลา เพื่อตรวจสอบฐานข้อมูลที่มีในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อน�ำข้อมูลมา จัดจ�ำแนกประเภทข้อมูล และบูรณาการข้อมูลกันระหว่างหน่วยงานในพื้นที่ นอกจากนี้ ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ยังได้พิจารณาการบูรณาการข้อมูลอัตลักษณ์บุคคล (Biometric Identity Management) ในปัจจุบันข้อมูลอัตลักษณ์บุคคลยังมิได้บูรณาการข้อมูลอัตลักษณ์อย่าง เป็นระบบ ซึ่งท�ำให้หน่วยงานเกิดข้อจ�ำกัดในการน�ำข้อมูลไปใช้ จึงจ�ำเป็นต้องมีการบูรณาการข้อมูลอัตลักษณ์ให้ เป็นมาตราฐานเดียวกัน และสามารถใช้ประโยชน์ข้อมูลร่วมกันได้ระหว่างหน่วยงาน การบูรณาการข้อมูล อัตลักษณ์นั้น จะช่วยให้สามารถติดตามตัวบุคคลได้อย่างรวดเร็ว และยังระบุตัวบุคคลได้อย่างแม่นย�ำ ท�ำให้การ ท�ำงานของเจ้าหน้าที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้มอบหมายให้ รศ.ดร.วุฒิพงศ์ อารีกุล จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นผู้ศึกษาและพัฒนาระบบเพื่อ ใช้เก็บข้อมูลอัตลักษณ์บคุ คล นอกจากจะจัดเก็บข้อมูลลายนิว้ มือแล้ว ยังสามารถบันทึกข้อมูลสารพันธุกรรมหรือ ดีเอ็นเอ ( deoxy-ribonucleic acid; DNA) ลายฝ่ามือ และใบหน้าได้อีกด้วย ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ได้พิจารณาการจัดเก็บข้อมูลอัตลักษณ์บุคคล โดยใช้ข้อมูลจาก กรมราชทัณฑ์ กรมสอบสวนคดีพิเศษ กรมพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน และสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม เป็นโครงการน�ำร่อง ก่อนที่จะ บูรณาการกับหน่วยงานต่าง ๆ ในระยะการท�ำงานต่อไป โครงการการบูรณาการฐานข้อมูลภาครัฐด้านความมัน่ คง และ โครงการบูรณาการข้อมูลอัตลักษณ์บคุ คล (ฺBiometric Identity Management) ถือได้ว่าเป็นโครงการที่จะช่วยผลักดันให้การท�ำงานของหน่วยงาน ความมัน่ คงในระดับปฏิบตั กิ าร และระดับนโยบาย สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยในระยะ ต่อไปฐานข้อมูลภาครัฐด้านความมั่นคงจะขยายประเด็นด้านความมั่นคงออกไปในหลายๆ เรื่อง และข้อมูล อัตลักษณ์บุคคลก็จะมีการเก็บข้อมูล เชื่อมโยงข้อมูลไปหลายๆ หน่วยงาน ซึ่งท�ำให้เกิดความรวดเร็วและมีความ ถูกต้องของข้อมูลอย่างมาก อีกทั้ง เป็นการลดการใช้งบประมาณในการเก็บข้อมูลของแต่ละหน่วยงาน จะเห็น ได้วา่ โครงการจัดท�ำฐานข้อมูลภาครัฐด้านความมัน่ คงและการบูรณาการข้อมูลอัตลักษณ์บคุ คล มีความส�ำคัญมาก ในอนาคต ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. มีบทบาทอย่างมากเนื่องจากเป็นผู้รับผิดชอบ หลัก และ ออกแบบระบบจัดเก็บฐานข้อมูลในเบื้องต้น เป็นแนวทางในการด�ำเนินการในขั้นต่อไป
94
58tp_�������_SI_CMYK.indd 94
8/26/2558 BE 2:29 PM
บรรณานุกรม
95
58tp_�������_SI_CMYK.indd 95
8/26/2558 BE 2:29 PM
บรรณานุกรม นายขจัดภัย บุรุษพัฒน์. (๒๕๔๕). กว่าจะเป็นเลขา สมช. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แพร่พิทยา. นายขจัดภัย บุรุษพัฒน์. (๒๕๓๖). ผู้อพยพลี้ภัยอินโดจีน. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แพร่พิทยา. ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง. (๒๕๒๓). เข้าถึงได้จาก http://www.polsci.chula.ac.th: http://www.polsci.chula.ac.th/pitch/modernthaipolitics2012/6623.pdf ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง. (๒๕๔๔). ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. กรุงเทพฯ, ประเทศไทย: ส�ำนักงานสภา ความมั่นคงแห่งชาติ. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร. (๒๕๕๔). เอกสาร วปอ. หมายแลข ๐๐๘ คู่มือ เรื่อง ความมั่นคงแห่งชาติ. เอกสาร วปอ. หมายแลข ๐๐๘ คู่มือ เรื่อง ความมั่นคงแห่งชาติ ในการศึกษาตามหลักสูตรของ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) และหลักสูตรป้องกันราช อาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.). กรุงเทพฯ, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร. ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (๒๕๔๔). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๔๑ - ๒๕๔๔). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (๒๕๔๙). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๔๖ - ๒๕๔๙). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (๒๕๕๓). ตามรอบพระบาทชาติมั่นคง (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (๒๕๕๔). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ - ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). ค�ำบรรยายสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ค�ำบรรยายสภาความมั่นคง แห่งชาติ. กรุงเทพฯ, ประเทศไทย: ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ประกาศตั้งสภาการป้องกันพระราชอาณาจักร. (๒๔๗๐, ๓๑ กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๔๔ หน้า ๑๑๕-๑๑๗. ประกาศตั้งอุปนายกสภาการป้องกันพระราชอาณาจักร. (๒๔๗๑, ๘ เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๔๔ หน้า ๑๖-๑๗. พระราชบัญญัติสภาป้องกันราชอาณาจักร (๒๔๘๗, ๑๐ กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๖๑ ตอนที่ ๕๖. พระราชบัญญัติสภาการสงคราม (๒๔๘๗, ๑๑ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๖๑ ตอนที่ ๔. หน้า ๔๖-๔๘. พระราชบัญญัติสภาการป้องกันราชอาณาจักร (ฉบับที่2) (๒๔๙๑, ๓ กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๖๔ ตอนที่ ๗. หน้า ๗๘-๘๑.
96
58tp_�������_SI_CMYK.indd 96
8/26/2558 BE 2:29 PM
พระราชบัญญัติสภาป้องกันราชอาณาจักร (๒๔๙๙, ๓๑ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๗๓ ตอนที่ ๑๑. หน้า ๔๕-๔๙. พระราชบัญญัติสภาป้องกันราชอาณาจักร (ฉบับที่ ๒) (๒๕๐๐, ๑๒ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๗๔ ตอนพิเศษ ๑๐๖. หน้า ๑๘-๒๐. ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (๒๕๐๖, ๑๔ มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๘๐ ตอนพิเศษ ๖๐. หน้า ๒๒. พระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) (๒๕๐๗,๖ ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๘๑ ตอนที่ ๙๖. หน้า ๖๔๙-๖๕๑. ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมั่นนคงแห่งชาติ (๒๕๐๘, ๒๐ สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๘๒ ตอนพิเศษ ๖๗. หน้า ๑-๒. ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรือ่ ง การแบ่งสวนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ (๒๕๑๓, ๑๗ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๘๗ ตอนที่ ๒๒. หน้า ๘๕-๘๖. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี (๒๕๒๓, ๑๒ กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๙๗ ตอนที่ ๒๐. หน้า ๒๕-๒๗. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี (๒๕๓๗, ๑๘ กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๕ก. หน้า ๑-๖. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแหงชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี (๒๕๔๑, ๒๒ กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๖๒ก. หน้า ๑-๗. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี (๒๕๔๕, ๙ ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๑๐๓ก. หน้า ๔๙-๕๔. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี. (๒๕๕๔, ๒๐ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๓๘ก. หน้า ๑๗-๒๓. สุภางค์ จันทวานิช, พลตรี สิทธิเดช วงศ์ปรัชญา และพลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (๒๕๕๔). ม้งลาว ในประเทศไทย นโยบายและการด�ำเนินการของภาครัฐไทย (๒๕๑๘ - ๒๕๕๒). (สุภางค์ จันทวานิชและถวิล เปลี่ยนศรี, บ.ก.) กรุงเทพฯ: กรมกิจการชายแดนทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย.
97
58tp_�������_SI_CMYK.indd 97
8/26/2558 BE 2:29 PM
ส�ำนักงานสภาความมัน่ คงแห่งชาติ เลขที่ ๑ ท�ำเนียบรัฐบาล ถนนพิษณุโลก เขตดุสติ กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
พิมพ์ครัง้ เเรก จ�ำนวนหน้า จ�ำนวนพิมพ์ พิมพ์ท ี่
สิงหาคม ๒๕๕๘ ๑๐๐ หน้า ๑,๐๐๐ เล่ม ส�ำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีเเละราชกิจจานุเบกษา ถนนสามเสน เขตดุสติ กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๔๑ ๓๓๑๓, ๐ ๒๒๔๓ ๐๖๑๕ ต่อ ๑๑๒, ๑๑๓ โทรสาร ๐ ๒๒๔๓ ๐๖๑๖
98
58tp_�������_SI_CMYK.indd 98
8/26/2558 BE 2:29 PM
ทีป ่ รึกษา
นางกนกทิพย์ รชตะนันทน์ (รองเลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ) นายวีระ อุไรรัตน์ (รักษาการทีป่ รึกษาด้านนโยบายเเละยุทธศาสตร์ความมัน่ คง) นายสิทธินนั ท์ มานิตกุล (ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านการป้องกันการก่อการร้าย เเละผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ พัฒนาองค์ความรูด้ า้ นความมัน่ คง)
คณะผูจ้ ด ั ท�ำ
นายวราวุฒิ ธรรมบุตร นายธนิน เกตุทอง นางสาวสุภาวดี พัตรเกิด นางสาวกัญญณัช บูรณเบญญา นางอักษรศิริ โสภณหิรญ ั รักษ์ นายนครินทร์ เพชรสิงห์ นางสาวณัฎฐา รัตนพฤกษ์ นายสมภพ เข็มทอง นายนพรัตน์ ทรัพย์ปกรณ์ นางสาวภาวิณี ปรีดี นายกฤษณพงษ์ จิตรส่องเเสง นางสาวอาจรีย์ วิมลศิลปิน นายอนุชน เเวมประชา นางสาวปิยะนุช มิฒหิ ลี ว่าทีร่ .ต.หญิง วรนุช บุตโพธิ์ 99
58tp_�������_SI_CMYK.indd 99
8/26/2558 BE 2:29 PM
58tp_�������_SI_CMYK.indd 100
8/26/2558 BE 2:29 PM
สมช. ยุคใหม่ : ก้าวสู่อนาคต
โทรศัพท์ 02 - 629 - 8000 ต่อ 4512, 02 - 629 - 8042, 02 - 142 - 0141 โทรสาร 02 - 143 - 9350 www.nsc.go.th
สำ�นักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
กลุ่มพัฒนาองค์ความรู้ความมั่นคง สำ�นักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
สมช. ยุคใหม่ : ก้าวสู่อนาคต
สำ�นักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ Office of the National Security Council