The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
1
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
2
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
Lawyer as a social engineer and social architects. นักกฏหมายเปรียบเสมือน เป็นวิศวกรเเละสถาปนิกของสังคม 3
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
สารบัญ ส่วนน�ำ ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง สารจากประธานศาลปกครองสูงสุด สารจากเลขาธิการส�ำนักงานศาลปกครอง ภาพผูบ้ ริหารศาลปกครอง ภาพตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และภาพผูบ้ ริหารส�ำนักงานศาลปกครอง
หน้า ๕ ๖ ๘ ๑๐
โครงสร้างและอ�ำนาจหน้าทีข่ องศาลปกครองและส�ำนักงานศาลปกครอง โครงสร้างและอ�ำนาจหน้าทีข่ องศาลปกครองและส�ำนักงานศาลปกครอง สถานทีต่ งั้ อ�ำนาจหน้าทีข่ องศาลปกครอง โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของส�ำนักงานศาลปกครอง อ�ำนาจหน้าทีข่ องส�ำนักงานศาลปกครอง อัตราก�ำลังตุลาการศาลปกครองและพนักงานคดีปกครอง ลักษณะโดยรวมของบุคลากร ผลการด�ำเนินงานของศาลปกครองและส�ำนักงานศาลปกครอง ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : พัฒนาการอ�ำนวยความยุตธิ รรมทางปกครองให้เป็นทีเ่ ชือ่ มัน่ แก่สงั คมไทย ๑.๑ เสริมสร้างมาตรฐานการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองทีร่ วดเร็วและมีคณ ุ ภาพ ๑.๒ เสริมสร้างระบบการบังคับคดีตามค�ำพิพากษาหรือค�ำสัง่ ให้มปี ระสิทธิผล ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : พัฒนาหลักกฎหมายและองค์ความรูเ้ พือ่ ให้เป็นศูนย์กลางวิชาการ ด้านกฎหมายมหาชนทีเ่ ป็นทีย่ อมรับ ๒.๑ พัฒนากฎหมายและองค์ความรูด้ า้ นกฎหมายมหาชนเพือ่ สนับสนุน การพิจารณาคดีปกครองและการบริหารงานของศาลปกครอง ๒.๒ เสริมสร้างและพัฒนาการให้บริการเพือ่ ให้เป็นศูนย์กลางรวบรวมองค์ความรู ้ ทางวิชาการด้านกฎหมายมหาชนของประเทศ ๒.๓ การเสริมสร้างความสัมพันธ์และแสวงหาเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : คุม้ ครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเสริมสร้างการปฏิบตั ริ าชการทีด่ ี ให้แก่หน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ๓.๑ ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรมทางปกครองของประชาชน ๓.๒ เสริมสร้างการปฏิบตั ริ าชการทีด่ แี ก่หน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ
4
๒๑ ๒๔ ๒๖ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๘ ๓๘ ๕๖ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๒ ๗๗
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง ศาลปกครองและส�ำนักงานศาลปกครองได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช พระราชทานพระบรม ราชานุญาตให้อญ ั เชิญ “พระคทาจอมทัพ” ซึง่ เป็นพระคทาประจ�ำพระองค์ ไปประกอบ เป็นส่วนหนึง่ ของสัญลักษณ์ศาลปกครองและส�ำนักงานศาล ปกครองเพือ่ เป็นการเทิดพระเกียรติยศของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชให้สถิตสถาพรตลอดไป โดยประกอบเป็นแกนกลางดุล พาหประดิษฐาน บนพานมีชอ่ ชัยพฤกษ์อยูด่ า้ นล่างภายในขอบวงรี ซึง่ มี ความหมายของตราสัญลักษณ์ ดังนี
วงรี
มาจากวงกลมที่รีเป็นรูปไข่ หมายถึง วงกลมที่มีการเคลื่อนไหว หมุนไปตลอดเวลา เป็นการพัฒนาการอย่างไม่หยุดนิง่ มีความก้าวหน้าอยูเ่ สมอ
ดุลพาหดุล หรือตาชัง่ เป็นเครือ่ งหมายวัดหาความเสมอกัน หมายถึง การสมดุลเสมอ ภาค มีความเป็นธรรมและไม่เอนเอียงแก่ฝา่ ยใด พระคทาจอมทัพ เป็นพระคทาประจ�ำพระองค์ในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเป็นเครื่องหมายแสดงว่าศาลปกครองและ ส�ำนักงานศาลปกครองได้จัดตั้งขึ้นส�ำเร็จในรัชกาลของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเพื่อให้ความยุติธรรมแก่ประชาชนในพระ ปรมาภิไธยพระมหากษัตริยก์ บั ทัง้ เป็นมิง่ ขวัญเครือ่ งเตือนใจให้ตลุ าการ ศาลปกครองและข้าราชการฝ่ายศาลปกครองปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุ เจตนารมณ์ในการจัดตั้งศาลปกครอง
พาน ใช้สำ� หรับอัญเชิญสิง่ ส�ำคัญ ซึง่ ได้แก่ การอัญเชิญพระ
คทาจอมทัพซึง่ เป็นพระคทาประจ�ำพระองค์ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ช่อชัยพฤกษ์ เป็นช่อใบไม้ใช้สวมหัวเมื่อมี
ชัยชนะ หมายถึง ความมีชัยชนะในการคิดและการ ด�ำ เนิ น การแห่ งสรรพกิจทั้งปวงของศาลปกครองและ ส�ำนักงานศาลปกครอง 5
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
Justice is the Constant and perpetual wish to render everyone his due. ความยุติธรรม คือ เจตจำ�นงอันเเน่วเเน่ตลอดกาล ที่จะมอบให้เเก่ทุกคนตามที่บุคคลนั้นควรจะได้รับ 6
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
7
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
สารจากประธานปกครองสูงสุด
นับเป็นเวลากว่า ๑๒ ปี ตัง้ แต่ศาลปกครองเปิดท�ำการเมือ่ วันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๔๔ ถึงแม้จะเป็นช่วง เวลาที่ ไม่ยาวนานนัก แต่หากย้อนประวัตคิ วามเป็นมาแล้วจะพบว่า ศาลปกครองผ่านอุปสรรคและการเปลีย่ นแปลง อย่างมากมายตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ศาลปกครองถือเป็นความท้าทายที่จะต้องเดินหน้ามุ่งมั่นปรับปรุง ประสิทธิภาพในการอ�ำนวยความยุติธรรมทางปกครอง โดยยึดถือความถูกต้องเป็นธรรม เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ศรัทธาให้กบั ประชาชน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นอีกหนึง่ ปีแห่งความส�ำเร็จของศาลปกครอง จากผลการ ส�ำรวจความเชือ่ มัน่ ของประชาชนทีม่ ตี อ่ การอ�ำนวยความยุตธิ รรมทางปกครองพบว่า ประชาชนมีความเชือ่ มัน่ ต่อ ศาลปกครองเพิม่ มากขึน้ ทุกปี และเมือ่ เปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานด้านการพิจารณาคดีทผี่ า่ นมา ศาลปกครอง มีปริมาณคดีทพี่ จิ ารณาคดีแล้วเสร็จสูงขึน้ ทุกปีอย่างต่อเนือ่ งโดยผลการพิจารณาคดีในภาพรวมตัง้ แต่เปิดท�ำการถึง วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ศาลปกครองได้พจิ ารณาคดีเเล้วเสร็จ ๗๔,๒๘๘ คดี โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึง่ เป็นปีทมี่ ี คดีรบั เข้าสูก่ ารพิจารณาคดีของศาลปกครองมากทีส่ ดุ จ�ำนวน ๑๓,๐๒๐ คดี ศาลปกครองสามารถพิจารณาคดีแล้ว เสร็จ ๙,๗๒๑ คดี สูงกว่าปีทผี่ า่ นมาและยังเป็นปีทศี่ าลปกครองสามารถพิจารณาพิพากษาคดีและบังคับคดีปกครอง แล้วเสร็จได้มากทีส่ ดุ นอกจากนีใ้ นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นปีทศี่ าลปกครองก�ำหนดให้เป็น “ปีแห่งการพัฒนา คุณภาพการให้ บริการประชาชน และการสื่อสารสาธารณะ” เป็นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการคดีการส่งเสริมการเข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรมทางปกครองให้รวดเร็วและทัว่ ถึง ตลอดจนการพัฒนาบุคลากร และการปรับปรุงระบบการท�ำงาน อาทิการก�ำหนดให้ลดกรอบเวลามาตรฐานในการพิจารณาคดีให้นอ้ ยกว่า ๒ ปี การก�ำหนดเป้าหมาย ในการจัดการคดีและการเร่งรัดพิจารณาคดีทคี่ า้ งการพิจารณาเกินกรอบเวลามาตรฐาน โดย มีเป้าหมายเพือ่ มุง่ ยกระดับ มาตรฐานและลดขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านด้านการให้บริการประชาชนและงานธุรการศาล และให้ประชาชนสามารถเข้าถึงศาลปกครองได้โดยง่ายและสะดวกรวดเร็วยิง่ ขึน้ ด้วยในโอกาสทีส่ ำ� นักงานศาลปกครองได้จดั ท�ำรายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองและส�ำนักงาน ศาลปกครองประจ�ำปี ๒๕๕๖ เพือ่ เสนอต่อคณะรัฐมนตรี สภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒสิ ภาและเผยแพร่ ผลการ ด�ำเนินงานต่อสาธารณะจึงขอขอบคุณคณะผูบ้ ริหาร ตุลาการศาลปกครองและข้าราชการ ฝ่ายศาลปกครอง ทุกท่านทีไ่ ด้มงุ่ มัน่ ตัง้ ใจ และทุม่ เทในการปฏิบตั งิ านอ�ำนวยคว�ำมยุตธิ รรมท�ำงปกครองให้กบั ประชาชนอย่าง เข้มแข็งรวมทั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ�่ำยที่ได้ส่งเสริมและให้การสนับสนุนงานของศาลปกครองมาโดยตลอด และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าจะได้รบั ความร่วมมือและการสนับสนุนอย่างต่อเนือ่ งตลอดไป
นายหัสวุฒิ วิฑติ วิรยิ กุล ประธานศาลปกครองสูงสุด
8
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
Reason is the soul of law; the reason of law being changed, the law is also changed. เหตุผลคือวิญญาณเเห่งกฏหมาย เมื่อเหตุผลของกฏหมายเปลี่ยนเเปลงไป กฏหมายก็ย่อมเปลี่ยนเเปลงไปด้วย
9
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
ผู้บริหาร ศาลปกครองสูงสุด
ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗
นายหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล ประธานศาลปกครองสูงสุด
นายเกษม คมสัตย์ธรรม รองประธานศาลปกครองสูงสุด
นายวิชัย ชื่นชมพูนุท รองประธานศาลปกครองสูงสุด
10
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด
ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗
นายนพดล เฮงเจริญ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
นายวรวิทย์ กังศศิเทียม ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
นายวราวุธ ศิริยุทธ์วัฒนา ตุลาการศาลปกครองสูงสุดด
นายสุเมธ รอยกุลเจริญ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
นายสมชาย งามวงศ์ชน ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
นายสุชาติ มงคลเลิศลพ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
11
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
โครงสร้างเเละอำ�นาจหน้าที่ ของศาลปกครอง เเละสำ�นักงานศาลปกครอง
12
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
โดย : กองบรรณาธิการ
การฟ้องคดี ถือหลักว่าให้ กระท�ำ ได้โดยง่าย ไม่มีข้อยุ่งยาก
อ�ำนาจหน้าที่ของศาลปกครอง ศาลปกครองมีอ�ำนาจพิจารณาพิพากษา “คดีปกครอง” ซึ่งได้แก่ คดีใน ลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1. คดีพิพาทอันเนื่องมาจากการกระท�ำทางปกครองฝ่ายเดียว อันได้แก่ การใช้อำ� นาจทีห่ น่วยงานหรือเจ้าหน้าทีข่ องรัฐสามารถด�ำเนินการได้เองฝ่ายเดียว โดยไม่จ�ำเป็นต้องให้เอกชนยินยอมเสียก่อน ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎ เช่น กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ระเบียบข้อบังคับต่างๆทีม่ ผี ลบังคับเป็นการทัว่ ไป หรือการออกค�ำสั่งทางปกครอง เช่น ค�ำสั่งอนุญาต อนุมัติ ค�ำสั่งแต่งตั้ง ฯลฯ 2. คดีพิพาทอันเนื่องมาจากสัญญาทางปกครอง เช่น สัญญาสัมปทาน สัญญาที่หน่วยงานของรัฐจ้างให้เอกชนสร้างสะพาน สร้างถนน 3. มาจากการกระท�ำละเมิดทางปกครอง หรือความรับผิดอย่างอื่นของ หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ เช่น ทางราชการออกค�ำสั่งปิดโรงงานและ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของโรงงาน หรือเจ้าหน้าทีล่ ะเลยหรือต่อใบอนุญาต ให้ผปู้ ระกอบการล่าช้าเกินสมควรจนเป็นเหตุให้ผปู้ ระกอบการได้รบั ความเสียหาย 4. คดีพพิ าทอันเนือ่ งมาจากการละเลยต่อหน้าทีห่ รือปฏิบตั หิ น้าทีล่ า่ ช้าเกิน สมควร เช่น ในเรือ่ งทีม่ กี ฎหมายก�ำหนดเวลาให้เจ้าหน้าทีต่ อ้ งด�ำเนินการให้เสร็จ ภายใน 30 วัน หรือแม้กระทั่งในเรื่องที่กฎหมายไม่ได้ก�ำหนดเวลาเอาไว้ แต่โดย ปกติสามารถด�ำเนินการให้เสร็จในระยะเวลาหนึ่ง แต่ปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ไม่ได้ ด�ำเนินการใดๆจนเวลาล่วงเลยไปหลายเดือน 5. คดีพิพาททางปกครองอื่นๆ เช่น คดีที่มีกฎหมายก�ำหนดไว้โดยเฉพาะ ว่าให้อยูใ่ นเขตอ�ำนาจศาลปกครอง หรือให้หน่วยงานทางปกครองต้องฟ้องคดีตอ่ 13
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
นอกจากสามารถยื่นฟ้องได้ด้วยตนเอง ต่อเจ้าหน้าที่ของศาลปกครองแล้ว ผู้ฟ้องคดีอาจใช้วิธีส่งค�ำฟ้องทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก็ได้
ศาลเพื่อบังคับบุคคลให้กระท�ำหรือละเว้นกระท�ำการอย่างหนึ่งอย่างใด คดี ปกครองเหล่านี้ กฎหมายก�ำหนดว่า ให้อยู่ในอ�ำนาจพิจารณาพิพากษาของ ศาล ปกครองชั้นต้น ส�ำหรับศาลปกครองสูงสุดนั้น กฎหมายก�ำหนดให้มีอ�ำนาจพิจารณา พิพากษาคดีดงั ต่อไปนี้ 1. คดีทอี่ ทุ ธรณ์คำ� พิพากษาหรือค�ำสัง่ ของศาลปกครองชัน้ ต้น 2. คดีพพิ าทเกีย่ วกับค�ำวินจิ ฉัยของคณะกรรมการวินจิ ฉัยข้อพิพาท 3. คดีพพิ าทเกีย่ วกับความชอบด้วยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกา หรือกฎ ทีอ่ อกโดยคณะรัฐมนตรี หรือโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี 4. คดีทกี่ ฎหมายก�ำหนดไว้เฉพาะให้อยูใ่ นอ�ำนาจศาลปกครองสูงสุด กล่าวอย่างง่ายๆก็คอื ศาลปกครองชัน้ ต้นจะเป็นศาลทีม่ อี ำ� นาจทัว่ ไปในการ พิจารณาคดีปกครอง โดยเป็นศาลแรกทีค่ กู่ รณีจะน�ำคดีมาฟ้อง ส่วนศาลปกครอง สูงสุดก็จะเป็นศาลสูง ทีค่ อยตรวจสอบค�ำพิพากษาของศาลปกครองชัน้ ต้นอีกครัง้ หนึง่ หากคูก่ รณีไม่พอใจค�ำพิพากษาของศาลปกครองชัน้ ต้น และเป็นศาลทีม่ อี ำ� นาจ พิจารณาพิพากษาคดีบางประเภททีม่ ี
ความส�ำคัญเป็นพิเศษ
ส่วนเรื่องที่ไม่อยู่ในอ�ำนาจศาลปกครองนั้นมีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท ได้แก่ เรื่องการด�ำเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร เรื่องการด�ำเนินการของคณะกรรมการ ตุลาการ (ก.ต.) หรือคดีที่อยู่ในอ�ำนาจศาลช�ำนัญพิเศษ เช่น ศาลเยาวชนและ ครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้า ระหว่างประเทศ และศาลล้มละลาย
การฟ้องคดีปกครอง
การฟ้องคดีถือหลักว่าให้กระท�ำได้โดยง่าย ไม่มีข้อยุ่งยากการฟ้องคดี ปกครองนัน้ ไม่มหี ลักเกณฑ์ทซี่ บั ซ้อนให้เป็นภาระแก่ผปู้ ระสงค์จะฟ้องคดี เว้นแต่ เงื่อนไขบางประการที่ต้องก�ำหนดเป็นกรอบในการด�ำเนินคดี อีกทั้งยังเสียค่าใช้ 14
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
จ่ายน้อยหรืออาจไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเลย และยังไม่บังคับให้ ต้องมีทนายความในการฟ้องคดีอีกด้วย
เงื่อนไขในการฟ้องคดี
ถึงแม้ว่าการฟ้องคดีปกครองจะกระท�ำได้โดยง่าย แต่ก็มี ความจ�ำเป็นที่ต้องก�ำหนดเงื่อนไขบางประการเอาไว้ ทั้งนี้ เพื่อ มิให้มีการกลั่นแกล้งฟ้องคดีกันอย่างพร�่ำเพรื่อหรือโดยไม่มีมูล ใดๆ ซึ่งจะเป็นการสร้างความยุ่งยากให้กับผู้ถูกฟ้องคดีและยัง เป็นภาระแก่ศาล หรือเพื่อให้การแก้ไขความเดือดร้อนเสียหาย เป็นระบบและมีความชัดเจน เงื่อนไขเหล่านี้ กฎหมายก�ำหนด ไว้เพียง 4 ประการเท่านั้น ได้แก่
1. ผู้ฟ้องคดี
ต้องเป็นผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย หรืออาจจะ เดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลีย่ งได้จากการกระท�ำหรือ การงดเว้นการกระท�ำของทางราชการ หรือเป็นผู้ที่มีข้อโต้แย้ง เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง หรือเป็นผู้ที่มีข้อโต้แย้งอื่นใดที่ กฎหมายก�ำหนดให้ฟ้องต่อศาลปกครอง
หากในเรื่องที่จะฟ้องคดีนั้นมีกฎหมายก�ำหนดให้ต้อง ด�ำเนินการอย่างใดเพือ่ แก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายนัน้ เสีย ก่อน ผู้ฟ้องคดีก็ต้องด�ำเนินการเช่นนั้นให้เสร็จสิ้นแล้วจึงจะมี สิทธิมาฟ้องคดีต่อศาลได้ การยื่นฟ้อง นอกจากสามารถยื่นฟ้องได้ด้วยตนเองต่อเจ้าหน้าที่ของ ศาลปกครองแล้ว ผู้ฟ้องคดีอาจใช้วิธีส่งค�ำฟ้องทางไปรษณีย์ลง ทะเบียนก็ได้ ส่วนปัญหาที่ว่าจะต้องยื่นฟ้องต่อศาลใดนั้น ถ้าเป็นคดีที่ อยู่ในเขตอ�ำนาจของศาลปกครองชั้นต้น ก็ถือหลักง่ายๆว่าจะ ต้องยื่นฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้นที่ผู้ฟ้องคดีมีภูมิล�ำเนา หรือ ทีม่ ลู คดีเกิดขึน้ ถ้าเป็นคดีทอี่ ยูใ่ นอ�ำนาจของศาลปกครองสูงสุด ก็ต้องยื่นฟ้องโดยตรงต่อศาลปกครองสูงสุด เว้นแต่การยื่น อุทธรณ์ค�ำพิพากษาของศาลชั้นต้นจะต้องยื่นอุทธรณ์ต่อศาล ปกครองชั้นต้นที่มีค�ำพิพากษานั้นๆ
2. ระยะเวลาการฟ้องคดี
ต้องฟ้องภายในระยะเวลาทีก่ ฎหมายก�ำหนด ซึง่ โดยหลัก คือ ภายใน 90 วันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี หรือภายใน 1 ปี ในกรณีทฟี่ อ้ งคดีเกีย่ วกับการกระท�ำละเมิดหรือ ความรับผิดอย่างอืน่ ของทางราชการ หรือในกรณีทฟี่ อ้ งคดีเกีย่ ว กับสัญญาทางปกครอง
3. ค�ำฟ้อง
ไม่มแี บบฟอร์มบังคับโดยเฉพาะ เพียงแต่มเี งือ่ นไขว่าต้อง ใช้ถอ้ ยค�ำสุภาพและต้องมีเนือ้ หาสาระให้เข้าใจได้วา่ เป็นค�ำฟ้อง ซึ่งประกอบด้วยชื่อและที่อยู่ของผู้ฟ้องคดีและของหน่วยงานที่ เป็นเหตุแห่งการฟ้องคดี การกระท�ำที่เป็นเหตุแห่งการฟ้องคดี พร้อมข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ตามสมควร ค�ำขอว่าประสงค์ จะให้ศาลสั่งอย่างไรเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนเสียหายของตน และต้องลงลายมือชื่อของผู้ฟ้องคดี
การด�ำเนินคดีในศาลปกครอง
การด�ำเนินคดีในศาลปกครองนัน้ การแสวงหาข้อเท็จจริง และพยานหลักฐานให้ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนเป็นสิง่ ส�ำคัญ ที่สุด เพราะนิติสัมพันธ์ระหว่างทางราชการกับเอกชนไม่เท่า
4. การขอให้มีการแก้ไขเยียวยาใน เบื้องต้นก่อนน�ำเรื่องมาฟ้องศาลปกครอง
15
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
เทียมกัน ท�ำให้ต้องใช้ระบบวิธีพิจารณาแบบไต่สวนดังที่กล่าว มาแล้ว ควบคู่กับหลักการให้สิทธิโต้แย้งหรือหลักการฟังความ สองฝ่าย ด้วยเหตุนี้ หากผู้ฟ้องคดีไม่สามารถเสนอข้อเท็จจริง และพยานหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้องได้อย่างเต็มที่ เพราะเอกสารหลัก ฐานอยู่ในความครอบครองของทางราชการ ก็สามารถระบุเหตุ ขัดข้องเพื่อที่ศาลจะด�ำเนินการให้ได้พยานหลักฐานนั้นต่อไป หรือเมือ่ ทางราชการมีคำ� ชีแ้ จงหรือข้อโต้แย้งอย่างใด จะต้องให้ ผู้ฟ้องคดีได้รับทราบโดยผู้ฟ้องคดีสามารถชี้แจงแสดงความคิด เห็น พร้อมทั้งเสนอพยานหลักฐานของตนได้ และในการนั่ง พิจารณาคดีครั้งแรกก็ยังเปิดโอกาสให้คู่กรณีทั้งสองฝ่ายน�ำ พยานหลักฐานมาสืบประกอบค�ำแถลงของฝ่ายตน และอาจมา แถลงด้วยวาจาต่อหน้าศาลได้อีกด้วย นอกจากนัน้ ระบบวิธพี จิ ารณาคดีปกครองยังให้มกี ารถ่วง ดุลการใช้อำ� นาจระหว่างตุลาการศาลปกครองด้วยกัน เพือ่ ตรวจ สอบความสมบูรณ์ถกู ต้องของข้อเท็จจริง กล่าวคือ โดยหลักแล้ว ตุลาการเจ้าของส�ำนวน จะเป็นผู้มีบทบาทอย่างส�ำคัญในการ แสวงหาและรวบรวมข้อเท็จจริง แต่จะต้องเสนอข้อเท็จจริงนั้น ต่อตุลาการอืน่ ทีป่ ระกอบเป็นองค์คณะ และต่อ ตุลาการผูแ้ ถลง คดี ซึ่งมิใช่ตุลาการในองค์คณะนั้นได้พิจารณาด้วย ส�ำหรับใน 16
The Administrative Court Annual Report 2014 รายงานการปฏิบตั งิ านของศาลปกครองเเละสำ�นักงานศาลปกครอง ประจำ�ปี 2557
17