แนวปฏิ บั ติ ของนิ สิ ตสหกิ จศึ กษาเกี่ ยวกั บ
วัฒนธรรมองค์กร
ก่อเกียรติ ขวัญสกุล : เรียบเรียง
2
สหกิจศึกษาให้้อะไรมากกว่าที่คิด แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ส
หกิจศึกษา เป็นระบบการศึกษาที่เน้นการปฏิบัติงานจริงใน
หน่วยงาน หรือ สถานประกอบการ โดยนิสิตถูกส่งตัวเข้า รับการปฏิบัติงานจริงเป็นเวลา 4 เดือน มีสถานภาพเหมือน พนักงานลูกจ้างปฏิบัติงานภายใต้กฎระเบียบของบริษัท ที่มีสายงานตรง ตามสาขาวิชาที่ได้เรียนมา หรือตามความถนัดของตนเอง
1 ประสบการณ์การทำ�งาน การได้โอกาสปฏิบตั งิ านจริงในหน่วยงาน ขณะทีเ่ ป็นนิสิต เป็น สิง่ ทีไ่ ม่สามารถจำ�ลองได้ในห้องเรียน เป็นการได้สมั ผัสกับการทำ�งาน อย่างแท้จริง ได้่ร่วมงานกับผู้อื่น ได้ศึกษาวัฒนธรรมขององค์กรของ แต่ละแห่ง นิสติ จะได้คดิ ได้ลงมือปฏิบตั งิ าน ภายใต้ความกดดัน เพือ่ ฝึกทักษะ กระบวนการแก้ปัญหา การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรูท้ เี่ รียนมาใช้ในการปฏิบตั งิ านและเรียนรูก้ าร แก้ปัญหาที่พบในการทำ�งานอย่างเป็นรูปธรรม
3
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
“
“
การปฏิบัติงานสหกิจศึ กษานั้น ไม่ได้ส�ำคัญเพี ยงการได้ผลการเรียนที่ ผ่าน แต่นิสิตจะได้รับสิ่ งต่าง ๆ อย่างมาก ดังนี้
2 ความรู้ (นอกห้องเรียน) สิง่ ทีเ่ รียนมาอาจจะไม่ได้ใช้ในการปฏิบตั งิ านจริง การทำ�งาน บางอย่าง นิสิตอาจจะต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น การได้ปฏิบัติ งานเป็นเสมือนการได้รับการเรียนรู้ การเริ่มต้นของการทำ�งาน จริง ได้เรียนรูเ้ ทคนิค หรือเครือ่ งมือใหม่ ๆ ทีไ่ ม่มสี อนในห้องเรียน และที่บรรจุไว้ในหลักสูตร รวมถึงการได้เข้าใจระบบโครงสร้างการ ทำ�งานต่าง ๆ ท่ีมีโอกาสได้สัมผัส
4
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
3 เกิดสายสัมพันธ์ที่ดี เกิดมิตรภาพและสายสัมพันธ์ ทั้งตัวบุคคล บุคลากรพี่เลี้ยง ผู้บังคับบัญชาหน่วยงาน เพื่อนต่างสถาบัน รวมถึงบุคลากรทุกฝ่าย ทีไ่ ด้มสี ว่ นเกีย่ วข้องในหน้าทีก่ ารทำ�งาน ผลทีไ่ ด้อาจเกิดขึน้ ทันที หรือ หลังจากสำ�เร็จการศึกษา เกิดเป็นเครือข่ายการทำ�งานทีด่ ที จี่ ะช่วยใน การติดต่อประสานงานด้านต่าง ๆ เกิดผลสำ�เร็จ สามารถถ่ายทอด และเเลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ที่ได้อย่างภาคภูมิใจ
ที่มา https://xn--12cas3c2av3m3a0g7c.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3 9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%
5
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
4
การใช้ชีวิต/โอกาส
นิสิตที่ไปปฏิบัติงานต่างถิ่น จะได้เรียนรู้การปรับตัว ปรับวิถีชีวิต ถือเป็นอีกบทเรียนล้ำ�ค่าของการปฏิบัติงาน และ สิง่ สำ�คัญทีต่ ามมา ก็คอื อาจได้โอกาสพิจารณาบรรจุเข้าทำ�งาน ดังนัน้ การได้แสดงผลงาน ความรู้ ความสามารถ ความรับผิด ชอบ ความเอาใจใส่ใฝ่เรียนรู้ ถือเป็นสิ่งสำ�คัญที่เปิดโอกาสดี ในการรับพิจารณาบรรจุเข้าทำ�งาน หรือผลดีต่อการรับรุ่นน้อง ที่จะเข้ามาปฏิบัติงานในปีต่อ ๆ ไป การเลื อ กสถานที ป ฏิ บั ติ ง านที่ ต รงกั บ ความรู้ ความ สามารถ แล้วใส่ใจกับการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ อาจเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ และทำ�ให้ชีวิตมีคุณค่ามากขึ้น
3%E0%B8%9D%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B %A3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88/
6
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ความสำ�คัญของการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 1. นิสิตได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่รับผิดชอบต่อตนเอง สาขาวิชา คณะ และสถาบัน 2. นิสิตได้ฝึกการใช้้และเพิ่มพูนทักษะความรู้ที่จำ�เป็น ก่อนการทำ�งานจริง เมื่อสำ�เร็จการศึกษา 3. นิสิตได้ฝึกปฏิบัติงานภายใต้ กฎ ระเบียบวินัยในการ ทำ�งานที่เข้มงวด 4. นิสิตได้ฝึกปฏิบัติงานที่ต้องมีความรับผิดชอบสูง มี ขอบเขตงานในหน้าที่เป็นตัวกำ�หนดความสำ�เร็จ ที่อาจไม่ สามารถแก้ตัวใหม่ซ้ำ� ๆ ได้ 5. นิสิตได้ฝึกปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นในสังคมการทำ�งาน ที่แท้จริงและได้เรียนรู้วัฒนธรรมองค์กรที่ต่างจากที่เคย สัมผัส 6. นิสิตได้รับโอกาสให้แสดงความรู้ ความสามารถตลอด จนทักษะต่าง ๆ ที่มี ให้ผู้อื่นได้ประจักษ์ และยอมรับ
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน
1. งานสหกิจศึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษา
2. บุคลากรพี่เลี้ยง
3. หัวหน้างานและผู้บริหารหน่วยงาน
- งานสหกิจศึกษาจะทำ�หน้าที่ประสานงานระหว่างหน่วยงาน นิสิด และ อาจาร ย์ที่ปรึกษา เพื่อให้คำ�ปรึกษาในเรื่องต่าง ๆ ประสานงานกับบุคลากรพี่เลี้ยง และ อาจารย์ที่ปรึกษา ติดตามนิเทศรับทราบผลการปฏิบัติงาน ความก้าวหน้า รับทราบถึง ปัญหาต่าง ๆ ของนิสิตให้คำ�ปรึกษา ผลงานโครงการที่ต้องนำ�เสนอ ตรวจบันทึกการ ลงเวลาและบันทึกการปฏิบัติงานของนิสิต - ปฐมนิเทศนิสิต ให้คำ�แนะนำ�ถึงลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ กฎ ระเบียบต่าง ๆ การวางตน ตลอดจนแจ้งถึงข้อมูลต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั ิ หน้าที่ เช่น โครงสร้างการบริหารงาน บุคลากรฝ่ายต่าง ๆ สถานที่ สวัสดิการ ให้คำ�ปรึกษาและตรวจผลงานโครงการที่ต้องนำ�เสนอ ตรวจบันทึกการลงเวลา และบันทึกการปฏิบตั งิ าน และผลการปฏิบตั งิ าน จัดเวลาให้นสิ ติ ได้พบปะปรึกษาหารือ เพื่อให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ให้คำ�แนะนำ�ด้านการทำ�งาน ให้กำ�ลังใจ เปิดโอกาส ให้นิสิตใช้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ชี้แนะแนวทางแก้ปัญหา - กำ�หนดนโยบาย บริหาร จัดการเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ช่วยแก้ปัญหาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในเรื่องทั่วไป
7
8
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ข้อคิดและการเตรียมความพร้อม 1. ศึกษา ทำ�ความรู้จักกับหน่วยงาน สถานประกอบการ ประวัติ ที่ตั้ง ลักษณะงาน โครงสร้างหน่วยงาน ขอบข่าย งาน งานที่ต้องรับผิดชอบข้อมูลที่พัก การเดินทางไป-กลับ 2. ตรวจสอบวัน เวลา และสถานที่รายงานตัว เอกสาร หลักฐานสำ�คัญต่าง ๆ ขั้นตอน แนวปฏิบัติในการ เข้ารายงานตัว การแต่งกาย 3. ศึกษากฎ ระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงาน ศึกษากฎระเบียบของหน่วยงานและของสาขาวิชาให้ชดั เจน และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด 4. ตรงต่อเวลา วางแผนเกี่ยวกับเวลา ตั้งแต่เริ่มเข้ารายงานตัววันแรก การ ลงเวลาปฎิบัติงาน ไปก่อนเวลาและไม่กลับก่อนเวลาเลิกงาน รู้จักการวางแผนงานที่ได้รับมอบหมายให้แล้วเสร็จทันตามเวลา ที่กำ�หนดอย่างมีคุณภาพ
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
5. ประสานงานผู้ดูแลการปฏิบัติงานในหน่วยงาน เมือ่ เข้ารายงานตัว จะต้องทำ�ความรูจ้ กั กับหัวหน้างานผูด้ แู ลการ ปฎิบัติกงานทุกฝ่าย และพี่เลี้ยงที่สามารถสอบถาม และแจ้งปัญหา ต่าง ๆ ที่พบให้ทราบได้ทันที หาโอกาสพบปะบุคคากรฝ่ายอื่น ๆ รวม ถึงเพือ่ นต่างสถาบัน เพือ่ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ และจดจำ�บทเรียน ต่าง ๆ 6. กำ�หนดเป้าหมายของตนเอง มีการกำ�หนดเป้าหมายการปฎิบัติงานของตนเองให้ชัดเจนว่า ต้องการเรียนรูป้ ระสบการณ์ดา้ นใด เพือ่ ตัง้ เป้าให้ ได้วา่ เมือ่ สิน้ สุดการ ปฏิบัติงานแล้วจะเกิดประสบการณ์ท่ีดีและได้รับความรู้ในเรื่องใด 7. ศึกษางานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ ศึกษารายละเอียดที่ อธิ บ ายหน้ า ที่ ค วามรั บผิ ด ชอบ (job description) สภาพการทำ�งาน ลักษณะของงานทีส่ �ำ คัญ และเตรียม ความรู้ ทักษะให้พร้อม
9
10
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 4 เดือน เอกสาร ประกอบการออกปฏิบัติงาน - บัตรนิสิต, บัตรประจำ�ตัวประชาชน - เอกสารจากคณะ และภาควิชาที่ใข้ยื่นต่อ หน่วยงานในการปฏิบัติงานวันแรก - หนังสือส่งตัวเข้ารับการปฏิบัติงาน - แบบประเมินการออกปฏิบัติงาน - เอกสารสำ�หรับตัวนิสิต - สมุดลงเวลา - บันทึกประจำ�วัน - คู่มือแนวทางการปฎิบัติงาน - หรือตามที่คณะกำ�หนด
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
การนิเทศ (Supervision) การนิเทศ เป็นการออกไปเยี่ยม เพื่อให้ความช่วยเหลือ การให้คำ�แนะนำ�และการปรับปรุง เพื่อให้งานบรรลุตาม วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานที่กำ�หนดไว้
จุดมุ่งหมายของการนิเทศ
1. เพื่อเยี่ยม สร้างขวัญและกำ�ลังใจ 2. เพื่อรับทราบปัญหาและหาแนวทางแก้ ไขปัญหา 3. เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการจัดทำ�รายงาน และโครงการ
11
12
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
สิ่ งที่บุคคลในองค์กรปฏิบัติเหมือนๆกัน จนเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะขององค์กรนั้ น โดยเกิดจากการผสมผสานกัน ระหว่าง เจตคติ ค่านิ ยม ความเชื่อ ปทัสถาน ที่จะทำ�ให้การดำ�เนิ นงานขององค์กรก้าวหน้า ได้รับความเชื่อถือ มีภาพพจน์ที่ดี อันนำ �มาซึ่งชื่อเสี ยง เกียรติยศและความก้าวหน้า ในระยะยาวขององค์การ
“
“
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร : ความหมาย
เจตคติ
ท่าทีหรือความรู้สึกของบุคคล ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความคิด ความเชื่อ ความคิดเห็นความรู้สึกของบุคคล ต่อสิ่งใดๆ คนหนึ่งคนใด สถานการณ์ใดๆ ที่มีแสดงออก เรียกว่า ทัศนคติ
ค่านิยม
เป็นเจตคติและความเชื่อที่ฝังลึกในชีวิตของบุคคล และมีอิทธิพล ต่อพฤติกรรมของบุคคลในทุกด้าน
ปทัสถาน/บรรทัดฐาน
แบบแผน กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ที่สังคมกำ�หนดไว้ เพื่อเป็นแนวทางให้สมาชิกในสังคมยึดถือและปฏิบัติ
13
14
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
บรรทัดฐานที่เป็นวิถีชาวบ้าน กฎเกณฑ์หรือข้อบังคับของสังคมที่ไม่ได้เขียนไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร แต่สมาชิกจะเข้าใจกันเป็นอย่างดี
บรรทัดฐานที่เป็นจารีตประเพณี แนวทางในการปฏิบัติที่อ้างกฎศีลธรรมทางศาสนา และค่านิยมของสังคมปฏิบัติ ถ้าไม่ปฏิบัติตาม หรือฝ่าฝืนจะถูกคนในสังคมรังเกียจ
บรรทัดฐานที่เป็นกฎ ระเบียบ กฎเกณฑ์หรือข้อบังคับของสังคม ที่มีการเขียนไว้ เป็นลายลักษณ์อักษรหรือเป็นกฎหมาย มีข้อกำ�หนดหรือการลงโทษผู้ที่ไม่ปฏิบัติตาม
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
15
16
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
วัฒนธรรม (Culture) คือ สิ่งที่คนทั่วไปในสังคมปฏิบัติสืบต่อกันมา แต่ไม่ได้ยึดติดถาวร เปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา เช่น วัฒนธรรมการกิน แต่ก่อนใช้มือ ปัจุบันใช้ช้อน การแต่งกาย แต่ก่อนนุ่งโสร่ง ปัจจุบันสวมเสื้อ กางเกง
ประเพณี (Tradition) คือ สิ่งดีงาม ความถูกต้องที่เรายึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจาก อดีตสู่ปัจจุบัน เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีรับน้องของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ
ธรรมเนียม (Custom) คือ สิ่งที่ยึดถือปฏิบัติกันในกลุ่มเฉพาะ อาจเป็นสิ่งที่ดีงาม หรือไม่เป็นสิ่งที่ดีงาม ในสายตากลุ่มอื่น หากแต่สิ่งนั้นได้รับการยอมรับกันในหมู่คนที่มีส่วนร่วมในกลุ่มนั้น เช่น ธรรมเนียมรับน้องของวิศวะฯ จุฬาฯ ต่างกับธรรมเนียมรับน้องของวิศวะฯ ของ มมส
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
17
18
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ความสำ �คัญของ
วัฒนธรรมองค์กร เป็ นปัจจัยที่สำ�คัญในองค์กรที่ใช้เป็ นแนวคิด
เพื่ อช่วยยึดเหนี่ ยว และเป็ นทิศทางกำ�กับการทำ�งาน สำ �หรับคนทั้งองค์กร โดยวัฒนธรรมองค์กรจะช่วยปรับ แนวปฏิบัติของแต่ละคนให้ตัดสิ นใจไปในทางเดียวกัน
“
“
ยิ้ม ไหว้ ทักทาย สวัสดี
19
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
มุ่ง นำ�
มุ่ง พัฒนาอยู่เสมอ นำ� เสนอสิ่งที่ดีที่สุดแก่ลูกค้า
ทำ� ให้
ทำ� ด้วยความซื่อสัตย์และจรรยา ให้ ความเคารพในคุณค่าของคน
20
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
วัฒนธรรมองค์กร ส่วนที่มองเห็นได้ (Visible) สิ่งที่องค์กรสร้างขึ้นร่วมกัน เช่น เครื่องแบบ ยูนิฟร์อม การแต่งกาย สิ่งประดิษฐต่าง ๆ ตึก อาคาร ป้าย สัญลักษณ์ และกิจกรรมต่าง ๆที่ทำ�ร่วมกัน
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
จำ�แนกได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ ส่วนที่อยู่ลึกลงไป (Invisible) สิ่งที่พนักงานรับรู้ ปฎิบัติร่วมกัน เช่น นโบาย กฎ ระเบียบ ค่านิยมองค์กร เป้าหมาย วัตถุประสงค์ที่มีร่วมกัน
21
22
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
วัฒนธรรมองค์กรที่ยั่งยืน กล่าวคำ�ทักทาย ยิ้ม ไหว้ สวัสดี ตรงต่อเวลา รับผิดชอบในงานที่รับมอบหมาย มีน้ำ�ใจ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แต่งกายดูดี สุภาพ เรียบร้อย มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมที่ควรกำ�จัด มาสาย กลับก่อน ขาด ลา เสมอๆ หลีกเลี่ยงการทำ�งานยาก เกี่ยงงาน ละทิ้งหน้าที่ ขาดสัมมาคารวะ
23
24
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
วัฒนธรรมองค์กรที่ถือปฏิบัติสืบต่อกันมา ที่เป็นข้อดีหรือเป็นจุดแข็ง 1. ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 2. สำ�นึกในงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ 3. ทำ�งานเป็นทีมประสานงานในองค์กร 4. ยึดถือระบบคุณธรรม 5. พิจารณาเรื่องความรู้ ความสามารถของบุคลากรเป็นหลัก 6. ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 7. สร้างความรวดเร็วในการทำ�งาน 8. เปิดใจรับคำ�วิพากษ์วิจารณ์ เพื่อการทำ�งานที่ดี 9. กล้าที่จะเผชิญหน้ากับความจริง 10. มีการสื่อสารที่ดีในองค์กร
25
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
องค์กรไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ ง หรือกลุ่มบุคคลใดกลุ่มบุคคลหนึ่ ง แต่จะเปลี่ยนแปลงโดย วัฒนธรรมในองค์กร ที่มีระเบียบแบบแผน
“
“
26
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
วัฒนธรรมองค์กรด้านไหน ขององค์กรคุณที่เด่นๆบ้าง
- เรื่องการเข้างาน เลิกงาน มาสาย
- เรื่องวันหยุด การลา เบี้ยเลี้ยงต่างๆ - สวัสดิการที่บริษัทมีให้ พวกโบนัส ค่ารักษาพยาบาล ทำ�ฟัน เงินกู้ยืม - เงินเดือน / การขึ้นเงินเดือน - การแต่งตัวมาทำ�งาน - บรรยากาศในห้องทำ�งาน? การประชุม? การแข่งขัน - การเทรนพนักงาน มีสัมมนาต่างประเทศ? - สิ่งแวดล้อม ความสะดวกสบาย ที่มีให้ในออฟฟิซ รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ - อาหารการกิน
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
27
ปฏิบัติตัวอย่างไรในวัฒนธรรมองค์กร 1. ปฎิบัติงานตามระเบียบของหน่วยงานอย่างเคร่งครัด แต่งกายสุภาพ เรียบร้อย ด้วยเครือ่ งแบบนิสติ กรณีใส่เสือ้ ช็อป ไปรเวท ต้องได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงาน การสาย ลา ขาด การลากิจ ลาป่วยต้องปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ของหน่วยงาน และของคณะ ไม่เรียกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากหน่วยงาน ไม่ฝ่าฝืนกฎ ระเบียบ รักษาวินัยการทำ�งานอย่างเคร่งครัด 2. มีการวางตัว กิริยามารยาท รู้จักกาละเทศะ ตระหนักถึงชือ่ เสียงของภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย ต้อง ไม่กระทำ�การใด ๆ ที่จะทำ�ให้เสื่อมเสีย เช่น การทะเลาะวิวาท และเรื่องชู้สาว หากมีปัญหาให้แจ้งต่อบุคคลากรพี่เลี้ยง หรืออาจารย์ที่ ปรึกษาทันที
28
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
3. มีความกระตือรือร้น และทัศนคติในเชิงบวก ปฏิบัติทุกงานที่ได้รับมอบหมายด้วยความกระตือรือร้นและเป็น มืออาชีพ แสดงให้เห็นถึงความมีจติ อาสา ความมีน�้ำ ใจ ไม่เกีย่ งว่าจะ ต้องปฏิบัติงานเฉพาะที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนเอง หลีกเลี่ยง พฤติกรรมที่จะก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อตนเองและสถาบันทั้ง ในเวลาและนอกเวลาปฎิบัติงาน 4. รับฟังความคิดเห็นคนอื่น เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เสมอ มีความซือ่ สัตย์ มุง่ มัน่ ปฏิบตั งิ าน ใจกว้าง กล้าทีจ่ ะยอมรับความ ผิดพลาด และไม่ปัดความรับผิดชอบให้บุคคลอื่น 5. กล้าแสดงความคิดเห็น และซักถามในข้อสงสัย นิสิตไม่ได้รู้ขั้นตอนการทำ�งานต่าง ๆ ทุกเรื่อง จึงไม่ต้องอาย ที่ จ ะบอกว่ า ไม่ รู้ อย่ า กลั ว ที่ จ ะถามคำ � ถาม เมื่ อ พบกั บ งานที่ ไ ม่ คุ้นเคย กล้าแสดงความคิดเห็น การคิดนอกกรอบ ความคิดใหม่ ๆ แต่ต้องแสดงออกในโอกาสที่เหมาะสม
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
6. มีมนุษยสัมพันธ์ มีสัมมาคารวะ ผูกมิตรและสร้างความสนิทสนมกับบุคลากรทุก ระดับ และต้องแสดงออกต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม พร้อม รับฟังคำ�แนะนำ�ต่าง ๆ 7. สร้างความสำ�เร็จให้เป็นรูปธรรม นิสิตต้องเสนอโปรเจ็คต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ควรศึกษาและดำ�เนิน การจัดทำ�อย่างเป็นระบบ มีการวางแผนการดำ�เนินการตามขั้นตอน ความสำ�เร็จและโปรเจ็คทีท่ �ำ จะเป็นหลักฐานทีแ่ สดงถึงผลสัมฤทธิ์ ความ สามารถ ความพยายาม หรือความถนัดส่วนบุคคล (portfolio) ที่ ยืนยันผลสำ�เร็จของการปฏิบัติงานของแต่ละคน 8. ใช้ชีวิตการฝึกงานอย่างมีค่า การปฏิบัติงานเป็นประสบการณ์ที่ดีที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิต ดังนั้น ควรใช้ชีวิตไปกับการทำ�งานและการได้เรียนรู้ชีวิตในช่วงเวลาดังกล่าว อย่างเกิดคุณค่า
29
30
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ข้อคิดการทำ�งาน
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
31
32
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
33
34
แนวปฏิบัิติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กร
35