นิตยสาร etc mass magazine

Page 1



บทบรรณาธิการ

สวัสดีท่านผู้อ่านทุกท่าน นิตยสารทีท่ า่ นก�ำลังอ่านฉบับนี้ ชือ่ นิตยสาร “ETC mass magazine” เป็นนิตยสารฝึกปฎิบัติประกอบ การเรียนการสอนใน รายวิชา สื่อมวลชนทางการศึกษา จัดท�ำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ การเผยแพร่ข่าวสาร ข้อมูลความรู้แก่นิสิตคณะศึกษาศาสตร์ และผู้ อ่านทัว่ ไป โดยในฉบับนี้ คณะผูจ้ ดั ท�ำจัดท�ำในหัวข้อ นิสติ ครูรทู้ นั สือ่ ด้วยเล็งเห็นว่าในปัจจุบันข่าวสารและสื่อต่างๆ มีการเผยแพร่อย่าง รวดเร็ว นอกเหนือจากสื่อสารมวลชนทั่วไป ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ แล้วปัจจุบันมีการสื่อสารผ่านทางโซเชียลมีเดีย ซึ่งมีทั้งสื่อ ที่เผยแพร่จากส�ำนักข่าวที่น่าเชื่อถือ ไม่น่าเชื่อถือ และจากบุคคล ทั่วไป ซึ่งท�ำได้ง่ายและสะดวก ปราศจากการตรวจสอบ ท�ำให้เป็น เครื่องมือให้กับมิจฉาชีพน�ำไปใช้เป็นเครื่องมือในการหลอกลวง ลักษณะต่างๆ หรือแม้แต่การใช้เป็นช่องทางในการใส่ร้ายป้ายสี ปล่อยข่าวเท็จต่างๆ ภายในเล่มมีบทความทีน่ า่ สนใจ ได้แก่ บทสัมภาษณ์พเิ ศษ ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.พชรวิทย์ จันทร์ศิรสิร คณบดีคณะศึกษา ศาสตร์ ในประเด็นการรู้เท่าทันสื่อของนิสิตเรียนครู นอกจากนั้นยัง มีบทความที่น่าสนใจมากมาย ได้แก่ วิวัฒณาการสื่อของโลก ครูเก่า เล่าสื่อ นิยายเรื่องสั้น คณะผู้จัดท�ำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นิตยสารฉบับนี้ คงให้ ความรู้แก่ท่านผู้อ่านได้ไม่มากก็น้อย กสานณพ ยอดกุล บรรณาธิการ

สารบัญ 04 วิวัฒนาการสื่อของโลก 05 ครูเก่าเล่าสื่อ 08 ETC Interview บทสัมภาษณ์จากคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ 11 ตีสนิทโฆษณา 12 ซื้อของออนไลน์ให้ปลอดภัย 13 แชร์เรื่องบอกต่อ 15 ประสบการณ์ตรงในโลกออนไลน์ 16 วิธีการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับการใชังาน 17 เล่นเกมให้มีสาระและได้ประโยชน์ 18 เสพสื่ออย่างมีวิจารญาณ จาก โอม Cocktail 19 ETC Fiction “บันทึกเล่มแรก”

วัตถุประสงค์การจัดท�ำ

คณะผู้จัดท�ำ

1.เพือ่ เผยแพร่ความรู้ แนวความคิด หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ ในรูปของบทความ ผลงานต่างๆ ข้อคิดเห็น เพื่อประโยชน์ทางด้าน การศึกษาหาความรู้ของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ และบุคคลทั่วไป 2.เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าในวิทยาการแขนงต่างๆ โดยการกระตุ้นให้เกิดการศึกษา ค้นคว้า พัฒนาความรู้ ตลอดจน ติดตามความเคลือ่ นไหวต่าง ๆ ให้ผสู้ นใจได้นาํ ไป ศึกษาค้นคว้า และ เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและใช้ชีวิตประจ�ำวัน 3.เพื่อเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด เจตคติและประสบการณ์ของนิสิต นักวิชาการ และบุคคลทั่วไป 4.เพือ่ การประชาสัมพันธ์ ผลงานนิสติ สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษาเพื่อเสนอข่าวความเคลื่อนไหวทั้ง เรื่องของบุคคล และกิจกรรม ของหน่วยงา 5.เพือ่ การฝึกงานภาคปฏิบตั ขิ องนิสติ ในรายวิชาสือ่ มวลชน ทางการศึกษา

ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ก่อเกียรติ ขวัญสกุล บรรณาธิการ กสานณพ ยอดกุล เลขากองบรรณาธิการ ดารารัตน์ นาพรมมา, พัชรี บุญหล้า กองบรรณาธิการ ชาครีย์ บุระค�ำ, วัชชิรญา มิระสิงห์, สหภาพ ทรงจันทึก, อัจจิมา แก้วมาตย์, อันเดรียส คลีม้าชคา, มัลลิกา เขียวโสภา, สิริยากร ดุลนีย์, ขนิษฐนันท์ จิตรจักร,จันทรมาศ สีหา, นนทวัฒน์ รูปเหมาะ, เพ็ญพิชญ์ชา ผลสวัสดิ์, มยุรมาศ อมรสิทธิกุล, ไวทยา ดาเหล็ก, ศรียาภรณ์ วรรณสิงห์, สุภาวรรณ หมวดดารักษ์ ออกแบบปก กสานณพ ยอดกุล , ดารารัตน์ นาพรมมา

ETC Mass Magazine

3


จากพัฒนาการของสื่อต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลกจึงท�ำให้ย้อนกลับมาคิดว่า สื่อของคณะเรามีพัฒนาการมาอย่างไร จึงได้ไปขอรับความรู้จาก อาจารย์เพื่อให้เล่าถึงวิวัฒนาการสื่อในอดีต

ที่มาของภาพ : www.chonthichaonseng.blogspot.com

• ค.ศ. 1685 โจฮันน์ อะมอส คอมินิอุส ได้รับการยกย่องว่า เป็นบิดาแห่งโสตทัศนศึกษา ได้แต่งหนังสือ Obis Sensualium Pictus หรือ “โลกใน รูปภาพ” เป็นหนังสือทีใ่ ช้รปู ภาพประกอบบท เรียน ถึง 150 ภาพ ซึ่งนับว่าเป็นการใช้ทัศน วัสดุประกอบการเรียนเป็นครั้งแรก

• ค.ศ.1826 โจเซฟนิ เ ซเฟอร์ นี พ เซ่ เ ขาสามารถ บันทึกภาพบ้านของเขาได้ตอ้ งใช้เวลา กว่า 8 ชัว่ โมงในการท�ำให้เกิดภาพแต่ เมื่อท�ำเสร็จแล้วเขาก็มีภาพถ่ายเป็น ภาพแรก ที่มาของภาพ : www.pantip.com/topic/31215892

• ค.ศ. 1889 กล้องถ่ายภาพยนตร์เครื่องแรกของโลก เรียกชื่อ ว่า Kinetograph ที่มาของภาพ : www.filmnyc2015.wordpress.com

• ค.ศ. 1890 Lantern Slide สไลด์และภาพเลือ่ นมีลกั ษณะ เป็นภาพนิง่ โปร่งแสงทีบ่ นั ทึกข้อมูลไว้บนฟิลม์ หรือกระจกแล้วใช้ฉายผ่านทางเครื่องฉายให้ ภาพปรากฎบนจอสไลด์ในยุคเริ่มแรกใช้วิธี การวาดภาพลงบนกระจกใสและน�ำไปฉาย เรียกว่า Lantern Slide ขนาด 3.25 นิ้ว

ที่มาของภาพ : www. archaeologyarchivesoxford.wordpress.com

• ค.ศ. 1896 เครื่องฉายฟิล์มสตริป (Filmstrip Projector) เป็นเครื่องฉาย ระบบฉายตรง ฉาย ได้ทั้งสไลด์และฟิล์มสตริปในเครื่องเดียวกัน ฟิล์มสตริปเป็นแถบฟิล์ม 35มม.บันทึกภาพนิ่ง เช่นเดียวกับสไลด์แต่ไม่ตัดฟิล์มออกเป็นภาพ เมื่อจะฉายก็ใส่ฟิล์มทั้งม้วนเข้าในเครื่องแล้ว ฉายภาพทีละภาพ ที่มาของภาพ : www.sps.lpru.ac.th

• ค.ศ. 1913 เครื่องฉายภาพยนตร์ (Film Projetor) เป็นอุปกรณ์ แสงเชิงกลส�ำหรับฉายภาพยนตร์จากฟิล์มเป็นภาพ เคลื่อนไหวให้ไปปรากฏภาพบนจอฉายภาพโดย ทัว่ ไปแล้วฟิลม์ ภาพยนตร์เพือ่ การศึกษาขนาด16มม. มีความยาว30นาทีจะมีราคาประมาณ 450 เหรียญ สหรัฐ (ประมาณ 13,500 บาท) 4

ETC Mass Magazine

ที่มาของภาพ : www.mygiftpremium.com

ในอดีตมหาวิทยาลัยมหาสารคามถือก�ำเนิดมาจากวิทยาลัย วิชาการศึกษามหาสารคาม ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2511 เพื่อ ขยายการศึกษาชั้นสูงไปสู่ต่างจังหวัด เริ่มแรกตั้งอยู่ที่ 269 ถนน นครสวรรค์ ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม บนเนื้อที่ 197 ไร่ ต่อมาได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม ในปี 2538 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม ได้ รับการยกฐานะขึน้ เป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคามและได้ประกาศจัดตัง้ ภาควิชาเทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษาเป็นหน่วยงานสังกัดคณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามสมัยก่อนนัน้ มีการจัดการด้านสือ่ ดังนี้ 1. งานบริการ เดิมอยู่ชั้น 2 ของตึก it ซึ่งมีเจ้าหน้าที่ 1คน ท�ำหน้าที่ให้บริการยืม-คืนอุปกรณ์สื่อโสตต่างๆ เช่น เครื่องฉาย Overhead เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายสไลด์ ไมค์โครโฟน รวมถึงแผ่น ใส ปากกาเขียนแผ่นใส ต่างๆ 2. ห้องมืด ถือว่าเป็นห้องแลปปฏิบัติการของภาควิชาใน รายวิชาการถ่ายภาพ ซึ่งในสมัยนั้นจะใช้ฟิล์มในการถ่ายภาพ ภายใน ห้องประกอบไปด้วย อุปกรณ์ล้าง อัด ขยายภาพ ซึ่งถือว่ามีความทัน สมัยมากในสมัยนั้น 3. ห้องปฏิบตั กิ ารกราฟิก ใช้ในการเรียนการสอนรายวิชาการ ผลิตวัสดุกราฟิก ในห้องเรียนประกอบไปด้วย เครื่องฉายoverhead จอ กระดาน พร้อมโต๊ะยาวส�ำหรับให้นสิ ติ ได้นงั่ ฝึก ขีด เขียน และปฏิบตั ิ การกราฟิกต่างๆ เช่น การผนึกภาพ ประดิษฐ์ตวั อักษร เขียนป้าย การ สอนวิชากราฟิก อาจารย์จะเขียนบน Whiteboard และใบความรู้เป็น หลัก นิสิตต้องหัดเขียน สปีดบอล หัดสเก็ตช์ และต้องฝึกฝนอยู่ตลอด เวลาเพราะเมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาทุกคนต้องเขียนได้เพราะว่าวิชาเหล่านี้ ต้องฝึกและยังไม่มีคอมพิวเตอร์


4. ห้องภาพยนตร์เพื่อการศึกษา ตั้งอยู่ชั้น 2 ของตึก it อยู่ใน ความรับผิดชอบของภาควิชาภายในห้องมีเครื่องฉายฟิล์ม 16 มม.ซึ่ง สามารถเล่นได้ทงั้ ระบบแสงและระบบแถบแม่เหล็ก ถือเป็นเครือ่ งทีท่ นั สมัยมากที่สุดในยุคนั้น นอกจากนี้ยังมีเครื่องฉาย overhead ในการ เรียนการสอนและมีการฉายภาพยนตร์บ้างในบางโอกาส สื่อการเรียนการสอนในสมัยต่อมา มีเครื่องฉาย Overhead เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพยนตร์ซึ่งในสมัยนั้นฟิล์มค่อนข้างหาได้ ยาก ส่วนใหญ่อาจารย์จะได้รับมาจากต่างประเทศเพื่อน�ำมาเป็นสื่อใน การสอน มีสื่อประเภท Filmstrips , Microfilm การท�ำงานส่วนใหญ่ จะใช้ Filmstripsกับ Microfilm ในการศึกษางานวิจยั และวารสารต่างๆ เพราะสามารถเก็บข้อมูลได้มากมักใช้ในการเก็บข้อมูลงานวิจัย นอกจากนัน้ มีบริการส่วนใหญ่เป็นเทปเสียงประกอบ สไลด์ ซึ่ ง สไลด์ ป ระกอบเสี ย งจะเป็ น สไลด์ ตู ้ และที่ ส� ำ คั ญ มี เ ครื่ อ งฉาย โปรเจคเตอร์ 3 หลอด ซึ่งในสมัยนั้นเป็นเป็นเครื่องฉายที่มีราคาสูงเเละ ทันสมัยมาก ทั้งมหาวิทยาลัยมีแค่เครื่องเดียวเท่านั้น ในด้านเนือ้ หาบทเรียนจะเรียนสือ่ มือทุกชนิดเช่นสือ่ โปสเตอร์ สื่อป้ายส�ำลี ป้ายกระดานแม่เหล็ก ฯลฯ ยังไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ส�ำหรับ วิชาการถ่ายภาพนั้นในสมัยนั้น ที่ชั้น 2 ของ ตึก it จะมีห้องมืดส�ำหรับ ล้างรูปเมื่อถ่ายรูปเสร็จต้องล้างรูปและอัดรูปเอง การเรียนในสมัยก่อน จะเข้าใจพื้นฐานมากกว่าสมัยปัจจุบันเพราะได้ลงมือปฏิบัติจริงและ นอกจากมีห้องภาพยนตร์อยู่ตึก it ชั้น 2 แล้วยังมีห้องฉายภาพยนตร์ อยู่ภายในสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ใต้ห้องสมุดศรีสวัสดิ์ทางเดิน ข้างตึกจะมีห้องที่เป็นชั้นเดียวซึ่งมีประตูเหล็กปิดอยู่ตรงห้องเล็กๆจะ เป็นห้องฉายภาพยนตร์ซงึ่ ปัจจุบนั ขาดการดูแลโดยในส่วนการจัดซือ้ สือ่ โสตต่างๆ ภาควิชาเป็นผูใ้ ห้คำ� ปรึกษาว่าควรจัดซือ้ สือ่ ประเภทใดเข้ามา บ้างการบริการจะเป็นหน้าทีข่ องห้องสมุด โดยจะมีหอ้ งฟิลม์ สตริป ห้อง ไมโครฟิล์ม ห้องออดิโอ ห้องวีดิโอรายบุคคล ห้องกลุ่ม ห้องฉาย ภาพยนตร์ ซึง่ ในการฉายภาพยนตร์แต่ละครัง้ จะไม่คดิ ค่าบริการและจะ ฉายเฉพาะวันพฤหัสบดีเท่านั้น

เรียบเรียงเนื้อหาโดย : ศรียาภรณ์ วรรณสิงห์ เรียบเรียงบทสัมภาษณ์โดย : ชาครีย์ บุระคำ� ออกแบบจัดทำ�โดย : สิริยากร ดุลนีย์ , ขนิษฐนันท์ จิตรจักร

ยุคต่อมาเมือ่ มีรายวิชาทีเ่ กีย่ วกับการปฏิบตั คิ อมพิวเตอร์คณะ จะมีห้องปฏิบัติอยู่ที่ห้องศศ105ตึกแปดเหลี่ยมซึ่งในปัจจุบันห้องเรียน นี้ได้เปลี่ยนเป็นห้องพักส�ำหรับอาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออก ก�ำลังกายและการกีฬา จนถึงในช่วงปี 2552 ภาควิชาเทคโนโลยีเเละสือ่ สารการศึกษา จึงได้รับงบประมาณสร้างห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่ตึกit ชั้น 6 จ�ำนวน 50 เครือ่ ง และซือ้ อุปกรณ์ตา่ งๆตามความเหมาะสมเพือ่ ให้เพียง พอต่อการเรียนและการน�ำไปใช้ในการใช้สอื่ ไม่วา่ จะเป็นเครือ่ งฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพยนตร์เครื่องฉาย Overhead ก็มีการใช้แพร่หลายมาก ขึ้นในคณะมาเป็นล�ำดับจนกระทั่งถึงยุคของการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ จึงมีการน�ำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์มาติดตั้งประจ�ำในแต่ละห้องเรียน พร้อมกับเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ ท�ำให้การเรียนการสอนโดยใช้สื่อใน ช่วงต่อมามีการใช้สื่อประสม (multimedia)

ETC Mass Magazine

5


ในปี 2555-2559 มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีแผนยุทธศาสตร์พฒ ั นาในการมุง่ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพภายใต้การเรียนการสอนที่ทันสมัยตามเกณฑ์ มาตรฐานและการจัดอันดับสากล ตลอดจนเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียน รู้และบริการวิชาการชั้นน�ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวมทั้งเตรียม ความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อี ก ทั้ ง มี ค ่ า นิ ย มองค์ ก รในการส่ ง เสริ ม ให้ เ ป็ น องค์ ก รที่ ใ ช้ เทคโนโลยีทที่ นั สมัยในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ (Advance Tecnology) ซึง่ สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของคณะศึกษาศาสตร์ทมี่ งุ่ สูก่ ารเป็น หน่วยงานที่มีความเป็นเลิศด้านการศึกษาในระดับชาติและนานาชาติ และมีเป้าประสงค์ในการพัฒนาหลักสูตรทีเ่ ข้มแข็งสามารถพัฒนาระบบ สารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการอย่าง มีประสิทธิภาพ งาน e-learning นั้นจึงอนุมัติจัดตั้งเพื่อท�ำหน้าที่ในการออก แบบผลิตและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามแผนนโยบายสนับสนุนทาง ด้านการศึกษาโดยตรงเพือ่ พัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนโดย ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของคณะทุก ระดับการศึกษาให้มีประสิทธิภาพต่อไปโดยได้รับอนุมัติสร้างห้องStudio ที่ทันสมัยพร้อมติดตั้งอุปกรณ์ถ่ายท�ำรายการโทรทัศน์ที่ทันสมัย ปัจจุบนั โอนความรับผิดชอบมาอยูใ่ นความดูเเลของภาควิชาเทคโนโลยี การศึกษาเเละคอมพิวเตอร์ศึกษา

6

ETC Mass Magazine

ภาควิชาเทคโนโลยีเเละสื่อสารการศึกษาได้รับงบประมาณ จัดสร้างห้องประกอบการสอนเทคโนโลยี เรียกว่าห้อง ILC หรือ Interactive learning classroom ซึง่ แปลว่าห้องเรียนทีม่ ปี ฏิสมั พันธ์โต้ตอบ กับผู้เรียน ที่มาของโครงการนี้เกิดจากปัจจุบันประเทศไทยมี นโยบาย การเปลี่ยนแปลงแนวคิดเรื่องการพัฒนาประเทศหรือยุคTHAILAND 4.0 ซึ่งหมายถึงการเปลี่ยนแปลงแนวคิด จากอะไรที่มากๆ เป็นน้อยๆ แต่มคี ณ ุ ค่าซึง่ แต่กอ่ นประเทศเราท�ำอะไรมากๆแล้วได้กำ� ไร แต่ปจั จุบนั โลกได้มแี นวคิดวิวฒ ั นาการเปลีย่ นไปเพราะว่าระบบเศรษฐกิจของโลก เปลีย่ น เรียกว่า “การเปลีย่ นแปลงระบบในยุคเศรษฐกิจและสังคม 4.0” ส่วนด้านการศึกษาได้มาเกี่ยวข้องกับโมเดลTHAILAND 4.0 ซึ่งจะเน้นการพัฒนานวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์มีการผลักดัน ธุรกิจการผลิตไปสูภ่ าคบริการมากขึน้ ในด้านการศึกษาการผลิตบัณฑิต จึงจ�ำเป็นต้องก�ำหนดเป้าหมายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความ สอดคล้องกับตลาดแรงงานกับการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแปลว่าจะต้อง พัฒนานิสิตให้สามารถเข้าสู่เทรน THAILAND 4.0 ต้องเน้นการใช้ Digital technology มากขึ้น ในฐานะที่ เ ราเป็ น ภาควิ ช าเทคโนโลยี ภ าควิ ชาที่ส ่งเสริม นวัตกรรม แนวคิดของภาควิชาเราคือเน้นการสร้างนวัตกร คือ นัก นวัตกรรม ซึ่งต้องหาเครื่องมือที่เรียกว่า Learning space หรือ พื้นที่ การเรียนรู้ จะต้องออกแบบสภาพการเรียนรู้แบบใหม่ ต้องสร้างสรรค์ ชิ้นงานและใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อที่จะตอบสนอง แนวคิดนี้และมุ่งให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เราเรียกว่า Out combat learning ในโลกปัจจุบนั มุง่ เน้นพัฒนาคนเพือ่ ให้เป็นทีต่ อ้ งการกับตลาด แรงงาน การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เชิงนวัตกรรมห้องเรียนที่ ภาควิชาจะซื้อหรือก็คือห้อง ILC (Interactive learning classroom) จะช่วยผู้เรียนในเชิงนวัตกรรมคือห้องเรียนนี้มีแนวคิดมาจากstudio classroom ค�ำว่า studio classroom คือ ห้องเรียนทีผ่ เู้ รียนสามารถ มีปฏิสัมพันธ์ท�ำงานได้อย่างมีพื้นที่แบบเปิดซึ่งนิสิตทุกคนสามารถเป็น เจ้าของห้องเรียน ส่วนอาจารย์เป็นโค้ช ตรงตาม แนวคิดของ Studio Classroom + Active Learning จึงออกมาเป็น ILC (Interactive Learning Classroom)


ที่มาของภาพ : การประชุมวิชาการหอสมุด และคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ�ำปี 2559 เรื่องบทบาทสถาบันการศึกษาเพื่อประเทศไทย สู่สังคมดิจิทัล 23-25 พฤศจิกายน 2559

จากบทความข้างต้น แสดงให้ทราบถึงความเป็นมาของการ ใช้เครือ่ งมือ อุปกรณ์ สือ่ ต่างๆ ซึง่ เป็นตัวกลางในการเรียนการสอนของ อาจารย์ และนิสิตในสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ในสมัยก่อน และ พัฒนาหลักสูตรมาเป็นสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาเเละคอมพิวเตอร์ ศึกษาในปัจจุบัน ซึ่งมีความแตกต่างกันตามยุคตามสมัย กล่าวคือสมัย ก่อนอุปกรณ์ เครื่องมือ สื่อต่างๆเข้าถึงได้ยากมีราคาแพง มีการใช้งาน ไม่แพร่หลาย การใช้งานแต่ละครั้งมีความซับซ้อนยากล�ำบากเนื่องจาก ผูร้ เู้ รือ่ งเทคโนโลยีมนี อ้ ย ซึง่ แตกต่างกับปัจจุบนั และอนาคต เทคโนโลยี เข้ามามีบทบาทในสังคมมากขึ้น มีการเข้าถึงง่ายขึ้นและน�ำมาใช้อย่าง แพร่หลาย มีการน�ำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ท�ำให้การเรียน การสอนมีความสะดวกสบาย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น สุ ด ท้ า ยนี้ อ ยากให้ ม องเห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของเครื่ อ งมื อ อุปกรณ์ สื่อต่างๆ ทั้งในสมัยก่อน ปัจจุบัน และในอนาคต เพื่อให้นิสิต รุน่ หลังหรือบุคคลทีส่ นใจได้ทราบถึงพัฒนาการเเต่ละยุคสมัยเป็นความ รู้แก่ชนรุ่นหลังต่อไป

ขอขอบคุณข้อมูลจาก 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่อเกียรติ ขวัญสกุล 2. ดร.มานิตย์ อาษานอก 3. ดร.รัฐสาน์ เลาหสุรโยธิน

• ค.ศ. 1921 ได้ มี ก ารประดิ ษ ฐ์ เ ครื่ อ งรั บ สั ญ ญาณวิ ท ยุ กระจายเสียงขึ้นจนกลายเป็น เครื่องมือด้าน สื่อสารมวลชนที่ส�ำคัญ โดยมีการริเริ่มกิจการ กระจายเสี ย งขึ้ น ครั้ ง แรกในประเทศ สหรัฐอเมริกา

ที่มาของภาพ : www.petmaya.com

• ค.ศ. 1929 ฟิโล ฟาร์นสเวิรธ์ ได้พยายามประดิษฐ์คดิ ค้นโทรทัศน์ จนสามารถส่งสัญญาณโทรทัศน์ไปสู่เครื่องได้ส�ำเร็จ ที่มาของภาพ : www.petmaya.com

• ค.ศ. 1945 เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Overhead Projector) เครื่องฉายภาพจากแผ่นใส (Over Head Projector หรือเรียกย่อว่า OHP) เครื่องแรกถูกน�ำมาใช้ในการ วินจิ ฉัยในการท�ำงานของต�ำรวจและถูกใช้เป็นครัง้ แรก ในกองทัพ สหรัฐอเมริกาช่วงปี ค.ศ.1945 หลังจากนั้น OHP ก็ใช้แพร่หลายมากขึ้นในวงการการศึกษาและ ที่มาของภาพ : www.quickship.com ธุรกิจ • ค.ศ. 1950 เครื่องฉายสไลด์ (Slide Projector) เครื่องฉาย ชนิดนีส้ ามารถบรรจุสไลด์ได้ครัง้ ละหลายๆภาพลง ในกล่องหรือถาดใส่สไลด์ท�ำให้สะดวกและรวดเร็ว สามารถเปลี่ยนสไลด์ได้โดยการกดปุ่มเปลี่ยนภาพ หรือ ควบคุมสไลด์ให้เดินหน้าหรือถอยหลังได้ใน ที่มาของภาพ : www.amazon.com ระยะไกลๆ • ค.ศ. 1950 เครื่องฉายวัสดุทึบแสง (Opaque Projector)ฉายวัสดุ ทึบแสงซึ่งแสงไม่สามารถผ่านวัสดุได้ ซึ่งใช้หลักการ สะท้อนภาพ ถูกผลิตและจ�ำหน่ายเพื่อเป็นเครื่อง มือทีใ่ ช้ในการขยายภาพให้ใหญ่ขนึ้ เพือ่ ฉายไปบน ที่มาของภาพ : www.edu.nu.ac.th จอรับภาพส�ำหรับการบรรยาย • ค.ศ. 1984 เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ (Projector) เป็นเครื่อง ถ่ายทอดสัญญาณเนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่เป็นสื่อ กลางในการถ่ายทอดสัญญาณจากอุปกรณ์หลาย ประเภท เช่ น เครื่ อ งวิ ช วลไลเซอร์ เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ เครือ่ งเล่นวีซดี ี และเครือ่ งเล่นดีวดี ี ให้ ที่มาของภาพ : www. pratima-ishop.com ปรากฏภาพขนาดใหญ่บนจอภาพ • ค.ศ. 1994 วิชวลไลเซอร์ (Visualizer) ได้ทั้งภาพนิ่งและภาพ เคลื่อนไหวโดยต่อเครื่องวิชวลไลเซอร์กับจอมอนิเตอร์ เพื่ อ เสนอภาพหรื อ ต่ อ ร่ ว มกั บ เครื่ อ งแอลซี ดี เ พื่ อ ถ่ายทอดสัญญาณเป็นภาพขนาดใหญ่บนจอภาพ ที่มาของภาพ : www. pu2538.wordpress.com

ETC Mass Magazine

7


สัมภาษณ์พิเศษ

ผศ.ดร.พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร คณบดีคณะศึกษาศาสตร์

เรื่อง “นิสิตครูรู้เท่าทันสื่อ” 1. ท่านคิดเห็นอย่างไร

เกี่ยวกับสื่อที่มีอยู่ในปัจจุบัน

“สือ่ ” ถ้าภาษาอังกฤษว่าไง Media ใช่ไหม ตามโมเดลการ สื่อสารจะมีผู้ส่งสารช่องทางและผู้รับสื่อในปัจจุบันนี้มีหลากหลาย มากทัง้ สือ่ ทีเ่ ป็นแบบเก่าๆเดิมๆสือ่ ทันสมัยทีเ่ ห็นชัดๆก็คอื สือ่ Online Application ทั้งหลาย ถ้ามองไปแล้วมันมีทั้งดีแล้วก็จุดที่น่าห่วงคือ สือ่ มันก็ทำ� หน้าทีใ่ นการสือ่ สารเราซึง่ เป็นมนุษย์ผทู้ ต่ี อ้ งการสือ่ สารถ้า เราใส่สารทีม่ ปี ระโยชน์ผา่ นสือ่ ไปมันก็ออกมามีประโยชน์เพราะฉะนัน้ ความหลากหลายเป็นเรื่องที่ดีมันขึ้นอยู่กับคนใช้จะใช้เพื่อประโยชน์ อะไรเหมือนที่หลายคนบอกว่าใส่ขยะหรือสิ่งไม่ดีเข้าไปมันก็จะออก มาเป็นแบบนั้นที่เรียกว่า ขยะเข้าขยะออก Garbage in, Garbage out เราเคยได้ยินใช่ไหมนั่นแหละครับ เพราะฉะนั้นสรุปแล้วสื่อใน ปัจจุบันนี้อาจารย์มองว่าเป็นเรื่องที่ดีที่มีความหลากหลายมันท�ำให้ โลกแคบลงท�ำให้เราสามารถที่จะสื่อสารท�ำความเข้าใจกันได้หลาก หลายช่องทางเป็นประโยชน์ต่อมนุษยชาติมากกว่าที่จะเป็นผลเสีย

2. การรู้เท่าทันสื่อในความคิด

ของท่านคืออะไร

คือถ้ารู้ว่ามันคือขยะแยกแยะให้ออกว่ามันใช่หรือไม่ใช่ ฉะนัน้ คนทีจ่ ะแยกออกเนีย่ ต้องรูเ้ ท่าทันคือมีความรูห้ รือเข้าใจในเรือ่ ง นัน้ เราเคยได้ยนิ ใช่ไหมว่าชัวร์กอ่ นแชร์นนั่ แหละมันแปลว่าอะไร?มัน แปลว่าคุณต้องรูว้ า่ มันคืออะไรรูเ้ ท่าทันมันก่อนบางทีบางคนก็ใช้ชอ่ ง ทางนีใ้ นเรือ่ งของการปลุกกระแสบางอย่างเพือ่ ประโยชน์ของกลุม่ คน ของตนเองหรือของใครถ้าเราเข้าใจหรือเรารูท้ นั ก็ไม่เป็นเครือ่ งมือนัน้ คือการรู้เท่าทันสื่อ เพราะฉะนั้นคนที่จะรู้เท่าทันได้ต้องรู้ต้องเข้าใจ ต้องแยกแยะให้ได้ใช้สติคิดทบทวนกลั่นกรองแล้วก็ตัดสินหนักแน่น เข้าไว้ทุกวันนี้เราก็จะเห็นว่าเขาต้องออกกฎหมายมาควบคุมเราต้อง ระวังเป็นอย่างมากบางทีคลิกแค่คลิกเดียวอาจท�ำให้ติดคุกได้เลยนะ นั้นแหละครับคือเรื่องของการรู้เท่าทัน

8

ETC Mass Magazine

3. ท่านคิดว่านิสิตเรียนครูควรให้ความส�ำคัญ เกี่ยวกับการรับสื่อโซเชียลต่างๆอย่างไรบ้าง

ครู มาจากค�ำว่า ครุ แปลว่าหนักใช่ไหม ทั้งเรื่องของความ รูพ้ ฤติกรรมการเป็นแบบอย่างทีด่ มี นั ก็อยูท่ คี่ รูคนทีจ่ บออกไปต้องเป็น แบบนั้นใช่ไหม นิสิตครูก็คือเรียนรู้เพาะบ่มที่จะออกไปเป็นแบบนั้น เพราะฉะนัน้ ครูนแี่ หละเป็นตัวส�ำคัญเป็นโมเดล เป็นเน็ตไอดอลไม่รมู้ นั แปลว่าอะไร แต่ว่าถ้ามีเน็ตไอดอลที่เห็นแล้วน่าชื่นใจ น่าชื่นชมเป็น ตัวอย่างทีด่ ี นิสติ ครูเองก็สามารถเรียนรูจ้ ากเน็ตไอดอลทีจ่ ะเป็นครูทดี่ ี ในอนาคตได้แล้วย้อนกลับมาทีต่ วั เรา เพาะบ่มสัง่ สมตัวเองให้เป็นครูที่ ดีในอนาคตสัง่ สม เหมือนเวลาเราปลูกต้นไม้เราค่อยๆประคบประหงม ดูแลเขาจนโตขึน้ เป็นต้นไม้ทดี่ ที สี่ มบูรณ์แข็งแรงให้ดอกให้ผลให้รม่ เงา ที่เป็นประโยชน์ ตอนนี้พวกเราเป็นนิสิตครูเรียนครูอยู่ปลายทางของ เราเราเห็นแล้วเราจะเป็นยังไงระหว่างนี้เราก็ต้องสั่งสมเรียนรู้ในเรื่อง ของสื่อก็เหมือนกัน

Knowledge

Learning

Media


4. ท่านมีข้อคิดและค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับปัญหา

ผศ.ดร.พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร คณบดีคณะศึกษาศาสตร์

นิสิตติดโซเซียล หรือสังคมก้มหน้าอย่างไร?

ย้อนกลับไปที่ค�ำสอนพระพุทธเจ้ามัชฌิมาปฏิปทาทาง สายกลาง คืออะไรที่มันมากไปหรือน้อยไปก็ไม่ดี ให้มันกลางๆ ใช้ มันให้เป็นประโยชน์ เพราะฉะนั้นเราจะโยงว่า ถ้าเรารู้จักมีเราใช้ มันให้เกิดประโยชน์อะไรก็ตามทีม่ นั มากไปก็ไม่ดี น้อยไปก็ขาดมาก ไปก็เกิน น่าจะต้องท�ำความเข้าใจแล้วก็ใช้ให้เกิดประโยชน์ข้อ แนะน�ำก็คอื “ให้รจู้ กั แบ่งเวลา ให้รจู้ กั ว่าหน้าที”่ สมมติวา่ อาจารย์ ไม่ได้ห้ามเวลาสอนที่นิสิตจะใช้แต่ใช้เพื่อการเรียน เช่น อาจารย์ ก�ำลังพูดเรื่องนี้ก็เข้าค้นเลย ไม่ใช่ใช้แต่ไปแชทหรือส่องเฟซใคร เรียนไม่เข้าใจก็บน่ ผ่านโลกออนไลน์ให้เพือ่ นมากดไลก์กดแชร์ เมือ่ เรามีเวลาว่างก็ไปแซวเพือ่ นแต่เรือ่ งเรียนเราต้องแยกแยะเข้าใจให้ ได้ก่อนว่าตอนนี้เราท�ำหน้าที่อะไรให้รู้จักตรงนี้ ถ้าจะใช้ก็ใช้เพื่อ ประโยชน์ จากตรงนี้อาจจะแบ่งว่าในชีวิตหนึ่งใน 100% หน้าที่ หลักจะต้องกี่เปอร์เซ็น สมมติว่า 70% เป็นเรื่องการเรียน เราก็ใช้ มันเพือ่ การเรียนคุยกับเพือ่ นก็ตอ้ งคุยนัดแนะกับเพือ่ นท�ำงานกลุม่

เวลาอาจารย์สอนอาจารย์ให้ตั้งกลุ่มไลน์นะอาจารย์ก็สั่งงานผ่านกลุ่ม อาทิตย์หน้าอาจารย์จะสอนเรือ่ งนีน้ ะให้ไปค้นข้อมูลมาให้ไปศึกษาเรือ่ ง นี้มาแป๊บเดียวไม่ถึง 5 นาที ทุกคนรู้หมดตอบรับกลับมาพอถึงเวลาไม่ ต้องพูดอะไรมากทุกคนพร้อมมันมีประโยชน์บางทีมคี วามรูใ้ ครแชร์ไฟล์ อะไรมาแต่ละกลุ่มอาจารย์ก็ส่งให้ลูกศิษย์อ่านด้วยแม้แต่คลิปเล็กๆที่ เตือนเรื่องนั้นเรื่องนี้ที่มีประโยชน์ 1 นาที 2 นาที อาจารย์ก็แชร์ให้นิสิต ให้ระมัดระวังเรือ่ งนีแ้ ปลว่ามันมีประโยชน์ถา้ รูจ้ กั ใช้มนั ไม่มขี อ้ เสียเพราะ นั้นก็คือของทุกอย่างมีทั้งเป็นดาบสองคมหรือมีทั้งโทษและคุณเสมอ ฉะนั้นจะเป็นประโยชน์หรือเป็นโทษขึ้นอยู่กับตัวเราหรือผู้ใช้นิสิตครูก็ เหมือนกันก็ตอ้ งแยกแยะตรงนีใ้ ห้ได้และเข้าใจมันใช้มนั ให้เกิดประโยชน์

ETC Mass Magazine

9


ภาพถ่ายโดย : นายปรัชญา โครตพงษ์

5.

ท่านเคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับสื่อ ออนไลน์หรือไม่ แล้วท่านมีวิธีแก้ไข ปัญหาอย่างไร?

จะว่าไม่มไี ด้หรือมีกไ็ ด้เราไม่รหู้ รอกว่าใครเขาเอาตัวเราหรือ ใครต่อใครไปใช้ยังไงแต่ว่าเฟซอาจารย์ก็ปิดเฟซไปแล้ว เนื่องจากว่า เฟซเดิมที่ใช้แล้วก็ไปสร้างเฟสอีกตัวหนึ่งซึ่งเป็นเรื่องทางการแต่วันดี คืนดีทาง facebook เขาก็บอกว่ามันมีคนแอบอ้างเป็นตัวเราคือจริงๆ มันเป็นของเราทั้งคู่เพียงแต่ว่าบางวันเราก็ใช้ตัวนี้บางวันเราใช้อีกตัว มันก็เตือนเราว่าอันนี้เป็นตัวคุณไหม ? อะไรต่างๆ เราก็บอกเราก็ใช้ เพราะมันเป็นเรา วันดีคืนดีมันล็อคมันก็บอกว่าเราขอปิดเนื่องจากว่า ท่านก�ำลังโดนแอบอ้างก็ยินดีเราก็ปิดไปละสักพักอาทิตย์ 2 อาทิตย์ก็ ไปปรึกษาอาจารย์ที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้แล้วก็กลับมาใช้ได้แต่ก็ให้เขาลบ ไปแล้วก็ใช้ตัวเดียว การมีอะไรหลายอย่างมันก็ไม่ดีใช้ตัวเดียวดีกว่า

10

ETC Mass Magazine

6.

อยากให้ท่านเสนอแนะ กลวิธีในการ ใช้สื่ออย่างรู้เท่าทันให้กับนิสิตเรียนครู แล้วท่านมีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร? ที่ตอบค�ำถามมาทั้งหมดนั้นแหละกลวิธีก็ฝากลูกๆ นิสิต ครูทงั้ หลายให้รจู้ กั และรูเ้ ท่าทันใช้เขาให้เป็นประโยชน์ รูจ้ กั ใช้ให้ รูเ้ ท่าทันแล้วก็ให้ใช้เขาเสริมในสิง่ ทีเ่ ราท�ำเสริมภาระทีร่ บั ผิดชอบ หน้าที่ที่เรารับผิดชอบ ใช้เขาให้เป็นประโยชน์รู้จักแยกแยะ แล้ว ก็อย่าไปหลงมากจนลืมชีวติ ด้านอืน่ คือเรานีเ้ ป็นมนุษย์นเี่ ป็นสัตว์ สังคมต้องมีเพือ่ นต้องคุยกับเพือ่ นบางทีไปกินข้าวด้วยกันก็ยงั คุย กันทางไลน์อยู่เลยนั่งเก้าอี้ติดกันอยู่เนี้ยใช่ไหม นั้นแหละใช้ชีวิต ให้เป็นธรรมชาติของมนุษย์จริงๆด้วยแล้วก็ใช้สื่อเป็นตัวเสริมก็ ย้อนกลับมาว่าให้รู้จักค�ำว่า “พอเพียง” พอดีที่เป็นค�ำของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ท่านสอนไว้ดีพอเพียง ก็ดูว่าใช้อย่างพอเพียง ใช้ประมาณไหนให้รู้ว่าอะไร ใช่ไม่ใช่อะไร ด�ำอะไรขาวให้รวู้ า่ อันนีเ้ ป็นประโยชน์อนั นีไ้ ม่เป็นประโยชน์อนั นี้ เหมาะไม่เหมาะควรไม่ควรดีไม่ดีสิ่งเหล่านี้ละที่ต้องฝากพวกเรา ไว้แยกแยะแล้วก็อย่าตกเป็นทาสมันไม่ต้องไปวิ่งตามอะไรมันมา แต่ให้รู้เท่าทันมัน


Produce Placement

โฆษณาแฝงประเภทนีพ้ บได้บอ่ ย เมือ่ โฆษณาปกติจบลง ก็จะเข้าสูร่ ายการ แต่กอ่ นทีจ่ ะได้ชมรายการจริงๆ ก็มโี ฆษณาสัน้ ๆ คั่นอยู่ มักปรากฏเป็นภาพนิ่งหรือวีดีโอของตราสินค้าหรือบริการ โฆษณาแฝงประเภทนี้ผู้ชมทั่วไปมักสังเกตได้ไม่ยาก

การที่เรารับรู้สื่อโฆษณามานั้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม เราต้องพิจารณาตัดสินคุณค่า โดยใช้ดุลพินิจอย่างมีหลักการ มี เหตุผล เราจะต้องประเมินสื่อโฆษณาได้ว่าสื่อใดมีคุณภาพ สื่อใด น�ำเสนอข้อมูลข่าวสารที่มีคุณค่าหรือมีประโยชน์เพียงพอต่อการ ตัดสินใจเลือกเปิดรับข่าวสารจากสื่อ จดจ�ำ และน�ำไปใช้ประโยชน์ ได้นั้น เราต้องใช้ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ การคิด สังเคราะห์ และการคิดวิพากษ์ ในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับสือ่ โฆษณา ได้แก่ องค์กรทีผ่ ลิตโฆษณา และ เนือ้ หาโฆษณา โดยทีก่ ารประเมิน สื่อโฆษณาจ�ำเป็นต้องอาศัยข้อมูล หลักการ หรือ หลักเหตุผล มา เป็น กรอบความคิด อาทิ โฆษณาแฝงทีเ่ รารับมาโดยไม่รตู้ ัว โฆษณาเกิน จริงชักชวนให้หลงเชื่อ ความรับผิดชอบของผู้ผลิตโฆษณาที่มีต่อผู้ บริโภคอย่างเรา เป็นต้น จะเห็นได้ว่าคนที่รู้เท่าทันสื่อโฆษณา จะมีทางเลือกมาก ขึ้นในการบริโภคและการใช้ชีวิตประจ�ำวัน เพราะรู้ว่าจะจัดการกับ สื่ อ และสารต่ า งๆ ที่ ถ าโถมเข้ า มาหาเราด้ ว ยมุ ม มองแบบไหน (สามารถต่อรองกับด้านลบของสือ่ และน�ำเอาด้านบวกจากสือ่ มาใช้) ยิง่ กว่านัน้ การรูเ้ ท่าทันสือ่ โฆษณายังเป็นการเพิม่ พลังและ อ�ำนาจให้แก่ตัวเอง ในการควบคุมความเชื่อและพฤติการณ์ส่วนตัว ของเราได้ เช่น ไม่เชื่อตามโฆษณา ว่าคุณค่าหรือความงามอยู่ที่ผิว ขาวหรือผมสวย จึงไม่จ�ำเป็นต้องซื้อสินค้าด้วยเหตุผลนั้น แต่ดู

2. การแฝงวัตถุ

3. การแฝงบุคคล

โดยมีการน�ำสินค้าหรือโลโก้ยี่ห้อสินค้ามาวางประกอบ ฉาก เช่น โลโก้ผลิตภัณฑ์สนิ ค้าต่างๆ ทีว่ างเป็นฉากหลังของรายการ เมื่อเราชมรายการนั้น เราก็จะได้ชมโฆษณาสินค้าจากรายการนั้น ด้วย แม้จะเป็นแค่ฉากหลังแต่ผู้ชมก็มองเห็นได้ชัดเจน

เป็นการก�ำหนดให้นักแสดงมีการหยิบ จับ สวม และใช้ สินค้า เช่น ละครบางเรือ่ งมีการก�ำหนดเหตุการณ์ ตัวอย่างฉากอาบ น�้ำ นักแสดงมีการใช้สินค้าตัวนั้นจริงๆ เพราะฉากดังกล่าวสามารถ น�ำสินค้ามาใช้ได้และเนื่องจากเป็นฉากอาบน�้ำ กล้องถ่ายภาพให้ผู้ ชมเห็นตราสินค้า และตัวผู้ชมจะไม่รู้สึกว่าก�ำลังชมโฆษณา

“โฆษณาแฝง” หรือ Produce Placement คือ การ

โฆษณาทีแ่ ฝง หรือแทรกเข้าไปในเนือ้ หาของรายการ เป็นความตัง้ ใจของ ผู้ผลิตสื่อ (Producer of Media) ที่ร่วมมือกับเจ้าของสินค้า (Producer of goods) โดยมีการจ่ายค่าโฆษณาเช่นเดียวกับโฆษณาทั่วไป พูด กันง่ายๆ คือ “การโฆษณาทีไ่ ม่บอกผูช้ มตรงๆ ว่าทีเ่ ห็นอยูข่ ณะนีเ้ ป็นการ โฆษณา” เราไปรู้จักโฆษณาแฝงกันเถอะ

1. การแฝงผ่านสปอตสั้น หรือ VTR

ETC Mass Magazine

11


ทุกวันนี้ การซื้อขายผ่านช่องทางออนไลน์ก�ำลังมาแรง โดยเฉพาะทาง Facebook Line หรือ Instagram แม้ชอ่ งทางเหล่า นี้จะสะดวกแต่ก็ต้องระวังเช่นกัน เพราะมีผู้ซื้อโดนหลอก สูญเสีย เงินกันเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งพบเจอในหลายๆข่าวแล้ว คราวนี้ถ้าคุณ เจอกรณีแบบนี้เอง ผู้ซื้ออย่างเราจะป้องกันอย่างไรดี ? “ถ้าคุณตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพที่หลอกเอาเงินคุณให้ ซื้อของบนโลกออนไลน์ไป ถ้าเป็นจ�ำนวนเงินไม่มาก อาจจะต้อง ท�ำใจ เพราะการด�ำเนินคดีอาจจะไม่คุ้ม แต่ถ้าต้องการหาตัวผู้ กระท�ำผิดมาลงโทษ หรือถ้าเป็นเงินมากๆ อันดับแรกให้ไปแจ้งความ ทีส่ ถานีตำ� รวจใกล้บา้ น หรือสถานีตำ� รวจในทีเ่ กิดเหตุซงึ่ ทางต�ำรวจ จะส่งเรื่องไปให้ ปอท. หรือด�ำเนินการอื่นๆ ต่อไป” เมื่ อ เกิ ด คดี ก รณี แ บบนี้ ขึ้ น ก็ ย ากนั ก ที่ โ อกาสจั บ กุ ม มิจฉาชีพได้ ดังนั้น เราต้องไม่ให้เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นกับเราดีที่สุด

อาจารย์ปริญญา หอมเอนก ประธานและผู้ก่อตั้ง ACIS Professional Center เลขานุการสมาคม ความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ TISA

วิธีการป้องกันการโดนหลอก เมื่อซื้อของทางออนไลน์

12

ETC Mass Magazine

1. น�ำชือ่ เบอร์โทรศัพท์ หรือ Username ของ ผูข้ ายมาค้นหาใน Google หากชือ่ ดังกล่าวเคย หลอกลวงคนอื่นมาแล้ว จะมีข้อมูลต่อว่าหรือ คดีความโพสต์ให้เห็นตามเว็บบอร์ดต่างๆ

4.ตรวจสอบข้อมูลกับผู้ที่เคยซื้อสินค้าจาก ร้านดังกล่าวว่าได้รับสินค้าจริงๆหรือไม่ และ สินค้าเป็นอย่างไร

2.ค้นหาชื่อผู้ขายผ่านทาง Facebook หรือ Twitter เพราะผู้ขายประเภทนี้จะใช้ Social Network ตลอดเวลา ให้ตรวจสอบดูว่ามีการ ขายของจริงๆหรือไม่

5.อย่าซื้อของที่ถูกเกินจริง ถ้ามีราคาถูก มากกว่าความเป็นจริง ให้ตั้งข้อสังเกตก่อน เลยว่าผู้ขายอาจหลอกลวง

3.น�ำชื่อหรือ Username ผู้ขายไปค้นหาใน เว็บไซต์ทสี่ ามารถตรวจสอบตัวตน เช่น peekyou.com, touchgraph.com/seo หรือ ocialmention.com จะพบข้อมูลต่างๆ ที่ เกีย่ วข้อง เช่น E-mail รูปภาพ ข้อมูลบนเว็บไซต์ และบน Social Network

6.การจ่ายเงิน ควรจ่ายด้วยบัตรเครดิตจะ ปลอดภัยกว่าการโอนเงินสดผ่านธนาคาร เพราะสามารถตรวจสอบชื่อหรือข้อมูลต่างๆ ได้

“Shopping ออนไลน์ทั้งที ต้องมีสติ”


แชร์เรื่องบอกต่อ ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากมายในชีวิตประจ�ำ วันของเรา อ�ำนวยทั้งความสะดวก รวดเร็ว ในด้านต่างๆ เช่น ด้าน คมนาคม อุตสาหกรรมต่างๆ มีผู้ประกอบธุรกิจต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย ซึ่งในบทความนี้จะยกตัวอย่างเรื่องราวการซื้อของหรือท�ำ ธุรกรรมต่างๆ การซื้อของสักอย่างหนึ่งในยุคสมัยนี้เป็นเรื่องที่ง่ายมาก โดยเฉพาะการซื้อของออนไลน์ผ่านทางแอพลิเคชั่นบนมือถือหรือ

เว็บไซต์ขายสินค้าของบริษัทต่างๆ ที่เกิดขึ้นมากมายในปัจจุบัน จากยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป การซือ้ ของหรือช�ำระค่าบริการ ต่างๆ ก็สามารถท�ำได้งา่ ยขึน้ ไม่วา่ จะเป็นการซือ้ ของออนไลน์ Internet Banking หรือเติมเงินออนไลน์ แต่ในความสะดวกสบายนัน้ ก็มภี ยั ซ่อน อยู่ ภัยที่ว่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร ลองอ่านเรื่องราวต่อไปนี้

ETC Mass Magazine

13


“เมื่อท�ำธุรกรรมทาง

การเงินผ่านอินเทอร์เน็ต ควรตรวจสอบให้ดีก่อนทุกครั้ง”

14

ETC Mass Magazine


ประสบการณ์ตรงในโลกออนไลน์ Q : รู้สึกอย่างไรกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น? A : รู้สึกสับสนไปหมดว่ามันคืออะไรท�ำไมต้องเจอแบบนี้อยู่ดีๆ เราก็โดนใครก็ไม่รู้มาท�ำกับเราแบบนี้ เคยเห็นแต่ที่เจอเกิดกับคนอื่น พอเจอกับตัวเองแล้วรู้เลยครับว่าเป็นความโชคร้ายมากๆ ครับ รูส้ กึ ว่าเป็นการหลอกเอาเงินทีท่ ำ� เป็นกระบวนการทีซ่ บั ซ้อนมาก นับได้วา่ ฟาดเคราะห์และ เป็นอุทาหรให้ตัวเองครับ Q : เราสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้หรือไม่? A : ในการแก้ไขของผมนั้นผมไม่สามารถแก้ไขไรได้มากเพราะได้ท�ำเต็มที่แล้วที่จะหาตัว คนร้ายแต่ดว้ ยกระบวนการทีซ่ บั ซ้อนและความยุง่ ยากซึง่ ไม่คมุ้ ต่อสิง่ ทีเ่ สียไป ท�ำให้ตดั สิน ใจที่จะยอมเสียหายมากกว่าและเป็นเครื่องเตือนใจให้เราใช้ชีวิตด้วยความระวังมากขึ้น Q : ผลกระทบที่ได้รับทั้งด้านดีและด้านไม่ดีที่ได้รับ? A : ท�ำให้เราเสียทรัพย์ เสียความรูส้ กึ และเสียประวัตเิ พราะคนทีเ่ ขาโดนก่อนทีเ่ ขาจะแจ้ง ความเขาได้ท�ำการแคปชื่อและเลขบัญชีของเราไปบา facebook เพราะชื่อและเลข บัญชีธนาคารมันท�ำอะไรได้หลายอย่างมากครับ เพราะในช่วงทีเ่ รารูเ้ รือ่ งและแจ้ง ความกับต�ำรวจนั้นเป็นเวลาแค่ 2-3 ชั่วโมงแต่ยอดการแชร์โพสต์น้ัน ได้ แชร์ออกไปเยอะมากท�ำให้เราเสียประวัติ เพราะถึงเราจะท�ำการลบ แต่ถา้ มีคนทีถ่ า่ ยเก็บไว้แล้วไปแชร์ตอ่ มันก็เสียหายเราได้ ในส่วน ของผลกระทบต่อธุรกิจนั้นก็สามารถท�ำต่อได้เพราะไม่ได้เกิด ความเสียหายของระบบ แต่เกิดจากคนร้ายทีเ่ ข้ามากระท�ำกับ เรามากกว่า หลังจากเหตุการณ์นเี้ กิดขึน้ มาซักระยะก็ได้สงั่ ปิด เว็ปไซต์เหตุผลเพราะไม่มีก�ำลังใจที่จะท�ำต่อครับ Q : อยากฝากอะไรไว้เป็นเครื่องเตือนใจมั้ย? 1. ฝากถึงคนที่ขายของออนไลน์นะครับว่าหากมีการ โอนเงินเข้ามาให้ตรวจสอบให้ดใี นเรือ่ งของเลขบัญชี ในการที่ เราขายของต่างๆ เราอาจจะสุจริตอยู่แล้วเราอาจจะท�ำด้วย ความจริงใจอยู่แล้วหากมีผู้ไม่หวังดีกับเรามาท�ำกับเราในกรณี แบบผมนี้ ร้านของเราก็จะเสียหายไปเลย เสียประวัติ เสียชื่อ เสียง ดังนั้นเวลาที่เราให้เลขบัญชีคนอื่นไปให้ตรวจสอบดีๆ ถึง จะตรวจสอบไม่ได้ก็ให้รอบคอบไว้ก่อน 2. ฝากไปถึงคนที่ใช้งานเฟสบุ๊คหรือ Social Media ต่างๆ ถ้าหากอยูด่ ๆี มีเพือ่ นคนหนึง่ ทักเฟสมา แล้วบอกว่าขอยืม เงินหน่อยไม่ว่าจะเป็นจ�ำนวนมากน้อยแค่ไหน สิ่งแรกที่ควรจะ ท�ำเลยคือการตรวจสอบว่าใช่เพือ่ นเราจริงมัย้ หรือไม่กถ็ า้ มีเบอร์ โทรก็ให้โทรหาเพื่อนคนนั้นแล้วคุยกันดีกว่าเราจะได้รู้ว่าเป็น เพื่อนเราจริงหรือเปล่า หากไม่ใช่เราจะได้ไหวตัวทันและแก้ไข ได้ทนั และหากเรามีเลขบัญชีคนทีเ่ ราจะโอนให้ให้ตรวจสอบ ว่าใช่ของเพือ่ นเราหรือเปล่าก่อนให้แน่ใจอยากให้ตรวจสอบ ให้ดีๆ และรอบคอบไว้ก่อนถ้าเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นแล้ว บางครัง้ มันก็ยากทีจ่ ะแก้ไขและก่อนทีจ่ ะโพสต์เฟสบุค๊ ต่างๆ ควรที่จะพิจารณาดูให้ดีเสียก่อนก่อนที่จะโพสต์ออกไป เพราะโลก Social Media ทุกวันนี้ข่าวสารต่างๆ รวดเร็ว มาก ETC Mass Magazine

15


วิธีการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน เรียบเรียงโดย อันเดรียส คลีม้าชคา

เชื่อว่าทุกท่านคงเคยได้ไปเลือกซื้อคอมพิวเตอร์หรือโน๊ตบุ๊ค แล้วเกิดข้อสงสัยมากมายว่าควรเลือกซือ้ ยีห่ อ้ ไหนดี เลือกซือ้ อย่างไรให้ เหมาะแก่การใช้งานของเรา ค�ำอธิบายรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ เขียนไว้คืออะไร วันนี้เราจะมาแนะน�ำวิธีการเลือกซื้อให้เหมาะกับการ ใช้งานของตัวเองกัน ส่วนหลัก ๆ ในการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์มีอยู่ 4 อย่าง ได้แก่ 1.CPU คือหน่วยประมวลผลกลางของคอมพิวเตอร์ ซึ่งใน ตลาดมีวางจ�ำหน่ายอยู่ 2 ยี่ห้อที่เป็นคู่แข่งกันคือ Intel กับ AMD มาดูฝั่งทาง Intel กันก่อน ส่วนมากที่วางขายกันจะเป็น ตระกูลรุ่น Core i อย่างเช่น Core i3, Core i5, Core i7 เป็นต้น ซึ่ง สามารถดูความเร็วได้ง่ายๆ อย่าง Core i3 จะมีความเร็วไม่สู ง นั ก เหมาะกับการพิมพ์งาน ดูหนัง เล่นโซเชียล ฟังเพลงเป็นต้น ส่วน Core i5 จะมีความเร็วสูงกว่ารุ่นก่อน เหมาะกับการตัดต่อวีดีโอง่ายๆ การใช้ โปรแกรมตกแต่ ง ภาพ การเล่ น เกมธรรมดาเป็นต้น Core i7 ก็จะ เร็วกว่ารุ่นก่อนเช่ น กั น เหมาะกั บ การตั ด ต่ อ วี ดี โ อหนักๆ การเล่น เกมสเป็คสูง การใช้โปรแกรมเฉพาะทางเป็นต้น ปัจจุบันมี Core i9 เป็นรุน่ ใหม่ลา่ สุดซึง่ จะเร็วกว่ารุน่ ทีก่ ล่าวมาอย่างมาก เหมาะส�ำหรับคน ที่ต้องการท�ำงานประมวลผลให้เสร็จได้อย่างรวดเร็ว ส่วนทางด้านยีห่ อ้ AMD จะเห็นเป็นพวกตระกูล APU ซึง่ เป็น เทคโนโลยีที่น�ำเอา CPU กับ GPU หรือชิปกราฟิกมารวมกัน ท�ำให้การ ท�ำงานด้านกราฟิกดีขึ้น แต่การประมวลผล CPU จะด้อยลง มีออกมา หลายรุน่ เช่น A6 A8 A10 เป็นต้น ความเร็วก็สามารถดูได้ตามการเรียง ตัวเลขของรุ่นเหมือนตระกูล Core i ส่วนด้านความเร็วการประมวล ผลนั้น ยี่ห้อ AMD จะไม่เร็วเท่ายี่ห้อ Intel แต่ราคาจะถูกกว่า 2.RAM เป็นหน่วยความจ�ำชั่วคราว คือเป็นพื้นที่รองรับ ระบบปฏิบตั กิ ารของคอมพิวเตอร์อย่างเช่น Windows ทีเ่ ราใช้กนั และ รองรับการเปิดโปรแกรมทีเ่ ปิดอยูใ่ นขณะนัน้ ซึง่ ยิง่ มีความจ�ำมากยิง่ เปิด โปรแกรมพร้อมกันเยอะ ๆ ได้มาก RAM ขั้นต�่ำที่แนะน�ำในปัจจุบันไม่ ควรต�่ำกว่า 4GB เพื่อการท�ำงานที่ดี นอกจากหน่วยความจ�ำของ RAM ยังมีเทคโนโลยีที่เรียกว่า DDR ซึ่งปัจจุบันมีถึง DDR4 แล้ว อธิบายง่าย ๆ ยิงิ่ ตัวเลขมากยิง่ เร็วเช่น DDR4 เร็วกว่า DDR3 เป็นต้น ซึง่ ในการเลือก RAM ต้องดูด้วยว่าคอมพิวเตอร์เรารองรับ DDR แบบไหน 16

ETC Mass Magazine

3.พื้นที่เก็บข้อมูล มี 2 แบบคือ HDD กับ SSD เรามาพูดถึง ตัวแรกกันก่อน HDD หรือ Hard Disk Drive เป็นพื้นที่เก็บข้อมูลแบบ จานหมุน ตัวทีส่ องคือ SSD หรือ Solid State Drive คือพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล แบบใช้ชิพ แล้วทั้งสองอย่างนี้แตกต่างกันอย่างไรละ? จะแตกต่างกันที่ เรื่องความเร็วซึ่ง SSD มีความเร็วมากกว่า HDD อย่างมาก ยกตัวอย่าง เช่นการเปิดคอมพิวเตอร์เข้าสู่หน้า Windows ตัว SSD จะใช้เวลา ประมาณ 10 วินาทีในขณะที่ HDD จะ ใช้เวลามากกว่า 1 นาทีเป็นต้น แต่เมื่อเราได้ความเร็วเราก็ต้องเสียความจ�ำไปเพราะ SSD มีราคาแพง กว่า HDD มาก เช่นในราคาเท่ากัน HDD ขนาด 1TB จะมีราคาเท่ากับ SSD ขนาด 128GB เป็นต้น ซึ่งจะใช้อะไรนั้นขึ้นอยู่กับความต้องการ ของคนซื้อ 4.การ์ดจอหรือ Graphic Card คือหน่วยประมวลผลกราฟิก ซึง่ จะช่วยในเรือ่ งการเล่นเกมหรือการใช้โปรแกรมทางกราฟิกให้ทำ� งาน ได้ไหลลืน่ มากขึน้ จะมี 2 แบบคือการ์ดจอ Onboard และการ์ดจอแยก ส�ำหรับคอมพิวเตอร์โน๊ตบุค๊ รุน่ ไม่แพงส่วนมากจะมีแค่ Onboard มาให้ ส่วนการ์ดจอแยกจะมีในรุ่นแพงขึ้นมา การ์ดจอแยกอาจจะมีชื่ออย่าง เช่น Nvidia GTX1050Ti, AMD R7 265M เป็นต้น ถ้าหากจะซื้อ คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คมาเล่นเกมด้วยควรเลือกเครืองที่มีการ์ดจอด้วย 4 ส่ ว นที่ ก ล่ า วมาจะเป็ น ส่ ว นหลั ก ๆ ในการเลื อ กซื้ อ คอมพิวเตอร์หรือโน๊ตบุค๊ ส่วนพวกยีห่ อ้ ขนาดจอ สีเครือ่ ง เว็บแคม ไดรฟ์ DVD หรืออย่างอืน่ สามารถเลือกได้ตามความชอบ นอกจากนีเ้ รายังต้อง ดูงบประมาณของเราด้วยว่าสอดคล้องกับสเป็คคอมพิวเตอร์แบบไหน ถึงจะเหมาะกับเรา ถ้างบไม่พอเราอาจจะต้องตัดบางอย่างที่ไม่จ�ำเป็น ออกเช่น เราไม่ได้ท�ำงานกราฟิกหรือเล่นเกมมากนักเราก็เลือกซื้อ คอมพิวเตอร์ทมี่ กี าร์ดจอแบบ Onboard ก็พอ แต่เมือ่ เราเดินเข้าไปร้าน ขายคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะซื้อคอมพิวเตอร์สักเครื่องหนึ่ง เราจะเจอ พนักงานทีม่ าโน้มน้าวแนะน�ำให้เราซือ้ ยีห่ อ้ ใดยีห่ อ้ หนึง่ เป็นพิเศษโดยจะ แนะน�ำว่ายี่ห้อนี้ดีอย่างนั้นอย่างนี้ เราอย่าพึ่งไปเชื่อพนักงานให้มาก เพราะบางที่ พ นั ก งานขายอาจจะได้ ค ่ า คอมมิ ช ชั่ น จากการขาย คอมพิวเตอร์ยี่ห้อนั้นๆ ดังนั้นให้เราลองศึกษาดูข้อมูลให้ละเอียดก่อนที่ จะตัดสินใจซื้อคอมพิวเตอร์


เล่นเกมให้มีสาระและได้ประโยชน์ เรียบเรียงโดย อันเดรียส

“เกม” บางคนเล่นเพื่อความสนุกสนาน คลายเครียด หรือ เพื่อหามิตรภาพ แต่ก็มีผู้เล่นที่เรียกตัวเองว่า “เกมเมอร์” เล่นเกมเพื่อ สร้างรายได้ให้กับตัวเอง โดยการผันตัวเองเป็นนักกีฬา E-Sport เข้า ร่วมการแข่งขัน E-Sport ซึ่งมีเงินรางวัลที่สูงมากเมื่อเทียบกับการ แข่งขันประเภทอื่นๆ โดยปัจจุบันนี้ เกมมันอาจไม่ใช่แค่เกมอีกต่อไป แล้ว แต่มันกลายเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งที่เรียกว่า E-Sport

เหมือนเราเล่นกีฬาทัว่ ไป บางคนอาจเล่นเพือ่ ฆ่าเวลา บางคน เล่นเพราะความชอบส่วนตัว บางคนเล่นเพราะเป็นกิจกรรมที่ร่วมท�ำ กับเพื่อน แต่บางคนเขาอาจมีเป้าหมายสูงสุดกว่านี้อีก คือ เขามีฝีมือ และมีความสามารถ ดังนั้นจึงมีการแข่งขันของ E-Sport เกิดขึ้น เพื่อที่ จะสร้างเวทีให้คนที่มีฝีมือมาแสดงฝีมือของตัวเองออกมาเต็มที่ การแข่งขัน E-Sport มีทั้งการแข่งขันเดี่ยวและเป็นทีม ยก ตัวอย่างเกมแข่งเดี่ยว เช่น FIFA, Hearthstone เป็นต้น เกมแข่งเป็น ทีมเช่น ROV, DOTA2, Overwatch, CSGO เป็นต้น ทุกคนอาจเข้าใจผิดว่าคนทีเ่ ป็นนักกีฬา E-Sport จะต้องชอบ เล่นเกมอย่างเดียวและเล่นเกมทัง้ วัน แต่ความจริงแล้วก็เหมือนนักกีฬา ทั่ ว ไปคื อ คนที่ เ ป็ น นั ก กี ฬ า E-Sport จะต้ อ งฝึ ก ซ้ อ มและท� ำ ตามกฏระเบียบ แต่แตกต่างกันตรงทีน่ กั กีฬา E-Sport จะต้องซ้อมเล่น เกม นอกนัน้ ทุกอย่างก็คล้ายๆ กันคือต้องมีระเบียบวินยั และต้องมีโค้ช มีทมี ผูจ้ ดั การ เพราะว่าต้องมีคนให้แนวทางทีช่ ดั เจนว่าจริงๆ ตัง้ ทีมต้อง ท�ำอะไรบ้าง ต้องซ้อมอะไรบ้าง และต้องสามารถบริหารเวลาได้ดี

เมือ่ วันที่ 22-23 ตุลาคม พ.ศ. 2560 สาขาวิชาเทคโนโลยีการ ศึกษาและคอมพิวเตอร์ศกึ ษาได้จดั การแข่งขัน ROV ETC E-Sport ครัง้ ที่ 1 ขึ้นมาเพื่อเป็นจุดเริ่มต้นในการน�ำกีฬา E-Sport เข้ามาแข่งขันใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ROV เป็นเกมที่ปัจจุบันผู้คนนิยมเล่นสูง จึง ได้น�ำเกมนี้มาใช้ในการแข่งขัน โดยมีค่าสมัครทีมละ 250 บาท และมี เงินรางวัลรวมกันมากถึง 3,500 บาท โดยทีมที่ชนะเลิศก็คือทีม “Mamypoko”

ETC Mass Magazine

17


เสพสื่ออย่างมีวิจารญาณ จาก โอม Cocktail

โอม Cocktail : มาวิเคราะห์ภาพไอติมกันครับ เรา รู้อะไรจากรูปนี้บ้าง? สาระนะครับ ลองดูครับ

โอม Cocktail : เอาล่ะครับ เราได้อะไรจากรูปนี้ บ้าง ในยุคทีข่ า่ วสารนัน้ มีเต็มไปหมด มีทงั้ จริงและปลอมปะปน กันไป ก็มีแต่ตัวเรานี่แหละที่จะเป็นปราการด่านสุดท้ายที่จะ คัดกรองเอา "ความจริง" ออกมา ผมขอพูดถึงเรื่องความ "แท้จริงของภาพในปัจจุบัน จริงๆ ผมอยากให้ทุกคนใช้ประเด็นนี้เป็นประเด็นแรกในการ เลือกเสพสือ่ เนือ่ งด้วยสือ่ ทีม่ ลี กั ษณะลวงให้กดหรือ Clickbait มีอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก หรือแม้กระทัง้ ข่าวสารในลักษณะทีส่ ร้าง ความแตกแยก อคติเองก็มไี ม่นอ้ ย คงจะเป็นการดีถา้ เราฝึกตัว เองให้คิดถึง “ความน่าเชื่อถือ” ของข่าวสารนั้นๆ ก่อนเป็น อันดับที่ 1 ครับ เพราะถ้าความน่าเชื่อถือไม่ผ่านแล้ว เราไม่มี ความจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งพู ด ถึ ง ประเด็ น อื่ น ๆ อี ก เลยยกเว้ น ประเด็นตลก โปกฮานะครับ จากภาพเราน่าจะพออนุมานได้ว่า ไอศกรีมแท่งดัง กล่าวถูกกัดและยังคงมีรอยฟันคงค้างอยู่ที่แท่ง ด้วยลักษณะ 18

ETC Mass Magazine

ดังกล่าว จึงเป็นไปได้ยากที่จะไม่กัด โดยวัตถุแปลกปลอมข้าง ใน นอกเสียจากว่าใช้วิธีการดูดเลีย ซึ่งไอเย็นจากบริเวณรอย กัดนั้นก็ยังไม่หายไปจนเปียก จึงไม่น่าจะเป็นลักษณะของการ รับประทานแบบอื่นได้นอกจาก "กัด" ครับ ประกอบกับทั้งขา สิ่งมีชีวิตดังกล่าวมีสภาพที่ค่อนข้างสดแบบไม่ผ่านการแช่แข็ง มาก่อน ซึง่ ในประบวนการผลิตไอศกรีมนัน้ ย่อมต้องใช้อณ ุ หภูมิ ที่ต�่ำจนถึงจุดเยือกแข็ง ขานั้นไม่ควรมีสภาพในลักษณะที่ปรากฎครับ จากการอนุมานจึงเชือ่ ว่าเป็นไปได้ยากมากทีภ่ าพนีจ้ ะ เป็นของจริง จริงๆ แล้วผมเชื่อว่ารูปนี้ถูกสร้างมาเพื่ออารมณ์ขัน เท่านั้นแหละครับ ไม่ได้สร้างมาหลอกใคร หรือสร้างมาให้ต้อง ขบคิด แต่ผมอยากจะหยิบยกมาเพื่อเป็นตัวอย่างในการเสพ ข่าว และการตัง้ ค�ำถามกับตัวเองในการเลือกเชือ่ ข่าวและข้อมูล ในโลกไซเบอร์ คงเป็นการยากที่เราจะก�ำจัดสื่อลวงเหล่านี้ไป ได้ ตราบเท่าทีเ่ ราคงเชือ่ เขาง่ายๆ เพราะเขาเหล่านัน้ หากินบน ความเชื่อของเรา แต่ถ้าเราทุกคนไม่ใช่คนเชื่ออะไรง่ายๆ ใน ที่สุดสื่อเหล่านี้จะไม่มีที่ยืนเองครับ สุดท้ายรูปนี้อาจจะจริงก็ได้ ใครจะรู้แท้


ETC Mass Magazine

19


“บัดนี้ถึงเวลาที่จะต้องท�ำในสิ่งที่ตัวเองรัก

คือ การเป็นครูให้ดีที่สุด”

20 ETC Mass Magazine


บันทึกที่โรงเรียนบ้านหินผา ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๙ ความคาดหมายและความคิดของ ผมตลอดเวลาที่ยังไม่ถูกเรียกตัวเพื่อการ บรรจุรับราชการครูตามความฝันดูเหมือน จะมืดบอดลง เมื่อตอนนี้ผมเดินทางมาถึง หน้าโรงเรียนที่ๆผมจะต้องเริ่มต้นช่วงชีวิต ของการท�ำงาน ผมใช้เวลาเดินทางมาที่นี่ หลายชั่วโมงเหมือนกัน โรงเรียนที่ห่างไกล ตัวเมืองและเป็นโรงเรียนประจ�ำหมู่บ้านที่ ไม่ใหญ่นัก จริงๆแล้วผมก็คิดเอาไว้แล้ว แหละว่าโรงเรียนแถบชนบทแบบนีอ้ าจจะ ล้าหลังไปบ้าง แต่เพียงแค่ป้ายโรงเรียนที่ดูเก่า มั น กลั บ ท� ำ ให้ ก� ำ ลั ง ใจผมถู ก บั่ น ทอน

“ โรงเรียนบ้านหินผา ”

ผมถอนหายใจไปเฮือกใหญ่พร้อม กับบอกตัวเองให้สู้ อุดมการณ์ความรู้ที่ สั่งสมมาตลอดในมหาวิทยาลัย บัดนี้ถึง เวลาที่จะต้องท�ำในสิ่งที่ตัวเองรัก คือ การ เป็นครูให้ดที สี่ ดุ ทบทวนความคิดกับตัวเอง สักครูแ่ ล้วก้าวเข้าไปภายในโรงเรียน ตอน นี้ก็เวลาเจ็ดโมงกว่าๆแล้ว อีกประเดี๋ยวก็ คงจะถึงเวลาเคารพธงชาติ กวาดตามองหา อาคารที่คิดว่ามีห้องพักครูจึงรีบตรงดิ่งไป ยังใต้อาคารไม้ใหญ่หลังหนึ่ง “สวัสดีครับ” “สวัสดี ครูที่ว่ามาใหม่ใช่ไหม” “ใช่ครับ ผมชื่อ เพชรนะครับ ” “ผมครูสุพัฒน์” ผมยกมื อ ไหว้ ค รู สุ พั ฒ น์ วั ย ใกล้ เ กษี ย ณ มือแกมีไม้เรียวอยู่ตลอดเวลา ผมได้รับ หน้าที่สอนวิชาคอมพิวเตอร์และวิชา

สังคมศึกษา ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนสั่งให้ ผมได้เริ่มสอนวันนี้เลย เพราะผมทราบ ล่วงหน้าแล้วและได้จัดเตรียมการสอน มาด้วย หลังจากทีส่ อนวันแรกผ่านไป ผม รูส้ กึ ว่าวิธกี ารของผมมันช่างไม่เหมาะกับ ทีน่ เี่ อาซะเลย สือ่ ทีใ่ ช้สอนในแผนของผม เพื่อประสิทธิ ภาพในการเรียนรู้มันไม่ สามารถมาใช้ ไ ด้ โรงเรี ย นไม่ มี โปรเจคเตอร์สำ� หรับฉายภาพกับโรงเรียน ทีห่ า่ งไกลความเจริญ และทีห่ นักทีส่ ดุ คือ คอมพิวเตอร์เครือ่ งเก่ามีเพียงเครือ่ งสอง เครื่องที่จะพังแหล่ไม่พังแหล่ แต่ก็ยังดีที่ มีเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้าถึงหมู่บ้าน โดยโครงการของ TOT แล้วอย่างนี้การ เรี ย นรู ้ ข องนั ก เรี ย นจะด� ำ เนิ น ไปได้ อย่างไรกัน ผมลืมตาขึน้ มาจากการหลับมา ตลอดทัง้ คืน เช้านีเ้ ป็นเช้าวันเสาร์ทสี่ ดใส และสดชืน่ เพราะอากาศทีน่ ดี่ มี ากๆ ล้าง หน้ า แปรงฟั น เสร็ จ ก็ จั ด การนั่ ง ลงบน เก้าอีไ้ ม้หน้าระเบียงเพือ่ กินอาหารเช้า ... เป็นกาแฟร้อนๆถ้วยหนึ่ง โรงเรียนบ้าน หินผา ไม่มบี า้ นพักครู ผมจึงต้องมาพักที่ บ้านของญาติผอู้ ำ� นวยการ ซึง่ เป็นบ้านที่ ไม่มีใครอยู่ เห็นว่าเจ้าของเป็นลูกชาย ของผู้ใหญ่บ้าน แต่ไปท�ำงานที่เมืองนอก เมืองนาหลายขวบปีแล้ว “ครูครับบบบ ครูเพชรครับ” “มีอะไรหรือเจ้าด�ำ” ผมตะโกนตอบนักเรียนประจ�ำชัน้ ของผม ที่ตอนนี้ตะโกนเรียกหาผมอยู่หน้าบ้าน “ลุงผู้ใหญ่บ้านแกให้เอาแกง สายบัวมาให้ครับครู” ผมลงไปรับกับข้าวด้วยความ ยินดีและไม่ว่าจะเป็นมื้อเที่ยง หรือ มื้อ เย็น ท้องของผมก็อิ่มแปล้จากนํ้าใจชาว บ้านหินผาอย่างน้อย ชีวติ ในวันหยุดก็ไม่ ได้แย่ไปกว่าอุปสรรคในงานสอนผม

อาทิตย์ต่อมา ผมยื่นเรื่องกับผู้ อ�ำนวยการในการจัดหางบประมาณในการ ซื้ อ เครื่ อ งฉายโปรเจคเตอร์ แ ละเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์มาเพื่อใช้สอนโดยเหตุผลที่ ใจความง่ายๆก็คือ ในยุคนี้ เขาไม่ใช้กัน หรอกนะ ชอล์กกับกระดานด�ำนัน่ หากเรา มี อุ ป ก ร ณ ์ พ ว ก นั้ น อ ย ่ า ง ค ร บ ค รั น ประสิทธิภาพในการสอนก็จะดี นักเรียนก็ จะเก่ง แต่ดเู หมือนการเสนอเรือ่ งของผม จะถูกขัดขวาง เมือ่ ครูสพุ ฒ ั น์ กล่าวขึน้ ในที่ ประชุมว่า “ส�ำหรับผม คิดว่าของพวกนั้น มันไม่จำ� เป็นหรอกทีจ่ ะท�ำให้เด็กคนนึงเก่ง มากขึน้ มากกว่าก่อนหน้าจะไม่มมี นั ” “แต่ เชื่อผมเถอะครับครูสุพัฒน์ มันช่วยได้ ได้ ดีด้วยครับ” และผลการประชุมในวันนั้น ก็ดูเหมือนจะยังสรุปไม่ได้ ผมยืนมองเด็กๆ ที่ก�ำลังต่อแถวเข้าคิวยาวเพื่อสอบท่องแม่ สูตรคูณกับครูสอนเลข ซึ่งก็คือ ครูสุพัฒน์ ผมคิดว่าการสอนของครูคนนี้จะ เน้นเรื่องการให้เด็กท่องจ�ำ มากกว่าจะให้ ลงมือปฏิบัติ สื่อในการสอนของแกก็ไม่มี อะไรเลย นอกจากกระดาน และชอล์ก ส่วนตัวผมคิดว่าการเรียนแบบนี้จะท�ำให้ สมองล้าเกินไปที่ต้องเที่ยวแต่ท่องจ�ำซ�้ำๆ ไม่ได้เกิดความคิดจินตนาการเลย “แกก็ ส อนของแกแบบนี้ ม าแต่ ไหนแต่ไรแล้วครับครูเพชร หากจะให้แก เริ่มหัดใช้เทคโนโลยีอะไรนั่น แกคงไม่ท�ำ หรอก” ผมหันมามองตามเสียงกล่าวของ ผู้อ�ำนวยการที่เดินเข้ามาชวนเสวนาด้วย “แต่ผมว่าแกควรเปิดตาบ้างนะ ครับ โลกภายนอกเขาไปไกลแค่ไหนกัน แล้ว” “เดีย๋ วศุกร์นผี้ มจะเปิดประชุมอีก ครั้ง คุณลองหาเหตุผลดีๆมาสักอย่าง เผื่อ แกจะโอนเอนไปตามบ้าง” ETC Mass Magazine

21


22 ETC Mass Magazine


ผมพยักหน้ารับค�ำของผู้อ�ำนวยการพลาง ทอดมองไปยังเด็กบางคนทีต่ อ้ งเข้าคิวแล้ว เข้าอีก เพราะสอบท่องแม่สูตรคูณไม่ผ่าน สักที เด็กที่พวกเขาหัวช้ามากกว่าเพื่อนๆ “ท�ำอะไรอยู่หรอครับครูอ้อ” ผู ้ อ� ำ นวยการเอ่ ย ถามขณะเดิ น กลับมาทีห่ อ้ งพักครูกบั ผมทีเ่ ห็นครูออ้ เป็น ครูคนสวยแต่แกไม่ได้สาวประจ�ำโรงเรียน ของเรา ครูอ้ออายุประมาณสี่สิบปีเห็นจะ ได้ เธอก�ำลังก้มหน้าก้มตากดพิมพ์บนแป้น พิมพ์ของคอมพิวเตอร์ประจ�ำห้องพักครู “มี ห นุ ่ ม ต่ า งชาติ ม าจี บ ฉั น ใน อินเตอร์เน็ตแหน่ะ สงสัยจะได้แต่งงาน คราวนี้แหละค่ะ ผ.อ. ครูเพชร ” “เคยเห็ น หน้ า เขาแล้ ว หรื อ ” ผ.อ.กล่าวถาม “เห็นแต่รูปใน hi5 นี่แหละค่ะ ผ.อ. หล่อเหลาทีเดียวเชียว” “ผมว่าครูออ้ อย่าเพิง่ ไปเชือ่ ใครใน อินเตอร์เน็ตเลยนะครับ มันอันตรายมาก และเสี่ยงมากๆครับ” ผมกล่าวเตือนตาม ความจริง “อะไรทีอ่ นั ตรายกันคะครูเพชร ดู สิ เขาชมพี่ว่าสวยด้วยค่ะ” ครูอ้อท�ำท่าที ยิม้ น้อยยิม้ ใหญ่จนเกือบจะฉีกถึงใบหู และ ผมกับผู้อ�ำนวยการก็ได้แต่เพียงเตือนเธอ อีกรอบ “ระวังด้วยแล้วกันครับ” และการประชุมในวันศุกร์ก็มาถึง มันเสร็จสิ้นลงในสถานการณ์ที่ดู เหมือนว่าผมจะได้พิสูจน์ว่าคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีเหล่านั้นมันสามารถท�ำให้ การเรียนเกิดประสิทธิภาพขึ้นได้ ครูสุพัฒน์ยอมอ่อนสักประมาณ หนึ่งเมื่อผมหยิบยกเอางานวิจัยชิ้นนึงที่ เกี่ยวกับแนวโน้มการน�ำคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีมาใช้ ช่วยสอนในปัจจุบันและ อนาคต ผมน�ำข้อดีในงานวิจยั มาบอกต่อใน ที่ประชุม

และแน่ น อนว่ า ทุ ก คนเห็ น ด้ ว ยกั บ ผม และครูสุพัฒน์ครูอาวุโสก็เป็นผู้ที่เห็น ด้วยน้อยที่สุด ระยะเวลากว่า ๖ เดือน ผมจึง ได้คอมพิวเตอร์เครือ่ งใหม่และได้ทำ� การ จัดผ้าป่าของคนในหมู่บ้าน ผมแต่งห้องเรียนคอมพิวเตอร์ ติดตั้งเครื่องโปรเจคเตอร์และจอ หวังว่ามันจะเป็นไปตามที่ผม ใฝ่ฝัน .. ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ที่ ใ ช ้ คอมพิวเตอร์ในการสอน วันจันทร์ ผมเข้าห้องเรียนรอ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ด้วย อารมณ์ไม่ดีนัก ผมสั่งการบ้านไปแล้ว เมื่ออาทิตย์ที่ผ่านมา แต่กลับไม่มีใครส่ง เข้าอีเมลของผมสักคน “ท�ำไมถึงไม่ส่ง การบ้านกันครับนักเรียน ครูจ�ำได้ว่าให้ ส่งภายในวันอาทิตย์ไม่ใช่หรือ” “ขอโทษ ครั บ ครู เ พชร คื อ บ้ า นพวกเราไม่ มี อิ น เตอร์ เ น็ ต หรื อ แม้ แ ต่ ค อมพิ ว เตอร์ ครับ” ครู เ พชรลมหายใจสะดุ ด เมื่ อ นั ก เรี ย นกล่ า วถึ ง เหตุ ผ ลในการที่ ไ ม่ สามารถส่งงานได้ เพราะนักเรียนบางคน ยังไม่มีคอมพิวเตอร์ ผมเหม่ อ มองออกไปนอก ห้องเรียนขณะเปิดฉายคลิปวิดโี ออธิบาย ศีล ๕ ให้นักเรียนดู ผมเห็นครูสุพัฒน์ ก� ำ ลั ง ให้ เ ด็ ก ๆต่ อ แถวท่ อ งมาตราตั ว สะกด แกยังคงใช้วิธีให้นักเรียนท่องจ�ำ แบบเอาเป็นเอาตาย หากนักเรียนคน ไหนหัวอ่อนท่องไม่ได้สักที แต่แกก็ไม่ให้ ผ่านไป ผมเหม่อมองไปอย่างว่างเปล่า อี ก ครั้ ง เมื่ อ สั ป ดาห์ นี้ เ ป็ น การสอบวั ด ระดับการเรียนการสอน

นักเรียนสอบไม่ผา่ นในรายวิชาของผมครึง่ หนึ่งของห้อง ผมคิดว่า มันแย่มากๆ จน ท�ำให้ผมย้อนกลับไปดูวิธีการสอนของผม ตั้งแต่ตอนแรกที่ก้าวเข้ามาที่นี่ ผมไม่ เ คยใช้ ช อล์ ก กั บ กระดาน เขียนเพื่อสอนเลยสักครั้ง ผมเอาแต่เปิด คลิปให้นักเรียนดู ผมไม่เคยให้นักเรียนจด หรือใช้สมุด เพราะจะให้เขาท�ำทุกอย่างส่ง เข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ ผมไม่เคยให้ นักเรียนท่องจ�ำให้ขึ้นใจในหัวข้อที่ส�ำคัญ อย่างเช่นศีล ๕ นักเรียนจ�ำไม่ได้ดว้ ยซ�ำ้ ใน ขณะที่ครูสุพัฒน์ ผลการสอบของนักเรียน แก จะมี เ ด็ ก อยู ่ ส องระดั บ พวกหนึ่ ง ได้ คะแนนเกือบเต็ม และอีกสี่ห้าคนได้ไม่ถึง ครึ่งเหมือนกัน มันเป็นความแตกต่างที่ผม คิดว่าผมรู้ว่าเกิดจากอะไร ในทีป่ ระชุมหลังการสอบนักเรียน ผมได้เปิดอกคุยถึงเรื่องการสอนของผมว่า มั น ล้ ม เหลว ผมใช้ ค อมพิ ว เตอร์ แ ละ เทคโนโลยีมากเกินไป จนเมื่อคิดย้อนกลับ ไป ผมไม่ได้สอนอะไรนักเรียนเลย เหมือน ที่ ผ ่ า นมาผมสอนแต่ เ พี ย งการเปิ ด ปิ ด คอมพิวเตอร์เท่านั้น เหมือนมีแต่อุปกรณ์ หากแต่ขาดวิธีการ ครูสุพัฒน์หัวเราะเชิง หยัน แต่เมื่อผมถามถึงเด็กสี่ห้าคนนั้นที่ สอบได้คะแนนตํ่าเตี้ยต่างจากคนที่สอบ เกือบได้คะแนนเต็มลึกลับนัน้ เกิดจากอะไร ครูสพุ ฒ ั น์ตอบว่าเพราะเขาหัวอ่อน พ่อเขา แม่เขา ปู่ย่าตายาย หัวอ่อนทั้งหมด จึงติด มาถึงลูกหลาน จะสอนยังไงก็เหมือนเดิม แหละ ผมจึงกล่าวทักท้วงว่าสามารถน�ำ เทคโนโลยีช่วยสอนได้ ครูสุพัฒน์หัวเราะ อีกครา ว่าแม้แต่เด็กเก่งๆยังท�ำเขาสอบตก แล้วประสาอะไรกับเด็กทีห่ วั ไม่ดี เขาจะไป รู้เรื่องการเรียนทันอย่างไร

ETC Mass Magazine

23


24 ETC Mass Magazine


ผมจึงอธิบายว่า เทคโนโลยี หรือ สือ่ นัน้ ไม่ได้มคี วามหมายแต่เพียงอุปกรณ์ การใช้งาน แต่เป็นวิธีการด้วย วิธีการสอน ที่ ล ดความเหลื่ อ มล�้ ำ ของนั ก เรี ย นให้ สามารถเรียนรู้ไปด้วยกันได้ วิธีการที่จะ สอนให้นกั เรียนนัน้ เรียนได้อย่างมีความสุข ขึ้น และเข้าใจขึ้น ให้เขาได้ฝึกอ่านฝึก ปฏิบัติมากกว่าการท่องจ�ำ และผมบอก ด้ ว ยว่ า ที่ ผ ่ า นมานั้ น ยอมรั บ ว่ า ได้ ใ ช้ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีกบั ผูเ้ รียนเพียง อย่างเดียว ไม่ได้ท�ำหน้าที่ครู หน้าที่ผู้สอน เลย เมื่อนักเรียนสอบไม่ผ่านหลายคนมาก นัก จึงได้คิดและพยายามหาวิธีการสอน มาบวกกับคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์ช่วย ที่เรามีอยู่ตอนนี้ ให้เกิดการเรียนการสอน อย่างสมบูรณ์ที่สุด ผมใช้เวลาในวันหยุดสองสัปดาห์ หลังการสอบกลางภาคหาข้อมูลแนวทาง การจัดการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้เพื่อ การเรียนการสอนส�ำหรับเด็กทีไ่ ม่เก่ง ทีจ่ ะ เริ่มสอนในภายหลังการเปิดเรียนอีกครั้ง และผมก็พบเข้ากับสือ่ ทีใ่ ช้กบั คอมพิวเตอร์ ทีม่ ชี อื่ ว่า CAI มันเป็นแบบเรียนทีส่ ามารถ ใช้ ส อนได้ เริ่ ม เข้ า มาใช้ ที่ ป ระเทศไทย ประมาณปี ๓๕ ผมเคยได้ยนิ ชือ่ นีต้ อนสมัย เรียน แต่รู้ว่ามันยังไม่แพร่หลายนัก เลยยัง ไม่ได้สนใจ ผมเสริ ช ข้ อ มู ล บนอิ น เตอร์ เ น็ ต และพบว่าสื่อ CAI นั้นใช้โปรแกรมที่เรียก ว่า Flash เป็นตัวท�ำขึ้นมา เอาล่ะ ผมจะ ท�ำมันขึ้นมาเพื่อนักเรียนของผม แต่การที่ จะเข้าไปตัวเมืองนัน้ ต้องรอขึน้ ติดไปกับรถ โดยสาร ซึ่งจะเข้ามาหมู่บ้านนี้เพียงรอบ เช้ า เท่ า นั้ น แผนของผมที่ จ ะไปหาซื้ อ หนังสือสักเล่ม จึงเป็นวันพรุ่งนี้แทน

“ครูครับครู ครูเพชรครับบบบ ” เป็นเจ้าด�ำอีกตามเคยที่ระดมเรียก ผมอย่างนี้ “มีอะไรหรือ” “พ่อผูใ้ หญ่ให้มาตาม แฮ่ก .. ไป ไป ไปงานบุญครับ” ผมร้องอ๋อเข้าทันที วันนี้ที่หมู่บ้านมีงาน วันออกพรรษา มีการฟังเทศและปล่อย โคมลอยตอนเย็น ผมมองเด็กๆนักเรียนตัวเล็กๆ ของผม ก� ำ ลั ง ตื่ น ตากั บ การปล่ อ ย โคมลอยกับพ่อแม่ เขายิ้มมีความสุข มากกว่าตอนสอบท่องมาตราตัวสะกด ของครูสุพัฒน์เสียอีก ... เอ้ะ .. ผมว่าผมรูแ้ ล้วแหละว่า สือ่ การสอนของ ผมที่คิดเอาไว้นั้น จะท�ำมันออกมาให้ เป็นอย่างไร นั่ น ก็ คื อ การให้ เ ขาได้ เ รี ย น เหมือนเล่นเขาจะมีความสนใจในการ เรี ย นมากยิ่ ง ขึ้ น บรรยากาศการเปิ ด เรียนในวันแรกของครึง่ เทอมหลังเป็นไป อย่างเอื่อยเฉื่อยเมื่ออากาศเริ่มหนาว เย็นเหมาะกับการหลับได้ในทุกๆที่ ผม หัวเราะน้อยๆให้กับเจ้าด�ำที่นั่งสัปหงก หัวชนโต๊ะโปกๆอยูส่ องสามครัง้ แล้ว ผม จึ ง ปรบมื อ เรี ย กให้ นั ก เรี ย นทุ ก คนมา สนใจผม แปะ แปะ แปะ “วันนี้เราจะมาเรียนวิชาภาษา ไทยกันนะครับ แต่เชิญทุกๆคนไปห้อง คอมกัน” “ครูครับ ครูสุพัฒน์สอนวิชานี้ ไม่ใช่หรือ แล้วครูสอนถึงแต่งกลอนอยู่ เลยครับ” “ครูสุพัฒน์ท่านรอเราที่ห้อง คอมพิวเตอร์อยู่ก่อนแล้ว” “แต่ครูครับ วันนีเ้ ราไม่ได้เรียน คอมครับ”

“เอ้ะ สงสัยมากนัก ตามมาเถอะ น่าเจ้าด�ำ” ผมพานักเรียนตัวน้อย เดินตามกัน มาเป็นแถวเข้าไปในห้องคอมพิวเตอร์ของ โรงเรียน เปิดสื่อที่ผมตั้งใจท�ำมากๆออกสู่ สายตานักเรียนและคุณครูสุพัฒน์ “นักเรียนคลิกที่ตรงนี้ มันจะมี การ์ตูนให้ดูด้วยนะ คลิกตรงนั้นจะเข้าสู่ การเล่นเกม และนั่น เป็นแบบทดสอบ” “ผมชอบการ์ตูนครับครู” “ครูคะ หนูจำ� ได้แล้วว่ากลอนแปด มันสัมผัสกันค�ำไหนบ้าง ต่อไปหนูต้องแต่ง กลอนได้แล้วแน่ๆ เพราะเล่นเกมนี้ของ คุณครูเลยค่ะ” “รอบหน้าในวิชาสังคมศึกษา ครู ก็ มี บ ทเรี ย นแบบนี้ ม าให้ นั ก เรี ย นอี ก นะ ตัง้ ใจเรียนในชัน้ เรียนกับครู แล้วพอถึงเวลา มาเรียนในห้องคอมนี้ หากใครเล่นเกมได้ คะแนนสูงสุด ครูมีรางวัลให้” ผมคิ ด ว่ า ผมพอใจกั บ การใช้ คอมพิวเตอร์ในการสอนครั้งนี้ ครูสุพัฒน์ก็คงไม่ต่างกัน ผมเห็น แกยิ้มให้ผมด้วยล่ะครับ ถึงแม้วา่ สือ่ นีจ้ ะสามารถใส่เนือ้ หา หรือแบบเรียนลงไปได้ทกุ อย่าง แต่คนทีท่ ำ� หน้าที่เป็นครูก็ต้องสอนก่อนครับ สือ่ มันเป็นเพียงตัวช่วยเท่านัน้ เอง แต่สื่อมันก็สามารถแก้ปัญหาของ เด็กที่ไม่อยากแม้กระทั่งเข้าเรียนเพราะ อ่ า นหนั ง สื อ ไม่ อ อก กลั บ กลายเป็ น ว่ า สนุกสนานไปกับเพื่อนๆในการดูการ์ตูน สอนและเล่นเกมนั้นๆ สื่อ CAI ของผม ถูกพูดถึงในที่ ประชุมของโรงเรียน และผมยินดีที่จะจัด อบรมให้แก่ทุกๆคนในโรงเรียนที่สนใจ และ ครูสุพัฒน์ก็มาสมัครด้วยครับ ETC Mass Magazine

25


ผมจัดอบรมให้ครูในโรงเรียนอย่าง สุ ด ความสามารถ ครู อ ้ อ ที่ เ ข็ ด ขยาดใน คอมพิวเตอร์ทถี่ กู นักต้มตุน๋ หลอก โชคยังดี ที่หลงเสียแค่ทรัพย์ เรื่องมีอยู่ว่า ชาวต่าง ชาติที่เธอบอกว่าเข้ามาจีบเธอนั้นบอกกับ เธอว่าจะส่งโทรศัพท์มือถือรุ่นที่ถ่ายรูปได้ มาให้เธอ แต่เธอต้องโอนค่าช�ำระของผ่าน ภาษีพันบาทเศษๆ และเธอก็ท�ำ แต่เมื่อได้ รับเงินนัน้ แล้ว ชาวต่างชาติคนนัน้ กลับหาย ลั บ ไป จึ ง ท� ำ ให้ ค รู อ ้ อ เข็ ด กั บ การใช้ คอมพิวเตอร์เสียแล้ว แต่เธอก็เปิดใจรับสือ่ การสอนของผมนี้ เพราะเธออยากให้ลูก ศิษย์ได้รับสิ่งที่ดี ลมหนาวในเดือนธันวาคม กลับ กลายเป็นความร้อนเมื่อเวลาผันกลายมา เป็นเดือนเมษายน จากร้อนเป็นหยาดฝนที่ โปรยปราย และกลับกลายเป็นลมหนาว เวียนแล้วเวียนเล่า จากเดือนเป็น ปี เป็นสองปี และสิบปี .... 26 ETC Mass Magazine

๑๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙

ผมคิดว่าตอนนี้ผมเป็นเหมือน ครูสุพัฒน์ที่โรงเรียนบ้านหินผาในคราที่ ผมได้รับการบรรจุครั้งแรกที่นั่นแล้วล่ะ ผมในวั ย เกื อ บกลางคนนั่ ง ประชุ ม อยู ่ ท่ามกลางบรรดาบุคลากรครูมากหน้า หลายตาในตอนนี้ ผมถูกย้ายมาจาก โรงเรียนบ้านหินผามา ๗ ปีที่แล้ว โดย การเรียกตัวกลับมาจังหวัดบ้านของตัว เอง ระยะเวลา ๑๐ ปีที่ผ่าน อะไรๆมัน ช่างเปลี่ยนไปมากมายนัก CAI ที่ผมเฝ้า เพียรน�ำมาเป็นสือ่ เครือ่ งมือทีผ่ มคิดว่าดี ที่สุด แต่ตอนนี้ ยุคนี้ มันได้เปลี่ยนไป แล้ว การศึกษาทีโ่ รงเรียนบ้านหินผา เวลานั้น กับปัจจุบันนี้ไม่เหมือนกันแล้ว สื่อ CAI ตอนนี้มันก็ยังใช้ได้ดีครับ แต่ดู เหมือนว่าในที่ประชุมนี้จะพูดถึง

เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ อยู ่ ทุ ก เดื อ นของการ ประชุมถึงเครือ่ งมือการสอน ผมว่ามันเยอะ แยะและรวดเร็วเกินไป ที่แต่ละอย่างผ่าน มาและผ่านไป การเรียนการสอนในยุค ๔.๐ ?? เป็นหัวข้อทิ้งท้ายในการประชุมส�ำหรับวัน นี้ จากทีผ่ มเป็นฝ่ายรับฟังพอจับใจความได้ ว่า มันเป็นนวัตกรรมในการจัดการเรียน การสอน เมือ่ ปัจจุบนั โลกของยุคดิจทิ ลั เข้า มามี บ ทบาท การที่ ส มาร์ ท โฟนและ อินเตอร์เน็ตเป็นเจ้าของทุกๆอย่าง เพียงแค่สงสัยอะไรหากมีมือถือ และอินเตอร์เน็ตอยู่ในมือ ก็ไม่ใช่เรื่องยาก คอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลดีกว่าตอนอยู่ โรงเรียนบ้านหินผาแต่ราคาไม่สูงเท่านั้นมี กันเกลื่อนกลาดทั่วเมือง ยุคที่ค�ำถามทุกๆ อย่างที่จะได้รับค�ำตอบไม่ว่าเรื่องไหนๆ หากมีอินเตอร์เน็ตเป็นสิ่งเชื่อมทุกอย่าง แล้ว ปัญหานั้นก็ได้รับค�ำตอบแล้ว


การเรียนรู้ในตอนนี้มันเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว ดูเหมือนอะไรๆก็ง่ายไปเสียหมด ผมจึงคิดติดตลกเล็กๆว่าครู อย่างเราๆในตอนนีน้ นั้ จ�ำเป็นอะไรกับนักเรียน? ผมขบคิดพลางเลือ่ น timeline ดูชอ่ งแชททีค่ รูสพุ ฒ ั น์สง่ มาให้หลังจากทีแ่ กเกษียณ แล้ว คุณครูสุพัฒน์แกก็เปลี่ยนอาชีพครับ ไปเป็นชาวไร่ชาวสวนในชีวิตหลังปลดออกจากการเป็นครู ภาพต้นไม้ปลิวไสวโดยมี ครูสุพัฒน์นั่งยิ้มแฉ่งของแกท�ำให้ผมยิ้มตาม ไม่นานแกก็ส่งสติ้กเกอร์ผ่านมาทาง LINE ทุกๆอย่างมันเปลี่ยนแปลงไปแล้วจริงๆครับ ครูสุพัฒน์คนที่เคยไม่เปิดใจรับเทคโนโลยี แต่ตอนนี้ แกใช้มันเก่งมากกว่าผมซะอีก

ETC Mass Magazine

27


28 ETC Mass Magazine


ETC Mass Magazine

29


30 ETC Mass Magazine


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.