e-photobook

Page 1

Muang Boran samutprakarn


“เมืองโบราณ” เมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ เริม่ กอ่ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2506 โดยนายเล็ก วิริยะพันธุ์ นักธุรกิจเจ้าของบริษัทวิริยะประกันภัย เป็ น สถานทีร่ วบรวมวัฒนธรรม ของไทย อาทิ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคอีสาน เริม่ เปิ ดให้บริการตัง้ แตว่ ันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 เมือง โบราณตัง้ อยูใ่ นเขตตำ�บลบางปูใหม่ บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 33 ถนน สุขุมวิท (สายเกา่ ) ห่างจากตัวจังหวัด 8 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ 800 ไร่ ลักษณะ ทีด่ ินมีผังบริเวณคลา้ ยรูปขวาน เหมือนกับอาณาเขตของประเทศไทย [1] ภายในจะมีโบราณสถาน ปูชนียสถาน วัดโบราณ พระราชวัง ตา่ งๆ เป็ นตน้ และยังมี สว่ นรังสรรคเ์ ป็ นสถานทีส่ ะทอ้ นให้เห็นถึงภูมิปัญญาของ ไทย มีไวจ้ ัดแสดงทีน่ ีด่ ว้ ย 2


3


“พระทีน่ ัง่ สรรเพชญมหาปราสาท (จำ�ลอง)” หนึ่งในสัญลักษณส์ ำ�คัญของเมืองโบราณ


พระทีน่ งั่ สรรเพชญปราสาทคือพระทีน่ งั่ องคห์ นึง่ ในเขตพระราชวังโบราณจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสรา้ งขึน้ โดย พระราขดำ�ริของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถซึง่ เป็ นช่วงเวลาทีก่ รุงศรีอยุธยาเจริญรุง่ เรืองมากเป็ นศูนยก์ ลางแห่ง อำ�นาจของราชอาณาจักรสยามพระทีน่ งั่ สรรเพชญป์ ราสาทเคยใช้เป็ นสถานทีป่ ระกอบพิธสี �ำ คัญของราชสำ�นักและ เป็ นทีร่ บั แขกบา้ นแขกเมืองของพระมหากษัตริย์เช่น พระราชพิธบี รมราชาภิเษก รับราชทูต ฯลฯ แตพ่ ระทีน่ งั่ องคน์ ี้ ถูกเผาทำ�ลายลงทัง้ องคเ์ มื่อเสียกรุงศรีอยุธยาแกพ่ มา่ ในปี พ.ศ.๒๓๑๐จนในปั จจุบนั เหลือแตฐ่ านและกำ�แพงบาง สว่ นเทา่ นัน้ 5



“ภายในพระทีน่ ัง่ สรรเพชญปราสาท” ความละเอียดปราณีตในการสร้างสรรคผ์ ลงานจนมารวมกันเป็ นเมืองโบราณแห่งนี้ สว่ นหนึ่งชมไดจ้ ากภายในของพระทีน่ งั่ ดุสิตมหาปราสาท สว่ นหนึ่งดูกันทีพ่ ระทีน่ งั่ สรรเพชญปราสาท ซึ่งความเป็ นจริงการสร้างงานทีไ่ มม่ ีของจริงให้ดูนนั้ นับวา่ เป็ นงานทีย่ ากยิง่ แมจ้ ะไมม่ ีหลักฐานวา่ อาคารทีเ่ ราไดเ้ ห็นอยูใ่ นเมืองโบราณขณะนีม้ ีความคลา้ ยคลึง เหมือน หรือตา่ งกันมากนอ้ ยเพียงไร แตส่ งิ่ ทีส่ ร้างขึ้นมา ณ วันนี้ ก็แสดงให้เห็น ไดเ้ ป็ นอยา่ งดีวา่ เมืองโบราณเป็ นสถานทีท่ เี่ กิดขึ้นจากความตัง้ ใจจริงทีจ่ ะรวบรวมหลายสิง่ หลายอยา่ งทัง้ ทีย่ ังมีอยูแ่ ละสูญหายไปแลว้ กลับคืน มาให้ไดศ้ ึกษาเรียนรู้กันตอ่ ไป

7


“พระปรางคว์ ัดพระ


ะศรีรัตนมหาธาตุ”


10


พระปรางคว์ ัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ราชบุรี พระปรางคอ์ งคน์ ีต้ งั้ อยูใ่ นวัด มหาธาตุ ต. หลุมดิน อ. เมืองราชบุรี เป็ นพุทธสถานนิกายมหายานองคป์ รางค์ กอ่ ดว้ ยอิฐ ฐานกอ่ ดว้ ยศิลาแลงศิลปะลพบุรีสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๑๕๑๘ แตม่ ีการซ่อมแซมและสร้างเพิม่ เติมในสมัยหลัง เมืองโบราณไดส้ ร้างพระ ปรางคน์ ขี้ ้นึ โดยยอ่ จากขนาดจริงมาเป็ นสามในสีส่ ว่ น

11


12


13


หอระฆังและหอพระไตรปิ ฎก ในสมัยโบราณนิยมสร้างหอพระ ไตรปิ ฎกเป็ นหอสูงไวก้ ลางสระน้ำ�เพื่อ ป้องกันอันตรายจากมดปลวกและไฟ ปั จจุบนั หอไตรแบบนีน้ บั วันจะหาดูไดย้ าก ยิง่ เมืองโบราณจึงขอผาติกรรมหอไตร มาสรา้ งไวเ้ พือ่ ประโยชนใ์ นการศึกษาตอ่ ไป โดยหอพระไตรปิ ฎกนีม้ าจากวัดใหญ่ อ. บางคนที สมุทรสงคราม ลักษณะ สถาปั ตยกรรมเลียนแบบมาจากสมัย อยุธยาผนังดา้ นนอกมีภาพจิตรกรรม เรือ่ งพุทธประวัตเิ ขียนดว้ ยสีฝุ่นผสมกาว ปิดทองแตป่ ั จจุบนั ลบเลือนไปเกือบหมด แลว้ ใกลๆ้ กันมีหอระฆังทีม่ รี ปู แบบเฉพาะ ถิน่ ซึง่ หาดูไดย้ ากเมืองโบราณไดข้ อผาติ กรรมมาจากวัดเดียวกัน

14


15


“ศาลาพระอรหันต”์

16



พุทธศาสนามหายานเป็ น ศาสนาสำ�หรับชนหมูม่ ากทีม่ ี ความเขา้ ใจในเรื่องคุณธรรม และจิตวิญญาณทีต่ า่ งระดับ กัน การสัง่ สอนและอบรม ทางพุทธศาสนาจึงตอ้ งใช้ กุศโลบายให้เหมาะสมตาม ยุคสมัย การสร้างเรื่องพระ อรหันต์ 500 รูป นับเป็ นอุบาย ทีส่ ำ�คัญอยา่ งหนึ่งเพื่อชีใ้ ห้ เห็นวา่ ผูค้ นทีม่ ีความหลาก หลายในดา้ นชาติกำ�เนิด และ หมูเ่ หลา่ ทีป่ ระพฤติในดา้ น คุณธรรมทีแ่ ตกตา่ งกันนัน้ ก็ สามารถบรรลุความเป็ นพระ อรหันตแ์ ละพระนิพพานได้ เช่นเดียวกัน

18


19






ศาลาการเปรียญวัดใหญส่ ุวรรณาราม เพชรบุรี (จำ�ลอง)

24


ศาลาการเปรียญวัดใหญส่ ุวรรณาราม เพชรบุรี หรือมักเรียกวา่ ตำ�หนักพระเจ้าเสือ

25


ศาลาการเปรียญวัดใหญส่ ุวรรณาราม หรือทีม่ ักเรียกกันวา่ ตำ�หนักพระเจ้าเสือ เดิมเป็ นพระตำ�หนักอยูใ่ นพระบรมมหาราชวัง กรุงศรีอยุธยา ตอ่ มาสมเด็จพระเจ้าเสือโปรดเกลา้ ฯ ให้ร้ือถวายสมเด็จพระสุวรรณมุนี (สมเด็จเจ้าแตงโม) พระสังฆราชแห่งกรุง ศรีอยุธยาสมัยนัน้ ซึ่งมีชาติภูมิเป็ นชาวเพชรบุรี พระตำ�หนักนีจ้ ึงถูกรื้อมาไวว้ ัดเดิมทีท่ า่ นเคยอาศัยเลา่ เรียนอยู่ ศาลาการเปรียญหลังนีเ้ ป็ นสถาปั ตยกรรมแบบอยุธยา ในสมัยพุทธศตวรรษที่ ๒๓ สร้างดว้ ยไมส้ ักทัง้ หลัง เสาทุกตน้ เป็ นเสาแปด เหลีย่ ม ประตูเป็ นซุ้มเรือนแกว้ ยอดแหลมดูเดน่ สงา่ เป็ นพิเศษมีลายจำ�หลังไมอ้ ันประณีตพิสดารและลายปูนปั้ นทีห่ นา้ บันอันเป็ น ฝี มือช่างชัน้ ครูของเพชรบุรีโดยแท้ เมืองโบราณไดส้ ร้างศาลาการเปรียญฯ แห่งนีข้ ้ึน โดยให้เล็กกวา่ ของจริงเล็กนอ้ ยภายในจัดเป็ นพุทธพิพิธภัณฑแ์ สดงศิลปวัตถุ ตา่ ง ๆ 26


27


“หอพระแกว้ ” (จำ�ลอง)

28


เมื่อครัง้ ทีพ่ ระนครอยุธยาเป็ น ราชธานี มีอำ�นาจแผไ่ พศาล สามารถปราบปรามบา้ นเมืองนอ้ ย ใหญต่ า่ ง ๆ ไดม้ ากมาย และไดน้ ำ� สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละเครื่องบรรณาการ จากตา่ งแดนตา่ งถิน่ มารวมไวใ้ ห้ คนไดเ้ คาระบูชาในฐานะทีเ่ ป็ น เมืองศูนยร์ วมความสักดิส์ ิทธิท์ าง ศาสนา หอพระแกว้ ทีส่ ร้างขึ้นในเมือง โบราณนี้ มีลักษณะรูปทรงเป็ น แปดเหลีย่ ม ซึ่งเมืองโบราณ ไดแ้ บบอยา่ งมาจากภาถสลัก ประตูตพู้ ระธรรมสมัยกรุง ศรีอยุธยา ปั จจุบันเก็บรักษาไว้ ณ พิพธิ ภัณฑส์ ถานแห่งชาติพระนคร ประดิษฐานพระแกว และพระพุทธรูปสลักไมขนาดใหญ ้ ้ ่ ดูแลว้ สองคลอ้ งกับภาพอาคารทรง รวมทัง้ มีการประดับประดาตกแตงทีเ่ กีย่ วเนื่องกับเรื่องราว ่ สูงสมัยอยุธยาทีช่ าวตา่ งประเทศ ในพระพุทธศาสนา เชน ภาพพุทธรูปสลักไมขนาดใหญ ้ ่ ่ ไดบ้ ันทึกไว้ ภายในอาคารเป็ นที่

รวมทัง้ มีการประดับประดา ตกแตง่ ทีเ่ กีย่ วเนื่องกับเรื่อง ราวในพระพุทธศาสนา เช่น ภาพพุทธประวัติ ชาดก ไตรภูมิพระร่วง ตลอดจน ศิลปกรรมอีกหลายแขนก เช่น งานจำ�หลักไม้ งาน ประดับมุก ฯลฯ หอพระแกว้ แห่งนี้ คือ สัญลักษณข์ องความเป็ น ศูนยก์ ลางทางศาสนาแห่ง ราชธานีศรีอยุธยาในอดีต นัน่ เอง

29



ภายในหอพระแกว้ ” ภ า ย ใ น ป ร ะ ดั บ ต ก แ ต่ ง สิ่ ง ที่ เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง กั บ พ ร ะ พุ ท ธ ศาสนา เช่น ภาพพุทธ ประวัติ ชาดก ไตรภูมิ พระร่วง พระพุทธรูปแบบ ตา่ งๆ และงานศิลปกรรม อีกหลายแขนง เช่น งาน จำ�หลักไม้ งานประดับ มุก ถือไดว้ า่ หอพระแกว้ แห่งนี้ คือสัญลักษณ์ ข อ ง ค ว า ม เ ป็ น ศู น ย์ ก ล า ง ทางศาสนา แห่งราชธานี ศ รี อ ยุ ธ ย า ใ น อ ดี ต นั่ น เ อ ง

31


“วิหารวัดเชียงของ เชียงราย” (จำ�ลอง)

32


33


วัดไทยทางเหนือแตโ่ บราณ ให้ความสำ�คัญแกว่ ิหารมากกวา่ โบสถ์ เพราะวา่ วิหารเป็ นทีป่ ระดิษฐานของพระพุทธรูปประธานที่ ศักดิส์ ิทธิ์ ผูค้ นมาทำ�บุญกราบไหวแ้ ละประกอบพิธีกรรมไดท้ ุกเวลา ตา่ งกับโบสถ์ทเี่ ป็ นทีส่ ำ� สังฆกรรมของสงฆ์ จึงมักสร้างเป็ น อาคารขนาดเล็ก วิหารหลังนีเ้ มืองโบราณไดข้ อผาติกรรมมาจากวัดเชียงของ อำ�เภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย (ปั จจุบันอยูใ่ นเขตจังหวัด พะเยา) เป็ นอาคารเครื่องไมท้ เี่ กา่ แกข่ องทอ้ งถิน่ ทีน่ ับวันจะหปาดูไมไ่ ดอ้ ีกแลว้ ลักษณะเป็ นอาคารโถงขนาดใหญด่ ูแบบบาง แตม่ นั่ คง การใช้คานไมล้ อ้ มเสาวิหารทุกตน้ ไวด้ ว้ ยกันในตอนบน เพื่อให้อาคารตัง้ อยูไ่ ดโ้ ดยปลอดภัย แมว้ า่ โคนเสาเบื้องลา่ ง จะขาดคอดินจากการผุกร่อนก็ตาม การมุงหลังคาดว้ ยกระเบื้องไมก้ ็ใช้ขอไมเ้ กีย่ วเกาะกับไมร้ ะแนงทีท่ ำ�จากตน้ หมาก โดยไม่ ตอ้ งใช้ตะปูหรือโลหะยึดแตห่ ยา่ งใด 34



“เจดียเ์ จ็ดยอดเชียงใหม”่ (จำ�ลอง)

36


เจดียเ์ จ็ดยอดอยูท่ วี่ ัดโพธารามมหา วิหารหรือเรียกกันทัว่ ไปวา่ เจ็ดยอดอำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหมอ่ งคเ์ จดียก์ อ่ เป็นคูหาสีเ่ หลีย่ ม ผืนผา้ กวา้ ง ๑๐ เมตร ยาว ๒๒ เมตร มีช่อง ประตูโคง้ สูด่ า้ นหนา้ ทางทิศตะวันออกในคูหา ประดิษฐานพระพุทธรูปประทับนัง่ ริมผนังซา้ ย ขวามีชอ่ งบันไดขึน้ สูห่ ลังคาไดบนหลั งคามียอด ้ เป็นเจดีย๕์ องคแ์ บบเจดียท์ พี่ ทุ ธคยาองคใ์ หญ่ เป็ นประธานอยูก่ ลางมีเจดียท์ รงกลมกอ่ ดว้ ย ศิลาแลงขนาดยอ่ มอีก๒องคท์ ฐี่ านเหลีย่ มมีลาย ปูนปั้ นเป็นรูปเทพนมยืนบา้ งนัง่ บา้ นเป็นศิลปะ เชียงใหมท่ งี่ ดงามแห่งหนึ่ง ตามประวัตกิ ลา่ ววา่ สรา้ งในสมัยพระเจา้ ติโลกราช กษัตริยล์ า้ นนาโดยโปรดเกลา้ ฯใหห้ มืน่ ดา้ มพร้ คด(ดำ�)ไปจำ�ลองแบบมาจากพุทธคยาประเทศ อินเดียเมื่อพ.ศ.๑๙๙๘และในปี พ.ศ.๒๐๒๐ พระเจา้ ติโลกราชโปรดเกลา้ ฯใหม้ กี ารสังคายนา ้ บเป็นการสังคายนา พระไตรปิ ฎกขึน้ ทีว่ ดั นีและนั พระไตรปิ ฎกครัง้ ที่ ๘ ของโลก

37


38


39



“วัดจองคำ�ลำ�ปาง”(จำ�ลอง)

411


ตามประเพณีคนไทยใหญห่ รือเงีย้ ว ในภาคเหนือ วัดสำ�คัญของบา้ นเมืองมักชื่อ วา่ “วัดจองคำ�” มีแทบทุกจังหวัดแถบภาค เหนือลักษณะเดน่ ของวัดไทยใหญก่ ็คือทัง้ เขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาส เชื่อมตอ่ ใน อาคารหลังเดียวกันไมไ่ ดแ้ ยกสว่ นกันเช่นวัด ไทยในภาคกลาง จัดจองคำ�แห่งนีเ้ ป็ นสถาปั ตยกรรมแบบไทย ใหญต่ ามแบบพุกามประเทศ เมืองโบราณ ไดข้ อผาติกรรมจากวัดเดิม ทีอ่ ำ�เภองาว จังหวัดลำ�ปาง อาคารสรา้ งดว้ ยไมส้ กั ทัง้ หลัง วิหาร ศาลา และกุฏิ รวมอยูใ่ นชุดเดียวกัน หมดหลังคาเป็ นชัน้ ๆ ซ้อนเป็ นทรงสูง ตอ่ ดว้ ยยอดหอทรงแปลก ฝี มือช่างสลักไม้ แสดงความองอาจในฝี มอื ประติมากรรมไทย เหนือเป็ นอยา่ งยิง่

42


43


“พระมหาธาตุเจดีย์ สุโขทัย” (จำ�ลอง)

44


พระมหาธาตุเจดีย์ สุโขทัย อยุใ่ นวัดมหาธาตุ อยูต่ ิดกับ บริเวณวิหารหลวง และมีฐาน พระศรีศากยมุนีอยูเ่ บื้องหนา้ องคพ์ ระมหาธาตุกอ่ ดว้ ยศิลา แลงและอิฐ ฐานเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ ม กวา้ งดา้ นละ 20 เมตร มีรูป พระสาวกปูนปั้ นเดินประนมมือ ประดับอยูโ่ ดยรอบ มีบันไดขึ้น จากฐานถึงบัลลังกบ์ น เหนือ บัลลังกก์ อ่ เป็ นบัวคว่ำ�บัวหงาย สว่ นทีก่ ลา่ วมานีท้ �ำ ดว้ ยศิลาแลง ถัดจากบัวหงายทำ�เป็ นทอ้ งไม้ ยอ่ มุม มุมละห้าเหลีย่ ม สูงขึ้น ไปจนถึงยอดนัน้ ๆ เป็ นพุีม่ ขา้ ว พิณฑห์ รือทรงดอกบัวตูมทีฐ่ าน บัตูมมีซุ้มพระทัง้ ๔ ทิศ ภายใน ประดิษฐานพระพุทธรูปยืน ๓ ดา้ น

45


“วิหารหลวงวัดมหาธาตุ สุโขทัย” (จำ�ลอง)

46


ดา้ นขา้ งวิหารหลวงวัดมหาธาตุ สุโขทัย

47



“พระทีน่ งั่ ดุสิตมหาปราสาท” พระทีน่ งั่ ดุสิตมหาปราสาทเป็ นพระทีน่ งั่ องคส์ ำ�คัญใช้เป็ นทอ้ งพระโรงวา่ ราชการทีป่ ระทับและทีป่ ระกอบกพระราชพิธีสำ�คัญ ๆ ของพระมหา กษัตริยใ์ นสมัยกรุงรัตนโกสินทร์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๙ เป็ นปราสาททรงจตุร มุข สูงใหญเ่ ทา่ กับพระทีน่ งั่ สุริยาศนอ์ มรินทร์ ครัง้ พระนครศรีอยุธยาโดยสร้างขึ้นแทนพระทีน่ งั่ อินทราภิเษกเดิมซึ่งตอ้ งอสุนีบาตไฟไหมท้ งั้ หลัง นับเป็ นปราสาททรงไทยแทท้ เี่ หลืออยูส่ มบูรณเ์ พียงแห่งเดียวในประเทศไทย การสร้างพระทีน่ งั่ ดุสิตมหาปราสาทในเมืองโบราณ ไดจ้ ากการรวบรวมคน้ ควา้ หลักฐานจากรูปภาพ จดหมายเหตุ พงศาวดาร ประวัติศาสตร์ และ โบราณคดี ภายในพระทีน่ ัง่ ทีฝ่ าผนังระหวา่ งช่องหนา้ ตา่ งเป็ นภาพเขียนเรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือน เพื่อให้ผเู้ ขา้ ชมไดร้ ้ถู ึงพระราชพิธีตา่ ง ๆ อันเนื่องในการปกครอง ศาสนา และความเป็ นอยูข่ องเมืองไทยสมัยกอ่ น และทีฝ่ าผนังเหนือช่องหนา้ ตา่ งเป็ นภาพเขียนเกีย่ วกับพระราชกรณียกิจ ของรัชกาลที่ ๑ ในดา้ นตา่ ง ๆ ทัง้ การปกครอง การศาสนา การสงครามและการติดตอ่ กับตา่ งประเทศ

49






“ทอ้ งพระโรงกรุงธนบุรี” ทอ้ งพระโรงกรุงธนบุรี หรือพระราชวังเดิม ปั จจุบันคือพิพิธภัณฑก์ องทัพเรือ มีลักษณะเป็ นอาคารทรงไทยชัน้ เดียว แบบตรี มุขหลังคาลดชัน้ ตัวทอ้ งพระโรงเป็ นตึกสองหลังเชื่อมตอ่ กันหลังแรกเป็ นทอ้ งพระโรงหลังคามุงดว้ ยกระเบื้องดินเผาทีป่ ระทับออกวา่ ราชการทำ�เป็ นอัฒจันทร์ลดชัน้ พื้นไม้ มีบันไดขึ้นสองขา้ ง อาคารหลังทีส่ องเรียกวา่ พระทีน่ งั่ ขวาง เป็ นสว่ นพระราชมณเฑียร ภายในหอ้ งบรรทมของทอ้ งพระโรงกรุงธนบุรีณเมืองโบราณแหง่ นีม้ ภี าพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องพงศาวดารกรุงธนบุรีตัง้ แตเ่ สียกรุงครัง้ ที่๒ การกูอ้ สิ รภาพ มาจากถึงการสถาปนากรุงธนบุรเี ป็ นราชธานี ทัง้ นีเ้ พื่อให้ผชู้ มไดซ้ มึ ซับในวีรกรรมและพระราชประวัตขิ องสมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรี

54


55



56




“พระพุทธรูปทวารวดี” เมืองโบราณนครชัยศรีหรือนครปฐมโบราณเป็ นบา้ นเมืองในระหวา่ งพุทธศตวรรษที่๑๒-๑๖ปรากฏหลักฐาน มากมายทีเ่ นื่องในพุทธศาสนานิกายเถรวาท ทัง้ พระสถูปเจดีย์ และโบราณวัตถุสถานตา่ งๆ จนเกิดรูปแบบ ศิลปะทีเ่ ป็ นเอกลักษณเ์ รียกวา่ วัฒนธรรมทวารวดี เอกลักษณโ์ ดดเดน่ อยา่ งหนึ่งของ วัฒนธรรมทวารวดี คือ การสร้างพระพุทธรูปปางปฐมเทศนา ขนาดใหญป่ ระทับนัง่ ห้อยพระบาท ปั จจุบันพบสีอ่ งคค์ ือทีพ่ ระอุโบสถ วัดพระปฐมเจดีย,์ ลานประทักษิณดา้ นทิศใตข้ ององคพ์ ระปฐมเจดีย,์ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติเจา้ สามพระยา และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

60


61


“พระโพธิสัตวอ์ วโลกิเตศวรปางแสดงปาฏิหาริย”์


“มณฑปพระโพธิสัตวอ์ วโลกิเตศวร” (เจ้าแมก่ วนอิม)


“วิหารเมืองสะเมิง เชียงใหม”่

64


วิหารหลังนีเ้ ป็ นของเกา่ แกท่ เี่ มืองสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ สะทอ้ นให้เห็นประเพณีนิยมของชาวบา้ นชาวเมืองในลา้ นนาในการสร้างวิหารโถงดว้ ยไมท้ ี่ ไมใ่ หญโ่ ตจนกลายเป็ นการขม่ สภาพแวดลอ้ มธรรมชาติทสี่ วยงามอยา่ งเช่นโบสถว์ หิ ารทัง้ หลายในปั จจุบนั ภายในไมม่ พี ระประธานแตม่ ปี ราสาทขนาดเล็ก กอ่ อิฐถือปูน มีหลายปูนปั้ นประดับ เป็ นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปหรือพระบรมธาตุ อันเป็ นสิง่ เคารพสูงสุดของชุมชนและทอ้ งถิน่ คติการสร้างปราสาทในวิหารโถงเช่นนี้ เป็ นเอกลักษณท์ สี่ ำ�คัญอยา่ งหนึ่งของลา้ นนาโบราณ ทีไ่ มใ่ คร่พบเห็นในทีอ่ ่นื 65


เจดียจ์ ามเทวี ลำ�พูน เจดียอ์ งคน์ เี้ รียกกันอีกชือ่ หนึง่ วา่ เจดียเ์ หลีย่ ม วัดกูก่ ดุ สรา้ งในสมัยหริภญ ุ ไชยรูปทรงของ เจดียม์ ีลักษณะเป็ นสีเ่ หลีย่ มซ้อนกัน ๕ ชัน้ มีพระพุทธรูปยืนประดิษฐานอยูใ่ นซ้อมทุก ชัน้ ๆ ละ ๑๒ องค์ เป็ นพระพุทธรูปแบบ ผสมระหวา่ งศิลปะทวารวดีและศิลปะอูท่ อง อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ บนซุ้มชัน้ ที่ ๕ ประดับดว้ ยบัวปูนปั้ น เหนือขึ้นไปเป็ นยอด หรือบัลลังก์แบบผา้ อุตราสงคพ์ บั ซ้อนเป็ น ชัน้ ยอดหักหายไป ตามตำ�นานกลา่ ววา่ พระฤาษีไดส้ รา้ งเมื่อหริ ภุญไชยขึ้น แลว้ สง่ คนไปเชิญพระนางจาม เทวีธดิ ากษัตริยล์ ะโว้ขึน้ มาครองเมืองหริภญ ุ ไชยขึ้น เป็ นการสืบสายวงศก์ ษัตริยโ์ บราร ไวพ้ ระนางจามเทวีเสด็จขึน้ มายังเมืองหริภญ ุ ไชยเมื่อ พ.ศ. ๑๒๐๔ ครองราชยอ์ ายุนาน ๕๔ ปี

66


67


“พระธาตุพนม นครพนม” พระธาตุพนมเป็ นสิง่ ศักดิส์ ิทธิท์ ชี่ าวไทยและชาวลาวนับถือกันมาแตโ่ บราณเชื่อกันวา่ เป็ นทีป่ ระดิษฐาน พระ อุรังคธาตุ (กระดูกสว่ นหนา้ อก) ของพระพุทธเจ้า อยูท่ วี่ ัดพระธาตุพนม อำ�เภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม องคเ์ ดิม จะมีลักษณะอยา่ งใดไมป่ รากฏหลักฐาน แตอ่ งคท์ เี่ ป็ นรากฐานของลักษณะทีป่ รากฏทุกวันนีเ้ ป็ นองคท์ พี่ ระยาสุมิตร ธรรมและเจ้านครอื่น ๆ จัดการสถาปนาขึ้นตรงทีต่ งั้ ของพระธาตุองคเ์ ดิม ลักษณะลายจำ�หลักบนแผน่ อิฐประดับพระ ธาตุพนมเป็ นของช่างฝี มืออินเดียคลา้ ยศิลปะแบบอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ ๗-๑๐) ตอ่ มาพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชผู้ ครองนครเวียงจันทน์ โปรดเกลา้ ฯ ให้กอ่ เสริมองคพ์ ระธาตุพนมตอนบนเป็ นรูปคลา้ ยลุง้ คว่ำ�สูงขึ้นไปอีก พระธาตุพนมในเมืองโบราณไดก้ อ่ สร้างขึ้นตามรูปแบบเดิม กอ่ นทีจ่ ะมีการบูรณปฏิสังขรณใ์ นสมัยกรุงเทพฯ

68


69


“สวนพระอภัยมณี ระยอง“ พระอภัยมณี เป็ นนิทานคำ�กลอนทีส่ ุนทรภู่กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แตง่ ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๒-๓คำ�ประพันธเ์ ป็ นกลอนแปดทีม่ คี วามไพเราะอา่ นงา่ ยและสนุกสนานเนื้อเรื่องกลา่ วถึงการผจญภัย ของเจา้ ชายหนุม่ ทีม่ ฝี ี มอื ในการเป่าปี่ ตอ้ งตอ่ สูแ้ ละเผชิญเหตุการณต์ า่ งๆกวา่ จะไดค้ รองบา้ นเมืองเมือง โบราณสรา้ งกลุมุ่ ประติมากรรมจากตอนสำ�คัญในเรื่องพระอภัยมณีอาทิรูปพระอภัยมณีเป่าปี่ ให้ศรี สุวรรณกับพราหมณส์ ามคนคือวิเชียรโมราสานนฟั งจนหลับไปรูปนางผีเสื้อสมุทรลักพาพระอภัยมณี รูปสุดสาครขีม่ า้ นิลมังกร รูปชีเปลือย

70


71


“ปราสาท สดก๊ กอ๊ กธม” จารึกสดก๊ กอ๊ กธมทำ�ให้ทราบวา่ สมัยอาณาจักรเมืองพระนครขอมมีระบบราชการเป็ นระบบอุปถัมภ์ เคารพในความอาวุโสจึงมีประเพณีทพี่ ราหมณป์ โุ รหิตจะสรา้ งหมูบ่ า้ น รูปเคารพ มอบขา้ ทาสให้กบั อาจารยผ์ มู้ ีพระคุณ

72



“เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ” เขาพระวิหาร อยูใ่ นพื้นทีข่ อง อำ�เภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ [[]] และอำ�เภอน้ำ�ยืน จังหวัดอุบลราชธานี มี เนื้อทีป่ ระมาณ 81,250 ไร่ (130 ตารางกิโลเมตร) อาณาเขตดา้ นใตต้ ิดตอ่ กับประเทศกัมพูชา มีถนนและบันไดทาง ขึน้ สูป่ ราสาทเขาพระวิหารบริเวณผามออีแดงในตำ�บลเสาธงชัยอำ�เภอกันทรลักษ์เป็ นอุทยานแห่งชาติตามพระราช บัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ 115 ตอนที่ 14 ก ลงวันที่ 20 มีนาคม 2541) นับเป็ นอุทยานแห่งชาติล�ำ ดับที่ 19 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็ นอุทยานแห่งชาติล�ำ ดับที่ 83 ของประเทศ

74


75


“เขาพระสุเมรุ”

76


ตามความเชื่อในเรื่องพุทธจักรวาล ของคนไทย เขาพระสุเมรุมาศ คือหลัก ของโลก และเป็ นศูนยก์ ลางของจักรวาล ทีล่ อยอยูเ่ หนือพื้นน้ำ� โดยมีปลาอานนท์ หนุนอยู่ รอบๆ เขาพระสุเมรุ เป็ นทีอ่ ยูข่ อง สิง่ มีวิญญาณในภพและภูมิตา่ งๆ นับแต่ สัตวน์ รก สัตวเ์ ดรัจฉาน ไปถึงมนุษย์ นาค ครุฑ ยักษ์ มาร คนธรรพ์ ฤาษี และเทวดา ซึ่งแตล่ ะพวกจะแตกตา่ งกันตามระดับ ภูมิปัญญาและคุณธรรม บนยอดเขาพระสุเมรุ คือสวรรคช์ นั้ ดาวดึงส์ อันเป็ นทีต่ งั้ ของนครไตรตรึงษ์ ซึ่งเป็ น นครแห่งเทพ มีพระอินทร์เทวราชเป็ นผู้ ปกครอง พระอินทร์ คือตำ�แหนง่ ของเทว ราชผูอ้ ภิบาลโลก และพิทักษค์ ุณธรรมให้ แกม่ นุษย์ผูท้ ดี่ ำ�รงตำ�แหนง่ ตอ้ งมีคุณธรรม ทีส่ ะสมบารมีจากการกระทำ�ดี และช่วย เหลือมนุษยม์ าแตช่ าติภพกอ่ นๆ ทีอ่ ยูข่ อง พระอินทร์มีช่อื วา่ ไพชยนตม์ หาปราสาท

ตรงกลางเป็ นทีป่ ระดิษฐานแทน่ บัณฑุกัมพลอันเป็ นทิพยอาสน์ ในยามทีโ่ ลกเกิดความเดือด ร้อนวุน่ วาย ทิพยอาสนน์ จี้ ะแข็ง ดัง่ ศิลา เพื่อบอกให้พระอินทร์ ทราบและลงมาช่วยเหลือ มนุษย์ รอบเขาพระสุเมรุเป็ น มหาสมุทรเรียกวา่ นทีสีทันดร มีป่าหิมพานตแ์ ละสระอโนดาต สระอโนดาตมีตาน้ำ�อยูส่ ที่ ิศ ลักษณะของแตล่ ะทิศ เป็ นหนา้ สิงห์ ช้าง มา้ และวัว ตามลำ�ดับ ทิศทีเ่ ป็ นหนา้ วัวจะเป็ นทิศทีน่ ้ำ� จากสระอโนดาต ไหลไปออก มหาสมุทร

77


78


79






“มณฑปพระธาตุ” การสร้างพุทธสถานทีส่ ำ�คัญของชาวพุทธก็คือ การสร้างพระสถูปเจดียท์ บี่ รรจุพระบรมธาตุ ในชุมชนที่ เป็ นเมืองใหญห่ รือนคร แตโ่ บราณในดินแดนประเทศไทยและประเทศใกลเ้ คียง นิยมสร้างพระมหาธาตุเจดียใ์ ห้ เป็ นดุจเขาพระสุเมรุมาศ อันเป็ นศูนยก์ ลางของเมืองและจักรวาล มณฑปพระธาตุแห่งนีก้ เ็ ช่นเดียวกัน สรา้ งขึ้นเพื่อ เป็ นศรีและความศักดิส์ ิทธิข์ องเมืองโบราณ

84



86


87


Floating Market Ancient City

88


ตลาดน้ำ�เมืองโบราณ จ.สมุทรปราการเป็นตลาดน้ำ�ทีไ่ ด้ รับความนิยมจากนักทอ่ งเทีย่ วเป็น อยา่ งมากโดยชว่ งทีต่ ลาดน้ำ�คึกคัก มากทีส่ ดุ ก็คอื ชว่ งใกลๆ้ เทีย่ งของ ทุกๆวันและหากมาเทีย่ วตลาดน้ำ� ในชว่ งเสาร-์ อาทิตยคนจะมากเป็ น ์ พิเศษคะ่ สำ�หรับการเทีย่ วชมตลาด น้ำ�นัน้ นักทอ่ งเทีย่ วจะตอ้ งแลก เหรียญสตางคร์ โู บราณเพือ่ ใชใ้ นการ จับจา่ ยใชส้ อยภายในตลาดน้ำ�กอ่ น นะคะ

89


90


91


92


93


94


59


96


97


98


99


การเดินทางไปเมืองโบราณ สมุทรปราการ โดยรถยนตส์ ว่ นตัว:สามารถใชเ้ สน้ ทางดว่ นปลายทางทีส่ �ำ โรง-สมุทรปราการถึงสามแยกสมุทรปราการเลีย้ วซา้ ยไปตามถนนสุขมุ วิท (ไปทางบางปู) ประมาณ กม. 33 เมืองโบราณจะอยูท่ างซ้ายมือ โดยรถโดยสารสาธารณะ:สามารถใช้รถโดยสารปรับอากาศสายปอ.511(สายใตใ้ หม-่ ปากน้ำ�)ลงทีส่ ดุ ทางแลว้ ตอ่ รถสองแถวสาย 36 ซึ่งจะวิง่ ผา่ นหนา้ ทางเขา้ เมืองโบราณ 100


http://www.ancientcitygroup.net/ancientsiam/ http://www.painaidii.com/business/135738/samut-prakarn-ancient-city-10280/lang/th/ http://topicstock.pantip.com/blueplanet/topicstock/2012/03/E11822390/E11822390.html http://travel.kapook.com/view24434.html http://www.thaiweekender.com/index.php/ancientcity.html http://www.rimkhobfaresort.com/home/about.php http://www.thailandexhibition.com/Eat-Travel/590 https://instagram.com/explore/locations/697002399/ http://www.9anant.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539166327 http://www.sawadee.co.th/thai/samutprakan/muangboran.html

101


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.