คู่มือแบบฟอร์มพิมพ์โครงการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

Page 1

คู่มือ

การพิมพ์โครงงาน สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


(โครงงาน) ชื่อเรื่อง ปกหน้าภาษาไทย

แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 18 นิ้ว ตัวหนา ตัวอักษรพิมพ์ด้วยสีดา ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ (ใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่) (การพิมพ์ชื่อเรื่องภาษาไทยและภาษาอังกฤษระยะบรรทัดต้องตรงกัน) แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 18 นิ้ว ตัวหนา ตัวอักษรพิมพ์ด้วยสีดา ให้ข้อความทั้งหมดอยู่กงึ่ กลางหน้ากระดาษ อักษรทั้งเล่มไม่มีตัวเอียง ขอบซ้ายและขอบบนบรรทัดบนสุดห่างจากขอบกระดาษ ด้านบนลงมา 1.5 นิ้ว (3.5 ซม.) ทั้งเล่ม ขอบขวาและขอบล่างให้ห่างจากริมขอบกระดาษ 1 นิ้ว (2.5 ซม. ทั้งเล่ม

โครงงาน ให้ใช้ ปกแข็ง สีกรมท่า กระดาษที่ใช้พิมพ์หรือถ่ายเอกสารใช้กระดาษคุณภาพดี สีขาวเหมือนกันทุกแผ่นหรือที่เรียกว่า A4 และเป็นกระดาษชนิดไม่ต่ากว่า 70 แกรม ตัวเลขใช้เลขอารบิก ตัวแบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษา 16 นิ้ว พิมพ์ด้วยสีดา ตัวตรง ทั้งเล่ม

ชื่อนักศึกษา (ชื่อผู้ศึกษาจัดวางไว้กึ่งกลางหน้าโดยไม่ต้องมีคานาหน้านาม ยกเว้น ยศ บรรดาศักดิ์และฐานันทรศักดิ์)

รายงานโครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ตามหลักสูตรเทคโนโลยีบณ ั ฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปีการศึกษา ..............


(โครงงาน) ชื่อเรื่อง ปกหน้าภาษาไทย แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง ตัวอักษรพิมพ์ด้วยสีดา ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ (ใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่) (การพิมพ์ชื่อเรื่องภาษาไทยและภาษาอังกฤษระยะบรรทัดต้องตรงกัน) แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง ตัวอักษรพิมพ์ด้วยสีดาทั้งเล่ม ให้ข้อความทั้งหมดอยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ

ชื่อนักศึกษา (ชื่อผู้ศึกษาจัดวางไว้กึ่งกลางหน้าโดยไม่ต้องมีคานาหน้านาม ยกเว้น ยศ บรรดาศักดิ์และฐานันทรศักดิ์)

รายงานโครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอตาม หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร พุทธศักราช ..............


เทคนิคการทาให้เกิดสีบนเส้นด้ายพุ่งสาหรับการทอผ้ายกมุก HOW TO CAUSE COLOR WEFT YARN FOR WEAVING PEAL RAISING

เนตรนภา เอี่ยมทา NATENAPA AUEMTA

รายงานโครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอตาม หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร พุทธศักราช 2557


เทคนิคการทาให้เกิดสีบนเส้นด้ายพุ่งสาหรับการทอผ้ายกมุก

เนตรนภา เอี่ยมทา

รายงานโครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ตามหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปีการศึกษา 2557


HOW TO CAUSE COLOR WEFT YARN FOR WEAVING PEAL RAISING

NATENAPA AUEMTA

This Project Report Submitted in Partial Fulfillment of The Requirement for the Degree of Bachelor of Technology Program in Textile Product Design Department of Textile Textile Product Design Faculty of Industry Textile and Fashion Design Rajamangala University of Technology Phra Nakhon 2014


ชื่อโครงงาน ชื่อนักศึกษา สาขาวิชา อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม

: : : : :

เทคนิคการทาให้เกิดสีบนเส้นด้ายพุ่งสาหรับการทอผ้ายกมุก นางสาวเนตรนภา เอี่ยมทา รหัสนักศึกษา 13540604028-6 ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จรูญ คล้ายจ้อย นางชลธิชา สาริกานนท์

สาขาวิ ช าออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ่ ง ทอ คณะอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและออกแบบแฟชั่ น มหาวิทยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคงพระนคร อนุมัติให้ นับโครงงานนี้เป็นส่ ว นหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (

) หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

(

)

(

)

ประธานกรรมการ

(

กรรมการและอาจารย์ที่ปรึกษา

)

(

กรรมการและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม

(

กรรมการ

)

(

) กรรมการ

) กรรมการ

กรรมการ

(

)

(

) กรรมการ


(หัวข้อ ชื่อเรื่อง ชื่อนักศึกษา ปริญญา อาจารย์ทื่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ปีที่สาเร็จการศึกษา แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา อักษรสีดาและอักษรตัวตรง) ชื่อโครงงาน : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) ชื่อนักศึกษา : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) ปริญญา : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) อาจารย์ที่ปรึกษา : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) สาขาวิชา : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) ปีที่สาเร็จการศึกษา : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด) บทคัดย่อ (โครงงาน) (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา กึ่งกลางหน้า) (การพิมพ์ย่อหน้ าให้ เริ่มพิมพ์ด้วยตัว อักษรตัวที่ 10 แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาด ตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง เหมือนกันทั้งเล่ม)

คาสาคัญ : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง)


ชื่อโครงงาน ชื่อนักศึกษา ปริญญา อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม สาขาวิชา ปีที่สาเร็จการศึกษา

: : : : : : :

เทคนิคการทาให้เกิดสีบนเส้นด้ายพุ่งสาหรับการทอผ้ายกมุก นางสาวเนตรนภา เอี่ยมทา รหัสนักศึกษา 13540604028-6 เทคโนโลยีบัณฑิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์จรูญ คล้ายจ้อย นางชลธิชา สาริกานนท์ ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 2557 บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาเทคนิคการทาให้เกิดสีบนเส้นด้ายพุ่งสาหรับการ ทอผ้ายกมุก 2) เพื่อออกแบบชุดลาลองสาหรับสุภาพสตรีจากผ้าทอยกมุก โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ กลุ่มสุภาพสตรีที่มีอายุระหว่าง 18-23 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร จานวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย คือ แบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ผลการศึกษา พบว่า เทคนิคการทาให้เกิดสีบนเส้นด้ายพุ่ง สาหรับการทอผ้ายกมุก ทางด้านความต้องการด้านรูปแบบ การนามาทาผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับดีมาก คาสาคัญ : การทาให้เกิดสี, เส้นด้ายพุ่ง, การทอผ้า


(หัวข้อ Title Author Degree Thesis Advisor Thesis Co-Advisor Department Graduated Year แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา อักษรสีดาและอักษรตัวตรง) Title : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) Author : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) Degree : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) Thesis Advisor : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) Thesis Co-Advisor : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) Department : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) Graduated Year : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง) ABSTRACT (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา กึ่งกลางหน้า) (ย่ อ หน้ า ล าดั บ แรกให้ เ ว้ น ระยะ 10 ช่ ว งตั ว อั ก ษร แบบอั ก ษร TH Sarabun PSK ขนาด ตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง สีดา)

Keywords : (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง)


Title Author Degree Thesis Advisor Thesis Co-Advisor Department Graduated Year

: : : : : : :

HOW TO CAUSE COLOR WEFT YARN FOR WEAVING PEAL RAISING MISS NATENAPA AUEMTA 13540604028-6 Bachelor of Technology Assistant Professor Charoon Klaichoi MS. Cholthicha Sarikanon Textile Product Design 2014

ABSTRACT The objectives of this research are 1) to study techniques how to cause color weft yarn for weaving peal raising 2) to design for casual wear for women from weaving peal raising. The sample size is 100 people. This study use self administered questionnaires and interview as research instruments. The statistical tools used in this study are Percentages. The research results indicate that how to cause color weft yarn for weaving peal the sample have high level satisfactions in pattern products design. Keywords : how to cause color, weft yarn, weaving peal raising


กิตติกรรมประกาศ (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา กึ่งกลางหน้า) (เว้น 1 บรรทัด) (การพิมพ์ย่ อหน้ าให้ เริ่มพิมพ์ตัวอักษรตัว ที่ 10 แบบตัว อักษร TH Sarabun PSK ขนาด ตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง เหมือนกันทั้งเล่ม) โครงงานเล่มนี้สาเร็จลงได้ด้วยความกรุณาและ ความช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่ง จาก.................................... อาจารย์ที่ปรึกษา และ ...................................... อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ที่กรุณาให้คาแนะนา เสนอแนะตรวจแก้ไขข้อบกพร่อง ด้วยความเอาใจใส่ตลอด มาตั้งแต่ต้นจนเสร็จเรียบร้อย ผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณไว้เป็นอย่างสูงและขอกราบขอบพระคุณ คณาจารย์ประจาสาขาวิชา..............................................ทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือด้วยดี ขอบขอบพระคุณ..............................................................ที่ได้กรุณาเป็นผู้เชี่ยวชาญ พิจารณาความถูกต้องและความเที่ยงตรงในด้านเนื้อหาของแบบสอบถาม ขอขอบคุณ................................................ที่ได้กรุณาตอบแบบสอบถามเพื่อการวิจัยในครั้งนี้ และขอขอบคุณ.......................................................................และท่านอื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่นี้ ที่ได้กรุณาให้ความสะดวก ความร่วมมือ ข้อเสนอแนะและอื่น ๆ ในการทาโครงงาน ครั้งนี้ นางสาวเนตรนภา เอี่ยมทา


สารบัญ (แบบตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา กึ่งกลางหน้า) (เว้น 1 บรรทัด) หน้า (หน้า แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้วตัวหนา) (เว้น 1 บรรทัด) บทคัดย่อภาษาไทย .................................................................................................................................ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ .......................................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................................. ฉ สารบัญ ................................................................................................................................................. ช สารบัญตาราง....................................................................................................................................... ฌ สารบัญภาพ.......................................................................................................................................... ญ บทที่ 1 บทนา........................................................................................................................................ 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน ......................................................................... 1 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน .................................................................................................. 1 1.3 กรอบแนวความคิดที่ใช้ในโครงงาน .................................................................................... 2 1.4 ขอบเขตของการศึกษา ....................................................................................................... 2 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ................................................................................................. 3 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในโครงงาน ....................................................................................... 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ............................................................................................... 4 2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง.................................................................................................... 4 2.2 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ...................................................................................................... 38 บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย ................................................................................................................... 41 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง .............................................................................................. 41 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ............................................................................. 41 3.3 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ ............................................................................................... 42 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล ..................................................................................................... 43 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล .................................................... 44


หน้า บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ............................................................................................................ 45 4.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ................................................................................. 45 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ...................................................................................................... 46 บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ.............................................................................................. 68 5.1 สรุป ................................................................................................................................. 68 5.2 อภิปรายผล ...................................................................................................................... 69 5.3 ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................... 75 บรรณานุกรม ....................................................................................................................................... 76 ภาคผนวก 78 ภาคผนวก ก : แบบสอบถามในการวิจัย.................................................................................. 79 ภาคผนวก ข : รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถาม ............................................................. 83 ภาคผนวก ค : หนังสือขอความอนุเคราะห์ผู้เชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถาม .............................. 86 ภาคผนวก ง : มาตราฐานวิธีการทดสอบ................................................................................. 89 ประวัติผู้วิจัย........................................................................................................................................ 95 (การพิมพ์ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพประกอบ เลขหน้า แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง)

(การพิมพ์ ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน กรอบแนวความคิดที่ใช้ ในโครงงาน ขอบเขตของการศึ ก ษา ประโยชน์ ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ นิ ย ามศั พ ท์ เ ฉพาะที่ ใ ช้ ใ นโครงงาน แนวคิ ด ทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ การ เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อ มูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการ วิเคราะห์ข้อมูล สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก ก : แบบสอบถามในการวิจัย ภาคผนวก ข : รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถาม ภาคผนวก ค : หนังสือขอความอนุเคราะห์ผู้เชี่ยวชาญตรวจ แบบสอบถาม ภาคผนวก ง : มาตราฐานวิธีการทดสอบ เลขหน้า แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง สีดา) การพิมพ์บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้วิจัย เลขหน้า แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง อักษรตัวตรง สีดา)


สารบัญตาราง (เว้น 1 บรรทัด) ตารางที่ 4.1 4.2 4.3

หน้า (เว้น 1 บรรทัด) ผลการทดสอบการเพ้นท์สี ................................................................................................... 14 ผลการทดสอบด้วยวิธีการมัด ............................................................................................... 21 ผลการทดสอบด้วยการจุ่มอัด .............................................................................................. 23 (การพิมพ์แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (การพิมพ์ ตารางที่ หน้า แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง)


สารบัญภาพ (เว้น 1 บรรทัด) ภาพที่

หน้า

1.1 1.2 1.3 1.4 2.1

(เว้น 1 บรรทัด) กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย................................................................................................ 14 วิธีการมัด............................................................................................................................. 21 วิธีการจุ่มอัด ........................................................................................................................ 23 วิธีการเพ้นท์ ........................................................................................................................ 25 ผ้ายกมุกนครพนม ............................................................................................................... 34 การพิมพ์แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) การพิมพ์ ตารางที่ หน้า แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง


บทที่ 1 (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

บทนา (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน (ประมาณ 1-2 หน้า แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาด ตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริมกระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง)

(เว้น 1 บรรทัด) 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริม กระดาษ) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง)

1.2.1 1.2.2 (เว้น 1 บรรทัด) 1.3 กรอบแนวคิดที่ใช้ในโครงงาน (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริมกระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) โดยมีแหล่งอ้างอิงหลักการแนวคิดทฤษฎี เป็นต้น...........................


1.4 ขอบเขตของการศึกษา แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริม กระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

1.4.1 ด้านเนื้อหา 1.4.2 ด้านประชากร (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด) 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิด ริมกระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

1.5.1 1.5.2 (เว้น 1 บรรทัด)

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริมกระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

(ย่ อหน้ าล าดับ แรกให้ เว้นระยะ 10 ช่ว งตัว อักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาด ตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง)


บทที่ 2 (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) 2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง แบบอักษร TH Sarabun PSKขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริม กระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด)

2.3 ผ้ายกมุก ผ้ายกมุก (Yok Mook) ใช้เทคนิคการทอโดยการใช้ด้ายยืนสองชุด กล่าวคือ ด้ายยืนชุด แรกจะใช้ด้ายยืนสีเดียวหรือหลายสีใช้ตะกอลายขัดสาหรับทอพื้นธรรมดา ส่วนด้ายยืนชุดที่เพิ่มพิเศษ (Supplementary warp) จะใช้เส้นด้ายสีเดียวหรือหลายสีมีตะกอลอยหรือตะกอพิเศษสาหรับยกเส้นยืน ให้เกิดลวดลาย (ดอก) ไปตามทิศทางของด้ายยืน เวลาทอจะสอดด้ายพุ่งสลับกันสลับกันระหว่างลาย พื้น และลายดอกผ้าลายยกมุกนี้เมื่อเลาะเส้นด้ายโดยการดึงเส้นด้ายยืนที่เพิ่มพิเศษออก จะยังคงเหลือ เส้ น ด้ายพื้น ที่ยั งขัดสานกัน อยู่ นอกจากนี้ผ้ ายกมุกยังถูกกาหนดให้ เป็นผ้ าพื้นเมืองประจาจังหวั ด นครพนม โดยมีชื่อเรียกเฉพาะว่า “ผ้ามุกนครพนม” และใช้ดอกกรันเกราเป็นลายผ้า ดังภาพที่ 2.1 (เว้น 1 บรรทัด)

ภาพที่ 2.1 ผ้ามุกนครพนม ที่มา: สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ (2556 : ออนไลน์)


2.6 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริม กระดาษ) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง)

ไมตรี เกตุขาว (2540: บทคัดยอ) ไดศึกษาการศึกษาลวดลายผาตีนจกในภาคเหนือตอนลาง ของประเทศไทยโดยมีจุ ดมุ งหมายเพื่อศึกษาลวดลายผาตีนจกในภาคเหนือตอนลางของประเทศไทย 3 จังหวัด ในประเด็นลักษณะของลวดลาย การใชสี ความคลายเหมือนและแตกตางของลวดลายในแตละ จังหวัด ผลการศึกษาวิจัยพบวา ผาตีนจกใน 3 จังหวัด ไดแกแพรอุตรดิตถสุโขทัย พบวาผาตีนจก ของ อาเภอลองจังหวัดแพร มีสีพื้นผาตีนจกเปนสีดาแดงซึ่งเปนรูปแบบโบราณดั้งเดิม ผาตีนจกของอาเภอ ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ มีสีพื้นผาตีนจกเปนสีแดง ซึ่งเปนรูปแบบโบราณดั้งเดิม ผาตีนจกอาเภอศรีสัชนา ลัย จังหวัดสุโขทัย มีสีพื้นผาตีนจกเปนสีแดงเหลือบเหลืองซึ่งเปนรูปแบบโบราณดั้งเดิม ในทั้ง 3 จังหวัด ลวดลายหลัก มีลักษณะเปนลวดลายที่แตกตางกันในสวนของลายละเอียด ซึ่งมีความสวยงามและมีสีสัน สดใส ประจักษ ภูมินา (2553) ได้ศึกษาหัตถกรรมผาทอยกมุกของชาวไท-ยวน ตาบลตนตาล อาเภอ เสาไห จังหวัดสระบุรี โดยมีจุดมุ่งหมายจุดมุงหมายเพื่อศึกษาวิเคราะหหัตถกรรมผาทอยกมุกของ ชาวไท-ยวน ตาบลตนตาล อาเภอเสาไห จังหวัดสระบุรีโดยศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการผลิต ลวดลาย การใชสี การพัฒนาผลิตภัณฑการ ถายทอดองคความรูและการบริหารจัดการ ผลจากการศึกษาชิ้นงานหัต กรรมผาทอยกมุกของชาวไท-ยวน ตาบลตนตาล อาเภอเสาไห จังหวัดสระบุรี มีกระบวนการทอแยก ประเภทไดตามตะกอตั้งแต 2-12 ตะกอและมีการตั้งชื่อลาย ตามลักษณะที่พบเห็นจากธรรมชาติ โครง สรางของลวดลายมีทั้งแบบดั้งเดิม และแบบปจจุบัน สีที่ ใชสวนใหญเปนสีวรรณะเย็น สีวรรณะรอน สีสาม เสาและสีกลมกลืน มีการใชสีจากธรรมชาติลวดลาย ที่พบมากที่สุดคือ ลายดอกพิกุล ลายดอกจัน และลาย เม็ดพริกไทยและมีการการพัฒนาผลิตภัณฑอยู 5 ประเภท คือผาซิ่น ยามหรือถุงผา สไบ ผาแถบริ้วและ เสื้อผาสตรีสาเร็จรูป


บทที่ 3 การพิมพ์ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

วิธีดาเนินการวิจัย การพิมพ์ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริม กระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด) 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล (การพิมพ์แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริมกระดาษ) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด) 3.3 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ (การพิมพ์แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัว ตรง ชิดริมกระดาษ) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด) 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล (การพิมพ์แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริมกระดาษ) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด)


3.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริมกระดาษ) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง)


บทที่ 4 การพิมพ์ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การพิมพ์ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริม กระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด)

ตารางที่ 4.1 ผลการทดสอบเทคนิคการทาให้เกิดสี รายละเอียด 1. วิธีการมัดเพ้นท์

ภาพประกอบ

2. วิธีการจุ่ม

ที่มา: สานักงานวัฒนธรรมแหงชาติ (2545: 17-23) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) จากตารางที่ 4.1 แสดงผลการทดสอบเทคนิคการทาให้เกิดสี


บทที่ 5 การพิมพ์ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การพิมพ์ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) 5.1 สรุป แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริมกระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด) 5.2 อภิปรายผล (การพิมพ์แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริม กระดาษ) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง) (เว้น 1 บรรทัด) 5.3 ข้อเสนอแนะ (การพิมพ์แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง ชิดริม กระดาษ) (ย่อหน้าลาดับแรกให้เว้นระยะ 10 ช่วงตัวอักษร แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวบาง สีดา ตัวตรง)


บรรณานุกรม การพิมพ์ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ)


บรรณานุกรม การพิมพ์ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

กรุณา เดชาติวงศ ณ อยุธยา. (2532). สิ่งทอไทย. กรุงเทพฯ: เดอะ ริเบอรเรเตอร. รมศาสตร. ชะลูด นิ่มเสมอ. (2534). องคประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ: ไทยวฒันาพานิช. ดวง ทองคาซุย. (2551). การวิจัยและพัฒนากี่ทอผายกมุก. กรุงเทพฯ: กระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ทวีเดช จิ๋วบาง. (2536). ความคิดสรางสรรคศิลปะ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตว.


การเขียนรายการเอกสารอ้างอิง 1 รายละเอียดของส่วนประกอบของเอกสารอ้างอิงระบบตัวเลข เอกสารอ้างอิงประกอบด้วยรายละเอียดต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ หน้า และอื่นๆ โดยมีรูปแบบการเขียนที่แตกต่างกัน ซึ่งจะอธิบายในหัวข้อถัดไป 2 รูปแบบการเขียนรายการเอกสารอ้างอิงระบบตัวเลข ในบทนี้จะกล่าวถึงวิธีการเขียนรายการเอกสารอ้างอิงตามรูปแบบที่กาหนดดังนี้ 2.1 หนังสือ ชื่อผู้แต่ง, ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์: สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์, หน้า. กรณีที่ใช้หนังสือทั้งเล่มอ้างอิงไม่ต้องระบุหน้า แต่ถ้าอ้างอิงบางหน้าในหนังสือให้ระบุหน้าที่อ้างอิง ตัวอย่าง Shenoi, B.A., Introduction to Digital Signal Processing and Filter Design. 1st edition. New Jersey: John Wiley & Sons, 2006, pp. 1-10. ยืน ภู่วรวรรณ, เทคนิคการประยุกต์และใช้งานลิเนียร์ไอซี เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2532. 2.2 บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียนบทความ, “ชื่อบทความ”, ชื่อเต็มของวารสาร, ปีที่(Vol.), ฉบับที่หรือเล่มที(่ No.), ปีที่พิมพ์. หน้า. ตัวอย่าง กาวี ศรีกูลกิจ และ ปภาภิดา พรสุริยะศักดิ์, “ทางเลือกใหม่ของการย้อมเซลลูโลสด้วยสีรีแอคทีฟ ในสภาวะไร้ด่าง”, Colourway , ปีที่ 4 , ฉบับที่ 20 , 2542. หน้า 26-29. Tremain, T.E., “The Government Standard Linear Predictive Coding Algorithm: LPC-10”, Speech Technology, Vol. 5, No. 4, 1982. pp. 12-16. 2.3 บทความในรายงานการประชุมทางวิชาการ ชื่อผู้เขียนบทความ, “ชื่อบทความ”, ชื่อการประชุม, ครั้งที่ประชุม, วัน เดือน ปี ที่ประชุม, สถานที่ ประชุม, ปีที่พิมพ์. หน้า.


ตัวอย่าง วิชัย เพชรทองคา และ สมประสงค์ ภาษาประเทศ, “ความสัมพันธ์ของโครงสร้างผ้าทอต่อสมบัติทาง กายภาพของผ้า”, การสัมมนาทางวิชาการสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ประจาปี 2552, ครั้งที่ 1, 15 กรกฎาคม 2552, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2552. หน้า 128-131. Gerson, I. and Jasiuk, M., “Vector Sum Excited Linear Prediction (VSELP) at 8 kbit/s”, Proceeding of International Conference on Acoustic Speech and Signal Processing, April 1990, California U.S.A., 1990. pp. 254-258. 2.4 บทความในหนังสือพิมพ์ [1] ชื่อผู้เขียนบทความ, “ชื่อบทความ”, ชื่อหนังสือพิมพ์, วันที่ เดือน ปีที่พิมพ์. หน้า. ตัวอย่าง มรกต ตันติเจริญ, “เทคโนโลยีชีวภาพ”, เดลินิวส์, 5 กันยายน 2544. หน้า 5. 2.5 ปริญญานิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ [1] ชื่อผู้เขียน, ชื่อปริญญานิพนธ์/วิทยานิพนธ์, ระดับ.....สาขาวิชา....คณะ....มหาวิทยาลัย....,ปีที่พิมพ์. ตัวอย่าง อรอุมา นาคอ่อง และคณะ, สัณฐานวิทยาของวัสดุสิ่งทอ : เส้นใย เส้นด้าย และผืนผ้า, โครงงาน ในงานเคมีสิ่งทอระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและ ออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2549, หน้า 10-11. 2.6 สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ก. เอกสารฉบับเต็ม (Full-text) จากฐานข้อมูลออนไลน์ เช่น Science Direct, ABI/Infrom, IEEE หรือ Applied Science and Technology เป็นต้น ชื่อผู้เขียนบทความ, “ชื่อบทความ”, ชื่อวารสาร(Electronic), ปีที่, เล่มที่, หน้า. สืบค้นจาก: ชื่อผู้จัดพิมพ์/ชื่อฐานข้อมูล (วันที่สืบค้น). ตัวอย่าง Yiqi Yang, Abstract of “An Unusual Application of a Usual Crosslinking Agent-Dyeing Trimethylolmelamine Pretreated Cotton without Added salt”, Textile Research Journal (Electronic), Vol. 64, No. 8, 1994, pp. 433.Available: Elsevier Science Ltd./science direct (28 June 2007)”


ข. บทคัดย่อจากฐานข้อมูลออนไลน์ ชื่อผู้เขียนบทความ, (บทคัดย่อ “ชื่อบทความ”, ชื่อวารสาร (Electronic), ปีที่, เล่มที่, ปีที่พิมพ์. (หน้า), สืบค้นจาก: ชื่อผู้จัดพิมพ์/ชื่อฐานข้อมูล (วันที่สืบค้น). ตัวอย่าง A. Soleimani-Gorgani and J.A. Taylor Abstract of “Dyeing of Nylon with Reactive Dyes. Part 3 : Cationic Reactive Dyes for Nylon”, Dyes and Pigments(Electronic), Vol. 68, 2006, pp. 610 Available: Elsevier Science Ltd./ Science direct (29 June 2007). 2.7 สารสนเทศจาก World Wide Web (WWW) ชื่อผู้เขียนบทความ, ชื่อ Web Page (Online), ปีที่พิมพ์. สืบค้นจาก: URL (วันที่สืบค้น). ตัวอย่าง Wu, K., What is Nano (Online), 2000. Available: http://www.nano.org.uk/nano.htm (22 October 2001).


ประวัติผู้เขียน การพิมพ์ (แบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาดตัวอักษร 16 นิ้ว ตัวหนา สีดา ตัวตรง กึ่งกลางหน้ากระดาษ) (เว้น 1 บรรทัด)

ชื่อ – ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด สถานที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2553

นางสาวเนตรภา เอี่ยมทา 5 พฤษภาคม 2534 โรงพยาบาลมิชชั่น จังหวัดกรุงเทพมหานคร 517 ถนนนครสวรรค์ แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนชิโนรส จังหวัดกรุงเทพมหานคร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนชิโนรส จังหวัดกรุงเทพมหานคร


เทคนิคการทาให้เกิดสีบนเส้นด้ายพุ่งสาหรับการทอผ้ายกมุก

เนตรนภา เอี่ยมทา

2557

การศึกษาเทคนิคการปักจากแรงบันดาลใจผ้าทอไทลื้อ สาหรับงานออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

อริศรา บุญสาย

2557

สันปกให้พิมพ์ชื่อโครงงาน ชื่อผู้เขียน และ พ.ศ. โดยจัดระยะห่างให้เหมาะสมตามความยาวของสันปก ใช้ อักษร TH Sarabun PSK 18 ตัวหนา หากชื่อโครงงานมีความยาวมากกว่า 1 บรรทัด ให้พิมพ์ชิดซ้าย ชื่อ ผู้เขียนไม่ต้องใส่คานาหน้านาม และ พ.ศ. ให้พิมพ์ปีที่ส่งเล่มโครงงานฉบับสมบูรณ์


ขั้นตอนการขอสอบโครงงานและแบบฟอร์ม การสอบหรือวัดผลความก้าวหน้าของการทาโครงงานสามารถแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1. การสอบหัวข้อหรือเค้าโครงโครงงาน 2. การขอสอบโครงงานเพื่อจบสมบูรณ์ตามหลักสูตร 1. การสอบหัวข้อหรือเค้าโครงโครงงาน การสอบหัวข้อหรือเค้าโครงโครงงานให้ถือปฏิบัติเหมือนกัน คือ หัวข้อหรือเค้าโครงโครงงานที่จะ เสนอขอสอบ ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานหลัก แล้วจึงนาเสนอต่อกรรมการ สอบเพื่อพิจารณา นักศึกษาที่จะขอสอบหัวข้อหรือเค้าโครงโครงงานต้องมีคุณสมบัติดังนี้ - ต้องผ่านการเรียนในรายวิชาการเตรียมโครงงาน - ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานหลัก - ต้องมีความเข้าใจในหัวข้อการทาโครงงานเป็นอย่างดี - ต้องมีแผนการดาเนินงานโครงงาน หลักเกณฑ์การสอบหัวข้อหรือเค้าโครงโครงงาน เมื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานหลักพิจารณาเห็นชอบให้ สอบหั ว ข้อหรื อเค้ าโครงได้ อาจารย์ที่ปรึ กษาหลั กจะเป็นผู้ กาหนดวันสอบพร้อ มทั้ง พิจ ารณาแต่ ง ตั้ ง กรรมการควบคุมการสอบไม่ต่ากว่า 3 ท่าน ประกอบด้วย อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานหลัก อาจารย์ที่ ปรึกษาโครงงานร่วม(ถ้ามี) และอาจารย์ประจาสาขาวิชา โดยนักศึกษาต้องส่งหัวข้อหรือเค้าโครงโครงงาน ให้คณะกรรมการควบคุมการสอบพิจารณาก่อนสอบอย่างน้อย 7 วัน เมื่อนักศึกษาสอบหัวข้อหรือเค้าโครงโครงงานผ่าน และดาเนินการแก้ไขตามที่คณะกรรมการควบคุมการ สอบเสนอแนะเรียบร้อยแล้ว ให้ดาเนินการจัดส่งเอกสารเค้าโครงโครงงานที่มีรายมือชื่อของคณะกรรมการ ควบคุมการสอบครบทุกท่านต่ออาจารย์ประจาวิชาภายในวันและเวลาที่กาหนด 2. การขอสอบโครงงานเพื่อจบสมบูรณ์ตามหลักสูตร การสอบโครงงานเป็นการสอบแบบปากเปล่า โดยนักศึกษานาเสนอข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทั้งหมดต่อ คณะกรรมการควบคุมการสอบ ดังนั้นการขอสอบโครงงานนักศึกษาจะกระทาได้ก็ต่อเมื่อนั กศึกษาทา โครงงานเสร็จเรียบร้อยแล้วและอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานหลักอนุญาตให้สอบ โดยอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก


จะเป็ น ผู้ ก าหนดวั น สอบ พร้ อ มทั้ ง พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง กรรมการควบคุ ม การสอบไม่ ต่ ากว่ า 3 ท่ า น ประกอบด้วย อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานหลัก อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม(ถ้ามี) และอาจารย์ประจา สาขาวิชา โดยนักศึกษาต้องส่งเล่มโครงงานฉบับสมบูรณ์ให้คณะกรรมการควบคุมการสอบพิจารณาก่อน สอบอย่างน้อย 3 วัน 3. การส่งเล่มโครงงาน เมื่อนักศึกษาสอบโครงงานผ่าน และดาเนินการปรับปรุงแก้ไขตามที่คณะกรรมการควบคุมการสอบ เสนอแนะเรียบร้อยแล้ว ให้จัดส่งเล่ม โครงงานฉบับสมบูรณ์ต่ออาจารย์ประจาวิชาเพื่อตรวจสอบรูปแบบ การพิมพ์โครงงาน นักศึกษาต้องส่งเล่มโครงงานฉบับสมบูรณ์ปกแข็งสีกรมท่าที่มีลายมือชื่อคณะกรรมการควบคุมการ สอบครบทุกคน จานวน 2 เล่ม พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูลโครงงานต่ออาจารย์ประจาวิชาภายในวันและเวลา ที่กาหนด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.