Computer Aied Design : คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ

Page 1

มคอ.3

รายละเอียดของรายวิชา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป 1 รหัสและชื่อรายวิชา 06-011-108 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (Computer Aied Design) 2 จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (2 – 2 – 5) 3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ หมวดวิชาเฉพาะ 4

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชลธิชา สาริกานนท์

5 ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2/2558 ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า(4ปี,สมทบต่อเนื่อง) สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite)(ถ้ามี) 7 รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co requisites)(ถ้ามี) 8 สถานที่เรียน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 9 วันที่จดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 25 ธันวาคม 2558


หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1

2

จุดมุ่งหมายของรายวิชา - รู้หลักการเบื้องต้นของคอมพิวเตอร์ - เข้าใจเกี่ยวกับซอฟท์แวร์ระบบปฏิบัติการ ซอฟท์แวร์ประยุกต์ ซอฟท์แวร์เพื่อการออกแบบ - เข้าใจการใช้ซอฟท์แวร์โปรแกรมเพื่อการออกแบบ - เข้าใจเทคนิคการใช้ซอฟท์แวร์เพื่อการออกแบบ - เห็นความสาคัญของหลักการการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ - มีทศั นคติที่ดีต่อหลักการปฏิบัติงานของการใช้ซอฟท์แวร์เพื่อการออกแบบ วัตถุ2ประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของคอมพิวเตอร์และวิธีการใช้ซอฟท์แวร์เพื่อการ ออกแบบในการนาเสนอผลงานด้วยคอมพิวเตอร์ โดยเน้นการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเพื่อการออกแบบ เป็นการ เตรียมความพร้อมในการนาความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบไปเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชาได้มีการปรับเปลี่ยนตัวอย่างอ้างอิงและงานในการฝึกปฏิบัติให้ สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1

คาอธิบายรายวิชา ความรู้เบื้องต้นของคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ระบบปฏิบัติการ ซอฟท์แวร์ประยุกต์ ซอฟท์ประยุกต์ ซอฟท์แวร์เพื่อการออกแบบ และการนาเสนอผลงาน Introduction to computer operation; operation; operating system software; application software; software aided design; presentation

2

จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย

สอนเสริม

30

สอนเสริมตามความต้องการ ของนักศึกษา เฉพาะรายหรือรายกลุ่ม กรณี เรียนไม่ทันหรือต้องการ ความรู้เพิ่มเติม

การฝึกปฏิบัติงาน การศึกษาด้วยตนเอง ภาคสนาม/การฝึกงาน 30 75


3

จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล นักศึกษาสามารถเข้าพบเพื่อขอคาปรึกษาทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล ในเวลา 10.00 – 15.00 น. ตั้งแต่วันจันทร์ ถึงวันศุกร์ (ตามความต้องการและการนัดหมาย) มือถือ 089-7663902 E-mail : cholthicha.s@rmutp.ac.th

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1 คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา - ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และกฎเกณฑของสังคม - มีวินัย ซื่อสัตยสุจริตและมีจิตสาธารณะ 1.2 วิธีการสอน  มีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบ ในขณะที่สอนหลักทฤษฎี โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม  กาหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อปลูกฝังหลักคุณธรรม จริยธรรม เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา มี ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ไม่ลอกเลียนผลงานของบุคคลอื่น เป็นต้น  สอนให้มีการแบ่งปัน มีความรัก ความสามัคคี ช่วยเหลือกันในหมู่คณะ  สอนให้รู้จักให้เกียรติบุคคลอื่น เคารพการตัดสินใจของผู้อื่น 1.3 วิธีการประเมินผล ความสนใจและความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน  พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม  ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย ตามเกณฑ์ที่กาหนดร่วมกัน 2 ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ - เขาใจองคความรูในวิชาชีพออกแบบผลิตภัณฑสิ่งทอ - พัฒนางานดวยองคความรูในวิชาชีพออกแบบผลิตภัณฑสิ่งทอ - บูรณาการเทคโนโลยี นวัตกรรม และงานวิจัยเพื่อใชในการพัฒนาวงการวิชาชีพ 2.2 วิธีการสอน - การบรรยาย อธิบาย และสาธิตการใช้งานโปรแกรม - การฝึกปฏิบัติการออกแบบตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย


- การฝึกการนาเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ 2.3 วิธีการประเมินผล - ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ในแต่ละสัปดาห์ - ประเมินผลจากการทดสอบย่อย สอบปลายภาค - ประเมินผลจากการนาเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล รายงาน และการนาเสนอผลงาน 3 ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา - คิดอย่างมีระบบบนพื้นฐานของข้อมูลและข้อเท็จจริง - สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินข้อมูลแนวคิดและหลักฐานเพื่อการวิเคราะห์ปัญหา - สามารถบูรณาการความรู้เพื่อการศึกษาปัญหาที่ซับซ้อนและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา 3.2 วิธีการสอน - เน้นการทางานที่เป็นระบบหรือขั้นตอน - การสอนโดยการฝึกปฏิบัติงานตามโจทย์หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่หลากหลาย - การสอนโดยเน้นการนาเสนอผลงานทุกครั้งที่ได้ทาการปฏิบัติงานมา 3.3 วิธีการประเมินผล - ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทางาน - ประเมินผลจากการตรวจผลงาน - ประเมินผลจากการทดสอบ 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา - มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี - สามารถนาเสนอแนวความคิดอย่างสร้างสรรค์ - แสดงภาวะผู้นาและผู้ตามได้อย่างเหมาะสม - มีความรับผิดชอบต่อผลของการกระทาและการนาเสนอ 4.2 วิธีการสอน - จัดกิจกรรมกลุ่มในการทางานและการนาเสนอผลงาน 4.3 วิธีการประเมินผล - ประเมินตนเองและเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มหรือวิธีการที่กาหนด - สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม - ประเมินผลจากการผลงาน


5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - เขาใจหลักเบื้องตนทางคณิตศาสตรและสถิติ - สามารถประยุกตใชวิธีการทางคณิตศาสตรและสถิติในการศึกษาปญหาและการ นาเสนอรายงาน - สามารถเลือกสื่อ และเครื่องมือในการสืบคน เก็บรวบรวมขอมูล ประมวลผล และ แปลความหมาย รวมถึงการนาเสนอขอมูลสารสนเทศไดอยางเหมาะสม - สามารถใชภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ 5.2 วิธีการสอน - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์และทารายงาน โดยการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สรุปผล และนาเสนอด้วยการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.3 วิธีการประเมินผล - ประเมินผลจากรายงานและรูปแบบการนาเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี - ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย 6 ทักษะพิสัย (ถ้ามี) 6.1 ทักษะพิสัยในการปฏิบัติงาน ที่ต้องพัฒนา - สามารถปฏิบัติงานตามแบบที่กาหนดได้ - สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้องโดยอิสระ - สามารถประยุกต์การปฏิบัติงานเพื่อการแก้ปัญหาในสภาพจริงได้ 6.2 วิธีการสอน - นักศึกษาได้ลงปฏิบัติจริง - การวิเคราะห์และแก้ปัญหา 6.3 วิธีการประเมินผล - จากการตรงต่อเวลา - จากความรับผิดชอบ - จากการปฏิบัติงาน - จากผลงาน


หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน (หน่วยเรียน/บทเรียน/หัวข้อ) ชัว่ โมง 1 ความรู้เบื้องต้นของคอมพิวเตอร์ 4 - ความหมายของคอมพิวเตอร์ - วิวัฒนาการขอคอมพิวเตอร์ - ประเภทของคอมพิวเตอร์ 2 - องค์ประกอบของระบบ 4 คอมพิวเตอร์ - ซอฟท์แวร์และ ภาษาคอมพิวเตอร์ - ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง 3 - ระบบปฏิ บั ติ ก ารและหลั ก การ 4 ทางาน - เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 4 ซอฟท์แวร์ระบบปฏิบัติการ 4 - ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการ - ระบบปฏิบัติการ Windows สอบปฏิบัติ

5

6

7

- ระบบไฟล์และโฟลเดอร์ - การปรับแต่งส่วนต่าง ๆ ของ Windows - การเข้าใช้งานส่วนตัว User Account - การจัดการกับ Hardware ใน Windows - ความปลอดภัยของเทคโนโลยี - กฎหมายและจริยธรรมในการใช้ คอมพิวเตอร์

4

4

4

กิจกรรมเรียน การสอน - แนะนาแนวการ สอน บรรยาย พร้อมยกตัวอย่าง อภิปราย ซักถาม - บรรยาย พร้อม ยกตัวอย่าง อภิปราย ซักถาม

สื่อที่ใช้

การวัดผล

- คอมพิวเตอร์

- ความ สนใจ - ซักถาม

- คอมพิวเตอร์ - ตัวอย่าง อุปกรณ์

- ความ สนใจ - ซักถาม

- บรรยาย พร้อม ยกตัวอย่าง อภิปราย ซักถาม - อธิบายพร้อม สาธิตการลง โปรแกรม

- คอมพิวเตอร์

บรรยาย พร้อม ยกตัวอย่าง อภิปราย ซักถาม บรรยายพร้อม สาธิต

- คอมพิวเตอร์

- ความ สนใจ - ซักถาม - ความ สนใจ - ซักถาม - ความ ตั้งใจ ทางาน - ความ สนใจ - ซักถาม - ความ สนใจ - ซักถาม

- คอมพิวเตอร์

- คอมพิวเตอร์

บ ร ร ย า ย พ ร้ อ ม - คอมพิวเตอร์ ยกตัวอย่าง

-ความ สนใจ - ซักถาม


สอบกลางภาคการศึกษา สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมเรียน สื่อที่ใช้ (หน่วยเรียน/บทเรียน/หัวข้อ) ชัว่ โมง การสอน 8 - การใช้งานอินเตอร์เน็ตและการ 4 บ ร ร ย า ย พ ร้ อ ม - คอมพิวเตอร์ สืบค้น สาธิต ยกตัวอย่าง 9

10 12-14 15 16

ซอฟท์แวร์ประยุกต์ - การใช้งานซอฟท์แวร์ประมวลผล คา ทดสอบย่อย - การใช้งานซอฟท์แวร์นาเสนอ ซอฟท์แวร์เพื่อการออกแบบ - การใช้ซอฟท์แวร์ในการออกแบบ การนาเสนอผลงาน - เทคนิคการนาเสนอผลงาน สอบปลายภาคการศึกษา

4

บ ร ร ย า ย พ ร้ อ ม - คอมพิวเตอร์ สาธิต ยกตัวอย่าง

4

บ ร ร ย า ย พ ร้ อ ม - คอมพิวเตอร์ สาธิต ยกตัวอย่าง บ ร ร ย า ย พ ร้ อ ม - คอมพิวเตอร์ สาธิต ยกตัวอย่าง บ ร ร ย า ย พ ร้ อ ม - คอมพิวเตอร์ สาธิต ยกตัวอย่าง

8 4

การวัดผล - ความ สนใจ - ซักถาม ทดสอบ ย่อย

คะแนน การสอบ

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1 1

2 3

ผลการเรียนรู้

วิธีการประเมิน

(ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ 6 - สอบปฏิบัติ ด้าน) - ทดสอบย่อย - สอบกลางการศึกษา - สอบปลายภาค การศึกษา (ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ 6 - การนาเสนอ ด้าน) (ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ 6 - การเข้าชั้นเรียน ด้าน) - การมีส่วนร่วมในการ อภิปราย เสนอความ คิดเห็น

สัปดาห์ที่ประเมิน 4 10 7 16

สัดส่วนของการ ประเมินผล 20% 10% 20% 30%

ตลอดภาคการศึกษา

10%

ตลอดภาคการศึกษา

10%


หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 6.1 เอกสารและตาราหลัก  หนังสือคู่มือคอมพิวเตอร์เบื้องต้น  หนังสือคู่มือสาหรับการใช้งานโปรแกรมสาเร็จรูป  หนังสือคู่มือเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมเพื่อการออกแบบ 6.2 เอกสารและข้อมูลสาคัญ ไม่มี 6.3 เอกสารและข้อมูลแนะนา (เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง) เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 7.1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ดาเนินการดังนี้ 1) สนทนาสอบถามความคิดเห็นนักศึกษาเป็นรายคนและเป็นกลุ่ม 2) การใช้แบบประเมินการเรียนการสอนช่วงกลางภาคเรียน 3) รับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บบอร์ดของคณะ 7.2 กลยุทธ์การประเมินการสอน การประเมินการสอนในรายวิชานี้ ดาเนินการโดย 1) การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน 2) ทดสอบวัด ผลการเรียนของนักศึกษาระหว่างเรียน 3) การตรวจงานที่มอบหมาย 7.3 การปรับปรุงการเรียนการสอน 1) ปรับปรุงการเรียนการเรียนการสอนโดยอาศัยผลการประเมินการสอนในภาคเรียนก่อนดังนี้ 1. จัดทาใบงานประกอบกิจกรรมให้ชัดเจน จะช่วยให้ประหยัดเวลาในการประกอบกิจกรรม 2. การเน้นการฝึกปฏิบัติในช่วงเวลาเรียน มากกว่าการสั่งงานเป็นการบ้าน เพราะรายวิชานี้ต้องการฝึก ทักษะการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เพื่อลดขั้นตอนการทางาน และต้องอาศัยคาแนะนาจากผู้สอนมาก เพื่อ เป็นพื้นฐานที่ดีต่อการเรียนและปฏิบัติงานในระดับที่สูงขึ้นต่อไป 2) ปรับปรุงการเรียนการสอนโดยอาศัยผลการประเมินในข้อ 7.2 7.4 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา 1) ประเมินความรู้ความเข้าใจในขั้นพื้นฐานของรายวิชาก่อนการเรียน 2) ระหว่างเรียนสุ่มตรวจสอบความรู้นักศึกษาอย่างสม่าเสมอ


3) ประเมินความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้น หลังจากการเรียนในเนื้อหารายวิชา 4) แบบประเมินตนเอง ในการนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ หลังการเรียน 7.5 การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมิน และทบทวนผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาในการเรียนการสอนที่ผ่านมา ได้มีการวาง แผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้  เน้นทักษะในกระบวนการคิดให้มากขึ้น เพราะเป็นพื้นฐานสาคัญในการทางานออกแบบ  เน้นทักษะการทางานให้มีความรวดเร็วและถูกต้อง รวมถึงความตรงต่อเวลาในการส่งงาน เพื่อเป็นทักษะ พื้นฐานที่ดีในการทางานจรองในอนาคต  ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4


สานักงานส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน กลุ่มวิชาการ พฤศจิกายน 2552


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.