VRU Magazine Vol.3 No.1 (January-April 2022)

Page 1

MAGAZINE


CONTENTS Get Known

สารจากอธิการบดี

3

Get Engaged

EDITOR’s TALK

VRU ยกกำ�ลัง 90, 9 ไม่หยุดยั้ง สู่ผู้นำ�การพัฒนาท้องถิ่น โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำ�บล แบบบูรณาการ

4 6

Get Updated Data Thinking เชื่อหรือไม่ว่าข้อมูล สร้างความคิดได้

Get Known สารจากอธิการบดี

8

Get Fulfilled

ศุภฤกษ์เบิกดิถขี น้ึ ปีใหม่ ศุภชัยจงก่อเกิดล้�ำ เลิศผล ศุภลักษณ์งดงามยามยินยล ศุภชนม์พร้อมพรัง่ ยัง่ ยืนนาน สวัสดีปใี หม่ พุทธศักราช 2565 คุณผูอ้ า่ นทุกท่านคะ สำ�หรับปี พ.ศ. 2565 นี้ นับเป็นปีท่ ี 3 ของ VRU Magazine ที่เราได้นำ�เสนอเรื่องราวของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเรื่องราวที่น่าสนใจ ต่าง ๆ ให้กบั คุณผูอ้ า่ น แต่ส�ำ หรับพวกเราชาววไลยอลงกรณ์นน้ั ปี พ.ศ. 2565 เป็นปีทส่ี �ำ คัญยิง่ อีกปีหนึง่ เนือ่ งด้วย เป็นปีที่ครบรอบ 90 ปี ของการก่อตั้งสถาบันการศึกษาอันเป็นที่รักของพวกเรา นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 ที่สมเด็จ พระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ประทานอาคารพร้อมที่ดินเพื่อจัดตั้งโรงเรียน ฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ ตลอดระยะเวลา 90 ปี มหาวิทยาลัยมีพันธกิจที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้บทบาทของ สถาบันการศึกษาแห่งนี้ไม่เพียงแต่ผลิตครูสู่สังคมเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่เป็นการก้าวสู่มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่มีภารกิจด้านชุมชนในปัจจุบัน และมุ่งมั่นก้าวไปสู่อนาคตเพื่อร่วมสร้าง ผูป้ ระกอบการทางสังคม นำ�ไปสูก่ ารพัฒนาท้องถิน่ อย่างยัง่ ยืน ด้วยการน้อมนำ�แนวทางการดำ�เนินชีวติ ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ให้สอดคล้องกับบริบทและสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงไป VRU magazine Vol.3 No.1 นี้จึงนำ� เสนอผลการดำ�เนินงานของมหาวิทยาลัยในพันธกิจต่าง ๆ จากอดีต ปัจจุบัน และ จะเป็นที่ประจักษณ์ในอนาคต โดยคอลัมน์ Get Engaged นำ�เสนอพันธกิจทีม่ หาวิทยาลัยมุง่ เน้นในการพัฒนาท้องถิน่ ด้วยการดำ�เนินงานในรูปแบบ Participatory Development อีกทั้งมหาวิทยาลัยได้บูรณาการพันธกิจด้านการสอน และการวิจัยให้เป็นส่วนหนึ่ง ในการร่วมพัฒนาท้องถิ่น เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นขึ้นมากมายมาตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ อาหารชุมชน หรือที่เรียกกันอย่างคุ้นเคยว่า ผลิตภัณฑ์อาหาร OTOP ซึ่งคุณผู้อ่านจะได้พบกับเรื่องราวเหล่านี้ ในคอลัมน์ Get Fulfilled ส่วนในคอลัมน์ Get Update เราขอนำ�เสนอให้เห็นถึงความสำ�คัญของการใช้ Data Thinking เพื่อเป็นเครื่องมือในการทำ�ให้ทุกพันธกิจของมหาวิทยาลัยบรรลุเป้าหมาย แม้ว่าเราจะเน้นการเป็นมหาวิทยาลัย เพื่อท้องถิ่น แต่ในการดำ�เนินพันธกิจต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยนั้นไม่ได้เกิดขึ้นแต่ในประเทศเท่านั้น มหาวิทยาลัย ยังมีการดำ�เนินการตามพันธกิจทางด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เผยแพร่สู่ นานาชาติอกี ด้วย ซึง่ นำ�เสนอไว้ในคอลัมน์ Get Satisfied และเรือ่ งราวต่าง ๆ ทัง้ หมด ใน VRU Magazine ฉบับนี้ เรามุ่งหวังให้ท่านผู้อ่านได้ร่วมภูมิใจไปกับผลการดำ�เนินงานของเราชาววไลยอลงกรณ์ ตลอดช่วงเวลา 90 ปี ที่ผ่านมาและร่วมเป็นกำ�ลังใจในการก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้สำ�หรับคนทุกช่วงวัยที่มีนวัตกรรม ส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมฐานรากบนความร่วมมือของหุน้ ส่วนทางสังคม ให้เกิดการพัฒนาอย่างสมดุลและยัง่ ยืน

ผศ.ดร.สุภณิดา พัฒธร บรรณาธิการ

วไลยอลงกรณ์เคียงข้างชุมชน ร่วมสร้างและยกระดับมาตรฐานอาหาร มุ่งสู่ระดับสากล

10

Get Satisfied สัมพันธไมตรีแบบไร้พรมแดน การ แมกกาซีน กองบรรณาธิ ที่ปรึกษา

12

ผศ.ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว อ.ไชย มีหนองหว้า บรรณาธิการ ผศ.ดร.สุภณิดา พัฒธร ผู้ช่วยบรรณาธิการ อ.ปวิช เรียงศิริ พิสูจน์อักษร ผศ.พรศิริ นาควัชระ ฝ่ายประสานงาน อ.ดร.โรจนันท์ ทรงอยู่ นางสาวสุวิมล พิชัยกมล นางสาวศศิธร ชื่นขาว นางสาววิษณีย์ ขุนสิงห์ ศิลปกรรมและถ่ายภาพ ผศ.เดือนฉายผู้ชนะ ภู่ประเสริฐ นายทวีศักดิ์ ปานเทวัญ นายสายัญ เทียบแสน นายพุทธินันต์​์ โสมรุษ โฆษณาและการตลาด ผศ.ดร.ดรุณี หันวิสัย นางสาวมณี บุญผาย นางสาวพัฒน์ธนสรณ์ กลิ่นไทย จัดทำ�โดย งานสื่อสารองค์กรและการตลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

เลขที่ 1 หมู่ 20 ถนนพหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 13180 โทรศัพท์ 02-909-1425 โทรสาร 02-909-1425 E-mail vrumagazine@vru.ac.th ติดต่อ ฝ่ายโฆษณา นางสาวมณี บุญผาย นายพัฒน์ธนสรณ์ กลิ่นไทย บรรณาธิการ 08-6046-6761

จากโรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ ปี พ.ศ. 2475 ที่จัดตั้งขึ้นด้วยพระเมตตาของ สมเด็จ พระราชปิตจุ ฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรรี าชสิรนิ ธร สูก่ ารเป็นวิทยาลัยครูเพชรบุรวี ทิ ยาลงกรณ์ ในปี พ.ศ. 2513 และ ในปี พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสถาบันราชภัฏ เป็น สถาบันราชภัฏเพชรบุรวี ทิ ยาลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเมือ่ ปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ เปลี่ยนชื่อเป็น “สถาบันราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์” และได้ยกฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2565 เป็นการ ก้าวย่างเข้าสูป่ ที ่ี 90 ของมหาวิทยาลัย นับจากการเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูฯ มหาวิทยาลัยยังคงมุง่ มัน่ ในการดำ�เนินงาน ตามพันธกิจ กล่าวคือ 1. ผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้รอบรู้ มีมาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพ มีสมรรถนะการเป็นผู้ประกอบการ วิศวกรสังคม เพื่อเป็นผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม 2. พัฒนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมฐานรากและสร้างความร่วมมือ กับหุ้นส่วนทางสังคมทั้งภาครัฐและสังคม สร้างเมือง และชุมชนท้องถิ่นให้เกิดการพัฒนาอย่างสมดุล 3. ประสานความร่วมมือกับหุน้ ส่วนทางสังคมเพือ่ พัฒนาชุมชน ท้องถิน่ สืบสานโครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำ�ริ ทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์ และฟื้นฟูมรดกวัฒนธรรมต่อยอด สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4. พัฒนาระบบนิเวศ (Ecological) มหาวิทยาลัยทีเ่ กือ้ กูลการเรียนรูว้ จิ ยั เสริมประสิทธิภาพ การทำ�งาน สร้างนวัตกรรม และคุณภาพชีวิตของชุมชนมหาวิทยาลัยและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แม้ว่าบริบทและสังคมโลกจะเปลี่ยนแปลง แต่ผู้บริหารและบุคลากรทุกภาคส่วนของมหาวิทยาลัย ยังคงปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างทุม่ เท ให้สมกับพระปณิธานขององค์ผปู้ ระทานกำ�เนิดมหาวิทยาลัยและก้าวสูว่ สิ ยั ทัศน์ในการเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้สำ�หรับคนทุกช่วงวัย ที่มีนวัตกรรมส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคม”

ผศ.ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว อธิการบดี

3 Get ฎKnown


และพอได้จงั หวะก็ชวนสมาชิกในชุมชนมาร่วมโครงการกัน แบบนีช้ มุ ชนเองก็สบายใจ เพราะไม่คดิ ว่าเรามาสร้างภาระ ให้กบั ชุมชนสุดท้ายก็ทง้ิ ไป แต่มน่ั ใจว่าเรามาเพือ่ ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจด้วยกัน ไม่ว่าขั้นตอนไหน ยากเท่าไร ก็ จะจับมือไปด้วยกัน (พอมาถึงตอนนีช้ มุ ชนก็เข้ามาเกีย่ วข้อง หรือมีส่วนร่วมตามกระบวนการ หรือ Participatory Development โดยไม่รตู้ วั ) พอดำ�เนินโครงการไปเรือ่ ย ๆ เริม่ พัฒนาชุมชนไปเรือ่ ย ๆ จนเห็นผลแล้วสมาชิกในชุมชน ก็มั่นใจ อยากทำ�ต่อไปเรื่อย ๆ

ผลผลิ ต จากการเรี ย นการสอนในทุ ก รายวิ ช า

Vยกกำ�Rลัง 90U

9 ไม่หยุดยัง้ สูผ ่ นู้ �ำ การพัฒนาท้องถิน่

เป็นระยะเวลากว่า 90 ปีทส่ี มเด็จพระราชปิตจุ ฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรรี าชสิรนิ ธร ได้ประทานกำ�เนิดมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage, VRU) ให้เป็นแหล่งพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และสร้างนวัตกรรมเพื่อ การพัฒนาท้องถิ่นจนเป็นที่ประจักษ์แก่สังคมไทย จากสถาบันการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาครูชั้นยอดในอดีต จวบจนปัจจุบนั มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้พฒ ั นาอย่างไม่หยุดยัง้ จนกลายเป็น VRU มหาวิทยาลัยที่บูรณาการความเชี่ยวชาญในทุกศาสตร์และใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพื่อตอบสนอง ต่อการแก้ไขปัญหาท้องถิ่น และเป็นต้นแบบในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเข้มแข็งให้กับภาคประชาชน ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้วซึ่งเป็นพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัย โดย VRU มีนโยบายให้บุคลากรทุกท่านดำ�เนินโครงการพันธกิจสัมพันธ์และโครงการที่เกี่ยวเนื่อง กับการพัฒนาท้องถิน่ ให้เป็นส่วนหนึง่ ของงานประจำ� จนเกิดเป็นโครงการยกระดับความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิน่ จำ�นวนมาก ซึง่ ในแต่ละปี อาจารย์และบุคลากรของเราได้รว่ มกันดำ�เนินโครงการทีส่ �ำ คัญเพือ่ สร้างผลกระทบเชิงบวก ให้กับชุมชนท้องถิ่นจำ�นวนมากมายในทุกมิติ เช่น โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการยกระดับพัฒนา คุณภาพชีวติ ชุมชนและท้องถิน่ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชมุ ชนท้องถิน่ (OTOP) และโครงการอืน่ ๆ ทีด่ �ำ เนินการ โดยคณะและหน่วยงานต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัย ซึง่ VRU ทำ�โครงการพวกนีอ้ ย่างไร ในสไตล์ไหน วันนีจ้ ะเล่าให้ฟงั นะครับ ในอดีต VRU ดำ�เนินงานบริการวิชาการมาอย่างต่อเนือ่ ง ผ่านการสนับสนุนให้คณะ สำ�นัก และศูนย์ ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่นที่สอดคล้องกับนโยบายและวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย

Get ฎEngaged 4

โดยอาจารย์ที่อยู่ประจำ�สังกัดหลักสูตรต่าง ๆ จะเป็นผู้ลงไปสำ�รวจ ปัญหาของชุมชนและจัดทำ�แผนการดำ�เนินโครงการเพื่อลงไปพัฒนาชุมชนต่าง ๆ ตามความต้องการจำ�เป็นทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ จากการดำ�เนินงานทีผ่ า่ นมามหาวิทยาลัย ได้สร้างผลกระทบเชิงบวกให้กับพื้นที่ดำ�เนินการจำ�นวนมาก เกิดเป็นเครือข่าย เพือ่ การพัฒนาชุมชนทีม่ หาวิทยาลัย มุง่ เน้นขยายผลในอนาคต โดยสำ�นักส่งเสริม การเรียนรู้และบริการวิชาการ (สสร.) จวบจนถึงปัจจุบัน สำ�นักส่งเสริมการเรียน รูแ้ ละบริการวิชาการ ก็สามารถจัดตัง้ ศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงขึน้ เป็นผลสำ�เร็จ เพือ่ เป็นแหล่งเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แก่หน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัยในอนาคต ทุกวันนี้ VRU ถือเป็นผู้นำ�ในการยกระดับคุณภาพและแก้ไขปัญหา ชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้วทั้งนี้เพราะว่าเรามีวิธี การดำ�เนินงานทีไ่ ม่เหมือนใคร เรามีอาจารย์ทส่ี ามารถประยุกต์ใช้ความรูส้ กู่ ารพัฒนา ชุมชนและผันตัวเป็นหมากสำ�คัญทีพ่ ร้อมเดินหน้าแก้ทกุ ปัญหาชุมชน เรากล้าพูด ได้อย่างเต็มปากว่า VRU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกที่มีการส่งอาจารย์นักพัฒนา และเปลี่ยนบทบาทอาจารย์ที่สอนอยู่หน้าห้องเรียนให้เป็นอาจารย์ที่แอ็คทีฟ กลายเป็นผู้จัดการพื้นที่ (Area Manager: AM) รวมทั้งผู้จัดการผลิตภัณฑ์ (Product Manager: PM) ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ

ด้วยวิธีการในลักษณะนี้ VRU จึงได้เปรียบคนอื่น เพราะการที่เรา เป็น “เพื่อน” กับชาวบ้าน ผู้ปกครอง คุณครู หรือผู้นำ�ชุมชนหรือองค์กรต่าง ๆ เองก็จะทำ�ให้เราได้รับรู้ถึงความในใจ ความเดือดเนื้อร้อนใจ และความต้องการ ความสนใจที่แท้จริงของพวกพี่น้องในชุมชน อีกทั้งยังได้ข้อมูลเชิงลึก ที่เรียกว่า “เอ็กซ์คลูซีฟ” ที่ชุมชนอาจไม่กล้าบอกใคร แต่เลือกที่จะเปิดใจมาบ่นมากระซิบ ให้ VRU ฟัง (ที่เรียกว่าถ้าไม่ใช่เพื่อนฉันไม่ยอมปริปากออกมาหรอก) เหมือน เพื่อนคุยกันสนุกปาก แต่แอบแฝงด้วยข้อมูลที่สำ�คัญที่ชาว VRU ไม่เคยมอง ข้าม แต่นำ�มาเป็นธุระสำ�คัญมาปรึกษาหารือกันในมหาวิทยาลัย จนได้โครงการ ออกมาแก้ไขปัญหาชุมชน ในขั้นตอนการดำ�เนินโครงการนั้น VRU เองก็ไม่ได้มุ่งหวังดำ�เนิน การโดยลำ�พังหากแต่เราก็กลับไปชวนเพื่อนในชุมชนของเรานั่นแหละมาร่วม กิจกรรมด้วยกัน เราเดินเข้าไปหาเพื่อน พี่น้อง ลุงป้า น้าอาในชุมชน มานั่งเล่น นัง่ คุยด้วย กินข้าวด้วยกันบ้าง เอาขนมไปฝากลูกหลานในชุมชน ซือ้ ของในชุมชน กลับมาแจกจ่ายพี่น้องเราในมหาวิทยาลัย

หลังจากดำ�เนินโครงการจนเสร็จสิน้ แล้วสมาชิกในชุมชน หรือเครือข่ายโรงเรียนต่าง ๆ ได้แนวทาง ได้วิธีการ กระบวนการ หรือผลผลิต ผลลัพธ์ต่าง ๆ ไปยกระดับคุณภาพชีวิต ได้ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น คุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้น ฯลฯ ของตนเองเรียบร้อยแล้ว VRU ก็ไปร่วมจับมือแสดงความยินดี พร้อมบอกว่า เรายังไม่ไปไหน ไม่ได้ทง้ิ ไปนะ เดีย๋ วเราจะกลับมาเยีย่ มใหม่นะ พี่ ลุง ป้า น้า อา คุณครู หรืออะไรก็ตามทีค่ นสนิทสนม จะเรียกกัน จากนั้นเราก็กลับบ้าน (VRU) มานั่งสรุปผล วางแนวทางการติดตามผล รายงานผู้บังคับบัญชา หน่วยงาน รายงานท่านอธิการบดีที่คอยกำ�กับติดตามการดำ�เนินการต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด จากนั้นก็กลับไป เยี่ยมชุมชนใหม่เรื่อย ๆ เพื่อให้เพื่อนของเราในชุมชนไม่เหงา และเข้ามาร่วมมือทำ�งานกับ VRU ตลอดไป ที่เล่าทั้งหมดนี้ไม่ได้เป็นเหตุการณ์ที่เกินจริงแต่อย่างใด การดำ�เนินโครงการแบบนี้ทำ�ให้ VRU กลายเป็นเพือ่ นกับชุมชนท้องถิน่ ไปแล้วจริง ๆ จะบอกว่าไม่มีท้องถิน่ หรือชุมชนไหนในจังหวัดปทุมธานีและสระแก้ว ทีไ่ ม่รจู้ กั เราก็ไม่นา่ จะผิด บางที่เมื่อได้เห็นการดำ�เนินงานของเราแล้วอยากจะนำ�ไปใช้หรือไปเป็นโมเดล นี่เป็น เรื่องจริงนะ เราเองก็ยินดีถ่ายทอดวิทยายุทธ์ให้ที่อื่นตลอด เพราะชาวบ้านเองก็จะได้ประโยชน์ และทุกวันนี้ เราไม่ได้แค่กระชับมิตรกับเพือ่ นเก่าหรือเพือ่ นปัจจุบนั ทีบ่ างคนก็ชวนเราไปหาทีบ่ า้ นบ่อยมากเท่านัน้ นะ แต่ VRU ยังเป็นกันเองมาก พร้อมจะผูกมิตรและ เป็นเพื่อนกับชุมชนใหม่ กับเพื่อนใหม่ ๆ อยู่เสมอ นี่ไม่ใช่เพราะ อยากกินข้าวบ้านเพื่อนเฉย ๆ นะ เราอยากลงไปแก้ปัญหาและบริการเพื่อน ๆ ทุกระดับให้ประทับใจจริง ๆ นอกจากงานด้านการบริการวิชาการ การยกระดับคุณภาพชีวติ คุณภาพการศึกษา การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนท้องถิน่ ฯลฯ ทีท่ างมหาวิทยาลัยเร่งดำ�เนินการและเป็นมือโปรในวงการอยูแ่ ล้ว ในปัจจุบนั VRU ยังได้มกี ารดำ�เนินโครงการ U2T เช่นเดียวกันมหาวิทยาลัยอืน่ ๆ ทัว่ ประเทศ และแน่นอนเมือ่ เป็นงานที่ VRU ทำ� ก็ตอ้ งไม่ธรรมดาแน่นอน แต่กอ่ นทีจ่ ะรูว้ า่ U2T ที่ VRU ทำ�นัน้ มีความพิเศษอย่างไร เราก็ตอ้ งรูจ้ กั ว่าโครงการนีค้ อื อะไรและมีทม่ี าทีไ่ ปอย่างไรกันก่อนนะครับ

5 Get ฎEngaged


โครงการ

“จิ๊หริดแบรนด์” เป็นการเล่นคำ� โดยนำ�คำ�ว่า จิ้งหรีดมาออกเสียงให้สนุกสนานมากขึ้น และสร้างภาพ ทีจ่ �ำ ง่ายให้กบั ลูกค้า ซึง่ แบรนด์สนิ ค้านีเ้ องก็เกิดจากความ ร่วมมือกันของนายสมศักดิ์ทองคำ�หัวหน้าทีมในการพัฒนา ซึ ่ ง เป็ น บั ณ ฑิ ต จบใหม่ และ ผศ.ดร.ณั ฐ สิ ม า โทขั น ธ์ อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึง่ ได้ลงไปสำ�รวจปัญหาจากกลุม่ เกษตรกร ในพืน้ ที่ ตำ�บลตาพระยา อำ�เภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว

ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำ�บล แบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำ�บล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

แล้วพบว่าพี่น้องเกษตรกรประสบปัญหาการ ประกอบอาชีพใน 4 ด้าน ได้แก่ 1. รายได้ไม่แน่นอน 2. จิ้งหรีดที่เลี้ยงมีอัตราการตายสูง 3. มีสารเคมีตกค้างในกระบวนการผลิตเสือ่ กก 4. ผลผลิตล้นตลาด ซึ่งจากการคลุกคลีกับปัญหาของชุมชน ก็ได้ พยายามคิ ด หาทางออกโดยอาศั ย การมี ส่ ว นร่ ว มของ ชุมชน โดยการสร้าง “จิห๊ ริดแบรนด์” ขึน้ มา และมีสนิ ค้าชูโรง

ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี กิดจากการส่งเสริมการแปรรูปจิง้ หรีด สู่ผลิตภัณฑ์ผงจิ้งหรีดโปรตีนสูง สแน็กพริกทอดจิ้งหรีด และเสือ่ กกแสนสวย ซึง่ ในการพัฒนาสินค้าขึน้ มานัน้ ทางทีม ได้แก้ไขปัญหาทีช่ มุ ชนมีอยูเ่ ดิม ได้แก่ การยกระดับการบริการ จัดการฟาร์มเพาะเลีย้ งจิง้ หรีดให้อยูใ่ นรูปแบบสมาร์ทฟาร์ม การพัฒนากระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชมุ ชน และการพัฒนา การออกแบบลวดลายและย้อมเสื่อกกด้วยสีธรรมชาติ จากวัสดุทห่ ี าได้ในท้องถิน่ เพือ่ ลดสารเคมีตกค้าง และตอบสนอง กับเทรนด์รักษ์โลกที่มาแรงในปัจจุบัน

งานพัฒนาท้องถิ่น ไม่ใช่กิจกรรม CSR มันคือพันธกิจสำ�คัญ ที่ช่วยแก้ปัญหาชุมชนท้องถิ่น ผศ.ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว อธิการบดี มรภ.วไลยอลงกรณ์ “โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำ�บล แบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสูต่ �ำ บล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) เรียกแบบโก้ ๆ ได้วา่ โครงการ U2T ซึง่ ย่อมาจาก University to Tambon เป็นโครงการทีด่ �ำ เนินการโดย สำ�นักงานปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำ�บลแบบบูรณาการ ถ้ามีโครงการดี ๆ แบบนีม้ า VRU ก็ไม่เคยตกขบวน เช่นเคย ซึง่ ในครัง้ นีเ้ ราไม่ได้แค่ท�ำ โครงการเฉย ๆ นะ แต่ท�ำ ได้ดี เสียด้วย เพราะนอกจากเราจะเป็นหน่วยบูรณาการโครงการ (System Integrator) ซึง่ รับผิดชอบดำ�เนินโครงการกว่า 40 พืน้ ที่ ทั้งในจังหวัดปทุมธานี จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดพระนคร ศรีอยุธยาแล้ว ความพร้อมสรรพของเราก็ยงั ทำ�ให้ได้รบั คัดเลือก

Get ฎEngaged 6

เป็นเจ้าภาพหลักในการ จัดการแข่งขัน U2T Hackathon 2021 ระดับภูมภิ าค กลุม่ ภาคตะวันออก ระหว่างวันที่ 12 - 13 กรกฎาคม 2564 ในรูปแบบออนไลน์อกี ด้วย ซึง่ ในครัง้ นี้ VRU ก็ได้สง่ ทีม เข้าร่วมแข่งขันด้วย และที่เยี่ยมยอดไปกว่านั้นมีทีมของ มหาวิทยาลัยที่ได้รับการคัดเลือกเป็น 1 ใน 5 สุดยอดทีม ในระดับภูมภิ าค (ภาคตะวันออก) ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนเงินรางวัล ในการต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์และได้รับการส่งเสริมให้ไป แข่งขันในระดับประเทศ ซึง่ ทีมนัน้ ก็คอื “จิห๊ ริดแบรนด์” เมื่อจบการแข่งขันในระดับภูมิภาคไปแล้ว งาน ของทีม “จิ๊หริดแบรนด์” ก็ยังไม่ได้หมดแค่นั้น ยังไม่หาย เหนื่อยกันดีก็ต้อง

จัดสรรเงินทีไ่ ด้รบั รางวัลมาต่อยอดให้แบรนด์ของตัวเองให้พฒ ั นาขึน้ แบบปัง ๆ เพือ่ เตรียมส่งเข้าประกวดในระดับประเทศ “U2T National Hackathon” ต่อไป ซึง่ อีกไม่กเ่ี ดือนต่อมา ระหว่างวันที่ 15 – 19 พฤศจิกายน 2564 สมาชิกในทีมก็ตอ้ งยกขบวนกันไปที่ อิมแพ็ค อารีนา เมืองทองธานี เพือ่ ขายไอเดียสุดเจ๋งของตัวเองในรูปแบบ ของแม่คา้ มืออาชีพ จนสามารถชิงรางวัลชนะเลิศมาไว้ในครอบครอง เพราะเป็นทีมทีม่ าแรงจนฉุดไม่ไหว และสินค้าทีท่ างทีมพัฒนาเอง ก็ถือว่าตอบสนองต่อเทรนด์อาหารเพื่ออนาคตได้เป็นอย่างดี จนถึงตอนนี้เราจะนำ�ข้อมูลเกี่ยวกับทีมนี้มาให้ผู้อ่านได้รับทราบ เพือ่ ทำ�ความรูจ้ กั กับทีม่ าทีไ่ ปของทีม U2T ทีไ่ ม่ธรรมดาอีกต่อไป แล้ว ณ ขณะนี้

เมือ่ มีการดำ�เนินงานในชุมชนไปเรือ่ ย ๆ เราก็พบว่า ได้รับผลตอบรับที่ดีจากชาวบ้านในท้องถิ่น เนื่องจากสามารถ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ ้ น ได้ จ ริ ง ชาวบ้ า นที ่ ป ระสบปัญหาเองก็ มีความพึงพอใจเนื่องจากมีการปรับกระบวนการเพาะเลี้ยง ในรูปแบบของสมาร์ทฟาร์มต้นแบบ มีผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ พร้อมขาย ได้แก่ ผงจิ้งหรีดโปรตีนสูง ที่สามารถต่อยอดเป็น อาหารแห่งโลกอนาคต แสน็กพริกทอดจิง้ หรีดทีเ่ ข้มข้นหอมมัน เผ็ดแซ่บพร้ อ มรั บ ประทาน อี ก ทั ้ ง ยั ง ได้ ผ ลิ ต ภัณฑ์เสื่อกก ลวดลายสวยงามที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ถือเป็นผลิตภัณฑ์ ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายของผู ้ บ ริ โ ภค ต่ อ รายได้ ท ี ่ เ พิ ่ มขึ้น ของชุมชน และต่อความยัง่ ยืนของสิง่ แวดล้อมในอนาคต

จนเข้าตาคณะกรรมการและผูส้ นใจจนต้องเข้ามาดูกนั มากมาย เลยทีเดียว ในที่สุดก็สามารถครองบัลลังก์เป็นหนึ่งใน 5 ทีม ผูช้ นะเลิศในการแข่งขันระดับประเทศได้ในทีส่ ดุ ต้องขอปรบมือ ให้เลยครับ ในอนาคต มหาวิทยาลัยฯ มุ่งสู่การพัฒนาอย่าง ต่อเนือ่ งเพือ่ ให้สามารถบริหารจัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจะเร่งพลิกโฉม (Reinvent) โดยเฉพาะในด้านการบริการวิชาการผ่านการ ประสานความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย เพื ่ อ พั ฒนางาน พั น ธกิ จสั ม พั น ธ์ และเผยแพร่ โครงการ อันเนื่อง มาจากพระราชดำ�ริ

เ พื่ อ ข ย า ย ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ไ ป สู่ ป ร ะ ช า ช น ในท้ อ งถิ ่ น อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม รวมทั ้ ง มี แ นวทางที ่ จ ะ พัฒนางานด้านการยกระ”ดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำ�บล แบบบูรณาการที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น มีการบูรณาการความ ร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามาเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชน และจะมีการขยายโครงการไปยังท้องถิ่นและชุมชน อื่น ๆ ให้ครอบคลุมทั้งในจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระแก้ว เพื่อตอกย้ำ�ภาพลักษณ์การเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่นชั้นนำ�ของประเทศในที่สุด

7 Get ฎEngaged


หัวใจสำ�คัญของการนำ�เสนอข้อมูล

ก็คอื ความถูกต้องของข้อมูล ทีม่ าของข้อมูล และการแปลผลของข้อมูลในทีส่ ดุ ความจำ�เป็นทีต่ อ้ งการสือ่ สารให้เข้าใจว่าเราจะนำ�ข้อมูลไปใช้อย่างไรกับผูท้ ่ี ทำ�หน้าที่ในการจัดสร้างฐานข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างน้อยที่สุดต้องสามารถที่จะสื่อสารวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนว่าจะนำ�ข้อมูลไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใด ลักษณะของข้อมูลประกอบด้วยข้อมูลที่ เรียกว่าเป็น ตัวเลข (Numerical) เราสามารถทีจ่ ะนำ�ข้อมูลนัน้ ไปแปลผลเป็น ข้อความ (Text or Description) หรือสร้างความหมายและหลากหลายรูปแบบ

นอกจากน้ี ยังเพิม่ ความสามารถทางด้านสถิตหิ รือประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์

ข้อมูลการเชือ่ มโยงข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพือ่ ใช้ในการอธิบายสถานการณ์ ปัจจุบนั หรืออนาคตตลอดจนแนวโน้มทีอ่ าจจะเกิดขึน้ เรียกว่า Machine Learning หรือ สร้างการเรียนรูต้ า่ ง ๆ ให้กบั ระบบคอมพิวเตอร์ ทีม่ คี วามสามารถทีจ่ ะ มีการประมวลผลเร็วกว่าหลายร้อยเท่าเมือ่ เปรียบเทียบในอดีต ลักษณะของ การจัดเก็บข้อมูล จะถูกแบ่งออกเป็นระบบและ สร้างวิธกี ารหรือ Algorithm ในการเข้าถึงข้อมูล ทีเ่ รารูจ้ กั ในชือ่ ของ Data Warehouse นัน่ เอง

จากอดีตถึงปัจจุบัน

สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ รอบ ๆ ตัวเราสามารถทีจ่ ะนำ�มาเป็นข้อมูลทีส่ �ำ คัญ เพือ่ สร้างความเข้าใจ มองความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา ติดตามวิวัฒนาการผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อช่วยในการคาดคะเนสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต พัฒนาความรู้ความเข้าใจในข้อมูลที่เกิดขึ้น จะช่วยให้กระบวนการต่าง ๆ ในการทำ�งานมีความชัดเจน (Insight) ด้วยการนำ�เอาข้อมูล มาใช้ ในการคิดและออกแบบกระบวนการทำ�งาน อย่างต่อเนื่อง

ข้อมูล (Data)

เป็นตัวอย่าง ที่เกิดจากการสร้างและให้แปลความมหมายของมนุษย์ผ่านทาง อุปกรณ์ หรือจากธรรมชาติ สถาวะแวดล้อม เพื่อใช้ในการอธิบายสื่อสารและสร้างความเข้าใจ ปัจจุบัน ในการดำ�เนินการ หากปราศจากข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจนับว่าเป็นการ ดำ�เนินการที่มีความเสี่ยง มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มก่อกำ�เนิดตั้งแต่ ปี พศ 2475 ซึ่งในปีนั้นถือว่าเป็นปีของการเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้านด้วยกัน เป็นระยะ เวลาร่วม 90 ปี สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น การดำ�เนินงาน การจัดการเรียนการสอน การผลิตบัณฑิต การทำ�งานวิจัย และการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ถือเป็นภารกิจของวิทยาลัยครูสู่สถาบัน ราชภัฏ และกลายเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏในที่สุด มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากมายที่เกิดขึ้น

สิ่งสำ�คัญที่สุด ก็คือการที่เราต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนว่าจะนำ�ข้อมูลไปใช้อย่างไร อาทิเช่น ข้อมูลล้วนมีบทบาทในการที่จะนำ�เสนอการเปลี่ยนแปลงหรือเป็นตัวบ่งบอกว่า ในช่วงปีนั้น เกิดอะไรขึ้น เหตุผลที่ทำ�ให้ลักษณะของข้อมูลเป็นเช่นนี้ ซึ่งในปัจจุบันการนำ�เสนอข้อมูล มีหลากหลายรูปแบบด้วยกัน

Get ฎUpdated 8

ความสำ�คัญจะมุ่งเน้นมาที่ ผู้ที่ทำ�หน้าที่ในการดูแลข้อมูลรวบรวมข้อมูลเริ่มจะมี บทบาทมากยิง่ ขึน้ จาก ประโยคทีว่ า่ “Data is oil” แสดงว่า ข้อมูลดิบจำ�เป็นจะต้องมีกลัน่ กรอง หรือการวิเคราะห์หรือผ่านกระบวนการให้สามารถที่จะนำ�เอาข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ไปใช้งานได้ หลายมหาวิทยาลัยรวมถึงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ฯ ได้ให้ความสำ�คัญในการนำ�เข้าข้อมูล ต่าง ๆ มาใช้ในการบริหารการจัดการ โดยเฉพาะสถาวะของก ารแพร่ระบาดของโรคระบาด Covid-19 ซึ่งในปัจจุบันมีหลากหลายสายพันธุ์ ระบบการจัดการเรียนการสอนจำ�เป็นจะต้องเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็วและปรับให้เหมาะกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น ครู อาจารย์ จำ�เป็นจะต้องมีข้อมูลการเรียนรู้ของนักศึกษา องค์ความรู้ที่เป็นที่ต้องการของตลาดในรายวิชา ต่าง ๆ เพื่อจะปรับบทบาทและการเรียนรู้ให้เท่าทันและถ่ายทอดได้อย่างทันท่วงที

บทสรุป ในอนาคตคงต้องมีการนำ�ระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)

มาช่วยสนับสนุนในการวิเคราะห์ข้อมูลแทนการทำ�งานของมหาวิทยาลัย ช่วยในการเก็บข้อมูล รวบรวมให้เป็นฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ กำ�หนดแนวโน้มการผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงาน การส่งเสริมองค์ความรู้และภูมิปัญญาของท้องถิ่น สะท้อน ถึงปัญหาและสถานการณ์ปัจจุบันของแต่ละพื้นที่ ช่วยนำ�เสนอรูปแบบกระบวนการทำ�งานให้ สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้รับ ภาพการเรียนการสอนที่เน้นเป็นกลุ่มหรือหมู่เรียนจำ�เป็นจะต้องถูก ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในรูปแบบแต่ละบุคคล ที่เรียกว่า Individual Learning เนื่องจากว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถในการเรียนรู้และ Background หรือประสบการณ์ ในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ระบบปัญญาประดิษฐ์จะช่วยออกแบบและเลือกรายวิชาที่ต้องการ ตามการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น โดยนำ�เอารูปแบบของข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อออกแบบการจัดการเรียน การสอนและนำ�เสนอรายวิชาการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคนถือว่า เป็นรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นในอนาคตในเวลาอันใกล้

9 Get ฎUpdated


วไลยอลงกรณ์ เ คี ย งข้ า งชุ ม ชน

• การสร้างมูลค้าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โดยใช้องค์ความรู้ด้านพันธุศาสตร์ในโครงการ การจัดทำ�คำ�ขอสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย สินค้ามะม่วงน้ำ�ดอกไม้สระแก้ว ทำ�ให้เกิดอัตลักษณ์ที่โดดเด่นของ มะม่วงน้ำ�ดอกไม้ของจังหวัดสระแก้ว • การนำ�ผลพลอยได้ (By Products) นำ�สูผ่ ลิตภัณฑ์อาหารทีห่ ลากหลาย เช่น ข้าวเกรียบเกล็ดปลา ผงโรยข้าวดักแด้ไหมอีรี่ • การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิน่ ให้เกิดมาตรฐานและรูปแบบการบริโภคทีห่ ลากหลาย เช่น ปลาร้าอัดก้อน ผลิตภัณฑ์ข้าวนึ่งกึ่งสำ�เร็จรูป ไซรัปลำ�ไย ลูกชิ้นไก่ปราศจากไขมัน เม็ดบีดส์จากส้มซ่า • การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทีม่ งุ่ เน้นให้มบี ทบาทเฉพาะต่อร่างกาย หรือมีสารสำ�คัญทีก่ อ่ ประโยชน์ ต่อสุขภาพมุง่ สูก่ ารเป็นอาหารฟังก์ชน่ั ได้แก่ คุกกีจ้ ากแป้ง ต้านทานการย่อยจากกล้วยหอมทอง อาหารทางสาย ให้อาหารชนิดดื่มสำ�หรับผู้ที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 โปรตีนจากจิ้งหรีด สเฟียริคอลโยเกิร์ตเสริมแก่นตะวัน

การวิ จั ย และพั ฒ นาอาหารร่ ว มกั บ ชุ ม ชนของสถาบั น ราชภั ฏ เพชรบุ รี วิทยาลงกรณ์ฯ สูม่ หาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ฯ มีมาอย่างต่อเนือ่ งจวบจนปัจจุบนั มีการนำ�องค์ความรู้ ทางด้านคหกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยี ทางชีวภาพ โภชนาการและการกำ�หนดอาหาร การออกแบบและพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ ตลอดจนการตลาด จากตลาดชุมชนสูต่ ลาดออนไลน์บนแพลทฟอร์มนานาชาติ มุ่งหวังให้สินค้าท้องถิน่ ของไทยเป็นสินค้า ทีส่ ร้างอาชีพ สร้างรายได้จนสามารถจำ�หน่ายไปได้ทั่วโลก

ร่ ว มสร้ า งและยกระดั บ มาตรฐานอาหารสู ่ ร ะดั บ สากล อาหารเป็นหนึง่ ในปัจจัย 4 ของมนุษย์ และเป็นสิง่ บ่งชีถ้ งึ วัฒนธรรม ในแต่ละท้องถิ่น การถนอมอาหารเป็นการใช้เทคโนโลยีเบือ้ งต้นในการยืดอายุ การเก็บรักษาอาหารให้สามารถบริโภคได้นานขึ้น ไม่เพียงแต่เพื่อให้ครัวเรือน มีอาหารบริโภคได้ยาวนานเท่านัน้ หากแต่เป็นการยืดอายุการเก็บรักษาอาหาร เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ให้จำ�หน่ายหรืออยู่ในท้องตลาดได้ยาวนานขึ้น และ นั่นคือความต้องการเริ่มต้นของการพัฒนาสินค้าอาหารในชุมชนที่พร้อมจะ ผลิตออกไปสู่ท้องตลาด สถาบันราชภัฏเพชรบุรวี ทิ ยาลงกรณ์ฯ วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหารในชุมชนมาอย่างยาวนาน และได้ร่วมพัฒนามาตรฐานอาหารระดับชุมชน ทีเ่ รียกว่า สินค้า OTOP จนเกิดเป็น มาตรฐานอาหารผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (มผช.)

Get ฎFulfilled 10

อาจารย์และนักศึกษาของมหาวิทยาลัยได้นำ�องค์ความรู้ จากงานวิจยั ไปเผยแพร่แก่ชมุ ชน เพือ่ ยกระดับมาตรฐานอาหารให้เข้าสู่ มาตรฐาน มผช. จนทำ�ให้ผลิตภัณฑ์อาหารในหลายชุมชน ยกระดับ มาตรฐานกระบวนการผลิตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการ ผลิต (Good Manufacturing Practice : GMP) สู่คุณภาพสินค้า ระดับ OTOP 5 ดาว ด้วยบริบทโลกทีก่ า้ วเปลีย่ นไป การบริโภคอาหารของมนุษย์ ทีต่ อ้ งการความสะดวกและรวดเร็ว นำ�ไปสูก่ ารวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหารพร้อมบริโภค ทีม่ คี วามหลากหลาย เพิม่ มูลค้าผลิตภัณฑ์ในชุมชน อีกทั้งมุ่งเน้นการอาหารที่มีบทบาทต่อสุขภาพในรูปแบบของอาหาร สำ�หรับผู้ป่วย อาหารเสริมสุขภาพ และอาหารฟังก์ชั่น

11 Get ฎFulfilled


สัมพันธไมตรี

สัมพันธไมตรีแบบไร้พรมแดน

สมเด็จพระราชปิตฉุ า เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์

กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร องค์ ประทานกำ�หนดโรงเรียน ฝึกหัดครูเพชรบุรวี ทิ ยาลงกรณ์ พระองค์ประสูตใิ นปี พ.ศ. 2427 และเติบโตขึ้นมาในช่วงที่วัฒนธรรมทางตะวันตกเริ่มแพร่หลาย เข้ามาในราชสำ�นักสยาม พระองค์ได้ทรงเล็งเห็นความสำ�คัญ ของนโยบายการปฏิรูปขนบธรรมเนี ย มประเพณี ระบบสังคม การปกครอง และการบริหาร ประเทศ สู่ความทันสมัยในรัชกาล ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นสมเด็จ พระบรมราชชนกของพระองค์ เพื่อนำ�พาสยามประเทศให้เข้าสู่ อารยธรรม และแสนยานุภาพของจักรวรรดิใหญ่ทางตะวันตก ที่เริ่มเข้ามาในประเทศแถบเอเชีย

Get Satisfied 12

ทำ�ให้พระองค์ทรงเห็นความสำ�คัญในเรื่องดังกล่าว จึงนำ�มาสู่ การดำ�เนินงานและพันธกิจด้านการทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์ และฟื้นฟูมรดกวัฒนธรรมต่อยอดสู่เศรษฐกิสร้างสรรค์ ทำ�ให้มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เล็งเห็นความสำ�คัญในการขับเคลือ่ นงานด้านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และด้านต่างประเทศเพื่อผลักดันมหาวิทยาลัยให้ไปสู่สากล ตลอดมา มหาวิทยาลัยมีการวางแผนยุทธศาสตร์ และกิจกรรม งานด้านต่างประเทศทีช่ ดั เจน ไม่วา่ จะเป็นกิจกรรมการแลกเปลีย่ น ทางวิชาการ งานวิจยั การศึกษาดูงานและกิจกรรมการแลกเปลีย่ น ทางวัฒนธรรมกับหน่วยงานในต่างประเทศ

ตลอด 90 ปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยมีการจัด กิจกรรมร่วมกับนานาชาติมากมายทั้งในภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ (Singapore) ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesia) ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippines) ประเทศเวียดนาม (Vietnam) ประเทศกัมพูชา (Cambodia) ประเทศเกาหลี (Korea) ประเทศจีน (China) ประเทศใต้หวัน (Taiwan) ประเทศญี่ปุ่น (Japan) และทวีปยุโรป ได้แก่ ประเทศ เนเธอแลนด์ (Netherlands) ประเทศรัสเซีย (Russia) และ ทวีปอเมริกาเหนือ ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States of America) รวมถึงทวีปแอฟริกา ได้แก่ ประเทศเคนย่า (Kenya) เป็นต้น

กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ที ่ ม ี ก ารจั ด และแลกเปลี่ยน ร่วมกัน ได้แก่ การจัดประชุมวิชาการนานาชาติ การแลกเปลี่ยน งานวิจยั การแลกเปลีย่ นอาจารย์และนักศึกษา การแลกเปลีย่ น กิจกรรมทางวัฒนธรรม และดนตรี โครงการอบรมภาษา และวัฒ นธรรม กิ จ กรรมการจั ด อบรมสัมมนาทางวิชาการ นานาชาติ การศึกษาดูงานด้านต่างประเทศ กิจกรรมการเจรจา ความร่วมมือทางด้านการศึกษาต่อต่างประเทศ รวมถึงกิจกรรม การต้อนรับ และอำ�นวยความสะดวกอาคันตุกะจากต่างประเทศ เป็นต้น

งานด้านต่างประเทศถือเป็นภาพลักษณ์ในช่วงแรก ของมหาวิทยาลัย เพื่อสร้างความประทับใจ ความไว้วางใจ และมิตรภาพที่ดีกับหน่วยงานต่างประเทศ ที่ได้ช่วยสนับสนุน การดำ�เนินความร่ว มมื อ ทางวิ ช าการต่ า ง ๆ และกิ จ กรรม การแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรมกับต่างประเทศ ให้แก่หน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัย ซึ่งการสร้างพันธมิตร และการขับเคลื่อน งานด้านต่างประเทศนั ้ น จำ � เป็ น ต้ อ งมี ระบบข้ อ มูลพื้นฐาน ด้านต่างประเทศที่สมบูรณ์เหมาะสม และเชื่อมโยงกับโลก ภายนอก

มีการทำ�งานร่วมกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และ ความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจในการปฏิบตั งิ านสูจ่ ดุ หมายเดียวกัน เพือ่ ผลักดัน องค์ ก รไปสู ่ ว ั ฒ นธรรมการทำ � งานที ่ เ ป็ น สากล สนั บ สนุ น และเผยแผ่ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของไทยสู่นานาประเทศ อี ก ทั ้ ง ร่ ว มเรี ย นรู ้ ว ั ฒ นธรรมที ่ แ ตกต่ า ง สร้ า งนวั ต กรรม การทำ�งานในรูปแบบใหม่ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก เพื่ อ ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ก้ า วสู่ เ วที ส ากลได้ อ ย่ า งภาคภู มิ ใ จ และยั่งยืนต่อไป

Get Satisfied 13




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.