The Booklet in Memoriam of Asst Prof Dr Wasu at the Royally Bestowed Cremation Ceremony

Page 1

มดงาน

เราคือ...

อนุสรณพิธีพระราชทานเพลิงศพ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ วันเสารที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๗

ณ เมรุวัดผาสุการาม อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี



1

ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ชาตะ : ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ มรณะ : ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗


2

ก�ำหนดการพระราชทานเพลิงศพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ณ เมรุวัดผาสุการาม ถนนเทศบาล ๑ อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี วันจันทร์ท่ี ๑๗ – วันศุกร์ท่ี ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ตั้งศพบ�ำเพ็ญกุศล ณ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล วัดผาสุการาม เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพลทุกวัน เวลา ๑๙.๐๐ น. สวดพระอภิธรรมทุกคืน วันเสาร์ท่ี ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เวลา ๑๔.๐๐ น. เคลื่อนศพสู่เมรุวัดผาสุการาม เวลา ๑๕.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา เวลา ๑๕.๓๐ น. มาติกา-บังสุกุล เวลา ๑๖.๐๐ น. พระราชทานเพลิงศพ จึงขอกราบเรียน และเรียนเชิญมาด้วยความเคารพ ครอบครัวอมฤตสุทธิ์


3

กำรำม


4

ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด กระหม่อม พระราชทานเพลิงศพ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ซึง่ นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ล้นเกล้าล้นกระหม่อม เป็นเกียรติอนั สูงสุดแก่ผู้ วายชนม์ และวงศ์ตระกูลอย่างหาที่สุดมิได้ หากความทราบโดยญาณวิถถี งึ ดวงวิญญาณของ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ได้ดว้ ยประการใดในสัมปรายภพ คงจะมีความปลาบปลืม้ ซาบซึ้งเป็นล้นพ้น ในพระมหากรุณาธิคุณที่ได้รับพระราชทานเกียรติอันสูง ยิ่ง ในวาระสุดท้ายแห่งชีวิต ข้ า พระพุ ท ธเจ้ า ผู ้ เ ป็ น บิ ด า มารดา ภรรยา และบุ ต ร ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ขอพระราชทานกราบถวายบังคม แทบเบือ้ งพระยุคลบาท ด้วยความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้และจะเทิดทูนไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อม เป็นสรรพสิริมงคล แก่ข้า พระพุทธเจ้าและวงศ์ตระกูลตลอดไป ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อนขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า ครอบครัวอมฤตสุทธิ์


5

อัตตชีวประวัติ เกิดวันเสาร์ที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๒ ณ โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เป็นบุตรคนแรกของตระกูลอมฤตสุทธิ์จากคุณพ่อวิสุทธิ์ และคุณแม่พรรณเพ็ญ อมฤตสุทธิ์ ซึ่งทั้ง ๒ ท่านเริ่มต้นการท�ำงานโดยเป็น ข้าราชการสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยปฏิบัติ หน้าที่รับราชการที่ส�ำนักงานเกษตรและสหกรณ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต�ำบลท่าพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น และ เกษียนอายุราชการใน ต�ำแหน่งเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครนายก และปราจีนบุรีตามล�ำดับ ชีวิตเริ่มต้นการเรียนที่โรงเรียนอนุบาลปิยะวดี ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ.ขอนแก่น ก่อนเข้าชั้นอนุบาล ๑ ที่โรงเรียนสาธิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ จบชั้น ม.๖ เป็นนักเรียนรุ่นที่ ๖ ของโรงเรียน จากนั้นได้เข้าศึกษาต่อที่ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระหว่าง เรียนปริญญาตรี ได้รับรางวัลเหรียญเงินจากการแข่งขันเทนนิสในกีฬาน้อง ใหม่และเหรียญทองจากกีฬาเมเจอร์ ในปีสุดท้ายระหว่างรอเรียนต่อ ได้รับ เลือกเป็นประธานสภานิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากนัน้ เรียนต่อทาง ด้านเมล็ดพันธุ์กับ รศ.ดร. จวงจันทร์ ดวงพัตรา (ใครก็ว่าอาจารย์ดุ กับผม ไม่เคยโดน) โดยท�ำงานวิทยานิพนธ์เกีย่ วกับคุณภาพของถัว่ ลิสงเมล็ดย่น จ�ำ ได้ว่าเอารูป hypocotyl ให้อาจารย์ดู บอกอาจารย์ว่า hypocotyl ของพวก เมล็ดย่นยืดยาวกว่าเมล็ดปกติ แสดงว่า พวกเมล็ดย่นมีการดูดน�้ำเร็วกว่า เมล็ดปกติ อาจารย์บอก จบได้แล้วสิ รูจ้ กั สังเกต รีบเขียน รีบสอบ ในระหว่าง นัน้ ก็ไปเป็นผู้ช่วยวิจยั ทีก่ รมพัฒนาทีด่ นิ ท�ำงานในฝ่ายดินเค็มกับ ดร. สมศรี อรุนนิ ทร์ (ใครก็วา่ อาจารย์สดุ ยอดเจ้านายดุ แต่กบั ผมไม่เคยโดนดุ) จ�ำได้วา่ สมัยนั้น windows เพิ่งเริ่มดัง อาจารย์สั่งให้พิมพ์ทุก font ออกมา จากนั้น อาจารย์ก็บอกว่า ต่อไปนี้จดหมายของฉันทุกฉบับต้องใช้ font นี้เท่านั้น จบ


6 การเรียนเมื่อปี ๒๕๓๗ และเริ่มท�ำงานที่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ในวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๗ เริม่ ต้นการท�ำงานด้วยความสุขในต�ำแหน่งอาจารย์ระดับ ๔ เงินเดือน น้อย แต่ร้สู กึ เป็นสุขอย่างบอกไม่ถกู ท�ำงานสอนได้สกั พักก็ต้องไปท�ำงานใน ต�ำแหน่งผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยกิจการนักศึกษา เป็นต�ำแหน่งแรกทางด้านกิจการ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี แต่เดิมไม่เคยมีต�ำแหน่งนี้มาก่อน และ ต่อมาเมือ่ อายุงานครบก็ถกู เลือ่ นให้เป็นรองคณบดีฝา่ ยกิจการนักศึกษา ท�ำงานกิจการนักศึกษาอยูน่ านหลายปี จนรูส้ กึ ว่าถึงเวลาควรไปเรียนต่อ จึง ลาไปเรียนต่อที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เรียนแค่ปีครึ่งก็กลับมาท�ำ วิทยานิพนธ์ทมี่ หาวิทยาลัยอุบลราชธานี เป็นการเรียนปริญญาเอกทีเ่ ร็วมาก ผลงานวิทยานิพนธ์เป็นการพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบเมล็ดพันธุ์ด้วย เตตราโซเลียม ซึง่ สร้างชือ่ เสียงให้พอสมควร พอกลับมาก็ขอต�ำแหน่งผู้ช่วย ศาสตราจารย์ และถูกให้ไปช่วยส�ำนักงานไร่ฝึกทดลอง ท�ำงานได้ ๒ สมัย มี การสรรหาคณบดีอีกครั้งจึงได้มาท�ำหน้าที่รองคณบดีฝ่ายบริหารจนครบ วาระ

ชีวิตครอบครัว

ได้พบกับคุณสุทธิสุดา สุภัควณิช ครั้งแรกในการเข้าค่ายที่ไร่พรม นิมติ ร ซึง่ ทางโรงเรียนสาธิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นจัดขึน้ เพื่อให้นักเรียนเก่าและนักเรียนใหม่ที่เข้ามาเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ได้ ท�ำความรู้จักกัน คุณสุทธิสุดา (เล็ก) เป็นลูกสาวคนเล็กของตระกูลสุภัควณิช ซึ่งมีกิจ การร้านแฟรี่ซุปเปอร์มาเก็ต ที่ถนนภิรมย์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เธอมาเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ที่โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน และ ได้สอบย้ายมาเรียนที่ สาธิตหลังจบชัน้ มัธยมปีที่ ๓


7

ประวัติและผลงานทางวิชาการ ชื่อ-นามสกุล นายวสุ อมฤตสุทธิ์ Mr. Wasu Amaritsut เพศ ชาย วันเดือนปีเกิด ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๒ ต�ำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สถานที่ท�ำงาน ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี ๓๔๑๙๐ โทร ๐-๔๕๓๕-๓๕๐๘ โทรสาร ๐-๔๕๓๕-๓๕๗๖-๗ E-mail : wasu@agri.ubu.ac.th, w.amaritsut@gmail.com ที่อยู่ปัจจุบัน ๔๗ หมู่ ๑๗ ต.แสนสุข อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี ๓๔๑๙๐ โทร ๐-๔๕๒๖-๘๕๕๘ ความเชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลสารสนเทศ, ผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรและการใช้ท่ดี ิน ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ.๒๕๓๔ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ.๒๕๓๗ วท.ม. (เกษตรศาสตร์) คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ วท.ด. (เทคโนโลยีการผลิตพืช) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


8

อุดมคติ การพึ่งพาตนเอง อดทนไม่ย่อท้อต่อปัญหาอุปสรรค เรียนรู้และ พัฒนาตนเองอย่างสม�่ำเสมอ ยึดถือและปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของหน่วย งาน รับฟังความคิดเห็นของเพือ่ นร่วมงานและมีความรับผิดชอบในงานหน้าที่ ตั้งใจที่จะท�ำงานในหน้าที่ให้ได้รับความส�ำเร็จ โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ของ ส่วนรวม หมู่คณะและองค์กร

ประวัติการท�ำงาน

๑. รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี (๒๕๕๒ – ๒๕๕๖) ๒. หัวหน้าศูนย์สารสนเทศชุมชน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี (๒๕๕๕ – ปัจจุบัน) ๓. ประธานหลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตรและพัฒนาชนบท คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (๒๕๕๔ - ๒๕๕๖) ๔. หัวหน้าส�ำนักงานไร่ฝกึ ทดลองและห้องปฏิบตั กิ ารกลาง คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (๒๕๔๗ - ๒๕๕๒) ๕. รองคณบดี ฝ ่ า ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๒๕๔๐-๒๕๔๒ ๖. ผู ้ ช ่ ว ยคณบดี ฝ ่ า ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๒๕๓๙-๒๕๔๐


9

เกียรติประวัติ

๑. ข้ า ราชการพลเรือ นดีเ ด่ น ประจ� ำ ปี ๒๕๕๓ (รางวั ล ครุ ฑ ทองค�ำ) ๒. บุคลากรดีเด่น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ๓. บุคลากรดีเด่น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจ�ำปี ๒๕๔๙ ๔. บุคลากรดีเด่น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจ�ำปี ๒๕๔๔

ต�ำแหน่งกรรมการภายนอกมหาวิทยาลัยที่ส�ำคัญ

๑. กรรมการบริหารสมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย ๒. คณะท�ำงานส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเชิงพื้นที่และการจัด ท�ำบัญชีครัวเรือน ๓. ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พิ จ ารณาผลงานวิ จั ย /บทความ การประชุ ม วิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน ๔. คณะท�ำงานลุ่มน�ำ้ สาขาล�ำเซบก ๕. กรรมการประเมินบทความวิจัย Maejo International Journal of Science and Technology ๖. คณะท�ำงานติดตามประเมินผลโครงการ “บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข แบบ ABC” ๗. ผู้ทรงคุณวุฒวิ ารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ ๘. คณะท�ำงานเร่งรัดติดตามโครงการส่งเสริมพัฒนาอาชีพในริม แม่น�้ำมูล ระดับจังหวัดอุบลราชธานี ๙. ผู้ทรงคุณวุฒกิ ารประชุมวิชาการในงานเกษตรก�ำแพงแสน ๑๐. คณะกรรมการบริหารจัดการน�ำ้ เขื่อนปากมูล


10 ๑๑. คณะกรรมการอุบลราชธานีเมืองนักปราชญ์ ๑๒. คณะกรรมการโครงการความร่วมมือแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาสังคมและสุขภาวะ จังหวัดอุบลราชธานี ๑๓. คณะท�ำงานโครงการพัฒนาศักยภาพด้านการเกษตรของ มหาวิทยาลัยจ�ำปาสัก

ผลงานทางวิชาการ ก. ผลงานวิจัย

๑. หัวหน้าโครงการพัฒนางานวิจยั และการสนับสนุนงานวิจยั เชิง พืน้ ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ๒. หัวหน้าโครงการระบบสนับสนุนการตัดสินใจและสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร์ เพื่อการบริหารจัดการผลกระทบปัญหาเขื่อน ปากมูล ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ๓. หัวหน้าโครงการระบบสนับสนุนการตัดสินใจและสารสนเทศ ภู มิ ศ าสตร์ เ พื่ อ การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรของชุ ม ชน. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ๔. หัวหน้าโครงการระบบสนับสนุนการตัดสินใจของชุมชนต่อการ จัดการผลิตผลทางการเกษตรในพืน้ ทีร่ มิ แม่นำ�้ ชีตอนปลายน�ำ้ . ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ๕. หัวหน้าโครงการการศึกษาการผลิตถั่วอะซึกิและบัควีดใน สปป.ลาว.ความร่วมมือกับบริษัทคาวาโชฟูด (ไทยแลนด์) จ�ำกัด และบริษัทอดัมส์ซีสฯ


11 ๖. หัวหน้าโครงการการศึกษาสถานภาพการผลิตสิง่ แวดล้อมทีม่ ี ผลต่อผลผลิตและคุณภาพ และต้นทุนการผลิตสาร capsaicin ในพริกพันธุ์การค้าของไทย.ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย ๗. หัวหน้าโครงการการศึกษาระดับความเข้มข้นของกรดไนตริก และอะซิตกิ ทีม่ ผี ลต่อการงอกของเมล็ดพันธุข์ า้ ว.มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี

ข. ผลงานโครงการบริการวิชาการ

๑. ผู้ประสานงานโครงการจัดการแผนพัฒนาชุมชนร่วมสร้างใน เขตปฏิรูปที่ดนิ . ส�ำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรรม ๒. ผูป้ ระสานงานโครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท�ำแผน แม่บทการพัฒนาในเขตปฏิรปู ทีด่ นิ . ส�ำนักงานปฏิรปู ทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกรรรม ๓. หัวหน้าโครงการงานเกษตรอีสานใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๓-๕๕, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๔. หั ว หน้ า โครงการสั ม มนาวิ ช าการเทคโนโลยี ส ารสนเทศ การเกษตรและพัฒนาชนบท ประจ�ำปี ๒๕๕๕-๕๖ ๕. หัวหน้าโครงการอบรมความร่วมมือแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาสังคม และ สุขภาวะ ส�ำหรับครูในเขตพื้นที่การศึกษา อุบลราชธานี, คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๖. ผู้ประสานงานการจัดประชุมวิชาการเมล็ดพันธุ์พืชแห่งชาติ ครั้งที่ ๘, โรงแรมสุนยี ์แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี


12

วิทยากรรับเชิญ

๑. หัวข้อ “การเตรียมความพร้อมทางการเกษตรไทย-ลาวเพื่อ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”, โรงแรมนครพนมริเวอร์ วิว ๒. หัวข้อ “การเตรียมความพร้อมภาคเกษตรสูป่ ระชาคมอาเซียน ช่วงที๑่ ทิศทางการผลิตพืชอาหารปลอดภัยของเกษตรกรไทย สู่ประชาคมอาเซียน”, โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท ๓. หัวข้อ “การพัฒนาที่ดินเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”, หอ ประชุมราชธานี ๔. หั ว ข้ อ “ความรู ้ ค วามเข้ า ใจในการสู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน”, โรงแรมบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี ๕. หัวข้อ “ระบบสารสนเทศกับการเตือนภัย”, ห้องประชุมศูนย์ แสดงสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (otop) ๖. “หลักสูตรเทคนิคการวิเคราะห์ขอ้ มูลการเกษตรและการเขียน รายงาน รุ่นที่ ๒”, สถาบันเกษตราธิการ, ๐๗/๒๓/๒๐๑๒ ๐๗/๒๖/๒๐๑๒ ๗. “หลักสูตรเทคนิคการวิเคราะห์ขอ้ มูลการเกษตรและการเขียน รายงาน รุ่นที่ ๑”, สถาบันเกษตราธิการ, ๐๗/๑๗/๒๐๑๒ ๐๗/๒๐/๒๐๑๒ ๘. “หลั ก สู ต รการพั ฒ นาขี ด ความสามารถด้ า นการบริ ห าร พนั ก งานระดั บ ๙ ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร” รุ่นที่ ๒๑-๒๓, โรงแรมอุบลบุร.ี


13

ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่

๑. วสุ อมฤตสุทธิ์, จวงจันทร์ ดวงพัตรา และ เทียมใจ คมกฤส. ๒๕๓๗. ลักษณะทางกายวิภาคและการพัฒนาของเยื่อหุ้ม เมล็ดถั่วลิสงพันธุ์ขอนแก่น ๖๐-๓, เกษตร๑ และไทนาน ๙. วิทยาสารเกษตรศาสตร์.๒๘ (๓) :๓๒๔-๓๓๒. ๒. จวงจันทร์ ดวงพัตรา และ วสุ อมฤตสุทธิ์. ๒๕๓๗. อิทธิพล ของความเหี่ยวย่นของเยื่อหุ้มเมล็ดที่มีผลต่อคุณภาพของ เมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงพวกเมล็ดโตพันธุ์ขอนแก่น ๖๐-๓. วิทยา สารเกษตรศาสตร์. ๒๘ (๔) :๕๑๘-๕๒๘. ๓. จวงจันทร์ ดวงพัตรา และ วสุ อมฤตสุทธิ์. ๒๕๓๗. Some Characteristics of Wrinkle Seed Coat Groundnut Proc. สัมมนา ถัว่ ลิสงแห่งชาติ ครัง้ ที่ ๑๒. ๒๕-๒๗ มีนาคม ๒๕๓๗, โรงแรม เจริญโฮเต็ล, อุดรธานี. ๔. Suriyajantratong P., W. Amaritsut, U. Ninpetch, and D. Ketbooth. ๒๕๔๓. Effect of Reduction in the Concentration of MS Salt Formulation on Root Formation and Transplant Survival in Miniature Rose. The International Conference Tropical Agriculture Technology for Better Health and Environment. Nov ๒๙-Dec ๒, ๒๕๔๔. Kasetsart University (Kamphaeng Sean Campus) . ๑-๒๕. ๕. Suriyajantratong P., W. Amaritsut, U. Ninpetch, R. Sanprasert and D. Ketbooth. ๒๐๐๑. Effect of Varying Mineral Salt Concentrations and Length of Time on Miniature Rose Shoot


14

๖.

๗.

๘.

๙.

Cultures on Root Initiation and Transplant Survival. KKU Annual Agriculture Seminar for Year ๒๕๔๕. Jan ๒๖-๒๗, ๒๕๔๕. Khonkaen University. P.๔๘๙ พรพิมล สุริยจันทราทอง, ดวงจันทร์ เกตบุตร และ วสุ อมฤต สุทธิ.์ ๒๕๔๕. ผลของอายุฝกั และชนิดของสูตรอาหารต่อการ งอกและพัฒนาไปเป็นโปรโตคอร์มของกล้วยไม้ดินเหลือง พิ ส มร. การประชุ ม พื ช สวนแห่ ง ชาติ ค รั้ ง ที่ ๑. ๑๑-๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔. โรงแรมมิราเคิลแกรนด์, กรุงเทพ. ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร, วสุ อมฤตสุทธิ์, เชิดเชิดชาย วังค�ำ, วราภรณ์ จักกรณ์ และ เบญจวรรณ โชติมนทิน. ๒๕๔๔. พัฒนารูปแบบการติดสีของเมล็ดจากการย้อมด้วยสารละลาย เตตราโซเลียมเพือ่ ประเมิน ความมีชวี ติ และความแข็งแรงของ เมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง. การประชุมถั่วเหลืองแห่งชาติ ครั้งที่ ๘. ๒๘-๒๙ สิงหาคม ๒๕๔๔. โรงแรมพรพิงค์, เชียงใหม่. ๑๗ หน้า วสุ อมฤตสุทธิ์, ลักขณา จันจั่น และ ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร. ๒๕๔๕. การศึกษาความเป็นพิษของ ๒,๓,๕- Triphenyl tetrazolium Chloride ต่อการเจริญของต้นกล้าถั่วเหลือง. การ สั ม มนาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ระหว่ า งวั น ที่ ๑๘-๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๕, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา. หน้า ๒๓-๒๔ วสุ อมฤตสุทธิ์, ลักขณา จันจั่น และ ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร. ๒๕๔๗. ความเป็นพิษของสารละลายเตตราโซเลียมต่อการ เจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วเหลืองพันธุ์ สจ.๕ และ ชม.


15 ๖๐. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ ๔๒ ระหว่างวันที่ ๓-๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. หน้า ๔๘-๕๕ ๑๐. พรพิมล สุริยภัทร, วสุ อมฤตสุทธิ์, รักเกียรติ แสนประเสริฐ และนพมาศ นามแดง. ๒๕๔๗. การผลิตสมุนไพรอินทรีย์: ฟ้า ทะลายโจร. การประชุ ม วิ ช าการเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ “เกษตรอินทรีย์ : กระแส โลกและกระแสสั ง คม, มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี . อุบลราชธานี. ๕๔-๖๓ ๑๑. นพมาศ นามแดง, พรพิมล สุรยิ ภัทร, วสุ อมฤตสุทธิ,์ รักเกียรติ แสนประเสริฐ และเพ็ญษา เกสรแก้ว. ๒๕๔๘. การศึกษา สถานภาพการผลิ ต ฟ้ า ทะลายโจรเป็ น การค้ า ในจั ง หวั ด นครปฐม. การสัมมนาวิชาการเกษตร ประจ�ำปี ๒๕๔๘, คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ๑๖๗-๑๖๘ ๑๒. วสุ อมฤตสุทธิ์ และ ปราณี แสนวงษ์. การติดสีของต้นอ่อน แตงกวาโดยเทคนิคเตตราโซเลียม. การประชุมเมล็ดพันธุ์แห่ง ชาติ ครั้งที่ ๗ จ.พิษณุโลก ๑๓. วชิรศักดิ์ ปกาสิต, วสุ อมฤตสุทธิ,์ วัชรพษ์ วัฒนกูล และศุทธินี วัฒนกูล. ๒๕๕๕. ระบบสารสนเทศการบันทึกข้อมูลสุขภาพ วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี. สัมมนา วิชาการเรื่อง “เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ประจ� ำ ปี ๒๕๕๕. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย อุบลราชธานี. หน้า ๔๕-๕๓.


16 ๑๔. วชิรศักดิ์ ปกาสิต, วสุ อมฤตสุทธิ์ และทศพร สาธรวิศิษฐ์. ๒๕๕๕. ระบบสารสนเทศรายงานสถานการณ์ระดับน�้ำ – ปริ ม าณน�้ ำ ในเขตชลประทานที่ ๗. สั ม มนาวิ ช าการเรื่ อ ง “เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ประจ�ำปี ๒๕๕๕. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๕๔-๖๗. ๑๕. วสุ อมฤตสุทธิ์, นรินทร บุญพราพหณ์, ทศพร สาธรวิศิษฐ์, วชิรศักดิ์ ปกาสิต และกาญกนก เกษหงส์. ๒๕๕๕.ระบบ สารสนเทศบัญชีครัวเรือนจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อการขับ เคลื่อน โครงการบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข แบบบูรณาการความ ร่วมมือเชิงพืน้ ที.่ สัมมนาวิชาการเรือ่ ง “เทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ การพัฒนาท้องถิน่ ” ประจ�ำปี ๒๕๕๕. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๒๘-๔๔. ๑๖. วสุ อมฤตสุทธิ์, ทศพร สาธรวิศิษฐ์, วชิรศักดิ์ ปกาสิต และ กาญกนก เกษหงส์. ๒๕๕๕. ระบบสารสนเทศการคัดกรอง สุขภาพเบือ้ งต้นกลุ่มพระภิกษุ สามเณร. สัมมนาวิชาการเรือ่ ง “เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ประจ�ำปี ๒๕๕๕. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๑๔-๔๓. ๑๗. วสุ อมฤตสุทธิ์, นรินทร บุญพราหมณ์, ทศพร สาธรวิศิษฐ์ และสายันต์ แสงหัวช้าง. ๒๕๕๔.ระบบสารสนเทศบัญชีครัว เรือน. การประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครัง้ ที่ ๗. ภาค วิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย


17 มหาสารคาม ร่วมกับ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร และสหกรณ์. หน้า ๓๖. ๑๘. วสุ อมฤตสุทธิ,์ ปราณีต งามเสน่ห,์ สุรจิต ภูภกั ดิ,์ ชัยวุฒิ กรุด พันธุ์ และทศพร สาธรวิศิษฐ์. ๒๕๕๖. ระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจ และสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์เพือ่ บริหารจัดการน�ำ้ . เอกสารประกอบการประชุ ม วิ ช าการ “ABC สั ญ จร อุ บ ลราชธานี สร้ า งความรู ้ เปิ ด ประตู สู ่ โ อกาสใหม่ ” . มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๑๐๑-๑๐๔. ๑๙. สรายุ ท ธ สี น ารอด และวสุ อมฤตสุ ท ธิ์ . ๒๕๕๕. ระบบ สารสนเทศเกษตรผูป้ ลูกข้าวหอมมะลิคณ ุ ภาพ กลุม่ ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๒. สัมมนาวิชาการเรื่อง “เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ประจ�ำปี ๒๕๕๕. คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๖๘-๘๓. ๒๐. สุธาสินี สุริยะ และวสุ อมฤตสุทธิ์. ๒๕๕๕. ระบบสารสนเทศ ข้อมูลผู้ประสบภัยธรรมชาติในการผลิตพืช.สัมมนาวิชาการ เรื่อง “เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ประจ�ำ ปี ๒๕๕๕. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๑๐๕-๑๑๘.

เอกสารประกอบการสอน

๑. วสุ อมฤตสุทธิ.์ ๒๕๔๖. การประเมินคุณภาพเมล็ดพันธุ.์ คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ๑๒๒ หน้า ๒. วสุ อมฤตสุทธิ.์ ๒๕๔๒. หลักการสัมมนา. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ๔๕ หน้า


18 ๓. วสุ อมฤตสุทธิ์. ๒๕๔๑. การขยายพันธุ์พชื แบบใช้เพศ. คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ๑๗ หน้า ๔. วสุ อมฤตสุ ท ธิ์ . ๒๕๔๑. การจ� ำ แนกเมล็ ด พั น ธุ ์ . คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ๒๒ หน้า ๕. วสุ อมฤตสุทธิ์ และคณะ. ๒๕๔๑. คู่มือการใช้งานระบบ สนับสนุนเพื่อการตัดสินใจในการบริหารจัดการเพื่อยกระดับ ชุมชนและพัฒนาชนบท

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับพระราชทาน ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๔๔ ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๔๖ ทวีตยิ าภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) ๕ ธันวาคม ๒๕๔๙ ทวีตยิ าภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)


110


111


112


113


114


115


116


117


19

ค�ำไว้อาลัย เขาชื่อ...ภูกระดึง

.............................................................................................................. แม่ได้กราบพระพุทธรูปบนภูกระดึง และได้อธิฐานว่าลูกคนโตถ้า เป็นผู้ชาย จะให้ใช้ช่อื ว่า “ภูกระดึง” ภูเกิดเมื่อวันเสาร์ ขึ้น ๕ ค�่ำ เดือนธันวาคม ๒๕๑๒ ที่ ร.พ.ศูนย์ ขอนแก่น ท่ามกลางความรัก ความยินดี ของพ่อแม่ ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง มิตรสหาย ทุกคนได้แสดงความยินดี และได้เขียนค�ำอวยพรในสมุดประจ�ำ ตัวของภู ลูกน่ารัก เป็นที่รักของทุกคนที่ได้รู้จักเป็นคนมีวิถีชีวิตที่ดีงามมา ตลอด ภูเลือกเรียนเกษตรตามรอยพ่อแม่ เลือกท�ำงานด้านเมล็ดพันธุ์ ตาม แม่ สนใจงานข้อมูล เพราะเป็นรากฐานของงานพัฒนา ลูกเป็นคนตั้งใจ ท�ำงานใฝ่รู้ แม่เคยเขียนในสมุดบันทึกส่วนตัว ว่า ถ้าลูกเป็นผู้หญิงจะให้ชื่อว่า “สุทธิสุดา” ถึงแม้เราจะมีแต่ลูกชาย ภูก็ได้เลือกคู่ชวี ิตชื่อ “สุทธิสุดา” ตรง กับที่แม่เคยคิดไว้ตงั้ แต่ก่อนภูเกิด เพือ่ นฝูงญาติพนี่ อ้ ง พีป่ า้ น้าอา ทุกคนรักภู แม่อยากเขียนให้มากกว่า นี้ แต่เขียนไม่ออก แม่เสียใจเหลือเกิน ที่ลูกจากไปในวัยที่ไม่สมควร แต่ก็ พยายามหักใจ ว่า ลูกมาจาก “ภูกระดึง” เมื่อลูกจะจากไปก็ไปสิน้ ลมที่ ร.พ. ศูนย์ขอนแก่น สถานที่ที่ลูกเกิด ลูกให้ความสุข ความภาคภูมิใจ แก่พ่อแม่ และญาติพี่น้องทุกคนตลอดชีวติ ิของลูก ตอนนี้ดาวดวงนี้ได้กลับไป ทอแสง สุกสว่างบนฟากฟ้าเหนือภูกระดึงตามเดิม ลูกกลับไปในทีท่ ลี่ กู มา แม่จะคอย ดูแลลูกจากดวงดาวบนท้องฟ้า ลูกคือแก้วตาดวงใจของพ่อแม่


20

คนดีของเล็ก

หลับให้สบายไม่ต้องเป็นห่วง เล็กกับพีจะดูแลตัวเอง และป๊าจะอยู่ กับเราสองคนตลอดไป รักเธอเสมอนิรันดร์ เล็ก ป๊า เป็นบุคคลส�ำคัญที่ทุ่มเทให้กับงาน เขาเป็นคนขยันและให้ความ ส�ำคัญต่อครอบครัว ป๊ารักครอบครัวมาก ป๊าเป็นคนชอบเที่ยว เค้าไปเกือบ ทุกจังหวัดในประเทศไทย ทุกครั้งที่ไปเค้าจะมีความสุขเสมอ ป๊าเค้าเป็นคน อารมณ์ดีเข้าคนได้ง่ายเค้าเป็นที่รักของคนที่ท�ำงาน คนที่ท�ำงานก็ให้ความ ช่วยเหลือป๊าเป็นอย่างดี แต่เมื่อเหตุการณ์นี้ขึ้นทุกคนก็เสียใจ ตกใจใช่ป๊า เหรอ พีรักป๊าไม่ต้องห่วงพีนะ พีจะดูแลแม่ ป๊าก็ยังอยู่กับเราตลอดเวลาใน บ้าน ก็ยังมีป๊าเดินอยู่ตรงโน้นตรงนี้ ให้อาหารปลา ป๊าก็ยังอยู่กับเรา ป๊าเป็น พ่อที่ดีที่สุด เค้ารักผมกับแม่มาก ผมสัญญาว่าผมจะตัง้ ใจเรียนและดูแลแม่ แทนป๊าเอง พี


21

ภูกระดึงของน้า จ�ำได้มั้ยเมื่อภูเล็กๆน้าบอกภูว่าน้ารักภูเท่าฟ้า แล้วภูรักน้าแค่ไหน ภูใช้ นิ้วโป้งจิกที่ปลายนิ้วชิ้ให้น้าดูว่า รักแค่นี้ นิดเดียว แล้วภูก็ยิ้ม ชูแขนขึ้นกางออก กว้างอย่างที่น้าท�ำให้ดูทุกวัน ตอนนั้นเราอยู่กัน ๓ คน ยาย ภู น้า เรารักกันเท่า ฟ้า น้ารับโทรศัพท์จากพี วันอาทิตย์ ๔ โมงเย็น ตัง้ ใจจะมาหาวันอังคารเพราะ คิดว่าไม่เป็นอะไรมาก เล็กไปดูภูซึ่งถูกน�ำไป ร.พ.ขอนแก่น ๓ ทุ่มเล็กโทรบอกน้า ว่า ขอให้ไปด่วน ภูอาการไม่ดี น้าเลือกเสื้อผ้าสีสดใสไม่หยิบตัวใดที่เป็นสีด�ำเลย เช้าน้าไปถึงโรงพยาบาล เพียงแค่ว่างกระเป๋าก็ได้ยินค�ำว่า “ขอพบญาตินายวสุ” หมอบอกน้าว่าภูอยู่ได้เพราะการช่วยยังจะให้ช่วยต่อมั้ย น้าบอกไปว่าขอให้ยื้อไว้ จนวินาทีสุดท้าย รอพ่อแม่ภูมาก่อน ไม่เกิน บ่าย ๒ น้ายืนดูภู จับภาพไว้ในใจ ๑ ชั่วโมงผ่านไปภูก็ยังอยู่กับน้า มองดูหน้าภู ดูจอมอนิเตอร์ดรอปลง พยาบาลถาม ว่า จะให้ชว่ ยต่อมัย้ น้าตัดใจ “ให้เขาไปเถอะ” น้าโทรเรียกเล็ก เราอยูด่ ว้ ยกันขณะ เดียวกันก็พร�่ำบอกข้างหูภูว่า พ่อกับแม่ก�ำลังมา ภูส่งสัญญาณว่ารับรู้ ภูรู้ ภูได้ยิน แต่ภูไม่ไหวแล้ว น้าจับมือภูไว้ รอจนทุกอย่างนิ่งสนิท หลับให้สบาย ไม่ต้องห่วง ใดๆนะ ภูเป็นคนดี และเป็นที่รักของทุกคน เรารักกันเท่าฟ้า น้านาย


22 แด่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ในนามของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อการจาก ไปของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ เมื่อเช้าวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๗ ซึ่งเป็นการ จากไปโดยไม่คาดฝัน ก่อนวัยอันควร น�ำความโศกเศร้าและอาลัยยิง่ มาสูค่ รอบครัว มิตรสหาย และเพื่อนร่วมงาน อาจารย์ ว สุ ฯ เป็ น ทรั พ ยากรบุ ค คลที่ เ ป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาคณะ เกษตรศาสตร์ เคยด�ำรงต�ำแหน่งบริหารระดับหัวหน้าภาควิชาและรองคณบดีของคณะ เกษตรศาสตร์เป็นเวลานาน ในด้านวิชาการ อาจารย์วสุ ฯ เป็นอาจารย์รุ่นใหม่ที่มีศักยภาพ สูงทางด้านวิชาการและงานวิจยั ได้ศกึ ษาค้นคว้าและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้าน การเกษตรจนประสบความส�ำเร็จสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์กบั ท้องถิน่ และชุมชนได้เป็นอย่าง ดี จนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักทั้งในระดับท้องถิ่นจนถึงระดับประเทศ นอกจากนี้ อาจารย์วสุ ฯ ยังได้รบั ทุนจากหน่วยงานภายนอกให้ทำ� วิจยั ด้านสารสนเทศการเกษตรอีกหลายโครงการ ซึง่ โครงการเหล่านีย้ งั อยูใ่ นระหว่างด�ำเนินการ การจากไปของ อาจารย์วสุ ฯ จึงมีผลกระทบต่อ การพัฒนาสารสนเทศการเกษตรของประเทศอย่างมีนัยส�ำคัญด้วย โดยบุคลิกภาพส่วนตัวอาจารย์วสุ ฯ เป็นคนที่สุภาพ อ่อนโยน ขยัน มุ่งมั่น และ ทุม่ เทกับการท�ำงานจนเป็นทีย่ อมรับและเชือ่ ถือไว้วางใจของผูบ้ งั คับบัญชาและเพือ่ นร่วมงาน และเป็นที่เคารพรักของนักศึกษา การจากไปของอาจารย์วสุ ฯ จึงเป็นการสูญเสียทรัพยากรบุคคลทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงของ หน่วยงาน และการสูญเสียอาจารย์ที่ดีของศิษย์ แต่แม้อาจารย์วสุ ฯจะจากไปแล้ว ผลงาน และคุณงามความดีของท่านจะคงอยู่ในความทรงจ�ำของพวกเราทุกคนตลอดไป ขอตั้งจิตอธิษฐานให้ดวงวิญญาณของผู้ช่วยศาสตราจารย์วสุ อมฤตสุทธิ์ จงสู่สุข คติณสัมปรายภพเทอญ รศ.ดร.นงนิตย์ ธีระวัฒนสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


23

ไว้อาลัย แด่ ผศ.ดร. วสุ อมฤตสุทธิ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีได้สูญเสียบุคลากร ที่มี ศักยภาพยิ่ง ด้วยเหตุการณ์อันน�ำมาซึ่งความเศร้าใจและตกใจกับทุกคน ในวัน อาทิตย์ทผี่ า่ นมาผมเองกลับจากเพือ่ นอาจารย์ดว้ ยกัน และได้ประสานติดตามข่าว เป็นล�ำดับจนกระทั่งเช้าวันที่ ๑๗ มีนาคม อาจารย์นรินทรได้ส่งข่าวการจากไป ของท่านอาจารย์วสุ ซึ่งเป็นเรื่องที่ทุกคนไม่คาดคิดว่าจะเกิดและรู้สึกรับได้ยาก ทัง้ นีก้ ด็ ว้ ยบุคลิกทีก่ ระตือรือล้นอยูโ่ ดยตลอดของท่านอาจารย์ทำ� ให้เรามีความรูส้ กึ ถึงการคงอยู่ของอาจารย์ ทั้งนี้เมื่อสองสัปดาห์ที่ผ่านมาอาจารย์ได้เล่าให้ผมฟังถึงงานใหม่ที่จะ ประสานท�ำเพิ่มเติมจากที่อาจารย์และทีมงานได้ท�ำอยู่สิ่งที่ผมจะจดจ�ำได้ตลอด ไปคื อ คุ ณ ความดี ข องท่ า นอาจารย์ ว สุ ที่ ไ ด้ ก ระท� ำ ไว้ กั บ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และสังคมโดยส่วนรวม ขอบุญกุศลทั้งมวลที่ท่านได้กระท�ำได้หนุนส่งให้ท่านอาจารย์ได้ประสบ สุขข้ามภพ ข้ามชาติตลอดไป ค�ำไว้อาลัย รศ.ธีระพล บันสิทธิ์ คณบดีคณะเกษตรศาสตร์


24

วสุ น้องรัก ถึงแม้เราจะไม่ได้เกิดมาเป็นพี่น้องกัน แต่วสุเปรียบเหมือนน้องชาย คนหนึ่ง ที่นอกจากจะเป็นน้องที่ร่วมกันท�ำงานได้อย่างสนุก มีพลัง มีความ คิดสร้างสรร ครอบครัวของเราก็สนิทกัน มีทุกข์และสุขร่วมกันมา งานทุก งานที่ร่วมกันท�ำเพื่อคณะเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไม่ ว่างานระดับจังหวัด ระดับชาติหรือต่างชาติ วสุได้ทุ่มเททั้งแรงกายและแรง ใจให้กบั ทุกงานโดยไม่เห็นแก่เหน็ดเหนือ่ ย พวกเราพีน่ อ้ งชาวเกษตรและชาว ม.อุบลมีความภูมิใจในวสุมาก ผลงานของวสุที่ผ่านมาได้พิสูจน์แล้วว่าน้อง คือ “คนจริงแห่งการพัฒนา” พวกเราจะระลึกถึงวสุเสมอและขอให้วสุมนั่ ใจ ได้ว่างานที่เหลือและต่อไป พวกเราชาวเกษตรจะร่วมกันมุ่งมั่นท�ำงานเพื่อ การศึกษาที่ดีขึ้นของคนในภาคอีสานและประเทศเพื่อนบ้านอย่างที่วสุและ พวกเราทุกคนตัง้ ใจไว้ ขอบคุณส�ำหรับทุกๆอย่าง และขอคารวะวสุจากหัวใจ หลับให้สบาย นะ น้องรัก พี่พงษ์ รศ.ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชานี


25 ผมมีโอกาสได้ร่วมท�ำงานกับอาจารย์ ดร.วสุตั้งแต่เป็นรองผู้ว่า ราชการจังหวัดอุบลราชธานี เมือ ๗ ปีที่แล้วจากงานกลุ่มเล็กๆ ภายใต้การ สนับสนุนของ สกว. จนกระทั่งงานได้ขยายตัวเป็นกิจกรรมไม่เพียงแต่กับ สกว. แต่ครอบคลุมงานส่งเสริมการเกษตรของจังหวัด งานคลีนิคเกษตร เคลือ่ นทีใ่ นพระบรมราชานุเคราะห์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุฏราชกุมาร รวมทัง้ งานของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีที่ให้การสนับสนุน งานของจังหวัดอุบลราชธานีโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานระบบประมวลผลบัญชี ครัวเรือน ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ระบบไอที และในช่วงด�ำรง ต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี สิ่งที่ผมได้น�ำแนวคิดอาจารย์มา ส่งเสริมเผยแพร่ตอ่ คือ การสร้างเห็ดแบบเสริมธรรมชาติในป่าชุมชนทีผ่ มให้ มี อ บรมแทรกไปในทุ ก กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เกษตรกรทุ ก ต�ำ บล ทุ ก หลักสูตร นอกจากนั้นแล้ว อาจารย์ยังมีความมุมานะ มีความตั้งใจ มีความ สามารถและมีความรับผิดชอบ ไม่เคยปฏิเสธงาน ประชุมทุกครัง้ อาจารย์จะ เสนอความก้าวหน้าของงานต่างๆ ทัง้ ทีม่ อบหมายและสิง่ ทีอ่ าจารย์ได้ทำ� เพิม่ เติมเพื่อให้งานมีความสมบูรณ์มากที่สุด ใจหายเมื่อทราบข่าวร้ายของอาจารย์จาก facebook ขอให้คุณงาม ความดีที่อาจารย์ได้ท�ำมาโดยตลอดสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้น�ำอาจารย์ไปสู่สุคติใน สัมปรายภพด้วยเทอญ สุรพล สายพันธ์ ประธานคณะกรรมการเลือกตั้งจังหวัดอุบลราชธาน อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี


26 ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ซึง่ ผมมักเรียกท่านว่า “พีภ่ ”ู พีภ่ เู ป็นศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เช่นเดียวกับผม และเป็นรุน่ พีท่ ผี่ มให้ความเคารพ และนับถือในความสามารถมาโดยตลอด ผมโชคดีทมี่ โี อกาสได้รว่ มงานด้วย กันมาเสมอ เนื่องจากท�ำงานอยู่ในภาควิชาพืชสวนด้วยกัน การจากไปของ ท่านน�ำความเศร้าสลดมาสู่พวกเราชาวคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี เป็นอย่างยิง่ พีภ่ ไู ด้สร้างคุณประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมเป็นอย่าง มาก และนับได้ว่าเป็นการสูญเสียบุคลากรที่เป็นก�ำลังส�ำคัญของคณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในการผลิตบัณฑิตและการพัฒนา งานด้านวิชาการเกษตรไป และจะขอน�ำเอาแบบอย่างอันดีของพีน่ ำ� ไปปฏิบตั ิ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมอันเป็นการระลึกถึงพี่ตลอดไป สุดท้ายนี้ผมขอแสดงความเสียใจต่อครอบครัวของพี่ภู ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุ ท ธิ์ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ขอให้ ด วงวิ ญ ญาณของพี่ ภู จ งไปสู ่ สุ ค ติ ใ น สัมปรายภพด้วยเทอญ ดร.ภาคภูมิ สืบนุการณ์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


27 อ.ภู เป็นอาจารย์ที่ทุ่มเทกับการท�ำงานเสมอ ช่วงที่ อ.ภู มาบรรจุ ใหม่ๆ เราสนิทกันเนื่องจากว่าภาควิชาพืชสวน ขณะนั้นยังมีอาจารย์ไม่มาก และเริ่มเป็นภาควิชาเต็มรูปแบบ เพราะได้ รศ.ดร.พรพิมล สุริยภัทร มาท�ำ หน้าที่หัวหน้าภาควิชา เมื่อก่อนเราอยู่ที่ตึก MP (อาคารเอนกประสงค์คือ คณะบริหารศาสตร์ปัจจุบัน) บนชั้น ๔ ห้องใหญ่รวมกันทัง้ ภาควิชาเราจึงมี ความใกล้ชิดและมีความผูกพันกันมาก ต่อมา อ.ภู ได้ด�ำรงต�ำแหน่งรอง คณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาพี่ได้ช่วย อ.ภู จัดท�ำโครงการพัฒนาคุณธรรม ของนักศึกษา จ�ำได้ว่าเราท�ำโครงการน�ำนักศึกษาไปวัดและไปทัศนศึกษาที่ ภูจองนายอย อ.ภู เป็นอาจารย์ที่ให้ความเป็นกันเองกับนักศึกษาเสมอ จน นักศึกษามีความรักใคร่และผูกพันกับ อ.ภู มาก นอกจากนัน้ อ.ภู ยังเป็นผู้ ริเริม่ โครงการกีฬาสามเสียม ซึง่ เป็นการเชือ่ มสัมพันธ์ของสถาบันการศึกษา ทางการเกษตรในจังหวัดอุบลราชธานี ๓ สถาบัน คือ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอบุ ลราชธานี และ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี และโครงการเกษตร แฟร์ ท�ำให้งานกิจการนักศึกษาของคณะฯ เป็นปึกแผ่นมีการด�ำเนินงานที่ เป็นรูปแบบชัดเจน ซึ่งผู้ที่รับช่วงต่อมาก็ได้สานต่อโครงการเหล่านี้จนถึง ปัจจุบัน การจากไปของ อ.ภู เป็นการสูญเสียบุคลากรที่มีคุณค่าของภาค วิชา ของคณะ และมหาวิทยาลัย และของประเทศ หาก อ.ภู หยัง่ รูด้ ว้ ยญาณ วิถีใด โปรดรับทราบว่า เราทุกคนในภาควิชาจะระลึกถึงคุณความดีและยึด มั่นในอุดมการณ์เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นคนดีของสังคม ดังที่ อ.ภู ได้ท�ำ มาตลอดชีวิตราชการ ผศ.ศรีประไพ ธรรมแสง


28 รูปนี้ผมถ่ายที่คณะ ในวันที่ เราร่ ว มกั น ปลู ก ต้ น ไม้ บ ริ เ วณลาน วัฒนธรรม เป็นภาพไม่กี่ภาพที่ผมมี โอกาสเก็บรูปพี่ภูไว้ได้แบบ candid แต่บงั เอิญพีภ่ หู นั มาเห็นพอดี ...ในวัน นีผ้ มคงไม่โอกาสเก็บภาพสวยๆ ของ พี่ภูอีกแล้ว ส� ำ หรั บ พี่ภู . .. ในบทบาทผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา พี่ ภู เ ป็ น ผู ้ น� ำ ที่ เ ก่ ง มี ความรับผิดชอบสูง รักลูกน้องทุกคน ในบทบาทผู้ร่วมงาน พี่ภูเป็นนักวิจัย ที่มีวิสัยทัศน์ เปิดรับความคิดต่าง และให้แนวคิดดีๆ มากมาย ในบทบาทรุ่น พีเ่ กษตร พีภ่ รู กั รุน่ น้องมาก ดูแลอย่างดี ในบทบาทอาจารย์ พีภ่ เู ป็นนักพัฒนา ทัง้ สร้างคนที่มคี ุณภาพ สร้างงานที่มคี ุณค่าต่อแผ่นดินนีห้ ลายอย่าง เป็นครู ที่รักและให้ความใส่ใจกับลูกศิษย์มาก ส�ำหรับผม....ผมจ�ำได้วา่ เมือ่ ไรทีพ่ ภี่ จู ะใช้งานผม มักจะเรียกผมอย่าง เป็นทางการว่า วรงศ์ เออ ช่วย ท�ำโน้นท�ำนีใ่ ห้หน่อย แต่ถา้ พูดคุยเรือ่ งจิปาถะ อืน่ ๆ ก็จะเรียกอย่างเป็นกันเองแบบพีน่ ้อง เช่น เฮ้ย เก้ เมือ่ คืนเอ็งได้ดลู เิ วอร์ ภูลเตะหรือป่าวว่ะ (ลิเวอร์ภูลเป็นทีมโปรดของพี่ภู) ... วันนี้ไม่มีสิ่งเหล่านี้อีกแล้ว ผมอยากบอกว่า “หลับให้สบายนะครับ พี”่ มีอย่างหนึง่ ทีผ่ มจ�ำได้จากหนังเรือ่ งหนึง่ ในตอนสุดท้าย เมือ่ มีคนทีส่ ำ� คัญ คนหนึ่งจากไป มีคนถามว่า Tell me how he died. ค�ำตอบที่คนถามได้รับ คือ I’ll tell you how he lived. นั้นเป็นสิ่งที่ผมจะเล่าในทุกคนฟัง และน�ำสิ่ง ดีๆ ที่ได้จากพี่ชายคนนี้ไปใช้เป็นแนวทางการด�ำเนินชีวิติให้มีคุณค่าต่อแผ่น ดินเช่นเดียวกับที่พี่ได้ท�ำไว้

วรงศ์ นัยวินิจ KU๔๘


29 ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึง้ ต่อการจากไปของอาจารย์ภู ผู้ทไี่ ด้ ชือ่ ว่าเป็นคนท�ำงาน เต็มไปด้วยความกระตือรือร้น และความทะเยอทะยาน ในการสร้างผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อคณะฯ และสังคมโดยรวม ในวาระ สุดท้ายของท่านนี้ ขอให้ดวงวิญญาณของอาจารย์ภูไปสู่สุขคติ อยู่ในภพที่ดี ที่ชอบด้วยเทอญ ด้วยรักและอาลัยยิ่ง สุรชัย สุวรรณลี ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๗

แด่พี่ภู.........ด้วยความอาลัย คือพี่ภูที่แสนดี น้องน้องรัก คืออาจารย์ภูของศิษย์อันละมุน คือทุกสิ่งคือทุกอย่างที่ยิ่งใหญ่ ร้อยวจีไม่หมดความอาลัย ขอผลบุญที่พี่ทำ�จงนำ�ทาง ปราศจากทุกข์ มีแต่สุขนิจนิรันดร

คือที่พักพิงใจแสนอบอุ่น คือใบบุญเบ่งบานตระการตา ภาพทั้งหลายอยู่ในใจไม่เลือนหาย แม้นแผ่นฟ้าก็ตราชื่ออาจารย์ภู สู่สวรรค์ชั้นวิมานสราญสุข

ด้วยความอาลัยยิ่ง น้องเซี้ยม Food UBU – น้องพัฒน์ สาธิต ศศ. รุ่น ๗


30 ได้ทราบข่าวการประสบอุบัตเิ หตุของพี่ภู (ผศ. ดร. วสุ อมฤตสุทธิ์) ช่วงเย็นวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๗ ภาวนาว่าขอให้สิ่งศักดิ์สทิ ธิ์คุ้มครอง อย่า ให้เป็นอะไรมาก แต่ในวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๗ ได้รับแจ้งข่าวร้าย ว่าพี่ภู เสียชีวติ ... มันกะทันหันมาก... ทุกคนตกใจ... คาดไม่ถงึ ว่าอุบตั เิ หตุนนั้ จะร้าย แรงถึงขนาดนี.้ ..คณาจารย์ภาควิชาพืชสวนทีก่ ำ� ลังนัง่ ฟังการน�ำเสนอปัญหา พิเศษของลูกศิษย์พี่ภู ที่ขึ้นน�ำเสนอ และได้พูดตอนท้ายว่า “อาจารย์ผม ประสบอุบตั เิ หตุ ไม่รวู้ า่ เป็นอะไรมากหรือเปล่า แต่กข็ อบคุณท่านทีช่ ว่ ยตรวจ แก้ไข และเมื่อวานอาจารย์ได้นัดให้ผมมาซ้อมให้ฟังตอน ๑ ทุ่ม แต่อาจารย์ ประสบอุบตั เิ หตุเสียก่อน” ท�ำให้คณาจารย์ได้แต่มองหน้ากันพูดไม่ออก ไม่รู้ จะบอกเด็กๆ อย่างไรว่าอาจารย์ได้จากเราไปแล้ว... พี่ไม่ต้องห่วงนักศึกษา ทีร่ บั ผิดชอบ ทัง้ ปัญหาพิเศษ และรายวิชา ทุกคนในภาควิชาจะช่วยกันท�ำต่อ ให้ลุล่วง... เมื่อเวลาของการพลัดพรากเมื่อมาถึง...ขอให้กุศลกรรมอันดีท่พี ี่ ภูได้กระท�ำไว้...ส่งผลให้ดวงวิญญาณของพี่ภูไปสู่สุขคติ ในภพภูมทิ ี่ดี ด้วยความอาลัย สุกัญญา คลังสินศิริกุล อาจารย์ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


31

ภูน้องรัก ผมไม่ อ ยากเขีย นเรื่อ งอะไรท� ำ นองนี้ไ ม่ ว ่ า ให้ แ ก่ ใ คร เพราะมั น เป็นการเขียนถึงครั้งสุดท้ายและเป็นสัญลักษณ์ของการลาจากที่ไม่มีวันได้ พบกันอีก แต่ก็ต้องท�ำใจว่ามันเป็นสัจธรรมที่ทุกคนต้องพบไม่ช้าก็เร็ว อ.ภู เป็นน้องชายที่น่ารักและเป็นที่รักใคร่ของพวกเราชาวเกษตร ไม่ว่าจะเป็น เรื่องส่วนตัวหรือเรื่องหน้าที่การงานและงานส่วนรวมของคณะ โดยเฉพาะ ในเรือ่ งงานนัน้ ทุกคนรู้ดวี ่า อ.ภู เป็นคนทีจ่ ริงจัง มุ่งมัน่ ทุ่มเท เอาใจใส่อย่าง เต็มที่ ในทุกภารกิจที่ได้รับมอบหมาย จนเป็นที่ไว้วางใจของผู้บริหารและ เพื่อนร่วมงานทุกคน นอกจากนั้น อ.ภู ยังเป็นผู้บริหารหนุ่มยุคใหม่ ไฟแรง มีวสิ ยั ทัศน์ทกี่ า้ วไกล รูจ้ กั น�ำเอานวัตกรรมทันสมัยใหม่ๆ มาใช้ในการท�ำงาน จนเป็นความหวังของคณะเกษตรว่า จะเป็นผู้น�ำพาคณะฯ ก้าวไปข้างหน้า อย่างมัน่ คงและเป็นสถาบันการศึกษาด้านการเกษตรชัน้ น�ำของประเทศ แต่ แล้วความหวัง - ความฝัน ของพวกเราชาวเกษตรก็ต้องมลายลงด้วยเหตุไม่ คาดฝัน เราก็ได้แต่รอว่าโอกาสข้างหน้าคงเป็นของ อ.ภู บ้าง แต่ อนิจจา ! ชะตากรรมช่างโหดร้ายเหลือเกิน ความตายได้มาพรากเอาความหวัง – ความ ฝันของพวกเราไปอย่างไม่มวี ันกลับ หลับให้สบายเถอะน้อง ไม่ต้องห่วงเรื่องข้างหลัง กฎแห่งกรรมมัน จะท�ำหน้าที่ของมันเองอย่างเที่ยงธรรมเสมอ พวกเราจะระลึกถึงคุณงาม ความดีของภูไว้ในใจตลอดไป ด้วยรักและอาลัย กังวาน ธรรมแสง


32 การสูญเสีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ หรือ อ.ภูที่เราเรียก กัน ถือเป็นการสูญเสียอันยิ่งใหญ่ของสาขาวิชาพืชสวน เป็นการสูญเสียบุคลากร ที่มีคุณภาพก่อนวัยอันควรอย่างยิ่ง อาจารย์เป็นคนที่พากเพียร มุ่งมั่น และทุ่มเท กับการท�ำงานในทุกๆ ด้านโดยไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย เป็นแบบอย่างที่ดีของคน ท�ำงานและยังมีอนาคตยังอีกยาวไกล ดังนัน้ การจากไปของ ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ อย่างกะทันหันในครั้งนี้ได้สร้างความเศร้าโศกเสียใจให้กับเพื่อนร่วมงานทุกคน อย่างไรก็ดีการจากไปครั้งนี้ถือเป็นการจากไปเพียงแต่ร่างกาย แต่ความดีงามที่ อาจารย์สร้างสมไว้จะไม่สูญหาย และจะยังคงจารึกอยู่ในจิตใจของเพื่อนร่วมงาน และลูกศิษย์ทกุ คนตลอดไป ในโอกาสสุดท้ายนี้ พวกเราขอน�ำส่งดวงวิญญาณของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ให้ไปสู่สุคติ พักผ่อนให้สบาย และอยู่ใน ภพภูมิที่สูงสุดด้วยเทอญ คณาจารย์และบุคลากรภาควิชาพืชสวน

ภูเป็นรุ่นน้อง KU เป็นเพื่อนร่วมงานในภาควิชาพืชสวน เป็นคนเก่ง มี น�ำ้ ใจ ท�ำงานจริงจัง ทุม่ เทแรงกายและใจในงานทุกชิน้ ด้วยความสามารถของน้อง ท�ำให้น้องประสบความส�ำเร็จในการท�ำงาน เป็นที่รักใคร่ของพี่ๆ และน้องๆ ทุก คน การจากไปของภูทำ� ให้เราทุกคนเสียใจ และอาลัยเป็นอย่างยิง่ ขอให้นอ้ งหลับ ให้สบาย อย่าได้ห่วงภาระในโลกนี้เลย รักและอาลัย กาญจนา รุ่งรัชกานนท์


33

ด้วยรักและอาลัย อ.ภู นับตั้งแต่รู้จักภูมากว่า ๒๐ ปี ไม่เคยเห็นภูเป็นทุกข์ หรือมีความเครียดในการ ท�ำงานเลยแม้งานจะหนักมากแค่ไหนก็ตาม ภูเป็นคนที่มีความสุขกับการท�ำงาน เป็น คนอารมณ์ดี ยิม้ แย้มแจ่มใส มีบคุ ลิกทีเ่ ป็นมิตรและมีมนุษยสัมพันธ์ทดี่ กี บั ทุกๆคน ด้วย บุคลิกดังกล่าวและความสามารถทางด้านวิชาการจึงท�ำให้ภูสร้างความร่วมมือกับ หน่วยงานภายนอกทัง้ ภาครัฐและเอกชน เกิดโครงการวิจัยและบริการวิชาการจ�ำนวน มาก ท�ำให้คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีได้รับการยอมรับและเป็นที่ รู้จักมากขึ้น โดยเฉพาะการท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับ รศ.ดร. วัชรพงษ์ วัฒนกูล ใน โครงการบริการวิชาการให้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และกัมพูชา โดยการสนับสนุนของส�ำนักงานความร่วมมือเพือ่ การพัฒนาระหว่างประเทศ กระทรวง การต่างประเทศ และจากการที่มีประสบการณ์ในการท�ำงานกับหน่วยงานในจังหวัด ต่างๆเป็นเวลานาน ท�ำให้ได้รับความไว้วางใจในการจัดท�ำโครงการบริหารจัดการน�้ำ ของ ๔ จังหวัดในภาคอีสานซึง่ โครงการดังกล่าวอยูใ่ นระหว่างการด�ำเนินงาน และล่าสุด ภูยังได้ประสานงานกับกฟฝ.เพื่อให้เกิดโครงการวิจัยด้านการจัดการทรัพยากรเกษตร และประมงในลุ่มน�้ำมูล ซึ่งอยู่ในระหว่างการพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย จากการที่ภู ท�ำงานบริหารของคณะมาโดยตลอดจึงได้ช่วยประสานงานและสนับสนุนการด�ำเนิน งานของภาควิชาประมงด้วยดีตลอดมา นอกจากการเป็นเพื่อนร่วมงานที่ดีแล้ว ภูยัง เป็นรุ่นน้องที่มีน�้ำใจไปไหนมาจะมีของฝากมาให้ประจ�ำ และเนื่องจากเรามีวันเกิดตรง กัน ภูไม่เคยลืมที่จะส่งการ์ดหรือของขวัญวันเกิด การจากไปของภูในครัง้ นี้ได้น�ำมาซึ่ง ความเศร้าโศกเสียใจของพวกเราทุกคน และเป็นการสูญเสียบุคลากรที่มีความส�ำคัญ ยิ่งของคณะเกษตรศาสตร์ ผลงานที่ภูสร้างไว้จะอยู่ในความทรงจ�ำของพวกเราตลอด ไป ขอกุศลกรรม ความดีงามทั้งมวลที่ภูได้กระท�ำและสร้างสมไว้ในภพนี้ อีกทั้ง อานุภาพแห่งผลบุญทีค่ รอบครัว ญาติมติ ร ตลอดจนผูท้ รี่ กั ใคร่นบั ถือ ได้รว่ มกันบ�ำเพ็ญ กุศลอุทศิ ให้ เกือ้ หนุนให้บงั เกิดพลานุภาพบันดาลให้ดวงวิญญาณของภูจงประสพสุคติ ในสัมปรายภพตลอดชั่วกาลนานเทอญ ด้วยรักและอาลัย ผศ.ดร.กาญจนา พยุหะ


34

ค�ำไว้อาลัย เวลาประมาณห้าโมงเย็นของวันอาทิตย์ที่ ๑๖ มีนาคม ขณะที่ผม อ.ทศพร และวชิรศักดิ์ ก�ำลังเดินทางเพื่อเตรียมงานส�ำรวจพื้นที่ที่จังหวัด บุรีรัมย์ในวันรุ่งขึ้น เราได้รับโทรศัพท์จากกาญกนกและอาจารย์วัชรพงษ์ว่า อาจารย์วสุประสบอุบตั เิ หตุทกี่ าฬสินธุ์ และอาการค่อนข้างหนัก เราสามคน นั่งอึ้งกันอยู่พักใหญ่ และก็เริ่มเช็คข้อมูลจากศูนย์ข่าวและ สภ.ต่างๆ จนได้ ทราบว่า อาจารย์วสุประสบอุบตั เิ หตุเมือ่ เวลาประมาณบ่ายสามโมงครึง่ และ ถูกส่งตัวไปยังโรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่นแล้ว พวกเราจึงตัดสินใจแจ้งยกเลิก งานที่บุรีรัมย์และเดินทางต่อไปขอนแก่น พร้อมๆ กับโทรแจ้งอาจารย์ วัชรพงษ์และกาญกนกให้ทราบสถานการณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในห้วงเวลานัน้ ทีมงานจากบุรรี ัมย์เดินทางถึง รพ.ศูนย์ขอนแก่นราวสองทุ่มครึ่ง และ ได้พบกับพี่สาว พี่เขย และหลานๆ ของอาจารย์วสุ ซึ่งเฝ้าดูอาการของ อาจารย์ตั้งแต่ช่วงเย็นแล้ว จากนั้นน้องเล็ก น้องพี และทีมงานจากอุบลซึ่ง มีกาญกนก กฤษณา และคุณแม่ของกาญกนก ก็เดินทางมาถึงประมาณสี่ ทุ่มเศษ ส่วนอาจารย์วัชรพงษ์และอาจารย์นพพรจะเดินทางตามมาในช่วง เช้า พวกเราทุกคนต่างภาวนาให้อาจารย์วสุฟื้นรู้สึกตัวและยิ้มแย้มอย่างที่ พวกเราเคยเห็นตามปกติ แม้จะรู้ว่ายากมากจากอาการของอาจารย์วสุที่ เป็นอยู่ ราวห้าทุม่ ครึง่ อาการของอาจารย์วสุมที า่ ทีวา่ จะดีขนึ้ เนือ่ งจากชีพจร เริม่ มีมากขึน้ และไม่คอ่ ยขาดช่วง อาการของอาจารย์วสุมลี กั ษณะทรงตัวจน กระทั่งเวลาประมาณสิบโมงสิบห้านาทีของวันจันทร์ที่ ๑๗ มีนาคม ทาง แพทย์และพยาบาลก็เชิญน้องเล็ก น้องพี และญาติมิตรเข้าไปดูอาการของ อาจารย์วสุ ซึ่งขณะนั้นการท�ำงานของชีพจรเริ่มเต้นอ่อนลงและขาดหายไป เป็นระยะๆ น้องพี และผมคอยผลัดกันกระซิบบอกอาจารย์วสุ น้องเล็ก


35 น้องพี ญาติๆ และพวกเราก็อยู่ทนี่ เี่ ป็นก�ำลังใจให้ และคุณพ่อคุณแม่กก็ ำ� ลัง เดินทางมาเยี่ยม ผมเฝ้าดูอาการโดยจับมืออาจารย์วสุไว้ สลับกับช�ำเลืองดู เครื่องมือทางการแพทย์เป็นระยะๆ ซึ่งเครื่องมือก็บ่งบอกสัญญาณที่ดีขึ้น อยู่ราว ๘-๑๐ ครั้ง แต่ท้ายที่สุด เวลาสิบโมงสามสิบแปดนาที อาจารย์วสุ ก็จากพวกเราไปสู่สุคติภพอย่างสงบ คงเหลือไว้เพียงความเศร้าโศก ความ อาลัย และความร�ำลึกถึงสิง่ ดีๆ ทีอ่ าจารย์ได้สร้างสมไว้แก่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และแก่สงั คม ตลอดจนสายสัมพันธ์มติ รภาพอัน แนบแน่นทีเ่ คยมีมาระหว่างอาจารย์วสุและพวกเราทุกคนทีม่ เิ คยเสือ่ มคลาย ขอดวงวิญญาณของอาจารย์วสุ ได้รบั รูถ้ งึ ความรักและอาลัยของพวก เราที่มีต่ออาจารย์ ไม่มีใครอยากให้เกิดเหตุการณ์ในวันนั้นเกิดขึ้น แต่ไม่มี อะไรที่เที่ยงแท้โดยสัจธรรม ผม คณาจารย์ และน้องๆ ผู้ช่วยวิจัยของศูนย์ สารสนเทศชุมชนฯ ทุกคน ขออาราธนาคุณแห่งพระศรีรัตนตรัยและสิ่ง ศักดิส์ ทิ ธิ์ ตลอดจนกุศลกรรมทีเ่ ป็นคุณงามความดีซงึ่ อาจารย์วสุได้สร้างสม ไว้ ได้อ�ำนวยผลดลบันดาลส่งดวงวิญญาณของอาจารย์วสุ อมฤตสุทธิ์ ไปสู่ สุขคติ ในสัมปรายภพด้วยเทอญ

ค่าของคน หรือนับจาก หากเกิดจาก ผลงานที่

มิได้นับ รูปลักษณ์ คุณงาม จรรโลงโลก

เพราะทรัพย์มาก สูงศักดิ์ศรี และความดี ให้ไพบูลย์

ด้วยรักและอาลัยยิ่ง ดร.นรินทร บุญพราหมณ์ คณาจารย์ และน้องๆ ทีมงานศูนย์สารสนเทศชุมชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


36

อาลัยรัก แด่ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วสุ อมฤตสุทธิ์” เพื่อนรัก เวลาพลบค�ำ่ ของวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๗ เพือ่ นของเรา “ชาวสาธิต มข.รุ่น ๖” คนหนึ่งได้รับโทรศัพท์เบอร์ท่ไี ม่คุ้นเคยพร้อมๆ กับได้รับทราบถึง การประสบอุบตั เิ หตุของ “วสุ” เพือ่ นรักของพวกเรา ก็ได้แต่แปลกใจว่า “มัน เป็นจริงเหรอ” “ใครกันช่างกล้ามาล้อเล่นกันเช่นนี”้ เพราะพวกเรารูว้ า่ “วสุ” เป็นอาจารย์อยู่ที่ ม.อุบลฯ จะมาท�ำอะไรแถวขอนแก่น กาฬสินธุ์ ไม่ใช่เส้น ทางนีแ้ ละไม่นา่ จะเป็นไปได้เลย แต่หลังจากตัง้ สติได้สกั พักและได้ตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูลต่างๆ ก็ทำ� ให้ได้ทราบว่า “มันเป็นเรือ่ งจริง” พวกเรา “ช๊อคไปตามๆ กัน” พยายามตั้งสติและภาวนาว่า “ขออย่าให้เป็นอะไรมาก เลย” พวกเราทุกคนล้วนแล้วแต่เอาใจช่วยและคอยลุน้ กันอย่างจดจ่อ เพือ่ นๆ ทีอ่ ยูใ่ นวงการการแพทย์ได้ไปเยีย่ มและดูแลอย่างใกล้ชดิ แม้จะดึกดืน่ แค่ไหน ก็ตาม ซึ่งทั้งนี้ทั้งนัน้ ก็ได้สะท้อนให้เห็นถึงความรัก ความห่วงใยที่เพื่อนๆ มี ต่อ “วสุ” และความรัก ความสามัคคีของเราชาวสาธิต มข.รุ่น ๖ ที่มีต่อกัน อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนว่า “ปาฏิหาริย์ไม่มจี ริง” เพราะสายๆ ของวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๗ พวกเราก็ต้องได้พบกับความสะเทือนใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้ ทราบว่า “วสุ เพื่อนรักของพวกเราได้จากไปแล้ว” ภาพความทรงจ�ำที่ดีต่างๆ ในวัยเยาว์เกี่ยวกับ “วสุ” ตั้งแต่เมื่อครัง้ อนุบาล ๒ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แล่นกลับมาสู่ห้วงความ ทรงจ�ำของพวกเรา “เด็กชายวสุ” มักจะมาโรงเรียนแต่เช้าเสมอตั้งแต่ชั้น อนุบาลจนมาถึงม.๖ เนื่องจากต้องไปกลับรถรับ-ส่งของส�ำนักงานเกษตร และสหกรณ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือพวกเราเรียกกันว่า “พวกเด็ก ท่าพระ” เพื่อนๆ ต่างจ�ำกันได้ติดตาว่าเป็นรถคันใหญ่สีเหลืองคาดเขียวซึ่ง เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า วสุมาแล้วหรือกลับแล้ว จากเด็กชายวสุในวันนัน้


37 จนเติบใหญ่เป็น “นายวสุ” ในช่วงมัธยมทีพ่ วกเราได้ใช้ชวี ติ ในรัว้ โรงเรียนร่วม กัน สิ่งหนึ่งที่ไม่เคยเปลี่ยนก็คือ “วสุ” เป็นเพื่อนที่สุภาพ เรียบร้อยทัง้ วาจา (ไม่เคยได้ยินค�ำพูดหยาบคาย) และการแต่งกาย (ชุดนักเรียนสะอาด ถูก ระเบียบ ชายเสื้อเข้าในเสมอ) ผมรองทรงถูกระเบียบทุกประการ ไม่เคยถูก ท�ำโทษ และเป็นคนตรงไป ตรงมา ประการส�ำคัญ “วสุ” เป็นคนที่ขยันตัง้ ใจ เรียนมากจนเพื่อนในรุ่นต่างพากันตั้งสมญานามให้ว่า “Mr. Active Man” หลังจากจบชั้นมัธยมเพื่อนๆ แต่ละคนต่างก็แยกย้ายกันไปตามสถานศึกษา ต่างๆ ทีแ่ ต่ละคนได้ใฝ่ฝนั ไว้ จวบจนวันนีพ้ วกเราต่างส�ำเร็จการศึกษา มีสมั มา อาชีพและได้ออกมารับใช้ประเทศชาติ เป็นพลเมืองดีและท�ำประโยชน์ให้แก่ สังคมในมิติต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป เจอะเจอกันบ้างเมื่อมีการนัดเลี้ยง รุ่นหรือมีกจิ กรรมต่างๆ ร่วมกัน ซึ่ง “วสุและเล็ก” ต่างก็ได้ช่วยกิจกรรมของ รุ่นมาโดยตลอดและจะมาร่วมกิจกรรมกับเพื่อนเสมอมา อย่างไรก็ดี สิ่งหนึ่งที่เราได้รับรู้และน�ำความภาคภูมใิ จมาสู่พวกเรา “ชาวสาธิต มข. รุ่น ๖” อยู่เสมอ ก็คือ ความส�ำเร็จของเพื่อนเรา ที่ในวันนี้ได้ กลายเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์” นักวิชาการผู้ซึ่งมีชื่อ เสียงโด่งดังทัง้ ในระดับท้องถิ่นและระดับนานาชาติ มีผลงานวิจัยมากมายที่ สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์พืช และการจัดการน�้ำเพื่อช่วยเหลือสังคม ซึ่งท�ำให้พวกเราเราได้ฉุกคิดขึ้นมา ว่า “การสูญเสียครั้งนี้” มิใช่เพียงพวกเราชาวสาธิต มข. รุ่น ๖ ที่ได้สูญเสีย เพื่อนรักไปเท่านั้น หากแต่ครอบครัว ญาติมิตร ศิษย์ทั้งหลาย ตลอดจน วงการวิชาการได้สูญเสียนักวิชาการชัน้ เยี่ยมคนหนึ่งไป และประเทศชาติได้ สูญเสียทรัพยากรอันทรงคุณค่าไปเช่นกัน หลับให้สบายเถิดนะ “Mr. Active Man” ของพวกเรา “เธอ Active” จนวินาทีสุดท้ายของชีวิตจริงๆ เธอจะอยู่ ในความทรงจ�ำของพวกเราตลอดไป แม้วันนี้และวันหน้าจะไม่มี “วสุ” เพื่อนรัก คุณงามความดีที่ได้ สร้างสรรค์สังคมจะยังคงอยู่ และจะอยู่ในหัวใจ รวมทั้งความทรงจ�ำของ


38 เพื่อนๆ และทุกคนตลอดไป ขออ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทั้ ง หลายในสากลพิ ภ พ จงอภิ บ าลคุ ้ ม ครองดวงวิ ญ ญาณของ “ผู ้ ช ่ ว ย ศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์” ไปสู่สรวงสวรรค์ชั้นฟ้าในสัมปรายภพ โน้นเทอญ เพื่อนสาธิต (ศึกษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ ๖

ค�ำไว้อาลัย ทราบข่าวอาจารย์วสุเช้าวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๗.... รูส้ กึ อึง้ มาก... อาทิตย์ทแี่ ล้วยังเห็นอาจารย์วสุยนื ซือ้ กาแฟอยู่ทคี่ ณะ อยู่เลย...ภาพทีน่ กึ ได้ ในความทรงจ�ำตัง้ แต่อยู่ตึกเก่าคณะเกษตร ตั้งแต่ผมมาบรรจุรับราชการ ก็ เห็นอาจารย์วสุท�ำงานหนักตลอด จ�ำได้ว่าตอนผมมาบรรจุ อ.วสุ เป็นรอง ฝ่ายกิจการนักศึกษา..พักแฟลตพักอาจารย์...ขับรถเต่า..และก็ทำ� งานๆๆๆๆ ตลอด.....ขอให้ส่งิ ดีๆที่อาจารย์วสุ ท�ำมาตลอดอ�ำนวยพรให้ อาจารย์วสุ ไป สู่สุคติในที่ดีๆนะครับ... หมอนนท์ครับ ตามที่อาจารย์ชอบเรียก


39

คนคุณภาพ ม.อุบลฯ อาจารย์วสุ อมฤตสุทธิ์ จากไปเมื่ออายุ ๔๔ ปี เร็วเกินไปที่พวกเราจะรับได้ เมื่อเริ่มต้นมาเป็นอาจารย์ท่คี ณะเกษตรศาสตร์ ม.อุบลฯ พ.ศ.๒๕๓๗ เขาก็มีแววเป็น นักท�ำงานระดับแถวหน้าให้พวกเราได้เห็น เมือ่ เขาท�ำหน้าทีห่ วั หน้าบรรณาธิการหนังสือ ประชาสัมพันธ์ของคณะ ได้ใช้ชื่อทีมงานว่า “กลุ่มมดงาน” ซึ่งผลงานออกมาก็เป็นมด งานสมชื่อ เขาท�ำงานเร็ว ลุย รับงานอะไรท�ำได้หมด จึงไม่แปลกใจที่อาจารย์วสุ จะ ด�ำรงต�ำแหน่งด้านบริหารมาแต่อายุยังหนุ่ม เช่น เป็นหัวหน้าส�ำนักงานไร่ฝึกทดลอง และห้องปฏิบัติการกลาง เป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา เป็นรองคณบดีฝ่าย บริหาร และเป็นหัวหน้าโครงการอีกหลายโครงการ เป็นหัวหน้าทีมงานจัดงานเกษตร แห่งชาติ และงานเกษตรอีสานใต้ การได้รับรางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่นของ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเป็นสิ่งยืนยันคุณภาพของคนๆ นี้ การท�ำงานหนักมาตลอด ชีวิตที่รับราชการท�ำให้ผู้ทราบข่าวการจากไปต้องช็อคไปตามๆ กัน บุคลิกภาพมัน่ ใจ รวดเร็ว นอบน้อม มนุษยสัมพันธ์เยีย่ ม ไม่เคยเห็นโกรธโมโห ให้ใครเกินสิบนาที มีภาวะผูน้ ำ� สูงมาก ใจกว้างรักลูกน้อง และอีกความดีสารพัดทีส่ ร้าง ไว้ในวงวิชาการ ถือเป็นความหวังของชาวเกษตรอีกคนหนึง่ ทีจ่ ะน�ำคณะไปสูค่ วามเจริญ ที่รออยู่ข้างหน้า แม้อาจารย์วสุ จะท�ำหลายอย่างด้วยตนเอง คือเป็นนักบริหาร นักวิชาการ นัก ท�ำงาน นักประสานงาน และอืน่ ๆ ทีค่ นเก่งชอบท�ำ แต่เขาไม่ลมื ทีจ่ ะดูแลครอบครัวและ บุพการีได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ยังรักษาสุขภาพได้อย่างดีมากและชอบเล่นกีฬา เทนนิส และเป็นแฟนฟุตบอลพันธุ์แท้ อาจารย์วสุ ท�ำงานวิชาการโดยมีทีมงานและผู้ ช่วยปฏิบัติงานเป็นเลขานุการอยู่บ้าง แต่เขาเดินทางไปไหนมาไหนโดยไม่ใช้คนช่วยขับ รถยนต์ อันน่าจะเป็นสาเหตุหนึ่งของการจากไปแต่อายุยังน้อย ในฐานะผู้ปฏิบัติงานร่วมกับอาจารย์วสุ และเคยเป็นลูกน้องแกมาหลายปีได้ พบสัจธรรมในครั้งนี้ว่าบางคนที่จากไปเมื่ออายุมากแล้วแต่มีคนกล่าวถึงน้อย แต่บาง คนจากไปเมื่ออายุยังน้อยแต่มีคนกล่าวถึงมากมายเหลือเกิน อาจารย์วสุ มีชื่อเล่นว่า “ภู” การจากไปครั้งนี้จึงดูใหญ่ดังภูเขาก็ว่าได้ ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ จากไปแต่เพียง ร่างกาย แต่ชอื่ และผลงานจะอยู่ในความทรงจ�ำของนักท�ำงานและชาว ม.อุบลฯ ตลอด ไป

ชาวส�ำนักงานเลขานุการ


40

อาลัย อ.วสุ ผมเข้าท�ำงานที่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ และได้มีโอกาสรู้จักกับอาจารย์วสุ ทั้งในฐานะเพื่อนร่วมงาน อาจารย์รุ่นพี่จากสถาบันเดียวกัน และในฐานะผู้บริหารของคณะฯ (ช่วงนั้น อาจารย์วสุเป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา) ผมมีความรู้สกึ ว่าอาจารย์ วสุเป็นอาจารย์ร่นุ พีท่ นี่ ่านับถือ โดยเฉพาะเรือ่ งความทุ่มเทให้การท�ำงานทัง้ ด้านวิชาการและบริหารให้กบั องค์กรและสามารถท�ำทัง้ สองอย่างพร้อมกัน ได้เป็นอย่างดี และเมื่อรู้จักกันมากขึ้นก็ยิ่งนับถือโดยเฉพาะในเรื่องความรัก และทุ่มเทให้กับคณะฯ โดยอาจารย์วสุจะเป็นคนที่พร้อมถลกแขนเสื้อและ เถียงเพื่อความถูกต้อง ประโยชน์และความก้าวหน้าขององค์กร การขาด อาจารย์วสุไปนับจากนี้นับว่าเป็นการสูญเสียครั้งใหญ่ของคณะฯ ทั้งในด้าน ผู้น�ำในงานวิชาการที่เป็นงานวิจัยในพื้นที่ ที่อาจารย์วสุเป็นผู้ประสานงาน ร่วมกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและหน่วยงานราชการรวมถึง เอกชนภายในเขตพื้นที่ภาคอีสาน และผู้น�ำที่มีศักยภาพในการบริหารของ องค์กรในอนาคต และผมกล้าพูดได้ว่านอกจากองค์กรแล้ว นี่คืออีกหนึ่ง ความสูญเสียครั้งใหญ่ของวงการวิชาการเกษตรของภาคอีสาน ถึงแม้นว่า การสูญเสียดังกล่าวจะเทียบไม่ได้เลยกับการสูญเสียของครอบครัวอาจารย์ วสุทตี่ ้องขาดเสาหลักของครอบครัว ซึง่ ในท้ายทีส่ ดุ นี้ ผมขออ�ำนาจคุณพระ ศรีรัตนตรัย สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และคุณความดี ที่อาจารย์วสุได้กระท�ำมา โปรด บันดาลให้ดวงวิญญาณของอาจารย์วสุได้ไปสู่สุขติในสัมปรายภพ และเฝ้า มองดู พั ฒ นาการและการเติ บ โตของคณะที่ อ าจารย์ ว สุ รั ก พร้ อ มๆกั บ อาจารย์ป๋า จากสรวงสวรรค์ข้างบน ด้วยความอาลัยยิ่ง รศ. ดร. ทวนทอง จุฑาเกตุ


41

อาลัย อาจารย์ ภู ไม่เคยคิดว่าจะต้องมาเขียนค�ำไว้อาลัยให้กับ อาจารย์ ภู รู้จักกับ อาจารย์ ภู (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์) ตั้งแต่ปี ๒๕๓๗ ซึ่งเป็นปีแรกที่เข้ามาท�ำงาน ที่ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ช่วงนั้น อาจารย์ ภู พักอยูท่ แี่ ฟลต ภายใน ม.อุบลฯ ช่วงนัน้ ท�ำให้มโี อกาสได้พดู คุยกันนอกเวลาท�ำงาน บาง วัน อาจารย์ ภู จะอาสาพาชาวแฟลตไปเที่ยวในตัวเมืองอุบล ซึ่งตอนนั้นมีห้างสรรพ สินค้าอยู่แห่งเดียวคือห้างยิ่งยง (ปัจจุบันเป็น โรบินสันยิ่งยง) ท�ำให้ได้รู้จักตัวตนของ อาจารย์ ภู มากขึ้น อาจารย์ ภู เป็นคนอารมณ์ดี คุยสนุก มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่คน รอบข้าง เป็นคนที่ตงั้ ใจและมุ่งมั่นในการท�ำงาน ในช่วงการท�ำงานด้วยกัน บางครั้งก็มี ขัดคอขัดใจกันบ้าง แต่ความเป็นพี่เป็นน้องเป็นเพื่อนร่วมงานยังคงไม่เปลี่ยนแปลง อาจารย์ ภู เป็นคนมีจติ ใจดีไม่เคยคิดร้ายกับใคร ถ้าโกรธจะพูดตรงนัน้ ตรงๆ แต่จบแล้ว คือจบไม่มตี ดิ ค้างอะไร เจอหน้าก็ยงั พูดคุยกันตามปกติ ดังนัน้ เวลาท�ำงานกับ อาจารย์ ภู จะไม่รู้สึกหนักใจ ช่วงหลังๆ อาจารย์ ภู มีภาระงาน ทั้งการเป็นผู้บริหาร การเรียน การสอน รวมทัง้ งานวิจยั ทีม่ ากขึน้ ท�ำให้มโี อกาสได้พดู คุยกันน้อยลง แต่ยงั คงมีรอยยิม้ การทักทายทุกครัง้ ที่เจอกัน ที่ผ่านมา อาจารย์ ภูเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนา คณะ เกษตรศาสตร์ ท�ำให้คณะเกษตรศาสตร์ ม.อุบล ฯ เป็นที่รู้จักของคนภายนอกมากขึ้น การจากไปอย่างไม่มวี นั กลับของ อาจารย์ ภู นอกจากจะท�ำให้คนในครอบครัวต้องสูญ เสียบุคลอันเป็นที่รักยิ่งแล้ว ยังเป็นการสูญเสียบุคลากรที่มีคุณประโยชน์ของ คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไปด้วย การจากไปของ อาจารย์ ภู จะเป็นการ จากไปเฉพาะร่างกายเท่านัน้ คุณงามความดีและผลงาน ของ อาจารย์ ภู จะยังคงจารึก อยู่ในใจของพี่และชาวเกษตรศาสตร์ ม.อุบล ฯ ทุกคน สุดท้ายขอให้ดวงวิญญาณของ อาจารย์ ภู (ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ)์ จงไปสู่สขุ คติในสัมปรายภพด้วยเทอญ

อาจารย์บุบผา ใจเที่ยง ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรสาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชนี


42

ค�ำอาลัย พี่วสุ พลังใจอันแรงกล้า เมื่อคราต้องจากไป ความดียังคงอยู่ ละอองน�้ำอันพร่างพราย นอนหลับให้เปลี่ยนสุข หนุนเนื่องท้นทวี

มุ่งฟันฝ่าอย่างตัง้ ใจ ให้อาลัยอยู่มวิ าย คนชื่นชูมิรู้หน่าย ผสมสายห้วงวารี อิ่มวิมุตสิ มสุขศรี “วสุ”นี้ที่ตรึงตรา ครอบครัวกรุดพันธ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ในครั้ ง แรกที่ ม าท� ำ งานที่ ค ณะเกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย อุบลราชธานี ได้พบกับท่านอาจารย์วสุ อมฤตสุทธิ์ ซึ่งเป็นรุ่นพี่ที่จบจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ น้องๆ จะเรียกว่า “พี่ภู” พี่เป็นคนที่ท�ำงานเก่ง และรวดเร็ว เสียงดัง และ สามารถให้ค�ำปรึกษากับน้องๆ ได้ในทุกๆ เรื่อง ไม่เพียงแต่พี่ภูจะเป็นคนที่ท�ำงานเก่ง พี่ภูให้ความเป็นมิตรกับทุกคนอย่าง เสมอภาคและรับฟังความคิดเห็นของทุกคน พี่ภูเป็นต้นแบบของคนท�ำงาน รุ่นใหม่และเป็นตัวอย่างให้กับน้องๆ ที่จะก้าวเดินต่อไป การจากไปของพี่ภูในวันนี้ เป็นเพียงการจากไปของร่างกายเท่านั้น คุณความดี ตัวอย่างของการท�ำงานและการด�ำเนินชีวิตของพี่ภูจะอยู่ในใจ ของน้องๆ ตลอดไปค่ะ ขอให้ดวงวิญญาณของพี่ภูไปสู่สุคติในสัมปรายภพ ค่ะ ธนาทิพย์ แหลมคม


43 อาลัยภู เกือบ ๑๑ โมงเช้าของวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๗ ดิฉันตกใจจนท�ำอะไรไม่ถูก ต้องนั่งตัง้ สตินิ่งๆอยู่เป็นเวลานานมาก เมื่อได้รับโทรศัพท์จากอาจารย์เสาวดีและตาม ด้วยสายจากอาจารย์ธีระพลเพื่อแจ้งให้ทราบถึงการจากไปอย่างไม่มีวันกลับของ อาจารย์วสุหรือที่ดิฉันเรียกจนติดปากว่า ”ภู” หลังจากที่ดิฉันได้เข้ามาดูแลงานด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยตั้งแต่ เดือนตุลาคมปี ๒๕๕๓ ก็ได้มโี อกาสร่วมงานกับภูในโครงการต่างๆทีม่ หาวิทยาลัย (โดย คณะเกษตรศาสตร์) ได้มคี วามร่วมมือกับส�ำนักงานความร่วมมือเพือ่ การพัฒนาระหว่าง ประเทศ (สพร.) กระทรวงการต่างประเทศ ในการพัฒนาด้านการเกษตรในประเทศ ลาวและล่าสุดที่เสียมเรียบของประเทศกัมพูชาซึ่งเพิ่งจะเริ่มด�ำเนินการ การท�ำงานใน โครงการเหล่านีท้ ำ� ให้ดฉิ นั และภูได้รว่ มเดินทางเข้าออกโดยเฉพาะประเทศลาวกันหลาย ครั้ง ไม่ว่าจะเป็นที่จ�ำปาสัก เวียงจันทน์และแม้กระทั่งที่เชียงขวาง และครั้งสุดท้ายที่ เสียมเรียบ พระตะบองและศรีโสภณที่น�ำโดย ฯพณฯ เอกอัคราชทูตไทยประจ�ำกรุง พนมเปญ ท่านทัชยุติ ภักดี ซึ่งทุกครั้งที่เดินทางดิฉันก็จะได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่าง ดีจากภู หลังเหน็ดเหนือ่ ยจากการท�ำงานในตอนกลางวัน ตอนเย็นภูกจ็ ะพาหาทีท่ านข้า วอร่อยๆทีภ่ เู คยไปชิมมาให้ได้ทานทุกครัง้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กะหล�ำ่ ปลีผดั น�้ำปลาแสน อร่อยที่ปากเซและเฝอที่เลื่องชี่อของเวียงจันทน์ แถมยังพาไปช็อปปิ้งซื้อของกลับบ้าน พร้อมช่วยต่อราคาให้เสร็จสรรพ นอกจากนี้แล้วภูยังท�ำหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่ ดีให้กบั นักศึกษาทัง้ ชาวลาวและชาวกัมพูชาทีไ่ ด้รบั ทุนมาศึกษาอยู่ในหลักสูตรทีภ่ ดู แู ล ภูได้ให้ความเป็นกันเองและดูแลเอาใจใส่นักศึกษาเหล่านี้อย่างดียิ่ง ซึ่งถือว่าเป็นการ ช่วยแบ่งเบาภาระงานของส�ำนักงานวิเทศสัมพันธ์ได้อย่างมากทีเดียว ความประทับใจทั้งทางด้านการทุ่มเทให้กับการท�ำงานเพื่อส่วนรวมและ มิตรภาพที่ดีที่เพื่อนที่ชื่อภูคนนี้มีให้ดิฉันเสมอมาจะอยู่ในความทรงจ�ำของดิฉันตลอด ไป และขอให้คุณความดีที่ภูได้ท�ำมาในภพนี้ได้ส่งผลน�ำพาดวงวิญญาณของภูไปสู่ สัมปรายภพด้วยเทอญ ด้วยความอาลัยยิ่ง อ้วน ดร. สิรนิ ทร์ทิพย์ บุญมี รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์


44 อาลัยรัก พี่ภู วสุ หรือ คุณลุงภูของหลานๆ ความรักและผูกพันที่พี่ ชายคนนี้ให้มาตลอดเวลาเกือบ ๑๙ ปีที่รู้จักกันจะอยู่ในใจและระลึกถึงอยู่ เสมอ ครอบครัวอุทโธ หลานแน้ป หลานนท นุ้ยและอ๋า

ค�ำไว้อาลัยแด่ ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ท่านอาจารย์วสุ อมฤตสุทธิ์ เป็นผู้ที่ควรแก่การยกย่องในฐานะแห่ง ผู้ทรงวิทยาคุณ เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล และเป็นผู้ขวนขวายในหน้าที่ ราชการอย่ า งหาได้ยาก ผลงานของท่านปรากฏออกมาชั ดแจ้ ง ในการ สร้างสรรค์ผลงานวิจัย และความร่วมมือในโครงการต่างๆ ทั้งในและต่าง ประเทศ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ผู ้ ร ่ ว มลงหลั ก ปั ก รากฐานคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีอีกด้วย ท่านก�ำลังท�ำงานให้แก่ชาติ ให้แก่อนุชน อย่างเข้มแข็งสุดก�ำลังและได้ผลโดยแท้ ไม่น่าด่วนล่วงลับไปเลย ด้วยความเคารพรักและอาลัยยิ่ง ดร.บุษบา บัวค�ำ ๑๙ มี.ค. ๕๗


45 แด่ ผศ.ดร. วสุ เมื่อกล่าวถึง อาจารย์ภู (อาจารย์วสุ) จะนึกถึงเรื่อง IT เรื่องการวางระบบ ข้อมูล จนหลายๆ คนอาจลืมแล้วว่า อาจารย์จบด้านใดมา อาจารย์ภูเป็นคนที่ท�ำงาน หนักและทุ่มเทกับการท�ำงานมาก มีอัธยาศัยดีและมีความสามารถในการติดต่อ ประสานงานกับบุคคลต่างๆ เป็นอย่างดี ได้รู้จักคุ้นเคยกับอาจารย์ภูมานานแต่ได้มา ท�ำงานใกล้ชิดกันมากขึ้นในช่วงสองปีมานี้ จากการท�ำโครงการ ABC ร่วมกัน เมื่อได้ ทราบข่าว การสูญเสียอาจารย์ภูในเช้าวันจันทร์ ยอมรับว่าคิดอะไรไม่ออกไปพักหนึ่ง เสียใจกับครอบครัวและทุกคนการจากไปของอาจารย์ภเู ป็นเรือ่ งทีท่ ำ� ให้คนทีร่ ้จู กั เศร้า ใจและตระหนักถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้นไม่เฉพาะในฐานะที่เป็นคนรู้จักคุ้นเคยเท่านั้น แต่ในฐานะที่สังคมต้องสูญเสียนักวิชาการที่มีความสามารถและมีอนาคตที่รุ่งเรืองใน ทางวิชาการ ได้บอกข่าวเรื่องอาจารย์ภูให้ทางส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ทีท่ ำ� งานร่วมกันอยูไ่ ด้ทราบข่าว ทุกคนต่างแสดงความเสียใจกับเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ทัง้ คุณเบญจมาศ คุณเบญญาภา คุณสมชาย คุณฐิติมาภรณ์ รวมทั้ง อาจารย์สลี าภรณ์ บัวสาย รองผู้อ�ำนวยการ สกว.ด้านงานวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ และผู้อ�ำนวยการฝ่าย ชุมชนและสังคม ที่ได้แสดงความรู้สึกของคนที่ได้ร่วมงานกับอาจารย์ภูมาว่า เรียน อ.อินทิรา ขอบคุณมากค่ะที่ส่งข่าว ดิฉันและทีมงาน สกว.ขอแสดงความ เสียใจอย่างยิง่ ต่อครอบครัว อ.วสุ และมหาวิทยาลัยในความสูญเสียครัง้ นีค้ ่ะ อ.วสุเป็นบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพสูงและมีค่ามากของวงวิชาการ การ สูญเสียเธอไปเป็นเรื่องที่ท�ำให้ใจหายและเสียดายเป็นอย่างยิ่ง ขอแสดง ความเสียใจอีกครั้งค่ะ สีลาภรณ์ ข้อความที่ยกมาเป็นเพียงส่วนหนึ่งของความรู้สึกอาลัยในการจากไปของ อาจารย์ภู สิ่งที่ทุกคนเขียนเป็นเพียงส่วนหนึ่งของความทรงจ�ำที่สามารถเขียนออกมา ได้ในเวลาทีจ่ ำ� กัด แต่ความคิดถึงและความอาลัยในการจากไปของอาจารย์ภู จะคงอยู่ ในความทรงจ�ำตลอดไป อินทิรา ซาฮีร์


46 ค�ำไว้อาลัยแด่ ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ท่านอาจารย์วสุ อมฤตสุทธิ์ เป็นผูท้ คี่ วรแก่การยกย่องในฐานะแห่งผูท้ รงวิทยา คุณ เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล และเป็นผู้ขวนขวายในหน้าที่ราชการอย่างหาได้ยาก ผลงานของท่านปรากฏออกมาชัดแจ้งในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัย และความร่วมมือ ในโครงการต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นผู้ร่วมลงหลักปักรากฐานคณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีอีกด้วย ท่านก�ำลังท�ำงานให้แก่ชาติ ให้แก่ อนุชนอย่างเข้มแข็งสุดก�ำลังและได้ผลโดยแท้ ไม่น่าด่วนล่วงลับไปเลย ด้วยความเคารพรักและอาลัยยิ่ง ดร.บุษบา บัวค�ำ ๑๙ มี.ค. ๕๗

อาลัย ผศ.ดร.วสุ ในความทรงจ�ำเมื่อครั้งออกหน่วยแพทย์พระราชทานเคลื่อนที่ส�ำหรับพระ ภิกษุ สามเณรในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร จ�ำนวน ๗๗ จังหวัดทัว่ ประเทศเพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ใน โอกาศมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ นัน้ เราปฏิบตั ิ หน้าที่ตรวจเยี่ยมล่วงหน้า ได้พบปัญหามากมาย แม้ในวันจริงเราเป็นส่วนพิธีการและ รวบรวมเอกสารข้อมูลสุขภาพพระแต่ละจังหวัด น�ำกลับมาส่วนกลางเพื่อส่งหน่วย ประมวลผลในภาพรวม แต่ปรากฏว่าหน่วยไม่สามารถประมวลผลได้เนื่องจากแต่ละ จังหวัดต่างไช้โปรแกรม ทีต่ นเองมีและถนัด อีกทัง้ เราแก้ปญ ั หาให้ทกุ จังหวัดโดยท�ำเป็น แบบสอบถามส่ง กลับมา เรามีปัญหามาก ตั้งแต่ถูกย่อจากก�ำหนดปฏิบัติงาน ๒ ปีให้ เป็น ๑ ปี การลงพื้นที่ทุกจังหวัดมีปัญหาต่างกันไปทุกจังหวัดแม้สามจังหวัดแดนใต้ก็ เจอ กับความไม่สงบแต่ท่านรองราชเลขานุการในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินนี าถ ท่านได้กรุณาให้พวกเราอยูใ่ นความดูแลของค่ายจุฬาภรณ์ ค่ายสิรนิ ธร และ ค่ายอิงคยุทธ์ฯจนผ่านมาได้ ปฏิบตั ภิ าระกิจถวายจนลุลว่ ง แต่จะต้องมาจบเพราะหน่วย ประมวลผลของเราท�ำงานไม่ได้ จนเหลือเวลาก�ำหนดอีก ๔ เดือน จะเสด็จๆแล้ว ใน


47 ยามยากล�ำบากนั้น อ.วสุ ได้น�ำทีมสารสนเทศคณะเกษตรฯเข้ามาช้อนเก็บทุกปัญหา ไปด�ำเนินการ ทีมงานทุกคนน�ำโดย อ.วสุต้องเขียนโปรแกรมใหม่บันทึกข้อมูลดิบ และ ประมวลผลเข้าสู่ระบบสถานะสุขภาพของพระภิกษุได้ทนั เวลาเสด็จฯ ทุกคนในทีมรู้สกึ ซาบซึ้งใจยิ่งนักที่เจ้านายทรงพอพระทัยและชมเชย และในหมายเสด็จฯ อ.วสุ กลาย เป็น ผอ.ศูนย์สารสนเทศหน่วยแพทย์พระราชทานเคลื่อนที่ฯในพระอุปถัมภ์ฯและได้ ถวาย รายงานในการรับเสด็จฯในครัง้ นัน้ ณ วันนี้ไม่มี อ.วสุ แล้ว แต่หากมีส่งิ ใดก็ตาม ทีจ่ ะรับรู้ได้อยากบอกเพือ่ นผู้ร่วมทุกข์สขุ ด้วยกันว่า โครงการนีย้ งั ไม่จบนะ และผลการ ประมวลสถานะสุขภาพพระภิกษุที่ได้ทำ� นั้นโครงการฯได้น�ำทูลเกล้าฯถวาย พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั แล้วหากด้วยอานิสงค์ใดๆ ทีไ่ ด้ทำ� ถวายในการพระศาสนาทัง้ หมด ทัง้ ปวงที่ อ.วสุได้กระท�ำมานีข้ อจงเป็นพลวปัจจัยน�ำทางไปสูท่ อี่ นั สุขสว่างใส ต่อไป และ พวกเราทีมหน่วยแพทย์พระราชทานฯส่วนล่วงหน้าจะระลึกถึงท่านตลอดไป จากหน่วยแพทย์พระราชทานเคลื่อนที่

ภู - ผู้อุทศิ ตนให้กับงาน พี่เห็นภูมาตั้งแต่เด็ก ภูเรียกพี่ว่าอาต้อย แต่เมื่อได้มาร่วมงานกัน พี่ขอให้ภู เปลี่ยนจากการเรียก “อา” มาเรียกว่า “พี่” เสียดีกว่า เพราะอยากให้ตัวเองดูอ่อนวัย พี่ยังจ�ำภาพภูและน้องๆ อีกสองคนรวมเป็นสาม ชาย ช่วยกันขายน�้ำมะนาวอยู่ใกล้ๆ ตึกที่ท�ำงานของศูนย์เกษตรฯ ท่าพระ จังหวัดขอนแก่น ในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อนได้ เป็นอย่างดี เมื่อภูมาท�ำงานที่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ภูเป็นน้องที่ ขยันขันแข็ง คิดเร็ว ท�ำเร็ว ตัง้ หน้าตัง้ ตาบากบัน่ ท�ำงานอย่างไม่ยอ่ ท้อ เพือ่ ฟูมฟักคณะฯ และลูกศิษย์ให้เจริญรุ่งเรือง ภูท�ำงานทุกอย่างตั้งแต่ไม้จิ้มฟันยันเรือรบ ซึ่งขอยก ตัวอย่างบางส่วนมาพอให้เห็นภาพ อาทิเช่น ภูได้ช่วยจัดท�ำหลักสูตร หาสถานทีฝ่ กึ งาน ดูแลกิจการนักศึกษา และจัดหางานให้นกั ศึกษาท�ำเมือ่ จบการศึกษาแล้ว ภูช่วยจัดงาน ประชุมระดับชาติ ระดับนานาชาติด้านพืชสวน และด้านเมล็ดพันธุ์พชื ภูเป็นผู้ประสาน งานเกษตรอีสานใต้นอกจากนีแ้ ล้วภูยงั เป็นผูบ้ ริหาร เคยเป็นรองคณบดีฝา่ ยบริหารของ คณะฯ ส�ำหรับงานด้านการสอนและงานวิจยั ของภูนนั้ เป็นด้านเมล็ดพันธุพ์ ชื และข้อมูล


48 สารสนเทศการเกษตร ภูมีโครงการอยู่ในความรับผิดชอบมากมาย ทั้งในเขตอีสานใต้ ไปจนกระทัง่ ในประเทศลาว และกัมพูชา อันก่อให้เกิดประโยชน์นานัปการแก่นกั ศึกษา และเกษตรกร เมื่อมานั่งนึกๆ ดู งานทุกอย่างในคณะฯ ภูมีส่วนร่วมช่วยกันกับพี่ๆ น้องๆ ใน คณะฯ ทั้งนั้น ภูเป็นคนที่รักการท�ำงานอย่างมาก สนุกกับการท�ำงาน ไม่เคยบ่นเหนื่อย ไม่เคยกล่าวร้ายผูอ้ น่ื ซือ่ สัตย์สจุ ริตติดเป็นนิสยั และเคารพผูอ้ าวุโสสูงกว่าอยูเ่ สมอ เมือ่ อาจารย์วรพงษ์ป่วย ถึงภูจะยุ่งแค่ไหนก็ยังหาเวลาพาเล็ก และน้องพี มาเยี่ยมอาจารย์ อยู่ตลอด พร้อมกับเล่าเรื่องงานที่ท�ำให้เราฟัง นึกถึงภูทีไร ก็ยังจ�ำได้ดีถึงท่าทางที่มี ความสุขของภูเมื่อพูดถึงงาน เมื่ อ พี่ ท ราบข่ า วภู นั้ น ตกใจมาก จนรู ้ สึ ก เหมื อ นโลกหยุ ด หมุ น ไปชั่ ว ขณะ พยายามตั้งสติแต่ก็ยังไม่เต็มร้อย รู้สึกว้าวุ่นอยู่นาน ท�ำให้ไม่สามารถข่มตาหลับได้ใน เวลากลางคืน จึงลองคิดอีกแบบหนึ่ง คิดปลอบใจตัวเองว่า ภูคงท�ำงานในโลกนี้หมด แล้ว จึงต้องขึ้นไปช่วยเทวดาบนสวรรค์ ป่านนี้คงไปนั่งถกกันกับเทวดาเรื่องโครงการ อะไรสักอย่างบนสวรรค์แน่ๆ ตามประสาคนขยันอย่างภู พี่เชื่อมั่นว่าคุณความดีที่ภูได้ ท�ำไว้จะเป็นส่วนเกื้อหนุนให้ภูได้ไปสู่สรวงสวรรค์อย่างแน่นอน รศ. ดร. พรพิมล สุริยภัทร พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่าเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นเรื่องธรรมดา ทุกอย่างมีเกิด แล้วก็ต้องมีดับ... แต่การสูญเสียครั้งนี้มันเร็วเกินไป เร็วจนไม่น่าเชื่อว่าจะเกิดขึ้นได้... คิดถึงทุกครั้งก็ยังรู้สึกขึ้นได้ว่า ไม่น่าเชื่อ... และไม่น่าเกิดขึ้นได้... เป็นการสูญเสียครั้ง ใหญ่หลวงของครอบครัวอาจารย์ภู... เป็นการสูญเสียครัง้ ยิ่งใหญ่ของเพื่อนร่วมงาน... และคณะเกษตรศาสตร์... อาจารย์ภูเป็นตัวอย่างของคนที่ชอบท�ำงาน (หนัก) ไม่เคย ได้ยินอาจารย์ภูพูดว่างานหนัก... หรือเสียเวลาเลย... คิดได้เร็ว ท�ำได้เร็ว เสียสละเวลา ของตนเอง และลุยงานหนักมาโดยตลอด คณะเกษตรศาสตร์สญ ู เสียครัง้ ยิง่ ใหญ่จริงๆ ขออ�ำนาจคุณพระศรีรตั นตรัยโปรดคุ้มครองปกปักรักษาอาจารย์ภตู ลอดไป ขอให้ดวง วิญญานของภูไปสู่สุคติ... สาธุ พี่เจี๊ยบ จินดามณี แสงกาญจนวนิช


49

ขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวของ ผศ.ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ ขอร่วมไว้อาลัยกับการจากไปอย่างไม่มวี ันกลับของอาจารย์วสุ ประโยชน์ คุณงามและความดีที่อาจารย์วสุได้สร้างไว้จะเป็นคุณ ประโยชน์ต่อไปให้กับบุคคลที่ยังมีชีวติ อยู่ ขอให้อาจารย์วสุได้พักผ่อนด้วยความสงบสุขไปจนนิรันดร You are a man who is now taking a peaceful resting after your long journey. ผศ.ดร.วิรยิ า พรมกอง รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

อาจารย์วสุ อมฤตสุทธิ์ เป็นทั้งพี่และผู้ร่วมงานที่เป็นแบบอย่างที่ดีในหลายๆ ด้าน อาทิเช่น ความขยัน ความ เสียสละ ความกระตือรือร้นในงาน และหน้าที่ความรับผิด ชอบ ผมรู้สกึ ใจหลายเมือ่ ทราบว่าท่านได้จากพวกเราไปแล้ว ขอให้ท่านจงมี ความสุขและหลับให้สบายในสัมปรายภพตามที่ท่านปรารถนา

ด้วยรักและอาลัย ทินน์ พรหมโชติ


50 สรุปผลงานวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ในช่วง ๔-๕ ปีท่ผี ่านมา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วสุ อมฤตสุทธิ์ สถานการณ์ ก ารใช้ เ มล็ ด พั น ธุ ์ พ ริก ของเกษตรกรในเขตจั ง หวั ด อุบลราชธานีและศรีสะเกษ โดยส�ำรวจเกษตรกรในพืน้ ทีป่ ลูกพริก ๑๐ ต�ำบล จาก ๖ อ�ำเภอของเขตจังหวัดอุบลราชธานี และพื้นที่ ๔๕ ต�ำบล จาก ๑๒ อ�ำเภอในเขตจังหวัดศรีสะเกษ จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า เกษตรกรผู้ ปลูกพริกทัง้ ๒ จังหวัด ยังคงเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองถึง ๘๑.๕๔% แต่การใช้ เมล็ดพันธุ์ลูกผสมมีแนวโน้มการใช้มากขึ้นเนื่องจากตลาดมีความต้องการ มากกว่า ปัจจุบันพบว่าความต้องการใช้เมล็ดพันธุ์พริกทั้ง ๒ จังหวัด มี ประมาณ ๓,๓๗๗.๓๐ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า ๖,๗๘๙,๗๖๐ บาท ทั้งนี้ เป็นเมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้ใช้เอง ๓,๐๓๓.๘๐ กิโลกรัม (๖๐๖,๗๖๐ บาท) และเมล็ดพันธุ์ลูกผสมประมาณ ๓๔๓.๕ กิโลกรัม (๖,๑๘๓,๐๐๐ บาท) ซึ่งเมล็ดพันธุ์ลูกผสมมีมูลค่ามากกว่าเมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้ใช้ เองถึง ๑๐ เท่า (วสุและคณะ,๒๕๔๙ก) อั ต ราการใช้ เ มล็ ด พั น ธุ ์ ข องเกษตรกรปลู ก พริ ก ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด อุบลราชธานีและศรีสะเกษ ในพื้นที่ ๑ ไร่ กรณีเกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ที่ เกษตรกรเก็บไว้ใช้เอง จะใช้พริกแห้ง ประมาณ ๕๐๐ กรัม เพือ่ กระเทาะเอา เมล็ด หรือใช้เมล็ดประมาณ ๒๐๐ กรัม ส�ำหรับใช้เพาะกล้า (ระยะปลูก ๐.๔ ×๐.๔ เมตร) ประมาณ ๑๐,๐๐๐ -๑๒,๐๐๐ ต้นจึงจะเพียงพอในการปลูก มีการใช้ปริมาณเมล็ดพันธุใ์ นการเพาะมาก เนือ่ งจากเกิดความความเสียหาย ระหว่างเพาะกล้า เกษตรกรบางรายย้ายปลูกจะใช้ ๒-๓ ต้นต่อหลุม ส่วน กรณีเกษตรกรใช้เมล็ดพันธุล์ กู ผสม น�ำ้ หนักเมล็ดพันธุ์ ๕๐ กรัม มีเมล็ดพันธุ์


51 ประมาณ ๑๒,๐๐๐ เมล็ด ตามอัตราการแนะน�ำซึ่งสามารถปลูกได้ ๑ ไร่ โดยใช้ระยะปลูก ๐.๕×๑.๐ เมตร จะใช้ต้นกล้าประมาณ ๓,๒๐๐-๓,๕๐๐ ต้น แต่ในการปฏิบัติของเกษตรกร นิยมใช้เมล็ดพันธุ์พริกอัตรา ๑๐๐ กรัม ต่อไร่ โดยเผื่อส�ำหรับการตายของต้นกล้า ท�ำให้เพิ่มปริมาณการใช้ และ ต้นทุนในการผลิตของเกษตรกรเพิ่มสูงขึ้น (วสุและคณะ,๒๕๔๙ข) ต้นทุนการผลิตพริกของเกษตรกรในทั้งจังหวัดอุบลราชธานีและ ศรีสะเกษ กรณีเกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ที่เก็บไว้ใช้เอง พบว่ามีต้นทุนต�่ำ เนื่องจากไม่ต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ หากคิดค�ำนวณค่าเมล็ดพันธุ์ พบว่ามีมูลค่า ประมาณ ๔๐ บาท ซึ่งเป็นราคาของพริกแห้งประมาณ ๐.๕ กิโลกรัมที่น�ำ มาใช้กะเทาะเพื่อเอาเมล็ดพันธุ์ จากการส�ำรวจ (ตารางที่ ๓) พบว่ากรณี เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ที่เก็บไว้ใช้เองในการผลิตพริกแดงสด ๑ ไร่ มีต้นทุน ต่อกิโลกรัม ประมาณ ๑๔.๓๗ บาท รายได้เหนือต้นทุนรวมประมาณ ๑๔,๐๖๖ บาท ค่าเมล็ดพันธุค์ ดิ เป็น ๐.๑๑% ของต้นทุนทัง้ หมด ส่วนในกรณี ที่เกษตรกรปลูกพริกพันธุ์ลูกผสม เกษตรกรจะต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ในราคา ๘๕๐-๙๓๐ บาทต่อน�้ำหนัก ๕๐ กรัม เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์อัตรา ๑๐๐ กรัมต่อไร่ ท�ำให้ต้นทุนเมล็ดพันธุ์พริกประมาณ ๑,๘๐๐-๑,๘๖๐ บาท คิด เป็น ๕.๐๔% ของต้นทุนทัง้ หมด ทั้งนี้ในการผลิตพริกแดงสด ๑ไร่ มีต้นทุน ต่อกิโลกรัม ประมาณ ๑๗.๘๕ บาท รายได้เหนือต้นทุนรวมประมาณ ๑๔,๓๖๖ บาท จากทั้ง ๒ กรณีการใช้เมล็ดพันธุ์ที่ต่างกันแต่พบว่ารายได้ เหนือต้นทุนรวมไม่แตกต่างกันมากนัก เนื่องจาก พริกพันธุ์ลูกผสมสามารถ จ�ำหน่ายได้ราคาสูงกว่าพริกพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้ใช้เอง (วสุและคณะ, ๒๕๔๙ค) ทั้งนี้ปัญหาที่ส�ำคัญของการใช้เมล็ดพันธุ์ คือ เกษตรกรขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ เช่น คุณสมบัติและการใช้เมล็ดพันธุ์แต่ละ ชนิด การท�ำความสะอาดเมล็ดพันธุ์ การตรวจคุณภาพเมล็ดพันธุ์อย่างง่าย การป้องกันก�ำจัดศัตรูเมล็ดพันธุ์ การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ ซึ่งมีผลท�ำให้ก่อ


52 เกิ ด ปั ญ หาการผลิ ต และคุ ณ ภาพผลผลิ ต ต่ า งๆ ตามมา (วสุ แ ละคณะ, ๒๕๔๙ข) การศึกษาการแช่เมล็ดพันธุ์พริกพันธุ์หวั เรือในน�ำ้ ส้มสายชูกลัน่ เพือ่ การก�ำจัดโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์โดยเปรียบเทียบความเข้มข้นของน�้ำส้ม สายชูกลั่นที่ระดับ ๐, ๐.๖๓, ๐.๘๓ ๑.๒๕, ๒.๕ และ ๕ เปอร์เซ็นต์ และ ระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์พริกที่๑/๒ ชั่วโมงและ ๑ ชั่วโมง พบว่า เมล็ดที่ ผ่านการแช่ด้วยน�้ำส้มสายชูกลั่นที่ความเข้มข้น ๐-๕% เป็นเวลา ½ ชั่วโมง มีความงอกมาตรฐานไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่การแช่ดว้ ยน�ำ้ ส้มสายชูกลัน่ ที่ความเข้มข้นสูงกว่า ๐.๘๓% เป็นเวลา ๑ ชั่วโมง มีผลให้ต่อการลดลงของ เปอร์เซ็นต์ความงอก ดัชนีความงอก ความยาวรากและความยาวล�ำต้นเมือ่ ความเข้มข้นเพิ่มขึ้น การแช่เมล็ดพันธุ์พริกในน�้ำส้มสายชูที่ความเข้มข้น ๐.๖๓% นาน ๑ ชั่วโมง สามารถลดเปอร์เซ็นต์เมล็ดที่เกิดโรคจาก ๗๖% เหลือเพียง ๔% โดยไม่สง่ ผลกระทบกับเปอร์เซ็นต์ความงอก ดัชนีความงอก ความยาวรากและความยาวล�ำต้น จึงเหมาะสมทีจ่ ะน�ำไปประยุกต์ใช้ในการ ก�ำจัดโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์พริกได้ (วสุและคณะ,๒๕๔๙ง) ข้าวพันธุ์ กข.๑๕ และ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ เป็นพันธุ์ข้าวทีศ่ ูนย์เมล็ด พันธุ์ข้าวอุบลราชธานีรบั ผิดชอบในการผลิตเมล็ดพันธุ์ ซึง่ ปัญหาการพักตัว ของพันธุ์ข้าวทั้ง ๒ พันธุ์ ท�ำให้ประสบปัญหาในการรับซื้อเมล็ดพันธุ์จาก เกษตรกร ดังนั้นจึงได้ศึกษาระดับความเข้มข้นกรดไนตริก อุณหภูมิ และ ระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์ที่เหมาะสมเพื่อแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ ข้าวพันธุ์ กข.๑๕ และ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ โดยพบว่า การแช่เมล็ดพันธุ์ใน กรดไนตริกที่ความเข้มข้น ๐.๑๕ M เป็นเวลา ๒๔ ชั่วโมง ที่อุณหภูมิห้อง (๒๘ องศาเซลเซียส) เป็นวิธีที่เหมาะต่อการแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ ข้าวพันธุ์ กข.๑๕ โดยสามารถเพิม่ เปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานจาก ๓๘% เป็น ๙๑% และ การแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยกรดไนตริกความเข้มข้น ๐.๓ M เป็น เวลา ๒๔ ชั่วโมง ที่อุณหภูมิห้อง เป็นระดับความเข้มข้นที่ดีที่สุดในการแก้ไข


53 การพั ก ตั ว เมล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วพั น ธุ ์ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ โดยสามารถเพิ่ ม เปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานจาก ๒๖% เป็น ๙๒% นอกจากนี้ เพือ่ เป็นการ ลดระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยการเพิ่มอุณหภูมิและความเข้มข้นของ กรด พบว่า การแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยกรดไนตริกความเข้มข้น ๐.๔ M เป็นเวลา ๒ ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส เป็นระดับความเข้มข้นที่ดีที่สุดใน การแก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ กข.๑๕ โดยสามารถเพิม่ เปอร์เซ็นต์ ความงอกมาตรฐานจาก ๓% เป็น ๙๔% และการแช่เมล็ดพันธุด์ ว้ ยกรดไนตริก ที่ความเข้มข้น ๐.๔ และ ๐.๕ M เป็นเวลา ๒ ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศา เซลเซียส เป็นระดับความเข้มข้นที่ดีในการแก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ โดยสามารถเพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐาน จาก ๑๕% เป็น ๙๔ และ ๙๖% ตามล�ำดับ (วสุและคณะ,๒๕๔๙จ) นอกจากนีใ้ นการศึกษาระดับความเข้มข้นกรดอะซิตกิ อุณหภูมิ และ ระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์ที่เหมาะสมเพื่อแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ ข้าวพันธุ์ กข ๑๕ และ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ พบว่า กรดอะซิตกิ ที่ความเข้มข้น ๐.๐๓และ๐.๐๔ M เป็นเวลา ๒๔ ชัว่ โมง ทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ้ ง (๒๘ องศาเซลเซียส) เพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐาน เมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ กข ๑๕ จาก ๒๗% เป็น ๘๘ และ ๘๗% ตามล�ำดับ และ การแช่ด้วยความเข้มข้น ๐.๐๕ M เป็น เวลา ๒๔ ชัว่ โมง ทีอ่ ณ ุ หภูมหิ ้อง สามารถท�ำให้เมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ ขาวดอก มะลิ ๑๐๕ เพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานจาก ๑๘% เป็น ๖๕% ซึ่งผล การแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าวทั้ง ๒ พันธุ์มีค่าต�่ำกว่าค่าความงอก ปกติของเมล็ดพันธุ์ที่น�ำมาทดสอบ ดังนัน้ วิธกี ารแก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ ข้าวดังกล่าว จึงเป็นวิธีที่ไม่เหมาะต่อการประยุกต์ใช้ ในการลดระยะเวลา การแช่เมล็ดพันธุด์ ว้ ยการเพิม่ อุณหภูมแิ ละความเข้มข้นของกรด พบว่า การ แช่ด้วยกรดอะซิติกความเข้มข้น ๐.๐๗๕ M โดยแช่เมล็ดเป็นเวลา ๓ ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส เป็นวิธีที่สามารถแก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ ข้าวได้ทงั้ พันธุ์ กข ๑๕และขาวดอกมะลิ ๑๐๕ โดยสามารถเพิ่มเปอร์เซ็นต์


54 ความงอกมาตรฐานจาก ๒๒.๘% เป็น ๙๒.๒% และ จาก ๒๓.๑% เป็น ๙๑.๘% ตามล�ำดับ (วสุและคณะ, ๒๕๔๙ฉ) กันเกรา ไม้มงคลสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เป็นไม้ยนื ต้น ที่มีเมล็ดขนาดเล็ก มีปัญหาการงอกของเมล็ดพันธุ์ แต่พบว่าสามารถงอก ได้ดีเมื่อเพาะในอาหารสูตร MS (Murashige and Skoog) จึงได้มีการศึกษา อิทธิพลของขัน้ ตอนการท�ำความสะอาดเมล็ดพันธุก์ นั เกรา ทีเ่ พาะในอาหาร สูตร MS ที่มีผลต่อการงอก ซึ่งมีล�ำดับขัน้ ตอนคือ การน�ำเมล็ดพันธุ์ไปผ่าน น�้ำไหล ๓๐ นาที ก่อนฟอกด้วยแอลกอฮอล์ที่ความเข้มข้น ๙๕ เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา ๕ นาที จากนัน้ น�ำเมล็ดพันธุไ์ ปแช่สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (คลอรอกซ์) ที่ความเข้มข้น ๒๐ เปอร์เซ็นต์ โดยเติมสาร tween-๒๐ ความ เข้มข้น ๐.๐๑ เปอร์เซ็นต์ นาน ๒๐ นาที และน�ำมาล้างด้วยน�้ำกลั่น ๓ ครั้งๆ ละ ๓ นาทีก่อนน�ำไปเพาะในอาหารสูตร ¼ MS จากการศึกษา พบว่า เมล็ด พันธุ์ที่ผ่านการท�ำความสะอาดทุกขั้นตอนให้ค่า ความงอกมาตรฐาน และ ดัชนีความงอก ไม่แตกต่างจากเมล็ดพันธุท์ ผี่ า่ นการท�ำความสะอาดและเพาะ ในอาหารสูตร MS ทัง้ นีใ้ นสิง่ ทดลองทีเ่ มล็ดพันธุผ์ า่ นการแช่ดว้ ยสารโซเดียม ไฮโปคลอไรด์ให้ความงอกมาตรฐาน และดัชนีความงอกสูงกว่าสิ่งทดลองที่ ไม่ได้แช่ด้วยสารละลาย (กรรณิกา, ๒๕๔๘) เอกสารอ้างอิง กรรณิกา สุวรรณไตร. ๒๕๔๘. อิทธิพลของขั้นตอนการท�ำความสะอาด เมล็ดพันธุ์ที่เพาะในอาหารสูตร MS ที่มีผลต่อการงอกเมล็ดพันธุ์ กั น เกรา. ปั ญ หาพิ เ ศษ. ภาควิ ช าพื ช สวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วสุ อมฤตสุทธิ์, พรพิมล สุริยภัทร และ รักเกียรติ แสนประเสริฐ. ๒๕๔๙ก. รายงานวิจัย เรื่อง การศึกษาสถานภาพการผลิตสิ่งแวดล้อมที่มผี ล ต่อผลผลิตและคุณภาพ และต้นทุนการผลิตสาร capsaicin ในพริก


55 พั น ธุ ์ ก ารค้ า ของไทย กรณี ศึ ก ษา: จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี และ ศรีสะเกษ. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ๑๔๕ หน้า วสุ อมฤตสุทธิ์, พรพิมล สุริยภัทร, รักเกียรติ แสนประเสริฐ และปราณี แสนวงศ์. ๒๕๔๙ข. สถานการณ์การใช้เมล็ดพันธุพ์ ริกของเกษตรกร ในเขตจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี แ ละศรี ษ ะเกษ.การสั ม มนาวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี ประจ� ำ ปี ๒๕๔๙, มหาวิ ท ยาลั ย อุบลราชธานี. หน้า ๓-๔ วสุ อมฤตสุทธิ์, พรพิมล สุริยภัทร, รักเกียรติ แสนประเสริฐ และปราณี แสนวงศ์. ๒๕๔๙ค. ต้นทุนการผลิตและรายได้จากการปลูกพริก ของเกษตรกรในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและศรีษะเกษ. วารสาร วิทยาศาสตร์เกษตร ๓๗ (๖) (พิเศษ) : ๑๒๙-๑๓๑ วสุ อมฤตสุทธิ์ และชเนศ ศรีประเสริฐ. ๒๕๔๙ง. ผลความเข้มข้นและระยะ เวลาการแช่นำ�้ ส้มสายชูกลัน่ ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุพ์ ริกขีห้ นูพนั ธุห์ วั เรือ . การสั ม มนาวิช าการมหาวิท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี ประจ� ำ ปี ๒๕๔๙, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๑-๒. วสุ อมฤตสุทธิ์, ขจร เราประเสริฐ และปราณี แสนวงศ์. ๒๕๔๙จ. ผลของ กรดไนตริกต่อการแก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ข้าว. การสัมมนา วิชาการมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจ�ำปี ๒๕๔๙, มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี. หน้า ๑๓๔-๑๓๖. วสุ อมฤตสุทธิ์, ขจร เราประเสริฐ และปราณี แสนวงศ์. ๒๕๔๙ฉ. ผลของ กรดอะซิติกและระยะเวลาการแช่ต่อการแก้ไขการพักตัวของเมล็ด พันธุ์ข้าว กข ๑๕ และขาวดอกมะลิ ๑๐๕. วารสารวิชาการ ม.อบ. ๙ (๑) :๒๕-๓๕


56 ผลของกรดไนตริกต่อการแก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ข้าว กข.๑๕ และ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ Effect of Nitric Acid on the Breaking of Dormancy of Rice Seed var. RD.๑๕ and Khao Dawk Mali ๑๐๕ วสุ อมฤตสุทธิ๑์ ขจร เราประเสริฐ๒ และ ปราณี แสนวงศ์๑ Wasu Amaritsut๑ Khajorn Roaprasert๒ and Pranee Sanwong๑ ๑. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๒. ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุบลราชธานี ๑. Faculty of Agriculture, Ubon Ratchathani University ๒. Ubon Ratchathani Rice Seed Center

บทคัดย่อ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาระดับความเข้มข้นกรดไนตริก อุณหภูมิ และระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุท์ เี่ หมาะสมเพือ่ แก้ไขการพักตัวของ เมล็ดพันธุข์ า้ วพันธุ์ กข.๑๕ และ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ โดยพบว่า การแช่เมล็ด พันธุ์ในกรดไนตริกที่ความเข้มข้น ๐.๑๕ M เป็นเวลา ๒๔ ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ ห้อง (๒๘ องศาเซลเซียส) เป็นวิธที ี่เหมาะต่อการแก้ไขการพักตัวของเมล็ด พันธุ์ข้าวพันธุ์ กข.๑๕ โดยสามารถเพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอกจาก ๓๘.๐% เป็น ๙๐.๘% และ การแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยกรดไนตริกความเข้มข้น ๐.๓ M เป็นเวลา ๒๔ ชั่วโมง ที่อุณหภูมิห้อง เป็นระดับความเข้มข้นที่ดีที่สุดในการ แก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ โดยสามารถเพิ่ม เปอร์เซ็นต์ความงอกจาก ๒๖.๔% เป็น ๙๑.๖% นอกจากนี้ เพื่อเป็นการลด ระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยการเพิ่มอุณหภูมิและความเข้มข้นของกรด พบว่า การแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยกรดไนตริกความเข้มข้น ๐.๔ M เป็นเวลา ๒ ชัว่ โมง ทีอ่ ณ ุ หภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส เป็นระดับความเข้มข้นทีด่ ที สี่ ดุ ในการ


57 แก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุข์ า้ วพันธุ์ กข.๑๕ โดยสามารถเพิม่ เปอร์เซ็นต์ความ งอกจาก ๒.๘% เป็น ๙๓.๖% และการแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยกรดไนตริกที่ความ เข้มข้น ๐.๔ และ ๐.๕ M เป็นเวลา ๒ ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส เป็นระดับความเข้มข้นทีด่ ใี นการแก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุข์ า้ วพันธุข์ าวดอก มะลิ ๑๐๕ โดยสามารถเพิม่ เปอร์เซ็นต์ความงอกจาก ๑๕.๔% เป็น ๙๔.๐% และ ๙๖.๔% ตามล�ำดับ ค�ำส�ำคัญ: การพักตัว กรดไนตริก ข้าว Abstract The objective of this experiment was to find the suitable concentration of nitric acid, temperature and pretreatment time for breaking dormancy of rice seed var. RD.๑๕ and KDML.๑๐๕. The results showed that nitric acid treatment at ๐.๑๕ M, at room temperature (๒๘oC) for ๒๔ hours, was suitable for breaking dormancy of rice seed var. RD.๑๕. The germination percentage increased from ๓๘.๐% to ๙๐.๘%. On the other hand, nitric acid treatment at ๐.๓ M, at room temperature for ๒๔ hours, was a suitable method for KDML.๑๐๕ rice seed. The germination percentage increased from ๒๖.๔% to ๙๑.๖%. Furthermore, this study attempted to reduce the pretreatment time by increasing temperature and acid concentration. The treatment with ๐.๔ M at ๔๐oC for ๒ hours was suitable for breaking dormancy of rice seed var. RD.๑๕. The germination percentage increased from ๒.๘% to ๙๓.๖%. However, the treatments with nitric acid at ๐.๔ and ๐.๕ M for ๒ hours at ๔๐oC were suitable for KDML.๑๐๕ rice seed. The germination percentage increased from ๑๕.๔% to ๙๔% and ๙๖.๔% respectively. Keywords: Dormancy, Nitric acid, Rice


58 บทน�ำ ข้าวเป็นพืชทีส่ ำ� คัญอย่างยิง่ ทางเศรษฐกิจของไทย ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ มี เ นื้ อ ที่ เ พาะปลู ก ข้ า วนาปี ทั้ ง หมด ๕๗,๖๗๑,๐๙๒ ไร่ โดยมี ผ ลผลิ ต ๒๐,๙๑๓,๙๑๒ ตัน และมีเนื้อที่เพาะปลูกนาปรัง ๙,๕๔๑,๗๖๗ ไร่ มี ผลผลิต ๖,๓๔๐,๘๔๗ ตัน (กรมส่งเสริมการเกษตร, ๒๕๔๘) ดังนั้นหาก การผลิตข้าวประสบปัญหาย่อมส่งผลกระทบต่อเกษตรกรจ�ำนวนมาก การ ผลิตข้าวในปัจจุบันมีการน�ำเครื่องจักรเข้ามาช่วยในการเก็บเกี่ยวข้าวซึ่งส่ง ผลต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ ท�ำให้ความบริสุทธิ์ของเมล็ดพันธ์ลดลง และ ก่อให้เกิดปัญหาการพักตัวของเมล็ดพันธุ์เพิ่มมากขึ้น การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุม์ คี วามส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิง่ ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ แต่หากเมล็ดพันธุท์ นี่ ำ� มาตรวจสอบมีการพักตัว ย่อม ท�ำให้เกิดความผิดพลาดของผลการตรวจสอบคุณภาพ ซึ่งพบว่าปัญหาดัง กล่าวเกิดขึน้ กับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวทีต่ ้องการวิธกี ารตรวจสอบคุณภาพ เมล็ดพันธุ์ที่รวดเร็วและแม่นย�ำ เพื่อน�ำผลที่ได้ไปใช้ในการช�ำระเงินให้แก่ เกษตรกรและน�ำไปใช้ในการปรับปรุงสภาพ International Seed Testing Association ได้ก�ำหนดวิธีการแก้ไขการ พักตัวเมล็ดพันธุข์ า้ ว ๓ วิธี คือ การอบที่ ๕๐ องศาเซลเซียส และ แช่นำ �้ หรือ HNO๓ เป็นเวลา ๒๔ ชัว่ โมง (ISTA,๑๙๙๙) นอกจากนีไ้ ด้มกี ารศึกษาการแก้ไข พักตัวในเมล็ดพันธุ์ข้าว ซึ่งมีค�ำแนะน�ำเหมือนและแตกต่างกัน เช่น การอบ ที่ ๔๐-๕๐ องศาเซลเซียส เป็นเวลา ๔-๕ วัน (ธวัชชัย, ๒๕๔๒; Office of the Gene Technology Regulator, ๒๐๐๕) การแช่เมล็ดด้วย ethylene chlorohydrin ความเข้มข้น ๐.๑ เปอร์เซ็นต์ ที่อุณหภูมิ ๔๐-๔๕ องศา เซลเซียส เป็นเวลา ๑๖-๒๔ ชัว่ โมง (วเรนยา, ๒๕๔๑; ธวัชชัย, ๒๕๔๒) หรือ การแช่เมล็ดพันธุ์ข้าวด้วย Acetic acid ความเข้มข้น ๕๐ mM เป็นเวลา ๒๔ ชั่วโมง (FFTC, ๒๐๐๓) ทั้งนี้พบว่าระดับการเกิดการพักตัวมีความแตกต่าง กันตามชนิดของพันธุ์ โดย อดุลย์ และคณะ (๒๕๓๙) ได้ศกึ ษาการพักตัวของ


59 เมล็ดพันธ์ข้าว ๑๖๐ สายพันธุ์ พบว่ามีระยะพักตัวแตกต่างกันอยู่ในช่วง ๐-๑๐ สัปดาห์ จากเหตุเหล่านี้ จึงจ�ำเป็นต้องมีการศึกษาวิธีการท�ำลายการพักตัว ที่เหมาะสมให้มีความจ�ำเพาะเจาะจงกับพันธุ์ข้าว โดยเฉพาะในการตรวจ สอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์เพื่อใช้ในการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ที่ต้องการ ทราบผลที่แม่นย�ำและรวดเร็ว งานวิจัยนี้เห็นว่าวิธีการแก้ไขด้วยวิธีการใช้ กรด (acid treatment) เป็นวิธีที่ใช้เวลาน้อย ช่วยให้ทราบผลรวดเร็ว จึงมุ่ง ศึกษาระดับความเข้มข้น และระยะเวลาแช่เมล็ดพันธุ์ท่เี หมาะสม เพื่อน�ำไป ปรับใช้ กับการท�ำลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าวกข. ๑๕ และ ขาวดอก มะลิ ๑๐๕ ซึง่ เป็นพันธุข์ า้ วทีน่ ยิ มปลูกในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาอิทธิพลของกรดไนตริกที่มีผลต่อการแก้ไขการพักตัว เมล็ดพันธุ์ข้าว โดยศึกษาในพันธุ์ กข.๑๕ และ พันธุ์ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ ทัง้ นี้ ได้รบั เมล็ดพันธุข์ า้ วทีเ่ ก็บเกีย่ วใหม่ซงึ่ เป็นเมล็ดทีม่ กี ารพักตัวจากศูนย์ขยาย เมล็ดพันธุพ์ ชื ที่ ๑๐ เป็นผูส้ ง่ เมล็ดพันธุต์ วั อย่างให้ในการด�ำเนินการวิจยั โดย แบ่งการวิจัยออกเป็น ๒ การทดลองดังต่อไปนี้ การทดลองที่ ๑ อิทธิพลของกรดไนตริกที่มีผลต่อการพักตัวและคุณภาพ ของเมล็ดพันธุ์ข้าว กข.๑๕ และ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ น�ำเมล็ดพันธุ์ข้าวแต่ละพันธุ์จ�ำนวน ๑๐ ชุดตัวอย่างๆ ละ ๔ ซ�้ำ มา หาระดับความเข้มข้นของสารละลายทีเ่ หมาะสมส�ำหรับการแก้ไขการพักตัว เบื้องต้นโดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) น�ำเมล็ดพันธุ์ข้าวมาแช่ในสารละลายกรดไนตริกที่ความเข้มข้น ๐, ๐.๑, ๐.๒, ๐.๒๕ และ ๐.๓ M นาน ๒๔ ชม. จากนั้นน�ำเมล็ดพันธุ์ท่ผี ่านการ แช่มาตรวจสอบความงอกมาตรฐานด้วยวิธี Between paper ตามกฎของ


60 ISTA (๑๙๙๙) พิจารณาผลเปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานที่อายุ ๑๔ วัน หลังเพาะ จากผลการศึกษาท�ำให้ทราบช่วงระดับความเข้มข้นของสารละลาย ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับการแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุเ์ บือ้ งต้น น�ำผลทดลอง ดังกล่าวมาปรับระดับความเข้มข้นของสิง่ ทดลอง และน�ำเมล็ดพันธุข์ า้ วแต่ละ พันธุ์ จ�ำนวน ๑๐ ชุดตัวอย่างๆ ละ ๔ ซ�้ำ มาทดลองใหม่กับสิ่งทดลองที่ถูก ปรับ โดยตรวจสอบเปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐาน ตรวจสอบความยาว ล�ำต้น ความยาวราก และน�ำ้ หนักแห้งต้นกล้าทีอ่ ายุ ๑๔ วันหลังเพาะ น�ำผล ที่ได้ไปวิเคราะห์หาความแตกต่างทางสถิติ (analysis of variance) เพื่อหาวิธี ที่เหมาะสมในการแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ การทดลองที่ ๒ การลดระยะเวลาการแช่เมล็ดด้วยกรดไนตริกเพื่อแก้ไข การพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าว กข.๑๕ และ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ น�ำเมล็ดพันธุข์ า้ วแต่ละพันธุม์ าวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยน�ำเมล็ดพันธุข์ า้ ว กข.๑๕ มาแช่ในสารละลาย กรดไนตริก ความเข้มข้น ๐, ๐.๑, ๐.๒, ๐.๓, ๐.๔ และ ๐.๕ M นาน ๓ ชม. ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส ส่วนเมล็ดพันธุ์ข้าว ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ น�ำ มาแช่ในสารละลายความเข้มข้น ๐, ๐.๓, ๐.๔, ๐.๕, ๐.๖ และ ๐.๗ M นาน ๓ ชม. ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส จากนั้นน�ำเมล็ดพันธุ์แต่ละชุดที่ผ่าน การแช่มาตรวจสอบความงอกมาตรฐานด้วยวิธี Between paper ตามกฎ ของ ISTA (๑๙๙๙) พิจารณาผลเปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานที่อายุ ๑๔ วันหลังเพาะ จากผลการศึกษาท�ำให้ทราบช่วงระดับความเข้มข้นของสารละลาย ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับการแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุเ์ บือ้ งต้น น�ำผลทดลอง ดังกล่าวมาปรับระดับความเข้มข้นของสิ่งทดลอง โดยน�ำเมล็ดพันธุ์ข้าว จ�ำนวน ๑๐ ชุดตัวอย่างๆ ละ ๔ ซ�้ำ มาทดลองใหม่กับสิ่งทดลองที่ถูกปรับ


61 โดยตรวจสอบคุณภาพซึง่ เพิม่ การศึกษาระยะเวลาทีเ่ หมาะสมในการแช่เมล็ด ที่ ๒, ๓ และ ๔ ชัว่ โมงในแต่ละระดับความเข้มข้น ตรวจสอบเปอร์เซ็นต์ความ งอกมาตรฐาน ตรวจสอบความยาวล�ำต้น ความยาวราก และน�้ำหนักแห้ง ต้นกล้าทีอ่ ายุ ๑๔ วันหลังเพาะ น�ำผลทีไ่ ด้ไปวิเคราะห์หาความแตกต่างทาง สถิติ (analysis of variance) เพือ่ หาวิธที เี่ หมาะสมในการแก้ไขการพักตัวของ เมล็ดพันธุ์ ผลและอภิปรายการวิจัย การทดลองที่ ๑ อิทธิพลของกรดไนตริกที่มีผลต่อการพักตัวและคุณภาพ ของเมล็ดพันธุ์ข้าว กข.๑๕ และ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ จากการศึกษาระดับความเข้มข้นเบือ้ งต้นทีเ่ หมาะสมของกรดไนตริก ที่มีผลต่อค่าความงอกมาตรฐานในการแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าว กข.๑๕ (ตารางที่ ๑) พบว่า เมล็ดพันธุข์ า้ ว กข.๑๕ ทีผ่ า่ นการแช่ในสารละลาย กรดไนตริก ความเข้มข้น ๐.๑๕ และ ๐.๒๐ M นาน ๒๔ ชม. มีค่าความงอก มาตรฐาน ๙๓ และ ๘๖.๕ เปอร์เซ็นต์ตามล�ำดับ ซึ่งแตกต่างจากเมล็ดพันธุ์ ทีผ่ า่ นการแช่ในน�ำ้ กลัน่ นาน ๒๔ ชม. ทีม่ คี วามงอกเพียง ๑๒ เปอร์เซ็นต์ ทัง้ นี้ หากเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้นเกินกว่า ๐.๒๐ M จะมีผลท�ำให้เกิดการลดลง ของความงอกมาตรฐานหรือมีผลให้ความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์มีค่าลดลง จากผลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการแช่เมล็ดพันธุด์ ว้ ยกรดไนตริกทีช่ ว่ งระดับ ความเข้มข้น ๐.๑๕ หรือ ๐.๒๐ M นาน ๒๔ ชม. สามารถแก้ไขการพักตัว ของเมล็ดพันธุข์ า้ วพันธุ์ กข. ๑๕ จึงไม่ได้ปรับสิง่ ทดลอง แต่ศกึ ษาระดับความ เข้มข้นเดิมโดยละเอียดอีกครัง้ หนึง่ ในเมล็ดพันธุ์ ๑๐ ชุดตัวอย่าง (ตารางที๒่ ) ท�ำให้เห็นผลที่ชัดเจนว่าการแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยกรดไนตริกที่ระดับความเข้ม ข้น ๐.๑๕ M นาน ๒๔ ชม. เป็นระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุดในการ แก้ไขการพักตัวเนือ่ งจากมีคา่ ความงอกมาตรฐาน ๙๐.๘ เปอร์เซ็นต์ ซึง่ เป็น ค่าที่สูงกว่าสิ่งทดลองอื่น ทั้งนี้เมื่อพิจารณาการเจริญเติบโตจากความยาว


62 ล�ำต้น ราก และน�้ำหนักแห้งของต้นกล้า พบว่าระดับความเข้มข้นดังกล่าว ไม่ส่งผลการเจริญของต้นกล้าเมือ่ เปรียบเทียบกับต้นกล้าทีง่ อกจากเมล็ดที่ แช่ด้วยน�้ำกลั่น ซึ่งหากเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้นจะมีผลท�ำให้เกิดการลดลง ของความงอกมาตรฐานหรือมีผลให้ความมีชวี ติ ของเมล็ดพันธุม์ คี า่ ลดลง แม้ ไม่ส่งผลต่อความยาวล�ำต้นและราก แต่มีผลให้เกิดการลดลงของน�้ำหนัก แห้งของต้นกล้า ส่วนการศึกษาระดับความเข้มข้นเบือ้ งต้นทีเ่ หมาะสมของกรดไนตริก ที่มีผลต่อค่าความงอกมาตรฐานในการแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าว ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ (ตารางที่ ๓) พบว่า เมล็ดพันธุ์ข้าว ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ ที่ผ่านการแช่ในสารละลายกรดไนตริก ความเข้มข้น ๐.๑๕, ๐.๒๐, ๐.๒๕ และ๐.๓๐ M นาน ๒๔ ชม. มีค่าความงอกมาตรฐาน ๔๙, ๗๘, ๘๒ และ ๘๙ เปอร์เซ็นต์โดยเพิ่มสูงขึ้นตามล�ำดับ ซึ่งแตกต่างจากเมล็ดพันธุ์ที่ผ่าน การแช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๒๔ ชม. ที่มีความงอกเพียง ๑.๕ เปอร์เซ็นต์ จากผล ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการแช่เมล็ดพันธุด์ ว้ ยกรดไนตริกเมือ่ เพิม่ ระดับความ เข้มข้นสามารถแก้ไขการพักตัวโดยพบว่าเปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานของ เมล็ดพันธุเ์ พิม่ สูงขึน้ แต่เมือ่ พิจารณาผลการทดลองพบว่ายังไม่สามารถสรุป ผลได้ชดั เจนว่าระดับความเข้มข้นของกรดทีไ่ ด้ทดสอบ เป็นระดับทีส่ ามารถ เพิม่ เปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานสูงทีส่ ดุ และเป็นระดับทีเ่ หมาะสมส�ำหรับ การแก้ไขการพักตัว เนือ่ งจากการเพิม่ ระดับความเข้มข้นทีท่ ดสอบยังไม่พบ การลดลงของระดับความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุ์ จึงได้ปรับสิง่ ทดลอง โดยเพิ่มความเข้มข้นของกรดไนตริกให้สูงมากขึน้ และศึกษาโดยละเอียดอีก ครั้งหนึ่งในเมล็ดพันธุ์ ๑๐ ชุดตัวอย่าง (ตารางที่๔) ท�ำให้เห็นผลที่ชัดเจน ว่าการแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยกรดไนตริกที่ระดับความเข้มข้น ๐.๓ M นาน ๒๔ ชม. เป็นระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขการพักตัวเนื่องจาก มีค่าความงอกมาตรฐาน ๙๑.๖ เปอร์เซ็นต์ ซึง่ เป็นค่าทีส่ งู กว่าสิง่ ทดลองอืน่ ทัง้ นีเ้ มือ่ พิจารณาการเจริญเติบโตจากความยาวล�ำต้น ราก และน�ำ้ หนักแห้ง


63 ของต้นกล้า พบว่าระดับความเข้มข้นดังกล่าวไม่สง่ ผลการเจริญของต้นกล้า เมื่อเปรียบเทียบกับต้นกล้าที่งอกจากเมล็ดที่แช่ด้วยน�้ำกลั่น ซึ่งหากเพิ่ม ความเข้มข้นมากขึน้ จะมีผลท�ำให้เกิดการลดลงของความงอกมาตรฐานหรือ มีผลให้ความมีชวี ติ ของเมล็ดพันธุ์มคี ่าลดลง แม้ไม่ส่งผลต่อความยาวล�ำต้น แต่มีผลให้เกิดการลดลงของความยาวรากและน�้ำหนักแห้งของต้นกล้า การทดลองที่ ๒ การลดระยะเวลาการแช่เมล็ดด้วยกรดไนตริกเพื่อแก้ไข การพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าว กข.๑๕ และ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ จากการศึกษาการลดระยะเวลาการแช่เมล็ดด้วยกรดไนตริกเบื้อง ต้นเพือ่ แก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าว กข.๑๕ (ตารางที่ ๕) พบว่า เมล็ด พันธุ์ข้าว กข.๑๕ ที่ผ่านการแช่ในสารละลายกรดไนตริก ความเข้มข้น ๐.๓ และ ๐.๔ M นาน ๓ ชม. ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส มีค่าความงอก มาตรฐาน ๗๑.๐ และ ๗๓.๕ เปอร์เซ็นต์ตามล�ำดับ ซึ่งแตกต่างจากเมล็ด พันธุ์ที่ผ่านการแช่ในน�้ำกลั่นนาน ๓ ชม ที่มีความงอกเพียง ๒ เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้หากเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้นเกินกว่า ๐.๔ M จะมีผลท�ำให้เกิดการลด ลงของความงอกมาตรฐานหรือมีผลให้ความมีชวี ติ ของเมล็ดพันธุม์ คี า่ ลดลง แต่เมือ่ พิจารณาผลการทดลองพบว่ายังไม่สามารถสรุปผลได้ชดั เจนว่าระดับ ความเข้มข้นของกรดที่ได้ทดสอบทั้ง ๒ ระดับ เป็นระดับที่สามารถเพิ่ม เปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานสูงทีส่ ดุ และเป็นระดับทีเ่ หมาะสมส�ำหรับการ แก้ไขการพักตัว เนื่องจากค่าความงอกมาตรฐานมีค่าต�่ำซึ่งไม่น่าจะเป็นค่า ความมีชวี ติ ทีแ่ ท้จริงของเมล็ดทีน่ ำ� มาทดสอบ ทัง้ นีน้ า่ จะมีผลจากระยะเวลา การแช่เมล็ดพันธุย์ งั ไม่เป็นระยะทีเ่ หมาะสมในการแก้ไขการพักตัว จึงได้ปรับ สิ่งทดลองโดยเพิ่มศึกษาระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์ ซึ่งเมื่อศึกษาโดย ละเอียดครั้งที่ ๒ในเมล็ดพันธุ์ ๑๐ ชุดตัวอย่าง (ตารางที่ ๖) ท�ำให้เห็นผลที่ ชัดเจนว่าการแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยกรดไนตริกทีร่ ะดับความเข้มข้น ๐.๔ M นาน ๒ ชม. ทีอ่ ณ ุ หภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส เป็นระดับความเข้มข้นทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ


64 ในการแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าว กข.๑๕ เนื่องจากมีค่าความงอก มาตรฐาน ๙๓.๖ เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นค่าที่สูงกว่าสิ่งทดลองอื่น ทั้งนี้เมื่อ พิจารณาการเจริญเติบโตจากความยาวล�ำต้น ราก และน�ำ้ หนักแห้งของต้น กล้า พบว่าระดับความเข้มข้นดังกล่าวไม่ส่งผลการเจริญของต้นกล้าเมื่อ เปรียบเทียบกับต้นกล้าที่งอกจากเมล็ดที่แช่ด้วยน�้ำกลั่น ซึ่งหากเพิ่มความ เข้มข้นมากขึ้นหรือเพิ่มระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์จะมีผลท�ำให้เกิดการลด ลงของความงอกมาตรฐานหรือมีผลให้ความมีชวี ติ ของเมล็ดพันธุม์ คี า่ ลดลง นอกจากนีย้ งั มีผลต่อการเจริญของต้นกล้าทัง้ ความยาวล�ำต้น ความยาวราก และน�ำ้ หนักแห้งของต้นกล้า ส่วนการศึกษาการลดระยะเวลาการแช่เมล็ดด้วยกรดไนตริกเบื้อง ต้นเพื่อแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าว ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ (ตารางที่ ๗) พบว่า เมล็ดพันธุ์ข้าว ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ ที่ผ่านการแช่ในสารละลายกรด ไนตริก ความเข้มข้น ๐.๕ M นาน ๓ ชม. ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส มี ค่าความงอกมาตรฐาน ๗๑ เปอร์เซ็นต์ตามล�ำดับ ซึง่ แตกต่างจากเมล็ดพันธุ์ ที่ผ่านการแช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๓ ชม ที่มีความงอกเพียง ๑.๕ เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้ หากเพิม่ ความเข้มข้นมากขึน้ เกินกว่า ๐.๕ M จะมีผลท�ำให้เกิดการลดลงของ ความงอกมาตรฐานหรือมีผลให้ความมีชวี ติ ของเมล็ดพันธุม์ คี า่ ลดลง แต่เมือ่ พิจารณาผลการทดลองพบว่ายังไม่สามารถสรุปผลได้ชดั เจนว่าระดับความ เข้มข้นของกรดที่ได้ทดสอบเป็นระดับที่สามารถเพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอก มาตรฐานสูงที่สุดและเป็นระดับที่เหมาะสมส�ำหรับการแก้ไขการพักตัว เนื่องจากค่าความงอกมาตรฐานมีค่าต�่ำซึ่งไม่น่าจะเป็นค่าความมีชีวิตที่แท้ จริงของเมล็ดทีน่ ำ� มาทดสอบ ทัง้ นีน้ า่ จะมีผลจากระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์ ยังไม่เป็นระยะที่เหมาะสมในการแก้ไขการพักตัว จึงได้ปรับสิ่งทดลองโดย เพิ่มศึกษาระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์ ซึ่งเมื่อศึกษาโดยละเอียดครั้งที่ ๒ใน เมล็ดพันธุ์ ๑๐ ชุดตัวอย่าง (ตารางที่ ๘) ท�ำให้เห็นผลทีช่ ดั เจนว่าการแช่เมล็ด พันธุ์ด้วยกรดไนตริกที่ระดับความเข้มข้น ๐.๔ และ๐.๕ M นาน ๒ ชม. ที่


65 อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส เป็นระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมในการแก้ไข การพักตัวเนื่องจากมีค่าความงอกมาตรฐาน ๙๔.๐ และ ๙๖.๔ เปอร์เซ็นต์ ตามล�ำดับ ซึ่งเป็นค่าที่สูงกว่าสิ่งทดลองอื่น ทั้งนี้เมื่อพิจารณาการเจริญ เติบโตจากความยาวล�ำต้น ราก และน�้ำหนักแห้งของต้นกล้า พบว่าระดับ ความเข้มข้นดังกล่าวไม่ส่งผลการเจริญของต้นกล้าเมื่อเปรียบเทียบกับต้น กล้าทีง่ อกจากเมล็ดทีแ่ ช่ดว้ ยน�ำ้ กลัน่ ดังนัน้ จึงเป็นระดับทีเ่ หมาะสมส�ำหรับ การแก้ไขการพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ จากการศึกษา พบว่า เมล็ดพันธุข์ า้ วพันธุ์ กข. ๑๕ และขาวดอกมะลิ ๑๐๕ มีระดับการพักตัวที่แตกต่างกัน จึงท�ำให้การแก้ไขการตัวของเมล็ด พันธุต์ อ้ งใช้วธิ กี ารทีแ่ ตกต่างกันตามผลการแช่ดว้ ยกรดไนตริกเป็นเวลา ๒๔ ชั่วโมง แต่พบว่าสามารถแก้ไขการพักตัวด้วยความเข้มข้นเดียวกันได้ เมื่อ ลดระยะเวลาการแช่โดยเพิ่มอุณหภูมิ และเพิ่มความเข้มข้นของกรด สรุป

๑. กรดไนตริกสามารถใช้แก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ กข. ๑๕ โดยการแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยกรดไนตริกที่ความเข้มข้น ๐.๑๕ M เป็นเวลา ๒๔ ชั่วโมงที่อุณหภูมหิ ้อง (๒๘ องศาเซลเซียส) และ การแช่ด้วยกรดไนตริ กความเข้มข้น ๐.๓ M เป็นเวลา ๒๔ ชั่วโมงที่อุณหภูมหิ ้องเป็นระดับความ เข้มข้นทีด่ ที สี่ ดุ ในการแก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุข์ า้ วพันธุ์ ขาวดอกมะลิ๑๐๕ ๒. การแช่ดว้ ยกรดไนตริกความเข้มข้น ๐.๔ M โดยแช่เมล็ดเป็นเวลา ๒ ชัว่ โมง ทีอ่ ณ ุ หภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส เป็นวิธที ดี่ ที สี่ ดุ ในการลดระยะเวลา การแช่เมล็ดด้วยกรดไนตริกเพือ่ แก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ กข.๑๕ และกรดไนตริกที่ความเข้มข้น ๐.๔ และ ๐.๕ M โดยแช่เมล็ดเป็นเวลา ๒ ชั่วโมงเป็นระดับความเข้มข้นที่ดีในการแก้ไขการพักตัวเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ ๓. การแช่ดว้ ยกรดไนตริกความเข้มข้น ๐.๔ M โดยแช่เมล็ดเป็นเวลา


66 ๒ ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส เป็นวิธที ี่สามารถแก้ไขการพักตัว เมล็ดพันธุ์ข้าวได้ทงั้ พันธุ์ กข.๑๕ และขาวดอกมะลิ ๑๐๕ โดยใช้ระยะเวลา สั้น จึงเหมาะสมแนะน�ำให้ใช้เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ ตารางที่ ๑ การศึกษาข้อมูลเบือ้ งต้นความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุข์ า้ ว พันธุ์ กข.๑๕ หลังผ่านการแช่ด้วยกรด ไนตริกความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา ๒๔ ชั่วโมงที่อุณหภูมิห้อง (๒๘ องศาเซลเซียส) สิ่งทดลอง เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๒๔ ชม เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๑๐ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๑๕ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๒๐ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๒๕ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๓๐ M nitric â นาน ๒๔ ชม. cv. (%)

ความงอกมาตรฐาน (%) ๑๒.๐ d ๖๕.๐ b ๙๓.๐ a ๘๖.๕ a ๖๕.๐ b ๓๕.๐ c ๗.๕

ตารางที่ ๒ คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ กข.๑๕ หลังผ่านการแช่ด้วย กรดไนตริกความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา ๒๔ ชัว่ โมงทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ้ ง (๒๘ องศา เซลเซียส) สิ่งทดลอง

ความงอก ความยาว ความยาว มาตรฐาน ล�ำต้น ราก (%) (ซม.) (ซม.)

เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๒๔ ชม

๓๘.๐ d

๑๒.๑a

๑๐.๒a

เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๑๐ M nitric â นาน ๒๔ ชม.

๗๙.๘ b

๑๒.๑a

๑๐.๓a

เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๑๕ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๒๐ M nitric â นาน ๒๔ ชม.

๙๐.๘ a ๘๐.๔ b

๑๒.๗a ๑๒.๖a

๑๐.๗a ๑๐.๖a

น�้ำหนัก แห้งต้น กล้า (กรัม) ๐.๒๒๓ab ๐.๒๒๓ab ๐.๒๒๘a ๐.๒๒๕a


67

สิ่งทดลอง เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๒๕ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๓๐ M nitric â นาน ๒๔ ชม. cv. (%)

ความงอก ความยาว ความยาว มาตรฐาน ล�ำต้น ราก (%) (ซม.) (ซม.) ๕๘.๙ c ๒๓.๓ e ๑๔.๔

๑๑.๖a ๑๑.๕a ๑๑.๘

๙.๘a ๙.๗a ๑๑.๙

น�้ำหนัก แห้งต้น กล้า (กรัม) ๐.๒๑๕bc ๐.๒๐๘c ๔.๗

ตารางที่ ๓ การศึกษาเบื้องต้นความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ๑๐๕ หลังผ่านการแช่ด้วยกรดไนตริกความเข้มข้นต่างๆ เป็น เวลา ๒๔ ชั่วโมงที่อุณหภูมิห้อง (๒๘ องศาเซลเซียส) สิ่งทดลอง เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๒๔ ชม เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๑๐ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๑๕ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๒๐ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๒๕ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๓๐ M nitric â นาน ๒๔ ชม. cv. (%)

ความงอกมาตรฐาน (%) ๑.๕ e ๔.๐ e ๔๙.๐ d ๗๘.๐ c ๘๒.๐ b ๘๙.๐ a ๓.๖


68 ตารางที่ ๔ คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ๑๐๕ หลังผ่าน การแช่ด้วยกรดไนตริกความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา ๒๔ ชั่วโมงที่อุณหภูมิ ห้อง (๒๘ องศาเซลเซียส) สิ่งทดลอง เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๒๔ ชม เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๒ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๓ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๔ M nitric â นาน ๒๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๕ M nitric â นาน ๒๔ ชม. cv. (%)

ความงอก มาตรฐาน (%) ๒๖.๔ d ๘๓.๐ b ๙๑.๖ a ๖๓.๒ c ๒๒.๘ d ๑๓.๔

ความยาว ล�ำต้น (ซม.) ๑๒.๑ a ๑๒.๑ a ๑๒.๖ a ๑๑.๙ a ๑๑.๑ a ๑๒.๖

ความยาว ราก (ซม.) ๑๐.๓ ab ๑๐.๙ a ๑๑.๒ a ๙.๗ bc ๙.๓ c ๙.๙

น�้ำหนัก แห้งต้น กล้า (กรัม) ๐.๒๒๑ a ๐.๒๒๒ a ๐.๒๒๖ a ๐.๒๐๘ b ๐.๒๐๗ b ๕.๙

ตารางที่ ๕ การศึกษาเบื้องต้นความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ กข.๑๕ หลังผ่านการแช่ดว้ ยกรดไนตริกความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา ๓ ชัว่ โมง ที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส สิ่งทดลอง เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๑ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๒ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๓ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๔ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๕ M nitric â นาน ๓ ชม. cv. (%)

ความงอกมาตรฐาน (%) ๒.๐ d ๑๑.๐ c ๕๔.๐ b ๗๑.๐ a ๗๓.๕ a ๕๔.๐ b ๑๑.๘


69 ตารางที่ ๖ คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ กข.๑๕ หลังผ่านการแช่ด้วย กรดไนตริกความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา ๒, ๓ และ๔ชั่วโมงที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส สิ่งทดลอง เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๒ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๓ M nitric â นาน ๒ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๓ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๓ M nitric â นาน ๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๔ M nitric â นาน ๒ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๔ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๔ M nitric â นาน ๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๕ M nitric â นาน ๒ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๕ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๕ M nitric â นาน ๔ ชม. cv. (%)

น�ำ้ หนัก แห้งต้น กล้า (กรัม) ๑๐.๑ abc ๐.๒๑๗ a ๑๐.๐ bc ๐.๒๒๑ a ๙.๙ bc ๐.๒๒๑ a ๑๐.๑ abc ๐.๒๒๑ a ๙.๙ bc ๐.๒๑๒ a ๑๐.๘ a ๐.๒๑๔ a ๑๐.๓ abc ๐.๒๒๐ a ๑๐.๖ ab ๐.๒๑๖ a ๑๐.๖ ab ๐.๑๙๓ b ๙.๙ bc ๐.๑๙๒ b ๙.๘ c ๐.๑๙๒ b ๙.๘ c ๐.๑๙๒ b ๗.๖ ๖.๖

ความงอก ความยาว ความยาว มาตรฐาน ล�ำต้น ราก (%) (ซม.) (ซม.) ๒.๘ g ๓.๐ g ๓.๔ g ๘๔.๔ b ๗๗.๒ d ๗๕.๘ d ๙๓.๖ a ๘๐.๗ c ๗๓.๘ d ๗๖.๘ d ๖๐.๖ e ๕๐.๔ f ๖.๙

๑๒.๓ a ๑๒.๒ a ๑๒.๑ a ๑๒.๓ a ๑๑.๔ ab ๑๑.๒ ab ๑๒.๐ ab ๑๑.๒ ab ๑๑.๑ ab ๑๑.๙ ab ๑๐.๘ b ๑๐.๘ b ๑๐.๕


70 ตารางที่ ๗ การศึกษาเบื้องต้นความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ หลังผ่านการแช่ด้วยกรดไนตริกความเข้มข้นต่างๆ เป็น เวลา ๓ ชั่วโมงที่อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส สิ่งทดลอง เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๓ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๔ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๕ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๖ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๗ M nitric â นาน ๓ ชม. cv. (%)

ความงอกมาตรฐาน (%) ๑.๕ e ๒๕.๐ d ๕๔.๐ b ๗๑.๐ a ๕๐.๐ b ๓๗.๐ c ๘.๔

ตารางที่ ๘ คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ หลังผ่าน การแช่ด้วยกรดไนตริกความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา ๒, ๓ และ๔ชั่วโมงที่ อุณหภูมิ ๔๐ องศาเซลเซียส สิ่งทดลอง เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๒ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ในน�ำ้ กลั่นนาน ๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๔ M nitric â นาน ๒ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๔ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๔ M nitric â นาน ๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๕ M nitric â นาน ๒ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๕ M nitric â นาน ๓ ชม.

ความงอก มาตรฐาน (%) ๑๕.๔ g ๑๗.๘ g ๑๘.๖ g ๙๔.๐ a ๖๑.๒ c ๕๖.๔ cde ๙๖.๔ a ๘๐.๖ b

ความยาว ล�ำต้น (ซม.) ๑๑.๑ a ๑๑.๓ a ๑๑.๐ a ๑๑.๕ a ๑๑.๔ a ๑๑.๓ a ๑๑.๖ a ๑๑.๑ a

ความ ยาวราก (ซม.) ๑๐.๐ a ๑๐.๒ a ๑๐.๒ a ๑๐.๓ a ๑๐.๓ a ๑๐.๒ a ๑๐.๓ a ๑๐.๒ a

น�ำ้ หนัก แห้งต้น กล้า (กรัม) ๐.๒๐๔ a ๐.๒๐๔ a ๐.๒๐๒ ab ๐.๒๐๒ ab ๐.๑๙๔ ab ๐.๑๙๓ ab ๐.๒๐๒ ab ๐.๑๙๔ ab


71 สิ่งทดลอง เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๕ M nitric â นาน ๔ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๖ M nitric â นาน ๒ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๖ M nitric â นาน ๓ ชม. เมล็ดพันธุ์แช่ใน ๐.๖ M nitric â นาน ๔ ชม. cv. (%)

ความงอก มาตรฐาน (%) ๕๐.๒ e ๕๘.๖ cd ๕๓.๔ de ๓๗.๘ f ๑๒.๗%

ความยาว ล�ำต้น (ซม.) ๑๑.๒ a ๑๑.๒ a ๑๑.๒ a ๑๑.๑ a ๙.๒

ความ ยาวราก (ซม.) ๑๐.๑ a ๑๐.๐ a ๙.๘ a ๙.๘ a ๙.๙

น�ำ้ หนัก แห้งต้น กล้า (กรัม) ๐.๑๙๓ ab ๐.๑๙๓ ab ๐.๑๙๓ ab ๐.๑๙๑ b ๕.๙

เอกสารอ้างอิง กรมส่งเสริมการเกษตร. ๒๕๔๘. สถิตกิ ารเกษตร.[ออนไลน์] ได้จาก : http:// www.doae.go.th ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร. ๒๕๔๒. ข้อเสนอแนะเพื่อใช้แก้การพักตัวเมล็ดพันธุ์ พืชในการทดสอบความงอก. ใน เอกสารประกอบการสอนวิชาหลัก เทคโนโลยีการผลิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. หน้า ๗๐๗๘. วเรนยา สิงคนิภา. ๒๕๔๑.วิธีการแก้การพักตัวของเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์ ชัยนาท ๑. รายงานการสัมมนาวิชาการส่งเสริมการเกษตร ประจ�ำ ปี ๒๕๔๑. กรมส่งเสริมการเกษตร. หน้า ๒๑๖-๒๒๔ อดุลย์ กฤษวะดี, อ่วม คงชู,วารินทร์ ศรีถัด, ณัฐหทัย เอพาณิช และ อัญชลี ประเสริฐศักดิ์. การศึกษาระยะพักตัวของข้าวสายพันธุ์ดี. ผลงาน วิจัยปี ๒๕๓๙ ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี เล่มที่ ๒.ศูนย์วิจัยข้าว ปทุมธานี สถาบันวิจยั ข้าว กรมวิชาการเกษตร. หน้า ๕๗๕-๕๙๓. Food and Fertilizer Technology Center. ๒๐๐๓. Acetic acid treatment: Relievng dormancy and promoting germination of rice seed. [online] Available : www.fftc.agnet.org/library/abstract/


72 rh๒๐๐๓๐๑๐c.html International Seed Testing Association. ๑๙๙๙. International Rule for Seed Testing Rules ๑๙๙๙. J.of Seed Sci & Technol. ๒๗, supplement. Office of the Gene Technology Regulator. ๒๐๐๕. The Biology and Ecology of Rice (Oryza sativa L.) in Australia. Department of Heath and Ageing. Australian Government. [online] Available : http://www. ogtr.gov.au/pdf/ir/biologyrice๑.pdf


73 ผลความเข้มข้นของน�้ำส้มสายชูกลั่น และระยะเวลาการแช่ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูพันธุ์หัวเรือ Effect of Distilled Vinegar Concentrations and Pretreatment Times on Quality of Chili Seed (Capsicum annuum var. ‘Hua Reua’) วสุ อมฤตสุทธิ๑์ และ ชเนศ ศรีประเสริฐ๑ Wasu Amaritsut๑ and Chanet Sriprasert ๑ ๑. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๑. Faculty of Agriculture, Ubon Ratchathani University บทคัดย่อ การทดลองมีวัตถุประสงค์ศึกษาความเข้มข้นของน�้ำส้มสายชูกลั่น และระยะเวลาในการแช่เมล็ดพันธุ์ต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์พริกพันธุ์หัว เรือ โดยวางแผนการทดลองแบบ factorial in completely randomized design ศึกษา ๒ ปัจจัย คือ ความเข้มข้นของน�้ำส้มสายชูกลัน่ (๐, ๑, ๑.๒๕, ๑.๖๗, ๒.๕ และ ๕%) และระยะเวลาการแช่เมล็ดพันธุ์พริก (½ และ ๑ ชัว่ โมง) โดย พบว่า เมล็ดที่ผ่านการแช่ด้วยน�้ำส้มสายชูกลั่นที่ความเข้มข้น ๐-๕% เป็น เวลา ½ ชั่วโมงมีความงอกมาตรฐานไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่การแช่ด้วย น�้ำส้มสายชูกลั่นที่ความเข้มข้นสูงกว่า ๑.๒๕% เป็นเวลา ๑ ชั่วโมง มีผล ต่อการลดลงของเปอร์เซ็นต์ความงอก ดัชนีความงอก ความยาวรากและ ความยาวล�ำต้นเมือ่ ความเข้มข้นเพิม่ ขึน้ การแช่เมล็ดพันธุพ์ ริกในน�ำ้ ส้มสายชู ที่ความเข้มข้น ๑% นาน ๑ ชั่วโมง สามารถลดเปอร์เซ็นต์เมล็ดที่เกิดโรค (infected seed) จาก ๗๖% เหลือ เพีย ง ๔% โดยไม่ ส ่ ง ผลกระทบกั บ เปอร์เซ็นต์ความงอก ดัชนีความงอก ความยาวรากและความยาวล�ำต้น จึง


74 เหมาะสมทีจ่ ะน�ำไปประยุกต์ใช้ในการก�ำจัดโรคทีต่ ดิ มากับเมล็ดพันธุพ์ ริกได้ ค�ำส�ำคัญ : น�้ำส้มสายชู พริก คุณภาพเมล็ดพันธุ์ Abstract The study on the effect of distilled vinegar concentrations and pretreatment times on quality of chili seeds (Capsicum annuum var. ‘Hua reua’) was investigated. The experiment was set up as the factorial in completely randomized design consisting of two factors, acid concentrations (๐, ๑, ๑.๒๕, ๑.๖๗, ๒.๕ and ๕%) and pretreatment times (๑/๒ and ๑ hour) . The standard germination, germination index, shoot and root length and number of infected seeds were measured. The germination of seeds treated with ๐-๕% distilled vinegar for ½ hour was not significantly different. However, germination percentage, germination index, shoot and root length of seeds treated with ≥ ๑.๒๕% distilled vinegar for ๑ hour were decreased. The number of infected seeds treated with ๑.๐% distilled vinegar for ๑ hour was reduced from ๗๖% to ๔% and there was no residual effect on germination percentage, germination index, shoot and root length. Thus, treating ‘Hua Reua’ chili seeds with ๑.๐% distilled vinegar for ๑ hour was a suitable method for (cleaning) the seeds. Keywords: Vinegar, Chili, Seed quality บทน�ำ พริ ก (Capsicum annuum L.) เป็ น พื ช ผั ก ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ทาง เศรษฐกิจชนิดหนึง่ ประเทศไทยมีปริมาณการส่งออกพริกในรูปแบบพริกสด ประมาณ ๑๒,๒๘๓ ตัน โดยมีมูลค่า ๑๑๔ ล้านบาทในปีพ.ศ.๒๕๔๔ อีกทั้ง


75 ยังมีการส่งออกเมล็ดพันธุ์พริก โดยในปี ๒๕๔๗ มีมูลค่าสูงถึง ๑๑๙.๙๒ ล้านบาท (ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, ๒๕๔๙) พริกสามารถปลูกและ เจริญเติบโตได้ดใี นทุกภาคของประเทศไทย โดยมีแหล่งปลูกพริกทีส่ ำ� คัญอยู่ ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งตลาดต้องการผลผลิตทั้งใน รูปของพริกสดและพริกแห้ง ปัญหาการผลิตพริกในประเทศไทยทีส่ ำ� คัญคือ ผลผลิตเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต�่ำเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูก ทั้งนี้เนื่องจาก เกษตรกรส่วนใหญ่ยงั ใช้พริกพันธุพ์ นื้ เมืองและเก็บเมล็ดพันธุไ์ ว้เอง ไม่มกี าร คัดเลือกและการเขตกรรมทีเ่ หมาะสม อีกทัง้ มีการรบกวนจากโรคและแมลง โดยพบว่ามีการระบาดของโรคและแมลงที่ส�ำคัญของพริกทุกแหล่งปลูก มี ปริมาณการใช้สารเคมีกำ� จัดโรคและแมลงสูง ส่งผลให้คณ ุ ภาพของผลผลิต นั้นไม่ได้มาตรฐานเนื่องจากมีสารพิษตกค้างในผลผลิตและยังมีต้นทุนการ ผลิตสูงอีกด้วย ซึง่ สาเหตุของปัญหาส่วนหนึง่ นัน้ เกิดจากโรคทีต่ ดิ มากับเมล็ด พันธุ์ เช่น โรคกุง้ แห้ง หรือ แอนแทรกโนส โรคใบจุดตากบ โรคเหีย่ ว โรคราก และโคนเน่า เป็นต้น (กรมวิชาการเกษตร, ๒๕๔๔; ศศิธร, ๒๕๔๕) โรคทีต่ ดิ มากับเมล็ดพันธุ์ เป็นสิง่ จ�ำเป็นอันดับแรกทีต่ ้องค�ำนึงถึงใน การผลิตพริก ซึง่ พริกจะอ่อนแอต่อเชือ้ โรคหลายชนิด ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั สายพันธุ์ พื้นที่และเวลาในการปลูก จะส่งผลท�ำให้ผลผลิตและคุณภาพของพริกลด ลง (Bosland และ Votara, ๒๐๐๐) ส�ำหรับวิธีการในการก�ำจัดโรคที่ติดมา กับเมล็ดพันธุส์ ามารถท�ำได้หลายวิธี เช่น การอบด้วยความร้อน การน�ำเมล็ด ไปตากแห้ง การแช่เมล็ดในสารเคมี การแช่เมล็ดในสารที่มีฤทธิ์เป็นกรด ซึ่ง วิธกี ารต่างๆ เหล่านีส้ ามารถใช้ในการก�ำจัดโรคทีต่ ดิ มากับเมล็ดพันธุไ์ ด้ การ ศึกษาแช่เมล็ดพันธุ์พริกในสารที่มีฤทธิ์เป็นกรด พบว่าเป็นวิธีการหนึ่งที่ สามารถลดการเกิดโรคที่ติดมากับเมล็ด ดังเช่น การน�ำไปแช่ในกรดเกลือ (hydrochloric acid) สามารถควบคุมเชื้อ TMV (Tomato Mosaic Virus) ที่ติด มากับเมล็ดพันธุ์พริกได้ (Raymond,๑๙๙๙) หรือ การแช่เมล็ดพริกใน กรดเกลือ ความเข้มข้น ๐.๖ M นาน ๑๕ นาที จะช่วยลดเชื้อ Phytophthora


76 infestans ที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ได้ (Agarwal และ Sinclair, ๑๙๙๖) งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของระดับความเข้มข้นและระยะเวลา การแช่ด้วยน�้ำส้มสายชูกลั่นต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์พริกพันธุ์หัวเรือ ซึ่งเป็น พริกขี้หนูผลใหญ่ที่นิยมปลูกในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ โดย พิจาณาว่าน�้ำส้มสายชูกลั่น เป็นสารที่มีฤทธิ์เป็นกรด มีจ�ำหน่ายทั่วไปเพื่อ น�ำมาใช้ประกอบอาหาร มีราคาถูกสามารถซื้อหาได้ง่าย จึงสนใจน�ำมาใช้ ในการก�ำจัดโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ ดังนั้นเบื้องต้นจ�ำเป็นต้องศึกษาผล กระทบทีม่ ตี อ่ คุณภาพเมล็ดพันธุเ์ พือ่ เป็นแนวทางการน�ำมาใช้เพือ่ ก�ำจัดโรค ที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ ต่อไป ระเบียบวิธีวิจัย วางแผนการทดลองในแบบ factorial in completely randomized design โดยศึกษา ๒ ปัจจัยคือ ความเข้มข้นของน�้ำส้มสายชูกลั่น (๐, ๑, ๑.๒๕, ๑.๖๗, ๒.๕ และ ๕%) และระยะเวลาการแช่ (๑/๒ และ ๑ ชั่วโมง) ในเมล็ดพันธุ์พริกพันธุ์หัวเรือ โดยแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยน�้ำส้มสายชูให้ท่วมตาม ความเข้มข้นและระยะเวลาการแช่ของแต่ละสิง่ ทดลอง จากนัน้ น�ำเมล็ดพันธุ์ ที่ได้จ�ำนวน ๔ ซ�้ำๆ ละ ๕๐ เมล็ดมาตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์แต่ละวิธี ได้แก่ การตรวจความงอกมาตรฐานด้วยวิธีการ Top of paper การตรวจ สอบความแข็งแรงของเมล็ดพันธุด์ ว้ ยวิธกี ารวัดดัชนีการงอก ความยาวล�ำต้น และรากของต้นกล้า นอกจากนี้ ในการศึกษาได้สุ่มเมล็ดพันธุ์จากผลที่เป็น โรค น�ำมาแช่นำ�้ ส้มสายชูกลั่นตามสิ่งทดลองข้างต้น จากนั้นน�ำเมล็ดพันธุ์ท่ี ได้จ�ำนวน ๔ ซ�้ำๆ ละ ๕๐ เมล็ดมาตรวจสอบเมล็ดพันธุ์ท่เี กิดโรค (infected seed) ด้วยวิธี Blotter method ตามกฎการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ของ International Seed Testing Association, ISTA (๑๙๙๙)


77 ผลและอภิปราย จากการศึกษา (ตารางที่ ๑) พบว่า เมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูพันธุ์หัวเรือ ที่ผ่านการที่แช่น�้ำส้มสายชูกลั่นเป็นเวลา ๑/๒ ชั่วโมง ทุกความเข้มข้น มี เปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานไม่แตกต่างกันในทางสถิติแต่เมล็ดพันธุ์พริก ที่ผ่านการแช่ด้วยน�้ำส้มสายชูกลั่นที่ความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา ๑ ชั่วโมง พบว่า ความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุ์พริกที่ผ่านการแช่ในน�้ำส้มสายชู กลั่นความเข้มข้น ๐% (แช่ด้วยน�้ำกลั่น) และเมล็ดพันธุ์พริกที่ผ่านการแช่ใน น�้ำส้มสายชูกลัน่ ความเข้มข้น ๑ และ ๑.๒๕% มีความงอกมาตรฐานไม่แตก ต่างกันทางสถิติ คือ ๘๓.๒๐, ๘๔.๘๐, และ ๘๐.๘๐% ตามล�ำดับ ทัง้ นี้ เมือ่ เพิ่มความเข้มข้นของน�ำ้ ส้มสายชูกลั่นมากขึ้นจะพบว่าเปอร์เซ็นต์ความงอก มาตรฐานจะลดลงตามล�ำดับ เมล็ดพันธุท์ ผี่ า่ นการแช่ในน�ำ้ ส้มสายชูกลัน่ ทีเ่ จือจางในอัตราส่วน ๐, ๑, ๑.๒๕, ๑.๖๗ และ ๒.๕% เป็นเวลา ๑/๒ ชั่วโมง มีดัชนีความงอกไม่แตก ต่างกันทางสถิติ แต่พบว่าการแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยน�้ำส้มสายชูกลั่น ๕% เป็น เวลา ๑/๒ ชั่วโมง จะมีดัชนีความงอกต�่ำกว่าสิ่งทดลองอื่นที่แช่ในระยะเวลา เท่ากัน ในขณะทีเ่ มล็ดพันธุพ์ ริกทีผ่ า่ นการแช่นำ�้ ส้มสายชูกลัน่ ทีค่ วามเข้มข้น ต่างๆ เป็นเวลา ๑ ชัว่ โมง พบว่าดัชนีความงอกของเมล็ดพันธุพ์ ริกทีผ่ า่ นการ แช่ด้วยน�้ำส้มสายชูกลั่นที่ความเข้มข้น ๐, ๑ และ ๑.๒๕% ไม่มีความแตก ต่างกันในทางสถิติ คือ ๒.๙๔, ๒.๗๑ และ ๒.๖๙ ตามล�ำดับ ทั้งนี้ หากเพิ่ม ความเข้มข้นของน�้ำส้มสายชูกลั่นมากขึ้นจะท�ำให้ดัชนีความงอกลดลงตาม ล�ำดับ ความยาวรากของเมล็ดพันธุ์พริกที่ผ่านการแช่นำ�้ ส้มสายชูกลั่นที่ ความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา ๑/๒ ชั่วโมงและ๑ ชั่วโมง พบว่าค่าเฉลี่ยไม่มี ความแตกต่างกันทางสถิติ ซึง่ บ่งบอกถึงการแช่เมล็ดพันธุพ์ ริกในน�ำ้ ส้มสายชู กลั่นที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ รวมไปถึงระยะเวลาในการแช่ไม่ส่งผลต่อ ความยาวรากของเมล็ดพันธุ์พริก


78 ความยาวล�ำต้นของเมล็ดพันธุ์พริกที่ผ่านการแช่ด้วยน�ำ้ ส้มสายชูที่ ความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา ๑/๒ ชั่วโมง พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่ผ่านการแช่ใน น�้ำส้มสายชูที่ความเข้มข้น ๐, ๑ และ ๑.๒๕% มีความยาวล�ำต้นไม่แตกต่าง กันทางสถิติ คือ ๒.๘๙, ๒.๖๗, และ ๒.๕๙ เซนติเมตรตามล�ำดับ ทั้งนี้หาก เพิม่ ความเข้มข้นของน�ำ้ ส้มสายชูกลัน่ จะท�ำให้คา่ เฉลีย่ ความยาวล�ำต้นลดลง และเมือ่ เพิม่ เวลาเป็น ๑ ชัว่ โมง เมล็ดทีผ่ า่ นการแช่ในน�ำ้ ส้มสายชูทคี่ วามเข้ม ข้น ๐ และ ๑% มีความยาวล�ำต้นไม่แตกต่างกันทางสถิติ คือ ๒.๗๗ และ ๒.๖๔ เซนติเมตรตามล�ำดับ ทัง้ นีห้ ากเพิ่มความเข้มข้นของน�ำ้ ส้มสายชูกลัน่ จะท�ำให้ค่าเฉลี่ยความยาวล�ำต้นลดลง เมล็ดพันธุ์พริกที่ผ่านการแช่ด้วยน�้ำส้มสายชูกลั่นที่ความเข้มข้น ต่างๆ เป็นเวลา ½ ชัว่ โมง พบว่า เมล็ดพันธุพ์ ริกทีผ่ า่ นการแช่ดว้ ยน�ำ้ ส้มสายชู กลั่นที่ความเข้มข้น ๐% มีเปอร์เซ็นต์เมล็ดที่เกิดโรคสูงที่สุด คือ ๖๐% ทั้งนี้ หากเพิ่มความเข้มข้นของน�้ำส้มสายชูกลั่นเป็น ๑, ๑.๒๕, ๑.๖๗, ๒.๕ และ ๕% จะท�ำให้เปอร์เซ็นต์เมล็ดทีเ่ กิดโรคลดลง คือ ๒๘.๘, ๑๒.๘, ๑๖, ๑๓.๖ และ ๑๐.๔% ตามล�ำดับ และเมื่อแช่เมล็ดพันธุ์พริกเป็นเวลา ๑ ชั่วโมง พบ ว่า เมล็ดพันธุ์ที่ผ่านการแช่ด้วยน�้ำส้มสายชูกลั่น ๐% มีเปอร์เซ็นต์ของเมล็ด ทีเ่ กิดโรคสูงทีส่ ดุ คือ ๗๖% โดยในส่วนของเมล็ดพันธุพ์ ริกทีผ่ า่ นการแช่ดว้ ย น�้ำส้มสายชูกลัน่ ที่ทกุ ความเข้มข้นจะมีเปอร์เซ็นต์เมล็ดทีเ่ กิดโรคเหลือเพียง ๐- ๔%โดยมีคา่ ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซึง่ แตกต่างจากเมล็ดพันธุท์ ผี่ า่ นการ แช่ด้วยน�ำ้ ส้มสายชูกลั่นที่ความเข้มข้น ๐% อย่างชัดเจน จากการทดลองพบว่าการแช่เมล็ดพันธุใ์ นน�ำ้ ส้มสายชูกลัน่ นาน ๑/๒ ชั่วโมง ไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นต์ความงอกมาตรฐานแต่จะส่งผลต่อการลดลง ของดัชนีความงอก ค่าเฉลีย่ ความยาวรากและความยาวล�ำต้นเพียงเล็กน้อย และในเมล็ดทีแ่ ช่ด้วยน�้ำส้มสายชูกลัน่ ๕% ส่งผลให้เกิดการลดลงของเมล็ด พันธุ์ที่เกิดโรคจาก ๖๐% เหลือ ๑๐% แสดงให้เห็นว่าระยะเวลาการแช่ครึ่ง ชั่วโมงไม่มีผลต่อความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ แต่ไม่สามารถลดจ�ำนวนเมล็ด


79 ที่เกิดโรคได้ทงั้ หมด จึงเห็นว่าการแช่น�้ำส้มสายชูกลั่นนาน ๑/๒ ชั่วโมง เป็น ระยะเวลาที่ไม่เหมาะสมในการก�ำจัดโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ การแช่เมล็ดพันธุ์พริกในน�้ำส้มสายชูกลั่นที่ ๑% ในระยะเวลา ๑ ชั่วโมง พบว่า ความงอกมาตรฐาน ดัชนีความงอก ความยาวรากและความ ยาวล�ำต้นของต้นกล้า ไม่แตกต่างกันทางสถิติจากการแช่เมล็ดพันธุ์พริกใน น�้ำส้มสายชูกลั่นที่ ๐% (น�้ำกลั่น) แต่พบว่าสามารถลดการเกิดโรคกับเมล็ด พันธุ์จาก ๗๖% เหลือเพียง ๔% จึงเหมาะสมที่จะน�ำไปประยุกต์ใช้ในการ ก�ำจัดโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ ในกรณีที่ไม่ต้องการให้คุณภาพของเมล็ด พันธุ์ลดลง หากเพิ่มความเข้มข้นน�้ำส้มสายชูกลั่นมากขึ้นในระยะเวลาการ แช่นาน ๑ ชั่วโมง จะส่งต่อ การลดลงของความมีชีวิตหรือความงอกของ เมล็ดพันธุ์ และส่งผลต่อความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ท่พี ิจารณาได้จากการ ลดลงของค่าดัชนีการงอกที่แสดงให้เห็นว่าเมล็ดมีความเร็วในการงอกที่ช้า ลง มีความยาวล�ำต้นที่ลดลง จากผลการศึกษาพบว่าการแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยน�้ำส้มสายชูกลัน่ ๕% เป็นเวลา ๑ ชั่วโมง แม้จะส่งผลต่อการลดลงของคุณภาพเมล็ดพันธุ์ แต่พบ การเกิดโรค ๐% หรือหยุดการเกิดโรคกับเมล็ดพันธุ์ได้ ทั้งนี้หากไม่ค�ำนึงถึง คุณภาพของเมล็ดพันธุ์มากนัก หรือยอมรับค่าความงอกของเมล็ดที่ลดต�่ำ ลงได้ การใช้นำ�้ ส้มสายชูกลั่น ๕% เป็นเวลา ๑ ชั่วโมง สามารถน�ำมาใช้เป็น วิธีการที่ก�ำจัดโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ได้เป็นอย่างดี การศึกษานี้เป็นการศึกษาแนวทางเบื้องต้นในการน�ำน�้ำส้มสายชู กลัน่ มาใช้กำ� จัดโรคทีต่ ดิ มากับเมล็ดพันธุ์ ซึง่ จ�ำเป็นต้องศึกษาผลทีม่ ตี ่อการ ก�ำจัดโรคต่างๆ ของพริกที่เกิดขึ้นในแต่ละต�ำแหน่งโดยละเอียดต่อไป


80

สรุปผลการวิจัย ๑. การแช่เมล็ดพันธุ์ในน�ำ้ ส้มสายชูกลัน่ นาน ๑/๒ ชัว่ โมง ไม่มผี ลต่อ ความมีชวี ติ ของเมล็ดพันธุ์ แต่ไม่สามารถลดจ�ำนวนเมล็ดทีเ่ กิดโรคได้ทงั้ หมด ๒. การแช่เมล็ดพันธุ์พริกในน�้ำส้มสายชูกลั่นที่ ๑% ในระยะเวลา ๑ ชั่วโมงไม่มีผลต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ทั้งความมีชีวิตและความแข็งแรงของ เมล็ดพันธุ์ ทัง้ นีส้ ามารถลดการเกิดโรคกับเมล็ดพันธุ์จาก ๗๖% เหลือเพียง ๔% จึงเหมาะสมทีจ่ ะน�ำไปประยุกต์ใช้ในการก�ำจัดโรคทีต่ ดิ มากับเมล็ดพันธุ์ ๓. หากไม่ค�ำนึงถึงคุณภาพของเมล็ดพันธุ์มากนัก หรือยอมรับค่า ความงอกของเมล็ดทีล่ ดต�ำ่ ลงได้การแช่เมล็ดพันธุด์ ว้ ยน�ำ้ ส้มสายชูกลัน่ ๕% เป็นเวลา ๑ ชั่วโมง สามารถลดการเกิดโรคเหลือ ๐% หรือหยุดการเกิดโรค กับเมล็ดพันธุ์ได้


81 เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการเกษตร. ๒๕๔๔. ผลงานวิชาการประจ�ำปี ๒๕๔๔ เล่มที่ ๒. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ๒๕๑ น. ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. ๒๕๔๙. สถิติการส่งออกพริก. ส�ำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร. [ออนไลน์] ได้จาก : http://oae.go.th. ศศิธร วุฒิวณิชย์. ๒๕๔๕. โรคของผักและการควบคุมโรค. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทาลัย เกษตรศาสตร์. ๒๕๑ น. Agarwal, V.K. and Sinclair, J.B. ๑๙๙๖. Principles of seed pathology. USA. ๕๓๙ p. Bosland, P.W. and Votara, E.J. ๒๐๐๐. Peppers: Vegetable and spice capsicums. Department of Agronomy and Horticulture, New Mexico State University. USA. ๒๐๔ p. Raymond, A.T. Grorge. ๑๙๙๙. Vegetable seed production. University of Bath, United Kingdom.๓๒๘ p. International Seed Testing Association. ๑๙๙๙. International Rule for Seed Testing Rules ๑๙๙๙. J.of Seed Sci & Technol. ๒๗, supplement.


82 สถานการณ์การใช้เมล็ดพันธุ์พริกของเกษตรกร ในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ Current Utilization of Chili Seeds by Farmers in Ubon Ratchathani and Srisaket Province วสุ อมฤตสุทธิ๑์ พรพิมล สุรยิ ภัทร๑ รักเกียรติ แสนประเสริฐ ๑ และปราณี แสนวงศ์๑ Wasu Amaritsut๑ Ponpimon Suriyapat๑ Rugkeart Sanprasert๑ and Pranee Sanwong๑ ๑. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๑. Faculty of Agriculture, Ubon Ratchathani University บทคัดย่อ การทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบสถานการณ์การใช้เมล็ดพันธุ์ พริกของเกษตรกรในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ โดยส�ำรวจ เกษตรกรในพื้ น ที่ ป ลู ก พริ ก ๑๐ ต� ำ บลจาก ๖ อ� ำ เภอของเขตจั ง หวั ด อุบลราชธานี และพื้นที่ ๔๕ ต�ำบล จาก๑๒ อ�ำเภอในเขตจังหวัดศรีสะเกษ จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า เกษตรกรผู้ปลูกพริกทัง้ ๒ จังหวัด ยังคงเก็บ เมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองถึง ๘๑.๕๔% แต่การใช้เมล็ดพันธุ์ลูกผสมมีแนวโน้มการ ใช้มากขึ้นเนื่องจากตลาดมีความต้องการมากกว่า ปัจจุบันพบว่าความ ต้องการใช้เมล็ดพันธุ์พริกทั้ง ๒ จังหวัด มีประมาณ ๓,๓๗๗.๓๐ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า ๖,๗๘๙,๗๖๐ บาท ทั้งนี้เป็นเมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้ใช้ เอง ๓,๐๓๓.๘๐ กิโลกรัม (๖๐๖,๗๖๐ บาท) และเมล็ดพันธุล์ กู ผสมประมาณ ๓๔๓.๕ กิโลกรัม (๖,๑๘๓,๐๐๐ บาท) ทัง้ นีป้ ญ ั หาทีส่ ำ� คัญของการใช้เมล็ด พันธุ์ คือ เกษตรกรขาดความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับเมล็ดพันธุ์ เช่น คุณสมบัติ และการใช้เมล็ดพันธุ์แต่ละชนิด การท�ำความสะอาดเมล็ดพันธุ์ การตรวจ


83 คุณภาพเมล็ดพันธุ์อย่างง่าย การป้องกันก�ำจัดศัตรูเมล็ดพันธุ์ การคัดเลือก เมล็ดพันธุ์ ซึ่งมีผลท�ำให้ก่อเกิดปัญหาการผลิตและคุณภาพผลผลิตต่างๆ ตามมา ค�ำส�ำคัญ: พริก การผลิตพริก เมล็ดพันธุ์ Abstract A study on utilization of chili seeds by farmers in Ubon Ratchathani and Srisaket province was investigated. The study area included ๑๐ Tambons from ๖ Districts of Ubon Ratchathani province and ๔๕ Tambons from ๑๒ Districts of Srisaket province. From data analysis, it was found that ๘๑.๕๔% of the farmers still collected the seeds by themselves. However, the number of hybrid seeds used had increased due to high market demand. As a result, the total need of chili seeds for both provinces was about ๓,๓๗๗.๓๐ kilogram or ๖,๗๘๙,๗๖๐ bath in value. Of these, ๓,๐๓๓.๘๐ kilograms (๖๐๖,๗๖๐ bath) were collected by the farmers and ๓๔๓.๕ kilograms (๖,๑๘๓,๐๐๐ bath) were from hybrid seeds. The important problem of seed utilization was the lack of knowledge about seed technology by farmers such as properties of each seed type, seed cleaning, simple tests for seed quality determination, plant protection and seed selection. All of these factors became problematic for chili production and product quality control. Keywords: Chili, Chili production, Seed บทน�ำ พริก เป็นผักชนิดหนึง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญในชีวติ ประจ�ำวันและส�ำคัญใน ทางด้านเศรษฐกิจ เนือ่ งจากมีการใช้พริกเป็นส่วนประกอบอาหารประจ�ำวัน


84 แทบทุกชนิด ในด้านอุตสาหกรรมอาหารต่างๆ ใช้เป็นส่วนประกอบของยา รักษาโรคบางชนิด เนื่องจาก พริกเป็นพืชที่มีคุณค่าทางอาหาร มีสี รสชาด ที่ไม่เหมือนพืชชนิดอื่นๆ ที่จะใช้ทดแทนกันได้ สภาพการปลูกพริกในประเทศไทยขึ้นกับความแตกต่างของสภาพ พืน้ ทีแ่ ละสภาพแวดล้อมของแต่ละท้องถิน่ ทัง้ นีส้ ามารถแบ่งสภาพการผลิต เป็น ๒ ลักษณะ คือการปลูกในสภาพไร่ ซึ่งอาศัยน�้ำฝนเป็นหลัก พื้นที่การ ผลิตมีขนาดใหญ่ และ การปลูกในสภาพสวน พื้นที่การผลิตมีขนาดเล็ก มี ระบบการจัดการ การดูแลทีด่ กี ว่าการปลูกในสภาพไร่ ทัง้ นีพ้ บว่าต้นทุนการ ปลูกในสภาพไร่ตำ�่ กว่าสภาพสวน เช่น ในการผลิตปี ๒๕๔๑ ต้นทุนการผลิต พริก ขี้ห นู ส ภาพไร่ เ ฉลี่ย ประมาณ ๔,๒๔๐ บาทต่ อ ไร่ แ ต่ มีต ้ น ทุ น เฉลี่ย ๑๑,๘๐๐ บาทในการปลูกสภาพสวน (กรมส่งเสริมการเกษตร, ๒๕๔๓; พิทักษ์, ๒๕๔๗) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นแหล่งปลูกพริกประมาณร้อยละ ๔๒ ทั้งนี้เนื่องจาก ประชากรนิยมอาหารรสเผ็ดจัด ความเหมาะสมของสภาพ พื้นที่และสิ่งแวดล้อมต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพริก และ เกษตรกรนิยมปลูกพริกในพืน้ ทีว่ า่ งเปล่าทีใ่ ช้ทำ� นาไม่ได้ผลเนือ่ งจากเป็นพืน้ ที่ เนินหรือสูงหลังฤดูทำ� นา (ประไพพิศ, ๒๕๔๒) ทัง้ นีจ้ ากการศึกษาสภาพและ ปั ญ หาการปลู ก พริ ก ของเกษตรกรต� ำ บลหั ว เรื อ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุบลราชธานี ของ เพ็ญพร (๒๕๓๑) พบว่า เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยและสาร เคมีก�ำจัดศัตรูพืชเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากศัตรูพืชมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยจะให้ปุ๋ยและสารเคมีก�ำจัดศัตรูพชื ๕-๗ วันต่อครัง้ ต้นทุนการผลิตสูง ขึ้นถึงไร่ละ ๑๒,๐๐๐-๑๕,๐๐๐ บาท ราคาพริกมีการเปลี่ยนแปลงตลอด โดยราคาพริกสดลดลงต�่ำสุดกิโลกรัมละ ๑๒ บาท และพบการระบาดของ โรคโคนเน่า ทัง้ นี้เกษตรกรไม่สามารถก�ำหนดราคาได้ จากปัญหาข้างต้นทั้งปัญหาการผลิตและต้นทุนการผลิต ส่วนหนึ่ง เป็นผลจากวิธีการใช้เมล็ดพันธุ์ของเกษตรกร ดังเช่น การที่เกษตรกรผู้ปลูก


85 พริกนิยมเก็บเมล็ดพันธุไ์ ว้ใช้เอง มีผลก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคต่างๆ เช่นโรคต้นเน่า โรคเหี่ยว โรคใบจุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคกุ้งแห้ง หรือโรค แอนแทรคโนส เป็นโรคที่พบการระบาดมากกว่าชนิดอื่น ส่งผลต่อคุณภาพ ของผลผลิต และต้องเพิ่มต้นทุนในการป้องกันก�ำจัด (มณีฉัตร, ๒๕๔๒) ดังนัน้ การศึกษานีจ้ งึ มุง่ ศึกษาสถานการณ์การใช้เมล็ดพันธุพ์ ริกของ เกษตรกร ทั้งในแง่ชนิด พันธุ์ ปริมาณ อัตราการใช้ของเมล็ดพันธุ์ ต้นทุนค่า เมล็ดพันธุ์ และปัญหาอุปสรรคการใช้เมล็ดพันธุ์พริกของเกษตรกรในเขต พืน้ ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ เพือ่ เป็นข้อมูลในการพัฒนาการผลิต พริกต่อไป ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาได้ส�ำรวจพื้นที่และเกษตรกรผู้ปลูกพริกในปีการผลิต ๒๕๔๘/๔๙ ใน ๒ พืน้ ที่ คือจังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ ถึงสถานการณ์ การใช้เมล็ดพันธุ์พริก โดยส�ำรวจพื้นที่ปลูก และการใช้เมล็ดพันธุ์พริกของ เกษตรกรแต่ละจังหวัด โดยในเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี ส�ำรวจเกษตรกร ๑๐ ต�ำบลจาก ๖ อ�ำเภอ และในเขตจังหวัดศรีสะเกษส�ำรวจเกษตรกร ๔๕ ต�ำบล จาก ๑๒ อ�ำเภอที่มีการปลูกพริกจ�ำนวนมาก สุ่มตัวอย่างเกษตรกร ต�ำบลละ ๑๐ ราย และส�ำรวจข้อมูลจากส�ำนักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี และศรีสะเกษ จากนัน้ น�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสรุปผลการศึกษา


86 ตารางที่ ๑ พื้นที่ส�ำรวจในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ พื้นที่ปลูก

ต�ำบล

จังหวัดศรีสะเกษ อ�ำเภอเมืองจันทร์

ต.เมืองจันทร์, ตาโกน

อ�ำเภอวังหิน

ต.บุสูง, ล�ำดวนใหญ่, โพนยาง, วังหิน, ศรีส�ำราญ, ทุ่งสว่าง, ธาตุ

อ�ำเภอกันทรารมย์

ต.จาน, ผักแพว, อีปาด, ทาม, ละทาย, หนองแวง, บัวน้อย, เมืองน้อย

อ�ำเภอยางชุมน้อย

ต.ลิ้นฟ้า, เมืองน้อย,บึงบอน, คอนกาม, ยางชุมน้อย, ยางชุมใหญ่, กุดเมืองฮาม, โนนคูน

อ�ำเภอเมืองศรีสะเกษ ต.โพนเขวา, คูซอด อ�ำเภอน�้ำเกลี้ยง

ต.คูบ, เขิน

อ�ำเภอพยุห์

ต.โนนเพ็ก, ต�ำแย, พรหมสวัสดิ์, พยุห์, หนองค้า

อ�ำเภอโนนคูณ

ต.โพธิ์, โนนค้อ, บก, หนองกุง

อ�ำเภออุทุมพรพิสัย

ต.โคกหล่าม, รังแร้ง

อ�ำเภอขุขันธ์

ต.หัวเสือ, ส�ำโรงตาเจ็น

อ�ำเภอราษีไศล

ต.หนองอึ่ง

อ�ำเภอห้วยทับทัน

ต.ปราสาท, เมืองหลวง, กล้วยกว้าง

จังหวัดอุบลราชธานี อ�ำเภอน�้ำขุ่น

ต.ขี้เหล็ก

อ�ำเภอเดชอุดม

ต.นากระแซง, โนนสว่าง, นาเจริญ

อ�ำเภอม่วงสามสิบ

ต.หนองเหล่า, โพนแพง

อ�ำเภอวารินช�ำราบ

ต.ค�ำขวาง, โพธิ์ใหญ่

อ�ำเภอเขื่องใน

ต.ก่อเอ้

อ�ำเภอเมืองอุบลฯ

ต.หัวเรือ


87 ผลและอภิปราย จากการส�ำรวจ พบว่า จังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ มีการปลูก พริกพื้นที่ปลูกพริก ในปี ๒๕๔๘/๒๕๔๙ ประมาณ ๑๘,๖๐๔ ไร่ เป็นพื้นที่ ปลูกของจังหวัดอุบลราชธานี ๔,๗๕๑ ไร่ และศรีสะเกษ ๑๓,๘๕๓ ไร่ ผลผลิตแต่ละปีไม่น้อยกว่า ๓๕,๐๐๐ ตัน พริกทีป่ ลูกส่วนใหญ่เป็นพริกขีห้ นู ผลใหญ่ มีการปลูกพริกพืน้ เมือง (พริกปี) พริกส้ม และ พริกหยวก เป็นพืน้ ที่ เล็กน้อย ทัง้ นีล้ กั ษณะการปลูกเป็นสภาพสวนมีดแู ลการจัดการอย่างดี การ ปลูกพริกในพืน้ ทีท่ งั้ ๒ จังหวัดเป็นปลูกพืชเพือ่ เป็นการเสริมรายได้จากอาชีพ หลักหรือหลังจากการท�ำนา ในบางพื้นที่จะเริ่มเพาะกล้าระหว่างเก็บเกี่ยว ข้าวหรือเริม่ หลังเก็บเกีย่ วข้าวจนเสร็จสิน้ มีการปลูกพริกในแปลงอย่างเดียว และการปลูกรวมกับพืชอื่นๆ เช่น หอมแดง กระเทียม เป็นต้น ๑. ชนิดและพันธุ์ของเมล็ดพันธุ์พริก จากการศึกษาชนิดของเมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูผลใหญ่ที่มีการปลูกใน พื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ พบว่าสามารถแบ่งชนิดของเมล็ด พันธุ์ที่เกษตรกรใช้ได้ ๒ ชนิด คือ เมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้ใช้เอง และ เมล็ดพันธุ์ลูกผสม (hybrid seed) โดยมีพื้นที่การปลูกพริกซึ่งเป็นพันธุ์ที่ เกษตรกรเก็บไว้ใช้เอง ประมาณ ๑๕,๑๖๙ ไร่คิดเป็น ๘๑.๕๔% ของพื้นที่ ปลูกพริกทั้ง ๒ จังหวัด และพื้นที่การปลูกพริกพันธุ์ลูกผสม ประมาณ ๓,๔๓๕ ไร่คิดเป็น ๑๘.๔๖% (ตารางที่ ๒) ในพื้นที่ทั้ง ๒ จังหวัด ส่วนใหญ่ เกษตรกรนิยมเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง เนื่องจาก เกษตรกรไม่ต้องซื้อเมล็ด พันธุ์ สามารถเก็บไว้ใช้เองได้เนื่องจากลักษณะพันธุกรรมค่อนข้างนิ่งมีการ ผันแปรน้อย จากการส�ำรวจพบว่า เกษตรกรบางกลุม่ มีการคัดเลือกลักษณะ ทีด่ ตี ่างๆ ไว้เพือ่ เป็นเมล็ดพันธุ์ เช่น การคัดเลือกดูจากทรงพุ่ม ความสูง การ แตกกิง่ ดี ลักษณะผลสวย ผลผลิตสูง ลักษณะคุณภาพผลผลิตตรงตามความ ต้องการ และไม่มโี รคและแมลงเข้าท�ำลาย โดยท�ำเครือ่ งหมายบนต้นพริกที่


88 เลือกและทยอยเก็บผลผลิต น�ำไปตากผลให้แห้งสนิท เก็บไว้ในถุงทีม่ ดิ ชิดใน รูปของพริกแห้ง ซึ่งจะกะเทาะเมื่อต้องการใช้เมล็ดพันธุ์ แต่เกษตรกรบาง รายนิยมตากให้แห้งจนกรอบ จากนัน้ ทุบเพือ่ กะเทาะแยกเอาเมล็ดพันธุ์เก็บ ไว้ในขวดโหลทีป่ ดิ มิดชิด เพือ่ รอการน�ำไปใช้ และพบเกษตรกรในหลายพืน้ ที่ นิยมกันพืน้ ที่แปลงปลูกไว้ส่วนหนึ่งเพื่อใช้เก็บเมล็ดพันธุ์โดยเฉพาะ โดยไม่มี การคัดเลือกลักษณะต้น บางพื้นที่เกษตรกรใช้วิธีแบ่งผลผลิตจากการเก็บ เกี่ยว น�ำมาคัดผลที่มีลักษณะตรงตามความต้องการเพื่อใช้เป็นเมล็ดพันธุ์ พันธุพ์ ริกทีเ่ กษตรกรในเขตจังหวัดอุบลราชธานีนยิ มปลูกได้แก่ จินดา หัวเรือ ช่อไสว ทองด�ำ ส้ม เป็นต้น ส่วนพันธุพ์ ริกทีเ่ กษตรกรในเขตจังหวัดศรีสะเกษ นิยมปลูกได้แก่ จินดา ยอดสน หัวเรือบ้านอีปาด เขียวบ้านละทาย ด�ำอินโด เป็นต้น เมล็ดพันธุ์ลูกผสม (hybrid) หรือที่เกษตรเรียกว่า “เมล็ดพันธุ์ กระป๋อง” เป็นเมล็ดพันธุ์ท่ผี ่านการคัดและปรับปรุงพันธุ์ ซึ่งผลิตโดยบริษัท ผลิตเมล็ดพันธุ์ เกษตรกรจ�ำเป็นต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ใหม่ทุกครั้ง เนื่องจาก ลักษณะทางพันธุกรรมจะเปลี่ยนไป โดยเมล็ดพันธุ์ทั้งหมดเป็นเมล็ดพันธุ์ ลูกผสมเดีย่ ว (single cross, F๑) ซึง่ มีลกั ษณะสม�ำ่ เสมอ มีลกั ษณะการเจริญ เติบโตและการให้ผลผลิตเป็นไปตามที่เกษตรกรและตลาดต้องการ พบว่า ตลาดให้ราคาผลผลิตพริกสดลูกผสมสูงกว่าพริกทีเ่ กษตรกรเก็บเมล็ดพันธุ์ ไว้ใช้เอง ๕- ๑๐ บาทต่อกิโลกรัม เมล็ดพันธุ์ลูกผสมที่ได้รับความนิยมปลูก ของเกษตรกรของจังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษเป็นเมล็ดพันธุ์ของ บริษัท อีสท์ เวสท์ ซีดจ�ำกัด ชื่อพันธุ์ “super hot” หรือเกษตรกรเรียกว่า “พริกพันธุ์ศรแดง” ซึ่งลักษณะพันธุ์ล�ำต้นจะมีขนาดใหญ่ การแตกแขนงดี ทนทานต่อโรค ต้นสูง ๘๐-๑๓๐ เซนติเมตร ผลเมือ่ สุกมีสแี ดงเข้ม ยาว ๕-๗ เซนติเมตร ขั้วผลใหญ่ เนื้อผลหนา ทนทานและการสูญเสียน�ำ้ หนักน้อยใน การขนส่งเมื่อเปรียบเทียบกับพันธุ์อื่น และยังมีพริกพันธุ์ลูกผสมของบริษัท อื่นๆ ในท้องตลาดที่เกษตรกรมีการปลูก เช่น พันธุ์ดับเบิ้ล ฮอท ของบริษัท


89 ดีเลิศ เทรดดิง้ จ�ำกัดและ พันธุเ์ วรี ฮอท ของบริษทั โปร อินเตอร์ ซีดส์ จ�ำกัด เป็ น ต้ น เส้ น ทางการได้ เ มล็ ด พั น ธุ ์ ข องเกษตรกร มาจากร้ า นค้ า วั ส ดุ การเกษตร พ่อค้ารับซื้อผลผลิตมาส่งเสริม และตัวแทนจ�ำหน่าย ๒. ปริมาณ และอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ของเกษตรกร การใช้เมล็ดพันธุ์พริกในการปลูกพริกของเกษตรกรในพื้นที่ทั้ง ๒ จังหวัด พบว่ามีปริมาณสูงมาก ประมาณ ๓,๓๗๗.๓๐ กิโลกรัมโดยมีมลู ค่า การใช้เมล็ดพันธุ์ทงั้ ๒ จังหวัดประมาณ ๖,๗๘๙,๗๖๐ บาท ทั้งนี้เป็นเมล็ด พันธุท์ เี่ กษตรกรเก็บไว้ใช้เอง ๓,๐๓๓.๘๐ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า ๖๐๖,๗๖๐ บาท และเมล็ดพันธุ์ลูกผสมประมาณ ๓๔๓.๕ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า ๖,๑๘๓,๐๐๐ บาท ซึ่งเมล็ดพันธุ์ลูกผสมมีมูลค่ามากกว่าเมล็ดพันธุ์ที่ เกษตรกรเก็บไว้ใช้เองถึง ๑๐ เท่า (ตารางที่ ๒) อั ต ราการใช้ เ มล็ ด พั น ธุ ์ ข องเกษตรกรปลู ก พริ ก ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด อุบลราชธานีและศรีสะเกษ ในการปลูกแบบสภาพสวน พื้นที่ ๑ ไร่ กรณี เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุท์ เี่ กษตรกรเก็บไว้ใช้เอง จะใช้พริกแห้ง ประมาณ ๕๐๐ กรัม เพื่อกระเทาะเอาเมล็ด หรือใช้เมล็ดประมาณ ๒๐๐ กรัม ส�ำหรับใช้ เพาะกล้า (ระยะปลูก ๐.๔ ×๐.๔ เมตร) ประมาณ ๑๐,๐๐๐ -๑๒,๐๐๐ ต้น จึงจะเพีย งพอในการปลูก มีการใช้ปริม าณเมล็ ดพั น ธุ ์ ใ นการเพาะมาก เนื่องจากเกิดความความเสียหายระหว่างเพาะกล้า เกษตรกรบางรายย้าย ปลูกจะใช้ ๒-๓ ต้นต่อหลุม ส่วนกรณีเกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ลูกผสม ตามฉลากผลิตภัณฑ์ของ บริษัท อีสท์ เวสท์ ซีดส์ จ�ำกัด เมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูลูกผสม ซุปเปอร์ ฮอท น�้ำหนัก ๕๐ กรัม มีเมล็ดพันธุ์ประมาณ ๑๒,๐๐๐ เมล็ด ตามอัตราการ แนะน�ำซึ่งสามารถปลูกได้ ๑ ไร่ โดยใช้ระยะปลูก ๐.๕×๑.๐ เมตร จะใช้ต้น กล้าประมาณ ๓,๒๐๐-๓,๕๐๐ ต้น แต่ในการปฏิบัติของเกษตรกร นิยมใช้ เมล็ดพันธุ์พริกอัตรา ๑๐๐ กรัมต่อไร่ โดยเผื่อส�ำหรับการตายของต้นกล้า


90 ท�ำให้เพิ่มปริมาณการใช้ และต้นทุนในการผลิตของเกษตรกรเพิ่มสูงขึ้น ๓. ราคาเมล็ดพันธุ์ต่อต้นทุนการผลิตพริกของ ต้นทุนการผลิตพริกของเกษตรกรในทั้งจังหวัดอุบลราชธานีและ ศรีสะเกษ นอกเหนือจากต้นทุนทางด้านวัสดุปลูก ปุ๋ย สารเคมีต่างๆ การ เตรียมพืน้ ที่ ค่าไฟฟ้าหรือค่าน�ำ้ มันในการให้นำ �้ และค่าแรงงานในการจัดการ ต่างๆ ยังมีค่าเมล็ดพันธุ์ซึ่งเป็นต้นทุนส�ำคัญในการผลิต กรณี เ กษตรกรใช้ เ มล็ ด พั น ธุ ์ ท่ี เ ก็ บ ไว้ ใ ช้ เ อง พบว่ า มี ต ้ น ทุ น ต�่ ำ เนื่องจากไม่ต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ หากคิดค�ำนวณค่าเมล็ดพันธุ์ พบว่ามีมูลค่า ประมาณ ๔๐ บาท ซึ่งเป็นราคาของพริกแห้งประมาณ ๐.๕ กิโลกรัมที่น�ำ มาใช้กะเทาะเพื่อเอาเมล็ดพันธุ์ จากการส�ำรวจ (ตารางที่ ๓) พบว่ากรณี เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ที่เก็บไว้ใช้เองในการผลิตพริกแดงสด ๑ ไร่ มีต้นทุน ต่อกิโลกรัม ประมาณ ๑๔.๓๗ บาท รายได้เหนือต้นทุนรวมประมาณ ๑๔,๐๖๖ บาท ค่าเมล็ดพันธุ์คดิ เป็น ๐.๑๑% ของต้นทุนทัง้ หมด ส่วนในกรณีที่เกษตรกรปลูกพริกพันธุ์ลูกผสม เกษตรกรจะต้องซื้อ เมล็ดพันธุ์ในราคา ๘๕๐-๙๓๐ บาทต่อน�ำ้ หนัก ๕๐ กรัม เกษตรกรใช้เมล็ด พันธุ์อัตรา ๑๐๐ กรัมต่อไร่ ท�ำให้ต้นทุนเมล็ดพันธุ์พริกประมาณ ๑,๘๐๐๑,๘๖๐ บาท คิดเป็น ๕.๐๔% ของต้นทุนทัง้ หมด ทั้งนี้ในการผลิตพริกแดง สด ๑ไร่ มีต้นทุนต่อกิโลกรัม ประมาณ ๑๗.๘๕ บาท รายได้เหนือต้นทุน รวมประมาณ ๑๔,๓๖๖ บาท จากทัง้ ๒ กรณีการใช้เมล็ดพันธุท์ ตี่ า่ งกันแต่พบว่ารายได้เหนือต้นทุน รวมไม่แตกต่างกันมากนัก เนื่องจาก พริกพันธุ์ลูกผสมสามารถจ�ำหน่ายได้ ราคาสูงกว่าพริกพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้ใช้เอง ๔. ปัญหาและอุปสรรคของการใช้เมล็ดพันธุ์พริก จากการส�ำรวจพื้นที่การปลูกพริกในพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์


91 พริกทัง้ ๒ จังหวัด พบปัญหาและอุปสรรคจากการใช้เมล็ดพันธุข์ องเกษตรกร ดังนี้ ๑. เมล็ดพันธุม์ รี าคาสูง ปัจจุบนั ตลาดมีความต้องการผลผลิตทีเ่ กิด ขึน้ จากเมล็ดพันธุล์ กู ผสมแต่ราคาเมล็ดพันธุล์ กู ผสมในปัจจุบนั มีราคาสูงขึน้ มาก เป็นต้นทุนที่เกษตรกรต้องพิจารณาโดยเฉพาะหากการผลิตเกิดความ เสียหาย หรือ ราคาตกต�่ำ ๒. เกษตรกรขาดความรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ เมล็ ด พั น ธุ ์ เช่ น คุณสมบัติและการใช้เมล็ดพันธุ์แต่ละชนิด การท�ำความสะอาดเมล็ดพันธุ์ การตรวจคุณภาพเมล็ดพันธุอ์ ย่างง่าย การป้องกันก�ำจัดศัตรูเมล็ดพันธุ์ การ คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ ท�ำให้ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาได้แก่ ๒.๑ การระบาดของศัตรูพชื จากการเก็บเมล็ดพันธุไ์ ว้ใช้เอง เกษตรกรที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิธี ท�ำให้มีปัญหาเมล็ดพันธุ์ไม่มีคุณภาพ มี โรคและแมลงติดมากับเมล็ดพันธุ์ เมือ่ น�ำเมล็ดพันธุเ์ หล่านัน้ ไปปลูกจึงท�ำให้ ได้ต้นกล้าไม่แข็งแรงและได้รับความเสียหาย ทั้งนี้เกษตรกรต้องเพิ่มค่าใช้ จ่ายในการก�ำจัดศัตรูพชื เหล่านี้ จึงเป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ๒.๒ เกษตรกรใช้ เ มล็ ด พั น ธุ ์ ใ นอั ต ราปลู ก ต่ อ พื้ น ที่ สู ง เนือ่ งจากเมล็ดพันธุไ์ ม่มคี ณ ุ ภาพ เกษตรกรไม่มกี ารตรวจสอบคุณภาพเมล็ด พันธุ์เบื้องต้น ท�ำให้ไม่ทราบความงอกและความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ จึง ต้องเพาะกล้าจ�ำนวนมากเพื่อป้องกันกรณีต้นกล้าได้รับความเสียหายให้ เพียงพอต่อการปลูก ดังเห็นได้จากการใช้เมล็ดพันธุล์ กู ผสมทีใ่ ช้อตั ราสูงกว่า อัตราแนะน�ำถึงเท่าตัว ๒.๓ การคัดเลือกพันธุพ์ ริก ในการเก็บเมล็ดพันธุท์ เ่ี กษตรกร เก็บไว้ใช้เอง พบว่า เกษตรกรหลายรายไม่มกี ารคัดเลือก บางรายนิยมเลือก จากผลผลิตทีม่ ลี กั ษณะสวย โดยไม่คำ� นึงถึงลักษณะทรงต้น การแตกกิง่ ทรง พุ่ม โรคที่เกิดขึ้นกับต้น หรือการให้ผลผลิต เกษตรกรบางรายนิยมซื้อเมล็ด พันธุจ์ ากพ่อค้าทีเ่ ข้ามารับซือ้ พริก โดยไม่รทู้ มี่ าของพริก ท�ำให้เกิดความสูญ


92 เสียทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพของผลผลิต ๒.๔ เกษตรกรไม่มคี วามรู้ในเรื่องการใช้เมล็ดพันธุ์ลูกผสม พบเกษตรกรหลายรายเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ปลูกในครั้งต่อไป ท�ำให้ผลผลิต พริกไม่สม�่ำเสมอ ไม่ตรงตามลักษณะพันธุ์ยังพบลักษณะต้นที่เป็นหมัน จ�ำนวนมาก ตารางที่ ๒ พื้นที่การปลูก ปริมาณและมูลค่าเมล็ดพันธุ์พริกในเขตจังหวัด อุบลราชธานีและศรีสะเกษ จังหวัด อุบลราชธานี

ร้อยละ (%)

จังหวัด ศรีสะเกษ

ร้อยละ (%)

รวม

ร้อยละ (%)

พื้นที่ปลูกพริก ทั้งหมด (ไร่)

๔,๗๕๑.๐๐

๑๐๐.๐๐

๑๓,๘๕๓.๐๐

๑๐๐.๐๐

๑๘,๖๐๔.๐๐

๑๐๐.๐๐

- พื้นที่ใช้เมล็ด พันธุ์ที่เกษตรกร เก็บเอง (ไร่)

๓,๙๑๑.๐๐

๘๒.๓๒

๑๑,๒๕๘.๐๐

๘๑.๒๗

๑๕,๑๖๙.๐๐

๘๑.๕๔

- พื้นที่ปลูกพันธุ์ ลูกผสม (ไร่)

๘๔๐.๐๐

๑๗.๖๘

๒,๕๙๕.๐๐

๑๘.๗๓

๓,๔๓๕.๐๐

๑๘.๔๖

ปริมาณการใช้ เมล็ดพันธุ์ทงั้ หมด (กก.)

๘๖๖.๒๐

๑๐๐.๐๐

๒,๕๑๑.๑๐

๑๐๐.๐๐

๓,๓๗๗.๓๐

๑๐๐.๐๐

- ปริมาณเมล็ด พันธุ์ที่เกษตรกร เก็บเอง (กก.)

๗๘๒.๒๐

๙๐.๓๐

๒,๒๕๑.๖๐

๘๙.๖๗

๓,๐๓๓.๘๐

๘๙.๘๓

- ปริมาณเมล็ด พันธุ์ลูกผสม (กก.)

๘๔.๐๐

๙.๗๐

๒๕๙.๕๐

๑๐.๓๓

๓๔๓.๕๐

๑๐.๑๗

มูลค่าเมล็ดพันธุ์ ทั้งหมด (บาท)

๑,๖๖๘,๔๔๐

- มูลค่าเมล็ด พันธุ์ที่เกษตรกร เก็บเอง (บาท) ๑

๑๕๖,๔๔๐

รายการ

๑๐๐.๐๐ ๕,๑๒๑,๓๒๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๖,๗๘๙,๗๖๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๙.๓๘

๔๕๐,๓๒๐.๐๐

๘.๗๙

๖๐๖,๗๖๐.๐๐

๘.๙๔


93 รายการ - มูลค่าเมล็ด พันธุ์ลูกผสม (บาท) ๒

จังหวัด อุบลราชธานี

ร้อยละ (%)

จังหวัด ศรีสะเกษ

ร้อยละ (%)

รวม

ร้อยละ (%)

๑,๕๑๒,๐๐๐.๐๐

๙๐.๖๒

๔,๖๗๑,๐๐๐.๐๐

๙๑.๒๑

๖,๑๘๓,๐๐๐.๐๐

๙๑.๐๖

ค�ำนวนจากราคาเมล็ดพันธุ์ ๒๐๐ บาทต่อกิโลกรัม (ราคาของพริกแห้ง ที่น�ำมากะเทาะเพื่อเอาเมล็ดพันธุ์) ๒ ค�ำนวนจากราคาเมล็ดพันธุ์ ๑๘,๐๐๐ บาทต่อกิโลกรัม (กระป๋อง ๕๐ กรัม ราคา ๙๐๐ บาท) ๑

ตารางที่ ๓ ต้ น ทุ น เมล็ ด พั น ธุ ์ พ ริ ก ในพื้ น ที่ ก ารปลู ก ๑ไร่ เขตจั ง หวั ด อุบลราชธานีและศรีสะเกษ

รายการ พันธุ์ที่เกษตรกรเก็บเอง อัตราปลูก (กิโลกรัม/ไร่) ๐.๒๐ ต้นทุนค่าเมล็ดพันธุ์ (บาท/ไร่) ๔๐.๐๐๑ ราคาขายพริกสดต่อกิโลกรัม (บาท/กิโลกรัม) ๒๐.๐๐ ต้นทุนการปลูกพริกต่อกิโลกรัม (บาท/กิโลกรัม) ๑๔.๓๗ ค่าเมล็ดพันธุ์ต่อต้นทุน (%) ๐.๑๑ ค่าต้นทุนเมล็ดพันธุ์ต่อกิโลกรัมผลผลิต (บาท/ ๐.๐๑๖ กิโลกรัม) ก�ำไรสุทธิต่อไร่ (บาท/ไร่) ๑๔,๐๖๖.๖๗ ๑

พันธุ์ลูกผสม ๐.๑๐ ๑,๘๐๐.๐๐ ๒๕.๐๐ ๑๗.๘๕ ๕.๐๔ ๐.๙๐ ๑๔,๓๐๖.๖๗

ค�ำนวนจากราคาของพริกแห้งที่น�ำมากะเทาะเพื่อเอาเมล็ดพันธุ์

สรุป ๑. เกษตรกรยังคงใช้เมล็ดพันธุ์ที่เก็บไว้ใช้เอง ถึง ๘๑.๕๔% แต่การ ใช้เมล็ดพันธุ์ลูกผสมมีแนวโน้มการใช้มากขึ้นเนื่องจากตลาดมี ความต้องการมากกว่า


94 ๒. พันธุพ์ ริกทีเ่ กษตรกรนิยมเก็บไว้ทำ� พันธุใ์ นเขตจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ จินดา, หัวเรือ, ช่อไสว, ทองด�ำ, ส้ม เป็นต้น ส่วนพันธุ์พริก ที่เกษตรกรในเขตจังหวัดศรีสะเกษนิยมได้แก่ จินดา, ยอดสน, หัว เรือบ้านอีปาด, เขียวบ้านละทาย, ด�ำอินโด เป็นต้น ๓. พริกพันธุล์ กู ผสมทีเ่ กษตรกรมีการปลูกในเขตจังหวัดอุบลราชธานี และศรีสะเกษ ได้แก่ พันธุซ์ ปุ เปอร์ ฮอท ของบริษทั อีสท์ เวสท์ ซีดส์ จ�ำกัด, พันธุ์ดับเบิ้ล ฮอท ของบริษัท ดีเลิศ เทรดดิ้ง จ�ำกัดและ พันธุ์เวรี ฮอท ของบริษัท โปร อินเตอร์ ซีดส์ จ�ำกัด เป็นต้น ๔. ความต้ อ งการใช้ เ มล็ ด พั น ธุ ์ พ ริ ก ทั้ ง ๒ จั ง หวั ด มี ป ระมาณ ๓,๓๗๗.๓๐ กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า ๖,๗๘๙,๗๖๐ บาท ทัง้ นีเ้ ป็น เมล็ ด พั น ธุ ์ ที่ เ กษตรกรเก็ บ ไว้ ใ ช้ เ อง ๓,๐๓๓.๘๐ กิ โ ลกรั ม (๖๐๖,๗๖๐ บาท) และเมล็ดพันธุ์ลูก ผสมประมาณ ๓๔๓.๕ กิโลกรัม (๖,๑๘๓,๐๐๐ บาท) ๕. กรณีเกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ที่เก็บไว้ใช้เองในการผลิตพริกแดงสด ๑ กิโลกรัม มีต้นทุน ประมาณ ๑๔.๓๗ บาท ค่าเมล็ดพันธุ์คดิ เป็น ๐.๑๑% ของต้นทุนทัง้ หมด ส่วนในกรณีทเี่ กษตรกรปลูกพริกพันธุ์ ลูกผสม มีต้นทุนต่อกิโลกรัม ประมาณ ๑๗.๘๕ บาท ค่าเมล็ด พันธุ์คิดเป็น ๕.๐๔% ของต้นทุนทัง้ หมด ๖. ปัญหาที่ส�ำคัญของการใช้เมล็ดพันธุ์ คือ เกษตรกรขาดความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับเมล็ดพันธุ์ เช่น คุณสมบัตแิ ละการใช้เมล็ดพันธุ์ แต่ละชนิด การท�ำความสะอาดเมล็ดพันธุ์ การตรวจคุณภาพเมล็ด พันธุ์อย่างง่าย การป้องกันก�ำจัดศัตรูเมล็ดพันธุ์ และการคัดเลือก เมล็ดพันธุ์


95 ค�ำนิยม

งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยการศึกษาสถานภาพการ ผลิต สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพ และต้นทุนการผลิตสาร capsaicin ในพริกพันธุก์ ารค้าของไทย กรณีศกึ ษา : จังหวัดอุบลราชธานี และ ศรีสะเกษ ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนทุนวิจยั จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจยั ทัง้ นีค้ วามคิดเห็นในรายงานผลการวิจยั เป็นของผูว้ จิ ยั ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัยไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป เอกสารอ้างอิง กรมส่งเสริมการเกษตร. ๒๕๔๓. คู่มือพืชสวนเศรษฐกิจ. กองส่งเสริมพืช สวน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประไพพิศ มิตรภานนท์. ๒๕๔๒. พืชเศรษฐกิจของจังหวัดอุบลราชธานี ศึกษาเฉพาะกรณีพริกหัวเรือ ต�ำบลหัวเรือ อ�ำเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พิ ทั ก ษ์ เทพสมบู ร ณ์ . ๒๕๔๗. การปลู ก พริ ก . อั ก ษรสยามการพิ ม พ์ . กรุงเทพฯ. ๗๒ หน้า. เพ็ญพร สุจิตตกุล. ๒๕๓๑. สภาพและปัญหาการปลูกพริกของเกษตรกร ต�ำบลหัวเรือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. ส�ำนักงานส่งเสริม การเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มณีฉัตร นิกรพันธุ์. ๒๕๔๒. การผลิตเมล็ดพันธุ์ผักลูกผสม. ส�ำนักพิมพ์โอ เดียนสโตร์. กรุงเทพฯ ๑๒๔ หน้า.


96 ระบบสารสนเทศการคัดกรองสุขภาพเบื้องตน กลุมพระภิกษุ สามเณร Information System of Fundamental Health Screening for Monk and Novice วสุ อมฤตสุทธิ์, ทศพร สาธรวิศิษฐ์, วชิรศักดิ์ ประกาศิต และ กาญกนก เกษหงษ์ ศูนยสารสนเทศหนวยแพทยพระราชทานเคลื่อนที่สําหรับพระ ภิกษุ สามเณร ในพระราชูปถัมภฯ ไดพฒ ั นา “ระบบสารสนเทศการคัดกรอง สุขภาพเบือ้ งตนกลุม พระภิกษุ สามเณร” เพือ่ ใชพฒ ั นาเปน ระบบ ฐานขอมูล สุขภาพของพระสงฆ ประกอบด้วยการพัฒนาระบบการกรอกบันทึกขอมูล เพือ่ เปน ระบบการกรอกบันทึกขอมูลการคัดกรองสุขภาพ และพัฒนาระบบ ประเมินรายงานผลการคัดกรอง เพื่อวิเคราะหประมวลผล ขอมูลประวัติ สุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนาํ ผลแตละดานมาเปรียบเทียบเพือ่ พิจารณาความสัมพันธของข้อมูล โดยมูลนิธโิ รงพยาบาล ๕๐ พรรษา มหา วชิราลงกรณ ไดรวบรวมแบบสอบถามการตรวจคัดกรองสุขภาพพระสงฆ จากการออกหน ว ยแพทย เ คลื่อ นที่ ฯ จั ง หวั ด ต า งๆ ทั่ ว ประเทศ จํ า นวน ๙๔,๙๒๘ รูป ทําใหไดฐานขอมูลสุภาพของพระสงฆ์ จากการประมวล ผลขอมูลการคัดกรอง พบวา พระสงฆสวนใหญมคี าน�ำ้ ตาลในเลือดสูง และ พบปญหาความดันโลหิต ซึ่งสอดคลองกับผลการตรวจสอบประวัติพอแม และพี่นอง ที่มีประวัติการปวย เปนโรคเบาหวานและความดัน สูงกวาการ เปนโรคอื่นๆ พระสงฆสวนใหญประมาณรอยละ ๘๑ ใชสิทธิหลักประกัน สุขภาพในการตรวจรักษา โดยสวนใหญรักษาการอาพาธที่โรงพยาบาล รอยละ ๔๐ และมีประมาณรอยละ ๒๐ รักษาโดยการซื้อยากินรักษาเอง ทั้งนี้พระสงฆประมาณรอยละ ๓๕ ไมมีประวัตกิ ารรักษา ในดานพฤติกรรม


97 สุขภาพ พบวาปจจุบันพระสงฆมีการสูบบุหรี่ประมาณรอยละ ๔๐ ไมมีการ ออกกําลังกายรอยละ ๓๖ สวนใหญรอยละ ๔๓ ไมฉันภัตตาหารสุกๆ ดิบๆ และประมาณรอยละ ๕๔ ไมมีประวัติพฤติกรรมลักษณะทางอารมณรูสึก หดหูและเบื่อหนาย ในการพัฒนาระบบ ใช้ฐานข้อมูล MySQL ในภาษา PHP ร่วม กับ Ajax แสดงผลรายงานได้ทงั้ แบบสรุปตัวเลข และแผนภูมิ สามารถแสดง รายงานได้ในภาพรวม และจ�ำแนนกลุ่มตามพื้นที่ ตามปัญหาด้านสุขภาพ และข้อมูลอื่นๆ อย่างไรก็ตามพบว่าการใช้ Query เพื่อเรียกข้อมูลมาแสดง ผลนั้น ยังใช้เวลามากเกินไป ซึ่งจะต้องปรับปรุงแก้ไข ให้มีประสิทธิภาพสูง ขึ้น


98 ระบบสารสนเทศโครงการบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข แบบ ABC จังหวัดอุบลราชธานี Information System of Area based collaborative Research Ubonrajchatani วสุ อมฤตสุทธิ์, ทศพร สาธรวิศิษฐ์ วชิรศักดิ์ ประกาศิต และ กาญกนก เกษหงษ์ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และกระทรวง มหาดไทย ได้ด�ำเนินโครงการ “บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข แบบ ABC (Area Based Collaborative Research) ” ในพืน้ ที่ ๗๖ จังหวัด เพือ่ แก้ไขปัญหาความยากจน และการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ โดยใช้แนวคิดพื้นที่เป็น ตัวตั้ง และใช้การจัดท�ำบัญชีครัวเรือนและแผนชุมชน เป็นเครื่องมือในการ เข้ า ถึ ง ปั ญ หาและความต้ อ งการที่ แ ท้ จ ริ ง ของประชาชน เพื่ อ น� ำ ไปสู ่ กระบวนการในการแก้ไขปัญหา ควบคู่ไปกับการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนด้วย สมาชิกในชุมชนเอง จังหวัดอุบลราชธานี ได้เข้าร่วมโครงการมาตัง้ แต่ ปี ๒๕๕๐ ใน โครงการน�ำร่อง ๑๗ จังหวัด และได้มอบหมายให้ศูนย์สารสนเทศชุมชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อบันทึกบัญชีครัว เรือน และจัดท�ำรายงานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการจัดท�ำแผนชุมชน เพื่อแก้ไข ปัญหาดังกล่าว ในช่วงแรกของโครงการได้พัฒนาระบบในรูปแบบ Web Application ซึ่งประสพปัญหากับพื้นที่ ที่ไม่สามารถเข้าถึง internet ได้ โดย ในปี ๒๕๕๕ มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ และการแบบหมวดหมู่แบบบันทึก บัญชีครัวเรือน ประกอบกับทางจังหวัดอุบลราชธานีได้ก�ำหนดการจัดเก็บ ข้อมูลทุกหมู่บ้าน ประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ ครัวเรือน


99 ดังนั้นศูนย์สารสนเทศชุมชน จึงได้ท�ำการปรับปรุงระบบให้ สามารถรอบรับโครงสร้างข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงได้พัฒนาระบบฯ ให้สามารถท�ำงานได้แบบ Stand alone ส�ำหรับพื้นที่ ที่ไม่มีระบบ internet โดยได้ทำ� การอบรมการติดตัง้ และใช้งานระบบดังกล่าวแล้ว ๒๑ อ�ำเภอ จาก ๒๕ อ�ำเภอ รวมผู้รับการอบรมประมาณ ๑,๐๐๐ คน ในการพัฒนาระบบในส่วน Web Application ใช้ฐานข้อมูล MySQL และภาษา PHP โดยสามารถแสดงผลรายงานได้ทงั้ แบบสรุปตัวเลข และแผนภูมิ สามารถแสดงรายงานได้ในภาพรวม และจ�ำแนกกลุม่ ตามพืน้ ที่ ในส่วน Stand Alone ใช้ Turbo Delphi ร่วมกับฐานข้อมูล MS Access สามารถ ส่งออกข้อมูลในรูปแบบตารางเพื่อท�ำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยก�ำหนดให้มี การอบรมถ่ายทอดความรู้ในการวเคราะห์ข้อมูลในล�ำดับต่อไป บทความงานเกษตรอีสานใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๕ เข้มข้นหลากหลายใน เกษตรอีสานใต้ ปี ๕๕ รศ.ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ ได้กล่าวว่า งาน เกษตรอีสานใต้ปี ๒๕๕๕ ซึ่งจะได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๒๖ ตุลาคม – ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ตั้งหัวข้อการจัดงาน คือ “มหัศจรรย์แห่งสายน�้ำ” ผู้เข้าชมงานในปีนี้จะได้ชมความสวยงามของสายน�้ำ ผ่านการแสดงม่านน�้ำ ระบบน�ำ้ ทางการเกษตร ซึ่งจัดแสดงในรูปแบบสวนน�้ำผสมผสานกับสวนไม้ ดอกไม้ประดับ ชมนิทรรศการโครงการร่วมติดตามสถานการณ์น�้ำ จังหวัด อุบลราชธานี นิทรรศการของส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ สารสนเทศ (Gistda) ซึ่งมีส่วนในการติดตามสถานการณ์น�้ำของประเทศ การจัดงานปีน้คี ณะกรรมการจัดงาน เน้นให้การจัดงานมีความเข้ม ข้นมากขึ้น ด้วยการเพิ่มร้านค้าผู้ประกอบการจากเดิมในปี ๒๕๕๔ จ�ำนวน


100 ๒๗๐ บูธ เพิ่มเป็น ๓๐๐ บูธ ในปีนี้ ซึ่งร้านค้าปีนี้ทุกฝ่ายคัดคุณภาพของ สินค้าทีน่ ำ� มาจัดจ�ำหน่ายมากขึน้ เพิม่ ความหลากหลายของสินค้า แต่ยงั เน้น ร้านค้าต้นไม้ที่เป็นเสน่ห์ของงานเกษตรไว้เหมือนเดิม ทางด้านกลุ่มบริษัทก็ ให้ความส�ำคัญการจัดงานเพิ่มขึ้น โดยมีกลุ่มบริษัทใหญ่ที่เข้าร่วมกว่า ๕๐ บริษทั ซึง่ จะได้จดั กิจกรรม นิทรรศการ และ การจ�ำหน่ายสินค้าราคาต้นทุน ในงานครัง้ นี้ ภายในงานปีนี้ ท่านจะได้พบกับแปลงสาธิตหญ้าอาหารสัตว์ การ เลี้ยงแพะ และแกะ หลากหลายสายพันธุ์บัวทัง้ บัวหลวง บัวสาย บัวฝรั่ง พบ กั บ บั ว ระดั บ แชมป์ โ ลก มั ง คลอุ บ ล วั น วิ ส าร์ ฉลองขวั ญ พบบั ว ยั ก ษ์ ออสเตรเลี ย ทั้ ง สี ข าว และสี ม ่ ว ง ส� ำ หรั บ ผู ้ รั ก กล้ ว ยไม้ เชิ ญ ชมความ มหัศจรรย์ทนี่ า่ ฉงน และค้นหาความจริงของวิวฒ ั นาการกล้วยไม้ ชมกล้วยไม้ ที่มีการปรับตัวให้มีรูปร่างคล้ายสัตว์ หรือ แมลง ใน Orchid Zoo และ นิทรรศการทางสารสนเทศการเกษตรและพัฒนาชนบท ในอุทยานวิชาการ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี นอกจากท่ า นจะได้ พ บนิ ท รรศการจากทุ ก หน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ท่านจะได้พบ นิทรรศการจากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ซึ่งจะได้จัดนิทรรศการมี ชีวิตให้เห็นความส�ำคัญของวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร และส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ซึง่ จะได้จดั นิทรรศการและการให้บริการ ตรวจสุขภาพแก่ผู้เข้าชมงาน ด้านเอกชนนอกจากเครือเจริญโภคภัณฑ์ ปีนี้ ด้านกลุ่มมิตรผล ดีแทค พรรณธิอร เบทาโกร ยู-อโกร อุบลเกษตรพลังงาน และ อีกกว่า ๓๐ บริษัท ต่างเข้าร่วมเพื่อให้ความรู้แก่ผู้เข้าชมงาน สมาคมอนุรักษ์และพัฒนาไก่พื้นเมืองไทย ร่วมด้วยนิตยสารกีฬา ไก่ชน อินไซด์ไก่เก่ง และ ไก่ชนซุปเบอร์แชมป์ จัดคาราวานไก่ชนออนทัวร์ มี ผู้ประกอบการจากทั่วประเทศ โดยรวบรวมจัดแสดงสายพันธุ์ไก่จากฟาร์ม ทั่วประเทศ การจัดจ�ำหน่ายยา และอุปกรณ์การเลี้ยงจากผู้ผลิตโดยตรง ผู้


101 ชมงานจะได้ชมการแสดงการปล�้ำ การคัด การซ้อม ไก่ชนในระดับบ๊อกซิ่ง ตลอดจนมีการสัมมนาเทคนิคการเลี้ยงไก่พื้นเมืองในงานอีสานใต้ครั้งนี้อีก ด้วย ด้านนิทรรศการเครือ่ งจักรกลการเกษตร และ ยานยนต์ ภายในงาน ครัง้ นี้ ได้รวบเครือ่ งจักรกลและเครือ่ งมือทางการเกษตร ไว้หลากหลาย เช่น เครื่องสี เครื่องนวด เครื่องย่อยไม้ เครื่องตัดหญ้า โดยมีผู้เข้าร่วมกว่า ๒๐ บริษัท ได้รวบรวมแทรกเตอร์จากหลากหลายบริษัท เช่น สยามคูโบต้า แอง โกร-ไทย ยันม่าร์ ให้ท่านได้เลือกชม และ ทดลองขับในสภาพแปลง ขณะ เดีย วกั น ในงานยั ง รวบรวมบริษั ท รถยนต์ อีก หลากหลายบริษั ท ซึ่ง ต่ า ง พร้อมใจน�ำรถยนต์รุ่นใหม่ มาจัดแสดง โดยมีส่วนลดพิเศษและสิ่งของแถม สมนาคุณมากมาย ส�ำหรับผู้สั่งจองในงานเกษตรอีสานใต้ปีน้ี ฯพณฯ ท่าน ธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ จะมาเป็นประธานในพิธีเปิดงานเกษตรอีสานใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๕ ในวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๕ ในพิธีเปิดครั้งนี้ ได้รับเกียรติจากสภาคณบดี สาขาการเกษตร โดยมี คณบดีจากสถาบันการสอนเกษตรศาสตร์ กว่า ๓๐ แห่งเข้าร่วมงานพิธีเปิดครั้งนี้ งานเกษตรอีสานใต้ ประจ�ำปี ๒๕๕๕ “มหัศจรรย์แห่งสายน�้ำ” อัด แน่นด้วย นิทรรศการ การอบรม การประกวด/การแข่งขัน กิจกรรมบันเทิง กิจกรรมอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรม พลาดไม่ได้ระหว่าง วันที่ ๒๖ ตุลาคม – ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เที่ยวชมฟรีตลอดงาน


102

รายนามผู้ไว้อาลัย พวงหรีด ๑. ๒. ๓. ๔.

ครอบครัว บันสิทธิ์ ครอบครัว สืบนุการณ์ ธกส. สาขาอุบลราชธานี สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ ๕. บมจ. ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) ๖. ผอ. สุชีพ สุนทรศร ๗. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๘. คณะวิศวกรรม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๙. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๑๐. aggie ๑๑ ๑๑. aggie ๑๐ ๑๒. aggie ๔ ๑๓. itar ๓ ๑๔. itar ๔ ๑๕. itar ๖ ๑๖. aggie ๖ ๑๗. คุณ วรรณา ตุ้มบุญ ๑๘. คุณธนกฤต หนังสือ ๑๙. คุณ ไท – พุทธพร แสงเทียน ๒๐. itar ๘ ๒๑. itar ๕

๒๒. ผศ. ดร. กาญจนา พยุหะ ๒๓. บมจ. ธนาคารกรุงเทพ สาขากิโลศูนย์ ๒๔. พืชสวน ๑๙ ๒๕. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๒๖. อธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๒๗. คุณเอนก บุญหนุน เครือเจริญโภคภัณฑ์ ๒๘. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๒๙. คุณวันชัย สิทธิวรชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ๓๐. ผศ.ดร. จันทร์เพ็ญ อินทรประเสริฐ ๓๑. ผศ.ดร. ธนพรรณ ธานี ๓๒. ดร. จุฑามาศ หงส์ทอง ๓๓. รศ.ดร. อรรถชัย จินตะเวช ๓๔. สนง.เศรษฐกิจการเกษตรเขต ๑๑ ๓๕. โครงการชลประทานอุบลราชธานี ๓๖. คุณทรงศักดิ์ ฟูตระกูล เครือเจริญโภคภัณฑ์ ๓๗. บมจ. ธนาคารกรุงเทพ สาขาบิ๊กซี อุบลราชธานี ๓๘. คุณสมรักษ์ จองสุวรรณ ๓๙. พลเอกพิเชษฐ์ – ผศ.ดร. ภัทรียา วิสัยจร ๔๐. ส.ป.ก อุบลราชธานี ๔๑. ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯอุบลราชธานี


103 ๔๒. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๔๓. สนง.ทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๔๔. ครอบครัวพระสุพรรณ์ ๔๕. ผศ.ดร. ส�ำเนาว์ – กฤติมา เสาวกุล ๔๖. คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มกร.วข.สุรนิ ทร์ ๔๗. คณะศิลปะประยุกต์และการ ออกแบบ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๔๘. AGGIE ๖ ๔๙. บมจ.ธนาคารกรุงเทพ สาขา ธุรกิจ อุบลราชธานี เขตขายปลีก ๕๐. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าเขื่อนสิรินธร ๕๑. คุณสุพจน์ จงเจริญ และครอบครัว ๕๒. บ.ไททานียม อโกร จ�ำกัด ๕๓. บมจ.ธนาคารกรุงเทพ สาขาเทสโก้ โลตัส สาขาพิบูลมังสาหาร ๕๔. คุณชัยชนะ จรัสศรีธรรัตน์ ๕๕. บมจ.ธนาคารกรุงเทพ สาขา ปทุม ราชวงศา ๕๖. บริษัทรถตู้อุบลแบงค์ ๕๗. รศ.ดร. พจน์ – รศ.ดร.มาลี ไชยเสนา ๕๘. ลุกศิษย์ ITAR ๗ ๕๙. นักศึกษาลาว คณะเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๖๐. ศ.ดร. ปิยะ – รศ.ดร. จวงจันทร์ ดวงพัตรา ๖๑. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๖๒. ผศ.ดร.สุดเขตต์ นาคะเสถียร ๖๓. กษ.ศุภวัตร – จุฬี ทิพยรักษ์ ๖๔. เกษตร มก. รุ่น ๒๐ ๖๕. คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๖๖. นายชยพล ธิติศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดหนองบัวล�ำภู ๖๗. ครอบครัวตันติศิรินทร์ ๖๘. คุณสุรพล – รอยพิมพ์ สายพันธ์ ๖๙. นายแพทย์ เศวต – จุไรรัตน์ ศรีศิริ ๗๐. สภาคณบดีสาขาการเกษตร แห่งประเทศไทย ๗๑. ธนาคารกรุงไทย สาขามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๗๒. ส�ำนักบริหารกายภาพและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๗๓. บมจ.สยามซิตี้ประกันภัย ณัฏฐ์ฐาภรณ์ สุวรรณกูฏ ๗๔. ดร. กัลยา มิขะมา มหาวิทยาลัยนครพนม ๗๕. Aggie ๔๘ ๗๖. ITAR ๙ - ๑๐


104 ๗๗. คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

รายนาม ผู้ไว้อาลัย พัดลม ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

AGGiE ๑๑ รศ.ดร. อดุลย์ อภินันทร์ คณะเภสัชศาสตร์ สนง กองทุนสนับสนุนการวิจัย ศิษย์เก่าคณะเกษตร รุ่น ๗ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ๖. ภาควิชาประมง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๗. ผศ.ดร. อินทิรา ซาฮีร์ ๘. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๙. น้องๆสาธิต ศศ.รุ่น ๗ ๑๐. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ๑๑. สนง.ทรัพยากรน�ำ้ ภาค ๕ ๑๒. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ๑๓. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ๑๔. สภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๑๕. รศ.ดร. วัชรพงษ์ – สุทธินี วัฒนกูล ๑๖. สนง.ไร่ฝึกทดลองฯ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

๑๗. คุณชูชาติ- นิรมล สมสวย ๑๘. รศ.ดร.เกรียงไกร – ผศ.กิตติพร โช ประการ ๑๙. ผอ.ฉัตรชัย เต้าทอง ๒๐. สนง. ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศ ๒๑. สมาคมเมล็ดพันธ์แห่งประเทศไทย ๒๒. คณะเกษตร ม.เกษตรศาสตร์ ๒๓. หจก.ราชาแทรคเตอร์ ๒๔. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๒๕. ศิษย์เก่าคณะเกษตร รุ่น ๔๗ ม.เกษตรศาสตร์ ๒๖. โครงการเสริมสร้างศักยภาพ เกษตรกร ด้านเกษตรอินทรีย์ ๒๗. นักศึกษาปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเกษตร รุ่น ๒ ๒๘. นบม. รุ่น ๑๘ ๒๙. ชมรมศิษย์เก่า ม.เกษตรศาสตร์ จ.อุบลราชธานี ๓๐. AGRON ๔๘


105 ๓๑. สมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๓๒. AG ๙ ๓๓. สมาคมศิษย์เก่าคณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ๓๔. วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการ สาธารณสุข มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ๓๕. รุ่น ๑๓ คณะเกษตร ๓๖. สหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ๓๗. ส�ำนักงานคอมพิวเตอร์และเครือ ข่าย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๓๘. บัวหลวง อังกอร์ ทราเวล ๓๙. ภาควิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ๔๐. ครอบครัวแฟรี่ ซุปเปอร์มาเก๊ต

๔๑. บมจ. เวอรีน่า อินเตอร์เนชั่นเนล ๔๒. คณะศิษย์เก่า ITAR – ๑ ๔๓. ศูนย์วิจัยพืชไร่ จังหวัด อุบลราชธานี ๔๔. ส�ำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๔๕. ส�ำนักงานเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ๔๖. อาจารย์ปราณี แสนวงศ์ และครอบครัว ๔๗. นพ. เศวต – จุไรรัตน์ ศรีศิริ ๔๘. Aggie ๑๒ ๔๙. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๕๐. ดร.นริศ – ดร.วรรทนา สินศิริ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมสารคาม ๕๑. คุณไพบูลย์ จงสุวัฒน์


106

รายชื่อผู้ร่วมเป็นเจ้าภาพงานศพ ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ วันอังคาร ที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๗

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เขต ๑๑ จ.อุบลราชธานี ธ.กรุงเทพ สาขากิโลศูนย์ บริษัทเวอรีน่าอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ครอบครัวแฟรี่ซุปเปอร์มาร์เก็ต วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข ITAR รุ่น ๒ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

วันพุธ ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๗

คุณสุรพล สายพันธ์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ส�ำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ศิษย์เก่าคณะเกษตร รุ่นที่ ๔๗ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะหัวหน้าส่วนราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัด อุบลราชธานี โครงการเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรด้านเกษตรอินทรีย์ EFFU คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


107 รศ. ดร. เสถียร ยุระชัย และทีมงานวิจัย สกว. มหาวิทยาลัยขอนแก่น ส�ำนักบริหารกายภาพและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ITAR รุ่น ๓ ITAR รุ่น ๔

วันพฤหัสบดี ที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย เขื่อนสิรินธร สมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัดอุบลราชธานี ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ บ.บัวหลวง อังกอ ทราเวล คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ชมรมท่าพระ-เคนตั๊กกี้

วันศุกร์ ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗

คณะเกษตรศาสตร์ ITAR ๕ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ITAR ๖ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี หจก.น�ำ้ มันพรไพบูลย์ รศ.ดร.อดุลย์ อภินันทร์ คณะญาติจาก กระทุ่มแบนและล�ำปาง ส�ำนักงานไร่ฝึกทดลองฯ คณะเกษตรศาสตร์ ครอบครัวสุรยิ ภัทร


108

เกียรติบัตร


109



มดงาน

เราคือ...

อนุสรณพิธีพระราชทานเพลิงศพ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วสุ อมฤตสุทธิ์ วันเสารที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๗

ณ เมรุวัดผาสุการาม อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.