นิสิตนักศึกษา JR48 V1

Page 1

หนังสือพิมพ์ฝึกปฎิบัติ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ท่ี 48 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2558

ชี้ ทางแก้ปัญหาแม่วัยใส ต้องให้สทิ ธิผูห้ ญิงเลือก มันตา อ�ำนวยเวโรจน์

นั กวิชาการ แพทย์ แม่ วัยใส และผู้เคยยุติ การตั้งครรภ์ ชี้ว่าทางเลือกหลังการตั้งครรภ์ ไม่ พึง ประสงค์ เ ป็ นสิทธิ ของผู้ หญิ ง สั งคม ต้ องเลิกตีตรา และสร้ างความเข้ าใจ เพื่อ ลดปั ญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่ น จากสถิ ติ ก ารตัง้ ครรภ์ ใ นวัย รุ่ นของประเทศไทย พ.ศ. 2556 โดยสํานักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ชี ้ว่า ทุก ๆ 2 ชัว่ โมงจะมีผ้ หู ญิง อายุต�่ำกว่า 15 ปี คลอดบุตร และอาจมีหญิงวัยรุ่นอายุ ต�่ำกว่า 20 ปี จ�ำนวนสูงถึง 350,000 คนตังครรภ์ ้ ทุกปี กระทรวงสาธารณสุขรายงานด้ วยว่าในพ.ศ. 2555 จากจ� ำนวนผู้หญิ งอายุ 15-19 ปี จ� ำนวนประมาณ 2.4 ล้ านคนทัว่ ประเทศ มี 129,451 คนที่ตงครรภ์ ั้ และ คลอดบุตร

เมื่อพิจารณาช่วงพ.ศ. 2502-2556 พบว่า แนวโน้ มการตั ง้ ครรภ์ ใ นกลุ่ ม แม่ วั ย รุ่ น ได้ เพิ่ ม ขึ น้ ขณะที่ อ ายุ ข องแม่ วั ย รุ่ น กลับลดลงอย่างต่อเนือ่ ง จิ ต ติ ม า ภาณุ เ ตชะ ผู้ จั ด การ แผนกสร้ างเสริ ม สุ ข ภาวะทางเพศ ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การ สร้ างเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) และ ผู้ประสานงานมูลนิธิสร้ างความเข้ าใจ เรื่ องสุขภาพผู้หญิง (สคส.) กล่าวว่า อัตราแม่วยั รุ่ นของไทยอยู่ในระดับที่ สูง มากในกลุ่มประเทศรายได้ ระดับ กลาง เมื่ อ เที ย บกับ ประเทศจี น หรื อ ประเทศมาเลเซีย ทีม่ อี ตั ราแม่วยั รุ่นหญิง 6 คนต่อประชากรวัยเดียวกัน 1,000 คน .../อ่านต่อหน้ า 2

.../อ

า่ นตอ่ หน้า 14

‘จน-เครียด-ฆ่าตัวตาย’ ยอดพุ ง่ ศก.ไม่ เ ท่ า เที ย มท� ำ คนคิ ด สั้น นั ก สั ง คมวิ ท ยาระบุ ก ารกระจายรายได้ ที่ ไม่ เท่ าเทียมและสั งคมชนบทที่ไร้ วั ยแรงงาน ท�ำให้คนไทยก้ าวสู่วฏั จักร ‘จน-เครียด-ฆ่าตัวตาย’ ด้ านแพทย์ เผยแนวคิดชายเป็ นใหญ่ และระบบ อุปถัมภ์ ท�ำให้ ชายไทยเครี ยดและมีแนวโน้ ม คิ ด สั้ น มากกว่ าหญิ ง ภาครั ฐ ฯ เร่ งป้ องกั น ส่ งจนท.ลงพืน้ ทีเ่ ฝ้าระวังกลุ่มเสีย่ งผู้ป่วยเครียดซึมเศร้ า

กรมสุข ภาพจิ ต กระทรวงสาธารณสุข ส� ำ รวจ จ�ำนวนผู้ฆ่าตัวตายส�ำเร็ จจากใบมรณะบัตรช่วงเดือน มกราคม – ธันวาคม 2556 พบว่ามีคนไทยฆ่าตัวตาย ส�ำเร็ จ 3,940 คน คิดเป็ นอัตรา 6.10 ต่อประชากรแสน คน หรื อเฉลี่ย 1 คนในทุก ๆ 2 ชัว่ โมง

มันตา อ�ำนวยเวโรจน์

สถิตขิ ององค์การอนามัยโลก (WHO) พ.ศ. 2555 ยัง ชี ้ว่าประเทศไทยมีอตั ราการฆ่าตัวตายสูง คือระหว่าง 10.0-14.9 ต่อจ�ำนวนประชากรแสนคน แม้ อตั ราการ ฆ่าตัวตายในรอบ 10 ปี จะคงอยูท่ ี่ 6.0 ซึง่ สอดคล้ องกับ แนวโน้ มทั่ว โลกที่ พบว่า ระหว่า งพ.ศ. 2543-2555 การฆ่าตัวตายเป็ นสาเหตุการเสียชีวติ ทัว่ โลกติดอันดับ 1 ใน 20 กล่าวคือ มีผ้ เู สียชีวิตจ�ำนวนกว่า 800,000 คน ต่อปี หรื อ 11.69 ต่อประชากรแสนคน โดยเฉลี่ยจะมี คนฆ่าตัวตายส�ำเร็ จ 3 คนในทุก ๆ 2 นาที และคาดว่า จะเพิม่ จ�ำนวนเป็ น 1.5 ล้ านคนในพ.ศ. 2563 นอกจากนี ้ ยัง พบว่ า มี ผ้ ูค นจ� ำ นวนหลายล้ า นคนทั่ว โลกเคยมี ประสบการณ์ เกี่ยวข้ องหรื อได้ รับผลกระทบจากการ ฆ่าตัวตายและมีแนวโน้ มเพิ่มมากขึ ้นทุกปี .../อ่านต่อหน้ า 15

รีววิ สินค้าความงาม ใชด้ แี ล้วบอกต่อ หรือ แค่ผลประโยชน์ รู้ ไหม? เน็ตไอดอลได้ เงินจากการรี วิวผลิตภัณฑ์ เท่าไหร่ .../อ่านต่อหน้า 8

ชาติ นิ ยมในกี ฬ า ระเบิ ด เวลา แห่ ง ความขั ด แย้ ง กีฬาจบคนไม่จบ กีฬาน�ำไปสูค่ วามสามัคคีจริงหรือ? .../อ่านต่อหน้า 10


ข่าวต่อ

ชี้ ทางแก้ปัญหาแม่วัยใส ต้องให้สิทธิผู้หญิงเลือก (ต่อจากหน้า 1) ภาครัฐ ประชาสังคมร่ วมหาทางออก ‘แม่วยั ใส’ หลังคลอด ผู้ จัด การแผนกสร้ างเสริ ม สุข ภาวะทางเพศ สสส. ยังกล่าวถึงปั ญหาการตังครรภ์ ้ ในวัยรุ่นว่าสังคมควรยกระดับ ความส�ำคัญของเรื่ องนี ใ้ ห้ เทียบเท่ากับปั ญหาด้ านอื่น ๆ “เด็ ก ควรจะมี สิ ท ธิ ใ นการตั ด สิ น ใจด้ วยตั ว เอง ไม่ ว่ า จะตังครรภ์ ้ ตอ่ หรือยุตกิ ารตังครรภ์ ้ ดังนันสิ ้ ง่ ทีส่ งั คมท�ำได้ คอื การสร้ างระบบที่ดีที่รองรับต่อการตัดสินใจทังสองรู ้ ปแบบ ซึ่งจะเกิดได้ จากความร่ วมมือของหลายภาคส่วนร่ วมกัน” รศ.พญ.วนิดา เปาอินทร์ กุมารแพทย์ รพ.ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ กล่าวในเวทีเสวนา ‘เสียงผู้หญิงอยูต่ รงไหน’ ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของงาน Pro-Voice: เสียงของผู้หญิงเพื่อ การท�ำแท้ งทีป่ ลอดภัยและถูกกฎหมายว่าเมือ่ แพทย์พบการ ตังครรภ์ ้ ในวัยรุ่ น จะมีกระบวนการตรวจสอบหาทางเลือก อย่ า งถี่ ถ้ ว น โดยยึ ด ประโยชน์ ข องแม่ วัย รุ่ น เป็ นส� ำ คัญ เนื่องจากทุกทางเลือกมีผลต่อสภาพร่ างกายและจิตใจของ ผู้หญิงในอนาคต หากผู้ตงครรภ์ ั้ ต้องการตังครรภ์ ้ ตอ่ จะต้ อง เข้ าสู่ ก ระบวนการการดู แ ลการตั ง้ ครรภ์ ใ นวั ย รุ่ น หรื อ เตรี ย มหาผู้ รั บ อุ ป การะกรณี ที่ เ ด็ ก และผู้ เป็ นพ่ อ ของ ทารกในครรภ์มีความเห็นตรงกัน รวมไปถึงทางเลือกการยุติ การตังครรภ์ ้ รายงานเรื่ อ ง ‘แม่ ว ัย ใส ความท้า ทายการตั้ง ครรภ์ ในวัยรุ่ น’ จัดท�ำโดยกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ ประจ�ำประเทศไทย ปี 2556 ระบุวา่ กระทรวงพัฒนาสังคม และความมั่น คงของมนุษ ย์ มี แ นวทางส� ำ หรั บ แม่วัย รุ่ น ทีไ่ ม่พร้ อมจะเลี ้ยงดูบตุ ร โดยเน้ นกระบวนการเยียวยาให้ เด็ก กลับคืนสูส่ งั คมโดย ให้ ค�ำแนะน�ำและฝึ กอาชีพ ในบางราย กระทรวงฯ จะให้ เงินสงเคราะห์ครัง้ ละ 2,000-3,000 บาท รวมถึงมีนมและอาหารเสริ มมอบให้ นอกจากนี ้ข้ อมูลจากกระทรวงฯ ยังชี ้ว่าในช่วง 10 ปี ทีผ่ า่ นมา ผู้หญิงทีป่ ระสบปั ญหาท้ องไม่พร้ อมประมาณ ร้ อยละ 25-30 ต้ องการจะส่งลูกเข้ าสูส่ ถานสงเคราะห์เนื่องจากไม่ สามารถที่จะดูแลได้ เนื่องจากความไม่พร้ อมในด้ านต่าง ๆ ด้ าน วิ จั ก ขณ์ พานิ ช อาจารย์ พิ เ ศษ วิ ท ยาลัย ศาสนศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล กล่ า วถึ ง แนวทาง การลดอคติทางสังคมและสร้ างระบบการศึกษาที่เป็ นมิตร ต่อแม่วัยใส โดยยกตัวอย่างโรงเรี ยนบางแห่งที่อนุญาต ให้ นักเรี ยนศึกษาต่อระหว่างตังครรภ์ ้ ได้ ​ “การตังท้ ้ องต่อ ในโรงเรี ยนเป็ นเรื่ องที่ดีมาก ถ้ าสังคมสร้ างบรรยากาศที่ดี กับเรื่ องนี ไ้ ด้ มีการพูดคุยกัน จะแก้ ปัญ หากันได้ ง่ายขึน้ ซึง่ ต้ องมีกลุม่ คอยดูแลหลายกลุม่ ร่ วมมือกัน แต่ถ้าเราขาด การรองรับตรงนี ้ ก็จะบีบให้ เด็กมีทางเลือกน้ อยลง” ข้ อมูลจาก ‘คู่มือครู การป้ องกันการตัง้ ครรภ์ ในวัยรุ่น’ จัดท�ำโดยส�ำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุ ข แนะว่ า การสร้ างความรู้ เรื่ อ งเพศศึ ก ษา ที่ถกู ต้ องและชัดเจน สามารถช่วยลดสาเหตุการ ตังครรภ์ ้ ในวั ย รุ่ น โดยการเปิ ดโอกาสให้ เด็ ก ได้ แลกเปลี่ ย น และอภิ ป รายเกี่ ย วกั บ ประสบการณ์ ร วมถึ ง ทั ศ นคติ ต่อ เรื่ อ งเพศภายในห้ อ งเรี ย น จะท�ำให้ เกิดกระ บวนการ เรี ยนรู้ ที่ ดี แ ละมี ค วามหลากหลายส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ความต้ องการของเด็ก

2 I นิสิตนักศึกษา

แม่ วยั ใสเปิ ดใจ พลาดไม่ ผดิ ย�ำ้ ครอบครัวต้ องช่ วยเหลือ ออย (นามสมมติ) อายุ 20 ปี คุณแม่วยั ใสพบว่าตนเอง ตั ง้ ครรภ์ ไ ด้ สองเดื อ น ขณะก� ำ ลั ง เข้ าศึ ก ษาต่ อ ระดั บ มหาวิทยาลัย เธอเล่าว่า “ตอนนันอายุ ้ 18 เครี ยดมาก คือ มันเป็ นความรู้สกึ ทีส่ บั สนมากจริง ๆ แต่กต็ ดั สินใจไปปรึกษา แฟนก่อน แฟนบอกให้ เก็บลูกไว้ แต่กแ็ ล้ วแต่เรา เราโล่งใจมาก เพราะจริ ง ๆ แล้ วก็ไม่อยากท�ำแท้ ง หลังจากนันก็ ้ ไปบอกแม่ เขาเข้ าใจนะ ก็ บ อกเราแค่ ว่ า จัด งานให้ มัน ถู ก ต้ อ งให้ เรี ยบร้ อย เราก็สบายใจขึ ้นมาก ๆ ” ออยเล่าว่าหลังจากทีเ่ ธอคลอดลูก เธอใช้ เวลาสามเดือน แรกกับการเลี ้ยงลูก ก่อนกลับมาสมัครสอบเพื่อเข้ าศึกษา ต่อมหาวิทยาลัยอีกครัง้ ออยกล่าวว่าการศึกษาเป็ นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับเธอ และ การมีลกู ท�ำให้ เธอทุ่มเทให้ กบั การเรี ยนมากกว่านักศึกษา วัยเดียวกัน แต่ขณะเดียวกันการเรียนก็ทำ� ให้ เธอใช้ เวลากับลูก น้ อยกว่าทีค่ วร “ยังไงเราก็ต้องเรียน เสียดายค่าเทอมมันแพง ลูกก็คดิ ถึงนะ แต่พอเราเลือกทีจ่ ะมีน้องแล้วเราก็ต้องโตขึ ้น” อย่างไรก็ตาม ออยอธิบายว่าการเป็ นคุณแม่ในวัย 20 ไม่เป็ นอุปสรรคต่อการเลี ้ยงดูลูกและเด็กสามารถเติบโต อย่างมีคณ ุ ภาพได้ “เรามองว่าน้ องจะโตขึ ้นมาในครอบครัว ที่ดี เรามอบความรักอย่างที่แม่ทกุ คนมีให้ ไม่ได้ บกพร่ อง อ ะไ ร อ ย่ า ง เวล าที่ หายไ ป ก็ มี ที่ บ้ านค อ ยช่ ว ย” ออยกล่าวถึงการเป็ นแม่วยั ใสว่าการตังครรภ์ ้ ของเธอ เป็ นสิ่งที่ผิดพลาด แต่เธอไม่ได้ ตดั สินใจผิดที่จะไม่ยตุ ิการ ตังครรภ์ ้ “พอมีมาแล้ ว เราก็มีความสุขดี เหนื่อยหน่อย แต่ พอมีน้องแล้ ว เรารู้ เลยว่าเราเปลี่ยนไป สิ่งที่เราเปลี่ยนไป คื อเราจะคิดถึงคนอื่ นก่ อน คิดถึงคนในครอบครั วก่ อน เสมอเพราะเราก็มีครอบครัวของเราที่จะต้ องคอยดูแล มัน ไม่เหมือนเดิมแล้ วจริ ง ๆ “

การแพทย์ที่ปลอดภัยและเชื่อถือได้ และการลบอคติตอ่ การ ท�ำแท้ ง ผศ.นพ.ธนพั น ธ์ ชู บุ ญ ภาควิ ช าสูติ ศ าสตร์ แ ละ นรี เวชวิ ท ยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ กล่าวว่าในการยุตกิ ารตังครรภ์ ้ ควรค�ำนึงถึง ความปลอดภัยของผู้หญิงเป็ นหลัก “หมอที่ยตุ กิ ารตังครรภ์ ้ นันไม่ ้ ใช่ฆาตกร แต่เป็ นหมอที่เคารพในสิทธิที่ตดิ ตัวมาของ ผู้หญิง โดยไม่ใช้ อารมณ์ความรู้สกึ ตนเองเข้ ามาตัดสินแทน หลายคนได้ กลับไปเรี ยนต่อ กลับไปท�ำหน้ าทีข่ องเขา โดยไม่ กังวลใจ ร่างกายก็ไม่มีปัญหา ฉะนันเราควรมองถึ ้ งเหตุและ ผลที่จะเกิดตามมามากกว่า” ด้ านวิจักขณ์ พานิช กล่าวถึงการยุติการตัง้ ครรภ์ ใน มุมมองของศาสนาพุทธว่าค�ำสอนในศาสนาพุทธบางส่วน ถูกกดทับด้ วยความเชื่ อ อาจส่งผลให้ แม่วัยรุ่ นผู้ยุติการ ตัง้ ครรภ์ เ กิ ด ความรู้ สึก ผิ ด บาปและไม่ ส ามารถให้ อ ภัย ตนเองได้ “เรื่ องของศีลเป็ นทางเลือกของปั จเจกบุคคลที่ ส่งผลต่างกัน จึงไม่ควรมองว่าการท�ำแท้ งเป็ นสิง่ ที่ดีหรื อไม่ ดี แต่ดทู ี่เหตุปัจจัยและผลกระทบต่อตัวผู้หญิง ซึง่ ผู้หญิงก็ ควรได้ เลือกเองจริ ง ๆ ” สถิ ติ ข องมู ล นิ ธิ เ พื่ อ สุ ข ภาพและสิ ท ธิ อ นามั ย การ เจริ ญ พัน ธุ์ ข องสตรี แห่ง ประเทศไทย (สอส.) ปี 2556 ระบุวา่ พบวัยรุ่นในประเทศไทยท�ำแท้ งประมาณ 300,000 รายต่อ ปี ซึ่ง สถิ ติ ที่ ไ ด้ จ ากงานวิ จัย อาจต�่ ำ กว่า ความจริ ง เนื่องจากการท�ำแท้ งเป็ นการกระท�ำที่ผิดกฎหมาย ยกเว้ น บางกรณีทกี่ ฏหมายอนุญาตให้ ทำ� ได้ เช่น ภาวะการตังครรภ์ ้ จากการถูก ข่ ม ขื น หรื อ ครรภ์ เ ป็ นอัน ตรายต่อ สุข ภาพแม่ เป็ นต้ น นอกจากนี ้ข้ อมูลการท�ำแท้ งทีถ่ กู ต้ องโดยแพทย์จาก โรงพยาบาลก็ถือเป็ นข้ อมูลที่ละเอียดอ่อนจึงไม่สามารถน�ำ มาเปิ ดเผยได้

เคารพสิทธิผ้ ูหญิง ยุตอิ คติ เพื่อการท�ำแท้ งปลอดภัย หลายฝ่ ายมองว่าทางออกส�ำหรับปั ญหาการตังครรภ์ ้ ใน วัยรุ่นและการตังครรภ์ ้ ไม่พงึ ประสงค์คอื การให้ ผ้ หู ญิงมีสทิ ธิ ตัดสินใจว่าจะยุติการตัง้ ครรภ์ หรื อไม่ การมี บริ การทาง

ประชาสังคมชี ้ หลังท�ำแท้ งผู้หญิงเจ็บทัง้ กายและใจ วอนสังคมเลิกตีตรา สุ พี ช า เบาทิ พ ย์ นั ก กิ จ กรรมเพื่ อ การเข้ าถึ ง การยุ ติ ก ารตัง้ ครรภ์ อ ย่ า งปลอดภั ย (อ่ า นต่ อ หน้ า 3)


ท�ำความเข้ าใจ ‘การฆ่ าตัวตาย’ การฆ่ า ตัว ตายมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม มากขึน้ ในยุค ปั จ จุบัน กรมสุข ภาพจิ ต กระทรวง สาธารณสุข รายงานว่า ช่วงเดือนมกราคม – ธันวาคม 2556 คนไทยฆ่าตัวตายส�ำเร็ จ 3,940 คน คิดเป็ นอัตรา 6.10 ต่อประชากร 100,000 คน หรื อเฉลี่ย 1 คนในทุก ๆ 2 ชัว่ โมง สังคมมักมีปฏิกิริยาต่อคนฆ่าตัวตายในแง่ลบ โดยพุง่ เป้าต�ำหนิบคุ คลผู้นนว่ ั ้ าสิ ้นคิด และมองด้ วยกรอบศาสนาว่าการจบชีวติ เป็ นเรื่องผิดบาป มากกว่าทีจ่ ะมองด้ วยความเข้ าใจ หรื อหาสาเหตุที่น�ำไปสูก่ ารจบชีวิต สาเหตุการฆ่าตัวตายนัน้ ส่วนหนึ่งมีความสัมพันธ์ กับปั ญหาเชิงโครงสร้ าง เช่น ค่านิยมทางสังคมในเรื่ องความส�ำเร็ จ ทังด้ ้ านการศึกษาและหน้ าที่การงาน จนเกิดภาวะ การแข่งขันและกดดันในสังคม หรื อสาเหตุจากปั ญหาเศรษฐกิจ เช่น การเข้ ามาท�ำงานใน กรุ งเทพของแรงงานจากต่างจังหวัด จนส่งผลกระทบต่อคนชราและเด็กที่ถูกทอดทิง้ ให้ เผชิญกับความยากจนเรื อ้ รังแต่เพียงล�ำพัง และน�ำไปสูก่ ารฆ่าตัวตายในที่สดุ ประเด็นเชิงโครงสร้ างอาจเป็ นประเด็นที่คนในสังคมเห็นเป็ นเรื่ องไกลตัว และไม่มี ความสัมพันธ์กบั ตนเอง อย่างไรก็ตาม ยังมีสาเหตุการฆ่าตัวตายอีกลักษณะหนึง่ ทีม่ สี าเหตุ

กองบรรณาธิการ

จะเพิ่ ม เป็ นถึ ง 2,500-3,500 กรั ม โอกาสที่ จ ะ ต้ องเผชิญ จะช่วยท�ำให้ บรรยากาศของสังคมที่มีตอ่ คุณแม่ เกิดการฉีกขาด เกิดการตกเลือด รกไม่คลอด มันมากกว่า วัยใสเปลี่ยนไปในทิศทางที่ดีขึ ้น กันมาก” สุพีชากล่าว เธอยังเล่าถึงประสบการณ์จากการพูดคุยกับผู้หญิงทีข่ อ การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ ่น ค�ำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ “ท�ำทาง” ว่า “เราก็จะแนะน�ำไปคลินกิ (Adolescent Pregnancy) ที่ปลอดภัยในเครื อข่ายของเรา แต่ก็มีผ้ ูหญิ งบางส่วนไป หมายถึง การตัง้ ครรภ์ของสตรีท่มี อี ายุ นอ้ ย สถานทีแ่ ปลก ๆ ทีไ่ ม่ร้ ูจะเรียกได้ วา่ เป็ นคลินกิ ได้ ไหม เป็ นวิธี กว่า 20 ปี โดยถืออายุ ณ เวลาที่คลอดบุ ตร ซึ่ ง ท� ำ แท้ งที่ อั น ตราย มั น ยากที่ จ ะควบคุ ม การติ ด เชื อ้ ” อาจแบ่งได้เป็นช่ วงวัยรุ น่ (Adolescents) คือช่ วง กลุ่ม “ท� ำ ทาง” เป็ นกลุ่ม เคลื่ อ นไหวทางสัง คมที่ ใ ห้ อายุ 15-19 ปี และช่ วงก่อนวัยรุ ่น (Younger ค� ำ ปรึ ก ษาแก่ ผ้ ูห ญิ ง ที่ ป ระสบปั ญ หาการตัง้ ครรภ์ ใ ม่ พึง Adolescents) คือช่ วงอายุ 10-14 ปี ประสงค์ให้ มีโอกาสเข้ าถึงการยุติการตังครรภ์ ้ เว็บไซต์ของ ที่มา : องค์การอนามัยโลก (World Health กลุม่ จะให้ ความรู้และสร้ างความเข้ าใจทีถ่ กู ต้ องเกี่ยวกับการ Organisations-WHO) ท� ำ แท้ ง โดยมี จ� ำ นวนผู้เ ยี่ ย มชมประมาณ 30,000 คน ต่อเดือน นอกจากนี ้ยังมีอาสาสมัครเจ้ าหน้ าทีร่ ับโทรศัพท์ หรือ ตอบอีเมลให้ คำ� ปรึกษาจากผู้ทตี่ ดิ ต่อเข้ ามาประมาณ 800 คน ต่อเดือน สุพีชาเล่าว่าในจ�ำนวนนี ้จะมีเพียงร้ อยละ 10 ที่กรอก ข้ อมูลเกี่ยวกับตนเอง ซึง่ ท�ำให้ พบว่าผู้ที่ตดิ ต่อเป็ นผู้หญิงจาก หลากหลายช่วงอายุ อาชีพ และสถานภาพการสมรส กลุม่ วัยรุ่นก็เป็ นสัดส่วนทีม่ ากพอ ๆ กับช่วงอายุวยั เริ่มท�ำงาน “มี ผ้ ูหญิ งจ� ำนวนประมาณ 1,000 คน ที่ เข้ ามาแชร์ ประสบการณ์ในเว็บไซต์ “ท�ำทาง” หลายคนแบกความทุกข์ และลงโทษตัว เองเป็ นเวลานานหลายสิ บ ปี ผลกระทบ สุขภาพจิตจึงไม่ใช่เรื่องส่วนบุคคลเพียงอย่างเดียวจึงมาจาก สังคมด้ วย” สุพีชากล่าว นักกิจกรรมกลุม่ “ท�ำทาง” มองว่า ความคิดและความ เชือ่ ต่าง ๆ ในสังคมไทยเป็ นอุปสรรคต่อการวางรากฐานสร้ าง องค์ความรู้ ที่ถกู ต้ องในเรื่ องการยุติการตังครรภ์ ้ และเสนอ แนวทางแก้ ไ ขว่า สัง คมต้ อ งเข้ า ใจปั ญ หาที่ ผ้ ูห ญิ ง กลุ่ม นี ้

Photo Credit : lipmag.com

(ต่อจากหน้า 2) กลุม่ “ท�ำทาง” (http://tamtang.wordpress.com) อายุ 48 ปี ผู้เคยยุตกิ ารตังครรภ์ ้ เล่าถึงประสบการณ์ในขณะ นัน้ “เราก็ไม่อยากมีลกู ในตอนนัน้ เรายังเรี ยนอยูเ่ พิง่ สอบได้ เข้ าเรียนป.โทเราก็คดิ แต่อยากจะเรียนและคนทีเ่ ป็ นแฟนเรา ในตอนนัน้ ก็คดิ ว่าคนนี ้ไม่ใช่ ถ้ าอย่างนันเราก็ ้ ต้องดูแลเด็ก คนเดียว การที่ต้องมีลกู ก็ยิ่งท�ำให้ เราต้ องผูกกันไว้ ซงึ่ ไม่ใช่ สิง่ ที่เราอยากจะให้ เป็ น” สุพีชากล่าวว่า เมื่อเธอทราบว่าตังครรภ์ ้ เธอไม่ลงั เลใจ ที่จะยุติการตังครรภ์ ้ และไม่ได้ ขอค�ำปรึกษาจากใคร เพราะ มองเห็นว่าเป็ นทางออกที่ดีที่สดุ โดยเธอพบสถานที่รับยุติ การตัง้ ครรภ์ จากป้ายกระกาศบนรถโดยสารประจ�ำทาง “ตอนนันเราก็ ้ ไม่ร้ ูจะไปไหน ก็ตดั สินใจไปท�ำ ตอนนี ้ก็คิดว่า เราโชคดีมากนะ ที่ท�ำแท้ งมาแล้ วยังปลอดภัย” นักกิจกรรมกลุม่ “ท�ำทาง” อธิบายต่อว่าผลกระทบหลัง จากยุติการตัง้ ครรภ์ มีทัง้ ผลกระทบต่อสุขภาพกายและ สุขภาพจิ ต เพราะปกติแล้ วไม่มีผ้ ูหญิ งต้ องการตัง้ ครรภ์ เพื่อมี เป้าหมายไปสู่การยุติการตัง้ ครรภ์ และเหตุการณ์ ดังกล่าวอาจกลายเป็ นบาดแผลลึกทางจิตใจได้ แต่ส�ำหรับ ตัวเธอเอง ปั ญหาทางด้ านจิตใจ ทังความทุ ้ กข์และความ สับ สนคลายลงด้ ว ยเวลาและองค์ ค วามรู้ ที่ เ ธอได้ ศึก ษา ต่อจากนัน้ “ถ้ าเป็ นเรื่ องสุขภาพกาย เราต้ องเข้ าใจก่อนว่า การ ยุติการตังครรภ์ ้ ท่ีเกิดขึ ้นอย่างสมบูรณ์ จริ ง ๆ แล้ วมันมี ความเสี่ยงน้ อยกว่าการคลอดเมื่อครบก� ำหนด ซึ่งคนใน สังคมไม่เข้ าใจ คิดว่าการท�ำแท้ งต้ องเป็ นสิ่งที่อนั ตรายใน ทุก กรณี ถ้ า เราไม่ มี อ คติ กับ เรื่ อ งนี เ้ ราจะเข้ า ใจได้ ง่ า ย มากว่า ในขณะที่ตงครรภ์ ั้ เก้ าสัปดาห์ ตัวอ่อนจะมีขนาด สองเซนติเมตรครึ่ ง แต่เวลาคลอดเมื่อครบก�ำหนด ขนาด

จากตัวบุคคลโดยเฉพาะ นัน่ คือความเจ็บป่ วยทางจิตใจ หรื อโรคที่เรี ยกว่า ‘โรคซึมเศร้ า’ ซึง่ เป็ นอาการทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงของการท�ำงาน และสมดุลของสารเคมี ซึง่ เป็ นสาร สื่อประสาทในสมอง ที่มีผลต่ออารมณ์ซมึ เศร้ าของบุคคล ท�ำให้ ผ้ ทู ี่เป็ นโรคนี ้รู้สกึ ว่าตนเอง ไร้ คา่ และไม่ต้องการมีชีวิตอยู่ตอ่ ไป ซึง่ โรคซึมเศร้ าถูกระบุวา่ เป็ นสาเหตุส�ำคัญที่น�ำไปสู่ การฆ่าตัวตาย ในกรณีโรคซึมเศร้ า เราทุกคนในสังคม ตังแต่ ้ ระดับครอบครัว เพื่อนฝูง เพื่อนร่วมงาน สามารถมีสว่ นช่วยยับยังอั ้ ตราการฆ่าตัวตายของบุคคลได้ หากเรามีความเข้ าใจว่าอาการ ไม่ปกตินี ้ เป็ นอาการป่ วย มิใช่วา่ เขาเป็ นคนขี ้แพ้ ดังนันสิ ้ ่งที่ควรท�ำคือ ใส่ใจคนรอบข้ าง คอยสังเกตว่าพวกเขามีแนวโน้ มจะป่ วยหรื อไม่ และที่สำ� คัญคือเข้ าใจถึงลักษณะอาการ ยอมรั บว่าเขาคือคนป่ วย มิใช่คนที่มีปัญหา และแนะน�ำผู้ที่ป่วยซึมเศร้ าหรื อมีอาการ ซึมเศร้ าให้ พบจิตแพทย์โดยไว เพื่อไม่ ให้ ใครต้ องเศร้ าเสียใจจากการจากไปของใครอีกคนหนึ่ง

หนังสือพิมพ์ ฝึกปฏิบตั ิ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย l อาจารย์ ท่ ปี รึกษา - อ.พรรณพิมล นาคนาวา, อ.พรรษาสิริ กุหลาบ l บรรณาธิการบริหาร - เกศญา เกตุโกมุท, นริ ศรา สื่อไพศาล | บรรณาธิการฝ่ ายข่ าว - กนต์ธร พิรุณรัตน์, ธนภรณ์ สาลีผล l กองบรรณาธิการฝ่ ายข่ าว - กษิดศิ ศรี วิลยั , ณัฐนรี วงษ์ มิตร, ปริ นทั เรื องทอง, พงศ์พล บ้ างวิจิตร, พิชญ์พงษ์ เกษมสันต์, พิริน วรรณวลี, มันตา อ�ำนวยเวโรจน์, รัชตะ ทองรวย, อสมาภรณ์ สมัครพันธ์ l บรรณาธิการฝ่ ายศิลป์ - จักรกฤช ชูชีพ, อภิสรา บรรทัดเที่ยง l กองบรรณาธิการฝ่ ายศิลป์ - เขมชาติ ไขว้ พนั ธุ์, ชนกนันท์ ลลิตนิธิ, ณัฏฐนิชา ช่างพินิจ, ประณัฐ พรศรี นิยม, ปรางอนงค์ แสงอากาศ, ปานขวัญ เรี ยนถาวร, พชร เศาธยะนันท์, ภาภัช เศวตอมรกุล, ยลรดี ธุววงศ์ l กองบรรณาธิการฝ่ ายกิจกรรม - ชนมน ยาหยี, เปมิกา ศักดิ์สน, พีรพงษ์ อยูห่ นุ่ l ที่อยู่ 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทร. 0-2218-2140 l Facebook : www.facebook.com/nisitjournal | Twitter : @Nisit_journal | บรรณาธิการผู้พมิ พ์ ผ้ ูโฆษณา - ผศ.ดร.ณรงค์ ข�ำวิจิตร์ นิสิตนักศึกษา I 3


เศรษฐกิจ

โทรศัพท์มือถือในประเทศไทยใช้คลื่นความถี่อะไรบ้าง â´Â ¾ÔªÞ ¾§É à¡ÉÁÊѹµ , ¾ªÃ àÈÒ¸Âйѹ·

¤Å×蹤ÇÒÁ¶Õè¢Í§Á×Ͷ×ÍᵋÅÐà¤Ã×Í¢‹ÒÂã¹»˜¨¨ØºÑ¹ 2100 MHz 1800 MHz 900 MHz 850 MHz

3G 3G

2G

2G+4G

3G 3G+4G 3G+4G

ในเดื อ นพฤศจิ กายน 2558 คณะกรรมการกิ จการกระจายเสี ย ง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) จะเปิ ดประมู ล ใบอนุญาต 4G บนคลื่นความถี่ 1800 MHz (High Band) จํานวน 2 ใบ และคลื่นความถี่ 900 MHz (Low Band) จํานวน 2 ใบ

¢ŒÍºÑ§¤Ñº 3 ¢ŒÍ¢Í§¡Ê·ª. ÊíÒËÃѺ¼ÙŒª¹Ð¡ÒûÃÐÁÙÅ 1. คุณภาพการให้บริการต้องดีขึ้นกว่าปั จจุ บัน 2. ภายใน 4 ปี ต้องวางโครงข่ายให้ครอบคลุมพื้นที่ 40% ของประชากรทัง้ หมด 3. อัตราค่าบริการ 4G ต้องตํ่ากว่าอัตราค่าบริการ 3G ในปั จจุ บัน

¢ŒÍ´Õ-¢ŒÍàÊÕ¢ͧ¤Å×蹤ÇÒÁ¶ÕèÊÙ§áÅФÅ×蹤ÇÒÁ¶ÕèµíèÒ High Band

Low Band

¤Å×่¹¤ÇÒÁ¶Õ่ÊÙ§·Õ่ÍÂÙ‹ã¹Â‹Ò¹¤ÇÒÁ¶Õ่ 2100 MHz , 1800 MHz

¤Å×่¹¤ÇÒÁ¶Õ่µํ่Ò·Õ่ÍÂÙ‹ã¹Â‹Ò¹¤ÇÒÁ¶Õ่ 900 MHz , 850 MHz

¢ŒÍ´Õ

สัญญาณทะลุทะลวงในพื้นที่ หนาแน่นได้ดี และมีปริมาณ ความถี่ให้จัดสรรใช้งานมาก

¢ŒÍàÊÕÂ

สัญญาณไปได้ไม่ไกล ต้องตัง้ เสาส่งจํานวนมาก

4 I นิสิตนักศึกษา

VS

¢ŒÍ´Õ

สัญญาณส่งได้ไกล ครอบคลุมพื้นที่ได้กว้าง เหมาะกับที่ท่ไี ม่หนาแน่น

¢ŒÍàÊÕÂ

ปริมาณคลื่นให้จัดสรรน้อย ไม่รองรับการใช้ระยะยาว


เศรษฐกิจ

คนเจนวายนิ ย มงานฟรี แ ลนซ์ นั ก วิ ช าการแนะองค์ ก รต้ อ งปรั บ ตั ว เพื่ อ ดึ ง คนท� ำ งาน

เรื่ องโดย นริ ศรา สื่อไพศาล

ศูนย์ความรู้ดา้ นการออกแบบและความคิ ดสร้างสรรค์ (TCDC) อ้างผลการวิ จยั ของ freelancersunion.org เมือ่ ปี พ.ศ.2556 เกีย่ วกับอาชีพฟรี แลนซ์ หรื ออาชีพรับจ้างอิ สระ ที ่ไม่ขึ้นตรงต่อหน่วยงาน บริ ษัท หรื ององค์ กรใด ๆ ผ่าน บทความ “ใช้อิสระอย่างมืออาชีพ...กับอาชีพฟรี แลนซ์ ” ทาง เว็บไซต์ www.tcdc.or.th ว่า เป้ าหมายของการเป็ นฟรี แลนซ์ นัน้ ไม่ใช่เรื ่องของรายได้เพียงอย่างเดียว หากแต่เป็ นเรื ่องของ โอกาสในการท�ำงานทีต่ วั เองรัก รวมถึงอิ สระในเรื ่องเวลาและ การใช้ชีวิต

อรรถชัย พูดถึงข้ อดีของการรับวาดภาพอิสระทีแ่ ตกต่างจาก งานประจ�ำคือการลดภาระเรื่ องการเดินทาง ด้ วยความที่ บ้ านไกลจากบริ ษัท งานฟรี แลนซ์จึงตอบโจทย์เรื่ องความ สะดวกสบาย เพราะสามารถนัง่ ท�ำงานทีบ่ ้ านได้ ส่วนข้ อเสีย อรรถชัย บอกว่าจะมีเพียงช่วงแรก ๆ ของการเริ่ มงานอิสระ ที่จะต้ องรอรับเงินจากผู้วา่ จ้ างซึง่ อาจจะจ่ายช้ า และในช่วง เริ่ มต้ นที่ไม่คอ่ ยมีคนรู้จกั จึงไม่มีคนจ้ างงานมากนัก แต่ใน ขณะนี ้เมื่อเขาเป็ นที่ร้ ูจกั ในวงการแล้ ว ก็มีงานเข้ ามาเรื่ อย ๆ แม้ จะท�ำงานหนัก แต่รายได้ ก็เพิ่มขึ ้นตามด้ วย

คณิณพิชญ์ เตชะเรื องสุวรรณ หรือ เบิร์ธ วัย 26 ปี เจ้าของโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษ ‘ENG BIRTH’ ทีจ่ .อุบลราชธานี และอดีตติวเตอร์ อิสระ ในอดีตเคยท�ำงานประจ�ำ แต่เมื่อ ไม่สามารถรับมือกับงานทีม่ เี วลาเข้า-ออกชัดเจนได้ จึงตัดสินใจ ลาออกเพือ่ มารับจ้ างสอนภาษาตามสถาบันกวดวิชา รวมถึง รั บ งานสอนแบบตัว ต่ อ ตัว เป็ นเวลาเกื อ บหกปี ก่ อ นเริ่ ม ส ถ า บั น ส อ น พิ เ ศ ษ ข อ ง ต น เ อ ง เ มื่ อ ส อ ง ปี ที่ แ ล้ ว คณิณพิชญ์ มองว่าอาชีพฟรี แลนซ์ที่เขาท�ำมีทงข้ ั ้ อดี และข้ อเสีย ข้ อดีคือมีอิสระในการท�ำงาน มีความยืดหยุ่น ในการด�ำเนินชีวิต และที่ส�ำคัญคือเขาได้ ท�ำงานที่รัก “ถ้ าเราท�ำงานเป็ นชัว่ โมง เราจะได้ เงินเป็ นชัว่ โมงขึ ้นมา ชัว่ โมงละ 500 เนี่ย ถ้ าวันหนึง่ สอนแปดชัว่ โมงก็ได้ 4,000 บาท ส่วนใหญ่ก็จะเป็ นวันเสาร์ -อาทิตย์ สี่อาทิตย์ก็จะได้ 32,000 บาท ก็ คิ ด ว่ า มัน อยู่ไ ด้ น ะ ตอนที่ เ ราจบใหม่ ” คณิณพิชญ์กล่าว แม้ จุ ด แข็ ง ของการท� ำ งานแบบนี จ้ ะมี ไ ม่ น้ อย แต่ ค ณิ ณ พิ ช ญ์ ชี ข้ ้ อ เสี ย ของอาชี พ นี ว้ ่ า มี ร ายรั บ ไม่ ค งที่ นอกจากนัน้ ยัง มี เ รื่ อ งสวัส ดิ ก ารที่ ค นที่ ท� ำ ฟรี แ ลนซ์ ไ ม่ มี เขาจึงต้ องจัดสรรเงินเก็บมาท�ำประกันประเภทต่าง ๆ ไว้ เพื่อความมัน่ คงในชีวิต

ด้ าน อนุวตั ร กัณหะหาญจนะ หรือ อาร์ม ช่างภาพอิสระ วัย 22 ปี ซึง่ เคยท�ำทังงานประจ� ้ ำและฟรีแลนซ์ บอกว่าเขาชอบ งานฟรี แลนซ์เพราะเป็ นงานที่ไม่เป็ นกิจวัตร ไม่มีการก�ำหนด เวลาเข้ า -ออกงาน และคิ ด ว่า ตัว เองเหมาะกับ งานอิ ส ระ มากกว่า แม้ วา่ จะต้ องมีวนิ ยั และมีความรับผิดชอบต่องานสูง “งานประจ�ำเหมือนกับเรี ยนมัธยมที่มีคนมาจี ้ว่างาน เสร็ จหรื อยัง ส่วนฟรี แลนซ์คือท�ำให้ เสร็ จแล้ วรี บส่งไปให้ เร็ ว ที่สดุ จะดีที่สดุ มันเหมือนเรี ยนมหาวิทยาลัยที่เขาให้ อิสระ มากกว่าแต่ความรับผิดชอบก็ต้องมีมากกว่า” อนุวตั ร กล่าวถึงข้ อดีอาชีพช่างภาพอิสระว่า เขาได้ ท� ำงานที่ เขารั กและสามารถเลือกรั บหรื อจัดคิวงานด้ วย ตนเอง ทังยั ้ งได้ เงินมากกว่างานประจ�ำ แต่ในขณะเดียวกัน ก็เป็ นการท�ำงานหนัก อาศัยวินยั สูง และต้ องท�ำงานเจ็ดวัน ต่อสัปดาห์ การถ่ายภาพเป็ นงานที่ใช้ พลังเยอะ ท�ำให้ เขา ต้ อ งดูแ ลสุข ภาพของตัว เอง เพราะถ้ า ร่ า งกายไม่พ ร้ อม งานจะมีปัญหาทันที

ส่วน อรรถชัย ตาดี หรื อ แนน นักวาดภาพอิสระ วัย 29 ปี ผันตัวจากการเป็ นนักวาดประจ�ำของส�ำนักพิมพ์ แห่ ง หนึ่ ง มารั บ งานอิ ส ระด้ วยเหตุ ผ ลด้ านการเงิ น เขาบอกว่างานประจ�ำที่เคยท�ำนันมี ้ รายได้ น้อยและเติบโตช้ า “เคยท�ำงานบริษัทวาดการ์ ตนู เมื่อสองปี ก่อน แต่ที่ออก มาก็เพราะเงินเดือนติดเพดาน เราต้ องการเติบโตต่อ ก็เลย ต้ องออกมาเสี่ยง” อรรถชัยกล่าว

ผศ.ดร. ภูเบศร์ สมุทรจักร อาจารย์จากสถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล เห็นว่า คนรุ่นใหม่ มีรูปแบบการท�ำงานที่ต้องการเป็ นเจ้ านายตัวเองมากขึ ้น โดยเฉพาะกลุ่ม คนรุ่ น ใหม่ อ ายุร ะหว่า ง 17-35 ปี หรื อ กลุม่ คนที่เรี ยกว่า ‘คนเจเนอเรชันวาย (Generation Y)’ ซึง่ มี จ� ำ นวนเพิ่ ม มากขึ น้ ในตลาดแรงงาน และในอนาคต จะสามารถครองพื น้ ที่ ห นึ่ ง ในสี่ ข องตลาดแรงงาน ภูเบศร์ อธิบายว่า เจเนอเรชันวายคือค�ำอธิบายกลุม่ คน ที่ ให้ ความส�ำคัญกับการสร้ างสมดุลระหว่างชี วิตส่วนตัว และงาน มีความมัน่ ใจและเป็ นปั จเจกสูง คนกลุม่ นี ้ต้ องการ รูปแบบชีวติ ทีม่ คี วามยืดหยุน่ ไม่ชอบสภาพความเป็ นอยูแ่ ละ

การท�ำงานทีม่ กี รอบระเบียบมากเกินไป ท�ำให้ สนใจต่ออาชีพ อิสระหรื อฟรี แลนซ์และการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์มาก “เนื่ อ งมาจากความรั ก อิ ส ระเพื่ อ ท� ำ ในสิ่ ง ที่ ตัว เอง อยากท� ำ เพราะฉะนัน้ อะไรที่ เ ป็ นภาระ พัน ธะ ผูก พัน คนเจเนอเรชันนี ้จะไม่อยากท�ำ เขาอยากมีอิสระในการใช้ ชีวิต การมีตารางเวลาที่ตายตัวเกินไป นี่เป็ นปั จจัยหนึ่งที่ ท�ำให้ คนกลุ่มนี ้ทนงานประจ�ำไม่ได้ ดังนันเขาจึ ้ งอยากหา อาชีพอะไรก็ได้ ที่ตวั เองสามารถก�ำหนดเวลาของตัวเองได้ เลือกเวลาท�ำงานได้ ” ภูเบศร์ อธิบายต่อว่า กลุม่ คนเจนวายมีอตั ราการเข้ าออกบริษทั สูงมาก แม้ แต่ในองค์กรทีม่ ชี อื่ เสียงหรือต้ องแข่งขัน กันสูงในการสมัครเข้ าท�ำงาน เหตุผลหลักเป็ นเพราะไม่ได้ ท�ำงานทีช่ อบ และทีส่ ำ� คัญคือไม่ได้ คา่ ตอบแทนตามทีต่ ้ องการ “การตัดสินใจแบบนันเพราะเขามี ้ ความรู้ สกึ ว่าลู่ทาง ท�ำมาหากินมันกว้ าง เพราะข้ อมูลมันเยอะ บางทีเขาไม่ได้ สนใจว่าองค์ กรนี ใ้ หญ่ โตหรื อมี ชื่อเสียงแค่ไหน เพียงแค่ เข้ าไปปุ๊ บแล้ วไม่ได้ ท�ำในสิ่งที่เขาคาดหวัง เขารู้ สกึ ไม่สนุก แล้ ว เขาจึงขอไปหางานที่ใช่และชอบ ได้ ท�ำในสิ่งที่ตวั เอง อยากท�ำและเงินต้ องเยอะ เพราะเจเนอเรชันนี โ้ ตมากับ บริ โภคนิยม” ภูเ บศร์ อ ธิ บ ายสาเหตุห ลัก ที่ ท� ำ ให้ ก ลุ่ม คนเจนวาย ต้ องการท�ำงานในรูปแบบที่อิสระ ยืดหยุน่ และเป็ นเจ้ านาย ตั ว เองนั น้ เป็ นเพราะการเลี ย้ งดู ค นรุ่ น นี ข้ องพ่ อ แม่ การขยายตัวของชนชันกลาง ้ และโลกยุคใหม่ที่เต็มไปด้ วย เทคโนโลยีและข้ อมูล “คนที่ปลูกฝั งให้ เจเนอเรชันวายมีอิสระในการคิดและ ตัดสินใจคือพ่อแม่ และตอนหลังพ่อแม่จะตัดสินใจให้ ลกู น้ อยมาก แม้ กระทัง่ การบังคับเรียน เขารู้สกึ ว่าสังคมมันกว้ าง ขึน้ มีทุนมากขึน้ อยากให้ ลูกมีอิสระในการตัดสินใจ ไม่ เหมือนรุ่ นตัวเองที่ถกู พ่อแม่ตนเองก�ำหนดว่าลูกต้ องเรี ยน แบบนี ้ ชีวิตแบบแผนแบบนี ้ จบปริ ญญาตรี แล้ วก็แต่งงาน เรี ยนปริ ญญาโท ซื ้อบ้ าน มีลกู ” นักวิจยั ด้ านประชากรศาสตร์ ยงั กล่าวว่า ช่วงนี ้เป็ นช่วง เดียวในประวัติศาสตร์ ที่มีจ�ำนวนเจเนอเรชันในออฟฟิ ศ หลากหลายทีส่ ดุ ทัศนคติทแี่ ตกต่างของคนต่างรุ่นท�ำให้ เกิด ความขัดแย้ งกันในทีท่ ำ� งาน ดังนันองค์ ้ กรจึงจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้ อง ปรับตัวเพื่อให้ สอดคล้ องกับลักษณะนิสยั ของคนเจนวายที่ จะก้ าวมาเป็ นแรงงานส่วนใหญ่ของตลาดในอนาคต “ถ้ าผู้บริ หารถามว่าท�ำไมฉันจะต้ องเอาใจเด็ก จะต้ อง ตอบว่า เพราะว่าเด็กกลุ่มนี ก้ � ำลังจะกลายเป็ นหนึ่งในสี่ ขององค์กร ซึง่ ใหญ่มาก และจะกลายเป็ น 50% และ 75% ในอนาคต เพราะฉะนันถ้ ้ าเราไม่สามารถฟอร์ มเด็กกลุม่ นี ้ ให้ อยู่กบั องค์กรได้ ในระยะยาว องค์กรนับถอยหลังได้ เลย เพราะองค์กรไม่สามารถหาคนกลุม่ ใหม่ได้ ตลอดเวลา“ “ผู้ บริ ห ารจ� ำ เป็ นต้ อ งปรั บ ทัศ นคติ ที่ จ ะเชื่ อ มั่น ใน คนเจนวาย เข้ าใจกับวิถีชีวิตเขา เข้ าใจว่าความต้ องการคือ ค�ำว่าอิสระ” ภูเบศร์ กล่าว

นิสิตนักศึกษา I 5


สิ่งแวดล้อม

ธุ รกิจฟอกเขียว : ท�ำลายภายใต้ค�ำว่าอนุรักษ์ เรื่ องโดย พิริน วรรณวลี, ธนภรณ์ สาลีผล

Photo Credit : foodonline.com, Casandra Straus

เมื ่อผู้คนจ� ำนวนไม่ น้อยเริ่ มให้ความส� ำคัญกับการ แก้ปัญหาโลกร้อน ธุรกิ จต่าง ๆ ก็หนั มาผลิต “สินค้ารักษ์ โลก” ขึ้น เพือ่ เป็ นทางเลือกใหม่ของคนใส่ใจธรรมชาติ ผลิ ตภัณฑ์และ ธุรกิ จเหล่านีจ้ ึงกลายเป็ นทีน่ ิ ยม ขณะเดียวกัน ส�ำหรับวงการธุรกิจ การหาผลก�ำไรและ การสร้ างความพึง พอใจให้ ผ้ ูบ ริ โ ภคคื อ สิ่ ง ที่ ส�ำ คัญ ที่ สุด ในเมื่อความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้ อมก�ำลังเป็ นกระแสสังคม การประกาศว่าธุรกิจของตน “รักษ์โลก” จึงถือเป็ นคุณสมบัตหิ นึง่ ที่จะชนะใจผู้บริ โภค และน�ำไปสูก่ ารสร้ างผลก�ำไรของธุรกิจ ผู้บริ โภคอย่าง อสมา ธนกิจโกเศรษฐ์ นิสติ ชันปี ้ ที่ 4 คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้นยิ มใช้ สนิ ค้ า รักษ์ สิ่งแวดล้ อม บอกว่าเธอใช้ วิธีดูว่าสินค้ านัน้ เขียวจริ ง หรื อไม่จากลักษณะและค�ำโฆษณาทีเ่ ขียนไว้ บนบรรจุภณ ั ฑ์ เช่น สินค้ าที่หอ่ ด้ วยกระดาษสีน� ้ำตาลแบบกระดาษรี ไซเคิล การใช้ สี เ ขี ย ว การใช้ รู ป ใบไม้ เป็ นส่ ว นประกอบของ บรรจุภณ ั ฑ์ รวมถึงค�ำรับรอง เช่น 100 เปอร์ เซ็นต์ออแกนิค หรือ Eco (Eco-friendly หรือ เป็ นมิตรต่อระบบนิเวศ) เป็ นต้ น “เราซื ้อสินค้ ารักษ์ โลกพวกนี ้เพื่อความสบายใจ เพราะ สินค้ าเหล่านี ้ท�ำให้ ร้ ูสกึ ว่ามันดีตอ่ ตัวเราและก็ดีตอ่ โลกด้ วย ถึงจะต้ องจ่ายแพงกว่าสินค้ าชนิดเดียวกันที่ไม่ได้ รักษ์ โลก ก็ไม่เป็ นไร เพราะการผลิตสินค้ าที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม น่าจะมีต้นทุนที่สงู กว่าอยูแ่ ล้ ว” อสมาบอก เว็บไซต์ Ecoevalutor.com ซึง่ รวบรวมข้ อมูลปั ญหา สิ่งแวดล้ อม อธิ บายว่า สินค้ าสีเขียว (Green Product) ที่ แ ท้ จริ ง คื อ สิ น ค้ าที่ เ ป็ นมิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อมตั ง้ แต่ กระบวนการผลิตที่ต้องไม่ท�ำร้ ายธรรมชาติ วัตถุดิบต้ องมา จากแหล่งทีย่ งั่ ยืนและต้ องไม่กอ่ ให้ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อม เช่น การปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกที่ท�ำให้ เกิดภาวะโลกร้ อน หรื อการใช้ พลังงานอย่างสิ ้นเปลือง อย่างไรก็ตาม ผลิตภัณฑ์ การให้ บริการ และการด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ที่ อ้ า งว่า “เป็ นมิ ต รต่อ สิ่ ง แวดล้ อ ม” บางประเภท ในความเป็ นจริ งกลับไม่เป็ นไปตามนิยามข้ างต้ น เช่น ธุรกิจ ทีป่ ระกาศตัวลงทุนกับเทคโนโลยีบำ� บัดของเสีย แต่กลับไม่มี

มาตรฐานความเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อมตามที่ กฏหมาย ก� ำหนด หรื อธุรกิจที่อ้างว่าใช้ เครื่ องกรองฝุ่ นละอองที่ได้ มาตรฐานเพื่อให้ ชุมชนยอมให้ เข้ ามาตัง้ โรงงานในพืน้ ที่ แต่กลับทุม่ ทุนไปกับการโฆษณาสร้ างภาพลักษณ์มากกว่า จะพัฒนากระบวนการผลิตให้ เป็ นมิตรต่อธรรมชาติจริ ง ๆ จึ ง อาจเรี ย กได้ ว่ า ธุ ร กิ จ เช่ น นี เ้ ป็ นธุ ร กิ จ “ฟอกเขี ย ว” (Greenwashing) การเติบโตของธุรกิจฟอกเขียวยังเป็ นผลจากการจัด กิ จ กรรมแสดงความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมขององค์ ก ร (Corporate Social Responsibility - CSR) เช่น การจัด พื น้ ที่ ป ลู ก ป่ าหรื อ บ� ำ บัด น� ำ้ เสี ย ให้ ชุ ม ชน แต่ บ ริ ษั ท ได้ ประโยชน์ จ ากการน� ำ เงิ น บริ จ าคมาหัก ลดหรื อ หัก เป็ น รายจ่ายในการค�ำนวณภาษี ได้ ในหลายกรณี จากรายงานในปี 2555 ของ Institute for Local SelfReliance องค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไรที่ท�ำงานเพื่อพัฒนา ธุ ร กิ จ ให้ เป็ นมิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อมอย่ า งยั่ ง ยื น ระบุ ว่ า วอลมาร์ ต (Walmart) หนึง่ ในซุปเปอร์ มาร์ เก็ตที่ใหญ่ที่สดุ ของอเมริ ก า คื อ ธุ ร กิ จ ที่ ท� ำ การฟอกเขี ย วแล้ ว ประสบ ความส�ำเร็จมากทีส่ ดุ โดยบริษัทมีภาพลักษณ์และยอดขาย ทีด่ ขี ึ ้นหลังจากทีป่ ระกาศตนมุง่ สูก่ ารเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม แต่ในความเป็ นจริ ง หลังประกาศนโยบายมุง่ สูธ่ รุ กิจสีเขียว กว่าหกปี นักวิจยั กลับพบว่าในทางปฏิบตั ิ วอลมาร์ ตมีการ ใช้ พลังงานทางเลือกทดแทนจริ งเพียงร้ อยละ 2 จากที่กล่าว อ้ างไว้ ทงหมด ั้ จะรู้ ได้ อย่ างไรว่ าธุรกิจ “เขียว” จริง หรื อ ฟอกเขียว? เมื่อผู้บริ โภคมีจิตส�ำนึกรักษ์ สิ่งแวดล้ อมและยอมจ่าย เงินแพงขึ ้น องค์กรต่าง ๆ จึงยิง่ พยายามฟอกเขียวธุรกิจของ ตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มผลก�ำไร ประกอบกับการที่ รัฐบาลไม่ได้ ให้ ความส�ำคัญกับกฎหมายสิ่งแวดล้ อมอย่าง เต็มที่ การสร้ างภาพลักษณ์ปลอม ๆ นี ้จึงเป็ นที่แพร่ หลาย อย่างมากในหลายประเทศ รวมทังประเทศไทย ้ ผู้บริโภคอย่างเรา ๆ ไม่สามารถรับรู้ได้ เลยว่าผลิตภัณฑ์

แต่ละชนิดนันจะ ้ “เขียว” จริงอย่างทีผ่ ้ ผู ลิตอ้ างหรือไม่ เพราะ การประเมินต้ องวัดกันที่ “กระบวนการผลิต” เท่านัน้ “ยกตัวอย่างในประเทศไทย มีผลิตภัณฑ์ที่อ้างตัวว่า ผลิตชาออแกนิค ‘100 เปอร์ เซ็นต์’ ซึง่ ถึงแม้ ใบชาจะถูกปลูก แบบไร้ สารเคมี แต่น� ้ำตาลฟรุ คโตสที่ใช้ เป็ นส่วนประกอบ หลักอีก 99 เปอร์ เซ็นต์ที่เหลือไม่ได้ ออแกนิคไปด้ วย ก็ถือว่า เป็ นการโฆษณาเกินจริ งและถือเป็ นการฟอกเขียวได้ เช่น เดียวกัน” สฤณี อาชวานันทกุล นักเขียน นักสิง่ แวดล้ อม และ กรรมการผู้จดั การบริษทั ป่ าสาละ จ�ำกัด ชี ้ให้ เห็นปั ญหาจาก การฟอกเขียว กรรมการผู้จดั การบริ ษัท ป่ าสาละ อธิบายว่า ค�ำว่า “เขียว” ในประเทศไทยเป็ นค�ำที่ไม่มีความรับผิดชอบใด ๆ และไม่วา่ ใครก็สามารถอ้ างไปใช้ ได้ งา่ ย ๆ เพราะกฏหมาย ด้ านสิง่ แวดล้ อมในประเทศไทยยังอ่อนแอ เช่น มาตรฐาน ควบคุมการปล่อยมลพิษก็ยงั ไม่รัดกุม และไม่มีการบังคับ ใช้ กฏหมายที่ชดั เจน สฤณี เห็นว่าหน่วยงานของรัฐต้ องเป็ นผู้ชว่ ยผู้บริ โภค ในการจับตามองและตรวจสอบภาคธุรกิจ โดยอาศัยกลไก กฎหมายเป็ นตัวจัดการ “ปั ญ หาก็ คื อ ประเทศไทยมี ค วามตื่ น ตั ว เรื่ อง สิ่งแวดล้ อมต�่ำ อีกทังยั ้ งขาดความโปร่ งใสในการเปิ ดเผย ข้ อมูล ท�ำให้ คนไทยไม่มีความรู้พอที่จะไปตรวจสอบองค์กร ต่าง ๆ ไม่เหมือนในต่างประเทศที่บริ ษัทด้ านพลังงานที่ อ้ างว่ารักษาสิง่ แวดล้ อมจะต้ องประกาศเป้าหมายด้ านการ รั ก ษาสิ่ง แวดล้ อ มและความคื บ หน้ า ของกระบวนการที่ ชัดเจนอยูเ่ สมอ เช่น ตังเป ้ ้ าไว้ วา่ จะลดดัชนีการเกิดคาร์ บอน ต่ อ ผลิ ต ภัณ ฑ์ แ ละรายได้ (Carbon Intensity) ให้ ไ ด้ กี่ เปอร์ เซ็นต์ ในปี นี ้ ถ้ าท� ำไม่ได้ ก็ต้องออกรายงานชี แ้ จง สาเหตุ เพื่ อ แสดงออกถึ ง ความจริ ง ใจในการพั ฒ นา กระบวนการผลิต” สฤณีกล่าว

บริษัทเทียร์ ร่าชอยส์ (TerraChoice) ที่ปรึกษาด้ านผลิตภัณฑ์ ท่ เี ป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อมในประเทศสหรั ฐอเมริกา ได้ ให้ คำ� นิยาม “การฟอกเขียว” ไว้ ดงั นี ้ 1. บอกไม่ หมด เช่ น อ้ างว่ าผลิตภัณฑ์ กระดาษท�ำมาจากป่ าปลูกแต่ ละเลยการควบคุมพลังงานที่ใช้ ในการผลิตที่อาจมีความส�ำคัญมากกว่ าแหล่ งวัตถุดบิ ก็ได้ 2. ไม่ มีหลักฐาน อ้ างว่ าสินค้ าของตนเขียวโดยไม่ มีเอกสารหลักฐานยืนยันที่ชัดเจนหรื อขาดใบรั บรอง 3. คลุมเครื อ ใช้ คำ� กล่ าวอ้ างที่กว้ างและคลุมเครื อจนก่ อให้ เกิดความเข้ าใจผิด เช่ น “ปราศจากสารเคมี” แต่ น�ำ้ บริสุทธิ์กเ็ ป็ นสารเคมีชนิดหนึ่ง 4. อ้ างสิ่งทีไ่ ม่ เกียวข้ อง อ้ างสิ่งที่เป็ นความจริงแต่ ไม่ มีความส�ำคัญ เช่ น อ้ างว่ าปราศจากสาร CFC (คลอโรฟลูออโรคาร์ บอน) ที่ทำ� ให้ เกิดก๊ าซเรื อนกระจก ทัง้ ที่สาร ชนิดนีถ้ ูกห้ ามใช้ โดยพิธีสารมอนทรี ออล (Montreal Protocol) ซึ่งเป็ นสนธิสัญญาสากลที่ถูกก�ำหนดขึน้ เพื่อควบคุมการปล่ อยสารท�ำลายชัน้ บรรยากาศอยู่แล้ ว 5. อันตรายน้ อยกว่ า อ้ างว่ าสินค้ าของตนเองเขียวเมื่อเทียบกับสินค้ าชนิดเดียวกันจากบริษัทอื่น โดยที่ผลกระทบของสินค้ านัน้ ๆ อาจจะยังรุ นแรงอยู่กไ็ ด้ เช่ น บุหรี่ ปลอดสารพิษ แต่ กเ็ ป็ นพิษอยู่ดี หรื อรถ SUV รุ่ นประหยัดน�ำ้ มัน แต่ กป็ ล่ อยควันพิษจากท่ อไอเสียอยู่ดี 6. โกหก ใช้ คำ� อ้ างที่ไม่ เป็ นความจริง เช่ น อ้ างว่ าใช้ เครื่ องใช้ ไฟฟ้าประหยัดพลังงานตามมาตรฐานโรงงาน แต่ ไม่ ได้ ใช้ จริง ๆ

6 I นิสิตนักศึกษา


ต่างประเทศ

่ยน แลกความคิ ด กั บ นิ ส ต ิ แลกเปลี การศึกษา วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ นิ สิตนักศึกษาพูดคุยกับนิ สิตแลกเปลี ย่ นสองคน ทีม่ าเรี ยนทีจ่ ฬุ าลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัยในปี การศึกษานี ้ สเตฟานี อัลซาย (Stephanie Alsay) นิสิตแลกเปลีย่ น คณะนิ เทศศาสตร์ จาก De La Salle University กรุง มะนิ ล า ประเทศฟิ ลิ ปปิ นส์ และ ฟรานเชสโก เคลเมนเต้ (Francesco Clemente) นิ สิตแลกเปลีย่ น คณะเศรษฐศาสตร์ จาก LUISS Guido Carli กรุงโรม ประเทศอิ ตาลี เกี ่ ย วกั บ มุ ม มองและทั ศ นะต่ อ ประเทศไทยและประเทศบ้านเกิ ด ในประเด็นการศึกษา วัฒนธรรม และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ สเตฟานี อัลซาย นิสติ นักศึกษา : การเรียนในห้ องเรียน ที่จฬุ าฯ กับ De La Salle แตกต่าง กันอย่างไร ? สเตฟานี : ที่เห็นได้ ชัดเลย คือ นัก เรี ย นไทยไม่ ค่ อ ยกล้ า แสดง ความคิดเห็น ตรงข้ ามกับพวกเรา ชาวฟิ ลปิ ปิ นส์ที่ในห้ องเรี ยน จะคอยถามและแสดงความคิดเห็นกับ อาจารย์ผ้ สู อนเสมอ ที่ส�ำคัญคือที่ฟิลปิ ปิ นส์ จะไม่มีนกั เรี ยนคนไหนนัง่ เล่นมือถือนาน ๆ หรื อหลับ ในห้ องเรียน ไม่งนจะโดนอาจารย์ ั้ เชิญออกจากห้ องทันที อีกอย่างชัว่ โมงเรี ยนของเราสันกว่ ้ า แค่วิชาละ ชัว่ โมงถึงหนึ่งชัว่ โมงครึ่ ง สองครัง้ ต่อสัปดาห์ แต่ที่นี่ เรี ยนครัง้ ละสามชัว่ โมง ฉันชอบเรี ยนประมาณชัว่ โมง เดียวมากกว่า เพราะรู้สกึ ว่าเรียนรู้ได้ มปี ระสิทธิภาพกว่า นิ สิ ต นัก ศึก ษา : ประเทศไทยมี ค วามพยายามมา ยาวนานทีจ่ ะพัฒนาพลเมืองให้ มคี วามสามารถสือ่ สาร ภาษาอัง กฤษได้ ในฐานะที่ คุณ มาจากประเทศใน ภูมิภาคเดียวกันที่มีข้อได้ เปรี ยบด้ านนี ้คุณคิดอย่างไร กับการใช้ ภาษาอังกฤษของคนไทย? สเตฟานี : ฟิ ลิ ป ปิ นส์ มี ภ าษาตากาล็ อ กกับ ภาษา อังกฤษเป็ นภาษาราชการ พอจบชันประถมนั ้ กเรี ยน ทุกคนต้ องสอบข้ อสอบส่วนกลางจากรั ฐบาลที่เป็ น ภาษาอังกฤษเกือบทังหมดให้ ้ ผา่ น คงเป็ นระบบแบบนี ้ ที่ ท� ำ ให้ เราใช้ ภาษาอั ง กฤษได้ คล่ อ งแคล่ ว แต่ ที่ เมืองไทย ในห้ องเรี ยนหลักสูตรนานาชาติบางห้ องก็ยงั มีนกั เรี ยนที่แทบไม่พดู ภาษาอังกฤษอยูห่ ลายคน เวลา มีกิจกรรมกลุ่ม บางคนเหมือนจะไม่เข้ าใจสิ่งที่ฉันพูด หรื อบางคนก็อาจจะเข้ าใจแต่ไม่ค่อยพูดโต้ ตอบกับฉัน เท่าไหร่

เหมือนเพื่อนใหม่ พอพวกเขาเข้ ามาก็จะมีปาร์ ตี ้ที่ไนท์คลับ นักศึกษาทุกชันปี ้ จะไปร่ วมงานเพื่อที่ทกุ คนจะได้ ท�ำความ รู้ จักกันและสนุกสนานกัน แต่จะมีบางชมรมเท่านัน้ ที่จัด กิจกรรมในท�ำนองรับน้ องเพราะต้ องการคัดคนเข้ าชมรม ตอนแรกที่ฉนั เห็นกิจกรรมรับน้ องห้ องเชียร์ ที่เมืองไทย ก็คิดว่าน่าสนใจ แต่พอลองเข้ าไปบ้ างก็ไม่ได้ มีอารมณ์ร่วม เพราะคิดว่าการตะโกนใส่กนั แบบนันหรื ้ อการที่รุ่นพี่วางตัว อยูเ่ หนือกว่ารุ่นน้ องจะไม่น�ำไปสูเ่ ป้าหมายที่ดี อีกอย่างรุ่นพี่ ทีเ่ ข้ ามาก่อนก็แก่กว่าเเค่ปีถงึ สองปี ยังดีทกี่ ารรับน้ องทีน่ ไี่ ม่มี กิจกรรมรุ นแรง แต่ฉันก็ชอบการมีสายรหัสแบบที่นี่มาก มันเป็ นอะไรที่อบอุนุ่ ดี นิสติ นักศึกษา : รัฐบาลไทยให้ ความส�ำคัญ กั บ การเข้ า สู่ป ระชาคมอาเซี ย นโดย มีการกระตุ้นให้ พลเมืองรับรู้และตืน่ ตัว ในเรื่ อ งนี ้ กระแสเกี่ ย วกับ การเข้ า สู่ ประชาคมอาเซี ย นในฟิ ลิป ปิ นส์ เ ป็ น อย่างไรบ้ าง? และคิดว่าการรวมกลุ่ม ครัง้ นี ้จะประสบผลส�ำเร็จหรื อไม่? สเตฟานี : ฉั น คิ ด ว่ า ประชาชนทั่ ว ไปที่ ฟิ ลิปปิ นส์ยงั ไม่คอ่ ยให้ ความสนใจมากนัก บางคน อาจไม่ร้ ูเลยด้ วยซ� ้ำ สือ่ ฟิ ลปิ ปิ นส์ยงั พูดถึงประชาคมอาเซียน ไม่มากเท่าที่ควร ฉันคิดว่าคงต้ องใช้ เวลานานกว่าการรวมเป็ นประชาคม อาเซียนจะประสบความส�ำเร็ จ ดูอย่างสหภาพยุโรปที่ใช้ เวลายาวนานมากกว่าจะรวมกันได้ อย่างทุกวันนี ้ซึง่ ปั จจุบนั ยุโรปเองก็ยงั ประสบปั ญหาอยู่ แต่สงิ่ ทีท่ ำ� ให้ พวกเขาประสบ ความส�ำเร็จในการรวมกลุม่ อาจเพราะสมาชิกส่วนใหญ่เป็ น ประเทศพัฒนาแล้ วและมีความคล้ ายคลึงกันทางวัฒนธรรม ในขณะที่ประเทศในประชาคมอาเซียนมีความแตกต่างกัน มากในเกือบทุกด้ าน ทังระบอบการปกครอง ้ สังคม ศาสนา วัฒนธรรม

ฟรานเชสโก เคลเมนเต้ นิสิตนักศึกษา : ท�ำไมคุณถึงตัดสินใจมา แลกเปลี่ยนไกลถึงประเทศไทย? ฟรานเชสโก : ผมสนใจวัฒนธรรมและ เอกลักษณ์ ของประเทศในทวีปเอเชีย พอได้ โอกาสจากมหาวิ ท ยาลัย ผม จึงตัดสินใจมาทันที อันที่จริ งผมอยาก ลองสัมผัสกับอาการ culture shock ( อ า ก า ร สั บ ส น เ มื่ อ พ บ วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ ไม่ ค้ ุ นเคย) ว่ า เป็ นยั ง ไง ผมคิ ด ว่ า การขี่ มอเตอร์ ไซค์บนฟุตบาทในกรุงเทพฯ เป็ นอะไรทีน่ า่ ตกใจมาก นิสติ นักศึกษา : สือ่ ไทยเคยน�ำเสนอว่ามหาวิทยาลัยใน จะไปท�ำอย่างนัน้ ที่อิตาลีคงไม่ได้ เด็ดขาด ความชื่นชอบ ฟิ ลปิ ปิ นส์มีระบบการรับน้ องแบบโซตัส (ระบบการรับ ในผิ ว ขาวของคนไทยก็ ด้ ว ย ที่ อิ ต าลี มี แ ต่ค นดิ น้ รนจะมี น้ องทีเ่ น้ นล�ำดับชันอาวุ ้ โสและความมีระเบียบ) เหมือน ผิวสีเข้ มแบบคนไทย แต่คนไทยกลับไปฉีดยาให้ ผิวขาวกัน มหาวิทยาลัยในประเทศไทย คุณคิดเห็นอย่างไรกับ ระบบการรับน้ องที่นี่? นิสติ นักศึกษา : คุณเห็นด้ วยไหมที่มีคนกล่าวว่าคนไทยกับ สเตฟานี : อาจเพราะฉันเรี ยนในมหาวิทยาลัยเอกชน คนอิตาลีมีอะไรคล้ ายกัน? จึงไม่เคยรู้อะไรเกี่ยวกับระบบโซตัส เพราะพวกเราไม่ ฟรานเชสโก : ผมคิดว่าไม่ เพราะเมื่อได้ มาใช้ ชีวิตอยู่ที่นี่ มองนักศึกษาที่ เข้ ามาใหม่เป็ นรุ่ นน้ อง แต่มองเป็ น จริ ง ๆ มันแตกต่างกันมาก อาจจะมีที่เหมือนกันบ้ างก็คือ

เรื่ องโดย กษิดศิ ศรี วิลยั

ความมีอธั ยาศัยดีของผู้คน แต่เอาเข้ าจริ งแล้ วภายใต้ ความอัธยาศัยดีเต็มไปด้ วยการเหยียดเชื ้อชาติ ยิ่งใน ช่วงนี ้ยุโรปเต็มไปด้ วยผู้อพยพทังจากตะวั ้ นออกกลาง และแอฟริ กา ต้ องยอมรับว่าคนอิตาลีจ�ำนวนไม่น้อย เกลียดกลัวคนเหล่านี โดยเฉพาะที ้ เ่ ป็ นชาวมุสลิม แต่ผม ไม่ร้ ูวา่ คนไทยเป็ นอย่างนันเหมื ้ อนกันหรื อเปล่า นิสิตนักศึกษา : คุณเห็นด้ วยหรื อไม่กับค�ำกล่าวที่ว่า อิตาลีเป็ นเมืองแห่งแฟชัน่ ฟรานเชสโก : ผมเห็นด้ วย ไม่วา่ จะอยูใ่ นระดับไหนของ สังคม คนในอิตาลีส่วนใหญ่ ก็ใส่ใจเรื่ องการแต่งตัว การคิดว่าแต่ละวันจะใส่อะไรเป็ นเรื่ องใหญ่มาก แม้ คณ ุ จะแต่ ง ตั ว ไปท� ำ ไร่ ท� ำ สวนก็ ต าม พวกเรารั ก ชี วิ ต ท่ า มกลางศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมอั น งดงามแบบนี ้ โดยเฉพาะเครื่ องแต่งกายทีเ่ รามองเป็ นรูปแบบหนึง่ ของ ศิล ปะบนเรื อนร่ าง แฟชั่นวี คที่ จัดขึน้ ปี ละสองครั ง้ ที่ มิลานเป็ นเหมือนวาระส�ำคัญของประเทศ นิสิตนักศึกษา : ในฐานะที่คณ ุ มาจากเมืองแห่งแฟชัน่ คุณ คิ ด เห็ น อย่ า งไรกับ การบัง คับ ใส่เ ครื่ อ งแบบการ แต่งกายของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย? ฟรานเชสโก : คงเป็ นไปไม่ได้ ถ้าจะบังคับให้ นกั ศึกษา ที่ อิ ต าลี ใ ส่ เ ครื่ อ งแบบอย่ า งที่ ไ ทย เครื่ อ งแบบอาจ เป็ นเหมื อ นตัว ท� ำ ลายเสรี ภ าพของเรา เชื่ อ เถอะว่า ถ้ ามีกฏออกมาบังคับให้ ทกุ คนแต่งเครื่ องแบบไปเรี ยน ก็คงไม่มีใครยอมท�ำตาม หรื อไม่ก็จะมีการประท้ วงครัง้ ใหญ่แน่นอน แต่ในอีกมุมหนึง่ ผมกลับคิดว่าเครื่ องแบบ ก็มีข้อดีของมัน เพราะอาจท�ำให้ ชีวิตง่ายขึ ้น เวลาตื่น ขึน้ มาก็ ใ ส่ไปเรี ยนได้ เลย ไม่ต้ อ งมาคิดว่าจะใส่เสื อ้ ตัวไหนกางเกงตัวไหน และก็คงไม่มีใครมามองว่าวันนี ้ เราแต่งตัวไม่มีสไตล์ นิสติ นักศึกษา : นักศึกษาไทยให้ ความส�ำคัญกับการรับ ปริ ญ ญามากเพราะเห็ น ว่ า เป็ นพิ ธี ก รรม อั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ และทรงเกี ย รติ พิ ธี รั บ ปริ ญ ญาที่ อิ ต าลี เ ป็ นอย่ า งไร แตกต่ า งกั บ ที่ คุ ณ เห็ น ในจุ ฬ าฯ หรื อไม่? ฟรานเชสโก : ที่ อิ ต าลี พิ ธี รั บ ปริ ญญาถื อ ว่ า ส� ำ คั ญ มาก เหมื อ นกั น เพราะมั น เป็ นก้ าวที่ ส� ำ คัญ ของชี วิ ต การเรี ย น แต่ค งไม่ มี นักศึกษาอิตาเลียนเดินขบวนกันเป็ นกองทัพ ชุดครุยแล้ วถ่ายรูปไปทัว่ ทุกมุมในมหาวิทยาลัยแบบทีน่ ี่ ผมเข้ า ใจว่ า มัน คื อ วัน ส� ำ คัญ แต่ ผ มมองว่ า คนไทย บางกลุม่ ดูเสพติดการถ่ายรูปมากไปหน่อย แต่ ถึ ง อย่ า งไรผมก็ คิ ด ว่ า การรั บ พระราชทาน ปริ ญ ญาบั ต รจากพระบรมวงศานุ ว งศ์ เ ป็ นอะไร ที่พิเศษมาก ผมเองยังอยากมาเป็ นนิสิตจุฬาฯ จริ ง ๆ เพราะเหตุนี ้เลย จะมีโอกาสสักกี่ครัง้ เชียวที่คณ ุ จะได้ ใกล้ ชิดกับพระบรมวงศานุวงศ์

นิสิตนักศึกษา I 7


ชาตินิยมในกีฬา : ระเบิดเวลาความขัดแย้ง เรื่องโดย พงศ์พล บ้างวิจิตร ไทยแลนด์! ปู๊ น ปู๊ น ไทยแลนด์! ปู๊ น ปู๊ น เสี ย งร้ องเชี ย ร์ ส ลับ กั บ แตรซึ่ ง เป็ นอาวุ ธ ประจ� ำ กายของเหล่ า แฟนบอล ดั ง กระหึ่ ม กึ ก ก้ องไปทั่ ว ทั ง้ สนาม ตั ว เลขบนหน้ าจอขนาดใหญ่ บ่ ง บอกว่ า ทีมรักของพวกเขาก�ำลังยืนอยูใ่ นจุดได้ เปรี ยบเหนือทีมคูแ่ ข่ง แฟนบอลกลุ่มหนึ่งจุดพลุควันสี เปลวควันสีแดงฉานที่เดิมที เป็ นเครื่ องมือ ขอความช่วยเหลือยามคับขันพวยพุ่งโขมงไปทัว่ ทัง้ อัฒจันทร์ เจ้ าหน้ าที่รีบเดิน เข้ าไปยังกลุม่ แฟนบอลกลุม่ นันเพื ้ ่อหยุดพฤติกรรมดังกล่าว อันเป็ นสิง่ ที่ผิดระเบียบ การชมเกม ทว่าเกิดการกระทบกระทัง่ กันทางร่างกายระหว่างเจ้ าหน้ าทีแ่ ละกลุม่ แฟนขึ ้น เหตุการณ์ เริ่ มบานปลาย สุดท้ ายเจ้ าหน้ าที่ตดั สินใจท�ำในสิ่งที่ท�ำร้ ายจิตใจ ของแฟนบอลอย่างมาก คือการหักธงประจ�ำทีมของพวกเขาต่อหน้ าต่อตา หนึง่ ในแฟนบอลกลุม่ ดังกล่าวจึงเงื ้อมือและพุง่ ตัวไปยังเจ้าหน้ าทีค่ นนันในทั ้ นที เหตุการณ์ ดังกล่าวเกิ ดขึน้ ในการแข่งขันระหว่างที มชาติไทยกับเวี ยดนาม ในศึกฟุตบอลชิงแชมป์อาเซียนชุดอายุไม่เกิน 19 ปี ที่นครเวียงจันทน์ ประเทศลาว เมื่อวันที่ 4 ก.ย. 2558 เหตุชลุ มุนเกิดขึ ้นขณะที่ทีมชาติไทยก�ำลังน�ำเวียดนาม 2-0 แฟนบอลจ� ำ นวน 25 คนก่ อ เหตุป ะทะกับ เจ้ า หน้ า ที่ ข องลาวที่ หัก ธงชาติ ไ ทย ก่อนที่เรื่ องราวจะจบลงโดยการคุมตัวแฟนฟุตบอลกลุ่มดังกล่าวออกจากสนาม และสถานทู ต ไทยในนครเวี ย งจัน ทน์ อ อกแถลงการณ์ ข อโทษประชาชนลาว ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้น

8 I นิสิตนักศึกษา

แม้ ว่ า หนึ่ ง ในวัต ถุ ป ระสงค์ ข องกี ฬ าสมัย ใหม่ คื อ การสร้ างความสามัค คี ทว่าภาพความรุนแรงทีเ่ กิดขึ ้นทังในและนอกสนามกี ้ ฬา กลับถูกรายงานผ่านสือ่ บ่อยครัง้ โดยเฉพาะในแข่งขันระหว่างชาติ ท� ำให้ เกิ ดการตัง้ ค�ำถามว่า เป็ นไปได้ หรื อไม่ ว่าความรักชาติจะหลอมรวมกับความต้ องการเอาชนะในกีฬา จนน�ำไปสูค่ วามรุนแรง ระหว่างชาติที่ไม่มีใครยอมอ่อนข้ อให้ ใคร กีฬากับการสร้ างชาติ นั ก วิ ช าการที่ ศึ ก ษาประวัติ ศ าสตร์ กี ฬ าพบว่ า กี ฬ าเกิ ด ขึ น้ มาพร้ อมกั บ วิ วัฒ นาการของมนุษ ย์ โดยหลัก ฐานส� ำ คัญ คื อ ภาพเขี ย นฝาผนัง ที่ บ่ ง บอกว่ า มนุษย์เรี ยนรู้ กีฬาบางชนิด เช่น วิ่ง ว่ายน�ำ้ หรื อยิงธนู เพื่อการด�ำรงชีวิต อีกทัง้ ยังช่วยฝึ กฝนร่างกายให้ แข็งแกร่งสามารถต่อสู้ธรรมชาติที่โหดร้ าย ต่อมา เมื่อมนุษย์ เรี ย นรู้ ว่ า กี ฬ าสามารถสร้ างความผ่ อ นคลายได้ จึ ง กลายมาเป็ นกิ จ กรรม เพื่อความสนุกสนาน ชุ ติเดช เมธี ชุติกุล นักวิชาการอิสระด้ านรั ฐศาสตร์ กล่าวว่า การก�ำเนิด ของรั ฐชาติสมัยใหม่ส่งผลให้ กีฬามีบทบาทในการปกครองมากยิ่งขึน้ เนื่องจาก รั ฐ ชาติ ส มัย ใหม่ มี แ นวคิ ด เรื่ อ งขอบเขตอ� ำ นาจของรั ฐ บนอาณาเขตที่ ชัด เจน ท�ำให้ รัฐเข้ าถึงผู้ที่อยูใ่ นอาณาเขตที่อาจไม่เคยมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับรัฐทังในเชิ ้ งอ�ำนาจ และชาติพันธุ์มาก่อน ดังนัน้ กี ฬาจึงเป็ นวิธีหนึ่งที่ รัฐใช้ ในการเข้ าถึงประชาชน เนื่องจากกีฬาสร้ างความผ่อนคลายได้


สารคดี

Photo Credit : PA

การด�ำเนินนโยบายด้ านกีฬามีผลดีต่อการสร้ างรัฐ กล่าวคือ กฎ และกติกา ของกีฬาท�ำให้ ประชาชนอยูใ่ นระเบียบวินยั และประพฤติตามกฎระเบียบ ซึง่ ถูกมองว่า เป็ นสิ่งที่ น�ำไปสู่ “ความมี อารยธรรม” ได้ ในบทความเรื่ อง ‘ฟุต บอล ร่ า งกาย ความศิ วิ ไลซ์ และการจั ด ระเบี ยบทางสั ง คมใหม่ ใ นสมั ย รั ช การที ่ 5’ ชาญ พนารั ต น์ นักศึกษาปริ ญญาเอกสาขาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยซิดนี ย์ ยกตัวอย่างนโยบายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 เพื่ อ จั ด ระเบี ย บร่ า งกายพลเมื อ งและสั ง คมให้ มี ค วามศิ วิ ไ ลซ์ ใ ห้ เที ย บเท่ า กับชาติตะวันตก โดยรัฐได้ ส่งผู้มีความสามารถไปศึกษาดูงานยังประเทศอังกฤษ และน�ำหลักการฝึ กฝนกีฬาเข้ ามาในสยาม นักเรี ยนโรงเรี ยนใดที่ได้ รับการฝึ กฝนกีฬา ในแบบดังกล่าวมักจะมีวนิ ยั อยูใ่ นกฎระเบียบ รวมทังเชื ้ อ่ ฟังผู้บงั คับบัญชาเป็ นอย่างดี พร้ อมกั น นัน้ รั ฐ ยัง ริ เ ริ่ ม ให้ มี เ ครื่ อ งแบบประจ� ำ โรงเรี ย นเพื่ อ สร้ างอัต ลัก ษณ์ ให้ นกั เรียนรู้สกึ ร่วมกันเป็ นหนึง่ เดียว และสร้ างความภาคภูมใิ จในสถานะของนักเรียน ที่ พัฒ นาเที ย บเท่ า ชาติ ต ะวัน ตก ขณะเดี ย วกั น การมี เ ครื่ อ งแบบก็ ยัง ท� ำ ให้ นักเรี ยนละอายใจในการประพฤติไม่ดีที่จะท�ำลายชื่อเสียงของสถาบัน การส่ ง เสริ ม ให้ ประชาชนเล่ น กี ฬ ายั ง สามารถสร้ างร่ า งกายที่ แ ข็ ง แรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เช่น นโยบายสร้ างร่างกายชาวสยามของจอมพล ป. พิบลู สงคราม ซึ่ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกรั ฐ มนตรี ร ะหว่ า งพ.ศ. 2481-2487 วิ ท ยานิ พ นธ์ ข อง ก้ องสกล กวินรวีกุล พบว่า รัฐบาลในยุคนันส่ ้ งเสริ มให้ ทงข้ ั ้ าราชการและประชาชน เล่นกีฬาและออกก�ำลังกาย เช่น จัดให้ ข้าราชการแต่ละกระทรวงได้ เดินทางไกลและ อยูค่ า่ ยพักแรม นอกจากนัน้ รัฐบาลยังแนะน�ำวิธีการออกก�ำลังกายแก่ประชาชนใน ช่วงเช้ าผ่านทางวิทยุกระจายเสียง สร้ างทัศนคติเรื่ องรู ปร่ างสัดส่วนของประชาชน ก้ องสกล เห็นว่านโยบายของรัฐบาลในยุคนี ้สะท้ อนความต้ องการของรัฐให้ ประชาชน มีสขุ ภาพดี ขณะเดียวกันก็ยงั สร้ างความมีระเบียบวินยั และท�ำให้ ประชาชนในประเทศ เชื่อฟั งรัฐด้ วย ชุตเิ ดช นักรัฐศาสตร์ อสิ ระเสริ มว่า การมีร่างกายที่แข็งแรงช่วยส่งเสริ ม เศรษฐกิจในรัฐให้ มนั่ คงเพราะประชาชนเป็ นหน่วยการผลิตทีส่ ำ� คัญ หากร่างกายแข็ง แรงก็สามารถท�ำงานได้ มีประสิทธิภาพขึ ้น เมื่อเพิ่มก�ำลังการผลิตได้ อย่างต่อเนื่อง รัฐก็จะมัน่ คงตามไปด้ วย นอกจากกีฬาจะช่วยสร้ างประชาชนที่แข็งแรง อยู่ในระเบียบวินยั และเป็ น แรงงานทีแ่ ข็งแกร่งแล้ ว ชุตเิ ดชยังมองว่าบทบาทของกีฬาในการสร้ างชาติอกี ประการ หนึง่ คือการเป็ นพื ้นที่การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์และสร้ างความทรงจ�ำร่ วมกันใน กลุ่ ม คนที่ มี ค วามใกล้ เคี ย งกั น ทั ง้ ในด้ านถิ่ น ที่ อ ยู่ หรื อในด้ านชาติ พั น ธุ์ กรณีศกึ ษาทีโ่ ดดเด่นคือการใช้ กีฬารักบี ้และการแข่งขันรักบี ้โลก 1995 เพื่อประสาน ความขั ด แย้ งระหว่างคนในชาติของเนลสัน แมนเดลา (Nelson Mandela) อดีตประธานาธิบดีแอฟริ กาใต้ ชุติเดชอธิบายว่า รักบี ้เคยเป็ นสัญลักษณ์ของการแบ่งแยกสีผิวในแอฟริ กาใต้ ในช่วงปี ค.ศ. 1948 – 1994 ขณะทีป่ ระเทศยังด�ำเนินนโยบายแบ่งแยกสีผวิ (Apartheid) อยู่ จนกระทัง่ แมนเดลาก้ าวขึ ้นมาด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดี เขาแสดงให้ เห็นว่า รักบี ้สามารถเป็ นพื ้นที่ร่วมกันของชาวผิวขาวและผิวสีในชาติได้ ผ่านวิธีการต่างๆ เช่น การปรับเปลีย่ นตราสัญลักษณ์ของรักบี ้ทีมชาติ จากเดิมทีเ่ ป็ นรูปสปริงบ็อก (Springbok) หรื อตัวละมัง่ มาวางคู่กับดอกโพรเทีย (Protea) ซึ่งเป็ นสัญลักษณ์ ประจ� ำชาติ

" การเมืองกับกีฬา ไม่เคยแยกออกจากกัน " - ชุ ติเดช เมธีชุตกิ ุล -

นักวิชาการอิสระด้านรัฐศาสตร์

เพือ่ แสดงถึงการอยูร่ ่วมกัน หรือการเปิ ดโอกาสให้ ชาวผิวสีได้ มาเล่นรักบี ้ร่วมกับชาวผิว ขาวอีกครัง้ ความพยายามดังกล่าวท�ำให้ ประชาชนผิวสี กลับมาเชียร์นกั รักบี ้ทีมชาติ มากขึ ้น จนกระทัง่ ทีมแอฟริ กาใต้ ได้ ครองแชมป์โลกในครัง้ นัน้ ภาพของแมนเดลา ในชุ ด ที ม ชาติ สี เ ขี ย วมอบถ้ วยรางวั ล ชนะเลิ ศ และจั บ มื อ กั บ ฟรั ง ซัว ร์ พี น าร์ (Francois Pienaar) กัปตันทีมผิวขาว ด้ วยรอยยิ ้มแห่งความสุขและความภาคภูมิใจ นับเป็ นสัญลักษณ์ของจุดสิ ้นสุดยุคแบ่งแยกสีผิวของแอฟริ กาใต้ อย่างเป็ นทางการ กีฬากับความขัดแย้ ง แม้ กีฬาจะ “สร้ างชาติ” ได้ ดังตัวอย่างข้ างต้ น แต่การยึดมั่นในอัตลักษณ์ และความเป็ นชาติ ที่ เ หนี ย วแน่ น อาจไม่ เ ปิ ดทางให้ ค วามแตกต่ า ง จนน� ำ ไปสู่ ความขัดแย้ งได้ เช่นกัน ชาญ พนารั ต น์ ได้ ห ยิ บ ยกแนวคิ ด ของมิ เ ชล ฟูโ กต์ (Michel Foucalt) นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส มาอธิบายกลไกแฝงที่รัฐใช้ กบั ประชาชน โดยฟูโกต์ มองว่ารัฐมุง่ ก�ำหนดนิยามในการด�ำรงชีวิตแก่ประชากร เพื่อให้ ประชาชนมีโลกทัศน์ ที่ เหมื อนกันและมี มาตรฐานแห่งความดี ที่เหมื อนกัน ขณะเดี ยวกันก็ สามารถ สร้ างความรู้ สึกผิดหากปฏิบัติตนผิดเพีย้ นไปจากกฎเกณฑ์ ของสังคมได้ อีกด้ วย ดังนันการที ้ ร่ ฐั เลือกใช้กฬี าในการเข้าถึงประชาชนก็ถอื เป็ นกลไกในการจัดระเบียบร่างกาย และระเบี ย บวิ นั ย อย่ า งหนึ่ ง ทั ง้ ยั ง สร้ างอั ต ลั ก ษณ์ ร่ ว มแก่ ป ระชาชนในรั ฐ ได้ เช่นเดียวกัน ทว่าผลเสียอันเกิดจากการสร้ างอัตลักษณ์ที่ชดั เจนเกินไป คือเกิดการแบ่งแยก ระหว่างอัตลักษณ์ ที่แตกต่างซึ่งน� ำไปสู่ความขัดแย้ งและการใช้ ความรุ นแรงได้ ชาญยกตัวอย่างความขัดแย้ งระหว่างโรงเรี ยนสวนกุหลาบและโรงเรี ยนบพิตรพิมขุ ระหว่ า งปี พ.ศ. 2443 ถึ ง พ.ศ. 2446 ที่ เ กิ ด ขึ น้ เนื่ อ งจากสถานะทางสัง คม ของทัง้ สองโรงเรี ยนแตกต่างกัน เมื่ อทัง้ สองโรงเรี ยนต้ องมาฝึ กฝนกี ฬาร่ วมกัน นั ก เรี ย นสวนกุ ห ลาบที่ มี ส ถานะทางสั ง คมสู ง กว่ า จึ ง มั ก เยาะเย้ ยถากถาง ท�ำให้ นักเรี ยนบพิตรพิมุขที่ถูกมองว่าต�่ำศักดิ์กว่า เลือกตอบโต้ ด้วยความรุ นแรง พระยาสุนทรพิพิธที่ศกึ ษาอยู่ในโรงเรี ยนบพิตรพิมขุ ในขณะนันเล่ ้ าไว้ ว่า “แต่บพิตรพิมขุ ถูกเรี ยกว่า ‘ไอ้ แมลงวันหัวเขียว’ พอเห็นเข้ าก็มีเสียงตะโกนว่า ไอ้แมลงวันหัวเขียวมาแล้วโว้ย ... บพิตรพิมขุ โดนเข้าต่าง ๆ นานา หนัก ๆ เข้า ใครจะทนไหว วันหนึ่งเมื่อเลิกฝึ กแล้ วข้ าพเจ้ ากับพวกสี่ถึงห้ าคนก็ออกจากโรงเรี ยนสวนกุหลาบ เดิ น กลับ โรงเรี ย นตรี เ พชรพาหุรั ต น์ เสี ย งแมลงวัน หัว เขี ย ว ๆ เหม็ น จริ ง โว้ ย ๆ เปรยมาตลอดทาง พวกเราพากันหยุดเจรจากันสองสามค�ำ มวยหมูก่ ็เกิดขึ ้น ...” ขณะเดี ย วกั น ความขั ด แย้ งทางอั ต ลั ก ษณ์ ที่ มี ม าแต่ เ ดิ ม ก็ อ าจส่ ง ผล ต่อการแข่งขันกีฬา จนน�ำไปสูค่ วามรุ นแรงได้ เช่นเดียวกัน เช่น กรณีความขัดแย้ ง ระหว่ า งฮอนดูรั ส และเอลซัล วาดอร์ ใ นทศวรรษที่ 1960 เมื่ อ รั ฐ บาลฮอนดูรั ส แก้ ไขกฎหมายที่ ดิ น ซึ่ ง กดขี่ ผ้ ู อพยพชาวเอลซั ล วาดอร์ อย่ า งมากจนท� ำ ให้ ชาวเอลซัลวาดอร์ ไม่พอใจ ความขัดแย้ งนี ้ส่งผลมาจนถึงการแข่งขันฟุตบอลโลก 1970 รอบคัดเลือกโซนอเมริ กาใต้ ที่ทงั ้ สองทีมต้ องแข่งกันถึงสามครั ง้ ในสองครัง้ แรก ทังคู ้ ผ่ ลัดกันแพ้ ชนะและเกิดการจลาจลระหว่างแฟนฟุตบอลทังสองครั ้ ง้ จนกระทัง่ เอลซัล วาดอร์ ส ามารถเอาชนะฮอนดูรั ส ได้ ใ นนัด ตัด สิ น ในวัน เดี ย วกัน นัน้ เอง เอลซัลวาดอร์ ประกาศยกเลิกข้ อตกลงทางการทูตทังหมดกั ้ บฮอนดูรัส จนกลายเป็ น สงครามที่กินเวลายาวนาน 100 ชัว่ โมงในเวลาต่อมา กีฬากับการสร้ างสันติภาพ? “กีฬากับการเมืองไม่เคยแยกออกจากกัน” เป็ นค�ำกล่าวของชุติเดช เมธีชตุ ิกลุ ที่สรุปบทบาทของกีฬาในยุคปั จจุบนั เขาอธิบายว่า แม้ การแข่งขันโอลิมปิ กสมัยใหม่ ทีเ่ ริ่มจัดตังขึ ้ ้นในปี ค.ศ. 1896 จะแสดงถึงความพยายามทีจ่ ะก�ำหนดบทบาทของกีฬา ใหม่ ใ ห้ เ ป็ นเครื่ อ งมื อ ในการสร้ างสัน ติ ภ าพ ทว่ า บทบาทของกี ฬ าในการเป็ น เครื่ องมือทางการเมืองยังคงเด่นชัดและมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม ชุติเดชมองว่า ท่ามกลางกระแสโลกภิวตั น์ การสื่อสารบนโลก เริ่ ม กว้ า งขวางและไร้ ข้ อ จ� ำ กัด ขึ น้ เรื่ อ ย ๆ แนวคิ ด เรื่ อ งรั ฐ ชาติ ห รื อ พรหมแดน อาจมีความส�ำคัญลดลง เป็ นค�ำถามให้คดิ ต่อว่า เมือ่ มี “ผู้เล่น” ใหม่ ๆ เข้ามามีสว่ นร่วม ในวงการกีฬา เช่น สโมสรฟุตบอลจากต่างชาติ หรื อทีมชาติที่ประสบความส�ำเร็ จ ในระดั บ โลก “ผู้ เล่ น ” เหล่ า นี จ้ ะท� ำ ให้ บทบาทของกี ฬ าในการสร้ างชาติ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรในอนาคต

นิสิตนักศึกษา I 9


รีวิวสินค้าความงาม ใช้ดีแล้วบอกต่อ หรือ แค่ผลประโยชน์ เรื่ องโดย อสมาภรณ์ สมัครพันธ์, ปริ นทั เรื องทอง, ธนภรณ์ สาลีผล

ปั จจุ บั น ผู้ ข ายผลิ ตภั ณ ฑ์ ค วามงามบนโลกออนไลน์ นิ ยมใช้ ”เน็ ต ไอดอล” (Net Idol) หรื อผูม้ ี ชือ่ เสียงในสังคมออนไลน์เป็ นพรี เซนเตอร์ โปรโมทสิ นค้าของตนเอง ผ่าน การแสดงความคิ ดเห็น หรื อ “รี วิว” (review) สนับสนุนสิ นค้า เพือ่ จูงใจผูซ้ ื ้อที เ่ ป็ นฐาน แฟนคลับของเน็ตไอดอลเหล่านัน้ สาเหตุที่ ขวัญชนก ทวนวิจติ ร หรื อ แป้ง เจ้ าของผลิตภัณฑ์ครี มเร่งผิวขาว วิ ้งไวท์ (Winkzwhite) เลือกใช้ เน็ตไอดอลในการโปรโมทสินค้ า เพราะท�ำให้ ผ้ คู นบนโลกออนไลน์ รับรู้ถงึ ประสิทธิภาพและผลลัพธ์ของสินค้ าได้ ดยี งิ่ ขึ ้น ผ่านการทดลองใช้ จริงของเน็ตไอดอล ที่ผ้ คู นติดตามความเคลื่อนไหวอยูแ่ ล้ ว แป้ง เล่า ว่า เธอคัดเลือกเน็ ต ไอดอลมาเป็ นพรี เซนเตอร์ จากจ� ำนวนผู้ติดตามบน แฟนเพจเฟซบุ๊ก โดยก�ำหนดราคาค่าโปรโมทตังแต่ ้ 500 – 60,000 บาท ต่อการโปรโมท สินค้ าหนึง่ ตัว หากเน็ตไอดอลมีจ�ำนวนผู้ตดิ ตามมาก ราคาค่าโปรโมทก็จะยิ่งสูงตาม รุ จริ า พิมพาลัย หรื อ เนย เจ้ าของธุรกิจผลิตภัณฑ์สารต้ านอนุมลู อิสระกลูต้าไธโอน ซึง่ กล่าวกันว่ามีสรรพคุณช่วยท�ำให้ ผิวขาว ตราสินค้ า “พาสเทลลา” (Pastela) เล่าว่าหัวใจ ส�ำคัญของการท�ำการตลาดผ่านสื่อออนไลน์แทนการวางขายตามห้ างร้ านทัว่ ไป ต้ องเริ่ ม จากการสร้ างชือ่ เสียงให้ กบั สินค้ าผ่านการสร้ างกระแส โดยตังตนเป็ ้ นผู้ใช้ สนิ ค้ าแทนการเป็ น ผู้ขายสินค้ า และท�ำให้ ผ้ คู นในโลกออนไลน์เห็นว่าสินค้ าผ่านการทดลองจากตัวเธอเองแล้ ว “ถ้ าเราไปนัง่ พูดวิชาการ หรื อฉันเป็ นแม่ค้า คนเขาจะรู้สกึ มีก�ำแพงกัน้ แต่ถ้าท�ำให้ เขา รู้วา่ เรากินแล้ วดี คนที่มองเราเป็ นไอดอลก็จะรู้สกึ อยากสวยเหมือนเรา อยากขาวเหมือนเรา อยากดูดีเหมือนเรา ส�ำหรับคนที่ไม่ชอบเรา เขาก็จะอยากรู้วา่ ไปกินอะไรมา เขาก็จะไปสืบ ไปเสาะหามา” เจ้ าของธุรกิจสินค้ าตรา พาสเทลลา กล่าว นอกจากการจัดจ�ำหน่ายสินค้ าด้ วยตัวเองผ่านช่องทางออนไลน์แล้ ว เนยยังส่งสินค้ า ให้ ตวั แทนจ�ำหน่ายจัดจ�ำหน่ายอีกต่อหนึง่ ด้ วย ปั จจุบนั เนยมีจ�ำนวนผู้ตดิ ตามในเฟซบุ๊กนับ หมื่นคนและมีรายได้ มากกว่า 1,000,000 บาท ต่อเดือน เนยใช้ วิธีรักษาความสัมพันธ์กบั ลูกค้ าและการหาตัวแทนจ�ำหน่าย ผ่านการติดตาม ผลลัพธ์ หลังการขายทางโทรศัพท์ “เราต้ องคอยโทรเช็คว่า สินค้ าเราเข้ าปากเขาแล้ ว หรื อยัง เห็นผลไหม ลูกค้ าหนึง่ คนจะคุยเจ็ดวัน พอเขาเริ่ มเห็นผล เริ่ มมีความมัน่ ใจ เนยจะ เริ่มแนะน�ำให้ เขาเป็ นตัวแทนจ�ำหน่าย เพราะเขาจะได้ สนิ ค้ าทีถ่ กู ลง และสามารถไปกระจาย สินค้ าต่อได้ ด้วย” เนยกล่าว

10 I นิสิตนักศึกษา

เอ๋ ใส (นามแฝงในสื่ อ ออนไลน์ ) เน็ ต ไอดอล เจ้ าของเฟซบุ๊ กแฟนเพจ "เอ๋ใส แม่ใจบ่อดี" ซึง่ มีผ้ ตู ิดตามกว่า 95,000 คน เล่าว่าการเป็ นพรี เซนเตอร์ ให้ กบั สินค้ า ความงามเป็ นรายได้ อีกช่องทางหนึ่งของเธอนอกจากงานแสดงคาบาเร่ ต์ ซึ่งจะมีทงค่ ั้ า ตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน ค่าตอบแทนในรูปแบบสปอนเซอร์ หรื อผู้สนับสนุนเพจ รวมทังสิ ้ นค้ า ที่เธอรับโปรโมทโดยไม่คดิ ค่าตอบแทนด้ วย เนื อ้ หาในเพจ "เอ๋ ใ ส แม่ ใ จบ่ อ ดี " มัก เป็ นคลิ ป วิ ดี โ อบอกเล่ า ชี วิ ต ส่ ว นตัว ของ หญิงข้ ามเพศในวงการคาบาเร่ต์โชว์ ที่เรี ยกเสียงหัวเราะจากแฟนเพจได้ เป็ นอย่างดี เมื่อมี ผู้ตดิ ตามจ�ำนวนมาก เอ๋ใสก็ได้ รับการติดต่อให้ รีวิวสินค้ าความงาม เกณฑ์การเลือกรับรี วิวสินค้ าความงามที่ติดต่อเข้ ามาของเอ๋ใส คือการทดลองใช้ ด้วย ตนเอง หรื อแบ่งปั นให้ เหล่านักแสดงคาบาเร่ต์ทดลองใช้ ก่อน หลังจากนันเธอจะให้ ้ คะแนน ผลิตภัณฑ์ก่อนที่จะตัดสินใจลงโปรโมทสินค้ า เอ๋ใส เล่าว่า “เราจะมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน พอเราลองใช้ แล้ วพบว่ามันดี หน้ าดีใน 3 วัน ใช้ แล้ วปลอดภัย ที่ 7 คะแนนขึ ้นไป เราก็จะ น�ำเสนอให้ คนสนใจสินค้ าว่ามีจดุ เด่นอย่างไร แต่ถ้ามีจดุ ด้ อยเยอะ ได้ แค่ 4-5 คะแนน เรา ก็ปฏิเสธสินค้ านันไปว่ ้ าเราไม่สามารถรี วิวได้ ” นอกจากนี เ้ ธอยังใช้ วิธีการตรวจสอบความปลอดภัยของสินค้ าด้ วยชุดเครื่ องมื อ ตรวจสอบปริมาณสารปรอทและสารไฮโดรควิโนน (Hydroquinon) ส่วนเกินในเครื่องส�ำอาง ซึง่ หากมีมากเกินไปจะก่อให้ เกิดความเสี่ยง และเป็ นอันตรายต่อผู้ใช้ “ถ้ าน�ำเสนอสินค้ าที่ ไม่มีคณ ุ ภาพแล้ วผู้บริ โภคซื ้อไป มีสารปรอท หน้ าเขาแย่ขึ ้นมา มันก็มีผลกับตัวเราเอง การ รี ววิ ของที่ไม่มีคณ ุ ภาพกับผู้บริ โภค เขาไม่ไปด่าเจ้ าของผลิตภัณฑ์ แต่เขาจะมาด่าเรา ถ้ าน�ำ เสนอสิ่ ง ดี ๆ เราจะได้ รั บ สิ่ ง ดี ๆ กลับ คื น มา” เจ้ า ของเพจ เอ๋ ใ ส แม่ ใ จบ่ อ ดี กล่า ว การใช้ เน็ตไอดอลโปรโมทสินค้ ามีอิทธิพลต่อผู้บริ โภคอย่าง ณัฐนรี วงศ์ มิตร หรื อ ข้ าวเกรี ยบ เธอเล่าว่าเคยซื อ้ ผลิตภัณฑ์ ครี มทาผิ วขาวหลังจากการชมรี วิวสินค้ าโดย เน็ ต ไอดอล โดยข้ า วเกรี ย บไม่ไ ด้ ใ ห้ ค วามส�ำ คัญ กับ ฉลากรั บ รองความปลอดภัย จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เลย เธอคิดว่าฉลาก อย. มีไว้ ระบุความปลอดภัยส�ำหรับอาหารเพียงอย่างเดียว และมิได้ ตรวจสอบว่าฉลากบนผลิตภัณฑ์ครี มทาผิวขาวนันเป็ ้ นของจริ งหรื อไม่ และหลังใช้ ก็พบว่า ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวไม่ได้ ท�ำให้ ผิวขาวขึ ้นตามค�ำโฆษณา


สารคดี สุดารั ตน์ วิบลู ย์ ศลิ ป์ หรื อ ก๊ าด นักช้ อปสินค้ าออนไลน์ วัย 19 ปี ยอมรับว่าการรี วิว จากเน็ตไอดอลและการแสดงความคิดเห็นของผู้ใช้ มีส่วนส�ำคัญในการตัดสินใจเลือกซื ้อ ผลิตภัณฑ์ความงาม ก๊ าดจึงตัดสินใจซื ้อผลิตภัณฑ์ส�ำหรับมาสก์หน้ าผ่านสื่อออนไลน์ ซึง่ ผลลัพธ์ทไี่ ด้ ในระยะแรกเป็ นทีน่ า่ พอใจ แต่เมือ่ เวลาผ่านไปสองสัปดาห์ เธอกลับมีอาการแพ้ อย่างหนัก มีสวิ และผดผื่นแดงขึ ้นบริ เวณใบหน้ าเป็ นเวลานานหลายเดือน แต่ก๊าดก็ไม่ได้ ส่งเรื่ องร้ องเรี ยนไปยังผู้ขายหรื อส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริ โภค (สคบ.) เพราะเธอเองก็ไม่ทราบสาเหตุแน่ชดั ว่าอาการแพ้ นนเป็ ั ้ นผลมาจากการใช้ ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวหรื อไม่ และไม่ได้ ท�ำการตรวจสอบต่อไป

“หากเน็ตไอดอล มีจ�ำนวนผู ้ติดตามมาก ราคาค่าโปรโมท ก็จะยิ่งสูงตาม” - ขวัญชนก ทวนวิจิตร -

เจ้าของผลิตภัณฑ์ครีมเร่งผิวขาว

ภญ.จั น ทร์ ขจร ลาภบุ ญ ทรั พ ย์ (ภ.บ. มหาวิท ยาลัยสงขลานคริ นทร์ 2532) อดีตเภสัชกร กล่าวว่าอาการแพ้ เหล่านี ้อาจแบ่งได้ เป็ นสามสาเหตุหลัก ๆ สาเหตุแรก คือ อาการผิดปกติจากการแพ้ เกิดจากร่ างกายของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผลิตภัณฑ์ นัน้ มากเกินไป สาเหตุที่สอง คืออาการผิดปกติจากผลข้ างเคียงของผลิตภัณฑ์นนั ้ ๆ และ สาเหตุสุดท้ าย คืออาการผิดปกติของผิวหนัง เนื่องจากใช้ ผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ได้ มาตรฐาน เช่น ไม่มีสารตามจริ งที่ระบุไว้ ในฉลาก มีสารต่าง ๆ ในปริ มาณที่เกินก�ำหนด หรื อมีสารที่ ไม่ได้ ระบุไว้ ในฉลากอยู่ด้วย ซึ่งหากตรวจพบผู้บริ โภคสามารถฟ้องร้ องผู้ขายหรื อผู้ผลิต ผ่าน อย. ได้ ผศ. สมิทธิ์ บุญชุตมิ า อาจารย์ประจ�ำภาควิชาประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อธิ บายว่าการขายสินค้ าและโปรโมทสินค้ าบนโลกออนไลน์ เกิดจากการพัฒนาของสื่อ โดยเฉพาะสื่อสังคมออนไลน์ท่ีเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ผู ลิตพบผู้บริ โภค ได้ โดยตรง ผู้บริ โภคสามารถเข้ าถึงผลิตภัณฑ์ได้ อย่างง่ายดายและรวดเร็ว ต่างจากการเข้ า ถึงสื่อเดิม เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และนิตยสารต่าง ๆ ดังนันสื ้ ่อเดิมที่เคยเป็ น สถาบันเชื่อมต่อผู้ผลิตเข้ ากับผู้บริ โภคก็ถกู ลดบทบาทลง เพราะสือ่ สังคมออนไลน์ได้ เข้ ามา ท�ำหน้ าที่นี ้แทน “หลักการใช้ ผ้ มู ีชื่อเสียงในการโปรโมทสินค้ านัน้ เป็ นหลักการที่ถกู น�ำมาใช้ นานแล้ ว ไม่ใช่เรื่ องใหม่ แต่จดุ ที่ใหม่คือสื่อสังคมออนไลน์ ได้ ท�ำให้ ผ้ มู ีชื่อเสียง มีอ�ำนาจต่อรองกับ เจ้ าของสินค้ าและพ่อค้ าคนกลางได้ มากขึ ้น เพราะผู้มีชื่อเสียงสามารถติดต่อกับแฟนคลับ ของตนเองได้ โดยตรง” ผศ.สมิทธิ์กล่าว

สินค้ าที่ผ่านการตรวจของ อย. จะไม่ มเี ครื่องหมาย อย. แสดงอยู่บนฉลาก แต่ จะแสดงเลขที่ใบรั บแจ้ งเป็ นตัวเลขสิบหลักอยู่บนฉลากแทน เช่ น 10-1-5512345

ผศ.สมิทธิ์ มองว่าการทีผ่ ้ บู ริโภคซื ้อสินค้ าผ่านสือ่ สังคมออนไลน์อย่างง่ายดาย มีสาเหตุ มาจากระบบความคิดที่เปลี่ยนแปลงไปของคนในยุคปั จจุบนั โดยยกตัวอย่างงานวิจยั ที่ อธิบายระบบความคิดของคนรุ่นใหม่ “สมองเราจะมีสว่ นที่เป็ นการคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) อยู่ข้างหนึ่ง และอีกข้ างหนึ่งเป็ นการรับรู้ ทางสายตา (Visual Perception) ซึง่ ปั จจุบนั สังคมเราเป็ นวัฒนธรรมทางสายตา (Visual Culture) คือการรับรู้ ผ่านหน้ าจอ โทรศัพท์ จอคอมพิวเตอร์ ดูแต่รูป ท�ำให้ สมองที่เป็ นส่วนการรับรู้ทางสายตาท�ำงานได้ ดี และ สมองส่วนที่เป็ นการคิดเชิงวิพากษ์ ก็จะเสื่อมสมรรถภาพลง จึงเป็ นเหตุผลว่าท� ำไมเด็ก รุ่ นใหม่จงึ ไม่มีความคิดเชิงวิพากษ์ ” ด้ วยวิธีคิดเช่นนี ้ ผู้บริ โภคจึงมักหลงเชื่อภาพโฆษณา และรี วิวบนสื่อสังคมออนไลน์และซื ้อผลิตภัณฑ์โดยไม่ไตร่ตรองให้ รอบคอบเสียก่อน นอกจากนี ้ อาจารย์ประจ�ำคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ ยังบอกว่าความเป็ นที่นิยมของ เน็ตไอดอล เกิดจากการที่คนธรรมดา ๆ ต้ องการเห็นคนที่มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกับตนเอง มีชื่อเสียง เพราะจะท�ำให้ เกิดความรู้สกึ ร่วมตามไปด้ วย “เมื่อคนเราเป็ นบุคคลที่ไม่มีตวั ตน ในสังคม มนุษย์เราก็อยากรู้จกั คนที่มีตวั ตนในสังคม เพราะการรู้จกั พวกเขาเหล่านัน้ ท�ำให้ คนธรรมดารู้ สึก มี ตัว ตนขึน้ มา เพราะฉะนัน้ ตัว เน็ ต ไอดอลก็ เ ลย เกิ ด ขึน้ ได้ ง่ า ย และ ก็ตอบสนองความต้ องการของคนที่มีอยูล่ กึ ๆ ” ผศ.สมิทธิ์กล่าว แม้ การรีววิ จากเน็ตไอดอลอาจดูน่าเชื่อถือ แต่ อย. เตือนว่ าผู้บริโภคควรตรวจ สอบผลิตภัณฑ์ ด้วยตัวเอง และควรระวังค�ำโฆษณาเกินจริ ง เช่ น สรรพคุณว่ า สามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างของร่ างกาย เช่ น ท�ำให้ ใบหน้ าเล็ก เรี ยว แหลม เพิ่มส่ วนสูง ขยายหน้ าอก ลดริว้ รอย ลดฝ้า กระ จุดด่ างด�ำ ผลิตภัณฑ์ ท่ ที าํ ให้ ผิว ขาวเนียนอมชมพู ช่ วยปรั บสภาพผิวเนียนนุ่มใสวิง้ ยาเสริ มสมรรถภาพทางเพศ ยาเพิ่มหรื อขยายขนาดอวัยวะเพศ หรื อผลิตภัณฑ์ เครื่ องส�ำอางที่อ้างว่ าสามารถ รั ก ษาสิ ว ได้ โ ดยไม่ ต้ อ งรั บ ประทานยา เพราะสิ น ค้ า เหล่ า นี บ้ างยี่ ห้ อ อาจเป็ น สินค้ าปลอมที่อ้างว่ าได้ ผ่านการตรวจสอบจาก อย. แล้ ว แต่ ในความเป็ นจริงเป็ น แค่ การจดแจ้ งกับ อย. เท่ านัน้

ผู้ท่ปี ระสบปั ญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ความงามสามารถร้ องเรียนหรือ แจ้ งข้ อมูลไปยัง อย. โดยแจ้ งชื่อ ที่อยู่ เบอร์ โทรศัพท์ ท่ ีติดต่ อได้ พร้ อมรายละเอียดของเรื่ องที่ต้องการร้ องเรี ยน ไปที่ 1. สายด่ วน อย. โทรศัพท์ 1556 2. ตู้ ปณ. 52 ปณจ. นนทบุรี 11000 3. อีเมล์ complain@fda.moph.go.th 4. ร้ องเรียนด้ วยตนเองหรือกรณีมตี วั อย่ างผลิตภัณฑ์ มามอบให้ 4.1 ผู้ ที่ อ ยู่ ในเขตกรุ ง เทพฯ สามารถร้ องเรี ย นได้ ที่ ศูนย์ บริการผลิตภัณฑ์ สุขภาพเบ็ดเสร็จ หรื อ ที่ฝ่ายประสานบริการ เรื่องร้ องเรียน กลุ่มสารนิเทศและงานร้ องเรียน กองพัฒนาศักยภาพ ผู้บริโภค ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 4.2 ผู้ ที่ อยู่ ต่ างจั ง หวั ด แจ้ งร้ องเรี ยนที่ ส� ำ นั ก งาน สาธารณสุขจังหวัด

นิสิตนักศึกษา I 11


เทคโนโลยี

TINDER รักแท้หรือแค่ชั่วคราว

เรื่ องโดย ณัฐนรี วงษ์ มิตร, ธนภรณ์ สาลีผล

มาพูดคุยได้ นกั ต่อนักแล้ ว เธอเล่าว่าการกรองชันแรกคื ้ อการ ดูรูปภาพที่ใช้ แสดงตัวตน ซึง่ รูปที่ใช้ สามารถสือ่ โดยนัยได้ วา่ ผู้ใช้ เป็ นคนแบบไหน ต้ องการอะไร มีวตั ถุประสงค์อะไร เป็ นต้ น ถัดมาคือการกรองด้ วยโปรไฟล์สเตทเมนท์ โดยเธอจะ ระบุอย่างชัดเจนว่าเธอใช้ แอปฯ นีเ้ พื่อวัตถุประสงค์อะไร ต้ องการความสัมพันธ์รูปแบบใด ส่วนตะแกรงขันสุ ้ ดท้ ายคือ การเลือกคูส่ นทนาด้ วยการเลือ่ นไปทางซ้ ายหรือขวา จากนัน้ เธอก็ จ ะได้ ค นจ� ำ นวนหนึ่ง ซึ่ง อาจพูด คุย กัน ถูก คอและมี โอกาสพัฒนาความสัมพันธ์ตอ่ ไปได้ ในอนาคต ทีมงาน “นิสติ นักศึกษา” ทดลองใช้ ทินเดอร์ เป็ นเวลา หนึง่ สัปดาห์ โดยเลือ่ นรูปภาพของคนทีแ่ อปฯ แนะน�ำไปทาง ขวาทังหมด ้ พบว่าผู้เล่นทินเดอร์ มีอายุตงแต่ ั ้ 15 - 60 ปี ส่วนใหญ่อายุประมาณ 18 - 35 ปี มีทงผู ั ้ ้ ที่ต้องการหาเพื่อน แฟน เพื่อนกินข้ าว คนท้ องถิ่นพาเที่ยว ความสัมพันธ์แบบ ไม่ผกู มัด หรื อคูน่ อนชัว่ คราว วิธีการทีผ่ ้ เู ล่นทินเดอร์ สว่ นใหญ่ใช้ คอื ถามวัตถุประสงค์ ที่แท้ จริ งว่าอีกฝ่ ายต้ องการอะไร เพื่อให้ แน่ใจว่าทังสองมี ้ ความต้ องการตรงกั น อย่ า งไรก็ ต ามทิ น เดอร์ ไม่ ร ะบุ ช่องทางการติดต่อใด ๆ ของคู่สนทนา วิธีเดียวที่สามารถ ทราบได้ คือคูส่ นทนาต้ องเป็ นฝ่ ายบอกข้ อมูลเอง ณิชารีย์ นักศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อธิบาย ว่าเธอเลือกใช้ ทนิ เดอร์เพราะท�ำให้ เธอสามารถสนุกโดยไม่ต้อง เสี่ยง เนื่องจากแอปฯ ไม่อนุญาตให้ สง่ รู ปภาพและไม่ระบุ ข้ อมูลส่วนบุคคลใด ๆ ที่ท�ำให้ คสู่ นทนาสามารถติดต่อเธอ ได้นอกจากการพูดคุยผ่านแอปฯ เท่านัน้ เธอจึงรู้สกึ ปลอดภัยกว่า การใช้ แอปฯ หรือเว็บไซต์หาคูอ่ นื่ ๆ ทีท่ ำ� ให้เธอรู้สกึ ถูกคุกคาม เพราะมักจะมีผ้ ใู ช้ สง่ ภาพลามกอนาจารผ่านแชท ชีวติ จริง หลัง swipe right เมือ่ เจอคูท่ ถี่ กู ใจแล้ ว ผู้ใช้ มกั เปลีย่ นช่องทางการติดต่อ ระหว่างกันจากทินเดอร์ มาเป็ นทางโทรศัพท์ ไลน์ เฟซบุ๊ก เพื่อสานสัมพันธ์กนั ต่อ ความสัมพันธ์หลังจากนันก็ ้ เป็ นไป ได้ หลากหลาย โทนี่ (นามสมมติ) บอกว่าล่าสุดเขาเป็ นไกด์พาเพื่อน ชาวเยอรมันเทีย่ วรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ท�ำให้ เขาได้ ทงเพื ั ้ อ่ น และได้ ฝึกภาษาไปในตัว อิม (นามสมมติ) พนักงานร้ านค้ าปลีก วัย 23 ปี บอก ว่า คนในทินเดอร์ มกั ชวนเธอไปรับประทานอาหารกลางวัน หรืออาหารค�ำ่ ตามโรงแรมหรู ซึง่ เธอเลือกไปกับคนทีเ่ ธอไว้ ใจ และต้ องเป็ นคนที่เธอคุยด้ วยมาสักพักหนึง่ แล้ วเท่านัน้ “เรา ก็ไปกินข้ าวปกติ ไม่ได้ มีอะไรเกินเลย บางคนเขาก็ชวนเรา ไปต่อนะ แต่มนั ก็อยูท่ ี่เราด้ วยว่าจะวางตัวยังไง” แต่บ างครั ง้ คนที่ คุย กัน อยู่ก็ ยุติ ค วามสัม พัน ธ์ ล งไป เฉย ๆ เหมือนกับที่ เพชร (นามสมมติ) นักศึกษา วัย 21 ปี พบเจอ “พอคุยกันไปสักพัก 2-3 วัน เขาก็หายไปเฉย ๆ เป็ นอย่างนี ้ตลอดเลย ทัง้ ๆ ที่เราก็ไม่ได้ ท�ำอะไรผิด”

เมือ่ ก่อนการหาคูอ่ อนไลน์อาจถูกมองว่าเป็ นเรื ่อง น่าอาย แต่ปัจจุบนั ทิ นเดอร์ ก�ำลังกลายเป็ นที ่นิยมในหมู่ คนเจนวาย เพือ่ หาความสัมพันธ์ แบบใหม่จากโลกเสมื อน มาสู่โลกในชี วิตจริ ง “เรี ยนวันหนึง่ ๆ ก็ตงแปดชั ั้ ว่ โมง เดินทางกลับบ้ านอีก สองสามชัว่ โมง พอถึงบ้ านยังต้ องท�ำการบ้ าน ท�ำรายงาน จะเอาเวลาที่ไหนไปท�ำความรู้จกั กับคนใหม่ ๆ ในเมื่อเพื่อน ก็กลุม่ เดิม สังคมที่เจอก็เดิม ๆ ” นี่เป็ นความในใจของ เมษา (นามสมมติ) นักศึกษาชันปี ้ ที่ 4 ทินเดอร์ จงึ เป็ นช่องทางที่ เธอสามารถมองหาคนถูกใจและมีความสนใจใกล้ เคียง กับเธอได้ โดยไม่ต้องเสียเวลา ส�ำหรับ บอล (นามสมมติ) นักศึกษาสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วัย 21 ปี การเล่น ทินเดอร์ ท�ำให้ เขารู้สกึ เลือกได้ ว่าจะ swipe (เลื่อนรูปภาพ) ไปทางขวาเพื่ อให้ เห็นว่าถูกใจ หรื อทางซ้ ายเพื่ อปฏิเสธ ต่างจากในชีวิตจริ งซึง่ เขามักเป็ นฝ่ ายถูกเลือกทุกครัง้ ไป ปั จจัยหนึ่งซึ่งท�ำให้ ทินเดอร์ กลายเป็ นแอปพลิเคชั่น บนโทรศัพ ท์ มื อ ถื อ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งรวดเร็ ว คื อ ความสะดวกในการใช้ งาน เนื่องจากทินเดอร์ มีหลักการ ง่าย ๆ ไม่ซบั ซ้ อน คือแนะน�ำคูเ่ ดททีน่ า่ สนใจให้ กบั ผู้ใช้ แอปฯ โดยอ้ างอิงจากการเก็บข้ อมูลของผู้ใช้ ในเฟซบุ๊ก ซึง่ ทินเดอร์ ก�ำหนดว่าผู้ใช้ ทกุ คนต้ องสมัครและลงชื่อเข้ าใช้ ผ่านบัญชี เฟซบุ๊กเพื่อที่ทินเดอร์ จะได้ สทิ ธิ์ในการเก็บข้ อมูลส่วนบุคคล ของผู้ใช้ มาประมวลผล โดยระบบจะดึงข้ อมูล ชื่อ-สกุล รูป โปรไฟล์ วั น เกิ ด รายการเพื่ อ น และสิ่ ง ที่ ผ้ ู ใช้ ถู ก ใจ จากนั น้ ทิ น เดอร์ จะน� ำ ข้ อมู ล ดั ง กล่ า วมาใช้ ใน การคั ด เลื อ กบุ ค คลที่ น่ า สนใจที่ อ ยู่ ใ นรั ศ มี ร อบตั ว มา แสดงผล โดยแอปฯ จะแนะน�ำคู่สนทนาผ่านรู ปภาพและ โปรไฟล์สเตทเมนต์ (Profile Statement) ซึง่ ผู้ใช้ สามารถ แสดงความสนใจคนที่แอปฯ แนะน�ำโดยการเลือ่ นรูปไปทาง ขวา (swipe right) และแสดงความไม่สนใจโดยการเลือ่ นไป ทางซ้ าย (swipe left) หากทังสองฝ่ ้ ายสนใจตรงกัน แอปฯ จะจับคู่ (match) เพื่อแนะน�ำให้ ร้ ู จกั กัน และสามารถส่ง ความสัมพันธ์ ระยะยาวหรื อแค่ รักสนุก ? ข้ อความหากันได้ คนเจนวายหลายคนมองทิ น เดอร์ เป็ นช่ อ งทาง ในการรู้ จั ก คนใหม่ แต่ ค นรุ่ น เดี ย วกั น บางส่ ว นอย่ า ง ทินเดอร์ อิสระการหาคู่ของคนเจนวาย ขวัญรวี สร้ อยระย้ า นิสิตชัน้ ปี ที่ 4 คณะวิทยาศาสตร์ ทิ น เ ด อ ร์ เ ป รี ย บ เ ส มื อ น ต ะ แ ก ร ง ร่ อ น ที่ ช่ ว ย จุฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย คิ ด ว่ า การพบเจอคนใหม่ ๆ พัชโรดม บุญจม นักศึกษา วัย 21 ปี กรองคนที่ถูกใจ ในชี วิ ต จริ ง เป็ นทางเลื อ กที่ ดี ก ว่ า “ดูเ หมื อ นสนุก ก็ จ ริ ง

12 I นิสิตนักศึกษา

แต่มันก็สะท้ อนว่าอีกมุมหนึ่งของเรารู้ สึกแปลกแยกและ เลือกที่จะหาเพื่อนผ่านทางโซเชียลมากกว่าที่จะไปพูดคุย กับใครสักคนในชีวิตจริ ง” ฟ้า (นามสมมติ) นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่คิดว่าการเล่นทินเดอร์ จะน�ำไปสูร่ ักแท้ หรื อความสัมพันธ์ ระยะยาวได้ และยัง เป็ นการส่ง เสริ ม การตัด สิน คนจาก รูปลักษณ์ภายนอก “เพราะมันได้ มาง่าย พอได้ มาง่ายก็ไป ง่าย ทินเดอร์ เหมือนแอปฯ ที่คนนัดไปมีเพศสัมพันธ์กนั ” เอธยา ศรี สกูล นักศึกษาคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า ธนบุรี กลับคิดว่าคนส่วนมากมักมองการหาคูบ่ นทินเดอร์ไปใน ทางลบ แต่ในความเป็ นจริงแล้ วคนเล่นทินเดอร์ กไ็ ม่ได้ เป็ นคน ไม่ดีเสมอไป เธอได้ พบมิตรภาพดี ๆ และเพื่อนที่คบกันมา ถึงทุกวันนี ้จากทินเดอร์ ดร. นิปัทม์ พิชญโยธิน อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชา จิตวิทยาพัฒนาการ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงลักษณะทางจิตวิทยาที่ท�ำให้ ทินเดอร์ เป็ นที่นิยมว่า “เว็บไซต์หาคูส่ ว่ นใหญ่ (ผู้ใช้ ) มักต้ องตอบค�ำถามทีเ่ ชือ่ มโยง ไปถึงความเชือ่ ศาสนา ไลฟ์สไตล์ หรือมโนคติ ซึง่ เป็ นค�ำถาม เพื่อการวางแผนครอบครัวและการใช้ ชีวติ ร่วมกันในอนาคต แต่ส�ำหรั บทิ นเดอร์ คือเอารู ปมาก่อน เสน่ห์ทางร่ างกาย มันเกิดก่อน แล้ วจะพัฒนาเป็ นอะไรต่อไปนันก็ ้ อีกเรื่ องหนึง่ ” สาเหตุที่ ค นในช่ ว งอายุ 25-34 ปี ใช้ ง านทิ น เดอร์ มากกว่าคนรุ่นอื่นนัน้ ดร. นิปัทม์ อธิบายว่า “สมัยนี ้สังคม เปิ ดกว้ างขึ น้ คนมองว่ า การใช้ เทคโนโลยี ก็ เ หมื อ น การหาคนรู้จกั เหมือนหาเพื่อนใหม่ในเฟซบุ๊ก แต่แอปฯ นี ้ เฉพาะเจาะจงกว่าตรงที่คนที่เข้ ามาเล่นก็ มีเป้าประสงค์ ว่ า ต้ องการหาเพื่ อ น หาคนคุ ย แก้ เหงา หรื อเพื่ อ จุ ด ประสงค์ อื่ น ” “อี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ ในเชิ ง จิ ต วิ ท ยา หากมี ก าร ยื น ยั น จากคนใกล้ ชิ ด หรื อคนในกลุ่ ม สั ง คมที่ เ รา อยู่ ด้ วยว่ า ยอมรั บ การมี คู่ แ บบนี ้ หรื อคนในสั ง คม เดี ย วกั น มี ก ารใช้ แอปฯ นี แ้ ล้ วได้ ผ ล ได้ สิ่ ง ที่ ต้ อ งการ ก็ เ กิ ด การบอกต่ อ แบบปากต่ อ ปาก” อาจารย์ ป ระจ� ำ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กล่าว


ไลฟ์ สไตล์

ไม่ไป ไม่รู้

แบกเป้เดินทางแบบไม่รู้จักฉันไม่รู้จักเธอ เรื่ องโดย ปรินัท เรื องทอง, ธนภรณ์ สาลีผล

“อย่าไว้ใจคนแปลกหน้า” คงจะเป็ นคําพูดที ใ่ ช้ไม่ได้ อีกต่อไปในยุคปัจจุบนั เมือ่ วันนีค้ นแปลกหน้าไม่ใช่สิ่งมีชีวิต ที ่ น่ า กลัว แต่ ก ลับ กลายเป็ นผู้ ที่ น่ า ค้ น หา น่ า เข้ า ไป ทํ า ความรู้ จั ก เปลี ่ ย นให้ ค นแปลกหน้ า กลายเป็ น คนไม่แปลกหน้าอีกต่อไป การท่องเที่ยวกับคนแปลกหน้ า คือการไปท่องเที่ยวที่ ใดที่หนึ่งกับคนที่เราไม่ร้ ู จกั ไม่ค้ นุ เคยมาก่อน แต่ก็เที่ยว ด้ วยกันได้ อย่างไม่จํากัดเพศ อายุ และเชื ้อชาติ ช น ม น ดุ ษ ฎี พ ร หรื อ โบกี ้ นิ สิ ต ชั น้ ปี ที่ 3 คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล่าถึงหนึ่งใน ทริ ป ท่ อ งเที่ ย วกับ คนแปลกหน้ าที่ เ ธอประทับ ใจจนถึ ง ทุกวันนี ้ นัน่ คือการไปพักบ้ านชาวเนเธอร์ แลนด์คนหนึง่ ใน กรุ ง อัม สเตอร์ ดัม เมื่ อ ปี ที่ แ ล้ ว โบกี บ้ อกว่า เธอได้ เ รี ย นรู้ การใช้ ชีวิตแบบคนท้ องถิ่นแท้ ๆ เช่น การเลือกซื ้อชีสซึง่ เป็ น สิง่ ส�ำคัญมากส�ำหรับชาวดัชต์ “การที่ไปกับคนที่เราไม่เคย รู้ จักมาก่อน เราจะพยายามไม่คาดหวังเยอะ ขอให้ เขา ไม่ ร้ ายกั บ เราก็ พ อแล้ ว แต่ ป รากฏว่ า สิ่ ง ที่ ไ ด้ กลั บ มา มันเกินคาดมาก ๆ “

- รู้จกั พึง่ ตนเอง - คิดถึงใจเขา ใจเรา ไม่เอาตนเองเป็ นที่ตงั ้ รับฟั ง และใส่ใจกัน - รอบคอบ ช่างสังเกต มองดูสงิ่ รอบตัว - การพิจารณาคนแปลกหน้ าร่วมทริ ป ควรศึกษา ลักษณะอุปนิสยั ใจคอเบื ้องต้ นก่อน ว่าเข้ ากันได้ มากแค่ไหน - หากให้ เว็บไซต์เพื่อเข้ าพักหรื อร่วมเดินทางกับ คนแปลกหน้ า ควรตรวจสอบรี วิวจากประสบการณ์ นักท่องเที่ยวคนอื่น ๆ หรื อหลักฐานการยืนตัวตน บนเว็บไซต์ - หากเจอสถานการณ์หรื อคนแปลกหน้ าที่ ไม่นา่ ไว้ ใจ ควรขอแยกตัวออกมาหรื อยุตทิ ริ ปทันที - อย่าเห็นแก่ความเกรงใจ และต้ องกล้ าที่จะปฏิเสธ

เทรนด์การท่องเที่ยวกับคนแปลกหน้ าที่ได้ รับความ นิ ย มมากขึ น้ ทํ า ให้ ก ลุ่ม “แบกเป้ เที่ ย ว” บนเฟซบุ๊ ก ที่ เคยมีสมาชิกเพียงไม่กี่สิบคนขยายกลุ่มเพิ่มเป็ น “แบกเป้ เที่ ยวทริ ป” เนื่ องจากจ� ำนวนสมาชิ กที่ เพิ่ มขึน้ เป็ นเกื อบ 20,000 คนในปั จจุบนั กลุม่ นี ้เปิ ดให้ สมาชิกเข้ ามาประกาศ

หาคนแปลกหน้ ามาร่วมเดินทาง โดยส่วนมากเป็ นการท่อง เที่ ยวในราคาประหยัด เพราะเมื่ อมี คนร่ วมทริ ปมากขึน้ ค่าใช้ จา่ ยเฉลี่ยต่าง ๆ ก็จะถูกลง นอกจากนี ้ยังเป็ นพื ้นที่ใน การแบ่งปั นประสบการณ์ และข้ อมูลการท่องเที่ยวอีกด้ วย ธานินทร์ นิยม หรื อ อู๊ด วัย 51 ปี แอดมินกลุม่ “แบกเป้ เที่ยวทริ ป” ให้ ค�ำแนะน�ำว่าเพื่อความปลอดภัยในการท่อง เที่ยว นักท่องเที่ยวควรตรวจสอบให้ ดีว่ามีความเสี่ยงมาก น้ อยแค่ไหน “สมมติว่าเขานัดในโซเชียลว่าห้ าคน พอถึงเวลามา เหลือคุณกับเขาสองคน แล้ วบอกว่าอีกสามคนคอยอยูต่ รง นันหรื ้ อว่ายังไม่มาหรือเปลีย่ นใจไปแล้ วบ้ าง ถึงจะเป็ นทีท่ ยี่ งั ไม่เคยไป อยากจะไป ต้ องไปให้ ได้ คุณก็ ต้องหยุดแล้ ว ถึงจะจ่ายเงินไปแล้ ว ก็ยอมทิ ้งเงินเถอะ” เขายังบอกอีกว่า สือ่ สังคมออนไลน์ เช่น ไลน์ หรือเฟซบุ๊ก ก็เป็ นอีกหนึง่ ตัวช่วย ในการทําความรู้ จกั และพิจารณาคุณสมบัติคนแปลกหน้ า ให้ พอหอมปากหอมคอก่อนออกทริ ปจริ งได้ ส่วนโบกี ้ นิสิตนิติศาสตร์ มองว่า “ทัศนคติ” คือสิ่ง สาํ คัญที่ต้องพกใส่เป้ไปด้ วยส�ำหรับใครที่สนใจจะท่องเที่ยว ในรูปแบบนี ้เพราะสิง่ ที่จะต้ องพบเจอจากคนแปลกหน้ าคือ “ความแตกต่าง” ไม่วา่ จะในเรื่ องอุปนิสยั หรื อวัฒนธรรม “ยังไงมันก็มีความแตกต่างอยูแ่ ล้ ว เขาอาจจะทําอะไร ที่เราตกใจ (culture shock) เช่น ที่ฝั่งยุโรป การสัง่ น� ้ำมูก แรง ๆ เสียงดัง ๆ เป็ นเรื่ องปกติมาก บางประเทศถือว่าเป็ น มารยาทที่ดี ถูกสุขลักษณะ การสูดน� ้ำมูกเข้ าไปต่างหากคือ สกปรก บางทีนงั่ กินในร้ านอาหาร เราก็ต้องเปิ ดใจ ยอมรับ ได้ ไม่ใช่ไปอี๋ใส่เขา ก็คงไปกันไม่รอด” โบกี ้บอก

Photo credit : medias.photodeck.com

เคล็ดลับการท่องเที่ยวกับคนแปลกหน้า จากนักเดินทางตัวยงทัง้ สาม

โบกี ้ อธิ บายว่าเธอได้ ไปพักบ้ านชาวเนเธอร์ แลนด์ คนนี ผ้ ่ า นการติ ด ต่ อ บนเว็ บ ไซต์ Couchsurfing (http://www.couchsurfing.com) ซึง่ เป็ นเว็บไซต์ทเี่ ปิ ดพื ้นที่ ให้ ผ้ คู นจากทัว่ ทุกมุมโลกเข้ าไปสมัครสมาชิก และเปิ ดบ้ าน ต้ อนรับคนแปลกหน้ าให้ มาพัก โดยไม่เสียค่าใช้ จา่ ย เจ้ าของ บ้ านก็จะได้ เพื่อนใหม่ตา่ งวัฒนธรรม ในขณะที่นกั ท่องเที่ยว ก็จะได้ เรี ยนรู้การใช้ ชีวิตกับคนท้ องถิ่น โบกี เ้ ลือกไปเที่ ยวกับคนแปลกหน้ าผ่านเว็บไซต์ ดัง กล่าว เพื่อตัดปั ญหาในการจัดการการเดินทาง เมื่อมีเวลา ว่างไม่ตรงกับเพื่อน ๆ เช่นเดียวกับ อุไรริศา บุญศิลป์ หรื อ ต้ นอ้ อ กราฟิ ก ดีไซเนอร์ วัย 26 ปี เจ้ าของเพจและบล็อก “High On Dreams” ที่บอกว่าการเที่ยวแบบนี ้ เป็ นเสมือนการสร้ าง เครือข่ายทีด่ อี ย่างหนึง่ เพราะท�ำให้ เธอมีเพือ่ นจากทัว่ ทุกมุม โลก หากมีจงั หวะและเวลาตรงกันก็มกั ไปเที่ยวด้ วยกันอีก กราฟิ กดี ไ ซเนอร์ สาวเล่ า ว่ า เธอได้ เปลี่ ย นคน แปลกหน้ าให้ กลายเป็ นเพื่ อ นสนิ ท จากทริ ป นั่ ง รถตู้ ไม่ มี เ ครื่ อ งปรั บ อากาศไปเที่ ย วที่ จ.กาญจนบุรี ถึ ง แม้ จ ะ มี ค ว า ม ย า ก ล� ำ บ า ก ใ น ก า ร เ ดิ น ท า ง แ ต่ นั่ น ก็ กลายเป็ นหนึ่ง ในความทรงจ� ำ อัน น่ า ประทับ ใจของเธอ แต่ใช่ว่าการเดินทางกับคนแปลกหน้ าจะราบรื่ นและ สนุกสนานเสมอไป ต้ นอ้ อต้ องผิดหวังกับทริ ปเก้ าวันใน ประเทศญี่ปนที ุ่ เ่ ธอเดินทางร่วมกับเซบาสเตียน นักท่องเทีย่ ว ชาวแคนาดา ซึ่งได้ ท�ำความรู้ จักกันก่อนหน้ านีข้ ณะที่ทัง้ สองคนเดินทางท่องเที่ยวอยูใ่ นจ.ภูเก็ต ต้ น อ้ อ ท ะ เ ล า ะ กั บ เซบาสเตี ย นเพราะความ ต้ อ งการที่ ไ ม่ ต รงกัน เมื่ อ เซบาสเตียนใช้ เวลากับการ เล่นเซิร์ฟจนทําให้ เธอไม่ได้ ไปน� ำ้ ตกอย่ า งที่ ต้ อ งการ ต้ น อ้ อ จึ ง รู้ สึก ว่ า เวลาของ เธอต้ องสูญเปล่า จากคู่ขา ปาท่องโก๋ที่คิดว่าไม่มีทาง ทะเลาะกันแน่นอน ก็กลับ กลายเป็ นคูไ่ ม้ เบือ่ ไม้ เมากัน ไปเสียอย่างนัน ้ “แรก ๆ มันก็โอเค แต่ ยิ่ ง อยู่ด้ ว ยกัน ใช้ ชี วิ ต 24 ชัว่ โมงในการไปเที่ยว มันก็ ยิ่งรู้ จกั กันมากขึ ้น ทําให้ มีสิ่งที่เราไม่พอใจกันมากขึ ้น เรา อยากทํ า สิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งการ แต่ เ ราก็ ติ ด ที่ ค นคนนัน้ นิ สัย ไม่เหมือนกัน”

ห า ก รู้ วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร ต น เ อ ง ทั ้ ง ใ น แ ง่ ข อ ง ความปลอดภัย และการวางตัว เช่ น นี แ้ ล้ ว การท่ อ ง เที่ ย วกั บ คนแปลกหน้ าก็ มี อ ะไรดี ๆ ที่ ร อให้ ไป สั มผั ส หากคุ ณเป็ นคนหนึ่ งที่หัวใจนั กเดินทางพองโต หลังจากได้ อ่านเรื่ องราวเหล่ านีแ้ ล้ ว “ไว้ ใจคนแปลก หน้ าอย่ างมีสติ” คงเป็ นค�ำพูดที่เหมาะจะหยิบมาใช้ ใน เวลานี ้ และก็ลองถามตัวเองดูว่า คุณมีความพร้ อม เพียงพอ ที่จะน�ำไปใช้ ตลอดทัง้ ทริปแล้ วหรื อยัง

นิสิตนักศึกษา I 13


สัมภาษณ์

ม๊าเดีย่ ว แฟชั่ นนิสตาภูธร

ความคิดสร้างสรรค์ท่ไี ม่อาจถูกตีกรอบ เ รื่ อ ง โ ด ย ก ษิ ดิ ศ ศ รี วิ ลั ย

ภ า พ ข อ ง เ ด็ ก มั ธ ย ม หั ว เ ก รี ย น ค น ห นึ่ ง ใ น ชุ ด อันน่าตื ่นตาตื ่นใจที ่ประดิ ษฐ์ ขึ้นจากวัสดุอย่างหม้อ กะทะ ท่อน ไม้ หรื อแม้กระทัง่ มัดก้านไผ่ ถูกแชร์ และพู ด ถึ ง ในเครื อข่ า ยสัง คม ออนไลน์ อย่ า งแพร่ หลาย ภาพเหล่านี ้เป็ นผลงานของ ‘ ม๊ า เ ดี่ ย ว ’ อ ภิ เ ช ษ ฐ์ เ อ ติ รั ต น ะ นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที ่ 4 จ.ขอนแก่ น เจ้ า ของบัญ ชี เ ฟซบุ๊ก ที ่ มี ย อดผู้ ติ ดตามนั บ แสนคน

‘สร้ างสรรค์ ’ เพราะ ‘สั่งสม’ ม๊ า เดี่ ย ว เล่า ว่ า เขาเริ่ ม จัด ท� ำ ชุด ตัง้ แต่ ยัง เรี ย นอยู่ ชันประถมปี ้ ที่ 5 ด้ วยความที่เป็ นแฟนคลับตัวยงของเวที ประกวดนางงาม ม๊ าเดี่ยวจึงตื่นเต้ นเสมอที่ได้ เห็นความคิด สร้ างสรรค์ของนักออกแบบจากแต่ละประเทศทีถ่ กู ถ่ายทอด ลงบนเรือนร่างของผู้เข้ าประกวด “หนูอยากแต่งแบบนันบ้ ้ าง พอมองดู ร อบ ๆ บ้ านก็ เ ห็ น ว่ า มี ข องที่ ถู ก ตั ง้ ไว้ ไม่ ไ ด้ ใช้ ประโยชน์ หนูเลยไปหยิบมาท�ำเป็ นชุด ในช่วงแรกก็แต่ง สนุก ๆ ให้ พ่อ แม่ เพื่ อ นแถวบ้ า นดู เพิ่ ง จะโพสต์ ล งบน เฟซบุ๊ กก็ เ มื่ อ เดื อ นเมษายนที่ ผ่ า นมา พอโพสต์ ล ง เสียง ตอบรับก็ตามมามากขึ ้นเรื่อย ๆ เป็ นเหมือนแรงผลักให้ เราต้ องสร้ างสรรค์ผลงานใหม่อยูต่ ลอด” ม๊ าเดี่ยวเล่าว่าทุกวันนีก้ ารดัดแปลงชุดได้ กลายเป็ น วิถีชีวติ ประจ�ำวันไปแล้ ว ทีส่ ำ� คัญเขาไม่เคยต้ องเสียเงินเพือ่ ซื อ้ หาอุ ป กรณ์ ม าประดิ ษ ฐ์ ชุ ด ด้ วยความที่ ค รอบครั ว ของม๊ าเดีย่ วเป็ นเกษตรกร บริเวณบ้ านจึงเต็มไปด้ วยอุปกรณ์ การเกษตรมากมายไม่วา่ จะเป็ นสุม่ ไก่ เศษไม้ สังกะสี หรื อ แม้ กระทัง่ พืชผักผลไม้ “หนูเอามาท�ำชุดเกือบจะหมดทังบ้ ้ าน แล้ ว ขนาดไม้ แ ขวนเสือ้ ยัง เคยเอามาดัด รวมกัน ท� ำเป็ น ชุดเกาะอก จนแม่ไม่มีอะไรตากผ้ า”

14 I นิสิตนักศึกษา

บางชุดที่ม๊าเดีย่ วประดิษฐ์ ขึ ้นก็มาจากไอเดียของเหล่า ผู้ตดิ ตามบนบัญชีเฟซบุ๊ก เช่น ชุดทีท่ ำ� จากกระดาษทิชชู หรือ ชุดที่ท�ำมาจากฟาง “หนูรับฟั งความคิดเห็นที่มาจากแฟน คลั บ ตลอด หลั ง ๆ ก็ มี กิ จ กรรมให้ แฟนคลั บ ช่ ว ยกัน ตังชื ้ อ่ เช่น ชือ่ ‘ธิดางามในท้ องทุง่ ’ หรือ ‘สังกะสีสวกไส้ ’ ” มั่นคงในความแตกต่ าง ม๊ าเดี่ยวเคยชินกับการถูกพูดถึงในแง่มมุ ที่ตลกขบขัน เขายอมรั บ ว่า มี ค นจ� ำ นวนมากที่ เ ข้ า มาในเฟซบุ๊ก เพื่ อ ต่อว่าเพศสภาพของเขา เช่น ถูกเรี ยกว่า ‘กะเทยเด็กหัว โปก’ หรื อ เป็ น ‘ตัว ประหลาด’ แต่ ม๊ า เดี่ ย วเลื อ กที่ จ ะ มองข้ ามมันไป “เราคือเรา ท�ำไมต้ องทิ ้งความเป็ นตัวเองเพื่อให้ เป็ น เหมื อ นคนอื่ น เราจะเป็ นเกย์ ห รื อ กะเทยท� ำ ไมต้ องมี รู ปลักษณ์ แบบเดียวกันหมด คนไทยมักตีกรอบความคิด ไว้ แล้ วว่าถ้ าจะเป็ นกะเทยต้ องมีหน้ าอกผมยาว ต้ องกินยาคุม หัวโปกแล้ วมาแต่งตัวแบบหนูมนั ประหลาด แต่หนูวา่ กรอบ ความคิดแบบนี ้มันถูกอุปโลกน์ขึ ้นมาทังสิ ้ ้น” ม๊ าเดีย่ วยืนยันว่าเขาไม่เคยคิดจะแปลงเพศ และอยาก ให้ คนมองว่าผลงานของเขาเป็ นเพียงกิจกรรมเฉพาะกิจเพือ่ ความสนุก สนานเท่า นัน้ ที่ ส� ำ คัญ ผู้อ ยู่เ บื อ้ งหลัง ความ สร้ างสรรค์ของม๊ าเดี่ยวก็คือคุณพ่อ ซึง่ ยอมรับในตัวตนของ เขา “ที่บ้านไม่สนใจว่า เราจะเป็ นอย่างไร พ่อแม่ให้ อิสระใน การตัดสินใจเกือบทุกเรื่ องในชีวิต การที่หนูเป็ นแบบนี ้ไม่ได้ หมายความว่าจะด้ อยค่ากว่าคนอื่นตรงไหน พ่อมักเป็ นคน มาถ่ายรูปให้ และคอยปกป้องเวลามีใครมาต�ำหนิตวั ตนของ หนูเสมอ” ‘เด็กบ้ านนอก’ สู่ก้าวย่ างแห่ งอนาคต ‘นักออกแบบ’ ม๊ า เดี่ ย วมี ค วามฝั น ว่ า จะเป็ นนัก ออกแบบเสื อ้ ผ้ า และวางแผนจะเรี ยนต่ อ สาขาการออกแบบแฟชั่ น “หนูอยากออกแบบเสื ้อผ้ าแบบเพื่อการแสดง เน้ นความ อลังการ หากต้ องท�ำเสื ้อผ้ าที่ใส่ในชีวิตประจ�ำวัน เสื ้อผ้ า ของหนู ถ้ าลูกค้ าคนใดจะใส่ต้องมีความมัน่ ใจมาก”

ม๊ าเดีย่ วยังมองว่า เครื่องแต่งกายเป็ นสิง่ สะท้ อนตัวตนที่ แตกต่างกันของผู้สวมใส่ เขาจึงประหลาดใจมากทุกครัง้ เมือ่ ไป เทีย่ วในเมืองใหญ่ ๆ และเห็นว่าทุกคนแต่งตัวคล้ ายกันหมด “หนูไปกรุ งเทพฯ ครัง้ ล่าสุดนึกว่าอยู่ในโรงงานตุ๊กตา ผู้คน แต่งตัวท�ำผมเหมือนกัน หนูคดิ ว่ามันต้ องมีสไตล์ทเี่ ข้ าและไม่ เข้ ากับเราอยูแ่ ล้ ว การแต่งตัวควรจะเป็ นความคิดของตัวเอง” ยืนหยัด ยืนยาว บนโลกออนไลน์ สื่ อ มวลชนทั ง้ ในและต่ า งประเทศ​ได้ เผยแพร่ ภาพถ่ายของม๊ าเดี่ยวจนกระทัง่ เ ขากลายเป็ นที่ร้ ู จกั อย่าง กว้ างขวางขึ ้น เห็นได้ จากยอดผู้ติดตามบนบัญชีเฟซบุ๊กที่ เพิ่มขึ ้นกว่าเท่าตัว ม๊ าเดี่ย วพูดถึงการจัดการกับชื่อเสียงว่า “ตังแต่ ้ หนูเริ่ มดัง โฆษณาสินค้ าก็ติดต่อเข้ ามาเยอะ แต่หนู พยายามรับพอประมาณ เพียงเดือนละสองสามชิ ้นเอาไป เป็ นค่าเทอม การน�ำเสนอสินค้ าก็แนบเนียนมาก เพราะหนู ไม่อยากให้ มนั มาแย่งซีนชุด หนูคิดว่าถ้ าเรายัดเยียดสินค้ า มากไป ไม่นานเขาก็เบื่อ หนูไม่ อยากเป็ นเหมือนที่เขาว่ากันว่า ‘ดังแล้ วขายครี มทุกคน’ อยากให้ คนเข้ ามาดู การสร้ างสรรค์ ชุด ของ ห นู ไ ป อี ก น า น ๆ ม า ก ก ว่ า ”


ข่าวต่อ

‘จน-เครียด-ฆ่าตัวตาย’ ยอดพุ ่ง ชี้ ศก.ไม่ เ ท่ า เที ย มท� ำ คนคิ ด สั้ น

(ต่อจากหน้า 1) นอกจากนี ้ ข้ อมู ล จากกรมสุ ข ภาพจิ ต กระทรวง สาธารณสุ ข ในพ.ศ. 2556 ยั ง ระบุ ว่ า ในจ� ำ นวนผู้ ที่ ฆ่าตัวตายส�ำเร็ จ เป็ นเพศชาย 3,090 คน (ร้ อยละ 78.43) เพศหญิง 850 คน (ร้ อยละ 21.57) ในช่วง 15 ปี ที่ผา่ นมานี ้ ผู้ฆา่ ตัวตายส�ำเร็ จเป็ นชายมากกว่าหญิงประมาณสามเท่า หรื อหนึ่งคนทุกสามชัว่ โมง โดยเฉพาะกลุ่มชายวัยท�ำงาน อายุ 30-34 ปี มีอตั ราสูงถึง 403 คน นพ.ปริทรรศ ศิลปกิจ รองผู้อำ� นวยการฝ่ ายการแพทย์ โรงพยาบาลสวนปรุ ง จ.เชี ย งใหม่ แ ละนายกสมาคม สะมาริ ตนั ส์ จ.เชียงใหม่ ซึง่ เป็ นสมาคมที่ให้ บริ การปรึกษา ทางโทรศัพท์ เพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย กล่าวว่าสาเหตุ ของการฆ่ า ตั ว ตายเป็ นเรื่ องที่ ซั บ ซ้ อนและเกิ ด จาก ปั จจัยทังด้ ้ านจิตวิทยา ชีววิทยาและสังคมรวมกัน นพ.ปริ ทรรศ ให้ ความเห็นว่าในสังคมไทยซึ่งมีวิธีคิด แบบชายเป็ นใหญ่ เพศชายถูกมองว่าเป็ นผู้น�ำครอบครั ว และเป็ นรายได้ หลักของครอบครัว ผู้ชายจึงต้ องเผชิญกับ ความกดดันตึงเครียดในการท�ำงานมากกว่าหญิง ในขณะที่ หญิ ง จะตั ง้ รั บ หรื อ อดทนมากกว่ า และมี ค วามเครี ย ด ที่เกิดจากการคาดหวังทางสังคมน้ อยกว่าผู้ชาย นอกจากนี ้ เพศชายยังมีวิธีคดิ เรื่ องการใช้ ก�ำลังที่เด็ดขาดกว่าเพศหญิง ท�ำให้ มีแนวโน้ มฆ่าตัวตายส�ำเร็ จมากกว่า “ในมุมของเพศ ชายต้ องมีสญ ั ชาตญาณในการล่าและต่อสู้ เพื่อปกป้อง อาณาจักรตังแต่ ้ ดกึ ด�ำบรรพ์ ความสามารถในการฆ่าจึงมี สูงกว่ า ทั ง้ พลั ง ทั ก ษะ และการตั ด สิ น ใจ” นายก สมาคมสะมาริ ตนั ส์ จ.เชียงใหม่กล่าว นอกจากนี ้นพ. ปริทรรศ อธิบายว่าในสังคมการท�ำงาน ชายไทยมักอยูใ่ นระบบอุปถัมภ์หรือความสัมพันธ์แบบพึง่ พา ผู้อื่นและยึดมัน่ ในตัวบุคคล ซึง่ มีอิทธิพลต่อการปกครองใน สังคมไทยเรื่อยมา โดยเฉพาะในระบอบราชการไทย เห็นได้ จากการที่ข้าราชการชันผู ้ ้ น้อยต้ องปฏิบตั ริ าชการตามค�ำสัง่ ของหัวหน้ ามากกว่าตามกฎระเบียบ จึงไม่สามารถปฏิเสธ สิ่ ง ที่ ขัด กับ ความคิ ด ของตนหรื อ แสดงความคิ ด เห็ น ได้ นี่เป็ นอีกหนึง่ สาเหตุส�ำคัญที่ก่อให้ เกิดความเครี ยดสะสม ทั ง้ นี ข้ ้ อมู ล จากกลุ่ ม งานพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล ส� ำ นัก งานก� ำ ลัง พล ส� ำ นัก งานต� ำ รวจแห่ ง ชาติ ร ะหว่ า ง ปี งบประมาณ 2551-2556 พบว่ า มี ข้ า ราชการต� ำ รวจ ฆ่าตัวตายจ�ำนวน 172 นาย หรื อเฉลี่ยปี ละ 28.8 นาย และ พบผู้ฆา่ ตัวตายมากที่สดุ 47 ราย ในพ.ศ. 2555 “ทหารหรือต�ำรวจทีอ่ ยูใ่ นสถานะทีไ่ ด้ รับความกดดันสูง ผู้บัง คับ บัญ ชาที่ เ ข้ ม งวดหรื อ อยู่ภ ายใต้ ค� ำ สั่ง ที่ เ ด็ ด ขาด และไม่สามารถโต้ แย้ งหรือแสดงอารมณ์ได้ รวมทังมี ้ อาวุธใน ครอบครอง จึงง่ายต่อการฆ่าตัวตาย” นพ.ปริ ทรรศกล่าว ชนบทไร้ วัยท�ำงาน มีแต่ เด็กและคนชรา เหตุวัฎจักร ‘จน-เครี ยด-ฆ่ าตัวตาย’ สถิ ติ จ ากกรมสุข ภาพจิ ต เมื่ อ ปี พ.ศ. 2556 พบว่ า กลุ่ม จัง หวัด ที่ มี อัต ราการฆ่า ตัว ตายสํา เร็ จ ต่อ ประชากร แสนคน 10 อันดับแรกอยู่ในภาคเหนือ คิดเป็ น 9.99 ต่อ ประชากรแสนคน โดยเฉพาะ จ.ล�ำพูน 14.81 ต่อประชากร แสนคน ขณะที่ ใ นช่ ว ง 3 ปี ที่ ผ่ า นมา กลุ่ ม จั ง หวั ด “ร้ อยแก่นสารสินธุ์” ประกอบด้ วย ขอนแก่น มหาสารคาม ร้ อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ พบอัตราการฆ่าตัวตายในพื ้นที่มี

แนวโน้ มเพิม่ ขึ ้นอย่างต่อเนือ่ ง โดย พ.ศ. 2554 อยูท่ ี่ 3.9 คน ต่ อ ประชากรแสนคนและเพิ่ ม ขึ น้ เป็ น 4.71 คนต่ อ ประชากรแสนคนในพ.ศ. 2556 ผศ.ดร.ศิ ริ รั ตน์ แอดสกุ ล อาจารย์ ภ าควิ ช า สั ง ค ม วิ ท ย า แ ล ะ ม า นุ ษ ย วิ ท ย า ค ณ ะ รั ฐ ศ า ส ต ร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่าแม้ โครงสร้ างสังคมไทย จะแบ่ ง ชั น้ ระหว่ า งคนชนบทและคนเมื อ ง แต่ อั ต รา การฆ่ า ตั ว ตายของสองกลุ่ ม นี ไ้ ม่ ไ ด้ แตกต่ า งกั น มาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่น�ำไปสู่การฆ่าตัวตายของคนใน ต่างจังหวัดคือโครงสร้ างสังคมชนบททีว่ ยั แรงงานอพยพเข้ า เมืองเพื่ อ หางานท� ำ เหลื อ เพี ย งผู้สูง อายุแ ละเด็ ก ซึ่ง เป็ น วัย ที่ ไม่สามารถหารายได้ ส�ำหรับการด�ำรงชีวิตได้ เพียงพอ

ดร.เพ็ชรัตน์ ไสยสมบัติ อาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒกล่าวว่า งานวิ จั ย จากองค์ ก ารอนามั ย โลกชี ใ้ ห้ เห็ น ว่ า อั ต รา การฆ่าตัวตายที่มีสูงถึงร้ อยละ 75 เกิดขึน้ ในประเทศที​ี่​่มี รายได้ ตำ�่ และปานกลาง แม้ วา่ สถิตจิ ากจะจัดให้ ประเทศไทย อยู่ในกลุ่มรายได้ ระดับกลาง-บน แต่ไทยยังคงเผชิญกับ ปั ญหาการกระจายรายได้ ที่ไม่เท่าเทียมกันมาโดยตลอด “ปั ญหาความยากจนเป็ นสาเหตุ ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ คนจ� ำ นวนหนึ่ ง ถูก กี ด กัน การเข้ า ถึ ง ทรั พ ยากร มัน ก็ ไ ม่ เท่าเทียมทังในเรื ้ ่ องคุณภาพการศึกษาและการสาธารณสุข กลายเป็ นสาเหตุต่อมาที่ท�ำให้ คนในสังคมไม่มีศกั ยภาพ อย่างที่ควรเป็ น”

ผู้สงู อายุอาจมีโรคประจ�ำตัว ส่วนเด็กก็ไม่ได้ รับการเติมเต็ม ทังในด้ ้ านการศึกษาและสาธารณูปโภค ภาวะความยากจน เรื อ้ รังเช่นนี ้ท�ำให้ ชาวชนบทเกิดอาการเครี ยด หาทางออก ไม่ได้ จึงอาจคิดแก้ ปัญหาด้ วยการฆ่าตัวตาย “ ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ ป็ น เ รื่ อ ง ใ ห ญ่ เ ป็ น ตั ว ชี ว้ ั ด ความอยูร่ อด อย่างในกรณีลา่ สุดทีเ่ ด็กแปดขวบชวนยายกิน ยาฆ่ า ตัว ตายยกครอบครั ว ผู้ ที่ ฆ่ า ตัว ตายอาจรู้ สึ ก ว่ า ตนเองไม่มีความหมาย ถูกทอดทิ ้ง ไม่ได้ รับการช่วยเหลือ” ผศ.ดร.ศิริรัตน์กล่าว

นักวิชาการมหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒกล่าวว่า สาเหตุห นึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ป ระชาชนขาดศัก ยภาพคื อ การใช้ นโยบายประชานิยมของรัฐบาลหลายชุด ดร.เพ็ชรัตน์ชี ้ว่า เมือ่ คนจนอยูใ่ นภาวะทางเศรษฐกิจทีไ่ ม่มที างออก ท�ำให้ ไม่มี คุ ณ ภาพชี วิ ต จึ ง ตัด สิ น ใจจบชี วิ ต ลง อย่ า งไรก็ ต ามดร.เพ็ชรัตน์กล่าวว่าหลายนโยบายของ ภาครัฐมุง่ เน้ นไปที่การแก้ ปัญหาเชิงโครงสร้ างทางสังคมแต่ ไม่เกิดประสิทธิ ภาพ นอกจากนี ้ กฎระเบียบและวิธีการ ท� ำงานข อ ง ภ า ค รั ฐ ยั ง ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ท า ง อ้ อ ม ต่ อ สาเหตุ การฆ่าตัวตาย“รัฐบาลเน้ นไปที่คนเป็ นโรคซึม เศร้ า ซึง่ มันก็ใช่สว่ นหนึง่ เพราะคนเวลาเจอปั ญหาอะไรแล้ ว มันแก้ อะไรไม่ ไ ด้ มัน ก็ ไ ปจบที่ เ ครี ย ดมาก ๆ จึ ง เป็ นโรค ซึ ม เศร้ า แต่จริ ง ๆ ปั ญหามันอยูท่ ี่จะแก้ อย่างไรก่อนที่คน จะไปเป็ นโรคนันและฆ่ ้ าตัวตาย” ดร. เพ็ชรัตน์กล่าวเสริ ม ด้ านผศ.ดร.ศิริรัตน์ จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เสริ ม ว่ า ทางแก้ ปั ญหาการฆ่ า ตั ว ตาย คื อ การท� ำ ให้ โครงสร้ างทางเศรษฐกิจมีความเท่าเทียมกัน “รัฐหรือเจ้ าหน้ าที่ ที่ เ กี่ ย วข้ องควรจะต้ องพิ จ ารณาว่ า จะแก้ ไขปั ญหา ความยากจนอย่างไร มีการกระจายรายได้ อย่างเป็ นธรรม จริ ง ไหม การสร้ างงานสร้ างอาชี พ ในชนบทเกิ ด ขึน้ จริ ง หรือเปล่า ข้ อสังเกตอันหนึง่ ก็คอื ว่า ไม่เคยมีเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ ไปวัดและประเมินผล ว่าสิง่ ที่ตวั เองคิดและท�ำนันออกดอก ้ ออกผลอย่างไร ประสบความส�ำเร็จแค่ไหน อะไรเป็ นปั ญหา หรื อ อุป สรรค ท� ำ ให้ โ ครงการที่ ช่ ว ยเหลื อ เกษตกรหรื อ คนยากจนนันไม่ ้ ประสบความส�ำเร็ จ” ผศ.ดร.ศิริรัตน์กล่าว

ผู้ เชี่ ยวชาญชี ้รั ฐแก้ ปห.ฆ่ าตั ว ตายที่ ปลายเหตุ แนะสร้ างอาชีพยั่งยืน ป้องกันจนแล้ วซึมเศร้ า กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ประกาศมาตรการเชิงรุก ป้องกันการฆ่าตัวตาย เนือ่ งในวันป้องกันการฆ่าตัวตายโลก (World Suicide Prevention Day) เมื่อวันที่ 10 กันยายน ที่ผ่านมา โดยปี นี ้ องค์การอนามัยโลกชูประเด็น ‘ป้องกัน การฆ่าตัวตาย ยื่นมือเพื่อช่วยชีวิต’ (Preventing Suicide: Reaching Out and Saving Lives) ในมาตรการเชิงรุ ก กรมสุข ภาพจิ ต จะระดมความร่ ว มมื อ จากทุก ภาคส่ ว น เน้ นท�ำงานกับสองกลุม่ เสี่ยงหลัก คือกลุม่ ที่มีภาวะซึมเศร้ า จากการประสบภาวะวิกฤตหรื อมีความสูญเสียทีร่ ุนแรงและ กลุ่ ม ฆ่ า ตั ว ตายด้ วยความหุ น หั น พลั น แล่ น โดยให้ อาสาสมัครและเจ้ าหน้ าที่ตรวจคัดกรองและลงเยี่ ย มบ้ า น ให้ ค�ำปรึ กษาแนะน� ำ และส่งต่อเข้ าสู่ระบบบริ การรั กษา โดยเร็ ว

นิสิตนักศึกษา I 15



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.