Bumrungrad International
บริ ษั ท โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ จำกั ด (มหาชน)
ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี
2 5 5 2
33 สุขุมวิท ซอย 3 กรุงเทพ 10110 โทรศัพท์ +66 (0) 2667 1000 โทรสาร +66 (0) 2667 2525 E-mail:ir@bumrungrad.com www.bumrungrad.com พิมพ์บนกระดาษรีไซเคิล
รายงานประจำปี 2552
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
สารบัญ สารจากประธานกรรมการ สารจากผู้อำนวยการด้านบริหารกลุ่ม ปีแห่งการพัฒนา ข้อมูลทางการเงิน
2 3 4 14
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป
15
คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน
16
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
20
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานการเงิน
21
งบการเงิน
22
สรุปสารสนเทศที่สำคัญ การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี
56 84
ปี สารจาก ประธานกรรมการ
2552 เป็ น ปี ที่ โ รงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ ก้ า วเข้ า สู่ ปี ที่ 30 พร้อมด้วยการเจริญเติบโตของธุรกิจอย่างต่อเนื่องตลอดระยะ เวลาที่ผ่านมา แม้ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจโลกในช่วงปี 2551-2552 จะเป็ น ช่ ว งที่ ท้ า ทายสำหรั บ ทุ ก ภาคธุ ร กิ จ โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ มี ความภาคภูมิใจที่สามารถผ่านพ้นวิกฤติในครั้งนี้ โดยมีผลประกอบการ เป็นกำไรสูงสุดในประวัติการณ์อีกครั้งหนึ่งในปี 2552 บทเรียนในช่วง วิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 และปี 2544 ทำให้ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ มีฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง กระแสเงินสดที่มั่นคง และแผนธุรกิจที่มุ่ง หาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ โดยยังคงรักษาความสำคัญของธุรกิจหลัก ระยะเวลาสามทศวรรษของโรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ นำมา ซึ่งพัฒนาการขององค์กรและความรู้เชิงลึกในอุตสาหกรรมทางการแพทย์ ซึ่ ง ทำให้ โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ โ ดดเด่ น และเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในอุตสาหกรรมนี้ และถึงแม้ว่าเรามีความตั้งใจที่จะรักษาอัตราการทำกำไร ให้ ค งเดิ ม หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ ยั ง คงมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะ ไม่ลดมาตรฐานการรักษาพยาบาลและการให้บริการแก่ผู้ป่วยทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ ความสำเร็จทั้งหมดนี้ มาจากคณะแพทย์ พนักงานนับพันคนของเรา ในแปดประเทศ ผู้ซึ่งเอาใจใส่ ในการให้บริการผู้ป่วยกว่าล้านคนในแต่ละปี และที่สำคัญที่สุดคือผู้ป่วยของเราที่ ได้มอบความไว้วางใจและสนับสนุน โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ ม าตลอดระยะเวลานั บ ทศวรรษ ในโอกาสนี้ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ขอขอบคุณทุกท่านจากใจจริง
นายชัย โสภณพนิช ประธานกรรมการ
ใ
สารจากผู้อำนวยการ ด้ า นบริหารกลุ่ม
นช่วงของภาวะวิกฤติ หลายๆ องค์กรเลือกที่จะชะลอการขยายกิจการ เพื่อรอให้ภาวะวิกฤตินั้นผ่านพ้นไป แต่สำหรับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ด้ ว ยประสบการณ์ ข องเราพิ สู จ น์ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า เวลาเช่ น นี้ เ ป็นเวลาที่เรา สามารถเข้าถึงส่วนแบ่งทางการตลาดได้ง่ายขึ้นและมีโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ดังนั้น เราจึงไม่ ได้หยุดนิ่ง ตลอดปี 2552 โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ได้ปรับปรุงและยกระดับผลิตภัณฑ์และบริการพร้อมทั้งพัฒนาสินทรัพย์ เพื่ออนาคตอย่างต่อเนื่อง ในปี 2552 การปรั บ ปรุ ง อาคารโรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ ด้ ว ย งบประมาณจำนวน 900 ล้านบาท แล้วเสร็จเป็นส่วนใหญ่ และภายในกลางปี 2553 โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์จะพร้อมให้บริการด้วยห้องพักผู้ป่วยและ คลิ นิ ก ผู้ ป่ ว ยนอกใหม่ ทั้ ง หมด รวมทั้ ง ศู น ย์ สู ติ - นรี เ วชและศู น ย์ ท างเดิ น อาหารและตับที่ ใหญ่ขึ้น ซึ่งจะทำให้ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์มีศักยภาพ พร้อมที่จะแข่งขันในช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจฟื้นตัวซึ่งเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2552 นอกจากนี้ บริษัทมีนโยบายที่จะใช้ประโยชน์จากแบรนด์และทรัพย์สิน ทางปัญญาเพื่อหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ บริษัท ไวทัลไลฟ์ จำกัด บริษัท ย่อยซึ่งให้บริการด้านเวชศาสตร์วัยยุวัฒน์ (Anti-aging) และศูนย์บริการ สุขภาพ (Wellness) ได้จัดตั้งหน่วยงานใหม่ภายใต้ชื่อ VitechPro เพื่อให้ บริการห้องปฏิบัติการด้วยเทคโนโลยีอันทันสมัย รวมทั้งบริการผลิตภัณฑ์ อาหารเสริม และบริการฝึกอบรมแก่บุคลากรในอุตสาหกรรมเวชศาสตร์ วัยยุวัฒน์ที่กำลังตื่นตัวทั้งในทวีปเอเชียและยุโรป นอกจากนี้ บริษัทได้จัดตั้ง บริษัท เอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช จำกัด เพื่อให้บริการด้านการวิจัยทางการ แพทย์ ใ นคุ ณ ลั ก ษณะเดี ย วกั น กั บ ที่ โ รงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ ไ ด้ น ำเสนอ ต่ออุตสาหกรรมทางการแพทย์ นั่นคือมาตรฐานระดับสากลในราคาเอเชีย สำหรับบริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัดและบริษัทในเครือ ยั ง คงมี น โยบายที่ จ ะหาแหล่ ง การลงทุ น ทั้ ง ในเอเชี ย และตะวั น ออกกลาง โดยใช้ประโยชน์จากแบรนด์ของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์เพื่อผลตอบแทน ของผู้ถือหุ้น ทั้ ง นี้ บริ ษั ท สามารถดำเนิ น การโครงการต่ า งๆ ซึ่ ง รวมถึ ง การ ปรั บ ปรุ ง โรงพยาบาลและการลงทุ น ใหม่ ไ ด้ จากกระแสเงิ น สดที่ มั่ น คง โดยสามารถคงอัตราการทำกำไรที่แข็งแกร่ง และไม่มีการกู้ยืมเพิ่มเติม สิ่งที่ ทำให้ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ต่างจากหลายๆ องค์กรก็คือ เราไม่มีการ ปรับลดจำนวนพนักงาน ซึ่งเราสามารถผ่านพ้นวิกฤติทางเศรษฐกิจมาได้ ด้ ว ยที ม งานที่ ค รบถ้ ว น ซึ่ ง มากด้ ว ยความสามารถ และสั่ ง สมด้ ว ย ประสบการณ์ อี ก หนึ่ ง ปี ที่ มี ค่ า พร้ อ มทั้ ง กำลั ง ใจจากความเชื่ อ มั่ น ที่ โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ ไ ด้ ให้ ไว้ กั บ บุ ค ลากรของเรา โดยในปี 2552 โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ได้รับการยกย่องในฐานะองค์กรที่น่าร่วมงานด้วย ที่สุดในอุตสาหกรรมทางการแพทย์ของประเทศไทย และได้รับการจัดอันดับ ให้ เ ป็ น โรงพยาบาลที่ แ พทย์ มี ค วามพึ ง พอใจมากที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของโลก เราเชื่ อ ว่ า จากทรั พ ยากรทั้ ง หลายที่ เ ราได้ ทุ่ ม เทพั ฒ นาในปี 2552 ทรัพยากรบุคคลเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดในการนำเราก้าวสู่อนาคต
นายเคอร์ติส เจ ชโรเดอร์ ผู้อำนวยการด้านบริหารกลุ่ม
ในปีที่ผ่านมา โรงพยาบาล บำรุงราษฎร์มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาต่างๆ เพิ่มขึ้น 139 ท่าน
ใ
นขณะที่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลกส่งผลให้หลายต่อหลายบริษัทต้องล้มเลิกแผน เพื่อรองรับการเจริญเติบโตในระยะยาว ชะลอโครงการต่างๆ ออกไป ลดจำนวน พนักงาน และลดมาตรฐานการให้บริการ แต่สำหรับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์แล้ว สถานภาพทางการเงิ น ที่ แ ข็ ง แกร่ ง ทำให้ เ ราสามารถเดิ น หน้ า ผลั ก ดั น กลยุ ท ธ์ ส ำคั ญ ให้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง ตั ว อย่ า งที่ ชั ด เจนที่ สุ ด ได้ แ ก่ การที่ แ พทย์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญที่ เ ป็ น เลิ ศ ให้ ค วามสนใจ ร่ ว มงานกั บ โรงพยาบาล ซึ่ ง เป็ น ผลให้ โ รงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ ส ามารถให้ บ ริ ก าร ในทุกแขนงสาขาของการรักษาที่ต้องการความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ
1,008 ปัจจุบันโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ให้บริการผู้ป่วยโดยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ กว่า 1,100 ท่าน ซึ่งครอบคลุมประมาณ 60 แขนงของการรักษา
2005
ส่วนหนึ่งของทีมแพทย์ที่เข้าร่วมงานกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ในปี 2552 จากซ้ายไปขวา: พญ. ภวรัตน์ แสงอร่าม (อายุรกรรมภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันทางคลินิก), นพ. นนท์ วัจนพรศาล (อายุรศาสตร์ - ผู้ป่วยวิกฤต), นพ. นำ ตันธุวนิตย์ (เวชศาสตร์ฟื้นฟู), พญ. วลัยลักษณ์ ชัยรัตน์ (เนื้องอกและโลหิตวิทยา) และ นพ. อนวัช เก้าเอี้ยน (อายุรกรรมโรคหัวใจ)
1,033
1,059
2006
2007
1,072
2008
1,174
2009
ผูป้ ว่ ยเลอื กโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เพราะวางใจในความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีและการรักษา
โ
รงพยาบาลบำรุงราษฎร์ มุ่งเน้นที่จะเป็นโรงพยาบาลที่ผู้ป่วยเลือกสำหรับโรคที่รุนแรง ผู้ ป่ ว ยทั้ ง ในประเทศไทยและจากทั่ ว โลกเหล่ า นี้ ต้ อ งการการรั ก ษาอย่ า งดี ที่ สุ ด สำหรั บ โรคที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นหรื อ มี ค วามเสี่ ย งถึ ง ชี วิ ต และจะพยายามทุ ก วิ ถี ท าง เพือ่ ค้นหาแพทย์ทมี่ คี วามเชีย่ วชาญ เทคโนโลยีการรักษาทีท่ นั สมัย และการให้บริการทีเ่ ป็นเลิศ ซึ่งผลของการดำเนินตามนโยบายข้างต้น ทำให้ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ได้รับ ความไว้วางใจจากผู้ป่วยในการรักษาโรคที่ซับซ้อน อาทิ โรคมะเร็งและโรคหัวใจ ซึ่งรายได้ จากการรักษาโรคเฉพาะทาง 5 ลำดับแรกคิดเป็น 1 ใน 3 ของรายได้ทั้งหมด
29% ผู้ป่วยจำนวนมากวางใจให้ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์รักษาโรค ที่ซับซ้อ น เพราะมั่ น ใจในเทคโนโลยีการแพทย์ที่ทันสมัย
2005
การฉายรังสีแบบระบบนำวิถี (IGRT) หนึ่งในเทคโนโลยีการรักษา อันทันสมัยที่ดึงดูดผู้ป่วยทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมาใช้บริการ ที่ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
31%
31%
2006
2007
32%
2008
33%
2009
ความก้าวหน้าและความสำเร็จ ของโครงการสำคัญ
ก
ารวางแผนระยะยาวเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการให้บริการด้านสุขภาพที่
ได้มาตรฐานสากลโดยที่ยังคงความคุ้มค่า ในปีที่ผ่านมา เราได้เห็นพัฒนาการ ของหลายโครงการที่ ส ำคั ญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความสามารถในการ ดูแลรักษาผู้ป่วยและการให้บริก าร ณ สิ้นปี 2552 ร้อยละ 80 ของห้องพักผู้ป่วยในของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ แล้ ว เสร็ จ โดยส่ ว นที่ เ หลื อ รวมถึ ง ศู น ย์ สู ติ - นรี เ วช และศู น ย์ ท างเดิ น อาหารและตั บ จะแล้วเสร็จประมาณกลางปี 2553
ณ สิ้นปี 2552 โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์มีห้องผู้ป่วยใน ที่ปรับปรุ ง ใหม่ แ ล้ ว เสร็จจำนวน 285 ห้อง
ห้องพักใหม่สำหรับผู้ป่วยใน ติดตั้งเครื่องมือทางการแพทย์ ที่ทันสมัยในบรรยากาศโอ่ โถงและโล่งสบาย
การสร้ า งแบรนด์ ให้ แ ข็ ง แกร่ ง และ หลากหลายจะสร้างคุณค่าในอนาคต
ใ
นปี 2552 โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ เพื่อตอบสนองความ
ต้องการและรองรับการเติบโตของกิจการทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เราได้ก่อตั้งศูนย์วิจัย Asia Global Research ขึ้นเพื่อบริหารโครงการวิจัยทางการแพทย์ต่างๆ โดยนำเอาความ พิ เ ศษเฉพาะของโรงพยาบาล คื อ ฐานผู้ ป่ ว ยชาวต่ า งชาติ แ ละความเชี่ ย วชาญทางการแพทย์ ที่ หลากหลายมาใช้ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ VitechPro เป็นการแปลงทรัพย์สินทางปัญญาของศูนย์สุขภาพ VitalLife ให้มีมูลค่ามากขึ้น โดยการเป็นผู้ ให้บริการด้านปฏิบัติการห้องแล็บและผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ ซึ่งเป็นตลาดที่มี การเติบโตสูงมากในระดับนานาชาติ บริ ษั ท บำรุ ง ราษฎร์ อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล จำกั ด ยั ง คงมุ่ ง ใช้ แ บรนด์ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง เพื่ อ ขยาย ศูนย์ ไตเทียม ภายใต้ชื่อ Asia Renal Care ใน 7 ประเทศทั่วภูมิภาคเอเชีย ขยายโรงพยาบาล เอเชี่ยนฮอสพิทอลในกรุงมะนิลาด้วยการสร้างอาคารสูง 14 ชั้น และความสำเร็จจากการบริหาร โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อัล มาฟรัคในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ นอกจากนี้ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ได้เปิดศูนย์รักษาโรคกระดูกสันหลัง เพื่อให้การรักษา ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยโดยทีมแพทย์ที่ ได้รับการฝึกอบรมจากต่างประเทศ และได้ขยายฐานสมาชิก ของ Healthy Living Club อย่างต่อเนื่อง เพื่อนำเสนอบริการชั้นเลิศและสร้างความผูกพัน ในกลุ่มผู้ป่วยชาวไทย
ในปี 2552 Healthy Living Club มีจำนวนสมาชิกกว่า 20,000 ราย
ศู น ย์ วิ จั ย Asia Global Research จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในปี 2552 เพื่อการค้นคว้าและวิจัยทางการแพทย์
บำรุ ง ราษฎร์ เพื่อสังคม ารุ ง ราษฎร์ ” หมายถึ ง ความใส่ ใ จในชุ ม ชน ดั ง นั้ น การเป็ น องค์ ก ร ที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมจึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ โ รงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ ให้ ค วามสำคั ญ อย่ า งยิ่ ง ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนต่ า งสละเวลา และทรัพยากรเพื่อสนับสนุนโครงการเพื่ อ การกุ ศ ลต่ า งๆ ทั่ ว ประเทศ ในปี ที่ ผ่ า นมา โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ แ ละพนั ก งานได้ ให้ ก ารสนั บ สนุ น และทำงาน ร่วมกับคลินิกเคลื่อนที่กองทุนทอมสัน โครงการรักษ์ ใจไทย และโครงการมูลนิธิที่อยู่อาศัย เพื่ อ มนุ ษ ย์ ช าติ (Habitat for Humanity) เพื่ อ พั ฒ นาชี วิ ต และความเป็ น อยู่ ข องเด็ ก และผู้ยากไร้ทั่วประเทศ
54 ในปี 2552 โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ได้ทำการผ่าตัดหัวใจเพื่อรักษาผู้ป่วย ซึ่งเป็นเด็กยากไร้จำนวน 103 คนโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ โรงพยาบาลได้ ผ่าตัดหัวใจเพื่อการกุศลให้กับผู้ป่วยมาแล้ว 365 รายในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา
2005
ผู้บริหารและพนักงานของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ร่วมสนับสนุน โครงการมูลนิธิที่อยู่อาศัยเพื่อมนุษย์ ช าติ ข องอดี ต ประธานาธิ บ ดี จิ ม มี่ คาร์ เ ตอร์ และนางโรสลีน ภริยา ซึ่ ง สร้ า งบ้ า นให้ กั บ 82 ครอบครัวในภาคเหนือของประเทศไทยในปี 2552
128
209
2006
2007
262
2008
365
2009
ข้อมูล ทางการเงิน
14
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
ผลการดำเนินงานรวม (พันบาท) สินทรัพย์หมุนเวียนรวม สินทรัพย์รวม หนี้สินหมุนเวียนรวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น รายได้รวม ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษัทร่วม กำไรสุทธิก่อนรายการพิเศษ กำไรสุทธิสำหรับปี กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรต่อหุ้นปรับลด มูลค่าตามบัญชีขั้นพื้นฐาน มูลค่าตามบัญชีปรับลด เงินปันผลต่อหุ้น อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากำไรขั้นต้น (%) อัตรากำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่า ตัดจำหน่าย (EBITDA Margin) (%) อัตรากำไรสุทธิก่อนรายการพิเศษ (%) อัตรากำไรสุทธิ (%) อัตราการเติบโตของรายได้จากกิจการโรงพยาบาล (%) อัตราการเติบโตของกำไรสุทธิก่อนรายการพิเศษ (%) อัตราการเติบโตของกำไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนเงินกู้ยืมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนเงินกู้ยืมสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราความสามารถชำระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน) ระยะเวลาชำระหนี้ (วัน)
2552
2551
2550
2549
1,141,576 8,104,244 2,122,861 3,238,883 4,865,361 8,881,829
1,410,552 7,459,163 1,774,840 3,110,141 4,349,023 8,558,735
1,629,054 6,622,894 1,571,898 2,994,347 3,628,547 7,887,754
38.3
38.5
37.6
37.6
24.2 24.3 24.2 24.7 13.3 13.3 13.3 13.9 13.3 13.3 17.0 13.9 5.1 3.7 8.8 15.1 4.6 4.0 4.5 4.1 4.6 -25.7 46.3 4.1 24.1 25.9 40.2 34.7 14.9 15.3 22.8 17.7 0.57 0.67 0.72 0.91 0.30 0.39 0.41 0.54 0.23 0.31 0.28 0.27 24.83 18.83 18.73 17.70 0.80 0.54 0.79 1.04 26.67 25.65 26.05 22.01 12.54 13.23 13.00 11.92 33.29 34.00 37.02 39.06
24.5 15.5 15.5 16.9 20.9 12.6 44.3 19.6 1.16 0.68 0.39 15.57 0.70 17.55 11.04 38.98
1,331,835 8,566,992 1,664,381 3,094,381 5,472,611 9,337,856 47,244 43,248 854,388 7,764 1,245,648 1,191,047 1,144,715 1,095,702 1,245,648 1,191,047 1,603,258 1,095,702 1.71 1.64 2.20 1.51 1.44 1.37 1.85 1.26 7.51 6.68 5.97 4.51 6.31 5.61 5.01 3.79 0.85 0.80 0.80 0.75
38.8
2548 1,103,842 5,727,518 1,580,758 3,031,729 2,695,789 6,803,615 3,160 1,052,739 1,052,739 1.45 1.21 3.59 3.01 0.75
15
รายงานประจำปี 2552
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน
บริษทั โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) รายงานผลการดำเนินงานของปี 2552 โดยมีรายได้ 9,338 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5 จาก 8,882 ล้านบาท ในปี 2551 บริษัทมีกำไรสุทธิ 1,246 ล้านบาทในปี 2552 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากกำไรสุทธิ 1,191 ล้านบาทในปี 2551 ทั้งนี้ รายละเอียดของคำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานมีดังต่อไปนี้ 1. งบกำไรขาดทุน ในปี 2552 บริษัทมีรายได้จากกิจการโรงพยาบาล 9,069 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จาก 8,629 ล้านบาทในปี 2551 เนื่องจากการ เติบโตอย่างต่อเนื่องของกิจการโรงพยาบาล โดยรายได้จากผู้ป่วยในเพิ่มขึ้นร้อยละ 6 และรายได้จากผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 รายได้อื่นเพิ่มขึ้นเป็น 97 ล้านบาทในปี 2552 จาก 87 ล้านบาทในปี 2551 จากการขายสมาชิกโครงการ “Healthy Living Club” ซึ่งเริ่มเมื่อเดือนมิถุนายน 2551 รวมทั้งรายได้จากร้านอาหาร “the Mezz” ซึ่งเริ่มเปิดให้บริการในอาคารบำรุงราษฎร์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล คลินกิ ในเดือนพฤษภาคม 2551 เช่นกัน รายได้รวมในปี 2552 เท่ากับ 9,338 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5 จาก 8,882 ล้านบาท ในปี 2551 เพิ่มขึ้นในอัตราเดียวกับการเพิ่มขึ้นของรายได้จากกิจการโรงพยาบาล บริษัทมีต้นทุนกิจการโรงพยาบาล 5,553 ล้านบาท ในปี 2552 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 จาก 5,324 ล้านบาทในปี 2551 เพิ่มขึ้นในอัตราที่ ต่ำกว่าการเพิ่มขึ้นของรายได้จากกิจการโรงพยาบาลเนื่องจากการควบคุมต้นทุนอย่างต่อเนื่องทั้งปี ดังนั้น กำไรขั้นต้นของบริษัทเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 6 เป็น 3,516 ล้านบาทในปี 2552 จาก 3,305 ล้านบาทในปี 2551 และมีอัตรากำไรขั้นต้นอยู่ที่ 38.8% ในปี 2552 ดีขึ้นเมื่อ เทียบกับ 38.3% ในปี 2551 ค่าใช้จ่ายในการบริหารของบริษัทในปี 2552 อยู่ที่ 1,416 ล้านบาท เทียบกับ 1,311 ล้านบาทในปี 2551 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8 ซึ่ง สูงกว่าการเพิ่มขึ้นของรายได้ เนื่องจากค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับบริษัทในเครือที่จัดตั้งใหม่ คือ บริษัทเอเชีย โกลเบิล เฮลธ์ จำกัด และ บริษัทเอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช จำกัด ดังนั้น กำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (EBITDA) เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 เป็น 2,258 ล้านบาทในปี 2552 จาก 2,155 ล้านบาทในปี 2551 ส่วนอัตรากำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัด จำหน่าย (EBITDA margin) อยู่ในอัตราใกล้เคียงเดิม ที่ 24.2% ในปี 2552 เทียบกับ 24.3% ในปี 2551 ในปี 2552 บริษัทมีค่าเสื่อมราคาและตัดจำหน่าย 539 ล้านบาท มากกว่า 459 ล้านบาทในปี 2551 ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 17 เนื่องจากการเปิดอาคารบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล คลินิก ในเดือนพฤษภาคม 2551 และการทยอยปรับปรุงห้องผู้ป่วย ซึ่งเริ่มใน เดือนกุมภาพันธ์ 2551 ค่าใช้จ่ายทางการเงินลดลงเป็น 91 ล้านบาทในปี 2552 เทียบกับ 114 ล้านบาทในปี 2551 จากการลดลงของ ยอดเงินกูย้ มื ก่อนการ refinance และอัตราดอกเบีย้ ทีล่ ดลง บริษทั มีภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 444 ล้านบาทในปี 2552 เทียบกับ 440 ล้านบาท ในปี 2551 ซึ่งคิดเป็นอัตราภาษี 27.1% ในปี 2552 และ 27.4% ในปี 2551 อัตราภาษีดังกล่าว ต่ำกว่าปกติเล็กน้อย เนื่องจากบริษัทได้ ประโยชน์จากการประหยัดภาษีจากกรมสรรพากร ซึ่งให้บริษัทสามารถนำ 25% ของเงินลงทุนในสินทรัพย์ที่เข้าเกณฑ์มาคำนวณเป็น ค่าใช้จ่ายเพื่อหักภาษีได้ บริษัทมีส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษัทร่วมจำนวน 47 ล้านบาทในปี 2552 เทียบกับ 43 ล้านบาทในปี 2551 ซึ่งส่วนแบ่งกำไร 47 ล้านบาทในปี 2552 ประกอบด้วยส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 43 ล้านบาท และส่วนแบ่งกำไรจากบริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด 4 ล้านบาท ซึ่งการลดลงของส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทบำรุงราษฎร์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จำกัดเป็น 43 ล้านบาทในปี 2552 จาก 65 ล้านบาทในปี 2551เป็นผลมาจากการปรับรายการทางบัญชีประมาณ -23 ล้านบาท ในไตรมาส 4 ปี 2552 ซึ่งเป็นการด้อยค่าของค่าความนิยมของคลินิกในประเทศญี่ปุ่นของ Asia Renal Care (ARC) จากการที่บัญชี ของคลินกิ ดังกล่าว ไม่ได้รวมอยูใ่ นบัญชีของ ARC อีกต่อไป และการด้อยค่าของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของบริษทั บำรุงราษฎร์ อินเตอร์ เนชั่นแนล จำกัด หักด้วยการเปลี่ยนวิธีการบันทึกบัญชีของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของกลุ่ม Asian Hospital ในประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเมื่อไม่ รวมการปรับรายการทางบัญชีดงั กล่าว ส่วนแบ่งกำไรจากการดำเนินงานของบริษทั บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด อยูใ่ กล้เคียงเดิม
16
รายได้จากกิจการโรงพยาบาล รายได้รวม กำไรขั้นต้น อัตรากำไรขั้นต้น กำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (EBITDA) อัตรากำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (EBITDA Margin) ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษัทร่วม กำไรสุทธิ อัตรากำไรสุทธิ กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรต่อหุ้นแบบปรับลด
9,069 9,338 3,516 38.8% 2,258 24.2% 47 1,246 13.3% 1.71 1.44
8,629 8,882 3,305 38.3% 2,155 24.3% 43 1,191 13.3% 1.64 1.37
5% 5% 6% 5% 9% 5% 5% 5%
2. งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีสินทรัพย์หมุนเวียน 1,332 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 1,142 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จากการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้การค้า เป็น 658 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จาก 494 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 โดย ส่วนมากเป็นการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้จากตะวันออกกลาง และการเพิ่มขึ้นของสัญญาประกันต่างประเทศ เป็นผลให้จำนวนวันเก็บหนี้ เฉลี่ยเพิ่มขึ้น เป็น 26.7 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เทียบกับ 25.6 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น เป็น 7,235 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จาก 6,963 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เป็น 5,667 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จาก 5,374 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จากการเพิ่ม ขึ้นของสินทรัพย์จากการปรับปรุงห้องผู้ป่วย ดังนั้นบริษัทมีสินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น เป็น 8,567 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จาก 8,104 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
17
รายงานประจำปี 2552
ที่ 67 ล้านบาทในปี 2552 เทียบกับ 65 ล้านบาทในปี 2551 สำหรับบริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด ส่วนแบ่งกำไรเพิ่มขึ้นมาก เป็น 4 ล้านบาทในปี 2552 เทียบกับส่วนแบ่งขาดทุน 22 ล้านบาทในปี 2551 ซึ่งเป็นการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนของจำนวนเงินจาก การขายสินทรัพย์ให้กับกลุ่มไมโครซอฟท์เป็นเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ตั้งแต่ไตรมาส 4 ปี 2550 ที่ยังไม่ได้รับชำระ เนื่องจากการแข็งค่า ของเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินเหรียญสหรัฐ ส่วนในปี 2552 บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด มีส่วนแบ่งกำไรเล็กน้อย จำนวน 4 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทได้หยุดดำเนินกิจการชั่วคราว จากที่กล่าวมาข้างต้น บริษัทมีกำไรสุทธิ 1,246 ล้านบาทในปี 2552 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จาก 1,191 ล้านบาทในปี 2551 และอัตรา กำไรสุทธิอยู่ในระดับคงที่ ที่ 13.3% ทั้งปี 2552 และ 2551 บริษัทมีกำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 1.71 บาทในปี 2552 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จาก 1.64 บาทในปี 2551 เช่นเดียวกัน ในปี 2552 กำไรต่อ หุ้นแบบปรับลดอยู่ที่ 1.44 บาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จาก 1.37 บาทในปี 2551 (หน่วย: ล้านบาท) 2552 2551 Growth
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัทมีหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวน 3,094 ล้านบาท ลดลงจาก 3,239 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เนื่องจากการลดลงของเงินกู้ยืมที่มีการจ่ายดอกเบี้ย (เงินกู้ยืมระยะสั้น + เงินกู้ยืมระยะยาวรวมส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี) เป็น 1,620 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จาก 1,885 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ในปี 2552 บริษทั ได้จา่ ยคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวทั้งหมดให้กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง จำนวน 1,685 ล้านบาท โดยได้ refinance กับสถาบันการเงินอีกแห่งหนึ่งเป็นจำนวน 1,430 ล้านบาทในเดือนตุลาคม 2552 นอกจากนัน้ บริษทั มีวงเงินกูร้ ะยะยาวเพิม่ ขึน้ อีก 800 ล้านบาท โดยทัง้ สองวงเงินมีระยะเวลากู้ 7 ปี โดยมี grace period 2 ปี อัตราดอกเบีย้ MLR - 1.50% ซึง่ ต่ำกว่าเดิม 0.25% นอกจากนี้ บริษทั มีวงเงินกูร้ ะยะสัน้ เพิม่ ขึน้ เป็น 600 ล้านบาท ด้วยจำนวนเงินกู้และฐานะเงินสดที่ใกล้เคียงเดิม และส่วนของผู้ถือหุ้นที่เพิ่มขึ้น อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุน (Net debt to equity) ลดลงเป็น 0.23 เท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จาก 0.31 เท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 อัตราความสามารถในการชำระดอกเบี้ย ของบริษัทเพิ่มขึ้นเป็น 24.8 เท่าในปี 2552 จาก 18.8 เท่าในปี 2551 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั เพิม่ ขึน้ เป็น 5,473 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จาก 4,865 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จากกำไรสุทธิในปี 2552 จำนวน 1,246 ล้านบาท หักด้วยเงินปันผลจ่าย 584 ล้านบาท อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์เฉลี่ย (Average ROA) ในปี 2552 อยู่ที่ 14.9% และอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (Average ROE) ยังคงสูงอยู่ที่ 24.1% ในปี 2552 ในส่วนของทุนหมุนเวียน บริษัทมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น เป็น 26.7 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จาก 25.6 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จากการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้จากตะวันออกกลาง และสัญญาประกันต่างประเทศ ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ยของบริษัท ลดลงเล็กน้อย เป็น 12.5 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เมื่อเทียบกับ 13.2 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ส่วนระยะเวลาชำระหนี้ เร็วขึ้นเล็กน้อย เป็น 33.3 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จาก 34.0 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (หน่วย: ล้านบาท) 2552 2551 Growth
สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน) ระยะเวลาชำระหนี้เฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุน (Net Debt to Equity) (เท่า) อัตราความสามารถชำระดอกเบี้ย (Interest Coverage Ratio) (เท่า) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์เฉลี่ย (Average ROA) (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (Average ROE) (%)
8,567 3,094 5,473 26.7 12.5 33.3 0.23 24.8 14.9 24.1
8,104 3,239 4,865 25.6 13.2 34.0 0.31 18.8 15.3 25.9
6% -4% 12%
3. สภาพคล่อง ในปี 2552 บริษัทมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน จำนวน 1,707 ล้านบาท ใกล้เคียงกับ 1,762 ล้านบาท ในปี 2551 กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนลดลงเป็น 824 ล้านบาทในปี 2552 จาก 1,440 ล้านบาท ในปี 2551 เนื่องจากในปี 2551 บริษัทมี การจ่ายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และจ่ายชำระเจ้าหนี้งานก่อสร้างและอุปกรณ์การแพทย์ ซึ่งเป็นการซื้ออาคารบีเอช ทาวเวอร์ การ ก่อสร้างอาคาร บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล คลินิก และการซื้ออุปกรณ์การแพทย์ บริษัทมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน 881 ล้านบาทในปี 2552 เทียบกับ 488 ล้านบาทในปี 2551 จากการจ่ายเงินกู้ยืมระยะยาวคืนตามกำหนดของสัญญาเงินกู้เดิมในปี 2552 เป็นผลให้บริษทั มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวดอยูท่ ี่ 387 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เทียบกับ 385 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
18
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า)
1,707 -824 -881 2 387 0.80 0.63
1,762 -1,440 -488 -165 385 0.54 0.41
19
รายงานประจำปี 2552
อัตราส่วนสภาพคล่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้น อยู่ที่ 0.80 เท่า จาก 0.54 เท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เนื่องจาก การเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์หมุนเวียน จากการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้การค้า พร้อมทั้งการลดลงของหนี้สินหมุนเวียน จากการที่ไม่มีเงินกู้ยืม ระยะยาวทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ปี เนือ่ งจากเงินกูย้ มื ระยะยาวใหม่ ซึง่ บริษทั refinance ในเดือนตุลาคม 2552 มี grace period เป็นเวลาสองปีเช่นเดียวกัน ส่วนอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้นเป็น 0.63 เท่า เทียบกับ 0.41 เท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้การค้า (หน่วย: ล้านบาท) 2552 2551
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบด้วยกรรมการบริษัทที่ เป็นกรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน โดยมีนางสาวโสภาวดี อุตตโมบล เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา และ นายสรดิษ วิญญรัตน์ เป็นกรรมการตรวจสอบ และนางทวิชา ตัณสถิตย์เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หน้าที่และความรับผิดชอบ ที่สำคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ ได้แก่ การสอบทานรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน ระบบ การจัดการความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งการพิจารณารายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในปี พ.ศ. 2552 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง โดยมีกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมครบถ้วนทุกครั้ง ทั้งนี้ เพื่อดำเนินงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ โดยมีประเด็นที่เป็นสาระสำคัญดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย ก่อนนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ จากการสอบทานงบการเงินและซักถาม ข้อมูลจากฝ่ายบริหาร รวมทั้งการเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหาร และการพิจารณาข้อเสนอแนะของผู้สอบบัญชี ในหนังสือของผู้สอบบัญชีถึงฝ่ายบริหาร (Management Letter) คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่างบการเงินดังกล่าวได้ จัดทำอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นที่เชื่อถือได้ 2. สอบทานและประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษัทมีระบบการ ควบคุมภายในที่เหมาะสม มีประสิทธิผล และเพียงพอที่จะช่วยลดความเสี่ยงของบริษัทให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และสามารถ ช่วยให้การดำเนินงานของบริษัทบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้ 3. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมี ความเห็นว่าบริษัทไม่มีการปฏิบัติที่ฝ่าฝืนกฎหมายใดๆ อันอาจกระทบต่อชื่อเสียงและฐานะการเงินของบริษัทอย่างมีนัยสำคัญ 4. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระ ได้แก่ นางสาว วิสสุตา จริยธนากร จากบริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ให้เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทและเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายงานที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การทำรายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. พิจารณาอนุมัติแผนงานตรวจสอบภายใน ซึ่งกำหนดให้มีความสอดคล้องกับลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทรวมถึงนโยบาย แผนงาน กระบวนการทำงาน และความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจของบริษัท 7. พิจารณาอนุมัติงบประมาณค่าใช้จ่ายประจำปี และอัตรากำลังคนของฝ่ายตรวจสอบภายใน โดยอนุมัติให้สรรหาและว่าจ้าง บุคลากรในตำแหน่งผู้จัดการเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งอัตรา เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจของบริษัท 8. พิจารณา คัดเลือก และว่าจ้างสำนักงาน ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอฟเอเอส จำกัด ให้ดำเนินการตรวจสอบระบบการควบคุม ภายในสำหรับระบบสารสนเทศของบริษัท (Information Technology General Controls) 9. ส่งเสริมให้กรรมการตรวจสอบได้พัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง โดยการเข้ารับการฝึกอบรม รวมถึงการศึกษามาตรฐานการรายงาน ทางการเงินระหว่างประเทศ หรือ International Financial Reporting Standards (IFRS) ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ในปี 2554 ทั้งนี้ เพื่อ ให้มีความรู้เพียงพอที่จะสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ 10. พิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยตนเอง (Self-assessment) เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทโดยมีความเห็นว่า กรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงานตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบอย่างเหมาะสมแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทด้วยความระมัดระวัง อย่างเต็มความสามารถ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของบริษัทผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทั้งปวง
นางสาวโสภาวดี อุตตโมบล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553
20
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานการเงิน
คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อย และสารสนเทศที่ปรากฏในรายงานประจำปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปโดยเลือกใช้นโยบายการบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ โดย จัดทำขึ้นอย่างระมัดระวังตลอดจนประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม รวมทั้งมีการเปิดเผย ข้อมูลอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูลทางบัญชีมีการบันทึก อย่างครบถ้วน ถูกต้อง และมีระบบการจัดเก็บรักษาทรัพย์สิน เพื่อป้องกันการทุจริตหรือเสียหายอย่างมีสาระสำคัญ คณะกรรมการมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถสร้างความเชื่อมั่นต่อ ความเชื่อถือได้ของงบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
นายชัย โสภณพนิช ประธานกรรมการ
นางลินดา ลีสหะปัญญา กรรมการผู้จัดการ
21
รายงานประจำปี 2552
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รายงาน และงบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
22
เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของ ผู้ถือหุ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหาร ของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็น ต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบ หลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการ ใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสม ของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการ แสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยและเฉพาะของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
วิสสุตา จริยธนากร ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3853
บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 24 กุมภาพันธ์ 2553
23
รายงานประจำปี 2552
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินทดรองแก่พนักงานและกรรมการ สินค้าคงเหลือ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนในบริษัทร่วม - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
หมายเหตุ 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
24
งบการเงินรวม 2552 2551 386,640,580 384,641,789 657,907,917 494,121,990 14,583,449 8,797,038 5,832,612 8,785,621 198,878,672 187,974,998 65,998,241 52,243,447 1,993,569 5,010,939 1,331,835,040 1,141,575,822 - 17,146,800 - - 7,215,269 6,085,265 1,257,158,363 1,234,931,024 2,247,213 2,247,213 5,666,942,245 5,373,730,959 285,629,145 310,364,085 15,964,695 18,162,783 7,235,156,930 6,962,668,129 8,566,991,970 8,104,243,951
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 333,440,463 350,881,453 651,744,575 492,376,167 17,512,015 8,797,038 5,803,578 8,785,621 189,709,546 184,131,025 59,576,817 51,715,907 614,811 4,702,592 1,258,401,805 1,101,389,803 - 8,792,400 1,214,114,738 1,172,512,972 7,267,470 6,119,970 1,013,453,313 1,013,453,313 2,047,213 2,047,213 4,728,437,298 4,412,801,934 314,760,370 343,423,294 18,603,210 21,162,784 7,298,683,612 6,980,313,880 8,557,085,417 8,081,703,683
รายงานประจำปี 2552
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบดุล (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
งบการเงินรวม หมายเหตุ 2552 2551 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 16 190,000,000 200,000,000 เจ้าหนี้การค้า 522,672,469 504,341,232 เจ้าหนี้งานก่อสร้างและอุปกรณ์การแพทย์ 27,409,212 77,127,082 เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 7 - 2,015,049 เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี 7 - - เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี 17 - 569,279,069 ค่าธรรมเนียมแพทย์ค้างจ่าย 329,566,815 262,460,716 692,219 564,859 ดอกเบี้ยค้างจ่าย 11,575,343 11,575,343 ดอกเบี้ยค้างจ่าย - หุ้นกู้แปลงสภาพที่ถือเป็นตราสารทุน ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 209,859,207 195,479,980 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 305,970,543 260,094,311 เจ้าหนี้อื่น 13,371,696 16,098,005 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 53,182,860 23,825,155 1,664,381,364 2,122,860,801 รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 7 - - เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 17 1,430,000,000 1,116,021,802 1,430,000,000 1,116,021,802 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 3,094,381,364 3,238,882,603 รวมหนี้สิน
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 190,000,000 200,000,000 514,421,007 502,592,696 27,490,212 77,127,082 1,725,809 3,683,026 - 438,029,068 - 131,250,000 342,266,815 261,310,716 692,219 312,842 11,575,343 11,575,343 208,434,232 193,045,798 302,219,595 258,020,607 12,958,736 15,773,332 48,619,138 23,420,748 1,642,403,106 2,116,141,258 219,827,068 501,207,360 1,430,000,000 787,500,000 1,649,827,068 1,288,707,360 3,292,230,174 3,404,848,618
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
25
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบดุล (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
งบการเงินรวม หมายเหตุ 2552 2551 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 19 ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 920,954,935 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2551: หุ้นสามัญ 920,919,935 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) 920,954,935 920,919,935 หุ้นบุริมสิทธิ 1,747,750 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2551: หุ้นบุริมสิทธิ 1,782,750 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) 1,747,750 1,782,750 ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ 728,304,472 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2551: หุ้นสามัญ 728,269,472 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) 728,304,472 728,269,472 หุ้นบุริมสิทธิ 1,747,750 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2551: หุ้นบุริมสิทธิ 1,782,750 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) 1,747,750 1,782,750 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 285,568,300 285,568,300 ส่วนเกินทุนอื่นของบริษัทร่วม 252,172,534 252,172,534 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน (75,451,261) (53,479,292) หุ้นกู้แปลงสภาพที่ถือเป็นตราสารทุน 18 550,000,000 550,000,000 ส่วนเกินมูลค่าเงินลงทุนที่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชี ของบริษัทย่อย (192,661,558) (192,661,558) กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย 20 92,275,000 92,275,000 ยังไม่ได้จัดสรร 3,830,655,369 3,201,434,142 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 5,472,610,606 4,865,361,348 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 8,566,991,970 8,104,243,951 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
26
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 920,954,935 920,919,935 1,747,750 1,782,750 728,304,472 728,269,472 1,747,750 1,782,750 285,568,300 285,568,300 - - - - 550,000,000 550,000,000 - - 92,275,000 92,275,000 3,606,959,721 3,018,959,543 5,264,855,243 4,676,855,065 8,557,085,417 8,081,703,683
รายงานประจำปี 2552
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 รายได้ รายได้จากกิจการโรงพยาบาล รายได้ค่าเช่า ดอกเบี้ยรับ กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน รายได้เงินปันผลจากบริษัทร่วม รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนกิจการโรงพยาบาล ค่าเสื่อมราคาและตัดจำหน่าย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (โอนกลับ) ค่าตอบแทนผู้บริหาร รวมค่าใช้จ่าย กำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษทั ร่วมสุทธิ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคล กำไรสุทธิสำหรับปี หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุ 7 7 7, 12.2 7 7 14, 15 7 14 11.2, 12.2 7 22
งบการเงินรวม 2552 2551 9,068,932,457 8,629,431,002 131,771,746 127,882,990 1,612,475 6,273,193 38,679,713 31,544,727 - - 96,859,389 86,696,905 9,337,855,780 8,881,828,817 5,553,191,439 5,324,432,431 539,265,272 459,363,374 1,415,612,025 1,310,742,108 (13,641,982) - 109,690,718 85,213,663 7,604,117,472 7,179,751,576 1,733,738,308 1,702,077,241 47,244,233 43,247,889 (90,934,499) (114,427,819) 1,690,048,042 1,630,897,311 (444,399,602) (439,850,701) 1,245,648,440 1,191,046,610
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 8,966,093,848 8,560,815,107 160,123,562 154,407,401 1,378,590 5,856,178 38,793,644 31,544,307 - 437,927,000 93,013,744 86,496,906 9,259,403,388 9,277,046,899 5,510,961,955 5,303,081,983 482,616,962 403,559,695 1,448,722,697 1,378,700,153 (13,641,982) 143,010,644 94,076,510 82,028,663 7,522,736,142 7,310,381,138 1,736,667,246 1,966,665,761 - - (96,355,541) (123,830,878) 1,640,311,705 1,842,834,883 (435,884,314) (428,063,144) 1,204,427,391 1,414,771,739
27
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำไรขาดทุน (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิสำหรับปี จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (หุ้น) กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสุทธิสำหรับปี จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (หุ้น) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
28
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2552 2551 2552 2551 23 1.71 1.64 1.65 1.94 728,297,760 728,256,168 728,297,760 728,256,168 23 1.44 1.37 1.39 1.63 867,414,859 867,414,859 867,414,859 867,414,859
29
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี ้
รวม 4,349,022,575 (63,464,571) (22,842,466) (4,376,462) (90,683,499) 1,191,046,610 1,100,363,111 (584,024,338) - 4,865,361,348 4,865,361,348 (21,971,969) (32,500,000) (54,471,969) 1,245,648,440 1,191,176,471 (583,927,213) - 5,472,610,606 -
(หน่วย: บาท)
รายงานประจำปี 2552
งบการเงินรวม ส่วนเกินมูลค่า ผลต่างจากการ หุ้นกู้แปลงสภาพ เงินลงทุนที่สูงกว่า กำไรสะสม ทุนเรือนหุ้นที่ออกและชำระแล้ว ส่วนเกิน ส่วนเกินทุนอื่น แปลงค่างบการเงิน ที่ถือเป็น มูลค่าตามบัญชี จัดสรรแล้ว หมายเหตุ หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ มูลค่าหุ้นสามัญ ของบริษัทร่วม ของบริษัทร่วม ตราสารทุน ของบริษัทย่อย สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร 728,202,772 1,849,450 285,568,300 256,548,996 9,985,279 550,000,000 (192,661,558) 92,275,000 2,617,254,336 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน - - - - (63,464,571) - - - - ดอกเบี้ยจ่ายสำหรับหุ้นกู้แปลงสภาพ 18 - - - - - - - - (22,842,466) ที่ถือเป็นตราสารทุน การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น - - - (4,376,462) - - - - - ส่วนน้อยในบริษัทย่อยของบริษัทร่วม - - - (4,376,462) (63,464,571) - - - (22,842,466) รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - - - - 1,191,046,610 - - - (4,376,462) (63,464,571) - - - 1,168,204,144 รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี เงินปันผลจ่าย 26 - - - - - - - - (584,024,338) แปลงหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ 19 66,700 (66,700) - - - - - - - 728,269,472 1,782,750 285,568,300 252,172,534 (53,479,292) 550,000,000 (192,661,558) 92,275,000 3,201,434,142 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 728,269,472 1,782,750 285,568,300 252,172,534 (53,479,292) 550,000,000 (192,661,558) 92,275,000 3,201,434,142 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน - - - - (21,971,969) - - - - ดอกเบี้ยจ่ายสำหรับหุ้นกู้แปลงสภาพ 18 - - - - - - - - (32,500,000) ที่ถือเป็นตราสารทุน - - - - (21,971,969) - - - (32,500,000) รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - - - - 1,245,648,440 - - - - (21,971,969) - - - 1,213,148,440 รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี เงินปันผลจ่าย 26 - - - - - - - - (583,927,213) แปลงหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ 19 35,000 (35,000) - - - - - - - 728,304,472 1,747,750 285,568,300 252,172,534 (75,451,261) 550,000,000 (192,661,558) 92,275,000 3,830,655,369 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - - - - - - - - -
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
30
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ กำไรสะสม ทุนเรือนหุ้นที่ออกและชำระแล้ว ส่วนเกิน หุ้นกู้แปลงสภาพ จัดสรรแล้ว หมายเหตุ หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ มูลค่าหุ้นสามัญ ที่ถือเป็นตราสารทุน สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 728,202,772 1,849,450 285,568,300 550,000,000 92,275,000 2,211,050,608 3,868,946,130 ดอกเบี้ยจ่ายสำหรับหุ้นกู้แปลงสภาพ ที่ถือเป็นตราสารทุน - - - - - (22,842,466) (22,842,466) รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - - - - (22,842,466) (22,842,466) กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - 1,414,775,739 1,414,775,739 รวมรายได้ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี - - - - - 1,391,933,273 1,391,933,273 เงินปันผลจ่าย 26 - - - - - (584,024,338) (584,024,338) แปลงหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ 19 66,700 (66,700) - - - - - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 728,269,472 1,782,750 285,568,300 550,000,000 92,275,000 3,018,959,543 4,676,855,065 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 728,269,472 1,782,750 285,568,300 550,000,000 92,275,000 3,018,959,543 4,676,855,065 ดอกเบี้ยจ่ายสำหรับหุ้นกู้แปลงสภาพ ที่ถือเป็นตราสารทุน - - - - - (32,500,000) (32,500,000) รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - - - - (32,500,000) (32,500,000) กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - 1,204,427,391 1,204,427,391 รวมรายได้ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี - - - - - 1,171,927,391 1,171,927,391 เงินปันผลจ่าย 26 - - - - - (583,927,213) (583,927,213) แปลงหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญ 19 35,000 (35,000) - - - - - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 728,304,472 1,747,750 285,568,300 550,000,000 92,275,000 3,606,959,721 5,264,855,243 - - - - - 0 0 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ปรับกระทบกำไรก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน : ค่าเสื่อมราคาและตัดจำหน่าย ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (โอนกลับ) หนี้สูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการจำหน่ายอุปกรณ์ เงินปันผลรับจากบริษัทร่วม ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค่าธรรมเนียมแพทย์ค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินรวม 2552 2551 1,690,048,042 1,630,897,311 459,363,374 539,265,272 (13,641,982) - 48,062,153 16,352,765 4,595,482 2,029,764 - - 17,494 34,706 (47,261,727) (43,282,595) 78,351,083 114,427,819 2,267,726,429 2,211,532,532 (180,138,692) 48,122,548 (5,786,411) (1,657,451) (10,903,674) 15,508,804 (10,737,424) (8,967,296) 18,331,237 2,992,027 (2,015,049) - 67,106,099 (30,089,537) 45,876,232 111,404,455 (3,164,772) (13,968,185) 29,357,705 (17,231,930) 2,215,651,680 2,317,645,967 (78,223,722) (114,954,595) (430,020,375) (440,287,079) 1,707,407,583 1,762,404,293
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 1,640,311,705 1,842,834,883 482,616,962 403,559,695 (13,641,982) 143,010,644 14,716,494 46,844,991 4,597,182 2,029,764 - (437,927,000) - - - - 88,152,416 123,830,878 2,216,752,777 2,124,183,855 (174,084,902) 48,865,057 (8,714,977) (1,573,005) (5,578,521) 15,698,806 (3,773,129) (9,410,878) 11,828,311 3,270,932 (1,957,217) 1,667,977 62,956,099 (30,415,444) 44,198,988 110,111,440 (3,253,060) (14,218,883) 25,198,390 (16,839,122) 2,163,572,759 2,231,340,735 (87,773,039) (123,918,364) (420,495,880) (431,342,863) 1,655,303,840 1,676,079,508
31
รายงานประจำปี 2552
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
บริ ษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน 17,146,800 (5,000,000) 8,792,400 (5,000,000) เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) 2,953,009 1,552,351 2,982,043 1,544,251 เงินทดรองแก่พนักงานและกรรมการลดลง เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง - - - 10,058,348 ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย - - (41,601,766) - ซื้อเงินลงทุนในการร่วมค้า (1,147,500) (6,119,970) (1,147,500) (6,119,970) ซื้อเงินลงทุนในบริษัทร่วม - (141,750,000) - (141,750,000) เงินปันผลรับจากบริษัทร่วม - 437,927,000 - 437,927,000 เงินจ่ายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และจ่ายชำระ เจ้าหนี้งานก่อสร้างและอุปกรณ์การแพทย์ (836,623,974) (1,722,414,602) (802,405,298) (1,721,879,065) เงินรับจากการจำหน่ายอุปกรณ์ 5,980,704 2,765,910 5,979,004 2,765,910 เงินจ่ายซื้อคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ (14,015,473) (6,290,048) (13,755,178) (6,290,048) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 2,198,088 (317,625) 2,559,574 (317,625) (823,508,346) (1,439,646,984) (838,596,721) (1,429,061,199) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน รับเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 800,000,000 200,000,000 800,000,000 200,000,000 ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (810,000,000) - (810,000,000) - - - (719,409,360) (273,000,000) ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รับเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 1,430,000,000 400,000,000 1,430,000,000 400,000,000 ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (1,685,300,871) (487,148,620) (918,750,000) (131,250,000) เงินปันผลจ่าย (583,488,749) (583,330,754) (583,488,749) (583,330,754) ดอกเบี้ยจ่ายสำหรับหุ้นกู้แปลงสภาพที่ถือเป็นตราสารทุน (32,500,000) (17,500,000) (32,500,000) (17,500,000) (881,289,620) (487,979,374) (834,148,109) (405,080,754) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (610,826) - - - ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 1,998,791 (165,222,065) (17,440,990) (158,062,445) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี 384,641,789 549,863,854 350,881,453 508,939,898 386,640,580 384,641,789 333,440,463 350,877,453 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
32
ชื่อบริษัท บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด (BMC)
บริษัท ไวทัลไลฟ์ จำกัด (VTL) บริษัท เอเชีย โกลเบิล เฮลธ์ จำกัด (AGH) บริษัท เอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช จำกัด (AGR)
ข) ค) ง) จ) ฉ)
ลักษณะธุรกิจ ให้เช่าอาคาร ศูนย์ดูแลสุขภาพ ลงทุนในธุรกิจ การแพทย์ ให้บริการ ด้านวิจัย
จัดตั้ง ขึ้นใน ประเทศ ไทย
อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ 100 100
ร้อยละของสินทรัพย์ ที่รวมอยู่ใน สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ 11 12
ร้อยละของรายได้ ที่รวมอยู่ในรายได้รวม สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ - -
ไทย 100 ฮ่องกง 100
100 -
1 -
1 -
1 -
1 -
ไทย
-
-
-
-
-
100
บริษัทฯนำงบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดทำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ได้มา (วันที่บริษัทฯ มีอำนาจในการ ควบคุมบริษัทย่อย) จนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำขึ้นโดยมีรอบระยะเวลาบัญชีและใช้นโยบายการบัญชีที่สำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ งบการเงินของบริษัทย่อยซึ่งจัดตั้งในต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุลสำหรับ รายการที่เป็นสินทรัพย์และหนี้สินและใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือนสำหรับรายการที่เป็นรายได้และค่าใช้จ่าย ผลต่างซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน” ในส่วนของผู้ถือหุ้น ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสำคัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย คือ จำนวนกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้เป็นของบริษัทฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบกำไรขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุลรวม
33
รายงานประจำปี 2552
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 1. ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนและมีภูมิลำเนาในประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือ กิจการโรงพยาบาล การลงทุนในบริษัทอื่น และให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนอยู่ที่ 33 ซอย 3 (นานาเหนือ) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 2. เกณฑ์ ในการจัดทำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดงรายการในงบ การเงินได้ทำขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 30 มกราคม 2552 ออกตามความใน พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯ ใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลมาจาก งบการเงินฉบับภาษาไทยดังกล่าว งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
2.3 บริษัทฯได้จัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อย การร่วมค้าและบริษัทร่วม ตามวิธีราคาทุน 3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชี ใหม่ ในเดือนมิถุนายน 2552 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 12/2552 เรื่อง การจัดเลขระบุฉบับมาตรฐาน การบัญชีของไทยให้ตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ การอ้างอิงเลขมาตรฐานการบัญชีในงบการเงินนี้ได้ถือปฏิบัติ ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับดังกล่าว สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 86/2551 และฉบับที่ 16/2552 ให้ใช้มาตรฐานการบัญชี มาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีใหม่ดังต่อไปนี้ 3.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและ การดำเนินงานที่ยกเลิก แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกสิทธิการเช่า แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีข้างต้นถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับ รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) และแนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันไม่ เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ ส่วนแม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) และแนว ปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกสิทธิการเช่า ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีปัจจุบัน 3.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน วันที่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ 1 มกราคม 2555 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ 1 มกราคม 2554 ที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 1 มกราคม 2554 อย่างไรก็ตาม กิจการสามารถนำมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 มาถือ ปฏิบัติก่อนกำหนดได้ ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 ไม่เกี่ยวเนื่อง กับธุรกิจของบริษัทฯ ส่วนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) จะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงิน สำหรับปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชีดังกล่าว
34
รายงานประจำปี 2552
4. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ 4.1 การรับรู้รายได้ ก) รายได้ จ ากการประกอบกิ จ การโรงพยาบาลโดยส่ ว นใหญ่ ป ระกอบด้ ว ยรายได้ ค่ า รั ก ษาพยาบาล ค่ า ห้ อ งพั ก ค่ า ยา โดยจะบันทึกเป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการหรือเมื่อได้ส่งมอบยาแล้ว ข) รายได้ค่าบริการที่ปรึกษาและการจัดการรับรู้เมื่อได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขั้นความสำเร็จของงาน ค) รายได้จากการให้เช่าพื้นที่และการให้บริการที่เกี่ยวข้องรับรู้ตามเกณฑ์คงค้างตามระยะเวลาของสัญญา ง) ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง จ) เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อมีสิทธิในการรับเงินปันผล 4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึง กำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจำกัดในการเบิกใช้ 4.3 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าแสดงมูลค่าตามจำนวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผล ขาดทุ น โดยประมาณที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากการเก็ บ เงิ น ลู ก หนี้ ไ ม่ ไ ด้ ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปพิ จ ารณาจากประสบการณ์ ก ารเก็ บ เงิ น และ การวิเคราะห์อายุหนี้ 4.4 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงมูลค่าตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า 4.5 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อ การด้อยค่า (ถ้ามี) ข) เงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย ค) เงินลงทุนในบริษัทย่อย การร่วมค้า และบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน 4.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่า ของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณ ดังนี้ สิทธิการเช่า - 30 ปี ตามอายุสัญญาเช่า ส่วนปรับปรุงที่ดิน - 3 ปี และ 30 ปี อาคารและสิ่งปลูกสร้าง - 8 - 30 และ 40 ปี เครื่องอุปกรณ์ระบบอำนวยความสะดวก - 5 - 20 ปี เครื่องมือแพทย์ - 5 - 15 ปี อุปกรณ์โรงพยาบาล - 3 - 15 ปี เครื่องใช้และเครื่องตกแต่ง - 5 - 15 ปี ยานพาหนะ - 5 - 10 ปี ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดิน และสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้างและติดตั้ง 4.7 ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกู้ยืมถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจาก การกู้ยืมนั้น 4.8 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ได้มา ต้นทุนของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาจากการรวมธุรกิจคือมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ ส่วนสินทรัพย์ไม่มีตัว ตนอื่น บริษัทฯ จะวัดมูลค่าด้วยราคาทุน และภายหลังการรับรู้รายการครั้งแรก สินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหัก ค่าตัดจำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นั้น บริษัทฯ ตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำกัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทฯ จะ ทบทวนระยะเวลาการตัดจำหน่ายและวิธีการตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำหน่าย รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน 35
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำกัดมีดังนี้ อายุการให้ประโยชน์ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ 10 ปี เงินชดเชยการรวมธุรกิจ 10 ปี 4.9 ค่าความนิยม ณ วันที่ได้มา บริษัทฯ บันทึกค่าความนิยมในราคาทุน ซึ่งเท่ากับต้นทุนการรวมธุรกิจส่วนที่สูงกว่าส่วนได้เสียของบริษัทฯใน มูลค่ายุติธรรมสุทธิของสินทรัพย์ หนี้สิน และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ระบุได้ของกิจการที่ได้มา หากส่วนได้เสียของบริษัทฯ ในมูลค่า ยุติธรรมสุทธิของสินทรัพย์ หนี้สิน และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ระบุได้ของกิจการที่ได้มาสูงกว่าต้นทุนการรวมธุรกิจ บริษัทฯ จะรับรู้ ส่วนเกินนี้ในงบกำไรขาดทุนทันที บริษัทฯ แสดงค่าความนิยมตามราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม และจะทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมทุกปี หรือเมื่อใดก็ตามที่มีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าเกิดขึ้น เพือ่ วัตถุประสงค์ในการทดสอบการด้อยค่า บริษทั ฯ จะปันส่วนค่าความนิยมทีเ่ กิดขึน้ จากการรวมกิจการให้กบั หน่วยสินทรัพย์ ที่ก่อให้เกิดเงินสด (หรือกลุ่มของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด) ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้นจากการรวมกิจการ และบริษทั ฯ จะทำการประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดแต่ละรายการ (หรือกลุ่ม ของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด) หากมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดน้อยกว่า มูลค่าตามบัญชีบริษัทฯจะรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำไรขาดทุน และบริษัทฯไม่สามารถกลับบัญชีขาดทุนจากการด้อยค่า ได้ในอนาคต 4.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดย บริษัทฯไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญกับบริษัทฯ ผู้บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของบริษัทฯ 4.11 เงินตราต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่ เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน 4.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯจะทำการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนอื่นของ บริษัทฯหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า และจะทำการประเมินการด้อยค่าของค่าความนิยมเป็นรายปี บริษัทฯรับรู้ ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะ สูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ บริษัทฯประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจาก สินทรัพย์และคำนวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาด ปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กำลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่า ยุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯใช้แบบจำลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจำนวนเงิน ที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจำหน่ายสินทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจำหน่าย โดยการจำหน่ายนั้นผู้ซื้อกับผู้ขายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บริษัทฯจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำไรขาดทุน 4.13 ผลประโยชน์พนักงาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัสและเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเป็นค่า ใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ 4.14 ประมาณการหนี้สิน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ไว้ในบัญชีเมือ่ ภาระผูกพันซึง่ เป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึน้ แล้ว ยทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะเสี และบริษัทฯและบริษัทย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ
36
อายุหนี้ค้างชำระ ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ค้างชำระ 1 - 30 วัน 31 - 60 วัน 61 - 90 วัน 91 - 180 วัน 181 - 365 วัน มากกว่า 365 วัน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
2552
งบการเงินรวม
2551
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551
254,472,347
232,951,319
249,226,672
232,345,911
139,825,430 60,798,223 37,312,305 79,912,852 80,420,853 106,767,969 759,509,979 (101,602,062) 657,907,917
107,490,260 36,698,495 23,018,434 46,065,696 39,191,180 98,745,420 584,160,804 (90,038,814) 494,121,990
139,528,373 60,243,454 36,765,779 79,720,846 79,776,623 103,864,484 749,126,231 (97,381,656) 651,744,575
107,132,572 36,571,907 22,992,972 45,491,876 38,579,960 96,715,648 579,830,846 (87,454,679) 492,376,167
37
รายงานประจำปี 2552
4.15 ภาษีเงินได้ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร 5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่องที่มี ความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่ แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณ การที่สำคัญมีดังนี้ สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการ ประเมินเงือ่ นไขและรายละเอียดของสัญญาเพือ่ พิจารณาว่าบริษทั ฯได้โอนหรือรับโอนความเสีย่ งและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ทเี่ ช่าดังกล่าว แล้วหรือไม่ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยคำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา ในการคำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องทำการประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าซากเมื่อเลิก ใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการใช้งานและมูลค่าซากใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการ ด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่ เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น ค่าความนิยม และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลค่าของค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ได้มา ตลอดจนการทดสอบการด้อยค่าในภายหลัง ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์ หรือหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคำนวณหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ 6. ลูกหนี้การค้า ยอดคงเหลือของลูกหนีก้ ารค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 แยกตามอายุหนีท้ คี่ งค้างนับจากวันทีถ่ งึ กำหนดชำระได้ดงั นี ้
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
7. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ และบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดย สามารถสรุปได้ดังนี้ รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้ค่าบริการทางการแพทย์ รายได้ค่าเช่า ค่าบริการห้องปฏิบัติการจ่าย ค่าเช่าจ่าย ดอกเบี้ยจ่าย
รายการธุรกิจกับบริษัทร่วม รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าที่ปรึกษา เงินปันผลรับ รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รายได้ค่าบริการทางการแพทย์ รายได้อื่น ค่าเช่าจ่าย ค่าบริจาคจ่าย ค่าเบี้ยประกันจ่าย ค่าที่ปรึกษาทางการเงินจ่าย ซื้อที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง
งบการเงินรวม 2552 2551
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551
(หน่วย: ล้านบาท) นโยบายการกำหนดราคา
- - - - -
- - - - -
10.9 28.2 7.3 88.8 33.9
12.6 26.7 7.8 88.8 67.4
ราคาตลาด ราคาตามสัญญา 7.1 ราคาตลาด ราคาตามสัญญา 7.2 อัตรา MLR ลบร้อยละ 1 ต่อปี และอัตรา ร้อยละ 2.50 ต่อปี (2551: อัตรา MLR ลบ ร้อยละ 1 ต่อปี)
0.7 12.8 - 34.4 2.4 - 22.0 21.2 - -
0.7 16.2 437.9 16.7 1.4 4.4 15.5 24.9 0.7 470.0
0.7 12.8 - 34.4 2.4 - 22.0 21.2 - -
0.7 16.2 437.9 16.7 1.4 4.4 15.5 24.9 0.7 470.0
ตามที่จ่ายจริง ราคาตามสัญญา 7.3 ตามที่ประกาศจ่าย ราคาตลาด ราคาทุน ราคาตามสัญญา 7.4 - ตามที่ระบุในกรมธรรม์ประกันภัย ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา 7.4
7.1 บริษัทย่อย (บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด) ได้ทำสัญญาเช่าที่ดินกับบริษัทฯเป็นระยะเวลา 30 ปี เริ่มตั้งแต่ปี 2539 ค่าเช่าดังกล่าวคิดเป็นจำนวนเงินปีละ 22.3 ล้านบาท บริษทั ย่อย (บริษทั ไวทัลไลฟ์ จำกัด) ได้ทำสัญญาเช่าพืน้ ทีอ่ าคารกับบริษทั ฯ เพือ่ ประกอบธุรกิจเป็นระยะเวลา 11 ปี เริม่ ตัง้ แต่ ปี 2544 โดยบริษัทย่อยต้องจ่ายค่าเช่าในอัตราร้อยละ 5 ของรายได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ไม่น้อยกว่าเดือนละ 238,200 บาท 7.2 บริษัทฯ ได้ทำสัญญาเช่าอาคารโรงพยาบาลกับบริษัทย่อย (บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด) เพื่อดำเนินกิจการ โรงพยาบาล ค่าเช่าดังกล่าวคิดเป็นจำนวนเงินปีละ 88.8 ล้านบาท สัญญาดังกล่าวสิ้นสุดเดือนกรกฎาคม 2553 7.3 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2549 บริษัทฯ ได้ทำสัญญา Consulting Support Agreement กับบริษัทร่วม (บริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์ เนชั่นแนล จำกัด) โดยบริษัทร่วมต้องจ่ายค่าธรรมเนียมดังกล่าวเป็นจำนวนเงิน 1.2 ล้านบาทต่อเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนเมษายน 2550 ต่อมาในไตรมาสที่หนึ่งของปี 2552 บริษัทฯ และบริษัทร่วมได้ตกลงแก้ไขค่าธรรมเนียมเป็นจำนวนเงิน 0.9 ล้านบาท ต่อเดือนเริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2552 เป็นต้นไป สัญญาดังกล่าวจะสิ้นสุดตามเงื่อนไขในสัญญา 7.4 บริษัทฯ ได้ทำสัญญาเช่าที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง (อาคารบีเอช เรสซิเดนซ์) กับธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เป็นระยะเวลา 3 ปี เริ่มตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2543 ค่าเช่าจ่ายจำนวนดังกล่าวคำนวณขึ้นในอัตราร้อยละ 75 ของรายได้สุทธิ (รายรับรวมหักราย จ่ายรวม) จากการให้เช่าช่วง แต่ไม่น้อยกว่าปีละ 8 ล้านบาท ต่อมาธนาคารได้อนุมัติให้บริษัทฯ ต่อสัญญาเช่า ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 29 สิงหาคม 2548 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 โดยอัตราค่าเช่าและเงื่อนไขอื่นให้เป็นไปตามสัญญาเช่าเดิม เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551 บริษัทฯ ได้ทำสัญญาซื้อที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว (อาคารบีเอช เรสซิเดนซ์) กับ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เป็นจำนวนเงิน 470.0 ล้านบาท ราคาซือ้ ดังกล่าวเป็นราคาทีไ่ ม่เกินราคาประเมินของผูป้ ระเมินอิสระ
38
ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท เอเชีย โกลเบิล เฮลธ์ จำกัด บริษัท เอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช จำกัด การร่วมค้า บริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทร่วม บริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด กิจการที่เกี่ยวข้องกัน มูลนิธิโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ รวม เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ไวทัลไลฟ์ จำกัด บริษัทร่วม บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด รวม เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด เงินกู้ยืมระยะยาว หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ส่วนที่ถึงกำหนดชำระเกินกว่าหนึ่งปี
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2,835,219 - 105,147 -
งบการเงินรวม 2552 2551 - - - - - 4,042,052 10,541,397 14,583,449 -
70,000 3,256,622 5,470,416 8,797,038 -
- 4,030,252 10,541,397 17,512,015 1,725,809
70,000 3,256,622 5,470,416 8,797,038 1,667,977
- - - - -
2,015,049 2,015,049 - - -
- 1,725,809 219,827,068 - 219,827,068
2,015,049 3,683,026 939,236,428 (438,029,068) 501,207,360
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินกู้ยืมระยะยาวจากบริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2.50 ต่อปี (2551: อัตรา MLR ลบร้อยละ 1 ต่อปี) ในระหว่างปี 2552 เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้
เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด เงินต้น ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
เพิ่มขึ้น
939,236,428 - 939,236,428
- 33,884,591 33,884,591
ในระหว่างปี
ลดลง
(719,409,360) (33,884,591) (753,293,951)
(หน่วย: บาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 219,827,068 - 219,827,068
39
รายงานประจำปี 2552
ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีรายละเอียดดังนี้
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
8. สินค้าคงเหลือ
ยา เวชภัณฑ์ วัสดุอื่น รวม
งบการเงินรวม 2552 112,987,606 31,692,810 54,198,256 198,878,672
(หน่วย: บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 106,152,726 102,735,295 31,588,485 35,067,530 51,968,335 46,328,200 189,709,546 184,131,025
2551 106,579,268 35,067,530 46,328,200 187,974,998
9. เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินฝากธนาคารจำนวนนี้ได้นำไปวางไว้กับธนาคารเพื่อเป็นหลักประกันสำหรับหนังสือค้ำประกัน ที่ธนาคารออกให้ในนามของบริษัทฯ และบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด) 10. เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท
(หน่วย: บาท)
ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงิน ลงทุน 2552 2551
ทุนเรียกชำระแล้ว 2552 2551
สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน มูลค่าตามบัญชีตามวิธรี าคาทุน - สุทธิ 2552 2551 2552 2551 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ บริษัท บำรุงราษฎร์ 958,953,608 958,953,608 100.00 100.00 1,691,902,972 1,691,902,972 545,000,000 545,000,000 1,146,902,972 1,146,902,972 เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด 31,500,000 31,500,000 100.00 100.00 25,610,000 25,610,000 - - 25,610,000 25,610,000 บริษัท ไวทัลไลฟ์ จำกัด - 100.00 - 21,601,796 - - - 21,601,796 - บริษทั เอเชีย โกลเบิล 21,601,796 เฮลธ์ จำกัด - 100.00 - 19,999,970 - - - 19,999,970 - บริษทั เอเชีย โกลเบิล 19,999,970 รีเสิร์ช จำกัด 1,759,114,738 1,717,512,972 545,000,000 545,000,000 1,214,114,738 1,172,512,972 รวม
11. เงินลงทุนในการร่วมค้า 11.1 รายละเอียดของเงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนในการร่วมค้านี้เป็นเงินลงทุนในกิจการซึ่งบริษัทฯ และบริษัทอื่นควบคุมร่วมกันโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน ลักษณะธุรกิจ บริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ ลงทุนในบริษัทอื่น (ประเทศไทย ) จำกัด
40
งบการเงินรวม สัดส่วนเงินลงทุน 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ 51.00
51.00
2552
ราคาทุน
7,267,470
2551
6,119,970
(หน่วย: บาท)
มูลค่าตามบัญชี ตามวิธีส่วนได้เสีย 2552 2551 7,215,269
6,085,265
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ลักษณะธุรกิจ
มูลค่าตามบัญชี ตามวิธีราคาทุน 2552 2551
สัดส่วนเงินลงทุน 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ
7,267,470 6,119,970 ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้ประเมินแล้วว่า การลงทุนในบริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ (ประเทศไทย) เป็นการลงทุนในกิจการที่ควบคุม ร่วมกันระหว่างบริษทั ฯ กับ Asia Rental Care (SEA) Pte Ltd. แม้วา่ บริษทั ฯ จะมีสดั ส่วนการลงทุนในบริษทั เอเชีย รีนลั แคร์ (ประเทศไทย) จำกัดในอัตราร้อยละ 51 แต่ผู้ร่วมค้าทั้งสองรายได้มีการลงนามใน Joint Venture Agreement เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2552 สัญญา ได้กำหนดอำนาจในการควบคุมร่วมกันผ่านคณะกรรมการบริหารของกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งแต่ละฝ่ายจะมีจำนวนกรรมการเท่ากัน นอกจากนี้ ไม่มีผู้ร่วมค้ารายใดอยู่ในฐานะที่จะควบคุมการดำเนินงานของการร่วมค้าได้แต่เพียงผู้เดียว 11.2 ส่วนแบ่งขาดทุน ในระหว่างปี บริษัทฯ รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนจากการลงทุนในการร่วมค้าในงบการเงินรวมดังนี้ (หน่วย: บาท) ลงทุนในบริษัทอื่น
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน
51.00
บริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด
51.00
2552 17,494
ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุน ในการร่วมค้าในระหว่างปี
11.3 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินของกิจการที่ควบคุมร่วมกันโดยสรุปมีดังนี้
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด
ทุนเรียกชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 14.3
12.0
สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 19.1
12.0
หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551 5.0
0.1
2551 34,706
(หน่วย: ล้านบาท)
รายได้รวมสำหรับ ขาดทุนสุทธิสำหรับปี ปีสิ้นสุดวันที่ สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2552 2551 2552 2551 -
-
-
0.1
41
รายงานประจำปี 2552
(หน่วย: บาท)
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
12. เงินลงทุนในบริษัทร่วม 12.1 รายละเอียดของเงินลงทุนในบริษัทร่วม
(หน่วย: บาท)
จัดตั้ง งบการเงินรวม ลักษณะ ขึ้นใน มูลค่าตามบัญชีตาม ชื่อบริษัท ธุรกิจ ประเทศ สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย 2552 2551 2552 2551 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ บริษทั บำรุงราษฎร์ อินเตอร์ - ลงทุนใน ไทย 31.50 31.50 1,007,790,600 1,007,790,600 1,251,229,927 1,229,417,093 เนชั่นแนล จำกัด บริษัทอื่น บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด หยุดดำเนิน ไทย 30.00 30.00 21,662,713 21,662,713 (23,457,528) (27,545,278) กิจการ ชั่วคราว รวม 1,029,453,313 1,029,453,313 1,227,772,399 1,201,871,815 บวก: กำไรจากการขายคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์รอรับรู้ - สุทธิ 29,385,964 33,059,209 รวม 1,257,158,363 1,234,931,024
กำไรจากการขายคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์รอรับรู้เป็นกำไรส่วนที่บริษัทร่วมขายคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ให้แก่บริษัทฯ ในปี 2550 ซึ่งเคยแสดงเป็นส่วนหักจากมูลค่าเงินลงทุนในบริษัทร่วม ในปี 2551 บริษัทฯ ได้โอนกำไรรอรับรู้ดังกล่าวไปหักกับมูลค่า ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เกี่ยวข้อง (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15) กำไรรอรับรู้จะถูกตัดจำหน่ายภายในระยะเวลา 10 ปี ตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณของคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ดังกล่าว (หน่วย: บาท)
ชื่อบริษัท บริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด รวม
42
สัดส่วนเงินลงทุน 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ 31.50 31.50 30.00
30.00
งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าเผื่อการด้อยค่าของ มูลค่าตามบัญชี ราคาทุน เงินลงทุน ตามวิธีราคาทุน - สุทธิ 2552 2551 2552 2551 2552 2551 1,007,790,600 1,007,790,600 - - 1,007,790,600 1,007,790,600 21,662,713
21,662,713 16,000,000 16,000,000
5,662,713
5,662,713
1,029,453,313 1,029,453,313 16,000,000 16,000,000 1,013,453,313 1,013,453,313
ชื่อบริษัท บริษทั บำรุงราษฎร์ อินเตอร์ - เนชั่นแนล จำกัด บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด รวม
งบการเงินรวม ส่วนแบ่งกำไร/(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ในระหว่างปี 2552 2551 43,173,977 64,909,613 4,087,750 47,261,727
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(หน่วย: บาท)
เงินปันผลที่บริษัทฯรับระหว่างปี 2552 2551 - -
(21,627,018) 43,282,595
12.3 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วม ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินของบริษัทร่วมโดยสรุปมีดังนี้
- -
437,927,000 437,927,000
(หน่วย: ล้านบาท) กำไร (ขาดทุน) ทุนเรียกชำระ สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม รายได้รวมสำหรับ สุทธิสำหรับปี ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ปีสิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ ชื่อบริษัท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 บริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์ 3,199.3 3,199.3 6,994.8 7,066.3 2,280.6 2,459.5 4,139.0 4,146.0 85.3 188.5 เนชั่นแนล จำกัด บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด 10.0 10.0 19.9 19.0 0.1 0.6 0.2 12.0 (0.5) (79.4)
13. เงินลงทุนระยะยาวอื่น
ชื่อบริษัท สัดส่วนเงินลงทุน งบการเงินรวม 2552 2551 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ บริษัท จันทบุรีคันทรีคลับ จำกัด 0.5 0.5 4,500,000 4,500,000 บริษัท โกลเบิล แคร์ โซลูชั่น เอส.เอ. 14.0 14.0 347,213 347,213 บริษัท ศูนย์ไตเทียมบำรุงราษฎร์ จำกัด 20.0 20.0 200,000 200,000 รวม 5,047,213 5,047,213 หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน (2,800,000) (2,800,000) เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ 2,247,213 2,247,213
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 4,500,000 4,500,000 347,213 347,213 - - 4,847,213 4,847,213 (2,800,000) (2,800,000) 2,047,213 2,047,213
43
รายงานประจำปี 2552
12.2 ส่วนแบ่งกำไร/ขาดทุนและเงินปันผลรับ ในระหว่างปี บริษัทฯ รับรู้ส่วนแบ่งกำไร/ขาดทุนจากการลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมและรับรู้เงินปันผลรับจาก บริษัทร่วมดังกล่าวในงบการเงินเฉพาะกิจการดังนี้
44
งบการเงินรวม สิทธิการเช่าเเละ เครื่องอุปกรณ์ สินทรัพย์ ส่วนปรับปรุง อาคารเเละ ระบบอำนวย เครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องใช้เเละ ระหว่างก่อสร้าง ที่ดิน ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ความสะดวก เเพทย์ โรงพยาบาล เครื่องตกเเต่ง ยานพาหนะ เเละติดตั้ง ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 588,389,482 34,880,909 3,187,410,876 440,926,445 2,316,022,225 878,906,161 418,746,154 43,794,384 220,952,579 ซื้อเพิ่ม - - 27,198,108 16,916,287 118,835,165 95,850,720 8,216,513 - 519,970,311 จำหน่าย - - (7,044,691) (16,764) (9,298,197) (12,279,595) (2,029,652) - - โอน - - 290,222,376 19,779,700 46,310,718 24,026,769 44,156,961 - (424,496,524) 31 ธันวาคม 2552 588,389,482 34,880,909 3,497,786,669 477,605,668 2,471,869,911 986,504,055 469,089,976 43,794,384 316,426,366 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2551 - 14,878,892 796,584,546 76,814,412 1,092,649,593 504,109,786 220,888,729 36,730,316 - ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี - 1,103,020 108,580,124 17,215,190 265,045,363 75,365,972 26,020,436 3,511,509 - ค่าเสื่อมราคาสำหรับส่วน ที่จำหน่าย - - (1,709,396) (139) (6,860,332) (11,163,305) (359,541) - - 31 ธันวาคม 2552 - 15,981,912 903,455,274 94,029,463 1,350,834,624 568,312,453 246,549,624 40,241,825 - ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2551 - - - - 13,641,982 - - - - โอนกลับค่าเผื่อการด้อยค่า - - - - (13,641,982) - - - - - - - - - - - - - 31 ธันวาคม 2552 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 588,389,482 20,002,017 2,390,826,330 364,112,033 1,209,730,650 374,796,375 197,857,425 7,064,068 220,952,579 31 ธันวาคม 2552 588,389,482 18,898,997 2,594,331,395 383,576,205 1,121,035,287 418,191,602 222,540,352 3,552,559 316,426,366 ค่าเสื่อมราคาที่รวมอยู่ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปี 2551 2552
14. ที่ดิน อาคารเเละอุปกรณ์
8,130,029,215 786,987,104 (30,668,899) - 8,886,347,420 2,742,656,274 496,841,614 (20,092,713) 3,219,405,175 13,641,982 (13,641,982) - 5,373,730,959 5,666,942,245 420,077,536 496,841,614
รวม
(หน่วย: บาท)
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
45
5,660,363,910 752,768,428 (30,625,319) - 6,382,507,019 1,233,919,994 440,198,860 (20,049,133) 1,654,069,721 13,641,982 (13,641,982) - 4,412,801,934 4,728,437,298 364,273,856 440,198,860
รวม
รายงานประจำปี 2552
งบการเงินเฉพาะกิจการ สิทธิการเช่าเเละ เครื่องอุปกรณ์ สินทรัพย์ ส่วนปรับปรุง อาคารเเละ ระบบอำนวย เครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องใช้เเละ ระหว่างก่อสร้าง ที่ดิน ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ความสะดวก เเพทย์ โรงพยาบาล เครื่องตกเเต่ง ยานพาหนะ เเละติดตั้ง ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 588,389,482 15,563,340 1,582,550,229 416,200,212 1,875,041,765 641,336,934 299,015,685 21,358,627 220,907,636 ซื้อเพิ่ม - - 21,502,448 16,916,287 117,922,145 69,988,064 6,492,178 - 519,947,306 จำหน่าย - - (7,044,691) (16,764) (9,298,197) (12,236,015) (2,029,652) - - โอน - - 290,154,431 19,779,700 46,310,718 24,026,769 44,156,961 - (424,428,579) 31 ธันวาคม 2552 588,389,482 15,563,340 1,887,162,417 452,879,435 2,029,976,431 723,115,752 347,635,172 21,358,627 316,426,363 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2551 - 8,230,543 134,872,216 44,731,005 631,746,413 275,871,687 124,173,563 14,294,567 - ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี - 459,101 53,783,874 17,084,275 267,140,467 72,850,659 25,368,975 3,511,509 - ค่าเสื่อมราคาสำหรับส่วน ที่จำหน่าย - - (1,709,396) (139) (6,860,332) (11,119,725) (359,541) - - 31 ธันวาคม 2552 - 8,689,644 186,946,694 61,815,141 892,026,548 337,602,621 149,182,997 17,806,076 - ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2551 - - - - 13,641,982 - - - - โอนกลับค่าเผื่อการด้อยค่า - - - - (13,641,982) - - - - - - - - - - - - - 31 ธันวาคม 2552 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 588,389,482 7,332,797 1,447,678,013 371,469,207 1,229,653,370 365,465,247 174,842,122 7,064,060 220,907,636 31 ธันวาคม 2552 588,389,482 6,873,696 1,700,215,723 391,064,294 1,137,949,883 385,513,131 198,452,175 3,552,551 316,426,363 ค่าเสื่อมราคาที่รวมอยู่ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปี 2551 2552
(หน่วย: บาท)
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัทฯ ได้จำนองที่ดินซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีจำนวน 290.9 ล้านบาท (มูลค่ายุติธรรมซึ่งประเมินเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2551 เท่ากับ 567.7 ล้านบาท) กับธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งในฐานะผู้แทน ผู้ถือหุ้นกู้เพื่อเป็นหลักประกันการออกหุ้นกู้แปลงสภาพที่ถือเป็น ตราสารทุนตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 บริษัทฯ และบริษัทย่อย (บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด) ได้จดจำนองที่ดินและอาคารและจำนำเครื่องมือแพทย์ และอุปกรณ์โรงพยาบาลซึ่งมีมูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวน 1,983.2 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 1,076.6 ล้าน บาท) (2551: 1,751.4 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 791.5 ล้านบาท)) เพื่อค้ำประกันเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์ในประเทศแห่ง หนึ่งตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีอุปกรณ์จำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ ราคาทุน ของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำนวนเงินประมาณ 332.3 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 330.0 ล้านบาท) (2551: 200.1 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 197.8 ล้านบาท)) 15. สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนมีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เงินชดเชย ซอฟท์แวร์ รวม ซอฟท์แวร์ การรวมธุรกิจ ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 908,768,128 908,768,128 945,500,582 192,927,561 ซื้อเพิ่ม 14,015,473 14,015,473 13,755,178 - 31 ธันวาคม 2552 922,783,601 922,783,601 959,255,760 192,927,561 ค่าตัดจำหน่ายสะสม 31 ธันวาคม 2551 228,171,411 228,171,411 231,844,656 65,916,917 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี 42,423,658 42,423,658 42,418,102 - รับรู้กำไรจากการขาย คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ สำหรับปี (3,673,245) (3,673,245) - - 31 ธันวาคม 2552 266,921,824 266,921,824 274,262,758 65,916,917 ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2551 370,232,632 370,232,632 370,232,632 127,010,644 31 ธันวาคม 2552 370,232,632 370,232,632 370,232,632 127,010,644 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 310,364,085 310,364,085 343,423,294 - 31 ธันวาคม 2552 285,629,145 285,629,145 314,760,370 - ค่าตัดจำหน่ายที่รวมอยู่ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปี 2551 39,285,838 39,285,838 39,285,838 - 2552 42,423,658 42,423,658 42,418,102 -
46
(หน่วย: บาท) รวม
1,138,428,143 13,755,178 1,152,183,321 297,761,573 42,418,102 - 340,179,675 497,243,276 497,243,276 343,423,294 314,760,370 39,285,838 42,418,102
อัตราดอกเบี้ย วงเงินกู้ (ร้อยละ) วัตถุประสงค์ ก MLR ลบอัตรา เพื่อนำไปชำระคืนเงินกู้ยืม
ข
ค
คงที่ต่อปี ตามที่ระบุ ในสัญญา ชำระดอกเบี้ย ทุกเดือน MLR ลบอัตรา คงที่ต่อปี ตามที่ระบุ ในสัญญา ชำระดอกเบี้ย ทุกเดือน MMR
ระยะเวลาเบิกถอน
ภายในวันที่ 30 ก่อนกำหนดสำหรับเงินกู้ยืม พฤศจิกายน 2552 ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
เพื่อนำไปปรับปรุงอาคาร และ/หรือการซื้อเครื่องมือ แพทย์และอุปกรณ์ โรงพยาบาลและ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์
ต้องเบิกเงินกู้งวดแรกภายใน วันที่ 30 ธันวาคม 2552 และมีระยะเวลาเบิกถอน เงินกู้จนถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2554
เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ภายในวันที่ 25 กันยายน ในการดำเนินงานของบริษัทฯ 2553 และสามารถต่ออายุ ได้เป็นรายปี
กำหนดชำระคืน
มีกำหนดชำระคืนตามสัดส่วน ที่ระบุในสัญญาเป็นราย ไตรมาสภายใน 5 ปี (20 งวด) โดยมีระยะเวลา ปลอดการชำระหนี้ 27 เดือนนับจากวันที่เบิกถอน มีกำหนดชำระคืนตามสัดส่วน ที่ระบุในสัญญาเป็นราย ไตรมาสภายใน 5 ปี (20 งวด) โดยมีระยะเวลา ปลอดการชำระหนี้ 27 เดือนนับจากวันที่เบิกถอน มีกำหนดชำระคืนตามที่ระบุ บนตั๋วสัญญา ใช้เงิน
วงเงินกู้ (ล้านบาท)
1,420
800
600
ในระหว่างไตรมาสที่ 4 ของปี 2552 บริษัทฯ ได้เบิกเงินกู้ยืมระยะยาวจากวงเงินกู้ยืมใหม่จำนวนรวม 1,620 ล้านบาท (รวม เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินจำนวน 190 ล้านบาทตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 16) เพื่อนำไปใช้ตาม วัตถุประสงค์ที่ระบุในสัญญาให้สินเชื่อดังกล่าว ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้จำนองที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคารของบริษัทฯ และบริษัทย่อย การโอนสิทธิการเช่าที่ดินของบริษัทย่อยและการโอนผลประโยชน์ในกรมธรรม์ประกันภัยของสินทรัพย์ที่ค้ำประกัน ให้แก่ธนาคารเพื่อเป็นหลักประกันของเงินกู้ยืมดังกล่าวแล้ว
47
รายงานประจำปี 2552
16. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินของบริษัทฯ จำนวน 190.0 ล้านบาท เป็นตั๋วสัญญาใช้เงินมี กำหนดชำระคืนภายใน 1 เดือน คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2.25 ต่อปี เงินกู้ยืมระยะสั้นดังกล่าวเป็นการเบิกใช้เงินกู้ยืมวงเงิน ค ตาม ที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 17.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินของบริษัทฯ จำนวน 200.0 ล้านบาท เป็นตั๋วสัญญาใช้เงินมี กำหนดชำระคืนภายใน 1 เดือน คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 4.00 ต่อปี 17. เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 17.1 เงินกู้ยืมเดิม เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ชำระคืนเงินกูย้ มื เดิมก่อนกำหนดทัง้ จำนวนเป็นจำนวนเงิน 1,258.3 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 820.3 ล้านบาท) ทั้งนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จ่ายค่าธรรมเนียมการชำระคืนเงินกู้ยืมก่อนกำหนด เป็นจำนวนเงิน 12.6 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 8.2 ล้านบาท) และได้ดำเนินการปลอดจำนองหลักประกันของวงเงิน สินเชื่อข้างต้นเสร็จสิ้นแล้วในวันเดียวกัน 17.2 เงินกู้ยืมใหม่ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2552 บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาให้สินเชื่อกับธนาคารพาณิชย์ในประเทศแห่งหนึ่งจำนวน 2,820 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
สัญญากู้ยืมเงินได้ระบุข้อปฏิบัติและข้อจำกัดบางประการ เช่น การดำรงอัตราส่วนทางการเงิน ข้อจำกัดเกี่ยวกับการก่อหนี้ เพิ่มและการจ่ายเงินปันผล เป็นต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีวงเงินสินเชื่อที่ยังไม่ได้เบิกใช้คงเหลือจำนวน 1,200 ล้านบาทยอดคงเหลือของบัญชี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย วงเงินกู้ (ร้อยละ) การชำระคืน 2552 2551 2552 2551 เงินกู้ยืมเดิม A MLR ถัวเฉลี่ย- ชำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน - 766,550,871 - - 1.25 จำนวน 24 งวด เริ่มตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2547 B2 MLR ถัวเฉลี่ย- ชำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน - 568,750,000 - 568,750,000 1.25 จำนวน 32 งวด เริ่มตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2551 C MLR ถัวเฉลี่ย- ชำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน - 350,000,000 - 350,000,000 1.25 จำนวน 32 งวด เริ่มตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2551 เงินกู้ยืมใหม่ ก MLR ลบอัตรา ชำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน 1,420,000,000 - 1,420,000,000 - คงที่ต่อปี จำนวน 20 งวด เริ่มตั้งแต่เดือน มกราคม 2555 ข MLR ลบอัตรา ชำระคืนเป็นงวดทุก 3 เดือน 10,000,000 - 10,000,000 - คงที่ต่อปี จำนวน 20 งวด เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม 2555 รวม 1,430,000,000 1,685,300,871 1,430,000,000 918,750,000 - (569,279,069) - (131,250,000) หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ส่วนที่ถึงกำหนดชำระเกินกว่าหนึ่งปี 1,430,000,000 1,116,021,802 1,430,000,000 787,500,000 การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินในระหว่างปี 2552 มีรายละเอียดดังนี้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 หัก: จ่ายคืนเงินกู้ บวก: กู้เพิ่มระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
48
งบการเงินรวม 1,685,300,871 (1,685,300,871) 1,430,000,000 1,430,000,000
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 918,750,000 (918,750,000) 1,430,000,000 1,430,000,000
49
รายงานประจำปี 2552
18. หุ้นกู้แปลงสภาพที่ถือเป็นตราสารทุน หุ้นกู้แปลงสภาพที่ถือเป็นตราสารทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบด้วย ก) หุ้นกู้แปลงสภาพมีประกันบางส่วนจำนวน 300 ล้านบาท ระยะเวลาชำระคืน 12 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.5 ต่อปีในปีที่ 1 - 4 ร้อยละ 5 ต่อปีในปีที่ 5 - 8 และร้อยละ 10 ต่อปีในปีที่ 9 - 12 จ่ายชำระทุก 6 เดือน โดยมีราคาแปลงสภาพ ณ ปัจจุบันเท่ากับ 4.55 บาทต่อ 1 หุ้นสามัญ ผู้ถือหุ้นกู้มีสิทธิเลือกแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ตลอดอายุหุ้นกู้ หุ้นกู้มีหลักประกันเป็นที่ดิน ของบริษัทฯ ข) หุ้นกู้แปลงสภาพมีประกันบางส่วนจำนวน 250 ล้านบาท (ภายหลังการใช้สิทธิแปลงสภาพจำนวน 750 ล้านบาท ในปี 2546) ระยะเวลาชำระคืน 12 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี จ่ายชำระทุก 6 เดือน โดยมีราคาแปลงสภาพ ณ ปัจจุบันเท่ากับ 3.50 บาทต่อ 1 หุ้นสามัญ ผู้ถือหุ้นกู้มีสิทธิเลือกแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ตลอดอายุหุ้นกู้ หุ้นกู้มีหลักประกันเป็นที่ดินของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2543 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติให้แก้ไขเพิ่มเติม ข้อกำหนดว่าด้วยสิทธิและ หน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้และผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพ โดยให้สิทธิบริษัทฯ เลือกที่จะไถ่ถอนหุ้นกู้หรือแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญเมื่อ ครบกำหนด ภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 “การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” การให้สิทธิบริษัทฯ เป็นผู้เลือกที่จะไถ่ถอนหุ้นกู้หรือแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญเมื่อครบกำหนด และจำนวนตราสารทุนที่บริษัทฯ ต้องส่งมอบจะไม่ เปลีย่ นแปลงตามมูลค่ายุตธิ รรมของตราสารทุนนัน้ (เนือ่ งจากบริษทั ฯ กำหนดราคาแปลงสภาพทีแ่ น่นอนไว้แล้ว) ทำให้หนุ้ กูแ้ ปลงสภาพ ดังกล่าวไม่อยูภ่ ายใต้คำจำกัดความของหนีส้ นิ ทางการเงิน และถือเป็นตราสารทุน นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ มีความตัง้ ใจทีจ่ ะ เลือกใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญเมื่อครบกำหนด ดังนั้น หุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าวทั้งจำนวนจึงได้แสดงรวมอยู่ในส่วนของผู้ ถือหุ้นของบริษัทฯ และดอกเบี้ยในอนาคตของหุ้นกู้ดังกล่าวจะบันทึกหักกับส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรง บริษัทฯ ได้สำรองหุ้นสามัญไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้ดังกล่าวข้างต้นจำนวน 178,571,433 หุ้น ดอกเบี้ยจ่ายสำหรับปี 2552 ของหุ้นกู้แปลงสภาพมีจำนวนเงิน 32.5 ล้านบาท (2551: 22.8 ล้านบาท) โดยดอกเบี้ยดังกล่าวบันทึก เป็นส่วนที่นำไปลดกำไรสะสม 19. ทุนเรือนหุ้น ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิเท่าเทียมกับหุ้นสามัญ ยกเว้นสิทธิในการรับเงินปันผลก่อนในอัตราร้อยละ 15 ของทุนที่เป็นหุ้นบุริมสิทธิ หุ้นบุริมสิทธิดังกล่าวสามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ ในไตรมาสที่หนึ่งของปี 2552 มีผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจำนวน 35,000 หุ้น (2551: 66,700 หุ้น) ขอแปลงหุ้นบุริมสิทธิเป็นหุ้นสามัญใน อัตรา 1 หุ้นบุริมสิทธิต่อ 1 หุ้นสามัญ โดยบริษัทฯ ได้ดำเนินการจดทะเบียนการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2552 20. สำรองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปี หักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมี จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทฯ ได้จัดสรรสำรองตามกฎหมายคิดเป็นร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนแล้ว
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
21. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำคัญดังต่อไปนี้ เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่น ของพนักงาน ค่าธรรมเนียมแพทย์ ขาดทุนจาก (โอนกลับ) ค่าเผื่อการด้อยค่าของ - อุปกรณ์ - เครื่องมือแพทย์ - เงินชดเชยการรวมธุรกิจ - เงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าเช่าจ่ายอุปกรณ์ ค่าเช่าจ่ายที่ดินและอาคาร ค่าบำรุงรักษาอาคารและอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ยา เวชภัณฑ์และวัสดุอื่นใช้ไป
2552
งบการเงินรวม
1,476,974,397 2,327,851,332 (13,641,982) - - 38,906,197 41,183,821 154,528,433 136,019,561 1,993,852,561
2551
1,361,170,035 2,178,574,817 - - - 41,216,112 44,431,162 137,129,748 133,267,307 1,971,297,317
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 1,443,136,542 1,344,066,133 2,306,945,338 2,167,439,355 (13,641,982) - - 127,010,644 - 16,000,000 38,522,571 41,216,112 129,983,821 133,231,163 154,444,647 136,865,609 132,579,076 131,728,809 1,969,071,124 1,956,953,822
22. ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับปี 2552 และ 2551 ของบริษัทฯและบริษัทย่อยคำนวณขึ้นในอัตราร้อยละ 30 ของกำไรสุทธิทางภาษี 23. กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี กำไรต่อหุ้นปรับลดคำนวณโดยหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยผลรวมของจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ออกอยู่ในระหว่างปี กับจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯ อาจต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้นให้เป็นหุ้นสามัญ โดย สมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า กำไรต่อหุ้นพื้นฐานและกำไรต่อหุ้นปรับลดแสดงการคำนวณได้ดังนี้ งบการเงินรวม จำนวนหุ้นสามัญ กำไรสุทธิ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2552 2551 2552 2551 บาท บาท หุ้น หุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 1,245,648,440 1,191,046,610 728,297,760 728,256,168 กำไรสุทธิ ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด หุ้นบุริมสิทธิแปลงสภาพ - - 1,754,462 1,796,054 หุ้นกู้แปลงสภาพ - - 137,362,637 137,362,637 กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมติว่ามีการแปลงสภาพ 1,245,648,440 1,191,046,610 867,414,859 867,414,859 เป็นหุ้นสามัญ
50
กำไรต่อหุ้น 2552 2551 บาท บาท 1.71 1.64 1.44 1.37
กำไรต่อหุ้น 2552 2551 บาท บาท 1.65 1.94 1.39 1.63
24. ข้อมูลทางการเงินจำแนกส่วนงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยดำเนินกิจการในส่วนงานทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจโรงพยาบาลและศูนย์ดแู ลสุขภาพ และดำเนินธุรกิจในส่วน งานทางภูมิศาสตร์เดียวคือในประเทศไทย ดังนั้น รายได้ กำไรและสินทรัพย์ทั้งหมดที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวข้องกับส่วนงานธุรกิจ และส่วนงานทางภูมิศาสตร์ตามที่กล่าวไว้ 25. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึง่ ประกอบด้วยเงินทีพ่ นักงานจ่ายสะสมเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือนและเงินทีบ่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายสมทบให้เป็น รายเดือนในอัตราร้อยละ 5 - 7 ของเงินเดือนพนักงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์บัวหลวง จำกัด (มหาชน) และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบของกองทุนฯ ในระหว่างปี 2552 บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนฯ เป็นจำนวนเงิน 38.5 ล้านบาท (2551: 34.4 ล้านบาท) 26. เงินปันผลจ่าย เงินปันผล เงินปันผลประจำปีสำหรับปี 2551 เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2552 รวมเงินปันผลสำหรับปี 2552 เงินปันผลประจำปีสำหรับปี 2550 เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำเนินงานสำหรับงวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2551 รวมเงินปันผลสำหรับปี 2551
อนุมัติโดย ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2552 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2551
เงินปันผลจ่าย
(หน่วย: บาท) เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น
291,962,389
0.40
291,964,824 583,927,213
0.40 0.80
292,011,489
0.40
292,012,849 584,024,338
0.40 0.80
51
รายงานประจำปี 2552
งบการเงินเฉพาะกิจการ จำนวนหุ้นสามัญ กำไรสุทธิ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2552 2551 2552 2551 บาท บาท หุ้น หุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 1,204,427,391 1,414,775,739 728,297,760 728,256,168 กำไรสุทธิ ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด หุ้นบุริมสิทธิแปลงสภาพ - - 1,754,462 1,796,054 หุ้นกู้แปลงสภาพ - - 137,362,637 137,362,637 กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมติว่ามีการแปลงสภาพเป็นหุ้น สามัญ 1,204,427,391 1,414,775,739 867,414,859 867,414,859
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
27. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 27.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุนอันเกี่ยวเนื่องกับสัญญาปรับปรุงอาคารจำนวนเงิน 197.1 ล้านบาท (2551: 70.3 ล้านบาท) และบริษทั ฯ มีภาระผูกพันเกีย่ วกับการซือ้ เครือ่ งมือแพทย์และอุปกรณ์โรงพยาบาลเป็นจำนวนเงิน 80.4 ล้านบาท (2551: 66.6 ล้านบาท) 27.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำเนินงานและสัญญาบริการระยะยาว บริษัทฯ ได้เข้าทำสัญญาเช่าดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดิน อาคาร รถยนต์และอุปกรณ์และสัญญาบริการระยะยาว อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 2 ถึง 30 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าดำเนินงานและสัญญา บริการระยะยาว ดังนี้
1) 2) 3) 4) 5) 6)
จ่ายชำระภายใน รายละเอียดภาระผูกพัน ภายใน 1 ปี 1 ถึง 5 ปี มากกว่า 5 ปี ค่าธรรมเนียมให้แก่ธนาคารแห่งหนึ่งในฐานะ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพ 0.3 0.4 - ค่าเช่าที่ดินหอพักพยาบาล (สามารถต่ออายุสัญญาได้อีก 30 ปี) 0.8 5.4 12.7 ค่าเช่าที่ดินและอาคารเพื่อให้บริการห้องพัก (สามารถต่ออายุสัญญาเช่าได้อีก 2 ปี) 27.1 62.7 - ค่าเช่าอาคารหอพักพยาบาลและบริการที่ เกี่ยวข้อง (สามารถต่ออายุสัญญาเช่าได้) 10.3 4.8 - ค่าบำรุงรักษาอุปกรณ์การแพทย์ 64.9 134.6 - ค่าเช่าและค่าบำรุงรักษารถยนต์ 10.5 7.9 -
(หน่วย: ล้านบาท) รวม 0.7 18.9 89.8 15.1 199.5 18.4
นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2552 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งในต่างประเทศได้ลงนามในสัญญาบริการที่ปรึกษาเป็นระยะเวลา 2 ปี กับบริษัทในต่างประเทศแห่งหนึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทย่อยมีภาระผูกพันตามสัญญาที่จะต้องจ่ายภายใน 1 ปี เป็นจำนวนเงิน 600,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา 27.3 ภาระผูกพันจากสัญญาอื่น บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาการใช้เครือ่ งมือและอุปกรณ์สามฉบับกับบริษทั ในประเทศสามแห่ง สัญญามีกำหนดเวลา 5 - 7 ปี ภายใต้ เงื่อนไขตามสัญญา บริษัทฯ ต้องซื้อเวชภัณฑ์ที่ใช้กับอุปกรณ์ดังกล่าวตลอดอายุของสัญญาตามราคาที่ระบุในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มูลค่าเวชภัณฑ์ที่บริษัทฯต้องซื้อตามสัญญาคงเหลือเป็นจำนวนเงินขั้นต่ำประมาณ 331.8 ล้านบาท (2551: 437.2 ล้านบาท) 27.4 ภาระผูกพันเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีภาระผูกพันเกี่ยวกับส่วนของเงินลงทุนในบริษัทย่อยที่ยังไม่เรียกชำระเป็นจำนวนเงิน 4.8 ล้านเหรียญฮ่องกง 27.5 การค้ำประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีหนังสือค้ำประกันทีอ่ อกโดยธนาคารในนามของบริษทั ฯ เหลืออยูเ่ ป็นจำนวนเงิน 25.7 ล้านบาท (2551: 10.9 ล้านบาท และในนามบริษัทย่อยจำนวนเงิน 8.4 ล้านบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตาม ปกติธุรกิจ เช่น การจ่ายค่าสาธารณูปโภคและการเช่าสถานที่ 28. เครื่องมือทางการเงิน 28.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯ และบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 “การแสดง รายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี ้
52
53
รายงานประจำปี 2552
และเจ้าหนีก้ ารค้า เจ้าหนี้งานก่อสร้างและอุปกรณ์การแพทย์ เงินลงทุน เงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ค วามเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ดั ง กล่ า ว และมี น โยบายในการบริ ห ารความเสี่ ย งดั ง นี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ฝ่ายบริหารควบคุม ความเสีย่ งนีโ้ ดยการกำหนดให้มนี โยบายและวิธกี ารในการควบคุมสินเชือ่ ทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงไม่คาดว่าจะ ได้รบั ความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่ จำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้า และลูกหนี้อื่นที่แสดงอยู่ในงบดุล ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากธนาคารและเงินกู้ยืมระยะยาวที่มี ดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมี อัตราดอกเบีย้ คงทีซ่ งึ่ ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงอยูใ่ นระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสำหรับ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกำหนด หรือวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ย ใหม่ (หากวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ ถึงก่อน) ได้ดังนี้ งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย คงที่ ปรับขึ้นลงตาม ไม่มีอัตรา อัตราดอกเบี้ย (ภายใน 1 ปี) ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม ที่แท้จริง (ล้านบาท) (ร้อยละต่อปี) สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - 350 37 387 0.13 - 0.50 - - 658 658 - ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - - 15 15 - - 350 710 1,060 หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 190 - - 190 2.25 เจ้าหนี้การค้า - - 523 523 - เจ้าหนี้งานก่อสร้างและอุปกรณ์ การแพทย์ - - 27 27 - เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - 1,430 - 1,430 MLR-1.50 190 1,430 550 2,170
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย คงที่ ปรับขึ้นลงตาม ไม่มีอัตรา อัตราดอกเบี้ย (ภายใน 1 ปี) ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม ที่แท้จริง (ล้านบาท) (ร้อยละต่อปี) - 296 37 333 0.13 - 0.50 - - 652 652 - - - 18 18 - - 296 707 1,003 190 - - 190 2.25 - - 514 514 - - - 27 27 - - - 2 2 - 220 - - 220 2.50 - 1,430 - 1,430 MLR - 1.50 410 1,430 543 2,383
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้งานก่อสร้างและอุปกรณ์การแพทย์ เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ และการจ่ายค่าบริการเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่มียอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นสกุลเงิน ตราต่างประเทศ 28.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้นและเงินกู้ยืมมีอัตรา ดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการ เงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบดุล มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำหนด มูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึ้นโดยใช้ เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม 29. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สำคัญของบริษัทฯ คือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมและการดำรงไว้ซึ่ง ความสามารถในการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตามงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กลุม่ บริษทั มีอตั ราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุนเท่ากับ 0.57:1 (2551: 0.67:1) และบริษทั ฯ มีอตั ราส่วน เท่ากับ 0.63:1 (2551: 0.73:1)
54
55
รายงานประจำปี 2552
30. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ในงบการเงิน เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติเห็นชอบให้เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นซึ่งจะจัดขึ้นในเดือน เมษายน 2553 ในเรื่องการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นจากกำไรของปี 2552 ในอัตราหุ้นละ 0.85 บาท รวมเป็นเงิน 620.5 ล้านบาท ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาลไปแล้วในอัตราหุน้ ละ 0.40 บาท รวมเป็นเงิน 292.0 ล้านบาท เมือ่ วันที่ 4 กันยายน 2552 คงเหลือเป็นเงินปันผลที่จะจ่ายในครั้งนี้ในอัตราหุ้นละ 0.45 บาท รวมเป็นเงิน 328.5 ล้านบาท เงินปันผลนี้จะจ่ายและบันทึกบัญชี ภายหลังจากได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 31. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553
สรุ ป สารสนเทศ ที่สำคัญ
56
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
ข้อมูลทั่วไป 1.1 ข้อมูลบริษัท ชื่อ : ประเภทธุรกิจ: สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ : เลขทะเบียนบริษัท : Home page : E-mail address : โทรศัพท์ : โทรสาร : ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว
รายงานประจำปี 2552
1.
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) โรงพยาบาลเอกชน 33 ซอย สุขุมวิท 3 (นานาเหนือ) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 0107536000994 http://www.bumrungrad.com ir@bumrungrad.com 0 2667 1000 0 2677 2525 922,702,685 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญ จำนวน 920,954,935 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท หุ้นบุริมสิทธิ จำนวน 1,747,750 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท 730,052,222 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญ จำนวน 728,304,472 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท หุ้นบุริมสิทธิ จำนวน 1,747,750 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท
1.2 นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป บริษัท บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด 33/3 ซอยสุขุมวิท 3 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2667 1000 โทรสาร 0 2667 2525 บริษัท ไวทัลไลฟ์ จำกัด 210 ซอยสุขุมวิท 1 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2667 2340 โทรสาร 0 2667 2341 บริษัท เอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช จำกัด 33 ซอยสุขุมวิท 3 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2667 1700 โทรสาร 0 2667 1800 บริษัท เอเชีย โกลเบิล เฮลธ์ จำกัด Room 337, 3rd floor, South China C.S. Building 13-17 Wah Sing Street, Kwai Chung, New Territories เขตปกครองพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน โทรศัพท์ (852) 881 8226 โทรสาร (852) 881 0377 บริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด 33 ซอยสุขุมวิท 3 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2667 1000 โทรสาร 0 2667 2525 บริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 33 ซอยสุขุมวิท 3 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2667 1000 โทรสาร 0 2667 2525
จำนวนหุ้นสามัญ ที่จำหน่ายแล้ว 119,869,201 หุ้น
สัดส่วน การถือหุ้น 100.0%
ศูนย์สุขภาพ
315,000 หุ้น
100.0%
ให้บริการวิจัย ทางการแพทย์
2,000,000 หุ้น
100.0%
ศึกษาการลงทุนใน ธุรกิจการแพทย์ และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ในภูมิภาคเอเชีย
1,220,000 หุ้น
100.0%
การลงทุนใน ศูนย์ไตเทียม
1,650,000 หุ้น
51.0%
การลงทุนใน ต่างประเทศ
31,993,367 หุ้น
31.5%
ประเภทธุรกิจ ให้เช่า อสังหาริมทรัพย์
57
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัท
ประเภทธุรกิจ
บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด 33/3 ซอยสุขุมวิท 3 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2667 1000 โทรสาร 0 2667 2525 บริษัท โกลเบิล แคร์ โซลูชั่น เอส. เอ. 9 Rue Schiller, L-2519 Luxembourg โทรศัพท์ 41 (76) 565 1533, Fax 41 (44) 496 6319
1.3 บุคคลอ้างอิง 1. ผู้สอบบัญชี
2. ที่ปรึกษากฎหมาย 3. นายทะเบียนหลักทรัพย์ 4. นายทะเบียนหุ้นกู้แปลงสภาพ 5. ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู ้
หยุดดำเนินการ ชั่วคราว หยุดดำเนินการ
จำนวนหุ้นสามัญ ที่จำหน่ายแล้ว 100,000 หุ้น
สัดส่วน การถือหุ้น 30.0%
31,426 หุ้น
14.0%
บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา เลขที่ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 2264 0789-90 บริษัท ที่ปรึกษาไทย จำกัด 63 ซอย 8 (ซอยปรีดา) ถนนสุขุมวิท กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2255 2552 โทรสาร 0 2653 1133 บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2229 2888 โทรสาร 0 2359 1259 บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) 33 ซอย สุขุมวิท 3 (นานาเหนือ) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2667 2025 โทรสาร 0 2667 2031 ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) 3000 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2299 1111, 0 2617 9111 โทรสาร 0 2299 1784
2. ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป 2.1 ข้อมูลจากงบการเงิน (หน้า 15) 2.2 อัตราส่วนทางการเงิน (หน้า 15) 3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3.1 สรุปสาระสำคัญ บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) ประกอบกิจการโรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพมหานคร ด้วยความสามารถในการรองรับผู้ป่วยในได้ 538 เตียงและผู้ป่วยนอก 4,500 คนต่อวัน และเป็นหนึ่งในผู้นำในการให้บริการ ทางการแพทย์ในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีการให้บริการอย่างครบวงจรทั้งการบริการผู้ป่วยนอก และการบริการผู้ป่วยใน ตลอดเวลาที่ผ่านมา บริษัทได้ให้ความสำคัญกับการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพ คณะแพทย์และ พนั ก งานที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญ และเป็ น โรงพยาบาลแห่ ง แรกในเอเชี ย ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองคุ ณ ภาพโรงพยาบาลระดั บ สากล (JCI Accreditation) ตามมาตรฐานการรับรองของสหรัฐอเมริกา ขณะนี้ บริ ษั ท อยู่ ร ะหว่ า งการขยายและยกระดั บ อาคารและสิ่ ง อำนวยความสะดวกของโรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ กรุงเทพมหานครภายในห้าปีข้างหน้า เพื่อรองรับความต้องการบริการทางการแพทย์เอกชนที่เพิ่มขึ้น โดยที่การขยายธุรกิจ ดังกล่าว จะทำให้ความสามารถในการให้บริการของบริษัทเพิ่มขึ้นเป็นกว่า 600 เตียงและคนไข้นอกจำนวน 6,000 คนต่อวัน นอกจากนี้ บริษัทมีแผนที่จะขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศผ่านบริษัทร่วมซึ่งบริษัทถือหุ้นอยู่ 31.5% คือบริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งบริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด มีนโยบายที่จะหาโอกาสในการลงทุนใหม่ๆ ในภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ
58
บริษัทมีบริษัทย่อยซึ่งบริษัทถือหุ้น 100% อยู่สี่บริษัท คือ (1) บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด (2) บริษัท ไวทัลไลฟ์ จำกัด (3) บริษัท เอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช จำกัด และ (4) บริษัท เอเชีย โกลเบิล เฮลธ์ จำกัด มีบริษัทย่อยซึ่งบริษัท ถือหุ้น 51% อยู่หนึ่งบริษัท คือ บริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด และมีบริษัทร่วมสองบริษัท คือ บริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งบริษัทถือหุ้น 31.5% และบริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด ซึ่งบริษัทถือหุ้น 30% และบริษัท ที่เกี่ยวข้องกันหนึ่งบริษัท คือบริษัท โกลเบิล แคร์ โซลูชั่น เอส. เอ. ในประเทศลักเซมเบิร์ก ซึ่งบริษัทถือหุ้นอยู่ 14% โครงสร้างบริษัทมีดังต่อไปนี้ บริษัท โรงพยาบาล บำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) 100.0%
31.5%
100.0%
30.0%
บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด
บริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด*
บริษัท เอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช จำกัด
บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด
เจ้าของอาคารโรงพยาบาลปัจจุบัน
ผู้ดำเนินการด้านกิจการต่างประเทศ
ให้บริการวิจัยทางการแพทย์
หยุดดำเนินการชั่วคราว
100.0%
100.0%
บริษัท ไวทัลไลฟ์ จำกัด
บริษัท เอเชีย โกลเบิล เฮลธ์ จำกัด
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแบบครบวงจร
ศึกษาการลงทุนในธุรกิจการแพทย์ และธุรกิจที่เกี่ยวข้องในภูมิภาคเอเชีย
56.4%
บริษัท เอเชียน ฮอสพิทอล อิงค์
หมายเหตุ ข้อมูล ณ ธันวาคม 2552
100.0%
บริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ จำกัด
* นักลงทุนเชิงกลยุทธ์ของบริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ประกอบด้วย - Istithmar 19.5% - Temasek 19.5% - Asia Financial Holdings 19.5% - ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 10.0%
สัญญา บริหารจัดการ
โรงพยาบาล บำรุงราษฎร์ อัล มาฟรัก 49.0%
51.0%
บริษัท เอเชีย รีนัล แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด
รายละเอียดของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน มีดังต่อไปนี้ 1. บริษัท บำรุงราษฎร์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด (“BMC”) เป็นเจ้าของอาคารโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ซึ่งให้บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) เช่า 2. บริษัท ไวทัลไลฟ์ จำกัด (“Vitallife”) เป็นผู้ริเริ่มศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและเวชศาสตร์วัยยุวัฒน์ (Anti-aging) แบบครบวงจร เชี่ยวชาญทางด้านการให้บริการป้องกันและรักษาเพื่อชะลอความเสื่อมของร่างกาย โดยมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายที่สนใจการดูแล รักษาสุขภาพเป็นพิเศษ โปรแกรมไวทัลไลฟ์มีการผสมผสานระหว่างคณะแพทย์มืออาชีพที่มีความเชี่ยวชาญและวิทยาการ มาตรฐานระดับสากลเพื่อออกแบบโปรแกรมสุขภาพสำหรับลูกค้าแต่ละรายโดยเฉพาะ ซึ่งมีทั้งโปรแกรมการออกกำลังกาย โปรแกรมโภชนาการ และโปรแกรมอาหารเสริมเพื่อสุขภาพที่ดี และเป็นศูนย์กลางในการให้บริการเวชศาสตร์วัยยุวัฒน์ แก่คลินิกพันธมิตรอื่นๆ 3. บริษัท เอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช จำกัด (“AGR”) เป็นผู้ให้บริการด้านวิจัยทางคลินิกทั้งในประเทศ และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็น (1) ศูนย์ประสานวิจัย (Contract Research Organization หรือ CRO) ซึ่งคือผู้ทดลองวิจัยทางคลินิกให้กับบริษัทยา บริษัท biotech และบริษัทอุปกรณ์การแพทย์ และ (2) ศูนย์วิจัยทางคลินิก (Site Management Organization หรือ SMO) ซึ่งเป็นผู้บริหารโครงการวิจัยต่างๆเพื่อให้ได้การวิจัยและข้อมูลที่มีคุณภาพ 4. บริษัท เอเชีย โกลเบิล เฮลธ์ จำกัด (“AGH”) เป็นบริษัทซึ่งทำหน้าที่ในการหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจการแพทย์และธุรกิจ ที่เกี่ยวข้องในภูมิภาค
59
รายงานประจำปี 2552
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
5. บริษทั เอเชีย รีนลั แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด (“ARC Thailand”) เป็นบริษทั ร่วมทุนระหว่างบริษทั และ บริษทั เอเชีย รีนลั แคร์ (เอสอีเอ) พีทีอี จำกัด ARC Thailand เป็นผู้ลงทุน 20% ในบริษัท เนพโฟรเมด จำกัด ผู้ให้บริการไตเทียมซึ่งมี 16 คลินิก ในประเทศไทย 6. บริษัท บำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นผู้ลงทุนในโครงการต่างๆ ในต่างประเทศของบริษัท โดยมีโรงพยาบาลและ คลินิกจำนวน 104 แห่งใน 8 ประเทศ โดยที่นักลงทุนเชิงกลยุทธ์ของบริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ประกอบด้วย Istithmar ซึ่งเป็นบริษัทลงทุนของรัฐบาลประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, Temasek แห่งประเทศสิงคโปร์, Asia Financial Holdings ในฮ่องกง และ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ซึ่งพันธมิตรเหล่านี้ของบริษัท บำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติและมีอิทธิพลในภูมิภาคนั้นๆ ทำให้บริษัท บำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัดมีโอกาสในการ ลงทุนใหม่ๆ และเครือข่ายพันธมิตรโดยเฉพาะในตะวันออกกลางและเอเชีย 7. บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด (“CDE Trading”) (เดิมชื่อ บริษัท โกลเบิลแคร์ โซลูชั่น (ประเทศไทย) จำกัด) เดิมเป็นบริษัท พัฒนาระบบซอฟท์แวร์สำหรับโรงพยาบาล ในเดือนธันวาคม 2550 บริษัท โกลเบิลแคร์ โซลูชั่น (ประเทศไทย) จำกัด ได้ขายสินทรัพย์หลัก คือผลิตภัณฑ์ซอฟท์แวร์บริหารโรงพยาบาล และสินทรัพย์อื่นๆ ให้กับกลุ่มไมโครซอฟท์ และได้จดทะเบียน เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด โดยที่ขณะนี้ CDE Trading หยุดการดำเนินกิจการชั่วคราว 8. บริษัท โกลเบิล แคร์ โซลูชั่น เอส. เอ. (“GCS Luxemburg”) ขณะนี้หยุดการดำเนินการชั่วคราว 3.2 โครงสร้างรายได้ (หน่วย:ล้านบาท) % 2552 2551 2550 กลุ่มธุรกิจ ดำเนินการโดย การถือหุ้น ของบริษัท รายได้รวม % รายได้รวม % รายได้รวม % ธุรกิจการแพทย์ ธุรกิจการแพทย์
รวมธุรกิจการแพทย์
ธุรกิจบริหารโรงพยาบาล
รวมธุรกิจบริหารโรงพยาบาล ธุรกิจให้เช่า
รวมธุรกิจให้เช่า อื่นๆ อื่นๆ อื่นๆ
อื่นๆ
รวมอื่นๆ*** รวม
60
บมจ. โรงพยาบาล บำรุงราษฎร์ บจ. ไวทัลไลฟ์
บจ. บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล บมจ. โรงพยาบาล บำรุงราษฎร์ บมจ. โรงพยาบาล บำรุงราษฎร์** บจ. บำรุงราษฎร์ เมดิคอลเซ็นเตอร์ บจ. บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล บจ. เอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช
8,955
95.4
8,540
95.7
8,227
87.4
100.0 31.5*
114 9,069 -
1.2 96.6 -
89 8,629 -
1.0 96.7 -
97 8,324 17
1.0 88.4 0.2
- 132
- 1.4
- 128
- 1.4
17 132
0.2 1.4
132 180
1.4 2.0
128 167
1.4 1.9
132 925
1.4 9.9
100.0
-
-
1
-
2
-
31.5 100.0
- 4 184 9,385
- - 2.0 100.0
- - - - 168 1.9 8,925 100.0
13 0.1 - - 940 10.0 9,413 100.0
* เมื่อเดือนเมษายน 2550 บริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เปลี่ยนสถานะจากบริษัทย่อยเป็นบริษัทร่วมของบริษัท ซึ่งหลังจากนั้น รายได้จากธุรกิจบริหารโรงพยาบาล ซึ่งเป็นของบริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด จึงไม่ปรากฎในงบการเงินรวมของบริษัท เนื่องจาก บัญชีของบริษัท บำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ไม่ได้รวมอยู่ในบัญชีของบริษัทอีกต่อไป ** ในปี 2550 บมจ. โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ มีรายได้อื่นๆจำนวน 925 ล้านบาท ซึ่งส่วนหนึ่งจำนวน 829 ล้านบาทเป็นส่วนแบ่งกำไรจาก บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด (CDE Trading) (เดิมชื่อบริษัท โกลเบิลแคร์ โซลูชั่น (ประเทศไทย) จำกัด) โดยส่วนใหญ่เป็นกำไรจากการขายสินทรัพย์ ของ CDE Trading ซึง่ เป็นกำไรซึง่ ไม่เกีย่ วกับการดำเนินงานโดยปกติของบริษทั และเกิดขึน้ ครัง้ เดียว หักด้วยผลการดำเนินงานของ CDE Trading *** รายได้อื่นๆ รวมส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษัทร่วม
61
รายงานประจำปี 2552
3.3 ลักษณะการประกอบธุรกิจ และภาวะการแข่งขัน บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) บริษัทเป็นผู้ดำเนินกิจการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นผู้ที่ทำรายได้หลักให้กับ บริษัท โดยรายได้จากกิจการโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร คิดเป็น 95.4% ของรายได้รวมทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริการของโรงพยาบาล: บริการของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร สามารถแบ่งได้ดังต่อไปนี้ 1. การบริการผู้ป่วยนอก มีศูนย์บริการผู้ป่วยนอกจำนวน 34 ศูนย์ และคลินิกตรวจผู้ป่วยกว่า 200 ห้อง สามารถรองรับ ผู้ป่วยนอกได้ 4,500 คนต่อวัน 2. บริการผู้ป่วยใน มีจำนวนเตียง 538 เตียง ซึ่งรวมเตียงผู้ป่วยหนักทั่วไป 37 เตียง เตียงผู้ป่วยโรคหัวใจ 14 เตียง เตียงผู้ป่วยหนักเด็ก 9 เตียง และเตียงผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด 5 เตียง โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 โรงพยาบาล มีเตียงพร้อมให้บริการจำนวน 457 เตียง 3. บริการพิเศษ ซึ่งรวมถึงแผนกผู้ป่วยฉุกเฉินพร้อมการสวนหัวใจฉุกเฉิน ซึ่งเปิดบริการตลอด 24 ชั่วโมง นอกจากนี้ โรงพยาบาลยังมีห้องผ่าตัด 19 ห้องซึ่งมีเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่เพียบพร้อมและทันสมัย ห้องปฏิบัติการ สวนหัวใจ 2 ห้อง และห้องผ่าตัดหัวใจ 2 ห้อง โรงพยาบาลมีเครื่องวินิจฉัยด้วยสนามแม่เหล็ก (MRI) เครื่องเอ็กซเรย์ คอมพิวเตอร์ (PET/CT Scanner) และเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิด 64 ภาพ (64-Slice CT Scanner) เพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วยและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลได้ติดตั้งระบบห้องปฏิบัติการทางการแพทย์อัตโนมัติ (Lab Automation) หุ่นยนต์จัดยา (Pharmacy Robot) และระบบจัดเก็บและรับส่งภาพทางรังสีด้วยระบบดิจิตอล (PACS) นอกจากนี้ โรงพยาบาลยังมีระบบภาพนำร่องช่วยการผ่าตัด (Surgical Navigation System) และระบบภาพนำร่องในการ รักษามะเร็งด้วยรังสี (Image-Guided Radiotherapy หรือ IGRT) อีกด้วย ในปี 2552 บริษัทได้ให้บริการรักษาผู้ป่วยทั้งสิ้นกว่าหนึ่งล้านคน โดยที่มีส่วนแบ่งรายได้จากผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก ในปี 2552 ดังต่อไปนี้ ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก (% ของรายรับรวม) ผู้ป่วยใน 49% ผู้ป่วยนอก 51% ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 การให้บริการผู้ป่วยต่างประเทศ: บริษัทประสบความสำเร็จอย่างต่อเนื่องในการเป็นที่รู้จักในตลาดต่างประเทศเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนมีฐานลูกค้าชาวต่างชาติ ที่เข้มแข็ง บริษัทมีศูนย์บริการผู้ป่วยต่างชาติ เพื่ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ เช่น บริการล่าม บริการประสานงานกับ ประกันภัยระหว่างประเทศ บริการประสานงานทางด้านการแพทย์ บริการรับย้ายผู้ป่วย (Referral Center) บริการติดต่อสื่อสาร ทางอีเมล บริการต่อวีซ่า การติดต่อสถานทูต การต้อนรับที่สนามบินและการช่วยเหลือในการเดินทาง เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัท ยังมีบริการห้องพักสำหรับผู้ป่วยและครอบครัวสองอาคาร คือ บีเอช เรสสิเดนซ์ (อาคารบีเอชทาวเวอร์) ซึ่งประกอบด้วย ห้องพัก 74 ห้องพร้อมสิ่งอำนวยความสะดวก โดยมีทางเดินเชื่อมติดกับอาคารโรงพยาบาล และอาคารบีเอช สวีท ซึ่งประกอบ ด้วยห้องพัก 51 ห้อง และบริษัทมีสำนักงานตัวแทนต่างประเทศ 28 แห่งใน 25 ประเทศ ในปี 2552 โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานครได้ให้บริการรักษาผู้ป่วยชาวต่างชาติจากกว่า 190 ประเทศ รวมกว่า 400,000 คน โดยที่ประเทศที่ทำรายได้สูงสุดให้กับบริษัทสามอันดับแรกยังคงเป็นสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอเมริกา และโอมาน รูปภาพต่อไปนี้ แสดงถึงรายรับของบริษทั แบ่งตามผูป้ ว่ ยในประเทศและผูป้ ว่ ยต่างประเทศห้าปีทผี่ า่ นมา
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
ผู้ป่วยในประเทศและผู้ป่วยต่างประเทศ (% ของรายรับรวม)
62
100% 80%
47%
46%
45%
46%
45%
53%
54%
55%
54%
55%
60% 40% 20% 0% 2548 2549
2550 2551 2552
ผู้ป่วยต่างประเทศ
ผู้ป่วยในประเทศ
* หมายเหตุ ข้ อ มู ล ของผู้ ป่ ว ยต่ า งประเทศเป็ น ข้ อ มู ล ตามสั ญ ชาติ ซึ่ ง รวมทั้ ง ชาวต่ า งชาติ ที่ อ ยู่ ใ นประเทศไทยและในภู มิ ภ าคเอเชี ย (Expatriates) และนั ก ท่ อ งเที่ ยวเชิงสุขภาพ
โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร: ในปัจจุบัน โรงพยาบาลมีการให้บริการในสองอาคาร: 1. อาคารบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนลคลินิก เป็นอาคารผู้ป่วยนอก 22 ชั้น โดย 10 ชั้นแรกเป็นชั้นจอดรถ และ 12 ชั้นบน เป็นคลินิกและบริการสนับสนุน ปัจจุบัน ได้เปิดให้บริการคลินิกผู้ป่วยนอกแล้ว 5 ชั้น ซึ่งรวมถึงศูนย์ตรวจสุขภาพ ศูนย์หัวใจ ศูนย์อายุรกรรมและศัลยกรรม โรคติดเชื้อ โรคไต ประสาทวิทยา โรคปอด โรคข้อและรูมาติสซึ่ม ระบบทางเดิน ปัสสาวะ และศูนย์สุขภาพชาย เป็นต้น 2. อาคารโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ให้บริการทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก โดยมีเตียงให้บริการผู้ป่วยใน 538 เตียง และคลินิกผู้ป่วยนอกบางส่วน เช่น ศูนย์มะเร็ง ศูนย์ทันตกรรม ศูนย์ทางเดินอาหาร-ตับ ศูนย์กุมารเวช ศูนย์สูติ-นรีเวช บริษัทมีแผนที่จะขยายและยกระดับการให้บริการของโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานครในอีกห้าปีข้างหน้า โดยสำหรับ อาคารโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล บริษัทอยู่ระหว่างการปรับปรุงคลินิกผู้ป่วยนอก ซึ่งรวมถึงศูนย์สูติ-นรีเวช และศูนย์ทางเดินอาหาร-ตับ และห้องพักผู้ป่วยใน เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วย แพทย์ และพยาบาล ได้ดียิ่งขึ้น โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสำคัญ โดยคาดว่าโครงการจะเสร็จประมาณกลางปี 2553 นอกจากนี้ เพื่อขยายความสามารถในการให้บริการ อาคารบีเอชทาวเวอร์ ซึ่งบริษัทได้ซื้อคืนในปี 2551 จะเป็นพื้นที่ ที่สามารถรองรับการเพิ่มเตียงสำหรับผู้ป่วยในได้เมื่อมีความต้องการในอนาคต ส่วนอาคารบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล คลินิก มีอีก 5 ชั้นบนที่ยังไม่ได้เปิดให้บริการ โดยบริษัทมีแผนที่จะทยอยเปิดชั้นที่ยังไม่ได้เปิดในอาคารบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนลคลินิก และอาคารบีเอชทาวเวอร์ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น ซึ่งคาดว่าจะใช้เวลากว่าห้าปี กว่าจะเปิด ให้บริการเต็มพื้นที่ ซึ่งจะทำให้ความสามารถในการให้บริการของบริษัทเพิ่มขึ้นเป็นกว่า 600 เตียงและผู้ป่วยนอก 6,000 คน ต่อวัน และจะทำให้โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในคลินิกผู้ป่วยนอกเอกชน ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
63
รายงานประจำปี 2552
บริษัท บำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษทั บำรุงราษฎร์อนิ เตอร์เนชัน่ แนล จำกัด เป็นบริษทั ร่วมทีบ่ ริษทั ถือหุน้ อยู่ 31.5% ทำหน้าทีล่ งทุนในธุรกิจทีเ่ กีย่ วกับการให้บริการ รักษาพยาบาลโดยการร่วมทุนกับผู้ร่วมทุนในประเทศนั้นๆ พร้อมกับให้บริการเป็นที่ปรึกษาและบริหารจัดการโรงพยาบาล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ได้ลงทุนในโรงพยาบาลหนึ่งแห่ง ผู้ให้บริการฟอกไตที่มีเครือข่าย 102 คลินิกหนึ่งบริษัท และมีสัญญาบริหารจัดการหนึ่งโรงพยาบาลในรัฐอาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัท บำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด คิดเป็น 3.5% ของกำไรสุทธิของบริษัท บริษัท บำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด มีสัดส่วนการถือหุ้น 56.4% ใน เอเชียน ฮอสพิทอล อิงค์ (AHI) ในประเทศฟิลิปปินส์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดย AHI เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2545 เป็นโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่แห่งแรกในทางใต้ ของกรุงมะนิลา AHI มีขนาด 217 เตียง และเป็นที่รู้จักเนื่องจากมีเครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัยและคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ โดย เฉพาะทางด้านโรคหัวใจ AHI มีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่ใกล้เคียงกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร คือ ประชากรที่เป็นชนชั้นกลางขึ้นไป AHI อยู่ระหว่างการขยายความสามารถในการให้บริการในอีกห้าปี เป็น 358 เตียง โดยจะค่อยๆเปิด เตียงเพื่อให้บริการเพิ่ม ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น บริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด มีสัดส่วนการถือหุ้น 100% ในบริษัท เอเชียรีนัลแคร์ จำกัด (ARC) ARC เป็นผู้นำใน เอเชียในการเป็นผู้ให้บริการไตเทียมเอกชนและบริการที่เกี่ยวข้องสำหรับผู้ป่วยไตล้มเหลวเรื้อรัง ARC ได้ก่อตั้งขึ้นในปี 2540 และมี สำนักงานใหญ่อยู่ที่สิงคโปร์ ในปัจจุบัน ARC มีคลินิกรวม 102 แห่ง (ณ 31 ธันวาคม 2552) ใน 7 ประเทศในเอเชีย ประกอบด้วย 32 คลินิกในไต้หวัน 10 คลินิกในเกาหลีใต้ 22 คลินิกในสิงคโปร์ 8 คลินิกในมาเลเซีย 12 คลินิกในฟิลิปปินส์ 2 คลินิกในญี่ปุ่น และ 16 คลินิกในประเทศไทย และให้บริการรักษาผู้ป่วยกว่า 5,600 คน นอกจากนี้ บริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัดได้ลงนามในสัญญากับสำนักงานสาธารณสุขรัฐอาบูดาบี เพื่อเข้าบริหาร โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อัล มาฟรัก ในรัฐอาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์เป็นเวลาสี่ปี โดยที่บริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัดเป็นหนึ่งในโรงพยาบาลระดับนานาชาติที่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมบริหารจัดการโรงพยาบาลในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซึ่งรวมถึง Johns Hopkins และ Cleveland Clinic จากสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อัล มาฟรักมีความสามารถในการรองรับ ผู้ป่วยในได้ 460 เตียง มีเตียงผู้ป่วยหนัก 14 เตียง และเตียงสำหรับทารกที่ต้องการการดูแลพิเศษอีก 14 เตียง และให้บริการรักษา พยาบาลผู้ป่วยประมาณ 310,000 รายต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยในกว่า 25,000 ราย นอกจากการลงทุนในโครงการข้างต้น บริษทั บำรุงราษฎร์อนิ เตอร์เนชัน่ แนล จำกัด ยังคงมีแผนทีจ่ ะหาโครงการลงทุนอืน่ ๆ ในภูมภิ าค อย่างต่อเนื่อง โดยพันธมิตร ซึ่งรวมถึง Istithmar, Temasek, Asia Financial Holdings และธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เป็น ผู้แนะนำโอกาสในการลงทุนใหม่ๆ จากเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค ได้แก่ ตะวันออกกลางและเอเชีย ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน โดยทั่วไป ความต้องการด้านสุขภาพมีการขยายตัวตามผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ที่เพิ่มมากขึ้น กลุ่มประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้น และการที่ประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น อย่างไรก็ตาม ภาวะผันแปรทางการเมืองในประเทศที่ยืดเยื้อ ซึ่งส่งผลถึงการปิดท่าอากาศยานใน ปลายปี 2551 และวิกฤติเศรษฐกิจโลก ทำให้เศรษฐกิจในประเทศเติบโตช้าลง ส่งผลให้การใช้บริการทางการแพทย์เอกชนเติบโตช้าลง ด้วย และจำนวนโรงพยาบาลในประเทศไทยยังคงมีปริมาณมากกว่าความต้องการของผู้ป่วยในประเทศ ณ สิ้นปี 2549 ประเทศไทยมี โรงพยาบาลเอกชนทั้งสิ้น 344 แห่ง รวม 35,806 เตียง โดยที่โรงพยาบาล 102 แห่ง รวม 15,500 เตียงอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็นผล ให้การแข่งขันระหว่างโรงพยาบาลเอกชนมีความรุนแรง อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมการแพทย์เอกชนในประเทศไทย เป็นการแข่งขัน แบบไม่สมบูรณ์ (Fragmented Market) และมีโรงพยาบาลเอกชนเพียงไม่กี่แห่งที่ดำเนินงานได้เต็มความสามารถในการให้บริการ ตลาดที่มีขนาดใหญ่กว่าและขยายตัวเร็วกว่าความต้องการในประเทศ คือตลาดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism) มี การคาดการณ์ว่า อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพระดับโลก จะมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมีผู้เดินทางออก นอกประเทศเพื่อใช้บริการรักษาพยาบาลมากยิ่งขึ้น นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ใช้บริการในประเทศไทยเพิ่มขึ้นจาก 630,000 คนในปี 2545 เป็น 1.4 ล้านคนในปี 2549 คู่แข่งในภูมิภาคของประเทศไทยที่สำคัญคือ โรงพยาบาลในประเทศต่างๆ เช่นสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินเดีย อย่างไรก็ตาม โรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทยมีความได้เปรียบในการแข่งขันเมื่อเทียบกับหลายๆประเทศ เนื่องจากประเทศไทยมีองค์ประกอบที่แตกต่าง คือคุณภาพการรักษาพยาบาลที่สูง ความสามารถในการเข้าถึงได้ง่ายของผู้ป่วย และ ราคาที่สามารถจ่ายได้ รวมถึงการที่ประเทศไทยเป็นจุดหมายที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว และมีโครงสร้างพื้นฐานของประเทศที่ดี และในประเทศไทยเอง มีโรงพยาบาลเอกชนเพียงไม่กี่แห่ง ที่มีเทคโนโลยี การบริหารและระบบที่มีความซับซ้อนมากพอที่จะสามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยชาวต่างชาติได้ กลยุ ท ธ์ ใ นการแข่ ง ขั น ของบริ ษั ท คื อ การรั ก ษาคุ ณ ภาพในการบริ ก ารที่ เ ป็ น เลิ ศ และแตกต่ า ง ซึ่ ง รวมถึ ง การที่ โ รงพยาบาล บำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกในเอเชียที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลระดับสากล
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
Joint Commission International Accreditation (JCIA) นอกจากนี้ บริษัทมีนโยบายในการกำหนดราคาให้อยู่ในระดับเดียวกับ โรงพยาบาลเอกชนชั้นนำในประเทศและขณะเดียวกันเป็นราคาที่แข่งขันได้ในภูมิภาคเอเชีย ในปีที่ผ่านมา บริษัทได้เน้นกิจกรรมทางการตลาดในประเทศมากยิ่งขึ้น เพื่อขยายฐานลูกค้าในประเทศ โดยมีการโฆษณาผ่านสื่อ ต่างๆ ทั้งโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และนิตยสาร เพื่อให้โรงพยาบาลเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น มีการสนับสนุนรายการโทรทัศน์ที่ให้ความ รู้เกี่ยวกับสุขภาพและโรคภัยไข้เจ็บ มีโครงการสมาชิก Healthy Living Club ซึ่งให้ส่วนลดและสิทธิพิเศษอื่นๆกับสมาชิก เพื่อดึงดูดทั้ง ลูกค้าปัจจุบันและลูกค้าใหม่ อีกทั้งมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละไตรมาส เช่น กิจกรรม Health Fair กิจกรรม Big Heart และ กิจกรรม Stop Cancer ซึ่งเน้นการให้ความรู้ในเรื่องสุขภาพที่เกี่ยวกับสาขาที่เป็นเป้าหมายในแต่ละไตรมาส และการขายแพคเก็จราคา ประหยัด เพื่อจูงใจลูกค้าใหม่ให้มาทดลองใช้บริการ สำหรับการแข่งขันในระดับภูมิภาค บริษัทมีแผนที่จะรักษาความเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมโดยการขยายเครือข่ายการให้บริการของ โรงพยาบาลและการให้บริการทางการแพทย์ไปยังตลาดกลุ่มเป้าหมายอื่นผ่านการลงทุนในต่างประเทศ ซึ่งปัจจุบันรวมถึงประเทศ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไต้หวัน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และตะวันออกกลาง นอกจากนี้ บริษัทมีสำนักงานตัวแทนในต่างประเทศ 28 แห่งในตลาดที่สำคัญ และมีการจัดตั้งศูนย์บริการผู้ป่วยต่างชาติอย่างเป็นทางการ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ป่วยชาวต่างชาติ อีก ทั้งเป็นศูนย์รับย้ายผู้ป่วย (Tertiary Referral Center) จากทั้งในและนอกประเทศ 4. ปัจจัยความเสี่ยง 1. ผลกระทบจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่ถดถอย ในปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทยได้รับผลกระทบจากสามปัจจัยหลัก คือ ความไม่สงบทางการ เมืองในประเทศ ภาวะเศรษฐกิจโลกที่ถดถอย และโรคระบาดไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ถึงแม้ว่าการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพจะ ไม่ได้รับผลกระทบที่รุนแรงเท่าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทั่วไป เนื่องจากส่วนมาก ผู้ป่วยจะมีความสัมพันธ์ที่ค่อนข้างมั่นคงกับ โรงพยาบาลและแพทย์ แต่เหตุการณ์ต่างๆ เหล่านี้ อาจทำให้ผู้ป่วยเลื่อนการเดินทางออกไป หรือทำให้จำนวนชาวต่างชาติ ที่เดินทางเข้ามาในประเทศลดน้อยลง และเป็นผลให้มีความเสี่ยงที่จะกระทบต่อรายได้จากผู้ป่วยต่างชาติของบริษัท เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น บริษัทได้รักษาสัดส่วนจำนวนผู้ป่วยไทยและต่างชาติให้มีความสมดุลกัน โดยใน ปีที่ผ่านมา มีการจัดกิจกรรมทางการตลาดที่เน้นตลาดในประเทศมากยิ่งขึ้น เพื่อไม่ให้บริษัทต้องพึ่งพิงรายได้จากผู้ป่วยต่างชาติ ในสัดส่วนที่มากเกินไป เป็นผลให้สัดส่วนจำนวนผู้ป่วยไทยใกล้เคียงเดิม คิดเป็น 60% ของจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดในปี 2552 2. ภาวะการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นของโรงพยาบาลเอกชนชั้นนำ ในสภาวะปัจจุบันที่กำลังซื้ออ่อนตัวลงเนื่องจากความไม่แน่นอนทางการเมืองและเศรษฐกิจโลก ในขณะที่โรงพยาบาลเอกชน มีอยู่เป็นจำนวนมาก ส่งผลให้การแข่งขันของโรงพยาบาลเอกชนมีความรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ความเสี่ยงที่บริษัทจะสูญเสีย ลูกค้าไปให้แก่โรงพยาบาลอื่นๆ จึงมีสูงขึ้นตามไปด้วย เพื่อคงความเป็นโรงพยาบาลชั้นนำของประเทศและของภูมิภาคเอเชียและลดความเสี่ยงดังกล่าว บริษัทได้ลงทุนในอุปกรณ์ การแพทย์และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย มีการยกระดับสิ่งอำนวยความสะดวกทั้งของผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกและ พัฒนาคุณภาพการรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ดังเห็นได้จากการที่บริษัทเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกในเอเชียที่ได้รับการรับรอง คุณภาพโรงพยาบาลระดับสากลจากสถาบัน Joint Commission International Accreditation (JCIA) ตามมาตรฐานการรับรอง ของสหรัฐอเมริกา และเป็นโรงพยาบาลเอกชนแห่งแรกที่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาลไทย (Thai Hospital Accreditation – HA) นอกจากนี้บริษัทมีฐานผู้ป่วยรับย้าย (Referral Patients) จากทั้งในประเทศและต่างประเทศ จึงเป็นการ ตอกย้ำถึงชื่อเสียงของการเป็นผู้นำทั้งในประเทศและต่างประเทศของบริษัท 3. การขาดแคลนบุคลากร ปัจจัยหนึ่งที่สำคัญในการประกอบธุรกิจโรงพยาบาล คือ การมีบุคลากรที่มีความรู้ความชำนาญเฉพาะทาง ซึ่งรวมถึง พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกรและเจ้าหน้าที่เทคนิคสาขาต่างๆ บริษัทจึงมีความเสี่ยงที่จะขาดแคลนบุคลากรวิชาชีพเหล่านี้จากความ ต้องการที่เพิ่มขึ้น และเนื่องจากบริษัทให้ความสำคัญกับฐานลูกค้าที่เป็นผู้ป่วยต่างชาติ จึงมีความต้องการบุคลากรวิชาชีพที่พูดได้ หลายภาษาอีกด้วย เพื่อลดความเสี่ยงดังกล่าว บริษัทจึงได้กำหนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์ในระดับที่จูงใจสำหรับบุคลากรของบริษัท อีกทั้งยังจัดให้มีการศึกษาและฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณภาพชีวิต โครงการเสริมสร้างความผูกพัน ของพนักงาน และจัดสวัสดิการในรูปแบบต่างๆ ให้ทัดเทียมกับผู้ประกอบการรายอื่น เพื่อเป็นการรักษาบุคลากรของบริษัท เอาไว้ ตลอดจนมีแผนกลยุทธ์เพือ่ สร้างความก้าวหน้าในหน้าทีก่ ารงาน โดยผ่านโครงสร้างการจัดการแบบการกระจายอำนาจ ในปี 2552 บริษัทได้รับรางวัล "สถานประกอบกิจการดีเด่น ด้านแรงงานสัมพันธ์ และสวัสดิการแรงงาน ประจำปี 2552" ประเภท สถานประกอบกิจการขนาดใหญ่ที่ไม่มีสหภาพแรงงานซึ่งจัดโดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน
64
กลุ่มผู้ถือหุ้น 1. บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) 2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด 3. บริษัท บริหารสินทรัพย์ทวี จำกัด 4. UOB Kay Hian (Hong Kong) Limited – Client Account 5. Littledown Nominees Limited 9 6. Istithmar PJSC 7. บริษัท วัฒนโสภณพนิช จำกัด 8. Raffles Nominees (Pte) Limited*** 9. Citibank Nominees Singapore Pte. Ltd. - Aranda Investments Pte. Ltd. 10. State Street Bank and Trust Company for London รวม
จำนวนหุ้น* 96,158,302 72,268,915 63,258,514 58,401,690 43,774,600 43,370,743 25,121,875 22,305,671 21,685,372 18,264,265 464,609,947
สัดส่วนการถือหุ้น** (ร้อยละ) 13.17 9.90 8.66 8.00 6.00 5.94 3.44 3.06 2.97 2.50 63.64
* ** ***
จำนวนหุ้นรวมทั้งหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญ การคิดสัดส่วนการถือหุ้น รวมทั้งหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญ Raffles Nominees (Pte) Limited เป็น Custodian ของ TLS Alpha Pte. Ltd. ซึ่งเป็นตัวแทนของ Temasek โดยหุ้นจำนวน 21,685,371 หุ้น ใน Raffles Nominees (Pte) Limited เป็นของ TLS Alpha Pte. Ltd.
บริษทั มีผถู้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นสถาบันการเงินต่างประเทศ หรือผูร้ บั ฝากและดูแลหุน้ (Custodian) ทำหน้าทีเ่ ป็นผูถ้ อื หลักทรัพย์แทน (Trust Company หรือ Nominee Account) อยู่ในสิบอันดับแรกของรายชื่อผู้ถือหุ้นของบริษัท ซึ่งนอกจาก Citibank Nominees Singapore Pte. Ltd. - Aranda Investments Pte. Ltd. และ Raffles Nominees (Pte) Limited ซึ่งเป็น Custodian ของ TLS Alpha Pte. Ltd. ซึ่งทั้งสองกองทุนเป็นตัวแทนของ Temasek แล้ว บริษัทไม่ทราบชื่อผู้ถือหุ้นที่แท้จริงของผู้ถือหุ้นเหล่านั้น เนื่องจากไม่ได้มีการส่งบุคคลเข้ามาเป็นกรรมการบริษัท หรือมีส่วนร่วมในการบริหารงานของบริษัท
65
รายงานประจำปี 2552
4. การลงทุนในต่างประเทศ บริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด มีการลงทุนในโครงการต่างๆ ใน 7 ประเทศในเอเชีย ซึ่งการลงทุนดังกล่าวมี ความเสี่ยงจากตัวโครงการที่ลงทุน ความเสี่ยงของประเทศที่ลงทุนและความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อเป็นการลดความเสี่ยง ผู้บริหารของบริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ซึ่งมีประสบการณ์ในการบริหาร โรงพยาบาลในหลายประเทศได้ทำการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการอย่างละเอียดรอบคอบ และมีการทำ Due Diligence อย่างละเอียดโดยใช้บริษัทที่มีความรู้และความชำนาญในประเทศนั้นๆ ก่อนที่จะแนะนำการลงทุน นอกจากนี้ บริษัทมีการลด ความเสี่ยงโดยมีผู้ร่วมลงทุนซึ่งเป็นชาวท้องถิ่นในประเทศนั้นๆ และมีการลดความเสี่ยงจากการกู้ยืมเงิน โดยการกู้ยืมเงินใน ประเทศที่เข้าไปลงทุนโดยไม่มีการค้ำประกันจากบริษัทบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด หรือจากบริษัทโรงพยาบาล บำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) 5. ข้อพิพาททางกฎหมาย การประกอบธุรกิจโรงพยาบาลอาจมีการฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจากการบริการทางการแพทย์ของพนักงานหรือแพทย์ ของโรงพยาบาล เพื่ อ เป็ น การลดความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น บริ ษั ท จึ ง ได้ จั ด ให้ มี ร ะบบการบริ ห ารความเสี่ ย งในการรั ก ษาพยาบาล (Healthcare Risk Management System) เพื่อให้มั่นใจว่าความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติหน้าที่โดยบุคลากร ของบริษัท จะได้รับการป้องกันและแก้ไขในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ บริษัทยังได้ทำประกันภัยความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ เพื่อรองรับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องร้องดังกล่าวอีกด้วย 5. โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ 5.1 ผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังต่อไปนี้
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
กลุ่มผู้ถือหุ้นที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายการจัดการหรือการดำเนินงานของบริษัทอย่างมีนัยสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ซึ่งถือหุ้นในสัดส่วน 9.75%* มีตัวแทนจากธนาคารเป็นกรรมการของบริษัทหนึ่งท่าน คือ นายชอง โท ส่วนผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่อกี หนึง่ กลุม่ คือ Istithmar และ Temasek ถือหุน้ รวมกัน 11.88%** มีสทิ ธิในการส่งกรรมการ เข้ามาเป็นตัวแทนร่วมกันหนึ่งท่าน โดยปัจจุบัน แพทย์หญิงเจนนิเฟอร์ ลี จาก Temasek เป็นตัวแทนในคณะกรรมการของบริษัท
66
* ข้อมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 รวมการถือหุ้นโดยบริษัทบริหารสินทรัพย์ทวี จำกัด และธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ** ข้อมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 รวมการถือหุน้ โดย Istithmar PJSC, Aranda Investments Pte. Ltd. และ TLS Alpha Pte. Ltd.
5.2 การจัดการ (1) โครงสร้างการจัดการ บริษัทมีคณะกรรมการ 5 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำหนด ค่าตอบแทน คณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ (Governing Board) และคณะกรรมการการลงทุน โดยรายละเอียดของคณะกรรมการแต่ละชุดมีดังต่อไปนี้ คณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังต่อไปนี้ 1. นายชัย โสภณพนิช ประธานกรรมการ 2. นายแพทย์ชาญวิทย์ ตันติ์พิพัฒน์ รองประธานกรรมการ และกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน 3. นางลินดา ลีสหะปัญญา กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ 4. นายเคอร์ติส จอห์น ชโรเดอร์ กรรมการ และผู้อำนวยการด้านบริหารกลุ่ม 5. นายแพทย์ธนิต เธียรธนู กรรมการ และประธานกรรมการแพทย์ 6. นายชอง โท กรรมการ และกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน 7. แพทย์หญิงเจนนิเฟอร์ ลี กรรมการ 8. นายแพทย์สิน อนุราษฎร์ กรรมการ และผู้อำนวยการด้านการแพทย์กลุ่ม 9. นางสาวโสภาวดี อุตตโมบล กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 10. นายสรดิษ วิญญรัตน์ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 11. นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ สรรหาและกำหนดค่าตอบแทน โดยมีนางจุฑาทิพ อดุลพันธุ์ เลขานุการบริษัท เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท วิธีการลงนามผูกพันบริษัทของกรรมการ กรรมการสองคน นอกจากนายชอง โท ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำคัญของบริษัท วาระการดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัท ในการประชุมสามัญประจำปี กรรมการบริษัทต้องออกจากตำแหน่งจำนวน 1 ใน 3 ถ้าจำนวนกรรมการบริษัทแบ่งออกให้ตรง เป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการบริษัทที่จะต้องออกจากตำแหน่งนั้นให้กรรมการบริษัทที่อยู่ใน ตำแหน่งนานทีส่ ดุ เป็นผูอ้ อกจากตำแหน่ง อย่างไรก็ตาม กรรมการบริษทั ซึง่ พ้นจากตำแหน่งตามวาระอาจได้รบั เลือกตัง้ กลับเข้ามาเป็น กรรมการใหม่ได้ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท ซึ่งอยู่ในกฎบัตรคณะกรรมการบริษัท มีดังต่อไปนี้ 1. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวัง เพื่อผลประโยชน์สูงสุดของบริษัท 2. มีหน้าที่กำหนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษัท เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว 3. ให้ความเห็นชอบกลยุทธ์และนโยบายสำคัญของบริษัท รวมถึงวัตถุประสงค์ แผนธุรกิจ เป้าหมายทางการเงิน งบประมาณ การดำเนินงานและการลงทุนที่เสนอโดยผู้บริหาร รวมทั้งดูแลให้เกิดการปฏิบัติตามและติดตามผล 4. จัดให้มีนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจริยธรรมธุรกิจ และดูแล ติดตามให้มีการสื่อสารและการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกล่าว รวมทั้งอนุมัติการแก้ไขตามความเหมาะสม และจัดให้มีการรายงานในรายงานประจำปี
67
รายงานประจำปี 2552
5. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชีที่มีความน่าเชื่อถือ รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการในการประเมิน ความเหมาะสมของการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมี การทบทวนทุกปี และมอบหมายให้หน่วยงานตรวจสอบภายในตรวจสอบและรายงานระบบเหล่านี้อย่างเป็นอิสระ 6. อนุมัติงบการเงินประจำไตรมาสและประจำปี และรับรองงบการเงินว่าได้จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องและเชื่อถือได้ เป็นไปตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป และจัดทำรายงานแก่ผู้ถือหุ้นในรายงานประจำปีของบริษัท 7. ดูแล ควบคุม และอนุมัติ แล้วแต่กรณี การเข้าทำรายการที่เกี่ยวโยงกันที่อาจส่งผลให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทั้ง ดูแลให้มีความโปร่งใสในการเข้าทำรายการดังกล่าว และจัดทำนโยบายในการอนุมัติและการเปิดเผยข้อมูลของการทำรายการที่ ทำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 8. จัดตั้งและแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยตามความเหมาะสมเพื่อศึกษา ดำเนินการ และดูแลเรื่องต่างๆ ที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้ง อนุมัติกฎบัตรซึ่งรวมถึงหน้าที่และความรับผิดชอบและค่าตอบแทนของคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังต่อไปนี้ 1. นางสาวโสภาวดี อุตตโมบล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายสรดิษ วิญญรัตน์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา กรรมการตรวจสอบ โดยมี นางทวิชา ตัณสถิตย์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ นางสาวโสภาวดี อุตตโมบล เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงินของบริษัท วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี เมื่อครบกำหนดออกตามวาระก็อาจได้รับการพิจารณาแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งต่อไปอีกได้ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งอยู่ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ มีดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control System) ระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit System) และระบบจัดการความเสี่ยง (Risk Management System) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วย งานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนของ บุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยหรือกฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 6.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6.6 จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
6.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) 6.8 รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 7. ดำเนินการตรวจสอบโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่ผู้สอบบัญชีแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติการณ์ทุจริตที่เกิดขึ้นในบริษัท และรายงานผล การตรวจสอบในเบื้องต้นแก่สำนักงานหลักทรัพย์และกำกับหลักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีทราบ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง เป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้สอบบัญชี 8. ควรมีสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยหนึ่งท่านเข้าร่วมการประชุมของคณะกรรมการบริษัทที่มีการอนุมัติรายงาน ทางการเงินทุกครั้ง 9. คณะกรรมการตรวจสอบควรนัดพบพูดคุยกับฝ่ายกฎหมายของบริษัทอย่างสม่ำเสมอ และอาจจะหารือกับนักกฎหมายภายนอก ด้วยถ้าจำเป็น 10. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังต่อไปนี้ 1. นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน 2. นายแพทย์ชาญวิทย์ ตันติ์พิพัฒน์ กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน 3. นายชอง โท กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน โดยมี นางจุฑาทิพ อดุลพันธุ์ เลขานุการบริษัท เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทนมีวาระอยูใ่ นตำแหน่งคราวละ 3 ปี เมือ่ ครบกำหนดออกตามวาระก็อาจได้รบั การพิจารณา แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ซึ่งอยู่ในกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน มีดังต่อไปนี้ ก. งานด้านสรรหา 1. พิจารณาขนาด องค์ประกอบ และวาระดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการบริษัทที่เหมาะสม 2. พิจารณาและนำเสนอว่ากรรมการบริษัทควรมีการเกษียณอายุหรือไม่ และแนะนำอายุการเกษียณของกรรมการบริษัทให้แก่ คณะกรรมการบริษัท 3. กำหนดและทบทวนคุณสมบัติของกรรมการบริษัทและกรรมการของคณะกรรมการชุดย่อย 4. พิจารณาสรรหา คัดเลือก เสนอ และตรวจสอบบุคคลที่เหมาะสมให้ดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทที่ว่างลง หรือเนื่องจาก เหตุผลใดก็ตาม และรวมถึงรวบรวมรายชื่อบุคคลที่ผู้ถือหุ้นเสนอ เพื่อขออนุมัติในการประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือการประชุมผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี 5. พิจารณาและเสนอกรรมการบริษัทที่เหมาะสม ให้ดำรงตำแหน่งในคณะกรรมการชุดย่อยเมื่อตำแหน่งว่างลง ข. งานด้านกำหนดค่าตอบแทน 1. กำหนดขั้นตอนและหลักเกณฑ์ในการกำหนดค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท และกรรมการของคณะกรรมการชุดย่อย ให้มีความยุติธรรมและสมเหตุสมผล 2. นำเสนอค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท และกรรมการของคณะกรรมการชุดย่อย รวมถึงของกรรมการของคณะกรรมการ สรรหาและกำหนดค่าตอบแทนด้วย เพื่ออนุมัติในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี 3. จัดทำระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย รวมถึงเสนอแนะแบบฟอร์ม การประเมินผล ค. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท
68
69
รายงานประจำปี 2552
คณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ (Governing Board) รายชื่อคณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ กรุงเทพมหานคร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังต่อไปนี้ 1. นายแพทย์ชาญวิทย์ ตันติ์พิพัฒน์ ประธาน 2. นายเจมส์ แมทธิว แบนเนอร์ เลขานุการ 3. แพทย์หญิงจามรี เชื้อเพชระโสภณ กรรมการ 4. แพทย์หญิงอรดี จันทวสุ กรรมการ 5. นายแพทย์รุจาพงศ์ สุขบท กรรมการ 6. นายแพทย์สิร สุภาพ กรรมการ 7. นางสาวโสภาวดี อุตตโมบล กรรมการ 8. นายแพทย์วัฒนา สุพรหมจักร กรรมการ 9. นายแพทย์วิสุทธิ์ วิเวกาภิรัต กรรมการ 10. นายแพทย์สิน อนุราษฎร์ ผู้เข้าร่วมประชุมโดยตำแหน่ง (Ex officio) 11. นางลี ชาน เยา ผู้เข้าร่วมประชุมโดยตำแหน่ง (Ex officio) 12. นางสาวคาเรน คาร์เตอร์ ผู้เข้าร่วมประชุมโดยตำแหน่ง (Ex officio) วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ กรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 2 ปี เมื่อครบกำหนดออกตามวาระก็อาจได้รับการ พิจารณาแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ คณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อการเสนอแนะและดำเนินการเกี่ยวกับนโยบายการ ดำเนินงานของโรงพยาบาล ส่งเสริมความปลอดภัยของผู้ป่วยและปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น การให้บริการที่มีคุณภาพ และการ บริหารและวางแผนงานของโรงพยาบาล โดยคณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ตามกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ และนโยบายหลักในการกำกับดูแลกิจการของโรงพยาบาล (Governing Board Bylaws Rules and Regulations of Bumrungrad International Hospital, Bangkok) ดังต่อไปนี้ 1. จัดระบบแพทย์ที่มีสิทธิในการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลให้เป็นคณะแพทย์ และอยู่ภายใต้ธรรมนูญแพทย์ (Professional Staff Bylaws, Rules and Regulations) ซึ่งได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ 2. แต่งตั้งสมาชิกของคณะแพทย์ และกำหนดสิทธิในการรักษาพยาบาลให้เป็นไปตามธรรมนูญแพทย์ 3. จัดทำ แก้ไขร่วมกับคณะแพทย์ และอนุมัติธรรมนูญแพทย์ เพื่อควบคุมการดำเนินงาน 4. กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะแพทย์ที่สมเหตุสมผล เพื่อให้สามารถรักษาพยาบาลผู้ป่วยอย่างเหมาะสม รวมถึงการดำเนินการ ของคณะแพทย์และฝ่ายบริหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของ Joint Commission International Accreditation (JCIA) และการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลไทย (HA) และทำตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการการลงทุน รายชื่อคณะกรรมการการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังต่อไปนี้ 1. นายชัย โสภณพนิช ประธาน 2. นางลินดา ลีสหะปัญญา กรรมการ 3. นายชอง โท กรรมการ 4. นางสาวโสภาวดี อุตตโมบล กรรมการ 5. นายเคอร์ติส จอห์น ชโรเดอร์ กรรมการ วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการการลงทุน กรรมการการลงทุนอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี เมื่อครบกำหนดออกตามวาระก็อาจได้รับการพิจารณาแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ต่อไปอีกได้
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
70
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการลงทุน อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการลงทุน ซึ่งอยู่ในกฎบัตรคณะกรรมการการลงทุน มีดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาโอกาสในการลงทุน ความเหมาะสม ความเป็นไปได้และโครงสร้างการลงทุนของแต่ละโครงการ ซึ่งโครงการลงทุน หมายความรวมถึง งบประมาณการลงทุนประจำปีของบริษัท (Capital Expenditure) โครงการขยายและปรับปรุงโรงพยาบาล ในกรุงเทพมหานคร การลงทุน และ/หรือการร่วมทุนในโครงการ ธุรกิจ หรือบริษัทใหม่โดยบริษัท บริษัทย่อย หรือบริษัทร่วม ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 2. พิจารณาสถานะทางการเงินของบริษัท เพื่อประเมินความสามารถในการลงทุนของบริษัท 3. นำเสนอโครงการลงทุนที่คณะกรรมการการลงทุนได้พิจารณาแล้ว ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการการลงทุนตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร รายชื่อผู้บริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังต่อไปนี้ 1. นางลินดา ลีสหะปัญญา กรรมการผู้จัดการ 2. นายแพทย์ธนิต เธียรธนู ประธานกรรมการแพทย์ 3. นายเคอร์ติส จอห์น ชโรเดอร์ ผู้อำนวยการด้านบริหารกลุ่ม 4. นายแพทย์สิน อนุราษฎร์ ผู้อำนวยการด้านการแพทย์กลุ่ม 5. นายแพทย์การุณ เมฆานนท์ชัย รองผู้อำนวยการด้านการแพทย์กลุ่ม 6. แพทย์หญิงจามรี เชื้อเพชระโสภณ ผู้อำนวยการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร 7. นายเจมส์ แมทธิว แบนเนอร์ ผู้อำนวยการด้านบริหาร โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร 8. นางลี ชาน เยา ผู้อำนวยการด้านการเงิน โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร 9. นางสาวคาเรน คาร์เตอร์ ผู้อำนวยการด้านการปฏิบัติการ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร
ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ชาญวิทย์ ตันติ์พิพัฒน์ • รองประธานกรรมการ • กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน อายุ 66 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • MB ChB (ปริญญาตรีแพทยศาสตร์และศัลยศาสตร์) Leeds University สหราชอาณาจักร • วุฒิบัตร FRCS (Fellowship of the Royal College of Surgeons of Edinburgh/ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งเมืองเอดินเบอระ) สหราชอาณาจักร สัดส่วนการถือหุ้น* 0.07% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • ศาสตราจารย์กิตติคุณ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นางลินดา ลีสหะปัญญา • กรรมการ • กรรมการผู้จัดการ อายุ 57 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโทสาขาการเงิน University of Illinois สหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่น 78/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* 0.01% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • น้องสาวของคู่สมรสของนายชัย โสภณพนิช ประสบการณ์ทำงาน • กรรมการผู้จัดการ บมจ. โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ นายเคอร์ติส จอห์น ชโรเดอร์ • กรรมการ • ผู้อำนวยการด้านบริหารกลุ่ม อายุ 53 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโทสาขาบริหารโรงพยาบาล University of Southern California สหรัฐอเมริกา • ประกาศนี ย บั ต รหลั ก สู ต ร Director Certification Program รุ่น 78/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* 0.01% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • 2536 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการด้านบริหารกลุ่ม บมจ. โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ • 2530 - 2536 ผู้อำนวยการ USC University Hospital ลอสแองเจลิส แคลลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
* สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 รวมหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญ และรวมการถือหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
71
รายงานประจำปี 2552
รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอำนาจควบคุมบริษัท กรรมการบริษัท นายชัย โสภณพนิช • ประธานกรรมการ อายุ 66 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ University of Colorado สหรัฐอเมริกา • Advanced Management Program, The Wharton School, University of Pennsylvania สหรัฐอเมริกา • ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรหลักสูตร ปรอ. รุ่นที่ 6 • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่น 16/2002 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Chairman 2000 รุ่น 10/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* 1.09% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • คู่สมรสของพี่สาวนางลินดา ลีสหะปัญญา • บิดาของภรรยานายชอง โท ประสบการณ์ทำงาน • 2521 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการและกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บมจ. กรุงเทพประกันภัย • 2529 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. จรุงไทย ไวร์แอนด์เคเบิ้ล • 2531 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ฟูรูกาวาเม็ททัล (ไทยแลนด์) • 2521 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ.ไทยรับประกันภัยต่อ • 2511 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. กรุงเทพประกันชีวิต
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ธนิต เธียรธนู • กรรมการ • ประธานกรรมการแพทย์ อายุ 73 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • แพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล • วุฒิบัตร ศัลยศาสตร์ระบบประสาท สหราชอาณาจักร สัดส่วนการถือหุ้น* 0.02% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ หัวหน้าหน่วยประสาท ศัลยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
นายชอง โท • กรรมการ • กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน อายุ 41 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาการจัดการ Massachusetts Institute of Technology สหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขาปรัชญา รัฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ Oxford University สหราชอาณาจักร • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program รุ่น 54/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* 0.05% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • คู่สมรสของบุตรีของนายชัย โสภณพนิช ประสบการณ์ทำงาน ศาสตราจารย์นายแพทย์สิน อนุราษฎร์ • 2548 - ปัจจุบัน • กรรมการ ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ กิจการธนาคารต่างประเทศ • ผู้อำนวยการด้านการแพทย์กลุ่ม บมจ. ธนาคารกรุงเทพ อายุ 68 ปี • 2548 - ปัจจุบัน คุณวุฒิทางการศึกษา ประธานกรรมการบริหาร บมจ. หลักทรัพย์บัวหลวง • แพทยศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • 2544 - ปัจจุบัน • วุฒิบัตร กรรมการ บมจ. หลักทรัพย์บัวหลวง - อายุรศาสตร์ สหรัฐอเมริกา • 2543 - ปัจจุบัน - โรคระบบทางเดินอาหาร สหรัฐอเมริกา กรรมการ บมจ. ปูนซีเมนต์เอเชีย สัดส่วนการถือหุ้น* 0.005% • 2544 - 2548 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี กรรมการผู้อำนวยการ บมจ. หลักทรัพย์บัวหลวง ประสบการณ์ทำงาน • 2542 - 2548 • 2530 - 2537 ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการด้านการแพทย์ University Medical กรรมการ บริษทั เงินทุน บัวหลวง จำกัด • 2543 - 2544 Center Lubbock เท็กซัส สหรัฐอเมริกา กรรมการผู้อำนวยการ บริษัทเงินทุน บัวหลวง จำกัด
* สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 รวมหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญ และรวมการถือหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
72
รายงานประจำปี 2552
แพทย์หญิงเจนนิเฟอร์ ลี • กรรมการ อายุ 57 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • แพทยศาสตรบัณฑิต University of Singapore สัดส่วนการถือหุ้น* - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • 2550 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ Eu Yan Sang International Ltd. สิงคโปร์ • 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ Health Sciences Authority สิงคโปร์ • 2547 - ปัจจุบัน Corporate Advisor, Temasek Holdings (Pte.) Ltd. สิงคโปร์ • 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ NTUC Fairprice Co-operative Ltd. สิงคโปร์ • 2542 - 2547 สมาชิกรัฐสภาแห่งประเทศสิงคโปร์ • 2534 - 2547 ผู้อำนวยการด้านบริหาร KK Women’s & Children’s Hospital สิงคโปร์ • 2531 - 2534 ผู้อำนวยการด้านปฏิบัติการ Singapore General Hospital สิงคโปร์ นางสาวโสภาวดี อุตตโมบล • กรรมการ • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ อายุ 49 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program รุ่น 5/2003 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Audit Committee Program รุ่น 2/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of Chairman Program รุ่น 14/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • 2534 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษากฎหมาย สำนักงานกฎหมายดำรงธรรม • 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. เอส แอนด์ พี ซินดิเคท
นายสรดิษ วิญญรัตน์ • กรรมการ • กรรมการตรวจสอบ อายุ 69 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • การบริหารธนาคาร City of London College of Banking ลอนดอน สหราชอาณาจักร • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program รุ่น CP/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • 2525 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ กลุ่มโรงแรมแลนด์มาร์ค • 2500 - 2533 ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ บมจ. ธนาคารกรุงเทพ นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา • กรรมการ • กรรมการตรวจสอบ • ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน อายุ 74 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ University of Nottingham สหราชอาณาจักร • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่น 68/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Accreditation Program รุ่น 3/2003 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Role of Compensation Committee รุ่น 7/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* 0.04% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • ประธานกรรมการ บมจ. นิวซิตี้ (กรุงเทพ) • ประธาน มูลนิธิ ดร. เทียม โชควัฒนา • รองประธานกรรมการ บมจ. สหพัฒนพิบูลย์ • รองประธานกรรมการ บมจ. สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง • กรรมการ บมจ. ไอที ซิตี้
* สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 รวมหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญ และรวมการถือหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
73
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
ผู้บริหารบริษัท
นางลินดา ลีสหะปัญญา • กรรมการ • กรรมการผู้จัดการ อายุ 57 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโทสาขาการเงิน University of Illinois สหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่น 78/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* 0.01% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • น้องสาวของคู่สมรสของนายชัย โสภณพนิช ประสบการณ์ทำงาน • กรรมการผู้จัดการ บมจ. โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ธนิต เธียรธนู • กรรมการ • ประธานกรรมการแพทย์ อายุ 73 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • แพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล • วุฒิบัตร ศัลยศาสตร์ระบบประสาท สหราชอาณาจักร สัดส่วนการถือหุ้น* 0.02% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ หัวหน้าหน่วยประสาท ศัลยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
นายเคอร์ติส จอห์น ชโรเดอร์ • กรรมการ • ผู้อำนวยการด้านบริหารกลุ่ม อายุ 53 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโทสาขาบริหารโรงพยาบาล University of Southern California สหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่น 78/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* 0.01% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • 2536 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการด้านบริหารกลุ่ม บมจ. โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ • 2530 - 2536 ผู้อำนวยการ USC University Hospital ลอสแองเจลิส แคลลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
ศาสตราจารย์นายแพทย์สิน อนุราษฎร์ • กรรมการ • ผู้อำนวยการด้านการแพทย์กลุ่ม อายุ 68 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • แพทยศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วุฒิบัตร - อายุรศาสตร์ สหรัฐอเมริกา - โรคระบบทางเดินอาหาร สหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น* 0.005% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • 2530 - 2537 ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการด้านการแพทย์ University Medical Center Lubbock เท็กซัส สหรัฐอเมริกา
นายแพทย์การุณ เมฆานนท์ชัย • รองผู้อำนวยการด้านการแพทย์กลุ่ม อายุ 60 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • วุฒิบัตร - ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ สัดส่วนการถือหุ้น* - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • 2532 - ปัจจุบัน แพทย์ที่ปรึกษาออร์โธปิดิกส์ บมจ. โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ • 2526 - 2532 อาจารย์ ภาควิชาออร์โธปิดิกส์และเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • 2521 - 2526 แพทย์ประจำโรงพยาบาล ศูนย์จังหวัดสระบุรี
* สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 รวมหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญ และรวมการถือหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
74
นายเจมส์ แมทธิว แบนเนอร์ • ผู้อำนวยการด้านบริหาร โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร อายุ 61 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารโรงพยาบาล Medical College of Virginia สหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น* - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • BUPA Health Care Asia (เดิมชื่อ VISTA) • กรรมการและผู้อำนวยการด้านบริหาร Subang Jaya Medical Center กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย
นาง ลี ชาน เยา • ผู้อำนวยการด้านการเงิน โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร อายุ 55 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาตรี Victoria University of Wellington นิวซีแลนด์ • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Director Certification Program รุ่น 78/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้น* - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • 2530 - 2537 ผู้อำนวยการด้านการเงิน Mount Elizabeth Hospital Ltd. สิงคโปร์ • 2527 - 2529 Chief Accountant, Scott Holding (S) Pte. Ltd.
นางสาวคาเรน คาร์เตอร์ • ผู้อำนวยการด้านปฏิบัติการ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร อายุ 53 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท Political Science, Johns Hopkins University สหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น* - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • Managing Director, BUPA Insurance (Thailand)
* สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 รวมหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นสามัญ และรวมการถือหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
75
รายงานประจำปี 2552
แพทย์หญิงจามรี เชื้อเพชระโสภณ • ผู้อำนวยการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร อายุ 55 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา • แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • วุฒิบัตร General Radiology ประเทศไทย • การศึกษาหลังปริญญา - Vascular and Interventional Radiology สหรัฐอเมริกา - Body Imaging สหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น* - ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำงาน • 2541 - ปัจจุบัน กรรมการ ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย • 2541 - 2552 ที่ปรึกษารังสีวิทยา ศูนย์มะเร็งแห่งชาติ • 2526 - 2531 อาจารย์ ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการบริษัทย่อย รายชื่อบริษัทย่อย/ บริษัทที่เกี่ยวข้อง
รายชื่อกรรมการ
1. นายชัย 2. น.พ.ชาญวิทย์ 3. นางลินดา 4. น.พ. ธนิต 5. นายชอง 6. นายบุญปกรณ์ 7. นายเคอร์ติส จอห์น 8. น.พ. สิน 9. นายเจมส์ แมทธิว 10. นางลีชาน 11. นายเดนนิส ไมเคิล 12. นายชิน บุน 13. นายเจมส์ เมอร์ฟี
76
โสภณพนิช ตันติ์พิพัฒน์ ลีสหะปัญญา เธียรธนู โท โชควัฒนา ชโรเดอร์ อนุราษฎร์ แบนเนอร์ เยา บราวน์ ลิม แมช
บริษัท บริษัท บริษัท เอเชีย บริษัท เอเชีย บริษัท เอเชีย บริษัท บำรุงราษฎร์ บำรุงราษฎร์ ไวทัลไลฟ์ โกลเบิล เฮลธ์ โกลเบิล รีนัลแคร์ อินเตอร์เนชั่นแนล เมดิคอล เซ็นเตอร์ จำกัด จำกัด รีเสิร์ช จำกัด (ประเทศไทย) จำกัด จำกัด จำกัด
X / // // / / // //
X / / / / /
X /
/ / X //
X / / /
/ X /
หมายเหตุ 1. / = กรรมการ X = ประธานกรรมการ // = กรรมการบริหาร 2. บริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด (เดิมชื่อ บริษัท โกลเบิลแคร์ โซลูชั่น (ประเทศไทย) จำกัด) และ บริษัท โกลเบิล แคร์ โซลูชั่น เอส. เอ. ไม่ปรากฏใน ตารางข้างต้น เนื่องจากไม่มีกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการ ประธานกรรมการ หรือกรรมการบริหารในบริษัท ซีดีอี เทรดดิ้ง จำกัด และ บริษัท โกลเบิล แคร์ โซลูชั่น เอส. เอ.
(2)
การสรรหากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทนมีหน้าที่ในการสรรหากรรมการแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อยที่ครบ กำหนดออกตามวาระหรือกรณีอนื่ ๆ รวมถึงการพิจารณาและกลัน่ กรองรายชือ่ ผูท้ มี่ คี วามเหมาะสมจากการเสนอชือ่ โดยผูถ้ อื หุน้ และนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาแต่งตั้ง หรือเพื่อนำเสนอผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาแต่งตั้งต่อไป โดยคณะ กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน มีหน้าทีพ่ จิ ารณาผูท้ มี่ คี ณุ วุฒทิ เี่ หมาะสม โดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์การทำงานในอดีตที่จะเป็นประโยชน์ต่อบริษัท มีความเป็นผู้นำ วิสัยทัศน์กว้างไกล เป็นผู้มีคุณธรรมและ จริยธรรม มีประวัตกิ ารทำงานทีโ่ ปร่งใสไม่ดา่ งพร้อย และมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจอย่างมืออาชีพ ด้วยความซือ่ สัตย์ และเป็นผูท้ มี่ คี ณุ สมบัตติ ามกฎบัตรคณะกรรมการบริษทั
1. 2. 3.
การเลือกตัง้ กรรมการของบริษทั โดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ มีหลักเกณฑ์และวิธกี ารดังต่อไปนี ้ ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียง ในการเลือกกรรมการ อาจใช้วธิ เี สียงลงคะแนนเลือกกรรมการเป็นรายบุคคลคราวละคน หรือคราวละหลายคนรวมกัน เป็นคณะ ตามแต่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะเห็นสมควร แต่ในการลงมติแต่ละครั้งผู้ถือหุ้นต้องออกเสียงด้วยคะแนนที่มีอยู่ ทัง้ หมด จะแบ่งคะแนนเสียงแก่คนใด หรือคณะใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ การออกเสียงลงคะแนนเลือกตัง้ กรรมการให้ใช้เสียงข้างมาก หากมีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ผเู้ ป็นประธานทีป่ ระชุมเป็น ผูอ้ อกเสียงชีข้ าด
อนึง่ กระบวนการในการสรรหากรรมการอิสระของบริษทั ใช้วธิ เี ดียวกันกับกระบวนการในการสรรหากรรมการ และผูบ้ ริหาร
77
รายงานประจำปี 2552
คุณสมบัติของกรรมการอิสระของบริษัทมีดังต่อไปนี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำนาจควบคุมของบริษทั โดยให้นบั รวมหุน้ ทีถ่ อื โดยผูท้ เี่ กีย่ วข้องด้วย 2. ไม่เป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั เงินเดือนประจํา หรือผูม้ อี ำนาจควบคุมของ บริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำนาจควบคุมของบริษทั (ปัจจุบนั และสองปีกอ่ นได้รบั การแต่งตัง้ ) 3. ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือการจดทะเบียนในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้ง คู่สมรสของบุตร กับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับเสนอชื่อเป็นผู้บริหารหรือผู้ม ี อำนาจควบคุมของบริษทั หรือบริษทั ย่อย 4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำนาจควบคุม ของบริษทั ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ ี อำนาจควบคุมของผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ ี อำนาจควบคุมของบริษัท (ปัจจุบันและสองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง) โดยรายละเอียดตามข้อกำหนดของสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 5. ไม่เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำนาจควบคุมของบริษทั และ ไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำนาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของสำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทสังกัดอยู่ (ปัจจุบันและสองปีก่อนได้รับ การแต่งตัง้ ) 6. ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับ ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจ ควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย (ปัจจุบนั และสองปีกอ่ นได้รบั การแต่งตัง้ ) 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเป็นตัวแทนของกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็น หุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจำ หรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึง่ ของจำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั หรือบริษทั ย่อย 9. ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกีย่ วกับการดำเนินงานของบริษทั ทัง้ นี้ ในปี 2552 ไม่มกี รรมการอิสระท่านใดทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจ หรือการให้บริการทางวิชาชีพในมูลค่า เกินกว่าสองล้านบาท ซึง่ เป็นหลักเกณฑ์ทกี่ ำหนดตามประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน (3) ค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย และผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย บริษทั ได้จา่ ยค่าตอบแทนกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน สำหรับงวดสิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สำหรับกรรมการ 17 ท่าน ดังต่อไปนี้
78
โสภณพนิช ตันติ์พิพัฒน์ ลีสหะปัญญา ชโรเดอร์ เธียรธนู โสภณพนิช* เตชะเวช* ยังพิชิต* เดชอุดม* ศิวยาธร* โท อนุราษฎร์ เฮอร์ลิฮี** ลี** อุตตโมบล วิญญรัตน์ โชควัฒนา
คณะกรรมการบริษัท จำนวนครั้งที่ ค่าตอบแทน เบี้ยประชุม รายปี รายครั้ง เข้าประชุม 4/4 400,000 160,000 4/4 350,000 120,000 4/4 300,000 100,000 4/4 300,000 100,000 4/4 300,000 100,000 0/1 50,000 1/1 50,000 25,000 1/1 50,000 25,000 1/1 50,000 25,000 1/1 50,000 25,000 4/4 300,000 100,000 4/4 300,000 100,000 2/3 175,000 50,000 1/1 125,000 25,000 4/4 300,000 100,000 4/4 300,000 100,000 4/4 300,000 100,000 3,700,000 1,255,000 560,000 470,000 400,000 400,000 400,000 50,000 75,000 75,000 75,000 75,000 400,000 400,000 225,000 150,000 400,000 400,000 400,000 4,955,000
รวม
5/5 5/5 5/5
200,000 125,000 125,000 450,000
คณะกรรมการตรวจสอบ จำนวนครั้งที่ เบี้ยประชุม เข้าประชุม รายครั้ง
80,000 155,000
25,000
1/1
2/2
50,000
2/2
* นายชาตรี โสภณพนิช, น.พ.อนันต์ เตชะเวช, น.พ.จอน ยังพิชิต, พ.ญ.คุณสวรรยา เดชอุดม และนางกุลธิดา ศิวยาธร ลาออกจากตำแหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552 ** พ.ญ. เจนนิเฟอร์ ลีได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการของบริษัทแทนนายเฟลิกส์ เฮอร์ลิฮี โดยมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2552
1. นายชัย 2. น.พ. ชาญวิทย์ 3. นางลินดา 4. นายเคอร์ติส จอห์น 5. น.พ. ธนิต 6. นายชาตรี 7. น.พ. อนันต์ 8. น.พ. จอน 9. พ.ญ. คุณสวรรยา 10. นางกุลธิดา 11. นายชอง 12. น.พ. สิน 13. นายเฟลิกส์ 14. พ.ญ. เจนนิเฟอร์ 15. น.ส. โสภาวดี 16. นายสรดิษ 17. นายบุญปกรณ์ รวม
รายชื่อ
คณะกรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน จำนวนครั้งที่ เบี้ยประชุม เข้าประชุม รายครั้ง 560,000 520,000 400,000 400,000 400,000 50,000 75,000 75,000 75,000 100,000 400,000 400,000 225,000 150,000 600,000 525,000 605,000 5,560,000
รวม ค่าตอบแทน
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
79
รายงานประจำปี 2552
ในปี 2552 คณะกรรมการการลงทุนไม่ได้มีการประชุม เนื่องจากไม่มีวาระซึ่งเกี่ยวกับการลงทุนเพื่อพิจารณา ดังนั้น จึงไม่มกี ารจ่ายค่าตอบแทนให้กบั คณะกรรมการการลงทุนในปี 2552 ในปี 2552 คณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์มีการประชุม 6 ครั้ง โดยบริษัทได้จ่ายค่าตอบแทน ให้กบั คณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ทงั้ สิน้ 0.72 ล้านบาทในปี 2552 ค่าตอบแทนกรรมการ คือค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่กรรมการของบริษัท โดยไม่รวมเงินเดือนและผลประโยชน์ ทีเ่ กีย่ วข้องทีจ่ า่ ยให้แก่ผบู้ ริหาร และค่าตอบแทนกรรมการดังกล่าว ได้รบั อนุมตั จิ ากผูถ้ อื หุน้ แล้ว ทั้งนี้ กรรมการอิสระหนึ่งท่านของบริษัท คือ นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา ดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการของบริษัท บำรุงราษฎร์เมดิคอลเซ็นเตอร์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท อย่างไรก็ตาม ในปี 2552 นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา ไม่ได้รบั ค่าตอบแทนจากบริษทั บำรุงราษฎร์เมดิคอลเซ็นเตอร์ จำกัด ค่าตอบแทนของกรรมการบริหารและผู้บริหาร ค่าตอบแทนรวมของกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารของบริษทั จำนวน 10 ท่าน ประจำปี 2552 เป็นจำนวนเงิน 88.27 ล้านบาท โดยที่ค่าตอบแทนดังกล่าว รวมถึงเงินเดือนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องของผู้บริหาร (4) การกำกับดูแลกิจการ (หน้า 84) (5) การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทมีนโยบายและวิธีการดูแลผู้บริหารในการนำข้อมูลไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนดังนี้ 1. ข้อบังคับของบริษัท กำหนดให้กรรมการต้องแจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้า หากมีส่วนได้เสียในสัญญาที่ทำกับบริษัท หรือถือหุ้นหรือหุ้นกู้เพิ่มขึ้นหรือลดลงในบริษัทหรือบริษัทในเครือ 2. กรรมการและผู้บริหารต้องจัดทำและเปิดเผยรายงานการถือหลักทรัพย์ต่อคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และแจ้งต่อบริษัทภายในเวลาที่กำหนด มาตรการลงโทษ หากกรรมการท่านใดฝ่าฝืนมีดังนี้ 1. แจ้งด้วยวาจาเพื่อแก้ไข 2. รายงานผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณา 3. ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนกรณีเกิดความเสียหาย 4. เปิดเผยให้สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทราบ (6) การควบคุมภายใน บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) ได้ให้ความสำคัญกับระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบ ภายในมาอย่างต่อเนื่อง โดยตระหนักเป็นอย่างดีว่าระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในที่ดี สามารถช่วย ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นและช่วยให้ค้นพบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ภายในเวลาที่เหมาะสม อีกทั้งสามารถช่วยลด ความเสี่ยงทางธุรกิจและความเสี่ยงในกระบวนการปฏิบัติงานให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ช่วยให้รายงานทางการเงินของบริษัท ถูกต้องน่าเชื่อถือ และช่วยให้การดำเนินงานของบริษัทบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได้กำกับดูแล และมอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบทำหน้าที่สอบทานและให้ความเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลของระบบการควบคุม ภายในของบริษัทโดยมีสาระสำคัญที่แบ่งออกได้เป็น 5 ส่วน ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 องค์กรและสภาพแวดล้อม บริษัทได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบายการดำเนินธุรกิจ โดยให้ความสำคัญกับความซื่อสัตย์และจริยธรรม รวมทั้ง
มีการกำหนดเป้าหมายการดำเนินธุรกิจอย่างชัดเจนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และมีการให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่พนักงาน ตามความสามารถในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายนั้น นอกจากนี้ ยังมีการจัดโครงสร้างองค์กรและการกำหนดระเบียบ วิธีปฏิบัติงานที่ช่วยให้การบริหารงานมีความรัดกุมและสามารถป้องกันการนำทรัพย์สินของบริษัทไปใช้โดยมิชอบได้ ยิ่งไปกว่านั้น
ฝ่ายบริหารยังได้พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการบริหารงานอย่างต่อเนื่องจนเป็นที่ยอมรับจากหลายองค์กร และทำให้ได้รับ
รางวัลต่างๆ อาทิเช่น รางวัล Best Managed Company in Thailand – Small Cap จากนิตยสาร Asiamoney รางวัล
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
80
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ Thailand Quality Class (TQC) จากสำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ และรางวัลสถานประกอบ การดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงานจากกระทรวงแรงงาน เป็นต้น จากลักษณะขององค์กรที่กล่าวมา จึงถือ ได้ว่าบริษัทมีโครงสร้างองค์กรและสภาพแวดล้อมที่ดีซึ่งเป็นรากฐานที่สำคัญของระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล
ส่วนที่ 2 การบริหารความเสี่ยง บริษัทได้ทำการประเมินปัจจัยความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจอย่างสม่ำเสมอ โดยพิจารณาสภาพทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอก และได้ประเมินปัจจัยภายใน องค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัจจัยความเสี่ยงด้านการให้บริการทางการแพทย์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อองค์กร อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ บริษัทได้กำหนดมาตรการบริหารความเสี่ยง และได้มอบหมายให้ฝ่ายบริหารติดตามเหตุการณ์ ที่ เ ป็ น สาเหตุ ข องปั จ จั ย ความเสี่ ย งอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง ได้ ก ำหนดกระบวนการดำเนิ น การบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น ในโรงพยาบาล (Hospital Risk Management Process) และการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (Safety and Environment Risk Assessment) ไว้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการบริหารงานโรงพยาบาล (Hospital Administrative Policy) อีกด้วย ดังนั้น จึงถือได้ว่าบริษัทมีการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผลเพียงพอที่จะช่วยลดความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ ให้อยู่ระดับที่ยอมรับได้
ส่วนที่ 3 การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร บริษัทมีการกำหนดอำนาจและระดับการอนุมัติรายการตามลักษณะและมูลค่าของรายการ ในกรณีที่บริษัทเข้าทำรายการ ที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่พิจารณาความจำเป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการดังกล่าว และต้องได้รับการอนุมัติจากฝ่ายบริหาร คณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี โดยที่ผู้มีส่วนได้เสียในการทำรายการดังกล่าว ไม่มีสิทธิออกเสียงในการพิจารณาอนุมัติรายการ นอกจากนี้ บริษัทยังมี
การติดตามดูแลการดำเนินงานของบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมอย่างสม่ำเสมอ โดยการมอบหมายให้กรรมการบริษัทเข้าไป ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ กรรมการ หรือกรรมการบริหารในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมดังกล่าว ทั้งนี้ ในปี 2552 บริษัทมีการทำรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด ภายใต้นโยบาย การกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยถือเสมือนเป็นรายการที่กระทำกับบุคคลภายนอก และคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นสำคัญ
ส่วนที่ 4 ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทมีการรายงานทางการเงินโดยใช้นโยบายบัญชีที่มีความเหมาะสมกับลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทและเป็นไป ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป รวมทั้งได้เตรียมความพร้อมในการใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ หรือ International Financial Reporting Standards (IFRS) ซึง่ จะมีผลบังคับใช้ในปี 2554 โดยการจัดตัง้ คณะทำงานซึง่ ประกอบด้วย ผู้ที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานต่างๆ ให้ดำเนินการจัดเตรียมข้อมูลและระบบสารสนเทศเพื่อรองรับการรายงานทางการเงินตาม มาตรฐานดังกล่าว รวมทั้งได้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาเพื่อให้คำแนะนำและจัดการฝึกอบรมให้กับผู้บริหารและพนักงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้บริษัทยังมีการรายงานข้อมูลที่สำคัญต่างๆ ต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างเพียงพอต่อการตัดสินใจ
ส่วนที่ 5 ระบบการติดตาม บริษัทได้จัดตั้งฝ่ายตรวจสอบภายในโดยขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อให้มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน โดยมีหน้าที่ในการตรวจประเมินระบบการควบคุมภายใน กระบวนการบริหารความเสี่ยง และการกำกับดูแลกิจการ โดยมี วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ (Audit Objectives) เพื่อให้ความเชื่อมั่นในเรื่องต่างๆ ดังนี้ • การปฏิบัติงานในกระบวนการต่างๆ ภายในองค์กร (Operations) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพียงพอที่จะทำให้ การปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรหรือไม่ • กระบวนการรายงานทางการเงิน (Financial Reporting) มีการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมอันจะทำให้ ข้อมูลทางการเงินมีความน่าเชื่อถือหรือไม่ • กระบวนการควบคุมทางการบริหารมีประสิทธิผลเพียงพอที่จะทำให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดต่างๆ รวมถึงนโยบายและระเบียบปฏิบัติขององค์กร (Compliance) อย่างเหมาะสมหรือไม่ • การควบคุมภายในสำหรับกระบวนการปฏิบัติงานใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของผู้ป่วย (Patient Safety) มี ประสิทธิผลเพียงพอหรือไม่
81
รายงานประจำปี 2552
นอกจากนี้ บริษัทได้พิจารณาว่าจ้างสำนักงานตรวจสอบอิสระจากภายนอกให้ดำเนินการตรวจสอบระบบการควบคุมภายใน สำหรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology General Controls) เนื่องจากมีความเห็นว่าระบบดังกล่าวจำเป็น
ต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถในด้านเทคโนโลยีโดยเฉพาะ และได้มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณากำหนด แนวทางพัฒนาปรับปรุงระบบการทำงานตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญดังกล่าว รวมทั้งข้อเสนอแนะของผู้สอบบัญชีในหนังสือ ของผู้สอบบัญชีถึงฝ่ายบริหาร (Management Letter) ด้วย จากการประเมินความเพียงพอและความเหมาะสมของการควบคุมภายในตามองค์ประกอบทั้ง 5 ส่วน คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม และไม่พบว่าบริษัทมีข้อบกพร่องเกี่ยวกับระบบการ ควบคุมภายในที่มีสาระสำคัญใดๆ นอกจากนี้ กรุณาดูรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ (หน้า 20) 5.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผล 1. นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท มีดังนี้ 1.1. เมื่ อ บริ ษั ท มี ก ำไรสุ ท ธิ ที่ จ ะจ่ า ยให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ บริ ษั ท จะจ่ า ยให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ตามสิ ท ธิ ข องหุ้ น บุ ริ ม สิ ท ธิ ก่ อ น ถ้าปีใดผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิได้รับแจกเงินปันผลถึงร้อยละ 15 ของทุนของบริษัทที่เป็นหุ้นบุริมสิทธิแล้ว กำไรส่วน ที่เหลือจะแจกให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้ตามมติที่ประชุมใหญ่ ถ้ า ปี ใ ดบริ ษั ท สามารถแจกเงิ น ปั น ผลได้ เ กิ น กว่ า ร้ อ ยละ 15 ของทุ น ของบริ ษั ท ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทั้ ง สองชนิ ด ได้รับแจกเงินปันผลเท่ากัน 1.2. การจ่ายเงินปันผล ให้กรรมการปฏิบัติตามมติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น 1.3. ทุกคราวที่บริษัทจ่ายเงินปันผล บริษัทจะจัดสรรเงินไว้เพื่อเป็นทุนสำรองอย่างน้อยร้อยละ 5 ของจำนวนผลกำไร จนกว่าทุนสำรองมีถึงร้อยละ 10 ของจำนวนทุนของบริษัท 1.4. เงินปันผลค้างจ่ายบริษัทจะไม่คิดดอกเบี้ยให้ 2. นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย มีดังนี้ 2.1 เมื่ อ บริ ษั ท มี ก ำไรสุ ท ธิ ที่ จ ะจ่ า ยให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ บริ ษั ท จะจ่ า ยให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น จำนวนเท่ า ใดก็ ไ ด้ ต ามมติ ที่ประชุมใหญ่ 2.2 เงินปันผลค้างจ่ายบริษัทจะไม่คิดดอกเบี้ย ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553 คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผลประจำปี 2552 ซึ่งจะต้องได้รับอนุมัต ิ
จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นในเดือนเมษายน 2553 โดยจะจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิและผู้ถือหุ้นสามัญในอัตราหุ้นละ 0.85 บาท รวมเป็นเงิน 621 ล้านบาท คิดเป็น 50% ของกำไรสุทธิของบริษัท โดยที่บริษัทได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้นละ 0.40 บาท รวมเป็นเงิน 292 ล้านบาท เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2552 และจะจ่ายเงินปันผลส่วนที่เหลือในอัตราหุ้นละ 0.45 บาท รวมเป็ น เงิ น 329 ล้ า นบาท ในวั น ที่ 25 พฤษภาคม 2553 หลั ง จากที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สำหรับผลการดำเนินงานปี 2551 บริษัทได้จ่ายเงินปันผล ในอัตรา 0.80 บาทต่อหุ้น เป็นจำนวนเงินรวมทั้งสิ้น 584 ล้านบาท คิดเป็น 49% ของกำไรสุทธิของบริษัท 6. รายการระหว่างกัน 1. ลักษณะของรายการระหว่างกัน บริษัทมีธุรกิจกับบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ดังรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 7 ในงวด 31 ธันวาคม 2551 และ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมี ความขั ด แย้ ง กั บ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยหลายรายการ ซึ่ ง มี ทั้ ง รายการที่ เ กิ ด จากการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ปกติ แ ละรายการอื่ น ๆ ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้
82 12.8
32.5
22.8
- ค่าดอกเบี้ยหุ้นกู้แปลงสภาพ จ่าย BBL
16.0
-
4.4
- ค่าเช่าที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง จ่าย BBL
บริษัท บำรุงราษฎร์ บริษัทร่วมที่บริษัทถือหุ้นร้อยละ รายได้ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 31.5 และมีกรรมการร่วม - รายได้ค่าที่ปรึกษาในการ บริหารงานโรงพยาบาล จากบริษัทบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
68.9
58.0
ค่าใช้จ่าย - ค่าธรรมเนียมการใช้บัตรเครดิต ที่บริษัทจ่ายให้แก่ BBL
21.2
24.9
26.2
12.6
13.2
มูลค่ารายการ (ล้านบาท) สำหรับปีสิ้นสุด สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2551 31 ธ.ค. 2552
26.1
รายได้ - รายได้ค่าบริการการรักษา พยาบาลจาก BBL
กรรมการร่วม
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BBL)
ลักษณะรายการ รายได้ - รายได้ค่าบริการการรักษา พยาบาลรับจาก BKI ค่าใช้จ่าย - ค่าเบี้ยประกันภัยที่บริษัทและ บริษัทย่อยจ่ายแก่ BKI
ลักษณะความสัมพันธ์ของ ผู้ทำรายการระหว่างกัน
บริษทั กรุงเทพประกันภัย มีกรรมการร่วม และเป็นผู้ถือหุ้น จำกัด (มหาชน) (BKI) ใหญ่ของบริษัทโดย ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 BKI ถือหุ้นใน บริษัท ร้อยละ 13.17
ชื่อบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
บริษัทคิดค่าที่ปรึกษาในการบริหารงานโรงพยาบาลโดยมี ความสัมพันธ์กับต้นทุนทรัพยากรที่เกิดขึ้นจริง
BBL เป็นผู้ให้บริการด้านบัตรเครดิตที่บริษัทใช้บริการมาโดยตลอด โดยบริษัทได้ลงทุนในสาธารณูปโภคต่างๆ เพื่อใช้ประโยชน์จาก ระบบการรับชำระเงินผ่านบัตรเครดิตอย่างมีประสิทธิภาพ โดย ราคาที่บริษัทจ่ายชำระแก่ BBL เป็นราคาที่สามารถเปรียบเทียบ ได้กับราคาตลาดโดยทั่วไป บริษัทได้เช่าอาคารบีเอชทาวเวอร์ จาก BBL เพื่อสนับสนุนกิจการ ของโรงพยาบาลซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการใช้เป็นอาคารจอดรถ และห้องพักญาติผู้ป่วย โดยราคาที่จ่ายชำระค่าเช่าเป็นราคาที่ สมเหตุสมผล บริษัทได้จ่ายดอกเบี้ยหุ้นกู้แปลงสภาพ จำนวนเงินต้น 550 ล้าน บาท โดยอัตราดอกเบี้ยเป็นไปตามสัญญาการปรับโครงสร้างหนี ้
BKI เป็นผู้ให้บริการในด้านประกันภัยที่บริษัทและบริษัทย่อยได้ใช้ บริการมาโดยตลอด และค่าบริการที่บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายแก่ BKI เป็นราคาที่ BKI ให้บริการแก่ลูกค้าโดยทั่วไป เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจของบริษัทโดยใช้ราคาและ ผลตอบแทนปกติตามที่บริษัทให้บริการแก่ลูกค้าโดยทั่วไป
เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจของบริษัทโดยใช้ราคาและ ผลตอบแทนปกติตามที่บริษัทให้บริการแก่ลูกค้าโดยทั่วไป
นโยบายราคา
คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า เป็นรายการที่สมเหตุสมผล
ผ่านการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นแล้ว
ผ่านการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นแล้ว
คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า เป็นรายการที่สมเหตุสมผล
คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า เป็นรายการที่สมเหตุสมผล
คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า เป็นรายการที่สมเหตุสมผล
คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า เป็นรายการที่สมเหตุสมผล
ความสมเหตุสมผลและ ความจำเป็นของรายการ ระหว่างกัน
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
83
รายงานประจำปี 2552
รายการอื่น บริษทั ได้ซอื้ ทีด่ นิ และอาคารบีเอช ทาวเวอร์จากธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้มีมติอนุมัติการซื้อที่ดินและอาคารบีเอช ทาวเวอร์ 1 และ 2 จากธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BBL) โดยที่ ธุรกรรมดังกล่าวเป็นรายการที่เกี่ยวโยงกัน และมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ลักษณะความสัมพันธ์ของ นายชาตรี โสภณพนิช ซึ่งเป็นกรรมการผู้มีอำนาจของ BBL และนางกุลธิดา ศิวยาธร ซึ่งเป็น ผู้ทำรายการระหว่างกัน ผูบ้ ริหารของ BBL เป็นกรรมการของบริษทั ณ ขณะนัน้ ดังนัน้ BBL จึงเป็นบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน ของบริษัท และทำให้ธุรกรรมเข้าข่ายเป็นรายการที่เกี่ยวโยงกัน ลักษณะรายการ การซื้อที่ดินและอาคารบีเอช ทาวเวอร์ 1 และ 2 จาก BBL มูลค่ารายการ 470 ล้านบาท นโยบายราคา เป็นราคาที่ตกลงกันระหว่าง BBL กับบริษัท โดยคำนึงถึงราคาประเมิน ความสมเหตุสมผลและความจำเป็น รายการนี้ ได้ผ่านการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 แล้ว ของรายการระหว่างกัน 2. ความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน บริษัทมีการทำรายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในลักษณะการดำเนินธุรกิจทั่วๆไป เพื่อช่วยสนับสนุนการดำเนินงาน ของบริษัท เช่น การมีธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทคู่สัญญา จะช่วยขยายฐานลูกค้าของบริษัทจากการ ที่พนักงานของธนาคารกรุงเทพมาใช้บริการในการรักษาพยาบาลของบริษัท เป็นต้น 3. นโยบายการทำรายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันของบริษัทในอนาคต อาจเกิดขึ้นตามการดำเนินธุรกิจทั่วๆ ไป และจะเป็นรายการที่ดำเนินการ ตามปกติทางการค้า เป็นไปตามหลักเกณฑ์และกระบวนการที่สมเหตุสมผล โดยใช้นโยบายในการซื้อขายกันตามกลไก ราคาตลาดของธุรกิจ และเสมือนรายการที่ทำกับบุคคลทั่วไป เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่าง บริษัทกับกิจการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ บริษัทให้ความสำคัญในการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยจะปฏิบัติตามนโยบายของบริษัท และกฎระเบียบ ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด และจะมุ่งเน้นความโปร่งใสของรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรักษาประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นสำคัญ 7. คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน (หน้า 16) 8. งบการเงิน 8.1 งบการเงิน หน้า 22 - 55 8.2 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี (Audit fee) (ก) ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี บริษัทและบริษัทย่อย ได้จ่ายค่าสอบบัญชีในปี 2552 เป็นจำนวนเงิน 2.38 ล้านบาท อนึ่ง ค่าสอบบัญชีปี 2552 ของบริษัท ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ว (ข) ค่าบริการอื่น ไม่มี
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
การปฏิบั ติตาม หลั ก การกำกับดูแล กิ จการที่ดี
84
85
รายงานประจำปี 2552
การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทได้ตระหนักถึงความสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดี และมีความตั้งใจที่จะปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อการบริหารจัดการธุรกิจที่มีความโปร่งใส สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย และมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะแข่งขันใน ระดับสากล บริษัทจึงขอรายงานเรื่องการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการ ดังต่อไปนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทเล็งเห็นถึงความสำคัญของสิทธิของผู้ถือหุ้นทุกราย ซึ่งรวมทั้งผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และผู้ถือหุ้นรายย่อย โดยสิทธิของผู้ถือหุ้น ครอบคลุมสิทธิพื้นฐานต่างๆ ทั้งในฐานะของนักลงทุนในหลักทรัพย์และในฐานะเจ้าของบริษัท เช่น สิทธิในการซื้อ ขาย โอน หลักทรัพย์ที่ตนถืออยู่ สิทธิในการที่จะได้รับส่วนแบ่งผลกำไรจากบริษัท สิทธิต่างๆ ในการประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการได้รับข่าวสาร ข้อมูลของบริษัทอย่างครบถ้วน เพียงพอ ทันเวลา ผ่านช่องทางที่เข้าถึงได้ง่าย สิทธิในการแสดงความคิดเห็น สิทธิในการร่วมตัดสินใจ ในเรื่องสำคัญของบริษัท เช่น การเลือกตั้งกรรมการ การอนุมัติธุรกรรมที่สำคัญและมีผลต่อทิศทางในการดำเนินธุรกิจของบริษัท การ แก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับของบริษัท เป็นต้น ในปี 2552 บริษัทได้ดำเนินการในเรื่องต่างๆ ที่เป็นการส่งเสริม และอำนวยความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ในการร่วม ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1. บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้มีส่วนร่วมในการเสนอเรื่องที่เห็นว่าสำคัญและควรบรรจุเป็นวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปีของบริษัท และเสนอชื่อบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และคุณสมบัติที่เหมาะสมเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็น กรรมการบริษัทล่วงหน้าก่อนที่จะมีการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นขึ้น โดยผู้ถือหุ้นสามารถดูรายละเอียดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติได้ ในเว็บไซต์ของบริษัท 2. บริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า เพื่อแจ้งวาระการประชุม พร้อมความคิดเห็นของคณะกรรมการในแต่ละ วาระ รวมถึงเอกสารประกอบต่างๆ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีข้อมูลเพียงพอในการตัดสินใจ และเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิได้เต็มที่ โดยได้ชี้แจงรายละเอียดของเอกสารที่ผู้ถือหุ้นต้องนำมาแสดงในวันประชุม เพื่อรักษาสิทธิในการเข้าประชุม รวมทั้งสิทธิออกเสียง ลงมติของผู้ถือหุ้นไว้ด้วยกัน นอกจากนี้ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น บริษัทมีการเปิดเผยหนังสือเชิญประชุมบนเว็บไซต์ ของบริษัท โดยในกรณีของการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี ได้เปิดเผยหนังสือเชิญประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุม 30 วัน 3. ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าประชุมได้ด้วยตนเอง ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิโดยการมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ หรือบุคคล ใดๆ เข้าร่วมประชุมแทน และออกเสียงลงคะแนนแทนตนได้ โดยใช้หนังสือมอบฉันทะแบบหนึ่งแบบใดที่บริษัทได้จัดส่งไป พร้อมกับหนังสือนัดประชุม นอกจากนี้ผู้ถือหุ้นสามารถ download หนังสือมอบฉันทะผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทได้อีกด้วย 4. เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับความสะดวกในการประชุม บริษัทได้จัดให้มีการลงทะเบียนโดยใช้ระบบบาร์โค้ด พร้อมจัดทำบัตรลงคะแนน สำหรับแต่ละวาระ เพื่อให้ขั้นตอนในการลงทะเบียนและการนับคะแนนในแต่ละวาระเป็นไปอย่างรวดเร็วและถูกต้อง และ ภายหลังเปิดประชุมแล้ว ผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ตลอดเวลาการประชุมเพื่อใช้สิทธิออกเสียงในวาระที่ยังไม่ ได้ลงมติ นอกจากนี้ เมื่อจบการประชุม ผู้ถือหุ้นสามารถขอตรวจสอบรายละเอียดของการลงมติได้ 5. ก่อนเริ่มเข้าสู่การประชุมตามวาระ ประธานกรรมการ ซึ่งเป็นประธานในที่ประชุม ได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัทแจ้งให้ที่ ประชุมทราบถึงวิธีการปฏิบัติในการออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระการประชุม และระหว่างการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานในที่ ประชุมได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นทุกรายสามารถเสนอแนะ ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นได้ทุกวาระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบ ข้อมูลรายละเอียดในเรื่องต่างๆ อย่างเพียงพอก่อนการลงมติในแต่ละวาระ โดยประธานและผู้บริหารจะให้ความสำคัญกับ ทุกคำถาม และตอบข้อซักถามอย่างชัดเจนและตรงประเด็น 6. เลขานุการบริษัทได้บันทึกการประชุมที่ถูกต้อง ครบถ้วน โดยบันทึกการออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระอย่างละเอียด และได้ จัดส่งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายใน 14 วันหลังการประชุม และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของ บริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบอย่างรวดเร็วและสามารถตรวจสอบได้ 2. ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น บริษัทมุ่งมั่นในการสร้างความเท่าเทียมกันให้เกิดขึ้นกับผู้ถือหุ้นทุกราย ทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายย่อย นักลงทุนสถาบัน หรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ โดยได้ดำเนินการต่างๆ เช่น 1. มีช่องทางให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถเสนอเรื่องที่เห็นว่าสำคัญและควรบรรจุเป็นวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีของ บริษัท และเสนอชื่อบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และคุณสมบัติที่เหมาะสมเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท โดยได้ประกาศแจ้งให้ทราบโดยทั่วกันผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และในเว็บไซต์ของบริษัท และกรรมการ
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
อิสระจะเป็นผู้กลั่นกรองและเสนอเรื่องดังกล่าวต่อที่ประชุมกรรมการเพื่อพิจารณากำหนดเป็นวาระการประชุมในการประชุม ผู้ถือหุ้นตามความเหมาะสมต่อไป 2. สำหรับผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นได้ด้วยตนเอง บริษัทได้จัดทำหนังสือมอบฉันทะสำหรับการประชุมผู้ถือหุ้น โดยมีรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถกำหนดทิศทางการลงคะแนนได้ในแต่ละวาระ ตามแบบที่กระทรวงพาณิชย์กำหนด โดยจัดส่งไป พร้อมกับหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และได้เสนอกรรมการอิสระหนึ่งท่าน เป็นผู้รับมอบอำนาจในการประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อเป็น ทางเลือกในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น 3. ในการประชุมผู้ถือหุ้น การประชุมเป็นไปตามลำดับวาระการประชุม โดยไม่มีการเพิ่มวาระการประชุมที่ไม่ได้แจ้งล่วงหน้า เพื่อ ให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลประกอบระเบียบวาระก่อนตัดสินใจ และไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลสำคัญในที่ประชุมอย่าง กะทันหัน 4. บริษัทให้ความสำคัญในการพิจารณาเรื่องที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างกัน และมีการดำเนินการตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมถึงข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกรณีที่บริษัทต้องมีการพิจารณาเรื่องดัง กล่าว กรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลอื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องจะไม่เข้าร่วมพิจารณาอนุมัติรายการนั้นๆ 5. บริษัทมีการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน โดยมีรายละเอียดตามข้อ 5.2(5) การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน และจัดให้กรรมการ และผู้บริหารของบริษัทรายงานการซื้อขายหลักทรัพย์ต่อคณะสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พร้อมกับแจ้งบริษัทภายในสามวันทำการ 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย เพื่อประโยชน์ร่วมกันอย่างยั่งยืน อันจะส่งผลถึงความมั่นคงและดำเนิน ธุรกิจไปได้ตามที่คาดหวัง และมีความตั้งใจที่จะปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มอย่างยุติธรรม ผู้มีส่วนได้เสียที่สำคัญของบริษัทมี ดังต่อไปนี้ ผู้ถือหุ้น: นอกเหนือไปจากสิทธิพื้นฐาน สิทธิที่กำหนดไว้ในกฎหมาย ข้อบังคับบริษัท เช่นสิทธิในการตรวจสอบจำนวนหุ้น สิทธิในการ รับใบหุ้น สิทธิในการเข้าประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียงลงคะแนน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงสิทธิที่จะได้รับผลตอบแทนอย่างเป็นธรรมแล้ว บริษัทยังมีการให้ข้อมูลแก่ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน และทันเวลา และให้ สิทธิแก่ผถู้ อื หุน้ ในการเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆ เกีย่ วกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ในฐานะเจ้าของบริษทั อย่างอิสระในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า / ผูป้ ว่ ย: บริษัทให้บริการแก่ผู้ป่วยอย่างมีจริยธรรมและในระดับคุณภาพที่สูงสุด โดยคำนึงถึงความปลอดภัยและความพึงพอใจของ ผู้ป่วย และประสิทธิภาพในการให้บริการเป็นสำคัญ คณะกรรมการ Medical Ethics Committee ของโรงพยาบาลมีหน้าที่ใน การดูแลพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย นอกจากนี้ โรงพยาบาลมีแผนกที่ดูแลและพัฒนาคุณภาพของการบริการผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง โดยคำนึง ถึงความต้องการและความคิดเห็นของผู้ป่วย พร้อมทั้งรับข้อร้องเรียนของผู้ป่วย นอกจากนี้ บริษัทมีโครงการวัดระดับความผูกพัน ของลูกค้า/ผู้ป่วย (Customer Engagement) ที่มีต่อโรงพยาบาล โดยใช้หน่วยงานภายนอกในการวัดผล เพื่อนำไปปรับปรุงการ ให้บริการผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและรักษาความผูกพันของผู้ป่วยให้อยู่กับโรงพยาบาลในระยะยาว พนักงาน: บริษัทเชื่อมั่นว่าพนักงานคือทรัพยากรที่มีคุณค่า ดังนั้นจึงให้โอกาสในการทำงานที่เท่าเทียมกัน และมีมาตรการที่จะให้ ผลตอบแทนที่เหมาะสม จัดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการ เพื่อดูแลสวัสดิภาพและความปลอดภัยของพนักงาน รวมทั้งมีการ พัฒนาบุคลากรโดยการจัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรเฉพาะแต่ละบุคคล (Individual Development Plan: IDP) เพื่อเพิ่ม ศักยภาพของบุคลากรอย่างเต็มความสามารถ อีกทั้งยังให้การฝึกอบรมความรู้พื้นฐานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความสามารถ ทักษะการปฏิบัติงาน ทักษะการบริหาร ตลอดจนทักษะทางเทคนิค เพื่อให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังได้จัดกิจกรรมผู้บริหารพบพนักงานซึ่งเปิดโอกาสให้พนักงานแสดงความคิดเห็นและเสนอข้อร้องเรียนกับ ผู้บริหารโดยตรง และโครงการข้อเสนอแนะและนวัตกรรม ที่เปิดโอกาสให้พนักงานเสนอข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ เพื่อ ปรับปรุงกระบวนการทำงานและการให้บริการให้มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งกิจกรรมเชิดชูเกียรติพนักงานเพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้แก่พนักงานที่ร่วมงานกับบริษัทมาอย่างยาวนาน บริษัทเชื่อว่าประสิทธิภาพในการทำงานที่ดี ย่อมเกิดจากความ ผู ก พั น ต่ อ องค์ ก รของพนั ก งาน จึ ง มุ่ ง มั่ น ในการสร้ า งและมี ก ารสำรวจความผู ก พั น ของพนั ก งานต่ อ องค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่อปรับปรุงการดำเนินการของบริษัทในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพต่อไป
86
คูค่ า้ / คูส่ ญั ญา: บริษัทมีนโยบายในการจัดซื้อจัดจ้างที่ชัดเจน เพื่อความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ บริษัทปฏิบัติตามเงื่อนไข ที่ตกลงไว้กับคู่ค้าและคู่สัญญา และจ่ายชำระหนี้คู่ค้าและคู่สัญญาอย่างตรงเวลา เจ้าหนี้: บริษัทยึดมั่นในการให้ข้อมูลที่ถูกต้อง โปร่งใสและตรวจสอบได้แก่เจ้าหนี้ อีกทั้งได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขการกู้ยืมเงินด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริตอย่างเคร่งครัด และจ่ายชำระหนี้ตรงเวลา บริษัทเชื่อว่าการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเจ้าหนี้ รวมทั้งการสร้างความ เชื่อมั่นและไว้วางใจเป็นความรับผิดชอบที่บริษัทพึงปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ คู่แข่งทางการค้า: บริษัทประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี ภายใต้กรอบของกฎหมาย รวมทั้งปฏิบัติต่อคู่แข่งทางการค้าอย่างสุจริต เป็นธรรม โดยบริษัทถือว่าคู่แข่งทางการค้าเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้บริษัทมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพใน การให้บริการให้ดียิ่งขึ้นแก่ลูกค้าและผู้ป่วย สังคม: บริษัทมีความมุ่งมั่นในการส่งเสริมคุณภาพของสังคมและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากร โดยเฉพาะการรับผิดชอบต่อ สาธารณะ รวมถึงสิ่งแวดล้อมและชุมชนใกล้เคียง โครงการที่สำคัญของบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา ได้แก่ 1. โครงการผ่าตัดหัวใจ 500 ราย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ให้ได้รับการรักษาพยาบาล อย่างทันท่วงที และสามารถดำเนินชีวิตต่อไปได้อย่างปกติ โดยร่วมกับมูลนิธิโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ มูลนิธิเด็กโรคหัวใจ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในการคัดเลือกผู้ป่วย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นกิจกรรมที่ทางบริษัทจัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะ เวลา 5 ปี ตั้งแต่ปี 2551 - 2555 2. โครงการให้ทุนการศึกษาแก่บุคคลทั่วไป และพนักงานของบริษัท บริษัทให้ความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากร บุคคล จึงได้ริเริ่มโครงการให้ทุนการศึกษาต่อเนื่อง และทุนพัฒนาอาชีพ โดยตลอดระยะเวลา 10 ปีที่บริษัทได้ดำเนิน โครงการดังกล่าว มีผู้ได้รับมอบทุนการศึกษาจำนวน 549 ทุนการศึกษา โดยจำแนกเป็น 3 โครงการ ดังนี้ 2.1 โครงการพัฒนาอาชีพเยาวชนสตรี (Youth Career Development Program: YCDP) ซึ่งบริษัทร่วมกับองค์การทุนเพื่อ เด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนหญิงที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่ง ขาดแคลนทุนทรัพย์จากทุกภูมิภาคของประเทศ เข้ารับการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (Practical Nurse) จากสถาบันการศึกษาซึ่งได้รับการรับรองจากสภาการพยาบาล (Thailand Nursing Council) และเมื่อสำเร็จ หลักสูตรอบรม บริษัทจะพิจารณารับเข้าเป็นพนักงานประจำของบริษัทต่อไป 2.2 โครงการให้ทุนการศึกษาต่อเนื่องในระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ โดยบริษัทมอบทุนการศึกษาแก่พนักงาน ผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย (Nurse Aide) และพนักงานผู้ช่วยพยาบาล (Practical Nurse) ที่สามารถสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ สาขาพยาบาลศาสตร์ในสถานศึกษาที่บริษัทกำหนด ซึ่งบริษัทจะจัดให้นักเรียนทุนฝึกงานกับบริษัทในช่วงปิดภาค การศึกษา และบริษัทจะรับเข้าทำงานกับบริษัทเมื่อสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีพยาบาลศาสตร์แล้ว 2.3 โครงการให้ทุนการศึกษาต่อเนื่องในระดับประกาศนียบัตร สาขาผู้ช่วยพยาบาล (Practical Nurse) ซึ่งได้รับการรับรอง จากสภาการพยาบาล (Thailand Nursing Council) โดยบริษัทได้มอบทุนการศึกษาให้แก่พนักงานผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย (Nurse Aide) ให้ได้รับการศึกษาในหลักสูตรดังกล่าว เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในทางการพยาบาลและเพิ่มโอกาสในการ ทำงานกับบริษัท 3. โครงการคลินิกเคลื่อนที่บริการทางการแพทย์แก่ประชาชนในชุมชนต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร โดยบริษัท มูลนิธิ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์และกองทุนทอมสัน (Thomson Foundation) ได้จัดบริการหน่วยคลินิกเคลื่อนที่ ออกตรวจและให้ บริการทางสาธารณสุขแก่ประชาชนในชุมชนต่างๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ปี 2544 โดยในปี 2552 คลินิกเคลื่อนที่ให้ บริการประชาชนไปแล้วทั้งสิ้น 20,187 ราย อีกทั้งยังได้มอบข้าวสารแก่ประชาชนอีกกว่า 25 ตัน โดยตลอด 9 ปีที่บริษัท มูลนิธิโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ และกองทุนทอมสันได้ดำเนินกิจกรรมคลินิกเคลื่อนที่ ได้ให้บริการทางสาธารณสุขแก่ ประชาชนไปแล้วกว่า 174,000 ราย และมอบข้าวสารแก่ประชาชนไปมากกว่า 152 ตัน 4. โครงการวิจัยยา โดยบริษัทและมูลนิธิโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ร่วมกับสถาบันทางการแพทย์ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาการวิจัยยาและวิทยาการทางการแพทย์ในการรักษาโรค เพื่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการแพทย์ อาทิ การวิจัยยา สำหรับรักษาโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (AIDS) โรคมะเร็ง และโรคปอดบวม เป็นต้น 5. โครงการบำรุงราษฎร์ร่วมใจบริจาคโลหิตกับสภากาชาดไทย บริษัทร่วมกับศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย จัด กิจกรรมบริจาคโลหิตเป็นประจำทุกสามเดือน ที่โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงเทพมหานคร โดยเชิญ
87
รายงานประจำปี 2552
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
4. 5.
88
6. 7. 8.
ชวนแพทย์ พนักงาน และบุคคลทั่วไปที่มีความประสงค์จะบริจาคโลหิตเข้าร่วมโครงการ ทั้งนี้ในปี 2552 มีผู้เข้าร่วมบริจาค โลหิตทั้งสิ้น 538 คนและได้โลหิตจำนวน 451 ยูนิต โครงการปลูกป่าชายเลน บริษัทเล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดกิจกรรม ปลูกป่าชายเลนขึ้น โดยได้นำพนักงานบางส่วนเดินทางไปปลูกป่าชายเลนเพื่อเป็นการฟื้นฟูระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ทั้ง ยังเป็นการเสริมสร้างความสามัคคีและความร่วมมือร่วมใจของพนักงานอีกด้วย โครงการสร้างบ้านจำนวน 82 หลัง มอบให้แก่ครอบครัวผูด้ อ้ ยโอกาสด้านทีอ่ ยูอ่ าศัยในจังหวัดเชียงใหม่ ในระหว่างวันที่ 15 - 20 พฤศจิกายน 2552 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 82 พรรษา 5 ธันวาคม 2552 โดยบริษัทได้เข้าร่วมโครงการ “จิมมี่-โรสลิน คาร์เตอร์ สร้างบ้าน” โดยองค์การที่อยู่อาศัยเพื่อมนุษยชาติ สากล (Habitat for Humanity) ทั้งนี้ บริษัทได้จัดส่งพนักงานเข้าร่วมสร้างบ้านจำนวน 1 หลัง และจัดทีมแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ พร้อมรถฉุกเฉินให้บริการปฐมพยาบาลในบริเวณการจัดกิจกรรมอีกด้วย นโยบายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม บริษัทมีนโยบายสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีการสื่อสารให้พนักงานทุกคนช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งมุ่งเน้นสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ เพื่อรักษาไว้ซึ่งความปลอดภัยขององค์กรและชุมชน และมีการ ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทตระหนักถึงความสำคัญของการเปิดเผยสารสนเทศที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนอย่างเท่าเทียม กัน โดยมีนโยบายในการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ และทันต่อเวลา ผ่านช่องทางต่างๆ ที่หลากหลาย เข้าถึงง่าย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและนักลงทุนได้รับสารสนเทศอย่างกว้างขวาง โดยปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ และข้อบังคับต่างๆ ที่ กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด ข้อมูลต่างๆ ที่บริษัทเปิดเผยต่อสาธารณะนั้น มีทั้งข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงิน ทั้งภาษาไทยและภาษา อังกฤษ เช่น งบการเงิน คำอธิบายและวิเคราะห์งบการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายการระหว่างกัน โครงสร้างคณะกรรมการ บทบาทหน้าที่ คณะกรรมการชุดย่อย รวมถึง จำนวนครั้งในการเข้าประชุมของกรรมการในแต่ละคณะ รายงานการกำกับดูแลกิจการ เป็นต้น บริษัทมีช่องทางที่หลากหลายในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้นและนักลงทุน ไม่ว่าจะเป็นตามที่กฎหมายกำหนด เช่น แบบ 56-1 รายงาน ประจำปี เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และช่องทางอื่นๆ เช่น การเปิดเผยข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของบริษัท ในหัวข้อ นักลงทุนสัมพันธ์ ซึ่งมีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันการณ์อยู่เสมอ การพบปะกับนักวิเคราะห์รายไตรมาส (4 ครั้งในปี 2552) การเข้าร่วม กิจกรรม roadshow และ investor conference ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงสหราชอาณาจักร สิงคโปร์ ฮ่องกง และญี่ปุ่น (7 ครั้งในปี 2552) การพบปะและการประชุมทางโทรศัพท์ระหว่างผู้บริหารกับนักลงทุน (82 ครั้งในปี 2552) นอกจากนี้ บริษัทได้จัดให้ มีการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนสำหรับเหตุการณ์ต่างๆ ที่สำคัญของบริษัทอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สาธารณชนได้รับรู้ข้อมูลอย่างทั่วถึง บริษัทได้จัดให้มีฝ่ายเลขานุการบริษัทและนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักลงทุนและผู้ถือหุ้น ผู้ที่สนใจสามารถ ติดต่อขอข้อมูลได้ที่โทรศัพท์ 0-2667-2010 อีเมลล์ ir@bumrungrad.com และเว็บไซต์ www.bumrungrad.com ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการของบริษัท ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มากด้วยความรู้และประสบการณ์ในหลายๆ ด้าน กรรมการทุกท่านมีส่วน ร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัท ตลอดจนกำกับดูแลให้ฝ่ายบริหาร ดำเนินการให้เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้กับบริษัทและความมั่นคงสูงสุด ให้กับผู้ถือหุ้น คณะกรรมการมีการประชุมทุกไตรมาสเพื่อพิจารณาการรายงานผลการดำเนินงานของฝ่ายบริหาร โดยรายละเอียดของ อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ สามารถดูได้จากข้อ 5.2(1) โครงสร้างการจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทมีจำนวน 11 ท่าน ประกอบด้วย 1. กรรมการบริษัทที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร จำนวน 4 ท่าน ได้แก่ นายชัย โสภณพนิช นายแพทย์ชาญวิทย์ ตันติ์พิพัฒน์ นายชอง โท และแพทย์หญิงเจนนิเฟอร์ ลี 2. กรรมการบริษัทที่เป็นผู้บริหาร จำนวน 4 ท่าน ได้แก่ นางลินดา ลีสหะปัญญา นายแพทย์ธนิต เธียรธนู นายเคอร์ติส จอห์น ชโรเดอร์ และนายแพทย์สิน อนุราษฎร์ 3. กรรมการอิสระ ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นอิสระตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ล.ต. กำหนด และเป็นกรรมการตรวจสอบ จำนวน 3 ท่าน ได้แก่ นางสาวโสภาวดี อุตตโมบล นายสรดิษ วิญญรัตน์ และนายบุญปกรณ์ โชควัฒนา
89
รายงานประจำปี 2552
กรรมการที่เป็นอิสระ 3 ท่าน คิดเป็น 27% ของกรรมการทั้งคณะ ทั้งนี้ บริษัทจะเพิ่มจำนวนของกรรมการอิสระใหม่อีก 1 ท่าน ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2553 เนื่องจากการเพิ่มตำแหน่งกรรมการบริษัทต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้มี จำนวนกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 การแยกตำแหน่ง: บริษัทกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูงอย่างชัดเจน โดยกรรมการบริษัท มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการกำหนดนโยบายและกำกับดูแลการดำเนินงานของผู้บริหารระดับสูงในระดับนโยบาย ขณะที่ผู้บริหาร ระดับสูงทำหน้าที่บริหารงานของบริษัทในด้านต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบายที่กำหนด ดังนั้น ประธานกรรมการบริษัท และกรรมการ ผู้จัดการจึงเป็นบุคคลคนละคนกัน ประธานกรรมการบริษัทไม่ได้เป็นกรรมการที่เป็นผู้บริหาร และไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของบริษัท ส่วนผู้บริหารระดับสูง ของบริษัทจะได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดำเนินงานภายใต้แผนธุรกิจและนโยบายต่างๆ ที่กำหนดไว้ และควบคุมค่าใช้จ่ายและ งบลงทุนตามงบประมาณประจำปีที่คณะกรรมการได้อนุมัติ การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น: บริษัทตระหนักถึงคุณค่าของประสบการณ์ที่กรรมการและผู้บริหารจะได้รับจากการเป็นกรรมการในบริษัทอื่น จึงมีนโยบายให้ กรรมการบริษัทสามารถดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทที่เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยรวมกันไม่เกิน 8 บริษัท เพื่อให้สามารถจัดสรรเวลาให้แต่ละบริษัทอย่างเพียงพอ ส่วนผู้บริหารนั้น นอกจากตำแหน่งกรรมการบริษัทย่อยและบริษัทร่วม แล้ว กรรมการผู้จัดการ ผู้อำนวยการด้านบริหารกลุ่ม และผู้บริหารของบริษัท สามารถดำรงตำแหน่งกรรมการ และ/หรือกรรมการ อิสระในบริษัทอื่นอีกไม่เกิน 3 บริษัท และการรับตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท เลขานุการบริษัท: คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งนางจุฑาทิพ อดุลพันธุ์ ดำรงตำแหน่งเลขานุการบริษัท เพื่อทำหน้าที่ดูแลและจัดการการประชุม ของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ การประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งจัดทำรายงานการประชุมคณะกรรมการ รายงาน การประชุมผู้ถือหุ้น รายงานประจำปี และจัดเก็บเอกสารตามที่กฎหมายกำหนด นอกจากนี้ ยังช่วยให้คำแนะนำแก่คณะกรรมการ บริษัทและผู้บริหารเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และการกำกับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เพื่อช่วยคณะกรรมการพิจารณา กลั่นกรอง และปฏิบัติหน้าที่เฉพาะ เรื่อง และเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาหรือรับทราบ โดยรายชื่อกรรมการ รวมถึงขอบเขตและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ ได้ระบุไว้แล้วในข้อ 5.2(1) โครงสร้างการจัดการ โดยคณะกรรมการชุดย่อย มีทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่ในการสอบทานรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน และ ระบบการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งพิจารณาคัดเลือกและประสานงานกับผู้สอบบัญชีของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม 5 ครั้งในปี 2552 และได้รายงานการผลการประชุม ต่อคณะกรรมการบริษัท สำหรับรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน ได้ระบุไว้ในข้อ 5.2(3) ค่าตอบแทน กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อยและผู้บริหาร 2. คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ทำหน้าที่พิจารณาคัดเลือกและเสนอชื่อต่อกรรมการบริษัทเพื่อแต่งตั้งกรรมการ บริษัทและกรรมการชุดย่อยต่างๆ ตลอดจนกำหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 1 ท่าน ทำหน้าที่ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน และกรรมการที่ไม่ได้เป็น ผู้บริหาร 2 ท่าน คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทนมีการประชุม 2 ครั้งในปี 2552 และได้รายงานการผลการประชุม ต่อคณะกรรมการบริษัท สำหรับรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน ได้ระบุไว้ในข้อ 5.2(3) ค่าตอบแทน กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อยและผู้บริหาร 3. คณะกรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ (Governing Board) มีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับนโยบายการบริหารงานของ โรงพยาบาล ส่งเสริมความปลอดภัยของผู้ป่วยและปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น และการให้บริการที่มีคุณภาพ คณะกรรมการ อำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ประกอบด้วยกรรมการบริษัท 2 ท่าน ผู้บริหาร 2 ท่าน แพทย์ 5 ท่าน ในปี 2552 คณะ กรรมการอำนวยการโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์มีการประชุม 6 ครั้ง 4. คณะกรรมการการลงทุน มีหน้าที่พิจารณาโครงการลงทุน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่ออนุมัติ คณะกรรมการลงทุน ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 1 ท่าน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน และกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน เนื่องจากไม่มี วาระงานเกี่ยวกับการพิจารณาการลงทุนของบริษัท จึงไม่มีการประชุมคณะกรรมการการลงทุนในปี 2552
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน)
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นทุกคน ทั้งผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และผู้ถือหุ้นรายย่อย เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทมีการ ดำเนินธุรกิจและการปฏิบัติในเรื่องการกำกับดูแลกิจการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และนโยบาย มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความระมัดระวังรอบคอบ ความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น ภายใต้กรอบของจริยธรรมธุรกิจ โดย คำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกราย และภายใต้กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ดังนั้นคณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังที่ได้ระบุไว้ในข้อ 5.2(1) โครงสร้างการจัดการ ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน: บริษัทได้ให้ความสำคัญกับระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน โดยได้จัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้มีระบบการควบคุมภายในที่ดีภายในองค์กร เพื่อลดความเสี่ยงในการดำเนินงาน และ เพื่อให้มีคุณภาพในระบบงานและในการปฏิบัติงาน โดยมุ่งเน้นถึงความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีการใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง สมประโยชน์ และรวมถึงการปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของผู้บริหาร เพื่อให้แน่ใจว่าหน่วยงานตรวจสอบภายในมีการทำงานที่เป็นอิสระ และมีการถ่วงดุลอำนาจ หน่วยงานตรวจสอบภายในมีหน้าที่ รายงานผลการดำเนินงานโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์: เพื่อป้องกันปัญหาความขัดแย้งของผลประโยชน์ คณะกรรมการมีการพิจารณารายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างรอบคอบ เป็นธรรม และโปร่งใส และมีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยมีราคาและเงื่อนไขเสมือนการทำรายการกับบุคคลภายนอก และได้เปิดเผยรายละเอียด มูลค่ารายการ คู่สัญญา เหตุผลความจำเป็นไว้ในงบการเงิน รายงานประจำปี และแบบ 56-1 แล้ว การประชุมคณะกรรมการบริษัท การประชุมคณะกรรมการบริษัทถือเป็นหน้าที่สำคัญของกรรมการบริษัทที่จะต้องเข้าร่วมประชุมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อรับทราบและ ร่วมตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจของบริษัท โดยในแต่ละปี บริษัทกำหนดให้มีการจัดประชุมคณะกรรมการโดยปกติทุกไตรมาส รวมปี ละ 4 ครั้ง โดยมีการกำหนดวันประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งปี และอาจมีการจัดประชุมครั้งพิเศษเพิ่มเติมตามความจำเป็นเพื่อพิจารณา เรื่องที่มีความสำคัญเร่งด่วน ในปี 2552 ได้มีการประชุมคณะกรรมการจำนวน 4 ครั้ง โดยรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของ กรรมการแต่ละท่าน อยู่ในข้อ 5.2(3) ค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อยและผู้บริหาร ในการประชุมแต่ละครั้ง จะมีการกำหนดวาระการประชุมล่วงหน้าไว้อย่างชัดเจน โดยประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ เป็นผู้ร่วมกำหนดวาระการประชุมและพิจารณาเรื่องเข้าสู่วาระการประชุมคณะกรรมการบริษัท และเปิดโอกาสให้กรรมการแต่ละท่าน สามารถเสนอเรื่องต่างๆ เพื่อเข้ารับการพิจารณาเป็นวาระการประชุมได้ เลขานุการบริษัทเป็นผู้จัดทำหนังสือเชิญประชุมพร้อมวาระ การประชุมและเอกสารต่างๆ ส่งให้คณะกรรมการก่อนการประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพื่อให้กรรมการได้มีเวลาศึกษาหาข้อมูล อย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม โดยปกติการประชุมจะใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง และในการพิจารณาเรื่องต่างๆ ประธานในที่ประชุมได้จัดสรรเวลาอย่าง เพียงพอที่ผู้บริหารระดับสูงจะนำเสนอรายละเอียดของวาระให้ชัดเจนและมากพอที่คณะกรรมการจะอภิปรายประเด็นต่างๆ ได้อย่าง รอบคอบ และได้เปิดโอกาสให้กรรมการได้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ในการลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทจะถือมติของ เสียงข้างมาก โดยกรรมการหนึ่งท่านมีหนึ่งเสียง และกรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุม และ/หรือไม่ใช้สิทธิออกเสียง ลงคะแนนในเรื่องนั้น หากคะแนนเสียงเท่ากัน ประธานในที่ประชุมจะออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด นอกจากนี้ ผู้บริหาร ระดับสูงจะได้รับเชิญเข้าร่วมประชุมด้วยเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ รวมทั้งรับทราบนโยบายโดยตรงจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้ สามารถนำไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อสิ้นสุดการประชุม เลขานุการบริษัทจะเป็นผู้ที่มีหน้าที่จัดทำรายงานการประชุมและจัดส่งให้ที่ประชุมกรรมการรับรองความ ถูกต้องในครั้งถัดไป ทั้งนี้ กรรมการบริษัทสามารถแสดงความคิดเห็น ขอแก้ไข เพิ่มเติมรายงานการประชุมให้มีความละเอียดถูกต้อง มากที่สุด และเลขานุการบริษัทเป็นผู้จัดเก็บรายงานการประชุมที่ได้รับการรับรองจากที่ประชุมและลงลายมือชื่อโดยประธานกรรมการ บริษัทเพื่อรับรองความถูกต้องแล้ว ทั้งเอกสารต้นฉบับและเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับเอกสารประกอบการประชุมอย่างครบถ้วน เพื่อให้คณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบและอ้างอิงได้ ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร บริษัทมีการพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสมให้แก่คณะกรรมการและผู้บริหาร โดยได้มีการเสนออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อ จ่ายค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการบริษัท ซึ่งอยู่ในรูปแบบของค่าตอบแทนรายปี และเบี้ยประชุมรายครั้ง โดยจำนวนเงินที่จ่ายจะ พิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บกั บ การจ่ า ยค่ า ตอบแทนกรรมการของบริ ษั ท ที่ มี ข นาดใกล้ เ คี ย งกั น และอยู่ ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น ใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส่วนคณะกรรมการชุดย่อย ได้รับผลตอบแทนในรูปแบบของเบี้ยประชุมรายครั้งอย่างเดียว
90
ค่าตอบแทนผู้บริหาร อยู่ในรูปของเงินเดือนและโบนัส และขึ้นอยู่กับหน้าที่ความรับผิดชอบ ผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารแต่ละ ท่าน ประกอบกับผลการดำเนินงานของบริษัท สำหรับรายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการบริษัทปี 2552 ซึ่งได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทได้เปิดเผยจำนวนเงินเป็น รายบุคคลและได้เปิดเผยค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร ในข้อ 5.2(3) ค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อยและผู้บริหาร การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทได้จัดทำคู่มือกรรมการบริษัท โดยได้รวบรวมสรุปกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับกรรมการบริษัท เพื่อให้ กรรมการทราบถึงบทบาทหน้าที่ หลักการ และแนวปฏิบัติในการดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัททั้งหมด โดยสำหรับกรรมการเข้าใหม่ บริษัทได้มีการชี้แจงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ให้แก่กรรมการ ซึ่งรวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของธุรกิจ แนวทางการ ดำเนินธุรกิจของบริษัท และคู่มือกรรมการบริษัท นอกจากนี้ บริษัทได้สนับสนุนโครงการการพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ เช่น การฝึกอบรมและ การสัมนา ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เป็นต้น กรรมการส่วนใหญ่จำนวน 7 คน ได้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการเป็นกรรมการบริษัทจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ดังต่อไปนี้ หลักสูตร Director หลักสูตร Director หลักสูตร Audit หลักสูตร Role of Accreditation Committee Compensation หลักสูตร Certification Chairman Program (DCP) Program (DAP) Program (ACP) Committee (RCC) นายชัย โสภณพนิช นางลินดา ลีสหะปัญญา นายเคอร์ติส จอห์น ชโรเดอร์ นายชอง โท นางสาวโสภาวดี อุตตโมบล นายสรดิษ วิญญรัตน์ นายบุญปกรณ์ โชควัฒนา
91
รายงานประจำปี 2552