TRUE : FORM 56-1 For the Year 2003 thai

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2546 (แบบ 56-1) สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัษทั เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชัน่ จํากัด ( มหาชน )


สารบัญ หนา สวนที่ 1

ขอมูลสรุป (Executive Summary)

1

สวนที่ 2

บริษัษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย

2

สวนที่ 3

1. ปจจัยความเสี่ยง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ 3.2 การตลาด 3.3 การจําหนายและชองทางการจําหนาย 3.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ 3.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย 4. การวิจัยและพัฒนา 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 8.1 หลักทรัพยของบริษัท 8.2 ผูถือหุน 8.3 นโยบายการจายเงินปนผล 8.4 โครงสรางหนี้สิน 9. การจัดการ 9.1 โครงสรางการจัดการ 9.2 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัท 9.3 รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท 9.4 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน 9.5 บุคลากร 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 ผูสอบบัญชีและนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 12.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม 12.3 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ 12.4 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ เอกสารแนบ 1: รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย

3 7 17 17 26 27 27 28 36 37 39 40 41 41 49 53 54 69 69 74 78 83 84 87 88 105 105 106 109 111 126 133 144

การรับรองความถูกตองของขอมูล

149


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (TelecomAsia Corporation Public Company Limited) (“บริษทั ”) และบริษทั ยอย ประกอบธุรกิจใหบริการสือ่ สารโทรคมนาคม โดยไดรับสัมปทานจากองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ปจจุบัน คือ บริษัท ทศท คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) หรือ “ทศท.”) และ การสือ่ สารแหงประเทศไทย (ปจจุบนั คือ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ “กสท.”) บริษัทไดแบงการดําเนินธุรกิจออกเปน 5 กลุม ไดแก 1) กลุม ธุรกิจโทรศัพทพนื้ ฐาน และบริการเสริม ซึง่ เปนกลุม ธุรกิจหลักของบริษทั ทํารายไดใหบริษทั ประมาณรอยละ 56 ของรายได ทั้งหมด 2) กลุมธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานพกพา และธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งดําเนินการโดยบริษทั ยอย และบริษทั รวมทุนของบริษทั 3) กลุม ธุรกิจบริการโครงขายขอมูลดิจติ อล 4) กลุม ธุรกิจบริการโครงขาย มัลติมเี ดียและ Broadband และ 5) กลุมธุรกิจบริการอินเตอรเน็ตและอีคอมเมิรซ ซึ่งดําเนินการโดย บริษัทยอยของบริษัท บริษัทมีจุดมุงหมายที่จะเปนองคกรที่ตอบสนองการสื่อสารเชื่อมโยงกับ ผูบริโภค ผูคน สังคม ระบบเศรษฐกิจ และโลก อยางครบวงจร (Communication Solution Provider) ซึ่งบริษัทได มีการพัฒนาบริการใหมๆ อยางตอเนือ่ ง โดยยึดถือความตองการของลูกคาเปนสําคัญ(Customer Centric) ทั้งกลุมลูกคาธุรกิจและกลุมลูกคาบุคคล ทั้งนี้ สามารถอานรายละเอียดเกีย่ วกับบริษทั ไดในสวนที่ 2 ของแบบแสดงรายการขอมูลนี้ ซึ่งเปนขอมูลเกี่ยวกับบริษัทในรายละเอียด

TATB: ขอมูลสรุป

1


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 2 บริษัษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย บริษทั เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจ โทรคมนาคม โดยมีทตี่ งั้ สํานักงานใหญ เลขที่ 18 อาคารเทเลคอมทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 เลขทะเบียนบริษัท บมจ. 82

Home Page www.Telecomasia.co.th

โทรศัพท 66(0) 2643-1111

โทรสาร

TATC: บริษัทที่ออกหลักทรัพย

66(0) 2643-1651

2


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1. ปจจัยความเสีย่ ง ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ ความสัมพันธกบั บมจ. ทศท คอรปอเรชั่น และ การสื่อสารแหงประเทศไทย อาจจะทําใหมีความ เสีย่ งในการประกอบธุรกิจที่บริษัทอาจจะไมสามารถควบคุมได บริษัทใหบริการโทรศัพทพื้นฐานและธุรกิจที่เกี่ยวของภายใตสัญญารวมการงานและ รวมลงทุน หรือ สัญญาสัมปทานกับ บมจ. ทศท คอรปอเรชัน่ (ทศท.) และ บมจ. กสท โทรคมนาคม (กสท.) โดย ทศท. และกสท. จะควบคุมดูแลใหบริษัทปฏิบัติตามขอตกลงในสัญญาสัมปทาน ความเห็นที่ แตกตางกันของบริษัทกับ ทศท. และกสท. ในการตีความสัญญาสัมปทาน อาจจะมีผล ตอความสามารถในการดํ าเนินธุรกิจของบริษัท เชน ในอดีตที่ผานมา บริษัทและ ทศท. มีความเห็นที่ ไมสอดคลองกันในการเปดใหบริการทางไกลภายในประเทศราคาประหยัด หรือ TA 1234 ซึ่งปจจุบัน ขอพิพาทดังกลาว อยูในระหวางการพิจารณาคดีของศาลปกครองกลาง โดยบริษัทเปนผูฟองคดี สัญญาสัมปทานของธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ซึง่ เปนธุรกิจที่นํามาซึ่งรายไดหลักของ บริษัทจะหมดลงในป พ.ศ.2560 ดังนั้นหากมีเหตุการณใดที่ทํ าใหสัมปทานของบริษัทถูกยกเลิก บริษทั จะไมสามารถดําเนินธุรกิจสวนใหญของบริษัทได โดยบริษัทมีความเสี่ยงที่สัญญาสัมปทานอาจถูก ยกเลิกโดย ทศท. หากบริษัททําผิดกฎหมาย หรือบริษัทถูกศาลมีคํ าสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดี ลมละลาย หรือบริษัทจงใจผิดสัญญาสัมปทานในสาระสําคัญอยางตอเนือ่ ง ทัง้ ทีบ่ ริษทั เชือ่ วาการดําเนิน การดังกลาวถูกตองตามสัญญาสัมปทาน ในที่สุดแลวหากศาลหรืออนุญาโตตุลาการแลวแตกรณี มีคาพิ ํ พากษาหรือคําสัง่ ถึงทีส่ ดุ ใหสมั ปทานของบริษทั ถูกยกเลิก บริษทั จะไมสามารถดําเนินธุรกิจสวนใหญ ของบริษทั ซึง่ จะสงผลกระทบตอการดําเนินงานของบริษทั อยางไรก็ตาม หากมีการยกเลิกสัมปทาน ทศท. จะชดเชยราคาอุปกรณในระบบตางๆ และทรัพยสินอื่นใดที่บริษัทสงมอบใหแก ทศท. แลว ในราคาตามมูลคาทางบัญชีของบริษัทในขณะนั้น สําหรับสวนแบงรายไดภายใตสัญญาสัมปทาน ทศท. เปนผูจัดเก็บรายไดและทําการ หักสวนหนึ่งของรายไดไว ซึ่งทศท. อาจชะลอการจายคืนมายังบริษัท หรืออาจหักไวจํานวนหนึ่งเพื่อ เปนการชําระคาใชจายใดๆที่ทศท. เชื่อวาบริษัทติดคางอยู ในฐานะทีบ่ ริษทั เปนผูใ หบริการโทรศัพทพนื้ ฐานในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ในขณะที่ ทศท. เปนทัง้ หนวยงานกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมทีเ่ ปนผูใ หสมั ปทานแกบริษทั และเปนผูใ หบริการ โทรคมนาคมตางๆ เชนเดียวกับบริษัท ในกรณีที่ผลประโยชนของทศท.แตกตางจากบริษัท อาจจะมีผลใหทศท.ดําเนินการใดๆที่กระทบตอการใหบริการของบริษัท เชน ชะลอการอนุญาตการเปด ใหบริการใหมๆ ของบริษัท

TATD: ปจจัยความเสี่ยง

3


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธุรกิจโทรคมนาคมไทยอยูระหวางการเปดเสรี บริษัทผูใหบริการโทรคมนาคมจึงอาจจะมีความเสี่ยง ในดานตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเปดเสรี ธุรกิจโทรคมนาคมของไทยไดถูกกํ ากับดูแลอยางเขมงวดจากรัฐบาล อยางไรก็ตาม รัฐบาลไทยไดมีขอตกลงกับองคกรการคาโลก ที่จะเปดเสรีโทรคมนาคมขั้นพื้นฐานในป 2549 โดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ไดดําเนินการเตรียมความพรอมในดานตางๆ เพื่อนําไปสูการ แขงขันที่เทาเทียมกันของผูประกอบการ โดยไดริเริ่มศึกษาเพื่อหาแนวทางในการเรียกเก็บคาเชื่อมโยง โครงขาย การเตรียมการเพื่อนํา ทศท. และกสท. เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การศึ ก ษาหาแนวทางในการแปรสั ญ ญาสั ม ปทานรวมทั้ ง ได อ นุ ญ าตให มี ก ารทดลองปรั บ ลดอั ต รา คาบริการของโทรศัพทพื้นฐานลง ซึ่งการดําเนินการตางๆ อาจจะสงผลกระทบตอการดําเนินงานของ บริษัทอยางมีนัยสําคัญ ในการแปรสัญญาสัมปทาน รัฐบาลไดมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อทําหนาที่กํากับ ดูแลการแปรสัญญาระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ในตนป 2547 ทั้งนี้ ในการแปรสัญญาสัมปทานจะ มี ก ฎหมายรองรั บ ให บ ริ ษั ท ผู  รั บ สั ม ปทานมี สิ ท ธิ เ ลื อ กที่ จ ะแปรหรื อ ไม แ ปรสั ญ ญาร ว มการงานก็ได การแปรสัญญาสัมปทานอาจจะมีความแตกตางกันในระหวางผูใหบริการแตละราย เนื่องจากเงื่อนไข ในสัญญาสัมปทานที่ไมเหมือนกัน ดังนั้น บริษทั อาจจะมีความเสี่ยงจากการแปรสัญญาในเงื่อนไขที่ ดอยกวาผูประกอบการรายอื่น ซึ่งจะสงผลกระทบตอการดําเนินงานของบริษัท รัฐบาลกําลังอยูในระหวางการจัดตั้งคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทช.) เพื่อทํา หนาที่กํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมของประเทศ ในระหวางที่กทช. ยังจัดตั้งไมสําเร็จ ไดปรากฎความ ไมชดั เจนในบทบาท หนาที่ และอํานาจการกํากับกิจการระหวาง ทศท. และ ICT และหากมีการจัดตั้ง กทช. สําเร็จ กทช. อาจจะดําเนินการใดๆ ที่ทําใหตนทุนในการดําเนินการของบริษัทสูงขึ้น หรือทําใหมี การแขงขันเพิ่มขึ้น ซึ่งจะสงผลกระทบทั้งทางดานการเงินและการดําเนินงานของบริษัท การแขงขันที่สูงอาจสงผลกระทบตอผลประกอบการและสถานะทางการเงินของบริษัท ธุรกิจโทรคมนาคมของไทยไดเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว บริษทั ตองเผชิญหนากับคูแ ขงที่ เพิม่ ขึน้ ทั้งจากผูใหบริการโทรศัพทมือถือ และ ทศท. ซึ่งไดปรับองคกรเพื่อใหมีขีดความสามารถใน การแขงขันเพิ่มขึ้น โดยที่ผานมารายไดตอเลขหมายของบริการโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทไดถูกกระทบ จากการที่บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ มีอัตราคาบริการทีถ่ ูกกวาและมีโปรโมชัน่ ทางการตลาด และบริการ ทีห่ ลากหลาย รวมถึงบริการจายลวงหนา ทําใหมีการโทรออกจากโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะมีผล กระทบตอรายไดของบริษัท บริษัทคาดวาภาวะการแขงขันจะยังคงสูง อยางไรก็ตามบริษัทคาดวาผล กระทบจากบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตอบริการโทรศัพทพื้นฐานนาจะลดลงในอนาคต เนื่องจากปจจุบัน บริษทั สามารถปรับลดอัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐานใหสามารถแขงขันไดมากขึ้น

TATD: ปจจัยความเสี่ยง

4


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เทคโนโลยีที่ใชในธุรกิจโทรคมนาคมเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว เทคโนโลยีใหมๆรวมถึงการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีในอนาคตมีผลตอการเจริญเติบโต และความสามารถในการแขงขันของบริษัท นอกจากนี้ความตองการของตลาดที่เปลี่ยนไปอาจทําให บริษทั ตองรับเทคโนโลยีใหมๆ เขามา ซึง่ อาจจะมีผลใหเทคโนโลยีเดิมลาสมัย หรือบริษทั อาจจะตองมี การลงทุนจํานวนมากเพื่อใหสามารถรวมเทคโนโลยีใหมเขากับเทคโนโลยีเดิมที่ใชอยูในปจจุบัน ความเสีย่ งทางดานการเงิน การดําเนินงานของบริษทั อาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตางๆ สัญญาเงินกูระยะยาวและการปรับโครงสรางหนี้มีเงื่อนไขและขอจํากัดตอการดําเนิน งานของบริษัท เชน กําหนดเกณฑในการออกตราสารทุนหรือหนี้ของบริษัท การดําเนินการเกี่ยวกับ การขายหรือไดมาซึ่งทรัพยสิน การจายเงินปนผล ขอจํากัดเหลานี้อาจทําใหบริษัทประสบความลาชาใน การดําเนินการตามแผนกลยุทธที่เหมาะสม หรืออาจทําใหบริษัทไมสามารถดําเนินธุรกิจที่ใหผลตอบ แทนที่เหมาะสมตอบริษัทและผูถือหุน เหตุการณทบี่ ริษทั ไมสามารถควบคุมไดและอาจนําไปสูการเรงรัดจากเจาหนี้ ภายใตสัญญาของการปรับโครงสรางหนี้ของบริษัท บริษัทมีความเสี่ยงที่อาจจะถูก เรงรัดการชําระเงินจากเจาหนี้ หากเกิดเหตุการณที่มีนัยสําคัญเหลานี้ • •

ทศท.ยกเลิกขอตกลงตามสัญญาสัมปทานที่มีตอบริษัท ผูถือหุนรายใหญไมสามารถกํากับการบริหารงานของผูบริหารของบริษัท

หากเกิดเหตุการณใดเหตุการณหนึ่งเกิดขึ้น บริษทั จายชําระหนี้กอนกําหนดเวลาในทันที

เจาหนี้ของบริษัทอาจมีมติเรียกรองให

ในกรณีทบี่ ริษัทผิดสัญญากับเจาหนี้และมีภาระหนี้ที่ไมอาจชําระไดตามกําหนด จะทํา ใหบริษทั เสียสิทธิในสัญญาสัมปทาน โดยสิทธิและหนาที่ตามสัญญาสัมปทานจะถูกโอนใหแก บริษัท ดับเบิลทีเอ (ประเทศไทย) จํากัด (WTA) ซึ่งเปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นโดยเจาหนี้มีประกันของบริษัท เพือ่ เปนผูร บั โอนสิทธิและหนาทีต่ ามสัญญาสัมปทานจากบริษทั อยางไรก็ตามบริษทั ยังคงตองรวมรับผิดตอ ทศท. อยูตอไป

TATD: ปจจัยความเสี่ยง

5


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษทั มีความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราระหวางประเทศและอัตราดอกเบีย้ การออนตัวลงของคาเงินบาท จะสงผลใหจํานวนเงินกูสกุลเงินตางประเทศมีมูลคา สูงขึน้ รวมถึงคาใชจา ยดอกเบีย้ ตนทุนเงินกูก อ นใหม และรายจายลงทุน โดย ณ 31 ธันวาคม 2546 บริษทั มีเงินกูส กุลเงินตราตางประเทศจํานวนประมาณ 13 พันลานบาท (ไมรวม ทีเอ ออเรนจ ซึง่ ไดทาการ ํ ปองกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นไวแลว) คิดเปนสัดสวนรอยละ 21 ของเงินกูย มื รวม และสวนใหญ เปนเงินกูสกุลเยนญี่ปุน อยางไรก็ตาม เงินกูดังกลาวเปนเงินกูระยะยาว ซึ่งมีระยะเวลาการชําระหนี้ สิ้นสุดในป 2557 – 2560 นอกจากนั้นเงินกูบางสวน ซึ่งมีจํานวนรอยละ 37 ของเงินกูตางประเทศ ดังกลาว เปนเงินกูภายใตตราสารการชํ าระหนี้ที่มีเงื่อนไขในการผอนการชํ าระหนี้สกุลเงินเยน (Deferred Payment Notes) ซึ่งดอกเบี้ยจะถูกสะสมไวและรอจายเมื่อ Deferred Payment Notes นี้ ครบกําหนดชําระภายในป 2557 ดังนัน้ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของคาเงินบาทในชวงเวลา กอนป 2557 จึงเปนผลกระทบทางบัญชีเทานั้น โดยไมมีผลกระทบตอความสามารถในการชําระหนี้ใน ปจจุบันของบริษัทแตอยางใด นอกจากนี้ รายจายการลงทุนของบริษัทบางสวนเปนเงินสกุลเงินตราตางประเทศ โดยในป 2546 บริษัทมีรายจายลงทุนของบริษัทและบริษัทยอย (ไมรวมทีเอ ออเรนจ) จํานวนประมาณ 3 พันลานบาท โดยมีรายจายลงทุนที่เปนเงินตราตางประเทศประมาณรอยละ 10 สําหรับในป 2547 บริษทั คาดวาจะมีรายจายลงทุนประมาณ 3 พันลานบาท และบางสวนจะเปนรายจายลงทุนที่เปน สกุลเงินตราตางประเทศ ณ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทมีภาระเงินกูยืม จํานวนรวม 22 พันลานบาท หรือ คิดเปนสัดสวนรอยละ 35 ของหนี้สินโดยรวม (ไมรวมทีเอ ออเรนจ) ที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ดังนั้น หากอัตราดอกเบี้ยมีการปรับตัวเพิ่มขึ้น จะมีผลทําใหบริษัทมีภาระดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้น

TATD: ปจจัยความเสี่ยง

6


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ ประวัตคิ วามเปนมา การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) ไดจดทะเบียนกอตั้ง เริม่ แรกเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2533 ในนามบริษัท ซีพี เทเลคอมมิวนิเคชั่น จํากัด เพื่อดําเนินธุรกิจ ทางดานโทรคมนาคม โดยไดรับสัมปทานจากองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ปจจุบัน คือ บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ “ทศท.”) ใหเปนผูลงทุน จัดหา ติดตั้ง และควบคุม ตลอดจน บํารุงรักษาอุปกรณในระบบในการขยายบริการโทรศัพทจานวน ํ 2.6 ลานเลขหมายในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (ไดแก กรุงเทพมหานคร นนทบุรี สมุทรปราการ และ ปทุมธานี) เปนระยะเวลา 25 ป นอกเหนือจากบริการโทรศัพทพื้นฐานทีไ่ ดรับสัมปทานจาก ทศท. แลว บริษัทไดขยายการใหบริการไปสู บริการโทรคมนาคมอืน่ ๆ โดยมีจดุ มุง หมายทีจ่ ะเปนผูใ หบริการโทรคมนาคมทีค่ รบวงจร บริการโทรคมนาคม อืน่ ทีบ่ ริษทั และบริษทั ยอยไดใหบริการในปจจุบนั ไดแก โทรศัพทสาธารณะ บริการโทรศัพทพนื้ ฐานพกพา (Personal Communication Telephone หรือ “PCT”) บริการโครงขายขอมูลดิจิตอล บริการโครงขาย มัลติมีเดียและบรอดแบนด บริการอินเตอรเน็ต รวมทั้ง Content และ Application ตางๆ นอกจากนั้น บริษัทยังไดลงทุนบางสวนผานบริษัทรวมของบริษัทในธุรกิจใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก และ ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษทั ไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษทั มหาชนจํากัด เลขทะเบียน บมจ. 82 และไดเขา จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในเดือนธันวาคม ป 2536 โดยมีชื่อยอหลักทรัพย “TA” โดยในปจจุบันมีกลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑเปนผูถือหุนรายใหญดวยสัดสวนการถือหุนในอัตรา ประมาณรอยละ 44 การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการที่สําคัญในสวนที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจและการบริหารงาน พัฒนาการที่สําคัญกอนป 2546 พฤศจิกายน 2533

กอตั้งบริษัทดวยทุนจดทะเบียน 1,000 ลานบาท

สิงหาคม 2534

ทศท. ไดลงนามในสัญญาใหบริษัทเปนผูรวมดําเนินการลงทุน เพื่อการ ติดตั้งโทรศัพท 2 ลานเลขหมายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงการซอมและบํารุงรักษา เปนระยะเวลา 25 ป

ธันวาคม 2534

กอตัง้ บริษทั เทเลคอม โฮลดิง้ จํากัด เพือ่ การลงทุนในธุรกิจดานโทรคมนาคม

กรกฎาคม 2535

บริษัท ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จํากัด เขาถือหุนใน บริษัทในอัตรารอยละ 15

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

7


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธันวาคม 2536

เข า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แ ห งประเทศไทยด วยทุนจดทะเบียน 22,230 ลานบาท

มีนาคม 2538

เริม่ ใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก โดยบริษทั ยูทวี ี เคเบิล เน็ตเวิรค จํากัด (มหาชน) (“ยูทีวี”) ซึ่งเปนบริษัทยอย

กันยายน 2538

ทศท.ไดลงนามในสัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาสัมปทานอนุญาตใหบริษัทติด ตัง้ โทรศัพทพื้นฐานเพิ่มไดอีก 600,000 เลขหมาย

พฤษภาคม 2539

ทศท.ไดลงนามในขอตกลงแนบทายสัญญาสัมปทานอนุญาตใหบริษัทให บริการเสริมตาง ๆ เชน โครงขายขอมูลดิจิตอล และ บริการเสริม TA Connex

สิงหาคม 2539

ทศท.ไดลงนามในขอตกลงแนบทายสัญญาสัมปทานอนุญาตใหบริษัทให บริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา PCT

มกราคม 2540

ไดรับอนุญาตใหเปดบริการโทรศัพทสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล

พฤษภาคม 2541

ยูทีวี รวมกิจการกับบริษัท อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“IBC”) ทําใหเปนผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก รายใหญภายใตชื่อ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“ยูบีซี”)

พฤศจิกายน 2542

เปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา PCT อยางเปนทางการ

มีนาคม 2543

ปรับโครงสรางหนีเ้ สร็จสมบูรณ โดย Kreditanstalt fur Wiederaufbau (“KfW”) ซึง่ เปนเจาหนี้ตางประเทศรายใหญไดซื้อหุนบุริมสิทธิเพิ่มทุนจํานวน 702 ลานหุน หรือสัดสวนรอยละ 24 ของจํานวนหุนรวมหลังการเพิ่มทุนคิดเปน จํานวนเงิน 150 ลานเหรียญสหรัฐ

สิงหาคม 2543

เปดใหบริการ ClickTA ซึ่งเปนทางเลือกใหมของบริการอินเตอรเน็ตสําหรับ ผูใ ชโทรศัพทพื้นฐานของบริษัท ซึ่งสามารถใชบริการไดโดยมีคาบริการตํ่า ไมจํากัดจํานวนครั้ง ครั้งละ 2 ชั่วโมง

พฤศจิกายน 2543

ประกาศใชอัตราคาบริการสําหรับบริการโทรศัพททางไกลตางจังหวัดราคา ประหยัดภายใตชื่อ “TA 1234”

กุมภาพันธ 2544

ชําระคืนเงินกูกอนกําหนดเปนเงินจํานวน 532 ลานบาท ดวยกระแสเงินสด ของบริษัท

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

8


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เมษายน 2544

เปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานพกพาแบบจายลวงหนา หรือ Prepaid PCT ภายใตชื่อ “PCT Buddy”

กรกฎาคม 2544

เปดใหบริการโครงขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวยบริการ ADSL บริการ Cable Modem และ บริการ TA Megaport ชําระคืนเงินกูกอนกําหนดเพิ่มเติมเปนเงินจํานวน 368 ลานบาท ดวย กระแสเงินสดของบริษัท

กันยายน 2544

เขาทํารายการ Swap กับ KfW จํานวนประมาณ 97 ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อชําระคืนเงินกูเปนเงินสกุลบาท เพื่อลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ

ตุลาคม 2544

การแลกหุน เพือ่ การเขาถือหุน รอยละ 41 ใน บริษทั กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (“BITCO”) ซึง่ ถือหุน เปนสัดสวนรอยละ 99.81 ของบริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด (เดิมคือ บริษัท ซีพี ออเรนจ จํากัด) บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด เปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ GSM 1800 ที่ไดรับสัมปทานจาก การสื่อสารแหงประเทศไทย (“กสท.”)

ธันวาคม 2544

บริษทั ไดทําสัญญาเงินกูบาทฉบับใหม (New Baht Agreement) จํานวน 5,000 ลานบาท เพื่อชําระคืนเงินกูเงินสกุลตางประเทศ เพื่อลดความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

มีนาคม 2545

ทีเอ ออเรนจ ซึ่งบริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 41 เปดใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ภายใตชื่อ Orange อยางเปนทางการ ชําระคืนเงินกูลวงหนาเพิ่มเติมเปนเงินจํานวน 948 ลานบาท ดวยกระแส เงินสดของบริษัท

เมษายน 2545

บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหติดตั้งและใหบริการโทรศัพทสาธารณะ เพิม่ จํานวน 6,000 เลขหมาย ทําใหสามารถใหบริการโทรศัพทสาธารณะ จํานวนรวม 26,000 เลขหมาย

กรกฎาคม 2545

บริษัท เทเลคอม โฮลดิ้ง จํากัด และบริษัทยอยบางแหงไดรวมลงนามใน สัญญาปรับโครงสรางหนี้กับกลุมเจาหนี้เพื่อฟนฟูสภาพหนี้สิน ชําระคืนเงินกูลวงหนาเพิ่มเติมเปนเงินจํานวน 345 ลานบาท ดวยกระแส เงินสดของบริษัท

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

9


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สิงหาคม 2545

ลงนามในบันทึกขอตกลงเบื้องตน กับบริษัทชั้นนําของประเทศ 10 บริษัท ซึง่ เปนผูใ หบริการในดานตางๆ ไดแกขอ มูล บันเทิง สุขภาพ การเงินและอืน่ ๆ เพื่อรวมกันสงเสริมและพัฒนาบริการตางๆ สําหรับชุมชน Broadband กลุมแรกของไทย

กันยายน 2545

ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2545 ไดมมี ติอนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนจดทะเบียน จาก 34,278 ลานบาท เปน 44,461 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญใหม จํานวน 1,018 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท เพื่อใชในการลงทุนเพิ่มเติม ใน ทีเอ ออเรนจ บางสวน และจายชําระคืนเงินกูบางสวน เปดใหบริการ Broadband สําหรับลูกคาธุรกิจ ภายใตชื่อ “TA Metronet” ซึ่งใชเทคโนโลยี Fiber-to-building ที่สามารถสงผานขอมูลดวยความเร็วสูง 512 Kbps ถึง 1 Gbps สําหรับลูกคาแตละราย

ตุลาคม 2545

ประสบความสําเร็จในการออกหุน กูส กุลเงินบาทเปนเงินทัง้ สิน้ 18,465 ลานบาท ซึง่ เปนการออกหุน กูท มี่ มี ลู คาสูงเปนอันดับ 1 ทีม่ กี ารจัดอันดับความนาเชือ่ ถือ โดย TRIS และเปนหุนกูที่ออกจําหนายโดยภาคเอกชนที่มีมูลคาสูงเปน อันดับที่ 2 ของประเทศไทย ชําระคืนเงินกูกอนกําหนดเปนเงิน 452 ดอลลารสหรัฐ หรือคิดเปนเงินบาท ํ 18,465 ลานบาท 19,590 ลานบาท ซึง่ เปนเงินทีไ่ ดมาจากการออกหุน กูจ านวน และเปนเงินกูสกุลเงินบาทจาก IFC เปนจํานวนเงิน 1,125 ลานบาท เสนอขายหุนสามัญใหมใหผูถือหุนเดิม โดยมีผูถือหุนเดิมจองซื้อหุนทั้งสิ้น 461,997,236 หุน คิดเปนรอยละ 85.76 ของจํานวนหุนทั้งหมดที่เสนอขาย บริษทั ไดทําการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชําระแลวจาก 32,325 ลานบาท เปน 36,945 ลานบาท อันเนือ่ งมาจากการออกและเสนอขายหุน สามัญครัง้ นี้ บริษทั ไดนําเงินจากการจองซื้อหุนจํานวน 3,003 ลานบาท ไปลงทุนในธุรกิจ ของบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด โดยผานบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด ทําใหสัดสวนการถือหุนของบริษัทในบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด เพิ่มขึ้นจากรอยละ 41 เปนประมาณรอยละ 44

ธันวาคม 2545

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ซือ้ คืนตัว๋ เงินจายสกุลเงินเยนญีป่ นุ เปนเงิน 3.6 พันลานบาท (10.1 พันลานเยน) โดยไดรับสวนลดในอัตรารอยละ 81.3 ของมูลคาทางบัญชี ทําใหบริษัทไดรบั ผลกําไรจากการซือ้ คืนครัง้ นี้ เปนเงินประมาณ 3.1 พันลานบาท ในงบการเงิน ประจําไตรมาสที่ 4 ป 2545

10


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พัฒนาการที่สําคัญในป 2546 พัฒนาการที่สําคัญเกี่ยวกับการบริหารงาน มกราคม 2546

บ ริ ษั ท ไ ด  ป รั บ เ ป ลี่ ย น โ ค ร ง ส ร  า ง อ ง ค  ก ร เ พื่ อ ก  า ว สู  ก า ร เ ป  น Communication Solutions Provider และสนองตอบความตองการของ ลูกคาเปนสํ าคัญ (Customer Centric) โดยไดแตงตั้งผูบริหารระดับสูง รับผิดชอบกลุมลูกคา 3 กลุมหลัก คือ กลุมธุรกิจขนาดใหญ กลุมธุรกิจ ขนาดกลาง และขนาดยอม และ กลุมลูกคาบุคคล

กุมภาพันธ 2546

ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ 2546 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาทครั้งที่ 1/2546 ซึ่งเปนการออกหุนกูชุดที่ 3 รวมเปนจํ านวนเงิน 3,319 ลานบาท และได นํ าเงิ น จํ านวนดั ง กล า วไปชํ าระคื น เงิ น กู  ส กุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ ที่ ค งค า งอยู  ทั้งหมดกอนกํ าหนดจํ านวนประมาณ 78 ลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งทํ าให บริษัทลดความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ไดเกือบทั้งหมด

เมษายน 2546

ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 ไดมีมติอนุมัติใหลดทุนจดทะเบียน จาก 44,461.18 ลานบาท เปน 38,897.79 ลานบาท โดยการยกเลิกหุน สามัญ ที่ไดจดทะเบียนไวแลวแตยังไมไดจํ าหนายจํ านวนทั้งสิ้น 556.34 ลานหุน แลวเพิ่มทุนใหมจาก 38,897.79 ลานบาท เปน 43,892.28 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญใหมจํ านวน 499.45 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เพื่อเสนอขายใหแกบุคคลในวงจํ ากัดจํ านวน 450 ลานหุน และเสนอขายใหแก International Finance Corporation (“IFC”) จํ านวน 29.59 ลานหุน รวมทั้งสํ ารองไวสํ าหรับการใชสิทธิของผูถือใบ สํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ออกและเสนอขายแกกรรมการและพนักงานระดับสูง ตามโครงการ ESOP 2003 จํ านวน 19.86 ลานหุน

กรกฎาคม 2546

ณ วันที่ 17 กรกฎาคม 2546 บริษัท ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญรายหนึ่งของบริษัทไดประกาศ ขายหุนของบริษัทที่ถืออยูทั้งหมดจํานวน 369,500,126 หุน หรือคิดเปน อัตรารอยละ 10.001 ของทุนที่ออกและเรียกชําระแลวของบริษัท ใหแก Golden Tower Trading Limited (ซึ่งเปนบริษัทที่รายงานการถือหุนใน กลุม เดียวกันกับบริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ) และ Mission Gain Investments Ltd. ซึง่ สงผลใหกลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑมสี ดั สวนการถือครองหุน ของบริษทั เพิม่ ขึน้ เปนรอยละ 45.03 ของทุนทีอ่ อกและเรียกชําระแลว ทัง้ นีก้ ารขายหุน ของ บริษทั โดยไนเน็กซเปนไปตามนโยบายของ Verizon Communication, Inc. ที่ ตองการเนนการทําธุรกิจเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึง่ ไมสง ผลกระทบตอการดําเนิน งานของบริษทั แตอยางใด

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

11


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตุลาคม 2546

ลงนามในสัญญาเงินกูว งเงิน 21,419 ลานบาท กับกลุม ธนาคารพาณิชยใน ประเทศไทย เพือ่ ใชคนื เงินกูส กุลเงินบาทเดิมจํานวนเทากัน โดยเงินกูใ หมมอี ตั รา ดอกเบีย้ ทีต่ ากว ํ่ าวงเงินกูเ ดิมทําใหบริษทั สามารถลดคาใชจา ยดอกเบีย้ ไดประมาณ ปละ 200 ลานบาท รวมทัง้ ขยายเวลาในการชําระหนี้ และมีความคลองตัวใน การดําเนินงานเพิม่ ขึน้

พฤศจิกายน 2546

ในการประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2546 มีมติใหเปลี่ยนชื่อบริษัท เปน “บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํ ากัด (มหาชน) หรือ True Corporation Public Company Limited“ ซึ่งการเปลี่ยนชื่อบริษัทจะมีผลบังคับใชตอ เมื่ อ บริ ษั ท ฯได จ ดทะเบี ย นต อ กระทรวงพาณิ ช ย เ ป น ที่ เ รี ย บร อ ยแล ว นับเปนการดํ าเนินการเพื่อใหสอดคลองกับการปรับเปลี่ยนทิศทางธุรกิจ โดยยึดลูกคาเปนสําคัญ (Customer Centric) และเปนองคกรที่เปนคําตอบ ในการสื่อสารเชื่อมโยงผูคน สังคม ระบบเศรษฐกิจ และโลก ใหกับลูกคาได อยางครบวงจร (Communication Solutions Provider) ซึ่งครอบคลุม บริการโทรคมนาคมทั้งประเภทมีสายและไรสาย

พัฒนาการที่สําคัญเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ มีนาคม 2546

บริษัท เอเซียเน็ต คอรปอเรชั่น จํ ากัด (ANC) ซึ่งเปนบริษัทยอย รวมกับ บริษัท เปดใหบริการอินเตอรเน็ตที่สะดวกตอการใชงาน ภายใตชื่อ “TA easy Click” ซึ่งเปนบริการเฉพาะผูใชโทรศัพทพื้นฐานของบริษัท โดยมี คาบริการเปนนาที และจะเรียกเก็บคาบริการภายหลังการใชงาน รวมกับ บิลคาโทรศัพทพื้นฐาน เปดใหบริการนํ าเอาหมายเลข PCT ที่มีอยูหลายๆเครื่องมาจัดเขาเปน กลุม (Wireless Group Call) โดยสามารถโทรในกลุมเดียวกันโดยกด เลขหมายพิเศษเพียง 4 หลัก คิดคาบริการเหมาจายรายเดือน และไม จํากัดการโทรภายในกลุมเดียวกัน ซึ่งเปนบริการที่เหมาะกับลูกคาประเภท ธุรกิจ

เมษายน 2546

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ANC ไดรว มลงทุนในสัดสวนรอยละ 70 ในบริษทั ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด หรือ ทรู ไอดีซี กับพันธมิตรโทรคมนาคมชัน้ นําจากประเทศสาธารณรัฐ เกาหลี (เกาหลีใต) ไดแก บริษทั DACOM Corporation และบริษทั Korean Internet Data Center หรือ KIDC ซึง่ เปนบริษทั ยอยของ DACOM และเปนผูใ ห บริการธุรกิจ Internet Data Center หรือ IDC ทีใ่ หญทสี่ ดุ ในเอเชีย เพือ่ เปดให บริการรับฝากขอมูลทางอินเทอรเน็ตในประเทศไทยดวยระบบสํารองขอมูล สมบูรณแบบ (Full Redundancy) ซึง่ จะทําใหบริษทั สามารถใหบริการ อินเตอรเน็ตไดอยางครบวงจร โดยคาดวาจะเปดใหบริการภายในตนป 2547

12


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

มิถุนายน 2546

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เปดใหบริการ “TA Caller ID” ซึ่งเปนบริการเสริมของโทรศัพทพื้นฐาน ที่แสดงหมายเลขเรียกเขา เปดตัวบริการ Broadband ไรสายภายใตชอื่ “TA WiFi” โดยเซ็นสัญญารวม กับศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ เพื่อติดตั้งเปนแหงแรก

กรกฎาคม 2546

เปดตัวบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบใหม ภายใตชอื่ “hi-speed Internet” solution ซึง่ รวมบริการ Broadband and Internet Access เขาดวยกันเพือ่ ความสะดวกแกลกู คา และสามารถเชือ่ มตออินเทอรเน็ตความเร็วไดตงั้ แต 128 Kbps ไปจนถึง 8 Mbps และในเวลาเดียวกันไดเปดตัว TA Station บริการ อินเตอรเน็ตความเร็วสูงสาธารณะ

สิงหาคม 2546

เปดใหบริการ PCT Next ที่สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบไรสาย ดวยความเร็วคงที่ในอัตรา 32 Kbps โดยใช PCT Next Data Card เชื่อมตอผาน PDA และ Note Book เปดใหบริการรวมบิล (Billing Solution) สําหรับบริการตางๆ ภายในกลุม บริษทั เพือ่ เพิม่ ความสะดวกแกลกู คา โดยเริม่ จากการรวมบิลคาบริการโทรศัพทพนื้ ฐาน และบริการ TA easy Click และตามดวยบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง และ บริการอืน่ ๆ ตอไป

กันยายน 2546

ลดคาบริการโทรทางไกลในประเทศ ผานการจัดโปรโมชัน่ รวมกับบริษทั ทศท คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และ บริษทั ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน) เปน ระยะเวลา 3 เดือนระหวาง 1 กันยายน – 31 ธันวาคม 2546 โดยกําหนดอัตรา คาบริการเปน 2 รูปแบบ และมีราคาตําสุ ่ ดที่ 3 บาทตอนาทีทวั่ ประเทศ ซึง่ ตอมา ไดรบั อนุญาตใหมอี ตั ราคาบริการแบบยืดหยุน (Flexible Tariff) โดยมีอตั รา คาบริการใน 2 รูปแบบทีก่ ลาวแลว เปนเพดานราคาสูงสุด

ตุลาคม 2546

เปดใหบริการในรูปแบบของ TA easy Click อีก 3 บริการ ไดแก TA easy Ragnarok และ TA easy Mail และ TA easy Entrance และตามดวย TA easy Pristontale และ TA easy PCT ในเวลาตอมา

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

13


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ธันวาคม 2546

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษทั เอเชีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (AWC) ผูใ หบริการ PCT รวมกับ บริษทั เคดีดไี อ ซึง่ เปนบริษทั แมของบริษทั ดีดไี อ-พ็อคเก็ต ผูใ หบริการโทรศัพท ระบบ PHS รายใหญทสี่ ดุ ในประเทศญีป่ นุ เปดใหบริการเชือ่ มโยงโครงขาย ขามแดนระหวางระบบ PHS ของ ดีดไี อ-พ็อคเก็ต และระบบ PCT ของ AWC ซึ่งทําใหลูกคาสามารถใชบริการทั้งดานเสียงและขอมูลไดทั้งที่ญี่ปุนและใน กรุงเทพมหานคร ลดคาบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงลงมา ในราคาเริม่ ตนเพียง 550 บาทตอ เดือน สําหรับบริการทีใ่ หความเร็วในการรับสงขอมูลทีร่ ะดับ 256 กิโลบิตตอ วินาที (Kbps) ภายหลังการขยายเครือขายใหครอบคลุมมากขึน้ พรอมทัง้ เปดให บริการ TA Cable Modem ในตางจังหวัดอันไดแก เชียงใหม ขอนแกน โคราช และ หาดใหญ ในราคาพิเศษ เริม่ ขยายงานไปสูธ รุ กิจ เกมสออนไลน โดยไดทาสั ํ ญญากับบริษทั Triglow Pictures Company Limited แหงประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เพือ่ สิทธิการให บริการเกม PristonTale ในประเทศไทย ซึง่ นับเปนกาวสําคัญของบริษทั ในการ กาวสูก ารเปน Content Aggregator ซึง่ จะทําใหบริษทั สามารถนําเสนอขอมูล (Content) ตางๆ พรอมกับบริการอืน่ ๆ ใหแกลกู คาทัว่ ไป ในลักษณะ Home Solution โดยบริษทั ไดเริม่ เปดใหบริการจริงในชวงปลายป 2546 ภายใตบริษทั ทรู ดิจติ อล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ยอยทีจ่ ดั ตัง้ ใหม โดย ANC เปนผูถ อื หุน ในสัดสวนรอยละ 99.99

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท บริษัทยอยและบริษัทรวม ในปจจุบันกลุมบริษัทมีการประกอบธุรกิจในกลุมธุรกิจใหญๆ ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริม ธุรกิจโทรศัพทพนื้ ฐานพกพา (PCT) และบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่ (TA Orange) ธุรกิจโครงขายขอมูลดิจิตอล ธุรกิจโครงขายมัลติมีเดียและ Broadband ธุรกิจอินเทอรเน็ต Content และ Application ธุรกิจอื่นๆ เชนบริการ ศูนยบริการลูกคา (Call Center) ครบวงจร

14


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางตามธุรกิจของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ธุรกิจโทรศัพทพ้นื ฐาน 2.6 ลานเลขหมาย บริการเสริม และบริการสื่อสารขอมูล บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจบริการ โครงขายมัลติมีเดีย และบริการ Broadband

ธุรกิจบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ Q Q

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด - บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด

Q Q

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด

ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูล Q Q

บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด

ธุรกิจบริการอินเตอรเน็ท Q Q Q Q

หมายเหตุ : บริษัทที่ไมมีกิจกรรมทางธุรกิจ กลุมที่จดทะเบียนในประเทศไทย ไดแก กลุมที่จดทะเบียนในตางประเทศ ไดแก

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด, บริษัท ใยแกว จํากัด, บริษัท เอเชีย ดีบเี อส จํากัด (มหาชน) , บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ,บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด, บริษัท ยูเน็ต จํากัด , บริษัท เทเลคอมอีควิปเมนท แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด, Telecom International China Co., Ltd., TA Orient Telecom Investment Co., Ltd.,Telecom Asia (China) Co.,Ltd., Chongqing Communication Equipment Co., Ltd., K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. ,และ บริษัท นิลุบล จํากัด

15

ธุรกิจอื่น ธุรกิจการกอสรางและจัดจําหนาย Q บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด ธุรกิจใหเชา Q บริษัท นิลุบล จํากัด Q บริษัท ดับเบิ้ลยู เซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด ธุรกิจอื่นๆ Q บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด Q บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางรายไดแยกตามกลุมธุรกิจ %การถือหุน ของบริษัท

กลุมธุรกิจ/ดําเนินการโดย

31 ธันวาคม 2546 ลานบาท

1.

%

31 ธันวาคม 2545 ลานบาท

%

31 ธันวาคม 2544 ลานบาท

%

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน และ บริการเสริม

1

บริษทั เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) รายได 2.

รายได

90.45%

7,228 25.9%

6,096 23.6%

3,072 14.9%

1,097

3.9%

954

3.7%

894

4.3%

รายได

90.45%

1,183

4.2%

1,199

4.7%

503

2.4%

471

1.7%

198

0.8%

154

0.8%

ธุรกิจบริการอินเตอรเน็ต

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด 6.

15,618 75.7%

ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูล

บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด 5.

99.99% 87.50% 43.86%

รายได ธุรกิจบริการโครงขายมัลติมีเดียและบรอดแบนด

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด 4.

16,125 62.5%

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานพกพา PCT และบริการระบบเซลลูลาร

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด 3.

16,893 60.4%

รายได

65.00% 99.99%

ธุรกิจอื่นๆ

บริษัท ดับเบิ้ลยูเซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท นิลุบล จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัทอื่นๆ รายได รวมรายได

99.99% 99.99% 87.50% 1,078 3.9% 27,950 100%

1,203 4.7% 25,775 100%

395 1.9% 20,636 100%

ที่มา: บริษัท

1

รวมถึงบริการ Fault Reporting and Dropwiring บริการโทรศัพทสาธารณะและบริการ Audiotext ของบริษัท

TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

16


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ ภายใตสมั ปทานจาก ทศท. และ กสท. บริษัทเปนผูนําในการใหบริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการโทรคมนาคมตางๆ ทั้งทาง ดานเสียง ภาพ และขอมูลอยางครบวงจร ซึง่ ทําใหบริษัทสามารถใหบริการในลักษณะ โซลูชั่นทางการ สื่อสารเพื่อตอบสนองทุกความตองการของลูกคาได ทั้งนี้บริษัทมีบริการโทรศัพทพื้นฐานเปนบริการหลัก ซึ่งในป 2546 บริษัทมีรายไดในสัดสวนประมาณรอยละ 48.8 ของรายไดรวมจากบริการนี้ และมีสว น แบงการตลาดสูงสุด ในสัดสวนประมาณรอยละ 56 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อันเปนศูนย กลางธุรกิจของประเทศ โครงขายโทรศัพทพื้นฐาน ซึ่งเปนโครงขายหลักสําหรับการใหบริการตางๆ ของบริษัท ประกอบดวยโครงขายใยแกวนําแสง และระบบเชื่อมโยงความเร็วสูงแบบดิจิตัล ซึ่งทําใหบริษัทสามารถ ใหบริการโทรศัพทพื้นฐานไดอยางมีคุณภาพ และสามารถพัฒนาบริการเสริมทันสมัยอื่นๆ เพื่อรองรับ ความต อ งการของลู ก ค า ที่ มี เ พิ่ ม มากขึ้ น เป น ลํ าดั บ นอกจากนี้ บริ ษั ท ได ติ ด ตั้ งโครงข า ย ATM (Asynchronous Transfer Mode) และ IP (Internet Protocol) บนโครงขายหลัก เพื่อขยายขีดความ สามารถในการสงผานขอมูลไดรวดเร็วยิ่งขึ้น และมีทางเลือกที่หลากหลายสําหรับผูใชบริการ นอกเหนือจากการมีโครงขายโทรคมนาคมพื้นฐานที่ทันสมัยแลว บริษัทยังมีระบบการ ควบคุมและบริหารโครงขาย (Network Management System) ที่สามารถตรวจสอบจุดบกพรองและ ซอมบํารุงไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตลอด 24 ชั่วโมง รวมทั้งมีระบบบริการลูกคา (Customer Relationship Management System – CRM) ที่ทันสมัย นอกจากนั้นบริษัทไดปรับเปลี่ยนองคกรโดย เนนลูกคาเปนหลัก(Customer-centric organization) ทั้งนี้เพื่อสามารถตอบสนองตอความตองการของ ลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ผลิตภัณฑและบริการของบริษัทและบริษัทยอย สามารถจําแนกไดดังนี้ 1. บริการโทรศัพทพื้นฐาน และ บริการเสริม 2. บริการโทรศัพทพนื้ ฐานพกพา (PCT) และบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่ (TA Orange) 3. บริการสื่อสารขอมูลดิจิตอล 4. บริการมัลติมีเดียและ Broadband 5. บริการอินเตอรเน็ต Content และ Application 6. บริการอื่นๆ เชนบริการ ศูนยบริการลูกคา (Call Center) ครบวงจร (1)

บริการโทรศัพทพื้นฐาน และ บริการเสริม

ในป 2534 บริษทั ไดรบั สัมปทานจาก ทศท. ใหเปนผูด าเนิ ํ นการลงทุน จัดหา และติดตัง้ ควบคุม ตลอดจนซอมบํารุงและรักษาอุปกรณในระบบสําหรับการขยายบริการโทรศัพทจานวน ํ 2.6 ลานเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป บริษัทไดรับรายไดจากธุรกิจบริการโทรศัพท TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

17


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พื้นฐานและบริการเสริมในรูปของสวนแบงรายได โดย ทศท. เปนผูจัดเก็บรายไดคาบริการจากผูใช บริการ แลวจึงแบงรายไดที่จัดเก็บกอนหักคาใชจายใหแกบริษัทตามสัดสวนที่ไดตกลงกันตามสัญญา สัมปทาน โดยบริษัทไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 84 สําหรับโทรศัพทจํานวน 2 ลานเลขหมาย และอัตรารอยละ 79 สําหรับโทรศัพทจํานวน 6 แสนเลขหมาย ในสวนของบริการเสริมตางๆ ที่บริษัทได ใหบริการอยู บริษัทไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 82 ของรายไดจากบริการเสริมนั้นๆ ยกเวน บริการโทรศัพทสาธารณะ ซึ่งบริษัทไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 76.5 จํานวนลูกคาโทรศัพท พื้นฐานของบริษัทไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระทั่งป 2546 บริษัทไดเริ่มทําการเรียกเก็บคาติดตั้งใหม และไดดําเนินการเรงกระบวนการยกเลิกการใชงานของลูกคา เพื่อนําเลขหมายมาขายใหมอีกครั้ง ทําให จํานวนเลขหมายที่ใหบริการลูกคาโดยรวมลดลงจํานวน 58,328 เลขหมายจากปกอน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษั ทมีเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่ใหบริการแกลูกคาเปนจํ านวนรวม 1,962,074 เลขหมาย อยางไรก็ตามบริษัทยังคงมีสวนแบงการตลาดสูงสุดในอัตรารอยละ 56 ในเขตุกรุงเทพและ ปริมณฑล การใหบริการติดตั้งเลขหมายโทรศัพท ผูขอเชาเลขหมายสามารถยื่นเรื่องขอติดตั้งโทรศัพทโดยผานสํานักงานและเคานเตอร บริการของบริษัทที่มีอยูทั้งสิ้น 45 แหง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือผานศูนยรับจองทาง โทรศัพท (Tele Ordering) และศูนยขายทางโทรศัพท (Telesale) รวมทั้งสามารถติดตอผูบริหารงาน ลูกคา (Account Executive) และพนักงานขายโดยตรง สําหรับการใหบริการลูกคาและการรับแจงเหตุเสีย บริษัทมีศูนยบริการลูกคา (Call Center) ทีส่ ามารถติดตอไดที่เลขหมายเดียว คือ 0-2900-9000 ทําให งายตอการจดจําและสะดวกสําหรับลูกคา นอกจากนั้นลูกคาที่ตองการแจงเหตุเสีย สามารถติดตอโดย ตรงไดที่ 1177 ซึ่งเปดใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง และในการแกไขเหตุเสียใหแกลูกคา บริษัทมีศูนยซอม บํารุงรักษาที่ตั้งกระจายอยูทั่วกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จํานวน 35 แหงทําใหสามารถซอมบํารุง และแกไขเหตุเสียใหแกลูกคาไดภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว เชน ภายใน 4 ชั่วโมง สําหรับลูกคาธุรกิจ และภายใน 24 ชั่วโมง สําหรับลูกคาบุคคล นับแตไดรับ การใหบริการเสริม นอกเหนือจากโทรศัพทพื้นฐาน บริษัทไดพัฒนาบริการเสริมตางๆ เพื่อตอบสนองความ ตองการของลูกคา ซึ่งประกอบดวย การใหบริการโทรศัพทสาธารณะ บริการรับฝากขอความ บริการ TA Connex บริการตูสาขาอัตโนมัตริ ะบบตอเขาตรง บริการเลขหมายนําหมู และ บริการโครงขายการ สือ่ สารรวมระบบดิจติ ลั และอืน่ ๆ •

บริการโทรศัพทสาธารณะ บริษทั ไดรับอนุญาตจาก ทศท. เพื่อใหบริการโทรศัพท สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวน 20,000 ตู ตั้งแตป 2540 และในเดือนเมษายน ป 2545 บริษทั ไดรบั อนุญาตใหตดิ ตัง้ เพิม่ เติมอีกจํานวน 6,000 ตู ซึง่ รวมเปนจํานวนทีต่ ดิ ตัง้ แลวเสร็จทัง้ สิน้ 26,000 ตู

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

18


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการรับฝากขอความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) เปนบริการตอบรับโทรศัพท อัตโนมัติ ซึ่งสามารถรับฝากขอความในขณะที่สายไมวาง หรือไมมีผูรับสายโดยไม ตองมีอุปกรณเพิ่มเติม ผูใชบริการสามารถรับฟงขอความที่ฝากไวโดยโทรศัพทเขา มายังศูนยบริการรับฝากขอความ

บริการ TA Connex เปนบริการเสริมพิเศษผานสายโทรศัพท ทีป่ ระกอบดวย บริการ รับสายเรียกซอน (Call Waiting) บริการสนทนา 3 สาย (Conference Call) บริการโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริการเลขหมายดวน (Hot Line) บริการ ยอเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริการโทรซําอั ้ ตโนมัติ (Automatic Call Repetition) และ บริการจํากัดการโทรออก (Outgoing Call Barring)

บริการ TA Caller ID เปนบริการเสริมพิเศษที่แสดงหมายเลขเรียกเขา โดย ตองใชโทรศัพทรุนพิเศษที่สามารถแสดงหมายเลขเรียกเขาได

นอกจากบริการดังกลาวขางตน บริษัทยังสามารถรองรับกลุมลูกคาประเภทธุรกิจขนาด ใหญที่ตองการติดตั้งโทรศัพทเปนจํานวนมากและตองการความรวดเร็วในการติดตอสื่อสาร โดยมีบริการ เสริมพิเศษตางๆ ดังนี้ •

บริการตูสาขาอัตโนมัติระบบตอเขาตรง (Direct Inward Dialing:DID) เปนบริการ ที่ทําใหโทรศัพทธรรมดาสามารถเรียกเขาเลขหมายภายในของตูสาขาอัตโนมัติได โดยไมตองผานพนักงานสลับสาย (Operator) จึงทําใหเลขหมายภายในทุกเลข หมาย เปรียบเสมือนสายตรง

บริการเลขหมายนําหมู (TA Hunting Line) เปนบริการที่จัดกลุมเลขหมายให สามารถเรียกเขาไดโดยใชเลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว

โครงขายบริการสือ่ สารรวมระบบดิจติ ลั (Integrated Service Digital Network:ISDN) เปนบริการที่ทําใหผูใชสามารถติดตอสื่อสารกันไดหลากหลายรูปแบบทั้ ง รั บ -ส ง สัญญาณภาพ เสียง และขอมูลพรอมกันได บนคูส ายเพียง 1 คูส ายในเวลาเดียวกัน

บริการ TA Vote เปนบริการที่ชวยใหรับสายโทรศัพทเรียกเขาที่มีระยะเวลาสั้นๆ ในจํานวนสูงมากๆ ซึ่งสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือทางการตลาดได เชน การ สํารวจความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอสินคา โทรสมัครเพื่อรับสินคาตัวอยาง เปนตน โดยไมตองลงทุนติดตั้งอุปกรณหรือโปรแกรมในการรองรับสายเรียกเขา ปริมาณสูงๆ และสามารถทราบผลหรือจํานวนการเรียกเขาไดภายในเวลา 5 วินาที

บริการฟรีโฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เปนบริการพิเศษที่ผูเรียกตนทาง ไมตองเสียคาโทรศัพททางไกลโดยผูรับปลายทางจะเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย ทัง้ จากการโทรภายในพืน้ ทีเ่ ดียวกันและโทรทางไกลภายในประเทศ โดยกดหมายเลข 1800 แลวตามดวยหมายเลขโทรฟรี 6 หลัก

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

19


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(2)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา (PCT) และบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (TA Orange)

บริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา (PCT) เปนธุรกิจที่อยูภายใตการดํ าเนินการของ บริษัท เอเชีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ในขณะที่บริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ เปนธุรกิจที่อยูภายใตการดําเนินงานของบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด โดยบริษัทถือหุน ในสัดสวนรอยละ 44 ผานบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (2.1) บริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา (Personal Communication Telephone - PCT) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย ไดเปดให บริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา PCT ขึ้นอยางเปนทางการ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 โดยบริการ PCT เปนบริการที่ทําใหผูใชบริการสามารถพกพาโทรศัพทบานไปใชนอกบานได โดยใชเลขหมายเดียวกับ โทรศัพทบานจึงงายตอการจํ า และสามารถใชไดภายในเขตพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล การใหบริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา PCT บริษัทไดนํา 2 เทคโนโลยีใหมเขามาเพิ่มเติม ในโครงขายโทรศัพทพื้นฐานของบริษัท ซึ่งไดแก เทคโนโลยีของ Personal Handy Phone System (“PHS”) ซึง่ พัฒนามาจากการผสมผสานระบบโทรศัพทไรสาย (Cordless Telephone System) เขากับ โครงขายโทรศัพทพื้นฐาน และอีกเทคโนโลยีหนึ่งคือ Advanced Intelligent Network (“AIN”) ซึ่งชวย เพิม่ ประสิทธิภาพของชุมสายใหเอือ้ อํานวยตอการนําเลขหมายโทรศัพทพนื้ ฐานติดตัวไปใชนอกสถานทีไ่ ด การใหบริการ PCT ของบริษัท ไดดําเนินการภายใตสัญญาสัมปทานของ ทศท. โดย รายไดทั้งหมดจะถูกจัดเก็บโดย ทศท. และ ทศท. จะแบงรายไดที่จัดเก็บกอนหักคาใชจายใหบริษัทใน อัตรารอยละ 82 เนื่องจาก บริษัทไดมอบหมายให AWC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทดําเนินการให บริการ PCT แกลูกคา ดังนั้น บริษัทจึงตองแบงรายไดที่ไดรับมาจาก ทศท. ในอัตราประมาณรอยละ 70 ของรายไดหลังจากสวนแบงรายไดที่ ทศท. ไดหักไว ใหกับ AWC นอกจากนั้น ทศท. ก็สามารถใหบริการ PCT แกผูที่ใชหมายเลขโทรศัพทของ ทศท. ไดโดยผานโครงขาย PCT ของบริษัท ดังนั้น ทศท. จึงตอง แบงรายไดสวนหนึ่งที่ ทศท. ไดรับจากผูใชบริการ PCT จากหมายเลขโทรศัพทของ ทศท. ใหแกบริษัท เพื่อเปนเสมือนคาเชาโครงขาย โดยในสวนนี้ ทศท. จะตองแบงรายไดประมาณรอยละ 80 ใหแกบริษัท ในกรณีทอี่ ตั ราแลกเปลีย่ นอยูท รี่ ะดับตํากว ่ า 38 บาทตอ 1 เหรียญสหรัฐ และ จะเพิม่ เปนประมาณรอยละ 82 ในกรณีที่อัตราแลกเปลี่ยนอยูที่ระดับ 38 – 45 บาท ตอ 1 เหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ บริษัทจะตองแบง รายไดที่บริษัทไดรับใหแก AWC ตามที่ไดกลาวไวขางตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทมีผูใชบริการ PCT จํานวน 549,295 ราย ซึ่งรวมทั้งลูกคาที่ใชบริการ PCT Buddy ซึ่งเปนบริการแบบจายลวงหนา ในป 2546 บริษัทไดเปดใหบริการเสริมตางๆ ของบริการPCT หลายบริการ เพื่อเพิ่ม รายไดและใชประโยชนจากโครงขายใหมากที่สุด โดยมีทั้งบริการดานเสียงและขอมูล เชน บริการ PCT Smart One เปนเสมือนบริการโทรศัพทบานที่ไมตองเดินสายภายใน (เนื่องจากใชโครงขาย PCT) ทําใหสามารถใชงานโทรศัพทบานไดอยางอิสระมากขึ้น เปลี่ยนจุดใชงานได TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

20


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หมดปญหาเรื่องการเดินสายภายในหรือคูสายเต็ม รวมทั้งสามารถแสดงหมายเลขเรียกเขา และ เชื่อมตอกับอุปกรณรับสงแฟกซและอินเทอรเน็ตได บริการ Virtual Private Network (VPN) ซึ่ง เปนการนําเอาหมายเลข PCT ที่มีอยู หลายๆเครื่องมาจัดเขาเปนกลุม โดยสามารถโทรในกลุมเดียวกันดวยเลขหมายพิเศษ 4 หรือ 5 หลัก และมีคาบริการเหมาจายรายเดือน โดยไมจํากัดการโทรในกลุมเดียวกัน ซึ่งเหมาะกับลูกคาประเภท ธุรกิจ เนื่องจากจะทําใหประหยัดคาใชจาย บริการเชือ่ มโยงโครงขายขามแดน (Roaming Service) ระหวางระบบ PHS ของบริษทั ดีดี ไอ-พ็อคเก็ต และระบบ PCT ของ AWC โดยรวมกับ บริษทั เคดีดไี อ ซึ่งเปนบริษทั แมของบริษทั ดีดไี อ-พ็อคเก็ต ผูใ หบริการโทรศัพทระบบ PHS รายใหญทสี่ ดุ ในประเทศญีป่ นุ เปดใหบริการเพือ่ ใหลกู คาสามารถใชบริการ ทัง้ ดานเสียงและขอมูลไดทงั้ ที่ประเทศญีป่ นุ และในกรุงเทพฯ โดยเริม่ ใหบริการในภาษาญีป่ นุ ตัง้ แตวนั ที่ 16 ธันวาคม 2546 เนือ่ งจากกลุม เปาหมายหลักเปนกลุม คนญีป่ นุ ทีอ่ าศัยในประเทศรวมทัง้ นักทองเทีย่ วชาวญีป่ นุ บริการ PCT Next Data Card เปนบริการอินเตอรเน็ตแบบไรสาย ที่ระดับความเร็วที่ 32 หรือ 64 Kbps ที่สามารถรองรับการสงขอมูลไดทั้งประเภทเสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รวมทั้ง การประชุมแบบเห็นภาพทางไกล และยังสามารถใชงานแบบ Wireless LAN (ใชงาน LAN แบบไรสาย) และสามารถใชไดกับทั้ง คอมพิวเตอร Notebook และ PDA นอกจากนี้ยังมีบริการเสริมทางดานเนื้อหาขอมูล (Content) อื่นๆ เชน PCT Next Intrend เปนบริการจัดสงสาระขอความที่เลือกไดตามตองการใหเหมาะกับแตละบุคคล PCT Next 2U เปนบริการสงเนื้อหาขอมูลที่ไดรับไปยังบุคคลอื่น และ PCT Next Planner เปนบริการตั้งเวลานัด หมายเสมือนมีเลขาสวนตัว เปนตน สวนบริการสงขอความ (SMS service) ผาน PCT สามารถสงไดใน PCT เฉพาะรุน เชน AWC X –Series II, AWC X – Series III, AWC H – Series I เปนตน และตองเปนรุน เดียวกันสงหากันเทานัน้ โดยคิดอัตราคาบริการครัง้ ละ 3 บาท (2.2) บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (TA Orange) ในเดือนตุลาคม 2544 บริษัทไดลงทุนในอัตรารอยละ 41 ในหุนของบริษัทกรุงเทพ อินเตอรเทเลเทค จํากัด (“BITCO”) ซึ่งเปนผูถ อื หุน รอยละ 99.81 ในบริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ซีพี ออเรนจ จํากัด) ซึ่งประกอบธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 MHz ภายใต สัมปทานจากการสื่อสารแหงประเทศไทย (“กสท”) จนถึงป 2556 บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด ไดเปดใหบริการอยางเปนทางการ ในเดือนมีนาคม 2545 โดยใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งแบบ Post-paid และ Pre-paid ในเดือนตุลาคม 2545 บริษทั ไดนาเงิ ํ นจากการเพิม่ ทุนจํานวนประมาณ 3,000 ลานบาท ไปลงทุนเพิ่มเติมใน บริษัท ทีเอ ออเรนจ ผานบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด ทําใหบริษัทมี สัดสวนการถือหุนในทีเอ ออเรนจเพิ่ม จากรอยละ 41 เปนรอยละ 44

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

21


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด มีผูใชบริการรวม 1,824,990 ราย ณ 31 ธันวาคม 2546 จากการเปดใหบริการไดประมาณ 21 เดือน คิดเปนสวนแบงการตลาดประมาณรอยละ 8 ซึ่งนับวา ประสบความสําเร็จอยางดีในการเขาสูต ลาดโทรศัพทเคลือ่ นที่ ซึง่ มีผปู ระกอบการรายใหญอยูแ ลว 2 ราย รวมทั้งมีการแขงขันที่คอนขางสูง (3)

บริการสือ่ สารขอมูลดิจิตอล

บริษัทนําเสนอการใหบริการโครงขายขอมูลใหกับลูกคาผานทางเลือกตางๆ ทั้งทางดาน ความเร็วและความคลองตัวในการใชงาน เพื่อใหลูกคาของบริษัทมีโอกาสเลือกเทคโนโลยีที่ตรงความ ตองการมากที่สุด ภายหลังการติดตั้งโครงขาย ATM/IP และ Remote Access Server (“RAS”) เมื่อกลางป 2543 ทําใหบริษัทมีขีดความสามารถในการใหบริการสงผานขอมูลเพิ่มขึ้นเปนอยางมาก โดยเทคโนโลยีในการสงผานขอมูลที่บริษัทใหบริการในปจจุบัน ประกอบดวย •

โครงขายขอมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) หรือ Leased Line เปน เครือขายสวนตัวสําหรับการรับสงขอมูลโดยเปนเสนทางสื่อสารที่เชื่อมโยงการรับ สงขอมูล ภาพและเสียงระหวางสถานที่ 2 แหง ภายใตโครงขายของบริษัท ใน อัตราความเร็วแบบคงที่ ซึ่งเหมาะกับธุรกิจหรือองคกรที่มีสาขาจํานวนมาก เชน ธนาคาร สถาบันการเงิน ฯลฯ ที่จะตองอาศัยการรับสงขอมูลอยางตอเนื่องและถูก ตองแมนยํา และมีปริมาณขอมูลเปนจํานวนมาก บริษัทมีบริการนี้ใหเลือกหลาย แบบตามความเหมาะสมกับลูกคา โดยมีความเร็วตั้งแต 64 Kbps จนถึงมากกวา 140 Mbps รวมทั้งมีการรับประกันในการบริการ ทั้งในดานความสามารถในการใช งานของโครงขาย (Network Availability) และระยะเวลาในการซอมบํารุง (Mean Time to Restore) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทไดใหบริการวงจร DDN แลวถึง 7,835 วงจร

บริการ IP Access Service (“IPAS”) เปนบริการภายใตชื่อ “TA Megaport” ซึ่ง เปนการใหบริการและบริหารระบบการตอเชื่อมอินเตอรเน็ต ใหแกลูกคา ทําใหลูก คาไมตอ งลงทุนในอุปกรณและบุคลากรเอง กลุม ลูกคาเปาหมายของ TA Megaport ไดแก บริษัทผูใหบริการอินเทอรเน็ต (ISPs) บริษัทผูใหบริการดานขอมูลบน เว็บไซต และกลุมลูกคาธุรกิจซึ่งตองการ Virtual Private Network service (“VPN”) หรือการเชื่อมตอระหวางสาขา

บริการโครงขายเชื่อมตออินเตอรเน็ต (Trunking Access) ใชในการรับสาย โทรศัพทเขา เพื่อตอเชื่อมอินเตอรเน็ตไดครั้งละ 30 สายหรือจํานวนเทาของ 30 สาย พรอมกัน ทําใหลูกคาไมมีปญหาจากคูสายโทรศัพทขาดแคลนหรือคูสายมี จํากัดในพื้นที่ใหบริการ

บริการ TA Metronet เปนบริการโครงขายขอมูลที่ใชเทคโนโลยี่ Fiber-to-thebuilding ซึ่งถูกออกแบบมาเฉพาะลูกคาธุรกิจ เพื่อใหมี Network Configuration

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

22


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ที่เรียบงายกวาเดิม โดยมี Bandwidth Capacity ที่กวางขึ้น และมีคุณภาพบริการ ทีส่ งู ขึน้ TA Metronet สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพการทําธุรกิจใหแกลกู คา โดยลูกคา แตละรายสามารถสงผานขอมูลไดดว ยความเร็วสูง ระหวาง 512 Kbps ถึง 1 Gbps •

(4)

บริการ TA Network Manager ซึ่งเปนบริการเกี่ยวกับการบริหารเครือขายขอมูล ใหลูกคา โดยครอบคลุมถึงการลงทุนในอุปกรณ การจัดหาและวางแผนสําหรับ สาขา รวมทั้งการติดตั้งเพื่อเตรียมใชงาน การเปนศูนยกลางติดตอระหวางลูกคา และผูใหบริการเครือขายอื่น (ในกรณีที่ใชเครือขายของผูประกอบการรายอื่น) การดูแลเครือขายขอมูลลูกคาใหมีประสิทธิภาพตั้งแตตนทางจนถึงปลายทาง และ รายงานประมวลผลประสิทธิภาพของเครือขายตลอดจนชวยวางแผนงานการใช งานในอนาคตบริษัทไดเริ่มทดลองใหบริการนี้ในไตรมาสที่ 3 ป 2546

บริการโครงขายมัลติมีเดีย และ บริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด)

ธุรกิจมัลติมีเดียของบริษัทดําเนินการโดยบริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (“AM”) ซึ่ง เปนบริษัทยอยของบริษัท AM เปนเจาของโครงขายมัลติมีเดีย Hybrid Fiber-optic Coaxial หรือ HFC ขนาดใหญ ซึ่งไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินการใหเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูงผานโครงขาย มัลติมีเดีย มีกําหนดเวลา 20 ป นับตัง้ แตวันที่ 20 ตุลาคม 2540 ปจจุบนั AM ทําธุรกิจรวมกับบริษทั ยูไนเต็ด บรอดคาสติง้ คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (“ยูบซี ”ี ) ซึง่ เปนบริษทั รวมของบริษทั และเปน ผูป ระกอบการธุรกิจเคเบิลทีวี โดย AM ไดทาสั ํ ญญากับยูบซี ีในการใหเชาโครงขาย HFC ในสวนที่เปน Analog จํานวน 35 ชอง สําหรับการแพรภาพรายการตางๆ ใหกับลูกคา นอกเหนือจากนั้น AM ยังเปน ตัวแทนจําหนายและเปนผูติดตั้งสายกระจาย (Dropwire) ใหกับลูกคาของยูบีซีเพื่อที่จะเชื่อมโครงขาย HFC ของ AM ใหเขาถึงบานเรือนของผูที่ขอรับสัญญาณเคเบิลทีวีจากยูบีซี รวมทั้งเปนผูติดตั้งและบํารุง ซอมแซมกลองรับสัญญาณเคเบิลทีวี หรือ Set-top Box ของยูบีซีที่มีอยูประจําทุกบานเรือน เพื่อรับ สัญญาณเคเบิลทีวีของยูบีซี บริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) บริษัทใหบริการบรอดแบนดทั้งแบบมีสายและไรสาย ดังตอไปนี้ •

บริการบรอดแบนดแบบมีสาย บริษัทใหบริการดวย 2 เทคโนโลยี ที่เปนที่นิยมใน ปจจุบัน ไดแก Cable Modem and ADSL โดยมีบริษัท เอเชีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) เปนผูใหบริการ ซึ่ง AM ไดเปดใหบริการทั้ง 2 ประเภทอยางเปนทางการใน เดือนกรกฎาคม 2544 Cable Modem เปนอุปกรณภายนอกที่พวงตอกับคอมพิวเตอร เพื่อใชในการสง และรับขอมูลผานทางโครงขาย HFC ไดในเวลารวดเร็ว ทําใหสามารถเชื่อมตอเขา สูระบบอินเทอรเน็ตดวยความเร็วที่สูงถึงกวา 100 เทาของ Modem ทัว่ ไปที่ใชกัน

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

23


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อยูใ นปจจุบนั และการที่ Cable Modem นีไ้ ดเชือ่ มตอเขากับอินเทอรเน็ตอยางถาวร ผู  ใชจึงไม ตองเสียเวลาในการตอผานทางโทรศัพทและไมตองใชสายโทรศัพท เพิ่มอีก โดย ณ 31 ธันวาคม2546 บริษัทมีผูใชบริการ Cable Modem จํานวน 1,018 ราย บริการ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) ของบริษัท ไดออกสูตลาด ภายใตชื่อ “TA Express” โดยเปนบริการที่สามารถเชื่อมตอเขากับอินเทอรเน็ต อยางถาวร เพื่อสงผานขอมูลความเร็วสูงบนโครงขายโทรศัพทพื้นฐานของบริษัท ลูกคาสามารถเลือกความเร็ว (สูงสุดถึง 8 Mbps) ใหเหมาะสมตามความตองการ ใชงานของลูกคาแตละราย และยังสามารถใชงานโทรศัพทในการติดตอสื่อสารได ในขณะเดียวกัน ณ 31 ธันวาคม 2546 บริษทั มีผใู ชบริการแลวจํานวน 10,643 ราย และเพื่อความสะดวกแกลูกคากลุมบุคคล ในเดือน กรกฎาคม 2546 บริษัทไดนํา เสนอบริการ Broadband โดยรวมกับบริการการเชื่อมตออินเตอรเน็ต ภายใตชื่อ “Hi-speed Internet” Solution ซึ่งไดรับการตอบรับที่ดีจากตลาด และตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2546 บริษัทไดลดราคาคาบริการนี้ โดยมีคาบริการเริ่มตนเพียง 550 บาทตอเดือน สําหรับบริการที่ใหความเร็วในการรับสงขอมูล 256 กิโลบิตตอวินาที รวมทั้งไดเปดใหบริการ TA Cable Modem ในตางจังหวัดอันไดแก เชียงใหม ขอนแกน โคราช และหาดใหญ ในราคาพิเศษ จากการคาดการณวา ตลาดบรอดแบนด จะยังคงเติบโตในอัตราที่สูงในอนาคต บริษัทจึงไดดาเนิ ํ นการเพิ่มขีดความสามารถ ในการใหบริการ ADSL เพิ่มอีก 100,000 ราย และจะขยายพื้นที่ใหบริการให ครอบคลุมอยางทั่วถึงในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ซึ่งไดดําเนินการแลวเสร็จใน เดือนเมษายนของป 2547

(5)

บริการ Broadband แบบไรสาย ภายใตชื่อ TA WiFi เปนเทคโนโลยี่สื่อสารขอมูล ไรสายลาสุด ที่ใหความเร็วในการเชื่อมตอสูงถึง 11 Mbps ทําใหสามารถรับสง ขอมูลผานทางอินเตอรเน็ตไรสาย โดยเครื่องคอมพิวเตอรตั้งโตะและพกพา และ PDA บริษัทไดเริ่มเปดใหบริการนี้ในไตรมาสที่ 2 ป 2546

TA Station หรือบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูงสาธารณะ ซึ่งเปนชุดอุปกรณ อินเตอรเน็ตสาธารณะแบบหยอดเหรียญ ซึ่งมีความเร็วที่ระดับ 512 Kbps โดยมี การติดตั้งกลองถายภาพดิจิตอลเพื่อใหลูกคาถายภาพนิ่งและสง Email ไดทันที นอกจากนั้นยังสามารถใหบริการดาวนโหลดหนัง ฟงเพลง ริงโทน หรือโลโก รวมทั้ง เลมเกมส และรองคาราโอเกะ

บริการอินเทอรเน็ต Content และ Application

ในเดือนพฤศจิกายน 2539 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (“AI”) ซึ่ง เปนบริษัทยอยของบริษัท ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดํ าเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ตและ TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

24


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อีคอมเมิรซ ในนามของ "เอเซียเน็ท" ปจจุบัน AI จัดเปนผูใหบริการอินเตอรเน็ตรายใหญของไทย โดยมีจํานวนผูใชบริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ทั้งสิ้น 652,726 ราย AI ใหบริการอินเทอรเน็ตใน หลายรูปแบบดวยกัน สําหรับผูใชบริการแบบองคกร สามารถเลือกใชบริการอินเทอรเน็ตผานวงจรเชา Leased Line และ ISDN และบริการ Web Hosting และสําหรับผูใชบริการบุคคลทั่วไป สามารถเลือก ใชบริการ อินเทอรเน็ตในรูปแบบตางๆ เชน บริการแบบรายเดือน บริการแบบรายชั่วโมง หรือชุด โปรแกรมสําเร็จรูปที่ผูซื้อสามารถใชงานไดทันที และ บริการโรมมิ่งระหวางประเทศ (International Roaming) ทีช่ ว ยใหสมาชิกใชงานอินเทอรเน็ตไดทั่วโลก บริ ษั ท ยั งเป ด ให บ ริ ก ารอิ น เทอร เ น็ ตในราคาประหยัดสํ าหรับผู  ใ ช บ ริ การเลขหมาย โทรศัพทพื้นฐานของบริษัท ภายใตชื่อ ClickTA โดยผานเว็บไซท www.clickta.com ซึ่งจะทําหนาที่ เสมือนประตูหรือทางเขาหลักเพื่อเชื่อมตอไปสูระบบอินเทอรเน็ต นับเปนการใหบริการในรูปแบบใหม เนื่องจากลูกคาสามารถเชื่อมตอผานเลขหมาย 0-2900-9600 และสามารถใชงานไดสูงสุด 3 ชั่วโมง ตอการเชื่อมตออินเตอรเน็ต 1 ครั้ง โดยไมจํากัดครั้งในการใชงาน บริษัทไดมอบหมายให AI เปนผูเรียก เก็บคาบริการอินเทอรเน็ตของ ClickTA โดยสัดสวนการแบงรายไดระหวางบริษัทกับ AI จะขึ้นอยูกับ จํานวนผูใชบริการของ ClickTA ในไตรมาสที่ 1 ป 2546 บริษัทรวมกับ AI ไดเปดใหบริการอินเตอรเน็ตสําหรับผูใช บริการโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทอีกบริการหนึ่ง ภายใตชื่อ TA easy Click ซึ่งสะดวกตอการใชงานมาก ขึ้น และเรียกเก็บคาบริการเปนนาที ในอัตราชัว่ โมงละ 12 บาท (นาทีละ 0.20 บาท) โดยรวมกับบิล คาบริการโทรศัพทพื้นฐานของบริษัท ผูใชโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทสามารถใชบริการนี้ไดเพียงพิมพ หมายเลขโทรศัพท 0-2900-0000 ตอมาบริษัทไดพัฒนาการใหบริการในลักษณะเชนนี้สําหรับบริการอื่นๆ รวมทั้งดาน Content โดยไดเปดใหบริการอื่นๆอีกอันไดแก บริการ TA easy Pristontale และบริการ TA easy Ragnarok ซึ่งเปนบริการดาน เกมออนไลน บริการ TA easy PCT ซึ่งเปนบริการการเชื่อมตอ อินเตอรเน็ตแบบไรสายที่ความเร็ว 32 Kbps และบริการ TA easy Entrance ซึ่งเปนบริการดานขอมูล สําหรับการเตรียมตัวสอบเขามหาวิทยาลัย รวมทั้งบริการ TA easy Mail ซึ่งเปนบริการ email สวนตัว สําหรับผูใชบริการ TA easy Click นอกจากนี้ บริษัทไดใหบริการอีคอมเมิรซสําหรับลูกคาที่เปนบริษัทหรือสถาบันดวย บริการเกี่ยวกับเว็บไซตอยางครบวงจร นับตั้งแต การออกแบบ การสราง และการรับฝากเว็บไซต เปนตน และในไตรมาสที่ 2 ป 2546 บริษัทยอยไดแก บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC) ได รวมทุนในบริษัทที่มีการจัดตั้งใหมชื่อ บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด เพื่อเปดใหบริการ Internet Data Center รวมทั้งบริการอื่นที่เกี่ยวของกับบริการอินเตอรเน็ต โดยไดรวมทุนกับบริษัท Dacom Corporation ซึ่งเปนผูใหบริการ IDC ที่ใหญที่สดุ ในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีและในเอเซีย โดยคาดวาสามารถเปดใหบริการไดในกลางป 2547 การรวมทุนดังกลาวจะทําใหบริษัทสามารถใหบริการ อินเตอรเน็ตแกลูกคาประเภทธุรกิจไดอยางครบวงจร

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

25


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สําหรับบริการดาน Content และ Application นับตั้งแตปลายป 2545 บริษัทได ลงนามในขอตกลงกับบริษัทชั้นนําของประเทศกวา 20 บริษัท ซึ่งเปนผูใหบริการขอมูล ขาวสาร บริการ ดานสุขภาพ ดานการเงิน และเกมสออนไลน เพื่อที่จะจัดตั้งชุมชุน Broadband และรวมมือกันจัดทํา Content และ Application ตางๆ ผานเว็บไซท www.tabroadband.com เพื่อเปน Community สําหรับการใหบริการ Content ตางๆ รวมทั้งจะชวยสงเสริมใหมีการใชบริการ Broadband ของบริษัท มากขึ้น โดยในปจจุบันบริษัทไดจัดทํา Content ภายใตชื่อ E Zone ซึ่งเปน Content ทางดานบันเทิง ภาพยนต เพลง และ กีฬา ที่เว็บไซท www.tabroadband.com นอกจากนั้นยังมีการจัดทํา Content ดานขาวรวมกับ Nation และอื่นๆ เชน การใหบริการขอมูลเกี่ยวกับการเตรียมตัวสอบเขามหาวิทยาลัยที่ เว็บไซท www.taentrance.com รวมทั้งเปดใหบริการเกมสออนไลน ในชวงไตรมาสที่4 ของป 2546 นี้ ภายใตบริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด โดย ANC ซึง่ เปนบริษัทยอยไดทําสัญญากับบริษัท Triglow Pictures Company Limited แหงประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี เพื่อสิทธิในการใหบริการเกมส PristonTale ซึ่งเปนเกมสที่มีชื่อเสียง โดยไดรับรางวัล ตางๆ มากมาย จากกระทรวงวัฒนธรรมและการทองเที่ยวของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (6)

บริการอื่นๆ

นอกเหนือจากธุรกิจหลักทั้ง 5 กลุมแลว บริษัทยังไดเปดใหบริการอื่นๆ เชน บริการ ศูนยบริการลูกคาครบวงจรภายใตชื่อ ContactASIA ซึ่งใหบริการดานการดูแลลูกคา (Call Center) ทําใหสามารถชวยแบงเบาความเสี่ยงของลูกคาในดานการลงทุนสําหรับเทคโนโลยีสมัยใหม รวมทั้งชวย ประหยัดคาใชจายดานบุคลากร และทําใหลูกคาสามารถเขาถึงความรูความชํานาญในการบริหารแบบ มืออาชีพและเทคนิคระดับสากล 3.2 การตลาด บริษทั มีเปาหมายทีจ่ ะใหบริการโทรคมนาคมตางๆ ในลักษณะทีเ่ ปน Solution ทีเ่ หมาะสม ตามความตองการของลูกคาแตละประเภท โดยการนําเสนอบริการในกลุมไปดวยกัน (Products Bundling) เพื่อใหเปนบริการที่ครบวงจรสําหรับลูกคา โดยบริษัทเชื่อวา กระแสความตองการของบริการ ทีม่ ที งั้ โทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพทไรสาย ขอมูล อินเทอรเน็ต และ มัลติมีเดีย ที่รวมอยูในบริการเดียวจะมี ปริมาณสูงขึ้นในอนาคต นอกจากนั้นบริษทั จะมุงเนนการตอบสนองความตองการของลูกคา (Customer Centric) และการกระจายชองทางการจําหนาย ตามกลุมลูกคาแตละประเภท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ลักษณะลูกคาเเละกลุมลูกคาเปาหมาย ปจจุบันบริษัทไดแบงลูกคาออกเปน 3 กลุมหลัก คือ กลุมลูกคาธุรกิจขนาดใหญ (Corporate Segment) กลุมลูกคาธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SME Segment) เเละกลุมลูกคา บุคคล (Consumer Segment) ทั้งนี้เพื่อใหสามารถใหบริการที่ถูกตองเหมาะสมและตรงกับความ TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

26


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตองการของลูกคามากที่สุด โดยกลุมลูกคาธุรกิจทัง้ ขนาดใหญและขนาดกลางประกอบดวย ธนาคาร พาณิชย สถาบันการเงิน และธุรกิจประกันภัย หนวยงานรัฐบาลและหนวยงานรัฐวิสาหกิจ ผูประกอบ การอุตสาหกรรมและจัดจําหนาย รวมทั้งผูใหบริการตางๆ นอกเหนือจากนี้กลุมธุรกิจขนาดใหญยังครอบ คลุมถึงกลุมลูกคาทีม่ คี วามตองการใชโทรศัพทเปนจํานวนมาก เชน ธุรกิจโทรคมนาคม ธุรกิจใหบริการ อินเทอรเน็ต เเละอีคอมเมิรซตางๆ ซึ่งตองการบริการโทรศัพทที่ทันสมัยเเละมีความกาวหนาทาง เทคโนโลยี สําหรับกลุมธุรกิจขนาดกลางยังรวมถึงกลุมลูกคาประเภทสถาบันการศึกษาตางๆ ดวย สวนกลุมลูกคาบุคคล ประกอบดวย กลุมลูกคาวัยรุน กลุมลูกคาแมบานและครอบครัว กลุมลูกคา นักธุรกิจและพนักงานบริษัททั่วไป และกลุมลูกคาในที่อยูอาศัยใหม 3.3 การจําหนายเเละชองทางการจําหนาย บริษัทไดเเบงชองทางการจําหนาย (Channel) ออกเปน 2 สวน ดังนี้ 1.

Business Channel สําหรับลูกคากลุมธุรกิจขนาดใหญ และขนาดกลางประกอบดวย 1.1 ผูบริหารงานลูกคา (Account Executive) ทีม่ คี วามเชี่ยวชาญในการเขาถึงความ ตองการของลูกคาตามแตละธุรกิจไดเปนอยางดี 1.2 ศูนยจําหนายทางโทรศัพท (Telesale) ซึง่ จะติดตอลูกคาทางโทรศัพท (Outbound)เพื่อนําเสนอบริการตามความตองการของลูกคาแตละประเภท

2.

Consumer Channel เเบงออกเปน 2.1 ศูนยบริการ (Outlet) เเละเคานเตอรบริการ (ศูนยบริการขนาดเล็ก) จํานวน 45 แหง ซึง่ กระจายอยูตามสถานที่ตา งๆ ครอบคลุมพืน้ ทีท่ งั้ ในเขตกรุงเทพมหานครเเละ ปริมณฑล เพื่ออํานวยความสะดวกแกลูกคา 2.2 ศูนยรับจองทางโทรศัพท (Tele Ordering) ซึง่ เปนชองทางที่ลูกคาสามารถ โทรศัพทเขามาเพื่อขอติดตั้งเลขหมายโทรศัพทและบริการตางๆ ของบริษัท 2.3 พนักงานขายตรง (Direct Sales) โดยมีการแบงออกตามพื้นที่ โดยเเตละพื้นที่อยู ภายใตความรับผิดชอบของผูจัดการฝายขายเเละพนักงานขายซึ่งไดรับการมอบ หมายใหดแู ลพืน้ ทีเ่ ฉพาะ กลยุทธทใี่ ชจะมุง เนนการกระจายจดหมาย (Mail drop) การทํากิจกรรมสงเสริมการขายตางๆ รวมทั้งการนํารถบริการเคลื่อนที่เพื่ออํานวย ความสะดวกเเกลูกคาเฉพาะบริเวณ

3.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการใหบริการของโครงขาย บริษัทเชื่อวาความสามารถในการใหบริการของโครงขายของบริษัทเปนจุดเดนที่สําคัญ ในการใหบริการของบริษัท กลาวคือ บริษัทมีโครงขายเคเบิลใยแกวนําแสงที่ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการ TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

27


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

และเขาถึงผูใชบริการไดอยางทั่วถึง โดยมีสวนประกอบที่เปนสายทองแดงเปนระยะทางสั้นๆ ทําให สามารถสงสัญญาน เสียง ภาพ หรือ ขอมูล ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การออกแบบโครงขาย ของบริษัทในลักษณะใยแมงมุม ยังสามารถขจัดปญหาที่ผูใชบริการไมสามารถใชโทรศัพทไดอันเนื่องจาก การที่สายโทรศัพทหรือเสนทางในการติดตอถูกตัดขาดเพราะอุบัติเหตุ หรือดวยเหตุอื่นใด โดยทําให บริษทั สามารถเลือกใชเสนทางอื่นทดแทนเสนทางที่ตองผานจุดที่เกิดเหตุเสียนั้นได แหลงที่มาของผลิตภัณฑและบริการ บริษทั ใชผูจัดจําหนาย (Suppliers) และผูรับเหมาจํานวนมากในการจัดหาและติดตั้ง โครงขายของบริษัท ซึ่งรวมถึงการกอสรางขายสายตอนนอกเพื่อขยายพื้นที่ใหบริการ การติดตัง้ สาย กระจายใหกบั ผูเ ชา อุปกรณ switching และการสนับสนุนดานเทคนิค การซอมและสงคืน อุปกรณ Transmission อุปกรณ ATM และ Remote Access Server ซึ่งบริษัทไมไดมีการพึ่งพิง ผูจดั จําหนายหรือผูรับเหมารายใดเปนการเฉพาะ และบริษัทไมมีปญหาในการจัดหาผูจัดจําหนายและ ผูร บั เหมา เนื่องจากมีจํานวนมากราย การสนับสนุนทางดานเทคนิคและการบริหาร บริษทั ไดรับความชวยเหลือทางดานเทคนิคและการจัดการจาก บริษัท Verizon Communications, Inc (Verizon) ตั้งแตป 2535 ในฐานะที่เปนผูถือหุนและพันธมิตรรวมทุนของ บริษัท Verizon ไดสงผูบริหารหลายทานเขามาชวยบริหารงานของบริษัทในดานเทคนิค การตลาด การเงิน และการปฏิบัติการ เพื่อชวยยกระดับการทํางานของบริษัท เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2546 Verizon ไดดําเนินการขายเงินลงทุนในบริษัทออกไปทั้งหมด อยางไรก็ตาม ผูบริหารหลักที่ Verizon ไดสงใหเขามาชวยบริหารงาน ยังคงเปนผูบริหารของบริษัทอยูในปจจุบัน 3.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน จํานวนผูใชบริการในธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานทั้งประเทศไดชะลอตัวในชวงป 2546 โดย สวนหนึ่งเปนผลมาจากผูประกอบการไดเริ่มเรียกเก็บคาติดตั้งสําหรับเลขหมายใหม และไดดําเนินการ เรงกระบวนการยกเลิกการใชงานของลูกคาเพื่อนําเลขหมายมาขายใหมอีกครั้ง อยางไรก็ตามอัตราการ ใชโทรศัพทพื้นฐานตอประชากร 100 คน ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ที่ระดับอัตราประมาณรอยละ 32 ยังคงอยูในระดับตํ่ากวาเมืองอื่นในแถบเอเซียที่นับวาเปนเมืองที่พัฒนาแลว ดังนั้นจึงยังมีโอกาสใน การขยายตัว ณ 30 มิถุนายน 2546 บริษัทมีสวนครองตลาดโทรศัพทพื้นฐานในเขตกรุงเทพและ ปริมณฑลสูงสุดถึงรอยละ 56

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

28


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตาราง : เลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่มีผูใชงาน ณ 30 มิถุนายน 2546 ผูใหบริการ ทศท.* บริษัท** TT&T* รวม

กรุงเทพและปริมณฑล 1,542,231 2,007,273 3,549,504

ณ 30 มิถุนายน 2546 ตางจังหวัด 1,854,227 1,210,442 3,064,669

รวม 3,396,458 2,007,273 1,210,442 6,614,173

ที่มา: * ขอมูลจาก www.tot.co.th ** ขอมูลจากบริษัท

การแขงขันในธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานสูงขึ้นเนื่องจากทศท. ไดปรับปรุงการทําการตลาด เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันใหเทาเทียมกับบริษัทเอกชน นอกจากนั้นยังคงมีการแขงขันจาก ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง เนื่องจากมีผูประกอบการรายใหมเขามาในตลาด ซึ่งมีผลทําใหมี การเคลื่อนยายของปริมาณการใชโทรศัพท จากโทรศัพทพื้นฐานไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ อยางไรก็ตามผล กระทบดังกลาวเริ่มมีแนวโนมลดลงในป 2546 เนื่องจากผูป ระกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดหันไปเนน การรักษาลูกคาแทนการลดราคาเนื่องจากตลาดเติบโตชาลง ประกอบกับผูประกอบการโทรศัพทพื้นฐาน ไดรวมกันปรับรูปแบบของบริการ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายและสามารถตอบสนองความตองการใหแก ผูใชบริการมากขึ้น นอกจากนั้น นับตั้งแต 1 กันยายน 2546 ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานยังไดรับอนุญาต ใหจัดโปรโมชั่นพิเศษสําหรับลูกคาโดยการลดอัตราคาบริการสําหรับบริการโทรทางไกลตางจังหวัดและ การโทรไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ และนับตั้งแตตนป 2547 ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานไดรับอนุญาตใหจัด โปรโมชั่นโดยมีอัตราคาบริการแบบยืดหยุน และมีอัตราคาบริการตามโปรโมชัน่ กอนเปนเพดานสูงสุด ทําใหบริการโทรศัพทพื้นฐานมีขีดความสามารถในการแขงขันมากขึ้น ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่และธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานพกพา PCT ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่เติบโตอยางตอเนื่องในป 2546 ในอัตรารอยละ 27 โดยมี จํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นประมาณ 5 ลานราย เปน 22 ลานราย อยางไรก็ตาม นับเปนอัตราการ เติบโตที่ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับการเติบโตกวาเทาตัวในป 2545 อัตราการใชโทรศัพทเคลื่อนที่ตอ ประชากร 100 คน ณ ปลายป 2546 อยูที่ระดับประมาณรอยละ 36 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากอัตรารอยละ 28 ในป 2545 นักวิเคราะหสว นใหญคาดวาตลาดโทรศัพทเคลือ่ นทีใ่ นป 2547 จะเพิม่ ขึน้ ประมาณ 4 ลานราย หรือเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 18 โดยสภาวะการแขงขันจะเริ่มคงตัว และผูใหบริการสวนใหญจะเนนไป ที่การเพิ่มรายไดตอเลขหมาย และบริการเสริมพิเศษตางๆ นับตัง้ แตป 2545 มีผใู หบริการรายใหมเขาสูต ลาด 3 ราย คือ บริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ GSM 1800 MHz โดยเปดใหบริการอยางเปนทางการในเดือนมีนาคม 2545 และ บริษัท ไทยโมบาย (บริษัทรวมทุนระหวาง บมจ. ทศท คอรปอเรชั่น และ บมจ. กสท TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

29


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โทรคมนาคม) ซึ่งใหบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ดิจิตอล 1900 MHz ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2545 นอกจากนั้นยังมี บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด (บริษัทรวมทุนระหวาง Hutchison Wireless MultiMedia Holdings Limited และ บมจ. กสท โทรคมนาคม) ซึ่งใหบริการระบบโทรศัพท เคลื่อนที่ระบบ CDMA โดยเปดใหบริการในเดือนพฤศจิกายน 2545 ตาราง : จํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ณ 31 ธันวาคม 2546 ผูใหบริการ ณ 31 ธันวาคม 2546 (เลขหมาย) AIS 13,239,200 DTAC 6,550,496 TA ORANGE 1,824,990 รวม 21,614,686 หมายเหตุ: ไมรวม Hutch และ Thai Mobile

ทีเอ ออเรนจ มีจํานวนผูใชบริการ ณ 31 ธันวาคม 2546 ทั้งสิ้น 1,824,990 ราย อยางไรก็ตาม จํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานพกพาในป 2546 ยังคงลดลงตอเนื่องจากป 2545 คงเหลือเพียง 549,295 เลขหมาย พีซีทีเผชิญกับการลดลงของจํานวนผูใชบริการตั้งแตครึ่งปหลังของป 2545 เนื่องจากการแขงขันที่เพิ่มขึ้นจากธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ นับตั้งแตตนป 2546 AWC ไดปรับ เปลีย่ นกลยุทธโดยหันมาเนนการรักษาฐานลูกคา ไปพรอมๆ กับการมุงการเจาะฐานลูกคาที่เปนกลุม เฉพาะ (Community) และใหบริการที่เหมาะกับลูกคาแตละกลุม (Customer Solution) และเนน จุดเดนของ PCT ในดานการประหยัดและปลอดภัย นอกจากนั้นยังไดปรับปรุงคุณภาพของโครงขาย จากการดําเนินการตางๆ ทําใหอัตราการลดลงของผูใชบริการชะลอตัวลงเล็กนอย ในขณะที่รายไดตอ เลขหมายยังคงลดลงอยางรวดเร็วในอัตรารอยละประมาณ 26 ในป 2546 และเพื่อเปนการฟนฟูธุรกิจ พีซที ี บริษัทจึงไดดําเนินการเจรจากับเจาหนี้ เพื่อการลดหนี้ ใหลงมาอยูในระดับที่เหมาะสม ซึ่งคาดวา จะสามารถสรุปไดภายในกลางป 2547 ธุรกิจสื่อสารขอมูลดิจิตอล ธุรกิจสื่อสารขอมูลดิจิตอลของประเทศไทยยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมีอัตราการ เติบโตที่ประมาณรอยละ 20-30 ตอป เนื่องจากความนิยมในการสงขอมูล on-line และจํานวนผูใช บริการอินเตอรเน็ตเพิ่มมากขึ้น การแขงขันในธุรกิจสื่อสารขอมูลดิจิตอลยังคงสูงเนื่องจากมีจํานวนผูให บริการหลายราย ประกอบกับลูกคามีทางเลือกเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีเทคโนโลยี่ใหมๆ เชน ADSL อยางไรก็ตามในป 2546 ธุรกิจสื่อสารขอมูลดิจิตอลของบริษัทขยายตัวเพียงรอยละ 10 ซึง่ มีสาเหตุสวนใหญจากการที่บริษัท ทีเอ ออเรนจ ไดยกเลิกการใชงานวงจรที่เชาจากบริษัทบางสวน เนื่องจาก ทีเอ ออเรนจ ไดสรางโครงขายของตนเองเสร็จเพิ่มเติมบางสวน อยางไรก็ตามวงจรเชาจาก ลูกคารายอื่นๆ ยังคงเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 20

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

30


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากการมีจดุ แข็งจากการมีโครงขายโทรศัพทหลักทีม่ เี ทคโนโลยีทที่ ันสมัย บริษัทยังคง เนนการสรางความแตกตางจากคูแขงดวยการมุงเนนพัฒนาคุณภาพในการใหบริการ ในป 2546 บริษัท ไดเริ่มเปดใหบริการการบริหารจัดการเครือขายขอมูลใหแกลูกคาซึ่งรวมตั้งแตการจัดหาและสราง โครงขาย การซอมบํารุงและดูแลรักษา และการจัดการประสิทธิภาพของโครงขาย ธุรกิจอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ธุรกิจอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ยังอยูในภาวะเริ่มแรก ดังนั้นจํานวนผูใช บริการจึงเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็ว ในป 2545 บริษทั มีจานวนผู ํ ใ ชบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เพิ่มขึ้นเปนสองเทา เปนประมาณ 3,708 ราย ซึ่งคิดเปนสวนแบงการตลาดกวา รอยละ 50 สําหรับใน ป 2546 ธุรกิจอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ยังคงมีอัตราการขยายตัวอยางรวดเร็ว โดย บริษัทมีผูใชบริการรวม 11,661 ราย ณ 31 ธันวาคม 2546 ซึ่งเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 214 จากปลายป 2545 และสวนใหญเปนการเพิ่มขึ้นของผูใชบริการ ADSL ปจจัยหนึง่ ทีท่ าให ํ จานวนผู ํ ใ ชบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เพิม่ ขึน้ อยาง รวดเร็ว คือการลดลงของราคา modem นอกจากนั้นยังมีปจจัยสนับสนุนจากการที่ผูบริโภคเริ่มมีความ นิยมในการบริโภค content ตางๆ เชน เกมสออนไลน มากขึ้น ประกอบกับอัตราคาใชบริการ อินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีระดับที่ถูกลง เนื่องจากผูใหบริการมีฐานสมาชิกเพิ่มขึ้น อีกทัง้ ภาครัฐไดสนับสนุนผานการปรับลดอัตราคาเชาวงจรตางประเทศลง ทําใหตนทุนของผูประกอบ การลดลง อัตราของผูใชบริการ Broadband รวมตอประชากร 100 คน (Broadband penetration) ในเมืองไทย ยังมีระดับที่ตํ่ามาก โดยมีอัตราตํ่ากวารอยละ 0.5 ซึ่งยังคงเปนระดับที่ตํ่ากวา ประเทศที่พัฒนาแลวในแถบเอเซีย เชน เกาหลี (รอยละ 21.7) ฮองกง (รอยละ 14.6) ไตหวน (รอยละ 9.1) และ สิงคโปร (รอยละ 5.5) (แหลงที่มา: Asia Pacific and Broadband Market Forecast, 2003-2007 by Gartner) จึงนับวาตลาดอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ในประเทศไทยยังมี โอกาสขยายตัวสูงมาก ผูใ หบริการในตลาดอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีจานวนประมาณ ํ 6 ราย ทัว่ ประเทศ ไดแก บริษทั ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี่ จํากัด (UBT) ซึ่งเปนบริษทั ในกลุม UCOM, บริษทั เลนโซ ดาตาคอม จํากัด (ใหบริการภายใตชอื่ Q-Net), Samart, TOT, TT&T และบริษทั อยางไรก็ ตามมีเพียง TOT และบริษทั เทานัน้ ทีเ่ ปนผูใ หบริการในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ทีม่ โี ครงขายเปนของ ตนเอง ซึ่งทําใหมขี อ ไดเปรียบผูป ระกอบการรายอืน่ นอกจากนั้นบริษัทยังมีขอไดเปรียบดานอื่นๆ เชน การมีพื้นที่ใหบริการที่ครอบคลุมกวางกวา และมีโครงขายที่ทนั สมัยที่เหมาะสําหรับการใหบริการ อินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เนื่องจากเปนโครงขายที่ประกอบดวยเคเบิ้ลใยแกวจํานวนมาก โดยมี ส วนที่เปนทองแดงเปนระยะทางสั้นๆ ทํ าใหสามารถสงผานขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้บริษัทยังสามารถใหบริการไดหลากหลายกวา

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

31


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

และนับตั้งแตตนป 2546 ผูประกอบการบางรายรวมทั้งบริษัทเริ่มเปดใหบริการ อินเตอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) แบบไรสาย หรือที่เรียกกันทั่วไปวา บริการ WiFi (Wireless Fidelity) การแขงขันสําหรับบริการนี้ยังคงเปนไปอยางไมรุนแรง เนื่องจากยังมีผูใหบริการเพียงไมกี่ราย ธุรกิจบริการอินเตอรเน็ต จํานวนผูใชบริการอินเตอรเน็ตในประเทศไทยในป 2546 มีประมาณ 6 ลานคน [แหลงที่มา : ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค) ] ซึ่งเพิ่มขึ้นประมาณ รอยละ 25 จากป 2545 และคิดเปนอัตราการใชงานรอยละ 9 ตอประชากร 100 คน ซึ่งนับเปนอัตรา ทีต่ าหากเปรี ํ่ ยบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลว เชน เกาหลี (รอยละ 55) สิงคโปร (รอยละ 50) ญีป่ นุ (รอยละ 45) ฮองกง (รอยละ 43) ไตหวัน (รอยละ 38) (แหลงที่มา : International telecommunication Union, 2002) การเพิ่มขึ้นของจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตในป 2546 สวนหนึ่งเปนผลมาจากปจจัย สนับสนุนจากรัฐบาล โดยรัฐบาลไดดําเนินการตามนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะพัฒนาประเทศ โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาทั้ง 5 ดาน อันไดแก ดานภาครัฐ (e-Government) ดานพาณิชย (e-Commerce) ดานอุตสาหกรรม (e-Industry) ดานการศึกษา (e-Education) และ ดานสังคม (e-Society) ซึ่งไดดําเนินการผานโครงการตางๆ หลายโครงการ เชน การจําหนาย คอมพิวเตอรราคาถูก การลดคาบริการอินเตอรเน็ต การลดคาเชาวงจรทางไกลตางประเทศ รวมทั้ง ไดอนุมัติใหมีการติดตั้งโทรศัพทพื้นฐานเพิ่มอีกจํานวน 565,500 เลขหมายทั่วประเทศในป 2547 และ ไดสนับสนุนใหมีบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูงราคาถูกเพื่อใหมีผูใชเพิ่มขึ้น โดยรัฐบาลไดตั้งเปาหมายที่ จะใหมีจํานวนผูใชบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง ถึง 1 ลานรายภายในป 2547 การแขงขันของธุรกิจอินเตอรเน็ตในปจจุบันมีคอนขางสูงเนื่องจากมีผูประกอบการ หลายราย (18 ราย) การแขงขันที่รุนแรงมีผลทํ าใหอัตราคาบริการอินเตอรเน็ตลดลงอยางรวดเร็ว โดยในปจจุบันมีอัตราคาบริการแบบ Dial Up ที่ระดับประมาณ 5-7 บาทตอชั่วโมง บริษัทใหบริการอินเตอรเน็ต ผานบริษัทยอยคือ บริษัทเอเชีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) ซึ่ง ในปจจุบัน AI เปนผูประกอบการรายใหญรายหนึ่ง โดยมีจํานวนผูใชบริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ทั้งสิ้น 652,726 ราย สําหรับผูประกอบการรายใหญอื่นๆ ประกอบดวย บริษัท CS Loxinfo บริษัท Internet Thailand บริษัท KSC Internet บริษัท Pacific Internet และ บริษัท A-Net บริษัท (โดย AI) ไดเนนการเปนผูนําในตลาดลูกคาประเภทธุรกิจ รวมทั้งในป 2546นี้ได เนนการจําหนายบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง และไดเปดใหบริการใหม ไดแก TA Easy click บริษัท เชือ่ วาบริษัทมีจุดแข็งโดยมีโครงขายที่ทันสมัย ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพมากที่สุด ซึ่งทําใหสามารถ ใหบริการไดอยางมีคุณภาพ รวมทั้งบริษัทสามารถจัดรายการสงเสริมการขายรวมกับบริการโทรคมนาคม อื่นๆของกลุมบริษัท อันทําใหเพิ่มโอกาสในการทําการตลาด

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

32


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ภาพรวมตลาดอินเตอรเน็ตในปหนา คาดวาจะมีอัตราการเติบโตขึ้นอยางมากโดยมี ปจจัยสนับสนุนจากโครงการตางๆ ของรัฐบาล ความนิยมเนื้อหาขอมูล (Content) ประเภทเกมส ออนไลน ซึ่งจะชวยกระตุนใหเกิดการใชงานอินเตอรเน็ตภายในประเทศสูงขึ้น ซึ่งกระแสความนิยม เกมสออนไลนที่เพิ่มขึ้นจะชวยกระตุนใหเนื้อหา (Content) ภายในประเทศอื่นๆ พัฒนาตามขึ้นมาดวย อีกปจจัยหนึ่ง คือ การปรับลดอัตราคาเชาวงจรตางประเทศโดยภาครัฐบาล จะทําใหตนทุนบริการของ ผูประกอบการลดลง สงผลใหอัตราคาบริการถูกลง พัฒนาการของการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม กิจการโทรคมนาคมของประเทศไทย มีความคืบหนาในดานการกํากับดูแลในชวง ระหวางป 2545 และ 2546 รวดเร็วกวาในปกอนๆ โดยพัฒนาการทีส่ าคั ํ ญทีเ่ กิดขึน้ ในป 2545 ไดแก การแปรสภาพของ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ทศท) และการจัดตัง้ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร เพือ่ ดูแลกิจการโทรคมนาคม และในป 2546 มีการแปรสภาพของการสือ่ สารแหงประเทศไทย (กสท) การแปลงสวนแบงรายไดสว นหนึง่ เปนภาษีสรรพสามิต รวมทัง้ มีการปรับเปลีย่ นโครงสรางคาบริการของ โทรศัพทพนื้ ฐานในรูปแบบของการสงเสริมการขาย และการศึกษาหาแนวทางในการเรียกเก็บคาเชือ่ มโยง โครงขาย การจัดตั้งคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทช.) À

ในเดือน มกราคม 2546 ไดมีการเปดรับสมัครผูเขารวมคัดเลือกคณะกรรมการสรรหา กทช. ใหมทั้ง 17 คน ภายหลังจากที่ศาลปกครองสูงสุดไดวนิ จิ ฉัยวากระบวนการสรรหา กทช. คราวกอน ไมโปรงใส โดยไดคณะกรรมการสรรหากทช. ครบทั้ง 17 คน ในเดือน พฤษภาคม 2546 คณะกรรมการสรรหากทช. ก็ไดเสนอรายชื่อผูผานการคัดเลือก รอบแรก 14 คน ในเดือน ธันวาคม 2546 เพื่อสงใหฝายนิติบัญญัติคัดเลือกใหคงเหลือ 7 คนตอไป

การแปรรูปทศท และกสท À

À À

ในเดือนกรกฎาคม 2545 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติให ทศท. และ กสท. แยกกันจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยฯ โดยจะไมมีการจัดตั้ง Holding Company สําหรับ ทศท. และ กสท. ตามที่ วางแผนไวเดิม ทศท ไดแปรสภาพเปนบริษทั ภายใตชอื่ บริษทั ทศท คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ตั้งแตวันที่ 31 กรกฎาคม 2545 กสท. ไดแปรสภาพเปนบริษัท 2 บริษัทดวยกันคือ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด ในวันที่ 8 กรกฎาคม 2546

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

33


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การแปรสัญญาสัมปทาน À

À

À

รัฐบาลไดมคี วามพยายามทีจ่ ะใหมกี ารแปรสัญญารวมการงานฯ โดยนับตัง้ แตป 2543 เปนตนมา รัฐบาลไดแตงตั้งคณะทํางานและที่ปรึกษาตางๆ เพื่อศึกษาความเปนไปไดและวางแนวทางการ แปรสัญญารวมการงานฯ แตไมอาจหาขอสรุปที่ทุกฝายยอมรับได ในวันที่ 25 ธันวาคม 2545 การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไดออกกรอบ แนวทางในการแปรสัญญาใหม โดยไดเสนอใหมีการปรับเปลี่ยนสวนแบงรายไดบางสวนเปน ภาษีสรรพสามิตและใหผูใหบริการนําสงเปนภาษีใหกบั กรมสรรพสามิตแทนการจายให ทศท และ กสท ดังแตกอ น ในวันที่ 28 มกราคม 2546 ครม.อนุมัติอัตราภาษีสรรพสามิต สําหรับกิจการโทรคมนาคม เปนอัตรารอยละ 2 สําหรับโทรศัพทพื้นฐาน และรอยละ 10 สําหรับกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ หรือวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลลูลาร ซึ่งไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบังคับใชทันที

การกําหนดอัตราคาเชื่อมโยงโครงขาย À

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดริเริ่มใหมีการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการ เรียกเก็บคาเชื่อมโยงโครงขาย อันจะนําไปสูการแขงขันที่เทาเทียมกัน โดยใหกรมไปรษณีย โทรเลข (ปจจุบัน เปลี่ยนเปน บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด) เปนผูประสานงานในการจัดประชุม ผูประกอบการตาง ๆ เพื่อรวมกันศึกษาและสรุปกฎเกณฑรวมทั้งอัตราของคาเชื่อมโยงโครงขาย ที่จะเรียกเก็บ อยางไรก็ตาม ยังไมมีขอสรุปที่เปนทางการแตอยางใดในปจจุบัน ถึงแมจะมีการ คาดการณกันวา นาจะเปนอัตราที่เทากันสําหรับบริการโทรศัพทพื้นฐานและโทรศัพทเคลื่อนที่

การปรับลดอัตราคาโทรศัพททางไกลในประเทศของบริการโทรศัพทพื้นฐาน À

ตั้งแตวันที่ 1 กันยายน ถึง 30 พฤศจิกายน 2546 บริษัทฯ รวมกับ บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน) ไดปรับลดอัตราคาโทรศัพททางไกล ในประเทศและคาโทรไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ใหจัดทําเปนโปรโมชัน่ ในชวงระยะเวลา 3 เดือน และกําหนดอัตรา คาบริการเปน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 คาบริการรายเดือน 100 บาท อัตราคาโทรในพื้นที่ เดียวกัน 3 บาทตอครั้ง (ไมเปลี่ยนแปลง) อัตราคาโทรทางไกลตางจังหวัดระหวางโทรศัพท พื้นฐาน 3,6,9 บาทตอนาที (จากเดิม 3,6,9,12,15 และ 18 บาท ตอนาที) อัตราคาโทรไปยัง โทรศัพทเคลื่อนที่ในเขตพื้นที่รหัสเดียวกัน 3 บาทตอนาที (ไมเปลี่ยนแปลง) พื้นที่ตางรหัส 6 บาทตอนาที (จากเดิม 8 และ 12 บาท) รูปแบบที่ 2 คือ คาบริการรายเดือน 200 บาท (จากเดิม 100 บาท) อัตราคาโทรทางไกลตางจังหวัดไปยังโทรศัพทพนื้ ฐาน และโทรศัพทเคลือ่ นที่ 3 บาทตอนาทีทั่วประเทศ

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

34


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

À

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตอมาไดมีการขยายเวลาทดลองออกไปอีก 1 เดือน และตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2547 ผูประกอบการโทรศัพทพื้นฐานไดรับอนุญาติใหทดลองใชโครงสรางอัตราคาบริการแบบยืดหยุน (flexible Tariff) โดยผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานแตละรายสามารถกําหนดอัตราคาบริการ สําหรับการโทรทางไกล ตางจังหวัดและโทรไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่เองได แตตองไมเกินเพดาน อัตราที่กําหนดไวใน 2 รูปแบบเดิม

TATF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

35


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. การวิจัจยั และพัฒนา บริษัทมิไดมีการลงทุนในดานการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีหรืออุปกรณ ตางๆที่บริษัทใชในการใหบริการธุรกิจตางๆของบริษัท เนื่องจากเทคโนโลยีโครงขายและอุปกรณตางๆที่ บริษทั ใชในการใหบริการ เปนเทคโนโลยีและอุปกรณที่ไดมีการคิดคนและพัฒนาขึ้นจนเปนผลิตภัณฑที่ สํ าเร็จรูปจากผูผลิตตางๆ บริษัทจึงเลือกใชเทคโนโลยีและอุปกรณที่บริษัทเห็นวามีประสิทธิภาพ ทันสมัย และเหมาะสมกับลักษณะการดําเนินธุรกิจของบริษทั ดังนัน้ บริษัทจึงไมมีความจํ าเปนที่จะ ลงทุนเองในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและอุปกรณตางๆขึ้นมา จึงทํ าใหงบประมาณในดาน การวิจัยและพัฒนาของบริษัทสวนใหญเกี่ยวของกับดานการตลาด ซึ่งบริษัทไดเนนการพัฒนาการ บริการที่สอดคลองตามความตองการของผูใชบริการใหมากที่สุด ซึ่งการวิจัยและพัฒนาของบริษัทได แบงเปน 3 สวนหลักๆไดแก การวิจยั และพัฒนากิจกรรมดานการตลาด การวิจยั และพัฒนาบริการใหม และการวิจัยและพัฒนาระบบการใหบริการ โดยในระยะ 3 ปที่ผานมา บริษัทมีคาใชจายดานการวิจัย และพัฒนาเปนจํานวนเงิน ดังนี้

TATG: การวิจัยและพัฒนา

ป

พันบาท

2546

4,659.67

2545

17,410.11

2544

16,730.72

36


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ทรัพยสิสนิ ทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 5.1 ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ บริษัทไดจัดประเภทของทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ เปน 2 ประเภท คือ อุ ปกรณโครงขายและอุปกรณนอกระบบโครงขาย ภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน เฉพาะทรัพยสินที่เกี่ยวกับอุปกรณโครงขาย โทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย โทรศัพทพื้นฐานพกพา PCT โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร และบริการอินเตอรเน็ต บริษัทและกลุมบริษัทจะตองโอนใหกับ ทศท. และ กสท. จากรายงานงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษทั และกลุม บริษทั มีทรัพยสนิ ทัง้ สิน้ ดังรายการตอไปนี้ อุปกรณโครงขาย มูลคาตามบัญชีสุทธิ (ลานบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท ทีด่ ินและสวนปรับปรุง อาคารและสิ่งปลูกสราง อุปกรณระบบโทรศัพท อุปกรณโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทสาธารณะ ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร งานระหวางทํา

1,863 1,341 28,133 22,017 1,161 2,007 459 351

ยอดรวม

57,332

1,863 1,341 28,212 1,962 1,161 459 351 35,349

อุปกรณโครงขายในงบการเงินรวม มูลคาตามบัญชีสทุ ธิ 43,273 ลานบาท และงบการเงิน เฉพาะบริษัท มูลคาตามบัญชีสุทธิ 38,888 ลานบาท ไดโอนใหแก ทศท. และ กสท. ภายใตสัญญา สัมปทาน กลุมบริษัทไดรับสิทธิดําเนินการและใชประโยชนจากทรัพยสินนั้นตามระยะเวลาสัมปทาน บริษทั ไดนําสิทธิในการใชที่ดิน อาคารและอุปกรณที่โอนให ทศท. (ตามสัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมี เงื่อนไขเหนือสัมปทาน) เปนหลักประกันอยางหนึ่งสําหรับเงินกูยืมที่เปนสกุลบาททั้งหมดของบริษัท สวนอุปกรณนอกระบบโครงขาย เปนกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ซึ่งกลุมบริษัทสามารถจําหนายจายโอน และใชประโยชนจากทรัพยสินดังกลาวได โดยมีรายละเอียดโดยสรุป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ดังนี้ อุปกรณนอกระบบโครงขาย

ทีด่ ินและสวนปรับปรุง สวนปรับปรุงอาคารเชา เครือ่ งตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณสํานักงาน รถยนต อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร งานระหวางทํา ยอดรวม

TATH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

มูลคาตามบัญชีสุทธิ (ลานบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 231 1,126 52 618 218 1,337 1 1,980 317 395 2 5,687 590

37


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5.2 สินทรัพยไมมีตัวตน คาความนิยม คาความนิยมเปนสวนของราคาทุนของเงินลงทุนของกลุมบริษัทในบริษัทยูบีซีที่สูงกวา มูลคายุติธรรมของสวนแบงสินทรัพยสุทธิของบริษัทยูบีซี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 คาความนิยม จากการซื้อบริษัทรวม (ยูบีซี) แสดงในงบดุลภายใตเงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม มียอดรวม 3,896 ลานบาท และคาความนิยมจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) ซึ่งแสดงภายใตสินทรัพยไมมีตัวตน มียอดรวม 224 ลานบาท ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนรายจายเพื่อประสิทธิภาพของโปรแกรม คอมพิวเตอรเกินกวาประสิทธิภาพเดิมถือเปนสวนปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 สินทรัพย ดังกลาวมีมลู คาตามบัญชีสุทธิ 1,127 ลานบาท เครือ่ งหมายการคา เครือ่ งหมายการคา เปนคาตอบแทนทีก่ จิ กรรมรวมคาไดจา ยใหแกผรู ว มคารายอืน่ ในการ ใชเครื่องหมายการคาของผูรวมคารายนั้นในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 สินทรัพย ดังกลาวมีมลู คาตามบัญชีสุทธิ 108 ลานบาท คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และ คาสิทธิในการพาดสาย คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และการพาดสายกระจาย เปนรายจายเพื่อใหไดมาซึ่งใบอนุญาตซึ่งแสดงดวยราคามูลคายุติธรรมของหุนที่ออกโดยบริษัทยอย เพือ่ เปนการแลกกับสิทธิดงั กลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 สินทรัพยดงั กลาวมี มูลคาตามบัญชีสทุ ธิ 428 ลานบาท นโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษทั จะดําเนินการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมสวนใหญผานทาง TH ซึ่งเปน บริษัทที่บริษัทถือหุนในอัตรารอยละ 99.99 โดย TH เปนบริษัทที่ดํ าเนินธุรกิจประเภทโฮลดิ้ง มีวตั ถุประสงคที่จะเขาลงทุนในบริษัทที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับโทรคมนาคม ซึ่งจะเปนธุรกิจที่สนับสนุนการ ดําเนินงานหรือธุรกิจที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท โดย TH มีนโยบายการลงทุนในลักษณะที่เปน ผูถ ือหุนใหญในบริษัทที่ลงทุน และ/หรือ เปนผูดําเนินการหรือบริหารโครงการที่ลงทุนเอง เวนแตสภาพ เงือ่ นไขของธุรกิจการแขงขันนั้นๆ จะไมเอื้ออํานวยให TH ดําเนินนโยบายดังกลาวได อนึ่ง TH สามารถลงทุนในบริษัทอื่นไดเปนจํานวนวงเงินไมเกินทุนจดทะเบียนของ TH นอกจากนั้น บริษัทไม สามารถทําการกูยืมเพิ่มเติมเพื่อลงทุนได นอกจากจะไดรับความเห็นชอบจากเจาหนี้ของบริษัทภายใต สัญญาการปรับโครงสรางหนี้ ดังนั้น บริษัทจะไมไดรับความเสี่ยงมากไปกวาทุนจดทะเบียนของ TH และบริษัทไมมีภาระผูกพันดานการเงินใดๆกับบริษัทยอยหรือบริษัทรวม สวนเรื่องนโยบายการบริหาร งานในบริษัทยอยและบริษัทรวมนั้น บริษัทไดมีการสงตัวแทนของบริษัทไปเปนกรรมการในบริษัทยอย และบริษัทรวมตามสัดสวนการถือหุนของบริษัท เพื่อคอยติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทนั้นๆอยาง ใกลชิด TATH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

38


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6. โครงการในอนาคต บริษัทและบริษัทยอยมีแผนการลงทุนในป 2547 ตามโครงการตางๆ ดังนี้ 1. ศูนยการจายเงิน (Payment Center) บริษัทมีแผนที่จะเปดใหบริการรับชําระคาบริการตางๆ ดวยบัตรเครดิตหรือการหัก บัญชีธนาคาร ผานเครื่องรูดบัตรเครดิต และ Multimedia Kiosk ทั้งนี้เพื่อเพิ่มชองทางในการชําระคา บริการตางๆ ใหแกลูกคา ทั้งในกลุมบริษัทและ ลูกคาทั่วไป ซึ่งนับเปนการลงทุนเพื่อสนับสนุนกลยุทธ การมุงสูการเปน Communication Solutions Provider 2. ศูนยจดั จําหนายและบริการ (Retail and Service Center) บริษัทมีแผนที่จะปรับปรุงสํานักบริการลูกคาของบริษัท ใหสามารถบริการลูกคาได อยางครบถวน ทั้งในดานสินคาและบริการตางๆ ของบริษัทและบริษัทยอย รวมทั้งสินคาดานเทคโนโลยี สารสนเทศอื่นที่เกี่ยวของ เพื่อใหสอดคลองกับภาพลักษณใหมของบริษัท 3. การขยายบริการโครงขายขอมูล บริษัทคาดการณวาธุรกิจโครงขายขอมูลจะยังคงเติบโตอยางสูงในอนาคต ในอัตรา รอยละ 20 – 30 ตอป ตามการขยายตัวของภาคธุรกิจ และบริการอินเตอรเน็ต บริษัทจึงมีแผนที่จะ ขยายโครงขายขอมูลเพื่อรองรับการขยายตัวของตลาด รวมทั้งเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการให บริการในลักษณะเปน Solution เนือ่ งจากลูกคาสวนใหญยังไมมีความชํานาญในการจัดการ ประกอบ กับยังมีการขาดแคลนบุคลากรที่มีความชํานาญงาน 4. การขยายบริการโครงขายขอมูลและ Broadband ไปยังตางจังหวัด บริษัท เอเชีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) ซึ่งเปนบริษัทยอย มีแผนที่จะขยายโครงขาย Fiber Optic ไปยังตางจังหวัด เพื่อรองรับการขยายงานของบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด และ บริษัท เอเชีย อินโฟเน็ต จํากัด ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และบริการอินเตอรเน็ต และโครงขายสวนหนึ่ง จะรองรับการใหบริการโครงขายขอมูล DDN และ Broadband ของ AM เอง ดงนั้นนับเปนการลดการ ลงทุนทีซ่ าซ ํ้ อนกันของบริษทั ในเครือ และยังทําใหสามารถบริหารจัดการโครงขายไดอยางมีประสิทธิภาพ มากขึ้น

TATI: โครงการในอนาคต

39


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. ขอพิพาททางกฎหมาย (1) คดีที่อาจมีผลกระทบดานลบตอสินทรัพยของบริษัทหรือบริษัทยอย : ไมมี ทีม่ ีจํานวนสูงกวา รอยละ 5 ของสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 (2) คดีที่กระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ แตไมสามารถประเมินผลกระทบเปนตัวเลขได

TATJ:ขอพิพาททางกฎหมาย

: ไมมี

40


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8. โครงสรางเงินทุน 8.1 หลักทรัพยของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทมีหลักทรัพยที่ออกแลว 6 ประเภท คือ 1. หุนสามัญ 2. หุนบุริมสิทธิ 3. ใบสํ าคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2000) 4. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2002) 5. ใบสํ าคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2003) 6. เอ็นวีดีอาร (NVDR: Non-Voting Depository Receipt) โดยมีรายละเอียดของหลักทรัพยแตละประเภท ดังนี้ 1. หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษทั มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 43,892.28 ลานบาท แบงออก เปนหุนสามัญจํานวน 3,689.58 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจานวน ํ 699.65 ลานหุน มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 10 บาท โดยมีทนุ ทีเ่ รียกชําระแลวจํานวน 36,944.97 ลานบาท แบงออกเปนหุน สามัญจํานวน 2,994.85 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699.65 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท 2. หุนบุริมสิทธิ ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ 2543 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ครั้งที่ 1/2543 ไดมี มติอนุมัติการออกและเสนอขายหุนบุริมสิทธิจํานวน 702,000,000 หุน ใหแก Kreditanstalt fÜr Wiederaufbau (“KfW”) และ/หรือ บริษัทยอยที่ KfW ถือหุนทั้งหมด และ/หรือกองทุนรวมเพื่อผูลงทุน ซึง่ เปนคนตางดาวในราคาเสนอขายรวมทั้งสิ้น 150 ลานดอลลารสหรัฐ โดยตอมาเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2543 บริษัทไดจัดสรรหุนบุริมสิทธิจํานวน 343.98 ลานหุน หรือคิดเปนรอยละ 49 ใหแก KfW และ จํานวน 358.02 ลานหุน หรือคิดเปนรอยละ 51 ใหแกกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) ทั้งนี้ สามารถสรุปสาระสําคัญของสิทธิในหุนบุริมสิทธิไดดังนี้

TATK: โครงสรางเงินทุน

41


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ก.

ในชวงระยะเวลาตั้งแตวันที่ออกหุนบุริมสิทธิจนถึงวันครบรอบปที่ 8 ใหบุริมสิทธิในหุน บุริมสิทธิมีดังนี้ (1) มีสทิ ธิในการรับเงินปนผลกอนผูถ อื หุน สามัญในอัตราหุน ละ 1 บาทตอปการเงิน (ยกเวนปการเงินแรกและปการเงินสุดทายของระยะเวลา 8 ปดังกลาว) (2) สิทธิในการไดรับเงินปนผลตามขอ ก (1) ขางตนเปนสิทธิไดรับเงินปนผลชนิด สะสมสํ าหรับปการเงินใดๆที่บริษัทไมไดประกาศจายหรือในสวนที่บริษัทยัง ประกาศจายไมครบ (“เงินปนผลสะสมคงคาง”) ซึ่งผูถือหุนบุริมสิทธิจะมีสิทธิ ไดรับเงินปนผลจนครบถวนกอนผูถือหุนสามัญ หากผูถือหุนบุริมสิทธิไดรับเงิน ปนผลจนครบถวน และบริษัทยังคงจะจายเงินปนผลอีก ใหผูถือหุนบุริมสิทธิ และผูถือหุนสามัญมีสิทธิไดรับเงินปนผลเทากัน (3) ในกรณีที่มีการชําระบัญชีหรือการเลิกบริษัท ใหแบงทรัพยสินที่เหลืออยูใหแก ผูถ อื หุนบุริมสิทธิกอน ซึ่งจะเทากับมูลคาที่ตราไวของหุนบุริมสิทธิบวกดวยเงิน ปนผลสะสมคงคางใดๆ หากมีทรัพยสินคงเหลือใหแบงใหแกผูถือหุนสามัญ และถาหากยังมีทรัพยสินคงเหลืออยูอีก ใหแบงใหแกผูถือหุนบุริมสิทธิและ ผูถ อื หุนสามัญในจํานวนที่เทากัน (4) หุนบุริมสิทธิแปลงสภาพเปนหุนสามัญได (5) หุน บุริมสิทธิแตละหุนมีหนึ่งเสียง

ข.

หลังจากครบรอบปที่ 8 ใหสิทธิของหุนบุริมสิทธิเปนดังนี้ (1) มีสิทธิในการรับเงินปนผลกอนผูถือหุนสามัญในอัตรา 0.01 บาทตอปการเงิน (บวกดวยเงินปนผลสะสมคงคางใดๆ) และหากบริษัทจะจายเงินปนผลอีก ใหผถู อื หุนบุริมสิทธิและผูถือหุนสามัญมีสิทธิรับเงินปนผลในจํานวนที่เทากัน (2) เงินปนผลในอัตราหุนละ 0.01 บาท ในขอ ข (1) ขางตน ไมเปนเงินปนผล ชนิดสะสม (3) มีสิทธิตาม ก. (3) (4) และ (5)

ทั้งนี้ หุนสามัญที่เกิดจากการแปลงสภาพจะไมมีสิทธิไดรับเงินปนผลสะสมคงคาง ใด ๆ ในขณะที่เปนหุนบุริมสิทธิใด ๆ ทั้งสิ้น อยางไรก็ดี KfW ไดออกสิทธิ (Purchase Rights) ในการซื้อหุนบุริมสิทธิคืนจาก KfW ใหแกผูถือหุนเดิม ในสัดสวน 1 สิทธิ ตอหุนบุริมสิทธิ 1 หุน ผูไดสิทธิดังกลาวสามารถใชสิทธิครั้งแรก ในวันครบรอบปที่ 2 นับแตบริษัทไดออกหุนบุริมสิทธิใหแก KfW และอีกทุกครึ่งป ของปที่ 3 ถึงปที่ 8 โดยราคาในการซื้อคืนหุนบุริมสิทธิสําหรับการใชสิทธิครั้งแรกจะเทากับราคาตนทุนของ KfW บวกอัตรา ผลตอบแทนรอยละ 20 ตอป แตสําหรับการใชสิทธิงวดถัดๆ ไป จะมีสูตรการคํานวณราคาทีแ่ ตกตาง ออกไป เนือ่ งจากจะนําปจจัยของราคาหุน มาเปนสวนหนึง่ ของการคํานวณดวย

TATK: โครงสรางเงินทุน

42


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัท ที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบ ริหาร (ESOP 2000) ณ วันที่ 27 เมษายน 2543 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 ของบริษัทมี มติ อนุ มั ติ ใ ห บ ริ ษั ท ออกใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะขอซื้ อ หุ  นสามั ญ ของบริ ษั ท ให แ ก ก รรมการและ พนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 36,995,000 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2543

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 10 ป นับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2553

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 1 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแต ละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสทิ ธิครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 30 มิถนุ ายน ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ : ใบสําคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 2 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบ สําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแต ละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสทิ ธิครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 31 ธันวาคม ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ

อัตราการใชสิทธิ

TATK: โครงสรางเงินทุน

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

43


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการ ระดับผูบริหาร (ESOP 2002)

และพนักงานใน

ณ วันที่ 12 เมษายน 2545 ทีป่ ระชุมสามัญผูถือหุนของบริษัท ประจําป 2545 ไดมีมติ อนุมัติใหบริษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผู บริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2002”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 37,131,597 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 14 มิถุนายน 2545

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 13 มิถุนายน 2550

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรบั ใบสําคัญแสดงสิทธิจานวน ํ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ บุ ค คลดั ง กล า วได รับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2546 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซือ้ หุน สามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

TATK: โครงสรางเงินทุน

44


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการ ระดับผูบริหาร (ESOP 2003)

และพนักงานใน

ณ วันที่ 11 เมษายน 2546 ทีป่ ระชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 ไดมีมติอนุมัติให บริษัทออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2003”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดงั นี:้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 19,862,729 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 17 มิถุนายน 2546

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

TATK: โครงสรางเงินทุน

5 ปนับจากวันที่ออก : 16 มิถุนายน 2551 ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรบั ใบสําคัญแสดงสิทธิจานวน ํ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดย ใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซือ้ หุน สามัญได 1 หุน ในราคา 5.20 บาท

45


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6. เอ็นวีดีอาร (NVDR: Non-Voting Depository Receipt) NVDR คือ ใบแสดงสิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิงไทย เปนตราสารที่ออก โดย “บริษทั ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด (Thai NVDR Company Limited)” ซึง่ เปนบริษทั ยอยทีต่ ลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยจัดตัง้ ขึน้ โดย NVDR มีลกั ษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูลงทุนใน NVDR จะไดรับสิทธิประโยชนทางการเงินตางๆ เสมือนการลงทุนในหุน แตจะไมมีสิทธิใน การออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2546 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด มีการถือหุนในบริษัทจํานวน 41,667,500 หุน คิดเปนสัดสวนการถือหุนรอยละ 1.13 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมดของ บริษัท

TATK: โครงสรางเงินทุน

46


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พันธะการออกหุนในอนาคต 1) เพือ่ ทดแทนหุนบุริมสิทธิแปลงสภาพ ผลจากการปรับโครงสรางหนี้ Kreditanstalt fÜr Wiederaufbau (KfW) ไดลงทุนใน บริษทั เปนจํานวน 150 ลานดอลลารสหรัฐ โดยบริษัทไดออกหุนบุริมสิทธิที่สามารถแปลงสภาพเปน หุน สามัญไดจํานวน 702 ลานหุนใหแก KfW และกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว และ เนื่อง จากมีเงื่อนไขที่กําหนดใหมีการแปลงสภาพหุนบุริมสิทธิเปนหุนสามัญกอนสงมอบใหผูถือหุนเดิมที่ไดใช สิทธิซอื้ หุน คืนจาก KfW ตามทีไ่ ดกลาวไวในหัวขอทีแ่ ลว ดังนัน้ บริษทั จึงมีขอผูกพันในการออกหุนสามัญ แทนหุน บุรมิ สิทธิตามจํานวนที่ผูถือหุนใชสิทธิ ณ ระยะเวลาที่กําหนดใหสามารถใชสิทธิได 2) เพือ่ รองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2000 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 ของบริษัท เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2543 ไดมีมติอนุมัติโครงการออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ป 2543 (ESOP 2000) เพือ่ ออกและ เสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญจํานวน 58,150,000 หนวย ใหแกกรรมการและพนักงาน ในระดับผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย ในการนี้ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ไดมมี ติอนุมตั ใิ หจดั สรรหุน สามัญทีย่ งั มิไดออกและเรียกชําระ จํ านวน 58,150,000 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 3) เพือ่ รองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2002 ตามที่ทปี่ ระชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2545 ของบริษัท เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2545 ไดมี ม ติอนุ มัติใหออกใบสํ าคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 37,131,597 หนวย ในการนี้ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ไดมมี ติอนุมตั ใิ หจดั สรรหุน สามัญทีย่ งั มิไดออกและเรียกชําระ จํานวน 37,131,597 หุน สํารองไวเพือ่ รองรับการใชสทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตาม โครงการดังกลาว 4) เพือ่ รองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2003 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2546 ไดมีมติให บริษทั ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 19,862,729 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระ จํานวน 19,862,729 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว

TATK: โครงสรางเงินทุน

47


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5) เพือ่ รองรับการเพิ่มทุน และรองรับการจัดสรรใหกับ IFC ตามที่ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2545 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2545 ไดมีมติให เพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 34,277,815,750 บาท เปน 44,461,181,920 บาท โดยการออกหุนสามัญใหม จํานวน 1,018,336,617 หุน มูลคาหุน ละ 10 บาท เพือ่ นําเงินทีไ่ ดจากการเสนอขายหุน ไปใชในการลงทุน เพิม่ เติมในธุรกิจโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ อง บริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด ผานบริษทั กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด และจายชําระคืนเงินกูบางสวน และไดจดั สรรหุนสามัญใหมจํานวนหนึ่งเพื่อรองรับการเปลี่ยนเงินกูของ IFC เปนหุนสามัญของบริษัทภายใตเงื่อนไขการทําสัญญา C Loan กับ IFC ตลาดรองของหุน สามัญในปจจุบัน หุน สามัญของบริษัทสามารถทําการซื้อขายไดในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ เมื่อ 22 สิงหาคม 2546 บริษัทไดยกเลิกการนําหลักทรัพยสวนหนึ่งไปซื้อขายในตลาดตางประเทศใน รูปตราสารจีดีอาร (Global Depository Receipts : GDRs) จํานวนประมาณ 2.5 ลานจีดีอาร (ซึ่ง 1 จีดีอาร เทากับ 10 หุนสามัญของบริษทั ) ไปทัง้ หมดแลว เนือ่ งจากปจจุบนั นักลงทุนตางประเทศ สามารถลงทุนในบริษทั ฯ ผานตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยโดยตรง หรือ ผานตราสารเอ็นวีดีอาร (Non-Voting Depository Receipts : NVDRs) ซึง่ ออกโดยบริษทั ยอยของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

TATK: โครงสรางเงินทุน

48


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.2 ผูถือหุน บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) รายชื่อผูถือหุนรายใหญ1 (ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2546) ชื่อผูถือหุน

จํานวนหุน (ลานหุน)

รอยละของหุน ทัง้ หมด

1.

กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด2

1,642.33

44.45

2.

กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว3

357.99

9.69

3.

KREDITANSTALT FÜR WIEDERAUFBAU (“KfW”)

341.65

9.25

4.

MORGAN STANLEY & CO INTERNATIONAL LIMITED

117.87

3.19

5.

CLEARSTREAM NOMINEES LTD

78.90

2.14

6.

GOLDMAN SACHS INTERNATIONAL

51.87

1.40

7.

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด

41.67

1.13

8.

MISSION GAIN INVESTMENTS LIMITED

40.00

1.08

9.

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

34.82

0.94

30.87

0.84

10. CHASE NOMINEES LIMITED 1

รวมหุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ ประกอบดวยบริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด (มหาชน) และผูท เี่ กีย่ วของ ซึง่ ไดแก บริษทั กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิง้ จํากัด บริษทั เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊ว จํ ากัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จํ ากัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑอีสาน จํากัด (มหาชน) บริษทั เกษตรภัณฑอตุ สาหกรรม จํากัด บริษทั เจริญโภคภัณฑอนิ -เอ็กซ จํากัด บริษทั ยูนคี เน็ตเวิรค จํากัด บริษทั ไวด บรอด คาสท จํากัด บริษทั ซี.พี. อินเตอรฟดู (ไทยแลนด) จํากัด บริษัท สตารมารเก็ตติ้ง จํากัด บริษัท แอดวานซฟารมา จํากัด และ Golden Tower Trading Ltd. 3 จํานวนหุนทั้งหมดที่อยูในกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว เปนหุนบุริมสิทธิของ KfW ซึ่งไมมีสิทธิในการออกเสียง 1 2

TATK: โครงสรางเงินทุน

49


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2546 Nynex Network Systems (Thailand) Company (“ไนเน็กซ”) ซึง่ เปนบริษทั ยอยของ Verizon Communications, Inc. (“เวอรไรซอน”) หนึง่ ในผูถ อื หุน ของ บริษัทไดโอนขายหุนจํานวน 369,500,126 หุน หรือคิดเปนรอยละ 10.001 ของหุนที่ออกและเรียกชําระ แลวของบริษัทใหแก Golden Tower Trading Ltd. เปนจํานวน 234,500,126 หุน และที่เหลือจํานวน 135,000,000 หุน ใหกับ Mission Gain Investments Ltd. ซึ่งผูซื้อหุนจากไนเน็กซรายหนึ่ง คือ Golden Tower Trading Ltd. เปนบริษทั ทีร่ ายงานการถือหุน ในกลุม เดียวกันกับบริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ ในขณะที่ Mission Gain Investments Ltd. เปนผูลงทุนระยะยาวในลักษณะ Financial Investor การขายหุนของบริษัทโดยเวอรไรซอนครั้งนี้เปนไปตามนโยบายดานยุทธศาสตรการ ลงทุนของเวอรไรซอนที่จะมุงเนนเฉพาะภายในทวีปอเมริกา ดวยเหตุนี้ เวอรไรซอนจึงดําเนินการทยอย โอนขายหุน ทีล่ งทุนในประเทศตางๆ ไมวา จะในประเทศฟลปิ ปนส หรือประเทศอืน่ ๆ รวมทัง้ ประเทศไทย อยางไรก็ตาม การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในครัง้ นี้ ไมมผี ลกระทบใดๆ ตอการดําเนินธุรกิจ และการบริหารงานของบริษัท เพราะคณะผูบริหารระดับสูงทั้งหมดที่เคยบริหารอยูก็ยังคงเปนทีมเดิม โดย นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส (Mr. William E. Harris) หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน (Chief Financial Officer) และ นายแฟรงค ดี. เมอรเซอร (Mr. Frank D. Mercer) หัวหนาคณะ ผูบริหารดานเทคนิค (Chief Technical Officer) ซึ่งเปนผูบริหารระดับสูงของเวอรไรซอน ก็ไดตัดสินใจ ลาออกจากเวอรไรซอน และยังคงเปนผูบริหารโดยตรงของบริษัท ซึ่งทั้งสองคนมีความ เชื่อมั่นในความ กาวหนา และการเติบโตของบริษัทในระยะยาว ดังนั้นจึงคาดวาจะไมมีผลกระทบใดๆ ตอการดําเนินงาน ของบริษัท

TATK: โครงสรางเงินทุน

50


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

Shareholders Agreement Shareholders Agreement ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 Kreditanstalt fur Wiederaufbau (“KfW”), บริษัท ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จํากัด (“Verizon”) และ เครือเจริญโภคภัณฑ ซึง่ ประกอบดวย บริษทั เจริญโภคภัณฑ อาหารสัตว จํากัด (มหาชน), บริษทั กรุงเทพโปรดิว๊ ส จํากัด (มหาชน), บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และบริษัท กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด ไดทําสัญญาผูถือหุน (Shareholders Agreement) ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ 1 นอกเหนือและเปนอิสระจากสิทธิของ KfW ที่มีอยูภายใตสัญญาปรับโครงสรางหนี้ (Debt Restructuring Agreement) KfW มีสทิ ธิที่จะแตงตั้งตัวแทนในคณะกรรมการของบริษัทฯ ตาม สัดสวนการถือหุนที่มีตอจํานวนทั้งหมดของคณะกรรมการที่เปนตัวแทนของคูสัญญาตามสัญญาผูถือหุน อนึง่ ไมวา ในกรณีใดๆ KfW มีสทิ ธิทจี่ ะแตงตัง้ กรรมการอยางนอย 1 คน สิทธิทจี่ ะตัง้ ตัวแทนดังกลาวนี้ จะมีอยูตลอดไปตราบเทาที่ KfW ถือหุนอยู ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม ไมนอยกวารอยละ 5 ของ จํานวนหุนของบริษัทฯ 2 ในระหวาง 3 ปแรกนับจาก KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัทฯ และตราบเทาที่ KfW ถือหุน ของ KfW ไมวา โดยทางตรงหรือทางออม เปนจํานวนอยางนอยรอยละ 5 ของหุน ทีจ่ าหน ํ ายแลว คูส ญ ั ญาตามสัญญาผูถือหุนจะไมลงคะแนนเสียงใหกระทําการดังตอไปนี้ได เวนแต KfW จะตกลงใน การกระทําดังกลาว (1) การแกไขหนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับของบริษัทฯ และการแกไข สิทธิตางๆ ในหุน (2) การเพิ่มหรือลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ การออกหุนใหม หรือการเสนอ ขายหุนโดยเฉพาะเจาะจง หรือการเสนอขายหุนตอประชาชน (3) การชําระบัญชีโดยสมัครใจ, การเลิกกิจการ, การเลิกบริษัท, การปรับโครง สรางทุนหรือการปรับโครงสรางองคกรของบริษัทฯ หรือการรวมหรือควบ บริษัท หรือการรวมธุรกิจอื่นใดของบริษัทฯ กับบุคคลอื่น หรือการขาย ทรัพยสินของบริษัทฯ หรือบริษัทฯ ในเครือทั้งหมดหรือบางสวน (4) การเปลี่ยนแปลงจํานวนกรรมการ หรือองคประชุมกรรมการ (5) การเพิกถอนหลักทรัพยจดทะเบียนออกจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ (6) การดําเนินธุรกิจนอกเหนือไปจากธุรกิจที่ไดรับอํานาจ (ตามที่กําหนดไวใน สัญญาปรับโครงสรางหนี้ (Debt Restructuring Agreement)) 3 ภายใตบังคับเงื่อนไขผูกพันอื่นใดที่มีตอ KfW ในการใหสิทธิแกผูถือหุนของบริษัทฯ KfW อาจจะขายหรือเขาทําสัญญาจะขายหุนของตนทั้งหมด หรือไมนอยกวารอยละ 25 ของหุนทั้งหมด TATK: โครงสรางเงินทุน

51


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ของตนในเวลาใดๆ ในราคาขายเงินสดหลังจากสิ้นสุดระยะเวลา 3 ปแรกนับจากวันที่ KfW ไดรับการ จัดสรรหุนของบริษัทฯ ความขางตนไมหาม KfW ทีจ่ ะขายหุนของตนหากการที่ KfW ถือหุนในบริษัทฯ เปนเรื่องที่ผิดกฎหมาย 4 ในระหวาง 3 ปแรกนับจากวันที่ KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัทฯ คูสัญญาตาม สัญญาผูถือหุน (นอกเหนือจาก KfW) ตกลงละเวนในการโอนหุนที่มีจํานวนมากกวารอยละ 10 ของ จํานวนหุนที่ถืออยูตามที่ระบุไวในสัญญาผูถือหุน 5 คูสัญญาตกลงละเวนในการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงสัญญาผูถือหุน Verizon ฉบับลง วันที่ 23 มิถุนายน 2535 เวนแตจะไดรับความเห็นชอบจาก KfW 6 คูส ญ ั ญาแตละฝายตองเปดเผยใหคสู ญ ั ญาอีกฝายหนึง่ ทราบถึงผลประโยชนใดๆ และ ผลประโยชนขดั กันใดๆ ซึง่ คูส ญ ั ญาหรือบริษทั ในเครือของตนไดเขาทําสัญญาใดๆหรือจะไดเขาทําสัญญากับ บริษัทฯ 7 ในแตละรอบบัญชี คูสัญญาตกลงที่จะใหบริษัทฯ มีนโยบายประกาศจายเงิน ปนผลอยางนอยรอยละ 50 ของกําไรสุทธิของบริษัทฯ ใหแกผูถือหุนทั้งหลาย หลังจากที่ไดมีการตั้งเปน ทุนสํารองไวตามกฎหมายแลว ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั ความสามารถในการชําระเงินสด (โดยปราศจากการกอหนี)้ ความจําเปนตามกฎหมาย ขอบังคับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือขอหามตามสัญญาปรับ โครงสรางหนี้ หรือสัญญาอืน่ ใด

TATK: โครงสรางเงินทุน

52


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.3 นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทยังไมเคยประกาศจายเงินปนผลนับตั้งแตเปดดําเนินกิจการ บริษัทสามารถจาย เงินปนผลไดจากผลกําไรภายหลังการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมด และภายหลังการตั้งสํารองตาม กฎหมาย นอกจากนั้น สัญญาของการปรับโครงสรางหนี้ไดกําหนดใหบริษัทสามารถจายปนผลไดหาก บริษทั ไดจายคืนชําระหนี้ใหแกเจาหนี้มีประกันทั้งหมด ผูถือหุนรายใหญมีขอตกลงที่จะใหมีการจายเงินปนผลในอัตรารอยละ 50 ของกําไรสุทธิ ในแตละป ภายหลังการจัดสรรเปนสํารองตางๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทัง้ เปนไปตามขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสัญญาเงินกูตางๆ นอกจากนั้น บริษัทสามารถจายเงินปนผลให แกผูถือหุนสามัญได ภายหลังจากการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนบุริมสิทธิแลว ภายใน 31 มีนาคม 2551 ซึ่งเปนวันครบรอบปที่ 8 นับตั้งแตมีการออกหุนบุริมสิทธิ ผูถือหุนบุริมสิทธิมีสิทธิไดรับเงินปนผล สะสมในอัตรา 1 บาทตอหุนทุกปการเงินของบริษัท และหลังจากระยะเวลาดังกลาว ผูถือหุนบุริมสิทธิมี สิทธิไดรับเงินปนผลแบบไมสะสมกอนผูถือหุน สามัญ ในอัตรา 0.01 บาทตอหุนในแตละปการเงิน สิทธิในการรับเงินปนผลสะสมสําหรับปทไี่ มมกี ารประกาศจายจะหมดลงหากหุน บุรมิ สิทธิไดแปลงสภาพเปน หุนสามัญ สํ าหรับนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย คณะกรรมการของบริษัทยอย แตละแหงจะพิจารณาการจายเงินปนผลจากกระแสเงินสดคงเหลือเทียบกับงบลงทุนของบริษัทยอยนั้นๆ หากกระแสเงิ น สดคงเหลื อ ของบริ ษั ท ย อ ยมี เ พี ย งพอ และได ตั้ ง สํ ารองตามกฎหมายแล ว คณะกรรมการของบริษัทยอยนั้นๆ จะพิจารณาจายเงินปนผลเปนกรณีไป

TATK: โครงสรางเงินทุน

53


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.4 โครงสรางหนี้สิน หนี้สินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 หนีส้ นิ ของบริษัทและบริษัทยอยตามงบการเงินมีจํานวน ทั้งสิ้น 85,265 ลานบาท ประกอบดวยหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไมหมุนเวียนดังนี้

หนี้สินของบริษัทและบริษัทยอย หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป รายไดรับลวงหนา คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว หนี้การคาระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

(หนวย: ลานบาท) จํานวน 773 2,434 19,133 276 2,206 2,585 27,407

49,423 7,858 577 57,858 85,265

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 เงินกูย มื รวมทัง้ หนีก้ ารคาระยะยาวของบริษทั และบริษทั ยอยมี จํานวนรวมทัง้ สิน้ 77,187 ลานบาท แบงเปนเงินกูยืมรวมทัง้ หนีก้ ารคาระยะยาวของบริษัทและบริษทั ยอยใน เงินสกุลบาท (“เงินกูส กุลบาท”) จํานวน 62,453 ลานบาท เงินสกุลเหรียญสหรัฐ (“เงินกูส กุลเหรียญสหรัฐ”) จํานวน 3,153 ลานบาท (หรือจํานวน 79 ลานเหรียญสหรัฐ) และเงินสกุลเยนญี่ปุน (“เงินกูสกุลเยน ญี่ปุน”) จํานวน 11,581 ลานบาท (หรือจํานวน 31,042 ลานเยนญี่ปุน) ภายหลังจากการปรับโครงสรางหนี้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริษัทสามารถชํ าระเงินกูไดครบตามกํ าหนดการชํ าระเงินตนที่มีไวกับเจาหนี้มี ประกันมาโดยตลอด และยังสามารถชําระเงินกูกอนกําหนดบางสวนจากเงินสดสวนเกินจากการ

TATK: โครงสรางเงินทุน

54


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ดําเนินงานของบริษัทไดอีกเปนจํานวนประมาณ 2,000 ลานบาท เพื่อชวยลดภาระดอกเบี้ยจายและชวย ลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในอดีตเงินกูระยะยาวจํานวนมากของบริษัทเปนเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐ บริษัทจึงมี นโยบายลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน และบริษัทประสบความสําเร็จในการลดเงินกูระยะยาว สกุลเหรียญสหรัฐ โดยมีมาตรการตางๆที่นํามาใชอยางตอเนื่องดังตอไปนี้ กุมภาพันธ 2544

บริ ษั ท ได นํ าเงิ น สดสว นเกินจากการดํ าเนิ น งานมาชํ าระคืน เงิ น กู ของ เจาหนีม้ ปี ระกันบางสวนกอนกําหนด เปนจํานวนประมาณ 532 ลานบาท

มิถุนายน 2544

ณ วันที่ 28 มิถนุ ายน 2544 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ของบริษทั ครัง้ ที่ 1/2544 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ใน วงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท (“หุนกู”) โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อ ชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยูในปจจุบัน

กรกฎาคม 2544

บริ ษั ท ได นํ าเงิ น สดสว นเกินจากการดํ าเนิ น งานมาชํ าระคืน เงิ น กู  ของ เจาหนีม้ ีประกันบางสวนกอนกําหนด เปนจํานวนประมาณ 368 ลานบาท

กันยายน 2544

บริษัทไดเขาทํารายการปองกันความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนดวยการ กําหนดการชําระหนี้เงินกูเปนบาท (“Swap”) กับ KfW (ซึ่งเปนเจาหนี้ เงินสกุลเหรียญสหรัฐรายใหญของบริษัท) จํานวนประมาณ 97 ลาน เหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 4,483 ลานบาท โดยมีผลทําใหบริษัทชําระ คืนเงินกูเปนเงินสกุลบาทกับเจาหนี้เงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐ

ธันวาคม 2544

บริษทั ไดกเู งินสกุลบาท จํานวน 5,000 ลานบาท (“เงินกูเ งินสกุลบาทใหม”) เพื่อ นําเงินทั้งหมดที่ไดไปชําระคืนหนี้เงินสกุลเหรียญสหรัฐกอนกําหนด

มีนาคม 2545

บริษทั และบริษทั ยอยไดชาระคื ํ นเงินกูเ ปนจํานวนเงินประมาณ 948 ลานบาท

กรกฎาคม 2545

บริษัทไดนําเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานชําระคืนเงินกูของเจาหนีม้ ี ประกันบางสวนกอนกําหนดเปนจํานวนเงินประมาณ 345 ลานบาท ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2545 บริษัทไดเขาทําสัญญาทางการเงินกับ เจาหนี้มีประกันตามสัญญาเงินกูเงินสกุลบาทเดิม สัญญาเงินกูเงิน

TATK: โครงสรางเงินทุน

55


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สกุลบาทใหม สัญญาเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐ และ KfW ในฐานะ เจาหนี้ Swap (ตอไปจะเรียกวา “เจาหนี้มีประกันในเบื้องตน”) รวมทั้ง IFC ในฐานะผูใ หสนิ เชือ่ C Loan และผูค าประกั ํ้ นบางสวนของหุน กูค รัง้ ที่ 2/2545 และกับผูแทนผูถือหุนกูครั้งที่ 1/2545 เพื่อกําหนดมาตรการ รองรับการเขามามีสวนรวมในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแกเจาหนี้มี ประกันในเบื้องตน ตุลาคม 2545

ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2545 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาท 2 ชุด ไดแก หุนกู ครัง้ ที่ 1/2545 และหุน กูค รัง้ ที่ 2/2545 รวมเปนจํานวนเงิน 18,465 ลานบาท และ ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2545 บริษทั ไดกเู งินบาทจาก IFC เปนจํานวนเงิน 1,125 ลานบาท รวมทั้งสิ้นจํานวน 19,590 ลานบาท และไดนําเงิน จํ านวนดังกลาวไปชํ าระคืนเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐจํ านวน 452 ลานเหรียญสหรัฐกอนกําหนด โดยผูถือหุนกูครั้งที่ 1/2545 และผูถือหุนกู ครั้ งที่ 2/2545 ไดเข าไปมี สว นร วมในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแก เจาหนี้มีประกันในเบื้องตน

ธันวาคม 2545

บริษัทไดนํ ากระแสเงินสดของบริษัทมาซื้อคืนตราสารการชํ าระหนี้ที่มี เงื่อนไขในการผอนการชํ าระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 10.1 พันลานเยน หรือ ประมาณ 3.6 พันลานบาท

กุมภาพันธ 2546

ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ 2546 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาทอีก 1 ชุด ไดแก หุน กูครั้งที่ 1/2546 เปนจํานวนเงิน 3,319 ลานบาท และไดนําเงิน จํ านวนดังกลาวไปชําระคืนเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐที่เหลืออยูทั้งหมด จํานวน 78 ลานเหรียญสหรัฐกอนกําหนด ทําใหบริษัทไมมีหนี้เงินกูสกุล เหรียญสหรัฐเหลืออยูอีกตอไป โดยผูถือหุนกูครั้งที่ 1/2546 ไดเขาไปมี สวนรวมในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแกเจาหนี้มีประกันในเบื้องตน

ตุลาคม 2546

บริษัทไดลงนามในสัญญาเงินกูวงเงิน 21,419 ลานบาท กับกลุม ธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใชคืนเงินกูสกุล เงินบาทเดิมในจํานวนเทากัน โดยเงินกูใหมจะมีอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง สงผลใหบริษัทสามารถลดคาใชจายดานดอกเบี้ยได

TATK: โครงสรางเงินทุน

56


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทัง้ นี้ ในการชําระคืนเงินตนกอนกําหนด (Prepayment) ของบริษัท ที่นอกเหนือจาก การชําระคืนเงินตนตามกําหนดการนั้น เงินจํานวนดังกลาวจะถูกนําไปหักลดยอดชําระคืนเงินตนจาก งวดทายทีส่ ดุ ยอนขึน้ มา (Inverse Chronological Order) และแบงจายคืนเจาหนีม้ ปี ระกันตามสัดสวนของ ยอดการชําระคืนเงินตนของเจาหนี้รายนั้นๆ (Pro-rata) จากการชําระคืนเงินตนใหกับเจาหนี้มีประกัน การทํา Swap และการกูเงินสกุลบาทใหม รวมทั้งการออกหุนกูสกุลบาทครั้งที่ 1/2545 หุนกูสกุลบาท ครั้งที่ 2/2545 และการกูเงินจาก IFC ในเดือนตุลาคม 2545 ทําใหบริษัทสามารถลดสัดสวนของเงินกูที่ เปนเงินสกุลตางประเทศตอเงินกูทั้งหมดไดเปนอยางมาก อยางไรก็ดีการออกหุนกูดังกลาว และ การกู เงินจาก IFC นี้ ไมไดเปนการเพิ่มจํานวนเงินกูของบริษัทโดยรวมแตอยางใด แตเปนการเปลีย่ นเงินกูส กุล เหรียญสหรัฐ ใหเปนเงินกูส กุลบาทเพือ่ ลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลีย่ น นอกจากนั้น บริษัทไดดําเนินการอยางตอเนื่องเพื่อลดหนี้สินของบริษัท โดย ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2545 บริษัทไดลดหนี้ระยะยาวสกุลเงินตางประเทศ โดยการซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มี เงือ่ นไขในการผอนการชําระหนี้ เนื่องจากเจาหนี้ตราสารการชําระหนี้ที่มีเงื่อนไขในการผอนการชําระหนี้ บางรายตองการรับชําระเงินลวงหนา จึงทําใหบริษัทสามารถซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มีเงื่อนไขใน การผอนการชําระหนี้ไดในราคาที่ตํ่ากวามูลคาตามบัญชีอยางมีนัยสําคัญ ดวยการซื้อคืนที่จํานวน ประมาณ 1.9 พันลานเยนญีป่ นุ (หรือประมาณ 679 ลานบาท) จากมูลคาตามบัญชีประมาณ 10.1 พันลานเยนญีป่ ุน (หรือประมาณ 3.6 พันลานบาท) ดวยกระแสเงินสดของบริษัท หลังจากที่มีการดํ าเนินมาตรการตางๆเพื่อลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนดังที่ กลาวขางตนแลว บริษัทมีสัดสวนของเงินกูที่เปนเงินสกุลตางประเทศตอเงินกูทั้งหมดลดลงจากระดับ รอยละ 68.3 ณ สิ้นป 2543 เปนรอยละ 19.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 แผนภูมิ : โครงสรางเงินกูของบริษัทจนถึงปจจุบัน หนวย:ลานบาท 80,000

76,520 6,591

78,710 8,205

75,051

73,634

73,379

16,091

16,239

11,376

60,000

11,581 3,153

5,624 37,657

32,253

35,134

40,000

25,242

56,379

20,000

77,187

32,271

38,252

62,453

32,152 23,826

0

2541

2542

2543

2544

2545

2546

เงนิ กูส กุลบาท เงนิ กูส กุลเหรียญสหรัฐ เงนิ กูส กุลเยน TATK: โครงสรางเงินทุน

57


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดหุนกูสกุลเงินบาทที่บริษัทออกและเสนอขาย ณ วันที่ 28 มิถุนายน 2544 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 1/2544 ไดมมี ติ อนุมตั ใิ หบริษทั ออกและเสนอขายหุน กูป ระเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยูในปจจุบัน ดังนั้น เมื่อวันที่ 7-14 ตุลาคม 2545 บริษทั จึงไดเสนอขายหุน กู 2 รุน รวมทัง้ เมือ่ วันที่ 10 – 14 กุมภาพันธ 2546 ไดเสนอขายหุน กูอ กี 1 รุน ดังนี้ 1. หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด ครัง้ ที1่ /2545 ครบกําหนดไถถอน ป พ.ศ. 2551 1) ชือ่ เฉพาะของหุนกู

:

หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอน กอนกําหนด ของบริษทั เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2551

2) ประเภทของหุนกู

:

หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอน กําหนด ระบุชื่อผูถือและไมดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุน กู ทีเ่ สนอขายได

:

11,715,400 หนวย คิดเปนมูลคา 11,715,400,000 บาท (หนึง่ หมืน่ หนึง่ พันเจ็ดรอยสิบหาลานสีแ่ สนบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2545

:

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู:

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

8) สถานะของหุน กู

:

หุน กูเ ปนหนีข้ องบริษทั ซึง่ มีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวยแและ จะมีสถานะไมดอยกวาหนี้มีประกันอื่นๆในปจจุบันและใน อนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกูทั้งใน

9) การชําระเงินตน

:

บริษทั จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดๆ ในวันชําระดอกเบีย้ เริ่ม ตั้งแตวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2546 เปนตนไป โดยจะชําระ คืนเงินตนงวดสุดทายในวันครบกําหนดไถถอนหุนกู

TATK: โครงสรางเงินทุน

58


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย วันทยอยชําระคืนเงินตน วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2546

(หนวย: บาท) จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 5.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2546

8.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546

8.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2546

10.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2547

10.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2547

16.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2547

16.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2547

19.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2548

19.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2548

19.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

45.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2548

45.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2549

55.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549

55.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2549

60.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2549

60.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2550

70.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2550

70.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

70.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550

70.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2551

90.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2551

90.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

90.00

TATK: โครงสรางเงินทุน

59


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10) อัตราดอกเบีย้ และการชําระ: ดอกเบีย้

บริษัทจะชําระดอกเบี้ยของหุนกูในอัตรารอยละ 6.1ตอป โดย ชําระทุกๆ สาม (3) เดือน ในวันที่ 7 มกราคม 7 เมษายน 7 กรกฎาคม และ 7 ตุลาคม ของทุกป โดยเริ่มชําระ ดอกเบี้ยครั้งแรกในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2546 โดยดอกเบี้ย ในแตละงวดดอกเบี้ยหุนกูจะคํานวณจากเงินตนคงคางของหุน กูคูณกับจํ านวนวันที่ผานไปจริงในแตละงวดดอกเบี้ยหุนกูที่ เกี่ยวของคูณกับอัตราดอกเบี้ยดังกลาวหารดวยสามรอยหก สิบหา (365) วัน

11) การไถถอนหุน กู

:

การไถถอนหุน กูจ ะกระทําโดยการชําระเงินตนคางชําระงวดสุดทาย พรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่จะตองชํ าระในขณะนั้น ทัง้ หมดใหแกผถู อื หุน กู ตอหุน กูห นึง่ (1) หนวย

12) การซือ้ คืนหุน กู

:

ภายใตเงือ่ นไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษทั มีสทิ ธิซอื้ คืนหุนกู จากตลาดรองหรือแหลงอื่น ๆ ไดไมวาในเวลาใด ๆ เมื่อบริษัท ไดซื้อคืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ตามหุนกูดังกลาวระงับลง และ ใหบริษัทดําเนินการแจงใหนายทะเบียนหุนกูทราบเพื่อยกเลิก หุน กูที่ซื้อมาดังกลาวทันที

13) การไถถอนหุน กูก อ นกําหนด:

ภายใตเงือ่ นไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษทั มีสทิ ธิทจี่ ะ ไถถอนหุนกูกอนกํ าหนด โดยวันไถถอนหุนกูกอนกําหนด จะเปนวันชําระดอกเบี้ยใด ๆ หลังจากวันครบรอบปที่สาม นับจากวันออกหุนกู และราคาไถถอนหุนกูกอนกําหนดตอหุน กูหนึ่ง (1) หนวย จะเทากับเงินตนคงคาง (ไมรวมดอกเบี้ยที่ ยังไมไดชําระ) และคาธรรมเนียมในอัตรารอยละศูนยจุดหา (0.5) ตอป บนเงินตนคงคางตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย ณ วัน ไถถอนหุนกูกอนกําหนด ในกรณีที่บริษัทไถถอนหุนกูกอน กําหนดบางสวน บริษัทจะตองไถถอนหุนกูกอนกําหนดไมนอย กวารอยละยี่สิบหา (25) ของหุน กูท ยี่ งั ไมไดไถถอน ณ เวลานัน้ โดยใหไถถอนหุน กูต ามสัดสวนจํานวนหุน กูท ผี่ ถู อื หุน กูแ ตละราย ถือครองอยู ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขในขอกําหนดสิทธิ

14) หลักประกันหุน กู

บริษทั จะไดจดั ใหมแี ละดํารงไวซงึ่ หลักประกันของหุน กูต ลอดอายุ ของหุนกู ซึ่งเปนการใหหลักประกันที่มีผลผูกพันทรัพยสินของ บริษัทใหแกผูถือหุนกู เชน สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมี เงื่อนไขเหนือสัมปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือ

TATK: โครงสรางเงินทุน

:

60


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บัญชีเพื่อการชําระเงินของหุนกู เปนตน ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไข ของเอกสารหลักประกัน และเอกสารหลักประกันของหุนกู โดยที่หลักประกันบางสวนจะสิ้นผลบังคับไปหลังจากที่บริษัท ไดชําระหนี้ใหกับเจาหนี้มีประกันเดิมหมดสิ้นแลว ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิ หากบริษัทไม สามารถจัดใหมีหลักประกัน (ยกเวนการโอนสิทธิเรียกรองใน การประกั น ภั ย ซึ่ ง บริ ษั ท จะดํ าเนิ น การโอนสิ ท ธิ เ รี ย กร อ ง ดังกลาวภายในหกสิบ (60) วัน หลังจากวันออกหุนกู) สําหรับ การชํ าระหนี้ทั้งดอกเบี้ยและเงินตนของหุนกูตามเงื่อนไขใน ขอกําหนดสิทธิไดภายในเจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอ ขายหุนกู ใหผูจัดการการจัดจํ าหนายหรือผูจ ดั จําหนายรายที่ เปนผูร บั จองซือ้ หุน กู (แลวแตกรณี) คืนเงินคาจองซื้อหุนกู พรอมดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากบัญชีจองซือ้ หุน กู (ถามี) สําหรับเงินดัง กลาวใหผจู องซือ้ หุน กูท จี่ องซือ้ ผานตนภายในสิบสี่ (14) วัน นับแตวนั ปดการเสนอขายหุน กู 15) การจัดอันดับความนาเชือ่ ถือ:

TATK: โครงสรางเงินทุน

บริษทั จะจัดใหมกี ารจัดอันดับความนาเชือ่ ถือหุน กูโ ดยสถาบันจัด อั น ดับ ความนา เชื่อถื อที่ไดรับ ความเห็นชอบจากสํ านักงาน คณะกรรมการกํ ากับหลักทรัพยและตลาดหลั ก ทรั พ ย ต ลอด อายุของหุนกู ซึ่งบริษัทไดแตงตั้งให บริษทั ทริ ส เรทติ้ ง จํ ากัด เปนผูทําการจัดอันดับความนาเชื่อถือหุนกู โดยผลการ จัดอันดับที่บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เผยแพรเมือ่ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หุนกูไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถือ อยูในเกณฑ BBB ซึ่งอันดับความนาเชือ่ ถือนีม้ ไิ ดจดั ขึน้ เพือ่ เปน ขอแนะนําใหผลู งทุนทําการซือ้ ขาย หรือถือหุนกูที่เสนอขายและ อาจมีการเพิกถอนหรือเปลีย่ นแปลงโดย บริษทั ทริสเรทติง้ จํากัด ไดตอไป

61


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด และมีผูคํ้าประกันบางสวน ครัง้ ที่ 2/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 1) ชือ่ เฉพาะของหุน กู

:

หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอน กําหนด และมีผคู าประกั ํ้ นบางสวน ของบริษทั เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2545 ครบกําหนดไถถอน ป พ.ศ. 2554

2) ประเภทของหุน กู

:

หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอน กําหนด มีผคู าประกั ํ้ นบางสวน ระบุชอื่ ผูถ อื และไมดอ ยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคา หุน กูท เี่ สนอขายได

:

6,750,000 หนวย คิดเปนมูลคา 6,750,000,000 บาท (หกพันเจ็ดรอยหาสิบลานบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2545

:

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู:

วันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554

8) สถานะของหุน กู

:

หุน กูเ ปนหนีข้ องบริษทั ซึง่ มีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวย และ จะมีสถานะไมดอยกวาหนี้มีประกันอื่นๆทั้งในปจจุบันและใน อนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

9) การชําระเงินตน

:

บริษทั จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดๆ ในวันชําระดอกเบีย้ เริ่ม ตั้งแตวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เปนตนไป โดยจะชําระ คืนเงินตนงวดสุดทายในวันครบกําหนดไถถอนหุนกู

TATK: โครงสรางเงินทุน

62


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุน กูห นึง่ (1) หนวย

วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 160.00

วันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553

160.00

วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

160.00

วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553

160.00

วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

180.00

วันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554

180.00

วันทยอยชําระคืนเงินตน

10)อัตราดอกเบีย้ และการชําระ: ดอกเบีย้ ตัว

(หนวย: บาท)

บริษัทจะชําระดอกเบี้ยของหุนกูในอัตราดอกเบี้ยลอยที่ MLR ตอปโดยชําระทุกๆ สาม (3) เดือน ในวันที่ 3 กุมภาพันธ 3 พฤษภาคม 3 สิงหาคม และ 3 พฤศจิกายน ของทุกป โดย เริ่มชําระดอกเบี้ยครั้งแรกในวันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 โดยดอกเบี้ยในแตละงวดดอกเบี้ยหุนกูจะคํานวณจากเงินตน คงคางของหุนกูคูณกับจํ านวนวันที่ผานไปจริงในแตละงวด ดอกเบี้ยหุนกูที่เกี่ยวของคูณกับอัตราดอกเบี้ยดังกลาวหารดวย สามรอยหกสิบหา (365) วัน อัตรา MLR หรือ Minimum Lending Rate หมายถึง สําหรับ งวดดอกเบี้ยหุนกูใดๆ อัตราเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ยอางอิงที่ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) ณ วันทําการไทยที่สาม (3) กอนหนาวันแรกของ งวดดอกเบี้ยหุนกูนั้น โดยหากในวันดังกลาว ปรากฏวามี อัตราดอกเบี้ยอางอิงของธนาคารพาณิชยขางตนไมครบทั้งสี่ (4) ธนาคารไมวาดวยเหตุใดก็ตาม การคํานวณอัตราดอกเบีย้ เฉลีย่ ใหใชอตั ราดอกเบีย้ อางอิงทีเ่ หลืออยูเ ปนเกณฑ ทัง้ นีต้ าม เงือ่ นไขในขอกําหนดสิทธิ

11) การไถถอนหุนกู

TATK: โครงสรางเงินทุน

:

การไถ ถ อนหุ  น กู  จ ะกระทํ าโดยการชํ าระเงิ น ต น ค างชํ าระ งวดสุดทาย พรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่จะตองชําระ ในขณะนัน้ ทัง้ หมดใหแกผถู อื หุน กูต อ หุน กูห นึง่ (1) หนวย 63


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

12) การซือ้ คืนหุน กู

:

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ภายใตเงือ่ นไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษทั มีสทิ ธิซอื้ คืนหุนกู จากตลาดรองหรือแหลงอื่นๆ ไดไมวาในเวลาใด ๆ เมือ่ บริษทั ไดซอื้ คืนหุน กูแ ลว ใหถอื วาหนีต้ ามหุน กูด งั กลาวระงับลง และ ให บ ริ ษั ท ดํ าเนิ น การแจ ง ให น ายทะเบี ย นหุ  น กู  ท ราบเพื่ อ ยกเลิกหุนกูที่ซื้อมาดังกลาวทันที

13) การไถถอนหุน กูก อ นกําหนด:

ภายใตเงือ่ นไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิที่จะ ไถถอนหุนกูกอนกําหนด โดยวันไถถอนหุนกูกอนกําหนดจะ เป น วั น ชํ าระดอกเบี้ ย ใด ๆ หลั ง จากวั น ครบรอบป ที่ ส าม นับจากวันออกหุนกู และราคาไถถอนหุนกูกอนกําหนดตอ หุนกูหนึ่ง (1) หนวย จะเทากับเงินตนคงคาง (ไมรวมดอกเบี้ย ทีย่ งั ไมไดชําระ) และคาธรรมเนียมในอัตรารอยละศูนยจุดหา (0.5) ตอป บนเงินตนคงคางตอหุน กูห นึง่ (1) หนวย ณ วันไถถอน หุนกูกอนกําหนด ในกรณีที่บริษัทไถถอนหุนกูกอนกําหนด บางสวน บริษัทจะตองไถถอนหุนกูกอนกําหนดไมนอยกวา รอยละยี่สิบหา (25) ของหุนกูที่ยังไมไดไถถอน ณ เวลานั้น โดยจะไถถอนหุน กูต ามสัดสวนจํานวนหุน กูท ผี่ ถู อื หุน กูแ ตละราย ถือครองอยู ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขในขอกําหนดสิทธิ

14) หลักประกันหุน กู

บริษัทจะไดจัดใหมีและดํ ารงไวซึ่งหลักประกันของหุนกูตลอด อายุของหุน กู ซึง่ เปนการใหหลักประกันทีม่ ผี ลผูกพันทรัพยสนิ ของบริษัทใหแกผูถือหุนกู เชน สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบ มีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือ บัญชีเพื่อการชําระเงินของหุนกู เปนตน ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไข ของเอกสารหลักประกัน และเอกสารหลักประกันของหุนกู โดยที่หลักประกันบางสวนจะสิ้นผลบังคับไปหลังจากที่บริษัท ไดชําระหนี้ใหกับเจาหนี้มีประกันเดิมหมดสิ้นแลว นอกจากนี้ หุน กูมีผูคํ้าประกันบางสวนคือ บรรษัทเงินทุนระหวางประเทศ (ไอเอฟซี) ซึ่งเปนผูคํ้าประกันทั้งเงินตนและดอกเบี้ยจํานวน รวมไมเกินรอยละหาสิบ(50) ของหุนกู

:

ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิ หากบริษัทไม สามารถจัดใหมีหลักประกัน (ยกเวนการโอนสิทธิเรียกรองใน การประกั น ภั ย ซึ่ ง บริ ษั ท จะดํ าเนิ น การโอนสิ ท ธิเรียกรอง ดังกลาวในหกสิบ (60) วัน หลังจากวันออกหุน กู) สําหรับการ ชํ าระหนี้ทั้งดอกเบี้ยและเงิน ต นของหุ น กู  ตามเงื่อนไขในขอ TATK: โครงสรางเงินทุน

64


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กําหนดสิทธิไดภายในเจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอขาย หุน กู ทั้งนี้ ใหผูจัดการการจัดจําหนายหรือผูจัดจําหนายรายที่ เปนผูรับจองซื้อหุนกู (แลวแตกรณี) คืนเงินคาจองซือ้ หุน กู พรอมดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากบัญชีจองซือ้ หุน กู (ถามี) สําหรับเงิน ดังกลาว ใหผจู องซือ้ หุน กูท จี่ องซือ้ หุน กูผ า นตนภายในสิบสี่ (14) วัน นับแตวนั ปดการเสนอขายหุน กู 15) การจัดอันดับความนาเชือ่ ถือ:

บริษัทจะจัดใหมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือหุนกูโดยสถาบัน จั ดอันดับความนาเชื่อถือที่ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน คณะกรรมการกํ ากับหลักทรัพยและตลาดหลั ก ทรั พ ย ตลอด อายุของหุน กู ซึง่ บริษทั ไดแตงตัง้ ให บริษทั ทริสเรทติง้ จํากัด เปนผูท าการจั ํ ดอันดับความนาเชือ่ ถือหุน กู โดยผลการจัดอันดับ ที่บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เผยแพรเมือ่ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หุน กูไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถืออยูในเกณฑ A ซึ่งอันดับความนาเชื่อถือนี้มิไดจัดขึ้นเพื่อเปนขอแนะนํ าให ผูล งทุนทําการซื้อขาย หรือถือหุนกูที่เสนอขายและอาจมีการ เพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงโดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด ไดตอไป

3. หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2546 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2550 1) ชือ่ เฉพาะของหุนกู

:

หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ของบริษทั เทเลคอม เอเซีย คอรปอเรชัน่ จํากัด(มหาชน) ครั้งที่ 1/2546 ครบกําหนด ไถถอนป พ.ศ. 2550

2) ประเภทของหุนกู

:

หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ระบุชื่อผูถือและ ไมดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุน กู ทีเ่ สนอขายได

:

3,319,000 หนวย คิดเปนมูลคา 3,319,000,000 บาท (สามพันสามรอยสิบเกาลานบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

วันที่ 18 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546

:

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู:

TATK: โครงสรางเงินทุน

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550

65


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8) สถานะของหุน กู

:

หุน กูเ ปนหนีข้ องบริษทั ซึง่ มีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวยและ จะมีสถานะไมดอยกวาหนี้มีประกันอื่นๆทั้งในปจจุบันและใน อนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

9) การชําระเงินตน

:

บริษทั จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดๆ ในวันชําระดอกเบีย้ เริ่มตั้งแตวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2548 เปนตนไป โดยจะ ชําระคืนเงินตนงวดสุดทายในวันครบกําหนดไถถอนหุนกู

รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2548

(หนวย: บาท) จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 12.5

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2548

12.5

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

97.5

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2548

97.5

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2550

97.5

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2550

97.5

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

97.5

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550

97.5

วันทยอยชําระคืนเงินตน

TATK: โครงสรางเงินทุน

66


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10) อัตราดอกเบีย้ และการชําระ: ดอกเบีย้

บริษัทจะชําระดอกเบี้ยของหุนกูในอัตราคงที่รอยละ 5.8 ตอป โดยชําระทุกๆ สาม (3) เดือน ในวันที่ 7 มกราคม 7 เมษายน 7 กรกฎาคม และ 7 ตุลาคม ของทุกป โดยเริม่ ชําระดอกเบีย้ ครั้งแรกในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2546 โดยดอกเบี้ยในแตละ งวดดอกเบี้ยหุนกูจะคํานวณจากเงินตนคงคางของหุนกูคูณกับ จํ านวนวันที่ผานไปจริงในแตละงวดดอกเบี้ยหุนกูที่เกี่ยวของ คูณกับอัตราดอกเบีย้ ดังกลาวหารดวยสามรอยหกสิบหา (365) วัน

11) การไถถอนหุน กู

:

การไถถอนหุน กูจ ะกระทําโดยการชําระเงินตนคางชําระงวดสุดทาย พรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่จะตองชํ าระในขณะนั้น ทัง้ หมดใหแกผถู อื หุน กูต อ หุน กูห นึง่ (1) หนวย

12) การซือ้ คืนหุน กู

:

ภายใตเงือ่ นไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษทั มีสทิ ธิซอื้ คืนหุนกู จากตลาดรองหรือแหลงอื่น ๆ ไดไมวาในเวลาใด ๆ เมื่อบริษัท ไดซื้อคืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ตามหุนกูดังกลาวระงับลง และให บริษัทดําเนินการแจงใหนายทะเบียนหุนกูทราบเพื่อยกเลิกหุนกู ทีซ่ อื้ มาดังกลาวทันที

13) หลักประกันหุนกู

:

บริ ษั ท จะได จั ด ให มี แ ละดํ ารงไว ซึ่ ง หลั ก ประกั น ของหุ  น กู  ตลอดอายุของหุนกู ซึ่งเปนการใหหลักประกันที่มีผลผูกพัน ทรัพยสินของบริษัทใหแกผูถือหุนกู เชน สัญญาโอนสิทธิเรียก รองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไข เหนือบัญชีเพื่อการชําระเงินของหุนกูเปนตน ทั้งนี้ ภายใต เงื่อนไขของเอกสารหลักประกัน และเอกสารหลักประกันของ หุนกู โดยที่หลักประกันบางสวนจะสิ้นผลบังคับไปหลังจากที่ บริษทั ไดชําระหนี้ใหกับเจาหนี้มีประกันเดิมหมดสิ้นแลว ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิ หากบริษัทไม สามารถจัดใหมีหลักประกัน สําหรับการชําระหนี้ทั้งดอกเบี้ย และเงินตนของหุนกูตามเงื่อนไขในขอกํ าหนดสิทธิไดภายใน เจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอขายหุนกู ใหผูจัดการ การจัดจํ าหนาย หรือผูจ ดั จําหนายรายทีเ่ ปนผูร บั จองซือ้ หุน กู (แลวแตกรณี) คืนเงินคาจองซื้อหุนกูพรอมดอกเบี้ยที่เกิดจาก บัญชีจองซื้อหุนกู (ถามี) สําหรับเงินดังกลาวใหผูจองซื้อหุนกูที่ จองซื้อผานตนภายในสิบสี่ (14) วัน นับแตวนั ปดการเสนอขาย หุน กู

TATK: โครงสรางเงินทุน

67


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

15) การจัดอันดับความนาเชือ่ ถือ: บริ ษั ท จะจั ด ให มี ก ารจั ด อั น ดั บ ความน า เชื่ อ ถื อ หุ  น กู  โ ดย สถาบัน จัดอัน ดับความนาเชื่อถือที่ไดรับความเห็นชอบจาก สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตลอดอายุของหุน กู ซึง่ บริษทั ไดแตงตัง้ ใหบริษทั ทริสเรทติง้ จํากัด เปนผูทําการจัดอันดับความนาเชื่อถือหุนกู โดยผล การจัดอันดับที่บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เผยแพรเมือ่ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หุนกูไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถือ อยูในเกณฑ BBB ซึ่งอันดับความนาเชือ่ ถือนีม้ ไิ ดจดั ขึน้ เพือ่ เปน ขอแนะนําใหผลู งทุนทําการซือ้ ขาย หรือถือหุนกูที่เสนอขายและ อาจมีการเพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงโดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด ไดตอไป ตลาดรองของหุนกู ปจจุบันหุนกูของบริษัท สามารถทําการซื้อขายไดในศูนยซื้อขายตราสารหนี้ไทย

TATK: โครงสรางเงินทุน

68


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9. การจัดการ 9.1 โครงสรางการจัดการ โครงสรางผูบ ริหารของบริษทั ประกอบไปดวย คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดยอย และ คณะเจาหนาที่บริหาร โดยมีรายละเอียดดังนี้ คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 คณะกรรมการของบริษัทประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิ จํานวนรวมทั้งสิ้น 20 ทาน ประกอบดวย (ก) กรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Directors) ซึ่ ง มี สวนเกีย่ วของในการบริหารงานประจํา (ข) กรรมการทีไ่ มเปนผูบ ริหาร(Non-Executive Directors) ซึง่ ไม เกีย่ วของในการบริหารงานประจํา ซึง่ รวมตัวแทนของกลุม เจาหนี้ และ (ค) กรรมการทีเ่ ปนอิสระ (Independent Directors) กรรมการทั้งหมดของบริษัทมีรายชื่อดังตอไปนี้ ตําแหนง

รายชื่อ 1. นายณรงค 2. นายวิทยา 3. ดร.โกศล 4. นายโชติ 5. นายธนินท 6. นายสุเมธ 7. ดร.อาชว 8. นายเฉลียว 9. นายอธึก 10. นายศุภชัย 11. นายสุภกิต 12. นายชัชวาลย 13. นายวิเชาวน 14. นายอํารุง 15. นายไฮนริช 16. นายเคลาส 17. นายเคลาส 18. นายอันเดรียส 19. นายฮาราลด 20. ดร.ลี จี. หมายเหตุ :

TATL: การจัดการ

ศรีสอาน เวชชาชีวะ เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช เจียรวนนท เจียรวนนท เตาลานนท สุวรรณกิตติ อัศวานันท เจียรวนนท เจียรวนนท เจียรวนนท รักพงษไพโรจน สรรพสิทธิ์วงศ ไฮมส ทุงเคอเลอ สแตดเลอร คลอคเคอ ลิงค แลม

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร กรรมการ กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – Group Investment กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ขอมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวของกับคณะกรรมการของบริษัท ปรากฏดังนี้ ก) ประวัติการกระทําผิดตามกฎหมาย : ไมมี ข) หนี้ที่มีอยูกับบริษัท หรือบริษัทในเครือ : ไมมี ค) สวนไดสวนเสียในบริษัท : ไมมี

69


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั มีอานาจและหน ํ าทีจ่ ดั การบริษทั ใหเปนไปตามวัตถุประสงค ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุน ในสวนของการจัดการบริษัทนั้น คณะกรรมการมีอํานาจ หนาที่ตัดสินใจและ ดูแลการดําเนินงานของบริษัท เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใด ปฏิบตั กิ ารอยางใดอยางหนึง่ แทนคณะกรรมการได อยางไรก็ตาม การตัดสินใจในการดําเนินงานทีส่ าคั ํ ญ อาทิเชน การลงทุน และการกูย มื ทีม่ นี ยั สําคัญ ฝายบริหารจะตองนําเสนอตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณา อนุมัติทุกกรณี กรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท นายศุภชัย เจียรวนนท หรือ นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน ลงลายมือชื่อรวมกับ นายอธึก อัศวานันท หรือ นายสุภกิต เจียรวนนท หรือ นายชัชวาลย เจียรวนนท รวมเปนสองคน และประทับตราสําคัญของบริษัท การสรรหากรรมการ คณะกรรมการกํ าหนดค า ตอบแทนและสรรหากรรมการซึ่ ง บริ ษั ท ได จั ด ตั้ ง ขึ้ นจะ ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการพิจารณากลั่นกรองการสรรหากรรมการ กอนที่จะเสนอตอ คณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติตอไป สําหรับสิทธิของผูถ อื หุน ในการแตงตัง้ กรรมการนัน้ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เปนผูแ ตงตัง้ กรรมการบริษัทโดยใชเกณฑเสียงขางมาก ทั้งนี้ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งกรรมการ โดยผูถือหุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง และสามารถเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือ หลายคนเปนกรรมการก็ไดโดยใชคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมาก นอยเพียงใดไมได คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ประกอบดวยบุคคล ผูท รงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. นายวิทยา 2. ดร.โกศล 3. นายโชติ TATL: การจัดการ

เวชชาชีวะ เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช

ตําแหนง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ 70


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบ ดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

สอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ สอบทานใหบริษทั มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้ง และเสนอคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกํ าหนด ของตลาดหลักทรัพย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัท ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชนใหมีความถูกตองครบถวน จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไวในรายงาน ประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีก่ ฎหมายกําหนด หรือ คณะกรรมการของบริษทั จะมอบหมาย

คณะกรรมการที่เปนอิสระ คณะกรรมการที่เปนอิสระ ทําหนาที่ดูแลการเขาทํารายการที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนทมี่ ีความสําคัญสูง ซึ่งมีรายชื่อดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. นายณรงค 2. นายโชติ 3. นายเคลาส

ศรีสอาน โภควนิช ทุงเคอเลอ

4. นายศุภชัย 5. นายอธึก

เจียรวนนท อัศวานันท

ตําแหนง กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการจาก KfW (ในกรณีที่ไมสามารถเขาประชุมได ใหนายอันเดรียส คลอคเคอ หรือ นายเคลาส สแตดเลอร เขาประชุมแทน) กรรมการจากเครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการจากเครือเจริญโภคภัณฑ

ทั้ ง นี้ ในกรณีที่ผูถือหุนรายใหญฝายใดเปนผูมีสวนไดเสียในรายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน กรรมการที่เปนตัวแทนของผูถือหุนฝายดังกลาว จะถอนตัวออกจากการ เขารวมประชุมในที่ประชุมคณะกรรมการที่เปนอิสระนี้เมื่อพิจารณารายการดังกลาว

TATL: การจัดการ

71


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการกํ าหนดค า ตอบแทนและสรรหากรรมการ ทํ าหน า ที่ ดู แ ลการ กํ าหนดคาตอบแทนกรรมการและพิจารณากลั่นกรองการสรรหากรรมการกอนนํ าเสนอตอที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ซึ่งมีรายชื่อดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. นายธนินท 2. นายไฮนริช 3. นายสุภกิต 4. นายอํารุง

เจียรวนนท ไฮมส เจียรวนนท สรรพสิทธิ์วงศ

คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการดานการเงิน ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการ ดานการเงิน ซึ่งมีรายชื่อดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. ดร.อาชว 2. นายเฉลียว 3. นายไฮนริช

เตาลานนท สุวรรณกิตติ ไฮมส

4. นายอํารุง

สรรพสิทธิ์วงศ

(ในกรณีทไี่ มสามารถเขาประชุมได ใหนายเคลาส ทุงเคอเลอ หรือ นายอันเดรียส คลอคเคอ เขาประชุมแทน)

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการกํกา ับดูแลกิจการ ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการกําหนด นโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ ซึ่งประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. ดร.อาชว 2. นายวิทยา 3. นายเคลาส 4. นายอธึก 5. นายศุภชัย 6. นายวิลเลี่ยม อี.

TATL: การจัดการ

เตาลานนท เวชชาชีวะ สแตดเลอร อัศวานันท เจียรวนนท แฮริส

72


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ผูบริหารของบริษัท ประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. นายศุภชัย 2. นายวิเชาวน 3. นายชัชวาลย 4. นายอธึก

ตําแหนง เจียรวนนท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร รักพงษไพโรจน กรรมการ กรรมการผูจัดการ และหัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ เจียรวนนท กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร - Group Investment อัศวานันท รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย และรักษาการเลขานุการบริษัท 5. นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน 6. นายชิตชัย นันทภัทร ผูอ านวยการบริ ํ หาร-Home/Consumer Solution & Highspeed Access 7. นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข ผูอํานวยการบริหาร-Office/SME Solution & Wireless Access 8. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย ผูอํานวยการบริหาร-Corporate Solution, Wholesales & Data หมายเหตุ:

1.

2.

“ผูบ ริหาร” ในหัวขอนี้ หมายถึง กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ หรือผูดํารงตําแหนงระดับบริหารสี่ราย แรกนับตอจากกรรมการผูจัดการใหญลงมา และผูซึ่งดํารงตําแหนงเทียบเทากับผูดํารงตําแหนงระดับบริหาร รายที่สี่ทุกราย ขอมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวของกับผูบริหารของบริษัท ปรากฏดังนี้ ก) ประวัติการกระทําผิดตามกฎหมาย : ไมมี ข) หนี้ที่มีอยูกับบริษัทในเครือ : ไมมี ค) สวนไดสวนเสียในบริษัท : ไมมี

อํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจ ดั การใหญ มีอานาจหน ํ าทีใ่ นการดูแลและดําเนินการใดๆ อันเปนการ ดําเนินงานตามธุรกิจปกติของบริษทั (day to day business) และในกรณีทเี่ รือ่ ง / รายการดังกลาวเปน รายการ ทีส่ าคั ํ ญ กรรมการผูจ ดั การใหญจะนําเสนอเรือ่ ง / รายการดังกลาวใหแกกรรมการอิสระ และ/หรือ คณะกรรมการชุดยอยทีเ่ กีย่ วของ (ซึง่ ไดแก คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการ หรือ คณะกรรมการทีเ่ ปนอิสระ) และ/หรือ คณะกรรมการบริษทั แลวแตกรณี เพื่อพิจารณาอนุมัติเรื่อง / รายการดังกลาว นอกจากนี้ กรรมการผูจ ดั การใหญไมมอี านาจในการที ํ จ่ ะ อนุมตั เิ รือ่ ง / รายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใด จะเขาทํากับบริษัท หรือบริษทั ยอย ในกรณีดงั กลาว เรือ่ ง / รายการ ดังกลาวจะตองไดรบั อนุมตั จิ ากกรรมการอิสระ และ/หรือ คณะกรรมการชุดยอยทีเ่ กีย่ วของ และ/หรือ คณะกรรมการบริษทั (แลวแตกรณี) เทานัน้

TATL: การจัดการ

73


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9.2 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัท (1)

คาตอบแทนกรรมการ สําหรับชวงเวลาตัง้ แตมกราคม-ธันวาคม 2546 คาตอบแทนของกรรมการรวม 24 ทาน เปนเงินทั้งสิ้น 36.90 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปของเบี้ยประชุมกรรมการ (หมายเหตุ ในระหวางป 2546 มีกรรมการลาออกจํานวน 4 ทาน คือ นางสาวกาเบรียลลา กูเนีย นายแดเนียล ซี พิทริ นายสตีเฟน จี. ปารคเกอร และนายจอหน เจ. แล็ค และมีกรรมการเขาใหมจานวน ํ 1 ทาน คือ ดร.ลี จี. แลม) (2)

คาตอบแทนของผูบริหาร คาตอบแทนผูบริหารรวม 8 ทาน สําหรับชวงเวลาตั้งแตมกราคม-ธันวาคม 2546 เปนเงินทัง้ สิน้ 86.23 ลานบาท โดยแบงเปนเงินเดือน 76.86 ลานบาท โบนัส/ผลตอบแทนการปฏิบตั งิ าน 5.72 ลานบาท และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจํานวน 3.65 ลานบาท (3)

TATL: การจัดการ

คาตอบแทนอื่น (3.1) โครงการ ESOP 2003 (3.2) โครงการ ESOP 2002 (3.3) โครงการ ESOP 2000

74


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(3.1) โครงการ ESOP 2003 ณ วันที่ 11 เมษายน 2546 ทีป่ ระชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 ไดมีมติอนุมัติให บริษัทออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2003”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดงั นี:้

จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ หมดที่ออกและคงเหลือ

: 19,862,729 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 17 มิถุนายน 2546

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

TATL: การจัดการ

5 ปนับจากวันที่ออก : 16 มิถุนายน 2551 ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรบั ใบสําคัญแสดงสิทธิจานวน ํ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสํ าคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซือ้ หุน สามัญได 1 หุน ในราคา 5.20 บาท

75


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(3.2) โครงการ ESOP 2002 ณ วันที่ 12 เมษายน 2545 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจํ าป 2545 ไดมีมติ อนุ มั ติ ใ ห บ ริ ษั ทออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและ พนักงานในระดับผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดงั นี:้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 37,131,597 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 14 มิถุนายน 2545

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 13 มิถุนายน 2550

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรบั ใบสําคัญแสดงสิทธิจานวน ํ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสํ าคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้

อัตราการใชสิทธิ

TATL: การจัดการ

ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2546 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซือ้ หุน สามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท 76


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(3.3)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงการ ESOP 2000

ณ วันที่ 27 เมษายน 2543 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจํ าป 2543 ไดมีมติอนุมัติ ใหบริษัท ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํ านวนใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ : 36,995,000 หนวย ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2543

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 10 ป นับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2553

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 1 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแต ละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสทิ ธิครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 30 มิถนุ ายน ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ : ใบสําคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 2 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบ สําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแต ละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสทิ ธิครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 31 ธันวาคม ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ

อัตราการใชสิทธิ

TATL: การจัดการ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

77


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการถือใบสําคัญแสดงสิทธิภายใตโครงการ ESOP ของกรรมการและ ผูบริหารของบริษัท มีดังนี้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2003 จํานวนหนวย รอยละ ของโครงการ

ชื่อ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2002 จํานวนหนวย รอยละ ของโครงการ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2000 จํานวนหนวย รอยละ ของโครงการ

1. ดร.อาชว

เตาลานนท

-

-

-

-

2,240,000

6.06

2. นายสุภกิต

เจียรวนนท

-

-

-

-

4,130,000

11.16

3. นายศุภชัย

เจียรวนนท

3,696,402

18.61

7,058,824

19.01

6,510,000

17.60

4. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

1,617,176

8.14

3,088,235

8.32

2,800,000

7.57

5. นายชัชวาลย

เจียรวนนท

1,940,611

9.77

3,705,882

9.98

4,130,000

11.16

6. นายอธึก

อัศวานันท

2,021,470

10.18

3,860,294

10.40

5,320,000

14.38

7. นายวิลเลี่ยม

อี. แฮริส

1,297,838

6.53

3,000,000

8.08

945,000

2.55

8. นายอติรุฒม

โตทวีแสนสุข

850,404

4.28

1,503,662

4.05

-

-

9.3 รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท การกํากับดูแลกิจการที่ดีไดกลายเปนสวนหนึ่งของปรัชญาการดําเนินธุรกิจของบริษัท มานานแลว โดยตลอดหลายปทผี่ า นมาบริษทั ยังคงมุง มัน่ และพัฒนาในการใหขอ มูลขาวสาร และเนน ความโปรงใสของกลุม บริษทั อยางตอเนือ่ ง ปนนี้ บั เปนปที่ 5 แลวสําหรับการรายงานการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ ถือเปนแนวทาง ปฏิบัติที่คณะกรรมการบริษัทและพนักงานทุกคนมีความภาคภูมิใจในการนําเสนอรายงานการกํากับดูแล กิจการดังตอไปนี้ 1.

นโยบายเกีย่ วกับการกํากับดูแลกิจการ (หลักการขอ 1)

ในป 2546 นี้ บริษัทไดเนนเพิ่มความรับผิดชอบและตระหนักถึงการบริหารโดยเนน การเพิ่มมูลคาใหกับองคกร โดยผูบริหารระดับสูงของบริษัทไดมีสวนรวมในหลักสูตรในเรื่องการเนน มูลคาขององคกรดังกลาว ซึ่งจัดโดยหนวยงานที่เปนผูนําระดับสากลในเรื่องดังกลาว และบริษัทก็ได นําหลักการดังกลาวนําเขามาประยุกตใชเปนสวนหนึ่งในการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัท

TATL: การจัดการ

78


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สําหรับแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับระบบการกํากับดูแลกิจการ ซึ่งไดนํามาประยุกตใชเปน ปที่ 2 นีก้ ไ็ ดมกี ารปรับปรุงและทบทวนโดยคณะกรรมการบริษทั และผูบ ริหารระดับสูง เพือ่ ใหมมี าตรฐาน สากลเปนที่ยอมรับในแนวทางปฏิบัติที่ดี แนวทางปฏิบัติครอบคลุมในเรื่องตอไปนี้ À À À À À À À À À

2.

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท องคประกอบและการสรรหาคณะกรรมการบริษัท โครงสรางกรรมการและกระบวนการ ภาวะผูนํา ความสัมพันธระหวางคณะกรรมการและฝายจัดการ กระบวนการและขั้นตอนการจัดประชุม คณะอนุกรรมการ กิจการของคณะอนุกรรมการ นโยบายเกี่ยวกับการเขาทํารายการระหวางกัน และจริยธรรมของบริษัท

สิ ท ธิ แ ละความเท า เที ย มกั น ของผู  ถื อ หุ  น และผู  มี ส  ว นได เ สี ย กลุ  ม ต า งๆ (หลักการขอ 2,3,4,7,11 และ15)

แมวาในปกอนผูถือหุนรายใหญของบริษัทจะยังคงเปนผูถือหุน 10 รายใหญเดิมก็ ตามคณะกรรมการบริษทั ก็ยงั คงตระหนักวา ในฐานะทีบ่ ริษทั เปนบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ซึ่งมีผูถือหุนจํานวนมากและมีการกระจายหุนในวงกวาง ดังนัน้ ตามที่มีการกระจายหุนในลักษณะดังกลาว บริษัทจึงมีความรับผิดชอบที่จะดูแล การใหขอมูลทางการเงินอยางเปดกวางและการรักษาไวซึ่งความยุติธรรม และความเทาเทียมกันใหแก ผูถ ือหุนทุกคน สําหรับการใหขอมูลทางการเงินนั้น บริษัทจะเนนความโปรงใสของขอมูล และความ สามารถในการเปรียบเทียบขอมูลกับบริษัทคูแขงได โดยใชมาตรฐานการรายงานงบการเงินตามแบบ สากลคือ International Accounting Standards (IAS) ทีส่ าคั ํ ญไปกวานัน้ คือ ขอมูลขาวสารสามารถเขาถึงทุกคนทีเ่ กีย่ วของไดในเวลาเดียวกัน ขอมูลทางการเงินนี้ไดเก็บรวบรวมเหตุการณทางการเงินที่สํ าคัญและรายงานผานสื่อตางๆ ตลอดจน การรายงานรายไตรมาสผานเว็บไซตของบริษัท ซึ่งฝายลงทุนสัมพันธของบริษัทไดจัดทําขอมูล การเงินที่สําคัญทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผานทางอินเตอรเน็ต รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการ กํากับดูแลกิจการของกลุม บริษทั เทเลคอมเอเซีย อันไดแก แนวทางการปฏิบตั เิ กีย่ วกับการกํากับดูแลกิจการ กฎบัตรคณะกรรมการบริษทั นโยบายเรือ่ งการใชขอ มูลภายในและการตรวจสอบภายในก็มกี ารนําเสนอ ผานทางเว็บไซตของบริษัท ซึ่งในเว็บไซตของบริษัทยังมีข อมูลในเรื่องตางๆ ตามขอกํ าหนดและ TATL: การจัดการ

79


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ขาวสารตางๆ รายงานการประชุมผูถือหุน การประชุมกับนักวิเคราะหและขอมูลที่เปนที่สนใจของ นักลงทุน บริษทั ไดดาเนิ ํ นการเพือ่ ความยุตธิ รรมและความเทาเทียมกันแกผถู อื หุน ของบริษทั ดังนี้ À มีกรรมการอิสระไมนอยกวา 4 ทาน À จัดใหมีการประชุมผูถือหุนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยในป 2546 มีการประชุม À À À

À

À

À

สามัญผูถือหุน 1 ครั้ง และการประชุมวิสามัญผูถือหุน 1 ครั้ง จัดเตรียมหนังสือมอบฉันทะใหผูถือหุนลวงหนากอนการประชุม เพื่อใหผูถือหุน สามารถพิจารณาวาระการประชุมไดอยางรอบคอบ เปดโอกาสใหผถู อื หุน และผูร บั มอบฉันทะเสนอความคิดเห็นหรือซักถามตอกรรมการ และผูบริหารในการประชุมผูถือหุน แจงกําหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทสําหรับปตอไปตลอดทั้งปใหกรรมการ ทุกทานไดทราบในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งสุดทายของแตละป และ สงหนังสือเชิญประชุมใหแกกรรมการเปนการลวงหนากอนการประชุมทุกครั้งตาม ขอกําหนดตางๆ ที่เกี่ยวของ แสดงขอมูลทีส่ าคั ํ ญดานการเงิน การบริหาร และการปฏิบตั งิ าน รวมถึงขอมูลที่ตอง เปดเผยตามกฎหมายบนเว็บไซตของบริษัท การกําหนดใหคณะกรรมการที่เปนอิสระมีบทบาทในการพิจารณารายการที่อาจ กอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน หรืออาจเปนประโยชนตอผูมีสวนไดเสีย กลุมใดกลุมหนึ่ง การวาจางทีป่ รึกษาอิสระเขามาใหคาปรึ ํ กษา แนะนํา และรวบรวมขอมูล ในกิจกรรม ตางๆ ที่เกี่ยวของ

ในเดือนพฤศจิกายน 2546 บริษทั ไดรบั รางวัล Disclosure Report Award 2003 สําหรับการเปดเผยขอมูลอยางมีคณ ุ ภาพ (แบบ 56-1) จากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย อันเปนเครือ่ งยืนยันถึงความยุตธิ รรมและความโปรงใส พนักงาน ลูกคา คูค า เจาหนี้ และคูแ ขง ตลอดจนภาครัฐและชุมชนที่บริษัทตั้งอยู ลวนไดรับความตระหนักถึงความสําคัญในฐานะผูมีสวนไดเสีย ดังปที่ผานมาบริษัทไดรับการอนุมัติ จากคณะกรรมการและประกาศใช “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํางาน” (Code of Conduct) ซึง่ ถือ เปนโครงการทีค่ านึ ํ งถึงผูม สี ว นไดเสียทุกฝายของบริษทั คุณธรรมและขอพึงปฏิบัตินี้เปนจริยธรรมที่เปน แนวทางสํ าหรับใหพนักงานของบริษัทปฏิบัติ ซึ่งรวมทั้งดานธุรกิจและจรรยาบรรณของแตละบุคคลใน ทีท่ างาน ํ

TATL: การจัดการ

80


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัทยังมีความรับผิดชอบตอสังคมโดยสนับสนุนใหมีสังคมไทยที่ดี รวมทั้งการใหมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นผานการสื่อสาร ซึ่งบริษัทไดพยายามสนับสนุนกิจกรรมโครงการเพื่อสังคมในชุมชน ตางๆ ของประเทศไทยโดยตรง โครงการศึกษา โครงการศิลปะวัฒนธรรมเทเลคอมเอเซีย และหอง เรียนวิทยาศาสตรเทเลคอมเอเซีย ลวนเปนหลักสูตรที่มีวัตถุประสงคที่จะสนับสนุนใหเด็กนักเรียนรูจัก พัฒนาตนเอง และการชวยใหนักเรียนไดศึกษาหาความรูและสังเกตจากหองเรียน ซึ่งเปนการ เพิ่มพูนและสนับสนุนประสบการณในชีวิต สวนโครงการพิราบนอยไดเปดโอกาสใหนักศึกษาสายการ สื่อสารมวลชนจากมหาวิทยาลัยของประเทศไทยมีสว นรวมในการผลิต Content คุณภาพสูง และมีความ รับผิดชอบ รวมถึงจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพในการสื่อสารและวารสาร ขอมูลอื่นๆ เกี่ยวกับ โครงการเพือ่ ชุมชนทีไ่ ดกลาวไปแลวจะสามารถหาไดจาก website ของบริษทั 3.

ภาวะผูน าและวิ ํ สยั ทัศน (หลักการขอ 5,8,9 และ 10)

คณะกรรมการบริษทั ไดมกี ารจัดประชุมทัง้ สิน้ 4 ครัง้ ในป 2546 นี้ ซึง่ การประชุมแตละ ครัง้ มีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหการดําเนินธุรกิจเปนไปอยางตอเนือ่ ง ซึง่ ไดแสดงตารางการเขารวมประชุมของ คณะกรรมการ ดังนี้ รายชื่อ 1. นายณรงค 2. นายวิทยา 3. ดร.โกศล 4. นายโชติ 5. นายธนินท 6. นายสุเมธ 7. ดร.อาชว 8. นายเฉลียว 9. นายอธึก 10. นายศุภชัย 11. นายสุภกิต 12. นายชัชวาลย 13. นายวิเชาวน 14. นายอํารุง 15. นายไฮนริช 16. นายเคลาส 17. นายเคลาส 18. นายอันเดรียส 19. นายฮาราลด 20. ดร.ลี จี.

ศรีสอาน เวชชาชีวะ เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช เจียรวนนท เจียรวนนท เตาลานนท สุวรรณกิตติ อัศวานันท เจียรวนนท เจียรวนนท เจียรวนนท รักพงษไพโรจน สรรพสิทธิ์วงศ ไฮมส ทุงเคอเลอ สแตดเลอร คลอคเคอ ลิงค แลม

การเขาประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 4/4 4/4 4/4 4/4 2/4 0/4 * 4/4 4/4 4/4 4/4 1/4 3/4 3/4 4/4 3/4 3/4 3/4 4/4 4/4 2/2 **

* ปฏิบตั ภิ ารกิจในตางประเทศ * * เพิง่ ไดรบั การแตงตัง้ ใหเขาเปนกรรมการของบริษทั เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2546

TATL: การจัดการ

81


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษทั ยังดูแลในเรือ่ งความเหมาะสมของจํานวนคณะกรรมการบริษทั ใหเปนไปตามสัดสวน อยางยุตธิ รรมตามการกระจายของกลุม ของผูท เี่ กีย่ วของ ไมวา จะเปนผูถ อื หุน รายใหญ ผูถ อื หุน สวนนอย เจาหนี้ หรือพนักงานบริษทั คณะกรรมการบริษทั มีจานวนทั ํ ง้ สิน้ 20 ทาน ซึง่ ประกอบดวย ผูม คี วามรูแ ละ ประสบการณจากหลากหลายอาชีพและสัญชาติ ซึง่ การคัดเลือกกรรมการจะพิจารณาจากประสบการณ ความรอบรู ความซือ่ สัตย และมีความรู ความเขาใจในเทคโนโลยี และอุตสาหกรรมธุรกิจโทรคมนาคม คณะกรรมการบริษทั ประกอบดวยกรรมการทีม่ ใิ ชผบู ริหารเปนสวนใหญ เพือ่ เปนการรักษาสมดุลยอานาจ ํ และสรางความนาเชือ่ ถือในการบริหารงาน และประธานกรรมการบริษทั เปนกรรมการทีม่ ไิ ดเปนผูบ ริหาร คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหารระดับสูง จะไดรับการพิจารณากลั่นกรองโดย คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ (โดยคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และ สรรหากรรมการ ไดวา จางบริษทั ผูเ ชีย่ วชาญซึง่ เปนทีป่ รึกษาอิสระเปนผูท าการศึ ํ กษาและใหขอ เสนอแนะ) จากนั้น จึงมีการนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาและอนุมัติ โดยในสวนของ คาตอบแทนกรรมการนั้น จะตองนําเสนอตอไปยังที่ประชุมผูถือหุนเพื่ออนุมัติในขั้นสุดทาย ในสวนของ คาตอบแทนของผูบริหารระดับสูงที่สําคัญๆ นอกจากไดรับเงินเดือนแลว ยังมีการให Stock Option ซึ่งไดรับอนุมัติจากทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2543 ป 2545 และป 2546 ทัง้ นี้ เพือ่ เชือ่ มโยง การจายผลตอบแทนใหสอดคลองกับผลประกอบการของบริษทั และเปนการสรางแรงจูงใจในระยะยาว ในป 2546 Hewitt Associates ซึง่ เปนบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการจัดการ ทรัพยากรบุคคล ไดทํ าการศึกษารวบรวมเกี่ยวกับหลักการและนโยบายการจายผลตอบแทนใหแก ผูบ ริหารของบริษทั โดยเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมสือ่ สารโทรคมนาคมในประเทศไทย และไดขอ สรุป ทีย่ นื ยันวารูปแบบการจายคาตอบแทนของบริษัทเปนรูปแบบที่แนนอน และเหมาะสมกับสภาวะตลาด ในปจจุบัน 4.

การบริหารความเสีย่ งและการควบคุมอยางมีประสิทธิภาพ (หลักการขอ 12, 13, 14 และ 15)

ความเสี่ยงเปนเรื่องที่ตองดูแลและรับผิดชอบทั้งในระดับคณะกรรมการบริษัท และ ระดับคณะผูบ ริหาร โดยบริษทั ยังคงประสานงานกับ Marsh UK Ltd. ซึง่ เปนทีป่ รึกษาดานการประกันภัย ของเจาหนีข้ องบริษทั อยูเ สมอ รวมทัง้ มีการพัฒนา ประเมิน และทบทวนแผนการประกันภัยกับตัวแทน ประกันภัยเปนประจําทุกป ในไตรมาสที่ 4 ของป 2546 นีไ้ ดคดั เลือก 2 บริษทั ประกันภัยชัน้ นําของโลก ใหแนะนําและจัดรูปแบบการประกันภัย และตนทุนประกันภัยทีเ่ หมาะสมใหกบั บริษทั และใหเปนตาม มาตรฐานของการประกันภัยทีเ่ ปนสากล ในระดับคณะกรรมการบริษัท การบริหารและติดตามความเสี่ยง ดําเนินการผาน คณะอนุกรรมการ 4 คณะ กลาวคือ (1) คณะกรรมการตรวจสอบ (2) คณะกรรมการดานการเงิน (3) คณะกรรมการทีเ่ ปนอิสระ และ (4) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ โดยตัง้ แต ตนป 2545 จนถึงปจจุบนั ป 2546 คณะกรรมการตรวจสอบไดวา จางบริษทั ไพรซวอเตอรเฮาส คูเปอรส ริสค แมเนจเมนท เซอรวสิ เซส จํากัด มาใหบริการแนะนําปรึกษาเพือ่ ปรับปรุงระบบการตรวจสอบภายในใหมี ประสิทธิผลดียิ่งขึ้น ซึ่งจะสงผลใหเกิดการพัฒนาดานระบบการควบคุมภายในของบริษัทดวย TATL: การจัดการ

82


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการทุกคณะสามารถวาจางผูเชี่ยวชาญจากภายนอกเพื่อชวยเหลือและใหคาปรึ ํ กษาได คณะอนุกรรมการแตละชุดมีหนาทีร่ ายงานขอมูลกิจกรรมตอคณะกรรมการตามที่กาหนดตามบทบาทและหน ํ าที่ ความรับผิดชอบ นอกจากนี้ จากการที่บริษัทไดวาจางผูบริหารระดับสูงเพิ่มเติม ยิ่งทําใหภาพของทีม คณะผูบริหารระดับสูง (Group Management Committee) มีคุณคาขึ้น ซึ่งคณะผูบริหารระดับสูงนี้ ประกอบดวยผูบริหารระดับสูงของสายงานตางๆ อาทิเชน หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน ฝายตรวจสอบภายใน และหัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย เปนตน คณะผูบริหารระดับสูงนี้จะมี การประชุมกันเปนประจํ าทุกสัปดาห กิจกรรมของคณะผูบริหารระดับสูงนี้จะถูกนํ าเสนอตอ คณะกรรมการบริษัท และมีการสรุปขอมูลไวในรายงานการวิเคราะหของฝายจัดการ ซึ่งจะเปนสวน หนึ่งที่ปรากฏอยูในรายงานประจําปของบริษัท และคณะกรรมการบริษัทสามารถติดตอกับผูบริหารเพื่อ สอบถามและหารือประเด็นทางธุรกิจไดตลอดเวลา 5.

ความขัดแยงทางผลประโยชน (หลักการขอ 1, 6 และ 7)

คณะกรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานของบริษทั ไดรบั การยําเตื ้ อนใหตระหนักอยูเ สมอ ในการหลีกเลีย่ งการกระทําใดๆ อันจะกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกบั บริษทั ซึง่ นอกจาก ขอกําหนดทางกฎหมายของภาครัฐแลวบริษทั ยังไดมกี ารกําหนดแนวทางปฏิบตั ติ ลอดจน คุณธรรมและ ขอพึงปฏิบตั ใิ นการทํางาน เพือ่ เปนแนวทางในการแกไขสถานการณ หรือเปดเผยถึงกรณีทอี่ าจเกิดความ ขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการทีเ่ ปนอิสระของบริษทั จะทําหนาทีช่ ว ยคณะกรรมการบริษัทในการพิจารณา กลั่นกรองการเขาทํารายการที่อาจเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน ตลอดจนรายการสําคัญทีอ่ าจ เขาขายเปนรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรือ่ งหลักเกณฑ วิธกี าร และการเปดเผยรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั จดทะเบียน ซึง่ บริษทั ไดมมี าตรการและขัน้ ตอน ในการอนุมตั กิ ารทํารายการระหวางกันทีจ่ ะไดกลาวถึงในรายงานประจําปฉบับนี้ โดยมีการกลาวถึงนโยบาย เกีย่ วกับการเขาทํารายการระหวางกัน สําหรับเหตุการณทอี่ าจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนใน ลักษณะอืน่ เชน การใชขอ มูลภายในเพือ่ การซือ้ ขายหลักทรัพย การใชความสัมพันธสว นบุคคลใน กิจการงานของบริษัท ซึ่งก็ไดมีการกลาวถึงทางเลือกในการแกไขเรื่องดังกลาวไวในคุณธรรมและ ขอพึงปฏิบตั ใิ นการทํางานเชนกัน 9.4 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน ปจจุบัน บริษัทใชมาตรการตามกฎหมายในการดูแลผูบริหารในการนําขอมูลภายใน ของบริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตน รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย บริษัทมีการเก็บรักษาสารสนเทศที่ สําคัญที่ยังไมไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจํากัดใหรับรูไดเฉพาะผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น TATL: การจัดการ

83


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูบ ริหารระดับสูงทีม่ โี อกาสเขาถึงหรือไดรบั ขอมูลภายในทีส่ าคั ํ ญของบริษทั ซึง่ ยังไมไดเปดเผยตอประชาชน จะตองรายงานขอมูลการซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัท ตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“กลต.”) เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการเกี่ยวกับการ จัดทําและเปดเผยรายงานการถือหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อปองกันการซื้อขายหลักทรัพยโดยใชสารสนเทศ ภายในและเพื่อปองกันขอครหาเกี่ยวกับความเหมาะสมของการซื้อขายหลักทรัพยของบุคคลภายใน นอกจากนี้ บริษทั ไดทาการศึ ํ กษาเปรียบเทียบหลักเกณฑการปองกันการใชขอ มูลภายใน ของตางประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อนํามาประยุกตใช เพื่อใหเกิดความโปรงใส สรางความเชื่อมั่นในหมู นักวิเคราะหและนักลงทุนตางประเทศ 9.5 บุคลากร มีดังนี้

จํานวนพนักงานทั้งหมดของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 แบงแยกตามกลุมงาน

กลุมงาน พนักงานในระดับผูบริหาร ปฏิบัติการโครงขาย และ บํารุงรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริการลูกคา การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน ที่มา : บริษัท

จํานวนพนักงาน (คน) 63 2,243 395 361 700 218 259 4,239

คาตอบแทน และผลประโยชนของพนักงาน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ในป 2546 คาตอบแทนพนักงานรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 1,934 ลานบาท โดยประกอบดวย คาแรง เงินเดือน เงินตอบแทนการปฏิบัติงานประจําป คาทํางานลวงเวลา คาคอมมิชชั่น เงินสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพและอื่นๆ (โปรดดูรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 26)

TATL: การจัดการ

84


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาตอบแทนอื่น -

แผนประกันสุขภาพและสวัสดิการพนักงาน

-

หองพยาบาลของบริษัท Â การตรวจสุขภาพประจําป Â การตรวจรางกายพนักงานใหม Â การประกันสุขภาพกลุม Â การประกันอุบัติเหตุกลุม Â การประกันชีวิตกลุม - เสียชีวิต 30,000 บาท / คน Â กองทุนประกันสังคม - บริษทั และพนักงาน จายเงินสมทบเขากองทุนประกันสังคมในอัตรา 3% ของเงินเดือน พนักงาน (หากพนักงานมีเงินเดือนสูงกวา 15,000 บาทตอเดือน ใหคิดเพียง 15,000 บาทเปนฐานในการคํานวณเงินสมทบ) พนักงานผูป ระกันตน จะไดรบั สิทธิประโยชน จากกองทุนฯ โดยสามารถเขารับการรักษาพยาบาลทีส่ ถานพยาบาลในเครือขายประกันสังคม วันหยุดพักผอนประจําป Â

กรณีพนักงานไมไดรับอนุญาตใหหยุดพักผอนประจําป เนื่องจากความจําเปนเรงดวน ของงาน ใหอยูในดุลยพินิจของผูมีอํานาจอนุมัติใหพนักงานสามารถสะสมวันหยุดพักผอนประจําปที่ไม ไดใชในปนั้น ไปใชในปถัดไปได พนักงานระดับผูอํานวยการฝาย หรือเทียบเทาขึ้นไปไดรับวันหยุดพักผอนประจําป 15 วันทํางาน และสะสมรวมกันไมเกิน 30 วันทํางาน สําหรับวันที่เกิน บริษัทจะจายเปนคา ทํางานในวันหยุดพักผอนประจําป Â พนักงานระดับตํ่ากวาผูอํานวยการฝาย ไดรับวันหยุดพักผอนประจําป 10 วันทํางาน และสะสมรวมกันไมเกิน 20 วันทํางาน สําหรับวันที่เกิน บริษัทจะจายเปนคาทํางานใน วันหยุดพักผอนประจําป คาตอบแทน Â

-

  Â

TATL: การจัดการ

เงินเดือน เงินตอบแทนการปฏิบตั งิ านประจําป ในอัตรา 0-4 เทาของเงินเดือนพนักงานขึน้ อยูก บั ผล ประกอบการและฐานะทางการเงินของบริษัท เกษียณอายุ พนักงานที่จะมีอายุครบ 60 ปบริบูรณ หรือในกรณีที่บริษัทและพนักงาน เห็นพองตองกันอาจใหพนักงานเกษียณอายุกอ นกําหนดได โดยพนักงานจะไดรบั คาชดเชย การเกษียณอายุตามกฎหมาย

85


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การฝกอบรมและพัฒนา นโยบายการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน บริษัทไดมีการสงเสริม และพัฒนาความรู ความสามารถ ทักษะ และทัศนคติของ พนักงานใหสามารถปฏิบัติงานปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพ และพรอมที่จะมีความกาวหนาตอไปใน สายอาชีพ ซึ่งบริษัทเชื่อวา เปนสวนสนับสนุนใหกลยุทธและเปาหมายทางธุรกิจของบริษัทประสบ ความสําเร็จในปจจุบัน บริษัทไดมีการฝกอบรมและพัฒนาพนักงานในดานตางๆ อาทิเชน การฝกอบรม ดานความรูความสามารถหลัก การฝกอบรมดานความรูความสามารถตามบทบาท หรือตํ าแหนง การฝกอบรมดานความรูค วามสามารถตามหนาที่ และการฝกอบรมดานความรูค วามสามารถตามธุรกิจหลัก เปนตน

TATL: การจัดการ

86


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10. การควบคุมภายใน จากการประเมิ น ระบบการควบคุ ม ภายในของคณะกรรมการบริ ษั ท ร ว มกั บ คณะกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2547 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2547 โดยกรรมการอิสระเขารวมประชุมครบทั้ง 4 ทาน คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นวา ระบบการ ควบคุมภายในของบริษทั มีความเพียงพอและเหมาะสม และผูสอบบัญชีของบริษัทมีความเห็นวา มิไดพบ สถานการณใดๆ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริ ษั ท ที่ เ ป น จุ ด อ อ นที่ มี ส าระสํ าคั ญ อั น อาจมี ผลกระทบที่ เ ป น สาระสํ าคั ญ ต อ งบการเงิ น นอกจากนี้ คณะกรรมการไดเนนใหมีการพัฒนาระบบการ กํากับดูแลกิจการเพื่อใหระบบการควบคุมภายในมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง

TATM: การควบคุมภายใน

87


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

11. รายการระหวางกัน ในระหวางป 2546 กลุม บริษทั มีรายการคาระหวางกันกับบริษทั ยอย บริษทั รวม กิจการรวมคา และบริษัทที่เกี่ยวของกัน ตามที่เปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ขอ 4 ขอ 9 ขอ 12 ขอ 17 ขอ 22 และขอ 31 รายการระหวางกันของบริษทั และบริษทั ยอยทีม่ กี บั บริษทั รวมและบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน สามารถสรุปไดดงั นี้ : รายละเอียดรายการระหวางกัน

2546 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

1. ขายสินคา 1.1 บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) ขายสินคาใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

21 AM และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 90.45 และ 65.00 ตาม ลําดับ มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการ รวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AM ใหบริการลูกคาทั่วไป

17 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 98.62 UBC และ AM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม รอยละ 40.96 และ 90.45 ตามลําดับ มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายอธึก อัศวานันท และนายวิเชาวน รักพงษไพโรจน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AM ใหบริการลูกคาทั่วไป

2,044 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของบริษัท และ AWC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดย มี กรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AWC ใหบริการลูกคาทั่วไป

14 AWC และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 99.99 และ 65.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นาย ศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AWC ใหบริการลูกคาทั่วไป

1.2 บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) ขายอุปกรณ RG ใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

1.3 บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) ขายสินคา และอุปกรณ PCT ใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

1.4 บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) ขายสินคา และอุปกรณ PCT ใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TATN: รายการระหวางกัน

88


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2546 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

1.5 บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) ขายสินคา และอุปกรณ PCT ใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

112 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86 และAWC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท , นาย ศุภชัย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AWC ใหบริการลูกคาทั่วไป

1,014 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของบริษัท และ WW เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 87.50 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ WW ใหบริการลูกคาทั่วไป

33 WW และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 87.50 และ 65.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายวิลเลี่ยม อี.แฮริส

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ WW ใหบริการลูกคาทั่วไป

3,388 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86 และ WW เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 87.50 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ WW ใหบริการลูกคาทั่วไป

4,388 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของบริษัท และ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 43.86 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ BITCO ใหบริการลูกคาทั่วไป

1.6 บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ขายอุปกรณสื่อสารโทรคมนาคมใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

1.7 บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ขายสินคา และอุปกรณ PCT ใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

1.8 บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ขายอุปกรณสื่อสารโทรคมนาคมใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

1.9 กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) ขายโทรศัพทมือถือใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TATN: รายการระหวางกัน

89


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 1.10

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2546 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

บริษัท ขายสินคาใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

รวม

13 AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวม กันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายอาชว เตาลานนท 11,044

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

34,999 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของบริษัท และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 65.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AI ใหบริการลูกคาทั่วไป

113 UBC เปนผูประกอบการธุรกิจโทรทัศนระบบ บอกรับเปนสมาชิก UBC และ AI เปนบริษัท ทีบ่ ริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 40.96 และ 65.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AI ใหบริการลูกคาทั่วไป

603 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86 และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท และนายศุภชัย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AI ใหบริการลูกคาทั่วไป

2. ขายบริการ 2.1 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) ขายบริการอินเตอรเน็ตใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.2 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) ขายบริการอินเตอรเน็ตใหกับ กลุมบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (UBC)

2.3 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) ขายบริการอินเตอรเน็ตใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

TATN: รายการระหวางกัน

90


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2546 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

2.4 บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) ใหบริการโครงขายกับ บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด (SS)

3,321 SS เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 97.17 UBC และAM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 40.96 และ 90.45 ตามลําดับ มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน และนายอธึก อัศวานันท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AM ใหบริการลูกคาทั่วไป

2.5 บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) ใหบริการโครงขายและติดตั้งสายกระจายกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

841,291 เหมือนขอ 1.2

AM เปนเจาของโครงขาย มัลติมีเดีย ซึ่ง UBC CABLE ทําสัญญาใชบริการโครงขาย สําหรับแพรภาพรายการตาง ๆ ใหกับลูกคา UBC CABLE และ AM เปนผูติดตั้งสาย กระจายใหกับลูกคา UBC CABLE โดยที่สัญญาไดตกลง กันตามราคาปกติที่ใชเสนอขาย กับลูกคาทั่วไป

2.6 บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) ไดรับคาคอมมิชชั่นจาก กลุมบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (UBC)

365 UBC เปนผูประกอบการธุรกิจโทรทัศนระบบ บอกรับเปนสมาชิก UBC และ AM เปน บริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 40.96 และ 90.45 ตามลําดับ มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน และนายอธึก อัศวานันท

AM เปนตัวแทนจัดหาสมาชิก ใหกับ UBC และไดรับผลตอบ แทนตามการดําเนินงานปกติ ตามราคาที่ UBC จายใหบุคคล ทั่วไป

2.7 บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) ใหบริการเชาทรัพยสินและบริการเชาโครงขายกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TATN: รายการระหวางกัน

31,520 เหมือนขอ 1.1

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคา ที่ AM ใหบริการลูกคาทั่วไป

91


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.8

2546 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) ใหบริการสื่อสารขอมูลบนระบบโครงขายกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.9

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

39,362 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86และ AM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 90.45 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ AM ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

17,751 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของบริษัท และ AM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 90.45 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ AM ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) ใหบริการสื่อสารขอมูลบนระบบโครงขายดิจิตอล กับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.10 บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) ซอมอุปกรณ PCT ใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

825 เหมือนขอ 1.3

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ AWC ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

216 เหมือนขอ 1.4

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ AWC ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

2.11 บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) ซอมอุปกรณ PCT ใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.12 บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC) ใหบริการอินเตอรเน็ตและ leased line กับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3,121 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของบริษัท และ ANC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรง อยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ ANC ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

1,413 UBC เปนผูประกอบการธุรกิจโทรทัศนระบบ บอกรับเปนสมาชิก ที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 40.96 และ ANC เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99 มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ ANC ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

2.13 บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC) ใหบริการ Audiotext และคาบริการ อินเตอรเน็ต กับ กลุมบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (UBC)

TATN: รายการระหวางกัน

92


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.14

487 ANC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 99.99 และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือ หุนโดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธ กันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท ,นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายอาชว เตาลานนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ ANC ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

4,044 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ BITCO และ ANC เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86 และ 99.99 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวม กันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท และนายศุภชัย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ ANC ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

10,973 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ NB เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคาตลาดทั่วไป ซึ่ง สัญญาเชาอาคารสํานักงาน และบริการมีอายุ 3 ป และ มีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

บริษทั นิลุบล จํากัด (NB) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่นกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

2.18

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

บริษทั นิลุบล จํากัด (NB) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่นกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.17

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC) ใหบริการ Audiotext และคาบริการอินเตอรเน็ต กับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.16

2546 (พันบาท)

บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC) ใหบริการ Audiotext และตัวแทนบริการ อินเตอรเน็ต กับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.15

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

531 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 98.62 UBC และ NB เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 40.96 และ 99.99 ตามลําดับ มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคาตลาดทั่วไป ซึ่ง สัญญาเชาอาคารสํานักงาน มีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตอ อายุสัญญาเชา

780 NB และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 99.99 และ 65.00 ตาม ลําดับ มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการ รวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายอาชว เตาลานนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคาตลาดทั่วไป ซึ่ง สัญญาบริการสํานักงานมี อายุปตอป และมีสิทธิจะตอ อายุสัญญาเชา

บริษทั นิลุบล จํากัด (NB) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่นกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TATN: รายการระหวางกัน

93


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.19

2546 (พันบาท)

บริษทั นิลุบล จํากัด (NB) 937 NB และ TRUE IDC เปนบริษัทที่บริษัทถือ เปนการดําเนินงานตามปกติ หุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 และ 70.00 ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ ตามราคาตลาดทั่วไป รวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

บริษัท ดับเบิ้ลยูเซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด (W7) ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่นกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.22

430,261 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของบริษัท และ W7 เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคาตลาดทั่วไป ซึ่ง สัญญาใหเชายานพาหนะมี อายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดใน ระยะเวลาตางกัน

บริษัท ดับเบิ้ลยูเซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด (W7) ใหบริการเชารถยนตและอุปกรณสํานักงานกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.23

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

3,818 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท เปนการดําเนินงานตามปกติ เคลื่อนที่ ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน 43.86 และ NB เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ตามราคาตลาดทั่วไป ออมอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกันคือนายสุภกิต เจียรวนนท และนายขจร เจียรวนนท

ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่นกับ บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TURE IDC) 2.21

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

บริษทั นิลุบล จํากัด (NB) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่นกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.20

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

101 W7 และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 99.99 และ 65.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายอาชว เตาลานนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคาตลาดทั่วไป ซึ่ง สัญญาใหเชายานพาหนะมี อายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดใน ระยะเวลาตางกัน

2,211 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86 และ W7 เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท และนายขจร เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคาตลาดทั่วไป ซึ่ง สัญญาใหเชายานพาหนะมี อายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดใน ระยะเวลาตางกัน

บริษัท ดับเบิ้ลยูเซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด (W7) ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่นกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

TATN: รายการระหวางกัน

94


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.24

12,938 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 98.62 UBC และ W7 เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 40.96 และ 99.99 ตามลําดับ มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท และ นายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคาตลาดทั่วไป ซึ่ง สัญญาใหเชายานพาหนะมี อายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดใน ระยะเวลาตางกัน

625 เหมือนขอ 1.6

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ WW ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

(127) เหมือนขอ 1.7

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ WW ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

189,604 เหมือนขอ 1.8

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ WW ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ใหบริการติดตั้งระบบโครงขายและบริการอื่นกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.28

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ลดหนีใ้ นการใหบริการติดตั้งระบบโครงขายเมื่อป ที่แลวใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.27

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ใหบริการติดตั้งระบบโทรศัพทกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.26

2546 (พันบาท)

บริษัท ดับเบิ้ลยูเซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด (W7) ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่นกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

2.25

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ใหบริการติดตั้งระบบโครงขายกับ บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TRUE IDC)

TATN: รายการระหวางกัน

13,804 WW และ TRUE IDC เปนบริษัทที่บริษัทถือ หุนโดยออมอยูรอยละ 87.50 และ 70.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายวิลเลี่ยม อี.แฮริส

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ WW ใหบริการ ลูกคาทั่วไป

95


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.29

661,609 เหมือนขอ 1.9

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ BITCO ให บริการลูกคาทั่วไป

64 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 98.62 บริษัท ถือหุนใน UBC โดยออมรอยละ 40.96 มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน และ นายอธึก อัศวานันท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่บริษัทใหบริการ ลูกคาทั่วไป

1,493 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของบริษัท เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ บริษัทใหบริการ ลูกคาทั่วไป

บริษัท ใหบริการสื่อสารขอมูลบนระบบโครงขายกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.33

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

บริษัท ใหบริการในการรับแลกเหรียญกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.32

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

บริษัท ใหบริการปรึกษาระบบ SAP กับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

2.31

2546 (พันบาท)

กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) ขายบัตรเติมเงินใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.30

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

17,421 เหมือนขอ 1.10

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ บริษัทใหบริการ ลูกคาทั่วไป

38,928 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวม กันคือ นายธนินทร เจียรวนนท, นายโชติ โภควนิช, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายอธึก อัศวานันท และ นายไฮนริช วิลเฮลม ฟริทซ ไฉมส

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ สุทธิจากสวนลดที่ตกลงกัน

บริษัท ใหบริการสื่อสารขอมูล ศูนยบริการขอมูลลูกคา และอื่น ๆ บนระบบโครงขายกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

TATN: รายการระหวางกัน

96


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.34

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2546 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

บริษัท ใหบริการอื่น ๆ กับ บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TRUE IDC) รวม

41 TRUE IDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 70.00 มีความสัมพันธกันโดย มี กรรมการรวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ ตามราคาที่ บริษัทใหบริการ ลูกคาทั่วไป

2,365,443

3. ซื้อบริการ 3.1 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.2

18 CN เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือ หุนโดยตรงรอยละ 99.99 UBC และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 40.96 และ 65.00 ตามลําดับ มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) จายคาบริการโทรศัพทมือถือรายเดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

3.4

เปนการดําเนินงานตามปกติ ทีม่ สี ัญญาที่ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญา เชาอาคารสํานักงานมีอายุป ตอป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) จายคาโฆษณาใหกับ บริษัท ซีนีเพล็กซ จํากัด (CN)

3.3

7,738 เหมือนขอ 2.1

6 เหมือนขอ 2.3

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

322 เหมือนขอ 1.3

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) จายคาตอบแทนการขาย PCT และคาใชจายอื่น ใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TATN: รายการระหวางกัน

97


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 3.5

2546 (พันบาท)

3.9

85 เหมือนขอ 1.4

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

17 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง เปนการดําเนินงานตามปกติ UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 98.62 UBC ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ และ AWC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม แทนทีเ่ ปนทางการคาปกติ อยูรอยละ 40.96 และ 99.99 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน และ นายอธึก อัศวานันท

บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC) จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.8

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) จายคาบริการและคาสมาชิกใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

3.7

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) จายคาสมาชิกอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3.6

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC) จายคาบริการและคาสมาชิกใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

2,134 เหมือนขอ 2.12

เปนการดําเนินงานตามปกติ ทีม่ สี ัญญาที่ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญา เชาอาคารสํานักงานมีอายุป ตอป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา

24 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง เปนการดําเนินงานตามปกติ UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 98.62 UBC ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ และ ANC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนอยูรอยละ แทนทีเ่ ปนทางการคาปกติ 40.96 และ 99.99 ตามลําดับ มีความสัมพันธ กันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายชัชวาลย เจียรวนนท

บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC) จายคาสมาชิกอินเตอรเน็ตและคาเปนตัวแทน บริการอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TATN: รายการระหวางกัน

21,186 เหมือนขอ 2.14

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

98


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 3.10

บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC)

3.11

จายคาบริการโทรศัพทมือถือรายเดือนและ บริการอื่นใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) บริษทั นิลุบล จํากัด (NB) จายคาเชาที่ดิน และบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.12

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

8 เหมือนขอ 2.15

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

987 เหมือนขอ 2.16

เปนการดําเนินงานตามปกติ ทีม่ สี ัญญาที่ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญา เชาที่ดินมีอายุ 3 ป และมี สิทธิจะตออายุสัญญาเชา

6 เหมือนขอ 2.18

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

6 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของบริษัท เปนการดําเนินงานตามปกติ และ TH เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ รอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดยมี แทนทีเ่ ปนทางการคาปกติ กรรมการรวมกัน

บริษัท เทเลคอม โฮลดิ้ง จํากัด (TH) จายคาสมาชิกอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3.15

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

บริษัท เทเลคอม โฮลดิ้ง จํากัด (TH) จายคาบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.14

2546 (พันบาท)

บริษทั นิลุบล จํากัด (NB) จายคาสมาชิกอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3.13

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4 TH เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู เปนการดําเนินงานตามปกติ รอยละ 99.99 และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ หุนโดยออมรอยละ 65.00 มีความสัมพันธกัน แทนทีเ่ ปนทางการคาปกติ โดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายอาชว เตาลานนท

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) จายคาบริการเคเบิ้ลทีวีใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

TATN: รายการระหวางกัน

30 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง เปนการดําเนินงานตามปกติ UBC ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 98.62 UBC ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ และ WW เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม แทนทีเ่ ปนทางการคาปกติ อยูรอยละ 40.96 และ 87.50 ตามลําดับ มี ความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท,นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน และนายอธึก อัศวานันท

99


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 3.16

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2546 (พันบาท)

299 เหมือนขอ 1.6

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

71 เหมือนขอ 1.7

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

83 เหมือนขอ 1.8

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

8,247 เหมือนขอ 1.2

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

140 เหมือนขอ 2.9

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

246 เหมือนขอ 1.1

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

488 เหมือนขอ 2.8

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) จายคาสมาชิกอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3.18

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) จายคาบริการโทรศัพทมือถือรายเดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

3.19

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) จายคาบริการเคเบิ้ลทีวีใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

3.20

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) จายคาประกันภัยใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.21

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) จายคาบริการอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3.22

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (AM) จายคาบริการโทรศัพทมือถือรายเดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

3.23

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) จายคาประกันภัยใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.17

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

บริษัท ดับเบิ้ลยูเซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด (W7) จายคาบริการโทรศัพทมือถือรายเดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

TATN: รายการระหวางกัน

31 เหมือนขอ 2.23

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

100


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 3.24

2546 (พันบาท)

4,887 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง เปนการดําเนินงานตามปกติ UBC ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 98.62 บริษัท ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ ถือหุนใน UBC โดยออมรอยละ 40.96 และ แทนทีเ่ ปนทางการคาปกติ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการ รวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนายอธึก . อัศวานันท 10,906 NEC เปนบริษัท ที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู เปนการดําเนินงานตามปกติ รอยละ 9.62 และ มีความสัมพันธกันโดยมี ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ กรรมการรวมกันกับกรรมการของบริษัทคือ แทนทีเ่ ปนทางการคาปกติ นายชัชวาลย เจียรวนนท 10,363 เหมือนขอ 2.31

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

25,061 เหมือนขอ 2.31

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคาตลาดทั่วไป ซึ่ง สัญญาเชาอาคารสํานักงาน มีอายุปตอป และมีสิทธิจะ ตออายุสัญญาเชา

18,323 เหมือนขอ 2.31

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

บริษัท จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.29

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

บริษัท จายคาเชาสถานที่ติดตั้งโทรศัพทสาธารณะใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.28

25,824 เหมือนขอ 1.9

บริษัท จายคาซอมแซมและบํารุงรักษาระบบโครงขาย ใหกับ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น(ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

3.27

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) จายคาโฆษณาใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

3.26

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) จายคาเชาสํานักงาน และบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.25

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท จายคาบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TATN: รายการระหวางกัน

101


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 3.30

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

12,641 เหมือนขอ 2.30

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

2,420 เหมือนขอ 1.10

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

7,281 เหมือนขอ 2.33

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

บริษัท จายคาบริการอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3.32

2546 (พันบาท)

บริษัท จายคาบริการเคเบิ้ลทีวีใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

3.31

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท จายคาสงเสริมการขายเกี่ยวกับการใหเชาโครง ขาย ระบบดิจิตอลและคาบริการโทรศัพทมือ ถือ รายเดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) รวม

159,882

4. ซื้อสินคา 4.1 บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC)

4.2

ซื้อ Sim Card จาก กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ซื้อสินคาจาก บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

4.3

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

48 เหมือนขอ 1.7

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

12,732 เหมือนขอ 1.8

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

67,306 เหมือนขอ 3.26

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ซือ้ โทรศัพทมือถือสําหรับการขายจาก กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

4.4

1 เหมือนขอ 2.15

บริษัท ซื้ออุปกรณเกี่ยวกับระบบโครงขายจาก บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น(ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

TATN: รายการระหวางกัน

102


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 4.5

2546 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธ ของผูทํารายการระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจําเปนของรายการ ระหวางกัน

บริษัท ซื้อทรัพยสินของ Pay phone จาก กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

4.6

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2,459 เหมือนขอ 2.31

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

206 เหมือนขอ 2.33

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจที่มีราคาและผลตอบ แทนที่เปนทางการคาปกติ

บริษัท ซื้อโทรศัพทมือถือจาก กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) รวม

82,752

5. ดอกเบี้ยจาย 5.1 บริษัท จายดอกเบี้ยเงินกูใหกับ Kreditanstalt fuer Wiederaufbau (KfW)

รวม

106,743 KfW เปนสถาบันการเงินของประเทศ เยอรมัน ซึ่งเปนทั้งผูถือหุนบุริมสิทธิทั้งหมด ของบริษัท และเปนเจาหนี้ของบริษัท

เปนรายการที่บริษัทชําระ ดอกเบี้ยเงินกูใหกับ KfW ตามสัญญาเงินกู ตามอัตรา ที่ระบุไวในสัญญา

106,743

มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน บริษัทมีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันตามมาตรฐานที่ กํ าหนดไว ต ามข อ กํ าหนดของสํ านั ก งานคณะกรรมการกํ ากั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย (สํานักงาน กลต.) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตลอดจนบทบัญญัตใิ นพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน กล า วคื อ การเข า ทํ ารายการระหว า งกั น จะต อ งได รั บ ความเห็ น ชอบจากกรรมการอิ ส ระก อ น แต ห ากรายการนั้ น เข า ข า ยเป น รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น จะต อ งได รั บ ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั และ/หรือ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน แลวแตกรณี ตามหลักเกณฑ ที่กํ าหนดโดยตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย นอกจากนี้ บริ ษั ท ยั ง ต อ งปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไข ขอกํ าหนดของสัญญา Common Terms Agreement First Amendment and Restatement Agreement ฉบับลงวันที่ 14 ตุลาคม 2546 ซึ่งเปนสัญญาหลักของบริษทั กับกลุม เจาหนีม้ ปี ระกันของบริษทั รวมทัง้ สัญญาทีเ่ กี่ยวของ ซึง่ ในสัญญาไดกําหนดเงื่อนไขในเรื่องการทํารายการระหวางกันโดยมีหลักการ โดยสรุปวา บริษัทตองดําเนินการเกี่ยวกับการทํารายการระหวางกันภายใตเงื่อนไขปกติทางการตลาด นอกเหนือจากขอกําหนดในสัญญาขางตนแลว ขอกําหนดของ Shareholders Agreement ฉบับวันที่ 22 ธันวาคม 2542 ที่ไดลงนามรวมกับ KfW ยังกําหนดใหบริษัทมีการเปดเผยผลประโยชนสวนไดสวนเสีย ตางๆ ที่ผูถือหุนรายใหญหรือบริษัทในเครืออาจมีในสัญญาตางๆ ทีบ่ ริษทั เขาเปนคูส ญ ั ญา ตลอดจนการมี ผลประโยชนขดั กัน อีกดวย TATN: รายการระหวางกัน

103


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นโยบายและแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต นอกจากบริษัท จะปฏิบัติตามขอกําหนดของ สํานักงาน กลต. และ ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยอยางเครงครัดแลว บริษัทไดนําขอกําหนดดังกลาวมาสรางเปนแนวทางปฏิบัติภายใน องคกรเพื่อเนนความโปรงใสในการทํ ารายการ โดยการศึกษาเปรียบเที ยบกั บหลั กเกณฑ ของ ตางประเทศ เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันกับนักวิเคราะหและนักลงทุนตางประเทศดวย สําหรับ แนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคตนัน้ อาจจะยังคงมีอยูในสวนที่เปนการดําเนินธุรกิจตามปกติ ระหวางบริษัทกับบริษัทยอยของบริษัท ซึง่ บริษัทจะดําเนินการดวยความโปรงใสตามนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทและปฏิบัติตามขอกําหนดที่เกี่ยวของอยางเครงครัด

TATN: รายการระหวางกัน

104


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 ผูส อบบัญชีและนโยบายการบัญชีที่สําคัญ ผูส อบบัญชีที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริษัท การเงินรวม และงบการเงินของบริษัทในระยะ 3 ป ที่ผานมา มีดังนี้ งบการเงินประจําป 2546 งบการเงินประจําป 2545 งบการเงินประจําป 2544

สําหรับตรวจสอบงบ

: บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด : บริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด : บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด

รายงานการตรวจสอบของผูสอบบัญชีในระยะ 3 ปที่ผานมา ผูสอบบัญชีไดใหความ เห็นในรายงานการตรวจสอบแบบไมมีเงื่อนไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2546 ผูส อบบัญชีมีความเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันของ บริษัทถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยไมมีเงื่อนไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2545 ผูส อบบัญชีมีความเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันของ บริษัทถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยไมมีเงื่อนไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2544 ผูส อบบัญชีมีความเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันของ บริษัทถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยไมมีเงื่อนไข

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

105


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม บริ ษั ท เทเลคอมเอเซี ย คอร ป อเรชั น จํ า กั ด (มหาชน) งบดุ ล รวม ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม พ.ศ. 2546, พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2544 (หน ว ย : พั น บาท) 31 ธั น วาคม พ.ศ. 2546 สิ น ทรั พ ย สิ น ทรั พ ย ห มุ น เวี ย น เงิ น สดและรายการเที ย บเท า เงิ น สด เงิ น สดที่ มี ภ าระผู ก พั น เงิ น ลงทุ น ชั่ ว คราว ลู ก หนี้ ก ารค า – สุ ท ธิ เงิ น ให กู ยื ม ระยะสั้ น แก กิ จ การที่ เ กี่ ย วข อ งกั น สิ น ค า คงเหลื อ - สุ ท ธิ ภาษี หั ก ณ ที่ จ า ย ภาษี มู ล ค า เพิ่ ม สิ น ทรั พ ย ห มุ น เวี ย นอื่ น รวมสิ น ทรั พ ย ห มุ น เวี ย น สิ น ทรั พ ย ไ ม ห มุ น เวี ย น เงิ น ลงทุ น : - หลั ก ทรั พ ย เ ผื่ อ ขาย - เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ย อ ย กิ จ การร ว มค า และบริ ษั ท ร ว ม - เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท อื่ น - เงิ น ลงทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ที่ ดิ น อาคารและอุ ป กรณ - สุ ท ธิ สิ น ทรั พ ย อื่ น : - สิ น ทรั พ ย ไ ม มี ตั ว ตน - สุ ท ธิ - ค า ความนิ ย มติ ด ลบ - สุ ท ธิ - สิ น ทรั พ ย ไ ม ห มุ น เวี ย นอื่ น รวมสิ น ทรั พ ย ไ ม ห มุ น เวี ย น รวมสิ น ทรั พ ย

Common Size (%)

31 ธั น วาคม พ.ศ. 2545

Common Size (%)

31 ธั น วาคม พ.ศ. 2544

Common Size (%)

1,883,185 2,752,641 3,537,953 5,510,171 727,158 1,113,611 1,176,625 468,046 17,169,390

2.17 3.17 4.08 6.35 0.84 1.28 1.36 0.54 19.79

3,135,696 4,482,279 21,210 6,897,931 781 1,184,275 680,153 895,507 1,331,246 18,629,078

3.37 4.82 0.02 7.42 0.01 1.27 0.73 0.97 1.43 20.04

2,684,256 4,576,450 177,337 5,689,657 2,646 1,113,378 508,497 352,958 1,779,100 16,884,279

3.10 5.29 0.21 6.58 0.01 1.29 0.59 0.41 2.05 19.53

3,623,336 75,571 53,874 63,018,960

4.18 0.09 0.06 72.64

4,009,108 75,572 53,874 66,870,643

4.31 0.08 0.06 71.92

1,036,273 4,492,129 52,322 54,294 64,032,659

1.20 5.19 0.06 0.06 74.05

1,887,057 931,873 69,590,671

2.17 1.07 80.21

1,771,042 1,567,935 74,348,174

1.90 1.69 79.96

804,300 (2,336,785) 1,452,822 69,588,014

0.93 (2.70) 1.68 80.47

86,760,061

100.00

92,977,252

100.00

86,472,293

100.00

773,216 2,434,231

0.89 2.81

721,933 2,244,583

0.78 2.40

2,740,023

3.17

หนี้ สิ น และส ว นของผู ถื อ หุ น หนี้ สิ น หมุ น เวี ย น เงิ น กู ยื ม ระยะสั้ น เจ า หนี้ ก ารค า ส ว นที่ ถึ ง กํ า หนดชํ า ระภายในหนึ่ ง ป ของเงิ น กู ยื ม ระยะยาว รายได รั บ ล ว งหน า ค า ใช จ า ยค า งจ า ย หนี้ สิ น หมุ น เวี ย นอื่ น รวมหนี้ สิ น หมุ น เวี ย น หนี้ สิ น ไม ห มุ น เวี ย น เงิ น กู ยื ม ระยะยาว เจ า หนี้ ก ารค า ระยะยาว หนี้ สิ น ไม ห มุ น เวี ย นอื่ น รวมหนี้ สิ น ไม ห มุ น เวี ย น

19,132,993 275,730 2,205,862 2,584,897 27,406,929

22.05 0.32 2.54 2.98 31.59

5,132,246 230,511 3,260,268 2,536,669 14,126,210

5.52 0.25 3.51 2.73 15.19

3,214,292 227,979 2,495,300 1,915,992 10,593,586

3.72 0.26 2.89 2.21 12.25

49,423,049 7,857,920 577,100 57,858,069

56.96 9.06 0.67 66.69

59,329,885 8,012,583 4,310,326 71,652,794

63.81 8.62 4.64 77.07

61,944,182 8,299,425 740,060 70,983,667

71.63 9.60 0.86 82.09

รวมหนี้ สิ น

85,264,998

98.28

85,779,004

92.26

81,577,253

94.34

ส ว นของผู ถื อ หุ น ทุ น เรื อ นหุ น ทุ น จดทะเบี ย น หุ น บุ ริ ม สิ ท ธิ หุ น สามั ญ หุ น ที่ อ อกและชํ าระเต็ ม มู ล ค า แล ว หุ น บุ ริ ม สิ ท ธิ หุ น สามั ญ ส ว นเกิ น มู ล ค า หุ น หุ น สามั ญ ส ว นลดมู ล ค า หุ น หุ น บุ ริ ม สิ ท ธิ หุ น สามั ญ ผลจากการแปลงค า งบการเงิ น กํ า ไร(ขาดทุ น )ที่ ยั ง ไม เ กิ ด ขึ้ น จากการเปลี่ ย นแปลง มู ล ค า ยุ ติ ธ รรมของหลั ก ทรั พ ย เ ผื่ อ ขาย กํ า ไร(ขาดทุ น )สะสม สํ ารองตามกฎหมาย ขาดทุ น สะสม รวมส ว นของผู ถื อ หุ น บริ ษั ท ใหญ ส ว นของผู ถื อ หุ น ส ว นน อ ยในบริ ษั ท ย อ ย รวมส ว นของผู ถื อ หุ น รวมหนี้ สิ น และส ว นของผู ถื อ หุ น

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

6,996,485 36,895,796

6,997,535 37,463,647

7,020,000 25,305,000

6,996,485 29,948,487

8.06 34.52

6,997,535 29,947,437

7.53 32.21

7,020,000 25,305,000

8.12 29.26

11,432,046

13.18

11,432,046

12.30

11,432,046

13.22

(1,493,460) (1,943,495) 104,344

(1.72) (2.24) 0.11

(1,493,683) (1,943,271) 104,344

(1.61) (2.09) 0.11

(1,498,478) (316,640) 104,344

(1.73) (0.37) 0.12

(2,713)

(0.01)

(4,703,366)

(5.44)

4,549

0.01

34,881 (44,005,657) 1,078,180 416,883 1,495,063

0.04 (50.72) 1.24 0.48 1.72

34,881 (38,331,553) 6,745,023 453,225 7,198,248

0.04 (41.23) 7.25 0.49 7.74

34,881 (32,937,104) 4,440,683 454,357 4,895,040

0.04 (38.09) 5.13 0.53 5.66

86,760,061

100.00

92,977,252

100.00

86,472,293

100.00

106


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชัน จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปส้ินสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546, พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2544 (หนวย : พันบาท)

รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น รายไดจากการขายสินคา รวมรายได คาใชจาย ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขาย รวมคาใชจาย กําไรขั้นตน คาใชจายในการขายและบริหาร กําไรจากการขายและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายอื่น กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน สวนแบงกําไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน กําไรจากการขายเงินลงทุน รายได(คาใชจาย)ที่ไมเกี่ยวกับการดําเนินงาน ขาดทุนกอนดอกเบี้ยจายและภาษี ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ขาดทุนกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได ขาดทุนกอนรายการพิเศษ รายการพิเศษ - กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ ขาดทุนกอนสวนของผูถือหุนสวนนอย ขาดทุนของผูถือหุนสวนนอย ขาดทุนสุทธิสําหรับงวด ขาดทุนตอหุนขั้นพื้นฐานและลดลงเต็มที่ ขาดทุนจากกิจกรรมตามปกติ รายการพิเศษ - กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ ขาดทุนสุทธิสําหรับป

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2546

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2545

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

Common Size (%)

27,001,000 948,950 27,949,950

96.60 3.40 100.00

24,214,524 1,568,462 25,782,986

93.92 6.08 100.00

20,117,764 518,678 20,636,442

97.49 2.51 100.00

20,203,343 1,001,422 21,204,765 6,745,185 6,468,524 276,661 343,251 (935,822) (315,910)

72.28 3.58 75.86 24.14 23.14 1.00 1.23 (3.35) (1.12)

17,651,533 1,758,073 19,409,606 6,373,380 6,171,230 202,150 245,620 (1,827,048) (1,379,278)

68.46 6.82 75.28 24.72 23.94 0.78 0.95 (7.09) (5.36)

14,241,482 684,642 14,926,124 5,710,318 4,816,156 894,162 280,134 (225,173) 949,123

69.01 3.32 72.33 27.67 23.34 4.33 1.36 (1.09) 4.60

(444,249) 3,989 (77,451) (833,621) 37,614 (4,480,538) (311,132) (5,587,677) (122,769) (5,710,446)

(1.59) 0.01 (0.28) (2.98) 0.13 (16.03) (1.11) (19.99) (0.44) (20.43)

1,844,460 (5,721,988) 943,248 3,196,229 (1,117,329) 54,299 (3,880,857) (403,466) (5,347,353) (143,683) (5,491,036)

7.15 (22.19) 3.66 12.40 (4.34) 0.21 (15.05) (1.56) (20.74) (0.56) (21.30)

(628,473) 320,650 42,418 (4,718,427) 954,874 (3,400,485) (68,933) (3,469,418)

(3.05) 1.55 0.20 (22.86) 4.63 (16.48) (0.33) (16.81)

(5,710,446) 36,342 (5,674,104)

(20.43) 0.13 (20.30)

95,454 (5,395,582) 1,133 (5,394,449)

0.37 (20.93) (20.93)

(3,469,418) 44,291 (3,425,127)

(16.81) 0.21 (16.60)

(2.13)

(2.37)

(1.81)

(2.13)

0.03 (2.34)

(1.81)

107


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชัน จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546, พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2544 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน ขาดทุนกอนสวนของผูถือหุนสวนนอย บวก ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได ขาดทุนกอนดอกเบี้ยและภาษีเงินได รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี (กําไร)ขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ หนี้สงสัยจะสูญ การดอยคาของเงินลงทุน การดอยคาของสินทรัพยถาวร ขาดทุนจากการลดลงของมูลคาของสินคาคงเหลือ สินทรัพยและหนี้สินในการดําเนินงานอื่นตัดจําหนาย กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย (กําไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้น กําไรจากการชําระคืนเงินกูยืม กําไรจากการยกหนี้ให สวนแบงขาดทุน(กําไร)ในบริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน - ลูกหนี้การคา - เงินลงทุนชั่วคราว-หลักทรัพยเพื่อคา - สินคาคงเหลือ - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - เจาหนี้การคา - คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น - หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น กระแสเงินสดไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน หัก : เงินสดจาย - ดอกเบี้ยจาย - ภาษีเงินไดจาย เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2545

31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

(5,710,446) 4,480,538 122,769 (1,107,139)

(5,395,582) 3,880,857 143,683 (1,371,042)

(3,469,418) 4,718,427 68,933 1,317,942

11,365,829 (54,540) 665,321 647,962 225,951 20,152 (3,982) 232,981 (5) 444,249

9,276,717 20,681 828,512 5,721,988 1,613,414 180,418 2,968 (943,249) 394,881 (3,291,683) (27) (1,844,460)

8,004,149 (101,751) 166,699 192,804 30,631 (13,996) (944,940) (348) 628,473

942,591 (304,175) 43,041 742,857 (9,052) 94,705 (2,255,887) (54,878) 11,635,981 (3,801,252) (759,221) 7,075,508

(2,352,324) (552,798) (112,838) (131,082) (373,585) 874,241 560,355 8,501,087 (3,538,548) (507,093) 4,455,446

61,699 (1,499,311) (590,372) (20,032) 524,364 1,535,615 (195) 9,291,431 (4,481,730) (330,670) 4,479,031

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับ(จาย)ในเงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินสด(จาย)รับในเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดจายซื้อกิจการรวมคา เงินสดจายซื้อเงินลงทุนระยะยาวในบริษัทอื่น เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

1,729,639 (3,207,193) (10,378,024) (181,277) 5,832 135,051 (11,895,972)

94,171 161,264 (402,162) (23,250) (8,753,438) (279,922) 83,262 (9,120,075)

(251,124) (82,811) 2,782,126 (100) (3,930,956) (33,881) 117,268 (1,399,478)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดรับจากการออกหุนสามัญ เงินสดรับจากการออกหุนกู เงินสดรับจากเงินกูยืม เงินสดจายชําระเจาหนี้การคาระยะยาว เงินสดจายคืนเงินกูยืม เงินสดสุทธิรับมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

27,868 3,291,942 7,863,189 (181,124) (7,433,922) 3,567,953

670,045 2,998,136 18,065,058 7,721,915 (677,547) (23,661,538) 5,116,069

5,265,405 (187,973) (6,527,350) (1,449,918)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง)สุทธิ ยอดคงเหลือตนป ยอดคงเหลือสิ้นป

(1,252,511) 3,135,696 1,883,185

451,440 2,684,256 3,135,696

1,629,635 1,054,621 2,684,256

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

108


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.3 อัตราสวนทางการเงิน อัตราสวนทางการเงิน บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 2546

2545

2544

อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios) อัตราสวนสภาพคลอง เทา 0.63 1.31 1.59 อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว เทา 0.50 1.03 1.31 อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด เทา 0.34 0.31 0.54 อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา เทา 4.51 4.01 3.58 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย วัน 79.91 89.68 100.50 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย* วัน 49.80 47.82 41.19 *ไมนับรวมลูกหนี้องคการโทรศัพทซึ่งลูกคาไดชําระแลวแตบริษัทยังไมไดรับสวนแบงรายไดจากองคการฯ และลูกหนี้กับบริษัทที่เกี่ยวของกัน อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ เทา 19.12 16.65 14.85 ระยะเวลาหมุนเวียนของสินคาคงเหลือเฉลี่ย วัน 18.83 21.63 24.24 อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้การคา เทา 8.97 7.67 6.68 ระยะเวลาชําระหนี้ วัน 40.12 46.92 53.91 Cash Cycle วัน 58.61 64.39 70.84 อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratios) อัตรากําไรขั้นตน อัตรากําไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผูถือหุน

% % %

30.53% -20.30% -130.54%

24.70% -20.93% -89.21%

28.23% -16.60% -50.66%

อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency Ratios) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร อัตราการหมุนของสินทรัพย

% % เทา

-6.31% 7.61% 0.31

-6.00% 5.43% 0.29

-3.92% 6.57% 0.24

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

109


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 2546

2545

2544

อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratios) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) อัตราเงินปนผล

เทา เทา เทา %

51.11 2.61 0.48 -

10.17 2.18 0.33 -

15.01 1.96 0.79 -

ขอมูลตอหุน (Per Share Analysis) มูลคาตามบัญชีตอหุน กําไรสุทธิตอหุน เงินปนผลตอหุน

บาท บาท บาท

0.40 (2.13) -

1.95 (2.34) -

1.51 (1.81) -

อัตราการเติบโต (Growth Ratios) สินทรัพยรวม หนี้สินรวม รายไดจากการขายหรือบริการ คาใชจายดําเนินงาน กําไรสุทธิ

% % % % %

-6.69% -0.60% 8.40% 8.70% -5.18%

7.83% 5.48% 24.90% 28.82% -57.50%

-2.16% 2.28% 6.44% 11.72% -3.54%

หมายเหตุ : 1/ การปรับปรุงตอไปนี้ สงผลกระทบตออัตราสวนทางการเงิน ในป 2543 - 2544 ซึ่งไดเปดเผยไปแลว - คาใชจา ยในการขาย บริหารและทั่วไปรวมสําหรับป 2544 ไดถูกปรับปรุงเพิ่มขึ้น 9 ลานบาท จากที่เคยเปดเผย เนื่องจากมีการปรับปรุงรายการบัญชี - คาเชาวงจรและคาเชาทอรอยสาย (ซึ่งจัดเปนตนทุนบริการ)สําหรับป 2544 ไดถูกปรับลดจํานวน 114 ลานบาทจากจํานวนที่รายงานโดยผูตรวจสอบบัญชี ซึง่ เปนการปรับลดลงนอยกวาที่ไดเปดเผยไวเดิมจํานวน 43 ลานบาท เนื่องจากไดมีการประเมินใหมรวมกับ ทศท. - การจัดกลุม รายการทางบัญชีใหมระหวางรายการลูกหนี้การคากับเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน และเจาหนี้การคากับเจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของ กันในป 2544 - อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ และอัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้การคา สําหรับป 2543-2544 แตกตางจากที่ไดเปดเผยไวแลว เนือ่ งจากบริษัทไดปรับเปลี่ยนวิธีการคํานวณโดยรวมตนทุนบริการ ซึ่งทําให สัดสวนของระยะเวลาหมุนเวียนสินคาคงเหลือ ระยะเวลาชําระหนี้ รวมทั้ง Cash Cycle ไดถูกปรับตามไปดวย 2/ บริษทั พิจารณาผลการดําเนินงานและสัดสวนทางการเงินโดยไมรวมรายการพิเศษตางๆ ดังตอไปนี้ - การบันทึกเพิม่ คาเชาวงจรและคาเชาทอรอยสาย จํานวน 286 ลานบาทในป 2545 และจํานวน 114 ลานบาท ในป 2544 และการบันทึกลดคาใชจายดังกลาวจํานวน 685 ลานบาท ในป 2543 เพื่อปรับปรุงเพิ่ม (ลด) จํานวนสําหรับงวดบัญชีกอน ที่มีการตั้งคางจาย ตํ่าไป (สูงไป) - คาใชจายเกี่ยวกับพนักงานในป 2545 จํานวน 33 ลานบาท 3/ คาเสือ่ มราคาและคาใชจา ยตัดจายสําหรับงวดประจําป 2546 ไมรวม คาตัดจายตนทุนในการไดมาของผูใชบริการ PCT เนื่องจากการยกเลิกการใชงาน จํานวน 215 ลานบาท สําหรับงบการเงินรวม

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

110


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.4 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานโดยรวม บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด(มหาชน) หรือทีเอ มีผลการดําเนินงาน สําหรับป 2546 ทีส่ ะทอนถึงกลยุทธของบริษัทในการกระจายการลงทุนไปยังธุรกิจใหมที่มีอัตราการ เติบโตสูง ในขณะเดียวกัน ไดมีการมุงเนนการลดตนทุน ควบคุมคาใชจายตางๆ และเพิ่มอัตราการ ทํากําไร ซึ่งชี้ใหเห็นวาหากบริษัทดําเนินงานตามกลยุทธที่ไดวางไวตอเนื่อง รวมทั้งมุงเนนในการตอบ สนองความตองการของลูกคา และปรับเปลี่ยนวิถีการทํางาน ภายใตแบรนดใหม “ทรู” ทีเอก็จะสามารถ เติบโตอยางรวดเร็วไดในอนาคต ในป 2546 ธุรกิจโทรศัพทพนื้ ฐานและโครงขายขอมูลดิจติ อล (Digital Data Network – DDN) ยังคงสรางกระแสเงินสดไดอยางแข็งแกรง นับเปนรากฐานทีส่ าคั ํ ญสําหรับการลดภาระหนีส้ นิ ของบริษทั รวมถึงการลงทุนในธุรกิจใหมๆ ที่จะทําใหบริษัทยังคงเติบโตไดอยางตอเนื่อง รายไดจากบริการเสริมเพิ่ม ขึ้นในอัตรารอยละ 33.3 ในขณะที่ธุรกิจโครงขายขอมูล ธุรกิจอินเตอรเน็ต และธุรกิจอินเตอรเน็ต ความเร็วสูง (Broadband) ยังคงเติบโตอยางรวดเร็ว ดวยรายไดที่เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 16.6 เปน จํานวน 2.8 พันลานบาท และมีจํานวนผูใชบริการอินเตอรเน็ตเพิ่มเกือบเทาตัว จํานวนผูใชบริการ อินเตอรเน็ตความเร็วสูงเพิ่มขึ้นมากกวาสองเทาตัว และจํานวนผูใชบริการ ADSL เพิ่มขึ้นเกือบสาม เทาตัวในปนี้ ทําใหรายไดรวมของกลุมธุรกิจนี้ มีสัดสวนเปนรอยละ 12.1 ของรายไดรวมของบริษัท และบริษัทยอย (ไมรวม ทีเอ ออเรนจ) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากรอยละ 10.4 ในป 2545 หากไมนับรวมทีเอ ออเรนจ รายไดรวมของบริษัทจะคอนขางคงที่ ณ ระดับ 23 พันลานบาท ทั้งนี้ เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของรายไดจากบริการเสริมตางๆ และจากกลุมธุรกิจอินเตอรเน็ต และธุรกิจอินเตอรเน็ตความเร็วสูง ไดชดเชยการลดลงของรายไดจากธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานพกพาพีซีที ธุรกิจโครงขายขอมูล และธุรกิจอื่น ซึ่งไมใชธุรกิจหลัก อยางไรก็ตาม บริษัทสามารถเพิ่มอัตราการ ทํากําไร หรือ EBITDA Margin (อัตราการทํากําไรจากการดําเนินงาน กอนดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาใชจายตัดจาย) เปนอัตรารอยละ 52.0 (ไมรวมทีเอ ออเรนจ) ในป 2546 ทั้งนี้เนื่องจากคาใชจาย ลดลง นอกจากนั้นบริษัทยังไดดําเนินการปรับปรุงงบดุลของบริษัทในหลายๆ ประการ รายไดโดยรวมของบริษัทและบริษัทยอยมีจํานวนรวมทั้งสิ้น 28 พันลานบาท เพิ่มขึ้น ในอัตรารอยละ 8.4 โดยรวมรายไดจากทีเอ ออเรนจจํานวนประมาณ 5.1 พันลานบาท (ตามสัดสวน การลงทุนของบริษัท) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป 2545 ในอัตรารอยละ 74.4 ทีเอ ออเรนจ มีผลการดําเนินงาน คุมทุน ณ ระดับ EBITDA เปนครั้งแรกในเดือนกันยายน 2546 และมีกําไร ณ ระดับ EBITDA จํานวน 107 ลานบาท (ตามสัดสวนการลงทุนของบริษัท) ในไตรมาสที่ 4 ทําให EBITDA รวมทีเอ ออเรนจ ใน ป 2546 เพิ่มขึ้นอัตรารอยละ 18.8 เปน 11.6 พันลานบาท แตหากไมรวม ทีเอ ออเรนจ EBITDA เพิ่ม TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

111


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ขึน้ ในอัตรารอยละ 1.4 เปน 11.9 พันลานบาท ทั้งนี้จากความสําเร็จในการควบคุมคาใชจาย อยางไรก็ ตาม บริษัทยังคงมีผลขาดทุนจากการดําเนินงาน กอนรายการพิเศษ (รายการที่ไมเกี่ยวของกับการ ดําเนินงานโดยตรง) จํานวน 1.5 พันลานบาท (ไมรวมทีเอ ออเรนจ) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป 2545 จํานวน 446 ลานบาท เนื่องจากคาเสื่อมราคาเพิ่มขึ้น ในปขางหนา บริษัทจะยังคงมุงมั่นพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินงานอยางตอเนื่อง เรากําลังมีการเปลี่ยนแปลงไปสูแบรนดใหมในระยะเวลาอันใกลนี้ ธุรกิจใหมๆ ที่ทีเอเปนผูนําตลาด เชน อินเตอรเน็ตความเร็วสูง กํ าลังเติบโตอยางรวดเร็ว และดวยขอไดเปรียบจากการเปนผูให บริการ โทรคมนาคมที่ครบวงจรทั้งผานสายและไรสายเหลานี้ จะทําใหบริษัทสามารถเติบโตได อยางแข็งแกรงในอนาคต ทีเอ ออเรนจ มีผลการดําเนินงานคุมทุน ณ ระดับ EBITDA เปนครั้งแรกในเดือน กันยายน 2546 หลังจากเปดใหบริการมาแลว 18 เดือน และมีกําไร ณ ระดับ EBITDA จํานวน 107 ลานบาท (ตามสัดสวนการลงทุนของบริษัท) ในไตรมาสที่ 4 โดยมีจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เพิ่มขึ้นจํานวน 488,762 ราย หรือเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 36.6 เปน 1.8 ลานรายในป 2546 ซึ่งเปน อัตราการเติบโตที่สูงกวาอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยของธุรกิจ ที่ระดับอัตรารอยละ 26 ถึงแมบริษัทจะมีการเรียกเก็บคาบริการติดตั้งสําหรับเลขหมายใหมในชวงตนป 2546 และมีการเรงรัดขั้นตอนการยกเลิกเลขหมายใหเร็วขึ้น เพื่อนําเลขหมายที่วางมาใหบริการตอไป บริษัท ยังคงรักษาสวนแบงตลาดสํ าหรับธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลไวไดที่อัตรา รอยละ 56 ในป 2546 บริษัทคาดวาจํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานจะมีอัตราเพิ่มขึ้นในอัตราที่ไม สูงมากนัก ทั้งนี้เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของความตองการใชบริการจากกลุมลูกคาธุรกิจรายยอยและ บริษัทใหญๆ รวมทั้งผูใชบริการประเภทที่อยูอาศัยซึ่งตองการมีเลขหมายโทรศัพทสํารองไวเปนเบอร ที่สองสําหรับการใชเชื่อมตอบริการอินเตอรเน็ต ณ วันที่ 1 กันยายน 2546 บรรดาผูใหบริการโทรคมนาคมไดจัดโปรแกรมสงเสริม การขายรวมกัน ดวยอัตราคาบริการของโทรศัพทพื้นฐานที่ถูกลงกวาเดิม โดยไดรับการอนุมัติจาก กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตอมา ในชวงตนป 2547 ผูใหบริการไดรับอนุมัติใหมี การทดลองใชอัตราคาบริการใหมแบบ Flexible Tariff เปนเวลา 6 เดือน ซึ่งอัตราคาบริการใหมนี้จะ ไมสูงเกินกวาเพดานอัตราคาบริการในรายการสงเสริมการขายแบบแรก นับเปนกาวแรกที่จะนําไปสู การแขงขันระหวางผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ที่อยูบนพื้นฐานที่ใกล เคียงกันและนับเปนการเพิ่มขีดความสามารถใหแกผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

112


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผลประกอบการของบริษัทและบริษัทยอย บริษัทไดนําเสนอและวิเคราะหผลประกอบการบนพื้นฐานของผลการดําเนินงานปกติ ไมนับรวมผลกระทบจากรายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานโดยตรง โดยเชื่อวาสามารถสรางความ เขาใจใหแกผูอานไดดีกวา รวมทั้งสามารถสะทอนการเปลี่ยนแปลงของผลการดําเนินงานไดชัดเจนกวา บริษัทไดเปดเผยรายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานโดยตรงในตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัท และบริษัทยอย (ปรับปรุง) ตั้งแตไตรมาสที่ 4 ป 2544 บริษัทไดจัดทํางบการเงินรวม โดยรวมรายการ บัญชีตางๆ ของทีเอ ออเรนจ ตามสัดสวนของเงินลงทุน ในป 2546 ผลการดําเนินงานของทีเอ ออเรนจ มีผลอยางมีนัยสําคัญตอผลประกอบการของบริษัทและบริษัทยอย ดังนั้น ในการวิเคราะหใน บางกรณี บริษัทอาจจะพิจารณาผลการดําเนินงานกอนการรวมทีเอ ออเรนจ ประกอบดวย ทั้งนี้เพื่อ สามารถแสดงแนวโนมของผลประกอบการของธุรกิจหลักอื่นๆ ไดชัดเจนขึ้น • รายไดรวมของบริษัทและบริษัทยอย ในป 2546 เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 8.4 เปน 28 พันลานบาท สวนใหญมาจากการเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 74.4 ของรายได จากทีเอ ออเรนจ (จํานวน 5.1 พันลานบาทในป 2546 เทียบกับจํานวน 2.9 พันลานบาทในป 2545) หากไมรวมทีเอ ออเรนจ รายไดจะคอนขางคงที่ ณ ระดับ 23 พั น ล า นบาท ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากการเพิ่มขึ้ นของรายไดจากธุรกิ จ บริการเสริ ม กลุมธุรกิจบริการอินเตอรเน็ตและอินเตอรเน็ตความเร็วสูง ชดเชยการลดลงของ รายไดจากธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานพกพาพีซีที ธุรกิจบริการโครงขายขอมูล และ ธุรกิจอื่น ซึ่งไมใชธุรกิจหลัก รายไดจากธุรกิจโทรศัพทพนื้ ฐานเพิม่ ขึน้ ในอัตรารอยละ 4.8 เปน 16.9 พันลานบาท สวนใหญมาจากบริการโทรศัพทสาธารณะและบริการเสริมอื่นๆ ในขณะที่รายได เฉพาะบริการโทรศัพทพื้นฐาน (ไมรวมบริการเสริม)คอนขางคงที่ ณ ระดับ 13.6 พันลานบาท อยางไรก็ตาม รายไดจากบริการโทรศัพทสาธารณะเพิ่มขึ้นในอัตรา รอยละ 18.8 เปน 2.1 พันลานบาท กลุมธุรกิจบริการโครงขายขอมูล, อินเตอรเน็ต และอินเตอรเน็ตความเร็วสูง มีการ เติบโตสูงอยางตอเนื่อง โดยรายไดโดยรวมของกลุมธุรกิจนี้ เพิ่มขึ้นรอยละ 16.6 เปน 2.8 พันลานบาท สวนใหญมาจากรายไดจากบริการอินเทอรเน็ตที่เพิ่มสูงขึ้น ถึงอัตรารอยละ 138.0 เปนจํานวน 471 ลานบาท และรายไดจากบริการ มัลติมีเดีย ที่เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 16.4 เปน 1.1 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญเปน ผลจากการใหบริการดานการจัดการโครงขายขอมูลและการใหบริการโครงขาย Broadband ซึ่งชดเชยรายไดที่ลดลงเล็กนอยในอัตรารอยละ 3.0 ของธุรกิจ การใหบริการโครงขายขอมูลเปน 1.2 พันลานบาท ทั้งนี้เนื่องจาก ทีเอ ออเรนจ

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

113


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ไดขยายเครือขายของตัวเอง และไดยกเลิกการเชาโครงขายของบริษัทบางสวนเพื่อ ลดคาใชจาย รายไดจากธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานพกพาพีซีที ลดลงในอัตรารอยละ 29.2 เปน 2.1 พันลานบาท สาเหตุจากจํานวนผูใ ชบริการและรายไดเฉลีย่ ตอเครือ่ งของพีซที ลี ดลง • คาใชจายในการดําเนินงานของบริษัทและบริษัทยอยโดยรวม ตามงบการเงินมี จํานวน 27.7 พันลานบาทในป 2546 เมื่อเทียบกับ 25.6 พันลานบาทของป 2545 ถาไมรวมรายการตัดจายตนทุนในการไดมาของลูกคา PCT จํานวน 215 ลานบาท คาใชจา ยในการดําเนินงาน(ปรับปรุง) ในป 2546 จะมีจานวนทั ํ ง้ สิน้ 27.5 พันลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 8.7 เมื่อเทียบกับป 2545 ซึ่งสวนใหญเปนการเพิ่มขึ้น ของคาเสือ่ มราคา ในขณะทีค่ า ใชจา ยเฉพาะรายการเงินสดเพิม่ ขึน้ เพียงอัตรารอยละ 2.0 สวนใหญเนือ่ งจากสวนแบงรายไดเพิม่ ขึน้ การทีค่ า ใชจา ยเฉพาะรายการเงินสด เพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย มีสาเหตุมาจาก ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน และโครงขายขอมูล สามารถลดคาใชจายลงไดรอยละ 4.8 และทีเอ ออเรนจประสบความสําเร็จในการ ควบคุมคาใชจายของบริษัทในครึ่งปหลัง คาใชจายในการดําเนินงานหลัก (คาใชจายเฉพาะเงินสด หักสวนแบงรายไดและ ตนทุนขาย) ลดลงอัตรารอยละ 0.8 เปน 9.9 พันลานบาท สวนใหญเนื่องมาจาก การลดลงของคาใชจายเกี่ยวกับโครงขาย และตนทุนโดยตรงของการใหบริการ ทําใหอัตราสวนของคาใชจายในการดําเนินงานหลักเมื่อเทียบกับรายไดรวมลดลง เปนรอยละ 35.3 ในป 2546 จาก รอยละ 38.5 ในป2545 ซึ่งนับเปนความสําเร็จ ในนโยบายเนนการควบคุมคาใชจายของทั้งบริษัททีเอ และทีเอ ออเรนจ • กําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดจาย (EBITDA) โดยรวมของบริษัทและบริษัทยอย เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 18.8 เปน 11.6 พันลานบาท โดย EBITDA Margin เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 41.7 สวนใหญเปน ผลจากผลประกอบการที่ดีขึ้นของ ทีเอ ออเรนจ หากไมรวม ทีเอ ออเรนจ EBITDA มีจานวนเพิ ํ ่มขึ้นรอยละ 1.4 เปน 11.9 พันลานบาท เนื่องจากอัตราการ ทํากําไร (EBITDA Margin) เพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 52.0 โดยเปนผลสวนใหญ จากการที่ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานและธุรกิจโครงขายขอมูลบริการ ซึ่งมีรายไดที่ คอนขางคงที่ แตสามารถเพิม่ EBITDA ไดในอัตรารอยละ 5.7 เปน 10.1 พันลานบาท ในป 2546 เนื่องจากการลดคาใชจาย

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

114


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย (ปรับปรุง) (ยังไมไดตรวจสอบ) (หนวยลานบาทยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น) รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น รายไดจากการขายสินคา รวมรายได คาใชจายในการดําเนินงาน ตนทุนการใหบริการ คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี สวนแบงรายได คาใชจายเกี่ยวกับโครงขาย ตนทุนขายสินคา คาใชจายในการขายและบริหาร รวมคาใชจายในการดําเนินงาน กําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคา และรายจายตัดบัญชี (EBITDA) คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติ สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและสวนแบงกําไร(ขาดทุน) ในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม รายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติ กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ รายการปรับปรุงทางบัญชี-คาใชจายเกี่ยวกับโครงขาย รายการปรับปรุง-คาชดเชยใหแกพนักงาน การตัดจายตนทุนในการไดมาของผูใชบริการ PCT (คาใชจาย)รายไดอื่น กําไรจากการชําระหนี้ตามสัญญาตั๋วเงินจาย ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน ขาดทุนจากการดอยคาของโครงขายอัจฉริยะ กําไรจากการขายเงินลงทุน กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไร(ขาดทุน)กอนสวนของผูถือหุนสวนนอย (กําไร)ขาดทุนของผูถือหุนสวนนอย กําไร(ขาดทุน)สุทธิสําหรับป งบดุล สินทรัพยหมุนเวียน ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยรวม หนี้สินหมุนเวียน เงินกูระยะยาว หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน งบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน ยอดเงินคงเหลือสิ้นงวด

สําหรับป 2546

สําหรับป 2545

%เปลี่ยนแปลง สําหรับป 2546/ สําหรับป 2545

27,001 949 27,950

24,215 1,568 25,783

11.5 (39.5) 8.4

19,989 10,123 5,452 4,414 1,001 6,469 27,459 11,642 11,151 491 38 (4,481) (123) (4,074) (444)

17,366 8,772 4,290 4,303 1,758 6,138 25,262 9,798 9,277 521 54 (3,881) (144) (3,449) 1,844

15.1 15.4 27.1 2.6 (43.0) 5.4 8.7 18.8 20.2 (5.8) (30.7) 15.5 (14.6) (18.1) NM

(4,519) (1,192) (311) (215) (670) 4 (5,710) 36 (5,674)

(1,605) (3,791) (403) (286) (33) 89 3,088 (5,722) (1,562) 943 95 (5,396) 1 (5,395)

(181.6) 68.6 22.9 100.0 100.0 NM NM (100.0) 100.0 100.0 (99.6) (100.0) (5.8) 3,598.9 (5.2)

17,169 63,019 86,760 27,407 49,423 85,265 1,495

18,629 66,871 92,977 14,126 59,330 85,779 7,198

(7.8) (5.8) (6.7) 94.0 (16.7) (0.6) (79.2)

7,076 (11,896) 3,568 1,883

4,455 (9,120) 5,116 3,136

58.8 (30.4) (30.3) (39.9)

หมายเหตุ : 1/ มีการจัดประเภทบัญชีใหมบางรายการเพื่อการเปรียบเทียบ ซึ่งจะทําใหงบการเงินประจําป 2545 แตกตางจากที่ไดเคยเปดเผย ไวแลวเล็กนอย สําหรับรายได คาใชจายในการขายและบริหาร ดอกเบี้ยจาย และรายได(คาใชจาย)อื่น 2/ คาใชจายในการดําเนินงานสําหรับป 2545 ไมรวมรายการพิเศษตางๆ ดังนี้ - การบันทึกคาเชาวงจรและคาเชาทอรอยสาย สําหรับงวดบัญชีกอน จํานวน 286 ลานบาท ภายหลังการทบทวนกับ ทศท. - คาใชจายใหพนักงานครั้งเดียวจํานวน 33 ลานบาท 3/ คาเสือ่ มราคาและคาใชจายตัดจายสําหรับป 2546 ไมรวมคาตัดจายตนทุนในการไดมาของผูใชบริการ PCT เนื่องจากการ ยกเลิกการใชงาน จํานวน 215 ลานบาท 4/ คาใชจายอื่นประจําป 2546 สวนใหญประกอบดวย การดอยคาของระบบ VMS (294 ลานบาท) สํารองเผื่อการดอยคาของระบบจัดการ ใบแจงหนี้ระบบเกา (283 ลานบาท) และขาดทุนจากมูลคาสินคาคงเหลือลดลง (226 ลานบาท)

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

115


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• คาเสือ่ มราคา และคาใชจายตัดจายเพิม่ ขึน้ 1.9 พันลานบาท (จํานวน 11.2 พันลานบาท ในป 2546 เปรียบเทียบกับจํานวน 9.3 พันลานบาทในป 2545) โดยเปนคาเสื่อมราคาและ คาใชจายตัดจายจากทีเอ ออเรนจ เพิ่มขึ้นจํานวน 1.3 พันลานบาท เปน 1.9 พันลานบาท ในป 2546 อันเปนผลจากการที่ ทีเอ ออเรนจ มีฐานลูกคาที่มากขึ้น • กําไรจากการดําเนินงานลดลงเปน 491 ลานบาทในป 2546 (เปรียบเทียบกับป 2545 จํานวน 521 ลานบาท) เนื่องจากคาเสื่อมราคาเพิ่มขึ้น • ดอกเบี้ยจายโดยรวมเพิ่มขึ้น 600 ลานบาท เปนจํานวน 4.5 พันลานบาทในป 2546 อันเปนผลจากทีเอ ออเรนจ มีการกูยืมมากขึ้น นอกจากนั้นมาจากอัตราดอกเบี้ยของหนี้สิน สกุลบาท สูงกวาอัตราดอกเบี้ยของหนี้สินสกุลเหรียญดอลลารสหรัฐ ซึ่งที่ผานมาบริษัทได ออกหุนกูใหม และกูยืมเงินบาท เพื่อชํ าระคืนเงินกูสกุลเหรียญดอลลารสหรัฐฯที่เหลือ ทั้งหมด • สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ในบริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม ในป 2546 เปนสวน แบงในผลขาดทุนจํานวน 444 ลานบาท สวนใหญมาจากบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) หรือ UBC และเปนสวนแบงในผลกําไรจํานวน 1.8 พันลานบาท ในป 2545 ซึ่งประกอบดวย สวนแบงในผลขาดทุนจาก UBC จํานวน 483 ลานบาท และ กําไรจากคาตัดจําหนายความนิยมจาก ทีเอ ออเรนจ สุทธิจํานวน 2.3 พันลานบาท บริษัท ลงทุนใน ทีเอ ออเรนจ โดยมีสวนลดมูลคาตามบัญชี จํานวน 2.6 พันลานบาท สวนลดนี้ ไดบันทึกในบัญชีคาความนิยมติดลบ และรับรูเปนกําไรเมื่อมีการตัดจําหนาย • ผลขาดทุนจากการดําเนินงานปกติโดยรวมในป 2546 เพิ่มขึ้นเปน 4.5 พันลานบาท เปรียบเทียบกับผลขาดทุนจํานวน 1.6 พันลานบาทในป 2545 โดยสวนใหญเนื่องจากไมมี กําไรจากการตัดจายคาความนิยมติดลบ (ซึ่งบันทึกในบัญชี สวนแบงกําไร (ขาดทุน) จาก เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมจํานวน 2.3 พันลานบาท ในป 2545) ประกอบกับ ดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้น 600 ลานบาท และคาเสื่อมราคาเพิ่มขึ้น 1.9 พันลานบาท • ผลขาดทุนสุทธิในป 2546 มีจานวน ํ 5.7 พันลานบาท เทียบกับขาดทุนจํานวน 5.4 พันลาน บาทในป 2545 การขาดทุนสุทธิในป 2546 รวมรายการพิเศษ (รายการที่ไมไดเกี่ยวของกับ การดําเนินงานโดยตรง) จํานวน 1.2 พันลานบาท หากไมรวม ทีเอ ออเรจน ผลการขาด ทุนสุทธิในป 2546 จะมีจํานวน 2.8 พันลานบาท ซึ่งลดลงอยางมากเมื่อเปรียบเทียบกับผล ขาดทุนสุทธิ 4.9 พันลานบาทในป 2545 ความแตกตางนี้มีสาเหตุหลักมาจาก มีผลขาดทุน จากรายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติลดลง TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

116


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• รายการทีไ่ มเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติในป 2546 ประกอบดวย คาใชจายอื่นๆ (จํานวน 936 ลานบาท) สวนใหญเปนการดอยคาของทรัพยสินถาวร (648 ลานบาท) และ ขาดทุนจากการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ (226 ลานบาท) การตัดจายตนทุนในการได มาของลูกคาบริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา พีซีที (215 ลานบาท) ขาดทุนจากอัตรา แลกเปลีย่ นจากการออนตัวลงของคาเงินบาทเมือ่ เปรียบเทียบกับคาเงินสกุลเยน (311 ลานบาท) และรายไดอื่น ( 343 ลานบาท) รายการพิเศษทีไ่ มเกีย่ วของกับการดําเนินงานปกติในป 2545 มีจานวนทั ํ ง้ สิน้ 3.8 พันลานบาท สวนใหญเกิดจากการดอยคาของเงินลงทุนใน FLAG (จํานวน 5.7 พันลานบาท) คาใชจาย อืน่ ๆ (สวนใหญเปนการดอยคาของโครงขายอัจฉริยะ หรือ IN จํานวน 1.6 พันลานบาท) และขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ (403 ลานบาท) ซึ่งบางสวนไดถูก ชดเชยดวยกําไรจากการชําระหนี้สินตามสัญญาตั๋วเงินจาย (3.1 พันลานบาท) และกําไร จากการขายเงินลงทุน (จากการยกเลิกสัญญาการจําหนายหุน FLAG ลวงหนาภายใต SAILS Contracts จํานวน 943 ลานบาท) ผลการดําเนินงานตามธุรกิจหลัก ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน • ในป 2546 รายไดจากธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริมเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 4.8 เปน 16.9 พันลานบาท เทียบกับป 2545 ที่มีรายได 16.1 พันลานบาท รายไดจากเฉพาะบริการโทรศัพทพื้น ฐานลดลงเล็กนอยในอัตรารอยละ 0.3 เปน 13.6 พันลานบาท เทียบกับรายได 13.7 พันลานบาทใน ป 2545 • รายไดจากบริการโทรศัพทสาธารณะเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 18.8 เปน 2.1 พันลานบาทในปนี้ เทียบกับรายได 1.8 พันลานบาทในปที่แลว ทั้งนี้เปนผลจากประสิทธิภาพในการดําเนินการจัดการที่ ดีขึ้น • จํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานลดลง 58,328 เลขหมาย หรือในอัตรารอยละ 2.9 เปน 1,962,074 เลขหมาย ทัง้ นีเ้ ปนผลจากการเรียกเก็บคาติดตัง้ อีกครัง้ ในชวงตนป 2546 และการเรงรัด ขัน้ ตอนการยกเลิกเลขหมายใหเร็วขึ้น เพื่อนําเลขหมายที่วางมาใชประโยชนตอไป แตอยางไรก็ ตาม บริษัทยังคงรักษาตําแหนงผูนําทางการตลาดในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล โดยบริษัทมีสวน แบงการตลาดรอยละ 56 ณ เดือนตุลาคม 2546

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

117


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• การลดลงของรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน (ARPU) ของโทรศัพทพื้นฐานเริ่มชะลอตัวลง โดย ลดลงในอัตรารอยละ 5.3 (เปน 542 บาทตอเลขหมายตอเดือนในป 2546 จาก 572 บาทตอ เลขหมายตอเดือนในป 2545) เปรียบเทียบกับการลดลงในอัตรารอยละ 9.6 ในป 2545 • กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดอนุมัติใหผูประกอบการโทรศัพทพื้นฐานสามารถ ลดอัตราคาบริการ ในรูปแบบการจัดรายการสงเสริมการขาย ซึ่งนับเปนกาวแรกในการทําใหการ แขงขันระหวางผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานอยูบนพื้นฐานที่ใกล เคียงกัน และนับเปนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหแกผูประกอบการโทรศัพทพื้นฐาน และเริ่มตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2546 ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ไดจัดรายการสงเสริมการขาย รวมกัน โดยมีอัตราคาบริการ แบงเปน 2 รูปแบบ เพื่อใหลูกคาไดเลือกใชบริการ แบบที่ 1 อัตรา คาโทรทางไกลภายในประเทศสําหรับอัตราสูงสุด ลดลงรอยละ 50 จาก 18 บาท เปน 9 บาทตอนาที สําหรับการโทรออกไปยังโทรศัพทพนื้ ฐานดวยกัน และอัตราคาบริการโทรศัพทไปยังโทรศัพทเคลือ่ นที่ ลดลงจากอัตราสูงสุด 12 บาท เปน 6 บาท ตอนาที แบบที่ 2 อัตราคาโทรทางไกลทั่วประเทศจะมี อัตราเดียว 3 บาทตอนาที สําหรับการโทรทั้งสองประเภทที่กลาวแลว โดยคาเชาบริการรายเดือน จะเพิ่มขึ้นจากอัตรา 100 บาท เปน 200 บาท • ในวันที่ 16 มกราคม ป 2547 บริษัทไดเปดใหมีการทดลองใชอัตราคาบริการใหมแบบ Flexible Tariff เปนเวลา 6 เดือน โดยไดรับอนุมัติจากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให ออกโปรแกรมการสงเสริมการขายใหม ซึ่งมีอัตราคาบริการใหลูกคาไดเลือกถึง 6 แบบ ตามการใช งานของลูกคา ตั้งแตอัตราคาบริการนาทีละ 1.5 - 2.75 บาท ถึงแมบริษัทจะยังไมไดรับผลดีใน ดานรายไดในป 2546 แตบริษัทสามารถเรียนรูตลาดไดมากขึ้น และในป 2547 บริษัทมีแผนที่จะ กระตุนการรับรูของตลาดใหมากขึ้น เพื่อเพิ่มจํานวนลูกคาที่สมัครใชงานตามอัตราใหม ซึง่ คาดวาจะ สงผลดีตอบริษัท ธุรกิจโทรศัพทไรสาย ธุรกิจโทรศัพทพกพาพีซีที • รายไดจากธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานพกพา พีซีที ลดลงในอัตรารอยละ 29.2 เปน 2.0 พันลานบาท สําหรับป 2546 (เทียบกับรายได 3.0 พันลานบาทในป 2545) • จํานวนผูใ ชบริการพีซที ลี ดลงในอัตรารอยละ 9.1 ในป 2546 เปน 549,295 ราย จากเดิม 604,340 รายในป 2545 สาเหตุสวนใหญมาจากการแขงขันที่รุนแรงขึ้นของธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยราย ไดเฉลี่ยตอเครื่องของพีซีทีลดลงในอัตรารอยละ 22.1 จาก 361 บาทตอเครื่องตอเดือนในป 2545 เปน 282 บาทตอเครื่องตอเดือนในป 2546

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

118


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• ในป 2546 บริษัทยังคงมุงเนนการรักษาลูกคา การเพิ่มกิจกรรมทางการตลาด และปรับปรุงคุณภาพ ของโครงขาย รวมทั้งเปดใหบริการใหมๆ เพื่อเพิ่มรายได (VPN, Wireless Internet, IR service) รวมทัง้ กําลังอยูในขั้นตอนการเจรจากับเจาหนี้เพื่อลดจํานวนหนี้สิน ทีเอ ออเรนจ • ยอดผูใ ชบริการรวมเพิม่ ขึน้ 488,762 ราย หรือเพิม่ ขึน้ อัตรารอยละ 36.6 ในป2546 เปน 1.8 ลานราย จาก 1.3 ลานรายในป 2545 • รายไดเฉลีย่ ตอเครือ่ งตอเดือนของ ทีเอ ออเรนจ ลดลงเล็กนอยจาก 495 บาทในป 2545 เปน 484 บาท ในป 2546 • ทีเอ ออเรนจ มีผลประกอบการถึงจุดคุมทุน ณ ระดับ EBITDA (EBITDA Breakeven) ในเดือน กันยายน และมีแนวโนมตอเนื่องมาถึงไตรมาสที่ 4 ทําใหบริษัทรับรูผลกําไร EBITDA เปนจํานวน เงิน 107 ลานบาทจากทีเอ ออเรนจ อยางไรก็ตามบริษัทรับรูผลขาดทุน EBITDA จากทีเอ ออเรนจ ในป 2546 จํานวนรวม 266 ลานบาท ซึ่งลดลงอยางมีนัยสําคัญจาก 1.8 พันลานบาทในป 2545 ทั้งนี้ เนื่องจากรายไดที่เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 74.4 เปน 5.1 พันลานในป 2546 เปรียบเทียบกับ 2.9 พันลานบาทในป 2545 (ตามสัดสวนการลงทุน) ในขณะที่คาใชจายเฉพาะรายการเงินสดเพิ่ม ขึ้นอัตรารอยละ 12.2 ซึ่งเปนผลจากการควบคุมคาใชจายของทีเอ ออเรนจในครึ่งปหลังของป 2546 • อยางไรก็ดี บริษัทไดรับรูผลขาดทุนสุทธิ จาก ทีเอ ออเรนจ จํานวน 2.8 พันลานบาทในป 2546 เปรียบเทียบกับ 335 ลานบาทในป 2545 เปนผลเนื่องมาจากไมมีรายไดจากการตัดจายคาความ นิยมติดลบจํานวน 2.3 พันลานบาท เชนเดียวกับในป 2545 ธุรกิจโครงขายขอมูลดิจิตอล (DDN) • รายไดลดลงในอัตรารอยละ 3.0 เมื่อเทียบกับปที่แลว เปน 1.2 พันลานบาทในป 2546 ทั้งนี้เนื่อง จากทีเอ ออเรนจ ไดขยายเครือขายของตัวเอง และไดยกเลิกการเชาโครงขายของบริษัทบางสวน เพื่อลดคาใชจาย • อยางไรก็ดี จํานวนวงจรเชาเพิ่มขึ้นอัตรารอยละ 10.3 ในป 2546 เปน 7,835 วงจร เนื่องจากวงจร เชาที่ไมใช ทีเอ ออเรนจ ยังคงเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 20.4 ในป 2546 (จาก 5,424 วงจรในป 2545 เปน 6,529 วงจร)

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

119


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• ในป 2546 บริษัทไดเปดใหบริการสื่อสารขอมูลแบบใหมที่เรียกวา TA Network Manager ซึ่งเปน การบริหารการจัดการโครงขายใหแกลูกคา ซึ่งรวมตั้งแตการจัดหาและสรางโครงขาย การซอม บํารุงและดูแลรักษา และการจัดการประสิทธิภาพของโครงขาย ธุรกิจอินเตอรเน็ต • รายไดของธุรกิจอินเตอรเน็ตเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 138.0 เปนจํานวน 471 ลานบาทในป 2546 จากจํานวน 198 ลานบาทในป 2545 • จํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 89.4 เปน 652,726 สวนใหญเปนผลมาจากบริษัทประสบ ความสําเร็จในการใหบริการใหม ๆ เชน บริการอินเตอรเน็ตที่สะดวกในการใชงาน ภายใตชื่อ “TA easy Click” และ จํานวนลูกคาสําหรับบริการอินเทอรเน็ตพรอมใช (ready-to-use internet kit) เพิ่มขึ้นอยางมาก รวมทั้งมีการเพิ่มขึ้นของผูใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง และลูกคากลุมธุรกิจ • บริษัทไดเริ่มเขาสูธุรกิจเกมสออนไลนในป 2546 และในปจจุบัน ไดใหบริการเกมสออนไลนที่กําลัง ไดรับความนิยมอยางสูงทั้งสิ้น 7 เกมส รวมทั้งเกมส Priston Tale จากประเทศสาธารณรัฐเกาหลี การขยายตัวของธุรกิจเกมสออนไลน สงผลใหธุรกิจบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง เติบโตอยางมาก ในปจจุบัน มีจํานวนผูเลนเกมสออนไลนมากกวา 1 ลานรายในประเทศไทย ธุรกิจมัลติมีเดีย และ บริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband) • รายไดจากการใหบริการมัลติมเี ดียและ Broadband เพิม่ ขึน้ ในอัตรารอยละ 16.4 เปน 1.0 พันลาน บาท ในป 2546 สวนใหญมาจากการใหบริการดานการจัดการโครงขายขอมูลและการให บริ ก ารอินเตอรเน็ตความเร็วสูง • จํานวนผูใชบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง รวมผูใชบริการ ADSL และ cable modem เพิ่มขึ้นใน อัตรารอยละ 214 ในป 2546 เปนจํานวน 11,661 ราย ผูใชบริการ ADSL เพิ่มขึ้นเกือบสามเทา เปน 10,643 ราย • บริษัทไดรับการโหวตจากผูใชบริการ ใหเปน "ผูใหบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband) ที่ ไดรับความนิยมสูงสุดในประเทศไทย"

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

120


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• บริษัทไดขยายการใหบริการเครือขายของ ADSL ใหครอบคลุมพี้นที่สวนใหญของกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล เพื่อเพิ่มความสามารถในการใหบริการ โดยเพิ่มจํานวน port อีก 100,000 port ภายใน เดือนเมษายน 2547 • ในเดือนกรกฎาคม 2546 บริษัทไดนําเสนอการใหบริการบอรดแบรนดควบคูกับการอินเตอรเน็ต เรียกวา “hi-speed Internet” ที่ความเร็ว 128 Kbps - 8 Mbps โดยลูกคาสามารถติดตั้งโมเด็ม เพือ่ เชื่อมตอการใหบริการดวยตนเอง ดวยการใชงานที่งายในราคาที่ลูกคาพอใจ ทําใหไดรับการ ตอนรับเปนอยางดีจากตลาด • ในเดือนธันวาคม 2546 จากการขยายความสามารถในการใหบริการ บริษัทไดนําเสนอการให บริการบอรดแบรนดควบคูกับการอินเตอรเน็ตเรียกวา “hi-speed Internet” ในราคาเริ่มตนเพียง 550 บาทตอเดือน สําหรับ local net แบบไมจํากัดชั่วโมง ที่ความเร็ว 256 Kbps ซึ่งไดรับการ ตอบรับจากตลาดเปนอยางดีสงผลใหธุรกิจเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว รายไดจากการใหบริการนี้ไดถูก บันทึกรวมอยูในบริการอินเตอรเน็ต • ในป 2546 บริษัทไดเปดใหบริการอินเตอรเน็ตสาธารณะความเร็วสูง หรือ TA stations ที่ความเร็ว 512 Kbps ซึง่ ติดตัง้ กลองดิจติ อลสําหรับถายรูปและสง e-mail ได รวมทัง้ สามารถใหบริการดาวนโหลด ภาพยนตร เพลง เกมส ริงโทนและโลโก จนถึงเพลงคาราโอเกะ ดวยอัตราคาบริการ 1.5 บาทตอนาที • บริษัทยังไดเปดใหบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสาย ภายใตชื่อ TA WiFi ซึ่งสามารถให บริการอินเตอรเน็ตที่ความเร็ว 11 Mbps ในพื้นที่ที่มีการติดตั้งอุปกรณ และสามารถเขาสู อินเตอรเน็ต โดย คอมพิวเตอร Notebook และ PDA ผานคลื่นวิทยุความถี่สูง ซึ่งธุรกิจนี้ยังอยูใน ขั้นการพั ฒนา อย างไรก็ตามการเขาสูตลาดเปนรายแรกเปรียบเสมือนกุญแจสูความสํ าเร็จ ของธุรกิจ

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

121


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางผลการดําเนินงานของธุรกิจหลัก รายได

ผลการดําเนินงานของสวนงาน

(หนวย : ลานบาท)

2546

2545

% เปลี่ยนแปลง

2546

2545

% เปลี่ยนแปลง

โทรศัพทพื้นฐาน (เสียง)

16,893

16,125

4.8

5,373

5,093

5.5

โทรศัพทพื้นฐาน

13,644

13,687

(0.3)

บริการเสริม

3,249

2,438

33.3

สื่อสารขอมูล (DDN)

1,183

1,219

(3.0)

689

742

(7.1)

โทรศัพทไรสาย

7,228

6,096

18.6

(2,757)

(2,397)

(15.0)

โทรศัพทพื้นฐานพกพา (PCT)

2,087

2,949

(29.2)

โทรศัพทเคลื่อนที่ (TA Orange) 1/

5,141

3,147

63.4

มัลติมีเดีย/Broadband

1,097

942

16.4

102

40

157.6

อินเทอรเน็ต

471

198

138.0

182

25

615.6

อื่นๆ

1,078

1,203

(10.4)

169

200

(15.5)

รวม

27,950

25,783

8.4

3,758

3,703

1.5

(3,859)

(3,200)

(20.6)

คาใชจายในการดําเนินงานที่จัดสรรไมได หมายเหตุ :

1/ รวมรายไดจากการขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่จากบริษัทยอยอื่นๆ 2/ ผลการดําเนินงานของสวนงานไมรวมรายการพิเศษ 3/ ผลการดําเนินงานของสวนงานโทรศัพทพื้นฐานและสื่อสารขอมูล (DDN) คือ กําไรขั้นตน แตสําหรับธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ มัลติมีเดีย และอินเตอรเน็ต คือกําไรจากการดําเนินงาน 4/ มีการจัดประเภทบัญชีใหมบางรายการเพื่อการเปรียบเทียบ ซึ่งจะทําให ตัวเลขสําหรับป 2545 แตกตางจากที่ไดเคยเปดเผยไวแลวเล็กนอย สําหรับ รายได คาใชจายในการขายและบริหาร ดอกเบี้ยจาย และรายได(คาใชจาย)อื่น

การวิเคราะหฐานะทางการเงิน (Financial Position) สินทรัพย • สินทรัพยรวมของบริษัทลดลง 6.2 พันลานบาท เปน 86.8 พันลานบาท สวนใหญเนื่องจากการ ลดลงของที่ดิน อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) จากคาเสื่อมราคาที่เพิ่มขึ้น • เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด, เงินสดที่มีภาระผูกพัน และเงินลงทุนชั่วคราว บริษัทและ บริษัทยอยมีฐานะเงินสดที่แข็งแกรงมากขึ้นในป 2546 เมื่อเทียบกับป 2545 หากรวมเงินสดและ รายการเทียบเทาเงินสด เงินสดที่มีภาระผูกพัน และเงินลงทุนชั่วคราวทั้งหมดของบริษัทและบริษัท TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

122


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ยอยจะมีจํานวนถึง 8.2 พันลานบาทในป 2546 เปรียบเทียบกับจํานวน 7.6 พันลานบาทในป 2545 และ ณ เดือนธันวาคม 2546 บริษัทมีเงินลงทุนชั่วคราวจํานวน 3.5 พันลานบาท สวนใหญเปนการ ลงทุนในตั๋วเงินจายของบริษัทแม ซึง่ สวนหนึ่งเปนเงินสดที่โอนมาจากเงินสดที่มีภาระผูกพัน ภายหลังการทําสัญญาเงินกูกับธนาคารและสถาบันการเงิน เพื่อใชคืนเงินกูบาทเดิม ในเดือนตุลาคม 2546 • ลูกหนี้การคา (สุทธิ) ลดลง 1.4 พันลานบาท เปน 5.5 พันลานบาท สวนใหญเนื่องจากการลดลง ของลูกหนี้จาก ทศท. เกี่ยวกับภาษีมูลคาเพิ่มของสวนแบงรายไดที่มีขอโตแยงกับ ทศท. จํานวน 890 ลานบาท ซึ่งบริษัทไดบรรลุขอตกลงกับ ทศท. ในเดือนกรกฎาคม 2546 นอกจากนั้น ลูกหนี้ ทศท. (ซึ่งลูกคาไดจายชําระแลว แตบริษัทยังไมไดรับสวนแบงรายไดจาก ทศท.) ลดลง 344 ลานบาท ในขณะที่คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้นเล็กนอยจํานวน 212 ลานบาท ระยะเวลาเก็บ หนี้เฉลี่ยลดลงจาก 90 วันในป 2545 เปน 80 วันในป 2546 • เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวมลดลง 386 ลานบาท เปน 3.6 พันลานบาท สวนใหญเปนเงินลงทุนในบริษัท ยูบซี ี การลดลงดังกลาวสวนใหญเปนผลจากการตัดจําหนาย คาความนิยมของเงินลงทุนในบริษัท ยูบซี ี (จํานวน 380 ลานบาท) สําหรับเงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม สําหรับงบการเงินเฉพาะบริษัท มีจํานวน 6.4 พันลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ลดลง 4.2 พันลานบาทจากป 2545 โดยสวนใหญเปนการลดลงของมูลคาเงิน ลงทุนใน ทีเอ ออเรนจ (ผานบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด) จํานวน 2.8 พันลานบาท อันเนื่องมาจากผลการดําเนินงานที่ขาดทุน • ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) ลดลง 3.9 พันลานบาท เปน 63.0 พันลานบาท ณ สิ้นป 2546 ซึง่ มีสาเหตุมาจากคาเสื่อมราคา จํานวน 11.2 พันลานบาท บริษัทไดลงทุนเพิ่มในที่ดิน อาคารและ อุปกรณเปนจํานวน 6.9 พันลานบาท โดยจํานวน 3.2 พันลานบาท เปนอุปกรณโครงขายโทรศัพท เคลื่อนที่ของ ทีเอ ออเรนจ หนี้สิน • หนี้สินโดยรวมในป 2546 ลดลง 514 ลานบาท เปน 85.3 พันลานบาท สวนใหญเปนผลจากการ ลดลงของคาเชาวงจรทางไกลและคาเชาทอรอยสายโทรศัพทคางจายจํานวน 866 ลานบาท ภายหลังไดเจรจาตกลงกับ ทศท. ในเดือนกรกฎาคม 2546 • เงินกูย มื ระยะยาว และเจาหนี้การคาระยะยาว เพิม่ ขึ้น 4.1 พันลานบาท เปน 76.8 พันลานบาท ทัง้ นี้เนื่องจากเงินกูยืมเพิ่มขึ้น 8.1 พันลานบาทโดยสวนใหญเปนการกูยืมโดยทีเอ ออเรนจ และ TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

123


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัทและบริษัทยอยไดมีการใชคืนเงินกูจํานวน 3.8 พันลานบาท ยอดเงินกูยืม ณ สิ้นป 2546 รวมหุน กูที่จําหนายในประเทศ จํานวนทั้งสิ้น 21.1 พันลานบาท สวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน หนึง่ ปของเงินกูย มื ระยะยาว เพิม่ ขึน้ จํานวน 14 พันลานบาท สวนใหญเปนเงินกูย มื ของทีเอ ออเรนจ ทีถ่ งึ กําหนดชําระในเดือนมีนาคม 2547 ทีเอ ออเรนจกําลังอยูในระหวางการเจรจากับเจาหนี้เพื่อ การแปลงสภาพเงินกูระยะสั้นดังกลาว ใหเปนเงินกูระยะยาว และคาดวาจะบรรลุผลสํ าเร็จใน ไตรมาสที่ 2 ป 2547 สวนของผูถือหุน • สวนของผูถือหุนลดลง 5.7 พันลานบาท เปน 1.5 พันลานบาท ซึ่งเกิดจากผลขาดทุนจากการดําเนิน งานในระหวางป โครงสรางเงินทุน • บริษัทยังคงมีโครงสรางเงินทุนที่มีหนี้สินในระดับคอนขางสูง หากไมรวม ทีเอ ออเรนจ อัตราสวน หนี้สินสุทธิตอสวนของผูถือหุน เพิ่มขึ้นจาก 7.0 เทาในป 2545 เปน 9.6 เทาในป 2546 ทั้งนี้ เนือ่ งจากผลการดําเนินงานที่ขาดทุนจํานวน 5.7 พันลานบาทในป 2546 อยางไรก็ตาม สัดสวนหนี้ สินสุทธิตอ EBITDA ลดลงเปน 4.7 เทา จาก 5.1 เทา ในป 2545 อันเปนผลจากการจายชําระหนี้ เงินกูยืม และการมีฐานะเงินสดที่ดีขึ้น • บริษทั มีแผนที่จะลดภาระหนี้สินลงอยางตอเนื่อง เพื่อใหมีสัดสวนหนี้สินสุทธิตอ EBITDA ที่ระดับ ประมาณ 3-4 เทา ซึ่งจะทําใหบริษัทมีความคลองตัวในการดําเนินงานมากขึ้น สภาพคลอง • ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานและโครงขายขอมูล ยังคงสรางกระแสเงินสดที่แข็งแกรงในป 2546 กระแส เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน (เฉพาะบริษัท) เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 3.1 เปน 6.7 พันลานบาท สวนใหญเปนผลจากการเพิ่มขึ้นของ EBITDA ทําใหกระแสเงินสด (กระแสเงินสดจากกิจกรรม ดําเนินงานหักคาใชจายลงทุน) เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 6.9 เปน 4.5 พันลานบาทในป 2546 ซึ่ง กระแสเงินสดหลังจากหักคาใชจายลงทุนจํานวน 2.2 พันลานบาท ถูกนําไปใชชําระหนี้เงินกูยืม จํานวนทัง้ สิ้น 2.9 พันลานบาท สวนที่เหลือนําไปลงทุนในเงินลงทุนชั่วคราว ทําใหฐานะเงินสด ของบริษัทแข็งแกรงขึ้น โดยเพิ่มขึ้น 1.4 พันลานบาท (เปนจํานวน 5.3 พันลานบาท โดยรวมเงิน สดและรายการเทียบเทาเงินสด, เงินสดที่มีภาระผูกพัน และเงินลงทุนชั่วคราว)

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

124


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• หากรวม ทีเอ ออเรนจ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานรวมเพิ่มขึ้น 2.6 พันลานบาท เปน 7.1 พันลานบาท สวนใหญมาจาก ทีเอ ออเรนจ อยางไรก็ตาม กระแสเงินสดเหลานี้ไมเพียงพอ สําหรับคาใชจายลงทุน ดังนั้น บริษัทและบริษัทยอยจึงตองทําการกูยืมเงินเพิ่มขึ้นจํานวน 8.1 พันลานบาท (จากทีเอ ออเรนจ จํานวน 7.4 พันลานบาท) • รายจายลงทุน สําหรับงบการเงินเฉพาะบริษัทมีรายจายลงทุนในป 2546 จํานวน 2.2 พันลานบาท สวนใหญเปนการลงทุนใน AMDOC system การเดินสายกระจายสําหรับลูกคารายใหม และ บริการเสริมตางๆ บริษัทบันทึกรายจายลงทุนจากทีเอ ออเรนจ ตามสัดสวนเงินลงทุน จํานวน 7.4 พันลานบาท (รวมรายจายลงทุนสําหรับงานระหวางทํา จํานวน 3.3 พันลานบาท ณ สิน้ สุด ป 2545)

TATO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

125


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

13. ขอมูลอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ ดวยที่ประชุมคณะกรรมการของ บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ครั้งที่ 2/2547 ไดมีมติที่สําคัญดังตอไปนี้ 1. มีมติเห็นชอบใหบริษัทฯ ทําสัญญา กับ บริษัท Orange S.A., Orange Personal Communications Services Ltd. และบริษัท Wirefree Services Belgium S.A. (รวมเรียก วา “Orange Group”) ซึ่งเปนผูถือหุนของ บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (“BITCO”) ซึ่งเปน บริษัทแมของ บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด (“TAO”) (ตอไปรวมเรียกวา “BITCO/TAO”) รวมทั้งอนุมัติ การลงนามในสัญญาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการซื้อขายหุนดังกลาว รวมทั้งสัญญาระหวางผูถือหุน โดยมีสาระสําคัญโดยยอคือ นับจากวันทําสัญญาเปนตนไป Orange Group มอบการบริหารตางๆ ใน BITCO/TAO ใหแก บริษัทฯ เพื่อปรับปรุงฐานะและกิจการ และทําการจัดหาเงินกูระยะยาว (“Refinancing”) ใหแก TAO เมื่อ TAO ไดเงินกูระยะยาวแลว บริษัทฯ จึงจะเขาซื้อหุนใน BITCO จํานวน 819,000,000 หุน หรือคิดเปนรอยละ 39 ของหุนทั้งหมดของ BITCO จาก Orange Group ใน ราคารวมทั้งสิ้น 1 บาท (หนึ่งบาท) โดยที่ Orange Group จะเหลือหุนประมาณรอยละ 10 ใน BITCO โดยจะไมรวมบริหาร BITCO อีกตอไป และจะไมรับพันธะที่จะสนับสนุนทางการเงินตอ BITCO/TAO สําหรับการ Refinancing ของ TAO นอกจากนี้แลว คูสัญญาตกลงวาหาก TAO จัดหา Refinancing ได ตางจะทําการยก หนีส้ นิ ที่ TAO ติดคางคูสัญญาอยูเปนเงินฝายละ 200 ลานบาทถวน เพื่อเปนการสนับสนุน TAO ทาง การเงิน อยางไรก็ตาม หาก TAO ไมสามารถจัดหา Refinance ไดภายในวันที่ 29 กันยายน 2547 นี้ บริษัทฯ ก็จะไมทําการซื้อหุนดังกลาวใน BITCO และขอตกลงสัญญาตางๆ ก็จะไมเกิดผล บังคับขึ้นแต อยางใด อนึ่ง เมื่อมีการซื้อหุนใน BITCO จาก Orange Group นี้ จะสงผลให BITCO กลาย เปนบริษัทยอยแหงใหมของบริษัทฯ การขายหุนสามัญของ BITCO โดย Orange Group ใหแกบริษัทฯ นั้นจะไมสงผล กระทบตอการดําเนินงานของ TAO (ซึ่งเปนบริษัทยอยของ BITCO ที่ BITCO ถือหุนอยูรอยละ 99.81) เนื่องจาก Orange Group ตกลงวาหาก TAO จัดหา Refinancing ได และบริษัทฯ เขาซื้อหุน BITCO จาก Orange Group แลวก็จะใหTAO ใชเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายบริการ (Service Mark) “Orange” รวมทั้งชื่อ Orange โลโก (logo) และสโลแกน (slogan) ของ Orange ตอไปอีก 3 ป

TATP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

126


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นับแตวันซื้อขายหุน โดยไมคิดคาสิทธิ์แตอยางใด แตหาก TAO เริ่มใชเครื่องหมายบริการใหม ก็ให ลดระยะเวลาทีจ่ ะใชเครือ่ งหมายตางๆ ของ Orange ลงเหลือ 6 เดือนนับจากวันทีใ่ ชเครือ่ งหมายบริการใหม โดยที่ประชุมคณะกรรมการเห็นวา แมเรื่องดังกลาวจะเปนคุณตอบริษัทฯ แตเนื่องจาก เปนเรื่องที่อยูในความสนใจของผูถือหุนทั่วไป ดังนั้น เพื่อใหเปนไปตามหลัก Good Corporate Governance จึงใหเสนอเรือ่ งดังกลาวตอทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2547 เพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ อ ไป รายละเอียดของการเขาซื้อหุนสามัญดังกลาว ปรากฏตามขอมูลเกี่ยวกับการเขาซื้อหุน สามัญของ BITCO ดังนี้ ขอมูลเกี่ยวกับการเขาซื้อหุนสามัญของ BITCO 1.

สัญญาซื้อขายหุนและการเขาซื้อหุน

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติเห็นชอบใหบริษัทฯ ทําสัญญา กับ บริษัท Orange S.A., Orange Personal Communications Services Ltd. และบริษัท Wirefree Services Belgium S.A. (รวมเรียกวา “Orange Group”) ซึ่งเปนผูถือหุนของ บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (“BITCO”) ซึ่งเปนบริษัทแมของ บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด (“TAO”) (ตอไปรวมเรียกวา “BITCO/TAO”) รวมทั้งอนุมัติการลงนามในสัญญาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการซื้อขายหุน ดังกลาว รวมทั้งสัญญาระหวางผูถือหุน โดยมีสาระสําคัญโดยยอคือ นับจากวันทําสัญญาเปนตนไป Orange Group มอบการบริหารตางๆ ใน BITCO/TAO ใหแก บริษทั ฯ เพือ่ ปรับปรุงฐานะและกิจการ และทําการจัด หาเงินกูร ะยะยาว (“Refinancing”) ใหแก TAO เมื่อ TAO ไดเงินกูระยะยาวแลว บริษัทฯ จึงจะเขาซื้อ หุน ใน BITCO จํานวน 819,000,000 หุน หรือคิดเปนรอยละ 39 ของหุนทั้งหมดของ BITCO จาก Orange Group ในราคารวมทั้งสิ้น 1 บาท (หนึ่งบาท) โดยที่ Orange Group จะเหลือหุนประมาณ รอยละ 10 ใน BITCO โดยจะไมรวมบริหาร BITCO อีกตอไป และจะไมรับพันธะที่จะสนับสนุน ทางการเงินตอ BITCO/TAO สําหรับ Refinancing ของ TAO ปจจุบันบริษัทฯ ถือหุนอยูใน BITCO รอยละ 43.86 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวของ BITCO และหากบริษัทฯ เขาซื้อหุนดังกลาวจากผูขาย บริษัทฯ จะถือหุนใน BITCO ทั้งสิ้นรอยละ 82.86 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวของ BITCO โดยผูขายจะยังคงถือหุนใน BITCO ตอไปอีกรอย ละ 10 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวของ BITCO ทั้งนี้ Orange Group และบริษัทฯ ไมมีความสัมพันธในลักษณะที่เปนบุคคลที่เกี่ยวโยงกันตาม ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเรื่องการเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของ บริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546

TATP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

127


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

2.

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ขนาดของรายการ

ขนาดของรายการตํ่ากวา 0.01% โดยคํานวนจากเกณฑมูลคาของสิ่งตอบแทน (คือราคาหุนทั้ง หมด 1 บาท) เปรียบเทียบกับสินทรัพยรวมของบริษัทและบริษัทยอยตามงบการเงินรวมฉบับตรวจสอบ ลาสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ดังนั้น การเขาซื้อหุนดังกลาวจึงไมเขาขายตองจัดทําและเปดเผยขอ มูลตามประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และการเปดเผยเกี่ยวกับการ ไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียนแตประการใด หากแตคณะกรรมการของบริษัท ฯ พิจารณาแลวเห็นวาเรื่องการเขาทําสัญญาซื้อหุนนี้เปนเรื่องที่อยูในความสนใจของนักลงทุนทั่วไปและ ผูถือหุน อีกทั้งเปนเรื่องสําคัญตอผูถือหุนและผูลงทุน ดังนั้น จึงเปนการสมควรที่จะใหผูถือหุนมี โอกาสพิจารณาลงมติอนุมัติการเขาซื้อหุนดังกลาว รวมทั้งการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการเขา ซือ้ หุน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความโปรงใสและเปนไปตาม หลักธรรมาภิบาลที่ดี โดยบริษัทฯ จะจัดใหมีการ ประชุมผูถือหุนเพื่ออนุมัติเรื่องดังกลาวในวันที่ 9 เมษายน 2547 เวลา 14.00 น. 3.

รายละเอียดของ BITCO

ลักษณะธุรกิจ

:

ถือหุนเพื่อการลงทุน โดย BITCO ถือหุนใน สัดสวนรอยละ 99.81 ในบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด ซึ่งเปนผูประกอบการ ในธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 MHz ภายใต สัมปทานที่ไดรับจากการสื่อสารแหงประเทศไทย

ทุนจดทะเบียน

:

21,000 ลานบาท

ทุนที่ออกและเรียกชําระแลว

:

21,000 ลานบาท

คณะกรรมการบริษัท

:

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

TATP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

นายธนินท เจียรวนนท นายสุนทร อรุณานนทชัย นายวัลลภ วิมลวณิชย นายอธึก อัศวานันท นายสุภกิต เจียรวนนท นายศุภชัย เจียรวนนท นายขจร เจียรวนนท นายไฮนริช วิลเฮลม ฟริทซ ไฮมส นายโชติ โภควนิช นายฮันส โรเจอร สนุค นายวิลฟรี เอ. เวอรสแตร็ต นางบริจิต มารี คาสตานเย บูรกกวง 128


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

13. 14. 15. 16. 17. 18. 4.

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นายริชารด แฟรงค โมท นายมารซีอัล ออนทวน มารเซล คารราติ นายบีแอร มารี จาก เดลมอง-เบเบ็ต นายเดวิด เจเรอมี ฮอลลิเดย นายเจมส แม็กเพอรสัน เฮยวูด นายยัง ติ๊ก ชี

การกําหนดราคาซื้อขายหุน

ราคาซื้อขายหุนเปนราคาที่ตกลงกันระหวางผูซื้อและผูขาย โดยผูขายประสงคที่จะให TAO สามารถจัด Refinancing หนี้ได โดยที่ผูขายสามารถหลุดจากพันธะไมตองถูกเรียกใหทําการ เพิ่มทุน ใน TAO ทัง้ นี้ ภายใตสัญญาดังกลาวไมไดระบุใหบริษัทฯ ตองรับภาระหนี้สินหรือภาระผูกพันทางการเงิน ใดๆ ที่ทางผูขายหรือ Orange มีอยูกับเจาหนี้ของ BITCO/TAO แตประการใด และภาระหนี้สินหรือ ภาระผูกพันทางการเงินของผูขายหรือ Orange ที่จะตองอัดฉีดเงินเขา TAO ดังกลาวจะสิ้นสุดลงเมื่อ BITCO/TAO เจรจาปรับโครงสรางหนี้กับเจาหนี้เรียบรอยแลวและเจาหนี้ยินยอมปลดภาระผูกพันทาง การเงินดังกลาวของผูขาย ซึ่งในปจจุบันยังไมสามารถคาดการณไดถึงผลของการเจรจาปรับโครงสราง หนี้ดังกลาว แตเมื่อมีการปลดภาระหนี้ดังกลาวแลว บริษัทฯ จึงจะเขาซื้อหุนดังกลาว 5.

ผลประโยชนที่บริษัทฯ คาดวาจะไดรับ

บริษทั ฯ ไมตองรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากความไมแนนอนของผลการเจรจาปรับโครงสราง หนี้ของ TAO เพราะบริษัทฯ จะเขาซื้อหุนดังกลาวก็ตอเมื่อการเจรจาปรับโครงสรางหนี้ของ TAO ได บรรลุผลจนเปนที่นาพอใจของบริษัทฯ แลว กลาวคือ เมื่อปราศจากความเสี่ยงแลว บริษัทฯ จึงจะซื้อ หุน แตหากปรับโครงสรางหนี้ TAO ไมสําเร็จ บริษัทฯ ก็ไมเขารับซื้อหุนดังกลาว ทําใหบริษัทฯ ไมมี ภาระความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นแตอยางใด ภาระผูกพันตางๆ ที่มีตอเจาหนี้ของ TAO ก็ยังเปนของคู สัญญาตามเดิม หากปรับโครงสรางหนี้ของ TAO สําเร็จ บริษัทฯ สามารถเขาบริหารจัดการ TAO ไดอยางเต็มที่ เนื่องจากบริษัทฯ จะถือหุนใน BITCO ถึงรอยละ 82.86 โดย BITCO ถือหุนใน TAO ซึ่งเปนบริษัทที่ให บริการโทรศัพทเคลื่อนที่อยูรอยละ 99.81 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมดของ TAO ซึ่งการดัง กลาวจะทําใหเกิดความคลองตัวในการบริหารงานของ TAO และยังทําใหการดําเนินธุรกิจของกลุม บริษทั ครบวงจรมากยิ่งขึ้น คือ จะเปนทั้งผูประกอบการโทรศัพทพื้นฐานและโทรศัพทเคลื่อนที่ ตลอดจน สามารถไดรับประโยชนอื่นๆ จากการดําเนินธุรกิจรวมกันได โดยการใชเครือขายและฐานขอมูลลูกคา รวมกัน อันจะสงผลใหธุรกิจของกลุมบริษัทเติบโตไดเร็วยิ่งขึ้น ซึ่งทางผูขาย ไดเล็งเห็นประโยชนดังกลาว TATP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

129


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูขายจึงยังคงถือหุนอยูใน BITCO บางสวน เพื่อที่จะไดรับสวนแบงจากผลประกอบการที่จะมีขึ้นใน ฐานะผูถือหุนของ BITCO ตอไปได นอกจากนี้ TAO ยังไดลงนามในสัญญาใหใชเครื่องหมาย/สิทธิ (Brand License Agreement) กับ Orange Personal Communication Services Ltd. ("OPC") ซึ่งเปนเจาของเครื่องหมาย/สิทธิ "Orange" และ "Wirefree" ซึ่งภายใตสัญญาดังกลาว OPC ตกลงยินยอมที่จะให TAO ใชเครื่องหมาย การคา เครื่องหมายบริการ ชื่อ โลโก สโลแกน ของ Orange และสิทธิอื่นๆ ตอไปในประเทศไทยไดอีก 3 ป นับแตวันซื้อขายหุนโดยไมตองเสียคาสิทธิ และเมื่อ TAO ตองการใชเครื่องหมายของตนเอง ระยะ เวลาการใชเครื่องหมาย Orange โดยไมคิดมูลคาก็จะลดลงเหลือ 6 เดือน ทั้งนี้ หากการปรับโครงสราง หนีไ้ มสําเร็จและบริษัทฯไมเขาซื้อหุน TAO สัญญาใหใชเครื่องหมายฉบับใหมนี้ก็จะไมมีผลบังคับ TAO ก็ ยังสามารถใชเครื่องหมาย “Orange” ไดตามสัญญาใหใชเครื่องหมายฉบับเดิมตอไปจนครบ 20 ป โดย ตองชําระคาสิทธิรายป 6.

ขอมูลทางการเงินที่สําคัญของ BITCO

ขอมูลทางการเงินที่สําคัญของ BITCO (ตามงบการเงินฉบับตรวจสอบลาสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546) ป 2546 (ลานบาท) รายไดรวม กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิ 7. (ก)

11,792 (6,637) 44,264 38,670 2,994

ขอมูลอื่นๆ

หากมีการปรับโครงสรางหนี้ของ TAO เสร็จแลว และบริษัทฯ ทําการซื้อหุนใน BITCO เรียบ รอยแลว บริษัทฯ และ Orange Group ตกลงยินยอมที่จะยกเลิกหนี้สินที่ TAO มีตอบริษัทฯ และ Orange Group ในวงเงินรวมรายละไมเกิน 200 ลานบาท ทั้งนี้ เพื่อให TAO มีสภาพ คลองทางการเงินสูงขึ้นอันจะเปนผลดีตอการดําเนินธุรกิจของ TAO ตอไป

TATP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

130


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(ข)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัทฯ, บริษัท Wirefree Services Belgium S.A. และบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด ได ลงนามในสัญญาระหวางผูถือหุนใน BITCO โดยมีสาระสําคัญดังตอไปนี้ Wirefree Services Belgium S.A. จะยังคงมีสิทธิแตงตั้งกรรมการใน BITCO และ TAO ไดหนึ่งทานตราบเทาที่ บริษัท Wirefree Services Belgium S.A. และ/หรือ บริษัทในกลุมยังคงถือหุนอยูใน BITCO ไมนอยกวารอยละ 4 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมด กลุมผูขายจะลดบทบาทของ ตนลงเปนผูถือหุนใน BITCO/TAO แบบนักลงทุนทั่วไป (financial investor) โดยไมรวมใน การบริหารแตอยางใด ทั้งนี้ ผูขายจะไดรับความ คุมครองในลักษณะ Anti Dilution จาก การเพิ่มทุนในราคาที่ตํ่ากวา par value กลาวคือ หากจะมีการเพิ่มทุนใน BITCO/TAO เพื่อการ ปรับโครงสรางหนี้ในราคาที่ตํ่ากวา par value ของหุน การเพิ่มทุนในราคาที่ตํ่ากวา par value นัน้ จะทําใหหุนของผูขายที่เหลืออยูรอยละ 10 นั้น ลดนอยลงไปจนถึงระดับที่ตํ่ากวารอยละ 4 ไมได ในกรณีของการเพิ่มทุนในราคาที่เทากับ par value หรือสูงกวานั้น สามารถดําเนิน การไดโดยไมมีขอจํากัดจาก Anti Dilution ดังกลาว สัญญาระหวางผูถือหุนนี้จะมีผลใชบังคับก็ ตอเมื่อบริษัทฯ ไดซื้อหุนใน BITCO เรียบรอยแลวเทานั้น และสัญญานี้จะมีผลใชบังคับอยูตราบ เทาที่บริษัท Wirefree Services Belgium S.A. หรือบริษัทในกลุมยังคงถือหุนใน BITCO อยูไม นอยกวารอยละ 4 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมดของ BITCO สัญญาระหวางผูถ อื หุน นี้ ไมบงั คับใหบริษทั ฯ และบริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด ตองลง คะแนนเสียงไปในทางเดียวกัน ดังนั้น จึงไมเขาขายการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน ทัง้ นี้ ใน กรณีทที่ ปี่ ระชุมผูถ อื หุน ไมเห็นชอบกับการทําสัญญาดังกลาว บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด สามารถเขาซื้อหุน BITCO ตลอดจนรับสิทธิและหนาที่แทนบริษัทฯ ได

2. มีมติใหแกไขเพิ่มเติมวาระการประชุมสามัญผูถือหุนประจํ าป 2547 ซึง่ จะจัดขึน้ ใน วันที่ 9 เมษายน 2547 เวลา 14.00 น. ณ หองประชุมชัน้ 21 เลขที่ 18 อาคารเทเลคอมทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ เปนดังนี้ 1) รับรองรายงานการประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2547 (คณะกรรมการมีความเห็นวา ควรรับรองรายงานการประชุมดังกลาว) 2) รับทราบรายงานผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ในรอบป 2546 3) พิจารณาอนุมัติงบดุลและบัญชีกําไรขาดทุน สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีประจําป สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546 (คณะกรรมการมีความเห็นวา ควรรับรองงบดุลและบัญชีกําไรขาดทุนดังกลาว)

TATP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

131


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4) พิจารณาอนุมัติการจายเงินปนผล และการจัดสรรกําไรสุทธิ สําหรับผลการดําเนิน งานประจําป 2546 (คณะกรรมการมีความเห็นวา ไมควรจายเงินปนผลและไมจดั สรรเงินสํารอง) 5) พิจ ารณาเลือกตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พนจากตํ าแหนงตามวาระ (คณะกรรมการมีความเห็นวา ควรเลือกกรรมการที่พนวาระตามที่ไดระบุตอ ไปนี้ 1. นายณรงค ศรีสอาน 2. นายอธึก อัศวานันท 3. นายไฮนริช ไฮมส 4. นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ 5. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน 6. นายชัชวาลย เจียรวนนท และ 7. นายสุภกิต เจียรวนนท กลับเขาดํารงตําแหนงใหม) 6) พิจารณาแตงตั้งผูสอบบัญชีและกําหนดคาสอบบัญชีประจําป 2547 (คณะกรรมการมีความเห็นวา ควรเลือกผูตรวจสอบบัญชีจาก Pricewaterhouse Coopers ABAS Limited เปนผูส อบบัญชีตอ ไป และคณะ กรรมการจะเสนอคาสอบบัญชีใหทปี่ ระชุมผูถ อื หุน พิจารณาตอไป) 7) พิจารณาอนุมัติการทําสัญญาเพื่อเขาซื้อหุนสามัญของบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเล เทค จํากัด (เมื่อมีการจัด Refinancing ของบริษัทดังกลาวเสร็จแลว) ภายใต สัญญาซื้อ ขายหุน และอนุมัติการเขาทําสัญญาระหวางผูถือหุน (คณะกรรมการมีความเห็นวา ควรอนุมัติการเขาซื้อหุนสามัญภายใตสัญญาซื้อ ขายหุนและการเขาทําสัญญาระหวางผูถือหุนดังกลาว) 8) พิจารณาเรื่องอื่นๆ (ถามี) 3. กํ าหนดวั น ป ด สมุ ด ทะเบี ย นพั ก การโอนหุ  น เพื่ อกํ าหนดสิ ท ธิ ใ นการเข า ร ว มประชุ ม สามั ญ ผู  ถื อ หุ  นประจําป 2547 ยังคงเดิม คือ ในวันที่ 22 มีนาคม 2547 ตั้งแตเวลา 12.00 น. เปนตนไป จนกวาการประชุมดังกลาวจะแลวเสร็จ

TATP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

132


เอกสารแนบ 1 รายละเอียดคณะกรรมการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546) ชื่อ-นามสกุล

นายณรงค ศรีสอาน

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/46)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

กรรมการอิสระ

76

10,000 หุน

-

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญากิตติมศักดิ์

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประวัติการทํางาน

2541-ปจจุบัน ปจจุบัน

นายวิทยา เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ และ ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ

67

-

-

ปริญญาโท

ปริญญาตรี เนติบัณฑิต

นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ สํานักเกรส อินน

2541-ปจจุบัน

2534-2535 2531 2527 2524 2522

กรรมการอิสระ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บจ. อีสเทิรนซีบอรดอินดัสเตรียลเอสเตท (ระยอง) ประธานกรรมการ บมจ. แอดวานซ อะโกร ประธานกรรมการบริหาร บมจ. เบียรไทย (1991) รองประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. อาหารสยาม รองประธานกรรมการ บจ. ยาสูบสากล รองประธานกรรมการ บมจ. เบอรลี่ยุคเกอร กรรมการบริหาร บจ. คอมลิงค กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ.เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น ประธาน บจ. เคไลน (ประเทศไทย) และบริษัทในเครือ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ เอกอัครราชฑูตประจําประเทศสหรัฐอเมริกา เอกอัครราชทูตประจําประเทศเบลเยี่ยม และประชาคมยุโรป เอกอัครราชทูตประจําประเทศแคนาดา อธิบดีกรมเศรษฐกิจ


เอกสารแนบ 1 ชื่อ-นามสกุล

ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/46)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

65

-

-

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาเอก ปริญญาตรี

สาขาวิศวกรรมศาสตร University of London, England สาขาวิศวกรรมศาสตร University of London, England

ประวัติการทํางาน

2542-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน 2543-2544 2540-2544 2541-2543

นายโชติ โภควนิช

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

61

-

-

ผูสอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮารวารด สหรัฐอเมริกา หลักสูตรการจัดการดานการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด สหรัฐอเมริกา

2542-ปจจุบัน ปจจุบัน 2543-2544 2537-2540 2535-2537

นายธนินท เจียรวนนท

ประธานกรรมการ

64

-

เปนบิดา คุณสุภกิต เจียรวนนท และ คุณศุภชัย เจียรวนนท

Commercial School ฮองกง Shantou Secondary School ประเทศจีน

2532-ปจจุบัน

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น นายกสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแหงประเทศไทย กรรมการผูทรงคุณวุฒิ สภาการหนังสือพิมพแหงชาติ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการ และ กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเงินทุน ทิสโก จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร กลุมบจ. ไทยวา กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. อี๊สตเอเซียติ๊ก (ประเทศไทย) กงสุลใหญแหงเดนมารกประจําประเทศไทย ประธานกรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการและประธานคณะผูบริหาร บจ.เครือเจริญโภคภัณฑ และ บจ.เครือเจียไต ประธานกรรมการ บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร


เอกสารแนบ 1 ชื่อ-นามสกุล

นายสุเมธ เจียรวนนท

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/46)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

รองประธานกรรมการ

69

150,000 หุน

เปนบิดา

คุณวุฒิทางการศึกษา

คุณชัชวาลย เจียรวนนท

ดร.อาชว เตาลานนท

รองประธานกรรมการ

66

-

-

ปริญญากิตติมศักดิ์

ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี พิเศษ

นายเฉลียว สุวรรณกิตติ

รองประธานกรรมการ

75

3,500,000 หุน

-

ปริญญาโท ปริญญาตรี

นายอธึก อัศวานันท*

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย

52

-

-

ปริญญาโท ปริญญาตรี

ประวัติการทํางาน

มัธยมศึกษา โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย จังหวัดราชบุรี

2536-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology, U.S.A. สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Iowa State of University, U.S.A. สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรรัฐรวมเอกชนรุนที่ 1

2535-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รองประธานกรรมการ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ ประธานกรรมการ หอการคาไทย และสภาหอการคาแหงประเทศไทย กรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ

สาขาบริหารธุรกิจ Indiana University, U.S.A. สาขาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2535-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง

สาขานิติศาสตร Specialised in International Legal Studies New York University, U.S.A. สาขานิติศาสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2540-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ และหัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย หัวหนานักกฎหมายกลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด กรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บมจ. ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น Baker & McKenzie

2536-2542 2534-2535

2521-2540

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท


เอกสารแนบ 1 ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/46)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

นายศุภชัย เจียรวนนท*

กรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร

36

1,240,000 หุน

เปนนองชาย

กรรมการ

39

นายสุภกิต เจียรวนนท*

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

คุณสุภกิต เจียรวนนท

-

เปนพี่ชาย

ปริญญาตรี

คุณศุภชัย เจียรวนนท

ประวัติการทํางาน

สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) Boston University, U.S.A.

2542-ปจจุบัน

สาขาบริหารธุรกิจ New York University, U.S.A.

2535-ปจจุบัน

2535-2542

2543-ปจจุบัน 2541-ปจจุบัน 2534-ปจจุบัน

นายชัชวาลย เจียรวนนท*

กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร Group Investment

41

-

-

ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern California, U.S.A.

2536-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2543-ปจจุบัน

2541-ปจจุบัน 2540-ปจจุบัน

2535-ปจจุบัน 2533-ปจจุบัน

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการและรองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง ประธานคณะกรรมการ บมจ. ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บจ. เอทีแอนดที เน็ตเวิรค เทคโนโลยี (ประเทศไทย) กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร -Group Investment บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการตรวจสอบ Ticon Industrial Connection Public Company Limited กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการอิสระ บมจ. แคล-คอมพ อีเล็คโทรนิคส (ประเทศไทย) ประธานกรรมการบริหาร Cambodia Mobile Telephone Co.,Ltd. ประธานคณะผูบริหาร บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย บจ. เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่


เอกสารแนบ 1 ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/46)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน*

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ

46

-

-

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาโท ปริญญาตรี

บริหารธุรกิจ Pepperdine University, U.S.A. วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin, USA. วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University, U.S.A.

ประวัติการทํางาน

2543-ปจจุบัน 2541-2543 2540-2541 2539-2540 2538-2539

นายอํารุง สรรพสิทธิว์ งศ

กรรมการ

50

384,000 หุน

-

ปริญญาโท ปริญญาตรี

นายไฮนริช ไฮมส

นายเคลาส ทุงเคอเลอ

กรรมการ

กรรมการ

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

52

62

-

-

-

-

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2544-ปจจุบัน ปจจุบัน

- Abitur at Schiller Gymnasium, Hameln Studies at the Freie University Berlin - Educational Sciences. Studies at the Freie University Berlin, with - State Examination. (Graduate in Economics)

2543-ปจจุบัน

- Abitur (leaving examination) Liebig Gymnasium, Frankfurt/M - Commercial apprenticeship at Metallgesellschaft AG - Graduated as Technischer Diplombetriebswirt from Karlsruhe University Degree:dipl. rer. pol.(techn)

2543-ปจจุบัน

2541-ปจจุบัน 2521- 2541

ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจ ดั การใหญดา นปฏิบตั กิ ารกลางและเทคโนโลยีสารสนเทศ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น ผูจ ัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันออกเฉียงใต บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น ผูจ ัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รองประธานสํานักการเงินเครือเจริญโภคภัณฑ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บมจ. วีนิไทย กรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น Senior Vice President-Export and project Finance, KfW Export Finance, KfW

กรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น First Vice President-Export and Project Finance Telecommunications, Natural Resources, KfW


เอกสารแนบ 1 ชื่อ-นามสกุล

นายเคลาส สแตดเลอร

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/46)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

กรรมการ

46

-

-

คุณวุฒิทางการศึกษา Law School of the University of Bielefeld, Germany

ประวัติการทํางาน

2543-ปจจุบัน ปจจุบัน

นายอันเดรียส คลอคเคอ

นายฮาราลด ลิงค

กรรมการ

กรรมการ

47

45

3,500 หุน

50,000 หุน

-

-

ปริญญาโท

Master of International Relations, University of KANSAS, U.S.A. DIPLOMA VOLKSWIRT University of Hamburg, Germany

2543-ปจจุบัน

MBA, University of St. Gallen

2543-ปจจุบัน

ปจจุบัน

2540-ปจจุบัน ดร.ลี จี. แลม

กรรมการ

44

-

-

ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี อนุปริญญา

Philosophy from the University of Hong Kong System Science and MBA from the University of Ottawa, Canada Sciences and Mathematics from the University of Ottawa, Canada Public Administration Carlton University, Canada

2546-ปจจุบัน

2544-2546 2542-2544 2541-2542 2539-2541 2536-2538 2532-2536 2524-2532

กรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น Deputy General Counsel, Head of the Legal Department (Frankfurt), KfW กรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น Head of KfW’s South-East Asia Regional office in Bangkok in Charge of KfW Affairs in Thailand and South- East Asia Region กรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น Managing Partner, B. Grimm & Co. R.O.P. กรรมการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รองประธานกรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ และหัวหนาคณะผูบ ริหาร Chia Tai Enterprises International Limited กรรมการผูจ ดั การ BOC International Holdings Limited (“BOCI”) Executive Director Singapore Technologies Telemedia Partner-in-charge Heidrick & Struggles President and CEO Millicom International Cellular Asia Pacific operations Managing partner A.T. Kearney Inc. General manager Cable & Wireless / Hong Kong Telecom Senior Executive Bell Canada


เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเจาหนาที่บริหาร (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546) ชื่อ-นามสกุล

นายศุภชัย เจียรวนนท

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/46)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

กรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร

36

1,240,000 หุน

-

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ

46

-

-

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

ปริญญาโท ปริญญาโท ปริญญาตรี

ประวัติการทํางาน

สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) Boston University, U.S.A.

2542-ปจจุบัน

บริหารธุรกิจ Pepperdine University, U.S.A. วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin, USA. วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University, U.S.A.

2543-ปจจุบัน

2535-2542

2541-2543 2540-2541 2539-2540 2538-2539

นายชัชวาลย เจียรวนนท

กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร Group Investment

41

-

-

ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern California, U.S.A.

2536-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2543-ปจจุบัน

2541-ปจจุบัน 2540-ปจจุบัน

2535-ปจจุบัน 2533-ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการและรองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจ ดั การใหญดา นปฏิบตั กิ ารกลางและเทคโนโลยีสารสนเทศ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น ผูจ ัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันออกเฉียงใต บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น ผูจ ัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร-Group Investment บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการตรวจสอบ Ticon Industrial Connection Public Company Limited กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการอิสระ บมจ. แคล-คอมพ อีเล็คโทรนิคส (ประเทศไทย) ประธานกรรมการบริหาร Cambodia Mobile Telephone Co.,Ltd. ประธานคณะผูบริหาร บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย บจ. เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่


เอกสารแนบ 1 ชื่อ-นามสกุล

นายอธึก อัศวานันท

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ

(31/12/46)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย

52

-

-

ประวัติการทํางาน

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี

สาขานิติศาสตร Specialised in International Legal Studies New York University, U.S.A. สาขานิติศาสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2540-ปจจุบัน

2521-2540 นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการเงิน

42

100,000 หุน

-

ปริญญาโท ปริญญาตรี

บริหารธุรกิจการเงินและการตลาด Wharton School of the University of Pennsylvania เศรษฐศาสตร Wharton School of the University of Pennsylvania

2544-ปจจุบัน 2541-2543 2536-2541

นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข

ผูอํานวยการบริหาร Office / SME Solution & Wireless Access

41

-

-

ปริญญาโท ปริญญาตรี

สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania, USA สาขาการบริหารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2546-ปจจุบัน

2545 2544 2541-2544 2541

รองประธานกรรมการ และหัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย หัวหนานักกฎหมายกลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด กรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บมจ. ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น Baker & McKenzie หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานการเงิน บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการ สํานักนโยบายสินเชื่อ Verizon Communications, Philadelphia ผูอํานวยการบริหารดาน Office / SME Solution & Wireless Access บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น รักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเชีย ไวรเลส คอมมูนิเคชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญสายงานธุรกิจ บจ. ทีเอ ออเรนจ รองกรรมการผูจัดการใหญดานพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเชีย ไวรเลส คอมมูนิเคชั่น ผูจัดการทั่วไป บจ. ไวรเออ แอน ไวรเลส


เอกสารแนบ 1 ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ผูอํานวยการบริหาร Corporate Solution, Wholesales & Data

46

จํานวนหุนที่ถือ 31/12/46) -

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

ประวัติการทํางาน

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรี

สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร University of South Alabama, U.S.A.

ปจจุบัน 2544-2546

2544-2545 2543

2541 2540 นายชิตชัย นันทภัทร

ผูอํานวยการบริหาร Home / Consumer Solution & Highspeed Access

50

-

-

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตลาดกระบัง

ปจจุบัน 2542-2546 2544-2545 2535-2543 2540-2542

ผูอํานวยการบริหาร ดาน Corporate Solution, Wholesales & Data บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการผูจัดการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery ผูอํานวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย ผูอํานวยการฝายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายผลิตภัณฑคอมพิวเตอรขนาดใหญ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายการเงินและบริหาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายธุรกิจบริการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูอ านวยการบริ ํ หารดาน Home / Consumer Solution & Highspeed Access บมจ. เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. ล็อกซเลย กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) ผูชวยกรรมการผูจัดการ บมจ. ล็อกซเลย


เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกีย่ วกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุม (ณ 31 ธันวาคม 2546)

เจียรวนนท

XX

/

2.

นายสุเมธ

เจียรวนนท

X

/

3.

นายโชติ

โภควนิช*

/

4.

นายเฉลียว

สุวรรณกิตติ

X

/

/

5.

ดร. อาชว

เตาลานนท

X

X

/

/

6.

ดร. โกศล

เพ็ชรสุวรรณ*

/

7.

นายชัชวาลย

เจียรวนนท

/

/

/

/

8.

นายสุภกิต

เจียรวนนท

/

/

/

/

9.

นายศุภชัย

เจียรวนนท

/

/

10.

นายณรงค

ศรีสอาน*

/

X

11.

นายวิทยา

เวชชาชีวะ*

/

12.

นายอธึก

อัศวานันท

X

13.

นายไฮนริช

ไฮมส

/

14.

นายเคลาส

ทุงเคอเลอ

/

15.

นายเคลาส

สแตดเลอร

/

16.

นายอันเดรียส

คลอคเคอ

/

17.

นายฮาราลด

ลิงค

/

18.

นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

/

19.

นายอํารุง

สรรพสิทธิ์วงศ

/

20.

นายลี.

จี. แลม

/

หมายเหตุ

* = กรรมการจากบุคคลภายนอก

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

XX

/

/

/

/

XX

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

XX

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

XX = ประธานกรรมการ

X = รองประธานกรรมการ / = กรรมการ

ARM

/

NEC

/

TSC

/

NTU

/

UBC

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

AM

AWC

AI

Asia DBS

ANC

U-NET

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

TI

TAO

นายธนินท

BITCO

1.

Yaikaew

W7

TH

TA

TE

รายชื่อ

Nilubon

บริษัทยอย/บริษัทรวม


เอกสารแนบ 1 หมายเหตุ : ชื่อยอ

ชื่อเต็ม

TA

บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

TH

บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด

Nilubon

บริษัท นิลุบล จํากัด

ชื่อยอ AWC

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท มัลติมีเดีย เน็ตเวิรค จํากัด)

AM

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด

True-IDC

TE

บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด

True digital

W7

บริษัท ดับเบิ้ลยู เซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด

T-Pay

Yaikaew TI

บริษัท ใยแกว จํากัด บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ชื่อเต็ม

Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI>

บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท ทีเพย จํากัด Nilubon Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) K.I.N. (Thailand) Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI)

K.I.N.

บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด

TT&D

บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด

TAO

บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด

บริษัท เทเลคอมอีควิปเมนท แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด

UBC

บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

W&W

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

NTU

บริษัท เอ็นทียู (ประเทศไทย) จํากัด

U-NET

บริษัท ยูเน็ต จํากัด

TSC

บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด

ANC

บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท อินเตอรแอคทีฟ มีเดียเซอรวิส จํากัด)

NEC

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอ็นอีซี คอมมิวนิเคชั่น ซิสเทมส จํากัด)

บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

ARM

บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด

TEMCO

Asia DBS AI

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

BITCO

บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทีเอ อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด)

-

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด

-


เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ 31 ธันวาคม 2546)

เธียรวร อรุณานนทชัย คราประยูร นาวิกผล จตุปาริสุทธิ์ เจียรวนนท เมฆไพบูลยวัฒนา พุทธิพรเศรษฐ พรรณศิริ เมธีดล เลาคส เกษมศรี เมอเซอร แฮริส เดชอุดม วงศทองศรี นาคบุตร เสถียรปกิรณกร สายแกว โตทวีแสนสุข พงศประยูร

/ / / / /

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/ / / /

/

/ / /

ARM

/

NEC

/

TSC

/

NTU

/

UBC

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

AM

AWC

AI

Asia DBS

ANC

U-NET

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

TI

Yaikaew

W7

TE

/

TAO

นายมิน นายสุนทร พล.อ.สุจินดา นายมนตรี นายจตุรงค นายขจร นายอาณัติ นายสมชาย นายภัทรพงษ นายสุรพล นายรอลฟ เฮอรแมนน พล.ต.ม.ร.ว.ศุภวัฒน นายแฟรงค ดารเรล นายวิลเลี่ยม อี. นายนพปฎล นายธนะชัย นายถาวร นายภัคพร นายมานิตย นายอติรุฒม นายสําราญ

BITCO

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21.

TH

รายชื่อ

Nilubon

บริษัทยอย

/ / / / /

/

/

/ /

/ /

/

/ /

/ / / /


เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ 31 ธันวาคม 2546)

วุฑฒิสาร รักษวิศิษฏวงศ เพียรพัฒนาวิทย ปารค คิม นันทภัทร ประภากมล กรณเสรี สิงหอุสาหะ วิชากรกุล วิมลวณิชย สนุค เวอรสแตร็ต คาสตานเย บูรกกวง โมท มารเซล คารราติ เดลมอง-เบเบ็ต ฮอลลิเดย เฮยวูด ชี ลุจนานนท

/ / / / /

ARM

NEC

TSC

/ / / / / / / / / / /

/ /

NTU

/ / / / / / / / / /

/ / /

UBC

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

AM

AWC

AI

Asia DBS

ANC

U-NET

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

TI

Yaikaew

W7

TE

TAO

นางทิพวรรณ นายวิศิษฏ นายทรงธรรม นายซึง กิล นายจิน ซก นายชิตชัย นายองอาจ นายเกษม นายธัช นายงามพล นายวัลลภ นายฮันส โรเจอร นายวิลฟรี เอ. นางบริจิต มารี นายริชารด แฟรงค นายมารซีอลั ออนทวน นายปแอร มารี จาก นายเดวิด เจเรอมี นายเจมส แม็กเพอรสนั นายยัง ติ๊ก นายบุญสง

BITCO

22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42.

TH

รายชื่อ

Nilubon

บริษัทยอย


เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ 31 ธันวาคม 2546)

43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54. 55. 56. 57. 58. 59. 60. 61. 62. 63.

นายอภิรักษ นายอีเบ็น นายอันทัวนี อันดรีซ นายจอหน เจมส นายวิสิฐ นางอรัญรัตน นางเพ็ญทิพยภา นายสหาย นางสาวอลิซาเบธ นายสุบิน นายทรงฤทธิ์ นายไพรัช นางดอริส โกลด นายดํารงค นายทวี นายวีระศักดิ์ นายกอศักดิ์ นายพิสิฏฐ นางปรีเปรม นายสุรัตน นายวิโรจน

โกษะโยธิน เกรยลิ่ง รูซ โวลคควิน ตันติสุนทร อยูคง ดุลยจินดา ทรัพยสุนทรกุล หวัง ปนขยัน กุสุมรสนานันท ธัชยพงษ วิบุลศิลป เกษมเศรษฐ เลิศปญญาวิทย ฮุนเมฆาเวทย ไชยรัศมีศักดิ์ ภัคเกษม เสรีวงษ พลาลิขิต ศุภพิพัฒน

/ / / / / / / / / / / / / / / / / / / / /

ARM

NEC

TSC

NTU

UBC

TAO

BITCO

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

AM

AWC

AI

Asia DBS

ANC

U-NET

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

TI

Yaikaew

W7

TE

TH

รายชื่อ

Nilubon

บริษัทยอย


เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ 31 ธันวาคม 2546)

64. 65. 66. 67. 68. 69. 70. 71. 72. 73. 74. 75. 76. 77. 78. 79. 80.

นายยงยุทธ นางอุไรรัตน นายริเอกิ นายคุจิ นายจิน นายอากิฮิซะ นายทาเคโอะ นายคิโยฟูมิ นายเทอเรนส ไมเคิล นายแบรรี่ ไมเคิล นายเดวิด จอรจ นายสฤษดิ์ นายเดชา นายสุพจน นายวันนิวัติ พ.อ.ม.ล. พงษชมพูนทุ พล.อ.บุญเลิศ

ตะริโย บุญอากาศ ทานากะ ฮิเดโนริ อิการะชิ อาริกะ ชิมาดะ คุซากะ คัมเบอรแลนด สมิท เลน จิณสิทธิ์ สิงหชินสุข ลิ้มสวนทรัพย ศรีไกรวิน ทองแถม แกวประสิทธิ์

ARM

NEC

TSC

NTU

UBC

TAO

BITCO

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

AM

AWC

AI

Asia DBS

ANC

U-NET

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

TI

Yaikaew

W7

TE

TH

รายชื่อ

Nilubon

บริษัทยอย

/ / / / / / / / / / / / / / / / /


เอกสารแนบ 2 หมายเหตุ : ชื่อเต็ม

ชื่อยอ TA

บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

TH

บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด

Nilubon

บริษัท นิลุบล จํากัด

AWC

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท มัลติมีเดีย เน็ตเวิรค จํากัด)

AM

บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด

True-IDC

TE

บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด

True digital

W7

บริษัท ดับเบิ้ลยู เซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด

T-Pay

Yaikaew TI

บริษัท ใยแกว จํากัด บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ชื่อเต็ม

ชื่อยอ

Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI>

บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท ทีเพย จํากัด Nilubon Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) K.I.N. (Thailand) Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI)

K.I.N.

บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด

TT&D

บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด

TAO

บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด

บริษัท เทเลคอมอีควิปเมนท แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด

UBC

บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

W&W

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

NTU

บริษัท เอ็นทียู (ประเทศไทย) จํากัด

U-NET

บริษัท ยูเน็ต จํากัด

TSC

บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด

ANC

บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท อินเตอรแอคทีฟ มีเดียเซอรวิส จํากัด)

NEC

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอ็นอีซี คอมมิวนิเคชั่น ซิสเทมส จํากัด)

บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

ARM

บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด

TEMCO

Asia DBS AI

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

BITCO

บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทีเอ อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด)

-

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด

-


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล 1.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการบริหารและผูที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ในสายงานบัญชี

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้ แ ล ว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาด ขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ไดแสดง ขอมูลอยางถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกีย่ วกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด ของบริษัทและบริษัทยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูร บั ผิดชอบตอการจัดใหบริษทั มีระบบการเปดเผยขอมูลทีด่ เี พือ่ ใหแนใจวาบริษัท ไดเปดเผยขอมู ลในสว นที่เป น สาระสํ าคัญ ทั้งของบริษัท และบริษัท ย อยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแล ใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2547 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึง ขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจ มีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตอง ทีเ่ ปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว”

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

149


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ

ตําแหนง

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลายมือชื่อ

1. นายศุภชัย

เจียรวนนท

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร

………………………………………….

2. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ

………………………………………….

3. นายชัชวาลย

เจียรวนนท

กรรมการ และ …………………………………………. ผูอ านวยการบริ ํ หาร- Group Investment

4. นายอธึก

อัศวานันท

รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย และรักษาการเลขานุการบริษัท

………………………………………….

5. นายวิลเลี่ยม อี.

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

150


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายณรงค

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ศรีสอาน

กรรมการอิสระ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

151


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายวิทยา

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

152


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

ดร.โกศล

เพ็ชรสุวรรณ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

153


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายโชติ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

โภควนิช

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

154


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายธนินท

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

ประธานกรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

155


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายสุเมธ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

รองประธานกรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

156


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

ดร.อาชว

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เตาลานนท

รองประธานกรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

157


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายเฉลียว

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สุวรรณกิตติ

รองประธานกรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

158


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายสุภกิต

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

กรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

159


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายอํารุง

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สรรพสิทธิ์วงศ

กรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

160


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายไฮนริช

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ไฮมส

กรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

161


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายเคลาส

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ทุงเคอเลอ

กรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

162


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายเคลาส

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สแตดเลอร

กรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

163


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายอันเดรียส

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

คลอคเคอ

กรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

164


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

นายฮาราลด

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ลิงค

กรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

165


บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวย ความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษทั ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน ขาพเจาไดมอบหมายให นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อ ของ นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว” ชื่อ

ดร. ลี

จี.

แลม

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

กรรมการ

………………………………………….

แฮริส

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

รองผู  อํ านวยการ, หั ว หน า สายงาน …………………………………………. General & Payable Accounting

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

ผูรับมอบอํานาจ นายวิลเลี่ยม

อี.

TATQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

………………………………………….

166


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.