TRUE : FORM 56-1 For the Year 2004 thai

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูล ประจําป 2547 (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)


สารบัญ หนา สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary)

1

สวนที่ 2 บริษัษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย

2

1. ปจจัยความเสี่ยง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ 3.2 การตลาด 3.3 การจําหนายและชองทางการจําหนาย 3.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ 3.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย 4. การวิจัยและพัฒนา 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 8.1 หลักทรัพยของบริษัท 8.2 ผูถือหุน 8.3 นโยบายการจายเงินปนผล 8.4 โครงสรางหนี้สิน 9. การจัดการ 9.1 โครงสรางการจัดการ 9.2 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัท 9.3 รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท 9.4 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน 9.5 บุคลากร 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 ผูสอบบัญชีและนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 12.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม 12.3 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ 12.4 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.5 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ เอกสารแนบ 1: รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล

3 6 18 18 28 30 30 31 40 41 44 45 46 46 55 57 58 79 79 85 91 99 100 103 104 125 125 126 129 131 137 138 139 150 155


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (True Corporation Public Company Limited) (“บริษทั ”) เดิมชือ่ บริษทั เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย ประกอบ ธุรกิจใหบริการสือ่ สารโทรคมนาคม โดยไดทาสั ํ ญญารวมการงานฯ กับองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ปจจุบัน คือ บริษัท ทศท คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) หรือ “ทศท.”) และมีบริษทั ยอยทําสัญญากับ การสือ่ สารแหงประเทศไทย (ปจจุบนั คือ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ “กสท.”) บริษทั ไดแบงการ ดําเนินธุรกิจออกเปน 5 กลุม ไดแก 1) กลุม ธุรกิจโทรศัพทพนื้ ฐาน และบริการเสริม ซึง่ เปนกลุม ธุรกิจหลักของ บริษัท ทํารายไดใหบริษัทประมาณรอยละ 50.40 ของรายไดทั้งหมด 2) กลุมธุรกิจโทรศัพท พืน้ ฐานใชนอกสถานที่ และธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ 3) กลุม ธุรกิจบริการโครงขายขอมูลดิจติ อล 4) กลุม ธุรกิจบริการโครงขายมัลติมเี ดียและบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบรนด) และ 5) กลุมธุรกิจ บริการอินเทอรเน็ตและอีคอมเมิรซ ซึง่ ธุรกิจในขอ 2 - 5 ดําเนินการโดยบริษัทยอยของบริษัท บริษัทมีจดุ มุง หมายที่จะเปนองคกรที่ตอบสนองการสื่อสารเชื่อมโยงกับ ผูบริโภค ผูคน สังคม ระบบเศรษฐกิจ และโลกอยางครบวงจร (Communication Solution Provider) ซึ่งบริษัทไดมี การพัฒนาบริการใหมๆ อยางตอเนือ่ ง โดยยึดถือความตองการของลูกคาเปนสําคัญ (Customer Centric) ทัง้ กลุม ลูกคาธุรกิจและกลุมลูกคาบุคคล ทั้งนี้ สามารถอานรายละเอียดเกีย่ วกับบริษทั ไดในสวนที่ 2 ของ แบบแสดงรายการขอมูลนี้ ซึ่งเปนขอมูลเกี่ยวกับบริษัทในรายละเอียด

ในแบบ 56-1 นี้ คําวา “ทรู” “บริษัท” “บริษัทในเครือ” และ “บริษัทยอย” หมายความถึง บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และ/หรือ บริษัทในเครือ และ/หรือ บริษัทยอย ในกรณีที่มีขอสงสัยวาบริษัทใดเปน ผูรับผิดชอบหรือดําเนินการกิจการหนึ่งกิจการใดที่ปรากฎในแบบ 56-1 นี้ สามารถสงคําถามมาไดที่ ฝายลงทุนสัมพันธ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคาร ทรูทาวเวอร ชั้น 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 66 (0) 2699-2515 โทรสาร 66 (0) 2643-0515 อีเมล Ir office@truecorp.co.th

TRUETB: ขอมูลสรุป

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 2 บริษัษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย

บริษทั ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจ โทรคมนาคม โดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญ เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 เลขทะเบียนบริษัท บมจ. 82

Home Page www.truecorp.co.th

โทรศัพท 66(0) 2643-1111

โทรสาร

TRUETC: บริษัทที่ออกหลักทรัพย

66(0) 2643-1651

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1. ปจจัยความเสีย่ ง ถึงแมทรูจะเล็งเห็นโอกาสในการเติบโตอยางมากในป 2548 แตบริษัทก็ยังคงตองเผชิญกับปจจัยความ เสีย่ งซึง่ อาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินการของบริษัทและบริษัทในเครือ ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ บริษทั และบริษัทในเครือ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทีเอ ออเรนจ ธุรกิจอินเทอรเน็ตและอินเทอรเน็ตความเร็ว สูงหรือบรอดแบนด กําลังเผชิญกับการแขงขันเพิ่มมากขึ้นทั้งจากผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่น รวมทั้ง บมจ. ทศท คอรปอเรชั่น (ทศท) และ ผูใ หบริการอินเทอรเน็ตรายใหมๆ ซึ่งสงผลใหคาบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่และบริการบรอดแบนดลดลงในป 2547 และคาดวาจะยังคงลดลงอยางตอเนื่องใน ปหนา บริษทั คาดวาการแขงขันจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในอนาคต แตบริษัทมีความมั่นใจในความพรอม จาก การเปนผูนํ าในตลาดอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด รวมทั้งการเติบโตอยางรวดเร็วของจํ านวนผูใช บริการของทีเอ ออเรนจ ซึ่งทําใหมรี ายได และผลการดําเนินงานที่ปรับปรุงขึ้นอยางมากในป 2547 นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทางเทคโนโลยีอาจมีผลตอการเติบโตทางธุรกิจของบริษัทและ ทําใหเทคโนโลยีของบริษัทมีขีดความสามารถในการแขงขันลดลง แตจนถึงขณะนี้ยังไมมีเทคโนโลยี ใหมที่อาจสงผลกับธุรกิจของบริษัทอยางมากในลักษณะที่กลาวมาขางตน ความเสีย่ งดานการกํากับดูแลและการเปดเสรีโทรคมนาคม บริษัทและบริษัทยอย ดําเนินกิจการภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุนและ/หรือ ภายใตการได รับการอนุญาตจากบมจ. ทศท คอรปอเรชั่น (ทศท) และ/หรือ บมจ. กสท โทรคมนาคม จํากัด (กสท) แลวแตกรณี โดยความเห็นที่แตกตางกันของบริษัทกับ ทศท และ กสท ในการตีความสัญญารวมการ งานฯ อาจมีผลตอความสามารถในการดําเนินธุรกิจของบริษัท โดยบริษัทมีความเสี่ยงที่สัญญารวมการ งานฯอาจถูกยกเลิกโดย ทศท แตทั้งนี้ ทศท ตองนําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเปนผูชี้ขาดกอน ดําเนินการยกเลิกสัญญา ซึ่งทศท ยกเลิกไดเฉพาะในกรณี บริษัททําผิดกฎหมายอันเกี่ยวกับการ ปองกันภัยพิบตั สิ าธารณะหรือความมั่นคงของรัฐ หรือ บริษัทถูกศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดใน คดีลม ละลาย หรือบริษัทจงใจผิดสัญญารวมการงานฯ ในสาระสําคัญอยางตอเนื่อง เทานั้น

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ภายใตสัญญารวมการงานฯ ทศท เปนผูจัดเก็บรายไดจากลูกคาในโครงขายของบริษัททั้งหมด และ หักสวนหนึ่งของรายไดไว เปนสวนแบงรายได ดังนั้นทศท อาจชะลอการชําระเงินสวนตามสิทธิของ บริษทั หรืออาจหักไวจํานวนหนึ่งเพื่อเปนการชําระคาใชจายใดๆ ที่ ทศท เชือ่ วาบริษัทติดคางอยู ที่ผาน มายังไมมีกรณี ทศท หักเงินไวแตอยางใด ในฐานะทีบ่ ริษทั เปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ ทศท เปนคู สัญญารวมการงานฯกับบริษัทและเปนผูใหบริการโทรคมนาคมโทรศัพทพื้นฐานเชนเดียวกับบริการใน โครงขายของบริษัท ในกรณีที่ผลประโยชนของ ทศท แตกตางจากบริษัท อาจจะมีผลให ทศท ใช อํานาจทีเ่ หนือกวาตามสัญญารวมการงานฯ ดําเนินการใดๆ ทีก่ ระทบตอการใหบริการของบริษัท อาทิ ชะลอการอนุญาตการเปดใหบริการเสริมใหมๆ ของบริษัท ทีผ่ า นมา ทัง้ บริษัทและ ทศท มีขอ พิพาท ระหวางกัน สวนที่ตกลงกันไมไดจึงไดแกไขปญหาขอพิพาทดวยการยื่นคําฟองหรือคําเสนอขอพิพาท เรือ่ งความขัดแยงบางกรณีที่เกิดขึ้นตอศาลปกครองหรืออนุญาโตตุลาการเปนผูตัดสิน แลวแตกรณี ทัง้ นี้ ในเดือน สิงหาคม 2545 บริษัทไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอสํานักงานอนุญาโตตุลาการ กระทรวง ยุติธรรม โดยมีคาขอให ํ ทศท ชําระผลประโยชนตอบแทน (คาเชื่อมตอโครงขาย) จากการที่ ทศท นําบริการพิเศษ มาใชผานโครงขายของบริษัทตามสัญญารวมการงานและรวมลงทุน และเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2547 บริษทั ไดยนื่ คําเสนอขอพิพาทตอสํานักงานอนุญาโตตุลาการ กระทรวงยุติธรรม โดยมี คําขอให ทศท ชําระสวนแบงรายไดคาบริการโทรศัพทสาธารณะในสวนของเลขหมายที่ติดตั้งเกินกวา 20,000 เลขหมาย นอกจากนั้น เมือ่ วันที่ 28 มกราคม 2548 บริษทั ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอสํานัก งานอนุญาโตตุลาการ กระทรวงยุติธรรม โดยมีคําขอให ทศท ชําระสวนแบงรายไดคาโทรทางไกล ระหวางประเทศขาเขาใหแกบริษัทใหถูกตองตามเงื่อนไขของสัญญารวมการงานฯ ในขณะที่ ทศท ยืน่ คําเสนอขอพิพาทตอสํานักงานอนุญาโตตุลาการ เมือ่ วันที่ 23 กรกฎาคม 2547 เรียกรองใหบริษัทชําระคาโฆษณาตราสัญลักษณของบริษัทที่ตูโทรศัพทสาธารณะ และเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2547 ทศท ไดยนื่ คําเสนอขอพิพาทตอสํานักงานอนุญาโตตุลาการ เรียกรองใหบริษัทชําระ คาโฆษณาตราสัญลักษณของบริษัทในใบแจงหนี้ และใบเสร็จรับเงิน การเปดเสรีธุรกิจโทรคมนาคมไทยนาจะทําใหความขัดแยงเรื่องของผลประโยชนลดลงและหมดไปในที่ สุด แตการดําเนินการตางๆ ภายหลังการเปดเสรีอาจทําใหบริษัทเสียเปรียบผูประกอบการรายอื่น นอกจากนั้น นโยบายบางประการที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทช) จะประกาศใช อาจทําให บริษทั มีตน ทุนในการดําเนินงานเพิ่มมากขึ้นหรือทําใหอุตสาหกรรมโทรคมนาคมมีการแขงขันเพิ่มขึ้น TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ความเสี่ยงทางดานการเงิน การดําเนินงานของบริษัทอาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตางๆ สัญญาเหลานี้อาจ ทําใหบริษัทเสียโอกาสทางธุรกิจหรือทําใหเจาหนี้เรียกรองใหบริษัทชําระหนี้กอนกําหนด หาก ทศท ยกเลิกขอตกลงตามสัญญารวมการงานฯที่มีกับบริษัท กลาวคือ ทศท ตองเสนอขอพิพาทให อนุญาโตตุลาการชี้ขาดวา ทศท มีสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายที่จะยกเลิกขอตกลงตามสัญญารวมการ งานฯได ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษัทมีภาระหนีจ้ ํานวนทั้งสิ้นประมาณ 84,000 ลานบาท โดยเปนเงินกู สกุลเยนและดอลลารสหรัฐ ในจํานวนประมาณรอยละ 13 นอกจากนัน้ บริษัทยังมีรายจายลงทุนบาง สวนเปนเงินตราตางประเทศ โดยในป 2547 บริษัทมีรายจายลงทุนรวมประมาณ 4,000 ลานบาท และ มีรายจายลงทุนที่เปนเงินตราตางประเทศในสัดสวนประมาณรอยละ 40 ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ อาจจะทําใหภาระหนี้ ดอกเบี้ยจาย หรือรายจายลงทุน ที่คิด เปนเงินบาท มีจํานวนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ บริษัทมีหนี้สินในสัดสวนประมาณรอยละ 50 เปนหนี้สินทีม่ อี ตั ราดอกเบี้ยลอยตัว ดังนั้น หากอัตราดอกเบี้ยปรับตัวเพิ่มขึ้น จะมีผลทํ าใหบริษัทมีภาระดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ความเสี่ยงดังกลาวอาจลดลงในระดับหนึ่ง เนื่องจากหนี้สินของทีเอ ออเรนจ ซึง่ คิดเปนสัดสวน ประมาณรอยละ 37 ของหนี้สินรวม มีอตั ราดอกเบี้ยลอยตัว โดยกําหนดใหมีสวนเพิ่ม (margin) ในป ตอๆไปลดลง หาก ทีเอ ออเรนจ มีผลการดําเนินงาน เปนไปตามเงื่อนไขที่ไดกําหนดไวในสัญญาเงินกู

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ ประวัติความเปนมา การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ ทรู คือ ผูใหบริการสื่อสารครบวงจรรายหนึ่งในประเทศไทย และเปนหนึ่งในแบรนดที่ แข็งแกรงที่สุดของประเทศ เริม่ กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2533 เพื่อดําเนินการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจนซอม บํ ารุ ง และรั ก ษาอุ ปกรณในระบบ สํ าหรับการบริก ารโทรศัพ ทพื้น ฐาน 2.6 ลา นเลขหมาย ใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภายใตสัญญารวมการงานฯ เปนระยะเวลา 25 ป นับจากนั้นมาทรู มีการเติบโตอยางรวดเร็ว และสามารถตอบสนองทุกไลฟสไตล ตามความตองการของลูกคา กลุมบริษัทในเครือของทรู ประกอบดวย บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู มัลติมเี ดีย จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“ยูบีซี”) และอื่นๆ ทัง้ นี้ ทรูไดรับการสนับสนุนเปนอยางดี จากเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรทีใ่ หญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือหุนทรู ในอัตราประมาณรอยละ 36.08 กลุมบริษัททรูสามารถใหบริการครอบคลุมกลุมลูกคาทั่วไป กลุมธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม รวมถึงกลุมธุรกิจขนาดใหญ ดวยบริการสื่อสารโทรคมนาคมอยางครบวงจรทั้งมีสายและ ไรสาย ไดแก บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทพื้นฐาน อินเทอรเน็ต บริการโครงขายสื่อสารขอมูล และ บริ ก ารด า นเนื้ อ หาและข อ มู ล ที่ ส ามารถตอบสนองความต อ งการของลู ก ค า แต ล ะกลุ  ม ได อ ยา ง เหมาะสม ทรูเปนผูใ หบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดย มีสว นแบงการตลาดรอยละ 56 และเปนผูใหบริการบรอดแบนดหรืออินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายใหญที่ สุดของประเทศ โดยมีสวนแบงการตลาดมากกวารอยละ 85 รวมทัง้ เปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตชั้นนํา สําหรับทีเอ ออเรนจ ไดมีการเติบโตอยางรวดเร็ว และเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ เปน อันดับที่สามของประเทศ บริษทั เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในเดือนธันวาคม 2536 ในชื่อ บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) มีชื่อยอหลักทรัพยวา TA โดยมีรายไดในปนั้น จํานวนประมาณ 2,000 ลานบาท และมีพนักงานจํานวน 1,500 คน ณ 31 ธันวาคม 2547 กลุมบริษัททรู (ซึ่งไดเปลีย่ นชื่อ รวมถึงชื่อยอหลักทรัพยเปน TRUE ใน เดือนเมษายน 2547) มีรายไดมากกวา 4 หมื่นลานบาท (เมื่อรวม 100% ของรายไดจาก ทีเอ ออเรนจ และ ยูบซี )ี โดยมีมูลคาหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยรวมประมาณ 33,100 ลานบาท และมีสินทรัพย ทัง้ หมดมากกวา 1 แสนลานบาท และจํานวนพนักงานกวา 8,000 คน

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าคั ํ ญในสวนทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจและการบริหารงาน พัฒนาการที่สําคัญป 2547 ธันวาคม 2547

ทีเอ ออเรนจ มีผใู ชบริการประมาณ 3.4 ลานราย ซึ่งสูงกวาเปาหมายทีไ่ ดตงั้ ไว ทรู ประสบความสํ าเร็จ ในการเสนอขายหุนใหมแกนักลงทุนในวงจํากัด สามารถระดมทุนไดจํานวนประมาณ 2.7 พันลานบาท จากการเสนอขายหุน จํานวน 398 ลานหุน ทีร่ าคา 6.80 บาทตอหุน โดยวิธี Accelerated Global Tender (AGT) เปนครัง้ แรกในประเทศไทย ซึ่งมีผูแสดงความจํานงตองการ ซือ้ หุน ทรูมากกวา 7 เทาของจํานวนหุนที่เสนอขาย เงิ น จากการเพิ่ ม ทุ น ในครั้ ง นี้ ส ว นใหญบ ริ ษั ท ไดนํ าไปใช เ พื่ อ การปรั บ โครงสร า งหนี้ ข องบริ ษั ท ย อ ยกั บ เจา หนี้แหง หนึ่ ง ซึง่ ทํ าให ก ลุ  ม บริ ษั ททรู (ไมรวมทีเอ ออเรนจ) สามารถลดหนี้สินโดยรวมไดประมาณ 9.3 พันลานบาท ในป 2547 ทัง้ นี้ หากรวมกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ดังกลาวจํานวนรวม ประมาณ 2.7 พันลานบาท

พฤศจิกายน 2547

ทรู เปนผูใ หบริการอินเทอรเน็ตรายใหญที่สุดในประเทศ ดวยจํานวนลูกคา มากกวา 1 ลานราย

ตุลาคม 2547

ทรูประกาศความรวมมือกับ ยูบีซี เพื่อวางแผนเปดใหบริการ บรอดแบนดทีวี เปนรายแรก

กันยายน 2547

ทรู ประสบความสําเร็จในการเจรจาจัดหาเงินกูระยะยาวใหแกทีเอ ออเรนจ ทําใหสามารถเพิ่มสัดสวนการถือหุนในทีเอ ออเรนจเปน รอยละ 83 ทรู ประกาศความรวมมือกับบริษัท NCsoft ผูน าในการพั ํ ฒนาและผูผลิตเกม ออนไลนชนั้ นําระดับโลก จากประเทศเกาหลี ตั้งบริษัทรวมทุน “NC True” เพือ่ ใหบริการเกมออนไลน โดยมี Lineage II เปนเกมแรก

สิงหาคม 2547

ทรู ประกาศเพิม่ เงินลงทุน 6 พันลานบาทในทีเอ ออเรนจ เพื่อขยายเครือขาย และพืน้ ทีก่ ารใหบริการใหครอบคลุมถึงรอยละ 90 ของประชากรทั้งประเทศ

มิถุนายน 2547

ทรูประสบความสําเร็จในการระดมเงินทุนสุทธิจากการเสนอขายหุนกูมีประกัน สกุลเงินบาท เปนจํานวนเงิน 2.4 พันลานบาท โดยบริษัทไดนําเงิน ดังกลาวไปชําระคืนเงินกูแก Kreditanstalt Fur Wiederaufbau (KfW)

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พฤษภาคม 2547

เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ของ ทีเอ ออเรนจ ไดรับการจัดอันดับวาเปนเครือ ขายดีที่สุดในกรุงเทพมหานคร โดยทีมทดสอบจากคณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

เมษายน 2547

เทเลคอมเอเซีย เปลี่ยนชื่อเปน ทรู ซึ่งเปนการปรับเปลี่ยนจากภายในสู ภายนอก เพื่อใหบริษัทสามารถเติบโตไดอยางแข็งแกรงตอไปในอนาคต ทรู เปดตัว “All Together Bonus” ใหลกู คาที่ใชโทรศัพททรู WE PCT และ อินเทอรเน็ต สามารถนําคาใชบริการทั้งหมด ขอรับโบนัสโทรฟรีจาก ทีเอ ออเรนจได

พัฒนาการที่สําคัญกอนป 2547 ธันวาคม 2546

บริษทั เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (AWC) ผูใ หบริการ PCT รวมกับ บริษทั เคดีดไี อ ซึ่งเปนบริษทั แมของบริษทั ดีดไี อ-พ็อคเก็ต ผูใ หบริการโทรศัพท ระบบ PHS รายใหญทสี่ ดุ ในประเทศญีป่ นุ เปดใหบริการเชือ่ มโยงโครงขาย ขาม แดนระหวางระบบ PHS ของ ดีดไี อ-พ็อคเก็ต และระบบ PCT ของ AWC ซึง่ ทํา ให ลู ก ค า สามารถใช บ ริ ก ารทั้ ง ด า นเสี ย งและขอมูลได ทั้ง ที่ญี่ปุนและใน กรุงเทพมหานคร ลดคาบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงลงมา ในราคาเริม่ ตนเพียง 550 บาทตอ เดือน สําหรับบริการทีใ่ หความเร็วในการรับสงขอมูลทีร่ ะดับ 256 กิโลบิตตอ วินาที (Kbps) ภายหลังการขยายเครือขายใหครอบคลุมมากขึน้ พรอมทัง้ เปดให บริการ TA Cable Modem ในตางจังหวัดอันไดแก เชียงใหม ขอนแกน โคราช และหาดใหญ ในราคาพิเศษ เริม่ ขยายงานไปสูธ รุ กิจ เกมสออนไลน โดยไดทาสั ํ ญญากับบริษทั Triglow Pictures Company Limited แหงประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เพือ่ สิทธิการให บริการเกม PristonTale ในประเทศไทย ซึง่ นับเปนกาวสําคัญของบริษทั ในการ กาวสูก ารเปน Content Aggregator ซึง่ จะทําใหบริษทั สามารถนําเสนอขอมูล (Content) ตางๆ พรอมกับบริการอืน่ ๆ ใหแกลกู คาทัว่ ไป ในลักษณะ Home Solution โดยบริษทั ไดเริม่ เปดใหบริการจริงในชวงปลายป 2546 ภายใตบริษทั ทรู ดิจติ อล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด ซึ่งเปนบริษทั ยอยทีจ่ ดั ตัง้ ใหม โดย ANC เปนผูถ อื หุน ในสัดสวนรอยละ 99.99

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พฤศจิกายน 2546

ในการประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2546 มีมติใหเปลี่ยนชื่อบริษัท เปน “บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํ ากัด (มหาชน) หรือ True Corporation Public Company Limited“ ซึ่งการเปลี่ยนชื่อบริษัทจะมีผลบังคับใชเมื่อ บริษัทฯไดจดทะเบียนตอกระทรวงพาณิชยเปนที่เรียบรอยแลว วันที่ 1 เมษายน 2547 นับเปนการดํ าเนินการเพื่อใหสอดคลองกับการปรับ เปลี่ยนทิศทางธุรกิจ โดยยึดลูกคาเปนสําคัญ (Customer Centric) และ เปนองคกรที่เปนคําตอบในการสื่อสารเชื่อมโยงผูคน สังคม ระบบเศรษฐกิจ และโลก ใหกับลูกคาไดอยางครบวงจร (Communication Solutions Provider) ซึง่ ครอบคลุมบริการโทรคมนาคมทั้งประเภทมีสายและไรสาย

ตุลาคม 2546

เปดใหบริการในรูปแบบของ TA easy Click อีก 3 บริการ ไดแก TA easy Ragnarok และ TA easy Mail และ TA easy Entrance และตามดวย TA easy Pristontale และ TA easy PCT ในเวลาตอมา ลงนามในสัญญาเงินกูว งเงิน 21,419 ลานบาท กับกลุม ธนาคารพาณิชยใน ประเทศไทย เพือ่ ใชคนื เงินกูส กุลเงินบาทเดิมจํานวนเทากัน โดยเงินกูใ หม มีอตั ราดอกเบีย้ ทีต่ ากว ํ่ าวงเงินกูเ ดิมทําใหบริษทั สามารถลดคาใชจา ยดอกเบีย้ ไดประมาณปละ 200 ลานบาท รวมทัง้ ขยายเวลาในการชําระหนี้ และมีความ คลองตัวในการดําเนินงานเพิม่ ขึน้

กันยายน 2546

ลดคาบริการโทรทางไกลในประเทศ ผานการจัดโปรโมชัน่ รวมกับบริษทั ทศท คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และ บริษทั ทีทแี อนดที จํากัด (มหาชน) เปน ระยะเวลา 3 เดือนระหวาง 1 กันยายน – 30 พฤศจิกายน 2546 โดยกําหนดอัตรา คาบริการโทรศัพทพนื้ ฐานเปน 2 รูปแบบ โดยในรูปแบบทีส่ องมีอตั ราการเรียก ออกไปยังโทรศัพทเคลือ่ นทีแ่ ละการโทรทางไกลภายในประเทศที่ 3 บาทตอนาที ทัว่ ประเทศ ซึ่งตอมามีการขยายระยะเวลาของโปรโมชัน่ ดังกลาว โดยมีอตั ราคา บริการตามทีก่ าหนดในข ํ อตกลงเปนอัตราเพดานสูงสุดทีฝ่ า ยใดฝายหนึง่ จะคิด คาบริการเกินอัตราดังกลาวไมได ขอตกลงโปรโมชัน่ ดังกลาวจะสิน้ สุดลงใน วันที่ 30 มิถนุ ายน 2548

สิงหาคม 2546

เปดใหบริการ PCT Next ที่สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบไรสาย ดวยความเร็วคงที่ในอัตรา 32 Kbps โดยใช PCT Next Data Card เชื่อมตอผาน PDA และ Note Book เปดใหบริการรวมบิล (Billing Solution) สําหรับบริการตางๆ ภายในกลุม บริษทั เพือ่ เพิม่ ความสะดวกแกลกู คา โดยเริม่ จากการรวมบิลคาบริการโทรศัพทพนื้ ฐาน และบริการ TA easy Click และตามดวยบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง และ บริการอืน่ ๆ ตอไป

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

กรกฎาคม 2546

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เปดตัวบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบใหม ภายใตชอื่ “hi-speed Internet” solution ซึง่ รวมบริการ Broadband and Internet Access เขาดวยกันเพือ่ ความ สะดวกแกลกู คา และสามารถเชือ่ มตออินเทอรเน็ตความเร็วไดตงั้ แต 128 Kbps ไปจนถึง 8 Mbps และในเวลาเดียวกันไดเปดตัว TA Station บริการอินเตอรเน็ต ความเร็วสูงสาธารณะ ณ วันที่ 17 กรกฎาคม 2546 บริษัท ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศ ไทย) จํากัด ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญรายหนึ่งของบริษัทไดประกาศขายหุน ของบริษทั ที่ถืออยูทั้งหมดจํานวน 369,500,126 หุน หรือคิดเปนอัตรารอย ละ 10.001 ของทุนที่ออกและเรียกชําระแลวของบริษัท ใหแก Golden Tower Trading Limited (ซึ่งเปนบริษัทที่รายงานการถือหุนในกลุม เดียว กันกับบริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ) และ Mission Gain Investments Ltd. ซึง่ สงผล ใหกลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑมสี ดั สวนการถือครองหุน ของบริษทั เพิม่ ขึน้ เปนรอยละ 45.03 ของทุนทีอ่ อกและเรียกชําระแลว ทัง้ นีก้ ารขายหุน ของบริษทั โดยไนเน็กซเปนไปตามนโยบายของ Verizon Communication, Inc. ทีต่ อ งการ เนนการทําธุรกิจเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึง่ ไมสง ผลกระทบตอการดําเนินงานของ บริษทั แตอยางใด

มิถนุ ายน 2546

เปดใหบริการ “TA Caller ID” ซึง่ เปนบริการเสริมของโทรศัพทพื้นฐานที่ แสดงหมายเลขเรียกเขา เปดตัวบริการ Broadband ไรสายภายใตชอื่ “TA WiFi” โดยเซ็นสัญญารวม กับศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ เพื่อติดตั้งเปนแหงแรก

เมษายน 2546

ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 ไดมีมติอนุมัติใหลดทุนจดทะเบียน จาก 44,461.18 ลานบาท เปน 38,897.79 ลานบาท โดยการยกเลิกหุน สามัญ ที่ไดจดทะเบียนไวแลวแตยังไมไดจํ าหนายจํ านวนทั้งสิ้น 556.34 ลาน หุน แลวเพิ่มทุนใหมจาก 38,897.79 ลานบาท เปน 43,892.28 ลาน บาท โดยการออกหุนสามัญใหมจํ านวน 499.45 ลานหุน มูลคาที่ตรา ไวหุนละ 10 บาท เพื่อเสนอขายใหแกบุคคลในวงจํ ากัดจํ านวน 450 ลานหุน และเสนอขายใหแก International Finance Corporation (“IFC”) จํ านวน 29.59 ลานหุน รวมทั้งสํ ารองไวสํ าหรับการใชสิทธิของผู ถื อ ใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ อ อกและเสนอขายแก ก รรมการและพนักงาน ระดับสูงตามโครงการ ESOP 2003 จํ านวน 19.86 ลานหุน ANC ไดรว มลงทุนในสัดสวนรอยละ 70 ในบริษทั ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด หรือ ทรู ไอดีซี กับพันธมิตรโทรคมนาคมชัน้ นําจากประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต) ไดแก บริษทั DACOM Corporation และบริษทั

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

Korean Internet Data Center หรือ KIDC ซึ่งเปนบริษทั ยอยของ DACOM และ เปนผูใ หบริการธุรกิจ Internet Data Center หรือ IDC ทีใ่ หญทสี่ ดุ ในเอเชีย เพือ่ เปดใหบริการรับฝากขอมูลทางอินเทอรเน็ตในประเทศไทยดวยระบบสํารอง ขอมูลสมบูรณแบบ (Full Redundancy) ซึง่ จะทําใหบริษทั สามารถใหบริการ อินเตอรเน็ตไดอยางครบวงจร โดยคาดวาจะเปดใหบริการภายในตนป 2547 มีนาคม 2546

บริษัท เอเซียเน็ต คอรปอเรชั่น จํ ากัด (ANC) ซึง่ เปนบริษัทยอย รวมกับ บริษัท เปดใหบริการอินเทอรเน็ตที่สะดวกตอการใชงาน ภายใตชื่อ “TA easy Click” ซึ่งเปนบริการเฉพาะผูใชโทรศัพทพื้นฐานของบริษัท โดยมี คาบริการเปนนาที และจะเรียกเก็บคาบริการภายหลังการใชงาน รวมกับ บิลคาโทรศัพทพื้นฐาน เปดใหบริการนํ าเอาหมายเลข PCT ที่มีอยูหลายๆเครื่องมาจัดเขาเปน กลุม (Wireless Group Call) โดยสามารถโทรในกลุมเดียวกันโดยกด เลขหมายพิเศษเพียง 4 หลัก คิดคาบริการเหมาจายรายเดือน และไม จํากัดการโทรภายในกลุมเดียวกัน ซึ่งเปนบริการที่เหมาะกับลูกคาประเภท ธุรกิจ

กุมภาพันธ 2546

ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ 2546 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาทครั้งที่ 1/2546 ซึ่งเปนการออกหุนกูชุดที่ 3 รวมเปนจํ านวนเงิน 3,319 ลานบาท และ ไดนํ าเงินจํ านวนดังกลาวไปชํ าระคืนเงินกูสกุลเหรียญสหรัฐที่คงคางอยู ทั้งหมดกอนกํ าหนดจํ านวนประมาณ 78 ลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งทํ าให บริษัทลดความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ไดเกือบทั้งหมด

มกราคม 2546

บ ริ ษั ท ไ ด  ปรั บ เ ป ลี่ ย น โ ค ร ง ส ร  า ง อ ง ค  ก ร เ พื่ อ ก  า ว สู  ก า ร เ ป  น Communication Solutions Provider และสนองตอบความตองการของ ลูกคาเปนสํ าคัญ (Customer Centric) โดยไดแตงตั้งผูบริหารระดับสูง รับผิดชอบกลุมลูกคา 3 กลุมหลัก คือ กลุมธุรกิจขนาดใหญ กลุมธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม และ กลุมลูกคาบุคคล

ธันวาคม 2545

ซือ้ คืนตัว๋ เงินจายสกุลเงินเยนญีป่ นุ เปนเงิน 3.6 พันลานบาท (10.1 พันลานเยน) โดยไดรับสวนลดในอัตรารอยละ 81.3 ของมูลคาทางบัญชี ทําใหบริษัทได รับผลกําไรจากการซือ้ คืนครัง้ นี้ เปนเงินประมาณ 3.1 พันลานบาท ในงบการเงิน ประจําไตรมาสที่ 4 ป 2545

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ตุลาคม 2545

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประสบความสําเร็จในการออกหุน กูส กุลเงินบาทเปนเงินทัง้ สิน้ 18,465 ลานบาท ซึง่ เปนการออกหุน กูท มี่ มี ลู คาสูงเปนอันดับ 1 ทีม่ กี ารจัดอันดับความนาเชือ่ ถือ โดย TRIS และเปนหุนกูที่ออกจําหนายโดยภาคเอกชนที่มีมูลคาสูงเปน อันดับที่ 2 ของประเทศไทย ชําระคืนเงินกูกอนกําหนดเปนเงิน 452 ลานดอลลารสหรัฐ หรือคิดเปนเงิน บาท 19,590 ลานบาท ซึ่งเปนเงินทีไ่ ดมาจากการออกหุน กูจ านวน ํ 18,465 ลาน บาท และเปนเงินกูส กุลเงินบาทจาก IFC เปนจํานวนเงิน 1,125 ลานบาท เสนอขายหุนสามัญใหมใหผูถือหุนเดิม โดยมีผูถือหุนเดิมจองซื้อหุนทั้งสิ้น 461,997,236 หุน คิดเปนรอยละ 85.76 ของจํานวนหุนทั้งหมดที่เสนอขาย บริษัทไดทําการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชําระแลวจาก 32,325 ลาน บาท เปน 36,945 ลานบาท อันเนือ่ งมาจากการออกและเสนอขายหุน สามัญ ครัง้ นี้

กันยายน 2545

บริษัทไดนําเงินจากการจองซื้อหุนจํานวน 3,003 ลานบาท ไปลงทุนใน ธุรกิจของบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด โดยผานบริษัท กรุงเทพอินเตอร เทเลเทค จํ ากัด ทํ าใหสัดสวนการถือหุนของบริษัทในบริษัท กรุงเทพ อินเตอรเทเลเทค จํากัด เพิ่มขึ้นจากรอยละ 41 เปนประมาณรอยละ 44 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2545 ไดมมี ติอนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนจดทะเบียน จาก 34,278 ลานบาท เปน 44,461 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญใหม จํานวน 1,018 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท เพื่อใชในการลงทุนเพิ่มเติม ใน ทีเอ ออเรนจ บางสวน และจายชําระคืนเงินกูบางสวน เปดใหบริการ Broadband สําหรับลูกคาธุรกิจ ภายใตชื่อ “TA Metronet” ซึง่ ใชเทคโนโลยี Fiber-to-building ที่สามารถสงผานขอมูลดวยความเร็วสูง 512 Kbps ถึง 1 Gbps สําหรับลูกคาแตละราย

สิงหาคม 2545

ลงนามในบันทึกขอตกลงเบื้องตน กับบริษัทชั้นนําของประเทศ 10 บริษัท ซึง่ เปนผูใ หบริการในดานตางๆ ไดแกขอ มูล บันเทิง สุขภาพ การเงินและอืน่ ๆ เพื่อรวมกันสงเสริมและพัฒนาบริการตางๆ สําหรับชุมชน Broadband กลุมแรกของไทย

กรกฎาคม 2545

บริษัท เทเลคอม โฮลดิง้ จํากัด และบริษัทยอยบางแหงไดรวมลงนามใน สัญญาปรับโครงสรางหนี้กับกลุมเจาหนี้เพื่อฟนฟูสภาพหนี้สิน ชําระคืนเงินกูล วงหนาเพิ่มเติมเปนเงินจํานวน 345 ลานบาท ดวยกระแส เงินสดของบริษัท

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เมษายน 2545

บริษทั ไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหติดตั้งและใหบริการโทรศัพทสาธารณะ เพิม่ จํานวน 6,000 เลขหมาย ทําใหสามารถใหบริการโทรศัพทสาธารณะ จํานวนรวม 26,000 เลขหมาย

มีนาคม 2545

ทีเอ ออเรนจ ซึ่งบริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 41 เปดใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ภายใตชื่อ Orange อยางเปนทางการ ชําระคืนเงินกูล วงหนาเพิ่มเติมเปนเงินจํานวน 948 ลานบาท ดวยกระแส เงินสดของบริษัท

ธันวาคม 2544

บริษทั ไดทําสัญญาเงินกูบาทฉบับใหม (New Baht Agreement) จํานวน 5,000 ลานบาท เพือ่ ชําระคืนเงินกูเงินสกุลตางประเทศ เพื่อลดความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

ตุลาคม 2544

การแลกหุน เพือ่ การเขาถือหุน รอยละ 41 ใน บริษทั กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (“BITCO”) ซึง่ ถือหุน เปนสัดสวนรอยละ 99.81 ของบริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด (เดิมคือ บริษัท ซีพี ออเรนจ จํากัด) บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด เปน ผูใ หบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ GSM 1800 ที่ไดรับอนุญาตจากการ สือ่ สารแหงประเทศไทย (“กสท.”)

กันยายน 2544

เขาทํารายการ Swap กับ KfW จํานวนประมาณ 97 ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อ ชําระคืนเงินกูเ ปนเงินสกุลบาท เพื่อลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ตราตางประเทศ

กรกฎาคม 2544

บริษัทยอยเปดใหบริการโครงขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวย บริการ ADSL บริการ Cable Modem และ บริการ TA Megaport ชําระคืนเงินกูก อ นกําหนดเพิ่มเติมเปนเงินจํานวน 368 ลานบาท ดวย กระแสเงินสดของบริษัท

เมษายน 2544

บริษัทยอยเปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่แบบจายลวงหนา หรือ Prepaid PCT ภายใตชื่อ “PCT Buddy”

กุมภาพันธ 2544

ชําระคืนเงินกูก อ นกําหนดเปนเงินจํานวน 532 ลานบาท ดวยกระแสเงินสด ของบริษัท

พฤศจิกายน 2543

ประกาศใชอัตราคาบริการสําหรับบริการโทรศัพททางไกลตางจังหวัดราคา ประหยัดภายใตชื่อ “TA 1234”

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สิงหาคม 2543

เปดใหบริการ ClickTA ซึง่ เปนทางเลือกใหมของบริการอินเตอรเน็ตสําหรับ ผูใ ชโทรศัพทพนื้ ฐานของบริษทั ซึ่งสามารถใชบริการไดโดยมีคา บริการตํา่ ไมจากั ํ ดจํานวนการใชงาน แตมกี าร Disconnect การเชือ่ มตอทุก ๆ 2 ชัว่ โมง

มีนาคม 2543

ปรับโครงสรางหนีเ้ สร็จสมบูรณ โดย Kreditanstalt fur Wiederaufbau (“KfW”) ซึง่ เปนเจาหนีต้ างประเทศรายใหญไดซื้อหุนบุริมสิทธิเพิ่มทุนจํานวน 702 ลานหุน หรือสัดสวนรอยละ 24 ของจํานวนหุนรวมหลังการเพิ่มทุนคิดเปน จํานวนเงิน 150 ลานเหรียญสหรัฐ

พฤศจิกายน 2542

เปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (PCT) อยางเปนทางการ

พฤษภาคม 2541

ยูทวี ี รวมกิจการกับบริษัท อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“IBC”) ทําใหเปนผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก รายใหญภายใตชื่อ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“ยูบีซี”)

มกราคม 2540

ไดรับอนุญาตใหเปดบริการโทรศัพทสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล

สิงหาคม 2539

ทศท.ไดลงนามในขอตกลงแนบทายสัญญารวมการงานฯ อนุญาตใหบริษัท ใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (PCT)

พฤษภาคม 2539

ทศท.ไดลงนามในขอตกลงแนบทายสัญญารวมการงานฯ อนุญาตใหบริษัท ใหบริการเสริมตาง ๆ เชน โครงขายขอมูลดิจิตอล และ บริการเสริม TA Connex

กันยายน 2538

ทศท.ไดลงนามในสัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญารวมการงานฯ บริษทั ติดตั้งโทรศัพทพื้นฐานเพิ่มไดอีก 600,000 เลขหมาย

มีนาคม 2538

เริม่ ใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก โดยบริษทั ยูทวี ี เคเบิล เน็ตเวิรค จํากัด (มหาชน) (“ยูทีวี”) ซึ่งเปนบริษัทยอย

ธันวาคม 2536

เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยดวยทุนจดทะเบียน 22,230 ลานบาท

กรกฎาคม 2535

บริษทั ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จํากัด เขาถือหุนในบริษัท ในอัตรารอยละ 15

ธันวาคม 2534

กอตัง้ บริษทั เทเลคอม โฮลดิง้ จํากัด เพือ่ การลงทุนในธุรกิจดานโทรคมนาคม

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

อนุญาตให

14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สิงหาคม 2534

ทศท. ไดลงนามในสัญญาใหบริษัทเปนผูรวมดําเนินการลงทุน เพื่อการ ติดตั้งโทรศัพท 2 ลานเลขหมายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงการซอมและบํารุงรักษา เปนระยะเวลา 25 ป

พฤศจิกายน 2533

กอตัง้ บริษัทดวยทุนจดทะเบียน 1,000 ลานบาท

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท บริษทั ยอยและบริษัทรวม ในปจจุบันกลุมบริษัทมีการประกอบธุรกิจในกลุมธุรกิจใหญๆ ดังนี้ 1. ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริม 2. ธุรกิจโทรศัพทพนื้ ฐานใชนอกสถานที่ (PCT) และบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่ (TA Orange) 3. ธุรกิจโครงขายขอมูลดิจิตอล 4. ธุรกิจโครงขายมัลติมีเดียและ Broadband 5. ธุรกิจอินเทอรเน็ต Content และ Application 6. ธุรกิจอืน่ ๆ เชนบริการ ศูนยบริการลูกคา (Call Center) ครบวงจร

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางตามธุรกิจของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมายบริการเสริม และบริการสื่อสารขอมูล บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ และโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด Q บริษท ั กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด - บริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด - บริษทั ทีเอ ออเรนจ รีเทล จํากัด Q

ธุรกิจบริการ โครงขายมัลติมีเดีย และบริการบรอดแบนด Q

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูล บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) Q บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด Q

ธุรกิจบริการอินเทอรเน็ต บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด Q บริษท ั ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด Q บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด Q บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด Q

Q

ธุรกิจอื่น ธุรกิจการกอสรางและจัดจําหนาย Q บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด ธุรกิจใหเชา Q บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด Q บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนต จํากัด ธุรกิจอื่นๆ Q บริษท ั เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด Q บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด Q บริษัท ที เพย จํากัด

หมายเหตุ : บริษัทที่ไมมีกิจกรรมทางธุรกิจ กลุม ที่จดทะเบียนในประเทศไทย ไดแก บริษทั เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด, บริษัท ใยแกว จํากัด, บริษัท เอเชีย ดีบเี อส จํากัด (มหาชน) , บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด , บริษัท ยูเน็ต จํากัด , บริษัท เทเลคอมอีควิปเมนท แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด, บริษัท สองดาว จํากัด กลุม ที่จดทะเบียนในตางประเทศ ไดแก Telecom International China Co., Ltd., TA Orient Telecom Investment Co., Ltd.,Telecom Asia (China) Co.,Ltd., K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. ,และ บริษัท นิลุบล จํากัด TATE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางรายไดตามกลุมธุรกิจ %การถือ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม หุน 2547 2546 2545 ของบริษัท ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %

กลุมธุรกิจ/ดําเนินการโดย

1.

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริม

1

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 2.

รายได 16,632 50.4% 16,893 60.4% 16,125 62.5% ธุรกิจบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่และโทรศัพทเคลื่อนที่

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด 3.

รายได ธุรกิจบริการโครงขายมัลติมีเดียและบริการบรอดแบนด

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 4.

รายได

90.45%

11,730 35.5%

7,228 25.9%

6,096 23.6%

1,408 4.3%

1,097 3.9%

954 3.7%

1 ,029 3.1%

1,183 4.2%

1,199 4.7%

887 2.7%

471 1.7%

198 0.8%

ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูล

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน ) บริษัท ทรู มัลติมีเดี ย จํากัด 5.

87.50% 99.99% 82.86%

รายได

90.45%

ธุรกิจบริการอินเทอรเน็ต

บริษัท ทรู อินเทอร เน็ ต จํากัด บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษทั ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท ทรู อินเท อรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด รายได 6. ธุรกิจอื่นๆ

99.99% 65.00% 99.99% 70.00%

บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนต จํากัด บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัทอื่นๆ

99.99% 99.99% 87.50%

รวมรายได

รายได

1,324 4.0% 1,078 3.9% 1,203 4.7% 33,010 100% 27,950 100% 25,775 100%

ที่มา : บริษัท

1

รวมถึงบริการ Fault Reporting and Dropwiring บริการโทรศัพทสาธารณะและบริการ Audiotext ของบริษัท

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ ภายใตสญ ั ญากับ ทศท. และ กสท. ทรู คือ ผูใหบริการโซลูชั่นดานสื่อสารครบวงจรรายหนึ่งในประเทศไทย และเปน หนึ่งในแบรนดที่แข็งแกรงที่สุดของประเทศ กลุมบริษัทในเครือของทรู ประกอบดวย บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ยูบีซี) และอื่นๆ ทั้งนี้ ทรู ไดรับการสนับสนุนเปนอยางดีจากเครือเจริญโภคภัณฑ ซึ่งเปนกลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรที่ ใหญทสี่ ุดในภูมิภาคเอเชีย และถือหุนทรูในอัตราประมาณรอยละ 36.08 กลุม บริษัททรูสามารถใหบริการครอบคลุมกลุมลูกคาทั่วไป กลุมธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม รวมถึงกลุมธุรกิจขนาดใหญ ดวยบริการสื่อสารโทรคมนาคมอยางครบวงจรทั้งมีสายและ ไรสาย ไดแก บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทพื้นฐาน อินเทอรเน็ต บริการโครงขายสื่อสาร และบริการ ดานเนือ้ หาและขอมูล ทีส่ ามารถตอบสนองความตองการของลูกคาแตละกลุมไดอยางเหมาะสม ทรูเปน ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมีสวนแบงการ ตลาดรอยละ 56 และเปนผูใหบริการบรอดแบนดหรืออินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายใหญที่สุดของประเทศ โดยมีสวนแบงการตลาดมากกวารอยละ 85 รวมทั้งเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตชั้นนํา สําหรับ ทีเอ ออเรนจ ไดมีการเติบโตอยางรวดเร็ว และเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ เปนอันดับ ทีส่ ามของประเทศ (1)

บริการโทรศัพทพื้นฐาน และ บริการเสริม ในป 2534 บริษทั ไดทาสั ํ ญญารวมการงานฯ กับ ทศท. ใหบริษทั เปนผูด าเนิ ํ นการลงทุน จัดหา และติดตัง้ ควบคุม ตลอดจนซอมบํารุงและรักษาอุปกรณในระบบสําหรับการขยายบริการโทรศัพทจานวน ํ 2.6 ลานเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป บริษัทไดรับรายไดจาก ธุรกิจบริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริมในรูปของสวนแบงรายได โดย ทศท. เปนผูจัดเก็บรายไดคา บริการจากผูใชบริการ แลวจึงแบงรายไดที่จัดเก็บกอนหักคาใชจายใหแกบริษัทตามสัดสวนที่ไดตกลง กันตามสัญญารวมการงานฯ โดยบริษทั ไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 84 สําหรับโทรศัพทใน สวน 2 ลานเลขหมายแรก และอัตรารอยละ 79 สําหรับโทรศัพทในสวน 6 แสนเลขหมายทีไ่ ดรับการ จัดสรรใหดูแลเพิ่มเติมในภายหลัง ในสวนของบริการเสริมตางๆ ที่บริษัทไดใหบริการอยู บริษัทไดรับ สวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 82 ของรายไดจากบริการเสริมนั้นๆ ยกเวนบริการโทรศัพทสาธารณะ ซึ่ง บริษัทไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 76.5 วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษัทมีเลขหมายโทรศัพท พื้น ฐานที่ใหบริการแกลูกคาเปนจํ านวนรวม 1,944,521 เลขหมาย และบริษทั ยังคงมีสวนแบงการ ตลาดสูงสุดในอัตรารอยละ 56 ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การใหบริการติดตั้งเลขหมายโทรศัพท ผูขอเชาเลขหมายสามารถยื่นเรื่องขอติดตั้งโทรศัพทโดยผานสํานักงานและเคานเตอร บริการของบริษัทที่มีอยูทงั้ สิ้น 57 แหง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือผานศูนยรับจองทาง โทรศัพท (Tele Ordering) และศูนยขายทางโทรศัพท (Telesale) รวมทัง้ สามารถติดตอผูบริหารงาน ลูกคา (Account Executive) และพนักงานขายโดยตรง สําหรับการใหบริการลูกคาและการรับแจงเหตุเสีย บริษัทมีศูนยบริการลูกคา (Call Center) ทีส่ ามารถติดตอไดที่เลขหมายเดียว คือ 0-2900-9000 ทําให งายตอการจดจําและสะดวกสําหรับลูกคา นอกจากนั้นลูกคาที่ตองการแจงเหตุเสีย สามารถติดตอโดย ตรงไดที่ 1177 ซึ่งเปดใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง และในการแกไขเหตุเสียใหแกลูกคา บริษัทมีเขตปฏิบัติ การพื้นที่ตงั้ กระจายอยูทั่วกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จํานวน 35 แหงทําใหสามารถซอมบํารุงและ แกไขเหตุเสียใหแกลูกคาไดภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว เชน ภายใน 4-8 ชัว่ โมง สําหรับลูกคาธุรกิจ และ ภายใน 24 ชั่วโมง สําหรับลูกคาบุคคล นับแตไดรับแจง การใหบริการเสริม นอกเหนือจากโทรศัพทพื้นฐาน บริษัทไดพัฒนาบริการเสริมตางๆ เพื่อตอบสนองความ ตองการของลูกคา ซึ่งประกอบดวย •

บริการโทรศัพทสาธารณะ บริษทั ไดรับอนุญาตจาก ทศท. เพื่อใหบริการโทรศัพท สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวน 20,000 ตู ตั้งแตป 2540 และในเดือนเมษายน ป 2545 บริษทั ไดรบั อนุญาตใหตดิ ตัง้ เพิม่ เติมอีกจํานวน 6,000 ตู ซึง่ รวมเปนจํานวนทีต่ ดิ ตัง้ แลวเสร็จทัง้ สิน้ 26,000 ตู

บริการรับฝากขอความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) บริการสนทนา 3 สาย (Conference Call) บริการโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริการเลขหมายดวน (Hot Line) บริการยอเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริการโทรซํ้าอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) และ บริการจํากัด การโทรออก (Outgoing Call Barring)

บริการ Caller ID เปนบริการเสริมพิเศษที่แสดงหมายเลขเรียกเขา

นอกจากบริการดังกลาวขางตน บริษัทยังสามารถรองรับกลุมลูกคาประเภทธุรกิจขนาด ใหญทตี่ อ งการติดตั้งโทรศัพทเปนจํานวนมากและตองการความรวดเร็วในการติดตอสื่อสาร โดยมี บริการเสริมพิเศษตางๆ ดังนี้

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(2)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการตูสาขาอัตโนมัติระบบตอเขาตรง (Direct Inward Dialing:DID) เปนบริการ ที่ทําใหโทรศัพทธรรมดาสามารถเรียกเขาเลขหมายภายในของตูสาขาอัตโนมัติได โดยไมตองผานพนักงานสลับสาย (Operator) จึงทําใหเลขหมายภายในทุกเลข หมาย เปรียบเสมือนสายตรง

บริการเลขหมายนําหมู (Hunting Line) เปนบริการที่จัดกลุมเลขหมายใหสามารถ เรียกเขาไดโดยใชเลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว

โครงขายบริการสือ่ สารรวมระบบดิจติ ลั (Integrated Service Digital Network: ISDN) เปนบริการที่ทําใหผูใชสามารถติดตอสื่อสารกันไดหลากหลายรูปแบบทั้ ง รั บ -ส ง สัญญาณภาพ เสียง และขอมูลพรอมกันได บนคูส ายเพียง 1 คูส ายในเวลาเดียวกัน

บริการ Televoting เปนบริการที่ชวยใหรับสายโทรศัพทเรียกเขาที่มีระยะเวลา สัน้ ๆในจํานวนสูงมากๆ ซึ่งสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือทางการตลาดได เชน การสํารวจความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอสินคา โทรสมัครเพื่อรับสินคาตัวอยาง เปนตน โดยไมตอ งลงทุนติดตั้งอุปกรณหรือโปรแกรมในการรองรับสายเรียกเขา ปริมาณสูงๆ และสามารถทราบผลหรือจํานวนการเรียกเขาไดภายในเวลา 5 วินาที

บริการฟรีโฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เปนบริการพิเศษที่ผูเรียกตนทาง ไม ตองเสียคาโทรศัพททางไกลโดยผูรับปลายทางจะเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย ทั้ง จากการโทรภายในพืน้ ทีเ่ ดียวกันและโทรทางไกลภายในประเทศ โดยกดหมายเลข 1800 แลวตามดวยหมายเลขโทรฟรี 6 หลัก

บริการประชุมผานสายโทรศัพท (Voice Conference) สามารถจัดประชุมไดทุกที่ ทุกเวลา ผานทางสายโทรศัพท

บริการโทรศัพทพนื้ ฐานใชนอกสถานที่ (PCT) และบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่ (TA Orange)

บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (PCT) เปนธุรกิจที่อยูภายใตการดํ าเนินการ ของบริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ในขณะที่บริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ เปนธุรกิจที่อยูภายใตการดําเนินงานของบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด โดยบริษัทถือหุน ในสัดสวนรอยละ 83 ผานบริษทั กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(2.1) บริการโทรศัพทพนื้ ฐานใชนอกสถานที่ (Personal Communication Telephone - WE PCT) บริษทั เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย ไดเปด ใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ PCT ขึน้ อยางเปนทางการ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 โดย บริการ PCT เปนบริการที่ทํ าใหผูใชบริการสามารถพกพาโทรศัพทบานไปใชนอกบานได โดยใช เลขหมายเดียวกับโทรศั พ ท บ  า นจึ ง ง า ยต อ การจํ า และสามารถใช ไ ดภ ายในเขตพื้ น ที่ ชั้ น ในของ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในเดือนกันยายน พีซีที ไดเปลี่ยนเปน WE PCT เพือ่ สะทอนกลยุทธใน การสรางชุมชนของคนทีม่ คี วามสนใจเหมือนกัน และมีไลฟสไตลเดียวกัน โดยลูกคา WE PCT สามารถ โทรหากันในเครือขายพีซีทีไดฟรี ไมจํากัด การใหบริการ PCT ของบริษัท ไดดําเนินการภายใตสัญญากับ ทศท. โดยรายไดทั้ง หมดจะถูกจัดเก็บโดย ทศท. และ ทศท. จะแบงรายไดที่จัดเก็บกอนหักคาใชจายใหบริษัทในอัตรารอยละ 82 เนือ่ งจาก บริษทั ไดมอบหมายให AWC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทดําเนินการใหบริการ PCT แก ลูกคา ดังนัน้ บริษัทจึงตองแบงรายไดที่ไดรับมาจาก ทศท. ในอัตราประมาณรอยละ 70 ใหกับ AWC นอกจากนั้น ทศท. ก็สามารถใหบริการ PCT แกผทู ใี่ ชหมายเลขโทรศัพทของ ทศท. ไดโดยผานโครงขาย PCT ของบริษทั ดังนัน้ ทศท. จึงตองแบงรายไดสวนหนึ่งที่ ทศท. ไดรับจากผูใชบริการ PCT จากหมาย เลขโทรศัพทของ ทศท. ใหแกบริษัท เพือ่ เปนเสมือนคาเชาโครงขาย โดยในสวนนี้ ทศท. จะตองแบง รายไดประมาณรอยละ 80 ใหแกบริษัท ในกรณีที่อัตราแลกเปลี่ยนอยูที่ระดับตํ่ากวา 38 บาทตอ 1 เหรียญสหรัฐ และ จะเพิ่มเปนประมาณรอยละ 82 ในกรณีที่อัตราแลกเปลี่ยนอยูที่ระดับ 38 – 45 บาท ตอ 1 เหรียญสหรัฐ ทัง้ นี้ บริษทั จะตองแบงรายไดที่บริษัทไดรับใหแก AWC ตามที่ไดกลาวไวขางตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษทั มีผูใชบริการ WE PCT จํานวน 472,846 ราย ซึ่งรวมทั้งลูกคาที่ใชบริการ PCT Buddy ซึง่ เปนบริการแบบจายเงินลวงหนา (2.2) บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (TA Orange) ในเดือนตุลาคม 2544 บริษัทไดลงทุนในอัตรารอยละ 41 ในหุนของบริษัทกรุงเทพ อินเตอรเทเลเทค จํากัด (“BITCO”) ซึง่ เปนผูถ อื หุน รอยละ 99.86 ในบริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด (เดิมชื่อ บริษทั ซีพี ออเรนจ จํากัด) ซึ่งประกอบธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 MHz ภายใตการไดรับ อนุญาตจากการสื่อสารแหงประเทศไทย (“กสท”) จนถึงป 2556

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด ไดเปดใหบริการอยางเปนทางการ ในเดือนมีนาคม 2545 โดยใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งแบบ Post-paid และ Pre-paidในเดือนกันยายน 2547 บริษัทไดเขา ซื้อหุนทีเอ ออเรนจ เพิ่มขึ้นอีกรอยละ 39 จากกลุมบริษัทออเรนจ และสงผลใหบริษทถือหุนในทีเอ ออเรนจ รอยละ 83 ณ 31 ธันวาคม 2547 ทีเอ ออเรนจ มีผใู ชบริการรวม 3,380,383 ราย คิดเปนสวนแบง การตลาดประมาณรอยละ 12.5 ทําใหเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญเปนอันดับสามของ ประเทศ ในป 2547 ทีเอ ออเรนจ ไดมีการประสานความรวมมือระหวางบริษัทในกลุมทรูเพื่อให บริการสื่อสารอยางครบวงจรและสอดคลองกับทุกไลฟสไตลของลูกคาไดอยางแทจริง โดยในเดือน เมษายน 2547 ทีเอ ออเรนจ และทรู ไดนําเสนอ All Together Bonus แคมเปญ ใหลูกคาที่ใชโทรศัพท ทรู WE PCT และ อินเทอรเน็ต สามารถนําคาใชบริการทั้งหมด ขอรับโบนัสโทรฟรีจาก ทีเอ ออเรนจได โดย ณ สิน้ ป 2547 มีลูกคากวา 2 ลานรายที่เขารวมแคมเปญนี้ บริการตางๆ ของทีเอ ออเรนจ ทอลคแพลน (Talk Plan) ออเรนจ ทอลคแพลน เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาใชบริการเปนรายเดือน ทีล่ กู คาสามารถเลือกคาใชบริการรายเดือนไดตั้งแต 300, 500 และ 1,300 บาทตอเดือน จัสทอลค (Just Talk) ออเรนจ จัสทอลค เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายเงินลวงหนา ซึ่งในระหวางป 2547 ทีเอ ออเรนจไดนําเสนอโปรโมชั่นที่แปลกใหมใหแกลูกคา เชน โปรโมชั่นโทรนาทีละ 1 บาท เปนตน พรอมทั้งนําเสนอชองทางการเติมเงินแบบใหม “Easy Top Up” ผานชองทางตางๆ คือ “Mobile Top Up” ซึง่ ลูกคาจัสทอลคสามารถโอนเงินคาโทร พรอมทั้งเวลาการใชบริการจากโทรศัพทมือถือไปยัง โทรศัพทมือถืออีกเครื่องหนึ่ง หรือ “Home Top Up” ผูใ ชบริการจัสทอลคสามารถเติมเงินเขาโทรศัพทมือ ถือผานโทรศัพทบานของทรู บริการลูกคาธุรกิจ (Direct Business) ทีเอ ออเรนจ นําเสนอบริการนี้ โดยมีทีมที่ปรึกษาจากออเรนจ ที่จะชวยหาทางออกที่ เหมาะสมสําหรับความจําเปนทางการสื่อสารในธุรกิจของลูกคาโดยเฉพาะ ซึ่งจะสามารถชวยแบงเบา ภาระในสวนของการวิเคราะหและแกปญหาเกี่ยวกับการลงทุนในการสื่อสารทางธุรกิจ และสามารถ สรางโซลูชนั่ ทางการสื่อสารใหตรงกับความตองการของลูกคาแตละรายไดเปนอยางดี

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการมัลติมีเดีย ทีเอ ออเรนจ นําเสนอบริการดานมัลติมีเดียที่หลากหลายเพื่อใหสอดคลางกับไลฟ สไตลของลูกคาที่ตางกัน โดยลูกคาสามารถดาวนโหลด content ตางๆผานระบบ GPRS ทีเ่ ว็บทา (Web Portal) Orange World โดยในป 2547 นี้ ทีเอ ออเรนจไดเสนอบริการใหม ไดแก •

"Photo World" เปนบริการสื่อสารดวยภาพที่สมบูรณแบบ

"Financial World" เปนบริการขอมูลดานการเงินหลากหลายรูปแบบ

“Toon World” ใหบริการดาวนโหลดเกม ภาพ และริงโทน ของการตูนที่มีชื่อเสียง

”Game World” บริการดานความบันเทิงแบบมัลติมีเดีย ดวยเกมจากพันธมิตร บริษทั เกมชั้นนําของโลก

บริการอื่นๆ ที่ทีเอ ออเรนจไดนําเสนอในป 2547 ไดแก •

ทีเอ ออเรนจ ผสานทรู เปดใหบริการ Voice SMS เปนรายแรกของไทย เพื่อให ลู ก ค า สามารถรั บ ส ง ข อ ความเสี ย งไปยั ง โทรศั พ ท พื้ น ฐานและโทรศั พ ท มื อ ถื อ ทุกเครือขายครอบคลุมทั่วประเทศไทย โดยลูกคาทรู สามารถสง Voice SMS ไปได ทุกหมายเลขที่ตองการ ทั้งหมายเลขโทรศัพทมือถือ หรือโทรศัพทพื้นฐานทุก หมายเลขทั่วไทย

บริการ เอสเอ็มเอสระหวางประเทศ เชือ่ มโยง โครงขายใน 123 ประเทศทั่วโลก

“เวลคัมซิม”ซิมพรีเพดระบบจัสทอลค สําหรับนักทองเที่ยวที่เดินทางมาทองเที่ยว ในประเทศไทย ใหสามารถติดตอสื่อสารไดอยางสะดวกสบายโดยใชเวลคัมซิมได ทันทีกบั โทรศัพทมือถือทุกระบบโดยไมตองแกไขขอมูลในเครื่อง หรือเปลี่ยนเครื่อง ใหม พรอมใหบริการโทรฟรีสําหรับขอมูลการทองเที่ยวและ ตํารวจทองเที่ยวในการ ติดตอขอความชวยเหลือในกรณีฉุกเฉิน

ทรู รวมกับ ทีเอ ออเรนจ เปดตัวบริการ Wi-Fi/GPRS เปนรายแรกของประเทศ ทีร่ วมระบบ Wi-Fi และ GPRS ไวในซิมเดียว สามารถเลือกใช Wi-Fi บริการ อินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง หรือ GPRS ไดอยางไมจํากัด ดวยอัตราคาบริการ แบบเหมาจายรายเดือนและมีสะดวกสบายจากการเรียกเก็บคาบริการรายเดือน ผานใบเสร็จเดียว

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(3)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการสือ่ สารขอมูลดิจิตอล

การสงผานขอมูลที่บริษัทใหบริการในปจจุบัน ประกอบดวย •

โครงขายขอมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) หรือ Leased Line เปน เครือขายสวนตัวสําหรับการรับสงขอมูลโดยเปนเสนทางสื่อสารที่เชื่อมโยงการรับ สงขอมูล ภาพและเสียงระหวางสถานที่ 2 แหง ภายใตโครงขายของบริษัท ในอัตรา ความเร็วแบบคงที่ ซึง่ เหมาะกับธุรกิจหรือองคกรที่มีสาขาจํานวนมาก เชน ธนาคาร สถาบันการเงิน ฯลฯ ทีจ่ ะตองอาศัยการรับสงขอมูลอยางตอเนื่องและถูกตองแมน ยํา และมีปริมาณขอมูลเปนจํานวนมาก บริษทั มีบริการนี้ใหเลือกหลายแบบตาม ความเหมาะสมกับลูกคา โดยมีความเร็วตั้งแต 64 Kbps จนถึงมากกวา 140 Mbps รวมทัง้ มีการรับประกันในการบริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษัทได ใหบริการวงจร DDN แลวถึง 9,001 วงจร ทัง้ นีบ้ ริษัทไดใหบริการโครงขายขอมูล ดิจติ อลในเขตกรุงเทพและปริมณฑล และในตางจังหวัดบางพื้นที่ ผานบริษัท ทรู มัลติมเี ดีย ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท โดยทรู มัลติมีเดีย ไดขยายโครงขายไปยัง เขตพืน้ ทีธ่ ุรกิจกวา 40 จังหวัดทั่วประเทศ

บริการ IP Access Service (“IPAS”) เปนบริการภายใตชื่อ “Megaport” ซึง่ เปน การใหบริการและบริหารระบบการตอเชื่อมอินเทอรเน็ต ใหแกลูกคา ทําใหลูกคาไม ตองลงทุนในอุปกรณและบุคลากรเอง กลุม ลูกคาเปาหมายของ Megaport ไดแก บริษทั ผูใ หบริการอินเทอรเน็ต (ISPs) บริษัทผูใหบริการดานขอมูลบนเว็บไซต และ กลุม ลูกคาธุรกิจซึ่งตองการ Virtual Private Network service (“VPN”) หรือการ เชือ่ มตอระหวางสาขา

บริการโครงขายเชื่อมตออินเทอรเน็ต (Trunking Access) ใชในการรับสาย โทรศัพทเขา เพื่อตอเชื่อมอินเทอรเน็ตไดครั้งละ 30 สายหรือจํานวนเทาของ 30 สาย พรอมกัน ทําใหลูกคาไมมีปญหาจากคูสายโทรศัพทขาดแคลนหรือคูสายมี จํากัดในพื้นที่ใหบริการ

บริการ Metronet เปนบริการโครงขายขอมูลที่ใชเทคโนโลยี Fiber-to-the-building ซึง่ ถูกออกแบบมาเฉพาะลูกคาธุรกิจ เพื่อใหมี Network Configuration ทีเ่ รียบงาย กวาเดิม โดยมี Bandwidth Capacity ทีก่ วางขึ้น และมีคุณภาพบริการทีส่ งู ขึน้ Metronet สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพการทําธุรกิจใหแกลกู คา โดยลูกคาแตละราย สามารถสงผานขอมูลไดดว ยความเร็วสูง ระหวาง 512 Kbps ถึง 1 Gbps

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

24


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(4)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการ Network Manager ซึง่ เปนบริการเกี่ยวกับการบริหารเครือขายขอมูลให ลูกคา โดยครอบคลุมถึงการลงทุนในอุปกรณ การจัดหาและวางแผนสําหรับ สาขา รวมทัง้ การติดตั้งเพื่อเตรียมใชงาน การเปนศูนยกลางติดตอระหวางลูกคา และผูใหบริการเครือขายอื่น (ในกรณีที่ใชเครือขายของผูประกอบการรายอื่น) การดูแลเครือขายขอมูลลูกคาใหมีประสิทธิภาพตั้งแตตนทางจนถึงปลายทาง และรายงานประมวลผลประสิทธิภาพของเครือขายตลอดจนชวยวางแผนงานการ ใชงานในอนาคตบริษัทไดเริ่มทดลองใหบริการนี้ในไตรมาสที่ 3 ป 2546

บริการ Mail Fax เปนบริการรับ- สงแฟกซผานทางอีเมล

บริการโครงขายมัลติมีเดีย และ บริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด)

ธุรกิจมัลติมเี ดียของบริษัทดําเนินการโดยบริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด (“AM”) ซึ่ง เปนบริษัทยอยของบริษัท ซึง่ ในเดือนพฤศจิกายน 2547 ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (“True Multimedia”) True Multimedia เปนเจาของโครงขายมัลติมีเดีย Hybrid Fiber-optic Coaxial หรือ HFC ขนาดใหญ ซึ่งไดรับอนุญาตจาก ทศท. ใหดําเนินการใหเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูงผาน โครงขายมัลติมีเดีย มีกําหนดเวลา 20 ป นับตัง้ แตวันที่ 20 ตุลาคม 2540 True Multimedia ทําธุรกิจรวมกับบริษทั ยูไนเต็ด บรอดคาสติง้ คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (“ยูบซี ”ี ) ซึ่งเปนบริษัทรวมของบริษัท และเปนผูประกอบการธุรกิจเคเบิลทีวี โดย True Multimedia ไดทาสั ํ ญญากับยูบซี ีในการใหเชาโครงขาย HFC ในสวนที่เปน Analog จํานวน 35 ชอง สําหรับการแพรภาพรายการตางๆ ใหกับลูกคา นอกเหนือจากนั้น True Multimedia ยังเปนตัวแทน จําหนายและเปนผูติดตั้งสายกระจาย (Dropwire) ใหกับลูกคาของยูบีซีเพื่อที่จะเชื่อมโครงขาย HFC ของ True Multimedia ใหเขาถึงบานเรือนของผูที่ขอรับสัญญาณเคเบิลทีวีจากยูบีซี รวมทั้งเปนผูติดตั้ง และบํารุงซอมแซมกลองรับสัญญาณเคเบิลทีวี หรือ Set-top Box ของยูบีซีที่มีอยูประจําทุกบานเรือน เพื่อรับสัญญาณเคเบิลทีวีของยูบีซี บริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ทรู มัลติมีเดีย ใหบริการบรอดแบนดดวย 2 เทคโนโลยี คือCable Modem และ ADSL โดย Cable Modem เปนอุปกรณภายนอกที่พวงตอกับคอมพิวเตอร เพื่อใชในการสงและรับขอมูลผาน ทางโครงขาย HFC ไดในเวลารวดเร็ว ทําใหสามารถเชื่อมตอเขาสูระบบอินเทอรเน็ตดวยความเร็วที่สูง ถึงกวา 100 เทาของ Modem ทั่วไปที่ใชกันอยูใ นปจจุบนั และการที่ Cable Modem นีไ้ ดเชือ่ มตอเขากับ อินเทอรเน็ตอยางถาวร ผูใชจึงไมตองเสียเวลาในการตอผานทางโทรศัพทและไมตองใชสายโทรศัพท เพิ่มอีก โดย ณ 31 ธันวาคม 2547 บริษัทมีผูใชบริการ Cable Modem จํานวน 1,613 ราย

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

25


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) ของบริษัท ไดออกสูตลาดภาย ใตชื่อ “TA Express” และเปลี่ยนชื่อบริการเปน “hi-speed Internet” ในภายหลัง ซึ่งเปนบริการที่ สามารถเชื่อมตอเขากับอินเทอรเน็ตอยางถาวร ลูกคาสามารถเลือกความเร็ว (สูงสุดถึง 4 Mbps) ให เหมาะสมตามความตองการใชงานของลูกคาแตละราย และยังสามารถใชงานโทรศัพทในการติดตอสื่อ สารไดในขณะเดียวกัน ณ 31 ธันวาคม 2547 บริษทั มีผใู ชบริการบรอดแบนดรวม 164,775 ราย ทําใหมสี ว น แบงทางการตลาดประมาณรอยละ 85 ในเดือนกรกฎาคม ทรูไดเปดตัวบริการ hi-speed Internet แบบไมจํากัดชั่วโมงการ ใชงาน ดวยอัตราคาใชบริการรายเดือนเริ่มตนที่ 590 บาท และในเดือนตุลาคมไดประกาศความเปนผูนํา การใหบริการเทคโนโลยีบรอดแบนดดวยการเสนอโปรโมชั่นพิเศษ ฟรีโมเด็ม และคาบริการแรกเขา รวมมูลคา 3,800 บาท พรอม 2 บริการพิเศษ Turbo on demand ชองทางดวนพิเศษ ที่เชือ่ มตอดวย ความเร็วสูงถึง 2 Mbps. คิดคาใชจายตามจริงเปนนาที และ Broadband TV on PC หลากหลายราย การที่เลือกไดตามใจ เต็มรูปแบบจากทรูบนเครื่องคอมพิวเตอร ผานเว็บไซต www.hispeedworld.com นอกจากนั้น ทรูยังใหบริการ Broadband แบบไรสาย ภายใตชื่อ Wi-Fi Internet by TRUE ที่ใหความเร็ว ในการเชื่อมตอสูงถึง 11 Mbps โดยมีพนื้ ทีใ่ หบริการกวา 110 แหง ทั้งในศูนยการประชุม โรงพยาบาล รานอาหาร และ รานกาแฟ อินเทอรเน็ต TA Station หรื อ บริ การอิ น เทอรเ น็ต ความเร็ว สูง สาธารณะ ซึ่ง เปน ชุ ดอุ ปกรณ อินเทอรเน็ตสาธารณะแบบหยอดเหรียญ ซึ่งมีความเร็วที่ระดับ 512 Kbps ใหบริการอยูประมาณ 70 จุด ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล โดยมีการติดตั้งกลองถายภาพดิจิตอลเพื่อใหลูกคาถายภาพนิ่งและสง Email ไดทนั ที นอกจากนัน้ ยังสามารถใหบริการดาวนโหลดหนัง ฟงเพลง ริงโทน หรือโลโก รวมทั้ง เลม เกมและรองคาราโอเกะ (5)

บริการอินเทอรเน็ต Content และ Application

ในเดือนพฤศจิกายน 2539 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (“AI”) ซึ่งเปนบริษัทยอย ของบริษัท ไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหดํ าเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ตและ อีคอมเมิรซ ใน นามของ "True Internet" ทรูจดั เปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตรายใหญของไทย โดยมีจานวนผู ํ ใชบริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 ทัง้ สิ้น 1,231,344 ราย ลูกคาของทรูจะไดรับบริการที่หลากหลาย สําหรับผูใชบริการแบบองคกร สามารถเลือก ใชบริการอินเทอรเน็ตผานวงจรเชา Leased Line และ ISDN และบริการ Web Hosting และสําหรับผูใช บริการบุคคลทั่วไป สามารถเลือกใชบริการ อินเทอรเน็ตในรูปแบบตางๆ เชน บริการแบบรายเดือน บริการแบบรายชั่วโมง หรือชุดโปรแกรมสําเร็จรูปที่ผูซื้อสามารถใชงานไดทันที และ บริการโรมมิ่ง ระหวางประเทศ (International Roaming) ที่ชวยใหสมาชิกใชงานอินเทอรเน็ตไดทั่วโลก

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

26


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริ ษั ท ยั งใหบริการอินเทอรเน็ตในราคาประหยัดสําหรับผูใชบริการเลขหมายโทรศัพท พืน้ ฐานของบริษัท ภายใตชื่อ Click Internet โดยผานเว็บไซต www.trueclick.net ซึ่งจะทําหนาที่เสมือน ประตูหรือทางเขาหลักเพื่อเชื่อมตอไปสูระบบอินเทอรเน็ต trueclick.net ยังใหบริการดานขอมูล ความบันเทิงที่หลากหลาย และบริการฟรีอีเมลแกผูใชบริการดวย ลูกคาสามารถเชื่อมตอผานเลขหมาย 0-2900-9600-2 และสามารถใชงานไดสูงสุด 3 ชัว่ โมง ตอการเชื่อมตออินเทอรเน็ต 1 ครั้ง โดยไมจํากัด ครัง้ ในการใชงาน บริษทั ไดมอบหมายให AI เปนผูเรียกเก็บคาบริการอินเทอรเน็ตของ Click Internet โดยสัดสวนการแบงรายไดระหวางบริษัทกับ AI จะขึน้ อยูก บั จํานวนผูใชบริการของ Click Internet ในไตรมาสแรกของป 2546 บริษัทรวมกับ AI ไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตสําหรับ ผูใ ชบริการโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทอีกบริการหนึ่ง ภายใตชื่อ TA easy Click และตอมาไดเปลี่ยนชื่อ เปน Easy Internet เก็บคาบริการเปนนาที ในอัตราชัว่ โมงละ 9 บาท โดยรวมกับบิลคาบริการโทรศัพท พืน้ ฐานของบริษัท ผูใชโทรศัพทพื้นฐานของบริษัท สามารถใชบริการนี้ไดเพียงพิมพหมายเลขโทรศัพท 0-2900-0000 นอกจากนั้นบริษัทไดใหบริการอีคอมเมิรซสําหรับลูกคาที่เปนบริษัทหรือสถาบันดวย บริการเกี่ยวกับเว็บไซตอยางครบวงจร นับตั้งแต การออกแบบ การสราง และการรับฝากเว็บไซต เปนตน และในไตรมาสที่ 2 ป 2546 บริษัทยอย ไดแก บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด (ANC) ซึง่ เปลี่ยนชื่อ เปน บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (True Internet) ในเดือนสิงหาคม 2547 ไดรวมทุนในบริษัทที่มีการ จัดตัง้ ใหมชื่อ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด เพื่อเปดใหบริการ Internet Data Center รวมทัง้ บริการอื่นที่เกี่ยวของกับบริการอินเทอรเน็ต โดยไดรวมทุนกับบริษัท Dacom Corporation ซึ่งเปน ผูใหบริการ IDC ทีใ่ หญที่สดุ ในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีและใน เอเซีย เปดใหบริการในเดือนเมษายน 2547 ทําใหทรูสามารถใหบริการอินเทอรเน็ตแกลูกคาประเภทธุรกิจไดอยางครบวงจร นับตั้งแตปลายป 2545 บริษัทไดลงนามในขอตกลงกับบริษัทชั้นนําของประเทศกวา 20 บริษทั ซึง่ เปนผูใหบริการขอมูล ขาวสาร บริการดานสุขภาพ ดานการเงิน และเกมออนไลน เพื่อที่จะ จัดตั้งชุมชุน Broadband และรวมมือกันจัดทํา Content และ Application ตางๆ ผานเว็บไซต www.hispeedworld.com ในเดือนมกราคม 2547 บริษัท ทรู ดิจติ อล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด เปดตัวเกม PristonTale ซึง่ เปนเกมทีไ่ ดรบั ความนิยม และไดรับรางวัลจากกระทรวงวัฒนธรรมและการทองเที่ยว ของประเทศเกาหลี และในเดือนพฤษภาคม ไดนําเสนอ Home Entertainment by TRUE บริการเพลง ออนไลนผา นอินเทอรเน็ตความเร็วสูง พรอมการรับชมมิวสิกวีดีโอ และตัวอยางภาพยนตรไดที่ เว็บไซต www.entertain.tv โดยรวมมือกับบริษัท อารเอส โปรโมชั่น จํากัด (มหาชน)

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

27


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนกรกฎาคม 2547 ทรูประกาศความรวมมือกับบริษัท Ncsoft ผูน าในการพั ํ ฒนา และผูผ ลิตเกมออนไลนชั้นนําระดับโลก จากประเทศเกาหลี โดยไดจัดตั้งบริษัทรวมทุนภายใตชื่อ “NC True” และไดเปดใหบริการเกมออนไลนเกมแรกเมื่อตนป 2548 ชื่อ “Lineage II“ ซึง่ เปนเกมออนไลน ประเภท Massive Multiplayer Online Role Playing Game (MMORPG) ทีไ่ ดรับความนิยมสูงสุดใน เกาหลี นอกจากนัน้ ในเดือนพฤศจิกายน ทรูไดรวมมือกับ อาร. เอส. โปรโมชั่น แนะนํา 2 บริการใหม Karaoke on demand & Movie คือ ซึง่ เปนสาระความบันเทิงสําหรับลูกคาบรอดแบนด (6)

บริการอื่นๆ นอกเหนือจากธุรกิจหลักทั้ง 5 กลุมแลว บริษัทยังไดเปดใหบริการอื่นๆ เชน

ศูนยบริการลูกคาครบวงจรภายใตชื่อ ContactASIA ซึ่งใหบริการดานการดูแล ลูกคา (Call Center) ทําใหสามารถชวยแบงเบาความเสี่ยงของลูกคาในดานการ ลงทุนสําหรับเทคโนโลยีสมัยใหม รวมทั้งชวยประหยัดคาใชจายดานบุคลากร และทําใหลูกคาสามารถเขาถึงความรูความชํานาญในการบริหารแบบมืออาชีพ และเทคนิคระดับสากล บริการ ทรู มูฟวิ่งโฮม (True Moving Home) เปนบริการยายสถานที่ติดตั้ง หรือ สถานที่ใชบริการสําหรับลูกคาที่ใชบริการ โทรศัพทพื้นฐาน พีซีที อินเทอรเน็ต ของทรู บริการตรวจซอมสายภายในบาน (Home Wiring Care) ลูกคาจะไดรับความ สะดวกในการเรียกใชบริการเสมือนมีชางโทรศัพทประจําบาน ตรวจสภาพของ สายโทรศัพทพรอมทั้งปองกันเหตุเสียที่จะเกิดขึ้น

3.2 การตลาด บริษทั มีเปาหมายทีจ่ ะใหบริการโทรคมนาคมตางๆ ในลักษณะทีเ่ ปน Solution ทีเ่ หมาะสม ตามความตองการของลูกคาแตละประเภท โดยการนํ าเสนอบริการในกลุมไปดวยกัน (Products Bundling) เพือ่ ใหเปนบริการที่ครบวงจรสําหรับลูกคา โดยบริษัทเชื่อวา กระแสความตองการของบริการ ทีม่ ที งั้ โทรศัพทพนื้ ฐาน โทรศัพทไรสาย ขอมูล อินเทอรเน็ต และ มัลติมีเดีย ที่รวมอยูในบริการเดียวจะมี ปริ ม าณสู ง ขึ้ นในอนาคต นอกจากนั้ นบริ ษั ท จะมุ  ง เน น การตอบสนองความต อ งการของลู ก ค า (Customer Centric) และการกระจายชองทางการจําหนาย ตามกลุมลูกคาแตละประเภท โดยมีราย ละเอียดดังนี้

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

28


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะลูกคาเเละกลุมลูกคาเปาหมาย ปจจุบันบริษัทไดแบงลูกคาออกเปน 2 กลุมหลัก คือ กลุม ลูกคาธุรกิจ เเละกลุมลูกคา บุคคล (Corporate and Consumer) ทั้งนี้เพือ่ ใหสามารถใหบริการที่ถูกตองเหมาะสมและตรงกับความ ตองการของลูกคามากที่สุด กลุมลูกคาธุรกิจ (Corporate Segment) แบงประเภทการดูแลจัดการลูกคา (Account Management) ตามลักษณะของประเภทธุรกิจ (Business Units) โดยแบงออกเปน 8 กลุมหลักๆ ซึ่ง ประกอบดวย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

กลุม สถาบันการเงิน การธนาคาร และประกันภัย (Finance, Banking and Insurance) กลุม ราชการ หนวยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ (Government & State Enterprise) กลุม ผูประกอบการอุตสาหกรรม และโรงงาน (Industrial) กลุม ผูประกอบการจัดจําหนาย คาปลีก (Distribution) กลุม ผูใหบริการโครงขายและโทรคมนาคม (Carriers) กลุม ผูจัดจําหนายดานการสื่อสาร (Service Providers) กลุมธุรกิจดานบริการ (Services) กลุม พันธมิตรทางธุรกิจ (Business Partners)

นอกจากนั้นยังประกอบดวย กลุม ลูกคาธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (small and medium sized companies - SME ) ซึง่ ครอบคลุมธุรกิจหางราน หางหุนสวน บริษัทจํากัด ที่มีรายได โดยประมาณนอยกวา 300 ลานบาทตอป และมีจํานวนพนักงานนอยกวา 200 คน ที่มีความตองการ บริการ ICT เพือ่ การดําเนินธุรกิจ โดยลูกคาในกลุมนี้มีความตื่นตัวและมีความสนใจที่จะนําเทคโนโลยี ICT มาใชเพือ่ ชวยในการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของธุรกิจมากขึ้นกวาในป 2546 กลุมลูกคาบุคคล (Consumer Segment) ลูกคากลุมเปาหมายจะแยกตามประเภท ธุรกิจของบริษัท โดยแบงเปน 1. ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริมพิเศษ ไดแก กลุมลูกคาทั่วไป 2. ธุรกิจอินเทอรเน็ต และอินเทอรเน็ตความเร็วสูง ไดแก กลุมนักเรียนและวัยรุน กลุม ผูใ ชอนิ เทอรเน็ต กลุมลูกคาระดับสูง เชน สมาชิกผูใชบริการยูบีซี ผูใชบัตรเครดิต เปนตน 3. โซลูชั่นสําหรับบานยุคใหม (Home Solutions) เชน กลุมลูกคาในที่อยูอาศัยใหม และ กลุมบานระดับพรีเมี่ยม

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

29


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3.3 การจําหนายเเละชองทางการจําหนาย บริษัทไดเเบงชองทางการจําหนาย (Channel) ออกเปน 2 สวน ดังนี้ 1.

Business Channel สําหรับลูกคากลุมธุรกิจขนาดใหญ และขนาดกลางประกอบดวย 1.1 ทีมขาย (Account Executive/ Account Manager) ผูบ ริหารงานลูกคา ที่มี ความเชี่ยวชาญในการเขาถึงความตองการของลูกคาตามแตละธุรกิจไดเปน อยางดี และเนนความสัมพันธอันดีกับลูกคาแบบตอเนื่องในระยะยาว 1.2 ผูช านาญการด ํ านเทคนิคและวิศวกร (Technical Specialist/ Engineer Team) ทีส่ ามารถใหคําปรึกษาทางเทคนิคแกลูกคาอยางถูกตอง

2.

Consumer Channel เเบงออกเปน 2.1 ศูนยบริการ ทรูชอป (True Shop) จํานวน 57 แหง และ ออเรนจชอ ป (Orange Shop) จํานวน 27 แหง ซึง่ กระจายอยูตามสถานที่ตา ง ๆ ครอบคลุมพืน้ ทีท่ งั้ ในเขต กรุงเทพมหานคร เเละปริมณฑล เพื่ออํานวยความสะดวกแกลูกคา 2.2 ศูนยรับจองทางโทรศัพท (Tele Ordering) ซึ่งเปนชองทางที่ลูกคาสามารถ โทรศัพทเขามาเพื่อขอติดตั้งเลขหมายโทรศัพทและบริการตางๆ ของบริษัท 2.3 พนักงานขายตรง (Direct Sales) โดยมีการแบงออกตามพื้นที่ โดยเเตละพื้นที่ อยูภายใตความรับผิดชอบของผูจัดการฝายขายเเละพนักงานขายซึ่งไดรับการ มอบหมายใหดแู ลพืน้ ทีเ่ ฉพาะ กลยุทธทใี่ ชจะมุง เนนการกระจายจดหมาย (Mail drop) การทํากิจกรรมสงเสริมการขายตางๆ รวมทั้งการนํารถบริการเคลื่อนที่เพื่อ อํานวยความสะดวกเเกลูกคาเฉพาะบริเวณ 2.4 เว็บไซต (www.truecorp.co.th) เปนชองทางออนไลนเพิม่ ความสะดวกแกลกู คามาก ยิง่ ขึน้

3.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการใหบริการของโครงขาย บริษัทเชื่อวาความสามารถในการใหบริการของโครงขายของบริษัทเปนจุดเดนที่สําคัญ ในการใหบริการของบริษัท กลาวคือ บริษัทมีโครงขายเคเบิลใยแกวนําแสงที่ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการ และเขาถึงผูใชบริการไดอยางทั่วถึง โดยมีสวนประกอบที่เปนสายทองแดงเปนระยะทางสั้นๆ ทําให สามารถสงสัญญาณ เสียง ภาพ หรือ ขอมูล ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การออกแบบโครงขาย ของบริ ษั ทในลักษณะใยแมงมุม ยังสามารถขจัดปญหาที่ผูใชบริการไมสามารถใชโทรศัพทไดอัน เนื่องจากการที่สายโทรศัพทหรือเสนทางในการติดตอถูกตัดขาดเพราะอุบัติเหตุ หรือดวยเหตุอื่นใดโดย ทําใหบริษทั สามารถเลือกใชเสนทางอื่นทดแทนเสนทางที่ตองผานจุดที่เกิดเหตุเสียนั้นได TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

30


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แหลงที่มาของผลิตภัณฑและบริการ บริษทั ใชผจู ดั จําหนาย (Suppliers) และผูรับเหมาจํานวนมากในการจัดหาและติดตั้ง โครงขายของบริษัท ซึ่งรวมถึงการกอสรางขายสายตอนนอกเพื่อขยายพื้นที่ใหบริการ การติดตั้งสาย กระจายใหกับผูเชา อุปกรณ switching และการสนับสนุนดานเทคนิค การซอมและสงคืนอุปกรณ Transmission อุปกรณ ATM และ Remote Access Server ซึ่งบริษัทไมไดมีการพึ่งพิง ผูจัดจําหนาย หรือผูร บั เหมารายใดเปนการเฉพาะ และบริษัทไมมีปญหาในการจัดหาผูจัดจําหนายและผูรับเหมาเนื่อง จากมีจํานวนมากราย การสนับสนุนทางดานเทคนิคและการบริหาร ในอดีตบริษัทเคยไดรับความชวยเหลือทางดานเทคนิค และการบริหารจาก บริษัท Verizon Communications, Inc (Verizon) แตหลังจากที่ Verizon ไดจาหน ํ ายเงินลงทุนในบริษัทไปเมื่อ กลางป 2546 ทําใหปจจุบันบริษัทไมไดรับการสนับสนุนดานเทคนิค และการบริหาร จาก Verizon อีก ตอไป อยางไรก็ตามบริษัทฯ สามารถรับถายทอดเทคโนโลยีและความรูจนสามารถบริหารงานไดเองโดย ไมตอ งพึง่ พาการสนับสนุนดานเทคนิคและบริหารจาก Verizon อีกแตอยางใด 3.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน จํานวนผูใ ชบริการในธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานทั้งประเทศไดชะลอตัวมาตั้งแตป 2546 โดย สวนหนึ่งเปนผลมาจากการแขงขันที่รุนแรงในธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ และผูป ระกอบการไดเริ่มเรียกเก็บ คาติดตั้งสําหรับเลขหมายใหม ตาราง : เลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่มีผูใชงาน ณ 30 กันยายน 2547 ผูใหบริการ ทศท.* บริษัท** TT&T*

กรุงเทพและ ปริมณฑล 1,485,690 1,925,696

รวม

3,411,386

ณ 30 กันยายน 2547 ตางจังหวัด 1,912,762 1,188,013 3,100,775

รวม 3,398,452 1,925,696 1,188,013 6,512,161

ที่มา: * ขอมูลจาก www.tot.co.th ** ขอมูลจากบริษัท

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

31


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การแขงขันในธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานสูงขึ้นเนื่องจากทศท ไดปรับปรุงการทําการตลาด เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันใหเทาเทียมกับบริษัทเอกชน นอกจากนั้นยังคงมีการแขงขันจาก ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง ซึ่งมีผลทําใหมีการเคลื่อนยายของปริมาณการใชโทรศัพท จาก โทรศัพทพื้นฐานไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ อยางไรก็ตามผลกระทบดังกลาวเริ่มมีแนวโนมลดลง เนื่องจากผู ประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดหันไปเนนการรักษาลูกคาแทนการลดราคาเนื่องจากตลาดเติบโต ชาลง ประกอบกับผูประกอบการโทรศัพทพื้นฐานไดรวมกันปรับรูปแบบของบริการ เพื่อเพิ่มความ สะดวกสบายและสามารถตอบสนองความตองการใหแกผูใชบริการมากขึ้น เชน บริการโชวเบอรขาม ระบบ ทีม่ กี ารรวมมือกันระหวาง บริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน) กับ บริษัท นอกจากนัน้ นับตัง้ แต 1 กันยายน 2546 ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานยังไดรับอนุญาต ใหจัดโปรโมชั่นพิเศษสําหรับลูกคาโดยการลดอัตราคาบริการสําหรับบริการโทรทางไกลตางจังหวัดและ การโทรไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ และนับตั้งแตตนป 2547 ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานไดรับอนุญาตใหจัด โปรโมชัน่ โดยมีอัตราคาบริการแบบยืดหยุน และมีอัตราคาบริการตามโปรโมชั่นกอนเปนเพดานสูงสุด ทําใหบริการโทรศัพทพื้นฐานมีขีดความสามารถในการแขงขันมากขึ้น นอกจากนั้นบริษัทยังไดเสนอ อัตราคาใชบริการโทรศัพทพื้นฐานแบบเหมาจายรายเดือน (Flexible Tariff) หลายรูปแบบ ซึ่งจะชวยให สามารถทําการตลาดแขงกับโทรศัพทเคลื่อนที่ได และทําใหทราบพฤติกรรมของผูบริโภคซึ่งจะเปนขอมูล ทีส่ าคั ํ ญในการดําเนินงานเมื่อมีการคิดคาบริการเชื่อมโยงโครงขาย ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่และธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (PCT) ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่เติบโตในอัตรารอยละ 22 ลดลงจากปกอนซึ่งโตในอัตรารอยละ 27 โดยป 2547 มีจานวนผู ํ ใชบริการเพิ่มขึ้นประมาณ 4.7 ลานราย เปน 27 ลานราย อัตราการใช โทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากร 100 คน ณ ปลายป 2547 อยูที่ระดับประมาณรอยละ 41 ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก อัตรารอยละ 34 ในป 2546 นักวิเคราะหสว นใหญคาดวาสภาวะการแขงขันจะเริ่มคงตัว และผูใ หบริการ สวนใหญจะเนนไปที่การเพิ่มรายไดตอเลขหมาย การบริการลูกคาสัมพันธ และการใหบริการเสริมพิเศษ ตาง ๆ โดยเฉพาะสวนที่เปน Non-Voice เชน SMS, MMS, game, content ตางๆ นับตัง้ แตป 2545 มีผใู หบริการรายใหมเขาสูต ลาด 3 ราย คือ บริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด ซึง่ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ GSM 1800 MHz โดยเปดใหบริการอยางเปนทางการในเดือนมีนาคม 2545 และ บริษัท ไทยโมบาย (บริษทั รวมทุนระหวาง บมจ. ทศท คอรปอเรชั่น และ บมจ. กสท โทร คมนาคม) ซึ่งใหบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ดิจิตอล 1900 MHz ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2545 นอก จากนั้นยังมี บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด (บริษัทรวมทุนระหวาง Hutchison Wireless MultiMedia Holdings Limited และ บมจ. กสท โทรคมนาคม) ซึ่งใหบริการระบบโทรศัพท เคลื่อนที่ระบบ CDMA โดยเปดใหบริการในเดือนพฤศจิกายน 2545

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

32


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตาราง : จํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ณ 31 ธันวาคม 2547 ผูใหบริการ ณ 31 ธันวาคม 2547 (เลขหมาย) AIS 15,184,000 DTAC 7,786,165 TA Orange 3,380,383 Hutch & Thai Mobile 772,432 รวม 27,122,980 ณ 31 ธันวาคม 2547 ทีเอ ออเรนจ มีจํานวนผูใชบริการ ทั้งสิ้น 3,380,383 ราย และ WE PCT มีจานวนผู ํ ใชบริการโทรศัพท 472,846 เลขหมาย ธุรกิจสื่อสารขอมูลดิจิตอล ธุรกิจสื่อสารขอมูลดิจิตอลของประเทศไทยยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมีอัตราการ เติบโตที่ประมาณรอยละ 20-30 ตอป เนือ่ งจากความนิยมในการสงขอมูล on-line และจํานวนผูใช บริการอินเทอรเน็ตเพิ่มมากขึ้น การแขงขันในธุรกิจสื่อสารขอมูลดิจิตอลยังคงสูงเนื่องจากมีจํานวนผูให บริการหลายราย ประกอบกับลูกคามีทางเลือกเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีเทคโนโลยี่ใหมๆ เชน ADSL . นอกจากการมีจุดแข็งจากการมีโครงขายโทรศัพทหลักที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย บริษัท ยังคงเนนการสรางความแตกตางจากคูแขงดวยการมุงเนนพัฒนาคุณภาพในการใหบริการ ในป 2546 บริษัทไดเริ่มเปดใหบริการการบริหารจัดการเครือขายขอมูลใหแกลูกคาซึ่งรวมตั้งแตการจัดหาและสราง โครงขาย การซอมบํารุงและดูแลรักษา และการจัดการประสิทธิภาพของโครงขาย ในป 2547 นี้ ทรูได ใหบริการโครงขายขอมูลในลักษณะเปนโซลูชั่นที่เหมาะสมตามความตองการของลูกคาแตละราย ธุรกิจอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ธุรกิจอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ยังอยูในภาวะเริ่มแรก ดังนั้นจํานวนผูใช บริการจึงเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็ว ในป 2545 บริษทั มีจานวนผู ํ ใ ชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เพิม่ ขึน้ เปนสองเทา เปนประมาณ 3,700 ราย ซึ่งคิดเปนสวนแบงการตลาดกวา รอยละ 50 สําหรับในป 2546 ธุรกิจอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ยังคงมีอัตราการขยายตัวอยางรวดเร็ว โดยบริษัทมี ผูใ ชบริการรวม 11,661 ราย ณ 31 ธันวาคม 2546 ซึ่งเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 214 จากปลายป 2545 และในป 2547 บริษทั เปนผูน าในตลาดอิ ํ นเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีสว นแบงการตลาดถึง รอยละ 85 โดย ณ 31 ธันวาคม 2547 บริษัทมีผูใชบริการเพิม่ กวา 13 เทา จากปกอน เปน 164,775 ราย

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

33


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ปจจัยหนึ่งที่ทําใหจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เพิ่มขึ้น อยางรวดเร็ว คือการลดลงของราคา modem อยางตอเนื่อง นอกจากนัน้ ยังมีปจจัยสนับสนุนจากการที่ ผูบ ริโภคเริ่มมีความนิยมในการบริโภค content ตางๆ เชน เกมออนไลน มากขึ้น ประกอบกับอัตรา คาใชบริการ อินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีระดับทีถ่ กู ลง เนื่องจากผูใหบริการมีฐานสมาชิก เพิม่ ขึน้ อีกทัง้ ภาครัฐไดสนับสนุนผานการปรับลดอัตราคาเชาวงจรตางประเทศลง ทําใหตนทุนของ ผูป ระกอบการลดลง อินเทอรเน็ต อัตราของผูใชบริการ Broadband รวมตอประชากร 100 คน (Broadband penetration) ในเมืองไทย ยังมีระดับที่ตํ่ามาก โดยมีอัตราตํ่ากวารอยละ 1 ซึ่งยังคงเปนระดับที่ตํ่ากวา ประเทศที่พัฒนาแลวในแถบเอเซีย เชน เกาหลี (รอยละ 23.3) ฮองกง (รอยละ 18.0) ญี่ปุน (รอยละ 11.7) และ สิงคโปร (รอยละ 10.1) (แหลงที่มา: ITU World Telecommunication Indicators Database, 2004) จึงนับวาตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ในประเทศไทยยังมีโอกาส ขยายตัวไดอีกมาก ผูใ หบริการในตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีอยูห ลายรายทัว่ ประเทศ เชน บริษทั ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี่ จํากัด (UBT) ซึ่งเปนบริษทั ในกลุม UCOM, บริษทั เลนโซ ดา ตาคอม จํากัด (ใหบริการภายใตชอื่ Q-Net), Samart, CS Loxinfo, TOT, TT&T, ADC หรือ บริษทั แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชัน่ ส จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ในกลุม ชิน คอรปอเรชัน่ และบริษทั อยางไรก็ตามมีเพียง TOT และบริษทั เทานัน้ ทีเ่ ปนผูใ หบริการในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ทีม่ โี ครงขาย เปนของตนเอง ซึง่ ทําใหมีขอไดเปรียบผูประกอบการรายอื่น นอกจากนั้นบริษัทยังมีขอไดเปรียบ ดานอืน่ ๆ เชน การมีพื้นที่ใหบริการที่ครอบคลุมกวางกวา และมีโครงขายที่ทนั สมัยที่เหมาะสําหรับการ ใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เนื่องจากเปนโครงขายที่ประกอบดวยเคเบิ้ลใยแกว จํานวนมาก โดยมีสวนที่เปนทองแดงเปนระยะทางสั้นๆ ทํ าใหสามารถสงผานขอมูลไดอยางมี ประสิ ท ธิ ภ าพ และสามารถใหบริการไดในราคาที่ตํ่า เนื่องจากมีการผสมผสานเทคโนโลยี และการ ใหบริการภายในกลุมทรู (Synergy) และนับตั้งแตตนป 2546 ผูประกอบการบางรายรวมทั้งบริษัทเริ่มเปดใหบริการ อินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) แบบไรสาย หรือทีเ่ รียกกันทั่วไปวา บริการ WiFi (Wireless Fidelity) การแขงขันสําหรับบริการนี้ยังคงเปนไปอยางไมรุนแรง เนื่องจากยังมีผูใหบริการเพียงไมกี่ราย

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

34


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธุรกิจบริการอินเทอรเน็ต จํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตในประเทศไทยในป 2547 มีประมาณ 7 ลานคน [แหลง ทีม่ า : ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค)] ซึ่งเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 17 จากป 2546 และคิดเปนอัตราการใชงานรอยละ 11 ตอประชากร 100 คน ซึ่งนับเปนอัตราที่ตํ่าหาก เปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลว เชน เกาหลี (รอยละ 61) สิงคโปร (รอยละ 51) ญีป่ นุ (รอยละ 48) ฮองกง (รอยละ 47) ไตหวัน (รอยละ 39) (แหลงที่มา : International telecommunication Union, 2003) การเพิ่มขึ้นของจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ต สวนหนึ่งเปนผลมาจากปจจัยสนับสนุน จากรัฐบาล โดยรัฐบาลไดดําเนินการตามนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะพัฒนาประเทศโดยใช เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาทั้ง 5 ดาน อันไดแก ดานภาครัฐ (e-Government) ดานพาณิชย (e-Commerce) ดานอุตสาหกรรม (e-Industry) ดานการศึกษา (e-Education) และดานสังคม (e-Society) ซึง่ ไดดาเนิ ํ นการผานโครงการตางๆ หลายโครงการ เชน การจําหนายคอมพิวเตอรราคา ถูก การลดคาบริการอินเทอรเน็ต การลดคาเชาวงจรทางไกลตางประเทศ รวมทั้งไดอนุมัติใหมีการติด ตัง้ โทรศัพทพื้นฐานเพิ่มอีกจํานวน 565,500 เลขหมายทั่วประเทศในป 2547 และไดสนับสนุนใหมี บริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงราคาถูกเพื่อใหมีผูใชเพิ่มขึ้น โดยรัฐบาลไดตั้งเปาหมายที่จะใหมีจํานวนผู ใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง ถึง 1 ลานรายภายในป 2547 การแขงขันของธุรกิจอิ นเทอรเน็ตในปจจุบันมีคอนขางสูงเนื่องจากมีผูประกอบการ หลายราย (18 ราย) อยางไรก็ตามในป 2547 อัตราคาบริการแบบ Dial Up คงตัวอยูที่ระดับประมาณ 7-9 บาทตอชั่วโมง บริษทั ใหบริการอินเทอรเน็ต ผานบริษัทยอยคือ บริษทั เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) และ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด ซึ่ง ในปจจุบันทรูเปนผูประกอบการรายใหญทสี่ ดุ ของประเทศ และมี จํานวนผูใชบริการแบบเหมาจายรายเดือนสูงที่สุด โดยมีจํานวนผูใชบริการรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 ทัง้ สิ้น 1,231,344 ราย สําหรับผูประกอบการรายใหญอื่นๆ ประกอบดวย บริษัท CS Loxinfo บริษัท KSC Internet และ บริษัท Internet Thailand ภาพรวมตลาดอินเทอรเน็ตในปหนา คาดวา ผูใหบริการอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider : ISP) ตางสนใจเขามาใหบริการในตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูงมากยิ่งขึ้น

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

35


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พัฒนาการของการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม สําหรับในป 2547 นี้ มีพฒ ั นาการทีส่ าคั ํ ญในดานตางๆ ดังนี้ การจัดตั้งคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทช.) •

24 สิ ง หาคม 2547 วุ ฒิ ส ภาไดเ ห็ น ชอบให คั ด เลื อ กคณะกรรมการกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติ(กทช.)ทั้ง 7 คน ไดแก นายเหรียญชัย เรียววิไลสุข, นายประสิทธิ ประพิณมงคลการ, นายสุชาติ สุชาติเวชภูมิ, นายเศรษฐพร คูศรี พิทกั ษ, นายสุธรรม อยูในธรรม, พล.อ.ชูชาติ พรหมพระสิทธิ์ และนายอาทร จันทรวิมล

1 กันยายน 2547 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ(กทช.) ประชุม ครั้งแรก และไดคัดเลือก พล.อ.ชูชาติ พรหมพระสิทธิ์ เปนประธานกทช.

1 ตุลาคม 2547 ประกาศจากสํานักนายกรัฐมานตรี เกี่ยวกับพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ แตงตั้งคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ จํานวน 7 คน ที่ได รับคัดเลือกจากวุฒิสภา

1 พฤศจิกายน 2547 กทช. เริม่ ปฏิบตั ิหนาที่อยางเปนทางการ โดยประกาศภารกิจ เรงดวนคือ จัดตั้งสํานักงาน กทช. และการจัดเตรียมแผนแมบทโทรคมนาคม และ ในเดือนเดียวกันนี้ ธนาคารโลก (World Bank) อนุมตั งิ บประมาณสนับสนุนการ ดําเนินงานใหกับ กทช. เปนจํานวน 270,000 ดอลลารสหรัฐ หรือประมาณ 10,800,000 บาท

1 ธันวาคม 2547 สํานักงาน กทช. จัดสรางหนวยงานในสังกัดเปนที่เรียบรอย โดย แบงเปน 6 สวนงาน ไดแก สวนงานทรัพยากรโทรคมนาคม สวนงานสงเสริมการ แขงขัน สวนงานการบริหารอยางทั่วถึง สวนงานกิจการระหวางประเทศ สวนงาน พัฒนานโยบายและกฎกติกา และ สวนงานการบริหาร

กทช. ประกาศจะออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมใหแกผูประกอบการ กิจการโทรคมนาคมในไทยไดภายในกลางเดือน มิถุนายน 2548 ซึ่งผูประกอบ การกลุมแรกที่มีสิทธิขอใบอนุญาต ไดแก ทศท และ กสท

นอกจากนั้ นกทช.ไดประกาศวา จะสามารถสรุ ปอัตราคาเชื่อมโยงโครงขาย (อินเตอรคอนเน็กชั่น ชารจ) ซึ่งเปนภารกิจสําคัญเรงดวนไดแลวเสร็จภายในกลาง เดือนมิถนุ ายน 2548 และจะจัดทําแผนแมบทโทรคมนาคม ใหแลวเสร็จประมาณ เดือนกุมภาพันธ – มีนาคม 2548

เดือนธันวาคม 2547 กทช. ไดจัดทํารางจริยธรรมและแนวทางปฏิบัติสําหรับการ ทํางานของกทช.

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

36


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การแปรรูปทศท และกสท •

สําหรับป 2547 ยังไมมีความคืบหนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแปรรูปทศท และกสท

รัฐบาลไดมีความพยายามที่จะใหมีการแปรสัญญารวมการงานฯ โดยนับตั้งแตป 2543 เปนตนมา รัฐบาลไดแตงตั้งคณะทํางานและที่ปรึกษาตางๆ เพื่อศึกษาความ เปนไปไดและวางแนวทางการแปรสัญญารวมการงานฯ แตไมอาจหาขอสรุปที่ทุก ฝายยอมรับได

พฤษภาคม 2547 คณะทํางานศึกษาการแปรสัญญาฯ ซึง่ ไดประชุมระหวาง ทศท กสท และทีป่ รึกษาทางการเงิน ไดสรุปแนวทางแปรสัญญาฯ ไว 3 แนวทาง ไดแก 1. ไมมีการแปรสัญญาฯ 2. แปรสัญญาฯ แต เอกชนตองจายเงินคาตอบแทนใน จํานวนรวมที่คิดเปนเทาของสวนแบงรายไดที่จายในแตละป และบริษัทเอกชน สามารถซื้อคืนทรัพยสินได และ 3. จายคาสัญญาฯ ตามระยะเวลาที่เหลือ แตให เอกชนจายคาสินทรัพยกับคูสัญญารัฐวิสาหกิจได เมื่อสิ้นสุดสัญญาฯ

การแปรสัญญา

การกําหนดอัตราคาเชื่อมโยงโครงขาย •

ในป 2546 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดริเริ่มใหมีการศึกษา เพื่อหาแนวทางในการเรียกเก็บคาเชื่อมโยงโครงขาย อันจะนําไปสูการแขงขันที่ เทาเทียมกัน โดยใหกรมไปรษณียโทรเลขเปนผูประสานงานในการจัดประชุม ผูประกอบการตาง ๆ เพื่อรวมกันศึกษาและสรุปกฎเกณฑรวมทั้งอัตราของคา เชือ่ มโยงโครงขายที่จะเรียกเก็บ

ในเดือนพฤษภาคม 2547 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได รายงานผลการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ อั ต ราค า เชื่ อ มโยงโครงข า ยตามนโยบายของ กระทรวง โดยมีข  อ สรุ ป เกี่ย วกั บอัต ราคา เชื่อมตอสํ าหรับ การรั บ สาย (Call Termination) นาทีละ 1.07 บาท

ในเดือนสิงหาคม 2547 ไดมีการยุบกรมไปรษณียโทรเลขและไดมีการจัดตั้งสํานัก งานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติเพื่อกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม รวมทัง้ เปนผูกํากับดูแลการกําหนดอัตราคาเชื่อมโยงโครงขาย

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

37


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การปรับลดอัตราคาโทรศัพททางไกลในประเทศของบริการโทรศัพทพื้นฐาน •

ตัง้ แตวนั ที่ 1 กันยายน ถึง 30 พฤศจิกายน 2546 บริษัทฯ รวมกับ บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน) ไดปรับลด อัตราคาโทรศัพททางไกลในประเทศและคาโทรไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยไดรับ ความเห็นชอบจากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใหจัดทําเปน โปรโมชัน่ ในชวงระยะเวลา 3 เดือน ตอมาไดมีการขยายเวลาทดลองออกไปอีก 1 เดือน ถึงธันวาคม 2547 กําหนดอัตราคาบริการเปน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 คาบริการรายเดือน 100 บาท อัตราคาโทรในพื้นที่เดียวกัน 3 บาทตอครั้ง (ไม เปลี่ยนแปลง) อัตราคาโทรทางไกลตางจังหวัดระหวางโทรศัพทพื้นฐานลดลงเปน อัตรา 3,6,9 บาทตอนาที (จากเดิม 3,6,9,12,15 และ 18 บาท ตอนาที) อัตราคา โทรไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ในเขตพื้นที่รหัสเดียวกัน 3 บาทตอนาที (ไมเปลี่ยน แปลง) พื้นที่ตางรหัส 6 บาทตอนาที (จากเดิม 8 และ 12 บาท) รูปแบบที่ 2 คือ คา บริการรายเดือน 200 บาท (จากเดิม 100 บาท) อัตราคาโทรทางไกลตาง จังหวัดไปยังโทรศัพทพื้นฐาน และโทรศัพทเคลื่อนที่ 3 บาทตอนาทีทั่วประเทศ

ตัง้ แตวันที่ 1 มกราคม 2547 ผูป ระกอบการโทรศัพทพื้นฐานไดรับอนุญาตให ทดลองใชโครงสรางอัตราคาบริการแบบยืดหยุน (Flexible Tariff) ตอไปอีก 6 เดือน โดยไมเกินเพดานอัตราที่กําหนดไวใน 2 รูปแบบเดิม

กรกฎาคม 2547 ทศท ประกาศขยายเวลาทดลองการใช Flexible Tariff ออกไป อีก 1 ป สิ้นสุด 30 มิ.ย.48 จากที่ทดลองใชมา 6 เดือนตั้งแต1 ม.ค.-30 มิ.ย. 47 โดยจะใหบริการเฉพาะทศท และบริษัทเทานั้น เพราะทีทีแอนดที ปฏิเสธที่จะเขา รวมโครงการตอไป

การปรับลดอัตราคาโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ •

กรกฎาคม 2547 ทศท ไดเปดใหบริการโทรทางไกลระหวางประเทศ IDD ผานรหัส 007 โดยคิดคาบริการนาทีละ 9 บาท สําหรับโทรไปยัง 9 ประเทศ ไดแก อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย เยอรมนี ญี่ปุน จีน ไตหวัน ฮองกง และสิงคโปร

และในเดือนเดียวกัน กสท ไดประกาศปรับลดคาโทรทางไกลระหวางประเทศผาน VoIP ในชื่อบริการ eFONE ทางหมายเลข 009 และ 001-089 โดยลดราคาจาก เดิมในอัตรา 7-33 บาทตอนาที ใน 30 ประเทศ เปน 7 บาทตอนาที และไดลด ราคาบริการ CAT PhoneNET (บัตรโทรศัพทพรีเพด)จากอัตรา 7-33 บาทตอนาที เปน 6 บาทตอนาที

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

38


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สิงหาคม 2547 ทศท ไดเปดใหบริการโทรทางไกลระหวางประเทศราคาประหยัด ผานโครงขายอินเทอรเน็ต VoIP ผานรหัส 008 อัตราคาบริการนาทีละ 7 บาท สําหรับ 29 ประเทศ และในเดือน พฤศจิกายน 2547 ทศท ไดเปดใหบริการดัง กลาว เพิ่มขึ้นอีกจํานวน 122 ประเทศ รวมเปน 151 ประเทศ

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

39


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. การวิจัจยั และพัฒนา บริษัทมิไดมีการลงทุนในดานการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีหรืออุปกรณ ตางๆทีบ่ ริษทั ใชในการใหบริการธุรกิจตางๆของบริษัท เนื่องจากเทคโนโลยีโครงขายและอุปกรณตางๆ ที่บริษัทใชในการใหบริการ เปนเทคโนโลยีและอุปกรณที่ไดมีการคิดคนและพัฒนาขึ้นจนเปนผลิ ต ภัณฑที่สํ าเร็จรูปจากผูผลิตตางๆ บริษทั จึงเลือกใชเทคโนโลยีและอุปกรณทบี่ ริษทั เห็นวามีประสิทธิภาพ ทันสมัย และเหมาะสมกับลักษณะการดําเนินธุรกิจของบริษทั ดังนัน้ บริษัทจึงไมมีความจํ าเปนที่จะ ลงทุนเองในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและอุปกรณตางๆขึ้นมา จึงทํ าใหงบประมาณในดาน การวิจัยและพัฒนาของบริษัทสวนใหญเกี่ยวของกับดานการตลาด ซึ่งบริษัทไดเนนการพัฒนาการ บริการที่สอดคลองตามความตองการของผูใชบริการใหมากที่สุด ซึ่งการวิจัยและพัฒนาของบริษัทได แบงเปน 3 สวนหลักๆไดแก การวิจยั และพัฒนากิจกรรมดานการตลาด การวิจยั และพัฒนาบริการใหม และการวิจยั และพัฒนาระบบการใหบริการ โดยในระยะ 3 ปที่ผานมา บริษัทมีคาใชจายดานการวิจัย และพัฒนาเปนจํานวนเงิน ดังนี้

TRUETG: การวิจัยและพัฒนา

ป

พันบาท

2547

29,900.71

2546

4,659.67

2545

17,410.11

40


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ทรัพยสิสนิ ทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 5.1 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ บริษัทไดจัดประเภทของทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ เปน 2 ประเภท คือ อุปกรณโครงขายและอุปกรณนอกระบบโครงขายภายใตสัญญารวมการงานฯ เฉพาะทรัพยสินที่ เกีย่ วกับอุปกรณโครงขาย โทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย โทรศัพทพื้นฐานพกพา PCT โทรศัพท เคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร และบริการอินเทอรเน็ต บริษัทและกลุมบริษัทจะตองโอนใหกับ ทศท. และ กสท. จากงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 กลุม บริษทั มีทรัพยสนิ ทัง้ สิน้ ดังรายการตอไปนี้ อุปกรณโครงขาย

ที่ดนิ และสวนปรับปรุง อาคารและสิ่งปลูกสราง อุปกรณระบบโทรศัพท อุปกรณโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทสาธารณะ ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร งานระหวางทํา ยอดรวม

มูลคาตามบัญชีสุทธิ (ลานบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 1,848 1,848 1,118 1,118 24,523 24,612 36,940 1,658 1,050 992 1,717 340 340 92 89 67,628

30,657

สวนของอุปกรณโครงขายในงบการเงินรวมทีโ่ อนให ทศท. และ กสท. ภายใตสญ ั ญาฯ มี มูลคาตามบัญชีสทุ ธิ 30,952 ลานบาท และสวนของอุปกรณโครงขายในงบการเงินเฉพาะบริษทั ทีโ่ อนให ทศท. ภายใตสญ ั ญารวมการงานฯ มีมลู คาตามบัญชีสทุ ธิ 29,758 ลานบาท กลุม บริษัทไดรับสิทธิดําเนิน การและใชประโยชนจากทรัพยสินนั้นตามระยะเวลาของสัญญาฯ บริษัทไดนําสิทธิในการใชที่ดิน อาคารและอุปกรณที่โอนให ทศท. (ตามสัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัญญารวมการ งานฯ) เปนหลักประกันอยางหนึ่งสําหรับเงินกูยืมที่เปนสกุลบาททั้งหมดของบริษัท สวนอุปกรณนอก ระบบโครงขาย เปนกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ซึง่ กลุมบริษทั สามารถจําหนายจายโอนและใชประโยชน จากทรัพยสินดังกลาวได โดยมีรายละเอียดโดยสรุป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 ดังนี้

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

41


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อุปกรณนอกระบบโครงขาย มูลคาตามบัญชีสุทธิ (ลานบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท ทีด่ ินและสวนปรับปรุง 293 สวนปรับปรุงอาคารเชา 1,376 81 เครื่องตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณสํานักงาน 688 213 รถยนต 1,552 1 อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร 4,036 351 งานระหวางทํา 52 102 ยอดรวม 8,047 698 5.2 สินทรัพยไมมีตัวตน คาความนิยม คาความนิยมเปนสวนของราคาทุนของเงินลงทุนของกลุมบริษัทในบริษัทยูบีซีที่สูงกวา มูลคายุตธิ รรมของสวนแบงสินทรัพยสุทธิของบริษัทยูบีซี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 คาความนิยมจาก การซื้อบริษัทรวม (ยูบซี ี) แสดงในงบดุลภายใตเงินลงทุนในบริษทั ยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวมมี ยอดรวม 3,263 ลานบาท และคาความนิยมจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (“BITCO”) ซึง่ แสดงภายใตสินทรัพยไมมีตัวตน มียอดรวม 997 ลานบาท ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนรายจายเพื่อประสิทธิภาพของโปรแกรม คอมพิวเตอรเกินกวาประสิทธิภาพเดิมถือเปนสวนปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 สินทรัพยดัง กลาวมีมลู คาตามบัญชีสุทธิ 1,112 ลานบาท เครื่องหมายการคา เครือ่ งหมายการคา เปนคาตอบแทนทีบ่ ริษทั ยอยไดจา ยใหแกผรู ว มคารายอืน่ ในการใช เครื่องหมายการคาของผูรวมคารายนั้นในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 สินทรัพยดังกลาวมี มูลคาตามบัญชีสุทธิ 59 ลานบาท

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

42


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และ คาสิทธิในการพาดสาย คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และการพาดสายกระจาย เปนรายจายเพื่อใหไดมาซึ่งใบอนุญาตซึ่งแสดงดวยราคามูลคายุติธรรมของหุนที่ออกโดยบริษัทยอย เพือ่ เปนการแลกกับสิทธิดงั กลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 สินทรัพยดงั กลาวมี มูลคาตามบัญชีสทุ ธิ 400 ลานบาท นโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษทั จะดําเนินการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมสวนใหญผานทาง TH ซึ่งเปน บริ ษั ท ที่บริษัทถือหุนในอัตรารอยละ 99.99 โดย TH เปนบริษัทที่ดํ าเนินธุรกิจประเภทโฮลดิ้ง มีวัตถุประสงคที่จะเขาลงทุนในบริษัทที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับโทรคมนาคม ซึ่งจะเปนธุรกิจที่สนับสนุน การดําเนินงานหรือธุรกิจที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท โดย TH มีนโยบายการลงทุนในลักษณะที่เปน ผูถ อื หุนใหญในบริษัทที่ลงทุน และ/หรือ เปนผูดําเนินการหรือบริหารโครงการที่ลงทุนเอง เวนแตสภาพ เงือ่ นไขของธุรกิจการแขงขันนั้นๆ จะไมเอื้ออํานวยให TH ดําเนินนโยบายดังกลาวได อนึ่ง TH สามารถ ลงทุนในบริษทั อืน่ ไดเปนจํานวนวงเงินไมเกินทุนจดทะเบียนของ TH นอกจากนั้น บริษัทไมสามารถทํา การกูยืมเพิ่มเติมเพื่อลงทุนได นอกจากจะไดรับความเห็นชอบจากเจาหนี้ของบริษัทภายใตสัญญาการ ปรับโครงสรางหนี้ ดังนั้น บริษทั จะไมไดรับความเสี่ยงมากไปกวาทุนจดทะเบียนของ TH และบริษัทไมมี ภาระผูกพันดานการเงินใดๆกับบริษัทยอยหรือบริษัทรวม สวนเรือ่ งนโยบายการบริหารงานในบริษัทยอย และบริษัทรวมนั้น บริษทั ไดมกี ารสงตัวแทนของบริษัทไปเปนกรรมการในบริษัทยอยและบริษัทรวมตาม สัดสวนการถือหุนของบริษัท เพื่อคอยติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทนั้น ๆ อยางใกลชิด

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

43


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6. โครงการในอนาคต บริษทั และบริษัทยอยมีแผนการลงทุนในป 2548 โดยมีโครงการตางๆ ดังนี้ 1. ศูนยจดั จําหนายและบริการ (Retail Distribution Center) บริษัทมีโครงการที่จะปรับปรุงสํานักบริการลูกคาของบริษัท ใหสามารถบริการลูกคา ไดอยางครบถวน ทั้งในดานสินคาและบริการตางๆ ของบริษัทและบริษัทยอย รวมทั้งสินคาดาน เทคโนโลยีสารสนเทศอื่นที่เกี่ยวของ เพื่อใหสอดคลองกับภาพลักษณใหมของบริษัท 2. Corporate ICT บริษัทมีโครงการทีจ่ ะใหบริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ที่ ครบวงจรแบบ One-stop-service สําหรับลูกคาประเภทองคกร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการให บริการในลักษณะเปน Solution แกลูกคาสวนใหญที่ไมมีความชํานาญในการจัดการและขาดแคลน บุคลากรที่มีความพรอมดานนี้และตองการ Outsource การบริหารงานดานนี้แกบริษัท 3. การขยายโครงขายในการใหบริการ Broadband บริษัทมีโครงการที่จะเพิ่มขีดความสามารถ (Capacity) การใหบริการของโครงขาย อินเทอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband) เพือ่ รองรับการขยายตัวของตลาดที่มีการเติบโตอยางมาก ให สามารถรองรับการใหบริการแกลูกคาไดกวา 500,000 ราย 4. การขยายบริการโครงขายขอมูลและ Broadband ไปยังตางจังหวัด บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย มีโครงการที่จะขยายโครงขาย Fiber Optic ไปยังตางจังหวัดเพิ่มเติม เพือ่ รองรับการขยายงานของบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด และ บริษัท เอเชีย อินโฟเน็ต จํากัด ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และบริการอินเทอรเน็ต ตลอดจนการขยายการ ใหบริการโครงขายขอมูล DDN และ Broadband ของบริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัดเอง ดังนัน้ นับเปนการ ลดการลงทุนทีซ่ าซ ํ้ อนกัน และยังทําใหสามารถบริหารจัดการโครงขายไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

TRUETI: โครงการในอนาคต

44


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. ขอพิพาททางกฎหมาย (1) คดีทอี่ าจมีผลกระทบดานลบตอสินทรัพยของบริษัทหรือบริษัทยอย ทีม่ จี านวนสู ํ งกวา รอยละ 5 ของสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547

: ไมมี

(2) คดีทกี่ ระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ แตไมสามารถประเมินผลกระทบเปนตัวเลขได

: ไมมี

TRUETJ:ขอพิพาททางกฎหมาย

45


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8. โครงสรางเงินทุน 8.1 หลักทรัพยของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษทั มีหลักทรัพยที่ออกแลว 7 ประเภท คือ 1. หุนสามัญ 2. หุนบุริมสิทธิ 3. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2000) 4. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2002) 5. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2003) 6. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2004) 7. เอ็นวีดีอาร (NVDR: Non-Voting Depository Receipt) โดยมีรายละเอียดของหลักทรัพยแตละประเภท ดังนี้ 1. หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษทั มีทนุ จดทะเบียนจํานวน 46,583.39 ลานบาท แบงออก เปนหุนสามัญจํานวน 3,958.87 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจานวน ํ 699.46 ลานหุน มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 10 บาท โดยมีทนุ ทีเ่ รียกชําระแลวจํานวน 40,925.27 ลานบาท แบงออกเปนหุน สามัญจํานวน 3,393.06 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699.46 ลาน หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท 2. หุนบุริมสิทธิ ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ 2543 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ครั้งที่ 1/2543 ไดมี มติอนุมัติการออกและเสนอขายหุนบุริมสิทธิจํานวน 702,000,000 หุน ใหแก Kreditanstalt fÜr Wiederaufbau (“KfW”) และ/หรือ บริษัทยอยที่ KfW ถือหุน ทัง้ หมด และ/หรือกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่ง เปนคนตางดาวในราคาเสนอขายรวมทั้งสิ้น 150 ลานดอลลารสหรัฐ โดยตอมาเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2543 บริษทั ไดจัดสรรหุนบุริมสิทธิจํานวน 343.98 ลานหุน หรือคิดเปนรอยละ 49 ใหแก KfW และ จํานวน 358.02 ลานหุน หรือคิดเปนรอยละ 51 ใหแกกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) ทัง้ นี้ สามารถสรุปสาระสําคัญของสิทธิในหุนบุริมสิทธิไดดังนี้

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

46


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ก.

ในชวงระยะเวลาตั้งแตวันที่ออกหุนบุริมสิทธิจนถึงวันครบรอบปที่ 8 ใหบุริมสิทธิในหุน บุริมสิทธิมีดังนี้ (1) มีสทิ ธิในการรับเงินปนผลกอนผูถ อื หุน สามัญในอัตราหุน ละ 1 บาทตอปการเงิน (ยกเวนปการเงินแรกและปการเงินสุดทายของระยะเวลา 8 ปดงั กลาว) (2) สิทธิในการไดรับเงินปนผลตามขอ ก (1) ขางตนเปนสิทธิไดรับเงินปนผลชนิด สะสมสําหรับปการเงินใดๆที่บริษัทไมไดประกาศจายหรือในสวนที่บริษัทยัง ประกาศจายไมครบ (“เงินปนผลสะสมคงคาง”) ซึ่งผูถือหุนบุริมสิทธิจะมีสิทธิ ไดรับเงินปนผลจนครบถวนกอนผูถือหุนสามัญ หากผูถือหุนบุริมสิทธิไดรับ เงินปนผลจนครบถวน และบริษัทยังคงจะจายเงินปนผลอีก ใหผูถือหุน บุรมิ สิทธิและผูถือหุนสามัญมีสิทธิไดรับเงินปนผลเทากัน (3) ในกรณีทมี่ กี ารชําระบัญชีหรือการเลิกบริษัท ใหแบงทรัพยสินที่เหลืออยูใหแก ผูถือหุนบุริมสิทธิกอน ซึ่งจะเทากับมูลคาที่ตราไวของหุนบุริมสิทธิบวกดวย เงินปนผลสะสมคงคางใดๆ หากมีทรัพยสินคงเหลือใหแบงใหแกผูถือหุน สามัญ และถาหากยังมีทรัพยสินคงเหลืออยูอีก ใหแบงใหแกผูถือหุนบุริมสิทธิ และผูถ อื หุนสามัญในจํานวนที่เทากัน (4) หุน บุรมิ สิทธิแปลงสภาพเปนหุนสามัญได (5) หุน บุรมิ สิทธิแตละหุนมีหนึ่งเสียง

ข.

หลังจากครบรอบปที่ 8 ใหสิทธิของหุนบุริมสิทธิเปนดังนี้ (1) มีสทิ ธิในการรับเงินปนผลกอนผูถือหุนสามัญในอัตรา 0.01 บาทตอปการเงิน (บวกดวยเงินปนผลสะสมคงคางใดๆ) และหากบริษัทจะจายเงินปนผลอีก ให ผูถ อื หุน บุรมิ สิทธิและผูถือหุนสามัญมีสิทธิรับเงินปนผลในจํานวนที่เทากัน (2) เงินปนผลในอัตราหุนละ 0.01 บาท ในขอ ข (1) ขางตน ไมเปนเงินปนผลชนิด สะสม (3) มีสิทธิตาม ก. (3) (4) และ (5)

ทั้งนี้ หุนสามัญที่เกิดจากการแปลงสภาพจะไมมีสิทธิไดรับเงินปนผลสะสมคงคาง ใด ๆ ในขณะที่เปนหุนบุริมสิทธิใด ๆ ทั้งสิ้น อยางไรก็ดี KfW ไดออกสิทธิ (Purchase Rights) ในการซื้อหุนบุริมสิทธิคืนจาก KfW ใหแกผถู อื หุน เดิม ในสัดสวน 1 สิทธิ ตอหุนบุริมสิทธิ 1 หุน ผูไดสิทธิดังกลาวสามารถใชสิทธิครั้งแรก ในวันครบรอบปที่ 2 นับแตบริษัทไดออกหุนบุริมสิทธิใหแก KfW และอีกทุกครึ่งป ของปที่ 3 ถึงปที่ 8 โดยราคาในการซื้อคืนหุนบุริมสิทธิสําหรับการใชสิทธิครั้งแรกจะเทากับราคาตนทุนของ KfW บวก

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

47


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อัตราผลตอบแทนรอยละ 20 ตอป แตสาหรั ํ บการใชสิทธิงวดถัดๆ ไป จะมีสูตรการคํานวณราคาที่ แตกตางออกไป เนือ่ งจากจะนําปจจัยของราคาหุน มาเปนสวนหนึง่ ของการคํานวณดวย 3. ใบสําคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน สามัญของบริษทั ทีอ่ อกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบ ริหาร (ESOP 2000) ณ วันที่ 27 เมษายน 2543 ทีป่ ระชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 ของบริษัทมี มติ อนุ มั ติ ใ ห บ ริ ษั ท ออกใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะขอซื้ อ หุ  น สามั ญ ของบริ ษั ท ให แ ก ก รรมการและ พนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ หมดที่ออกและคงเหลือ

: 36,995,000 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถนุ ายน 2543

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 10 ป นับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ : 9 มิถนุ ายน 2553 ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 1 ผูท ี่ไดรับการจัดสรรจะไดรับ ใบ สําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ แตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 30 มิถนุ ายน ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ : ใบสําคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 2 ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรบั ใบ สําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสดั สวนเทากับ 1 ใน 3 ของ จํานวนทีไ่ ดรบั การจัดสรรทัง้ หมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละ ฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสทิ ธิครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 31 ธันวาคม ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ

อัตราการใชสิทธิ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท 48


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. ใบสําคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน สามัญของบริษทั ทีอ่ อกใหแกกรรมการ และพนักงานใน ระดับผูบ ริหาร (ESOP 2002) ณ วันที่ 12 เมษายน 2545 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ของบริษทั ประจําป 2545 ไดมมี ติอนุมตั ิ ใหบริษัทออกใบสํ าคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2002”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดงั นี:้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ หมดที่ออกและคงเหลือ

: 37,131,597 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 14 มิถนุ ายน 2545

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนบั จากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ : 13 มิถนุ ายน 2550 ระยะเวลาการใชสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

: ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรบั ใบสําคัญแสดงสิทธิจานวน ํ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสํ าคัญแสดงสิทธิท่ีบุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถนุ ายน 2546 เปนตนไป จนกวาจะ ครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถนุ ายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะ ครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถนุ ายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะ ครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซือ้ หุน สามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

49


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ใบสําคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน สามัญของบริษทั ทีอ่ อกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบ ริหาร (ESOP 2003) ณ วันที่ 11 เมษายน 2546 ทีป่ ระชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2003”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดงั นี:้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ หมดที่ออกและคงเหลือ

: 18,097,664 หนวย (ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2548)

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 17 มิถนุ ายน 2546

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

5 ปนบั จากวันที่ออก : 16 มิถนุ ายน 2551 ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจานวน ํ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสํ าคั ญแสดงสิ ท ธิ ที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถนุ ายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสทิ ธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสทิ ธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถนุ ายน 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซือ้ หุน สามัญได 1 หุน ในราคา 5.20 บาท 50


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6. ใบสําคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน สามัญของบริษทั ทีอ่ อกใหแกกรรมการ และพนักงานในระดับผูบ ริหาร (ESOP 2004) ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2547 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 2/2547 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2004”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดงั นี:้ จํ านวนใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ : 18,274,444 หนวย ทัง้ หมดที่ออกและคงเหลือ วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

: 7 กุมภาพันธ 2548 5 ปนบั จากวันที่ออก : 6 กุมภาพันธ 2553 ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจานวน ํ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสํ าคั ญแสดงสิ ท ธิ ที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2549 เปนตนไป จนกวาจะ ครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2550 เปนตนไป จนกวาจะ ครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2551 เปนตนไป จนกวาจะ ครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซือ้ หุน สามัญได 1 หุน ในราคา 11.20 บาท

51


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. เอ็นวีดีอาร (NVDR: Non-Voting Depository Receipt) NVDR คือ ใบแสดงสิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิงไทย เปนตราสารที่ออก โดย “บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร จํากัด (Thai NVDR Company Limited)” ซึ่งเปนบริษทั ยอยทีต่ ลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยจัดตัง้ ขึน้ โดย NVDR มีลกั ษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูล งทุนใน NVDR จะไดรบั สิทธิประโยชนทางการเงินตางๆ เสมือนการลงทุนในหุน แตจะไมมีสิทธิใน การออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท ณ วันที่ 18 มีนาคม 2548 บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร จํากัด มีการถือหุน ในบริษทั จํานวน 78,059,276 หุน คิดเปนสัดสวนการถือหุน รอยละ 1.91 ของหุน ทีอ่ อกและเรียกชําระแลวทัง้ หมดของ บริษทั พันธะการออกหุนในอนาคต 1) เพือ่ ทดแทนหุนบุริมสิทธิแปลงสภาพ ผลจากการปรับโครงสรางหนี้ Kreditanstalt fÜr Wiederaufbau (KfW) ไดลงทุน ในบริษทั เปนจํานวน 150 ลานดอลลารสหรัฐ โดยบริษัทไดออกหุนบุริมสิทธิที่สามารถแปลงสภาพเปน หุนสามัญไดจํานวน 702 ลานหุนใหแก KfW และกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว และ เนื่องจากมีเงื่อนไขที่กําหนดใหมีการแปลงสภาพหุนบุริมสิทธิเปนหุนสามัญกอนสงมอบใหผถู อื หุน เดิมที่ ไดใชสทิ ธิซอื้ หุน คืนจาก KfW ตามทีไ่ ดกลาวไวในหัวขอทีแ่ ลว ดังนัน้ บริษทั จึงมีขอ ผูกพันในการออกหุน สามัญแทนหุน บุรมิ สิทธิตามจํานวนที่ผูถือหุนใชสิทธิ ณ ระยะเวลาที่กําหนดใหสามารถใชสิทธิได 2) เพือ่ รองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2000 ตามทีท่ ปี่ ระชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 ของบริษัท เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2543 ไดมมี ติอนุมัติโครงการออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ป 2543 (ESOP 2000) เพือ่ ออกและ เสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญจํานวน 58,150,000 หนวย ใหแกกรรมการและพนักงาน ในระดับผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย ในการนี้ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ไดมมี ติอนุมตั ใิ หจดั สรรหุน สามัญทีย่ งั มิไดออกและเรียกชําระ จํ านวน 58,150,000 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

52


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2002

ตามที่ทปี่ ระชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2545 ของบริษัท เมือ่ วันที่ 12 เมษายน 2545 ไดมี ม ติอ นุ มั ติ ใ ห อ อกใบสํ าคั ญแสดงสิทธิใหแกก รรมการและพนั กงานในระดับผูบริหารจํานวนไม เกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 37,131,597 หนวย ในการนี้ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ไดมมี ติอนุมตั ใิ หจดั สรรหุน สามัญทีย่ งั มิไดออกและเรียกชําระ จํานวน 37,131,597 หุน สํารองไวเพือ่ รองรับการใชสทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตาม โครงการดังกลาว 4) เพือ่ รองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2003 ตามทีท่ ี่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 เมือ่ วันที่ 11 เมษายน 2546 ไดมีมติให บริษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 19,862,729 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียก ชําระจํานวน 19,862,729 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการ ดังกลาว 5) เพือ่ รองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2004 ตามที่ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 3/2547 เมือ่ วันที่ 23 กันยายน 2547 ไดมีมติให บริษัทออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 19,111,159 หนวย (ซึง่ เปนมติของที่ประชุมผูถือหุนที่ทดแทน มติเดิมของที่ประชุมวิสามัญครั้งที่ 2/2547 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2547) ในการนี้ ทีป่ ระชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 19,111,159 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 6) เพือ่ รองรับการเพิ่มทุน และรองรับการจัดสรรใหกับ IFC ตามทีท่ ปี่ ระชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 3/2547 เมือ่ วันที่ 23 กันยายน 2547 ไดมีมติให เพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 38,096,415,400 บาท เปน 46,583,393,190 บาท โดยการออกหุนสามัญใหม จํานวน 848,697,779 หุน มูลคาหุน ละ 10 บาท เพือ่ นําเงินทีไ่ ดจากการเสนอขายหุน ไปใชในการลงทุน เพิม่ เติม และจายชําระคืนเงินกูบางสวน และไดจดั สรรหุนสามัญใหมจํานวนหนึง่ เพื่อรองรับการเปลี่ยน เงินกูของ IFC เปนหุน สามัญของบริษัทภายใตเงื่อนไขการทําสัญญา C Loan กับ IFC

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

53


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตลาดรองของหุน สามัญในปจจุบัน หุน สามัญของบริษัทสามารถทําการซื้อขายไดในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ บริษัทไดยกเลิกการนําหลักทรัพยสวนหนึ่งไปซื้อขายในตลาดตางประเทศในรูปตราสารจีดีอาร (Global Depository Receipts : GDRs) จํานวนประมาณ 2.5 ลานจีดีอาร (ซึ่ง 1 จีดีอาร เทากับ 10 หุนสามัญ ของบริษทั ) ไปทัง้ หมดแลว เนือ่ งจากปจจุบนั นักลงทุนตางประเทศสามารถลงทุนในบริษทั ฯ ผานตลาดหลัก ทรัพยแหงประเทศไทยโดยตรง หรือ ผานตราสารเอ็นวีดอี าร (Non-Voting Depository Receipts : NVDRs) ซึง่ ออกโดยบริษทั ยอยของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

54


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.2 ผูถือหุน บริษทั ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ผูถ อื หุน รายใหญ1 ณ วันที่ 18 มีนาคม 2548 (วันปดสมุดทะเบียนผูถ อื หุน ลาสุด)

ชือ่ ผูถ อื หุน

จํานวนหุน (ลานหุน )

รอยละของหุน ทัง้ หมด

1.

กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด2

1,477.02

36.08

2.

กองทุนรวมเพือ่ ผูล งทุนซึง่ เปนคนตางดาว

357.99

8.74

3.

KREDITANSTALT FÜR WIEDERAUFBAU (“KfW”)

341.47

8.34

4.

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

155.40

3.80

5.

STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY

128.65

3.14

6.

MORGAN STANLEY & CO INTERNATIONAL LIMITED

115.70

2.83

7.

บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร จํากัด

78.06

1.91

8.

CLEARSTREAM NOMINEES LTD

70.29

1.72

9.

GOLDMAN SACHS INTERNATIONAL

66.69

1.63

10. LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED 3

58.06

1.42

หมายเหตุ

1 รวมหุน สามัญและหุน บุรมิ สิทธิ 2 ประกอบดวย 1) บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และผูท รี่ ายงานในกลุม เดียวกัน ซึง่ ไดแก 2) บริษทั กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิง้ จํากัด 3) บริษทั เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) 4) บริษทั กรุงเทพโปรดิว๊ ส จํากัด (มหาชน) 5) บริษทั กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จํากัด (มหาชน) 6) บริษทั เจริญโภคภัณฑอสี าน จํากัด (มหาชน) 7) บริษทั เกษตรภัณฑอตุ สาหกรรม จํากัด 8) บริษทั เจริญโภคภัณฑอนิ -เอ็กซ จํากัด 9) บริษทั ยูนคี เน็ตเวิรค จํากัด 10) บริษทั ไวด บรอด คาสท จํากัด 11) บริษทั ซี.พี.อินเตอรฟดู (ไทยแลนด) จํากัด 12) บริษทั สตารมารเก็ตติง้ จํากัด 13) บริษทั แอดวานซฟารมา จํากัด และ 14) Golden Tower Trading Ltd.

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

55


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

Shareholders Agreement Shareholders Agreement ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 Kreditanstalt fur Wiederaufbau (“KfW”), บริษทั ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จํากัด (“Verizon”) และ เครือเจริญโภคภัณฑ ซึ่งประกอบดวย บริษทั เจริญโภคภัณฑ อาหารสัตว จํากัด (มหาชน), บริษทั กรุงเทพโปรดิว๊ ส จํากัด (มหาชน), บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และบริษทั กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด ไดทําสัญญาผูถือหุน (Shareholders Agreement) ฉบับ ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ 1. นอกเหนือและเปนอิสระจากสิทธิของ KfW ทีม่ อี ยูภ ายใตสัญญาปรับโครงสรางหนี้ (Debt Restructuring Agreement) KfW มีสทิ ธิทจี่ ะแตงตั้งตัวแทนในคณะกรรมการของบริษัทฯ ตาม สัดสวนการถือหุนที่มีตอจํานวนทั้งหมดของคณะกรรมการที่เปนตัวแทนของคูสัญญาตามสัญญาผูถือ หุน อนึง่ ไมวา ในกรณีใดๆ KfW มีสทิ ธิทจี่ ะแตงตัง้ กรรมการอยางนอย 1 คน สิทธิทจี่ ะตัง้ ตัวแทนดังกลาว นีจ้ ะมีอยูตลอดไปตราบเทาที่ KfW ถือหุนอยู ไมวา โดยทางตรงหรือทางออม ไมนอยกวารอยละ 5 ของ จํานวนหุนของบริษัทฯ 2. ในระหวาง 3 ปแรกนับจาก KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัทฯ และตราบเทาที่ KfW ถือหุน ของ KfW ไมวา โดยทางตรงหรือทางออม เปนจํานวนอยางนอยรอยละ 5 ของหุน ทีจ่ าหน ํ ายแลว คูส ญ ั ญาตามสัญญาผูถือหุนจะไมลงคะแนนเสียงใหกระทําการดังตอไปนี้ได เวนแต KfW จะตกลงใน การกระทําดังกลาว (1) การแกไขหนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับของบริษัทฯ และการแกไข สิทธิตางๆ ในหุน (2) การเพิ่มหรือลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ การออกหุนใหม หรือการ เสนอขายหุน โดยเฉพาะเจาะจง หรือการเสนอขายหุนตอประชาชน (3) การชํ าระบัญชีโดยสมัครใจ, การเลิก กิจ การ, การเลิ ก บริ ษั ท, การ ปรับโครงสรางทุนหรือการปรับโครงสรางองคกรของบริษัทฯ หรือการ รวม หรือควบบริษัท หรือการรวมธุรกิจอื่นใดของบริษัทฯ กับบุคคลอื่น หรือการ ขายทรั พ ย สิ น ของบริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ฯ ในเครื อ ทั้ ง หมดหรื อ บางสวน (4) การเปลีย่ นแปลงจํานวนกรรมการ หรือองคประชุมกรรมการ (5) การเพิกถอนหลักทรัพยจดทะเบียนออกจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

56


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(6) การดําเนินธุรกิจนอกเหนือไปจากธุรกิจที่ไดรับอํานาจ (ตามที่กําหนดไวใน สัญญาปรับโครงสรางหนี้ (Debt Restructuring Agreement)) 3. ภายใตบังคับเงื่อนไขผูกพันอื่นใดที่มีตอ KfW ในการใหสิทธิแกผูถือหุนของบริษัทฯ KfW อาจจะขายหรือเขาทําสัญญาจะขายหุนของตนทั้งหมด หรือไมนอยกวารอยละ 25 ของหุนทั้งหมด ของตนในเวลาใดๆ ในราคาขายเงินสดหลังจากสิ้นสุดระยะเวลา 3 ปแรกนับจากวันที่ KfW ไดรับการ จัดสรรหุนของบริษัทฯ ความขางตนไมหาม KfW ทีจ่ ะขายหุน ของตนหากการที่ KfW ถือหุน ในบริษัทฯ เปนเรื่องที่ผิดกฎหมาย 4. ในระหวาง 3 ปแรกนับจากวันที่ KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัทฯ คูสัญญาตาม สัญญาผูถือหุน (นอกเหนือจาก KfW) ตกลงละเวนในการโอนหุนที่มีจํานวนมากกวารอยละ 10 ของ จํานวนหุนที่ถืออยูตามที่ระบุไวในสัญญาผูถือหุน 5. คูส ญ ั ญาตกลงละเวนในการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงสัญญาผูถือหุน Verizon ฉบับ ลงวันที่ 23 มิถุนายน 2535 เวนแตจะไดรับความเห็นชอบจาก KfW 6. คูส ญ ั ญาแตละฝายตองเปดเผยใหคสู ญ ั ญาอีกฝายหนึง่ ทราบถึงผลประโยชนใด ๆ และ ผลประโยชนขดั กันใดๆ ซึง่ คูส ญ ั ญาหรือบริษทั ในเครือของตนไดเขาทําสัญญาใดๆหรือจะไดเขาทําสัญญา กับบริษัทฯ 7. ในแตละรอบบัญชี คูสัญญาตกลงที่จะใหบริษัทฯ มีนโยบายประกาศจายเงิน ปนผลอยางนอยรอยละ 50 ของกําไรสุทธิของบริษัทฯ ใหแกผูถือหุนทั้งหลาย หลังจากที่ไดมีการตั้งเปน ทุนสํารองไวตามกฎหมายแลว ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั ความสามารถในการชําระเงินสด (โดยปราศจากการกอหนี)้ ความจํ าเปนตามกฎหมาย ขอบังคับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือขอหามตามสัญญา ปรับโครงสรางหนี้ หรือสัญญาอืน่ ใด 8.3 นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทยังไมเคยประกาศจายเงินปนผลนับตั้งแตเปดดําเนินกิจการ บริษทั สามารถจาย เงินปนผลไดจากผลกํ าไรภายหลังการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมด และภายหลังการตั้งสํารองตาม กฎหมาย นอกจากนั้น สัญญาของการปรับโครงสรางหนี้ไดกําหนดใหบริษัทสามารถจายปนผลไดหาก บริษทั ไดจายคืนชําระหนี้ใหแกเจาหนี้มีประกันทั้งหมด ผูถ อื หุน รายใหญมขี อ ตกลงทีจ่ ะใหมกี ารจายเงินปนผลในอัตรารอยละ 50 ของกําไรสุทธิ ในแตละป ภายหลังการจัดสรรเปนสํารองตางๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทัง้ เปนไปตามขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสัญญาเงินกูต า งๆ นอกจากนัน้ บริษทั สามารถจายเงินปนผลใหแก TRUETK: โครงสรางเงินทุน

57


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูถ อื หุน สามัญได ภายหลังจากการจายเงินปนผลใหแกผถู อื หุน บุรมิ สิทธิแลว ภายใน 31 มีนาคม 2551 ซึ่ง เปนวันครบรอบปที่ 8 นับตัง้ แตมกี ารออกหุน บุรมิ สิทธิ ผูถ อื หุน บุรมิ สิทธิมสี ทิ ธิไดรบั เงินปนผลสะสมใน อัตรา 1 บาทตอหุน ทุกปการเงินของบริษทั และหลังจากระยะเวลาดังกลาว ผูถ อื หุน บุรมิ สิทธิมสี ทิ ธิได รับเงินปนผลแบบไมสะสมกอนผูถือหุนสามัญในอัตรา 0.01 บาทตอหุนในแตละปการเงิน สิทธิใน การรับเงินปนผลสะสมสําหรับปที่ไมมีการประกาศจายจะหมดลงหากหุนบุริมสิทธิไดแปลงสภาพเปน หุน สามัญ สํ าหรับนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย คณะกรรมการของบริษัทยอย แตละแหงจะพิจารณาการจายเงินปนผลจากกระแสเงินสดคงเหลือเทียบกับงบลงทุนของบริษัทยอย นั้นๆ หากกระแสเงิ น สดคงเหลื อ ของบริ ษั ท ย อ ยมี เ พี ย งพอ และได ตั้ ง สํ ารองตามกฎหมายแล ว คณะกรรมการของบริษัทยอยนั้นๆ จะพิจารณาจายเงินปนผลเปนกรณีไป 8.4 โครงสรางหนี้สิน หนี้สินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 หนี้สินของบริษัทและบริษัทยอยตามงบการเงินมีจํานวนทั้ง สิน้ 97,888 ลานบาท ประกอบดวยหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไมหมุนเวียนดังนี้ หนี้สินของบริษัทและบริษัทยอย

(หนวย: ลานบาท) จํานวน

หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป รายไดรับลวงหนา คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

218 4,108 4,450 1,353 3,301 2,884 16,314

หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว หนี้การคาระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

79,971 1,246 357 81,574 97,888

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

58


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 เงินกูย มื รวมทัง้ หนีก้ ารคาระยะยาว (ทัง้ สวนทีถ่ งึ กําหนด ชําระภายใน 1 ป และเกิน 1 ป) ของบริษทั และบริษทั ยอยมีจานวนรวมทั ํ ง้ สิน้ 86,044 ลานบาท แบงเปน เงินกูย มื รวมทัง้ หนีก้ ารคาระยะยาวของบริษทั และบริษทั ยอยในเงินสกุลบาท (“เงินกูส กุลบาท”) จํานวน 74,651 ลานบาท เงินสกุลเหรียญสหรัฐ (“เงินกูส กุลเหรียญสหรัฐ”) จํานวน 6,664 ลานบาท (หรือจํานวน 170 ลานเหรียญสหรัฐ) และเงินสกุลเยนญีป่ นุ (“เงินกูส กุลเยนญีป่ นุ ”) จํานวน 4,729 ลานบาท (หรือ จํานวน 12,483 ลานเยนญีป่ นุ ) ภายหลังจากการปรับโครงสรางหนีเ้ มือ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2542 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษทั สามารถชําระเงินกูไ ดครบตามกําหนดการชําระเงินตนทีม่ ไี วกบั เจาหนีม้ ปี ระกันมาโดยตลอด และยังสามารถชําระเงินกูกอนกําหนดบางสวนจากเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานของบริษัทไดอีก เปนจํานวนประมาณ 2,000 ลานบาท เพือ่ ชวยลดภาระดอกเบีย้ จายและชวยลดความเสีย่ งจากอัตราแลก เปลีย่ น ในอดีตเงินกูร ะยะยาวจํานวนมากของบริษัทเปนเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐ บริษัทจึงมี นโยบายลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน และบริษัทประสบความสําเร็จในการลดเงินกูระยะยาว สกุลเหรียญสหรัฐ โดยมีมาตรการตางๆที่นํามาใชอยางตอเนื่องดังตอไปนี้ กุมภาพันธ 2544

บริษัทไดนําเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานมาชําระคืนเงินกูของเจาหนี้ มีประกันบางสวนกอนกําหนด เปนจํานวนประมาณ 532 ลานบาท

มิถนุ ายน 2544

ณ วันที่ 28 มิถุนายน 2544 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ครั้งที่ 1/2544 ไดมมี ติอนุมัติใหบริษัทออกและเสนอขายหุนกูประเภทตาง ๆ ใน วงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท (“หุนกู”) โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อชําระ หนีส้ นิ เงินสกุลตางประเทศที่มีอยูในปจจุบัน

กรกฎาคม 2544

บริษัทไดนําเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานมาชําระคืนเงินกูของเจาหนี้ มีประกันบางสวนกอนกําหนด เปนจํานวนประมาณ 368 ลานบาท

กันยายน 2544

บริษัทไดเขาทํารายการปองกันความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนดวยการ กําหนดการชําระหนี้เงินกูเปนบาท (“Swap”) กับ KfW (ซึง่ เปนเจาหนี้เงิน สกุลเหรียญสหรัฐรายใหญของบริษัท) จํานวนประมาณ 97 ลานเหรียญ สหรัฐ หรือประมาณ 4,483 ลานบาท โดยมีผลทําใหบริษัทชําระคืนเงินกู เปนเงินสกุลบาทกับเจาหนี้เงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

59


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธันวาคม 2544

บริษทั ไดกเู งินสกุลบาท จํานวน 5,000 ลานบาท (“เงินกูเงินสกุลบาท ใหม”) เพือ่ นําเงินทั้งหมดที่ไดไปชําระคืนหนี้เงินสกุลเหรียญสหรัฐกอน กําหนด

มีนาคม 2545

บริษทั และบริษทั ยอยไดชําระคืนเงินกูเปนจํานวนเงินประมาณ 948 ลาน บาท

กรกฎาคม 2545

บริษัทไดนํ าเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานชําระคืนเงินกูของเจาหนี้มี ประกันบางสวนกอนกําหนดเปนจํานวนเงินประมาณ 345 ลานบาท ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2545 บริษัทไดเขาทําสัญญาทางการเงินกับ เจาหนี้ มีประกันตามสัญญาเงินกูเงินสกุลบาทเดิม สัญญาเงินกูเงินสกุลบาทใหม สัญญาเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐ และ KfW ในฐานะ เจาหนี้ Swap (ตอ ไปจะเรียกวา “เจาหนี้มีประกันในเบื้องตน”) รวมทั้ง IFC ในฐานะผูให สินเชือ่ C Loan และผูคํ้าประกันบางสวนของหุนกูครั้งที่ 2/2545 และกับ ผูแ ทนผูถ อื หุนกูครั้งที่ 1/2545 เพื่อกําหนดมาตรการ รองรับการเขามามี สวนรวมในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแกเจาหนี้มีประกันในเบื้องตน

ตุลาคม 2545

ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2545 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาท 2 ชุด ไดแก หุนกู ครัง้ ที่ 1/2545 และหุนกูครั้งที่ 2/2545 รวมเปนจํานวนเงิน 18,465 ลาน บาท และ ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2545 บริษัทไดกูเงินบาทจาก IFC เปน จํานวนเงิน 1,125 ลานบาท รวมทั้งสิ้นจํานวน 19,590 ลานบาท และได นําเงินจํานวนดังกลาวไปชําระคืนเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐจํานวน 452 ลานเหรียญสหรัฐกอนกําหนด โดยผูถือหุนกูครั้งที่ 1/2545 และผูถือหุนกู ครัง้ ที่ 2/2545 ไดเขาไปมีสวนรวมในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแก เจาหนี้มีประกันในเบื้องตน

ธันวาคม 2545

บริ ษั ท ได นํ ากระแสเงิ น สดของบริ ษั ท มาซื้ อ คื น ตราสารการชํ าระหนี้ ที่ มี เงื่อนไขในการผอนการชํ าระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 10.1 พันลานเยน หรือ ประมาณ 3.6 พันลานบาท

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

60


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กุมภาพันธ 2546

ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ 2546 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาทอีก 1 ชุด ไดแก หุน กูค รัง้ ที่ 1/2546 เปนจํานวนเงิน 3,319 ลานบาท และไดนําเงินจํานวน ดังกลาวไปชําระคืนเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐที่เหลืออยูทั้งหมดจํานวน 78 ลานเหรียญสหรัฐกอนกําหนด ทําใหบริษัทไมมีหนี้เงินกูสกุลเหรียญ สหรัฐเหลืออยูอีกตอไป โดยผูถือหุนกูครั้งที่ 1/2546 ไดเขาไปมีสวนรวม ในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแกเจาหนี้มีประกันในเบื้องตน

ตุลาคม 2546

บริษทั ไดลงนามในสัญญาเงินกูวงเงิน 21,419 ลานบาท กับกลุมธนาคาร พาณิชยและสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใชคืนเงินกูสกุลเงินบาทเดิม ในจํานวนเทากัน โดยเงินกูใหมจะมีอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง สงผลใหบริษัท สามารถลดคาใชจายดานดอกเบี้ยได

ทัง้ นี้ ในการชําระคืนเงินตนกอนกําหนด (Prepayment) ของบริษัท ที่นอกเหนือจากการชําระ คื น เงิ น ต น ตามกํ าหนดการนั้ น เงิ น จํ านวนดั ง กล า วจะถู ก นํ าไปหั ก ลดยอดชํ าระคื น เงิ น ต น จาก งวดทายทีส่ ดุ ยอนขึ้นมา (Inverse Chronological Order) และแบงจายคืนเจาหนี้มีประกันตามสัดสวน ของยอดการชําระคืนเงินตนของเจาหนี้รายนั้นๆ (Pro-rata) หลังจากทีม่ ีการดําเนินมาตรการตาง ๆ เพื่อ ลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนดังที่กลาวขางตนแลว บริษัทมีสัดสวนของเงินกูที่เปนเงินสกุล ตางประเทศตอเงินกูทั้งหมดลดลงจากระดับรอยละ 68.3 ณ สิ้นป 2543 เปนรอยละ 13.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

61


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แผนภูมิ : โครงสรางเงินกูของบริษัทจนถึงปจจุบัน หนวย: ลานบาท 100,000 86,044 80,000

76,520

78,710

6,591

8,205

75,051

73,634

73,379

16,091

16,239

11,376

60,000

5,624 37,657

35,134

6,664

3,153

25,242 74,651 56,379

32,271

11,581

4,729

32,253

40,000

20,000

77,187

38,252 23,826

62,453

32,152

0

2541

2542

เงินกูส กุลบาท

2543

2544

2545

เงินกูส กุลเหรียญสหรัฐ

2546

2547

เงินกูส กุลเยน

รายละเอียดหุนกูสกุลเงินบาทที่บริษัทออกและเสนอขาย ณ วันที่ 28 มิถุนายน 2544 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 1/2544 ไดมีมติ อนุมตั ใิ หบริษทั ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท โดยมีอายุ ไมเกิน 20 ป เพือ่ ชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยูในปจจุบัน ดังนั้น บริษัทไดเสนอขายหุนกู ดังนี้

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

62


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1. หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด ครัง้ ที1่ /2545 ครบกําหนด ไถถอนป พ.ศ. 2551 1) ชือ่ เฉพาะของหุนกู

:

หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอน กําหนด ของบริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2551

2) ประเภทของหุนกู

:

หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอน กําหนด ระบุชื่อผูถือและไมดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุนกู ทีเ่ สนอขายได

:

11,715,400 หนวย คิดเปนมูลคา 11,715,400,000 บาท (หนึง่ หมืน่ หนึง่ พันเจ็ดรอยสิบหาลานสี่แสนบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2545

:

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู:

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

8) สถานะของหุนกู

:

หุน กูเ ปนหนีข้ องบริษัทซึ่งมีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวยและ จะมีสถานะไมดอยกวาหนี้มีประกันอื่นๆ ทั้งในปจจุบันและ ในอนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

9) การชําระเงินตน

:

บริษัทจะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดๆ ในวันชําระดอกเบี้ย เริม่ ตัง้ แตวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2546 เปนตนไป โดยจะชําระ คืนเงินตนงวดสุดทายในวันครบกําหนดไถถอนหุนกู

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

63


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย (หนวย: บาท) วันทยอยชําระคืนเงินตน

จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2546

5.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2546

8.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546

8.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2546

10.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2547

10.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2547

16.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2547

16.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2547

19.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2548

19.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2548

19.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

45.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2548

45.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2549

55.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549

55.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2549

60.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2549

60.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2550

70.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2550

70.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

70.00

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550

70.00

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2551

90.00

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2551

90.00

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

90.00

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

64


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10) อัตราดอกเบีย้ และการชําระดอกเบีย้ : บริษทั จะชําระดอกเบีย้ ของหุนกูในอัตรารอยละ 6.1 ตอป โดยชําระทุกๆ สาม (3) เดือน ในวันที่ 7 มกราคม 7 เมษายน 7 กรกฎาคม และ 7 ตุลาคม ของทุกป โดยเริม่ ชําระดอกเบีย้ ครัง้ แรกในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2546 โดย ดอกเบีย้ ในแตละงวดดอกเบี้ยหุนกูจะคํานวณจากเงินตน คงคางของหุนกูคูณกับจํานวนวันที่ผานไปจริงในแตละ งวดดอกเบีย้ หุน กูท เี่ กีย่ วของคูณกับอัตราดอกเบีย้ ดังกลาว หารดวยสามรอยหกสิบหา (365) วัน 11) การไถถอนหุนกู

:

การไถถอนหุนกูจะกระทําโดยการชําระเงินตนคางชําระ งวดสุดทายพรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่จะตอง ชําระในขณะนั้นทั้งหมดใหแกผูถือหุนกูตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

12) การซื้อคืนหุนกู

:

ภายใตเงื่อนไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิ ซื้อคืนหุนกูจากตลาดรองหรือแหลงอื่น ๆ ไดไมวาใน เวลาใด ๆ เมื่อบริษัทไดซื้อคืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ตาม หุนกูดังกลาวระงับลง และใหบริษัทดําเนินการแจงให นายทะเบียนหุนกูทราบเพื่อยกเลิกหุนกูที่ซื้อมาดังกลาว ทันที

13) การไถถอนหุนกูกอนกําหนด

:

ภายใตเงื่อนไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิที่ จะไถถอนหุนกูกอนกําหนด โดยวันไถถอนหุนกูกอน กําหนดจะเปนวันชําระดอกเบี้ยใด ๆ หลังจากวันครบ รอบปทสี่ าม นับจากวันออกหุนกู และราคาไถถอนหุน กูก อ นกําหนดตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย จะเทากับเงินตน คงค า ง (ไม ร วมดอกเบี้ ย ที่ ยั ง ไม ไ ด ชํ าระ) และค า ธรรมเนียมในอัตรารอยละศูนยจุดหา (0.5) ตอป บน เงินตนคงคางตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย ณ วัน ไถถอนหุนกู กอนกําหนด ในกรณีที่บริษัทไถถอนหุนกูกอนกําหนด บางสว น บริษัท จะต องไถ ถ อนหุ  น กู ก อนกํ าหนดไม นอยกวารอยละยี่สิบหา (25) ของหุนกูที่ยังไมไดไถถอน

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

65


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ เวลานัน้ โดยใหไถถอนหุนกูตามสัดสวนจํานวนหุนกู ทีผ่ ถู อื หุนกูแตละรายถือครองอยู ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขใน ขอกําหนดสิทธิ 14) หลักประกันหุนกู

: บริ ษั ท จะได จั ด ให มี แ ละดํ ารงไวซึ่ง หลักประกันของ หุนกูตลอดอายุของหุนกู ซึ่งเปนการใหหลักประกันที่มี ผลผู ก พั น ทรั พ ย สิ น ของบริ ษั ท ให แ ก ผู  ถื อ หุ  น กู  เช น สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญาโอน สิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือบัญชีเพื่อการชําระเงิน ของหุนกู เปนตน ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไขของเอกสาร หลักประกัน และเอกสารหลักประกันของหุนกู โดยที่ หลั ก ประกั น บางส ว นจะสิ้ น ผลบั ง คั บ ไปหลั ง จากที่ บริ ษั ท ได ชํ าระหนี้ ใหกับเจา หนี้มีประกั น เดิม หมดสิ้น แลว ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิ หากบริษัท ไมสามารถจัดใหมีหลักประกัน (ยกเวนการโอนสิทธิ เรียกรองในการประกันภัยซึ่งบริษัทจะดํ าเนินการโอน สิทธิเรียกรอง ดังกลาวภายในหกสิบ (60) วัน หลังจาก วั น ออกหุ  น กู  ) สํ าหรั บ การชํ าระหนี้ ทั้ ง ดอกเบี้ ย และ เงิ น ต น ของหุ  น กู  ต ามเงื่ อ นไขใน ข อ กํ าหนดสิ ท ธิ ไ ด ภายในเจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอขายหุนกู ให ผูจัดการการจัดจํ าหนายหรือผูจัดจํ าหนายรายที่เปนผู รับจองซื้อหุนกู (แลวแตกรณี) คืนเงินคาจองซื้อหุนกู พรอมดอกเบี้ยที่เกิดจากบัญชีจองซื้อหุนกู (ถามี) สําหรับ เงิ น ดั ง กล า วให ผูจ องซื้อหุ น กู ที่ จ องซื้ อผา นตนภายใน สิบสี่ (14) วัน นับแตวันปดการเสนอขายหุนกู

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

66


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

15)การจัดอันดับความนาเชื่อถือ :

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริ ษั ท จะจัดใหมีการจั ดอั น ดั บ ความน า เชื่อถื อของหุ น กู  โดยสถาบั น จั ด อั น ดั บ ความน า เชื่ อ ถื อ ที่ ไ ด รั บ ความ เห็ น ชอบจากสํ านั ก งานคณะกรรมการกํ ากั บ หลั ก ทรั พ ย และตลาดหลักทรัพยตลอดอายุของหุนกู ซึ่งบริษัทไดแตงตั้ง ใหบริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เปนผูทําการจัดอันดับความ นาเชื่อถือหุนกู โดยผลการจัดอันดับที่บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เผยแพรเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หุนกูไดรับการจัด อันดับความนาเชื่อถืออยูในเกณฑ BBB ซึ่งอันดับความ นาเชื่อถือนี้มิไดจัดขึ้นเพื่อเปนขอแนะนํ าใหผูลงทุนทํ าการ ซื้อขาย หรือถือหุนกูที่เสนอขายและอาจมีการเพิกถอนหรือ เปลี่ยนแปลงโดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด ไดตอไป

2. หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด และมีผคู าประกั ํ้ นบางสวน ครัง้ ที่ 2/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 1) ชือ่ เฉพาะของหุนกู

:

หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอน กําหนด และมีผูคํ้าประกันบางสวน ของบริษัท เทเลคอม เอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2545 ครบ กําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554

2) ประเภทของหุนกู

:

หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอน กําหนด มีผูคํ้าประกันบางสวน ระบุชื่อผูถือและไมดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุนกู ทีเ่ สนอขายได

:

6,750,000 หนวย คิดเปนมูลคา 6,750,000,000 บาท (หกพันเจ็ดรอยหาสิบลานบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2545

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

:

67


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู:

วันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554

8) สถานะของหุนกู

:

หุน กูเ ปนหนีข้ องบริษัทซึ่งมีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวย และ จะมีสถานะไมดอยกวาหนี้มีประกันอื่นๆทั้งในปจจุบันและใน อนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

9) การชําระเงินตน

:

บริษทั จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดๆ ในวันชําระดอกเบี้ย เริม่ ตัง้ แตวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เปนตนไป โดยจะ ชําระคืนเงินตนงวดสุดทายในวันครบกําหนดไถถอนหุนกู

รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

วันทยอยชําระคืนเงินตน วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

(หนวย: บาท) จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 160.00

วันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553

160.00

วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

160.00

วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553

160.00

วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

180.00

วันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554

180.00

10)อัตราดอกเบีย้ และการชําระดอกเบีย้ : บริษทั จะชําระดอกเบีย้ ของหุน กูใ นอัตราดอกเบีย้ ที่ MLR ตอป โดยชําระทุก ๆ สาม (3) เตือน ในวันที่ 3 กุมภาพันธ 3 พฤษภาคม 3 สิงหาคม และ 3 พฤศจิกายน ของทุกป โดยเริม่ ชําระดอกเบีย้ ครัง้ แรกในวันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 โดยดอกเบีย้ ในแตละงวดดอกเบีย้ หุน กูจ ะคํานวณ จากเงินตนคงคางของหุน กูค ณ ู กับจํานวนวันทีผ่ า นไป จริงในแตละงวดดอกเบีย้ หุน กูท เี่ กีย่ วของคูณกับอัตรา ดอกเบีย้ ดังกลาวหารดวยสามรอยหกสิบหา (365) วัน TRUETK: โครงสรางเงินทุน

68


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อัตรา MLR หรือ Minimum Lending Rate หมายถึง สําหรับ งวดดอกเบี้ยหุนกูใดๆ อัตราเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ยอางอิงที่ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน) ณ วันทําการไทยที่สาม (3) กอนหนา วั น แรกของงวดดอกเบี้ ย หุ  น กู  นั้ น โดยหากในวัน ดังกลาว ปรากฏวามีอัตราดอกเบี้ยอางอิงของธนาคารพาณิชยขางตน ไมครบทัง้ สี่ (4) ธนาคารไมวาดวยเหตุใดก็ตาม การคํานวณ อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยใหใชอัตราดอกเบี้ยอางอิงที่เหลืออยูเปน เกณฑ ทั้งนี้ตามเงื่อนไขในขอกําหนดสิทธิ 11)การไถถอนหุนกู

:

การไถถอนหุนกูจะกระทําโดยการชําระเงินตนคางชําระงวด สุดทาย พรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่จะตองชําระใน ขณะนัน้ ทัง้ หมดใหแกผูถือหุนกูตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

12) การซื้อคืนหุนกู

:

ภายใตเงือ่ นไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิซื้อคืน หุน กูจ ากตลาดรองหรือแหลงอื่นๆ ไดไมวาในเวลาใด ๆ เมื่อ บริษทั ไดซอื้ คืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ตามหุนกูดังกลาวระงับ ลงและใหบริษัทดําเนินการแจงใหนายทะเบียนหุนกูทราบเพื่อ ยกเลิกหุนกูที่ซื้อมาดังกลาวทันที

13) การไถถอนหุนกูกอนกําหนด:

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

ภายใตเงือ่ นไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิที่จะ ไถถอนหุนกูกอนกําหนด โดยวันไถถอนหุนกูกอนกําหนดจะ เปนวันชําระดอกเบี้ยใด ๆ หลังจากวันครบรอบปที่สาม นับ จากวันออกหุน กู และราคาไถถอนหุนกูกอนกําหนดตอ หุนกู หนึง่ (1) หนวย จะเทากับเงินตนคงคาง (ไมรวมดอกเบี้ยที่ยัง ไมไดชาระ) ํ และคาธรรมเนียมในอัตรารอยละศูนยจดุ หา (0.5) ตอป บนเงินตนคงคางตอหุน กูห นึง่ (1) หนวย ณ วันไถถอน หุนกูกอนกําหนด ในกรณีที่บริษัทไถถอนหุนกูกอนกําหนด บางสวน บริษัทจะตองไถถอนหุนกูกอนกําหนดไมนอยกวา รอยละยีส่ บิ หา (25) ของหุนกูที่ยังไมไดไถถอน ณ เวลานั้น โดยจะไถถอนหุนกูตามสัดสวนจํานวนหุนกูที่ผูถือหุนกูแตละ รายถือครองอยู ทัง้ นี้ ตามเงื่อนไขในขอกําหนดสิทธิ 69


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

14) หลักประกันหุนกู

:

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษทั จะไดจัดใหมีและดํารงไวซึ่งหลักประกันของหุนกูตลอด อายุของหุน กู ซึ่งเปนการใหหลักประกันที่มีผลผูกพันทรัพยสิน ของบริษทั ใหแกผูถือหุนกู เชน สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบ มีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือ บัญชีเพือ่ การชําระเงินของหุนกู เปนตน ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไข ของเอกสารหลักประกัน และเอกสารหลักประกันของหุนกู โดยที่หลักประกันบางสวนจะสิ้นผลบังคับไปหลังจากที่บริษัท ไดชาระหนี ํ ้ใหกับเจาหนี้มีประกันเดิมหมดสิ้นแลว นอกจากนี้ หุน กูม ผี คู าประกั ํ้ นบางสวนคือ บรรษัทเงินทุนระหวางประเทศ (ไอเอฟซี) ซึ่งเปนผูคํ้าประกันทั้งเงินตนและดอกเบี้ยจํานวน รวมไมเกินรอยละหาสิบ(50) ของหุนกู ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิ หากบริษัทไม สามารถจัดใหมีหลักประกัน (ยกเวนการโอนสิทธิเรียกรองใน การประกั น ภั ย ซึ่ ง บริ ษั ท จะดํ าเนิ น การโอนสิ ท ธิ เ รี ย กร อ ง ดังกลาวในหกสิบ (60) วัน หลังจากวันออกหุนกู) สําหรับการ ชํ าระหนี้ทั้งดอกเบี้ยและเงินตนของหุนกูตามเงื่อนไขในขอ กําหนดสิทธิไดภายในเจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอขาย หุน กู ทัง้ นี้ ใหผูจัดการการจัดจําหนายหรือผูจัดจําหนายรายที่ เปนผูร ับจองซื้อหุนกู (แลวแตกรณี) คืนเงินคาจองซื้อหุนกู พรอมดอกเบี้ยที่เกิดจากบัญชีจองซื้อหุนกู (ถามี) สําหรับเงิน ดังกลาว ใหผูจองซื้อหุนกูที่จองซื้อหุนกูผานตนภายในสิบสี่ (14) วัน นับแตวันปดการเสนอขายหุนกู

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

70


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

15)การจัดอันดับความนาเชื่อถือ:

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษทั จะจัดใหมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือหุนกูโดย สถาบั น จั ด อั น ดั บ ความน า เชื่ อ ถื อ ที่ ไ ด รั บ ความเห็ น ชอบ จากสํ านั ก งานคณะกรรมการกํ ากั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาด หลักทรัพยตลอดอายุของหุนกู ซึ่งบริษัทไดแตงตั้งให บริษัท ทริสเรทติง้ จํากัด เปนผูทําการจัดอันดับความนาเชื่อ ถือหุน กู โดยผลการจัดอันดับที่บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เผย แพรเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หุนกูไดรับการจัด อันดับ ความนาเชือ่ ถืออยูในเกณฑ A ซึ่งอันดับความนาเชื่อ ถือนีม้ ไิ ดจัดขึ้นเพื่อเปนขอแนะนําให ผูลงทุนทําการซื้อขาย หรือถือ หุน กูท เี่ สนอขายและอาจมีการเพิกถอนหรือเปลี่ยน แปลงโดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด ไดตอไป

3. หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2546 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2550 1) ชือ่ เฉพาะของหุนกู

:

หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตนของบริษัทเทเลคอม เอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด(มหาชน) ครั้งที่ 1/2546 ครบ กําหนดไถถอนป พ.ศ. 2550

2) ประเภทของหุนกู

:

หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ระบุชื่อผูถือและ ไมดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุนกู ทีเ่ สนอขายได

:

3,319,000 หนวย คิดเปนมูลคา 3,319,000,000 บาท (สามพันสามรอยสิบเกาลานบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

วันที่ 18 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546

:

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู:

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550

71


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8) สถานะของหุนกู

:

หุนกูเ ปนหนีข้ องบริษัทซึ่งมีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวยและ จะมีสถานะไมดอยกวาหนี้มีประกันอื่นๆทั้งในปจจุบันและใน อนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

9) การชําระเงินตน

:

บริษทั จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดๆ ในวันชําระดอก เบีย้ เริ่มตั้งแตวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2548 เปนตนไป โดย จะชําระคืนเงินตนงวดสุดทายในวันครบกําหนดไถถอนหุนกู

รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

วันทยอยชําระคืนเงินตน วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2548

(หนวย: บาท) จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 12.5

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2548

12.5

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

97.5

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2548

97.5

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2550

97.5

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2550

97.5

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

97.5

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550

97.5

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

72


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10) อัตราดอกเบีย้ และการชําระดอกเบี้ย : บริษัทจะชําระดอกเบี้ยของหุนกูในอัตราคงที่รอยละ 5.8 ตอป โดยชําระทุกๆ สาม (3) เดือน ในวันที่ 7 มกราคม 7 เมษายน 7 กรกฎาคม และ 7 ตุลาคม ของทุ ก ป โดยเริ่ม ชํ าระดอกเบี้ยครั้งแรกในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2546 โดยดอกเบี้ยในแตละงวด ดอกเบีย้ หุน กูจ ะคํานวณจากเงินตนคงคางของหุน กูค ณ ู กับจํานวนวันที่ผานไปจริงในแตละงวดดอกเบี้ยหุนกู ที่ เ กี่ ย วข อ งคู ณ กั บ อั ต ราดอกเบี้ ย ดั ง กล า วหารด ว ย สามรอยหกสิบหา (365) วัน 11) การไถถอนหุนกู

:

การไถถอนหุนกูจะกระทําโดยการชําระเงินตนคาง ชําระงวดสุดทายพรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่ จะตองชําระในขณะนั้นทั้งหมดใหแกผูถือหุนกูตอหุน กูห นึ่ง(1) หนวย

12) การซื้อคืนหุนกู

:

ภายใตเงื่อนไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิ ซือ้ คืนหุน กูจากตลาดรองหรือแหลงอื่น ๆ ไดไมวาใน เวลาใด ๆ เมื่อบริษัทไดซื้อคืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ ตามหุนกูดังกลาวระงับลง และใหบริษัทดําเนินการ แจงใหนายทะเบียนหุนกูทราบเพื่อยกเลิกหุนกูที่ซื้อมา ดังกลาวทันที

13)หลักประกันหุนกู

:

บริษทั จะไดจัดใหมีและดํารงไวซึ่งหลักประกันของ หุนกูตลอดอายุของหุนกู ซึ่งเปนการใหหลักประกันที่ มีผลผูกพันทรัพยสินของบริษัทใหแกผูถือหุนกู เชน สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญา โอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงือ่ นไขเหนือบัญชีเพือ่ การชําระ เงินของหุน กูเ ปนตน ทัง้ นี้ ภายใตเงือ่ นไขของเอกสาร หลักประกัน และเอกสารหลักประกันของหุน กู โดยที่ หลักประกันบางสวนจะสิน้ ผลบังคับไปหลังจากทีบ่ ริษทั ไดชาระหนี ํ ใ้ หกบั เจาหนีม้ ปี ระกันเดิมหมดสิน้ แลว

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

73


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ภายใตเ งื่อนไขที่ กํ าหนดไวในขอกํ าหนดสิทธิหากบริษัทไม สามารถจัดใหมีหลักประกัน สําหรับการชําระหนี้ทั้งดอกเบี้ย และเงินตนของหุนกูตามเงื่อนไขในขอกํ าหนดสิทธิไดภายใน เจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอขายหุนกู ใหผูจัดการการ จัดจําหนาย หรือผูจัดจําหนายรายที่เปนผูรับจองซื้อหุนกู (แลว แตกรณี) คืนเงินคาจองซื้อหุนกูพรอมดอกเบี้ยที่เกิดจากบัญชี จองซือ้ หุน กู (ถามี) สําหรับเงินดังกลาวใหผูจองซื้อหุนกูที่จอง ซือ้ ผานตนภายในสิบสี่ (14) วัน นับแตวันปดการเสนอขาย หุนกู 14)การจัดอันดับความนาเชื่อถือ:

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

บริษทั จะจัดใหมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือหุนกูโดยสถาบัน จัดอันดับความนาเชื่อถือที่ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน คณะกรรมการกํ ากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยตลอด อายุของหุนกู ซึ่งบริษัทไดแตงตั้งใหบริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เปนผูท าการจั ํ ดอันดับความนาเชื่อถือหุนกู โดยผล การจัด อั น ดับที่บริษั ท ทริสเรทติ้ง จํ ากัด เผยแพรเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หุนกูไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถือ อยูในเกณฑ BBB ซึ่งอันดับความนาเชื่อถือนี้มิไดจัดขึ้นเพื่อ เปนขอแนะนํ าใหผูลงทุนทําการซื้อขาย หรือถือหุนกูที่เสนอ ขายและอาจมีการเพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงโดย บริษัท ทริส เรทติ้ง จํากัด ไดตอไป

74


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่1/2547 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 1) ชือ่ เฉพาะของหุนกู

:

หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ของบริษัท ทรู คอร ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2547 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554

2) ประเภทของหุนกู

:

หุน กูม ปี ระกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ระบุชื่อผูถือและไม ดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุนกู ทีเ่ สนอขายได

:

2,413,000 หนวย คิดเปนมูลคา 2,413,000,000 บาท (สองพันสี่รอยสิบสามลานบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย :

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

:

วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2547

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู:

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

8) สถานะของหุนกู

:

หุน กูเ ปนหนีข้ องบริษัทซึ่งมีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวยและ จะมีสถานะไมดอยกวาหนี้มีประกันอื่นๆทั้งในปจจุบันและใน อนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

9) การชําระเงินตน

:

บริษทั จะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดๆ ในวันชําระดอกเบี้ย เริม่ ตัง้ แตวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เปนตนไป โดยจะชําระ คืนเงินตนงวดสุดทายในวันครบกําหนดไถถอนหุนกู

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

75


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

วันทยอยชําระคืนเงินตน วันที่ 7 ตุลาคม 2551

(หนวย: บาท) จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 83.33

วันที่ 7 มกราคม 2552

83.33

วันที่ 7 เมษายน 2552

83.33

วันที่ 7 กรกฎาคม 2552

83.33

วันที่ 7 ตุลาคม 2552

83.33

วันที่ 7 มกราคม 2553

83.33

วันที่ 7 เมษายน 2553

83.33

วันที่ 7 กรกฎาคม 2553

83.33

วันที่ 7 ตุลาคม 2553

83.33

วันที่ 7 มกราคม 2554

83.33

วันที่ 7 เมษายน 2554

83.33

วันที่ 7 กรกฎาคม 2554

83.37

10) อัตราดอกเบีย้ และการชําระดอกเบีย้ : บริษทั จะชําระดอกเบีย้ ของหุน กูใ นอัตราคงทีร่ อ ยละ 6.8 ตอป โดยชําระทุกๆ สาม (3) เดือน ในวันที่ 7 มกราคม 7 เมษายน 7 กรกฎาคม และ 7 ตุลาคม ของทุกปโดยเริม่ ชําระดอกเบีย้ ครัง้ แรกในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2547 โดย ดอกเบี้ยในแตละงวดดอกเบี้ยหุนกูจะคํานวณจากเงินตน คงคางของหุนกูคูณกับจํานวนวันที่ผานไปจริงในแตละ งวดดอกเบีย้ หุน กูท เี่ กีย่ วของคูณกับอัตราดอกเบีย้ ดังกลาว หารดวยสามรอยหกสิบหา (365) วัน

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

76


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

11) การไถถอนหุนกู

:

การไถถอนหุน กูจ ะกระทําโดยการชําระเงินตนคางชําระ งวดสุดทายพรอมทัง้ ดอกเบีย้ หุน กูง วดสุดทายทีจ่ ะตอง ชําระในขณะนัน้ ทัง้ หมดใหแก ผูถ อื หุน กูต อ หุน กูห นึง่ (1) หนวย

12) การซื้อคืนหุนกู

: ภายใตเงื่อนไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิซื้อ คืนหุน กูจากตลาดรองหรือแหลงอื่น ๆ ไดไมวาในเวลา ใด ๆ เมือ่ บริษัทไดซื้อคืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ตามหุนกู ดังกลาวระงับลง และใหบริษัทดําเนินการแจงให นายทะเบียนหุนกูทราบเพื่อยกเลิกหุนกูที่ซื้อมาดังกลาว ทันที

13) หลักประกันหุนกู

: บริษัทจะไดจัดใหมีและดํารงไวซึ่งหลักประกันของหุนกู ตลอดอายุของหุนกู ซึ่งเปนการใหหลักประกันที่มีผล ผูกพันทรัพยสินของบริษัทใหแกผูถือหุนกู เชนสัญญา โอนสิ ท ธิ เ รี ย กร อ งแบบมี เ งื่ อ นไขเหนื อ สั ม ปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญาโอน สิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือบัญชีเพื่อการชําระเงิน ของหุน กู สัญญาจํานําสิทธิในการไดรับเงินฝากเพื่อหุนกู เปนตน ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไขของเอกสารหลักประกัน และเอกสารหลักประกันของหุนกู โดยที่หลักประกัน บางสวนจะสิ้นผลบังคับไปหลังจากที่บริษัทไดชํ าระหนี้ ใหกับเจาหนี้มีประกันเดิมหมดสิ้นแลว ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิหากบริษัท ไมสามารถจัดใหมีหลักประกัน สําหรับการชําระหนี้ทั้ง ดอกเบี้ยและเงินตนของหุนกูตามเงื่อนไขในขอกํ าหนด สิทธิไดภายในเจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอขาย หุน กูใ หผูจัดการการจัดจําหนาย หรือผูจัดจําหนายรายที่ เปนผูรับจองซื้อหุนกู (แลวแตกรณี) คืนเงินคาจองซื้อ หุนกูพรอมดอกเบี้ยที่เกิดจากบัญชีจองซื้อหุนกู (ถามี)

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

77


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สําหรับเงินดังกลาวใหผูจองซื้อหุนกูที่จองซื้อผานตนภายใน สิบสี่ (14) วัน นับแตวันปดการเสนอขายหุนกู 14)การจัดอันดับความนาเชื่อถือ:

บริษทั จะจัดใหมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือหุนกูโดยสถาบัน จัดอันดับความนาเชื่อถือที่ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน คณะกรรมการกํ ากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยตลอด อายุของหุนกู ซึ่งบริษัทไดแตงตั้งใหบริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เปนผูท าการจั ํ ดอันดับความนาเชื่อถือหุนกู โดยผล การจัด อัน ดับที่บริ ษัท ทริสเรทติ้ง จํ ากัด เผยแพรเมื่อวันที่ 11 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 หุนกูไดรับการจัดอันดับความนาเชื่อถือ อยูในเกณฑ BBB ซึ่งอันดับความนาเชื่อถือนี้มิไดจัดขึ้นเพื่อ เปนขอแนะนําใหผูลงทุนทําการซื้อ ขาย หรือถือหุนกูที่เสนอ ขาย และอาจมีการเพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงโดย บริษัท ทริส เรทติ้ง จํากัด ไดตอไป

ตลาดรองของหุนกู ปจจุบนั หุน กูของบริษัท สามารถทําการซื้อขายไดในศูนยซื้อขายตราสารหนี้ไทย

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

78


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9. การจัดการ 9.1 โครงสรางการจัดการ โครงสรางผูบริหารของบริษัทประกอบไปดวย คณะกรรมการบริษัท ชุดยอย และคณะเจาหนาที่บริหาร โดยมีรายละเอียดดังนี้

คณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 คณะกรรมการของบริษัทประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิ จํานวนรวมทั้งสิ้น 20 ทาน ประกอบดวย (ก) กรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Directors) ซึ่งมี สวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจํา (ข) กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร (Non-Executive Directors) ซึง่ ไมเกี่ยวของในการบริหารงานประจํา ซึง่ รวมตัวแทนของกลุมเจาหนี้ และ (ค) กรรมการอิสระ (Independent Directors) ซึ่งคือ กรรมการทีเ่ ปนอิสระจากผูถือหุนรายใหญหรือกลุมของผูถือหุนราย ใหญและมีคุณสมบัติตามที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด ไดแก ไมเปนลูกจาง หรือพนักงาน หรือทีป่ รึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจําหรือประโยชนอื่นจาก บริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือบริษัทที่เกีย่ วของ ถือหุนไมเกินรอยละ 0.5 ของทุนชําระแลวของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือบริษัท ทีเ่ กี่ยวของ ทัง้ นีใ้ หนบั รวมถึงหุนที่ถือโดยผูเกี่ยวของดวย สามารถดูแลผลประโยชนของผูถือหุนทุกรายใหเทาเทียมกัน สามารถดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางบริษัทกับผูบริหาร ผูถือหุน รายใหญ หรือบริษทั ซึ่งมีผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญกลุมเดียวกัน กรรมการทั้งหมดของบริษัทมีรายชื่อดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

นายณรงค นายวิทยา ดร.โกศล นายโชติ นายธนินท นายสุเมธ ดร.อาชว

TRUETL: การจัดการ

ตําแหนง ศรีสอาน เวชชาชีวะ เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช เจียรวนนท เจียรวนนท เตาลานนท

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ 79


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายชื่อ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

8. นายเฉลียว 9. นายอธึก 10. นายศุภชัย

สุวรรณกิตติ อัศวานันท เจียรวนนท

11. นายสุภกิต 12. นายชัชวาลย 13. นายวิเชาวน

เจียรวนนท เจียรวนนท รักพงษไพโรจน

14. นายอํารุง 15. นายไฮนริช 16. นายเคลาส 17. นายเคลาส 18. นายอันเดรียส 19. นายฮาราลด 20. ดร.ลี จี.

สรรพสิทธิ์วงศ ไฮมส ทุงเคอเลอ สแตดเลอร คลอคเคอ ลิงค แลม

หมายเหตุ :

รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร กรรมการ กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – Group Investment กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ขอมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวของกับคณะกรรมการของบริษัท ปรากฏดังนี้ : ไมมี ก) ประวัติการกระทําผิดตามกฎหมาย ข) หนี้ที่มีอยูกับบริษัท หรือบริษัทในเครือ : ไมมี : ไมมี ค) สวนไดสวนเสียในบริษัท

นายณรงค ศรีสอาน ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ และนายโชติ โภควนิช ผานการอบรมหลักสูตร “Directors Accreditation Program” (DAP) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) นายวิทยา เวชชาชีวะ ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ และนายโชติ โภควนิช ผานการอบรมหลักสูตร “Chairman 2000” จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีอํ านาจและหนาที่จัดการบริษัทใหเปนไปตามวัตถุประสงค ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุน ในสวนของการจัดการบริษัทนั้น คณะกรรมการมีอํานาจ หนาที่ ตัดสินใจและดูแลการดําเนินงานของบริษัท เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติอนุมัติจาก ทีป่ ระชุมผูถือหุน นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน หรือบุคคลอืน่ ใด ปฏิบตั กิ ารอยางใดอยางหนึง่ แทนคณะกรรมการได อยางไรก็ตาม การตัดสินใจในการ ดําเนินงานทีส่ าคั ํ ญ อาทิเชน การลงทุน และการกูย มื ทีม่ นี ยั สําคัญ ฝายบริหารจะตองนําเสนอตอ คณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติทุกกรณี TRUETL: การจัดการ

80


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท นายศุภชัย เจียรวนนท หรือ นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน ลงลายมือชื่อรวมกับนายอธึก อัศวานันท หรือ นายสุภกิต เจียรวนนท หรือ นายชัชวาลย เจียรวนนท รวมเปนสองคนและ ประทับตราสําคัญของบริษัท การสรรหากรรมการ คณะกรรมการกํ าหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการซึ่งบริษัทไดจัดตั้งขึ้นจะทําหนาที่ ช ว ยคณะกรรมการบริ ษั ท ในการพิ จ ารณากลั่ น กรองการสรรหากรรมการ ก อ นที่ จ ะเสนอต อ คณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติตอไป สํ าหรั บ สิ ท ธิ ข องผู  ถื อ หุ  น ในการแต ง ตั้ ง กรรมการนั้ น ที่ ป ระชุ ม ผู  ถื อ หุ  น เป น ผู  แ ต ง ตั้ ง กรรมการบริษทั โดยใชเกณฑเสียงขางมาก ทัง้ นี้ ผูถ อื หุน ทุกรายมีสทิ ธิในการออกเสียงเลือกตัง้ กรรมการ โดยผูถ อื หุน แตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึง่ หุน ตอหนึง่ เสียง และสามารถเลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือ หลายคนเปนกรรมการก็ไดโดยใชคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใด มากนอยเพียงใดไมได สวนกระบวนการสรรหากรรมการอิสระ บริษัทจะพิจารณาคุณสมบัติเบื้องตนของผูที่จะ คัดเลือกมาเปนกรรมการอิสระตามทีต่ ลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด ประกอบกับคุณวุฒิ และ ประสบการณที่เหมาะสมกับธุรกิจของบริษัท แลวจึงเสนอผานคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและ สรรหากรรมการ กอนทีจ่ ะเสนอตอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ อ ไป คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ประกอบดวยบุคคล ผูทรง คุณวุฒิจํานวน 3 ทาน มีรายชื่อดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. นายวิทยา 2. ดร.โกศล 3. นายโชติ

TRUETL: การจัดการ

เวชชาชีวะ เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช

ตําแหนง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

81


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทมีขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบ ดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษทั มีรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบ ภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้ง และเสนอคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท 4. สอบทานให บ ริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 5. พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัท ในกรณีทเี่ กิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่ อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหมีความถูกตองครบถวน 6. จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไวใน รายงานประจําปของบริษัท ซึง่ รายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ 7. ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด หรือ คณะกรรมการของบริษัทจะมอบหมาย คณะกรรมการที่เปนอิสระ คณะกรรมการที่เปนอิสระ ทําหนาทีด่ แู ลการเขาทํารายการที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนที่มีความสําคัญสูง ซึง่ มีรายชื่อดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. นายณรงค 2. นายโชติ 3. นายเคลาส

ศรีสอาน โภควนิช ทุงเคอเลอ

4. นายศุภชัย 5. นายอธึก

เจียรวนนท อัศวานันท

TRUETL: การจัดการ

ตําแหนง กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการจาก KfW (ในกรณีที่ไมสามารถเขาประชุมได ใหนายอันเดรียส คลอคเคอ หรือ นายเคลาส สแตดเลอร เขาประชุมแทน) กรรมการจากเครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการจากเครือเจริญโภคภัณฑ

82


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ ในกรณีที่ผูถือหุนรายใหญฝายใดเปนผูมีสวนไดเสียในรายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน กรรมการที่เปนตัวแทนของผูถือหุนฝายดังกลาว จะถอนตัวออกจากการ เขารวมประชุมในที่ประชุมคณะกรรมการที่เปนอิสระนี้เมื่อพิจารณารายการดังกลาว คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการกํ าหนดค า ตอบแทนและสรรหากรรมการ ทํ าหน า ที่ ดูแลการกํ าหนด ค า ตอบแทนกรรมการและพิ จ ารณากลั่ น กรองการสรรหากรรมการก อ นนํ าเสนอต อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัท ซึง่ มีรายชื่อดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. นายธนินท 2. นายไฮนริช 3. นายสุภกิต 4. นายอํารุง

เจียรวนนท ไฮมส เจียรวนนท สรรพสิทธิ์วงศ

คณะกรรมการดานการเงิน

คณะกรรมการดานการเงิน ทําหนาทีช่ วยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดาน การเงิน ซึง่ มีรายชื่อดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. ดร.อาชว เตาลานนท 2. นายเฉลียว สุวรรณกิตติ 3. นายไฮนริช ไฮมส (ในกรณีที่ไมสามารถเขาประชุมได ใหนายเคลาส ทุงเคอเลอ หรือ นายอันเดรียส คลอคเคอ เขาประชุม แทน) 4. นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ

TRUETL: การจัดการ

83


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ทําหนาทีช่ ว ยคณะกรรมการบริษัทในการกําหนดนโยบาย เกีย่ วกับการกํากับดูแลกิจการ ซึ่งประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. ดร.อาชว 2. นายวิทยา 3. นายเคลาส 4. นายอธึก 5. นายศุภชัย 6. นายวิลเลี่ยม อี.

เตาลานนท เวชชาชีวะ สแตดเลอร อัศวานันท เจียรวนนท แฮริส

ผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 ผูบริหารของบริษัท ประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี้ รายชื่อ 1. นายศุภชัย

เจียรวนนท

2. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

3. นายชัชวาลย

เจียรวนนท

4. นายอธึก

อัศวานันท

5. นายวิลเลี่ยม อี. 6. นายธิติฏฐ

แฮริส นันทพัฒนสิริ

7. นายอติรุฒม 8. นายทรงธรรม

โตทวีแสนสุข เพียรพัฒนาวิทย

หมายเหตุ:

TRUETL: การจัดการ

ตําแหนง กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร - Group Investment รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย และรักษาการเลขานุการบริษัท หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน ผูอํานวยการบริหาร-Home/Consumer Solution & Highspeed Access ผูอํานวยการบริหาร-Office/SME Solution & Wireless Access ผูอํานวยการบริหาร-Corporate Solution, Wholesales & Data

“ผูบ ริหาร” ในหัวขอนี้ หมายถึง กรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ หรือผูด ารงตํ ํ าแหนงระดับบริหารสีร่ ายแรก นับตอจากกรรมการผูจัดการใหญลงมา และผูซึ่งดํารงตําแหนงเทียบเทากับผูดารงตํ ํ าแหนงระดับบริหารราย ทีส่ ที่ กุ ราย 2. ขอมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวของกับผูบริหารของบริษัท ปรากฏดังนี้ ก) ประวัติการกระทําผิดตามกฎหมาย : ไมมี ข) หนี้ที่มีอยูกับบริษัทหรือบริษัทในเครือ : ไมมี ค) สวนไดสวนเสียในบริษัท : ไมมี 1.

84


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจ ดั การใหญ มีอานาจหน ํ าทีใ่ นการดูแลและดําเนินการใด ๆ อันเปนการดําเนิน งานตามธุรกิจปกติของบริษทั (day to day business) และในกรณีทเี่ รือ่ ง/รายการดังกลาวเปนรายการ ที่สําคัญ กรรมการผูจัดการใหญจะนําเสนอเรื่อง/รายการดังกลาวใหแกกรรมการอิสระ และ/หรือ คณะกรรมการชุดยอยที่เกี่ยวของ (ซึ่งไดแก คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการกําหนด คาตอบแทนและสรรหากรรมการ หรือ คณะกรรมการทีเ่ ปนอิสระ) และ/หรือ คณะกรรมการบริษทั แลวแตกรณี เพือ่ พิจารณาอนุมตั เิ รือ่ ง/รายการดังกลาว นอกจากนี้ กรรมการผูจ ดั การใหญไมมอี านาจ ํ ในการทีจ่ ะอนุมตั เิ รือ่ ง/รายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยง มีสว นไดสว นเสีย หรืออาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอืน่ ใด จะเขาทํากับบริษทั หรือบริษทั ยอย ในกรณีดงั กลาว เรือ่ ง/ รายการ ดังกลาวจะตองไดรบั อนุมตั จิ ากกรรมการอิสระ และ/หรือ คณะกรรมการชุดยอยทีเ่ กีย่ วของ และ/หรือ คณะกรรมการบริษทั (แลวแตกรณี) เทานัน้ 9.2 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัท คาตอบแทนกรรมการ สําหรับชวงเวลาตัง้ แตมกราคม-ธันวาคม 2547 คาตอบแทนของกรรมการรวม 20 ทาน เปนเงินทัง้ สิน้ 37.20 ลานบาท โดยมีรายละเอียดของอัตราคาตอบแทนสําหรับกรรมการแตละทาน ดังนี้ (1)

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ รองประธานกรรมการ กรรมการ

300,000 200,000 150,000 100,000

บาทตอเดือน บาทตอเดือน บาทตอเดือน บาทตอเดือน

ทัง้ นี้ หากกรรมการทานใดเปนลูกจางของบริษัทฯ ก็ใหคาตอบแทนกรรมการนี้เปน สวนเพิม่ เติมจากคาจางปกติของลูกจางแตละทาน นอกจากนี้ ใหกรรมการอิสระที่ทําหนาที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดรับ คาตอบแทนดังนี้ กรรมการอิสระที่เปนประธานในคณะกรรมการชุดยอย กรรมการอิสระที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย

300,000 บาทตอเดือน 200,000 บาทตอเดือน

ทั้ ง นี้ กรรมการอิสระที่มิไดเปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอยและกรรมการ ทุกทานที่มิใชกรรมการอิสระ ใหไดรับคาตอบแทนคงเดิม TRUETL: การจัดการ

85


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาตอบแทนของผูบริหาร คาตอบแทนผูบ ริหารรวม 8 ทาน สําหรับชวงเวลาตัง้ แตมกราคม-ธันวาคม 2547 เปน เงินทัง้ สิน้ 96.05 ลานบาท โดยแบงเปนเงินเดือน 85.20 ลานบาท โบนัส/ผลตอบแทนการปฏิบตั งิ าน 6.94 ลานบาท และเงินสมทบกองทุนสํารองเลีย้ งชีพจํานวน 3.90 ลานบาท (2)

(3)

TRUETL: การจัดการ

คาตอบแทนอื่น (3.1) โครงการ ESOP 2004 (3.2) โครงการ ESOP 2003 (3.3) โครงการ ESOP 2002 (3.4) โครงการ ESOP 2000

86


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(3.1) โครงการ ESOP 2004 ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2547 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 2/2547 ไดมมี ติอนุมตั ใิ ห บริษัทออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงาน ในระดับผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2004”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดงั นี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ หมดที่ออกและคงเหลือ

: 18,274,444 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 7 กุมภาพันธ 2548

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

5 ปนับจากวันที่ออก : 6 กุมภาพันธ 2553 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสํ าคัญแสดงสิทธิจํ านวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสดั สวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับจะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2549 เปนตนไป จนกวาจะ ครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบ อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสทิ ธิซอื้ หุน สามัญครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 7 กุมภาพันธ 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 11.20 บาท

TRUETL: การจัดการ

87


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(3.2) โครงการ ESOP 2003 ณ วันที่ 11 เมษายน 2546 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2546 ไดมมี ติอนุมตั ใิ ห บริษัทออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงาน ในระดับผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2003”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดงั นี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ หมดที่ออกและคงเหลือ

: 18,097,664 หนวย (ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2548)

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 17 มิถุนายน 2546

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

TRUETL: การจัดการ

5 ปนับจากวันที่ออก : 16 มิถุนายน 2551 ผู  ที่ ไ ด รั บ การจั ด สรรจะได รั บ ใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ จํ านวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสดั สวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวย ของใบสํ าคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้ง หมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใช สิทธิ ดังนี้ ฉบั บ ที่ 1

ใช สิ ท ธิ ซื้ อ หุ  น สามั ญ ครั้ ง แรกได ตั้ ง แต วั น ที่ 17 มิ ถุ น ายน 2547 เปนตนไป จนกว าจะ ครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบั บ ที่ 2

ใช สิ ท ธิ ซื้ อ หุ  น สามั ญ ครั้ ง แรกได ตั้ ง แต วั น ที่ 17 มิ ถุ น ายน 2548 เปนตนไป จนกว าจะ ครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบั บ ที่ 3

ใช สิ ท ธิ ซื้ อ หุ  น สามั ญ ครั้ ง แรกได ตั้ ง แต วั น ที่ 17 มิ ถุ น ายน 2549 เปนตนไป จนกว าจะ ครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 5.20 บาท 88


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(3.3) โครงการ ESOP 2002 ณ วันที่ 12 เมษายน 2545 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2545 ไดมมี ติอนุมตั ใิ หบริษทั ออกและเสนอขายใบสํ าคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดงั นี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 37,131,597 หนวย

ทัง้ หมดที่ออกและคงเหลือ วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 14 มิถุนายน 2545

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 13 มิถุนายน 2550

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผู  ที่ ไ ด รั บ การจั ด สรรจะได รั บ ใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ จํ านวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวย ของใบสํ าคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้ง หมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใช สิทธิ ดังนี้

อัตราการใชสิทธิ

TRUETL: การจัดการ

ฉบับที่ 1

ใชสทิ ธิซอื้ หุน สามัญครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 14 มิถนุ ายน 2546 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2

ใชสทิ ธิซอื้ หุน สามัญครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 14 มิถนุ ายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสทิ ธิซอื้ หุน สามัญครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 14 มิถนุ ายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท 89


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(3.4)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงการ ESOP 2000

ณ วันที่ 27 เมษายน 2543 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2543 ไดมมี ติอนุมตั ใิ หบริษทั ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบ ริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมี สาระสําคัญสรุปไดดงั นี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทัง้ หมดที่ออกและคงเหลือ

: 36,995,000 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2543

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 10 ป นับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2553

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 1 ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสดั สวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ แตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสทิ ธิครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 30 มิถนุ ายน ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ : ใบสําคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 2 ผูท ไี่ ดรบั การจัดสรรจะไดรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสดั สวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ แตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสทิ ธิครัง้ แรกไดตงั้ แตวนั ที่ 31 ธันวาคม ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ

อัตราการใชสิทธิ

TRUETL: การจัดการ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสทิ ธิในการซือ้ หุน สามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

90


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการถือใบสําคัญแสดงสิทธิภายใตโครงการ ESOP ของกรรมการและ ผูบริหารของบริษัท มีดังนี้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2004 จํานวนหนวย รอยละ ของ โครงการ

ชื่อ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2003 จํานวนหนวย รอยละ ของ โครงการ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2002 จํานวนหนวย รอยละ ของ โครงการ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2000 จํานวนหนวย รอยละ ของ โครงการ

1. ดร.อาชว

เตาลานนท

-

-

-

-

-

-

2,240,000

6.06

2. นายสุภกิต

เจียรวนนท

-

-

-

-

-

-

4,130,000

11.16

3. นายศุภชัย

เจียรวนนท

2,434,077

12.74

3,696,402

18.61

7,058,824

19.01

6,510,000

17.60

4. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

1,277,890

6.69

1,617,176

8.14

3,088,235

8.32

2,800,000

7.57

5. นายชัชวาลย

เจียรวนนท

1,277,890

6.69

1,940,611

9.77

3,705,882

9.98

4,130,000

11.16

6. นายอธึก

อัศวานันท

1,331,136

6.97

2,021,470

10.18

3,860,294

10.40

5,320,000

14.38

7. นายวิลเลี่ยม

อี. แฮริส

1,277,890

6.69

1,297,838

6.53

3,000,000

8.08

945,000

2.55

8. นายอติรุฒม

โตทวีแสนสุข

1,277,890

6.69

850,404

4.28

1,503,662

4.05

-

-

9. นายธิติฏฐ

นันทพัฒนสิริ

1,277,890

6.69

-

-

-

-

-

-

10. นายทรงธรรม

เพียรพัฒนาวิทย

1,277,890

6.69

-

-

-

-

-

-

9.3 รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท หัวใจของบริษัท คือบุคลากรตองมีลักษณะประกอบดวย 4 Cs ไดแก เชื่อถือได (Credible), ใฝสรางสรรค (Creative), เอาใจใส (Caring) และ ความกลาหาญ(Courageous) ซึ่งจะ เปนพื้นฐานในการสรางคุณคา และการเปนบรรษัทธรรมาภิบาลขององคกรเอง อันจะสงผลดีอยาง มากตอองคกร ในป 2547 นับเปนปที่ 3 ติดตอกันที่บริษัทไดรับการจัดอันดับใหอยูในระดับตนของการ เปนบรรษัทธรรมาภิบาลที่ดีในกลุมบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และจากราย งานการกํ ากับดูแลกิจการที่ดีซึ่งไดจัดทํ าเปนรายปโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ภายใตการสนับสนุนของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยนั้นจะพิจารณาหลักการกํากับดูแลกิจการใน 5 ประเด็นหลัก คือ 1. สิทธิของผูถือหุน 2. ความเทาเทียมกันของผูถือหุน 3. สิทธิของผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆ 4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ TRUETL: การจัดการ

91


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1. สิทธิของผูถือหุน บริษัทมีความตั้งใจที่จะสรางความมั่นใจใหกับผูถือหุน ดวยการใหโอกาสผูถือหุนโดยการ รับฟงผูถือหุน และในขณะเดียวกันก็ใหขอมูลตาง ๆ ของบริษัทแกผูถือหุน ซึง่ เปนความพยายามที่ บริษทั ตองการใหเกิดประโยชนแกผูถือหุน การเอาใจใส ( Caring ) : “เราจะดูแลเอาใจใสผูอื่นใหเสมือนกับที่เราตองการใหผูอื่นดูแลเรา” ในชวงป 2547 บริษทั ไดมกี ารเชิญผูถ อื หุน เขารวมประชุมผูถ อื หุน ทีส่ านั ํ กงานใหญของบริษทั ทัง้ หมด 4 ครัง้ เปนการประชุมสามัญผูถ อื หุน 1 ครัง้ และการประชุมวิสามัญผูถ อื หุน 3 ครัง้ โดย ไดมกี ารจัดสงเอกสารขอมูลวาระการประชุมใหผถู อื หุน ทางไปรษณียเ ปนการลวงหนาอยางนอย 7 วัน และเพื่อใหมั่นใจวาขอมูลวาระการประชุมดังกลาวไดเปดเผยสูสาธารณะ บริษัทจึงไดลงประกาศ โฆษณาในหนังสือพิมพ และเสนอผานเว็บไซตของบริษทั ที่ www.truecorp.co.th นอกจากนีก้ ารเริม่ ตน ของการประชุมแตละครั้ง บริษัทจะชี้แจงขั้นตอนของการประชุมใหผูถือหุนที่เขารวมประชุมไดรับ ทราบ และเปดโอกาสใหผูถือหุนทุกทานสามารถแสดงความคิดเห็นไดตลอดทุกวาระ โดยกรรมการ ประธานคณะอนุกรรมการหรือตัวแทนคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ และผูบ ริหารจะเขาประชุมผูถ อื หุน เพือ่ ตอบคําถามทีป่ ระชุม บริษัทไดจัดสรรใหมีกรรมการอิสระไมนอยกวา 4 ทาน (ซึง่ ไดกาหนดนิ ํ ยามพรอมหลักสูตร การอบรมผานสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai IOD) ไวในสวนของการจัดการ) เพื่อ ใหบริษทั ไดรับทราบความคิดเห็นของผูถือหุนสวนนอย และขอมูลตาง ๆ จากผูถือหุนไดไปถึงระดับสูง ของบริ ษั ท ทั้งนี้กรรมการอิสระจะตองไมมีความขัดแยงทางผลประโยชนทั้งโดยสวนตัวหรือโดย ตําแหนงหนาที่ และมีความอิสระไมถูกควบคุมโดยผูมีสวนไดเสียกลุมใด ๆ ซึง่ แตละทานสามารถเสนอ ความคิดเห็นตอคณะกรรมการบริษัทไดโดยอิสระ นอกจากนี้ คณะกรรมการของบริษัทจะอยูในตําแหนงตามวาระ 3 ป และจะมีการสรรหา และเลือกกรรมการใหม โดยการลงคะแนนออกเสียงเลือกตั้งของผูถือหุนในการประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป ทั้งนี้ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งกรรมการโดยผูถือหุนแตละคนมีคะแนน เสียงเทากับจํานวนหุนที่แตละคนถือ (1 หุน ตอ 1 เสียง) ซึง่ ในการประชุมผูถือหุนแตละครั้ง บริษัทจะ นําสงหนังสือมอบฉันทะใหกับผูถือหุนเปนการลวงหนา

TRUETL: การจัดการ

92


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ความเทาเทียมกันของผูถือหุน ในฐานะบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งมีผูถือหุนเปนจํานวน มาก และมีการกระจายการถือหุนในวงกวาง บริษทั จึงตระหนักดีถึงความสําคัญในการที่ยังคงใหขอมูล ขาวสารแกผูถือหุนอยางทันทวงที ถูกตอง และเหมาะสม ขอมูลที่สําคัญจะถูกรวบรวม และรายงาน โดยมิชักชาผานเว็บไซตของบริษัท ในสวนงานของฝายลงทุนสัมพันธที่ www.truecorp.co.th และ www.truecorp.com เพื่อใหผูถือหุนไดรับทราบขอมูลดังกลาวอยางทั่วถึง ทัง้ ผูถือหุนรายใหญและ ผูถ อื หุนสวนนอย ในทุกสถานที่ในเวลาเดียวกัน เชื่อถือได ( Credible ) : “เราติดตอสื่อสารดวยความซื่อสัตย และ คํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทเสมอ” เว็บไซตของบริษทั จะใหขอ มูลทีส่ าคั ํ ญ มีประโยชน และทรงคุณคาเกีย่ วกับบริษทั บุคลากร และผลประกอบการ เปนตนวา สําเนารายงานการประชุมผูถ อื หุน การรายงานขอมูลตอผูล งทุน รายงาน ประจําปทเี่ สนอตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เปนตัวอยางทีจ่ ะพบไดตลอดเวลาในเว็บไซตของ บริษทั ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ รวมทัง้ ขอมูลทางการเงินทีส่ ามารถคนหายอนหลังไดถงึ ป 2542 โดยการดาวนโหลดจากเว็บไซตหรือการติดตอกับฝายลงทุนสัมพันธของบริษทั ฝายลงทุนสัมพันธ (Investor Relation Department) และฝายเลขานุการบริษทั จะเปนหนวย งานทีร่ บั ผิดชอบในการดูแลใหขอ มูลทีส่ าคั ํ ญตอผูถ อื หุน และดวยความรวมมือกัน ทัง้ สองฝายจึงเปน หนวยงานสําหรับใหผูถือหุนติดตอไดเปนอยางดี โดยขอมูลของบริษัทที่เปดเผยตอสาธารณะและ ผูถ อื หุน จะกระจายผานฝายลงทุนสัมพันธ ในขณะทีข่ อ มูลทีเ่ ปดเผยตอสาธารณะและหนวยงานทีก่ ากั ํ บดู แลจะกระจายผานฝายเลขานุการบริษทั เพือ่ รักษาความไววางใจสิ่งสําคัญ คือการทําใหผูถือหุนเกิดความเชื่อมั่น ซึง่ ก็คือการกอให เกิดประโยชนสูงสุดและรักษาซึ่งมูลคาของบริษัท ตลอดจนมูลคาของผูถือหุน นักวิเคราะหหลักทรัพย จากบริษทั หลักทรัพยชั้นนําของประเทศไทยที่ไดศึกษาวิเคราะห บริษัทโดยความรวมมือของฝายลงทุน สัมพันธ ผลของรายงานไดชใี้ หเห็นวา การประชุมทีแ่ สดงผลประกอบการ และแลกเปลีย่ นความคิดเห็น เกีย่ วกับผลประกอบการ และแผนงานการเงินในอนาคต เปนการทําใหสาธารณชน และผูถ อื หุน เขาถึง ขอมูลของบริษทั ไดเปนอยางดี

TRUETL: การจัดการ

93


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2547 บริษทั ไดลงทุนเพิม่ ในบริษทั ยอย คือ บริษทั ทีเอ ออเรนจ จํากัด และเพือ่ ใหการ ทํารายการดังกลาวเปนไปอยางยุตธิ รรมเหมาะสมตอผูถ อื หุน บริษทั ไดแตงตัง้ บริษทั หลักทรัพย บีที จํากัด เปนที่ปรึกษาทางการเงินอิสระศึกษาและใหความเห็นตอการทํารายการลงทุนในบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัดดังกลาววามีความเหมาะสมยุตธิ รรมตอผูถ อื หุน หรือไมอยางไร แลวเสนอตอผูถ อื หุน เพือ่ อนุมตั กิ อ นการเขาทํารายการดังกลาว ซึง่ การลงทุนดังกลาวไดเสร็จสมบูรณดว ยการเปดเผยขอมูลอยาง โปรงใส และเพือ่ ผลประโยชนของผูถ อื หุน 3. สิทธิของผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆ ความสําเร็จอยางตอเนื่องของบริษัทนั้นเกิดจากผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆ ทีไ่ ดมีสวนทําให บริษัทปฏิบัติตอกลุมตาง ๆ ดวยดี ซึง่ บริษทั ไดใหทั้งการสนับสนุนและความรวมมืออันดีตอกัน เอาใจใส ( Caring ) : “เราตัง้ ใจจะทํางานรวมกันดวยความสามัคคีเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพือ่ ใหบังเกิดสิ่งที่ดีที่สุดแก ลูกคา เพือ่ นรวมงาน และคูคา” คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํางานของบริษัท ไดใหคําจํากัดความของ “ผูมีสวนได เสีย” ไววา คือ ลูกคา ผูถ อื หุน เจาหนี้ พนักงานและครอบครัว ภาครัฐ คูค า และคูแ ขง ตลอดจนประชากร ของประเทศไทย “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํ างาน” ก็คื อ แนวทางที่ ชั ดเจนที่ใหกับ คณะกรรมการ ผูบ ริหารและพนักงานของบริษัทและบริษัทในเครือ ในการทํางานและผสมผสาน 4 Cs เขาในวัฒนธรรมองคกร “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํางาน” สนับสนุนใหทุกคนแบงปนสิ่งดี ๆ สูสังคมไทย และสูความเปนอยูที่ดีของคนไทย ป 2547 เปนปที่บริษัทยังคงเปนบริษัทผูนําองคกรและผูนําชุมชนใน การเพิม่ คุณคาและแบงปนความชวยเหลือสูความเปนอยูที่ดีของสังคมไทย

บริ ษั ทและบริ ษัทในเครือ ไดใหความชวยเหลืออยางเรงดวนแกผูประสบภัยจาก เหตุการณคลื่นยักษ “สึนามิ” ถลม เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม และใหความชวยเหลือแก เพื่อนและญาติของผูประสบภัย โดยบริษัท ทีเอ ออเรนจ ไดมอบการโทรฟรีใหกับ ผูป ระสบภัย โดยผูซ งึ่ อยูใ นพืน้ ทีป่ ระสบภัยจากคลืน่ “สึนามิ” สามารถติดตอกับบุคคล อันเปนที่รักได ตลอดจนเครื่องอุปโภคบริโภคทั้งอาหาร เครื่องนุงหม และอุปกรณยัง ชีพ ซึง่ ไดรับบริจาคจากพนักงานบริษัท ก็ไดสงมอบถึงผูประสบภัยภายในเวลาอันสั้น

TRUETL: การจัดการ

94


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตลอดระยะเวลากวา 10 ปที่หองเรียนทรู อันประกอบดวย โครงการหองเรียน วิทยาศาสตร หองเรียนธรรมชาติ หองเรียนวัฒนธรรมและหองเรียนเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เปนโครงการที่มุงหวังจะสนับสนุนการพัฒนาตนเองและ เปนโครงการที่ออกแบบเพื่อชวยเหลือใหเยาวชนไดคนควาหาความรูความเขาใจจาก หองเรียนเหลานี้โดยการสรรคสรางประสบการณอันมีคุณคาใหแกชีวิตของพวกเขา โครงการพิ ร าบน อ ยได เ ชื้ อ เชิ ญ ให นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาของคณะสื่ อ สารมวลชนของ มหาวิทยาลัยตางๆ ในประเทศไทย ไดมสี ว นรวมในการผลิตเนือ้ หาสาระทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง ขณะเดียวกันก็ไดสงเสริมในเรื่องความรับผิดชอบและจริยธรรมหรือจรรยาบรรณใน สวนของการสื่อสารและการขาว บริษัทไดรวมมืออยางใกลชิดกับสํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร เพือ่ นําพาประเทศ ไทยไปสูการเปน “สังคมแหงการเรียนรู” ดวยความรวมแรงรวมใจกันนี้ ทําใหโครงการ “อินเตอรเน็ตเพื่อสังคมแหงการเรียนรู” สามารถเชื่อมโยงกวา 300 โรงเรียน ในเขต กรุงเทพฯ ไปยังแหลงขอมูลที่พวกเขาเหลานี้ไมเคยเขาถึงมากอน บริษัทเชือ่ วาหาก เยาวชนเหล า นี้ ไ ด รั บ ข อ มู ล ที่ ทั น สมั ย และได เ รี ย นรู  เ ทคโนโลยี จ ากทั่ ว โลกผ า น อินเตอรเน็ตแลว พวกเขาจะมีโอกาสในการคนพบโลกใหมและนําไปพัฒนาชีวิตของ พวกเขาได ในทางกลับกันโครงการดังกลาวยังอํานวยให เยาวชนเหลานี้สรางสรรคสิ่ง ทีม่ คี ณ ุ คาและคุณประโยชนตอบแทนสูประเทศชาติ

บริ ษั ททราบดี ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบในการป อ งกั น ความเสี่ ย งต อ ผลประโยชน ข อง ผูถอื หุนและผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆของบริษัท ดังเชนที่ผานมาบริษทั ยังคงประสานงานรวมกันอยาง เปดเผยกับ Marsh UK Ltd. ซึง่ เปนทีป่ รึกษาดานการประกันภัยใหกับเจาหนี้ของบริษัท ยิ่งไปกวานั้น ปที่แลวบริษัทและตัวแทนประกันของบริษัทไดจัดหา และจัดรูปแบบการประกันภัย โดยการเปรียบ เทียบความสามารถในการแขงขัน ขอมูลประกันภัย และตนทุนการประกันภัยที่เหมาะสมใหกับบริษัท และบริษัทในเครือ และบริษทั ไดแสดงใหเห็นวาบริษัทไดกอใหเกิดผลประโยชนที่เขมแข็งของชาติจาก ความสามารถของบริ ษั ทในการดํ าเนินธุรกิจไดอยางดีแมในยามที่เกิดเหตุการณที่คับขันหรือมีภัย ธรรมชาติ บริษัทยังคงเดินหนาลงทุนและจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางตอเนื่อง เพือ่ ใหมั่นใจวางาน บริการหลักของบริษัทจะยังมีกําลังสนับสนุนอยางพอเพียงและจะยังคงยึดมั่นดําเนินธุรกิจตอไปไมวา จะในสถานการณเชนใด

TRUETL: การจัดการ

95


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ระบบการควบคุมและตรวจสอบภายในจะอยูภายใตหนวยงานตรวจสอบภายในของบริษัท ซึง่ ทําหนาทีก่ ากั ํ บดูแลและเสนอแนวทางปฏิบตั ิ เพือ่ การประเมินผลและควบคุมอยางมีประสิทธิผล โดย ไดรบั คําปรึกษาแนะนําจากบริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคเู ปอรส ริสค แมเนจเมนท เซอรวสิ เซส จํากัด ซึง่ ชวยในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการควบคุมและระบบการตรวจสอบภายในใหดยี งิ่ ขึน้ 4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส เปนเวลากวา 4 ปทคี่ ณะผูบริหารของบริษัทไดตัดสินใจดําเนินการจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อ ริเริ่มการบริหารจัดการที่ดีใหกับบริษัทโดยการนําเอาวิธีปฏิบัติสากลที่ดีที่สุดมาใชเปนแนวทางปฏิบัติ โดย “แนวทางการกํากับดูแลกิจการทีด่ ”ี ไดถกู นํามาใชเปนเวลากวา 3 ปแลว ซึง่ “แนวทางการกํากับดูแล กิจการทีด่ ”ี ฉบับสมบูรณมีการเผยแพรผา นทางเว็บไซตของบริษทั แนวทางปฏิบตั ดิ งั กลาวครอบคลุม เรือ่ งดังตอไปนี้ หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท องคประกอบและการสรรหาคณะกรรมการบริษัท โครงสรางกรรมการและกระบวนการ ภาวะผูนํา ความสัมพันธระหวางคณะกรรมการและฝายจัดการ กระบวนการและขั้นตอนการจัดประชุม คณะอนุกรรมการ กิจการของคณะอนุกรรมการ นโยบายเกีย ่ วกับการเขาทํารายการระหวางกัน และจริยธรรมของบริษัท ความกลาหาญ ( Courageous ) : “เราตระหนักดีวาโอกาสเกิดจากความรับผิดชอบ และ ความรูสึกเปนเจาของในงานนั้นๆ” ผลของการนํา “แนวทางการกํากับดูแลกิจการทีด่ ”ี บริษทั จึงไดมกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการชุด ใหมขนึ้ ซึง่ ก็คอื คณะกรรมการอิสระ งานของคณะกรรมการอิสระครอบคลุมถึงความรับผิดชอบในการดู แลเรือ่ งตางๆทีเ่ กีย่ วของกับคณะกรรมการทัง้ ในเรือ่ งธุรกิจของคูค าหรือโอกาสของบริษัทรวมถึงเรื่องอื่นๆ ทีค่ รอบคลุมโดยกฏของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตลอดจนขัน้ ตอนและการเปดเผยขอมูลของราย การทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั จดทะเบียน ซึง่ รายละเอียดของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันในระหวางป 2547 ปรากฎอยูใ นหัวขอ “รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน” ของรายงานประจําป 2547 ฉบับนี้

TRUETL: การจัดการ

96


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนีบ้ ริษทั ยังมีนโยบายเกี่ยวกับรายการระหวางกันใชภายในบริษัทเอง ซึง่ จะระบุถึง มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน และรวมทั้งการระบุเรื่องการใชขอมูล ภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท และการใชความสัมพันธสวนบุคคลในกิจการงานของ บริษัท ซึง่ มีรายละเอียดใน “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํางาน” ทีบ่ ริษทั ไดใหกับพนักงานของ บริษัททุกคน 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆ ของบริษัทจะไดรับการดูแลจากบุคคลผูมุงมั่นทํางาน คือคณะกรรมการของบริษัทจํานวน 20 คน ซึง่ แตละคนสามารถทํางานเปนหนึ่งเดียวกับผูรวมงาน และแตละคนมีความสามารถที่เพิ่มศักยภาพใหกับที มคณะกรรมการของบริษัทดวยความสามารถ เฉพาะตน ใฝสรางสรรค ( Creative ) : “เราแลกเปลีย่ นความคิดเห็นซึ่งกันและกันเพื่อเสริมสรางความเขมแข็ง ในการทํางานรวมกัน” บริ ษั ท จะแจ ง กํ าหนดการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท สํ าหรั บ ป ต  อ ไปตลอดทั้ ง ป ใหกรรมการทุกทานไดทราบในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งสุดทายของแตละป และสงหนังสือ เชิญประชุมใหแกกรรมการเปนการลวงหนากอนการประชุมทุกครั้งตามขอกําหนดตาง ๆ ทีเ่ กี่ยวของ ในป 2547 ไดมกี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั ทัง้ สิน้ 8 ครัง้ โดยมีรายนามคณะกรรมการ ผูเขารวมประชุมดังตอไปนี้ ลําดับ

ชื่อ

การเขารวมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1

นายณรงค

ศรีสอาน

7/8

2

นายวิทยา

เวชชาชีวะ

7/8

3

ดร.โกศล

เพ็ชรสุวรรณ

8/8

4

นายโชติ

โภควนิช

8/8

5

นายธนินท

เจียรวนนท

5/8

6

นายสุเมธ

เจียรวนนท

0/8*

7

ดร.อาชว

เตาลานนท

8/8

* ติดภารกิจในตางประเทศ แตก็ไดมีการศึกษาขอมูลและใหความเห็นที่เปนประโยชนตอคณะกรรมการบริษัท TRUETL: การจัดการ

97


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ลําดับ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ

การเขารวมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

8

นายเฉลียว

สุวรรณกิตติ

8/8

9

นายอธึก

อัศวานันท

8/8

10 นายศุภชัย

เจียรวนนท

7/8

11 นายสุภกิต

เจียรวนนท

3/8

12 นายชัชวาลย

เจียรวนนท

6/8

13 นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

8/8

14 นายอํารุง

สรรพสิทธิ์วงศ

8/8

15 นายไฮนริช

ไฮมส

3/8

16 นายเคลาส

ทุงเคอเลอ

6/8

17 นายเคลาส

สแตดเลอร

3/8

18 นายอันเดรียส

คลอคเคอ

5/8

19 นายฮาราลด

ลิงค

4/8

20 ดร.ลี จี.

แลม

5/8

ความสามารถของกรรมการแตละคนไดถกู นํามาใชอยางมีประสิทธิภาพโดยมีการมอบหมาย หนาที่ความรับผิดชอบเปนหลักใหญ 5 คณะ คือ - คณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการดานการเงิน - คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ - คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ - คณะกรรมการทีเ่ ปนอิสระ รายละเอียดเพิ่มเติมของกรรมการแตละทาน ตลอดจนสมาชิกของคณะอนุกรรมการรวมทั้ง กฎบัตรของคณะอนุกรรมการทุกคณะ สามารถดูไดจากเว็บไซตของบริษัทในสวนของผูลงทุน

TRUETL: การจัดการ

98


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จํานวนและตําแหนงของคณะกรรมการ ณ ปจจุบันสะทอนใหเห็นถึงความเหมาะสมและ ยุติธรรมตามสัดสวนของการลงทุนของกลุมผูถือหุนแตละกลุม และกรรมการสวนใหญมิใชผูบริหาร เพื่อเปนการรักษาสมดุลยอํานาจและสรางความนาเชื่อถือในการบริหารงาน และประธานกรรมการ บริษทั เปนกรรมการที่มิใชผูบริหาร นอกจากนี้เพื่อใหความรูความสามารถ และประสบการณของคณะกรรมการบริษัทกอให เกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัท บริษทั จึงมิไดจํากัดจํานวนครั้งที่กรรมการแตละคนจะไดรับการเลือกกลับ เขามาทํางานใหม หรือการจํากัดอายุเกษียณของแตละคน คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหารระดับสูง จะไดรับการกลั่นกรองโดยคณะกรรมการ กําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ จากนัน้ จึงมีการนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณาและอนุมัติ โดยในสวนของคาตอบแทนกรรมการนั้นจะตองนําเสนอตอไปยังที่ประชุมผูถือหุน เพือ่ อนุมัติในขั้นสุดทาย ในสวนของคาตอบแทนของผูบริหารระดับสูงที่สําคัญ ๆ นอกจากไดรับเงิน เดือนแลว ยังมีการให Stock Option ซึง่ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการไดวา จางบริษทั ผูเชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษาอิสระเปนผูศึกษา เปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคม ในประเทศไทยและใหขอเสนอแนะ เพื่อใหการจายผลตอบแทนสอดคลองกับผลประกอบการของ บริษัท และเปนการสรางแรงจูงใจในระยะยาว รวมทัง้ นําผลดังกลาวเสนอใหที่ประชุมผูถือหุนอนุมัติอีก ในขั้นสุดทาย รายละเอียดจะปรากฎอยูในเรื่องของคาตอบแทนกรรมการ บริษัทไดเปดเผยและเสนอขอมูลตอสาธารณะผานทางตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยความดูแลรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตลอดป 2547 ทีผ่ านมา 9.4 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน ปจจุบัน บริษัทใชมาตรการตามกฎหมายในการดูแลผูบริหารในการนําขอมูลภายในของ บริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตน รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย บริษัทมีการเก็บรักษาสารสนเทศที่ สําคัญที่ยังไมไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจํากัดใหรับรูไดเฉพาะผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น ผูบริหารระดับสูงที่มีโอกาสเขาถึงหรือไดรับขอมูลภายในที่สําคัญของบริษัท ซึ่งยังไมไดเปดเผยตอ ประชาชนจะตองรายงานขอมูลการซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัท ตามขอกําหนดของสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“กลต.”) เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการ เกีย่ วกับการจัดทําและเปดเผยรายงานการถือหลักทรัพย ทั้งนี้ เพือ่ ปองกันการซื้อขายหลักทรัพยโดยใช สารสนเทศภายในและเพื่อปองกันขอครหาเกี่ยวกับความเหมาะสมของการซื้อขายหลักทรัพยของ บุคคลภายใน TRUETL: การจัดการ

99


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ บริษัทไดทําการศึกษาเปรียบเทียบหลักเกณฑการปองกันการใชขอมูลภายใน ของตางประเทศอยางตอเนื่อง เพือ่ นํามาประยุกตใช เพือ่ ใหเกิดความโปรงใส สรางความเชื่อมั่นในหมู นักวิเคราะหและนักลงทุนตางประเทศ 9.5 บุคลากร จํานวนพนักงานทัง้ หมดของบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 แบงแยกตามกลุม งานมีดงั นี้ กลุมงาน พนักงานในระดับผูบริหาร ปฏิบัติการโครงขาย และ บํารุงรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริการลูกคา การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน

จํานวนพนักงาน (คน) 82 2,273 425 242 799 230 286 4,337

ที่มา : บริษัท คาตอบแทน และผลประโยชนของพนักงาน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ในป 2547 คาตอบแทนพนักงานรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 2,026.89 ลานบาท โดยประกอบ ดวย คาแรง เงินเดือน เงินตอบแทนการปฏิบตั งิ านประจําป คาทํางานลวงเวลา คาคอมมิชชัน่ เงินสมทบกองทุนสํารองเลีย้ งชีพและอืน่ ๆ (โปรดดูรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 27)

TRUETL: การจัดการ

100


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาตอบแทนอื่น - แผนประกันสุขภาพและสวัสดิการพนักงาน Â Â Â Â Â Â

หองพยาบาลของบริษัท การตรวจสุขภาพประจําป การตรวจรางกายพนักงานใหม การประกันสุขภาพกลุม การประกันอุบัติเหตุกลุม การประกันชีวิตกลุม - เสียชีวิต 30,000 บาท / คน Â กองทุนประกันสังคม

บริษทั และพนักงาน จายเงินสมทบเขากองทุนประกันสังคมในอัตรา 5% ของเงินเดือน พนักงาน (หากพนักงานมีเงินเดือนสูงกวา 15,000 บาทตอเดือน ใหคิดเพียง 15,000 บาทเปนฐานใน การคํานวณเงินสมทบ) พนักงานผูประกันตน จะไดรับสิทธิประโยชนจากกองทุนฯ โดยสามารถเขารับ การรักษาพยาบาลที่สถานพยาบาลในเครือขายประกันสังคม - วันหยุดพักผอนประจําป Â พนักงานทีท่ ํางานติดตอกันมาแลวครบ 1 ป จะมีสทิ ธิหยุดพักผอนประจําปโดย ไดรบั เงินเดือนเทากับวันทํางาน ดังนี้ Â พนักงานระดับผูชวยผูอํ านวยการฝาย หรือเทียบเทาขึ้นไป ไดรับวันหยุด พักผอนประจําป 15 วันทํางาน Â พนักงานระดับตํ่ากวาผูชวยผูอํานวยการฝาย ไดรับวันหยุดพักผอนประจําป 10 วันทํางาน Â พนั ก งานต อ งใช สิ ท ธิ ก ารหยุ ด พั ก ผ อ นประจํ าป ใ ห เ สร็ จ สิ้ น ภายในเดื อ น ธันวาคม วันทีไ่ มไดหยุดจะสะสมไวใชในปตอไปไมได Â กรณีพนักงานไมไดรับอนุญาตใหหยุดพักผอนประจําป เนือ่ งจากความจําเปนเรง ดวนของงานผูมีอํ านาจอนุมัติอ าจใหพนักงานสะสมวันหยุดพักผอนประจํ าป ทีไ่ มไดใชในปนั้นไปใชในปถัดไปได แตรวมกันไมเกิน 30 วัน สําหรับพนักงาน ระดับผูช วยผูอํานวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป และ 20 วัน สําหรับพนักงาน ระดับตํากว ่ าผูชวยผูอํานวยการฝาย

TRUETL: การจัดการ

101


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

- คาตอบแทน Â เงินเดือน Â เงินตอบแทนการปฏิบัติงานประจําป ในอัตรา 0-4 เทาของเงินเดือนพนักงานขึ้น อยูก บั ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบริษัท เกษียณอายุ พนักงานทีจ่ ะมีอายุครบ 60 ปบริบรู ณ หรือในกรณีทบี่ ริษทั และพนักงาน เห็นพองตองกันอาจใหพนักงานเกษียณอายุกอ นกําหนดได โดยพนักงานจะไดรบั คาชดเชยการเกษียณ อายุตามกฎหมาย การฝกอบรมและพัฒนา นโยบายการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน บริษัทไดมีการสงเสริม และพัฒนาความรู ความสามารถ ทักษะ และทัศนคติของ พนั ก งานให ส ามารถปฏิ บั ติ ง านป จ จุ บั น ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และพร อ มที่ จ ะมี ค วาม กาวหนาตอไปในสายอาชีพ ซึง่ บริษัทเชื่อวา เปนสวนสนับสนุนใหกลยุทธและเปาหมายทางธุรกิจของ บริษัทประสบความสําเร็จ ในปจจุบนั บริษัทไดมีการฝกอบรมและพัฒนาพนักงานในดานตางๆ อาทิ เชน การฝกอบรมดานความรูความสามารถหลัก การฝกอบรมดานความรูความสามารถตามบทบาท หรือตําแหนง การฝกอบรมดานความรูความสามารถตามหนาที่ และการฝกอบรมดานความรูความ สามารถตามธุรกิจหลัก เปนตน

TRUETL: การจัดการ

102


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10. การควบคุมภายใน จากการประเมิ น ระบบการควบคุ ม ภายในของคณะกรรมการบริ ษั ท ร ว มกั บ คณะกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2548 โดยกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุมครบทัง้ 3 ทาน คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นวา ระบบการ ควบคุมภายในของบริษทั มีความเพียงพอและเหมาะสม และผูส อบบัญชีของบริษทั มีความเห็นวา มิไดพบ สถานการณใดๆ เกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในของบริษทั ทีเ่ ปนจุดออนทีม่ สี าระสําคัญอันอาจมี ผ ล กระทบที่ เ ป น สาระสํ าคั ญ ต อ งบการเงิ น นอกจากนี้ คณะกรรมการไดเนนใหมีการพัฒนาระบบการ กํากับดูแลกิจการเพื่อใหระบบการควบคุมภายในมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง

TRUETM: การควบคุมภายใน

103


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

11. รายการระหวางกัน ในระหวาง ป 2547 กลุม บริษทั มีรายการคาระหวางกันกับ บริษทั ยอย บริษทั รวม กิจการ รวมคา และบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน ตามทีเ่ ปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ประจําปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (หมายเหตุขอ 9) รายการระหวางกันของบริษทั และบริษทั ยอยทีม่ กี บั บริษทั รวมและบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน สามารถสรุปได ดังนี้ : รายละเอียดรายการระหวางกัน

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

1. ขายสินคา 1.1

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ขายเคเบิ้ล โมเด็ม ใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

1.2

749 TM และ AI เปนบริษทั ทีบ่ ริษทั ถือหุน โดย ออมอยูร อ ยละ 90.45 และ 65.00 ตาม ลําดับ มีความสัมพันธกนั โดย มีกรรมการ รวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

12 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.02 UBC และ TM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมรอยละ 39.24 และ 90.45 ตาม ลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายอธึก อัศวานันท และ นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC)

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

ขายสินคาและอุปกรณ PCT ใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ AWC ให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ขายอุปกรณเครือขาย ใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

1.3

TRUETN: รายการระหวางกัน

796 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ AWC เปนบริษัทที่บริษัทถือ หุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 มีความ สัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน

104


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) รายละเอียดรายการระหวางกัน

1.4

1.5

1.6

1.7

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

ขายสินคา และอุปกรณ PCT ใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

223 BITCO เปนกลุม บริษทั ที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษทั ถือหุน โดยตรงอยูร อ ยละ 43.86 และโดยออมอยู รอยละ 39.00 และAWC เปนบริษทั ที่ บริษทั ถือหุน โดยออมอยูร อ ยละ 99.99 มี ความสัมพันธกนั โดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท , นาย ศุภ ชัย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC)

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ AWC ให บริการลูกคาทั่วไป

ขายสินคา และอุปกรณ PCT ใหกับ บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็น เตอร จํากัด (TIDC)

1 AWC และ TIDC เปนบริษทั ทีบ่ ริษทั ถือ หุน โดยออมอยูร อ ยละ 99.99 และ 70.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกนั โดย มี กรรมการรวมกัน คือ นาย ศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียร วนนท บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC)

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ AWC ให บริการลูกคาทั่วไป

ขายสินคา และอุปกรณ PCT ใหกับ บริษัท เอเชีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3 AWC และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 99.99 และ 65.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดย มี กรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นาย ศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ AWC ให บริการลูกคาทั่วไป

555 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ WW เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 87.50 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ WW ให บริการลูกคาทั่วไป

80 WW เปนบริษัทที่ถือหุนโดยตรงอยู รอย ละ 87.50 และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือ หุนโดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายวิลเลี่ยม อี.แฮริส

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ WW ให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ขายอุปกรณสื่อสารใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

1.8

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ขายสินคา และอุปกรณ PCT ใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TRUETN: รายการระหวางกัน

105


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 1.9

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

1,437 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

81 CN เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99 บริษัทถือ หุนใน UBCโดยออมรอยละ 39.24 มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายอธึก อัศวานันท และ นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

3,416 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และโดยออม อยูรอยละ 39.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกันคือ นายธนินทร เจียรวนนท, นายโชติ โภควนิช, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายอธึก อัศวานันท และ นายไฮนริช วิลเฮลม ฟริทซ ไฉมส

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติสุทธิจากสวนลดที่ตกลง กัน

26 AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 65.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายอาชว เตาลานนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ขายบัตรชั่วโมงอินเตอรเน็ต ใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

1.12

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

บริษัท ขายสินคา ใหกับ บริษัท ซีนีเพล็กซ (CN)

1.11

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

บริษัท ขายอุปกรณ Router ใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

1.10

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ขายสินคา ใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TRUETN: รายการระหวางกัน

106


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท) กลุมบริษทั กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) รายละเอียดรายการระหวางกัน

1.13

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ขายสินคาใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

รวม

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

10,934 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัทและ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลง ทุนในกิจการที่ใหบริการระบบเซลลูลาร ที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86 และโดยออมอยูรอยละ 39.00 มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน 18,313

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ BITCO ให บริการลูกคาทั่วไป

28,817 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ AI ให บริการลูกคาทั่วไป

1 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 39.00 และ AI เปนบริษัท ทีบ่ ริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท และ นายศุภชัย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ AI ให บริการลูกคาทั่วไป

3,326 SS เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือ หุนโดยตรงอยูรอยละ 97.17 UBC และ TM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 39.24 และ 90.45 ตามลําดับ มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายอธึก อัศวานันท และ นายวิ เชาวน รักพงษไพโรจน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

2. ขายบริการ 2.1 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) ใหบริการอินเตอรเน็ตกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) 2.2

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) ใหบริการอินเตอรเน็ตกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.3

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ใหบริการบํารุงรักษาโครงขายกับ บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด (SS)

TRUETN: รายการระหวางกัน

107


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.4

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

834,677 เหมือนขอ 1.2

TM เปนเจาของโครงขาย มัลติมีเดีย ซึ่ง UBC CABLE ทํา สัญญาใชบริการโครงขาย สําหรับ แพรภาพรายการตาง ๆ ใหกับลูก คา UBC CABLE และ TM เปนผู ติดตั้งสายกระจายใหกับลูกคา UBC CABLE โดยที่สัญญาไดตก ลงกันตามราคาปกติที่ใชเสนอขาย กับลูกคาทั่วไป

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ไดรับคาคอมมิชชั่นจาก กลุมบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (UBC)

2.6

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ใหบริการโครงขายเคเบิ้ลทีวี กับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

2.5

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

840 UBC เปนผูประกอบการธุรกิจโทรทัศน ระบบบอกรับเปนสมาชิก UBC และ TM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 39.24 และ 90.45 ตามลําดับ มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายอธึก อัศวานันทและ นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน

TM เปนตัวแทนจัดหาสมาชิกใหกับ UBC และไดรับผลตอบแทนตาม การดําเนินงานปกติตามราคาที่ UBC จายใหบุคคลทั่วไป

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ใหบริการสือ่ สารขอมูลความเร็วสูงกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TRUETN: รายการระหวางกัน

120,110 เหมือนขอ 1.1

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

108


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.7

96,061 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 39.00 และ TM เปน บริษัทที่บริษัทถือหุนโดยอ.อมอยูรอยละ 90.45 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการ รวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนายอธึก อัศวานันท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

30,111 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 90.45 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

106 เหมือนขอ 1.6

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ AWC ให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) ใหบริการอินเตอรเน็ต กับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.11

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) ใหบริการอื่นกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.10

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง กับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.9

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูงกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.8

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9,077 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TI ให บริการลูกคาทั่วไป

1,461 UBC เปนผูประกอบการธุรกิจโทรทัศน ระบบบอกรับเปนสมาชิก ที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 39.24 และ TI เปน บริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนาย ชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TI ให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) ใหบริการ อินเตอรเน็ต และบริการ Audio Text กับ กลุมบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (UBC)

TRUETN: รายการระหวางกัน

109


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.12

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

1,330 TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 99.99 และ AI เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความ สัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท , นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายอาชว เตาลานนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TI ให บริการลูกคาทั่วไป

3,232 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และทางออม อยูรอยละ 39.00 และ TI เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนอยูรอยละ 99.99 มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันคือ นาย สุภกิต เจียรวนนท และ นายศุภชัย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TI ให บริการลูกคาทั่วไป

9,042 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TP เปนบริษัทที่บริษัทถือ หุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาเชาอาคาร สํานักงานและบริการมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการ อื่นกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.15

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) ใหบริการอินเตอรเน็ต และบริการ Audio text กับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.14

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) ใหบริการอินเตอรเน็ต และบริการ Audio text กับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.13

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการ อื่นกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

TRUETN: รายการระหวางกัน

460 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.02 UBC และ TP เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 39.24 และ 99.99 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกันคือ นายสุภกิต เจียร วนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาเชาอาคาร สํานักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะ ตออายุสัญญาเชา

110


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.16

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

518 TP และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 99.99 และ 65.00 ตาม ลําดับ มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการ รวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายอาชว เตาลานนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาบริการสํานัก งานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตอ อายุสัญญาเชา

563 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 39.00 และ TP เปนบริษัท ทีบ่ ริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 มี ความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือนายสุภกิต เจียรวนนท และนายขจร เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาบริการสํานัก งานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตอ อายุสัญญาเชา

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น กับ บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

2.19

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการ อื่นกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.18

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการ อื่นกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.17

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1,423 TP และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 99.99 และ 70.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึง่ สัญญาบริการสํานัก งานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตอ อายุสัญญาเชา

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น กับ บริษัท เอ็น ซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

TRUETN: รายการระหวางกัน

116 NC TRUE เปนบริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 40.00 และ TP เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึง่ สัญญาบริการสํานัก งานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตอ อายุสัญญาเชา

111


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท) บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด (TDE) รายละเอียดรายการระหวางกัน

2.20

ใหบริการเกมออนไลนกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.21

18 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และถือหุนโดย ตลาดทัว่ ไป ออมอยูรอยละ 39.00 และ T PAY เปน บริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 49.00 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการ รวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท 264 T PAY และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ โดยออมอยูรอยละ 49.00 และ 65.00 มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดย มี ตลาดทัว่ ไป กรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) ใหบริการเชาเซิฟเวอรอินเตอรเน็ต กับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.24

25 TDE และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ ออมอยูรอยละ 99.99 และ 65.00 ตาม มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ลําดับ มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการ ตลาดทัว่ ไป รวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

บริษัท ที เพย จํากัด (T PAY) ใหบริการรับชําระเงิน กับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.23

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

บริษัท ที เพย จํากัด (T PAY) ใหบริการรับชําระเงิน กับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.22

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

288 TIDC และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ โดยออมอยูรอยละ 70.00 และ 65.00 มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดย มี ตลาดทัว่ ไป กรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียร วนนท และ นายชัชวาลย เจียรวนนท

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) ใหบริการเชาเซิฟเวอรอินเตอรเน็ต กับ บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

TRUETN: รายการระหวางกัน

562 NC TRUE เปนบริษัทถือหุนโดยตรงอยู เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ รอยละ 40.00 และ TIDC เปนบริษัทที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00 มี ตลาดทัว่ ไป ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท

112


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท) บริษัท ทรู ฟรีต แมเนจเมนต จํากัด (TFM) รายละเอียดรายการระหวางกัน

2.25

ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่น กับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) 2.26

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาใหเชายาน พาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุด ในระยะเวลาตางกัน

101 TFM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 99.99 และ AI เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยออมอยูรอย 65.00 มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายอาชว เตาลานนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาใหเชายาน พาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุด ในระยะเวลาตางกัน

12,603 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.02 UBC ทีบ่ ริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 39.24 และ TFM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ตรงอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียร วนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาใหเชายาน พาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุด ในระยะเวลาตางกัน

4 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และโดยออมอยู รอยละ 39.00 และ TFM เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 มี ความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือนายสุภกิต เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาใหเชายาน พาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุด ในระยะเวลาตางกัน

บริษัท ทรู ฟรีต แมเนจเมนต จํากัด (TFM)

บริษัท ทรู ฟรีต แมเนจเมนต จํากัด (TFM) ใหบริการเชารถยนตกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

2.28

บริษัท ทรู ฟรีต แมเนจเมนต จํากัด (TFM) ใหบริการเชารถยนตกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

2.29

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

502,491 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TFM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

ใหบริการเชารถยนตและอุปกรณอื่น กับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.27

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ใหบริการติดตั้งระบบโทรศัพทกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TRUETN: รายการระหวางกัน

51 เหมือนขอ 1.7

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ WW ให บริการลูกคาทั่วไป

113


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท) บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) รายละเอียดรายการระหวางกัน

2.30

ใหบริการติดตั้งระบบโทรศัพทใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) 2.31

2.32

2.33

2.34

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

184 เหมือนขอ 1.8

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ WW ให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ใหบริการติดตั้งระบบโครงขายและ บริการอื่นกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

80,343 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และโดยออม อยูรอยละ 39.00 และ WW เปนบริษัท ทีบ่ ริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 87.50 มี ความสั มพั นธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนายอธึก อัศวานันท บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW)

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ WW ให บริการลูกคาทั่วไป

ใหบริการติดตั้งระบบโครงขายกับ บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็น เตอร จํากัด (TIDC)

4,806 WW เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 87.50 และ TIDC เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00 มี ความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นาย ชัชวาลย เจียรวนนท และนายวิลเลี่ยม อี.แฮริส กลุม บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ WW ให บริการลูกคาทั่วไป

ใหบริการบัตรเติมเงินกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ BITCO ให บริการลูกคาทั่วไป

1,298,118 เหมือนขอ 1.13

กลุม บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) ใหบริการบัตรเติมเงินกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TRUETN: รายการระหวางกัน

103 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 39.00 และ AI เปนบริษัท ที่บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท และ นายศุภชัย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ BITCO ให บริการลูกคาทั่วไป

114


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.35

826 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.02 บริษัทถือหุนใน UBCโดยออมรอยละ 39.24 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน และนายอธึก อัศวานันท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

3,387 เหมือนขอ 1.9

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

9,966 เหมือนขอ 1.12

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ใหบริการเชาที่ดินกับ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็น เตอร จํากัด (TIDC)

2.39

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

บริษัท ใหบริการสื่อสารขอมูลกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.38

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

บริษัท ใหบริการในการรับแลกเหรียญกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.37

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

บริษัท ใหบริการปรึกษาระบบ SAP กับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

2.36

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

106 TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 70.00 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายชัชวาลย เจียร วนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ใหบริการสื่อสารขอมูล ศูนยบริการ ขอมูลลูกคา และอื่น ๆ กับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

รวม

TRUETN: รายการระหวางกัน

6,076 เหมือนขอ 1.11

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติสุทธิจากสวนลดที่ตกลง กัน

3,061,593

115


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

3. ซื้อบริการ 3.1 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) จายคาเชาอาคารสํานักงานและ บริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) 3.2

เปนการดําเนินงานตามปกติที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาเชาอาคาร สํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิ จะตออายุสัญญาเชา

103 เหมือนขอ 2.2

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) จายคาบริการโทรศัพทมือถือราย เดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

3.3

8,415 เหมือนขอ 2.1

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) จายคาบริการเคเบิ้ลทีวีใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

3.4

41 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.02 มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง UBC และ AWC เปนบริษัทที่บริษัทถือ การคาปกติ หุนโดยออมอยูรอยละ 39.24 และ 99.99 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) จายคาเชาที่จอดรถใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.5

747 เหมือนขอ 1.3

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) จายคาบริการอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TRUETN: รายการระหวางกัน

89 เหมือนขอ 1.6

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

116


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) รายละเอียดรายการระหวางกัน

3.6

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

จายคาบริการเคเบิ้ลทีวีใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

3.7

37 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.02 มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง UBC และ AWC เปนบริษัทที่บริษัทถือ การคาปกติ หุนโดยออมอยูรอยละ 39.24 และ 99.99 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน และ นายอธึก อัศวานันท บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) จายตรวจสอบอุปกรณใหกับ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น(ประเทศ ไทย) จํากัด (NEC)

3.8

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) จายคาเชาอาคารสํานักงานและ บริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.9

5,265 เหมือนขอ 2.10

เปนการดําเนินงานตามปกติที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาเชาอาคาร สํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิ จะตออายุสัญญาเชา

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) จายคาบริการคลิก ทีเอ และ ตัว แทนจําหนายกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3.10

375 NEC เปนบริษัท ที่บริษัทถือหุนโดยออม เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ อยูรอยละ 9.62 และ AWC เปนบริษัท มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง ทีบ่ ริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 การคาปกติ มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

47,326 เหมือนขอ 2.12

เปนการดําเนินงานตามปกติที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) จายคาบริการเคเบิ้ลทีวีใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

TRUETN: รายการระหวางกัน

63 UBC CABLE เปนบริษทั ในกลุม UBC เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ ซึง่ UBC ถือหุน โดยตรงรอยละ 99.02 มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง UBC และ TI เปนบริษทั ทีบ่ ริษทั ถือหุน อยู การคาปกติ รอยละ 39.24 และ 99.99 ตามลําดับ มี ความสัมพันธกนั โดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

117


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 3.11

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

247 เหมือนขอ 2.14

เปนการดําเนินงานตามปกติที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป

6 เหมือนขอ 2.16

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

25 เหมือนขอ 2.17

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

บริษัท เทเลคอม โฮลดิ้ง จํากัด (TH) จายคาบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.17

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

บริษัท ทรู พรอพเพอรดีส จํากัด (TP) จายคาบริการโทรศัพทมือถือ ราย เดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

3.16

1,452 TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 99.99 และ TIDC เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00 มี ความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายชัชวาลย เจียรวนนท

บริษัท ทรู พรอพเพอรดีส จํากัด (TP) จายคาบริการอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3.15

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

บริษัท ทรู พรอพเพอรดีส จํากัด (TP) จายคาบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.14

922 เหมือนขอ 2.13

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) จายคาสวนแบงรายไดใหกับ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็น เตอร จํากัด (TIDC)

3.13

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) จายคาบริการโทรศัพทมือถือ ราย เดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

3.12

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

12 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ บริษัท และ TH เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน โดยตรงอยูรอยละ 99.99 มีความ ทางการคาปกติ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) จายคาประกันภัยใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TRUETN: รายการระหวางกัน

266 เหมือนขอ 1.7

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

118


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3.18

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท) บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW)

3.19

จายคาบริการโทรศัพทมือถือ ราย เดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM)

รายละเอียดรายการระหวางกัน

จายคาบริการเคเบิ้ลทีวีใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

321 เหมือนขอ 2.31

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

13,785 เหมือนขอ 1.2

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

3.20

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) 379 เหมือนขอ 2.8

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

3.21

จายคาประกันภัยและคาบริการอื่นให กับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) จายคาบริการอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

82 เหมือนขอ 1.1

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

426 เหมือนขอ 2.7

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

3.22

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) จายคาบริการโทรศัพทมือถือราย เดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

3.23

บริษัท ทรู ฟรีต แมเนจเมนต จํากัด (TFM)

3.24

จายคาบริการโทรศัพทมือถือราย 49 เหมือนขอ 2.28 เดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) จายคารับรองใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TRUETN: รายการระหวางกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

1 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ บริษัท และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัท ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00 มีความ ทางการคาปกติ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน

119


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท) บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด (TDE) รายละเอียดรายการระหวางกัน

3.25

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

จายคาเชาและคาบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.26

1,278 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TDE เปนบริษัทที่บริษัทถือ หุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด (TDE)

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

จายคาบริการโทรศัพทมือถือราย เดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

3.27

2 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ใหบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และโดยออม ทางการคาปกติ อยูรอยละ 39.00 และ TDE เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 มี ความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท กลุมบริษทั กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

3.28

จายคาเชาสํานักงาน และบริการอื่น 27,279 เหมือนขอ 1.13 ใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) กลุมบริษทั กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) จายคาโฆษณาใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

3.29

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

5,382 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.02 ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ บริษัทถือหุนใน UBC โดยออมรอยละ 39.24 และ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลง ทุนในกิจการที่ใหบริการระบบเซลลูลาร ที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 43.86 และโดยออมอยูรอยละ 39.00 มีความ สัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท

บริษัท จายคาซอมแซมและบํารุงรักษาระบบ โครงขาย ใหกับ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น(ประเทศ ไทย) จํากัด (NEC)

TRUETN: รายการระหวางกัน

5,173 NEC เปนบริษัท ที่บริษัทถือหุนโดยออม เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ อยูรอยละ 9.62 และ มีความสัมพันธกัน ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน โดยมีกรรมการรวมกันกับกรรมการของ ทางการคาปกติ บริษัทคือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

120


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

3.30

บริษัท

3.31

จายคาบริการเชาเซฟเวอร อินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็น เตอร จํากัด (TIDC) บริษัท

10,533 เหมือนขอ 1.9

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

3.32

จายคาเชาสถานที่ติดตั้งโทรศัพท สาธารณะใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) บริษัท จายคาเชาอาคารสํานักงานและ บริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

32,816 เหมือนขอ 1.9

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ สี ญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป ซึ่งสัญญาเชาอาคาร สํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิ จะตออายุสัญญาเชา

15,645 เหมือนขอ 1.9

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

3.33

499 เหมือนขอ 2.38

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

บริษัท จายคาบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.34

บริษัท 17,022 เหมือนขอ 1.10

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

3.35

จายคาประชาสัมพันธและสนับสนุน กิจกรรม Academy Fantasiaให กับ บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด (CN) บริษัท จายคาบริการอินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

22 เหมือนขอ 1.12

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

1,879 เหมือนขอ 2.39

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

3.36

บริษัท จายคาสงเสริมการขายและคาบริการ โทรศัพทมือถือ รายเดือนใหกับ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) รวม

TRUETN: รายการระหวางกัน

197,964

121


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

4. ซื้อสินคา 4.1 บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ซื้อบัตรอินเตอรเน็ตจาก บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) 4.2

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

205 เหมือนขอ 1.12

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

14,456 เหมือนขอ 3.29

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

22,065 เหมือนขอ 2.39

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

บริษัท ซื้ออุปกรณจาก บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น(ประเทศ ไทย) จํากัด (NEC)

4.5

18,085 เหมือนขอ 2.31

บริษัท ซื้ออุปกรณเกี่ยวกับอินเตอรเน็ตจาก บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

4.4

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) ซื้อสินคาจาก กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

4.3

16 เหมือนขอ 1.8

บริษัท ซื้อโทรศัพทมือถือจาก กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) รวม

54,827

5. ดอกเบี้ยจาย 5.1

กลุมบริษทั กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) จายดอกเบี้ยเงินกูใหกับ Kreditanstalt fuer Wiederaufbau (KfW)

TRUETN: รายการระหวางกัน

60,496 BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการ เปนรายการที่ BITCO ชําระดอก ทีใ่ หบริการระบบเซลลูลาร ทีบ่ ริษัทถือหุน เบีย้ เงินกูใหกับ KfW ตามสัญญา โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และโดยออม เงินกู ตามอัตราที่ระบุไวในสัญญา อยูรอยละ 39.00 และ KfW เปนผูถือหุน บุริมสิทธิรายเดียวของบริษัทซึ่งมีสัดสวน การถือหุนรอยละ 17.09 ของจํานวนสิทธิ ในการออกเสียงทั้งหมด

122


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 5.2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

31 ธันวาคม 2547 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของ ผูท ารายการระหว ํ างกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความ จําเปนของรายการระหวางกัน

บริษัท จายดอกเบี้ยเงินกูใหกับ Kreditanstalt fuer Wiederaufbau (KfW) รวม

30,077 KfW เปนผูถือหุนบุริมสิทธิรายเดียวของ บริษัทซึง่ มีสัดสวนการถือหุนรอยละ 17.09 ของจํานวนสิทธิในการออกเสียง ทั้งหมด

เปนรายการที่บริษัทชําระ ดอก เบี้ยเงินกูใหกับ KfW ตามสัญญา เงินกู ตามอัตราที่ระบุไวในสัญญา

90.573

มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน บริษัทมีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันตามมาตรฐานที่ กํ าหนดไว ต ามข อ กํ าหนดของสํ านั ก งานคณะกรรมการกํ ากั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย (สํานักงาน กลต.) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตลอดจนบทบัญญัตใิ นพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน กล า วคื อ การเข า ทํ ารายการระหว า งกั น จะต อ งได รั บ ความเห็ น ชอบจากกรรมการอิสระ กอน แตหากรายการนัน้ เขาขายเปนรายการที่เกี่ยวโยงกันจะตองไดรับความเห็นชอบจาก คณะ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั และ/หรือ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน แลวแตกรณี ตามหลักเกณฑที่ กําหนดโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทยังตองปฏิบัติตามเงื่อนไข ขอกําหนดของสัญญา Common Terms Agreement First Amendment and Restatement Agreement ฉบับ ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2546 ซึง่ เปนสัญญาหลักของบริษทั กับกลุม เจาหนีม้ ปี ระกันของบริษทั รวมทัง้ สัญญาที่ เกี่ยวของ ซึ่งในสัญญาไดกาหนดเงื ํ ่อนไขในเรื่องการทํารายการระหวางกันโดยมีหลักการโดยสรุปวา บริษทั ตองดําเนินการเกีย่ วกับการทํารายการระหวางกันภายใตเงือ่ นไขปกติทางการตลาด นอกเหนือจาก ขอกําหนดในสัญญาขางตนแลว ขอกําหนดของ Shareholders Agreement ฉบับวันที่ 22 ธันวาคม 2542 ที่ ไดลงนามรวมกับ KfW ยังกําหนดใหบริษทั มีการเปดเผยผลประโยชนสวนไดสวนเสียตางๆ ที่ผูถือหุน รายใหญหรือบริษัทในเครืออาจมีในสัญญาตางๆ ทีบ่ ริษทั เขาเปนคูส ญ ั ญา ตลอดจนการมีผลประโยชน ขัดกัน อีกดวย

TRUETN: รายการระหวางกัน

123


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นโยบายและแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต นอกจากบริษทั จะปฏิบตั ติ ามขอกําหนดของ สํานักงาน กลต. และ ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยอยางเครงครัดแลว บริษทั ไดนาข ํ อกําหนดดังกลาวมาสรางเปนแนวทางปฏิบตั ภิ ายใน องค ก รเพื่ อ เน น ความโปรง ใสในการทํ ารายการ โดยการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บกั บ หลั ก เกณฑ ข อง ตางประเทศ เพือ่ ใหเกิดความเขาใจตรงกันกับนักวิเคราะหและนักลงทุนตางประเทศดวย สําหรับ แนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคตนัน้ อาจจะยังคงมีอยูใ นสวนทีเ่ ปนการดําเนินธุรกิจตาม ปกติระหวางบริษทั กับบริษทั ยอยของบริษทั ซึง่ บริษทั จะดําเนินการดวยความโปรงใสตามนโยบายการ กํากับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั และปฏิบตั ติ ามขอกําหนดทีเ่ กีย่ วของอยางเครงครัด

TRUETN: รายการระหวางกัน

124


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 ผูส อบบัญชีและนโยบายการบัญชีที่สําคัญ ผูส อบบัญชีที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริษัท สําหรับตรวจสอบ งบการเงินรวม และงบการเงินของบริษัทในระยะ 3 ป ที่ผานมา มีดังนี้ งบการเงินประจําป 2547 งบการเงินประจําป 2546 งบการเงินประจําป 2545

: บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด : บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด : บริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด

รายงานการตรวจสอบของผูสอบบัญชีในระยะ 3 ปที่ผานมา ผูสอบบัญชีไดให ความเห็นในรายงานการตรวจสอบแบบไมมีเงื่อนไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2547 ผูส อบบัญชีมคี วามเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษทั แสดงฐานะการ เงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกัน ของบริษทั ถูกตองตามทีค่ วรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป โดยไมมเี งือ่ นไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2546 ผูส อบบัญชีมคี วามเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษทั แสดงฐานะการ เงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกัน ของบริษทั ถูกตองตามทีค่ วรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป โดยไมมเี งือ่ นไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2545 ผูส อบบัญชีมคี วามเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษทั แสดงฐานะการ เงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกัน ของบริษทั ถูกตองตามทีค่ วรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป โดยไมมเี งือ่ นไข TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

125


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547, พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2545 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547 สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา – สุทธิ เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ - สุทธิ ภาษีหัก ณ ที่จาย ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุน - เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม - เงินลงทุนระยะยาวอื่น - เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยอ่นื - สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ - สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น เจาหนี้การคา สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปของ เงินกูยืมระยะยาว รายไดรับลวงหนา คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนีส้ นิ ไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว เจาหนี้การคาระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2546

31 ธันวาคม พ.ศ. 2545

Common Size (%)

4,469,146 1,739,248 1,357,653 6,264,259 984,225 544,187 2,569,866 1,519,586 19,448,170

4.35 1.70 1.32 6.10 0.96 0.53 2.50 1.49 18.95

2,815,869 1,819,957 3,537,953 5,510,171 727,158 1,113,611 1,176,625 468,046 17,169,390

3.24 2.10 4.08 6.35 0.84 1.28 1.36 0.54 19.79

3,135,696 4,482,279 21,210 6,897,931 781 1,184,275 680,153 895,507 1,331,246 18,629,078

3.37 4.82 0.02 7.42 0.01 1.27 0.73 0.97 1.43 20.04

3,645,417 97,071 53,874 75,674,473

3.56 0.09 0.05 73.74

3,623,336 75,571 53,874 63,018,960

4.18 0.09 0.06 72.64

4,009,108 75,572 53,874 66,870,643

4.31 0.08 0.06 71.92

2,947,677 758,498 83,177,010

2.87 0.74 81.05

1,887,057 931,873 69,590,671

2.17 1.07 80.21

1,771,042 1,567,935 74,348,174

1.90 1.69 79.96

102,625,180

100.00

86,760,061

100.00

92,977,252

100.00

217,658 4,108,555

0.21 4.00

773,216 2,434,231

0.89 2.81

721,933 2,244,583

0.78 2.40

4,449,677 1,353,122 3,300,645 2,884,000 16,313,657

4.34 1.32 3.22 2.81 15.90

19,132,993 489,710 2,205,862 2,370,917 27,406,929

22.05 0.57 2.54 2.73 31.59

5,132,246 230,511 3,260,268 2,536,669 14,126,210

5.52 0.25 3.51 2.73 15.19

79,970,768 1,246,350 356,853 81,573,971

77.92 1.21 0.35 79.48

49,423,049 7,857,920 577,100 57,858,069

56.97 9.06 0.66 66.69

59,329,885 8,012,583 4,310,326 71,652,794

63.81 8.62 4.64 77.07

97,887,628

95.38

85,264,998

98.28

85,779,004

92.26

รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ หุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ สวนเกินมูลคาหุน หุนสามัญ สวนตํ่ากวามูลคาหุน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน กําไร(ขาดทุน)ที่ยังไมเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยเผื่อขาย กําไร(ขาดทุน)สะสม สํารองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสม รวมสวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนของผูถือหุนสวนนอย รวมสวนของผูถือหุน

34,881 (43,400,745) 4,366,617 370,935 4,737,552

0.03 (42.32) 4.25 0.37 4.62

34,881 (44,005,658) 1,078,180 416,883 1,495,063

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

102,625,180

100.00

86,760,061

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

Common Size (%)

6,994,655 39,588,738

6,996,485 36,895,796

6,997,535 37,463,647

6,994,655 33,930,617

6.82 33.09

6,996,485 29,948,487

8.06 34.52

6,997,535 29,947,437

7.53 32.21

11,432,046

11.15

11,432,046

13.18

11,432,046

12.30

(1,493,070) (3,260,734) 104,344

(1.46) (3.18) 0.10

(1,493,459) (1,943,495) 104,344

(1.72) (2.24) 0.12

(1,493,683) (1,943,271) 104,344

(1.61) (2.09) 0.11

(2,713)

(0.01)

0.04 (50.72) 1.25 0.47 1.72

34,881 (38,331,553) 6,745,023 453,225 7,198,248

0.04 (41.23) 7.25 0.49 7.74

100.00

92,977,252

100.00

24,623

0.02

4,549

0.01

126


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547, พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2545 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547 รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอืน่ รายไดจากการขายสินคา รวมรายได คาใชจาย ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขาย รวมคาใชจาย กําไรขั้นตน คาใชจา ยในการขายและบริหาร กําไรจากการขายและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายอื่น กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน สวนแบงกําไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน ในบริษทั ยอย กิจการรวมคาและบริษทั รวม ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน กําไรจากการขายเงินลงทุน รายได(คาใชจาย)ที่ไมเกี่ยวกับการดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)กอนดอกเบี้ยและภาษี ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ขาดทุนกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได ขาดทุนกอนรายการพิเศษ รายการพิเศษ กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไร(ขาดทุน)กอนสวนของผูถ อื หุน สวนนอย ขาดทุนของผูถือหุนสวนนอย กําไร(ขาดทุน)สุทธิสาํ หรับป ขาดทุนตอหุนขั้นพื้นฐานและลดลงเต็มที่ ขาดทุนจากกิจกรรมตามปกติ รายการพิเศษ กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ ขาดทุนสุทธิสาํ หรับป

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

30,648,684 2,361,556 33,010,240

Common Size (%) 92.85 7.15 100.00

31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 27,001,000 948,950 27,949,950

Common Size (%) 96.60 3.40 100.00

31 ธันวาคม พ.ศ. 2545 24,214,524 1,568,462 25,782,986

Common Size (%) 93.92 6.08 100.00

22,094,271 2,039,605 24,133,876 8,876,364 7,497,004 1,379,360 633,058 (179,372) 1,833,046

66.93 6.18 73.11 26.89 22.71 4.18 1.92 (0.54) 5.56

20,203,343 1,001,422 21,204,765 6,745,185 6,468,524 276,661 343,251 (933,125) (313,213)

72.28 3.58 75.86 24.14 23.14 1.00 1.23 (3.34) (1.11)

17,651,533 1,758,073 19,409,606 6,373,380 6,171,230 202,150 245,620 (1,827,048) (1,379,278)

68.46 6.82 75.28 24.72 23.94 0.78 0.95 (7.09) (5.36)

(124,144) 156,695 1,865,597 41,251 (4,212,697) 255,222 (2,050,627) (87,521) (2,138,148)

(0.38) 0.47 5.65 0.12 (12.76) 0.77 (6.22) (0.27) (6.49)

(444,249) 3,989 (77,452) (830,925) 37,614 (4,483,235) (311,132) (5,587,678) (122,769) (5,710,447)

(1.59) 0.01 (0.28) (2.97) 0.13 (16.04) (1.11) (19.99) (0.44) (20.43)

1,844,460 (5,721,988) 943,248 3,196,229 (1,117,329) 54,299 (3,880,857) (403,466) (5,347,353) (143,683) (5,491,036)

7.15 (22.19) 3.66 12.40 (4.34) 0.21 (15.05) (1.56) (20.74) (0.56) (21.30)

2,726,305 588,157 16,756 604,913

8.26 1.77 0.05 1.82

(5,710,447) 36,342 (5,674,105)

(20.43) 0.13 (20.30)

95,454 (5,395,582) 1,133 (5,394,449)

0.37 (20.93) (20.93)

(0.93)

(2.13)

(2.37)

0.90 (0.03)

(2.13)

0.03 (2.34)

127


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษทั ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปส้ินสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547, พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2545 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547 กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)กอนสวนของผูถือหุนสวนนอย บวก : ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กําไร(ขาดทุน)กอนดอกเบี้ยและภาษีเงินได รายการปรับปรุง : คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี (กําไร)ขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ หนี้สงสัยจะสูญ การดอยคาของเงินลงทุน การดอยคาของสินทรัพยถาวร ขาดทุนจากการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ สินทรัพยและหนี้สินในการดําเนินงานอื่นตัดจําหนาย กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย (กําไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไรจากการชําระคืนเงินกูยืม กําไรจากการยกหนี้ให สวนแบงขาดทุน(กําไร)ในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน - ลูกหนี้การคา - เงินลงทุนชั่วคราว-หลักทรัพยเพื่อคา - สินคาคงเหลือ - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - เจาหนี้การคา - คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น - หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น กระแสเงินสดไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน หัก : ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินไดจาย เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับในเงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินสดรับ(จาย)จากเงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากประจํา เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการซื้อบริษัทยอย - สุทธิจากเงินสดของบริษัทยอย เงินลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินสดรับจากการขายหลักทรัพยเผื่อขาย เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ

เงินสดสุทธิใชไปจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสด(จาย)รับจากเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดรับจากการออกหุนสามัญ เงินสดรับจากเงินกูยืม - สุทธิจากเงินสดจายคาตนทุนการกูยืม เงินสดรับจากเงินลงทุนในบริษัทยอย ในสวนของผูถือหุนสวนนอย เงินสดจายชําระเจาหนี้การคาระยะยาว เงินสดจายคืนเงินกูยืม เงินสดสุทธิ (ใชไป) ไดมาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง)สุทธิ ยอดคงเหลือตนป ยอดคงเหลือสิ้นป

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2546

31 ธันวาคม พ.ศ. 2545

588,157 4,212,697 87,522 4,888,376

(5,710,446) 4,483,235 122,769 (1,104,442)

(5,395,582) 3,880,857 143,683 (1,371,042)

11,785,068 (73,030) 558,421 8,330 26,454 22,891 (566,826) (2,726,305) (156,695) (165,044) 124,144

11,365,829 (54,540) 665,321 647,962 225,951 20,152 (3,982) 232,982 (5) 444,249

9,276,717 20,681 828,512 5,721,988 1,613,414 180,418 2,968 (943,249) 394,881 (95,454) (3,196,229) (27) (1,844,460)

(851,859) (200,856) (469,247) 1,030,723 200,757 (1,100,736) 1,353,217 (815,356) 12,872,427 (4,758,224) (732,831) 7,381,372

942,590 (304,175) 43,041 742,857 (9,052) 94,705 (2,255,887) (54,878) 11,638,678 (3,803,949) (759,221) 7,075,508

(2,352,324) (552,798) (112,838) (131,082) (373,585) 874,241 560,355 8,501,087 (3,538,548) (507,093) 4,455,446

81,037 2,401,190 (163,924) (3,962,576) 613,689 (21,500) (64,005) 208,665

2,662,323 (3,207,193) (181,277) (10,378,024) 5,832 135,051

94,171 161,264 (279,922) (8,753,438) (23,250) (402,162) 83,262

(907,424)

(10,963,288)

(9,120,075)

(548,263) 2,663,450 10,059,584

27,868 11,155,131

670,045 2,998,136 25,786,973

15,300 (4,078,754) (12,931,988) (4,820,671)

(181,124) (7,433,922) 3,567,953

(677,547) (23,661,538) 5,116,069

1,653,277 2,815,869 4,469,146

(319,827) 3,135,696 2,815,869

451,440 2,684,256 3,135,696

128


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.3 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ อัตราสวนทางการเงิน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัท ยอย 2547

2546

2545

เทา

1.19

0.63

1.31

อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว

เทา

0.85

0.50

1.03

อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด

เทา

0.34

0.34

0.31

อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา

เทา

5.61

4.51

4.01

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย

วัน

64.20

79.91

89.68

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย*

วัน

42.18

49.80

47.82

อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios) อัตราสวนสภาพคลอง

*ไมนับรวมลูกหนี้องคการโทรศัพทซึ่งลูกคาไดชําระแลวแตบริษัทยังไมไดรับสวนแบงรายไดจากองคการฯ และลูกหนี้กับ บริษัท ที่เกี่ยวของกัน อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ เทา 28.20 21.96 16.65 ระยะเวลาหมุนเวียนของสินคาคงเหลือเฉลี่ย

วัน

12.76

16.39

21.63

อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้การคา

เทา

7.38

8.97

7.67

ระยะเวลาชําระหนี้

วัน

48.80

40.12

46.92

Cash Cycle

วัน

28.17

56.18

64.39

อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratios) อัตรากําไรขั้นตน

%

26.89%

24.90%

24.70%

อัตรากําไรสุทธิ

%

1.83%

-20.30%

-20.93%

อัตราผลตอบแทนผูถือหุน

%

19.41%

-130.54%

-89.21%

อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency Ratios) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย

%

0.64%

-6.31%

-6.00%

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร

%

16.22%

7.61%

5.43%

อัตราการหมุนของสินทรัพย

เทา

0.35

0.31

0.29

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

129


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2547

2546

2545

อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratios) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน เทา อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย เทา อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) เทา อัตราเงินปนผล %

18.08 2.77 0.67 -

51.11 2.61 0.48 -

10.17 2.18 0.33 -

ขอมูลตอหุน (Per Share Analysis) มูลคาตามบัญชีตอหุน กําไรสุทธิตอหุน เงินปนผลตอหุน

1.16 (0.03) -

0.40 (2.13) -

1.95 (2.34) -

บาท บาท บาท

อัตราการเติบโต (Growth Ratios) สินทรัพยรวม % 18.29% -6.69% 7.83% หนี้สินรวม % 14.80% -0.60% 5.48% รายไดจากการขายหรือบริการ % 18.10% 8.40% 24.90% คาใชจายดําเนินงาน % 15.19% 8.70% 28.82% กําไรสุทธิ % NM -5.18% -57.50% หมายเหตุ : 1/ บริษัทพิจารณาผลการดําเนินงานและสัดสวนทางการเงินโดยไมรวมรายการพิเศษตางๆ ดังตอไปนี้ - การบันทึกเพิ่มคาเชาวงจรและคาเชาทอรอยสาย จํานวน 286 ลานบาทในป 2545 - คาใชจายเกี่ยวกับพนักงานในป 2545 จํานวน 33 ลานบาท 2/ คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดจายสําหรับงวดประจําป 2546 ไมรวม คาตัดจายตนทุนในการไดมาของผูใชบริการ PCT เนื่องจากการยกเลิกการใชงานจํานวน 215 ลานบาท หมายเหตุ : 1/ การปรับปรุงตอไปนี้ สงผลกระทบตออัตราสวนทางการเงิน ในป 2543 - 2544 ซึ่งไดเปดเผยไปแลว - คาใชจายในการขาย บริหารและทั่วไปรวมสําหรับป 2544 ไดถูกปรับปรุงเพิ่มขึ้น 9 ลานบาท จากที่เคยเปดเผย เนื่องจากมีการปรับปรุงรายการบัญชี - คาเชาวงจรและคาเชาทอรอยสาย (ซึ่งจัดเปนตนทุนบริการ)สําหรับป 2544 ไดถูกปรับลดจํานวน 114 ลาน บาทจากจํานวนที่รายงานโดยผูตรวจสอบบัญชี ซึง่ เปนการปรับลดลงนอยกวาที่ไดเปดเผยไวเดิมจํานวน 43 ลานบาท เนื่องจากไดมีการประเมินใหมรวมกับ ทศท. - การจัดกลุมรายการทางบัญชีใหมระหวางรายการลูกหนี้การคากับเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน และเจาหนี้การคากับเจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน ในป 2544 - อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ และอัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้การคา สําหรับป 2543-2544 แตกตางจาก ที่ไดเปดเผยไวแลว เนื่องจากบริษัทไดปรับเปลี่ยนวิธีการคํานวณโดยรวมตนทุนบริการ ซึ่งทําให สัดสวนของ ระยะเวลาหมุนเวียนสินคาคงเหลือ ระยะเวลาชําระหนี้ รวมทั้ง Cash Cycle ไดถูกปรับตามไปดวย 2/ บริษัทพิจารณาผลการดําเนินงานและสัดสวนทางการเงินโดยไมรวมรายการพิเศษตางๆ ดังตอไปนี้ - การบันทึกเพิ่มคาเชาวงจรและคาเชาทอรอยสาย จํานวน 286 ลานบาทในป 2545 และจํานวน 114 ลานบาท ในป 2544 และการบันทึกลดคาใชจายดังกลาวจํานวน 685 ลานบาท ในป 2543 เพื่อปรับปรุงเพิ่ม (ลด) จํานวนสําหรับงวดบัญชีกอน ที่มีการตั้งคางจาย ตํ่าไป (สูงไป) - คาใชจายเกี่ยวกับพนักงานในป 2545 จํานวน 33 ลานบาท TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

130


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.4 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานโดยรวม ในป 2547 ทรูไดวางรากฐานเพื่อการเปนผูใหบริการสื่อสารโทรคมนาคมอยางครบวงจร พรอมเขาสูยุคที่มี การแขงขันเพิ่มขึ้น ทรูประสบความสําเร็จในการปรับเปลี่ยนแบรนดในเดือน เมษายน 2547 นอกจากนั้น ธุรกิจอินเทอรเน็ต/ บรอดแบนด และโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดเติบโตอยางรวดเร็ว โดยเปนผลสวนหนึ่งมาจากการทําการตลาดอยางสราง สรรค ทรูยังสามารถรักษาผลการดําเนินงานของธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน และธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานพกพาพีซีที (WE PCT) ใหคงตัว ความสําเร็จในการนําเสนอแคมเปญ All Together Bonus ภายหลังการรีแบรนด ไดแสดงใหเห็นวา ลูกคา ไดรับประโยชนจากการเสนอขายสินคาและบริการตางๆไปดวยกัน ซึ่งเฉพาะผูประกอบการที่มีบริการครบวงจร เชน ทรู เทานั้น ที่สามารถใหบริการได ในป 2547 โครงสรางรายไดของทรูไดเปลี่ยนแปลงอยางเดนชัด โดยธุรกิจใหม ๆ เชน ธุรกิจอินเทอรเน็ต/ บรอดแบนด และธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่มีรายไดในสัดสวนที่สูงขึ้น จากอัตรารอยละ 17 ของรายไดจากคาบริการโดย รวมของบริษัท ในป 2545 เปนอัตรารอยละ 26 ในป 2546 และ อัตรารอยละ 37 ในป 2547 ซึ่งบริษัทคาดวาแนวโนม จะยังคงเปนเชนนี้ในอนาคต ธุรกิจบรอดแบนดของทรูเติบโตขึ้นอยางมาก โดยมีจํานวนลูกคาทั่วไป เพิ่มขึ้นกวา 13 เทาในป 2547 จาก การที่ทรูสามารถนําเสนออัตราคาบริการที่ราคาเริ่มตนเพียง 590 บาทตอเดือน โดยไมจํากัดจํานวนชั่วโมงในการใช บริการ และมีรายการสงเสริมการขาย โดยการแจกฟรีโมเด็ม ธุรกิจบรอดแบนด มีจํานวนผูใชบริการมากถึงระดับที่ทําใหเกิดการประหยัดจากขนาด นอกจากนั้นทรูยัง เปนผูนําตลาดในตลาดบรอดแบนด ซึ่งสนับสนุนใหทรูขึ้นสูการเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตรายใหญที่สุดของประเทศ ดวยจํานวนผูใชบริการมากกวา 1 ลานราย บริษัทคาดวาทั้งสองธุรกิจนี้จะเติบโตไดอยางแข็งแกรงตอไปในป 2548 ทั้งนี้เนื่องจากมีอัตราคาบริการตํ่า และมีจํานวนผูใหบริการที่แขงขันกันมากขึ้น ตลอดจน จํานวน ผูใชบริการอินเทอร เน็ตและบรอดแบนด ยังอยูในระดับตํ่า ที่ อัตรารอยละ 11 และตํ่ากวารอยละ 1 ตอประชากร 100 คน ตามลําดับ ทีเอ ออเรนจ มีผลประกอบการที่ดีขึ้นโดยมีจํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 85 เปน 3.4 ลานราย ณ สิ้นป 2547 ซึ่งนับวามีอัตราการเติบโตที่รวดเร็วกวาผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่นๆ นอกจากนั้น ทีเอ ออ เรนจ ยังสามารถสรางกําไรจากการดําเนินงาน กอนภาษี คาเสื่อมราคา และ คาใชจายตัดจาย (EBITDA) เพียงพอ สําหรับดอกเบี้ยจาย ในระยะเวลาไมถึง 3 ป และกําลังมุงสูเปาหมายการทํากําไร ภายในปลายป 2548 TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

131


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ความสําเร็จในการจัดหาเงินกูระยะยาวของทีเอ ออเรนจในไตรมาสที่ 3 ป 2547 และ การซื้อหุนเพิ่มในทีเอ ออเรนจ อีกรอยละ 39 จากออเรนจ เอสเอ ทําให ทีเอ ออเรนจไดเขามาเปนสวนหนึ่งของกลุมทรูอยางแทจริง และ ทําใหทรูเปนผูใหบริการสื่อสารครบวงจร ที่สามารถใหบริการโซลูชั่นดานโทรคมนาคมที่สามารถตอบสนองครบทุก ความตองการของลูกคา และสามารถไดประโยชนจากการรวมกันของเทคโนโลยี (Fix-mobile convergence) ซึ่งจะ เกิดขึ้นในอนาคตอันใกลนี้ ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของทรูสามารถทํากําไรจากการดําเนินงานจริง ตลอดป 2547 และคาดวาจะยังคง เปนเชนนี้ในป 2548 หากไมมีเหตุการณที่ไมคาดหมายเกิดขึ้น ถึงแมวารายไดจะไมเพิ่มขึ้นอยางเดนชัด และจํานวนผู ใชบริการโดยรวมอาจลดลงอีกเล็กนอย ความสําเร็จในดานการเงินที่สําคัญในป 2547 ไดแก การขายหุนเพิ่มทุนจํานวน 398 ลานหุนใหแกบุคคล เฉพาะเจาะจง (Private Placement) ในไตรมาสที่ 4 ซึ่งสามารถระดมทุนไดจํานวน 2.7 พันลานบาท ไดเพิ่มความ แข็งแกรงแกงบดุลของบริษัท โดยทําใหสวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้นจํานวน 4.3 พันลานบาท (รวม 1.6 พันลานบาท จาก กําไรทางบัญชี) และสามารถลดหนี้ลงไดจํานวน 4 พันลานบาท ในป 2547 ธุรกิจตางๆ ของทรู ไมรวม ทีเอ ออเรนจ สามารถสรางกระแสเงินสดที่แข็งแกรง ในขณะที่รายได รวม และกําไรจากการดําเนินงานกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาใชจายตัดจาย (EBITDA) ของกลุม บริษัททรู เพิ่มขึ้นอยางสมํ่าเสมอ และยังคงสามารถลดภาระหนี้ไดอยางตอเนื่อง ผลประกอบการของบริษัทและบริษัทยอย บริษัทไดนําเสนอและวิเคราะหผลประกอบการบนพื้นฐานของผลการดําเนินงานปกติไมนับรวมผลกระทบ จากรายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานโดยตรง ในไตรมาส 4 ป 2547 ทรู ไดเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชี ในการรับรูผลการดําเนินงานของทีเอ ออเรนจ เปนวิธีรวมทั้งหมด (Full Consolidation) จากเดิมที่ไดรับรูโดยวิธีรวมตามสัดสวนการลงทุน ทั้งนี้เนื่องจาก ทรู ไดเพิ่ม สัดสวนการถือหุนในทีเอ ออเรนจ ในอัตรารอยละ 39 เปนรอยละ 82.86 เมื่อปลายเดือนกันยายน 2547 ภายหลัง จากประสบความสําเร็จในการจัดหาเงินกูระยะยาวของ ทีเอ ออเรนจ • ผลการดําเนินงานประจําป 2547 ของกลุมบริษัททรู ไดปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางแข็งแกรง เมื่อเทียบกับปกอน โดยเปนผลสวนใหญมาจากการ เติบโตขึ้นอยางมากของทีเอ ออเรนจ ธุรกิจบรอดแบนด และอินเทอรเน็ต รายไดรวมเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 18.1 หรือเพิ่มขึ้นในจํานวน 5.1 พันลานบาท เปน 33.0 พันลานบาท โดย การเพิ่มขึ้นของรายไดจากธุรกิจบรอดแบนด สามารถชดเชยการลดลงของรายไดจากธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานเสียง และทําใหรายไดโดยรวมจากธุรกิจตางๆ ไมรวม ทีเอ ออเรนจ เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 2.3 เปน 23.5 พันลานบาท TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

132


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• กําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาใชจายตัดจาย (EBITDA) เพิ่มขึ้นใน อัตรารอยละ 13.1 เปน 13.2 พันลานบาท อยางไรก็ตาม อัตราการทํากําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ย จาย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาใชจายตัดจาย (EBITDA Margin) ลดลงเปนรอยละ 39.9 เนื่องจากคาใช จายในการโฆษณา และสงเสริมการขายที่สูงขึ้น รวมทั้ง บริษัทไดรับรูผลการดําเนินงานของ ทีเอ ออเรนจ เพิ่มขึ้น ในขณะที่ ทีเอ ออเรนจ ยังคงมี EBITDA Margin ในระดับตํ่า • คาใชจายในการดําเนินงานรวมเพิ่มขึ้นในสัดสวนรอยละ 15.2 ในป 2547 โดยสวนใหญเปนผลมาจากการ รวมผลการดําเนินงานของทีเอ ออเรนจ อยางเต็มที่ (Full Consolidation) ในไตรมาสที่ 4 อยางไรก็ตาม คา ใชจายในการดําเนินงานหลัก (คาใชจายในการดําเนินงานที่เปนเงินสด หักตนทุนขาย และสวนแบงรายได) ลดลงเปนรอยละ 34.3 ของรายได ในป 2547 (จากรอยละ 35.3 ในป 2546) ตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย (ปรับปรุง) (ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2547

ป 2546

% เปลี่ยนแปลง

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น) รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น รายไดจากการขายสินคา รวมรายได

30,649 2,362

27,001 949

13.5 148.9

33,010

27,950

18.1

คาใชจายในการดําเนินงาน ตนทุนการใหบริการ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย สวนแบงรายไดและคาเชื่อมโยงโครงขาย คาใชจายเกี่ยวกับโครงขาย ตนทุนขาย คาใชจา ยในการขายและบริหาร

22,094 10,438 6,489 5,167 2,040 7,497

19,989 10,123 5,452 4,414 1,001 6,469

10.5 3.1 19.0 17.1 103.7 15.9

รวมคาใชจายในการดําเนินงาน

31,631

27,459

15.2

กําไรจากการดําเนินงานที่เปนเงินสด (EBITDA) คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี

13,164 11,785

11,642 11,151

13.1 5.7

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได

1,379 41 (4,213) (88)

491 38 (4,483) (123)

180.8 9.7 (6.0) (28.7)

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติ สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม

(2,880) (124)

(4,077) (444)

29.4 72.1

(3,004)

(4,521)

33.6

3,592 255 454 157 2,726

(1,189) (311) (215) (667) 4 -

NM NM (100.0) NM NM (100.0) NM

588 17 605

(5,710) 36 (5,674)

NM (53.9) NM

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและสวนแบงกําไร(ขาดทุน) ในบริษท ั ยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม รายการทีไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติ กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ การตัดจายตนทุนในการไดมาของผูใชบริการ PCT (คาใชจาย)รายไดอื่น กําไรจากการชําระเงินกูยืม กําไรจากการขายเงินลงทุน กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไร(ขาดทุน)กอนสวนของผูถือหุนสวนนอย (กําไร)ขาดทุนของผูถือหุนสวนนอย กําไร(ขาดทุน)สุทธิสําหรับป

หมายเหตุ : 1/ มีการจัดประเภทบัญชีใหมบางรายการเพื่อการเปรียบเทียบ ซึ่งจะทําใหงบการเงินประจําป 2546 แตกตางจากที่ไดเคยเปดเผยไวแลวเล็กนอยสําหรับดอกเบี้ยจาย และรายได(คาใชจาย)อื่น 2/ คาเสือ ่ มราคาและคาใชจายตัดจายสําหรับป 2546 ไมรวมคาตัดจายตนทุนในการไดมาของผูใชบริการ PCT เนื่องจากการยกเลิกการใชงาน จํานวน 215 ลานบาท

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

133


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• ขาดทุนจากการดําเนินงานปกติ (ไมรวมรายการพิเศษ) ลดลงเปนจํานวน 3.0 พันลานบาท (จาก 4.5 พัน ลานบาทในป 2546) ทั้งนี้เนื่องจาก EBITDA เพิ่มขึ้น ในขณะที่ดอกเบี้ยจายลดลง (271 ลานบาท) และสวน แบงขาดทุนในบริษัทรวมลดลง • กําไรสุทธิในป 2547 มีจํานวน 605 ลานบาท ภายหลังรวมกําไรจากรายการพิเศษตางๆ รวม 3.6 พันลาน บาท ซึ่งประกอบดวย กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ของบริษัทยอยแหงหนึ่ง (2.7 พันลานบาท) และกําไร จากการชําระหนี้ตั๋วเงินกอนกําหนด (157 ลานบาท) นอกจากนั้นยังมี รายไดอื่น (454 ลานบาท) และกําไร จากอัตราแลกเปลี่ยน (255 ลานบาท) ผลการดําเนินงานตามธุรกิจหลัก รายได (หนวย : ลานบาท) โทรศัพทพื้นฐาน (เสียง) โทรศัพทพื้นฐาน บริการเสริม สื่อสารขอมูล (DDN) โทรศัพทไรสาย โทรศัพทพื้นฐานพกพา (PCT) โทรศัพทเคลื่อนที่ (TA Orange) 1/ อินเทอรเน็ต มัลติมีเดีย/บรอดแบนด อื่นๆ รวม คาใชจายในการดําเนินงานที่จัดสรรไมได

2547

2546

ผลการดําเนินงานของสวนงาน % เปลี่ยนแปลง

16,632 13,212

16,893 13,644

(1.5) (3.2)

3,419 1,029

3,249 1,183

5.2 (13.0)

11,730 1,799 9,930 888 1,409 1,324 33,010

7,228 2,087 5,141 471 1,097 1,079 27,950

62.3 (13.8) 93.1 88.6 28.4 22.7 18.1

2547

2546

5,312

618

% เปลี่ยนแปลง

5,373

(1.1)

689

(10.3)

(1,374)

(2,754)

50.1

376 254 199 5,386 (3,553)

182 102 169 3,761 (3,859)

107.3 148.0 18.0 43.2 (7.9)

หมายเหตุ : 1/ รวมรายไดจากการขายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่จากบริษัทยอยอื่นๆ 2/ ผลการดําเนินงานของสวนงานไมรวมรายการพิเศษ 3/ ผลการดําเนินงานของสวนงานโทรศัพทพื้นฐานและโครงขายสื่อสารขอมูล (DDN) คือ กําไรขั้นตน แตสําหรับธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ มัลติมีเดีย และอินเตอรเน็ต คือกําไรจากการดําเนินงาน

โทรศัพทพื้นฐาน • โทรศัพทพนื้ ฐานยังคงตัวในป 2547 ในขณะทีบ่ ริษทั สามารถรักษาสวนแบงตลาดในเขตกรุงเทพและปริมณฑล อยางไรก็ตาม รายไดจากบริการโทรศัพทพนื้ ฐาน ลดลงเล็กนอยในอัตรารอยละ 1.5 เปนจํานวน 16.6 พันลาน บาท จากจํานวน 16.9 ลานบาท ในป 2546 • จํานวนผูใ ชบริการลดลง 17,553 ราย เปน 1.94 ลานราย ในป 2547 ซึง่ นับเปนการลดลงในจํานวนที่นอ ยกวาใน ป 2546 ซึง่ มีจานวนผู ํ ใ ชบริการลดลง 58,328 ราย กลุม ลูกคาธุรกิจมีจานวนเพิ ํ ม่ ขึน้ และมีสดั สวนเปนรอยละ 29 ของจํานวนผูใ ชบริการทัง้ หมด ณ ปลายป 2547 เปรียบเทียบกับรอยละ 27.7 ณ ปลายป 2546 • รายไดจากบริการเสริม เพิม่ ขึน้ ในอัตรารอยละ 5.2 เปน 3.4 พันลานบาท ในป 2547 ซึ่งชวยชดเชยการลดลงของ รายไดจากบริการโทรศัพทพนื้ ฐาน-เสียง (ลดลงในอัตรารอยละ 3.2 เปน 13.2 พันลานบาท เทียบกับ 13.6 ลาน บาทในป 2546) และบริการโทรศัพทสาธารณะ (ลดลงอัตรารอยละ 6.7 เปน 2.0 พันลานบาท เทียบกับ 2.1 พัน ลานบาท ในป 2546) • รายไดเฉลีย่ ตอเลขหมายตอเดือน (ARPU) ลดลงเล็กนอย อยูท รี่ ะดับ 538 บาท ในป 2547 เปรียบเทียบกับ 542 บาท ในป 2546 TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

134


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โทรศัพทไรสาย โทรศัพทพื้นฐานพกพา (WE PCT) • การลดลงของจํานวนผูใชบริการชะลอตัวลงในครึ่งปหลังของป 2547 หลังจากมีการปรับเปลี่ยนตําแหนง ทางการตลาดเปน WE PCT และออกโปรแกรมสงเสริมการขายนาทีละ 1 บาท และโทรหา WE PCT ดวยกัน ฟรี รวมทั้งมีโปรโมชั่นเครื่องโทรศัพท PCT อยางไรก็ตามในป 2547 จํานวนผูใชบริการ WE PCT ลดลงรวม ในอัตรารอยละ 13.9 เปน 472,846 ราย จากจํานวน 549,295 รายในป 2546 • รายไดลดลงในอัตรารอยละ 13.8 เปน 1.8 พันลานบาท จากจํานวน 2.1 พันลานบาทในป 2546 แตรายได ในไตรมาสที่ 3 และไตรมาสที่ 4 ของ ป 2547 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น โทรศัพทเคลื่อนที่ ทีเอ ออเรนจ • ทีเอ ออเรนจเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่โดยมีจํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นสุทธิ 1.6 ลานราย ทําใหมีผูใช บริการรวมทั้งสิ้น 3.4 ลานราย ณ สิ้นป 2547 ซึ่งนับเปนการเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 85 จากสิ้นป 2546 (1.8 ลานราย) • รายไดจากทีเอ ออเรนจเพิ่มขึ้นเกือบเทาตัว เปน 9.9 พันลานบาทในป 2547 ทั้งนี้เนื่องจากผลการดําเนิน งานที่ปรับตัวดีขึ้นอยางมากของ ทีเอ ออเรนจ ประกอบกับบริษัทไดรับรูผลการดําเนินงานของออเรนจทั้ง หมด นับตั้งแตไตรมาสที่ 4 ป 2547 • รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนลดลงในอัตรารอยละ 9.6 เปน 437 บาทในป 2547 เมื่อเทียบกับ 484 บาท ในป 2546 แตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในครึ่งหลังของป 2547 • สวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 12.5 ในป 2547 จากอัตรารอยละ 8.2 ในป 2546 ธุรกิจโครงขายสื่อสารขอมูลดิจิตอล (DDN – Digital Data Network) • รายไดจากธุรกิจโครงขายสื่อสารขอมูลดิจิตอล ลดลงในอัตรารอยละ 13 เปน 1.0 พันลานบาทในป 2547 สาเหตุสวนใหญเนื่องจาก ทีเอ ออเรนจ ไดยกเลิกการเชาวงจรบางสวน เนื่องจากไดดําเนินการสรางโครง ขายของตนเอง • อยางไรก็ตาม รายไดจากลูกคารายอื่น ไมรวม ทีเอ ออเรนจเพิ่มขึ้นอยางมากในอัตรารอยละ 19.6 เปน 806 ลานบาท ในป 2547 โดยจํานวนวงจรเชา เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 20.2 เปน 7,845 วงจร อินเทอรเน็ต • บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด หนึ่งในบริษัทยอยของทรู เปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตอันดับ 1 ของไทย ดวย จํานวนผูใชบริการมากกวา 1 ลานราย ณ สิ้นป 2547 (เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 88.6 เมื่อเทียบกับป 2546) และมีผูใชบริการประเภท Post Paid มากที่สุดในตลาด ดวยจํานวนประมาณ 525,000 ราย • รายไดจากอินเทอรเน็ตเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 88.6 เปน 888 ลานบาท ในป 2547 จากจํานวน 471 ลาน บาทในป 2546 ทั้งนี้เปนผลมาจากการเติบโตอยางมากของลูกคาบรอดแบนด TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

135


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มัลติมีเดียและบรอดแบนด • รายไดจากมัลติมีเดียโดยรวมเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 28.4 เปน 1.4 พันลานบาท จากการเพิ่มขึ้นของรายได จากการใหบริการบรอดแบนด • รายไดจากลูกคาทั่วไปของบริการบรอดแบนดเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 207 เปน 725 ลานบาทในป 2547 (รายไดจํานวน 471 ลานบาท ไดถูกบันทึกภายใตกลุมมัลติมีเดีย สําหรับคาบริการโครงขาย ADSL และสวน ที่เหลือ ไดถูกบันทึกภายใตกลุมธุรกิจอินเทอรเน็ต) • จํานวนผูใชบริการบรอดแบนดเพิ่มขึ้นกวา 13 เทาเปน 164,775 ราย ณ สิ้นป 2547 ทําใหทรูมีสวนแบง ตลาดในอัตรารอยละ 85 • ในป 2548 ทรูจะขยายโครงขายบรอดแบนด เพื่อใหสามารถรองรับผูใชบริการไดเพิ่มขึ้น เปนประมาณ 500,000 ราย ทั้งนี้จะเปนการขยายตามความตองการของตลาด การวิเคราะหฐานะทางการเงิน (Financial Position) ป 2547

ป 2546

% เปลี่ยนแปลง

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น) งบดุ ล สิ น ทรัพยหมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยรวม หนี้สินหมุนเวียน เงินกูระยะยาว หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน งบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน ยอดเงินคงเหลือสิ้นงวด

19,448 75,674 102,625 16,314 79,971 97,888 4,738 7,381 (907) (4,821) 4,469

17,169 63,019 86,760 27,407 49,423 85,265 1,495

13.3 20.1 18.3 (40.5) 61.8 14.8 216.9

7,076 (10,963) 3,568 2,816

4.3 (91.7) NM 58.7

สินทรัพยรวมของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2547 มีจํานวน 102.6 พันลานบาท เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 18.3 หรือเพิ่ม ขึ้นจํานวน 15.9 พันลานบาท ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทไดรับรูสินทรัพยของทีเอ ออเรนจ โดยวิธีรวมทั้งหมด ซึ่งสวนใหญ เปน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) ทําใหที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) เพิ่มขึ้นรวมจํานวน 12.7 พันลานบาท เปน 75.7 พันลานบาท หนี้สินรวมของบริษัท เพิ่มขึ้น 12.6 พันลานบาท เปน 97.9 พันลานบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากการรวมทีเอ ออ เรนจ โดยวิธีรวมทั้งหมดเชนเดียวกัน หากไมรวมทีเอ ออเรนจ หนี้สินรวมของบริษัทจะลดลงรอยละ 12.6 เปน 59.8 พันลานบาท เนื่องจากบริษัทสามารถลดหนี้ไดจํานวนประมาณ 9.3 พันลานบาท

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

136


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เงินกูยืมระยะยาว เพิ่มขึ้น 15.8 พันลานบาท เปน 84.4 พันลานบาท (รวมสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป) ซึ่ง รวมเงินกูยืมของ ทีเอ ออเรนจ จํานวน 31.4 พันลานบาท (สุทธิจากตนทุนเงินกูยืมที่ยังไมตัดจําหนาย) เงินกูยืมระยะ ยาว สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปลดลงอยางมาก เนื่องจากความสําเร็จในการจัดหาเงินกูระยะยาวของทีเอ ออเรนจ ในเดือนกันยายน 2547 ทําใหเงินกูระยะสั้น เปลี่ยนสภาพเปนเงินกูระยะยาวที่มีกําหนดชําระภายใน 7 ป โดยมีระยะปลอดชําระเงินตน 2 ปแรก และกําหนดชําระครั้งแรกในเดือนกันยายน 2549 เจาหนี้การคาระยะยาว ลดลงจาก 8.2 พันลานบาท ณ สิ้นป 2546 เปน 1.4 พันลานบาท ณ สิ้นป 2547 เนื่องจาก บริษัทประสบความสําเร็จในการเจรจาปรับโครงสรางหนี้กับเจาหนี้ของบริษัทยอยแหงหนึ่ง โดยบริษัทไดชําระคืนเงิน กูจํานวน 4.1 พันลานบาท และไดรับกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้จํานวน 2.7 พันลานบาท สวนของผูถือหุน เพิ่มขึ้นจาก 1.5 พันลานบาท เปน 4.7 พันลานบาท จากการเพิ่มทุนจํานวน 2.7 พันลานบาท และ จากกําไรสุทธิประจําป จํานวน 605 ลานบาท สภาพคลอง กระแสเงินสดจากการดําเนินงานรวมเพิ่มขึ้น 306 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 4.3 เปน 7.4 พันลานบาท กระแสเงินสดจากการดําเนินงานหลังหักรายจายลงทุน มีจํานวนเพิ่มขึ้นเปน 3.4 พันลานบาท (เปรียบเทียบกับ กระแสเงินสดใชไปจํานวน 3.3 พันลานบาทในป 2546) หากไมรวมทีเอ ออเรนจ กระแสเงินสดจากการดําเนินงานหลังหักรายจายลงทุนจะเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 20.7 เปน 6.2 พันลานบาท ทําใหทรูสามารถเพิ่มเงินลงทุนในทีเอ ออเรนจไดจํานวน 5 พันลานบาท โดยในเดือนมีนาคม 2548 ทรูจะลงทุนในทีเอ ออเรนจอีกจํานวน 1 พันลานบาท ทั้งนี้ ทีเอ ออเรนจ จะนําเงินที่ไดรับ ไปใชสําหรับการขยายงาน กลาวโดยสรุป ฐานะทางการเงินของบริษัทมีความแข็งแกรงมากขึ้น ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานยังคงสรางกระแสเงินสดได อยางตอเนื่อง ซึ่งทําใหบริษัทมีเงินสดเพียงพอสําหรับการลดภาระหนี้สินลง รวมทั้งสามารถขยายการลงทุนในธุรกิจที่ มีการเติบโตสูง บริษัทมีสภาพคลองที่ดีขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมีอัตราสวนหนี้สินสุทธิตอ EBITDA ไมรวมทีเอ ออเรนจ ลดลงเปนระดับ 4.3 เทา ณ สิ้นป 2547 (จากระดับ 4.7 เทา ณ สิ้นป 2546) ในขณะที่อัตราสวน EBITDA ตอดอก เบี้ยจาย เพิ่มขึ้นเปน 3.6 เทา (จาก 3.1 เทา) และหากรวมทีเอ ออเรนจ อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอ EBITDA จะคอนขาง คงที่ที่ระดับ 6 เทา ในขณะที่อัตราสวน EBITDA ตอดอกเบี้ยจาย เพิ่มขึ้นเปน 3.1 เทา

12.5 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทและบริษัทยอยจายคาตอบแทนการสอบบัญชี ใหแก - สํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด สําหรับป พ.ศ. 2547 เปนจํานวนเงินรวม 13,431,000 บาท 2. คาบริการอื่น (non-audit fee) บริษัทจายคาตอบแทนของงานบริการอื่น ซึ่งไดแก การตรวจสอบตามวิธีการที่ตกลงรวมกัน และให คําปรึกษาดานการตรวจสอบภายใน ใหแก - สํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด สําหรับป พ.ศ. 2547 เปนจํานวนเงินรวม 2,208,000 บาท และ จะตองจายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยังใหบริการไมแลวเสร็จในรอบปบัญชีที่ผานมามีจํานวน เงินรวม 366,800 บาท TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

137


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

13. ขอมูลอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ - ไมมี -

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

138


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดคณะกรรมการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547) ชื่อ-นามสกุล นายณรงค ศรีสอาน

นายวิทยา เวชชาชีวะ

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/47)

กรรมการอิสระ

77

10,000 หุน

กรรมการอิสระ และ ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ

68

-

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

-

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญากิตติมศักดิ์

ปริญญาโท

ปริญญาตรี เนติบัณฑิต

TRUETP: เอกสารแนบ 1

ประวัติการทํางาน

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2541-ปจจุบัน

นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ สํานักเกรส อินน

2541-ปจจุบัน

ปจจุบัน

2534-2535 2531 2527 2524 2522

กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บมจ. แอดวานซ อะโกร ประธานกรรมการ บจ. ปรีดาปราโมทย ประธานกรรมการ บจ. ธนากรผลิตภัณฑนํ้ามันพืช ประธานกรรมการ กลุมบริษัท สุราบางยี่ขัน จํากัด ประธานกรรมการบริหาร บจ. ไทยเบฟเวอรเรจแคน ประธานกรรมการ บจ. อีสเทิรนซีบอรดอินดัสเตรียลเอสเตท(ระยอง) ประธานกรรมการ บมจ. ไทยแอลกอฮอล ประธานกรรมการบริหาร บมจ. อาหารสยาม ประธานกรรมการบริหาร บมจ. เบียรไทย (1991) รองประธานกรรมการ บมจ. เบอรลี่ยุคเกอร รองประธานกรรมการ บจ. ยาสูบสากล รองประธานกรรมการ บมจ. ไทยเบฟเวอรเรจส กรรมการบริหาร บจ. คอมลิงค กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธาน บจ. เคไลน (ประเทศไทย) และบริษัทในเครือ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ เอกอัครราชฑูตประจําประเทศสหรัฐอเมริกา เอกอัครราชทูตประจําประเทศเบลเยี่ยม และประชาคมยุโรป เอกอัครราชทูตประจําประเทศแคนาดา อธิบดีกรมเศรษฐกิจ

139


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/47)

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

66

-

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

เอกสารแนบ 1

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาเอก ปริญญาตรี

สาขาวิศวกรรมศาสตร University of London, England สาขาวิศวกรรมศาสตร University of London, England

ประวัติการทํางาน

2542-ปจจุบัน

2543-2544 2540-2544 2541-2543

นายโชติ โภควนิช

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

62

-

-

ผูส อบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮารวารด สหรัฐอเมริกา หลักสูตรการจัดการดานการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด สหรัฐอเมริกา

2542-ปจจุบัน 2543-2544 2537-2540 2535-2537

นายธนินท เจียรวนนท

ประธานกรรมการ

65

-

เปนบิดา คุณสุภกิต เจียรวนนท และ คุณศุภชัย เจียรวนนท

TRUETP: เอกสารแนบ 1

Commercial School ฮองกง Shantou Secondary School ประเทศจีน

2532-ปจจุบัน

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น นายกสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแหงประเทศไทย กรรมการผูทรงคุณวุฒิ สภาการหนังสือพิมพแหงชาติ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเงินทุน ทิสโก จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร กลุมบริษัท ไทยวา จํากัด กรรมการผูจัดการและกงสุลใหญแหงเดนมารก ประจําประเทศไทย บจ. อี๊สเอเซียติ๊ก (ประเทศไทย) ประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการและประธานคณะผูบริหาร บจ.เครือเจริญโภคภัณฑ และ บจ.เครือเจียไต ประธานกรรมการ บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร

140


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/47)

นายสุเมธ เจียรวนนท

รองประธานกรรมการ

70

150,000 หุน

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร เปนบิดา

ดร.อาชว เตาลานนท

รองประธานกรรมการ

67

-

-

คุณวุฒิทางการศึกษา

คุณชัชวาลย เจียรวนนท

ปริญญากิตติมศักดิ์

ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี พิเศษ นายเฉลียว สุวรรณกิตติ

รองประธานกรรมการ

76

3,500,000 หุน

-

ปริญญาโท ปริญญาตรี

นายอธึก อัศวานันท*

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย

53

-

-

เอกสารแนบ 1

ปริญญาโท ปริญญาตรี

ประวัติการทํางาน

มัธยมศึกษา โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย จังหวัดราชบุรี

2536-ปจจุบัน

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology, U.S.A. สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Iowa State of University, U.S.A. สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรรัฐรวมเอกชนรุนที่ 1

2535-ปจจุบัน

สาขาบริหารธุรกิจ Indiana University, U.S.A. สาขาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2535-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง

สาขานิติศาสตร Specialised in International Legal Studies New York University, U.S.A. สาขานิติศาสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2540-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บจ. ทรู มัลติมีเดีย หัวหนานักกฎหมายกลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด กรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บมจ. ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ทีเอ ออเรนจ กรรมการ Aqua-Agri Foods International, Inc. Baker & McKenzie

2536-2542 2534-2535

2545-ปจจุบัน ปจจุบัน 2521-2540

รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองประธานกรรมการ บจ.เครือเจริญโภคภัณฑ ประธานกรรมการ หอการคาไทย และสภาหอการคาแหง ประเทศไทย กรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตร และ สหกรณ

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

TRUETP: เอกสารแนบ 1

141


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายศุภชัย เจียรวนนท*

นายสุภกิต เจียรวนนท*

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/47)

กรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร กรรมการ

37

1,240,000 หุน

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร เปนนองชาย

เอกสารแนบ 1

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

คุณสุภกิต เจียรวนนท

สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) Boston University, U.S.A.

ประวัติการทํางาน

2542-ปจจุบัน 2535-2542

40

-

เปนพี่ชาย

ปริญญาตรี

คุณศุภชัย เจียรวนนท

สาขาบริหารธุรกิจ New York University, U.S.A.

ปจจุบัน 2543-ปจจุบัน 2541-ปจจุบัน 2534-ปจจุบัน

นายชัชวาลย เจียรวนนท*

กรรมการ และ ผูอ ํานวยการบริหาร Group Investment

42

-

-

ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern California, U.S.A.

2536-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2543-ปจจุบัน

2541-ปจจุบัน 2540-ปจจุบัน

2535-ปจจุบัน 2533-ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการและรองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง ประธานคณะกรรมการ บมจ.ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บจ. ลูเซนต เน็ทเวิรค เทคโนโลยี (ประเทศไทย) กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – Group Investment บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการตรวจสอบ Ticon Industrial Connection Public Company Limited กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการอิสระ บมจ. แคล-คอมพ อีเล็คโทรนิคส (ประเทศไทย) ประธานกรรมการบริหาร Cambodia Mobile Telephone Co.,Ltd. ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย บจ. ทรู อินเทอรเน็ต บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรม กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

TRUETP: เอกสารแนบ 1

142


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ชื่อ-นามสกุล

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน*

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/47)

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ

47

-

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

เอกสารแนบ 1

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญา โท ปริญญา โท ปริญญา ตรี

บริหารธุรกิจ Pepperdine University, U.S.A. วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin, USA. วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University, U.S.A.

ประวัติการทํางาน

2543-ปจจุบัน 2541-2543 2540-2541 2539-2540 2538-2539

นายอํารุง สรรพสิทธิว์ งศ

กรรมการ

51

384,000 หุน

-

ปริญญา โท ปริญญา ตรี

นายไฮนริช ไฮมส

นายเคลาส ทุงเคอเลอ

กรรมการ

กรรมการ

53

63

-

-

-

-

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2544-ปจจุบัน

- Abitur at Schiller Gymnasium, Hameln Studies at the Freie University Berlin - Educational Sciences. Studies at the Freie University Berlin, with - State Examination. (Graduate in Economics)

2547-ปจจุบัน

- Abitur (leaving examination) Liebig Gymnasium, Frankfurt/M - Commercial apprenticeship at Metallgesellschaft AG - Graduated as Technischer Diplombetriebswirt from Karlsruhe University Degree:dipl. rer. pol.(techn)

ปจจุบัน

2543-ปจจุบัน 2541-ปจจุบัน 2521- 2541 2543-ปจจุบัน ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและ เทคโนโลยีสารสนเทศ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจ ดั การทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวง ตะวันออกเฉียงใต บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจ ดั การทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวง ตะวันตก บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองประธานสํานักการเงินเครือเจริญโภคภัณฑ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บมจ. วีนิไทย กรรมการ บมจ. อยุธยา อลิอันซ ซี.พี. ประกันชีวิต กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการและสมาชิกของคณะกรรมการผูจัด การ KfW IPEX-Bank กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น Senior Vice President-Export and project Finance, KfW Export Finance, KfW กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น First Vice President-Export and Project Finance Telecommunications, Natural Resources, KfW

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

TRUETP: เอกสารแนบ 1

143


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายเคลาส สแตดเลอร

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/47)

กรรมการ

47

-

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

เอกสารแนบ 1

คุณวุฒิทางการศึกษา

Law School of the University of Bielefeld, Germany

ประวัติการทํางาน

2543-ปจจุบัน ปจจุบัน

นายอันเดรียส คลอคเคอ

นายฮาราลด ลิงค

กรรมการ

กรรมการ

48

49

3,500 หุน

50,000 หุน

-

-

ปริญญาโท

Master of International Relations, University of KANSAS, U.S.A. DIPLOMA VOLKSWIRT University of Hamburg, Germany

2543-ปจจุบัน

MBA, St. Gallen University, Switzerland

2543-ปจจุบัน

ปจจุบัน

2530-ปจจุบัน ดร.ลี จี. แลม

กรรมการ

45

-

-

ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี อนุปริญญา

Philosophy from the University of Hong Kong System Science and MBA from the University of Ottawa, Canada Sciences and Mathematics from the University of Ottawa, Canada Public Administration Carlton University, Canada

2546-ปจจุบัน

2544-2546 2542-2544 2541-2542 2539-2541 2536-2538 2532-2536 2524-2532

TRUETP: เอกสารแนบ 1

กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น Deputy General Counsel, Head of the Legal Department (Frankfurt), KfW กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น Head of KfW’s South-East Asia Regional office in Bangkok in Charge of KfW Affairs in Thailand and South- East Asia Region กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น Managing Partner, B. Grimm & Co. R.O.P. Chairman, B. Grimm Group of Companies กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ หัวหนาคณะผูบริหาร Chia Tai Enterprises International Limited กรรมการผูจัดการ BOC International Holdings Limited (“BOCI”) Executive Director Singapore Technologies Telemedia Partner-in-charge Heidrick & Struggles President and CEO Millicom International Cellular Asia Pacific operations Managing partner A.T. Kearney Inc. General manager Cable & Wireless / Hong Kong Telecom Senior Executive Bell Canada

144


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเจาหนาที่บริหาร (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547) ชื่อ-นามสกุล

นายศุภชัย เจียรวนนท

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/47)

กรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร

37

1,240,000 หุน

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ

47

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญา ตรี

สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) Boston University, U.S.A.

ประวัติการทํางาน

2542-ปจจุบัน 2535-2542

-

-

ปริญญา โท ปริญญา โท ปริญญา ตรี

บริหารธุรกิจ Pepperdine University, U.S.A. วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin, USA. วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University, U.S.A.

2543-ปจจุบัน 2541-2543 2540-2541 2539-2540 2538-2539

นายชัชวาลย เจียรวนนท

กรรมการ และ ผูอ ํานวยการบริหาร Group Investment

42

-

-

ปริญญา ตรี

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern California, U.S.A.

2536-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2543-ปจจุบัน

2541-ปจจุบัน 2540-ปจจุบัน

2535-ปจจุบัน 2533-ปจจุบัน

TRUETP: เอกสารแนบ 1

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการและรองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและเทคโนโลยีสาร สนเทศ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจ ดั การทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวง ตะวันออกเฉียงใต บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจ ดั การทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวง ตะวันตก บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร Group Investment บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการตรวจสอบ Ticon Industrial Connection Public Company Limited กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการอิสระ บมจ. แคล-คอมพ อีเล็คโทรนิคส (ประเทศไทย) ประธานกรรมการบริหาร Cambodia Mobile Telephone Co.,Ltd. ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย บจ. ทรู อินเทอรเน็ต บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรม กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่

145


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ชื่อ-นามสกุล

นายอธึก อัศวานันท

นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส

ตําแหนง

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการเงิน

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ

53

-

(31/12/47)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาตรี

43

100,000 หุน

-

ปริญญาโท ปริญญาตรี

นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข

ผูอ ํานวยการบริหาร Office / SME Solution & Wireless Access

TRUETP: เอกสารแนบ 1

42

-

-

เอกสารแนบ 1

ปริญญาโท ปริญญาตรี

สาขานิติศาสตร Specialised in International Legal Studies New York University, U.S.A. สาขานิติศาสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

บริหารธุรกิจการเงินและการตลาด Wharton School of the University of Pennsylvania เศรษฐศาสตร Wharton School of the University of Pennsylvania สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania, USA สาขาการบริหารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประวัติการทํางาน

2540-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บจ. ทรู มัลติมีเดีย หัวหนานักกฎหมาย กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด กรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บมจ.ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทีเอ ออเรนจ กรรมการ ปจจุบัน Aqua-Agri Foods International, Inc. Baker & McKenzie 2521-2540 2544-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2541-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2536-2541 กรรมการ สํานักนโยบายสินเชื่อ Verizon Communications, Philadelphia ปจจุบัน ผูอ ํานวยการบริหารดาน Office / SME Solution & Wireless Access บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญสายงานธุรกิจ 2545 บจ. ทีเอ ออเรนจ 2544 รองกรรมการผูจัดการใหญดานพัฒนาธุรกิจ และผลิตภัณฑ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจัดการทั่วไป 2541-2545 บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2541-2544 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น

146


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ 31/12/47)

นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ผูอ ํานวยการบริหาร Corporate Solution, Wholesales & Data

47

100,000

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร ปริญญาตรี

เอกสารแนบ 1

คุณวุฒิทางการศึกษา สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร University of South Alabama, U.S.A.

ประวัติการทํางาน ปจจุบัน

2544-2546

2544-2545 2543

2541 2540 นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ

ผูอ ํานวยการบริหาร Home / Consumer Solution & Highspeed Access

51

-

-

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตลาดกระบัง

ปจจุบัน 2542-2546 2544-2545 2535-2543

2540-2542

TRUETP: เอกสารแนบ 1

ผูอ านวยการบริ ํ หาร ดาน Corporate Solution, Wholesales & Data บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มัลติมีเดีย รักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส Executive Director Corporate Solution บจ. ทีเอ ออเรนจ กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด กรรมการผูจัดการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery ผูอ ํานวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย ผูอ านวยการฝ ํ ายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจ ดั การฝายผลิตภัณฑคอมพิวเตอรขนาดใหญ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจ ดั การฝายการเงินและบริหาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจ ัดการฝายธุรกิจบริการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูอ านวยการบริ ํ หารดาน Home / Consumer Solution & Highspeed Access บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. ล็อกซเลย กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) ผูช วยกรรมการผูจัดการ บมจ. ล็อกซเลย

147


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุม (ณ 31 ธันวาคม 2547)

*กรรมการจากบุคคลภายนอก

หมายเหตุ

TRUETP: เอกสารแนบ 1

XX X / X X / / / / / / X / / / / / / / /

/ /

/

/

/

ARM

NEC

TSC

NTU

UBC

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

True Multimedia

AWC

AI

Asia DBS

True Internet

U-NET

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

Yaikaew TI

K.I.N. <BVI> BITCO TAO /

Song Dao

เจียรวนนท เจียรวนนท โภควนิช* สุวรรณกิตติ เตาลานนท เพ็ชรสุวรรณ* เจียรวนนท เจียรวนนท เจียรวนนท ศรีสอาน* เวชชาชีวะ* อัศวานันท ไฮมส ทุงเคอเลอ สแตดเลอร คลอคเคอ ลิงค รักพงษไพโรจน สรรพสิทธิ์วงศ จี. แลม

TA Orange Retail

นายธนินท นายสุเมธ นายโชติ นายเฉลียว ดร. อาชว ดร. โกศล นายชัชวาลย นายสุภกิต นายศุภชัย นายณรงค นายวิทยา นายอธึก นายไฮนริช นายเคลาส นายเคลาส นายอันเดรียส นายฮาราลด นายวิเชาวน นายอํารุง นายลี.

NC True

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.

True Fleet Management

TH

true

รายชื่อ

True Properties TE

บริษัทยอย/บริษัทรวม

/

/

/

/

/

/

/

/ X

/ /

/ / / X

/ /

/ /

/

/ /

/

/ / / / /

/ /

/ / / / /

/

/ / XX

/

/

/

/

XX = ประธานกรรมการ

/

/

/

/

/ / /

/ / /

/ / /

/ / /

/

X = รองประธานกรรมการ

/

/ / / XX

/ / /

/

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/ / /

/

/ /

/ /

/ /

/ /

/ XX /

/

/

/ /

/ = กรรมการ

148


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 1

หมายเหตุ : ชื่อยอ

ชื่อเต็ม

ชื่อยอ

ชื่อเต็ม

True

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

AWC

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท มัลติมีเดีย เน็ตเวิรค จํากัด)

TH

บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด

True Properties TE True Fleet Management Yaikaew TI K.I.N. TT&D TEMCO W&W U-NET True Internet

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท นิลุบล จํากัด) บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนท จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ดับเบิ้ลยู เซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด) บริษัท ใยแกว จํากัด บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด บริษัท เทเลคอมอีควิปเมนท แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท ยูเน็ต จํากัด

Asia DBS

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ท จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด) บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

AI Song Dao

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท สองดาว จํากัด

TRUETP: เอกสารแนบ 1

True Multimedia บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด) True-IDC บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทีเอ อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด) True digital บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด T-Pay บริษัท ทีเพย จํากัด Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI> BITCO TAO UBC NTU TSC NEC ARM NC True TA Orange Retail

Nilubon Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) K.I.N. (Thailand) Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นทียู (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอ็นอีซี คอมมิวนิเคชั่น ซิสเทมส จํากัด) บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท ทีเอ ออเรนจ รีเทล จํากัด

149


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 2

-รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ 31 ธันวาคม 2547)

TRUETP: เอกสารแนบ 2

/ /

/

/

/

/

/

NC True

ARM

/

NEC

/

TSC

/

NTU

/

UBC

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

True Multimedia

AWC

AI

Asia DBS

True Internet

U-NET

W&W

TEMCO

K.I.N. TT&D

TI

Yaikaew

True Fleet Management

TE

/

Song Dao

/ / / / /

Ta Orange Retail

เธียรวร อรุณานนทชัย คราประยูร นาวิกผล จตุปาริสุทธิ์ เจียรวนนท เมฆไพบูลยวัฒนา พุทธิพรเศรษฐ พรรณศิริ เมธีดล เลาคส เกษมศรี แฮริส เดชอุดม วงศทองศรี นาคบุตร เสถียรปกิรณกร สายแกว โตทวีแสนสุข พงศประยูร

TAO

นายมิน นายสุนทร พล.อ.สุจินดา นายมนตรี นายจตุรงค นายขจร นายอาณัติ นายสมชาย นายภัทรพงษ นายสุรพล นายรอลฟ เฮอรแมนน พล.ต.ม.ร.ว.ศุภวัฒน นายวิลเลี่ยม อี. นายนพปฎล นายธนะชัย นายถาวร นายภัคพร นายมานิตย นายอติรุฒม นายสําราญ

BITCO

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.

TH

รายชื่อ

True Properties

บริษัทยอย

/

/

/

/

/ / / / /

/

/ /

/ / / /

/

/ /

/ /

/

/ / /

/ / /

/ /

150


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 2

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ 31 ธันวาคม 2547)

TRUETP: เอกสารแนบ 2

วุฑฒิสาร รักษวิศิษฏวงศ เพียรพัฒนาวิทย ฮง คิม นันทภัทร ประภากมล กรณเสรี สิงหอุสาหะ วิชากรกุล วิมลวณิชย สนุค ลุจนานนท รูซ โวลคควิน ตันติสุนทร อยูคง ดุลยจินดา ทรัพยสุนทรกุล หวัง ปนขยัน

Song Dao

Ta Orange Retail

NC True

ARM

NEC

TSC

/ / /

NTU

/ /

UBC

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

True Multimedia

AWC

AI

Asia DBS

True Internet

U-NET

TEMCO

K.I.N. TT&D

True Fleet Management Yaikaew TI

TE

W&W /

TAO

นางทิพวรรณ นายวิศิษฏ นายทรงธรรม นายกึล เพียว นายจิน ซก นายชิตชัย นายองอาจ นายเกษม นายธัช นายงามพล นายวัลลภ นายฮันส โรเจอร นายบุญสง นายอันทัวนี อันดรีซ นายจอหน เจมส นายวิสิฐ นางอรัญรัตน นางเพ็ญทิพยภา นายสหาย นางสาวอลิซาเบธ นายสุบิน

BITCO

21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41.

TH

รายชื่อ

True Properties

บริษัทยอย

/ / / / / / / / / /

/ / / / / / / /

151


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 2

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ 31 ธันวาคม 2547)

42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54. 55. 56. 57. 58. 59. 60. 61. 62.

นายทรงฤทธิ์ นางดอริส โกลด นายดํารงค นายทวี นายวีระศักดิ์ นายกอศักดิ์ นายพิสิฏฐ นางปรีเปรม นายสุรัตน นายสุทธิศักดิ์ นายปกรณ นางอุไรรัตน นายริเอกิ นายคุจิ นายจิน นายอากิฮิซะ นายทาเคโอะ นายคิโยฟูมิ นายฌอง มิเชล นายอีเบ็น นางสาวบุญทรี

TRUETP: เอกสารแนบ 2

กุสุมรสนานันท วิบุลศิลป เกษมเศรษฐ เลิศปญญาวิทย ฮุนเมฆาเวทย ไชยรัศมีศักดิ์ ภัคเกษม เสรีวงษ พลาลิขิต รุจิสัมพันธ มาตระกูล บุญอากาศ ทานากะ ฮิเดโนริ อิการะชิ อาริกะ ชิมาดะ คุซากะ ธีไบด เกรยลิ่ง บุษบาธร

Song Dao

Ta Orange Retail

NC True

ARM

NEC

TSC

NTU

TAO UBC

BITCO

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

True Multimedia

AWC

AI

Asia DBS

True Internet

U-NET

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

Yaikaew TI

True Fleet Management

TE

TH

รายชื่อ

True Properties

บริษัทยอย

/ / / / / / / / / / / / / / / / / / /

/ / /

152


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 2

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ 31 ธันวาคม 2547)

63. 64. 65. 66. 67.

นางราตรี นายธนากร นายเต็ก จิน นายฮัง จูง นางสาวซู จิน

TRUETP: เอกสารแนบ 2

กีรติบํารุงพงศ กีรติบํารุงพงศ คิม คิม คิม

Song Dao

Ta Orange Retail

NC True

ARM

NEC

TSC

NTU

TAO UBC

BITCO

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

T-Pay

True digital

True-IDC

True Multimedia

AWC

AI

Asia DBS

True Internet

U-NET

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

True Fleet Management Yaikaew TI

TE

TH

รายชื่อ

True Properties

บริษัทยอย

/ / / / /

153


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 2

หมายเหตุ : ชื่อยอ True

ชื่อเต็ม บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)) บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด

TH True Properties TE True Fleet Management Yaikaew TI K.I.N. TT&D TEMCO W&W U-NET True Internet

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท นิลุบล จํากัด) บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนท จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ดับเบิ้ลยู เซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด) บริษัท ใยแกว จํากัด บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด บริษัท เทเลคอมอีควิปเมนท แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท ยูเน็ต จํากัด

Asia DBS

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ท จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด) บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

AI Song Dao

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท สองดาว จํากัด

TRUETP: เอกสารแนบ 2

ชื่อยอ

ชื่อเต็ม

AWC

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท มัลติมีเดีย เน็ตเวิรค จํากัด) True Multimedia บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด) True-IDC บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทีเอ อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด) True digital บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด T-Pay

บริษัท ทีเพย จํากัด

Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI> BITCO TAO UBC NTU TSC

Nilubon Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) K.I.N. (Thailand) Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นทียู (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด

NEC ARM NC True TA Orange Retail

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอ็นอีซี คอมมิวนิเคชั่น ซิสเทมส จํากัด) บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท ทีเอ ออเรนจ รีเทล จํากัด

154


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล 1.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการบริหารและผูท ดี่ ารงตํ ํ าแหนงบริหารสูงสุด ในสายงานบัญชี

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนีแ้ ลว และดวยความ ระมัดระวังในฐานะกรรมการบริหารของบริษทั หรือผูด ารงตํ ํ าแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ขาพเจา ขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทาให ํ ผอู นื่ สําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลทีค่ วร ตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ไดแสดง ขอมูลอยางถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกีย่ วกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของ บริษทั และบริษทั ยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดีเพื่อใหแนใจวา บริษัทไดเปดเผยขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทัง้ ควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูร บั ผิดชอบตอการจัดใหบริษทั มีระบบการควบคุมภายในทีด่ ี และควบคุมดูแล ใหมกี ารปฏิบตั ติ ามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2547 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึง ขอบกพรองและการเปลีย่ นแปลงทีส่ าคั ํ ญของระบบการควบคุมภายใน รวมทัง้ การกระทําทีม่ ชิ อบทีอ่ าจ มีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษทั และบริษทั ยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองแลว ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท, นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวา ไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน”

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

155


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

1. นายศุภชัย

เจียรวนนท

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร

2. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ ………………………………………. หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ

3. นายชัชวาลย

เจียรวนนท

กรรมการ และ ……………………………………… ผูอ านวยการบริ ํ หาร- Group Investment

4. นายอธึก

อัศวานันท

รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย และรักษาการเลขานุการบริษัท

………………………………………

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

………………………………………

5. นายวิลเลี่ยม อี. แฮริส (Mr. William E. Harris)

………………………………………

ผูรับมอบอํานาจ ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

156


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข า พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญ ผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายณรงค

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ศรีสอาน

กรรมการอิสระ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

…………………………………….

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

157


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข า พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายวิทยา

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

158


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข า พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ ดร.โกศล

ตําแหนง เพ็ชรสุวรรณ

ลายมือชื่อ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

159


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข า พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายโชติ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

โภควนิช

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

160


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ขา พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายธนินท

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

ประธานกรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

161


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข า พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายสุเมธ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

รองประธานกรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

162


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ขา พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ ดร.อาชว

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เตาลานนท

รองประธานกรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

163


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ขา พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายเฉลียว

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สุวรรณกิตติ

รองประธานกรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

164


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ขา พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายสุภกิต

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

165


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข า พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายอํารุง

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สรรพสิทธิ์วงศ

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

166


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ขา พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายไฮนริช (Mr. Heinrich

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ไฮมส Heims)

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

…………………………………….

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

167


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข า พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายเคลาส (Mr. Klaus

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ทุงเคอเลอ Tuengeler)

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

168


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข าพเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมู ลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายเคลาส (Mr. Claus

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สแตดเลอร Stadler)

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

169


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข า พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายอันเดรียส (Mr. Andreas

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

คลอคเคอ Klocke)

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

170


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ขา พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ นายฮาราลด (Mr. Harald

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ลิงค Link)

กรรมการ

…………………………………..

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

171


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

ข า พเจาไดส อบทานข อ มู ล ในแบบแสดงรายการขอมูลประจํ าปฉ บั บ นี้แ ล ว และ ดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมเี หตุอนั ควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถกู ตอง ครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาได สอบทานแลวและขาพเจาไมมเี หตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูล งลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หาก เอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินจิ สร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน ชื่อ ดร. ลี จี. (Dr. Lee G.

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

แลม Lam)

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอ ํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

รองผูอํานวยการ, หัวหนาสายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

172


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.