TRUE : FORM 56-1 For the Year 2005 thai

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูล (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)


สารบัญ หนา สวนที่ 1

ขอมูลสรุป (Executive Summary)

1

สวนที่ 2

บริษัทที่ออกหลักทรัพย

2

สวนที่ 3

1. ปจจัยความเสี่ยง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ 3.2 การตลาด 3.3 การจําหนายและชองทางการจําหนาย 3.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ 3.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย 4. การวิจัยและพัฒนา 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 8.1 หลักทรัพยของบริษัท 8.2 ผูถือหุน 8.3 นโยบายการจายเงินปนผล 8.4 โครงสรางหนี้สิน 9. การจัดการ 9.1 โครงสรางการจัดการ 9.2 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัท 9.3 รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท 9.4 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน 9.5 บุคลากร 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 ผูสอบบัญชีและนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 12.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม 12.3 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ 12.4 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.5 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ เอกสารแนบ 1: รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย

3 10 16 16 28 32 32 33 44 45 48 50 54 54 65 66 66 86 86 95 101 111 111 114 115 129 129 130 133 134 146 147 149 162

การรับรองความถูกตองของขอมูล

166


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“ทรู” หรือ “บริษัท”) และบริษัทยอย ประกอบธุรกิจ ใหบริการสื่อสารโทรคมนาคม โดยไดทําสัญญารวมการงานและรวมลงทุน (“สัญญารวมการงานฯ”) กับ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ปจจุบัน คือ บริษัท ทศท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ “ทศท”) และมีบริษัทยอยทําสัญญากับการสื่อสารแหงประเทศไทย (ปจจุบัน คือ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ “กสท”) วิสัยทัศนของบริษัท คือ “การเปนผูนําชีวิต Convergence เชื่อมโยงทุกบริการใหทุกไลฟสไตล เปนจริง” กลุมบริษัททรูมีความพรอมดําเนินธุรกิจดวยยุทธศาสตรการเปนผูนําชีวิต Convergence ดวยปจจัย ทุ ก ด า น ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากเป น ผู ใ ห บ ริ ก ารสื่ อ สารที่ ค รบวงจรมากที่ สุ ด ของประเทศไทย เป น ผู นํ า ชี วิ ต Convergence เชื่ อ มโยงทุ ก บริ ก ารให ทุ ก ไลฟ ส ไตล เป น จริ ง ด ว ยการประสานผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก ารที่ หลากหลาย ทั้งโทรศัพทเคลื่อนที่ บรอดแบนด โทรศัพทพื้นฐาน และโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก (หลังจาก เขาซื้อหุนในบริษัทยูบีซี) เขาดวยกัน กลุมบริษัททรูไมเพียงพรอมใหบริการ “Triple Play” ซึ่งประกอบดวย บริการดานเสียง ขอมูล และวีดิโอเทานั้น หากยังล้ําหนาไปถึงการเปนผูใหบริการ “Quadruple Play” เมื่อเพิ่ม บริการโทรศัพทเคลื่อนที่เขามาเปนปจจัยที่ 4 อยางไรก็ตาม ถึงแมวาในป 2549 กลุมบริษัททรูจะเล็งเห็น โอกาสการเติบโตในหลายๆ ดาน แตยังคงมีปจจัยความเสี่ยงทั่วไปและปจจัยความเสี่ยงเฉพาะบางประการ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของบริษัทและบริษัทในเครือ ซึ่งสามารถอานรายละเอียดเกี่ยวกับ “ปจจัยความเสี่ยง” ไดในสวนที่ 2 กลุมบริษัททรูไดแบงการดําเนินธุรกิจออกเปน 6 กลุม ไดแก (1) ธุรกิจบริการโทรศัพท พื้นฐานใชนอกสถานที่และโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งเปนกลุมธุรกิจหลักของบริษัท ทํารายไดใหบริษัทประมาณ รอยละ 54.40 ของรายไดทั้งหมด (สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2548) (2) ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน และ บริการเสริม (3) ธุรกิจบริการโครงขายมัลติมีเดียและบริการบรอดแบนด (4) ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูล (5) ธุรกิจ บริการอินเทอรเน็ต และ (6) ธุรกิจอื่นๆ ขอมูลที่สําคัญของฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 มีดังนี้ - สินทรัพยรวม 108,058 ลานบาท - หนี้สินรวม 107,751 ลานบาท - สวนของผูถือหุน 307 ลานบาท - กําไร (ขาดทุน) สุทธิ (4,269) ลานบาท ทั้งนี้ สามารถอานรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทไดในสวนที่ 2 ของแบบแสดงรายการขอมูลนี้ ซึ่งเปนขอมูลเกี่ยวกับบริษัทในรายละเอียด ในแบบ 56-1 นี้ คํ า ว า “ทรู ” “บริ ษั ท ” “บริ ษั ท ในเครื อ ” และ “บริ ษั ท ย อ ย” หมายความถึ ง บริ ษั ท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และ/หรือ บริษัทในเครือ และ/หรือ บริษัทยอย ในกรณีที่มีขอสงสัยวาบริษัทใดเปน ผูรับผิดชอบหรือดําเนินการกิจการหนึ่งกิจการใดที่ปรากฎในแบบ 56-1 นี้ สามารถสงคําถามมาไดที่ ฝายลงทุนสัมพันธ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคาร ทรูทาวเวอร ชั้น 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 66 (0) 2699-2515 โทรสาร 66 (0) 2643-0515 อีเมล Ir_office@truecorp.co.th TRUETB: ขอมูลสรุป

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจ โทรคมนาคม โดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญ

เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

เลขทะเบียนบริษัท บมจ. 82

Home Page www.truecorp.co.th

โทรศัพท 66(0) 2643-1111

โทรสาร 66(0) 2643-1651

TRUETC: บริษัทที่ออกหลักทรัพย

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1. ปจจัยความเสี่ยง ถึงแมในป 2549 กลุมบริษัททรูจะเล็งเห็นโอกาสการเติบโตในหลายๆ ดาน แตยังคงมีปจจัย ความเสี่ยงทั่วไปและปจจัยความเสี่ยงเฉพาะบางประการ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินการของ บริษัทและบริษัทในเครือ ความเสี่ยงเกี่ยวกับการดําเนินงาน กลุมบริษัททรูเผชิญกับการแขงขันซึ่งคาดวาจะยังคงมีอยูตอไปอยางตอเนื่อง ทรู และ บริษัทยอย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) และ ธุรกิจอินเทอรเน็ต และบรอดแบนด จะตองเผชิญกับการแขงขันที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยมีการแขงขันดานราคาอยางรุนแรง ในชวงเดือนเมษายนถึง มิถุนายน 2548 ทรูมูฟและคูแขงไดปรับลดอัตราคาบริการลงอยางมาก ทําใหรายไดเฉลี่ยตอเลขหมาย (ARPU) ของทรมูฟลดลงในอัตรารอยละ 10 ในป 2548 ถึงแมอัตราคาบริการจะเพิ่มขึ้นภายหลังการ แขงขันดานราคาสิ้นสุดลง และเมื่อไมนานมานี้ ไดเกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางผูถือหุนใหญใน บริษัทคูแขงบางราย ซึ่งอาจมีผลทําใหบริษัทตองแขงขันกับผูใหบริการจากตางประเทศ ซึ่งมีเทคโนโลยี ที่ทันสมัยกวา มีประสบการณจากการแขงขันในตลาดที่มีการแขงขันสูงกวา และมีเงินทุนมากกวา ในตลาดบรอดแบนดอิน เทอรเน็ ต กลุม บริษั ท ทรูตองเผชิญ กั บ ทั้ งคูแข งที่เป น บริษั ทซึ่ ง เพิ่งเริ่มประกอบการไปจนถึงบริษัทจากตางประเทศ บริษัทเหลานี้เพิ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูใหบริการ อินเทอรเน็ตจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (คณะกรรมการ กทช.) ในสวนของธุรกิจ โทรศัพทพื้นฐาน บริษัทคาดวาจะเผชิญกับการแขงขันเพิ่มมากขึ้นจากผูไดรับใบอนุญาตรายใหมจาก คณะกรรมการ กทช. รวมทั้งการแขงขันจากธุรกิจบริการเสียงผานการใหบริการอินเทอรเน็ต (VoIP) ซึ่ง มี อั ต ราค าบริ ก ารที่ ต่ํ า กว า อั ต ราค าบริ ก ารโทรศั พ ท พื้ น ฐานแบบเดิ ม อย า งไรก็ ต าม จนถึ ง ขณะนี้ คณะกรรมการ กทช. ไดออกใบอนุ ญ าต VoIP สําหรับบริการระหวางเครื่องคอมพิวเตอรกับเครื่อง คอมพิวเตอร และเครื่องคอมพิวเตอรกับโทรศัพท เทานั้น โดยยังไมไดออกใบอนุญาตใหกับบริการจาก โทรศัพทไปยังเครื่องคอมพิวเตอร และบริการระหวางโทรศัพทกับโทรศัพท กลุมบริษัททรูคาดวาการแขงขันจะยังคงสูงขึ้นในอนาคต แตเชื่อวา กลุมบริษัททรูมีความ พรอมสําหรับการแขงขัน ทั้งนี้จากการเปนผูนําในตลาดอินเทอรเน็ตและบรอดแบนดและจากการที่ ทรูมู ฟ สามารถขยายฐานลูก ค าได เพิ่ ม ขึ้น ตามลํ าดั บ นอกจากนี้ บ ริษั ท และบริษั ท ยอย ไดยื่น ขอรับ ใบอนุญาตใหมๆ เพื่อใหไดรับผลประโยชนจากการปฏิรูปการกํากับดูแล นับจนถึงขณะนี้ บริษัทยอย ของบริษัทไดรับใบอนุญาตสําหรับการเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ต และอยูในระหวางการรอใบอนุญาต TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จากคณะกรรมการ กทช. สําหรับบริการ อินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ (International Internet Gateway) บริ ก ารชุ ม สายอิ น เตอร เน็ ต (Internet Exchange) รวมทั้ ง บริ ก ารโทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ แ ละ โทรศัพทพื้นฐาน การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของเทคโนโลยี อาจมีผลตอการเติบโตของบริษัท และอาจทําใหบริษัทมี ขีดความสามารถในการแขงขันลดลง เทคโนโลยีการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดจนความตองการของลูกคาก็ เปลี่ยนแปลงไปตามวิวัฒ นาการในผลิตภัณ ฑ และบริก ารใหมๆ นอกจากนั้ น การเปลี่ยนแปลงดาน กฎเกณฑการกํากับดูแล ก็มีสวนทําใหมีการเปดตลาดและเทคโนโลยีใหมๆ คาดวาปจจัยตาง ๆ ดังกลาว แลว จะยังคงมีผลตอธุรกิจสื่อสารของประเทศไทยในอนาคต โดยเทคโนโลยีใหม ๆ ที่จะมีผลตอธุรกิจ โทรคมนาคมของประเทศไทยในอนาคตอั น ใกล นี้ ป ระกอบด ว ย โทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ ในระบบ 3G อินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสายและบริการ VoIP ซึ่งอาจจะมีผลทําให กลุมบริษัทมีคาใชจายในการ ลงทุนสูงขึ้นเปนอยางมาก อยางไรก็ตาม กลุมบริษัททรูคาดวา การเปนผูใหบริการที่ครบวงจร ครอบคลุมผลิตภัณฑ และบริการตางๆ อยางหลากหลาย จะทําใหสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไดดีกวา ผูให บริการที่มี ‘บริการเพียงอยางเดียว’ โดยจะสามารถรักษารายไดและลูกคาใหอยู ‘ภายในกลุมบริษัท’ ไดดีกวา ความสําเร็จและอนาคตของกลุมบริษัททรูขึ้นอยูกับบุคลากรที่สําคัญ รวมทั้งความตอเนื่องในการให บริการ และการปฏิบัติงานดานโครงขาย ความสําเร็จของบริษัทขึ้นอยูกับการทุมเทปฏิบัติหนาที่ของฝายบริหารและพนักงาน ทั้งนี้ บริษัทมีนโยบายดานทรัพยากรบุคคลที่มุงเนนรักษาและพัฒนาผูบริหารตลอดจนพนักงาน นอกจากนี้ บริษัทยังมี ก ระบวนการในการวาจางเพื่ อให มั่น ใจวา บริษัท มีการคัดสรรผูที่ มีความสามารถเขามา รวมงานกับบริษัท เหตุ ก ารณ ไมส งบในภาคใต ตลอดจนภัยพิ บั ติที่ คาดไมถึง อาจทํ าให ก ารให บ ริก ารของ กลุมบริษัททรูในบางพื้นที่หยุดชะงักชั่วคราว โดยเมื่อไมนานมานี้ ไดเกิดความรุนแรงในภาคใตเพิ่มขึ้น บอยครั้ง ซึ่งทรูมูฟและผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่นๆ ตางก็ประสบกับปญหา โดยไมอาจให บริการในบางพื้นที่ เปนการชั่วคราว ทั้งนี้เนื่องจากสถานีฐานบางแหงไดรับความเสียหายเนื่องจาก ความรุนแรงที่เกิดขึ้น เหตุการณดังกลาวเปนปจจัยที่ไมอาจควบคุมได และอาจจะมีผลกระทบตอธุรกิจ ของกลุมบริษัทตอไปในอนาคต

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ความเสี่ยงดานการกํากับดูแล ธุรกิจสื่อสารของประเทศไทยอยูในระหวางการเปลี่ยนแปลง ดานการกํากับดูแล กอใหเกิดความเสี่ยงตอ ผูประกอบการ ตามขอตกลงที่ ประเทศไทยไดให ไวกับ องคกรการคาโลกหรือ WTO เพื่ อเป ดเสรีธุรกิ จ โทรคมนาคมไทยภายในป 2549 รัฐบาลไทยไดเริ่มดําเนินการปฏิรูปการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โดยการออกพระราชบัญญัติหลัก 2 ฉบับ อันไดแก พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับ กิ จการวิ ท ยุก ระจายเสี ย งวิ ท ยุโทรทั ศน และกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 ซึ่ งประกาศใช ในเดื อ น มีน าคม ป 2543 และ พระราชบั ญญั ติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2544 ซึ่งประกาศใชใน เดือน พฤศจิกายน 2544 ในเดือน ตุลาคม 2547 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือคณะกรรมการ กทช. ไดถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนองคกรอิสระในการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม ซึ่งเดิมเปนอํานาจ หน าที่ ข ององค ก ารโทรศั พ ท แ ห ง ประเทศไทย (ป จ จุ บั น ได แ ปลงสภาพเป น บริ ษั ท ที โ อที จํ ากั ด (มหาชน) หรือ ทีโอที) และ การสื่ อสารแห งประเทศไทย (ป จจุบัน ไดแปลงสภาพเปน บริษั ท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท) และกรมไปรษณียโทรเลข ในระยะตนของการเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้ อาจจะมีผลกระทบตอการดําเนินงานของบริษัท ยกตัวอยางเช น ในช วงสามไตรมาสแรกของป 2548 ทรูมู ฟ ประสบป ญ หาการขาดแคลนเลขหมาย โทรศัพทเคลื่อนที่ อยางไรก็ตาม ในที่สุด ทรูมูฟก็ไดรับจัดสรรเลขหมายใหมจํานวน 1 ลานเลขหมาย ในเดือนสิงหาคม 2548 หลังจากนั้น ทรูมูฟก็ไดรับการจัดสรรเลขหมายใหมอีกจํานวน 2 ลานเลขหมาย ในเดือนกุมภาพันธ 2549 ภายในระยะเวลาไมเกิน 15 วันภายหลังที่ไดจัดสงเอกสารครบถวน ซึ่งเปนไป ตามกฎระเบียบของคณะกรรมการ กทช. นอกจากนั้ น นั บ ตั้ ง แต ไ ด มี ก ารจั ด ตั้ งคณะกรรมการ กทช. จนกระทั่ ง ถึ ง ปลายป 2548 คณะกรรมการ กทช. ไดออกประกาศ กฎเกณฑ ขอบั งคับ ที่สําคัญ ๆ หลายฉบับ ไดแก (1) ประกาศ คณะกรรมการ กทช. เรื่ อ งกํ า หนดลั ก ษณะและประเภทของกิ จ การโทรคมนาคม (2) ประกาศ คณะกรรมการ กทช. เรื่องลักษณะของประเภทของกิจการโทรคมนาคมที่ตองไดรับใบอนุญาตประกอบ กิจการโทรคมนาคม 3 ประเภท (3) ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง หลักเกณฑการจัดสรรเลขหมาย โทรคมนาคมชั่วคราว (4) ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง คาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการ โทรคมนาคมชั่วคราว และ (5) ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง คาธรรมเนียมใบอนุ ญ าตการให บริการอินเทอรเน็ต ชั่วคราว

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ คณะกรรมการ กทช. ยังมีแผนที่จะออกประกาศและขอบังคับหลายฉบับ ในป 2549 ได แ ก (ร า ง) ประกาศคณะกรรมการ กทช. ว า ด ว ยมาตรการคุ ม ครองสิ ท ธิ ข องผู ใ ช บ ริ ก าร โทรคมนาคมเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล สิทธิในความเปนสวนตัว และเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดย ทางโทรคมนาคม (ราง) แนวทางการกํากับดูแลผูประกอบกิจการโทรคมนาคมและกิจการที่เกี่ยวเนื่อง ใหมีการแขงขันเสรีและเปนธรรม (ราง) ประกาศคณะกรรมการ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขาย และ กฎเกณฑขอบังคับเกี่ยวกับ 3G กฎเกณฑขอบังคับใหมๆ เหลานี้ อาจมีผลกระทบตอตนทุนในการ ดําเนินงานของกลุมบริษัท และ/หรือ ทําใหการแขงขันในธุรกิจที่กลุมบริษัทดําเนินงานอยูสูงขึ้น ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง คาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ชั่วคราว ไดกําหนดใหผูใหบริการรายใหมที่ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. มีโครงสราง อัตราคาธรรมเนียมอยูในระดับที่ต่ํากวา ผูใหบริการรายเดิม เชน กลุมบริษัททรู ซึ่งประกอบกิจการภายใต สัญญารวมการงานฯกับทีโอที หรือ กสท จึงทําใหผูประกอบการรายเกาเสียเปรียบผูใหบริการรายใหม และเพื่ อ ลดความเสี่ ย งดั ง กล า ว ทรู มี น โยบายที่ จ ะยื่ น ขอใบอนุ ญ าตสํ า หรั บ บริ ก ารต า ง ๆ จาก คณะกรรมการ กทช. ทรูจะยังคงนโยบายเชิงรุกในการเจรจากับคณะกรรมการ กทช. เพื่อสนับสนุนใหกระบวน การปฏิรูปธุรกิจโทรคมนาคม กอใหเกิดการแขงขันอยางเสรีและเปนธรรม บริษัทตองแขงขันกับคูสัญญารวมการงานฯ ซึ่งอาจนําไปสูขอพิพาทตางๆ ที่อาจสงผลกระทบตอการ ดําเนินธุรกิจของบริษัท บริษัทและบริษัทยอย ดําเนินกิจการภายใตสัญญารวมการงานฯ และรวมลงทุน และ/หรือ ภายใตการไดรับการอนุญาตจาก บมจ. ทีโอที คอรปอเรชั่น (ทีโอที) และ/หรือ บมจ. กสท โทรคมนาคม จํากัด (กสท) แลวแตกรณี โดยความเห็นที่แตกตางกันของ กลุมบริษัททรู กับ ทีโอที และ กสท ในการ ตีความสัญญารวมการงานฯ และ/หรือการไดรับการอนุญาตตางๆ อาจมีผลตอความสามารถในการ ดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัท โดยมีความเสี่ยงที่สัญญารวมการงานฯ อาจถูกยกเลิกโดยทีโอที แตทั้งนี้ ทีโอที ตองนําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเปนผูชี้ขาดกอนดําเนินการยกเลิกสัญญา ซึ่งทีโอทีจะ ยกเลิกสัญญารวมการงานฯ ไดเฉพาะในกรณีที่บริษัททําผิดกฎหมายอันเกี่ยวกับการปองกันภัยพิบัติ สาธารณะหรือความมั่นคงของรัฐ หรือ บริษัทถูกศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย หรือ บริษัทจงใจผิดสัญญาสัมปทานในสาระสําคัญอยางตอเนื่อง เทานั้น ภายใตสัญ ญารวมการงานฯ ที โอทีเปน ผูจัดเก็บรายไดจากลูกคาในโครงขายของบริษัท ทั้งหมด และหักสวนหนึ่งของรายไดไวเปนสวนแบงรายได ดังนั้นทีโอทีอาจชะลอการชําระเงินสวน

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตามสิทธิของบริษัท หรืออาจหักไวจํานวนหนึ่งเพื่อเปนการชําระคาใชจายใด ๆ ที่ทีโอทีเชื่อวาบริษัท ติดคาง (แตจนถึงขณะนี้ก็ยังไมมีกรณีดังกลาวเกิดขึ้น) ในขณะที่ทีโอทีเปนคูสัญญารวมการงานฯ กับทรู ทีโอทีก็เปนคูแขงของทรู เนื่องจากทีโอที เปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลดวยเชนกัน ดวยเหตุนี้จึงอาจ กอใหเกิดขอพิพาทระหวางบริษัทและทีโอทีได ซึ่งทีโอทีอาจชะลอการอนุญาตใหบริษัทเปดใหบริการ ใหมๆ ทั้งบริษัทและทีโอทีมีการยื่นคําฟองหรือคําเสนอขอพิพาทเรื่องความขัดแยงบางกรณีที่เกิดขึ้นตอ ศาลปกครองหรือคณะอนุญาโตตุลาการเปนผูตัดสิน แลวแตกรณี บริษัทไมสามารถรับรองไดวาบริษัท จะสามารถชนะขอพิพาททั้งหลายเหลานั้น และหากบริษัทไมประสบความสําเร็จในการแกไขขอพิพาท ธุรกิจรวมถึงเงื่อนไขทางการเงินของบริษัทอาจจะไดรับผลกระทบ โดยเมื่อไมนานมานี้กระบวนการ ยุติ ธรรมก็ไดมี คําตัด สิ น ขอพิ พ าทตางๆ ทั้ งในทางที่ เปน ประโยชนและไมเปน ประโยชน ต อบริษั ท ขอมูลเกี่ยวกับกรณีพิพาทระหวางบริษัทกับทีโอที โปรดดูรายละเอียดในหัวขอ “ขอพิพาททางกฎหมาย” ความเสี่ยงทางดานการเงิน การดําเนินงานของกลุมบริษัททรูอาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตางๆ รวมทั้งอาจ ไดรับผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย โดยอาจทําใหดอกเบี้ยจาย และ ภาระทางการเงินอื่นๆ เพิ่มขึ้น การดําเนิ นงานของกลุมบริษัทอาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตาง ๆ สัญญาเหลานี้อาจทําใหบริษัทเสียโอกาสทางธุรกิจ และเจาหนี้อาจเรียกรองใหบริษัทชําระหนี้กอน กําหนด หากทีโอทียกเลิกขอตกลงตามสัญญารวมการงานฯที่มีกับบริษัท อยางไรก็ตามทีโอทีตองเสนอ ขอพิ พ าทให อนุ ญ าโตตุลาการชี้ ขาดวาที โอที มี สิทธิโดยชอบดวยกฎหมายที่จะยกเลิก ขอตกลงตาม สัญญารวมการงานฯได กลุมบริษัท อาจไดรับผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งอาจมีผลทําให ดอกเบี้ ย จายเพิ่ ม ขึ้ น ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2548 กลุ ม บริษั ท มี ภ าระหนี้ จํ านวนทั้ งสิ้ น ประมาณ 95.4 พันลานบาทหากรวมหนี้สินระยะสั้นสําหรับการเขาซื้อกิจการยูบีซี โดยเปนเงินกูตางประเทศ (สกุลเยน และดอลลารสหรัฐ) ในสัดสวนประมาณรอยละ 24 นอกจากนั้น บริษัทมีรายจายลงทุนรวมประมาณ 10.3 พันลานบาทในป 2548 โดยเปนเงินตราตางประเทศในอัตรารอยละ 32.4 ดังนั้นการเปลี่ยนแปลง ของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ อาจจะทําใหภาระหนี้ ดอกเบี้ยจาย หรือรายจายลงทุน ที่ คิดเปนเงินบาทมีจํานวนเพิ่มขึ้น

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทไดจัดทําประกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อครอบคลุม เงินกูตางประเทศสวนใหญของทรูมูฟจํานวน 170 ลานดอลลารสหรัฐ และเงินกูระยะสั้นสําหรับการเขา ซื้อหุนยูบีซีจํานวน 291 ลานดอลลารสหรัฐ อยางไรก็ตาม บริษัทไมไดดําเนินการปองกันความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนสําหรับเงินกูสกุลเยนจํานวน 3.9 พันลานบาท ซึ่งเปนเงินกูระยะยาว ที่มีกําหนดชําระ คืนในป พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2560 นอกจากนี้ กลุมบริษัทมีหนี้สินในสัดสวนประมาณรอยละ 54.5 เปนหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ย ลอยตัว ดังนั้นการปรับตัวเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย จะมีผลทําใหกลุมทรูมีภาระดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ความเสี่ยงดังกลาวอาจลดลงในระดับหนึ่ง เนื่องจากหนี้สินของทรูมูฟบางสวน จะมีอัตรา ดอกเบี้ยที่ลดลงในปตอๆไป หากมีผลการดําเนินงาน เปนไปตามเงื่อนไขที่ไดกําหนดไวในสัญญาเงินกู ผูถือหุนอาจไมไดรับเงินปนผล ในระยะเวลาอันใกลนี้ ณ สิ้น ป 2548 กลุมบริษั ท มีผลการดําเนิ น งานเป นขาดทุน สุท ธิ 4.3 พั น ลานบาท ทํ าให มี ยอดขาดทุนสะสมสุทธิ 47.7 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนผลกระทบจากคาเงินบาทลอยตัวที่เกิดขึ้นใน ป 2540 และตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด บริษัทจะสามารถจายเงินปนผลให ผูถือหุนไดจากผลกําไรเทานั้น ทั้งนี้ภายหลังจากการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมดและภายหลังการตั้ง สํารองตามกฎหมาย ดังนั้นในระยะเวลาอันใกลนี้ ผูถือหุนของบริษัท อาจจะไมไดรับเงินปนผลดังที่ปรากฏอยู ในนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัท ความเสี่ยงจากการเขาซื้อกิจการยูบีซี บริษัท อาจไม ไดรับ ผลประโยชน ที่ค าดวาจะไดรับจากการเขาซื้ อหุน บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ ยูบีซี ในขณะที่ตองรับภาระความเสี่ยงอันเกิดจากการดําเนินธุรกิจ ของยูบีซีดวย กลุมบริษัทคาดวาจะไดรับผลประโยชนเพิ่มขึ้นจากการเขาซื้อหุนยูบีซี ไดแก การเพิ่มขีด ความสามารถในการสรางความเติบโตใหกับจํานวนผูใชบริการและรายไดของกลุมบริษัท ดวยการ ประสานผลิตภัณฑและบริการเขาดวยกัน รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการรักษาฐานลูกคา และความ สามารถในการเขาถึงคอนเทนทที่มีความหลากหลายยิ่งขึ้น

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กลุมบริษัทอาจจะไมไดรับผลประโยชนที่คาดวานาจะไดรับจากการซื้อหุนยูบีซีอยางเต็มที่ ซึ่งตองอาศัยความทุมเท และเวลาของผูบริหาร ในการบริหารงาน นอกจากนั้นยังตองอาศัยความพรอม ของตลาดสําหรับผลิตภัณฑและบริการใหมๆ นอกเหนือจากนั้น กลุมบริษัทอาจจะตองรับภาระความ เสี่ยงอันเกิดจากการดําเนินธุรกจของยูบีซีดังตอไปนี้ ยูบีซีตองพึ่งพาผูจัดหารายการเพื่อซื้อรายการจากตางประเทศ หากยูบีซีไมสามารถ จัดหารายการที่เปนที่สนใจของสมาชิก หรือหากตนทุนของการจัดหารายการเพิ่มสูง ขึ้นในอนาคตก็จะมีผลกระทบตอรายไดของยูบีซี การลั ก ลอบสั ญ ญาณเป น เรื่ อ งที่ ป อ งกั น ได ย าก และมี ผ ลลบต อ ผลการดํ าเนิ น งาน กระแสเงินสดและการจัดหารายการของยูบีซี ธุ ร กิ จ โทรทั ศ น ร ะบบบอกรั บ เป น สมาชิ ก ซึ่ ง เป น ธุ ร กิ จ หลั ก ของยู บี ซี อาจได รั บ ผลกระทบจากคูแขงรายใหม และการแขงขันทางออม ทําใหสวนแบงตลาดลดลง และ มีผลตอการดําเนินงานและกระแสเงินสด ยูบีซีมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งนี้เนื่องจากรายไดหลักของ ยูบีซีเปนเงินบาท ในขณะที่ภาระคาใชจายตางๆจํานวนมากเปนเงินสกุลดอลลารสหรัฐ

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญ ทรู คือ ผูใหบริการสื่อสารที่ครบวงจรมากที่สุดของประเทศ บริษัทกอตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2533 และในป 2536 ไดเปลี่ยนสถานะเปนบริษัท มหาชนจํากัด และเขาจดทะเบี ยนในตลาดหลักทรัพ ยแหงประเทศไทยในชื่ อ บริษั ท เทเลคอมเอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TA” โดยมีทุนจดทะเบียน ทั้งสิ้น 22,230 ลานบาท และมีรายไดในปนั้นจํานวน 2,000 ลานบาทและพนักงานจํานวน 1,500 คน ในเดือนเมษายน 2547 บริษัทไดมีการปรับเปลี่ยนภาพลักษณภายใตแบรนดทรู และไดเปลี่ยนชื่อ บริษัทมาเปน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TRUE” ภายใตการสนับสนุนจากเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรที่ใหญที่สุดใน ภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือหุนทรูในสัดสวนประมาณรอยละ 34 บริษัทจึงเปนผูใหบริการสื่อสารครบวงจรที่ ครอบคลุมทั้งบริการเสียง ขอมูล และภาพ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาทุกกลุม ซึ่งประกอบ ดวย ลูกคาทั่วไป ลูกคาธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม และลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญ ในปจจุบัน บริษัทและบริษัทยอยเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานและอินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายใหญที่สุดใน เขตกรุงเทพมหานครและปริม ณฑล รวมทั้ งยังเป น ผูให บ ริก ารโทรศัพ ท เคลื่อนที่ อิน เทอรเน็ ต และ โทรทัศนระบบบอกรับสมาชิกรายใหญของประเทศ บริษัทยอยและบริษัทรวมที่สําคัญภายในกลุมบริษัททรูประกอบดวย ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่อันดับ 3 ของประเทศ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) หรือยูบีซี ซึ่ งเป นผูให บริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิกชั้นนํ าของประเทศ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด ซึ่งเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ต ในป 2534 บริษัทไดทําสัญญารวมการงานและรวมลงทุนกับบริษัททีโอที คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ตามเงื่อนไข Build-Transfer-Operate (BTO) เพื่อจัดหา ติดตั้ง และควบคุม ตลอดจนบํารุงรักษา อุปกรณ ในระบบ ในการขยายบริการโทรศัพ ท จํานวน 2 ลานเลขหมายในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลเปนระยะเวลา 25 ป โดยบริษัทเริ่มมีรายไดจากการใหบริการโครงขายโทรศัพทพื้นฐานใน เดือนพฤศจิกายน 2535 และในเดือนกันยายน 2538 บริษัทก็ไดรับอนุมัติใหติดตั้งโทรศัพทพื้นฐานเพิ่ม อีก 600,000 เลขหมาย

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ยังไดรับอนุญาตใหเปดบริการเสริมตางๆ เชน บริการโทรศัพทสาธารณะและบริการ อื่นๆ เพิ่มเติม ในป 2542 บริษัทก็ไดเปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ PCT และในป 2544 บริษัทยอยของบริษัทไดเปดใหบริการโครงขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวยบริการ ADSL และบริการ Cable Modem นอกจากนั้นในป 2546 ไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสาย หรือบริการ Wi-Fi ในเดือนตุลาคม 2544 บริษัทไดเขาถือหุน (ทางออม) ในบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด ในอัตรา รอยละ 41.1 ซึ่งนับเปนการเริ่มเขาสูธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้ ทีเอ ออเรนจไดเปดใหบริการอยางเต็มที่ ในเดือนมีนาคม 2545 และในเดือนกันยายน 2547 บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนในทีเอ ออเรนจเปน รอยละ 82.86 โดยไดเริ่มรับรูผลประกอบการของทีเอ ออเรนจ อยางเต็มที่นับตั้งแตตนไตรมาส 4 ของป 2547 ณ สิ้นป 2548 กลุมบริษัททรูมีรายไดรวมมากกวา 51,000 ลานบาท (หากรวมรายไดของยูบีซี ทั้ง 100%) และมีสินทรัพยทั้งหมดกวา 1 แสนลานบาท โดยมีจํานวนพนักงานมากกวา 9,000 คน พัฒนาการที่สําคัญในป 2548 กุมภาพันธ 2548

ทีเอ ออเรนจ ทําสัญญามูลคากวา 133 ลานดอลลารสหรัฐ กับบริษัทอัลคาเทล เพื่อ ขยายเครือขาย GSM/GPRS ที่มีอยูในปจจุบัน รวมทั้งปรับปรุงโครงขายดังกลาวให สามารถรองรับเทคโนโลยี EDGE และพัฒนาไปสู 3G/UMTS ในอนาคต ทีเอ ออเรนจเปดตัว Music world ซึ่งเปนศูนยรวมเพลงสําหรับบริการโทรศัพท เคลื่อนที่

มีนาคม 2548

ทรู นําเสนอบริการ VDSL ซึ่งเปนบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงสําหรับ กลุมลูกคา องคกรธุรกิจ และกลุมธุรกิจ SME ทรูเปดตัว “True Sphere” โปรแกรมมอบสิทธิพิเศษสําหรับลูกคากลุมผูนําองคกร

เมษายน 2548

เปดใหบริการ Pre Pay hi-speed Internet ไฮ-สปด อินเทอรเน็ตแบบเติมเงินครั้งแรก ในประเทศไทย และเปดตัว ‘ทรู สเตชั่น’ ไลฟสไตลอินเทอรเน็ตคาเฟรูปแบบ ใหมในสถานีรถไฟฟาใตดิน

พฤษภาคม 2548

เปดบริการ White Net เพื่อกลั่นกรองสื่อที่ไมเหมาะสมสําหรับเยาวชนบนอินเทอรเน็ต

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

มิถุนายน 2548

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

NC True ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนระหวางบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัท NC Soft จํากัด จากประเทศเกาหลี เปดตัวเกมออนไลน “Lineage II” เกมสามมิติแบบ RPG (Role Playing Game) แนวแฟนตาซี ที่ไดรับความนิยมสูงสุด ทรู เปดตัว ไลฟสไตล ช็อป ภายใตคอนเซ็ปตใหม โดยผสานบริการและผลิตภัณฑ เทคโนโลยีสื่อสารตาง ๆ ของกลุมบริษัททรูและทีเอ ออเรนจเขาดวยกัน ทรูขยาย All Together Bonus สูนิสิต นักศึกษา โดยมอบโบนัสโทรฟรีสําหรับ ทีเอ ออเรนจ สูงสุด 5,000 บาทภายใตโปรโมชั่น ‘คาเทอมแลกคาโทร’

กรกฎาคม 2548

เพิ่มประสิทธิภาพโครงขายอินเทอรเน็ตโดยเพิ่มความเร็วเปน 10 Gpbs.

สิงหาคม 2548

ทรูขยายฐานลูกคาอินเทอรเน็ตความเร็วสูง ดวยการออกแคมเปญ โมเด็มอินเทอรเน็ต ความเร็วสูงราคา 1 บาท ทรู รวมกับ อินเทล ทดสอบเทคโนโลยี WiMax ในประเทศไทย

กันยายน 2548

เปดตัว ทรู เวิรลด ดอท เน็ต (Trueworld.net) ศูนยรวมบริการคอนเทนทมัลติมีเดีย อาทิ ดนตรี กีฬา ขาวสาร และสาระบันเทิงอื่นๆ ทีเอ ออเรนจ เปดใหบริการ Blackberry เปดตัว บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด บริษัทยอยของทรู ซึ่งดําเนินกิจการดานบัตรเงิน อิเล็กทรอนิกส และตัวกลางรับชําระเงินผาน “บัตรเงินสดโมบายมันนี่ แคชการด” (Mobile Money Cash Card) ทางเลือกใหมของบัตรเติมเงินที่สามารถใชแทนเงินสด ได ทั้งสําหรับลูกคาออเรนจ และ สําหรับลูกคาในกลุมทรู เพื่อเลือกเติมเงินในการใช บริการตางๆ

ธันวาคม 2548

ทรู ร ว มมื อ กั บ สยามโอเชี่ ย น เวิ ล ด พิ พิ ธ ภั ณ ฑ สั ต ว น้ํ าระดั บ โลกที่ ใ หญ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย สรางมิติใหมแหงการเรียนรู โดยเปนผูวางระบบมัลติมีเดียอันทันสมัย ภายในพิพิธภัณฑสัตวน้ํา ซึ่งชวยเสริมความเปนผูนําไลฟสไตลของแบรนดทรู ผูถือหุนของทรู อนุมัติการเขาซื้อหุนสามัญของยูบีซี นับเปนกาวสําคัญที่จะทําใหทรู เป น ผู นํ า บริ ก าร เสี ย ง ข อ มู ล และภาพ (Triple Player) ครบวงจรมากที่ สุ ด ใน ประเทศไทย การปรับโครงสรางหนี้ ของพีซีทีแลวเสร็จ ทําใหมีกําไรจํานวน 801 ลานบาท ทีเอ ออเรนจ มีจํานวนผูใชบริการประมาณ 4.5 ลานราย ณ สิ้นป 2548

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จํานวนผูใชบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไปเพิ่มเปน 300,322 ราย โดยมีสวน แบงตลาดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลประมาณรอยละ 80 จุดใหบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง (Wi-Fi) หรือที่เรียกวา Hot Spot มี จํานวนมากกวา 2,000 จุด ณ สิ้นป 2548 กุมภาพันธ 2549

ทีเอ ออเรนจ เปลี่ยนชื่อเปน ทรูมูฟ ทําให ทรู สามารถประสานผลิตภัณฑและบริการ ภายใตกลุมบริษัทเขาดวยกันภายใตแบรนดทรู

รางวัลในป 2548 ทรูไดรับรางวัล บริษัทที่มีศักยภาพเชิงแขงขันที่โดดเดนที่สุด (Best Competitive Carrier) จาก Telecom Asia ประจําป 2548 โดยไดรับรางวัลนี้ติดตอกันเปนปที่ 2 ทรูไดรับคัดเลือกจากผูบริโภคใหเปน Thailand Superbrand ติดตอกันเปนปที่ 2 จากผลการ สํารวจ Asia Superbrand ของ Readers’ Digest ป 2548 ทรูไดรับคัดเลือกใหเปน “Most Promising Service Provider” จาก Frost & Sullivan Asia Pacific Technology Awards 2005 ทรูไดรับรางวัล B.A.D (Bangkok Art Directors Association) สําหรับกราฟฟก ดีไซน หมวด ปฏิทิน ป 2549 และ ไดรับรางวัลเว็บไซตที่มีสถิติการเยี่ยมชมสูงสุดในหมวดธุรกิจ จัดโดย NECTEC ทรูไดรับรางวัลสถานประกอบการดีเดน ดานสวัสดิการ จากกระทรวงแรงงาน ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท บริษัทยอย และบริษัทรวม ในปจจุบัน กลุมบริษัทมีการประกอบธุรกิจในกลุมธุรกิจใหญ ๆ ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ธุรกิจบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่และโทรศัพทเคลื่อนที่ ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริม ธุรกิจบริการโครงขายมัลติมีเดียและบริการบรอดแบนด ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูล ธุรกิจบริการอินเทอรเน็ต ธุรกิจอื่นๆ

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางเงินลงทุนแยกตามธุรกิจของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย บริการเสริม และบริการสื่อสารขอมูล บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ และโทรศัพทเคลื่อนที่

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 99.99 % บริษัท ทรู มูฟ จํากัด 82.76 % (ชื่อเดิมบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด)

ธุรกิจบริการ โครงขายมัลติมีเดีย และบริการบรอดแบนด

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 90.45 %

ธุรกิจบริการสื่อสารขอมูล

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 90.45 %

ธุรกิจบริการอินเตอรเน็ต

หมายเหตุ : บริษัทที่ไมมีกิจกรรมทางธุรกิจ กลุมที่จดทะเบียนในประเทศไทย ไดแก กลุมที่จดทะเบียนในตางประเทศ ไดแก

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด 99.99 % บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด 65.00 % บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด 82.03 % บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด 70.00 % บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด 40.96 % (เปนรอยละของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียง)

บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด (99.99 %), บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) (89.99 %) ,บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (99.99 %) บริษัท เทเลคอมอีควิปเมนท แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด (59.99 %), บริษัท สองดาว จํากัด (82.80 %) Telecom International China Co., Ltd.(99.99 %), TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (99.99%),Telecom Asia (China) Co.,Ltd.(99.99 %), K.I.N. (Thailand) Co., Ltd.(99.99%), Chongqing Communication Equipment Co.,Ltd. (38.21 %)

ธุรกิจอื่น ธุรกิจการกอสรางและจัดจําหนาย บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด 87.50 % ธุรกิจใหเชา บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด 99.99 % บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนต จํากัด 99.99 % ธุรกิจลงทุน บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 99.99 % บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) 82.86 % บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด 99.99 % Nilubon Co., Ltd. (foreign company) 99.99 % ธุรกิจอื่นๆ บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด 99.99 % บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด 10.76 % บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด 99.99 % (ชื่อเดิม บริษัท ที เพย จํากัด) บริษัท ทรูไลฟสไตล รีเทล จํากัด 99.99 % (ชื่อเดิม บริษัท ใยแกว จํากัด) บริษัท ทรู ทัช จํากัด 99.99 % (ชื่อเดิม บริษัท ยูเน็ต จํากัด) บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด 82.70 % (ชื่อเดิม บริษัท ทีเอ ออเรนจ รีเทล จํากัด) บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี จํากัด 20.00 % บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น(ประเทศไทย) จํากัด 9.62 % บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 40.59 %

14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ ภายใตสัญญากับ ทศท และ กสท ทรู คือ ผูใหบริการโซลูชั่นดานสื่อสารครบวงจรรายหนึ่งในประเทศไทย และเปนหนึ่งใน แบรนดที่แข็งแกรงที่สุดของประเทศ ไดรับการสนับสนุนเปนอยางดีจากเครือเจริญโภคภัณฑ ซึ่งเปน กลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรที่ใหญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย (ถือหุนทรูในอัตรารอยละประมาณ 34) กลุมบริษัททรูสามารถใหบริการครอบคลุมกลุมลูกคาทั่วไป กลุมธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม รวมถึง กลุมธุรกิจขนาดใหญ ดวยบริการสื่อสารโทรคมนาคมอยางครบวงจรทั้งมีสาย และไรสาย ไดแก บริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทพื้นฐาน อินเทอรเน็ต บริการโครงขายสื่อสาร และบริการดานเนื้อหาและ ขอมูล ที่สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาแตละกลุมไดอยางเหมาะสม กลุมทรูเปนผูใหบริการ โทรศัพทพื้นฐาน บริการบรอดแบนดหรืออินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายใหญที่สุด ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล รวมทั้งเปนผูใหบริการรายใหญ ในธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ธุรกิจอินเทอรเน็ต และธุรกิจ โทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก บริษัทยอยที่สําคัญในกลุมบริษัททรู ประกอบดวย บริษัท ทรูมูฟ จํากัด (ชื่อเดิมบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด) ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญเปนอันดับที่สามของประเทศ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด ผูใหบริการอินเทอรเน็ตอันดับหนึ่งของประเทศ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ยูบีซี) ผูใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับเปนสมาชิก (1) บริการโทรศัพทพื้นฐาน และ บริการเสริม ในเดือนสิงหาคม ป 2534 บริษัทไดทําสัญญารวมการงานฯ กับ ทศท ใหบริษัทเปนผูดําเนินการ ลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจนซอมบํารุงและรักษาอุปกรณในระบบสําหรับการขยายบริการ โทรศัพทจํานวน 2 ลานเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป ตอมาได รับสิทธิใหขยายบริการโทรศัพทอีกจํานวน 6 แสนเลขหมาย บริษัทไดโอนทรัพยสินที่เปนโครงขายทั้งหมด ใหแก ทศท บริษัทไดรับรายไดจากธุรกิจบริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริมในรูปของสวนแบง รายได โดย ทศท เปนผูจัดเก็บรายไดคาบริการจากผูใชบริการ แลวจึงแบงรายไดที่จัดเก็บกอนหักคาใชจาย ใหแกบริษัทตามสัดสวนที่ไดตกลงกันตามสัญญารวมการงานฯ โดยบริษัทไดรับสวนแบงรายไดใน อัตรารอยละ 84 สําหรับโทรศัพทในสวน 2 ลานเลขหมายแรก และอัตรารอยละ 79 สําหรับโทรศัพทใน สวน 6 แสนเลขหมายที่ไดรับการจัดสรรใหดูแลเพิ่มเติมในภายหลัง ในสวนของบริการเสริมตาง ๆ ที่ บริษัทไดใหบริการอยู บริษัทไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 82 ของรายไดจากบริการเสริมนั้น ๆ ยกเว น บริ ก ารโทรศั พ ท ส าธารณะ ซึ่ งบริ ษั ท ได รั บ ส ว นแบ งรายได ในอั ต รารอ ยละ 76.5 ณ วั น ที่ 31 ธันวาคม 2548 บริษัทมีเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่ใหบริการแกลูกคาเปนจํานวนรวม 1,989,664 เลขหมาย ประกอบดวย ลูกคาบุคคลจํานวน 1,383,291 เลขหมาย และลูกคาธุรกิจจํานวน 606,373 เลขหมาย ดวย TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กลยุทธการทําการสงเสริมการขายรวมกับบริการบรอดแบนด ทําใหทรูมีผูใชบริการรายใหมเพิ่มขึ้น 45,143 เลขหมายในป 2548 อยางไรก็ตาม รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนลดลงในอัตรารอยละ 8.5 เปน 493 บาท สาเหตุจากผูใชบริการเปลี่ยนมาใชโทรศัพทเคลื่อนที่มากขึ้นอยางตอเนื่อง การใหบริการติดตั้งเลขหมายโทรศัพท ผูขอเชาเลขหมายสามารถยื่นเรื่องขอติดตั้งโทรศัพทโดยผานสํานักงานและเคานเตอรบริการ ของบริ ษั ท ที่ มี อ ยู ทั้ ง สิ้ น 77 แห ง ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ ม ณฑล หรื อ ผ านศู น ย รั บ จองทาง โทรศั พ ท (Tele Ordering) และศู น ย ข ายทางโทรศั พ ท (Telesale) รวมทั้ งสามารถติ ด ต อ ผู บ ริ ห ารงาน ลูกคา (Account Executive) และพนักงานขายโดยตรง สําหรับการใหบริการลูกคาและการรับแจงเหตุเสีย บริษัทมีศูนยบริการลูกคา (Call Center) ที่สามารถติดตอไดที่เลขหมายเดียว คือ 0-2900-9000 ทําใหงาย ตอการจดจําและสะดวกสําหรับลูกคา นอกจากนั้นลูกคาที่ตองการแจงเหตุเสีย สามารถติดตอโดยตรงได ที่ 1177 ซึ่งเปดใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง และในการแกไขเหตุเสียใหแกลูกคา บริษัทมีเขตปฏิบัติการ พื้นที่ตั้งกระจายอยูทั่วกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จํานวน 21 แหงทําใหสามารถซอมบํารุงและแกไข เหตุเสียใหแกลูกคาไดภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว เชน ภายใน 4-8 ชั่วโมง สําหรับลูกคาธุรกิจ และภายใน 24 ชั่วโมง สําหรับลูกคาบุคคล นับแตไดรับแจง ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานและรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน: โทรศัพทพื้นฐาน

จํานวนผูใชบริการ - ลูกคาธุรกิจ - ลูกคาบุคคล รายไดเฉลี่ย (Blended ARPU)

2545 2,020,402 506,600 1,513,802 572

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 2547 1,962,074 1,944,521 543,321 572,342 1,418,753 1,372,179 542 538

2548 1,989,664 606,373 1,383,291 493

การใหบริการเสริม นอกเหนื อจากโทรศัพ ท พื้ น ฐาน บริษัท ไดพั ฒ นาบริการเสริมตางๆ เพื่ อตอบสนองความ ตองการของลูกคา ซึ่งประกอบดวย •

บริการโทรศัพทสาธารณะ บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทศท เพื่อใหบริการโทรศัพท

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวน 20,000 ตู ตั้งแตป 2540 และในเดือนเมษายน ป 2545 บริษัทไดรับอนุญาตใหติดตั้งเพิ่มเติมอีกจํานวน 6,000 ตู ซึ่งรวมเปนจํานวนที่ติดตั้งแลวเสร็จทั้งสิ้น 26,000 ตู •

บริการรับฝากขอความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) บริการสนทนา 3 สาย (Conference Call) บริการโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริการเลขหมายดวน (Hot Line) บริการยอเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริการโทรซ้ําอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) และ บริการจํากัดการ โทรออก (Outgoing Call Barring)

บริการ Caller ID เปนบริการเสริมพิเศษที่แสดงหมายเลขเรียกเขา

นอกจากนั้น บริษัทยังมีบริการเสริมพิเศษตาง ๆ ดังนี้ เพื่อรองรับกลุมลูกคาประเภทธุรกิจ ที่ตองการติดตั้งโทรศัพทพื้นฐาน จํานวนมาก •

บริการตูสาขาอัตโนมัติระบบตอเขาตรง (Direct Inward Dialing:DID) เปนบริการที่ ทําใหโทรศัพทธรรมดาสามารถเรียกเขาเลขหมายภายในของตูสาขาอัตโนมัติได โดยไมตองผานพนักงานสลับสาย (Operator) จึงทําใหเลขหมายภายในทุกเลขหมาย เปรียบเสมือนสายตรง

บริการเลขหมายนําหมู (Hunting Line) เปนบริการที่จัดกลุมเลขหมายใหสามารถ เรียกเขาไดโดยใชเลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว

โครงข า ยบริ ก ารสื่ อ สารร ว มระบบดิ จิ ตั ล (Integrated Service Digital Network: ISDN) เปนบริการที่ทําใหผูใชสามารถติดตอสื่อสารกันไดหลากหลายรูปแบบทั้ง รับ-สงสัญญาณภาพ เสียง และขอมูลพรอมกันได บนคูสายเพียง 1 คูสายในเวลา เดียวกัน

บริการ Televoting เปนบริการที่ชวยใหรับสายโทรศัพทเรียกเขาที่มีระยะเวลาสั้นๆ ในจํานวนสูงมากๆ ซึ่งสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือทางการตลาดได เชน การ สํารวจความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอสินคา โทรสมัครเพื่อรับสินคาตัวอยาง เปนตน โดยไมตองลงทุนติดตั้งอุปกรณหรือโปรแกรมในการรองรับสายเรียกเขา ปริมาณสูงๆ และสามารถทราบผลหรือจํานวนการเรียกเขาไดภายในเวลา 5 วินาที

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(2)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการฟรีโฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เปนบริการพิเศษที่ผูเรียกตนทาง ไมตอง เสียคาโทรศัพททางไกลโดยผูรับปลายทางจะเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย ทั้งจากการ โทรภายในพื้นที่เดียวกันและโทรทางไกลภายในประเทศ โดยกดหมายเลข 1800 แลวตามดวยหมายเลขโทรฟรี 6 หลัก

บริการประชุมผานสายโทรศัพท (Voice Conference) สามารถจัดประชุมไดทุกที่ ทุกเวลา ผานทางสายโทรศัพท

บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) และบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (True Move)

บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) เปนธุรกิจที่อยูภายใตการดําเนินการของ บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ในขณะที่บริการ โทรศั พ ท เคลื่ อนที่ เป น ธุรกิ จที่ อยูภายใตก ารดําเนิ น งานของบริษั ท ทรูมูฟ จํากัด (ชื่อเดิ ม บริษั ท ที เอ ออเรน จ จํากั ด ) โดยบริษั ท ถื อหุ น ในสั ด ส ว นรอ ยละ 83 ผ านบริษั ท กรุงเทพอิน เตอรเทเลเทค จํากั ด (มหาชน) หรือ BITCO (2.1) บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (Personal Communication Telephone - WE PCT) บริ ษั ท ให บ ริ ก ารโทรศั พ ท พื้ น ฐานใช น อกสถานที่ WE PCT ผ านบริ ษั ท เอเซี ย ไวร เลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย (บริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99) โดยไดเปดให บริการอยางเปนทางการ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 การใหบริการ WE PCT ของบริษัท ไดดําเนินการ ภายใตสัญญากับ ทศท โดยรายไดทั้งหมดจะถูกจัดเก็บโดย ทศท และ ทศท จะแบงรายไดที่จัดเก็บกอน หักคาใชจายใหบริษัทในอัตรารอยละ 82 เนื่องจาก บริษัทไดมอบหมายให AWC ซึ่งเปนบริษัทยอยของ บริษัทดําเนินการใหบริการ PCT แกลูกคา ดังนั้น บริษัทจึงตองแบงรายไดที่ไดรับมาจาก ทศท ในอัตรา ประมาณร อ ยละ 70 ให กั บ AWC นอกจากนั้ น ทศท ก็ ส ามารถให บ ริ ก าร PCT แก ผู ที่ ใ ช ห มายเลข โทรศัพทของ ทศท ไดโดยผานโครงขาย PCT ของบริษัท ดังนั้น ทศท จึงตองแบงรายไดสวนหนึ่งที่ ทศท ไดรับจากผูใชบริการ PCT จากหมายเลขโทรศัพทของ ทศท ใหแกบริษัท เพื่อเปนเสมือนคาเชาโครงขาย โดยในสวนนี้ ทศท จะตองแบงรายไดประมาณรอยละ 80 ใหแกบริษัท โดยบริการ PCT เปนบริการที่ทําใหผูใชบริการสามารถพกพาโทรศัพทบานไปใชนอกบาน ได โดยใชเลขหมายเดียวกับโทรศัพทบาน และสามารถใชไดถึง 9 เครื่อง ตอโทรศัพทพื้นฐาน 1 เบอร ทั้งนี้บริการ PCT สามารถใชงานไดภายในเขตพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในเดือน กันยายน พีซีที ไดเปลี่ยนเปน WE PCT เพื่อสะทอนกลยุทธในการสรางชุมชนของคนที่มีความสนใจ เหมือนกัน และมีไลฟสไตลเดียวกัน ผานโปรโมชั่น โทรฟรี ภายในโครงขาย PCT TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการ WE PCT และรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน: WE PCT

จํานวนผูใชบริการ 1/ รายไดเฉลี่ย (ARPU) 1/

2545 604,340 361

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 2547 549,295 472,846 282 268

2548 469,125 318

รวมลูกคาที่ใชบริการ PCT Buddy ซึ่งเปนบริการแบบจายเงินลวงหนา

ในป 2548 บริ ษั ท นํ าเสนอแพคเกจ 300 บาท โดยลู ก ค า WE PCT สามารถโทรหากั น ใน เครือข ายพี ซีที ไดฟ รี ไมจํากัด และคิ ดค าบริก าร 3 บาทตอครั้ง สําหรับ การโทรภายในพื้น ที่เดี ยวกัน , โทรทางไกลภายในประเทศ และโทรไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งชวยใหรายไดเฉลี่ยตอเครื่องเพิ่มขึ้นและ ทําใหสามารถรักษาฐานลูกคาไวได (2.2) บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (True Move) บริษัทใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ภายใตการไดรับอนุญาตจากการสื่อสารแหงประ เทศไทย (“กสท”) จนถึงเดือนกันยายน ป 2556 โดยผานบริษัทยอย ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) ซึ่งบริษัทถือหุน รอยละ 82.86 ภายใตการไดรับอนุญาตดังกลาว ทรูมูฟจะตองจาย (1) คาเชื่อมโยงโครงขายใหแก ทศท ในอัตรา 200 บาทตอเลขหมายตอเดือนสําหรับลูกคาประเภทเหมาจายรายเดือน และรอยละ 18 ของ รายไดจากการขายบัตรเติมเงินรายเดือนกอนหักคาใชจาย และ (2) สวนแบงรายไดแก กสท ในอัตรารอย ละ 20 ของรายไดหลังหักคาเชื่อมโยงโครงขาย โดยสวนแบงรายไดจะเพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 25 ทั้งนี้ นับตั้งแตวันที่ 16 กันยายน 2549 เปนตนไปจนถึงวันที่ 15 กันยายน 2554 และจะเพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 30 จนสิ้นสุดระยะเวลาการไดรับอนุญาต ทรูมูฟ เปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญเปนอันดับสามของประเทศ โดยครองสวน แบงการตลาดประมาณรอยละ 15.1 ณ 31 ธันวาคม 2548 โดยใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ Global System for Mobile Telecommunications หรือระบบ GSM ดวยความถี่ 1800 MHz จํานวนผูใชบริการ นับตั้งแตเปดใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ จํานวนผูใชบริการของบริษัทเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ทุกป ผูใชบริการสวนใหญเปนลูกคาแบบเติมเงิน การที่รายไดสวนใหญมาจากระบบเติมเงินทําใหมี ความเสี่ยงลดลง และยังชวยลดคาใชจายเกี่ยวกับใบแจงหนี้และการรับชําระเงิน

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ และรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน (บาท): ทรูมูฟ

จํานวนผูใชบริการ แบบเติมเงิน แบบเหมาจายรายเดือน รวมจํานวนผูใชบริการ อัตราการเติบโต รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอ เดือนรวม รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอ เดือนแบบเติมเงิน รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอ เดือนแบบเหมาจายรายเดือน

2545

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 2547

2548

877,057 459,171 1,336,228 642

1,539,735 285,255 1,824,990 36.6% 508

2,927,818 452,565 3,380,383 85.2% 437

4,009,470 449,173 4,458,643 31.9% 393

486

368

348

321

763

1,016

1,030

911

บริการตางๆ ของทรูมูฟ แบบเหมาจายรายเดือน (Post Pay) บริการแบบเหมาจายรายเดือนของทรูมูฟ เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบชําระคาใชบริการ เปนรายเดือน ที่ลูกคาสามารถเลือกคาใชบริการรายเดือนไดตั้งแต 499, 500, 800 และ 1,300 บาทตอเดือน แบบเติมเงิน (Pre Pay) บริการแบบเติมเงินของทรูมูฟ เปนบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบจายเงินลวงหนา พรอมทั้ง นําเสนอชองทางการเติมเงินแบบใหม “Easy Top Up” ผานชองทางตางๆ คือ “Mobile Top Up” ซึ่งลูกคา แบบเติมเงินสามารถโอนเงินคาโทร พรอมทั้งเวลาการใชบริการจากโทรศัพทมือถือไปยังโทรศัพทมือถือ อีกเครื่องหนึ่ง หรือ “Home Top Up” ผูใชบริการแบบเติมเงินสามารถเติมเงินเขาโทรศัพทมือถือผาน โทรศัพทบานของทรู และอีกชองทาง คือ การเติมเงินผานคูคาซึ่งเปนพันธมิตรตามรานคาที่มีเครื่องหมาย “Mobile Top Up”

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการลูกคาธุรกิจ (Direct Business) ทรู มู ฟ นํ าเสนอบริก ารนี้ โดยมี ที ม ที่ ป รึก ษาจากทรู มู ฟ ที่ จ ะช ว ยหาทางออกที่ เหมาะสม สําหรับความจําเปนทางการสื่อสารในธุรกิจของลูกคาโดยเฉพาะ ซึ่งจะสามารถชวยแบงเบาภาระในสวน ของการวิเคราะหและแกปญหาเกี่ยวกับการลงทุนในการสื่อสารทางธุรกิจ และสามารถสรางโซลูชั่นทาง การสื่อสารใหตรงกับความตองการของลูกคาแตละรายไดเปนอยางดี บริการมัลติมีเดีย ทรูมูฟ นําเสนอบริการดานมัลติมีเดียที่หลากหลายเพื่อใหสอดคลองกับไลฟสไตลของลูกคาที่ ตางกันโดยลูกคาสามารถดาวนโหลด content ตาง ๆ ผานระบบ GPRS ที่เว็บทา (Web Portal) Trueworld.net โดยในป 2548 นี้ ทรูมูฟไดเสนอบริการใหม ไดแก •

"Music World" ใหบริการเพลงบนโทรศัพทเคลื่อนที่ ดวยกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อสรางชุมชนผูรักเสียงเพลง

"Voice SMS" เปนบริการรับสงขอความเสียงไปยังโทรศัพทพื้นฐานและโทรศัพท มือถือทุกเครือขายครอบคลุมทั่วประเทศไทย

“Color Mail” เปนบริการรูปแบบใหมในการสงขอความพรอมภาพแบบมัลติมีเดีย

“Mobile Chat” พบประสบการณใหมในการสื่อสารผานเครือขาย GPRS

บริการอื่นๆ ที่ทรูมูฟ ไดนําเสนอในป 2548 ไดแก •

Dual Phone: การผสมผสานระหว างระบบโทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ GSM และระบบ โทรศัพทสํานักงาน (PCT)

ซิมนานจริงๆ เหมาะสําหรับลูกคาใชนอย ถือนาน หรือเนนรับสาย

BlackBerry: เป น บริ ก ารระบบเทคโนโลยี สื่ อ สารไร ส ายที่ ต อบสนองต อ ความ ตองการขององคกรในทุกดาน ดวยนวัตกรรมดานซอฟแวรและหรือเครื่องรับที่กาวล้ํา ทันสมัย, เครือขายการจัดการ, บริการและโปรแกรมสนับสนุนตางๆ ทําใหการรับ สงเมลและขอมูลของบริษัทมีความปลอดภัยและรับอีเมลไดอยางอัตโนมัติ

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(3)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการสื่อสารขอมูลดิจิตอล

การสงผานขอมูลที่บริษัทใหบริการในปจจุบัน ประกอบดวย •

โครงข า ยข อ มู ล ดิ จิ ต อล DDN (Digital Data Network) หรื อ Leased Line เป น เครือขายสวนตัวสําหรับการรับสงขอมูลโดยเปนเสนทางสื่อสารที่เชื่อมโยงการ รับสงขอมูล ภาพและเสียงระหวางสถานที่ 2 แหง ภายใตโครงขายของบริษัท ใน อัตราความเร็วแบบคงที่ ซึ่งเหมาะกับธุรกิจหรือองคกรที่มีสาขาจํานวนมาก เชน ธนาคาร สถาบั น การเงิน ฯลฯ ที่ จะต องอาศัยการรับส งขอมูลอยางตอเนื่ องและ ถูกตองแมนยํา และมีปริมาณขอมูลเปนจํานวนมาก บริษัทมีบริการนี้ใหเลือกหลาย แบบตามความเหมาะสมกับลูกคา โดยมีความเร็วตั้งแต 64 Kbps จนถึงมากกวา 140 Mbps รวมทั้งมีการรับประกันในการบริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริษัทไดให บริการวงจร DDN แลวถึง 10,216 วงจร ทั้งนี้บริษัท และ บริษัท ทรู มัลติมีเดีย ซึ่ง เปนบริษัทยอย ไดใหบริการโครงขายขอมูลดิจิตอลในเขตกรุงเทพและปริมณฑล และในตางจังหวัด

บริการ IP Access Service (“IPAS”) เปนบริการภายใตชื่อ “Megaport” ซึ่งเปนการ ใหบริการและบริหารระบบการตอเชื่อมอินเทอรเน็ต ใหแกลูกคา ทําใหลูกคาไม ตองลงทุนในอุปกรณและบุคลากรเอง กลุมลูกคาเปาหมายของ Megaport ไดแก บริษัทผูใหบริการอินเทอรเน็ต (ISPs) บริษัทผูใหบริการดานขอมูลบนเว็บไซต และ กลุ ม ลู ก ค า ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ต อ งการ Virtual Private Network service (“VPN”) หรื อ การ เชื่อมตอระหวางสาขา

บริการโครงขายเชื่อมตออินเทอรเน็ต (Trunking Access) ใชในการรับสายโทรศัพท เขา เพื่อตอเชื่อมอินเทอรเน็ตไดครั้งละ 30 สายหรือจํานวนเทาของ 30 สาย พรอมกัน ทําใหลูกคาไมมีปญหาจากคูสายโทรศัพทขาดแคลนหรือคูสายมีจํากัดในพื้นที่ให บริการ

บริการ Metronet เปนบริการโครงขายขอมูลที่ใชเทคโนโลยี Fiber-to-the-building ซึ่งถูกออกแบบมาเฉพาะลูกคาธุรกิจ เพื่อใหมี Network Configuration ที่เรียบงาย กว า เดิ ม โดยมี Bandwidth Capacity ที่ ก ว า งขึ้ น และมี คุ ณ ภาพบริ ก ารที่ สู ง ขึ้ น Metronet สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทําธุรกิจใหแกลูกคา โดยลูกคาแตละราย สามารถสงผานขอมูลไดดวยความเร็วสูง ระหวาง 512 Kbps ถึง 1 Gbps

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการ Network Manager ซึ่ งเป น บริการเกี่ยวกั บ การบริห ารเครือขายขอมูลให ลูกคา โดยครอบคลุมถึงการลงทุนในอุปกรณ การจัดหาและวางแผนสําหรับสาขา รวมทั้งการติดตั้งเพื่อเตรียมใชงาน การเปนศูนยกลางติดตอระหวางลูกคาและผูให บริการเครือขายอื่น (ในกรณี ที่ใชเครือขายของผูประกอบการรายอื่น ) การดูแล เครือขายขอมูลลูกคาใหมีประสิทธิภาพตั้งแตตนทางจนถึงปลายทาง และรายงาน ประมวลผลประสิทธิภาพของเครือขายตลอดจนชวยวางแผนงานการใชงานใน อนาคต บริษัทไดเริ่มทดลองใหบริการนี้ในไตรมาสที่ 3 ป 2546

บริการ Mail Fax เปนบริการรับ- สงแฟกซผานทางอีเมล

บริการ MPLS VPN บริการเครือขายสวนตัวเสมือนจริง ที่ทํางานโดยใชเครือขายที่ เชื่ อ มโยงเป น เครือ ข าย WAN (Wide Area Network) แต ยังสามารถคงความเป น เครือขายเฉพาะ ดวยการนําเอาจุดเดนของ IP (Internet Protocal) ดวยความงายตอ การขยายและราคาที่ไมแพงเมื่อเปรียบเทียบกับวงจรเชา และรวมเขากับจุดเดนของ Frame Relay คื อ ความเสถี ย รและการจั ด การส งข อ มู ล ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู งกว า ทําใหมีคาใชจายคงที่ และสามารถใชงานโทรศัพทโดยไมตองเสียคาโทรทางไกล เหมาะกับองคกรที่มีสาขากระจายอยูตามที่ตาง ๆ และตองการเชื่อมตอเครือขายเขา ดวยกัน

ตารางแสดงจํานวนวงจรเชาบริการสื่อสารขอมูลดิจิตอล (DDN) และรายไดเฉลี่ยตอวงจรตอเดือน (บาท): DDN

จํานวนวงจรเชา รายไดเฉลี่ย (ARPU) (4)

2545 7,104 18,659

ณ 31 ธันวาคม 2546 2547 7,835 9,001 16,591 11,014

2548 10,216 10,411

บริการโครงขายมัลติมีเดีย และ บริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด)

ธุ รกิ จ มั ล ติ มี เดี ย ของบริษั ท ดํ าเนิ น การโดยบริษั ท ทรู มั ล ติ มี เดี ย จํากั ด (True Multimedia) “TM” ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท (ถือหุนในสัดสวนรอยละ 90.5) ซึ่งใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง และบริการมัลติมีเดียผานโครงขาย Hybrid Fiber-optic Coaxial หรือ HFC ขนาดใหญ โดยทรู มัลติมีเดีย ได รั บ อนุ ญ าตจาก ทศท ให ดํ าเนิ น การให เช าวงจรสื่ อ สั ญ ญาณความเร็ ว สู งผ านโครงข ายมั ล ติ มี เดี ย ทั่วประเทศ (ไมรวมบริการเสียง) จนถึงวันที่ 20 ตุลาคม 2560

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

24


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ทรู มัลติมีเดีย ใหบริการบรอดแบนดดวย 2 เทคโนโลยี คือ Cable Modem และ ADSL แก ผูใหบริการอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider หรือ ISP) รวมทั้ง ทรู อินเทอรเน็ต และ เอเชีย อินโฟเน็ต ซึ่งเปนบริษัทยอย ณ 31 ธันวาคม 2548 บริษัทมีผูใชบริการบรอดแบนดรวม 300,322 ราย สวนใหญเปน ลูกคาประเภท ADSL ADSL เป น บริ ก ารที่ ส ามารถเชื่ อ มต อ เข ากั บ อิ น เทอร เน็ ต อย างถาวร ลู ก ค าสามารถเลื อ ก ความเร็ว (สูงสุดถึง 4 Mbps) ใหเหมาะสมตามความตองการใชงานของลูกคาแตละราย และยังสามารถใช โทรศัพทในการติดตอสื่อสารไดในขณะเดียวกัน โครงขายโทรศัพทพื้นฐานของทรู ไดรับการออกแบบมาเพื่อใหบริการดานเสียงและขอมูล อยางมีประสิทธิภาพและในราคาประหยัด โครงขายใยแกวนําแสงของทรูสามารถรองรับเทคโนโลยีไอพี (Internet Protocol) โดยมีการใชสายเคเบิ้ลทองแดงในระยะทางสั้นๆ ราว 3-4 กิโลเมตร เพื่อคุณภาพที่ดีที่ สุดในการใหบริการดานเสียงและขอมูล คุณภาพโครงขายดังกลาวขางตน ทําใหกลุมทรูสามารถใหบริการบรอดแบนดที่มีความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพคงที่ อีกทั้งยังสามารถประหยัดคาใชจายในการติดตั้ง บํารุงรักษา และตนทุนในการ ดําเนิ น งาน เนื่องจากไมเพี ยงแตสามารถใหบริการ ADSL เทานั้ น แตยังสามารถใหบริการ ADSL2+, G.SHDSL และ Gigabit Ethernet และมีความพรอมที่จะพัฒนาไปเปนโครงขาย NGN (Next Generation Network) ซึ่งเปนเทคโนโลยี ระบบ IP ในเดือนมีนาคม 2548 กลุมทรู นําเสนอบริการ VDSL (Very High-Speed Digital Subscriber Line) ซึ่งเปนบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงตั้งแต 6 Mbps – 10 Mbps สําหรับกลุมลูกคาองคกรธุรกิจ และกลุมธุรกิจ SME ในเดือนเมษายน 2548 เปดใหบริการ Pre Pay hi-speed Internet ไฮ-สปด อินเทอรเน็ตแบบ เติมเงินครั้งแรกในประเทศไทย สามารถรับสงขอมูลไดเร็วกวาอินเทอรเน็ตธรรมดาถึง 4 เทา ดวยอัตรา คาบริการเพียงนาทีละ 0.24 บาท และคิดคาบริการตามการใชงานจริงโดยไมเสียคาบริการรายเดือน ซึ่ง นับเปนทางเลือกใหมแกลูกคาที่สะดวกและคุมคา ในป 2546 กลุมทรู และ ผูใหบริการรายอื่น เชน MKSC ไดนําเสนอบริการอินเทอรเน็ต ไร ส ายความเร็ ว สู ง หรื อ Wi-Fi (Wireless Fidelity) ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2548 กลุ ม ทรู ไ ด ข ยายจุ ด ให บริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูงกวา 2,000 จุดตามสถานที่ตางๆ เชน รานกาแฟ รานอาหาร โรงแรม โรงพยาบาล หางสรรพสินคา โรงภาพยนตร ศูนยประชุม และอาคารสํานักงาน

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

25


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(5)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการอินเทอรเน็ต Content และ Application

บริษัทดําเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ตโดยผานบริษัทยอย (1) บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (“AI”) ซึ่งบริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 65 ไดรับอนุญาตจาก กสท ใหดําเนินธุรกิจการใหบริการ อินเทอรเน็ตเชิงพาณิชยแกผูใชบริการทั่วประเทศ และ (2) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด "True Internet" ซึ่งบริษัทถือหุ น ในสัดส วนรอยละ 99.99 ในเดือนกัน ยายน 2548 ทรู อิน เทอรเน็ ต ไดรับอนุญ าตจาก กทช. ในการใหบริการอินเทอรเน็ตแบบที่ 1 โดยมีผลตั้งแตวันที่ 18 สิงหาคม 2548 เปนตนไป กลุมทรู ยังคงเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตอันดับหนึ่งของประเทศ ดวยจํานวนผูใชบริการรวม 716,703 ราย ณ สิ้ น ป 2548 ซึ่ งลดลงจาก 1.2 ล านราย ณ สิ้ น ป 2547 ทั้ งนี้ เป น ผลมาจากการที่ ลู ก ค าประเภท Dial-up เปลี่ยนมาใชบริการบรอดแบนด และสวนหนึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการคํานวณจํานวนผูใช บริการ Dial-up ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ต: อินเทอรเน็ต

จํานวนผูใชบริการ

2545 344,618

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 2547 652,726 1,231,344

2548 716,703*

* ลดลงเนื่องจากลูกคาประเภท Dial-up เปลี่ยนมาใชบริการบรอดแบนด และสวนหนึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการคํานวณจํานวน ผูใชบริการ Dial-up

การใหบริการ กลุมทรูเล็งเห็นถึงศักยภาพในการสรางความเติบโตแกบริการอินเทอรเน็ต บริษัทจึงไดนํา เสนอบริการตางๆ เกี่ยวกับธุรกิจอินเทอรเน็ต ไดแก Internet access, Internet content and applications, web page development, portal และบริการใหคําปรึกษาดาน eCommerce บริการเชื่อมตออินเทอรเน็ต บริษัทนําเสนอบริการอินเทอรเน็ตแบบ Dial-up และบรอดแบนด รวมทั้ง ฟรีอีเมล และบริการ Web page hosting สําหรับลูกคาทั่วไปที่อยูในเขตกรุงเทพมหานครและตามจังหวัด ใหญทั่วประเทศ โดยเชื่อมตอผานโมเด็มที่ความเร็ว 56 Kbps. ถึง 4 Mbps สําหรับลูกคาทั่วไป และ 6 - 10 Mbps สําหรับลูกคาธุรกิจ

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

26


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการเชื่อมตออินเทอรเน็ตเฉพาะลูกคาธุรกิจ บริษัทไดใหบริการอีคอมเมิรซสําหรับลูกคาที่เปนบริษัท หรือสถาบันดวยบริการเกี่ยวกับเว็บไซตอยางครบวงจร นับตั้งแต การออกแบบ การสราง และการรับฝาก เว็บไซต เปนตน ในเดือนพฤษภาคม 2547 ไดรวมทุนในบริษัทที่มีการจัดตั้งใหมชื่อ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด เพื่อเปดใหบริการ Internet Data Center รวมทั้งบริการอื่นที่เกี่ยวของกับบริการ อินเทอรเน็ต ทําใหทรูสามารถใหบริการอินเทอรเน็ตแกลูกคาประเภทธุรกิจไดอยางครบวงจร พอรทัล สําหรับ ขอมูล บริษัทเปดตัว ทรู เวิรลด ดอท เน็ต (Trueworld.net) ศูนยรวมบริการคอนเทนท มัลติมีเดีย อาทิ ดนตรี กีฬา ขาวสาร และสาระบันเทิงอื่นๆ NC True ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนระหวางบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัท NC Soft จํากัด ผูนําในการพัฒนาและผูผลิตเกมออนไลนชั้นนําระดับโลกจากประเทศเกาหลี เปดตัวเกมออนไลน ชื่อ “Lineage II” ซึ่งเปนเกมออนไลนประเภท 3D Massive Multiplayer Online Role Playing Game (MMORPG) ในป 2548 บริการดาน Application บริษัทนําเสนอ applications ตางๆ ที่สนับสนุนการใชบริการอินเทอรเน็ตใหมี ความปลอดภัย รวมทั้งใหบริการดาวนโหลดซอฟทแวรตางๆ บริษัทเปดบริการ White Net เพื่อกลั่นกรอง สื่ อ ที่ ไ ม เหมาะสมสํ าหรั บ เยาวชนบนอิ น เทอรเน็ ต บริ ษั ท มี แ ผนที่ จ ะเป ด บริก าร email filtering เพื่ อ กลั่นกรองอีเมล และโปรแกรมปองกันไวรัส (6)

บริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกระบบเคเบิ้ลทีวี

บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ ยูบีซี ซึ่งเปนบริษัทรวม เปน ผูให บ ริก ารโทรทั ศน แ บบบอกรับ สมาชิก ระบบเคเบิ้ ลที วี ไดเชาใชชองสั ญ ญาณโครงขายมัลติมีเดี ย ความเร็วสูง (HFC) ของ ทรู มัลติมีเดีย เพื่อแพรภาพรายการตางๆ ของยูบีซี ไปยังสมาชิก ดวยจํานวน ชองสัญญาณอนาล็อค 35 ชอง บริษัทดําเนินการวางขายสายจากโครงขาย HFC ไปยังบานผูใชบริการซึ่ง เป น สมาชิ ก ยูบี ซี รวมทั้ งติด ตั้ งและบํ ารุงรัก ษากล อ งรับ สั ญ ญาณ ณ 31 ธัน วาคม 2548 บริษั ท มี ผู ใช บริการรวม 483,816 ราย (7)

บริการอื่นๆ

นอกเหนือจากธุรกิจหลักดังกลาวแลว บริษัทยังไดเปดใหบริการอื่นๆ เชน บริการเชารถยนต และอาคาร บริการติดตั้งโครงขายโทรคมนาคม บริการดานการดูแลลูกคา (Call Center) เปนตน

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

27


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3.2 การตลาด บริษัทมีเปาหมายที่จะใหบริการโทรคมนาคมตางๆ ในลักษณะที่เปน Solution ที่เหมาะสม ตามความต อ งการของลู ก ค า แต ล ะประเภท โดยการ นํ าเสนอบริ ก ารในกลุ ม ไปด ว ยกั น (Products Bundling) เพื่อใหเปนบริการที่ครบวงจรสําหรับลูกคา โดยบริษัทเชื่อวา กระแสความตองการของบริการ ที่มีทั้งโทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพทไรสาย ขอมูล อินเทอรเน็ต และ มัลติมีเดีย ที่รวมอยูในบริการเดียวจะมี ปริมาณสูงขึ้นในอนาคต นอกจากนั้นบริษัทจะมุงเนนการตอบสนองความตองการของลูกคา (Customer Centric) และเพิ่มชองทางการจําหนาย โดยในป 2548 บริษัทไดใหบริการตางๆ เหลานี้ สํ า หรั บ ลู ก ค า ทั่ ว ไป ทรู เ ป ด ตั ว บริ ก าร Cyber Home ซึ่ ง ประกอบด ว ย ระบบ Home Monitoring ซึ่งเจาของบานสามารถชมภาพและรับรูความเคลื่อนไหวตาง ๆ ภายในบานผานเครือขาย อินเทอรเน็ตความเร็วสูง ระบบ Home Automation สั่งการเปด-ปดอุปกรณไฟฟาอัตโนมัติ ระบบ Home Security ระบบรักษาความปลอดภัยภายในบานซึ่งสามารถแจงเตือนโดยอัตโนมัติ รวมทั้งระบบ Home Communication เสนออัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐานราคาพิเศษ โดยสามารถศึกษารายละเอียดตาง ๆ ของบริการ Cyber Home ไดจาก www.truecyberhome.com ซึ่งภายในเวปไซตดังกลาวยังมีบริการทาง การเงินที่จะลิงคไปยังพันธมิตรของทรู ซึ่งเปนบริษัทผูพัฒนาบานจัดสรรหรือคอนโดมิเนียมชั้นนําตาง ๆ อีกดวย นอกจากนี้ ทรูยังเปดบริการ “True Delivery” เพื่อใหผูบริโภคและลูกคาธุรกิจสามารถสั่งซื้อ ผลิตภัณฑและบริการของกลุมทรูตลอด 24 ชั่วโมงในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยผานหมาย เลขโทรศัพท 02-900-8000 หรือ www.truecorp.co.th กลุมทรูเปนผูวางระบบเครือขายและเทคโนโลยีดานไอพี นํา IP Telephony มาสรางสรรค สยามพารากอนให เป น ไอพี ค อมเพล็ ก ซ แ ห งแรกของเมื อ งไทย ปู ท างสู ก ารสร างสมารท ช็ อ ป ด ว ย เทคโนโลยีสื่อสารครบวงจรที่อํานวยความสะดวกรานคาตางๆ ในหางสรรพสิน คา และคอมเพล็กซ ขนาดใหญ นอกจากนี้ กลุมทรูยังไดรวมมือกับบริษัท โอเชี่ยนนิส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ผูดําเนิน กิจการพิ พิ ธภัณ ฑ สั ตวน้ํ า สรางมิ ติ ใหม แ ห งการเรียนรู โดยเป น ผูว างระบบเทคโนโลยีสื่ อ สารตางๆ ภายในสยามโอเชี่ยนเวิรล พิพิธภัณฑสัตวน้ําใหญที่สุดในประเทศไทย ซึ่งตั้งอยูที่สยามพารากอน เพื่อ เชื่อมโยงและเสริมกระบวนการเรียนรูวิถีชีวิตใตทองทะเลดวยคอนเทนทมัลติมีเดีย สําหรับลูกคา SME ทรูไดนําเสนอ “Dual Phone” ระบบโทรศัพทนวัตกรรมใหม ซึ่งเปนการ รวมขอดีของโทรศัพทมือถือระบบ GSM และโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) เขาเปนสอง ระบบในเครื่องเดียว ซึ่งใหทั้งความประหยัดและความสะดวกสบายโดยไมพลาดการติดตอ

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

28


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูรวมกับบริษัท ซีเมนส จํากัด (ประเทศไทย) ผูนําดานอุปกรณสื่อสาร เสนอโซลูชั่นสําหรับ องคการธุรกิจขนาดใหญ ผสานโทรศัพทพื้ น ฐานของทรูเขากับระบบสื่อสารอัน ทัน สมัยของซีเมนส สําหรับลูกคาองคกรที่ตองการใชบริการสื่อสารผานโทรศัพทพื้นฐาน นอกจากนี้ กลุมทรูยังมีบริการ Managed Network Services ซึ่งเปนการบริหารจัดการระบบ เครือขายแบบเบ็ดเสร็จ พรอมใหบริการองคกรธุรกิจขนาดใหญ โดยไดรับความไววางใจจากกลุมบริษัท สามมิตร มอเตอร จํากัด ใหออกแบบติดตั้ง บริหารจัดการ ดูแล และซอมบํารุงระบบเครือขายทั้งหมด โดยทีมงานจากบริษัททรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร ซึ่งเปนบริษัทยอยในกลุมบริษัททรู นอกเหนือจากนั้น กลุมทรูยังมียุทธศาสตรหลัก สําหรับธุรกิจบรอดแบนด และทรูมูฟ ดังตอไปนี้ ยุทธศาสตรสําหรับธุรกิจบรอดแบนด รักษาความเปนผูนําตลาดดานความเร็ว ในป 2548 ทรูไดนําเสนอบริการใหม ๆ เพื่อรักษาความเปนผูนําตลาดดานความเร็ว ในเดือน มีนาคม ทรู เปดตัวบริการ VDSL อินเทอรเน็ตความเร็วสูงสําหรับ กลุมลูกคาองคกรธุรกิจ และกลุมธุรกิจ SME ดวยแพ็คเกจซึ่งเหมาะกับขนาดของธุรกิจ โดยมีความเร็วตั้งแต 6 ถึง 10 Mbps. ในเดือนกรกฎาคม เราได เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพโครงข า ยอิ น เทอร เน็ ต โดยเพิ่ ม ความเร็ว เป น 10 Gpbs. ซึ่ งเป น โครงข า ยที่ มี ความเร็วสู งที่ สุด ในประเทศไทย นอกจากนี้ ยังมี พั ฒ นาการเพื่ อวางเครือขาย NGN (Next Generation Network) ทั้งนี้เพื่อใหบริการโทรศัพทพื้นฐานระบบ IP Phone รวมทั้งการขยายบริการไปยังตางจังหวัด อีกดวย โปรโมชั่นจูงใจเพื่อเพิ่มจํานวนผูใชบริการ ในระหวางป มีการทําโปรโมชั่นเพื่อเพิ่มจํานวนผูใชบริการบรอดแบนดอินเทอรเน็ตสําหรับ ลูกคาทั่วไปอยางตอเนื่อง ในเดือนเมษายน ทรูออกโปรโมชั่นพิเศษ ฟรีคาบริการบรอดแบนดสองเดือน แรก และเปดตัว Pre Pay hi-speed Internet ไฮ-สปด อินเทอรเน็ตแบบเติมเงินครั้งแรกในประเทศไทย ใน ไตรมาส 3 ทรูไดนําเสนอบริการบรอดแบนดสําหรับผูสมัครใชบริการรายใหม ดวยโปรโมชั่นพิเศษ หมายเลขโทรศัพทพื้นฐานพรอมโมเด็มความเร็วสูงในราคา 1 บาทและโทรฟรีจากทรูมูฟในชวงเวลา Off-peak (ชวงเวลาที่มีผูใชนอย) ซึ่งเปนสิทธิพิเศษจากแคมเปญ All Together Bonus สําหรับลูกคาที่ใช บริการตางๆ ภายในกลุมบริษัททรู โดยสามารถนําคาบริการมาแลกเปนคาโทรจากทรูมูฟ

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

29


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กระตุนการใชดวยบริการคอนเทนทที่หลากหลาย ในเดื อ นกั น ยายน ทรูเป ด ตั ว เว็ บ ไซต พ อรท อลที่ มี ชื่ อ ว า Trueworld.net ซึ่ งเป น ศู น ย ร วม บริการคอนเทนทมัลติมีเดียที่มีความหลากหลาย อาทิ ดนตรี เกม (รวมทั้งเกมออนไลน Lineage II) กีฬา e-book และรายการทางโทรทัศน ซึ่งคอนเทนทตางๆ นี้ตางก็ชวยกระตุนการใชบริการบรอดแบนดให เพิ่มสูงขึ้น จุดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสาย (Wi-Fi Hotspot) ในระหวางป ทรูไดขยายจํานวนจุดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสายเพิ่มขึ้นเปน 2,000 จุด และยังคงรักษาตําแหนงความเปนผูนําตลาด และเปนผูใหบริการ Wi-Fi ที่มีจุดใหบริการมากที่ สุดในประเทศไทย ยิ่งไปกวานั้นยังมีการนําเสนอแพ็คเกจ Wi-Fi ใหกับผูใชบริการบรอดแบนดอีกดวย อื่นๆ นอกจากนี้ทรูยังไดเปดตัว True Café และ True Station ไลฟสไตลอินเทอรเน็ตคาเฟรูปแบบ ใหมในสถานีรถไฟฟาใตดิน ทรูจับมือกับบริษัทผูพัฒนาอสังหาริมทรัพยนําเสนอบริการ Cyber Home ซึ่ ง เป น บริ ก ารบรอดแบรนด ภ ายในที่ พั ก อาศั ย พร อ มเสริ ม พิ เศษที่ ร วมเอาบริ ก าร White Net เพื่ อ กลั่นกรองและสกัดจับภาพและสื่อที่ไมเหมาะสําหรับเยาวชนบนอินเทอรเน็ต และโปรแกรม Norton Anti-Virus ซึ่งสามารถตรวจจับและกําจัดไวรัสแบบอัตโนมัติเขาไวดวยกัน อีกทั้งยังมีการเปดตัวบริการ ประชุมทางไกลผานระบบ Video Conferencing สําหรับลูกคา SME และองคกรธุรกิจขนาดใหญ ยุทธศาสตรสําหรับทรูมูฟ รักษาตําแหนง ผูใหบริการที่ ‘คุมคา คุมราคา’ ทรูมูฟสรางความแตกตางดวยการมอบบริการ ‘คุมคา คุมราคา’ โดยการประสานผลิตภัณฑ และบริการภายในกลุม บริษั ท ทรูเข าด วยกัน ผนวกเขากับ บริการคอนเทนทที่ มีทั้ งคุณ ภาพและความ หลากหลาย ซึ่งทั้งหมดนี้คือสวนที่เสริมความแข็งแกรงใหกับทรู การรวมผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก ารภายในกลุ ม บริ ษั ท เข าด ว ยกั น ทํ า ให ท รู มู ฟ สามารถเพิ่ ม สวนแบงการตลาด โดยมีความสามารถในการแขงขันไมเพียงแตคุมคาเทานั้น แตยังสามารถรักษาฐาน ลูกคาไดดียิ่งขึ้นอีกดวย การที่ผูใชบริการ ใชบริการภายในกลุมบริษัทมากขึ้น การจะเปลี่ยนไปใชบริการ จากผูใหบริการรายอื่นๆ ก็ยิ่งนอยลง นอกจากนี้ ทรูยังมอบสิทธิประโยชนโทรฟรีจากทรูมูฟใหกับลูกคา ที่ ใ ช บ ริ ก ารต างๆ ของกลุ ม บริ ษั ท ทรู จากแคมเปญ All Together Bonus ซึ่ งเป ด ตั ว ครั้ ง แรกในเดื อ น TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

30


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เมษายน 2547 All Together Bonus มีสวนสําคัญในการเพิ่มจํานวนผูใชบริการ และรักษาฐานลูกคา อีกทั้ง ยังทําใหทรูบริหารการใชโครงขายไดมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (ทั้งนี้เนื่องจากสิทธิพิเศษโทรฟรีนี้คือการ โทรในชวงที่โครงขายมีการใชงานนอย) ความเติบโตในบริการดาน Non-Voice อื่นๆ ทรูมูฟเปนผูนําในตลาด ในบริการดานคอนเทนท โดยผูใชบริการสวนใหญคือคนรุนใหม ซึ่ง นิยมบริการและเทคโนโลยีอันทันสมัย รายไดจากบริการดาน Non-voice เติบโตในอัตรารอยละ 136.2 ในป 2548 โดยมีผูใชบริการ GPRS เพิ่มขึ้นเกือบ 2 เทา ยิ่งไปกวานั้นในชวง 1 ปแรกที่เปดใหบริการเสียง รอสาย หรื อ Ring Back Tone มี ผู ส มั ค รใช บ ริ ก ารถึ ง 970,000 ราย ขณะนี้ ท รู มู ฟ มี ค วามพร อ มก าวสู อนาคต โดยธุรกิจ Non-voice ที่จะสรางรายไดใหกับทรูนั้นคือคอนเทนทจากธุรกิจบรอดแบนด และ คอนเทนทจากยูบีซี ซึ่งเปนคอนเทนทที่มีทั้งคุณภาพและความหลากหลาย อํานวยความสะดวกในการชําระคาบริการ กลุมทรูนําเสนอบริการการเงินผานโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่ออํานวยความสะดวกใหลูกคา ดวย การเปดตัวบริษัท ทรู มันนี่ เพื่อดําเนินธุรกิจใหบริการบัตรเงินสดอิเล็กทรอนิกส เพื่ออํานวยความสะดวก ในการทําธุรกรรมทางการเงินตางๆ ผาน “บัตรเงินสดโมบายมันนี่ แคช การด” เพื่อใชแทนเงินสดสําหรับ ผูใชบริการทรูมูฟ รวมทั้งผลิตภัณฑและบริการตางๆ จากกลุมทรู การพัฒนาและขยายโครงขาย ในป 2548 ทรูไดเพิ่มขีดความสามารถของโครงขายอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เพื่อรองรับจํานวนผูใช บริการที่เพิ่ มขึ้น อยางไม ห ยุดยั้ง รวมทั้ งขยายพื้ น ที่ ให บริการเพื่ อครอบคลุมมากยิ่งขึ้ น ณ สิ้น ป 2548 ทรู มู ฟ มี ขี ด ความสามารถในการให บ ริ ก ารลู ก ค าประมาณ 5.6 ล า นเลขหมาย โดยในกลางป 2549 เราคาดวาจะสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการใหบริการลูกคาไดประมาณ 6 ลานเลขหมาย และครอบคลุม พื้ น ที่ใหบริการไดในอัตรารอยละ 92 การเพิ่มขีดความสามารถและขยายพื้ น ที่ ใหบริการดังกลาว จะ เอื้ออํานวยใหทรูมูฟสามารถขยายจํานวนผูใชบริการทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งใน ตางจังหวัดไดมากยิ่งขึ้น ในระหวางป ทรูมูฟไดทําสัญญามูลคากวา 133 ลานดอลลารสหรัฐ กับบริษัทอัลคาเทล เพื่อ ขยายและเครือ ข ายโทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ GSM/GPRS ที่ มี อ ยู ในป จ จุ บั น รวมทั้ งการปรั บ ปรุงเครื อ ข าย ดังกลาวใหสามารถรองรับเทคโนโลยี EDGE และพัฒนาไปสูเทคโนโลยี 3G/UMTS ไดในอนาคต

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

31


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3.3 การจําหนายเเละชองทางการจําหนาย บริษัทไดแบงทีมขาย ออกเปน 3 สวน คือ กลุมลูกคาบุคคล กลุม SME และ กลุมลูกคาองคกร ธุรกิจ เพื่อใหเขาถึงกลุมลูกคาบุคคล บริษัทไดเปดศูนยบริการ จํานวน 77 แหงในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จํานวน 39 แหงในตางจังหวัด โดยในแตละศูนยบริการจะมีเจาหนาที่พรอมใหคําแนะนํา แบบ one-stop shopping ในแห งเดีย ว เกี่ ย วกับ บริก ารสื่ อ สารทั้ งแบบมี ส ายและไรส าย รวมทั้ งสิ น ค า โทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ PCT โทรศัพทเคลื่อนที่ และอุปกรณอื่นๆ รวมทั้ง โมเด็ม ADSL ซึ่งในศูนยบริการใหญจะมีการใหบริการอินเทอรเน็ตดวย นอกจากนี้บริษัทยังไดจําหนาย สิน คาและบริการผานตัวแทนจําหน ายทั่วประเทศ ทั้งที่ เป น Dealer Shop และตัวแทนจําหน ายอิสระ นอกจากนั้ น บริษั ทยังเป ดศู น ยรับ จองทางโทรศัพ ท (Tele Ordering) ซึ่งเป น ชองทางที่ ลูก คาสามารถ โทรศัพทเขามาเพื่อขอใชบริการไดโดยตรง บริษัทมีทีมขาย (Account Executive/ Account Manager) ผูบริหารงานลูกคา ที่มีความเชี่ยวชาญ ในการเขาถึงความตองการของลูกคาตามแตละธุรกิจไดเปนอยางดี และเนนความสัมพันธอันดีกับลูกคา แบบตอเนื่องในระยะยาว นอกจากนี้ บริษัทยังมีพนักงานขายตรงเพื่ออํานวยความสะดวกในการให บริการแกลูกคา SME และลูกคาองคกรธุรกิจ 3.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการใหบริการของโครงขาย บริษัทเชื่อวาความสามารถในการใหบริการของโครงขายของบริษัทเปนจุดเดนที่สําคัญใน การใหบริการของบริษัท กลาวคือ บริษัทมีโครงขายเคเบิ้ลใยแกวนําแสงที่ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการและ เขาถึงผูใชบริการไดอยางทั่วถึง โดยมีสวนประกอบที่เปนสายทองแดงเปนระยะทางสั้นๆ ทําใหสามารถ สงสัญญาณ เสียง ภาพ หรือ ขอมูล ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การออกแบบโครงขายของบริษัท ในลักษณะใยแมงมุม ยังสามารถขจัดปญหาที่ผูใชบริการไมสามารถใชโทรศัพทไดอันเนื่องจากการที่สาย โทรศัพทหรือเสนทางในการติดตอถูกตัดขาดเพราะอุบัติเหตุ หรือดวยเหตุอื่นใดโดยทําใหบริษัทสามารถ เลือกใชเสนทางอื่นทดแทนเสนทางที่ตองผานจุดที่เกิดเหตุเสียนั้นได แหลงที่มาของผลิตภัณฑและบริการ บริ ษั ท ได สั่ งซื้ อ อุ ป กรณ โ ครงข ายโทรคมนาคมจากผู ผ ลิ ต อุ ป กรณ ชั้ น นํ าของโลก ได แ ก Siemens Alcatel Lucent NEC และ Huawei นอกจากนั้นมีผูรับเหมาจํานวนมากในการจัดหาและติดตั้ง โครงขายของบริษัท ซึ่งบริษัทไมไดมีการพึ่งพิง ผูจัดจําหนายหรือผูรับเหมารายใดเปนการเฉพาะ และ บริษัทไมมีปญหาในการจัดหาผูจัดจําหนายและผูรับเหมาเนื่องจากมีจํานวนมากราย

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

32


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การสนับสนุนทางดานเทคนิคและการบริหาร ในอดี ตบริษั ท เคยได รับ ความช วยเหลื อ ทางด านเทคนิ ค และการบริห ารจาก บริษั ท Verizon Communications, Inc (Verizon) แตหลังจากที่ Verizon ไดจําหนายเงิน ลงทุนในบริษัทไปเมื่อ กลางป 2546 ทําใหปจจุบันบริษัทไมไดรับการสนับสนุนดานเทคนิค และการบริหาร จาก Verizon อีก ตอไป อยางไรก็ตามบริษัทฯ สามารถรับถายทอดเทคโนโลยีและความรูจนสามารถบริหารงานไดเองโดย ไมตองพึ่งพาการสนับสนุนดานเทคนิคและบริหารจาก Verizon อีกแตอยางใด 3.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ณ สิ้นป 2547 ประเทศไทยมีผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานทั้งสิ้นราวรอยละ 11.0 ของประชากร ทั้งนี้จากการประมาณการณโดย ทศท โดยจํานวนผูใชบริการรวมเติบโตขึ้นจาก 5.9 ลานเลขหมายในป 2544 เปน 6.5 ล านเลขหมาย ณ สิ้ น ป 2547 ซึ่ งนั บ เป น การเติบ โตในอัตรารอยละ 3.1 ในป 2548 ทรูมี จํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานเพิ่มขึ้นจํานวน 45,143 เลขหมาย ซึ่งสวนใหญมาจากการนําเสนอ บริการโทรศัพทพื้นฐานรวมกับบริการบรอดแบนด ตาราง : เลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่มีผูใชงาน ณ 31 ธันวาคม 2547 ณ 31 ธันวาคม 2547 ผูใหบริการ ทศท* ทรู** ทีทีแอนดที* รวม

กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล 1,485,690 1,944,521 3,430,211

ตางจังหวัด

1,912,762 1,188,013 3,100,775

รวม

3,398,452 1,944,521 1,118,013 6,460,986

แหลงที่มา: * ขอมูลจาก www.tot.co.th ** ขอมูลจากบริษัท

บริการโทรศัพ ท พื้ นฐานในป จจุบัน มีผูให บริการทั้งสิ้น 3 ราย โดย ทศท เป น ผูใหบริการ โทรศั พ ท พื้ น ฐานทั้ งในกรุ งเทพมหานครกั บ ปริม ณฑล และต างจั งหวั ด เพี ย งรายเดี ย วของประเทศ สวนผูใหบริการอีก 2 ราย คือผูใหบริการที่อยูภายใตสัญญารวมการงานฯ ของ ทศท โดยทรูเปนผูให บริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และบริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน) เปนผูใหบริการใน

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

33


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตางจังหวัด ณ สิ้นป 2547 บริษัทมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 56.7 สําหรับเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ทั้งนี้คิดจากจํานวนผูใชบริการ ในระยะเวลาไมกี่ปที่ผานมา ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทไดรับผลกระทบจากบริการ อื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้เนื่องจากโทรศัพทเคลื่อนที่ใชงานไดสะดวกกวา และมีบริการเสริมตางๆ มากกวา อีกทั้งยังมีการพัฒนาคุณภาพการใชงานและมีการลดอัตราคาบริการ ลงมาถูกกวาอัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐาน โดยในไตรมาส 2 ของป 2548 ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ต างนํ าเสนอโปรโมชั่ น โดยมี ก ารแขงขั น ดานราคาอยางรุน แรง ส งผลให ผูบ ริโภคหั น ไปใช บ ริก าร โทรศัพทเคลื่อนที่มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทยังเผชิญกับการแขงขัน จากบริการ VoIP ซึ่งมี คาบริการถูกกวา เนื่ องจากในป จจุบั น มีการใชอิน เทอรเน็ ตและเครื่องคอมพิ วเตอร อยางแพรห ลาย บริษัทจึงคาดวา ผูบริโภคจะหันมาใชบริการ VoIP มากยิ่งขึ้น อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน คณะกรรมการ กทช. ไดออกใบอนุญาต VoIP สําหรับบริการระหวางเครื่องคอมพิวเตอรกับเครื่องคอมพิวเตอร และ เครื่องคอมพิวเตอรกับโทรศัพทเทานั้น โดยยังไมอนุญาตบริการโทรศัพทไปยังเครื่องคอมพิวเตอร และ บริการระหวางโทรศัพทกับโทรศัพท บริษัทคาดวาจะเปดใหบริการ VoIP ดวยเชนกัน ทั้งนี้ภายหลังจาก ที่ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. นอกจากนั้น นับตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2546 ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานยังไดรับอนุญาตให จัดโปรโมชั่นพิเศษสําหรับลูกคา โดยการลดอัตราคาบริการสําหรับการโทรทางไกลตางจังหวัดและการ โทรไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ และนับตั้งแตตนป 2547 ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานไดรับอนุญาตใหจัด โปรโมชั่นเปนระยะเวลา 6 เดือน โดยมีอัตราคาบริการแบบยืดหยุน และมีอัตราคาบริการตามโปรโมชั่น กอนเปนเพดานสูงสุด ซึ่งโปรโมชั่นนี้จะสิ้นสุดลงในปลายป 2549 นอกจากนั้นผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ยังมีการนําเสนอบริการเสริมพิเศษตางๆ อาทิ บริการ Caller ID ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา ไดมากยิ่งขึ้น ซึ่งทั้งหมดนี้มีสวนชวยใหบริการโทรศัพทพื้นฐานมีความสามารถในการแขงขันเพิ่มขึ้น ถึงแมจะตองแขงขันกับโทรศัพทเคลื่อนที่ อยางไรก็ตาม การเปดเสรีกิจการโทรคมนาคม อาจสงผลใหมี ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหมๆ เกิดขึ้น ซึ่งจะทําใหมีการแขงขันเพิ่มมากยิ่งขึ้น ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่และธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (PCT) ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศไทยมีการเติบโตอยางรวดเร็วในระยะเวลา 2 – 3 ปที่ผานมา จากการประเมินของสหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ (International Telecommunications Union หรือ ITU) คาดวาตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยมีจํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นจากราว 7.9 ลานราย ในป 2544 เปนราว 30 ลานราย ณ สิ้นป 2548 ทําใหมีอัตราการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากร TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

34


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

100 คน เปนอัตรารอยละ 46 ณ สิ้นป 2548 ทั้งนี้ไมรวมผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยโมบายและ ฮัทช อย างไรก็ ต าม เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ประเทศอื่ น ๆ ในภู มิ ภ าคเดี ย วกั น จะเห็ น ว าตลาด โทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยมีอัตราการใชบริการต่ํากวาประเทศอื่นๆ ดังตารางตอไปนี้ ประเทศ ฮองกง สิงคโปร เกาหลีใต มาเลเซีย ไทย ฟลิปปนส จีน อินโดนีเซีย

ณ สิ้นป 2547 อัตราการใชโทรศัพทเคลื่อนที่ 114.5% 89.1% 76.1% 57.1% 44.2% 39.9% 25.5% 13.5%

แหลงที่มา: ITU World Telecommunication Indicators Database, 2004

ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ประกอบดวย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ AIS และบริษัทดิจิตอลโฟน หรือ DPC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (มหาชน) หรือ DTAC บริษัท ทรูมูฟ ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมบริษัททรู โดยทรูถือหุนใหญ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากั ด (ซึ่ ง ให บ ริ ก ารภายใต แ บรนด “Hutch”) ทศท และ Thai Mobile (ไทย โมบาย – บริ ษั ท ร วมทุ น ระหวางกสท และ ทศท) คูแขงรายใหญที่สุด 2 ราย คือ AIS (และ DPC ซึ่งเปนบริษัทยอยที่เอไอเอสถือหุน ใหญ) และ DTAC ซึ่งมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 55.5 และ 29.4 ตามลําดับ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2548 โดยบริษัทเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับ 3 ดวยสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 15.1 (ซึ่งเพิ่มขึ้นจากรอยละ 12.8 ณ สิ้นป 2547)

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

35


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตาราง:แสดงจํานวนผูใชบริการของผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แตละรายในระยะเวลา 4 ปที่ผานมา:

เอไอเอส (AIS) ดีแทค (DTAC) ทรูมูฟ (True Move) จํานวนผูใชบริการทั้งหมด 1/ สวนแบงตลาดของทรูมูฟ

2545 10,662,500 5,454,562 1,336,228 17,453,290 7.7%

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 2547 13,239,200 15,184,000 6,550,496 7,786,165 1,824,990 3,380,383 21,614,686 26,350,548 8.4% 12.8%

2548 16,408,900 8,676,940 4,458,643 29,544,483 15.1%

แหลงที่มา: Company filings of respective mobile operators หมายเหตุ: 1/ ไมรวมฮัทชและไทยโมบาย

ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยมีการแขงขันสูง ผูใหบริการตางพยายามแขงขันเพื่อ เพิ่มสวนแบงตลาด โดยผานกิจกรรมสงเสริมการขายตางๆ รวมทั้งการเสนอคาบริการแบบเติมเงินราคา ถูกเพื่อดึงดูดผูใชบริการที่มีรายไดนอย ทั้งนี้ไดอํานวยความสะดวกในการซื้อบัตรเติมเงินโดยสามารถซื้อ ไดจากรานสะดวกซื้อตางๆ ซึ่งทําใหจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แบบเติมเงินมีจํานวนเพิ่มสูง ขึ้นมากในระหวางป 2545 – 2548 นอกจากนี้ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ยังมุงเนนสรางความเติบโตให กับบริการ Non-voice ตางๆ ซึ่งเปนผลมาจากเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่มีความสามารถในการใชงานใหมๆ และหลากหลายยิ่งขึ้น ในป 2548 ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยมีการแขงขันดานราคาอยางรุนแรง จาก การที่ทรูมูฟและคูแขงอีกหลายราย ตางแขงกันลดอัตราคาบริการในระหวางเดือนเมษายนถึงมิถุนายน 2548 ซึ่งถึงแม วาอัตราค าบริการจะเพิ่ ม สูงขึ้น หลังชวงเวลาดังกลาว แต ARPU ของทรูมู ฟ ก็ลดลงถึ ง รอยละ 10 ทั้งนี้เปนผลมาจากการแขงขันดานราคาดังที่กลาวขางตน ถึงแมตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่จะมีการแขงขันสูง แตทรูมูฟก็สามารถเพิ่มสวนแบงตลาดจาก รอยละ 12.8 ในป 2547 เปนรอยละ 15.1 ในป 2548 ซึ่งสวนหนึ่งก็เนื่องมาจากความสามารถในการนํา เสนอบริการรวมกับผลิตภัณฑและบริการอื่นๆ ภายในกลุมทรู ซึ่งเปนขอไดเปรียบ โดยไมจําเปนตอง แขงขันดานราคาแตเพียงอยางเดียว ณ สิ้นป 2548 ทรูมูฟมีผูใชบริการทั้งสิ้น 4,458,643 ราย และ WE PCT มีผูใชบริการทั้งสิ้น 469,125 ราย

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

36


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธุรกิจสื่อสารขอมูลดิจิตอล ธุรกิจสื่อสารขอมูลดิจิตอลของประเทศไทยยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมีอัตราการเติบโต ที่ประมาณรอยละ 15 - 20 ตอป เนื่องจากความนิยมในการสงขอมูลออนไลน และจํานวนผูใชบริการ อิน เทอรเน็ ตที่เพิ่ ม มากขึ้น การแข งขัน ในธุรกิจสื่ อสารขอมูลดิจิตอลยังคงสูงเนื่ องจากมีจํานวนผูให บริการหลายราย ประกอบกับ ลู กค ามีท างเลือ กเพิ่ มขึ้ น เนื่ องจากมีเทคโนโลยีใหมๆ เช น ADSL ผูให บริการสื่อสารขอมูลรายใหญในประเทศไทยประกอบดวย ทศท กสท บริษัท ยูไนเต็ด อินฟอรเมชั่น ไฮเวย จํากัด และ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี จํากัด (หรือ UCOM) บริษัท แอดวานซ ดาตา เน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (หรือ ADC) ซึ่งเปนบริษัทภายใตกลุมบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น บริษัท ทีทีแอนดที และกลุมบริษัททรู ผูใหบริการทั้งหมดขางตนนี้ใหบริการวงจรเชาหรือคูสายเชาและบริการ เฟรม รีเลย ทั้งนี้ คูแขงหลักของบริษัท ไดแก ทศท (เนื่องจากสามารถใหบริการครอบคลุมพื้นที่มากที่ สุดในประเทศไทย) และยูคอม (ซึ่งสามารถใหบริการนอกเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไดมากกวา บริษัท) นอกจากจุดแข็งจากการมีโครงขายโทรศัพทหลักที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย บริษัทยังคงเนน การสรางความแตกตางจากคูแขงดวยการมุงเนนพัฒนาคุณภาพในการใหบริการ ในป 2546 บริษัทไดเริ่ม เปดใหบริการ การบริหารจัดการเครือขายขอมูลใหแกลูกคาซึ่งครอบคลุมตั้งแตการจัดหาและสรางโครงขาย การซอมบํารุงและดูแลรักษา และการจัดการประสิทธิภาพของโครงขาย ในป 2547 นี้ ทรูไดใหบริการ โครงขายขอมูลในลักษณะเป นโซลูชั่น ที่เหมาะสมตามความตองการของลูกค าแตละราย ในป 2548 บริษัทไดนําเสนอบริการ MPLS VPN ซึ่งเปนโครงขายสวนตัวเสมือนจริง ที่ทํางานโดยใชเครือขายที่ เชื่อมโยงเปนเครือขาย WAN (Wide Area Network) แตยังสามารถคงความเปนเครือขายเฉพาะที่มีความ ปลอดภัยสูง เหมาะกับองคกรที่มีสาขากระจายอยูตามที่ตาง ๆ และตองการเชื่อมตอเครือขายเขาดวยกัน ในราคาประหยัด ธุรกิจอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) อัตราของผูใชบริการบรอดแบนดรวมตอประชากรในเมืองไทย ยังมีระดับที่ต่ํามาก ที่อัตราต่ํา กวารอยละ 1 ซึ่งยังคงเปนระดับที่ต่ํากวาประเทศที่พัฒนาแลวในแถบเอเซีย เชน เกาหลี (รอยละ 24.9) ฮ อ งกง (ร อ ยละ 20.9) ญี่ ปุ น (ร อ ยละ 14.1) และ สิ ง คโปร (ร อ ยละ 11.6) (แหล ง ที่ ม า: ITU World Telecommunication Indicators Database, 2004) จึงนับวาตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ในประเทศไทยยังมีโอกาสขยายตัวไดอีกมาก

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

37


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูใหบริการในตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีอยูหลายรายทั่วประเทศ เชน บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี่ จํากัด (UBT) ซึ่งเปนบริษัทในกลุม UCOM บริษัท เลนโซ ดาตา คอม จํากัด (ใหบริการภายใตชื่อ Q-Net) Samart, CS Loxinfo, TOT, TT&T, ADC หรือ บริษัท แอดวานซ ดาต าเน็ ท เวอรค คอมมิ ว นิ เคชั่น ส จํากัด ซึ่ งเป น บริษั ท ในกลุม ชิ น คอรป อเรชั่ น และกลุ ม บริษั ท ทรู อยางไรก็ตามมีเพียง ทศท และบริษัทเทานั้นที่เปนผูใหบริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่มี โครงขายเปนของตนเอง ซึ่งทําใหมีขอไดเปรียบผูประกอบการรายอื่น กลุมบริษัททรู สามารถเพิ่มฐานผูใชบริการบรอดแบนดจากจํานวน 3,708 ราย ณ สิ้นป 2545 มาเปน 11,661 ราย ณ สิ้นป 2546 และเพิ่มเปน 164,775 ราย ณ สิ้นป 2547 และ 300,322 ราย ณ สิ้นป 2548 โดยมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 80 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีปจจัยหลายประการที่ทํ าให จํานวนผูใชบ ริก ารอิน เทอรเน็ ตความเร็วสูง (บรอดแบนด ) เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ซึ่งประกอบดวย ราคาโมเด็มที่ถูกลง ผูบริโภคความนิยมใชบริการคอนเทนทตางๆ เพิ่ มมากขึ้น เชน เกมออนไลน ประกอบกับอัตราคาใชบริการรายเดือนของอิน เทอรเน็ตความเร็วสู ง (บรอดแบนด) ถูกลง เนื่องจากจํานวนผูใหบริการเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งภาครัฐไดสนับสนุนผานการปรับ ลดอัตราคาเชาวงจรตางประเทศลง ทําใหตนทุนของผูประกอบการลดลง ธุรกิจบริการอินเทอรเน็ต ตลาดอินเทอรเน็ตในประเทศไทยมีการเติบโตอยางเห็นไดชัดในระยะเวลา 2 – 3 ปที่ผานมา จากการประเมินของ สหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ จํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตในประเทศ ไทยเติบโตจากประมาณ 3.5 ลานราย ณ สิ้นป 2544 มาเปนประมาณ 7 ลานราย ณ สิ้นป 2547 โดยมีอัตรา การใชบริการอินเทอรเน็ตรวม ประมาณรอยละ 11.3 ของประชากรโดยรวม ซึ่งยังถือวาต่ํามากเมื่อเทียบ กับประเทศอื่น ๆ ในเอเซีย ประเทศ เกาหลีใต สิงคโปร ไตหวัน ญี่ปุน ฮองกง ไทย

ป 2547 อัตราการใชบริการอินเทอรเน็ต 65.7% 56.1% 53.8% 50.2% 48.9% 11.3%

แหลงที่มา: ITU World Telecommunication Indicators Database, 2004

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

38


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูใหบริการอินเทอรเน็ตในประเทศไทยมีจํานวนหลายราย โดยสวนหนึ่งไดรับการอนุญาต จาก กสท โดยผูใหบริการแตละรายจะตองให กสท ถือหุนจํานวนหนึ่ง และนอกจากนั้น นับตั้งแตเดือน มิถุนายน จนถึงตนเดือนกันยายน 2548 คณะกรรมการ กทช. ไดออกใบอนุญาตประกอบกิจการอินเทอรเน็ต ใหแกผูใหบริการอินเทอรเน็ตหลายราย รวมทั้ง บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท การแขงขันธุรกิจอินเทอรเน็ตเพิ่มความรุนแรงขึ้นในป 2548 เนื่องจากมีจํานวนผูใหบริการ อินเทอรเน็ตเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้บริษัทยังคาดวาการแขงขันจะเพิ่มความรุนแรงขึ้นอีก ทั้งนี้เนื่องจาก บริษัทโทรคมนาคมจะเขามาทําธุรกิจนี้มากขึ้น สําหรับบริการดานคอนเทนท บริษัทคาดวาบริษัทจะตอง เผชิญกับการแขงขันที่เพิ่มมากขึ้น จากผูใหบริการคอนเทนทที่พยายามจะสรางเว็บพอรทอลเพื่อนําเสนอ คอนเทนทของตนเอง อยางไรก็ตาม อัตราคาบริการแบบ Dial Up ยังคงตัวอยูที่ระดับประมาณ 7-9 บาท ตอชั่วโมง และอัตราคาบริการบรอดแบนดขั้นต่ําอยูที่ 500 บาทตอเดือน กลุมบริษัททรูใหบริการอินเทอรเน็ต ผานบริษัทยอยคือ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) และ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด ซึ่งเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตรายใหญที่สุดของประเทศมาตั้งแตป 2547 จากการเปนผูนําในตลาดบรอดแบนด ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2548 กลุมทรูมีผูใชบริการอินเทอรเน็ต ทั้ งสิ้ น 716,703 ราย ซึ่ งรวมผู ใช บ ริ ก ารบรอดแบนด สํ าหรับ ลู ก คาทั่ วไปด วย สํ าหรั บ ผูป ระกอบการ รายใหญ อื่ น ๆ ประกอบด ว ย บริ ษั ท CS Loxinfo บริ ษั ท KSC Internet (บริ ษั ท ได ซื้ อ หุ น ใน KSC ใน สัดสวนรอยละประมาณ 40 ในเดือนมกราคม 2549) และ บริษัท Internet Thailand ความคืบหนาดานการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม การกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทยอยูในระหวางการเปลี่ยนแปลง จากการที่ หนวยงานภาครัฐดําเนินบทบาทในฐานะผูกํากับดูแลและผูใหบริการโทรคมนาคมไปพรอม ๆ กัน ไปสู การเปดเสรีธุรกิจโทรคมนาคม ซึ่งสงผลใหเกิดการแปรสภาพจากหนวยงานภาครัฐไปเปนบริษัทเอกชน ตามข อ ตกลงที่ ป ระเทศไทยได ใ ห ไ วกั บ องค ก รการค าโลกหรื อ WTO เพื่ อ เป ด เสรี ธุ รกิ จ โทรคมนาคมไทยภายในป 2549 รัฐบาลไทยไดเริ่มดําเนินการปฏิรูปการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โดยการออกพระราชบัญญัติหลัก 2 ฉบับ อันไดแก พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับ กิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งประกาศใชในเดือนมีนาคม 2543 และ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ซึ่ ง ประกาศใช ใ นเดื อ น พฤศจิกายน 2544

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

39


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนตุลาคม 2547 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือคณะกรรมการ กทช. ไดรับการจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนองคกรอิสระในการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม ซึ่งเดิมเปนอํานาจหนาที่ ขององค ก ารโทรศัพ ท แ ห งประเทศไทย [ป จจุบั น ไดเปลี่ยนชื่อเป น บริษั ท ทศท คอรป อเรชั่น จํากั ด (มหาชน) หรื อ ทศท] และ การสื่ อ สารแห ง ประเทศไทย [ป จ จุ บั น ได เปลี่ ย นชื่ อ เป น บริ ษั ท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท] และกรมไปรษณียโทรเลข อยางไรก็ตาม ในปจจุบันยังไมมี การแตงตั้งคณะกรรมการกิ จการกระจายเสี ยงและกิจการโทรทั ศน แ ห งชาติ หรือ กสช. ซึ่ งจะเข ามา ทําหนาที่ในการกํากับดูแลกิจการวิทยุและโทรทัศนของประเทศแตอยางใด คณะกรรมการ กทช. มีวาระอยูในตําแหนง 6 ป และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว ใน วาระเริ่มแรกเมื่อครบกําหนด 3 ป ให กรรมการ กทช. ออกจากตําแหนงจํานวน 3 คน นั บ ตั้ งแต ไ ด มี ก ารจั ด ตั้ งคณะกรรมการ กทช. จนกระทั่ งถึ งปลายป 2548 คณะกรรมการ กทช.ไดออกประกาศ กฎเกณฑ ขอบังคับที่สําคัญๆ หลายฉบับ ไดแก (1) ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่องกําหนดลักษณะและประเภทของกิจการโทรคมนาคม (2) ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่องลักษณะ ของประเภทของกิจการโทรคมนาคมที่ตองไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม 3 ประเภท (3) ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อ ง หลั ก เกณฑ ก ารจั ด สรรเลขหมายโทรคมนาคมชั่ ว คราว (4) ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง คาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมชั่วคราว และ (5) ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง คาธรรมเนียมใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต ชั่วคราว นอกจากนี้ ยังมีแผนที่จะออกประกาศและขอบังคับหลายฉบับ ในป 2549 ไดแก (ราง) ประกาศ คณะกรรมการ กทช. วาดวยมาตรการคุมครองสิทธิของผูใชบริการโทรคมนาคมเกี่ยวกับขอมูลสวน บุคคล สิทธิความเปนสวนตัว และเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางโทรคมนาคม (ราง) ประกาศ คณะกรรมการ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขาย และ กฎเกณฑขอบังคับเกี่ยวกับ 3G ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ผูประกอบกิจการโทรคมนาคมทั้งหมดที่มิใชผูประกอบกิจการภายใตเงื่อนไขของสัญญา รวมการงานฯ ซึ่งประกอบกิจการในขณะที่พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคมมีผลบังคับใช จะตองไดรับใบอนุญาตแบบใดแบบหนึ่งดังตอไปนี้จากคณะกรรมการ กทช. ใบอนุญาตแบบที่หนึ่ง เปนใบอนุญาตสําหรับผูประกอบกิจการโทรคมนาคมที่มีความประสงคจะเขามา ประกอบกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทยแตไมมีโครงขายเปนของตนเอง หรือผูประกอบกิจการที่

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

40


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คณะกรรมการ กทช. เห็นวามีลักษณะสมควรใหมีการบริการไดโดยเสรี โดยคณะกรรมการ กทช. จะ ออกใบอนุญาตใหกับผูขอประกอบกิจการในลักษณะดังกลาว อันไดแก การใหบริการอินเทอรเน็ต ใบอนุ ญ าตแบบที่ ส อง เป น ใบอนุ ญ าตสํ าหรับ ผู ป ระกอบกิ จการโทรคมนาคมที่ มี ค วามประสงค จ ะ ประกอบกิจการที่มีวัตถุประสงคใหบริการจํากัดเฉพาะกลุมบุคคล หรือเปนกิจการที่คณะกรรมการ กทช. เห็นวาไมมีผลกระทบโดยนัยสําคัญตอการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม หรือตอประโยชนสาธารณะ และผูบริโภค ผูขอใบอนุญาตแบบที่สองนี้จะมีหรือไมมีโครงขายเปนของตนเองก็ได โดยคณะกรรมการ กทช. จะออกใบอนุญาตใหกับผูขอประกอบกิจการที่ไดปฏิบัติถูกตองครบถวน ตามหลักมาตรฐานที่ คณะกรรมการ กทช. ประกาศกําหนดไวลวงหนาแลว ใบอนุญาตแบบที่สาม เปนใบอนุญาตสําหรับผูประกอบกิจการโทรคมนาคมที่มีโครงขายเปนของตนเอง ซึ่งเปนการประกอบกิจการที่มีวัตถุประสงคในการใหบริการแกบุคคลทั่วไปจํานวนมาก หรือกิจการที่ คณะกรรมการ กทช. เห็นวาอาจกระทบตอประโยชนสาธารณะ หรือมีเหตุจําเปนตองคุมครองผูบริโภค เปนพิเศษ โดยคณะกรรมการ กทช. จะมีการพิจารณาวาสมควรออกใบอนุญาตใหผูขอประกอบกิจการ หรือไม นอกจากนี้ ถาเปนกิจการโทรคมนาคมที่จําเปนตองใชคลื่นความถี่วิทยุ ผูขอประกอบกิจการ จะตองไดรับใบอนุญาตใชคลื่นความถี่วิทยุดวยเชนกัน คณะกรรมการ กทช. ไดเริ่มออกใบอนุญาตใหกับผูประกอบกิจการรายอื่นๆ นอกเหนือจาก การออกใบอนุ ญ าตให กั บ ทศท และ กสท โดยในเดื อ นมิ ถุ น ายน ถึ ง กั น ยายน 2548 ตามลํ า ดั บ คณะกรรมการ กทช. ไดออกใบอนุญาตใหแกผูประกอบกิจการอินเทอรเน็ต หลายราย รวมทั้ง บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมบริษัททรู ในชวงตนเดือนสิงหาคม 2548 คณะกรรมการ กทช. ไดออกประกาศคาธรรมเนียมใบอนุญาต ประกอบกิจการโทรคมนาคมชั่วคราว ซึ่งมีการกําหนดคาธรรมเนียมสําหรับบริการโทรคมนาคม ไวดังนี้ ใบอนุญาตแบบที่หนึ่ง คาลงทะเบียน 5,000 บาท คาธรรมเนียมรายป 20,000 บาท ใบอนุญาตแบบที่สอง (ไมมีโครงขาย) คาลงทะเบียน 10,000 บาท คาธรรมเนียมรายป 25,000 บาท ใบอนุญาตแบบที่สอง (มีโครงขาย) คาลงทะเบียน 25,000 บาท คาธรรมเนียมรายป 250,000 บาท ใบอนุญาตแบบที่สาม คาลงทะเบียน 500,000 บาท คาธรรมเนียมรายปรอยละ 3 ของรายไดจากการ ดําเนินการ และคาธรรมเนียมในการตอใบอนุญาตปละ 500,000 บาท TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

41


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การจัดสรรเลขหมายใหม คณะกรรมการ กทช. ไดออกประกาศ เรื่อง หลักเกณฑการจัดสรรเลขหมายโทรคมนาคม ชั่วคราว โดยผูประกอบกิจการที่ประสงคจะขอเลขหมายใหม จะตองยื่นเอกสารเพื่อขอเลขหมายกับ คณะกรรมการ กทช. และจะตองชําระคาธรรมเนียมรายเดือน ซึ่งมีการกําหนดคาธรรมเนียมเลขหมาย โทรคมนาคมไวเปน 12 บาทตอเลขหมายตอป บริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึง (Universal Service Obligation หรือ USO) ภายใต ก ารกํ า กั บ ดู แ ลของคณะกรรมการ กทช. ผู ไ ด รั บ ใบอนุ ญ าตประกอบกิ จ การ โทรคมนาคมจัดใหมีการบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึง โดยเฉพาะอยางยิ่งแกผูที่มีรายไดนอย คนพิการ และในพื้นที่ชนบท หรือในทองที่หนึ่งทองที่ใดที่ยังมีบริการไมเพียงพอตอความตองการของ ผูใชบ ริก ารในท องที่ นั้ น หากผูไดรับ ใบอนุ ญ าตประกอบกิ จการโทรคมนาคมไม สามารถให บ ริก าร ดังกลาวนี้ได ก็จะตองถูกเก็บเงินสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 4 เขากองทุนพัฒนากิจการโทรคมนาคม เพื่อสาธารณะประโยชน โดยความรับผิดชอบในการใหบริการโทรคมนาคมพื้นฐานอยางทั่วถึงนี้ เปนหนาที่ของผูได รับใบอนุญาตแบบที่ 2 ที่มีโครงขายเปนของตนเอง และผูไดรับใบอนุญาตแบบที่สาม การจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุ คณะกรรมการ กทช. และ กสช. คือคณะกรรมการรวมผูทําหนาที่ในการจัดสรรคลื่นความถี่ วิทยุ คณะกรรมการรวมดังกลาวมีอํานาจหนาที่ในการกําหนดนโยบายเพื่อจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุและ โทรทัศน รวมไปถึงการกําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขตางๆ เพื่อใหการใชคลื่นความถี่เปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ในปจจุบันยังไมมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กสช. ดังนั้นคณะกรรมการรวม จึ ง ยั ง ไม อ าจจั ด ตั้ ง ได ด ว ยเหตุ นี้ จึ ง ยั ง ไม มี ค วามชั ด เจนในการจั ด สรรคลื่ น ความถี่ ใ หม ใ ห แ ก ผู ข อ ใบอนุญาต การแปรสัญญารวมการงานฯ คู สั ญ ญาร ว มการงานฯ ที่ เกิ ด ขึ้ น ก อ นประกาศใช พ ระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การ โทรคมนาคม สามารถเจรจาตกลงแปรสัญญารวมการงานฯ ไดโดยการยินยอมพรอมใจของคูสัญญา ทั้งสองฝาย ซึ่งในกรณี เชน นี้ คณะกรรมการ กทช. จะตองออกใบอนุญ าตที่มีขอบเขตและระยะเวลา เดียวกันกับผูประกอบกิจการที่ไดรับการแปรสัญญารวมการงานฯ (รวมทั้งเงื่อนไขอื่นๆ ที่คณะกรรมการ กทช. อาจเพิ่มเติมลงไปเพื่อประโยชนของผูใชบริการที่มีอยูเดิม หรือเพื่อคุณภาพและประสิทธิภาพของ TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

42


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริ ก ารที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง เป น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค ข อง พรบ. การประกอบกิ จ การโทรคมนาคม) โดย ใบอนุ ญ าตดั งกล าวจะตองไมขัดแยง หรือไม สอดคลองกับ พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม นอกจากนี้ พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม ยังไมไดกําหนดใหคณะกรรมการ กทช. หรือหนวยงาน ภาครัฐใด ๆ มีอํานาจหนาที่ในการแปรสัญญารวมการงานฯ ที่มีอยูเดิมไปเปนการทําสัญญาในรูปแบบ อื่นๆ เนื่องจากกลุมบริษัท ใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน มัลติมีเดีย บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ และ อินเทอรเน็ต ภายใตสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ ภายใตการไดรับอนุญาต จาก ทศท และ กสท กอนที่ พ รบ . การป ระกอบ กิ จ การโท รคมน าคมจะป ระกาศใช บ ริ ษั ท ยั ง คงมี สิ ท ธิ ที่ จะป ระกอบ กิจการโทรคมนาคมตางๆ ตอไป จนกวาสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ การไดรับอนุญาต จะสิ้นสุดลง โดยไมจําเปนตองขอใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. นอกจากนี้บริษัทยังสามารถแปรสัญญารวม การงานฯ และหรือการไดรับอนุญาตดังกลาว มาเปนใบอนุญาตใหมภายใต พรบ. การประกอบกิจการ โทรคมนาคม (ซึ่งไดรับการคุมครองทั้งโดยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ พรบ. การประกอบ กิ จก ารโท รค ม น าค ม ) ทั้ งนี้ จะต อ งเป น ก ารยิ น ยอ ม พ ร อ ม ใจระห ว า งคู สั ญ ญ า ถึ งแ ม ว า ผูมีสวนเกี่ยวของ รวมทั้งบริษัทจะไดมีการเจรจาเพื่อแปรสัญญารวมการงานฯ และหรือการไดรับอนุญาต ดังกลาว แตจนถึงปจจุบัน ก็ยังไมสามารถบรรลุถึงขอตกลง แตประการใด การแปรรูปองคการโทรศัพทแหงประเทศไทยและการสื่อสารแหงประเทศไทย จากการแปรรูปองคการโทรศัพทแหงประเทศไทยและการสื่อสารแหงประเทศไทย ซึ่งเปน รัฐวิส าหกิจ มาเป น บริษั ท มหาชน เมื่ อวัน ที่ 31 กรกฎาคม 2545 และเมื่อวัน ที่ 14 สิ งหาคม 2546 ตาม ลําดับ มีผลให ทศท และ กสท ไดรับชวงทรัพยสินและหนี้สินในธุรกิจโทรคมนาคมและกิจการอื่นๆ ที่ เกี่ยวของทั้งหมดที่เคยเปนกรรมสิทธิ์ของรัฐวิสาหกิจเดิมมากอน ตอมา ทศท และ กสท ไดรับใบอนุญาต ใหดําเนินกิจการโทรคมนาคมจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ซึ่งทําให ทศท และ กสท มีฐานะเปนเพียงผูใหบริการโทรคมนาคม โดยไมมีอํานาจหนาที่ในการกํากับดูแลอีกตอไป

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

43


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. การวิจัยและพัฒนา บริษัทมิไดมีการลงทุนในดานการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีหรืออุปกรณตาง ๆ ที่บริษัทใชในการใหบริการธุรกิจตางๆของบริษัท เนื่องจากเทคโนโลยีโครงขายและอุปกรณตาง ๆ ที่ บ ริ ษั ท ใช ในการให บ ริ ก าร เป น เทคโนโลยี แ ละอุ ป กรณ ที่ ได มี ก ารคิ ด ค น และพั ฒ นาขึ้ น จนเป น ผลิตภัณฑที่สําเร็จรูปจากผูผลิตตางๆ บริษัทจึงเลือกใชเทคโนโลยีและอุปกรณที่บริษัทเห็นวามีประสิทธิ ภาพ ทันสมัย และเหมาะสมกับลักษณะการดําเนินธุรกิจของบริษัท ดังนั้น บริษัทจึงไมมีความจําเปนที่จะ ลงทุน เองในการวิจัย และพัฒ นาเทคโนโลยีแ ละอุป กรณตางๆขึ้น มา จึงทําใหงบประมาณในดาน การวิจัยและพัฒนาของบริษัทสวนใหญเกี่ยวของกับดานการตลาด ซึ่งบริษัทไดเนน การพัฒนาการ บริการที่สอดคลองตามความตองการของผูใชบริการใหมากที่สุด ซึ่งการวิจัยและพัฒนาของบริษัทได แบงเปน 3 สวนหลัก ๆ ไดแก การวิจัยและพัฒนากิจกรรมดานการตลาด การวิจัยและพัฒนาบริการใหม และการวิจัยและพัฒนาระบบการใหบริการ โดยในระยะ 3 ปที่ผานมา บริษัทมีคาใชจายดานการวิจัย และพัฒนาเปนจํานวนเงิน ดังนี้

TRUETG: การวิจัยและพัฒนา

ป

พันบาท

2548

25,010.33

2547

29,900.71

2546

4,659.67

44


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 5.1 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ บริษัทไดจัดประเภทของทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ เปน 2 ประเภท คือ อุปกรณ โครงข ายและอุป กรณ น อกระบบโครงข ายภายใตสั ญ ญารว มการงานฯ เฉพาะทรัพ ยสิ น ที่ เกี่ยวกั บ อุปกรณโครงขาย โทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย โทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ PCT โทรศัพท เคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร และบริการอินเทอรเน็ต บริษัทและกลุมบริษัทจะตองโอนใหกับ ทศท และ กสท จากงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 กลุมบริษัทมีทรัพยสินทั้งสิ้น ดังรายการตอไปนี้ อุปกรณโครงขาย

ที่ดินและสวนปรับปรุง อาคารและสิ่งปลูกสราง อุปกรณระบบโทรศัพท อุปกรณโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ โทรศัพทสาธารณะ ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร งานระหวางทํา ยอดรวม

มูลคาตามบัญชีสุทธิ (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวม 1,848 1,848 1,036 1,036 20,224 19,587 37,659 1,321 785 703 1,919 222 222 49 54 63,742 24,771

ส ว นของอุ ป กรณ โครงข า ยในงบการเงิ น รวมที่ โ อนให ทศท และ กสท ภายใต สั ญ ญ าร ว ม การงานฯ มีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 23,913 ลานบาท และสวนของอุปกรณโครงขายในงบการเงินเฉพาะ บริษัทที่โอนให ทศท ภายใตสัญญารวมการงานฯ มีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 20,371 ลานบาท กลุมบริษัทได รับสิทธิดําเนินการและใชประโยชนจากทรัพยสินนั้นตามระยะเวลาของสัญญารวมการงานฯ บริษัทไดนํา สิทธิในการใชที่ดิน อาคารและอุปกรณที่โอนให ทศท (ตามสัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือ สัญญารวมการงานฯ) เปนหลักประกันอยางหนึ่งสําหรับเงินกูยืมที่เปนสกุลบาททั้งหมดของบริษัท สวน อุปกรณนอกระบบโครงขาย เปนกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ซึ่งกลุมบริษัทสามารถจําหนายจายโอนและ ใชประโยชนจากทรัพยสินดังกลาวได โดยมีรายละเอียดโดยสรุป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ดังนี้ อุปกรณนอกระบบโครงขาย TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

45


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ที่ดินและสวนปรับปรุง สวนปรับปรุงอาคารเชา เครื่องตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณสํานักงาน รถยนต อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร งานระหวางทํา ยอดรวม

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มูลคาตามบัญชีสุทธิ (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวม 541 1,283 68 841 214 1,756 3,557 326 255 8 8,233 616

5.2 สินทรัพยไมมีตัวตน คาความนิยม คาความนิยมเปนสวนของราคาทุนของเงินลงทุนของกลุมบริษัทในบริษัทรวมและบริษัทยอย ที่สูงกวามูลคายุติธรรมของสวนแบงสินทรัพยสุทธิของบริษัทรวมและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 คาความนิยมจากการซื้อบริษัทรวม (ยูบีซี) แสดงในงบดุลภายใตเงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการ รวมคา และบริษัทรวมมียอดรวม 2,883 ลานบาท และคาความนิยมจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย คือ บริษัท กรุงเทพอิ นเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) (“BITCO”) ซึ่งแสดงภายใตสิน ทรัพ ยไมมีตัวตน มี ยอดรวม 843 ลานบาท ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนรายจายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม คอมพิวเตอรเกินกวาประสิทธิภาพเดิมถือเปนสวนปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 สินทรัพยดังกลาว มีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 1,014 ลานบาท เครื่องหมายการคา เครื่ องหมายการคา เป น ค าตอบแทนที่ บ ริษั ท ยอยได จายให แ กผูรว มคารายอื่ น ในการใช เครื่องหมายการคาของผูรวมคารายนั้นในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 สินทรัพยดังกลาวได ตัดมูลคาจนหมดสิ้น

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

46


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และ คาสิทธิในการพาดสาย คาสิ ทธิในการให บริการเชาวงจรสื่ อสั ญ ญาณความเร็วสู ง และการพาดสายกระจาย เป น รายจายเพื่อใหไดมาซึ่งใบอนุญาตซึ่งแสดงดวยราคามูลคายุติธรรมของหุนที่ออกโดยบริษัทยอย เพื่อ เปนการแลกกับสิทธิดังกลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 372 ลานบาท รายชื่อลูกคา รายชื่อลูกคาแสดงดวยมูลคายุติธรรมของลูกคาโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งเกิดจากการซื้อสวนได เสียใน BITCO ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 สินทรัพยดังกลาวมี มูลคาตามบัญชีสุทธิ 300 ลานบาท นโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทจะดําเนินการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมสวนใหญผานทางบริษัท เทเลคอม โฮลดิ้ง จํากัด (“TH”) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทถือหุนในอัตรารอยละ 99.99 โดย TH เปนบริษัทที่ดําเนินธุรกิจ ประเภทธุรกิจเงินทุน มีวัตถุประสงคที่จะเขาลงทุนในบริษัทที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับโทรคมนาคม ซึ่งจะ เปนธุรกิจที่สนับสนุนการดําเนินงานหรือธุรกิจที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท โดย TH มีนโยบายการลง ทุ น ในลั ก ษณะที่ เป น ผู ถื อ หุ น ใหญ ใ นบริ ษั ท ที่ ล งทุ น และ/หรื อ เป น ผู ดํ า เนิ น การหรื อ บริ ห าร โครงการที่ลงทุนเอง เวนแตสภาพเงื่อนไขของธุรกิจการแขงขันนั้นๆ จะไมเอื้ออํานวยให TH ดําเนิน นโยบายดังกลาวได อนึ่ง TH สามารถลงทุนในบริษัทอื่นไดเปนจํานวนวงเงินไมเกินทุนจดทะเบียนของ TH นอกจากนั้น บริษัทไมสามารถทําการกูยืมเพิ่มเติมเพื่อลงทุนได นอกจากจะไดรับความเห็นชอบจาก เจาหนี้ของบริษัทภายใตสัญญาการปรับโครงสรางหนี้ ดังนั้น บริษัทจะไมไดรับความเสี่ยงมากไปกวาทุน จดทะเบียนของ TH และบริษัทไมมีภาระผูกพันดานการเงินใดๆ กับบริษัทยอยหรือบริษัทรวม สวนเรื่อง นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวมนั้น บริษัทไดมีการสงตัวแทนของบริษัทไปเปน กรรมการในบริษัทยอยและบริษัทรวมตามสัดสวนการถือหุนของบริษัท เพื่อคอยติดตามผลการดําเนินงาน ของบริษัทนั้นๆ อยางใกลชิด

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

47


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6. โครงการในอนาคต บริษัทและบริษัทยอยมีแผนการลงทุนในป 2549 โดยมีโครงการตาง ๆ ดังนี้ 1. ทรูมูฟ ในป 2549 ทรูมูฟ ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ มีโครงการที่ จะขยายขีดความสามารถของโครงขายในการใหบริการแกผูใชบริการใหไดประมาณ 6 ลานราย (จาก จํานวน 5.6 ลานราย ณ สิ้นป 2548) นอกจากนี้ ทรูมูฟยังมีโครงการที่จะขยายความสามารถในการให บริการครอบคลุมเปนรอยละ 92 ของประชากรทั่วประเทศในเดือนมิถุนายน ป 2549 (จากรอยละ 88 ณ สิ้นป 2548) และจะขยายขีดความสามารถในการรองรับบริการดานขอมูล (non-voice service) มากยิ่งขึ้น โดยเงินลงทุนของทรูมูฟสําหรับป 2549 จะมีจํานวนประมาณ 7 - 8 พันลานบาท 2. การขยายขีดความสามารถในการใหบริการบรอดแบนด บริษั ทยอยของบริษั ท มี โครงการที่จะเพิ่ มขีดความสามารถการให บริการของโครงขาย อินเทอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband) แกผูใชบริการ จากเดิมประมาณ 500,000 ราย เพื่อรองรับการให บริการแกลูกคาที่คาดวาจะเพิ่มขึ้นเปนประมาณ 500,000 – 600,000 ราย ณ สิ้นป 2549 โดยบริษัทคาดวา จะใชเงินลงทุนประมาณ 6,000 บาทตอลูกคา 1 ราย 3. การขยายบริการโครงขายขอมูล ไปยังตางจังหวัด บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย มีโครงการที่จะขยายโครงขาย Fiber Optic ไป ยังตางจังหวัดเพิ่มเติม เพื่อรองรับการขยายงานของบริษัท ทรูมูฟ จํากัด และ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด ซึ่งใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และบริการอินเทอรเน็ต ตลอดจนการขยายการใหบริการโครงขาย ขอมูล DDN โดยบริษัทคาดวาจะใชเงินลงทุนสําหรับป 2549 ประมาณ 400 – 500 ลานบาท 4. Corporate ICT บริษั ทมีโครงการที่ จะให บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ที่ ครบวงจรแบบ One-stop-service สํ าหรั บ ลูก ค าประเภทองค ก ร เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการให บริการในลักษณะเป น Solution แกลูกคาสวนใหญที่ ไมมีความชํานาญในการจัดการและขาดแคลน บุคลากรที่มีความพรอมดานนี้และตองการ Outsource การบริหารงานดานนี้แกบริษัท โดยบริษัทคาดวา จะใชเงินลงทุน ประมาณ 150 ลานบาท TRUETI: โครงการในอนาคต

48


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ศูนยจัดจําหนายและบริการ (Retail Distribution Center) บริษัทมีโครงการที่จะปรับปรุงสํานักบริการลูกคาของบริษัท ใหสามารถบริการลูกคาได อยางครบถวน ทั้งในดานสินคาและบริการตางๆ ของบริษัทและบริษัทยอย รวมทั้งสินคาดานเทคโนโลยี สารสนเทศอื่นที่เกี่ยวของ เพื่อใหสอดคลองกับภาพลักษณใหมของบริษัท โดยบริษัทคาดวาจะใชเงิน ลงทุนสําหรับป 2549 ประมาณ 100 ลานบาท 6. บริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ และบริการชุมสายอินเทอรเน็ต (International Internet gateway and Internet exchange) บริษัทยอยของบริษัท มีโครงการที่จะใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ และ บริการชุมสายอินเทอรเน็ตภายในประเทศ หากไดรับใบอนุญาติจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ (คณะกรรมการ กทช.) โดยบริษัทคาดวาจะใชเงินลงทุนสําหรับป 2549 ประมาณ 300 - 400 ลานบาท 7. บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (ยูบีซี) บริษัทเขาซื้อหุนสามัญของบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (ยูบีซี) ผูให บริการธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับเปนสมาชิกรายใหญของไทย จากบริษัท MIH เมื่อตนเดือนมกราคม 2549 และตอมาไดเปดรับซื้อหุนจากผูถือหุนรายอื่นๆ จนถึงวันที่ 16 มีนาคม 2549 ดังนั้นบริษัทคาดวา จะสามารถหาขอสรุปเกี่ยวกับโครงการลงทุนของยูบีซีได ภายหลังกระบวนการเขาซื้อกิจการเสร็จสิ้น ซึ่งคาดวาจะแลวเสร็จในไตรมาส 2 ป 2549

TRUETI: โครงการในอนาคต

49


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. ขอพิพาททางกฎหมาย บริษัทมีคดีที่อาจมีผลกระทบดานลบตอสินทรัพยของบริษัทหรือบริษัทยอยที่มีจํานวนสูงกวา รอยละ 5 ของสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ดังนี้ คดีฟองรองที่คางอยูที่ศาลปกครอง 1)

คดีที่บริษัทฟอง ทศท เมื่อวัน ที่ 11 ตุลาคม 2544 บริษัทไดฟอง ทศท ตอศาลปกครองกลางเพื่ อขอใหศาล บังคับให ทศท ชดใชคาเสียหายจํานวน 1,197.63 ลานบาท อันเนื่องมาจากการลดอัตราคาบริการตาม โครงการ “Y-Tel 1234” โดยบริษัทอางวาการลดอัตราคาบริการ ไมเปนไปตามสัญญารวมการงานซึ่ง กําหนดใหอัตราคาบริการภายใตโครงขายของ ทศท ตองเปนอัตราเดียวกันกับอัตราคาบริการภายใต โครงข า ยของบริ ษั ท เมื่ อ วั น ที่ 28 ตุ ล าคม 2548 ศาลปกครองกลางได พิ พ ากษายกฟ อ ง และในวั น ที่ 28 พฤศจิกายน 2548 บริษัทไดยื่นอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด ขณะนี้คดีกําลังอยูภายใตขบวนการ พิจารณาของศาลปกครองสูงสุด 2)

คดีที่ ทศท ฟองบริษัท เมื่อวัน ที่ 22 สิงหาคม 2546 บริษัทไดยื่น คํารองตออนุญ าโตตุลาการขอใหชี้ขาดให ทศท ชําระสวนแบงรายไดคาบริการโทรศัพทสาธารณะจํานวน 43.94 ลานบาทพรอมดอกเบี้ย เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2548 คณะอนุญ าโตตุลาการไดชี้ขาดใหบริษัทชนะคดี อยางไรก็ตามเมื่อวัน ที่ 14 กรกฎาคม 2548 ทศท ไดยื่นคํารองตอศาลปกครองกลางเพื่อใหเพิกถอนคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2548 บริษัทไดยื่นคําคัดคานคํารองขอใหเพิกถอนคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการของ ทศท ขณะนี้คดีกําลังอยูภายใตขบวนการพิจารณาของศาลปกครอง ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทจึง ไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงินของบริษัท

TRUETJ:ขอพิพาททางกฎหมาย

50


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ขอพิพาทที่ยังคางอยู ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ 1)

ขอพิพาทที่บริษัทเปนผูเสนอ 1.1) ขอพิพาทเกี่ยวกับคาเชื่อมโยงโครงขาย เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2545 บริษัทได ยื่นคําเสนอขอพิพาทตอคณะอนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับกรณีพิพาทที่เกิดจากสัญญารวมการงานระหวาง บริษัท กับ ทศท ตามสัญญารวมการงานระบุไววาบริษัทมีสิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทนจากการที่ ทศท นําบริการหรืออนุญาตใหบุคคลที่สามใหบริการพิเศษบนโครงขาย ทศท อนุญาตให กสท และผูให บริการโทรคมนาคมรายอื่นใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนโครงขายและไดรับคาเชื่อมโยงโครงขายจาก กสท และผูใหบริการโทรคมนาคมรายอื่น อยางไรก็ตาม ทศท ไมเห็นดวยวาบริการดังกลาวเปนบริการ พิ เศษ ดั ง นั้ น จึ ง ปฏิ เสธที่ จ ะจ า ยผลตอบแทนในส ว นของบริ ษั ท ดั ง กล า ว ดั ง นั้ น บริ ษั ท จึ ง ขอให อนุญาโตตุลาการชี้ขาดให ทศท จายสวนแบงในสวนของบริษัทสําหรับคาเชื่อมโยงโครงขายที่ ทศท ได รับนับตั้งแตเดือนตุลาคม 2535 ถึงเดือนมิถุนายน 2546 เปนจํานวนเงิน 25,419.40 ลานบาท การสืบพยาน และหลักฐานไดเสร็จสิ้นแลว ขณะนี้กําลังรอฟงคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ เมื่ อ วั น ที่ 21 กุ ม ภาพั น ธ 2549 คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการได ส ง คํ า ชี้ ข าดของคณะ อนุ ญ าโตตุ ล าการ ลงวั น ที่ 17 มกราคม 2549 มายั ง บริ ษั ท คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการได มี คํ าชี้ ข าดโดย เสียงขางมาก ซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้ 1. ให บ ริ ษั ท มี สิ ท ธิ รั บ ผลประโยชน จ ากการที่ ทศท นํ าบริ ก ารพิ เศษมาใช ผ า น โครงขายของบริษัทหรือการที่ ทศท อนุญาตใหบุคคลอื่นนําบริการพิเศษมาใช ผานโครงขายของบริษัท 2. สําหรับผลประโยชนนับแตตนจนถึงวันที่ 22 สิงหาคม 2545 ให ทศท ชําระเงิน จํานวน 9,175.82 ลานบาท พรอมดวยดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอปของเงิน จํานวนดังกลาวนับแตวันที่ 22 สิงหาคม 2545 ใหแกบริษัทจนกวา ทศท จะชําระ เสร็จสิ้น ให ทศท ชําระเงินตามคําชี้ขาดขอนี้ใหแกบริษัทภายใน 60 วันนับตั้งแต วันที่ไดรับคําชี้ขาด 3. สํ าหรับ ผลประโยชน ตั้ งแตวัน ที่ 23 สิ งหาคม 2545 เป น ต น ไป ให ทศท แบ ง ผลประโยชนตอบแทนใหบริษัทในอัตรารอยละ 50 ของผลประโยชนที่ ทศท ไดรับจริง

TRUETJ:ขอพิพาททางกฎหมาย

51


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1.2) ข อพิ พ าทเกี่ ยวกั บ ส วนแบ งรายได ในส วนคาโทรศัพ ท ท างไกลต างประเทศ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2548 บริษัทไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับเรื่องการคํานวณ ส วนแบ งรายได ที่ เกิ ดจากค าโทรศั พ ท ทางไกลต างประเทศภายใต สั ญ ญาร วมการงาน บริ ษั ทได เรียก คาเสียหายสําหรับการที่ ทศท ไมสามารถคํานวณแยกคาสวนแบงรายไดที่ ทศท ไดรับจากการใชโทรศัพท ตางประเทศในสวนของโครงขายบริษัทออกจากสวนของโครงขาย ทศท เปนจํานวนเงิน 5,000.00 ลานบาท และคาเสียหายจากการคํานวณจํานวนเงินผิดพลาดอีก 3,407.68 ลานบาทรวมดอกเบี้ย คณะอนุญาโตตุลาการ นัดพรอมเพื่อฟงผลการเจรจาหรือกําหนดกระบวนการพิจารณาในวันที่ 14 มีนาคม 2549 2) ขอพิพาทที่ ทศท เปนผูเสนอ 2.1) ขอพิพาทเกี่ยวกับการติดรูปสัญญลักษณของบริษัทบนตูโทรศัพทสาธารณะ เมื่ อวั น ที่ 23 กรกฎาคม 2547 ทศท ได ยื่ น คํ าเสนอข อพิ พ าทต อ อนุ ญ าโตตุ ล าการจากการที่ บ ริษั ท ติ ด รูปสัญญลักษณของบริษัทบนตูโทรศัพทสาธารณะเปนการไมปฏิบัติตามขอตกลงระหวางบริษัทกับ ทศท เรื่องโทรศัพทสาธารณะ ทศท เรียกคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 433.85 ลานบาท บริษัทไดยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 ขบวนการพิจารณานักแรกจะเริ่มในวันที่ 13 มกราคม 2549 และกําหนด นัดสืบพยานตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2549 เปนตนไป 2.2) ขอพิพาทกรณีบริษัทพิมพรูปสัญญลักษณของบริษัทบนใบแจงหนี้ ใบกํากับ ภาษี และใบเสร็จรับเงิน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2547 ทศทไดยื่นคําเสนอขอพิพาทเรียกคาเสียหายจากการ ที่บริษัทพิมพรูปสัญญลักษณ บนใบแจงหนี้และใบเสร็จรับเงินฉบับละ 4 บาท นับจากเดือนสิงหาคม 2544 จนถึงเดือนสิงหาคม 2547 เปนจํานวนรวม 785.64 ลานบาทพรอมดอกเบี้ย นอกจากนี้ในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ทศท ไดเรียกรองคาเสียหายอีกเปนจํานวน 106.80 ลานบาทสําหรับคาเสียหายเพิ่มเติม และ 1,030.50 ลานบาทสําหรับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใบแจงหนี้คาบริการเปนกระดาษขนาด A4 บริษัทได ยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 ขบวนการพิจารณานัดแรกจะเริ่มในวันที่ 26 ธันวาคม 2548 และกําหนดนัดสืบพยาน ตั้งแตวันที่ 5 มิถุนายน 2549 เปนตนไป 2.3) ขอพิพาทเกี่ยวกับเรื่องคาโทรศัพททางไกลในประเทศ TA 1234 เมื่อวันที่ 30 มิ ถุ น ายน 2548 ทศท ได ยื่ น คํ าเสนอข อ พิ พ าทเรี ย กร อ งค าเสี ย หายจากการขาดรายได ตั้ งแต วั น ที่ 16 พฤศจิกายน 2543 ถึงเดือนมีนาคม 2548 เปนจํานวนเงิน 15,804.18 ลานบาทพรอมดอกเบี้ย อันเนื่องมา จากบริษั ท ลดคาบริการทางไกลในประเทศภายใตโครงการ TA 1234 และรองขอให บริษั ทเรียกเก็บ คาบริการทางไกลในประเทศตามอัตราที่ตกลงกันภายใตสัญญารวมการงาน บริษัทไดยื่นคําคัดคานเมื่อ วันที่ 4 มกราคม 2549 รอกําหนดนัดครั้งตอไปจากสถาบันอนุญาโตตุลาการ

TRUETJ:ขอพิพาททางกฎหมาย

52


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2.4) ขอพิพาทเกี่ยวกับการใหบริการ ADSL เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2548 ทศท ไดยื่น คําเสนอขอพิพาทระบุวาบริษัทละเมิดขอตกลงในสัญญารวมการงานโดยใหบริการหรือยินยอมใหผูอื่น นําอุปกรณในระบบไปใหบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (ADSL) ทศท เรียกรองคาเสียหายเปนจํานวน เงิน 2,010.21 ลานบาทพรอมดอกเบี้ย นอกจากนี้ ทศท ยังเรียกรองใหบริษัทชําระคาเสียหายตอเนื่องอีก เดือนละ 180.00 ลานบาทพรอมดอกเบี้ย และขอใหบริษัทระงับการใหบริการหรืออนุญาตใหผูอื่นให บริการ ADSL บริษัทขอขยายการยื่นคําคัดคานออกไปถึงวันที่ 22 กุมภาพันธ 2549 ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทจึง ไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงินของบริษัท อยางไรก็ตาม ผูบริหารของบริษัทเชื่อวา บริษัทมีขอตอสูที่มีเหตุมีผลที่ดีพอที่จะชนะ คดีฟองรองและขอพิพาททั้งหมดดังกลาวขางตน

TRUETJ:ขอพิพาททางกฎหมาย

53


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8. โครงสรางเงินทุน 8.1 หลักทรัพยของบริษัท (ก) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริษัทมีทุนจดทะเบียนจํานวน 46,774,214,840 บาท แบงออกเปน หุนสามัญจํานวน 3,978,015,965 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699,405,519 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีทุนที่เรียกชําระแลวจํานวน 40,947,453,530 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 3,395,339,834 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699,405,519 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ตลาดรองของหุนสามัญในปจจุบัน หุนสามัญของบริษัทสามารถทําการซื้อขายไดในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“ตลาด หลักทรัพยฯ”) (ข) หุนบุริมสิทธิ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2543 วันที่ 14 กุมภาพันธ 2543 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออก และเสนอขายหุนบุริมสิทธิจํานวน 702 ลานหุน ใหแก Kreditanstalt fÜr Wiederaufbau (“KfW”) และ/ หรือ บริษัทยอยที่ KfW ถือหุนทั้งหมด และ/หรือ กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวในราคา เสนอขายรวมทั้งสิ้น 150 ลานดอลลารสหรัฐ ตอมาเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2543 บริษัทไดจัดสรรหุนบุริมสิทธิจํานวน 343.98 ลานหุน หรือคิด เปนรอยละ 49 ใหแก KfW และจํานวน 358.02 ลานหุน หรือคิดเปนรอยละ 51 ใหแกกองทุนรวมเพื่อ ผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) โดยสาระสําคัญเกี่ยวกับหุนบุริมสิทธิดังกลาว มีดังนี้ 1. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ออกหุนบุริมสิทธิจนถึงวันครบรอบปที่ 8 ใหบุริมสิทธิในหุนบุริมสิทธิ มีดังนี้ (1) มีสิทธิในการรับเงินปนผลกอนผูถือหุนสามัญในอัตราหุนละ 1 บาทตอปการเงิน (ยกเวนปการเงินแรกและปการเงินสุดทายของระยะเวลา 8 ปดังกลาว) (2) สิทธิในการไดรับเงินปนผลตามขอ 1 (1) ขางตนเปนสิทธิไดรับเงินปนผลชนิด สะสมสําหรับปการเงินใดๆที่บริษัทไมไดประกาศจายหรือในสวนที่บริษัทยัง ประกาศจายไมครบ (“เงินปนผลสะสมคงคาง”) ซึ่งผูถือหุนบุริมสิทธิจะมีสิทธิได รั บ เงิ น ป น ผลจนครบถ ว นก อ นผู ถื อ หุ น สามั ญ หากผู ถื อ หุ น บุ ริ ม สิ ท ธิ ไ ด รั บ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

54


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(3)

(4) (5)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เงินปนผลจนครบถวน และบริษัทยังคงจะจายเงินปนผลอีก ใหผูถือหุนบุริมสิทธิ และผูถือหุนสามัญมีสิทธิไดรับเงินปนผลเทากัน ในกรณีที่มีการชําระบัญชีหรือการเลิกบริษัท ใหแบงทรัพยสินที่เหลืออยูใหแก ผูถือหุ น บุ ริมสิ ท ธิกอน ซึ่งจะเท ากับมูลคาที่ ตราไวของหุ น บุริมสิทธิบวกดวย เงินปนผลสะสมคงคางใดๆ หากมีทรัพยสินคงเหลือใหแบงใหแกผูถือหุนสามัญ และถ าหากยังมี ท รัพ ยสิ น คงเหลือ อยูอีก ให แ บ งให แ กผูถื อหุ น บุ ริม สิ ท ธิแ ละ ผูถือหุนสามัญในจํานวนที่เทากัน หุนบุริมสิทธิแปลงสภาพเปนหุนสามัญได หุนบุริมสิทธิแตละหุนมีหนึ่งเสียง

2. หลังจากครบรอบปที่ 8 ใหสิทธิของหุนบุริมสิทธิเปนดังนี้ (1) มีสิทธิในการรับเงินปนผลกอนผูถือหุน สามัญในอัตรา 0.01 บาทตอปการเงิน (บวกดวยเงิน ปนผลสะสมคงคางใดๆ) และหากบริษัทจะจายเงิน ปนผลอีกให ผูถือหุนบุริมสิทธิและผูถือหุนสามัญมีสิทธิรับเงินปนผลในจํานวนที่เทากัน (2) เงินปนผลในอัตราหุนละ 0.01 บาท ในขอ 2 (1) ขางตน ไมเปนเงินปนผลชนิด สะสม (3) มีสิทธิตามขอ 1 (3) (4) และ (5) ทั ้ง นี ้ หุ น สามัญ ที่เกิด จากการแปลงสภาพจะไมมีสิท ธิไ ดรับ เงิน ปน ผลสะสมคงคาง ใด ๆ เชนในขณะที่เปนหุนบุริมสิทธิทั้งสิ้น อยางไรก็ดี KfW ไดออกสิทธิ (Purchase Rights) ในการซื้อหุนบุริมสิทธิคืนจาก KfW ให แกผูถือหุนเดิมในสัดสวน 1 สิทธิ ตอหุนบุริมสิทธิ 1 หุน ผูไดสิทธิดังกลาวสามารถใชสิทธิครั้งแรกใน วันครบรอบปที่ 2 นับแตบริษัทไดออกหุนบุริมสิทธิใหแก KfW และอีกทุกครึ่งปของปที่ 3 ถึงปที่ 8 โดย ราคาในการซื้อคืนหุนบุริมสิทธิสําหรับการใชสิทธิครั้งแรกจะเทากับราคาตนทุนของ KfW บวก อัตรา ผลตอบแทนรอยละ 20 ตอป แตสํ าหรับการใชสิ ทธิงวดถัด ๆ ไป จะมีสู ตรการคํานวณราคาที่ แตกตาง ออกไป เนื่องจากจะนําปจจัยของราคาหุนมาเปนสวนหนึ่งของการคํานวณดวย (ค) เอ็นวีดีอาร (NDVR: Non-Voting Depository Receipt) NVDR หรือใบแสดงสิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิงไทย เปนตราสารที่ออก โดย “บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด” (Thai NVDR Company Limited) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยจัดตั้งขึ้น NVDR มีลักษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List)

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

55


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูลงทุนใน NVDR จะไดรับสิทธิประโยชนทางการเงินตาง ๆ เสมือนการลงทุนในหุนสามัญของบริษัท แตไมมีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุน ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2548 ปรากฏชื่อ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ถือหุนในบริษัทจํานวน 93,348,192 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 2.28 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมดของบริษัท (ง) ใบสําคัญแสดงสิทธิ (Warrant) 1) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2000) 2) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2002) 3) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2003) 4) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2004) 5) โครงการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิและหุนสามัญที่ออกใหมเพื่อรองรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิตอกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารของบริษัท และ/หรือ บริษัทยอย (ESOP 2005) ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของสํานักงาน ก.ล.ต. คาดวาจะ ไดรับอนุญาตใหออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวไดภายในตนป 2549 บริษัทไดเปดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ไวในหัวขอพันธะการออกหุนในอนาคต โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) โครงการ ESOP 2000 ณ วัน ที่ 27 เมษายน 2543 ที่ป ระชุ มสามัญ ผูถือหุ น ประจําป 2543 ได มีมติอนุ มั ติให บริษั ท ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมี สาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 36,995,000 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2543

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 10 ป นับจากวันที่ออก

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

56


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

: 9 มิถุนายน 2553 : ใบสําคัญ แสดงสิทธิประเภทที่ 1 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ แตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 30 มิถุนายน ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ : ใบสําคัญ แสดงสิทธิประเภทที่ 2 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ แตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 31 ธันวาคม ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ : ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

2)

โครงการ ESOP 2002 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2545 วันที่ 12 เมษายน 2545 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 37,131,597 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 14 มิถุนายน 2545

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 13 มิถุนายน 2550

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวย ของใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรร ทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลา การใชสิทธิ ดังนี้

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

57


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

อัตราการใชสิทธิ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2546 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

3)

โครงการ ESOP 2003 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 วันที่ 11 เมษายน 2546 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2003”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: : 14,547,189 หนวย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ (ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2549) วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

: 17 มิถุนายน 2546 5 ปนับจากวันที่ออก : 16 มิถุนายน 2551 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวย ของใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรร ทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลา การใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

58


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

อัตราการใชสิทธิ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 5.20 บาท

4)

โครงการ ESOP 2004 ที่ประชุมวิสามัญ ผูถือหุน ครั้งที่ 2/2547 วัน ที่ 10 มิถุน ายน 2547ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2004”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 18,274,444 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 7 กุมภาพันธ 2548

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

5 ปนับจากวันที่ออก : 6 กุมภาพันธ 2553 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แต ล ะฉบั บ มี สั ด ส ว นเท า กั บ 1 ใน 3 ของจํ า นวนหน ว ยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับจะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้

59


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2549 เปนตนไป จนกวาจะ ครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3

อัตราการใชสิทธิ

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 11.20 บาท

(จ) Shareholders Agreement Shareholders Agreement ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 Kreditanstalt für Wiederaufbau (“KfW”) บริษัท ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จํากัด (“Verizon”) และเครือเจริญโภคภัณฑ ซึ่งประกอบดวย บริษัท เจริญโภคภัณฑ อาหารสัตว จํากัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จํากัด (มหาชน) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และบริษัท กรุงเทพ เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด ไดทําสัญญาผูถือหุน (Shareholders Agreement) ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 โดยมีสาระสําคัญของสัญญาสรุปไดดังนี้ 1. นอกเหนือและเปนอิสระจากสิทธิของ KfW ที่มีอยูภายใตสัญญาปรับโครงสรางหนี้ (Debt Restructuring Agreement) KfW มีสิทธิที่จะแตงตั้งตัวแทนในคณะกรรมการของบริษัท ตามสั ด ส ว นการถื อ หุ น ที่ มี ต อ จํ านวนทั้ ง หมดของคณะกรรมการที่ เป น ตั ว แทนของ คูสัญ ญาตามสัญ ญาผูถือหุ น อนึ่ ง ไมวาในกรณี ใดๆ KfW มีสิทธิที่จะแตงตั้งกรรมการ อยางนอย 1 คน สิทธิที่จะตั้งตัวแทนดังกลาวนี้จะมีอยูตลอดไปตราบเทาที่ KfW ถือหุนอยู ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม ไมนอยกวารอยละ 5 ของจํานวนหุนของบริษัท 2. ในระหวาง 3 ปแรกนับจาก KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัท และตราบเทาที่ KfW ถือหุนของ KfW ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม เปนจํานวนอยางนอยรอยละ 5 ของหุนที่ จําหนายแลว คูสัญญาตามสัญญาผูถือหุนจะไมลงคะแนนเสียงใหกระทําการดังตอไปนี้ได เวนแต KfW จะตกลงในการกระทําดังกลาว TRUETK: โครงสรางเงินทุน

60


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(1)

การแกไขหนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับของบริษัท และการแกไขสิทธิตางๆ ในหุน (2) การเพิ่มหรือลดทุนจดทะเบียนของบริษัท การออกหุนใหม หรือการเสนอขายหุน โดยเฉพาะเจาะจง หรือการเสนอขายหุนตอประชาชน (3) การชําระบัญชีโดยสมัครใจ การเลิกกิจการ การเลิกบริษัท การปรับโครงสรางทุน หรือการปรับโครงสรางองคกรของบริษัท หรือการรวมหรือควบบริษัท หรือการ รวมธุรกิ จอื่นใดของบริษัทกับบุคคลอื่น หรือการขายทรัพ ยสิน ของบริษัท หรือ บริษัทในเครือทั้งหมดหรือบางสวน (4) การเปลี่ยนแปลงจํานวนกรรมการหรือองคประชุมกรรมการ (5) การเพิกถอนหลักทรัพยจดทะเบียนออกจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ (6) การดําเนินธุรกิจนอกเหนือไปจากธุรกิจที่ไดรับอํานาจ (ตามที่กําหนดไวในสัญญา ปรับโครงสรางหนี้ (Debt Restructuring Agreement)) 3. ภายใต บั งคั บ เงื่ อ นไขผู ก พั น อื่ น ใดที่ มี ต อ KfW ในการให สิ ท ธิ แ ก ผู ถื อ หุ น ของบริษั ท KfW อาจจะขายหรือเขาทําสัญญาจะขายหุนของตนทั้งหมด หรือไมนอยกวารอยละ 25 ของหุนทั้งหมดของตนในเวลาใดๆ ในราคาขายเงินสดหลังจากสิ้นสุดระยะเวลา 3 ปแรก นับจากวันที่ KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัท ความขางตนไมหาม KfW ที่จะขาย หุนของตนหากการที่ KfW ถือหุนในบริษัทเปนเรื่องที่ผิดกฎหมาย 4. ในระหว าง 3 ป แ รกนั บ จากวัน ที่ KfW ได รั บ การจั ด สรรหุ น ของบริษั ท คู สั ญ ญาตาม สัญ ญาผูถือหุ น (นอกเหนื อจาก KfW) ตกลงละเวน ในการโอนหุ น ที่มี จํานวนมากกวา รอยละ 10 ของจํานวนหุนที่ถืออยูตามที่ระบุไวในสัญญาผูถือหุน 5. คู สั ญ ญ าตกลงละเว น ใน การแก ไ ขห รื อ เป ลี่ ย น แปลงสั ญ ญ าผู ถื อ หุ น Verizon ฉบับลงวันที่ 23 มิถุนายน 2535 เวนแตจะไดรับความเห็นชอบจาก KfW 6. คูสัญญาแตละฝายตองเปดเผยใหคูสัญญาอีกฝายหนึ่งทราบถึงผลประโยชนใด ๆ และ ผลประโยชนขัดกันใด ๆ ซึ่งคูสัญญาหรือบริษัทในเครือของตนไดเขาทําสัญญาใดๆหรือ จะไดเขาทําสัญญากับบริษัท 7. ในแตล ะรอบบัญ ชี คู ส ัญ ญาตกลงที ่จ ะใหบ ริษ ัท มีน โยบายประกาศจา ยเงิน ป น ผล อยางนอยรอยละ 50 ของกําไรสุทธิของบริษัทใหแกผูถือหุนทั้งหลาย ภายหลังจากที่ไดมี การตั้งเปนทุนสํารองไวตามกฎหมายแลว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสามารถในการชําระเงินสด (โดยปราศจากการก อหนี้ ) ความจํ าเป น ตามกฎหมาย ข อบั งคั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย แห ง ประเทศไทย หรือขอหามตามสัญญาปรับโครงสรางหนี้ หรือสัญญาอื่นใด TRUETK: โครงสรางเงินทุน

61


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พันธะการออกหุนในอนาคต 1) เพื่อทดแทนหุนบุริมสิทธิแปลงสภาพ ผลจากการปรับโครงสรางหนี้ Kreditanstalt für Wiederaufbau (KfW) ไดลงทุนในบริษัทเปน จํานวน 150 ลานดอลลารสหรัฐ โดยบริษัทไดออกหุนบุริมสิทธิที่สามารถแปลงสภาพเปนหุนสามัญได จํานวน 702 ลานหุนใหแก KfW และกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว และเนื่องจากมีเงื่อนไขที่ กําหนดใหมีการแปลงสภาพหุนบุริมสิทธิเปนหุนสามัญกอนสงมอบใหผูถือหุนเดิมที่ไดใชสิทธิซื้อหุนคืน จาก KfW ตามที่ ไ ด ก ล าวไว ในหั วข อ ที่ แ ล ว ดั งนั้ น บริ ษั ท จึ ง มี ข อ ผู ก พั น ในการออกหุ น สามั ญ แทน หุนบุริมสิทธิตามจํานวนที่ผูถือหุนใชสิทธิ ณ ระยะเวลาที่กําหนดใหสามารถใชสิทธิได 2) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2000 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 ของบริษัท เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2543 ไดมีมติ อนุมัติโครงการออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ป 2543 (ESOP 2000) เพื่อออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญจํานวน 58,150,000 หนวย ใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติให จัดสรรหุ นสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระ จํานวน 58,150,000 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 3) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2002 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2545 ของบริษัท เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2545 ไดมี มติอนุมัติใหออกใบสําคัญ แสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 37,131,597 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 37,131,597 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตาม โครงการดังกลาว

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

62


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2003 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2546 ไดมีมติใหบริษัท ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวน ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 19,862,729 หนวย ในการนี้ ที่ ประชุ มผูถือหุน ไดมีมติอนุมัติใหจั ดสรรหุ นสามัญ ที่ยังมิ ไดออกและเรียกชํ าระ จํานวน 19,862,729 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 5) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2004 ตามที่ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 3/2547 เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2547 ไดมีมติใหบริษัท ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวน ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 19,111,159 หนวย (ซึ่งเปนมติของที่ประชุมผูถือหุนที่ทดแทนมติเดิม ของที่ประชุมวิสามัญครั้งที่ 2/2547 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2547) ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุน ไดมี มติ อนุมั ติให จัดสรรหุ นสามัญ ที่ยังมิ ไดออกและเรียกชําระ จํานวน 19,111,159 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 6) เพื่อรองรับการเพิ่มทุน และรองรับการจัดสรรใหกับ IFC ตามที่ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2548 (เพื่อทดแทนมติ เดิมของที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 3/2547 ที่เคยใหไว) อนุมัติการจัดสรรหุน จํานวน 29,894,356 หุน เพื่อเสนอขายใหแก International Finance Corporation (“IFC”) เพื่อใหเปนไปตามขอตกลง ระหวางบริษัทกับ IFC ซึ่งเปนสถาบันการเงินที่ค้ําประกันหุนกูสวนหนึ่งของบริษัทตามสัญญา C Loan กับ IFC 7) เพื่อรองรับการเสนอขายใหแกบุคคลในวงจํากัด ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2548 (เพื่อทดแทนมติเดิมของที่ ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 3/2547 ที่เคยใหไว) อนุมัติการจัดสรรหุนสามัญใหมจากการเพิ่มทุน จดทะเบียนจํานวน 402,000,000 หุน เพื่อเสนอขายใหแกบุคคลในวงจํากัด หรือ Private Placement ใน ราคาที่ต่ํากวามูลคาที่ตราไว โดยวิธี Book Build Process หรือเปรียบเทียบความตองการซื้อหุนของบริษัท จากผูลงทุนที่สนใจ แตตองไมต่ํากวา 3 บาทตอหุน

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

63


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2548 วันที่ 15 กรกฎาคม 2548 ไดมีมติอนุมัติการ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัท ใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหารของบริษัท และ/หรือ บริษัทยอย ตามโครงการ ESOP 2005 โดยมีรายละเอียดดังนี้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่เสนอขาย : ไมเกิน 18,774,429 หนวย ราคาเสนอขายตอหนวย : หนวยละ 0 บาท อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ : ไมเกิน 5 ปนับจากวันที่ไดออกและเสนอขาย อัตราการใชสิทธิ : เวนแตเปนกรณีการปรับสิทธิ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิซื้อหุนสามัญได 1 หุน ราคาใชสิทธิที่จะซื้อหุน : 9.73 บาทตอหุน ซึ่งเปนราคาเฉลี่ยถวงน้ําหนักของราคาปด ของหุนของบริษัทที่มีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยในชวงระยะเวลา 30 วันทําการกอนวันประชุม ผูถือหุน บริษัทไดยื่นคําขออนุญาตออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวตอสํานักงาน ก.ล.ต. ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณา บริษัทคาดวาจะไดรับอนุญาตใหออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ ดั ง กล า วได ภ ายในต น ป 2549 ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ได ดํ า เนิ น การเพิ่ ม ทุ น โดยออกหุ น สามั ญ ใหม จํ า นวน 18,774,429 หุน เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะออกตามโครงการ ESOP 2005 ไว เรียบรอยแลว

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

64


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.2 ผูถือหุน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ผูถือหุนรายใหญ 1 ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2548 (วันปดสมุดทะเบียนผูถือหุนลาสุดของป 2548) ชื่อผูถือหุน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด 3 กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว 4 KREDITANSTALT FÜR WIEDERAUFBAU (“KfW”) 5 HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 6 MORGAN STANLEY & CO INTERNATIONAL LIMITED 7 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 8 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 9 NORTRUST NOMINEES LTD 10 CLEARSTREAM NOMINEES LTD 11 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY, FOR LONDON 12

จํานวนหุน (ลานหุน) 1,393.62 357.99 341.41 141.25 101.14 95.52 93.35 88.60 76.31 50.79

รอยละของหุน 2 ทั้งหมด 34.03 8.74 8.34 3.45 2.47 2.33 2.28 2.16 1.86 1.24

หมายเหตุ 1 2 3

ไมมีการถือหุนไขวกันระหวางบริษัทกับผูถือหุนรายใหญ รวมหุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ ประกอบดวย 1) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด 2) บริษัท กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด (ถือหุนโดย บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ (“CPG”) 17.49% และ กลุม เจียรวนนท 82.50%) 3) บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) (ถือหุนโดย บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ และผูเกี่ยวของตามมาตรา 258 ของ CPG ในสัดสวนรวม 39.40%) 4) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จํากัด (มหาชน) (ถือหุนโดย บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร 99.44%) 5) บริษัท กรุงเทพผลิตผล อุตสาหกรรมการเกษตร จํากัด (มหาชน) (ถือหุนโดย บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร 99.90%) 6) บริษัท เจริญโภคภัณฑอีสาน จํากัด (มหาชน) (ถือหุน โดย บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร 99.61%) 7) บริษัท เกษตรภัณฑอุตสาหกรรม จํากัด (ถือหุนโดย บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ 100%) 8) บริษัท เจริญโภคภัณฑ อิน-เอ็กซ จํากัด (ถือหุนโดย บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ 100%) 9) บริษัท ยูนีคเน็ตเวิรค จํากัด (ถือหุนโดย บจ. กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง 46.44% และผู เกี่ยวของตามมาตรา 258 ของ CPG 42.99%) 10) บริษัท ไวด บรอด คาสท จํากัด (ถือหุนโดย บจ. กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง 44.80% และผูเกี่ยวของ ตามมาตรา 258 ของ CPG 41.45%) 11) บริษัท ซี.พี.อินเตอรฟูด (ไทยแลนด) จํากัด (ถือหุนโดย บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ 100%) 12) บริษัท สตารมารเก็ตติ้ง จํากัด (ถือหุนโดย บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ 100%) 13) บริษัท แอดวานซฟารมา จํากัด (ถือหุนโดย บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ 100%) และ 14) Golden Tower Trading Ltd. (ถือหุนโดยบุคคลภายนอกที่ไมมีความเกี่ยวของกับ CPG แตรายงานอยูในกลุมเดียวกันเนื่องจาก Golden Tower Trading Ltd. อาจจะออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผูถือหุนของ True ไปในทางเดียวกันกับ CPG ได) 4 Thai Trust Fund บริหารโดยบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวม เพื่อผูลงทุนตางดาว จํากัด (Thai Trust Fund Management Company Limited) จดทะเบียนจัดตั้งเปนบริษัทจํากัดโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีสถานะเปนนิติบุคคลที่มีสัญชาติไทย มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนและ สงเสริมการลงทุนของผูลงทุนชาวตางประเทศในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2548 กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปน คนตางดาว ถือหุนเพื่อ KfW ในสัดสวนรอยละ 8.74 5 สถาบันการเงินเพื่อการพัฒนา ซึ่งถือหุน 100% โดยรัฐบาลประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี 6 บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศสิงคโปร ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัท ไมมีอํานาจที่จะขอใหผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น 7 บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศอังกฤษ ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทไม มีอํานาจที่จะขอใหผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น 8 บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทไมมีอํานาจที่จะขอใหผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น 9 บริษัทยอยที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยจัดตั้งขึ้น NVDR มีลักษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูลงทุนใน NVDR จะไดรับสิทธิประโยชนทางการเงินตาง ๆ เสมือนการลงทุนในหุนสามัญของบริษัท แตไมมีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุน 10,11,12 บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศอังกฤษ ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทไม มีอํานาจที่จะขอใหผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

65


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.3 นโยบายการจายเงินปนผล บริษั ทยังไมเคยประกาศจายเงิน ปน ผลนับตั้งแตเปดดําเนิน กิจการ บริษั ทสามารถจายเงิน ปนผลไดจากผลกําไรภายหลังการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมด และภายหลังการตั้งสํารองตามกฎหมาย นอกจากนั้น สัญญาของการปรับโครงสรางหนี้ไดกําหนดใหบริษัทสามารถจายปนผลไดหากบริษัทได จายคืนชําระหนี้ใหแกเจาหนี้มีประกันทั้งหมด ผูถือหุนรายใหญมีขอตกลงที่จะใหมีการจายเงินปนผลในอัตรารอยละ 50 ของกําไรสุทธิใน แตละป ภายหลังการจัดสรรเปนสํารองตางๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทั้งเปนไปตามขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสัญญาเงินกูตางๆ นอกจากนั้น บริษัทสามารถจายเงินปนผลใหแก ผูถือหุนสามัญได ภายหลังจากการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนบุริมสิทธิแลว สําหรับนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย คณะกรรมการของบริษัทยอย แตละแหง จะพิจารณาการจายเงินปนผลจากกระแสเงินสดคงเหลือเทียบกับงบลงทุนของบริษัทยอยนั้น ๆ หาก กระแสเงินสดคงเหลือของบริษัทยอยมีเพียงพอ และไดตั้งสํารองตามกฎหมายแลว คณะกรรมการของ บริษัทยอยนั้นๆ จะพิจารณาจายเงินปนผลเปนกรณีไป

8.4 โครงสรางหนี้สิน หนี้สินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 หนี้สินของบริษัทและบริษัทยอยตามงบการเงินมีจํานวน ทั้งสิ้น 107,751 ลานบาท ประกอบดวยหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไมหมุนเวียนดังนี้ (หนวย: ลานบาท) หนี้สินของบริษัทและบริษัทยอย จํานวน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น 13,174 เจาหนี้การคา 4,918 เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 7,153 รายไดรับลวงหนา 1,065 คาใชจายคางจาย 3,919 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 2,236 รวมหนี้สินหมุนเวียน 32,465 หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว หนี้การคาระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

74,984 0 302 75,286 107,751

66


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2548 เงิน กูยืมรวมทั้งหนี้การคาระยะยาว (ทั้ งสวนที่ถึงกําหนดชําระ ภายใน 1 ป และเกิน 1 ป) ของบริษัทและบริษัทยอยมีจํานวนรวมทั้งสิ้น 95,200 ลานบาท แบงเปนเงิน กูยืมรวมทั้งหนี้การคาระยะยาวของบริษัทและบริษัทยอยในเงินสกุลบาท (“เงินกูสกุลบาท”) จํานวน 84,190 ลานบาท เงินสกุลเหรียญสหรัฐ (“เงินกูสกุลเหรียญสหรัฐ”) จํานวน 7,000 ลานบาท (หรือจํานวน 170 ลานเหรียญสหรัฐ) และเงินสกุ ลเยนญี่ ปุ น (“เงิน กูสกุลเยนญี่ ปุน ”) จํานวน 4,010 ลานบาท (หรือ จํานวน 11,423 ลานเยนญี่ปุน) ภายหลังจากการปรับโครงสรางหนี้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริษัทสามารถชําระเงินกูไดครบตามกําหนดการชําระเงินตนที่มีไวกับเจาหนี้มีประกันมาโดยตลอด และ ยังสามารถชําระเงินกูกอนกําหนดบางสวนจากเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานของบริษัทไดอีกเปน จํานวนประมาณ 2,000 ลานบาท เพื่อชวยลดภาระดอกเบี้ยจายและชวยลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในอดีต เงิน กู ระยะยาวจํ านวนมากของบริษั ท เป น เงิน กูเงิน สกุ ลเหรี ยญสหรัฐ บริษั ท จึ งมี นโยบายลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน และบริษัทประสบความสําเร็จในการลดเงินกูระยะยาว สกุลเหรียญสหรัฐ โดยมีมาตรการตางๆที่นํามาใชอยางตอเนื่องดังตอไปนี้ กุมภาพันธ 2544

บริษัทไดนําเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานมาชําระคืนเงินกูของเจาหนี้ มีประกันบางสวนกอนกําหนด เปนจํานวนประมาณ 532 ลานบาท

มิถุนายน 2544

ณ วันที่ 28 มิถุนายน 2544 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ครั้งที่ 1/2544 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออกและเสนอขายหุนกูประเภทตาง ๆ ใน วงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท (“หุนกู”) โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อชําระ หนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยูในปจจุบัน

กรกฎาคม 2544

บริษัทไดนําเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานมาชําระคืนเงินกูของเจาหนี้ มีประกันบางสวนกอนกําหนด เปนจํานวนประมาณ 368 ลานบาท

กันยายน 2544

บริษัทไดเขาทํารายการปองกันความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนดวยการ กําหนดการชําระหนี้เงินกูเปนบาท (“Swap”) กับ KfW (ซึ่งเปนเจาหนี้เงิน สกุลเหรียญสหรัฐรายใหญของบริษัท) จํานวนประมาณ 97 ลานเหรียญ สหรัฐ หรือประมาณ 4,483 ลานบาท โดยมีผลทําใหบริษัทชําระคืนเงินกู เปนเงินสกุลบาทกับเจาหนี้เงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

67


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธันวาคม 2544

บริษัทไดกูเงินสกุลบาท จํานวน 5,000 ลานบาท (“เงินกูเงินสกุลบาทใหม”) เพื่อนําเงินทั้งหมดที่ไดไปชําระคืนหนี้เงินสกุลเหรียญสหรัฐกอนกําหนด

มีนาคม 2545

บริษัทและบริษัทยอยไดชําระคืนเงินกูเปนจํานวนเงินประมาณ 948 ลานบาท

กรกฎาคม 2545

บริษัทไดนําเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานชําระคืนเงินกูของเจาหนี้มี ประกันบางสวนกอนกําหนดเปน จํานวนเงินประมาณ 345 ลานบาท ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2545 บริษัทไดเขาทําสัญญาทางการเงินกับ เจาหนี้มี ประกันตามสัญญาเงินกูเงินสกุลบาทเดิม สัญญาเงินกูเงินสกุลบาทใหม สั ญ ญาเงิ น กู เงิ น สกุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ และ KfW ในฐานะ เจ าหนี้ Swap (ตอไปจะเรียกวา “เจาหนี้ มีประกั น ในเบื้ องต น ”) รวมทั้ ง IFC ในฐานะ ผูใหสินเชื่อ C Loan และผูค้ําประกันบางสวนของหุนกูครั้งที่ 2/2545 และ กับผูแทนผูถือหุนกูครั้งที่ 1/2545 เพื่อกําหนดมาตรการรองรับการเขามามี สวนรวมในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแกเจาหนี้มีประกันในเบื้องตน

ตุลาคม 2545

ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2545 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาท 2 ชุด ไดแก หุนกู ครั้งที่ 1/2545 และหุนกูครั้งที่ 2/2545 รวมเปนจํานวนเงิน 18,465 ลาน บาท และ ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2545 บริษัทไดกูเงินบาทจาก IFC เปน จํานวนเงิน 1,125 ลานบาท รวมทั้งสิ้นจํานวน 19,590 ลานบาท และได นําเงินจํานวนดังกลาวไปชําระคืนเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐจํานวน 452 ลานเหรียญสหรัฐกอนกําหนด โดยผูถือหุนกูครั้งที่ 1/2545 และผูถือหุนกู ครั้งที่ 2/2545 ไดเขาไปมีสวนรวมในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแก เจาหนี้มีประกันในเบื้องตน

ธันวาคม 2545

บริษัทไดนํากระแสเงินสดของบริษัทมาซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มี เงื่อนไขในการผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 10.1 พันลานเยน หรือ ประมาณ 3.6 พันลานบาท

กุมภาพันธ 2546

ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ 2546 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาทอีก 1 ชุด ไดแก หุนกูครั้งที่ 1/2546 เปนจํานวนเงิน 3,319 ลานบาท และไดนําเงินจํานวน ดังกลาวไปชําระคืนเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐที่เหลืออยูทั้งหมดจํานวน 78 ลานเหรียญสหรัฐกอนกําหนด ทําใหบริษัทไมมีหนี้เงินกูสกุลเหรียญ สหรัฐเหลืออยูอีกตอไป โดยผูถือหุนกูครั้งที่ 1/2546 ไดเขาไปมีสวนรวม ในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแกเจาหนี้มีประกันในเบื้องตน

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

68


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตุลาคม 2546

บริษัทไดลงนามในสัญญาเงินกูวงเงิน 21,419 ลานบาท กับกลุมธนาคาร พาณิชยและสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใชคืนเงินกูสกุลเงินบาทเดิมใน จํานวนเทากัน โดยเงินกูใหมจะมีอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง สงผลใหบริษัท สามารถลดคาใชจายดานดอกเบี้ยได

กุมภาพันธ 2547

บริษัทไดนํากระแสเงินสดของบริษัทมาซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มี เงื่อนไขในการผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 331 ลานเยน หรือประมาณ 120 ลานบาท

มิถุนายน 2547

ณ วัน ที่ 25 มิถุน ายน 2547 บริษัท ได ออกหุ น กู สกุ ลบาทอีก 1 ชุด ไดแ ก หุนกูครั้งที่ 1/2547 เปนจํานวนเงิน 2,413 ลานบาท เพื่อนําเงินมาชําระหนี้ ที่ไดทําสัญญา SWAP ไวในจํานวนประมาณ 51 ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อให บริษัทไมมีห นี้ เงิน กูสกุลเหรียญสหรัฐเหลืออยูอีกตอไป โดยผูถือหุน กู ครั้งที่ 1/2547 ได เข าไปมี ส ว นรว มในหลั ก ประกัน ที่ บ ริษั ท ไดให ไ วแ ก เจาหนี้มีประกันในเบื้องตน

ตุลาคม 2547

บริษัทไดนํากระแสเงินสดของบริษัทมาซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มี เงื่อนไขในการผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 190 ลานเยน หรือ ประมาณ 74 ลานบาท

กุมภาพันธ 2548

บริษัทไดนํากระแสเงินสดของบริษัทมาซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มี เงื่อนไขในการผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 1,336 ลานเยน หรือ ประมาณ 491 ลานบาท

ทั้งนี้ ในการชําระคืนเงินตนกอนกําหนด (Prepayment) ของบริษัท ที่นอกเหนือจากการชําระ คืนเงินตนตามกําหนดการนั้น เงินจํานวนดังกลาวจะถูกนําไปหักลดยอดชําระคืนเงินตนจากงวดทายที่สุด ยอนขึ้นมา (Inverse Chronological Order) และแบงจายคืนเจาหนี้มีประกันตามสัดสวนของยอดการชําระ คืนเงินตนของเจาหนี้รายนั้นๆ (Pro-rata) หลังจากที่มีการดําเนินมาตรการตาง ๆ เพื่อลดความผันผวน จากอัตราแลกเปลี่ยนดังที่กลาวขางตนแลว บริษัทมีสัดสวนของเงินกูที่เปนเงินสกุลตางประเทศตอเงินกู ทั้งหมดลดลงจากระดับรอยละ 68.3 ณ สิ้นป 2543 เปนรอยละ 11.6 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

69


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แผนภูมิ : โครงสรางเงินกูของบริษัทจนถึงปจจุบัน หนวย : ลานบาท 100,000

80,000

95,200 4,010 78,710

76,520

75,051

8,205

6,591

16,091

73,634

73,379

16,239

11,376

60,000

5,624

7,000

11,581 3,153

32,253

37,657

35,134

40,000

25,242

84,190 74,651 56,379

20,000

77,187

86,044 4,729 6,664

38,252

32,271

23,826

62,453

32,152

0 2541

2542

เงินกูสกุลบาท

2543

2544

2545

เงินกูสกุลเหรียญสหรัฐ

2546

2547

2548

เงินกูสกุลเยน

หุนกู ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ครั้งที่ 1/2544 วันที่ 28 มิถุนายน 2544 มีมติอนุมัติให บริษัทออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยู ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ 1) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด ครั้งที่1/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2551 2) หุ น กู มี ป ระกั น ชนิ ด ทยอยชํ าระคื น เงิ น ต น สามารถไถ ถ อนก อ นกํ าหนด และมี ผูค้ําประกันบางสวน ครั้งที่ 2/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 3) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2546 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2550 4) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่1/2547 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

70


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตลาดรองของหุนกู ปจจุบันหุนกูของบริษัท สามารถทําการซื้อขายไดในสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย หุนกูของบริษัทมีรายละเอียดดังนี้ รายละเอียดหุนกูสกุลเงินบาทที่บริษัทออกและเสนอขาย ณ วันที่ 28 มิถุนายน 2544 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 1/2544 ไดมีมติอนุมัติ ใหบริษัทออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยูในปจจุบัน ดังนั้น บริษัทไดเสนอขายหุนกู ดังนี้ 1. หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด ครั้งที่1/2545 ครบกําหนด ไถถอนป พ.ศ. 2551 1) ชื่อเฉพาะของหุนกู

:

หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอน กอนกําหนด ของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2551

2) ประเภทของหุนกู

:

หุ น กู มี ป ระกัน ชนิ ด ทยอยชําระคื น เงิน ตน สามารถไถ ถ อน กอนกําหนด ระบุชื่อผูถือและไมดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือ หุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุนกู ที่เสนอขายได

:

11,715,400 หนวย คิดเปนมูลคา 11,715,400,000 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันเจ็ดรอยสิบหาลานสี่แสนบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย

:

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย

:

1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

:

วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2545

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู :

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

8) สถานะของหุนกู

หุนกูเปนหนี้ของบริษัทซึ่งมีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวยและ จะมีสถานะไมดอยกวาหนี้มีประกันอื่นๆ ทั้งในปจจุบันและ ในอนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

:

71


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

9) การชําระเงินตน

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

:

บริษัทจะทยอยชําระคืนเงินตนเปนงวดๆ ในวันชําระดอกเบี้ย เริ่มตั้งแตวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2546 เปนตนไป โดยจะชําระ คืนเงินตนงวดสุดทายในวันครบกําหนดไถถอนหุนกู

รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย (หนวย: บาท)

วันทยอยชําระคืนเงินตน วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2546 วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2546 วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2546 วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2547 วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2547 วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2547 วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2548 วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2548 วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2548 วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2549 วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549 วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2549 วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2550 วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2550 วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550 วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2551 วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2551 วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 5.00 8.00 8.00 10.00 10.00 16.00 16.00 19.00 19.00 19.00 45.00 45.00 55.00 55.00 60.00 60.00 70.00 70.00 70.00 70.00 90.00 90.00 90.00

72


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10) อัตราดอกเบี้ยและการชําระดอกเบี้ย : บริษัทจะชําระดอกเบี้ยของหุนกูในอัตรารอยละ 6.1 ตอป โดยชํ า ระทุ ก ๆ สาม (3) เดื อ น ในวั น ที่ 7 มกราคม 7 เมษายน 7 กรกฎาคม และ 7 ตุลาคม ของทุกป โดยเริ่ม ชําระดอกเบี้ยครั้งแรกในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2546 โดย ดอกเบี้ยในแตละงวดดอกเบี้ยหุนกูจะคํานวณจากเงินตน คงคางของหุนกูคูณกับจํานวนวันที่ผานไปจริงในแตละ งวดดอกเบี้ยหุนกูที่เกี่ยวของคูณกับอัตราดอกเบี้ยดังกลาว หารดวยสามรอยหกสิบหา (365) วัน 11) การไถถอนหุนกู

: การไถถอนหุนกูจะกระทําโดยการชําระเงินตนคางชําระ งวดสุดทายพรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่จะตอง ชําระในขณะนั้นทั้งหมดใหแกผูถือหุนกูตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

12) การซื้อคืนหุนกู

: ภายใต เงื่อ นไขในสั ญ ญาระหว างเจ าหนี้ บริ ษั ท มี สิ ท ธิ ซื้ อ คื น หุ น กู จากตลาดรองหรื อ แหล งอื่ น ๆ ได ไ ม ว าใน เวลาใด ๆ เมื่อบริษัทไดซื้อคืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ตาม หุ น กู ดังกลาวระงับ ลง และให บ ริษั ท ดํ าเนิ น การแจงให นายทะเบียนหุนกูทราบเพื่อยกเลิกหุนกูที่ซื้อมาดังกลาว ทันที

13) การไถถอนหุนกูกอนกําหนด

: ภายใตเงื่อนไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิที่ จะไถถอนหุนกูกอนกําหนด โดยวันไถถอนหุ นกูกอน กําหนดจะเป น วัน ชํ าระดอกเบี้ ย ใด ๆ หลั งจากวั น ครบ รอบปที่สาม นับจากวันออกหุนกู และราคาไถถอนหุน กูกอนกําหนดตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย จะเทากับเงินตน คงคาง (ไมรวมดอกเบี้ยที่ยังไมไดชําระ) และคาธรรมเนียม ในอัตรารอยละศูนยจุดหา (0.5) ตอป บนเงิน ตนคงคาง ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย ณ วัน ไถถอนหุนกูกอนกําหนด ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท ไถ ถ อนหุ น กู ก อ นกํ า หนดบางส ว น บริษัทจะตองไถถอนหุนกูกอนกําหนดไมนอยกวารอยละ ยี่สิบหา (25) ของหุนกูที่ยังไมไดไถถอน ณ เวลานั้น โดย ให ไ ถ ถ อนหุ น กู ต ามสั ด ส ว นจํ านวนหุ น กู ที่ ผู ถื อ หุ น กู

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

73


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แต ละรายถื อครองอยู ทั้ งนี้ ตามเงื่อ นไขในข อ กํ าหนด สิทธิ 14) หลักประกันหุนกู

: บริษัทจะไดจัดใหมี และดํารงไวซึ่ง หลักประกัน ของ หุ น กู ต ลอดอายุข องหุ น กู ซึ่ งเป น การให ห ลั ก ประกั น ที่มีผลผูกพันทรัพยสินของบริษัทใหแกผูถือหุนกู เชน สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญาโอน สิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือบัญชีเพื่อการชําระเงิน ของหุ น กู เป น ต น ทั้ ง นี้ ภายใต เงื่ อ นไขของเอกสาร หลักประกัน และเอกสารหลักประกันของหุนกู โดยที่ หลั ก ประกั น บางส ว นจะสิ้ น ผลบั ง คั บ ไปหลั ง จากที่ บริษัทไดชําระหนี้ใหกับเจาหนี้มีประกันเดิมหมดสิ้นแลว ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิ หากบริษัท ไม ส ามารถจัด ให มี ห ลั ก ประกั น (ยกเวน การโอนสิ ท ธิ เรียกรองในการประกัน ภัยซึ่งบริษัทจะดําเนิน การโอน สิทธิเรียกรอง ดังกลาวภายในหกสิบ (60) วัน หลังจาก วั น ออกหุ น กู ) สํ า หรั บ การชํ า ระหนี้ ทั้ ง ดอกเบี้ ย และ เงิ น ต น ของหุ น กู ต ามเงื่ อ นไขใน ข อ กํ า หนดสิ ท ธิ ไ ด ภายในเจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอขายหุนกู ให ผู จั ด การการจั ด จํ า หน า ยหรื อ ผู จั ด จํ า หน า ยรายที่ เป น ผูรับจองซื้อหุนกู (แลวแตกรณี) คืนเงินคาจองซื้อหุนกู พรอมดอกเบี้ยที่เกิดจากบัญชีจองซื้อหุนกู (ถามี) สําหรับ เงิน ดั งกล าวให ผู จ องซื้ อ หุ น กู ที่ จ องซื้ อ ผ านตนภายใน สิบสี่ (14) วัน นับแตวันปดการเสนอขายหุนกู

15)การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

: บริษัทจะจัดใหมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือของหุนกู โดยสถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือที่ไดรับความเห็น ชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยตลอดอายุของหุนกู ซึ่งบริษัทไดแตงตั้ง ใหบริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เปนผูทําการจัดอันดับความ นาเชื่อถือหุนกู โดยผลการจัดอันดับที่บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากั ด เผยแพรเมื่อวัน ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548หุ น กูได 74


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รั บ การจั ด อั น ดั บ ความน าเชื่ อ ถื อ อยูใ นเกณฑ BBB ซึ่ ง อันดับความนาเชื่อถือนี้มิไดจัดขึ้นเพื่อเปนขอแนะนําให ผูลงทุนทําการซื้อขาย หรือถือหุนกูที่เสนอขายและอาจมี การเพิ ก ถอนหรือ เปลี่ยนแปลงโดย บริษั ท ทริส เรทติ้ ง จํากัด ไดตอไป 2. หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด และมีผูค้ําประกันบางสวน ครั้งที่ 2/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 1) ชื่อเฉพาะของหุนกู

: หุ น กู มี ป ระกั น ชนิ ด ทยอยชํ า ระคื น เงิ น ต น สามารถ ไถ ถ อนก อ นกํ าหนดและมี ผู ค้ํ าประกั น บางส ว น ของ บริษั ท ทรู คอรป อเรชั่น จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554

2) ประเภทของหุนกู

: หุ น กู มี ป ระกั น ชนิ ด ทยอยชํ า ระคื น เงิ น ต น สามารถ ไถถอนกอนกําหนด มีผูค้ําประกันบางสวน ระบุชื่อผูถือ และไมดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุนกู ที่เสนอขายได

: 6,750,000 หนวย คิดเปนมูลคา 6,750,000,000 บาท (หกพันเจ็ดรอยหาสิบลานบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย

: 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย

: 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

: วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2545

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู

: วันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554

8) สถานะของหุนกู

: หุนกูเปนหนี้ของบริษัทซึ่งมีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวย และจะมี ส ถานะไม ด อ ยกว าหนี้ มี ป ระกั น อื่ น ๆ ทั้ ง ใน ปจจุบันและในอนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

9) การชําระเงินตน

: บริษั ท จะทยอยชํ าระคืน เงิน ต น เป น งวด ๆ ในวัน ชําระ ดอกเบี้ยเริ่มตั้งแตวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เปนตนไป

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

75


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โดยจะชํ าระคื น เงิ น ต น งวดสุ ด ท า ยในวั น ครบกํ าหนด ไถถอนหุนกู รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

วันทยอยชําระคืนเงินตน วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

(หนวย: บาท) จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 160.00

วันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553

160.00

วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

160.00

วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553

160.00

วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

180.00

วันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554

180.00

10) อัตราดอกเบี้ยและการชําระดอกเบี้ย

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

: บริษัทจะชําระดอกเบี้ยของหุ น กูในอัตราดอกเบี้ยที่MLR ตอปโดยชําระทุก ๆ สาม (3) เตือน ในวันที่ 3 กุมภาพันธ 3 พฤษภาคม 3 สิงหาคม และ 3 พฤศจิกายน ของทุกป โดย เริ่มชําระดอกเบี้ยครั้งแรกในวันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 โดยดอกเบี้ ย ในแต ล ะงวดดอกเบี้ ย หุ น กู จ ะคํ า นวณจาก เงิน ตนคงคางของหุนกูคูณ กับจํานวนวันที่ผานไปจริงใน แต ล ะงวดดอกเบี้ ย หุ น กู ที่ เกี่ ย วข อ งคู ณ กั บ อั ต ราดอกเบี้ ย ดังกลาวหารดวยสามรอยหกสิบหา (365) วัน อัตรา MLR หรือ Minimum Lending Rate หมายถึง สําหรับงวดดอกเบี้ย หุนกูใด ๆ อัตราเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ยอางอิงที่ ธนาคาร กรุ ง เทพ จํ า กั ด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิ ช ย จํ า กั ด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคาร กสิกรไทย จํากัด (มหาชน) ณ วันทําการไทยที่สาม (3) กอน หน า วั น แรกของงวดดอกเบี้ ย หุ น กู นั้ น โดยหากในวั น ดั ง กล า ว ปรากฏว า มี อั ต ราดอกเบี้ ย อ างอิ ง ของธนาคาร 76


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พาณิชยขางตนไมครบทั้งสี่ (4) ธนาคารไมวาดวยเหตุใดก็ตาม การคํานวณอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยใหใชอัตราดอกเบี้ยอางอิงที่ เหลืออยูเปนเกณฑ ทั้งนี้ตามเงื่อนไขในขอกําหนดสิทธิ 11) การไถถอนหุนกู

: การไถถอนหุนกูจะกระทําโดยการชําระเงินตนคางชําระ งวดสุดทาย พรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่จะตอง ชําระในขณะนั้นทั้งหมดใหแกผูถือหุนกูตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

12) การซื้อคืนหุนกู

: ภายใตเงื่อนไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิซื้อคืน หุนกูจากตลาดรองหรือแหลงอื่น ๆ ไดไมวาในเวลาใด ๆ เมื่อบริษัทไดซื้อคืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ตามหุนกูดังกลาว ระงับลงและใหบริษัทดําเนินการแจงใหนายทะเบียนหุนกู ทราบเพื่อยกเลิกหุนกูที่ซื้อมาดังกลาวทันที

13) การไถถอนหุนกูกอนกําหนด

: ภายใตเงื่อนไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิที่ จะไถถอนหุ น กู กอนกําหนด โดยวัน ไถถอนหุ น กูกอน กําหนดจะเป น วัน ชําระดอกเบี้ ย ใด ๆ หลั งจากวัน ครบ รอบปที่สาม นับจากวันออกหุนกู และราคาไถถอนหุนกู กอนกําหนดตอ หุนกูหนึ่ง (1) หนวย จะเทากับเงินตนคงคาง (ไมรวมดอกเบี้ยที่ยังไมไดชําระ) และคาธรรมเนียมใน อัตรารอยละศูนยจุดหา (0.5) ตอป บนเงินตนคงคางตอ หุนกูหนึ่ง (1) หนวย ณ วันไถถอนหุนกูกอนกําหนด ใน กรณีที่บริษัทไถถอนหุนกูกอนกําหนด บางสวน บริษัท จะตองไถถอนหุนกูกอนกําหนดไมนอยกวารอยละยี่สิบหา (25) ของหุนกูที่ยังไมไดไถถอน ณ เวลานั้น โดยจะไถถอน หุ น กู ต ามสั ด ส ว นจํ านวนหุ น กู ที่ ผู ถื อ หุ น กู แ ต ล ะราย ถือครองอยู ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขในขอกําหนดสิทธิ

14) หลักประกันหุนกู

: บริษัทจะไดจัดใหมีและดํารงไวซึ่งหลักประกันของหุนกู ตลอดอายุของหุนกู ซึ่งเปนการใหหลักประกันที่มีผลผูกพัน ทรั พ ย สิ น ของบริษั ท ให แ ก ผู ถื อ หุ น กู เช น สั ญ ญาโอน สิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

77


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มีเงื่อนไขเหนือบัญชีเพื่อการชําระเงินของหุนกู เปนตน ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไขของเอกสารหลักประกัน และเอกสาร หลั ก ประกั น ของหุ น กู โดยที่ ห ลั ก ประกั น บางส วนจะ สิ้นผลบังคับไปหลังจากที่บริษัทไดชําระหนี้ใหกับเจาหนี้ มีประกันเดิมหมดสิ้นแลว นอกจากนี้ หุนกูมีผูค้ําประกัน บางสวนคือ บรรษัทเงินทุนระหวางประเทศ (ไอเอฟซี) ซึ่ งเป น ผู ค้ําประกัน ทั้ งเงิน ต น และดอกเบี้ ยจํานวนรวม ไมเกินรอยละหาสิบ(50) ของหุนกู ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิ หากบริษัท ไม ส ามารถจัด ให มี ห ลั ก ประกั น (ยกเวน การโอนสิ ท ธิ เรียกรองในการประกัน ภัยซึ่งบริษัทจะดําเนิน การโอน สิทธิเรียกรองดังกลาวในหกสิบ (60) วัน หลังจากวันออก หุน กู) สํ าหรับการชําระหนี้ ทั้งดอกเบี้ยและเงิน ตน ของ หุนกูตามเงื่อนไขในขอกําหนดสิทธิไดภายในเจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอขายหุนกู ทั้งนี้ ใหผูจัดการการจัด จําหน ายหรือ ผู จั ด จํ าหน ายรายที่ เป น ผู รับ จองซื้ อ หุ น กู (แลวแตก รณี ) คืน เงิน คาจองซื้ อหุ น กู พ รอ มดอกเบี้ ยที่ เกิดจากบัญชีจองซื้อหุนกู (ถามี) สําหรับเงินดังกลาว ให ผูจองซื้อหุนกูที่จองซื้อหุนกูผานตนภายในสิบสี่ (14) วัน นับแตวันปดการเสนอขายหุนกู 15) การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

: บริษัทจะจัดใหมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือหุนกูโดย สถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือที่ไดรับความเห็นชอบ จากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพยตลอดอายุของหุ นกู ซึ่ งบริษั ทไดแตงตั้งให บริ ษั ท ทริ สเรทติ้ ง จํ ากั ด เป น ผู ทํ า การจั ด อั น ดั บ ความ นาเชื่อถือหุนกู โดยผลการจัดอันดับที่บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เผยแพรเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548 หุนกูได รับการจัดอันดับความนาเชื่อถืออยูในเกณฑ A ซึ่งอันดับ ความนาเชื่อถือนี้มิไดจัดขึ้นเพื่อเปนขอแนะนําใหผูลงทุน ทํ าการซื้ อ ขาย หรื อ ถื อ หุ น กู ที่ เสนอขายและอาจมี ก าร

78


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงโดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด ไดตอไป 3. หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2546 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2550 1) ชื่อเฉพาะของหุนกู

: หุนกูมีประกันชนิดทยอยชําระคืนเงินตนของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่ น จํากัด(มหาชน) ครั้งที่ 1/2546 ครบกํ าหนด ไถถอนป พ.ศ. 2550

2) ประเภทของหุนกู

: หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ระบุชื่อผูถือ และไมดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุนกู ที่เสนอขายได

: 3,319,000 หนวย คิดเปนมูลคา 3,319,000,000 บาท (สามพันสามรอยสิบเกาลานบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย

: 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย

: 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

: วันที่ 18 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู

: วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550

8) สถานะของหุนกู

: หุนกูเปนหนี้ของบริษัทซึ่งมีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวย และจะมี ส ถานะไม ด อ ยกว าหนี้ มี ป ระกั น อื่ น ๆ ทั้ ง ใน ปจจุบันและในอนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

9) การชําระเงินตน

: บริษั ท จะทยอยชํ าระคืน เงิน ต น เป น งวดๆ ในวัน ชํ าระ ดอกเบี้ย เริ่มตั้งแตวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2548 เปนตนไป โดยจะชํ าระคื น เงิ น ต น งวดสุ ด ท ายในวั น ครบกํ าหนด ไถถอนหุนกู

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

79


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย วันทยอยชําระคืนเงินตน วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2548

(หนวย: บาท) จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 12.5

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2548

12.5

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

97.5

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2548

97.5

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2549

97.5

วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2550

97.5

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2550

97.5

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

97.5

วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2550

97.5

10) อัตราดอกเบี้ ยและการชําระดอกเบี้ย: บริษัทจะชําระดอกเบี้ ยของหุ นกูในอัตราคงที่รอยละ 5.8 ตอป โดยชําระทุ ก ๆ สาม (3) เดือน ในวัน ที่ 7 มกราคม 7 เมษายน 7 กรกฎาคม และ 7 ตุลาคม ของทุกป โดยเริ่ม ชํ าระดอกเบี้ ย ครั้ งแรกในวั น ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2546 โดย ดอกเบี้ ยในแต ละงวดดอกเบี้ ยหุ น กู จะคํานวณจากเงิน ต น คงคางของหุนกูคูณกับจํานวนวันที่ผานไปจริงในแตละงวด ดอกเบี้ยหุนกูที่เกี่ยวของคูณกับอัตราดอกเบี้ยดังกลาวหาร ดวยสามรอยหกสิบหา (365) วัน

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

80


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

11) การไถถอนหุนกู

:

การไถถอนหุนกูจะกระทําโดยการชําระเงินตนคางชําระ งวดสุดทายพรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่จะตองชําระ ในขณะนั้นทั้งหมดใหแกผูถือหุนกูตอหุนกูหนึ่ง(1) หนวย

12) การซื้อคืนหุนกู

: ภายใตเงื่อนไขในสัญญาระหวางเจาหนี้ บริษัทมีสิทธิซื้อคืน หุนกูจากตลาดรองหรือแหลงอื่น ๆ ไดไมวาในเวลาใด ๆ เมื่อบริษัทไดซื้อคืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ตามหุนกูดังกลาว ระงับลง และใหบริษัทดําเนินการแจงใหนายทะเบียนหุนกู ทราบเพื่อยกเลิกหุนกูที่ซื้อมาดังกลาวทันที

13) หลักประกันหุนกู

: บริษัทจะไดจัดใหมีและดํารงไวซึ่งหลักประกันของหุนกู ตลอดอายุของหุนกู ซึ่งเปนการใหหลักประกันที่มีผลผูกพัน ทรัพยสินของบริษัทใหแกผูถือหุนกู เชน สัญญาโอนสิทธิ เรี ย กร อ งแบบมี เ งื่ อ นไขเหนื อ สั ม ปทาน (Conditional Assignment of Concession) สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมี เงื่อนไขเหนือบัญชีเพื่อการชําระเงินของหุนกูเปนตน ทั้งนี้ ภายใต เงื่ อ นไขของเอกสารหลั ก ประกั น และเอกสาร หลักประกัน ของหุน กู โดยที่ห ลักประกัน บางสวนจะสิ้ น ผลบั งคั บ ไปหลั ง จากที่ บริ ษั ทได ชํ าระหนี้ ให กั บเจ าหนี้ มี ประกันเดิมหมดสิ้นแลว ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิหากบริษัท ไม ส ามารถจั ด ให มี ห ลั ก ประกั น สํ าหรั บ การชํ าระหนี้ ทั้งดอกเบี้ยและเงินตนของหุนกูตามเงื่อนไขในขอกําหนด สิ ท ธิไ ด ภ ายในเจ็ ด (7) วั น นั บ จากวั น ป ด การเสนอขาย หุนกู ใหผูจัดการการจัดจําหนาย หรือผูจัดจําหนายรายที่ เปนผูรับจองซื้อหุนกู (แลวแตกรณี) คืนเงินคาจองซื้อหุน กู พ ร อ มดอกเบี้ ย ที่ เ กิ ด จากบั ญ ชี จ องซื้ อ หุ น กู (ถ า มี ) สํ าหรับ เงิน ดั งกล าวให ผู จ องซื้ อ หุ น กู ที่ จ องซื้ อ ผ านตน ภายในสิบสี่ (14) วัน นับแตวันปดการเสนอขายหุนกู

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

81


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

14) การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

: บริษัทจะจัดให มีการจัดอันดับความนาเชื่อถือหุนกูโดย สถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือที่ไดรับความเห็นชอบ จากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพยตลอดอายุของหุนกู ซึ่งบริษัทไดแตงตั้งให บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เปนผูทําการจัดอันดับความนา เชื่อถือหุ น กู โดยผล การจัดอัน ดับที่ บริษั ท ทริสเรทติ้ง จํากัด เผยแพรเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548หุนกูไดรับ การจัดอันดับความนาเชื่อถืออยูในเกณฑ BBB ซึ่งอันดับ ความนาเชื่อถือนี้มิไดจัดขึ้นเพื่อเปนขอแนะนําใหผูลงทุน ทํ าการซื้ อ ขาย หรื อ ถื อ หุ น กู ที่ เสนอขายและอาจมี ก าร เพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงโดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด ไดตอไป

4. หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่1/2547 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 1) ชื่อเฉพาะของหุนกู

: หุนกูมีประกันชนิดทยอยชําระคืนเงินตนของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2547 ครบกําหนด ไถถอนป พ.ศ. 2554

2) ประเภทของหุนกู

: หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงิน ตน ระบุชื่อผูถือ และไมดอยสิทธิ และมีผูแทนผูถือหุนกู

3) จํานวนและมูลคาหุนกู ที่เสนอขายได

: 2,413,000 หนวย คิดเปนมูลคา 2,413,000,000 บาท (สองพันสี่รอยสิบสามลานบาทถวน)

4) มูลคาที่ตราไวตอหนวย

: 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

5) ราคาเสนอขายตอหนวย

: 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถวน)

6) วันออกหุนกู

: วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2547

7) วันครบกําหนดไถถอนหุนกู

: วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

82


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8) สถานะของหุนกู

: หุนกูเปนหนี้ของบริษัทซึ่งมีสถานะเทาเทียมกันทุกหนวย และจะมี ส ถานะไม ด อ ยกว าหนี้ มี ป ระกั น อื่ น ๆ ทั้ ง ใน ปจจุบันและในอนาคตของบริษัท ตลอดอายุของหุนกู

9) การชําระเงินตน

: บริษั ท จะทยอยชํ าระคืน เงิน ต น เป น งวด ๆ ในวัน ชํ าระ ดอกเบี้ ยเริ่มตั้งแตวัน ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เปน ตนไป โดยจะชํ าระคื น เงิ น ต น งวดสุ ด ท า ยในวั น ครบกํ าหนด ไถถอนหุนกู รายละเอียดการทยอยชําระคืนเงินตนตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย

วันทยอยชําระคืนเงินตน วันที่ 7 ตุลาคม 2551

(หนวย: บาท) จํานวนเงินตนที่ตองชําระ ตอหุนกูหนึ่ง (1) หนวย 83.33

วันที่ 7 มกราคม 2552

83.33

วันที่ 7 เมษายน 2552

83.33

วันที่ 7 กรกฎาคม 2552

83.33

วันที่ 7 ตุลาคม 2552

83.33

วันที่ 7 มกราคม 2553

83.33

วันที่ 7 เมษายน 2553

83.33

วันที่ 7 กรกฎาคม 2553

83.33

วันที่ 7 ตุลาคม 2553

83.33

วันที่ 7 มกราคม 2554

83.33

วันที่ 7 เมษายน 2554

83.33

วันที่ 7 กรกฎาคม 2554

83.37

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

83


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10) อัตราดอกเบี้ยและการชําระดอกเบี้ย : บริษัทจะชําระดอกเบี้ยของหุนกูในอัตราคงที่รอยละ 6.8 ตอป โดยชําระทุกๆ สาม (3) เดือน ในวันที่ 7 มกราคม 7 เมษายน 7 กรกฎาคม และ 7 ตุลาคม ของทุกปโดยเริ่ม ชําระดอกเบี้ ยครั้งแรกในวัน ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2547 โดย ดอกเบี้ยในแตละงวดดอกเบี้ยหุนกูจะคํานวณจากเงินตน คงคางของหุนกูคูณกับจํานวนวันที่ผานไปจริงในแตละ งวดดอกเบี้ยหุนกูที่เกี่ยวของคูณกับอัตราดอกเบี้ยดังกลาว หารดวยสามรอยหกสิบหา (365) วัน 11) การไถถอนหุนกู

: การไถถอนหุนกูจะกระทําโดยการชําระเงินตนคางชําระ งวดสุดทายพรอมทั้งดอกเบี้ยหุนกูงวดสุดทายที่จะตอง ชําระในขณะนั้ น ทั้งหมดให แก ผูถือหุ น กูตอหุ น กูห นึ่ง (1) หนวย

12) การซื้อคืนหุนกู

: ภายใต เงื่อ นไขในสั ญ ญาระหว างเจ าหนี้ บริ ษั ท มี สิ ท ธิ ซื้ อ คื น หุ น กู จากตลาดรองหรือ แหล งอื่ น ๆ ได ไ ม ว าใน เวลาใด ๆ เมื่อบริษัทไดซื้อคืนหุนกูแลว ใหถือวาหนี้ตาม หุ น กูดังกลาวระงับ ลง และให บ ริษั ท ดําเนิ น การแจงให นายทะเบียนหุนกูทราบเพื่อยกเลิกหุนกูที่ซื้อมาดังกลาว ทันที

13) หลักประกันหุนกู

: บริษัทจะไดจัดใหมีและดํารงไวซึ่งหลักประกันของหุนกู ตลอดอายุ ข องหุ น กู ซึ่ ง เป น การให ห ลั ก ประกั น ที่ มี ผลผู ก พั น ทรั พ ย สิ น ของบริ ษั ท ให แ ก ผู ถื อ หุ น กู เช น สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน (Conditional Assignment of Concession) สั ญ ญ าโอ น สิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือบัญชีเพื่อการชําระเงิน ของหุนกู สัญญาจํานําสิทธิในการไดรับเงินฝากเพื่อหุนกู เปนตนทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไขของเอกสารหลักประกัน และ เอกสารหลักประกันของหุนกู โดยที่หลักประกันบางสวน จะสิ้ น ผลบั งคั บ ไปหลั งจากที่ บ ริษั ท ไดชําระหนี้ ให กั บ เจาหนี้มีประกันเดิมหมดสิ้นแลว

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

84


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไวในขอกําหนดสิทธิหากบริษัท ไมสามารถจัดใหมีหลักประกัน สําหรับการชําระหนี้ทั้ง ดอกเบี้ยและเงินตนของหุนกูตามเงื่อนไขในขอกําหนด สิทธิไดภายในเจ็ด (7) วัน นับจากวันปดการเสนอขายหุน กูใหผูจัดการการจัดจําหนาย หรือผูจัดจําหนายรายที่เปน ผูรับจองซื้อหุนกู (แลวแตกรณี ) คืนเงิน คาจองซื้อหุน กู พรอมดอกเบี้ยที่เกิดจากบัญชีจองซื้อหุนกู (ถามี) สําหรับ เงินดังกลาวใหผูจองซื้อหุนกูที่จองซื้อผานตนภายในสิบสี่ (14) วัน นับแตวันปดการเสนอขายหุนกู 14)การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

: บริษัทจะจัดใหมีการจัดอันดับความนาเชื่อถือหุนกูโดย สถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือที่ไดรับความเห็นชอบ จากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลัก ทรัพ ยตลอดอายุข องหุ น กู ซึ่ งบริษั ท ไดแ ต งตั้ งให บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด เปนผูทําการจัดอันดับความนา เชื่อถือหุ น กู โดยผล การจัดอัน ดับที่ บริษั ท ทริสเรทติ้ ง จํากัด เผยแพรเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2548 หุนกูไดรับการ จั ด อั น ดั บ ความน า เชื่ อ ถื อ อยู ใ นเกณฑ BBB ซึ่ ง อั น ดั บ ความนาเชื่อถือนี้มิไดจัดขึ้นเพื่อเปนขอแนะนําใหผูลงทุน ทํ าการซื้ อ ขาย หรือ ถื อ หุ น กู ที่ เสนอขาย และอาจมี ก าร เพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงโดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด ไดตอไป

85


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9. การจัดการ 9.1 โครงสรางการจัดการ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการ คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการที่เปนอิสระ

คณะกรรมการ ดานการตลาดและบริหารแบรนด

คณะกรรมการ ดานการจัดการและบริหารทั่วไป

โฮม / คอนซูเมอรโซลูชนั่

ออฟฟศ / เอสเอ็มอีโซลูชั่น

การตลาด

ดิสทริบิวชั่นแอนดเซลส

TRUETL: การจัดการ

คณะกรรมการตรวจสอบ

กรรมการผูจัดการใหญ / ประธานคณะผูบริหาร

คอรปอเรท โซลูชั่น

บริการลูกคา

ปฏิบัติการ

กฎหมาย

สื่อสารองคกร และ บริหารกิจกรรมสาธารณะ

การเงินและบัญชี

ทรัพยากรบุคคล

การลงทุนกลุม

ตรวจสอบภายใน

วิจัยและพัฒนา

การวางแผนและ ควบคุมคุณภาพองคกร 86


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางการจัดการของบริษัทประกอบดวย ก. คณะกรรมการบริษัท ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการที่เปนอิสระ 3) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ 4) คณะกรรมการดานการเงิน 5) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ค. คณะผูบริหาร ก. คณะกรรมการบริษัท ตามข อ บั งคั บ ของบริษั ท กํ าหนดให ค ณะกรรมการของบริษั ท ประกอบด ว ยกรรมการ จํานวนไมนอยกวา 5 คน และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดนั้นตองมีถิ่นที่ อยูในราชอาณาจักร โดยกรรมการของบริษัทจะตองเปนผูมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกําหนด ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2548 คณะกรรมการของบริษั ท ประกอบด ว ยบุ ค คลผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ จํานวนรวมทั้งสิ้น 18 ทาน ประกอบดวย (1) กรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Directors) จํานวน 4 ทาน (2) กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร (Non-Executive Directors) จํานวน 14 ทาน ประกอบดวย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จํานวน 4 ทาน - กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไมเกี่ยวของในการบริหารงานประจํา ซึ่งรวมตัวแทน ของกลุมเจาหนี้และผูถือหุนรายใหญ จํานวน 10 ทาน คํานิยาม กรรมการที่เปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่ดํารงตําแหนงเปนผูบริหารและมีสวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจําของบริษัท กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่มิไดดํารงตําแหนงเปนผูบริหารและไมมีสวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจํา ของบริษัท อาจจะเปนหรือไมเปนกรรมการอิสระก็ได

TRUETL: การจัดการ

87


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีคุณสมบัติดังนี้ - ไมมีสวนรวมในการบริหารงานในบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือผูถือหุนรายใหญของบริษัท รวมทั้งไมเปนลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับ เงินเดือนประจําจากบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือผูถือหุน รายใหญของบริษัท ไมเปนผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือเปนบุคคลที่อาจมีความขัดแยง - ถือหุนต่ํากวารอยละ 5 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดในบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยนับรวมหุนที่ถือโดย บุคคลที่เกี่ยวของตามมาตรา 258 แหงพระราชบัญญั ติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ดวย - ไมเปนผูที่เกี่ยวของหรือเปนญาติสนิทกับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญของบริษัท บริษัท ในเครือ บริษัทรวมหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง - ไมไดรับการแตงตั้งใหเปนตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชนของกรรมการบริษัท ผูถือหุน รายใหญของบริษัท หรือผูถือหุนของบริษัทซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของ บริษัท - สามารถปฏิบัติหนาที่และแสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบัติงานตามหนาที่ซึ่ง ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทไดโดยอิสระ ไมอยูภายใตการควบคุมของ ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ รวมทั้งผูที่เกี่ยวของหรือญาติสนิทของบุคคลดังกลาว คณะกรรมการบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548) มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

นายณรงค นายวิทยา ดร.โกศล นายโชติ นายธนินท นายสุเมธ ดร.อาชว นายเฉลียว

TRUETL: การจัดการ

ศรีสอาน เวชชาชีวะ เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช เจียรวนนท เจียรวนนท เตาลานนท สุวรรณกิตติ

ตําแหนง กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ

88


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายนาม 9. นายอธึก

อัศวานันท

10. นายศุภชัย

เจียรวนนท

11. นายสุภกิต 12. นายชัชวาลย

เจียรวนนท เจียรวนนท

13. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

14. 15. 16. 17. 18.

สรรพสิทธิ์วงศ ไฮมส คลอคเคอ ลิงค แลม

นายอํารุง นายไฮนริช นายอันเดรียส นายฮาราลด ดร. ลี จี.

ตําแหนง รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร กรรมการ กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – Group Investment กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ทั้งนี้ กรรมการบริษัททุกทาน เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด และไมมี ลักษณะตองหามตามกฎหมาย ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท นายศุภชัย เจียรวนนท หรือ นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน ลงลายมือชื่อรวมกับ นายอธึก อัศวานันท หรือ นายสุภกิต เจียรวนนท หรือ นายชัชวาลย เจียรวนนท รวมเปนสองคน และประทับตราสําคัญของบริษัท อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษั ท มี อํ า นาจและหน า ที่ จั ด การบริ ษั ท ให เป น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุน ในสวนของการจัดการบริษัทนั้น คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ ตัดสินใจและดูแลการดําเนินงานของบริษัท เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติอนุมัติจาก ที่ประชุมผูถือหุน นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน หรือบุคคลอื่นใด ปฏิบัติการอยางใดอยางหนึ่งแทนคณะกรรมการได อยางไรก็ตาม การตัดสินใจใน TRUETL: การจัดการ

89


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การดําเนินงานที่สําคัญ อาทิเชน การลงทุนและการกูยืมที่มีนัยสําคัญ ฝายบริหารจะตองนําเสนอตอ คณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ ในป 2548 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมจํานวน 6 ครั้ง โดยมีรายนามคณะกรรมการ ผูเขารวมประชุมดังตอไปนี้ ชื่อ

1. นายณรงค 2. นายวิทยา

ศรีสอาน เวชชาชีวะ

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช เจียรวนนท เจียรวนนท เตาลานนท สุวรรณกิตติ อัศวานันท

ดร. โกศล นายโชติ นายธนินท นายสุเมธ ดร. อาชว นายเฉลียว นายอธึก

10. นายศุภชัย

เจียรวนนท

11. นายสุภกิต เจียรวนนท 12. นายชัชวาลย เจียรวนนท 13. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

14. นายอํารุง 15. นายไฮนริช 16. นายอันเดรียส 17. นายฮาราลด 18. ดร. ลี จี. แลม

สรรพสิทธิ์วงศ ไฮมส คลอคเคอ ลิงค

ตําแหนง

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร กรรมการ กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – Group Investment กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

การเขารวมประชุม / การประชุม ทั้งหมด* (ครั้ง) 5/6 6/6 6/6 6/6 3/6 2/6 5/6 6/6 5/6 5/6 4/6 5/6 6/6 6/6 3/6 6/6 3/6 5/6

* การเขารวมประชุม / การประชุมทั้งหมด เปนการแสดงจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุมนับตั้งแต ตนป 2548 หรือ นับจากวัน ที่กรรมการไดเขาดํารงตําแหน งกรรมการของบริษั ท ในระหวางป เปรียบเที ยบกับ จํานวนครั้งทั้งหมดที่บริษัทจัดประชุมคณะกรรมการในป 2548 TRUETL: การจัดการ

90


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กรรมการทุกทานทุมเทใหกับการปฏิบัติหนาที่เปนกรรมการ ใหความรวมมือชวยเหลือใน การดําเนินกิจการของบริษัทในทุกๆ ดาน ซึ่งเปนภาระที่หนักและตองรับผิดชอบอยางยิ่ง สําหรับ บทบาท หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตลอดจนการเขารวมประชุมของกรรมการ แตละทานนั้น กรรมการทุกทานเขารวมในการประชุมทุกครั้ง เวนแตกรณีที่มีเหตุสําคัญและจําเปนที่ ไม อ าจหลี ก เลี่ ย งได อยางไรก็ ต าม กรรมการท านใดที่ ติ ด ภารกิ จ จําเป น ไม ส ามารถเข ารว มประชุ ม คณะกรรมการบริษัทได จะบอกกลาวแจงเหตุผลขอลาการประชุมและใหความคิดเห็นตอวาระการ ประชุมที่สําคัญเปนการลวงหนาทุกครั้ง นอกจากนี้ กรรมการของบริษัทใหความสําคัญกับการเขาอบรมตามหลักสูตรที่สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) กําหนด กรรมการบางทานยังเปนกรรมการอิสระดวย ซึ่งมี ความเป น อิ สระโดยแท จริง ไม มีอํานาจลงนามผูกพันบริษั ท กรรมการทุกทานมีคุณสมบั ติเป นไปตาม หลักเกณฑที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย กําหนดไวทุกประการ การสรรหากรรมการ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการทําหนาที่พิจารณาคุณสมบัติของ บุคคลที่จะเลือกตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการหรือกรรมการอิสระของบริษัท โดยพิจารณาคุณวุฒิ และ ประสบการณเพื่อใหไดบุคคลที่มีความเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัท แลวจึงนําเสนอพรอมใหความเห็น ตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาเลือกในเบื้องตน และคณะกรรมการบริษัทจะเปนผูเสนอขอมูล พรอมทั้งความเห็นของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อ เปนผูพิจารณาในลําดับสุดทายในการเลือกตั้งบุคคลเขาดํารงตําแหนงกรรมการบริษัท สํ าหรั บ สิ ท ธิ ข องผู ถื อ หุ น ในการแต งตั้ ง กรรมการนั้ น ที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น เป น ผู แ ต งตั้ ง กรรมการบริษัทโดยใชเกณฑเสียงขางมาก ทั้งนี้ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งกรรมการ โดยผูถือหุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง และสามารถเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือ หลายคนเป นกรรมการก็ไดโดยใชคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู แตจะแบงคะแนนเสียงให แกผูใด มากนอยเพียงใดไมได ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2548 คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษั ท ประกอบด ว ยบุ ค คล ผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน มีรายนามดังตอไปนี้

TRUETL: การจัดการ

91


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายนาม เวชชาชีวะ เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช

1. นายวิทยา 2. ดร.โกศล 3. นายโชติ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทมีขอบเขต หนาที่ และความรับผิดชอบ ดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษัทมีรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบ ภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้ง และเสนอคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท 4. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 5. พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัท ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่ อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหมีความถูกตองครบถวน 6. จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไวใน รายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด หรือ คณะกรรมการของบริษัทจะมอบหมาย 2) คณะกรรมการที่เปนอิสระ คณะกรรมการที่ เป น อิ ส ระ ทํ าหน าที่ ดู แ ลการเข าทํ ารายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แยงทาง ผลประโยชนที่มีความสําคัญสูง มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม 1. นายณรงค ศรีสอาน 2. นายโชติ โภควนิช 3. นายอันเดรียส คลอคเคอ 4. นายศุภชัย เจียรวนนท 5. นายอธึก อัศวานันท

TRUETL: การจัดการ

ตําแหนง กรรมการอิสระ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการจาก KfW กรรมการจากเครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการจากเครือเจริญโภคภัณฑ

92


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้ ง นี้ ในกรณี ที่ ผู ถื อ หุ น รายใหญ ฝ า ยใดเป น ผู มี ส ว นได เสี ย ในรายการที่ อ าจมี ค วาม ขัดแยงทางผลประโยชน กรรมการที่เปน ตัวแทนของผูถือหุน ฝายดังกลาว จะถอนตัวออกจากการ เขารวมประชุมในที่ประชุมคณะกรรมการที่เปนอิสระนี้เมื่อพิจารณารายการดังกลาว 3) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการกํ าหนดค าตอบแทนและสรรหากรรมการ ทํ าหน าที่ ดู แ ลการกํ าหนด ค า ตอบแทนกรรมการและพิ จ ารณากลั่ น กรองการสรรหากรรมการก อ นนํ า เสนอต อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัท มีรายนามดังตอไปนี้ 1. นายธนินท 2. นายไฮนริช 3. นายสุภกิต 4. นายอํารุง

เจียรวนนท ไฮมส เจียรวนนท สรรพสิทธิ์วงศ

4) คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการดานการเงิน ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดาน การเงิน มีรายนามดังตอไปนี้ 1. ดร.อาชว 2. นายเฉลียว 3. นายไฮนริช

เตาลานนท สุวรรณกิตติ ไฮมส

4. นายอํารุง

สรรพสิทธิ์วงศ

(ในกรณีที่ไมสามารถเขาประชุมได ใหนายอันเดรียส คลอคเคอ เขาประชุมแทน)

5) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการชุดใหม ซึ่งแตงตั้งเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2549 โดยที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. TRUETL: การจัดการ

นายณรงค นายวิทยา ดร. โกศล นายโชติ นายอันเดรียส

ศรีสอาน เวชชาชีวะ เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช คลอคเคอ 93


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ค. คณะผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ผูบริหารของบริษัทมีรายนาม ดังตอไปนี้ รายนาม ตําแหนง 1. นายศุภชัย เจียรวนนท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร 2. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ 3. นายชัชวาลย เจียรวนนท กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร - Group Investment 4. นายอธึก อัศวานันท รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย และรักษาการเลขานุการบริษัท 5. นายวิลเลี่ยม แฮริส หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน 6. นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ ผูอํานวยการบริหาร-Home/Consumer Solution & Highspeed Access 7. นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข ผูอํานวยการบริหาร-Office/SME Solution & Wireless Access 8. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย ผูอํานวยการบริหาร-Corporate Solution, Wholesales & Data หมายเหตุ : “ผูบริหาร” ในหัวขอนี้ หมายถึง กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ หรือผูดํารงตําแหนง ระดับบริหารสี่รายแรกนับตอจากกรรมการผูจัดการใหญลงมา และผูซึ่งดํารงตําแหนง เทียบเทากับผูดํารงตําแหนงระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย ทั้งนี้ ผูบริหารของบริษัททุกทาน เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด และ ไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมาย ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ มีอํานาจหนาที่ในการดูแลและดําเนินการใด ๆ อันเปนการดําเนินงาน ตามธุรกิจปกติของบริษัท (day to day business) และในกรณีที่เรื่อง/รายการดังกลาวเปนรายการที่สําคัญ กรรมการผูจัดการใหญจะนําเสนอเรื่อง/รายการดังกลาวใหแกกรรมการอิสระ และ/หรือคณะกรรมการ ชุดยอยที่เกี่ยวของ (ซึ่งไดแก คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหา กรรมการ หรือ คณะกรรมการที่เปนอิสระ) และ/หรือ คณะกรรมการบริษัท แลวแตกรณี เพื่อพิจารณา อนุมัติเรื่อง/รายการดังกลาว นอกจากนี้ กรรมการผูจัดการใหญไมมีอํานาจในการที่จะอนุมัติเรื่อง/รายการ ที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใน ลักษณะอื่นใด จะเขาทํากับบริษัท หรือบริษัทยอย ในกรณีดังกลาว เรื่อง/รายการดังกลาวจะตองไดรับ

TRUETL: การจัดการ

94


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อนุมัติจากกรรมการอิสระ และ/หรือ คณะกรรมการชุดยอยที่เกี่ยวของ และ/หรือ คณะกรรมการบริษัท (แลวแตกรณี) เทานั้น 9.2 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัท (1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1.1) คาตอบแทนกรรมการ ตั้งแตเดือนมกราคม – ธันวาคม 2548 คาตอบแทนคณะกรรมการรวม 20 ทาน (มีกรรมการ 2 ทานลาออกในระหวางป) เปนเงินรวมทั้งสิ้น จํานวน 34,000,000 บาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ไดรับคาตอบแทน ทานละ (บาท/ป) กลุมที่ 1 - ประธานกรรมการ ไดแก นายธนินท เจียรวนนท - กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงประธานกรรมการใน คณะกรรมการชุดยอยไดแก นายวิทยา เวชชาชีวะ รวม กลุมที่ 2 - กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงกรรมการในคณะกรรมการ ชุดยอย ไดแก นายณรงค ศรีสอาน, ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ และ นายโชติ โภควนิช รวม กลุมที่ 3 - รองประธานกรรมการ ไดแก นายสุเมธ เจียรวนนท, ดร. อาชว เตาลานนท, นายเฉลียว สุวรรณกิตติ และ นายอธึก อัศวานันท รวม

TRUETL: การจัดการ

รวม (บาท/ป)

3,600,000 3,600,000 7,200,000 2,400,000

7,200,000 1,800,000

7,200,000

95


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ไดรับคาตอบแทน ทานละ (บาท/ป) กลุมที่ 4 - กรรมการ ไดแก นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน, นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ, นายไฮนริช ไฮมส, นายอันเดรียส คลอคเคอ, นายฮาราลด ลิงค และ ดร. ลี จี. แลม - กรรมการ (ลาออกระหวางป) ไดแก นายเคลาส ทุงเคอเลอ และ นายเคลาส สแตดเลอร รวม รวมทั้งสิ้น

รวม (บาท/ป)

1,200,000

800,000 12,400,000 34,000,000

(1.2) คาตอบแทนผูบริหาร ตั้งแตเดือนมกราคม – ธันวาคม 2548 คาตอบแทนผูบริหารรวม 8 ทาน เปนเงินทั้งสิ้น จํานวน 103.43 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเงินเดือน จํานวน 85.20 ลานบาท โบนัส/ผลตอบแทน การปฏิบัติงาน จํานวน 14.20 ลานบาท และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ จํานวน 4.03 ลานบาท (2)

คาตอบแทนอื่น

คาตอบแทนอื่นของกรรมการและผูบริหารของบริษัท ไดแก โครงการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารของ บริษัทและ/หรือบริษัทยอย (โครงการ ESOP) รวม 4 โครงการ ดังนี้ (2.1) โครงการ ESOP 2004 (2.2) โครงการ ESOP 2003 (2.3) โครงการ ESOP 2002 (2.4) โครงการ ESOP 2000 นอกจากนี้ บริษัทมีโครงการ ESOP 2005 ขณะนี้สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลั ก ทรัพ ย (สํ านั ก งาน ก.ล.ต.) อยูในระหวางการพิ จารณาอนุ ญ าตให อ อกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิในโครงการ ESOP 2005 ดังกลาว ซึ่งคาดวาจะไดรับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ในตนป 2549

TRUETL: การจัดการ

96


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดโครงการ ESOP (2.1) โครงการ ESOP 2004 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 2/2547 วันที่ 10 มิถุนายน 2547ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2004”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 18,274,444 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 7 กุมภาพันธ 2548

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

5 ปนับจากวันที่ออก : 6 กุมภาพันธ 2553 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แต ล ะฉบั บ มี สั ด ส ว นเท า กั บ 1 ใน 3 ของจํ า นวนหน ว ยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับจะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2549 เปนตนไป จนกวาจะ ครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3

อัตราการใชสิทธิ

TRUETL: การจัดการ

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 11.20 บาท 97


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(2.2) โครงการ ESOP 2003 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 วันที่ 11 เมษายน 2546 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2003”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ : 14,547,189 หนวย ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ (ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2549) วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

อัตราการใชสิทธิ

TRUETL: การจัดการ

: 17 มิถุนายน 2546 5 ปนับจากวันที่ออก : 16 มิถุนายน 2551 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวย ของใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรร ทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลา การใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 17 มิถุนายน 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 5.20 บาท

98


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(2.3) โครงการ ESOP 2002 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2545 วันที่ 12 เมษายน 2545 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 37,131,597 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 14 มิถุนายน 2545

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 13 มิถุนายน 2550

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวย ของใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรร ทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลา การใชสิทธิ ดังนี้

อัตราการใชสิทธิ

TRUETL: การจัดการ

ฉบับที่ 1

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2546 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 2

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2547 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ฉบับที่ 3

ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2548 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

99


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(2.4) โครงการ ESOP 2000 ณ วันที่ 27 เมษายน 2543 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย โดยมี สาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ

: 36,995,000 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2543

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 10 ป นับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2553

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ใบสําคัญ แสดงสิทธิประเภทที่ 1 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ แตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 30 มิถุนายน ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ : ใบสําคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 2 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบ สําคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของ จํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละ ฉบั บ จะมี ร ะยะเวลาการใช สิ ท ธิ ค รั้ ง แรกได ตั้ ง แต วั น ที่ 31 ธันวาคม ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ

อัตราการใชสิทธิ

TRUETL: การจัดการ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

100


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอี ย ดการถื อ ใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ ภ ายใต โ ครงการ ESOP ของกรรมการและ ผูบริหารของบริษัท มีดังนี้

ชื่อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ดร.อาชว เตาลานนท นายสุภกิต เจียรวนนท นายศุภชัย เจียรวนนท นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน นายชัชวาลย เจียรวนนท นายอธึก อัศวานันท นายวิลเลี่ยม แฮริส นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2004 จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ 2,434,077 12.74 1,277,890 6.69 1,277,890 6.69 1,331,136 6.97 1,277,890 6.69 1,277,890 6.69 1,277,890 6.69 1,277,890 6.69

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2003 จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ 3,696,402 18.61 1,617,176 8.14 1,940,611 9.77 2,021,470 10.18 1,297,838 6.53 850,404 4.28 -

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2002 จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ 7,058,824 19.01 3,088,235 8.32 3,705,882 9.98 3,860,294 10.40 3,000,000 8.08 1,503,662 4.05 -

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2000 จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ 2,240,000 6.06 4,130,000 11.16 6,510,000 17.60 2,800,000 7.57 4,130,000 11.16 5,320,000 14.38 945,000 2.55 -

9.3 รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กําหนดแนวทางพื้นฐานในการดําเนินธุรกิจของ บริษัทใหสอดคลองกับกฎหมาย ระเบียบ ขอกําหนดและกฎเกณฑของหนวยงานที่กํากับดูแล ตลอดจน พันธะทางสัญญาตางๆ นอกเหนือจากนี้ คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสําคัญและไดดําเนินการ อยางตอเนื่องเพื่อใหมีระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีกระบวนการจัดการที่โปรงใสที่จะทําใหผูถือหุน เชื่อมั่นวาจะเปนไปเพื่อประโยชนสูงสุดของผูถือหุนในระยะยาว อันเปนการเพิ่มมูลคาขององคกรเพื่อ เสริมสรางประโยชนสูงสุดใหแกบริษัทและผูถือหุนตอไปในอนาคต ในป 2548 บริษัทไดมีการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี 15 ขอ (ซึ่งเปนหลักการ ที่แนะนําโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย) สรุปไดดังนี้ 1. นโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสําคัญอยางยิ่งกับการดําเนินกิจการภายใตระบบการ กํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทมีห นาที่ และความรับผิดชอบที่ จะตองบริห ารกิจการเพื่ อ ผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนทั้งหลายภายในกรอบของกฎหมาย กฎเกณฑ และประเพณีนิยมที่ บริษัทดําเนินการอยู มีการบริหารจัดการ การบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายในและระบบการ TRUETL: การจัดการ

101


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตรวจสอบที่ มี ป ระสิ ท ธิภ าพ เพื่ อเสริม สรางมู ลค าในระยะยาวของผู ถื อหุ น ในขณะเดี ยวกั น พิ ทั ก ษ ผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียอื่น เนนการดําเนินกิจการที่นาเชื่อถือ โปรงใส ตรวจสอบได มีระบบ การเปดเผยขอมูลที่ถูกตอง ครบถวน ทันเวลา ระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุน ตระหนักถึงความรับผิดชอบตอผูถือหุนทุกกลุมอยางเทาเทียมกัน คณะกรรมการบริษัทจึงไดจัดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีขึ้นเปนลายลักษณอักษร โดยประกาศ ใชนโยบายการกํากับดูแลกิจการมาตั้งแตป 2546 เพื่อใหกรรมการ ฝายจัดการ ผูบริหาร พนักงาน และ ลูกจางทุกคนไดทราบและยึดถือเปนแนวทางปฏิบัติรวมกัน และเผยแพรผานทางเว็บไซตของบริษัทโดย จัดทําขอมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อใหผูสนใจและผูที่เกี่ยวของทุกฝายไดทราบโดยทั่วกัน 2. สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน คณะกรรมการบริษัทคํานึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานตามกฎหมายของผูถือหุนและปฏิบัติตอผูถือหุน ทุ ก รายโดยเท าเที ยมกั น การประชุ ม ผู ถื อ หุ น ทุ ก ครั้ งบริษั ท จะกํ าหนดสถานที่ ป ระชุ ม ขึ้ น เฉพาะใน กรุงเทพมหานครเทานั้น เพื่อสนับสนุนใหผูถือหุนเดินทางมาเขารวมประชุมไดโดยสะดวก กําหนด ขั้นตอนและวิธีการเขารวมประชุมแบบไมยุงยากสลับซับซอนแตยังคงความเปนระบบเพื่อความโปรงใส บริษัทอํานวยความสะดวกแกผูถือหุนในการใชสิทธิเขารวมประชุมและออกเสียง ใหสิทธิ ออกเสี ย งเท าเที ย มกั น ตามจํานวนหุ น ที่ ถื อ หนึ่ งหุ น ต อ หนึ่ งเสี ย ง ดู แ ลระมั ด ระวังให ผู ถื อ หุ น ได รั บ สารสนเทศที่เพียงพอลวงหน าภายในระยะเวลาที่ เหมาะสมกอนการประชุ มผูถือหุ น จัด สงหนั งสื อ มอบฉันทะพรอมคําชี้แจงรายละเอียดเอกสารที่ตองใชประกอบการมอบฉันทะอยางชัดเจน พรอมทั้งจัด ใหมีกรรมการอิสระเปนผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุนสําหรับผูถือหุนที่ไมสามารถมาเขารวมประชุมดวย ตนเองได นอกจากนี้ยังไดเผยแพรหนังสือนัดประชุม ขอมูลประกอบวาระการประชุมผูถือหุนทั้งภาษา ไทยและภาษาอังกฤษไวในเว็บไซตของบริษัท และลงประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ บริษัทมีมาตรการดูแลขอมูลภายในเพื่อปองกันการนําไปใชเพื่อประโยชนสวนตนในทาง มิชอบ เปดเผยสารสนเทศที่สําคัญของกรรมการในสวนที่เกี่ยวกับความสัมพันธที่เกี่ยวของกับบริษัท กรรมการและผูบริหารมีการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียของตนและผูเกี่ยวของเพื่อใหผูถือหุนและ ผูลงทุนทั่วไปทราบ ในป 2548 ที่ผานมา การประชุมผูถือหุนทุกครั้งจัดขึ้น ณ อาคาร ทรู ทาวเวอร ที่ตั้งสํานักงาน ใหญ ซึ่งเปนสถานที่สะดวกแกการเดินทาง และบริษัทไดจัดทําแผนที่และใหขอมูลเกี่ยวกับเสนทางและ วิธีการเดินทางเพื่อมารวมประชุม จัดทําแผนผังแสดงขั้นตอนและวิธีการลงทะเบียน มีเจาหนาที่คอยให คําแนะนําชี้แจงและคอยอํานวยความสะดวกตาง ๆ ตลอดจนชี้แจงวิธีการออกเสียงลงคะแนนในแตละ วาระ

TRUETL: การจัดการ

102


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. สิทธิของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ คณะกรรมการบริษัทดูแลสิทธิตามที่กฎหมายกําหนดของผูมีสวนไดสวนเสียกลุมตางๆ (Stakeholders) และประสานประโยชน ร ว มกั น อย า งเหมาะสม เพื่ อ ให Stakeholders มั่ น ใจว าสิ ท ธิ ดังกลาวไดรับการคุมครองและปฏิบัติดวยดี เชน - มีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับความปลอดภัยและสวัสดิการของพนักงาน รวมทั้งจัดใหมี การฝกอบรมและพัฒนาความรูของบุคลากรประจําปแกพนักงานทุกระดับ มีนโยบายสงเสริมพนักงาน อยางตอเนื่องเพื่อเสริมประสิทธิภาพในการทํางาน - ใหความสําคัญกับสังคมโดยมีการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมที่หลากหลาย - ใหความสําคัญกับการบริหารและดําเนินกิจการเพื่อใหผูถือหุนเกิดความเชื่อมั่นวาจะ กอใหเกิดประโยชนสูงสุดและรักษามูลคาของบริษัทและผูถือหุน - มีหลักเกณฑและเงื่อนไขตลอดจนมีการปฏิบัติที่ชัดเจนและเปนธรรมในการดําเนิน ธุรกิจกับลูกคาทุกราย ตลอดจนการทําธุรกิจกับคูคาและองคกรตางๆ เปนตน - ผูถือหุนคนใดมีสวนไดเสียเปนพิเศษในเรื่องใดซึ่งที่ประชุมจะพิจารณาลงมติ ผูถือหุน นั้นจะไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น - ในกรณีที่ Stakeholders ตองการขาวสารขอมูลเพิ่มเติม เชน คําชี้แจงเกี่ยวกับรายงาน ทางการเงิน หรือสารสนเทศที่บริษัทเปดเผยตอสาธารณชน เปนตน บริษัทไดจัดชองทางที่ Stakeholders ฝายตางๆ สามารถติดตอสื่อสารกับฝายจัดการโดยผานฝายลงทุนสัมพันธ นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทสงเสริมและสนับสนุนใหมีการนําคุณ ธรรมและขอพึง ปฏิบัติในการทํางานมาใชกับพนักงานทุกคนของบริษัท กําหนดใหพนักงานทุกคนรับทราบเพื่อปฏิบัติ ตามหลักเกณฑที่เปนมาตรฐานสูงสุดในการปฏิบัติตอเพื่อนรวมงาน ลูกคา คูคา คูแขงขัน หนวยงานภาครัฐ สังคม และผูมีสวนไดเสียอื่น ๆ 4. การประชุมผูถือหุน คณะกรรมการจัดใหมีการประชุมผูถือหุนเปนการประชุมสามัญประจําปภายในสี่เดือนนับแต วันสิ้นสุดของรอบปบัญชีของบริษัท การประชุมผูถือหุนคราวอื่นเรียกวาการประชุมวิสามัญ ในป 2548 บริษัทจัดประชุมผูถือหุนรวม 3 ครั้ง เปนการประชุมสามัญผูถือหุน 1 ครั้ง และประชุมวิสามัญผูถือหุน 2 ครั้ง ในการประชุมผูถือหุนทุกครั้ง บริษัทดูแลระมัดระวังใหหนังสือนัดประชุมและเอกสาร สารสนเทศตางๆ ไปถึงผูถือหุนลวงหนากอนวันประชุมในระยะเวลาพอสมควรที่ผูถือหุนจะไดมีโอกาส ศึกษาขอมูลสารสนเทศกอนเขาประชุม โดยจัดสงหนังสือนัดประชุมใหผูถือหุนเปนเวลาเกินกวาเจ็ดวัน TRUETL: การจัดการ

103


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กอนวันประชุมซึ่งมากกวาที่กฎหมายกําหนด สําหรับกรณีที่นัดประชุมผูถือหุนเพื่อขออนุมัติการออก หลัก ทรัพ ยเสนอขายต อกรรมการหรือพนั กงาน หรือการได มาซึ่ งสิ นทรัพยที่ สํ าคัญ บริษั ทจะจัดส ง หนังสือนัดประชุมถึงผูถือหุนลวงหนาอยางนอยสิบสี่วันกอนวันประชุม และลงโฆษณาคําบอกกลาวนัด ประชุมในหนังสือพิมพติดตอกันสามวันกอนวันประชุมไมนอยกวาสามวันดวย และเปดใหลงทะเบียน ลวงหนากอนการประชุมเกินกวา 1 ชั่วโมงกอนถึงเวลากําหนดนัดประชุม หนังสือนัดประชุมผูถือหุนระบุชัดเจนในแตละวาระวาเปนเรื่องที่จะเสนอเพื่อทราบ เพื่อ อนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา มีการนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับกรรมการที่จะเลือกตั้งใหม คาตอบแทนกรรมการ ขอมูลเกี่ยวกับผูสอบบัญชี รวมถึงความคิดเห็นของกรรมการ วัตถุประสงคและเหตุผลในแตละวาระ ไวอยางครบถวน ประธานที่ประชุมทําหนาที่ควบคุมการประชุมใหเปนไปตามขอบังคับของบริษัท โดยดําเนินการประชุมตามลําดับระเบียบวาระที่กําหนดไวในหนังสือนัดประชุม และไมมีการพิจารณา วาระอื่นใดนอกเหนือจากที่ไดกําหนดไวในหนังสือนัดประชุม เปดโอกาสและจัดสรรเวลาใหผูถือหุน ไดซักถามในแตละวาระอยางเหมาะสม ตลอดจนแจงวิธีการลงคะแนนและวิธีก ารที่ ใชนับ คะแนน ใหผูถือหุนทราบกอนลงคะแนน และเปดโอกาสใหผูถือหุนออกเสียงลงคะแนนตามลําดับระเบียบวาระ ให เสร็จ เรี ย บร อ ยก อ นจึ งเริ่ม ระเบี ย บวาระต อ ไปตามลํ าดั บ โดยกรรมการ ประธานคณะผู บ ริห าร ประธานคณะกรรมการชุดยอยหรือตัวแทนคณะกรรมการชุดยอยชุดตางๆ และผูบริหารเขารวมการ ประชุมเพื่อชี้แจงและตอบคําถามตอที่ประชุม การจัดทํารายงานการประชุมเปนไปอยางถูกตอง ตรงไปตรงมา มีสาระสําคัญครบถวน มี การบั น ทึ ก สาระสํ าคั ญ ของประเด็น คําถามและคํ าตอบของผู ถื อหุ น ตลอดจนบั น ทึ ก จํานวนเสี ยงที่ เห็นดวย ไมเห็นดวย หรืองดออกเสียง ไวในรายงานการประชุม โดยจัดทํารายงานการประชุมเสร็จและ นําสงตอหนวยงานที่กํากับดูแลตามที่กฎหมายและขอบังคับของทางการกําหนด และเก็บรักษาไวที่ ฝายเลขานุการบริษัทเพื่อเปนหลักฐานที่สามารถตรวจสอบและใชอางอิงได 5. ภาวะผูนําและวิสัยทัศน กรรมการบริษัทเปนผูมีความรู มีประสบการณอยางกวางขวางในสาขาตางๆ ที่เกี่ยวของ มี จ ริยธรรมในการดํ าเนิ น ธุรกิจ มี ความหลากหลายของอายุ ทั ก ษะ ความสามารถเฉพาะด านที่ เป น ประโยชนกับบริษัท เต็มใจที่จะอุทิศเวลาและความพยายามใหกับการเปนกรรมการ บริษัทกําหนดหนาที่และความรับผิดชอบ องคประกอบและการเลือกสรร โครงสรางและ วิธีดําเนินการของคณะกรรมการบริษัท ภาวะการเปนผูนํา ตลอดจนความสัมพันธของคณะกรรมการ บริษัทที่มีตอฝายจัดการ ไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจ และปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายและเปนไปตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ปฏิบัติหนาที่

TRUETL: การจัดการ

104


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ดวยความซื่อสัตยสุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท มีความเขาใจในภาพรวมของธุรกิจ ของบริ ษั ท สามารถเป น ผู นํ า ควบคุ ม ดู แ ล เฝ าสั ง เกตการณ ก ารปฏิ บั ติ งานของฝ ายจั ด การ และให คําแนะนําตอฝายจัดการใหนํานโยบายของบริษัทไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษัทสนับสนุนสงเสริมใหกรรมการไดเขารับการอบรมหลักสูตรตางๆ ที่สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จัดขึ้น ตลอดจนการฝกอบรมหลักสูตรอื่นๆ ที่เหมาะสม เพื่อใหมั่นใจ วากรรมการบริษัทมีความคุนเคยกับธุรกิจและแนวปฏิบัติในการกํากับดูแลกิจการของบริษัท กฎหมาย ใหมที่มีความเกี่ยวของกับบริษัท กฎระเบียบและความเสี่ยงทางธุรกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงไป และหนาที่ ความรับผิดชอบในการเปดเผยขอมูลสารสนเทศตางๆ ใหครบถวนถูกตอง 6. ความขัดแยงของผลประโยชน บริษัทกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการเขาทํารายการระหวางกัน คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติใน การทํางานไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท กรรมการแตละคนมีหนาที่ที่จะตองสราง ความมั่นใจวาจะไมมีการทําธุรกรรมที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผลประโยชน สวนตัวของกรรมการกับผลประโยชนของบริษัท หนาที่ดังกลาวรวมถึงการปองกันการดําเนินการใด ๆ ที่จะสงผลใหผูถือหุนรายใหญมีความไดเปรียบอันเปนการทําใหเกิดความเสียหายแกบริษัท ในการทําธุรกรรมสําคัญ หากเปนกรณีการตกลงเขาทํารายการที่ตองขอความเห็นชอบจาก ที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท ตองมีเสียงเห็นชอบไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผูถือหุน ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน อยางไรก็ตาม ในการทําธุรกรรมสําคัญที่มีผลกระทบตอ ความเสี่ยงและการดําเนินธุรกิจของบริษัท ซึ่งคณะกรรมการพิจารณาแลวเห็นวาเปนเรื่องที่สําคัญและจะ มีผลกระทบกับผูถือหุนสวนใหญ เปนเรื่องที่ผูถือหุนสมควรจะเปนผูตัดสินใจ แมวารายการดังกลาวจะ ไมถึงระดับที่ตองขอความเห็นชอบจากที่ประชุมผูถือหุน บริษัทก็จะนําเสนอใหที่ประชุมผูถือหุนเปนผู พิจารณาอนุมัติรายการดังกลาว 7. จริยธรรมธุรกิจ บริษัทจัดทําแนวทางเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจเพื่อใหบุคลากรทุกคนไดทราบและเขาใจถึง มาตรฐานการปฏิบัติตนตามที่บริษัทและผูถือหุนคาดหวังไวเปนลายลักษณอักษร คือ “ขอพึงปฏิบัติใน การทํางาน” ซึ่งกําหนดใหบุคลากรทุกคนของบริษัทตองลงนามรับทราบและถือเปนหนาที่ที่จะตอง ปฏิบัติตามอยางเครงครัด และเผยแพรไวในเว็บไซตของบริษัท ข อ พึ งปฏิ บั ติ ในการทํ างานของบริษั ท ประกอบด ว ยหั ว ข อหลั ก เกี่ ยวกั บ ข อ พึ งปฏิ บั ติ สวนบุคคลและสภาพแวดลอมในสถานที่ทํางาน การรักษาสภาวะแวดลอม การปกปองทรัพยสินของ บริษัท ความสัมพันธกับลูกคา ขอตกลงที่เปนธรรมกับบุคคลอื่น ตลอดจนการทํางานรวมกับหนวย TRUETL: การจัดการ

105


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

งานของรัฐ บริษัทมีมาตรการและเฝาสังเกตใหมีการปฏิบัติตามอยางจริงจัง เพื่อใหมั่นใจวากิจกรรม ตางๆ ของบริษัทไดดําเนินไปในลักษณะที่ถูกตองตามกฎหมายและจริยธรรมที่ดี นอกจากนี้ บริษัทจัดใหมีขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน ซึ่งกําหนดวินัย โทษทางวินัย ตลอดจน อํานาจของผูบังคับบัญชาในการลงโทษ ไวเปนลายลักษณอักษร พนักงานทุกคนมีหนารักษาวินัย และ มาตรฐานความประพฤติที่ ดีตามที่ กําหนด โดยมอบหมายให สายงานดานทรัพ ยากรบุคคลมี ห น าที่ ควบคุมดูแล และมีหนาที่ลงโทษผูละเมิดทางวินัย และหรือทางกฎหมายตามความเหมาะสมและเปนธรรม แลวแตกรณี 8. การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร องคประกอบของคณะกรรมการบริษัทในปจจุบันเปนไปตามที่กําหนดไวในนโยบายการ กํากับดูแลกิจการที่ดี ณ 31 ธันวาคม 2548 คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 18 ทาน ประกอบดวยกรรมการที่เปน ผูบริหารจํานวน 4 ทาน ที่เหลืออีก 14 ทานเปนกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร ซึ่งประกอบดวยกรรมการ อิสระจํานวน 4 ทาน โดยมี 3 ทานดํารงตําแหนงเปนกรรมการตรวจสอบของบริษัทดวย สวนที่เหลืออีก 10 ทาน เปนกรรมการผูทรงคุณ วุฒิในดานตางๆ ซึ่งรวมถึงตัวแทนของกลุมเจาหนี้และผูถือหุนใหญ ที่ไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมผูถือหุน จํานวนและตําแหนงของคณะกรรมการ ณ ปจจุบัน สะทอน ให เห็ น ถึงความเหมาะสมและยุติธรรมตามสัด สวนของการลงทุ นของกลุมผูถือหุ นแตละกลุม โดย กรรมการสวนใหญมิใชผูบริหาร เพื่อเปนการรักษาสมดุลอํานาจและสรางความนาเชื่อถือในการบริหาร กรรมการอิสระของบริษัทมีความเปนอิสระจากผูถือหุนรายใหญและเปนอิสระจากความ สัมพันธอื่นใดที่จะกระทบตอการใชดุลพินิจอยางอิสระ และมีคุณสมบัติครบถวนตามนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทและตามขอกําหนดของหนวยงานที่กํากับดูแล 9. การรวมหรือแยกตําแหนง วิธีการหนึ่งที่จะชวยใหคณะกรรมการมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่กํากับดูแลฝายจัดการ ระดับสูงอยางมีประสิทธิผล คือ ประธานกรรมการควรเปนกรรมการที่มิใชผูบริหารและไมเปนบุคคล เดียวกันกับกรรมการผูจัดการใหญ ปจจุบั น ประธานกรรมการบริษั ทมิใชผูบริห ารและไมเปน บุคคลเดี ยวกัน กับกรรมการ ผูจัดการใหญ มีการแบงแยกอํานาจหนาที่ระหวางกันอยางชัดเจน เพื่อแบงแยกอํานาจหนาที่ในการ กําหนดนโยบาย การกํากับดูแล และการบริหารงานประจําออกจากกัน ไมใหคนใดคนหนึ่งมีอํานาจ โดยไมจํากัด เพื่อความเปนอิสระของประธานกรรมการ

TRUETL: การจัดการ

106


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10. คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายใหเปดเผยจํานวนคาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร ระดับสูงตามหลักเกณฑที่พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด และกฎ ระเบียบ ขอบังคับของหนวยงาน ที่กํากับดูแลกําหนด ค าตอบแทนกรรมการและผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง ได รับ การกลั่ น กรองโดยคณะกรรมการ กําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการซึ่งไดเคยวาจางบริษัทผูเชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษาอิสระทําการ สํ า รวจและจั ด ลํ า ดั บ ค า ตอบแทนผู บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ เปรี ย บเที ย บกั บ บริ ษั ท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ โทรคมนาคมของประเทศใกลเคียงในเอเซีย เนื่องจากผูประกอบธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศไทยมี นอยราย ทั้งนี้ เพื่อปรับปรุงใหคาตอบแทนของผูบริหารของบริษัทมีอัตราที่เหมาะสม เปรียบเทียบไดกับ นิติบุคคลอื่นที่อยูในประเภทและมีขนาดใกลเคียงกับบริษัท รวมทั้งสอดคลองกับผลประกอบการของ บริษัท สําหรับคาตอบแทนกรรมการนั้น บริษัทฯ ยังคงใชตามอัตราเดิมซึ่งที่ประชุมผูถือหุนไดเคยมีมติ ไว และบริษัทฯ ยังมิไดเสนอขอเปลี่ยนแปลง โดยมีรายละเอียดดังนี้ กรรมการไดรับคาตอบแทนเปนรายเดือน ประธานกรรมการ 300,000 บาทตอเดือน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 200,000 บาทตอเดือน รองประธานกรรมการ 150,000 บาทตอเดือน กรรมการ 100,000 บาทตอเดือน หากกรรมการท านใดเป น ลู ก จางของบริษั ท ก็ ให ค าตอบแทนกรรมการนี้ เป น ส ว น เพิ่มเติมจากคาจางปกติของลูกจางแตละทาน นอกจากนี้ กรรมการอิสระที่ทําหนาที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดรับ คาตอบแทนดังนี้ กรรมการอิสระที่เปนประธานในคณะกรรมการชุดยอย กรรมการอิสระที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย

300,000 บาทตอเดือน 200,000 บาทตอเดือน

สําหรับกรรมการอิสระที่มิไดเปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย และกรรมการ ทุกทานที่มิใชกรรมการอิสระ ใหไดรับคาตอบแทนคงเดิม คาตอบแทนผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทตามความเห็นและคําแนะนําของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการเปนผูพิจารณากําหนดแนวทางการประเมินผลงานของคณะผูบริหารระดับสูงรวม ถึงกรรมการผู จั ด การใหญ ด ว ย คณะกรรมการกําหนดค าตอบแทนและสรรหากรรมการได ทํ าการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผูจัดการใหญเปนประจําทุกปเพื่อพิจารณาวากรรมการผูจัดการ TRUETL: การจัดการ

107


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ใหญสามารถบริหารงานไดอยางมีประสิทธิผลเพียงใด บริหารงานไดตามเปาหมายหรือไม นํานโยบายที่ ไดรับจากคณะกรรมการมาบริหารจัดการและสามารถถายทอดนโยบายลงมายังผูบริหารระดับรองลงมาให สามารถนําไปบริหารจัดการตอไดหรือไม ทั้งนี้ เพื่อพิจารณาใหผลตอบแทนการปฏิบัติงานประจําป โดย คํานึงถึงหนาที่ความรับผิดชอบและความเสี่ยงที่เกี่ยวของ รวมถึงการเพิ่มมูลคาของสวนของผูถือหุน ในระยะยาว นอกจากนี้ ยังมีคาตอบแทนอื่น ไดแก Employee Stock Option Plan (โครงการ ESOP) ซึ่ง เปนโครงการที่บริษัทจัดขึ้นเพื่อเปนการสรางแรงจูงใจในระยะยาว ปจจุบันบริษัทออกโครงการ ESOP แล ว จํ า นวน 4 โครงการ ได แ ก ESOP 2000, ESOP 2002, ESOP 2003 และ ESOP 2004 และอี ก 1 โครงการ คือ ESOP 2005 ขณะนี้อยูในระหวางการพิจารณาอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ซึ่งคาดวาจะได รับอนุญาตประมาณตนป 2549 11. การประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ มีขอกําหนดเกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการไวอยางชัดเจนในขอบังคับของ บริษัท คณะกรรมการบริษั ท ต อ งจั ด ให มี ก ารประชุ ม อยางน อ ย 3 เดื อ นต อ ครั้ง โดยบริษั ท จะ กําหนดวันประชุมคณะกรรมการไวลวงหนาตลอดทั้งปสําหรับการประชุมปกติ เพื่อใหคณะกรรมการ บริษั ท และผู บ ริ ห ารได รับ ทราบและจั ด สรรเวลาเพื่ อ การประชุ ม ได ล ว งหน า ในการประชุ ม คณะ กรรมการบริษัทแตละครั้งจะจัดสรรเวลาที่จะใชในการประชุมไวอยางเหมาะสมและเพียงพอแกการ พิจารณาเรื่องตางๆ การจัดทําระเบียบวาระการประชุมตองชัดเจน มีเอกสารประกอบที่ใหขอมูลสําคัญ เกี่ยวกับเรื่องที่จะเสนอ และมีวาระเกี่ยวกับการรายงานผลการดําเนินงานเปนประจํา โดยจัดสงระเบียบ วาระการประชุม พรอมหนังสือนัดประชุมและเอกสารประกอบที่สําคัญไปยังกรรมการไมนอยกวา 7 วันลวงหนากอนวันประชุม ในการประชุมคณะกรรมการบริษั ทตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่ งของ จํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะนับวาครบองคประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหชี้ขาดตัดสินดวย เสียงขางมากโดยกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียงในการลงคะแนน เวนแตกรรมการซึ่งมีสวนไดเสีย ในเรื่องใด ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียง เพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด 12. คณะกรรมการชุดยอยที่คณะกรรมการบริษัทจัดตั้ง คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการชุดยอยเพื่อชวยคณะกรรมการบริษัท ในการ พิจารณารายละเอียดของเรื่องสําคัญในดานตาง ๆ เพื่อใหการดําเนินการของคณะกรรมการบริษัทเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการบริษัทไดจัดตั้งคณะกรรมการชุดยอยในเบื้องตน ดังนี้ TRUETL: การจัดการ

108


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

-

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการที่เปนอิสระ

บริษั ท เป ดเผยรายละเอี ยดขอมูล และกฎบั ตรของคณะกรรมการชุ ดยอยดังกล าวไวใน เว็บไซตของบริษัท นอกจากนี้ ในเวลาตอมาคณะกรรมการบริษัท ยังไดเห็นชอบใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการซึ่งพัฒนาขึ้นมาจากคณะทํางานดานการกํากับดูแลกิจการ 13. ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริษัท ไดจัดใหมีและดํารงรักษาไวซึ่งระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวา การบันทึกบัญชีมีความถูกตอง ครบถวนและเพียงพอที่จะดํารงไวซึ่ง ทรัพ ย สิ น ของบริษั ท ในการนี้ คณะกรรมการบริษั ท ไดแ ต งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเป น ผูดูแ ล รับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน นอกจากนี้ บริษัทจัดให หนวยงานตรวจสอบภายในของบริษัทอยูภายใตคณะกรรมการตรวจสอบ โดยหนวยงานตรวจสอบ ภายในจะทําหนาที่ตรวจสอบดูแลและเสนอแนะแนวทางปฏิบัติ เพื่อการประเมินผลและควบคุมอยางมี ประสิทธิผล บริษัทฯ มีการดูแลเรื่องการบริหารความเสี่ยงทั้งในดานการดําเนินงานและดานการเงิน อีกทั้งมีระบบการตรวจสอบภายในแบบ Risk-based Audit Approach ในดานการดําเนินงานนั้น บริษัทฯ มีคณะทํางานชื่อ BCP Steering Committee ทําหนาที่ ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทําและบริหารแผนฉุกเฉินขององคกร เพื่อรองรับกรณีที่เกิดวิกฤตการณ ในการดําเนินงานที่สําคัญของบริษัทฯ นอกจากนี้ ในดานการเงิน บริษัทฯ มีนโยบายการบริหารความ เสี่ยงทางการเงิน เพื่อปองกันความเสี่ยงที่เกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ โดยนําวิธีการบริหารความเสี่ยงดังนี้มาใชจัดการ ไดแก - ทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา - เจรจาตกลงเงื่อนไขการจายชําระหนี้ในสกุลเงินตราตางประเทศเปนแตละรายการ และ - เจรจาตกลงกับเจาหนี้ตางประเทศ เพื่อแบงภาระจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ

TRUETL: การจัดการ

109


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ บริษัทเปดเผยรายละเอียดขอมูลเกี่ยวกับวิธีการบริหารความเสี่ยงทางการเงินไวใน งบการเงินของบริษัทสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2548 ในสวนของหมายเหตุประกอบงบการเงิน เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน 14. รายงานของคณะกรรมการ เนื่องจากกฎหมายกําหนดใหคณะกรรมการตองจัดใหมีการทํางบการเงิน ณ วันสิ้นสุดของ รอบปบัญชีเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนในการประชุมสามัญประจําป โดยคณะกรรมการตองจัดให ผูสอบบัญชีตรวจสอบงบการเงินดังกลาวใหเสร็จกอนนําเสนอตอที่ประชุมผูถือหุน คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสําคัญที่วาความถูกตองและเชื่อถือไดของงบการเงิน เปนสวนสําคัญที่จะชวยเสริมสรางให เกิดความเชื่อมั่นตอการลงทุนในหลักทรัพยของบริษัท จึงได เปดเผยรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตอรายงานทางการเงินไวในรายงานประจําป 2548 ซึ่งไดจัดสงใหกับผูถือหุนพรอมหนังสือเชิญประชุม 15. ความสัมพันธกับผูลงทุน คณะกรรมการบริษัทใหความสําคัญตอการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส ทั่วถึง และทันเวลา โดยเผยแพรขอมูลขาวสารตาง ๆ เพื่อใหผูลงทุนและผูที่เกี่ยวของไดรับทราบโดย ผานชองทางและสื่อการเผยแพรตาง ๆ ตามความจําเปนและเหมาะสม บริษัทจัดใหมีฝายลงทุนสัมพันธ (Investor Relation Department) เปนหนวยงานที่รับผิดชอบ ในการดูแลใหขอมูลที่สําคัญตอนักลงทุน และเปนชองทางสําหรับใหผูถือหุนและนักลงทุนติดตอ การ สอบถามขอมูลตางๆ ผูลงทุนสามารถสอบถามผานหนวยงานดังกลาวไดโดยตรงในเวลาทําการ โดย ติดตอฝายลงทุนสัมพันธ หมายเลขโทรศัพท 0-2699-2515 โทรสาร 0-2643-0515 หรือผานเว็บไซต ของบริษัท www.truecorp.co.th หรือ E-mail: ir_office@truecorp.co.th นอกจากนี้ บริษั ท ยังจั ด ให มี ฝ ายประชาสั ม พั น ธ เพื่ อ เป น สื่ อ กลางในการสื่ อ สารและ เผยแพรบริการตางๆ ของบริษัทกับประชาชนทั่วไป เว็บไซตของบริษัทเปนชองทางเผยแพรขาวสารขอมูลที่สําคัญชองทางหนึ่งของบริษัท เปน ชองทางที่ใหรายละเอียดขอมูลตางๆ ไมวาจะเปนเรื่องเกี่ยวกับผลิตภัณฑ บุคลากร การบริหารจัดการ การประชุมผูถือหุน ตลอดจนผลประกอบการ เชน สําเนารายงานการประชุมผูถือหุน การรายงานขอมูล ตอผูลงทุน รายงานประจําป โดยเฉพาะอยางยิ่งผูลงทุนสามารถสืบคนขอมูลทางการเงินที่สําคัญยอนหลัง ไดถึง 5 ป

TRUETL: การจัดการ

110


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9.4 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน คณะกรรมการบริษัทตระหนั กถึงความสําคัญของการปองกัน การนําขอมูลภายในของ บริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตนเปนอยางยิ่ง บริษัทมีการกําหนดขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับขอมูลภายใน และการใชขอมูลภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยควบคูกับการใชมาตรการตามกฎหมายในการดูแล ผูบริหารในการนําขอมูลภายในของบริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตนและผูที่เกี่ยวของ ปองกันมิให กรรมการและผูบริหารที่มีสวนใกลชิดกับขอมูลของบริษัทนําขอมูลภายในที่ตนลวงรูมาจากการเปน กรรมการและ ผูบริหารมาแสวงหาประโยชนใดๆ อันจะเปนการฝาฝนหนาที่ความรับผิดชอบของตนที่มี ตอบริษัทและผูถือหุน จึงกําหนดเปนหลักใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ตองเก็บรักษาสารสนเทศ ที่สําคัญที่ยังไมไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจํากัดใหรับรูไดเฉพาะผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น ในการซื้ อ ขาย โอน หรือ รั บ โอนหลั ก ทรัพ ยที่ อ อกโดยบริ ษั ท กรรมการและผู บ ริห ารต อ งแจงต อ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (สํานักงาน ก.ล.ต.) ภายใน 3 วันนับแต วันที่เกิดรายการขึ้น พรอมทั้งสงสําเนารายงานดังกลาวใหกับบริษัทเพื่อเก็บเปนหลักฐานทุกครั้ง ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวา กรรมการและผูบริหารสามารถบริหารและดําเนินกิจการดวยความซื่อสัตยสุจริต มีความ ชัดเจน โปรงใส และสอดคลองกับมาตรการเกี่ยวกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท และ ยังมีสวนชวยใหผูถือหุนตลอดจนผูลงทุนทั่วไปเกิดความเชื่อมั่นในผูบริหารของบริษัท 9.5 บุคลากร ดังนี้

จํานวนพนักงานทั้งหมดของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 แบงแยกตามกลุมงานมี กลุมงาน พนักงานในระดับบริหาร ปฏิบัติการโครงขาย และ บํารุงรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริการลูกคา การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน ที่มา : บริษัท

TRUETL: การจัดการ

จํานวนพนักงาน (คน) 85 2,165 953 247 507 188 275 4,420

111


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาตอบแทน และผลประโยชนของพนักงาน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ในป 2548 คาตอบแทนพนักงานรวมทั้งสิ้นประมาณ 2,411.77 ลานบาท โดยประกอบดวย คาแรง เงินเดือน เงินตอบแทนการปฏิบัติงานประจําป คาทํางานลวงเวลา คาคอมมิชชั่น เงินสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพและอื่นๆ (โปรดดูรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 28) คาตอบแทนอื่น -

แผนประกันสุขภาพและสวัสดิการพนักงาน Â Â Â Â Â Â Â Â

หองพยาบาลของบริษัท การตรวจสุขภาพประจําป การตรวจรางกายพนักงานใหม การประกันสุขภาพกลุม การประกันอุบัติเหตุกลุม การประกันชีวิตกลุม กองทุนประกันสังคม กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

- วันหยุดพักผอนประจําป พนักงานของบริษัท มีสิทธิหยุดพักผอนประจําป 10 วัน 12 วัน และ 15 วันทํางาน ขึ้นอยูกับระดับ ตําแหนงและอายุการทํางาน ดังนี้ พนักงานระดับผูชวยผูอํานวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป มีสิทธิหยุดพักผอนปละ 15 วัน ทํางาน พนักงานระดับผูจัดการหรือเทียบเทาลงมา มีสิทธิหยุดพักผอนประจําป ตามอายุงานดังนี้ - พนทดลองงาน แตไมถึง 3 ป 10 วันทํางาน - อายุงาน 3 ป แตไมถึง 5 ป 12 วันทํางาน - อายุงานตั้งแต 5 ปขึ้นไป 15 วันทํางาน

พนักงานตองใชสิทธิการหยุดพักผอนประจําปตามที่กําหนดใหของแตละปใหเสร็จสิ้น ภายใน เดือนธันวาคมของทุกป วันหยุดพักผอนประจําปที่ไมไดหยุดจะสะสมไวใชในปตอไปไมได

กรณีพนักงานไมไดรับอนุญาตใหหยุดพักผอนประจําป เนื่องจากความจําเปนเรงดวนของงาน ใหอยูในดุลยพินิจของผูบังคับบัญชา ที่จะอนุมัติใหสะสมวันหยุดพักผอนประจําปที่ไมไดใชในป นั้นไปใชในปถัดไปได โดยจํานวนวันหยุดสะสมตองไมเกิน 5 วัน 6 วัน และ 7 วันตามลําดับ และใหใชวันหยุดสะสมใหเสร็จสิ้นภายในไตรมาสแรกของปนั้น ๆ

TRUETL: การจัดการ

112


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาตอบแทน Â เงินเดือน Â เงินตอบแทนการปฏิบัติงานประจําป ในอัตรา 0-4 เทาของเงินเดือนพนักงานขึ้นอยูกับ ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบริษัท เกษียณอายุ พนักงานที่จะมีอายุครบ 60 ปบริบูรณ หรือในกรณีที่บริษัทและพนักงานเห็น พองตองกันอาจใหพนักงานเกษียณอายุกอนกําหนดได โดยพนักงานจะไดรับคาชดเชยการเกษียณอายุตาม กฎหมาย การฝกอบรมและพัฒนา นโยบายการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน บริษัทไดมีการสงเสริม และพัฒนาความรู ความสามารถ ทักษะ และทัศนคติของพนักงานใหสามารถ ปฏิบัติงานปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพ และพรอมที่จะมีความกาวหนาตอไปในสายอาชีพ ซึ่งบริษัท เชื่อวา เปนสวนสนับสนุนใหกลยุทธและเปาหมายทางธุรกิจของบริษัทประสบความสําเร็จ ปจจุบัน บริษัทไดมีการฝกอบรมและพัฒนาพนักงานอยางตอเนื่อง โดยจัดใหมีหลักสูตรการฝกอบรมดานความรู ความสามารถหลัก อาทิเชน การสื่อสารอยางมีประสิทธิผล การวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทํางาน การพัฒนาตนเองสูความเปนผูมีประสิทธิผลสูง เปนตน หลักสูตรการฝกอบรมดานความรูความ สามารถตามบทบาทหรือตําแหนง อาทิเชน ทักษะการเปนผูนํา การแกปญหาและการตัดสินใจ การ บริหารการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิผล เปนตน หลักสูตรการฝกอบรมดานความรูความสามารถตาม หนาที่ อาทิเชน การเขียนบันทึก จดหมายและรายงานการประชุม การบริหารสัญญา การวางแผนและ การจัด การการขาย หลั ก สู ตรการฝ ก อบรมด านความรูค วามสามารถตามธุรกิจ หลัก อาทิ เช น Basic Datacommunication, True Products & Services, Cisco Certified Network Associate (CCNA) เปนตน

TRUETL: การจัดการ

113


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10. การควบคุมภายใน จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของคณะกรรมการบริษัท รวมกับ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและ เหมาะสม และผู ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท มี ค วามเห็ น ว า มิ ไ ด พ บสถานการณ ใ ดๆ เกี่ ย วกั บ ระบบการ ควบคุมภายในของบริษัทที่เปนจุดออนที่มีสาระสําคัญอันอาจมีผลกระทบที่เปนสาระสําคัญตองบการเงิน นอกจากนี้ คณะกรรมการไดเนนใหมีการพัฒนาระบบการกํากับดูแลกิจการเพื่อใหระบบการควบคุม ภายในมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง

TRUETM: การควบคุมภายใน

114


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

11. รายการระหวางกัน ในระหวาง ป 2548 กลุมบริษัทมีรายการคาระหวางกันกับ บริษัทยอย บริษัทรวม กิจการรวมคาและ บริษั ท ที่ เกี่ ย วข อ งกั น ตามที่ เป ด เผยไว ในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิน สํ าหรับ ป สิ้ น สุ ด วั น ที่ 1 ธั น วาคม พ.ศ. 2548 (หมายเหตุขอ 9) รายการระหวางกันของบริษัทและบริษัทยอยที่มีกับบริษัทรวมและบริษัทที่เกี่ยวของกันที่สําคัญ ๆ สามารถสรุปไดดังนี้ : ก. รายการซื้อ ขาย สินคาระหวางกัน รายละเอียดรายการระหวางกัน

31 ธันวาคม 2548 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

1. ขายสินคา 1.1

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ขายเคเบิ้ล โมเด็ม ใหกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

1.2

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

19 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.02 UBC และ TM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมรอยละ 40.59 และ 90.45 ตาม ลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจ ที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

38 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 90.45 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติ ธุรกิจ ที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ขายอุปกรณเครือขาย ใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

1.3

268 TM และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 90.45 และ 65.00 ตาม ลําดับ มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการ รวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายชัชวาลย เจียรวนนท

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ขายอุปกรณเครือขาย ใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TRUETN: รายการระหวางกัน

115


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 1.4

31 ธันวาคม 2548 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

บริษัท ขายสินคา ใหกับ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

1.5

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

9 TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 70.00 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกันคือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

66,301 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัทและ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ ลงทุนในกิจการที่ใหบริการระบบ เซลลูลาร ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 43.86 และโดยออมอยูรอยละ 39.00 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน 66,635

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ BITCO ให บริการลูกคาทั่วไป

22,079 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ AI ให บริการลูกคาทั่วไป

กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) ขายมือถือและอุปกรณมือถือใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

รวม 2. ขายบริการ 2.1 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) ใหบริการอินเตอรเน็ตกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) 2.2

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ใหบริการบํารุงรักษาโครงขายกับ บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด (SS)

TRUETN: รายการระหวางกัน

3,318 SS เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือ เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ หุนโดยตรงอยูรอยละ 97.17 UBC และ โดยมีอัตรา 284,189.41 บาทตอ TM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู เดือน รอยละ 40.59 และ 90.45 ตามลําดับ มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท

116


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.3

TM เปนเจาของโครงขายมัลติมีเดีย ซึ่ง UBC CABLE ทําสัญญาใช บริการโครงขาย สําหรับแพรภาพ รายการตาง ๆ ใหกับลูกคา UBC CABLE และ TM เปนผูติดตั้งสาย กระจายใหกับลูกคา UBC CABLE โดยที่สัญญาไดตกลงกันตามราคา ปกติที่ใชเสนอขายกับลูกคาโดย ทั่วไป

48,385 เหมือนขอ 1.1

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

37,648 เหมือนขอ 1.3

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TM ให บริการลูกคาทั่วไป

12,695 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TI ให บริการลูกคาทั่วไป

2,753 UBC เปนผูประกอบการธุรกิจโทรทัศน ระบบบอกรับเปนสมาชิก ที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 40.59 และ TI เปน บริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกันคือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และนายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ TI ให บริการลูกคาทั่วไป

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) ใหบริการอินเตอรเน็ต กับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.7

839,506 เหมือนขอ 1.2

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง กับกลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.6

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ใหบริการเชาทรัพยสิน และบริการ โครงขายกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

2.5

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ใหบริการโครงขายเคเบิ้ลทีวี กับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

2.4

31 ธันวาคม 2548 (พันบาท)

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) ใหบริการ อินเตอรเน็ต และบริการ Audio Text กับ กลุมบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (UBC)

TRUETN: รายการระหวางกัน

117


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 2.8

31 ธันวาคม 2548 (พันบาท)

9,256 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TP เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 99.99 มีความ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่ง สัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

2,355 TP และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 99.99 และ 70.00 ตาม ลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไป ที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่ง สัญญาบริการสํานักงานมีอายุปตอ ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น กับ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

2.10

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น กับกลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

2.9

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น กับ บริษัท เอ็น ซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

2.11

4,149 NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทมีสวนไดเสีย เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ อยูรอยละ 40.00 และ TP เปนบริษัทที่ ภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไป ที่มี บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่ง สัญญาบริการสํานักงานมีอายุปตอ ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) ใหบริการเชาเซิฟเวอรอินเตอรเน็ต กับ บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

2.12

3,246 NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทมีสวนไดเสีย อยูรอยละ 40.00 และ TIDC เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00 มี กรรมการรวมกันคือ นายนพปฎล เดชอุดม

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีสัญญาเชนเดียวกับที่ไดตกลงกับ ลูกคาทั่วไป โดยมีอัตรา 39,000 บาทตอหนวย

บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนต จํากัด (TFM) ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่น กับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TRUETN: รายการระหวางกัน

565,590 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ บริษัท และ TFM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน ภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี โดยตรงอยูรอยละ 99.99 สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่ง สัญญาใหเชายานพาหนะมี อายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดในระยะเวลา ตางกัน

118


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

2.13

31 ธันวาคม รายละเอียดรายการระหวางกัน 2548 (พันบาท) บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนต จํากัด (TFM)

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่น กับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

2.14

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

11,856 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.02 UBC ที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 40.59 และ TFM เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 99.99 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท และ นายชัชวาลย เจียรวนนท กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO)

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่ง สัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุ สัญญา 3 ป สิ้นสุดในระยะเวลา ตางกัน

ใหบริการบัตรเติมเงินกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ BITCO ให บริการลูกคาทั่วไป

2,871,796 เหมือนขอ 1.5

2.15

บริษัท 9,334 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

2.16

ใหบริการในการรับแลกเหรียญและ บริการอื่นกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) บริษัท ใหบริการสื่อสารขอมูลกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

4,546 AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 65.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายอาชว เตาลานนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติตามราคาที่ บริษัทให บริการลูกคาทั่วไป

242 NEC เปนบริษัท ที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 9.62 และ มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกันกับกรรมการของ บริษัทคือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

2,081 AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 65 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

2.17

บริษัท ใหบริการสื่อสารขอมูลกับ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

2.18

บริษัท และ บริษัทยอย รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

TRUETN: รายการระหวางกัน

119


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน

31 ธันวาคม 2548 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

2.19

บริษัท และ บริษัทยอย 281 TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 70 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

2.20

รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) บริษัท และ บริษัทยอย

1,778 UBC เปนผูประกอบการธุรกิจโทรทัศน ระบบบอกรับเปนสมาชิก ที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 40.59 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

2.21

รายการขาย ระหวางกิจการที่เกี่ยวของ กัน ซึ่งมีขนาดของรายการไมเกิน 1 ลานบาท กลุมบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (UBC) บริษัท และ บริษัทยอย

2.22

รายการขาย ระหวางกิจการที่ เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE) บริษัท และ บริษัทยอย รายการขาย ระหวางกิจการที่เกี่ยวของ กัน ซึ่งมีขนาดของรายการไมเกิน 1 ลานบาท กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) รวม

3 NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทมีสวนได เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา เสียอยูรอยละ 40 มีความสัมพันธกันโดยมี และผลตอบแทนที่เปนทางการคา กรรมการรวมกัน ปกติ

58 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา บริษัท มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการ และผลตอบแทนที่เปนทางการคา รวมกัน ปกติ

4,452,955

3. ซื้อบริการ 3.1 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการ อื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TRUETN: รายการระหวางกัน

6,141 เหมือนขอ 2.1

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไป ที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 358,750.55 บาทตอเดือน ซึ่งสัญญา เชาอาคารสํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

120


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

3.2

31 ธันวาคม รายละเอียดรายการระหวางกัน 2548 (พันบาท) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) จายคาเชาที่จอดรถใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.3

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

5,763 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 99.99 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไป ที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 149,688 บาทตอเดือน ซึ่งสัญญาเชา อาคารสํานักงานมีอายุปตอป และ มีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

220,906 TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 99.99 และ AI เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความ สัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายอาชว เตาลานนท

เปนการดําเนินงานตามปกติที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) จายคาสวนแบงรายไดใหกับ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

3.6

1,355 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ AWC เปนบริษัทที่บริษัทถือ หุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 มีความ สัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) จายคาบริการคลิก ทีเอ และตัวแทน จําหนายกับ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

3.5

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) จายคาเชาอาคารสํานักงานและ บริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.4

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

3,848 TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 70.00 และ TI เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99 มี ความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) จายคาบริการเคเบิ้ลทีวีใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

TRUETN: รายการระหวางกัน

22,251 เหมือนขอ 1.2

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

121


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

3.7

31 ธันวาคม รายละเอียดรายการระหวางกัน 2548 (พันบาท) บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด (TDE) จายคาเชาและคาบริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

1,479 กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TDE เปนบริษัทที่บริษัทถือ หุนโดยตรงอยูรอยละ 82.03 และโดยออม อยูรอยละ 17.97 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชา และคาบริการที่ราคา 74,220 บาท ตอเดือน ซึ่งสัญญาเชามีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

3.8

บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด (TDE)

3.9

2,502 UBC CABLE เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ UBC ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.02 UBC ที่มรี าคาและผลตอบแทนที่เปน ที่บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 40.59 ทางการคาปกติ และ TDE เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดย ตรงอยูรอยละ 82.03 และโดยออมอยู รอยละ 17.97 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท , นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) จายคาบริการเคเบิ้ลทีวีใหกับ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) (UBC CABLE)

จายคาเชาสํานักงาน และบริการอื่น ใหกับกลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

3.10

184,973 เหมือนขอ 1.5

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชา ที่ราคา 816,998 บาทตอเดือน ซึ่ง สัญญาเชามีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะ ตออายุสัญญาเชา

กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (BITCO) จายคาโฆษณาใหกับ บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด (CN)

TRUETN: รายการระหวางกัน

12,000 CN เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือ เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ หุนโดยตรงรอยละ 99.99 UBC ที่บริษัท ที่มรี าคาและผลตอบแทนที่เปน ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 40.59 และ ทางการคาปกติ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการ ที่ใหบริการระบบเซลลูลาร ที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 43.86 และถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 39.00 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายสุภกิต เจียรวนนท, นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท 122


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน

31 ธันวาคม 2548 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

3.11

บริษัท 2,799 เหมือนขอ 2.17

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

3.12

จายคาซอมแซมและบํารุงรักษาระบบ โครงขาย ใหกับ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC) บริษัท จายคาบริการเชาเซฟเวอร อินเตอรเน็ตใหกับ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็น เตอร จํากัด (TIDC)

5,427 เหมือนขอ 1.4

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ โดยมีอัตราคาเชาที่ ราคา 810,536.60 บาทตอเดือน ซึ่ง สัญญาเชามีอายุปตอป และมีสิทธิ จะตออายุสัญญาเชา

3.13

บริษัท 7,825 เหมือนขอ 2.15

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติในอัตรารอยละ 5 -10 ของจํานวนเงินคาโทรศัพท

3.14

จายคาเชาสถานที่ติดตั้งโทรศัพท สาธารณะใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) บริษัท จายคาเชาอาคารสํานักงานและ บริการอื่นใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

34,943 เหมือนขอ 2.15

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจ ภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปโดยมี อัตรา คาเชาอยูในอัตราระหวาง 200 - 220 บาทตอตารางเมตรตอ เดือน และอัตราคาบริการอยู ระหวาง 220 - 520 บาทตอ ตารางเมตรตอเดือน ซึ่งสัญญาเชา อาคารสํานักงานมีอายุปตอป และ มีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

11,649 เหมือนขอ 2.15

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

3.15

บริษัท จายคาพัฒนาระบบจัดซื้อ กับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

TRUETN: รายการระหวางกัน

123


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 3.16

31 ธันวาคม 2548 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

บริษัท จายคาประชาสัมพันธและจัดทํา รายการใหกับ บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด (CN)

25,055 CN เปนบริษัทในกลุม UBC ซึ่ง UBC ถือ เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ หุนโดยตรงรอยละ 99.99 บริษัทถือหุน มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง ใน UBCโดยออมรอยละ 40.59 มีความ การคาปกติ สัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกันคือ นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายอธึก อัศวานันท

3.17

บริษัท และ บริษัทยอย 186 เหมือนขอ 2.18

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

3.18

รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) บริษัท และ บริษัทยอย

91 เหมือนขอ 2.19

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

3.19

รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) บริษัท และ บริษัทยอย

285 เหมือนขอ 2.20

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

3.20

รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท กลุมบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (UBC) บริษัท และ บริษัทยอย รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

1,231 เหมือนขอ 2.21

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

TRUETN: รายการระหวางกัน

124


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 3.21

31 ธันวาคม 2548 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

บริษัท และ บริษัทยอย รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) รวม

1,840 เหมือนขอ 2.22

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

552,549

4. ซื้อสินคา 4.1 บริษัท ซื้ออุปกรณโครงขาย จาก บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC) 4.2

7,950 เหมือนขอ 3.11

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

5,588 เหมือนขอ 2.15

เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่เปนทาง การคาปกติ

บริษัท จายคาโปรแกรม People soft ใหกับ กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

4.3

บริษัท และ บริษัทยอย 479 เหมือนขอ 2.18

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

4.4

รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) บริษัท และ บริษัทยอย

5 เหมือนขอ 2.19

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

4.5

รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) บริษัท และ บริษัทยอย รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

820 เหมือนขอ 2.21

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

TRUETN: รายการระหวางกัน

125


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดรายการระหวางกัน 4.6

31 ธันวาคม 2548 (พันบาท)

ลักษณะความสัมพันธของผูทํารายการ ระหวางกัน

ความสมเหตุสมผล และ ความจํา เปนของรายการระหวางกัน

บริษัท และ บริษัทยอย รายการขาย ระหวางกิจการ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีขนาดของรายการ ไมเกิน 1 ลานบาท กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG) รวม

1,399 เหมือนขอ 2.22

เปนรายการคาที่มีการกําหนดราคา และผลตอบแทนที่เปนทางการคา ปกติ

16,241

ข. ยอดคางชําระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ลเน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด รวม

จํานวนเงิน (พันบาท) 92,311 847 85,011 4,974 1,053,198 8 1,236,349

ค. ยอดคางชําระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ลเน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด รวม

TRUETN: รายการระหวางกัน

จํานวนเงิน (พันบาท) 44,624 1,723 25,827 1,207 19,554 3,651 96,586

126


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ง. เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ยอดคงเหลือและรายการเคลื่อนไหวของเงินกูยืมกับกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมจาก Kreditanstalt für Wiederaufbau (KfW) มูลคาตามบัญชีสุทธิ ณ 1 มกราคม พ.ศ. 2548 เงินกูยืมระหวางป (สุทธิจากตนทุนการกูยืม) การแปลงคาเงินตราตางประเทศ การตัดจําหนายตนทุนการกูยืม มูลคาตามบัญชีสุทธิ ณ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548

จํานวนเงิน (พันบาท) 6,232,476 (583) 335,257 96,128 6,663,278

KfW เปนผูถือหุนบุริมสิทธิรายเดียวของบริษัทซึ่งมีสัดสวนการถือหุนรอยละ 17.08 เงินกูยืมขางตน เปนเงินกูยืมจํานวนเงิน 170.00 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินกูยืมดังกลาวมีสิทธิเทาเทียม กับเจาหนี้ที่มีหลักประกันรายอื่น และมีดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมระหวางธนาคารของสหราชอาณาจักร อังกฤษ (“LIBOR”) บวกอัตรารอยละคงที่ตอป เงินกูยืมดังกลาวค้ําประกันโดยสินทรัพยตาง ๆ กําหนด ชําระคืนเงินกูยืมงวดแรกในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 และงวดสุดทายกําหนดชําระคืนในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ดอกเบี้ยจายสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เปนจํานวนเงิน 332.72 ลานบาท จ. ภาระผูกพันระหวางบริษัทกับบริษัทยอย บริษัทมีภาระผูกพันในการใหการสนับสนุนแกบริษัทยอย คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (“ทรูมูฟ”) ตามสัญญา เงินกูที่ทรูมูฟทํากับกลุมเจาหนี้ ดังนี้ 1. ใหการสนับสนุนการชําระเงินใหแกหนวยงานของรัฐอันเนื่องมาจากสัมปทานโทรศัพทเคลื่อนที่ ในกรณีที่กระแสเงินสดของทรูมูฟไมเพียงพอสําหรับการดําเนินงานอันเนื่องมาจากการที่ตองชําระเงิน ใหแกหนวยงานของรัฐ บริษัทจะใหการสนับสนุนทางการเงินเปนรายไตรมาส สําหรับจํานวนเงิน สวนที่ไมเพียงพออันเกิดจากการที่ตองชําระใหแกหนวยงานของรัฐตามสัมปทานโทรศัพทเคลื่อนที่

TRUETN: รายการระหวางกัน

127


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ใหการสนับสนุนสําหรับการดําเนินงานโดยทั่วไป ในกรณี ที่กระแสเงินสดของทรูมูฟไมเพียงพอที่จะนํามาใชในการดําเนินงานหรือชําระหนี้ภายใต สัญญาที่จะมีกับกลุมเจาหนี้ บริษัทจะใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ ไมเกิน 7,000 ลานบาท ภายใตเงื่อนไขของสัญญา บริษัทและผูมีสวนเกี่ยวของตองปฏิบัติตามที่ระบุไวในสัญญาดังกลาว การให การสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ จะตองเปนไปตามรูปแบบตามที่ไดระบุไวในสัญญา มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน บริษัทมีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันตามมาตรฐานที่กําหนดไวตาม ข อ กํ าหนดของสํ านั ก งานคณะกรรมการกํ ากั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย (สํ านั ก งาน ก.ล.ต.) และ ตลาดหลั ก ทรัพ ยแ ห งประเทศไทยตลอดจนบทบั ญ ญั ติ ในพระราชบั ญ ญั ติ บ ริษั ท มหาชน กล าวคื อ การเข า ทํารายการระหวางกันจะตองไดรับความเห็นชอบจากกรรมการอิสระโดยดําเนินการตามแนวทางปฏิบัติภายใน ในการเขาทํารายการระหวางกันที่กรรมการอิสระกําหนดรายละเอียดไว แตหากรายการนั้นเขาขายเปนรายการ ที่ เกี่ ย วโยงกั น จะต อ งได รั บ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ษั ท และ/หรื อ ที่ประชุมผูถือหุน แลวแตกรณี ตามหลักเกณฑที่ กําหนดโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัท ยังตองปฏิบั ติตามเงื่อนไขขอกํ าหนดของ Shareholders Agreement ฉบั บ วัน ที่ 22 ธัน วาคม 2542 ที่ ได ลงนามรวมกับ KfW ซึ่งกําหนดใหบริษัทเปดเผยผลประโยชนสวนไดสวนเสียตางๆ ที่ผูถือหุนรายใหญหรือ บริษัทในเครืออาจมีในสัญญาตางๆ ที่บริษัทเขาเปนคูสัญญา ตลอดจนการมีผลประโยชนขัดกันอีกดวย นโยบายและแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต นอกจากบริษัท จะปฏิบัติตามขอกําหนดของ สํานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อยางเครงครัดแลว บริษัทไดนําขอกําหนดดังกลาวมาสรางเปนแนวทางปฏิบัติภายในองคก รเพื่อ เนน ความ โปรงใสในการทํารายการ โดยการศึก ษาเปรียบเทีย บกับ หลัก เกณฑของตางประเทศ เพื่อใหเกิดความเขาใจ ตรงกันกับนักวิเคราะหและนักลงทุนตางประเทศดวย สําหรับแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคตนั้น อาจจะยังคงมีอยูในสวนที่เปนการดําเนินธุรกิจตามปกติระหวางบริษัทกับบริษัทยอยของบริษัท ซึ่งบริษัทจะ ดําเนิ น การดวยความโปรงใสตามนโยบายการกํ ากับ ดู แ ลกิจการที่ ดีของบริษั ท และปฏิ บั ติตามขอกําหนดที่ เกี่ยวของอยางเครงครัด

TRUETN: รายการระหวางกัน

128


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 ผูสอบบัญชีและนโยบายการบัญชีที่สําคัญ ผูสอบบัญชีที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริษัท สําหรับตรวจสอบงบการเงิน รวม และงบการเงินของบริษัทในระยะ 3 ป ที่ผานมา มีดังนี้ งบการเงินประจําป 2548 งบการเงินประจําป 2547 งบการเงินประจําป 2546

: บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด : บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด : บริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด

รายงานการตรวจสอบของผูสอบบัญชีในระยะ 3 ปที่ผานมา ผูสอบบัญชีไดใหความเห็นใน รายงานการตรวจสอบแบบไมมีเงื่อนไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2548 ผูสอบบัญชีมีความเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของ บริษัทถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยไมมีเงื่อนไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2547 ผูสอบบัญชีมีความเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของ บริษัทถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยไมมีเงื่อนไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2546 ผูสอบบัญชีมีความเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของ บริษัทถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยไมมีเงื่อนไข

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

129


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548, พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2546 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา – สุทธิ สินคาคงเหลือ - สุทธิ ภาษีหัก ณ ที่จาย ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุน - เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม - เงินลงทุนระยะยาวอื่น - เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยอื่น - สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ - สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น เจาหนี้การคา สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปของ เงินกูยืมระยะยาว รายไดรับลวงหนา คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว เจาหนี้การคาระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน

รวมหนี้สิน

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2547

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2546

Common Size (%)

8,328,330 9,141,281 159,367 6,635,707 1,111,213 1,311,998 387,371 1,881,657 28,956,924

7.71 8.46 0.15 6.14 1.03 1.21 0.36 1.74 26.80

4,469,146 1,739,248 1,357,653 6,264,259 984,225 861,209 2,569,866 1,557,751 19,803,357

4.36 1.70 1.32 6.10 0.96 0.84 2.50 1.52 19.30

2,815,869 1,819,957 3,537,953 5,510,171 727,158 1,113,611 1,176,625 468,046 17,169,390

3.24 2.10 4.08 6.35 0.84 1.28 1.36 0.54 19.79

4,035,971 94,682 53,874 71,975,162

3.73 0.09 0.05 66.61

3,645,417 97,071 53,874 75,674,473

3.56 0.09 0.05 73.74

3,623,336 75,571 53,874 63,018,960

4.18 0.09 0.06 72.64

2,529,379 412,374 79,101,442

2.34 0.38 73.20

2,947,677 403,311 82,821,823

2.87 0.39 80.70

1,887,057 931,873 69,590,671

2.17 1.07 80.21

108,058,366

100.00

102,625,180

100.00

86,760,061

100.00

13,174,337 4,917,461

12.19 4.55

217,658 4,108,555

0.21 4.00

773,216 2,434,231

0.89 2.81

7,153,322 1,065,390 3,918,407 2,235,910 32,464,827

6.62 0.99 3.63 2.07 30.05

4,449,677 1,353,122 3,902,939 2,281,706 16,313,657

4.34 1.32 3.81 2.22 15.90

19,132,993 489,710 2,205,862 2,370,917 27,406,929

22.05 0.57 2.54 2.73 31.59

74,984,280 302,312 75,286,592

69.39 0.28 69.67

79,970,768 1,246,350 356,853 81,573,971

77.92 1.21 0.35 79.48

49,423,049 7,857,920 577,100 57,858,069

56.97 9.06 0.66 66.69

107,751,419

99.72

97,887,628

95.38

85,264,998

98.28

สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ หุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ สวนเกินมูลคาหุน หุนสามัญ สวนต่ํากวามูลคาหุน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน กําไร(ขาดทุน)ที่ยังไมเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยเผื่อขาย กําไร(ขาดทุน)สะสม สํารองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสม รวมสวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนของผูถือหุนสวนนอย รวมสวนของผูถือหุน

34,881 (47,669,682) 83,717 223,230 306,947

0.03 (43.48) 0.09 0.19 0.28

34,881 (43,400,745) 4,366,617 370,935 4,737,552

0.03 (42.32) 4.25 0.37 4.62

34,881 (44,005,658) 1,078,180 416,883 1,495,063

0.04 (50.72) 1.25 0.47 1.72

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

108,058,366

100.00

102,625,180

100.00

86,760,061

100.00

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

6,994,055 39,780,160

6,994,655 39,588,738

6,996,485 36,895,796

6,994,055 33,953,398

6.38 30.97

6,994,655 33,930,617

6.82 33.09

6,996,485 29,948,487

8.06 34.52

11,432,046

10.43

11,432,046

11.15

11,432,046

13.18

(1,492,936) (3,271,974) 104,344

(1.36) (2.98) 0.10

(1,493,070) (3,260,734) 104,344

(1.46) (3.18) 0.10

(1,493,459) (1,943,495) 104,344

(1.72) (2.24) 0.12

(415)

-

24,623

0.02

4,549

130

0.01


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548, พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2546 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2547

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2546

Common Size (%)

รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น รายไดจากการขายสินคา รวมรายได

41,169,192 2,741,754 43,910,946

93.76 6.24 100.00

30,648,684 2,361,556 33,010,240

92.85 7.15 100.00

27,001,000 948,950 27,949,950

96.60 3.40 100.00

คาใชจาย ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขาย รวมคาใชจาย

29,172,275 2,520,057 31,692,332

66.44 5.74 72.18

22,094,271 2,039,605 24,133,876

66.93 6.18 73.11

20,203,343 1,001,422 21,204,765

72.28 3.58 75.86

12,218,614 10,743,502 1,475,112 396,743 (2,183,536) (311,681)

27.82 24.47 3.35 0.90 (4.97) (0.72)

8,876,364 7,497,004 1,379,360 633,058 (179,372) 1,833,046

26.89 22.71 4.18 1.92 (0.54) 5.56

6,745,185 6,468,524 276,661 343,251 (933,125) (313,213)

24.14 23.14 1.00 1.23 (3.34) (1.11)

(260,313) 370,238 (201,756) 103,918 (4,785,369) (146,016) (5,029,223) (171,777) (5,201,000)

(0.59) 0.84 (0.47) 0.24 (10.90) (0.33) (11.46) (0.39) (11.85)

(124,144) 156,695 1,865,597 41,251 (4,212,697) 255,222 (2,050,627) (87,521) (2,138,148)

(0.38) 0.47 5.65 0.12 (12.76) 0.77 (6.22) (0.27) (6.49)

(444,249) 3,989 (77,452) (830,925) 37,614 (4,483,235) (311,132) (5,587,678) (122,769) (5,710,447)

(1.59) 0.01 (0.28) (2.97) 0.13 (16.04) (1.11) (19.99) (0.44) (20.43)

801,001 (4,399,999) 131,062 (4,268,937)

1.82 (10.03) 0.30 (9.73)

2,726,305 588,157 16,756 604,913

8.26 1.77 0.05 1.82

(5,710,447) 36,342 (5,674,105)

(20.43) 0.13 (20.30)

กําไรขั้นตน คาใชจายในการขายและบริหาร กําไรจากการขายและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายอื่น กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุน ในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม กําไรจากการขายเงินลงทุน รายได(คาใชจาย)ที่ไมเกี่ยวกับการดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)กอนดอกเบี้ยและภาษี ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ขาดทุนกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได ขาดทุนกอนรายการพิเศษ รายการพิเศษ กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไร(ขาดทุน)กอนสวนของผูถือหุนสวนนอย ขาดทุนของผูถือหุนสวนนอย กําไร(ขาดทุน)สุทธิสําหรับป

ขาดทุนตอหุนขั้นพื้นฐานและลดลงเต็มที่ ขาดทุนจากกิจกรรมตามปกติ รายการพิเศษ กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ ขาดทุนสุทธิสําหรับป

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

(1.70)

(0.93)

(2.13)

0.24 (1.46)

0.90 (0.03)

(2.13)

131


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548, พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2546 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)กอนสวนของผูถือหุนสวนนอย บวก : ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กําไร(ขาดทุน)กอนดอกเบี้ยและภาษีเงินได รายการปรับปรุง : คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี (กําไร)ขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ หนี้สงสัยจะสูญ การดอยคาของสินทรัพยถาวร ขาดทุนจากการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ สินทรัพยและหนี้สินในการดําเนินงานอื่นตัดจําหนาย กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนระยะยาวอื่น (กําไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไรจากการชําระคืนเงินกูยืม กําไรจากการยกหนี้ให สวนแบงขาดทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน - ลูกหนี้การคา - เงินลงทุนชั่วคราว-หลักทรัพยเพื่อคา - สินคาคงเหลือ - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - เจาหนี้การคา - คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น - หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น กระแสเงินสดไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน หัก : ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินไดจาย เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับ(จาย)ในเงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินสดรับ(จาย)จากเงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากประจํา เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดรับซื้อบริษัทยอย - สุทธิจากเงินสดของบริษัทยอย เงินลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินสดรับจากการขายหลักทรัพยเผื่อขาย เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดสุทธิใชไปจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสด(จาย)รับจากเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดรับจากการออกหุนสามัญ เงินสดรับจากเงินกูยืม - สุทธิจากเงินสดจายคาตนทุนการกูยืม เงินสดรับจากเงินลงทุนในบริษัทยอย ในสวนของผูถือหุนสวนนอย เงินสดจายชําระเจาหนี้การคาระยะยาว เงินสดจายคืนเงินกูยืม เงินสดสุทธิไดมา(ใชไป)จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ ยอดยกมาตนป ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ยอดคงเหลือสิ้นป

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2547

31 ธันวาคม พ.ศ. 2546

(4,399,999) 4,785,369 171,777 557,147

588,157 4,212,697 87,522 4,888,376

(5,710,446) 4,483,235 122,769 (1,104,442)

14,488,299 (186,842) 923,460 2,047,972 72,420 63,787 (16,857) (961) (3,883) (801,001) (370,239) 260,313

11,785,068 (73,030) 558,421 8,330 26,454 22,891 (566,826) (2,726,305) (156,695) (165,044) 124,144

11,365,829 (54,540) 665,321 647,962 225,951 20,152 (3,982) 232,982 (5) 444,249

(1,322,123) 347,515 (509,634) 2,137,961 (22,228) 125,470 (281,502) (25,502) 17,483,572 (5,137,565) (741,890) 11,604,117

(851,859) (200,856) (469,247) 1,030,723 200,757 (1,100,736) 1,353,217 (815,356) 12,872,427 (4,758,224) (732,831) 7,381,372

942,590 (304,175) 43,041 742,857 (9,052) 94,705 (2,255,887) (54,878) 11,638,678 (3,803,949) (759,221) 7,075,508

(7,402,032) 816,353 (101,622) (10,269,233) (514,063) 26,277 1,250 537,738 (16,905,332)

81,037 2,401,190 (163,924) (3,962,576) 613,689 (21,500) (64,005) 208,665 (907,424)

2,662,323 (3,207,193) (181,277) (10,378,024) 5,832 135,051 (10,963,288)

12,993,856 11,075 2,029,084

(548,263) 2,663,450 10,059,584

27,868 11,155,131

(585,662) (5,234,014) 9,214,339 3,913,124 4,469,146 (53,940) 8,328,330

15,300 (4,078,754) (12,931,988) (4,820,671) 1,653,277 2,815,869 4,469,146

(181,124) (7,433,922) 3,567,953 (319,827) 3,135,696 2,815,869

132


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.3 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

133


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.4 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานโดยรวม ผลการดําเนินงาน ป 2548 ของทรู ยังคงเติบโต โดยทรูมูฟ (เดิมชื่อ ทีเอ ออเรนจ) และธุรกิจ บรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไปยังคงเปนธุรกิจที่สรางรายไดและ กําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดจาย (EBITDA) ใหเติบโตตอไปอยางตอเนื่อง รายไดจากการใหบริการโดยรวม (ปรับปรุง) เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 36.5 เปน 41.5 พันลานบาท และกําไรจากการดําเนินงาน กอนดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดจาย (EBITDA) ปรับตัว เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 21.5 เปน 15.7 พันลานบาท ทั้งนี้เนื่องจากการรวมผลการดําเนินงานของ ทรูมูฟ อยางเต็มที่ (Full Consolidation) นับตั้งแตไตรมาส 4 ป 2547 ภายหลังการเขาซื้อหุนเพิ่มอีกรอยละ 39 เปนรอยละ 82.86 บริษัทรับรูรายไดจากการใหบริการของ ทรูมูฟ เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 139 เปน 19.5 พันลานบาท และรับรู EBITDA เพิ่มขึ้นเปนกวา 3 เทา หรือเปนจํานวนเงิน 5.7 พันลานบาท ในป 2548 (จากจํานวน 1.8 พั น ล านบาท ในป 2547) โดย EBITDA margin เพิ่ ม ขึ้ น เป น รอ ยละ 26.2 (จากรอ ยละ 18.4 ในป 2547) อยางไรก็ตาม ทรูมูฟยังไมสามารถทํากําไรไดในป 2548 นี้เนื่องจากผลกระทบจากการแขงขัน ดานราคาอยางเขมขนในธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ในไตรมาสที่ 2 โดยนับตั้งแตไตรมาสที่ 3 เปนตนมา ทรูมูฟ ไดฟนตัวจากภาวะการแขงขันดานราคาดังกลาว อยางตอเนื่อง ทําใหมีผลประกอบการที่ใกลถึง จุดคุมทุน และทําใหทรูรับรูผลขาดทุนจากทรูมูฟลดลงเหลือเพียงจํานวน 154 ลานบาท ในไตรมาส 4 ของป 2548 รายไดของธุรกิจบรอดแบนดเติบโตขึ้นอยางมาก และชวยใหรายไดจากการใหบริการของ ธุรกิ จ อื่ น ที่ ไ ม ร วมทรูมู ฟ เพิ่ ม ขึ้ น โดยรายได จ ากธุ รกิ จ นี้ เพิ่ ม ขึ้ น ในอั ต รารอ ยละ 182 เป น ประมาณ 2 พันลานบาท (จาก 725 ลานบาทในป 2547) ทําใหรายไดโดยรวมที่เพิ่มขึ้นจากกลุมธุรกิจ โครงขาย ขอมูล อินเทอรเน็ต และบรอดแบนด สามารถชดเชยรายไดโดยรวมที่ลดลงจากกลุมธุรกิจโทรศัพท พื้นฐาน และโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) และทําใหรายไดรวมของบริษัท หากไมรวม ทรูมูฟ เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 1.8 ในป 2548 รายไดจากทรูมูฟ มีสัดสวนเพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 49 ของรายไดรวม (จากอัตรา รอยละ 30 ในป 2547) รายไดจากธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานมีสัดสวนลดลงเปนรอยละ 33 (จากอัตรารอยละ 50 ในป 2547) ในขณะที่รายไดรวมจากกลุมธุรกิจ โครงขายขอมูล อินเทอรเน็ตและบรอดแบนด เพิ่มขึ้น เปนสัดสวนรอยละ 11 (จากสัดสวนรอยละ 10 ในป 2547) TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

134


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดจาย (EBITDA) ในป 2548 เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 21.5 โดย อัตราทํากําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดจาย (EBITDA margin) ลดลงเปนรอยละ 35.5 สวนใหญเนื่องจากการ รวมผลการดํ าเนิ น งานที่ เพิ่ ม ขึ้ น จาก ทรู มู ฟ ซึ่ งยั งคงมี อั ต ราทํ ากํ าไรที่ ต่ํ ากว าธุ ร กิ จ อื่ น ในกลุ ม ทรู นอกจากนั้นธุรกิจอื่นมีอัตราทํากําไรลดลง ทั้งนี้เนื่องจากคาใชจายในการดําเนินงานเพิ่มสูงขึ้น คาใชจายในการดําเนินงานโดยรวม เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 36.1 เปน 43.0 พันลานบาท ทั้งนี้ เนื่องจากการรวมผลการดําเนินงานอยางเต็มที่ของทรูมูฟ นับตั้งแตไตรมาส 4 ป 2548 และทรูมูฟ มีการ ขยายการดําเนินงานเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นคาเชาวงจรเชื่อมตอระหวางประเทศ มีจํานวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ธุรกิจบรอดแบนด ขยายตั วอยางรวดเร็ว อยางไรก็ตาม ทรูไดยื่นขอใบอนุ ญ าติ การประกอบกิจการ อินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ (International Internet Gateway) จากคณะกรรมการ กทช. ซึ่งหาก ไดรับอนุญาตใหเปดใหบริการดังกลาว จะชวยลดคาเชาวงจรทางไกลเชื่อมตอระหวางประเทศ ของ บริษัทลงไดในระดับหนึ่ง ค า เสื่ อ มราคาและค า ใช จ า ยตั ด จ า ยเพิ่ ม ขึ้ น ในอั ต ราร อ ยละ 22.9 เป น 14.5 พั น ล า นบาท สวนใหญมีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของคาเสื่อมราคาจาก ทรูมูฟ รวมทั้ง โครงขายสื่อสารขอมูลและ บรอดแบนด ซึ่งสวนหนึ่งถูกชดเชยดวยการลดลงของคาเสื่อมราคาของโครงขายโทรศัพทพื้นฐาน ดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 13.6 เปนจํานวนเงิน 4.8 พันลานบาท ทั้งนี้เนื่องจากการ รวมผลการดําเนินงานอยางเต็มที่จากทรูมูฟ ซึ่งสวนหนึ่งถูกชดเชยดวยดอกเบี้ยจายที่ลดลงจากธุรกิจ โทรศัพทพื้นฐาน เนื่องจากเงินกูลดลงจากการจายชําระหนี้ ขาดทุนสุทธิจากการดําเนินงานปกติ เพิ่มขึ้นจากป 2547 จํานวน 659 ลานบาท เปน 3.9 พันลานบาท สวนใหญจากคาเสื่อมราคาและดอกเบี้ยจายที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากการรวมผลการดําเนินงานของ ทรูมูฟ อยางเต็มที่ ดังที่กลาวขางตน โดยบริษัทมีผลขาดทุนสุทธิในป 2548 เปนจํานวนรวม 4.3 พันลานบาท ภายหลังการรวมรายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติ ตางๆ ในขณะที่บริษัทมีกําไรสุทธิจํานวน 605 ลานบาทในป 2547 สวนใหญเนื่องจากกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ รายการที่ไมเกี่ยวกับการดําเนินงานปกติตางๆ ในป 2548 สวนใหญเปนคาใชจายที่เกิดจากการ ตั้งสํารองการดอยคาของอุปกรณโครงขาย จํานวน 2.0 พันลานบาท ซึ่งบางสวนถูกชดเชยดวยกําไรจาก การปรับโครงสรางหนี้และกําไรจากการชําระคืนตั๋วเงินจาย จํานวนรวม 1.2 พันลานบาท

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

135


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานโดยตรง การวิเคราะหผลประกอบการของบริษัทที่กลาวมาขางตน อยูบนพื้นฐานของผลการดําเนินงาน ปกติ ไมนับรวมผลกระทบจากรายการที่ไมเกี่ยวของกับผลการดําเนินงานโดยตรง ซึ่งปรากฎในตาราง สรุปงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย (ปรับปรุง) และประกอบดวยรายการที่สําคัญดังตอไปนี้ ในป 2548 ทรูไดบันทึกขาดทุนจากรายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติ จํานวน 503 ลานบาท สวนใหญมาจากการสํารองการดอยคาของอุปกรณโครงขาย (2.0 พันลานบาท) กําไรจากการ ปรับโครงสรางหนี้พีซีที (801 ลานบาท) และกําไรจากการซื้อคืนตั๋วเงินจาย (370 ลานบาท) รวมทั้ง รายไดอื่น (สุทธิจากคาใชจายอื่น) จํานวน 253 ลานบาท (สวนใหญเปนกําไรจากการจําหนายสินทรัพย) นอกจากนั้ น ในไตรมาสที่ 2 ป 2548 ทรู มู ฟ ได เปลี่ ย นวิ ธี ก ารคํ า นวณค า ใช จ า ยเกี่ ย วกั บ สวนแบงรายไดและคาเชื่อมโยงโครงขายของบริการระบบเติมเงิน จากบัตรเติมเงินที่จําหนายได เปน จากบัตรเติมเงินที่ลูกคาใชเงินแลว ทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับการบันทึกรายไดเมื่อลูกคาใชเงินจริง ซึ่งมี ผลใหมีการปรับลดคาใชจายดังกลาว ในงบการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ประจําป 2548 จํานวน 493 ลานบาท เพื่อลดยอดคาใชจายที่บันทึกสูงไปในปกอนๆ จากการคํานวณดวยวิธีใหมนี้ อยางไรก็ ตาม รายการดังกลาว ไมนับเปนรายการที่เกี่ยวของกับผลการดําเนินงานตามปกติของป 2548 ดังนั้น คาสวนแบงรายไดและคาเชื่อมโยงโครงขาย ป 2548 ในตารางงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย (ปรับปรุง) จึงถูกปรับปรุงเพิ่มขึ้น ดวยจํานวนเดียวกัน และในไตรมาสที่ 4 ป 2548 บริษัทไดปรับปรุงลดรายไดจากบริการโทรทางไกลตางประเทศ ของธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน จํานวน 617 ลานบาท เพื่อปรับปรุงรายไดที่ตั้งคางรับไวสูงเกินไป (เนื่องจาก อ างอิ ง ข อ มู ล ในอดี ต ) สํ าหรั บ ป 2548 และ 2547 (335 ล านบาทสํ าหรั บ ป 2548 และ 282 ล านบาท สําหรับป 2547) รายการปรับปรุงสําหรับป 2547 (การลดยอดรายไดและสวนแบงรายไดลง จํานวน 282 ลานบาท และ 48 ลานบาทตามลําดับ) ไมนับเปนรายการที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติสําหรับป 2548 และในขณะเดียวกัน ผลการดําเนินงานป 2547 ไดถูกปรับปรุงยอนหลัง ทั้งนี้เพื่อการเปรียบเทียบ บนพื้นฐานเดียวกัน รายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานโดยตรง สําหรับป 2547 ที่สําคัญ อื่นๆ ประกอบดวย กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้พีซีที (2.7 พันลานบาท) และกําไรจากการซื้อคืนตั๋วเงินจาย (157 ลานบาท) รายไดอื่นๆ (454 ลานบาท) ซึ่งสวนใหญเปนกําไรจากการเจรจาหนี้อื่นๆ (166 ลานบาท) และกําไรจาก การขายสินทรัพย (100 ลานบาท)

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

136


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย (ปรับปรุง)

(ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2548

ป 2547

%เปลี่ยนแปลง

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น ) รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น 1/ รายไดจากการขายสินคา รวมรายได

41,452 2,742 44,193

30,366 2,362 32,728

36.5 16.1 35.0

คาใชจายในการดําเนินงาน ตนทุนการใหบริการ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย สวนแบงรายไดและคาเชื่อมโยงโครงขาย คาใชจายเกี่ยวกับโครงขาย ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและบริหาร รวมคาใชจายในการดําเนินงาน

29,713 12,390 9,876 7,447 2,520 10,744 42,977

22,047 10,438 6,441 5,167 2,040 7,497 31,583

34.8 18.7 53.3 44.1 23.6 43.3 36.1

กําไรจากการดําเนินงานที่เปนเงินสด (EBITDA) คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี

15,705 14,488

12,930 11,785

21.5 22.9

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได

1,217 104 (4,785) (172)

1,145 41 (4,213) (88)

6.3 151.9 13.6 96.3

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติ สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม

(3,637) (260)

(3,114) (124)

(16.8) (109.7)

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและสวนแบงกําไร(ขาดทุน) ในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม

(3,897)

(3,238)

(20.3)

รายการทีไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติ กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ รายการปรับปรุงรายไดคาโทรทางไกลตางประเทศ ผลจากการเปลี่ยนวิธีการคํานวณสวนแบงรายไดและคาเชื่อมโยงโครงขายของทรูมูฟ (คาใชจาย)รายไดอ่น ื กําไรจากการชําระเงินกูยืม ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยโครงขาย กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไร(ขาดทุน)กอนสวนของผูถือหุนสวนนอย (กําไร)ขาดทุนของผูถือหุนสวนนอย

(503) (146) (235) 493 253 370 (2,040) 801 (4,400) 131

3,826 255 235 454 157 2,726 588 17

NM NM NM NM (44.2) 136.3 NM (70.6) NM 682.2

กําไร(ขาดทุน)สุทธิสําหรับป

(4,269)

605

1/ 2/

NM

หมายเหตุ : 1/ รายไดจากการใหบริการและสวนแบงรายไดสําหรับป 2548 ไดถูกปรับปรุงโดยไมรวมการปรับปรุงรายไดจากบริการโทรทางไกล ตางประเทศที่บันทึกไวสูงเกินไปจํานวน 282 ลานบาท และ 48 ลานบาท รายไดจากการใหบริการและสวนแบงรายไดสําหรับป 2547 ไดถูกปรับปรุงลดลงยอนหลังดวยจํานวนเดียวกันเพื่อการเปรียบเทียบ 2/ สวนแบงรายไดและคาเชื่อมโยงโครงขายสําหรับป 2548 ไดถูกปรับปรุงเพิ่มขึ้นจํานวน 493 ลานบาท เพื่อไมรวมผลกระทบสําหรับ งวดกอนๆ ที่เกิดจากการเปลี่ยนวิธีการคํานวณของทรูมูฟในไตรมาส 2 ป 2548

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

137


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางผลการดําเนินงานของธุรกิจหลัก (ปรับปรุง) รายได (หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น ) โทรศัพทพื้นฐาน (เสียง) โทรศัพทพื้นฐาน บริการเสริม โครงขายขอมูลดิจิตอล (DDN) โทรศัพทไรสาย 4/ โทรศัพทพื้นฐานพกพา (WE PCT) โทรศัพทเคลื่อนที่ (True Move) อินเทอรเน็ต มัลติมีเดีย/บรอดแบนด อื่นๆ รวม คาใชจายในการดําเนินงานที่จัดสรรไมได

2548 14,602 11,964 2,638 1,142 23,887 2,243 21,644 1,270 2,295 997 44,193

ผลการดําเนินงานของสวนงาน

1/

2547 16,349 12,930 3,419 1,029 11,730 1,799 9,930 888 1,409 1,324 32,728

% เปลี่ยนแปลง (10.7) (7.5) (22.9) 11.1 103.6 24.7 118.0 43.1 62.9 (24.7) 35.0

2548

2547

2/ 3/

% เปลี่ยนแปลง

3,700

5,078

(27.1)

653 (1,474)

618 (1,374)

5.6 (7.3)

74 479 315 3,747 (3,824)

286 62 358 5,028 (3,429)

(74.1) 670.3 (12.0) (25.5) 11.5

หมายเหตุ: 1/ รายไดจากการใหบริการและสวนแบงรายไดสําหรับป 2548 ไดถูกปรับปรุงโดยไมรวมการปรับปรุงรายไดจากบริการโทรทางไกล ตางประเทศที่บันทึกไวสูงเกินไปจํานวน 282 ลานบาท และ 48 ลานบาท รายไดจากการใหบริการและสวนแบงรายไดสําหรับป 2547 ไดถูกปรับปรุงลดลงยอนหลังดวยจํานวนเดียวกันเพื่อการเปรียบเทียบ 2/ ผลการดําเนินงานของสวนงานโทรศัพทพื้นฐานและโครงขายขอมูลดิจิตอล (DDN) คือ กําไรขั้นตน แตสําหรับธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ มัลติมีเดีย และอินเทอรเน็ต คือ กําไรจากการดําเนินงาน 3/ สวนแบงรายไดและคาเชื่อมโยงโครงขายสําหรับป 2548 ไดถูกปรับปรุงเพิ่มขึ้นจํานวน 493 ลานบาท เพื่อไมรวมผลกระทบสําหรับ งวดกอนๆ ที่เกิดจากการเปลี่ยนวิธีการคํานวณของทรูมูฟในไตรมาส 2 ป 2548 4/ รวมรายไดจากการขายสินคา

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน รายไดจากธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน (ปรับปรุง) ลดลงในอัตรารอยละ 10.7 ในป 2548 เปน 14.6 พั นลานบาท ทั้ งนี้ เนื่ องจากรายได จากโทรศัพ ท พื้ น ฐานและบริก ารเสริม ลดลง (โดยเฉพาะบริก าร โทรศัพทสาธารณะและบริการเชาทอรอยสาย) ในป 2548 รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนลดลงในอัตรารอยละ 8.5 เปน 493 บาท เนื่องจาก ผูใชบริการเปลี่ยนไปใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง การขยายตัวของธุรกิจบรอดแบนดชวยใหสามารถเพิ่มจํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐาน รายใหมได 45,143 ราย ในป 2548 และทําใหมีจํานวนผูใชบริการทั้งสิ้น 1.99 ลานราย

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

138


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธุรกิจโครงขายขอมูลดิจิตอล (DDN – Digital Data Network) รายไดจากบริการธุรกิจโครงขายขอมูลดิจิตอลในป 2548 เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 11.1 เปน 1.1 พันลานบาท ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทใหเชาวงจรเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 13.5 เปน 10,216 วงจร ซึ่งชดเชย การลดลงของรายไดเฉลี่ยตอวงจรตอเดือนในอัตรารอยละ 5.5 เปน 10,411 บาท (จาก 11,014 บาท ในป 2547) ในป 2548 กลุมทรูไดขยายโครงขายขอมูลดิจิตอลในตางจังหวัด ดวยเทคโนโลยีระบบ MPLS ซึ่งจะชวยใหธุรกิจนี้ขยายตัวไดเพิ่มขึ้น โทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) การนําเสนอแพ็คเกจ 300 บาท โดยคิดคาโทรครั้งละ 3 บาท และโทรฟรีภายในเครือขาย WE PCT อีกทั้งการมุงเนนลูกคากลุมครอบครัวและนักเรียน ชวยผลักดันใหรายไดของ WE PCT เพิ่มสูงขึ้น ในป 2548 รายไดจากการใหบริการในป 2548 เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 10.3 เปน 1.8 พันลานบาท รายได เฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 18.7 เปน 318 บาท (จาก 268 บาทในป 2547) ทั้งนี้ เนื่องจากการนําเสนอแพ็คเกจใหม หากรวมรายไดจากการขายเครื่อง รายไดของ WE PCT ปรับตัว เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 24.7 เปน 2.2 พันลานบาทในป 2548 จํานวนผูใชบริการในป 2548 อยูในระดับคงตัว โดยมีจํานวนผูใชบริการทั้งสิ้น 469,125 ราย ณ สิ้นป 2548 ซึ่งลดลงเพียง 3,721 ราย (เทียบกับลดลง 76,449 รายในป 2547) ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) ถึงแมวาในปที่ ผานมาจะเปน ปที่ทาทายสําหรับธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ อันเปนผลจากการ แขงขันดานราคาอยางรุนแรงในชวงไตรมาส 2 และการขาดแคลนเลขหมายในการใหบริการ ทรูมูฟ ยัง คงมีจํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นสุทธิ 1.1 ลานรายในป 2548 ทําใหมีผูใชบริการรวมทั้งสิ้น 4.5 ลานราย (เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 31.9 จากจํานวน 3.4 ลานราย ณ สิ้นป 2547) สวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 15.1 ในป 2548 (จากรอยละ 12.8 ณ สิ้นป 2547) และมีสวนแบง ตลาดผูใชบริการรายใหมเพิ่มขึ้นสุทธิ เปนรอยละ 33.8 (จากรอยละ 32.8 ในป 2547)

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

139


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในไตรมาส 4 ป 2548 ทรูมูฟ มีจํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้น 358,689 ราย สะทอนใหเห็นถึงการ ฟ น ตั วจากภาวะการแข งขั น ที่ รุน แรงในไตรมาส 2 ส งผลให ส ว นแบ งตลาดในจํานวนผูใชบ ริก าร รายใหม เพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 34.4 (จากอัตรารอยละ 9.5 ในไตรมาส 3) อยางไรก็ตาม จํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นสุทธิทั้งปของทรูมูฟ ยังคงลดลงเมื่อเทียบกับป 2547 ซึ่งมีผูใชบริการเพิ่มขึ้นสุทธิจํานวน 1.6 ลานราย ทั้งนี้เนื่องจากภาวะตลาดโดยรวมที่มีการแขงขันดาน ราคาอยางรุนแรงในไตรมาส 2 และผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน ณ สิ้นป 2548 อยูที่ 393 บาท ลดลงในอัตรารอยละ 10.1 โดย รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนของบริการแบบเติมเงินลดลงในอัตรารอยละ 7.8 และรายไดเฉลี่ยตอ เลขหมายตอเดือนของบริการระบบเหมาจายรายเดือน ลดลงในอัตรารอยละ 11.6 ทรูรับรูรายไดจากการใหบริการของทรูมูฟสําหรับป 2548 เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 139.0 เปน 19.5 พันลานบาท เนื่องจากผลประกอบการที่ดีขึ้นของทรูมูฟ และสวนหนึ่งเปนผลจากการที่ทรูไดเริ่ม รับรูผลการดําเนินงานของทรูมูฟอยางเต็มที่ (Full Consolidation) นับตั้งแตไตรมาส 4 ป 2547 รายไดจากบริการเสริม (Non Voice) เติบโตขึ้นอยางมาก ถึงอัตรารอยละ 136.2 ในป 2548 เปน 1.3 พันลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 6.8 ของรายไดจากการใหบริการรวมในป 2548 ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก สัดสวนรอยละ 4.3 ในป 2547 โดยมีจํานวนผูใชบริการ GPRS เพิ่มขึ้นกวา 2 เทาตัว หรือราว 800,000 ราย ในป 2548 (จากจํานวนผูใชบริการ 300,000 รายในป 2546) ในขณะที่บริการรอเสียงเรียกสายมีผูใช บริการจํานวนมากกวา 970,000 ราย หรือประมาณรอยละ 22 ของลูกคาทั้งหมดภายใน 12 เดือนแรก ของการเปดใหบริการ ซึ่งนับวาสูงกวาอัตราเฉลี่ยของธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวม ทรูมูฟมีขีดความสามารถในการใหบริการ 5.6 ลานเลขหมาย ณ สิ้นป 2548 โดยสามารถให บริการครอบคลุมรอยละ 88 ของประชากรทั่วประเทศ (population coverage) และมีเปาหมายที่จะขยาย ตอไปใหครอบคลุมรอยละ 92 ของประชากร ภายในกลางป 2549 ซึ่งจะทําใหมีระดับที่ใกลเคียงกับ คูแขงบางราย ทรูคาดวาตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศไทยจะเติบโตอีกประมาณ 4 ลานรายในป 2549 โดยบริษัทมีเปาหมายที่จะมีสวนแบงตลาดในผูใชบริการรายใหมราว 1 ใน 3

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

140


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อินเทอรเน็ต กลุมทรู ยังคงเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตอันดับหนึ่งของประเทศ ดวยจํานวนผูใชบริการรวม 716,703 ราย (รวมผูใชบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไป) ณ สิ้นป 2548 ซึ่งลดลงจาก 1.2 ลานราย ณ สิ้น ป 2547 ทั้งนี้เปนผลมาจากการที่ลูกคาประเภท Dial-up เปลี่ยนมาใชบริการบรอดแบนด และ สวนหนึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการคํานวณจํานวนผูใชบริการ Dial-up อยางไรก็ตาม รายได จากธุรกิจอินเทอรเน็ตโดยรวมเพิ่มขึ้นถึงอัตรารอยละ 43.1 เปน 1.3 พันลานบาท โดยสวนใหญเปนการ เพิ่มขึ้นของรายไดจากลูกคาบรอดแบนด นอกจากนั้น กลุมทรูยังเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง หรือ WiFi ที่มีจุดให บริการมากที่สุดกวา 2,000 แหงทั่วประเทศ มัลติมีเดียและบรอดแบนด รายไดจากกลุมธุรกิจมัลติมีเดีย เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 62.9 เปน 2.3 พันลานบาท สวนใหญ มาจากรายไดจากธุรกิจบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไป ซึ่งเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 182.1 ในป 2548 เปน 2.0 พันลานบาท (จาก 725 ลานบาทในป 2547) และเนื่องจากกลุมทรูใชกลยุทธทางการตลาดที่ เน น เจาะตลาดผูบริโภคกลุมใหญ ม ากยิ่งขึ้น ทํ าให รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนลดลงในอั ตรา รอยละ 29.7 แตยังคงอยูในระดับสูงที่ 739 บาทตอเดือน รายไดจากธุรกิจบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไป สวนใหญ ซึ่งเปนคาบริการโครงขาย (ADSL network Access) ไดถูกบันทึกไว ภายใตกลุมธุรกิจมัลติมีเดีย โดยมีจํานวน 1,339 ลานบาท และ 471 ลานบาท ในป 2548 และป 2547 ตามลําดับ สําหรับรายไดสวนที่เหลือ ไดถูกบันทึกไวภายใตกลุมธุรกิจ อินเทอรเน็ต ผูใชบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไป เพิ่มขึ้นจํานวน 135,547 รายในป 2548 หรือเพิ่ม ขึ้นในอัตรารอยละ 82.3 จากป 2547 ทําใหมีจํานวนผูใชบริการ ณ สิ้นป 2548 จํานวนรวม 300,322 ราย และทําใหกลุมทรูครองสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 80 ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล ปจจัยที่ทําใหธุรกิจบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไปเติบโตอยางสูง เนื่องจากกลุมทรูไดดําเนิน นโยบายเพื่อลดคาใชจายในการเขาสูตลาดของลูกคา ดวยการทําการสงเสริมการขายโดยการแจกโมเด็ม ฟรี พรอมติดตั้งโทรศัพทพื้นฐานโดยไมคิดคาใชจาย นอกจากนั้นกลุมทรูยังเนนการสรางความแตกตาง จากคูแขง โดยเนนบริการที่มีคุณภาพสูง เนื่องจากมีโครงขายใยแกวนําแสงที่มีประสิทธิภาพสูง และ

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

141


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เนนการใหบริการเสริมตางๆ เชน บริการเครือขายอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง หรือ WiFi รวมทั้งให บริการคอนเทนทที่หลากหลายที่ Trueworld.net

งบดุลรวมและงบกระแสเงินสดรวม

(ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2548

ป 2547

%เปลี่ยนแปลง

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น ) งบดุล สินทรัพยหมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยรวม หนี้สินหมุนเวียน เงินกูระยะยาว หนี้สินรวม สวนของผูถือหุนรวม งบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน ยอดเงินคงเหลือสิ้นงวด

28,957 71,975 108,058 32,465 74,984 107,751

19,803 75,674 102,625 16,314 79,971 97,888

46.2 (4.9) 5.3 99.0 (6.2) 10.1

307

4,738

(93.5)

7,381 (907) (4,821) 4,469

57.2 1,763.0 NM 86.4

11,604 (16,905) 9,214 8,328

การวิเคราะหฐานะทางการเงิน (Financial Position) สินทรัพยรวมของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2548 มีจํานวน 108.1 พันลานบาท เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 5.3 (5.4 พันลานบาท) จากป 2547 สวนใหญเนื่องจากเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้นเปน 17.5 พันลานบาท (จาก 6.2 พันลานบาทในป 2547) โดยสวนใหญเปนเงินสดจากเงินกูยืมระยะสั้นเพื่อการ ซื้อเงินลงทุนใน UBC จํานวน 291.1 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา ณ สิ้นป ลูกหนี้การคา (สุทธิ) เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 5.9 จากป 2547 เปน 6.6 พันลานบาท สวนใหญเนื่องจาก การขยายการดําเนินงานของทรูมูฟ ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยปรับตัวดีขึ้นเปน 52 วันในป 2548 จาก 64 วันในป 2547 ในเดือนธันวาคม 2548 บริษัทและบริษัทยอยไดบันทึกขาดทุนจากการดอยคาของอุปกรณโครงขาย บางประเภท เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีไทย เพื่อปรับปรุงมูลคาของสินทรัพยตามมูลคาทาง เศรษฐกิจ บริษัทรับรูการดอยคาของสินทรัพยเปนจํานวน 2.0 พันลานบาทภายใตหัวขอ “คาใชจายอื่น” ในงบการเงิน และแสดงในรายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติในงบการเงิน (ปรับปรุง) การ บันทึกดังกลาว เปนสาเหตุสวนหนึ่งที่ทําให ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ลดลงเปน 72.0 พันลานบาท ณ สิ้นป 2548 (จาก 75.7 พันลานบาท ณ สิ้นป 2547) หนี้สินรวมของบริษัท เพิ่มขึ้น 9.9 พันลานบาท เปน 107.8 พันลานบาท ณ สิ้นป 2548 โดยสวนใหญ เป น เงิน กู ยืม ระยะสั้ น เพื่ อ การซื้ อเงิน ลงทุ น ใน UBC จํานวน 291.1 ล านเหรียญสหรัฐอเมริก า (12.0 TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

142


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พั น ล านบาท) โดยในเดื อ นธั น วาคม ป 2548 บริษั ท ย อ ยได กู ยืม เงิน เพื่ อ การซื้ อ เงิน ลงทุ น ใน UBC จํานวน 291.1 ลานเหรียญสหรัฐอเมริก า ซึ่งสวนใหญ บ ริษั ท ไดทํ าการปองกั นความเสี่ยงจากความ ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนไวแลว เงินกูยืมดังกลาว จะถูกทดแทนดวยเงินกูยืมโดย UBC จํานวน 191 ล านเหรี ย ญสหรั ฐ อเมริ ก า และส ว นที่ เหลื อ จะมี ก ารชํ าระคื น ด ว ยเงิ น สดของ UBC โดยคาดว าจะ แลวเสร็จในไตรมาส 2 ป 2549 เจาหนี้การคาและเงินกูยืมระยะยาว เพิ่มขึ้น 8.2 พันลานบาท เปน 95.4 พันลานบาท (ไมรวมตนทุนเงิน กูยืมที่ยังไมตัดจําหนาย) ณ สิ้นป 2548 ทั้งนี้เนื่องจากเงินกูยืมระยะสั้นเพื่อการซื้อเงินลงทุนในUBC ซึ่ง ทําใหเงินกูยืมระยะสั้นเพิ่มขึ้นเปน 13.2 พันลานบาท ในป 2548 บริษัทและบริษัทยอยไดชําระหนี้เงิน กูยืมและเจาหนี้การคาระยะยาวเปนจํานวน 4.5 พันลานบาท นอกจากนี้ หนี้สินของบริษัทลดลงกวา 1.2 พันลานบาทจากกําไรจากการชําระคืนตั๋วเงินจาย และกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้พีซีที โดยใน ไตรมาสแรก ป 2548 บริษัทไดชําระคืนตั๋วเงินจายกอนกําหนดบางสวน และรับรูกําไรจํานวน 370 ลาน บาท และในไตรมาส 4 บริษั ท ยอ ยประสบความสํ าเร็จ ในการเจรจาปรับ โครงสรางหนี้ ข องธุ รกิ จ โทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) และรับรูกําไรจํานวน 801 ลานบาท ทั้งนี้ภาระหนี้สิน ของทรูมูฟคงที่ โดยมีหนี้สินจํานวน 32.8 พันลานบาท(กอนตนทุนเงินกูยืมที่ยังไมตัดจําหนาย) ส ว นของผู ถื อ หุ น ลดลงจาก 4.7 พั น ล านบาท ณ สิ้ น ป 2547 เป น 307 ล านบาท ณ สิ้ น ป 2548 จาก ขาดทุนสุทธิประจําปจํานวน 4.3 พันลานบาท สภาพคลอง กระแสเงินสดจากการดําเนินงานรวมเพิ่มขึ้น 4.2 พันลานบาท หรือเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 57.2 เปน 11.6 พันลานบาท สวนใหญมาจากทรูมูฟ กระแสเงินสดจากการดําเนินงานหลังหักรายจาย ลงทุนลดลง 2.1 พันลานบาทเปน 1.3 พันลานบาท เนื่องจากรายจายลงทุนที่เพิ่มขึ้น (6.3 พันลานบาท) สวนใหญจากทรูมูฟ ในระหวางป 2548 บริษัทและบริษัทยอยมีรายจายลงทุน (ในที่ดิน อาคารและอุปกรณ) จํานวน 10.3 พันลานบาท โดยเปนรายจายลงทุนของทรูมูฟจํานวน 7.2 พันลานบาท นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทยอย ยังไดลงทุนในซอฟทแวรคอมพิวเตอร (101 ลานบาท) และลงทุนเพิ่มในบริษัทยอย (514 ลานบาท) สวนใหญเปนเงินลงทุนใน UBC ในป 2548 บริษัทและบริษัทยอยไดชําระหนี้เงินกูยืมและเจาหนี้การ คาระยะยาวเปนจํานวน 4.5 พันลานบาท สวนใหญเปนการจายชําระคืนของธุรกิจอื่นที่ไมรวมทรูมูฟ แหลงเงินทุนหลักของบริษัทมาจากกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน และการกูยืมเงินเพิ่ม (1.7 พันลานบาท) ของบริษัทยอย อีกทั้งมีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดคงเหลือจากป 2547 (7.6 พันลานบาท รวม เงินลงทุนระยะสั้น) สําหรับทรูมูฟ มีแหลงเงินทุนจากกระแสเงินสดของบริษัท และจากเงินทุนเพิ่มเติม TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

143


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จากทรูจํานวน 1 พันลานบาท สําหรับการซื้อกิจการ UBC จะมีแหลงเงินทุนหลักจากเงินกูยืมระยะสั้น ดังที่กลาวแลว สรุป ฐานะทางการเงินของบริษัท ในป 2548 มีความแข็งแกรงมากขึ้น โดยภาระหนี้สินลดลงอยาง ตอเนื่องและอัตราส วนหนี้ สิน สุทธิตอ EBITDA ปรับตัวดีขึ้น อัตราสวน EBITDA ตอดอกเบี้ยจาย เพิ่มขึ้น เปน 3.3 เท า จาก 3.1 เทา ในป 2547 ธุรกิจโทรศัพ ทพื้นฐานยังคงสรางกระแสเงินสดที่แข็ง แกรง โดยมีกระแสเงินสดจากการดําเนินงานหักรายจายลงทุน จํานวน 4.2 พันลานบาท ซึ่งเปนปจจัยที่ สําคัญสําหรับการลดภาระหนี้ของบริษัท ทรูยังคงมุงลดภาระหนี้อยางตอเนื่อง โดยอัตราสวนหนี้สินสุทธิตอ EBITDA ลดลงเปน 4.9 เทา ในป 2548 (จาก 6.1 เทาในป 2547) ซึ่งไมรวมเงินกูยืมระยะสั้นเพื่อการซื้อกิจการ UBC และหากไม รวมทรูมูฟ อัตราสวนหนี้สิน สุทธิตอ EBITDA จะลดลงเปน 4.3 เทา ณ สิ้นป 2548 ทั้งนี้ ณ ปลายป 2548 ทรูมีเงินสด และรายการเทียบเทาเงินสด คงเหลือจํานวน 17.5 พันลานบาท รวมเงินสดจํานวน ประมาณ 12.0 พันลานบาทสําหรับการเขาซื้อกิจการ UBC พัฒนาการที่เพิ่งเกิดขึ้นในชวงปลายป การเขาซื้อหุน ยูบีซี เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2548 คณะกรรมการของบริษัทไดมีมติใหเขาซื้อหุนสามัญของบริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ UBC จํานวน 231,121,441 หุน หรือคิดเปน สัดสวนรอยละ 30.59 จาก MIH (UBC) HOLDINGS B.V. (“MIH”) ที่ราคารวม 150 ลานเหรียญสหรัฐ (หรือประมาณ 0.649 เหรียญสหรัฐตอหุน) ซึ่งทําใหบริษัทตองเสนอซื้อหุน UBC จากผูถือหุนอื่น ๆ จํานวน 205,055,929 หุ น (คิดเปน สั ด สวนรอยละ 27.14) โดยการทํ าคําเสนอซื้ อหลั กทรัพ ยเพื่ อการ ขอเพิกถอนหุนยูบีซีออกจากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่ ราคา 26.50 บาทตอหุน นอกจากนั้นคณะกรรมการของบริษัทยังไดมีมติใหเขาซื้อใบสําคัญแสดงสิทธิ ตามโครงการออกและเสนอขายใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ ใ ห แ ก พ นั ก งานของ UBC ทั้ ง หมดจํ า นวน 14,481,600 หนวย ในราคาหนวยละ 16.50 บาท รวมทั้งใหซื้อหุนทั้งหมดของ MSKC World Dot Com Co., Ltd (“MKSC”) จาก MIH และรับโอนสิทธิการเปนเจาหนี้ ของบริษัท MKSC ในจํานวนเงินรวม 10,628,000 เหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ MKSC เปนบริษัทที่ถือหุนใน KSC ผูใหบริการอินเทอรเน็ตรายหนึ่ง ในสัดสวนประมาณรอยละ 40

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

144


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

และเมื่อวัน ที่ 13 ธัน วาคม 2548 ผูถือหุ นของ UBC ไดอนุ มัติการนํ า UBC ออกจากการเป น หลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในขณะที่ผูถือหุนของทรูไดอนุมัติการ เขาทํารายการตางๆ เพื่อการเขาซื้อหุนของ UBC เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2549 บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด (“K.I.N.”) ซึ่งเปนบริษัทยอย ของบริษัท ไดเขาซื้อหุน UBC จาก MIH ทั้งหมดในราคาหุนละ 26.50 บาท และ ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทไดเขาซื้อหุนสามัญทั้งหมด จํานวน 20,000 หุนของ MKSC รวมทั้ง รับโอนสิทธิของการเปนเจาหนี้ของ MKSC และในเวลาตอมา K.I.N ไดเขาซื้อใบสําคัญแสดงสิทธิจาก พนักงาน UBC รวมทั้ง ไดเริ่มทําการเสนอซื้อหลักทรัพยเพื่อการขอเพิกถอนหุน UBC ออกจากการเปน หลักทรัพยจดทะเบียน นับตั้งแตวันที่ 12 มกราคม 2549 ซึ่งจะสิ้นสุดในวันที่ 16 มีนาคม 2549 ทั้งนี้ ณ ปลายเดือน กุมภาพันธ 2549 บริษัทถือหุนใน UBC ที่อัตรารอยละ 93 โดยบริษัทคาดวาการเพิกถอนหุน UBC ออกจากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียนจะเสร็จสิ้นในไตรมาส 2 ป 2549 ทั้งนี้ UBC และ MKSC นับเปนบริษัทยอยของบริษัท และบริษัทจะเริ่มรับรูผลการดําเนิน งานอยางเต็มที่จากทั้งสองบริษั ท นับตั้งแตตนไตรมาส 1 ป 2549 การเขาซื้อหุน UBC ในครั้งนี้ นับเปนกาวสําคัญที่จะทําใหบริษัทสามารถใหบริการสื่อสาร โทรคมนาคมครบวงจรไดอยางแทจริง พรอมขึ้นเปนผูนําทั้งบริการเสียง ภาพ และขอมูล ทรูชนะขอพิพาทกับ ทศท ในคดีอนุญาโตตุลาการ เกี่ยวกับคาเชื่อมโยงโครงขาย เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2545 ทรูไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอคณะอนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับกรณี พิพาทที่เกิดจากสัญญารวมการงานฯ ระหวางบริษัทกับ ทศท ซึ่งระบุวาบริษัทมีสิทธิไดรับผลประโยชน ตอบแทนจากการที่ ทศท นําบริการพิเศษหรืออนุญาตใหบุคคลที่สามนําบริการพิเศษมาใชผานโครงขาย โทรศัพทพื้นฐานของทรู เมื่ อ วั น ที่ 17 มกราคม 2549 คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการได มี คํ า ชี้ ข าด ให บ ริ ษั ท มี สิ ท ธิ รั บ ผล ประโยชนจากการที่ ทศท นําบริการพิเศษ หรืออนุญาตใหบุคคลอื่นนําบริการพิเศษ มาใชผานโครงขาย ของทรู โดยให ทศท แบงผลประโยชน ที่ไดรับจากการเชื่อมตอของโทรศัพทเคลื่อนที่ผานโครงขาย ของทรู ตั้ งแตตน จนถึงวัน ที่ 22 สิงหาคม 2545 เป น จํานวนเงิน 9,175.8 ลานบาทพรอมดอกเบี้ ยใน อัตรารอยละ 7.5 ต อป นั บตั้งแตวันที่ 22 สิงหาคม 2545 จนกวา ทศท จะชําระเสร็จสิ้ น ทั้งนี้ ให ทศท ชําระเงินตามคําชี้ขาดนี้ใหแกบริษัทภายใน 60 วันนับตั้งแตวันที่ไดรับคําชี้ขาด นอกจากนั้นใหแบง ผลประโยชน ตอบแทนตั้งแตวัน ที่ 23 สิงหาคม 2545 เป น ตน ไป ให บริษั ท ในอัตรารอยละ 50 ของ ผลประโยชนที่ ทศท ไดรับจริง TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

145


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ ณ วันที่เขียนรายงานนี้ บริษัทยังมิไดตัดสินใจวาจะลงบันทึกบัญชีหรือไม เนื่องจากอยูใน ขั้นตอนพิจารณาความเหมาะสม ตอมาคณะกรรมการ ทศท ไดแถลงวาจะดําเนินการยื่นคํารองตอศาล เพื่อขอใหศาลเพิกถอน คําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังมีขาวตามหนาหนังสือพิมพวา ทศท กําลังพิจารณาหาทางขอ ยกเลิกสัญญารวมการงานฯ ที่ใหกับทรู โดยกลาววา ทรูไดกระทําผิดสัญญารวมการงานฯ ซึ่งตอมาทรู ไดชี้แจงวา ทรูไดปฏิบั ติตามสัญ ญารวมการงานฯ อยางครบถวน ดังนั้ น จึงไมมี ประเด็น ที่ ทศท จะ สามารถหยิบยกขึ้นมาเปนสาเหตุของการยกเลิกสัญญารวมการงานฯ ได นอกจากนั้น สัญญารวมการงานฯ ระบุไวชัดเจนวา กรณีมีขอพิพาทระหวางคูสัญญา ใหนําขอพิพาทดังกลาวเสนอตอคณะอนุญาโตตุลาการ เพื่อชี้ขาด และคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการถือเปนที่สุด 12.5 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทและบริษัทยอยจายคาตอบแทนการสอบบัญชี ใหแก - สํ า นั ก งานสอบบั ญ ชี ที่ ผู ส อบบั ญ ชี สั ง กั ด สํ า หรั บ ป พ.ศ. 2548 เป น จํ า นวนเงิ น รวม 14,936,158 บาท 2. คาบริการอื่น (non-audit fee) บริษัทจายคาตอบแทนของงานบริการอื่น ซึ่งไดแก การตรวจสอบตามวิธีการที่ตกลงรวมกัน และการใหคําปรึกษาดานภาษี ใหแก - สํ า นั ก งานสอบบั ญ ชี ที่ ผู ส อบบั ญ ชี สั ง กั ด สํ า หรั บ ป พ.ศ. 2548 เป น จํ า นวนเงิ น รวม 6,839,390 บาท และจะตองจายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยังใหบริการไมแลวเสร็จ ในรอบปบัญชีที่ผานมามีจํานวนเงินรวม 10,102,228 บาท

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

146


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ ก) การลงทุนในบริษัทอื่นในชวงตนป 2549 1) บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“UBC”) บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด (“K.I.N.”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ไดลงนามใน สั ญ ญา Share Purchase Agreement เพื่ อ ซื้ อ หุ น UBC จากบริ ษั ท MIH (UBC) Holdings B.V. (“MIH”) ตามสัญ ญา Share Purchase Agreement โดย K.I.N. ซื้อหุนสามัญ ของ UBC จํานวน 231,121,441 หุ น คิด เป น รอยละ 30.58 ของหุ น ที่ ออกและชําระแลวทั้ งหมดของ UBC จาก MIH ในราคาหุ น ละ 0.649 เหรียญสหรัฐอเมริกา จํานวนเงินรวมทั้งสิ้น 150.00 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะสงผลใหบริษัทเขาเปน ผูถือหุนโดยออมในสัดสวนรอยละ 69.11 ของหุนที่ออกจําหนายแลวของ UBC และ UBC จะมีสถานะ เปนบริษัทยอยของบริษัท อนึ่ง K.I.N. ไดยื่นแบบประกาศเจตนาในการเขาถือหลักทรัพยเพื่อครอบงํากิจการ (แบบ 247-3) ใน UBC ทั้งหมดจํานวน 205,055,929 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 27.14 ของจํานวนหุน ที่จําหน ายได แลวทั้งหมดของยูบีซี โดยกําหนดราคาเสนอซื้อหุนของ UBC ในราคาหุนละ 26.50 บาท โดยมีระยะเวลา การเสนอซื้อเริ่มตั้งแตวันที่ 12 มกราคม 2549 สิ้นสุดวันที่ 16 มีนาคม 2549 2) บริษัท เอ็มเคเอสซี เวิลดดอทคอม จํากัด (“MKSC”) บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (“TM”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทไดลงนามในสัญญาซื้อขายหุน ในบริษัท เอ็มเคเอสซี เวิลดดอทคอม จํากัด (“MKSC”) กับ M-WEB Thailand Holdings B.V. (“M-WEB Holding”) และ MWEB Thailand Limited (“MWEB Thailand”) โดยภายใตสั ญ ญาดั งกล าว TM จะซื้ อ หุนใน MKSC จาก M-WEB Holdings และ MWEB Thailand จํานวนทั้งสิ้น 20,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท คิดเปนรอยละ 100 ของหุนที่ออกจําหนายแลวทั้งหมดของ MKSC รวมทั้งการซื้อและ รับโอนสิทธิเรียกรองในหนี้เงินใหกูยืมที่ผูขายเปนเจาหนี้ MKSC รวมเปนราคาซื้อขายทั้งสิ้น 10,628,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา การทํารายการดังกลาวจะสงผลใหบริษัท เขาเป น ผูถือหุ น โดยออมในสัดสวน รอยละ 90.45 ของหุนที่ออกจําหนายแลวของ MKSC และ MKSC จะมีสถานะเปนบริษัทยอยของบริษัท อีกแหงหนึ่ง อนึ่ง การซื้อหุนของ MKSC ในครั้งนี้ เปนผลทําใหบริษัทเขาเปนผูถือหุนโดยออมในบริษัท ยอยของ MKSC จํานวน 4 บริษัท ไดแก บริษัท อินเตอรเนต เคเอสซี จํากัด บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด บริษัท อินเตอรเนต ชอปปงมอลล จํากัด และบริษัท ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลด ไซท จํากัด โดยทั้ง 4 บริษัทจะมีสถานะเปนบริษัทยอยของบริษัทดวย

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

147


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3) การจัดตั้งบริษัทยอยแหงใหม จํานวน 4 บริษัท ดังนี้ รายชื่อ บจ. สกาย ออฟฟศ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น บจ. ฉะเชิงเทรา สกาย เน็ตเวิรค บจ. อาร แอนด อาร คอมมิวเนชั่น

ประเภทธุรกิจ ใหบริการโทรคมนาคมและอินเทอรเน็ต ใหบริการโทรคมนาคม ใหบริการโทรคมนาคม ใหบริการโทรคมนาคม

ทุนชําระแลว (ลานบาท) 1 1 1 1

บริษัทยอยทั้ง 4 บริษัทดังกลาวขางตน มีทุนจดทะเบียนและเรียกชําระเต็มมูลคาแลวจํานวน 1 ลานบาท โดยแบงออกเปนหุนจํานวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท บริษัทไดเขาลงทุนใน แตละบริษัทในสัดสวนรอยละ 99.9 ของทุนที่ออกและเรียกชําระทั้งหมดของแตละบริษัท ข) โครงการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและ พนักงานในระดับผูบริหารของบริษัท และ/หรือ บริษัทยอย (“ESOP 2006 Project”) เมื่ อ วั น ที่ 23 กุ ม ภาพั น ธ 2549 คณะกรรมการของบริษั ท ได อ นุ มั ติ ก ารออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับบริหารของบริษัท และ/หรือบริษัทยอย (“ESOP 2006 Project”) จํานวนไมเกิน 36,051,007 หนวย นอกจากนี้ คณะกรรมการ ของบริษัทไดอนุมัติใหลดทุนจดทะเบียนของบริษัทจาก 46,774,214,840 บาท เปน 42,455,271,280 บาท โดยการยกเลิกหุนสามัญที่จดทะเบียนไวแลวแตยังไมไดออกจําหนายจํานวน 431,894,356 หุน เพื่อให เปนไปตามบทบั ญญั ติของพระราชบัญ ญั ติบริษัทมหาชนจํากัด และให มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 42,455,271,280 บาท เป น 47,134,724,910 บาท โดยการออกหุ น สามั ญ เพิ่ ม จํ านวน 467,945,363 หุ น มู ลคาที่ ตราไวหุ น ละ 10 บาท ทั้ งนี้ การออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิท ธิ การลดและเพิ่ มทุ น ดังกลาวจะนําเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2549 เพื่อพิจารณาอนุมัติตอไป

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

148


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดคณะกรรมการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548) ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง อายุ จํานวนหุนที่ถือ ความสัมพันธ นายณรงค ศรีสอาน

กรรมการอิสระ

(ป)

(31/12/48)

77

10,000 หุน

ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญากิตติมศักดิ์

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

เอกสารแนบ 1

ประวัติการทํางาน 2541-ปจจุบัน ปจจุบัน

กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองประธานกรรมการบริษัท และ รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไทยเบฟเวอรเรจส รองประธานกรรมการบริษัท และ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. เบียรไทย (1991) ประธานกรรมการบริษัท บมจ. ไทยแอลกอฮอล ประธานกรรมการบริษัท บจ. สุราบางยี่ขัน ประธานกรรมการบริษัท บจ. อธิมาตร ประธานกรรมการบริษัท บจ. เอส.เอส.การสุรา ประธานกรรมการบริษัท บจ. แกนขวัญ ประธานกรรมการบริษัท บจ. เทพอรุโณทัย ประธานกรรมการบริษัท บจ. ปุยไบโอนิค ประธานกรรมการบริษัท บจ. มหาราษฎรการเกษตร ประธานกรรมการบริษัท บจ. ไทยโมลาส ประธานกรรมการบริษัท บจ. อาหารเสริม ประธานกรรมการบริษัท บจ. แพนอินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) ประธานกรรมการบริษัท บจ. จรัญธุรกิจ 52 ประธานกรรมการบริษัท บจ. ถังไมโอคไทย ประธานกรรมการบริษัท บจ. ธนสินธิ ประธานกรรมการบริษัท บจ. บางนาโลจิสติค ประธานกรรมการบริหาร บจ. ไทยเบฟเวอรเรจแคน รองประธานกรรมการบริษัท และ รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. เบอรลี่ ยุคเกอร ประธานกรรมการบริษัท บจ. เบอรลี่ ยุคเกอร เซลล็อกซ ประธานกรรมการบริษัท บจ. เบอรลี่ ยุคเกอร ฟูดส ประธานกรรมการบริษัท บจ. เบอรลี่ ยุคเกอร โลจิสติกส ประธานกรรมการบริษัท บจ. รูเบียอุตสาหกรรม ประธานกรรมการบริษัท บมจ. อุตสาหกรรมทําเครื่องแกวไทย ประธานกรรมการบริษัท บจ. ธนากรผลิตภัณฑน้ํามันพืช ประธานกรรมการบริษัท บจ. ปรีดาปราโมทย ประธานกรรมการบริษัท บมจ. แอดวานซ อะโกร ประธานกรรมการบริษัท บจ. อิสเทิรนซีบอรดอินดัสเตรียลเอสเตท (ระยอง) ประธานกรรมการบริหาร บมจ. อาหารสยาม รองประธานกรรมการบริษัท บจ. ยาสูบสากล กรรมการบริหาร บจ. คอมลิงค

149


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ชื่อ-นามสกุล

นายวิทยา เวชชาชีวะ

ตําแหนง

อายุ (ป)

กรรมการอิสระ และ ประธาน คณะกรรมการ ตรวจสอบ

69

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จํานวนหุนที่ถือ ความสัมพันธ (31/12/48) ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

-

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท

ปริญญาตรี เนติบัณฑิต

นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ สํานักเกรส อินน

ประวัติการทํางาน 2541-ปจจุบัน

2534-2535 2531 2527 2524 2522

กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บจ. เคไลน (ประเทศไทย) และบริษัทในเครือ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ เอกอัครราชทูตประจําประเทศสหรัฐอเมริกา เอกอัครราชทูตประจําประเทศเบลเยี่ยม และประชาคมยุโรป เอกอัครราชทูตประจําประเทศแคนาดา อธิบดีกรมเศรษฐกิจ

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Chairman 2000 ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ

นายโชติ โภควนิช

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

66

-

-

ปริญญาเอก ปริญญาตรี

63

-

-

สาขาวิศวกรรมศาสตร University of London, ประเทศอังกฤษ สาขาวิศวกรรมศาสตร University of London, ประเทศอังกฤษ

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Director Certification Program (DCP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000 ผูสอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการจัดการดานการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ประเทศสหรัฐอเมริกา การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000

เอกสารแนบ 1

2542-ปจจุบัน 2547-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2544-2548 2543-2544 2529-2535

2542-ปจจุบัน 2545-ปจจุบัน 2547-ปจจุบัน 2543-2544 2537-2540 2535-2537

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน) กรรมการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) นายกสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ประธานกรรมการ บจ.วิทยุการบินแหงประเทศไทย อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ทรู มูฟ ประธานเจาหนาที่บริหาร ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเงินทุน ทิสโก จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร กลุมบริษัท ไทยวา จํากัด กรรมการผูจัดการและกงสุลใหญแหงเดนมารก ประจําประเทศไทย บจ. อี๊สเอเซียติ๊ก (ประเทศไทย)

150


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/48)

นายธนินท เจียรวนนท

ประธาน กรรมการ

66

-

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร เปนบิดา นายสุภกิต เจียรวนนท และ นายศุภชัย เจียรวนนท

คุณวุฒิทางการศึกษา

Commercial School ประเทศฮองกง Shantou Secondary School สาธารณรัฐประชาชนจีน วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร

ประวัติการทํางาน ปจจุบัน

ประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น และบริษัทในเครือ ประธานกรรมการ บจ. ทรู มูฟ ประธานกรรมการและประธานคณะผูบริหาร บจ.เครือเจริญโภคภัณฑ และบริษัทในเครือ ประธานกรรมการ บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร และบริษัทในเครือ ประธานกรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน และบริษัทในเครือ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บมจ. สยามแม็คโคร

2536-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ

ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองประธานกรรมการ บจ.เครือเจริญโภคภัณฑ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ หอการคาไทย และสภาหอการคาแหงประเทศไทย กรรมการ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) นายสุเมธ เจียรวนนท

รองประธาน กรรมการ

71

150,000 หุน

เปนบิดา นายชัชวาลย เจียรวนนท

ดร.อาชว เตาลานนท

รองประธาน กรรมการ

68

-

-

มัธยมศึกษา โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย จังหวัดราชบุรี ปริญญากิตติมศักดิ์

ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี พิเศษ

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology, ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Iowa State of University, ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรรัฐรวมเอกชนรุนที่ 1

2536-2542 2534-2535 2522

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP)

เอกสารแนบ 1

151


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายเฉลียว สุวรรณกิตติ

นายอธึก อัศวานันท*

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุนที่ถือ (31/12/48)

ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

รองประธาน กรรมการ

77

3,500,000 หุน

-

รองประธาน กรรมการ และ หัวหนา คณะผูบริหาร ดานกฎหมาย

54

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี

673,823 หุน

-

ปริญญาโท ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ Indiana University, ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สาขานิติศาสตร Specialised in International Legal Studies New York University, ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขานิติศาสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทํางาน 2535-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง

2540-ปจจุบัน

รองประธานกรรมการและหัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น และ บริษัทในเครือ หัวหนานักกฎหมาย กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บมจ. ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น และ บริษัทในเครือ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ Aqua-Agri Foods International, Inc. ผูพิพากษาสมทบในศาลทรัพยสินทางปญญาและ การคาระหวางประเทศกลาง Baker & McKenzie อาจารยพิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2545-ปจจุบัน ปจจุบัน 2544-2549 2521-2540 ปจจุบัน

นายศุภชัย เจียรวนนท*

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธาน คณะผูบริหาร

38

1,240,000 หุน

เปนบุตร ปริญญาตรี นายธนินท เจียรวนนท และเปนนองชาย นายสุภกิต เจียรวนนท

สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) Boston University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

2542-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2535-2542

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มูฟ กรรมการและรองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

เอกสารแนบ 1

152


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

นายสุภกิต เจียรวนนท*

กรรมการ

นายชัชวาลย เจียรวนนท*

กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร Group Investment

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

42

จํานวน หุนที่ถือ (31/12/48) -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร เปนบุตร นายธนินท เจียรวนนท และเปนพี่ชาย นายศุภชัย เจียรวนนท

43

-

เปนบุตร นายสุเมธ เจียรวนนท

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประวัติการทํางาน

ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ New York University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปจจุบัน

ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern California, ประเทศสหรัฐอเมริกา

2536-ปจจุบัน

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

2543-ปจจุบัน

2544-ปจจุบัน

2541-ปจจุบัน 2540-ปจจุบัน 2535-ปจจุบัน 2533-ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1

กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการรวม บจ. เซี่ยงไฮ คิงฮิวล – ซุปเปอรแบรนดมอล ประธานคณะกรรมการ บจ. ลูเซนท เนทเวิรค เทคโนโลยี (ประเทศไทย) ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต เอ็นเตอรไพร อินเตอรเนชั่นแนล ประธานกรรมการบริษัท บมจ. ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการบริหาร บจ. เทเลคอม โฮลดิ้ง ประธานกรรมการ กลุมธุรกิจพัฒนาที่ดิน (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจยานยนตอุตสาหกรรมและการเงิน บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธาน กลุมธุรกิจพัฒนาที่ดิน (ไทย) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธาน กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจําหนาย (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – Group Investment บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการตรวจสอบ Ticon Industrial Connection Public Company Limited กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง ประธานกรรมการบริหาร Cambodia Mobile Telephone Co.,Ltd. ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย , บจ. ทรู อินเทอรเน็ต และ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรม กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่

153


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน*

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผู บริหาร ดานปฏิบัติการ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อายุ (ป)

จํานวน หุนที่ถือ (31/12/48)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

48

-

-

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาโท ปริญญาตรี

บริหารธุรกิจ Pepperdine University, ประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin, ประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP)

ประวัติการทํางาน 2543-ปจจุบัน 2541-2543 2540-2541 2539-2540 2538-2539

นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ

กรรมการ

53

234,000 หุน

-

ปริญญาโท ปริญญาตรี

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP)

เอกสารแนบ 1

2544-ปจจุบัน ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและ เทคโนโลยีสารสนเทศ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวง ตะวันออกเฉียงใต บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

รองประธานสํานักการเงินเครือเจริญโภคภัณฑ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บมจ. อยุธยา อลิอันซ ซี.พี. ประกันชีวิต กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี

154


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

นายไฮนริช ไฮมส

กรรมการ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

53

-

-

Abitur at Schiller Gymnasium, Hameln. Studies at the Freie University Berlin : Educational Sciences.

2543-ปจจุบัน 2545-ปจจุบัน 2547-ปจจุบัน

Studies at the Freie University Berlin, with State Examination.(Graduate in Economics)

2541-ปจจุบัน 2521-2541

นายอันเดรียส คลอคเคอ

กรรมการ

49

-

-

2543ปจจุบัน

M.A. International Relations, University of KANSAS, U.S.A. DIPLOMA VOLKSWIRT

University of Hamburg, Germany

ปจจุบัน

กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ทรู มูฟ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ และสมาชิกของ คณะกรรมการผูจัดการ KfW IPEX-Bank Senior Vice President - Export and Project Finance KfW Export Finance, KfW กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น Head of KfW’s South-East Asia Regional office in Bangkok in Charge of KfW Affairs in Thailand and South-East Asia Region

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท ชื่อ-นามสกุล

เอกสารแนบ 1

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวน หุนที่ถือ (31/12/48)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประวัติการทํางาน

155


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

นายฮาราลด ลิงค

กรรมการ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) 50

50,000 หุน

-

MBA, St. Gallen University, Switzerland

2543-ปจจุบัน 2530-ปจจุบัน 2524-2529 2522-2523

ดร.ลี จี. แลม

กรรมการ

46

-

-

Doctorate of Philosophy from the University of Hong Kong

2546-ปจจุบัน

Master Degree of Systems Science and MBA from the University of Ottawa, Canada

2544-2546

Bachelor of Sciences and Mathematics from the University of Ottawa, Canada

2542-2544

Post-graduate Diploma of Public Administration from the Carleton University, Canada

2541-2542 2539-2542

Post-graduate Diploma in English and Hong Kong Law from the Manchester Metropolitan University

2536-2538 2532-2536 2524-2532

กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น Managing Partner, B. Grimm & Co. R.O.P. Chairman, B. Grimm Group of Companies Director, Executive Committee B. Grimm & Co. R.O.P. Assistant to Managing Partner B. Grimm & Co. R.O.P. กรรมการ บจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และหัวหนาคณะผูบริหาร Chia Tai Enterprises International Limited กรรมการผูจัดการ BOC International Holdings Limited (“BOCI”) Executive Director Singapore Technologies Telemedia Partner-in-charge, Heidrick & Struggles President & CEO Millicom International Cellular Asia Pacific Operations Managing Partner, A.T. Kearney, Inc. General Manager, Cable & Wireless/Hongkong Telecom Senior Executive, Bell Canada

รายละเอียดเจาหนาที่บริหาร (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548)

เอกสารแนบ 1

156


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ชื่อ-นามสกุล

นายศุภชัย เจียรวนนท

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน

นายชัชวาลย เจียรวนนท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวน หุนที่ถือ (31/12/48)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร

38

1,240,000 หุน

เปนบุตร นายธนินท เจียรวนนท และเปนนองชาย นายสุภกิต เจียรวนนท

ปริญญาตรี

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ

48

-

ปริญญาโท

กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร Group Investment

-

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

-

เปนบุตรของ นายสุเมธ เจียรวนนท

2542-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2535-2542

ปริญญาโท

43

สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) Boston University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ประวัติการทํางาน

บริหารธุรกิจ Pepperdine University, ประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin, ประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

2543-ปจจุบัน 2541-2543 2540-2541

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP)

2539-2540

ปริญญาตรี

2536-ปจจุบัน

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern California, ประเทศสหรัฐอเมริกา

2538-2539

2544-ปจจุบัน

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 2543-ปจจุบัน - Director Accreditation Program (DAP) 2541-ปจจุบัน 2540-ปจจุบัน 2535-ปจจุบัน 2533-ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มูฟ กรรมการและรองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

กรรมการ กรรมการผูจัดการและหัวหนาคณะผู บริหารดานปฏิบัติการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและ เทคโนโลยีสารสนเทศ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันออกเฉียงใต บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – Group Investment บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการและกรรมการตรวจสอบ Ticon Industrial Connection Public Company Limited กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง ประธานกรรมการบริหาร Cambodia Mobile Telephone Co.,Ltd. ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย , บจ. ทรู อินเทอรเน็ต และ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรม กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่

157


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ชื่อ-นามสกุล

นายอธึก อัศวานันท

ตําแหนง

อายุ (ป)

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย

54

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) จํานวน หุนที่ถือ (31/12/48) 673,823 หุน

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี

สาขานิติศาสตร Specialised in International Legal Studies New York University, ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขานิติศาสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทํางาน 2540-ปจจุบัน

2545-ปจจุบัน ปจจุบัน 2544-2549 2521-2540 ปจจุบัน

นายวิลเลี่ยม แฮ ริส

เอกสารแนบ 1

หัวหนา คณะผูบริหาร ดานการเงิน

44

252,612 หุน

-

Master Degree of Business Administration, Major in Finance and Marketing, Wharton School of the University of Pennsylvania Bachelor of Science in Economics, Wharton School of the University of Pennsylvania

2544-ปจจุบัน 2541-2543 2536-2541

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น และ บริษัทในเครือ หัวหนานักกฎหมาย กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซี.พี. เซเวนอีเลฟเวน กรรมการ บมจ. ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น และ บริษัทในเครือ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ Aqua-Agri Foods International, Inc. ผูพิพากษาสมทบในศาลทรัพยสินทางปญญาและ การคาระหวางประเทศกลาง Baker & McKenzie อาจารยพิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ สํานักนโยบายสินเชื่อ Verizon Communications, Philadelphia

158


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ชื่อ-นามสกุล

นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข

ตําแหนง

อายุ (ป)

ผูอํานวยการบริหาร Office / SME Solution & Wireless Access

42

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) จํานวน ความสัมพันธทาง หุนที่ถือ ครอบครัวระหวาง (31/12/48) ผูบริหาร ปริญญาโท ปริญญาตรี

คุณวุฒิทางการศึกษา

สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania, ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขาการบริหารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP)

ประวัติการทํางาน ปจจุบัน

2545 2544 2541-2545 2541-2544

นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ผูอํานวยการบริหาร Corporate Solution, Wholesales & Data

47

700 หุน

-

ปริญญาตรี

สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร University of South Alabama, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปจจุบัน

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP)

2544-2546 2544-2545 2543 2541 2540

เอกสารแนบ 1

ผูอํานวยการบริหารดาน Office / SME Solution & Wireless Access บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด กรรมการ บมจ.ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญสายงานธุรกิจ บจ. ทีเอ ออเรนจ รองกรรมการผูจัดการใหญดานพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ผูจัดการทั่วไป บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น ผูอํานวยการบริหารดาน Corporate Solution, Wholesales & Data บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มัลติมีเดีย รักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส Executive Director Corporate Solution บจ. ทร มูฟ กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด กรรมการบริหาร บริษัท พันธวณิช จํากัด กรรมการ บริษัท ฟรีวิลล โซลูชั่น จํากัด กรรมการผูจัดการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery ผูอํานวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย ผูอํานวยการฝายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายผลิตภัณฑคอมพิวเตอรขนาดใหญ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายการเงินและบริหาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายธุรกิจบริการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย

159


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวน หุนที่ถือ (31/12/48)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ

ผูอํานวยการบริหาร Home / Consumer Solution & Highspeed Access

51

-

-

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตลาดกระบัง

ประวัติการทํางาน ปจจุบัน 2542-2546 2544-2545 2535-2543 2540-2542

เอกสารแนบ 1

ผูอํานวยการบริหารดาน Home / Consumer Solution & Highspeed Access บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. ล็อกซเลย กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) ผูชวยกรรมการผูจัดการ บมจ. ล็อกซเลย

160


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุม (ณ 15 มีนาคม 2549)

*กรรมการจากบุคคลภายนอก

เอกสารแนบ 1

หมายเหตุ

/ / / VC

/ / /

/

/

/ / /

/

/ /

/

/

/ /

/ /

/ / / / / / / / / / / / /

/ / / / / C

/ / /

/ / / / / / / / /

/ / C

/ / /

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/ / /

/ /

/ /

/ /

/ /

/ C /

/ /

VC

/

/

C = ประธานกรรมการ

/

/

VC = รองประธานกรรมการ

/

/ /

/ = กรรมการ

161

R&R Communication

/

Chachoengsao Sky Network

/

Samutprakan Media

/

Sky Office

/

NTU TSC NEC ARM NC True

/

UBC

True IDC True DE Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI>

True Multimedia

AWC

True Money True Internet Asia DBS Asia Infonet

True Touch

W&W

Telecom Inter K.I.N. TT&D TEMCO

True Lifestyle

True Fleet Management

TE

/

Song Dao

C VC / VC VC / / / / / / VC / / / / / /

True Distribution

เจียรวนนท เจียรวนนท โภควนิช* สุวรรณกิตติ เตาลานนท เพ็ชรสุวรรณ* เจียรวนนท เจียรวนนท เจียรวนนท ศรีสอาน* เวชชาชีวะ* อัศวานันท ไฮมส คลอคเคอ ลิงค รักพงษไพโรจน สรรพสิทธิ์วงศ จี. แลม

True Move

นายธนินท นายสุเมธ นายโชติ นายเฉลียว ดร. อาชว ดร. โกศล นายชัชวาลย นายสุภกิต นายศุภชัย นายณรงค นายวิทยา นายอธึก นายไฮนริช นายอันเดรียส นายฮาราลด นายวิเชาวน นายอํารุง ดร. ลี

BITCO

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

True Properties

รายชื่อ

Telecom Holding

true

บริษัทยอย/บริษัทรวม


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หมายเหตุ

ชื่อยอ True Telecom Holding True Properties TE True Fleet Management True Liftstyle Retail Telecom Inter K.I.N. TT&D TEMCO W&W True Touch True Internet Asia DBS Asia Infonet Song Dao Sky Office Chachoengsao

เอกสารแนบ 1

ชื่อเต็ม

ชื่อยอ

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

AWC

(เดิมชื่อ บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท นิลุบล จํากัด) บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนท จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ดับเบิ้ลยู เซเวน เรนททัล เซอรวิสเซส จํากัด) บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ใยแกว จํากัด) บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด บริษัท เทเลคอมอีควิปเมนท แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท ทรู ทัช จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ยูเน็ต จํากัด) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ท จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอเซียเน็ท คอรปอเรชั่น จํากัด) บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท สองดาว จํากัด บริษัท สกาย ออฟฟศ จํากัด บริษัท ฉะเชิงเทรา สกาย เน็ตเวิรค จํากัด

True Multimedia True-IDC True digital True Money True Move K.I.N. <BVI> Nilubon <BVI> BITCO UBC NTU True Distribution NEC ARM NC True

ชื่อเต็ม บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท มัลติมีเดีย เน็ตเวิรค จํากัด) บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทีเอ อินเตอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด) บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทีเพย จํากัด) บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด) K.I.N. (Thailand) Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) Nilubon Co.,Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นทียู (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทีเอ ออเรนจ รีเทล จํากัด) บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอ็นอีซี คอมมิวนิเคชั่น ซิสเทมส จํากัด) บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด

TSC

บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด Samutprakan Media บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด R & R Communication บริษัท อาร แอนด อาร คอมมิวเนชั่น จํากัด

162


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548)

3. พล.อ. สุจินดา

คราประยูร

/

4. นายมนตรี

นาวิกผล

/

5. นายจตุรงค

จตุปาริสุทธิ์

/

6. นายขจร

เจียรวนนท

/

NC True

ARM

NEC

TSC

/

NTU

/

UBC

K.I.N. <BVI>

True DE

Nilubon <BVI> /

/

/

/

เลาคส

/

/

/

/

/

10. พล.ต.ม.ร.ว. ศุภวัฒน

เกษมศรี

11. นายวิลเลี่ยม

แฮริส

12. นายนพปฎล

เดชอุดม

/

13. นายธนะชัย

วงศทองศรี

/

14. นายถาวร

นาคบุตร

/

15. นางสาวดวงพร

เติมวัฒนะ

/

16. นายวสันต

เอารัตน

/

17. นายอติรุฒม

โตทวีแสนสุข

18. นางทิพวรรณ

วุฑฒิสาร

19. นายวิศิษฏ

รักษวิศิษฏวงศ

20. นายทรงธรรม

เพียรพัฒนาวิทย

21. นายธิติฎฐ

นันทพัฒนสิริ

22. นายองอาจ

ประภากมล

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/

/

/ / /

/

/

/ / /

23. นายเกษม

กรณเสรี

/

24. นายธัช

บุษฎีกานต

/

เอกสารแนบ 2

True - IDC

/

/

วิมลวณิชย

/

/

เมธีดล

/

True Multimedia

/ /

เมฆไพบูลยวัฒนา

หมายเหตุ

AWC

Asia Infonet

Asia DBS

True Internet

True Money

True Touch

/

8. นายสุรพล

25. นายวัลลภ

/

/

7. นายอาณัติ

9. นายรอลฟ เฮอรแมนน

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

Telecom Inter

True Lifestyle

True Fleet

/

Song Dao

/

True Distribution

/

อรุณานนทชัย

True Move

เธียรวร

2. นายสุนทร

BITCO

1. นายมิน

TE

Telecom Holding

รายชื่อ

True Properties

บริษัทยอย

/ /

/

= กรรมการ

162


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548)

26. นายฮันส โรเจอร

สนุค

27. นายสมพันธ

จารุมิลินท

/

28. นายฟรังซัวร เดวิด

เธอรอน

/

29. นายวิสิฐ

ตันติสุนทร

/

30. นางอรัญรัตน

อยูคง

/

31. นางเพ็ญทิพยภา

ดุลยจินดา

/

32. นายสหาย

ทรัพยสุนทรกุล

/

33. นายสุบิน

ปนขยัน

/

34. นายทรงฤทธิ์

กุสุมรสนานันท

/

35. นายดํารงค

เกษมเศรษฐ

/

36. นายประสาท

สืบคา

/

37. นายกอศักดิ์

ไชยรัศมีศักดิ์

/

38. นายพิสิฏฐ

ภัคเกษม

/

39. นางปรีเปรม

เสรีวงษ

/

40. นายสุรัตน

พลาลิขิต

/

41. นายสุทธิศักดิ์

รุจิสัมพันธ

/

42. นายปกรณ

มาตระกูล

/

43. นางอุไรรัตน

บุญอากาศ

/

44. นายริเอกิ

ทานากะ

/

45. นายคุจิ

ฮิเดโนริ

/

46. นายจิน

อิการะชิ

/

47. นายอากิฮิซะ

อาริกะ

/

48. นายทาเคโอะ

ชิมาดะ

/

49. นายคิโยฟูมิ

คุซากะ

50. นายฌอง มิเชล

ธีโบด

หมายเหตุ

เอกสารแนบ 2

/

Song Dao

True Distribution

NC True

ARM

NEC

TSC

/

NTU

True Move

/

UBC

BITCO

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

True DE

True - IDC

True Multimedia

AWC

Asia Infonet

Asia DBS

True Internet

True Money

True Touch

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

Telecom Inter

True Lifestyle

True Fleet

TE

Telecom Holding

รายชื่อ

True Properties

บริษัทยอย

/ /

/

= กรรมการ

163


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548)

กูเดียร

52. นายมนตรี

จุฬาวัฒนทล

53. นายเต็ก จิน

คิม

/

54. นายคริสโทเฟอร ดง

ชุง

/

55. นางสาวซู จิน

คิม

56. นายวัชรินทร

สุวรรณวัฒน

57. นายครรชิต

บุนะจินดา

58. นายชอย เบียง

ชาง

/

59. นายลิม อุง

ชู

/

60. นายวสุ

คุณวาสี

/

61. นายทวีชัย

ภูริทิพย

/

/ / /

/

62. นายสมศักดิ์

พัฒนะเอนก

/

63. นางกมลรัตน

วิศิษฎโยธิน

/

64. พันเอกหมอมหลวงพงษชมพูนุช

ทองแถม

/

65. พลเอกบุญเลิศ

แกวประสิทธิ์

/

66. นายเทอเรนส ไมเคิล

คัมเบอรแลนด

/

67. นายแบรี่ ไมเคิล

สมิท

/

68. นายเดวิด จอรจ

เรน

/

69. นายสฤษดิ์

จิณสิทธิ์

/

70. นายเดชา

สิงหชินสุข

/

71. นายสุพจน

ลิ้มสงวนทรัพย

/

72. นายวันนิวัติ

ศรีไกรวิน

73. นายปพนธ

รัตนชัยกานนท

74. นายองอาจ

ผูกฤตยาคามี

75. นายเจ โฮ

ลี

เอกสารแนบ 2

/

Song Dao

/

51. นายคารล

หมายเหตุ

True Distribution

NC True

ARM

NEC

TSC

NTU

UBC

True Move

BITCO

K.I.N. <BVI>

Nilubon <BVI>

True DE

True - IDC

True Multimedia

AWC

Asia Infonet

Asia DBS

True Internet

True Money

True Touch

W&W

TEMCO

TT&D

K.I.N.

Telecom Inter

True Lifestyle

True Fleet

TE

Telecom Holding

รายชื่อ

True Properties

บริษัทยอย

/ / / /

= กรรมการ

164


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หมายเหตุ

ชื่อยอ Telecom Holding True Properties TE True Fleet True Lifestyle Telecom Inter K.I.N. TT&D TEMCO W&W True Touch True Money True Internet Asia DBS Asia Infonet AWC

เอกสารแนบ 2

ชื่อเต็ม บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ใยแกว จํากัด) บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด บริษัท เทเลคอมอีควิปเมนท แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท ทรู ทัช จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ยูเน็ต จํากัด) บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ที เพย จํากัด) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ท จํากัด บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

ชื่อยอ True Multimedia True – IDC True DE Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI> BITCO True Move UBC NTU TSC NEC ARM NC True True Distribution Song Dao

ชื่อเต็ม บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด Nilubon Co., Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนที่ BVI) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู มูฟ (เดิมชื่อ บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด) บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นทียู (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทีเอ ออเรนจ รีเทล จํากัด) บริษัท สองดาว จํากัด

165


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล 1.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการบริหารและผูที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุด ในสายงานบัญชี

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญ ชีขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว ถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจา ขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ไดแสดงขอมูลอยาง ถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทยอย แลว (2) ขาพเจาเป น ผู รับ ผิดชอบตอการจัดให บ ริษัท มี ระบบการเป ดเผยขอ มู ลที่ ดีเพื่ อ ให แน ใจว าบริษัท ได เปดเผยขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมี การปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการ ปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของ ระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและ บริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองแลว ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อ กํากับ เอกสารนี้ ไวทุกหน าดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือ ชื่อของดร. พิ ษ ณุ สั น ทรานั นท นายธนิศ ร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาว ขางตน”

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

166


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

1. นายศุภชัย

เจียรวนนท

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร

……………………………………

2. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติ การ

…………………………………….

3. นายชัชวาลย

เจียรวนนท

กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร Group Investment

……………………………………

4. นายอธึก

อัศวานันท

…………………………………… รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย และรักษาการเลขานุการบริษัท

5. นายวิลเลี่ยม (Mr. William

แฮริส Harris)

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

167


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ศรีสอาน

กรรมการอิสระ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

…………………………………….

นายณรงค ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

168


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรต อ งแจ ง ในสาระสํ า คั ญ ข าพเจ าได ม อบหมายให ดร.พิ ษ ณุ สั น ทรานั น ท น ายธนิ ศ ร วิ นิ จ สร และ นางรั ง สิ นี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

นายวิทยา

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

169


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ดร.โกศล

ตําแหนง

เพ็ชรสุวรรณ

ลายมือชื่อ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

170


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

โภควนิช

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

นายโชติ

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

171


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

ประธานกรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

นายธนินท ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

172


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2. การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ “ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรต อ งแจ ง ในสาระสํ าคั ญ ข าพเจ าได ม อบหมายให ดร.พิ ษ ณุ สั น ทรานั น ท นายธนิ ศ ร วิ นิ จ สร และ นางรั ง สิ นี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

รองประธานกรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

นายสุเมธ ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

173


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวยหากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เตาลานนท

รองประธานกรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ดร.อาชว ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

174


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2. การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ “ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรต อ งแจ ง ในสาระสํ าคั ญ ข าพเจ าได ม อบหมายให ดร.พิ ษ ณุ สั น ทรานั น ท นายธนิ ศ ร วิ นิ จ สร และ นางรั ง สิ นี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สุวรรณกิตติ

รองประธานกรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

นายเฉลียว ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

175


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

นายสุภกิต ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

176


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2. การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ “ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันทนายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สรรพสิทธิ์วงศ กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

นายอํารุง ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

177


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ไฮมส Heims)

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

…………………………………….

นายไฮนริช (Mr. Heinrich ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

178


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

คลอคเคอ Klocke)

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

นายอันเดรียส (Mr. Andreas ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

179


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

นายฮาราลด (Mr. Harald

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ลิงค Link)

กรรมการ

…………………………………..

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

180


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2. การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ “ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับชุดที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให ดร.พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ ดร. พิษณุ สันทรานันท นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาว ขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

แลม Lam)

กรรมการ

……………………………………

ดร. พิษณุ

สันทรานันท

ผูอํานวยการ ดานการคลัง

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ สายงานบัญชี

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

รองเลขานุการบริษัท

……………………………………

ดร. ลี จี. (Dr. Lee G. ผูรับมอบอํานาจ

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

181


เอกสารแนบ 3 อื่นๆ - ไมมี -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.