TRUE : Annual Report 2013 thai

Page 1


• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

Glossary and Acronyms ศัพทเทคนิคและคำยอ Financial Highlights จุดเดนทางดานการเงิน Company Background and Business Overview นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ Nature of Business ลักษณะการประกอบธุรกิจ Risk Factors ปจจัยความเสี่ยง Corporate and Other Significant Information ขอมูลทั่วไปและขอมูลสำคัญอื่น Shareholders ผูถือหุน Dividend Policy นโยบายการจายเงินปนผล Management Structure โครงสรางการจัดการ Corporate Governance การกำกับดูแลกิจการ Corporate Social Responsibility ความรับผิดชอบตอสังคม Internal Controls and Risk Management การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง Connected Transactions รายการระหวางกัน Significant Financial Information ขอมูลทางการเงินที่สำคัญ Management’s Discussion and Analysis การวิเคราะหและคำอธิบายของฝายจัดการ Report of the Audit Committee for the Year 2013 รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำป 2556 Report of the Compensation and Nominating Committee for the Year 2013 รายงานจากคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ประจำป 2556 Report of the Corporate Governance Committee for the Year 2013 รายงานจากคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี ประจำป 2556 Report of the Finance Committee for the Year 2013 รายงานจากคณะกรรมการดานการเงิน ประจำป 2556 Report of the Board of Directors’ Responsibilities for Financial Statements for the Year 2013 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตอรายงานทางการเงิน ประจำป 2556 Financial Statements งบการเงิน

2 5 6 17 39 59 86 87 88 137 160 171 173 185 190 205 207 208 209 210 211

1


ศัพทเทคนิคและคำยอ

2

3G

มาตรฐานโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 หรือ 3rd Generation of Mobile Telecommunications Technology

ADC

บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จำกัด

AWC

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

BITCO

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จำกัด (มหาชน)

CAT หรือ CAT Telecom

บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)

IFC

International Finance Corporation

IMT

กิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล International Mobile Telecommunications

JAS

บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)

KfW

Kreditanstalt fur Wiederaufbau

KSC

บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด

MKSC

บริษัท เอ็มเคเอสซี เวิลดดอทคอม จำกัด

MVNO

ผูใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่แบบเสมือน หรือ Mobile Virtual Network Operator

NVDR

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด หรือ Thai NVDR Company Limited

TIC

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

TIG

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จำกัด

TOT หรือ ทีโอที

บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)

TUC

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด

UCOM

บริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน)

UIH

บริษัท ยูไนเต็ด อินฟอรเมชั่น ไฮเวย จำกัด

m n È


ศัพทเทคนิคและคำยอ Verizon

บริษัท Verizon Communications, Inc

กทค.

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม

กสท.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน

กลุมทรู

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอยของ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)

ขอตกลง AC

ขอตกลง เรื่องการเชื่อมโยงโครงขาย (Access Charge agreement)

ขอตกลง IC

ขอตกลง เรื่องการเชื่อมตอโครงขายระหวางกัน (Interconnection agreement)

คณะกรรมการ กทช.

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ

คณะกรรมการ กสช.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนแหงชาติ

คณะกรรมการ กสทช.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ

คา AC

คาเชื่อมตอโครงขายแบบเดิม หรือ คาเชื่อมโยงโครงขาย (Access charges)

คา IC

คาเชื่อมตอโครงขาย (interconnection charges)

ดีแทค

บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)

ทรูจีไอเอฟ ทรูไอเอฟ หรือ ทรูโกรท

กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม

ทรูมูฟ

บริษัท ทรูมูฟ จำกัด

ทรูมัลติมีเดีย หรือ ทรู มัลติมีเดีย

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด

ทรูลีซซิ่ง หรือ ทรู ลีสซิ่ง

บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จำกัด

ทรูวิชั่นส

บริษัท ทรู วิชั่นส จำกัด (มหาชน)

ทรูวิชั่นส กรุป

บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จำกัด (มหาชน)

ทรูวิชั่นส เคเบิ้ล

บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จำกัด (มหาชน)

ทรูอินเทอรเน็ต หรือ ทรู อินเทอรเน็ต

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด

บริษัทฯ

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)

บีเอฟเคที หรือ BFKT

บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด

ใบอนุญาต ใชคลื่นความถี่ IMT ยาน 2.1 GHz

ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่สำหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล IMT ยาน 2.1 GHz

ประกาศเรื่อง IC

ประกาศคณะกรรมการ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Regulation) 3


ศัพทเทคนิคและคำยอ

4

ป.ป.ช.

สำนักงานปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544

พ.ร.บ. รวมทุนฯ

พระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดำเนินการใน กิจการของรัฐ พ.ศ. 2535

พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่

พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553

พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2543

พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543

เรียลฟวเจอร

บริษัท เรียล ฟวเจอร จำกัด

เรียลมูฟ

บริษัท เรียล มูฟ จำกัด

สัญญาขายสงบริการฯ

สัญญาบริการขายสงบริการโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ HSPA ระหวาง CAT Telecom ในฐานะผูใหบริการขายสง และ เรียลมูฟ ในฐานะผูใหบริการ ขายตอบริการ ลงวันที่ 27 มกราคม 2554 ตามที่อาจมีการแก ไขเพิ่มเติมเปน ครั้งคราว

สัญญารวมการงานฯ

สัญญารวมการงานและรวมลงทุนขยายบริการโทรศัพทพื้นฐานระหวาง ทีโอที (องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) กับ บริษัทฯ (บริษัท ซี พี เทเล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด ในขณะนั้น) ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2534 ตามที่ ไดมีการ แก ไขเพิ่มเติมเปนครั้งคราว

สัญญารวมดำเนินกิจการฯ

สัญญารวมดำเนินกิจการใหบริการโทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปนสมาชิก ระหวาง อสมท (องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล (บริษัท ไทยเคเบิ้ลวิชั่น จำกัด (มหาชน) ในขณะนั้น) ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2537 ตามที่ ไดมีการแก ไขเพิ่มเติมเปนครั้งคราว และ สัญญารวม ดำเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ระหวาง อสมท (องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู วิชั่นส ( บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอรเรชั่น จำกัด (มหาชน) ในขณะนั้น) ลงวันที่ 17 เมษายน 2532 ตามที่ ไดมีการแก ไขเพิ่มเติมเปนครั้งคราว แลวแตกรณี

สัญญาใหดำเนินการฯ

สัญญาใหดำเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา DIGITAL PCN 1800 ระหวาง CAT Telecom (การสื่อสารแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู มูฟ (บริษัท ไวรเลส คอมมูนิเคชั่นส เซอรวิส จำกัด ในขณะนั้น) ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539

สัญญา IC

สัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (Interconnection contract)

อสมท

บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)

เอเซีย อินโฟเน็ท หรือ เอเซียอินโฟเน็ท

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด

เอไอเอส

บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จำกัด (มหาชน)

ฮัทชิสัน ซีเอที

บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จำกัด

m n È


Financial Highlights จุดเดนทางดานการเงิน

ผลการดำเนินงานของบริษัทและบริษัทยอย

รายไดจากการใหบริการ1/ รายไดรวม กำไรจากการดำเนินงานกอนดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาตัดจำหนาย (EBITDA) กำไรจากการขายและการใหบริการ กำไรจากการดำเนินงานปกติ กำไรจากการดำเนินงานปกติ กอนภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี กำไร(ขาดทุน)สุทธิ สวนที่เปนของบริษัท

ฐานะการเงินและกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทยอย

สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน2/ กระแสเงินสดหลังหักรายจายลงทุน2/, 3/

อัตราสวนทางการเงิน และประสิทธิภาพในการดำเนินงาน

อัตราการทำกำไร ณ ระดับ EBITDA (บนรายไดรวม หลังหักคา IC และคาเชาโครงขาย) อัตราการทำกำไรจากการขายและการใหบริการ (บนรายไดรวม หลังหักคา IC และคาเชาโครงขาย) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพยรวม (เทา) EBITDA / ดอกเบี้ยจาย (เทา)4/ หนี้สินสุทธิ / EBITDA (เทา)4/

ขอมูลตอหุนและอื่น ๆ

กำไร (ขาดทุน) ตอหุน (บาท) มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) ราคาหุน ณ วันสิ้นป (บาท) จำนวนหุนสามัญ ณ วันสิ้นป (ลานหุน) มูลคาตลาดของหุน

(หนวย: ลานบาท) 2554 (ปรับปรุง)

2556

2555

66,291 96,214 16,385

61,865 89,382 16,738

56,802 71,938 17,104

(3,343) (13,069) (11,831) ( 9,063)

1,600 (6,632) (5,354) (7,428)

4,074 (5,399) (3,200) (2,694)

205,852 201,120 4,732 22,678 (2,946)

180,363 166,359 14,004 7,312 (19,814)

150,116 128,646 21,469 6,757 (6,391)

19.7%

21.8%

26.9%

-4.0%

2.1%

6.4%

0.5 1.9 4.0

0.5 2.4 5.0

0.5 2.4 3.9

(0.62) 0.33 7.50 14,530 108,977

(0.51) 0.97 5.45 14,503 79,042

(0.23) 1.48 3.14 14,503 45,540

รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น ยกเวน รายไดคาเชื่อมตอโครงขาย (IC) และรายไดคาเชาโครงขาย ในไตรมาส 4 ป 2555 กลุมทรูไดมีการปรับเปลี่ยนการจัดประเภทรายการบางรายการ ในงบการเงินงวดป 2554 (ดูรายละเอียดใน “หมายเหตุขอ 3.2: การจัดประเภทรายการใหม” ประกอบงบการเงินประจำป 2555) ซึ่งการเปลี่ยนการจัดประเภทรายการ อาทิ “เงินจายลวงหนาแกผูรับเหมา” สงผลกระทบตอการแสดงรายการ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน และ กระแสเงินสด(ใช ไปใน)จากกิจกรรมลงทุน 3/ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน หักดวย รายจายลงทุน 4/ ไมรวม หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน 1/ 2/

5


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ กลุมทรูเปนหนึ่งในแบรนดที่แข็งแกรงและไดรับการยอมรับมากที่สุดในประเทศ โดยเปนผูใหบริการสื่อสารโทรคมนาคมครบวงจร ดวยจำนวนผูใชบริการกวา 29 ลานรายทั่วประเทศ กลุมทรูมุงมั่นสนับสนุนการพัฒนาประเทศดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมทั้งมีสวนในการลดความเหลื่อมล้ำทางเทคโนโลยี และการสรางสังคมแหงการเรียนรูอยางยั่งยืน ดวยการพลิกโฉมการสื่อสารดานขอมูลขาวสาร (Digital Revolution) ใหทกุ ครัวเรือน ในประเทศและเยาวชนของชาติมโี อกาสเขาถึงขอมูลขาวสารและแหลงความรู ไดทั่วถึง แนวทางการดำเนินธุรกิจของกลุมทรูมาจาก วัฒนธรรมองคกร 4 ประการ ประกอบดวย เชื่อถือได สรางสรรค เอาใจใส กลาคิดกลาทำ โดยมีเปาหมายเพิ่มคุณคาแกผูถือหุน ลูกคา องคกร สังคมและพนักงานเปนสำคัญ ความแข็งแกรงของกลุมทรูเปนผลจากยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ ซึ่งเปนการผสมผสานแพ็กเกจและบริการตาง ๆ ภายในกลุมทรู ทำใหกลุมทรูมีเอกลักษณ โดดเดนและแตกตางจากผู ใหบริการรายอื่น โดยแพ็กเกจเหลานี้ ไดรับผลตอบรับที่ดีอยางตอเนื่อง เนื่ อ งจากสามารถเพิ่ ม ความคุ ม ค า และตอบสนองความต อ งการของลู ก ค า แต ล ะกลุ ม ที่ มี ไ ลฟ ส ไตล ห ลากหลายได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ ยังชวยสนับสนุนและเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับธุรกิจหลักของกลุมทรู ชวยเพิ่มยอด ผูใชบริการ และยังชวยรักษาฐานลูกคาเดิมจากการสรางความผูกพันกับบริการตาง ๆ ของกลุมทรูอีกดวย ทั้งนี้ ธุรกิจหลัก 3 ธุรกิจของกลุมทรู ประกอบดวยกลุมทรูโมบาย ซึ่งประกอบดวยเรียลฟวเจอร เรียลมูฟ ทรูมูฟ และอื่น ๆ โดย เรียลฟวเจอรซึ่งกลุมทรูถือหุนอยูทั้งหมดและบริษัทยอยของเรียลฟวเจอร ประกอบธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 2G 3G และ 4G LTE ภายใตแบรนด ทรูมูฟ และทรูมูฟ เอช ทั้งนี้ ณ สิ้นป 2556 ฐานลูกคาของทรูมูฟ เอช ยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง โดยเพิ่ม ขึ้นเปน 12.2 ลานราย สงผลใหกลุมทรูโมบายขยายฐานผูใชบริการเปน 22.9 ลานราย ซึ่งประกอบดวยผูใชบริการแบบเติมเงิน 19.7 ลานราย และผูใชบริการแบบรายเดือน 3.2 ลานราย โดยกลุมทรูโมบายมีสวนแบงตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ประมาณรอยละ 25 ของจำนวนผูใชบริการ (ไมรวม CAT Telecom ทีโอที และผูใหบริการ MVNO ของทีโอที) ณ สิ้นป 2556 ทรูออนไลน ผูใหบริการ โทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และผู ใหบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ตและWiFi ดวย โครงขายที่ครอบคลุมมากที่สุดทั่วประเทศผานเทคโนโลยี FTTH (Fiber to the Home) หรือใยแกวนำแสง เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และเทคโนโลยี DSL ทรูวชิ นั่ ส เปนผูใหบริการรายเดียวของประเทศไทยทีใ่ หบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกและบริการในระบบ HD ทั่วประเทศ โดย ณ สิ้นป 2556 กลุม ทรูวชิ นั่ สมลี กู คา 2.4 ลานราย โดยลูกคากวา 761,000 รายบอกรับบริการประเภทพรีเมียมและ มาตรฐาน และลูกคาสวนที่เหลือเปนลูกคาประเภท FreeView และ Free-to-Air กลุม ทรูไดรบั การสนับสนุนจากเครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพ)ี ซึง่ เปนกลุม ธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรที่ใหญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่ง ถือหุนทรูในสัดสวนรอยละ 62.5 ของทุนจดทะเบียนที่เรียกชำระแลวทั้งสิ้น 145,302.2 ลานบาท ณ วันที่ 8 สิงหาคม 2556 ทั้งนี้ การดำเนินธุรกิจหลักของบริษัทฯ มิไดมีความสัมพันธหรือเกี่ยวของโดยตรงกับการดำเนินธุรกิจอื่นของผูถือหุนรายใหญอยางมี นัยสำคัญมีเพียงความสัมพันธกนั แตเพียงครั้งคราวเฉพาะบางธุรกรรมเทานั้น เชน การใหบริการสื่อโฆษณา เปนตน ในป 2556 กลุมทรูมีรายไดรวม 96.2 พันลานบาท และมีการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานประมาณ 241.0 พันลานบาท โดยมี พนักงานประจำทั้งสิ้น 16,430 คน

6

m n È


ธุรกิจของกลุมทรู บริษทั ฯ กอตัง้ ขึน้ ครัง้ แรกในเดือนพฤศจิกายน 2533 ในฐานะผูใหบริการโทรศัพทพนื้ ฐาน ในปตอ มา บริษัทฯ ไดลงนามในสัญญารวม การงานและรวมลงทุนกับทีโอที โดยใหบริษัทฯ เปนผูดำเนินการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจนซอมบำรุงและรักษา อุปกรณในระบบสำหรับการขยายบริการโทรศัพทจำนวน 2.6 ลานเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป โดยจะสิ้นสุดสัญญาในเดือนตุลาคม 2560 ในป 2536 บริษัทฯ ไดเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทมหาชน และเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในชื่อ บริษัท เทเลคอมเอเชีย คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TA” ในเดือนเมษายน 2547 บริษัทฯ ไดมีการปรับเปลี่ยนในภาพลักษณภายใตแบรนดทรู และไดเปลี่ยนชื่อบริษัทมาเปน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) มีชื่อ ยอหลักทรัพยวา “TRUE” นอกเหนือจากการใหบริการโทรศัพทพนื้ ฐาน และบริการเสริมตาง ๆ ซึง่ รวมถึงบริการโทรศัพทสาธารณะและบริการ WE PCT (บริการ โทรศัพทพื้นฐานพกพา) ในป 2544 กลุมทรู (ผานบริษัทยอย) ไดเปดใหบริการโครงขายขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวยบริการ ADSL และบริการเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) และในป 2546 ไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสายหรือบริการ WiFi ตอมาในป 2550 บริษทั ยอยไดเปดใหบริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ (International Internet Gateway) และไดเปดให บริการโครงขายขอมูลระหวางประเทศ (International Data Gateway) และบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ ในป 2551 นอกจากนี้ ในป 2554 ยังไดขยายความครอบคลุมของโครงขายเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) และปรับเปลีย่ นเทคโนโลยีเปน DOCSIS 3.0 ซึง่ นอกจากจะทำใหสามารถใหบริการบรอดแบนดสำหรับลูกคาทัว่ ไปดวยความเร็วสูงสุดในประเทศไทยแลว ยังทำใหกลุม ทรูสามารถให บริการในแบบทริปเปล เพลย (Triple play) อยางสมบูรณแบบ ซึง่ เปนการผสมผสานบริการตาง ๆ ของกลุม ทรูผา นโครงขายเคเบิล เดียวกัน ทัง้ นี้ กลุม ทรูไดขยายโครงขายบริการบรอดแบนด อยางตอเนื่อง โดยครอบคลุมพื้นที่ใหบริการประมาณ 4.3 ลานครัวเรือน ใน 61 จังหวัด ทั่วประเทศ ณ สิ้นป 2556 ในเดือนตุลาคม 2544 กลุม ทรูไดเขาถือหุน ใน BITCO (ซึง่ เปนบริษทั ทีถ่ อื หุน ในบริษทั ทีเอ ออเรนจ จำกัด) ในอัตรารอยละ 41.1 ซึง่ นับ เปนการเริม่ เขาสูธ รุ กิจโทรศัพทเคลือ่ นที่ ทัง้ นี้ ทีเอ ออเรนจ ไดเปดใหบริการอยางเต็มที่ในเดือนมีนาคม 2545 และไดเปลี่ยนชื่อเปน “ทรูมูฟ” เมื่อตนป 2549 โดยปจจุบันทรูมูฟใหบริการบนคลืน่ ความถี่ 1800 MHz ตามมาตรการคุม ครองผูใชบริการเปนการชัว่ คราวใน กรณีสนิ้ สุดการอนุญาตสัมปทานหรือสัญญาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ของคณะกรรมการ กสทช. กลุมทรูไดเพิ่มสัดสวนการ ถือหุนใน BITCO มากขึน้ ตามลำดับ โดย ณ สิน้ ป 2556 กลุม ทรูมสี ดั สวนการถือหุน ทางออมใน BITCO คิดเปนรอยละ 99.5 นอกเหนือจากนั้น กลุมทรูไดขยายการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ดวยการเขาซื้อหุน 4 บริษัทของกลุมฮัทชิสันในประเทศไทย ไดแก บริษัท ฮัทชิสัน ไวรเลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส จำกัด บีเอฟเคที บริษัท Rosy Legend Limited และ บริษัท Prospect Gain Limited รวมมูลคาการชำระคืนหนี้สินเดิมของบริษัทดังกลาวที่มีกบั กลุม ฮัทชิสนั แลว เปนเงินทัง้ สิน้ ประมาณ 6,300 ลานบาท โดย แลวเสร็จในเดือนมกราคม 2554 การเขาซื้อหุนในครั้งนี้ทำใหบริษัทฯ ไดประโยชนจากการเปนผู ใหบริการรายแรกที่สามารถให บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G ดวยเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ของ CAT Telecom ในเชิงพาณิชย ไดทั่ว ประเทศ ทั้งนี้ในวันที่ 30 สิงหาคม 2554 เรียลมูฟ (บริษัทยอยภายใตกลุมทรู) ในฐานะผูขายตอบริการ 3G+ ของ CAT Telecom ไดเปดใหบริการ 3G+ ภายใตแบรนด ทรูมูฟ เอช อยางเปนทางการ โดยสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่องไปจนถึงป 2568 ในเดือนตุลาคม 2555 เรียลฟวเจอร ไดเขารวมการประมูลใบอนุญาตใชคลืน่ ความถี่ IMT ยาน 2.1 GHz และไดรับใบอนุญาต ใชคลื่น ความถี่ดังกลาวจากคณะกรรมการ กสทช.ในเดือนธันวาคม ป 2555 ซึ่งชวยขยายระยะเวลาในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ อยางนอยถึงป 2570 โดยในเดือนพฤษภาคม ป 2556 ทรูมูฟ เอช เปนรายแรกในประเทศไทยที่เปดใหบริการ 4G LTE บนคลื่น ความถี่ 2.1 GHz พรอมทั้งยังไดเปดใหบริการ 3G บนคลื่นความถี่เดียวกันอีกดวย การผสานจุดเดนของคลื่น 2.1 GHz และคลื่น 850 MHz ของ CAT Telecom รวมถึงการขยายความครอบคลุมของโครงขายอยางตอเนื่อง ทำใหกลุมทรูโมบายสามารถให บริการโมบาย อินเทอรเน็ตที่มีประสิทธิภาพสูงสุดแกลูกคา

7


ในเดือนมกราคม 2549 กลุมทรูไดเขาซื้อหุน ยูบีซี ทั้งหมดที่ถือโดยบริษัท MIH Ltd. ซึ่งเดิมเปนพันธมิตรธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับ สมาชิกกับกลุม ทรู และตอมาไดดำเนินการเขาซือ้ หุน สามัญจากผูถ อื หุน รายยอย (Tender Offer) ทำใหมสี ดั สวนการถือหุน ทางออมใน ยูบซี ี รอยละ 91.8 ภายหลังการเขาซือ้ หุน ดังกลาวเสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้ ยูบีซีไดเปลี่ยนชื่อเปน “ทรูวิชั่นส” เมื่อตน ป 2550 นอกจากนี้ หลังการปรับโครงสรางของกลุมบริษัททรูวิชั่นสในชวงครึ่งปแรกของป 2553 และการซื้อคืนหุนจากผูถือหุน รายยอย ในระหวางเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนกุมภาพันธ 2554 สงผลใหกลุมทรูมีสัดสวนการถือหุนในบริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จำกัด ซึ่งเปน holding company สำหรับธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกของกลุมทรูอยูรอยละ 100.0 และมีสัดสวนการถือ หุนทางออม ใน ทรูวิชั่นส และ ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล ทั้งสิ้นรอยละ 99.3 และ รอยละ 99.0 ณ สิ้น ป 2556 ในขณะทีร่ ายไดหลักของทรูวชิ นั่ สมาจากคาสมาชิกรายเดือน ในป 2552 ทรูวชิ นั่ สไดรบั อนุญาตจาก อสมท ใหสามารถหารายไดจากการ โฆษณา ซึ่งเปนโอกาสใหมในการผลักดันการเติบโตของรายไดและการทำกำไรใหกับทรูวิชั่นส ตลอดป 2554 ทรูวิชั่นสมุงเนนหา แนวทางเพื่อปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์รายการ ซึ่งเปนผลมาจากการลักลอบใชสัญญาณ ทั้งนี้ ในเดือนตุลาคม 2554 ทรูวิชั่นส ได เริ่มแคมเปญเปลี่ยนกลองรับสัญญาณสำหรับระบบออกอากาศใหม ภายใตเทคโนโลยี MPEG-4 และไดเปดใชงานระบบออก อากาศดังกลาว ในกลางเดือนกรกฎาคม 2555 ซึ่งชวยขจัดการลักลอบใชสัญญาณของทรูวิชั่นส ไดอยางมีประสิทธิภาพ และ สามารถเพิ่มประสบการณการรับชมที่ดียิ่งขึ้นจากจำนวนชองรายการในระบบ HD ที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งปจจุบันเปนจำนวนที่มากที่สุดใน ไทย ถึง 50 ชอง นอกจากนี้ ในเดือนธันวาคม 2556 บริษัทยอยภายใตกลุมทรูวิชั่นส ไดเขารวมประมูลคลื่นความถี่เพื่อใหบริการ โทรทัศนในระบบดิจิตอลประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ และคาดวาจะไดรับใบอนุญาตดังกลาวสำหรับการใหบริการในชอง ขาวและชองวาไรตี้ จากคณะกรรมการ กสทช. ในกลางเดือน มีนาคม 2557 ซึ่งการไดรับใบอนุญาตสำหรับการใหบริการโทรทัศน ในระบบดิจติ อลนีจ้ ะสรางโอกาสในการเพิม่ ฐานรายไดของทรูวชิ นั่ ส จากการผลักดันการเติบโตของรายไดคา โฆษณาและสปอนเซอร หนึ่งในพัฒนาการสำคัญของกลุมทรูในป 2556 คือการปรับปรุงโครงสรางทางการเงินของกลุม ซึ่งจะเปนจุดเปลี่ยนสำคัญที่ทำให กลุมทรูมีโครงสรางเงินทุนที่ดีขึ้น มีผลประกอบการที่แข็งแกรงขึ้น และมีความพรอมทีจ่ ะรองรับการขยายตัวของธุรกิจในอนาคต กลุม ทรูประสบความสำเร็จในการขายเงินลงทุนในหุน สามัญของ 8 บริษทั ยอยที่ไมใชธรุ กิจหลักของกลุม ใหแก บริษทั ธนเทเลคอม จำกัด ดวยราคาขายประมาณ 5.4 พันลานบาท ทำใหกลุมทรูสามารถบันทึกกำไรจากการขายพรอมทั้งสามารถมุงเนนการดำเนินงานในธุรกิจ หลักของกลุมไดอยางเต็มความสามารถ นอกจากนี้ กลุมทรูประสบความสำเร็จในการจัดตั้งทรูโกรท (“TRUEGIF”) ซึ่งถือเปนกอง ทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคมที่จัดขึ้นเปนรายแรกในประเทศไทย และสามารถเริ่มทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ในเดือนธันวาคม 2556 ภายใตตัวยอหลักทรัพยวา “TRUEIF” โดยกลุมทรูไดเขาจองซื้อและเปนผูถือหนวยลงทุน ของกองทุน คิดเปนอัตราสวนรอยละ 33.29 ของจำนวนหนวยลงทุนที่จำหนายไดทั้งหมดของกองทุนในการเสนอขายครั้งแรก ซึ่ง กองทุนมีมูลคารวมทั้งสิ้นประมาณ 58.1 พันลานบาท ทั้งนี้ กลุมทรูจำหนายสินทรัพยและสิทธิในการรับประโยชนรายไดในอนาคต จากสินทรัพย โครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคมของกลุม ใหแก TRUEGIF และทำสัญญาเชาสินทรัพยกลับจากกองทุนนี้ เพื่อใช ประโยชนจากสินทรัพยในการดำเนินธุรกิจของกลุมตามปรกติตอไป โดยสินทรัพยโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคมนี้ประกอบดวย เสาโทรคมนาคมจำนวน 11,845 เสา ระบบใยแกวนำแสง (FOC) และอุปกรณระบบสื่อสัญญาณที่เกี่ยวของ ของบริษัทยอยชอง กลุม (TUC และ BFKT) ซึ่งมีระยะทางประมาณ 1,037,545 คอรกโิ ลเมตร และระบบบรอดแบนดในเขตพืน้ ทีต่ า งจังหวัด ซึง่ สามารถ รองรับผูใชบริการ บรอดแบนด ไดจำนวนประมาณ 1.2 ลานพอรต ทัง้ นีก้ ลุม ทรู นำเงินสวนใหญที่ ไดรบั จากกองทุนไปชำระคืนหนีส้ นิ ซึ่งชวยปรับปรุงโครงสรางเงินทุนของกลุมทรูใหดีขึ้น พรอมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการลงทุนใหกับกลุม

8

m n È


พัฒนาการสำคัญในป 2556 กลุมทรู กุมภาพันธ: กลุมทรู ไดรับการสนับสนุนเงินทุน 21,000 ลานบาท จาก 4 ธนาคารชั้นนำของประเทศ เพื่อเสริมศักยภาพให บริษัทฯ สามารถเดินหนาพัฒนาโครงขายสื่อสารไรสายใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และมีความครอบคลุมทั่วประเทศ มีนาคม: กลุมทรู และจังหวัดนครนายก ลงนามบันทึกความรวมมือ สราง “นครนายก” เปนจังหวัดตนแบบ “จังหวัดอัจฉริยะ” หรือ “Smart Province” เนนการวางระบบโครงขายการสื่อสารพื้นฐานเปนสำคัญ เพิ่มประสิทธิภาพการใช 3G+ และ WiFi จากทรูมูฟ เอช ไดทุกพื้นที่ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการเขาถึงขอมูลขาวสารของชุมชน มิถุนายน: กลุมทรู ริเริ่มโครงการ ทรู อินคิวบ เพื่อเปดโอกาสใหผูประกอบการดานเทคโนโลยีมือใหม ที่ยังขาดความพรอมใน ดานตาง ๆ ใหสามารถเริ่มตนและสรางธุรกิจใหประสบความสำเร็จไดจริง พรอมนำศักยภาพของพันธมิตรที่มีชื่อเสียงระดับ โลก ไดแก 500 Startups และ Gobi Partners รวมผลักดันผูเขารวมโครงการใหเติบโตและเปนที่ยอมรับในระดับสากลอีกดวย ตุลาคม: ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2556 มีมติอนุมตั ใิ ห บริษทั ฯ และ/หรือ บริษทั ยอย เขาทำธุรกรรมกับกองทุนรวมโครงสราง พืน้ ฐาน และขายเงินลงทุนในหุน สามัญของบริษทั ยอยทีม่ ใิ ชธรุ กิจหลักของบริษทั ฯ จำนวน 8 บริษัทใหแก บริษัท ธนเทเลคอม จำกัด โดยการขายเงินลงทุนใน 8 บริษัทยอยนี้ ไดเสร็จสิน้ ลงในไตรมาส 4 ทำใหกลุม ทรูมโี ครงสรางธุรกิจทีช่ ดั เจนขึน้ และสามารถ มุง เนนการดำเนินงานในธุรกิจหลักของกลุมไดอยางเต็มความสามารถ ธันวาคม: กลุมทรู รวมกับ บริษัท ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) เปดใหบริการฟรี WiFi ภายใตชื่อ AOT Free WiFi by TrueMove H เพื่ออำนวยความสะดวกแกผู โดยสาร ใหสามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูงถึง 10 Mbps. ทัว่ พืน้ ที่ในทาอากาศยานเชียงใหมและทาอากาศยานดอนเมือง ผานโครงขายไฟเบอร ออพติก ความเร็วสูงสุดถึง 200 Mbps. ธั นวาคม: กลุมทรู ประสบความสำเร็จในการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท (ทรูจีไอเอฟ หรือ TRUEGIF) ซึ่งถือเปนกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคมรายแรกในประเทศไทย เพือ่ สนับสนุนการใชโครงสรางพืน้ ฐาน โทรคมนาคมรวมกัน ซึง่ เปนการลดการลงทุนซ้ำซอนของผูป ระกอบการ โดย TRUEGIF มีมลู คาการเสนอขายทัง้ สิน้ ประมาณ 58,080 ลานบาท และหนวยลงทุนของ TRUEGIF เริ่มทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปนวันแรก ในวันที่ 27 ธันวาคม 2556 ภายใตตัวยอหลักทรัพยวา “TRUEIF” กลุมทรูโมบาย มีนาคม: ทรูมฟู เอช เปดตัวโปรโมชัน่ สำหรับ ครู อาจารย นักเรียน นักศึกษา ขาราชการ ทหาร และตำรวจ ให ไดใชบริการ 3G+ ดวยแพ็กเกจพิเศษ iSmart 299 เพียงเดือนละ 199 บาท พรอมรับโบนัสใชฟรีสูงสุด 1,200 บาท เมือ่ เปดเบอรใหม หรือ รับ โบนัสใชฟรีเทาราคาเครือ่ ง เมือ่ ซือ้ เครือ่ งพรอมเปดเบอรใหม พรอมทัง้ เปดตัวแอรการดและมือถือรุนใหม ๆ ภายใตแบรนด “GO Live” ใหเลือกตามความตองการใชงาน พฤษภาคม: ทรูมูฟ เอช เปดใหบริการ 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz รายแรกในไทยดวยความเร็วสูงสุดในการดาวนโหลด และอัพโหลดเร็วกวาเดิม 3-5 เทา ครอบคลุมยานเศรษฐกิจสำคัญ ๆ ในกรุงเทพฯ เชน สยามสแควร สีสม และสาทร พรอม ตอกย้ำความเปนผูน ำ 3G ทีม่ เี ครือขายทีด่ ที สี่ ดุ โดยผสมผสานเทคโนโลยีบนคลืน่ ความถี่ 850 MHz และ 2.1 GHz ใหผบู ริโภคใชงาน สือ่ สารไดอยางราบรืน่ และครอบคลุมทุกพืน้ ทีท่ ั่วประเทศ พฤษภาคม: ทรูมฟู เอช เปดตัวสมารทโฟนและแท็บเล็ตรุน ใหมคณ ุ ภาพระดับโลก ภายใตแบรนด “TRUE” ตระกูล BEYOND ใน ราคาที่เขาถึงได ซึ่งรวมรุนที่สามารถรองรับทั้ง 4G LTE และ 3G พรอมทั้งเปดตัวแบรนดแอมบาสเดอร ศิลปนหญิงอันดับ 1 จากประเทศเกาหลี “GIRLS’ GENERATION”

9


มิถุนายน: ทรูมูฟ เอช ตอยอดความรวมมือกับซัมซุง เปดตัวแพ็กเกจสุดคุม “TrueMove H Galaxy Package” ดวยสวนลดคา บริการรายเดือน 50% นาน 18 เดือน เมือ่ ซือ้ สมารทโฟนหรือแท็บเล็ตซัมซุงกาแล็คซีท่ กุ รุน พรอมเปดเบอรทรูมูฟ เอช หรือยาย คายเบอรเดิมเปนทรูมูฟ เอช กรกฎาคม: ทรูมูฟ เอช ประกาศความรวมมือกับพันธมิตรระดับโลกดานกีฬา จับมือ “แมนเชสเตอร ยูไนเต็ด” สโมสรฟุตบอลชือ่ ดังของอังกฤษภายใตสญ ั ญา 3 ป เปดตัว “ทรูมฟู เอช แมนเชสเตอร ยูไนเต็ด ซิม” และ “ทรู บียอนด 4G และแอรการด รุนแมน เชสเตอร ยูไนเต็ด” พรอมทั้งเพิ่มบริการพิเศษใหกับลูกคาทรูมูฟ เอช ดวยคอนเทนตและแอพพลิเคชั่นสุดเอ็กซคลูซีฟจากแมน เชสเตอรยูไนเต็ด กันยายน: ทรูมูฟ เอช เปดตัว “ซิมทองโลก” แบบเติมเงิน ราคา 199 บาท รับฟรี โบนัสมูลคา 150 บาท ที่สามารถใชเปนคา โทร หรือสง SMS มอบความคุม คาสูงสุดสำหรับนักเดินทางใหสามารถติดตอสือ่ สารและใชงานอินเทอรเน็ตขณะอยูตางประเทศ ดวยอัตราคาบริการราคาเดียวทั้งโทรออก รับสาย เริ่มตนเพียง 20 บาทตอนาที สง SMS ครัง้ ละ 9 บาท อีกทัง้ ยังเพิม่ ความคุม คาดวยแพ็กเกจดาตาโรมมิ่งใหใชงานได ไมอั้น เริ่มตนเพียงวันละ 333 บาท บนเครือขายพันธมิตรของกลุมทรูโมบายในกวา 20 ประเทศทัว่ โลก ตุลาคม: ทรูมูฟ เอช ประสบความสำเร็จในการเปดตัว iPhone 5s และ 5c พรอมแพ็กเกจที่รวมบริการดานเสียงและขอมูลที่ นาดึงดูดใจ โดยมอบประสบการณการใชงานสมารทโฟนอยางเต็มประสิทธิภาพ บนเครือขายคุณภาพความเร็วสูงที่เหนือกวา ผานเทคโนโลยี 4G LTE และ 3G HSPA+ ทรูออนไลน กุมภาพันธ: ทรูออนไลน เปดตัวโปรโมชัน่ พิเศษรับฟรี WiFi by TrueMove H 30 ชม.ตอเดือน สำหรับลูกคาปจจุบนั และลูกคาใหมเมื่อ สมัครแพ็กเกจ ULTRA hi-speed Internet ความเร็ว 10-200 Mbps จากทรูออนไลน กุมภาพันธ: ทรู อินเทอรเน็ต ขยายความรวมมือในการใหบริการสื่อประชาสัมพันธดิจิตอลบนระบบคลาวด รวมกับ ซิสโก และ ฮาตาริ ไวรเลส ผูใหบริการสือ่ ประชาสัมพันธดจิ ติ อลชัน้ นำของไทย ภายใตชอื่ Hatari AdNet โดยนำเสนอนวัตกรรมที่ชวยเพิ่ม ความรวดเร็วในการปรับใชบริการ เพิ่มรายได และขยายโอกาสดานการจัดจำหนายและการทำการตลาด มีนาคม: ทรู อินเทอรเน็ต อัพเกรดอินเทอรเน็ตแบ็คโบนเปน 100 กิกะบิตตอวินาที เปนรายแรกในเอเชียดวย Cisco Nexus 7000 มาตรฐานระดับโลกจากซิสโก เพื่อเพิ่มศักยภาพเครือขายอินเทอรเน็ตที่มีอยูในปจจุบนั ใหสามารถรองรับการใชงานของ ลูกคาทีม่ แี นวโนมเพิม่ ขึน้ หลายเทาตัวในอนาคต ใหสามารถใชงานไดเต็มประสิทธิภาพและมีความเสถียรมากยิ่งขึ้น พฤษภาคม: ทรูออนไลน รวมกับทรูวิชั่นส เปดตัวแคมเปญสุดคุม “สุขX2” ใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงผานสายเคเบิลดวย ความเร็ว 12 Mbps พรอมทั้งสามารถรับชมชองรายการคุณภาพของทรูวิชั่นส ไดถึง 78 ชองรายการ และ 3 ชองรายการใน ระบบ HD ในราคาเพียง 699 บาทตอเดือน กันยายน: ผลตอบรับทีด่ มี ากตอ แพ็กเกจ “สุขX2” ผานโครงขายเคเบิล DOCSIS 3.0 สงผลใหทรูออนไลนขยายแคมเปญนี้ ไปสู บริการผานสายโทรศัพทบนเทคโนโลยี ADSL ทรูวิชั่นส มกราคม: ทรูวชิ นั่ ส ปรับโฉมแพ็กเกจทรู โนวเลจ โดยเพิม่ ชองรายการคุณภาพมากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ ปรับราคาเพื่อใหลูกคาเขาถึงงาย ยิ่งขึ้นเพียง 299 บาทตอเดือน พรอมบริการหลังการขายฟรีตลอดอายุสมาชิก กุมภาพันธ: ทรูวิชั่นส เปดตัวนวัตกรรมการดูทีวีรูปแบบใหม “ดูทีวีแบบเติมเงิน ดูวันไหนจายวันนั้น” โดยนำความบันเทิง คุณภาพระดับโลกครบถวนทั้งหนัง บันเทิง กีฬา สารคดี รวม 78 ชอง สูผูบริโภคผานกลองรับสัญญาณ ทรูไลฟพลัส กลอง แพ็กเกจทรู ไลฟ ฟรีวิว และกลองรับสัญญาณทรูวิชั่นสแบบขายขาดไมมีรายเดือน

10

m n È


เมษายน: ทรูวชิ นั่ สเปดตัว “ทรูวชิ นั่ ส เอนิแวร” บริการโมบายเพยทวี คี รัง้ แรกในประเทศไทยเปดโอกาสใหผชู มสามารถรับชมชอง รายการคุณภาพจากทรูวิชั่นส 65 ชอง และชองรายการฟรีทูแอรอีก 55 ชอง ไดทุกที่ทุกเวลาตามความตองการผานอุปกรณ สมารทโฟน แท็บเล็ตรวมไปถึงเครือ่ งคอมพิวเตอร และโนตบุค กรกฎาคม: ทรูวิชั่นส เปดตัวแพ็กเกจใหม “ซูเปอร แฟมิลี่ แพ็กเกจ” ในราคา 899 บาทตอเดือน ซึ่งถือเปนแพ็กเกจที่ดีที่สุด เมื่อเทียบกับแพ็กเกจอื่นในราคาที่ ใกลเคียงกัน โดยสมาชิกสามารถรับชมรายการคุณภาพไดอยางเต็มอิ่ม ครบทุกอรรถรส ทัง้ รายการบันเทิง ภาพยนตร และกีฬา สูงสุดถึง 140 ชอง รวมชองรายการในระบบ HD 32 ชอง สิงหาคม: ทรูวิชั่นส ตอกย้ำภาพความเปนผูนำในการถายทอดสดกีฬาชั้นนำ ดวยการควาลิขสิทธิ์การถายทอดสดการแขงขัน ฟุตบอลไทย 4 รายการหลัก ตอเนื่อง 3 ฤดูกาล ตั้งแตป 2557 - 2559 ประกอบดวย “ไทยพรีเมียรลีก, ลีกวัน, เอฟเอ คัพ และลีกคัพ” สิงหาคม: ทรูวชิ นั่ ส ชูศกั ยภาพผูน ำคอนเทนต พรอมรับการเขาสูป ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดวยการรวมมือกับสถานีโทรภาพแหง ชาติลาว ถายทอดสดฟุตบอล ยูฟา แชมเปย น ลีก และ ยูโรปา ลีก 2013/2014 กวา 30 แมทช ในประเทศลาว พรอมคัดสรรรายการ บันเทิงสุดฮิตจากชอง KMTV ของเกาหลีเพื่อแฟนเพลงชาวลาว กันยายน: ทรูวชิ นั่ ส เพิม่ ความคุม คาใหกบั ลูกคา โดยเพิม่ ชองรายการในระบบ HD มากกวาเทาตัว จาก 23 ชอง เปนจำนวนที่สูงสุด ในประเทศไทยถึง 50 ชอง บริการคอนเวอรเจนซ มกราคม: ทรู ไ ลฟ พลั ส เสริ ม สิ ท ธิ พิ เ ศษเพิ่ ม เติ ม ให กั บ ลู ก ค า ที่ ใ ช บ ริ ก ารทรู มู ฟ เอช หรื อ อิ น เทอร เ น็ ต จาก ทรูออนไลน ที่รับฟรี “กลองรับสัญญาณดาวเทียม” ใหสามารถอัพเกรดชมชองรายการในแพ็กเกจ ทรู โนวเลจ โดยดูเพิ่มอีก 13 ชองคุณภาพ ในราคาเพียง 199 บาทตอเดือน หรือเลือกสั่งซื้อเพื่อรับชมเปนรายครั้ง ครั้งละ 100 บาท ตอ 10 วัน หรือ 300 บาท ตอ 30 วัน มีนาคม: ทรูไลฟ พลัส นำเสนอแคมเปญ “ยิ่งใช ยิ่งคุม ยิ่งลุน จาก ทรูไลฟพลัส” โดยมอบสิทธิพิเศษแกลูกคาของกลุมทรู สำหรับลูกคาที่ใช 1 บริการ รับฟรีกลองดูทรูวิชั่นส ลูกคาที่ใช 2 บริการ รับสิทธิพิเศษเพิ่มเติม อาทิ ฟรี WiFi ไมจำกัดชั่วโมง และลูกคาที่ใช 3 บริการ รับสวนลดคาบริการรายเดือน 10% พฤศจิกายน: กลุมทรู เปดตัวแคมเปญ “สุขX3” ตอกย้ำความเปนผูนำคอนเวอรเจนซที่สรางมูลคาเพิ่มใหลูกคาไดมากยิ่งขึ้น ดวยการผสานบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงถึง 12 Mbps จาก ทรูออนไลน และฟรีคาโทรศัพทบานนาน 12 เดือน พรอม คอนเทนตรายการคุณภาพครบครัน 78 ชองรายการและ 3 ชอง HD จากทรูวิชั่นส รวมถึงแพ็กเกจ iSmart เพียงเดือนละ 199 บาท จากทรูมูฟ เอช ไดรับคาโทร 100 นาที พรอมใชงาน 3G ฟรี 150 MB และ WiFi จำนวน 5 ชั่วโมง ดวยอัตราคา บริการเริ่มตนเพียง 799 บาทตอเดือน รางวัลที่ ไดรับในป 2556 รางวัลองคกรในประเทศไทยที่มีความเปนเลิศจากฟรอสต แอนด ซัลลิแวน กลุมทรู ไดรับ 3 รางวัล องคกรในประเทศไทยที่มีความเปนเลิศในการดำเนินธุรกิจ ประจำป 2556 จัดโดย บริษัท ฟรอสต แอนด ซัลลิแวน ประกอบดวย ทรูมูฟ รับรางวัลองคกรที่มีความเปนเลิศดานบริการโมบายล ทรูออนไลน รับรางวัลองคกรที่มี ความเปนเลิศดานบริการบรอดแบนด และ ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร รับรางวัลองคกรที่มีความเปนเลิศดานบริการใหเชา เซิรฟเวอรเสมือนบนระบบคลาวด คอมพิวติ้ง

11


มาตรฐาน COPC Customer Operation Performance (CSP) กลุม ทรู เปนองคกรไทยรายแรกของประเทศที่ ไดรบั การรับรองมาตรฐานโลก COPC CSP ทัง้ คอลล เซ็นเตอร ทรูมูฟ เอช และ คอลล เซ็ น เตอร ทรูอ อนไลน จาก Customer Operation Performance Center (COPC) องคกรระดับโลกจากประเทศ สหรัฐอเมริกา ที่ใหคำปรึกษา ฝกอบรม และใหการรับรองมาตรฐานดานการใหบริการ คอลล เซ็นเตอร แกบริษัทที่มีชื่อเสียงกวา 1,500 แหง ใน 60 ประเทศทั่วโลก รางวัล ICT ทำดีเพื่อสังคม โครงการทรูปลูกปญญามีเดีย และโครงการ Autistic Application ของกลุมทรู ไดรับรางวัล “ICT ทำดีเพื่อสังคม” ในฐานะ องคกรที่สามารถนำศักยภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาสรางสรรคใหเกิดนวัตกรรม เพื่อมอบคุณประโยชน ใหแกสังคม โดยรางวัลดังกลาว เปนสวนหนึ่งในงานประกาศผลรางวัล Thailand ICT Excellence Awards 2012 จัดโดยสมาคม การจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย รวมกับศูนยเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ เขตอุตสาหกรรมซอฟทแวรแหง ประเทศไทย และวิทยาลัยนวัตกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รางวัลวิทยุโทรทัศนแหงชาติ ชองทรูปลูกปญญา ไดรบั ประทานรางวัล “พิฆเนศวร” รางวัลวิทยุโทรทัศนแหงชาติ ประจำป 2556 ครัง้ ที่ 2 จัดโดย สมัชชานัก จัดรายการขาววิทยุโทรทัศนหนังสือพิมพแหงประเทศไทย (สว.นท.) 2 ประเภทรางวัล ไดแก รางวัลรายการศิลปดนตรีดีเดน และรางวัลรายการสงเสริมการทองเที่ยวดีเดน Reader’s Digest Trusted Brand Award กลุมทรู ไดรับ 2 รางวัล “Trusted Brand Awards 2013” แบรนดที่เชื่อมั่นได จากนิตยสารรีดเดอรส ไดเจสท ไดแก รางวัล แพลตตินั่ม ในหมวด “ผูใหบริการสัญญาณอินเทอรเน็ตทรูออนไลน” และรางวัลโกลด ในหมวด “ผูใหบริการโทรศัพท ทรูมฟู เอช” ซึ่งบริษัทวิจัยชั้นนำของโลก ไดสำรวจความเชื่อมั่นของผูบริโภคทั่วเอเชีย เพื่อมอบรางวัลใหแบรนดสินคาที่ ไดรับการยอมรับ สูงสุด Thailand Corporate Excellence Award กลุมทรู ไดรับรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี Thailand Corporate Excellence Awards 2012 จั ด โดยสมาคมการจั ด การธุ ร กิ จ แห ง ประเทศไทย ร ว มกั บ สถาบั น บั ณ ฑิ ต บริ ห ารธุ ร กิ จ ศศิ น ทร แ ห ง จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย โดยไดรับ 2 รางวัล ไดแก รางวัลสาขาความเปนเลิศดานการตลาด (Marketing Excellence) ตอเนื่องเปนปที่ 5 และรางวัล สาขาความเปนเลิศดานการพัฒนาการบริหารจัดการขององคกร (Corporate Improvement Excellence) ซึ่ง พิจารณาจากการประมวลผลองคกรที่มีพัฒนาการในการบริหารจัดการในทุกๆ ดาน โลเกียรติคณ ุ จากสำนักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส และผูสูงอายุ (สท.) โครงการสามเณร ปลูกปญญาธรรมของกลุมทรู ไดรับการคัดเลือกจากสำนักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทกั ษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส และผูสูงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ใหรับมอบโลเกียรติคุณพระราชทาน ในฐานะองคกรทีท่ ำคุณประโยชนตอ เด็กและเยาวชน เนือ่ งในวันเยาวชนแหงชาติ ประจำป 2556 รางวัลนวัตกรรมแหงชาติ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น รับรางวัลนวัตกรรมแหงชาติ ประจำป 2556 รองชนะเลิศอันดับ 1 ดานสังคม จากสำนักงานนวัตกรรม แหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในฐานะองคกรที่นำศักยภาพดานเทคโนโลยีการสื่อสาร รวมพัฒนาศักยภาพ เยาวชน ดวยการสรางสรรคผลงานนวัตกรรม “Autistic Application” ซึ่งพนักงานกลุมทรูไดคิดคนและพัฒนาขึ้น เพื่อใช ประโยชนเปนสื่อการสอนเสริมทักษะการเรียนรูแกเด็กพิเศษโดยไมเสียคาใชจาย

12

m n È


รางวัล Top 500 Asia Brand และรางวัลบุคคล Asia Brand Management Innovation Personality Award กลุ่มทรู  รับรางวัล “Top 500 Asia Brand” ในฐานะที่เป็นหนึ่งใน 500 แบรนด์ชั้นนำที่ ได้รับการยอมรับสูงสุดในเอเชีย โดยทรู   เป็นบริษัทด้านการสื่อสารโทรคมนาคมไทยเพียงรายเดียวที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์รางวัลดังกล่าว  และยังได้รับรางวัล บุคคล “Asia Brand Management Innovation Personality Award” ที่มอบให้แก่นายศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธานคณะผู้บริหาร บมจ. ทรู  คอร์ปอเรชั่น ในฐานะผู้ บ ริ ห ารตั ว อย่ า งด้ า นการบริ ห ารจั ด การแบรนด์ แ ละส่ ง เสริ ม   นวัตกรรม ในพิธีมอบรางวัล Asia Brand ครั้งที่  8 ณ เขตปกครองพิเศษฮ่องกง จัดโดยสมาคม Asia Brand ร่วมกับองค์กร และสื่อชั้นนำของประเทศจีน รางวัล คานส์  อวอร์ดส์ ประเภท รายการสารคดีโทรทัศน์  สาขา การศึกษา กลุ่มทรู  รับรางวัล คานส์  อวอร์ดส์  (The Cannes Corporate Media & TV Awards 2013) ประเภท รายการสารคดีโทรทัศน์ สาขา การศึกษา โดยรายการธรรมะรูปแบบเรียลลิตี้  “สามเณร ปลูกปัญญาธรรม ปี  2” ของกลุ่มทรูที่ออกอากาศทางทรูวิชั่นส์ เป็นรายการเดียวจากประเทศไทย และในภูมิภาคเอเชียที่ ได้รับรางวัลดังกล่าว จากผลงานที่ส่งเข้าประกวดทั้งหมด 719   ผลงาน จาก 40 ประเทศ ทั่วทุกมุมโลก ในพิธีประกาศผลรางวัล ณ เมืองคานส์  ประเทศฝรั่งเศส โดยถือเป็นครั้งแรกของ เมืองไทยที่ ได้รับรางวัลที่มีชื่อเสียงระดับโลกนี้ โล่เกียรติยศจากสำนักงาน ป.ป.ช. กลุ่มทรู  รับโล่เกียรติยศหน่วยงานหรือองค์กรที่มีส่วนร่วมสนับสนุนภารกิจของสำนักงาน ป.ป.ช. โดยกลุ่มทรู  ได้สนับสนุนการ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของป.ป.ช. ผ่านสื่อต่างๆ ของกลุ่มทรู  รวมถึงการจัดให้ศิลปินทรู  อคาเดมี  แฟนเทเชีย เข้าร่วมกิจกรรมของป.ป.ช. อีกด้วย รางวัลสื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย ทรูมูฟ เอช รับรางวัลสื่อมวลชนดีเด่น ประเภทภาพยนตร์โฆษณา จากภาพยนตร์โฆษณาชุด “การให้  คือการสื่อสารที่ดีที่สุด” จัดโดยสื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย ซึ่งภาพยนตร์โฆษณาดังกล่าวถ่ายทอดแนวคิดเรื่องพลังของการให้ โล่เกียรติคุณจาก สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติร่วมกับสมาคมสภาคนพิการทุกประเภทแห่งประเทศไทย โล่เกียรติคุณจากสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติร่วมกับสมาคมสภาคนพิการทุกประเภท แห่งประเทศไทย กลุ่มทรูรับโล่ประกาศเกียรติคุณองค์กรดีเด่นสนับสนุนงานด้านคนพิการ ในงานวันคนพิการสากลประจำปี  2556 ในฐานะ องค์กรภาคธุรกิจดีเด่นที่สนับสนุนงานด้านคนพิการ จัดโดยสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติร่วม กับสมาคมสภาคนพิการทุกประเภทแห่งประเทศไทย

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทย่อย กิจการร่วมค้า และบริษัทร่วม กลุ่มทรูรายงานผลประกอบการด้านการเงิน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มธุรกิจ คือ ทรูออนไลน์ กลุ่มทรูโมบาย  และ ทรูวิชั่นส์  (1) ทรูออนไลน์ ประกอบด้วยบริษัทฯ และบริษัทย่อยที่ยังคงมีกิจกรรมทางธุรกิจ 26 บริษัทและกิจการร่วมค้า 1 บริษัท  (2) กลุม่ ทรูโมบาย ประกอบด้วยบริษัทย่อยที่ยังคงมีกิจกรรมทางธุรกิจ 10 บริษัท (3) ทรูวชิ ั่นส์  ประกอบด้วยบริษัทย่อยที่ยังคงมีกิจกรรมทางธุรกิจ 13 บริษัท กิจการร่วมค้า 1 บริษัท และบริษัทร่วม 2 บริษัท

13


14

m n È

100.00%

99.99%

100.00%

100.00%

99.99%

99.99%

100.00%

90.00%

99.99%

99.99%

91.08%

Dragon Delight Investments Limited

Golden Pearl Global Limited

บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จำกัด

บริษัท บี บอยด ซีจี จำกัด

Gold Palace Logistic Limited

69.94%

70.00%

45.00%

50.00%

51.00%

70.00%

99.99%

99.99%

99.99%

99.34%

99.99%

99.99%

99.99%

99.31%

บริษัท ซีนิเพล็กซ จำกัด

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จำกัด

บริษัท คลิกทีวี จำกัด

บริษัท ทรู จีเอส จำกัด

บริษัท บีอีซี-เทโร ทรู วิชั่นส จำกัด

บริษัท เอสเอ็ม ทรู จำกัด

บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จำกัด

บริษัท ทรู ดีทีที จำกัด

บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จำกัด

บริษัท ไทย นิวส เน็ตเวิรค (ทีเอ็นเอ็น) จำกัด

บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จำกัด (มหาชน)

บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จำกัด

บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จำกัด

25.99%

99.99%

99.99%

บริษัท ทรู วิชั่นส จำกัด (มหาชน)

บริษัท บริษัท 60.00% บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จำกัด 99.99% เอ็มเคเอสซี 62.50% ศูนยบริการ เวิลด วิทยาการ บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล ดอทคอม อินเตอรเนต อินเตอรเนต จำกัด จำกัด จำกัด 99.84%

True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd.

GP Logistics Co., Ltd.

100.00%

Gold Palace Investments Limited

บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จำกัด

100.00%

100.00%

100.00%

Golden Light Co., Ltd.

100.00%

Goldsky Company Limited

บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จำกัด

บริษัท ทรู ทัช จำกัด

K.I.N. (Thailand) Co., Ltd.

บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จำกัด (มหาชน)

บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จำกัด

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด

บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จำกัด

99.99%

65.00%

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด

บริษัท ไทยสมารท คารด จำกัด

บริษัท ทรู วิสตาส จำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท ทรู แมจิค จำกัด”)

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

19.94 %

99.99%

99.99%

100.00%

99.99%

99.48%

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

บริษัท ทรู มิวสิค จำกัด

บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จำกัด

บริษัท เรียล มูฟ จำกัด

บริษัท สองดาว จำกัด

บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จำกัด

99.99%

99.96%

99.99%

บริษัท ทรู มูฟ จำกัด

100.00%

92.50%

บริษัท ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) จำกัด

Prospect Gain Limited

99.99%

บริษัท ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท จำกัด

บริษัท เค โอเอ จำกัด

บริษัท เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท จำกัด

99.99%

บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด

99.99%

99.93%

99.94%

99.95%

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จำกัด (มหาชน)

บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จำกัด Rosy Legend Limited

73.92%

บริษัท ฮัทชิสัน ไวรเลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส จำกัด

หมายเหตุ: 1. โครงสรางเงินลงทุนของกลุมบริษัทฯ แสดงเฉพาะที่บริษัทฯ ถือหุนตั้งแต 10% ขึ้นไป 2. ไมมีบุคคลที่อาจมีความขัดแยงของบริษัทฯ เปนผูถือหุนในสัดสวนเกินรอยละ 10 ของจำนวนหุนที่จำหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทยอยและบริษัทรวม 3. นอกจากนี้ บริษัทฯ กำลังดำเนินการปดบริษัทยอยที่ ไมมีการดำเนินธุรกิจและไมมีความจำเปนตองคงไว อีกจำนวน 1 บริษัท คือ บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (99.99%) 4. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ ไดเขาจองซื้อหนวยลงทุนของกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท จำนวน 1,933,601,000 หนวย หรือเทากับรอยละ 33.29 ของหนวยลงทุนทั้งหมดที่เสนอขาย

99.99%

15.76%

99.99%

99.99%

บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จำกัด

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด

99.99%

99.99%

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จำกัด

บริษัท เรียล ฟวเจอร จำกัด

99.99%

99.99%

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)


15

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด 100.00 % บริษัท ทรู ทัช จำกัด 100.00 % บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด 100.00 %

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน

บริษัท เรียล ฟวเจอร จำกัด 100.00 % บริษัท ทรู มูฟ จำกัด 99.43 % บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลล จำกัด 99.43 % บริษัท ทรู มิวสิค จำกัด 99.40 %

-

- บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด 91.08 % - บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) - บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด 100.00 %

ธุรกิจใหบริการสื่อสารขอมูล

บริษัท เรียล มูฟ จำกัด 99.48 % บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด 99.43 % บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด 100.00 % บริษัท เคโอเอ จำกัด 100.00% บริษัท เทเลคอม แอสเซท เมเนจเมนท จำกัด 100.00%

ทรูออนไลน

หมายเหตุ : - บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (100.00%) กำลังอยูระหวางดำเนินการปดบริษัท - บริษัทที่ ไมมีกิจกรรมทางธุรกิจ แตยังมีความจำเปนตองคงไว ไดแก บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จำกัด (มหาชน) (90.00%) บริษัท เทเลคอม เคเอสซี จำกัด (34.39%) บริษัท ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด (100.00 %) บริษัท ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชันส (ประเทศไทย) จำกัด (100.00 %) บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จำกัด (68.02 %) บริษัท ฮัทชิสัน ไวรเลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส จำกัด (92.02 %) Rosy Legend Limited (99.48 %) Prospect Gain Limited (100.00 %) บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จำกัด (99.42%) และบริษัท สองดาว จำกัด (99.41%)

-

-

ทรูโมบาย

-

-

บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จำกัด 100.00 % บริษัท ทรู วิชั่นส จำกัด (มหาชน) 99.31 % บริษัท ซีนิเพล็กซ จำกัด 100.00 % บริษัท คลิกทีวี จำกัด 99.31 % บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จำกัด (มหาชน) 98.99 % บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จำกัด 99.31 % บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จำกัด 99.77 % บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จำกัด 25.82 %

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด 91.08 % บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด 100.00 % บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด 65.00 % บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จำกัด 100.00 % บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จำกัด 56.93 % บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด 56.83 % บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จำกัด 100.00 %

ธุรกิจบรอดแบนดและบริการอินเทอรเน็ต

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย บริการเสริม และ บริการสื่อสารขอมูล บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)

ธุรกิจอื่น

บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จำกัด 100.00 % บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จำกัด 70.00 % บริษัท เอสเอ็ม ทรู จำกัด 51.00 % บริษัท ไทย นิวส เน็ตเวิรค (ทีเอ็นเอ็น) จำกัด 100.00 % บริษัท ทรู จีเอส จำกัด 45.00 % บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จำกัด 100.00 % บริษัท บีอีซี-เทโร ทรู วิชั่นส จำกัด 50.00% บริษัท ทรู ดีทีที จำกัด 100.00%

ธุรกิจอื่น ๆ - บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จำกัด 100.00 % - บริษัท บีบอยด ซีจี จำกัด 70.00 % - บริษัท ทรู วิสตาส จำกัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู แมจิค จำกัด) 100.00 % - บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จำกัด 69.94 % - บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จำกัด 19.94 % - True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd 100.00 %

ธุรกิจลงทุน - บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จำกัด 100.00 % - บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จำกัด (มหาชน) 99.48 % - บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จำกัด 100.00 % - K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) 100.00 % - บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จำกัด 91.08 % - Dragon Delight Investments Limited 100.00 % - Gold Palace Investments Limited 100.00 % - Golden Light Co., Ltd. 100.00 % - Goldsky Co., Ltd. 100.00 % - GP Logistics Co., Ltd. 100.00 % - Golden Pearl Global Limited 100.00 % - Gold Palace Logistics Limited 100.00 %

-

ทรูวิชั่นส


โครงสรางรายไดตามกลุมธุรกิจ 2556 ลานบาท %

2555 ลานบาท %

2554 ลานบาท %

1. ทรูออนไลน

23,086

24.0%

23,295

26.3%

22,440

31.2%

2. กลุมทรูโมบาย

63,073

65.5%

56,124

62.6%

40,102

55.7%

3. ทรูวิชั่นส

10,055

10.5%

9,963

11.1%

9,396

13.1%

รวมรายได

96,214

100.0%

89,382

100.0%

71,938

100.0%

กลุมธุรกิจ

โครงสรางรายได แยกตามการดำเนินงานของแตละบริษัท 2556 ลานบาท %

กลุมธุรกิจ/ดำเนินการโดย 1. ทรูออนไลน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จำกัด บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จำกัด บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จำกัด บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด บริษัท ทรู ทัช จำกัด บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จำกัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จำกัด บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จำกัด บริษัท ทรู มันนี่ จำกัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จำกัด บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จำกัด True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd. อี่นๆ 2. กลุมทรูโมบาย กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จำกัด บริษัท เรียล มูฟ จำกัด บริษัท เรียล ฟวเจอร จำกัด บริษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท จำกัด 3. ทรูวิชั่นส กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส รวมรายได

16

m n È

2555 ลานบาท %

2554 ลานบาท %

รวม

6,380 52 10,012 1,199 636 470 397 1 26 372 283 297 168 296 1,829 62 303 31 242 30 23,086

6.6% 0.1% 10.4% 1.2% 0.7% 0.5% 0.4% 0.0% 0.0% 0.4% 0.3% 0.3% 0.2% 0.3% 1.9% 0.1% 0.3% 0.0% 0.3% 0.0% 24.0%

6,636 97 8,485 1,669 1,196 418 775 1 46 291 259 310 223 326 1,682 88 478 39 273 3 23,295

7.5% 0.1% 9.6% 1.9% 1.3% 0.5% 0.9% 0.0% 0.1% 0.3% 0.3% 0.3% 0.2% 0.4% 2.0% 0.1% 0.5% 0.0% 0.3% 0.0% 26.3%

7,216 127 7,186 1,591 1,592 415 644 73 74 195 230 302 188 303 1,609 82 546 32 21 14 22,440

10.0% 0.2% 10.0% 2.2% 2.2% 0.6% 0.9% 0.1% 0.1% 0.3% 0.3% 0.4% 0.3% 0.4% 2.2% 0.1% 0.9% 0.0% 0.0% 0.0% 31.2%

รวม

30,862 7,410 7 23,464 1,326 4 63,073

32.0% 7.7% 0.0% 24.4% 1.4% 0.0% 65.5%

39,336 5,394 546 10,848 56,124

43.9% 6.0% 0.6% 12.1% 62.6%

35,165 1,559 2,717 661 40,102

48.8% 2.2% 3.8% 0.9% 55.7%

10,055 96,214

10.5% 100.0%

9,963 89,382

11.1% 100.0%

9,396 71,938

13.1% 100.0%


ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ กลุ ม ทรู เ ป น ผู ใ ห บ ริ ก ารสื่ อ สารครบวงจรหนึ่ ง เดี ย วของประเทศไทย และเป น ผู น ำคอนเวอร เ จนซ ไ ลฟ ส ไตล ซึ่ ง เชื่ อ มโยง ทุกบริการ พรอมพัฒนาโซลูชั่น ตอบสนองทุกไลฟสไตลตรงใจลูกคาไดอยางแทจริง โดยใหบริการดานเสียง (โทรศัพทพื้นฐานและ โทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ) บริ ก ารบรอดแบนด อิ น เทอร เ น็ ต บริ ก ารโทรทั ศ น แ บบบอกรั บ สมาชิ ก บริ ก ารด า นข อ มู ล และ คอนเทนต โดยประสานประโยชนจากโครงขาย บริการ และผลิตภัณฑหลากหลายของกลุม ซึ่งเปนพื้นฐานทำใหธุรกิจเติบโตตอไป ในอนาคต ยุทธศาสตรการเปนผูน ำคอนเวอรเจนซ ไลฟสไตล ทำใหกลุม ทรูมเี อกลักษณความโดดเดน ดวยการผสานบริการสือ่ สารครบวงจรในกลุม เขากับคอนเทนตทเี่ นนความหลากหลาย ทำใหกลุม ทรูแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น ๆ โดยชวยเพิ่มยอดผูใชบริการและสรางความ ผูกพันกับบริการตาง ๆ ของกลุมทรู อีกทั้งยังทำใหสามารถใชประโยชนจากศักยภาพของบริการไดอยางเต็มที่ นอกจากนี้ ยุทธ ศาสตรคอนเวอรเจนซยังชวยเพิ่มมูลคา และมอบคุณประโยชนแกลูกคาทั้งในระยะกลางและระยะยาว กลุมทรูไดมีการแบงกลุมธุรกิจหลักออกเปน 3 กลุม ซึ่งประกอบดวย • ธุรกิจออนไลน ภายใตทรูออนไลน ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริมตาง ๆ บริการโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ต และบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือบริการบรอดแบนด บริการอินเทอรเน็ตไรสาย (WiFi) และบริการ WE PCT (บริการโทรศัพทพนื้ ฐานใชนอกสถานที)่ • ธุรกิจโทรศัพทเคลือ่ นที่ ภายใตกลุม ทรูโมบาย ซึง่ ใหบริการระบบ 2G 3G และ 4G LTE ภายใตแบรนด ทรูมฟู และทรูมฟู เอช โดยบริการ CDMA ถูกปดอยางเปนทางการเมือ่ เดือนเมษายน ป 2556 • ธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส ทัง้ นี้ สำหรับผลประกอบการดานการเงินของธุรกิจคอนเวอรเจนซและอืน่ ๆ ซึง่ รวมธุรกิจคาปลีกสำหรับแพ็กเกจทีร่ วมผลิตภัณฑภาย ในกลุม ทรูเขาดวยกัน จะถูกรวมอยูในกลุมธุรกิจของทรูออนไลน ภายหลังการไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2556 กลุม ทรูประสบความสำเร็จในการขายเงินลงทุนในหุน สามัญของ บริษัทยอยที่มิใชธุรกิจหลักของบริษัทฯ จำนวน 8 บริษัท ประกอบดวย TLS, WW, TMN, TIDC, TLR, TP, TDP และ TDCM ใหแก บริษทั ธนเทเลคอม จำกัด ทำใหกลุม ทรู สามารถรับรูก ำไรจากการจำหนายเงินลงทุนดังกลาวจำนวน 857.6 ลานบาท ในไตรมาส 4 ป 2556 โดยกอนการขายเงินลงทุนนี้ ผลประกอบการทางดานการเงินของ 8 บริษทั เหลานีถ้ กู รวมอยูในผลประกอบการของทรูออนไลน

17


ตาราง แสดง 8 บริษัทยอย ที่กลุมทรูจำหนายเงินลงทุนในหุนสามัญออกไป บริษัท

ลักษณะการประกอบธุรกิจโดยยอ

1. บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จำกัด (TLS)

จัดหารถยนต ใหเชาแบบการเชาดำเนินงาน

2. บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จำกัด (WW)

ใหบริการทางดานงานวิศวกรรม

3. บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จำกัด (TP)

ใหเชาพื้นที่อาคารสำนักงาน

4. บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC)

ใหบริการศูนยกลางขอมูลบนอินเทอรเน็ต

5. บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จำกัด (TLR)

ดำเนินธุรกิจรานทรูคอฟฟ

6. บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จำกัด (TDP)

บริการเกมออนไลน

7. บริษัท ทรู มันนี่ จำกัด (TMN)

บริการรับชำระเงินและบัตรเติมเงินอิเล็กทรอนิกส

8. บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จำกัด (TDCM)

บริการเนื้อหาในระบบดิจิตอล และระบบ ธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

ทรูออนไลน ทรูออนไลน ประกอบดวย บริการโทรศัพทพนื้ ฐาน และบริการเสริมตาง ๆ เชน บริการโทรศัพทสาธารณะ และบริการ WE PCT นอกจากนี้ ยังรวมถึงบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต บริการโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ตและดาตาเกตเวย รวมทัง้ บริการโทรศัพททางไกล ระหวางประเทศ ซึง่ ไดมกี ารโอนยายไปอยูใ นกลุม ทรูโมบายตัง้ แตตน ป 2554 ทัง้ นี้ ธุรกิจบรอดแบนด อินเทอรเน็ตเติบโตอยางรวดเร็ว และ เปนปจจัยทีช่ ว ยรักษาระดับรายไดโดยรวมของกลุม ธุรกิจทรูออนไลน i) บริการโทรศัพทพนื้ ฐาน โทรศัพทพนื้ ฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) และโทรศัพทสาธารณะ ทรูออนไลนเปนผู ใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสามารถใหบริการโทรศัพท พืน้ ฐานจำนวนทัง้ สิน้ 2.6 ลานเลขหมาย และมีเลขหมายที่ใหบริการอยูท งั้ สิน้ ประมาณ 1.7 ลานเลขหมาย นอกจากนี้ กลุมทรูยังได รับอนุญาตจาก องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) เพื่อใหบริการโทรศัพท สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำนวนทั้งสิ้น 26,000 ตู กลุมทรูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ WE PCT ผาน AWC ซึ่งเปนบริษัทยอย (กลุมทรูถือหุนในสัดสวนรอยละ 100.0) โดยไดเปดใหบริการอยางเปนทางการ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 ซึ่งถือเปนบริการเสริมของบริการโทรศัพทพื้นฐาน บริการ WE PCT เปนบริการทีท่ ำใหผูใชบริการสามารถพกพาโทรศัพทบา นไปใชนอกบานได โดยใชหมายเลขเดียวกับโทรศัพทบาน และสามารถใช ไดถึง 9 เครื่องตอโทรศัพทพื้นฐาน 1 เลขหมาย โดย WE PCT แตละเครื่องจะมีหมายเลขประจำเครื่องของตนเอง ในเดือนสิงหาคม 2534 กลุมทรูไดทำสัญญารวมการงานฯ ระหวางกลุมทรูกับองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ซึ่งภายหลัง เปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) โดยใหกลุมทรูเปนผูดำเนินการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจนซอมบำรุง และรักษาอุปกรณในระบบสำหรับการขยายบริการโทรศัพทจำนวน 2 ลานเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปน ระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดป 2560 ตอมาไดรับสิทธิใหขยายบริการโทรศัพทอีกจำนวน 6 แสนเลขหมาย กลุมทรูได โอนทรัพยสินที่เปน โครงขายทั้งหมดใหแกทีโอที โดยทีโอทีเปนผูจัดเก็บรายไดจากลูกคาในโครงขายทั้งหมด และชำระใหกลุมทรูตามสัดสวนที่ระบุไว ในสัญญารวมการงานฯ คือในอัตรารอยละ 84.0 สำหรับบริการโทรศัพทพื้นฐานในสวน 2 ลานเลขหมายแรก และอัตรารอยละ 79.0 สำหรับในสวน 6 แสนเลขหมายที่ ไดรับการจัดสรรเพิ่มเติมในภายหลัง ในสวนของบริการเสริมตาง ๆ ที่กลุมทรูไดใหบริการ อยู กลุมทรูไดรับสวนแบงรายได ในอัตรารอยละ 82.0 ของรายไดจากบริการเสริมนั้น ๆ ยกเวนบริการโทรศัพทสาธารณะ ซึ่ง กลุมทรูไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 76.5 18

m n È


สำหรับบริการ WE PCT นั้น รายไดทั้งหมดจะถูกจัดเก็บโดยทีโอที และทีโอทีจะแบงรายไดที่จัดเก็บกอนหักคาใชจายใหกลุมทรูใน อัตรารอยละ 82.0 และเนื่องจากกลุมทรูไดมอบหมายให AWC ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู ดำเนินการใหบริการ PCT แกลูกคา ดังนั้น กลุมทรูจึงตองแบงรายไดที่ ไดรับมาจากทีโอทีในอัตราประมาณรอยละ 70.0 ใหกับ AWC นอกจากนั้น ทีโอทีก็สามารถให บริการ PCT แกผูที่ใชหมายเลขโทรศัพทของทีโอทีได โดยผานโครงขาย PCT ของกลุมทรู ดังนั้น ทีโอทีจึงตองแบงรายไดสวนหนึ่ง ที่ทีโอทีไดรับจากผู ใชบริการ PCT จากหมายเลขโทรศัพทของทีโอที ใหแกกลุมทรู เพื่อเปนเสมือนคาเชาโครงขาย โดยในสวนนี้ ทีโอทีจะตองแบงรายไดประมาณรอยละ 80.0 ใหแกกลุมทรู บริการเสริม นอกเหนือจากโทรศัพทพื้นฐาน และโทรศัพทสาธารณะ กลุมทรูไดพัฒนาบริการเสริมตาง ๆ เพื่อตอบสนองความตองการของ ลูกคา ซึ่งประกอบดวย • บริการรับฝากขอความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) บริการสนทนา 3 สาย (Conference Call) บริการโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริการเลขหมายดวน (Hot Line) บริการยอเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริการโทรซ้ำอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) บริการจำกัดการโทรออก (Outgoing Call Barring) และบริการแสดง หมายเลขเรียกเขา (Caller ID) นอกจากนี้ กลุมทรูยังไดใหบริการเสริมอื่น ๆ แกลูกคาธุรกิจ ซึ่งมีความตองการใชเลขหมายเปนจำนวนมาก และตองการใชบริการ เสริมที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ไดแก • บริการตูสาขาอัตโนมัติระบบตอเขาตรง (Direct Inward Dialing หรือ “DID”) • บริการเลขหมายนำหมู (Hunting Line) เปนบริการที่จัดกลุมเลขหมายใหสามารถเรียกเขาได โดยใชเลขหมายหลักเพียง เลขหมายเดียว • โครงขายบริการสื่อสารรวมระบบดิจิตอล (Integrated Service Digital Network: ISDN) เปนบริการรับ-สงสัญญาณภาพ เสียง และขอมูลพรอมกันไดบนคูส ายเพียง 1 คูส ายในเวลาเดียวกัน • บริการ Televoting • บริการฟรีโฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เปนบริการหมายเลขโทรฟรี เพื่อใหลูกคาสามารถโทรมายังหมายเลขตนทางซึ่ง เปนศูนยบริการของบริษทั โดยบริษทั จะเปนผูร บั ผิดชอบคาโทร • บริการประชุมผานสายโทรศัพท (Voice Conference) • บริการโทรศัพทผา นอินเทอรเน็ต (Voice over Internet Protocol หรือ VoIP) ภายใตชอื่ NetTalk by True โครงขายโทรศัพทพื้นฐาน และพื้นที่ ใหบริการ WE PCT โครงขายโทรศัพทพื้นฐานของกลุมทรูเปนโครงขายใยแกวนำแสงที่ทันสมัย โดยใชสายเคเบิลทองแดงในระยะทางสั้น ๆ เพื่อ คุณภาพที่ดีที่สุดในการใหบริการทั้งดานเสียงและขอมูล ณ สิ้น ป 2556 กลุมทรู มีเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่ ใหบริการแกลูกคาเปนจำนวนรวม 1,696,155 เลขหมาย ประกอบดวย ลูกคาบุคคลทั่วไปจำนวน 1,122,071 เลขหมาย และลูกคาธุรกิจจำนวน 574,084 เลขหมาย ซึ่งลดลงในอัตรารอยละ 4.0 จาก ณ สิ้นป 2555 โดยการลดลงของรายไดและผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานเปนไปตามแนวโนมเดียวกันทั่วโลก ในขณะที่รายไดเฉลี่ยตอ เลขหมายตอเดือน สำหรับ ป 2556 ลดลง 3.6 จากปกอนหนา เปน 255 บาทตอเดือน ทั้งนี้ รายไดจากการใหบริการสวนใหญ (รอยละ 59.8) ยังคงมาจากลูกคาธุรกิจ

19


บริการ WE PCT ใหบริการครอบคลุมพื้นที่ราว 1,500 ตารางกิโลเมตร ในเขตพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ใน ระยะเวลาหลายปทผี่ า นมา ผูใชบริการ WE PCT มีจำนวนลดลงอยางมีนยั สำคัญ ซึง่ เปนไปในทิศทางเดียวกับแนวโนมทัว่ โลก สวน หนึง่ จากผลกระทบจากความนิยมในการใชโทรศัพทเคลือ่ นทีท่ เี่ พิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง และจากการปรับอัตราคาบริการจากเดิมซึง่ เปน ลักษณะคาบริการตอครัง้ เปนตอนาที เพือ่ ลดผลกระทบตอกลุม ทรู หากมีการจัดเก็บคา IC สำหรับบริการ PCT ในลักษณะเดียวกัน กับที่ใชกับผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ อยางไรก็ตาม ผูใชบริการ WE PCT บางสวนไดยายไปใชบริการอื่น ๆ ภายในกลุมทรู อาทิ ทรูมฟู เอช โดย ณ สิน้ ป 2556 กลุม ทรูมผี ูใชบริการ WE PCT จำนวน 17,966 ราย ลดลงจาก 28,885 ราย ณ สิน้ ป 2555 ii) บริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต บริการอินเทอรเน็ตอื่น ๆ และบริการเสริม บริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต กลุมทรูเปนผูนำการใหบริการบรอดแบนดหรืออินเทอรเน็ตความเร็วสูงของประเทศ และครองสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 36.8 ของฐานลูกคาตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูงทั่วประเทศ ณ สิ้นป 2556 (แหลงที่มา: ประมาณการโดยกลุมทรู) กลุมทรูให บริการบรอดแบนดสำหรับลูกคาทั่วไปผาน 3 เทคโนโลยี คือ เทคโนโลยี FTTx (ผาน ใยแกวนำแสง) เทคโนโลยี DOCSIS (ผาน Cable Modem) และเทคโนโลยี DSL (Digital Subscriber Line) ทรูออนไลนยังคงเปนผูนำในตลาดบริการบรอดแบนด ทั้งในดาน นวัตกรรมและคุณภาพการใหบริการ ซึ่งเปนผลมาจากการขยายความครอบคลุมอยางตอเนื่อง การนำเสนอเทคโนโลยีใหม ๆ รวม ถึงการใหบริการดวยความเร็วที่เพิ่มขึ้น และการใหความสำคัญกับการใหบริการลูกคา ในป 2546 กลุม ทรู และผูใหบริการรายอืน่ ไดนำเสนอบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง หรือ WiFi ทัง้ นี้ โครงขาย WiFi ของกลุม ทรูทสี่ ามารถใหบริการครอบคลุมไดอยางกวางขวาง เปนหนึง่ ในปจจัยสำคัญที่สรางความแตกตางใหกบั สินคาและบริการของกลุม ทรู รวมทัง้ ยังมีสว นในการสรางความเติบโตใหกบั บริการบรอดแบนด โดยปจจุบนั กลุม ทรูมจี ดุ เชือ่ มตอสัญญาณ WiFi กวา 100,000 จุด โดยใหบริการ WiFi ความเร็วสูงสุดถึง 200 Mbps ซึ่งเปนความเร็วสูงสุดในประเทศไทย TUC เปนหนึ่งในบริษัทยอยของกลุมทรู ซึ่งไดรับใบอนุญาตประเภทที่ 3 จากคณะกรรมการ กทช. เพื่อใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน บริการบรอดแบนด และบริการโครงขายขอมูลทั่วประเทศ โดย TUC ใหบริการวงจรสือ่ สารขอมูล และบรอดแบนด รวมทัง้ โครงขาย สื่อสารขอมูล ใหแกบริษัทยอยอื่นในกลุมทรู รวมทรู อินเทอรเน็ต และทรู มัลติมีเดีย เพื่อนำไปใหบริการตอแกลูกคาอินเทอรเน็ต ความเร็วสูงรายยอย บริการขอมูล และบริการที่ ไมใชเสียง แกลูกคาทั่วไปและลูกคาธุรกิจ ตามลำดับ ดวยโครงขายทีท่ นั สมัย ทำใหกลุม ทรูสามารถใหบริการบรอดแบนดทมี่ คี วามเร็วสูง และการเชือ่ มตอทีม่ เี สถียรภาพมากขึน้ อีกทัง้ ยังสามารถ ดำเนินงานและใหการบำรุงรักษาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมเพียงแตสามารถใหบริการ ADSL เทานั้น แตยังสามารถใหบริการ ADSL2+ VDSL2 G.SHDSL Gigabit Ethernet DOCSIS และใยแกวนำแสง รวมทัง้ มีความพรอมทีจ่ ะพัฒนาไปเปนโครงขาย NGN ซึง่ เปนเทคโนโลยีระบบ IP นอกจากนี้ กลุมทรูยังใหบริการดานคอนเทนตที่เปยมดวยคุณภาพซึ่งมีความหลากหลายและเหมาะกับทุก ไลฟสไตล ไมวา จะเปน คอนเทนตสำหรับผูท ชี่ นื่ ชอบการฟงเพลง เลนเกมออนไลน ดูกฬี า หรือรักการอานหนังสือออนไลนในรูปแบบ ของ e-Book รวมทั้งบริการเสริมตาง ๆ เชน บริการ WhiteNet (เพื่อกลั่นกรองและสกัดจับภาพและสื่อบนอินเทอรเน็ตที่ ไม เหมาะสมสำหรับเยาวชน) ในเดือนสิงหาคม 2553 ทรูออนไลนเปนผู ใหบริการรายแรกของประเทศที่ปรับความเร็วมาตรฐานของบริการบรอดแบนดจาก 4 Mbps เปน 6 Mbps (ดวยอัตราคาบริการ 599 บาทตอเดือน) สูตลาดในวงกวาง ทำใหมีผู ใชบริการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในป 2553 โดยสามารถเพิม่ จำนวนผูใชบริการรายใหมสทุ ธิไดมากกวาเทาตัวเมื่อเทียบกับปกอนหนา ทัง้ นี้ ทรูออนไลน ไดปรับเพิม่ ความเร็ว มาตรฐานของบริการบรอดแบนดขนึ้ อีก เปน 7 Mbps ในเดือนมิถนุ ายน 2554 และเปน 10 Mbps ในเดือนตุลาคม 2555 ในเดือนธันวาคม 2553 ทรูออนไลน ไดเปดใหบริการบรอดแบนดอยางไมเปนทางการโดยใชเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ดวยความเร็วตัง้ แต 10 - 100 Mbps ในราคาเริม่ ตน 699 บาทตอเดือน และเปดใหบริการอยางเปนทางการพรอม ๆ กับการเปดบริการ WiFi ดวย ความเร็วมาตรฐานใหม 8 Mbps ในเดือนมีนาคม 2554 ซึ่งเทคโนโลยี DOCSIS ไมเพียงมีขีดความสามารถที่จะขยายความเร็วไดสูง กวา 1 Gbps แตยังสามารถรองรับการใหบริการแบบทริปเปลเพลย ซึ่งเปนการใหบริการบรอดแบนด บริการโทรทัศนแบบบอก รับสมาชิก และบริการเสียงผานอุปกรณเชื่อมตอหรือ Router บนโครงขายเดียวกันไดอีกดวย

20

m n È


นอกจากนี้ ทรูออนไลนยังทำการตลาดสูกลุมเปาหมายระดับบน โดยในป 2552 ไดเปดตัวบริการ ULTRA broadband โดยใหการ เชื่อมตออินเทอรเน็ตความเร็วสูงถึง 50 Mbps ผานเทคโนโลยี VDSL และในเดือนกันยายน 2554 ไดเปดตัวบริการ ULTRA hi-speed Internet ผานเทคโนโลยี FTTH (Fiber to the home) หรือใยแกวนำแสง ดวยความเร็วดาวนโหลดตั้งแต 50 Mbps ถึง 100 Mbps อีกทั้งทรูออนไลนยังไดขยายการนำเสนอแพ็กเกจสำหรับลูกคาระดับบน ดวยการใหบริการ ULTRA hi-speed Internet 200 Mbps ผานเทคโนโลยี FTTH และ DOCSIS 3.0 โดยบริการดังกลาวเปนบริการระดับพรีเมียม สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ต ดวยความเร็วที่มีเสถียรภาพ ทำใหสามารถอัพโหลดและดาวนโหลดคอนเทนตประเภท High Definition ไดเปนอยางดี รวมทั้งยัง รองรับการรับชมภาพและเสียงผานอินเทอรเน็ต หรือ Audio-visual streaming ไดอีกดวย แพ็กเกจบริการบรอดแบนดของทรูออนไลนเริ่มตนดวยความเร็วดาวนโหลดตั้งแต 10 Mbps ถึง 200 Mbps ซึ่งถือเปนความเร็ว สูงสุดในการใหบริการบรอดแบนดสำหรับลูกคาทั่วไปในประเทศไทย เปนบริการที่ครอบคลุมกวางขวางที่สุดในประเทศซึ่งสามารถ ตอบสนองความตองการใชงานที่หลากหลายของลูกคาทุกกลุม ทรูออนไลนยังคงไมหยุดนิ่งในการสรรหาบริการใหม ๆ เพื่อเพิ่มความคุมคาสูงสุดใหกับลูกคา โดยในเดือนพฤษภาคม 2556 ทรูออนไลนเปดตัวแพ็กเกจคอนเวอรเจนซ “สุขX2” เพิม่ ความคุม คาดวยการใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง เริม่ ตนที่ 12 Mbps พรอมทัง้ รับชม 78 ชองบันเทิงจากทรูวชิ นั่ ส และ 3 ชองรายการในระบบ HD ผานโครงขายเคเบิล DOCSIS 3.0 เดียวกัน ดวยราคาเพียง 699 บาทตอเดือน ผลตอบรับที่ดีมากตอแพ็กเกจคอนเวอรเจนซนี้ สงผลใหกลุมทรูเปดตัวแคมเปญ “สุขX3” ซึง่ เปนการผสมผสาน บริการของทัง้ สามธุรกิจหลักของกลุม ทรู ในเดือนพฤศจิกายน 2556 (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวขอ “การนำเสนอแพ็กเกจรวมกัน ของผลิตภัณฑในกลุมทรู”) พัฒนาการที่สำคัญเหลานี้ชวยตอกย้ำความเปนผูนำของกลุมทรู ในฐานะผูประกอบการไทยรายเดียวที่ใหบริการคอนเวอรเจนซ ไลฟสไตลครอบคลุมทุกรูปแบบการสื่อสาร และตอบสนองความตองการของลูกคาทุกกลุมไดอยางแทจริง รวมทั้งยังคงเปนผูนำ ทั้งในการใหบริการบรอดแบนดดวยความเร็วสูง ดวยคุณภาพและนำหนาดวยนวัตกรรม ความสำเร็จจากการขยายบริการบรอดแบนด ไปสูพื้นที่ใหม ๆ ในตางจังหวัด โดยเฉพาะผานเทคโนโลยี DOCSIS และผลตอบรับที่ ดีตอการจัดกิจกรรมทางการตลาดเฉพาะพื้นที่ ชวยตอกย้ำความเปนผูนำบริการบรอดแบนดของทรูออนไลน อีกทั้งยังสงผลให จำนวนผู ใชบริการบรอดแบนดรายใหมสุทธิในป 2556 มีจำนวนที่สูงถึงกวา 240,000 ราย โดยทรูออนไลนมีผู ใชบริการบรอด แบนดเพิ่มขึ้นเปนจำนวนทั้งสิ้น 1,809,600 ราย นอกจากนี้ กลุมทรู ยังไดขยายโครงขายบรอดแบนดเพิ่มเติมอยางตอเนื่อง โดย ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการแลวถึง 4.3 ลานครัวเรือน ใน 61 จังหวัด ทั่วประเทศ ณ สิ้นป 2556 สำหรับลูกคาธุรกิจ กลุมทรูใหบริการโครงขายขอมูลในลักษณะโซลูชั่น ทั้งบริการดานเสียงและขอมูลไปดวยกัน รวมทั้งใหบริการ ดานการบริหารโครงขายขอมูลผานเทคโนโลยีตาง ๆ ที่หลากหลาย ซึ่งประกอบดวย บริการโครงขายขอมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) หรือบริการวงจรเชา (Leased Line) บริการโครงขายขอมูลผานเครือขาย IP ไดแก บริการ MPLS (Multiprotocol Label Switching) บริการ Metro Ethernet ซึ่งเปนบริการโครงขายขอมูลที่ใชเทคโนโลยี Fiber-to-the-building และถูกออกแบบมา เฉพาะลูกคาธุรกิจ รวมทั้งบริการวงจรเชาผานเครือขาย IP (IP-based leased line) ที่ผสมผสานระหวางบริการขอมูลผานเครือขาย IP และบริการวงจรเชา ซึ่งมีคุณภาพดีกวาบริการเครือขาย IP แบบมาตรฐาน นอกจากนั้น ยังเนนการใหบริการการบริหารจัดการ เครือขายขอมูล (Managed Network Service) ซึง่ เปนบริการทีผ่ สมผสานบริการเกี่ยวกับการปฏิบัติการเครือขาย 3 บริการเขาดวยกัน ตั้งแตการจัดการประสิทธิภาพของเครือขาย การบริหารขอผิดพลาด และการกำหนดคาตาง ๆ ของเครือขาย ยิ่งไปกวานั้น สาธารณูปโภคดานโครงขายของกลุม ทรูยังสรางขึ้นดวยเทคโนโลยี IP ที่ทันสมัย พรอมสนับสนุนการทำงานบนเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) กลุมทรูมีเปาหมายหลักที่จะใหบริการลูกคาที่เปนองคกรธุรกิจขนาดใหญ รวมทั้งจะขยายการใหบริการสูกลุมธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม หรือ เอสเอ็มอี อยางจริงจัง โดยเฉพาะอยางยิ่งในตางจังหวัด เนื่องจากยังมีสวนแบงตลาดในพื้นที่ดังกลาวคอนขาง ต่ำ อีกทั้งตลาดตางจังหวัดยังมีโอกาสเติบโตไดอีกมาก โดยวางแผนที่จะใชประโยชนจากผลิตภัณฑและบริการของกลุมที่มีความ หลากหลาย เพื่อขยายสวนแบงตลาดในตางจังหวัดโดยผานยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ และการนำเสนอผลิตภัณฑภายในกลุม ไปดวยกัน

21


กลุมทรูคือหนึ่งในผู ใหบริการโครงขายขอมูลรายใหญของประเทศ ซึ่งมีความไดเปรียบในการแขงขัน เนื่องจากมีโครงขายที่ทัน สมัยที่สุด โดยมีกลยุทธในการเนนสรางความแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น ดวยการนำเสนอบริการตามความตองการเฉพาะของ ลูกคา ผสมผสานผลิตภัณฑและบริการภายในกลุมไปดวยกัน อาทิ บริการดานคอนเทนต VoIP และอินเทอรเน็ต หรือการนำเสนอ บริการรวมกับคูคาทางธุรกิจตาง ๆ อาทิ รวมมือกับบริษัทซิสโก (Cisco) เพื่อใหบริการวางระบบเครือขาย IP คุณภาพสูง ทำให ไม จำเปนตองแขงขันดานราคาเพียงอยางเดียว ในป 2554 กลุมทรูเปดใหบริการ “ทรู อีเธอรเน็ต ไฟเบอร” (True Ethernet Fiber) ซึ่งเปนบริการวงจรสื่อสารความเร็วสูง บนโครง ขาย IP โดยสามารถรับ-สงขอมูลขนาดใหญ ไดหลากหลายประเภท ผานโครงขายเคเบิลใยแกวนำแสงที่มีความเร็ว ความเสถียร และความปลอดภัยของขอมูลสูง อีกทั้งสามารถเลือกความเร็วไดตั้งแต 2 Mbps - 10 Gbps ซึ่งใหบริการดวยมาตรฐานระดับโลก จาก Metro Ethernet Forum (MEF) รายแรกในประเทศไทย ตอมาในป 2555 กลุมทรูไดเปดตัวโซลูชั่นวงจรสื่อสารขอมูลความเร็วสูงรูปแบบใหม (โดยใชเทคโนโลยี MPLS) เพื่อสนองความ ตองการใชงานของลูกคากลุม เอสเอ็มอี โดยเริม่ ทีก่ ลุม รานเกมออนไลนทวั่ ประเทศ ซึง่ โซลูชนั่ นีม้ คี วามเสถียรสูง สามารถใหความเร็ว ในการอัพโหลดและดาวนโหลดทีเ่ ทากัน รวมถึงมีระบบสำรองแบบอัตโนมัติ ซึง่ ลวนเปนปจจัยสำคัญในการแขงขันการใหบริการของ ธุรกิจเกมออนไลน กลุมธุรกิจโครงขายขอมูลธุรกิจ ยังคงใหความสำคัญกับกลุมลูกคาในตลาดเคเบิลใยแกวนำแสง ซึง่ ยังมีโอกาสในการเติบโตไดอกี มาก โดยไดวางระบบเคเบิลใยแกวนำแสง โดยใชเทคโนโลยี Gigabit-capable Passive Optical Network (GPON) ซึ่งไดเขาถึงลูกคา องคกรที่มีสำนักงานตั้งอยูในอาคารและบนถนนสายสำคัญ ๆ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงนิคมอุตสาหกรรมในตาง จังหวัด และพืน้ ทีท่ อ งเทีย่ วหลัก ๆ นอกจากนี้ ในป 2556 ทรู อินเทอรเน็ต ไดทำการอัพเกรดอินเทอรเน็ตแบ็คโบนเปน 100 กิกะบิตตอวินาที เปนรายแรกในเอเชีย ดวย Cisco Nexus 7000 มาตรฐานระดับโลกจากซิสโก เพื่อเพิ่มศักยภาพเครือขายอินเทอรเน็ตที่มีอยูในปจจุบันใหสามารถรองรับ การใชงานของลูกคาที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นหลายเทาตัวในอนาคต ใหสามารถใชงานไดเต็มประสิทธิภาพและมีความเสถียรมากยิ่งขึ้น ทัง้ นี้ กลุม ทรูไดใหบริการโครงขายขอมูลแกลกู คารวม 27,241 วงจร โดยมีรายไดเฉลี่ยตอวงจรที่ 8,775 บาทตอเดือน ในป 2556 บริการอินเทอรเน็ตอื่น ๆ และ บริการเสริม กลุมทรูดำเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ต (รวมทั้งคอนเทนตและแอพพลิเคชั่น) โดยผานบริษัทยอย คือ (1) ทรู อินเทอรเน็ต ซึ่งกลุมทรูถือหุนในสัดสวนรอยละ 100.0 เปนบริษทั หลักสำหรับการใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือ บริการบรอดแบนด และบริการเสริม ซึ่งในเดือนสิงหาคม 2552 ทรู อินเทอรเน็ต ไดรับการตออายุใบอนุญาต ในการใหบริการ อินเทอรเน็ตแบบที่ 1 จากคณะกรรมการ กทช. ไปอีกเปนเวลา 5 ป และจะหมดอายุในวันที่ 17 เดือนสิงหาคม 2557 ใบอนุญาต ดังกลาวนีส้ ามารถตออายุไดทุก 5 ป (2) KSC ซึ่งกลุมทรูถือหุนในสัดสวนรอยละ 56.8 ดำเนินธุรกิจการใหบริการอินเเทอรเน็ตสำหรับลูกคาองคกร ซึ่งในเดือนมิถุนายน 2552 KSC ไดรับการตออายุใบอนุญาต ในการใหบริการอินเทอรเน็ตแบบที่ 1 จากคณะกรรมการ กทช. ไปอีกเปนเวลา 5 ป และจะหมดอายุในวันที่ 22 เดือนมิถนุ ายน 2557 ใบอนุญาตดังกลาวนีส้ ามารถตออายุไดทุก 5 ป (3) เอเซีย อินโฟเน็ท ซึ่งกลุมทรูถือหุนในสัดสวนรอยละ 65.0 ไดรับอนุญาตจาก CAT Telecom (กอนหนาคือการสื่อสารแหง ประเทศไทย) ใหดำเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย (ISP) แกผูใชบริการทั่วประเทศ จนกระทั่งถึงป 2549 ดวย อุปกรณที่ ไดทำสัญญาเชาระยะยาวจาก CAT Telecom หรือหนวยงานที่ ไดรับอนุญาตจาก CAT Telecom ทั้งนี้ ในเดือน กุมภาพันธ 2553 เอเซีย อินโฟเน็ท ไดรบั การตออายุใบอนุญาตในการใหบริการอินเทอรเน็ตแบบที่ 1 จากคณะกรรมการ กทช. ไปอีก โดยจะหมดอายุในวันที่ 4 กุมภาพันธ 2558 ใบอนุญาตดังกลาวนีส้ ามารถตออายุทกุ 5 ป

22

m n È


ในภาพรวมของธุรกิจอินเทอรเน็ต กลุม ทรูเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตอันดับหนึง่ ของประเทศ โดยใหบริการทั้งในกลุมลูกคาทั่วไป และ ลูกคาธุรกิจ เนื่องจากสามารถใหบริการพรอมบริการเสริมตาง ๆ อยางครบวงจร อาทิ บริการเก็บรักษาขอมูลและบริการปองกัน ความปลอดภัยขอมูล สำหรับลูกคาธุรกิจขนาดใหญ นอกจากนี้ หลังจาก TIG ซึ่งเปนบริษัทยอยในกลุมทรูไดรับใบอนุญาตจากคณะ กรรมการ กทช. ในป 2549 ใหเปดบริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ (International Internet Gateway) บริการอินเทอรเน็ต และบรอดแบนดของกลุมทรูไดขยายตัวอยางรวดเร็ว สามารถใหบริการที่มีคุณภาพสูงขึ้นแกลูกคา รวมทั้งชวยประหยัดตนทุนใน การใหบริการ iii) บริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ TIG ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ (International Internet Gateway) และบริการชุมสายอินเทอรเน็ต (Domestic Internet Exchange Service) ประเภทที่ 2 แบบมีโครงขาย เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2554 และใบอนุญาตโทรคมนาคม ประเภทที่ 3 สำหรับการใหบริการขายตอวงจรเชาสวนบุคคลระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2552 ด ว ยใบอนุ ญ าตดั ง กล า ว ทำให TIG สามารถให บ ริ ก ารโครงข า ยอิ น เทอร เ น็ ต และข อ มู ล ระหว า งประเทศได ในส ว นของ บริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ TIG มีชุมสายในกรุงเทพฯ สิงคโปร ฮองกง สหราชอาณาจักร เนเธอรแลนด และ สหรัฐอเมริกา ทำใหการเชื่อมตอไปยังประเทศเหลานี้ มีประสิทธิภาพดีขึ้น และทำใหสามารถใหบริการลูกคาไดอยางมีคุณภาพ ตั้งแตเปดใหบริการ TIG มีการขยายแบนดวิธอยางตอเนื่อง เพื่อรองรับความตองการใชงานอินเทอรเน็ต และบริการดานขอมูล ตางประเทศ ที่เติบโตขึ้นทุกป โดย ณ สิ้นป 2556 TIG มีปริมาณแบนดวิธของแบ็คโบนอยูประมาณ 70 GB ซึ่งบริษัทมีแผนที่จะ ขยายเพิ่มเปน 180 GB ภายในสิ้นป 2557 ทั้งนี้ปริมาณแบนดวิธที่ TIG ใหบริการ สวนใหญเปนการใหบริการแกบริษัทในกลุมทรู โดยสวนที่เหลือสำหรับกลุมลูกคาภายนอก ซึ่งครอบคลุมผูใหบริการอินเทอรเน็ตในประเทศ บริษัทขามชาติ และผูใหบริการดาน โทรคมนาคมในตางประเทศ ในส ว นของบริ ก ารโครงข า ยข อ มู ล ระหว า งประเทศ มี 3 รู ป แบบบริ ก าร คื อ บริ ก ารวงจรเช า ส ว นบุ ค คลระหว า งประเทศ (International Private Leased Circuit - IPLC) บริการวงจรเชาเสมือนสวนบุคคลระหวางประเทศ (Internet Protocol Virtual Private Network - IP VPN) และ บริการ Virtual Node ปจจุบัน มุงเนนกลุมลูกคาซึ่งเปนผูใหบริการโทรคมนาคมระหวางประเทศ (International Carrier) ซึ่งมีที่ตั้งสาขาอยู ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค ซึ่งมีความตองการแบนดวิธปริมาณมากและคุณภาพการให บริการสูง นอกจากนี้ TIG คำนึงถึงความตองการแบนดวิธของลูกคากลุมองคกรที่หลากหลาย ทั้งขนาดแบนดวิธ และประเทศ ปลายทาง TIG จึงมีพันธมิตรผูใหบริการโทรคมนาคมระดับโลก เพื่อเปนการขยายพื้นที่การใหบริการตางประเทศเพิ่มมากขึ้น จาก ประเทศสิงคโปร และฮองกง ที่ TIG มีชุมสายตั้งอยูเองอีกดวย TIG ไดลงนามสัญญาใหบริการ Virtual Node ใหแกผใู หบริการโทรคมนาคมระหวางประเทศชัน้ นำ ในสหรัฐอเมริกา เยอรมัน ไตหวัน ญีป่ นุ อินเดีย สิงคโปร สหราชอาณาจักร และจีน นอกจากนี้ ยังขยายบริการอินเทอรเน็ตและดาตาเกตเวยไปยังประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม และพมา ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของเปาหมายใหมในการพัฒนาธุรกิจสูป ระเทศเพือ่ นบาน โดยพัฒนาการตาง ๆ เหลานีช้ ว ยเสริมสรางรายได และ สนับสนุนการเติบโตอยางตอเนือ่ งใหกบั กลุม ทรูอกี ดวย

23


กลุมทรูโมบาย กลุม ทรูโมบาย ใหบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีร่ ะบบ 2G ภายใตแบรนด ทรูมฟู และระบบ 3G และ 4G LTE ภายใต แบรนด ทรูมฟู เอช โดยกลุม ทรูถือหุนรอยละ 100.0 ในเรียลฟวเจอร ซึง่ เปน holding company และบริษทั ที่ ไดรบั ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่ 3 และถือหุน ทางออมในทรูมฟู (ชือ่ เดิม ทีเอ ออเรนจ) และ เรียลมูฟ (ผูข ายตอบริการ 3G+ ของ CAT Telecom ภายใตแบรนด ทรูมฟู เอช ซึง่ เปนแบรนดสำคัญในการทำตลาด 3G+ ของกลุม ทรู) ผาน BITCO ซึง่ เปนบริษทั ยอยของกลุม ทรู โดยกลุม ทรูมสี ดั สวนการ ถือหุน ใน BITCO เปนรอยละ 99.5 ณ สิน้ ป 2556 ทรูมูฟใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตสัญญาใหดำเนินการฯ ระหวาง CAT Telecom กับทรูมูฟ ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539 ใน การใหบริการและจัดหาบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีร่ ะบบดิจติ อล 1800 จนถึงเดือนกันยายน 2556 ภายใตสญ ั ญาดังกลาว ทรูมฟู จะตองจาย สวนแบงรายไดแก CAT Telecom ในอัตรารอยละ 25 จากรายได (หลังหักคาเชือ่ มตอโครงขายแบบเดิมและคาใชจายอื่นที่อนุญาต ใหหัก เชน คอนเทนต) ทั้งนี้จนถึงเดือนกันยายน 2554 และจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30 จนสิ้นสุดระยะเวลาของสัญญา ปจจุบัน สัญญาดังกลาวไดสิ้นสุดลงแลว และทรูมูฟ ใหบริการภายใตมาตรการคุมครองผู ใชบริการเปนการชั่วคราวในกรณีสิ้นสุดการ อนุญาตสัมปทาน หรือสัญญาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนมกราคม 2554 กลุมทรูไดเขาซื้อหุน 4 บริษัทของกลุมฮัทชิสัน ในประเทศไทยเปนที่เรียบรอย การเขาซื้อหุนดังกลาวเอื้อ ประโยชนในการขยายฐานธุรกิจโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องกลุม ทรู เนือ่ งจากบริษทั ฮัทชิสนั ในประเทศไทย มีลกู คาโทรศัพทเคลือ่ นที่โดยรวม ประมาณ 800,000 ราย ถัดมาในเดือนเมษายน 2554 กลุม ทรู โดยเรียลมูฟ ไดลงนามในสัญญาเพือ่ ขายตอบริการของ CAT Telecom โดยสัญญาดังกลาวมีระยะเวลาไปจนถึงป 2568 เปนผลใหกลุมทรู เปดตัวแบรนด ทรูมูฟ เอช เพื่อขายตอบริการ 3G+ ของ CAT Telecom เชิงพาณิชย ไดทวั่ ประเทศ ผานเทคโนโลยี HSPA บนคลืน่ ความถี่ 850 MHz ทัง้ นี้ ทรูมฟู เอช เปดตัวอยางเปนทางการ ใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และอีก 16 จังหวัดทัว่ ไทย เมือ่ วันที่ 30 สิงหาคม 2554 โดยใหบริการดวยความเร็วสูงสุด 42 Mbps ภายใตแนวคิด มอบชีวติ อิสระ หรือ FREEYOU รวมทัง้ ใหบริการ WiFi ความเร็ว 8 Mbps ทำใหกลุม ทรูมคี วามไดเปรียบในเชิงการแขง ขันจากการเปนผูใหบริการ 3G เชิงพาณิชยทวั่ ประเทศรายแรกของประเทศไทย ในป 2554 กลุม ทรูไดทำการจัดโครงสรางธุรกิจใหมของธุรกิจโทรศัพทเคลือ่ นที่ โดยรวมธุรกิจโทรศัพทเคลือ่ นทีท่ งั้ หมดของกลุม ทรู เขาดวยกัน ภายใตกลุม ทรูโมบาย ซึง่ ดำเนินกิจการโดยเรียลฟวเจอร ในฐานะบริษทั ยอยของกลุม ทรู เพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพในการ ดำเนินธุรกิจและโอกาสในการจัดหาเงินทุนเพือ่ สนับสนุนธุรกิจในอนาคต เรียลฟวเจอร ไดเขารวมการประมูลใบอนุญาตใชคลืน่ ความถี่ IMT ยาน 2.1 GHz และไดรบั ใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีด่ งั กลาวในเดือน ธันวาคม ป 2555 ทำใหกลุมทรูโมบายสามารถใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดอยางนอยถึงป 2570 โดยในเดือนพฤษภาคม ป 2556 ทรูมูฟ เอช เปดใหบริการ 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz เปนรายแรกในประเทศไทย ครอบคลุมยานเศรษฐกิจสำคัญ ๆ ใน กรุงเทพฯ เชน สยามสแควร สีลม และสาทร เพิม่ เติมจากการขยายโครงขาย 3G อยางตอเนือ่ ง โดยการผสมผสานทีล่ งตัวและการใช ประโยชนอยางสูงสุดของทัง้ คลืน่ 2.1 GHz และคลืน่ 850 MHz ของ CAT Telecom เพิม่ ความแข็งแกรงใหกบั กลุม ทรูโมบาย อีกทัง้ ยังชวยตอกย้ำความเปนผูน ำในการใหบริการ 3G และ 4G LTE ทีด่ ที สี่ ดุ และมีความพรอมทีส่ ดุ ของทรูมฟู เอช ผูใชบริการ ฐานลูกคาของทรูมูฟเอช ยังคงเติบโตอยางแข็งแกรง โดยเฉพาะหลังการเปดใหบริการทรูมูฟ เอช อยางเปนทางการ ในไตรมาส 3 ป 2554 โดยเพิ่มขึ้นเปน 12.2 ลานราย ณ สิ้นป 2556 สงผลให กลุมทรูโมบายมีจำนวนผูใชบริการทั้งสิ้นประมาณ 22.9 ลาน ราย โดยมีผูใชบริการแบบเติมเงิน 19.7 ลานราย และผูใชบริการแบบรายเดือน 3.2 ลานราย ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 25.0 ของ จำนวนผูใชบริการในตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยรวมของประเทศ (ไมรวม CAT Telecom ทีโอที และผูใหบริการ MVNO ของทีโอที) อีกทั้ง ความสำเร็จในการขยายการใหบริการ 3G อยางตอเนื่อง ทำใหกลุมทรูโมบาย สามารถเพิ่มสัดสวนของลูกคาที่มีการใชงาน สูงไดอยางตอเนื่อง สงผลใหรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายเพิ่มสูงขึ้นจาก 113 บาท ในป 2554 เปน 123 บาท ตอเดือน ในป 2555 และเพิ่มขึ้นเปน 124 บาท ตอเดือน ในป 2556

24

m n È


บริการ บริการแบบเติมเงิน (Pre Pay) รายไดของกลุมทรูโมบายสวนหนึ่งมาจากคาใชบริการแบบเติมเงิน ซึ่งผูใชบริการไมตองเสียคาบริการรายเดือน โดยผูใชบริการซือ้ ซิมการดพรอมคาโทรเริม่ ตน และเมือ่ คาโทรเริม่ ตนหมดก็สามารถเติมเงินไดในหลากหลายวิธีดวยกัน เชน บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน เครือ่ งเอทีเอ็ม การโอนเงินจากผูใชบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องกลุมทรูโมบายรายอื่น และการเติมเงินอัตโนมัติแบบ “over-the-air” นอกจากนี้ ผูใชบริการแบบเติมเงินของทรูมูฟและทรูมูฟเอชสามารถเติมเงินผานตู โทรศัพทสาธารณะประมาณ 30,000 เครื่อง ใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสามารถเติมเงินขั้นต่ำเพียง 10 บาท ยิ่งไปกวานั้น ผูใ ชบริการของกลุม ทรูโมบายยังสามารถ ชำระคาใชบริการดวยบริการการเงินบนโทรศัพทเคลือ่ นที่โดยทรูมนั นี่ เพื่อตอบสนองไลฟสไตลคนรุนใหม บริการแบบรายเดือน (Post Pay) บริการ Post Pay ของกลุมทรูโมบาย คือบริการแบบรายเดือน ซึ่งผูใชบริการสามารถเลือกอัตราคาบริการรายเดือนสำหรับบริการ เสียงเพียงอยางเดียว หรือบริการดานขอมูลเพียงอยางเดียว หรือบริการดานเสียงและบริการดานขอมูลไดตามความตองการ นอกจากนี้ ยังมีแพ็กเกจ Top-up ซึง่ ผูใชบริการสามารถสมัครบริการดานเสียงหรือบริการที่ ไมใชเสียง (ในอัตราคาบริการทีค่ มุ คากวา) เพิม่ เติมจาก แพ็กเกจรายเดือนที่ใชอยู ทั้งนี้ ผูใชบริการแบบรายเดือนของกลุมทรูโมบายจะไดรับใบแจงคาบริการเปนรายเดือน ซึง่ จะประกอบ ดวย คาบริการรายเดือนและคาใชบริการสำหรับบริการเสียง และบริการไมใชเสียงตาง ๆ บริการเสียง (Voice Services) ผูใชบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องกลุม ทรูโมบาย นอกจากจะสามารถโทรศัพทภายในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน โทรไปยังตางจังหวัดและโทรทางไกล ตางประเทศแลว ยังสามารถใชบริการเสริมตาง ๆ ซึ่งขึ้นอยูกับแพ็กเกจที่เลือกใช บริการเสริมเหลานี้ประกอบดวย บริการรับสาย เรียกซอน บริการโอนสายเรียกเขา บริการสนทนาสามสาย และบริการแสดงหมายเลขโทรเขา นอกจากนี้ยังมีบริการโทรศัพทขาม แดนระหวางประเทศ เพื่อใหผูใชบริการสามารถโทรออกและรับสายเมื่อเดินทางไปตางประเทศอีกดวย บริการที่ ไม ใชเสียง (Non-voice) กลุมทรูโมบายใหบริการที่ ไมใชเสียง ที่หลากหลายเพื่อเติมเต็มและสอดคลองกับไลฟสไตลของลูกคา โดยลูกคาสามารถใชบริการ คอนเทนตผานชองทางตาง ๆ ไดหลายทาง ทั้งบนโทรศัพทเคลื่อนที่ และทีพ่ อรทลั www.truelife.com บริการที่ ไมใชเสียงประกอบ ดวย คอนเทนตตา ง ๆ ที่ ไดรบั ความนิยมจากผูใชบริการ อาทิ การสือ่ สารดวยภาพหรือรูปถาย บริการขอมูลทางการเงิน เกม การตนู สกรีนเซฟเวอร และริงโทน รวมถึง คอนเทนตประเภทเพลงและกีฬา ลูกคาที่ใชบริการที่ ไมใชเสียง มีปริมาณที่เพิ่มขึ้นอยางตอ เนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่ง การดาวนโหลดและอัพโหลดภาพถาย และวิดีโอ รวมถึงการใชบริการโซเชียลเน็ตเวิรกโดยผานบริการ โมบาย อินเทอรเน็ต บริการที่ ไม ใชเสียงแบงออกเปน 3 ประเภทดังนี้: • บริการสงขอความ ซึ่งประกอบดวย Short Messaging Service (SMS): บริการสงขอความไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ รายอื่น Voice SMS: บริการสงขอความเสียงไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทพื้นฐานรายแรกของประเทศไทย และ Multimedia Messaging Service (MMS): บริการสงภาพ ขอความ และเสียง ไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่น • บริการเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ หรือ โมบาย อินเทอรเน็ต ผานเทคโนโลยี 4G LTE 3G+/HSPA และ EDGE/GPRS รวมทั้งเทคโนโลยี WiFi ซึ่งผูใชบริการสามารถใชงานผานโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่อใชบริการอีเมล อินเทอรเน็ต VoIP ตลอดจนบริการวิดีโอและเสียง รวมทั้งบริการเสริมอื่น ๆ ซึ่งประกอบดวย Mobile Chat บริการรับ-สงขอความในรูป ของ WAP based ทำให ผู ใ ช บ ริ ก ารสามารถเชื่ อ มต อ อิ น เทอร เ น็ ต บนมื อ ถื อ หรื อ สนทนาสดออนไลน บริ ก ารสำหรั บ BlackBerry และ iPhone

25


• บริการดานคอนเทนต ซึ่งประกอบดวย Ring-back Tone บริการเสียงรอสาย ซึ่งผูใชบริการสามารถเลือกเสียงหรือเพลงได ดวยตัวเอง Voicemail และ Multimedia Content Services บริการคอนเทนตมัลติมีเดีย ซึง่ ประกอบดวย เพลง กีฬา ขาว และ ขาวการเงิน กลุม ทรูโมบายสามารถใชประโยชนจากคอนเทนตซึ่งเปนลิขสิทธิ์เฉพาะของ ทรูมิวสิค ทรูไลฟ ทรูออนไลน และ ทรูวิชั่นส เพื่อสรางความเติบโตใหกับรายได ความนิยมในการใชบริการเครือขายสังคมออนไลน และการใชงานสมารทดีไวซที่เพิ่มสูงขึ้น รวมถึงการออกโปรโมชั่นที่นาดึงดูดใจ ของกลุมทรูโมบาย สงผลใหรายไดจากบริการโมบาย อินเทอรเน็ต เติบโตสูงถึงรอยละ 68.6 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนาเปน 11.0 พันลานบาท ในป 2556 ซึ่งการเติบโตอยางแข็งแกรงของการใชงานโมบาย อินเทอรเน็ตนี้ทำใหรายไดจากบริการที่ ไมใช เสียงในป 2556 เพิ่มขึ้นสูงถึงรอยละ 49.0 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา โดยรายไดจากบริการที่ ไมใชเสียงมีสัดสวนรอยละ 38.2 ของรายไดจากบริการโดยรวม (ไมรวมรายไดคาเชื่อมตอโครงขาย และคาเชาโครงขาย) ของกลุมทรูโมบาย ทั้งนี้ รายไดจาก บริการโมบาย อินเทอรเน็ต มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 81.5 บริการรับ-สงขอความ (SMS/MMS) มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 5.7 และ บริการดานคอนเทนต มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 12.8 ของรายไดจากบริการที่ ไมใชเสียงโดยรวม การจำหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ กลุมทรูโมบายจัดจำหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่คุณภาพสูง รวมทั้งอุปกรณตางๆ โดยผลิตภัณฑที่จัดจำหนายคือสมารทโฟน คุณภาพสูง ซึ่งประกอบดวย iPhone รุนตาง ๆ Samsung และอื่นๆ อีกทั้ง ยังจำหนายมือถือ 3G และสมารทโฟน (ทั้งรุนที่ สามารถใชบริการ 3G และ 4G LTE) ในราคายอมเยาเพื่อใหคนไทยเขาถึงบริการ 3G และ 4G LTE ไดงายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยัง จำหนายอุปกรณอื่น ๆ อาทิ แท็บเล็ตและแอรการด ทั้งนี้ เครื่องโทรศัพทที่จัดจำหนาย เปนทั้งการจำหนายเครื่องเปลาโดยไม ผูกพันกับบริการใด ๆ กับการจำหนายเครื่องโดยลูกคาใชแพ็กเกจรายเดือนจากทรูมูฟ เอช บริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ (International Roaming Services) เปนบริการเสริมทีช่ ว ยใหลกู คาของกลุม ทรูโมบายสามารถนำเครือ่ งโทรศัพท และหมายเลขโทรศัพททใี่ ชงานอยู ไปใชงานในตางประเทศ (Outbound) ได ผานเครือขายทีก่ ลุม ทรูโมบายมีสญ ั ญาบริการโทรศัพทขา มแดนระหวางประเทศดวย โดย ลูกคาสามารถใชบริการตาง ๆ ขณะอยูต า งประเทศ อาทิ บริการรับฝากขอความเสียง (Voicemail) บริการสงขอความ (SMS) บริการสงภาพ ขอความและเสียง (MMS) บริการโมบาย อินเทอรเน็ต (ผาน EDGE/ GPRS/ 3G/ 4G LTE) อีเมล บริการแสดงเบอรโทรเขา บริการเตือนเมือ่ ไม ไดรบั สาย บริการ Short Code บริการแบล็กเบอรรขี่ า มแดน และบริการ WiFi ทัง้ นี้ บริการโทรศัพทขา มแดนระหวางประเทศ ทำใหผูใชบริการของกลุม ทรูโมบายสามารถติดตอสือ่ สารไดทง้ั กับภาคธุรกิจและบุคคลทัว่ ไปใน 230 ปลายทางทัว่ โลก นอกจากนี้ ผูใชโทรศัพทเคลือ่ นทีจ่ ากตางประเทศทีม่ สี ญ ั ญาบริการโทรศัพทขา มแดนระหวางประเทศกับกลุม ทรูโมบาย สามารถใชบริการ โทรศัพทขา มแดนระหวางประเทศผานโครงขายของกลุม ทรูโมบาย (Inbound) เมือ่ เดินทางมาเมืองไทยไดเชนกัน ทรูมูฟไดประกาศเขารวมเปนสมาชิกเครือขายพันธมิตรคอนเน็กซัส โมบายล (Conexus Mobile Alliance) ในป 2551และกลุม โวดาโฟน ในป 2554 โดยปจจุบันกลุมคอนเน็กซัส โมบายล และโวดาโฟนมีฐานผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (ทั้งบริการเสียงและ บริการที่ ไมใชเสียง) ประมาณ 690 ลานราย ทำใหผูใชบริการเหลานี้สามารถใชบริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศเมื่อเดิน ทางเขามายังประเทศไทยบนเครือขายของกลุมทรูโมบาย ในขณะเดียวกันยังเปนการเพิ่มทางเลือกและความสะดวกสบายใหลูกคา กลุมทรูโมบายในการใชบริการเสียงและขอมูลเมื่อเดินทางไปทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ยุโรป อเมริกาเหนือ และโอเชยเนีย นอกจากนี้ กลุมทรูโมบาย และกลุมสมาชิกเครือขายพันธมิตร ยังไดเปดบริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศในสวนของการ สงและรับขอมูลผานสมารทโฟน พรอมกันทุกประเทศในกลุมสมาชิก เพื่อตอบรับความตองการใชงานดานขอมูลที่เพิ่มสูงขึ้น อันจะชวยใหลูกคาของกลุมทรูโมบายสามารถเชื่อมตอกับอีเมลขององคกรและทองอินเทอรเน็ตไรสายไดอยางสะดวกสบายเพิ่มขึ้น อีกทั้งยังชวยประหยัดคาใชจายใหลูกคานักธุรกิจที่เดินทางเปนประจำและใชบริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศในเครือขาย ของบริษัทที่เปนพันธมิตรของคอนเน็กซัสและโวดาโฟนไดเปนอยางดี ตัง้ แตป 2552 กลุม ทรูไดเปดตัวโปรโมชัน่ ใหม “Data Roaming Flat Rate” ใหผูใชบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องกลุม ทรูโมบาย สามารถรับ สงขอมูลผานบริการโทรศัพทขา มแดนระหวางประเทศบนเครือขายของผูใหบริการทีเ่ ปนสมาชิกเครือขายพันธมิตร ดวยอัตราคาบริการ แบบเหมาจายรายวันอัตราเดียวสูงสุดเพียงวันละ 399 บาท และคิดคาบริการตามการใชงานจริงหากใชงานไมถึงวันละ 399 บาท เนือ่ งจากโปรโมชัน่ นี้ ไดรบั ความนิยมเปนอยางมาก จึงไดมกี ารจัดโปรโมชัน่ ดังกลาวอยางตอเนือ่ ง ปจจุบันกลุม ทรูโมบายไดปรับปรุง 26

m n È


โปรโมชัน่ นี้ ดวยการคิดอัตราคาบริการแบบเหมาจายรายวันอัตราเดียวสูงสุดวันละ 499 บาทโดยผูใชบริการสามารถโทรออกและรับสาย ดวยอัตรา 25 บาทตอนาที และสงขอความดวยอัตรา 11 บาทตอขอความ สำหรับการใชงานในทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ และ โอเชียเนีย หรือจายเพียงวันละ 333 บาท สำหรับการใชบริการดาตา โทรออกและรับสายดวยอัตรา 33 บาทตอนาที และสงขอความ ดวยอัตรา 11 บาทตอขอความ และสำหรับการใชงานในทวีปเอเชีย โดยลูกคาของกลุม ทรูโมบายสามารถใชบริการ Data Roaming Flat Rate ไดทงั้ สิน้ 99 เครือขาย ใน 51 ประเทศทัว่ โลก บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ กลุมทรูเริ่มตนเปดใหบริการและทำธุรกิจใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ รวมทั้งรายงานผลการดำเนินงานของบริการ ดังกลาวภายใตธรุ กิจทรูออนไลน ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2553 ไดมีมติอนุมัติให โอนยาย TIC มาอยูภายใตทรูมูฟ ทั้งนี้ TIC ไดรบั ใบอนุญาตใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ (ประเภทที่ 3) จากคณะกรรมการ กทช. โดยเปดใหบริการผานหมายเลข “006” ปจจุบัน บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศของ TIC สามารถใหบริการเฉพาะผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานของกลุมทรู และผู ใชบริการของกลุมทรูโมบายเทานั้น เพื่อเปนการขยายตลาดโทรศัพทระหวางประเทศใหครอบคลุมผู ใชบริการใหมากขึ้น ขณะนี้ TIC กำลังอยูระหวางการเจรจาเชื่อมตอโครงขายกับผูใหบริการโทรศัพทมือถือและผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายอื่น ๆ นอกจากนี้ กลุมทรูยังไดนำเสนอโปรโมชัน่ ซิมอินเตอร เพือ่ ใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ โดยซิมอินเตอรจะมีความ พิเศษทีส่ ามารถใหลกู คาเลือกทีจ่ ะโทรศัพทระหวางประเทศดวยการโทรผานรหัส “006” ที่เปนบริการแบบ Premium ดวยเทคโนโลยี Time Division Multiplexing (TDM) ที่ใหคณ ุ ภาพเสียง คมชัด ตอติดไว และสายไมหลุดขณะสนทนา หรือเลือกกดผานรหัส “00600” ดวยเทคโนโลยี VoIP ในราคาทีป่ ระหยัดยิง่ ขึน้ ได ซึ่งปจจุบัน ซิมอินเตอร สามารถใชบริการไดใน 230 ปลายทางทั่วโลกดวยบริการ โทรศัพทระหวางประเทศของกลุมทรูโมบาย ตั้งแตเริ่มเปดใหบริการ บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศก็มีการเติบโตอยางตอเนื่อง และยังชวยขยายฐานลูกคาใหกับ กลุมทรูโมบายอีกดวย TIC ยังคงมุงสงเสริมการขายบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ โดยเนนทำการตลาดยานชุมชน สำคัญ เชน J-Avenue และสถานีรถไฟฟาใตดินสุขุมวิท เปนตน อีกทั้งยังมุงพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่องเพื่อตอบสนอง ไลฟสไตลของลูกคาไดดียิ่งขึ้น จากความนิยมในการใชสมารทโฟนที่เพิ่มขึ้น ทำให TIC ไดนำเสนอแอพพลิเคชั่นใหม “NetTalk by True” ในเดือนสิงหาคม ป 2555 เพื่อเพิ่มความสะดวกและความคุมคาใหกับผูใชบริการที่ใชงานบนสมารทโฟนทั้ง iOS (iPhone และ iPad) และ Android โครงขาย กลุมทรูโมบายเปนผูใหบริการที่เขามาดำเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่รายลาสุด ในจำนวนผูใหบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีร่ ายใหญ 3 ราย จึงทำให ไดรบั ประโยชนจากพัฒนาการเทคโนโลยีใหมลา สุด ปจจุบนั กลุม ทรูโมบาย มีโครงขาย 2G ทีใ่ หบริการครอบคลุมเทียบเทากับ ผู ใหบริการรายอื่น อยางไรก็ตาม บริการ 3G+ ของกลุม ทรูโมบาย มีโครงขายบริการครอบคลุมมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย โดยมีความ ครอบคลุมแลวกวารอยละ 95 ของประชากรทัว่ ประเทศ กลุมทรูโมบาย ใหความสำคัญกับการพัฒนาและนำเสนอนวัตกรรมสำหรับบริการที่ ไม ใชเสียงมาโดยตลอด ตัวอยางเชน เปน ผูประกอบการรายแรกในประเทศไทยที่เปดใหบริการ Voice SMS บริการริงโทนแนวใหมที่ผูใชสามารถผสมผสานใหเปนทำนอง ของตนเอง (ผานบริการ IRemix) และบริการเติมเงิน ‘over-the-air’ อีกทั้งยังเปนรายแรกที่เปดใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ในเชิงพาณิชย ไดทั่วประเทศ และบริการ 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz รวมทั้งบริการ มัลติมีเดียคอนเทนตตาง ๆ ตลอดจนขยายการใหบริการอินเทอรเน็ตไรสาย ดวยเทคโนโลยี WiFi นอกจากนี้ ยังไดนำเสนอ ทัชซิม ผานเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) เปนครั้งแรกในโลก ทัชซิมเปนซิมโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีแผนรับสัญญาณ RFID พวงติดกับทัชซิม แผนรับสัญญาณนี้จะทำหนาที่รับสงสัญญาณ เพื่ออานขอมูลจากกระเปาเงินอิเล็กทรอนิกส (E-purse & E-wallet) ในซิม จึงสามารถทำการชำระคาสินคาและบริการตาง ๆ ไดอยางสะดวก และงายดาย เพียงสัมผัสโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใช ทัชซิมกับเครื่องอานสัญญาณ นอกจากนี้กลุมทรูไดนำเสนอ iSim ซึ่งเปนนวัตกรรมในการนำเสนอแพ็กเกจบริการดานขอมูล สำหรับอุปกรณแท็บเล็ตและแอรการ ด เพื่อดึงดูดลูกคาที่เนนใชบริการดานขอมูล รวมถึงการนำเสนอแอพพลิเคชั่นใหม ๆ อยางเชน H TV ซึ่งลูกคาทรูมูฟ เอช สามารถเพิ่มประสบการณการดูทีวีบนมือถือรูปแบบใหม โดยเพิ่มอิสระการรับชมรายการ โปรดไดทุกที่ทุกเวลา โดยเฉพาะคอนเทนตระดับโลกจากทรูวิชั่นสและชองอื่น ๆ กวา 90 ชอง และ H MUSIC ซึ่งถือไดวาเปน คลังดิจิตอลคอนเทนตทางดนตรีครบทุกรูปแบบ เพื่อใหผู ใชบริการไดรับความบันเทิงจากเพลงยอดนิยมจากศิลปนระดับโลก มากมาย 27


หลังประสบความสำเร็จจากการเปดตัว iPhone 3G ในประเทศไทย การเปดตัว iPhone และสมารทดีไวซรุ น อื่ น ๆ ก็ ป ระสบความ สำเร็จอยางดียิ่ง โดยเฉพาะผลตอบรับอยางสูงตอการเปดตัว iPhone 5s ในเดือนตุลาคม ป 2556 ทั้งนี้ กลุมทรูโมบายยังรุกเจาะ ตลาดผูเริ่มใช 3G และสมารทโฟน เพื่อขยายสวนแบงการตลาด โดยไดมีการเปดตัวมือถือรุนตาง ๆ ภายใตแบรนด GO Live โดย มีทั้งมือถือ 3G และสมารทโฟนในราคายอมเยา ซึ่งไดรับผลตอบรับอยางลนหลาม พรอมทั้งมีแคมเปญรวมกับ ผูผลิตและ จำหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ยอดนิยม เชน Samsung และ HTC อีกดวย นอกเหนือจากนี้ ในป 2556 ทรูมูฟ เอช ยังไดเปดตัว สมาร ท โฟนและแท็ บ เล็ ต คุ ณ ภาพระดั บ โลกภายใต แ บรนด ท รู บี ย อนด เพื่ อ เพิ่ ม ประสบการณ ก ารใช ง าน 3G และ 4G LTE ที่ดีที่สุดของทรูมูฟ เอช ไดอยางสูงสุดดวยราคาที่เขาถึงได โครงขายของทรูมฟู เอช ทีค่ รอบคลุมมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย แคมเปญทีน่ ำเสนอโทรศัพทมอื ถือและอุปกรณตา ง ๆ รวมกับแพ็กเกจที่ นาดึงดูดใจ และการนำเสนอแอพพลิเคชัน่ สและคอนเทนตตา ง ๆ ภายในกลุม ทรู ทำใหทรูมฟู เอช ไดเปรียบในเชิงการแขงขัน และเปน ผูน ำบริการโมบาย อินเทอรเน็ตในประเทศไทย

กลุม ทรูวชิ นั่ ส ทรูวิชั่นส คือ ผูนำในการใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก ซึ่งใหบริการทั่วประเทศผานดาวเทียมในระบบดิจิตอลตรงสูบาน สมาชิก และผานโครงขายผสมระหวางเคเบิลใยแกวนำแสง และสายโคแอ็กเชียล (coaxial) ที่มีประสิทธิภาพสูง ทรูวิชั่นส เกิดจากการควบรวมกิจการเมื่อป 2541 ระหวางยูบีซี (เดิมคือ ไอบีซี) และ ยูบีซีเคเบิล (เดิมคือ ยูทีวี) โดยดำเนินธุรกิจ ภายใตสัญญารวมดำเนินกิจการฯ อายุ 25 ป ที่ ไดรับจากองคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย (อสมท) โดยสัญญารวมดำเนิน กิจการฯ สำหรับบริการผานดาวเทียมจะหมดอายุในวันที่ 30 กันยายน 2557 และสัญญารวมดำเนินกิจการฯ สำหรับบริการโทรทัศนทาง สาย (หรือ เคเบิล) จะหมดอายุในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 นอกจากนี้ ในเดือนมกราคม 2556 บริษัท ทรูวิชั่นส กรุป จำกัด ในกลุม ทรูวิชั่นส ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศนจากคณะกรรมการ กสทช. ทำใหกลุมทรูวิชั่นสสามารถขยาย เวลาใหบริการแกลูกคาไดถึง 20 มกราคม 2571 ทรูวชิ นั่ สใหบริการในระบบดิจติ อลผานดาวเทียม (DStv) โดยการสงสัญญาณในระบบ Ku-band และ C-band โดยใชระบบการบีบอัด สัญญาณ MPEG-2 และ MPEG-4 ซึง่ ทำใหกลุม ทรูสามารถเพิม่ จำนวนชองรายการไดมากขึน้ ปรับปรุงคุณภาพเสียงและภาพใหคมชัด ยิ่งขึ้น สามารถควบคุมการเขาถึงสัญญาณของทรูวิชั่นส และสามารถกระจายสัญญาณใหบริการไปยังทุก ๆ พื้นที่ในประเทศไทย ปจจุบนั การใหบริการดวยระบบนีส้ ามารถถายทอดสัญญาณผานดาวเทียมไทยคม 5 ซึง่ มีขดี ความสามารถสูงกวาเดิมมาก นอกจากนัน้ ทรูวิชั่นสใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกระบบเคเบิล (CATV) โดยใหบริการทั้งระบบดิจิตอลและระบบอานาล็อกในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลผานโครงขายผสมระหวางเคเบิลใยแกวนำแสง และสายโคแอ็กเชียลของทรู มัลติมีเดีย (ซึ่งเปน บริษัทยอยของกลุมทรู) ในตนป 2549 กลุมทรูประสบความสำเร็จในการรวมทรูวิชั่นสเขามาเปนสวนหนึ่งของกลุมทรู ทำใหกลุมทรู ถือหุนในสัดสวน รอยละ 91.8 ของทรูวิชั่นส ตอมาในป 2553 ทรูวิชั่นส ไดปรับโครงสรางกลุมบริษัท เปนกลุมบริษัททรูวิชั่นส ทั้งนี้ เพื่อรองรับ กรอบการกำกับดูแลที่เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางยิง่ เพือ่ การรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก และทำใหการ ดำเนินธุรกิจของทรูวิชั่นสมีความคลองตัวมากขึ้นรองรับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต โดย ณ สิ้น ป 2556 กลุมทรูมีสัดสวนการ ถือหุนในบริษัท ทรู วิชั่นส จำกัด ซึ่งเปน holding company สำหรับธุรกิจเพยทีวีของกลุมทรูอยูรอยละ 100.0 และมีสัดสวนการ ถือหุนทางออมรอยละ 99.3 ในบมจ. ทรู วิชั่นส และรอยละ 99.0 ในบมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล นับตั้งแตมีการประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ. 2551 ในเดือนมีนาคม 2551 ทรูวิชั่นส ไดมีการเจรจากับ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เพื่อใหสามารถหารายไดจากการโฆษณาไดเชนเดียวกับผูใ หบริการโทรทัศน แบบบอกรับสมาชิกรายอืน่ ๆ โดยในวันที่ 8 ตุลาคม 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการ อสมท อนุญาตใหทรูวิชั่นสหารายไดจากการรับทำ โฆษณาผานชองรายการตาง ๆ โดยจายสวนแบงรายไดรอยละ 6.5 ใหแก อสมท ทำให ทรูวิชั่นสเริ่มหารายไดจากการรับทำ โฆษณาผานชองรายการตาง ๆ โดยเริ่มทำการโฆษณาอยางคอยเปนคอยไป ทั้งนี้เพื่อไมใหขัดจังหวะการรับชมรายการของสมาชิก โดยทรูวชิ นั่ สมรี ายไดจากการรับทำโฆษณาเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งเปน 934 ลานบาท ในป 2556 จากผลตอบรับทีด่ ตี อ แพ็กเกจขนาดใหญ

28

m n È


ทีเ่ พิม่ ความคุม คาใหกบั ผูซ อื้ โฆษณามากขึน้ ฐานผูช มทีเ่ พิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะผูช มกลุม ฟรีทแู อร และจำนวนชองรายการทีม่ รี ายไดจาก การโฆษณาทีเ่ พิม่ มากขึน้ ทัง้ นี้ ณ สิน้ ป 2556 ชองรายการ 31 ชอง จากทัง้ หมด 180 ชองรายการของทรูวิชั่นสมีรายไดจากการรับ ทำการโฆษณา นอกจากนี้ บริษัทยอยของกลุมทรูวิชั่นส ประสบความสำเร็จในการประมูลคลื่นความถี่เพื่อใหบริการโทรทัศนใน ระบบดิจิตอลประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ จำนวน 2 ชอง ซึ่งคาดวาจะไดรับใบอนุญาตดังกลาวจากคณะกรรมการ กสทช. ในกลางเดือนมีนาคม 2557 โดยการไดรับใบอนญาตนี้จะชวยสงเสริมการเติบโตของรายไดคาโฆษณา และชวยเพิ่มโอกาสในการ ทำการตลาดคอนเทนตของทรูวิชั่นสผานฐานลูกคาขนาดใหญ ทรูวชิ นั่ ส ไดดำเนินงานดวยกลยุทธทหี่ ลากหลายเพือ่ สงเสริมโอกาสทางธุรกิจในอนาคตและชวยเพิม่ ฐานลูกคาใหกบั ทรูวชิ นั่ ส ไดอยาง ตอเนื่อง ในเดือนพฤษภาคม 2553 ทรูวิชั่นสเปนผู ใหบริการในระบบเคเบิลและดาวเทียมรายแรกที่เปดใหบริการในระบบ High Definition (HDTV) เพื่อเพิ่มประสบการณการรับชมใหกับลูกคาระดับบน อีกทัง้ ในเดือนตุลาคม ป 2554 ทรูวชิ นั่ สมอบสิทธิประโยชน สำหรับลูกคาระดับบนที่แจงความประสงคจะเปลี่ยนกลองรับสัญญาณใหมกอนใคร โดยกลองรับสัญญาณ hybrid ใหมนี้ ไมเพียง รองรับรายการในระบบ HD แตยังประกอบดวยเทคโนโลยีการบีบอัดสัญญาณภาพ MPEG-4 และเทคโนโลยี Secured silicon โดย ทรูวชิ นั่ ส ไดเริม่ เปดใชระบบออกอากาศใหมภายใตเทคโนโลยี MPEG-4 ในกลางเดือนกรกฎาคมป 2555 การดำเนินการดังกลาวสงผล ในเชิงบวกในทันที โดยสามารถขจัดการลักลอบใชสญ ั ญาณไดอยางมีประสิทธิภาพ ทรูวชิ นั่ สยงั คงมุง สรางความแตกตางและเสริมความแข็งแกรงใหกบั สินคาและบริการ โดยเพิม่ รายการคุณภาพระดับโลกทีห่ ลากหลาย มากขึ้น พรอมทั้งทำสัญญากับพันธมิตรชั้นนำระดับโลกเพื่อนำคอนเทนตพิเศษที่ทรูวิชั่นส ไดรับสิทธิเฉพาะมาเผยแพรใหกับลูกคา อีกทัง้ ทรูวชิ นั่ สยงั เพิม่ ชองรายการในระบบ HD ถึงเกือบ 3 เทาเปน 50 ชอง ซึง่ เปนจำนวนทีม่ ากทีส่ ดุ ในไทยเหนือกวาผูป ระกอบการ รายอืน่ ๆ จาก 17 ชองในปกอ นหนา อีกทัง้ ยังไดมกี ารนำเสนอบริการเสริมสำหรับลูกคาพรีเมียมในป 2556 อาทิ บริการดูโทรทัศนแบบ 3 มิตเิ ปนรายแรกในไทย และการดูโทรทัศนผา นทรูวชิ นั่ ส เอนิแวร ทำใหลกู คาสามารถดูรายจากทรูวชิ นั่ ส ไดทกุ ทีท่ กุ เวลา ผานหลาย แพลตฟอรม ทรูวิชั่นสยังคงสงเสริมกลยุทธสำหรับตลาดกลางและลางใหแข็งแกรงยิ่งขึ้นโดยเพิ่มความคุมคาใหกับลูกคาดวยการปรับโฉม แพ็กเกจทรู โนวเลจ โดยเพิม่ ชองรายการคุณภาพ ในราคาทีเ่ ขาถึงไดมากยิง่ ขึน้ รวมถึงการนำเสนอแพ็กเกจทีผ่ สมผสานบริการรวม กับทรูออนไลน อีกทั้งยังไดรวมมือกับหลายกลุมธุรกิจในวงการอยางเชน พีเอสไอ และผูประกอบการเคเบิลทองถิ่นชั้นนำมากมาย ซึ่งนอกจากจะชวยเพิ่มฐานลูกคาและเพิ่มรายไดคาโฆษณาใหกับทรูวิชั่นสแลว ยังชวยเพิ่มโอกาสในการทำการตลาดคอนเทนตของ ทรูวชิ นั่ สผา นฐานลูกคาขนาดใหญของพันธมิตรเหลานีอ้ กี ดวย นอกจากนี้ ทรูวิชั่นสยังไดออกแพ็กเกจพิเศษสำหรับลูกคาเฉพาะกลุมดวยคอนเทนตที่นาดึงดูดใจที่ทรูวิชั่นส ไดรับสิทธิเฉพาะในการ เผยแพร เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาไดตรงจุด และเขาถึงกลุมลูกคาที่มีไลฟสไตลแตกตางกันไดมากยิ่งขึ้น อยางเชน แพ็กเกจ ซูปเปอร แฟมิลี่ ซูปเปอร โนวเลจ และซูปเปอร สปอรต พัฒนาการตาง ๆ เหลานี้ รวมกับแพลตฟอรมที่หลากหลายของทรูวิชั่นส ซึ่งมีคอนเทนตคุณภาพที่เติมเต็มทุกความตองการของ ลูกคา รวมถึงการใหบริการทีด่ เี ยีย่ ม จะชวยสงเสริมใหทรูวชิ นั่ สยงั คงความเปนผูน ำในตลาดเพยทวี ี ณ สิน้ ป 2556 ทรูวชิ นั่ สมจี ำนวนผูใชบริการรวม 2,370,972 ราย โดย 761,274 ราย เปนผูใชบริการแพ็กเกจ พรีเมียมและมาตรฐาน สวนที่เหลือเปนผูใชบริการแพ็กเกจฟรีวิวและกลองฟรีทูแอร ทรูวิชั่นสนำเสนอความบันเทิงหลากหลายดวยชองรายการชั้นนำที่มีคุณภาพทั้งจากในประเทศและตางประเทศ ประกอบดวย ภาพยนตร (เชน HBO, Cinemax, Fox) กีฬา (เชน Star Sport และรายการของทรูวชิ นั่ สเอง) สาระบันเทิง (เชน Discovery Channel, National Geographic) และขาว (เชน CNN, CNBC, Bloomberg, BBC World, Phoenix InfoNews) นอกจากนั้น ยังมีรายการจาก สถานีโทรทัศนภาคปกติของไทย (Free TV) และบริการ Pay Per View แพ็กเกจหลักของทรูวิชั่นสทั้ง 6 แพ็กเกจ รวมชองรายการอื่น ๆ นอกเหนือจากรายการมาตรฐาน (ไดแก ชองรายการฟรีทีวี รวม ทั้งหมด 6 ชองรายการ และชองรายการเพื่อการศึกษาอีก 21 ชองรายการ) และมีรายละเอียดของแตละแพ็กเกจดังตาราง ดานลาง 29


แพ็กเกจ

จำนวนชองรายการ

คาบริการตอเดือน (บาท)

แพลทินัม เอชดี (Platinum HD)

177

2,155.15

โกลด เอชดี (Gold HD)

151

1,568.12

ซูปเปอร แฟมิลี่ (Super Family)

145

1,054.15

ซูปเปอร โนวเลจ (Super Knowledge )

129

590.00

ซูปเปอร สปอรตส (Super Sports)

110

495.15

ทรู โนวเลจ (True Knowledge)

97

299.00

นอกเหนือจากแพ็กเกจขางตน ทรูวิชั่นสยังนำเสนอแพ็กเกจตามสั่ง (A-La-Carte) ซึ่งผูใชบริการสามารถเลือกรับชมไดมากสูงสุด ถึง 14 ชองตามแตแพ็กเกจที่ใชบริการอยู บริการอื่น ๆ ของทรูวิชั่นส ประกอบดวย: • High Definition Personal Video Recorder (HD PVR): กลองรับสัญญาณรุน ใหมที่ใหภาพคมชัดและมีคุณสมบัติเพิ่มเติม (เชน สามารถอัดรายการ ขยายภาพในระหวางการรับชม หรือเลนซ้ำ) เพื่ออำนวยความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพในการรับชม ใหกับสมาชิก • โปรโมชัน่ จานแดงทรูวชิ นั่ ส DStv/SSK ขายขาด ใหสมาชิกรับชมทรูวชิ นั่ สฟรี 59 ชอง โดยไมมคี า บริการรายเดือน • ทรูวิชั่นส เอนิแวร ใหสมาชิกสามารถรับชมชองรายการจากทรูวิชั่นสและชองรายการฟรีทูแอร ไดทุกที่ทุกเวลา ผานอุปกรณ สมารทโฟน และแท็บเล็ต รวมถึงเครื่องคอมพิวเตอร และโนตบุค พรอมคุณสมบัติเพิ่มเติม โดยสามารถดูรายการสดยอน หลังไดมากถึง 2 ชั่วโมง และดูรายการยอนหลังไดมากถึง 2 วัน • รายการเรียลลิตี้ โชวยอดนิยม อคาเดมี แฟนเทเชีย ซึ่งออกอากาศปละครั้ง (โดยปกติจะออกอากาศระหวางเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน) เปนโปรแกรมสำคัญในการรักษาฐานลูกคาของทรูวิชั่นสในชวงที่มีการชะลอตัวตามฤดูกาล และยังเปนการ สรางคอนเทนตใหกับธุรกิจอื่น ๆ ภายในกลุมทรูอีกดวย

ทรูไลฟพลัส ทรูไลฟพลัส เปดตัวในป 2553 โดยเปนการผสานผลิตภัณฑและบริการภายในกลุมทรู เพื่อนำเสนอแพ็กเกจที่ตรงใจตามไลฟสไตล ของผูใชบริการ การนำเสนอแพ็กเกจรวมกันของผลิตภัณฑในกลุมทรู • แพ็กเกจทรูไลฟฟรีวิวมอบโบนัสโทรฟรีสำหรับลูกคาทรูมูฟ และทรูมูฟ เอช โดยขึ้นกับคาบริการรายเดือนและระยะเวลาที่เปน ลูกคา โดยลูกคาสามารถอัพเกรดการรับชมเปน แพ็กเกจ ทรู โนวเลจ เพื่อรับชมรายการเพิ่มอีก 13 ชอง • ทรูไลฟพลัส เปดตัวกลองรับสัญญาณดาวเทียมใหมลาสุด รับสัญญาณจากจานดาวเทียมไดทั้งระบบ Ku-Band และ C-Band ในราคา 1,290 บาท (เมื่อสั่งซื้อผาน www.weloveshopping.com) โดยไมมีคาบริการรายเดือน และสามารถรับชมรายการ ตาง ๆ ทั้งจากชองรายการของทรูวิชั่นส และชองรายการฟรีทูแอรอื่น ๆ ไดสูงสุดถึง 240 ชอง ดวยสัญญาณที่มีคุณภาพ แม ในระหวางฝนตก นอกจากนี้ ยังเพิ่มสิทธิพิเศษสำหรับลูกคาทรูมูฟ และลูกคาทรูมูฟ เอช ให ไดรับชมรายการของทรูวิชั่นส เพิ่มอีก 12 ชอง

30

m n È


• ลูกคาที่ใชบริการของกลุมทรูครบ 2 บริการสามารถรับสิทธิพิเศษเพิ่มเติม อาทิ การใชบริการ WiFi ไมจำกัดชั่วโมง ฟรีการใช บริการ HD PVR โดยไมมีคาบริการรายเดือนหรือฟรีคาบริการชอง HD เปนตน • ลูกคาที่ใชบริการของกลุมทรูครบ 3 บริการ ตั้งแต 599 บาทตอเดือนขึ้นไปตอบริการจะไดรับสวนลดคาบริการรายเดือน 10% สำหรับทุกบริการ ทุกรอบบิล • แพ็กเกจ “สุขX2” บริการคอนเวอรเจนซบนโครงขาย DOCSIS ซึ่งรวมบริการอินเทอรเน็ตคุณภาพสูงความเร็วเริ่มตน 12 Mbps. พรอมชมชองบันเทิงจากทรูวิชั่นสฟรี 78 ชอง และ 3 ชองรายการในระบบ HD ดวยราคาเพียงเดือนละ 699 บาท • แพ็กเกจ “สุขX3” ผสานบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง 12 Mbps จาก ทรูออนไลน และฟรีคาโทรศัพทบานนาน 12 เดือน พรอมคอนเทนตจากทรูวิชั่นส 78 ชองรายการและ 3 ชอง HD รวมถึงแพ็กเกจ iSmart เพียงเดือนละ 199 บาท จากทรูมูฟ เอช ไดรับคาโทร 100 นาที พรอมใชงาน 3G ฟรี 150 MB และ WiFi จำนวน 5 ชั่วโมง ดวยอัตราคาบริการเริ่มตนเพียง 799 บาท ทั้งนี้ กลุมทรูเชื่อมั่นวา คอนเวอรเจนซคือยุทธศาสตรสำคัญในการสรางความเติบโตอยางยั่งยืนใหกับผลิตภัณฑและบริการของ กลุมทรูในระยะยาว

การตลาด ปจจุบัน กลุมทรู คือ ผูนำดานบริการไลฟสไตลของไทย กลุมทรู ยังคงมุงมั่นใหบริการสื่อสารโทรคมนาคม โดยเชื่อมโยงทุกบริการ พรอมพัฒนาโซลูชั่น ซึ่งประกอบดวย บริการดานเสียง วิดีโอ เพื่อตอบสนองทุกไลฟสไตลตรงใจลูกคาไดอยางแทจริง ภายใตยุทธ ศาสตรคอนเวอรเจนซ ซึ่งทำใหกลุมทรูแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น และมีสวนสำคัญในการเพิ่มสวนแบงตลาด ตลอดจนชวย ลดอัตราการเลิกใชบริการ (Churn Rate) การแขงขันทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ในกลุม ธุรกิจหลักของกลุม ทรู ทำใหการรักษาฐานลูกคา ยังเปน กลยุทธหลักทางการตลาดของกลุมทรู

การจำหนายเเละชองทางการจำหนาย เพื่อใหเขาถึงกลุมลูกคาบุคคล กลุมทรู ไดเปดศูนยบริการทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งตางจังหวัด โดยใน แตละศูนยบริการจะมีเจาหนาที่พรอมใหคำแนะนำแบบ One-stop shopping ในแหงเดียว เกี่ยวกับบริการสื่อสารทั้งแบบมีสาย และไรสาย เครื่องโทรศัพทและอุปกรณเสริม และอุปกรณสื่อสารอื่น ๆ รวมทั้งโมเด็ม ซึ่งในศูนยบริการใหญจะเปดใหบริการ อินเทอรเน็ตดวย นอกจากนี้ กลุมทรูยังไดจำหนายสินคาและบริการผานตัวแทนจำหนายทั่วประเทศ ทั้งที่เปนรานคาที่เปนตัวแทน จำหนายและตัวแทนจำหนายอิสระซึ่งรับคาตอบแทนจากคาคอมมิชชั่น ชองทางการจำหนายของกลุมทรู ประกอบดวย • คาขายสง คือ ผูท คี่ ขู ายซิมการดทีย่ งั ไม ไดเปดใชงานและบัตรเติมเงินเครือ่ งโทรศัพทเคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณที่เกี่ยวของของกลุมทรู โดยเปนผูกระจายสินคาไปยังตัวแทนจำหนาย (Sub-dealer) ตลอดจนดูแลและใหการสนับสนุนดานการกระจายสินคากับ Sub-dealer โดยคูค า ขายสงจะเปนผูข ายซิมการดแบบเติมเงินและบัตรเติมเงิน ในขณะที่ Sub-dealer จะใหบริการอืน่ ๆ ดวย อาทิ บริการซอมโทรศัพทเคลือ่ นที่ บริการดาวนโหลดเพลงและเกมตาง ๆ • ชองทางการขายตรง โดยขายผลิตภัณฑและบริการของกลุมทรู ใหกับลูกคา SME และลูกคาองคกรธุรกิจ ชองทางจัดจำหนายนี้ มีบทบาทสำคัญในการเพิม่ จำนวนผูใ ชบริการใหกบั กลุม ทรูโมบาย ชองทางการขายตรงแบงออกเปนทีมขายตรง ตัวแทนขายตรง และตัวแทนอิสระ • รานคาปลีกประเภท Multi-retailer ซึ่งตั้งอยูในรานคาปลีกขนาดใหญ (Hypermart) รานคาประเภท Specialty Store รานสะดวก ซื้อตาง ๆ

31


• รานคาปลีกซึ่งในที่นี้หมายถึง ทรูชอป รานคาของตัวแทนขายของกลุมทรู และ Kiosk ตาง ๆ ทีต่ งั้ อยูใ นพืน้ ทีท่ เี่ ห็นไดงา ยและ เปนแหลงชุมชน อยางเชน ศูนยการคา รานคาปลีกขนาดใหญ อาคารสำนักงาน เปนตน โดยรวมถึง ทรูไลฟชอป และทรูคอฟฟ ดวยเชนกัน • คูคาผานชองทางการขายปลีก ประกอบดวย คูคาขายปลีก และการขายผานโครงการ “Move UP Vans” โดยการจัดรถ Move Up Van จำหนายสินคาและบริการของกลุมทรู อำนวยความสะดวกแกลูกคาชนิดใกลบาน โดยรวมกับตัวแทนจำหนายของ แตละภูมิภาคทั่วประเทศ • บริการประเภท Prepaid ของกลุมทรู (สวนใหญเปนบริการสำหรับโทรศัพทเคลื่อนที่) โดยปกติจะขายผาน 3 ชองทางจัด จำหนายแรก คือ คูคาขายสง ชองทางการขายตรง และรานคาปลีกประเภท Multi-retailer ในขณะที่รานคาปลีก (ทั้งของก ลุมทรู และคูคา) จะทำหนาที่เปนชองทางการจำหนายผลิตภัณฑและบริการแบบรายเดือน รวมทั้งผลิตภัณฑคอนเวอรเจนซ ของกลุมทรู รวมทั้งชองทางการใหบริการหลังการขายอีกดวย • สำหรับบริการเติมเงิน (เพือ่ เติมเงินทรูมฟู ทรูมฟู เอช ทรูมนั นี่ หรือแพ็กเกจฟรีววิ ) มีชอ งทางผานบริการอิเล็กทรอนิกสหลายชอง ทาง นอกเหนือจากการใชบตั ร (เชน บัตรเงินสดหรือบัตรเติมเงิน) ดังตอไปนี้ • เครือ่ งเอทีเอ็มโดยผูใชบริการสามารถโอนเงินจากบัญชีธนาคารของตนเองเพือ่ เติมเงินทรูมฟู ทรูมฟู เอช หรือทรูมนั นี่ ไดโดยตรง • ทรูมันนี่ ซึ่งเปนบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ • บัตรเงินสดอิเล็กทรอนิกส ซึง่ สามารถซือ้ ไดจากคูค า เชน ธนาคารกสิกรไทย และเซเวนอีเลฟเวน • เติมเงินโดยตรง ลูกคาสามารถเติมเงินไดจากอุปกรณทตี่ ดิ ตัง้ ในรานคาปลีกของกลุม ทรู และคูค า อาทิ เซเวนอีเลฟเวน หรือเติม เงินผานระบบออนไลน • เติมเงินผานโทรศัพทสาธารณะของทรู ทีม่ สี ญ ั ลักษณ “เติมเงิน ทรูมฟู ทีน่ ”ี่ 30,000 เครือ่ งทั่วกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยผูใชสามารถเติมเงินขั้นต่ำเพียง 10 บาท โดยเปดใหบริการมาตั้งแตป 2550 นอกจากนี้ ผู ใชบริการทรูมูฟและทรูมูฟ เอช ยังสามารถเติมเงินอัตโนมัติแบบ ‘over-the-air’ ผานตัวแทนซึ่งเปนบุคคลธรรมดา หรือรานคาขนาดเล็กที่ลงทะเบียนกับกลุมทรู และไดรับอนุญาตให โอนคาโทรแบบ over-the-air ไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ของผู ใช บริการ โดยตัวแทนเหลานี้สามารถใชบริการเติมเงินไดผานหลายชองทาง (เชน บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน และเครือ่ งเอทีเอ็ม) ในป 2556 มีตวั แทนทีล่ งทะเบียนกับกลุม ทรู ราว 100,000 ราย ถึงแมวาบัตรเติมเงินจะเปนชองทางการจำหนายหลักสำหรับการเติมเงิน แตชองทางผานระบบอิเล็กทรอนิกสก็ ไดรับความนิยม เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากมีวธิ ชี ำระเงินทีห่ ลากหลาย และมีสถานที่ใหบริการเพิ่มมากขึ้น ในป 2552 กลุมทรูสามารถเพิ่มกำไร โดยเนนการ เติมเงินผานชองทางอิเล็กทรอนิกส ทั้งนี้ เพื่อประหยัดคาใชจา ยทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับบัตรเติมเงิน (การผลิต การกระจายสินคา และการจัด เก็บ) นอกจากนี้ ยังจะผสมผสานการขายผานชองทางตาง ๆ ที่มีคาคอมมิชชั่นต่ำ (เชน เครื่องเอทีเอ็ม) เพื่อเพิ่มรายได สำหรับลูกคา SME และลูกคาองคกรธุรกิจ กลุม ทรูมผี บู ริหารงานลูกคา ทีมขาย (Account Executive) ที่มีความเชี่ยวชาญในการเขาถึง ความตองการของลูกคาตามแตละธุรกิจไดเปนอยางดี

การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการใหบริการของโครงขาย กลุมทรูเชื่อวาความสามารถในการใหบริการของโครงขายของกลุมทรู เปนจุดเดนที่สำคัญในการใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน รวมทั้ง อินเทอรเน็ต และบรอดแบนดของกลุมทรู กลาวคือ กลุมทรูมีโครงขายเคเบิลใยแกวนำแสงที่ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการและเขาถึงผู ใชบริการไดอยางทั่วถึง โดยมีสวนประกอบที่เปนสายทองแดงเปนระยะทางสั้น ๆ ทำใหสามารถสงสัญญาณ เสียง ภาพ หรือ ขอมูล ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การออกแบบโครงขายในลักษณะ ใยแมงมุ ม ยั ง สามารถขจั ด ป ญ หาที่ ผู ใ ช บ ริ ก ารไม สามารถใช โทรศัพท ไดอันเนื่องจากการที่สายโทรศัพทหรือเสนทางในการติดตอถูกตัดขาดเพราะอุบัติเหตุ หรือดวยเหตุอื่นใด โดย ทำใหกลุมทรูสามารถเลือกใชเสนทางอื่นทดแทนเสนทางที่ตองผานจุดที่เกิดเหตุเสียนั้นได 32

m n È


แหลงที่มาของผลิตภัณฑและบริการ กลุมทรู ไดสั่งซื้ออุปกรณโครงขายโทรคมนาคมจากผูผลิตอุปกรณชั้นนำของโลก นอกจากนั้น ยังมีผูรับเหมาจำนวนมากในการ จัดหาและติดตั้งโครงขายของกลุมทรู ซึ่งกลุมทรู ไม ไดมีการพึ่งพิง ผูจัดจำหนายหรือผูรับเหมารายใดเปนการเฉพาะ และกลุมทรู ไมมีปญหาในการจัดหาผูจัดจำหนายและผูรับเหมาเนื่องจากมีจำนวนมากราย การสนับสนุนทางดานเทคนิคและการบริหาร ในอดีตกลุมทรูเคยไดรับความชวยเหลือทางดานเทคนิค และการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจ ซึง่ ประกอบดวย บริษทั Verizon Communications, Inc สำหรับบริษัท Orange SA ใหความชวยเหลือดานเทคนิคและการบริหารสำหรับทรูมูฟ และบริษัท MIH สำหรับทรูวิชั่นส แตในปจจุบันกลุมทรูไม ไดรับการสนับสนุนดานเทคนิคและการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจดังกลาวอีกตอไป เนื่องจากพันธมิตรเหลานี้ ไดขายหรือลดสัดสวนการถือหุนลง อยางไรก็ตาม กลุมทรูสามารถรับถายทอดเทคโนโลยีและความรู ไว จนสามารถบริหารงานไดเองโดยไมตองพึ่งพาการสนับสนุนดานเทคนิคและการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจอีกแตอยางใด

ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ตลาดโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องประเทศไทยมีการเติบโตอยางตอเนือ่ ง โดยมีจำนวนผูใชบริการเพิม่ ขึน้ เปนประมาณ 91.7 ลานราย ณ สิน้ ป 2556 ทัง้ นี้ ไมรวมผูใชบริการของทีโอที และ CAT Telecom และผูใหบริการ MVNO (Mobile Virtual Network Operator) ที่ใชโครงขาย ของทีโอที ทำใหมอี ตั ราการใชบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีต่ อ ประชากร 100 คน เพิม่ ขึน้ เปนอัตรารอยละ 133.3 (ขอมูลจำนวนประชากร จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ซึง่ มีจำนวนทัง้ สิน้ 68.8 ลานคน) จากการ ทีม่ ผี ูใชงานจำนวนไมนอ ยนิยมใชงานโทรศัพทเคลือ่ นทีม่ ากกวา 1 เครือ่ ง และ/หรือ มีอปุ กรณทพี่ รอมเขาถึงบริการอินเทอรเน็ต อาทิ ฟเจอร โฟน สมารทโฟน แท็บเล็ต และเน็ตบุก อยางไรก็ตาม เมือ่ เปรียบเทียบกับประเทศอืน่ ๆ ในภูมภิ าคเดียวกันจะเห็นวาตลาดโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องไทยมีอตั ราการใชบริการต่ำ กวาประเทศอื่น ๆ อาทิ ฮองกง (มีอัตราการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รอยละ 230) และ สิงคโปร (มีอัตราการใชบริการโทรศัพท เคลือ่ นทีร่ อ ยละ 159) แหลงทีม่ า: คาดการณจาก BuddeComm คูแขงรายใหญที่สุด 2 ราย คือ เอไอเอส และ ดีแทค ซึ่งมีจำนวนผู ใชบริการคิดเปนสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 44.5 และ 30.5 ตามลำดับ (ไมรวมจำนวนผูใชบริการของ CAT Telecom และ ทีโอที และผูใหบริการ MVNO ของทีโอที) โดยกลุม ทรูโมบายถือ ครองสวนแบงตลาดรวมประมาณรอยละ 25.0 จากจำนวนผูใชบริการทั้งสิ้น 22.9 ลานราย ณ สิ้นป 2556 การเขาสูระบบเสรีมากขึ้น ภายหลังการออกใบอนุญาตตาง ๆ ของคณะกรรมการ กสทช. และความสำเร็จจากการจัดตั้ง กองทุน รวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท ในเดือนธันวาคม 2556 เปนกาวใหมที่สำคัญของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย ซึ่ง สนับสนุนการเติบโตและการแขงขันอยางเปนธรรมในอุตสาหกรรม ในป 2556 ที่ผานมา ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยมีการแขงขันที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะภายหลังการเปดตัวบริการ 3G บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz ของผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญทั้งสามราย โดยบริการนอนวอยซ หรือบริการที่ ไมใชเสียงยัง คงเป น ป จ จั ย สำคั ญ ที่ ส ง เสริ ม การเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมโทรคมนาคมในป ที่ ผ า นมา ซึ่ ง เป น ผลจากความนิ ย มในการใช สื่ อ สังคมออนไลนที่เพิ่มขึ้น ราคาสมารทดีไวซและสมารทโฟนที่ถูกลง และการใชงานอุปกรณเหลานี้ที่เพิ่มขึ้น รวมถึงการพัฒนา คอนเทนตและแอพพลิเคชั่นตาง ๆ ที่นาดึงดูดใจอยางตอเนื่อง โดยผู ใหบริการพยายามเพิ่มสวนแบงตลาด ผานการขยายโครง ขายและคุณภาพการใหบริการที่ดีเยี่ยม พรอมทั้งนำเสนอแพ็กเกจโทรศัพทมือถือที่มีความหลากหลายและนาดึงดูดใจมากยิ่งขึ้น โดยมีการออกแคมเปญและบริการใหม ๆ ซึ่งรวมแพ็กเกจทางดานเสียงและขอมูลหลากหลายรวมกับอุปกรณตาง ๆ ที่สามารถ ตอบสนองการใชงานของลูกคาไดทุกกลุม นอกจากนี้ ยังไดมีการเปดตัวสมารทโฟน และสมารทดีไวซที่หลากหลาย โดยเฉพาะรุน ที่มีราคายอมเยาสำหรับผูที่เริ่มใชสมารทโฟน อยางไรก็ตาม รายไดจากบริการเสียงยังคงลดลงอยางตอเนื่อง จากการเขาใกล จุดอิ่มตัวของบริการเสียง ในขณะที่ การลดลงของคา IC ในเดือนกรกฎาคมที่ผานมา ทำใหผูประกอบการสามารถนำเสนอแพ็กเกจ และคาบริการสำหรับบริการประเภทเสียง ไดถูกลง โดยกลุมทรูโมบายมีการเปดตัวแพ็จเกจสำหรับการโทรภายในโครงขายที่ นาดึงดูดใจเพิ่มมากขึ้น เพื่อชวยสงเสริมการโอนยายลูกคาจากทรูมูฟ มาทรูมูฟ เอช สืบเนื่องจากการหมดอายุสัมปทานของทรูมูฟ ในเดือนกันยายนที่ผานมา 33


ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน บริการโทรศัพทพื้นฐานในปจจุบันมีผู ใหบริการทั้งสิ้น 3 ราย โดยทีโอที (ซึ่งเปนองคกรของรัฐ โดยในอดีตเปนผูก ำกับดูแลบริการ โทรศัพทพนื้ ฐาน) เปนผูใ หบริการโทรศัพทพนื้ ฐานทัง้ ในกรุงเทพมหานครกับปริมณฑลและตางจังหวัดเพียงรายเดียวของประเทศ สวน ผู ใ ห บ ริ ก ารอี ก 2 ราย คื อ ผู ใ ห บ ริ ก ารที่ อ ยู ภ ายใต สั ญ ญาร ว มการงานฯ ของที โ อที โดยกลุ ม ทรู เ ป น ผู ใ ห บ ริ ก ารในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และบริษัท ทีทีแอนดที จำกัด (มหาชน) เปนผูใหบริการในตางจังหวัด ผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานในประเทศไทยยังคงลดลง โดยมีจำนวนทั้งสิ้น 6.1 ลานราย ณ สิ้นป 2556 (แหลงขอมูล: กลุมงานวิชา การและจัดการทรัพยากรโทรคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการ กสทช.) หรือรอยละ 9 ของประชากร ซึ่งเปนผลจากจากความ นิยมในการใช โทรศัพทเคลื่อนที่และบริการโมบาย อินเทอรเน็ตที่เพิ่มขึ้น โดยกลุมทรูเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานที่ใหญที่สุด ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดวยจำนวนผูใชบริการราว 1.7 ลานราย และถือครองสวนแบงราวรอยละ 28.0 ของตลาด โดยรวม ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของกลุมทรูไดรับผลกระทบสวนใหญเนื่องจากผู ใชบริการเปลี่ยนไปใช โทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง ซึ่งเปนไปในทิศทางเดียวกันกับแนวโนมทั่วโลก นอกจากนี้ ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของกลุมทรูยังเผชิญกับการแขงขันจาก บริการ VoIP ซึ่งมีคาบริการถูกกวา เนื่องจากในปจจุบันมีการใชอินเทอรเน็ต เครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณที่พรอมเขาถึงบริการ อินเทอรเน็ต อาทิ สมารทโฟนหรือแท็บเล็ต อยางแพรหลาย ทำใหผูบริโภคจะหันมาใชบริการ VoIP มากยิ่งขึ้น ธุรกิจสื่อสารขอมูลธุรกิจ ธุรกิจโครงขายขอมูลของประเทศไทยยังคงเติบโตอยางตอเนือ่ ง โดยมีอตั ราการเติบโตทีป่ ระมาณรอยละ 7 ตอป เนื่องจากความนิยมใน การสงขอมูลออนไลน และจำนวนผู ใชบริการอินเทอรเน็ตที่เพิ่มมากขึ้น การแขงขันในธุรกิจโครงขายขอมูลยังคงสูงเนื่องจากมี จำนวนผูใหบริการหลายราย ประกอบกับลูกคามีทางเลือกเพิ่มขึ้น ผูใหบริการสื่อสารขอมูลรายใหญในประเทศไทยประกอบดวย ทีโอที CAT Telecom UIH และ UCOM ADC ซึ่งอยูภายใต อินทัช (เดิมคือ กลุมบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น) บริษัท ทีทีแอนดที และ กลุมบริษัททรู ทั้งนี้ คูแขงหลักของกลุมทรู ไดแก ทีโอที (เนื่องจากสามารถใหบริการครอบคลุมพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย) และ UCOM (ซึง่ สามารถใหบริการนอกเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไดมากกวากลุม ทรู) นอกจากนีค้ แู ขงอีกรายอยาง Symphony มีการ เติบโตสูง เนื่องจากเนนการขายกลุมลูกคาระดับบนที่ใชบริการผานโครงขายใยแกวนำแสง ณ สิน้ ป 2556 กลุม ทรูเปนผูใหบริการโครงขายขอมูลรายใหญอนั ดับ 2 โดยครองสวนแบงรอยละ 24 ของตลาดโดยรวมซึ่งมีมูลคา ตลาดประมาณ 18.1 พันลานบาท ในขณะที่ทีโอทียังคงเปนผูน ำตลาด โดยครองสวนแบงราวรอยละ 26 และ UIH เปนผูใ หบริการราย ใหญอนั ดับ 3 โดยมีสว นแบงตลาดประมาณรอยละ 21 (แหลงขอมูล: ประมาณการโดยกลุมทรู) ธุรกิจอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) อัตราของผู ใชบริการบรอดแบนดรวมตอจำนวนครัวเรือนในเมืองไทย ยังคงมีระดับที่ต่ำที่ประมาณรอยละ 22.1 จากทั้งหมด 22.8 ลานครัวเรือน (แหลงที่มา: จำนวนผู ใชบริการบรอดแบนดจากสำนักงานคณะกรรมการ กสทช. และคาดการณจำนวนครัว เรือนจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) เมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลวในแถบเอเซีย เชน ฮองกง รอยละ 85 เกาหลีใต รอยละ 39 (แหลงที่มา: คาดการณจาก BuddeComm) โดยผูใหบริการในตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีอยูหลาย รายทัว่ ประเทศ เชน ทีโอที CAT Telecom JAS ซึ่งดำเนินงานภายใตแบรนด “3BB” บริษัท CS Loxinfo จำกัด ADC และกลุมทรู กลุมทรูสามารถเพิ่มฐานผูใชบริการบรอดแบนด ไดอยางแข็งแกรงและตอเนื่องเปน 1.81 ลานราย ณ สิ้นป 2556 ซึ่งกลุมทรูเปน ผูใหบริการบรอดแบนดรายใหญที่สุดในประเทศไทยคิดจากฐานจำนวนลูกคา โดยมีสวนแบงตลาดทั่วประเทศประมาณรอยละ 36.8 (แหลงที่มา: ขอมูลของกลุมทรู) ณ สิ้นป 2556

34

m n È


มีปจจัยหลายประการที่ทำใหจำนวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งประกอบดวยราคา โมเด็มที่ถูกลง การเปดตัวแพ็กเกจใหม ๆ ที่นาดึงดูดใจมากขึ้น ประกอบกับผูบริโภคนิยมใชบริการคอนเทนตตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น เชน เกมออนไลนและบริการเครือขายสังคมออนไลนตาง ๆ ในขณะที่ทรูออนไลนมีความไดเปรียบจากการสามารถผสมผสาน บริการบรอดแบนดกับบริการอื่น ๆ ภายในกลุมทรู ซึ่งแพ็กเกจคอนเวอรเจนซ ไดรับผลตอบรับที่ดีอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ในเดือนพฤศจิกายน ป 2553 คณะรัฐมนตรีไดอนุมตั นิ โยบายบรอดแบนดแหงชาติของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ดวยเงินลงทุนทั้งสิ้น 2 หมื่นลานบาท เพื่อพัฒนาโครงขายบรอดแบนดใหครอบคลุมประชากร ไมตำ่ กวารอยละ 80 ของ ประเทศ ในอีก 5 ปขา งหนา รวมทัง้ ใหมบี ริการบรอดแบนดความเร็วสูง โดยมีความเร็วไมต่ำกวา 100 เมกะบิตตอวินาที โดยมีเปา หมายที่จะใหบริการบรอดแบนดครอบคลุมโรงเรียนและโรงพยาบาลในระดับตำบล ตลอดจนประชาชนผูมีรายไดนอย ทั้งนี้ ทรูมูฟ ร ว มกั บ ผู ใ ห บ ริ ก ารอี ก 5 ราย อาทิ ที โ อที และ CAT Telecom ได ล งนามในบั น ทึ ก ข อ ตกลงเพื่ อ สนั บ สนุ น นโยบายดั ง กล า ว ซึ่งสอดคลองกับพันธกิจของกลุม ทรูเพือ่ ลดความเหลือ่ มล้ำในการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศ และเปนสวนหนึ่งเพื่อการ พัฒนาสังคมไทยสูสังคมแหงการเรียนรู ดังนั้น หากสามารถดำเนินงานตามนโยบายบรอดแบนดแหงชาติไดสำเร็จตามเปาหมาย ความครอบคลุมของบริการบรอดแบนดจะกวางขวางยิง่ ขึน้ และทำใหการเขาถึงบริการบรอดแบนดของประชากรไทยมีจำนวนเพิ่ม มากขึ้น ซึ่งจะเปนปจจัยที่ชวยสนับสนุนประเทศไทย ในการเขารวมเปนสวนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 อีกทั้ง โครงการ สมารท ไทยแลนด ของรัฐบาลไทยมีเปาหมายเพิ่มความครอบคลุมโครงขายบรอดแบนดในประเทศไทย เปนรอยละ 95 ของประชากร ภายในป 2563 ซึ่งจะชวยสงเสริมการเขาถึงบริการบรอดแบนดในประเทศไดเปนอยางดี สิ่งเหลานี้ทำใหกลุมทรูจึง เชื่อมั่นวา ตลาดบริการบรอดแบนดของไทยจะมีการเติบโตอยางแข็งแกรง ธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก จำนวนสมาชิกโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกในประเทศไทย ณ สิ้นป 2556 มีทั้งสิ้นประมาณ 4.8 ลานราย คิดเปนสัดสวนประมาณ รอยละ 21.1 ของจำนวนครัวเรือน โดยถานับรวมสมาชิกดาวเทียม ฟรีทูแอรดวย จะมีจำนวนทั้งสิ้นประมาณ 16.1 ลานราย คิดเปนสัดสวนราวรอยละ 70.6 ของจำนวนครัวเรือน (แหลงที่มา: ขอมูลของกลุมทรู) ซึ่งต่ำกวาประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวในแถบเอเชีย อยางเชน ฮองกง (รอยละ 86) และไตหวัน (รอยละ 97) (แหลงที่มา: CASBAA) จึงนับวามีโอกาสเติบโตไดอีกมาก ทรูวิชั่นสเปนผูประกอบธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกที่ใหบริการครอบคลุมทั่วประเทศรายใหญรายเดียวในประเทศไทย แตยัง เผชิญความเสี่ยงจากระเบียบและกฎเกณฑตาง ๆ ที่กำหนดโดยภาครัฐ ทั้งยังจะตองเผชิญกับอุปสรรคจากผูประกอบการรายใหม และการแขงขันทางธุรกิจที่เพิ่มขึ้นอีกดวย ภายหลังการประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนซงึ่ มีผลบังคับใชเมือ่ วันที่ 5 มีนาคม 2551 ผูป ระกอบธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกไดรบั อนุญาตใหสามารถจัดเก็บรายไดจากคาโฆษณา ซึง่ ชวยเพิม่ โอกาสในการสรางราย ไดจากคอนเทนตเดิมทีม่ อี ยู รวมทั้งเปนการเพิ่มมูลคาใหกับกิจการของทรูวิชั่นส แมรายไดจากคาโฆษณาอาจจะชวยเสริมสรางความ แข็งแกรงทางการเงินใหกบั ผูใ หบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกรายเล็ก ๆ และอาจทำใหมกี ารแขงขันในตลาดเพิม่ ขึน้ ทรูวิชั่นสยังคง มีความไดเปรียบในเชิงการแขงขันจากการมีคอนเทนตที่ดีและมีคุณภาพสูง หลังไดรับอนุญาตจาก อสมท ใหสามารถหารายไดจากการโฆษณา ทรูวิชั่นสเล็งเห็นวา ทรูวิชั่นสนาจะเปนทางเลือกที่ดีสำหรับ บริษัทโฆษณา เนื่องจากมีกลุมผูชมรายการที่ โดดเดน ซึ่งประกอบดวยลูกคาระดับบนที่มีกำลังซื้อสูง รวมทั้งลูกคาระดับกลางและ ลางซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ จากชองรายการที่มีความหลากหลายของทรูวิชั่นส ทำใหสามารถแยกกลุมผูชมที่ มีคุณลักษณะตาง ๆ ไดอยางชัดเจน เพื่อประโยชนของผูซื้อโฆษณา ตั้ ง แต ป 2553 เป น ต น มา ทรู วิ ชั่ น ส ใ ช ก ลยุ ท ธ ใ นการขยายบริ ก ารสู ต ลาดสำหรั บ ลู ก ค า ระดั บ กลางและระดั บ ล า งมากยิ่ ง ขึ้ น เพื่อสรางรายไดจากการรับทำการโฆษณา ซึ่งมีอัตราการทำกำไรสูง โดยการเพิ่มจำนวนผูร บั ชมคือปจจัยสำคัญตอความสำเร็จในการ ขยายบริการสูต ลาดสำหรับกลุม ลูกคาระดับกลางและลาง ซึ่งมีการแขงขันทีส่ งู ทัง้ นี้ การโฆษณาทางสือ่ โทรทัศนมมี ลู คาสูงถึง 69.2 พันลานบาท ใน ป 2556 (แหลงทีม่ า: บริษัท AGB Nielsen) ในขณะที่สัดสวนมูลคาการโฆษณาทางโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก ยังคงอยูในระดับต่ำจึงมีโอกาสเติบโตในระยะยาว ปญหาการลักลอบใชสัญญาณสงผลกระทบตอผลประกอบการของทรูวิชั่นสในหลายปที่ผานมา ซึ่งทรูวิชั่นส ไดหาแนวทางดำเนิน การใหม ๆ ในการปกปองลิขสิทธิ์รายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการอยางตอเนื่อง โดยในเดือนตุลาคม ป 2554 ทรูวิชั่นส ไดเริ่มตนการ เปลี่ยนกลองรับสัญญาณรุนใหมซึ่งสามารถรองรับระบบออกอากาศใหมทมี่ คี วามปลอดภัยสูง (ใชเทคโนโลยีบบี อัดสัญญาณภาพ MPEG-4)

35


ซึง่ จากการตอบรับทีด่ ี ทรูวชิ นั่ สสามารถเปลีย่ นกลองรับสัญญาณใหมใหแลวเสร็จและเริ่มใชระบบออกอากาศใหมดังกลาวไดในเดือน กรกฎาคม ป 2555 ซึ่งเร็วกวาเปาหมายเดิมในเดือนตุลาคมปเดียวกัน โดยทรูวิชั่นสสามารถสกัดกั้นการละเมิดลิขสิทธิ์รายการได อยางมีประสิทธิภาพในทันที แม ว า การแข ง ขั น เพื่ อ ให ไ ด รั บ สิ ท ธิ ใ นการแพร ภ าพ แพร เ สี ย ง รายการสำคั ญ ๆจะเพิ่ ม สู ง ขึ้ น แต ท รู วิ ชั น ส มี ค วามได เ ปรี ย บ ผูประกอบการรายอื่นจากการมีแพลตฟอรมที่แข็งแกรง และความสัมพันธอันดีกับผูใหบริการคอนเทนตชั้นนำ การจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนตุลาคม 2554 สงผลใหมีการจัดทำรางกฎระเบียบ และขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ ผูประกอบกิจการโทรทัศน ทั้งในระบบภาคพื้นดิน ระบบดาวเทียม และระบบเคเบิล ซึ่งเมื่อบังคับใช จะทำใหผูประกอบการทุกราย ตองดำเนินกิจการภายใตกรอบการกำกับดูแลของคณะกรรมการ กสทช. เชนเดียวกับทรูวิชั่นส โดยในเดื อ นมกราคม ป 2556 กสท. ไดอนุมัติการออกใบอนุญาตใหกับผูประกอบการโทรทัศนผานดาวเทียม ซึ่งรวมถึงกลุมทรูวิชั่นสดวย ทำใหตลาดมีการแขง ขันอยางเปนธรรมและมีกฎระเบียบที่ชัดเจนยิ่งขึ้นอีกดวย คณะกรรมการ กสทช. มีแผนที่จะออกใบอนุญาตเพื่อใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล จำนวน 24 ชอง ใหกับผูที่ชนะการประมูล ประมาณกลางเดือนมีนาคม 2557 โดยกลุมทรูชนะการประมูลสำหรับใหบริการในชองขาว และชองวาไรตี้จำนวน 2 ชองรายการ การกาวเขาสูระบบดิจิตอล ทีวี นับเปนกาวสำคัญของธุกิจโทรทัศนในประเทศไทย โดยจะมีผูใหบริการรายใหมเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสงผล ใหมีคอนเทนตที่หลากหลายและการแขงขันในตลาดโฆษณาที่เพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ตาม ทรูวิชั่นสมีความพรอมอยางเต็มที่สำหรับ การเติบโตในตลาดนี้ จากการมีแพลตฟอรมที่แข็งแกรง หลากหลาย และครบถวน ดวยคอนเทนตคุณภาพที่ทรูวิชั่นสผลิตเอง และ ไดรับสิทธิ์ขาดในการเผยแพรแตเพียงผูเดียว การเขาสูตลาดดิจิตอล ทีวีจะชวยเสริมธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกของ ทรูวิชั่นส และผลักดันการเติบโตของรายไดคาโฆษณา และคาสปอนเซอร ความคืบหนาดานการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม โครงสรางการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทยมีความคืบหนาขึ้นเปนลำดับ โดยเฉพาะหลังการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนตุลาคม 2554 สงผลใหมีการออกกฎเกณฑและขอบังคับตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น รวมถึงการกาวเขาสูระบบเสรีมากขึ้น ของธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศไทย จากการที่คณะกรรมการ กสทช. ไดออกใบอนุญาตตาง ๆ ใหกับผูประกอบการทั้งในดาน กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม อาทิเชน ใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ 2.1 GHz ในเดือนธันวาคม 2555 ใบอนุญาตให บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน ในเดือน มกราคม 2556 นอกจากนี้ ในเดือนธันวาคม 2556 คณะกรรมการ กสทช. ประสบความสำเร็จในการจัดตั้งการประมูลคลื่นความถี่เพื่อใหบริการ โทรทัศนในระบบดิจิตอลเพื่อใหบริการทางธุรกิจระดับชาติ โดยมีแผนที่จะสามารถออกใบอนุญาตใหกับผูชนะการประมูลซึ่งรวมถึง บริษัทยอยในกลุมทรู ในกลางเดือนมีนาคม 2557 และเริ่มใหบริการในเดือนเมษายนปเดียวกันอีกดวย อยางไรก็ตาม กลุมทรูหวังวาจะไดเห็นความกาวหนาดานการกำกับดูแล ในประเด็นตาง ๆ ที่ยังไมคืบหนา อาทิเชน การจัดสรร คลื่นความถี่ ใหม (Re-farming) สำหรับคลื่นความถี่ที่ปจจุบันถูกใชงานโดยผูประกอบการภายใตมาตรการคุมครองผู ใชบริการ เปนการชั่วคราวในกรณีสิ้นสุดการอนุญาตสัมปทานหรือสัญญาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของคณะกรรมการ กสทช.

36

m n È


ตารางแสดงใบอนุญาตที่กลุมทรูไดรับ บริษัทยอย และบริษัทในเครือ ใบอนุญาตบริการอินเทอรเน็ต 1 บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด 2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด 3 บริษัท เอเชีย อินโฟเน็ท จำกัด 4 บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จำกัด 5 บริษัท ทรู มูฟ จำกัด ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม 6 บริษทั ทรู ไลฟ พลัส จำกัด (เดิมชือ่ ทรู ดิจติ อล เอ็นเตอรเทนเมนท) 7 บริษทั ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด

ประเภท ใบอนุญาต

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

อายุ ใบอนุญาต

วันที่ บอรดอนุมัติ

วันที่ ใบอนุญาต หมดอายุ

1

ISP

5 ป

23 มิ.ย. 2552

22 มิ.ย. 2557

1 1 2

ISP ISP บริการอินเทอรเน็ตเกตเวย ระหวางประเทศ และบริการ ชุมสายอินเทอรเน็ต ISP

5 ป 5 ป 5 ป

18 ส.ค. 2552 5 ก.พ. 2553 19 พ.ค. 2554

17 ส.ค. 2557 4 ก.พ. 2558 18 พ.ค. 2559

5 ป

25 ส.ค. 2552

24 ส.ค. 2557

บริการขายตอบริการอินเทอรเน็ต และโทรศัพทเคลือ่ นที่ บริการบัตรโทรศัพท ระหวางประเทศ บริการโทรศัพทสาธารณะ บริการขายตอบริการวงจรเชา สวนบุคคลระหวางประเทศ บริการโทรศัพทระหวาง ประเทศ และบริการเสริม บริการโทรศัพทประจำที่ และ บริการเสริม บริการขายตอบริการ โทรคมนาคมเพือ่ สาธารณะ บริการวงจร หรือ ชองสัญญาณเชา บริการขายตอบริการวงจร เชาสวนบุคคลระหวาง ประเทศ บริการขายตอบริการโทรศัพท เคลือ่ นที่ บริการโครงขาย โทรคมนาคมไรสาย

5 ป

2 ส.ค. 2552

1 ส.ค. 2557

5 ป

11 ต.ค. 2552

10 ต.ค. 2557

5 ป 15 ป

29 มิ.ย. 2552 11 พ.ย. 2552

28 มิ.ย. 2557 10 พ.ย. 2567

20 ป

25 ม.ค. 2550

24 ม.ค. 2570

20 ป

8 ธ.ค. 2549

7 ธ.ค. 2569

5 ป

26 ส.ค. 2552

25 ส.ค. 2557

5 ป

11 พ.ย. 2552

10 พ.ย.. 2557

5 ป

16 ธ.ค. 2553

15 ธ.ค. 2558

15 ป

7 ธ.ค. 2555

6 ธ.ค. 2570

1 1 1

8 บริษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด 9 บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จำกัด 10 บริษทั ทรู อินเตอรเนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด 11 บริษทั ทรู ยูนเิ วอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด 12 บริษทั ทรู ยูนเิ วอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด

1 3

13 บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด

1

14 บริษทั เรียล มูฟ จำกัด

1

15 บริษทั เรียล ฟวเจอร จำกัด

3

3 3 1

37


ประเภท ลักษณะการประกอบธุรกิจ ใบอนุญาต ใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน 16 บริษทั ซีนเิ พล็กซ จำกัด บริการกระจาย บริการโทรทัศน เสียงหรือ บอกรับสมาชิก โทรทัศน 17 บริษทั แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จำกัด บริการกระจาย บริการโทรทัศน เสียงหรือ บอกรับสมาชิก โทรทัศน 18 บริษทั ทรู วิชนั่ ส กรุป จำกัด บริการกระจาย บริการโทรทัศน เสียงหรือ บอกรับสมาชิก โทรทัศน บริษัทยอย และบริษัทในเครือ

19 บริษทั ทรู วิชนั่ ส กรุป จำกัด

38

m n È

โครงขาย บริการโครงขายโทรทัศนบอก กระจายเสียง รับสมาชิก หรือโทรทัศน (ระดับชาติ)

อายุ ใบอนุญาต

วันที่ บอรดอนุมัติ

วันที่ ใบอนุญาต หมดอายุ

2 ป

21 ม.ค. 2557

20 ม.ค. 2559

2 ป

21 ม.ค. 2557

20 ม.ค. 2559

2 ป

21 ม.ค. 2557

20 ม.ค. 2559

15 ป

21 ม.ค. 2556

20 ม.ค. 2571


กลุมทรูเล็งเห็นโอกาสการเติบโตในธุรกิจหลักของบริษัทฯ สำหรับป 2557 โดยเฉพาะกลุมทรูโมบาย หลังไดรับใบอนุญาตประกอบ กิจการโทรคมนาคมบนคลื่น 2.1 GHz ซึ่งทำใหกลุมทรูโมบายสามารถเปดใหบริการ 4G LTE เปนรายแรกในประเทศในเดือน พฤษภาคม 2556 พรอมทั้งการกาวขามผานระบบสัมปทานหลังจากสัญญาใหดำเนินการฯ ระหวาง CAT Telecom และทรูมูฟ สิ้นสุดลงในเดือนกันยายน 2556 ที่ผานมา รวมทั้งการเพิ่มความคุมคาใหกับบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ตผานเทคโนโลยี FTTx เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และเทคโนโลยี xDSL และการขยายโครงขายบรอดแบนดอยางตอเนื่องซึ่งครอบคลุมแลวถึง 4.3 ลาน ครัวเรือน ใน 61 จังหวัดทั่วประเทศ ณ สิ้นป 2556 ในขณะที่ทรูวิชั่นสเสริมความแขงแกรงใหกับแพลตฟอรมดวยความเปนผูนำ ทั้งดานคอนเทนตและเทคโนโลยี อีกทั้งบริษัทในกลุมทรูวิชั่นส ไดเปนหนึ่งในผูชนะการประมูลคลื่นความถี่เพื่อใหบริการโทรทัศน ในระบบดิจิตอลเพื่อใหบริการทางธุรกิจระดับชาติ ทำใหมีความพรอมในการเติบโตอยางตอเนื่อง อยางไรก็ดี กลุมทรูตระหนัก ถึงปจจัยความเสี่ยงตาง ๆ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอย ดังตอไปนี้

ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการแขงขันทางการตลาด บริษัทฯ และกลุมธุรกิจตาง ๆ ของกลุมทรูยังคงตองเผชิญกับการแขงขันในตลาดโทรคมนาคมที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ หลังการกาวเขาสูการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรมมากขึ้นของธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศไทย ตลาดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ยังคงมีการแขงขันที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะตลาดบริการที่ ไมใชเสียง ภายหลังจากการที่ คณะกรรมการ กสทช. ไดออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่ 3 และใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ IMT ยาน 2.1 GHz ในเดือนธันวาคม ป 2555 ใหกับเรียลฟวเจอร ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู รวมทั้งบริษัท ดีแทค เนทเวอรค จำกัด และบริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของดีแทคและเอไอเอส ตามลำดับ สงผลใหมีผู ใหบริการรายใหมที่ ให บริการ 3G บนคลื่น 2.1 GHz ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2556 เปนตนมา โดยเครือขายสังคมออนไลนและการใชงานสมารทดีไวซที่ เพิ่มขึ้น ประกอบกับราคาสมารทดีไวซที่ปรับตัวลดลง ทำใหผูประกอบการมีการแขงขันกันนำเสนอแพ็กเกจรวมกับสมารทดีไวซที่ หลากหลายในราคาที่ประชาชนสามารถเขาถึงไดเพื่อดึงดูดลูกคาและโอนยายลูกคาที่ใชบริการบนระบบ 2G มาสูระบบ 3G มากยิ่ง ขึ้น ทั้งนี้ กลุมทรูมีความไดเปรียบผู ใหบริการ 3G รายอื่น เนื่องจากบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช บนคลื่น 850 MHz ของ CAT Telecom มีความครอบคลุมมากที่สุดทั่วประเทศแลวกวารอยละ 95 ของประชากร ณ สิ้นป 2556 โดยกลุมทรูมุงมั่นที่จะวาง โครงขายการใหบริการบนคลื่น 2.1 GHz ผานทั้งเทคโนโลยี 3G และ 4G LTE ใหครอบคลุมกวารอยละ 50 ของประชากรภายใน สิ้นป 2557 เพื่อเสริมบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช ใหมีคุณภาพสูงยิ่งขึ้น โดยการผสานขอดีของการใหบริการบนคลื่น 2.1 GHz ที่มีความจุสัญญาณตอพื้นที่สูง ซึ่งรองรับการใชบริการของกลุมลูกคาในเมืองและยานธุรกิจที่มีการใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่สูง ไดเปนอยางดี กับการใหบริการบนคลื่น 850 MHz ที่สามารถใหบริการครอบคลุมพื้นที่ ไดกวางขวางกวา จึงทำใหกลุมทรูสามารถ ใหบริการลูกคาไดครอบคลุมทั่วประเทศดวยประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังสรางความไดเปรียบในแงของการลงทุนใหกับกลุมทรู สวนธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ ที่ทำหนาที่จัดสรางโครงขายพื้นฐานตามสัญญารวมการงานฯ กับทีโอที ยังคงเผชิญกับการ แขงขันที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นจากบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และบริการเสียงผานการใหบริการอินเทอรเน็ต (VoIP) เนื่องจาก บริการดังกลาวมีอัตราคาบริการที่ต่ำกวาอัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐานแบบเดิม แม โทรศัพทพื้นฐานจะสามารถใหบริการดวย คุณภาพที่ดีกวา สำหรับตลาดอินเทอรเน็ตและบรอดแบนดนั้น กลุมทรูมีคูแขงรายสำคัญ ไดแก ทีโอทีและบริษัท ทริปเปลที บรอดแบนด จำกัด (หรือ 3BB ในปจจุบัน) ซึ่งปจจุบันมีการขยายพื้นที่ ใหบริการสูกรุงเทพมหานครและปริมณฑลซึ่งเปนตลาดหลักในปจจุบันของ กลุมทรูออนไลนเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ดี ผูใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงทุกรายยังคงใชเทคโนโลยี ADSL เปนหลักในการให บริการแกกลุมลูกคาทั่วไป ซึ่งปจจุบันใกลเขาถึงขีดจำกัดของเทคโนโลยีแลว ในขณะที่เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และเทคโนโลยี FTTx เปนเทคโนโลยีใหมที่เขามาเสริมและสามารถใหบริการอินเทอรเน็ตที่มีความเร็วสูงกวาเทคโนโลยี ADSL มาก ทำใหกลุมทรู 39


เล็งเห็นโอกาสในการเติบโตรายไดแบบกาวกระโดดและเพิ่มสวนแบงการตลาด โดยไดเนนการลงทุนในเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และขยายความครอบคลุมของโครงขายไปยังพื้นที่ในตางจังหวัด ซึ่งเปนตลาดที่มีขนาดใหญและมีโอกาสในการเติบโตรายไดที่สูง กวาพื้นที่ ในสวนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 นี้ยังสามารถรองรับบริการเคเบิลทีวีไดอีกดวย จึงชวยใหกลุมทรูมีโอกาสไดรับผลตอบแทนจากการลงทุนที่สูงกวาคูแขง นอกจากนี้ ในป 2556 ที่ผานมา ผูใหบริการบรอดแบนด ในประเทศไทยได เ ริ่ ม มี ก ารนำเสนอแพ็ ก เกจบรอดแบนด ผ า นเทคโนโลยี FTTH มากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ ตอบสนองความต อ งการใช อินเทอรเน็ตดวยความเร็วที่สูงขึ้น โดยกลุมทรูนำเสนอบริการผานเทคโนโลยี FTTH ใหกับลูกคาระดับบนในเขตที่อยูอาศัยหลัก เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาพรีเมียมไดดียิ่งขึ้น กลุมทรูคาดวาการแขงขันในธุรกิจตาง ๆ ที่กลุมทรูใหบริการจะยังคงสูงขึ้นในอนาคต แตเชื่อวากลุมทรูมีความพรอมสำหรับการ แขงขัน โดยมีขอไดเปรียบจากการมีแบรนดที่แข็งแกรง และมีบริการที่ครบวงจร รวมทั้งมีคอนเทนตที่หลากหลายภายใตกลยุทธ คอนเวอรเจนซ โดยเปนทั้งผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บรอดแบนด รวมถึงธุรกิจของบริษัทฯที่ทำหนาที่จัดสรางโครงขายพื้นฐาน ใหแกทีโอที เพื่อใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน บริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก และบริการ WiFi ซึ่งทำใหกลุมทรูแตกตางจาก ผู ใหบริการรายอื่น นอกจากที่กลาวแลว กลุมทรูยังมุงมั่นที่จะรักษาและพัฒนาคุณภาพการใหบริการ ทั้งการบริการลูกคาและ คุณภาพของโครงขาย ดวยการเดินหนาขยายพื้นที่การใหบริการใหครอบคลุมและเพิ่มประสิทธิภาพในการใหบริการอยางตอเนื่อง ยิ่งไปกวานั้น บริษัทยอยของกลุมทรูยังไดยื่นขอรับใบอนุญาตใหม ๆ เพื่อให ไดรับประโยชนจากการปฏิรูปการกำกับดูแล และเพื่อ การแขงขันที่เทาเทียมกับผูประกอบการรายอื่น ความเสี่ยงเฉพาะธุรกิจของกลุมทรูวิชั่นส ความเสี่ยงหลักของกลุมทรูวิชั่นสที่ผานมา ไดแก การตองพึ่งพาผูจัดหารายการเพื่อซื้อรายการจากตางประเทศ และความเสี่ยง จากการถูกลักลอบใชสัญญาณหรือการละเมิดลิขสิทธิ์ ทำใหหากกลุมทรูวิชั่นส ไมสามารถจัดหารายการที่เปนที่สนใจของสมาชิก หรือหากตนทุนของการจัดหารายการเพิ่มสูงขึ้นในอนาคตก็จะมีผลกระทบตอผลประกอบการของกลุมทรูวิชั่นส ปจจุบันลูกคาที่ สนใจในรายการจากตางประเทศ สวนใหญเปนลูกคาที่สมัครแพ็กเกจพรีเมียม ซึ่ง ณ สิ้นป 2556 มีจำนวนรวม 342,535 ราย คิดเปนอัตรารอยละ 14.4 ของฐานลูกคารวมของกลุมทรูวิชั่นส ทั้งนี้ ตนทุนรายการตางประเทศรวมคิดเปนอัตรารอยละ 19.8 ของรายไดจากคาบริการของกลุมทรูวิชั่นส ในป 2556 (เทียบกับอัตรารอยละ 21.1 ในป 2555) อยางไรก็ดี จากการประกาศใช พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 ทำใหมีผูเขาแขงขันในธุรกิจโทรทัศนแบบบอก รับสมาชิกเพิ่มมากขึ้น จึงเกิดการแขงขันเพื่อแยงชิงสวนแบงการตลาดและเพื่อให ไดมาซึ่งสิทธิในการแพรภาพคอนเทนตสำคัญๆ โดยเฉพาะคอนเทนตกีฬาจากตางประเทศที่การแขงขันยังทวีความรุนแรงขึ้นซึ่งอาจทำใหกลุมทรูวิชั่นสมีคาใชจายเพื่อการไดมา ซึ่งคอนเทนตตาง ๆ เหลานี้เพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ กลุมทรูวิชั่นสมิไดชนะการประมูลสิทธิในการแพรภาพและเสียง รายการฟุตบอลพรีเมียรลีก ฤดูกาล ป 2013/2014 ถึง 2015/2016 ซึ่งจัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2555 จึงมีความเสี่ยงที่กลุมทรูวิชั่นสจะสูญเสียสมาชิกบางสวนที่สมัครใชบริการเพื่อดู รายการฟุตบอลพรีเมียรลีกโดยเฉพาะ อยางไรก็ดี กลุมทรูวิชั่นส ไดมุงพัฒนาและนำเสนอรายการคุณภาพระดับโลกอยางตอเนื่อง เพื่อเพิ่มความคุมคาใหกับสมาชิก โดยมีชองรายการคุณภาพสูงสุดถึง 180 ชอง ณ สิ้นป 2556 อีกทั้งยังคงสรรหารายการกีฬาให ลูกคารับชมอยางเต็มอรรถรส โดยมีชองกีฬารวม 29 ชอง ซึ่งคิดเปนรอยละ 16 ของเนื้อหาทั้งหมด นอกจากนี้ กลุมทรูวิชั่นสยังมี จำนวนชองรายการระบบ HD 50 ชอง ซึ่งเปนจำนวนที่สูงที่สุดในประเทศไทยในป 2556 ที่ผานมา สิ่งเหลานี้ชวยลดผลกระทบ จากการไม ไดสิทธิในการแพรภาพและเสียง รายการฟุตบอลพรีเมียรลีก โดยรายไดจากคาสมาชิกและคาติดตั้งของกลุมทรูวิชั่นส ในป 2556 เพิ่มขึ้นเล็กนอยในอัตรารอยละ 0.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอนหนา กลุมทรูเชื่อวาคอนเทนตคุณภาพสูงที่หลากหลาย ซึ่งโดยสวนใหญกลุมทรูวิชั่นสเปนผูถือลิขสิทธิ์เพียงรายเดียวในประเทศไทย จะชวยรักษาความไดเปรียบในเชิงการแขงขันของกลุมทรูวิชั่นส นอกจากนี้ ฐานสมาชิกที่มีขนาดใหญ รวมทั้งประสบการณในการ ดำเนินงานในธุรกิจนี้มายาวนานของกลุมทรูวิชั่นส ยังเปนหลักประกันดานรายไดสำหรับผูใหบริการคอนเทนต จึงรักษาความเปน พันธมิตรทางธุรกิจระหวางผูใหบริการคอนเทนตกับกลุมทรูวิชั่นส ไดเปนอยางดี สวนความเสี่ยงดานการลักลอบใชสัญญาณหรือการละเมิดลิขสิทธิ์เปนเรื่องที่ปองกันไดยากและมีผลกระทบตอผลการดำเนินงาน กระแสเงินสด และการจัดหารายการของกลุมทรูวิชั่นส อยางไรก็ตาม การจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนตุลาคม 2554 สงผลใหมีการจัดทำรางกฎระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับผูประกอบกิจการโทรทัศน ทั้งที่เปนโทรทัศนภาคพื้นดิน โทรทัศนผานดาวเทียม และผานสายเคเบิล ซึ่งเมื่อบังคับใช จะทำใหผูประกอบการทุกรายตองดำเนินกิจการภายใตกรอบการ กำกับดูแลของคณะกรรมการ กสทช. เชนเดียวกับกลุมทรูวิชั่นส โดยผูประกอบการทุกรายตองซื้อคอนเทนตและรายการตาง ๆ 40

m n È


อยางถูกกฎหมาย ซึ่งจะทำใหขีดความสามารถในการแขงขันลดลง โดยลาสุดในเดือนมกราคม 2556 คณะกรรมการกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน ไดอนุมัติการออกใบอนุญาตใหกับผูประกอบการโทรทัศนผานดาวเทียม ซึ่งรวมถึงกลุมทรูวิชั่นส ดวย ทำใหอุตสาหกรรมโทรทัศนมีความชัดเจนขึ้นในเรื่องการกำกับดูแล รวมทั้งจะทำใหตลาดมีการแขงขันอยางเปนธรรมและมี กฎระเบียบที่ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเปนผลดีตอผูประกอบการที่ดำเนินกิจการอยางถูกตองตามกฎหมาย แตอยางไรก็ตาม เพื่อลดความเสี่ยงจากการถูกลักลอบใชสัญญาณหรือการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุมทรูวิชั่นส ไดเริ่มดำเนินการปรับ เปลี่ยนระบบออกอากาศใหมที่มีความปลอดภัยสูง ตั้งแตเดือนตุลาคม 2554 โดยใหสิทธิพิเศษเพื่อจูงใจลูกคาแพ็กเกจพรีเมียมให เปลี่ยนจากกลองรับสัญญาณเดิมมาเปนกลองรับสัญญาณรุนใหม (Hybrid Set Top Box) ที่สามารถถอดรหัสสัญญาณ MPEG-4 ได และไดเปดใชงานระบบออกอากาศใหมตั้งแตกลางเดือนกรกฎาคม 2555 ซึ่งนอกจากจะเปนการมอบประสบการณในการรับชม ที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ให กั บ สมาชิ ก ด ว ยคอนเทนต ที่ มี คุ ณ ภาพคมชั ด ระดั บ เอชดี (High Definition) รวมถึ ง การรองรั บ บริ ก ารอื่ น ๆ เช น ออนดีมานด สั่งอัดรายการลวงหนา ฯลฯ แลวยังสามารถชวยขจัดการลักลอบใชสัญญาณได เนื่องจากคอนเทนตและรายการ เฉพาะสำหรับกลุมลูกคาพรีเมียมของกลุมทรูวิชั่นส ไดรับการเขารหัสสัญญาณเปน MPEG-4 ทั้งหมด ทั้งนี้ กลุมทรูวิชั่นส ไดลงทุนมากกวา 2,000 ลานบาท เพื่อเปลี่ยนกลองรับสัญญาณรุนใหม (Hybrid Set Top Box) เกือบ 500,000 กลอง เปนระบบเอชดีทั้งหมด เพื่อแกปญหาการลักลอบใชสัญญาณ ซึ่งการลงทุนดังกลาวอาจกระทบตอกระแสเงินสดของ กลุมทรูวิชั่นส แตอยางไรก็ตาม เทคโนโลยีการเขารหัสสัญญาณใหม และ MPEG-4 ของกลองดังกลาวไดพิสูจนแลววาสามารถ ปองกันการลักลอบชมรายการไดอยางมีประสิทธิภาพ และยังชวยกระตุนใหผูที่ชมรายการของกลุมทรูวิชั่นสแบบไมถูกกฎหมาย เขาสมัครเปนสมาชิกกับกลุมทรูวิชั่นส ทั้งนี้ การที่คณะกรรมการ กสทช. ไดประกาศแผนสำหรับการออกใบอนุญาตเพื่อใหบริการ โทรทัศนในระบบดิจิตอลจำนวน 24 ชองรายการ และแผนการเริ่มใหบริการในเดือนเมษายน 2557 จะสงผลใหมีผูประกอบการฟรี ทีวีเพิ่มมากขึ้นและทำใหการแขงขันในตลาดฟรีทีวีและคอนเทนตเพิ่มสูงขึ้น อยางไรก็ตาม กลุมทรูวิชั่นสมีความพรอมอยางยิ่งดวย การมีคอนเทนตคุณภาพที่หลากหลายอยูในแพลตฟอรม จึงทำใหกลุมทรูวิชั่นสมีความไดเปรียบและมีการลงทุนที่ ไม ไดสูงมากเมื่อ เทียบกับผูประกอบการรายใหม ความเสี่ยงจากการที่กลุมทรูวิชั่นสอาจถูกจัดเก็บคาลิขสิทธิ์ ในการเผยแพรงานดนตรีกรรม จากการแพรภาพแพรเสียง ในการแพรภาพแพรเสียงของคอนเทนตตาง ๆ ทางกลุมทรูวิชั่นสมีนโยบายที่จะแพรภาพแพรเสียงเฉพาะคอนเทนตที่กลุม ทรูวิชั่นส ไดสรรคสรางขึ้นมาและที่กลุมทรูวิชั่นส ไดรับสิทธิใหแพรภาพแพรเสียงจากผูทรงสิทธิในลิขสิทธิ์ของคอนเทนตนั้น โดย บริษัทฯ เขาใจวาสิทธิที่กลุมทรูวิชั่นส ไดรับมาในการแพรภาพแพรเสียงนั้นรวมถึงสิทธิในการแพรเสียงดนตรีกรรมจากคอนเทนต ดังกลาวดวย โดยแมวา กลุมทรูวิชั่นสจะไดรับแจงจากองคกรจัดเก็บคาลิขสิทธิ์ ใหชำระคาตอบแทนการเผยแพรงานดนตรีกรรม ผานคอนเทนตของทรูวิชั่นสดวยมูลคาประมาณ 6 ลานบาท โดยอางวาลิขสิทธิ์ในการแพรภาพแพรเสียงที่บริษัทยอยไดรับมานั้น ไมรวมถึงสิทธิในการแพรเสียงของดนตรีกรรมดวย กลุมทรูวิชั่นส ไดมีการเจรจากับองคกรจัดเก็บคาลิขสิทธิ์เปนการเรียบรอย และ ไดมีการดำเนินการถอนฟองคดีดังกลาวแลวตั้งแตวันที่ 27 ธันวาคม 2556 ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและความตองการของลูกคาก็เปลี่ยนแปลงไปตามวิวัฒนาการในผลิตภัณฑ และบริการใหม ๆ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงดานกฎเกณฑการกำกับดูแลตางก็มีสวนทำใหมีการเปดตลาดและใหบริการดวย เทคโนโลยีใหม ๆ จึงคาดวาปจจัยตาง ๆ ดังกลาวขางตน จะยังคงมีผลตอธุรกิจสื่อสารของประเทศไทยในอนาคต เพื่อตอบรับกับ แนวโนมใหม ๆ ดานเทคโนโลยี อาจทำใหกลุมทรูมีคาใชจายในการลงทุนและการดำเนินงานสูงขึ้นเปนอยางมาก และหากกลุมทรู ไมลงทุนในเทคโนโลยีใหมอาจจะมีผลทำใหขีดความสามารถในการแขงขันและความพึงพอใจของลูกคาลดลง อยางไรก็ตาม กลุมทรูคาดวา ดวยผลิตภัณฑและบริการ ตลอดจนฐานรายไดและลูกคาที่หลากหลาย จะทำใหสามารถรับมือกับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและรักษารายไดใหอยูในกลุมทรูไดดีกวาผูใหบริการที่มีเพียงบริการเดียว

41


ความเสี่ยงดานการกำกับดูแล ความเสี่ยงของบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่และขอจำกัดของบริการ ในเดือนธันวาคม 2553 ผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดเริ่มเปดใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability - MNP) ทำใหลูกคาสามารถเปลี่ยนผูใหบริการได โดยไมจำเปนตองเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งนับตั้งแตมี การเปดใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ กลุมทรูโมบายสามารถเพิ่มลูกคารายเดือนซึ่งมีรายไดตอเลขหมายตอเดือน สูงมากขึ้น โดยเฉพาะกลุมผูใชสมารทโฟนที่สนใจใชบริการ 3G+ ของกลุมทรูโมบายที่ใหบริการครอบคลุมพื้นที่มากกวาผูใหบริการ รายอื่ น ๆ ทั้ งนี้ การจำกั ดจำนวนการใหบริ การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่ อนที่ต อวันของ บริ ษัท ศู นยให บริ การคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท จำกัด (Clearing House) อาจสงผลใหอัตราการไดมาซึ่งลูกคาใหม (ซึ่งปจจุบันใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ ผูประกอบการรายอื่น) ของบริษัทยอยภายใตกลุมทรูโมบายไมสูงเทาที่ควร อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 กทค. ไดแถลงนโยบายผานสื่อวา พรอมผลักดันการปรับปรุงการใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่อรองรับการเปด ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G กทค. จึงมีนโยบายดำเนินการ ดังนี้ 1. ปรับปรุงขยายขีดความสามารถในการโอนยายเลขหมายโทรศัพทเพื่อใหรองรับปริมาณความตองการโอนยายเลขหมายของผูใช บริการไดอยางเพียงพอและเต็มประสิทธิภาพ 2. ขยายจุดพื้นที่และชองทางการใหบริการการขอโอนยายเลขหมายโทรศัพทรวมทั้งปรับปรุงขั้นตอนการขอโอนยายเลขหมาย โทรศัพท โดยผลักดันใหสามารถดำเนินการไดรวดเร็วกวาเดิมซึ่งปจจุบันกำหนดไว 3 วันทำการ และเพิ่มชองทางการใหบริการ ใหม ๆ โดยผู ใชบริการไมจำเปนตองเดินทางไปยังจุดใหบริการ เชน การยื่นคำขอผานชองทางอินเทอรเน็ต หรือผานระบบ SMS บนโทรศัพทเคลื่อนที่ของตนเอง เปนตน 3. ทบทวนคาธรรมเนียมการโอนยายผูใชบริการจากเดิมที่กำหนดไว 99 บาทตอเลขหมาย เพื่อลดภาระคาใชจายของผูใชบริการ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2555 กทค. ไดเชิญผูแทนจากผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ทุกราย ไดแก เอไอเอส ดีแทค ทรูมูฟ CAT Telecom และทีโอที และผูแทนจาก Clearing House รวมกันหารือทั้ง 3 ประเด็นดังกลาว ซึ่งผูประกอบการทุกรายรวมทั้งผูแทน จาก Clearing House ยินดีใหการสนับสนุนนโยบายของ กทค. และรับไปรวมกันพิจารณาจัดทำแผนเพื่อใหเกิดเปนรูปธรรมโดย จะเสนอรายละเอียดตอ กทค. ภายในเดือนมกราคม 2556 โดยผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ เอไอเอส ดีแทค ทรูมูฟ ไดทยอย จัดสงรางเงื่อนไขแนวทางปฏิบัติการโอนยายผู ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ฉบับปรับปรุงตามแนวทางขางตน ใหแกเลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการ กสทช. กอนสิ้นเดือนมกราคม 2556 แลวโดยวันที่ 5 มิถุนายน 2556 สำนักงานคณะกรรมการ กสทช. ได มี ห นั ง สื อ แจ ง มติ ก ารประชุ ม กทค. ครั้ ง ที่ 19/2556 เมื่ อ วั น ที่ 21 พฤษภาคม 2556 ว า มี ม ติ เ ห็ น ชอบให ก ำหนดอั ต ราค า ธรรมเนียมการโอนยายในอัตรา 29 บาทตอเลขหมาย (รวม VAT) โดยใหผูประกอบการกำหนดใชอัตราคาธรรมเนียมดังกลาว ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2556 และตอมาเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2556 กทค. ไดมีมติการประชุมครั้งที่ 22/2556 ใหใชวิธีการสง ขอความสั้น SMS เพื่อการลงทะเบียนขอใชบริการลวงหนา (Pre-Register) เพื่อการยืนยันตัวตนผูใชบริการเทานั้น และเห็นชอบให ใชชองทางการโอนยาย ซึ่งไดแก (1) จุดใหบริการของผู ใหบริการรายใหม (2) Website ของผู ใหบริการรายใหม และ (3) Call center ของผูใหบริการรายใหม เพื่อสงเสริมการใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ นอกจากนี้ ในวันที่ 24 มิถุนายน 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท Clearing House ไดมีมติครั้งที่ 8/2556 ใหขยายความ สามารถของระบบ ใหสามารถรองรับได 300,000 เลขหมายตอวัน โดยใหเริ่มมีผลตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ทั้งนี้ ใหแบง จำนวนที่ระบบสามารถรองรับได ใหแกผู ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้ง 5 กลุม เปนจำนวนเทา ๆ กัน คือ กลุมละ 60,000 เลขหมายตอวันอีกดวย อยางไรก็ตาม การเพิ่มความสามารถในการใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ดังกลาว ทำใหกลุมทรูโมบายอาจจะมี ความเสี่ ย งในการสู ญ เสี ย ลู ก ค า แบบเติ ม เงิ น บางส ว น โดยเฉพาะในต า งจั ง หวั ด เนื่ อ งจากการให บ ริ ก าร 2G ของบริ ษั ท ย อ ย ครอบคลุมพื้นที่นอยกวาผูประกอบการรายใหญรายอื่น ๆ

42

m n È


ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงดานกฎเกณฑการกำกับดูแล ตามขอตกลงที่ประเทศไทยไดให ไวกับองคกรการคาโลก หรือ WTO เพื่อเปดเสรีธุรกิจโทรคมนาคมไทยภายในป 2549 รัฐบาลไทย ไดเริ่มดำเนินการปฏิรูปการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม โดยการออกพระราชบัญญัติหลัก 2 ฉบับ อันไดแก พ.ร.บ. องคกร จัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2543 ซึ่งประกาศใชเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2543 และ พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม ซึ่งประกาศ ใชเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2544 ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตาม พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2543 จะตองมีการจัดตั้งองคกรเพื่อการกำกับดูแล 2 องคกร คือ คณะกรรมการ กทช. และคณะกรรมการ กสช. โดยในเดือนตุลาคม 2547 คณะกรรมการ กทช. ไดถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนองคกร อิสระในการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมซึ่งเดิมเปนอำนาจหนาที่ขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2545 ไดแปรสภาพเปน บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) หรือ ทีโอที) และการสื่อสารแหงประเทศไทย (ณ วันที่ 14 สิงหาคม 2546 ไดแปรสภาพเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT Telecom) และกรมไปรษณียโทรเลข (ปจจุบันเปลี่ยนเปน บริษัท ไปรษณีย ไทย จำกัด) อยางไรก็ดี ความขัดแยงทางการเมืองและนิติบัญญัติ ทำใหความพยายามในการจัดตั้งคณะกรรมการ กสช. ทั้งสองครั้ง (ในป 2544 และ 2548) ไมเปนผลสำเร็จ กอใหเกิดความสับสนในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียง กิจการวิทยุคมนาคม และกิจการโทรทัศน จนกระทั่งในวันที่ 20 ธันวาคม 2553 ไดมีการประกาศใช พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 ซึ่งมีผลใหมีการรวม องคกรการกำกับดูแลเปนองคกรเดียว คือ คณะกรรมการ กสทช. เพื่อทำหนาที่กำกับดูแลกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แทนคณะกรรมการ กทช. ซึ่งคณะกรรมการ กสทช. ไดรับการโปรดเกลาฯ ใหเขาดำรงตำแหนงตั้งแต วั น ที่ 7 ตุ ล าคม 2554 ทั้ ง นี้ ในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ กฎหมายได ก ำหนดให แ บ ง คณะกรรมการย อ ย 2 คณะ เพื่ อ ปฏิ บั ติ ก ารแทน คณะกรรมการ กสทช. คือ กสท. และ กทค. และนับแตคณะกรรมการ กสทช. เขารับตำแหนงนั้น คณะกรรมการ กสทช. ไดเรงวาง กรอบกฎเกณฑการกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน กิจการวิทยุคมนาคม และกิจการโทรคมนาคม โดย กทค. ไดเริ่ม ปฏิรูปและประกาศแก ไขกฎเกณฑที่มีอยูใหสอดคลองกับสภาวการณในปจจุบัน แตอยางไรก็ดี ขึ้นอยูวาคณะกรรมการ กสทช. ทั้ง 11 ทาน จะผลักดันใหเกิดการเปดเสรีและการกำหนดกฎระเบียบตาง ๆ ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไดอยางมีประสิทธิผลหรือไม กลุมทรูจะยังคงนโยบายเชิงรุกในการเจรจากับคณะกรรมการ กสทช. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้ง กระทรวงการคลัง (ซึ่งเปนผูถือหุนของ CAT Telecom และทีโอที) เพื่อสนับสนุนใหกระบวนการปฏิรูปธุรกิจโทรคมนาคมใหเกิด การแขงขันอยางเสรีและเปนธรรมอยางแทจริง ความเสี่ยงจากการจัดสรรคลื่นความถี่สำหรับการประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2555 เรียลฟวเจอรซึ่งเปนบริษัทยอยในกลุมทรูไดเขารวมการประมูลใบอนุญาตใชคลื่นความถี่สำหรับกิจการ โทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล (International Mobile Telecommunications - IMT) ยาน 2.1 GHz ตามประกาศของคณะกรรมการ กสทช. เรื่ อ งหลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารอนุ ญ าตให ใ ช ค ลื่ น ความถี่ IMT ย า น 2.1 GHz 2555 และเมื่ อ วั น ที่ 18 ตุ ล าคม 2555 เรียลฟวเจอร ไดรับแจงวาเปนหนึ่งในผูชนะการประมูลใบอนุญาตคลื่นความถี่ดังกลาว ในเดือนพฤศจิกายน 2555 สำนักงานผูตรวจการแผนดินไดยื่นฟอง สำนักงานคณะกรรมการ กสทช. ตอศาลปกครองกลาง เพื่อ ขอใหมีคำสั่งเพิกถอนผลการประมูล และใหมีคำสั่งคุมครองชั่วคราวใหคณะกรรมการ กสทช. ระงับการออกใบอนุญาตใชคลื่น ความถี่ IMT ยาน 2.1 GHz โดยขอใหศาลปกครองกลางวินิจฉัยวาการประมูลดังกลาวเปนการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม ตาม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 47 และ พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 มาตรา 45 ประกอบมาตรา 41 วรรค 1 และวรรค 7 หรือไม อยางไรก็ดี เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2555 ศาลปกครองกลางมีคำสั่งไมรับคำฟอง ของผูตรวจการแผนดินในคดีดังกลาวไวพิจารณา โดยระบุวาผูตรวจการแผนดินไมมีอำนาจฟอง และมีคำสั่งจำหนายคดีออกจาก สารบบความ ดังนั้น ภายหลังจากศาลปกครองกลางมีคำสั่งไมรับคำฟองของผูตรวจการแผนดินคดีดังกลาว เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการ กสทช. จึงไดออกใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ IMT ยาน 2.1 GHz ใหแก เรียลฟวเจอร และผูชนะการประมูล รายอื่น ๆ แมกระนั้น ผูตรวจการแผนดินและกลุมบุคคลที่อางวาเปนผูมีสวนไดเสียในคดีไดยื่นอุทธรณคำสั่งศาลปกครองกลางที่ ไมรับคำฟองของผูตรวจการแผนดินตอศาลปกครองสูงสุด ดังนั้น ขณะนี้คดีจึงอยู ในระหวางการพิจารณาอุทธรณของศาล ปกครองสูงสุด 43


การไดมาซึ่งใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ IMT ยาน 2.1 GHz เปนการเดินหนาเพื่อการเปดเสรีอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ซึ่งสงผลให มีการแขงขันในธุรกิจนี้เพิ่มมากขึ้น และยังทำใหกลุมทรูมีความจำเปนตองใชเงินลงทุนเพิ่มขึ้นจากการประมูลใบอนุญาต รวมทั้ง กอสรางและขยายโครงขายและอุปกรณเพื่อรองรับการใหบริการบนคลื่นความถี่ 2.1 GHz เพิ่มเติมจากการลงทุนสำหรับการขยาย บริการ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz ทั้งนี้ มีความเสี่ยงที่ เรียลฟวเจอรอาจไมสามารถขยายโครงขายเพื่อรองรับการใหบริการ บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz ไดทันตามขอกําหนดและเงื่อนไขในการอนุญาตใชคลื่นดังกลาว และอาจถูกกำหนดคาปรับรายวัน ในอัตรารอยละ 0.05 ของราคาประมูลสูงสุดของผูรับใบอนุญาต ตลอดระยะเวลาที่ ไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขภายในระยะเวลา ที่กำหนด อยางไรก็ตาม กลุมทรูเชื่อวาการไดรับการจัดสรรคลื่นความถี่ 2.1 GHz จะเปนประโยชนตอกลุมทรู ดังไดกลาวมาแลว ในหัวขอ “ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการแขงขันทางการตลาด” ซึ่งโดยภาพรวมนาจะชวยสงเสริมการวางแผนการพัฒนาธุรกิจ การทำการตลาด และการขยายฐานลูกคาของบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดมากขึ้น กลุมทรูมีความเสี่ยงจากการสิ้นสุดลงของสัญญาใหดำเนินการฯ ของทรูมูฟจาก CAT Telecom และสัญญารวมการงานฯ กิจการ โทรศัพทพื้นฐานจากทีโอทีที่จะสิ้นสุดลง เนื่องจากสัญญาใหดำเนินการฯ ของทรูมูฟ สิ้นสุดลงในเดือนกันยายน 2556 เพื่อสรางความตอเนื่องสำหรับธุรกิจของกลุม ทรูโมบาย กลุมทรูไดเขาซื้อหุนของบริษัทในกลุมฮัทชิสัน ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 และตอมาไดมีการทำสัญญากับ CAT Telecom ในวันที่ 27 มกราคม 2554 ทำใหเรียลมูฟซึ่งเปนบริษัทยอยภายใตกลุมทรูโมบายเปนผูใหบริการ 3G+ แกผูใชบริการใน รูปแบบขายตอบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (Reseller) บนเทคโนโลยี 3G+ ของ CAT Telecom บนคลื่นความถี่ 850 MHz (ภายใต แบรนด ทรูมูฟ เอช) จนถึงป 2568 และในวันที่ 16 ตุลาคม 2555 เรียลฟวเจอร ซึ่งเปนบริษัทยอย ในกลุมทรูไดเขารวมการ ประมูลใบอนุญาตใชคลื่นความถี่สำหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล (International Mobile Telecommunications - IMT) ยาน 2.1 GHz และคณะกรรมการ กสทช. ไดออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมใหแก เรียลฟวเจอรเพื่อประกอบกิจการ ไดถึงป 2570 ซึ่งไดชวยขยายระยะเวลาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมทรูโมบายออกไป นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 คณะอนุกรรมการซึ่งไดรับการแตงตั้งจาก กทค. ไดเชิญผูประกอบการรายตาง ๆ เขาชี้แจงเกี่ยวกับการกำหนดแนวทางการดำเนินการในกรณีสัญญาสัมปทานสิ้นสุดลง โดยไดมีการกำหนดแนวทางที่จำเปนตาง ๆ เพื่อมิใหผู ใชบริการไดรับผลกระทบ โดยทรูมูฟนั้นมีความพรอมที่จะดำเนินการตาง ๆ เพื่อใหผู ใชบริการของทรูมูฟสามารถใช บริการตอไปไดอยางตอเนื่อง โดยตอมาเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2556 คณะกรรมการ กสทช. จึงมีมติเห็นชอบในรางประกาศ มาตรการคุมครองผู ใชบริการในกรณีสิ้นสุดการอนุญาตสัมปทานหรือสัญญาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งมีผลใชบังคับ ตั้งแตวันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดยกำหนดให CAT Telecom และทรูมูฟมีหนาที่ใหบริการกับผูใชบริการตอไปในระหวางสัญญา สัมปทานสิ้นสุดจนถึงวันที่คณะกรรมการ กสทช. ไดจัดสรรคลื่นความถี่ใหกับผูรับใบอนุญาตที่ชนะการประมูลแลวเสร็จ โดยระยะ เวลาดังกลาวตองไมเกิน 1 ป นับจากวันที่สิ้นสุดการอนุญาตสัมปทานหรือสัญญาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ตามประกาศนี้ CAT Telecom และทรูมูฟมีหนาที่ในการจัดทำแผนคุมครองผูใชบริการซึ่งตองมีสาระสำคัญเกี่ยวกับแผนงานประชาสัมพันธใหผูใช บริการทราบถึงการสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน แผนงานสงเสริมใหผูใชบริการสามารถใชบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ ได และค า ใช จ า ยในการให บ ริ ก ารและภาระที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการที่ ต อ งรั ก ษาคุ ณ ภาพมาตรฐานในขณะที่ จ ำนวนผู ใ ช บ ริ ก ารลดลง ตลอดเวลา นอกจากนี้ ประกาศดังกลาวยังกำหนดหาม CAT Telecom และ ทรูมูฟ รับผู ใชบริการรายใหมเพิ่มขึ้นจากเดิม และ กำหนดให CAT Telecom และทรูมูฟเปนผูรับชำระเงินรายไดจากการใหบริการแทนรัฐโดยแยกบัญชีการรับเงินไวเปนการเฉพาะ แลวรายงานจำนวนเงินรายไดและดอกผลที่เกิดขึ้นซึ่งไดหักตนทุนคาใช โครงขาย คาธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคม ตนทุน คาใชจายในการบริหารจัดการ และตนทุนคาใชจายอื่นที่จำเปนในการใหบริการแลว สวนที่เหลือใหนำสงสำนักงานคณะกรรมการ กสทช. เพื่อตรวจสอบกอนนำสงเปนรายไดแผนดินตอไป ทั้งนี้ ยังมีความไมแนนอนวาคณะกรรมการ กสทช. จะจัดประมูลคลื่น ความถี่และออกใบอนุญาตให ใชคลื่นความถี่แกผูชนะการประมูลภายใน 1 ปไดหรือไม หากคณะกรรมการ กสทช. ไมสามารถ ดำเนินการดังกลาวไดและไมอนุญาตให CAT Telecom และทรูมูฟมีหนาที่ใหบริการกับผูใชบริการตอไป อาจสงผลใหการบริการ แกผูใชบริการของทรูมูฟตองหยุดชะงักลง อยางไรก็ตาม กลุมทรูเชื่อวา การบังคับใชประกาศฉบับนี้ และการที่กลุมทรูมี เรียลมูฟ และเรียลฟวเจอร ในฐานะผู ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ จะชวยใหกลุมทรูสามารถใหบริการแกผู ใชบริการของทรูมูฟไดอยาง ตอเนื่องภายหลังสัญญาใหดำเนินการฯ สิ้นสุด นอกเหนือจากที่กลาวมาแลวนี้ สัญญารวมการงานฯ ระหวางบริษัทฯ และทีโอที ที่บริษัทฯ ทำหนาที่จัดสรางโครงขายพื้นฐานให แกทีโอที สำหรับใหบริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริม ซึ่งจะสิ้นสุดลงในเดือนตุลาคม 2560 อาจทำใหบริษัทฯ มีความเสี่ยงที่ ตองขาดรายไดจากสวนแบงรายไดที่ ไดรับจาก ทีโอทีภายหลังสัญญารวมการงานฯสิ้นสุดลง อยางไรก็ตาม ในปจจุบันบริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 100.0 ไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. สำหรับการใหบริการโทรศัพทพื้นฐานและบรอดแบนดทั่วประเทศ ซึ่งบริษัท ทรูยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด ไดขยาย 44

m n È


โครงขายอยางตอเนื่อง ทำใหความเสี่ยงดังกลาวลดลง ยิ่งไปกวานั้น การสรางและขยายโครงขายบรอดแบนดใหมภายใต เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ยั ง ช ว ยให ก ลุ ม ทรู ส ามารถให บ ริ ก ารด า นเสี ย งที่ มี คุ ณ ภาพสู ง และสามารถบริ ห ารต น ทุ น ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ รัฐบาลไทยไดมีการขอใหผู ใหบริการโทรคมนาคมจำนวนหนึ่งเขารวมการปรึกษาหารือเกี่ยวกับการแปรรูปสัญญารวมการ งานฯ หรือสัญญาใหดำเนินการฯ เปนใบอนุญาตหรือความตกลงอื่น ๆ โดยเปนสวนหนึ่งของการเปดเสรีตลาดโทรคมนาคม อยางไรก็ดี กลุมทรูไมอาจคาดการณ ไดวาขอกำหนดของความตกลงแปรรูปจะเปนอยางไร อีกทั้งไมอาจรับรองไดวาการแปรรูป สัญญารวมการงานฯ หรือสัญญาใหดำเนินการฯ ของกลุมทรูจะเปนไปตามขอกำหนดที่เอื้อประโยชน ไดเทากับขอกำหนดที่ใชกับ คูแขงของกลุมทรู หรือขอกำหนดที่กลุมทรูมีอยู ในขณะนี้ หากผู ใหบริการโทรคมนาคมรายอื่นสามารถเจรจาตอรองขอกำหนด สำหรับการแปรรูปสัญญารวมการงานฯ หรือสัญญาใหดำเนินการฯ ไดดีกวากลุมทรู กลุมทรูก็อาจเสียเปรียบในเชิงการแขงขัน จึงอาจไดรับผลกระทบอยางมีนัยสำคัญตอการประกอบธุรกิจของกลุมทรู อีกทั้งธุรกิจ ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และ โอกาสทางธุรกิจของกลุมทรูอาจไดรับผลกระทบในทางลบดวย ทรู มู ฟ มี ค วามเสี่ ย งที่ เ กิ ด จากขอ โต แ ย ง ที่ ทีโ อที เ รี ย กให ท รู มู ฟ และ CAT Telecom ชำระค า เชื่ อ มต อ โครงข า ยแบบเดิ ม (Access Charge) ใหแกทีโอที ซึ่งอาจจะทำใหบริษัทฯ มีคาใชจายเพิ่มขึ้นในอนาคต ทรูมูฟไดดำเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ภายใตสัญญาใหดำเนินการฯ ที่ CAT Telecom ตกลงใหทรูมูฟดำเนินการใหบริการวิทยุ คมนาคมซึ่งสัญญาใหดำเนินการฯ ไดสิ้นสุดลงแลวตั้งแตวันที่ 15 กันยายน 2556 โดยปจจุบัน ทรูมูฟยังคงมีหนาที่ใหบริการตาม ประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื่อง มาตรการคุมครองผู ใชบริการเปนการชั่วคราวในกรณีสิ้นสุดการอนุญาต สัมปทาน หรือ สัญญาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 นอกจากนั้น ทรูมูฟไดลงนามในขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยงโครงขาย หรือ ขอตกลง AC กับ CAT Telecom และทีโอที ซึ่งทำใหทรูมูฟ และ CAT Telecom จะตองจายคา AC ใหแกทีโอทีในอัตรา 200 บาท ตอเดือนตอลูกคาหนึ่งเลขหมาย และครึ่งหนึ่งของเงินผลประโยชนตอบแทนที่ CAT Telecom ไดรับจากทรูมูฟ สำหรับลูกคาแบบ เหมาจายรายเดือน (Post Pay) และในอัตรารอยละ 18 ของรายไดสำหรับลูกคาแบบเติมเงิน (Pre Pay) นอกเหนือจากที่ทรูมูฟตอง จายเงินผลประโยชนตอบแทนให CAT Telecom ในอัตรารอยละ 25 หรือ 30 (ตามแตชวงเวลาที่กำหนดไว ในสัญญาใหดำเนิน การฯ ) จากรายไดสุทธิภายหลังจากหักคา AC ในเดือนพฤษภาคม 2549 คณะกรรมการ กทช. ไดออกประกาศ เรื่อง IC ซึ่งระบุใหผูประกอบการโทรคมนาคมที่มีโครงขายของ ตนเองตองอนุญาตใหผูประกอบการรายอื่นสามารถเขาเชื่อมตอและใช โครงขายของตนเองไดอยางเทาเทียมกัน ทั้งนี้ หากมี สัญญาใดที่มีผลบังคับใชกอนหนา แตขัดตอประกาศเรื่อง IC ใหถือตามประกาศดังกลาว ทั้งนี้ ประกาศคณะกรรมการ กทช. ฉบับนี้ ไดกำหนดระบบการจายคาเชื่อมตอโครงขายรูปแบบใหม หรือ คา IC ที่สะทอนปริมาณการใชงานระหวางโครงขายของ ผูประกอบการแตละราย และไดกำหนดใหผูประกอบการเจรจาเพื่อการเขาสูขอตกลง IC โดยคาเชื่อมตอโครงขายตองอยูบน พื้นฐานของตนทุนของผูประกอบการแตละราย ซึ่งตอมาในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรูมูฟไดรวมลงนาม ในสัญญา IC กับ ดีแทค โดยสัญญาดังกลาวมีผลบังคับใชทันที และในวันที่ 16 มกราคม 2550 ทรูมูฟก็ ไดลงนามในสัญญา IC กับเอไอเอส ภายหลังการลงนามกับดีแทค ทรูมูฟไดหยุดจายคา AC ตามขอตกลง AC กับ CAT Telecom และทีโอที เนื่องจากขอตกลง AC ขัดตอประกาศเรื่อง IC ของ คณะกรรมการ กทช. ดังกลาว ในกรณีการปฏิบัติอยางเทาเทียมกัน จากการเรียกเก็บคา AC (ซึ่ง ทีโอทีเปนผู ไดรับประโยชนแตเพียงฝายเดียวจากคา AC) เนื่องจากทรูมูฟและ CAT Telecom เชื่อวาเปนการปฏิบัติตามกฎหมาย และตองเขาสูระบบเชื่อมตอโครงขายแบบใหมตามประกาศ IC อีกทั้งทรูมูฟยังไดมีการบอกเลิกขอตกลง AC แลว ทรูมูฟจึงไมมี ภาระตามกฎหมายใด ๆ ที่จะตองจายคาเชื่อมตอโครงขายแบบเดิมอีกตอไป ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรูมูฟไดสงหนังสือแจงทีโอทีและ CAT Telecom วาจะหยุดชำระคา AC เนื่องจากอัตราและการ เรียกเก็บคา AC ขัดแยงกับกฎหมายหลายประการ ทั้งนี้ ทรูมูฟไดรองขอใหทีโอทีปฏิบัติตามหลักเกณฑของคณะกรรมการ กทช. และเขารวมลงนามในสัญญา IC เพื่อใหเปนไปตามกฎหมายหรือใหเรียกเก็บตามอัตราชั่วคราวที่ประกาศโดยคณะกรรมการ กทช. ในขณะที่การเจรจากับทีโอทีเกี่ยวกับสัญญาดังกลาวยังไม ไดขอสรุป ตอมาในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอทีไดสงหนังสือเพื่อแจงวาทรูมูฟไมมีสิทธิที่จะใชหรือเชื่อมตอโครงขายตามกฎหมายใหม เนื่องจากทรูมูฟไม ไดรับอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจากคณะกรรมการ กทช. และไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของ ตนเอง นอกจากนั้น ทีโอทีได โตแยงวาขอตกลง AC ไม ไดฝาฝนกฎหมายใด ๆ ดังนั้นการเรียกเก็บคา AC ยังมีผลใชบังคับตอไป อยางไรก็ตาม ทรูมูฟเห็นวา ขอโตแยงของทีโอทีไมเปนไปตาม พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคมอีกดวย 45


นอกจากนั้ น ที โ อที ไ ด ป ระกาศว า จะไม เ ชื่ อ มต อ สั ญ ญาณให กั บ ลู ก ค า ที่ เ ป น เลขหมายใหม ที่ ท รู มู ฟ เพิ่ ง ได รั บ การจั ด สรรจาก คณะกรรมการ กทช. จำนวน 1.5 ลานเลขหมาย เพราะทรูมูฟไมชำระคา AC ซึ่งอาจจะมีผลทำใหลูกคาของทีโอทีไมสามารถติดตอ ลูกคาของทรูมูฟที่เปนเลขหมายใหมนี้ อยางไรก็ตาม ทรูมูฟไดยื่นขอคุมครองชั่วคราวตอศาลปกครองกลาง ซึ่งศาลไดมีคำสั่ง กำหนดมาตรการบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนมีคำพิพากษา เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2550 โดยใหทีโอทีดำเนินการเชื่อมตอโครงขาย โทรคมนาคมเพื่อใหผู ใชบริการของทรูมูฟทุกเลขหมายสามารถติดตอกับเลขหมายของทีโอทีได ซึ่งเปนไปตามกฎเกณฑของ คณะกรรมการ กทช. และผลประโยชนตอสาธารณะ และเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2550 ทีโอทีไดยื่นอุทธรณคำสั่งดังกลาวตอศาล ปกครองสูงสุด ซึ่งตอมาไดพิพากษายืนตามคำสั่งของศาลปกครองกลาง ทำใหตั้งแตวันที่ 2 มีนาคม 2550 ทีโอทีไดดำเนินการ เชื่อมตอเลขหมายใหมทั้งหมดของทรูมูฟแลวเสร็จ นอกจากนั้น เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2552 ศาลปกครองกลางไดมีคำพิพากษา ใหทีโอทีดำเนินการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม เพื่อใหเลขหมายดังกลาวใชงานไดอยางตอเนื่องสมบูรณ และใหทีโอทีชำระ คาสินไหมทดแทนใหแกทรูมูฟจำนวน 1,000,000 บาท ซึ่งตอมา ทีโอทีไดยื่นอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด และปจจุบันอยู ใน ระหวางการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด นอกเหนือจากนั้น ในวันที่ 9 ตุลาคม 2552 ศาลปกครองกลางมีคำพิพากษายกฟอง กรณีทีโอทียื่นฟองขอเพิกถอนคำสั่งคณะกรรมการ กทช. ที่กำหนดใหทีโอทีตองเชื่อมตอโครงขายโทรศัพทเลขหมายใหม 1.5 ลานเลขหมายใหกับดีแทคและทรูมูฟ ซึ่งตอมาทีโอทีก็ ไดอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด โดยในวันที่ 2 มีนาคม 2553 ทรูมูฟได ยื่นเอกสารที่สนับสนุนคำสั่งของคณะกรรมการ กทช. ตอศาลปกครองสูงสุด อยางไรก็ตาม คดีทั้งสองยังไมเปนที่สิ้นสุดในปจจุบัน ในเดื อ นมิ ถุ น ายน 2550 ทรู มู ฟ ได ยื่ น คำร อ งเสนอข อ พิ พ าทเกี่ ย วกั บ การที่ ที โ อที ป ฏิ เ สธการเข า ทำสั ญ ญา IC กั บ ทรู มู ฟ ต อ คณะกรรมการ กทช. โดยมี ค ณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย ข อ พิ พ าท (กวพ.) เป น ผู พิ จ ารณา โดยในวั น ที่ 28 พฤศจิ ก ายน 2550 คณะกรรมการ กทช. ไดชี้ขาดใหทรูมูฟมีสิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบในการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมเชนเดียวกับผู ไดรับ ใบอนุ ญ าต และได มี ม ติ เ ป น เอกฉั น ท ชี้ ข าดข อ พิ พ าท ให ที โ อที เ ข า ร ว มเจรจาเพื่ อ ทำสั ญ ญาเชื่ อ มต อ โครงข า ยโทรคมนาคม (Interconnection Contract) กับทรูมูฟ ตอมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 ทีโอทีไดตกลงที่จะเขาเจรจาทำสัญญา IC กับทรูมูฟ แตมีเงื่อนไขวาจะทำสัญญาเฉพาะเลขหมายใหมที่ ไดรับจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เทานั้น ซึ่งทรูมูฟไดตกลงตามที่เสนอ ดังนั้น เฉพาะในสวนของเลขหมายเกาเทานั้นที่การเจรจายังไมบรรลุขอตกลง โดยทรูมูฟยังคงดำเนินการใหเปนเรื่องของ ขอพิพาทและอยูในดุลยพินิจของกระบวนการทางศาลตอไป ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอทีไดฟองรองตอศาลแพงเพื่อขอเรียกเก็บคา AC ที่ทรูมูฟไม ไดจายจำนวนประมาณ 4,508.1 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยและภาษีมูลคาเพิ่ม โดยเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ไดมีคำสั่งวาคดีดังกลาวไมอยูในเขตอำนาจ ศาลแพง ดังนั้น จึงมีการจำหนายคดีออกจากสารบบความของศาลแพง ตอมาเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอทีไดยื่นฟอง CATTelecom รวมกับทรูมูฟที่ศาลปกครองกลางเรียกรองใหชำระคา AC จำนวนเงิน 41,540.27 ลานบาท ขณะนี้คดีอยูระหวาง การพิจารณาของศาลปกครองกลางในวันที่มีการจัดทำรายงานฉบับนี้ คดีดังกลาวจึงยังไมถึงที่สุด แตหากผลการตัดสินของศาลเปนที่สุดในทางลบตอกลุมทรู อาจจะทำใหทรูมูฟตองจายเงินคาปรับจำนวนหนึ่งเทาของคา AC ที่ CAT Telecom อาจจะจายแทนทรูมูฟ พรอมทั้งดอกเบี้ย และทรูมูฟอาจจะตองจายทั้งคา AC และคา IC ซึ่งจะทำใหคาใชจาย ของทรูมูฟเพิ่มขึ้นอยางมาก หากศาลมีคำสั่งใหทรูมูฟตองชำระคา AC ที่ ไม ไดจาย ทรูมูฟอาจจะตองบันทึกคาใชจายเพิ่มเติมจำนวน 32,344.56 ลานบาท (หรือ จำนวน 23,762.55 ล า นบาท สุ ท ธิ จ ากผลประโยชน ต อบแทนที่ จ า ยให แ ก CAT Telecom) สำหรั บ ระยะเวลาตั้ ง แต วั น ที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2556 ทั้งนี้ กลุมทรูยังไมมีการตั้งสำรองทางบัญชีสำหรับรายการคาเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นจากรายการนี้ี ทรูมูฟมีความเสี่ยงที่เกิดจากขอโตแยงที่ CAT Telecom เรียกใหทรูมูฟสงมอบและโอนกรรมสิทธิ์ ในเสาสำหรับติดตั้งเครื่องและ อุปกรณโทรคมนาคมจำนวน 4,546 เสา ให CAT Telecom เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 CAT Telecom ไดยื่นคำเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกรองใหทรูมูฟสงมอบและโอน กรรมสิทธิ์ในเสาที่ติดตั้งเครื่องและอุปกรณ และอุปกรณเสาโทรคมนาคม จำนวน 4,546 เสาให CAT Telecom หากทรูมูฟ ไมสามารถสงมอบและโอนกรรมสิทธิ์ในเสาดังกลาวได ไมวาดวยเหตุใด ๆ ใหทรูมูฟชำระคาเสียหาย เปนเงินจำนวนทั้งสิ้น 2,766,165,293 บาท อยางไรก็ดี ตามความเห็นของกลุมทรู ทรูมูฟไม ไดถูกผูกพันตามสัญญาใหดำเนินการฯ ซึ่งไดสิ้นสุดลงแลว ตั้งแตวันที่ 15 กันยายน 2556 โดยปจจุบัน ทรูมูฟยังคงมีหนาที่ ใหบริการตามประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื่อง มาตรการ คุมครองผูใชบริการเปนการชั่วคราวในกรณีสิ้นสุดการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 ใหตองสงมอบและโอนกรรมสิทธิ์ในเสาโทรคมนาคมและอุปกรณเสาโทรคมนาคมตามที่ CAT Telecom เรียกรอง โดยเมื่อวันที่ 3 46

m n È


กันยายน 2552 ทรูมูฟไดยื่นคัดคานคำเสนอขอพิพาทตอคณะอนุญาโตตุลาการ เมื่อเดือนสิงหาคม 2556 คณะอนุญาโตตุลาการได มีมติเปนเอกฉันทวินิจฉัยชี้ขาดใหยกคำเสนอขอพิพาทของ CAT Telecom เนื่องจากขณะนั้นยังไมครบกำหนดระยะเวลาที่ใหสิทธิ CAT Telecom ใชสิทธิตามสัญญา CAT Telecom จึงไมมีสิทธิเรียกรองตามประเด็นขอพิพาทคดีนี้ คณะอนุญาโตตุลาการไดตัดสิน วา ในสัญญาใหดำเนินการฯ หากทรูมูฟจะตองสงมอบทรัพยสินใหแก CAT Telecom ก็จะตองทำการสงมอบภายในเวลา 60 วัน นับจากวันที่สัญญาใหดำเนินการฯ หมดอายุลงหรือวันที่ ไดมีการเลิกสัญญาดังกลาวเทานั้น และเนื่องจากสัญญาใหดำเนินการฯ ยังไมหมดอายุและยังไม ไดมีการเลิกสัญญา ณ วันที่ CAT Telecom ไดยื่นคำเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ กลาวคือวันที่ 29 มกราคม 2552 CAT Telecom จึงไมมีสิทธิตามกฎหมายที่จะเรียกรองกรรมสิทธิ์ในเสาโทรคมนาคม ดังนั้น คณะอนุญาโตตุลาการ จึงไม ไดพิจารณาวาทรูมูฟจะตองสงมอบ และ/หรือ โอนกรรมสิทธิ์ในเสาและอุปกรณใหแก CAT Telecom ตามสัญญาใหดำเนิน การฯ หรือไม โดยเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2556 CAT Telecom ไดยื่นคำรองขอใหศาลปกครองกลางมีคำสั่งเพิกถอนคำชี้ขาดของ อนุญาโตตุลาการดังกลาวเปนคดีหมายเลขดำที่ 1813/2556 ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ กลุมทรู เชื่อวาความเห็นของอนุญาโตตุลาการดังกลาวเปนคุณกับทรูมูฟแม CAT Telecom อาจใชสิทธิเรียกกรองในประเด็นดังกลาวอีก ครั้งภายหลังวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 CAT Telecom ไดยื่นคำเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักระงับขอพิพาท สำนักงานศาลยุติธรรม โดยเรียกรองใหทรูมูฟสงมอบพรอมโอนกรรมสิทธิ์เครื่องและอุปกรณ Generator จำนวน 59 สถานี ใหแก CAT Telecom หากสงมอบไม ได ไมวากรณี ใด ๆ ใหทรูมูฟชดใชราคาแทนรวมมูลคาทั้งสิ้นเปนเงินจำนวน 39,570,000 บาท ขณะนี้อยูระหวางกระบวนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ความเสี่ยงจากขอพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) และสวนแบงรายได ในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติใหมีการลดอัตราภาษีสรรพสามิตที่จัดเก็บจากบริการโทรคมนาคมเปนรอยละ 0 (จากเดิมรอยละ 2 สำหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน และรอยละ 10 สำหรับกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่) นอกจากนั้น คณะรัฐมนตรียัง ไดมีมติใหคูสัญญาภาครัฐ (ทีโอทีและ CAT Telecom) เปนผูรับผิดชอบสำหรับภาษีสรรพสามิต เพื่อไมใหมีผลกระทบตอผูบริโภค โดยในป 2546 คณะรั ฐ มนตรี ไ ด อ นุ ญ าตให คู สั ญ ญาภาคเอกชนนำค า ภาษี ส รรพสามิ ต ไปหั ก ออกจากส ว นแบ ง รายได ห รื อ ผลประโยชนตอบแทนที่คูสัญญาภาคเอกชนตองนำสงใหคูสัญญาภาครัฐ และนำสงใหกับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งสงผลให สวนแบงรายไดหรือผลประโยชนตอบแทนที่นำสงคูสัญญาภาครัฐลดลง ทั้งนี้ เปนความเห็นชอบของคูสัญญาภาครัฐ รวมทั้ง เปน ไปตามมติของคณะรัฐมนตรีที่กลาวมาแลว ภายหลังการเปลี่ยนแปลงของรัฐบาลในป 2550 ไดมีการประกาศลดอัตราภาษี สรรพสามิตเปนรอยละ 0 ทำใหทีโอทีและ CAT Telecom ไดรับสวนแบงรายไดหรือผลประโยชนตอบแทนเต็มจำนวน อยางไร ก็ตาม ในระหวางที่มีการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต ผูประกอบการภาคเอกชนยังคงมีรายจายรวมใหภาครัฐเทาเดิม (รวมที่จายให กระทรวงการคลังและทีโอที หรือ CAT Telecom) โดยปจจุบัน ยังมีขอพิพาทระหวางภาคเอกชนและคูสัญญาภาครัฐในประเด็นนี้ ซึ่ ง เป น ประเด็ น เกี่ ย วกั บ การชำระส ว นแบ ง รายได ใ ห ที โ อที และชำระผลประโยชน ต อบแทนให CAT Telecom ไม ค รบ ซึ่ง CAT Telecom มีหนังสือเรียกใหทรูมูฟชำระเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน โดยในเดือนมกราคม 2551 CAT Telecom ไดยื่นคำเสนอ ขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกคาเสียหายจากทรูมูฟนับจนถึงวันเสนอขอพิพาท เปนจำนวนเงินประมาณ 9.0 พันลานบาท รวมดอกเบี้ย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2554 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคำวินิจฉัยชี้ขาดใหยกคำเสนอขอพิพาทดังกลาว เปนผล ทำให ท รู มู ฟ ไม ต อ งชำระผลประโยชน ต อบแทนตามคำเรี ย กร อ งดั ง กล า ว CAT Telecom ได ยื่ น คำร อ งขอเพิ ก ถอนคำชี้ ข าด อนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 ขณะนี้คดีอยูระหวางกระบวนการของศาลปกครองกลาง นอกจากนี้ CAT Telecom ไดเรียกใหทรูมูฟรับผิดในเงินคาภาษีมูลคาเพิ่มจากผลประโยชนตอบแทนในสวนคาภาษีสรรพสามิต พรอมเบี้ยปรับและเงินเพิ่มที่ CAT Telecom ถูกกรมสรรพากรประเมินและแพคดีในชั้นศาลภาษีไปแลว ตลอดจนคาใชจายในการ ดำเนินคดี คาธรรมเนียม และดอกเบี้ย รวมเปนเงินคาเสียหายจากการไมปฏิบัติตามสัญญาในสวนดังกลาวที่ CAT Telecom เรียก มาในชวงเดือนมีนาคม 2555 จำนวนทั้งสิ้น 1,302.8 ลานบาท (คำนวณถึงสิ้นเดือนมีนาคม 2555) โดย CAT Telecom อาจเสนอ ขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการตอไป เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 CAT Telecom ไดยื่นคำเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเพื่อเรียกรองใหทรูมูฟชำระคา ผลประโยชนตอบแทนใหครบถวนจากการที่ทรูมูฟหักคา IC จากรายไดกอนคำนวณผลประโยชนตอบแทนให CAT Telecom ในป ดำเนินการที่ 10 -14 เปนเงินทั้งสิ้น 11,946,145,608.55 บาท ตอมาเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2556 CAT Telecom ไดยื่นคำเสนอ ขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเพื่อเรียกรองใหทรูมูฟชำระเงินคาผลประโยชนตอบแทนใหครบถวนจากการที่ทรูมูฟหักคา IC จากรายไดกอนคำนวณผลประโยชนตอบแทนให CAT Telecom ในปดำเนินการที่ 15 เปนเงินทั้งสิ้น 1,571,599,139.64 บาท ซึ่งขณะนี้ขอพิพาททั้งสองเรื่องดังกลาวยังอยูในระหวางกระบวนการของอนุญาโตตุลาการ 47


นอกจากนั้น ทีโอทีไดยื่นคำเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 เรียกคืนสวนแบงรายไดที่บริษัทฯ ได รับเกินกวาสิทธิที่พึงจะไดรับจำนวน 1,479.6 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย สำหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน ตอมาบริษัทฯ ไดยื่นคำ คัดคาน เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ซึ่งปจจุบันเรื่องดังกลาวยังอยูในระหวางกระบวนการของอนุญาโตตุลาการและยังไมเปนที่ ยุติ อยางไรก็ตาม ในวันที่ 9 กุมภาพันธ 2554 ทีโอทีไดมีหนังสือแจงใหบริษัทฯ คืนเงินที่ทีโอทีไดนำสงใหบริษัทฯ เพื่อนำไปชำระ เปนคาภาษีสรรพสามิตและภาษีมูลคาเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที ตั้งแตเดือนมกราคม 2546 จนถึงเดือนธันวาคม 2549 เปนเงินจำนวน 1,479.6 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 และภาษีมูลคาเพิ่มตามกฎหมายใหแกทีโอที ภายใน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2554 ซึ่งในกรณีนี้ บริษัทฯ ไมมีหนาที่ชำระคืนเงินดังกลาวใหแกทีโอที เนื่องจากไดปฏิบัติตามที่ทีโอที มอบหมายครบถวน โดยไดนำเงินดังกลาวไปชำระเปนคาภาษีสรรพสามิตและภาษีมูลคาเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที และกรมสรรพสามิตไดออกใบเสร็จรับเงินเปนเลขที่กำกับภาษีของทีโอที ดังนั้น บริษัทฯ มิไดผิดสัญญา หรือละเมิดกฎหมาย จึงไมมีหนาที่ชำระเงินดังกลาวคืนใหแกทีโอที อีกทั้ง ทีโอทีไดเรียกรองเงินซ้ำซอนอันเปนจำนวนเดียวกันกับที่ทีโอทีไดยื่นขอพิพาท ตออนุญาโตตุลาการดังกลาว ความเสี่ยงจากขอพิพาทที่มีอยูเดิมระหวาง CAT Telecom กับบริษัทยอยกลุมฮัทชิสันซึ่งกลุมทรูเขาซื้อหุน ฮัทชิสัน ซีเอที ซึ่งกลุมทรูซื้อหุนมาจากกลุมฮัทชิสันมีขอพิพาทเดิมอยูกับ CAT Telecom ซึ่งอาจทำใหกลุมทรูตองบันทึกคาใชจาย เปนจำนวนเงิน 1,445.0 ลานบาท และอาจสงผลกระทบในทางลบกับความสัมพันธทางธุรกิจระหวางกลุมทรูและ CAT Telecom ในปลายป 2551 และ 2552 CAT Telecom ไดยื่นคำเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการกับฮัทชิสัน ซีเอที ซึ่งเปนบริษัทยอยที่ กลุมทรูเขาซื้อหุน โดยเรียกรองเงินประกันรายไดขั้นต่ำ เงินคาภาษีสรรพสามิตพรอมภาษีมูลคาเพิ่ม คาธรรมเนียมใบอนุญาต คาธรรมเนียมเลขหมาย คาใชบริการที่เปนหนี้เสียและคาใชจายในการดำเนินคดี คาปรับจากการนำสงคาบริการรายเดือน และ คาธรรมเนียมลาชา จำนวน 1,445.0 ลานบาท ภายใตสัญญาทำการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร Digital AMPS 800Band A ซึ่งขอพิพาทดังกลาวไดมีการระงับกระบวนพิจารณาไวชั่วคราวและจำหนายคดีจากสารบบความ แตขณะนี้ ไดมีการนำขอพิพาทเขา สูกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการตามเดิม และขอพิพาทอยูระหวางการดำเนินการทางอนุญาโตตุลาการ นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2557 CAT Telecom ไดมีหนังสือถึงธนาคารเพื่อขอใหชำระเงินตามหนังสือค้ำประกันจำนวนเงิน 63,002,000.00 บาท โดยอางวา กลุมฮัทชิสันปฏิบัติผิดสัญญาทำการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร Digital AMPS 800Band A สัญญาทำการ ตลาดบริการโทรขามแดนอัตโนมัติ และสัญญาการดูแลผูใชบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา CDMA ซึ่งแมวากลุมฮัทชิสันเชื่อวา ไม ไดผิดสัญญาและขอเรียกรองของ CAT Telecom ยังไม ไดมีคำชี้ขาดจนถึงที่สุดของคณะอนุญาโตตุลาการหรือศาล (แลวแต กรณี) วากลุมฮัทชิสันปฏิบัติผิดสัญญาหรือไม อยางไรก็ดี มีความเสี่ยงที่ธนาคารอาจชำระเงินตามหนังสือค้ำประกันซึ่งทำให กลุมทรูจะตองชำระเงินคืนใหแกธนาคาร ความเสี่ยงจากขอพิพาทเกี่ยวกับการจัดเก็บขอมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับผู ใชบริการ เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2554 บริษัทยอยแหงหนึ่งคือ ทรูมูฟ ไดยื่นฟองคณะกรรมการ กทช. ปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิการ กสทช. ตอศาลปกครองกลางเกี่ยวกับขอพิพาทเรื่องการดำเนินการจัดเก็บขอมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับผู ใช บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ประเภทเรียกเก็บคาบริการลวงหนา ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง หลักเกณฑการจัดสรรและ บริหารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 โดยฟองขอใหเพิกถอนประกาศฉบับดังกลาว เฉพาะขอ 38 และขอ 96 และเพิกถอน มติและคำวินิจฉัยของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการ กสทช. และคำสั่งของเลขาธิการ กสทช. ที่ใหทรูมูฟปฏิบัติ ตามประกาศฉบับดังกลาว ซึ่งเฉพาะในสวนขอหาที่ 1 ซึ่งฟองเพิกถอนประกาศฉบับดังกลาวนั้น ศาลปกครองกลางไดมีคำสั่ง ไมรับฟอง เนื่องจากเห็นวาไดยื่นคำฟองตอศาลพนกำหนดระยะเวลาฟองคดี และไมอาจถือไดวาคำฟองในขอหานี้จะเปนประโยชน แกสวนรวม เพราะประกาศดังกลาวไมมีผลตอผู ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งทรูมูฟไดยื่นอุทธรณคำสั่งไมรับฟองบางขอหาไว พิจารณาดังกลาว ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด สวนประเด็นพิพาทอื่นในคดีอยูระหวางการพิจารณา ของศาลปกครองกลาง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2555 เลขาธิการ กสทช. ไดมีหนังสือแจงเตือน และตอมาเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการ กสทช. ไดมีหนังสือมายังทรูมูฟวา ทรูมูฟยังคงฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคำสั่งเลขาธิการ กสทช. และคำวินิจฉัยอุทธรณ ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการ กสทช. และหนังสือแจงเตือน จึงอาศัยอำนาจตามมาตรา 66 แหง พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม กำหนดมาตรการบังคับทางปกครอง ปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท ใหทรูมูฟชำระนับแตวัน พนกำหนด 30 วัน นับแตวันที่ ไดรับหนังสือฉบับดังกลาว ทรูมูฟจึงไดยื่นคำรองขอใหศาลมีคำสั่งทุเลาการบังคับตามคำสั่งกอนมี คำพิพากษา 48

m n È


ตอมาเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ศาลปกครองกลางมีคำสั่งยกคำขอในสวนที่ขอใหศาลมีคำสั่งทุเลาการบังคับคดีตามคำสั่งทาง ปกครอง ที่ใหจัดเก็บขอมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับผูใชบริการ เพราะเห็นวาหากมีการทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครองดัง กลาวใหแกทรูมูฟ จะกอใหเกิดความไดเปรียบเสียเปรียบระหวางผูประกอบกิจการโทรคมนาคมดวยกัน อันจะกอใหเกิดอุปสรรคแก การบริ ห ารงานของรั ฐ หรื อ แก บ ริ ก ารสาธารณะ ดั ง นั้ น ผลของคำสั่ ง ดั ง กล า วทำให ท รู มู ฟ ต อ งดำเนิ น การจั ด เก็ บ ข อ มู ล และ รายละเอียดเกี่ยวกับผูใชบริการตอไป อยางไรก็ดี สำหรับคำสั่งกำหนดคาปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท ศาลปกครองกลางมีคำสั่ง ใหระงับการกำหนดคาปรับตามคำสั่งของเลขาธิการ กสทช. ไวเปนการชั่วคราว ซึ่งคำสั่งศาลดังกลาวทำให ทรูมูฟไมตองถูกบังคับ ใหตองชำระคาปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท จนกวาคดีจะถึงที่สุดหรือจนกวาศาลจะมีคำพิพากษาหรือคำสั่งเปนอยางอื่น ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2555 คณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิการ กสทช. ไดยื่นอุทธรณคำสั่งของศาลปกครองกลางดังกลาวตอ ศาลปกครองสูงสุดซึ่งตอมาศาลปกครองสูงสุดไดมีคำสั่งลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 กลับคำสั่งของศาลปกครองกลาง เปนให ยกคำขอของทรูมูฟทั้งหมด ทำใหทรูมูฟอาจไดรับผลกระทบจากกำหนดมาตรการบังคับทางปกครอง โดยตองชำระคาปรับในอัตรา วันละ 80,000 บาท และมาตรการบังคับอื่นที่อาจมีการกำหนดเพิ่มเติมในสวนของคดีพิพาทหลัก หากศาลปกครองมีคำพิพากษาถึงที่สุดวา ประกาศ คำสั่ง มติ และคำวินิจฉัยที่พิพาทชอบดวยกฎหมาย อาจสงผลใหทรูมูฟตอง ชำระคาปรับและตองปฏิบัติตามคำสั่งของเลขาธิการ กสทช. และหากทรูมูฟยังเพิกเฉยไมปฏิบัติใหถูกตอง หรือกรณีที่มีความ เสี่ยงรายแรงตอประโยชนสาธารณะคณะกรรมการ กสทช. มีอำนาจพักใชหรือเพิกถอนสัญญาใหดำเนินการฯ ของทรูมูฟได ทั้งนี้ ปจจุบันสัญญาใหดำเนินการฯไดสิ้นสุดลงแลวตั้งแตวันที่ 15 กันยายน 2556 โดยปจจุบัน ทรูมูฟยังคงมีหนาที่ ใหบริการตาม ประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื่อง มาตรการคุมครองผู ใชบริการเปนการชั่วคราวในกรณีสิ้นสุดการอนุญาต สัมปทาน หรือ สัญญาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 อยางไรก็ดี มาตรา 66 แหง พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม กำหนด วาการกระทำความผิดกรณีใดจะตองถูกพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตใหเปนไปตามที่คณะกรรมการ กสทช. ประกาศกำหนด แต ณ ปจจุบันยังไมมีการออกประกาศดังกลาว แตหากผลของคดีมีคำพิพากษาถึงที่สุดอันเปนคุณแกทรูมูฟ ทรูมูฟสามารถเรียกคืน เงินคาปรับทางปกครองที่ชำระตอคณะกรรมการ กสทช. คืนได ความเสี่ยงจากขอพิพาทเกี่ยวกับการเรียกเก็บคาบริการลวงหนา เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2555 เลขาธิการ กสทช. ไดมีหนังสือแจงเตือนใหทรูมูฟดำเนินการปรับปรุงเงื่อนไขการใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ประเภทเรียกเก็บเงินคาบริการลวงหนา ไมใหมีขอกำหนดในลักษณะเปนการบังคับใหผู ใชบริการตองใชบริการภายใน ระยะเวลาที่กำหนดและหามมิใหกำหนดเงื่อนไขที่มีลักษณะเปนการบังคับใหผูใชบริการตองใชบริการภายในระยะเวลาที่กำหนด อีกตอไป ตอมาเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 ทรูมูฟไดยื่นฟองคณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิการ กสทช. ตอศาลปกครอง กลาง ขอใหเพิกถอนคำสั่งและมติของคณะกรรมการ กสทช. และคำสั่งของเลขาธิการ กสทช. ที่หามผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ประเภทเรียกเก็บคาบริการลวงหนากำหนดรายการสงเสริมการขายในลักษณะเปนการบังคับใหผูใชบริการตองใชบริการภายใน ระยะเวลาที่กำหนด (Validity) พรอมขอใหศาลกำหนดมาตรการและวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขเปนการชั่วคราวกอนการพิพากษา ซึ่งปจจุบันยังอยูในระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการ กสทช. ไดมี หนังสือกำหนดใหทรูมูฟจะตองชำระคาปรับทางปกครองในอัตราวันละ 100,000 บาท ตั้งแตวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 เปนตนไป ตอมาทรูมูฟไดยื่นคำรองขอตอศาลปกครองกลางใหมีคำสั่งใหทุเลาการบังคับตามคำสั่งและมติของคณะกรรมการ กสทช. และ คำสั่งของเลขาธิการ กสทช. รวมถึงการกำหนดคาปรับทางปกครองดังกลาว หรือกำหนดมาตรการและวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข เปนการชั่วคราวกอนมีคำพิพากษา แตศาลไดยกคำขอดังกลาว สงผลใหทรูมูฟไมมีสิทธิท่จี ะไดรับการทุเลาการบังคับตามคำสั่งและ มติที่พิพาท และยังคงตองถูกบังคับใหจายคาปรับดังกลาว ตอมา กทค. มีมติยืนตามคำสั่งปรับของเลขาธิการ กสทช. ทำใหทรูมูฟ ดำเนินการฟองมติ กทค. ที่ยืนตามคำสั่งปรับของเลขาธิการ กสทช. ตอศาลปกครองพรอมกับขอบรรเทาทุกขชั่วคราว โดยสำนักงานคณะกรรมการ กสทช. ไดมีหนังสือลงวันที่ 7 มกราคม 2556 เชิญผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ทุกรายเขารวม ประชุมเพื่อหารือในประเด็นดังกลาว โดยสำนักงานคณะกรรมการ กสทช. ไดแจงใหผูประกอบการทุกรายปฏิบัติตามคำสั่งทาง ปกครองโดยการยกเลิกการกำหนดระยะเวลาการใชบริการสำหรับผู ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ประเภทเรียกเก็บคาบริการ ลวงหนานับตั้งแตวันที่ 18 มกราคม 2556 เปนตนไป จนกวาจะไดรับความเห็นชอบการกำหนดระยะเวลาการใชบริการจาก คณะกรรมการ กสทช. ทรูมูฟจึงไดมีหนังสือลงวันที่ 18 มกราคม 2556 ถึง กทค. แจงวาไดดำเนินการใหผูใชบริการที่เปดใชบริการ และผูใชบริการที่เติม เงินทุกมูลคาตั้งแตวันที่ 18 มกราคม 2556 เปนตนไป สามารถใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ประเภทเรียกเก็บคาบริการลวงหนาตอ ไปได อ ย า งต อ เนื่ อ ง จนกว า ทรู มู ฟ จะได รั บ ความเห็ น ชอบการกำหนดระยะเวลาจากคณะกรรมการ กสทช. ซึ่ ง เมื่ อ วั น ที่ 13 กุมภาพันธ 2556 ทรูมูฟไดรับหนังสือจากสำนักงานคณะกรรมการ กสทช. แจงวา กทค. ไดมีมติเห็นชอบเงื่อนไขการใหบริการ 49


โทรศัพทเคลื่อนที่ ในลักษณะที่เรียกเก็บคาบริการเปนการลวงหนาที่มีกำหนดระยะเวลาให ใชบริการ (Validity) ของทรูมูฟแลว อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2556 สำนักงานคณะกรรมการ กสทช. มีหนังสือแจงมายังทรูมูฟวากอนวันที่ 18 มกราคม 2556 ทรูมูฟไดกำหนดเงื่อนไขที่มีลักษณะเปนการบังคับใหผูใชบริการตองใชบริการภายในกำหนดระยะเวลา (Validity) อันเปนการ ฝาฝนคำสั่งของเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการ กสทช. จึงขอใหทรูมูฟชำระคาปรับในอัตราวันละ 100,000 บาท นับตั้งแตวัน ที่ 30 พฤษภาคม 2555 จนถึงวันที่ 17 มกราคม 2556 รวมเปนเงินทั้งสิ้น 23,300,000 บาท ทั้งนี้ หากทรูมูฟไมชำระคาปรับ จำนวนดังกลาว เลขาธิการ กสทช. อาจเพิ่มมาตรการบังคับ เชน เพิ่มอัตราคาปรับรายวันได อยางไรก็ตาม ทรูมูฟไดยื่นฟองขอ เพิกถอนคำสั่งกำหนดคาปรับดังกลาวตอศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 และปจจุบันยังคงอยูระหวางการ พิจารณาของศาลปกครอง ทั้งนี้ หากศาลปกครองพิพากษาวาคำสั่งกำหนดคาปรับดังกลาวชอบดวยกฎหมาย มีความเสี่ยงที่ ทรูมูฟตองชำระคาปรับจำนวนดังกลาว ความเสี่ยงจากการใชและการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) สำหรับโทรศัพทพื้นฐาน ในเดือนเมษายน 2553 คณะกรรมการ กทช. ไดออกคำสั่งประกาศอัตราชั่วคราวของคาเชื่อมตอโครงขาย (Interconnection Charge หรือ IC) สำหรับโทรศัพทพื้นฐานที่อัตรา 0.36 บาทตอนาที ทำใหบริษัทฯ มีความเสี่ยงที่อาจจะถูกเรียกเก็บคา IC จากผูให บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เนื่องจากปริมาณการโทรออกของผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่มักจะสูง กวาปริมาณการโทรเขาจากผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่มายังผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐาน ซึ่งอาจทำใหบริษัทฯ มีคาใชจายเพิ่มขึ้น ในอนาคตสำหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน โดยมีผูประกอบการบางรายไดยื่นเรื่องตอคณะกรรมการ กทช. เพื่อใหบริษัทฯ เขาทำ สัญญา IC สำหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐานและตอมาไดยื่นเรื่องเพื่อเรียกเก็บคา IC จากกิจการโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ อยางไรก็ตาม บริษัทฯ เชื่อวาบริษัทฯ ไมมีหนาที่ที่จะตองจายคา IC เนื่องจากสัญญารวมการงานฯ สำหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน ระหวางบริษัทฯ กับทีโอที กำหนดใหบริษัทฯ มีหนาที่ลงทุน จัดหา และติดตั้งตลอดจนบำรุงรักษาอุปกรณใหแกทีโอที โดยทีโอที เปนผูจัดเก็บรายไดทั้งหมดจากลูกคา และจะแบงรายไดที่ ไดรับใหบริษัทฯ ตามสัดสวนที่ระบุไวในสัญญารวมการงานฯ และบริษัทฯ ไดยื่นฟองคณะกรรมการ กทช. ตอศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2553 เพื่อขอใหศาลเพิกถอนคำสั่งที่ออกประกาศ อัตราชั่วคราวของคา IC และเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2555 ศาลปกครองกลางไดมีคำพิพากษาใหยกฟอง ปจจุบันคดีอยูระหวาง อุทธรณคำพิพากษาของศาลปกครองกลางตอศาลปกครองสูงสุด เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2554 ดีแทคไดยื่นคำฟองตอศาลปกครองกลาง เพื่อขอใหบริษัทฯ และทีโอทีรวมกันชำระคาใชและ เชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมจำนวน 3.28 พันลานบาท อยางไรก็ดี บริษัทฯ เห็นวาดีแทคไมมีสิทธิเรียกเก็บคาตอบแทนการเชื่อมตอ โครงขายกับบริษัทฯ และคดีนาจะอยูในเขตอำนาจของศาลยุติธรรม จึงไดยื่นคำรองโตแยงเขตอำนาจศาลตามพระราชบัญญัติ วาดวยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหนาที่ระหวางศาล พ.ศ. 2542 ขณะนี้คดีอยูระหวางการพิจารณาทำความเห็นเกี่ยวกับเรื่อง เขตอำนาจศาลของศาลปกครองกลางและศาลแพง ความเสี่ยงจากการทำสัญญาที่เกี่ยวของกับการเขาถือหุนในกลุมฮัทชิสนั และสัญญา HSPA ระหวาง CAT Telecom กับกลุมทรู ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 กลุมทรูไดลงนามในสัญญาซื้อขายหุนกับกลุมฮัทชิสัน และในวันที่ 27 มกราคม 2554 กลุมทรูไดบรรลุ ขอตกลงกับ CAT Telecom ทำใหเรียลมูฟเปนผูใหบริการ 3G+ ไดทั่วประเทศ ในรูปแบบเปนผูขายตอบริการ (reseller) โทรศัพท เคลื่อนที่บนเทคโนโลยี HSPA ของ CAT Telecom เปนระยะเวลาประมาณ 14 ป จนถึงป 2568 นอกจากนั้น บีเอฟเคที หนึ่งใน บริษัทที่ ไดมีการซื้อในครั้งนี้ ไดทำสัญญากับ CAT Telecom เพื่อให CAT Telecom เชาใชเครื่องและอุปกรณโครงขาย รวมทั้งให บริการดูแลและบำรุงรักษาอุปกรณ โครงขาย โดยจะมุงเนนการใหบริการเชาและดูแลบำรุงรักษาเครื่องและอุปกรณ โครงขาย โทรคมนาคมเทคโนโลยี 3G HSPA ใหแก CAT Telecom ทั่วประเทศ ซึ่งตอมาหนวยงานภาครัฐ อาทิ สำนักงานคณะกรรมการ กสทช. สำนักงานตรวจเงินแผนดิน และสำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ไดดำเนินการตรวจ สอบในประเด็นตาง ๆ เชน ประเด็นวาการทำสัญญาดังกลาวเขาขาย พ.ร.บ. รวมทุนฯ และขัดตอมาตรา 46 แหง พ.ร.บ. องคกร จัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 หรือไม เปนตน และนอกจากมติของ กทค. ดังที่จะไดกลาวถึงตอไปแลว ปจจุบันหนวยงานอื่น ๆ ยังอยูระหวางการทำการสอบสวนเรื่องนี้ อยางไรก็ดี กลุมทรูเชื่อวาทุกฝายไดปฏิบัติถูกตองตามกฎหมาย เนื่องจากเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ 2554 CAT Telecom ไดรายงาน ไปยังกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรณีการตรวจสอบความถูกตองของการดำเนินการเขาทำสัญญาเกี่ยวกับ การดำเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่รูปแบบใหมของ CAT Telecom กับกลุมทรูวา ไดมีการดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายที่ เกี่ยวของและขอสังเกตของสำนักงานอัยการสูงสุดแลว ดังนั้น เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2554 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อ สารจึ ง ได ข อหารื อ กั บ สำนั ก งานอั ย การสู ง สุ ด ว า ประเด็ น ข อ กฎหมายตามที่ CAT Telecom ชี้ แ จงนั้ น มี ค วามถูก ต อ ง 50

m n È


ครบถวน ครอบคลุม และเปนไปตามระเบียบของการทำสัญญาแลวหรือไม อีกทั้ง ยังมีประเด็นขอกฎหมายที่ควรคำนึงถึงเพิ่มเติม อีกหรือไม โดยในวันที่ 8 กรกฎาคม 2554 สำนักงานอัยการสูงสุดไดสงหนังสือตอบกลับไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งขอใหตรวจสอบการทำสัญญาระหวางกลุมทรู คือ เรียลมูฟ และบีเอฟเคที (ซึ่งเปนหนึ่งใน 4 บริษัท ที่กลุมทรูไดซื้อกิจการมาจากกลุมฮัทชิสัน ในชวงปลายป 2553) กับ CAT Telecom โดยสำนักงานอัยการสูงสุดไดยืนยันอยาง ชัดเจนในหนังสือดังกลาววา สัญญาระหวางกลุมทรูกับ CAT Telecom ไมเขาขายที่จะตองดำเนินการตาม พ.ร.บ. รวมทุนฯ แต อยางใด และไมขัดตอมาตรา 46 แหง พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 ในขณะเดียวกัน สัญญาระหวางเรียลมูฟกับ CAT Telecom เปนสัญญาในรูปแบบของการขายสงบริการและการขายตอบริการ (Wholeseller - Reseller) ที่เปนไปตามประกาศ ของคณะกรรมการ กทช. เรื่อง การประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทการขายสงบริการและบริการขายตอบริการ ซึ่งมีผล บังคับใชตั้งแตวันที่ 29 ธันวาคม 2549 โดยเรียลมูฟซึ่งเปนผูประกอบกิจการโทรคมนาคมขายตอบริการโดยการรับซื้อบริการ โทรคมนาคมสำเร็จรูปเปนจำนวนนาทีสำหรับบริการทางเสียง และเปนจำนวนเม็กกะไบตสำหรับบริการทางขอมูลของ CAT Telecom สวนหนึ่งเพื่อมาขายตอใหแกลูกคาอีกทอดหนี่ง โดยไม ไดเขาใชทรัพยสินหรือสิทธิของ CAT Telecom แตประการใด ทั้งนี้ คลื่นความถี่และโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยังคงเปนของ CAT Telecom ในขณะที่บีเอฟเคทีเปนแตเพียงผู ใหเชาอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสทางโทรคมนาคมแก CAT Telecom ซึ่งเปนการดำเนินงานตามปกติของ CAT Telecom ที่อาจจะเชาทรัพยสินและ อุปกรณจากผูประกอบการรายอื่นตามระเบียบวาดวยการพัสดุของ CAT Telecom ไดอยูแลว นอกจากนี้ เมื่อเดือนมิถุนายน 2556 คณะกรรมการกฤษฎี ก าได ต อบข อ หารื อ CAT Telecom ตามเรื่ อ งเสร็ จ ที่ 774/2556 สรุ ป ได ว า สั ญ ญาระหว า งกลุ ม ทรู กั บ CAT Telecomไมเขาขายที่จะตองดำเนินการตาม พ.ร.บ. รวมทุนฯ แตอยางใด เชนเดียวกันสำหรับกรณีที่ดีแทคไดยื่นฟอง CAT Telecom และ คณะกรรมการ CAT Telecom ตอศาลปกครองกลาง เมื่อเดือน เมษายน 2554 กลาวอางวา คณะกรรมการ CAT Telecom มีมติให CAT Telecom เขาทำสัญญาดำเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ รูปแบบใหมบนเทคโนโลยี 3G HSPA ของ CAT Telecom กับกลุมทรู โดยไมชอบดวยกฎหมาย และ CAT Telecom ละเลยตอ หนาที่ตามที่กฎหมายกำหนดใหตองปฏิบัติและเขาทำสัญญา HSPA โดยไมเปนไปตามกฎหมาย ขอใหศาลปกครองพิพากษาให เพิกถอนมติคณะกรรมการ CAT Telecom และขอใหระงับการปฏิบัติตามโครงการดังกลาวทั้งหมด นอกจากนี้ ดีแทคยังได ยื่นคำรองขอใหศาลมีคำสั่งกำหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนพิพากษามาพรอมกับคำฟอง แตปรากฏวา ศาลมีคำสั่งไมรับคำฟองในขอหาที่ 2 ซึ่งดีแทคกลาวอางวา CAT Telecom ละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกำหนดใหตองปฏิบัติ ซึ่งเปนขอหาที่เกี่ยวของกับคำรองขอคุมครองชั่วคราวไวพิจารณา ดังนั้น ศาลจึงไมรับคำรองขอคุมครองชั่วคราวไวพิจารณาดวย เชนเดียวกัน ทั้งนี้ เนื่องจากผลของคดีดังกลาวอาจมีผลกระทบตอกลุมทรูในฐานะคูสัญญาของ CAT Telecom ในโครงการ ดังกลาว กลุมทรู โดยบีเอฟเคทีและเรียลมูฟ จึงไดรองสอดเขาไปเปนคูความในคดีนั้น แตตอมาดีแทคไดยื่นคำรองขอถอนคำฟอง และเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2555 ศาลปกครองกลางไดมีคำสั่งอนุญาตใหถอนคำฟองและจำหนายคดีดังกลาวออกจากสารบบ ความแลว เนื่องจากเห็นวาเปนเรื่องเกี่ยวกับการปกปองประโยชนของผูฟองคดีในทางธุรกิจ จึงไมเปนคดีที่เกี่ยวกับการคุมครอง ประโยชนสาธารณะ หรือคดีที่พิจารณาตอไปจะเปนประโยชนแกสวนรวม เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2554 คณะกรรมการ กสทช. โดยเลขาธิการ กสทช. ไดมีหนังสือถึงบริษัทฯ และเรียลมูฟแจงมติและคำสั่งของ คณะกรรมการ กทช. ปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการ กสทช. ที่สั่งใหแก ไขในสวนที่เกี่ยวกับการทำความตกลงเพื่อควบรวมกิจการโดย การเขาซื้อหุนของกลุมฮัทชิสันใหเปนไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการควบรวมกิจการและการถือ หุนไขว ในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และในสวนที่เกี่ยวกับการทำความตกลงกับ CAT Telecom เกี่ยวกับการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ CDMA และระบบ HSPA ใหเปนไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง มาตรการเพื่อปองกันมิใหมี การกระทำอันเปนการผูกขาดหรือกอใหเกิดความไมเปนธรรมในการแขงขันในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ร.บ. องคกร จัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 แตอยางไรก็ดี บริษัทฯ และเรียลมูฟ เห็นวามติและคำสั่งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบัติหนาที่ คณะกรรมการ กสทช. ดังกลาว ไมมีความชัดเจนและไมชอบดวยกฎหมาย บริษัทฯ และเรียลมูฟจึงไดยื่นฟองคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิการ กสทช. ตอศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554 เพื่อขอใหเพิกถอนมติและคำสั่งดังกลาว ขณะนี้ คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ ปจจุบันมีหนวยงานตาง ๆ เชน คณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่องการทุจริตและเสริมสรางธรรมาภิบาลของวุฒิสภา ป.ป.ช. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และกระทรวงการคลัง เปนตน ดำเนินการตรวจสอบสัญญาดังกลาว โดย เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2555 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดแถลงผลของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงกรณี สัญญาโครงการโทรศัพทเคลื่อนที่ 3G บนเทคโนโลยี HSPA ระหวาง CAT Telecom กับบริษัทฯ ซึ่งไดขอสรุปใน 5 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1. เห็นวา มีการเตรียมการวางแผนและดำเนินการโดยผูเกี่ยวของอยางมีนัยสำคัญเกี่ยวกับการเขาซื้อกิจการ CDMA ในสวนกลาง 51


จากกลุมฮัทชิสัน โดยให CAT Telecom ทำการเจรจาตอรองราคาเขาซื้อกิจการดังกลาวภายในวงเงินไมเกิน 4,000 ลานบาท ทำใหการเจรจาเขาซื้อกิจการดังกลาวของ CAT Telecom ไมประสบผลสำเร็จ 2. เห็นวา CAT Telecom ไม ไดดำเนินการในเรื่องวิเคราะหภาระทางการเงิน และวิเคราะหถึงผลประโยชนของรัฐกอน CAT Telecom ยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับโครงการ CDMA ทั้ง 2 ฉบับ 3. เห็นวา การเสนอโครงการตอคณะรัฐมนตรี เปนการกระทำที่มีการวางแผนรวมกันโดยกำหนดบุคคลที่จะดำเนินการและวิธีการ สรางความชอบธรรมในการเสนอเรื่อง โดยทำหลักฐานเท็จ และดำเนินการโดยเรงรีบ ทั้ง ๆ ที่ ไมเขาขายเปนกรณีเรื่องเรงดวน อันเปนการกระทำที่เขาขายผิดระเบียบและกฎหมายของทางราชการ 4. เห็นวา การยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับโครงการ CDMA ทั้ง 2 ฉบับ CAT Telecom ยังไม ไดขอความชัดเจนจาก สองหนวยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสียกอน 5. เห็นวา CAT Telecom ไดละเลยขั้นตอนในการปฏิบัติตามบทบัญญัติ ตามมาตรา 12 (2) และมาตรา 13 ของพระราชบัญญัติ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พ.ศ. 2521 และขอ 5 ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2550 อยางไรก็ดี กลุมทรูเห็นวาการตรวจสอบดังกลาวเปนเพียงการตรวจสอบเบื้องตนของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงภายใน หนวยงานเทานั้นและผลการตรวจสอบในปจจุบันก็ยังไมเปนที่ยุติ อีกทั้งยังเปนการตรวจสอบเกี่ยวกับความผิดของเจาหนาที่ของ รัฐ ซึ่งไมมีความเกี่ยวของกับบริษัทยอยของกลุมทรูที่เปนคูสัญญากับ CAT Telecom แตอยางใด โดยกลุมทรูเชื่อวาทุกฝายได ปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายและไดรับการตรวจสอบจากสำนักงานอัยการสูงสุดซึ่งเปนหนวยงานที่มีอำนาจหนาที่ โดยตรงแลว การตรวจสอบดังกลาวจึงไมนาจะสงผลกระทบในทางลบตอการดำเนินธุรกิจ 3G ของกลุมทรูโมบาย เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2555 กรมสอบสวนคดีพิเศษไดมีจดหมายถึงบริษัท ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส ประเทศไทย จำกัด บริษัท ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชันส (ประเทศไทย) จำกัด ฮัทชิสัน ซีเอที และบีเอฟเคที ซึ่งเปนบริษัทยอยที่กลุมทรูซื้อหุนมาจากกลุม ฮัทชิสัน โดยอางเหตุถึงการที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีหนังสือถึงกรมสอบสวนคดีพิเศษให พิจารณาการดำเนินธุรกิจตามโครงการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในระบบ HSPA (3G) ระหวาง CAT Telecom กับกลุมทรู และขอให บริษัทยอยสงมอบสำเนาเอกสารตาง ๆ (ซึ่งรวมถึงเอกสารเกี่ยวกับการซื้อขายกิจการบริษัทยอยทั้งสามบริษัทดังกลาวที่ CAT Telecom ไดลงนามในฐานะผูซื้อ) ใหคณะทำงานสืบสวนใชเปนหลักฐานประกอบการพิจารณา ซึ่งตั้งแตวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 บริ ษั ท ย อ ยได ท ยอยนำส ง สำเนาเอกสารที่ มี พ ร อ มทั้ ง จดหมายชี้ แ จงให แ ก ก รมสอบสวนคดี พิ เ ศษ ทั้ ง นี้ กลุ ม ทรู เ ข า ใจว า ทาง กรมสอบสวนคดีพิเศษกำลังดำเนินการแตงตั้งคณะทำงานชุดใหม และอยูระหวางการตรวจสอบขอผูกพันที่ CAT Telecom ไดเคย ตกลงเกี่ยวกับการซื้อขายกิจการของบริษัทยอยทั้งสี่กับกลุมฮัทชิสันกอนที่กลุมทรูจะไดตกลงซื้อบริษัททั้งสี่มาจากกลุมฮัทชิสันเมื่อ เดือนธันวาคม 2553 ซึ่งกลุมทรูไดตรวจสอบกับทางกลุมฮัทชิสันซึ่งเปนผูขาย และไดรับการแจงวาขอผูกพันเดิมระหวาง CAT Telecom กับกลุมฮัทชิสันไดสิ้นอายุไปแลวกอนที่กลุมฮัทชิสันจะไดลงนามขายกิจการบริษัทยอยทั้งสี่บริษัทใหแกกลุมทรู ในขณะนี้ กลุมทรูเห็นวาการตรวจสอบดังกลาวไมนาจะสงผลกระทบในทางลบตอการดำเนินธุรกิจการใหบริการ 3G ของกลุมทรูโมบาย เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2555 ที่ประชุม กทค. ครั้งที่ 23/2555 ไดพิจารณารายงานผลการศึกษา วิเคราะห และเสนอความเห็นของ คณะอนุกรรมการฯ กรณีการทำสัญญาระหวาง CAT Telecom กับกลุมบริษัทในกลุมทรูที่เกี่ยวของกับการใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่รูปแบบใหม บนคลื่นความถี่ 800 MHz ประกอบขอสัญญา ขอกฎหมาย และหลักเกณฑที่เกี่ยวของแลว มีความเห็น สอดคลองกับรายงานผลการศึกษาของคณะอนุกรรมการฯ ดังกลาว ในวันที่ 28 มิถุนายน 2555 สำนักงานคณะกรรมการ กสทช. จึงไดมีหนังสือถึง CAT Telecom เกี่ยวกับเรื่องดังกลาว โดยสรุปมติของ กทค. ไดดังนี้ 1. การทำสัญญาระหวาง CAT Telecom กับกลุมบริษัทในกลุมทรูเปน “สัญญาทางปกครอง” ที่การกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม ตองคำนึงถึง “ประโยชนสาธารณะ” เปนสำคัญ จึงมีคำสั่งให CAT Telecom ในฐานะผู ไดรับจัดสรรคลื่นความถี่ปฏิบัติใหถูกตอง ตาม มาตรา 46 แหง พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 โดยใหมีการแก ไขขอสัญญาที่เกี่ยวของ 6 ประเด็น ดังนี้ และให CAT Telecom รายงานผลการดำเนินการตอ กทค. ภายใน 30 วันนับแตวันที่ ไดรับคำสั่ง

52

m n È


1.1 CAT Telecom ตองสามารถนำคลื่นความถี่ยาน 800 MHz (Band V) ไปใชกับเครื่องและอุปกรณของตนเองหรือของบริษัท อื่นได 1.2 CAT Telecom ตองสามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการผาน Network Operation Center (NOC) อยางสมบูรณ และ CAT Telecom ตองสามารถเขาไปในสถานที่ติดตั้งเครื่องและอุปกรณของบีเอฟเคทีได 1.3 CAT Telecom ตองสามารถเขาถึงขอมูลการใชงาน (Call Detail Record หรือ CDR) อยางสมบูรณ 1.4 CAT Telecom ตองสามารถบริหารจัดการคลื่นความถี่ของ CAT Telecom ผานคณะกรรมการควบคุมการปฏิบัติงาน (Operation Supervision Committee) อยางชัดเจน 1.5 CAT Telecom ตองเปนผูควบคุมบริหารคลื่นความถี่ดวยตนเองผานกระบวนการสรางและจัดหาความจุของบีเอฟเคทีใน เรื่อง การวางแผนและบริหารจัดการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ รวมทั้งการขยายและดูแลโครงขายอยางสมบูรณ และใหแก ไข นิยามคำวา “ความจุตามสัญญา” ในขอ 1 ของสัญญาขายสงบริการฯ ใหเปนไปตามกลไกตลาด 1.6 CAT Telecom ตองสามารถบริหารจัดการคลื่นความถี่ของ CAT Telecom ผานการเจรจาการใหบริการขามโครงขาย ภายในประเทศ (Inbound domestic roaming) และการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับผูประกอบการรายอื่น เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2555 บีเอฟเคทีและเรียลมูฟซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู และ CAT Telecom ไดรวมกันลงนามบันทึก ความเขาใจ จำนวน 2 ฉบับ โดยมีใจความโดยสรุปวา บีเอฟเคทีและ CAT Telecom ตกลงเห็นชอบเงื่อนไขของสัญญาเชาเครื่อง และอุปกรณวิทยุคมนาคมฯ ที่จะดำเนินการแก ไขตามคำสั่ง กทค. และเรียลมูฟ และ CAT Telecom ตกลงเห็นชอบเงื่อนไขสัญญา ขายสงบริการฯ ที่จะดำเนินการแก ไขตามคำสั่ง กทค. โดยในประเด็นอื่น ๆ คูสัญญาจะดำเนินการเจรจาแยกตางหากเพื่อให ไดขอ ยุติโดยเร็ว ทั้งนี้ คูสัญญาจะดำเนินการแก ไขสัญญาตามเงื่อนไขที่เห็นชอบรวมกัน และ/หรือ ตามที่ กทค. จะพิจารณาใหดำเนิน การแก ไข ภายหลังจากที่ ไดรับความเห็นชอบจากหนวยงานที่เกี่ยวของแลว ซึ่งบีเอฟเคทีและเรียลมูฟไดมีการนำสงบันทึกความ เขาใจทั้ง 2 ฉบับดังกลาวตอ กทค. แลวในวันเดียวกัน โดยกลุมทรูประเมินวาการปรับแกสัญญาดังกลาวจะไมมีผลกระทบในทาง ลบอยางมีนัยสำคัญตอธุรกิจ 3G ที่กลุมทรูโมบายดำเนินอยูในปจจุบัน โดยเหตุผลดังตอไปนี้ (1) ปจจุบัน CAT Telecom เปนผูบริหารจัดการคลื่นความถี่ยาน 800 MHz (Band V) ดวยตนเองไดอยูแลว ประเด็นการแก ไขตาม ขอ 1.1 ขางตน เพียงแตแกถอยคำในสัญญาใหชัดเจนยิ่งขึ้น อยางไรก็ตาม การแก ไขถอยคำในสัญญาใหชัดเจนยิ่งขึ้นนี้อาจ ทำใหเกิดการแขงขันที่สูงขึ้นได เนื่องจากเปนที่เขาใจของทุกฝายแลววา CAT Telecom สามารถดำเนินการดังกลาวได แตอยางไรก็ตาม กลุมทรูเชื่อมั่นวาแผนธุรกิจและคุณภาพของบริการของกลุมบริษัทจะสามารถรักษาลูกคาไว ได (2) ปจจุบัน CAT Telecom สามารถควบคุมดูแลและบริหารจัดการผาน Network Operation Center (NOC) ที่มีการนำไปติดตั้งให CAT Telecom แลวอยางนอย 3 ชุด อยางสมบูรณ และสามารถเขาไปในสถานที่ติดตั้งเครื่องและอุปกรณของบีเอฟเคทีไดอยู แลว ประเด็นการแก ไขตามขอ 1.2 ขางตน จึงมิไดสงผลกระทบในทางลบตอการดำเนินการของบีเอฟเคทีแตอยางใด (3) ปจจุบัน CAT Telecom สามารถเขาถึงขอมูลการใชงานของลูกคาไดอยูแลว ประเด็นการแก ไขตามขอ 1.3 ขางตน จึงมิไดสง ผลกระทบในทางลบตอการดำเนินการของบีเอฟเคทีแตอยางใด (4) ปจจุบัน CAT Telecom เปนผูบริหารจัดการคลื่นความถี่ของ CAT Telecom อยูแลว ประเด็นการแก ไขตามขอ 1.4 ขางตน เปนเพียงแตเขียนระบุในสัญญาใหชัดเจนยิ่งขึ้นวาจะตองผานคณะกรรมการควบคุมการปฏิบัติงาน (Operation Supervision Committee) โดยคณะกรรมการดังกลาวก็อยูภายใตการดำเนินงานของ CAT Telecom จึงมิไดสงผลกระทบในทางลบตอการ ดำเนินการของบีเอฟเคทีแตอยางใด (5) ปจจุบัน CAT Telecom เปนผูควบคุมบริหารคลื่นความถี่ดวยตนเองผานกระบวนการสรางและจัดหาความจุของบีเอฟเคที ใน เรื่องการวางแผนและบริหารจัดการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ รวมทั้งการขยายและดูแลโครงขายอยูแลว ประเด็นการแก ไขตามขอ 1.5 ขางตน จึงเพียงแตเขียนระบุในสัญญาใหชัดเจนยิ่งขึ้นเทานั้น และมิไดสงผลกระทบในทางลบตอการดำเนินการของ บีเอฟเคทีแตอยางใด สำหรับประเด็นเงื่อนไขการรับซื้อความจุโครงขายตามสัญญาขายสงบริการฯ นั้น ไดมีการประชุมใน รายละเอียดของการแก ไขสัญญาบางสวนแลว ซึ่งอาจมีการแก ไขนิยามคำวา “ความจุตามสัญญา” ในขอ 1 ของสัญญาขายสง บริการฯ จากเดิมที่กำหนดไว ไมเกินรอยละ 80 ของความจุเปาหมายแรกและของความจุขยาย เปลี่ยนเปนใหเปนไปตามกลไก ตลาด เพื่อใหเกิดความชัดเจนมากขึ้นวา ผู ใหบริการรายอื่นก็สามารถขอซื้อความจุโครงขายของ CAT Telecom ได โดยไม กระทบสิทธิในการรับซื้อความจุโครงขายจาก CAT Telecom โดยเรียลมูฟ เนื่องจาก CAT Telecom มีสิทธิที่จะสั่งผลิตความจุ โครงขายเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับความตองการของผูใหบริการทุกรายไดตลอดอยูแลว การเจรจาแก ไขสัญญาตามแนวทางดังกลาว ก็เพื่อใหเกิดความชัดเจนมากขึ้นตามมติของ กทค. ดังกลาวเทานั้น 53


ทั้งนี้ ในปจจุบัน เรียลมูฟและ CAT Telecom ไดมีขอผูกพันในการขายสงและรับซื้อความจุขยายตามสัญญาขายสงบริการฯ ครอบคลุมเปาหมายการใหบริการตามแผนธุรกิจไวแลว การแก ไขสัญญาในสวนดังกลาวจึงไมมีผลกระทบตอการใชงานของลูกคา เนื่องจากสามารถใหบริการไดตามปกติ และไม ไดทำใหกลุมทรูมีขีดความสามารถในการแขงขันลดลง ตลอดจนไมมีผลกระทบตอ การขยายเลขหมายในอนาคต รวมไปถึงไมมีผลกระทบตอแผนการดำเนินงานในอนาคตแตอยางใด (6) ปจจุบัน CAT Telecom สามารถบริหารจัดการคลื่นความถี่ของ CAT Telecom ผานการเจรจาการใหบริการขามโครงขาย ภายในประเทศ (Inbound domestic roaming) และการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับผูประกอบการรายอื่นไดอยูแลว ประเด็นการแก ไขตามขอ 1.6 ขางตน จึงเปนเพียงการเขียนระบุในสัญญาใหชัดเจนยิ่งขึ้นเทานั้น ซึ่งการเขียนระบุในสัญญาให ชัดเจนยิ่งขึ้นนี้อาจทำใหเกิดการแขงขันที่สูงขึ้นได เนื่องจากเปนที่เขาใจของทุกฝายแลววา CAT Telecom สามารถดำเนินการ ดังกลาวได แตอยางไรก็ตาม กลุมทรูเชื่อมั่นวาแผนธุรกิจและคุณภาพของบริการของกลุมทรูจะสามารถรักษาลูกคาไว ได ทั้งนี้ ตอมาเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2556 สำนักงานคณะกรรมการ กสทช. ไดมีหนังสือถึง CAT Telecom เพื่อแจงมติที่ประชุม กทค. ในการประชุมครั้งที่ 12/2556 เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2556 วา กทค. ไดพิจารณาเงื่อนไขสัญญาที่จะดำเนินการแก ไขตาม บันทึกความเขาใจแลว โดยมีความเห็นใหปรับปรุงเงื่อนไขดังกลาวเพียง 2 ขอเทานั้น และไดสั่งให CAT Telecom จัดสงราง สัญญาเชาเครื่องและอุปกรณวิทยุคมนาคมฯ ฉบับแก ไข และรางสัญญาขายสงบริการฯ ฉบับแก ไข แทนบันทึกความเขาใจ ซึ่ง ตอมาเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 ทั้งสองฝายไดรวมกันจัดทำรางสัญญาแก ไขทั้งสองฉบับและจัดสงใหแก กทค. พิจารณา โดย กทค. ไดมีมติเห็นชอบรางแก ไขสัญญาทั้งสองฉบับเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2556 วาสอดคลองกับมาตรา 46 แหง พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 และแจงให CAT Telecom ดำเนินการลงนามในสัญญาแก ไขสัญญาทั้งสองฉบับซึ่ง CAT Telecom และคูสัญญาไดลงนามในสัญญาแก ไขสัญญาทั้งสองฉบับและจัดสงให กทค. เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2556 แลว 2. สำหรับประเด็นที่เกี่ยวของกับกฎหมายโทรคมนาคมอื่น ๆ ที่จะตองพิจารณาวา สัญญาในโครงการ 3G HSPA ชอบดวย กฎหมายหรือไมนั้น กทค. มีมติวา จะไมมีมติใด ๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องดังกลาวซ้ำอีก ทั้งนี้ เพราะวาคณะกรรมการ กทช. ปฏิบัติ หนาที่คณะกรรมการ กสทช. (หรือคณะกรรมการ กสทช. ชุดกอน) เคยมีมติในเรื่องดังกลาวไวอยูแลว (ตามมติที่ประชุมครั้งที่ 30/2554) ซึ่งขณะนี้ บริษัทฯ และเรียลมูฟก็ ไดฟองเพิกถอนมติดังกลาวแลว และระหวางนี้ก็อยูในการพิจารณาคดีของศาล ปกครองกลาง 3. ในประเด็นที่วา บีเอฟเคทีกระทำการฝาฝนตอมาตรา 67 แหง พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 โดย ประกอบกิจการโทรคมนาคมโดยไม ไดรับใบอนุญาตใหประกอบกิจการหรือไมนั้น กทค. ไดมอบหมายใหคณะทำงานของ สำนักงานคณะกรรมการ กสทช. ตรวจสอบขอเท็จจริงวา บีเอฟเคทีกระทำการฝาฝนกฎหมายหรือไมและรายงานผลการตรวจ สอบตอ กทค. ซึ่งเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ผูแทนบีเอฟเคที ไดเขาชี้แจงขอเท็จจริงกับคณะทำงานเพื่อชี้แจงวา บีเอฟเคที ไม ไดกระทำการฝาฝนกฎหมายใด ๆ ตอมาเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2556 ในการประชุม กทค. ครั้งที่ 13/2556 ที่ประชุม กทค. ได พิจารณาผลการตรวจสอบของคณะทำงานของสำนักงานคณะกรรมการ กสทช. โดยภายหลังจากที่ กทค. ไดพิจารณารายงาน ของคณะทำงาน ที่ประชุม กทค. มีมติวา บีเอฟเคทีไม ไดกระทำการฝาฝนตอกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบกิจการโทรคมนาคม โดยไม ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ หรือโดยไม ไดรับใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่อันเปนความผิดตามมาตรา 67 แหง พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคมแตอยางใด เนื่องจากบีเอฟเคทีนำอุปกรณโทรคมนาคมให กสท. เชาแตเพียงผูเดียว ดังนั้น การกระทำของบีเอฟเคทีไมถือเปนการประกอบกิจการโทรคมนาคมตามมาตรา 4 แหง พ.ร.บ.การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ซึ่งจะตองเปนผู ใหบริการดานกิจการโทรคมนาคมแกบุคคลอื่นทั่วไป ประกอบกับไมปรากฏพฤติการณและพยาน หลักฐานเพียงพอที่จะเชื่อไดวา บีเอฟเคทีมีการกระทำที่ฝาฝนมาตรา 67 แตอยางใด ทำให บีเอฟเคที ยังคงสามารถให CAT Telecom เชาอุปกรณ ไดตอไป อยางไรก็ดี กทค. เห็นวา การใหเชาเครื่องและอุปกรณวิทยุ คมนาคมเพื่อใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งสามารถเพิ่มจำนวนเครื่องและอุปกรณ โทรคมนาคมที่ ใหเชาเปนจำนวนมากจน สามารถรวมเปนโครงขายโทรคมนาคมซึ่งทำใหมีปจจัยที่พรอมจะใหบริการแกบุคคลอื่นทั่วไปไดนั้น กทค. มีความจำเปนตองเขา มากำกับดูแลบริษัทที่ใหเชาเครื่องและอุปกรณโทรคมนาคมดังกลาว เพราะหากมีเหตุขัดของหรือมีปญหาเกิดขึ้นกับอุปกรณ โทรคมนาคมที่ใหเชาที่เกี่ยวของกับระบบการติดตอสื่อสารของประเทศ อาจกอใหเกิดผลกระทบตอประโยชนสาธารณะ การ แขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม รวมถึงอาจกอใหเกิดผลกระทบตอผูบริโภคหรือผูใชบริการ ดังนั้น กทค. จึงมีมติมอบหมายให สำนักงานคณะกรรมการ กสทช. เรงดำเนินการยกรางหลักเกณฑเพื่อใหการดำเนินกิจการการใหเชาเครื่องและอุปกรณวิทยุ คมนาคมเพื่อใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในลักษณะดังกลาวของบุคคลใด ๆ ตองตกอยูภายใตการกำกับดูแลของ กทค. และให เสนอรางดังกลาวตอที่ประชุม กทค. เพื่อพิจารณาภายใน 30 วันนับแตมีมติ 54

m n È


ทั้งนี้ หากประกาศนี้มีผลใชบังคับเพื่อกำกับดูแลการดำเนินกิจการการใหเชาเครื่องและอุปกรณวิทยุคมนาคม กลุมทรูเชื่อวา บีเอฟเคทีไมอยูภายใตหลักเกณฑที่ กทค. กำหนด เนื่องจากบีเอฟเคทีให CAT Telecom เชาอุปกรณโทรคมนาคมเพียงบางสวน ของโครงขายโทรคมนาคมเทานั้น มิไดให CAT Telecom เชาอุปกรณโทรคมนาคมทุกประเภทที่ประกอบขึ้นเปนโครงขาย อยางไร ก็ ดี หากประกาศหลั ก เกณฑ ดั ง กล า วมี ผ ลบั ง คั บ กั บ บี เ อฟเคที ด ว ย กรณี นี้ อ าจส ง ผลกระทบต อ บี เ อฟเคที ใ ห ต อ งรั บ ภาระ คาธรรมเนียมเพิ่มขึ้น ซึ่ง ณ ปจจุบันยังไมเปนที่ชัดเจน และกลุมทรูไมสามารถคาดการณ ไดวาภาระคาธรรมเนียมจะเปนจำนวน เทาใด ความเสี่ยงที่สืบเนื่องจากสัญญา HSPA เนื่องจาก CAT Telecom จะตองดำเนินการตามขั้นตอนที่เกี่ยวของกับการแก ไขสัญญา เชน การสงรางสัญญาแก ไขใหสำนักงาน อัยการสูงสุด และการเสนอโครงการ 3G HSPA ตอคณะรัฐมนตรีเพื่อขออนุมัติ ดังนั้น ในระหวางที่ CAT Telecom ยังไม ไดรับ อนุมัติงบประมาณที่เกี่ยวกับโครงการ 3G HSPA CAT Telecom ปฏิเสธที่จะดำเนินการชำระหนี้ หรือรับชำระหนี้ ใด ๆ อันอาจ เกี่ยวเนื่องกับสัญญา HSPA ทำให CAT Telecom ไมสามารถชำระเงินหรือรับชำระเงินคืนเพื่อระงับหนี้ที่มีกับบีเอฟเคที หรือ เรียลมูฟ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มูลคารายไดคางรับที่บีเอฟเคทีมีอยูกับ CAT Telecom ภายใตสัญญาเชาเครื่องและ อุปกรณวิทยุคมนาคมฯ มีจำนวนประมาณ 14.1 พันลานบาท แมจะเปนหนี้ที่เกิดขึ้นระหวาง CAT Telecom กับบริษัทยอยอื่น ของกลุมทรูหรือผูประกอบการรายอื่น เชน การชำระหรือรับชำระคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมที่เกิดขึ้นระหวางโครงขาย ทรูมูฟ หรือของผูประกอบการรายอื่น กับโครงขาย 3G HSPA ของ CAT Telecom ลาชาเปนตน ซึ่งที่ผานมาบริษัทยอยของ กลุมทรูไดแสดงเจตนาชัดแจงที่จะปฏิบัติการชำระหนี้หรือรับชำระหนี้ตามที่ผูกพันในสัญญา อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2556 คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบการดำเนินโครงการ 3G HSPA และไดอนุมัติงบประมาณในการลงทุนโครงขาย 3G HSPA รวมทั้งงบประมาณที่เกี่ยวของกับการชำระคาเชาและคาใชจายอื่น ๆ ตามสัญญา HSPA ทั้งนี้ ในชวงกอน CAT Telecom ไดรับอนุมัติงบประมาณ CAT Telecom อาจตองชำระดอกเบี้ยที่เกิดจากการชำระคาเชื่อมตอ โครงขายโทรคมนาคมลาชาใหแกผูประกอบการรายอื่น และมีความเสี่ยงที่ CAT Telecom จะเรียกรองดอกเบี้ยที่เกิดจากการชำระ คาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมลาชาดังกลาวจากเรียลมูฟ ซึ่งเปนผูขายตอบริการ (Reseller) ของ CAT Telecom ทั้งนี้ ภาระ ดอกเบี้ ย ดั ง กล า วไม ส ามารถคำนวณตั ว เลขที่ แ น น อนได เ นื่ อ งจากเป น ภาระดอกเบี้ ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามสั ญ ญาเชื่ อ มต อ โครงข า ย โทรคมนาคมซึ่ง CAT Telecom ไดเขาทำกับผูประกอบการรายอื่นเอง และไมสามารถคาดหมายไดวา CAT จะดำเนินการจายคา เชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมตอผูประกอบการอื่นเมื่อใด นอกจากนี้ ภายหลังจากคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบการดำเนินโครงการ 3G HSPA CAT Telecom ไดทำการเรียกรองคาขายสง บริการจากเรียลมูฟในชวงระหวางที่ยังไม ไดรับมีมติเห็นชอบยอนหลังตั้งแตวันที่ 28 กรกฏาคม 2554 เปนตนมา ซึ่งเรียลมูฟได ปฏิเสธการชำระเงินดังกลาวไวพลางกอน เนื่องจากกำลังอยูในระหวางการตรวจสอบความถูกตองของจำนวนคาขายสงบริการ กรณีจึงมีความเสี่ยงที่ CAT Telecom อาจเรียกดอกเบี้ยผิดนัดจากการชำระคาขายสงลาชา ความเสี่ยงจากการที่กลุมทรูตองแขงขันกับทีโอทีและ CAT Telecom ซึ่งเปนคูสัญญารวมการงานฯ และคูสัญญาใหดำเนินการฯ ซึ่งอาจนำไปสูขอพิพาทตาง ๆ ที่อาจสงผลกระทบตอการดำเนินธุรกิจของกลุมทรู บริษัทฯ และทรูมูฟไดดำเนินกิจการภายใตสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ สัญญาใหดำเนินการฯ กับทีโอที และ/หรือ CAT Telecom แลวแตกรณี ซึ่งสัญญาใหดำเนินการฯ กับ CAT Telecom ไดสิ้นสุดลงแลวตั้งแตวันที่ 15 กันยายน 2556 โดยปจจุบัน ทรูมูฟ ยังคงมีหนาที่ใหบริการตามประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื่อง มาตรการคุมครองผู ใชบริการเปนการชั่วคราวในกรณี สิ้นสุดการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 โดยความเห็นที่แตกตางกันของผูประกอบ กิจการในกลุมทรูกับทีโอที และ CAT Telecom ทั้งในประเด็นการตีความขอกฎหมาย และขอสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ สัญญาใหดำเนินการฯ การไดรับการอนุญาต รวมทั้งประกาศ กฎเกณฑ และขอบังคับตาง ๆ โดยคณะกรรมการ กสทช. อาจมีผล ตอความสามารถในการดำเนินธุรกิจของผูประกอบกิจการซึ่งเปนบริษัทในกลุมทรู และมีความเสี่ยงที่สัญญารวมการงานฯ อาจ ถูกยกเลิก อยางไรก็ดี ในกรณีของสัญญารวมการงานฯ ที่บริษัทฯ ทำหนาที่จัดสรางโครงขายพื้นฐานใหแกทีโอที เพื่อใหบริการ โทรศัพทพื้นฐาน ทีโอทีตองนำเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเปนผูชี้ขาดกอนดำเนินการยกเลิกสัญญา ซึ่งทีโอทีอาจจะยกเลิก สัญญารวมการงานฯ ไดเฉพาะในกรณีที่บริษัทฯ ทำผิดกฎหมาย หรือบริษัทฯ ถูกศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย หรือบริษัทฯ จงใจผิดสัญญาในสวนสาระสำคัญอยางตอเนื่องเทานั้น ซึ่งตามสัญญาทีโอทีเปนผูจัดเก็บรายไดจากลูกคาในโครงขาย ทั้งหมด และแบงสวนแบงรายได ใหบริษัทฯ ตามสัดสวนที่ระบุไว ในสัญญารวมการงานฯ ดังนั้น ทีโอทีอาจชะลอการชำระเงิน ใหบริษัทฯ เพื่อเปนการชำระคาใชจายใด ๆ ที่ทีโอทีเชื่อวาบริษัทฯ ติดคาง (แตจนถึงขณะนี้ก็ยังไมเคยมีกรณีดังกลาวเกิดขึ้น) ทำให มีความเปนไปไดนอยมากที่บริษัทฯ จะผิดสัญญาในสวนสาระสำคัญอันเปนเหตุใหทีโอทีบอกเลิกสัญญา 55


อนึ่ง แมวาทีโอทีและ CAT Telecom เปนคูสัญญารวมกับบริษัทฯ และทรูมูฟ แตทั้งสององคกรยังเปนคูแขงในการประกอบธุรกิจ ของกลุมทรูอีกดวย ดวยเหตุนี้ จึงอาจกอใหเกิดขอพิพาทระหวางบริษัทฯ และทีโอที หรือทรูมูฟ และ CAT Telecom ได ตัวอยาง เชน กลุมทรูตกอยูภายใตขอตกลงการแบงรายไดตามสัญญารวมการงานฯ และสัญญาใหดำเนินการฯ และที่ผานมาทีโอทีได ปฏิเสธหรือประวิงการจายสวนแบงรายไดของกลุมทรู ในระหวางรอการตัดสินขอพิพาทเกี่ยวกับการคำนวณหรือขอบเขตของการ จายสวนแบงรายไดที่ติดคางตอกลุมทรูภายใตสัญญารวมการงานฯ ซึ่งที่ผานมาไดมีการยื่นคำฟองหรือคำเสนอขอพิพาทเรื่อง ความขัดแยงบางกรณีที่เกิดขึ้นตอศาลปกครองหรือคณะอนุญาโตตุลาการเปนผูตัดสิน ทั้งนี้ กลุมทรูไมสามารถรับรองไดวาจะ สามารถชนะขอพิพาททั้งหลายเหลานั้น ซึ่งจะทำใหธุรกิจ รวมถึงฐานะทางการเงินของกลุมทรูอาจจะไดรับผลกระทบ โดยในชวงที่ ผานมากระบวนการยุติธรรมก็ ไดมีคำตัดสินขอพิพาทตาง ๆ ทั้งในทางที่เปนประโยชนและไมเปนประโยชนตอกลุมทรู แตคดีสวน ใหญยังไมถึงที่สุด ความเสี่ยงจากการอนุญาตตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการประกอบกิจการโทรทัศน และ/หรือ กิจการโทรคมนาคม ในเดือนธันวาคม 2553 ไดมีการประกาศใช พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 เปนผลใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ซึ่งแลวเสร็จในเดือนตุลาคม 2554 โดยหนวยงานดังกลาวมีหนาที่กำกับดูแลการประกอบกิจการกระจายเสียงกิจการ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม ซึ่งปจจุบันคณะกรรมการ กสทช. มีการพิจารณาทบทวนปรับปรุง กฎระเบียบตาง ๆ ทางดาน การกำกับกิจการโทรคมนาคม ที่คณะกรรมการ กทช. ไดเคยออกประกาศ และมีผลใชบังคับไปแลว ขณะเดียวกันคณะกรรมการ กสทช. ก็ ไดเตรียมออกกฎเกณฑใหม รวมทั้งการวางหลักเกณฑแนวทางการกำกับดูแลการประกอบกิจการเพื่อใหเกิดความชัดเจน เพิ่มเติม อันอาจทำใหกลุมทรูมีความเสี่ยงจากเรื่องการขอรับ และ/หรือ การตอใบอนุญาตตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการประกอบ กิจการโทรทัศน และ/หรือ กิจการโทรคมนาคมของกลุมทรู หรืออาจเปนกรณีที่มีการตีความดานกฎหมายแตกตางกันและยังไมมี ขอกำหนดที่ชัดเจนในขณะนี้ ทั้งนี้ หากคณะกรรมการ กสทช. พิจารณาไมให หรือไมพิจารณาตออายุใบอนุญาตตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ให ก็จะสงผลใหบริษัทยอยที่เกี่ยวของในกลุมทรูที่ถูกสั่งวาไดใบอนุญาตไมครบหรือใบอนุญาตหมดอายุ ถูกปรับหรือถูกดำเนินการ ตามกฎหมาย นอกจากนี้ แมกลุมทรูจะมีธุรกิจใหบริการกิจการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกตามสัญญาสัมปทาน ซึ่งตามกฎหมาย กำหนดใหคณะกรรมการ กสทช. ตองออกใบอนุญาตแกบริษัท ตามขอบเขตที่ ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการก็ตาม แตปจจุบันยัง ไมชัดเจนวาคณะกรรมการ กสทช. จะพิจารณาออกใบอนุญาตแกบริษัทในกลุมทรูในรูปแบบและขอบเขตเชนใด ซึ่งกลุมทรูมีความ เชื่อมั่นวานาจะไดรับใบอนุญาตตามขอบเขตที่บริษัทยอยไดรับสัมปทาน เนื่องจากไดรับความคุมครองทั้งโดยรัฐธรรมนูญ และ กฎหมายที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ นโยบายการกำกับดูแลของ คณะกรรมการ กสทช. ยังมีผลตอการเปลี่ยนแปลงโครงสรางธุรกิจโดยรวม ซึ่งคาดวาการ แขงขันในตลาดจะรุนแรงมากขึ้น อีกทั้ง บริษัทฯ อาจไดรับความเสี่ยงจากนโยบายการกำกับดูแลของคณะกรรมการ กสทช. ที่มี ความไมเทาเทียมกันระหวางผูรับสัมปทานที่ถูกเปลี่ยนผานเปนผูรับใบอนุญาตกับผูรับใบอนุญาตรายใหมจนสงผลใหเกิดความได เปรียบเสียเปรียบระหวางผูเลนในตลาดเดียวกันหรือตลาดที่เกี่ยวของ และจากนโยบายการกำกับดูแลที่กอใหเกิดตนทุนการ ประกอบกิจการเพิ่มขึ้น เชน กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการแพรภาพแพรเสียงรายการสำคัญทุกชองทางที่คาดวาจะมีการบังคับใช ในอนาคต ซึ่งสงผลใหกลุมทรูมีตนทุนในการซื้อลิขสิทธิ์รายการดังกลาวแพงขึ้น เนื่องจากมีความจำเปนตองซื้อใหครอบคลุมสิทธิ์ ในการแพรภาพแพรเสียงในทุกชองทาง

ความเสี่ยงทางดานการเงิน ความเสี่ยงจากการมีหนี้สินในระดับสูง และอาจมีขอจำกัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตาง ๆ ณ สิ้นป 2556 กลุมทรูมีเงินกูยืมระยะยาว (รวมสวนที่ถึงกำหนดชำระใน 1 ป) จำนวน 86.2 พันลานบาท ซึ่งลดลงจากจำนวน 96.3 พันลานบาท ณ สิ้นป 2555 จากความสำเร็จจากการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานในปลายป 2556 ที่ผานมา สงผลให ระดับหนี้สินของบริษัทฯ และบริษัทยอยมีจำนวนลดลง ทั้งนี้ ระดับหนี้สินของกลุมทรูยังอยูในระดับที่สูง จึงอาจมีความเสี่ยงจาก การที่ ไมสามารถจัดหาเงินทุนไดเพียงพอสำหรับภาระการชำระคืนเงินตนและดอกเบี้ยในแตละป หรืออาจมีผลกระทบตอการขยาย การลงทุนในอนาคตได อยางไรก็ดี กลุมทรูสามารถเจรจากับเจาหนี้ หรือจัดหาเงินกูใหม เพื่อใชคืนเงินกูเดิมและปรับเปลี่ยนการ ชำระคืนเงินตนใหเหมาะสมกับกระแสเงินสดของกลุมทรู นอกจากนั้น การดำเนินงานของกลุมทรูอาจมีขอจำกัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตาง ๆ สัญญาเหลานี้อาจทำใหกลุมทรู เสียโอกาสทางธุรกิจ และเจาหนี้อาจเรียกรองใหบริษัทฯ หรือบริษัทยอยชำระหนี้กอนกำหนด หากมีระดับอัตราสวนหนี้สินบาง ประการ ไมเปนไปตามขอกำหนดในสัญญา หรือคูสัญญา (เชน ทีโอที) ภายใตสัญญาหลักที่มีความสำคัญตอการดำเนินธุรกิจของ 56

m n È


กลุมทรู (เชน สัญญารวมการงานฯ) ยกเลิกสัญญา อยางไรก็ตาม การเลิกสัญญาก็จะตองเปนไปตามเงื่อนไขในสัญญาที่เกี่ยวของ ยกตัวอยาง เชน ทีโอทีตองเสนอขอพิพาทใหอนุญาโตตุลาการชี้ขาดวาทีโอทีมีสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายที่จะยกเลิกขอตกลงตาม สัญญารวมการงานฯ ได บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามขอผูกพันทางการเงินที่ตกลงไวกับเจาหนี้สถาบันการเงิน ซึ่งหากบริษัทฯไมสามารถปฏิบัติตามขอผูกพัน ทางการเงินดังกลาวได บริษัทฯ อาจจำเปนตองทำเอกสารขอผอนผันกับเจาหนี้สถาบันการเงิน ทั้งนี้ หากบริษัทฯ ไม ไดรับการ ผอนผันและสงผลใหเกิดกรณีผิดนัด เจาหนี้สถาบันการเงินอาจสามารถเรียกคืนเงินกูดังกลาวไดกอนกำหนด โดยหากมีการเรียก คืนเงินกูกอนกำหนด อาจสงผลใหเจาหนี้ทางการเงินอื่น ๆ ของบริษัทฯ (รวมถึงผูถือหุนกูภายใตหุนกูบางรุนของบริษัทฯ) มีสิทธิ เรียกคืนเงินกู หรือ เงินลงทุน (แลวแตกรณี) กอนหนี้ดังกลาวจะถึงกำหนดชำระเงิน ความเสี่ยงเฉพาะจากการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน กลุมทรูมีภาระเพิ่มขึ้นจากการเขาทำธุรกรรมกับกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน โดยการจายคาเชาทรัพยสินภายใตสัญญาเชาทรัพย สินจากกองทุน และการสงมอบรายไดคาเชาที่บริษัทยอยไดจายใหแกกองทุน สุทธิรวมประมาณ 5 พันลานบาทตอป ซึ่งอาจสงผล กระทบตอความสามารถในการชำระคืนหนี้สินหรืออาจสงผลใหเกิดการผิดขอกำหนดและเงื่อนไขแกเจาหนี้สถาบันการเงิน และ/หรือ ผูถือหุนกู ไมวาชุดใด ๆ นอกจากนี้ ภายใตสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายไดระหวางกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานกับกลุมทรู กลุมทรูมีหนาที่ ส ง มอบหรื อ ดำเนิ น การให มี ก ารส ง มอบเสาโทรคมนาคมจำนวน 6,000 เสาให แ ก ก องทุ น รวมโครงสร า งพื้ น ฐาน โดยเสา โทรคมนาคมจำนวน 3,000 เสาจะตองสงมอบภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และเสาโทรคมนาคมจำนวน 3,000 เสาที่เหลือ จะตองสงมอบภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ทั้งนี้ ทรู สามารถสงมอบเสาจำนวน 6,000 เสาไดถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2563 โดย หาก ทรู สงมอบเสาโทรคมนาคมลาชา กองทุนมีสิทธิเรียกคาเสียหายจาก ทรู เปนจำนวนเงินเทากับจำนวนเงินคาเชาลวงหนา ที่กองทุนจะตองชำระคืนใหแก เรียลฟวเจอร ในปดังกลาวภายใตสัญญาเชาดำเนินการและบริหารจัดการหลักของ เรียลฟวเจอร สำหรับเสาโทรคมนาคมที่ ไมสามารถจัดหาใหแก เรียลฟวเจอร ได (“สวนตางคาเชารายป”) บวกดวย รอยละ 15 ตอป จากการ สงมอบลาชาตามกำหนดเวลาดังกลาวโดยคำนวณทุกวันที่ 31 ธันวาคมของป 2558 - 2563 ทั้งนี้ เนื่องจาก เรียลฟวเจอร เปนบริษัทยอยในกลุมทรู ที่จะไดรับเงินคาเชาลวงหนาคืนจากกองทุน สำหรับการที่ เรียลฟวเจอร ไมสามารถใชพื้นที่บนเสา โทรคมนาคม 6,000 เสาที่ ทรู ตองสงมอบใหแกกองทุนได ดังนั้น การพิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นตอกลุมทรู จึงตองพิจารณา จากคาเสียหายที่กลุมทรูตองชำระใหแกกองทุนเปนเงินสุทธิ โดยไมตองนำเงินสวนตางคาเชารายปที่กองทุนจะตองชำระคืนใหแก เรียลฟวเจอร มาคำนวณ ในกรณีกลุมทรูสงมอบเสาโทรคมนาคมจำนวนทั้งหมด 6,000 เสาใหแกกองทุนลาชาเมื่อพิจารณาผลกระทบทางการเงินที่เกิดขึ้น ตอกลุมทรู กลุมทรูตองชำระคาเสียหายสุทธิจากการสงมอบลาชาในจำนวนรอยละ 15 ตอป ของสวนตางคาเชารายป ซึ่งจำนวน คาเสียหายสุทธิที่กลุมทรูตองชำระดังกลาวมีจำนวนประมาณการเฉลี่ยสูงสุดไมเกิน 200 ลานบาทตอป ตั้งแตป 2558 - 2563 ทั้งนี้ กลุมทรูเชื่อวามีความเปนไปไดที่ต่ำมากหรือแทบจะเปนไปไม ไดเลยที่จะกลุมทรูจะสงมอบเสาลาชาทั้งหมด 6,000 เสา เนื่องจากกลุมทรูมีประสบการณในการดำเนินธุรกิจโทรคมนาคมมาอยางยาวนาน กลุมทรูเชื่อมั่นวาทรู จะสามารถสงมอบ เสาทั้งหมด 6,000 เสาใหแกกองทุนไดตามเงื่อนไขของสัญญา ทั้งนี้ กลุมทรูไดนำเงินทุนสวนใหญที่ ได จากการจำหนายสินทรัพยใหแกกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน ไปชำระคืนหนี้สินกอน กำหนด ซึ่งนอกจากจะเปนการลดภาระการชำระคืนหนี้สินในแตละปของกลุมทรูแลว ยังจะชวยลดคาใชจายดอกเบี้ยอีกดวย ความเสี่ยงจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย ในอดีตที่ผานมาสถานภาพทางการเงินของกลุมทรูอาจไดรับผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากหนี้สิน สวนหนึ่งเปนเงินกูตางประเทศ อยางไรก็ตาม ผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนลดลงอยางมี ในนัยสำคัญในป 2554 เนื่องจากการชำระคืนเงินกูมีหลักทรัพยค้ำประกันของทรูมูฟ (ซึ่งเปนเงินกูจาก IFC) และการชำระคืนเงินกูของ KfW กอน กำหนดในระหวางไตรมาส 2 ป 2554 รวมทั้งการดำเนินการเพื่อซื้อคืนหุนกูสกุลดอลลารสหรัฐ ในเดือนกันยายน 2554 โดยใน เดือนตุลาคม 2554 มีผูถือหุนกูตางประเทศแสดงความจำนงขายคืนหุนกูที่จะครบกำหนดในป 2556 และ 2557 ประมาณรอยละ 99 และรอยละ 95 ตามลำดับ ซึ่งกลุมทรูชำระเงินเพื่อซื้อคืนหุนกูแลวเสร็จในวันที่ 12 ตุลาคม 2554 การซื้อคืนหุนกูในครั้งนี้เปน ปจจัยสำคัญในการลดความเสี่ยงในการรีไฟแนนซ และความเสี่ยงทางการเงินที่เกิดจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน 57


ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 หนี้สินระยะยาวที่อยูในสกุลเงินตางประเทศ ของกลุมทรูลดลงอยูในสัดสวนประมาณรอยละ 2.9 จากเงินกูยืมไมหมุนเวียน (ไมรวมหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน) เมื่อเทียบกับ รอยละ 5.3 ณ สิ้นป 2555 สวนหนึ่งจากการ ชำระคืนหนี้สินในสกุลเยน และสกุลดอลลารสหรัฐในป 2556 นอกจากนี้ หนี้สินใหมที่เกิดขึ้นของกลุมทรูตั้งแตป 2551 เปนตนมา เปนการกูยืมจากสถาบันการเงินภายในประเทศ หรือออกหุนกูภายในประเทศ จึงทำใหสัดสวนของหนี้สินในสกุลเงินตางประเทศ ลดลงไปดวย ทั้งนี้ สัดสวนหนี้สินในสกุลเงินตางประเทศ ลดลงอยางมากเมื่อเทียบกับรอยละ 41.0 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซึ่งเปนผลจากการซื้อคืนหุนกูสกุลดอลลารสหรัฐของทรูมูฟในป 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุมทรูมีหนี้สินรวม (ไมรวมตนทุนเงินกูยืมที่ยังไมตัดจำหนาย) ในสัดสวนประมาณรอยละ 54.0 หรือ ประมาณ 47.2 พันลานบาท เปนหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ดังนั้นหากอัตราดอกเบี้ยมีการปรับตัวเพิ่มขึ้น จะมีผลทำใหกลุม ทรูมีภาระดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ความเสี่ยงดังกลาวอาจลดลงในระดับหนึ่ง เนื่องจากหนี้สินของกลุมทรูโมบายในบาง สวนจะมีอัตราดอกเบี้ยลดลงในปตอ ๆ ไป หากมีผลการดำเนินงานเปนไปตามเงื่อนไขที่ ไดกำหนดไวในสัญญาเงินกู ความเสี่ยงจากการที่บริษัทฯ มีผูถือหุนรายใหญ ถือหุนในสัดสวนมากกวารอยละ 50 ณ วันที่ 8 สิงหาคม 2556 กลุมผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ คือ บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จำกัด และบริษัทที่เกี่ยวของถือหุน รวมกันเปนจำนวนรอยละ 62.53 ของจำนวนหุนที่จำหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทฯ ซึ่งโดยลักษณะเชนนี้ อาจพิจารณาไดวา นักลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากการที่ผูถือหุนรายใหญถือหุนในบริษัทฯ มากกวารอยละ 50 เนื่องจากกลุมผูถือหุนรายใหญสามารถ ควบคุมมติที่ประชุมที่ตองใชเสียงสวนใหญ เชน การแตงตั้งกรรมการ เปนตน ดังนั้น ผูถือหุนรายยอยอาจไมสามารถรวบรวม คะแนนเสียงเพื่อตรวจสอบและถวงดุลเรื่องที่ผูถือหุนรายใหญเสนอได อยางไรก็ตาม คณะกรรมการของบริษัทฯ ใหความสำคัญ ตอการดำเนินการภายใตหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีเปนอยางยิ่ง เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนรายยอยสามารถเสนอเรื่องเพื่อบรรจุ เขาเปนวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการ เปนการลวงหนากอนการประชุมสามัญ ผูถือหุนประจำป นอกจากนี้ หากเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ และเปนรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน กับบริษัทฯ จะตองดำเนินการตามมาตรการและขั้นตอนที่กำหนดไว ใน “ระเบียบในการเขาทำรายการระหวางกัน” ซึ่งอยูภายใต กรอบของกฎหมายอยางเครงครัด

58

m n È


ขอมูลทั่วไปของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษทั ทรู คอรปอเรชัน่ จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) มีชอื่ ยอหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยวา “TRUE” ไดจดทะเบียนกอตัง้ บริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2533 ในนามบริษทั ซีพี เทเลคอมมิวนิเคชัน่ จำกัด โดยมีทนุ จดทะเบียนเริม่ แรก 1,000 ลานบาท เพื่อดำเนินธุรกิจทางดานโทรคมนาคม ตอมาไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2536 ทะเบียนเลขที่ 0107536000081 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 153,332,070,330 บาท เปนหุนสามัญจำนวน 15,333,207,033 หุน มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 10 บาท โดยมีทนุ ทีเ่ รียกชำระแลวจำนวน 145,302,152,660 บาท เปนหุนสามัญจำนวน 14,530,215,266 หุน มูลคา ที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีที่ตั้งสำนักงานใหญอยูที่ เลขที่ 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 Website : www.truecorp.co.th

ขอมูลทั่วไปของบริษัทยอย บริษัทรวม และ บริษัทที่เขารวมลงทุน ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จำกัด (มหาชน) 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ผู ใหบริการระบบ DBS

100 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 10 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

90.00

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

ผู ใหบริการ PCT

11,441.85 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 1,144.18 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

59


ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จำกัด (มหาชน)

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ธุรกิจลงทุน

172,828.29 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 69,131 ลานหุน มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 2.50 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.48

บริษัท บี บอยด ซีจี จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ผลิตการตูน แอนนิเมชั่น

16.52 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 1.65 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

70.00

บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด

1768 อาคารไทยซัมมิท ทาวเวอร ชัน้ 14 ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ใหเชาอุปกรณ โทรคมนาคม ทัง้ แบบ active และ passive

12,458.32 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 124.58 ลานหุน มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท ซีนิเพล็กซ จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ผลิตรายการ โทรทัศน

1,283.43 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 128.34 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท คลิกทีวี จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ธุรกิจโทรทัศน แบบสื่อสาร สองทาง

46 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 4.6 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.31

บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จำกัด

1768 อาคารไทยซัมมิท ทาวเวอร ชั้น 23 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ผู ใหบริการ ขายตอบริการ โทรศัพทเคลอนที่ ระบบเซลลูลาร แอมป 800 แบนดเอ

950 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 95 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

68.02

60

m n È


ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

บริษัท ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส (ประเทศไทย) จำกัด

539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 18 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

หยุดดำเนินงาน

230 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 23 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษทั ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส (ประเทศไทย) จำกัด

539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 18 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

หยุดดำเนินงาน

54 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 3.6 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 15 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท ฮัทชิสัน ไวรเลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส จำกัด

1768 อาคารไทยซัมมิท ทาวเวอร ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ธุรกิจลงทุน

10 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 590,000 หุน และ หุนบุริมสิทธิจำนวน 410,000 หุน มูลคาทีต่ ราไวหน ุ ละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

92.02

บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จำกัด

2/4 อาคารไทยพาณิชย สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 โทรสาร (662) 979-7111

การสอสาร โทรคมนาคมที่ มิใชภาครัฐ

50 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญจำนวน 12 ลานหุน มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 10 บาท ซึง่ ประกอบดวย หุน สามัญทีเ่ รียกชำระเต็มมูลคาแลว จำนวน 2.67 ลานหุน และ หุน สามัญที่เรียกชำระยังไมเต็ มมูลคาอีกจำนวน 9.33 ลานหุน โดยเรียกชำระไวทม่ี ลู คาหุน ละ 2.50 บาท

56.93

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ธุรกิจลงทุน

192.70 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 11.75 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 16.40 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จำกัด

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

61


ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

บริษัท เคโอเอ จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริการจัดการ ทรัพยสิน

2.5 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 1 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระมูลคาหุน ละ 2.50 บาท

100.00

บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด

โทรคมนาคม 2/4 อาคารไทยพาณิชย สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 และบริการ อินเทอรเน็ต ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 โทรสาร (662) 979-7111

153.04 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 15.30 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

56.83

บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จำกัด

2/4 อาคารไทยพาณิชย ธุรกิจอินเทอรเน็ต สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 และผูจัดจำหนาย ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 โทรสาร (662) 979-7111

139.64 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 13.95 ลานหุน และหุนบุริมสิทธิ จำนวน 0.01 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.08

บริษทั แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 725-7400 โทรสาร (662) 725-7401

ใหบริการดาน การบริหารจัดการ แกศลิ ปน และ ธุรกิจอื่นที่ เกี่ยวของ

75 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 7.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.77

บริษัท เรียล ฟวเจอร จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ใหบริการ โทรคมนาคม ประเภทสื่อสาร ไรสาย

46,244.39 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 4,624.44 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท เรียล มูฟ จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ผู ใหบริการ ขายตอบริการ โทรศัพทเคลอนที่

7,000 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 70 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.48

62

m n È


ชื่อบริษัท

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

หยุดดำเนินงาน

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.42

บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ขายและใหเชา อุปกรณที่เกี่ยวกับ บริการโทรทัศน ระบบบอกรับเปน สมาชิก

1,338 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 223 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 6 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.31

บริษัท เอสเอ็ม ทรู จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ใหบริการดาน การบริหารจัดการ แกศิลปนและ ธุรกิจอนทีเ่ กีย่ วของ

20 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 0.2 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

51.00

บริษัท สองดาว จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

หยุดดำเนินงาน

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.41

บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ใหบริการเนื้อหา

25 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 2.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริหารจัดการการ 2.5 ลานบาท แบงเปน ตลาด หุน สามัญจำนวน 1 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระมูลคาหุน ละ 2.50 บาท

100.00

63


ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

25,733.82 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญจำนวน 3,332.62 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ซึ่งประกอบดวย หุนสามัญ ที่เรียกชำระเต็มมูลคาแลว จำนวน 2,007.72 ลานหุน และ หุนสามัญที่เรียกชำระยังไมเต็ม มูลคาอีกจำนวน 124.90 ลานหุน โดยเรียกชำระไวที่มูลคาหุนละ 9.26 บาท และหุนสามัญ ที่เรียกชำระยังไมเต็มมูลคา อีกจำนวน 1,200 ลานหุน โดยเรียกชำระไวที่มูลคาหุนละ 3.75 บาท

100.00

1252 อาคารทรู ทาวเวอร 2 ธุรกิจลงทุน ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

300 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 30 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จำกัด

2/4 อาคารไทยพาณิชย หยุดดำเนินงาน สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 โทรสาร (662) 979-7111

250,000 บาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 100,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระมูลคาหุน ละ 2.50 บาท

34.39

บริษัท ไทย นิวส เน็ตเวิรค (ทีเอ็นเอ็น) จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ชองขาวโทรทัศน

240 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 2.4 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ขายโฆษณา และ ตัวแทนโฆษณา

25 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 2.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด

64

m n È

ธุรกิจลงทุน


% การถือหุน

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแลว

บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ธุรกิจจัดจำหนาย

1,501 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 15.01 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.43

บริษัท ทรู ดีทีที จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

กิจการโทรทัศน และบริการอนที่ เกี่ยวเนอง

5 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 100,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระมูลคาหุนละ 50 บาท

100.00

บริษทั ทรู อินฟอรเมชัน่ เทคโนโลยี จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ใหบริการ ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ

688.22 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 84.7 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ซึ่งประกอบดวยหุนสามัญที่ เรียกชำระเต็มมูลคาแลว จำนวน 38 ลานหุน และ หุนสามัญที่เรียกชำระยังไมเต็ม มูลคาจำนวน 46.7 ลานหุน โดย เรียกชำระไวทมี่ ูลคาหุนละ 6.6 บาท

100.00

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริการ โทรคมนาคม

22 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 850,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท ซึ่งประกอบดวยหุนสามัญที่ เรียกชำระเต็มมูลคาแลวจำนวน 10,000 หุน และ หุนสามัญที่ เรียกชำระยังไมเต็มมูลคาจำนวน 840,000 หุน โดยเรียกชำระไว ทีม่ ลู คาหุน ละ 25 บาท

99.43

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จำกัด

1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 15 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800

บริการ โทรคมนาคมและ อินเทอรเน็ต

436 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 4.36 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษทั ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด

ผู ใหบริการ 1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 14, 27 ถนนรัชดาภิเษก อินเทอรเน็ต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800

752.80 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 75.28 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

65


ชื่อบริษัท

% การถือหุน

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแลว

บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ผูคาปลีกบริการ โทรคมนาคม

1,775 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 257.50 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ซึ่งประกอบดวยหุนสามัญ ทีเ่ รียกชำระเต็มมูลคาแลวจำนวน 97.5 ลานหุน และ หุนสามัญ ที่เรียกชำระยังไมเต็ม มูลคาอีกจำนวน 160 ลานหุน โดยเรียกชำระไวที่มูลคาหุนละ 5 บาท

100.00

บริษัท ทรู มูฟ จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ผู ใหบริการ ระบบเซลลูลาร

65,181.30 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 6,518.13 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.43

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ใหบริการเชา วงจรสอสัญญาณ ความเร็วสูง และบริการ มัลติมีเดีย

6,562 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 656.2 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.08

บริษัท ทรู มิวสิค จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ใหบริการเนื้อหา

200,000 บาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.40

บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จำกัด

ซื้อ ขายและ 23/6-7 ชั้นที่ 2-4 ผลิตสอโฆษณา ซอยศูนยวิจัย ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 641-4838-9 โทรสาร (662) 641-4840

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

69.94

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

86 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 860,000 หุน มูลคาที่ตราไวหนุ ละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

66

m n È

บริการ โทรคมนาคม


ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

บริษัท ทรู ทัช จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริการ Call centre

193 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 1.93 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

จัดการทีมฟุตบอล และกิจกรรมที่ เกี่ยวของ

20 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 2 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

70.00

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ใหบริการ โทรคมนาคม ประเภท สอสารผานสาย

7,000 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 100 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท ซึ่งประกอบดวยหุนสามัญ ทีเ่ รียกชำระเต็มมูลคาแลวจำนวน 40 ลานหุน และ หุนสามัญ ที่เรียกชำระยังไมเต็มมูลคา อีกจำนวน 60 ลานหุน โดยเรียกชำระไวทม่ี ลู คาหุน ละ 50 บาท

100.00

บริษัท ทรู วิชั่นส จำกัด (มหาชน)

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ใหบริการ โทรทัศน ระบบบอกรับ เปนสมาชิก

2,266.72 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 755.57 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 3 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.31

บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จำกัด (มหาชน)

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ใหบริการ โทรทัศน ระบบบอกรับ เปนสมาชิก ผานสายเคเบิ้ล

7,608.65 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 760.86 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

98.99

บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ธุรกิจลงทุน

3,017.6 ลานบาท แบงเปน หุน สามัญจำนวน 75.176 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท ซึ่งประกอบดวยหุนสามัญ ทีเ่ รียกชำระเต็มมูลคาแลวจำนวน 15.176 ลานหุน และ หุนสามัญ ที่เรียกชำระยังไมเต็ม มูลคาอีกจำนวน 60 ลานหุน โดยเรียกชำระไวที่มูลคาหุนละ 25 บาท

100.00

67


ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

บริษัท ทรูวิสตาส จำกัด 18 อาคารทรู ทาวเวอร (เดิมชอ “บริษัท ทรู แมจิค จำกัด”) ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ผลิตและ จำหนาย ภาพยนตร

3.5 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 350,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

K.I.N. (Thailand) Company Limited

P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

ธุรกิจลงทุน

USD 1 แบงเปน หุนสามัญจำนวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

Gold Palace Logistics Limited

P.O. Box 71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola, British Virgin Island

ธุรกิจลงทุน

USD 8,000 แบงเปน หุนสามัญจำนวน 8,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

Dragon Delight Investments Limited

P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

ธุรกิจลงทุน

USD 4.97 แบงเปน หุนสามัญจำนวน 4.97 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

Gold Palace Investments Limited

P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

ธุรกิจลงทุน

USD 12.7 ลาน แบงเปน หุนสามัญจำนวน 12.7 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

Golden Light Company Limited

Suite 308, St James Court, St Denis Street, Port Louis, Republic of Mauritius

ธุรกิจลงทุน

USD 15.2 ลาน แบงเปน หุนสามัญจำนวน 15.2 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

Goldsky Company Limited

Suite 308, St James Court, St Denis Street, Port Louis, Republic of Mauritius

ธุรกิจลงทุน

USD 4.97 ลาน แบงเปน หุนสามัญจำนวน 4.97 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

Golden Pearl Global Limited

P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

ธุรกิจลงทุน

USD 50,000 แบงเปน หุนสามัญจำนวน 50,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

Rosy Legend Limited

P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

ธุรกิจลงทุน

USD 1 แบงเปน หุนสามัญจำนวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

99.48

68

m n È


ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

Prospect Gain Limited

P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

ธุรกิจลงทุน

USD 1 แบงเปน หุนสามัญจำนวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

True Internet Technology (Shanghai) Company Limited

Room 2202-05, Johnson Building, No.145 Pujian Road, Shanghai 200127, P.R.China Tel. (86) 21 5889 0800 - 8049 Fax. (86) 21 5889 0800 - 8033

พัฒนา ออกแบบ ผลิตและขาย ผลิตภัณท ซอฟแวร

USD 11.7 ลาน แบงเปน หุนสามัญจำนวน 11.7 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

GP Logistics Company Limited

P.O.Box71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola, British Vergin Island

ธุรกิจลงทุน

USD 1 แบงเปน หุนสามัญจำนวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

100.00

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด

1 อาคารฟอรจูนทาวน ใหบริการ ชั้น 14, 17 ถนนรัชดาภิเษก อินเทอรเน็ต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800

15 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 1.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

65.00

บริษัท บีอีซี-เทโร ทรู วิชั่นส จำกัด

3199 อาคารมาลีนนททาวเวอร ชัน้ 28 ถนนพระราม 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท (662) 204-3333 โทรสาร (662) 204-1384

50 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 0.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

50.00

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จำกัด

608-609 ชั้น 6 ประกอบกิจการ อาคารสยามดิสคัฟเวอรรี่ เกี่ยวกับเพลง เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (662) 207-6788 โทรสาร (662) 207-6789

84.70 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 1.1 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 77 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

25.82

บริษัท ทรู จีเอส จำกัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

240 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 2.4 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

45.00

กีฬาและ สันทนาการ

จำหนายสินคา ผานสื่อตาง ๆ

69


ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแลว

% การถือหุน

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด

159 อาคารเสริมมิตร ผูผลิตอุปกรณ ทาวเวอร ชั้น 2 และ 24 โทรคมนาคม ซอยอโศก ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

343 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 343,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1,000 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

9.62

บริษัท ไทยสมารทคารด จำกัด

191 อาคารสีลมคอมเพล็กซ ชั้น 27 หองเลขที่ 2 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

ศูนยกลาง ใหบริการ การเคลียรริ่ง ของระบบ การจายเงินทาง อิเล็กทรอนิกส

1,600 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 160 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

15.76

บริษัท ศูนย ใหบริการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท จำกัด

598 ชั้นที่ 6 อาคารคิวเฮาส บริการคงสิทธิ เพลินจิต ถนนเพลินจิต เลขหมายตามที่ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กฎหมายกำหนด กรุงเทพฯ 10330

2 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

19.94

ขอมูลทั่วไปของบุคคลอางอิง นายทะเบียนหุนสามัญ

:

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท (662) 229-2800 โทรสาร (662) 359-1259 Call center (662) 229-2888 เว็บไซต http://www.tsd.co.th

ผูสอบบัญชี

:

นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3445 บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จำกัด 179/74-80 บางกอกซิตี้ทาวเวอร ชั้น 15 ถนนสาทรใต แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท (662) 286-9999, (662) 344-1000 โทรสาร (662) 286-5050

นายทะเบียนหุนกู/ : ผูแทนผูถือหุนกู

70

m n È

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) 1222 ชั้น AA ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท (662) 296-2030, (662) 296-4494, (662) 296-5715, (662) 296-2988, (662) 296-2796, (662) 296-4788 โทรสาร (662) 683-1389, (662) 683-1298


ขอมูลสำคัญอื่น 1. การไดมาและจำหนายไปซึง่ สินทรัพยทสี่ ำคัญ อันเนือ่ งมาจากการเขาทำธุรกรรมกับกองทุนรวมโครงสรางพืน้ ฐาน ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2556 เมือ่ วันที่ 7 ตุลาคม 2556 ไดมมี ติอนุมตั ใิ หบริษทั ฯ และ/หรือ บริษทั ยอย เขาทำธุรกรรมกับกองทุนรวม โครงสรางพืน้ ฐาน (“กองทุน”) เพือ่ การระดมทุน (“ธุรกรรมกองทุนรวมโครงสรางพืน้ ฐาน”) โดยมีธรุ กรรมทีเ่ กีย่ วของดังตอไปนี้ (ก) ธุรกรรม ขายทรัพยสนิ และรายได (ข) ธุรกรรมเชา ดำเนินการ และบริหารจัดการ และ (ค) ธุรกรรมจองซือ้ หนวยลงทุน และในเวลาตอมา เมือ่ วันที่ 23 ธันวาคม 2556 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดอนุมัติการจดทะเบียนกองทรัพยสินตาม โครงการกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท เปนกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน มีชื่อวา “กองทุนรวมโครงสราง พืน้ ฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท” โดยกองทุนมีจำนวนหนวยลงทุนทีเ่ สนอขายทัง้ หมดจำนวน 5,808,000,000 หนวย ราคาเสนอขายตอหนวยและ มูลคาทีต่ ราไวตอ หนวย คือ 10.00 บาท และ จำนวนเงินทุนของกองทุนที่ไดจากการเสนอขายหนวยลงทุนทัง้ หมดเทากับ 58,080,000,000 บาท ทัง้ นี้ หนวยลงทุนไดเริ่มทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2556 ภายใตชื่อยอ “TRUEIF” ในการนี้ บริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอย ไดเขาทำธุรกรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน ตามมติของที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2556 ดังนี้ (1) ธุรกรรมขายทรัพยสินและรายได บริษัทฯ และ บริษัทยอยของบริษัทฯ ประกอบดวย บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด (“TUC”) บริษัท บีเอฟเคที จำกัด (“BFKT”) และ บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (“AWC”) ไดเขาทำ สัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายไดกับกองทุนแยกตางหากรายละฉบับ โดยสัญญาแตละฉบับลงวันที่ 24 ธันวาคม 2556 เพื่อจำหนายไปซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินและสิทธิในการรับประโยชนจากรายไดสุทธิ ดังตอไปนี้ (1.1) กรรมสิทธิ์ในเสาโทรคมนาคมจำนวน 6,000 เสา และ โครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคมประเภท Passive อืน่ ทีเ่ กีย่ วของ ทีใ่ ชสำหรับการใหบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่ ซึง่ บริษทั ฯ จะสงมอบหรือดำเนินการใหมีการสงมอบเสาโทรคมนาคมจำนวน 3,000 เสา ภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ เสาโทรคมนาคมจำนวน 3,000 เสา ภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (1.2) กรรมสิทธิใ์ นระบบใยแกวนำแสงหลัก (core fiber optic cable grid) (“ระบบ FOC หลัก”) อุปกรณระบบสื่อสัญญาณที่ เกี่ยวของ และ ระบบบรอดแบนดในเขตพื้นที่ตางจังหวัดของ TUC และ (1.3) สิ ท ธิ ใ นการรั บ ประโยชน จ ากรายได สุ ท ธิ (รวมถึ ง เงิ น ที่ ไ ด รั บ จากการใช สิ ท ธิ เ รี ย กร อ ง คำตัดสิน คำพิพากษา คดีความทีต่ ดั สินใหแก BFKT และ AWC รวมทัง้ การดำเนินการหรือสิทธิอนื่ ใดซึง่ BFKT และ AWC มีสทิ ธิไดรบั ทีเ่ กิด ขึ้นจาก หรือเกี่ยวกับรายไดหรือสัญญาซึ่งกอใหเกิดรายไดดังกลาว ที่เกิดขึ้นตั้งแตและรวมถึงวันเริ่มคำนวณรายได จนถึงวันครบกำหนดสัญญา HSPA ที่เกิดจากการใหเชาทรัพยสินโทรคมนาคมของ BFKT และเสาโทรคมนาคมของ AWC (โดยไมรวมถึงสิทธิและเงินที่ ไดรบั จากการใชสทิ ธิเรียกรองทีเ่ กิดขึน้ จาก หรือเกี่ยวกับรายไดหรือสัญญาซึ่งกอให เกิดรายไดดังกลาวซึ่ง BFKT หรือ AWC มีสิทธิไดรับกอนหนาวันเริม่ คำนวณรายได ไมวา BFKT หรือ AWC จะได ดำเนินการใชสทิ ธิเรียกรองหรือไดรบั ชำระตามสิทธิหรือการใชสิทธิเรียกรองดังกลาวกอนหนาหรือภายหลังวันเริ่ม คำนวณรายไดก็ตาม)) ดังตอไปนี้ (1.3.1) เสาโทรคมนาคมจำนวนหนึ่ ง และโครงสร า งพื้ น ฐานโทรคมนาคมประเภท Passive อื่นที่เกี่ยวของ (กลาวคือ เสาโทรคมนาคมของ BFKT และเสาโทรคมนาคมของ AWC) และ (1.3.2) ระบบใยแกวนำแสง (กลาวคือ ระบบ fiber optic cable ของ BFKT และอุปกรณระบบสื่อสัญญาณที่เกี่ยวของ) รวมทั้งกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินดังกลาวจำนวนหนึ่งของ BFKT และ AWC ภายหลังจากวันครบกำหนดสัญญา HSPA ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 วันครบกำหนดสัญญา HSPA คือ วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2568 โดยเปนวันทีส่ ญ ั ญาเชาเครือ่ งและ อุปกรณวทิ ยุโทรคมนาคมเพือ่ ใหบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีใ่ นระบบ HSPA ลงวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2554 ระหวาง BFKT และ บริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (รวมทั้งที่แก ไขเพิ่มเติม) จะครบกำหนดอายุของสัญญา 71


อนึ่ง ราคาขายของกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินและสิทธิในการรับประโยชนจากรายไดสุทธิที่ขายใหแกกองทุนเปนจำนวนรวม ประมาณ 58,080 ลานบาท (2) ธุรกรรมเชา ดำเนินการ และ บริหารจัดการ บริษัทยอยของบริษัทฯ ประกอบดวย TUC และ บริษัท เรียล ฟวเจอร จำกัด (“เรียลฟวเจอร”) ไดเขาทำสัญญาเชา ดำเนินการ บำรุงรักษา และบริหารจัดการหลัก กับกองทุนแยกตางหากรายละฉบับ โดย สัญญาแตละฉบับลงวันที่ 24 ธันวาคม 2556 เพื่อการเชา ดำเนินการ บำรุงรักษา และบริหารจัดการ ทรัพยสินดังตอไปนี้ (2.1) ทรัพยสินที่เรียลฟวเจอร เชา ดำเนินการ บำรุงรักษา และบริหารจัดการ ประกอบดวย (2.1.1) พื้นที่ (slots) บนเสาโทรคมนาคม และ (2.1.2) ทรัพยสินสิ่งอำนวยความสะดวกประเภท Passive ที่เกี่ยวของกับเสาโทรคมนาคมบางเสา และ (2.2) ทรัพยสินที่ TUC เชา ดำเนินการ บำรุงรักษา และบริหารจัดการ ประกอบดวย (2.2.1) ระบบ FOC หลัก ความยาวประมาณ 5,112 กิโลเมตร (2.2.2) อุปกรณระบบสื่อสัญญาณที่เกี่ยวของกับระบบ FOC หลัก (2.2.3) ระบบบรอดแบนดในเขตพื้นที่ตางจังหวัดซึ่งเปนอุปกรณโทรคมนาคมประเภท Passive (สำหรับการใชแตเพียง ผูเดียวของ TUC เวนแต TUC ตกลงเปนอยางอื่นหลังจากระยะเวลา 5 ปแรก) และ (2.2.4) ระบบบรอดแบนดในเขตพื้นที่ตางจังหวัดซึ่งเปนอุปกรณ โทรคมนาคมประเภท Active (สำหรับการใชแตเพียง ผูเดียวของ TUC) (3) ธุ ร กรรมจองซื้ อ หน ว ยลงทุ น บริษัทฯ ไดเขาจองซื้อและเปนผูถือหนวยลงทุนของกองทุนจำนวน 1,930,601,000 หนวย ที่ราคา 10.00 บาทตอหนวย (หรือจำนวนรวมเทากับ 19,306.01 ลานบาท) คิดเปนอัตราสวนรอยละ 33.24 ของจำนวน หนวยลงทุนที่จำหนายไดทั้งหมดของกองทุนในการเสนอขายครั้งแรก นอกจากนี้ บริษัทฯ และบริษัทยอยของบริษัทฯ ประกอบดวย เรียลฟวเจอร และบริษัท เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท จำกัด ยังไดเขาทำสัญญาตางๆ ที่เกี่ยวของหรือเกี่ยวเนื่องกับการทำธุรกรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน โดยเปนการดำเนินการที่ สอดคลองกับสัญญาและขอตกลงที่เกี่ยวของกับธุรกรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานตามที่ระบุขางตน 2. สรุปสาระสำคัญของสัญญาทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจของกลุม ทรู (1) สัญญารวมการงานฯ ระหวาง ทีโอที (องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และบริษัทฯ (บริษัท ซี พี เทเลคอม มิวนิเคชั่น จำกัด ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2534 และแก ไขเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2538 โดยสัญญารวมการงานฯ มีกำหนดเวลา 25 ป นับแตวันที่ 31 ธันวาคม 2535 หรือวันที่ ทีโอที ไดรับมอบอุปกรณ ในระบบงวดแรกจากบริษัทฯ (วันที่ 29 ตุลาคม 2535) แลวแตวันใดจะถึงกำหนดกอน (วันที่ 29 ตุลาคม 2535 - วันที่ 29 ตุลาคม 2560) สัญญารวมการงานฯ มีวัตถุประสงคเพื่อ ขยายบริการโทรศัพทพื้นฐานในพื้นที่เขตโทรศัพทนครหลวงจำนวน 2 ลาน และ 6 แสนเลขหมาย (เปนไปตามลำดับของสัญญารวมการงานฯ ขางตน) โดยลักษณะของสัญญารวมการงานฯ เปนลักษณะ ของ Build-Transfer-Operate (BTO) โดย บริษัทฯ มีหนาที่ จัดหาและโอนกรรมสิทธิ์ของอุปกรณในระบบใหแก ทีโอที โดย อุปกรณในระบบ ตามสัญญารวมการงานฯ ไดระบุไวในนิยามศัพท สัญญาขอ 1 “อุปกรณในระบบ” ซึ่งหมายถึง อุปกรณ ตาง ๆ ในโครงขายที่ประกอบเขาเปนระบบโทรคมนาคมและอุปกรณอื่นใดที่นำมาใชรวมในระบบ อาทิ อุปกรณเครื่อง ชุมสาย โครงขายตอนนอก โครงขายตอผานทองถิ่นที่บริษัทจะจัดหาและโอนกรรมสิทธิ์ให ทศท ซึ่งบริษัทฯ ตองสงมอบ อุปกรณในระบบที่ติดตั้งแลวเสร็จใหแก ทีโอที และใหอุปกรณในระบบดังกลาวตกเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที ทันที และ ตลอดระยะเวลาตามสัญญานี้ บริษัทฯ ตองบำรุงรักษาอุปกรณในระบบที่ยกใหเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที ใหอยูในสภาพใช งานไดดีตลอดเวลาในระดับที่ ไมต่ำกวามาตรฐานที่ ทีโอที ใชอยูในโครงขาย ทีโอที 72

m n È


จากการทำสัญญารวมการงานฯ ดังกลาว บริษัทฯ มีสิทธิ ดังนี้ - สิทธิที่จะใช ครอบครอง และบำรุงรักษาอุปกรณในระบบ ที่ดิน อาคาร และทรัพยสินอื่นใดที่บริษัทฯ ไดจัดหามาและ โอนกรรมสิทธิ์ใหแก ทีโอที หรือโอนสิทธิการเชาใหแก ทีโอที แลวแตกรณี สิทธิในการแสวงหาประโยชนจากอุปกรณใน ระบบ ที่ดิน อาคารและทรัพยสินอื่นใดตามสัญญา - สิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทน ตามที่ บริษัทฯ จะไดทำความตกลงกับ ทีโอที กรณีบุคคลอื่นนำบริการพิเศษมาผาน โครงขายบริษัทฯ - สิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทน ตามที่ บริษัทฯ จะไดทำความตกลงกับ ทีโอที กรณี ทีโอที นำบริการพิเศษมาใชผาน โครงขายบริษัทฯ - สิทธิที่จะไดรับคาเสียหาย หรือ คาชดเชย กรณี ทีโอที ตัดทอนสิทธิของบริษัทฯ - สิทธิที่สามารถใชที่ดิน อาคาร และวัสดุอุปกรณตาง ๆ ของ ทีโอที เทาที่ ทีโอที จะพิจารณาอนุญาตโดยไมเสียคาใชจาย จากการดำเนินการตามสัญญารวมการงานฯ นั้น ทีโอที จะเปนผูดำเนินการเก็บเงินจากผูเชา (ผูใชบริการ) โดยเงินคาบริการ ในสวนของโทรศัพท 2 ลานเลขหมาย ทีโอที จะแบงรายไดที่ ไดรับจริงกอนหักคาใชจายใหบริษัทฯ ในอัตรารอยละ 84 และ เงินคาบริการในสวนของโทรศัพท 6 แสนเลขหมาย ทีโอที จะแบงรายไดที่ ไดรบั จริงกอนหักคาใชจา ยใหบริษทั ฯ ในอัตรารอยละ 79 สิทธิในการบอกเลิกสัญญารวมการงานฯ - ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีตอไปนี้ โดยกอนใชสิทธิบอกเลิกนี้ หากเปนกรณีที่ ไมสามารถแก ไขได ทีโอที จะมี หนังสือถึงบริษทั ฯ ลวงหนาไมนอ ยกวา 1 เดือน แตหากเปนกรณีทแี่ ก ไขได ทีโอที จะมีหนังสือบอกกลาวมาที่บริษัทฯ ให ปฏิบัติใหถูกตอง หรือปรับปรุงภายในเวลาที่ ทีโอที กำหนด แตตองไมนอยกวา 6 เดือน หากบริษัทฯ ไมสามารถ ปรับปรุงไดในเวลา ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกได • บริษัทฯ ทำผิดกฎหมายเกี่ยวกับการปองกันภัยพิบัติสาธารณะ หรือความมั่นคงของรัฐ • บริษัทฯ ถูกศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย • บริษัทฯ จงใจผิดสัญญาในสาระสำคัญอยางตอเนื่อง - บริษัทฯ ไมมีสิทธิเลิกสัญญา เวนแตกรณีตอไปนี้ โดยกอนใชสิทธิบอกเลิกสัญญา บริษัทฯ ตองมีหนังสือบอกกลาว ทีโอที ใหทำการแก ไขหรือปฏิบัติใหถูกตอง ภายในเวลาที่บริษัทฯ กำหนด แตตองไมนอ ยกวา 6 เดือน หาก ทีโอที ไม สามารถปรับปรุงหรือแก ไข บริษทั ฯ จะแจงเปนหนังสือบอกเลิกไปยัง ทีโอที • ทีโอที จงใจผิดสัญญาในสาระสำคัญอยางตอเนื่อง จนเปนเหตุใหบริษัทฯ ไมอาจปฏิบัติตามสัญญาได • รัฐบาล หนวยงานของรัฐ หรือ ทีโอที ยกเลิกสิทธิหรือดำเนินการอยางใดเปนเหตุใหบริษัทฯ เสื่อมสิทธิมีผลกระทบกระเทือน ตอการดำเนินงานของบริษัทฯ อยางมาก จนไมสามารถประกอบกิจการตามสัญญาได • บริษัทฯ ไม ไดรับเงินสวนแบงที่เกี่ยวของหรือเงินอื่นใดตามที่ระบุในสัญญา (2) สัญญาอนุญาตใหดำเนินกิจการใหบริการใหเชาวงจรสือ่ สัญญาณความเร็วสูงผานโครงขายมัลติมเี ดีย ระหวาง ทีโอที (องคการ โทรศัพทแหงประเทศไทย ในขณะนัน้ ) และ ทรู มัลติมเี ดีย (บริษทั เอเซีย มัลติมเี ดีย จำกัด ในขณะนัน้ ) (“สัญญาฯ”) สัญญาฯ นีท้ ำ เมือ่ วันที่ 20 ตุลาคม 2540 โดยมีกำหนดเวลา 20 ป โดยเริม่ นับตัง้ แตวนั ที่ ลงนามในสัญญาฯ สัญญาฯ มีวัตถุประสงคเพื่อ ดำเนินกิจการใหบริการใหเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูงทั้งระบบ Digital และ Analog เพื่อให บริการแกผูใชบริการทัว่ ไป และผูม สี ทิ ธิ และ/หรือ ไดรบั สิทธิเปนผูด ำเนินการใหบริการผานโครงขายมัลติมเี ดีย โดยลักษณะของ สัญญาฯ เปนลักษณะของ Build-Transfer-Operate (BTO) โดย ทรู มัลติมเี ดีย มีหนาที่ ตองโอนกรรมสิทธิใ์ นเครือ่ งมือและอุปกรณ ในระบบทีท่ รู มัลติมเี ดีย ติดตัง้ เพิม่ เติมขึน้ จากโครงขายมัลติมเี ดียที่ใชในการใหบริการตามสัญญาใหตกเปนกรรมสิทธิข์ อง ทีโอที และ ทรู มัลติมเี ดีย ตองทำการบำรุงรักษาบรรดาเครือ่ งมือและอุปกรณในระบบซึง่ เปนกรรมสิทธิข์ อง ทีโอที ใหอยูในสภาพใชงาน ไดดีตลอดเวลา หากอุปกรณหรือชิ้นสวนใดสูญหายหรือเสียหายจนใชการไม ได ทรู มัลติมีเดีย ตองจัดหามาเปลี่ยนทดแทนหรือ ซอมแซมใหอยูในสภาพใชการไดดี ในการดำเนินการตามสัญญาฯ นี้ ทรู มัลติมีเดีย ไดจัดสรรหุนของทรู มัลติมีเดีย จำนวน 18,525,000 หุน ใหแก ทีโอที โดย ทีโอที ไมตอ งชำระคาหุน ดังกลาว

73


จากการทำสัญญาฯ ทรู มัลติมีเดีย มีสิทธิ ดังนี้ - สิทธิแตเพียงผูเดียวในการครอบครองทรัพยสินที่ตกเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที - สิทธิใชพื้นที่ภายในอาคารของ ทีโอที ที่จะทำการติดตั้งระบบวงจรความเร็วสูง - สิทธิเชาโครงขายของ ทีโอที ตามอัตราที่ ทีโอที กำหนดเพื่อนำไปใหบริการ - สิทธิในการเชื่อมตอโครงขายเขากับชุมสายและโครงขายโทรคมนาคมของ ทีโอที สิทธิในการบอกเลิกสัญญาฯ ตามสัญญาฯ ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกสัญญาฯ ได หากทรู มัลติมีเดีย ไมสามารถดำเนินกิจการงาน ตามสัญญานี้ตามปกติธุระ หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด (3) สัญญารวมดำเนินกิจการใหบริการโทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปนสมาชิก ระหวาง อสมท (องคการสื่อสารมวลชนแหง ประเทศไทย ในขณะนัน้ ) และ ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ (บริษทั ไทยเคเบิล้ วิชนั่ จำกัด (มหาชน) ในขณะนัน้ ) โดยมีระยะเวลา 25 ป นับ ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2538 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2562 และมีการแก ไขเพิม่ เติมครัง้ ที่ 1 เมือ่ วันที่ 7 กันยายน 2537 มีการแก ไข เพิม่ เติมครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2537 แก ไขเพิม่ เติมครัง้ ที่ 3 เมือ่ วันที่ 17 เมษายน 2541 และ แก ไขเพิม่ เติมครัง้ ที่ 4 เมือ่ วันที่ 8 ตุลาคม 2552 และ ขอตกลงระหวาง อสมท และ ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ เมือ่ วันที่ 8 ตุลาคม 2552 โดยสัญญานีม้ วี ตั ถุประสงคเพือ่ รวมดำเนินกิจการใหบริการโทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปนสมาชิก โดย ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ มีสทิ ธิ ในการดำเนินกิจการใหบริการโทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปนสมาชิก โดย ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ มีหนาทีต่ อ งปฏิบตั ติ ามสัญญา โดยตองสงมอบ ทรัพยสนิ ทัง้ หมดรวมทัง้ สงมอบอุปกรณเครือ่ งรับทัง้ หมด ให อสมท ไดแก อุปกรณการขนสง ไดแก อุปกรณ Headend, อุปกรณหอ งสง ตองมอบใหแก อสมท ภายใน 1 มกราคม 2538 ไมต่ำกวา 50 ลานบาท และตองสงมอบใหแก อสมท ภายใน 5 ป นับจากวันที่ทำสัญญาแก ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 2 (9 พฤศจิกายน 2537) มีมลู คาไมนอ ยกวา 120 ลานบาท และ อุปกรณการรับ ไดแก ระบบ Set Top Converter ของสมาชิก ตองสงมอบใหเปน กรรมสิทธิข์ อง อสมท เมือ่ สิน้ สุดสัญญาลง โดย ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ เปนผูต อ งลงทุนทัง้ หมดเพือ่ ใชในดำเนินกิจการไมนอ ยกวา 100 ลานบาท เปนคาใชจา ยในการจัดหาเครือ่ งมืออุปกรณตา ง ๆ และ หนาที่ในการบำรุงรักษาอุปกรณและเครือ่ งมือ ใหอยูในสภาพใช งานไดตลอดเวลา ซึง่ ในการดำเนินการตามสัญญานี้ ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ ตกลงจายคาตอบแทนในการเขารวมดำเนินกิจการเปนเงิน รอยละ 6.5 ของรายไดทงั้ หมดแตละป กอนหักคาใชจา ยใด ๆ สิทธิในการบอกเลิกสัญญา ตามสัญญากำหนดวา หากทรู วิชั่นส เคเบิ้ล ไมปฏิบัติตามสัญญาในขอหนึง่ ขอใด อสมท จะแจงเปน ลายลักษณอกั ษรใหปฏิบตั ติ ามสัญญาใหถกู ตองในเวลาอันสมควร หากทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ ไมยอมปฏิบตั ใิ หถกู ตองในเวลา ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ ตองแจงเหตุผลเปนลายลักษณอกั ษรให อสมท ทราบ เมือ่ อสมท พิจารณาคำชีแ้ จงแลว จะแจงใหทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ ทราบ และปฏิบตั ใิ หถกู ตองในกำหนดเวลาอันควรอีกครั้ง หากทรู วิชั่นส เคเบิ้ล ไมปฏิบัติใหถูกตองในกำหนดครั้งนี้ อสมท มีสิทธิเรียก คาเสียหาย หรือใหงดใหบริการ และ/หรือมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาไดทนั ที และในกรณีถา มติ ครม. เปนวามีความจำเปนเพือ่ ความ มัน่ คงของรัฐ อสมท มีสิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือบางสวนได โดยแจงใหทรู วิชั่นส เคเบิ้ลทราบลวงหนาไมนอยกวา 180 วัน (4) สัญญารวมดำเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ระหวาง อสมท (องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศ ไทย ในขณะนัน้ ) และ ทรู วิชนั่ ส ( บริษทั อินเตอรเนชัน่ แนล บรอดคาสติง้ คอรปอรเรชัน่ จำกัด (มหาชน) ในขณะนั้น) โดยมีระยะ เวลา 25 ป นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2532 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2557 และมีการแก ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2537 และ แก ไขเพิม่ เติมครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 17 เมษายน 2541 แก ไขเพิม่ เติมครัง้ ที่ 3 เมือ่ วันที่ 8 ตุลาคม 2552 และ บันทึกขอตกลงระหวาง อสมท และ ทรู วิชั่นส เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 โดยสัญญานี้มีวัตถุประสงค เพื่อรวมดำเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก และทรู วิชั่นส ไดสิทธิในการ ดำเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก โดยมีหนาที่ในการตองลงทุนทั้งหมดเพื่อใชในการดำเนินกิจการไม นอยกวา 50 ลานบาท เปนคาใชจายในการจัดหาเครื่องมืออุปกรณตาง ๆ และตองสงมอบทรัพยสินทั้งหมดรวมทั้งสงมอบ อุปกรณเครื่องรับทั้งหมด ให อสมท ไดแก อุปกรณการสง ไดแก อุปกรณเครื่องสง อุปกรณหองสง และสายอากาศภาคสง เพื่อดำเนินการในระบบ MMDS โดยสงมอบให อสมท ภายใน 180 วัน นับตั้งแตวันทำสัญญา (วันที่ 17 เมษายน 2532) โดยมี มูลคารวมไมต่ำกวา 50 ลานบาท และตองสงมอบอุปกรณจากการขยายบริการตามสัญญาแก ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ให อสมท ภายใน 3 ป นับจากวันทำสัญญา (วันที่ 19 พฤษภาคม 2537) มีมูลคารวมไมนอยกวา 120 ลานบาท และ อุปกรณเครื่องรับ 74

m n È


ไดแก ระบบสายอากาศของสมาชิก (Down Converter) รวมทั้งอุปกรณปองกันไมใหผูอื่นที่มิใชสมาชิกรับสัญญาณได ตองสง มอบใหเปนกรรมสิทธิ์ของ อสมท เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง รวมทั้งหนาที่ในการโอนสิทธิ์ในคลื่นความถี่ 2507 - 2517 MHz และ 2521 - 2528 MHz ที่ ไดรับจากคณะกรรมการประสานงานและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ และอีก 1 คลื่นความถี่ที่ ไดรับจาก คณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารคลื่นความถี่ให อสมท ภายใน 180 วัน (นับแตวันที่ 17 เมษายน 2532) ซึ่งใน การดำเนินการตามสัญญานี้ ทรูวิชั่นส ตกลงจายคาตอบแทนในการเขารวมดำเนินกิจการเปนเงินรอยละ 6.5 ของรายได ทั้งหมดแตละป กอนหักคาใชจา ยใด ๆ สิทธิในการบอกเลิกสัญญาตามสัญญากำหนดวาหาก ทรู วิชนั่ ส ไมปฏิบตั ติ ามสัญญาในขอหนึง่ ขอใด อสมท จะแจงเปนลายลักษณอกั ษร ใหปฏิบตั ติ ามสัญญาใหถกู ตองในเวลาอันสมควร หากทรูวชิ นั่ ส ไมยอมปฏิบตั ใิ หถกู ตองในเวลา ทรู วิชนั่ ส ตองแจงเหตุผลเปนลายลักษณ อักษรให อสมท ทราบ เมือ่ อสมท พิจารณาคำชีแ้ จงแลว จะแจงใหทรู วิชนั่ ส ทราบและปฏิบตั ใิ หถกู ตองในกำหนดเวลาอันควรอีกครัง้ หากทรูวชิ นั่ ส ไมปฏิบตั ใิ หถกู ตองในกำหนดครัง้ นี้ อสมท มีสทิ ธิเรียกคาเสียหาย หรือใหงดใหบริการ และ/หรือมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาได ทันที และในกรณีถา มติ ครม. เห็นวามีความจำเปนเพือ่ ความมัน่ คงของรัฐ อสมท มีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาทัง้ หมดหรือบางสวนไดโดยแจงใหทรู วิชนั่ ส ทราบลวงหนาไมนอ ยกวา 180 วัน (5) สัญญาเชาเครื่องและอุปกรณวิทยุคมนาคมเพื่อใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในระบบ HSPA (“สัญญาเชาเครื่องและ อุปกรณฯ”) ระหวาง CAT Telecom ในฐานะผูเชา และบีเอฟเคที ในฐานะผู ใหเชา เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2554 โดยมี กำหนดระยะเวลา 14.5 ป (วันที่ 27 มกราคม 2554 – วันที่ 3 สิงหาคม 2568) และบันทึกขอตกลงแนบทายสัญญาฉบับ ลงวันที่ 27 มกราคม 2554 และฉบับลงวันที่ 17 กุมภาพันธ 2554 โดยสัญญาเชาเครื่องและอุปกรณฯ นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อให CAT Telecom เชาเครื่องและอุปกรณระบบ HSPA ทั่วประเทศที่ จะมีการติดตั้งบนโครงขายของ CAT Telecom และ เสาโทรคมนาคมของทั้งในสวนกลางและภูมิภาคของบีเอฟเคที และ บีเอฟเคที ตกลงใหเชา และตกลงรับดำเนินการ เปลี่ยน ซอมแซม และบำรุงรักษา เครื่องและอุปกรณ HSPA ที่ ใหเชาทั่ว ประเทศ เปนระยะเวลาประมาณ 14.5 ป (ตามระยะเวลาของใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่สามของ CAT Telecom) โดย บีเอฟเคที ไดรับคาเชาในอุปกรณเปนการตอบแทนโดยคำนวณจากจำนวนสถานีฐานที่นำออกใหบริการเชิง พาณิชย ซึ่งมีการคำนวณคาเชาตามหลักเกณฑและวิธีการคำนวณคาเชาที่กำหนดในสัญญาเชาเครื่องและอุปกรณฯ และเรียก เก็บจาก CAT Telecom ทั้งนี้ บีเอฟเคที หรือ CAT Telecom อาจขอปรับหรือเปลี่ยนแปลงคาเชาไดเปนครั้งคราว ตามเงื่อนไข ที่กำหนดในสัญญาเชาเครื่องและอุปกรณฯ (6) สัญญาบริการขายสงบริการโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ (HSPA) (“สัญญาขายสงบริการฯ”) ระหวาง CAT Telecom ใน ฐานะผู ใหบริการขายสง และ เรียลมูฟ ในฐานะผู ใหบริการขายตอบริการ โดยมีกำหนดระยะเวลา 14.5 ป (วันที่ 27 มกราคม 2554 – วันที่ 3 สิงหาคม 2568) และบันทึกขอตกลงแนบทายสัญญาฉบับลงวันที่ 27 มกราคม 2554 และฉบับ ลงวันที่ 17 กุมภาพันธ 2554 โดยสัญญาขายสงบริการฯ นี้ เปนสัญญาขายสงบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง การ ประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทการขายสงบริการและบริการขายตอบริการ ฉบับประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 123 ตอนพิเศษ 136 ง วันที่ 29 ธันวาคม 2549 และตามที่จะไดมีการแก ไขเพิ่มเติมเปนคราว ๆ ไป รวมทั้งประกาศอื่นของหนวยงาน กำกั บ ดู แ ลที่ จ ะออกในอนาคตในเรื่ อ งการขายต อ บริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ โดยในการขายส ง บริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ดังกลาว CAT Telecom ตกลงขายสงบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ใหแก เรียลมูฟ หรือผูประกอบกิจการขายตอบริการที่ ไดรับ อนุญาตจากคณะกรรมการ กสทช. โดย เรียลมูฟ ตกลงรับซื้อ บริการและความจุ (Capacity) รอยละ 80 ของความจุใน โครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ HSPA ของ CAT Telecom ทั้งหมด หรือเทากับจำนวนผูใชบริการจำลองประมาณ 13.3 ลานราย ภายในวั น ที่ 31 ธั น วาคม 2555 เพื่ อ ให บ ริ ก ารขายต อ บริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ แ ก ป ระชาชนในฐานะผู ป ระกอบกิ จ การ โทรคมนาคมขายตอบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ HSPA ทั้งนี้ เงื่อนไขของสัญญาขายสง บริการฯ จะเปนเงื่อนไขสัญญาที่เปนมาตรฐานและใชกับผูประกอบการขายตอทุกรายตามเงื่อนไขที่ CAT Telecom กำหนด โดย CAT Telecom มีสิทธินำ Capacity ที่เหลือไปขายตอแกผูประกอบกิจการขายตอบริการรายอื่นได นอกจากนี้ CAT Telecom จะสอบถามความตองการซือ้ ความจุเพิม่ เติมของ เรียลมูฟ หรือผูป ระกอบกิจการขายตอบริการรายอืน่ ในทุก ๆ ป เพื่อ ประกอบการพิจารณาขยายความจุโครงขายในปตอ ๆ ไป

75


(7) สัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได (7.1) สัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายไดระหวางบีเอฟเคที ในฐานะผูขาย และกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน โทรคมนาคม ทรู โกรท (“กองทุน”) ในฐานะผูซ อื้ (“สัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได BFKT”) มีระยะเวลา 12 ป นับตัง้ แตวนั ที่ 24 ธันวาคม 2556 - วันที่ 3 สิงหาคม 2568 โดยสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อขายและโอนรายไดที่คาดวาจะไดรับของ BFKT จาก (ก) คาเชาทรัพยสินโทรคมนาคมของ BFKT ซึ่งประกอบไปดวยเสาโทรคมนาคมจำนวน 1,485 เสาและระบบ FOC รวมทั้งอุปกรณระบบสื่อสัญญาณรวม 9,169 links ตามสัญญาเชาเครื่องและอุปกรณฯ (รวมถึงสิทธิเรียกรอง และสิทธิอื่นทั้งหมดที่เกิดจากรายไดดังกลาวตามที่ระบุไวในสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT) นับ แตวันเริ่มคำนวณรายได (1 ตุลาคม 2556) จนถึงวันครบกำหนดสัญญา และ (ข) คาเชาเสาโทรคมนาคมของ BFKT จำนวนไมเกิน 50 เสา (“ทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือ”) นับแตวันถัดจากวัน ครบกำหนดสัญญาหรือวันที่สัญญาเชาเครื่องและอุปกรณฯ ถูกยกเลิกกอนครบกำหนดระยะเวลาหรือครบ กำหนดระยะเวลาที่ ไดมีการขยาย (“วันยกเลิกสัญญาเชาเครื่องและอุปกรณฯ”) แลวแตกรณี ใดจะเกิดขึ้นกอน จนถึงวันครบรอบ 10 ปนับแตวันถัดจากวันครบกำหนดสัญญาหรือวันยกเลิกสัญญาเชาเครื่องและอุปกรณฯ ดังกลาว ในแตละกรณีหักดวยตนทุนและคาใชจายบางสวนสำหรับการดำเนินงานและซอมบำรุง เงินคาเชาตามสัญญาเชาที่ดิน (รวมถึงภาษีโรงเรือน) และเบี้ยประกันภัย และคาใชจายในการให ไดมาซึ่งสิทธิแหงทาง (“ตนทุนคาใชจายของ BFKT”) โดยตนทุนคาใชจายของ BFKT จะมีการปรับอัตราเพิ่มขึ้นรายป (annual escalation) (รวมเรียกวา “รายไดสุทธิของ BFKT”) ใหแกกองทุน และกองทุนจะตองซื้อและรับโอนรายไดสุทธิของ BFKT ในวันที่ทำการซื้อขายเสร็จสิ้นที่กำหนด ไวในสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT (“วันที่ทำการซื้อขายรายได BFKT เสร็จสิ้น”) นอกจากนี้ BFKT ตกลงใหสทิ ธิโดยเพิกถอนมิไดแกกองทุนในการซือ้ ทรัพยสนิ โทรคมนาคมของ BFKT บางสวน (“ทรัพยสนิ BFKT หลัก”) ในราคา 10 ลานบาท (“ราคาใชสทิ ธิ”) ซึง่ กองทุนสามารถใชสทิ ธิไดในวันครบกำหนดสัญญาหรือวันยกเลิกสัญญา เชาเครือ่ งและอุปกรณฯ แลวแตกรณี (“สิทธิในการซือ้ ”) ทรัพยสนิ BFKT หลัก ณ วันทีข่ องสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิ รายได BFKT ประกอบดวยเสาโทรคมนาคมจำนวน 1,435 เสา และระบบ FOC และอุปกรณระบบสือ่ สัญญาณจำนวน 9,169 links โดยความยาวของระบบ FOC อยูท ี่ 47,250 กิโลเมตร เมือ่ กองทุนใชสทิ ธิในการซือ้ และชำระราคาใชสทิ ธิแลว หากมีทรัพยสนิ BFKT หลักสวนใดทีย่ งั ไมสามารถโอนและสงมอบให แกกองทุนไดในวันทีก่ ำหนดไวใหเปนวันทีท่ ำการโอนและสงมอบทรัพยสนิ BFKT หลัก (“วันโอนทรัพยสนิ BFKT หลัก”) BFKT จะชำระเงินใหกองทุนเปนมูลคาสุดทาย (terminal value) ของทรัพยสนิ BFKT หลักสวนดังกลาว เมือ่ BFKT ชำระมูลคาสุดทาย (terminal value) ดังกลาวจนครบถวนแลว BFKT จะหมดภาระผูกพันตอกองทุนในการโอนและสงมอบทรัพยสนิ BFKT หลักสวน ดังกลาว มูลคาสุดทาย (terminal value) ของทรัพยสนิ BFKT หลักทีเ่ กีย่ วของ คือ จำนวนทีเ่ ทากับ 18 เทาของรายไดคา เชา BFKT รายเดือนสำหรับระยะเวลา 12 เดือนกอนหนาเดือนทีม่ วี นั โอนทรัพยสนิ BFKT หลัก (“มูลคาสุดทายของ BFKT”) ในสวนของทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือนั้น ในหรือกอนวันครบกำหนดสัญญาหรือวันยกเลิกสัญญาเชาเครื่องและ อุปกรณฯ แลวแตกรณี BFKT จะเขาทำสัญญาเชากับนิติบุคคลในกลุมทรูเพื่อใหเชาพื้นที่ (slots) หนึ่งพื้นที่บนเสา โทรคมนาคมของ BFKT ซึ่งเปนทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือ (“สัญญาเชาทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือ”) โดยมีระยะ เวลาการเชาอยางนอย 10 ปนับถัดจากวันครบกำหนดสัญญาหรือวันยกเลิกสัญญาเชาเครื่องและอุปกรณฯ แลวแต กรณี (“วันครบกำหนดการขายรายได BFKT ขั้นสุดทาย”) และจัดหาและสงมอบรายไดสุทธิรายเดือนที่เกิดจากคาเชา ทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือ จนถึงวันครบกำหนดการขายรายได BFKT ขั้นสุดทาย หรือ จนถึงวันที่มีการโอนทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือ ใหแกกองทุนหากเกิดกรณีดังกลาวขึ้นกอน ทั้งนี้ ตามขอกำหนดและเงื่อนไขของสัญญาโอนขาย ทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT ภายใตขอกำหนดและเงื่อนไขในสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT หากในระหวางระยะเวลาของสัญญา เชาทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือ BFKT ไดรับหลักฐานเกี่ยวกับสิทธิในที่ดิน และ/หรือ สิทธิการเชาโดยชอบดวย 76

m n È


กฎหมายของสถานที่ตั้ง และ/หรือ สิทธิแหงทางที่เปนที่ตั้งหรือใชดำเนินงานของทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือ BFKT จะโอนและขายทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือดังกลาวใหกองทุน และกองทุนจะรับโอนและซื้อทรัพยสิน BFKT สวนที่ เหลือนั้นตามราคาที่กองทุนและ BFKT จะตกลงกัน (“ราคาซื้อขายทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือ”) โดยเปนไปตาม สัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT กรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยในความสูญเสียหรือเสียหายในรายไดสุทธิของ BFKT ทรัพยสิน BFKT หลักและทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือจะเปนของกองทุนในวันที่ธุรกรรมที่เกี่ยวของเสร็จสิ้น เวนแตจะกำหนดไวเปนอยางอื่นในสัญญาโอน ขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT กอนวันโอนทรัพยสิน BFKT หลัก หากเกิดเหตุผิดนัดใดที่กำหนดไว ในสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT กองทุนอาจเรียกให BFKT ชำระเงินเปนมูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value) ของรายไดสุทธิของ BFKT ที่เหลือ ทั้งหมด รวมกับมูลคาสุดทายของ BFKT (terminal value) ของทรัพยสิน BFKT หลัก (“รายไดสุทธิ BFKT คงคาง”) และ อาจบังคับใชสิทธิของกองทุนไมวาทั้งหมดหรือบางสวนตามสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT การจำกัดความรับผิดของ BFKT ภายใตสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT ความรับผิดของ BFKT จะมีอยู อยางจำกัดตามกรณีทั่วไปซึ่งรวมถึงกรณีดังตอไปนี้ BFKT ตองรับผิดตอสิทธิเรียกรองใดเกี่ยวกับทรัพยสิน BFKT ที่ โอนแลว หากกองทุนไดมีการบอกกลาวเรียกรองสิทธิภายในสองปนบั จากวันโอนทรัพยสนิ BFKT เสร็จสิน้ ทีเ่ กีย่ วของ แตละครัง้ เวนแตสทิ ธิเรียกรองทีเ่ กิดจากเรือ่ งสำคัญบางเรือ่ งทีก่ ำหนดไวในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได BFKT ซึง่ ไมมกี ำหนดระยะเวลาสิน้ สุดในการบอกกลาวเรียกรองสิทธิ (นอกจากที่กฎหมายกำหนด) เรื่องดังกลาวรวมถึงคำรับรอง ของ BFKT ในเรื่องอำนาจหนาที่ กรรมสิทธิ์ของ BFKT ในทรัพยสิน BFKT ที่ โอนแลว และการไมปฏิบัติตามขอตกลง กระทำการที่สำคัญ ความรับผิดโดยรวมของ BFKT เกี่ยวกับ (ก) รายไดสุทธิของ BFKT ที่เกี่ยวกับสัญญาเชาเครื่องและอุปกรณฯ ตองไม เกิ น รายได สุ ท ธิ BFKT คงค า ง (ข) ทรั พ ย สิ น BFKT หลั ก ที่ โ อนให แ ก ก องทุ น ต อ งไม เ กิ น มู ล ค า สุ ด ท า ยของ BFKT (terminal value) ของทรัพยสินนั้น (ค) ทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือที่ โอนใหกองทุนตองไมเกินราคาซื้อที่กองทุนชำระ สำหรับทรัพยสิน BFKT สวนที่เหลือดังกลาว (ง) รายไดสุทธิของ BFKT ที่เกี่ยวกับสัญญาเชาทรัพยสิน BFKT สวนที่ เหลือ ตองไมเกินมูลคาสุทธิปจจุบันของรายไดคาเชาสุทธิที่คางชำระ และ (จ) การทำผิดสัญญาอื่นใดทั้งหมด ความรับ ผิดรวมของ BFKT จะตองไมเกินรอยละ 50 ของราคาซื้อขาย BFKT ทั้งนี้ BFKT ตองรับผิดตอความเสียหาย สูญเสีย สิทธิเรียกรอง ภาษี (เวนแตภาษีมูลคาเพิ่ม) อากรแสตมป ภาระผูกพัน และตนทุนคาใชจายที่เกี่ยวของ ที่เกิดขึ้นหรือ เปนผลจากการเขาทำ การใชสิทธิ การบังคับสิทธิตามสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได BFKT ในเรื่องการประกันภัย BFKT ตกลงทีจ่ ะ (ก) ดำเนินการใหกองทุนมีชอื่ เปนผูเ อาประกันภัยรวมและผูร บั ผลประโยชนรว ม ภายใตกรมธรรมประกันภัยของกลุม ทรูทเี่ กีย่ วกับทรัพยสนิ โทรคมนาคมของ BFKT ภายใน 45 วันนับแตวนั ทีท่ ำการซือ้ ขาย รายได BFKT เสร็จสิน้ (ข) จัดใหมกี ารประกันภัยทีเ่ กีย่ วกับทรัพยสนิ โทรคมนาคมของ BFKT ภายใตกรมธรรมประกันภัยของ กลุม ทรู ตามขอกำหนดทีก่ ำหนดไวในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได BFKT (ค) ในวันโอนทรัพยสนิ BFKT เสร็จ สิน้ แตละครัง้ ทีเ่ กีย่ วของ จัดหากรมธรรมประกันภัยในนามของกองทุนสำหรับทรัพยสนิ BFKT ที่โอนแลว โดยกองทุนจะรับ ผิดชอบในเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรมประกันภัยดังกลาว (ง) ไมเปลี่ยนแปลงขอกำหนดในกรมธรรมประกันภัยของ กลุม ทรูเกีย่ วกับทรัพยสนิ BFKT ที่โอนแลว โดยไม ไดรบั ความยินยอมเปนลายลักษณอกั ษรจากกองทุนกอน โดยกองทุนจะ ไมใหความยินยอมโดยไมมเี หตุอนั ควรไม ได และ (จ) ดำเนินการใหมกี ารนำเงินที่ ไดรบั ตามกรมธรรมประกันภัยทัง้ หมดไปใช ซอมแซม ปรับสภาพ หรือเปลีย่ นทดแทนทรัพยสนิ ที่ ไดมกี ารเรียกรองใหมกี ารชดใชเงินประกันดังกลาว

77


(7.2) สัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายไดระหวาง AWC ในฐานะผูขาย และกองทุน ในฐานะผูซื้อ (“สัญญาโอนขาย ทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC”) มีระยะเวลา 12 ป นับตัง้ แตวนั ที่ 24 ธันวาคม 2556 - วันที่ 3 สิงหาคม 2568 โดยสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได AWC นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อขายและโอนรายไดที่คาดวาจะไดรับของ AWC จาก (ก) คาเชาเสาโทรคมนาคมของ AWC จำนวน 4,360 เสาตามสัญญาเชาเสาโทรคมนาคมของ AWC ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2556 ระหวาง BFKT และ AWC รวมทัง้ ทีแ่ ก ไขเพิม่ เติม (“สัญญาเชาเสาโทรคมนาคมของ AWC”) (รวมถึงเงินที่ ได รับจากการใชสทิ ธิเรียกรอง และสิทธิอนื่ ทัง้ หมดทีเ่ กิดจากรายไดดงั กลาวตามทีร่ ะบุไวในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และ สิทธิรายได AWC) นับแตวนั เริม่ คำนวณรายได (1 ธันวาคม 2556) จนถึงวันทีค่ รบกำหนดสัญญาเชาเสาโทรคมนาคม ของ AWC (“วันครบกำหนดสัญญา AWC”) และ (ข) คาเชาเสาโทรคมนาคมของ AWC จำนวนไมเกิน 392 เสา (“ทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ”) นับแตวันถัดจากวันครบกำหนด สัญญา AWC หรือวันที่สัญญาเชาเสาโทรคมนาคมของ AWC ถูกยกเลิกกอนครบกำหนดระยะเวลาหรือกำหนด ระยะเวลาที่ไดมกี ารขยาย (“วันยกเลิกสัญญา AWC”) แลวแตกรณีใดจะเกิดขึน้ กอน จนถึงวันครบรอบ 10 ปนบั แตวนั ถัดจาก วันครบกำหนดสัญญา AWC หรือวันยกเลิกสัญญา AWC ดังกลาว ในแตละกรณีหักดวยตนทุนและคาใชจายบางสวนสำหรับการดำเนินงานและซอมบำรุง เงินคาเชาตามสัญญาเชาที่ดิน (รวมถึงภาษีโรงเรือน) และเบี้ยประกันภัย (“ตนทุนคาใชจายของ AWC”) โดยตนทุนคาใชจายของ AWC จะมีการปรับ อัตราเพิ่มขึ้นรายป (annual escalation) (รวมเรียกวา “รายไดสุทธิของ AWC”) ในวันที่ทำการซื้อขายเสร็จสิ้นที่กำหนดไว ในสัญญาโอนขายทรัพยสินและสิทธิรายได AWC (“วันที่ทำการซื้อขายรายได AWC เสร็จสิ้น”) ภายหลังวันครบกำหนดสัญญา AWC หรือวันครบยกเลิกสัญญา AWC แลวแตกรณี AWC จะตองโอนใหแกกองทุน และกองทุนจะตองรับโอนเสาโทรคมนาคมของ AWC จำนวน 3,968 เสา (“ทรัพยสนิ AWC หลัก”) ในวันทีก่ ำหนดไวให เปนวันทีท่ ำการโอนและสงมอบทรัพยสนิ AWC หลัก (“วันโอนทรัพยสิน AWC หลัก”) (ทั้งนี้ รายไดสุทธิของ AWC และ ทรัพยสิน AWC หลัก รวมเรียกวา “ทรัพยสินที่ขายของ AWC”) สำหรับทรัพยสนิ AWC หลักที่ ไมสามารถโอนและสงมอบไดในวันโอนทรัพยสนิ AWC หลัก AWC จะชำระเงินใหกองทุนเปน มูลคาสุดทาย (terminal value) ของทรัพยสนิ AWC หลักที่ไมไดมกี ารโอนและสงมอบดังกลาวในวันโอนทรัพยสนิ AWC หลัก เมือ่ AWC ชำระมูลคาสุดทาย (terminal value) ดังกลาวจนครบถวนแลว AWC จะหมดภาระผูกพันตอกองทุนในการโอนและสงมอบ ทรัพยสนิ AWC หลักทีเ่ กีย่ วของดังกลาว โดยมูลคาสุดทาย (terminal value) ของทรัพยสนิ AWC หลักทีเ่ กีย่ วของ คือ จำนวนที่ เทากับ 14 เทาของรายไดคา เชา AWC รายเดือนเปนระยะเวลา 12 เดือนกอนเดือนทีม่ วี นั โอนทรัพยสนิ AWC หลัก (“มูลคา สุดทายของ AWC”) ในสวนของทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ AWC ตกลงจะเขาทำสัญญาเชากับนิตบิ คุ คลในกลุม ทรูเพือ่ ใหเชาพืน้ ที่ (slots) หนึง่ พืน้ ที่ บนเสาโทรคมนาคมของ AWC ซึง่ เปนทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ (“สัญญาเชาทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ”) โดยมีระยะเวลา การเชาอยางนอย 10 ปนบั จากวันถัดจากวันครบกำหนดสัญญา AWC หรือ วันยกเลิกสัญญา AWC แลวแตกรณี (“วันครบ กำหนดการขายรายได AWC ขัน้ สุดทาย”) และจัดหาและสงมอบรายไดสทุ ธิรายเดือนทีเ่ กิดจากคาเชาทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ จนถึงวันครบกำหนดการขายรายได AWC ขัน้ สุดทายหรือ จนถึงวันทีม่ กี ารโอนทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ หากเกิดกรณีดงั กลาวขึน้ กอน ตามขอกำหนดและเงือ่ นไขของสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC ภายใตขอ กำหนดและเงือ่ นไขในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC หากในระหวางระยะเวลาของสัญญาเชาทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ AWC ไดรบั หลักฐานเกีย่ วกับสิทธิในทีด่ นิ และ/หรือสิทธิการเชาโดยชอบดวยกฎหมายของสถานทีอ่ นั เปนทีต่ งั้ หรือใชดำเนินงานทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ AWC จะโอนและขายทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ ใหกองทุน และกองทุนจะรับ โอนและซือ้ ทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือนัน้ ตามราคาทีก่ องทุนและ AWC จะตกลงกันโดยเปนไปตามสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC กรรมสิทธิแ์ ละความเสีย่ งภัยในความสูญเสียหรือเสียหายในรายไดสทุ ธิของ AWC ทรัพยสนิ AWC หลักและทรัพยสนิ AWC สวน ทีเ่ หลือจะเปนของกองทุนในวันทีธ่ รุ กรรมทีเ่ กีย่ วของเสร็จสิน้ เวนแตจะกำหนดไวเปนอยางอืน่ ในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และ สิทธิรายได AWC

78

m n È


กอนวันโอนทรัพยสนิ AWC หลัก หากเกิดเหตุผดิ นัดใดทีก่ ำหนดไวในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC กองทุนอาจ เรียกให AWC ชำระเงินเปนมูลคาปจจุบนั สุทธิ (Net Present Value) ของรายไดสทุ ธิของ AWC ทีเ่ หลือทัง้ หมด รวมกับมูลคา สุดทายของ AWC (terminal value) ของทรัพยสนิ AWC หลัก (“รายไดสทุ ธิ AWC คงคาง”) และอาจบังคับใชสทิ ธิของกองทุนไมวา ทัง้ หมดหรือบางสวนตามสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC การจำกัดความรับผิดของ AWC ภายใตสญ ั ญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC ความรับผิดของ AWC จะมีอยูอ ยางจำกัด ตามกรณีทวั่ ไปซึง่ รวมถึงกรณีดงั ตอไปนี้ AWC ตองรับผิดตอสิทธิเรียกรองใดเกีย่ วกับทรัพยสนิ AWC ที่โอนแลว หากกองทุนไดมี การบอกกลาวเรียกรองสิทธิภายในสองปนบั จากวันโอนทรัพยสนิ AWC เสร็จสิน้ ทีเ่ กีย่ วของแตละครัง้ เวนแตสทิ ธิเรียกรองทีเ่ กิด จากเรือ่ งสำคัญบางเรือ่ งทีก่ ำหนดไวในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC ซึง่ ไมมกี ำหนดระยะเวลาสิน้ สุดในการบอก กลาวเรียกรองสิทธิ (นอกจากทีก่ ฎหมายกำหนด) เรือ่ งดังกลาวรวมถึง คำรับรองของ AWC ในเรือ่ งอำนาจหนาที่ กรรมสิทธิข์ อง AWC ในทรัพยสนิ AWC ที่โอนแลว และการไมปฏิบตั ติ ามขอตกลงกระทำการทีเ่ กีย่ วของ ความรับผิดโดยรวมของ AWC เกีย่ วกับ (ก) รายไดสทุ ธิของ AWC ทีเ่ กีย่ วกับสัญญาเชาเสาโทรคมนาคมของ AWC ตองไมเกิน รายไดสทุ ธิ AWC คงคาง (ข) ทรัพยสนิ AWC หลักที่โอนใหแกกองทุนตองไมเกินมูลคาสุดทายของ AWC (terminal value) ของ ทรัพยสนิ นัน้ (ค) ทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือที่โอนใหกองทุนตองไมเกินราคาซือ้ ทีก่ องทุนชำระสำหรับทรัพยสนิ AWC สวนที่ เหลือดังกลาว (ง) รายไดสทุ ธิของ AWC ทีเ่ กีย่ วกับสัญญาเชาทรัพยสนิ AWC สวนทีเ่ หลือ ตองไมเกินมูลคาสุทธิปจ จุบนั ของ รายไดคา เชาสุทธิทคี่ า งชำระ และ (จ) การทำผิดสัญญาอืน่ ใดทัง้ หมด ความรับผิดรวมของ AWC จะตองไมเกินรอยละ 50 ของ ราคาซือ้ ขาย AWC ทัง้ นี้ AWC ตองรับผิดตอความเสียหาย สูญเสีย สิทธิเรียกรอง ภาษี (เวนแตภาษีมลู คาเพิม่ ) อากรแสตมป ภาระผูกพัน และตนทุนคาใชจา ยทีเ่ กีย่ วของ ทีเ่ กิดขึน้ หรือเปนผลจากการเขาทำการใชสทิ ธิ การบังคับสิทธิตามสัญญาโอนขาย ทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC ในเรือ่ งการประกันภัย AWC ตกลงทีจ่ ะ (ก) ดำเนินการใหกองทุนมีชอื่ เปนผูเ อาประกันภัยรวมและผูร บั ผลประโยชนรว มภายใต กรมธรรมประกันภัยของกลุม ทรูทเี่ กีย่ วกับทรัพยสนิ โทรคมนาคมของ AWC ภายใน 45 วันนับแตวนั ทีท่ ำการซือ้ ขายรายได AWC เสร็จสิน้ (ข) จัดใหมกี ารประกันภัยทีเ่ กีย่ วกับเสาโทรคมนาคมของ AWC ภายใตกรมธรรมประกันภัยของกลุม ทรูทงั้ หมด ตามขอ กำหนดทีก่ ำหนดไวในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ และสิทธิรายได AWC (ค) ในวันโอนทรัพยสนิ AWC เสร็จสิน้ แตละครัง้ ทีเ่ กีย่ วของ จัดหากรมธรรมประกันภัยในนามของกองทุนสำหรับทรัพยสนิ AWC ที่โอนแลว โดยกองทุนจะรับผิดชอบในเบีย้ ประกันภัยสำหรับ กรมธรรมประกันภัยดังกลาว (ค) ไมเปลีย่ นแปลงขอกำหนดในกรมธรรมประกันภัยของกลุม ทรูเกีย่ วกับเสาโทรคมนาคมของ AWC โดยไมไดรบั ความยินยอมเปนลายลักษณอกั ษรจากกองทุนกอน โดยกองทุนจะไมใหความยินยอมโดยไมมเี หตุอนั ควรไมได และ (ง) ดำเนินการใหมกี ารนำเงินที่ไดรบั ตามกรมธรรมประกันภัยทัง้ หมดไปใชซอ มแซมปรับสภาพ หรือเปลีย่ นทดแทนทรัพยสนิ ที่ได มีการเรียกรองใหมกี ารชดใชเงินประกันดังกลาว

79


(8) สัญญาโอนขายทรัพยสิน (8.1) สัญญาโอนขายทรัพยสนิ ระหวางบริษทั ฯ ในฐานะผูข าย และกองทุน ในฐานะผูซ อื้ (“สัญญาโอนขายทรัพยสนิ ทรู”) โดยสัญญาโอนขายทรัพยสนิ ทรูนี้ มีวตั ถุประสงคเพือ่ ขายและโอนใหแกกองทุน และกองทุนตกลงรับซือ้ และรับโอนทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคม ดังตอไปนี้ (ก) เสาโทรคมนาคม 3,000 เสา ภายใน วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ (ข) เสาโทรคมนาคม 3,000 เสา ภายใน วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (แตละกรณีเรียกวา “วันครบกำหนดสงมอบ”) โดยราคาซือ้ ขายทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคมดังกลาว (“ราคาซือ้ ขายทรู”) เปนไปตามจำนวนทีร่ ะบุไวในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ ทรู โดยกองทุนตองชำระราคาซือ้ ขายเต็มจำนวนในวันทีท่ ำการโอนเสร็จสิน้ นับจากวันถัดจากวันครบกำหนดสงมอบแตละครั้งจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (“วันสงมอบขั้นสุดทายของทรู”) หากในวันที่ 31 ธันวาคมของแตละปยงั มีทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคมทีย่ งั ไม ไดสง มอบใหแกกองทุน บริษทั ฯ จะจายคาเสียหาย จากความลาชาในการสงมอบใหแกกองทุนเปนจำนวนเงินเทากับจำนวนเงินที่กองทุนจะตองชำระคืนใหแกเรียลฟวเจอร ในปดงั กลาวภายใตสญ ั ญาเชา ดำเนินการและบริหารจัดการหลักของเรียลฟวเจอร สำหรับทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคมที่ ไม สามารถจัดหาใหแกเรียลฟวเจอร ได (“สวนตางคาเชารายป”) บวกดวย รอยละ 15 ตอป ในวันสงมอบขั้นสุดทายของทรู หากมีทรัพยสินเสาโทรคมนาคมสวนเพิ่มที่ยังไมสามารถโอนได บริษัทฯ จะชดใชกองทุน เปนจำนวนเงินเทากับสิบสองเทาของสวนตางคาเชารายปของป 2563 ตามขอกำหนดและเงื่อนไขของสัญญาโอนขาย ทรัพยสนิ ทรู ในวันทีบ่ ริษทั ฯ สงมอบทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคมใหแกกองทุนครบถวนหรือวันสงมอบขัน้ สุดทายของทรู แลวแตวนั ใดจะถึง กอน หากปรากฏวาทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคมทีบ่ ริษทั ฯ สงมอบใหแกกองทุนมีลักษณะไมตรงตามรายละเอียดที่ระบุไวใน สัญญาโอนขายทรัพยสนิ ทรู คูส ญ ั ญาตกลงจะชดใชสว นตางใด ๆทีเ่ กิดจากการสงมอบทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคมสวนเพิม่ ทีม่ ี ลักษณะไมตรงตามรายละเอียดทีร่ ะบุไวดงั กลาว ทัง้ นี้ เปนไปตามขอกำหนดและเงือ่ นไขของสัญญาโอนขายทรัพยสนิ ทรู กรรมสิทธิแ์ ละความเสีย่ งภัยในความสูญหายหรือเสียหายในทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคมจะตกเปนของกองทุนเมือ่ มีการสง มอบทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคมแตละครัง้ (“การสงมอบ”) ตามกระบวนการทีก่ ำหนดไวในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ ทรู กอนการสงมอบแตละครัง้ บริษทั ฯ จะตองใหคำรับรองและคำรับประกันแกกองทุน โดยรวมถึงแตไมจำกัดเพียง การรับรองและรับ ประกันวาบริษทั ฯ จะตองมีกรรมสิทธิโ์ ดยชอบดวยกฎหมายในทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคมทีจ่ ะสงมอบ และทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคม ดังกลาวจะตองปราศจากภาระผูกพันใด ๆ ภาระหนาทีห่ ลักของบริษทั ฯ นับจากการสงมอบแตละครัง้ บริษทั ฯ จะดำเนินการตอไปนีเ้ กีย่ วกับทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคม ั ญาเกีย่ วกับสิทธิการเชาในทีด่ นิ ที่ ไดมกี ารสงมอบ โดยคาใชจา ยของบริษทั ฯ เอง ในกรณีท่ี ไมสามารถโอน หรือ แปลงคูส ญ และ/หรือ ทรัพยสนิ ใหกบั กองทุนได บริษทั ฯ จะดำเนินการใหกองทุน ผูเ ชาทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคม ผูจ ดั การทรัพยสนิ โทรคมนาคม และบุคคลที่ ไดรบั การแตงตัง้ มีสทิ ธิเขาไปและใชสถานทีต่ งั้ ทีเ่ กีย่ วของกับทรัพยสนิ นัน้ ในกรณีของสัญญาอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับทรัพยสินเสาโทรคมนาคม ซึ่งไมสามารถโอน หรือ แปลงคูสัญญาใหแกกองทุนได บริษัทฯ จะดำเนินการใหกองทุนไดรับสิทธิและผลประโยชนของบริษัทฯ ตามสัญญาอื่น ๆ นั้น ความรับผิดของบริษทั ฯ เกีย่ วกับการทำผิดสัญญา ทัง้ หมดรวมแลวจะไมเกินราคาซือ้ ขายทรู ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ตองรับผิดตอ ความเสียหาย สูญเสีย สิทธิเรียกรอง ภาษี (เวนแตภาษีมูลคาเพิ่ม) อากรแสตมป ภาระผูกพัน และตนทุนคาใชจายที่ เกีย่ วของ ทีเ่ กิดขึน้ หรือเปนผลจากการเขาทำ ใชสทิ ธิ บังคับสิทธิตามสัญญาโอนขายทรัพยสนิ ทรู

80

m n È


ในเรื่องของการประกันภัย นับจากการสงมอบที่เกี่ยวของ บริษัทฯ ตกลงที่จะ (ก) จัดใหมีการประกันภัยที่เกี่ยวกับเสา โทรคมนาคมของบริษัทฯ ที่ โอนแลวภายใตกรมธรรมประกันภัยของกลุมทรูตามขอกำหนดที่กำหนดไวในสัญญาโอนขาย ทรัพยสินทรู จนกวากองทุนจะทำประกันภัยที่เกี่ยวของ (ข) จัดหากรมธรรมประกันภัยสำหรับเสาโทรคมนาคมของ บริษัทฯ ที่ โอนแลวในนามของกองทุน โดยกองทุนจะรับผิดชอบในเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรมประกันภัยดังกลาว (ค) ไมเปลี่ยนแปลงขอกำหนดในกรมธรรมประกันภัยของกลุมทรูเกี่ยวกับเสาโทรคมนาคมของบริษัทฯ ที่ โอนแลวโดยไม ไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากกองทุนกอน โดยกองทุนจะไมใหความยินยอมโดยไมมีเหตุอันควรไม ได และ (ง) ดำเนินการใหมีการนำเงินที่ ไดรับตามกรมธรรมประกันภัยทั้งหมดไปใชซอมแซม ปรับสภาพ หรือเปลี่ยน ทดแทนทรัพยสินที่ ไดมีการเรียกรองใหมีการชดใชเงินประกันดังกลาว การจำกัดความรับผิดของบริษัทฯ นับจากวันที่ทำการโอนเสร็จสิ้น บริษัทฯ ตองรับผิดตอสิทธิเรียกรองใดเกี่ยวกับเสา โทรคมนาคมของบริษัทฯ ที่ โอนแลว หากกองทุนไดมีการบอกกลาวเรียกรองสิทธิภายในสองปนับจากการสงมอบที่ เกี่ยวของ เวนแตสิทธิเรียกรองที่เกิดจากเรื่องสำคัญบางเรื่องที่กำหนดไวในสัญญาโอนขายทรัพยสินทรู ซึ่งไมมีกำหนด ระยะเวลาสิ้นสุดในการบอกกลาวเรียกรองสิทธิ (นอกจากที่กฎหมายกำหนด) เรื่องดังกลาวรวมถึง คำรับรองของ บริษทั ฯ ในเรือ่ งอำนาจหนาที่ กรรมสิทธิข์ องบริษทั ฯ ในทรัพยสนิ เสาโทรคมนาคม และการไมปฏิบตั ติ ามขอตกลงกระทำ การทีส่ ำคัญ นอกจากนี้ ภาระผูกพันของบริษัทฯ เกี่ยวกับการยายสถานที่และซื้อคืนเสาโทรคมนาคมของบริษัทฯ ที่ ไดรับผลกระทบ ที่ตั้งอยูในสถานที่ (หรือบางสวนของสถานที่) ซึ่งไดมีการโอนใหแก หรือ แปลงคูสัญญาเปนกองทุนแลวซึ่งสงผลใหเสา โทรคมนาคมของบริษัทฯ ที่ โอนแลวนั้นถูกยึดไป ถูกควบคุม หรือถูกดำเนินการโดยประการอื่นใดทำให ไมสามารถใช งานได โดยผูเชาอันเนื่องมาจากการเขาถึงหรือการใชสถานที่หรือสวนหนึ่งสวนใดของสถานที่นั้นไมชอบดวยกฎหมายให กำหนดไวเพียงหาปหลังจากวันที่มีการโอนสิทธิหรือแปลงคูสัญญาที่เกี่ยวกับสถานที่ที่เกี่ยวของดังกลาวเปนชื่อกองทุน (8.2) สัญญาโอนขายทรัพยสินระหวาง TUC ในฐานะผูขายและกองทุน ในฐานะผูซ้อื (“สัญญาโอนขายทรัพยสิน TUC”) โดยสัญญาโอนขายทรัพยสิน TUC นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อขายและโอนใหแกกองทุน และกองทุนตกลงซื้อและรับโอน (ก) ระบบ FOC หลักความยาว 5,112 กิโลเมตร (รวมทั้งอุปกรณระบบสื่อสัญญาณ) ในเขตพื้นที่ตางจังหวัด และ (ข) ระบบบรอดแบนดในเขตพื้นที่ตางจังหวัดซึ่งมีความจุที่สามารถรองรับไดจำนวนประมาณ 1.2 ลานพอรต (“ทรัพยสินที่ ขายของ TUC”) กรรมสิทธิ์และความเสี่ยงภัยในความสูญเสียหรือเสียหายในทรัพยสินที่ขายของ TUC จะเปนของกองทุนในวันที่ธุรกร รมที่เกี่ยวของกับการขายและโอนเสร็จสิ้น เวนแตจะกำหนดไวเปนอยางอื่นในสัญญาโอนขายทรัพยสิน TUC ภาระหนาที่หลักของ TUC นับจากวันที่ทำการโอนเสร็จสิ้น TUC จะดำเนินการตอไปนี้ โดยคาใชจายของ TUC เอง TUC จะดำเนินการใหกองทุน ผูเชาทรัพยสินที่ขายของ TUC ผูจัดการทรัพยสินโทรคมนาคม และบุคคลที่ ไดรับการ แตงตั้งมีสิทธิเขาถึงและใชสิทธิแหงทางที่เกี่ยวของกับทรัพยสินนั้นตามเงื่อนไขและขอกำหนดของสัญญาโอนขาย ทรัพยสิน TUC ในกรณีของสัญญาอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับทรัพยสินที่ขายของ TUC ซึ่งไมสามารถโอน และ/หรือ แปลงคูสัญญาใหแกกองทุน ได TUC จะดำเนินการใหกองทุนไดรับสิทธิและผลประโยชนของ TUC ตามสัญญาอื่น ๆ นั้น ความรับผิดของ TUC เกี่ยวกับการทำผิดสัญญาใด ๆ ภายใตสัญญาโอนขายทรัพยสิน TUC ทั้งหมดรวมแลวจะไมเกิน ราคาซื้อขายของทรัพยสินที่ขายของ TUC ทั้งนี้ TUC ตองรับผิดตอความเสียหาย สูญเสีย สิทธิเรียกรอง ภาษี (เวนแต ภาษีมูลคาเพิ่ม) อากรแสตมป ภาระผูกพัน และตนทุนคาใชจายที่เกี่ยวของ ที่เกิดขึ้นหรือเปนผลจากการเขาทำ การใช สิทธิ การบังคับสิทธิตามสัญญาโอนขายทรัพยสิน TUC

81


การจำกัดความรับผิดของ TUC นับจากวันที่ทำการโอนเสร็จสิ้น TUC ตองรับผิดตอสิทธิเรียกรองใดเกี่ยวกับทรัพยสินที่ ขายของ TUC ที่ โอนแลว หากกองทุนไดมีการบอกกลาวเรียกรองสิทธิภายในสองปนับจากวันที่ทำการโอนเสร็จสิ้น เวน แตสิทธิเรียกรองที่เกิดจากเรื่องสำคัญบางเรื่องที่กำหนดไวในสัญญาโอนขายทรัพยสิน TUC ซึ่งไมมีกำหนดระยะเวลา สิ้นสุดในการบอกกลาวเรียกรองสิทธิ (นอกจากที่กฎหมายกำหนด) เรื่องดังกลาวรวมถึงคำรับรองของ TUC ในเรื่อง อำนาจหนาที่ กรรมสิทธิ์ของ TUC ในทรัพยสินที่ขายของ TUC และการไมปฏิบัติตามขอตกลงกระทำการที่สำคัญ ในเรื่องของการประกันภัย นับจากการสงมอบที่เกี่ยวของ บริษัทฯ ตกลงที่จะ (ก) จัดใหมีการประกันภัยที่เกี่ยวกับทรัพยสิน ที่ขายของ TUC ที่ โอนแลวภายใตกรมธรรมประกันภัยของกลุมทรูตามขอกำหนดที่กำหนดไวในสัญญาโอนขายทรัพย สิน TUC จนกวากองทุนจะทำประกันภัยที่เกี่ยวของ (ข) จัดหากรมธรรมประกันภัยสำหรับทรัพยสินที่ขายของ TUC ที่ โอนแล ว ในนามของกองทุ น โดยกองทุ น จะรั บ ผิ ด ชอบในเบี้ ย ประกั น ภั ย สำหรั บ กรมธรรม ป ระกั น ภั ย ดั ง กล า ว (ค) ไมเปลี่ยนแปลงขอกำหนดในกรมธรรมประกันภัยของกลุมทรูเกี่ยวกับทรัพยสินที่ขายของ TUC ที่ โอนแลวโดยไม ไดรับ ความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากกองทุนกอน โดยกองทุนจะไมใหความยินยอมโดยไมมีเหตุอันควรไม ได และ (ง) ดำเนินการใหมีการนำเงินที่ ไดรับตามกรมธรรมประกันภัยทั้งหมดไปใชซอมแซม ปรับสภาพ หรือเปลี่ยนทดแทนทรัพย สินที่ ไดมีการเรียกรองใหมีการชดใชเงินประกันดังกลาว (9) สัญญาเชา ดำเนินการและบริหารจัดการหลัก (9.1) สัญญาเชา ดำเนินการ บำรุงรักษา และบริหารจัดการหลัก ระหวาง เรียลฟวเจอร ในฐานะผูเชา ดำเนินการ บำรุง รั ก ษาและบริ ห ารจั ด การ และ กองทุ น ในฐานะผู ใ ห เ ช า (“สั ญ ญาเช า ดำเนิ น การและบริ ห ารจั ด การหลั ก ของ เรียลฟวเจอร”) โดยมีระยะเวลา 14 ป นับตั้งแตวันที่ 24 ธันวาคม 2556 - วันที่ 31 ธันวาคม 2570 โดยสัญญาเชา ดำเนินการและบริหารจัดการหลักของเรียลฟวเจอร นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อเชาพื้นที่ (slots) บนเสา โทรคมนาคม และทรัพยสินสิ่งอำนวยความสะดวกประเภท Passive ที่เกี่ยวของกับเสาโทรคมนาคมบางเสา (รวมเรียก วา “ทรัพยสินที่เชา”) รวมทั้ง ดำเนินการและบริหารจัดการทรัพยสินที่เชามีกำหนดอายุจนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2570 ทรัพยสนิ ทีเ่ ชา ประกอบไปดวยทรัพยสนิ ดังตอไปนีเ้ ปนอยางนอย (“ทรัพยสนิ ขัน้ ต่ำทีเ่ ชา”) (ก) พื้นที่ (slots) จำนวน 6,619 พื้นที่ (slots) บนเสาโทรคมนาคม 3,000 เสา เริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 (ข) พื้นที่ (slots) จำนวน 13,993 พื้นที่ (slots) บนเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา เริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และ (ค) พื้นที่ (slots) จำนวน 15,249 พื้นที่ (slots) บนเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา เริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 อั ต ราค า เช า สำหรั บ ทรั พ ย สิ น ที่ เ ช า ซึ่ ง แบ ง ออกเป น 3 ประเภทตามรายละเอี ย ดดั ง ต อ ไปนี้ และอาจมี สวนลด และ/หรือ การปรับเปลีย่ นทีเ่ หมาะสม ดังทีร่ ะบุไวดา นลางนี้ ประเภทที่ 1: เสาโทรคมนาคมที่ตั้งบนพื้นดิน: 25,400 บาท ตอเดือน ตอพื้นที่ (slot) ประเภทที่ 2: เสาโทรคมนาคมที่ตั้งบนดาดฟา: 23,200 บาท ตอเดือน ตอพื้นที่ (slot) และ ประเภทที่ 3: โครงขาย IBC/DAS: 39,400 บาท ตอเดือน ตอพื้นที่ (slot) สวนลด และ/หรือ การปรับเปลี่ยนอัตราคาเชา อยูภายใตเงื่อนไขดานลางนี้ (ก) สวนลดจากการเปนผูเชาและบริหารจัดการดั้งเดิม: รอยละ 32 (ข) สวนลดจากจำนวน (โดยไมคำนึงถึงประเภทของทรัพยสินที่เชา) พื้นที่ (slots) จำนวน 1 - 3,000 พื้นที่ (slots): ไมมีสวนลด พื้นที่ (slots) จำนวน 3,001 - 5,000 พื้นที่ (slots): สวนลดในอัตรารอยละ 30 พื้นที่ (slots) จำนวน 5,001 - 10,000 พื้นที่ (slots): สวนลดในอัตรารอยละ 35 และ พื้นที่ (slots) จำนวน 10,001 พื้นที่ (slots) เปนตนไป: สวนลดในอัตรารอยละ 40

82

m n È


หากเรียลฟวเจอรหรือผูเชาและบริหารจัดการที่เปนบริษัทในกลุมทรู (“ผูเชาและบริหารจัดการดั้งเดิม”) รายใดตองการ เชา ดำเนินการและบริหารจัดการพื้นที่ (slots) เพิ่มเติมไมวาในเวลาใด ๆ เรียลฟวเจอรหรือผูเชาและบริหารจัดการ ดั้งเดิมนั้นจะไดรับทั้งสวนลดจากการเปนผูเชาและบริหารจัดการดั้งเดิมและสวนลดจากจำนวน สำหรับคาเชาพื้นที่ (slots) เพิ่มเติมดังกลาว การปรับอัตราเพิ่มขึ้นรายป (annual escalation) ในอัตราคงที่ที่รอยละ 2.7 ตอป เริ่มคิดคำนวณจากเดือนมกราคม พ.ศ. 2558 การชำระคาเชา เรียลฟวเจอรจะชำระคาเชาสุทธิสำหรับทรัพยสินที่เชาลวงหนาตั้งแตเดือน มกราคม 2557 โดยจะ ชำระภายในวันที่ 7 ของทุกเดือนหรือวันทำการถัดไป และจะชำระคาเชาสุทธิใหแกกองทุนลวงหนาเปนรายเดือน สำหรับการเชา ดำเนินการและบริหารจัดการทรัพยสินขั้นต่ำที่เชา (Minimum Leased Properties) ซึ่งจะเปนระยะเวลา หนึ่งปลวงหนาสำหรับการเชา ดำเนินการและบริหารจัดการพื้นที่ (slot) บนเสาโทรคมนาคมกลุมแรกจำนวน 3,000 เสา ที่มีกำหนดสงมอบใหแกกองทุนโดยบริษัทฯ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และเปนระยะเวลาสองปลวงหนา สำหรับการเชา ดำเนินการและบริหารจัดการพื้นที่ (slot) บนเสาโทรคมนาคมกลุมที่สองจำนวน 3,000 เสาที่มีกำหนด สงมอบใหแกกองทุนโดยบริษัทฯ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ณ สิน้ ปของแตละปนบั จากป พ.ศ. 2558 ถึง ปพ.ศ. 2563 กองทุนจะชำระคืนเงินคาเชาลวงหนาทีเ่ รียลฟวเจอรไดชำระเกินไป คืนใหแกเรียลฟวเจอร ในกรณีทจี่ ำนวนเสาโทรคมนาคมทีเ่ รียลฟวเจอรเชา ดำเนินการและบริหารจัดการจริงภายใตสัญญา เชา ดำเนินการและบริหารจัดการหลักของเรียลฟวเจอรมีจำนวนนอยกวาทรัพยสินขั้นต่ำที่เชา (Minimum Leased Properties) สำหรับปนั้น ๆ ทั้งนี้ กองทุนจะทำการชำระคืนเงินคาเชาลวงหนาดังกลาวใหแกเรียลฟวเจอรภายในวัน ทำการถัดจากวันที่บริษัทฯไดชำระคาเสียหายจากความลาชาในการสงมอบทรัพยสินเสาโทรคมนาคมที่เกี่ยวของภายใต เงื่อนไขของสัญญาโอนขายทรัพยสินทรู ใหแกกองทุนแลว ในวันที่บริษัทฯ สงมอบทรัพยสินเสาโทรคมนาคมใหแกกองทุนครบถวนตามสัญญาโอนขายทรัพยสินทรูหรือวันที่ 31 ธันวาคม 2563 แลวแตวันใดจะถึงกอน หากปรากฎวาทรัพยสินเสาโทรคมนาคมที่บริษัทฯ สงมอบใหแกกองทุนมี ลักษณะไมตรงตามรายละเอียดที่ระบุไว ในสัญญาโอนขายทรัพยสนิ ทรู ทำใหคา เชาลวงหนาทีเ่ รียลฟวเจอร ไดชำระใหแก ั ญาตกลงจะ กองทุนแตกตางไปจากคาเชาทีแ่ ทจริงทีเ่ รียลฟวเจอรควรชำระใหแกกองทุนสำหรับการเชาทรัพยสนิ ทีเ่ ชา คูส ญ ชดใชสว นตางใด ๆ ทีเ่ กิดจากกรณีดงั กลาว ทัง้ นี้ เปนไปตามขอกำหนดและเงือ่ นไขของสัญญาเชา ดำเนินการและบริหาร จัดการหลักของเรียลฟวเจอร กองทุนจะเปนผูรับผิดชอบคาเชาที่ดินสำหรับการเชาที่ดินที่ทรัพยสินที่เชาตั้งอยู โดย (ก) ในระหวางระยะเวลาการเชา เรียลฟวเจอรจะเปนผูชำระคาเชาที่ดินสำหรับการเชาที่ดินที่ทรัพยสินที่เชาตั้งอยู และ (ข) สำหรับชวงการตออายุการ เชา ดำเนินการและบริหารจัดการ กองทุนจะเปนผูชำระคาเชาที่ดินสำหรับการเชาที่ดินที่ทรัพยสินที่เชาตั้งอยู การประกันภัย กองทุนมีหนาที่ความรับผิดชอบในการจัดใหมีและคงไวซึ่งประกันภัยสำหรับทรัพยสินที่เชา (รวมถึง ประกันภัยประเภทความรับผิดตอบุคคลภายนอก และความคุมครองทางประกันภัยอื่นใด) ที่เพียงพอและเปนไปตาม หลักปฏิบัติในอุตสาหกรรมสำหรับทรัพยสินที่เชา รวมทั้งมีหนาที่ตองชำระเบี้ยประกันภัย และ เรียลฟวเจอร มีหนาที่ ความรับผิดชอบในการจัดใหมีและคงไวซึ่งประกันภัยสำหรับอุปกรณโทรคมนาคมที่เรียลฟวเจอร ติดตั้ง หรือ นำไปไว บนทรัพยสินที่เชาใด ๆ (รวมถึง ประกันภัยประเภทความรับผิดตอบุคคลภายนอก และความคุมครองทางประกันภัยอื่น ใด) ที่เพียงพอและเปนไปตามหลักปฏิบัติในอุตสาหกรรมสำหรับอุปกรณโทรคมนาคมประเภทเดียวกัน ความรับผิดของคูสัญญา กองทุน และ เรียลฟวเจอร ตางตกลงที่จะรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนและคาเสียหายทัง้ ปวง ั ญาเชา ดำเนินการและบริหาร ใหแกอกี ฝาย อันเปนผลมาจากการผิดคำรับรอง คำรับประกัน และขอปฏิบตั ขิ องตนภายใตสญ จัดการหลักของเรียลฟวเจอร โดยมีขอ ยกเวนตาง ๆ ตามหลักปฏิบตั ใิ นอุตสาหกรรม

83


การใหเชาชวงพืน้ ทีบ่ นเสาโทรคมนาคม เรียลฟวเจอรสามารถใหเชาชวงพืน้ ที่ (slots) บนเสาโทรคมนาคมทีต่ นเชา ดำเนิน การและบริหารจัดการภายใตสญ ั ญาเชา ดำเนินการและบริหารจัดการหลักของเรียลฟวเจอรโดยไมจำเปนตองไดรบั ความ ยินยอมเปนลายลักษณอกั ษรจากกองทุนกอน ดังตอไปนี้ (1) ใหเชาชวงทรัพยสินขั้นต่ำที่เชา (Minimum Leased Properties) ใหแก บุคคลใด ๆ (2) ใหเชาชวงพืน้ ที่ (slots) บนเสาโทรคมนาคม (นอกเหนือจากทรัพยสนิ ขัน้ ต่ำทีเ่ รียลฟวเจอรเชา ดำเนินการและบริหารจัดการ) ใหแก (ก) ผูเชาและบริหารจัดการดั้งเดิมอื่นใด (ข) บริษัทฯ หรือ บริษัทยอยในปจจุบันและในอนาคตของบริษัทฯ และ/หรือ นิตบิ คุ คลที่ ไมใชกลุม ทรู ผู ไดรบั สิทธิในการประกอบกิจการโทรคมนาคมที่ใชคลื่นความถี่ในยานความถี่ 1800 MHz (ค) CAT (ง) ทีโอที และ (จ) ผูประกอบการรายอื่น ๆ ที่มีการแลกเปลี่ยนการใชประโยชนบนพื้นที่ (slots) ของผูประกอบการรายอื่น ๆ นั้น โดยไมมีคาตอบแทน (3) ใหเชาชวงพืน้ ที่ (slots) บนเสาโทรคมนาคม (นอกเหนือจากทรัพยสนิ ขัน้ ต่ำทีเ่ รียลฟวเจอรเชาและดำเนินการบริหาร จัดการ) ใหแก บุคคลใด ๆ นอกเหนือจากบุคคลตามที่ระบุใน (2) โดยอัตราคาเชาที่เรียลฟวเจอรจะตองชำระใหแก กองทุนสำหรับพื้นที่ (slots) บนเสาโทรคมนาคมดังกลาวนั้นจะเปนอัตราคาเชาที่คิดสวนลดตามที่ผูเชาชวงจาก เรียลฟวเจอรรายนัน้ ๆ ควรจะไดรบั จากกองทุนหากผูเ ชาชวงรายดังกลาวเชา ดำเนินการและบริหารจัดการทรัพยสิน ดังกลาวจากกองทุนโดยตรงโดยไมมีสวนลดจากการเปนผูเชาและบริหารจัดการดัง้ เดิม โดยกองทุนอาจตกลงให สวนลดเพิม่ เติมแกเรียลฟวเจอร ในการทีเ่ รียลฟวเจอรใหเชาชวงพื้นที่ (slots) บนเสาโทรคมนาคม แกบุคคลอื่นตาม ที่ระบุในขอ (3) นี้ การเสริมความสามารถของเสาโทรคมนาคมที่เชา ในกรณีจำเปน หรือ สมควร (ไมวาเปนผลมาจากการรองขอของ เรียลฟวเจอร และ/หรือ ผูเชาและบริหารจัดการที่เปนบุคคลภายนอก) ที่จะตองมีการเสริมความสามารถหรือปรับปรุง เสาโทรคมนาคมใด ๆ ที่กองทุนไดรับจากเรียลฟวเจอร หรือ บริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอยของบริษัทฯ และอยูภายใต การเชา ดำเนินการและบริหารจัดการภายใตสญ ั ญาเชา ดำเนินการและบริหารจัดการหลักของเรียลฟวเจอร เรียลฟวเจอรจะ ดำเนินการเพื่อใหมีการเสริมความสามารถหรือปรับปรุงดังกลาวในทุกกรณี ดวยคาใชจายของกองทุนและบวกดวยสวน เพิ่มที่สมเหตุสมผล หากกองทุนขาดเงินทุนในการเสริมความสามารถหรือปรับปรุงเสาโทรคมนาคม เรียลฟวเจอรจะสำรองจาย เงินไปกอน โดยกองทุนจะชำระคาใชจายและสวนเพิ่มคืนใหแกเรียลฟวเจอร ภายใน 30 วันนับจากวันที่เรียลฟวเจอรออก ใบเรียกเก็บเงิน หากกองทุนไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขดังกลาวได กองทุนตกลงจะชำระดอกเบี้ยที่คิดบนจำนวนเงิน ที่ถึงกำหนดชำระแตยังไม ไดรับชำระ ในอัตรารอยละ 7.5 ตอป นับแตวันที่ถึงกำหนดชำระจนกวาวันที่ ไดชำระเงิน ดังกลาวทั้งหมดจนครบถวนเต็มจำนวนแลวใหแกเรียลฟวเจอร ทัง้ นี้ ในกรณีทกี่ องทุนไมสามารถชดใชเงินคืนใหแกเรียลฟวเจอร ภายในเวลาที่กำหนด เรียลฟวเจอรมีสิทธิหักกลบลบหนี้คาใชจายดังกลาว และสวนเพิ่มและดอกเบี้ยที่เกี่ยวของ กับคาเชา รายเดือนที่ถึงกำหนดชำระซึ่งเรียลฟวเจอรตองชำระใหแกกองทุนได (9.2) สัญญาเชา ดำเนินการ บำรุงรักษา และบริหารจัดการหลัก ระหวาง TUC ในฐานะผูเ ชา ดำเนินการ บำรุงรักษาและบริหารจัดการ และ กองทุน ในฐานะผูใหเชา (“สัญญาเชา ดำเนินการและบริหารจัดการหลักของ TUC”) มีระยะเวลา 13 ปและ 5 ป แลวแต กรณี นับตัง้ แตวนั ที่ 24 ธันวาคม 2556 โดยสัญญาเชา ดำเนินการและบริหารจัดการหลักของ TUC นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อเชา ดำเนินการและบริหารจัดการ (ก) ระบบ FOC หลัก ความยาวประมาณ 5,112 กิโลเมตร โดยที่ในแตละป TUC จะเชา ดำเนินการและบริหารจัดการ ระบบ FOC หลั ก ไม น อ ยกว า จำนวนที่ ก ำหนดในสั ญ ญาเช า ดำเนิ น การและบริ ห ารจั ด การหลั ก ของ TUC (ข) อุ ป กรณ ร ะบบสื่ อ สั ญ ญาณที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ระบบ FOC หลั ก (ค) ระบบบรอดแบนด ใ นเขตพื้ น ที่ ต า งจั ง หวั ด ซึ่ ง เป น อุปกรณ โทรคมนาคมประเภท Passive (สำหรับการใชแตเพียงผูเดียวของ TUC เวนแต TUC ตกลงเปนอยางอื่น หลังจากระยะเวลา 5 ปแรก) และระบบบรอดแบนดในเขตพื้นที่ตางจังหวัดซึ่งเปนอุปกรณ โทรคมนาคมประเภท Active (สำหรั บ การใช แ ต เ พี ย งผู เ ดี ย วของ TUC) (รวมเรี ย กว า “ทรั พ ย สิ น ที่ เ ช า ”) โดยมี ร ะยะเวลาของการเช า ดำเนินการและบริหารจัดการดังตอไปนี้

84

m n È


(1) จนถึง ป พ.ศ. 2569 สำหรับระบบ FOC หลัก และระบบบรอดแบนดในเขตพื้นที่ตางจังหวัดซึ่งเปนอุปกรณ โทรคมนาคมประเภท Passive และ (2) จนถึง ป พ.ศ. 2561 สำหรับอุปกรณระบบสื่อสัญญาณที่เกี่ยวของกับระบบ FOC หลัก และ ระบบบรอดแบนดใน เขตพื้นที่ตางจังหวัดซึ่งเปนอุปกรณโทรคมนาคมประเภท Active อัตราคาเชา สำหรับทรัพยสินที่เชา เทากับ (ก) ระบบ FOC หลัก: (1) จนถึง 76% ของระบบ FOC หลัก (93,370 คอรกิโลเมตร): 350 บาทตอเดือนตอกิโลเมตรหลัก และ (2) ในสวนที่เกิน 76% จนถึง 100% ของระบบ FOC หลัก: 1,100 บาทตอเดือนตอกิโลเมตรหลัก โดยอัตราคาเชาสุทธิที่กองทุนจะไดรับตอปสำหรับระบบ FOC หลักจะคำนวณจากอัตราทีร่ ะบุดา นบนหักดวยคาบำรุง รักษาระบบ FOC หลักทีอ่ ตั รา 186 ลานบาทตอป (ข) อุปกรณระบบสื่อสัญญาณที่เกี่ยวของกับระบบ FOC หลัก: 38 ลานบาทตอป (ค) ระบบบรอดแบนดในเขตพื้นที่ตางจังหวัดซึ่งเปนอุปกรณโทรคมนาคมประเภท Passive: 791 ลานบาทตอป (ทั้งนี้ อยูภายใตการปรับเปลี่ยนอัตราในอนาคตซึ่งจะมีการตกลงกัน ในกรณีที่ TUC ตกลงสละสิทธิในการใชแตเพียง ผูเดียวของตน หลังจากระยะเวลา 5 ปแรก) (ง) ระบบบรอดแบนดในเขตพื้นที่ตางจังหวัดซึ่งเปนอุปกรณโทรคมนาคมประเภท Active: 317 ลานบาทตอป การปรับอัตราคาเชาเพิม่ ขึน้ รายป (annual escalation) สำหรับอัตราคาเชาระบบบรอดแบนดในเขตพืน้ ทีต่ า งจังหวัด (สำหรับ อุปกรณโทรคมนาคมประเภท Active และอุปกรณโทรคมนาคมประเภท Passive) ในอัตรารอยละ 5 ตอป ในป พ.ศ. 2558 และในอัตราเทากับดัชนีราคาผูบ ริโภค (Consumer Price Index หรือ CPI) ทีป่ ระกาศโดยกระทรวงพาณิชย ประเทศไทย สำหรับปกอ นหนา โดยเริม่ คิดคำนวณจากเดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ทัง้ นี้ อัตราดังกลาวตองไมเกินรอยละ 3.5 และไมมกี าร ปรับอัตราคาเชาเพิม่ สำหรับการเชา ดำเนินการและบริหารจัดการระบบ FOC หลัก และอุปกรณระบบสือ่ สัญญาณ การประกันภัย กองทุนมีหนาที่ความรับผิดชอบในการจัดใหมีและคงไวซึ่งประกันภัยประเภทความรับผิดตอบุคคล ภายนอกบนทรัพยสินที่เชา รวมทั้งมีหนาที่ตองชำระเบี้ยประกันภัย การยกระดับประสิทธิภาพ (Upgrade) ในกรณีจำเปน หรือ สมควร ทีจ่ ะตองมีการยกระดับประสิทธิภาพ (upgrade) ทรัพย สินทีเ่ ชาใด ๆ หรือทรัพยอนื่ ใดทีเ่ กีย่ วของ ทีก่ องทุนไดรบั จาก TUC หรือ บริษทั ฯ หรือบริษทั ยอยของบริษทั ฯ และอยูภ ายใต การเชา ดำเนินการและบริหารจัดการภายใตสญ ั ญาเชา ดำเนินการและบริหารจัดการหลักของ TUC นัน้ TUC จะดำเนิน การเพื่อใหมีการยกระดับประสิทธิภาพ (upgrade) ดังกลาวในทุกกรณี ดวยคาใชจายของตนเอง โดยที่การยกระดับ ประสิทธิภาพ (upgrade) จะกลายเปนสินทรัพยเพิม่ เติมของ TUC ซึง่ หาก TUC ประสงคจะขายใหแกบคุ คลใด TUC ตองยืน่ คำ เสนอในการขายสินทรัพยดงั กลาวแกกองทุนกอน

85


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ผูถือหุนรายใหญ1/ ณ วันที่ 8 สิงหาคม 2556 ชื่อผูถือหุน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จำกัด2/ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด3/ UBS AG HONG KONG BRANCH4/ นายวิชัย วชิรพงศ CORE PACIFIC-YAMAICHI INTERNATIONAL (H.K.) LIMITED - CLIENT5/ UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account5/ นางวรพรรณ จึงทรัพย ไพศาล STATE STREET BANK EUROPE LIMITED6/ นายศิริศักดิ์ สนโสภณ นายจักรพันธุ วชิรพงศ

จำนวนหุน (ลานหุน) 9,085.32 628.79 354.39 284.98 238.48 166.03 126.00 77.61 76.00 71.20

รอยละของ หุนทั้งหมด 62.53 4.33 2.44 1.96 1.64 1.14 0.87 0.53 0.52 0.49

1/ ไมมีการถือหุนไขวกันระหวางบริษัทฯ กับผูถือหุนรายใหญ 2/ กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จำกัด ประกอบดวย (1) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จำกัด (“CPG”) ประกอบธุรกิจลงทุน นำเขาและจำหนายเคมีภัณฑ และใหบริการดานเทคนิควิชาการ (CPG มีกลุมครอบครัวเจียรวนนท เปนผูถือหุนรายใหญถือหุนรวมกัน คิดเปนสัดสวนรอยละ 91.65 ผูถือหุน 10 รายแรกของ CPG ไดแก นายสุเมธ เจียรวนนท รอยละ 12.96 นายธนินท เจียรวนนท รอยละ 12.96 นายจรัญ เจียรวนนท รอยละ 12.75 นายมนตรี เจียรวนนท รอยละ 12.63 นายเกียรติ์ เจียรวนนท รอยละ 5.76 นายพงษเทพ เจียรวนนท รอยละ 3.65 และ นางยุพา เจียรวนนท นายประทีป เจียรวนนท นางภัทนีย เล็กศรีสมพงษ นายวัชรชัย เจียรวนนท นายมนู เจียรวนนท และ นายมนัส เจียรวนนท ถือหุนรายละรอยละ 3.62) ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 36.08 (2) บริษัท ยูนีค เน็ตเวิรค จำกัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุนโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 41.06% และ บจ. อารท เทเลคอมเซอรวิส 58.94%) ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 9.21 (3) บริษัท ไวด บรอด คาสท จำกัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุนโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 58.55% และ บจ. เทเลคอมมิวนิเคชั่นเนตเวอรค 41.45%) ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 6.99 (4) บริษัท ซี.พี.อินเตอรฟูด (ไทยแลนด) จำกัด ประกอบธุรกิจผลิตและจำหนายสง ผลิตภัณฑอาหารสำเร็จรูปจากเนื้อสัตว (ถือหุนโดย CPG 99.99%) ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 4.12 (5) บริษัท กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จำกัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุนโดย บจ. เจริญโภคภัณฑโฮลดิ้ง 99.99%) ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 2.22 (6) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจซื้อและขายวัตถุดิบอาหารสัตว (ถือหุนโดย บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร (“CPF”) 99.44%) ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 1.75 (7) บริษัท เกษตรภัณฑอุตสาหกรรม จำกัด ประกอบธุรกิจผลิตและจำหนายอุปกรณการเลี้ยงสัตว (ถือหุนโดย CPG 99.99%) ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 1.23 (8) บริษัท เจริญโภคภัณฑโฮลดิ้ง จำกัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุนโดย CPG 99.99%) ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 0.61 และ (9) บริษัท เจริญโภคภัณฑอินเตอรเนชั่นแนล จำกัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุนโดย บจ. เจริญโภคภัณฑโฮลดิ้ง 99.99%) ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 0.32 (ทั้ง 9 บริษัทดังกลาว ไมมีบริษัทใดประกอบธุรกิจเดียวกันและแขงขันกันกับกลุมบริษัทฯ) 3/ บริษัทยอยที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยจัดตั้งขึ้น NVDR มีลักษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูลงทุนใน NVDR จะไดรับสิทธิประโยชน ทางการเงินตาง ๆ เสมือนการลงทุนในหุนสามัญของบริษัทฯ แต ไมมีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุน 4/ บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศสวิตเซอรแลนด ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไม ไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทฯ ไมมีอำนาจที่จะ ขอใหผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น 5/ บริษัทจดทะเบียนที่ฮองกง ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไม ไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทฯ ไมมีอำนาจที่จะขอใหผูถือหุน ดังกลาว เปดเผยขอมูลเชนวานั้น 6/ บริษัทจดทะเบียนที่สหราชอาณาจักรอังกฤษ ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไม ไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทฯ ไมมีอำนาจที่จะ ขอใหผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น

86

m n È


บริษัทฯ มีนโยบายการจายเงินปนผลในอัตราอยางนอยรอยละ 50 ของกำไรสุทธิจากงบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ ในแตละป ภายหลังการจัดสรรเปนสำรองตาง ๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทั้งเปนไปตามขอกำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ และสัญญา เงินกูตาง ๆ อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ยังไมเคยประกาศจายเงินปนผลนับตั้งแตเปดดำเนินกิจการ เนื่องจากบริษัทฯ ยังมีขาดทุนสะสม ซึ่งตาม กฎหมายแลว บริษัทฯ ไมสามารถจายเงินปนผลใหผูถือหุนได สำหรับนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย คณะกรรมการของบริษัทยอยแตละแหงจะพิจารณาการจายเงินปนผลจาก กระแสเงินสดคงเหลือเทียบกับงบลงทุนของบริษัทยอยนั้น ๆ หากกระแสเงินสดคงเหลือของบริษัทยอยมีเพียงพอ และได ตั้งสำรองตามกฎหมายแลว คณะกรรมการของบริษัทยอยนั้น ๆ จะพิจารณาจายเงินปนผลเปนกรณีไป

87


anagement Structure

โครงสรางการจัดการ

1. คณะกรรมการบริษัท ตามขอบังคับของบริษัทฯ กำหนดใหคณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการ จำนวนไมนอยกวา 5 คน และกรรมการ ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดนั้นตองมีถิ่นที่อยู ในราชอาณาจักร โดยกรรมการของบริษัทฯ จะตองเปนผูมี คุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิ รวมทั้งสิ้นจำนวน 15 ทาน ประกอบดวย (1) กรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Directors) จำนวน 4 ทาน (2) กรรมการที่ไมเปนผูบ ริหาร (Non-Executive Directors) จำนวน 11 ทาน ประกอบดวย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จำนวน 5 ทาน คิดเปนสัดสวน 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งคณะ ซึ่งเปน ไปตามขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน - กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไมเกี่ยวของในการบริหารงานประจำ ซึ่งรวมตัวแทนของผูถือหุนรายใหญ จำนวน 6 ทาน คำนิยาม กรรมการที่เปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการทีด่ ำรงตำแหนงเปนผูบ ริหารและมีสว นเกีย่ วของในการบริหารงานประจำของบริษทั ฯ กรรมการที่ ไมเปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่มิไดดำรงตำแหนงเปนผูบริหารและไมมีสวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจำของบริษัทฯ อาจจะเปนหรือไมเปน กรรมการอิสระก็ ได กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการผูซ งึ่ เปนอิสระจากผูถ อื หุน รายใหญหรือกลุม ของผูถ อื หุน รายใหญและผูบ ริหารของนิตบิ คุ คลทีเ่ ปนผูถ อื หุน รายใหญ และ เปนอิสระ จากความสัมพันธอนื่ ใดทีจ่ ะกระทบตอการใชดลุ พินจิ อยางอิสระ และ มีคณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และ นโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ

88


คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีรายนามดังตอไปนี้ การประชุมคณะกรรมการ รายนาม 1. นายวิทยา

รายนาม เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการในคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี 2. ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี 3. นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการ 4. นายฮาราลด ลิงค กรรมการอิสระ 5. ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่ำเฉลิม กรรมการอิสระ 6. นายธนินท เจียรวนนท ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการ 7. ดร. อาชว เตาลานนท รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี 8. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย 9. ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน 10. นายอำรุง สรรพสิทธิ์วงศ กรรมการ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการ 11. นายวิเชาวน รักพงษ ไพโรจน กรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ ดานคุณภาพโครงขาย การปฏิบัติการ และบำรุงรักษา 2/ 12. นายชัชวาลย เจียรวนนท กรรมการ และ ผูอำนวยการบริหาร – การลงทุนกลุม 13. นายสุภกิต เจียรวนนท กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและ สรรหากรรมการ 14. นายณรงค เจียรวนนท กรรมการ 15. นายศุภชัย เจียรวนนท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร

จำนวนครั้ง การประชุม1/

จำนวนครั้ง ที่เขารวมประชุม

9

8

9

9

9

9

9 9 9

7 9 4

9

9

9

8

9 9

9 9

9

8

9 9

5 5

9 9

5 7

หมายเหตุ : 1/ ในป 2556 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมทั้งสิ้น จำนวน 9 ครั้ง นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการกำหนดไว ในนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี ใหกรรมการที่มิใชผูบริหาร สามารถที่จะประชุมระหวางกันเองตามความ จำเปน โดยไมมีกรรมการที่เปนผูบริหารหรือฝายจัดการเขารวมประชุม เพื่ออภิปรายปญหาตางๆ เกี่ยวกับการจัดการหรือเรื่องที่อยู ในความ สนใจ ซึ่งในป 2556 กรรมการที่มิใชผูบริหารมีการประชุมระหวางกันเองในรูปแบบของการประชุมอยางไมเปนทางการหลังจากเสร็จสิ้นการ ประชุมคณะกรรมการบริษัท 2/ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557 บริษัทฯ มีการปรับปรุงโครงสรางองคกร และแตงตั้งผูบริหาร เปนผลใหมีการเปลี่ยนชื่อตำแหนงทางการบริหาร ของนายวิเชาวน รักพงษ ไพโรจน เปน "หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - ดานคุณภาพโครงขาย การปฏิบั ติการและบำรุงรักษาธุรกิจ บรอดแบนด โมบาย ซีเอทีวี"

89


ทั้งนี้ กรรมการบริษัททุกทาน เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกำหนด ไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมาย และ ไมมี ลักษณะขาดความนาไววางใจตามประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย กรรมการทุกทานทุมเทใหกับการปฏิบัติหนาที่เปนกรรมการ ใหความรวมมือชวยเหลือในการดำเนินกิจการของบริษัทฯ ในทุก ๆ ดาน ซึ่งเปนภาระที่หนักและตองรับผิดชอบอยางยิ่ง สำหรับบทบาท หนาที่ และ ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษทั ตลอด จนการเขารวมประชุมของกรรมการแตละทานนั้น กรรมการทุกทานเขารวมในการประชุมทุกครั้ง เวนแตกรณีที่มีเหตุสำคัญและ จำเปนที่ ไมอาจหลีกเลี่ยงได อยางไรก็ตาม กรรมการทานใดที่ติดภารกิจจำเปนไมสามารถเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัทได จะบอกกลาวแจงเหตุผลขอลาการประชุมและใหความคิดเห็นตอวาระการประชุมที่สำคัญเปนการลวงหนาทุกครั้ง นอกจากนี้ กรรมการของบริษัทฯ ใหความสำคัญกับการเขาอบรมตามหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) กรรมการซึ่งมีอำนาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ นายสุภกิต เจียรวนนท นายศุภชัย เจียรวนนท นายชัชวาลย เจียรวนนท ศาสตราจารยพเิ ศษอธึก อัศวานันท นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน กรรมการสองในหาคนลงลายมือชือ่ รวมกันและประทับตราสำคัญของบริษทั ฯ ในกรณีทลี่ งนามในงบการเงิน หนังสือรับรองงบการเงิน และ เอกสารประกอบงบการเงิน ใหกรรมการคนใดคนหนึง่ ในหาคนดังกลาวขางตนลงนามและประทับตราสำคัญของบริษทั ฯ อำนาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท • กำกับดูแลการดำเนินกิจการของบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงคและขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของ ที่ประชุมผูถือหุน ดวยความรอบคอบระมัดระวัง ความซื่อสัตยสุจริต เพื่อรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ และผูถือหุน และ เปดเผยขอมูลตอผูถือหุนอยางถูกตอง ครบถวน โปรงใส และ ทันเวลา • อนุมัติวิสัยทัศน แผนยุทธศาสตร พันธกิจ แผนการธุรกิจ และ เปาหมายทางการเงิน • ประเมินผลการดำเนินการของบริษทั ฯ และผลการปฏิบตั งิ านของประธานคณะผูบ ริหาร (ซีอโี อ) • ดูแลใหเกิดความมั่นใจในการรับชวงบริหารงานของสมาชิกระดับสูงในฝายจัดการ • ดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบายที่เกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ รวมทั้งคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทำงาน ขอกำหนดการ เปดเผยขอมูล ขอกำหนดของการเขาทำรายการระหวางกัน ตลอดจนขอกำหนดการใชขอมูลภายในเพื่อซื้อขายหลักทรัพย รวมทั้งตรวจสอบใหมีการปฏิบัติตามขอกำหนดดังกลาว โดยยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุมกัน ที่ดีในตัว • ดูแลใหมกี ารปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี การจัดการความเสีย่ ง ตลอดจนระบบการควบคุมและกฎหมายที่เกี่ยวของ • ดูแลใหมีกลไกในการรับเรื่องรองเรียนและการดำเนินการกรณีมีการชี้เบาะแส • เสนอชื่อผูที่จะเขารับการคัดเลือกเปนกรรมการบริษัทตอผูถือหุน ในสวนของการจัดการบริษัทฯ นั้น คณะกรรมการบริษัทมีอำนาจหนาที่ตัดสินใจและดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ เวนแตเรื่องที่ กฎหมายกำหนดใหตองไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใด ปฏิบัติการอยางใดอยางหนึ่งแทนคณะกรรมการบริษัทได อยางไรก็ตาม การตัดสินใจในการดำเนินงาน ที่สำคัญ อาทิเชน การลงทุนและการกูยืมที่มีนัยสำคัญ ฝายบริหารจะตองนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ

90


2. ผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ผูบริหาร 1/ ของบริษัทฯ มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม

ตำแหนง

1. นายศุภชัย 2. ศ. (พิเศษ) อธึก

เจียรวนนท อัศวานันท

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย

3. นายวิเชาวน

รักพงษ ไพโรจน 2/

4. นายชัชวาลย 5. นายนพปฎล 6. นายวิลเลี่ยม

เจียรวนนท เดชอุดม แฮริส

กรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - ดานคุณภาพโครงขาย การปฏิบัติการ และบำรุงรักษา กรรมการ และ ผูอำนวยการบริหาร - การลงทุนกลุม หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน ผูอำนวยการบริหาร–ดานพัฒนาธุรกิจระหวางประเทศ และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ/ประธานคณะผูบริหาร ผูอำนวยการบริหาร - ดานกิจการองคกร ผูอำนวยการบริหาร - ดานรัฐกิจสัมพันธ ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจโมบาย ผูอำนวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจและบริการระหวางประเทศ ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจออนไลน หัวหนาคณะผูบริหารดานการพาณิชย - ดานการขายและรีเทล หัวหนาคณะผูบริหาร - ดานบริการลูกคา

7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

นายขจร นายธิติฏฐ นายอติรุฒม นายทรงธรรม นายอาณัติ นายเจริญ ดร. ปพนธ นายคารล

เจียรวนนท นันทพัฒนสิริ โตทวีแสนสุข 2/ เพียรพัฒนาวิทย เมฆไพบูลยวฒ ั นา 2/ ลิ่มกังวาฬมงคล 2/ รัตนชัยกานนท 2/ กูเดียร

หมายเหตุ : 1/ “ผูบริหาร” ในหัวขอนี้ มีความหมายตามที่กำหนดโดยคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ซึ่งหมายถึง กรรมการผูจัดการใหญ ผูดำรงตำแหนงระดับบริหารสี่รายแรกนับตอจากกรรมการผูจัดการใหญลงมา และผูซึ่งดำรงตำแหนงเทียบเทากับผูดำรงตำแหนงระดับบริหาร รายที่สี่ทุกราย 2/ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557 บริษัทฯ มีการปรับปรุงโครงสรางองคกร และแตงตั้งผูบริหาร เปนผลใหมีการเปลี่ยนชื่อเรียกตำแหนง สำหรับ ผูบริหารเดิม จำนวน 5 ทาน ดังนี้ 1. นายวิเชาวน รักพงษ โรจน กรรมการ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฎิบัติการ- ดานคุณภาพโครงขาย การปฏิบัติการและบำรุงรักษาธุรกิจบอรดแบนด โมบาย ซีเอทีวี 2. นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข ผูอำนวยการบริหาร - ดานการบริหารจัดการระดับภูมิภาค 2 3. นายอาณัติ เมฆไพบูลยวัฒนา ผูอำนวยการบริหาร - ดานการบริหารจัดการระดับภูมิภาค 4 4. นายเจริญ ลิ่มกังวาฬมงคล ผูอำนวยการบริหาร - ดานการบริหารจัดการระดับภูมิภาค 3 5. ดร. ปพนธ รัตนชัยกานนท ผูอำนวยการบริหาร – ดานพัฒนาธุรกิจเชิงกลยุทธ และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ / ประธานคณะผูบริหาร นอกจากนี้ มีผูบริหารที่ ไดรับการแตงตั้งใหมที่เขาขายเปนผูบริหารตามนัยของประกาศสำนักงาน ก.ล.ต. จำนวน 1 ทาน ดังนี้ นายศิริพจน คุณากรพันธุ ผูอำนวยการบริหาร - ดานการบริหารจัดการระดับภูมิภาค 1

ทัง้ นี้ ผูบ ริหารของบริษทั ฯ ทุกทาน เปนผูม คี ณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามทีก่ ฎหมายกำหนด ไมมลี กั ษณะตองหามตามกฎหมาย และ ไมมลี กั ษณะ ขาดความนาไววางใจตามประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

91


92

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ

ผูอำนวยการ ดานบัญชี

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการเงิน

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานบริการลูกคา

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการพาณิชยและ การตลาด

ผูอำนวยการบริหาร ดานกิจการองคกร

ทรัพยากรบุคคล และพัฒนา องคกร

ผูอำนวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจ ระหวางประเทศ

ปฏิบัติการ เทคโนโลยี สารสนเทศ

ผูอำนวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจ เชิงกลยุทธ

การวิจัยและ พัฒนา

ผูอำนวยการบริหาร การลงทุนกลุม

คณะกรรมการบริหาร

จัดซื้อ

ผูอำนวยการบริหาร ดานลูกคาองคกร ธุรกิจและบริการ ระหวางประเทศ

สื่อสารองคกร ประชาสัมพันธการตลาด และกิจกรรมองคกรเพื่อ สังคม

ผูอำนวยการบริหาร ดานรัฐกิจสัมพันธ

บริหารแบรนด และ สื่อสารแบรนด

ตรวจสอบ ภายใน

ผูอำนวยการบริหาร ดานการบริหารจัดการระดับภูมิภาค 3 ผูอำนวยการบริหาร ดานการบริหารจัดการระดับภูมิภาค 4

ผูอำนวยการบริหาร ดานการบริหารจัดการระดับภูมิภาค 2

ผูอำนวยการบริหาร ดานการบริหารจัดการระดับภูมิภาค 1

คณะกรรมการดานการเงิน

คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี กรรมการผูจัดการใหญ / ประธานคณะผูบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการ

คณะกรรมการบริษัท

โครงสรางการบริหารจัดการ


อำนาจหนาที่ของประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ ประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ เปนตำแหนงทางการบริหารสูงสุดของบริษัทฯ และ เปนตำแหนงที่ ไดรับการ แตงตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท ความสัมพันธระหวางคณะกรรมการบริษทั และฝายบริหารเปนไปในรูปแบบการทำงานรวมกัน โดยทีค่ ณะกรรมการบริษทั เปนผูก ำกับ ดูแล ใหคำปรึกษา ขอคิดเห็น และ ขอเสนอแนะแกฝายบริหาร สนับสนุนการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนติดตามดูแล การบริหารงานของฝายบริหารและผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ แตจะไมเขาไปกาวกายในการบริหารกิจการของบริษทั ฯ สวนประธาน คณะผูบ ริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ มีความรับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัทในดานการนำนโยบายของคณะกรรรมการบริษทั ไปใชในทางปฏิบัติ บริ ห ารจั ด การและควบคุ ม ดู แ ลการดำเนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ให เ ป น ไปตามข อ บั ง คั บ มติ ที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น มติคณะกรรมการ ทิศทางธุรกิจของบริษัทฯ และกฎหมายที่เกี่ยวของ อำนาจหนาทีข่ องประธานคณะผูบ ริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ มีดงั ตอไปนี้ • ดำเนินการใหมีการกำหนดทิศทางธุรกิจ พันธกิจ แผนธุรกิจ พรอมทั้ง งบประมาณ และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติ • วางกลยุทธและแผนปฏิบัติการของบริษัทฯ ตามกรอบทิศทางธุรกิจและพันธกิจของบริษัทฯ ที่ ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ • ควบคุมดูแลใหการดำเนินการตามแผนธุรกิจของบริษัทฯ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และ สอดคลองกับกลยุทธทางธุรกิจ ของบริษัทฯ • กำกับ ดูแล และ ควบคุมการดำเนินธุรกิจประจำวันอันเปนปกติธุระของบริษัทฯ รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ใหเปนไปตามทิศทาง แผนธุรกิจ และ งบประมาณที่ ไดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการ • ควบคุมดูแลใหการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เปนไปตามกฎหมายและกฎเกณฑที่เกี่ยวของ • นำเสนอรายงานการดำเนิ น งานและผลประกอบการของบริ ษั ท ฯ ต อ คณะกรรมการบริ ษั ท อย า งสม่ ำ เสมอ ซึ่ ง หาก คณะกรรมการมีการใหขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะแกฝายบริหาร ประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญมีหนาที่ นำขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะของคณะกรรมการไปสูการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพ • มีอำนาจในการเขาทำสัญญา หรือ ขอตกลงตางๆ และ มีอำนาจในการอนุมตั คิ า ใชจา ยตางๆ ตามขอบเขตทีก่ ำหนดไวในนโยบาย และระเบียบวิธปี ฏิบตั ขิ องบริษทั ฯ เรือ่ ง Signing Authority ทัง้ นี้ ในกรณีทเี่ ปนการเขาทำรายการระหวางกันหรือรายการทีอ่ าจมี ความขัดแยงทางผลประโยชนกบั บริษทั ฯ หรือ บริษทั ยอย จะตองปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และ ระเบียบทีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ งดังกลาว • ปฏิบตั หิ นาทีอ่ นื่ ใดตามที่ ไดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

3. เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้ง นางรังสินี สุจริตสัญชัย ดำรงตำแหนง เลขานุการบริษัท ตั้งแตวันที่ 27 กุมภาพันธ 2552 เพือ่ ทำหนาที่ใหคำแนะนำดานกฎหมาย และ กฎเกณฑตา ง ๆ ทีค่ ณะกรรมการจะตองทราบ และ ปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของ คณะกรรมการ ประสานงานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ รวมทั้งมีหนาที่ตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และที่แก ไขเพิ่มเติม โดยบริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลที่สำคัญของเลขานุการบริษัท ไว ในรายละเอียด เกี่ยวกับเลขานุการบริษัท

93


4. คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ (1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1.1) คาตอบแทนกรรมการ ตั้ ง แต วั น ที่ 1 มกราคม - 31 ธั น วาคม 2556 ค า ตอบแทนกรรมการรวม 15 ท า น เป น เงิ น รวมทั้ ง สิ้ น จำนวน 27,600,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ไดรับคาตอบแทน ทานละ (บาท) กลุมที่ 1 - ประธานกรรมการ ไดแก นายธนินท เจียรวนนท - กรรมการอิสระทีด่ ำรงตำแหนงประธานกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดแก นายวิทยา เวชชาชีวะ และ ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ รวม กลุมที่ 2 - กรรมการอิสระทีด่ ำรงตำแหนงกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดแก นายโชติ โภควนิช รวม กลุมที่ 3 - รองประธานกรรมการ ไดแก ดร. อาชว เตาลานนท และ ศาสตราจารยพิเศษ อธึก อัศวานันท รวม กลุมที่ 4 - กรรมการอิสระ ไดแก นายฮาราลด ลิงค และ ศาสตราจารยพิเศษ เรวัต ฉ่ำเฉลิม - กรรมการ ไดแก นายศุภชัย เจียรวนนท นายสุภกิต เจียรวนนท นายชัชวาลย เจียรวนนท นายวิเชาวน รักพงษ ไพโรจน นายอำรุง สรรพสิทธิว์ งศ นายณรงค เจียรวนนท และ ศาสตราจารย ดร. วรภัทร โตธนะเกษม รวม รวมทั้งสิ้น

รวม (บาท)

3,600,000 3,600,000 10,800,000 2,400,000 2,400,000 1,800,000 3,600,000 1,200,000

1,200,000 10,800,000 27,600,000

นอกจากนี้ นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ มีการดำรงตำแหนงเปนกรรมการในบริษทั ยอย จำนวน 2 แหง (ในฐานะตัวแทนของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ) โดยไดรับคาตอบแทนกรรมการจากบริษัทยอยรวม ในป 2556 ดังนี้

1) กรรมการของบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จำกัด (มหาชน) 2) กรรมการของบริษัท ทรู มูฟ จำกัด คาตอบแทนรวม

94

คาตอบแทน (1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56) - บาท 600,000 บาท 600,000 บาท


(1.2) คาตอบแทนผูบริหาร ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2556 คาตอบแทนของผูบ ริหารรวม 14 ทาน เปนเงินทัง้ สิน้ จำนวน 187.25 ลานบาท ประกอบดวยคาตอบแทนในรูปของเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบัติงาน และ ผลประโยชนอื่น ๆ

(2) คาตอบแทนอื่น (2.1) เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ ไดจัดใหมีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพใหแกผูบริหาร โดยบริษัทฯ ไดสมทบในอัตรารอยละ 3 - 7 ของเงินเดือน โดยในป 2556 บริษทั ฯ ไดจา ยเงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพสำหรับผูบ ริหาร 14 ราย รวมทัง้ สิน้ จำนวน 9.64 ลานบาท (2.2) โครงการรวมลงทุนระหวางนายจางและลูกจาง ป 2557 - 2560 (“EJIP”) บริ ษั ท ฯ ได จั ด ให มี โ ครงการ EJIP เพื่ อ เป น แรงจู ง ใจแก ผู บ ริ ห ารในการปฏิ บั ติ ง านและร ว มทำงานกั บ บริ ษั ท ฯ ในระยะยาว โดยมีระยะเวลาของโครงการ 4 ป (นับระยะเวลารวม Slient Period) โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2557 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผูบริหารที่สามารถเขารวมโครงการ EJIP ไดจะตองมีอายุงานไมนอยกวา 3 ป นับถึง วันที่เริ่มจายสะสม โดยบริษัทฯ จะหักเงินเดือนผูบริหารที่เขารวมโครงการในอัตรารอยละ 5 จากฐานเงินเดือน และ บริษัทฯ จะจายเงินสมทบอีกในอัตรารอยละ 10 จากฐานเงินเดือน

5. บุคลากร จำนวนพนักงานของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 แบงแยกตามกลุม งานมีดงั นี้ กลุมงาน พนักงานในระดับบริหาร ปฏิบัติการโครงขาย และ บำรุงรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริการลูกคา การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน ที่มา : บริษัทฯ

จำนวนพนักงาน (คน) 91 1,122 416 94 181 110 520 2,534

คาตอบแทน และสวัสดิการพนักงาน (1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน • เงินเดือน • เงิ น ตอบแทนการปฏิ บั ติ ง านประจำป ในอั ต รา 0-4 เท า ของเงิ น เดื อ นพนั ก งาน ขึ้ น อยู กั บ ผลประกอบการและ ฐานะทางการเงินของบริษัทฯ • กรณีเกษียณอายุ พนักงานที่จะมีอายุครบ 60 ปบริบูรณ หรือในกรณีที่บริษัทฯ และพนักงานเห็นพองตองกันอาจให พนักงานเกษียณอายุกอนกำหนดได โดยพนักงานจะไดรับคาชดเชยการเกษียณอายุตามกฎหมาย ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2556 คาตอบแทนพนักงานรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 2,212.12 ลานบาท โดยประกอบดวย คาแรง เงินเดือน เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ และอืน่ ๆ

95


(2) สวัสดิการ • แผนประกันสุขภาพและสวัสดิการพนักงาน - หองพยาบาลของบริษัทฯ - การตรวจสุขภาพประจำป - การตรวจรางกายพนักงานใหม - การประกันสุขภาพกลุม - การประกันอุบัติเหตุกลุม - การประกันชีวิตกลุม - กองทุนประกันสังคม - กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • วันหยุดพักผอนประจำป พนักงานของบริษัทฯ มีสิทธิหยุดพักผอนประจำป 10 วัน 12 วัน และ 15 วันทำงาน ขึ้นอยูกับระดับตำแหนงและ อายุการทำงาน ดังนี้ - พนักงานระดับผูชวยผูอำนวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป มีสิทธิหยุดพักผอน ปละ15 วันทำงาน - พนักงานระดับผูจัดการหรือเทียบเทาลงมา มีสิทธิหยุดพักผอนประจำป ตามอายุงานดังนี้ ก) พนทดลองงาน แต ไมถึง 3 ป 10 วันทำงาน ข) อายุงาน 3 ป แต ไมถึง 5 ป 12 วันทำงาน ค) อายุงานตั้งแต 5 ปขึ้นไป 15 วันทำงาน

การฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน บริษัทฯ ใหความสำคัญตอการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน จึงไดมีการจัดตั้งหนวยงานที่ดูแลในเรื่องนี้ โดยเฉพาะ คือ ศูนยฝก อบรมและการพัฒนาบุคลากร ซึ่งมีเปาหมายหลักในการพัฒนาความรูความสามารถในการเปนพนักงานของบริษัทฯ ความรูความ สามารถเหลานีเ้ ปนรากฐานทีส่ ำคัญของการพัฒนาบุคลากร สายงาน และเปนการเปดโอกาสใหพนักงานเกิดความกาวหนาในอาชีพ ศูนยฝกอบรมและพัฒนามีทางเลือกหลากหลายเพื่อการเรียนรู เพื่อการพัฒนาอยางตอเนื่อง ชวยใหพนักงานสามารถปฏิบัติงาน ลุลวงตามที่ ไดรับมอบหมาย และเตรียมความพรอมใหพนักงานมุงสูเปาหมายในอาชีพการงานของตน ซึ่งการพัฒนาบุคลากรนี้ ในทีส่ ดุ ก็จะสงผลถึงความแข็งแกรงของการดำเนินกิจการของบริษทั ฯ นัน่ เอง บทบาทอื่นๆ ที่สำคัญของศูนยฝกอบรมและพัฒนา นอกเหนือจากการเปนผู ใหการฝกอบรมและพัฒนาพนักงานแลว ศูนยฝก อบรมและพัฒนายังเปนผูนำการเปลี่ยนแปลง และเปนเพื่อนรวมธุรกิจกับทุกหนวยงาน ศูนยฝกอบรมและพัฒนาทำหนาที่ผูนำการเปลี่ยนแปลง โดยการเปนผูอำนวยความสะดวกในการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะใหการ สนับสนุนกลยุทธและทิศทางใหม ๆ ของบริษัทฯ พรอมทั้งสงเสริมใหพนักงานทุกคนพรอมที่จะเผชิญกับความทาทายที่มีความ สลับซับซอนมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ศูนยฝกอบรมและพัฒนาก็เปนเพื่อนรวมธุรกิจกับทุกหนวยงาน โดยการรวมมือกับหนวยงานตางๆ ในการ ออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมและพัฒนาที่เหมาะสมกับแผนธุรกิจของแตละหนวยงาน รวมทั้งใหการสนับสนุน ที่จำเปนทุกอยาง ปจจุบันไดจัดทำระบบการเรียนทางไกลผานระบบ MPLS ไปยังพนักงานในตางจังหวัดเพื่ออำนวยความสะดวกและเพิ่มชองทาง การเรียนรูและพัฒนาอยางตอเนื่อง หลักสูตรที่จัดฝกอบรมภายในบริษัทฯ มีประมาณ 300 หลักสูตรตอป โดยในป 2556 มีจำนวนคน-วันอบรมรวม 36,000 Training Mandays ใชงบประมาณรวมทั้งสิ้น 135 ลานบาท โดยจัดใหมีหลักสูตรการฝกอบรมดานความรูความสามารถหลักใหแกพนักงาน ทุกระดับ เชน วัฒนธรรมองคกร4Cs การสื่อสารอยางมีประสิทธิผล การวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน การพัฒนา ตนเองสูความเปนผูมีประสิทธิผลสูง เปนตน

96


ในป 2556 บริษทั ฯ มุง เนนเรือ่ ง Customer Centric Organization & High Productivity และการพัฒนาผูน ำทุกระดับ ตามโครงการ Leader Developing Leader Cascade Program ซึง่ มีผเู ขารับการอบรมตามโครงการนีม้ ากกวา 3,500 คน และหลักสูตรเพือ่ พัฒนา ทักษะการบริหารตางๆ เชน ทักษะการสื่อสารอยางมีประสิทธิผล การแกปญหาและการตัดสินใจ การเจรจาตอรอง การบริหาร โครงการ การบริหารความเสี่ยง การบริหารการเงิน การบริหารงานขายและงานบริการ (Operation Management) เปนตน หลักสูตรฝกอบรมดานความรูความสามารถตามธุรกิจหลัก การพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ และเทคโนโลยี ใหมๆ เชน 3G, 4G Technology, GPRS & EDGE, Broadband Network, NGN Network & Application หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานสำหรับ ชางเทคนิคและวิศวกร หลักสูตรพัฒนาทักษะดานการขายและการใหบริการลูกคาสำหรับพนักงานขาย เจาหนาที่บริการลูกคาและ ทีมงานชางเทคนิคตาง ๆ เชน True Product & Services ทักษะการใหบริการอยางมืออาชีพ บุคลิกภาพในงานบริการ การนำเสนอ เชิงธุรกิจ สุนทรียสนทนา และหลักสูตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งที่เปนระบบใหบริการลูกคาและระบบสนับสนุนทั้งหลาย ในบริษทั รวมทัง้ ระบบเครือขายสือ่ สารขอมูลและการรักษาความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน นอกจากนี้ ไ ด ใ ห ค วามร ว มมื อ กั บ สถาบั น การศึ ก ษาภาครั ฐ และเอกชนในการจั ด การเรี ย นการสอนด า น ICT และเทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วข อ งแก นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ละโท อาทิ หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตร ม หาบั ณ ฑิ ต สาขาสถาป ต ยกรรมองค ก ร (Enterprise Architecture) รวมกับมหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการคาปลีก รวมกับ มหา วิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) , หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการสาระและการสรางคุณคา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบริการลูกคา (Customer Management) รวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต รวมทั้งการ ฝกงานแกนักศึกษาทุกปซึ่งเปน Corporate Social Responsibility และ Social Enterprise เพื่อเปนแบบอยางที่ดีขององคกรขนาด ใหญในการสรางคุณคาตอสังคมและประเทศชาติ

97


รายละเอียดของกรรมการ ผูบริหาร ผูมีอำนาจควบคุม และเลขานุการบริษัท (ณ 31 ธันวาคม 2556) นายวิทยา เวชชาชีวะ

ชื่อ-นามสกุล ตำแหนง

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการในคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

4 มกราคม 2542

อายุ (ป)

77

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

­

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี เนติบัณฑิต

นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ สำนักเกรส อินน

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP) ­ Audit Committee Program (ACP) ­ Chairman 2000

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2541-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน กรรมการในคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. โกลว พลังงาน 2545-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ฟนันซา บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2541-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. เค ไลน (ประเทศไทย) และ บริษัทในเครือ 2534-2535 ปลัดกระทรวงการตางประเทศ 2531 เอกอัครราชทูตประจำประเทศสหรัฐอเมริกา 2527 เอกอัครราชทูตประจำประเทศเบลเยี่ยม และ ประชาคมยุโรป 2524 เอกอัครราชทูตประจำประเทศแคนาดา 2522 อธิบดีกรมเศรษฐกิจ

98


ชื่อ-นามสกุล

ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ

ตำแหนง

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

11 กุมภาพันธ 2536

อายุ (ป)

74

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

­

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาเอก ปริญญาตรี

สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London

Director Accreditation Program (DAP) Director Certification Program (DCP) Audit Committee Program (ACP) Role of the Chairman Program (RCP) Financial Institutions Governance Program (FGP) Finance for Non-Finance Directors (FND) Monitoring Fraud Risk Management (MFM) Monitoring of the Quality of Financial Reporting (MFR) Monitoring the Internal Audit Function (MIA) Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) Chartered Director Class (R-CDC) Audit Committee Effectiveness Seminar: What Works Best – Global Practices vs. Practices in Thailand ­ 2012 Theme: Innovative Approaches to Create Value for Business and Society ­ IOD Director Briefing 1/2013 Thailand’s Economic Outlook 2013 ­ IOD Tea Talk : “Effective Regulation and Corporate Governance in Asia” ­ The 2nd National Director Conference 2013 “Board Leadership Evolution”

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ ­ ­ ­ ­ ­ ­ ­ ­ ­ ­ ­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2554-ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2547-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน)) 2544-2552 กรรมการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 2544-2548 นายกสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ 2543-2544 ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแหงประเทศไทย 2529-2535 อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

99


ชื่อ-นามสกุล

นายโชติ โภควนิช

ตำแหนง

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

22 ธันวาคม 2542

อายุ (ป)

71

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

­

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ผูสอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการจัดการดานการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP) ­ Chairman 2000 ­ Director Certification Program (DCP) ­ IOD National Director Conference 2012 – Moving Corporate Governance Forward : Challenge for Thai Directors ­ Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) ­ Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) ­ How to Measure the Success of Corporate Strategy (HMS) ­ Monitoring Fraud Risk Management (MFM) ­ Monitoring the Internal Audit Function (MIA) ­ Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2556-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. สยามแม็คโคร 2555-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ล็อกซเลย 2543-2544 ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเงินทุน ทิสโก จำกัด (มหาชน) (ปจจุบันชื่อ ธนาคารทิสโก จำกัด (มหาชน)) 2537-2540 ประธานกรรมการบริหาร กลุมบมจ. ไทยวา 2535-2537 กรรมการผูจัดการใหญ และ กงสุลใหญแหงเดนมารก ประจำประเทศไทย บมจ. อี๊สตเอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2556-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. บางกอกแรนช 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 2542-ปจจุบัน กรรมการ บจ. คิงฟชเชอร โฮลดิ้งส 2552-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ไทยสมารทคารด 2547-2549 ประธานเจาหนาที่บริหาร ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) (ปจจุบันชื่อ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จำกัด (มหาชน))

100


ชื่อ-นามสกุล

นายฮาราลด ลิงค

ตำแหนง

กรรมการอิสระ

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

1 มีนาคม 2553

อายุ (ป)

59

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

50,000 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

MBA, St. Gallen University, Switzerland

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มี.ค. 2553-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2543-ก.พ. 2553 กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2541-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ปูนซีเมนตนครหลวง บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2553-ปจจุบัน Director, G&L Beijer AB (จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยสวีเดน) 2530-ปจจุบัน Chairman, B. Grimm Group of Companies

101


ชื่อ-นามสกุล

ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่ำเฉลิม

ตำแหนง

กรรมการอิสระ

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

1 มีนาคม 2553

อายุ (ป)

69

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

54,435 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี เนติบัณฑิต พิเศษ

นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สำนักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐรวมเอกชน (วปรอ. รุนที่ 1)

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มี.ค. 2553-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. เสริมสุข ประธานกรรมการ บมจ. ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด คอนสตรัคชั่น 2547- 2549 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. อสมท 2546-2548 กรรมการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บมจ. การบินไทย บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทางยกระดับดอนเมือง รองประธานกรรมการ บมจ. นครหลวง ลีสซิ่ง-แฟกเตอริง ศาสตราจารยพิเศษคณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศาสตราจารยพิเศษสำนักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา ศาสตราจารยพิเศษชั้นปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารยพิเศษชั้นปริญญาเอก มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ศาสตราจารยพิเศษคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 2545-ปจจุบัน กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) กรรมการ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายตำรวจแหงชาติ (ก.ต.ช.) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กระทรวงสาธารณสุข กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรรมการ คณะกรรมการอาหารแหงชาติ

102


ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่ำเฉลิม (ตอ) 2545-ปจจุบัน กรรมการบริหาร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ประธานกรรมการจริยธรรม สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ 2544-ปจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารสาขาตางๆ (สขร.) กรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 2538-ปจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการโอลิมปคแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ 2546-2547 อัยการสูงสุด สำนักงานอัยการสูงสุด อุปนายก เนติบัณฑิตยสภา 2544-2547 กรรมการ กองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ 2543-2546 รองอัยการสูงสุด สำนักงานอัยการสูงสุด 2545-2547 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย 2543-2545 กรรมการ องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย 2539-2543 อธิบดีอัยการฝายวิชาการ สำนักงานอัยการสูงสุด 2543-2549 กรรมการ การประปาสวนภูมิภาค 2539-2552 กรรมการ มูลนิธิแสงชัย สุนทรวัฒน 2530-2536 ที่ปรึกษากฎหมาย ผูบัญชาการทหารบก ที่ปรึกษากฎหมาย ผูบัญชาการทหารสูงสุด 2536-2539 กรรมการ การสื่อสารแหงประเทศไทย (ปจจุบันชื่อ บมจ. กสท โทรคมนาคม) 2528-2540 กรรมการ การประปานครหลวง

103


ชื่อ-นามสกุล

-

นายธนินท เจียรวนนท

ตำแหนง

ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

11 กุมภาพันธ 2536

อายุ (ป)

74

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

­

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

เปนบิดาของ นายสุภกิต เจียรวนนท นายณรงค เจียรวนนท นายศุภชัย เจียรวนนท

คุณวุฒิทางการศึกษา

Commercial School ประเทศฮองกง Shantou Secondary School สาธารณรัฐประชาชนจีน วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร ประธานกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง ประธานกรรมการ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ และ บริษัทในเครือ

104


ชื่อ-นามสกุล

ดร. อาชว เตาลานนท

ตำแหนง

รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

11 กุมภาพันธ 2536

อายุ (ป)

75

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

­

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญากิตติมศักดิ์ ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยหอการคาไทย วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ปริญญาโท Iowa State of University ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พิเศษ วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรรัฐรวมเอกชนรุนที่ 1

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP) ­ Chairman 2000 ­ Director Certification Program (DCP)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2536-2542 กรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ เครือเจริญโภคภัณฑ 2544-2547 ประธานกรรมการ หอการคาไทย และ สภาหอการคาแหงประเทศไทย 2534-2535 รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธาน Board of Trustee สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย กรรมการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 105


ชื่อ-นามสกุล

ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท*

ตำแหนง

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

22 สิงหาคม 2540

อายุ (ป)

62

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

1,875,000 หุน (รอยละ 0.01)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี

สาขานิติศาสตร Specialised in International Legal Studies, New York University ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขานิติศาสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การอบรม

หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุนที่ 3

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล ส.ค.-ธ.ค. 2554 กรรมการอิสระ บมจ. โทรีเซนไทย เอเยนตซีส 2551-ก.พ. 2552 เลขานุการบริษัท บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น หัวหนานักกฎหมาย กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จำกัด กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส และ บริษัทในเครือ 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ 2544-2549 ผูพิพากษาสมทบในศาลทรัพยสินทางปญญาและ การคาระหวางประเทศกลาง 2521-2540 Baker & McKenzie อาจารยพิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร ปจจุบัน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

* กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

106


ชื่อ-นามสกุล

ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม

ตำแหนง

กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

1 มีนาคม 2555

อายุ (ป)

64

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

­

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาเอก ปริญญาโท

ปริญญาตรี

เศรษฐศาสตรธุรกิจ University of Illinois at Urbana-Champaign สหรัฐอเมริกา เศรษฐศาสตร University of Illinois at Urbana-Champaign สหรัฐอเมริกา บริหารธุรกิจ Kellogg School of Management, Northwestern University, Evanston, Illinois สหรัฐอเมริกา เศรษฐศาสตร (เกียรตินิยม “ดีมาก”) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร นิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ ­ ­ ­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน 2555-ปจจุบัน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2553-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. น้ำตาลขอนแกน 2552-ปจจุบัน ที่ปรึกษาบริหาร บมจ. อมตะ คอรปอเรชัน ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. ปริญสิริ

Director Certification Program (DCP) Director Accreditation Program (DAP) The Role of Chairman (RCM) Role of the Compensation Committee (RCC)

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มิ.ย. 2555-ปจจุบัน กรรมการ และ เลขานุการ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาองคกร ภาครัฐ (สพร.) 2555-ปจจุบัน อนุกรรมการติดตามประเมินผล โครงการกองทุนพัฒนาไฟฟา เพื่อกิจการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน 2553-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท พันธวณิช จำกัด กรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวงคมนาคม อนุกรรมการพิจารณารางประกาศเกี่ยวกับการออกและ เสนอขายหลักทรัพยประเภทตราสารหนี้ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 2550-ปจจุบัน กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 107


ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม (ตอ) 2550-ปจจุบัน

อนุญาโตตุลาการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

ประสบการณการทำงาน ­ กรรมการผูจัดการ บริษัท ทริส คอรปอเรชั่น จำกัด (ทริส) ­ กรรมการผูจัดการ บริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัด ­ ผูชวยกรรมการผูจัดการ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ­ กรรมการ รางพระราชบัญญัติแปลงสินทรัพยเปนหลักทรัพย กระทรวงการคลัง ­ กรรมการ การจัดตั้งองคกรกำกับดูแลอิสระ สำนักรัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย ของรัฐ กระทรวงการคลัง ­ กรรมการสรรหากรรมการผูจัดการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ­ กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ­ อนุกรรมการพิจารณาวิสามัญเกี่ยวกับการบริหารกำลังคนภาครัฐอยางมี ประสิทธิภาพสำนักงาน ก.พ. ­ ผูประเมินคุณภาพภายนอกจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) ­ ประธานกรรมการบริหาร หลักสูตรปริญญาโทบริหารธุรกิจ (สำหรับนักบริหาร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ­ กรรมการพิจารณาเนื้อหาวิชาการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ­ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ การประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

108


ชื่อ-นามสกุล

นายอำรุง สรรพสิทธิ์วงศ

ตำแหนง

กรรมการ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

16 พฤศจิกายน 2544

อายุ (ป)

61

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

718,800 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Certification Program (DCP) ­ IOD National Director Conference 2012 – Moving Corporate Governance Forward : Challenge for Thai Directors

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2544-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล กรรมการ บมจ. อลิอันซ ซี.พี. ประกันภัย กรรมการ บมจ.สยามแม็คโคร บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน รองประธานสำนักการเงินเครือเจริญโภคภัณฑ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ ธนาคารวีนาสยาม จำกัด กรรมการ บจ. ซี.พี. โลตัส คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ไทยสมารทคารด กรรมการ บจ. แกรนด ริเวอร เพลส คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. แกรนด ริเวอร ฟรอนท คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. แกรนด ริเวอร พารค คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ทรู ลีสซิ่ง กรรมการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส กรรมการ บจ. ทรู มันนี่ กรรมการ บจ. ทรู ไลฟสไตล รีเทล กรรมการ บจ. ทรู พรอพเพอรตีส กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล พลัส 109


ชื่อ-นามสกุล

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน*

ตำแหนง

กรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ ดานคุณภาพโครงขาย การปฏิบัติการและบำรุงรักษา

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

30 พฤศจิกายน 2543

อายุ (ป)

56

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

303,000 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาโท ปริญญาตรี

บริหารธุรกิจ Pepperdine University ประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

การอบรม

หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (หลักสูตร บ.ย.ส.) รุนที่ 15 หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุนที่ 14

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Certification Program (DCP รุนที่ 16)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2555-ปจจุบัน กรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ ดานคุณภาพ โครงขาย การปฏิบัติการและบำรุงรักษา 2543-2555 กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี 2541-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ 2540-2541 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2539-2540 ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันออกเฉียงใต 2538-2539 ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหาร บจ. พันธวณิช ประธานคณะกรรมการบริหาร บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บจ. เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี

* กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

110


นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์* (ต่อ)

ปัจจุบัน

กรรมการ บจ. ทรู ทัช กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์เทเลเทค กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ทคาร์ด กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. เรียล ฟิวเจอร์ กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส์ กรุ๊ป กรรมการ บจ. เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์

* กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

111


ชื่อ-นามสกุล

นายชัชวาลย เจียรวนนท*

ตำแหนง

กรรมการ และ ผูอำนวยการบริหาร – การลงทุนกลุม

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

11 กุมภาพันธ 2536

อายุ (ป)

51

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

­

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน กรรมการ และ ผูอำนวยการบริหาร – การลงทุนกลุม บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2556-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. เอสวีไอ 2544-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น 2550-ปจจุบัน ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร บล. ฟนันเซีย ไซรัส จำกัด (มหาชน) 2548-2556 กรรมการ บมจ. อะมานะฮ ลิสซิ่ง 2543-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. อิออน ธนสินทรัพย (ไทยแลนด)

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern, California, ประเทศสหรัฐอเมริกา

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2543-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง 2540-ปจจุบัน ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย บจ. ทรู อินเทอรเน็ต และ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท 2549-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรมพลาสติก 2535-2548 กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรมพลาสติก 2533-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

* กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

112


ชื่อ-นามสกุล

นายสุภกิต เจียรวนนท*

ตำแหนง

กรรมการ และกรรมการ ในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

11 กุมภาพันธ 2536

อายุ (ป)

50

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

1,403,000 หุน (รอยละ 0.01)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

เปนบุตรของนายธนินท เจียรวนนท เปนพี่ชายของนายณรงค เจียรวนนท และนายศุภชัย เจียรวนนท

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP) รุน 92/2011

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและ สรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล กรรมการ บมจ. สยามแม็คโคร

สาขาบริหารธุรกิจ New York University ประเทศสหรัฐอเมริกา

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานบริหาร บมจ. ยูทีวี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค รองประธานกรรมการบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ ประธานกรรมการบริษัท บมจ. ทรู วิชั่นส ประธานกรรมการบริษัท บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล ประธานกรรมการบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต แลนด โฮลดิ้ง ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต พร็อพเพอรตี้ เมเนสเมนท ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต เรียล เอสเตรส กรุป ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต โลตัส (เซี่ยงไฮ) ประธานคณะกรรมการ บจ. ฟอรจูน ลิสซิ่ง ประธานคณะกรรมการ บจ. แมส เจียน อินเวสเมนท ประธานคณะกรรมการ บจ. ปกกิ่ง โลตัส ซุปเปอรมารเก็ต เชนส สโตร ประธานคณะกรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู ประธานกรรมการรวม บจ. เซี่ยงไฮ คิงฮิวล – ซุปเปอรแบรนดมอล รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร กลุมธุรกิจการ ตลาด และการจัดจำหนาย (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร กลุมธุรกิจ พัฒนาที่ดิน (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ซีพี โลตัส คอรปอเรชั่น รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. เซี่ยงไฮ โลตัส ซุปเปอรมารเก็ต เชนส สโตร รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจการตลาด และการจัดจำหนาย (ไทย) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ * กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

113


นายสุภกิต เจียรวนนท* (ตอ) ปจจุบัน รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจพัฒนาที่ดิน (ไทย) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจโทรคมนาคม บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจยานยนตและอุตสาหกรรม (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธาน บจ. เจียไต เทรดดิ้ง (ปกกิ่ง) รองประธาน บจ. เจียไต วิชั่น รองประธาน บจ. เจียไต อินเตอรเนชั่นแนลไฟแนนซ รองประธาน บจ. เซี่ยงไฮ ฟอรจูน เวิลด ดีเวลลอปเมนท กรรมการ บจ. เจียไต ดีเวลลอปเมนท อินเวสเมนท กรรมการ บจ. เจียไต กรุป กรรมการ บจ. ซีพี โภคภัณฑ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. ฟอรจูน เซี่ยงไฮ กรรมการ บจ. โลตัส ซีพีเอฟ (จีน) อินเวสเมนท กรรมการ บจ. ผิง อัน อินชัวรันช (กรุป) ออฟ ไชนา

ตำแหนงทางสังคม 2556 ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม ที่ปรึกษารัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหม 2555 ผูชำนาญการประจำคณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการ สังคม วุฒิสภา 2554 Vice Chairman of Youth Committee of China Overseas Chinese Investment Enterprises Association 2553 ประธานหอการคาไทยในจีน 2552 กรรมการมูลนิธิเดอะบิ้ลด ที่ปรึกษาประจำคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผูแทนราษฎร ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม 2551 กงสุลกิตติมศักดิ์สหพันธรัฐรัสเซียประจำจังหวัดภูเก็ต กระบี่ และ พังงา Committeee of Chinese People’s Government Consultant CommitteeWuhan Province No.10th 2549 Award of Bai Yu Lan from Shanghai Government Member of Fudan Incentive Management Fund Committee of Fudan University Management Committee of Chia Tai International Center of Peking University ที่ปรึกษาประจำคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผูแทนราษฎร 2548 สมาชิกสมาคมธุรกิจไทยรุนใหม อุปนายกสมาคมสงเสริมการลงทุนและการคาไทย-จีน 2547 กรรมการกองทุนสงเสริมงานวัฒนธรรม สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ อุปนายกสมาคมขี่มาแหงประเทศไทย 2545 สมาชิกชมรมธุรกิจไทยรุนใหม รองประธานสภาธุรกิจไทย-จีน 2538 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจำคณะกรรมาธิการกีฬา สภาผูแทนราษฎร 2536 กรรมการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน คณะกรรมาธิการเด็กเยาวชนและผูสูงอายุ เครื่องราชอิสริยาภรณที่ ไดรับ 2555 จัตุรถาภรณชางเผือก (จ.ช.) 2553 จัตุรถาภรณมงกุฎไทย (จ.ม.) 2551 เบญจมาภรณชางเผือก (บ.ช.) * กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

114


ชื่อ-นามสกุล

นายณรงค เจียรวนนท

ตำแหนง

กรรมการ

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

29 เมษายน 2551

อายุ (ป)

49

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

161,577 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

เปนบุตรของนายธนินท เจียรวนนท เปนนองชายของนายสุภกิต เจียรวนนท และ เปนพี่ชายของนายศุภชัย เจียรวนนท

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญากิตติมศักดิ์

ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา Business Administration New York University, USA Advance Management Program: Transforming Proven Leaders into Global Executives, Harvard Business School, Harvard University

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP) (2550)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2551-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2556-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. สยามแม็คโคร 2542-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2556-ปจจุบัน กรรมการ Shanghai Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Songlian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Wenzhou Yichu Ailian Supermarket Co., Ltd. 2555-ปจจุบัน กรรมการ Shanghai Cailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Nantung Tonglian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Kunshan Tailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ C.P. Zonglian (Shanghai) Management Co., Ltd. กรรมการผูจัดการ Shanghai Litai Logistics Co., Ltd. กรรมการ Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. รองประธานคณะกรรมการ CP Food Product (Shanghai) Co., Ltd. 2554-ปจจุบัน กรรมการ Chia Tai Qingdao Holdings (Hongkong) Limited กรรมการ Chia Tai Xiangyang Holdings (Hongkong) Limited 115


นายณรงค เจียรวนนท (ตอ)

2554-ปจจุบัน

2553-ปจจุบัน

2552-ปจจุบัน

2551-ปจจุบัน

2550-ปจจุบัน 2550-2553 2548-ปจจุบัน 2547-ปจจุบัน 2546-ปจจุบัน 2545-ปจจุบัน 2544-ปจจุบัน 2543-ปจจุบัน 2540 2538-2540 116

กรรมการ Chia Tai Qingdao Holdings Limited กรรมการ Chia Tai Xiangyang Holdings Limited กรรมการ บจ. แกรนด ริเวอร พารค คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. แกรนด ริเวอร เพลส คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. แกรนด ริเวอร ฟรอนท คอรปอเรชั่น รองประธานคณะกรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู ผูชวยอาวุโสประธานกรรมการเครือเจริญโภคภัณฑ “สรรหาบุคลากรของเครือ” ผูอำนวยการใหญ มหาวิทยาลัยธุรกิจ ซีพี รองประธานคณะกรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจำหนาย (ไทย) รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจำหนาย (จีน) รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจพัฒนาที่ดิน (จีน) รองประธานกรรมการ Shanghai Kinghill Limited รองประธานกรรมการ CP Lotus Corporate Management Co., Ltd. กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวิส กรรมการ Wuxi Ailian Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Wuxi Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Taizhou Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Hefei Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Changsha Chulian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Wuhan Yichu Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Changsha Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริหาร บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการบริหาร Beston Action Utility Wear (Lianyungang) Co., Ltd. กรรมการบริหาร Jiangsu CP Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริหาร Beijing CP Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริหาร Zhejiang CP Trading Co., Ltd. กรรมการ Foshan C.P. Lotus Management Consulting Co., Ltd. รองประธานกรรมการอาวุโส CP Lotus Corporation Co., Ltd. รองประธานกรรมการอาวุโส Chia Tai (China) Investment Co., Ltd. กรรมการบริหาร C.P. Pokphand Co., Ltd. กรรมการ Qingdao Lotus Supermarket Co., Ltd. กรรมการบริหาร Xi’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริหาร Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริหาร Tai’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริหาร Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริหาร ธนาคาร Business Development กรรมการ Yangtze Supermarket Investment Co., Ltd. กรรมการ Wuhan Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Trading (Shanghai) Co., Ltd. กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Distribution (Thailand) Co., Ltd.


ชื่อ-นามสกุล

นายศุภชัย เจียรวนนท*

ตำแหนง

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร

วันที่ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ ครั้งแรก

11 กุมภาพันธ 2536

อายุ (ป)

46

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

4,279,439 หุน (รอยละ 0.03)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

เปนบุตรของนายธนินท เจียรวนนท เปนนองชายของนายสุภกิต เจียรวนนท และนายณรงค เจียรวนนท

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) Boston University ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Accreditation Program (DAP) รุน 92/2011

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-ปจจุบัน กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร 2540 รองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส 2539 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการและพัฒนาธุรกิจ 2538 ผูจัดการทั่วไปโทรศัพทนครหลวงตะวันออก 2537 ผูอำนวยการอาวุโสฝายสนับสนุนและประสานงานการวางแผน และ ปฏิบัติงานโครงการ 2536 ผูอำนวยการฝายหองปฏิบัติการ 2535 เจาหนาที่อาวุโสประจำสำนักกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2549-ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บมจ. ทรู วิชั่นส 2545-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มูฟ 2543-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส 2542-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2544-2553 ประธานกรรมการ บจ. พันธวณิช 2539 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย 2538 รองประธานเจาหนาที่บริหารสายปฏิบัติการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการผูจัดการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2534 ประสบการณทำงานประมาณ 2 ปใน บจ. วีนิไทย 2533 ประสบการณทำงาน 1 ปใน Soltex Federal Credit Union, USA 2532 ประสบการณทำงาน 1 ปใน บจ. สยามแม็คโคร

* กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

117


นายศุภชัย เจียรวนนท* (ตอ) ประวัติดานกรรมการ ­ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ­ บจ. ทรู มูฟ ­ บมจ. ทรู วิชั่นส ­ บริษัทยอยอื่น ๆ ในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ­ บจ. พันธวณิช ­ บมจ. ซีพีพีซี ­ บจ. ซี.พี. โลตัส คอรปอเรชั่น ­ บจ. เอเชีย ฟรีวิลล ­ บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส ­ บจ. ซี.พี. โภคภัณฑ ประวัติดานกิจกรรมเพื่อสังคมและตำแหนงอื่น ๆ 2553-ปจจุบัน กรรมการที่ปรึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและ ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีการจัดการนวัตกรรม (สหสาขาวิชา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2553-2554 กรรมการบริหารศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิวเตอรแหงชาติ 2553-ปจจุบัน ที่ปรึกษาประธานกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห ในพระบรมราชูปถัมภ กรรมการกลางมูลนิธิรามาธิบดีฯ กรรมการมูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร 2552-ปจจุบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2551-ปจจุบัน กรรมการคณะกรรมการอำนวยการโครงการจัดหาและ บริการดวงตาเชิงรุกทั่วประเทศ 2551-2552 กรรมการคณะกรรมการจัดหาทุนและประชาสัมพันธเพื่อกอสราง อาคารรักษาพยาบาลรวมเฉลิมพระเกียรติ และอุปกรณเครื่องมือ ทางการแพทย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ 2549-ปจจุบัน ประธานคณะอนุกรรมการหาทุน ศูนยดวงตาสภากาชาดไทย กรรมการจัดหาและบริการดวงตาแหงสภากาชาดไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการที่ปรึกษาสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (TCT) 2548-2550 กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียน (LCA)

* กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

118


ชื่อ-นามสกุล

นายนพปฎล เดชอุดม

ตำแหนง

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

1 มกราคม 2551

อายุ (ป)

46

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

756,773 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี

บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วิศวกรรมศาสตร Rensselaer Polytechnic Institute, USA

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Certification Program รุน 101/2008

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2550-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน 2546-2550 ผูอำนวยการและผูจัดการทั่วไป ดานออนไลน 2543-2546 ผูอำนวยการอาวุโส สายงานการเงิน บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. เรียล มูฟ กรรมการ บจ. เรียล ฟวเจอร กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง จำกัด กรรมการ บจ. เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท จำกัด กรรมการ บจ. ทรู ดีทีที จำกัด กรรมการ Gold Palace Investment Limited กรรมการ Golden Light Company Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited กรรมการ Goldsky Company Limited กรรมการ Gold Palace Logistics Limited กรรมการ GP Logistics Limited กรรมการ Golden Pearl Global Limited 2552-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี 2547-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส

119


ชื่อ-นามสกุล

นายวิลเลี่ยม แฮริส

ตำแหนง

ผูอำนวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจระหวางประเทศ และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ / ประธานคณะผูบริหาร

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

7 ตุลาคม 2552

อายุ (ป)

52

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

625,067 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

Master Degree of Business Administration, Major in Finance and Marketing, Wharton School of the University of Pennsylvania Bachelor of Science in Economics, Wharton School of the University of Pennsylvania

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2552-ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจระหวางประเทศ และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ / ประธานคณะผูบริหาร บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2544-2550 หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2556-ปจจุบัน กรรมการ Golden Pearl Global Limited 2555-ปจจุบัน กรรมการ GP Logistics Company Limited 2554-ปจจุบัน กรรมการ Rosy Legend Limited กรรมการ Prospect Gain Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited 2553-ปจจุบัน กรรมการ Dragon Delight Investments Limited กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ Golden Light Company Limited กรรมการ Gold Palace Logistics Limited 2549-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 2536-2542 กรรมการ สำนักนโยบายสินเชื่อ Verizon Communications, Philadelphia

120


ชื่อ-นามสกุล

นายขจร เจียรวนนท

ตำแหนง

ผูอำนวยการบริหาร ดานกิจการองคกร

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

21 กุมภาพันธ 2555

อายุ (ป)

47

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

160,000 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร - ดานกิจการองคกร บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

การจัดการ Fairleigh Dickinson University in New Jersey, USA

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บจ. อลิอันซ ซี.พี. ประกันภัย กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ บจ. โภคภัณฑเอ็นเตอร ไพรซ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค กรรมการ บจ. ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส กรรมการ บจ. สองดาว กรรมการ บจ. ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวิส กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บจ. ทรู ลีสซิ่ง กรรมการ บจ. ทรู พรอพเพอรตีส กรรมการ บจ. สยามแลนด ฟลายอิ้ง กรรมการ บจ. เอสเอไอซี มอเตอร-ซีพี กรรมการ บจ. เอ็มจี เซลส (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เอคโค ออโตพารท (ไทยแลนด)

121


ชื่อ-นามสกุล

นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ

ตำแหนง

ผูอำนวยการบริหาร ดานรัฐกิจสัมพันธ

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

21 มิถุนายน 2546

อายุ (ป)

59

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

233,332 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร - ดานรัฐกิจสัมพันธ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-2546 กรรมการบริหาร บมจ. ล็อกซเลย 2540-2542 ผูชวยกรรมการผูจัดการ บมจ. ล็อกซเลย

วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตลาดกระบัง

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส กรรมการ บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู 2551-ปจจุบัน กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท 2550-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ 2549-ปจจุบนั กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวิส กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. บี บอยด ซีจี 2544-2545 กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย 2535-2543 กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย)

122


ชื่อ-นามสกุล

นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข

ตำแหนง

ผูอำนวยการบริหารธุรกิจโมบาย

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

13 มกราคม 2541

อายุ (ป)

50

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

1,969,129 หุน (รอยละ 0.01)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี

สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขาการบริหารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

- Director Certification Program (DCP) - Director Diploma of Australian Institution of Director 2005

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร – ธุรกิจโมบาย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2544 รองกรรมการผูจัดการใหญดานพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ไลฟ พลัส กรรมการ บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย) กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวิส กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ Golden Light Company Limited กรรมการ Gold Palace Logistics Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited กรรมการ GP Logistics Limited 2549-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น 2546 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น 2545 รองกรรมการผูจัดการใหญสายงานธุรกิจ บจ. ทรู มูฟ 2541-2545 ผูจัดการทั่วไป บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2541-2544 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น

123


ชื่อ-นามสกุล

นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ตำแหนง

ผูอำนวยการบริหาร ดานลูกคาองคกรธุรกิจ และ บริการระหวางประเทศ

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

1 เมษายน 2546

อายุ (ป)

55

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

100 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี

การอบรม

หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุนที่ 15

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Director Certification Program (DCP รุนที่ 54)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร – ดานลูกคาองคกรธุรกิจและบริการ ระหวางประเทศ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร University of South Alabama ประเทศสหรัฐอเมริกา

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บจ. ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี กรรมการ และ Executive Director Corporate Solution บจ. ทรู มูฟ กรรมการบริหาร บจ. พันธวณิช กรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2549-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 2546-2551 กรรมการ บจ. ทรู มัลติมีเดีย 2544-2546 กรรมการผูจัดการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery 2544-2545 ผูอำนวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย 2543 ผูอำนวยการฝายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายผลิตภัณฑคอมพิวเตอรขนาดใหญ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2541 ผูจัดการฝายการเงินและบริหาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2540 ผูจัดการฝายธุรกิจบริการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย

124


ชื่อ-นามสกุล

นายอาณัติ เมฆไพบูลยวัฒนา

ตำแหนง

ผูอำนวยการบริหาร ธุรกิจเพย ทีวี

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

21 กุมภาพันธ 2555

อายุ (ป)

53

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

400,000 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

บริหารการตลาด, West Coast University, USA วิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จำกัด กรรมการ บจ. ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทแทลไลท เซอรวิส กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท กรรมการ บจ. ทรู จีเอส กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง 2552-2555 รองหัวหนากลุมคณะผูบริหารดานการพาณิชย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2545-2552 ผูอำนวยการและผูจัดการทั่วไป บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2541-2545 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2540-2541 ผูจัดการทั่วไป บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส 2539-2540 ผูอำนวยการ บจ. เอเชีย มัลติมีเดีย 2538-2539 ผูจัดการทั่วไป บจ. ยูเน็ต จำกัด 2538 ผูอำนวยการ บจ. ยูทีวี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค ผูอำนวยการ 2537 บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง

125


ชื่อ-นามสกุล

นายเจริญ ลิ่มกังวาฬมงคล

ตำแหนง

ผูอำนวยการบริหาร ธุรกิจออนไลน

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

26 ตุลาคม 2555

อายุ (ป)

50

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

200,000 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

Mini MBA ปริญญาตรี

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร – ธุรกิจออนไลน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู มัลติมีเดีย กรรมการ บจ. ทรู ไลฟ พลัส 2546-2549 ผูอำนวยการฝายการตลาด บจ. ยัมส เรสเตอรอง (ประเทศไทย) 2535-2546 ผูอำนวยการฝายการขายและการตลาด บจ. ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส 2532-2535 ผูจัดการผลิตภัณฑ บจ. ยูนิลิเวอร (ประเทศไทย) 2529-2532 เจาหนาที่บริหารลูกคา บจ. ลินตาส (ประเทศไทย)

126


ชื่อ-นามสกุล

ดร. ปพนธ รัตนชัยกานนท

ตำแหนง

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการพาณิชย ดานการขายและรีเทล

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

21 กุมภาพันธ 2555

อายุ (ป)

47

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

200,000 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาเอก

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2555-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการพาณิชย - ดานการขายและรีเทล บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2548-2555 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ และ รองหัวหนาคณะผูบริหารดานการพาณิชย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาองคการ (หลักสูตร) นานาชาติ ปริญญาโท Communication Advertising and Public Relations Emerson College, Boston, Massachusetts, USA ปริญญาตรี Management มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ Advertising of Public Relations and Print Production, The Advertising Club of Greater Boston

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ทรู วิสตาส กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ กรรมการ Dragon Delight Investment Limited กรรมการ บจ. ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ทรู ไลฟสไตล รีเทล 2543-2548 ผูอำนวยการดานการตลาดและการขาย บจ. มาสดา เซลส (ประเทศไทย) 2542-2543 Chief Operating Officer เบเกอรี่ มิวสิค กรุป 2541-2542 Group Account Director and General Manager Grey Advertising Thailand and WhizzbangArts 2536-2541 Managing Director The Print International Co., Ltd. and Design Arts Co.,Ltd. 2534-2535 Project Manager Ammirati Puris Lintas (Thailand) Company

127


ชื่อ-นามสกุล

นายคารล กูเดียร

ตำแหนง

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานบริการลูกคา

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

1 กุมภาพันธ 2556

อายุ (ป)

49

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

­

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

Bachelor Degree of Aircraft Operational Engineering, AH Amsterdam

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ก.พ. 2556-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานบริการลูกคา บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น เม.ย.2553-ปจจุบัน รักษาการผูอำนวยการ ดานการรับรองคุณภาพ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ก.พ. 2555-ก.พ. 2556 ผูอำนวยการ ดานบริการลูกคา บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น มี.ค.2549.-มิ.ย. 2553 ที่ปรึกษากรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น เม.ย.2543-ม.ค.2548 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู ทัช มี.ค.2543- ก.พ.2548 ผูอำนวยการ ดานบริหารการบริการลูกคา บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น เม.ย.2542-มี.ค.2543 รองผูอำนวยการ สายงานพัฒนาและตรวจสอบระบบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2539-2542 กรรมการผูจัดการ บจ. อซิมุธ 2536-2539 กรรมการผูจัดการ บจ. คิวเอ็มไอ-เควสท (ประเทศไทย) 2534-2537 ที่ปรึกษาและที่ปรึกษาดานการจัดการ บจ. คิวเอ็มไอ-เควสท (มาเลเซีย)

128


ชื่อ-นามสกุล

นางรังสินี สุจริตสัญชัย

ตำแหนง

เลขานุการบริษัท

วันที่ ไดรับการแตงตั้ง

27 กุมภาพันธ 2552

อายุ (ป)

49

จำนวนและสัดสวนการถือหุนในบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2556

9,584 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

­

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตรี

คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี วิชาเอก – การเงิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี วิชาเอก – บัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การอบรม

­ ทบทวนกฎเกณฑเกี่ยวกับบริษัทจดทะเบียน ­ Workshop การทำรายงาน Corporate Governance ­ โครงการ Smart Disclosure Program (SDP) ­ Moving Corporate Governance Forward: Challenge for Thai Directors ­ SEC 20th Anniversary International Symposium เรื่อง “Asia: The Dynamic Capital Market Frontier” และงานกาลาดินเนอร ในวาระครบรอบ 20 ป ก.ล.ต. ­ “ASEAN CG Scorecard” บทบาทของเลขานุการตอการเตรียมความพรอมรับมือ AEC ­ การเปดเผยขอมูลของบริษัทจดทะเบียนเกี่ยวกับการตอตานการทุจริตคอรรัปชั่น Corporate Social Responsibilities และบุคคลที่ทำหนาที่สนับสนุนใหเกิดการ กำกับดูแลกิจการที่ดีในบริษัท (Gatekeepers) ­ Capital Market Research Forum ครั้งที่ 2/2556 หัวขอ “แนวทางสนับสนุน การทำโครงการสะสมหุนสำหรับพนักงาน (Employee Joint Investment Plan:EJIP) ของบริษัทจดทะเบียนไทย” ­ การสื่อสารและขั้นตอนการกำหนดนโยบายที่เกี่ยวของกับการปองกันการทุจริต คอรรัปชั่นของบริษัทจดทะเบียน ­ การพัฒนากฎเกณฑการจัดประชุมคณะกรรมการและผูถือหุนของ บริษัทจดทะเบียน ­ หลักเกณฑการจัดทำรายงานตามมาตรา 56 และการจัดทำแบบแสดงรายการ ขอมูลประจำป 56-1 ที่ปรับปรุงใหม ­ แนวทางการจัดทำรายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ป 2556

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

­ Company Secretary Program 19/2006 (CSP) ­ Effective Minute Taking 5/2006 (EMT) ­ Corporate Governance and Social Responsibilities 1/2007 (CSR) ­ Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG5/2013)

ประวัติการทำงานที่สำคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2552-ปจจุบัน เลขานุการบริษัท 2544-ปจจุบัน เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เลขานุการคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและ สรรหากรรมการ

129


นางรังสินี สุจริตสัญชัย (ตอ) 2544-ปจจุบัน 2544-2552 2543-2544

เลขานุการคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ผูชวยเลขานุการคณะกรรมการดานการเงิน รองเลขานุการบริษัท ผูชวยหัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย – ดานการประสานงานกับหนวยงานกำกับดูแลหลักทรัพย จดทะเบียน

บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร 2534-2543 ผูจัดการฝายบัญชี และ ดูแลการปฏิบัติตามขอกำหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2533-2534 เจาหนาที่วิเคราะหอาวุโส – สำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ

130


รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยของกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ชื่อ 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 2. ดร. โกศล เพ็ชร์ สวุ รรณ์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 3. นายโชติ โภควนิช คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 4. นายฮาราลด์ ลิงค์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 5. ศ. (พิเศษ) เรวัติ ฉําเฉลิม คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 6. นายธนินท์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 7. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 8. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ

หุนสามัญ (จำนวนหุน) ณ 31 ธ.ค. 2555

-

50,000 ,000 -

54,435 -

ณ 31 ธ.ค. 2556 จำนวน สัดสวน

เปลี่ยนแปลงในป 2556 ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ได้ มา

หุนกู (จำนวนหนวย)

1,875,000 , ,

จําหน่าย

-

ได้ มา

-

จําหน่าย

-

ณ 31 ธ.ค. 2555

เปลี่ยนแปลง ในป 2556

ณ 31 ธ.ค. 2556 จำนวน สัดสวน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

50,000 ,000

0.00 .

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

54,435

0.00 0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,875,000 , ,

0.01 .

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

131


ชื่อ

132

หุนสามัญ (จำนวนหุน) ณ 31 ธ.ค. 2555

เปลี่ยนแปลงในป 2556

ณ 31 ธ.ค. 2556 จำนวน สัดสวน

หุนกู (จำนวนหนวย) ณ 31 ธ.ค. 2555

เปลี่ยนแปลง ในป 2556

ณ 31 ธ.ค. 2556 จำนวน สัดสวน


ชื่อ

หุนสามัญ (จำนวนหุน) ณ 31 ธ.ค. 2555

เปลี่ยนแปลงในป 2556

ณ 31 ธ.ค. 2556 จำนวน สัดสวน

หุนกู (จำนวนหนวย) ณ 31 ธ.ค. 2555

เปลี่ยนแปลง ในป 2556

ณ 31 ธ.ค. 2556 จำนวน สัดสวน

133


รายงานการถือหลักทรัพย์ ของกรรมการในบริษัทในเครือ ณ วันที รายชื่อกรรมการ รายชื่อบริษัท

นายธนินท เจียรวนนท เพิ่ม-ลด ในป 2556

คงเหลือ

ดร. อาชว เตาลานนท

ธันวาคม นายชัชวาลย เจียรวนนท

นายสุภกิจ เจียรวนนท

นายศุภชัย เจียรวนนท

เพิ่ม-ลด ในป 2556

คงเหลือ

เพิ่ม-ลด ในป 2556

คงเหลือ

เพิ่ม-ลด ในป 2556

คงเหลือ

เพิ่ม-ลด ในป 2556

คงเหลือ

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน เพิ่ม-ลด ในป 2556

คงเหลือ

-

บจ. เทเลคอมโฮลดิง

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจ. เทเลคอม อินเตอร์ เนชันแนล

-

-

-

-

-

-

บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน เทคโนโลยี

-

-

-

-

-

-

บจ. ทรู ทัช

-

-

-

-

-

-

-

บจ. ทรู มัลติมีเดีย

-

-

-

-

-

-

-

บมจ. เอเชีย ดีบีเอส

-

-

-

-

-

-

-

บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท

-

-

-

-

-

-

-

บจ. เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน

-

-

-

-

-

-

-

บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต

-

-

-

-

-

-

บจ. เรียล มูฟ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจ. ทรู ดิสทริบิวชัน แอนด์ เซลส์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจ. เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจ. ทรู แมจิค

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจ. ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ป

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจ. เรียล ฟิ วเจอร์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจ. เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บจ. เคโอเอ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

134

-

-

-


135

E

E

E

E

E

E

E

E

E

17. นายนพปฎล เดชอุดม

18. นายขจร เจียรวนนท

19. นายธิติฎฐ นันทพัฒนสิริ

20. นายอดิรุฒม โตทวีแสนสุข

21. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

22. นายอาณัติ เมฆไพบูลยวัฒนา

23. นายเจริญ ลิ่มกังวาฬมงคล

24. ดร. ปพนธ รัตนชัยกานนท

25. นายคารล กูเดียร

*กรรมการอิสระ

E

16. นายวิลเลี่ยม แฮริส

หมายเหตุ

/

/

/

13. นายสุภกิจ เจียรวนนท

15. นายศุภชัย เจียรวนนท

/

12. นายชัชวาลย เจียรวนนท

14. นายณรงค เจียรวนนท

/

9. ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม

/

/

8. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท

11. นายวิเชาวน รักพงษ ไพโรจน

VC

7. ดร. อาชว เตาลานนท

10. นายอำรุง สรรพสิทธิ์วงศ

C

VC

6. นายธนินท เจียรวนนท

/

/

4. นายฮาราลด ลิงค*

/

3. นายโชติ โภควนิช*

5. ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่ำเฉลิม*

/

/

1. นายวิทยา เวชชาชีวะ*

2. ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ*

รายชื่อ

ธันวาคม

บริษัทยอย/บริษัทรวม

การดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม ของกรรมการและผู้บริ หารระดับสูง (ณ วันที

)

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

C = ประธานกรรมการ

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

VC = รองประธานกรรมการ

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ = กรรมการ

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

E = ผูบริหารระดับสูง

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

TRUE AI Asia DBS Beboyd BFKT BITCO NP CTV DDI Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GP Logistics <BVI> GPG <BVI> GPI <BVI> HMSTL HTTCL K.I.N. K.I.N. <BVI> NEC Prospect Gain PTE RFT RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TDM TDS TE TGS TH TIC TIG TIT TITS TLP TM TMR TMS TMV TPC True DTT True Internet TVT TSC TT TUC TUFC TVG TVS TVSC


136

ชือย่อ TRUE AI Beboyd BITCO CTV Gold Palace Logistics <BVI> Goldsky GPG <BVI> HMSTL K.I.N. NEC PTE RMV SD SMT TAM TDS TGS TIC TIT TLP TMR TMV True DTT TVTMagic True TT TUFC TVS

ชือเต็ม บริษทั ทรู คอร์ปอเรชัน จํา กัด (มหาชน) บริษทั เอเชีย อินโฟเน็ท จํา กัด บริษทั บี บอยด์ ซี จี จํา กัด บริษทั กรุงเทพอินเตอร์เทเลเทค จํา กัด (มหาชน) บริษทั คลิกทีวี จํา กัด Gold Palace Logistics Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) Goldsky Company Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) Golden Pearl Global Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) บริษทั ฮัทชิสัน มัลติมเี ดีย เซอร์วิส (ประเทศไทย) จํา กัด บริษทั เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํา กัด บริษทั เอ็นอีซี คอร์ปอเรชันส์ (ประเทศไทย) จํา กัด บริษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จํา กัด บริษทั เรีย ล มูฟ จํา กัด บริษทั ส่ องดาว จํา กัด บริษทั เอสเอ็ม ทรู จํา กัด บริษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จํา กัด บริษทั ทรู ดิสทริบิวชัน แอนด์ เซลส์ จํา กัด บริษทั ทรู จี เอส จํา กัด บริษทั ทรู อินเตอร์เนชันแนล คอมมิวนิเคชัน จํา กัด บริษทั ทรู อินฟอร์เมชัน เทคโนโลยี จํา กัด บริษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จํา กัด บริษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จํา กัด บริษทั ทรู มูฟ จํา กัด บริษทั ทรู ดีทีที จํา กัด บริษทั ทรู า กัดด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู แมจิค จำกัด) ทรูวแมจิ ิสตาครจํจำกั บริษทั ทรู ทัช จํา กัด บริษทั ทรู ยูไนเต็ต ฟุตบอล คลับ จํา กัด บริษทั ทรู วิชนส์ ั จํา กัด (มหาชน) Asia DBS BFKT CNP DDI Golden Light GP Logistics <BVI> GPI <BVI> HTTCL K.I.N. <BVI> Prospect Gain RFT Rosy Legend SM SSV TDM TE TH TIG TITS TM TMS TPC True Internet TSC TUC TVG TVSC

ชือย่อ บริษทั เอเชีย ดีบีเอส จํา กัด (มหาชน) บริษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํา กัด บริษทั ซี นิเพล็กซ์ จํา กัด Dragon Delight Investment Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) Golden Light Company Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) GP Logistics Company Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) Gold Palace Investments Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) บริษทั ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชันส์ (ประเทศไทย) จํา กัด K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบีย นต่างประเทศ) Prospect Gain Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) บริษทั เรีย ล ฟิ วเจอร์ จํา กัด Rosy Legend Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) บริษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ปอเรชัน จํา กัด บริษทั แซทเทลไลท์ เซอร์วิส จํา กัด บริษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํา กัด บริษทั เทเลเอ็นจี เนีย ริง แอนด์ เซอร์วิส จํา กัด บริษทั เทเลคอมโฮลดิง จํา กัด บริษทั ทรู อินเตอร์เนชันแนล เกตเวย์ จํา กัด True Internet Technology (Shanghai) Company Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) บริษทั ทรู มัลติมเี ดีย จํา กัด บริษทั ทรู มิวสิ ค จํา กัด บริษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน จํา กัด บริษทั ทรู อินเตอร์เน็ต จํา กัด บริษทั ไทยสมาร์ทคาร์ด จํา กัด บริษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จํา กัด บริษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ป จํา กัด บริษทั ทรู วิชนส์ ั เคเบิล จํา กัด (มหาชน)

ชือเต็ม


1. นโยบายการกำกับดูแลกิจการ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญของการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี จึงไดกำหนดใหมี “นโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ”ี ของบริษทั ฯ ตัง้ แต ป 2545 และไดทำการปรับปรุงนโยบายดังกลาวเปนระยะๆ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหเหมาะสมกับสถานการณของบริษทั ฯ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ตลอดจนเพือ่ ใหสอดคลองกับกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ และหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ที แี่ นะนำโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพยฯ”) ซึง่ เทียบเคียงไดกบั มาตรฐานสากล โดยบริษทั ฯ ไดเปดเผยเนือ้ หารายละเอียดของ “นโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ”ี ไวบนเว็บไซตของบริษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th

2. คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษทั มีจำนวน 4 คณะ ดังนี้ 1) 2) 3) 4)

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี

1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ มีวาระการดำรงตำแหนง 3 ป 4 เดือน ประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ทาน โดยมี รายนามดังตอไปนี้ รายนาม

ตำแหนง

1. นายวิทยา เวชชาชีวะ 2. ดร. โกศล เพ็ชรสวุ รรณ 3. นายโชติ โภควนิช

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ จำนวนครั้ง จำนวนครั้ง การประชุม ที่เขารวมประชุม 7 7 7

7 7 7

หมายเหตุ : 1) ในป 2556 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จำนวน 7 ครัง้ โดยทีเ่ ปนการประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวย จำนวน 1 ครั้ง 2) นายโชติ โภควนิช เปนผูม คี วามรูแ ละประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษทั ฯ โดยมีรายละเอียดเกีย่ วกับคุณวุฒกิ ารศึกษาและ ประสบการณการทำงานตามทีป่ รากฏในรายงานประจำป และ แบบแสดงรายการขอมูลประจำป 2556 (“แบบ 56-1”)

137


อำนาจหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและอำนาจหนาทีร่ บั ผิดชอบ ดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทำหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษทั ฯ และเสนอคาตอบแทนของ บุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกำหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพือ่ ใหมน่ั ใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ 6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไว ในรายงานประจำปของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกลาว จะไดลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและประกอบดวยขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้ ก) ความเห็นเกีย่ วกับความถูกตอง ครบถวน เปนทีเ่ ชือ่ ถือไดของรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ฉ) จำนวนครัง้ ของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน ช) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบไดรบั จากการปฏิบตั หิ นาทีต่ ามกฎบัตร (Charter) ซ) ขอมูลอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ ไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั 7. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีก่ ฎหมายกำหนด หรือ คณะกรรมการของบริษทั ฯ จะมอบหมาย ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไดมกี ารเปดเผยรายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบสำหรับการปฏิบตั งิ าน ประจำป 2556 ไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1

138 m n È


2) คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทำหนาทีพ่ จิ ารณาการกำหนดคาตอบแทนของกรรมการและประธานคณะผูบ ริหาร รวมทัง้ พิจารณากลัน่ กรองการสรรหากรรมการ กอนนำเสนอตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษัท โดยมีรายนามดังตอไปนี้ การประชุมคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการ จำนวนครั้ง จำนวนครั้ง การประชุม ที่เขารวมประชุม

รายนาม

1. 2. 3. 4.

นายธนินท นายสุภกิต นายอำรุง นายโชติ

เจียรวนนท เจียรวนนท สรรพสิทธิ์วงศ โภควนิช

2 2 2 2

1 2 2

3) คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการดานการเงิน ทำหนาทีช่ ว ยคณะกรรมการบริษทั ในการดูแลการจัดการดานการเงิน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ การประชุมคณะกรรมการดานการเงิน จำนวนครั้ง จำนวนครั้ง การประชุม ที่เขารวมประชุม

รายนาม 1. 2. 3. 4.

ดร. อาชว ศ. ดร. วรภัทร นายอำรุง นายโชติ

เตาลานนท โตธนะเกษม สรรพสิทธิ์วงศ โภควนิช

8 8 8 8

8 6 8 8

4) คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี ทำหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการกำหนดและทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษทั ฯ ตลอดจนดูแลใหบริษทั ฯ มีการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ โดยมีรายนามดังตอไปนี้ การประชุม คณะกรรมการการกำกับดูแลกิจการที่ดี จำนวนครั้ง จำนวนครั้ง การประชุม ที่เขารวมประชุม

รายนาม

1. ดร. โกศล 2. นายวิทยา 3. ดร. อาชว

เพ็ชรสุวรรณ เวชชาชีวะ เตาลานนท

4 4 4

4 4 3

139


3. การสรรหาและแตงตั้งกรรมการและผูบริหารระดับสูงสุด 1) กรรมการอิสระ กระบวนการสรรหากรรมการอิสระของบริษัทฯ มีหลักเกณฑและวิธกี ารเชนเดียวกับการสรรหากรรมการ โดยมีรายละเอียดสรุป ไวใน ขอ 2) อยางไรก็ตาม บุคคลซึ่งจะดำรงตำแหนงกรรมการอิสระของบริษัทฯ จะตองเปนผูซึ่งเปนอิสระจากผูถือหุนรายใหญหรือ กลุม ของผูถ อื หุน รายใหญและผูบ ริหารของนิตบิ คุ คลทีเ่ ปนผูถ อื หุน รายใหญ ตลอดจนเปนอิสระจากความสัมพันธอื่นใดที่จะกระทบตอ การใชดุลพินิจอยางอิสระ และ ตองมีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว ในนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ (ซึ่งมีความ เขมงวดมากกวาขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนในเรื่องสัดสวนการถือหุนในบริษัทฯ) ดังตอไปนี้ (1) ถือหุน ไมเกินรอยละ 0.75 ของจำนวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ใหนบั รวมการถือหุน ของผูท เี่ กีย่ วของกับกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ดวย (2) ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่ ไดเงินเดือนประจำ หรือผูมี อำนาจควบคุมของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมี อำนาจควบคุมของบริษทั ฯ เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาวมาแลวไมนอ ยกวาสองปกอ นวันที่ ไดรบั การแตงตัง้ (3) ไมเปนบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ปน บิดา มารดา คูส มรส พี่ นอง และบุตร รวมทัง้ คูส มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน่ ผูบ ริหาร ผูถ อื หุน รายใหญ ผูม อี ำนาจควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได รับการเสนอใหเปนกรรมการ ผูบ ริหารหรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั ฯ หรือบริษทั ยอย (4) ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูม อี ำนาจ ควบคุมของบริษทั ฯ ในลักษณะทีอ่ าจเปนการขัดขวางการใชวจิ ารณญาณอยางอิสระของตน รวมทัง้ ไมเปนหรือเคยเปน ผูถือหุนที่มีนัย หรือ ผูมีอำนาจควบคุมของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั ฯ เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาวมาแลวไมนอ ยกวาสองปกอ น วันที่ไดรบั การแตงตัง้ “ความสัมพันธทางธุรกิจ” ตามวรรคหนึง่ รวมถึงการทำรายการทางการคาทีก่ ระทำเปนปกติ เพือ่ ประกอบกิจการ การเชา หรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกีย่ วกับสินทรัพยหรือบริการ หรือการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ดวย การรับหรือใหกูยืม ค้ำประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณอื่นทำนองเดียวกัน ซึ่งเปน ผลใหบริษัทฯ หรือคูสัญญามีภาระหนี้ที่ตองชำระตออีกฝายหนึ่ง ตั้งแตรอยละสามของสินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิของ บริษัทฯ หรือตั้งแตยี่สิบลานบาทขึ้นไป แลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา ทัง้ นี้ การคำนวณภาระหนีด้ งั กลาวใหเปนไปตามวิธี การคำนวณมูลคาของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนวาดวยหลักเกณฑในการทำรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แตในการพิจารณาภาระหนี้ดังกลาว ใหนับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหวางหนึ่งปกอนวันที่ มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไมเปนหรือเคยเปนผูส อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอำนาจควบคุม หรือหุนสวนของสำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของ บริษทั ฯ บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู เวนแตจะได พนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ ไดรับการแตงตั้ง (6) ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการใหบริการเปนทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อำนาจควบคุมของบริษทั ฯ และ ไมเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั ผูม อี ำนาจควบคุม หรือหุน สวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนัน้ ดวย เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาวมาแลว ไมนอ ยกวาสองปกอ นวันที่ ไดรบั การแตงตัง้ (7) ไมเปนกรรมการที่ ไดรบั การแตงตัง้ ขึน้ เพือ่ เปนตัวแทนของกรรมการของบริษทั ฯ ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูถ อื หุน ซึง่ เปนผูท ี่ เกีย่ วของกับผูถ อื หุน รายใหญ 140 m n È


(8) ไมประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ยอย หรือไมเปนหุน สวน ทีม่ นี ยั ในหางหุน สวน หรือเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจำ หรือถือหุน เกินรอยละหนึง่ ของจำนวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ยอย (9) ไมมลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำให ไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกีย่ วกับการดำเนินงานของบริษทั ฯ (10) ภายหลังไดรบั การแตงตัง้ ใหเปนกรรมการอิสระทีม่ ลี กั ษณะเปนไปตามขอ (1) - (9) แลว กรรมการอิสระอาจไดรบั มอบหมายจาก คณะกรรมการ ใหตดั สินใจในการดำเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม บริษทั ยอยลำดับเดียวกัน ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั ฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะ (collective decision) ได (11) ในกรณีทเี่ ปนบุคคลทีม่ หี รือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพเกินมูลคาทีก่ ำหนดในขอ (4) หรือ (6) ใหบคุ คลดังกลาวไดรบั การผอนผันขอหามการมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพเกิน มูลคาดังกลาว หากคณะกรรมการบริษัทไดพิจารณาตามหลักในมาตรา 89/7 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 แลวมีความเห็นวา การแตงตั้งบุคคลดังกลาวไมมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่และการ ใหความเห็นที่เปนอิสระ และจัดใหมีการเปดเผยขอมูลตามที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนกำหนด ในหนังสือเชิญ ประชุมผูถ อื หุน ในวาระพิจารณาแตงตัง้ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระของบริษทั ฯ ทุกทาน มีความเปนอิสระโดยแทจริง ไมมอี ำนาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ และเปนผูม คี ณ ุ สมบัตคิ รบถวนตาม ขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และ นโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ 2) กรรมการ บริษัทฯ เปดโอกาสและกำหนดหลักเกณฑอยางชัดเจนในการใหผูถือหุนสวนนอยสามารถเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณา คัดเลือกเปนกรรมการเปนการลวงหนา สำหรับการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป ซึ่งผูถือหุนที่มีคุณสมบัติตามที่บริษัทฯ กำหนด สามารถสงขอมูลตามแบบฟอรม โดยสงเปนจดหมายลงทะเบียนมายังบริษัทฯ ได ภายในระยะเวลาที่กำหนด คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการทำหนาที่พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเพื่อเลือกตั้ง ใหดำรงตำแหนงกรรมการหรือกรรมการอิสระของบริษัทฯ โดยพิจารณาจากคุณวุฒิ และประสบการณ เพื่อให ไดบุคคลที่มีความ เหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ แลวจึงนำเสนอพรอมทั้งใหความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติในกรณีที่เปนการ แตงตั้งเพื่อทดแทนตำแหนงกรรมการเดิม สวนกรณีที่เปนการแตงตั้งกรรมการเพิ่มเติม คณะกรรมการบริษัทจะเปนผูเสนอขอมูล พรอมทั้งความเห็นของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาและอนุมัติ สำหรับสิทธิของผูถือหุนในการแตงตั้งกรรมการนั้น ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการบริษัทโดยใชเกณฑเสียงขางมากของ ผูถือหุนซึ่งมาประชุมและออกเสียงลงคะแนน ทั้งนี้ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งกรรมการ โดยผูถือหุนแตละคน มีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง และสามารถเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ ได โดยใชคะแนนเสียง ทั้งหมดที่ตนมีอยู แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไม ได 3) ผูบริหารระดับสูงสุด คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการทำหนาที่พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเพื่อแตงตั้ง ใหดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการใหญและประธานคณะผูบริหาร ซึ่งเปนตำแหนงผูบริหารระดับสูงสุดของบริษัทฯ โดยพิจารณา จากคุณวุฒิ และประสบการณ เพื่อให ไดบุคคลที่มีความเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ แลวจึงนำเสนอพรอมทั้งใหความเห็นตอ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ

141


4. การกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทฯ มีกลไกในการกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวม ดังตอไปนี้ - มีการสงบุคคลเพื่อเปนตัวแทนของบริษัทฯ ไปเปนกรรมการและผูบ ริหารในบริษทั ยอยและบริษทั รวมตามสัดสวนการถือหุน โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมายใหประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญเปนผูพิจารณาการสงตัวแทน ของบริษัทฯ เพื่อการดังกลาว - กรรมการและผูบริหารของบริษัทยอยและบริษัทรวม มีหนาที่กำกับดูแลใหการกำหนดนโยบายทีส่ ำคัญตอการดำเนินธุรกิจ ของบริษทั ยอยและบริษทั รวมสอดคลองกับนโยบายทางธุรกิจของบริษทั ฯ - มีการกำกับดูแลใหบริษทั ยอยปฏิบตั ติ ามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในเรื่องที่ขอกำหนดดังกลาวมีผลบังคับ ใชครอบคลุมถึงบริษัทยอย ซึ่งไดแก การจัดทำขอมูลทางการเงิน การเขาทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน การไดมาหรือจำหนาย ไปซึ่งสินทรัพยที่สำคัญ หรือ การทำรายการสำคัญอื่นใดของบริษัทดังกลาว - ดำเนินการใหบริษัทยอยมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและเพียงพอ ตลอดจนมีการจัดทำขอมูลทางการเงินตางๆ ใหแกบริษัทฯ เพื่อใหบริษัทฯ สามารถจัดทำงบการเงินรวมใหเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย - มีการจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานของบริษทั ยอย โดยจัดกลุม แยกตามประเภทธุรกิจ เสนอตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษทั เปนประจำทุกไตรมาส เพื่อติดตามผลการดำเนินงานของบริษัทยอย

5. การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสำคัญของการปองกันการนำขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนเปน อยางยิ่ง บริษัทฯ มีการกำกับดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน โดยกำหนดขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับการใชขอมูลภายในเพื่อการซื้อขาย หลั ก ทรั พ ย ไ ว ใ นคุ ณ ธรรมและข อ พึ ง ปฏิ บั ติ ใ นการทำงานควบคู กั บ การใช ม าตรการตามกฎหมายในการดู แ ลกรรมการและ ผูบริหารในการนำขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนและผูที่เกี่ยวของ ปองกันมิใหกรรมการและผูบริหารที่มี สวนใกลชิดกับขอมูลของบริษัทฯ นำขอมูลภายในที่ตนลวงรูมาจากการเปนกรรมการและผูบริหารไปแสวงหาประโยชนใดๆ อัน จะเปนการฝาฝนหนาที่ความรับผิดชอบของตนที่มีตอบริษัทฯ และผูถือหุน จึงกำหนดเปนหลักใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดใน การที่ตองเก็บรักษาสารสนเทศที่สำคัญที่ยังไม ไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจำกัดใหรับรู ไดเฉพาะกรรมการและผูบริหาร ระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น นอกจากนี้ ในการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัทฯ กรรมการและผูบริหาร ตองรายงานตอสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“สำนักงาน ก.ล.ต.”) ภายใน 3 วันทำการนับแต วันที่เกิดรายการขึ้น พรอมทั้งสงสำเนารายงานดังกลาว จำนวน 1 ชุด ใหแกบริษัทฯ เพื่อเก็บเปนหลักฐานและรายงานตอ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจำ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวา กรรมการและผูบริหารสามารถบริหารและดำเนินกิจการดวย ความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต โปร ง ใส และสอดคล อ งกั บ นโยบายการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท ฯ และยั ง มี ส ว นช ว ยให ผู ถื อ หุ น ตลอดจนผูลงทุนทั่วไปเกิดความเชื่อมั่นในกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ

6. คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 1) คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทฯ และบริษัทยอย จายคาตอบแทนการสอบบัญชี ใหแก สำนักงานที่ผูสอบบัญชีสังกัด ในรอบปบัญชี 2556 ที่ผานมา จำนวนเงินรวม 31.01 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย คาสอบบัญชีของบริษัทฯ จำนวน 6.20 ลานบาท และ คาสอบบัญชีของ บริษัทยอย จำนวน 24.81 ลานบาท 2) คาบริการอื่น (non-audit fee) สำนั ก งานสอบบั ญ ชี ที่ ไ ด รั บ การแต ง ตั้ ง จากบริ ษั ท ฯ ได ใ ห บ ริ ก ารอื่ น ๆ ที่ น อกเหนื อ จากการตรวจสอบบั ญ ชี แ ก บ ริ ษั ท ฯ และ บริษัทยอย ซึ่งไดแก การตรวจสอบตามวิธีการที่ตกลงรวมกัน และการใหคำปรึกษาดานภาษีและอื่นๆ ในระหวางป 2556 มีคาตอบแทน เปนจำนวนเงิน 4.47 ลานบาท ในจำนวนนี้บริษัทฯ และบริษัทยอย ไดจายชำระแลวระหวางปเปนจำนวนเงิน 0.61 ลานบาท ที่เหลืออีกจำนวน 3.86 ลานบาท จะจายในปถัดไป

142 m n È


7. การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่นๆ บริษทั ฯ ดำเนินการเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยแบงเปนสองสวน คือ ในระดับคณะกรรมการ และ ในระดับบริหาร โดยในระดับ คณะกรรมการนัน้ ไดมกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการชุดยอยขึน้ คือ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Corporate Governance Committee) ซึง่ ประกอบดวย ดร. โกศล เพ็ชรสวุ รรณ นายวิทยา เวชชาชีวะ และ ดร. อาชว เตาลานนท สวนในระดับบริหารดำเนินการโดยเจาหนาทีบ่ ริหาร ไดแก CEO และ เจาหนาทีร่ ะดับสูงอืน่ ๆ ในป 2556 บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สรุปไดดังนี้

หมวดที่ 1 สิทธิของผูถือหุน 1. การประชุมผูถ อื หุน 1.1 คณะกรรมการตระหนักและใหความสำคัญตอสิทธิของผูถ อื หุน ตลอดจนการปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน อยางเทาเทียมกันและเปนธรรม จึงไดกำหนดนโยบายเกีย่ วกับผูถ อื หุน ไวเปนสวนหนึง่ ในนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ โดยคำนึงถึงสิทธิของ ผูถ อื หุน ทุกกลุมใหมากที่สุดเทาที่จะทำได โดยไมจำกัดเฉพาะสิทธิทกี่ ฎหมายกำหนดไว 1.2 ในป 2556 บริษัทฯ มีการประชุมผูถือหุน 2 ครั้ง คือ การประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2556 เมือ่ วันที่ 23 เมษายน 2556 และ การประชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2556 เมือ่ วันที่ 7 ตุลาคม 2556 ซึง่ การประชุมผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ ทุกครัง้ จัดขึน้ ใน วัน เวลา และสถานที่ ที่คำนึงถึงความสะดวกของผูถือหุนที่จะเขาประชุม โดยบริษัทฯ จัดใหมีการประชุมในวันและเวลา ทำการ คือ 14.00 น. ณ ทีท่ ำการสำนักงานใหญของบริษัทฯ ตั้งอยูในกรุงเทพมหานครซึ่งมีการคมนาคมที่สะดวกตอการ เดินทาง พรอมทั้งไดจัดทำแผนที่และขอมูลการเดินทางมายังสถานทีจ่ ดั การประชุม โดยจัดทำเปนเอกสารแนบสวนหนึง่ ใน หนังสือเชิญประชุมและนำสงใหแกผูถือหุนทุกรายที่มีสิทธิเขาประชุมผูถือหุน 1.3 ในการประชุมผูถ อื หุน ทุกครัง้ รวมถึงการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2556 และ การประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2556 บริษัทฯ ไดแจงในหนังสือเชิญประชุมรวมถึงเอกสารที่เกี่ยวของใหผูถือหุนทราบถึงขอมูล วัน เวลา สถานที่ วาระ การประชุม ขอมูลทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ งทีต่ อ งตัดสินใจในทีป่ ระชุมรวมตลอดถึงสาเหตุและความเปนมาของเรือ่ งทีต่ อ ง ตัดสินใจ โดยระบุถงึ ขอเท็จจริงและเหตุผล ตลอดจนความเห็นของคณะกรรมการ ในแตละวาระอยางชัดเจน โดยเนนราย ละเอียดใหผอู า นที่ ไมทราบถึงความเปนมาของเรือ่ งนัน้ ๆ มากอนสามารถเขาใจเรือ่ งไดโดยงาย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดมี การใหขอมูลเกีย่ วกับคะแนนเสียงของผูถ อื หุน ในการลงมติเพือ่ อนุมตั ิ ในแตละวาระของทุกวาระทีเ่ สนอในหนังสือเชิญประชุม กฎเกณฑตา ง ๆ ทีใ่ ชในการประชุม ประเภทของหุนและสิทธิการออกเสียงลงคะแนน ตลอดจนขั้นตอนการออกเสียงลงมติ 1.4 ในการประชุมผูถ อื หุน ทุกครัง้ ทีผ่ า นมา รวมถึงการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2556 และการประชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2556 ทีป่ ระชุมผูถือหุนไดทำการพิจารณาเรื่องตางๆ ตามลำดับระเบียบวาระที่ ไดกำหนดไวในหนังสือเชิญประชุมผูถือหุน ซึ่งบริษัทฯ ไดนำสงใหแกผูถือหุนเปนการลวงหนาโดยไมมีการเปลี่ยนแปลงลำดับวาระการประชุม และไมมีการเพิ่มวาระ อื่นๆ ที่ ไม ไดระบุไวในหนังสือนัดประชุม 1.5 คาตอบแทนกรรมการของบริษทั ฯ มีรปู แบบเดียว คือ คาตอบแทนประจำเปนรายเดือน ซึ่งกำหนดไวเปนรายตำแหนง โดย บริษัทฯ นำเสนอวาระคาตอบแทนกรรมการตอที่ประชุมสามัญผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติเปนประจำทุกป สำหรับป 2556 คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ไดพิจารณาทบทวนความเหมาะสมของอัตราคาตอบแทน กรรมการ โดยคำนึงถึงระดับที่ปฏิบัติอยูในอุตสาหกรรม ประสบการณ ภาระหนาที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ และไดนำเสนอความเห็นตอ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทวา ควรเสนอใหที่ประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2556 อนุมตั คิ า ตอบแทนกรรมการในอัตราเดิม ตามทีท่ ปี่ ระชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2555 ไดเคยมีมติอนุมัติไว โดยเปนอัตราเดิมที่มิได เปลี่ยนแปลงมาตั้งแตป 2545

143


1.6 ในการประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2556 คณะกรรมการบริษัทเห็นชอบกับขอเสนอของคณะกรรมการตรวจสอบ เสนอตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาแตงตั้งผูสอบบัญชีและกำหนดคาสอบบัญชีประจำปดงั เชนทีบ่ ริษทั ฯ ไดปฏิบตั ติ อ เนือ่ งเปนประจำทุกป และ ในการนี้ เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดมีขอมูลพิจารณาความเหมาะสมของผูสอบบัญชี บริษัทฯ ไดเปดเผย ข อ มู ล ไว ใ นหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม โดยให ร ายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ชื่ อ ผู ส อบบั ญ ชี อายุ บริ ษั ท ที่ สั ง กั ด คุ ณ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา ประวัติการทำงาน ประวัติการเปนผูลงลายมือชื่อในงบการเงินของบริษัทฯ ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหารของ บริษัทฯ ความสัมพันธหรือสวนไดเสียในลักษณะที่จะมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระ ตลอดจนคาสอบบัญชี ประจำปที่นำเสนอและปกอนหนาเพื่อการเปรียบเทียบดวย 1.7 บริษัทฯ เปดเผยนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทฯ และ บริษัทยอย ไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 นอกจากนี้ ยังไดนำเสนอใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนพิจารณาเรื่องเงินปนผลเปนประจำทุกป โดยมีการใหขอ มูลและเหตุผลประกอบ อยางชัดเจน สำหรับการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2556 บริษทั ฯ เสนอใหทปี่ ระชุมผูถ อื หุน อนุมตั กิ ารงดจายเงินปนผล และงดการจัดสรรทุนสำรองสำหรับผลการดำเนินงานประจำป 2555 โดยไดอธิบายไวในหนังสือเชิญประชุมเพื่อใหผูถือหุน ไดทราบเหตุผลวา บริษัทฯ ยังมีขาดทุนสะสม ซึ่งตามกฎหมายแลว บริษัทฯ ไมสามารถจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนได และไมตองจัดสรรทุนสำรองตามกฎหมาย 1.8 ในวาระพิจารณาแตงตัง้ กรรมการ บริษทั ฯ ไดมกี ารระบุขอ มูลทีส่ ำคัญของบุคคลแตละทานที่ ไดรับการเสนอชื่อ ไวในหนังสือเชิญ ประชุมผูถือหุน ซึง่ ไดแก ชือ่ -นามสกุล ตำแหนงปจจุบนั ในบริษทั ฯ ประเภทกรรมการทีจ่ ะเสนอแตงตัง้ หลักเกณฑและวิธีการ สรรหา ความสัมพันธทางครอบครัวกับผูบริหารหรือผูถ อื หุน รายใหญของบริษทั ฯ ระยะเวลาทีเ่ คยดำรงตำแหนงกรรมการ ในบริษทั ฯ ขอมูลการเขารวมประชุมคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอย (ถามี) ในปทผี่ า นมา อายุ สัญชาติ ประวัตกิ าร ศึกษา ประวัตกิ ารอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการเปนกรรมการ ประสบการณการทำงานและการดำรงตำแหนงเปน กรรมการหรือผูบริหารในกิจการอื่นที่เปนบริษัทจดทะเบียน ไม ใชบริษัทจดทะเบียน และ บริษัทที่อาจทำใหเกิดความ ขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัทฯ ตลอดจนการถือหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัทฯ 1.9 บริษัทฯ กำหนดวาระการประชุมผูถือหุนไวเปนเรื่องๆ อยางชัดเจน เชน ในวาระที่เกี่ยวกับกรรมการ บริษัทฯ ไดแยกเรื่อง พิจารณาเลือกตั้งกรรมการ และ พิจารณาอนุมัติคาตอบแทนกรรมการ ออกเปนแตละวาระ 1.10 ในกรณีที่มีการเสนอใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาหลายรายการในวาระเดียวกันซึ่งเปนเรื่องที่ ไมมีผลเกี่ยวเนื่องกันในทาง กฎหมาย บริษทั ฯ จะจัดใหมีการลงมติสำหรับแตละรายการ เชน วาระพิจารณาเลือกตั้งกรรมการ บริษัทฯ ไดเปดโอกาส ใหผูถือหุนลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการเปนรายบุคคล โดยบริษทั ฯ เสนอชือ่ กรรมการใหผถู อื หุน ลงคะแนนทีละคน ทัง้ นี้ เพือ่ เปดโอกาสใหผถู อื หุน มีสทิ ธิเลือกกรรมการทีต่ อ งการไดอยางแทจริง 1.11 บริษัทฯ อำนวยความสะดวกใหผูถือหุนทุกกลุม ทั้งผูถือหุนที่เปนบุคคลธรรมดาและผูถือหุนประเภทสถาบัน ให ไดใชสิทธิ ในการเขารวมประชุมและออกเสียงอยางเต็มที่ โดยไมมีคาใชจายและไมใหมวี ธิ กี ารทีย่ งุ ยาก ละเวนการกระทำใดๆ ทีเ่ ปนการ จำกัดโอกาสการเขาประชุมของผูถ อื หุน จัดใหมจี ดุ บริการตรวจรายชื่อและจำนวนหุนของผูถือหุนแยกตามประเภทของผูถือ หุน ซึ่งชวยใหการลงทะเบียนในวันประชุมทำไดสะดวกและรวดเร็วขึ้น 1.12 ในการประชุมผูถ อื หุน ทุกครัง้ รวมถึงการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2556 และ การประชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2556 บริ ษั ท ฯ จั ด ช อ งทางให ผู ถื อ หุ น ส ง คำถามมายั ง บริ ษั ท ฯ ล ว งหน า ก อ นวั น ประชุ ม ได โ ดยผ า น E-mail Address : ir_office@truecorp.co.th ลวงหนา 7 วันกอนวันประชุมผูถ อื หุน หรือ ทางไปรษณียล งทะเบียนมายัง ฝายนักลงทุนสัมพันธ บริษทั ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ชั้น 18 อาคารทรู ทาวเวอร เลขที่ 18 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 ลวงหนา 15 วันกอนวันประชุมผูถือหุน ซึ่งบริษัทฯ ไดประชาสัมพันธใหผูถือหุนทราบผานทาง เว็บไซตของบริษทั ฯ และ แจงไวในหนังสือเชิญประชุมทีจ่ ดั สงใหแกผถู อื หุน ทุกรายที่มีสิทธิเขาประชุมผูถือหุน

144 m n È


2. การดำเนินการในวันประชุมผูถือหุน 2.1 ประธานที่ประชุมจัดสรรเวลาใหเหมาะสมและสงเสริมใหผูถือหุนมีโอกาสในการแสดงความเห็นและตั้งคำถามตอที่ประชุม ในเรื่องที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ 2.2 บริษัทฯ นำเทคโนโลยีมาใชกับการประชุมผูถือหุน ทั้งการลงทะเบียน การนับคะแนนและแสดงผล เพื่อใหการดำเนินการ ประชุมสามารถกระทำไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง และ แมนยำ 2.3 บริษัทฯ ใชบัตรลงคะแนนเสียงในวาระเพื่อพิจารณาในทุกกรณีที่ตองมีการลงคะแนนเสียง พรอมทั้งจัดใหมีสำนักงาน กฎหมายอิสระ เปนผูตรวจสอบการนับคะแนนเสียงเพื่อความโปรงใสโดยไดแจงชื่อบุคคลผูทำหนาที่ดังกลาวใหที่ประชุม ผูถือหุนทราบกอนเริ่มเขาสูระเบียบการประชุม และเก็บบัตรลงคะแนนไวเปนหลักฐานเพื่อจะไดตรวจสอบไดในกรณีมีขอ โตแยงในภายหลัง 3. การจัดทำรายงานการประชุม และ การเปดเผยมติการประชุมผูถ อื หุน 3.1 บริษทั ฯ แจงมติของทีป่ ระชุมผูถ อื หุน พรอมทัง้ ระบุจำนวนคะแนนเสียง เห็นดวย ไมเห็นดวย และงดออกเสียง ในแตละวาระการ ประชุมตอตลาดหลักทรัพยฯ ภายในวันเดียวกันกับวันประชุมผูถ อื หุน และเปดเผยไวบนเว็บไซตของบริษทั ฯ ในวันทำการถัดไป เพือ่ ใหผถู อื หุน และผูล งทุนทัว่ ไปทราบและสามารถตรวจสอบผลการลงมติไดอยางรวดเร็ว 3.2 รายงานการประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ ไดมีการบันทึกรายละเอียดในเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้ ไวดว ย (1) วิธกี ารลงคะแนน และนับคะแนนซึง่ เลขานุการทีป่ ระชุมไดชแี้ จงใหผถู อื หุน ทราบกอนเริม่ การประชุมตามวาระ (2) คะแนนเสียงของผูถ อื หุน โดย ระบุอยางชัดเจนวา เห็นดวย ไมเห็นดวย และ งดออกเสียง เปนจำนวนเสียงและสัดสวนเทาใดในแตละวาระ (3) รายชือ่ กรรมการ ผูบ ริหารระดับสูงของบริษทั ฯ ผูส อบบัญชี ทีป่ รึกษากฎหมาย และ ผูต รวจสอบการนับคะแนนเสียง ที่เขารวมประชุม (4) สรุปสาระสำคัญของขอซักถาม ความคิดเห็นและขอเสนอแนะ ของผูถือหุน และ คำชี้แจงของกรรมการและผูบริหาร ที่ ไดตอบขอซักถามของผูถือหุน ในแตละวาระ 4. บริษทั ฯ มีการกระจายการถือหุน ของผูถ อื หุน รายยอยเปนไปตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กลาวคือ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2556 ซึ่งเปนวันปดสมุดทะเบียนผูถือหุนเพื่อสิทธิในการเขาประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2556 บริษทั ฯ มีสดั สวน การถือหุน ของผูถ อื หุน รายยอย (free float) รอยละ 36.59 สัดสวนการถือหุนของนักลงทุนสถาบันรอยละ 10.53 และสัดสวนการ ถือหุน ของคณะกรรมการบริษทั รวมผูเ กีย่ วของ รอยละ 0.08

หมวดที่ 2 การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน 1. หุน ของบริษทั ฯ มีประเภทเดียว คือ หุน สามัญ ซึง่ มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนทีเ่ ทาเทียมกัน คือ หนึง่ หุน ตอหนึง่ เสียง 2. การใหขอมูลกอนการประชุมผูถือหุน 2.1 บริษทั ฯ จัดทำหนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารทีเ่ กีย่ วของเปนภาษาไทยสำหรับผูถ อื หุน สัญชาติไทย และ ภาษาอังกฤษสำหรับผูถ อื หุน ตางดาว และไดนำสงใหแกผถู อื หุน ทุกรายพรอมกันเปนการลวงหนากอนวันประชุมทุกครัง้ สำหรับการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2556 และ การประชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2556 บริษทั ฯ ไดนำสงหนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารทีเ่ กีย่ วของใหแก ผูถ อื หุน เปนการลวงหนากอนวันประชุมเปนเวลา 29 วัน และ 17 วัน ตามลำดับ 2.2 บริษทั ฯ เผยแพรหนังสือเชิญประชุมและเอกสารทีเ่ กีย่ วของทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษบนเว็บไซตของบริษทั ฯ พรอมกัน เปนการ ลวงหนากอนวันประชุมทุกครัง้ โดยในการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2556 และ การประชุมวิสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2556 บริษทั ฯ เผยแพรบนเว็บไซตของบริษทั ฯ เปนการลวงหนากอนวันประชุมเปนเวลา 39 วัน และ 17 วัน ตามลำดับ เพือ่ เปดโอกาสให ผูถ อื หุน ไดมเี วลาศึกษาขอมูลประกอบการประชุมลวงหนาอยางเพียงพอกอนไดรบั ขอมูลในรูปแบบเอกสารจากบริษทั ฯ และได 145


ประชาสัมพันธใหผถู อื หุน ทราบ โดยแจงสารสนเทศผานสือ่ อิเล็กทรอนิกสของตลาดหลักทรัพยฯ 2.3 ในการประชุมผูถ อื หุน ทุกครัง้ กอนเริม่ เขาสูร ะเบียบวาระการประชุม เลขานุการทีป่ ระชุมไดแจงใหผถู อื หุน ทราบถึงกฎเกณฑตา งๆ ทีใ่ ช ในการประชุม ประเภทของหุน และสิทธิการออกเสียงลงคะแนน ขัน้ ตอนการออกเสียงลงมติ ตลอดจนวิธกี ารนับและแสดงผลคะแนน 3. การคุมครองสิทธิของผูถือหุนสวนนอย 3.1 บริษทั ฯ อำนวยความสะดวกใหแกผถู อื หุน ที่ไมสามารถเขาประชุมดวยตนเอง สามารถใชสทิ ธิออกเสียงโดยมอบฉันทะใหผอู นื่ มาประชุม และออกเสียงลงมติแทน โดยไมมกี ารกำหนดเงือ่ นไขใดๆ ซึง่ ทำใหยากตอการมอบฉันทะ และเปดโอกาสใหสง หนังสือมอบฉันทะมาให ฝายเลขานุการบริษทั และหลักทรัพยตรวจสอบลวงหนา เพือ่ จะไดไมเสียเวลาตรวจสอบในวันประชุม 3.2 บริษทั ฯ เปดโอกาสใหผถู อื หุน ใชหนังสือมอบฉันทะรูปแบบทีผ่ ถู อื หุน สามารถกำหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได โดยจัดสงหนังสือ มอบฉันทะแนบไปพรอมกับหนังสือเชิญประชุมผูถ อื หุน และไดเสนอชือ่ กรรมการอิสระ 2 ทาน พรอมทัง้ ขอมูลเกีย่ วกับกรรมการอิสระ ดังกลาว เปนทางเลือกในการมอบฉันทะของผูถ อื หุน บริษทั ฯ ไดแจงใหผถู อื หุน ทราบถึงเอกสารหรือหลักฐานทีต่ อ งนำมาแสดงตนในการเขารวมประชุมผูถ อื หุน ตลอดจนคำแนะนำและ ขัน้ ตอนในการมอบฉันทะอยางชัดเจน ไวในหนังสือเชิญประชุมผูถ อื หุน ทุกครัง้ 3.3 บริษทั ฯ เปดโอกาสและกำหนดหลักเกณฑอยางชัดเจนในการใหผถู อื หุน สวนนอยสามารถเสนอเรือ่ งเพือ่ บรรจุเขาเปนวาระการประชุม และเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการเปนการลวงหนาไมนอ ยกวา 3 เดือนกอนวันประชุมสามัญผูถ อื หุน ซึง่ ไดกระทำตอเนือ่ งเปนประจำทุกปมาจนถึงปจจุบนั โดยผูถ อื หุน สามารถสงขอมูลตามหลักเกณฑและแบบฟอรมทีบ่ ริษทั ฯ กำหนดและ เผยแพรไวบนเว็บไซตของบริษทั ฯ สำหรับการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2556 บริษทั ฯ กำหนดใหผถู อื หุน เสนอเรือ่ งและชือ่ บุคคลเปนการลวงหนา โดยสงเปน จดหมายลงทะเบียนมายังบริษทั ฯ ได ตัง้ แตวนั ที่ 1 ตุลาคม 2555 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดยบริษทั ฯ ไดเผยแพรสารสนเทศดัง กลาวไวบนเว็บไซตของบริษทั ฯ และไดประชาสัมพันธใหผถู อื หุน ทราบโดยแจงสารสนเทศผานสือ่ อิเล็กทรอนิกสของตลาดหลักทรัพยฯ ซึง่ ในการประชุมผูถ อื หุน ดังกลาว ไมมผี ถู อื หุน เสนอเรือ่ งเพือ่ บรรจุเขาเปนวาระการประชุมและชือ่ บุคคลเพือ่ เขารับการพิจารณาคัดเลือก เปนกรรมการ 4. การปองกันการใชขอมูลภายใน บริ ษั ท ฯ มี ก ารกำกั บ ดู แ ลเรื่ อ งการใช ข อ มู ล ภายใน โดยกำหนดข อ พึ ง ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การใช ข อ มู ล ภายในเพื่ อ การซื้ อ ขาย หลักทรัพย ไวในคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทำงานควบคูกับการใชมาตรการตามกฎหมายในการดูแลผูบริหารในการนำ ขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนและผูที่เกี่ยวของ กำหนดเปนหลักใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ ตองเก็บรักษาสารสนเทศที่สำคัญที่ยังไม ไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจำกัดใหรับรู ไดเฉพาะกรรมการและผูบริหารระดับสูงที่ เกี่ยวของเทานั้น นอกจากนี้ ในการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัทฯ กรรมการและผูบริหารตองแจงตอ สำนักงาน ก.ล.ต. ภายใน 3 วันทำการนับแตวนั ทีเ่ กิดรายการขึน้ พรอมทัง้ สงสำเนารายงานดังกลาว จำนวน 1 ชุด ใหแกบริษทั ฯ เพื่อเก็บเปนหลักฐานและรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจำ โดยในป 2556 ไมปรากฏวามีกรรมการและ ผูบ ริหารของบริษทั ฯ ไมปฏิบตั ติ ามหลักปฏิบตั ดิ งั กลาว 5. การมีสวนไดเสียของกรรมการ คณะกรรมการไดมีการกำหนด “หลักเกณฑและวิธีการในการรายงานการมีสวนไดเสียของกรรมการและผูบริหาร” อยางเปน ทางการ ซึ่งกรรมการและผูบริหารทุกทานไดดำเนินการอยางถูกตองตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการบริษัทกำหนด นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมการ กรรมการรายใดที่มีสวนไดเสียอยางมีนัยสำคัญที่อาจทำใหกรรมการรายดังกลาวไม สามารถใหความเห็นไดอยางอิสระ จะงดเวนจากการมีสวนรวมในการพิจารณาในวาระนั้น 6. ในป 2556 บริษัทฯ ไมมีการทำรายการที่เปนการใหความชวยเหลือทางการเงินแกบริษัทที่ ไมใชบริษัทยอยของบริษัทฯ 146 m n È


7. บริษทั ฯ มีมาตรการและขัน้ ตอนในการอนุมตั กิ ารทำรายการระหวางกันตามทีก่ ฎหมายกำหนดและเปนไปตามมาตรฐานทีก่ ำหนดไว ตามขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีการประกาศใช “ระเบียบในการเขาทำ รายการระหวางกัน” ซึง่ เปนระเบียบที่ ไดรบั การอนุมตั โิ ดยคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมาย ขอกำหนด ตลอดจนระเบียบในเรื่องการทำรายการระหวางกันอยางเครงครัด ตลอดระยะเวลาที่ผานมาจนถึงปจจุบัน บริษัทฯ ไมเคยมี การทำรายการที่เกี่ยวโยงกันโดยฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายและขอกำหนดที่เกี่ยวของ ในป 2556 บริษทั ฯ มีการทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันประเภททีต่ อ งขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน กอนการเขาทำรายการ ซึ่งบริษัทฯ ไดนำเสนอเรื่องดังกลาวตอที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2556 เพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยบริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับ รายการดังกลาวในหนังสือเชิญประชุม อาทิ ชื่อและความสัมพันธของบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ลักษณะของรายการ นโยบายการ กำหนดราคาและมูลคาของรายการ เหตุผลของการเขาทำรายการ รวมทั้งความเห็นของคณะกรรมการและที่ปรึกษาทางการ เงินอิสระเกี่ยวกับรายการดังกลาว เปนตน และนำสงหนังสือเชิญประชุมภายในระยะเวลาทีก่ ำหนดตลอดจนดำเนินการในสวนที่ เกี่ยวของอยางถูกตองและครบถวนตามขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทุกประการ สำหรับรายการระหวางกันประเภทอื่นๆ บริษัทฯ ไดดำเนินการดวยความยุติธรรม โดยมีราคาและเงื่อนไขเปนไปตามปกติธุรกิจ ทางการคา (Fair and at arms’ length) บริษัทฯ ไดเปดเผยรายละเอียดของรายการระหวางกันทุกประเภทที่เกิดขึ้นในระหวางป 2556 ไว ในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ภายใตหัวขอ “รายการระหวางกัน” 8. บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยทีเ่ กีย่ วกับการเขาทำ รายการไดมาหรือจำหนายไปซึ่งสินทรัพยอยางเครงครัด ตลอดระยะเวลาที่ผานมาจนถึงปจจุบัน บริษัทฯ ไมเคยมีการเขาทำ รายการไดมาหรือจำหนายไปซึ่งสินทรัพยที่เปนการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายและขอกำหนดที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ในป 2556 บริษัทฯ มีการเขาทำรายการไดมาและจำหนายไปซึ่งสินทรัพยที่เขาขายตามประกาศของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งกำหนดใหบริษัทฯ ตองจัดสงหนังสือแจงผูถือหุนเพือ่ รับทราบเกีย่ วกับการไดมาและ จำหนายไปซึง่ สินทรัพยของบริษทั ฯ อยางไรก็ตาม เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดมีสวนรวมในการตัดสินใจในการเขาทำธุรกรรม บริษัทฯ จึงได ปฏิบัติเกินกวาหลักเกณฑที่กำหนด โดยการนำเสนอเรื่องดังกลาวตอที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2556 เพื่อพิจารณา อนุมัติ ในการนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผยรายละเอียดของรายการไดมาและจำหนายไปซึ่งสินทรัพยดังกลาว ไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ภายใตหวั ขอ “ขอมูลทัว่ ไปและขอมูลสำคัญอืน่ ”

หมวดที่ 3 บทบาทของผูมีสวนไดเสีย 1. การกำหนดนโยบายการปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสีย และ การปฏิบัติตามนโยบาย 1.1 คณะกรรมการดูแลสิทธิตามที่กฎหมายกำหนดของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ (Stakeholders) และประสานประโยชน รวมกันอยางเหมาะสม เพื่อให Stakeholders มั่นใจวาสิทธิดังกลาวไดรับการคุมครองและปฏิบัติดวยดี ทั้งนี้ บริษัทฯ ได จัดทำ “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทำงาน” ซึ่งไดกำหนดขอพึงปฏิบัติของพนักงานตอผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ไดแก พนักงาน - มีสิทธิสวนบุคคล และมีสิทธิที่จะไดรับการคุมครองไมใหใครละเมิดสิทธิสวนบุคคล - สิทธิในการไดรับการปฏิบัติ และไดรับโอกาสเทาเทียมกัน 147


- สิทธิตางๆ เกี่ยวกับการจางงานที่เปนธรรมและเทาเทียมกัน เชน การอนุญาตใหลางาน สิทธิประโยชน โอกาสในการ เลื่อนขั้น การโอนยาย การประเมินผลการปฏิบัติงาน ลูกคา - มีสิทธิไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรับการบริการจากพนักงานอยางเต็มความรู ความสามารถ - สิทธิที่จะไดรับสินคาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิผล - สิทธิที่จะไดรับการปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ ผูจัดหาสินคาและบริการ และตัวแทนอื่นๆ (คูคา) - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรับการปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติดวยความซื่อตรง และเชื่อถือได - สิทธิที่จะไดรับทราบกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายที่เกี่ยวของ - สิทธิที่จะไดรับการแขงขันอยางเปนธรรม คูแขง - สิทธิที่จะไดรับการเปรียบเทียบสินคาและบริการอยางเปนธรรมและตามความเปนจริง โดยไมบิดเบือนขอเท็จจริง ไมใส รายคูแขง ตลอดจนสินคาและบริการของคูแขง - ไมรวมทำจารกรรม กอวินาศกรรม หรือติดสินบน คูแขงทางการคา ทั้งคูแขงในปจจุบันหรือผูที่อาจจะเปนคูแขงใน อนาคต - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน ไมปฏิบัติตอคูแขงรายใดเปนพิเศษเหนือคูแขงรายอื่น ไมวาใน ดานคุณภาพ การทดสอบ การติดตั้ง ตลอดจนการบำรุงรักษาในการใหบริการสื่อสงสัญญาณ เจาหนี้ - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาภายใตหลักเกณฑและกฎหมายที่กำหนด - สิทธิที่จะไดรับขอมูลทางการเงินที่ถูกตองครบถวน - สิทธิที่จะไดรับการชำระหนี้ตรงตามเวลา และไดรับการดูแลคุณภาพของหลักทรัพยค้ำประกัน ผูลงทุน - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรม และเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางมุงมั่นที่จะดำเนินธุรกิจดวยความรูและทักษะการบริหารจัดการอยางสุดความสามารถดวย ความซื่อสัตยสุจริต - สิทธิที่จะไดรับการปกปองไม ใหเกิดการแสวงหาผลประโยชน โดยการใชขอมูลใดๆ ขององคกรซึ่งยังไมเปดเผยตอ สาธารณะ หนวยงานของรัฐ - สิทธิในการกำกับ ดูแล และลงโทษ ตามกฎหมาย ขอบังคับ และมาตรฐานการปฏิบัติของหนวยงานของรัฐ 1.2 บริษัทฯ ใหความสำคัญเกี่ยวกับการดูแลเรื่องความปลอดภัย และสุขอนามัย โดยไดประกาศใช “นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน” และ “นโยบายการสงเสริมสุขภาพพนักงานของกลุมบริษัททรู” มีการ บริหารจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน รวมทั้งการสงเสริมสุขภาพใหกับ พนักงาน ดังนี้ 148 m n È


1) จัดทำคูมือ และ ขั้นตอนการปฏิบัติงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานในระบบ เอกสารระบบคุณภาพของบริษัทฯ เชน การตรวจสอบความปลอดภัยฯ การจัดใหมีการซอมอพยพกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน เปนตน 2) จัดทำคูมือความปลอดภัยใหกับพนักงานที่ทำงานในสำนักงาน และ พนักงานชางเทคนิค โดยจัดอยูในรูป e-book เพื่อใหพนักงานทุกคนสามารถเขามาศึกษา ทำความเขาใจ และนำไปปฏิบัติ 3) มีการกำหนดกฎระเบียบ คำสั่ง วาดวยเรื่องความปลอดภัยในการทำงานใหกับพนักงาน และผูรับเหมาที่มารับงาน จากบริษัทฯ 4) มีการจัดทำแผนปองกัน และ แผนอพยพกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินของบริษัทฯ สำหรับแตละสถานประกอบการของ บริษัทฯ จัดทำสมุดและภาพวิดีโอคำแนะนำวิธีปฏิบัติตนกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินตางๆ ใหกับพนักงาน 5) จัดใหมีการอบรมหลักสูตรความปลอดภัยตางๆ และการปฐมพยาบาลการชวยเหลือชีวิตขั้นพื้นฐาน ใหกับพนักงาน และผูรับเหมางานของบริษัทฯ 6) รณรงคสนับสนุนสงเสริมสุขอนามัยใหกับพนักงานทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัดอยางหลากหลาย สนับสนุน ผลักดันชมรมกีฬาตางๆ ของบริษัทฯ ใหจัดกิจกรรมเพื่อใหพนักงานไดออกกำลังกายมากขึ้น รวมทั้งการดูแลสภาพ จิตใจ โดยการสงเสริมใหพนักงานสามารถไปศึกษา ปฏิบัติดูแลจิตใจโดยไมนับเปนวันลา จำนวน 5 วันตอป 7) ติดตาม ดูแล สุมตรวจวัดคุณภาพอากาศในสำนักงานที่มีพนักงานทำงานอยูเปนจำนวนมาก ไดแก สำนักงานใหญ อาคารสำนักงานที่มีกลุมพนักงานรับสายโทรศัพททำงาน อาคารสำนักงานชุมสายโทรศัพทหลัก (พารามิเตอรที่ ตรวจวั ด ได แ ก คาร บ อนไดออกไซด คาร บ อนมอนอกไซด รา ยี ส ต โมลด แบคที เ รี ย ฟอร ม าดี ไ ฮด อนุ ภ าคฝุ น อุณหภูมิ ความชื้น เปนตน) 1.3 บริษัทฯ มีนโยบายคาตอบแทนพนักงานที่สอดคลองกับผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยมี การกำหนด Balanced Scorecard (BSC) เพื่อเปนเครื่องมือดานการจัดการที่ชวยในการนำกลยุทธขององคกรไปสูการ ปฏิบัติ และกำหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicators : KPIs) เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของพนักงานและ ประเมินผลการปฏิบัติงาน บริษัทฯ ไดสรุปแนวปฏิบัติเกี่ยวกับคาตอบแทนและสวัสดิการของพนักงานไว ในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ใน หัวขอ “บุคลากร” 1.4 บริษัทฯ จัดใหมีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับพนักงาน 1.5 บริษัทฯ มุงเนนที่จะพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหมีความทันสมัย สอดคลองกับ เทคโนโลยีและเปนไปตามมาตรฐานสากล เพื่อที่จะเสริมสรางและพัฒนาใหพนักงาน เปนทั้งคนดีและคนเกง ตลอดจนมี สวนรวมในการพัฒนาและชวยเหลือสังคมโดยสวนรวม บริษัทฯ สงเสริมใหมีการเรียนรูทั้งภายในและภายนอกองคกร เพื่อใหพนักงานไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง มีการจัดทำระบบการเรียนทางไกลไปยังพนักงานในตางจังหวัด บริษัทฯ จัดตั้งศูนยฝกอบรมและการพัฒนาบุคลากร เพื่อออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมที่เหมาะสม หลักสูตรที่จัดฝก อบรมภายในบริ ษั ท ฯ มี ป ระมาณ 300 หลั ก สู ต รต อ ป โดยในป 2556 มี จ ำนวนคน-วั น อบรมรวม 36,000 Training Mandays ใชงบประมาณทั้งสิ้นรวมจำนวน 135 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลการฝกอบรมและพัฒนา พนักงานไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ในหัวขอ “บุคลากร” 1.6 บริษัทฯ ใหความสำคัญตอการตอตานการทุจริต ตลอดจนการรับและการจายสินบน โดยไดมีการกำหนดไวใน “คุณธรรม และขอพึงปฏิบัติในการทำงาน” หามพนักงานเรียกรองหรือรับสินน้ำใจเพื่อตนเองหรือเพื่อผูอื่น จากบุคคลที่รวมทำ ธุรกิจดวย และ หามการจายเงินหรือใหความชวยเหลือที่ถือวาเปนการติดสินบนหรือใหผลประโยชน 1.7 บริษัทฯ จัดใหมีชองทางสำหรับใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทำการรองเรียน หรือแจงเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือการกระทำผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ตอคณะกรรมการบริษัทโดยผานคณะกรรมการตรวจสอบ โดย ประชาสัมพันธ ไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ www.truecorp.co.th ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้:

149


ชองทางใหผูมีสวนไดเสียสามารถรองเรียนหรือแจงเบาะแสตอคณะกรรมการบริษัทผานคณะกรรมการตรวจสอบ ผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทำการรองเรียนหรือแจงเบาะแส (โดยจะไดรับการเก็บรักษาขอมูลไวเปนความลับ) เกี่ยวกับ การทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือ การกระทำผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ตอคณะกรรมการบริษัทฯ โดยผานคณะกรรมการ ตรวจสอบได ตามที่อยูดังนี้ • จดหมายอิเล็กทรอนิกส: auditcommittee@truecorp.co.th • จดหมายสงทางไปรษณีย: เรียน

คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคาร ทรู ทาวเวอร ชั้น 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310

โดยหนวยงานเลขานุการบริษัทและหลักทรัพย ในฐานะที่เปนเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ จะเปนผูดูแล รับ ผิด ชอบในการรวบรวมและนำสง เรื่อ งรอ งเรีย นหรื อการแจงเบาะแสต า งๆ ใหแ กค ณะกรรมการตรวจสอบเพื่ อ พิจารณาและดำเนินการตอไป ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุปผลการดำเนินการและนำเสนอรายงานตอคณะ กรรมการบริษัทฯ เปนรายไตรมาส เงื่อนไขในการรับเรื่องรองเรียนหรือการแจงเบาะแส: • ไมรับบัตรสนเทห • ผูรองเรียน/ผูแจงเบาะแส ตองระบุชื่อและนามสกุลจริง โดยบริษัทฯ จะเก็บรักษาขอมูลไวเปนความลับ ซึ่งจะรับรู ได เฉพาะบุคคลที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบเทานั้น • เรื่องที่ ไมเกี่ยวของตางๆ ดังตัวอยางดานลางนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะไมรับดำเนินการให: - การสมัครงาน - แบบสำรวจ หรือ การขอรับขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ - การเสนอขายสินคาหรือบริการ - การขอรับบริจาคหรือการสนับสนุนตางๆ ในป 2556 คณะกรรมการตรวจสอบไม ไดรับเรื่องที่เปนการรองเรียนหรือการแจงเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติ มิชอบ หรือการกระทำผิดจรรยาบรรณธุรกิจ แต ไดรับเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับปญหาการใหบริการของบริษัทฯ จำนวน 4 เรื่อง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบไดนำสงเรื่องรองเรียนดังกลาวไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อการดำเนินการที่ เหมาะสม และ หนวยงานที่เกี่ยวของของบริษัทฯ ไดดำเนินการแก ไขปญหาเปนที่เรียบรอยแลว 1.8 บริษัทฯ มีการอบรมใหความรูแกพนักงานในเรื่องสิ่งแวดลอมผานโครงการประกวดภาพถายอนุรักษธรรมชาติ โดยเปด โอกาสใหพนักงานเขารวมกิจกรรมอบรมการถายภาพธรรมชาติและสงผลงานภาพถายเขารวมประกวด การอบรมการ ถายภาพธรรมชาติใหแกพนักงานจะสรางความรูสึกรักและหวงแหนธรรมชาติ ทำใหเกิดจิตสำนึกในการอนุรักษธรรมชาติ โดยบริษัทฯ รวมกับกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช จัดโครงการประกวดภาพถายอนุรักษธรรมชาติ “สัตว มีคา ปามีคุณ” ซึ่งจัดตอเนื่องเปนประจำทุกปเริ่มตั้งแตปพ.ศ. 2538 จนถึงปจจุบันนับเปนปที่ 19 มีการเชิญผูทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการดานอนุรักษสิ่งแวดลอม อาทิ ผูเชี่ยวชาญดานทรัพยากรชีวภาพ เจาหนาที่จากกรมอุทยานแหงชาติ เปนตน มารวมเสวนาใหความรูดานสิ่งแวดลอม เพื่อปลูกฝงใหคนไทยเกิดความรูสึกเปนเจาของรวมกัน และเกิดความ รวมมือในการฟนฟูและเพิ่มจำนวนสัตวปา ซึ่งจะชวยรักษาดุลยภาพของธรรมชาติใหดำรงอยูสืบไป 1.9 บริษัทฯ สงเสริมใหมีการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนใหมีการสรางสรรคนวัตกรรมเพื่อเปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชทรัพยากรที่มีอยูใหคุมคามากที่สุด บริษัทฯ ไดจัดโครงการ “True Innovative Award for True” มา อยางตอเนื่องเปนประจำทุกปจนถึงปจจุบัน ซึ่งเปนโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมเปนการภายในบริษัทฯ เพื่อ สงเสริมใหพนักงานทุกคน ทุกระดับ มีสวนรวมในการสรางสรรคผลงานนวัตกรรม ที่เปนประโยชนตอองคกรและสังคม โดยรวม เปนการกระตุนใหพนักงานเห็นความสำคัญและประโยชนของการสรางนวัตกรรม อีกทั้งนำมาประยุกตใช ในหนวยงานใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อพัฒนาพนักงานที่เขามารวมโครงการ ใหมีความรูดานนวัตกรรมอยาง 150 m n È


บูรณาการ และสามารถตอยอดงานนวัตกรรม และความคิดสรางสรรคใหเปนรูปธรรมและสัมฤทธิ์ผล เพื่อนำผลงาน นวัตกรรม มาแกปญหาใหกับลูกคา เพื่อพัฒนาสินคา บริการ และ กระบวนการ กอใหเกิดประโยชนตอองคกร ลูกคา และ สังคม (Benefits to customers, corporate and social) อาทิเชน เพิ่มความพึงพอใจลูกคา (Customer Satisfaction) เพิ่มรายได (Revenue Increase) ปรับปรุงกระบวนการทำงาน (Process Improvement) คุณคาที่ ไดรับเพิ่ม (Value Adding) การสรางสรรค (Creation) เปนตน นอกเหนือจากการจัดโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมภายในบริษัทฯ ดังกลาวแลว บริษัทฯ ใหความสำคัญและมีความ ตั้งใจที่จะมีสวนรวมในการจุดประกายและสรางแรงบันดาลใหคนไทยสนใจนวัตกรรมอยางจริงจัง ซึ่งเปนปจจัยสำคัญใน การขั บ เคลื่ อ นให ป ระเทศเจริ ญ ก า วหน า โดยร ว มกั บ หลั ก สู ต รเทคโนโลยี แ ละการจั ด การนวั ต กรรมบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และสำนักขาวตางประเทศ CNBC (Asia Pacific) จัดโครงการประกวด “ทรู อินโนเวชั่น อวอรดส” ซึ่งจัดเปนประจำตอเนื่องมาทุกปเริ่มตั้งแต ป พ.ศ. 2553 เพื่อเปดโอกาสใหนวัตกรไทยไดนำเสนอความคิด สรางสรรค และพัฒนาผลงานนวัตกรรมเพื่อคุณประโยชนแกสังคมและประเทศชาติ อีกทั้งยกระดับขีดความสามารถ ของคนไทยใหทัดเทียมกับนานาชาติ 2. การจัดทำรายงานความรับผิดชอบตอสังคม บริษัทฯ มีนโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งรับรองโดยคณะกรรมการบริษัท และไดเปดเผยนโยบายดานความ รับผิดชอบตอสังคมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษบนเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th นอกจากนี้ บริษัทฯ ประกอบธุรกิจโดยยึดแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยคำนึงถึงความสำคัญดานสังคมและสิ่งแวดลอม ในดานสังคมนั้น บริษัทฯมุงเนนดานการสงเสริมการเรียนรู ใหแกสังคม เพื่อเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาสังคมไทยอยางยั่งยืน ดวยการนำ เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย มาจัดทำโครงการดานการศึกษาและการเรียนรู เพื่อพัฒนาเยาวชนและผูดอยโอกาสใน สังคมไทย ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได เ ป ด เผยข อ มู ล ตลอดจนกิ จ กรรมต า งๆ เกี่ ย วกั บ ความรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คมไว ใ นรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ภายใตหัวขอ “ความรับผิดชอบตอสังคม”

หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 1. การเปดเผยขอมูล 1.1 บริษัทฯ นำสงรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาส และ รายป ในป 2556 ไดภายในเวลาที่ สำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาด หลักทรัพยฯ กำหนด ทั้งนี้ บริษัทฯ ใหความสำคัญในการจัดทำงบการเงินใหถูกตองตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ำเสมอ บริษัทฯ เครงครัดในการนำสงงบการเงินและ รายงานทางการเงินใหทันภายในเวลาที่กฎหมายกำหนดไวเปนอยางยิ่ง งบการเงินของบริษัทฯ ไดรับการรับรองโดยไมมี เงื่อนไขจากผูสอบบัญชี ไมเคยมีประวัติถูกสำนักงาน ก.ล.ต. สั่งใหแก ไขงบการเงิน และ ไมเคยนำสงรายงานทาง การเงินลาชา 1.2 บริษัทฯ จัดทำคำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการโดยอธิบายเชิงวิเคราะหเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ตลอดจนปจจัยที่เปนสาเหตุหรือมีผลตอฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และ นำสงตอ สำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพยฯ พรอมกับการนำสงงบการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนเผยแพรบน เว็บไซตของบริษัทฯ ทั้งนี้ เพื่อเปนขอมูลประกอบการเปดเผยงบการเงินทุกไตรมาสเพื่อใหผูลงทุนไดรับทราบขอมูลและ เขาใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ในแตละไตรมาสไดดียิ่งขึ้น 1.3 บริษัทฯ ไดรายงานนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีและนโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคมที่คณะกรรมการได ให ความเห็นชอบไว โดยสรุป และรายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายผานชองทางตางๆ เชน รายงานประจำป และ เว็บไซต ของบริษัทฯ 1.4 บริษัทฯ ไดแสดงรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงินควบคูกับรายงานของผูสอบบัญชีไว ในรายงานประจำป 151


1.5 ผูสอบบัญชีของบริษัทฯ เปนผูสอบบัญชีที่ ไดรับความเห็นชอบจากสำนักงาน ก.ล.ต. และ ไดรับการแตงตั้งโดยที่ประชุม สามัญผูถือหุน บริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลการจายคาตอบแทนแกผูสอบบัญชี ประจำป 2556 ไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 โดยไดแสดงรายละเอียดแยกประเภทเปนคาตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) และ คาบริการอื่น (nonaudit fee) ไวอยางชัดเจน 1.6 บริษัทฯ เปดเผยรายชื่อ บทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอย จำนวนครั้งของการประชุม และจำนวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุมคณะกรรมการในปที่ผานมา ตลอดจนความเห็นจากการทำหนาที่ ของคณะกรรมการชุดยอย รวมถึงการฝกอบรมและพัฒนาความรูดานวิชาชีพอยางตอเนื่องของกรรมการ ไวในรายงาน ประจำป ตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และ สำนักงาน ก.ล.ต. 1.7 บริษัทฯ เปดเผยประวัติของกรรมการทุกทานไวใน รายงานประจำป แบบ 56-1 และ บนเว็บไซตของบริษัทฯ โดยระบุ ชื่อ-นามสกุล อายุ ตำแหนง ประวัติการศึกษา การฝกอบรม ประสบการณการทำงาน จำนวนและสัดสวนการถือหุนใน บริษัทฯ การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่นโดยแยกอยางชัดเจนออกเปนหัวขอบริษัทจดทะเบียนและบริษัทอื่น วัน เดือนปที่ ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ ตลอดจนระบุความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร 1.8 คาตอบแทนกรรมการของบริษัทฯ สะทอนถึงภาระหนาที่และความรับผิดชอบของกรรมการแตละคน ทั้งนี้ บริษัทฯ จาย คาตอบแทนใหแกกรรมการ ในป 2556 ตามอัตราซึ่งอนุมัติโดยที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2556 โดยยังคงเปน อัตราเดิมตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2555 ไดเคยมีมติอนุมัติไว ซึ่งอัตราคาตอบแทนดังกลาวไมมีการ เปลี่ยนแปลงมาตั้งแตป 2545 แลว โดยมีรายละเอียดดังนี้ กรรมการไดรับคาตอบแทนเปนรายเดือน โดยมีหลักเกณฑในการจายดังนี้ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ รองประธานกรรมการ กรรมการ

300,000 200,000 150,000 100,000

บาทตอเดือน บาทตอเดือน บาทตอเดือน บาทตอเดือน

หากกรรมการทานใดเปนลูกจางของบริษัทฯ ก็ใหคาตอบแทนกรรมการนี้เปนสวนเพิ่มเติมจากคาจางปกติของลูกจาง แตละทาน สำหรับกรรมการอิสระที่ทำหนาที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดรับคาตอบแทน ดังนี้ กรรมการอิสระที่เปนประธานในคณะกรรมการชุดยอย 300,000 บาทตอเดือน กรรมการอิสระที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย 200,000 บาทตอเดือน สำหรับกรรมการอิสระที่มิไดเปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย และกรรมการทุกทานที่มิใชกรรมการอิสระ ให ไดรับ คาตอบแทนคงเดิม ในการนี้ บริ ษั ท ฯ ได เ ป ด เผยจำนวนเงิ น และประเภทของค า ตอบแทนที่ ก รรมการแต ล ะคนได รั บ จากบริ ษั ท ฯ และ บริษัทยอย เปนรายบุคคล ไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 และไดนำขึ้นเผยแพร ไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ 1.9 ในป 2556 บริษัทฯ จายคาตอบแทนผูบริหารระดับสูงสอดคลองกับนโยบายของบริษัทฯ ที่ ใหจายคาตอบแทนโดย สะทอนภาระหนาที่และความรับผิดชอบของผูบริหารระดับสูงแตละคน และเปนอัตราที่เหมาะสมโดยศึกษาเทียบเคียงกับ ธุรกิจประเภทเดียวกัน และ ไดเปดเผยขอมูลการจายคาตอบแทนโดยละเอียดทั้งรูปแบบ ลักษณะ และ จำนวนเงิน คาตอบแทน ไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 1.10 บริษัทฯ กำหนดนโยบายใหกรรมการและผูบริหารระดับสูงตองสงสำเนารายงานการถือหลักทรัพยของบริษัทฯ ทั้งกรณี การรายงานครั้งแรก (แบบ 59-1) และ กรณีการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย (แบบ 59-2) ใหแกบริษัทฯ ภายในชวง เวลาเดียวกันกับที่กรรมการและผูบริหารระดับสูงไดสงตอสำนักงาน ก.ล.ต. เพื่อบริษัทฯ เก็บเปนหลักฐาน และ รายงาน ตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจำ นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผยการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยของบริษัทฯ ของกรรมการและผูบริหารระดับสูง โดยแสดงจำนวนหุนที่ถือ ณ ตนป จำนวนการเปลี่ยนแปลงระหวางป และจำนวนหุน ณ สิ้นป ไวใน รายงานประจำป 152 m n È


1.11 บริษัทฯ มีหนวยงาน “ฝายนักลงทุนสัมพันธ” หรือ “Investor Relations” เพื่อสื่อสารกับบุคคลภายนอกอยางเทาเทียม และเปนธรรม ทั้งนี้ ผูลงทุนสามารถติดตอฝายนักลงทุนสัมพันธ ไดที่หมายเลขโทรศัพท 0-2699-2515 หรือ e-mail address : ir_office@truecorp.co.th ซึ่งบริษัทฯ ไดแจงชองทางการติดตอใหผูลงทุนทั่วไปทราบผานทางเว็บไซตของ บริษัทฯ รายงานประจำป และ แบบ 56-1 สำหรับในป 2556 ฝายนักลงทุนสัมพันธ ไดมีการจัดทำจดหมายขาวที่นำเสนอ ผลการดำเนินงานทางการเงินของบริษัทฯ และไดจัดใหมีการประชุมนักวิเคราะหและนักลงทุนภายหลังจากที่บริษัทฯ ประกาศผลประกอบการทุกไตรมาส โดยจัดใหมีการประชุม ณ สำนักงานใหญของบริษัทฯ รวมทั้งผาน Webcast สำหรับ นักวิเคราะหและนักลงทุนที่ ไมสามารถมารวมประชุมดวยตนเองได นอกจากนี้ ได ใหขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ และพบปะ นักวิเคราะห รวมถึงไดจัด Roadshow เพื่อพบปะนักลงทุนทั้งในประเทศและตางประเทศ และเปดโอกาสใหนักลงทุนทั้ง ประเภทสถาบันและนักลงทุนรายยอยสามารถโทรศัพทสอบถามขอมูลจากทางบริษัทฯ ไดอยางเทาเทียมกัน 2. ขอมูลที่เปดเผยบนเว็บไซตของบริษัทฯ บริษัทฯ มีการเผยแพรทั้งขอมูลทางการเงินและขอมูลที่มิใชการเงินตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอยาง ถูกตอง ครบถวน ทันเวลา โปรงใส ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผานชองทางตางๆ ทั้งชองทางของตลาดหลักทรัพยฯ รายงานประจำป แบบ 56-1 และ บนเว็บไซตของบริษัทฯ นอกจากนี้บริษัทฯ ยังไดเผยแพรเอกสารที่สำคัญและจัดทำขอมูล รายละเอียดอื่นๆ ที่คาดวาจะเปนที่สนใจของนักลงทุนและนักวิเคราะหเผยแพร ไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ ดวย เชน วิสัยทัศน และพั น ธกิ จ ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ โครงสร า งกลุ ม บริ ษั ท ฯ ผู ถื อ หุ น 10 ลำดั บ แรก รายชื่ อ และอำนาจหน า ที่ ข อง คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอย งบการเงินและขอมูลทางการเงินซึ่งมีขอมูลยอนหลังเพื่อการเปรียบเทียบไมนอย กวา 3 ป รายงานประจำป แบบ 56-1 หนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารเกี่ยวกับการประชุมผูถือหุน ขอบังคับและหนังสือ บริคณหสนธิ นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี เปนตน และมีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันเปนระยะๆ โดยเอกสารและ ขอมูลทุกประเภทที่เผยแพรอยูบนเว็บไซตมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อใหนักลงทุนและนักวิเคราะหเขาถึงขอมูลได อยางสะดวกและเทาเทียมกัน และ สามารถดาวน โหลดขอมูลที่อยู ในความสนใจได ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดแจงเบอร โทรศัพท โทรสาร และ อีเมลเพื่อเปนชองทางสำหรับการติดตอฝายนักลงทุนสัมพันธ ไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ ดวย

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสรางคณะกรรมการ 1.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการบริษัท มีจำนวน 15 ทาน ซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิ มีความรู ประสบการณ หลากหลาย และ มีความสามารถเฉพาะดานที่เปนประโยชนตอบริษัทฯ จำนวนกรรมการมีความเหมาะสมและเพียงพอ กั บ ขนาดและประเภทธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ โครงสร า งของคณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด ว ย (1) กรรมการบริ ห าร (Executive Directors) 4 ทาน และ (2) กรรมการที่มิใชผูบริหาร (Non-Executive Directors) 11 ทาน โดยในจำนวนนี้มี กรรมการอิสระ 5 ทาน หรือคิดเปนจำนวน 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งหมด ซึ่งเปนไปตามขอกำหนดของคณะ กรรมการกำกับตลาดทุน และ มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไมเกี่ยวของในการบริหารงานประจำ ซึ่งรวมตัวแทนของผูถือ หุนรายใหญ จำนวน 6 ทาน บริษัทฯ ไดเปดเผยโครงสรางคณะกรรมการ อำนาจหนาที่ หลักเกณฑในการสรรหา ขอมูลสำคัญของกรรมการแตละ ทาน เชน ชื่อ-นามสกุล ตำแหนง วันเดือนปที่ ไดรับแตงตั้งเขาดำรงตำแหนงกรรมการ ตลอดจนประวัติของกรรมการ แตละทาน ไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ตลอดจนเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.2 บริษัทฯ มีการกำหนดวาระการดำรงตำแหนงของกรรมการไวอยางชัดเจน โดยระบุไวในนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และ ขอบังคับของบริษัทฯ ซึ่งเปนไปตามกฎหมาย สำหรับวาระการดำรงตำแหนงของกรรมการอิสระมีหลักเกณฑเชนเดียวกับวาระการดำรงตำแหนงกรรมการ

153


1.3 บริษัทฯ กำหนดคุณสมบัติของ “กรรมการอิสระ” อยางละเอียด โดยเปดเผยไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 โดย นายโชติ โภควนิ ช เป น กรรมการอิ ส ระและกรรมการตรวจสอบผู มี ค วามรู ด า นบั ญ ชี แ ละการเงิ น บริ ษั ท ฯ กำหนด คุณสมบัติของกรรมการอิสระไวเขมงวดกวาขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนในเรื่องสัดสวนการถือหุนใน บริษัทฯ กลาวคือ กรรมการอิสระของบริษัทฯ จะตองถือหุนไมเกินรอยละ 0.75 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ใหนับรวมการ ถือหุนของผูที่เกี่ยวของกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย 1.4 บริษัทฯ เปดเผยขอมูลการดำรงตำแหนงของกรรมการแตละคนใหผูถือหุนทราบ โดยเปดเผยไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ซึ่งผูถือหุนสามารถดาวนโหลดขอมูลไดจากเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่ www.set.or.th และ เว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.5 ไมมีกรรมการหรือผูบริหารระดับสูงของบริษัทฯ ทานใด เปนหรือเคยเปนพนักงานหรือหุนสวนของบริษัทสอบบัญชี ภายนอกที่บริษัทฯ ใชบริการอยูในชวง 2 ปที่ผานมา 1.6 บริษัทฯ มีการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับจำนวนบริษัท ที่กรรมการแตละคนซึ่งรวมถึงกรรมการอิสระและกรรมการผูจัดการใหญ สามารถไปดำรงตำแหนง โดยกำหนดไวในนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ซึ่งไดเปดเผยไวบนเว็บไซตของ บริษัทฯ กลาวคือ กรรมการสามารถดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่นได แตทั้งนี้ ในการเปนกรรมการดังกลาว ตองไมเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติหนาที่กรรมการของบริษัทฯ สำหรับจำนวนบริษัทที่กรรมการแตละคนสามารถไปดำรง ตำแหนงกรรมการไดนั้น คณะกรรมการสนับสนุนใหกรรมการพิจารณาจำกัดไวที่จำนวนไมเกิน 5 บริษัทจดทะเบียน ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผานมา ไมมีกรรมการอิสระทานใดดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นเกินกวา 5 บริษัท 1.7 ประธานกรรมการของบริษัทฯ เปน Non-Executive Director และ มิใชบุคคลเดียวกับกรรมการผูจัดการใหญ อำนาจ หนาที่ของประธานกรรมการนั้นเปนไปตามกฎหมาย สวนอำนาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหญนั้น คณะกรรมการบริษัท มี ก ารกำหนดไว อ ย า งชั ด เจน และเป ด เผยไว ใ นรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ซึ่ ง ได เ ผยแพร ไ ว บ นเว็ บ ไซต ข อง บริษัทฯ 1.8 บริษัทฯ กำหนดสายงานองคกรใหฝายตรวจสอบภายใน (Internal Audit) รายงานโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งจะเปนผูพิจารณาใหคุณให โทษตอหัวหนาฝายตรวจสอบภายใน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผยชื่อและประวัติของหัวหนาฝายตรวจสอบภายในไว ในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ซึ่งได เผยแพร ไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ 1.9 บริษัทฯ มีเลขานุการบริษัทซึ่งทำหนาที่ใหคำแนะนำดานกฎหมายและกฎเกณฑตางๆ ที่คณะกรรมการจะตองทราบและ ปฏิบัติหนาที่ ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการรวมทั้งประสานงานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ ทั้งนี้ บริษัทฯ สนับสนุนใหเลขานุการบริษัทเขารับการฝกอบรมและพัฒนาความรูอยางตอเนื่องดานกฎหมาย การบัญชี ตลอดจนหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่ของเลขานุการบริษัท บริษัทฯ ไดเปดเผยหนาที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท ประวัติการศึกษา ประสบการณทำงาน ตลอดจนการผาน การอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่ของเลขานุการบริษัทไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ซึ่งได เผยแพร ไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ

154 m n È


2. คณะกรรมการชุดยอย 2.1 คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีคณะกรรมการชุดยอยดานตางๆ เพื่อชวยคณะกรรมการในการกำกับดูแลกิจการ ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ทำหนาที่สอบทานกระบวนการจัดทำรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ระบบการควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบ ภายในการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ พิจารณาความเปนอิสระของหนายงานตรวจสอบภายใน พิจารณาเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และ พิจารณา รายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน โดยมีรายละเอียดของบทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบตาม ที่ปรากฏในหัวขอหลักที่ 2 “คณะกรรมการชุดยอย” คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทำหนาที่พิจารณาการกำหนดคาตอบแทนของกรรมการและ CEO และ พิจารณากลั่นกรองการสรรหากรรมการ กอน นำเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการดานการเงิน ทำหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดานการเงิน คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี ทำหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการกำหนดและทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ตลอดจน ดูแลใหบริษัทฯ มีการกำกับดูแลกิจการที่ดีและเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอยดังกลาว ไดแก รายชื่อกรรมการ หนาที่ จำนวนครั้ง การประชุมและการเขารวมประชุมของกรรมการแตละทาน ไว ในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ในหัวขอหลักที่ 2 “คณะกรรมการชุดยอย” นอกจากนี้ ผูถือหุน และ ผูลงทุนทั่วไปสามารถดาวนโหลดขอมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอย ของบริษัทฯ ไดจาก เว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th 2.2 เพื่อความโปรงใสและเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ และในขณะเดียวกันเพื่อใหคณะกรรมการชุดยอยสามารถปฏิบัติ หนาที่ ไดอยางมีประสิทธิผล สมาชิกสวนใหญของคณะกรรมการชุดยอย ประกอบไปดวย กรรมการอิสระ และ กรรมการ ที่มิใชผูบริหาร 3. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการไดทำหนาที่พิจารณาและใหความเห็นชอบในเรื่องที่สำคัญเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทฯ เชน วิสัยทัศนและภารกิจ กลยุทธ เปาหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงานและงบประมาณ รวมทั้งกำกับ ควบคุม ดูแลให ฝายจัดการดำเนินงานตามนโยบายและแผนที่กำหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยยึดหลักของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ (ตระหนักถึงขีดความสามารถที่แทจริงของบริษัทฯ) ความมีเหตุผล และ การมี ภู มิ คุ ม กั น ที่ ดี ใ นตั ว โดยตั้ ง มั่ น อยู บ นพื้ น ฐานของความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต และ ความรอบคอบระมั ด ระวั ง ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ไดเปดเผยอำนาจหนาที่ของคณะกรรมการไว ในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ซึ่งไดเผยแพร ไวบนเว็บไซตของ บริษัทฯ ตลอดระยะเวลาที่ผานมา รวมถึงป 2556 บริษัทฯ ไมมีการกระทำใดที่เปนการฝาฝนหรือกระทำผิดกฎระเบียบของ สำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพยฯ

155


3.2 คณะกรรมการไดจัดใหมีนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ เปนลายลักษณอักษร และใหความเห็นชอบ ตอนโยบายดังกลาว คณะกรรมการจะทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจำทุกป 3.3 คณะกรรมการไดสงเสริมใหบริษัทฯ จัดทำจรรยาบรรณธุรกิจที่เปนลายลักษณอักษร เพื่อใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ทุ ก คนเข า ใจถึ ง มาตรฐานด า นจริ ย ธรรมที่ บ ริ ษั ท ฯ ใช ใ นการดำเนิ น ธุ ร กิ จ อี ก ทั้ ง ได มี ก ารติ ด ตามให มี ก ารปฏิ บั ติ ต าม จรรยาบรรณดังกลาวอยางจริงจัง ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผย “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทำงาน” ไวบนเว็บไซต ของบริษัทฯ 3.4 คณะกรรมการไดพิจารณาเรื่องความขัดแยงทางผลประโยชนอยางรอบคอบ การพิจารณาการทำรายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน มีแนวทางที่ชัดเจนและเปนไปเพื่อผลประโยชนของบริษัทฯ และผูถือหุนโดยรวมเปนสำคัญ โดยที่ผูมีสวนไดเสียไมมีสวนรวมในการตัดสินใจ และคณะกรรมการไดกำกับดูแลใหมีการปฏิบัติตามขอกำหนดเกี่ยวกับ ขั้นตอนการดำเนินการและการเปดเผยขอมูลของรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอยางถูกตองครบถวน ในป 2556 ไมมีกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ตลอดจนผูเกี่ยวของกับบุคคลดังกลาวปฏิบัติผิดขอกำหนดเกี่ยวกับ เรื่องความขัดแยงของผลประโยชนในการทำธุรกรรมของบริษัทฯ เชนเดียวกับทุกปที่ผานมา 3.5 คณะกรรมการไดจัดใหมีระบบการควบคุมดานการดำเนินงาน ดานรายงานทางการเงิน และดานการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย โดยคณะกรรมการไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบ เปนผูรับผิดชอบในการดูแลการ ตรวจสอบระบบการควบคุมดังกลาว และทำการทบทวนระบบที่สำคัญ เปนประจำทุกป รวมทั้งไดมีการเปดเผยความเห็น ไวในรายงานประจำปภายใตหัวขอ “รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ” 3.6 บริษัทฯ มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และมีระบบการบริหารความเสี่ยงครอบคลุมทั้งองคกรโดยไดมีการประกาศ ใช “นโยบายและกรอบในการบริหารจัดการความเสี่ยง” อยางเปนทางการ เพื่อนำการบริหารจัดการความเสี่ยงไปผสาน รวมกับกลยุทธทางธุรกิจและการปฏิบัติงาน อีกทั้งมีระบบการตรวจสอบภายในแบบ Risk-based Audit Approach ซึ่ง ฝายตรวจสอบภายในจะทำการสอบทานระบบงานตางๆ และรายงานใหคณะกรรมการตรวจสอบทราบเปนประจำ และ ไดมีการเปดเผยไวในรายงานประจำปภายใตหัวขอ “รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ” นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีการทบทวนการประเมินความเสี่ยงเพื่อใชเปนแนวทางในการบริหารจัดการเปนประจำทุกป 3.7 บริษัทฯ กำลังพิจารณาเรื่องการเขารวม “โครงการแนวรวมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต” (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)) ซึ่งมีสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors หรือ IOD) เปนเลขานุการของโครงการฯ โดยขณะนี้อยูในระหวางศึกษาขอมูลเพื่อพิจารณาเรื่อง การลงนามในคำประกาศเจตนารมณแนวรวมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีชองทางสำหรับผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทำการรองเรียนหรือแจงเบาะแส เกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือการกระทำผิดจรรยาบรรณธุรกิจมายังคณะกรรมการบริษัทได โดยผานคณะ กรรมการตรวจสอบ โดยบริษัทฯ ไดเปดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับการดำเนินการในเรื่องดังกลาวไว ในหมวดที่ 3 เรื่อง บทบาทของผูมีสวนไดเสีย 3.8 คณะกรรมการมีกลไกการกำกับดูแลบริษัทยอย เพื่อดูแลรักษาผลประโยชนในเงินลงทุนของบริษัท ซึ่งบริษัทฯ ไดเปดเผย ขอมูลดังกลาวไว ภายใตหัวขอ “การกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวม” 4. การประชุมคณะกรรมการ 4.1 บริษัทฯ กำหนดการประชุมคณะกรรมการและวาระการประชุมหลักเปนการลวงหนา และแจงใหกรรมการแตละคนทราบ กำหนดการและวาระการประชุมหลักดังกลาว อยางไรก็ตาม ในกรณีจำเปนเรงดวน อาจมีการเรียกประชุมคณะกรรมการ เปนการเพิ่มเติมได

156 m n È


4.2 บริษัทฯ มีการกำหนดไว ในนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี ใหกรรมการที่มิใชผูบริหารสามารถที่จะประชุมระหวาง กันเองไดตามความจำเปนโดยไมมีกรรมการที่เปนผูบริหารหรือฝายจัดการเขารวมประชุม เพื่ออภิปรายปญหาตางๆ เกี่ยวกับการจัดการหรือเรื่องที่อยูในความสนใจ ซึ่งในป 2556 กรรมการที่มิใชผูบริหารไดมีการประชุมระหวางกันเอง ในรูปแบบของการประชุมอยางไมเปนทางการหลังจากเสร็จสิ้นการประชุมคณะกรรมการบริษัท 4.3 ในป 2556 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการ จำนวน 9 ครั้ง ซึ่งเหมาะสมกับภาระหนาที่และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการและการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งนี้ สัดสวนการเขารวมประชุมของกรรมการทุกคนคิดเปนรอยละ 82.22 ของจำนวนการประชุมทั้งป 4.4 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ รวมกันพิจารณาการเลือกเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปน วาระการประชุมคณะกรรมการ นอกจากนี้ กรรมการแตละคนมีความเปนอิสระที่จะเสนอเรื่องเขาสูวาระการประชุม 4.5 บริษัทฯ จัดสงขอมูลประกอบการประชุมใหแกกรรมการเปนการลวงหนาอยางนอย 5 วันทำการกอนวันประชุม โดย ขอมูลมีลักษณะโดยยอแต ใหสารสนเทศครบถวน สำหรับเรื่องที่ ไมประสงคเปดเผยเปนลายลักษณอักษรก็ใหนำเรื่อง อภิปรายกันในที่ประชุม 4.6 ประธานกรรมการจัดสรรเวลาไวอยางเพียงพอที่ฝายจัดการจะเสนอเรื่องและมากพอที่กรรมการจะอภิปรายปญหาสำคัญ กันอยางรอบคอบโดยทั่วกัน 4.7 คณะกรรมการสามารถเขาถึงสารสนเทศที่จำเปนเพิ่มเติมไดจากกรรมการผูจัดการใหญ หรือเลขานุการบริษัท หรือ ผูบริหารอื่นที่ ไดรับมอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายที่กำหนดไว นอกจากนี้ ในกรณีที่จำเปนคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการชุดยอยแตละคณะ อาจจัดใหมีความเห็นอิสระจากที่ปรึกษาหรือผูประกอบวิชาชีพภายนอก โดยถือเปน คาใชจายของบริษัทฯ 4.8 คณะกรรมการสนับสนุนใหกรรมการผูจัดการใหญเชิญผูบริหารระดับสูงเขารวมประชุมคณะกรรมการเพื่อใหสารสนเทศ รายละเอียดเพิ่มเติมในฐานะที่เปนผูเกี่ยวของกับปญหาโดยตรง 5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ 5.1 คณะกรรมการบริษัท ทำการประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองเปนประจำทุกป 6. คาตอบแทน 6.1 คาตอบแทนของกรรมการของบริษัทฯ จัดไดวาอยู ในลักษณะที่เปรียบเทียบไดกับระดับที่ปฏิบัติอยู ในอุตสาหกรรม ประสบการณ ภาระหนาที่ ขอบเขตของบทบาทและความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึง ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากกรรมการแตละคน นอกจากนี้ กรรมการที่ ไดรับมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบ เพิ่มขึ้น เชน กรรมการอิสระที่เปนสมาชิกของคณะกรรมการชุดยอยก็ ไดรับคาตอบแทนเพิ่มที่เหมาะสมดวย บริษัทฯ เปดเผยคาตอบแทนของกรรมการในป 2556 เปนรายบุคคลไว ในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 ซึ่งได เผยแพร ไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ 6.2 คาตอบแทนของกรรมการผูจัดการใหญและผูบริหารระดับสูงเปนไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการกำหนด ภายในกรอบที่ ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน (สำหรับคาตอบแทนประเภทที่ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน) และเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ ระดับคาตอบแทนที่เปนเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบัติงาน และผลตอบแทน จูงใจในระยะยาว ก็มีความสอดคลองกับผลงานของบริษัทฯ และผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละคนดวย 6.3 คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนฯ เปนผูประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานคณะผูบริหารเปนประจำทุกปเพื่อนำไป ใช ในการพิจารณากำหนดคาตอบแทนของประธานคณะผูบริหาร โดยใชบรรทัดฐานที่ ไดตกลงกันลวงหนากับประธาน คณะผู บ ริ ห ารตามเกณฑ ที่ เ ป น รู ป ธรรม ซึ่ ง รวมถึ ง ผลการปฏิ บั ติ ง านทางการเงิ น ผลงานเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต าม วัตถุประสงคเชิงกลยุทธในระยะยาว การพัฒนาผูบริหาร ฯลฯ และกรรมการอาวุโสที่ ไดรับมอบหมายจากประธาน กรรมการ เปนผูสื่อสาร ผลการพิจารณาใหประธานคณะผูบริหารทราบ 157


7. การพัฒนากรรมการและผูบริหาร 7.1 บริษัทฯ สงเสริมและอำนวยความสะดวกใหมีการฝกอบรมและการใหความรูแกผูเกี่ยวของในระบบการกำกับดูแลกิจการ ของบริษัทฯ เชน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบริหาร เลขานุการบริษัท เปนตน เพื่อใหมีความรู ในการปฏิบัติงาน อยางตอเนื่อง การฝกอบรมและใหความรูดังกลาว มีทั้งที่กระทำเปนการภายในบริษัทฯ และใชบริการของสถาบัน ภายนอก 7.2 คณะกรรมการสนับสนุนกรรมการใหเขาอบรมหลักสูตรหรือเขารวมกิจกรรมสัมมนาที่เปนการเพิ่มพูนความรูในการปฏิบัติงาน อยางตอเนื่อง โดยในป 2556 มีกรรมการของบริษัทฯ จำนวน 1 ทาน เขารับการอบรมตอเนื่อง โดย อบรมในหลักสูตร IOD Director Briefing 1/2013 Thailand’s Economic Outlook 2013, IOD Tea Talk : “Effective Regulation and Corporate Governance in Asia” and The 2nd National Director Conference 2013 “Board Leadership Evolution” ที่ จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 7.3 ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม ฝายจัดการไดจัดทำและนำสงเอกสารและขอมูลที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติ หนาที่ของกรรมการใหม รวมถึงการจัดใหมีการแนะนำลักษณะธุรกิจและแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ใหแก กรรมการใหม 7.4 บริษัทฯ มีการจัดทำ “แผนสืบทอดตำแหนง” อยางเปนทางการสำหรับผูบริหารระดับสูง เนื่องจาก ตระหนักยิ่งวา การ วางแผนสืบทอดตำแหนงเปนองคประกอบที่สำคัญประการหนึ่งของความสำเร็จทางธุรกิจในอนาคต บริษัทฯ จึงไดมีการ กำหนดกระบวนการและขั้นตอนปฏิบัติในการคัดเลือกบุคลากรที่จะเขามารับผิดชอบในตำแหนงบริหารที่สำคัญทุกระดับ ใหเปนไปอยางเหมาะสม โดยมีกระบวนการจัดทำแผนสืบทอดตำแหนง ดังตอไปนี้ (1) กำหนดรายรายชื่อและทำการประเมินผูที่อยูในขายไดรับคัดเลือกใหเขากระบวนการสืบทอดตำแหนง ผูบริหารระดับสูง และผูบริหารที่ดำรงตำแหนงที่สำคัญ กำหนดรายชื่อและทำการประเมินผูบริหารในลำดับถัดลงมา และผูที่อยูในขายไดรับคัดเลือกใหเขากระบวนการสืบทอดตำแหนง โดยดำเนินการประเมินดังนี้ - การประเมินพนักงาน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบดวย การประเมินผลการปฏิบัติงานที่ผานมาและ แนวโนมผลการปฏิบัติงานในอนาคต การประเมินความสามารถในการตัดสินใจ จุดเดน สิ่งที่ตองปรับปรุงและพัฒนา การใหคำแนะนำเกี่ยวกับงานและเสนทางอาชีพ และการประเมินศักยภาพของพนักงาน - การประเมิน 360 องศา ตามพฤติกรรมที่สอดคลองกับคานิยมองคกร - การประเมินตาราง 9 ชอง โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานและพฤติกรรมที่สอดคลองกับคานิยมองคกร (2) จัดทำผังรายชื่อผูสืบทอดตำแหนง ผูดำรงตำแหนง จัดทำผังรายชื่อผูสืบทอดตำแหนงของตน โดยระบุชื่อผูใตบังคับบัญชาที่เปนผูที่เหมาะสมที่สุดที่สามารถ รับตำแหนงแทนไดจำนวน 3 คน (อาจมีจำนวนมากหรือนอยกวานี้ ได) โดยเรียงตามลำดับความพรอมของผู ไดรับการ เสนอชื่อแตละคน (3) พิจารณาทบทวนผังรายชื่อผูสืบทอดตำแหนงและจัดทำแผนสืบทอดตำแหนงของบริษัทโดยรวม กรรมการผูจัดการใหญ ผูบริหารระดับสูง และผูบริหารฝายทรัพยากรบุคคล ประชุมพิจารณาทบทวนผังรายชื่อผูสืบทอด ตำแหนง และรวบรวมแผนสืบทอดตำแหนงทั้งหมดของบริษัท โดยมีองคประกอบคือ รายงานภาพรวมธุรกิจ โครงสราง องคกร ผังรายชื่อผู ไดรับคัดเลือกใหเขากระบวนการสืบทอดตำแหนง ตาราง 9 ชอง ผลการประเมินพนักงาน และผลการ ประเมิน 360 องศา

158 m n È


(4) จัดทำแผนพัฒนาผูบริหารที่ ไดรับการบรรจุชื่อลงในแผนสืบทอดตำแหนงเปนรายบุคคล ดำเนินการพัฒนาตามแผน และ ติดตามผลการพัฒนา (5) ดำเนินการประเมินและทบทวนแผนสืบทอดตำแหนงเปนประจำทุกป อนึ่ง ผูบริหารที่ ไดรับการบรรจุชื่อลงในแผนสืบทอดตำแหนง จะไดรับการพัฒนาตามแผนที่วางไวเปนรายบุคคล มี โครงการอบรมพัฒนาที่เนนการลงมือปฏิบัติจริง การมอบหมายงานที่ทาทาย รวมทั้งการหมุนเวียนงาน เพื่อพัฒนาทักษะ การเปนผูนำพรอมทั้งความรอบรู ในธุรกิจและการพัฒนาองคกรอยางรอบดาน ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวามีความตอเนื่องใน การจัดเตรียมผูนำที่มีความพรอม เหมาะสมสำหรับตำแหนงผูบริหารระดับสูง และตำแหนงที่สำคัญไดทันที เมื่อมีตำแหนง วางลงหรือเพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจ

159


1. การประกอบกิจการดวยความเปนธรรม บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจภายใตความถูกตองตามกฎหมาย กฎเกณฑ ขอกำหนดที่เกี่ยวของ ตลอดจนหลักคุณธรรมและการมีหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี ดูแลสิทธิตามที่กฎหมายกำหนดของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ (Stakeholders) และประสานประโยชนรวมกัน อยางเหมาะสม เพื่อให Stakeholders มั่นใจวาสิทธิดังกลาวไดรับการคุมครองและปฏิบัติดวยดี และไดรับผลตอบแทนที่เปนธรรม ดวยกันทุกฝาย คณะกรรมการบริษัทฯ จึงไดจัดใหมี “นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี” เพื่อกำหนดหลักการกำกับดูแลที่เหมาะสม กับบริษัทฯ และ จัดทำ “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทำงาน” ขึ้นเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติที่ถูกตองใหแกผูบริหารและ พนักงานทุกคนของกลุมบริษัทฯ ใหถือปฏิบัติอยางเครงครัด ทั้งนี้ นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และ คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทำงาน เปนกรอบและแนวทางปฏิบัติ ใหดำเนิน ธุรกิจโดยคำนึงถึงความเสมอภาค เปนธรรม ไมเอารัดเอาเปรียบ มีความซื่อสัตยและโปรงใสในการดำเนินธุรกิจ ไมเรียก ไมรับและ จายผลประโยชนใดๆ ที่ ไมสุจริตในการคากับคูคา ซึ่งกลุมทรู ตระหนักวา การประกอบกิจการดวยความเปนธรรมและโปรงใส เปนหัวใจสำคัญในการดำเนินงาน คือ ตองมีความ สุจริตและตรวจสอบไดเพื่อประโยชนที่เทาเทียมกันของทุกฝาย กลุมทรู ไดมีกระบวนการสั่งซื้อสินคา และบริการ ระหวางบริษัท กับผูขายสินคาและบริการ โดยใชระบบอิเล็กทรอนิคส ที่สะดวกในการตรวจสอบในดานตางๆ อาทิ งบประมาณ, การตรวจสอบ อำนาจอนุมัติ และการตรวจสอบขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับกระบวนการสั่งซื้อ ดวยการใชอินเทอรเน็ตเขามาชวยในกระบวนการสั่ง ซื้อสินคา และบริการ เพื่อใหผูขอซื้อสินคา สามารถเลือกซื้อสินคา และบริการเองไดจาก Online Catalogue ในลักษณะของ Self Service และสามารถระบุความตองการสั่งซื้อไดดวยตนเอง (Online Purchasing) โดยผูขายสินคา และบริการ จะตองผานการ คัดเลือกเขามา ตามนโยบายของบริษัท นอกจากนี้ ยังมีมาตรการกำกับดูแลที่ดีใหเกิดความโปรงใสเปนธรรม เพื่อประโยชนที่เทาเทียมกันทุกฝาย และมีระบบที่ตรวจสอบ ได อาทิ - มีกระบวนการคัดเลือกผูขายสินคาและบริการ อยางเทาเทียมกัน ดวยการเปรียบเทียบราคาที่เหมาะสม ตามนโยบายของแตละ บริษัทในกลุมทรู - มีการระบุงบประมาณ เพื่อควบคุมคาใชจายของหนวยงานตางๆ หากงบประมาณไมเพียงพอ ก็ ไมสามารถดำเนินการในการสั่ง ซื้อได - ในการอนุมตั กิ ารสัง่ ซือ้ สินคาและบริการ มีการอนุมตั อิ ยางเปนขัน้ ตอนตามระดับตำแหนง ทำใหสามารถตรวจสอบผูม อี ำนาจอนุมตั ิ ตามมูลคาสินคาได - ฝายจัดซื้อ ตองมีการตรวจสอบการสั่งซื้อสินคาและบริการทุกครั้ง นอกจากจะมีการตรวจสอบในทุกขั้นตอนของกระบวนการสั่งซื้อสินคาและบริการ สามารถตรวจเช็คขอมูลตางๆ ไดตั้งแตตนจนจบ กระบวนการแลว ยิ่งไปกวานั้น ยังสามารถเรียกดูประวัติ รายละเอียดการสั่งซื้อสินคาและบริการตางๆ ไดอีกดวย

160 m n È


2. การตอตานการทุจริตคอรรัปชั่น 1) บริษัทฯ ใหความสำคัญตอการตอตานการทุจริต ตลอดจนการรับและการจายสินบน โดยไดมีการกำหนดไวใน “คุณธรรมและ ขอพึงปฏิบัติในการทำงาน” หามพนักงานเรียกรองหรือรับสินน้ำใจเพื่อตนเองหรือเพื่อผูอื่น จากบุคคลที่รวมทำธุรกิจดวย และ หามการจายเงินหรือใหความชวยเหลือที่ถือวาเปนการติดสินบนหรือใหผลประโยชน 2) บริษัทฯ จัดใหมีชองทางสำหรับใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทำการรองเรียน หรือแจงเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติ มิชอบ หรือการกระทำผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ตอคณะกรรมการบริษัทโดยผานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยประชาสัมพันธ ไว บนเว็บไซตของบริษัทฯ www.truecorp.co.th ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ชองทางใหผูมีสวนไดเสียสามารถรองเรียนหรือแจงเบาะแสตอคณะกรรมการบริษัทผานคณะกรรมการตรวจสอบ ผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทำการรองเรียนหรือแจงเบาะแส (โดยจะไดรับการเก็บรักษาขอมูลไวเปนความลับ) เกี่ยวกับการ ทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือ การกระทำผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ตอคณะกรรมการบริษัทฯ โดยผานคณะกรรมการตรวจสอบได ตาม ที่อยูดังนี้ • จดหมายอิเล็กทรอนิกส: auditcommittee@truecorp.co.th • จดหมายสงทางไปรษณีย: เรียน คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ชั้น 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โดยหนวยงานเลขานุการบริษัทและหลักทรัพย ในฐานะที่เปนเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ จะเปนผูดูแลรับผิดชอบใน การรวบรวมและนำสงเรื่องรองเรียนหรือการแจงเบาะแสตางๆ ใหแกคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาและดำเนินการตอไป ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุปผลการดำเนินการและนำเสนอรายงานตอคณะกรรมการบริษัทฯ เปนรายไตรมาส เงื่อนไขในการรับเรื่องรองเรียนหรือการแจงเบาะแส: • ไมรับบัตรสนเทห • ผูรองเรียน/ผูแจงเบาะแส ตองระบุชื่อและนามสกุลจริง โดยบริษัทฯ จะเก็บรักษาขอมูลไวเปนความลับ ซึ่งจะ รับรู ไดเฉพาะบุคคลที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบเทานั้น • เรือ่ งที่ ไมเกีย่ วของตางๆ ดังตัวอยางดานลางนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะไมรบั ดำเนินการให: - การสมัครงาน - แบบสำรวจ หรือ การขอรับขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ - การเสนอขายสินคาหรือบริการ - การขอรับบริจาคหรือการสนับสนุนตางๆ ทั้งนี้ ในป 2556 คณะกรรมการตรวจสอบไม ไดรับเรื่องที่เปนการรองเรียนหรือการแจงเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือการกระทำผิดจรรยาบรรณธุรกิจ แต ไดรับเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับปญหาการใหบริการของบริษัทฯ จำนวน 4 เรื่อง ซึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบไดนำสงเรื่องรองเรียนดังกลาวไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อการดำเนินการที่เหมาะสม และหนวยงาน ที่เกี่ยวของของบริษัทฯ ไดดำเนินการแก ไขปญหาเปนที่เรียบรอยแลว นอกจากนี้ บริษัทฯ กำลังพิจารณาเรื่องการเขารวม “โครงการแนวรวมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต” (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)) ซึ่งมีสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors หรือ IOD) เปนเลขานุการของโครงการ โดยขณะนี้อยูในระหวางศึกษาขอมูลเพื่อพิจารณาเรื่องการลงนาม ในคำประกาศเจตนารมณแนวรวมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต

161


3) เพื่อเปนการรณรงคตอตานการทุจริต กลุมทรูใหการสนับสนุนสำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหงชาติ (ปปช.) ในการจัดพิธีมอบรางวัลชอสะอาด ประจำป 2556 แกสื่อมวลชนที่มีผลงานดีเดนดานสนับสนุนและสงเสริม การปองกันและปราบปรามการทุจริต กลุมทรูในฐานะองคกรสนับสนุนการผลิตและเผยแพรสปอตประชาสัมพันธเชิญชวนให สื่อตางๆ สงผลงานเขาประกวด รวมทั้งการประมวลภาพพิธีมอบรางวัล ออกอากาศทางทรูวิชั่นส กวา 20 ชองรายการ ตลอดจนนำศิลปนทรูเอเอฟรวมรองเพลงรณรงคตอตานการทุจริต “ไม ใฝ โกง” สรางคานิยมที่ดี ในการตอตานคอรรัปชั่น ระหวางเดือนพฤษภาคม - พฤศจิกายน 2556

3. การเคารพสิทธิมนุษยชน 1) กลุมทรู เล็งเห็นความสำคัญในการสงเสริมคุณภาพชีวิตผูพิการ ใหดำรงชีวิตไดตามมาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสมและเปน ไปอยางยั่งยืน กลุมบริษัททรูจึงเปดโอกาสใหผูพิการมีอาชีพและรายไดเปนของตนเอง ตามความรูความสามารถ และไดเริ่ม จางงานผูพิการมาตั้งแตป พ.ศ. 2537 จนถึงปจจุบันมีผูพิการเปนพนักงานจำนวน 21 คน ในสาขาอาชีพตางๆ เชน วิศวกร, ชาง เทคนิค, ฝายบริการลูกคา และผูชวยพนักงานขาย โดยในป 2557 กลุมบริษัททรู มีโครงงานสงเสริมอาชีพผูพิการ ตามมาตรา 35 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูพิการ พ.ศ. 2550 โดยสงเสริมกลุมบุคคลออทิสติกและผูพิการทางการ มองเห็น จำนวน 203 คน ภายใตชื่อ “โครงการพัฒนาศักยภาพงานพิมพและการจัดการสำนักงานสำหรับบุคคลออทิสติก และ ครอบครัว” โดยจัดการฝกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานบริหารศูนยวิชาชีพใหแกผูพิการ โดยพัฒนาทักษะใน 3 หลักสูตร รวมจำนวน 1,800 ชั่วโมง ไดแก (1) หลักสูตรการอบรมคอมพิวเตอรพนื้ ฐานสำหรับบุคคลออทิสติกและผูพิการทางการเรียนรู จำนวน 600 ชั่วโมง (2) หลักสูตรอบรมคอมพิวเตอรเพื่อการทำงานและงานพิมพสำหรับบุคคลออทิสติกและผูพิการทางการเรียนรู จำนวน 600 ชั่วโมง (3) หลักสูตรการสอนงานสำนักงานสำหรับบุคคลออทิสติกและผูพิการทางการเรียนรู จำนวน 600 ชั่วโมง 2) บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจโดยใหความเคารพสิทธิที่มนุษยทุกคนสมควรไดรับในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของสังคม ตลอดจนความมี เสรีภาพและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย ใหความเสมอภาคโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ เคารพความเทาเทียมกันภายใต กฎหมาย 3) บริษัทฯ มีการปฏิบัติที่เปนรูปธรรมอยางชัดเจน ให โอกาสและไมรังเกียจเดียดฉันทผูพิการเขารวมเปนพนักงาน ใหสิทธิและ สนับสนุนสงเสริม 4) Autistic application กลุมทรูและมูลนิธิออทิสติกไทย รวมพัฒนาศักยภาพเด็กออทิสติกและครอบครัว โดยนำนวัตกรรมของ กลุมทรู “Autistic Application” ที่ติด 1 ใน 10 แอพพลิเคชั่นการศึกษาที่ ไดรับความนิยมใน 25 ประเทศทั่วโลก มาเสริมทักษะ แกเด็กออทิสติก พรอมประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ ของกลุมทรูอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ ผูสนใจ สามารถดาวน โหลด Autistic Application ไดแก Daily Tasks, Trace & Share และ Communications โดยไมเสียคาใชจาย 5) Closed Caption on TrueVisions Channel กลุมทรู ไดมีการจัดทำ Closed Caption หรือ Digital Video Broadcasting (DVB) subtitles ใหกับคนหูหนวกขึ้น และไดทำการทดลองออกอากาศตั้งแตวันที่ 17 กันยายน 2555 โดยไดทดลองออกอากาศใน 3 ชอง คือ ชอง True Explore 1, ชอง True Explore 2 และชอง TNN24 ทั้งนี้ ไดประสานงานกับทางสมาคมคนหูหนวก แหงประเทศไทย เพื่อหาความรวมมือตอไป 6) “From True to TAB...Opening the World to the Blind” (TAB = Thailand Association of the Blind) เพื่อเปนการอำนวย ความสะดวกในการเขาถึงขาวสารของผูพิการทางสายตา กลุมทรูรวมกับสมาคมคนตาบอดแหงประเทศไทย จัดงาน “From True to TAB...Opening the World to the Blind” (TAB = Thailand Association of the Blind) เปดตัวแพ็กเกจพิเศษที่จัดขึ้น สำหรับผูพิการทางสายตาโดยเฉพาะ ใหสามารถโทรศัพทและใชงานอินเทอรเน็ตได ไมจำกัด ผาน iPhone 4 รุน 8GB ดวย ฟงกชั่น ‘Voice Over’ มอบประสบการณการเขาถึงขอมูลขาวสารแกผูพิการทางสายตาผานเทคโนโลยี 3G จากทรูมูฟ เอช

162 m n È


4. การปฏิบัติตอแรงงานอยางเปนธรรม 1) โครงการปลูกรัก จัดกิจกรรมตางๆ ดังนี้ (1) Happiness Temperature (HT) สำรวจระดับความสุขของพนักงาน เพื่อนำผลที่ ไดมาพัฒนาปรับปรุงใหเหมาะสมกับความ ตองการของพนักงาน โดยสำรวจผาน HR website (2) Wellness Spa บริการนวดแผนไทย เพื่อเปนการผอนคลายแกพนักงาน (3) ปลูกรักสุขภาพดี เพื่อเปนการกระตุนใหพนักงานดูแลสุขภาพในเชิงปองกัน จึงจัดใหมีการตรวจรางกายพิเศษ จัดแขงขัน รณรงคดูแลสุขภาพ เชน การลดน้ำหนัก 5K10K, การเดิน-วิ่ง 5K10K, การเดิน-วิ่งขึ้นชมวิวดาดฟา, การแขงกระโดดเชือก ฯลฯ (4) ปลูกรักปลูกธรรม จัดใหมีการสวดมนตและตักบาตรรวมกันทุกสัปดาห รวมทั้งจัดบรรยายธรรมะทุกเดือน นอกจากนี้ ยังมี การจัดอุปสมบทพนักงาน-ผูบริหารเพื่อถวายเปนพระราชกุศล และจัดหลักสูตรใหพนักงานสามารถไปฝกอบรมปฏิบัติธรรม เปนเวลา 5 วันตอป

5. ความรับผิดชอบตอผูบริโภค 1) กลุมทรูไดจัดใหมีโครงการตางๆ เพื่อปลูกฝงใหพนักงานใหความสำคัญตอลูกคา ดังนี้ (1) All4One Contest กลุมทรู จัดประกวดสายงานบริการที่ดูแลลูกคา เพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกลูกคา ทีมที่ชนะเลิศ จะไดรับเงินรางวัลและศึกษาดูงานในตางประเทศ (2) Caring Forwards Contest กลุม ทรูจดั ประกวดสายงานทีส่ นับสนุน เพือ่ ใหเกิดกระบวนการสงตอการบริการทีร่ าบรืน่ โดยจัด สลับปเวนป กับ All4One Contest ทีมทีช่ นะเลิศจะไดรบั เงินรางวัลและศึกษาดูงานในตางประเทศ 2) Tech Tips by True กลุม ทรูจดั ทำสือ่ เพือ่ สรางความรูค วามเขาใจแกผบู ริโภคในเรือ่ งการใชงานดานเทคโนโลยีและอุปกรณไอทีตา งๆ (Tech Tips by True) เพือ่ ลดการรองเรียนของลูกคาในกลุม ทรูอนั เนือ่ งมาจากความไมรหู รือเขาใจผิด รวมทัง้ สรางภาพลักษณทดี่ ี ของกลุม ทรู โดยการนำเสนอในรูปแบบถาม-ตอบ พรอมคำแนะนำเกร็ดความรูด า นเทคโนโลยีทเี่ กีย่ วกับบริการของกลุม ทรู ผาน สือ่ สิง่ พิมพ วิทยุและโทรทัศนทเี่ ขาถึงกลุม ประชาชนทัว่ ไป 3) กลุม ทรูยงั ใหความสำคัญตอผูบ ริโภค โดยริเริม่ การนำระบบ Total Quality Management (TQM) ซึง่ เปนกระบวนการพัฒนาระบบ บริหารจัดการคุณภาพองคกร มาปรับใชในการดำเนินงานสำหรับทุกหนวยงานในองคกร เพือ่ ปรับกระบวนการทำงานทีจ่ ะสงผล ตอคุณภาพสินคาและบริการสำหรับลูกคาตอไป

6. การดูแลรักษาสิ่งแวดลอม 1) กิจกรรมปลูกใจรักสิ่งแวดลอมภายใต โครงการทรูปลูกปญญา (1) เพื่ อ เป น การเชิ ญ ชวนให ค นไทยร ว มอนุ รั ก ษ ธ รรมชาติ กลุ ม ทรู ร ว มกั บ กรมอุ ท ยานแห ง ชาติ สั ต ว ป า และพั น ธุ พื ช เป ด โครงการประกวดภาพถายอนุรักษธรรมชาติ “สัตวมีคา ปามีคุณ” ประจำป 2556 ตอเนื่องเปนปที่ 19 ณ เขตรักษาพันธุสัตว ปาหวยขาแขง ชิงถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและถวยประทานสมเด็จพระเจา พี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทรพรอมเงินรางวัลรวมมูลคากวา 400,000 บาท พรอมสิทธิ พิเศษทองเที่ยวอุทยานแหงชาติหรือเขตรักษาพันธุสัตวปาทั่วประเทศ ซึ่งในป 2556 มีภาพถายสงเขาประกวดทั้งสิ้น 2,475 ภาพ จาก 425 คน จาก 46 สถาบัน ใน 46 จังหวัดทั่วประเทศ (2) มี ก ารจั ด ทำสมุ ด ภาพและปฏิ ทิ น เพื่ อ รวบรวมภาพถ า ยอนุ รั ก ษ ธ รรมชาติ ซึ่ ง ทำมาจากงานพิ ม พ สี เ ขี ย วรั บ ผิ ด ชอบต อ สิ่งแวดลอม (GreenPrint Reduce CO2 Emission) ซึ่งในสวนของสมุดภาพสามารถชวยลดการปลอยกาซคารบอนได 163


20.68% และในสวนของปฏิทินลดได 24.82% 2) กลุมทรูไดจัดทำโครงการประหยัดพลังงานประจำป พ.ศ. 2556 จำนวน 3 โครงการ ไดแก (1) การลดการใชพลังงานโดยการปดอุปกรณแมขาย (Server) โดยที่ผานมามีการใชงานการสื่อสารขอมูล บนอุปกรณ Server และอุปกรณลูกขายลดลง ในขณะที่จำนวนอุปกรณยังคงเปดใชงานเทาเดิม จึงมีแนวคิดที่จะยุบควบรวมอุปกรณทั้ง 2 ประเภทใหลดลง เหลือเฉพาะที่ตองการใชเทานั้น โดยนำขอมูลการใชงานมาวิเคราะหหาอุปกรณลูกขายที่ ไมมีการใชงาน หรือใชงานนอยมากมาพิจารณาการลดจำนวนอุปกรณแมขายและลูกขายไปพรอมๆ กัน ทั้งนี้เพื่อลดการใชพลังงานให นอยลง (2) การเปลี่ยนหลอดไฟสองสวางฟลูออเรสเซนสเปนหลอดตะเกียบ ปจจุบันหลอดไฟสองสวางที่ใช ในหองชุมสายโทรศัพท เปนแบบฟลูออเรสเซนส หรือหลอดแบบยาวสีขาวไดเสื่อมสภาพแลว จึงไดทำการเปลี่ยนเปนหลอดแบบตะเกียบเพราะ ใช ไฟฟานอยกวา รวมทั้งงายตอการบำรุงรักษา ทั้งขั้นตอนการเปลี่ยนและติดตั้ง (3) โครงการติดตั้ง Free Flow สำหรับหอง GPRS โดยเปลี่ยนการใชอุปกรณทำความเย็นเครื่องปรับอากาศที่ใชพลังงานไฟฟา จำนวนมาก มาเปนระบบใหความเย็นโดยใชพัดลมและอากาศจากภายนอกรวมกัน ทั้งนี้การใชพลังงานไฟฟาภายในอาคาร ชุมสายโทรศัพทจะเกิดจากการทำงานของระบบปรับอากาศ 40-50 % หากสามารถหยุดการทำงานของเครื่องปรับอากาศ หรือลดจำนวนชั่วโมงการใชงานลงก็จะชวยลดการใชพลังงานได จึงไดดำเนินโครงการติดตั้ง Free Flow (ระบบระบายความ รอนดวยอากาศ) สำหรับหอง GPRS โดยออกแบบพัดลมใหดูดอากาศภายในหองออกไปทิ้งนอกหอง และออกแบบชองลม เขาใหมีปริมาณลมที่เหมาะสม ก็จะทำใหอุณหภูมิภายในหองอยูในเกณฑที่กำหนด (ประมาณ 28-35 องศาเซลเซียส) ทำให สามารถหยุดการใชงานเครื่องปรับอากาศลงได ซึ่งชวยลดการใชพลังงานไฟฟาไดมากถึง 25-30%

7. การรวมพัฒนาชุมชนหรือสังคม 1) โครงการเปดโลกทัศนการเรียนรูสู โรงเรียนทั่วประเทศ (1) คัดเลือกโรงเรียนทรูปลูกปญญาและโรงเรียนตนแบบทรูปลูกปญญาประจำป 2556 กลุมทรู คัดเลือกโรงเรียนในโครงการ ทรูปลูกปญญาประจำป 2556 เพิ่มอีก 1,000 โรงเรียน และคัดเลือกโรงเรียนตนแบบทรูปลูกปญญา จำนวน 5 โรงเรียน และไดสงมอบชุดอุปกรณและสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรูเพิ่มเติมแกทุกโรงเรียนภายใต โครงการทรูปลูกปญญา ประกอบดวย วิดีโอแนะนำเนื้อหา วิธีติดตั้ง ตลอดจนการดูแลรักษาสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู อุปกรณชวยบันทึกรายการสาระความรูตาง ๆ ที่ออกอากาศทางทรูวิชั่นส เก็บไวเปนดิจิทัลไฟล เพื่อนำไปเปนคลังความรู โดย ณ สิ้นป 2556 มีโรงเรียนในโครงการ ทรูปลูกปญญาทั้งสิ้น 5,000 แหง และมีโรงเรียนตนแบบทรูปลูกปญญาทั้งสิ้น 36 โรงเรียน (2) สงมอบและติดตั้งชุดกระดานอัจฉริยะเพื่อการเรียนการสอน (Active Board) เพื่อเปนการสงเสริมและขยายศักยภาพของ ผูบริหารและคณะครู ของโรงเรียนที่สามารถบูรณาการการใชสื่อ ทรูปลูกปญญาไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด กลุมทรู ได สงมอบและติดตั้งชุดกระดานอัจฉริยะเพื่อการเรียนการสอน (Active Board) ใหกับโรงเรียนบานดอนไทรงาม จ.ชุมพร ซึ่ง เปนโรงเรียนตนแบบที่ ไดรับการคัดเลือกเปนโรงเรียนตนแบบทรูปลูกปญญาดีเดน ประจำป 2556 (3) จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการสรางความเขมแข็งให โรงเรียนตนแบบ เพื่อเปนการสรางความรวมมือในการพัฒนาโครงการ ทรูปลูกปญญา กลุมทรูจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการสรางความเขมแข็งให โรงเรียนตนแบบเพื่อหาแนวทางในการพัฒนา และขยายผลการใชสื่อทรูปลูกปญญาสู โรงเรียนในโครงการทรูปลูกปญญาใกลเคียง สรางเครือขายการเรียนรู ใหเกิดผล สัมฤทธิ์ตอนักเรียน โดยมีโรงเรียนในโครงการ กวา 700 โรงเรียน และมีคุณครู 1,355 ทาน เขารวมอบรม (4) โครงการประกวดผลงานครู ประจำป 2556 หัวขอ “สื่อทรูปลูกปญญาสรางสรรคการเรียนรูสู Student Centric” เพื่อ กระตุนใหครูในโรงเรียนทรูปลูกปญญาสรางผลงานโดยใชสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรูทรูปลูกปญญามาใชในการเรียนการสอน โดยมุงเนนนักเรียนเปนศูนยกลางไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด กลุมทรูจึงจัดโครงการประกวดผลงานครู ประจำป 2556 โดยจะคัดเลือกครูที่มีผลงานดีที่สุด 25 ทาน เดินทางไปทัศนศึกษาการเรียนการสอนของโรงเรียนที่ใช ไอซีที ณ ประเทศ เกาหลีใต (5) พลังวตท. ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ในป 2556 โครงการทรูปลูกปญญารวมสนับสนุนโครงการ “พลังวตท.ลดความ 164 m n È


เหลื่อมล้ำในสังคม” ของคณะนักศึกษา วตท. รุนที่ 16 โดยการรับมอบ 4 โรงเรียน ตชด. ใน จ.อุดรธานี ซึ่งเปนโรงเรียน ภายใตการดูแลของวตท. 16 เขารวมเปนโรงเรียนภายใต โครงการทรูปลูกปญญา ป 2556 (6) โครงการทรูอาสา True ปลูกปญญา เพื่อเปดโอกาสใหพนักงานกลุมทรูไดมีสวนรวมในโครงการทรูปลูกปญญาอยาง ตอเนื่อง กลุมทรูจัดโครงการ ทรูอาสา True ปลูกปญญา นำพนักงาน จำนวน 85 คน เขารวมกิจกรรมอาสาฟนฟูโรงเรียน บานโปงไทร อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี ซึ่งเปน 1 ในโรงเรียนตนแบบทรูปลูกปญญา ในวันที่ 31 ตุลาคม 2556 (7) เว็บไซตทรูปลูกปญญาดอทคอม เพื่อเปนการสงเสริมใชสื่อและเทคโนโลยีในการพัฒนาศักยภาพดานการศึกษา แสวงหา ความรูและแลกเปลี่ยนขอมูลที่หลากหลายและกวางขวาง กลุมทรู จัดประกวด “สรางคลังความรูกับทรูปลูกปญญา ดอทคอม ครั้งที่ 3” ทั้งประเภทกลุมสาระการเรียนรู และประเภทสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ชิงถวยพระราชทานสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พรอมทุนการศึกษาและรางวัลรวมมูลคากวา 1 ลานบาท (8) English We Can ดวยตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแกครูและนักเรียนในพื้นที่หางไกล เพื่อ เตรียมพรอมกาวสูการเปนสมาชิกประชาคมอาเซียน กลุมทรู รวมกับบริติช เคานซิล ประเทศไทย จัดโครงการ “English … We Can” คัดเลือกคณะครู 40 สถาบันจากโรงเรียนในโครงการทรูปลูกปญญา 4,000 แหง ทั่วประเทศที่ผานการคัดเลือก รอบแรก เขารวมอบรมหลักสูตรพัฒนาการสอนภาษาอังกฤษโดยผูเชี่ยวชาญจากสถาบันเจาของภาษาชั้นนำ เปนเวลา 120 ชั่วโมง (6 เดือน) ชูหลักสูตรทันสมัยผสาน 3 รูปแบบการเรียน ประกอบดวย 1. การเรียนแบบ Face-to-Face กับครูผูสอน ของ British Council ที่กรุงเทพฯ 2. การเรียนทำแบบฝกหัดผานโปรแกรมออนไลนของ British Council 3.การเรียนผาน โปรแกรม iMeeting ที่ผูเรียนและผูสอนสามารถสื่อสารแบบ realtime interactive จากหลายพื้นที่ ในเวลาเดียวกัน หลัง อบรมทีมทรูปลูกปญญาและ British Council ไดคัดเลือกคุณครูที่มีศักยภาพดีเดน 6 ทาน และลงพื้นที่ติดตามประเมินผล เพื่อตัดสินหาโรงเรียนชนะเลิศรับรางวัล “Best English Practice School” ไปทัศนศึกษาดูงานการจัดการเรียนการสอน ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ (9) Once Upon a Time Award ทรูปลูกปญญารวมกับ บริติช เคานซิล ประเทศไทยรวมจัดกิจกรรมประกวดการเลานิทานเปน ภาษาอังกฤษ “Once Upon a Time Award” โดยเชิญมิส แจน เบลค นักเลานิทานระดับโลกจากประเทศอังกฤษมานำเสนอ การเลานิทาน ณ โรงเรียนบานหนองฝาย อ. เลาขวัญ จ. กาญจนบุรี เพื่อฝกทักษะการใชภาษาอังกฤษและการแสดงออก ของเด็กนักเรียน (10) หมู บ า นทรู ป ลู ก ป ญ ญา เพื่ อ เป น การต อ ยอดการสนั บ สนุ น กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมภายใต โ ครงการทรู ป ลู ก ป ญ ญา โดยใช โรงเรียนทรูปลูกปญญาเปนศูนยกลาง กลุมทรู มีดำริพัฒนาหมูบานใกล โรงเรียนขยายการชวยเหลือเพื่อพัฒนาชุมชน มีการลงพื้นที่เพื่อสำรวจความตองการในดานตางๆ ของชุมชนเพื่อจัดตั้งเปนหมูบานทรูปลูกปญญาในอนาคต โดยในขณะนี้ ไดมีการคัดเลือกหมูบานโปงไทร อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี เปนหมูบานนำรอง 2) กิจกรรมปลูกความรูภายใต โครงการทรูปลูกปญญา (1) นักวิทยนอยทรู ครั้งที่ 18 เพื่อเปนการสงเสริมเยาวชนใหมีความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทรูรวมกับสมาคม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษาไทย (สวทศ.) จัดโครงการ “นักวิทยนอยทรู” โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ระดับประถมศึกษา ระดับชาติ ประจำป 2556 ตอเนื่องเปนปที่ 18 ในหัวขอ “พัฒนาคุณภาพชีวิตดวยเศรษฐกิจ พอเพียง” ชิงทุนการศึกษา พรอมรับสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู และรับเขาเปนโรงเรียนในโครงการทรูปลูกปญญา โดยในปนี้ มีนักเรียนสงผลงานเขารวมแขงขันถึง 445 โครงงาน จาก 298 โรงเรียนใน 70 จังหวัดทั่วประเทศ 15 โครงการที่ ไดรับการ พิจารณาคัดเลือก จะไดลงมือดำเนินโครงการจริง และนำผลการศึกษามาเสนอผลงานดวยวาจา ตอหนาคณะกรรมการ เพื่อคัดเลือกผูชนะเลิศในวันที่ 16 ส.ค. และทั้ง 15 ทีม ไดนำผลงานไปรวมแสดงในงานสัปดาหวิทยาศาสตรแหงชาติ ไบเทค บางนา ระหวางวันที่ 18-20 สิงหาคม 2556 (2) คายเยาวชนทรู ครั้งที่ 7 เพื่อเปนการสงเสริมเยาวชนใหสามารถวิเคราะห ปญหาในชุมชนและสังคม ปลูกจิตสำนึกสูการ เปลี่ยนแปลงอยางสรางสรรค กลุมทรูรวมกับองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-5 เขารวมโครงการ “คายเยาวชนทรู” “เปลี่ยน...อยางสรางสรรค รวมกันเพื่อชุมชน” โดยในปนี้มีผูสมัครทั้งสิ้นจำนวน 84 โรงเรียน จาก 45 จังหวัดทั่วประเทศ และคัดเลือกโรงเรียนที่มีผลงานดีเดนเพื่อรับเปนโรงเรียนในโครงการทรูปลูกปญญา กิจกรรมของทั้ง 10 โรงเรียนจะมานำมาเผยแพรออกอากาศทางชองตางๆ ของทรูวิชั่นสตอไป (3) นักขาวสายฟานอย รุนที่ 11 เพื่อเปนการเปดโอกาสแกนิสิตนักศึกษาสาขานิเทศศาสตรและสื่อสารมวลชน ไดเตรียมพรอม 165


ทำงานขาวอยางมืออาชีพ กลุมทรู รวมกับสมาคมนักขาววิทยุและโทรทัศน ไทย จัดโครงการอบรม “นักขาวสายฟานอย” รุนที่ 11 ประจำป 2556 รับสมัครนิสิตนักศึกษาสาขาสื่อมวลชนและนิเทศศาสตร จำนวน 62 คนจากสถาบันอุดมศึกษา ทั่วประเทศ ไดเรียนรูวิธีการทำงานขาววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนจากนักขาวมืออาชีพ ทั้งเทคนิคการจับประเด็น ขาว เขาถึงแหลงขอมูล และรายงานขาวอยางมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ พรอมฝกปฏิบัติจริง (4) นักขาวพิราบนอย รุนที่ 16 เพื่อเปดโอกาสใหนิสิต นักศึกษาเตรียมพรอมเขาสูการเปนนักสื่อสารมวลชนมืออาชีพ กลุมทรู รวมกับสมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย จัดโครงการอบรม “นักขาวพิราบนอย” รุนที่ 16 ประจำป 2556 ให นิสิต นักศึกษาภาควิชาวารสารศาสตร นิเทศศาสตร และสื่อสารมวลชน จำนวนกวา 60 คน จากสถาบันการศึกษาทั่ว ประเทศ ไดเรียนรูและฝกฝนทักษะ พรอมฝกปฏิบัติการทำขาวเพื่อสื่อหนังสือพิมพ และ Social Media ตางๆ เสมือนจริง พรอมเรียนรูเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง ซึ่งมีสวนสำคัญในการใชงานคอมพิวเตอรในโลกออนไลน (5) TrueVisions BBC Future Journalist เพื่ อ เป น การเป ด โอกาสให นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาด า นสื่ อ สารมวลชนได มี โ อกาสสั ม ผั ส ประสบการณทำขาว จากสำนักขาวระดับโลก ทรูวิชั่นสรวมกับ บีบีซี เวิลดนิวส และสภาสถาบันนักวิชาการสื่อสารมวลชน แหงประเทศไทย จัดโครงการ “TrueVisions - BBC World News Future Journalist Award 2013” ขึ้น เปนปที่ 10 โดยรับ สมัครและคัดเลือก 30 คน เพื่อเขารับการอบรมเชิงปฏิบัติ “กระบวนการขาว” โดยวิทยากรผูทรงคุณวุฒิทั้งในและตาง ประเทศรวมถายทอดประสบการณขาว รวมถึงฝกปฏิบัติในสนามขาวจริงและตัดสินคัดเลือก 5 นักขาวแหงอนาคตดีเดน ประจำภูมิภาค รับทุนฝกงาน ณ สถานีขาว TNN 24 เปนเวลา 1 เดือน และคัดเลือก 2 นักขาวแหงอนาคตดีเลิศ รับทุน ฝกงานกับสำนักขาว BBC WORLD NEWS ประเทศอังกฤษเปนเวลา 3 สัปดาห 3) กิจกรรมปลูกความดีภายใต โครงการทรูปลูกปญญา (1) สามเณรปลูกปญญาธรรม ป 2 เพื่อเปนการเผยแพรความรู คุณธรรม และจริยธรรมตามแนวทางพุทธศาสนา และนำไป ปฏิบัติเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม กลุมทรูจัดพิธีบรรพชาสามเณร ปลูกปญญาธรรม ป 2 ณ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ภายใตแนวคิด “จากสิ่งที่เปน สูสิ่งที่เปลี่ยน” ถายทอดสดเรื่องราวการใชชีวิตจริงและกิจวัตรประจำวันของสามเณรภาคฤดู รอนทั้ง 9 รูป ตลอด 1 เดือน (2) True Young Producer Award เพื่อเปนการเปดโอกาสใหเยาวชนนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา ไดมีเวทีเพื่อแสดงความ สามารถและความคิดสรางสรรค กลุมทรูรวมกับสมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย จัดโครงการ “True Young Producer Award 2013” ประกวดผลงานผลิตภาพยนตรโฆษณาเพื่อสังคม ในหัวขอ “Change …เปลี่ยนอะไร สังคมไทยถึงนาอยู” ความยาว 60 วินาที เพื่อกระตุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางสรางสรรคในสังคมไทย ชิงถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พรอมทุนการศึกษา และศึกษาดูงาน ณ ประเทศญี่ปุน โดยในปนี้ มีนักศึกษาสงผลงาน เขารวมประกวดจำนวน 487 ทีมจาก 43 สถาบัน จาก 18 จังหวัดทั่วประเทศ 4) โครงการ “3G+ เพื่อโรงเรียนและชุมชน” (1) กลุมทรูรวมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.), คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และ Google Thailand พัฒนาการใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ผานเครือขายของ TrueMove H 3G+ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพบริการสาธารณสุขชุมชนอยางทั่วถึง รวมทั้งการพัฒนา อ.สารภี ใหเปนตนแบบ “อำเภอสรางสุข” โดยทรูได สนับสนุนซิม 3G+ และ data package ใหแพทยของโรงพยาบาลสารภี เพื่อสามารถใหคำปรึกษาทางการแพทยแบบ real time แกเจาหนาที่ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เครือขายทั้ง 12 แหงของโรงพยาบาลสารภี (2) กลุมทรู สงมอบแอรการด 3G ใหกับ รพ.ลำปาง และ โรงพยาบาลระดับอำเภอ 4 แหง และ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตำบล อีก 14 แหง เพื่อสนับสนุนโครงการสงตัวผูปวยฉุกเฉินของ รพ.ลำปาง โดยอุปกรณ แอรการด 3G จะเชื่อมตอ อุปกรณสงคลื่นสัญญาณการเตนหัวใจ (EKG) เขากับโปรแกรม Thai Refer ซึ่งทำใหแพทย รพ.ปลายทางสามารถเตรียม การรักษาผูปวยไดอยางทันทวงที (3) กลุ ม ทรู โดยหน ว ยงาน Government Sector ร ว มมื อ กั บ จั ง หวั ด นครนายก พั ฒ นาโครงข า ยบริ ห ารราชการ โดย มี“นครนายก” เปนตนแบบ “จังหวัดอัจฉริยะ” ในโครงการ “Smart Province” วางระบบโครงขาย 3G+ และ WiFi จาก ทูรมูฟ เอช เพิ่มขีดความสามารถในการเขาถึงขอมูลขาวสารของชุมชน ผานอุปกรณสมารทดีไวซ เชื่อมตอไรสายครอบคลุม 408 หมูบานทั่วจังหวัด พรอมโครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูง และรวมพัฒนา Solution และ Application ใหสอดคลอง กับการใชงาน 166 m n È


(4) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมกับ กลุมทรู ประกาศความรวมมือใหบริการ “ICT Free WiFi by TRUE” ใหบริการ Free WiFi ที่จังหวัดเชียงใหม และนครสวรรค ตอบรับนโยบาย Smart Thailand ของรัฐบาล เสริมศักยภาพการ ใชงานอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในพื้นที่สาธารณะ เพื่อการเขาถึงขาวสารผานอินเทอรเน็ตความเร็วสูงทุกที่ที่มีสัญลักษณ ICT Free WiFi by TRUE (5) กลุมทรูสนับสนุน WiFi by TrueMove H แกชมรมนักขาวเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเชื่อมตออินเทอรเน็ตไดทุกที่ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่กวา 1 แสนฮอตสปอต ทั่วประเทศจำนวน 20 แอคเคาทๆ ละ 20 ชั่วโมง/ เดือน เปนระยะเวลา 1 ป (6) เพื่อเปนการถายทอดองคความรูการใชเทคโนโลยีการสื่อสารใหเกิดประโยชน และสรางความไดเปรียบในการแขงขัน สำหรับธุรกิจทองเที่ยวทั้งในประเทศและตางประเทศ กลุมทรู รวมกับสมาคมโรงแรมไทยภาคใต และสมาคมมัคคุเทศก อาชีพ ภูเก็ต เพิ่มศักยภาพธุรกิจทองเที่ยวและโรงแรมรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พรอมใหคำแนะนำในการใช เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม และนำเสนอนวัตกรรมบริการสื่อสารใหมๆ เพิ่มประสิทธิภาพงานบริการและขยายธุรกิจ ทองเที่ยวสำหรับนักทองเที่ยวชาวตางชาติ โดยชวยเผยแพรประชาสัมพันธกิจกรรมตางๆ รวมถึงจัดงานสัมมนาถายทอด องคความรูการใชเทคโนโลยีการสื่อสารใหเกิดประโยชนแกธุรกิจดวย (7) เพื่อเปนการตอยอดใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศดานการสื่อสารสำหรับบริหารจัดการระบบการศึกษายุคใหม กลุมทรู รวมลงนามขอตกลงความรวมมือกับสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ในโครงการติดตั้งอุปกรณระบบสื่อสารขอมูลแบบ ไรสาย กับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยขอนแกน (วิทยาเขตขอนแกนและ วิทยาเขตหนองคาย) เพื่อใหบริการ WiFi by TrueMove H แกนักศึกษาและบุคคลากรอยางทั่วถึงทั้งมหาวิทยาลัย ตอบ สนองการเปน Digital University กอนจะขยายความรวมมือไปยังสถาบันการศึกษาทุกระดับชั้นทั่วประเทศ 5) กิจกรรมสาธารณประโยชนอื่น ๆ (1) www.helplink.net จัดกิจกรรมและรวมประชาสัมพันธกิจกรรมตางๆ ดังนี้ (1.1) รวมกับศูนยรบั บริจาคอวัยวะและศูนยดวงตาสภากาชาดไทย จัดโครงการ “Let Them See Love 2013” ซึ่งจัดขึ้นปที่ 7 ดวยแนวคิด “เบอรบอกบุญ 1666” รับแจงบริจาคอวัยวะและดวงตา และรับบริจาคเงินผาน SMS ระบบทรูมูฟ และทรูมูฟ เอช มอบใหแกศูนยดวงตาและศูนยรับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย สมทบทุนคาใชจายในกระบวนการ บริจาคอวัยวะและดวงตา (1.2) เชิญชวนรวมประชาชนรวมประหยัดพลังงาน ในโครงการ Earth Hour 2013 ปดไฟใหโลกพัก จัดโดยกรุงเทพมหานคร รวมกับ WWF ประเทศไทย เชิญชวนใหประชาชนรวมปดไฟ 1 ชัว่ โมง โดยในปนตี้ รงกับวันที่ 23 มีนาคม 2556 เพือ่ รวม ประหยัดพลังงานและลดภาวะโลกรอน (1.3) เชิญชวนรวมทำบุญซื้อเสื้อ “คำวาให ...ไมสิ้นสุด” และสนับสนุนของที่ระลึกจากมูลนิธิรามาธิบดี สมทบทุนโครงการ พัฒนาอาคารและจัดหาเครื่องมือแพทยเพื่อผูปวยยากไร โรงพยาบาลรามาธิบดี (1.4) เชิญชวนรวมบริจาคสิ่งของจำเปนสำหรับผูหญิงและเด็กใหสมาคมสงเสริมสถานภาพสตรี (บานฉุกเฉิน) ซึ่งเปนบาน พักพิงชั่วคราวใหแกผูหญิงและเด็กที่ประสบปญหา (1.5) สงมอบเงินบริจาคผาน SMS ของลูกคาทรูมูฟและทรูมูฟ เอช ใหแกมูลนิธิและองคกรสาธารณกุศล 3 แหง ไดแก 1. ศูนยสมเด็จพระเทพรัตนฯแก ไขความพิการบนใบหนาและกะโหลกศีรษะ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ 2. สถาบัน สุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี โรงพยาบาลเด็ก และ 3. มูลนิธิชวยคนปญญาออนแหงประเทศไทย โดยไมหักคาใช จาย รวมเปนเงินบริจาคทั้งหมด 1,201,890 บาท (1.6) เชิญชวนคนไทย รวมบริจาคเงินผานธนาคารไทยพาณิชย สาขาสภากาชาดไทย เพื่อชวยเหลือชาวฟลิปปนส หลังเกิด เหตุการณซุปเปอรพายุไตฝุนไหเยี่ยนพัดถลม (2) โครงการทำดีใหพอดู ปที่ 7 กลุมทรู จัดกิจกรรมทำความดีในโครงการทำดีใหพอดูปที่ 7 ตอน “รวมพลังความดีเพื่อพอ” เชิญชวนคนไทยรวมกิจกรรม ทั้งสิ้น 9 กิจกรรม โดยเริ่ม 3 กิจกรรมในป 2555 และกิจกรรมที่ 4 - 9 ในตนปนี้ ไดแก (2.1) กิจกรรมที่ 4 วันที่ 10 ม.ค. เชิญชวนรวมบริจาคโลหิต 900,000 ซีซี สะทอนเรื่อง “การบริจาค” โดยเปดรับบริจาค ณ ศูนยบริการโลหิตแหงชาติสภากาชาดไทย (2.2) กิจกรรมที่ 5 วันที่ 14 ม.ค. เชิญชวนผูมีจิตอาสาจัดเวิรคช็อป เพิ่ม “ศีล” บำรุงใจ บำเพ็ญประโยชน เพื่อเสริมทักษะ 167


และเตรียมความพรอมกอนเขาเรียนใหแกเด็กพิเศษดวยกิจกรรมสรางสรรคตางๆ (2.3) กิจกรรมที่ 6 วันที่ 17 ม.ค. เชิญชวนรวมบริจาค พรอมทั้งสงมอบของเลนบริจาคแกเยาวชนที่ขาดแคลนเพื่อ สนับสนุน “ความเพียร” โดยจัดเดินขบวนบริเวณยานสยามสแควร (2.4) กิจกรรมที่ 7 วันที่ 21 ม.ค. รวมกับมูลนิธิเพื่อเยาวชนชนบทเชิญชวนประชาชนรวมกิจกรรม สะทอนหลักทศพิธราช ธรรมเรื่อง “ทาน” มอบเสื้อผาที่ ไม ไดใชเปนทานแกผูขาดแคลนในชนบท (2.5) กิจกรรมที่ 8 วันที่ 31 ม.ค. รวมกับมูลนิธิบานสงเคราะหสัตวพิการ รวมบำเพ็ญประโยชน จัดกิจกรรม รักเพื่อนสี่ขา “อยาเบียดเบียน” ทำความสะอาดกรงและใหอาหารสัตวพิการ พรอมมอบเงินแกมูลนิธิบานสงเคราะหสัตวพิการ (2.6) กิจกรรมที่ 9 วันที่ 7 ก.พ. นำพนักงานปฏิบัติธรรม ฝกใจให “ไม โกรธ” ณ เสถียรธรรมสถาน ดวยการนั่งสมาธิ เดิน จงกรม และฟงธรรมะบรรยาย ซึ่งกิจกรรมดังกลาว เปนกิจกรรมสุดทายของโครงการทำดีใหพอดูในปนี้ (3) Public Service Announcement รายการ Public Service Announcement ของทรูวิชั่นสประชาสัมพันธกิจกรรมตางๆ ที่เปน ประโยชนตอสังคม แกหนวยงานภาครัฐและเอกชน โดยไมคิดคาใชจาย ออกอากาศสปอตละ 3 ครั้ง/วัน/ชอง เปนเวลา 15-30 วันตอ 1 สปอต ผาน 22 ชองรายการตางๆ ของทรูวิชั่นส (3.1) เดือนมกราคม-มีนาคม 2556 ไดสนับสนุนการออกอากาศของหนวยงานตางๆ จำนวน 72 หนวยงาน รวมทั้งสิ้น 2,160 ครั้ง (3.2) เดือนเมษายน - มิถุนายน 2556 ไดสนับสนุนการออกอากาศของหนวยงานตางๆ จำนวน 53 หนวยงาน รวมทั้งสิ้น 1,590 ครั้ง (3.3) เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2556 ไดสนับสนุนการออกอากาศของหนวยงานตางๆ จำนวน 40 หนวยงาน รวมทั้งสิ้น 1,200 ครั้ง (3.4) เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2556 ไดสนับสนุนการออกอากาศของหนวยงานตางๆ จำนวน 47 หนวยงาน รวมทั้งสิ้น 1,410 ครั้ง (4) กลุมทรูสนับสนุนกิจกรรมของสภากาชาดไทย ดังนี้ (4.1) เชิญชวนพนักงานรวมบริจาคโลหิตถวายเปนพระราชกุศลเฉลิมพระเกียรติมหาราชินี (4.2) มอบสมารทโฟนและแท็บเล็ตแกสำนักสารนิเทศและสื่อสารองคกร สภากาชาดไทย เพื่อเผยแพรประชาสัมพันธขาวสารของ สภากาชาดไทย (5) กลุมทรู นำรายไดจากการโหวตของผูชมในรายการ ทรู อคาเดมี แฟนเทเชีย ปฏิบัติการนักลาฝนซีซั่น 9 ประจำป 2555 มอบ ใหแกมูลนิธิและองคกรการกุศล เพื่อนำไปใชจายในกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน รวมทั้งสิ้น 12,000,000 บาท (6) กลุมทรูรวมชวยเหลือผูประสบภัยน้ำทวม จังหวัดอุบลราชธานี และศรีสะเกษ ภายใต โครงการ “ทรู รวมน้ำใจไทย ชวยภัย น้ำทวม” โดยนำทีมงานในเขตพื้นที่ UPC10 สงมอบความชวยเหลือเบื้องตนแกผูประสบภัยน้ำทวม ในพื้นที่ ต. โพธิ์ ไทร อ. พิบูลมังสาหาร จ. อุบลราชธานี ต. ทาเรือ อ. เมือง จ. ศรีสะเกษ นอกจากนี้ ยังไดรวมกับคณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ใหความชวยเหลือผูประสบภัยน้ำทวมใน อ. บานสราง และ อ. ประจันตคาม จ. ปราจีนบุรี โดยมอบถุงยังชีพ จำนวน 1,000 ชุด แกผูประสบภัย ในเดือนตุลาคม 2556 (7) กลุมทรูสานตอโครงการ “เรื่องเลา...เรากับแม” ปที่ 2 ตอน “กลอมดวยรัก” เชิญชวนดาวนโหลดแอพพลิเคชั่นฟรี “The Story of Mom & Me” สำหรับกลอมเด็ก นำรายได โดยไมหักคาใชจาย สรางอาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษามหาราชินี ศูนยการ แพทยเฉพาะทางโรคเด็ก สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี (โรงพยาบาลเด็ก) ถวายเปนพระราชกุศล พรอมเชิญรวม บริจาคสมทบทุนผานชองทางอื่นๆ อาทิ SMS ระบบ ทรูมูฟ และทรูมูฟ เอช เปนตน

168 m n È


8. การมี น วั ต กรรมและเผยแพร น วั ต กรรมซึ่ ง ได จ ากการดำเนิ น งานที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม สิ่งแวดลอม และผูมีสวนไดเสีย 1) บริษัทฯ สงเสริมใหมีการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนใหมีการสรางสรรคนวัตกรรมเพื่อเปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชทรัพยากรที่มีอยู ใหคุมคามากที่สุด บริษัทฯ ไดจัดโครงการ “True Innovation Awards” มาอยางตอ เนื่องเปนประจำทุกปจนถึงปจจุบัน ซึ่งเปนโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมเปนการภายในบริษัทฯ เพื่อสงเสริมใหพนัก งานทุกคน ทุกระดับ มีสวนรวมในการสรางสรรคผลงานนวัตกรรม ที่เปนประโยชนตอองคกรและสังคมโดยรวม เปนการ กระตุนใหพนักงานเห็นความสำคัญและประโยชนของการสรางนวัตกรรม อีกทั้งนำมาประยุกตใชในหนวยงานใหเกิดการ พัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อพัฒนาพนักงานที่เขามารวมโครงการ ใหมีความรูดานนวัตกรรมอยางบูรณาการ และสามารถ ตอยอดงานนวัตกรรม และความคิดสรางสรรคใหเปนรูปธรรมและสัมฤทธิ์ผล เพื่อนำผลงานนวัตกรรม มาแกปญหาใหกับ ลู ก ค า เพื่ อ พั ฒ นาสิ น ค า บริ ก าร และกระบวนการ ก อ ให เ กิ ด ประโยชน ต อ องค ก ร ลู ก ค า และ สั ง คม (Benefits to customers, corporate and social) อาทิเชน เพิ่มความพึงพอใจลูกคา (Customer Satisfaction) เพิ่มรายได (Revenue Increase) ปรับปรุงกระบวนการทำงาน (Process Improvement) คุณคาที่ ไดรับเพิ่ม (Value Adding) การสรางสรรค (Creation) เปนตน นอกเหนือจากการจัดโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมภายในบริษัทฯ ดังกลาวแลว บริษัทฯ ใหความสำคัญและมีความ ตั้งใจที่จะมีสวนรวมในการจุดประกายและสรางแรงบันดาลใหคนไทยสนใจนวัตกรรมอยางจริงจัง ซึ่งเปนปจจัยสำคัญในการ ขับเคลื่อนใหประเทศเจริญกาวหนา โดยรวมกับหลักสูตรเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรมบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย และสำนักขาวตางประเทศ CNBC (Asia Pacific) จัดโครงการประกวด “ทรู อินโนเวชั่น อวอรดส” ซึ่งจัดเปน ประจำตอเนื่องมาทุกปเริ่มตั้งแต ป พ.ศ. 2553 เพื่อเปดโอกาสใหนวัตกรไทยไดนำเสนอความคิดสรางสรรค และพัฒนาผลงาน นวัตกรรมเพื่อคุณประโยชนแกสังคมและประเทศชาติ อีกทั้งยกระดับขีดความสามารถของคนไทยใหทัดเทียมกับนานาชาติ 2) True Incube ดวยเชื่อมั่นในศักยภาพของคนไทย กลุมทรู ริเริ่ม “ทรู อินคิวบ” (True Incube) โปรแกรมบมเพาะผูประกอบ การไทยมือใหมดานเทคโนโลยี แนวคิด “รูจริง ทำจริง ชวยจริง” เปดโอกาสใหผูที่ตองการเริ่มตนธุรกิจ แตยังขาดความ พรอมใหสามารถเริ่มตนและสรางธุรกิจใหประสบความสำเร็จไดจริง และยกระดับระบบนิเวศ (Ecosystem) ของกลุม ผูประกอบการไทยใหดียิ่งขึ้น เริ่มตั้งแตบมเพาะความคิด ใหเงินทุนดำเนินงานตามแผนธุรกิจจนเติบโตอยางเปนรูปธรรม โดยกลุมทรูเตรียมเงินกวา 250 ลานบาท พรอมสนับสนุนทรัพยากรตางๆ ของกลุมทรู และนำพันธมิตรผูพัฒนาสตารทอัพ ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ไดแก 500 Startups และ Gobi Partners รวมผลักดันใหผูเขารวมโปรแกรมเติบโตในระดับสากล โดย 5 ทีมที่ ไดรับคัดเลือกจะไดเงินทุนเบื้องตนทีมละ 500,000 - 1,000,000 บาท รวม Boot Camp ตลอด 99 วัน และ คำปรึกษาโดยผูเชี่ยวชาญสาขาตางๆ โดยหนึ่งทีมที่รับการคัดเลือกจะไดเขาเรียนรูการทำงานกับ 500 Startups ที่ซิลิคอน วัลเลย สหรัฐอเมริกา เพื่อเปดมุมมองธุรกิจสตารทอัพระดับโลกตอไป 3) True Young Webmaster Camp เพื่อเปนการปลูกฝงใหมีการเตรียมความพรอมในวิชาชีพ กลุมทรู โดย ทรูไลฟ ทรูมันนี่ และ ทรูอินคิวบ รวมสนับสนุนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “กาวสูวิชาชีพเว็บมาสเตอร” (True Young Webmaster Camp) ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จ. ชลบุรี จัดโดยสมาคมผูดูแลเว็บไทย รวมบรรยายในหัวขอ “โปรแกรมบมเพาะ สตารทอัพดานเทคโนโลยีมือใหม” เพื่อใหความรูและแนะแนวทางแก นิสิต นักศึกษา จำนวนกวา 80 คน ในการพัฒนา ตนเองสูการเปนผูประกอบการในอนาคต

169


รางวัลและโลเกียรติคุณดานความรับผิดชอบตอสังคม • กลุมทรู ไดรับรางวัล “ICTทำดีเพื่อสังคม” จากสมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทยใน 2 โครงการ ไดแก ¤ โครงการ Autistic Application จากการพัฒนา application เพือ่ เด็กออทิสติกสำหรับใชในการพัฒนาทักษะการเรียนรู เสริม สมรรถภาพทั้งรางกาย สติปญญา และจิตใจ ¤ โครงการทรูปลูกปญญามีเดีย จากการนำเทคโนโลยีการสื่อสารทุกรูปแบบของกลุมทรูมาประยุกตใช ในการจัดทำเว็บไซต ทรู ป ลู ก ป ญ ญาดอทคอมรวบรวมความรู ใ นรู ป แบบมั ล ติ มี เ ดี ย และช อ งความรู คู คุ ณ ธรรมแห ง แรกของไทยที่ ร วบรวม รายการ ความรูคูคุณธรรมรวมถึงเรียลลิตี้สามเณรปลูกปญญาธรรม • รายการสามเณร ปลูกปญญาธรรมของกลุมทรู ไดรับการคัดเลือกจากสำนักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส และผูสูงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย รับโลเกียรติคุณพระราชทาน ในฐานะ องคกรทีท่ ำคุณประโยชนตอ เด็กและเยาวชน เนือ่ งในวันเยาวชนแหงชาติประจำป 2556 ในการนี้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหพระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาศรีรศั มิ์ พระวรชายาฯ เสด็จแทนพระองค พระราชทานโลรางวัล ณ อาคารกีฬาเวสน 2 ศูนยเยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุน) • กลุมทรู รับโลเกียรติยศหนวยงานหรือองคกรที่มีสวนรวมสนับสนุนภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) เนื่องในโอกาสวันสถาปนาสำนักงาน ป.ป.ช. ครบรอบ 14 ป ในฐานะองคกรที่ใหการสนับสนุนการ เผยแพรกจิ กรรมตางๆ ของป.ป.ช. ผานสือ่ ตางๆ ของกลุม ทรู รวมถึงการมีสวนรวมของศิลปนทรูเอเอฟ • กลุมทรู รับโลประกาศเกียรติคุณองคกรดีเดนสนับสนุนงานดานคนพิการ ในงานวันคนพิการสากล ประจำป 2556 ในฐานะ องคกรภาคธุรกิจดีเดนที่สนับสนุนงานดานคนพิการ จัดโดยสำนักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติรวม กับสมาคมสภาคนพิการทุกประเภทแหงประเทศไทย • กลุม ทรู เปนองคกรไทยรายแรกของประเทศที่ ไดรบั การรับรองมาตรฐานโลก COPC CSP ทัง้ คอลลเซ็นเตอร ทรูมฟู เอช และคอลล เซ็นเตอร ทรูออนไลน จาก Customer Operation Performance Center (COPC) องคกรระดับโลกจากประเทศสหรัฐอเมริกา ทีใ่ หคำ ปรึกษา ฝกอบรม และใหการรับรองมาตรฐานดานการใหบริการ คอลล เซ็นเตอร แกบริษทั ทีม่ ชี อื่ เสียงกวา 1,500 แหง ใน 60 ประเทศ ทัว่ โลก • กลุม ทรู รับรางวัล คานส อวอรดส (The Cannes Corporate Media & TV Awards 2013) ประเภท รายการสารคดีโทรทัศน สาขา การศึกษา โดยรายการธรรมะรูปแบบเรียลลิตี้ “สามเณร ปลูกปญญาธรรม ป 2” ของกลุม ทรูทอี่ อกอากาศทางทรูวชิ นั่ ส เปนรายการ เดียวจากประเทศไทย และในภูมิภาคเอเชียที่ ไดรับรางวัลดังกลาว จากผลงานที่สงเขาประกวดทั้งหมด 719 ผลงาน จาก 40 ประเทศทัว่ ทุกมุมโลก ในพิธปี ระกาศผลรางวัล ณ เมืองคานส ประเทศฝรัง่ เศส โดยถือเปนครัง้ แรกของเมืองไทยที่ ไดรบั รางวัลที่ มีชอื่ เสียงระดับโลกนี้ • กลุม ทรู ไดรบั รางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี Thailand Corporate Excellence Awards 2012 จัดโดยสมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย รวมกับสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยไดรบั 2 รางวัล ไดแก รางวัลสาขาความเปนเลิศดานการตลาด (Marketing Excellence) ตอเนือ่ งเปนปที่ 5 และรางวัล สาขาความเปนเลิศดาน การพัฒนาการบริหารจัดการขององคกร (Corporate Improvement Excellence) ซึง่ พิจารณาจากการประมวลผลองคกรทีม่ พี ฒ ั นาการ ในการบริหารจัดการในทุกๆ ดาน นอกจากนี้ กลุม ทรู ยังเปนหนึง่ ในหาองคกรที่ไดรบั การเสนอชือ่ สำหรับรางวัลในอีก 3 สาขา ไดแก ความเปนเลิศดานความรับผิดชอบตอสังคม, ความเปนเลิศดานนวัตกรรมและการสรางสรรคสงิ่ ใหมๆ และความเปนเลิศดานสินคา และการบริการ

170 m n È


การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง

สรุปความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของคณะกรรมการบริษัท รวมกับคณะกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2557 ซึ่งกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุมครบทั้ง 3 ทาน คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม และผูสอบบัญชีของบริษัท มิไดพบสถานการณ ใดๆ เกี่ ย วกั บ ระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท ที่ เ ป น จุ ด อ อ นที่ มี ส าระสำคั ญ อั น อาจมี ผ ลกระทบที่ เ ป น สาระสำคั ญ ต อ งบการเงิน นอกจากนี้ คณะกรรมการไดเนนใหมีการพัฒนาระบบการกำกับดูแลกิจการเพื่อใหระบบการควบคุมภายในมีการ ปรับปรุงอยางตอเนื่อง ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบที่แตกตางจากความเห็นของคณะกรรมการบริษัท - ไมมี หัวหนางานตรวจสอบภายใน หัวหนางานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ คือ นางดาวประกาย ลักษณะกุลบุตร โดยไดรับการแตงตั้งใหดำรงตำแหนงหัวหนางาน ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตั้งแต วันที่ 1 ธันวาคม 2543 คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนางานตรวจสอบภายใน และดูแลให ผูดำรงตำแหนงหัวหนางานตรวจสอบภายในมีวุฒิการศึกษา ประสบการณ และการอบรม ที่เหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบัติหนาที่ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายในของบริษัทฯ โดยมีขอมูลสำคัญ รายละเอียดเกี่ยวกับคุณวุฒิการศึกษา และ ประสบการณการทำงาน ของหัวหนางานตรวจสอบภายใน ดังที่ปรากฏในหนาถัดไป

171


รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหนางานตรวจสอบภายใน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556) ชื่อ-นามสกุล

นางดาวประกาย ลักษณะกุลบุตร

ตำแหนง

หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายในของกลุมบริษัทฯ

อายุ (ป)

57

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท

การภาษีอากร Golden Gate University ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

การบัญชี บริหารธุรกิจ George Washington University ประเทศสหรัฐอเมริกา

ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ประเทศสหรัฐอเมริกา ผูตรวจสอบภายในรับอนุญาตสากล การฝกอบรมภายนอกองคกร - Brand Training - BS 25999 Transition to ISO 22301 - ISO 19011-2011 Auditing Management System - BS 25999 : มาตรฐานทางดานการบริหารความตอเนื่องทางธุรกิจ - Presentation Skills - Power Trainer - Tools & Techniques for Enterprise Risk Management (ERM) การฝกอบรมภายในองคกร - LDL (Leaders Develop Leaders Program) - LDL Cascade Program - Telecommunications Regulations - 3G Network-BFKT - True Leadership - การบริหารความตอเนื่องทางธุรกิจ(BCM) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

2556-ปจจุบัน 2549-2556 2542-2548 2535-2542 2531-2535 2524-2531

172

หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายในของกลุมบริษัทฯ บมจ .ทรู คอรปอเรชั่น รองผูอำนวยการสายงานตรวจสอบภายใน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น หัวหนาฝายตรวจสอบภายใน บจ. ทีเอ ออเรนจ (ปจจุบันชื่อ บจ. ทรู มูฟ) ผูจัดการทั่วไป บจ. ซี.พี. อินเตอรเทรด Certified Public Accountant RBZ Public Accounting Firm Los Angeles, CA Accounting Manager American Chemical Society Washington DC


ก. ในระหว่างปี พ.ศ. 2556 กลุ่มทรู มีรายการค้าระหว่างกันกับ บริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการร่วมค้าและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

ตามที่ ได้มีการเปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (หมายเหตุข้อ 41) โดย รายการระหว่างกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อยที่มีกับบริษัทร่วมและบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่สำคัญ สามารถสรุปได้ดังนี้: ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ

ปี 2556

ความสมเหตุสมผล และความจำเป็นของรายการระหว่างกัน

(พันบาท)

1. ผู้ทำรายการ : บริษัทฯ 1.1 กลุ่มบริษัทเครือเจริญ กลุ่มบริษัท CPG เป็น โภคภัณฑ์ (CPG)* ผู้ถอื หุ้นใหญ่ของบริษัทฯ

ขาย : - ให้บริการในด้านการบริหาร จัดการและบริการอื่น ซื้อ : - จ่ายค่าเช่าอาคารสำนักงาน และบริการอื่นที่เกี่ยวข้อง - จ่ายค่าบริหารจัดการ สำนักงาน - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์ และบริการอื่น - จ่ายค่าซ่อมบำรุงรักษา ระบบปรับอากาศ - จ่ายค่าบริการอื่น - ซื้อคอมพิวเตอร์

1.2 บริษัท เอ็นอีซี คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด (NEC)

ซื้อ : - จ่ายค่าซ่อมบำรุงรักษา โครงข่าย

NEC เป็นบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุ้น โดยอ้อมอยู่ร้อยละ 9.42 และ มีความสัมพันธ์กันโดยมีกรรมการ ร่วมกัน คือ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

1.3 บริษัท ทรู ก่อนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 อินเทอร์เน็ต ดาต้า TIDC เป็นกิจการร่วมค้า เซ็นเตอร์ จำกัด ของบริษัทฯ (TIDC) (เป็นรายการที่ เกิดขึ้นก่อนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็นวันที่ขายกิจการ ร่วมค้านี้ออกไป)

ขาย : - ขายสินค้าและบริการที่ เกี่ยวข้องกับโทรศัพท์ พื้นฐาน ซื้อ : - จ่ายค่าบริการเช่า เซิฟเวอร์อินเทอร์เน็ต - จ่ายค่าบริการอื่น

23,468 71,062 23,415 20,256 11,890 20,071 10,095 68

260 2,188 2,141

- เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เป็น ทางการค้าปกติตามราคาที่บริษัทฯ ให้บริการลูกค้าทั่วไป - เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้เงื่อนไขการค้าทั่วไปโดยมี อัตราค่าเช่าอยู่ ในอัตราระหว่าง 200 - 220 บาทต่อตารางเมตรต่อ เดือน และอัตราค่าบริการอยู่ระหว่าง 220 - 520 บาทต่อตารางเมตร ต่อเดือน ซึ่งสัญญาเช่าอาคารสำนักงานมีอายุปีต่อปี และมีสิทธิจะต่อ อายุสัญญาเช่า - เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เป็น ทางการค้าปกติ - เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้เงื่อนไขการค้าทั่วไปที่มีสัญญา ที่ ได้ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อเดือน ซึ่งสัญญา ให้เช่ายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ปี สิ้นสุดในระยะเวลาต่างกัน - เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เป็น ทางการค้าปกติ - เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เป็น ทางการค้าปกติ - เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เป็น ทางการค้าปกติ - เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เป็นทางการค้าปกติ - - -

เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็นทางการค้าปกติตามราคาที่บริษัทให้บริการลูกค้าทั่วไป เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็นทางการค้าปกติ โดยมีอัตราค่าเช่าที่ราคา 810,536.60 บาท ต่อเดือน ซึ่งสัญญาเช่ามีอายุปีต่อปี และมีสิทธิจะต่ออายุสัญญาเช่า เป็นการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็นทางการค้าปกติ

*หมายเหตุ: กลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่หัวข้อ “ผู้ถือหุ้น” หน้า 86

173


ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน 2. ผูทำรายการ : กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จำกัด (มหาชน) (BITCO) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรวมรอยละ 99.48) ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

2.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ BITCO เปนกลุม - ขายโทรศัพทมือถือและ บริษัทที่ บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู อุปกรณที่เกี่ยวของ รอยละ 99.48 - ขายบัตรเติมเงิน

2.2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) (เปนรายการที่ เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายกิจการ รวมคานี้ออกไป) 2.3 บริษัท เอ็นซี ทรู จำกัด (NC TRUE) 2.5 บริษัท ทรู จีเอส จำกัด (TGS)

BITCO เปนกลุมบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.48 และ กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 TIDC เปนกิจการรวมคา ของบริษัทฯ

BITCO เปนกลุมบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.48 และ TGS เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวน ไดเสียอยูรอยละ 40.00 BITCO เปนกลุมบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.40 และ TGS เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวน ไดเสียอยูรอยละ 45.00

ป 2556 (พันบาท)

668,138 994,631

- คารวมใชบริการ โปรแกรมคอมพิวเตอร

130,790

ซื้อ : - จายคาเชาสำนักงาน และบริการที่เกี่ยวของ

80,860

- คาคอมมิชชั่นจากการ ขายบัตรเติมเงินและ อื่นๆ - จายคาบริการเชา รถยนตและบริการที่ เกี่ยวของ

150,050

- จายคาโฆษณาและ บริการอื่น - โทรศัพทมือถือ

132,042

ขาย : - ใหบริการอื่นๆ

27,336

2,232,037

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทยอยของ BITCO ใหบริการลูกคา ทั่วไป - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทยอยของ BITCO ใหบริการลูกคา ทั่วไป - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชาที่ราคา 816,998 บาทตอเดือน ซึ่ง สัญญาเชามีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดในระยะเวลาตาง กัน - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

84

ซื้อ : - จายคาบริการเชา เซิฟเวอรอินเทอรเน็ต

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

644

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

ซื้อ : - Content

373

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

1,059

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

ขาย : - ใหบริการโทรศัพท มือถือ

3. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด (TM) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 91.08) 3.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ TM เปนบริษัทที่ - ใหบริการสื่อสารขอมูล บริษัทฯถือหุนโดยออมอยูรอยละ ความเร็วสูง 91.08 ซื้อ : - จายคาเชาสำนักงานและ บริการที่เกี่ยวของ - จายคาบริการอื่น

8

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

1,596

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสำนักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

848

*หมายเหตุ: กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ มีครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หัวขอ “ผูถือหุน” หนา 86

174

m n È


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

3.2 บริษัท เอ็นอีซี คอร TM และ NEC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ซื้อ : ปอเรชั่น (ประเทศไทย) ถือหุน โดยออมอยูรอยละ 91.08 - ซื้ออุปกรณ จำกัด (NEC) และ 9.42 ตามลำดับ

ป 2556 (พั (พันบาท) บาท) 249

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

4. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด (TI) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 100.00) 4.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ TI เปนบริษัทที่ - ใหบริการอินเทอรเน็ต บริษัทฯถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 100.00 ซื้อ : - จายคาอุปกรณ

4.2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) (เปนรายการที่ เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายกิจการ รวมคานี้ออกไป) 4.3 บริษัท เอ็นซี ทรู จำกัด (NC TRUE)

TI เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 100.00 และ กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 TIDC เปนกิจการรวมคา ของบริษัทฯ

TI และ NC TRUE เปนบริษัทที่ บริษัทฯถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 100.00 และ รอยละ 40.00 ตาม ลำดับ

18,964

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป

27,974

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่ง สัญญาบริการสำนักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

- จายคาเชาสำนักงานและ บริการที่เกี่ยวของ

40,324

- จายคาบริการเชา เซิฟเวอรอินเทอรเน็ต - จายคาโฆษณาและ ประชาสัมพันธ - จายคาบริการรับชำระ

33,591

- จายคาบริการอื่นๆ

10,498

ขาย : - ใหบริการอินเทอรเน็ต ซื้อ : - จายคาบริการเชา เซิฟเวอรอินเทอรเน็ต ขาย : - ใหบริการอินเทอรเน็ต

49,549 26,140

1,945

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป

25,211

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

1,658

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป

5. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จำกัด (TP) (เปนรายการที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายบริษัทยอยนี้ออกไป) 5.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ กอนวันที่ 30 - ใหบริการเชาสำนักงาน กันยายน 2556 TP เปนบริษัทยอย และบริการอื่น ของบริษัทฯ

5.2 บริษัท เอ็นซี ทรู จำกัด (NC TRUE)

กอนวันที่ 30 กันยายน 2556 TP ขาย : เปนบริษัทยอยของบริษัทฯ และ NC - ใหบริการเชาสำนักงาน TRUE เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน และบริการอื่น โดยตรงอยูรอยละ 40.00

5.3 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา

กอนวันที่ 30 กันยายน 2556 TP และ TIDC เปนบริษัทยอยและ กิจการรวมคาของบริษัทฯ ตาม ลำดับ

ขาย : - ใหบริการเชาสำนักงาน และบริการอื่น

7,271

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสำนักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา

1,879

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสำนักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา

5,218

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกัน ตามราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการ สำนักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

*หมายเหตุ: กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ มีครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หัวขอ “ผูถือหุน” หนา 86

175


ชื่อบริษัท 5.4 บริษัท ทรู จีเอส จำกัด (TGS)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

ป 2556 2555 (พั (พันบาท) บาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

กอนวันที่ 30 กันยายน 2556 TP เปนบริษัทยอยของบริษัทฯ และ TGS เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวนได เสียอยูรอยละ 45.00

ขาย : - ใหบริการเชาสำนักงาน และบริการอื่น

620

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกัน ตามราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการ สำนักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

6. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จำกัด (TLS) (เปนรายการที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายบริษัทยอยนี้ออกไป) 6.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ กอนวันที่ 30 - ใหบริการเชารถยนต กันยายน 2556 TLS เปนบริษัท และบริการอื่น ยอยของบริษัทฯ 6.2 บริษัท ทรู จีเอส จำกัด (TGS)

กอนวันที่ 30 กันยายน 2556 TLS ขาย : เปนบริษัทยอยของบริษัทฯ และ - ใหบริการเชารถยนต TGS เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวนได และบริการอื่น เสียอยูรอยละ 45.00

428,518

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุด ในระยะเวลาตางกัน

851

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดในระยะ เวลาตางกัน

7. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จำกัด (TLP) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) 7.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ TLP เปนบริษัทที่ - ใหบริการคาบริการเชา บริษัทฯถือหุนโดยออมอยู เซิฟเวอร IVR รอยละ 100.00 ซื้อ : - จายคาบริการรับชำระ - จายคาเชาสำนักงานและ บริการอื่น

2,700

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ TLP ใหบริการลูกคาทั่วไป

7,804

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

6,605

8. ผูทำรายการ : บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (AWC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) 8.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ซื้อ : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ AWC เปนบริษัท - จายคาเชาสำนักงานและ ที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู บริการอื่น รอยละ 100.00 - ลดหนีค้ างานกอสรางเสา 8.2 กองทุนรวมโครงสราง AWC เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุน พื้นฐานโทรคมนาคม ท โดยออมอยูรอยละ 100.00 และ รู โกรท (TRUEGIF) TRUEGIF เปนบริษัทที่บริษัทฯมี สวนไดเสียอยูรอยละ 33.29

ขาย : - สิทธิรายได

2,193 (5,293)

4,665,784

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

9. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) (เปนรายการที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขาย กิจการรวมคานี้ออกไป) 9.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ กอนวันที่ 30 - ใหบริการอินเทอรเน็ตและ กันยายน พ.ศ. 2556 TIDC เปน บริการอื่น กิจการรวมคาของบริษัทฯ ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ 9.2 บริษัท เอ็นซี ทรู จำกัด (NC TRUE)

กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ขาย : TIDC เปนกิจการรวมคาของบริษัทฯ - ใหบริการเชาเซิฟเวอร และ NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทฯ อินเทอรเน็ตและ บริการอื่น มีสวนไดเสียอยูรอยละ 40.00

6,349

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

430

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

1,252

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญา โดยมีอัตรา 54,000 บาทตอหนวยตอเดือน สัญญาเชามีอายุ 1 ป

*หมายเหตุ: กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ มีครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หัวขอ “ผูถือหุน” หนา 86

176

m n È


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

ป 2555 2556 (พั (พันบาท) บาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

10. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จำกัด (TLR) (เปนรายการที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายบริษัทยอยนี้ออกไป) กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ กอนวันที่ 30 - คาสินคา กันยายน พ.ศ. 2556 TLR เปน บริษัทยอยบริษัทฯ - คาลิขสิทธิ์ ซื้อ : - คาสนับสนุนทางการ ตลาด - ซื้อสินคา

791 244 876 18,501

- เปนการดำเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป - เปนการดำเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป - เปนการดำเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป - เปนการดำเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป

11. ผูทำรายการ : กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จำกัด (TVG) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) 11.1 กลุมบริษัทเครือ เจริญโภคภัณฑ (CPG)*

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : ของบริษัทฯ และ TVG เปนบริษัทที่ - ไดรับเงินสนับสนุนรวม บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ กิจกรรมตางๆ 100.00 ซื้อ : - จายคาเชาสำนักงานและ บริการที่เกี่ยวของ

11.2 บริษัท แชนแนล (วี) TVG เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน มิวสิค (ประเทศไทย) โดยออมอยูรอยละ 100.00 และ จำกัด (Channel V) Channel V เปนบริษัทที่บริษัทฯ มี สวนไดเสียอยูรอยละ 25.82 11.3 บริษัท ทรู จีเอส TVG เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุนโดย จำกัด (TGS) ออมอยูรอยละ 100.00 และ TGS เปนบริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยู รอยละ 45.00 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายองอาจ ประภากมล และ นางยุภา ลีวงศเจริญ TVG เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุนโดย 11.4 บริษัท ทรู ออมอยูรอยละ 100.00 และ กอน อินเทอรเน็ต ดาตา วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) (เปนรายการ TIDC เปนกิจการรวมคาของ ที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 บริษัทฯ กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายกิจการ รวมคานี้ออกไป)

174,156

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ TVG ใหบริการลูกคาทั่วไป

- จายคาบริการเชารถยนต

11,492

- จายคาบริการรับชำระ - ใหบริการคาบริการเชา เซิฟเวอร IVR - จายคาบริการอื่นๆ

12,957 7,717

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสำนักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตอ อายุสัญญาเชา - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดในระยะเวลาตางกัน - เปนการดำเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกันตามราคาตลาดทั่วไป - เปนการดำเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกันตามราคาตลาดทั่วไป

23,594

- เปนการดำเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกันตามราคาตลาดทั่วไป

34,845

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

ขาย : - อุปกรณ

1,683

- คาโฆษณา

20,436

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

ซื้อ : - จายคาผลิตรายการ เพลง

ซื้อ : - จายคาบริการ อินเทอรเน็ต

3,716

1,056

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

*หมายเหตุ: กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ มีครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หัวขอ “ผูถือหุน” หนา 86

177


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

ป 2555 2556 (พั (พันบาท) บาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

12. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ทัช จำกัด (TT) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) 12.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ บริษัทฯ ถือหุน - บริการ call center TT โดยออมอยูรอยละ 100.00 ซื้อ : - จายคาเชาสำนักงานและ บริการอื่น 12.2 บริษัท ทรู จีเอส TT เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุนโดย ขาย : จำกัด (TGS) ออมอยูรอยละ 100.00 และ TGS - บริการ call center เปนบริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยู รอยละ 45.00

3,799

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

29,936

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

25,129

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

13. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู มันนี่ จำกัด (TMN) (เปนรายการที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายบริษัทยอยนี้ออกไป) 13.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 TMN เปน บริษัทยอยของบริษัทฯ 13.2 บริษัท เอ็นซี ทรู กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 จำกัด (NC TRUE) TMN เปนบริษัทยอยบริษัทฯ และ NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทฯ มี สวนไดเสียอยูรอยละ 40.00 13.3 บริษัท ทรู อินเทอร กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 เน็ต ดาตา เซ็นเตอร TMN และ TIDC เปนบริษัทยอย จำกัด (TIDC) และกิจการรวมคาของบริษัทฯ ตาม ลำดับ

ซื้อ : - จายคาคอมมิชชั่นจากการ ขายบัตรเติมเงิน

441,592

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

ขาย : - ใหบริการตัวแทนชำระ คาบริการ

3,478

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TMN ใหบริการลูกคาทั่วไป

ซื้อ : - จายคาบริการ อินเทอรเน็ต

1,227

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

14. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จำกัด (TIG) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 100.00) 14.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ซื้อ : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และบริษัทฯ ถือหุน - จายคาเชาอาคารและ TIG โดยตรงอยูรอยละ 100.00 บริการอื่น 14.2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) (เปนรายการ ที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายกิจการ รวมคานี้ออกไป)

TIG เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ซื้อ : โดยตรงอยูรอยละ 100.00 และ - จายคาเชาเซิฟเวอร กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 อินเทอรเน็ต TIDC เปนกิจการรวมคาของบริษัทฯ และบริการอื่น

7,608

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

4,582

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

15. ผูทำรายการ : บริษัท เรียล มูฟ จำกัด (RMV) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.48) 15.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ซื้อ : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ RMV เปนบริษัท - จายคาซื้อสินคา ที่บริษัทฯถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.48 - จายคาเชาสำนักงานและ บริการที่เกี่ยวของ

5,689 8,889

- คา content

60,232

- คาคอมมิชชั่น

186,047

- คาการตลาด

131,767

- จายคาบริการอื่นๆ

7,453

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสำนักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

*หมายเหตุ: กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ มีครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หัวขอ “ผูถือหุน” หนา 86

178

m n È


ชื่อบริษัท 15.2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) (เปนรายการ ที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายกิจการ รวมคานี้ออกไป) 15.3 บริษัท ทรู จีเอส จำกัด (TGS)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

RMV เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ซื้อ : โดยออมอยูรอยละ 99.48 และ - จายคาเชาเซิฟเวอร กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 อินเทอรเน็ต และ บริการอื่น TIDC เปนกิจการรวมคาของ บริษัทฯ

RMV เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยออมอยูรอยละ 99.48 และ TGS เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวนได เสียอยูรอยละ 45.00

ขาย : - ใหบริการโทรศัพทมือถือ

ป 2555 2556 (พั (พันบาท) บาท) 3,764

157

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

16. ผูทำรายการ : บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จำกัด (WW) (เปนรายการที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายบริษัทยอยนี้ออกไป) กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ กอนวันที่ 30 - อุปกรณ กันยายน พ.ศ. 2556 WW เปน บริษัทยอยของบริษัทฯ ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ

4,194

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

310

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

17. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด (TUC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงและโดยออมรอยละ 100.00) 17.1 บริษัท ทรู จีเอส จำกัด (TGS)

TUC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 0.01 และโดย ออมอยูรอยละ 99.99 และ TGS เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวนไดเสียอยู รอยละ 45.00 17.2 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ TUC เปนบริษัทที่ บริษัทฯถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 0.01 และ โดยออมอยูรอยละ 99.99

17.3 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) (เปนรายการ ที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายกิจการ รวมคานี้ออกไป) 17.4 กองทุนรวมโครงสราง พื้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEGIF)

TUC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 0.01 และโดย ออมอยูรอยละ 99.99 และ กอน วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 TIDC เปนกิจการรวมคาของบริ ษัทฯ

ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูล ความเร็วสูง

636

ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูล ความเร็วสูง

151,785

ซื้อ : - จายคาเชาสำนักงานและ บริการที่เกี่ยวของ

23,703

- จายคาบริการเชารถยนต

46,868

- จายคาซอมแซมบำรุง รักษาโครงขาย - จายคาบริการอื่นๆ

23,525 8,644

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดในระยะเวลา ตางกัน - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

- ซื้อคอมพิวเตอร

9,946

ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูล ความเร็วสูง

2,358

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

1,728

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ

TUC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ขาย : 6,387,234 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน โดยตรงอยูรอยละ 0.01 และโดย - ระบบโครงขาย ออมอยูรอยละ 99.99และ ทางการคาปกติ TRUEGIF เปนบริษัทที่บริษัทฯมี สวนไดเสียอยูรอยละ 33.29 *หมายเหตุ: กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ มีครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หัวขอ “ผูถือหุน” หนา 86

179


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

ป 2555 2556 (พั (พันบาท) บาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

18. ผูทำรายการ : บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด (KSC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 56.83) 18.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ KSC เปนบริษัทที่ - ใหบริการอินเทอรเน็ต บริษัทฯถือหุนโดยออมอยูรอยละ 56.83 ซื้อ : - จายคาบริการ อินเทอรเน็ต และ คาบริการอื่นๆ KSC เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุนโดย ขาย : 18.2 บริษัท ทรู ออมอยูรอยละ 56.83 และ กอน - ใหบริการอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ต ดาตา วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) (เปนรายการ TIDC เปนกิจการรวมคาของ ซื้อ : ที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 บริษัทฯ - จายคาบริการ กันยายน พ.ศ. 2556 อินเทอรเน็ต และ ซึ่งเปนวันที่ขายกิจการ คาบริการอื่นๆ รวมคานี้ออกไป)

2,387

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

4,655

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

194

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

3,889

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

19. ผู ท ำรายการ : บริ ษั ท ทรู ดิ จิ ต อล คอนเท น ท แอนด มี เ ดี ย จำกั ด (TDCM) (เป น รายการที่ เ กิ ด ขึ้ น ก อ นวั น ที่ 30 กั น ยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายบริษัทยอยนี้ออกไป) 19.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ กอนวันที่ 30 - ขายสินคา กันยายน พ.ศ. 2556 TDCM เปน บริษัทยอยของบริษัทฯ - คาโฆษณา ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ 19.2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซื้อ : ดาตา เซ็นเตอร จำกัด TDCM และ TIDC เปนบริษัทยอย - จายคาบริการ (TIDC) และกิจการรวมคาของบริษัทฯ ตาม อินเทอรเน็ต และ ลำดับ คาบริการอื่นๆ

7,612 3,373

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

7,241

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

1,830

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

20. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จำกัด (TDP) (เปนรายการที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายบริษัทยอยนี้ออกไป) 20.1 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) 20.2 บริษัท เอ็น ซี ทรู จำกัด (NC True)

กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซื้อ : TDP และ TIDC เปนบริษัทยอยและ - จายคาบริการ กิจการรวมคาของบริษัทฯ อินเทอรเน็ต และ คาบริการอื่นๆ กอนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ซื้อ : TDP เปนบริษัทยอยของบริษัทฯ - คา content และ NC True เปนบริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยูรอยละ 40.00 20.3 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ซื้อ : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ กอนวันที่ 30 - จายคาบริการอื่นๆ กันยายน พ.ศ. 2556 TDP เปน บริษัทยอยของบริษัทฯ

1,677

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

296

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

147

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

21. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จำกัด (TIT) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ TIT เปนบริษัทที่ - ใหบริการเทคโนโลยี บริษัทฯถือหุนโดยออมอยูรอยละ สาระสนเทศ 100.00 ซื้อ : - จายคาเชาสำนักงาน และบริการอื่นๆ

9,144

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

6,858

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสำนักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

*หมายเหตุ: กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ มีครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หัวขอ “ผูถือหุน” หนา 86

180

m n È


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

ป 2555 2556 (พั (พันบาท) บาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

22. ผูทำรายการ : บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด (BFKT) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) 22.1 กลุมบริษัทเครือเจริญ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ซื้อ : โภคภัณฑ (CPG)* ของบริษัทฯ และ BFKT เปนบริษัท - จายคาเชาสำนักงานและ ที่บริษัทฯถือหุนโดยออมอยู บริการที่เกี่ยวของ รอยละ 100.00

22.2 บริษัท ทรู จีเอส จำกัด (TGS)

16,075

- จายคาบริการเชารถยนต

15,743

- จายคาบริการเชา เซิฟเวอรอินเตอรเน็ต - จายคาซอมแซมและบำรุง รักษาโครงขาย - จายคาซื้ออุปกรณ โครงขาย ขาย : - ใหเชาพื้นที่

3,970

BFKT เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุน โดยออมอยูรอยละ 100.00 และ TGS เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวนได เสียอยูรอยละ 45.00 BFKT เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุน ซื้อ : 22.3 บริษัท ทรู โดยออมอยูรอยละ 100.00 และ - จายคาเชาเซิฟเวอร อินเทอรเน็ต ดาตา ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 เซ็นเตอร จำกัด อินเทอรเน็ต (TIDC) (เปนรายการ TIDC เปนกิจการรวมคาของ และบริการอื่น ที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 30 บริษัทฯ กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเปนวันที่ขายกิจการ รวมคานี้ออกไป) 22.4 กองทุนรวมโครงสราง BFKT เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุน ขาย : พื้นฐานโทรคมนาคม โดยออมอยูรอยละ 100.00 และ - สิทธิรายได ทรู โกรท (TRUEGIF) TRUEGIF เปนบริษัทที่บริษัทฯมี สวนไดเสียอยูรอยละ 33.29

60,732 16,240

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตรซึ่ง สัญญาบริการสำนักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทั่วไปที่มี สัญญาที่ ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดในระยะเวลาตาง กัน - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

3,726

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

4,977

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

9,167,564

- เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

*หมายเหตุ: กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ มีครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หัวขอ “ผูถือหุน” หนา 86

181


ข. ยอดคางชำระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชำระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ มีดังนี้ บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด บริษัท บี บอยด ซีจี จำกัด บริษัท เอ็นซี ทรู จำกัด บริษัท ทรู จีเอส จำกัด กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ รวม

หนวย : พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 3 6,999 72 44,854 7,836 164 2,022,794 2,082,722

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

(6,999) (72) (45,065) 13,148 3,415 6,553,538 6,517,965

ค. ยอดคางชำระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชำระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ มีดังนี้ บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด บริษัท บี บอยด ซีจี จำกัด บริษัท เอ็นซี ทรู จำกัด บริษัท ทรู จีเอส จำกัด กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ รวม

หนวย : พันบาท

31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 1,841 30,417 7 78,409 8,885 189,774 35 309,368

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (1,841) (30,417) (7) 341,612 (78,089) (8,885) 8,695,628 (34) 8,917,967

ง. ยอดคงเหลือเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน การเปลี่ยนแปลงยอดคางชำระที่เกิดจากเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน มีดังนี้ บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน

บริษัท บี บอยด ซีจี จำกัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ รวม

182

m n È

31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 3 (211) 20,984 3,415 164 8,576,332 8,600,687

31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 14,251 14,251

31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

341,612 320 8,885,402 1 9,227,335

หนวย : พันบาท

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (14,251) 147,000 132,749

31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

147,000 147,000


การขายเงินลงทุนในหุนสามัญของบริษัทยอยที่มิใชธุรกิจหลักของบริษัทฯ ใหแก บริษัท ธนเทเลคอม จำกัด ซึ่งเปนบุคคล ที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2556 มีมติอนุมัติการขายเงินลงทุนในหุนสามัญของบริษัทยอยที่มิใช ธุรกิจหลักของบริษัทฯ จำนวน 8 บริษัท คือ (1) บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จำกัด (2) บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จำกัด (3) บริษัท ทรู มันนี่ จำกัด (4) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (5) บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จำกัด (6) บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จำกัด (7) บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จำกัด และ (8) บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จำกัด ใหแก บริษัท ธนเทเลคอม จำกัด ซึ่งเปนบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ ในราคารวมทั้งสิ้น จำนวน 5,392,612,337 บาท ทั้งนี้ การขายเงินลงทุนในบริษัท ยอยที่มิใชธุรกิจหลักของบริษัทฯ ดังกลาว เขาขายเปนรายการที่เกี่ยวโยงกัน ประเภทรายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือบริการ ซึ่งมี มูลคาของรายการมากกวา 20 ลานบาท ตามประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2551 เรื่อง หลักเกณฑในการทำ รายการที่เกี่ยวโยงกัน และ ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการ ของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 และ ที่แก ไขเพิ่มเติม บริษัทฯ และ บริษัทยอย ไดเขาทำสัญญาซื้อขายกับบริษัท ธนเทเลคอม จำกัด เปนที่เรียบรอยแลว ในไตรมาสที่ 4 ป 2556 สงผล ใหทั้ง 8 บริษัทดังกลาว สิ้นสถานะการเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทำรายการระหวางกัน บริษัทฯ มีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทำรายการระหวางกันตามที่กฎหมาย และ ขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับ ตลาดทุนรวมทั้งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดกำหนดไว โดยบริษัทฯ ไดนำกฎหมายและขอกำหนดดังกลาวมาจัดทำเปน “ระเบียบในการเขาทำรายการระหวางกัน” ไวอยางชัดเจน เพื่อใหกรรมการและพนักงานไดยึดถือและปฏิบัติอยางถูกตอง ภายใต ระเบียบในการเขาทำรายการระหวางกันของบริษัทฯ ไดกำหนดมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการเขาทำรายการระหวางกันไว ดังนี้ 1. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ฝายจัดการสามารถอนุมัติการเขาทำรายการได โดยไมตองขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ ภายใตวัตถุประสงคของมาตรา 89/12 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 1.1 รายการที่เปนขอตกลงทางการคาโดยทั่วไป “ขอตกลงทางการคาโดยทั่วไป” หมายถึง ขอตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับที่วิญูชนจะพึงกระทำกับคูสัญญาทั่วไป ในสถานการณเดียวกัน ดวยอำนาจตอรองทางการคาที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวของ แลวแตกรณี ซึ่งรวมถึงขอตกลงทางการคาที่มีราคาและเงื่อนไข หรือ อัตรากำไรขั้นตน ดัง ตอไปนี้ (ก) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอยไดรับหรือใหกับบุคคลทั่วไป (ข) ราคาและเงือ่ นไขที่ กรรมการ ผูบริหาร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวของใหกับบุคคลทั่วไป (ค) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอย สามารถแสดงไดวาผูประกอบธุรกิจในลักษณะทำนองเดียวกันใหกับ บุคคลทั่วไป (ง) ในกรณีที่ ไมสามารถเปรียบเทียบราคาของสินคาหรือบริการได เนื่องจากสินคาหรือบริการที่เกี่ยวของนั้นมีลักษณะ เฉพาะ หรือมีการสั่งทำตามความตองการโดยเฉพาะ แตบริษัทฯ หรือบริษัทยอยสามารถแสดงไดวาอัตรากำไรขั้นตน ที่ บ ริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย อ ยได รั บ จากรายการระหว า งกั น ไม ต า งจากธุ ร กรรมกั บ คู ค า อื่ น หรื อ อั ต รากำไรขั้ น ต น ที่ กรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของ ไดรับจากรายการระหวางกันไมตางจากธุรกรรมกับคูคาอื่น และมี เงื่อนไข หรือขอตกลงอื่นๆ ไมแตกตางกัน

183


1.2 การใหกูยืมเงินตามระเบียบสงเคราะหพนักงานและลูกจาง 1.3 รายการที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งของบริษัทฯ หรือ คูสัญญาทั้งสองฝายมีสถานะเปน (ก) บริษัทยอยที่บริษัทฯ เปนผูถือหุนไมนอยกวารอยละเกาสิบของหุนที่จำหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทยอย หรือ (ข) บริษัทยอยที่กรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของถือหุนหรือมีสวนไดเสียอยูดวย ไมวาโดยตรงหรือ โดยออม ไมเกินจำนวน อัตรา หรือมีลักษณะตามที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกาศกำหนด 1.4 รายการในประเภทหรือที่มีมูลคาไมเกินจำนวนหรืออัตราที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกาศกำหนด 2. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ไมตองขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ แตตองขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 2.1 รายการตามขอ 1 ซึ่งตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ภายใตระเบียบวิธีปฏิบัติภายในอื่นที่เกี่ยวของ เชน ระเบียบวิธีปฏิบัติดานงบประมาณ เปนตน 2.2 รายการตามขอ 1.3 (ข) หรือ 1.4 ที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุน อาจกำหนดใหตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ดวย ตามที่จะไดมีการประกาศกำหนดตอไป 3. รายการระหวางกันที่นอกเหนือจากขอ 1 และ 2 ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ กอนการเขาทำรายการ นโยบายและแนวโนมการทำรายการระหวางกันในอนาคต สำหรับแนวโนมการทำรายการระหวางกันในอนาคตนั้น อาจจะยังคงมีอยูในสวนที่เปนการดำเนินธุรกิจตามปกติระหวางบริษัทฯ กับบริษัทยอยของบริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ จะดำเนินการดวยความโปรงใสตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และปฏิบัติ ตามขอกำหนดที่เกี่ยวของอยางเครงครัด

184

m n È


ตารางสรุปงบการเงิน

185


186

m n È


187


ผูสอบบัญชี ผูสอบบัญชีซึ่งตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัทฯ ในระยะ 3 ป ที่ผานมา มีดังนี้ งบการเงินประจำป สิ้นสุดวันที่

บริษัทผูตรวจสอบ

ชอผูสอบบัญชี

เลขประจำตัว ผูสอบบัญชี รับอนุญาต

31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล

3445

31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล

3445

31 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส นายพิสิฐ ทางธนกุล

4095

รายงานการตรวจสอบของผูสอบบัญชีในระยะ 3 ปที่ผานมา (2554-2556) ผูสอบบัญชีไดใหความเห็นในรายงานการตรวจสอบงบ การเงินของบริษัทฯ ถูกตองแบบไมมีเงื่อนไข บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส และผูสอบบัญชีไมมีความสัมพันธหรือสวนไดเสียกับบริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือ ผูบริหาร หรือผูถือหุนรายใหญ หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว ในลักษณะที่จะมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระ แตอยางใด

188

m n È


อัตราสวนทางการเงิน

189


การวิเคราะหและคำอธิบายของฝายจัดการ

ภาพรวม การเขาสูระบบเสรีมากขึ้น ภายหลังการออกใบอนุญาตตาง ๆ ของคณะกรรมการ กสทช. และความสำเร็จจากการจัดตั้ง กองทุน รวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท (“TRUEGIF” หรือ “TRUEIF”) ในเดือนธันวาคม 2556 เปนกาวสำคัญของกลุมทรู และอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย โดยชวยสนับสนุนการเติบโตและการแขงขันอยางเปนธรรมในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม อีกทั้ง ยังเสริมความแข็งแกรงใหกับโครงสรางตนทุนและเงินทุนของกลุมทรู สิ่งเหลานี้รวมกับการเปนผูนำในทั้งธุรกิจบรอดแบนด ธุรกิจ โทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก และธุรกิจโมบาย อินเทอรเน็ต ของกลุมทรู จะชวยสนับสนุนการเติบโตอยางแข็งแกรงและยั่งยืน ของกลุมทรู ผลการดำเนินงานรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย ประจำป 2556 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ปรากฏผลขาดทุนสุทธิสวนที่ เปนของบริษัทฯ จำนวน 9.1 พันลานบาท ซึ่งเปลี่ยนแปลงในอัตราที่สูงกวารอยละ 20 จากผลการดำเนินงานสุทธิของปกอน ทั้งนี้ โดยมีสาเหตุสำคัญ สรุปไดดังนี้ ในป 2556 รายไดจากการใหบริการโดยรวมของกลุมทรู (ซึ่งไมรวมรายไดจากคาเชื่อมตอโครงขายและคาเชาโครงขาย) เติบโตขึ้น รอยละ 7.2 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 66.3 พันลานบาท จากการเติบโตอยางตอเนื่องของทั้ง 3 ธุรกิจหลักของกลุม โดยเฉพาะบริการนอนวอยซของกลุมทรูโมบาย และบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ตของทรูออนไลน ในขณะที่รายไดจากคา โฆษณาและคาสปอนเซอร เปนปจจัยที่สรางความเติบโตใหแกรายไดของทรูวิชั่นส ในไตรมาส 4 ป 2556 กลุมทรู ขายเงินลงทุนในหุนสามัญของ 8 บริษัทยอยที่ ไมใชธุรกิจหลักของกลุมใหแก บริษัท ธนเทเลคอม จำกัด โดยหากไมรวมผลประกอบการในทั้งป 2555 และ 2556 ของ 8 บริษัทเหลานี้ เพื่อการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานได อยางถูกตองและเหมาะสม ธุรกิจหลักของกลุมทรูยังคงเติบโตดี โดยรายไดจากการใหบริการและ EBITDA เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 8.6 และ 1.0 จากปกอนหนา ตามลำดับ อยางไรก็ตาม หากไมรวมการปรับปรุงผลประกอบการดังกลาว EBITDA ตามงบการเงิน ที่ตรวจสอบแลวของบริษัท ลดลงเล็กนอยในอัตรารอยละ 2.1 เมื่อเทียบกับปกอนหนา เปน 16.4 พันลานบาท ขาดทุนสุทธิจากการดำเนินงานปกติ (NIOGO) กอนภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ในป 2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 11.8 พันลานบาท เมื่อ เทียบกับ ขาดทุนจำนวน 5.4 พันลานบาท ในป 2555 จากคาใชจายที่เพิ่มขึ้นในการขยายโครงขายและการทำการตลาด ซึ่งรวมคา ใชจายเกี่ยวกับการโอนยายลูกคาบริการ 2G ออกจากทรูมูฟ อีกทั้งคาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนายที่เพิ่มขึ้น ขาดทุนสุทธิสวนที่เปนของบริษัท ในป 2556 เปน 9.1 พันลานบาท หลังการบันทึกการดอยคาสินทรัพยโครงขาย 2G ของทรูมูฟ จำนวนทั้งสิ้น 2.1 พันลานบาท การบันทึกกำไรสุทธิจากการขายสินทรัพยและสิทธิรายไดจากสินทรัพยเขากองทุนรวมโครงสราง พื้นฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท จำนวนทั้งสิ้น 6.3 พันลานบาท และการบันทึกกำไรจากการขาย 8 บริษัทที่ ไมใชธุรกิจหลักของกลุม จำนวนทั้งสิ้น 857.6 ลานบาท ในป 2556 รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ กลุมทรูโมบาย ยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง (เพิ่มขึ้นรอยละ 12.9 จาก ชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา) เปน 35.2 พันลานบาท โดยมีปจจัยหลักมาจากการเติบโตอยางแข็งแกรงของบริการนอนวอยซ ใน ขณะที่ความนิยมในการใชงานสมารทดีไวซที่เพิ่มขึ้น และแคมเปญที่นำเสนอสมารทโฟนและอุปกรณตางๆ รวมกับแพ็กเกจที่นา ดึงดูดใจของกลุมทรูโมบาย สงผลใหรายไดจากการขายในป 2556 มีจำนวนสูงสุดในประวัติการณที่ 16.1 พันลานบาท กลุมทรูโมบาย มีจำนวนผูใชบริการรายใหมสุทธิประมาณ 1.9 ลานราย ในป 2556 ซึ่งทำใหฐานลูกคาขยายเปน 22.9 ลานราย ณ สิ้นป โดยประมาณรอยละ 13.8 เปนลูกคาแบบรายเดือน 190 m n È


การไดรับใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ 2.1 GHz สงผลให ทรูมูฟ เอช สามารถเปดใหบริการ 4G-LTE เปนรายแรกในไทย อีกทั้งยัง ชวยเสริมความแข็งแกรงในการเปนผูนำบริการโมบาย อินเทอรเน็ต จากการผสานจุดแข็งของทั้งคลื่นความถี่ 850 MHz และ 2.1 GHz นอกจากนี้กลุมทรูโมบายยังคงนำเสนอแพ็กเกจคาบริการที่คุมคารวมกับดีไวซหลากหลายรุน ซึ่งสามารถตอบสนองความ ตองการของลูกคาและขยายการใหบริการไปสูลูกคากลุมใหม ๆ ไดดียิ่งขึ้น รายไดจากการใหบริการของทรูออนไลน เพิ่มขึ้นรอยละ 1.9 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 28.7 พันลานบาท จากการ เติบโตอยางแข็งแกรงของบริการบรอดแบนดทั้งสำหรับลูกคาทั่วไปและลูกคาองคกร แมในไตรมาส 4 ป 2556 ผลประกอบการ ของทรูออนไลน ไมรวมผลประกอบการของ 8 บริษัทที่กลุมทรูขายไปในไตรมาส โดยหากไมรวมผลประกอบการในทั้งป 2555 และ 2556 ของ 8 บริษัทเหลานี้ เพื่อการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานไดอยางถูกตองและเหมาะสม รายไดจากการใหบริการ ของทรูออนไลน เพิ่มขึ้นอยางแข็งแกรงในอัตรารอยละ 6.4 จากปกอนหนา ความสำเร็จอยางตอเนื่องของแพ็กเกจคอนเวอรเจนซ และการจัดกิจกรรมทางการตลาดในแตละพื้นที่ รวมถึงการมีโครงขาย บรอดแบนดที่มีคุณภาพสูงซึ่งครอบคลุมแลวกวา 4.3 ลานครัวเรือน ใน 61 จังหวัด สงผลใหจำนวนลูกคารายใหมสุทธิในป 2556 ของทรูออนไลน มีจำนวนสูงมากที่ ประมาณ 240,000 ราย โดยฐานลูกคาบริการบรอดแบนดปรับเพิ่มขึ้นเปน 1.8 ลานราย ณ สิ้นป ในขณะที่ รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการตอเดือน ยังอยูในระดับสูง ที่ 712 บาท ในป 2556 ในป 2556 รายไดจากการใหบริการของทรูวิชั่นส เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 2.5 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนาเปน 10.7 พันลาน บาท สวนใหญจากการเติบโตที่ดีของรายไดคาสปอนเซอร ซึ่งเปนผลจากความนิยมตอรายการเดอะวอยซ ไทยแลนด และรายไดคา โฆษณา ฐานลูกคาของทรูวิช่นั ส ณ สิ้นป 2556 เพิ่มขึ้นเปน 2.4 ลานราย (จาก 2.0 ลานราย ณ สิ้นป 2555) จากการเติบโตของฐานผูชม กลุมฟรีทูแอร โดยเปนผลจากความรวมมือทางธุรกิจกับผูใหบริการรายอื่นๆ และผลตอบรับที่ดีตอแพ็กเกจคอนเวอรเจนซ และ แพ็กเกจทรู โนวเลจ โฉมใหม ทั้งนี้ รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการตอเดือน เพิ่มขึ้นจากปกอนหนา เปน 895 บาท จากผลกระทบใน แงบวกของการเปลี่ยนระบบออกอากาศใหม (MPEG-4) ในเดือนกรกฎาคม ป 2555 แพลตฟอรมที่หลากหลายและครบถวนของทรูวิชั่นส จากการมีรายการคุณภาพมากมาย ทำใหทรูวิชั่นส มีความพรอมอยางเต็มที่ ที่จะตอยอดธุรกิจในการใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล ซึ่งบริษัทยอยของกลุมทรูวิชั่นสประสบความสำเร็จในการประมูล ใบอนุญาตเพื่อใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล จำนวน 2 ใบ ในเดือนธันวาคมที่ผานมา สำหรับป 2557 กลุมทรู ตั้งเปาหมายการเติบโตของรายไดจากการใหบริการโดยรวม ที่รอยละ 7 ถึงรอยละ 9 (high single-digit) โดยมีงบลงทุน (ที่เปนเงินสด) รวม 26.5 พันลานบาท (โดย 15.5 พันลานบาท สำหรับกลุมทรูโมบาย 10 พันลานบาท สำหรับ ทรูออนไลน และ 1 พันลานบาท สำหรับทรูวิชั่นส)

191


192 m n È


ผลการดำเนินงานโดยรวม • การวิ เ คราะห ผ ลประกอบการของบริ ษั ท ฯ อยู บ นพื้ น ฐานของผลการดำเนิ น งานปกติ ไม นั บ รวมผลกระทบจากรายการ ที่ ไมเกี่ยวของกับผลการดำเนินงานโดยตรง ซึ่งปรากฏในตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย (ปรับปรุง) • ในป 2556 รายไดจากการใหบริการโดยรวม ของกลุมทรู (ซึ่งไมรวมรายไดจากคาเชื่อมตอโครงขายและคาเชาโครงขาย) เพิ่ม ขึ้นรอยละ 7.2 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 66.3 พันลานบาท จากการเติบโตอยางตอเนื่องของทั้ง 3 ธุรกิจหลัก ของกลุม โดยเฉพาะบริการนอนวอยซของกลุมทรูโมบาย และบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ตของทรูออนไลน ในขณะที่ รายไดจากคาโฆษณาและคาสปอนเซอร เปนปจจัยที่สรางความเติบโตใหแกรายไดของทรูวิชั่นส • ในไตรมาส 4 ป 2556 กลุ ม ทรู ขายเงิ น ลงทุ น ในหุ น สามั ญ ของ 8 บริ ษั ท ย อ ยที่ ไ ม ใ ช ธุ ร กิ จ หลั ก ของกลุ ม ให แ ก บริ ษั ท ธนเทเลคอม จำกัด โดยหากไมรวมผลประกอบการในทั้งป 2555 และ 2556 ของ 8 บริษัทเหลานี้ เพื่อการเปรียบเทียบผล การดำเนินงานไดอยางถูกตองและเหมาะสม ธุรกิจหลักของกลุมทรูยังคงเติบโตดี โดยรายไดจากการใหบริการและ EBITDA เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 8.6 และ 1.0 จากปกอนหนา ตามลำดับ • อยางไรก็ตาม หากไมรวมการปรับปรุงผลประกอบการดังกลาว EBITDA ตามงบการเงินที่ตรวจสอบแลวของบริษัท ลดลง เล็กนอยในอัตรารอยละ 2.1 เมื่อเทียบกับปกอนหนา เปน 16.4 พันลานบาท สวนใหญจากคาใชจายในการดำเนินงานที่เปน เงินสด ที่เพิ่มขึ้น (รอยละ 15.5 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา) ซึ่งเกิดจากคาใชจายที่เพิ่มขึ้นในการขยายโครงขายอยางตอ เนื่อง และจากคาใชจายทางการตลาดที่เพิ่มขึ้นเพื่อโปรโมทสินคาและบริการของกลุมทรู โดยเฉพาะบริการ 4G LTE และ 3G+ รวมถึงการโอนยายลูกคาจากทรูมูฟ มาทรูมูฟ เอช หลังการสิ้นสุดสัญญาสัมปทานของทรูมูฟ ในเดือนกันยายนที่ผานมา • คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย เพิ่มขึ้นรอยละ 30.3 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนาเปน 19.7 พันลานบาท สวนใหญเปน ผลจากการรนระยะเวลาการตัดคาเสื่อมของสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทานของทรูมูฟ ใหสั้นขึ้น รวมถึงการบันทึกคาตัด จำหนายใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ 2.1 GHz ที่ ไดรับจาก กสทช. ในวันที่ 7 ธันวาคม 2555 เต็มปเปนปแรก • ดอกเบี้ยจาย เพิ่มขึ้นรอยละ 18.5 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนาเปน 7.8 พันลานบาท สวนใหญจากหนี้สินที่เพิ่มขึ้นในป ของกลุมทรูโมบาย เพื่อสนับสนุนการขยายการใหบริการ กอนทีจ่ ะนำเงินจากการขายสินทรัพยเขา TRUEGIF และการขายเงิน ลงทุนใน 8 บริษทั ยอย มาชำระคืนหนีส้ นิ กวา 25 พันลานบาท ซึง่ จะชวยลดภาระดอกเบีย้ จายในปถดั ไป • ภาษีเงินได ลดลงรอยละ 16.3 จากปกอนหนา เปน 1.4 พันลานบาท สวนหนึ่งจากอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลที่ลดลงในป 2556 • ขาดทุนสุทธิจากการดำเนินงานปกติ (NIOGO) กอนภาษีเงินไดรอบตัดบัญชี ในป 2556 มีจำนวนทั้งสิ้น 11.8 พันลานบาท เมื่อเทียบกับ ขาดทุนจำนวน 5.4 พันลานบาท ในป 2555 จากคาใชจายเกี่ยวกับคาเสื่อมราคา คาตัดจำหนาย และดอกเบี้ย จายที่เพิ่มขึ้น • ขาดทุนสุทธิสวนที่เปนของบริษัท เปน 9.1 พันลานบาท ในป 2556 หลังการบันทึกการดอยคาสินทรัพยโครงขาย 2G ของ ทรูมูฟ จำนวนทั้งสิ้น 2.1 พันลานบาท การบันทึกกำไรสุทธิจากการขายสินทรัพยและสิทธิรายไดจากสินทรัพยเขากองทุนรวม โครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท จำนวนทั้งสิ้น 6.3 พันลานบาท และการบันทึกกำไรจากการขาย 8 บริษัทที่ ไมใช ธุรกิจหลักของกลุม จำนวนทั้งสิ้น 857.6 ลานบาท

193


การปรับปรุงทางบัญชีที่สำคัญและประเด็นอื่น ๆ • ธุรกรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท มีมติอนุมัติใหบริษัท และบริษัทยอยบางแหงเขาทำธุรกรรมการ ขายสินทรัพยและกระแสเงินสดในอนาคตกับกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท (“TRUEGIF”) เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2556 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“กลต.”) ไดอนุมัติการจด ทะเบียนกองทรัพยสินตามโครงการกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคม TRUEGIF โดยมีจำนวนหนวยลงทุนที่เสนอขาย 5.81 พันลานหนวย ราคาเสนอขายตอหนวยและมูลคาที่ตราไว 10.00 บาทตอหนวย โดยมีมูลคาของกองทุนทั้งหมด 58.08 พันลานบาท รายการขายสินทรัพยสามารถสรุปไดดังนี้

เงินสดที่ ไดรับมา หัก เงินรับลวงหนา เงินรับสุทธิจากเงินรับลวงหนา หัก ตนทุนสินทรัพยและตนทุนอนที่เกี่ยวของ หัก คาใชจายที่เกี่ยวของ กำไรจากการขายสินทรัพย หัก กำไรที่ยังไมรับรู กำไรที่รับรู ในป พ.ศ. 2556

งบการเงินรวม พ.ศ. 2556 ลานบาท

งบการเงิน เฉพาะบริษัท พ.ศ. 2556 ลานบาท

58,080.00 (16,390.56) 41,689.44 (30,570.44) (1,437.17) 9,681.83 (3,346.93) 6,334.90

16,390.56 (16,390.56) -

กำไรที่ยังไมรับรูเปนสัดสวนรอยละ 33.29 ของกำไรทั้งหมด ซึ่งไมสามารถรับรู ไดเนื่องจาก TRUEGIF เปนบริษัทรวมของบริษัท (ดู รายละเอียดใน “หมายเหตุขอ 40: ธุรกรรมกองทุนรวมโครงสรางพืน้ ฐานประกอบงบการเงินประจำป 2556)

194 m n È


• การบันทึกการดอยคาสินทรัพย การสิน้ สุดของสัญญาใหดำเนินการฯ ระหวาง ทรูมฟู และ CAT Telecom ในวันที่ 15 กันยายน ป 2556 สงผลใหมกี าร บันทึกรายการที่ ไมเกีย่ วของกับการดำเนินงานปกติ ในไตรมาส 3 ป 2556 ซึง่ ประกอบไปดวย จำนวน รายการปรับปรุง (ลานบาท) 1. บันทึกการดอยคาของสินทรัพย โครงขาย 2. คาเสอมราคาของสินทรัพย โครงขาย 3. กำไร (ขาดทุน) จากการกลับรายการสิทธิตามสัญญาใหดำเนินการฯ และหนีส้ นิ ภายใตสญ ั ญาใหดำเนินการฯ 4. การปรับยอดภาษีเงินไดรอตัดบัญชี จากบันทึกการดอยคาของสินทรัพย รวมทั้งสิ้น

(2,056) (451) 791 845 (871)

• ในไตรมาส 4 ป 2555 กลุม ทรูโมบาย บันทึกการดอยคาของสินทรัพย รวมทัง้ สิน้ 2.1 พันลานบาท ซึง่ สวนใหญเปน การดอยคาของ สินทรัพยโครงขายภายใตสญ ั ญาใหดำเนินการฯ กับ กสท ของทรูมฟู จำนวน 2.0 พันลานบาท (ดูรายละเอียดใน “หมายเหตุขอ 8: คาใชจา ยตามลักษณะ” และ “หมายเหตุขอ 20: ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ” ประกอบงบการเงินประจำป 2555) • การปรับอัตราภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล ณ วันที่ 21 ธันวาคม 2554 สำนักงานกฤษฎีกาไดรบั รองการปรับอัตราภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล ลงจาก อัตรารอยละ 30 เปน รอยละ 23 สำหรับระยะเวลาตัง้ แต 1 มกราคม 2555 เปนตนไป และลดลงเปน อัตรารอยละ 20 ตัง้ แต 1 มกราคม 2556 เปนระยะเวลา 2 รอบป บัญชี และปรับขึน้ เปนอัตรารอยละ 30 หลังจากนัน้ ซึง่ สงผลกระทบตองบการเงินของบริษทั ฯ ในงวดป 2554 และงวดป 2555

195


196 m n È

ตารางสรุปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ - ป 2556


โครงสรางรายไดรวม แยกตามประเภทธุรกิจ

197


ผลการดำเนินงานตามประเภทธุรกิจ กลุมทรูโมบาย • รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องกลุม ทรูโมบายในป 2556 เติบโตรอยละ 12.9 จากงวดเดียวกันปกอ นหนาเปน 35.2 พันลานบาท สวนใหญจากการเติบโตอยางแข็งแกรงของบริการที่ ไมใชเสียง • รายไดจากบริการที่ ไม ใชเสียง ในป 2556 เพิ่มขึ้นอยางแข็งแกรงในอัตรารอยละ 49.0 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนาเปน 13.5 พันลานบาท โดยคิดเปนรอยละ 38.2 ของรายไดจากการใหบริการของกลุมทรูโมบาย โดยมีปจจัยหลักมาจากการเติบโต อยางตอเนื่องในการใชบริการโมบาย อินเทอรเน็ต ซึ่งเปนผลจากความนิยมในการใชงานสังคมออนไลน และสมารทดีไวซที่ เพิม่ ขึน้ รวมกับความสำเร็จจากการนำเสนอแพ็กเกจที่นาดึงดูดใจของทรูมูฟ เอช พรอมทั้งการใหบริการดวยโครงขายคุณภาพ ซึ่งครอบคลุมแลวกวารอยละ 95 ของประชากรในประเทศ • รายไดจากการขายสินคา ในป 2556 เพิ่มขึ้น ในอัตรารอยละ 17.1 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนาเปน 16.1 พันลานบาท ซึง่ เปนจำนวนสูงสุดในประวัตกิ ารณ จากความนิยมในการใชสมารทดีไวซทเี่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะ ไอโฟน 5s ซัมซุงรุน high-end และ แบรนด ทรูบยี อนด • รายจายคา IC สุทธิ ในป 2556 เพิม่ ขึน้ รอยละ 2.3 เปน 1.2 พันลานบาท จากปริมาณการโทรออกนอกโครงขาย (off-net traffic) ทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึง่ ชดเชยกับ การลดลงของอัตราคา IC บนโครงขาย 2G ทีล่ ดลงจาก 1 บาทตอนาที เปน 0.45 บาทตอนาที • คาใชจา ยในการดำเนินงานทีเ่ ปนเงินสด ในป 2556 เพิม่ ขึน้ รอยละ 29.1 จากชวงเวลาเดียวกันปกอ นหนาเปน 27.1 พันลานบาท จากคาใชจายดานโครงขายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งรวมคาธรรมเนียมขายสงบริการบนโครงขาย 3G สุทธิที่เพิ่มขึ้นจากการบันทึกการใช อุปกรณเต็มจำนวนที่ 13,000 สถานี ในไตรมาส 4 ป 2556 ภายหลังจากที่ CAT Telecom ไดรบั อนุมตั งิ บประมาณ รวมกับคาใชจา ย ในการทำการตลาดเพื่อโปรโมทการใหบริการ 4G LTE และ 3G+ ของทรูมูฟเอชที่เพิ่มขึ้นและคาใชจายเพื่อเรงยายลูกคาจาก ทรูมฟู มายังทรูมฟู เอช ภายหลังการสิน้ สัญญาสัมปทานของทรูมฟู • EBITDA ในป 2556 เพิม่ ขึน้ รอยละ 1.2 จากชวงเวลาเดียวกันปกอ นหนาเปน 4.9 พันลานบาท จากการเติบโตอยางแข็งแกรงของ รายไดจากการใหบริการ คาใชจา ยดานการกำกับดูแลทีล่ ดลง และกำไรจากการขายสินคาทีเ่ พิม่ ขึน้ • คาเสือ่ มราคาและคาตัดจำหนาย ในป 2556 เพิม่ ขึน้ รอยละ 50.3 จากชวงเวลาเดียวกันปกอ นหนาเปน 11.5 พันลานบาท จาก การรนระยะเวลาในการตัดคาเสือ่ มของสินทรัพยภายใตสญ ั ญาสัมปทานของทรูมฟู ใหสนั้ ขึน้ รวมทัง้ คาตัดจำหนายทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก การบันทึกตนทุนใบอนุญาตใชคลืน่ ความถี่ 2.1 GHz เต็มป เปนปแรก • ดอกเบีย้ จาย ในป 2556 เพิม่ ขึน้ รอยละ 23.4 จากชวงเวลาเดียวกันปกอ นหนาเปน 4.5 พันลานบาท สวนใหญจากการกูย มื ทีเ่ พิม่ ขึน้ เพือ่ ขยายธุรกิจ และโครงขายอยางตอเนื่อง กอนทีจ่ ะนำเงินสวนใหญจากการขายสินทรัพยเขา TRUEGIF มาชำระคืนหนีส้ นิ กวา 25 พันลานบาท ซึง่ จะชวยลดภาระดอกเบีย้ ในปถดั ไป • คาใชจายภาษีเงินได ในป 2556 เพิม่ ขึน้ รอยละ 32.7 เปน 1.1 พันลานบาท จากคาใชจายภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เพิ่มขึ้น จากการโอนสินทรัพยภายใตสัญญาสัมปทานของทรูมูฟ • ผลขาดทุนจากการดำเนินงานปกติ กอนภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ในป 2556 ลดลงเปน 11.7 พันลานบาท เมือ่ เทียบกับขาดทุน 6.6 พันลานบาท ในป 2555 เนือ่ งจากคาเสือ่ มราคา และคาตัดจำหนายทีเ่ พิม่ ขึน้ • กลุม ทรูโมบาย มีจำนวนผูใชบริการรายใหมสทุ ธิ 1.9 ลานราย ในป 2556 ทำใหมฐี านลูกคาเพิม่ ขึน้ เปน 22.9 ลานราย ณ สิน้ ป 2556 บริการระบบรายเดือนของกลุม ทรูโมบายยังคงเติบโตอยางแข็งแกรง โดยมีผูใชบริการเพิม่ ขึน้ เปนสัดสวนรอยละ 13.8 ของ ผูใชบริการทั้งหมด จากรอยละ 12.2 ในป 2555 ในขณะที่รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนของกลุมทรูโมบายคอนขางที่คงที่ ที่ 124 บาท ในป 2556 198 m n È


• ในป 2557 กลุมทรูโมบาย ยังคงมุงมั่นที่จะมอบประสบการณที่ดีที่สุดใหแกลูกคาผานการใชงานโมบาย อินเทอรเน็ตที่เต็ม ประสิทธิภาพ ผานเครือขายคุณภาพสูง และการใหบริการที่ดีเยี่ยม อีกทัง้ เพิม่ ชองทางการจัดจำหนายเพือ่ ใหเขาถึงลูกคาไดงา ย ยิ่งขึ้น พรอมทั้งนำเสนอแพ็กเกจคาบริการที่คุมคารวมกับดีไวซหลากหลายรุน เพื่อตอบสนองความตองการที่หลากหลายของ ลูกคาดวยการผสมผสานบริการตางๆภายในกลุมทรู นอกจากนี้ กลุมทรูโมบายจะยังคงมุงโอนยายลูกคาจากทรูมูฟมายัง ทรูมฟู เอช กอนการสิน้ สุดของมาตรการเยียวยาลูกคาในเดือนกันยายน ป 2557 ทรูออนไลน • ในป 2556 รายไดจากการใหบริการของทรูออนไลน เติบโตรอยละ 1.9 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนาเปน 28.7 พันลานบาท จากการเติบโตอยางแข็งแกรงของรายไดจากบริการบรอดแบนด ซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 17.3 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 14.4 พันลานบาท จากการเติบโตอยางตอเนื่องของบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ตสำหรับลูกคาทั่วไปและลูกคาองคกร • ความสำเร็จจากผลตอบรับที่ดี ในแพ็กเกจคอนเวอรเจนซ และการทำตลาดเฉพาะพื้นที่ รวมกับการใหบริการผานโครงขาย คุณภาพสูงซึ่งครอบคลุมแลวถึง 4.3 ลานครัวเรือนใน 61 จังหวัดของทรูออนไลน สงผลให ทรูออนไลนมียอดผู ใชบริการ บรอดแบนดรายใหมสุทธิสูงถึง 240,000 ราย ทำใหฐานผูใชบริการบรอดแบนดเพิ่มขึ้นเปน 1.8 ลานราย ณ สิ้นป 2556 • ค า ใช จ า ยในการดำเนิ น งานที่ เ ป น เงิ น สด ลดลงรอยละ 2.7 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 16.9 พันลานบาท เนื่องจากคาใชจายที่ลดลงจากการขายเงินลงทุนในหุนสามัญของ 8 บริษัทยอยที่ ไมใชธุรกิจหลัก ในไตรมาส 4 ป 2556 และ การควบคุมคาใชจายในการบริหารจัดการไดดีขึ้น ซึ่งชดเชยคาใชจายดานโครงขายที่เพิ่มขึ้น • คาใชจายดานการกำกับดูแล เพิ่มขึ้นรอยละ 56.3 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 1.9 พันลานบาท ในป 2556 จากผล กระทบของการเปลี่ยนอัตราคาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม (มีผลบังคับใชตั้งแตเดือนมกราคม ป 2556) และสวนหนึ่งจากกฎเกณฑ USO ใหม ที่สงผลใหผู ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมทุกประเภทตองชำระ คาธรรมเนียม USO (มีผลบังคับใชตั้งแตเดือนพฤษภาคม ป 2555) • EBITDA ในป 2556 ปรับตัวดีขึ้น ในอัตรารอยละ 1.5 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 10.2 พันลานบาท จากการ เติบโตของรายได และการควบคุมคาใชจายในการบริหารจัดการไดดีขึ้น ซึ่งหากไมรวมผลประการของทั้ง8 บริษัทยอยนี้ ใน งบการเงินของทั้งป 2555 และ 2556 EBITDA ของทรูออนไลน เพิ่มขึ้น รอยละ 7.5 จากปกอนหนา • ดอกเบี้ยจาย ในป 2556 เพิ่มขึ้นรอยละ 8.2 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 2.5 พันลานบาท จากเงินกูยืมที่เพิ่มขึ้น เพื่อขยายโครงขายบรอดแบนด • ภาษีเงินได ในป 2556 เพิ่มขึ้นรอยละ 52.6 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 497 ลานบาท สวนหนึ่งจากอัตราภาษีเงิน ไดนิติบุคคลที่ลดลง ในป 2556 • กำไรจากการดำเนินงานปกติ (NIOGO) กอนภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ในป 2556 ปรับตัวลดลงเปน 931 ลานบาท (เมื่อเทียบ กับ 1.3 พันลานบาท ในป 2555) จากคาเสื่อมราคา คาตัดจำหนาย และดอกเบี้ยจาย ที่เพิ่มขึ้น • ในป 2557 ทรูออนไลนจะเสริมความแข็งแกรงใหกับการเปนผูนำในตลาดบรอดแบนด อินเทอรเน็ตดวยการเพิ่มความคุมคาให กับลูกคาดวยการนำเสนอแพ็คเกจคอนเวอรเจนซที่นาดึงดูดใจ รวมกับการพัฒนาคุณภาพการใหบริการ และคุณภาพโครง ขายบรอดแบนดอยางตอเนื่อง ซึ่งทรูออนไลนมีแผนที่จะขยายการใหบริการใหครบ 77 จังหวัดภายในป 2557

199


กลุมทรูวิชั่นส • ในป 2556 รายไดจากการใหบริการ ของทรูวิชั่นส เพิ่มขึ้นรอยละ 2.5 เมื่อเทียบกับปกอนหนา เปน 10.7 พันลานบาท จากการเติบโตที่ดีของรายไดคาสปอนเซอร ซึ่งเปนผลจากความนิยมตอรายการเดอะวอยซ ไทยแลนด และรายไดคาโฆษณา ในขณะที่รายไดจากคาสมาชิกคอนขางจะคงที่ แมจะไดรับผลกระทบจากการเสียสิทธิในการแพรภาพรายการฟุตบอลพรีเมียร ลีก และภาวะเศรษฐกิจ • รายไดจากคาโฆษณา เติบโตรอยละ 7.5 จากปกอนหนา เปน 934 ลานบาท จากการเพิ่มขึ้นของฐานผูชมและจำนวนชองที่ สามารถทำการโฆษณา แมตลาดโฆษณาในประเทศจะคอนขางทรงตัวในปที่ผานมา อีกทั้งการนำเสนอแพ็กเกจขนาดใหญที่ เพิ่มความคุมคาใหกับผูซื้อโฆษณามากขึ้นในชวงครึ่งหลัง ป 2556 ไดรับผลตอบรับที่ดีอยางตอเนื่อง • คาใชจายในการดำเนินงานที่เปนเงินสด เพิ่มขึ้นรอยละ 9.2 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 8.7 พันลานบาท สวน ใหญจากการเพิ่มขึ้นของคาใชจายในการขายและการทำการตลาดเพื่อโปรโมทแพ็กเกจและบริการตาง ๆ ที่นาดึงดูดใจของ ทรูวิชั่นส รวมถึงคาใชจายดานคอนเทนตที่เพิ่มขึ้น จากการเพิ่มชองรายการ โดยเฉพาะชองรายการในระบบ HD • EBITDA ลดลงรอยละ 25.8 เมื่อเทียบกับปกอนหนา เปน 1.5 พันลานบาท จากคาใชจายในการดำเนินงานที่เปนเงินสดที่เพิ่ม ขึ้นสูงกวาการเติบโตของรายได • ดอกเบี้ยจาย เพิ่มขึ้นรอยละ 15.0 จากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 911 ลานบาท จากดอกเบี้ยจายที่คอนขางต่ำในป 2555 ซึ่งเปนผลจากการที่ทรูวิชั่นสชนะคดีที่ทีโอทีฟองรองเกี่ยวกับการใชงานทอสายนำสัญญาณ ทำใหทรูวิชั่นสสามารถ กลับรายการคาใชจายในสวนของดอกเบี้ยจาย ที่เคยตั้งสำรองไว ในอดีต รวมจำนวนทั้งสิ้น 128 ลานบาท ในไตรมาส 4 ป 2555 • ป 2556 ทรูวิชั่นสมี รายไดภาษีเงินได จำนวน 173 ลานบาท เมื่อเทียบกับคาใชจายภาษีเงินไดจำนวน 45 ลานบาท ใน ป 2555 สวนใหญเปนผลจากการบันทึกสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากผลขาดทุนจากการดำเนินงานในป 2556 • ผลการดำเนินงานปกติ (NIOGO) ไมรวมภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ปรับลดลงจากชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปนขาดทุน 1.1 พันลานบาท โดยมีสาเหตุจาก EBITDA ที่ลดลง และคาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนายที่เพิ่มขึ้น • ฐานลูกคาของทรูวิชั่นส ณ สิ้นป 2556 เพิ่มขึ้นเปน 2.4 ลานราย (จาก 2.0 ลานราย ณ สิ้นป 2555) จากการเติบโตของฐาน ผูชมกลุมฟรีทูแอร โดยเปนผลจากความรวมมือทางธุรกิจกับผูใหบริการรายอื่นๆ (อาทิ พีเอสไอ) และผลตอบรับที่ดีตอ แพ็กเกจคอนเวอรเจนซ (โดยเฉพาะแพ็กเกจสุขคูณสอง) และแพ็กเกจทรู โนวเลจ โฉมใหม ทั้งนี้ รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการตอ เดือน เพิ่มขึ้นจากปกอนหนา เปน 895 บาท จากผลกระทบในแงบวก (โดยเฉพาะลูกคาแพ็กเกจแพลตทินัม) ของการเปลี่ยน ระบบออกอากาศใหม (MPEG-4) ในเดือนกรกฎาคม ป 2555 • ในป 2557 ทรูวิชั่นสจะมุงมั่นเพิ่มฐานลูกคาพรีเมียม ดวยรายการคุณภาพทั้งในและตางประเทศที่หลากหลาย รวมถึง แพ็กเกจคอนเวอรเจนซที่นาดึงดูดใจสำหรับลูกคาพรีเมียมโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ทรูวิชั่นสจะเดินหนาพัฒนาคอนเทนต ที่ดึงดูดลูกคาในตลาดวงกวาง อีกทั้งจะมุงปรับปรุงและขยายชองทางการตลาดเพื่อการขยายฐานลูกคาไปสูกลุมใหม ๆ ไดดี ยิ่งขึ้น • แพลตฟอรมที่หลากหลายและครบถวนของทรูวิชั่นส จากการมีรายการคุณภาพมากมาย ทำใหทรูวิชั่นส มีความพรอมอยาง เต็มที่ที่จะตอยอดธุรกิจในการใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล ซึ่งบริษัทยอยของกลุมทรูวิชั่นสประสบความสำเร็จในการ ประมูลใบอนุญาตเพื่อใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล จำนวน 2 ใบ ในเดือนธันวาคมที่ผานมา โดยจะเปนการชวยเพิ่ม รายไดคาโฆษณา และเพิ่มโอกาสในการทำการตลาดคอนเทนตของทรูวิชั่นสผานฐานผูชมขนาดใหญอีกดวย

200 m n È


งบดุลรวม และงบกระแสเงินสดรวม

201


การวิเคราะหฐานะทางการเงิน กลุม ทรูมอี ตั ราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน ณ สิน้ ป 2556 เปน 42.5 เทา เพิม่ ขึน้ เมือ่ เทียบกับ 11.9 เทา ณ สิน้ ป 2555 เนือ่ งจาก กลุม ทรูมงุ เนนทีจ่ ะแขงขันในดานคุณภาพบริการจึงมีการลงทุนในโครงขายอยางตอเนือ่ งเพือ่ ขยายการใหบริการใหมคี วามครอบคลุม มากทีส่ ดุ ทัว่ ประเทศ ซึง่ การลงทุนสวนใหญมาจากการกูย มื นอกจากนี้ คาเสือ่ มราคาทีเ่ พิม่ สูงขึน้ จากการขยายโครงขายอยางตอเนือ่ ง และการรนระยะเวลาการตัดคาเสื่อมสินทรัพยโครงขายของทรูมูฟใหสั้นขึ้น รวมถึงคาตัดจำหนายที่เพิ่มขึ้นจากการบันทึกตนทุน ใบอนุญาตใชคลืน่ ความถี่ 2.1 GHz เต็มปเปนปแรก อีกทัง้ การบันทึกการดอยคาของสินทรัพยโครงขาย 2G ของทรูมฟู ซึง่ สัมปทานได สิน้ สุดเมือ่ กลางเดือนกันยายน 2556 เปนปจจัยสวนหนึง่ ทีส่ ง ผลใหกลุม ทรูยงั คงมีผลขาดทุนในป 2556 สิง่ เหลานีท้ ำใหอตั ราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน เพิม่ ขึน้ ทัง้ นี้ ความสำเร็จจากการจัดตัง้ กองทุนรวมโครงสรางพืน้ ฐานในปลายป 2556 ทีผ่ า นมา สงผลใหกลุม ทรู สามารถชำระคืนหนีส้ นิ กอนกำหนดไดอยางมีนยั สำคัญ อีกทัง้ กลุม ทรูยงั คงอยูในระหวางการศึกษาแนวทางตาง ๆ เพิม่ เติมเพือ่ ทีจ่ ะลด อัตราสวนดังกลาว สินทรัพย • กลุม ทรูมสี นิ ทรัพยรวมเพิม่ ขึน้ รอยละ 14.1 จาก ณ สิน้ ป 2555 เปน 205.9 พันลานบาท ณ สิน้ ป 2556 จาก 180.4 พันลานบาท ณ สิน้ ป 2555 สวนใหญจากเงินลงทุนในบริษทั รวม (กองทุนรวมโครงสรางพืน้ ฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท (TRUEGIF)) ซึง่ บริษทั ได ลงทุนใน TRUEGIF เปนเงินจำนวน 19.3 พันลานบาท คิดเปนสวนไดเสียรอยละ 33.29 • สินทรัพยทดี่ นิ อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) ลดลงรอยละ 16.7 จาก ณ สิน้ ป 2555 เปน 72.2 พันลานบาท ณ สิน้ ป 2556 จากการ ขายสินทรัพยและสิทธิรายไดของสินทรัพยเขา TRUEGIF (ดูรายละเอียดใน หมายเหตุขอ 40 ประกอบงบการเงินประจำป 2556) • ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ เพิม่ ขึน้ รอยละ 79.9 จาก ณ สิน้ ป 2555 เปน 38.5 พันลานบาท ณ สิน้ ป 2556 ซึง่ สอดคลองกับการ เติบโตของธุรกิจในกลุม ทรู โดยเฉพาะสัญญาดำเนินการใหบริการโทรคมนาคมภายใตเทคโนโลยี HSPA ระหวาง BFKT และ CAT Telecom โดยมีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย ณ สิน้ ป 2556 อยูที่ 100.1 วัน เพิ่มขึ้นจาก 60.8 วันจาก ณ สิน้ ป 2555 โดยหลักมาจาก รายไดคา งรับทีเ่ พิม่ ขึน้ มากตัง้ แตปลายป 2554 เปนตนมา ซึ่งสวนใหญเปนรายไดคา งรับจาก CAT Telecom ตามสัญญาใหเชา เครือ่ งและอุปกรณ HSPA ระหวาง BFKT และ CAT Telecom โดยสามารถวิเคราะห ไดดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ยอดที่ยังไมครบกำหนดชำระ คางชำระนอยกวา 3 เดือน คางชำระ 3 - 6 เดือน คางชำระ 6 - 12 เดือน คางชำระมากกวา 12 เดือน ลูกหนี้การคา รายไดคางรับ รวมลูกหนี้การคา หัก คาเผอหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา - สุทธิ

202 m n È

งบการเงินรวม พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2555 ลานบาท ลานบาท 7,259.02 5,199.73 2,074.41 4,929.51 3,871.30 23,333.97 18,859.80 42,193.77 (7,632.86) 34,560.91

6,535.87 2,218.38 859.40 2,953.51 3,086.74 15,653.90 10,622.30 26,276.20 (7,322.60) 18,953.60

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2555 ลานบาท ลานบาท 1,535.40 1,005.72 234.83 400.21 1,659.94 4,836.10 1,752.95 6,589.05 (2,671.81) 3,917.24

1,528.90 1,199.90 1,077.93 1,131.08 1,567.93 6,505.74 1,563.18 8,068.92 (2,977.30) 5,091.62


กลุมบริษัทไมมีการกระจุกตัวของความเสี่ยงจากการใหสินเชื่อแกลูกหนี้การคา เนื่องจากลูกคาของกลุมบริษัทมีจำนวนมาก ซึ่ง ไดแก ผูใชบริการโทรศัพท ทั้งภาคธุรกิจและผูใชรายยอยทั่วไป ผูบริหารเชื่อวาคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ ไดบันทึกไวเพียงพอแลว และจะไมมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อมากไปกวาจำนวนหนี้สงสัยจะสูญที่ ไดบันทึกแลว โดยคำนึงจากลักษณะของลูกหนี้การคา ของกลุมบริษัท และจากประสบการณการเรียกเก็บหนี้ของกลุมบริษัท คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเปนการปรับมูลคาของลูกหนี้ดวย มูลคาที่คาดวาอาจเกิดความเสียหายเนื่องจากการเก็บหนี้ ไม ได ผูบริหารใชดุลยพินิจในการประมาณคาความเสียหายสำหรับยอด ลูกหนี้คงเหลือโดยพิจารณาจากหลาย ๆ วิธีผสมกัน เชนตามอัตรารอยละของรายได การวิเคราะหอายุหนี้ ประสบการณการเก็บ หนี้ โดยพิจารณาสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจปจจุบันรวมดวย อยางไรก็ตามการใชวิธีประมาณคาและสมมติฐานตาง ๆ เหลานี้ อาจมีผลกระทบตอมูลคาการประมาณการคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและอาจตองมีการปรับปรุงคาเผื่อดังกลาวในอนาคต • สินทรัพยไมมตี วั ตน (สุทธิ) ณ สิ้นป 2556 มีจำนวน 28.9 พันลานบาท โดยลดลงรอยละ 18.4 จาก ณ สิ้นป 2555 สวนใหญ จากสัญญาการใหบริการ (เกี่ยวกับการดำเนินการใหบริการโทรคมนาคมภายใตเทคโนโลยี HSPA ระหวาง BFKT และ CAT Telecom) ที่มีมูลคาสุทธิทางบัญชี 2,964.38 ลานบาท ซึ่งถูกตัดจำหนายเปนตนทุนของการขายสินทรัพยภายใต “สัญญาโอน ขายสินทรัพยและสิทธิรายไดรับ” (ดูรายละเอียดใน หมายเหตุขอ 22 และ 40 ประกอบงบการเงินประจำป 2556) หนี้สิน • หนีส้ นิ รวม ณ สิน้ ป 2556 มีจำนวน 201.1 พันลานบาท โดยเพิม่ ขึน้ รอยละ 20.9 จาก ณ สิน้ ป 2555 สวนใหญจากรายไดรอการ รับรู ที่เกิดจากการรับรูเงินรับลวงหนา สำหรับเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา จำนวน 16.4 พันลานบาท ที่จะตองสงมอบให TRUEGIF • เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่ มีจำนวน 88.4 พันลานบาท ณ สิน้ ป 2556 เพิม่ ขึน้ รอยละ 97.6 จาก สิน้ ป 2555 จากรายไดรอการ รับรูที่กลาวขางตน และตามการขยายตัวของธุรกิจในกลุมทรู (โดยเฉพาะเกี่ยวกับการดำเนินการใหบริการโทรคมนาคมภายใต เทคโนโลยี HSPA ระหวาง BFKT และ CAT Telecom) • เงินกูย มื ระยะยาว ลดลงรอยละ 12.1 จาก ณ สิน้ ป 2555 เปน 76.3 พันลานบาท สวนใหญจากการชำระคืนหนีส้ นิ ระยะยาวกอน กำหนดจำนวน 18.4 พันลานบาท ในวันที่ 27 ธันวาคม 2556 • สวนของผูถือหุน ลดลง จาก 14.0 พันลานบาท ณ สิน้ ป 2555 เปน 4.7 พันลานบาท ณ สิน้ ป 2556 จากผลขาดทุนจากการ ดำเนินงานในระหวางป สภาพคลองและแหลงเงินทุน • แหลงเงินทุนหลักของกลุมทรู สำหรับป 2556 มาจากกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน (22.7 พันลานบาท) สวนใหญ ประกอบดวยเจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่ (29.6 พันลานบาท) • กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน ในป 2556 เพิ่มขึ้นสูง เปน 22.7 พันลานบาท จาก 7.3 พันลานบาท ในป 2555 สวน ใหญจากการที่กลุมทรูรบั รูเ งินรับลวงหนา (สำหรับเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา จำนวน 16.4 พันลานบาท ทีจ่ ะตองสงมอบให TRUEGIF) เปนรายไดรอการรับรู ภายใตเจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่ (ดูรายละเอียดใน หมายเหตุขอ 35 และ 40 ประกอบงบ การเงินประจำป 2556) • กระแสเงินสดใช ไปสุทธิจากกิจกรรมลงทุน ในป 2556 ลดลงเปน 2.8 พันลานบาทจาก 27.0 พันลานบาท ในป 2555 โดยสวน ใหญจากเงินที่ ไดจากการขายสินทรัพยและสิทธิรายไดของสินทรัพยเขา TRUEGIF และการขายเงินลงทุนในหุนสามัญของ 8 บริษทั ยอยที่ ไมใชธรุ กิจหลักของกลุม

203


• ในป 2556 กลุมทรูมีรายจายลงทุน รวม 25.6 พันลานบาท (โดย 12.5 พันลานบาท สำหรับกลุมทรูโมบาย 11.2 พันลานบาท สำหรับทรูออนไลน และ 2.1 พันลานบาท สำหรับทรูวชิ นั่ ส) ลดลง 1.5 พันลานบาทจากป 2555 • กลุม ทรูมกี ระแสเงินสดสุทธิ (Free cash flow) เปนลบ จำนวน 2.9 พันลานบาท ในป 2556 เพิม่ ขึน้ รอยละ 85.1 จากปกอ นหนา สวนใหญจากกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานทีเ่ พิม่ ขึน้ • กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดสุทธิที่ใช ไปในกิจกรรมจัดหาเงินมีจำนวนทัง้ สิน้ 11.2 พันลานบาท ในป 2556 สวน ใหญเปนผลจากการชำระคืนหนีส้ นิ ลวงหนาในปลายธันวาคม 2556 • ความสามารถในการชำระหนี้ ในป 2556 กลุมทรูไดชำระหนี้ตามที่ ไดกำหนดในตารางการชำระคืนหนี้ อีกทั้งยังสามารถชำระ คืนหนี้ลวงหนาสวนหนึ่งจากเงินที่ ไดจากการขายสินทรัพยและสิทธิรายไดของสินทรัพยเขา TRUEGIF นอกจากนี้ ทรูออนไลน ไดมกี ารออกหุน กูเ พือ่ รีไฟแนนซหนีบ้ างสวน โดย ณ สิน้ ป 2556 อัตราสวนหนี้สินระยะยาว (ไมรวมสัญญาเชาทางการเงิน) สุทธิ ตอ EBITDA ของกลุมทรู ลดลงเปน 4.0 เทา จาก 5.0 เทา ณ สิ้นป 2555 จากการชำระคืนหนี้สินระยะยาวลวงหนาจำนวน 18.4 พันลานบาท ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2556

204 m n È


คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระจำนวน 3 ทาน คือ นายวิทยา เวชชาชีวะ ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ และ นายโชติ โภควนิช คณะกรรมการตรวจสอบไดรับการแตงตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2555 ใหกลับเขาดำรง ตำแหนงอีกวาระหนึ่ง เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 เพื่อใหดำเนินการโดยมีขอบเขต หนาที่ ความรับผิดชอบ ตามที่ระบุไว ใน กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตดังกลาว สำหรับป 2556 คณะกรรมการตรวจสอบ มีการดำเนินการ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ี 1. ได มี ก ารประชุ ม รวม 7 ครั้ ง ในป 2556 เพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท และนำเสนอ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อทราบเปนรายไตรมาส รายนาม 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ 2. ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ 3. นายโชติ โภควนิช

ตำแหนง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

จำนวนครั้งที่เขารวมประชุม ป 2556* 7/7 7/7 7/7

หมายเหตุ *ในป 2556 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวย จำนวน 1 ครั้ง

2. ไดพิจารณาความเปนอิสระ และ ผลการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี รวมถึงความเหมาะสมของคาตอบแทนของผูสอบบัญชีแลว เห็ น ว า ผู ส อบบั ญ ชี มี ค วามเป น อิ ส ระและได แ สดงความเห็ น ตลอดจนข อ เสนอแนะที่ เ ป น ประโยชน ใ นด า นการจั ด ทำรายงาน ทางการเงินและการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ จึงเห็นสมควรเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชี ในสังกัดของ บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จำกัด เปนผูสอบบัญชีประจำป 2556 ตอไปอีกวาระหนึ่ง และ เสนอคาตอบแทนของ ผูสอบบัญชีประจำป 2556 ตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติตอที่ประชุมผูถือหุน 3. หารือกับผูสอบบัญชีอิสระถึงขอบเขตของการตรวจสอบกอนเริ่มกระบวนการ และติดตามการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี อิสระ 4. รับทราบแผนการตรวจสอบและผลการตรวจสอบของผูสอบบัญชีอิสระ และไดเสนอขอคิดเห็นในประเด็นตางๆ 5. สอบทานรายงานทางการเงิ น ทั้ ง รายไตรมาสและรายป ข องบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง รวมผลประกอบการของบริ ษั ท ย อ ย และ คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ น สอดคล อ งกั บ ผู ส อบบั ญ ชี ว า งบการเงิ น ของบริ ษั ท ฯ แสดงฐานะการเงิ น และผล การดำเนินงานโดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 6. สอบทานการเขาทำรายการระหวางกันของบริษัทฯ และบริษัทยอย เพื่อการปฏิบัติใหเปนไปตามระเบียบในการเขาทำ รายการระหว า งกั น ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง เป น ไปตามกฎหมายและข อ กำหนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา การเขาทำรายการระหวางกันของบริษัทฯ และบริษัทยอย เปนไปตามกฎหมายและ ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีความสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ 7. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งจากรายงานของผูสอบบัญชี ผูตรวจสอบภายใน และผูบริหารของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นวา บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามขอกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวของอยางเหมาะสม 205


8. สอบทานระบบการควบคุมภายในเพื่อประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในเพื่อชวยสงเสริม ความมั่นใจอยางสมเหตุสมผลในการดำเนินงานของบริษัทฯ ใหบรรลุเปาหมายที่กำหนดไว โดยพิจารณาจากรายงานผล การตรวจสอบภายในประจำป 2556 ซึ่งครอบคลุมระบบงานที่สำคัญของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอและเหมาะสม นอกจากนี้ โดยเหตุที่ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมมีการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธุรกิจคอนขางรวดเร็ว คณะกรรมการตรวจสอบจึงสงเสริมใหบริษัทฯ พัฒนาระบบการ ควบคุมภายในอยางตอเนื่อง เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจของบริษัทฯ ที่เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ 9. ติดตามงานดานการบริหารจัดการความเสี่ยง ภายใต “นโยบายและกรอบในการบริหารจัดการความเสี่ยง” ของบริษัทฯ ซึ่ง ถือวาเปนสวนหนึ่งของกลยุทธทางธุรกิจและการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการบริหารจัดการความเสี่ยง เปนไปอยางตอเนื่องและมีประสิทธิผล ยิ่งไปกวานั้น คณะกรรมการตรวจสอบได ใหความสำคัญตอการเชื่อมโยงระหวาง งานดานการบริหารจัดการความเสี่ยงกับ งานดานการตรวจสอบภายใน โดยไดเชิญตัวแทนของคณะกรรมการพัฒนาเชิงกลยุทธและบริหารความเสี่ยง มารายงาน ใหคณะกรรมการตรวจสอบทราบเกี่ยวกับการระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง ตลอดจนการบริหารความเสี่ยงของ บริษัท และมอบหมายใหฝายตรวจสอบภายในวางแผนการตรวจสอบภายในใหสอดคลองกับผลการประเมินความเสี่ยง ดังกลาว 10. ติดตามผลจากการจัดใหมีชองทางสำหรับใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทำการรองเรียนหรือแจงเบาะแส เกี่ยวกับการ ทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือการกระทำผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ตอคณะกรรมการบริษัท โดยผานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยในป 2556 คณะกรรมการตรวจสอบไม ไดรับเรื่องที่เปนการรองเรียนหรือการแจงเบาะแส เกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติ มิชอบ หรือ การกระทำผิดจรรยาบรรณธุรกิจ แต ไดรับเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับการใหบริการของบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการ ตรวจสอบได น ำส ง เรื่ อ งร อ งเรี ย นดั ง กล า วไปยั ง หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งเพื่ อ การดำเนิ น การที่ เ หมาะสม และหน ว ยงานที่ เกี่ยวของของบริษัทฯ ไดดำเนินการแก ไขปญหาเปนที่เรียบรอยแลว และ 11. กำกับดูแลงานดานการตรวจสอบภายใน โดยไดพิจารณาอนุมัติแผนการตรวจสอบภายใน ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการประเมิน ความเสี่ยง (risk-based audit) รับทราบรายงานผลการตรวจสอบ รายไตรมาส และรายป ใหคำแนะนำตางๆ แกฝาย ตรวจสอบภายใน รวมทั้งเสนอฝายจัดการ เพื่อพิจารณาปรับปรุงแก ไขตามควรแกกรณี ตลอดจนติดตามความคืบหนาใน การปรับปรุงแก ไขอยางตอเนื่อง ในการนี้ ไดสอบทานความเปนอิสระและผลการปฏิบัติงานโดยภาพรวมของหนวยงาน ตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ น ว า ระบบการตรวจสอบภายในของบริ ษั ท ฯ เป น ไปอย า งอิ ส ระ เพียงพอและมีประสิทธิผล รวมทั้งมีการพัฒนาคุณภาพการตรวจสอบทั้งในดานบุคลากรและการปฏิบัติงานตรวจสอบให สอดคลองกับมาตรฐานวิชาชีพสากลอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดดูแลใหผูดำรงตำแหนงหัวหนางานตรวจสอบภายใน มีวุฒิการศึกษา ประสบการณ และการอบรม ที่เหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบัติหนาที่ดังกลาว ยิ่งไปกวานั้น คณะกรรมการตรวจสอบได ใหความสำคัญ ตอสถานภาพในการทำงานของผูที่ดำรงตำแหนงหัวหนางานตรวจสอบภายใน โดยในป 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได เสนอใหบริษัทฯ เปลี่ยนชื่อตำแหนงของผูที่ดำรงตำแหนงหัวหนางานตรวจสอบภายใน จาก “รองผูอำนวยการ (Deputy Director)” เปน “หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายในของกลุมบริษัทฯ (Head of Group Internal Audit)” ทั้งนี้ เพื่อใหผูที่ ดำรงตำแหนงหัวหนางานตรวจสอบภายในมีสถานภาพเปนที่ยอมรับในองคกรซึ่งจะสงผลใหมีความเขมแข็งในการปฏิบัติ หนาที่มากยิ่งขึ้น คณะกรรมการตรวจสอบมีความเปนอิสระในการปฏิบัติงานตามที่ ไดรับมอบหมาย และไดรับความรวมมือดวยดีจากฝายจัดการ และผู ส อบบั ญ ชี โดยสรุ ป ในภาพรวม คณะกรรมการตรวจสอบเห็ น ว า คณะกรรมการบริ ษั ท ตลอดจนผู บ ริ ห ารของ บริษัทฯ มีจริยธรรมและความมุงมั่นในการปฏิบัติหนาที่เพื่อใหบรรลุเปาหมายของบริษัทฯ ใหความสำคัญตอการดำเนินงาน ภายใตระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิผล มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งมีการพัฒนา ปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานใหมีคุณภาพดีขึ้นอยางตอเนื่อง

(นายวิทยา เวชชาชีวะ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 206 m n È


ตามที่คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ไดรับการแตงตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2544 ใหดำรงตำแหนง เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2544 เพื่อใหดำเนินการโดยมีขอบเขตหนาที่ ความรับผิดชอบ ตามที่ระบุไว ในกฎบัตร ของคณะกรรมการกำหนดค า ตอบแทนและสรรหากรรมการ นั้ น ในการปฏิ บั ติ ง านตามขอบเขตดั ง กล า ว สำหรั บ ป 2556 คณะกรรมการกำหนดค า ตอบแทนและสรรหากรรมการได มี ก ารประชุ ม 2 ครั้ ง เพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามที่ ไ ด รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ 1. พิจารณาและเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทฯ เรื่องการเลือกตั้งกรรมการแทนกรรมการที่พนจากตำแหนงตามวาระ 2. พิจารณาและเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทฯ เรื่อง คาตอบแทนกรรมการ 3. พิจารณาอนุมัติการจายเงินคาตอบแทนผลการปฏิบัติงานประจำป 2555 ใหแกประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ (ซึ่งจายในป 2556) 4. พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ผนและหลั ก เกณฑ ใ นการจ า ยเงิ น ค า ตอบแทนผลการปฏิ บั ติ ง านให แ ก ป ระธานคณะผู บ ริ ห ารและกรรมการ ผูจัดการใหญ ประจำป 2556 (ซึ่งจะจายในป 2557) และ 5. พิจารณาโครงการรวมลงทุนระหวางนายจางและลูกจาง (Employee Joint Investment Program (‘EJIP’)) และเสนอตอที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและอนุมัติ

(นายอำรุง สรรพสิทธิ์วงศ) ตัวแทนคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ

207


รายงานจากคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี ประจำป 2556

ตามที่คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี ไดรับการแตงตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2549 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2549 เพื่อใหดำเนินการโดยมีขอบเขต หนาที่ ความรับผิดชอบ ตามที่ระบุไว ในกฎบัตรของคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี นั้น ในป 2556 คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีการดำเนินการ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ 1 ไดมีการประชุมรวม 4 ครั้ง เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 2. พิจารณารายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ เพื่อเปดเผยในรายงานประจำป 2556 และนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. ติดตามผลการเปดโอกาสใหผูถือหุนเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเขารับการพิจารณาคัดเลือก เปนกรรมการของบริษัทฯ สำหรับการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2556 4. สอบทานรายงานการประเมินการกำกับดูแลกิจการที่จัดทำโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยประจำป 2555 และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ พรอมกับขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ตอไป 5. ทบทวนนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และเสนอการปรับปรุงบางประการตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา อนุมัติ 6. รับทราบรายงานการปฏิบัติตามประมวลคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทำงานของบริษัทฯ 7. พิจารณาการดำเนินการของบริษัทในดานการกำกับดูแลกิจการ รวมทั้งกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อใหมั่นใจวา มีการปฏิบัติอยางเหมาะสม และ เปนไปตามนโยบายของบริษัทฯ และ 8. พิจารณาผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทฯ และนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบ

(ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ) ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี

208 m n È


ตามที่คณะกรรมการดานการเงิน ไดรับการแตงตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2544 ใหดำรงตำแหนง เมื่อวันที่ 16 พฤศจิ ก ายน 2544 เพื่ อ ให ด ำเนิ น การโดยมี ข อบเขตหน า ที่ ความรั บ ผิ ด ชอบ ตามที่ ร ะบุ ไ ว ใ นกฎบั ต รของคณะกรรมการด า น การเงิน นั้น ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตดังกลาว ในป 2556 คณะกรรมการดานการเงินมีการดำเนินการ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ 1. ไดมีการประชุมรวม 8 ครั้ง เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 2. พิจารณาเปาหมายทางการเงิน ใหคำแนะนำแกฝายจัดการ และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและอนุมัติ 3. พิจารณาแผนประจำปเพื่อการปองกันความเสี่ยงจากความผันผวนทางการเงิน และนโยบายการใชตราสารอนุพันธสำหรับ ธุรกรรมทางการเงิน และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและอนุมัติ 4. พิจารณาผลการดำเนินงานรายไตรมาสและรายปของบริษัทฯ และบริษัทยอย พรอมทั้งใหคำแนะนำแกฝายจัดการ 5. พิ จ ารณาการออกและเสนอขายหุ น กู ข องบริ ษั ท ฯ และ นำเสนอต อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ พิ จ ารณาและนำเสนอเรื่ อ ง ดังกลาวตอไปยังที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2556 เพื่ออนุมัติ 6. พิจารณาการขายเงินลงทุนในหุนสามัญของบริษัทยอยที่ ไม ใชธุรกิจหลักของบริษัทฯ และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและนำเสนอเรื่องดังกลาวตอไปยังที่ประชุมผูถือหุนเพื่ออนุมัติ 7. พิจารณาการเขาทำธุรกรรมกับกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและนำเสนอ เรื่องดังกลาวตอไปยังที่ประชุมผูถือหุนเพื่ออนุมัติ 8. พิจารณาโครงการลงทุนตางๆ พรอมทั้งใหคำแนะนำแกฝายจัดการ และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา และอนุมัติ 9. พิจารณาการมอบอำนาจใหแกประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ ในการอนุมัติเงินลงทุน (CAPEX) เพิ่มเติม ในกรณีที่มีความจำเปนเรงดวน และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและอนุมัติ 10. พิจารณาและอนุมัติการขายสินทรัพยของบริษัทยอย ใหแกบริษัทฯ 11. พิจารณาการเพิ่มทุนใหแกบริษัทยอย และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและอนุมัติ 12. พิ จ ารณาการเปลี่ ย นแปลงรายชื่ อ ผู รั บ มอบอำนาจลงนามสั่ ง จ า ยบั ญ ชี ธ นาคารของบริ ษั ท ฯ และนำเสนอต อ คณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาและอนุมัติ 13. พิจารณาการซื้อคืนตั๋วเงินระยะยาว (Deferred Payment Note) และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและอนุมัติ 14. พิจารณาการใชบริการ cross-bank pooling กับธนาคารพาณิชย และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและ อนุมัติ 15. รับทราบรายงานการติดตามผลการลงทุนของโครงการสำคัญๆ ที่เคยไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ แลว 16. รับทราบแผนและความคืบหนาในการออกและเสนอขายหุนกู รวมทั้งพิจารณาการนำเงินที่ ไดรับจากการออกหุนกู ไปใช และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบ และ 17. รับทราบรายงานการใชอำนาจของประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ ในการอนุมัติเงินลงทุนเพิ่มเติมในกรณีที่มี ความจำเปนเรงดวน และ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบ

(ดร.อาชว เตาลานนท) ประธานคณะกรรมการดานการเงิน 209


คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย งบการเงินดังกลาวจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการ บั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไป โดยเลื อ กใช น โยบายบั ญ ชี ที่ เ หมาะสมและถื อ ปฏิ บั ติ อ ย า งสม่ ำ เสมอ และใช ดุ ล ยพิ นิ จ อย า งระมั ด ระวั ง และ ประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีและดำรงรักษาไวซึ่งระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวาการ บันทึกบัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่จะดำรงรักษาไวซึ่งทรัพยสินของบริษัทฯ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการที่เปนอิสระ เปนผูดูแลรับผิดชอบ เกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจำปนี้แลว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวม มีความเพียงพอและเหมาะสม และสามารถสราง ความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลตอความเชื่อถือไดของงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

(นายธนินท เจียรวนนท) ประธานกรรมการ

210 m n È


211


m n È 6



m n È 6


1


2

m n È 6


3


4

m n È 6


5


6

m n È 6


7


8

m n È 6


9


10

m n È 6


11


12

m n È 6


13


14

m n È 6


15


16

m n È 6


17


18

m n È 6


19


20

m n È 6


21


22

m n È 6


23


24

m n È 6


25


26

m n È 6


27


28

m n È 6


29


30

m n È 6


31


32

m n È 6


33


34

m n È 6


35


36

m n È 6


37


38

m n È 6


39


40

m n È 6


41


42

m n È 6


43


44

m n È 6


45


46

m n È 6


47


48

m n È 6


49


50

m n È 6


51


52

m n È 6


53


54

m n È 6


55


56

m n È 6


57


58

m n È 6


59


60

m n È 6


61


62

m n È 6


63


64

m n È 6


65


66

m n È 6


67


68

m n È 6


69


70

m n È 6


71


72

m n È 6


73


74

m n È 6


75


76

m n È 6


77


78

m n È 6


79


80

m n È 6


81


82

m n È 6


83


84

m n È 6


85


86

m n È 6


87


88

m n È 6


89


90

m n È 6


91


92

m n È 6


93


94

m n È 6


95


96

m n È 6


97


98

m n È 6


99


100

m n È 6


101


102

m n È 6


103


104

m n È 6


105


106

m n È 6


107


108

m n È 6


109


110

m n È 6


111


112

m n È 6


113


114

m n È 6


115


116

m n È 6


117


118

m n È 6


119


120

m n È 6



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.