TRUE : Annual Report 2008 thai

Page 1

68460_Cover THAI_M2.ai

3/13/09

4:03:11 PM


68460_Cover IN THAI_M2.ai

3/13/09

4:05:59 PM


68460_01 ENG_M2.ai

3/14/09

11:57:29 AM


68460_02-03 ENG_M2.ai

3/13/09

1:13:10 PM


68460_02-03 ENG_M2.ai

3/13/09

1:14:08 PM


68460_04-05 ENG_M2.ai

3/14/09

11:59:37 AM


68460_04-05 ENG_M2.ai

3/14/09

1:44:11 PM


68460_06-07 ENG_M2.ai

3/13/09

1:16:15 PM


68460_06-07 ENG_M2.ai

3/13/09

1:16:56 PM


68460_08-09 ENG_M2.ai

3/13/09

1:19:25 PM


68460_08-09 ENG_M2.ai

3/13/09

1:20:08 PM


68460_10-11 ENG_M2.ai

3/13/09

1:21:52 PM


68460_10-11 ENG_M2.ai

3/13/09

1:22:44 PM


68460_12-13 ENG_M2.ai

3/13/09

1:24:30 PM


68460_12-13 ENG_M2.ai

3/13/09

1:24:47 PM


68460_14-15 ENG_M2.ai

3/13/09

1:25:54 PM


68460_14-15 ENG_M2.ai

3/13/09

1:26:46 PM


68460_16-17 ENG_M2.ai

3/13/09

1:28:21 PM


68460_16-17 ENG_M2.ai

3/13/09

3:17:21 PM


68460_18-19 ENG_M2.ai

3/13/09

3:36:50 PM


68460_18-19 ENG_M2.ai

3/13/09

3:42:01 PM


68460_20-21 ENG_M2.ai

3/13/09

3:23:45 PM


68460_20-21 ENG_M2.ai

3/13/09

3:24:13 PM


68460_22-23 ENG_M2.ai

3/13/09

1:33:47 PM


68460_22-23 ENG_M2.ai

3/13/09

1:34:56 PM


68460_24-25 ENG_M2.ai

3/13/09

1:36:10 PM


68460_24-25 ENG_M2.ai

3/13/09

1:36:36 PM


68460_26-27 ENG_M2.ai

3/13/09

1:38:16 PM


68460_26-27 ENG_M2.ai

3/13/09

1:38:57 PM


68460_28-29 ENG_M2.ai

3/13/09

1:39:55 PM


68460_28-29 ENG_M2.ai

3/13/09

1:40:26 PM


68460_30-31 ENG_M2.ai

3/13/09

1:41:39 PM


68460_30-31 ENG_M2.ai

3/13/09

1:42:30 PM


68460_32-33 ENG_M2.ai

3/13/09

1:47:30 PM


68460_32-33 ENG_M2.ai

3/13/09

1:48:14 PM


68460_34-35 ENG_M2.ai

3/13/09

1:49:59 PM


68460_34-35 ENG_M2.ai

3/13/09

1:50:33 PM


68460_36-37 THAI_M2.ai

3/13/09

2:23:02 PM


68460_36-37 THAI_M2.ai

3/13/09

2:23:45 PM


68460_38 ENG_M2.ai

3/13/09

1:54:03 PM


Annual Report รายงานประจำป

หนา

สารบัญ ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สำคัญและรางวัล ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทยอย โครงสรางรายได ขอมูลทั่วไปของบริษัทและบริษัทที่เขารวมลงทุน โครงสรางเงินลงทุนของกลุมบริษัท ผูถือหุน การจัดการ รายงานการกำกับดูแลกิจการ นโยบายการจายเงินปนผล ปจจัยความเสี่ยง รายการระหวางกัน บุคคลอางอิง คาตอบแทนของผูสอบบัญชี รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำป 2551 รายงานจากคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ประจำป 2551 รายงานจากคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ประจำป 2551 รายงานจากคณะกรรมการดานการเงิน ประจำป 2551 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตอรายงานทางการเงิน ประจำป 2551 คำอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน

2-2 2-7 2-24 2-25 2-36 2-38 2-39 2-70 2-82 2-83 2-91 2-100 2-101 2-102 2-104 2-105 2-106 2-107 2-108

Together ...Possible

68460_39-40_m2.indd 1

2-1

3/13/09 3:33:52 PM


Company Background

and Major Development and Awards ประวัตคิ วามเปนมาและพัฒนาการทีส่ ำคัญและรางวัล บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ผูนำคอนเวอรเจนซไลฟสไตล ซึ่งเชื่อมโยงทุกบริการ พรอมพัฒนาโซลูชั่น ตอบสนองตรงใจลูกคาทุกกลุมเปาหมาย ธุรกิจหลักของกลุมทรูประกอบดวย ทรูมูฟ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับสาม ของประเทศ ทรูออนไลน ผูใหบริการอินเทอรเน็ตและบรอดแบนดอินเทอรเน็ตรายใหญที่สุดของประเทศ รวมทั้งเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน รายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และทรูวิชั่นส ผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกทั่วประเทศรายเดียวของประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีอีก 2 ธุรกิจหลัก คือ ทรูมันนี่ ซึ่งใหบริการ E-Commerce และทรูไลฟ ซึ่งให บริการดิจิตอลคอนเทนทตางๆ สำหรับกลุมทรู วิสัยทัศนของกลุมทรู คือการเปนผูนำคอนเวอรเจนซไลฟสไตล พันธกิจของกลุมทรู คือการ นำความรู ขอมูลขาวสาร และสาระบันเทิง แกประชาชนและเยาวชน โดยมุงมั่นที่จะสรางคุณคาใหกับ ผูถือหุน ลูกคา องคกร และพนักงาน ยุทธศาสตรการเปนผูนำคอนเวอรเจนซไลฟสไตลทำใหทรูมีเอกลักษณโดดเดน ดวยการผสาน บริการสื่อสารครบวงจรในกลุมและคอนเทนทที่หลากหลาย ทรูจึงแตกตางจากผูใหบริการรายอื่นๆ ในการ เพิ่มความสะดวกสบายใหกับทุกไลฟสไตลและเสริมสรางประสิทธิภาพทำงานใหกับผูใชบริการกวา 20 ลาน ราย ทั่วประเทศ ทรูไดรับการสนับสนุนจากเครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพี) กลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรที่ ใหญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือหุนทรูในสัดสวนรอยละ 58.2 มีทุนจดทะเบียนที่เรียกชำระแลวทั้งสิ้น 77,757 ลานบาท ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ ป 2552 และปจจุบันทรูเปนหนึ่งในแบรนดที่แข็งแกรงและไดรับ การยอมรับในประเทศไทย 2-2

รายงานประจำป 2551

68460_39-40_m2.indd 2

3/13/09 3:33:53 PM


กลุมทรูรายงานผลประกอบการดานการเงิ นโดยแบ งออกเป น 3 กลุมธุ รกิ จ คื อ ทรูมูฟ ทรูออนไลน และทรูวิชั่นส โดยผลประกอบการดานการเงินของทรูมันนี่และทรูไลฟ ถือเปนสวนหนึ่งของ ทรูออนไลน ในป 2551 กลุมบริษัททรูมีรายไดรวม 61 พันลานบาท (รวมคาเชื่อมโยงโครงขาย) และมี สินทรัพยทั้งหมดกวา 195.0 พันลานบาท โดยมีพนักงานประจำทั้งสิ้น 13,501 คน

ธุรกิจของบริษัท บริษัทกอตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2533 ในฐานะผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานภายใต สัญญารวมการงานและรวมลงทุนกับบริษัททีโอที จำกัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ในป 2536 บริษัทไดเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทมหาชน และเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยในชื่อ บริษัท เทเลคอมเอเชีย คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชื่อยอ หลักทรัพยวา “TA” ในเดือนเมษายน 2547 บริษัทไดมีการปรับเปลี่ยนภาพลักษณภายใตแบรนดทรู และ ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TRUE” นอกจากนี้บริษัทยังไดรับอนุญาตใหเปดบริการเสริมตางๆ เชน บริการโทรศัพทสาธารณะและ บริการอื่นๆ เพิ่มเติม โดยในป 2542 บริษัทไดเปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา WE PCT และในป 2544 บริษัท (ผานบริษัทยอย) ไดเปดใหบริการโครงขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวย บริการ ADSL และบริการ Cable Modem และในป 2546 ไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบ ไรสายหรือบริการ Wi-Fi ในป 2550 บริษัทยอยไดเปดใหบริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ และเปดใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศในป 2551 ในเดือนตุลาคม 2544 บริษัทไดเขาถือหุน ในบริษัทกรุงเทพ อินเตอรเทเลเทค จำกัด (มหาชน) หรือ “BITCO” (ซึ่งเปนบริษัทที่ถือหุนในบริษัท ทีเอ ออเรนจ จำกัด) ในอัตรารอยละ 41.1 ซึ่งนับเปน การเริ่มเขาสูธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้ ทีเอ ออเรนจไดเปดใหบริการอยางเต็มรูปแบบในเดือนมีนาคม 2545 และไดเปลี่ยนชื่อเปน “ทรูมูฟ” เมื่อตนป 2549 บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนใน BITCO มากขึ้น ตามลำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน BITCO คิดเปนรอยละ 93.4 ตอมาในเดือนธันวาคม 2550 เครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพี) สนับสนุนธุรกิจทรูมูฟ ผานวิธีการซื้อหุน เพิ่มทุนของ BITCO ทำใหสัดสวนการถือหุนของบริษัทใน BITCO ลดลงเปนอัตรารอยละ 75.3 ในขณะที่ ซีพีมีสัดสวนการถือหุนใน BITCO เพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 23.9 ในเดือนมกราคม 2549 บริษัทไดเขาซื้อหุน ยูบีซี จาก MIH ทั้งหมด และตอมาไดดำเนินการเขา ซื้อหุนสามัญจากรายยอย (Tender Offer) ทำใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนทางออมในยูบีซี รอยละ 91.8 ภายหลังการเขาซื้อหุนจากผูถือหุนรายยอย เสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้ ยูบีซี ไดเปลี่ยนชื่อเปน ทรูวิชั่นส เมื่อตนป 2550

พัฒนาการสำคัญในป 2551 กลุมทรู • ในเดือนเมษายน ที่ประชุมสามัญผูถือหุนมีมติอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนสามัญของ BITCO จำนวน 6 พันลานหุน คืนทั้งหมด หรือ บางสวนจากเครือเจริญโภคภัณฑ ภายในเดือน มิถุนายน 2552 ในราคาหุนละ 0.59 บาท • ในเดือนธันวาคม บริษัทเพิ่มทุนจำนวน 1.1 พันลานบาทใน BITCO และทำใหสัดสวนการถือ หุนของบริษัทเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 77.2 หากบริษัทซื้อหุนจำนวนทั้งหมด 6 พันลานหุนคืน จากซีพี สัดสวนการถือหุนของบริษัทใน BITCO จะเพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 98.7 • ในเดือนพฤศจิกายน คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติแผนระดมทุนจำนวน 19.5 พันลานบาท โดยการออกหุนสามัญใหมเสนอขายตอผูถือหุนเดิม และตอมาไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุม วิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 ในวันที่ 19 ธันวาคม 2551 ทั้งนี้ในการระดมทุนรอบ แรกในเดือนมกราคม ป 2552 ทรูไดรับชำระคาหุนเพิ่มทุนประมาณ 6.4 พันลานบาท ซึ่งจะ ชวยสรางความแข็งแกรงทางการเงินใหกับบริษัทฯ รวมทั้ง เปดโอกาสในการขยายธุรกิจ ใหม ๆ เชน เทคโนโลยี 3G นอกจากนี้ ยังมีสวนในการเตรียมความพรอม เพื่อรับมือกับ ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงอีกดวย

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 3

2-3

3/13/09 3:45:49 PM


ทรูออนไลน • เป ดตัว hi-speed Internet SUPER Package 2 Mbps ยกระดั บ มาตรฐานบริ ก าร บรอดแบนดของไทย โดยเพิ่มความเร็วเปน 2 Mbps • ทรูรวมกับกรุงเทพมหานครจัดโครงการ “Green Bangkok Wi-Fi” ใหคนกรุงเทพฯ ทองโลกการเรียนรูออนไลนผานอินเทอรเน็ตไรสาย Wi-Fi กวา 15,000 จุดทั่วกรุงเทพ • ทรู ติ ด ตั้ ง เครื อ ข า ย Wi-Fi by TrueMove ให กั บ โรงพยาบาลสมิ ติ เ วช เพื่ อ ก า วสู “Connected Hospital” ยกระดับบริการการแพทยดวยเทคโนโลยีล้ำสมัย • ทรูเปดบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศผานหมายเลข “006” อยางเต็มรูปแบบ • เน็ตทอลค บาย ทรู เปดตัวบริการโทรศัพทระหวางประเทศผาน VoIP เพิ่มความสะดวก สบาย โทรขามประเทศแบบประหยัดไดโดยไมตองมีอินเทอรเน็ต และบริการเน็ตทอลค นัมเบอร บริการเน็ตทอลคแบบรายเดือนพรอมหมายเลขสวนตัว • ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย เพิ่มประสิทธิภาพดวยการขยายชุมสายยุโรปที่ประเทศอังกฤษ ตามดวยชุมสายเอเชียที่ฮองกง สงผลใหประสิทธิภาพการเชื่อมตอเกตเวยของลูกคา ISP ไทยสูยุโรป และเอเชียมีคุณภาพสูงขึ้น • ทรูไอพีทีวี ปรับโฉมใหม เพิ่มบริการคาราโอเกะออนดีมานด สงตรงถึงบาน พรอมชอง รายการสาระบันเทิงชั้นนำจากทั่วโลก ทรูมูฟ • เปดนวัตกรรมลาสุดดวยคอนเวอรเจนซโมบายลอินเทอรเน็ตครั้งแรกในไทย เชื่อมโยง 3 เทคโนโลยี Wi-Fi/EDGE/GPRS ใหเลนไมจำกัดเวลา ผานเครือขาย Wi-Fi ที่ครอบคลุม พื้นที่กวา 16,000 จุดทั่วประเทศ • โปรโมชั่น “โทรฟรียกกวน ตลอดวันยันเที่ยงคืน” ที่ ไดเปดตัวไปในชวงกลางปประสบ ความสำเร็จ ทำใหทรูมูฟสามารถเพิ่มปริมาณการโทรภายในโครงขายและลดคาใชจายดาน IC • เปดตัว “เกมซิม” สำหรับผูชื่นชอบเกมออนไลน นอกจากนี้ยังเปดตัว “ทรูวิชั่นสซิม” และ “ทัชซิม” เพื่อใชโหวตในรายการ ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซั่นส 5 และ “ซิมอินเตอร” ซิมทรูมูฟแบบเติมเงินราคาประหยัดสำหรับโทรทางไกลตางประเทศ • เปดตัว “ทรูมูฟ สแควร” สยามสแควร ซอย 2 ไลฟสไตลชอปแหงแรกภายใตแบรนดทรูมูฟ นำเสนอโมบายไลฟสไตลผานเทคโนโลยี RFID หรือทัชซิม • ทรูมูฟ เปดชองทางชำระเงินรูปแบบใหมสำหรับลูกคารายเดือน บริการโทรจายบิลดวยบัตร เครดิต “Call to Pay by Credit Card” ผานระบบ IVR • เปดตัว “Plus Phone” นวัตกรรมสมบูรณแบบที่รวม 2 ระบบทั้งโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟ และโทรศัพทพื้นฐานวีพีซีทีเขาไวดวยกัน • เปดตัว “แบล็คเบอรรี่ โบลด” โทรศัพทมือถือรุนแรกของแบล็คเบอรี่ที่ใชงานภาษาไทยได หลากหลายฟงกชั่น พรอมสื่อสารผานเทคโนโลยี 3G, Wi-Fi, EDGE และ GPRS • ทรูมูฟ จับมือ ไทยแอรเอเชีย ขยายชองทางการจำหนาย “ซิมอินเตอร” ทรูมูฟแบบเติมเงิน สำหรับโทรทางไกลตางประเทศ จำหนายบนเครื่องของสายการบินไทยแอรเอเชียทั้งขาเขา และขาออกในทุกเสนทางบินทั้งในและตางประเทศ • ทรูมูฟรวมมือกับไปรษณียไทยในแคมเปญ “บุรุษไปรษณียยินดีเติมเงินทรูมูฟ” เพื่อเพิ่ม ชองทางการเติมเงินที่สามารถเขาถึงลูกคาทรูมูฟทุกครัวเรือนทั่วประเทศ • ทรูมูฟเขารวมเปนสมาชิกกลุมคอนเน็กซัส โมบายล (Conexus Mobile Alliance) ซึ่งเปน หนึ่งในเครือขายผู ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญที่สุดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก เพื่อ ผลักดันใหบริการโรมมิ่งขอมูลมีการใชงานอยางแพรหลายทั้งในกลุมผู ใชบริการทั่วไป และ ภาคธุรกิจทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟก • ทรูมูฟบรรลุขอตกลงกับ Apple เพื่อนำเขา iPhone 3G ในประเทศไทย ในเดือนมกราคม 2552

2-4

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 4

3/13/09 3:45:49 PM


ทรูวิชั่นส • เปดใหบริการ 2 ชองรายการใหมในป 2551 ซึ่งประกอบดวยชอง Hay Ha และชอง True Asian Series โดยเปนชองรายการที่ผลิตขึ้นเอง อีกทั้งยังเปดใหบริการชองขาว TNN อยางเปนทางการ ปจจุบัน 5 ชองรายการยอดนิยมสูงของทรูวิชั่นสเปนรายการที่ ผลิตขึ้นเอง และอีก 6 ชองรายการที่ผลิตเอง ยังติด 10 อันดับชองรายการยอดนิยม ของทรูวิชั่นสอีกดวย • โปรโมชั่นใหมจานแดงขายขาด DStv ของทรูวิชั่นส ใหดูทรูวิชั่นสฟรี 32 ชอง โดยไมตอง จายรายเดือน สำหรับผู ใชบริการที่เติมเงินทรูมูฟ ทุกเดือนสามารถดูทรูวิชั่นสเพิ่มไดอีก 7 ชอง • ทรูวิชั่นสเปดตัวบริการใหม TrueVisions PVR กลองรับสัญญาณรุนใหมที่มีฮารดดิสก ซึ่งมีความจุสูงถึง 160 กิกะไบต ครั้งแรกในประเทศไทย ใหสมาชิกสามารถสนุกกับการ บันทึกรายการไดนานกวา 140 ชั่วโมง • ทรูวิชั่นสซิม ซิมพิเศษที่เชื่อมโยงบริการตางๆ ของทรูวิชั่นส ผานเครือขายมือถือทรูมูฟ สำหรับสมาชิกทั้งแพลทินัม และโกลด แพ็คเกจ (ระบบดิจิตอล) ให ไดรับความสะดวกใน การรับรูขอมูลขาวสาร การบริการ และสิทธิพิเศษตางๆ มากมาย ทรูมันนี่ • เปดตัวทัชซิม (Touch SIM) ซิมอัจฉริยะบนโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟเปนรายแรกของโลก ผานบริการทรูมันนี่ ดวยพัฒนาการเทคโนโลยี RFID ซึ่งสามารถทำธุรกรรมทั้งทางการเงิน และการบันทึกขอมูลสวนตัวบนมือถือ • เปดบริการ WeBooking บริการจองจายครบวงจร สำหรับลูกคาของกลุมทรู ทั้งจอง บัตรคอนเสิรต การแสดง ทองเที่ยวและที่พัก และอื่นๆ ทรูไลฟ • พอรทัลชุมชนออนไลนของทรูไลฟ Truelife.com ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมี จ ำนวนผู เ ข า ชมเฉลี่ ย 1,065,000 รายต อ เดื อ น ในขณะที่ อี ค อมเมิ ร ซ พอร ทั ล weloveshopping.com เติบโตตอเนื่อง มีรานคาออนไลนกวา 150,000 รานและสินคา บริการมากกวา 2 ลานรายการ • ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนทเปดตัวเกมออนไลนยอดนิยม Hip Street, Kart Rider และ FIFA Online 2 • เอ็นซี ทรู เปดตัว 2 เว็บไซตใหม www.playsmart.in.th (ศูนยรวมสาระและความบันเทิง ดานเกม เพื่อสงเสริมใหเลนเกมอยางถูกตองและปลอดภัย) และ www.hitsplay.com พอรทัลเกมที่เลนไดตามอัธยาศัย (casual game portal) นอกจากนี้ยังเปดตัวเกมใหม Crazy Mon Racing เกมแขงรถออนไลน และประกาศเปดตัว Point Blank เกมออนไลน แนว First Person Shooting Online ซึ่งจะเริ่มใหบริการในป 2552 • เปดตัวเว็บไซต http://schoolbus.truelife.com บริการดานคอนเทนทเพื่อเด็กในวัยเรียน พรอมบริการติวเตอรออนไลน นอกจากนี้ยังเปดตัวทรูคลิกไลฟ Trueclicklife หลักสูตร การสอนคอมพิวเตอรแนวใหมสำหรับเด็กระดับอนุบาลถึงประถมศึกษา โดยบริษัท บีบอยด ซีจี จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู • ชองเกม Gsquare รวมกับฟวเจอร เกมเมอร จัดงาน Bangkok Interactive Game Festival 2008 (BIG Festival 2008) งานมหกรรมเกมที่ยิ่งใหญระดับชาติ ครั้งแรก ในไทย

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 5

2-5

3/13/09 3:45:49 PM


รางวัลที่ ไดรับในป 2551 • ชองรายการ Gsquare ทางทรูวิชั่นส ชองเกมแหงแรกของไทย ไดรับพระราชทานรางวัล เทพทอง ครั้งที่ 9 ในสาขาวิทยุโทรทัศน ประเภทองคกรดีเดนประจำป 2550 จากสมาคม นักวิทยุและโทรทัศนแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ • บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จำกัด บริษัทในกลุมทรูไดรับ รางวัลอาคารนอกขาย ควบคุมดีเดน และรางวัลผูปฏิบัติการดานพลังงานในอาคารนอกขายควบคุมดีเดน ใน งาน Thailand Energy Award 2008 ในฐานะบริษัทที่โดดเดนดานอนุรักษพลังงานและ การพัฒนาพลังงานทดแทน • ผลการจัดอันดับ 200 บริษัทเอเชียที่นาชื่นชมมากที่สุด โดย หนังสือพิมพวอลลสตรีท เจอรนัล เอเชีย ทรูไดรับรางวัล “บริษัทยอดเยี่ยมเชิงนวัตกรรม” และเปนบริษัทที่ ไดรับ ความเชื่อถือสูงสุดในลำดับที่ 7 ของประเทศไทย จากการสำรวจความคิดเห็นของบรรดา ผูบริหารและผูเชี่ยวชาญกวา 2,500 รายทั่วเอเชีย • โฆษณาชุด “ปาติหาน” รับรางวัลชนะเลิศ “โฆษณาโทรทัศนดีเดน” ประเภทบริการเพื่อ ผูบริโภค จากสำนักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค • ทรูวิชั่นสรับโลประกาศเกียรติคุณ สื่อมวลชนที่สนับสนุนการคุมครองผูบริโภค จาก สำนักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค • โครงการ “Let Them See Love” ของทรูไดรับ Gold Award สาขากิจกรรมสงเสริม การตลาด จาก งานประกวดโฆษณา Adman Awards & Symposium 2008 ครั้งที่ 5 ซึ่งจัดโดยสมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย • ทรู (สำนั ก งานใหญ ชุ ม สายโทรศั พ ท ห ลั ก ลาดหญ า และทุ ง สองห อ ง) ทรู พ รอพ เพอรตี้สและทรูวิชั่นส รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานความปลอดภัยระดับ ประเทศ จากกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน โดยชุมสายโทรศัพท หลักของทรูที่เพลินจิตและพระโขนง ชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่หลักของทรูมูฟที่บางรัก และ บริษัทไวรเออ แอนด ไวรเลส ไดรับรางวัลเดียวกันในระดับจังหวัด ในขณะเดียวกันชุมสาย โทรศัพทเคลื่อนที่หลักของทรูมูฟที่ถนนเพชรบุรีตัดใหมไดรับรางวัลชมเชยในระดับจังหวัด • ทรูทัช รับรางวัลรองชนะเลิศ ประเภท The Best Outsourcing Partnership จาก การประกวด 2008 Top Ranking Performers in the Contact Center Industry ใน ระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ณ นครซิดนีย ประเทศออสเตรเลีย • บริการทัชซิมจากทรูมันนี่รับ รางวัลนวัตกรรมแหงชาติ ประจำป 2551 รองชนะเลิศ อันดับ 2 ดานเศรษฐกิจ จากสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี • TrueMove Assistant 2222 รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ศูนยบริการทางโทรศัพท ยอดเยี่ยม (ภายในองคกร) ขนาดมากกวา 50 ที่นั่ง จากงาน Thailand National Call Center Awards 2008 ซึ่งจัดโดยสมาคมอุตสาหกรรมการบริการลูกคาทางโทรศัพท (The Call Center Industry Association of Thailand - CCIA) • TrueMove Assistant 2222 รับรางวัล ศูนยบริการทางโทรศัพทยอดเยีย่ ม (ประเทศไทย) ประจำป 2551 จาก The Asia Pacific Contact Center Association Leaders (APCCAL) • ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร ไดรับมาตรฐาน ISO/IEC 20000 (มาตรฐานการบริหาร จัดการระบบสารสนเทศ) และไดรับมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2005 (มาตรฐานการ จัดการความปลอดภัยขอมูล) เปนรายแรกในประเทศไทย

2-6

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 6

3/13/09 3:45:49 PM


Nature of Business ลักษณะการประกอบธุรกิจ ของบริษทั และบริษทั ยอย

7

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 7

รายยงานปร รา ประจ ะจำป ำป 25 2551 51

TTogether ogether ...Possible ...Possibble

2-7

3/13/09 3:45:50 PM


ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เปนผู ใหบริการสื่อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของ ประเทศไทย และเป น ผู น ำคอนเวอร เ จนซ ไ ลฟ ส ไตล ซึ่ ง เชื่ อ มโยงทุ ก บริ ก าร พร อ มพั ฒ นาโซลู ชั่ น ตอบสนองทุกไลฟสไตลตรงใจลูกคาไดอยางแทจริง ทำใหกลุมทรูมีเอกลักษณความโดดเดนในตลาด สื่อสาร โทรคมนาคมไทย ทั้งนี้กลุมทรูเปนผู ใหบริการ Quadruple Play ซึ่งประกอบดวยบริการดาน เสียง (โทรศัพทพื้นฐานและโทรศัพทเคลื่อนที่) วิดีโอ ขอมูลและมัลติมีเดียตางๆ ในทุกรูปแบบการสื่อสาร โดยประสานประโยชนจากโครงขาย บริการ และคอนเทนทของกลุม ซึ่งเปนพื้นฐานทำใหธุรกิจเติบโตตอไป ในอนาคต นับตั้งแตตนป 2550 กลุมทรูไดมีการแบงกลุมธุรกิจหลักออกเปน 5 กลุม (โดยเอกสารฉบับนี้ จะเรียงลำดับ เนื้อหาตามกลุมธุรกิจหลัก) ซึ่งประกอบดวย • ธุรกิจออนไลน ภายใตชื่อ ทรูออนไลน ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐานและ บริการเสริม บริการ โครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ต และบริการอินเทอรเน็ตความเร็ว สูง หรือ บริการบรอดแบนด และบริการ WE PCT (บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่) • ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตชื่อ ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) • ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส (ชื่อเดิมวา ยูบีซี) • ธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซ ภายใตชื่อ ทรูมันนี่ • ธุรกิจดิจิตอลคอนเทนท ภายใตชื่อ ทรูไลฟ (รวมทั้งทรู คอฟฟ) สำหรับรายงานดานการเงิน กลุม ทรูรายงานผลการดำเนินงานเปน 3 ธุรกิจหลัก คือ ทรูออนไลน ทรูมูฟ และทรูวิชนั่ ส โดยผลการดำเนินงานของธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซและดิจิตอลคอนเทนท (ทรูมนั นี่ และทรูไลฟ) ไดถกู รวมอยูในกลุม ธุรกิจของทรูออนไลน ในป 2551 รายไดจากทรูมฟู มีสดั สวนรอยละ 42 ของรายไดจากการใหบริการของกลุม ทรู (หลัง จากหั ก รายการระหว า งกั น ระหว า งธุ ร กิ จ ต า งๆในกลุ ม และไม ร วมรายได จ ากค า เชื่ อ มโยงโครงข า ย (Interconnection Charges - IC) ในขณะที่รายไดจากการใหบริการของทรูออนไลน (ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริม บริการดานโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ตและบริการ อินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือบริการ บรอดแบนด และบริการ WE PCT หรือ บริการโทรศัพทพนื้ ฐานใช นอกสถานที)่ มีสดั สวน รอยละ 40 และทรูวชิ นั่ สมสี ดั สวนรอยละ 18 1. ทรูออนไลน ทรูออนไลน ประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริมตาง ๆ เชน บริการ โทรศัพทสาธารณะ เปนตน นอกจากนี้ ยังรวมถึงบริการอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด บริการโครงขาย ขอมูล และบริการ WE PCT โดยธุรกิจอินเทอรเน็ตและบรอดแบนดเติบโตอยางรวดเร็ว และบริการใหมๆ เชน บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ (IDD) และบริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ ชวยรักษาระดับรายไดโดยรวมของกลุมธุรกิจ ทรูออนไลน i) บริการโทรศัพทพื้นฐาน ทรูเปนผู ใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมี สวนแบงตลาดประมาณกวารอยละ 50 และมีผูใชบริการเกือบ 2 ลานเลขหมาย จากเลขหมายที่มีทั้งหมด 2.6 ลานเลขหมาย ในเดือนสิงหาคม ป 2534 บริษัท ไดทำสัญญารวมการงานและรวมลงทุนขยายบริการโทรศัพท ระหวางบริษัท กับ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (“สัญญารวมการงานฯ”) ซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) โดยใหบริษัท เปนผูดำเนินการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจน ซอมบำรุงและรักษาอุปกรณในระบบสำหรับการขยายบริการโทรศัพทจำนวน 2 ลานเลขหมาย ในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดป 2560 ตอมาไดรับสิทธิใหขยายบริการ โทรศัพทอีกจำนวน 6 แสนเลขหมาย บริษัทไดโอนทรัพยสินที่เปน โครงขายทั้งหมดใหแกทีโอที โดยไดรับ 2-8

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 8

3/13/09 3:45:51 PM


รายไดจากธุรกิจบริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริมในรูปของสวนแบงรายได ในอัตรารอยละ 84 สำหรับโทรศัพทพื้นฐานในสวน 2 ลานเลขหมายแรก และอัตรารอยละ 79 สำหรับในสวน 6 แสนเลขหมาย ที่ไดรับการจัดสรรเพิ่มเติมในภายหลัง ในสวนของบริการเสริมตาง ๆ ที่บริษัทไดใหบริการอยู บริษัทไดรับ สวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 82 ของรายไดจากบริการเสริมนั้นๆ ยกเวนบริการโทรศัพทสาธารณะ ซึ่ง บริษัทไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 76.5 นอกจากนั้น กลุมทรูยังไดรับไดรับใบอนุญาตใหบริการ โทรศัพทผาน อินเทอรเน็ต (Voice over Internet Protocol - VoIP) บริการโทรศัพทพื้นฐาน บริการ โทรศัพทสาธารณะ และบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ (International Direct Dialing - IDD) รวมทั้งบริการโครงขาย อินเทอรเน็ตระหวางประเทศ (International Internet Gateway) จาก คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) บริการเสริม นอกเหนือจากโทรศัพทพื้นฐาน บริษัทไดพัฒนาบริการเสริมตางๆ เพื่อตอบสนองความ ตองการของลูกคา ซึ่งประกอบดวย • บริการโทรศัพทสาธารณะ บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทีโอที เพื่อใหบริการโทรศัพท สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำนวน 26,000 ตู • บริการรับฝากขอความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) บริการสนทนา 3 สาย (Conference Call) บริการโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริการเลขหมายดวน (Hot Line) บริการยอเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริการโทรซ้ำอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) และ บริการจำกัดการ โทรออก (Outgoing Call Barring) • บริการ Caller ID เปนบริการเสริมพิเศษที่แสดงหมายเลขเรียกเขา นอกจากนี้ บริษัทยังไดใหบริการเสริมอื่นๆ แกลูกคาธุรกิจ ซึ่งมีความตองการใชเลขหมาย เปนจำนวนมาก และตองการใชบริการเสริมที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ไดแก • บริการตูสาขาอัตโนมัติระบบตอเขาตรง (Direct Inward Dialing - DID) เปนบริการ ที่ทำใหโทรศัพทพื้นฐานสามารถเรียกเขาเลขหมายภายในของตูสาขาอัตโนมัติโดยไมตอง ผานพนักงานสลับสาย (Operator) จึงทำใหเลขหมายภายในทุกเลขหมายเปรียบเสมือน สายตรง • บริการเลขหมายนำหมู (Hunting Line) เปนบริการที่จัดกลุมเลขหมายใหสามารถเรียก เขาไดโดยใชเลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว • โครงขายบริการสื่อสารรวมระบบดิจิตอล (Integrated Service Digital Network ISDN) เปนบริการที่ทำใหผู ใชสามารถติดตอสื่อสารกันไดหลากหลายรูปแบบทั้งรับ-สง สัญญาณภาพ เสียง และขอมูลพรอมกันได บนคูสายเพียง 1 คูสายในเวลาเดียวกัน • บริการ Televoting เปนบริการที่ชวยใหรับสายโทรศัพทเรียกเขาที่มีระยะเวลาสั้น ๆ ใน จำนวนสูงมากๆ ซึ่งสามารถนำมาใชเปนเครื่องมือทางการตลาดได โดยไมตองลงทุนติด ตั้งอุปกรณหรือโปรแกรมในการรองรับสายเรียกเขาปริมาณสูงๆ และสามารถทราบผล หรือจำนวนการเรียกเขาไดภายในเวลา 5 วินาที • บริการฟรีโฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เปนบริการพิเศษที่ผูเรียกตนทาง ไม ตองเสียคาโทรศัพททางไกลโดยผูรับปลายทางจะเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย ทั้งจากการ โทรภายในพื้นที่เดียวกัน และโทรทางไกลภายในประเทศ โดยกดหมายเลข 1800 แลว ตามดวยหมายเลขโทรฟรี 6 หลัก • บริการประชุมผานสายโทรศัพท (Voice Conference) สามารถจัดประชุมไดทุกที่ ทุก เวลา ผานทางสายโทรศัพท • บริการโทรศัพทผานอินเทอรเน็ต (Voice over Internet Protocol - VoIP) ภายใตชื่อ NetTalk by True

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 9

2-9

3/13/09 3:45:51 PM


โครงขายโทรศัพทพื้นฐาน โครงขายโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทเปนโครงขายใยแกวนำแสงที่ทันสมัย มีความยาวรวม ทั้งสิ้นกวา 176,000 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประมาณ 4,200 ตารางกิโลเมตร โดยใชสายเคเบิลทองแดงในระยะทางสั้น (โดยเฉลี่ยราว 3 - 4 กิโลเมตร) เพื่อคุณภาพที่ ดีที่สุดในการใหบริการทั้งดานเสียงและขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่ใหบริการแกลูกคาเปน จำนวนรวม 1,902,507 เลขหมาย ประกอบดวย ลูกคาบุคคลทั่วไปจำนวน 1,272,600 เลขหมาย และ ลูกคาธุรกิจจำนวน 629,907 เลขหมาย ซึ่งลดลงเล็กนอยจากป 2550 ในขณะที่รายไดเฉลี่ยตอเลขหมาย ตอเดือนลดลงในอัตรารอยละ 8.5 เปน 331 บาท โดยมีสาเหตุจากผู ใชบริการเปลี่ยนมาใชโทรศัพท เคลื่อนที่มากขึ้นอยางตอเนื่อง แตยังคงมีจำนวนผูใชบริการคอนขางคงที่ ทั้งนี้รายไดสวนใหญ (รอยละ 55) มาจากลูกคาธุรกิจ ii) บริการบรอดแบนดและอินเทอรเน็ต (Broadband and Internet) บริการบรอดแบนด กลุมทรูเปนผูใหบริการบรอดแบนดหรืออินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายใหญที่สุดของประเทศ และครองสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 50 ของตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูงทั่วประเทศ และยังเปน ผูใหบริการอินเทอรเน็ต ไรสายความเร็วสูง หรือ Wi-Fi (Wireless Fidelity) รายใหญ กลุมทรูใหบริการ บรอดแบนดสำหรับลูกคาทั่วไปผาน 2 เทคโนโลยี คือ Cable Modem และ DSL ดวยความเร็วสูงสุด 10 Mbps (ผานบริการ VDSL) ในป 2546 กลุมทรู และ ผูใหบริการรายอื่น เชน KSC ไดนำเสนอบริการอินเทอรเน็ตไรสาย ความเร็วสูง หรือ Wi-Fi ณ สิ้นป 2551 กลุมทรูไดขยายจุดใหบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูงกวา 16,000 จุดตามสถานที่ตางๆ เชน รานกาแฟ รานอาหาร โรงแรม โรงพยาบาล หางสรรพสินคา โรงภาพยนตร ศูนยประชุม และอาคารสำนักงานตางๆ ในเดือนมีนาคม 2548 กลุมทรู นำเสนอบริการ VDSL ซึ่งเปนบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง ตั้งแต 6 Mbps ถึง 10 Mbps สำหรับกลุมลูกคาธุรกิจ ในเดือนเมษายน 2548 กลุมทรูเปดใหบริการ Pre Pay hi-speed Internet ไฮ-สปด อินเทอร เน็ตแบบเติมเงิน ครั้งแรกในประเทศไทยเพื่อเปนทางเลือกใหมแกลูกคาที่สะดวกและคุมคา บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด (“TUC”) เปนหนึ่งในบริษัทยอยของกลุมทรู ซึ่งไดรับใบอนุญาตจาก กทช. เพื่อใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน บรอดแบนด และ บริการโครงขายขอมูล ทั่วประเทศ โดยโครงสรางโครงขายพื้นฐาน และเทคโนโลยีใหม เชน NGN (Next Generation Network) xDSL และ Gigabit Ethernet โดย TUC ใหบริการวงจรสื่อสารขอมูลและบรอดแบนดรวมทั้งโครงขาย สื่อสารขอมูล ใหแกบริษัทยอยอื่น ในกลุมทรู รวม ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด (“TI”) และ ทรู มัลติมีเดีย จำกัด (“TM”) เพื่อนำไปใหบริการตอ แกลูกคาอินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายยอย บริการขอมูล และบริการ ที่ไมใชเสียง แกลูกคาทั่วไป และลูกคาธุรกิจ ตามลำดับ ด ว ยโครงข า ยโทรศั พ ท พื้ น ฐานที่ ทั น สมั ย ทำให ก ลุ ม ทรู ส ามารถให บ ริ ก ารบรอดแบนด ที่ มี ความเร็วสูงและมีประสิทธิภาพคงที่ อีกทั้งยังสามารถประหยัดคาใชจายในการติดตั้ง การดำเนินงาน และ การบำรุงรักษา เนื่องจากไมเพียงแตสามารถใหบริการ ADSL เทานั้น แตยังสามารถใหบริการ ADSL2+, G.SHDSL และ Gigabit Ethernet และมีความพรอมที่จะพัฒนาไปเปนโครงขาย NGN ซึ่งเปนเทคโนโลยี ระบบ IP กลุมทรูยังใหบริการดานคอนเทนทที่เปยมดวยคุณ ภาพ ซึ่งมีความหลากหลายและเหมาะกับทุก ไลฟสไตล ไมวาจะเปน คอนเทนทสำหรับผูที่ชื่นชอบการฟงเพลง ดูกีฬา หรือรักการอานหนังสือออนไลน ในรูปแบบของ E-Book นอกจากนั้น ทรูยังตอกย้ำความเปนผูนำในธุรกิจนี้ โดยใหบริการเสริมตางๆ เชน บริการเกมออนไลน บริการ IPTV บริการ WhiteNet (เพื่อกลั่นกรองและสกัดจับภาพและสื่อบนอินเทอร เน็ตที่ไมเหมาะสมสำหรับเยาวชน) และโปรแกรม Norton Anti-Virus (เพื่อตรวจจับและกำจัดไวรัสแบบ อัตโนมัติ)

2 - 10

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 10

3/13/09 3:45:51 PM


กลุมทรูไดนำเสนอโปรโมชั่น hi-speed Internet Super package 2 Mbps ใหมในป 2551 ดวยความเร็วเพิ่มจากเดิม 2 เทา เปน 2 Mbps ที่ราคา 890 บาทตอเดือน พรอมให Wi-Fi Router ฟรี และสามารถใช Wi-Fi by TrueMove โดยไมจำกัดการใชงาน ซึ่งไดรับผลตอบรับที่ดีจากตลาด ทำให ณ สิ้นป 2551 มีผู ใชบริการทั้งสิ้น 632,461 ราย เพิ่มขึ้นจากป 2550 ในอัตรารอยละ 15.4 นอกจากนั้นลูกคา Wi-Fi เพิ่มขึ้นเปน 109,000 ราย จากจำนวน 31,523 ณ ปลายป 2550 และยังมี ผูลงทะเบียนใช Green Bangkok Wi-Fi ซึ่งเปนโครงการที่ทรูรวมกับกรุงเทพมหานคร ใหบริการ อินเตอรเน็ตไรสายที่ความเร็ว 64 Kbps ฟรี อีกประมาณกวา 100,000 ราย บริการอินเทอรเน็ต กลุมทรูดำเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ต (รวมทั้ง Content และ Application) โดย ผานบริษัทยอย คือ 1. บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด (“AI”) ซึ่งบริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 65 ไดรับ อนุญาตจาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ กสท (กอนหนาคือ การสื่อสาร แหงประเทศไทย) ใหดำเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย (ISP) แกผูใชบริการทั่วประเทศ จนกระทั่งถึง ป 2549 ดวยอุปกรณที่ไดทำสัญญาเชาระยะยาวจาก กสท หรือหนวยงานที่ไดรับอนุญาต จาก กสท ทั้งนี้ เอเซีย อินโฟเน็ท ไดรับใบอนุญาตในการใหบริการอินเทอรเน็ตแบบที่ 1 (ตออายุได) ซึ่งจะ สิ้นสุดในวันที่ 4 กุมภาพันธ ของทุกป 2. บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด (“TI”) ซึ่งบริษัท ถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ในเดือนกันยายน 2548 ทรู อินเทอรเน็ต ไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. ในการใหบริการ อินเทอรเน็ตแบบที่ 1 โดยมีระยะเวลาการอนุญาต 1 ป และสามารถตออายุไดครั้งละ 1 ป โดยใบอนุญาต จะสิ้นสุดในวันที่ 17 สิงหาคม ของทุกป ในภาพรวมของธุรกิจอินเทอรเน็ต กลุมทรูเปนผู ใหบริการอินเทอรเน็ตที่ ใหญที่สุด มีผู ใช บริการ ทั้งสิ้นประมาณ 1.3 ลานราย (รวมผูใชบริการบรอดแบนด) โดยเปนผูนำตลาดทั้งในกลุมลูกคา ทั่วไป และลูกคาธุรกิจ เนื่องจากสามารถใหบริการพรอมบริการเสริม ตางๆ อยางครบวงจร อาทิ บริการ Internet Data Center บริการเก็บรักษาขอมูลและบริการปองกันความปลอดภัยขอมูล สำหรับลูกคา ธุรกิจขนาดใหญ ภายหลังจากบริษัทยอยในกลุมทรูไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการกทช. ณ ปลายป 2549 ใหเปดบริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ (International Internet Gateway) บริการ อินเทอรเน็ตและบรอดแบนดของกลุมทรูไดขยายตัวอยางรวดเร็ว สามารถใหบริการที่มีคุณภาพสูงขึ้นแก ลูกคา รวมทั้งชวยประหยัดตนทุนในการใหบริการ iii) บริการโครงขายขอมูล (Data Services) กลุมทรูใหบริการโครงขายขอมูล ในลักษณะโซลูชั่น ทั้งบริการดานเสียงและขอมูลไปดวยกัน รวมทั้งใหบริการดานการบริหารโครงขายขอมูลกับลูกคาธุรกิจ ทั้งนี้ผานเทคโนโลยีตางๆ ที่หลากหลาย ประกอบดวย บริการโครงขายขอมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) หรือ บริการวงจรเชา (Leased Line) บริการโครงขายขอมูลผานเครือขาย IP ไดแก บริการ MPLS (Multi-protocol Label Switching) บริการ Metro Ethernet ซึ่งเปนบริการโครงขายขอมูลที่ ใชเทคโนโลยี Fiber-to-thebuilding และถูกออกแบบมาเฉพาะลูกคาธุรกิจ รวมทั้ง บริการวงจรเชาผานเครือขาย IP (IP based leased line) ที่ผสมผสานระหวางบริการขอมูลผานเครือขาย IP และบริการวงจรเชา ซึ่งมีคุณภาพดีกวา บริการผานเครือขาย IP แบบมาตรฐาน นอกจากนั้น ยังเนนการใหบริการดานการบริหารโครงขายขอมูลให กับลูกคาธุรกิจ (Managed Network Service) และการบริหารจัดการเครือขายขอมูล หรือ Managed Data Network เปนบริการที่ผสมผสานบริการเกี่ยวกับการปฏิบัติการเครือขาย 3 บริการเขาดวยกัน ตั้ง แต การจัดการประสิทธิภาพของเครือขาย การบริหารขอผิดพลาด และ การกำหนดคาตางๆ ของเครือ ขาย นอกจากนั้นยังมีบริการศูนยอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร (Internet Data Center - IDC) ซึ่งให บริการเพื่อรองรับระบบเครือขายและขอมูลของลูกคาอยางครบวงจร

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 11

2 - 11

3/13/09 3:45:51 PM


กลุมทรูคือหนึ่งในผูใหบริการสื่อสารขอมูลธุรกิจ รายใหญของประเทศ ทั้งนี้ ณ สิ้นป 2551 กลุมทรูไดใหบริการโครงขายขอมูล แกลูกคารวม 17,741 วงจร ซึ่งเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 26.9 จากป 2550 โดยมีรายไดเฉลี่ยตอวงจรตอเดือน ที่ระดับ 9,808 บาท ซึ่งลดลงจากป 2550 สวนใหญเกิดจาก การที่ธุรกิจอยูในชวงการเปลี่ยนผานของเทคโนโลยี ไปสูบริการที่ราคาลดลง กลุมทรูมีความไดเปรียบในการแขงขัน เนื่องจากมีโครงขายที่ทันสมัยที่สุด โดยมีกลยุทธในการ เนนสรางความแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น ดวยการนำเสนอบริการตามความตองการเฉพาะของลูกคา ผสมผสานผลิตภัณฑและบริการภายในกลุมไปดวยกัน อาทิ บริการดานขอมูล (Content) VoIP และ อินเทอรเน็ต หรือการนำเสนอบริการรวมกับคูคาทางธุรกิจตางๆ อาทิ รวมมือกับบริษัทซิสโก (Cisco) เพื่อใหบริการวางระบบเครือขาย IP คุณภาพสูง ทำให ไมจำเปนตองแขงขันดานราคาเพียงอยางเดียว ทั้งนี้ กลุมทรูเปนผู ใหบริการรายแรกของประเทศไทย ที่ ไดการรับรองจากซิสโก ใหเปน “Cisco Powered” ปจจุบันมีบริษัทที่ไดรบั Cisco Powered ทั่วโลกกวา 300 ราย ในป 2551 ลูกคาของซิสโก (ซึ่งทรูเปนผู ใหบริการ) จัดอันดับคุณภาพการใหบริการของทรูอยูในระดับ “ยอดเยี่ยม” กลุมทรูมีเปาหมายหลักที่จะใหบริการลูกคาที่เปนองคกรธุรกิจขนาดใหญ รวมทั้งจะขยายการให บริการสูกลุมธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม หรือ เอสเอ็มอี อยางจริงจัง โดยเฉพาะอยางยิ่งในตาง จังหวัด เนื่องจากยังมีสวนแบงตลาดในพื้นที่ดังกลาวคอนขางต่ำ อีกทั้งตลาดตางจังหวัดยังมีโอกาส เติบโตไดอีกมาก โดยวางแผนที่จะใชประโยชนจากผลิตภัณฑและบริการของกลุมที่มีความหลากหลาย (อาทิ บริการดานขอมูล VoIP และอินเทอรเน็ต) เพื่อขยายสวนแบงตลาดในตางจังหวัดโดยผานยุทธศาสตรคอน เวอรเจนซและการนำเสนอผลิตภัณฑภายในกลุมไปดวยกัน iv) บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (Personal Communication Telephone WE PCT) บริการ WE PCT เปนบริการที่ทำใหผูใชบริการสามารถพกพาโทรศัพทบานไปใชนอกบานได โดย ใชหมายเลขเดียวกับโทรศัพทบาน และสามารถใช ไดถึง 9 เครื่องตอโทรศัพทพื้นฐาน 1 เลขหมาย โดย WE PCT แตละเครื่องจะมีหมายเลขประจำเครื่องของตนเอง บริ ษั ท ให บ ริ ก ารโทรศั พ ท พื้ น ฐานใช น อกสถานที่ WE PCT ผ า นบริ ษั ท เอเซี ย ไวร เ ลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย (บริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99) โดยไดเปดให บริการอยางเปนทางการ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 ซึ่งถือเปนบริการเสริมของโครงขายโทรศัพทพื้น ฐาน ดำเนินการภายใตสัญญารวมการงานฯ กับ ทีโอที โดยรายไดทั้งหมดจะถูกจัดเก็บโดยทีโอที และ ทีโอที จะแบงรายไดที่จัดเก็บกอนหักคาใชจายใหบริษัทในอัตรารอยละ 82 เนื่องจาก บริษัทไดมอบหมายให AWC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทดำเนินการใหบริการ PCT แก ลูกคา ดังนั้น บริษัทจึงตองแบงรายไดที่ ไดรับมาจาก ทีโอที ในอัตราประมาณรอยละ 70 ใหกับ AWC นอกจากนั้น ทีโอที ก็สามารถใหบริการ PCT แกผูที่ใชหมายเลขโทรศัพทของ ทีโอที ไดโดยผานโครงขาย PCT ของบริษัท ดังนั้น ทีโอที จึงตอง แบงรายไดสวนหนึ่งที่ ทีโอที ไดรับจากผูใชบริการ PCT จากหมายเลขโทรศัพทของ ทีโอที ใหแกบริษัท เพื่อเปนเสมือนคาเชาโครงขาย โดยในสวนนี้ ทีโอที จะตองแบงรายไดประมาณรอยละ 80 ใหแกบริษัท บริการ WE PCT ใหบริการครอบคลุมพื้นที่ราว 2,500 ตารางกิโลเมตรในเขตพื้นที่ชั้นในของ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในเดือนกันยายน 2547 PCT ไดเปลี่ยนชื่อเปน WE PCT เพื่อสะทอน กลยุทธในการสรางชุมชนของคนที่มีความสนใจเหมือนกัน และมีไลฟสไตลเดียวกัน ผานโปรโมชั่น โทรฟรี ภายในโครงขาย PCT โดยเนนกลุมลูกคานักเรียนและนักศึกษา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุมทรูมีผูใชบริการ WE PCT จำนวน 273,623 ราย ซึ่งลดลง จากป 2550 ในอัตรารอยละ 30 โดยสวนหนึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนวิธีการนับจำนวนผูใชบริการโดยไม รวมลูกคาที่ไมมีการใชงาน ทั้งนี้รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนอยูที่ระดับ 171 บาท ซึ่งลดลงเล็กนอย จากปกอน

2 - 12

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 12

3/13/09 3:45:51 PM


v) บริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จำกัด (TIG) ซึ่งเปนบริษัทยอยของทรู ไดรับใบอนุญาต ประกอบกิจการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ และ บริการเชื่อมโยงโครงขายอินเทอรเน็ตภายใน ประเทศ (International Internet Gateway and Domestic Internet Exchange Service) (ประเภทที่ 2 แบบมีโครงขาย) จากคณะกรรมการ กทช. เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2549 และใบอนุญาตประเภท ที่ 2 แบบมีโครงขายเปนของตนเอง สำหรับการใหบริการโครงขายขอมูลระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2551 ดวยใบอนุญาตทั้งสองดังที่กลาวขางตน ทำให TIG สามารถใหบริการโครงขายอินเทอรเน็ต และขอมูลระหวางประเทศได ในสวนของบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ TIG ซึ่งมีชุมสายใน กรุงเทพ สิงคโปร ฮองกง สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ทำใหการเชื่อมตอไปยังประเทศเหลานี้ มี ประสิทธิภาพดีขึ้น และทำใหสามารถใหบริการลูกคาไดอยางมีคุณภาพ ตั้งแตเปดใหบริการ TIG มีการขยาย แบนดวิธอยางตอเนื่อง เพื่อรองรับความตองการใชงานอินเทอรเน็ต และบริการดาน ขอมูลตางประเทศ ซึ่งเติบโตขึ้นประมาณ 2 เทาตอป ทำใหปจจุบันเปนผูใหบริการรายใหญอันดับ 2 โดยมีแบนดวิธใหบริการ รวมประมาณ 6 Gbps ณ ปลายป 2551 ทั้งนี้ประมาณรอยละ 90 ของแบนดวิธ เปนการใหบริการแก บริษัทในกลุมทรู และอีกรอยละ 10 สำหรับกลุมลูกคาภายนอก ซึ่งครอบคลุม ผูใหบริการอินเทอรเน็ตใน ประเทศ บริษัทขามชาติ และผูใหบริการดานโทรคมนาคมในตางประเทศ ในสวนของบริการโครงขายขอมูลระหวางประเทศ มี 3 รูปแบบบริการ คือ บริการวงจรเชา สวนบุคคลระหวางประเทศ (International Private Leased Circuit - IPLC) บริการวงจรเชาเสมือน สวนบุคคลระหวางประเทศ (Internet Protocol Virtual Private Network - IP VPN) และ บริการ Virtual Node ปจจุบัน มุงเนนกลุมลูกคาซึ่งเปนผูใหบริการโทรคมนาคมระหวางประเทศ (International Carrier) ซึ่งมีที่ตั้งสาขาอยูในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค ซึ่งมีความตองการแบนดวิธปริมาณมากและคุณภาพ การใหบริการสูง นอกจากนี้ TIG คำนึงถึงความตองการแบนดวิธของลูกคากลุมองคกร ที่หลากหลาย ทั้งขนาดแบนดวิธ และประเทศปลายทาง TIG จึงมีพันธมิตรผูใหบริการโทรคมนาคมระดับโลก เพื่อเปนการ ขยายพื้นที่การใหบริการตางประเทศ เพิ่มมากขึ้น จากประเทศสิงคโปร และฮองกง ที่ TIG มีชุมสายตั้งอยู เองอีกดวย vi) บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ หลั ง จากได รั บ ใบอนุ ญ าตให บ ริ ก ารโทรศั พ ท ท างไกลระหว า งประเทศ (ประเภทที่ 3) จาก คณะกรรมการ กทช. บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (TIC) ซึ่งเปนบริษัทยอย ของกลุมทรูไดเปดทดลองใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ ในเดือนธันวาคม 2550 และเปดให บริการอยางเปนทางการในวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 โดยใหบริการผานหมายเลข “006” ผูใชบริการโทร ศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟสามารถกดเครื่องหมาย “+” แทนการกดหมายเลข “ 006” ซึ่งเปนการโทรทางไกล ตางประเทศอัตโนมัติ และตั้งแตเริ่มเปดใหบริการ บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศก็มีการเติบโต อยางตอเนื่อง โดยมีรายไดรวมประมาณ 320 ลานบาทในป 2551 2. ทรูมูฟ กลุมทรู ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ผานบริษัทยอย คือทรูมูฟ ซึ่งบริษัทถือหุนรอยละ 77.14 ณ สิ้นป 2551 ทั้งนี้ ภายใตสัญญาใหดำเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา (“สัญญาให ดำเนินการ”) ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539 และ แก ไขเพิ่มเติมในวันที่ 23 กุมภาพันธ 2543 และวันที่ 8 กันยายน 2543 ในการใหบริการและจัดหาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล 1800 จนถึงเดือน กันยายน 2556 โดยไดรับอนุญาตจาก กสท ภายใตการไดรับอนุญาตดังกลาว ทรูมูฟจะตองจายสวนแบง รายไดแก กสท ในอัตรารอยละ 25 จากรายได (หลังหักคาเชื่อมโยงโครงขายและและคาใชจายอื่นที่อนุญาต ใหหัก เชน คอนเทนท) ทั้งนี้จนถึงวันที่ 15 กันยายน 2554 และจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30 จนสิ้นสุดระยะ เวลาของสัญญา Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 13

2 - 13

3/13/09 3:45:51 PM


เมื่อตนป 2552 บริษัท ไดลงนามในบันทึกขอตกลงรวมกัน (Memorandum of Agreement) รวมกับ กสท ในการรับสิทธิ์ที่จะเชาใชโครงขายและอุปกรณ ที่ทรูมูฟไดสรางและโอนใหกับ กสท เพื่อการใหบริการ ตอไปอีก 5 ป จนถึงป 2561 ทำใหทรูมูฟสามารถดำเนินการไดเทาเทียมกับผูประกอบการรายอื่น ในเดื อ นมิ ถุ น ายน 2551 กสท ได อ นุ ญ าตให ท รู มู ฟ ใช ค ลื่ น ความถี่ ย า น 850 MHz เพื่ อ พัฒนาการใหบริการ HSPA (High Speed Package Access) ทั้งนี้ภายใตเงื่อนไขสัญญาใหดำเนินการฯ ที่ กสท มีกับ ทรูมูฟ เดิม ทั้งนี้ จะใหบริการภายใตการทำการตลาดรวมกัน (Co-branding) และ ทรูมูฟ ยินดีให กสท. รวมใชสถานีฐาน และใช เกตเวย ของ กสท โดยเมื่อตนป 2552 ทรูมูฟไดรับอนุญาต จาก กสท ใหใชคลื่นความถี่ 850 MHz เพื่อทดลองใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G ในลักษณะที่ ไมใชเพื่อการคา (Non-commercial basis) ซึ่งจะทำใหมีโอกาสเตรียมความพรอมในการใหบริการ 3G ได เร็วขึ้น ผู ใชบริการ หลังเปดใหบริการอยางเต็มรูปแบบในเดือนมีนาคม 2545 ดวยโครงขายดิจิตอลระบบ Global System for Mobile Telecommunications (GSM) ทรูมูฟเติบโตอยางรวดเร็ว และสามารถครองสวน แบงตลาดลูกคาใหมไดราว 1 ใน 3 ของตลาดทุกป นับจากป 2547 เปนตนมา ทำให ณ สิ้นป 2551 ทรูมูฟเปนผู ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับ 3 ของประเทศ โดยมีจำนวนผู ใชบริการทั้งสิ้น ประมาณ 14,756,834 ราย และ ครองสวนแบงตลาดผูใชบริการโดยรวมในอัตรารอยละ 24.3 โดยมี ลูกคาแบบเติมเงิน (Pre pay) จำนวน 13,786,283 และลูกคารายเดือน (Post pay) จำนวน 970,551 คิดเปนสัดสวนรอยละ 93.4 และ 6.6 ของลูกคาโดยรวม ตามลำดับ โดยรายไดเฉลี่ยตอเลขหมาย ตอเดือนระหวางป 2551 เปน 105 บาทสำหรับลูกคาแบบเติมเงิน และ เปน 510 บาท สำหรับลูกคา รายเดือน ทั้งนี้ รายไดจากบริการเติมเงิน และบริการรายเดือน มีสัดสวนรอยละ 66.7 และ 21.6 ของ รายไดจากใหบริการรวม (ไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย) ตามลำดับ บริการ บริการ Pre Pay รายได ส ว นใหญ ข องทรู มู ฟ มาจากค า ใช บ ริ ก ารแบบเติ ม เงิ น ซึ่ ง ผู ใ ช บ ริ ก ารไม ต อ งเสี ย คาบริการรายเดือน โดยผู ใชบริการซื้อซิมการดพรอมคาโทรเริ่มตน และเมื่อคาโทรเริ่มตนหมดก็สามารถ เติมเงินไดในหลากหลายวิธีดวยกัน เชน จากการซื้อบัตรเติมเงิน การโอนเงินผานเครื่องเอทีเอ็ม การโอน เงินจากผูใชบริการ ทรูมูฟรายอื่น และการเติมเงินอัตโนมัติแบบ “over-the-air” ทรูมูฟเปนผู ใหบริการรายแรกในประเทศไทยที่ใหบริการเติมเงินแบบ “over-the-air” ผาน ตัวแทนกวา 80,000 ราย ซึ่งเปนบุคคลธรรมดาหรือรานคาขนาดเล็กที่ลงทะเบียนกับทรูมูฟ และไดรับ อนุญาตใหโอนคาโทรแบบ over-the-air ไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ของผู ใชบริการผานบริการ SMS ผู ใช บริการแบบเติมเงินของทรูมูฟสามารถเติมเงินผานตูโทรศัพทสาธารณะกวา 18,000 เครื่อง ในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสามารถเติมเงินขั้นต่ำเพียง 10 บาท นอกจากนี้ผูใชบริการทรูมูฟทั้ง แบบเติมเงินและรายเดือน ยังสามารถชำระคาใชบริการ ดวยบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่โดย ทรูมันนี่ เพื่อตอบสนองไลฟสไตลคนรุนใหม บริการ Post Pay บริการ Post Pay คือบริการทรูมูฟแบบรายเดือน ซึ่งผู ใชบริการสามารถเลือกอัตราคา บริการรายเดือนตามความตองการ ผู ใชบริการแบบรายเดือนของทรูมูฟจะไดรับใบคาแจงบริการเปน รายเดือน ซึ่งจะประกอบดวย คาบริการรายเดือนและคาใชบริการสำหรับบริการเสียง และบริการไมใช เสียงตางๆ

2 - 14

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 14

3/13/09 3:45:52 PM


บริการเสียง (Voice Services) ผู ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของทรูมูฟ นอกจากจะสามารถโทรศัพทภายในพื้นที่เดียวกัน โทรไปยังตางจังหวัดและโทรทางไกลตางประเทศแลว ยังสามารถใชบริการเสริมตางๆ ซึ่งขึ้นอยูกับแพ็คเกจ ที่เลือกใช บริการเสริมเหลานี้ประกอบดวย บริการรับสายเรียกซอน บริการโอนสายเรียกเขา บริการ สนทนาสามสาย และบริการแสดงหมายเลขโทรเขา นอกจากนี้ยังมีบริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ เพื่อใหผูใชบริการสามารถโทรออกและรับสายเมื่อเดินทางไปตางประเทศอีกดวย บริการที่ ไม ใชเสียง (Non-voice) ทรูมูฟใหบริการที่ไมใชเสียง ที่หลากหลายเพื่อเติมเต็มและสอดคลองกับไลฟสไตลของลูกคา โดยลูกคาสามารถใชบริการคอนเทนทผานชองทางตางๆ ไดหลายทาง ทั้งบนโทรศัพทเคลื่อนที่ และที่ พอรทัล wap.truelife.com คอนเทนทตางๆ ที่ไดรับความนิยมจากผูใชบริการ อาทิ การสื่อสารดวยภาพ หรือรูปถาย บริการ ขอมูลทางการเงิน เกม การตูน สกรีนเซฟเวอร และริงโทน รวมถึง คอนเทนท ประเภทเพลงและกีฬา ลูกคาของทรูมูฟที่ใชบริการที่ ไมใชเสียง มีปริมาณที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดย เฉพาะอยางยิ่งบริการเสียงรอสาย บริการรับ-สง ขอความ บริการทองโลกอินเทอรเน็ตและดาวนโหลด คอนเทนทผานบริการ EDGE/GPRS ในป 2551 ทรูมูฟมีรายไดจากบริการที่ไมใชเสียง คิดเปนรอยละ 11.8 ของรายไดจากบริการ โดยรวมของทรูมูฟ (ไมรวมรายไดจากคาเชื่อมโยงโครงขาย) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากรอยละ 10.4 ในป 2550 ทั้งนี้เปนรายไดจากบริการดานคอนเทนท บริการขอความ และ EDGE/GPRS ในอัตรารอยละ 58, 29 และ 13 ตามลำดับ นอกจากนี้ ทรูมูฟยังสามารถขยายบริการที่ไมใชเสียงใหเติบโตยิ่งขึ้น ดวยการใชคอนเทนท ซึ่งเปนลิขสิทธิ์เฉพาะของ ทรูมิวสิค ทรูออนไลนและทรูวิชั่นส อีกดวย บริการดานที่ไมใชเสียง ประกอบดวย: • Short Messaging Service (SMS): บริการสงขอความไปยังผู ใชบริการโทรศัพท เคลื่อนที่รายอื่น • VoiceSMS: บริการสงขอความเสียงไปยังผู ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพท พื้นฐานรายแรกของประเทศไทย • Voicemail: บริการรับฝากขอความ ซึ่งผู ใชบริการสามารถเรียกฟงขอความเสียง ที่ฝากไวในระบบไดเมื่อไมไดรับสาย • Multimedia Messaging Service (MMS): บริการสงภาพ ขอความและเสียง ไปยัง ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่น • Mobile Internet: บริการเชื่อมตออินเทอรเน็ตบนมือถือผานทาง EDGE/GPRS ซึ่ง ประกอบดวย พอรทัลที่เปนศูนยรวมคอนเทนทในรูปของ WAP based บริการ รับ-สงอีเมลแบบอัตโนมัติผานระบบ Push e-mail (โดยแบล็คเบอรรี่) และบริการ อินเทอรเน็ตตางๆ เชน สนทนาสดออนไลน ขอมูลจากเวบไซตตางๆ • Multimedia Content: บริการคอนเทนทมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบดวย เพลง กีฬา ขาว และขาวการเงิน (ผานทรูมิวสิค ทรูสปอรต และการรับชมรายการโทรทัศนและฟงเพลง ผานอินเทอรเน็ต และอื่นๆ) • Ring-back Tone: บริการเสียงรอสาย ซึ่งผูใชบริการสามารถเลือกเสียงดวยตัวเอง หรือเลือกจากเพลงที่ไดรับการคัดสรรมาเปนพิเศษ การจำหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ ทรูมูฟจัดจำหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่คุณภาพสูง รวมทั้งอุปกรณ ตลอดจน พีดีเอ โฟน และสมารทโฟน จากบริษัทผูผลิตชั้นนำ อาทิ iPhone จาก แอปเปล BlackBerry จาก รีเสิรช อิน โมชั่น และจาก โมโตโรลา ซัมซุง โซนี่ อิริคสัน O2 และฮิวเลตต-แพคการด ทั้งนี้เครื่องโทรศัพทที่ ทรูมูฟจัดจำหนาย เปนทั้งการจำหนายเครื่องเปลาโดยไมผูกพันกับบริการใดๆ กับการจำหนายเครื่อง โดยลูกคาใชแพ็คเกจรายเดือนจากทรูมูฟ

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 15

2 - 15

3/13/09 3:45:52 PM


บริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ (International Roaming) ผู ใชโทรศัพทเคลื่อนที่จากตางประเทศที่เดินทางมาเมืองไทย สามารถใชบริการโทรศัพท ขามแดนระหวางประเทศผานโครงขายของทรูมูฟ (Inbound) ในกรณีที่ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ ชาวตางชาติรายนั้นๆ มีสัญญาโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศกับทรูมูฟ และในขณะเดียวกันผู ใช บริการทรูมูฟในประเทศไทย ก็สามารถใชบริการนี้ เมื่อเดินทางไปยังตางประเทศ (Outbound) ไดอีกดวย ลูกคาสามารถใชบริการตางๆ อาทิ บริการรับฝากขอความเสียง บริการสงขอความ (SMS) บริการสง ภาพ ขอความและเสียง (MMS) บริการ อินเทอรเน็ต/อีเมล บริการแสดงเบอรโทรเขา บริการเตือนเมื่อไม ไดรับสาย บริการ Short Code บริการแบล็คเบอรรี่ขามแดน และบริการ Wi-Fi by TrueMove ในเดือนมิถุนายน ทรูมูฟไดประกาศเขารวมเครือขายพันธมิตรคอนเน็กซัส โมบายล (Conexus Mobile Alliance) สงผลใหปจจุบันคอนเน็กซัส โมบายล มีฐานผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชบริการ โรมมิ่ง (ทั้งบริการเสียงและบริการที่ไมใชเสียง) เพิ่มขึ้นเปน 210 ลานรายโดยผูใชบริการเหลานี้สามารถใช บริการโรมมิ่งในประเทศไทยบนเครือขายทรูมูฟ ในขณะเดียวกันยังเปนการเพิ่มทางเลือกและความสะดวก สบายใหลูกคาทรูมูฟในการโรมมิ่งเสียงและขอมูลเมื่อเดินทางไปทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟก นอกจากนี้ ทรูมูฟ และกลุ ม คอนเน็ ก ซั ส โมบายล ยั ง ได ป ระกาศเป ด ตั ว บริ ก ารใหม ล า สุ ด “บริ ก ารโรมมิ่ ง ข อ มู ล ผ า น แบล็คเบอรรี่” พรอมกันทุกประเทศในกลุมสมาชิก ตอบรับความตองการใชงานดานขอมูลที่เพิ่มสูงขึ้น สามารถเชื่อมตอกับอีเมลขององคกรและทองอินเทอรเน็ตไรสายไดอยางสะดวก ชวยประหยัดคาใชจายให ลูกคานักธุรกิจที่เดินทาง และใชบริการโรมมิ่งในเครือขายของบริษัทที่เปนพันธมิตรของคอนเน็กซัสไดเปน อยางดี โครงขาย ทรูมูฟเปนผู ใหบริการที่เขามาดำเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่รายลาสุดในจำนวนผู ใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ 3 ราย จึงทำให ไดรับประโยชนจากพัฒนาการเทคโนโลยีใหมลาสุด ดวยการ ลงทุนที่มีประสิทธิภาพและตนทุนถูกกวา ทรูมูฟขยายการใหบริการครอบคลุมพื้นที่รอยละ 93 ของ จำนวนประชากรของประเทศ ซึ่งทำใหเทียบเทากับผูใหบริการรายอื่น การนำเสนอแพ็คเกจรวมกับกลุมทรู ทรูมูฟคือองคประกอบสำคัญของกลุมทรู ดังจะเห็นไดจากการนำเสนอผลิตภัณฑและ บริการตางๆ ภายในกลุมในรูปแบบของแพ็คเกจรวมกับทรูมูฟ • SUPER hi-speed Internet โปรโมชั่นรวมกันระหวาง ทรู อินเทอรเน็ต ทรูมูฟและ ทรูวิชั่นส เสนอความเร็วไฮสปดอินเทอรเน็ตใหถึง 1 Mbps ในราคา 599 บาท ต อ เดื อ น สำหรั บ ลู ก ค า ทรู มู ฟ และ ทรู วิ ชั่ น ส นอกจากนี้ โ ปรโมชั่ น ใหม hi-speed Internet SUPER Package 2 Mbps ไดเพิ่มความเร็วเปน 2 Mbps พรอมเชื่อมตอ Wi-Fi ผานบริการ Wi-Fi by True ไมจำกัดเวลา ในราคา 890 บาทตอเดือน • ทรูมูฟยังมีสวนสำคัญในการนำเสนอโปรโมชั่นรวมกับทรูวิชั่นสและทรูอินเทอรเน็ต ในรายการอะคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซั่น 5 (True AF5) รายการเรียลลิตี้โชวยอดนิยม ซึ่งตั้งแตป 2549 เปนตนมา ผู ใชบริการทรูมูฟเทานั้นที่สามารถเขารวมสนุกดวยการ โหวตใหคะแนนผูแขงขันที่ตนชื่นชอบ • นอกจากนี้ทรูมูฟยังรวมมือกับทรูวิชั่นสนำเสนอแพ็คเกจ ทรูวิชั่นส-ยูบีซี ทรูมูฟ ฟรีวิว ซึ่งเปนโปรโมชั่นสำหรับตลาดลูกคาระดับกลาง-ลาง (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวขอ ทรูวิชั่นส) • All Together Bonus ซึ่งเปดตัวในป 2547 เปนแพ็คเกจแรกที่ผสมผสานผลิตภัณฑ และบริการในกลุมทรูเขาดวยกัน และยังคงไดรับความนิยมจากผู ใชบริการทรูมูฟอยาง ตอเนื่อง ทรูมูฟใหความสำคัญกับการพัฒนาและนำเสนอนวัตกรรมมาโดยตลอด ตัวอยางเชน เปน ผูประกอบการรายแรกในประเทศไทยที่เปดใหบริการ Voice SMS บริการริงโทนแนวใหมที่ผู ใชสามารถ ผสมผสานใหเปนทำนองของตนเอง (ผานบริการ IRemix) และบริการเติมเงิน ‘over-the-air’ รวมทั้งยัง

2 - 16

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 16

3/13/09 3:45:52 PM


เปดใหบริการ EDGE (Enhanced Data rates for GSM Evolution) ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล และบริการมัลติมีเดียคอนเทนทตางๆ รวมทั้งขยายการใหบริการอินเตอรเน็ตไรสาย โดย เทคโนโลยี Wi-Fi ในป 2551 ทรูมูฟ ไดเปดตัวเกมซิม เจาะกลุมคอเกมออนไลน รวมทั้งโปรโมชั่น ใหมๆ รวมทั้งไดนำเสนอ ทัชซิม ผานเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) เปนครั้งแรก ในโลก ทัชซิมเปนซิมโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีแผนรับสัญญาณ RFID พวงติดกับทัชซิม แผนรับสัญญาณนี้ จะทำหนาที่รับสงสัญญาณ เพื่ออานขอมูลจากกระเปาเงินอิเล็กทรอนิกส (E-purse & E-wallet) ในซิม จึงสามารถทำการชำระคาสินคาและบริการตางๆไดอยางสะดวก และงายดาย เพียงสัมผัสโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่ใชทัชซิมกับเครื่องอานสัญญาณทัช 3. ทรูวิชั่นส ทรูวิชั่นส (ชื่อเดิม ยูบีซี) คือ ผูนำในการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ซึ่งให บริการทั่วประเทศ ผานดาวเทียมในระบบดิจิตอลตรงสูบานสมาชิก และผานโครงขายผสมระหวางเคเบิลใย แกวนำแสงแล สายโคแอ็กเชียล (coaxial) ที่มีประสิทธิภาพสูง ทรูวิชั่นส เกิดจากการควบรวมกิจการเมื่อป 2541 ระหวางยูบีซี (เดิมคือ ไอบีซี) และยูบีซี เคเบิล (เดิมคือ ยูทีวี) ในตนป 2549 บริษัทประสบความสำเร็จในการรวมยูบีซีเขามาเปนสวนหนึ่งของ กลุมทรู ทำใหบริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 91.8 ของยูบีซี และเปลี่ยนชื่อเปนทรูวิชั่นสในป 2550 ทรูวิชั่นสดำเนินธุรกิจภายใตสัญญารวมดำเนินกิจการใหบริการโทรทัศน (และบริการโทรทัศน ทางสาย) ระบบบอกรับสมาชิก (สัญญารวมดำเนินกิจการฯ) อายุ 25 ปที่ ไดรับจากองคการสื่อสาร มวลชนแหงประเทศไทย (อสมท) โดยสัญญารวมดำเนินกิจการ สำหรับบริการผานดาวเทียมจะหมดอายุใน วันที่ 30 กันยายน 2557 และสัญญารวมดำเนินกิจการสำหรับบริการโทรทัศนทางสาย (หรือ เคเบิล) จะหมดอายุในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ทรู วิ ชั่ น ส ใ ห บ ริ ก ารในระบบดิ จิ ต อลผ า นดาวเที ย ม (DStv) โดยการส ง สั ญ ญาณในระบบ Ku-band และใชระบบการบีบอัดสัญญาณ MPEGII ซึ่งทำใหบริษัทสามารถเพิ่มจำนวนชองรายการไดมาก ขึ้น ปรับปรุงคุณภาพเสียงและภาพใหคมชัดยิ่งขึ้น สามารถกระจายสัญญาณใหบริการไปยังทุกๆพื้นที่ใน ประเทศไทย ปจจุบันการใหบริการระบบนี้ถายทอดสัญญาณผานดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่งมีขีดความสามารถ สูงกวาเดิมมาก นอกจากนั้น ทรูวิชั่นสใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกระบบเคเบิล (CATV) โดยให บริการทั้งระบบดิจิตอลและระบบอนาลอคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลผานโครงขายผสมระหวาง เคเบิลใยแกวนำแสง และสายโคแอ็กเชียล ของบริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด (ซึ่งเปนบริษัทยอยของทรู) โดยปจจุบันโครงขายดังกลาวผานบานถึงประมาณ 800,000 หลังคาเรือน ภายหลังการรวมเปนสวนหนึ่งของทรู ทรูวิชั่นสไดปรับเปลี่ยนกลยุทธทางการตลาด โดยขยาย บริการสูตลาดกลางและลาง โดยนำเสนอแพ็คเกจรวมกับทรูมูฟ ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส-ยูบีซี ทรูมูฟ ฟรีวิว ทำใหทรูวิชั่นส มีผู ใชบริการ ณ 31 ธันวาคม 2551 รวม 1,469,471 ราย (รวมลูกคาฟรีวิวและ ฟรีทูแอรแพ็คเกจ) ซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 41 จากป 2550 โดยระหวางป 2551 รอยละ 30.4 ของยอด ผู ใชบริการฟรีวิวแพ็คเกจเปลี่ยนไปใชบริการแพ็คเกจที่มีราคาสูงขึ้น นอกจากนี้ยุทธศาสตรดังกลาว มีบทบาทสำคัญในการเพิ่มยอดผู ใชบริการในตางจังหวัด โดยในปจจุบัน ผู ใชบริการในตางจังหวัดมี สัดสวนรอยละ 51.2 ของผูใชบริการทั้งหมดของทรูวิชั่นส ในป 2551 รายไดเฉลี่ยตอลูกคาตอเดือนของทรูวิชั่นส (ไมรวมลูกคาฟรีวิว และฟรีทูแอร) ลด ลงรอยละ 11จากป 2550 เปน 988 บาท จากการขยายไปสูตลาดกลาง-ลาง ทรูวิชั่นสจัดแพ็คเกจรายเดือนออกเปน 4 แพ็คเกจ ไดแก แพ็คเกจแพลทินัม (Platinum) ซึ่ง เสนอชองรายการทั้งหมด 86 ชอง โดยจัดเก็บคาบริการรายเดือนที่ 2,000 บาท แพ็คเกจโกลด (Gold) มี 77 ชองรายการ โดยคาบริการรายเดือนอยูที่ 1,413 บาท แพ็คเกจซิลเวอร (Silver) มี 63 ชอง คาบริการรายเดือนอยูที่ 750 บาท และทรู โนว-เลจ (True Knowledge) เสนอ 54 ชองรายการที่คา บริการ 340 บาทตอเดือน นอกเหนือจากแพ็คเกจขางตน ทรูวิชั่นสยังนำเสนอแพ็คเกจตามสั่ง (A-La-Carte) ซึ่งประกอบ ดวย 10 ชองรายการ เชน NHK, HBO, Disney และ Discovery ผู ใชบริการแพ็คเกจ Platinum Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 17

2 - 17

3/13/09 3:45:52 PM


สามารถเลือกรับชมแพ็คเกจตามสั่งที่ชื่นชอบไดในราคาพิเศษ ในขณะที่ผูใชบริการแพ็คเกจ Silver สามารถ เลือกซื้อแพ็คเกจ Discovery และ Disney เพิ่มไดเชนกัน ทรูวิชั่นสนำเสนอความบันเทิงหลากหลายดวยชองรายการชั้นนำที่มีคุณภาพทั้งจากในประเทศ และตางประเทศ ประกอบดวย ภาพยนตร (เชน HBO, Cinemax, Star Movies, Hallmark) กีฬา (เชน ESPN, Star Sport และรายการของทรูวิชั่นสเอง) สาระบันเทิง (เชน Discovery Channel, National Geographic) ขาว (เชน CNN, CNBC, Bloomberg, BBC World) นอกจากนั้นยังมีรายการจากสถานี โทรทัศนภาคปกติของไทย (Free TV) และ บริการ Pay Per View และเพื่อรองรับตลาดกลาง-ลาง ทรูวิชันสไดเพิ่มชองรายการในประเทศ จำนวน 3 ชองในป 2551 ไดแก รายการของ ทรูวิชั่นส 2 ชอง (True Asian Series และ Hay Ha) และ MTV Thailand ซึ่งบางรายการไดกลายเปนชองที่เปนที่นิยม ติด 10 อันดับแรกของทรูวิชั่นส ในเดือนเมษายน 2550 ทรูวิชั่นสไดรับลิขสิทธิ์แตผูเดียวในประเทศไทย ในการถายทอดสดการ แขงขันฟุตบอลพรีเมียรลีกของประเทศอังกฤษตอเนื่อง 3 ฤดูกาล รายการฟุตบอลพรีเมียรลีกนี้ ถือ เปนกีฬาที่ผูชมชาวไทยนิยมดูมากที่สุด การไดลิขสิทธิ์นี้ทำใหทรูวิชั่นสสามารถถายทอดสดการแขงขันได ฤดูกาลละ 380 คู ตั้งแตฤดูกาล 2007/08 ถึง 2009/10 รวมทั้งยังทำใหสามารถจัดสรรชองรายการ กีฬาเพื่อดึงดูดลูกคาประเภทตางๆ ไดดียิ่งขึ้น การไดรับลิขสิทธิ์ในการถายทอดสดการแขงขันฟุตบอลพรีเมียรลีกแตผูเดียวในประเทศไทย ทำใหทรูวิชั่นสสามารถดึงดูดผู ใชบริการรายใหม และรักษาฐานลูกคาเดิมไปพรอมๆ กัน อีกทั้งยังเปด โอกาสใหสมาชิกฟรีวิวสามารถรับชมการแขงขันฟุตบอลพรีเมียรลีกไดดวยการซื้อรายการตามสั่ง ในป 2551 ทรูวิชั่นสยังเพิ่มชอง ทรูสปอรต 5 ซึ่งถายทอดสดรายการฟุตบอลพรีเมียรลีกบางนัด และ สามารถเลือกชมไดดวยการซื้อรายการตามสั่ง นอกจากนี้ กลุมทรูยังไดรับสิทธในการนำเสนอการแขงขัน ฟุตบอลพรีเมียรลีก และคอนเทนทที่เกี่ยวของผานบริการอื่นๆ ซึ่งประกอบดวย ทรูไอพีทีวี ทรูมูฟ และ ทรูออนไลนอีกดวย นอกจากที่กลาวแลว ป 2551 นับเปนปที่ 5 ติดตอกันที่ทรูวิชั่นสประสบความสำเร็จในการผลิต รายการ อะคาเดมี แฟนเทเชีย รายการเรียลลิตี้โชวยอดนิยม ออกอากาศปละครั้ง และเปนโปรแกรม สำคัญในการรักษาฐานลูกคาของทรูวิชั่นสในชวงที่มีการชะลอตัวตามฤดูกาล และในขณะเดียวกันยัง เปนการสรางคอนเทนทใหกับธุรกิจอื่นๆ ภายในกลุมทรูอีกดวย ทรูวิชั่นสยังคงเดินหนาตอยอดความเปนผูนำดานคอนเทนท แพ็คเกจแบบพรีเมี่ยมของทรูวิชั่นส นำเสนอรายการที่ ไดรับความนิยมอยางสูงในตางประเทศ และเกือบทั้งหมดเปนรายการที่ทรูวิชั่นสไดรับ ลิขสิทธิ์แตเพียงผูเดียว (โดยมีเพียง 3 ชองรายการ จากทั้งหมด 43 ชองรายการที่ไมใชรายการที่ไดรับ ลิขสิทธิ์เฉพาะ) และเพื่ออรรถรสในการรับชมรายการตางๆ เหลานี้ ทรูวิชั่นสจึงไดอำนวยความสะดวกให ผูชมชาวไทยไดรับชมรายการจากตางประเทศดวยเสียงและคำบรรยายภาษาไทย รวมทั้งผลิตคอนเทนทขึ้น เอง เพื่อใหเหมาะกับรสนิยมของคนไทย 4. ทรูมันนี่ ทรูมันนี่ ไดรับใบอนุญาตจากธนาคารแหงประเทศไทยใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็คทรอนิกส และไดรับอนุมัติจากกรมสรรพากรในการแตงตั้งเปนตัวแทนรับชำระคาสินคาและบริการพรอมการออกใบ เสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี โดยบริการตางๆ ของทรูมันนี่ประกอบดวย บัตรเงินสดทรูมันนี่ บัตรเงินสดทรูมันนี่ ชวยใหผูใชบริการทรูมูฟและกลุมทรูสามารถเติมเงินใหกับบริการตางๆ ภาย ในกลุมทรู ซึ่งประกอบดวย บริการทรูมูฟแบบเติมเงิน บริการ WE PCT Buddy บริการอินเทอรเน็ต ความเร็วสูงแบบเติมเงิน บริการซื้อชั่วโมงอินเทอรเน็ต บริการ True E-book และบริการเกมออนไลน ตางๆ ดวยวิธีการและขั้นตอนแบบเดิม โดยใชรหัสที่ปรากฏในบัตร

2 - 18

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 18

3/13/09 3:45:52 PM


ตัวแทนรับชำระและจัดเก็บคาสินคาและบริการ การรับชำระผานตัวแทน ใหบริการรับชำระเงินตามใบแจงหนี้ที่มีบารโคด ดวยเงินสด เช็ค และ/หรือ บัตรเครดิต ตามจำนวนเงินรวมในใบแจงหนี้ หรือชำระบางสวน รวมทั้งยังสามารถชำระโดยไม ตองใช ใบแจงหนี้ ในกรณีเปดรับชำระแบบออนไลน นอกจากนี้ระบบยังสามารถเปดรับชำระได แมเกิน กำหนดรับชำระตามใบแจงหนี้ บริการ ทรูมันนี่ เอ็กซเพรส จุดรับชำระคาบริการผานระบบแฟรนไชส โดยรวมมือกับธุรกิจคา ปลีกใหบริการครอบคลุม 2,000 จุดทั่วประเทศ เพื่อใหบริการชำระคาสินคาและบริการตางๆ จำหนายบัตร เงินสด และบริการเติมเงินสำหรับบริการแบบเติมเงินตางๆ ของกลุมทรู นอกจากนี้ทรูมันนี่ยังเปดใหบริการ “WeBooking by TrueMoney” ซึ่งเปนบริการจองจาย ครบวงจร ดวยจุดเดน “จองงาย จายสะดวก รวดเร็ว หลายชองทาง” ใหบริการครอบคลุมกลุมไลฟ สไตลตางๆ ไดแก ความบันเทิง การทองเที่ยวและที่พัก การศึกษา กีฬา และ สุขภาพ เปนตน บริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟ (บริการทรูมันนี่) ทรู มั น นี่ เ ป ด ให บ ริ ก ารการเงิ น บนโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ท รู มู ฟ ในป 2549 ทั้ ง นี้ เพื่ อ อำนวย ความสะดวกแกผู ใช บริการทรูมูฟใหสามารถทำธุรกรรมทางการเงินตางๆ บนโทรศัพทเคลื่อนที่ไดทุกที่ ทุกเวลา และมีความ ปลอดภัยสูงดวยระบบรักษาความปลอดภัยมาตรฐานสากล โดยผูใชบริการสามารถ • เติมเงินใหกับสินคาและบริการระบบเติมเงินตางๆ ของกลุมทรู เชน บริการทรูมูฟแบบ เติมเงิน การซื้อชั่วโมงอินเทอรเน็ต เกมออนไลน และบริการ WE PCT • เปนชองทางในการชำระเงินของบริการทรูวิชั่นสฟรีวิว แพ็คเกจ โดยหักเงินอัตโนมัติ จากเงิ น ในบั ญ ชี ท รู มัน นี่ ทุก เดื อ น เมื่ อ ถึ ง กำหนดชำระ ผู ใ ช บ ริ ก ารทรู วิชั่ น ส ฟ รี วิ ว แพ็คเกจยังสามารถเปลี่ยนเปนสมาชิกรายการตามสั่ง ที่มีอัตราคาบริการรายเดือนที่ สูงขึ้น หรือสั่งซื้อรายการแบบจายเงินลวงหนา ดวยการชำระผานบริการทรูมันนี่ ไดอีกดวย • ชำระคาบริการผลิตภัณฑและบริการตางๆ ภายในกลุมทรู รวมทั้งชำระคาสินคาและ บริการอื่นๆ อาทิ คาไฟฟา น้ำประปา คาประกัน และบริการอีคอมเมิรซตางๆ คาโดยสาร รถแท็กซี่ และการซื้อบัตรชมภาพยนตรและโบวลิ่ง ยิ่งไปกวานั้น บริการทรูมันนี่ยังมี ระบบเตือนการชำระกอนกำหนดสำหรับคาไฟฟา และน้ำประปาอีกดวย • โอนเงินจากบัญชีทรูมันนี่ของตนเองไปยังบัญชีทรูมันนี่อื่น หรือโอนจากบัญชีธนาคาร ของตนเองไปยังบัญชีทรูมันนี่ • ถอนเงิ น สดจากบั ญ ชี ท รู มั น นี่ ข องตนเอง โดยใช บั ต รเงิ น สดทรู มั น นี่ ที่ ตู เ อที เ อ็ ม ทั่วประเทศ • ผูใชบริการสามารถเก็บเงินไวในบัญชีทรูมันนี่สูงสุดถึง 30,000 บาท และสามารถเติม เงินเขาบัญชีทรูมันนี่จากหลายชองทาง ไมวาจะเปนบัตรเงินสดทรูมันนี่ ผานบัญชี ธนาคารที่ลงทะเบียนไวแลวกับธนาคารเจาของบัญชี หรือผานบัตรเครดิตที่ลงทะเบียน ไวแลวกับบริษัท ณ สิ้นป 2551 มีลูกคาทรูมูฟที่ใชบริการทรูมันนี่ประมาณ 4.2 ลานราย โดยเพิ่มขึ้นประมาณ รอยละ 50 จาก 2.8 ลานราย ณ สิ้นป 2550 และคาดวาจะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในป 2552 5. ทรูไลฟ ทรูไลฟ เปนบริการดิจิตอลคอนเทนท และเปนชองทางที่ทำใหสามารถเขาถึงชุมชนผูใชโทรศัพท เคลื่อนที่และชุมชนออนไลน อีกทั้งยังเปนสื่อสำหรับธุรกรรมระหวางผูบริโภคกับผูบริโภค ธุรกิจกับ ผูบริโภค และธุรกิจกับธุรกิจ ทรูไลฟประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ ดิจิตอลคอนเทนทและบริการชุมชนตางๆ ทรูไลฟชอป และ ทรูไลฟพลัส (แพ็คเกจที่ผสานผลิตภัณฑและบริการในกลุมทรูเขาดวยกัน) พอรทัลออนไลน Truelife.com ใหบริการชุมชนออนไลนเชน มินิโฮม (Minihome) คลับ หองแชท (Chatroom) และบริการ Instant Messaging ซึ่งผู ใชสามารถติดตอและสื่อสารระหวางกัน Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 19

2 - 19

3/13/09 3:45:52 PM


นอกจากนี้ยังนำเสนอคอนเทนทที่เชื่อมโยงผูที่มีความสนใจหรือมีไลฟสไตลใกลเคียงกันเขาดวยกัน โดยมี คอนเทนทหลัก 4 ประเภทคือ ดนตรี กีฬา รายการโทรทัศนและภาพยนตร Truelife.com เปดใหบริการ ในป 2549 ปจจุบันมีผูลงทะเบียนใชบริการมากกวา 1.6 ลานราย นอกจากนั้น กลุมทรูยังเปนผูใหบริการเกมออนไลนรายใหญ โดยบริษัท NC True จำกัด ซึ่ง เปนบริษัทรวมทุนกับบริษัท NC Soft จำกัด ผูผลิตเกมออนไลนชั้นนำระดับโลกจากประเทศเกาหลี เปดใหบริการเกม “Lineage II” “กิลดวอรส” และ “Point Blank” ซึ่งเปนเกมออนไลนที่มีผูเลนมากสุดใน อันดับตนๆ ของไทย นอกจากนี้ เกม “Special Force” ซึ่งใหบริการโดย บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จำกัด (TDE) ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู ไดรับความนิยมและขึ้นนำเปนเกมออนไลนประเภท Casual อันดับหนึ่งของไทย มีผูลงทะเบียนเลนเกมจำนวนประมาณ 14.4 ลานราย ณ สิ้นป 2551 ทรูไลฟชอป เปนสถานที่ที่ ใหลูกคาไดสัมผัสกับประสบการณคอนเวอรเจนซไลฟสไตล ดวย ผลิตภัณฑและบริการหลากหลายของกลุมทรู รวมไปถึงทรูคอฟฟ ทรูมิวสิค และบริการบรอดแบนด โดย ส ว นใหญ จ ะตั้ ง อยู ใ นบริ เ วณที่ ค นรุ น ใหม ใ ห ค วามนิ ย มมาพั ก ผ อ น หรื อ จั บ จ า ยใช ส อย ในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทรูไลฟพลัส เปนการผสานผลิตภัณฑและบริการภายในกลุมทรู เพื่อนำเสนอแพ็คเกจที่ตรงใจ ตามไลฟสไตลของผูใชบริการ ทรูไลฟเผยโฉมใหมบริการชอปปงออนไลน www.weloveshopping.com ภายหลังการรวม ตัวกับเว็บไซต www.marketathome.com ในป 2550 โดย ณ สิ้นป 2551 weloveshopping ได กลายเปนศูนยรวมรานคาออนไลนกวา 150,000 ราน และมีสินคากวา 2 ลานรายการ

ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศไทยมีการเติบโตอยางรวดเร็วในระยะเวลาไมกี่ปที่ผานมา โดย มีจำนวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นตอเนื่องเปนราว 61 ลานราย ณ สิ้นป 2551 ซึ่งเพิ่มขึ้นราว 8.8 ลานรายในป 2551 ทำใหมีอัตราการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากร 100 คน เปนอัตรารอยละ 91.7 (ขอมูล ประชากรจากสำนักงานสถิติแหงชาติ) จากอัตรารอยละ 79.3 ณ สิ้นป 2550 ทั้งนี้ ไมรวมผูใชบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยโมบายและฮัทช อยางไรก็ตาม คาดวา ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศ ยัง คงมีโอกาสในการเติบโต ถึงแมจะในอัตราที่ลดลงจากปกอน ทั้งนี้เนื่องจากไดกลายเปนบริการที่จำเปนในวิถี ชีวิตของคนไทยทุกกลุมในปจจุบัน ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ประกอบดวย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จำกัด (มหาชน) หรือ AIS และบริษัทดิจิตอลโฟน หรือ DPC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จำกัด (มหาชน) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (มหาชน) หรือ DTAC บริษัท ทรูมูฟ ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมบริษัททรู โดยมีบริษัทเปนผูถือหุนใหญ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มั ล ติ มี เ ดี ย จำกั ด (ซึ่ ง ให บ ริ ก ารภายใต แบรนด “Hutch” ด ว ยเทคโนโลยี CDMA) ที โ อที และ Thai Mobile คูแขงรายใหญที่สุด 2 ราย คือ AIS และ DTAC ซึ่งมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 45.0 และ 30.7 ตามลำดั บ ณ สิ้ น ป 2551 โดยทรู มู ฟ เป น ผู ใ ห บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ร ายใหญ อันดับ 3 ดวยสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 24.3 ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยมีการแขงขันสูง ผู ใหบริการตางพยายามแขงขันเพื่อเพิ่ม สวนแบงตลาด โดยผานกิจกรรมสงเสริมการขายตางๆ รวมทั้งการเสนอคาบริการแบบเติมเงินราคาถูก เพื่อดึงดูดผู ใชบริการที่มีรายไดนอย ทั้งนี้ ไดอำนวยความสะดวกในการซื้อบัตรเติมเงินโดยสามารถซื้อได จากรานสะดวกซื้อและสถานีจำหนายน้ำมันตางๆ นอกจากนี้ผู ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ยังมุงเนนสราง ความเติบโตใหกับบริการที่ ไมใชเสียง ตางๆ ซึ่งเปนผลมาจากเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่รุนใหมๆ มีความ สามารถในการใชงานที่หลากหลายยิ่งขึ้น

2 - 20

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 20

3/13/09 3:45:52 PM


นับตั้งแตป 2550 การแขงขันเปนไปอยางสมเหตุสมผลมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจาก มีการนำระบบ คาเชื่อมโยงโครงขายมาใชจริง ทำใหผูประกอบการมีภาระตนทุนในการเชื่อมโยงไปยังโครงขายอื่น (ใน อัตราโดยเฉลี่ย 1 บาทตอนาที) ซึ่งเปนเสมือนราคาขั้นต่ำของผูประกอบการ อยางไรก็ตาม ในป 2551 ผูประกอบการรายเล็ก เชน Hutch ไดเสนอโปรโมชั่นราคาต่ำ เนื่องจากไมมีภาระคาเชื่อมโยงโครงขาย อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน CAT อยูในระหวางการเจรจากับผูประกอบการรายอื่น เพื่อการเขาสูระบบ เชื่อมโยงโครงขาย ซึ่งจะมีผลให Hutch เขาสูระบบเชื่อมโยงโครงขายดวย และทำใหการแขงขันดานราคา ลดลง ถึงแมตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่จะมีการแขงขันสูง แตทรูมูฟก็สามารถเพิ่มสวนแบงตลาด จาก รอยละ 19.3 ในป 2549 เปนรอยละ 23.2 ในป 2550 และเปนรอยละ 24.3 ในป 2551 นอกจากนี้ ยังสามารถครองตลาดผูใชบริการใหมไดราว 1 ใน 3 ทุกป ตั้งแต ป 2547 ซึ่งสวนหนึ่งก็เนื่องมาจาก ความสามารถในการนำเสนอบริการรวมกับผลิตภัณฑและบริการอื่นๆ ภายในกลุมทรู ซึ่งเปนขอไดเปรียบ โดยไมจำเปนตองแขงขันดานราคาแตเพียงอยางเดียว ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ณ สิ้นป 2549 ประเทศไทยมีผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานทั้งสิ้นราวรอยละ 10 ของประชากร โดยจำนวนผูใชบริการรวมเติบโตขึ้นจาก 5.9 ลานเลขหมายในป 2544 เปน 6.7 ลานเลขหมาย ณ สิ้นป 2549 ทั้ ง นี้ ณ สิ้ น ป 2551 บริ ษั ท มี จ ำนวนผู ใ ช บ ริ ก ารโทรศั พ ท พื้ น ฐานลดลงเล็ ก น อ ยเป น 1,902,507 เลขหมาย (จาก 1,955,410 เลขหมาย ณ สิ้นป 2550) บริการโทรศัพทพื้นฐานในปจจุบันมีผู ใหบริการทั้งสิ้น 3 ราย โดย ทีโอที เปนผู ใหบริการ โทรศัพทพื้นฐานทั้งในกรุงเทพมหานครกับปริมณฑล และตางจังหวัดเพียงรายเดียวของประเทศ สวนผูให บริการอีก 2 ราย คือผูใหบริการที่อยูภายใตสัญญารวมการงานฯ ของ ทีโอที โดยทรูเปนผูใหบริการใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และบริษัท ทีทีแอนดที จำกัด (มหาชน) เปนผูใหบริการในตางจังหวัด ทั้ ง นี้ ค าดว า ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2551 บริ ษั ท มี ส ว นแบ ง ตลาดกว า ร อ ยละ 50 สำหรั บ เขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทั้งนี้คิดจากจำนวนผูใชบริการ ในระยะเวลาไมกี่ปที่ผานมา ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทไดรับผลกระทบจากการแขงขันกับ บริการทดแทนอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้เนื่องจากโทรศัพทเคลื่อนที่ใชงานได สะดวกกวาและมีบริการเสริมตางๆ มากกวา อีกทั้งยังมีการพัฒนาคุณภาพการใชงาน ตัวเครื่องโทรศัพท มีราคาถูก และมีการลดอัตราคาบริการลงมาถูกกวาอัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐาน นอกจากนี้ ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทยังเผชิญกับการแขงขันจากบริการ VoIP ซึ่งมี คาบริการถุกกวา เนื่องจากในปจจุบัน มีการใชอินเทอรเน็ตและเครื่องคอมพิวเตอรอยางแพรหลาย ทำให ผูบริโภคจะหันมาใชบริการ VoIP มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ คณะกรรมการ กทช. ยังไดออกใบอนุญาตให บริการโทรศัพทพื้นฐาน ซึ่งอาจทำใหทรูตองแขงขันกับผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหมๆ ธุรกิจโครงขายขอมูล ธุ ร กิ จ โครงข า ยข อ มู ล ของประเทศไทยยั ง คงเติ บ โตอย า งต อ เนื่ อ ง โดยมี อั ต ราการเติ บ โต ที่ประมาณรอยละ 10-15 ตอป เนื่องจากความนิยมในการสงขอมูลออนไลน และจำนวนผู ใชบริการ อินเทอรเน็ตที่เพิ่มมากขึ้น การแขงขันในธุรกิจโครงขายขอมูลยังคงสูงเนื่องจากมีจำนวนผู ใหบริการ หลายราย ประกอบกับลูกคามีทางเลือกเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีเทคโนโลยีใหมๆ เชน ADSL ผูใหบริการสื่อสาร ขอมูลรายใหญในประเทศไทยประกอบดวย ทีโอที กสท บริษัท ยูไนเต็ด อินฟอรเมชั่น ไฮเวย จำกัด (UIH) และ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี จำกัด (UCOM) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จำกัด (ADC) ซึ่งเปนบริษัทภายใตกลุมบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น บริษัท ทีทีแอนดที และ กลุมบริษัททรู โดยผูใหบริการเหลานี้ใหบริการวงจรเชา บริการ frame relay และ บริการ MPLS ทั้งนี้ คูแขงหลักของบริษัท ไดแก ทีโอที (เนื่องจากสามารถใหบริการครอบคลุมพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย)

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 21

2 - 21

3/13/09 3:45:52 PM


และยูคอม (ซึ่งสามารถใหบริการ นอกเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไดมากกวากลุมทรู) ผูใหบริการ รายใหม อยางเชน Violin มีการเติบโตอยางรวดเร็วในป 2551 ถึงแมจะเปนบริษัทขนาดเล็ก ณ สิ้ น ป 2551 ทรู เ ป น ผู ใ ห บ ริ ก ารโครงข า ยข อ มู ล รายใหญ อั น ดั บ 3 เมื่ อ พิ จ ารณาจาก รายได โดยครองสวนแบงรอยละ 22 ของตลาดโดยรวม ในขณะที่ทีโอทียังคงเปนผูนำตลาด และ ครองสวนแบงราวรอยละ 28 โดย UIH เปนผูใหบริการรายใหญอันดับ 2 และมีสวนแบงตลาดประมาณ รอยละ 25 ธุรกิจอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) อัตราของผู ใชบริการบรอดแบนดรวมตอจำนวนครัวเรือนในเมืองไทย ยังมีระดับที่ต่ำมากที่ อัตราประมาณรอยละ 7 ซึ่งยังคงเปนระดับที่ต่ำกวาประเทศที่พัฒนาแลวในแถบเอเซีย เชน เกาหลี ใต (ร อ ยละ 89) ฮ อ งกง (ร อ ยละ 87) และ สิ ง คโปร (ร อ ยละ 75) (แหล ง ที่ ม า: OECD, IMF, BuddeComm, KBank) ผู ใหบริการในตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีอยูหลายรายทั่วประเทศ เชน บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) และ บริษัทลูก คือ บริษัท ทริปเปลที บรอดแบนด บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี จำกัด (UBT) ซึ่งเปนบริษัทในกลุม UCOM บริษัท เลนโซ ดาตา คอม จำกัด (ใหบริการ ภายใตชื่อ Q-Net) บริษัทในกลุม สามารถ คอรปอเรชั่น บริษัท CS Loxinfo ทีโอที บริษัท ADC และกลุมบริษัท ทรู กลุมบริษัททรู สามารถเพิ่มฐานผูใชบริการบรอดแบนดจากจำนวน 3,708 ราย ณ สิ้นป 2545 มาเปน 632,461 ราย ณ สิ้นป 2551 ซึ่งกลุมทรูเชื่อวากลุมทรูเปนหนึ่งในผู ใหบริการบรอดแบนด รายใหญที่สุดในประเทศไทยคิดจากฐานจำนวนลูกคา โดยมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 50 ทั่วประเทศ มีปจจัยหลายประการที่ทำใหจำนวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เพิ่มขึ้น อยางรวดเร็ว ซึ่งประกอบดวย ราคาโมเด็มที่ถูกลง ผูบริโภคความนิยมใชบริการคอนเทนทตางๆ เพิ่มมาก ขึ้น เชน เกมออนไลน ประกอบกับอัตราคาใชบริการรายเดือนของอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ถู ก ลง เนื่ อ งจากจำนวนผู ใ ห บ ริ ก ารเพิ่ ม มากขึ้ น อี ก ทั้ ง กทช. ได เ ป ด เสรี ธุ ร กิ จ วงจรอิ น เทอร เ น็ ต ตางประเทศ ทำใหมีการปรับลดอัตราคาเชาวงจรลงอยางมาก ภาวะการแขงขันในตลาดบรอดแบนดรุนแรงมากขึ้น ภายหลังจากที่ คณะกรรมการ กทช. ไดเปด เสรี อยางไรก็ตามกลุมทรูเชื่อวา มีขอไดเปรียบเหนือคูแขง จากประสิทธิภาพและคุณ ภาพของโครงขาย ของทรู และ คุณภาพการเชื่อมตอที่ดีจากโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศของทรูเอง ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก จำนวนสมาชิกโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกในประเทศไทย ณ สิ้นป 2551 มีทั้งสิ้นประมาณ 3 ถึง 4 ลานราย คิดเปนสัดสวนราวรอยละ 18 ถึง 19 ของจำนวนครัวเรือน ซึ่งต่ำกวาประเทศที่ พัฒนาแลวในแถบเอเชีย โดยในป 2550 มาเลเซีย มีอัตราการใชบริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิกอยูที่ รอยละ 31 สิงคโปร รอยละ 40 ฮองกง รอยละ 48 และญี่ปุน รอยละ 52 จึงนับวามีโอกาสเติบโตได อีกมาก ป จ จุ บั น กลุ ม ทรู วิ ชั่ น ส เ ป น ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ โทรทั ศ น ร ะบบบอกรั บ เป น สมาชิ ก ที่ ใ ห บ ริ ก าร ครอบคลุมทั่วประเทศรายใหญรายเดียวในประเทศไทย แตยังเผชิญความเสี่ยงจากระเบียบและกฎเกณฑ ตางๆ ที่กำหนดโดยภาครัฐ ทั้งยังจะตองเผชิญกับอุปสรรคจากผูประกอบการรายใหมอีกดวย นอกจาก นี้ องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย (อสมท.) ยังไดใหใบอนุญาตดำเนินธุรกิจโทรทัศนระบบบอก รับเปนสมาชิกแกบริษัทอื่นอีก 2 รายในป 2539 แตปจจุบันผู ไดรับใบอนุญาตเหลานี้ยังไมเริ่มหรือประกาศ วาจะเริ่มดำเนินการแตอยางใด ในสวนของกรมประชาสัมพันธไดใหใบอนุญาตดำเนินการแก ผูประกอบการ เคเบิลตามภูมิภาคหลายรายดวยกัน ปจจุบัน ดำเนินการอยูประมาณ 78 ราย การแขงขันอาจจะเพิ่มสูงขึ้น ภายหลังการประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนซึ่งมีผลบังคับ ใชเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2551 โดยอาจจะมีการออกใบอนุญาตใหผูประกอบการรายใหม อยางไรก็ตาม

2 - 22

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 22

3/13/09 3:45:52 PM


ผูประกอบธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกไดรับอนุญาตใหสามารถจัดเก็บรายไดจากคาโฆษณาได ตามพรบ.ใหม ซึ่งจะชวยเพิ่มโอกาสในการสรางรายไดจากคอนเทนทเดิมที่มีอยู ในขณะที่อาจจะทำใหการ แขงขันเพิ่มขึ้น เนื่องจากผูใหบริการรายเล็กอาจจะมีรายไดเพิ่มขึ้น และอาจจะทำใหมีความสามารถในการแขง ขันเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังมีผูประกอบการอีกไมนอยกวา 450 รายที่ไมมี ใบอนุญาต ซึ่งผูประกอบการ เหลานี้ลวนเปนผูประกอบการรายยอย ที่ใหบริการในระบบเคเบิล มีการคาดคะเนอยางไมเปนทางการวา ผูประกอบการเคเบิลทองถิ่น ทั้งที่มีใบอนุญาต และไมมีใบอนุญาต มีสมาชิกรวมกันประมาณ 1.5 ถึง 2.0 ลานราย ปจจุบัน ผูประกอบการเหลานี้กำลังถูกตรวจสอบถึงการไดมาซึ่งลิขสิทธิ์รายการตางๆ ที่ ออกอากาศโดยเจาของลิขสิทธิ์ซึ่งไดรวมมือกับภาครัฐในการผลักดันใหผูประกอบการทุกรายปฏิบัติตาม กฎหมายลิขสิทธิ์ นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนใหมมี ความเขมงวดในการควบคุมการละเมิดลิขสิทธิ์ใหมากขึ้นกวาเดิม ตลอดระยะเวลา 2 ถึง 3 ปที่ผานมา ทรูวิชั่นสไดรวมมืออยางใกลชิดกับเจาของลิขสิทธิ์ ในการ หาแนวทางดำเนินการใหมๆ ในการปกปองลิขสิทธิ์รายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการ การดำเนินการของ ทรูวิชั่นสประสบปญหาและอุปสรรคมาก เนื่องจากกฎระเบียบที่ยังคงลาสมัย ไม ไดสะทอนถึงสภาพ ความเปนจริงที่เปนอยูในปจจุบัน ตลอดจน หนวยงานที่กำกับดูแล ตองอาศัยเวลาและประสบการณในการ เรียนรู เพื่อการจัดการกับผูละเมิดลิขสิทธิ์อยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ดวยความมุงมั่น ทำให ทรูวิชั่นส สามารถพัฒนากลยุทธในการแกปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์และดำเนินการสำเร็จในระดับหนึ่ง เปน ผลใหการละเมิดลิขสิทธิ์ชองรายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการอยูลดลงอยางเห็นไดชัด เปาหมายในการดำเนิน การขั้นตอไปของทรูวิชั่นสจะมุงเนนไปที่การแกปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์โดยการนำรายการตางๆ เชน รายการภาพยนตรที่อยูบนสื่ออื่น เชน ดีวีดี มาออกอากาศ โดยรายการเหลานั้น มีการออกอากาศในชอง รายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการอยูดวย เชน HBO ซึ่งหวังเปนอยางยิ่งวา การดำเนินการนี้จะประสบผล สำเร็จ และสงผลดีแกทรูวิชั่นส เชนเดียวกับการดำเนินการที่ผานมา ผลจากการดำเนินการดังกลาว ขางตน เปนผลใหยอดขายของป 2548 สูงที่สุด การใหบริการธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกที่มีคุณภาพจำเปนตองมีการลงทุนสูง ซึ่ง การลงทุนเริ่มตนสวนใหญเปนการลงทุนเกี่ยวกับโครงขายสื่อสัญญาณเทคโนโลยีการใสรหัสสัญญาณ อุปกรณรับสัญญาณที่ติดตั้งตามบานสมาชิก ระบบการบริการลูกคา และระบบสนับสนุนอื่นๆ นอกจากนี้ ทรูวิชั่นสยังตองแขงขันทางออมกับสถานีโทรทัศนภาคปกติในประเทศไทยอีกดวย แตดวยการนำเสนอรายการที่ไมสามารถหาดูไดจากชองอื่น รวมถึงภาพยนตร รายการสาระความรู และ รายการกีฬาที่แพรภาพที่ทรูวิชั่นสกอนชองใดๆ ทำใหทรูวิชั่นสมีขอไดเปรียบเหนือสถานีโทรทัศนภาคปกติ ทั่วไป ยิ่งไปกวานั้นทรูวิชั่นสยังไดนำสัญญาณของสถานโทรทัศนภาคปกติเหลานั้นสงขึ้นดาวเทียมและแพร ภาพในโครงขายของทรูวิชั่นสเปนสวนหนึ่งของชองรายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการ ทำใหสมาชิกทรูวิชั่นส สามารถรับชมรายการจากสถานี โทรทัศนภาคปกติไดดวย ดวยการลงทุนทางดานรายการอยางตอเนื่อง การขยายโครงขายการใหบริการหลากหลาย รูปแบบ และการเพิ่มแพ็คเกจทางเลือกใหมๆ ทำใหสามารถเขาถึงกลุมลูกคาไดหลากหลายมากขึ้น ตลอดจน การทำการตลาดและสงเสริมการขายในเชิงรุก จะทำใหทรูวิชั่นสสามารถขยายฐานสมาชิกและรักษาตำแหนง ผูนำในตลาดตอไปได

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 23

2 - 23

3/13/09 3:45:52 PM


Revenues Breakdown โครงสร า งรายได

โครงสรางรายไดแยกตามกลุมธุรกิจ กลุมธุรกิจ 1. ทรูออนไลน 2. ทรูมูฟ 3. ทรูวิชั่นส

2551 ลานบาท %

2550 ลานบาท

รายได

21,646

35.4%

20,490

33.2%

20,791

40.0%

รายได

30,224

49.3%

32,366

52.5%

22,694

43.7%

รายได

9,395

15.3%

8,785

14.3%

8,470

16.3%

61,265

100%

61,641

100%

51,955

100%

รวมรายได

%

2549 (ตามที่ปรับใหม) ลานบาท %

โครงสรางรายไดสำหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 แยกตามการดำเนินงานของแตละบริษัท กลุมธุรกิจ / ดำเนินการโดย 1. ทรูออนไลน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จำกัด บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จำกัด บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จำกัด บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด บริษัท ทรู ทัช จำกัด บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จำกัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อื่น ๆ 2. ทรูมูฟ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 3. ทรูวิชั่นส กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส รวมรายได 2 - 24

ลานบาท

%

รายได

10,402 1,283 2,891 751 4,142 340 355 402 222 224 143 124 367 21,646

17.0% 2.1% 4.7% 1.2% 6.8% 0.6% 0.6% 0.7% 0.4% 0.4% 0.2% 0.2% 0.5% 35.4%

รายได

30,224

49.3%

รายได

9,395

15.3%

61,265

100.0%

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 24

3/13/09 3:45:52 PM


Corporate Information

ข อ มู ล ทั่ ว ไปของบริ ษั ท และ บริ ษั ท ที่ เ ข า ร ว มลงทุ น

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) มีชื่อยอหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยวา “TRUE” ไดจดทะเบียนกอตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2533 ในนามบริษัท ซีพี เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำกัด โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000 ลานบาท เพื่อดำเนินธุรกิจทางดาน โทรคมนาคม ตอมาไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2536 ทะเบียนเลขที่ 0107536000081 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 153,332,070,330.- บาท แบงออกเปนหุนสามัญจำนวน 14,633,873,051 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10.- บาท และหุนบุริมสิทธิ จำนวน 699,333,982 หุ น มู ล ค า ที่ ต ราไว หุ น ละ 10.- บาท โดยมี ทุ น ที่ เ รี ย กชำระแล ว จำนวน 45,031,791,550.- บาท แบงออกเปนหุนสามัญ จำนวน 3,803,845,173 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10.- บาท และหุนบุริมสิทธิ 699,333,982 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10.- บาท โดยมีที่ตั้งสำนักงานใหญอยูที่ เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท 0-2643-1111 โทรสาร 0-2643-1651 Website : www.truecorp.co.th

โดยมีบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เขารวมลงทุน ดังนี้ ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จำกัด (มหาชน)

18 อาคารทรูทาวเวอร ผูใหบริการระบบ ถนนรัชดาภิเษก DBS แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1881

100 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 10 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

89.99

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด

1 อาคารฟอรจูนทาวน ใหบริการ ชั้น 14, 17 ถนนรัชดาภิเษก อินเทอรเน็ต แขวงดิ น แดง เขตดิ น แดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800

15 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

65.00

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 25

2 - 25

3/13/09 3:45:52 PM


ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด 18 อาคารทรูทาวเวอร ผูใหบริการ PCT ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

10,441.85 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1,044.18 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริ ษั ท กรุ ง เทพอิ น เตอร เ ทเลเทค จำกั ด 18 อาคารทรูทาวเวอร ธุรกิจลงทุน (มหาชน) ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

69,770.83 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 27,908.33 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 2.50 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

77.21

บริษัท บี บอยด ซีจี จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ผลิตเพลง ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

16.52 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1.65 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

70.00

บริษัท ซีนิเพล็กซ จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ผลิตรายการ ถนนพระราม 6 โทรทัศน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

1,283.43 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 128.34 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.79

บริษัท คลิก ทีวี จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ธุรกิจโทรทัศน ถนนพระราม 6 แบบสื่อสาร แขวงสามเสนใน สองทาง เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

46 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 4.6 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.79

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

110 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1.1 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

23.87

2 - 26

สื่อสาร ทั้งขอมูลภาพ และเสียงรวมทั้ง บริการอื่น ที่เกี่ยวของ

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 26

3/13/09 3:45:52 PM


ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จำกัด

1035/22 ซอยขุนวิจิตร ธุรกิจสิ่งพิมพ ถนนสุขุมวิท 71 และสือ่ โฆษณา แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท (662) 382-1543 โทรสาร (662) 382-1545

16 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1.6 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

90.00

บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จำกัด

118/1 อาคารทิปโก หยุดดำเนินงาน ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

30 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 3 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.79

บริษัท ศูนยบริการ วิทยาการ อินเตอรเนต จำกัด

2/4 อาคารไทยพาณิชย ใหบริการสื่อสาร สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 โทรคมนาคมที่ ถนนวิภาวดีรังสิต มิใชภาครัฐ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000

50 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 12 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท หุนสามัญจำนวน 2.67 ลานหุน เรียกชำระเต็มมูลคา และ จำนวน 9.33 ลานหุน เรียกชำระมูลคาหุนละ 2.50 บาท

56.93

บริษัท อินเตอรเนต ชอปปง มอลล จำกัด 2/4 อาคารไทยพาณิชย ฝกอบรม สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 สัมมนาและ ถนนวิภาวดีรังสิต ผูจัดจำหนาย แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000

50,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระมูลคา หุนละ 2.50 บาท

58.10

บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ธุรกิจลงทุน ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1881

352.50 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 11.75 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 30 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด

2/4 อาคารไทยพาณิชย โทรคมนาคม สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 และบริการ ถนนวิภาวดีรังสิต อินเทอรเน็ต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000

15 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

37.80

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 27

2 - 27

3/13/09 3:45:52 PM


ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

บริษัท เอ็มเคเอสซี เวิลดดอท คอม จำกัด

2/4 อาคารไทยพาณิชย ธุรกิจ สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 อินเทอรเน็ต ถนนวิภาวดีรังสิต และผูจ ัดจำหนาย แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000

200,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 9,800 หุน และหุนบุริมสิทธิ จำนวน 10,200 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.05

บริษัท ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลดไซท จำกัด

2/4 อาคารไทยพาณิชย ผลิตสิ่งพิมพ สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000

50,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระมูลคา หุนละ 2.50 บาท

58.10

บริษัท ออนไลน สเตชั่น จำกัด

1035/22 ซอยขุนวิจิตร ถนนสุขุมวิท 71 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท (662) 382-1543 โทรสาร (662) 382-1545

บริการ อินเทอรเน็ต และพาณิชย อีเล็คทรอนิคส

1 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 100,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

90.00

บริษัท เรด มีเดีย จำกัด

118/1 อาคารทิปโก หยุดดำเนินงาน ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

25 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 2.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.79

บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร บริการ ถนนรัชดาภิเษก โทรคมนาคม แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

1 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

77.16

บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จำกัด

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

2,880 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 480 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 6 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.79

2 - 28

ขายและใหเชา อุปกรณที่ เกี่ยวกับบริการ โทรทัศนระบบ บอกรับสมาชิก

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 28

3/13/09 3:45:52 PM


ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

บริษัท สองดาว จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร บริการ ถนนรัชดาภิเษก รับชำระเงิน แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

1 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

77.16

บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ใหบริการเนื้อหา ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

25 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 2.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ธุรกิจลงทุน ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1881

17,300.25 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1,743.53 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท หุนสามัญ จำนวน 1,722.53 ลานหุน เรียกชำระเต็มมูลคา และหุนสามัญ จำนวน 21 ลานหุน เรียกชำระมูลคา หุนละ 3.57 บาท

99.99

บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ธุรกิจลงทุน ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1881

300 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จำนวน 30 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท เทเลคอม เคเอสซี จำกัด

2/4 อาคารไทยพาณิชย ให บริ การสื่อสาร สามัคคีประกันภัย ชั้น 10 โทรคมนาคมที่ ถนนวิภาวดีรังสิต ไมใชของรัฐ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000

250,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 100,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระมูลคา หุนละ 2.50 บาท

34.39

บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จำกัด 18 อาคารทรูทาวเวอร บริการฝกอบรม ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1881

120 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจำนวน 13 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท หุนสามัญ จำนวน 5 ลานหุน เรียกชำระเต็มมูลคา และ หุนสามัญจำนวน 8 ลานหุน เรียกชำระมูลคาหุนละ 8.75 บาท

99.99

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 29

2 - 29

3/13/09 3:45:52 PM


ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

975 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 97.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จำกัด 18 อาคารทรูทาวเวอร ผูขายปลีก ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

1 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

77.09

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

บริการ 18 อาคารทรูทาวเวอร โทรคมนาคม ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

85 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญจำนวน 850,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท หุนสามัญ จำนวน 10,000 หุน เรียกชำระ เต็มมูลคา และ หุนสามัญจำนวน 840,000 หุน เรียกชำระ มูลคาหุนละ 25 บาท

99.94

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด

ผูใหบริการ 1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 14, 27 ถนนรัชดาภิเษก อินเทอรเน็ต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800

602.80 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 60.28 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด

ใหบริการ 18 อาคารทรูทาวเวอร ศูนยกลางขอมูล ชั้น 14 ถนนรัชดาภิเษก บนอินเทอรเน็ต แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

149.59 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 14.96 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

70.00

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จำกัด

บริการ 1 อาคารฟอรจูนทาวน โทรคมนาคม ชั้น 15 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง และอินเทอรเน็ต กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800

51 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 510,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จำกัด

2 - 30

บริการเกม 1 อาคารฟอรจูนทาวน ออนไลน ชั้น 25 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 30

3/13/09 3:45:52 PM


ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

บริษัท ทรู ลิสซิ่ง จำกัด

บริการใหเชา 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1881

2,462 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 246.20 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จำกัด

อินเทอรเน็ต 18 อาคารทรูทาวเวอร คาเฟ และบริการ ถนนรัชดาภิเษก ที่เกี่ยวของ แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1881

131 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 13.1 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู แมจิค จำกัด

ผลิตและจำหนาย 18 อาคารทรูทาวเวอร ภาพยนตร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

3.5 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 350,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู มันนี่ จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริการ รับชำระเงิน และบัตรเงิน อีเล็คทรอนิคส

200 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 20 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู มูฟ จำกัด

ผูใหบริการ 18 อาคารทรูทาวเวอร ระบบเซลลูลาร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

34,700.20 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 3,470.02 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

77.14

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

6,562 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 656.2 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.08

ใหบริการเชา วงจรสื่อ สัญญาณ ความเร็วสูงและ บริการมัลติมีเดีย

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 31

2 - 31

3/13/09 3:45:52 PM


ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

บริษัท ทรู มิวสิค จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ใหบริการเนื้อหา ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

200,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

77.11

บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จำกัด

23/6-7 ชั้นที่ 2-4 ซื้อขาย และ ซอยศูนยวิจัย ผลิตสื่อโฆษณา ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 641-4838-9 โทรสาร (662) 641-4840

1 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

69.94

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร บริการใหเชา ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1881

3,488 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 34.88 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ใหบริการ ถนนรัชดาภิเษก โทรคมนาคม แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

1 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.94

บริษัท ทรู ทัช จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ใหบริการ ถนนรัชดาภิเษก Call center แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

193 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1.93 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ใหบริการ ถนนรัชดาภิเษก โทรคมนาคม แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

1,151 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 11.51 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

2 - 32

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 32

3/13/09 3:45:53 PM


ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

บริษัท ทรูวิชั่นส จำกัด (มหาชน)

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ใหบริการ โทรทัศน ระบบบอกรับ เปนสมาชิก

2,266.72 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 755.57 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 3 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.79

บริษัท ทรูวิชั่นส เคเบิ้ล จำกัด (มหาชน)

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ใหบริการ โทรทัศน ระบบบอกรับ เปนสมาชิก ผานสายเคเบิ้ล

7,608.65 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 760.86 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.19

ใหบริการดาน การบริหาร จัดการแกศิลปน และ ธุรกิจอื่น ที่เกี่ยวของ

25 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 2.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

91.79

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จำกัด

54 อาคารดับบลิว แอนด ธุรกิจกอสราง ดับบลิว ซอยพัฒนาการ 20 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท (662) 717-9000 โทรสาร (662) 717-9900

100 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 10 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

87.50

บริษัท เอ็นซี ทรู จำกัด

18 อาคารทรูทาวเวอร พัฒนาและ ชั้น 18 ถนนรัชดาภิเษก ใหบริการ แขวงหวยขวาง เกมออนไลน เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1881

241.58 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 11.84 ลานหุน และหุนบุริมสิทธิ จำนวน 12.32 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

ถือหุน 51.00 แตมีสิทธิออก เสียง 40.00

บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จำกัด

102 ชั้น 15 ถนน ณ ระนอง แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

5.6 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 56,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 100 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

20.00

บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จำกัด 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 (เดิมชื่อ บริษัท ทรู แฟนเทเชีย จำกัด) แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 725-7400 โทรสาร (662) 725-7401

บริการปรับปรุง ซอมแซมและ บำรุงรักษา อุปกรณ

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 33

2 - 33

3/13/09 3:45:53 PM


ชื่อบริษัท

ที่อยู

ประเภทกิจการ ศูนยกลาง ใหบริการ การเคลียรริ่ง ของระบบการ จายเงินทาง อิเล็คทรอนิคส

บริษัท ไทยสมารทคารด จำกัด

191 อาคารสีลม คอมเพล็กซ ชั้น 27 หองเลขที่ 2 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด

ผูผลิตอุปกรณ 159 อาคารเสริมมิตร ทาวเวอร ชั้น 2 และ 24 โทรคมนาคม ซอยอโศก ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ

บริ ษั ท อิ น เตอร เ นชั่ น แนล บรอดคาสติ้ ง 8 Lenine Blvd., Phnom Penh City, คอรปอรเรชั่น (กัมพูชา) จำกัด Cambodia

หยุดดำเนินงาน

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

1,600 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 160 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

15.76

343 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 343,000 หุน มูลคาทีต่ ราไว หุน ละ 1,000 บาท เรียกชำระเต็มมูลคา

9.62

USD 1 ลาน แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

64.25

K.I.N. (Thailand) Company Limited

ธุรกิจลงทุน P.O. Box 957, Offshore Incorporation, Road Town, Tortola, British Virgin Island

USD 1 แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 1 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

Nilubon Company Limited

P.O. Box 71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola, British Virgin Island

ธุรกิจลงทุน

USD 8,000 แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 8,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

TA Orient Telecom Investment Company Limited

ธุรกิจลงทุน 3/F, Hing Yip Commercial Centre, 272 Des Voeus Road C., Hong Kong

USD 15 ลาน แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 15 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

2 - 34

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 34

3/13/09 3:45:53 PM


ชื่อบริษัท Telecom Asia (China) Company Limited

ที่อยู

P.O. Box 957, โทรคมนาคม Offshore Incorporation Road Town, Tortola, British Virgin Island

Telecom International China Company P.O. Box 71, Limited Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola, British Virgin Island

Chongqing Communication Equipment Company Limited

ประเภทกิจการ

โทรคมนาคม

ทุนชำระแลว

%การถือหุน

USD 10 แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 10 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

USD 10 แบงเปนหุนสามัญ จำนวน 10 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ USD 1 เรียกชำระเต็มมูลคา

99.99

140 Daping Zhengjie ผูผลิตอุปกรณ RMB 292 ลาน Chongqing, โทรคมนาคม เรียกชำระเต็มมูลคา People’s Republic of China

38.21

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 35

2 - 35

3/13/09 3:45:53 PM


2 - 36

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 36

3/13/09 3:45:53 PM


Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 37

2 - 37

3/13/09 3:45:53 PM


Shareholders ผู้ ถื อ หุ้ น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 8 มกราคม 2552

ชื่อผู้ถือหุ้น

จำนวนหุ้น (ล้านหุ้น)

1. กลุ่มบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ จำกัด2 1,755.85 2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด 448.15 3 3. กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนซึ่งเป็นคนต่างด้าว 357.99 4. KREDITANSTALT FUR WIEDERAUFBAU (“KfW”) 341.34 5. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 211.51 FOR LONDON 6. บริษัท ซี.เอ.พี. ยูนิเวอร์แซล จำกัด 105.00 7. CLEARSTREAM NOMINEES LTD 65.04 8. N.C.B. TRUST LIMITED-GENERAL UK RESIDENT-TREATY 50.61 A/C CLIENT 9. GOVERNMENT OF SINGAPORE INVESTMENT 41.37 CORPORATION C 10. กองทุนเพื่อการร่วมลงทุน 36.80

ร้อยละของหุ้นทั้งหมด1 38.99 9.95 7.95 7.58 4.70 2.33 1.44 1.12 0.92 0.82

1 รวมหุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิ หมายเหตุ 2 ประกอบด้วย 1) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ จำกัด และผู้ที่รายงานในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งได้แก่ 2) บริษัท กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง

จำกัด 3) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) 4) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) 5) บริษัท กรุงเทพผลิตผล

อุตสาหกรรมการเกษตร จำกัด (มหาชน) 6) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อีสาน จำกัด (มหาชน) 7) บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด

8) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อิน-เอ็กซ จำกัด 9) บริษัท ยูนีค เน็ตเวิร์ค จำกัด 10) บริษัท ไวด์ บรอด คาสท์ จำกัด 11) บริษัท

ซี.พี.อินเตอร์ฟู้ด (ไทยแลนด์) จำกัด 12) บริษัท สตาร์มาร์เก็ตติ้ง จำกัด 13) บริษัท แอ๊ดว้านซ์ฟาร์ม่า จำกัด และ 14) Golden Tower

Trading Ltd. 3 ถือหุ้นเพื่อ KfW

2 - 38

รายงานประจำปี 2551


Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 39

2 - 39

3/13/09 3:45:54 PM


โครงสรางการจัดการของบริษัทประกอบดวย ก. คณะกรรมการบริษัท ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ 3) คณะกรรมการดานการเงิน 4) คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ค. คณะผูบริหาร

ก. คณะกรรมการบริษัท

ตามขอบังคับของบริษัทกำหนดใหคณะกรรมการของบริษัทประกอบดวยกรรมการจำนวน ไมนอยกวา 5 คน และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดนั้นตองมีถิ่นที่อยู ในราชอาณาจักร โดยกรรมการของบริษัทจะตองเปนผูมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการของบริษัทประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิ จำนวนรวมทั้งสิ้น 18 ทาน ประกอบดวย (1) กรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Directors) จำนวน 4 ทาน (2) กรรมการที่ไมเปนผูบ ริหาร (Non-Executive Directors) จำนวน 14 ทาน ประกอบดวย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จำนวน 4 ทาน - กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไมเกี่ยวของในการบริหารงานประจำ ซึ่งรวมตัวแทน ของกลุมเจาหนี้และผูถือหุนรายใหญ จำนวน 10 ทาน

คำนิยาม กรรมการที่เปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่ดำรงตำแหนงเปนผูบริหารและมีสวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจำของบริษัท กรรมการที่ ไมเปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่มิไดดำรงตำแหนงเปนผูบริหารและไมมีสวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจำของ บริษัท อาจจะเปนหรือไมเปนกรรมการอิสระก็ ได กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีคุณสมบัติตามขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ดังนี้ี (1) ถือหุน ไมเกินรอยละหนึง่ ของจำนวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของทรู บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของทรู ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของ ผูที่เกี่ยวของกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย (2) ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได เงินเดือนประจำ หรือผูมีอำนาจควบคุมของทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอำนาจควบคุมของทรู เวนแต จะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง (3) ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะ ที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุน รายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอำนาจ ควบคุมของทรูหรือบริษัทยอย (4) ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของทรู ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณ อยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือผูมีอำนาจควบคุมของ ผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของทรู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา สองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง ความสัมพันธทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทำรายการทางการคาที่กระทำเปนปกติ เพอประกอบกิจการ การเชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือ บริการ หรือการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ดวยการรับหรือใหกูยืม ค้ำประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณอนทำนองเดียวกัน ซึ่งเปนผลให 2 - 40

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 40

3/13/09 3:45:54 PM


(5)

(6)

(7) (8)

(9) (10)

(11)

ทรูหรือคูสัญญามีภาระหนี้ที่ตองชำระตออีกฝายหนึ่ง ตั้งแตรอยละสามของสินทรัพยที่มี ตัวตนสุทธิของทรูหรือตั้งแตยี่สิบลานบาทขึ้นไป แลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา ทั้งนี้ การคำนวณ ภาระหนี้ดังกลาวใหเปนไปตามวิธีการคำนวณมูลคาของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศ คณะกรรมการกำกับตลาดทุนวาดวยหลักเกณฑ ในการทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แตในการพิจารณาภาระหนี้ดังกลาว ใหนับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหวางหนึ่งปกอนวันที่มี ความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของทรู และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอำนาจควบคุม หรือหุนสวนของ สำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของทรูสังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาว มาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง ไมเปนหรือเคยเปนผู ใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการใหบริการเปนทีป่ รึกษากฎหมาย หรือ ทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ไดรบั คาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากทรู บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของทรู และ ไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอำนาจควบคุม หรือหุนสวนของผู ใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการ มีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง ไมเปนกรรมการที่ไดรบั การแตงตัง้ ขึน้ เพอเปนตัวแทนของกรรมการของทรู ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ ไม ป ระกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย า งเดี ย วกั น และเป น การแข ง ขั น ที่ มี นั ย กั บ กิ จ การของทรู หรือ บริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวม ในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ หรือถือหุนเกินรอยละหนึ่ง ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอน ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยาง เดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของทรูหรือบริษัทยอย ไมมีลักษณะอนใดที่ทำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของทรู ภายหลังไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการอิสระที่มีลักษณะเปนไปตามขอ (1) - (9) แลว กรรมการอิสระอาจไดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ใหตดั สินใจในการดำเนินกิจการของทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อำนาจควบคุมของทรู โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะ (collective decision) ได ในกรณีที่เปนบุคคลที่มีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพ เกินมูลคาที่กำหนดในขอ (4) หรือ (6) ใหบุคคลดังกลาวไดรับการผอนผันขอหามการมี หรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพเกินมูลคาดังกลาว หาก คณะกรรมการบริษัทไดพิจารณาตามหลักในมาตรา 89/7 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 แลวมีความเห็นวา การแตงตั้งบุคคลดังกลาวไมมีผลกระทบ ตอการปฏิบัติหนาที่และการใหความเห็นที่เปนอิสระ และจัดใหมีการเปดเผยขอมูลตามที่ คณะกรรมการกำกับตลาดทุนกำหนด ในหนังสือเชิญประชุมผูถือหุน ในวาระพิจารณา แตงตั้งกรรมการอิสระ

คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม 1. นายณรงค

ศรีสอาน

2. นายวิทยา

เวชชาชีวะ

3. 4. 5. 6. 7. 8.

เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช เจียรวนนท เจียรวนนท เตาลานนท สุวรรณกิตติ

ดร. โกศล นายโชติ นายธนินท นายสุเมธ ดร. อาชว นายเฉลียว

ตำแหนง กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ

จำนวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัท ในป 2551*

4/6 6/6 6/6 6/6 3/6 0/6 6/6 6/6 Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 41

2 - 41

3/13/09 3:45:54 PM


รายนาม

ตำแหนง

9. นายอธึก

อัศวานันท

10. นายศุภชัย

เจียรวนนท

11. นายสุภกิต 12. นายชัชวาลย

เจียรวนนท เจียรวนนท

13. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

14. นายอำรุง 15. นายนอรเบิรต 16. นายเยนส บี. 17. นายฮาราลด 18. นายณรงค

สรรพสิทธิ์วงศ ฟาย เบสไซ ลิงค เจียรวนนท***

หมายเหตุ

รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย และ เลขานุการบริษัท** กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร กรรมการ กรรมการ และ ผูอำนวยการบริหาร - การลงทุนกลุม กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ โครงขายและเทคโนโลยี กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

จำนวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัท ในป 2551*

6/6 6/6 0/6 1/6 6/6 6/6 6/6 6/6 5/6 1/6***

* ในป 2551 คณะกรรมการบริษัทมีประชุม จำนวน 6 ครั้ง ** ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2551 เมอวันที่ 29 สิงหาคม 2551 ไดมี มติแตงตั้ง นายอธึก อัศวานันท รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดาน กฎหมาย ใหดำรงตำแหนง เลขานุการบริษัทอีกตำแหนงหนึ่ง โดยใหมีผลตั้งแตวันที่ 29 สิงหาคม 2551 ตอมา ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2552 เมอวันที่ 27 กุมภาพันธ 2552 ไดมีมติแตงตั้ง นางรังสินี สุจริตสัญชัย ใหดำรงตำแหนง เลขานุการบริษัท แทน นายอธึก อัศวานันท โดยใหมีผลตั้งแตวันที่ 27 กุมภาพันธ 2552 เปนตนไป ทั้งนี้ ใหมีหนาที่ตามที่กำหนดไว ในพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งประธานกรรมการไดแจงการเปลี่ยนแปลง เลขานุการบริษัทตอสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลว เมอวันที่ 9 มีนาคม 2552 ***ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2551 เมอวันที่ 29 เมษายน 2551 มีมติอนุมัติแตงตั้ง นายณรงค เจียรวนนท เขาดำรงตำแหนงกรรมการของบริษัท แทน กรรมการเดิม คือ ดร. ลี จี. แลม ซึ่งครบกำหนดออกตามวาระในวันที่ 29 เมษายน 2551 อนึ่ง กอนที่นายณรงค เจียรวนนท จะไดรับการแตงตั้งเขาเปนกรรมการ บริษัทไดมีการ ประชุมคณะกรรมการในป 2551 ไปแลว จำนวน 2 ครั้ง

ทั้งนี้ กรรมการบริษัททุกทาน เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกำหนด และไมมีลักษณะ ตองหามตามกฎหมาย ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการทุกทานทุม เทใหกบั การปฏิบตั หิ นาทีเ่ ปนกรรมการ ใหความรวมมือชวยเหลือในการดำเนิน กิจการของบริษัทในทุกๆ ดาน ซึ่งเปนภาระที่หนักและตองรับผิดชอบอยางยิ่ง สำหรับบทบาท หนาที่และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตลอดจนการเขารวมประชุมของกรรมการแตละทานนั้น กรรมการทุกทานเขารวมในการประชุมทุกครั้ง เวนแตกรณีที่มีเหตุสำคัญและจำเปนที่ ไมอาจหลีกเลี่ยงได อยางไรก็ตาม กรรมการทานใดที่ติดภารกิจจำเปนไมสามารถเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัทได จะ บอกกลาวแจงเหตุผลขอลาการประชุมและใหความคิดเห็นตอวาระการประชุมที่สำคัญเปนการลวงหนา ทุกครั้ง นอกจากนี้ กรรมการของบริษัทใหความสำคัญกับการเขาอบรมตามหลักสูตรที่สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) กำหนด กรรมการทานที่เปนกรรมการอิสระ มีความเปนอิสระโดยแทจริง ไมมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท กรรมการอิสระทุกทานมีคณ ุ สมบัตเิ ปนไปตามหลักเกณฑทค่ี ณะกรรมการกำกับตลาดทุน กำหนดไวทกุ ประการ 2 - 42

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 42

3/13/09 3:45:54 PM


กรรมการซึ่งมีอำนาจลงลายมือชอแทนบริษัท นายศุภชัย เจียรวนนท หรือ นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน ลงลายมือชอรวมกับนายอธึก อัศวานันท หรือ นายสุภกิต เจียรวนนท หรือ นายชัชวาลย เจียรวนนท รวมเปนสองคนและประทับ ตราสำคัญของบริษัท อำนาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีอำนาจและหนาที่จัดการบริษัทใหเปนไปตามวัตถุประสงค ขอบังคับ และมติทป่ี ระชุมผูถ อื หุน ในสวนของการจัดการบริษทั นัน้ คณะกรรมการมีอำนาจหนาทีต่ ดั สินใจและดูแลการ ดำเนินงานของบริษทั เวนแตเรองทีก่ ฎหมายกำหนดใหตอ งไดรบั มติอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน นอกจากนัน้ คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอนใด ปฏิบัติการอยางใด อยางหนึ่งแทนคณะกรรมการได อยางไรก็ตาม การตัดสินใจในการดำเนินงานที่สำคัญ อาทิเชน การลงทุน และการกูยืมที่มีนัยสำคัญ ฝายบริหารจะตองนำเสนอตอคณะกรรมการเพอพิจารณาอนุมัติ การสรรหากรรมการ บริษัทเปดโอกาสและกำหนดหลักเกณฑอยางชัดเจนในการใหผูถือหุนสวนนอยสามารถเสนอชอ บุคคลเพอเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการเปนการลวงหนา สำหรับการประชุมสามัญผูถือหุน ซึ่งผูถือหุนที่มีคุณสมบัติตามที่บริษัทกำหนดสามารถสงขอมูลตามแบบฟอรม โดยสงเปนจดหมายลงทะเบียน มายังบริษัทได ภายในระยะเวลาที่กำหนด คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการทำหนาที่พิจารณาคุณสมบัติของบุคคล ที่จะเลือกตั้งใหดำรงตำแหนงกรรมการหรือกรรมการอิสระของบริษัท โดยพิจารณาคุณวุฒิ และประสบการณ เพอใหไดบุคคลที่มีความเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัท แลวจึงนำเสนอพรอมใหความเห็นตอคณะกรรมการ บริษัทเพอพิจารณาเลือกในเบื้องตน และคณะกรรมการบริษัทจะเปนผูเสนอขอมูลพรอมทั้งความเห็นของ คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาและอนุมัติ การเลือกตั้งบุคคลเขาดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท สำหรับสิทธิของผูถือหุนในการแตงตั้งกรรมการนั้น ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ บริษัทโดยใชเกณฑเสียงขางมาก ทั้งนี้ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งกรรมการ โดย ผูถือหุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง และสามารถเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือ หลายคนเปนกรรมการก็ ได โดยใชคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผู ใดมากนอย เพียงใดไมได

ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ทาน มีรายนาม ดังตอไปนี้ รายนาม 1. นายวิทยา 2. ดร. โกศล 3. นายโชติ

เวชชาชีวะ เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช

ตำแหนง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

จำนวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ ในป 2551*

8/8 8/8 8/8

หมายเหตุ *ในป 2551 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จำนวน 8 ครั้ง โดยที่เปนการประชุมกับ ผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวย จำนวน 1 ครั้ง อำนาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและอำนาจหนาที่รับผิดชอบ ดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษัทมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษทั มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงาน Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 43

2 - 43

3/13/09 3:45:54 PM


3. 4. 5. 6.

7.

ตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนา หนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอนใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพอทำหนาที่เปนผูสอบบัญชี ของบริษัท และเสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไป ตามกฎหมายและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ เพอใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุ สมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไว ในรายงานประจำปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาว จะไดลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและประกอบดวยขอมูล อยางนอยดังตอไปนี้ ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชอถือไดของรายงานทางการเงินของ บริษัท ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท ค) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจ ของบริษัท ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ฉ) จำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของ กรรมการตรวจสอบแตละทาน ช) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ ตามกฎบัตร (Charter) ซ) รายการอ นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และ ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ปฏิบัติการอนใดตามที่กฎหมายกำหนด หรือ คณะกรรมการของบริษัทจะมอบหมาย

2) คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทำหนาที่พิจารณาการกำหนดคาตอบแทน ของกรรมการและประธานคณะผูบริหาร รวมทั้งพิจารณากลั่นกรองการสรรหากรรมการ กอนนำเสนอ ตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม 1. 2. 3. 4.

นายธนินท นายไฮนริช นายสุภกิต นายอำรุง

เจียรวนนท ไฮมส เจียรวนนท สรรพสิทธิ์วงศ

จำนวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ในป 2551* 1/1 1/1 1/1 1/1

หมายเหตุ *ในป 2551 คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการมีการประชุม จำนวน 1 ครัง้ 3) คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการดานการเงิน ทำหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดานการเงิน และ มีรายนามดังตอไปนี้

2 - 44

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 44

3/13/09 3:45:54 PM


รายนาม 1. 2. 3. 4.

ดร. อาชว นายเฉลียว นายเยนส บี. นายอำรุง

เตาลานนท สุวรรณกิตติ เบสไซ สรรพสิทธิ์วงศ

จำนวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการดานการเงิน ในป 2551* 8/9 9/9 9/9 9/9

หมายเหตุ *ในป 2551 คณะกรรมการดานการเงินมีการประชุม จำนวน 9 ครั้ง

1. 2. 3. 4. 5. 6.

4) คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ทำหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการกำหนดและทบทวน นโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัท ตลอดจนดูแลใหบริษัทมีการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวอยาง เหมาะสม และ มีรายนามดังตอไปนี้ จำนวนครั้งที่เขารวมประชุม รายนาม คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ในป 2551* นายณรงค ศรีสอาน 2/4 นายวิทยา เวชชาชีวะ 4/4 ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ 3/4 นายโชติ โภควนิช 4/4 นายเยนส บี. เบสไซ 4/4 ดร. อาชว เตาลานนท 2/4 หมายเหตุ *ในป 2551 คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการมีการประชุม จำนวน 4 ครั้ง

ค. คณะผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ผูบริหารของบริษัท มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม 1. นายศุภชัย 2. นายวิเชาวน

เจียรวนนท รักพงษไพโรจน

3. 4. 5. 6. 7.

เจียรวนนท อัศวานันท เดชอุดม นันทพัฒนสิริ โตทวีแสนสุข

นายชัชวาลย นายอธึก นายนพปฎล นายธิติฏฐ นายอติรุฒม

8. นายทรงธรรม

เพียรพัฒนาวิทย

ตำแหนง กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี กรรมการ และ ผูอำนวยการบริหาร - การลงทุนกลุม รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอรเจนซ ผูอำนวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจ ผูอ ำนวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญและบริการระหวางประเทศ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - เทคโนโลยีสารสนเทศและการบริหารลูกคา

หมายเหตุ “ผูบ ริหาร” ในหัวขอนี้ มีความหมายตามทีก่ ำหนดโดยคณะกรรมการการกำกับตลาดทุน ซึง่ หมายถึง กรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ ผูด ำรงตำแหนงระดับบริหารสีร่ ายแรกนับตอจากกรรมการ ผูจ ดั การใหญลงมา และผูซึ่งดำรงตำแหนงเทียบเทากับผูดำรงตำแหนงระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 45

2 - 45

3/13/09 3:45:54 PM


ทัง้ นี้ ผูบ ริหารของบริษทั ทุกทาน เปนผูม คี ณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามทีก่ ฎหมายกำหนด และไมมลี กั ษณะ ตองหามตามกฎหมาย ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อำนาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ มีอำนาจหนาที่ในการดูแลและดำเนินการใดๆ อันเปนการดำเนินงานตาม ธุรกิจปกติของบริษทั (day to day business) และในกรณีทเ่ี รอง/รายการดังกลาวเปนรายการทีส่ ำคัญ กรรมการ ผูจัดการใหญจะนำเสนอเรอง/รายการดังกลาวใหแกกรรมการอิสระ และ/หรือ คณะกรรมการชุดยอยที่ เกี่ยวของ และ/หรือ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ผูถือหุน แลวแตกรณี เพอพิจารณาอนุมัติเรอง/ รายการดังกลาว นอกจากนี้ กรรมการผูจัดการใหญไมมีอำนาจในการที่จะอนุมัติเรอง/รายการที่ตนหรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ในลักษณะอนใด โดยหาก จะเขาทำรายการ ก็ใหปฏิบัติใหเปนไปตามหลักเกณฑหรือกฎหมายที่เกี่ยวของกำหนด คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัท (1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1.1) คาตอบแทนกรรมการ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 - 31 ธันวาคม 2551 คาตอบแทนคณะกรรมการรวม 19 ทาน เปนเงินรวมทั้งสิ้น จำนวน 33,600,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ไดรับคาตอบแทน ทานละ (บาท) กลุมที่ 1

- ประธานกรรมการ ไดแก นายธนินท เจียรวนนท - กรรมการอิสระที่ดำรงตำแหนงประธานกรรมการใน คณะกรรมการชุดยอยไดแก นายวิทยา เวชชาชีวะ และ นายณรงค ศรีสอาน

3,600,000 3,600,000

รวม กลุมที่ 2

10,800,000

- กรรมการอิสระที่ดำรงตำแหนงกรรมการในคณะกรรมการ ชุดยอย ไดแก ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ และ นายโชติ โภควนิช

2,400,000

รวม กลุมที่ 3

4,800,000

- รองประธานกรรมการ ไดแก นายสุเมธ เจียรวนนท, ดร. อาชว เตาลานนท, นายเฉลียว สุวรรณกิตติ และ นายอธึก อัศวานันท

1,800,000

รวม กลุมที่ 4

7,200,000

- กรรมการ ไดแก - นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน, นายอำรุง สรรพสิทธิว์ งศ, นายฮาราลด ลิงค, นายนอรเบิรต ฟาย และ นายเยนส บี. เบสไซ - ดร. ลี จี. แลม (1 มกราคม 2551 - 28 เมษายน 2551) - นายณรงค เจียรวนนท (29 เมษายน 2551 - 31 ธันวาคม 2551) รวม รวมทั้งสิ้น

2 - 46

รวม (บาท)

1,200,000 393,333 806,667 10,800,000 33,600,0000

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 46

3/13/09 3:45:54 PM


(1.2) คาตอบแทนผูบริหาร ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 - 31 ธันวาคม 2551 คาตอบแทนผูบริหารรวม 8 ทาน เปนเงินทั้งสิ้น จำนวน 106.60 ลานบาท ประกอบดวยคาตอบแทนในรูปเงินเดือน ผลตอบแทน การปฏิบัติงาน เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และ ผลประโยชนอนๆ (2) คาตอบแทนอน คาตอบแทนอนของกรรมการและผูบริหารของบริษัท ไดแก โครงการออกและเสนอขาย ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารของบริษัท และ/หรือ บริษัทยอย (โครงการ ESOP) รวม 6 โครงการ ดังนี้ (2.1) โครงการ ESOP 2007 (2.2) โครงการ ESOP 2006 (2.3) โครงการ ESOP 2005 (2.4) โครงการ ESOP 2004 (2.5) โครงการ ESOP 2003 (2.6) โครงการ ESOP 2000 รายละเอียดโครงการ ESOP (2.1) โครงการ ESOP 2007 ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2550 เมอวันที่ 24 เมษายน 2550 และที่ประชุมวิสามัญ ผูถือหุน ครั้งที่ 1/2550 เมอวันที่ 16 กรกฎาคม 2550 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออกและเสนอขาย ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร (“ESOP 2007”) โดยมีสาระสำคัญสรุปไดดังนี้: จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ อายุใบสำคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสำคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

:

38,000,000 หนวย

: : : :

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

:

15 พฤษภาคม 2551 5 ปนับจากวันที่ออก 14 พฤษภาคม 2556 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจำนวนหนวยของใบสำคัญ แสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสำคัญ แสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทำการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทำการสุดทาย ของเดือนกุมภาพันธ 2552 เปนตนไป จนกวาจะครบ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทำการสุดทาย ของเดือนกุมภาพันธ 2553 เปนตนไป จนกวาจะครบ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 7.00 บาท

(2.2) โครงการ ESOP 2006 ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2549 วันที่ 11 เมษายน 2549 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร (“ESOP 2006”) โดยมีสาระสำคัญสรุปไดดังนี้:

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 47

2 - 47

3/13/09 3:45:54 PM


จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ อายุใบสำคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสำคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

:

36,051,007 หนวย

: : : :

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

:

31 มกราคม 2550 5 ปนับจากวันที่ออก 30 มกราคม 2555 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจำนวนหนวยของใบสำคัญ แสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสำคัญ แสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทำการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสำคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทำการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสำคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทำการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2552 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.19 บาท

(2.3) โครงการ ESOP 2005 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2548 วันที่ 15 กรกฎาคม 2548 ไดมีมติอนุมัติให บริษัทออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (“ESOP 2005”) โดยมีสาระสำคัญสรุปไดดังนี้:

2 - 48

จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ อายุใบสำคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสำคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

:

18,774,429 หนวย

: : : :

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

:

28 เมษายน 2549 5 ปนับจากวันที่ออก 27 เมษายน 2554 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจำนวนหนวยของใบสำคัญ แสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสำคัญ แสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทำการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทำการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทำการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 9.73 บาท

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 48

3/13/09 3:45:54 PM


(2.4) โครงการ ESOP 2004 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 2/2547 วันที่ 10 มิถุนายน 2547 ไดมีมติอนุมัติให บริษัทออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร จำนวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2004”) โดยมีสาระสำคัญสรุปไดดังนี้: จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ อายุใบสำคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสำคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

:

18,274,444 หนวย

: : : :

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

:

7 กุมภาพันธ 2548 5 ปนับจากวันที่ออก 6 กุมภาพันธ 2553 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจำนวนหนวยของใบสำคัญ แสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสำคัญ แสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแต วันที่ 7 กุมภาพันธ 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแต วันที่ 7 กุมภาพันธ 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแต วันที่ 7 กุมภาพันธ 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 11.20 บาท

(2.5) โครงการ ESOP 2003 ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหารภายใต โครงการ ESOP 2003 มียอดคงเหลือจำนวน 11,180,788 หนวย โดยใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุนสามัญ 1 หนวย สามารถซื้อหุนสามัญของบริษัทได 1 หุน ในราคาใชสิทธิ 5.20 บาทตอหุน ใบสำคัญแสดงสิทธิดังกลาวไดหมดอายุลงแลวเมอวันที่ 16 มิถุนายน 2551 (2.6) โครงการ ESOP 2000 ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2543 วันที่ 27 เมษายน 2543 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออก ใบสำคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร จำนวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2000”) โดยมีสาระสำคัญสรุปไดดังนี้: จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ออกและคงเหลือ วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ อายุใบสำคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสำคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

:

36,995,000 หนวย

: : : :

9 มิถุนายน 2543 10 ปนับจากวันที่ออก 9 มิถุนายน 2553 (ก) ใบสำคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 1 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับ ใบสำคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจำนวนที่ไดรบั การจัดสรรทัง้ หมด โดยใบสำคัญแสดงสิทธิ แตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 30 มิถุนายน ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลำดับ

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 49

2 - 49

3/13/09 3:45:54 PM


:

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

:

(ข) ใบสำคัญแสดงสิทธิประเภทที่ 2 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับ ใบสำคัญแสดงสิทธิ 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจำนวนที่ไดรบั การจัดสรรทัง้ หมด โดยใบสำคัญแสดงสิทธิ แตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิครั้งแรกไดตั้งแตวันที่ 31 ธันวาคม ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลำดับ ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

รายละเอียดการไดรับจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิภายใต โครงการ ESOP ของกรรมการและผูบริหาร ของบริษัท มีดังนี้ ใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิ ESOP 2007 ESOP 2006 ESOP 2005 ESOP 2004 ESOP 2003* ESOP 2000 รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ จำนวน ของ จำนวน ของ จำนวน ของ จำนวน ของ จำนวน ของ จำนวน ของ หนวย หนวย หนวย หนวย หนวย หนวย โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ

ชื่อ

1. ดร.อาชว เตาลานนท 2. นายสุภกิต เจียรวนนท 3. นายศุภชัย เจียรวนนท 4. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน 5. นายชัชวาลย เจียรวนนท 6. นายอธึก อัศวานันท 7. นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข 8. นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ 9. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย 10. นายนพปฎล เดชอุดม

1,400,000 1,875,000 1,875,000 300,000 1,875,000 1,400,000 1,400,000 1,400,000

3.68 4.93 4.93 0.79 4.93 3.68 3.68 3.68

3,200,000 1,600,000 300,000 2,000,000 1,600,000 1,600,000 1,600,000

8.88 4.44 0.83 5.55 4.44 4.44 4.44

1,000,000

2.63

800,000

2.22

1,900,000 10.12 2,434,077 1,000,000 5.33 1,277,890 350,000 1.86 1,277,890 1,200,000 6.39 1,331,136 1,000,000 5.33 1,277,890 1,000,000 5.33 1,277,890 1,000,000 5.33 1,277,890 500,000

2.66

494,422

12.74 6.69 6.69 6.97 6.69 6.69 6.69 2.59

3,696,402 1,617,176 1,940,611 2,021,470 850,404 -

18.61 8.14 9.77 10.18 4.28 -

2,240,000 4,130,000 6,510,000 2,800,000 4,130,000 5,320,000 -

6.06 11.16 17.60 7.57 11.16 14.38 -

-

-

487,463 2.45

หมายเหตุ *ใบสำคัญแสดงสิทธิ ตามโครงการ ESOP 2003 ไดหมดอายุลงในวันที่ 16 มิถุนายน 2551 การดูแลเรองการใชขอมูลภายใน คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสำคัญของการปองกันการนำขอมูลภายในของบริษัทไป ใชเพอประโยชนสวนตนเปนอยางยิ่ง บริษัทมีการกำกับดูแลเรองการใชขอมูลภายใน โดยกำหนดขอพึงปฏิบัติ เกี่ยวกับการใชขอมูลภายในเพอการซื้อขายหลักทรัพยไว ในคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทำงานควบคู กับการใชมาตรการตามกฎหมายในการดูแลผูบริหารในการนำขอมูลภายในของบริษัทไปใชเพอประโยชน สวนตนและผูที่เกี่ยวของ ปองกันมิใหกรรมการและผูบริหารที่มีสวนใกลชิดกับขอมูลของบริษัทนำขอมูล ภายในที่ตนลวงรูมาจากการเปนกรรมการและผูบริหารมาแสวงหาประโยชน ใดๆ อันจะเปนการฝาฝนหนาที่ ความรับผิดชอบของตนที่มีตอบริษัทและผูถือหุน จึงกำหนดเปนหลักใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ตอง เก็บรักษาสารสนเทศทีส่ ำคัญทีย่ งั ไมไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจำกัดใหรบั รูไดเฉพาะกรรมการและผูบ ริหาร ระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น นอกจากนี้ ในการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัท กรรมการและผูบ ริหารตองแจงตอสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“สำนักงาน ก.ล.ต.”) ภายใน 3 วันทำการนับแตวนั ทีเ่ กิดรายการขึน้ พรอมทัง้ สงสำเนารายงานดังกลาว จำนวน 1 ชุด ใหกับบริษัทเพ อเก็บเปนหลักฐานและรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจำ ทั้งนี้ เพ อให มั่นใจวา กรรมการและผูบริหารสามารถบริหารและดำเนินกิจการดวยความซอสัตยสุจริต มีความชัดเจน โปรงใส และสอดคลองกับมาตรการเกี่ยวกับนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท และยังมีสวนชวย ใหผูถือหุนตลอดจนผูลงทุนทั่วไปเกิดความเชอมั่นในผูบริหารของบริษัท

2 - 50

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 50

3/13/09 3:45:54 PM


การควบคุมภายใน จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของคณะกรรมการบริษทั รวมกับ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม และผูสอบบัญชีของบริษัท มิไดพบสถานการณ ใดๆ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทที่เปน จุดออนที่มีสาระสำคัญอันอาจมีผลกระทบที่เปนสาระสำคัญตองบการเงิน นอกจากนี้ คณะกรรมการได เนนใหมีการพัฒนาระบบการกำกับดูแลกิจการเพอใหระบบการควบคุมภายในมีการปรับปรุงอยางตอเนอง บุคลากร จำนวนพนักงานทั้งหมดของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 แบงแยกตามกลุมงานมีดังนี้ กลุมงาน พนักงานในระดับบริหาร ปฏิบัติการโครงขาย และ บำรุงรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริการลูกคา การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน

จำนวนพนักงาน (คน) 77 1,820 980 256 478 237 300 4,148

ที่มา: บริษัท คาตอบแทน และผลประโยชนของพนักงาน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน • เงินเดือน • เงินตอบแทนการปฏิบัติงานประจำป ในอัตรา 0-4 เทาของเงินเดือนพนักงานขึ้นอยูกับ ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบริษัท • กรณีเกษียณอายุ พนักงานที่จะมีอายุครบ 60 ปบริบูรณ หรือในกรณีที่บริษัทและ พนักงานเห็นพองตองกันอาจใหพนักงานเกษียณอายุกอนกำหนดได โดยพนักงานจะได รับคาชดเชยการเกษียณอายุตามกฎหมาย ในป 2551 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 คาตอบแทนพนักงานรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 2,570 ลานบาท โดยประกอบดวย คาแรง เงินเดือน เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ และอนๆ คาตอบแทนอน - แผนประกันสุขภาพและสวัสดิการพนักงาน • หองพยาบาลของบริษัท • การตรวจสุขภาพประจำป • การตรวจรางกายพนักงานใหม • การประกันสุขภาพกลุม • การประกันอุบัติเหตุกลุม • การประกันชีวิตกลุม • กองทุนประกันสังคม • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 51

2 - 51

3/13/09 3:45:54 PM


- วันหยุดพักผอนประจำป • พนักงานของบริษัท มีสิทธิหยุดพักผอนประจำป 10 วัน 12 วัน และ 15 วันทำงาน ขึ้นอยู กับระดับตำแหนงและอายุการทำงาน ดังนี้ • พนักงานระดับผูชวยผูอำนวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป มีสิทธิหยุดพักผอนปละ 15 วันทำงาน • พนักงานระดับผูจ ดั การหรือเทียบเทาลงมา มีสทิ ธิหยุดพักผอนประจำป ตามอายุงานดังนี้ - พนทดลองงาน แตไมถึง 3 ป 10 วันทำงาน - อายุงาน 3 ป แตไมถึง 5 ป 12 วันทำงาน - อายุงานตั้งแต 5 ปขึ้นไป 15 วันทำงาน การฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน นโยบายการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน ประเด็นสำคัญของศูนยฝกอบรมและพัฒนา และการพัฒนาบุคลากร คือ การพัฒนาความรู ความสามารถในการเปนพนักงานของทรู ความรูความสามารถเหลานี้เปนรากฐานที่สำคัญของการพัฒนา บุคลากร สายงาน และเปนการเปดโอกาสใหพนักงานเกิดความกาวหนาในอาชีพ ศูนยฝกอบรมและพัฒนามี ทางเลือกหลากหลายเพอการเรียนรูเพอการพัฒนาอยางตอเนอง ชวยใหพนักงานสามารถปฏิบัติงานลุลวงตาม ที่ไดรับมอบหมาย และเตรียมความพรอมใหพนักงานมุงสูเปาหมายในอาชีพการงานของตน ซึ่งการพัฒนา บุคลากรนี้ในที่สุดก็จะสงผลถึงความแข็งแกรงของการดำเนินกิจการของบริษัทนั่นเอง บทบาทอนๆ ที่สำคัญของศูนยฝกอบรมและพัฒนา นอกเหนือจากการเปนผู ใหการฝกอบรม และพัฒนาพนักงานแลว ศูนยฝกอบรมและพัฒนายังเปนผูนำการเปลี่ยนแปลง และเปนเพอนรวมธุรกิจกับ ทุกหนวยงาน ศูนยฝกอบรมและพัฒนาทำหนาที่ผูนำการเปลี่ยนแปลง โดยการเปนผูอำนวยความสะดวกในการ เปลี่ยนแปลง ซึ่งจะใหการสนับสนุนกลยุทธและทิศทางใหมๆ ของบริษัท พรอมทั้งสงเสริมใหพนักงาน ทุกคนพรอมที่จะเผชิญกับความทาทายที่มีความสลับซับซอนมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ศูนยฝก อบรมและพัฒนาก็เปนเพอนรวมธุรกิจกับทุกหนวยงาน โดยการรวมมือกับ หนวยงานตางๆ ในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมและพัฒนาที่เหมาะสมกับแผนธุรกิจของ แตละหนวยงาน รวมทั้งใหการสนับสนุนที่จำเปนทุกอยาง หลักสูตรที่จัดฝกอบรมภายในบริษัทมีประมาณ 300 - 400 หลักสูตรตอป ในป 2551 รวม จำนวนคน-วันอบรมได 35,561 Training Mandays ใชงบประมาณรวมทั้งสิ้น 37 ลานบาท โดย จัดใหมหี ลักสูตรการฝกอบรมดานความรูค วามสามารถหลักใหแกพนักงานทุกระดับ เชน วัฒนธรรมองคกร 4Cs การสอสารอยางมีประสิทธิผล การวางแผนเพอเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน การพัฒนาตนเอง สูความเปนผูมีประสิทธิผลสูง เปนตน หลักสูตรการพัฒนาผูบริหาร เชน ทักษะการเปนผูนำ การแกปญหา และการตัดสินใจ การบริหารการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิผล เปนตน หลักสูตรการฝกอบรมดานความรู ความสามารถตามธุรกิจหลัก และเทคโนโลยีใหมๆ เชน 3G Technology, GPRS & EDGE, Broadband Network, NGN Network, VOIP Technology รวมทั้งหลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานสำหรับ ชางเทคนิคและวิศวกร หลักสูตรพัฒนาทักษะดานการขายและการใหบริการลูกคาสำหรับพนักงานขาย เจาหนาที่บริการลูกคาและทีมงานชางเทคนิคตางๆ เชน True Product & Services ทักษะการใหบริการอยาง มืออาชีพ บุคลิกภาพในงานบริการ เปนตน

2 - 52

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 52

3/13/09 3:45:54 PM


รายละเอียดกรรมการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551) ชอ-นามสกุล

: นายณรงค ศรีสอาน

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

กรรมการอิสระ 81 10,000 หุน ปริญญากิตติมศักดิ์ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร : Director Accreditation Program (DAP) : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2541-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. โออิชิ กรุป บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท บมจ. แอดวานซ อะโกร รองประธานกรรมการบริษัท และ รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไทยเบฟเวอรเรจส รองประธานกรรมการบริษัท และ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. เบียรไทย (1991) ประธานกรรมการบริษัท บจ. สุราบางยี่ขัน ประธานกรรมการบริหาร บจ. ไทยเบฟเวอรเรจแคน ประธานกรรมการบริษัท บจ. ธนากรผลิตภัณฑน้ำมันพืช กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 53

2 - 53

3/13/09 3:45:54 PM


ชอ-นามสกุล

: นายวิทยา เวชชาชีวะ

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

2 - 54

กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 72 ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ เนติบัณฑิต สำนักเกรส อินน : Director Accreditation Program (DAP) Audit Committee Program (ACP) Chairman 2000 : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2541-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2541-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. เคไลน (ประเทศไทย) และบริษัทในเครือ 2534-2535 ปลัดกระทรวงการตางประเทศ 2531 เอกอัครราชทูตประจำประเทศสหรัฐอเมริกา 2527 เอกอัครราชทูตประจำประเทศเบลเยี่ยม และประชาคมยุโรป 2524 เอกอัครราชทูตประจำประเทศแคนาดา 2522 อธิบดีกรมเศรษฐกิจ

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 54

3/13/09 3:45:54 PM


ชอ-นามสกุล

: ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ 69 ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London : Director Accreditation Program (DAP) Director Certification Program (DCP) Audit Committee Program (ACP) Chairman 2000 : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2547-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2544-ปจจุบัน กรรมการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 2544-2548 นายกสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ 2543-2544 ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแหงประเทศไทย 2529-2535 อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

ชอ-นามสกุล

: นายโชติ โภควนิช

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ 66 ผูสอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการจัดการดานการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ประเทศสหรัฐอเมริกา : Director Accreditation Program (DAP) Chairman 2000 : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2547-2549 ประธานเจาหนาที่บริหาร ธนาคารสินเอเซีย จำกัด (มหาชน) 2543-2544 ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเงินทุน ทิสโก จำกัด (มหาชน) 2537-2540 ประธานกรรมการบริหาร กลุมบมจ. ไทยวา 2535-2537 กรรมการผูจ ดั การใหญและกงสุลใหญแหงเดนมารก ประจำประเทศไทย บมจ. อี๊สตเอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 55

2 - 55

3/13/09 3:45:54 PM


ชอ-นามสกุล

: นายธนินท เจียรวนนท

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

ประธานกรรมการ 69 เปนบิดาของนายสุภกิต เจียรวนนท นายณรงค เจียรวนนท นายศุภชัย เจียรวนนท Commercial School ประเทศฮองกง Shantou Secondary School สาธารณรัฐประชาชนจีน วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร : Director Accreditation Program (DAP)

: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร ประธานกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บมจ. สยามแม็คโคร บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บจ. ทรู มูฟ ประธานกรรมการ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ และ บริษัทในเครือ ประธานกรรมการ บริษทั ในเครือของ บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร ประธานกรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ซีพี ออลล

ชอ-นามสกุล

: นายสุเมธ เจียรวนนท

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

: - ไมมี -

2 - 56

รองประธานกรรมการ 74 150,000 หุน เปนบิดาของนายชัชวาลย เจียรวนนท มัธยมศึกษา โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย จังหวัดราชบุรี

: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 56

3/13/09 3:45:54 PM


ชอ-นามสกุล

: ดร.อาชว เตาลานนท

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

รองประธานกรรมการ 71 ปริญญากิตติมศักดิ์ ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยหอการคาไทย วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology, ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Iowa State of University, ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พิเศษ วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรรัฐรวมเอกชนรุนที่ 1 : Director Accreditation Program (DAP) Chairman 2000 Director Certification Program (DCP) : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2536-2542 กรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ หอการคาไทย และสภาหอการคาแหงประเทศไทย 2534-2535 รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

ชอ-นามสกุล

: นายเฉลียว สุวรรณกิตติ

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

รองประธานกรรมการ 80 3,350,000 หุน ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Indiana University, ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี สาขาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ไมมี -

: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประวัติการทำงานสำคัญอนๆ : ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ สภาหอการคาแหงประเทศไทย : กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท บขส จำกัด : กรรมการอำนวยการ (กอตัง้ ) องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 57

2 - 57

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล

: นายอธึก อัศวานันท*

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การอบรม การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย และ เลขานุการบริษัท 57 1,000,046 หุน ปริญญาโท สาขานิติศาสตร Specialized in International Legal Studies, New York University, ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี สาขานิติศาสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร : หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุน ที่ 3 : Director Accreditation Program (DAP) : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล 2551-ปจจุบัน เลขานุการบริษัท บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น หัวหนานักกฎหมาย กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จำกัด กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส และ บริษัทในเครือ 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ ปจจุบัน กรรมการ Aqua-Agri Foods International, Inc. 2544-2549 ผูพิพากษาสมทบในศาลทรัพยสินทางปญญาและ การคาระหวางประเทศกลาง 2521-2540 Baker & McKenzie ปจจุบัน อาจารยพิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

* กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท 2 - 58

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 58

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล

: นายศุภชัย เจียรวนนท*

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร

: : : :

คุณวุฒิทางการศึกษา การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร 41 1,250,000 หุน เปนบุตรของนายธนินท เจียรวนนท เปนนองชายของนายสุภกิต เจียรวนนท และนายณรงค เจียรวนนท : ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) Boston University, ประเทศสหรัฐอเมริกา : - ไมมี : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร 2540 รองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส 2539 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการและพัฒนาธุรกิจ 2538 ผูจัดการทั่วไปโทรศัพทนครหลวงตะวันออก 2537 ผูอำนวยการอาวุโสฝายสนับสนุนและประสานงานการวางแผน และปฏิบัติงานโครงการ 2536 ผูอำนวยการฝายหองปฏิบัติการ 2535 เจาหนาที่อาวุโสประจำสำนักกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2549-ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บมจ. ทรู วิชั่นส 2545-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มูฟ 2544-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. พันธวณิช 2543-2548 ประธานกรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส 2542-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2539 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย 2538 รองประธานเจาหนาทีบ่ ริหารสายปฏิบตั กิ าร บมจ. ทรู วิชน่ั ส เคเบิล้ (เดิมชอ บมจ. ยูทีวี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค ) กรรมการผูจัดการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2534 ประสบการณทำงานประมาณ 2 ปในบจ. วีนิไทย 2533 ประสบการณทำงาน 1 ปใน Soltex Federal Credit Union, USA 2532 ประสบการณทำงาน 1 ปใน บจ. สยามแม็คโคร ประวัติดานกรรมการ - บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น - บจ. ทรู มูฟ - บมจ. ทรู วิชั่นส - บริษัทยอยอน ๆ ในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น - บจ. พันธวณิช - บมจ. ซีพีพีซี - บจ. เจียไต เอ็นเตอรไพรเซสส อินเตอรเนชั่นแนล - บจ. เอเชีย ฟรีวิลล - บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส - บจ. ซี.พี. โภคภัณฑ ประวัติดานกิจกรรมเพอสังคมและตำแหนงอน ๆ 2550-ปจจุบัน กรรมการเสนอตัวเปนเจาภาพจัดการแขงขันกีฬาเยาวชน โอลิมปคฤดูรอนครั้งที่ 1 ประจำป พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 2549-ปจจุบัน กรรมการจัดหาและบริการดวงตาแหงสภากาชาดไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการที่ปรึกษาสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (TCT) 2548-2550 กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียน (LCA)

* กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 59

2 - 59

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล

: นายสุภกิต เจียรวนนท*

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร

: : : :

คุณวุฒิทางการศึกษา การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

กรรมการ 45 เปนบุตรของนายธนินท เจียรวนนท เปนพี่ชายของ นายณรงค เจียรวนนท และ นายศุภชัย เจียรวนนท : ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ New York University, ประเทศสหรัฐอเมริกา : - ไมมี : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการรวม บจ. เซีย่ งไฮ คิงฮิวล - ซุปเปอรแบรนดมอล ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต เอ็นเตอรไพร อินเตอรเนชัน่ แนล ประธานกรรมการบริษัท บมจ. ทรู วิชั่นส ประธานกรรมการบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง ประธานกรรมการ กลุม ธุรกิจพัฒนาทีด่ นิ (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ กลุม ธุรกิจยานยนตอตุ สาหกรรมและการเงิน บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธาน กลุม ธุรกิจพัฒนาทีด่ นิ (ไทย) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธาน กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจำหนาย (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

ชอ-นามสกุล

: นายชัชวาลย เจียรวนนท*

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

กรรมการ และ ผูอำนวยการบริหาร - การลงทุนกลุม 46 เปนบุตรของนายสุเมธ เจียรวนนท ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern, California, ประเทศสหรัฐอเมริกา : Director Accreditation Program (DAP) : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน กรรมการ และ ผูอำนวยการบริหาร - การลงทุนกลุม บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2544-ปจจุบัน กรรมการ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ.ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2543-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง 2540-ปจจุบัน ประธานคณะผูบ ริหาร บจ. ทรู มัลติมเี ดีย, บจ. ทรู อินเทอรเน็ต และ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท 2549-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรม 2535-2548 กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรม 2533-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

* กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท 2 - 60

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 60

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล

: นายวิเชาวน รักพงษ ไพโรจน*

ตำแหนง

: กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี อายุ (ป) : 51 จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) : 1,627,058 หุน ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร : คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Pepperdine University, ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin, ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา การผานการอบรมที่เกี่ยวของ : Director Certification Program (DCP) ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2543-ปจจุบัน กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี 2541-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ 2540-2541 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2539-2540 ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันออกเฉียงใต 2538-2539 ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ชอ-นามสกุล

: นายอำรุง สรรพสิทธิ์วงศ

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

กรรมการ 56 384,000 หุน ปริญญาโท การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร : Director Certification Program (DCP) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2544-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปจจุบัน รองประธานสำนักการเงินเครือเจริญโภคภัณฑ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บมจ. อยุธยา อลิอันซ ซี.พี. ประกันชีวิต กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี 1 ส.ค. 2546-ปจจุบัน กรรมการ ธนาคารวีนาสยาม จำกัด

* กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 61

2 - 61

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล

: นายนอรเบิรต ฟาย

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

: : : : : :

ชอ-นามสกุล

: นายเยนส บี. เบสไซ

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

กรรมการ 57 MBA (Dipl. Kaufmann): University of Mannheim - ไมมี บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2550-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2547-ปจจุบัน KfW First Vice President & Head of Department 2531-2547 KfW Vice President & Deputy Head of Department (Asset Finance and Export & Project Finance) 2524-2531 KfW Project Manager Aircraft & Export - Financing 2521-2524 BHF-Bank branch manager

กรรมการ 38 Master Degree of Business Administration of J.W. Goethe-University of Frankfurt am Main, Germany : - ไมมี -

: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2550-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2550-ปจจุบัน Head of KfW’s South-East Asia Regional Office, Bangkok 2549-2550 Senior Officer of KfW’s South-East Asia Regional Office, Bangkok 2541-2549 KfW Export and Project Finance, Frankfurt am Main 2533-2535 Deutsche Bank, Osnabruck

ชอ-นามสกุล

: นายฮาราลด ลิงค

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

: : : : : :

2 - 62

กรรมการ 54 50,000 หุน MBA, St. Gallen University, Switzerland - ไมมี -

: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2543-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2541-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ปูนซีเมนตนครหลวง บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2530-ปจจุบัน Managing Partner, B. Grimm & Co. R.O.P. Chairman, B. Grimm Group of Companies

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 62

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

: : : : :

นายณรงค เจียรวนนท

กรรมการ 43 84,000 หุน เปนบุตรของนายธนินท เจียรวนนท เปนนองชายของนายสุภกิต เจียรวนนท และ เปนพี่ชายของนายศุภชัย เจียรวนนท : ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต, สาขาวิชา Business Administration, New York University, USA Advance Management Program: Transforming Proven Leaders into Global Executives, Harvard Business School, Harvard University : Director Accreditation Program (DAP) (2550)

: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2551-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2551-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ Chia Tai Distribution Investment Co., Ltd. กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ Ningbo Beston Plastics Co., Ltd. กรรมการ Beston Action UtilityWear (Lian Yungang) Co., Ltd. 2550-ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร Chia Tai Enterprise International Limited รองประธานกรรมการบริหาร Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริหาร C.P. Pokphand Co., Ltd. กรรมการบริหาร Beijing CP Lotus Co., Ltd. รองประธานกรรมการบริหารและกรรมการผูจัดการ Shi jia zhuang Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2548-ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร Qingdao Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. รองประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผูจัดการ Jinan Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2547-ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ประธานกรรมการบริหาร Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอำนวยการบริหาร Foshan Nanhai Hua Nan Tong Trading Development Co., Ltd. ผูอำนวยการบริหาร Guangdong Hua Nan Tong Trading Development Co., Ltd. กรรมการผูจัดการ Xi’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอ ำนวยการบริหาร Tai’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ประธานกรรมการบริหาร Chester Food (Shanghai) Co., Ltd. ประธานกรรมการบริหาร CP Food Product (Shanghai) Co., Ltd. 2546-ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผูจัดการ Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. รองประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผูจัดการ Tianjin Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอำนวยการบริหาร Chia Tai Enterprises International Limited 2545-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอำนวยการบริหาร Business Development Bank 2544-ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอำนวยการบริหาร Yangtze Supermarket Investment Co., Ltd. 2544-2546 ผูอำนวยการบริหาร Hong Kong Fortune Limited 2540-2545 กรรมการผูจัดการ Shanghai Ek-Chor Distribution Co., Ltd. กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Trading (Shanghai) Co., Ltd. 2538-2540 กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Distribution (Thailand) Co., Ltd.

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 63

2 - 63

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล

: นายนพปฎล เดชอุดม

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

2 - 64

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน 41 210,000 หุน ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร Rensselaer Polytechnic Institute, USA : Director Certification Program รุน 101/2008

: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2550-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน 2546-2550 ผูอำนวยการและผูจัดการทั่วไป ดานออนไลน 2543-2546 ผูอำนวยการอาวุโส สายงานการเงิน 2541-2543 ผูอำนวยการฝายพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการ บจ. ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ กรรมการ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น กรรมการ บจ. ฟวเจอร เกมเมอร กรรมการ บจ. เอ็มเคเอสซีเวิลด ดอทคอม กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. อินเตอรเนต ชอปปงมอลล กรรมการ บจ. ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลดไซท กรรมการ บจ. เทเลคอม เค เอส ซี กรรมการ บจ. ทรู มันนี่ กรรมการ บจ. เอเชีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. ทรู แมจิค 2547-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส 2549-2551 กรรมการ บจ. บี บอยด ซีจี 2549-2551 กรรมการ บจ. เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต 2549-2551 กรรมการ บจ. ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต 2547-2551 กรรมการ บจ. เอ็นซี ทรู 2546-2551 กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร 2550- 2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ 2550-2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น 2550-2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น 2549-2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย 2548-2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท 2546-2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต 2540-2541 ผูอำนวยการฝาย Corporate Finance & Business Development บจ. เอเชียมัลติมีเดีย

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 64

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล

: นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ

ตำแหนง อายุ (ป) จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

: : : : :

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ

ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี 54 ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตลาดกระบัง : - ไมมี -

: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-2546 กรรมการบริหาร บมจ. ล็อกซเลย 2540-2542 ผูชวยกรรมการผูจัดการ บมจ. ล็อกซเลย บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2551-ปจจุบัน กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท กรรมการ บจ. ฟวเจอร เกมเมอร 2550-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ กรรมการ บจ. เทเลคอม เค เอส ซี กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ 2549-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. เรด มีเดีย กรรมการ บจ. ไอบีซี ซิมโฟนี กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวิส กรรมการ บจ. เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. อินเตอรเนต ชอบปง มอลล กรรมการ บจ. ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลดไซท กรรมการ บจ. บี บอยด ซีจี กรรมการ บจ. ทรู แมจิค 2544-2545 กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย 2535-2543 กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร บจ. ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย)

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 65

2 - 65

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล

: นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข

ตำแหนง

: ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ ผูอำนวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจ อายุ (ป) : 45 จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) : 850,404 หุน ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร : คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาโท สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania, ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี สาขาการบริหารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การผานการอบรมที่เกี่ยวของ : Director Certification Program (DCP) ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ Director Diploma of Australian Institution of Director 2005 บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ ผูอำนวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2544 รองกรรมการผูจัดการใหญดานพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มันนี่ กรรมการ บมจ. ทรูวิชั่นส 2545 รองกรรมการผูจัดการใหญสายงานธุรกิจ บจ. ทรู มูฟ 2541-2545 ผูจัดการทั่วไป บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2541-2544 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น

2 - 66

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 66

3/13/09 3:45:55 PM


ชอ-นามสกุล

: นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ตำแหนง

: ผูอำนวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญและบริการระหวางประเทศ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - เทคโนโลยีสารสนเทศและการบริหารลูกคา อายุ (ป) : 50 จำนวนหุนที่ถือ (31/12/51) : 700 หุน ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร : คุณวุฒิทางการศึกษา : ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร University of South Alabama, ประเทศสหรัฐอเมริกา การผานการอบรมที่เกี่ยวของ : Director Certification Program (DCP รุนที่ 54) ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำงานที่สำคัญ : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอำนวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญ และ บริการระหวางประเทศ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - เทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริหารลูกคา บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน Executive Director Corporate Solution บจ. ทรู มูฟ รักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มัลติมีเดีย กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส กรรมการผูจ ดั การใหญ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร กรรมการบริหาร บจ. พันธวณิช กรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส 2549-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 2544-2546 กรรมการผูจัดการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery 2544-2545 ผูอำนวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย 2543 ผูอ ำนวยการฝายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายผลิตภัณฑคอมพิวเตอรขนาดใหญ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2541 ผูจัดการฝายการเงินและบริหาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2540 ผูจัดการฝายธุรกิจบริการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 67

2 - 67

3/13/09 3:45:55 PM


การถือหุนของกรรมการในบริษัทในเครือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กรรมการ

บริษัท

เพิ่ม-ลด ในป 2551

คงเหลือ

นายธนินท

เจียรวนนท

บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค

-

1 1

นายสุเมธ

เจียรวนนท

บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค

-

1

นายเฉลียว

สุวรรณกิตติ

บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง บจ. เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล

-

1 1

ดร. อาชว

เตาลานนท

บจ. เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล บจ. เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา บจ. ทรู ทัช บจ. ทรู มัลติมีเดีย บมจ. เอเชีย ดีบีเอส บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น บจ. ทรู อินเทอรเน็ต บจ. ทรู ไลฟสไตล รีเทล

-

1 1 1 1 1 1 1 1 1

นายชัชวาลย

เจียรวนนท

บจ. เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส บจ. ทรู ทัช บจ. ทรู อินเทอรเน็ต บมจ. เอเชีย ดีบีเอส บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น บจ. ทรู มัลติมีเดีย บจ. ทรู ไลฟสไตล รีเทล บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร

-

1 5 1 1 1 1 1 1 1 1

นายสุภกิต

เจียรวนนท

บจ. เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล บจ. ทรู ทัช บจ. ทรู อินเทอรเน็ต บมจ. เอเชีย ดีบีเอส บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น บจ. ทรู มัลติมีเดีย

-

1 1 1 1 1 1 1

2 - 68

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 68

3/13/09 3:45:55 PM


กรรมการ

บริษัท

เพิ่ม-ลด ในป 2551

คงเหลือ

นายศุภชัย

เจียรวนนท

บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง บจ. เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล บจ. เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส บจ. ทรู ทัช บจ. ทรู อินเทอรเน็ต บมจ. เอเชีย ดีบีเอส บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น บจ. ทรู มัลติมีเดีย บจ. ทรู มันนี่ บจ. เอ็นซี ทรู บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค บจ. ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส

-

1 1 1 5 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

นายอธึก

อัศวานันท

บจ. ทรู มันนี่ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค

-

1 1

นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

บจ. เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล บจ. ทรู ทัช บจ. ทรู อินเทอรเน็ต บมจ. เอเชีย ดีบีเอส บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น บจ. ทรู มัลติมีเดีย บจ. เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) บจ. ทรู มันนี่ บจ. ทรู แมจิค บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค

-

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 69

2 - 69

3/13/09 3:45:55 PM


Corporate Governance Report รายงานการกำกับดูแลกิจการของบริษัท

บริษัท ตระหนักถึงความสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดี จึงไดกำหนดใหมี “นโยบายการ กำกับดูแลกิจการ” ของบริษัท ตั้งแตป 2545 และไดทำการปรับปรุงนโยบายดังกลาวเปนระยะๆ อยาง ตอเนื่อง เพื่อใหเหมาะสมกับสถานการณของบริษัทที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนเพื่อใหสอดคลองกับ กฎหมายที่เกี่ยวของ และหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีที่แนะนำโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่ง เทียบเคียงไดกับมาตรฐานสากล บริษทั ดำเนินการเกีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการ โดยแบงเปนสองสวน คือ ในระดับคณะกรรมการ และ ในระดับบริหาร โดยในระดับคณะกรรมการนั้น ไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการชุดยอยขึ้น คือ คณะกรรมการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ (Corporate Governance Committee) ซึ่ ง ประกอบด ว ย นายณรงค ศรีสอาน นายวิทยา เวชชาชีวะ ดร.อาชว เตาลานนท ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ นายโชติ โภควนิช และ นายเยนส บี. เบสไซ สวนในระดับบริหาร ไดดำเนินการโดยเจาหนาที่บริหาร ไดแก CEO และ เจาหนาที่ระดับสูงอื่นๆ ในป 2551 บริษัท มีการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สรุปไดดังนี้

หมวดที่ 1 สิทธิของผูถือหุน 1. คณะกรรมการตระหนักและใหความสำคัญตอสิทธิของผูถือหุน ตลอดจนการปฏิบัติตอ ผูถือหุนอยางเทาเทียมกันและเปนธรรม จึงไดกำหนดนโยบายในการกำกับดูแลกิจการ โดยคำนึงถึงสิทธิ ของผูถือหุนใหมากที่สุดเทาที่จะทำไดโดยไมจำกัดเฉพาะสิทธิที่กฎหมายกำหนดไว 2. ในป 2551 บริษัทมีการประชุมผูถือหุน 2 ครั้ง คือ การประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2551 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 และการประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 ซึ่งการประชุมผูถือหุนของบริษัทจัดขึ้นในวัน เวลา และสถานที่ ที่คำนึงถึงความสะดวก ของผูถือหุนที่จะเขาประชุม โดยบริษัทจัดใหมีการประชุมในวันและเวลาทำการ คือ 14.00 น. ณ ที่ทำการ สำนักงานใหญของบริษัท ตั้งอยูในกรุงเทพมหานครซึ่งมีการคมนาคมที่สะดวกตอการเดินทาง 3. บริษัทไดแจงในเอกสารเชิญประชุมใหผูถือหุนทราบถึงขอมูล วัน เวลา สถานที่ วาระ การประชุ ม ข อ มู ล ทั้ ง หมดที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เรื่ อ งที่ ต อ งตั ด สิ น ใจในที่ ป ระชุ ม รวมตลอดถึ ง สาเหตุ แ ละ ความเปนมาของเรื่องที่ตองตัดสินใจ กฎเกณฑตาง ๆ ที่ใชในการประชุม และขั้นตอนการออกเสียงลงมติ โดยเนนรายละเอียดใหผูอานที่ไมทราบถึงความเปนมาของเรื่องนั้นๆ มากอนสามารถเขาใจเรื่องไดโดยงาย และนำสงใหแกผูถือหุนเปนการลวงหนาใหมากที่สุดเทาที่กฎหมายจะยินยอมใหทำไดอยางเพียงพอและ ทันเวลา นอกจากนี้บริษัทไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุมผูถือหุนพรอมเอกสารประกอบการประชุมไว ใน Website ของบริษัทเปนการลวงหนาประมาณ 3-4 สัปดาหกอนที่จะสงไปรษณียใหผูถือหุน เพื่อเปด โอกาสใหผูถือหุนไดมีเวลาศึกษาขอมูลประกอบการประชุมลวงหนาอยางเพียงพอ 4. บริษัทมีนโยบายที่จะละเวนการกระทำใด ๆ ที่เปนการจำกัดโอกาสของผูถือหุน ในการศึกษา สารสนเทศของการประชุมผูถือหุน และเปดโอกาสใหผูถือหุนซักถามขอมูลที่ ไมเขาใจ หรือสามารถสง คำถามลวงหนาไดโดยติดตอที่ฝายลงทุนสัมพันธ (“IR”) ที่โทร 0-2699-2515 และฝายเลขานุการบริษัท ที่ โทร 0-2643-0076 5. บริษทั อำนวยความสะดวกใหผูถือหุนไดใชสิทธิในการเขารวมประชุมและออกเสียงอยางเต็มที่ โดยไมมีคาใชจาย และละเวนการกระทำใด ๆ ที่เปนการจำกัดโอกาสการเขาประชุมของผูถือหุน จัดขั้นตอน การลงทะเบียนเขาประชุมเพื่อออกเสียงลงมติเพื่อไมใหมีวิธีการที่ยุงยาก 2 - 70

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 70

3/13/09 3:45:55 PM


6. ประธานที่ประชุมจัดสรรเวลาใหเหมาะสมและสงเสริมใหผูถือหุนมีโอกาสในการแสดงความเห็น และตั้งคำถามตอที่ประชุมในเรื่องที่เกี่ยวของกับบริษัท และภายหลังการประชุม กรรมการที่เขารวมประชุม ไดเดินพบปะกับผูมารวมประชุมเพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนที่ไมประสงคจะถามคำถามในระหวางการประชุม สามารถสอบถามเรื่องที่ตนยังสงสัยได

หมวดที่ 2 การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน 1. บริษัทอำนวยความสะดวกใหแกผูถือหุนที่ไมสามารถเขาประชุมดวยตนเอง สามารถใชสิทธิ ออกเสียงโดยมอบฉันทะใหผูอื่นมาประชุมและออกเสียงลงมติแทน โดยเปดโอกาสใหสงหนังสือมอบฉันทะ มาใหฝายเลขานุการบริษัทตรวจสอบลวงหนา เพื่อจะได ไมเสียเวลาตรวจสอบในวันประชุม 2. บริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนใชหนังสือมอบฉันทะรูปแบบที่ผูถือหุนสามารถกำหนดทิศทางการ ลงคะแนนเสียงได โดยจัดสงหนังสือมอบฉันทะแนบไปพรอมกับหนังสือเชิญประชุมผูถือหุน และไดเสนอ ชื่อกรรมการอิสระ 2 ทาน พรอมทั้งขอมูลเกี่ยวกับกรรมการอิสระดังกลาว เปนทางเลือกในการ มอบฉันทะของผูถือหุน 3. บริษัทเปดโอกาสและกำหนดหลักเกณฑอยางชัดเจนในการใหผูถือหุนสวนนอยสามารถ เสนอเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปน กรรมการเปนการลวงหนา ซึ่งผูถือหุนสามารถสงขอมูลตามแบบฟอรมที่บริษัทกำหนด โดยสงเปน จดหมายลงทะเบียนมายังบริษัทได ตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2550 เปนตนไป จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2551 สำหรับการประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2551 โดยบริษัทเผยแพรสารสนเทศดังกลาวไว ใน Website ของบริษัท และไดประชาสัมพันธใหผูถือหุนทราบโดยแจงสารสนเทศผานสื่ออิเล็คทรอนิกสของ ตลาดหลักทรัพยฯ ซึ่งในการประชุมผูถือหุนดังกลาว ไมมีผูถือหุนเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระ การประชุมและชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการ 4. บริษัทมีการใชบัตรลงคะแนนเสียงในวาระเพื่อพิจารณาในทุกกรณีพรอมทั้งจัดใหมีสำนักงาน กฎหมายอิสระ เปนผูตรวจสอบการนับคะแนนเสียงเพื่อความโปรงใส และเก็บบัตรลงคะแนนไวเปน หลักฐานเพื่อจะไดตรวจสอบไดในกรณีมีขอโตแยงในภายหลัง 5. บริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนใชสิทธิในการแตงตั้งกรรมการเปนรายบุคคล 6. บริษัทมีการกำกับดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน โดยกำหนดขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับการใชขอมูล ภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยไว ในคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทำงานควบคูกับการใชมาตรการ ตามกฎหมายในการดูแลผูบริหารในการนำขอมูลภายในของบริษัท ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนและผูที่ เกี่ยวของ กำหนดเปนหลักใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ตองเก็บรักษาสารสนเทศที่สำคัญที่ยังไมได เปดเผยไว เป นความลับ โดยจำกัดให รับรู ไดเฉพาะกรรมการและผู บริ หารระดับสู งที่ เกี่ ยวของเทานั้น นอกจากนี้ ในการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัท กรรมการและผูบริหารตองแจง ตอสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (สำนักงาน ก.ล.ต.) ภายใน 3 วัน ทำการนับแตวันที่เกิดรายการขึ้น พรอมทั้งสงสำเนารายงานดังกลาว จำนวน 1 ชุด ใหกับบริษัท เพื่อเก็บ เปนหลักฐานและรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจำ โดยในป 2551 ไมปรากฏวามี กรรมการและผูบริหารของบริษัทไมปฏิบัติตามหลักปฏิบัติดังกลาว 7. ในป 2551 ไมมีกรรมการและผูบริหารของบริษัทตลอดจนผูเกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว ปฏิบัติผิดขอกำหนดเกี่ยวกับเรื่องความขัดแยงของผลประโยชนในการทำธุรกรรมของบริษัท 8. บริษัทมีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทำรายการระหวางกันตามที่กฎหมาย และ ขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน รวมทั้งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดกำหนดไว นอกจากนี้ ในป 2551 คณะกรรมการบริษัทไดมีมติอนุมัติใหออกคำสั่ง เรื่อง ระเบียบในการเขาทำ รายการระหวางกัน ซึ่งเปนการนำแนวปฏิบัติเดิมของบริษัทมาปรับปรุงใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 71

2 - 71

3/13/09 3:45:55 PM


ในป 2551 บริษัทปฏิบัติตามระเบียบในเรื่องการทำรายการระหวางกันอยางเครงครัด และ ไดเปดเผยรายละเอียดของรายการระหวางกันที่เกิดในระหวางป 2551 ไวในรายงานประจำปและแบบแสดง รายการขอมูลประจำป (แบบ 56-1) ภายใตหัวขอ “รายการระหวางกัน”

หมวดที่ 3 บทบาทของผูมีสวนไดเสีย 1. คณะกรรมการดู แ ลสิ ท ธิ ต ามที่ ก ฎหมายกำหนดของผู มี ส ว นได เ สี ย กลุ ม ต า งๆ (Stakeholders) และประสานประโยชนรวมกันอยางเหมาะสม เพื่อให Stakeholders มั่นใจวาสิทธิ ดังกลาวไดรับการคุมครองและปฏิบัติดวยดี ทั้งนี้ บริษัทไดจัดทำ “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการ ทำงาน” ซึ่งไดกำหนดขอพึงปฏิบัติของพนักงานตอผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ไดแก พนักงาน - มีสิทธิสวนบุคคล และมีสิทธิที่จะไดรับการคุมครองไมใหใครละเมิดสิทธิสวนบุคคล - สิทธิในการไดรับการปฏิบัติ และไดรับโอกาสเทาเทียมกัน - สิ ท ธิ ต า งๆ เกี่ ย วกั บ การจ า งงานที่ เ ป น ธรรมและเท า เที ย มกั น เช น การอนุ ญ าตให ลางาน สิทธิประโยชน โอกาสในการเลื่อนขั้น การโอนยาย การประเมินผลการปฏิบัติงาน ลูกคา - มีสิทธิไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรับการบริการจากพนักงานอยางเต็มความรู ความสามารถ - สิทธิที่จะไดรับสินคาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิผล - สิทธิที่จะไดรับการปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ ผูจัดหาสินคาและบริการ และตัวแทนอื่นๆ (คูคา) - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรับการปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติดวยความซื่อตรง และเชื่อถือได - สิทธิที่จะไดรับทราบกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายที่เกี่ยวของ - สิทธิที่จะไดรับการแขงขันอยางเปนธรรม เจาหนี้ - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติดวยความซื่อสัตยในการปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาภายใต หลักเกณฑและกฎหมายที่กำหนด - สิทธิที่จะไดรับขอมูลทางการเงินที่ถูกตองครบถวน - สิทธิที่จะไดรับการชำระหนี้ตรงตามเวลา และไดรับการดูแลคุณ ภาพของหลักทรัพย ค้ำประกัน ผูลงทุน - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรม และเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางมุงมั่นที่จะดำเนินธุรกิจดวยความรูและทักษะการบริหาร จัดการอยางสุดความสามารถดวยความซื่อสัตยสุจริต - สิทธิที่จะไดรับการปกปองไมใหเกิดการแสวงหาผลประโยชน โดยการใชขอมูลใดๆ ของ องคกรซึ่งยังไมเปดเผยตอสาธารณะ หนวยงานของรัฐ - สิทธิในการกำกับ ดูแล และลงโทษ ตามกฎหมาย ขอบังคับ และมาตรฐานการปฏิบัติของ หนวยงานของรัฐ 2. บริษัทกำหนดสายงานองคกรใหฝายตรวจสอบภายใน (Internal Audit) รายงานโดยตรง ตอคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งจะเปนผูพิจารณาใหคุณใหโทษตอหัวหนาฝายตรวจสอบภายใน และ บริษัทเปดโอกาสใหพนักงานบริษัทสามารถแจงเบาะแสการกระทำมิชอบตาง ๆ ใหกับ Internal Audit หรือ คณะกรรมการตรวจสอบไดโดยตรง 2 - 72

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 72

3/13/09 3:45:55 PM


3. ในป 2551 คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัตินโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคมและได เปดเผยนโยบายดังกลาวไวในเว็บไซตของบริษัท บริษัทประกอบธุรกิจโดยคำนึงถึงความสำคัญของปจจัย ดานสังคมและสิ่งแวดลอม โดยมุงเนนไปในดานการสงเสริมการเรียนรู ใหแกสังคม เพื่อเปนสวนหนึ่งใน การพัฒนาสังคมไทยอยางยั่งยืน ดวยการนำเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัยมาจัดทำโครงการดานการ ศึกษาและการเรียนรูเพื่อพัฒนาเยาวชนและผูดอยโอกาสในสังคมไทย เพื่อสงเสริมสังคมไทยใหเปนสังคม แหงการเรียนรู มีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเปนรากฐานสำคัญในการสรางความเจริญรุงเรืองใหกับประเทศ สรุปไดดังนี้

ใน ป 2551 ที่ผานมา กลุมบริษัท ไดทำกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมหลายประการ

นโยบายความรับผิดชอบตอสังคม : EN : การอนุรักษสิ่งแวดลอมและพลังงาน SU : ผูจัดหาสินคาและบริการ GO : การกำกับดูแลกิจการและขอปฏิบัติดานจริยธรรม SH : ผูถือหุนและนักลงทุน CO : ความรับผิดชอบตอชุมชนและการสงเสริมการศึกษา EM : พนักงาน CU : ลูกคา การอนุรักษสิ่งแวดลอมและพลังงาน ลำดับ

รายการกิจกรรมประจำป 2551

EN GO CO CU SU SH EM

1.

รวมกับ กรุงเทพมหานคร จัดโครงการ “Green Bangkok Wi-Fi” X เสริมสรางมหานครแหงไอที สงเสริมการใชอินเทอรเน็ต เพื่อลดการใช พลังงาน เพิ่มความคลองตัวในการเขาถึงขอมูลขาวสารใหคนกรุงเทพฯ ทองโลกออนไลนผานอินเทอรเน็ตไรสาย Wi-Fi กวา 15,000 จุด ทั่วกรุงเทพ

X

2.

โครงการคายเยาวชนทรูสกัดภัยโลกรอนประจำป 2551 เปดโอกาสให X เยาวชนร ว ม สร า งสรรค และจั ด ทำโครงการรณรงค ต อ ต า นภั ย โลกรอนในชุมชน

X

3.

โครงการ True Young Producer Award ประกวดภาพยนตร X โฆษณาเพื่อสังคม เปดโอกาสใหนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา แสดง ความสามารถผลิตงานภาพยนตรโฆษณา ภายใตหัวขอ “รวมกันลด วิกฤติภาวะโลกรอนป 2” ตอน “ฉลาดใชเทคโนโลยีชวยลดการใช พลังงาน” ใชงบประมาณ 550,000 บาท

X

4.

จั ด โครงการประกวดภาพถ า ยอนุ รั ก ษ ธ รรมชาติ ชุ ด “สั ต ว มี ค า X ป า มี คุ ณ ” ประจำป 2551 ในหั ว ข อ “สั ต ว มี ค า ป า มี คุ ณ ค้ ำ จุ น คลายโลกรอน” ผลงานที่ ไดรับคัดเลือกไดรับรางวัลพระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

X

5.

จัดโครงการประหยัดพลังงาน การใชพลังงานไฟฟาในอาคารทรู โดย X บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จำกัด ทดลองติดตั้งระบบเปด-ปดไฟ แสงสวางและระบบระบายอากาศอัตโนมัติ (Motion Sensor & Reed Switch) เพื่ออนุรักษพลังงาน และยืดอายุการทำงานของตัวอุปกรณ เชน หลอดไฟ พัดลมระบายอากาศ เปนตน โดยสามารถประหยัดการใช พลังงานไฟฟาในอาคารได รอยละ 75 ตอป

X

X

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 73

2 - 73

3/13/09 3:45:55 PM


ลำดับ 6.

รายการกิจกรรมประจำป 2551

EN GO CO CU SU SH EM

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จำกัด บริษัทในกลุมทรูไดรับรางวัล X อาคารนอกขาย ควบคุมดีเดน และรางวัลผูปฏิบัติการดานพลังงานใน อาคารนอกขายควบคุมดีเดน ในงาน Thailand Energy Award 2008 ในฐานะบริษัทที่โดดเดนดานอนุรักษพลังงานและการพัฒนาพลังงาน ทดแทน

X

การกำกับดูแลกิจการและขอปฏิบัติดานจริยธรรม ลำดับ

รายการกิจกรรมประจำป 2551

7.

ใหความรวมมือกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในการเขารวม ทดสอบแผน Business Continuity Plan ประจำป 2551 ครั้งที่ 1 และครัง้ ที่ 2 เพือ่ เตรียมความพรอมและเพิม่ ความมัน่ ใจในระบบงานของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอรหลัก ไมสามารถใชงานไดและตองใชระบบสำรองแทน

EN GO CO CU SU SH EM X

X

ความรับผิดชอบตอชุมชนและการสงเสริมการศึกษา ลำดับ

รายการกิจกรรมประจำป 2551

8.

จัดโครงการ Easy Charity แบงปนโอกาสเรียนรูสูผูพิการทางหู มอบ ชั่วโมงอินเทอรเน็ตรวม 35,600 ชั่วโมง แกโรงเรียนเศรษฐเสถียรใน พระราชูปถัมภ และสมาคมคนหูหนวกแหงประเทศไทย เพื่อนำไปมอบแก โรงเรี ย นผู บ กพร อ งทางการได ยิ น ทั้ ง ในกรุ ง เทพมหานคร และ ตางจังหวัดอีก 20 แหง

X

X

9.

เปดบริการ SMS Call Center และ True Care Chat อำนวยความ สะดวกให ผู พิ ก ารทางหู ส ามารถติ ด ต อ เจ า หน า ที่ ข องทรู ไ ด โ ดยตรง ไมตองผานลามแปลภาษา

X

X

10.

สานตอโครงการปลูกปญญา สงมอบชุดอุปกรณรบั สัญญาณทรูวชิ นั่ ส ใหโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศ เพิ่มโอกาสในการเรียนรูแกเด็ก ผูดอยโอกาส และจัดทำเว็บไซตwww.trueplookpanya.com เพื่อเปน สื่ อ กลางการติ ด ต อ สื่ อ สารระหว า งโรงเรี ย น แนะนำความรู แ ละ แลกเปลี่ยนประสบการณการเรียนการสอนที่เปนประโยชน

X

11.

รวมกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และสถาบันอุดมศึกษากวา 50 แหง ทั่วประเทศ จัดโครงการธุรกิจจำลอง (Dummy Company) เพื่อเปด โอกาสและกระตุน ใหนกั ศึกษาในแตละสถาบันไดแสดงศักยภาพ โดยรวมตัว จัดตั้งองคกรธุรกิจขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจในดานตางๆ ซึ่งเปนการ นำความรูภาคทฤษฎีและบริหารจัดการมาประยุกตใชในการทำธุรกิจจริง ไดอยางเต็มที่และครบวงจร

X

2 - 74

EN GO CO CU SU SH EM X

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 74

3/13/09 3:45:55 PM


ลำดับ

รายการกิจกรรมประจำป 2551

EN GO CO CU SU SH EM

12.

เปดเว็บไซตชุมชน www.helplink.net เปนศูนยกลางชวยเหลือกัน และกันใหคนในสังคม ประสานงานผานหนวยงานหรือมูลนิธิที่ดูแลความ ชวยเหลือตางๆ ซึ่งปจจุบันมีมูลนิธิที่เกี่ยวของ 14 มูลนิธิ โดยจัด หมวดหมู ค วามช ว ยเหลื อ ตามความเร ง ด ว น อาทิ กรณี ต อ งการ ความชวยเหลือเรงดวนจากบุคคล องคกร หรือ มูลนิธิ ทั้งเรื่อง สุขภาพ การเจ็บปวยหนัก คนหาย หรือ ภัยธรรมชาติ ซึ่งสามารถ ชวยเหลือไดทั้งในแบบทุนทรัพย สิ่งของ และการใหกำลังใจ

X

13.

รวมกับ United Nations ESCAP ในประเทศไทย รณรงคใหประชาชน ตระหนั ก ถึ ง วั น แห ง สั น ติ ภ าพ โดยส ง SMS ประชาสั ม พั น ธ International Peace Day (21 กันยายน) ถึง ผูใชบริการทรูมูฟ 1.5 ลานเลขหมายทั่วประเทศ

X

X

ลูกคา ลำดับ

รายการกิจกรรมประจำป 2551

EN GO CO CU SU SH EM

14.

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด มอบชุดหลักสูตรคอมพิวเตอรพื้นฐาน ออนไลน “Microsoft e-Learning @ True” ใหลูกคาองคกร ทั้ง สถาบันการศึกษา รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน เพื่อสนับสนุนการศึกษา และการเรียนรูผานอินเทอรเน็ต

X

X

15.

บริษทั ฟวเจอร เกมเมอร จำกัด ซึง่ เปนบริษทั ในกลุม ทรู รวมกับสำนักงาน คณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จัดสัมมนา หัวขอ “เปนพอแม ตองรูทันลูกเลนเกม” เพื่อใหความรูผูปกครอง เกี่ยวกับผลกระทบของเกมออนไลนและยาเสพติดที่มีตอเยาวชน

X

X

16.

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด ไดรับการรับรอง 2 มาตรฐานระดับโลก คือ มาตรฐานการบริหารจัดการระบบสารสนเทศ ISO/IEC 20000 และมาตรฐานการจัดการความปลอดภัยของขอมูล ISO/IEC 27001:2005 รายแรกในไทย เพิ่มความมั่นใจในระบบบริหาร ความมั่ น คงปลอดภั ย ของสารสนเทศและการให บ ริ ก ารลู ก ค า ที่ ไ ด มาตรฐานสากล

17.

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด จัดสัมมนาความรูเกี่ยวกับ พรบ.วาดวย การกระทำผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 เพือ่ ใหผปู ระกอบการมีความรู ความเข า ใจมากขึ้ น และประกอบธุ ร กิ จ เป น ไปตามที่ ก ฎหมายกำหนด เพื่อมิใหเกิดปญหาในทางปฏิบัติ ทั้งนี้ เนื่องจากพระราชบัญญัติฉบับ ดังกลาวมีผลบังคับใชแลว แต ไดผอนผันมาเปนเวลา 1 ป เพื่อให ผูป ระกอบการมีเวลาเตรียมการเกีย่ วกับระบบการจัดเก็บขอมูล (สิงหาคม)

X

X

18.

ทรูพัฒนาระบบลามออนไลน ใหวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อสรางเครือขายสื่อสารแกคนหูหนวก ใหสามารถสื่อสารกับคนทั่วไป ได และนำไปติดตั้งในสถานที่สำคัญ เชน ธนาคาร หรือโรงพยาบาล ให สามารถเชื่อมเขาระบบลามออนไลน โดยมีเจาหนาที่เปนลามแปลภาษามือ และภาษาพูดผาน Webcam ชวยใหคนหูหนวกสามารถสื่อสารกับคน ทั่วไปได (กรกฎาคม)

X

X

X

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 75

X

2 - 75

3/13/09 3:45:55 PM


ลำดับ

รายการกิจกรรมประจำป 2551

19.

สงผูแทนรวมประชุมนานาชาติ เรื่อง “นโยบายภาษาแหงชาติ ความ หลากหลายของภาษาเพื่ อ ความเป น เอกภาพของชาติ ” จั ด โดย ราชบัณฑิตยสถาน, สถานทูตประเทศออสเตรเลีย, องคการรัฐมนตรี การศึกษาแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (องคการซีมีโอ) และกองทุน เพือ่ เด็กแหงสหประชาชาติแหงประเทศไทย (องคการยูนเิ ซฟ) เพือ่ แบงปน ประสบการณ ใ นการมอบโอกาสให ผู ที่ มีค วามบกพร อ งทางร า งกาย มีโอกาสเขาถึงและใชเทคโนโลยี เพื่อใหเกิดความเทาเทียมดานการสื่อสาร

EN GO CO CU SU SH EM X

X

ผูจัดหาสินคาและบริการ ลำดับ

รายการกิจกรรมประจำป 2551

EN GO CO CU SU SH EM

20.

ริเริ่มแนวคิดการลดขนาดกรอบการผลิต SIM โดยขอความรวมมือ X ผูข ายสินคาและบริการในกลุม อุปกรณสนิ คาซือ้ มาขายไป (Merchandise) ประเภท SIM ใหปรับลดขนาดกรอบการผลิตเปนลักษณะ Half-Card SIM (ลดขนาดกรอบบรรจุซิมการดใหเหลือครึ่งหนึ่งของบัตรเครดิต) เพื่อชวยลดกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากการผลิตและสนับสนุน การลดภาวะโลกรอน

X

21.

จัดประชุมรวมกับ บริษัท Huawei และ บริษัท ZTE ผูขายสินคาและ X บริการในกลุมอุปกรณดานโทรคมนาคมที่เกี่ยวของกับยุค 3G เพื่อ หารือแนวทางในการใชอุปกรณโทรคมนาคมที่ชวยประหยัดพลังงาน และปลอดมลภาวะ

X

ผูถือหุนและนักลงทุน ลำดับ

รายการกิจกรรมประจำป 2551

22.

จัดประชุมนักลงทุนและโบรกเกอรในป 2551 โดยแยกจัดเปนกลุมๆ จำนวน 100 ครั้ง

X

23.

จัดประชุมกลุมโบรกเกอรรายยอย ประจำทุกไตรมาส ในป 2551

X

24.

จัด Road show เพื่อพบปะนักลงทุนที่ประเทศอังกฤษ/สหรัฐอเมริกา (กันยายน)

X

25.

เขารวมประชุม Asean Mini-Conference จัดโดย Citigroup ณ ประเทศอังกฤษ (กันยายน)

X

26.

เขารวมประชุม 4th Annual Thailand Focus จัดโดย CLSA รวมกับ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่กรุงเทพ (กันยายน)

X

2 - 76

EN GO CO CU SU SH EM

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 76

3/13/09 3:45:56 PM


พนักงาน ลำดับ

รายการกิจกรรมประจำป 2551

27.

รวมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำ จัด 2 หลักสูตรพิเศษเพื่อพัฒนา ความรู ความสามารถของพนักงานสูความเปนเลิศในการใหบริการ โดยรวมกับ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดหลักสูตร MBA - Service and Retail Management ภาคภาษาไทย ระยะเวลา 4 ป และรวมกับมหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ จัดหลักสูตร MBA ภาคภาษาอังกฤษ ระยะเวลา 4 ป เพื่อ เพิ่มศักยภาพของพนักงานในการใหบริการลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ

28.

พนักงานรวมบริจาคเครื่องอุปโภคบริโภค ชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติ น้ ำ ท ว มพร อ มจั ด กิ จ กรรมบำเพ็ ญ สาธารณประโยชน ใ ห ผู พิ ก ารและ ผูดอยโอกาสในสังคม

EN GO CO CU SU SH EM X

X

X

หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 1. บริ ษั ท มี ก ารเผยแพร ทั้ ง ข อ มู ล ทางการเงิ น และข อ มู ล ที่ มิ ใ ช ก ารเงิ น ตามข อ กำหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา โปรงใส ผานชองทางตางๆ ทั้ง ชองทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ website ของบริษัทดวย รวมทั้งเปดเผยขอมูล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อีกทั้งมีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันเปนระยะๆ นอกจากนี้ บริษัทได จัดทำขอมูลรายละเอียดอื่นๆ ที่คาดวาจะเปนที่สนใจของนักลงทุนและนักวิเคราะห เชน แผนภูมิสรุปผล การดำเนินงานดานตางๆ ที่สำคัญ ขอมูลงบการเงินยอนหลังเพื่อการเปรียบเทียบ ขาวประชาสัมพันธที่นา สนใจสำหรับนักลงทุน เปนตน โดยแสดงไวใน Website ของบริษัท เพื่อใหนักลงทุนและนักวิเคราะหเขาถึง ไดอยางเทาเทียมกัน 2. บริษัทไดรายงานนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่คณะกรรมการไดใหความเห็นชอบไวโดยสรุป และรายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายผานชองทางตางๆ เชน รายงานประจำป และ website ของบริษัท 3. บริษัทไดแสดงรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงินควบคูกับ รายงานของผูสอบบัญชีไวในรายงานประจำป 4. บริษั ท ไดมี ก ารเป ด เผยบทบาทและหน า ที่ ข องคณะกรรมการและคณะกรรมการชุ ด ย อ ย จำนวนครั้งของการประชุมและจำนวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุมคณะกรรมการในปที่ผานมา ตลอดจนความเห็นจากการทำหนาที่ของคณะกรรมการชุดยอยไว ในรายงานประจำปและหนังสือเชิญ ประชุมผูถือหุน ตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และ สำนักงาน ก.ล.ต. 5. บริษัทจ ายค าตอบแทนแกกรรมการ ในป 2551 ตามอั ตราซึ่ งที่ ประชุมสามั ญผู ถื อหุน ประจำป 2551 ไดมีมติอนุมัติไว โดยยังคงเปนอัตราเดิมตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2550 ไดเคยมีมติอนุมัติไว ซึ่งอัตราคาตอบแทนดังกลาวไมมีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแตป 2545 แลว โดยมี รายละเอียดดังนี้ กรรมการไดรับคาตอบแทนเปนรายเดือน โดยมีหลักเกณฑในการจายดังนี้ ประธานกรรมการ 300,000 บาทตอเดือน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 200,000 บาทตอเดือน รองประธานกรรมการ 150,000 บาทตอเดือน กรรมการ 100,000 บาทตอเดือน หากกรรมการทานใดเปนลูกจางของบริษัท ก็ใหคาตอบแทนกรรมการนี้เปนสวนเพิ่มเติมจาก คาจางปกติของลูกจางแตละทาน Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 77

2 - 77

3/13/09 3:45:56 PM


นอกจากนี้ กรรมการอิ ส ระที่ ท ำหน า ที่ เ ป น กรรมการในคณะกรรมการชุ ด ย อ ย ได รั บ คาตอบแทนดังนี้ กรรมการอิสระที่เปนประธานในคณะกรรมการชุดยอย 300,000 บาทตอเดือน กรรมการอิสระที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย 200,000 บาทตอเดือน สำหรับกรรมการอิสระที่มิไดเปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย และกรรมการทุกทานที่ มิใชกรรมการอิสระ ให ไดรับคาตอบแทนคงเดิม 6. ในป 2551 บริษัทจายคาตอบแทนผูบริหารระดับสูงสอดคลองกับนโยบายของบริษัทที่ให จายคาตอบแทนโดยสะทอนภาระหนาที่และความรับผิดชอบของผูบริหารระดับสูงแตละคน และเปนอัตราที่ เหมาะสมโดยศึกษาเทียบเคียงกับธุรกิจประเภทเดียวกัน 7. บริษัทไดเปดเผยขอมูลการจายผลตอบแทนกรรมการและผูบริหารระดับสูง โดยละเอียด ทั้งรูปแบบ ลักษณะ และ จำนวนเงินคาตอบแทน ไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 8. บริษัทมีหนวยงาน “ฝายลงทุนสัมพันธ” หรือ “Investor Relations” เพื่อสื่อสารกับบุคคล ภายนอกอยางเทาเทียมและเปนธรรม ทั้งนี้ ผูลงทุนสามารถติดตอฝายลงทุนสัมพันธไดที่หมายเลข โทรศัพท 0-2699-2515 หรือ e-mail address ir_office@truecorp.co.th สำหรับในป 2551 ฝาย ลงทุนสัมพันธไดจัดใหมีการประชุมนักวิเคราะหและนักลงทุน ภายหลังจากที่บริษัทประกาศผลประกอบการ ทุกไตรมาส ตลอดจนจัดใหมีการประชุมนักวิเคราะหผานทางโทรศัพท (Conference Call) ภายหลัง จากการประกาศเหตุการณที่สำคัญของกลุมบริษัท ทั้งนี้ เพื่อเปดโอกาสใหนักวิเคราะหและนักลงทุนได ซักถามขอมูลจากผูบริหารของบริษัทไดทันที นอกจากนี้ ไดจัด Roadshow เพื่อพบปะนักลงทุนในประเทศ และตางประเทศ รวมทั้งจัดใหมีการประชุมกับนักลงทุนกลุมยอยที่สนใจมาพบปะผูบริหาร เพื่อซักถาม ขอมูลของบริษัท

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสรางคณะกรรมการ 1.1 องคประกอบของคณะกรรมการ คือ กรรมการบริหาร (Executive Directors) 4 ทาน กรรมการที่มิใชผูบริหาร (Non-Executive Directors) 14 ทาน โดยมีกรรมการอิสระคิดเปน รอยละ 22 ของจำนวนกรรมการทั้งหมด บริษัทเปดเผยประวัติของกรรมการแตละทานไว ในรายงาน ประจำป และ แบบ 56-1 ตลอดจน website ของบริษัท ที่ www.truecorp.co.th 1.2 บริษัทมีการกำหนดวาระการดำรงตำแหนงของกรรมการไวอยางชัดเจน โดยระบุไว ใน นโยบายการกำกับดูแลกิจการ และ ขอบังคับของบริษัท ซึ่งเปนไปตามกฎหมาย 1.3 บริษัทกำหนดคุณสมบัติของ “กรรมการอิสระ” อยางละเอียด โดยเปดเผยไว ใน รายงานประจำป และ แบบ 56-1 โดย นายโชติ โภควนิช เปนกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ผูมีความรูดานบัญชีและการเงิน 1.4 บริษัทเปดเผยขอมูลการดำรงตำแหนงของกรรมการแตละคนใหผูถือหุนทราบโดย เปดเผยไว ใน แบบ 56-1 ซึ่งผูถือหุนสามารถดาวนโหลดขอมูลไดจาก website ของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ที่ www.set.or.th และ website ของบริษัทที่ www.truecorp.co.th 1.5 คณะกรรมการมีนโยบายและวิธีปฏิบัติในการไปดำรงตำแหนงกรรมการที่บริษัทอื่นของ ผูบริหารระดับสูงของบริษัทวาตองกระทำการโดยเปดเผยตอผูบังคับบัญชา 1.6 ประธานกรรมการของบริ ษั ท มิ ใ ช บุ ค คลเดี ย วกั บ กรรมการผู จั ด การใหญ และเป น Non-Executive Director อำนาจหนาที่ของประธานกรรมการนั้นเปนไปตามกฎหมาย สวนอำนาจหนาที่ ของกรรมการผูจัดการใหญนั้น คณะกรรมการบริษัทมีการกำหนดไวอยางชัดเจน 1.7 บริษั ท มี เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท ซึ่ง ทำหน า ที่ ใ หค ำแนะนำดา นกฏหมายและกฎเกณฑ ต า งๆ ที่ คณะกรรมการจะตองทราบและปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการรวมทั้งประสานงาน ใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ เลขานุการบริษัททำการประชุมหารือรวมกันกับเลขานุการบริษัทของบริษัทจดทะเบียน อื่นๆ เปนครั้งคราวเพื่อรวมกันหาแนวทางที่ดีที่สุดในการปฏิบัติหนาที่ 2 - 78

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 78

3/13/09 3:45:56 PM


2. คณะกรรมการชุดยอย 2.1 นอกจากคณะกรรมการตรวจสอบที่ตองจัดใหมีตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ แลว คณะกรรมการไดจัดใหมีคณะกรรมการชุดยอยอื่นเพื่อการกำกับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทำหน า ที่ พิ จ ารณาการกำหนดค า ตอบแทนของกรรมการและ CEO และ พิ จ ารณา กลั่นกรองการสรรหากรรมการ กอนนำเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการดานการเงิน ทำหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดานการเงิน คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ทำหนา ที่ ช ว ยคณะกรรมการบริ ษั ท ในการกำหนดและทบทวนนโยบายการกำกับ ดูแ ล กิจการของบริษัท ตลอดจนดูแลใหบริษัทมีการกำกับดูแลกิจการที่ดีและเหมาะสมกับ ธุรกิจของบริษัท ผูลงทุนทั่วไปสามารถดาวนโหลดขอมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอยของบริษัท เชน หนาที่ รายชื่อคณะกรรมการ ไดจาก website ของบริษัท ที่ www.truecorp.co.th นอกจากนี้ บริษัท ไดเปดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอยของบริษัท การเขารวมประชุม ตลอดจนรายงาน ของคณะกรรมการ ไวในรายงานประจำป 2.2 เพื่ อ ความโปร ง ใสและเป น อิ ส ระในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ และในขณะเดี ย วกั น เพื่ อ ให คณะกรรมการชุดยอยสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิผล สมาชิกสวนใหญของคณะกรรมการ ชุดยอย ประกอบไปดวย กรรมการอิสระ กรรมการตัวแทนจากเจาหนี้ และ กรรมการที่มิใชผูบริหาร 3. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการไดทำหนาที่พิจารณาและใหความเห็นชอบในเรื่องที่สำคัญเกี่ยวกับการ ดำเนินงานของบริษัท เชน วิสัยทัศนและภารกิจ กลยุทธ เปาหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงานและ งบประมาณ รวมทั้ ง กำกั บ ควบคุ ม ดู แ ลให ฝ า ยจั ด การดำเนิ น งานตามนโยบายและแผนที่ ก ำหนดไว อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ (ตระหนักถึงขีดความสามารถที่แทจริงของบริษัท) ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว โดยตั้งมั่น อยูบนพื้นฐานของความซื่อสัตยสุจริต และ ความรอบคอบระมัดระวัง 3.2 คณะกรรมการไดจัดใหมีนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทเปนลายลักษณอักษร และใหความเห็นชอบตอนโยบายดังกลาว คณะกรรมการจะทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกลาวเปนประจำอยางนอยปละ 1 ครั้ง 3.3 คณะกรรมการไดสงเสริมใหจัดทำจรรยาบรรณธุรกิจที่เปนลายลักษณอักษร เพื่อให กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนเขาใจถึงมาตรฐานดานจริยธรรมที่บริษัทใชในการดำเนินธุรกิจ อีก ทั้งไดมีการติดตามใหมีการปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณดังกลาวอยางจริงจัง 3.4 คณะกรรมการไดพิจารณาเรื่องความขัดแยงของผลประโยชนอยางรอบคอบ การ พิ จ ารณาการทำรายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ของผลประโยชน มี แ นวทางที่ ชั ด เจนและเป น ไปเพื่ อ ผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนโดยรวมเปนสำคัญ โดยที่ผูมีสวนไดเสียไมมีสวนรวมในการตัดสินใจ และคณะกรรมการไดกำกับดูแลใหมีการปฏิบัติตามขอกำหนดเกี่ยวกับขั้นตอนการดำเนินการและการเปดเผย ขอมูลของรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอยางถูกตองครบถวน 3.5 คณะกรรมการไดจัดใหมีระบบการควบคุมดานการดำเนินงาน ดานรายงานทางการเงิน และดานการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย คณะกรรมการไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบ เปนผูรับผิดชอบในการดูแลการตรวจสอบระบบการควบคุมดังกลาว และทำการทบทวนระบบอยางนอย ปละ 1 ครั้ง 3.6 บริษัทมีระบบการบริหารความเสี่ยงครอบคลุมทั้งองคกรทั้งในดานการดำเนินงานและ ดานการเงิน อีกทั้งมีระบบการตรวจสอบภายในแบบ Risk-based Audit Approach ในดานการดำเนินงาน นั้น บริษัทมีการแตงตั้งคณะอนุกรรมการบริหารที่เรียกวา BCP Steering Committee ทำหนาที่ Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 79

2 - 79

3/13/09 3:45:56 PM


กำกั บ ดู แ ลการบริ ห ารจั ด การแผนรองรั บ ความต อ เนื่ อ งของธุ ร กิ จ และมี ค ณะทำงานชื่ อ Crisis Management Team ทำหนาที่รับผิดชอบในการจัดการกับวิกฤตการณตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อชวยเหลือ และสนับสนุนการดำเนินงานที่สำคัญของบริษัท นอกจากนี้ ในดานความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทมีนโยบาย การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน เพื่อปองกันความเสี่ยงที่เกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศโดยนำวิธีการบริหารความเสี่ยงดังตอไปนี้มาใชจัดการ เชน การทำสัญญาซื้อขาย เงินตราตางประเทศลวงหนา การเจรจาตกลงเงื่อนไขการจายชำระหนี้ในสกุลเงินตราตางประเทศเปนแตละ รายการ และ การเจรจาตกลงกับเจาหนี้ตางประเทศ เพื่อแบงสรรภาระจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เปนตน 4. การประชุมคณะกรรมการ 4.1 บริษัทกำหนดการประชุมคณะกรรมการเปนการลวงหนา และแจงใหกรรมการแตละคน ทราบกำหนดการดังกลาว อยางไรก็ตาม ในกรณีจำเปนเรงดวน อาจมีการเรียกประชุมคณะกรรมการ เปนการเพิ่มเติมได 4.2 ในป 2551 บริษัทมีการประชุมคณะกรรมการ จำนวน 6 ครั้ง ซึ่งเหมาะสมกับภาระ หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการและการดำเนินธุรกิจของบริษัท 4.3 ประธานกรรมการ และ/หรือ รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ รวมกันพิจารณาการเลือกเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมคณะกรรมการ นอกจากนี้ กรรมการ แตละคนมีความเปนอิสระที่จะเสนอเรื่องเขาสูวาระการประชุม 4.4 บริษัทจัดสงเอกสารประกอบการประชุมใหแกกรรมการเปนการลวงหนา โดยเอกสารมี ลักษณะโดยยอแตใหสารสนเทศครบถวน สำหรับเรื่องที่ไมประสงคเปดเผยเปนลายลักษณอักษรก็ใหนำ เรื่องอภิปรายกันในที่ประชุม 4.5 ประธานกรรมการจัดสรรเวลาไวอยางเพียงพอที่ฝายจัดการจะเสนอเรื่องและมากพอที่ กรรมการจะอภิปรายปญหาสำคัญกันอยางรอบคอบโดยทั่วกัน 4.6 คณะกรรมการสามารถเขาถึงสารสนเทศที่จำเปนเพิ่มเติมไดจากกรรมการผูจัดการใหญ หรือเลขานุการบริษัท หรือผูบริหารอื่นที่ไดรับมอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายที่กำหนดไว 4.7 ผูบริหารระดั บสู งเขาประชุมคณะกรรมการเพื่ อชี้ แจงขอมู ลในฐานะผูเกี่ยวข องกั บ ปญหาโดยตรง 5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ 5.1 คณะกรรมการบริษัท ทำการประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองเปนรายป 6. คาตอบแทน 6.1 คาตอบแทนของกรรมการของบริษัทจัดไดวาอยูในลักษณะที่เปรียบเทียบไดกับระดับที่ ปฏิ บั ติ อ ยู ใ นอุ ต สาหกรรม ประสบการณ ภาระหน า ที่ ขอบเขตของบทบาทและความรั บ ผิ ด ชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึงประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากกรรมการแตละคน นอกจากนี้ กรรมการที่ ไดรับมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น เชน กรรมการอิสระที่เปน สมาชิกของคณะกรรมการชุดยอยก็ ไดรับคาตอบแทนเพิ่มที่เหมาะสมดวย บริษัทเปดเผยคาตอบแทนของกรรมการในป 2551 เปนรายบุคคลไวในรายงานประจำป และ แบบ 56-1 6.2 คาตอบแทนของกรรมการผูจัดการใหญและผูบริหารระดับสูงเปนไปตามหลักการและ นโยบายที่คณะกรรมการกำหนดภายในกรอบที่ ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน (สำหรับคาตอบแทน ประเภทที่ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน) และเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัท ระดับคาตอบแทน ที่เปนเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบัติงาน และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ก็มีความสอดคลองกับ ผลงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละคนดวย 6.3 คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนฯ เปนผูประเมินผลการปฏิบัติ งานของประธาน คณะผูบริหารเปนประจำทุกปเพื่อนำไปใช ในการพิจารณากำหนดคาตอบแทนของกรรมการผูจัดการใหญ โดยใชบรรทัดฐานที่ไดตกลงกันลวงหนากับกรรมการผูจัดการใหญตามเกณฑที่เปนรูปธรรม ซึ่งรวมถึง ผลการปฏิบัติงานทางการเงิน ผลงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามวัตถุประสงคเชิงกลยุทธในระยะยาว การ พั ฒ นาผู บ ริ ห าร ฯลฯ ผลประเมิ น ข า งต น ได เ สนอให ค ณะกรรมการพิ จ ารณาให ค วามเห็ น ชอบ และ

2 - 80

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 80

3/13/09 3:45:56 PM


กรรมการอาวุโสที่ ไดรับมอบหมายจากประธานกรรมการ เปนผูสื่อสาร ผลการพิจารณาใหกรรมการ ผูจัดการใหญทราบ 7. การพัฒนากรรมการและผูบริหาร 7.1 บริษัทสงเสริมและอำนวยความสะดวกใหมีการฝกอบรมและการใหความรูแกผูเกี่ยวของ ในระบบการกำกับดูแลกิจการของบริษัท เชน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบริหาร เลขานุการบริษัท เปนตน เพื่อใหมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง การฝกอบรมและใหความรูดังกลาว มีทั้งที่ กระทำเปนการภายในบริษัทและใชบริการของสถาบันภายนอก 7.2 ในป 2551 บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหมจำนวน 1 ทาน บริษัทไดดำเนินการ ตามนโยบายที่กำหนดไว สำหรับกรณีเมื่อมีกรรมการเขาใหม กลาวคือ ฝายจัดการไดจัดทำและนำสง เอกสารและขอมูลที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการใหม รวมถึงการจัดใหมีการแนะนำ ลักษณะธุรกิจและแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัทใหแกกรรมการใหม

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 81

2 - 81

3/13/09 3:45:56 PM


Dividend Policy

นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทยังไมเคยประกาศจายเงินปนผลนับตั้งแตเปดดำเนินกิจการ บริษัทสามารถจายเงินปนผลได จากผลกำไรภายหลังการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมด และภายหลังการตั้งสำรองตามกฎหมาย ผูถือหุนรายใหญมีขอตกลงที่จะใหมีการจายเงินปนผลในอัตรารอยละ 50 ของกำไรสุทธิจาก งบการเงินเฉพาะของบริษัทในแตละป ภายหลังการจัดสรรเปนสำรองตางๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทั้งเปนไปตามขอกำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ และสัญญาเงินกูตางๆ นอกจากนี้ บริษัทจะสามารถ จายเงินปนผลใหแกผูถือหุนสามัญได ภายหลังจากการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนบุริมสิทธิแลว สำหรับนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย คณะกรรมการของบริษัทยอยแตละแหง จะพิจารณาการจายเงินปนผลจากกระแสเงินสดคงเหลือเทียบกับงบลงทุนของบริษัทยอยนั้นๆ หากกระแส เงิ น สดคงเหลื อ ของบริ ษั ท ย อ ยมี เ พี ย งพอ และได ตั้ ง สำรองตามกฎหมายแล ว คณะกรรมการของ บริษัทยอยนั้นๆ จะพิจารณาจายเงินปนผลเปนกรณีไป

2 - 82

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 82

3/13/09 3:45:56 PM


Risk Factors ป จ จั ย ความเสี่ ย ง ถึงแม ในป 2552 กลุมบริษัททรูจะเล็งเห็นโอกาสการเติบโตในหลายๆ ดาน แตยังคงมีปจจัย ความเสี่ยงทั่วไปและปจจัยความเสี่ยงเฉพาะบางประการ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดำเนินการของ บริษัทและบริษัทในเครือ

ความเสี่ยงเกี่ยวกับการดำเนินงาน ความเสี่ยงจากปจจัยดานเศรษฐกิจมหภาค ในป 2551 ประเทศไทยไดรับผลกระทบจากปจจัยทางเศรษฐกิจและการเมือง อาทิ การชุมนุม ประทวง และการเขายึดสนามบินสุวรรณภูมิ ทำใหกำลังซื้อรวมทั้งความเชื่อมั่นของผูบริโภคลดลง นอกจากนั้นวิกฤติการเงินโลก ยังไดสงผลตอภาวะเศรษฐกิจในประเทศ โดยในไตรมาสที่ 4 ป 2551 เศรษฐกิจในประเทศไดชะลอตัวลง และ มีการคาดการณวา จะยังคงชะลอตัวตอเนื่องจนกระทั่งประมาณ กลางป 2552 ดังนั้นภาคอุตสาหกรรมตางๆ รวมทั้งบริษัทและบริษัทยอยอาจประสบปญหาในการสราง ความเติบโตดานรายได อยางไรก็ตาม ในป 2551 อุตสาหกรรมโทรคมนาคม ไดรับผลกระทบไมมาก จะเห็นไดจาก รายไดจากคาบริการของธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวม ยังคงเติบโตตอเนื่องจากป 2550 ทั้งนี้ เนื่องจากบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดกลายเปนสิ่งจำเปนในวิถีชีวิตของคนไทยในปจจุบัน ในขณะที่ บริการ ดานไลฟสไตล อื่นๆ เชน บริการอินเทอรเน็ตบรอดแบนดและ บรอดแบนดแบบไรสาย รวมทั้งบริการ โทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ยังมีอัตราเติบโตที่นาพอใจ บริษัทคาดวาบริการโทรคมนาคมโดยรวม นาจะยังคงเติบโตในป 2552 โดยยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซจะเปนกำลังสำคัญในการสรางความแตกตาง ใหกับกลุมบริษัททรู และจะชวยเพิ่มจำนวนลูกคารวมทั้งรายไดในสภาวะเศรษฐกิจที่กำลังชะลอตัว ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการแขงขันทางการตลาด บริษัท และ บริษัทยอย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทรูมูฟ ตลอดจนธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ธุรกิจ อินเทอรเน็ต และ บรอดแบนด จะตองเผชิญกับการแขงขันที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น เนื่องจากธุรกิจ โทรศัพทเคลื่อนที่เริ่มเขาใกลจุดอิ่มตัว ในขณะที่ผูใหบริการบรอดแบนด สามารถขยายบริการไดทั่วประเทศ ภายหลังการที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กทช.”) ไดเปดเสรี นอกจากนี้ ทรูวิชั่นส ซึ่งเปนธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกของกลุมบริษัท จะตองเผชิญกับการแขงขัน มากขึ้นเปนลำดับ อันเปนผลมาจากพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ. 2551 ซึ่ ง มี ผ ลบั ง คั บ ใช ใ นเดื อ นมี น าคม ป 2551 โดยอาจจะทำให มี ก ารออกใบอนุ ญ าตให ผูประกอบการรายใหม สำหรับผูประกอบการวิทยุกระจายเสียงชุมชนและกิจการที่ไมใชคลื่นความถี่ และ เปนใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชนชั่วคราวดังกลาวมีอายุไมเกิน 1 ป อยางไรก็ตามแมวาการ อนุญาตใหผูประกอบการรายใหมที่จะใหบริการทั่วไปทุกประเภทและทั่วประเทศ ยังไมสามารถทำได จนกวา จะมีการจัดตั้งผูกำกับดูแล คือ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศนแหงชาติ (“คณะ กรรมการ กสช.”) นอกจากนั้นพระราชบัญญัติดังกลาวไดอนุญาตใหผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับ เปนสมาชิก (ระบบเคเบิลและดาวเทียม) สามารถโฆษณาได ซึ่งรายไดจากคาโฆษณาอาจจะชวยเสริมสราง ความแข็งแกรงทางการเงินใหกับผู ใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกรายเล็กๆ และอาจทำใหมี ความสามารถในการแขงขันกับทรูวิชั่นสเพิ่มขึ้น ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยมีการแขงขันดานราคาอยางรุนแรงในป 2548 และป 2549 ซึ่งทำให รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน (ARPU) และอัตราการทำกำไรของผูประกอบการลดลง ทั้งนี้ ในป Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 83

2 - 83

3/13/09 3:45:56 PM


2548 รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายของ ทรูมูฟ ลดลงในอัตรารอยละ 10 (จาก 437 บาท ในปกอนหนา เปน 393 บาท) และในป 2549 รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายของทรูมูฟ ลดลงในอัตรารอยละ 26 (เปน 292 บาท) นอกจากนั้นอัตราการทำกำไรจากการดำเนินงานกอนดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัด จาย (EBITDA Margin) ในป 2549 ลดลงเปนรอยละ 21.4 (จากรอยละ 23.4 ในป 2548) โดยสวน ใหญเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของคาใชจายอันเกิดจากการขยายโครงขายเพื่อรองรับจำนวนลูกคาและปริมาณ การใชที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนหนึ่งมีสาเหตุมาจากการลดลงของราคา อยางไรก็ตามนับตั้งแตป 2550 การแขงขันเปนไปอยางสมเหตุสมผลมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากมี การนำระบบคาเชื่อมโยงโครงขายมาใชจริง ทำใหผปู ระกอบการมีภาระตนทุนในการเชื่อมโยงไปยังโครงขาย อื่น (ในอัตราโดยเฉลี่ย 1 บาทตอนาที) ซึ่งเปนเสมือนราคาขั้นต่ำของผูประกอบการ ดังนั้น ผูประกอบ การจึงไดปรับราคาขึ้นอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม การปรับราคาขึ้นมีผลใหปริมาณการใชลดลง และเปน สาเหตุสวนหนึ่งที่ทำใหรายไดตอเลขหมายยังคงลดลง ทั้งนี้รายไดตอเลขหมายของทรูมูฟลดลงในอัตรา รอยละ 35 (เปน 191 บาท) ในป 2550 นอกจากนั้น ในป 2551 ผูประกอบการรายเล็ก เชน Hutch ที่ ดำเนินการในนามของ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (“กสท”) สามารถเสนอโปรโมชั่นราคา ต่ำ เนื่องจากไมมีภาระคาเชื่อมโยงโครงขาย อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน กสท อยูในระหวางการเจรจากับ ผูประกอบการรายอื่น เพื่อการเขาสูระบบเชื่อมโยงโครงขาย ทั้งนี้ภายหลังการเจรจาแลวเสร็จ จะมีผลให Hutch เขาสูระบบเชื่อมโยงโครงขายดวย และทำใหการแขงขันดานราคาลดลง หากในอนาคต คณะกรรมการ กทช. อนุญาตใหผูประกอบการตางๆ เปดใหบริการใหมเพิ่มเติม เชน บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability) หรืออนุญาตใหมี ผูประกอบการรายใหมซึ่งอาจจะมีผลทำใหการแขงขันเพิ่มขึ้น ทั้งนี้คาดวาคณะกรรมการ กทช.จะอนุญาต ใหเปดบริการเพิ่มเติมแบบใหมนี้ ไดในป 2552 อยางไรก็ตามทรูมูฟอาจจะมีโอกาสในการเพิ่มลูกคารายเดือน ซึ่งมีรายไดเลขหมายตอเดือนสูงมากขึ้น เนื่องจากลูกคาสามารถเลือกใชบริการของผูประกอบการรายใดๆ ก็ ได โดยไมจำเปนตองเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ นอกจากที่กลาวแลว ทรูมูฟยังมีความเสี่ยงเพิ่ม ขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางผูถือหุนใหญในบริษัทคูแขงบางราย ซึ่งมีผลทำใหทรูมูฟตองแขงขัน กับผู ใหบริการจากตางประเทศ ซึ่งมีประสบการณจากการแขงขันในตลาดที่มีการแขงขันสูงกวา และมีเงิน ทุนมากกวา ในตลาดอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด กลุมบริษัททรูตองเผชิญกับทั้งคูแขงที่เปนบริษัทซึ่ง เพิ่งเริ่มประกอบการ ไปจนถึงบริษัทจากตางประเทศ บริษัทเหลานี้เพิ่งไดรับใบอนุญาตเปนผู ใหบริการ อินเทอรเน็ต จากคณะกรรมการ กทช. ในป 2548 นอกจากนั้น ณ ตนป 2549 คณะกรรมการ กทช. ไดออกใบอนุญาตสำหรับการประกอบกิจการโทรศัพทพื้นฐาน ใหแกบริษัท ทริปเปลที บรอดแบนด จำกัด ซึ่งทำใหบริษัทดังกลาวสามารถใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรวมทั้งบรอดแบนดไดครอบคลุมทั่วประเทศ รวมทั้งตอมาไดออกใบอนุญาตดังกลาวใหบริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวิรค จำกัด ซึ่งเปนบริษัท ยอยของ บริษัท แอดวานซ อินโฟรเซอรวิส (เอไอเอส) จำกัด (มหาชน) ทำใหการแขงขันมีแนวโนมเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากนั้นธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ยังคงมีการแขงขันทางออมที่รุนแรงจากบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมทั้งการแขงขันจากธุรกิจบริการเสียงผานการใหบริการอินเทอรเน็ต (VoIP) ซึ่งมีอัตราคาบริการที่ต่ำ กวาอัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐานแบบเดิม กลุมบริษัททรูคาดวาการแขงขันในธุรกิจตางๆ ที่กลุมบริษัททรูใหบริการ จะยังคงสูงขึ้นใน อนาคต แตเชื่อวา กลุมบริษัททรูมีความพรอมสำหรับการแขงขัน โดยมีขอไดเปรียบจากการที่สามารถให บริการที่ครบวงจร สนับสนุนดวย แบรนดที่แข็งแกรง ดังจะเห็นไดจากการที่ทรูมูฟสามารถครองสวนแบง ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ไดประมาณ 1 ใน 3 ของลูกคารายใหมทุกป นับตั้งแตป 2547 นอกจากนี้กลุม บริษัททรูยังสามารถรักษาตำแหนงผูนำในตลาดอินเทอรเน็ตและ บรอดแบนด โดยมีขอไดเปรียบคูแขงจาก การมีโครงขายโทรศัพทพื้นฐานที่ทันสมัยและเหมาะสมสำหรับการใหบริการอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด ทำใหสามารถใหบริการที่มีคุณภาพดีกวาคูแขง นอกจากที่กลาวแลว บริษัทยอย ไดยื่นขอรับใบอนุญาตใหมๆ เพื่อให ไดรับประโยชนจากการ ปฏิรูปการกำกับดูแล และเพื่อการแขงขันที่เทาเทียมกับผูประกอบการรายอื่น ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดจนความตองการของลูกคาก็ เปลี่ยนแปลงไปตามวิวัฒนาการในผลิตภัณฑและบริการใหมๆ นอกจากนั้นการเปลี่ยนแปลงดานกฎเกณฑ การกำกับดูแล ก็มีสวนทำใหมีการเปดตลาดและเทคโนโลยีใหมๆ คาดวาปจจัยตางๆ ดังกลาว จะยังคงมีผล 2 - 84

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 84

3/13/09 3:45:56 PM


ตอธุรกิจสื่อสารของประเทศไทยในอนาคต โดยเทคโนโลยี ใหมๆ ที่จะมีผลตอธุรกิจโทรคมนาคมของ ประเทศไทยในอนาคตอันใกลนี้ประกอบดวย โทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G อินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบ ไรสาย (WiMAX) และบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability) ซึ่งอาจ จะมีผลทำใหกลุมบริษัททรูมีคาใชจายในการลงทุนสูงขึ้นเปนอยางมาก และหากกลุมบริษัททรูไมลงทุนใน เทคโนโลยีใหม อาจจะมีผลทำใหขีดความสามารถในการแขงขันลดลง อยางไรก็ตาม กลุมบริษัททรูคาดวา ความสามารถในการใหบริการที่หลากหลายสนองตาม ความตองการของลูกคาไดอยางครบวงจร จะทำใหสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไดดีกวา การนำเสนอ ‘บริการเพียงบริการเดียว’ โดยจะสามารถรักษารายไดและลูกคาใหอยูในกลุมบริษัทไดดีกวา รวมทั้งสามารถรักษาความสัมพันธกับลูกคา ไมวาจะเปนลูกคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บรอดแบนด หรือ โทรศัพทพื้นฐาน นอกเหนือจากนั้น หากผูประกอบการตางๆ ไดรับอนุญาตใหเปดใหบริการใหมๆ เหลานี้ ในเวลาเดียวกัน ทำใหบริษัทสามารถแขงขันบนพื้นฐานของความเทาเทียมกัน ความเสี่ยงเฉพาะของธุรกิจของทรูวิชั่นส ความเสี่ยงหลัก ไดแก การตองพึ่งพาผูจัดหารายการเพื่อซื้อรายการจากตางประเทศ และ ความเสี่ยงจากการถูกลักลอบใชสัญญาณ หากทรูวิชั่นส ไมสามารถจัดหารายการที่เปนที่สนใจของสมาชิก หรือหากตนทุนของการจัดหา รายการเพิ่มสูงขึ้นในอนาคตก็จะมีผลกระทบตอผลประกอบการของทรูวิชั่นส ปจจุบันลูกคาที่สนใจใน รายการจากตางประเทศ สวนใหญเปนลูกคาที่สมัครแพ็คเกจพรีเมียม ประกอบดวย Platinum, Gold และ Silver ซึ่งในป 2551 มีจำนวนรวม 799,837 ราย คิดเปนอัตรารอยละ 54 ของลูกคาของทรูวิชั่นส นอกจากนั้นตนทุนรายการตางประเทศ รวมในป 2551 คิดเปนอัตรารอยละ 21.4 ของรายไดจากคา บริการของทรูวิชั่นส การลักลอบใชสัญญาณเปนเรื่องที่ปองกันไดยาก และมีผลลบตอผลการดำเนินงาน กระแส เงินสดและการจัดหา รายการของทรูวิชั่นส โดยในปจจุบัน คาดวามีผูลักลอบใชสัญญาณ สัดสวน ประมาณ หนึ่งในสาม ของผู ใชบริการรวมทั้งประเทศ อยางไรก็ตามบริษัทคาดวาพระราชบัญญัติการ ประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนฉบับปจจุบัน ซึ่งมีบทบัญญัติที่ครอบคลุมการลักลอบใช สัญญาณที่ชัดเจนพรอมบท ลงโทษ จะมีสวนทำใหการลักลอบใชสัญญาณลดนอยลงในอนาคต

ความเสี่ยงดานการกำกับดูแล ธุรกิจสื่อสารของประเทศไทยอยู ในระหวางการเปลี่ยนแปลง ดานการกำกับดูแล กอใหเกิด ความเสี่ยงตอผูประกอบการ ตามข อ ตกลงที่ ป ระเทศไทยได ใ ห ไ ว กั บ องค ก รการค า โลกหรื อ WTO เพื่ อ เป ด เสรี ธุ ร กิ จ โทรคมนาคมไทยภายในป 2549 รัฐบาลไทยไดเริ่มดำเนินการปฏิรูปการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม โดย การออกพระราชบัญญัติหลัก 2 ฉบับ อันไดแก พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับ กิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งประกาศใชในเดือน มีนาคม ป 2543 และ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2544 ซึ่งประกาศใช ในเดือน พฤศจิกายน 2544 ในเดือน ตุลาคม 2547 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือคณะกรรมการ กทช. ไดถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนองคกรอิสระในการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม ซึ่งเดิมเปนอำนาจหนาที่ของ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ปจจุบันไดแปลงสภาพเปน บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) หรือ ทีโอที) และ การสื่อสารแหงประเทศไทย (ปจจุบันไดแปลงสภาพเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ กสท) และ บริษัท ไปรษณียไทย จำกัด นับตั้งแตไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กทช. จนกระทั่งถึงปจจุบัน คณะกรรมการ กทช. ได ออกประกาศ กฎเกณฑ ขอบังคับที่สำคัญๆ หลายฉบับ รวมทั้งมีแผนที่จะออกประกาศใหมๆ ในป 2552 อีกหลายฉบับ ซึ่งรวมถึงการประมูลโครงการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ 3G ประกาศตางๆ เหลานี้ อาจมี ผลกระทบตอการดำเนินธุรกิจของ กลุมบริษัททรูในอนาคต นอกเหนือจากนั้น รัฐธรรมนูญฉบับใหม ซึ่ง ประกาศใชเมื่อเดือนสิงหาคม 2550 มาตรา 47 ไดกำหนดใหมี องคกรอิสระ เพียงองคกรเดียว จัดตั้ง ขึ้น เพื่อสนับสนุนการแขงขันเสรี และกำหนดใหกำกับดูแล กิจการโทรคมนาคม รวมทั้งกิจการวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ซึ่งบริษทั ไมสามารถคาดการณไดวาคณะกรรมการดังกลาว ตอไปจะเรียกวา Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 85

2 - 85

3/13/09 3:45:56 PM


คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสทช.”) จะมีแนวทางในการกำกับดูแลอยางไร อยางไรก็ตามจนกระทั่งถึงตนป 2552 นี้ คณะกรรมการ กสทช. ก็ยังไมไดรับการจัดตั้งตามขอกำหนดของรัฐธรรมนูญดังกลาว ความลาชาในการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ดังกลาว อาจมีผลใหมีความไมชัดเจนและมีความ ลาชา ในการออกใบอนุญาตบริการใหมๆ ที่เกี่ยวกับการจัดสรรคลื่นความถี่ ได เชน บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ 3G หรือ WiMAX เปนตน แมพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน พ.ศ. 2551 ไดกำหนดใหคณะกรรมการ กทช. ปจจุบันมีอำนาจในการกำกับดูแล และออกใบ อนุญาต (อายุไมเกิน 1 ป) สำหรับบริการวิทยุชุมชน และบริการอื่นที่ไมตองใชคลื่นความถี่ ไปกอนชั่วคราว ในชวงระยะเวลา ที่การจัดตั้งคณะกรรมการ กสช. ยังไมแลวเสร็จ ซึ่งความลาชาในการจัดตั้งคณะ กรรมการ กสช. ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงฯ หรือ คณะกรรมการ กสทช. ตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน อาจจะทำใหมีผลกระทบตอโอกาสในการทำธุรกิจของกลุมบริษัททรูได ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง คาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ชั่วคราว ไดกำหนดใหผูใหบริการรายใหมที่ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. มีโครงสรางอัตรา คาธรรมเนียมอยู ในระดับที่ต่ำกวา ผู ใหบริการรายเดิม เชน กลุมบริษัททรู ซึ่งประกอบกิจการภายใต สัญญาเดิม รวมกับ ทีโอที หรือ กสท นอกจากนั้น ผูใหบริการรายเดิมยังคงมีขอโตแยงกับทีโอที หรือ กสท ในเรื่องที่ขอกฎหมายใหมขัดกับขอสัญญาเดิม จึงทำใหผูประกอบการรายเกาเสียเปรียบผูใหบริการ รายใหม อันเปนปญหาที่ผูเกี่ยวของตองแก ไขปรับปรุงทั้งในแง ใบอนุญาต ขอกฎหมายและขอสัญญา ให สอดคลองกับหลักสากลในการแขงขันเสรีตอไป อยางไรก็ตามกลุมบริษัททรูไมสามารถคาดการณไดวา ปญหาดังกลาวจะมีผลที่สุดในทางใด ในเดือนกุมภาพันธ ป 2552 มีขาวปรากฏในหนาหนังสือพิมพ บางฉบับ โดยในขาวดังกลาว ผูอำนวยการสถาบันคุมครองผูบริโภคในกิจการโทรคมนาคม และอนุกรรมการรับเรื่องรองเรียนและ บริการประชาชนบางทาน ซึ่งเปนหนวยงานภายใตคณะกรรมการ กทช. ไดกลาววา การวางตลาดและจัด จำหนายเครื่องโทรศัพท iPhone 3G ของทรูมูฟนั้นไมดำเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย และเอาเปรียบ ผู ใชบริการ รวมทั้งเงื่อนไขการตลาดขัดตอประกาศ กทช. เรื่อง มาตรฐานของสัญญาใหบริการ โทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ทำใหมีผลตอภาพพจนของบริษัทและทำใหผูใชบริการสับสน ซึ่งตอมาทรูมูฟได ยื่นหนังสือตอ คณะกรรมการ กทช. เพื่อขอใหตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของผูอำนวยการ สถาบัน คุ ม ครองผู บ ริ โ ภคในกิ จ การโทรคมนาคม และอนุ ก รรมการรั บ เรื่ อ งร อ งเรี ย นบางท า นว า มี สิ ท ธิ และอำนาจหนาที่ในการแสดงความคิดเห็นดังกลาวหรือไม และเรียกรองใหปฏิบัติตอทรูมูฟอยางเปนธรรม เนื่องจาก ทรูมูฟ ไดรับการแตงตั้งจากบริษัท Apple ใหเปนตัวแทนจัดจำหนายเครื่อง iPhone ใน ประเทศไทยอยางเปนทางการ โดยบริษัทสนับสนุนใหมีการซื้อเครื่อง iPhone ที่มีการนำเขาอยางถูก กฎหมาย รวมทั้งไมไดเอาเปรียบผูบริโภคแตอยางใด โดยผูบริโภคสามารถซื้อเครื่อง iPhone เปลาเพื่อนำ ไปใชกับบริการของผูประกอบการรายอื่นได และการกำหนดอัตราคาเครื่องและคาบริการที่แตกตางกัน เปนไปตามความสามารถในการใชงานของเครื่องที่ตางกัน และเปนเรื่องปกติในการทำการตลาดหรือสง เสริมการขาย ซึ่งปจจุบันบริษัทยังไมไดรับการติดตอจาก คณะกรรมการ กทช. นอกเหนือจากที่กลาวแลว ทรูมูฟ อาจมีความเสี่ยงจากการที่สัญญาใหอนุญาตฯ อาจถูกแก ไข หรือยกเลิกได โดยในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติการยื่นขอความเห็นตอสำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อใหพิจารณาประเด็นขอกฎหมายที่เกี่ยวกับการทำสัญญาระหวางภาครัฐและ ภาคเอกชน วาไดเปนไปตามขั้นตอนที่กำหนดในพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงาน หรือ ดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 หรือไม โดยในวันที่ 18 พฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีความเห็นวาการดำเนินการของ กสท มิไดดำเนินการหรือปฏิบัติตามตาม พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ แตสัญญาที่ทำขึ้นยังคงมี ผลผูกพันตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือเหตุอื่น ดังนั้น กสท และทรูมูฟ ยังตองมีภาระหนาที่ในการปฏิบัติตามสัญญาที่ไดกระทำไวแลว อย า งไรก็ ดี ส ำนั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก ามี ค วามเห็ น เพิ่ ม เติ ม ว า ให ห น ว ยงานเจ า ของ โครงการรวมทั้งคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 แหง พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ ดำเนินการเจรจากับภาคเอกชน เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอไป ทั้งนี้คณะรัฐมนตรีเปนผูมี อำนาจในการตัดสินชี้ขาด ตาม พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ ในการเพิกถอนหรือใหความเห็นชอบ การแก ไขสัญญาเพิ่มเติมที่จัดทำขึ้น โดยคณะรัฐมนตรีอาจใชดุลยพินิจพิจารณาใหมีการดำเนินการตาม สัญญาใหอนุญาตไดตามความเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบเหตุผลความจำเปนเพื่อประโยชนของรัฐ หรือประโยชนสาธารณะ และความตอเนื่องของการใหบริการสาธารณะ ดังนั้นในปจจุบันจึงยังไมสามารถ 2 - 86

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 86

3/13/09 3:45:56 PM


คาดการณไดวาคณะรัฐมนตรีจะมีมติไปในแนวทางใด ซึ่งมีความเสี่ยงวาคณะรัฐมนตรีอาจมีมติใหเพิกถอน สัญญาหรือยกเลิกการแก ไขสัญญา เนื่องจากไมเปนไปตาม พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ อยางไรก็ตามความเห็นของกฤษฎีกา และมติคณะรัฐมนตรี ผูกพันเฉพาะหนวยงานของรัฐและ ไมมีผลผูกพัน ทรูมูฟ เวนแตทรูมูฟประสงคจะเขารับประโยชนผูกพันตนเอง นอกจากนั้นทรูมูฟเห็นวาการ เจรจากับภาครัฐ ตองขึ้นอยูกับความตกลงรวมกันของคูสัญญา และหากไมสามารถตกลงกันได คำพิพาก ษาของศาลถือเปนที่สุด จึงจะเปนเหตุใหทรูมูฟไมสามารถประกอบกิจการโทรคมนาคมตอไปได หรืออาจ ทำให ทรูมูฟอาจจะมีภาระคาใชจายใหแกภาครัฐเพิ่มขึ้น ในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติใหมีการลดอัตราภาษีสรรพสามิตที่จัดเก็บจาก บริการโทรคมนาคมเปนรอยละ 0 (จากเดิมรอยละ 2.2 สำหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน และรอยละ 11 สำหรับกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมภาษีเทศบาล) และไดมีมติยกเลิกมติของคณะรัฐมนตรีชุดกอนในป พ.ศ. 2546 เฉพาะประเด็นที่ให คูสัญญาภาคเอกชนนำคาภาษีสรรพสามิตไปหักออกจากสวนแบงรายไดที่ คูสัญญาภาคเอกชนตองนำสงใหคูสัญญา ภาครัฐ อยางไรก็ตามการลดอัตราภาษีสรรพสามิตดังกลาว ทำใหผูประกอบการมีตนทุนไมเปลี่ยนแปลง ในขณะที่ ทีโอที และ กสท ซึ่งมีกระทรวงการคลังถือหุนแต ผูเดียว จะไดรับประโยชน คือ มีรายรับเพิ่มขึ้นจากการที่ ไดรับคาสวนแบงรายไดอยางเต็มที่ โดยยังมี ขอพิพาทระหวางภาคเอกชนและคูสัญญาภาครัฐในประเด็นนี้ ซึ่งเปนประเด็นเกี่ยวกับการชำระสวนแบง รายได ไมครบ ที่ กสท มีหนังสือเรียกใหทรูมูฟชำระเรื่อยมาจนปจจุบัน ในเดือนมกราคม 2551 กสท. ได ยื่นคำเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกคาเสียหายจากทรูมูฟ เพียงวันฟองเปนจำนวนเงิน ประมาณ 9.0 พันลานบาท ซึ่งในขณะนี้ เรื่องดังกลาว รวมถึงจำนวนเงินคาเสียหายที่แนนอนเกี่ยวกับ กรณีการชำระสวนแบงรายได ไมครบ กสท มีหนาที่ตองพิสูจนนั้น ยังอยูในระหวางการพิจารณาของ อนุญาโตตุลาการ กลุมบริษัททรูจะยังคงนโยบายเชิงรุกในการเจรจากับคณะกรรมการ กทช. และกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนใหกระบวนการปฏิรูปธุรกิจโทรคมนาคม กอใหเกิดการ แขงขันอยางเสรีและเปนธรรมอยางแทจริง ทรูมูฟ มีความเสี่ยงที่เกิดจาก ทีโอที ฟองรองเรียกใหชำระคาเชื่อมตอโครงขาย แบบเดิม (Access Charge) ใหแก ทีโอที ซึ่งอาจจะทำใหบริษัทมีคาใชจายเพิ่มขึ้นในอนาคต ทรูมูฟ ดำเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตสัญญาใหดำเนินการ กสท ตกลงให ทรูมูฟ ดำเนินการใหบริการวิทยุคมนาคม นอกจากนั้นทรูมูฟไดลงนามในขอตกลงเรื่องการเชื่อมตอโครงขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ (Access Charge Agreement) กับ กสท และ ทีโอที ซึ่งทำให ทรูมูฟจะตองจาย คาเชื่อมตอโครงขายใหแก ทีโอที ในอัตรา 200 บาทตอเดือนตอลูกคาหนึ่งราย และครึ่งหนึ่งของสวนแบง รายไดที่ กสท ไดรับจากทรูมูฟ สำหรับลูกคาแบบเหมาจายรายเดือน (Post Pay) และในอัตรารอยละ 18 ของรายไดสำหรับลูกคาแบบเติมเงิน (Pre Pay) นอกเหนือจากที่ทรูมูฟตองจายคาสวนแบงรายไดให กสท ในอัตรารอยละ 25 หรือ 30 (ตามแตชวงเวลาที่กำหนดไวในสัญญาใหดำเนินการ) จากรายไดสุทธิภายหลัง จากหักคาเชื่อมโยงโครงขาย ในเดือนพฤษภาคม 2549 กทช. ไดออกประกาศ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขาย โทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Regulation) ซึ่งระบุใหผูประกอบการโทรคมนาคมที่มีโครง ขายของตนเองตองอนุญาตให ผูประกอบการรายอื่นสามารถเขาเชื่อมตอและใชโครงขายของตนเองได โดยกำหนดใหดำเนินการตามรายละเอียดวิธีการที่ไดระบุไวในประกาศดังกลาว โดยประกาศ กทช. ฉบับนี้ ได กำหนดระบบการจายคาเชื่อมตอโครงขายรูปแบบใหม ที่สะทอนปริมาณการใชงานระหวางโครงขายของ ผูประกอบการแตละราย และไดกำหนดใหผูประกอบการเจรจาเพื่อการเขาสูขอตกลงการเชื่อมตอโครงขาย ระหวางกัน โดยคาเชื่อมตอโครงขายตองอยูบนพื้นฐานของตนทุนของผูประกอบการแตละราย ซึ่งตอมา ในวั น ที่ 17 พฤศจิ ก ายน 2549 ทรู มู ฟ ได ร ว มลงนาม ในสั ญ ญาเชื่ อ มต อ โครงข า ยโทรคมนาคม (Interconnection Contract) กับ บมจ. โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) โดยสัญญาดังกลาวมี ผลบั ง คั บ ใช ทั น ที และในวั น ที่ 16 มกราคม 2550 ทรู มู ฟ ก็ ไ ด ล งนามในสั ญ ญาเชื่ อ มต อ โครงข า ย โทรคมนาคมกับ บมจ. แอดวานซ อินโฟรเซอรวิส (เอไอเอส) ภายหลัง การลงนามกับ ดีแ ทค ทรู มูฟ ไดห ยุด จ ายค าเชื่ อ มตอ โครงขายในแบบเดิ ม (Access Charge) ตามขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Access Charge Agreement) กับ กสท และ ทีโอที เนื่องจากทรูมูฟเชื่อวาเปนการปฏิบัติตามกฎหมาย และตองเขาสูระบบเชื่อมตอโครง ขายแบบใหมตามประกาศของ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 อีกทั้ง ยังไดมีการบอกเลิกขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยงโครงขาย (Access Charge Agreement) แลว ทรูมูฟจึง ไมมีภาระตามกฎหมายใดๆ ที่จะตองจายคาเชื่อมตอโครงขายแบบเดิมอีกตอไป Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 87

2 - 87

3/13/09 3:45:56 PM


ในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ทรูมูฟไดสงหนังสือแจงทีโอที และกสท วาจะหยุดชำระคา Access Charge เนื่องจากอัตราและการเรียกเก็บ ขัดแยงกับกฎหมายหลายประการ ทั้งนี้ ทรูมูฟได รองขอให ทีโอที ปฏิบัติตามหลักเกณฑของ กทช. และเขารวมลงนามในสัญญาเชื่อมตอโครงขาย โทรคมนาคม (Interconnection Contract) เพื่อใหเปนไปตามกฎหมายหรือใหเรียกเก็บอัตราเรียกเก็บ ชั่วคราวที่ประกาศโดยคณะกรรมการ กทช. ในขณะที่การเจรจากับ ทีโอที เกี่ยวกับสัญญาดังกลาว ยังไม ไดขอสรุป ซึ่งตอมาในวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ทีโอที ไดสงหนังสือเพื่อแจงวาทรูมูฟไมมีสิทธิที่ จะใชหรือเชื่อมตอโครงขายตามกฎหมายใหม เนื่องจากทรูมูฟไมไดรับอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม จาก กทช. และไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง นอกจากนั้น ทีโอที ไดโตแยงวาขอตกลงเรื่อง การเชื่อมโยงโครงขาย (Access Charge Agreement) ไมไดฝาฝนกฎหมายใดๆ ดังนั้นการเรียกเก็บคา เชื่อมตอโครงขายแบบเดิมยังมีผลใชบังคับตอไป นอกจากนั้น ทีโอที ไดประกาศวาจะไมเชื่อมตอสัญญาณใหกับลูกคาที่เปนเลขหมายใหมที่ทรูมูฟเพิ่ง ไดรับการจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. จำนวน 1.5 ลานเลขหมาย ซึ่งอาจจะมีผลทำใหลูกคาของ ทีโอที ไมสามารถติดตอลูกคาของทรูมูฟที่เปนเลขหมายใหมนี้ อยางไรก็ตาม ทรูมูฟไดยื่นตอศาลปกครอง กลางเพื่อขอความคุมครอง ซึ่งศาลไดมีคำสั่งกำหนดมาตรการบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนการพิพากษา เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2550 โดยใหทีโอที ดำเนินการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมเพื่อใหผู ใชบริการ ของทรูมูฟทุกเลขหมายสามารถติดตอกับเลขหมายของทีโอทีได และเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2550 ทีโอที ไดยื่นอุทธรณคำสั่ง ดังกลาวตอศาลปกครองสูงสุด และตอมาเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2550 ศาล ปกครองสูงสุดมีคำสั่งยืนตามคำสั่งกำหนดมาตรการบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนพิพากษาของศาลปกครอง กลาง นอกจากนั้น เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2552 ศาลปกครองกลางไดมีคำพิพากษาใหทีโอที ดำเนินการ เชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม เพื่อใหเลขหมายดังกลาวใชงานไดอยางสมบูรณ และให ทีโอที ชำระคา สินไหมทดแทนใหแก ทรูมูฟ จำนวน 1,000,000 บาท นับแตวันที่คดีถึงที่สุด โดยขณะที่เขียนรายงานฉบับ นี้ยังอยูในระหวางที่คูความมีสิทธิ์ยื่นอุทธรณคำพิพากษาของศาลปกครองกลางไดภายในวันที่ 26 มีนาคม 2552 คำพิพากษาดังกลาวจึงยังไมถึงที่สุด อยางไรก็ตาม ทีโอทีไดดำเนินการเชื่อมตอโครงขายใหแกผูใช บริการของทรูมูฟสำหรับเลขหมายใหมทั้งหมดแลว นับตั้งแตวันที่ 2 มีนาคม 2550 เปนตนมา ในเดือน มิถุนายน ป 2550 ทรูมูฟ ไดยื่นเรื่องเกี่ยวกับการที่ ทีโอที ปฏิเสธการเขาทำสัญญา เชื่อมตอโครงขายกับ ทรูมูฟ ตอ กทช. โดยมีคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท (กวพ.) เปนผูพิจารณา โดยในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 กทช. ได ชี้ขาดให ทรูมูฟ มีสิทธิ หนาที่และความรับผิดชอบในการ เชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมเชนเดียวกับผู ไดรับใบอนุญาต และไดมีมติเปนเอกฉันทชี้ขาดขอพิพาทให ทีโอทีเขารวมเจรจาเพื่อทำสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับ ทรูมูฟ ตอมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 ทีโอที ไดตกลงที่จะเขาเจรจาทำสัญญาเชื่อมตอโครงขายกับทรูมูฟ แตมีเงื่อนไขวาจะทำสัญญา เฉพาะเลขหมายใหมที่ไดรับจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เทานั้น ซึ่งทรูมูฟไดตกลงตามที่เสนอ และ ปจจุบันอยูในระหวางการเจรจากับ ทีโอที ในรายละเอียดของสัญญา แตสำหรับเลขหมายเกานั้น ทรูมูฟยัง คงดำเนินการใหเปนเรื่องของขอพิพาทและอยูในดุลยพินิจของกระบวนการศาลตอไป ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอที ไดฟองรองตอศาลแพงเพื่อขอเรียกเก็บคา เชื่อมโยงโครงขายที่ ทรูมูฟ ไมไดจาย จำนวนประมาณ 4,508 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย และภาษี ซึ่ง ปจจุบันยังมีประเด็นวาคดีอยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรมหรือศาลปกครอง ซึ่งหากศาลที่ เกี่ยวของเห็นตรงกันหรือคณะกรรมการวินิจฉัยชีข้ าดอำนาจหนาที่ระหวางศาล ไดชขี้ าดในเรื่องเขตอำนาจ ศาลตามแตกรณีแลว ทีโอที นาจะดำเนินคดีดังกลาวตามกระบวนการพิจารณาของศาลนั้นๆ ตอไป และ หากผลการตัดสินของศาลเปนที่สุดในทางลบตอกลุมทรู อาจจะทำใหทรูมูฟตองจายเงินคาปรับจำนวนหนึ่ง เทาของคาเชื่อมโยงโครงขาย ที่ กสท อาจจะจายแทน ทรูมูฟพรอมทั้งดอกเบี้ย และทรูมูฟอาจจะตองจาย คาเชื่อมตอโครงขายทั้งในระบบเดิมและระบบใหม ซึ่งจะทำใหคาใชจายของทรูมูฟเพิ่มขึ้นอยางมาก ทั้งนี้ หากศาลมีคำสั่งใหทรูมูฟตองชำระคาเชื่อมโยงโครงขายที่ ไม ไดจาย ทรูมูฟอาจจะตองบันทึกคาใชจาย เพิ่มเติมจำนวน 455.6 ลานบาท (หรือจำนวน 204.3 ลานบาท สุทธิจากสวนแบงรายไดที่จายใหแก กสท) สำหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2549 จำนวน 4,271.7 ลานบาท (หรือจำนวน 3,284.0 ลานบาท สุทธิจากสวนแบงรายไดที่จายให กสท) สำหรับระยะเวลาตั้งแต วันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และอีกจำนวน 4,416.8 ลานบาท (หรือจำนวน 3,339.1 ลานบาท สุทธิจากสวนแบงรายไดที่จายให กสท) สำหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทั้งนี้ ไมรวมคาปรับ (ดูรายละเอียดที่ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 42.2 สำหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทประจำงวดป สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2551) 2 - 88

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 88

3/13/09 3:45:56 PM


กลุมบริษัททรูตองแขงขันกับคูสัญญารวมการงานฯ ซึ่งอาจนำไปสูขอพิพาทตางๆ ที่อาจ สงผลกระทบตอการดำเนินธุรกิจของกลุมบริษัททรู บริษัทและบริษัทยอย ในสวนบริษัทที่ดำเนินกิจการภายใตสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ ภายใตสัญญาใหดำเนินการ กับทีโอที และ/หรือ กสท แลวแตกรณี โดยความเห็นที่แตกตางกันของ กลุมบริษัททรู กับ ทีโอที และ กสท. ทั้งในประเด็น การตีความ ขอกฎหมายและขอสัญญารวมการงานฯ และ/หรือการไดรับการอนุญาต รวมทั้งประกาศ กฎเกณฑ และ ขอบังคับ ตางๆ โดยคณะกรรมการ กทช. อาจมีผลตอความสามารถในการดำเนินธุรกิจของกลุม บริษัททรู บริษัทและบริษัทยอย และมีความเสี่ยงที่สัญญารวมการงานฯ อาจถูกยกเลิก โดยในกรณีของ สัญญารวมการงานฯ สำหรับบริการโทรศัพทพื้นฐาน ทีโอที ตองนำเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เปนผูชี้ขาดกอนดำเนินการยกเลิกสัญญา ซึ่งทีโอทีจะยกเลิกสัญญารวมการงานฯ ไดเฉพาะในกรณีที่ บริษัททำผิดกฎหมายอันเกี่ยวกับการปองกันภัยพิบัติสาธารณะหรือความมั่นคงของรัฐ หรือ บริษัทถูก ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย หรือบริษัทจงใจผิดสัญญาสัมปทานในสาระสำคัญอยาง ตอเนื่องเทานั้น นอกจากนั้นทีโอทีเปนผูจัดเก็บรายไดจากลูกคาในโครงขายของบริษัททั้งหมด และหักสวนหนึ่ง ของรายได ไวเปนสวนแบงรายได ดังนั้นทีโอทีอาจชะลอการชำระเงินสวนตามสิทธิของบริษัท หรืออาจหัก ไวจำนวนหนึ่งเพื่อเปนการชำระคาใชจายใดๆ ที่ ทีโอที เชื่อวาบริษัทติดคาง (แตจนถึงขณะนี้ก็ยังไมมีกรณี ดังกลาวเกิดขึ้น) ในขณะที่ทีโอทีและ กสท เปนคูสัญญารวมการงานฯ กับบริษัท และทรูมูฟ ทั้งสององคกรยัง เปนคูแขงในการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัททรูอีกดวย ดวยเหตุนี้ จึงอาจกอใหเกิดขอพิพาทระหวาง บริษัทและทีโอทีหรือ ทรูมูฟและ กสท ได ซึ่งที่ผานมาไดมีการยื่นคำฟองหรือคำเสนอขอพิพาทเรื่องความ ขัดแยงบางกรณีที่เกิดขึ้นตอศาลปกครองหรือคณะอนุญาโตตุลาการเปน ผูตัดสิน กลุมบริษัททรูไม สามารถรับรองไดวาจะสามารถชนะขอพิพาททั้งหลายเหลานั้น ธุรกิจรวมถึงเงื่อนไขทางการเงินของกลุม บริษัททรูอาจจะไดรับผลกระทบ โดยในชวงที่ผานมากระบวนการยุติธรรมก็ ไดมีคำตัดสินขอพิพาทตางๆ ทั้งในทางที่เปนประโยชนและไมเปนประโยชนตอ กลุมบริษัททรู ดูรายละเอียดที่หมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 41 เรื่อง “คดีฟองรองและขอพิพาทยื่น ตออนุญาโตตุลาการและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น” สำหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท งวด สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2551

ความเสี่ยงทางดานการเงิน เงินตางๆ

ความเสี่ยงจากการมีหนี้สินในระดับสูง และอาจมีขอจำกัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการ

บริษัทและบริษัทยอยมีระดับหนี้สินสูง จึงอาจมีความเสี่ยงจากการที่ไมสามารถจัดหาเงินทุนได เพียงพอสำหรับภาระการชำระคืนเงินตนและดอกเบี้ยในแตละป อยางไรก็ตามกลุมบริษัททรูสามารถเจรจา กับเจาหนี้ หรือจัดหาเงินกูกอนใหม เพื่อใชคืนเงินกูกอนเดิม และปรับเปลี่ยนการชำระคืนเงินตนใหเหมาะสม กับกระแสเงินสดของกลุมบริษัททรู นอกจากนั้นเงินทุนที่ระดมไดจำนวนประมาณ 6.4 พันลานบาท ใน ตนป 2552 จากการออกหุนสามัญใหมเพื่อเสนอขายตอผูถือหุนเดิมจะชวยเสริมฐานะการเงินของบริษัท ใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น รวมทั้งเปนการเตรียมความพรอมใหสามารถรับมือกับภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลง นอกจากนั้นการดำเนินงานของกลุมบริษัททรูอาจมีขอจำกัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการ เงินตางๆ สัญญาเหลานี้อาจทำใหกลุมบริษัททรูเสียโอกาสทางธุรกิจ และเจาหนี้อาจเรียกรองใหบริษัท หรือบริษัทยอยชำระหนี้กอนกำหนด หากมีระดับอัตราสวนหนี้สินบางประการไมเปนไปตามขอกำหนดใน สัญญา หรือหากทีโอทียกเลิกขอตกลงตามสัญญารวมการงานฯที่มีกับบริษัท อยางไรก็ตามทีโอทีตอง เสนอขอพิพาทใหอนุญาโตตุลาการชี้ขาดวาทีโอทีมีสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายที่จะยกเลิกขอตกลงตาม สัญญารวมการงานฯ ได ความเสี่ยงจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย และการลดลงของ สภาพคลองในตลาดการเงินโลก กลุ ม บริ ษัท ทรู อาจได รับ ผลกระทบจากความผั น ผวนของอั ต ราแลกเปลี่ ย น ซึ่ ง อาจมี ผ ล ทำใหภาระการใชคืนเงินตน ดอกเบี้ยและรายจายลงทุนเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีรายไดสวนใหญเปนเงินบาท โดย Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 89

2 - 89

3/13/09 3:45:56 PM


ณ 31 ธันวาคม 2551 กลุมบริษัททรูมีหนี้สินในอัตราประมาณรอยละ 52 ที่เปนเงินกูตางประเทศ (สวนใหญเปนสกุลดอลลารสหรัฐ) โดยในป 2551 กลุมบริษัททรูมีรายจายลงทุนรวมประมาณ 7.3 พันลานบาท โดยเงินลงทุนที่เปนเงินตราตางประเทศมีสัดสวนประมาณรอยละ 25 อยางไรก็ตาม กลุมบริษัททรูไดจัดทำประกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อครอบคลุมเงินกู ตางประเทศรวมในอัตรารอยละ 95.1 โดยครอบคลุมเงินกูจาก KfW ของทรูมูฟ จำนวน 105 ลาน ดอลลารสหรัฐ เงินกูตางประเทศของทรูวิชั่นสจำนวน 200 ลานดอลลารสหรัฐ รวมทั้งเงินกูตางประเทศ จากการออกหุนกูของทรูมูฟจำนวน 690 ลานเหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ กลุมบริษัททรูไมไดดำเนินการปองกัน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนสำหรับเงินกูสกุลเยน ที่เกี่ยวกับสัญญาจัดหาและติดตั้งอุปกรณ จำนวน 4.4 พันลานบาท ซึ่งเปนเงินกูระยะยาว ที่มีกำหนดชำระคืนในป พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2560 นอกจากนั้น บริ ษั ท ได ด ำเนิ น การป อ งกั น ความเสี่ ย งผ า นเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น (Interest rate swap) เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย โดยไดเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย สำหรับเงินกูตางประเทศดังกลาว เปนอัตราดอกเบี้ยไทยบาทอัตราคงที่ ทั้งนี้ กลุมบริษัททรูมีหนี้สิน (ไมรวมหนี้สินตามสัญญาทางการเงิน) ในสัดสวนประมาณรอยละ 34 เปนหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ทั้งนี้ ไมนับจำนวนที่ ไดดำเนินการปองกันความเสี่ยงผานเครื่องมือ ทางการเงิน เพื่อเปลี่ยนเปนอัตราดอกเบี้ยอัตราคงที่ ดังนั้นหากมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย จะมีผลทำใหกลุมบริษัททรูมีภาระดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ความเสี่ยงดังกลาวอาจลดลงในระดับ หนึ่ง เนื่องจากหนี้สินของทรูมูฟ และของทรูวิชั่นสในบางสวน จะมีอัตราดอกเบี้ยที่ลดลงในปตอๆ ไป หากมีผลการดำเนินงาน เปนไปตามเงื่อนไขที่ไดกำหนดไวในสัญญาเงินกู ผลกระทบ กรณี Sub prime mortgage ในสหรัฐอเมริกา ที่สงผลกระทบตอตลาดการเงิน และ ตลาดทุนทั่วโลก และทำใหสภาพคลองในตลาดการเงินโลกลดลง อาจมีผลกระทบตอแผนการรีไฟแนนซ หรือ การจัดหาเงินทุนของบริษัทหรือบริษัทยอยในอนาคตได ผูถือหุนอาจไม ไดรับเงินปนผล ในระยะเวลาอันใกลนี้ ณ สิ้นป 2551 กลุมบริษัททรูมีผลการดำเนินงานเปนขาดทุนสุทธิ 3.4 พันลานบาท ทำใหมี ยอดขาดทุนสะสมสุทธิ 47.3 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนผลกระทบจากคาเงินบาทลอยตัวที่เกิดขึ้น ในป 2540 และตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด กลุมบริษัททรูจะสามารถจาย เงินปนผลใหผูถือหุนไดจากผลกำไรเทานั้น ทั้งนี้ภายหลังจากการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมดและภายหลัง การตั้งสำรองตามกฎหมาย ดังนั้นในระยะเวลาอันใกลนี้ ผูถือหุนของบริษัททรู อาจจะไมไดรับเงินปนผลดังที่ปรากฏอยูใน นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัท ความเสี่ยงจากการที่บริษัทตองปฏิบัติตามเงื่อนไขใน Shareholders Agreement จากการที่ Kreditanstalt fUr Wiederaufbau (“KfW”) บริษัท ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จำกัด (“Verizon”) และเครือเจริญโภคภัณฑ ไดทำสัญญาผูถือหุน (Shareholders Agreement) ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 โดยในสาระสำคัญของสัญญามีขอตกลงบางประการ ระหวางคูสัญญาที่ทำใหบริษัทไมมีความเปนอิสระอยางเต็มที่ในการดำเนินการบางประการที่มีผลกระทบตอ บริษัท กลาวคือ ในระหวาง 3 ปแรกนับจาก KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัท และตราบเทาที่ KfW ถือหุนของบริษัทไมวาโดยทางตรงหรือทางออม เปนจำนวนอยางนอยรอยละ 5 ของหุนที่จำหนายแลว คู สัญญาตามสัญญาผูถือหุนจะไมลงคะแนนเสียงใหกระทำการ เชน การแก ไขหนังสือบริคณหสนธิ และขอ บังคับของบริษัท การเพิ่มหรือลดทุนจดทะเบียนของบริษัท การออกหุนใหม การเปลี่ยนแปลงจำนวน กรรมการหรือองคประชุมกรรมการ เปนตน เวนแต KfW จะตกลงในการกระทำดังกลาว ดังนั้นผูถือหุน รายยอยอาจไมไดรับโอกาสอยางเต็มที่ในการพิจารณาเรื่องตางๆ ดังกลาว เนื่องจาก KfW จะตองตกลง ในการกระทำดังกลาวกอน อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ KfW ไดคำนึงถึงเหตุผลความจำเปนและประโยชน ของบริษัทฯ โดยรวม ตลอดจนหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีเสมอมา ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2552 KfW เปนผูถือหุนรายใหญ ลำดับที่ 2 ของบริษัท ถือหุนใน สัดสวนรอยละ 8.99 (รวมหุนในสวนของกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว)

2 - 90

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 90

3/16/09 11:38:45 AM


Connected Transactions รายการระหว า งกั น

ก. ในระหวางป พ.ศ. 2551 บริษัทมีรายการคาระหวางกันกับ บริษัทยอย บริษัทรวม กิจการ รวมคาและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ตามที่ไดมีการเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (หมายเหตุขอ 13) โดยรายการระหวางกันของบริษัทและบริษัทยอยที่มี กับบริษัทรวมและบริษัทที่เกี่ยวของกันที่สำคัญ สามารถสรุปไดดังนี้: ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

1. ผูทำรายการ : บริษัท 1.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ขาย : (CPG) ของบริษัท - ขายอุปกรณเชอมโยง สัญญาณภายในสำนักงาน - ใหบริการในการรับ แลกเหรียญและบริการอน ซื้อ : - จายคาคอมมิชชั่น จากโทรศัพทสาธารณะ - จายคาเชาอาคารสำนักงาน และบริการอนที่เกี่ยวของ

- จายคาพัฒนาระบบ จัดซื้อและบริการอน - จายคาบริการอน - ซื้ออุปกรณสอสาร 1.2 บริษทั เอ็นอีซี คอรปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จำกัด (NEC)

1.3 บริษทั ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC)

ขาย : NEC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน - ใหบริการเชิงวิศวกรรม โดยออมอยูรอยละ 9.62 และ และการบริหารเพอเพิ่มพูน มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายชัชวาล เจียรวนนท ประสิทธิภาพในการให บริการวงจรเชา ซื้อ : - จายคาซอมบำรุงรักษา โครงขาย ขาย : TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน - ขายสินคาและบริการที่เกี่ยว โดยออมอยูรอยละ 70.00 ของกับโทรศัพทพื้นฐาน มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกันคือ นายชัชวาลย เจียรวนนท ซื้อ : - จายคาบริการเชาเซิฟเวอร อินเตอรเน็ต

918 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 5,684 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 1,287 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติในอัตรารอยละ 5 - 10 ของจำนวนเงิน ตามบัตร 22,287 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจภายใตเงอนไขการคาทัว่ ไป โดยมีอัตรา คาเชาอยูในอัตราระหวาง 200 - 220 บาท ตอตารางเมตรตอเดือน และอัตราคาบริการอยูระหวาง 220 - 520 บาทตอตารางเมตรตอเดือน ซึง่ สัญญาเชาอาคาร สำนักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 12,000 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 43,886 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 30,878 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 121 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป สุทธิจากสวนลด 101 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 269 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 2,918 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชาที่ราคา 810,536.60 บาทตอเดือน ซึ่งสัญญาเชามีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 91

2 - 91

3/13/09 3:45:56 PM


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ ซื้อ : - จายคาบริการอน

1.4 บริษทั เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด (AI)

AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 65.00

ซื้อ : - สวนลดคาบริการ

1.5 บริษทั เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด (KSC)

KSC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 37.80

ซื้อ : - สวนลดคาบริการ

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

5,364 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 3,407 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคาทีบ่ ริษทั ใหบริการลูกคาทัว่ ไป 6,862 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ทีเ่ ปนทางการคาปกติตามราคาทีบ่ ริษทั ใหบริการลูกคาทัว่ ไป

2. ผูทำรายการ : กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จำกัด (มหาชน) (BITCO) (บริษัทถือหุนโดยตรงและโดยออมรวมรอยละ 77.21) 2.1 กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัทและ BITCO เปนกลุม บริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ใหบริการ ระบบเซลลูลาร ที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 74.28 และโดยออมอยูรอยละ 2.93

ขาย : - ขายโทรศัพทมือถือและ อุปกรณที่เกี่ยวของ - ขายบัตรเติมเงิน ซื้อ : - จายคาเชาสำนักงานและ บริการที่เกี่ยวของ - คาคอมมิชชั่นจากการขาย บัตรเติมเงินและอนๆ - ซื้อโทรศัพท

2.2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC)

ขาย : TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูร อ ยละ 70.00 และ BITCO - ใหบริการอนๆ เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการ ที่ใหบริการระบบเซลลูลาร ที่บริษัท ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 74.28 และโดยออมอยูรอยละ 2.93 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

2.3 บริษทั บีบอยด ซีจี จำกัด (Bboyd)

ซื้อ : Bboyd เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูร อ ยละ 70.00 และ BITCO - Content เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการ ที่ใหบริการระบบเซลลูลาร ที่บริษัท ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 74.28 และโดยออมอยูรอยละ 2.93 มี ค วามสั ม พั น ธ กั น โดยมี ก รรมการ รวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท

10,650 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ BITCO ใหบริการลูกคาทัว่ ไป 3,830,129 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ BITCO ใหบริการลูกคาทัว่ ไป 29,848 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ โดยมีอตั ราคาเชาทีร่ าคา 816,998 บาท ตอเดือน ซึ่งสัญญาเชามีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา 214,407 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 181,843 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 3,801 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

2,576 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

3. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จำกัด (TM) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 91.08) 3.1 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด (AI)

ขาย : TM และ AI เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุน โดยออมอยูร อ ยละ 91.08 และ - ใหบริการสอสารขอมูล 65.00 ตามลำดับ มีความสัมพันธกัน ความเร็วสูง โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายธัช บุษฎีกานต และนายนนท อิงคุทานนท

3.2 บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด (KSC)

TM และ KSC เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.08 และ 37.80 ตามลำดับ มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายนนท อิงคุทานนท

2 - 92

ขาย : - ใหบริการสอสารขอมูล ความเร็วสูง

6,005 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาทีบ่ ริษทั ใหบริการลูกคาทัว่ ไป

10,684 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาทีบ่ ริษทั ใหบริการลูกคาทัว่ ไป

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 92

3/13/09 3:45:56 PM


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

3.3 กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ TM เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.08

ลักษณะรายการ ขาย : - ใหบริการสอสารขอมูล ความเร็วสูง ซื้อ : - จายคาบริการอน

3.4 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC)

TM และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.08 และ 70.00 ตามลำดับ

ขาย : - ใหบริการอินเตอรเน็ต ซื้อ : - จายคาสวนแบงรายได

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

38,659 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาทีบ่ ริษทั ใหบริการลูกคาทัว่ ไป 6 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 1,082 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาทีบ่ ริษทั ใหบริการลูกคาทัว่ ไป 1,253 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

4. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จำกัด (TI) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) 4.1 กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ TI เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99

ขาย : - ใหบริการอินเตอรเน็ต

TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรง อยูรอยละ 99.99 และ KSC เปน บริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 37.80

ขาย : - ใหบริการอินเตอรเน็ต

4.3 บริษทั เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด (AI)

TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรง อยูรอยละ 99.99 และ AI เปน บริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายนพปฏล เดชอุดม

ซื้อ : - จายคา Corporate internet services

4.4 บริษทั ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC)

TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรง อยูรอยละ 99.99 และ TIDC เปน บริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 70.00

ขาย : - ใหบริการอินเตอรเน็ต

TI และ NC TRUE เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99 และ รอยละ 40.00 ตามลำดับ มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายนพปฏล เดชอุดม

ขาย : - ใหบริการอินเตอรเน็ต

4.2 บริษทั เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด (KSC)

4.5 บริษทั เอ็น ซี ทรู จำกัด (NC TRUE)

ซื้อ : - จายคาเชาอาคารสำนักงาน และบริการอน

ซื้อ : - จายคาเชาโครงขาย

ซื้อ : - จายคาสวนแบงรายได

ซื้อ : - จายคาโฆษณา

6,196 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทัว่ ไป 18,960 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจภายใตเงอนไขการคาทัว่ ไป ที่มีสัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 149,688 บาทตอเดือน ซึง่ สัญญาเชาอาคารสำนักงานมีอายุปต อ ป และมีสทิ ธิจะตอ อายุสญ ั ญาเชา 3,658 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทัว่ ไป 12,287 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 250,954 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

4,749 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทัว่ ไป 18,401 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 1,915 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทัว่ ไป 2,000 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 93

2 - 93

3/13/09 3:45:56 PM


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

5. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จำกัด (TP) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) 5.1 กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ TP เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99

ขาย : - ใหบริการเชาสำนักงาน และบริการอน ซื้อ : - จายคาบริการอน ๆ

5.2 บริษทั เอ็น ซี ทรู จำกัด (NC TRUE)

NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทมีสวน ไดเสียอยูรอยละ 40.00 และ TP เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 99.99

5.3 บริษทั ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC)

TP และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัท ขาย : ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 - ใหบริการเชาสำนักงาน และ 70.00 ตามลำดับ มีความสัมพันธ และบริการอน กันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

ขาย : - ใหบริการเชาสำนักงาน และบริการอน

9,383 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจภายใตเงอนไขการคาทัว่ ไป ที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอ ตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสำนักงานมีอายุ 3 ป และ มีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 1,925 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 5,484 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจภายใตเงอนไขการคาทัว่ ไป ที่มีสัญญาที่ ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอ ตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสำนักงานมีอายุปตอป และ มีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 4,991 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึง่ สัญญา บริการสำนักงานมีอายุปต อ ป และมีสทิ ธิจะตออายุสญ ั ญา เชา

6. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ลิซซิ่ง จำกัด (TLS) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ TLS เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99

ขาย : - ใหบริการเชารถยนต และบริการอน

307,715 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจภายใตเงอนไขการคาทัว่ ไป ทีม่ สี ญ ั ญาที่ไดตกลงกันตามราคาเฉลีย่ 15,000 บาทตอคัน ตอเดือน ซึง่ สัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ป สิน้ สุดในระยะเวลาตางกัน

7. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จำกัด (TDE) (บริษัทถือหุนโดยตรงและโดยออมรวมรอยละ 99.99) 7.1 กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ TDE เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 57.38 และโดยออมอยูรอยละ 42.61

ซื้อ : - จายคาเชาสำนักงาน และบริการอน - จายคาติดตั้งอุปกรณ

7.2 บริษทั ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC)

TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 70.00 และ TDE เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 57.38 และ โดยออมอยูรอยละ 42.61

ซื้อ : - จายคาเชาเซิฟเวอร อินเตอรเน็ต

7,936 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 19,061 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 7,819 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

8. ผูทำรายการ : บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (AWC) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) 8.1 กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

8.2 บริษทั เอ็นอีซี คอรปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จำกัด (NEC)

2 - 94

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ AWC เปนบริษัท ที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 99.99

ซื้อ : - จายคาบริการอน

NEC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 9.62 และ AWC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 99.99

ซื้อ : - จายคาซอมบำรุงรักษา โครงขาย

- จายเงินซื้อโทรศัพท

861 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 37,958 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 7,792 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 94

3/13/09 3:45:56 PM


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

9. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 70.00) บริษทั เอ็นซี ทรู จำกัด (NC TRUE)

NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัท มีสวนไดเสียอยูรอยละ 40.00 และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 70.00

ขาย : - ใหบริการเชาเซิฟเวอร อินเตอรเน็ตและบริการอน

4,060 - เปนการดำเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญา โดยมีอัตรา 54,000 บาทตอหนวยตอเดือน สัญญาเชามีอายุ 1 ป

10. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จำกัด (TLR) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ TLR เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99

ซื้อ : - ซื้อสินคา

10,006 - เปนการดำเนินงานตามปกติท่ีมีสัญญาที่ ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป

11. ผูทำรายการ : กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส จำกัด (มหาชน) (True Visions) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 91.79) กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ True Visions เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 91.79

ขาย : - ไดรับเงินสนับสนุน รวมกิจกรรม ซื้อ : - จายคาบริการอน

66,262 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ True Visions ใหบริการ ลูกคาทัว่ ไป 12,529 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

12. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู ทัช จำกัด (TT) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ บริษัทถือหุน TT โดยออมอยูรอยละ 99.99

ซื้อ : - จายคาเชาสำนักงาน และบริการอน

17,785 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

13. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู มันนี่ จำกัด (TMN) (บริษัทถือหุนโดยตรง และโดยออมรอยละ 99.99) 13.1 กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ (CPG) ของบริษัท และ TMN เปนบริษัทที่ บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 49.00 และโดยออมอยูรอยละ 51.00

ซื้อ : - จายคาคอมมิชชั่นจากการ ขายบัตรเติมเงิน

13.2 บริษทั เอ็นซี ทรู จำกัด (NC TRUE)

NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทมีสวน ไดเสียอยูรอยละ 40.00 และ TMN เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรง อยูรอยละ 49.00 และโดยออม อยูรอยละ 51.00 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายนพปฏล เดชอุดม

ขาย : - ใหบริการตัวแทนชำระ คาบริการ

13.3 บริษทั ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC)

TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 70.00 และ TMN เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 49.00 และโดยออมอยูรอยละ 51.00

ซื้อ : - จายคาบริการอินเตอรเน็ต

203,940 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

6,527 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TMN ใหบริการลูกคาทัว่ ไป

1,169 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

14. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต เกตเวย จำกัด (TIG) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) 14.1 บริษทั เคเอสซี คอมเมอรเชียล TIG เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน อินเตอรเนต จำกัด (KSC) โดยตรงอยูรอยละ 99.99 และ KSC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 37.80

ขาย : - ใหบริการเชอมตอ สัญญาณอินเตอรเน็ต ระหวางประเทศ

16,029 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TIG ใหบริการลูกคาทัว่ ไป

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 95

2 - 95

3/13/09 3:45:57 PM


ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

14.2 กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ (CPG) ของบริษัท และ บริษัทถือหุน TIG โดยตรงอยูรอยละ 99.99

ลักษณะรายการ

ป 2551 (พันบาท)

ซื้อ : - จายคาเชาอาคาร และบริการอน

ความสมเหตุสมผล และความจำเปนของรายการระหวางกัน

1,322 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

15. ผูทำรายการ : บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (TPC) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 99.94) กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ ของบริษัท และ บริษัทถือหุน TPC โดยตรงอยูรอยละ 99.94

กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

ซื้อ : - จายคาบริการอนๆ

12,127 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

16. ผูทำรายการ : บริษัท ไวรเออร แอนด ไวรเลส จำกัด (WW) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 87.50) 16.1 บริษทั ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด (TIDC)

TIDC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน ขาย : โดยออมอยูรอยละ 70.00 และ - ใหบริการติดตั้งอุปกรณ บริษัทถือหุน WW โดยตรงอยู รอยละ 87.50 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกันคือ นายชัชวาลย เจียรวนนท และนายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

16.2 กลุม บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญ (CPG) ของบริษัท และ บริษัทถือหุน WW โดยตรงอยูรอยละ 87.50

ซื้อ : - จายคาบริการอนๆ

24,040 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ WW ใหบริการลูกคาทัว่ ไป

2,042 - เปนการดำเนินงานตามปกติธรุ กิจทีม่ รี าคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

ข. ยอดคางชำระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชำระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ มีดังนี้ บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด บริษัท บีบอยด ซีจี จำกัด บริษัท เอ็นซี ทรู จำกัด บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ รวม

2 - 96

31 ธันวาคม พ.ศ.2550 28,553 6,376 59,600 16,102 20 995,243

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (704) 14,199 2,916 11 (10,732) 80 (432,909)

หนวย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ.2551 27,849 20,575 62,516 11 5,370 100 562,334

1,105,894

(427,139)

678,755

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 96

3/13/09 3:45:57 PM


ค. ยอดคางชำระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชำระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ มีดังนี้ บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จำกัด บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเน็ต จำกัด บริษัท บีบอยด ซีจี จำกัด บริษัท เอ็นซี ทรู จำกัด บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จำกัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด รวม

31 ธันวาคม พ.ศ.2550 48,307 9,778 7,969 3,210 3,397 69,046 4 141,711

เพิ่มขึ้น (ลดลง) 4,558 1,778 3,628 (2,835) 4,255 4,350 (37,925) 2,223 (19,968)

หนวย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ.2551 52,865 11,556 11,597 375 7,652 4,350 31,121 2,227 121,743

ง. ยอดคงเหลือเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน การเปลี่ยนแปลงยอดคางชำระที่เกิดจากเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน มีดังนี้ บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จำกัด (KSC) บริษัท บีบอยด ซีจี จำกัด รวม

31 ธันวาคม พ.ศ.2550 25,880 3,000 28,880

เพิ่มขึ้น (ลดลง) 3,000 3,000

หนวย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ.2551 25,880 6,000 31,880

KSC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 37.80 จ. ยอดคงเหลือเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน การเปลี่ยนแปลงยอดคางชำระที่เกิดจากเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน มีดังนี้ บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท Kreditanstalt fUr Wiederaufbau (KfW)

31 ธันวาคม พ.ศ.2550 4,597,775

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (1,012,635)

หนวย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ.2551 3,585,140

KfW เปนผูถือหุนบุริมสิทธิรายเดียวของบริษัทซึ่งมีสัดสวนการถือหุนรอยละ 15.53 เงินกูยืมขางตน เปนเงินกูยืมจาก Kreditanstalt fUr Wiederaufbau เงินกูยืมดังกลาวมีสิทธิ เทาเทียมกับเจาหนี้ที่มีหลักประกันรายอื่น และมีดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมระหวางธนาคารของ สหราชอาณาจักรอังกฤษ (“LIBOR”) บวกอัตรารอยละคงที่ตอป เงินกูยืมดังกลาวค้ำประกันโดย สินทรัพยตาง ๆ ซึ่งกำหนดชำระคืนเงินกูยืมงวดแรกในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 และงวดสุดทายกำหนด ชำระคืนในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ดอกเบี้ยจายสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เปนจำนวนเงิน 216.45 ลานบาท

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 97

2 - 97

3/13/09 3:45:57 PM


ฉ. ภาระผูกพันระหวางบริษัทกับบริษัทยอย บริษัทมีภาระผูกพันในการใหการสนับสนุนแกบริษัทยอย คือ บริษัท ทรู มูฟ จำกัด (“ทรูมูฟ”) ตามสัญญาเงินกูที่ทรูมูฟทำกับกลุมเจาหนี้ ดังนี้ 1. ใหการสนับสนุนการชำระเงิน ใหแ กห น ว ยงานของรั ฐ อั น เนื่ อ งมาจากสั ญ ญาอนุ ญ าตให ดำเนินการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในกรณีที่กระแสเงินสดของทรูมูฟไมเพียงพอสำหรับการดำเนินงานอันเนื่องมาจากการที่ ตองชำระเงินใหแกคูสัญญาผู ใหอนุญาต บริษัทจะใหการสนับสนุนทางการเงินเปนรายไตรมาส สำหรับ จำนวนเงินสวนที่ ไมเพียงพออันเกิดจากการที่ตองชำระใหแกคูสัญญาอนุญาตใหดำเนินการโทรศัพท เคลื่อนที่ 2. ใหการสนับสนุนสำหรับการดำเนินงานโดยทั่วไป ในกรณีที่กระแสเงินสดของทรูมูฟไมเพียงพอที่จะนำมาใช ในการดำเนินงานหรือชำระหนี้ ภายใตสัญญาที่มีกับกลุมเจาหนี้ บริษัทจะใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ ไมเกิน 7,000 ลานบาท ภายใตเงื่อนไขของสัญญา บริษัทและผูมีสวนเกี่ยวของตองปฏิบัติตามที่ระบุไว ในสัญญา ดังกลาว การใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ จะตองเปนไปตามรูปแบบตามที่ไดระบุไวในสัญญา มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทำรายการระหวางกัน บริ ษั ท มี ม าตรการและขั้ น ตอนในการอนุ มั ติ ก ารทำรายการระหว า งกั น ตามที่ ก ฎหมาย และ ขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุนรวมทั้งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดกำหนดไว โดย บริษัทไดนำกฎหมายและขอกำหนดดังกลาวมาจัดทำเปน “ระเบียบในการเขาทำรายการระหวางกัน” ไวอยาง ชัดเจน เพื่อใหกรรมการและพนักงานไดยึดถือและปฏิบัติอยางถูกตอง ภายใตระเบียบในการเขาทำรายการ ระหวางกันของบริษัท ไดกำหนดมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการเขาทำรายการระหวางกันไวดังนี้ 1. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ฝายจัดการสามารถอนุมัติการเขาทำรายการได โดยไมตอง ขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท ภายใตวัตถุประสงค ของมาตรา 89/12 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 1.1 รายการที่เปนขอตกลงทางการคาโดยทั่วไป “ขอตกลงทางการคาโดยทัว่ ไป” หมายถึง ขอตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับทีว่ ญ ิ ูชน จะพึงกระทำกับคูสัญญาทั่วไปในสถานการณเดียวกัน ดวยอำนาจตอรองทางการคาที่ ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือ บุคคลที่มีความ เกี่ยวของ แลวแตกรณี ซึ่งรวมถึงขอตกลงทางการคาที่มีราคาและเงื่อนไข หรือ อัตรา กำไรขั้นตน ดังตอไปนี้ (ก) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัท หรือบริษัทยอยไดรับหรือใหกับบุคคลทั่วไป (ข) ราคาและเงื่อนไขที่ กรรมการ ผูบริหาร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวของใหกับ บุคคลทั่วไป (ค) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัท หรือบริษัทยอย สามารถแสดงไดวาผูประกอบธุรกิจ ในลักษณะทำนองเดียวกันใหกับบุคคลทั่วไป (ง) ในกรณีที่ ไมสามารถเปรียบเทียบราคาของสินคาหรือบริการได เนื่องจากสินคา หรือบริการที่เกี่ยวของนั้นมีลักษณะเฉพาะ หรือมีการสั่งทำตามความตองการ โดยเฉพาะ แต บ ริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย อ ยสามารถแสดงได ว า อั ต รากำไรขั้ น ต น ที่บริษัท หรือบริษัทยอยไดรับจากรายการระหวางกันไมตางจากธุรกรรมกับ คู ค า อื่ น หรื อ อั ต รากำไรขั้ น ต น ที่ ก รรมการ ผู บ ริ ห าร หรื อ บุ ค คลที่ มี ค วาม เกี่ยวของ ไดรับจากรายการระหวางกันไมตางจากธุรกรรมกับคูคาอื่น และมี เงื่อนไข หรือขอตกลงอื่นๆ ไมแตกตางกัน 1.2 การใหกูยืมเงินตามระเบียบสงเคราะหพนักงานและลูกจาง 1.3 รายการที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งของบริษัท หรือ คูสัญญาทั้งสองฝายมีสถานะเปน (ก) บริษัทยอยที่บริษัท เปนผูถือหุนไมนอยกวารอยละเกาสิบของหุนที่จำหนายไดแลว ทั้งหมดของบริษัทยอย หรือ 2 - 98

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 98

3/13/09 3:45:57 PM


(ข) บริษัทยอยที่กรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของถือหุนหรือมี สวนไดเสียอยูดวย ไมวาโดยตรงหรือโดยออม ไมเกินจำนวน อัตรา หรือมี ลักษณะตามที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกาศกำหนด 1.4 รายการในประเภทหรือที่มีมูลคาไมเกินจำนวนหรืออัตราที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุน ประกาศกำหนด 2. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ไมตองขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท แตตอง ขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 2.1 รายการตามขอ 1 ซึ่งตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ภายใตระเบียบวิธี ปฏิบัติภายในอื่นที่เกี่ยวของ เชน ระเบียบวิธีปฏิบัติดานงบประมาณ เปนตน 2.2 รายการตามขอ 1.3 (ข) หรือ 1.4 ที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุน อาจกำหนดให ต อ งได รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท ด ว ย ตามที่ จ ะได มี ก ารประกาศกำหนด ตอไป 3. รายการระหวางกันที่นอกเหนือจากขอ 1 และ 2 ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท กอนการเขาทำรายการ นอกจากนี้ บริษัทยังตองปฏิบัติตามเงื่อนไขขอกำหนดของ Shareholders Agreement ฉบับวันที่ 22 ธันวาคม 2542 ที่ไดลงนามรวมกับ Kreditanstalt fUr Wiederaufbau ซึ่งกำหนดให บริษัทเปดเผยผลประโยชนสวนไดสวนเสียตางๆ ที่ผูถือหุนรายใหญหรือบริษัทในเครืออาจมี ในสัญญา ตางๆ ที่บริษัทเขาเปนคูสัญญา ตลอดจนการมีผลประโยชนขัดกันอีกดวย นโยบายและแนวโนมการทำรายการระหวางกันในอนาคต สำหรับแนวโนมการทำรายการระหวางกันในอนาคตนั้ น อาจจะยั ง คงมี อ ยู ใ นส ว นที่ เ ป น การ ดำเนิ น ธุ ร กิ จ ตามปกติ ร ะหว า งบริ ษั ท กั บ บริ ษั ท ในเครื อ ซึ่ ง บริ ษั ท จะดำเนิ น การด ว ยความโปร ง ใส ตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทและปฏิบัติตามขอกำหนดที่เกี่ยวของอยางเครงครัด

Together ...Possible

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 99

2 - 99

3/13/09 3:45:57 PM


References บุคคลอางอิง

2 - 100

นายทะเบียนหุนสามัญ :

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท : (662) 229-2800 โทรสาร : (662) 359-1259 Call center : (662) 229-2888 เว็บไซต : http://www.tsd.co.th

ผูสอบบัญชี

:

นายพิสิฐ ทางธนกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4095 บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จำกัด 179/74-80 บางกอกซิตี้ทาวเวอร ชั้น 15 ถนนสาทรใต แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท : (662) 286-9999, (662) 344-1000 โทรสาร : (662) 286-5050

นายทะเบียนหุนกู/ ผูแทนผูถือหุนกู

:

ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) 393 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท : (662) 230-5575, (662) 230-5487, (662) 230-5731 โทรสาร : (662) 266-8150

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 100

3/13/09 3:45:57 PM


Audit Fees คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทและบริษัทยอยมีคาตอบแทนการสอบบัญชี ใหแกสำนักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด สำหรับป พ.ศ. 2551 เปนจำนวนเงินรวม 24.05 ลานบาท ไดจา ยระหวางปเปนจำนวนเงิน 16.11 ลานบาท สำหรับจำนวนเงินที่เหลือ 8.16 ลานบาทจะจายในปถัดไป 2. คาบริการอื่น (non-audit fee) สำนั ก งานสอบบั ญ ชี ที่ ไ ด รั บ การแต ง ตั้ ง จากบริ ษั ท ได ใ ห บ ริ ก ารอื่ น ๆ ที่ น อกเหนื อ จากการ ตรวจสอบบัญชีแกบริษัทและบริษัทยอย ซึ่งไดแก การตรวจสอบตามวิธีการที่ตกลงรวมกัน และการให คำปรึกษาดานภาษีและอื่นๆ ในระหวางป 2551 มีคาตอบแทนเปนจำนวนเงิน 1.24 ลานบาท ในจำนวนนี้ กลุมบริษัทไดจายชำระแลวระหวางปเปนจำนวนเงิน 0.24 ลานบาท ที่เหลืออีกจำนวน 1.00 ลานบาท จะจายในปถัดไป

Together ...Possible 2 - 101

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 101

3/13/09 3:45:57 PM


Report of the

Auditfor Committee the Year 2008

รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำป 2551 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดว ยกรรมการอิส ระจำนวน 3 ท า น คื อ นายวิ ท ยา เวชชาชีวะ ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ และ นายโชติ โภควนิช คณะกรรมการตรวจสอบไดรับการแตงตั้ง จากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2549 ใหกลับเขาดำรงตำแหนงอีกวาระหนึ่ง เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2549 เพื่อใหดำเนินการโดยมีขอบเขต หนาที่ ความรับผิดชอบ ตามที่ระบุไว ในกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตดังกลาว สำหรับป 2551 คณะกรรมการ ตรวจสอบ มีการดำเนินการ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ 1. ได มี ก ารประชุ ม รวม 8 ครั้ ง ในป 2551 เพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามที่ ไ ด รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท และนำเสนอรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบต อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่อทราบเปนรายไตรมาส รายนาม

ตำแหนง

จำนวนครั้งที่เขารวมประชุม ป 2551*

1.นายวิทยา เวชชาชีวะ

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

8/8

2.ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ

กรรมการตรวจสอบ

8/8

3.นายโชติ

กรรมการตรวจสอบ

8/8

โภควนิช

หมายเหตุ *ในป 2551 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการ เขารวมประชุมดวย จำนวน 1 ครั้ง 2. เสนอแต ง ตั้ ง ผู ส อบบั ญ ชี อิ ส ระของบริ ษั ท ฯ และ เสนอค า ตอบแทนของผู ส อบบั ญ ชี ประจำป 2551 ตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติตอที่ประชุมผูถือหุน คณะกรรมการตรวจสอบได พิจารณาความเปนอิสระ และ ผลการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชี รวมถึงความเหมาะสมของคาตอบแทน แลว เห็นวา ผูสอบบัญชีมีความเปนอิสระและไดแสดงความเห็นตลอดจนขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในดาน การจัดทำรายงานทางการเงินและการควบคุมภายใน จึงเห็นสมควรเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อขอ อนุมัติที่ประชุมผูถือหุนแตงตั้งผูสอบบัญชีจากบริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จำกัด เปนผูสอบบัญชีประจำป 2551 ตอไปอีกวาระหนึ่ง 3. หารือกับผูสอบบัญชีอิสระถึงขอบเขตของการตรวจสอบกอนเริ่มกระบวนการ และติดตาม การปฏิบัติงานของผูสอบบัญชีอิสระ รวมทั้งพิจารณาจดหมายของผูสอบบัญชีอิสระถึงฝายจัดการ 4. รับทราบแผนการตรวจสอบและผลการตรวจสอบของผูสอบบัญชีอิสระ และไดเสนอ ขอคิดเห็นบางประการ 5. สอบทานรายงานทางการเงิ น ทั้ ง รายไตรมาสและรายป ข องบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคลองกับผูสอบบัญชีวางบการเงินของบริษัทฯ แสดงฐานะ การเงินและผลการดำเนินงานโดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป 6. สอบทานการเขาทำรายการระหวางกันของบริษัทฯ และบริษัทยอย เพื่อการปฏิบัติใหเปนไป ตามกฎหมายและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา การเข า ทำรายการระหว า งกั น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ย เป น ไปตามกฎหมายและข อ กำหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีความสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ

2 - 102

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 102

3/13/09 3:45:57 PM


7. จัดทำ “ระเบียบในการเขาทำรายการระหวางกัน” เพื่อรองรับพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่ออนุมัติ 8. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของ ตลาดหลักทรัพยฯ และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งจากรายงานของผูสอบบัญชี ผูตรวจสอบภายใน และผูบริหารของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯ มีการ ปฏิบัติตามขอกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวของอยางเหมาะสม และไมพบวามีขอบกพรองที่เปนสาระสำคัญ แตประการใด 9. สอบทานระบบการควบคุมภายในเพื่อประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการ ควบคุมภายในเพื่อชวยสงเสริมความมั่นใจอยางสมเหตุสมผลในการดำเนินงานของบริษัทฯ ใหบรรลุ เปาหมายที่กำหนดไว โดยพิจารณาจากรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำป 2551 ซึ่งครอบคลุม ระบบงานที่สำคัญของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของ บริษัทฯ มีความเพียงพอและเหมาะสม นอกจากนี้ โดยเหตุที่ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมมีการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอมทางธุรกิจคอนขางรวดเร็ว คณะกรรมการตรวจสอบจึงสงเสริมใหบริษัทฯ พัฒนาระบบ การควบคุมภายในอยางตอเนื่อง เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจของบริษัทฯ ที่เปลี่ยนแปลงไป 10. กำกับดูแลงานดานการตรวจสอบภายในรวมทั้งกฎบัตร โดยไดพิจารณาอนุมัติแผนการ ตรวจสอบภายใน ซึ่งมีแนวทางจากการประเมินความเสี่ยง รับทราบรายงานผลการตรวจสอบรายไตรมาส และรายป ใหคำแนะนำตางๆ แกฝายตรวจสอบภายใน รวมทั้งเสนอฝายจัดการเพื่อพิจารณาปรับปรุงแก ไข ตามควรแกกรณี ตลอดจนติดตามความคืบหนาในการปรับปรุงแก ไขอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ได สอบทานความเป น อิ ส ระและผลการปฏิ บั ติ ง านโดยภาพรวมของหน ว ยงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา ระบบการตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เปนไปอยางอิสระ เพี ย งพอและมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล รวมทั้ ง มี ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพการตรวจสอบทั้ ง ในด า นบุ ค ลากรและการ ปฏิบัติงานตรวจสอบใหสอดคลองกับมาตรฐานวิชาชีพสากลอยางตอเนื่อง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเปนอิสระในการปฏิบัติงานตามที่ ไดรับมอบหมาย และไดรับ ความรวมมือดวยดีจากฝายจัดการและผูสอบบัญชี โดยสรุปในภาพรวม คณะกรรมการตรวจสอบเห็นวา คณะกรรมการบริษัท ตลอดจนผูบริหารของบริษัทฯ มีจริยธรรมและความมุงมั่นในการปฏิบัติหนาที่เพื่อ ใหบรรลุเปาหมายของบริษัทฯ ใหความสำคัญตอการดำเนินงานภายใตระบบการควบคุมภายในและระบบ การตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิผล มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งมีการพัฒนาปรับปรุงระบบการ ปฏิบัติงานใหมีคุณภาพดีขึ้นอยางตอเนื่อง

(นายวิทยา เวชชาชีวะ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

Together ...Possible 2 - 103

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 103

3/13/09 3:45:57 PM


Report of the Compensation and Nominating Committee

for the Year 2008

รายงานจากคณะกรรมการกำหนดค า ตอบแทน และสรรหากรรมการ ประจำป 2551

ตามที่คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ไดรับการแตงตั้งจากที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2544 ใหดำรงตำแหนง เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2544 เพื่อให ดำเนินการโดยมีขอบเขตหนาที่ ความรับผิดชอบ ตามที่ระบุไว ในกฎบัตรของคณะกรรมการกำหนด คาตอบแทนและสรรหากรรมการนั้น ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตดังกลาว ในป 2551 คณะกรรมการ กำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการไดมีการประชุม 1 ครั้ง เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ 1. พิ จ ารณาและเสนอความเห็ น ต อ คณะกรรมการบริ ษั ท เรื่ อ งการเลื อ กตั้ ง กรรมการ แทนกรรมการที่พนจากตำแหนงตามวาระ 2. พิจารณาและเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัท เรื่อง คาตอบแทนกรรมการ 3. พิจารณาอนุมัติการจายเงินคาตอบแทนผลการปฏิบัติงานประจำป 2550 ใหแกประธาน คณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ (ซึ่งจายในป 2551) 4. พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ผนและหลั ก เกณฑ ใ นการจ า ยเงิ น ค า ตอบแทนผลการปฏิ บั ติ ง านของ ผูบริหารระดับสูงประจำป 2551 (ซึ่งจะจายในป 2552)

(นายอำรุง สรรพสิทธิ์วงศ) ตัวแทนคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ

2 - 104

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 104

3/13/09 3:45:57 PM


Report of the Corporate Governance Committee

for the Year 2008

รายงานจากคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ประจำป 2551 ตามที่คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ไดรับการแตงตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2549 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2549 เพื่อใหดำเนินการโดยมีขอบเขต หนาที่ ความรับผิดชอบ ตามที่ระบุไวในกฎบัตรของคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ในป 2551 คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการมี การดำเนินการ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ 1. ไดมีการประชุมรวม 4 ครั้ง เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ 2. พิจารณารายงานการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ เพื่อเปดเผยในรายงานประจำป 2551 และนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. พิจารณาหลักเกณฑในการรับเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมหรือชื่อบุคคลเพื่อเปน กรรมการที่ผูถือหุนสวนนอยเสนอสำหรับการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป และนำเสนอ ตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. พิจารณานโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคมและนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อ พิจารณาอนุมัติ 5. พิจารณาการดำเนินการของบริษัทฯ ในดานการกำกับดูแลกิจการ รวมทั้งกิจกรรมดาน ความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อใหมั่นใจวามีการปฏิบัติอยางเหมาะสม และเปนไปตามนโยบาย ของบริษัทฯ และ 6. พิจารณาผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการ และนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา

(นายณรงค ศรีสอาน) ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ

Together ...Possible 2 - 105

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 105

3/13/09 3:45:57 PM


Report of the

FinanceforCommittee the Year 2008

รายงานจากคณะกรรมการดานการเงิน ประจำป 2551 ตามที่คณะกรรมการดานการเงิน ไดรับการแตงตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2544 ใหดำรงตำแหนง เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2544 เพื่อใหดำเนินการโดยมีขอบเขตหนาที่ ความ รับผิดชอบ ตามที่ระบุไว ในกฎบัตรของคณะกรรมการดานการเงินนั้น ในการปฏิบัติงานตามขอบเขต ดังกลาว ในป 2551 คณะกรรมการดานการเงินมีการดำเนินการ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ 1. ไดมีการประชุมรวม 9 ครั้ง เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ 2. พิจารณาเปาหมายทางการเงิน และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา อนุมัติ 3. พิจารณาการเปดบัญชีธนาคารและเสนอความเห็นตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. พิจารณาโครงการลงทุนตางๆ และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา อนุมัติ 5. พิจารณาผลการดำเนินงานรายไตรมาสและรายปของบริษัทและบริษัทยอย 6. ไดรับทราบแผนและสถานะของการปรับโครงสรางทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอยและ เสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบ 7. พิจารณาการเพิ่มทุนของบริษัทยอยบางแหงและเสนอความเห็นตอคณะกรรมการเพื่อ พิจารณาอนุมัติ 8. พิจารณาแผนประจำปเพื่อการปองกันความเสี่ยงจากความผันผวนทางการเงิน และนโยบาย การใชตราสารอนุพันธสำหรับธุรกรรมทางการเงิน และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 9. พิจารณาและใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับโครงสรางการปองกันความเสี่ยงดานการเงิน และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบ 10. พิจารณาวิธีการจัดหาเงินทุนเพื่อสนับสนุนการซื้อหุนในบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จำกั ด (มหาชน) จากบริ ษั ท เจริ ญ โภคภั ณ ฑ โ ฮลดิ้ ง จำกั ด และเสนอความเห็ น ต อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่ อนำเสนอต อไปยังที่ประชุมสามัญผูถือหุ นประจำป 2551 เพื่อพิจารณาอนุมัติ 11. พิจารณาการปรับโครงสรางเงินทุนของบริษัทดวยการเพิ่มทุนเพื่อเสนอขายใหผูถือหุน เดิ ม ตามสั ด ส ว นการถื อ หุ น และเสนอความเห็ น ต อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ เสนอตอที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2551 เพื่อพิจารณาอนุมัติ

(ดร. อาชว เตาลานนท) ประธานคณะกรรมการดานการเงิน

2 - 106

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 106

3/13/09 3:45:57 PM


Report of the Board of Directors’ Responsibilities

for Financial Statements for the Year 2008 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ตอรายงานทางการเงิน ประจำป 2551

คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย งบการเงิน ดังกลาวจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติ อยางสม่ำเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ รวมทั้งมีการ เปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีและดำรงรักษาไวซึ่งระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลเพื่อ ใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวาการบันทึกบัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่จะดำรงรักษาไวซึ่ง ทรัพยสินของบริษัท ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการ ที่เปนอิสระ เปนผูดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณ ภาพของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ ยวกับ เรื่ อ งนี้ ป รากฏในรายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจำปนี้แลว คณะกรรมการบริ ษั ท มี ค วามเห็ น ว า ระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท โดยรวม มี ค วาม เพียงพอและเหมาะสม และสามารถสรางความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลตอความเชื่อถือไดของงบการเงินรวม ของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

(นายธนินท เจียรวนนท) ประธานกรรมการ

Together ...Possible 2 - 107

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 107

3/13/09 3:45:57 PM


Management’s Discussion and Analysis คำอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงิน และผลการดำเนินงาน

2 - 108

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 108

3/13/09 3:45:57 PM


Together ...Possible 2 - 109

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 109

3/13/09 3:45:58 PM


2 - 110

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 110

3/13/09 3:45:58 PM


Together ...Possible 2 - 111

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 111

3/13/09 3:45:59 PM


2 - 112

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 112

3/13/09 3:45:59 PM


Together ...Possible 2 - 113

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 113

3/13/09 3:46:00 PM


2 - 114

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 114

3/13/09 3:46:00 PM


Together ...Possible 2 - 115

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 115

3/13/09 3:46:01 PM


2 - 116

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 116

3/13/09 3:46:01 PM


Together ...Possible 2 - 117

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 117

3/13/09 3:46:02 PM


2 - 118

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 118

3/13/09 3:46:02 PM


Together ...Possible 2 - 119

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 119

3/13/09 3:46:03 PM


2 - 120

รายงานประจำป 2551

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 120

3/13/09 3:46:03 PM


Together ...Possible 2 - 121

68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 121

3/13/09 3:46:04 PM


68460_2-3-2-122 THAI_m2.indd 122

3/13/09 3:46:05 PM


68460_3-1-3-105_M2.indd 1

3/13/09 3:49:51 PM


3-2

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 2

3/13/09 3:49:51 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 3

3-3

3/13/09 3:49:52 PM


หมายเหตุประกอบงบการเงินในหนา 3 - 11 ถึง 3 - 105 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3-4

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 4

3/13/09 3:49:52 PM


หมายเหตุประกอบงบการเงินในหนา 3 - 11 ถึง 3 - 105 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 5

3-5

3/13/09 3:49:53 PM


หมายเหตุประกอบงบการเงินในหนา 3 - 11 ถึง 3 - 105 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3-6

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 6

3/13/09 3:49:54 PM


หมายเหตุประกอบงบการเงินในหนา 3 - 11 ถึง 3 - 105 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 7

3-7

3/13/09 3:49:54 PM


3-8

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105 THAI_M2.indd 8

3/17/09 6:39:23 PM

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหนา 3 - 11 ถึง 3 - 105 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 9

3-9

3/13/09 3:49:55 PM

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหนา 3 - 11 ถึง 3 - 105 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


หมายเหตุประกอบงบการเงินในหนา 3 - 11 ถึง 3 - 105 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3 - 10

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 10

3/13/09 3:49:55 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 11

3 - 11

3/13/09 3:49:56 PM


3 - 12

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 12

3/13/09 3:49:56 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 13

3 - 13

3/13/09 3:49:57 PM


3 - 14

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 14

3/13/09 3:49:57 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 15

3 - 15

3/13/09 3:49:58 PM


3 - 16

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 16

3/13/09 3:49:58 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 17

3 - 17

3/13/09 3:49:59 PM


3 - 18

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 18

3/13/09 3:49:59 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 19

3 - 19

3/13/09 3:50:00 PM


3 - 20

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 20

3/13/09 3:50:01 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 21

3 - 21

3/13/09 3:50:01 PM


3 - 22

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 22

3/13/09 3:50:02 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 23

3 - 23

3/13/09 3:50:02 PM


3 - 24

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 24

3/13/09 3:50:03 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 25

3 - 25

3/13/09 3:50:03 PM


3 - 26

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 26

3/13/09 3:50:04 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 27

3 - 27

3/13/09 3:50:04 PM


3 - 28

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 28

3/13/09 3:50:05 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 29

3 - 29

3/13/09 3:50:06 PM


3 - 30

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 30

3/13/09 3:50:06 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 31

3 - 31

3/13/09 3:50:07 PM


3 - 32

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 32

3/13/09 3:50:07 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 33

3 - 33

3/13/09 3:50:08 PM


3 - 34

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 34

3/13/09 3:50:08 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 35

3 - 35

3/13/09 3:50:09 PM


3 - 36

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 36

3/13/09 3:50:09 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 37

3 - 37

3/13/09 3:50:10 PM


3 - 38

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 38

3/13/09 3:50:10 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 39

3 - 39

3/13/09 3:50:11 PM


3 - 40

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 40

3/13/09 3:50:11 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 41

3 - 41

3/13/09 3:50:12 PM


3 - 42

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 42

3/13/09 3:50:12 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 43

3 - 43

3/13/09 3:50:13 PM


3 - 44

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 44

3/13/09 3:50:13 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 45

3 - 45

3/13/09 3:50:14 PM


3 - 46

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 46

3/13/09 3:50:14 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 47

3 - 47

3/13/09 3:50:15 PM


3 - 48

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 48

3/13/09 3:50:15 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 49

3 - 49

3/13/09 3:50:16 PM


3 - 50

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 50

3/13/09 3:50:16 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 51

3 - 51

3/13/09 3:50:17 PM


3 - 52

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 52

3/13/09 3:50:17 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 53

3 - 53

3/13/09 3:50:18 PM


3 - 54

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 54

3/13/09 3:50:18 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 55

3 - 55

3/13/09 3:50:19 PM


3 - 56

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 56

3/13/09 3:50:19 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 57

3 - 57

3/13/09 3:50:20 PM


3 - 58

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 58

3/13/09 3:50:20 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 59

3 - 59

3/13/09 3:50:21 PM


3 - 60

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 60

3/13/09 3:50:22 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 61

3 - 61

3/13/09 3:50:22 PM


3 - 62

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 62

3/13/09 3:50:23 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 63

3 - 63

3/13/09 3:50:23 PM


3 - 64

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 64

3/13/09 3:50:23 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 65

3 - 65

3/13/09 3:50:24 PM


3 - 66

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 66

3/13/09 3:50:24 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 67

3 - 67

3/13/09 3:50:25 PM


3 - 68

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 68

3/13/09 3:50:25 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 69

3 - 69

3/13/09 3:50:26 PM


3 - 70

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 70

3/13/09 3:50:26 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 71

3 - 71

3/13/09 3:50:27 PM


3 - 72

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 72

3/13/09 3:50:27 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 73

3 - 73

3/13/09 3:50:28 PM


3 - 74

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 74

3/13/09 3:50:28 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 75

3 - 75

3/13/09 3:50:29 PM


3 - 76

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 76

3/13/09 3:50:29 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 77

3 - 77

3/13/09 3:50:30 PM


3 - 78

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 78

3/13/09 3:50:30 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 79

3 - 79

3/13/09 3:50:31 PM


3 - 80

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 80

3/13/09 3:50:31 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 81

3 - 81

3/13/09 3:50:32 PM


3 - 82

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 82

3/13/09 3:50:32 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 83

3 - 83

3/13/09 3:50:33 PM


3 - 84

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 84

3/13/09 3:50:33 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 85

3 - 85

3/13/09 3:50:34 PM


3 - 86

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 86

3/13/09 3:50:34 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 87

3 - 87

3/13/09 3:50:35 PM


3 - 88

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 88

3/13/09 3:50:35 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 89

3 - 89

3/13/09 3:50:36 PM


3 - 90

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 90

3/13/09 3:50:36 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 91

3 - 91

3/13/09 3:50:37 PM


3 - 92

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 92

3/13/09 3:50:37 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 93

3 - 93

3/13/09 3:50:38 PM


3 - 94

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 94

3/13/09 3:50:38 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 95

3 - 95

3/13/09 3:50:39 PM


3 - 96

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 96

3/13/09 3:50:39 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 97

3 - 97

3/13/09 3:50:40 PM


3 - 98

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 98

3/13/09 3:50:40 PM


Together ...Possible

68460_3-1-3-105_M2.indd 99

3 - 99

3/13/09 3:50:41 PM


3 - 100

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 100

3/13/09 3:50:41 PM


Together ...Possible 3 - 101

68460_3-1-3-105_M2.indd 101

3/13/09 3:50:42 PM


3 - 102

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 102

3/13/09 3:50:42 PM


Together ...Possible 3 - 103

68460_3-1-3-105_M2.indd 103

3/13/09 3:50:43 PM


3 - 104

รายงานประจำป 2551

68460_3-1-3-105_M2.indd 104

3/13/09 3:50:44 PM


Together ...Possible 3 - 105

68460_3-1-3-105_M2.indd 105

3/13/09 3:50:44 PM


68460_Cover THAI_M2.ai

3/13/09

4:03:11 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.