การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต กรณีศึกษาวัดมหาธาตุอยุธยา

Page 1



รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต กรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation: a case study of Wat Mahathat Ayutthaya

ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ อิสรชัย บูรณะอรรจน์ สกนธ์ ม่วงสุน ตะวัน วีระกุล Kreangkrai Kirdsiri, Ph.D. Isarachai Buranaut Sakon Muangsun Tawan Weerakoon

โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของ แผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาค ด้วยการจัดการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ปีที่ดาเนินการเสร็จ พ.ศ. 2559



กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบ อินเตอร์เน็ตกรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา” ภายใต้แผนงานวิจัยเรื่อง “แผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาคด้วยการจัดการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป” ขอขอบพระคุณ “สำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ ” ที่สนับสนุนทุนวิจัยงบประมาณ แผ่นดินให้ดาเนินการวิจัย ขอบขอบพระคุณ “สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยศิลปำกร” ทั้ง ท่านผู้อานวยการสถาบันฯ “ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.อริศร์ เทียนประเสริฐ” รวมทั้งข้าราชการ และพนั ก งานสถาบั น วิจั ย ฯ ที่ ดู แ ลโครงการวิ จัย มาเป็น อย่ างดี และขอขอบพระคุ ณ “ภำควิ ช ำ สถำปัต ยกรรม และภำควิชำศิลปะสถำปัต ยกรรม คณะสถำปัต ยกรรมศำสตร์ ” “ภำควิชำ บรรณำรักษศำสตร์ คณะอักษรศำสตร์” และ “มหำวิทยำลัยศิลปำกร” ที่สนับสนุนให้ทาวิจัยเป็น อย่างดีตลอดมา, ขอขอบพระคุณ “ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ชัยชำญ ถำวรเวช” อธิการบดีมหาวิทยาลัย ศิลปากร ที่มอบกาลังใจให้แก่คณะทางาน และให้การสนับสนุนการทางานด้านต่างๆ ตลอดมา ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ” ที่ให้ความสนับสนุน ทุกๆด้าน ที่เกี่ยวเนื่องกับ วิชาการ และการวิจัยต่างๆ ตลอดมา, ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ เกี ยรติ คุ ณ อรศิริ ปำณิน ท์ ” ที่ให้คาปรึกษาในโครงการวิจัย และการบริหารโครงการวิจัยต่างๆ ตลอดจนเป็นแม่แบบสาคัญในความมุ่งมั่นบนถนนสายวิชาการ, ขอขอบพระคุณ “พลตรี หม่อ ม รำชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี” ผู้มอบคาสอน และมุมมองในการวินิจฉัยข้อมูลทางประวัติศาสตร์ต่างๆ และให้โอกาสในด้านต่างๆ ตลอดมา, ขอขอบพระคุณ “อำจำรย์จุลทัศน์ พยำฆรำนนท์ ” ผู้มอบ สายตาและมุมมองในการวินิจฉัยด้านมรดกทางวัฒนธรรมและศิลปสถาปัตยกรรม, ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ เกียรติคุณ ดร. สดชื่น ชัยประสำธน์” อาจารย์ผู้ให้กาลังใจ และข้อมูลต่างๆ ที่เป็น ประโยชน์ตลอดมา, “รองศำสตรำจำรย์ เสนอ นิลเดช” และ “รองศำสตรำจำรย์ สมคิด จิระทัศ นกุ ล” สาหรับมุมมองด้านประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย, ขอขอบพระคุณ “อำจำรย์ ดร. วินัย พงศ์ศรีเพียร” ผู้ส่งเสริมให้เรียนรู้ ผู้ปลูกฝังระเบียบวิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์ และเปิ ด โอกาสให้ ไ ด้ ท างานทรงคุ ณ ค่ า หลายๆชิ้ น และแนะน าให้ ไ ด้ มี โ อกาสพบท่ านอาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหลาย, ขอขอบพระคุณ “รองศำสตรำจำรย์ ดร. ธีระ นุชเปี่ยม” ผู้ให้ความรู้และ มุมมองทางรัฐศาสตร์ และการต่างประเทศ, ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม” ครูนอกห้องเรียนของผู้วิจัย ที่ได้มอบความรู้ทางประวัติศาสตร์ศิลปะผ่ านหนังสือ และวิจัย ต่างๆ จานวนมากมายที่เผยแพร่สู่สาธารณะอย่างกว้างขวาง , ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ” ที่กรุณาชี้แนะข้อมูล และให้คาปรึกษาในประเด็นต่างๆ ด้านประวัติศาสตร์ ค


ศิลปะ และการวิจัยตลอดมา, ขอขอบพระคุณ ขอขอบพระคุณ “ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ วรพร ภู่ พงศ์พันธุ์” “คุณวีระวัลย์ งำมสันติกุล ” สาหรับความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ อยุธยา และ “อำจำรย์ ดร. นันทวรรณ ม่วงใหญ่” สาหรับความช่วยเหลือด้านภาษา ขอขอบพระคุณ คณะผู้ช่วยวิจัยสารวจรังวัด และระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ คือ “กุ ลพัชร์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยำ”, “สมชำย เชื้อช่วยชู”, “อรวรรณ ณวัชรเจริญ”, “สิทธิชัย สิริรัชมงคล”, “ตุลชัย บ่อทรัพย์”, “รัฐวิชญ์ ศุภจัตุรัส ”, “ธนำนุกิจ จำดชลบท”, “เลอศักดิ์ ยอดระบำ”, “นรำธิป คงเอี ยด”, “ภำนุ เ ดช จัน ทรำศรี ” , “ศิริ ชัย โภชนกิ จ ”, “ภูมิร พี ทองสวัสดิ์ ” และ “ธนกฤติ ธัญญำกรณ์” ขอขอบคณะผู้ช่วยวิจัย จัดทาแบบสถาปัตยกรรม และคอมพิวเตอร์สามมิติ ซึ่งประกอบด้วย คณะทางานชาวไทย และคณะทางานจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุพานุวง หลวงพระ บาง สปป. ลาว อันประกอบด้วย “นิดถำ บุนปำนี”, “กิมทอง สอบุนทอง”, “คัมพีพัน คำชมพู”, “สำคอน จันทะวง”, “คำเลียน สีจันทะวิไช”, “ทองคูน สอนมะนี”, “อำจำรย์คำซำย พันทะ วง”, “อำจำรย์ จั น เพ็ ง ถ้ อ ”, “อำจำรย์ น วลแสง โพนสำลี ” , “วิ ษ ณุ หอมนำน”, “อนุรั ก ษ์ ชำนำญช่ำง”, “แสงจันทร์ ผู้อยู่สุข”, “สิริรัตน์ เพชรรัตน์”, “ภัทร รำหุล”, “โชติวรรณ เกริกสัต ยำพร”, “กุลพัชร์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยำ”, “สมชำย เชื้อช่วยชู”, “วิษณุ หอมนำน” บริษัท SDM CO.,LTD “คุณสุวรรณี ทัศนศร” ผู้สนับสนุนกล้องสารวจเลเซอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner) และ “คุณธนภัทร พิพัฒน์ศิริสวัสดิ์” ผู้สนับสนุนทางเทคนิคในการสารวจ หากแม้นว่าปราศจากความช่วยเหลือ และการมีส่วนร่วมของทุกๆ ท่านที่ได้เอ่ยนามมาข้างต้น และมิได้เอ่ยนามมาแล้วนั้น งานวิจัยชิ้นนี้ไม่อาจจะลุล่วงลงได้อย่างแน่นอน จึงขอขอบพระคุณทุกๆ ท่านมา ณ โอกาสนี้ เกรียงไกร เกิดศิริ อิสรชัย บูรณะอรรจน์ สกนธ์ ม่วงสุน ตะวัน วีระกุล


ชื่อโครงการ

การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต กรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา ชื่อผู้วิจัย 1. ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ (หัวหน้าโครงการ) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. อิสรชัย บูรณะอรรจน์ (ผู้ร่วมวิจัย) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 3. สกนธ์ ม่วงสุน (ผู้ร่วมวิจัย) คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 4. ตะวัน วีระกุล (ผู้ร่วมวิจัย) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร แหล่งทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดินประจาปี พ.ศ. 2556 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่เสร็จ พ.ศ. 2559 ประเภทการวิจัย การวิจัยประยุกต์ สาขาวิชา (อ้างอิงตาม วช.) ปรัชญา บทคัดย่อ โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบ อินเตอร์เน็ตกรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา” ภายใต้แผนงานวิจัยเรื่อง “แผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาคด้วยการจัดการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวี ” เป็นทั้งวิจัยพื้นฐาน เพื่อหาองค์ความรู้ที่บูรณาการศาสตร์ต่างๆ เข้า ด้วยกัน ทั้งประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภูมิศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ในมิติต่างๆ และเป็นงานวิจัยประยุก ต์เพื่อ การ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี เ พื่ อ น าองค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ ไ ปต่ อ ยอดในกระบวนการสื่ อ ความหมายมรดกทาง สถาปัตยกรรมกับการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรม บนระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งถือว่าเป็นสื่อที่มีการใช้กันอย่างกว้างขวาง และเป็นช่องทางการเผยแพร่ ข้อมูลสู่สาธารณชนได้อย่างครอบคลุม รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงในปัจจุบัน ทั้งนี้ มีข้อค้นพบและข้อเสนอใหม่ทางวิชาการว่าด้วยเรื่องการสันนิษฐานรูปแบบของวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ที่ศึกษาสถานภาพของการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมภายในวัดพระศรี รั ตนมหาธาตุ อยุ ธ ยา ซึ่งเริ่ มต้น ด้ว ย “การศึกษาภาคเอกสาร” จากหลั กฐานทางประวัติ ศ าสตร์ “การศึกษาภาคสนาม” ด้วยการสารวจรังวัดอาคาร และ “การประมวลผลการสารวจรังวัดในงานใน จ


ห้องปฏิบัติการเขียนแบบ และห้องปฏิบั ติการคอมพิวเตอร์ ” เพื่อการทาความเข้าใจรูปแบบและ รู ป ทรงทางสถาปั ต ยกรรม จากการศึ ก ษา มีข้อเสนอว่ า พัฒ นาการผั ง บริเ วณของวั ด พระศรี รั ต น มหาธาตุอยุธยา แบ่งออกได้ทั้งหมด 12 ระยะใหญ่ๆ ครอบคลุมช่วงเวลาตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็ จพระ ราเมศวร ในปี พ.ศ.1931 จนถึง ก่อนการเสี ยกรุงศรีอยุธ ยาครั้ง ที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 โดยมีการ สันนิษฐานรูปแบบของพระปรางค์ประธานในสมัยเมื่อแรกสร้างโดยใช้หลักฐาน และระเบียบวิธีวิจัย ทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมเพื่อเทียบเคียงข้อมูล ซึ่งมีข้อเสนอว่าพระปรางค์ประธานเมื่อแรก สร้างนั้นอาจเป็นได้ทั้ง “พระปรางค์องค์เดียว” และ “พระปรางค์สามองค์” และรูปแบบสันนิษฐาน ของ “พระปรางค์ที่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาทอง” เนื่องจากส่วน ยอดได้พังทลายลงมา นอกจากนี้ ยังทาการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบของอาคารประกอบผัง หลังอื่นๆ อาทิ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่สร้างอยู่รายรอบพระปรางค์ประธานภายในวงล้อม ของระเบียงคด รวมทั้ง “พระวิหารหลวง” สามารถจาแนกพัฒนาการได้ทั้งหมด 3 ระยะ, “พระ อุโบสถ”, “พระปรางค์บริวาร” เป็นต้น ทั้งนี้ เมื่อได้องค์ความรู้ใหม่ และข้อเสนอใหม่ทางวิชาการได้ผลักดันไปสู่การใช้ประโยชน์ งานวิจัยเพื่อส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยว และเรียนรู้ ด้วยการพัฒนาระบบสื่อความหมายมรดกทาง สถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์และประมวลผล ข้ อ มู ล จากการท าแบบสอบถามออนไลน์ แ ละน าผลวิเ คราะห์ ม าสู่ ขั้ น การออกแบบเวปไซต์ และ แอพพลิ เ คชั่ น บนระบบอุ ป กรณ์ ส ารสนเทศเคลื่ อ นที่ อั จ ฉริ ย ะ เพื่ อ สื่ อ ความหมายมรดกทาง สถาปัตยกรรมวัดมหาธาตุอยุธยา คาสาคัญ: วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา / มรดกโลกทางวัฒนธรรม / มรดกโลกเมืองประวัติศาสตร์ อยุธยา / การแปลความหมายมรดกทางวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว / การสารวจรังวัด สถาปัตยกรรม / การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม / การจัดการการท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม และการท่องเที่ยวยั่งยืน


Research Title Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation: Wat Mahathat Ayutthaya Researcher 1. Dr. Kreangkrai Kirdsiri (Project Leader) Faculty of Architecture Silpakorn University 2. Isarachai Buranaut (Co-Researcher) Faculty of Architecture Silpakorn University 3. Sakon Muangsun (Co-Researcher) Faculty of Arts Silpakorn University 4. Tawan Weerakoon (Co-Researcher) Faculty of Architecture Silpakorn University Research Grants Fiscal Year 2013, Research and Development Institute, Silpakorn University Year of complement 2016 Type of research Applied research Subjects (based NRCT) Philosophy Abstract “ Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation a Case Study of Wat Mahathat Ayutthaya” is a part of the research project “Driven Strategic Plan for Thailand as a Hub of Tourism by Managing the World Heritage in the Main Land of Southeast Asia” which aims to integrate sciences including history, archaeology, geography, architecture, and communication arts. The results of this study are the knowledge and understanding about Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya which can be applied with other related aspects, especially interpretation of cultural heritage and tourism. The Internet is one significant channel which is effective in terms of fast spreading information to public. The new findings are about the architectural forms of Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya, from the secondary sources and field studies, along with measurement of the construction and the computer techniques. That is, the site plan of Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya can be categorized into 12 ranges, from King Ramesuan, in 1388, to the collapse of the capital, in 1767. The consumption of ช


the construction of the Prang was based on methodology in architectural history. It was found that the Prang at the first place could have been the sole Prang or the three Prangs. Restoration was done in the reign of King Prasat Tong due to the fact that the top collapsed. Other components were also studied, comprising the gallery, the main Vihara, Ubosot, and the surrounding Prangs. The academic findings are beneficial in terms of promoting tourism and learning. Interpretation tools were created via the Internet. That is, the analysis and results were used for the web design, along with mobile application so as to interpret the cultural heritage of Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya. Key words : Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya / World Cultural Heritage / World Heritage Town of Ayutthaya / Cultural Tourism Interpretation / Architectural Measurement / Architectural Re- construction / Cultural Tourism and Sustainable Tourism

ซ


สารบัญ กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................ บทคัดย่อภาษาไทย....................................................................................................................... บทคัดย่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................... ....... สารบัญภาพ.................................................................................................................... .............. บทที่ 1 บทนา......................................................................................................................... ...... คาถามของการศึกษา............................................................................................. ความสาคัญและที่มาของการทาวิจัย...................................................................... คาสาคัญ.............................................................................................................. .. วัตถุประสงค์ของการวิจัย....................................................................................... ขอบเขตของการวิจัย... .......................................................................................... ทฤษฎี สมมติฐาน และกรอบแนวความคิด............................................................. นิยามศัพท์ และข้อตกลงเบื้องต้น........................................................................... ลักษณะโครงการวิจัย............................................................................................. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ..................................................................................... วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง /เก็บข้อมูล............................... แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย………………………...... 2 สารสนเทศคัดสรร............................................................................................................ เอกสารประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหาธาตุอยุธยา………………………………. เอกสารที่เกี่ยวเนื่องกับมุมมอง ความคิด และการตีความที่เกี่ยวเนื่องกับ พระมหาธาตุอยุธยา………………………………………………………………………….. 3 พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา…………………......................................................................... คติการบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และประเภทของเจดีย์ในพระพุทธศาสนา………… ความสัมพันธ์ระหว่างพระมหาสถูปกับการวางผังเมืองโบราณในอินเดีย ลังกา และ การส่งอิทธิพลยังเมืองโบราณในลุ่มแม่น้าภาคกลางของไทย…………… ความสับสนของการขนานนามระหว่าง “พระมหาธาตุ” และ “พระบรมธาตุ”….. ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับพระมหาธาตุ หรือพระสถูปทรงปรางค์………………………….. พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี: ต้นธารศิลปะสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุทรงปรางค์ ในลุ่มน้าภาคกลางของไทย.......................................................................... ฌ

หน้า ค จ ช ฎ 1 1 2 8 8 9 9 9 10 10 11 11 13 13 18 39 39 48 54 57 89


ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์การสถาปนาพระพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา..... ประวัติศาสตร์อยุธยาที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา........... วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และความสัมพันธ์กับผังเมืองกรุงศรีอยุธยา........... ผังบริเวณของวัดพระมหาธาตุ และที่ตั้งสัมพันธ์..................................................... สถานภาพของมรดกสถาปัตยกรรมภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาภายหลัง เสียกรุงศรีอยุธยาถึงปัจจุบัน.......................................................................... สภาพของมรดกสถาปัตยกรรมภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาจากการ สารวจรังวัด และการใช้กล้องสารวจเลเซอร์สามมิติ (3Ds Laser Scan).... 4 การสันนิษฐานรูปแบบวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา………………………………………………. สถานภาพการศึ ก ษาเพื่ อ การสั น นิ ษ ฐานรู ป แบบสถาปั ต ยกรรม และการสื่ อ ความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติ ศาสตร์พระนครศรีอยุธยา........................................................................... ขั้นตอนการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยาในการวิจัยนี้............................................................................... พั ฒ นาการทางสถาปั ต ยกรรมวั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยาจากการศึ ก ษา เอกสารทางประวั ติ ศ าสตร์ และการส ารวจรั ง วั ด น าสู่ ก ระบวนการ สันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม................................................................ การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมและพัฒนาการของผังบริเวณวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยา........................................................................................... 5 การพัฒนาระบบสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต……………………………………………………………………….………. การอภิปรายผลข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์ “การพัฒนาระบบสื่อความ หมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต: กรณีศึกษา วัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา”.............................................................................. การออกแบบสื่อสารสนเทศประเภทเวปไซต์ และแอพพลิเคชั่นในระบบอุปกรณ์ สารสนเทศเคลื่อนที่ เพื่อสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมวัดพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา……………………………………………………………………… 6 สรุปผลการศึกษา.............................................................................................................. บรรณานุกรม............................................................................................................................. ... ภาคผนวก..................................................................................................................................... ประวัติผู้วิจัย................................................................................................................................. ญ

97 105 113 118 138 154 203

203 213

222 291 311

312

331

347 363 372 391


สารบัญภาพ ภาพที่ 1

2

3 4 5 6

7

8

9

10

หน้า จิตรกรรมฝาผนังเล่าเรื่องเหตุการณ์ที่โทณพราหมณ์แบ่งพระบรมสารีริกธาตุอยู่ภายใน ปราสาท (มุมขวามือของภาพ) ส่วนทางซ้ายมือนั้นแสดงเหตุการณ์ถวายพระ เพลิ งพระพุ ทธสรี ระ ซึ่ งเป็ น จิ ต รกรรมฝาผนังในพระที่ นั่ งพุ ท ไธสวรรย์ อดี ต พระราชวังบวรสถานมงคล ในปัจจุบันคือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร..... ภาพแสดงวิวัฒนาการพระสถูป ที่เริ่มต้นจากการสร้างเนินดินพูนเหนือหลุมศพหรือที่ บรรจุอัฐิเพื่อให้เห็นชัดเจนว่าไม่ใช่เป็นพื้ นที่สามัญ ต่อมาจึงมีการปักเสาเขื่อน ล้อมรอบกันมูลดินพังทลายลงมา ต่อมามีการสร้างเขื่อนหินแทนเพื่อความคงทน มีการสร้างประตูทางเข้าสู่ผังบริเวณทั้ง 4 ทิศ ในภาพเป็นกรณีศึกษาจากสถูป สาญจี…….............................................................................................................. ภาพแสดงวิวัฒนาการพระสถูปที่เริ่มต้นจากอินเดียสู่พระสถูปในลังกา........................... เส้นทางการเชื่อมต่อและการเผยแพร่พระพุทธศาสนาจากอินเดีย ลังกา และเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านเส้นทางการค้าในอดีต……………………………………….......... ภาพซ้าย พระมหาสถูปรุวันเวลิเสยะกลางเมืองอนุราธปุระ, ภาพขวา พระมหาสถูปแห่ง สานักเชตวันมหาวิหาร แห่งเกาะลังกา………………………………………………….. ภาพแสดงความแตกต่างกันระหว่างรูปทรงทางสถาปัตยกรรมกับคานามที่กล่าวเรียก ขาน กล่าวคือ ภาพซ้าย คือ “พระมหาธาตุ” ซึ่งหมายถึง “สถูปทรงปรางค์ ” ในขณะที่ภาพขวา คือ “พระมหาเจดีย์” หรือ “พระบรมธาตุ” หรือ “พระสถูป ทรงเจดีย์”……………………………………………………………………………………………….. ภาพจิตรกรรมบนสมุดข่อยแสดงรูปภาพของเขาพระสุเมรุ ตลอดภูมิต่างๆ ตามคติเรื่อง “ไตรภูมิ” ที่หยังรากลงลึกอยู่กับสังคมพระพุทธศาสนาในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา จนส่งอิทธิพลไปสู่การตีความ การประยุกต์ และการนาเสนอคติเรื่องไตรภูมิใน รูปแบบต่างๆ ทั้งผลงานศิลปกรรม และผลงานสถาปัตยกรรม………………………… การถ่ายทอดคติเรื่องเขาพระสุเมรุออกมาสู่ผลงานประณีตศิลป์ไทยงานลงรักปิดทอง บานประตูของตู้พระธรรมสมัยอยุธยา สะท้อนให้เห็นถึงความลึกซึ้งในตัวบทของ คติที่อยู่ในสานึกของนายช่วงศิลปินที่เป็นคนออกลวดลายและวางองค์ประกอบ ที่มีความถูกต้องแม่นยาตามคติ และมีความงดงามอย่างยิ่ง…………………………….. การถ่ายทอดคติเรื่องเขาพระสุเมรุออกมาสู่ผลงานการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมพระ ปรางค์ หรือที่เรียกกันในสมัยอยุธยาว่า “พระมหาธาตุ” ที่ประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ตลอดจนการออกแบบวางผังบริเวณ ซึ่งแสดงออก ได้อย่างเด่นชัด ในการออกแบบสร้างสรรค์วัดไชยวัฒนารามในสมัยสมเด็จพระ เจ้าปราสาททอง……………………………………………………………………………………….. พระปรางค์รูปแบบต่างๆ ภาพซ้าย คือ พระปรางค์ทรงศิขร, ภาพขวา คือ พระปรางค์ ทรงงาเนียม........................................................................................................... ฎ

40

43 44 49 51

56

62

63

64 67


11 12 13 14

15

16 17 18

19

20 21 22 23 24

พระปรางค์รูปแบบต่างๆ ภาพซ้าย คือ พระปรางค์ทรงฝักข้าวโพด และภาพขวา คือ พระปรางค์ทรงจอมแห……………………………………………………………………………… แบบสถาปัตยกรรมแสดงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์…………………. แบบแสดงลักษณะฐานแบบต่างๆ ของพระปรางค์………………………………………………….. ตัวอย่างของประดิษฐานประติมากรรมพระพุทธรูปปางประทับยืนที่สอดคล้องกับพื้นที่ ว่างของซุ้มประตูที่มีลักษณะแคบสูง ภาพซ้าย คือ ประติมากรรมพระพุทธรูปปูน ปั้นประดับซุ้มจระนาด้านทิศเหนือของพระปรางค์ประธานวัดพระราม และภาพ ขวา คือ ประติมากรรมพระพุทธรูปหล่อสาริด ประดิษ ฐานในซุ้มจระน าพระ ปรางค์พุทไธศวรรย์…………………………………………………………………………………… แสดงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระมหาธาตุ ทั้งนี้ ภาพบน เป็นพระมหาธาตุ ที่มีรูปทรงที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของปราสาทในวัฒนธรรมขอม, ภาพ ล่าง เป็นพระมหาธาตุที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมพัฒนาขึ้นในช่วงอยุธยา ตอนต้น……………………………………………………………………………………………......... แบบสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุวดั ราชบูรณะ ภาพซ้าย คือ รูปด้านข้าง, ภาพขวา คือ รูปด้านหน้า……………………………………………………………………………………………… แบบสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุวัดไชยวัฒนาราม ภาพซ้าย คือ แผนผัง , ภาพขวา คือ รูปด้านหน้า……………………………………………………………………………………………… ภาพซ้าย คือ แบบสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุวัดไชยวัฒนาราม ภาพขวา คือ พระ มหาธาตุ วั ด วรเชตุ เ ทพบ ารุ ง ซึ่ งจะเห็ น ได้ ว่ า มี รู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรมที่ เหมือนกัน คือ การให้ความสาคัญกับแกนทั้ง 4……………………………………………… ภาพซ้าย คือ พระมหาธาตุวัดจุฬามณี สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และ ภาพขวา คือพระมหาธาตุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง สันนิษฐานว่าสร้างในรัช สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเช่นเดียวกัน โดยน่าจะสร้างครอบทับพระเจดีย์ ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์……………………………………………………………………………….. พระมหาธาตุลพบุรี ซึ่งสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในราวต้นพุทธศตวรรษที่ 19…………………. พระปรางค์ แ ขก เป็ น พระปรางค์ ก่ อ อิ ฐ ที่ มี ก ารวางผั งเป็ น ปรางค์ ว างตั ว เรี ย นหน้ า กระดานกัน 3 องค์……………………………………………………………………………………. แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานแสดงพระมหาธาตุลพบุรีที่มีพระปรางค์บริวารขนาบ ด้านข้าง…………………………………………………………………………………………………... โบราณสถานเขาคลังนอก เมืองโบราณศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์……………………………… “ภาพซ้าย” คือ พระมหาธาตุวัดพระราม มุมทางขวามือของภาพยังเห็นซากฐานของ พระปรางค์ที่สร้างขนาบข้าง “ภาพขวา” คือ มหาธาตุวัดพุทไธสวรรย์ แลเห็นมี มณฑปขนาบอยู่ด้านหน้าข้าง………………………………………………………………………

69 71 71

73

76 84 87

87

88 92 92 92 93

96


25

26 27 28 29

30

31 32

แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงที่ตั้งของพระมหาธาตุต่างๆ ในเกาะ และนอกเกาะกรุง ศรีอยุธยา ดังจะเห็นได้ว่าในสมัยอยุธยาตอนต้น และสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ หลังสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง มีความนิยมในการก่อสร้างพระมหาธาตุ เป็นหลักเป็นประธานของวัด ในขณะที่สมัยอยุธยาตอนมีความนิยมในการสร้าง พระบรมธาตุ หรือพระเจดีย์เป็นหลักเป็นประธานของวัด………………………………. พระมหาธาตุลพบุรี…………………………………………………………..………………………………… เศียรหลวงพ่อธรรมมิกราชที่มีพุทธศิลป์แบบอู่ทอง…………………………………………………. ภาพซ้าย คือ ปราสาทธมมานนท์ และ ภาพขวา คือ ปราสาทสายเทวดา………………….. แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมแสดง (ภาพบน) ภาพถ่ายดาวเทียมเมืองพระนครแสดงแกน ตะวันออก-ตะวันตก จาก “สะพานหิน” ที่เรียกว่า “สเปียน ทมอร์” ข้ามแม่น้า เสียมเรียบ ตรงไปในทางทิศตะวันตกจะพบปราสาท 2 หลังตั้งขนาบเส้นทาง คือ ปราสาทเจ้ า สายเทวดาอยู่ ท างฟากซ้ า ยมือ ปราสาทธมมานนท์ อ ยู่ ท างฟาก ขวามื อ จากนั้ น ถนนวิ่ งตรงไปผ่ า นซุ้ มประตูเ มื อ งและตรงไปบรรจบกั บลาน พระราชวั ง ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น เรี ย ก Elephant Terrace (ภาพล่ า ง) ภาพถ่ า ย ดาวเที ย มกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แสดงให้ เ ห็ น แนวแกนตะวั น ออก-ตะวั น ตก จาก “สะพานป่าถ่าน” ข้ามคลองประตูข้าวเปลือก จะพบวัด 2 วัดตั้งขนาบเส้นทาง คือ “วัดพระมหาธาตุ” อยู่ทางฟากซ้ายมือ และ “วัดราชบูรณะ” อยู่ทางฟาก ขวามือ ตรงไปบรรจบกับพระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์มหาปราสาท………………….. ภาพแสดงที่ตั้งของวัดสาคัญบนแกนตะวันออก-ตะวันตก จากแกนเดิม คือ แกนจาก พระราชวังหลวงมายังวัดมหาธาตุ ซึ่งเป็นแกนที่เกิดขึ้นในสมัยพระราเมศวร แต่ ต่อมาในสมัยพระบรมไตรโลกนาถได้ยกพระราชวังหลวงทาวัดพระศรีสรรเพชญ์ แม้ว่าจะต่อมาในสมัยสมเด็จเจ้าสามพระยาจะเกิดแกนใหม่แต่ก็ยังอยู่ในแนว ตะวันออก-ตะวันตกเช่นเดิม คือ จาก “สะพานป่าถ่าน” ผ่าน “วัดพระมหาธาตุ” ทางซ้ายมือ และ “วัดราชบูรณะ” ทางขวามือ จากนั้นผ่าน “วัดหลังคาขาว” ทางซ้ายมือ และ “วัดชุมแสง” ทางขวามือ จากนั้นตรงไปยังพระที่นั่งจักรวัติ ไพชยนต์ ซึ่งในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองหลวงที่โปรดฯ ให้สร้างพระที่นั่ง จักรวัติไพชยนต์ซึ่งเทียบได้กับลานพระราชวังที่เมืองพระนครหลวง ทาให้แกน ตะวันออก-ตะวันตกนี้มาสมบูรณ์แบบและเทียบได้กับแกนหลักทางตะวันออก ของเมืองพระนครหลวงด้วย…………………………………………………………................. แผนที่แสดงที่ตั้งสัมพันธ์ของวัดพระมหาธาตุกับองค์ประกอบระดับผังเมืองอื่นๆ………… แบบสถาปัตยกรรมแสดงภาพตัด (Section) วัดราชบูรณะที่ตัดผ่านระเบียงคด เพื่อ แสดงให้เห็นแนวกาแพงก่ออิฐจากพื้นจรดโครงสร้างหลังคาในฝั่งด้านนอก และ ใช้เสาลอยรอยรับโครงสร้างหลังคาเพื่อให้แสงลอดเข้ามายังพื้นที่ตอนใน ใน ขณะเดียวกันก็เปิดมุมมองของผู้ใช้พื้นที่ออกไปยังพระมหาธาตุประธานที่ตั้งอยู่ กลางของผังบริเวณ…………………………………………………………………………………… ฐ

102 104 104 114

114

115 117

120


33

34

35 36

37

38

39

40 41 42 43 44

ภาพสามมิติแสดงระเบียงคดล้อมรอบผังบริเวณเขตพุทธาวาสของวัดพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช จะเห็นว่าห้องท้ายของวิหารธรรมศาลาซึ่งเป็นวิหารด้านทิศ ตะวันออกของผังบริเวณนั้นยื่นเข้าไปยังผังบริเวณด้านในระเบียงคด อันเป็น เอกลักษณ์สาคัญของการวางผังวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น………………………………. แบบสถาปัตยกรรมแสดงผังบริเวณเขตพุทธาวาสวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น เปรียบเทียบ กันระหว่างวัดพุทไธศวรรย์ (ภาพบน) และวัดราชบูรณะ (ภาพล่าง) จะเห็นได้ว่า มีการวางผังให้มุขท้ายของพระวิหารหลวงจะยื่นเข้าไปยังผังพื้นที่ภายในที่โอบ ล้อมด้วยพระระเบียงคด หรืออาจจะกล่าวได้ว่าระเบียงคดนั้นวิ่งเข้ามาบรรจบที่ ห้องท้ายวิหารหรือส่วนท้ายวิหาร ซึ่งลักษณะดังกล่าวถือเป็นอันเป็นเอกลักษณ์ สาคัญของการวางผังวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น…………………………........................ ภาพแสดงท้ายจระนาวิหารหลวงวัดพุทไธศวรรย์ พระนครศรีอยุธยา แสดงให้เห็นการ ต่อเชื่อมกับระเบียงคดที่ตาแหน่งห้องท้ายวิหาร…………………………………………… พื้นที่และบรรยากาศภายในระเบียงคดที่สร้างขึ้นเพื่อก่อรูปให้เกิดพื้นที่ปิดล้อ มอั น ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระมหาธาตุประธานตรงกึ่ งกลางผั ง บริเวณ จากภาพจะแลเห็นผนังที่อยู่รอบนอกก่อทึบและเป็นพนักให้ประดิษฐาน พระพุทธรูปเรียงรายไปตลอดแนว และฝั่งด้านในใช้การก่อเสารับโครงสร้าง หลังคา เพื่อดึงแสงธรรมชาติให้เข้ามายังพื้นที่ตอนใน และฉายส่องมายังองค์ พระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ด้วย………………………………………………………………… ภาพผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอ ยุธยาจากการส ารวจด้ วยกล้อ งสารวจ เลเซอร์ 3 มิติ ด้านหน้าคือทิศตะวันออก คือ พระวิหารหลวง และด้านตะวันตก คือ พระอุโบสถ ทั้งนี้ ผังบริเวณที่แสดงนี้เป็นผังที่สะท้อนให้เห็นผังวัดพระศรีรัต นมหาธาตุอยุธยาในสมัยสุดท้ายก่อนการเสียกรุง………………………………………….. ประเภทของอาคาร และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ภายในผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา ทั้งนี้ ผังบริเวณที่แสดงนี้เป็นผังในสมัยสุดท้ายก่อนการเสียกรุงในปี พ.ศ. 2310………………………………………………………………………………………………………. แบบสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบระหว่างปราสาทหินพิมาย และพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ซึ่งยังคงแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ทางสถาปัตยกรรมที่ถ่ายทอดถึงกันอยู่ ทว่ามณฑปด้านหน้าได้มีการลดขนาดลง เนื่ องเพราะมีการก่อสร้างพระวิหาร หลวงด้านหน้าพระมหาธาตุเพื่อเป็นพื้นที่สาหรับประกอบพิธีกรรมทางศาสนา…. รูปตัด (Section) ผังบริเวณเขตพุทธาวาสภายในวงล้อมของระเบียงคดวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยา………………………………………………………………………………………… การวางผังในแนวแกนทิศ ตะวันออก-ตะวันตก (วิหารหลวง-ปรางค์ประธาน-อุโบสถ)…. แผนผังแสดงการหันทิศของพระวิหารรายหลังต่างๆ ในผังบริเวณเขตพุทธาวาสชั้นนอก การวางผังแบบรวมศูนย์กลาง………………………………………………………………………………. การหันทิศด้านหน้าของพระปรางค์รายที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นนอก…………… ฑ

121

122 123

123

125

126

128 129 131 133 135 137


45 46 47 48 49 50

51 52 53 54

55 56 57

58 59

60 61 62

สภาพของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา มุมมองจากวัดราชบูรณะ เมื่อราวปี พ.ศ. 2499………………………………………………………………………………………………………. แบบสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่สารวจและจัดทาขึ้นในปี พ.ศ. 2500………………………………………………………………………………………………………. การขุดเปิดกรุวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา ในปี พ.ศ. 2499…………………………………… การขุดเปิดกรุวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา ในปี พ.ศ. 2499…………………………………… จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้าร่วมพิธีกรรมสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2499…………………………………………………………………………………….. มณฑลพิธีในการสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาตม พ.ศ.2499 จัดมณฑล พิธีตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา วัดที่เห็น เป็นฉากอยู่ด้านหลัง คือ วัดราชบูรณะ…………………………………………………………. มณฑลพิธีในการสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาตม พ.ศ.2499 จัดมณฑล พิธีตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา……………. มณฑลพิธีในการสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาตม พ.ศ.2499 จัดมณฑล พิธีอยู่ตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา……….. จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้าร่วมพิธีกรรมสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2499…………………………………………………………………………………….. สถูปซ้อนชั้นที่ทาด้วยจากวัสดุมีค่าชนิดต่างๆ ออกแบบเป็นทรงเจดีย์ทว่าไม่มีบัลลังก์ ซึ่งอาจเป็นรูปทรงอันเก่าแก่ของสถูปเจดีย์ที่ยังตกค้างอยู่ ภายในเป็นพระกรัณฑ์ ที่ตกแต่งด้วยแก้วผลึกมีค่าซึ่งภายในประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ................... ผอบหินรูปปลาเขียนลานทอง.......................................................................................... เครื่องมหัคฆภัณฑ์ของมีค่าต่างๆ ที่ค้นพบในกรุพระมหาธาตุ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา.................................................................................................................. ผั งบริ เ วณวั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยามุ ม มองตานก (Bird Eye View) จากการ ประมวลผลจากการสารวจด้วยเครื่องเลเซอร์ส แกนเนอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner)............................................................................................................. ผั ง บริ เ วณวั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยา ผลจากการส ารวจด้ ว ยเครื่ อ งเลเซอร์ สแกนเนอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner)........................................................... ผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แสดงสภาพของสถาปัตยกรรมแต่ละหลัง กล่าวคือ สีแดง คือมีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ สีเหลือง คือ มีสภาพหลงเหลือส่วน ฐานและผนังบางส่วน และสีน้าตาล คือ อาคารที่พังทลายเหลือเฉพาะส่วนฐาน.. ผังบริเวณเขตพุทธาวาสในวงล้อมของระเบียงคด อันเป็นที่ตั้งของพระศรีรัตนมหาธาตุ และอาคารบริวารอื่นๆ………………………………………………………………………………. แผนผังบริเวณเขตพุทธาวาสในวงล้อมของระเบียงคด แสดงสภาพทางกายภาพของ อาคารหลังต่างๆ ที่ตั้งอยู่โดยรอบพระศรีรัตนมหาธาตุ…………………………………… แผนผังสภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ....................................... ฒ

144 144 147 148 148

149 149 150 150

151 151 152

155 156

157 158 158 159


63 64 65 66 67

68

69

70

71

72

73

74 75

สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศตะวันออก.................... สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศเหนือ............................. สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศใต้.................................. สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศตะวันตก....................... ชุดฐานซ้อนชั้นของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ซึ่งตรงส่วนพระปรางค์ประธานนั้นเป็น โครงสร้างก่อด้วยศิลาแลงมาแต่เดิม และมีการก่อมุขให้กลายเป็นผังแบบจัตุรมุข ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง................................................................... วัสดุก่อสร้างของเรือนธาตุ และภายในห้องครรภธาตุใช้ศิลาแลงเป็นวัสดุก่อสร้างหลัก ทั้งนี้ในภาพขวามือจะแลเห็นว่ามีการใช้หินทรายก่อเป็นโครงสร้างรับน้าหนักใน ส่วนพื้นขององค์พระปรางค์นับตั้งแต่พื้นห้องครรภธาตุลงไปและก่อเป็นพนักของ กรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ………………………………………………………… ภาพจากการ 3Ds Laser Scanner ภาพซ้าย คือ พระปรางค์มุมด้านตะวันตกเฉียง เหนือ ซึ่งยังมีสภาพเกือบสมบูรณ์ และภาพขวา คือ พระปรางค์มุมด้านตะวันตก เฉียงใต้ที่เรือนยอด และตัวเรือนพังทลายลงมา แต่ยังเห็นร่องรอยของช่องประตู เข้าสู่ห้องครรภธาตุ……………………………………………………………………………………. เจดีย์บริวารทรงปราสาทยอด ภาพซ้าย คือ เจดีย์องค์ที่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ เกือบทั้งองค์เพื่อการสื่อความหมายการเรียนรู้ ภาพกลาง สภาพปัจจุบันของ เจดีย์บริวารที่รักษาไว้ตามสภาพจะเห็นเรือนธาตุ และฐานในผังสี่เหลี่ยมย่อมุม สาหรับภาพขวา คือ เจดีย์บริวารที่ยังคงเหลือถึงองค์ระฆังและปล้องไฉนทว่า ส่วนฐานมีการพังทลายสูงจนสิ้นสภาพ หากไม่มีองค์อื่นเทียบเคียงก็ไม่อาจทราบ ถึงรูปแบบของเรือนธาตุได้เลย……………………………………………………………………. ซากฐาน และเสาของมณฑปบริวารที่สร้างอยู่ล้อมรอบพระศรีรัตมหาธาตุสลับหว่างกับ เจดีย์บริวารทรงปราสาทยอด สันนิษฐานว่ามณฑปเหล่านี้บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้น ใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง……………………………………………………….. ภาพซ้ายบน-ล่าง ภาพจาก 3Ds Laser Scanner รูปด้านและผังของเจดีย์ทรงปราสาท ยอดผั งสี่ เ หลี่ ยมย่ อ มุม ภาพขวา คื อ ภาพถ่ า ยเก่ า เจดีย์ ท รงปราสาทยอดผัง สี่เหลี่ยมย่อมุม………………………………………………………………………………………….. ภาพซ้ายบน-ล่าง ภาพจาก 3Ds Laser Scanner รูปด้านและผังของเจดีย์ทรงปราสาท ยอดผั งสี่ เ หลี่ ยมย่ อ มุม ภาพขวา คื อ ภาพถ่ า ยเก่ า เจดีย์ ท รงปราสาทยอดผัง สี่เหลี่ยมย่อมุม...................................................................................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงผังพื้นของระเบียงคด............................................. ระเบียงคดด้านนอกซึ่งจะเป็นกาแพงอิฐทึบสูงเพื่อป้องกันความปอลดภัยแก่พื้นที่ตอน ใน เหนือกาแพงมีลักษณะเป็นบัวหลังเจียดที่ปั้นปูนตกแต่งเลียนแบบการมุง หลังคาด้วยกระเบื้องกาบ......................................................................................

159 160 160 160

163

163

165

166

167

168

169 170

171


76

77 78 79

80 81

82

83 84 85

86 87 88 89 90

91

ภายในระเบียงคด จะเห็นว่าพื้นที่ตอนในที่หันเข้าสู่พระศรีรัตนมหาธาตุจะมีความโถง ในขณะที่ ด้ า นนอกจะก่ อ ก าแพงสู ง ซึ่ ง ท าหน้ า ที่ ทั้ ง ส าหรั บ การรั ก ษาความ ปลอดภัย และกาแพงยังทาหน้าที่รับน้าหนักโครงสร้างหลังคาของระเบียงคด ในขณะที่ฟากด้านในใช้เสาลอยเป็นตัวรับน้าหนักโครงสร้างหลังคา..................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงขอบเขตและลักษณะชุดฐานทั้ง 3 ระยะ ของ วิหารหลวง (ดูภาพขยายในภาพที่ 78).................................................................. ลักษณะชุดฐานระยะต่างๆ ของวิหารหลวง……………………………………………………………. ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงภาพขยายผั งพื้ น ระยะต่ า งๆ ของวิ ห ารหลวง กล่าวคือ “กรอบสีเหลือง” คือ ผังพื้นระยะที่ 1 “กรอบสีเขียว” คือ ผังพื้นระยะ ที่ 2 และ “กรอบสีแดง” คือ ผังพื้นระยะสุดท้าย................................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงผังพื้น และรูปด้านต่างๆ ของพระวิหารหลวงวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา………………………………………………………………………... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงลักษณะทางสถาปัตยกรรม และสภาพปัจจุบัน ของพระวิหารหลวงภาพซ้าย คือ แผนผังอาคารวิหารหลวง ภาพขวา คือ รูปด้าน ทิศใต้..................................................................................................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงลักษณะทางสถาปัตยกรรม และสภาพปัจจุบัน ของพระวิหารหลวง ภาพซ้าย คือ รูปด้านทิศตะวันออก ภาพขวาบน คือ รูปด้าน ทิศตะวันตก และ ภาพขวาล่าง คือ รูปด้านทิศตะวันออก...................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงผังพื้น และรูปด้านต่างๆ ของพระอุโบสถวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา......................................................................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงภาพขยายสภาพปัจจุบันของพระอุโบสถ “ภาพ ซ้าย” คือ ผังพื้น และ “ภาพขวา” คือ รูปด้านข้างทางทิศใต้…………………………... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงภาพขยายสภาพปัจจุบันของพระอุโบสถ “ภาพ ซ้าย” คือ รูปด้านทางทิศเหนือ “ภาพขวาบน” คือ รูปด้านข้างทางทิศตะวันตก และ “ภาพขวาล่าง” คือ รูปด้านข้างทางทิศตะวันออก………………………………….. สภาพปัจจุบัน และทิศทางการวางของปรางค์ราย และเจดีย์ราย.................................... เปรียบเทียบขนาดและองค์ประกอบของพระปรางค์รายองค์ใหญ่ กับพระปรางค์ราย…. แผนผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แสดงพระปรางค์ และพระเจดีย์แบบต่างๆ ที่ ก่อสร้างขึ้นในพื้นที่ผังบริเวณเขตพุทธาวาสด้านนอกระเบียงคด……………………… ภาพจาก 3Ds Laser Scanner ปรางค์ราย และเจดีย์ราย ที่มีสภาพเหลือถึงส่วนยอด… ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงการเปรียบเทียบรูปทรงของพระปรางค์หมายเลข 8 และหมายเลข 13 ที่แสดงให้เห็นว่าระเบียบสัดสัดส่วนของรูปทรงนี้มีความ แตกต่างกัน อันนาไปสู่ข้อสันนิษฐานว่า พระปรางค์หมายเลข 13 ควรจะสร้าง ขึ้นภายหลัง แต่ทว่าสร้างขึ้นตรงตาแหน่งของพระปรางค์มุมองค์เดิม………………. ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงการเปรียบเทียบรูปทรงของพระปรางค์ รายองค์ ต่างๆ………………………………………………………………………………………………… ด

171 173 173

174 175

176

177 179 180

181 183 184 185 186

188 189


92 93

94

95 96 97 98 99 100 101

102 103 104

105

องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์รายผังแปดเหลี่ยม หมายเลข 1…………. ภาพซ้าย คือ พระปรางค์ผังแปดเหลี่ยมตั้งอยู่ฐานไพทีผังย่อมุมไม้ยี่สิบ ตัวเรือนธาตุ แบ่งเป็น 3 ชั้น และออกแบบเป็นซุ้มจระนา และปั้นปูนเป็นรูปเจดีย์ตกแต่งกลาง ซุ้มซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นการแสดงนัยถึงการบรรจุอัฐิไว้ภายใน ภาพขวาบน และ กลาง คือ เรือนยอดออกแบบเป็นสถูปทรงปรางค์ 9 ยอด ซึ่งสันนิษฐานว่าพระ ปรางค์ผังแปดเหลี่ยมองค์นี้ว่าสร้างหลังจากสมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรง บูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุพระศรีรัตนมหาธาตุเป็นพระปรางค์เก้ายอด , ภาพขวาล่ า ง คื อ ภาพประติ ม ากรรมปู น ปั้ น รู ป เทวดายื น ซึ่ ง สะท้ อ น ความสัมพันธ์กับศิลปะล้านนา……………………………………………………………………. ภาพจาก 3Ds Laser Scanner ภาพซ้าย คือ พระเจดีย์หมายเลข 25 เป็นพระเจดีย์ผัง ย่อมุมไม้ยี่สิบ ภาพขวา คือ พระปรางค์หมายเลข 26 ซึ่งเป็นพระปรางค์ที่มีชุด ฐานเป็นฐานสิงห์ อีกทั้งฐานและตัวเรือนชะลูดสูงซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมในสมัย อยุธยาตอนปลาย……………………………………………………………………………………… ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของเจดีย์ทรง ระฆัง หมายเลข 27…………………………………………………………………………………… พระเจดีย์ทรงระฆังอยู่ที่มุมด้านตะวันตกเฉียงเหนือด้านข้างพระอุโบสถ……………………. “วิหารแกลบ” คือ พระวิหารที่มีขนาดเล็กซึ่งออกแบบเป็นอาคารเครื่องก่อทั้งหลัง…….. แผนผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แสดงตาแหน่งของพระวิหารราย ที่ก่อสร้างขึ้น ในพื้นที่ผังบริเวณเขตพุทธาวาสด้านนอกระเบียงคด............................................. ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงสภาพปัจจุบันของพระวิหารราย............................ ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงสภาพปัจจุบันของพระวิหารราย (ต่อ)................... ตัวอย่างการการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมฝีพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ กรณีศึกษาพระวิหารหลวงพ่อมงคลบพิตร พระนครศรีอยุธยา ที่ทรงให้แนวทางความน่าจะเป็นของรูปแบบสถาปัตยกรรมที่อาจเป็นไปได้ จาก การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล แวดล้ อ มต่ า งๆ จึ งได้ น าเสนอรู ป แบบสถาปั ต ยกรรม 2 แนวทาง…………………………………………………………………………………………………… หน้ า ปกวารสารหน้ า จั่ ว วารสารวิ ช าการประจ าคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 8 ปีการศึกษา 2531................................................... หน้าปกหนังสือวัดพระศรีสรรเพชญ์................................................................................ การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ ระยะสุดท้าย ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยรองศาสตราจารย์เสนอ นิลเดช แสดงการใช้ แบบสถาปัตยกรรมแสดงสภาพปัจ จุบัน (Existing Condition) ซึ่งยังปรากฏ ร่องรอยของไวทยากรณ์ทางสถาปัตยกรรมในการขึ้นรูปทรงสันนิษฐาน…………… แบบทัศนียภาพ (Isometric) แสดงแบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานรูปแบบพระวิหาร หลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ แสดงแบบพระวิหารหลวงระยะสุดท้ายก่อนเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยรองศาสตราจารย์เสนอ นิลเดช……………………………………. ต

190

191

192 193 194 195 196 197 198

206 208 208

209

209


106

107 108 109

110 111 112 113 114 115 116

ภาพบน หน้าปกหนังสือ Ayutthaya World Heritage ซึ่งจัดพิมพ์ 2 เล่ม คือ แหล่ง มรดกโลกพระนครศรีอยุธยา และแหล่งมรดกโลกสุโขทัย สนับสนุนการจัดพิมพ์ โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย แสดงให้เห็นถึงวามสนใจในการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และการเรียนรู้มรดกทางสถาปัตยกรรมด้วยการใช้การ สั น นิ ษ ฐานรู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรมเพื่ อ กระตุ้ น จิ น ตภาพของผู้ รั บ สาร (Receiver) ต่อแหล่งมรดกทางสถาปัตยกรรมที่พังทลายเป็นซาก (Ruin) ไปแล้ว ภาพล่ า ง การน าเสนอด้ ว ยวิ ธี ก ารพิ ม พ์ ภ าพถ่ า ยสี ข องแหล่ ง มรดกทาง สถาปัตยกรรมมุมมองที่เป็นเอกลักษณ์ของแหล่งนั้นๆ และซ้อนทับด้วยแผ่นใส พิมพ์สี โดยเขียนภาพสันนิษฐานรูปแบบซ้อนทับลงไปบนภาพถ่าย ช่วยสร้าง จินตนาการแก่ผู้รับสารได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ในภาพ คือ แหล่งโบราณสถานวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา………………………………………………………………………………. สู จิ บั ต รนิ ท รรศการแสดงผลงานศิ ล ปะที่ ส ร้ า งสรรค์ จ ากการสั น นิ ษ ฐานรู ป แบบ โบราณสถาน......................................................................................................... การเขียนแบบร่าง (Architectural Hand Drawing)………………………………………………. การสารวจรังวัดด้วยเครื่องมือพื้นฐาน ภาพซ้าย คือ การใช้ตลับเมตร ภาพกลาง คือ การใช้หลักเมตรอ้างอิงระยะ ภาพขวา คือ เครื่องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ที่ใช้ใน การสารวจ……………………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างแบบร่างทางสถาปัตยกรรมด้วยมือ และการบันทึกระยะจากการสารวจรังวัด…. การสารวจรังวัดด้วยเครื่องมือ กล้องสารวจเลเซอร์สามมิติที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา และเครื่องมือกล้องสารวจเลเซอร์สามมิติที่ใช้ในการสารวจรังวัด…………. การประมวลผลข้อมูลภาพแบบหมอกจุดด้วยโปรแกรม CloudCompare………………… การประมวลผลข้ อ มู ล ภาพแบบหมอกจุ ด ด้ ว ยโปรแกรม CloudCompare และ ประมวลผลมาสูก่ ารเป็นรูปด้านทางสถาปัตยกรรม (Elevation Image)………….. การใช้ เ ทคโนโลยี Building Information Modeling (BIM) ในการขึ้ น รู ป ทรงทาง สถาปัตยกรรม……………………………………………………………………………………….... แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานแสดงพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ที่มีพระปรางค์บริวาร ขนาบ………………………………………………………………………………………………………. แสดงแบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา เมื่อแรกสถาปนาใน ปี พ.ศ. 1931 ใน รัชกาลสมเด็จพระราเมศวร พ.ศ. 1931 (ภาพซ้าย) ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ ประธานองค์เดียว (ภาพขวา) ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ประธาน และมีปรางค์ บริวารขนาบด้านข้าง ทั้งนี้จากข้อมูลแวดล้อมที่กล่าวมาข้างต้น จึงเสนอว่า พระ ศรีรัตน มหาธาตุอยุธยาในระยะแรกสร้างนั้น อาจเป็นไปได้ทั้ง 2 แนวทาง ทั้งที่ เป็นพระปรางค์ประธานองค์เดียว และมีลักษณะเป็นพระปรางค์ 3 องค์ เช่น พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี, พระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ และพระมหาธาตุวัด พระราม ซึ่งจาเป็นต้องสารวจทางโบราณคดีเพิ่มเติมจากสมมติฐานดังกล่าว……. ถ

211 212 214

215 216 218 219 220 221 225

227


117

118

119

120

121

122

123

124

แบบสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบสัดส่วนและความสูงของพระมหาธาตุ ลพบุรี (ซ้าย) มี ระยะความกว้างรวมของฐานด้านหน้า ประมาณ 15.52 เมตร สูง ประมาณ 28 เมตร ซึ่งได้ข้อมูลจากการสารวจรังวัด และพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา (ขวา) ซึ่ง ได้ข้อมูลในการทาแบบสันนิษฐานจากการสารวจรังวัด และการข้อมูลความสูง จากพระราชพงศาวดาร ทั้งนี้มีระยะความกว้างรวมของฐานด้านหน้า 22.03 เมตร และความสูงประมาณ 38 เมตร………………………………………………………….. ปราสาทพระปิถุ X ซึ่งเป็นปราสาทจัตุรมุขยกฐานสูง (ภาพซ้าย) แสดงภาพรวมของ ปริมาตรของตัวปราสาทที่ยกฐานสูง และมีทางเข้าทั้ง 4 ด้าน (ภาพขวา) แสดง บันไดทางขึ้นปราสาทพระปิถุ X………………………………………………………………….. แบบแสดงลักษณะทางสถาปัตยกรรมของปราสาทนครวัด จะเห็นได้ว่าเมื่อแสดงข้อมูล ของลักษณะทางสถาปัตยกรรมด้วยภาพตัด (Section) จะเห็นว่าพระปรางค์ ประธานก็ถูกออกแบบให้เป็นปราสาทยกฐานสูง ทว่าเมื่อมองในภาพรวมจะถูก ส่วนระเบียงคด และอาคารหลังอื่นๆบัง ทาให้เห็นเฉพาะส่วนเรือนยอดเท่านั้น…. ภาพตั ด แสดงต าแหน่ ง กรุ ป ระดิ ษ ฐานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ อ ยู่ ลึ ก ลงไปจากห้ อ ง ครรภธาตุ ใ นเรื อ นธาตุ 17 เมตร ทั้ ง นี้ ใ นห้ อ งครรภธาตุ ใ นเรื อ นธาตุ นั้ น ประดิ ษ ฐานเจดี ย์ จ าลองที่ มี ฐ านรูป แปดเหลี่ ย มเป็ น สัญ ลัก ษณ์ ถึ งต าแหน่งที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ………………………………………………………………….. ภาพตั ด แสดงต าแหน่ ง กรุ ป ระดิ ษ ฐานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ อ ยู่ ลึ ก ลงไปจากห้ อ ง ครรภธาตุ ใ นเรื อ นธาตุ 17 เมตร ทั้ ง นี้ ใ นห้ อ งครรภธาตุ ใ นเรื อ นธาตุ นั้ น ประดิ ษ ฐานเจดี ย์ จ าลองที่ มี ฐ านรูป แปดเหลี่ ย มเป็ น สัญ ลัก ษณ์ ถึ งต าแหน่งที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ............................................................................ พระบรมสารีริกธาตุประดิษฐานอยู่ในผอบที่ทาด้วยของมีค่าชนิดต่างๆ ดังนี้ จากซ้ายไป ขวา สถูปทาด้วยชิน, สถูปทาด้วยสาริด, สถูปทาด้วยทองคา, สถูปทาด้วยหินสี ดาขัดมัน, สถูปทาด้วยไม้จันทร์ และชั้นสุดท้ายเป็นตลับทองคาและแก้วมีค่า ชนิดต่างๆ (ภาพขยายด้านซ้ายมือ)....................................................................... การตกแต่งชั้นอัสดงของพระมหาธาตุต่างๆ ที่สถาปนาขึ้นก่อนหน้า และร่วมสมัยกับ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา (ซ้าย) การตกแต่งชั้นอัสดงพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรีด้วยกลีบขนุน (กลาง) การตกแต่งชั้นอัสดงพระมหาธาตุ วัดพุทไธศวรรย์ ด้ ว ยกลี บ ขนุ น (ขวา) การตกแต่ ง ชั้ น อั ส ดงพระมหาธาตุ วั ด พระรามด้ ว ย ประติมากรรมปูนปั้นรูปครุฑที่ตาแหน่งมุมประธาน และมุมรองตกแต่งด้ วยกลีบ ขนุนปั้นตกแต่งด้วยรูปเทวดา............................................................................... แบบสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบพระปรางค์พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างใน ประเด็นการตกแต่งชั้นอัสดง ภาพทางซ้ายมือ คือ การตกแต่งชั้นอั สดงด้วยการ ใช้กลีบขนุนเช่นเดียวกับพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี สาหรับภาพทางขวามือ คือ การตกแต่ ง ชั้ น อั ส ดงโดยใช้ ป ระติ ม ากรรมรู ป ครุ ฑ และเทวดาประทั บ ยื น ท

229

230

230

231

232

232

234


125

126 127 128 129

130

131

132

133 134

135

เช่นเดียวกับการตกแต่งพระมหาธาตุวัดพระรามซึ่งสร้างในรัชกาลสมเด็จพระ นเรศวรเช่นเดียวกัน………………………………………………………………………………….. พระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี อาจเคยมีพระสถูปทรงปรางค์ตั้งอยู่บนสันหลังคาด้วยก็ อาจเป็นได้ เนื่องจากสภาพในปัจจุบันหลังคาส่วนมุขได้พังทลายลงมาจึงเปิด โอกาสให้จินตนาการบนหลักฐานที่ปรากฏ ในที่นี้ ภาพทางซ้ายจึงเป็นแบบ สถาปั ต ยกรรมแสดงรู ป ด้ า นข้ า งแสดงให้ เ ห็ น ถึ งพระสถู ป ทรงปรางค์ บ นสั น หลังคามุขด้านทิศตะวันออก................................................................................. ภาพถ่ายเก่าของพระมหาธาตุวัดพระราม ดังจะเห็นได้ว่ามุขทางด้านตะวันออกนั้นมี สถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุข…………………………………………………………………. พระมหาธาตุวัดราชบูรณะมีสถูปทรงเจดีย์บนสันหลังคามุขด้านหน้าทางทิศตะวันออก.. แบบสถาปัตยกรรมแสดงรูปด้านข้างของพระมหาธาตุวัดราชบูรณะมีสถูปทรงเจดีย์บน สันหลังคามุขด้านหน้าทางทิศตะวันออก……………………………………………………… แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานเพื่อเปรียบเทียบพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรก สร้างในประเด็นว่าด้วย “สถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุขทิศตะวันออก” ภาพ ทางซ้ายมือ คือ แบบสันนิษฐานของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้าง แบบไม่มีมุขบนสันหลังคา สาหรับภาพทางขวามือ คือ แบบสันนิษฐานของพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างแบบมีสถูปทรงปรางค์อยู่บนสันหลังคามุข… มุมประธานของพระศรีรัตนมหาธาตุองค์เดิมสร้างด้วยศิลาแลง และมีการก่อมุขทิศด้วย อิฐออกมาเพื่อทาให้แผนผังของพระศรีรัตนมหาธาตุกลายเป็นแบบจัตุรมุขที่ สมมาตร……………………………………………………………………………………………..…… ภาพเก่าของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาก่อนที่จะพังทลายลงมา เป็นหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่สาคัญ จากภาพจะยังเห็นเรือนยอดสถูปทรงปรางบนสันหลังคา มุขทิศด้านตะวันตก, โกลนก่ออิฐของประติมากรรมรูปครุฑบนชั้นอัสดง และรวม ไปถึ ง เรื อ นยอดสถู ป ทรงปรางค์ บ นเจดี ย์ ผั ง แปดเหลี่ ย มที่ อ ยู่ ต รงมุ ม ด้ า น ตะวันออกเฉียงใต้นอกระเบียงคด……………………………………………………………….. แบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาทางด้านทิศตะวันออก ซึ่งเป็นรูปแบบที่ ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ในปี พ.ศ. 2176 สาหรับ ภาพบน แสดงเฉพาะองค์พระศรีรัตนมหาธาตุประธาน ไม่มีพระปรางค์ มุม และ ภาพล่าง แสดงพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาและพระปรางค์มุม…………… จิตรกรรมฝาผนังรูปซุ้มเรือนแก้วภายในห้องครรภธาตุพระปรางค์มุมตะวันตกเฉียง เหนือ……………………………………………………………………………………………………….. ภาพซ้าย คือ ปูนปั้นประดับช่องทางเข้าสู่เมรุทิศ -เมรุรายวัดไชยวัฒนาราม และ ภาพ ขวา คือ แบบสันนิษฐานรูปแบบลวดลายปูนปั้นประดับช่องทางเข้าสู่เมรุทิศ-เมรุ รายวัดไชยวัฒนาราม............................................................................................ ภาพซ้าย คือ แบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ภายหลังที่สมเด็จพระเจ้า ปราสาททองโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์ โดยมีการสร้างพระปรางค์มุม และมีการ ธ

234

236 236 236 237

237

240

243

244 247

247


136

137 138

139

140 141

142

143

ยืดมุขอีกสามด้านให้ยาวเสมอด้านตะวันออกแล้วใส่พระปรางค์น้อยไว้บนสัน หลังคามุข จึงทาให้ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีสถานภาพเป็นพระปรางค์เก้า ยอด และ ภาพขวา คือ แบบสามมิติแสดงรูปพระปรางค์วัดอรุณที่สันนิษฐานว่า ได้รับอิทธิพลในการสร้างพระมหาธาตุประจาเมืองจากพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา................................................................................................................... หุ่นจาลองสาริดวิหารมหาโพธิพุทธคยาที่หล่อขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง รัชกาลจักรพรรดิ ย่ ง เลอ ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง เจดี ย์ แ บบวั ช รบั ล ลั ง ก์ (กรอบสี เ หลื อ ง) ซึ่ ง รอง ศาสตราจารย์ ดร. พิ ริ ย ะ ไกรฤกษ์ เ สนอว่ า ส่ งอิ ท ธิ พ ลในการส้ า งเจดี ย์ ท รง ปราสาทยอดในประเทศไทย................................................................................. ภาพซ้าย คือ พระเจดีย์วัดป่าสัก เมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และ ภาพขวา คือ พระเจดีย์เชียงยัน วัดพระธาตุหริภุญชัย เมืองหริภุญไชย จังหวัดลาพูน................ แบบสถาปัตยกรรมแสดงพระเจดีย์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัยซึ่งเป็นพระ เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ และมีพระเจดีย์ทิศทรงปรางค์ยอดเจดีย์ และพระเจดีย์ มุมทรงปราสาทยอดเจดีย์..................................................................................... แบบสถาปัตยกรรมแสดงพระเจดีย์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัย ซึ่งเป็นพระ เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ และมีพระเจดีย์ทิศทรงปรางค์ยอดเจดีย์ และพระเจดีย์ มุมทรงปราสาทยอดเจดีย์..................................................................................... พระเจดีย์มุมทรงปราสาทยอดเจดีย์ของพระมหาธาตุวัดพระราม สร้างในรัชกาลสมเด็จ พระราเมศวร......................................................................................................... แสดงแบบสั น นิ ษ ฐานพระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยาที่ มี เ จดี ย์ ร ายทรงปราสาทยอด ล้อมรอบ ภาพบน คือ ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ประธาน และมีปรางค์บริวาร ขนาบด้านข้าง ภาพล่าง คือ ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ประธานองค์เดียว ทั้งนี้ จากข้อมูลแวดล้อมที่กล่าวมาข้างต้น จึงเสนอว่า พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาใน ระยะแรกสร้างนั้น อาจเป็นไปได้ทั้ง 2 แนวทาง ทั้งที่เป็นพระปรางค์ประธาน องค์เดียว และมีลักษณะเป็นพระปรางค์ 3 องค์ เช่น พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุร,ี พระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ และพระมหาธาตุวัดพระราม................................... ตัวอย่างประติมากรรมสาริดเท่าที่ยังหลงเหลืออยู่ที่มัณฑะเลย์ กล่าวคือ สมเด็จพระ บรมราชาธิราชที่ 2 หรือสมเด็จเจ้าสามพระยาโปรดเกล้าให้ขนย้ายมาจากเมือง พระนครยามที่กองทัพอยุธยามีชัยเหนือ และนามาถวายเป็นพุทธบูชาไว้ที่วัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ต่อมาในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 พระเจ้า บุเรงนองโปรดเกล้าฯ ให้ขนย้ายไปยังเมืองหงสาวดี ต่อมาเมื่อกองทัพยะไข่มีชัย เหนือเมืองหงสาวดีก็นาไปไว้ที่แคว้นยะไข่ จนกรระทั่งพระเจ้าปะดุงตีแคว้นยะไข่ สาเร็จ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขนย้ายมาพร้อมกับการอัญเชิญพระมหามัยมุนีมายัง กรุงมัณฑะเลย์....................................................................................................... ตัวอย่างรูปสัตว์ที่ใช้ตกแต่งโดยรอบพระเมรุที่ช่วยสร้างความหมายของนัยที่เชื่อมต่อกับ เขาพระสุเมรุได้แจ่มชัดขึ้น.................................................................................... น

248

251 253

254

255 256

257

259 260


144

145 146 147

148 149 150 151

152

153 154 155 156 157 158 159 160 161 162

ซากฐาน และเสาของมณฑปบริวารที่สร้างอยู่ล้อมรอบพระศรีรัตมหาธาตุสลับหว่างกับ เจดีย์บริวารทรงปราสาทยอด สันนิษฐานว่าเป็นที่ติดตั้งรูปหล่อสาริด ทั้งนี้ส่วน ของหลังคาควรจะเป็นเครื่องยอดโครงสร้างไม้ เพราะหากเป็นโครงสร้างเครื่อง ก่อนั้นไม่อาจจะรับน้าหนักได้................................................................................ ภาพซ้าย คือ พระเจดีย์ประธานวัดญาณเสน ภาพขวา คือ พระเจดีย์มุมด้านตะวันออก เป็นพระเจดีย์ทรงปราสาทในผังสี่เหลีย่ มย่อมุม..................................................... แบบสถาปัตยกรรม ภาพซ้าย แสดงรูปด้านพระเจดีย์มุมด้านตะวันออก เป็นพระเจดีย์ ทรงปราสาทในผังสี่เหลี่ยมย่อมุม ภาพขวา แสดงผังหลังคา.................................. พระเจดีย์วัดวัดชะราม ภาพซ้าย คือ ภาพก่อนการบูรณะ และภาพขวา คือ ภาพหลัง การบูรณะ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า ระเบียบสัดส่วนทางสถาปัตยกรรมของพระเจดีย์ ดั งกล่ า วมี ค วามคล้ า ยคลึ งกั บ พระเจดี ย์ มุ ม คู่ ด้ า นหลั งของผั งบริ เ วณภายใน ระเบียงคดวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และยังมีรูปทรงที่เหมือนกับพระเจดีย์ มุมบนฐานไพทีพระมหาธาตุวัดราชบูรณะ ซึ่งกาหนดอายุได้ในราวพุทธศตวรรษ ที่ 20 หรือสมัยอยุธยาตอนต้น............................................................................... ภาพสามมิติแสดงแบบสถาปัตยกรรมองค์ประกอบภายในผังบริเวณที่อยู่ภายในวงล้อม ของระเบียงคด...................................................................................................... แบบสถาปัตยกรรมแสดงภาพตัด (Section) ของระเบียงคด........................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงขอบเขตและลั ก ษณะชุ ด ฐานทั้ ง 3 สมั ย ของ วิหารหลวง............................................................................................................ ภาพสามมิติแสดงลักษณะชุดฐานระยะต่างๆ ของวิหารหลวง ภาพซ้าย คือ ลักษณะ ฐานของวิหารในระยะที่ 1 ภาพกลาง คือ คือ ลักษณะฐานของวิหารในระยะที่ 2 และภาพขวา คือ คือ ลักษณะฐานของวิหารในระยะที่ 3....................................... แบบสันนิษฐานพระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ระยะที่ 3 ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ซึ่งสัมพันธ์กับความนิยมในการก่อสร้างมุขโถงขนาดใหญ่ด้วยการใช้ หลังคาทรงโรงคลุม เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เป็นต้น.................................. แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 1.................................................................. แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 1.............................. แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 1................................................... แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 1............... แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 2................................................... แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 2............... แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 3.................................................... แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 3............... แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 3.................................................................. แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 3.............................. บ

261 264 264

265 266 268 270

271

272 273 274 275 276 277 278 279 280 281 282


163 164 165 166 167

168

169

170

171

แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงเปรียบเทียบระยะต่างๆ 3 ระยะ................................................................................................................. ภาพร่างใบเสมาทั้ง 2 รูปแบบที่พบที่พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา โดย อาจารย์ น.ณ ปากน้า............................................................................................ บัวหัวเสาแบบบัวแวงของมุขโถงด้านหน้าทางทิศตะวันตกของพระอุโบสถวัดพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา.............................................................................................. บัวหัวเสาแบบบัวแวงพระเมรุทิศ-เมรุรายวัดไชยวัฒนาราม ซึ่งสร้างในสมัยสมเด็จพระ เจ้าปราสาททอง................................................................................................... แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานของพระปรางค์รายที่สร้างขึ้นอยู่นอกระเบียงคด ภาพ ซ้าย คือ พระปรางค์มุม ภาพกลาง คือ พระปรางค์ราย และ ภาพขวา คือ พระ ปรางค์มุมที่มีรูปทรงแบบพระปรางค์แปดเหลี่ยม ซึ่งสันนิษฐานว่าพระปรางค์ สมัยอยุธยาตอนต้นได้พังทลายลง แล้วจึงถูกสร้างขึ้นแทนที่ใหม่ในรัชกาลสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชลงมา................................................................................... แบบสั น นิ ษ ฐานผังบริ เวณของวั ดพระศรีรัตนมหาธาตุอ ยุธ ยา ระยะที่ 1 ในรั ชกาล สมเด็จพระราเมศวร ในปี พ.ศ. 1931 สามารถสันนิษฐานได้ 2 รูปแบบ คือ (ภาพบน) ผังบริเวณระยะที่ 1 แบบที่ 1 ประกอบด้วยพระปรางค์ประธาน มี ลักษณะเป็น “ปรางค์องค์เดียว” พระวิหารหลวง ระเบียงคด และพระอุโบสถ (ภาพล่าง) ผังบริเวณระยะที่ 1 แบบที่ 2 ประกอบด้วยพระปรางค์ประธาน มี ลักษณะเป็น “ปรางค์สามองค์” พระวิหารหลวง ระเบียงคด และพระอุโบสถ..... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ในระหว่างรัชกาลสมเด็จ พระราเมศวร-สมเด็จพระนครินทราธิราช (สมเด็จพระอินทราชา) ในช่วง พ.ศ. 1931-1967 (ภาพบน) ผั งบริ เ วณระยะที่ 2 มี ก ารสร้ า ง “พระปรางค์มุม ” ภายนอกของระเบียงคด (ภาพล่าง) ผังบริเวณระยะที่ 3 มีการสร้าง “พระปรางค์ ราย” โดยรอบระเบียงคดทั้ง 4 ด้าน...................................................................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 4 ในระหว่าง รัชกาลสมเด็จพระราเมศวร ถึงก่อนสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระ ยา) ในช่ ว ง พ.ศ.1931-1967 มี ก ารสร้ า ง “พระเจดี ย์ ท รงปราสาทยอด” ล้อมรอบพระปรางค์ประธาน และการสร้าง “วิหารคู่” ทางด้านทิศตะวันออก ของพระปรางค์ประธาน........................................................................................ แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 5 ในระหว่าง รัชกาลสมเด็จพระนครินทราธิราช (เจ้านครอินทร์) ถึงรัชกาลสมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ในช่วง พ.ศ.1952-1991 มีการสร้าง“พระเจดีย์ มุม ทรงระฆังบนฐานซ้อนชั้นผังแปดเหลี่ยม” บริเวณมุมภายในของระเบียงคด...

283 285 287 287

290

292

294

295

296


172

173

174

175

176

177

178

179

แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 6 ในช่วงรัชกาล สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) พ.ศ.1967-1991 มีการสร้าง“มณฑป บริวาร” วางตัวสลับหว่างกับพระเจดีย์ทรงปราสาทยอด ล้อมรอบพระปรางค์ประธาน ทั้ง 4 ด้าน เพื่อติดตั้งประติมากรรมหล่อสาริดจากเมืองพระนคร..................................... แบบสั น นิ ษ ฐานผั ง บริ เ วณของวั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยา ระยะที่ 7 ในช่ ว ง เหตุการณ์การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2112 มีการรื้อ “มณฑป บริวาร” เพื่อขนย้ายประติมากรรมหล่อสาริดไปยังเมืองหงสาวดี โดยพระเจ้า บุเรงนอง............................................................................................................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 8 ในช่วงรัชกาล สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช พ.ศ. 2133-2148 มี ก ารเปลี่ ย นแปลงในเขต สังฆาวาสทางทิศตะวันตก..................................................................................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 9 ในช่วงรัชกาล สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ในปี พ.ศ. 2153 เรือนยอดของพระปรางค์ประธาน พังทลายลงมาถึงชั้นอัสดง และทาลายอาคารบางส่วนที่อยู่โดยรอบ..................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 10 ในช่วงรัชกาล สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ในปี พ.ศ. 2176 มีการบูรณปฏิสังขรณ์ส่วนยอด พระปรางค์ประธานที่พังทลายลง โดยปรับทรวดทรงให้สูงขึ้น บริเวณเรือนธาตุ มีการสร้างมุขเพิ่มทั้ง 4 ด้านเป็นจัตุรมุข บนสันหลังคามุมมีปรางค์ทิศ และมีการ สร้างพระปรางค์มุมทั้ง 4 องค์ และมีการประดับตกแต่งเรือนยอดพระปรางค์ ประธาน พระปรางค์มุม และพระปรางค์รายด้วยทองเหลือง หรือ “ทองจังโก” รวมไปถึงการสร้าง “พระเจดีย์คู่ ” บริเวณมุมภายในด้านทิศตะวัน ออกของ ระเบียงคด และการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวง ในระยะที่ 2 โดยการขยาย มุขโถงด้านหน้า เพิ่มอีก 1 ช่วงเสา และขยายฐานไพทีทั้งสองข้างเพื่อเชื่อมกับ ชุดฐานของมุขโถงด้านหน้า โดยชุดฐานมีการย่อมุมที่ซับซ้อน สอดคล้องกับการ ย่อมุมบริเวณพระปรางค์ประธาน......................................................................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 11 ในระหว่าง รัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในช่วง พ.ศ. 2173-2231 มีการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อเนื่อง และการสร้างพระปรางค์เก้ายอด เรือนธาตุผังแปดเหลี่ยม บริเวณมุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ด้านนอกระเบียงคด...... แบบสันนิษฐานพัฒนาการของผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ทั้ง 12 ระยะ ตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระราเมศวรจึงถึงช่วงก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้ง ที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 มีการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวงในระยะสุดท้าย.......... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 12 ในช่วงก่อน การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 มีการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหาร หลวงในระยะสุดท้าย............................................................................................ ผ

297

298

299

300

302

304

305

306


180 181 182

183 184 185

ตัวอย่างของตัวอักษรที่มีการประดิษฐ์ให้มีเอกลักษณ์ เหมาะสาหรับใช้เป็นชื่อหัวข้อ เรื่อง................................................................................................................................. ตัวอย่างของตัวอักษรที่มีลักษณะเรียบง่าย เหมาะสาหรับใช้กับส่วนที่ต้องการความ รวดเร็ว และความสะดวกในการอ่าน............................................................................... เส้นสีแดงแสดงเส้นรอบรูปที่เกิดขึ้นรอบตัวอักษร สังเกตได้ว่าเส้นรอบรูปที่เกิดขึ้นรอบ คาที่ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ผสมกับตัวอักษรพิมพ์เล็กจะมีความแตกต่างกัน และ คาดเดาความหมายของคาได้มากกว่าคาที่ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด............... ตัวอย่างการจัดวางตาแหน่งข้อมูลเป็นกลุ่มละ 3-4 บรรทัด เพื่อสะดวกในการอ่าน......... ตัวอย่างหน้าจอของการแสดงผลของแอพพลิเคชั่น “จินตทัศนา” บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ อัจฉริยะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ “ไอโอเอส (IOS)”............................. ตัวอย่างหน้าจอของการแสดงผลของแอพพลิเคชั่น “จินตทัศนา” บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ อัจฉริยะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ “แอนดรอยด์ (Android)”................

333 333

334 335 344 345


รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต กรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation: a case study of Wat Mahathat Ayutthaya

ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ อิสรชัย บูรณะอรรจน์ สกนธ์ ม่วงสุน ตะวัน วีระกุล Kreangkrai Kirdsiri, Ph.D. Isarachai Buranaut Sakon Muangsun Tawan Weerakoon

โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของ แผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาค ด้วยการจัดการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ปีที่ดาเนินการเสร็จ พ.ศ. 2559



กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบ อินเตอร์เน็ตกรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา” ภายใต้แผนงานวิจัยเรื่อง “แผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาคด้วยการจัดการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป” ขอขอบพระคุณ “สำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ ” ที่สนับสนุนทุนวิจัยงบประมาณ แผ่นดินให้ดาเนินการวิจัย ขอบขอบพระคุณ “สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยศิลปำกร” ทั้ง ท่านผู้อานวยการสถาบันฯ “ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.อริศร์ เทียนประเสริฐ” รวมทั้งข้าราชการ และพนั ก งานสถาบั น วิจั ย ฯ ที่ ดู แ ลโครงการวิ จัย มาเป็น อย่ างดี และขอขอบพระคุ ณ “ภำควิ ช ำ สถำปัต ยกรรม และภำควิชำศิลปะสถำปัต ยกรรม คณะสถำปัต ยกรรมศำสตร์ ” “ภำควิชำ บรรณำรักษศำสตร์ คณะอักษรศำสตร์” และ “มหำวิทยำลัยศิลปำกร” ที่สนับสนุนให้ทาวิจัยเป็น อย่างดีตลอดมา, ขอขอบพระคุณ “ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ชัยชำญ ถำวรเวช” อธิการบดีมหาวิทยาลัย ศิลปากร ที่มอบกาลังใจให้แก่คณะทางาน และให้การสนับสนุนการทางานด้านต่างๆ ตลอดมา ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ” ที่ให้ความสนับสนุน ทุกๆด้าน ที่เกี่ยวเนื่องกับ วิชาการ และการวิจัยต่างๆ ตลอดมา, ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ เกี ยรติ คุ ณ อรศิริ ปำณิน ท์ ” ที่ให้คาปรึกษาในโครงการวิจัย และการบริหารโครงการวิจัยต่างๆ ตลอดจนเป็นแม่แบบสาคัญในความมุ่งมั่นบนถนนสายวิชาการ, ขอขอบพระคุณ “พลตรี หม่อ ม รำชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี” ผู้มอบคาสอน และมุมมองในการวินิจฉัยข้อมูลทางประวัติศาสตร์ต่างๆ และให้โอกาสในด้านต่างๆ ตลอดมา, ขอขอบพระคุณ “อำจำรย์จุลทัศน์ พยำฆรำนนท์ ” ผู้มอบ สายตาและมุมมองในการวินิจฉัยด้านมรดกทางวัฒนธรรมและศิลปสถาปัตยกรรม, ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ เกียรติคุณ ดร. สดชื่น ชัยประสำธน์” อาจารย์ผู้ให้กาลังใจ และข้อมูลต่างๆ ที่เป็น ประโยชน์ตลอดมา, “รองศำสตรำจำรย์ เสนอ นิลเดช” และ “รองศำสตรำจำรย์ สมคิด จิระทัศ นกุ ล” สาหรับมุมมองด้านประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย, ขอขอบพระคุณ “อำจำรย์ ดร. วินัย พงศ์ศรีเพียร” ผู้ส่งเสริมให้เรียนรู้ ผู้ปลูกฝังระเบียบวิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์ และเปิ ด โอกาสให้ ไ ด้ ท างานทรงคุ ณ ค่ า หลายๆชิ้ น และแนะน าให้ ไ ด้ มี โ อกาสพบท่ านอาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหลาย, ขอขอบพระคุณ “รองศำสตรำจำรย์ ดร. ธีระ นุชเปี่ยม” ผู้ให้ความรู้และ มุมมองทางรัฐศาสตร์ และการต่างประเทศ, ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม” ครูนอกห้องเรียนของผู้วิจัย ที่ได้มอบความรู้ทางประวัติศาสตร์ศิลปะผ่ านหนังสือ และวิจัย ต่างๆ จานวนมากมายที่เผยแพร่สู่สาธารณะอย่างกว้างขวาง , ขอขอบพระคุณ “ศำสตรำจำรย์ ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ” ที่กรุณาชี้แนะข้อมูล และให้คาปรึกษาในประเด็นต่างๆ ด้านประวัติศาสตร์ ค


ศิลปะ และการวิจัยตลอดมา, ขอขอบพระคุณ ขอขอบพระคุณ “ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ วรพร ภู่ พงศ์พันธุ์” “คุณวีระวัลย์ งำมสันติกุล ” สาหรับความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ อยุธยา และ “อำจำรย์ ดร. นันทวรรณ ม่วงใหญ่” สาหรับความช่วยเหลือด้านภาษา ขอขอบพระคุณ คณะผู้ช่วยวิจัยสารวจรังวัด และระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ คือ “กุ ลพัชร์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยำ”, “สมชำย เชื้อช่วยชู”, “อรวรรณ ณวัชรเจริญ”, “สิทธิชัย สิริรัชมงคล”, “ตุลชัย บ่อทรัพย์”, “รัฐวิชญ์ ศุภจัตุรัส ”, “ธนำนุกิจ จำดชลบท”, “เลอศักดิ์ ยอดระบำ”, “นรำธิป คงเอี ยด”, “ภำนุ เ ดช จัน ทรำศรี ” , “ศิริ ชัย โภชนกิ จ ”, “ภูมิร พี ทองสวัสดิ์ ” และ “ธนกฤติ ธัญญำกรณ์” ขอขอบคณะผู้ช่วยวิจัย จัดทาแบบสถาปัตยกรรม และคอมพิวเตอร์สามมิติ ซึ่งประกอบด้วย คณะทางานชาวไทย และคณะทางานจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุพานุวง หลวงพระ บาง สปป. ลาว อันประกอบด้วย “นิดถำ บุนปำนี”, “กิมทอง สอบุนทอง”, “คัมพีพัน คำชมพู”, “สำคอน จันทะวง”, “คำเลียน สีจันทะวิไช”, “ทองคูน สอนมะนี”, “อำจำรย์คำซำย พันทะ วง”, “อำจำรย์ จั น เพ็ ง ถ้ อ ”, “อำจำรย์ น วลแสง โพนสำลี ” , “วิ ษ ณุ หอมนำน”, “อนุรั ก ษ์ ชำนำญช่ำง”, “แสงจันทร์ ผู้อยู่สุข”, “สิริรัตน์ เพชรรัตน์”, “ภัทร รำหุล”, “โชติวรรณ เกริกสัต ยำพร”, “กุลพัชร์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยำ”, “สมชำย เชื้อช่วยชู”, “วิษณุ หอมนำน” บริษัท SDM CO.,LTD “คุณสุวรรณี ทัศนศร” ผู้สนับสนุนกล้องสารวจเลเซอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner) และ “คุณธนภัทร พิพัฒน์ศิริสวัสดิ์” ผู้สนับสนุนทางเทคนิคในการสารวจ หากแม้นว่าปราศจากความช่วยเหลือ และการมีส่วนร่วมของทุกๆ ท่านที่ได้เอ่ยนามมาข้างต้น และมิได้เอ่ยนามมาแล้วนั้น งานวิจัยชิ้นนี้ไม่อาจจะลุล่วงลงได้อย่างแน่นอน จึงขอขอบพระคุณทุกๆ ท่านมา ณ โอกาสนี้ เกรียงไกร เกิดศิริ อิสรชัย บูรณะอรรจน์ สกนธ์ ม่วงสุน ตะวัน วีระกุล


ชื่อโครงการ

การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต กรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา ชื่อผู้วิจัย 1. ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ (หัวหน้าโครงการ) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. อิสรชัย บูรณะอรรจน์ (ผู้ร่วมวิจัย) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 3. สกนธ์ ม่วงสุน (ผู้ร่วมวิจัย) คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 4. ตะวัน วีระกุล (ผู้ร่วมวิจัย) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร แหล่งทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดินประจาปี พ.ศ. 2556 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่เสร็จ พ.ศ. 2559 ประเภทการวิจัย การวิจัยประยุกต์ สาขาวิชา (อ้างอิงตาม วช.) ปรัชญา บทคัดย่อ โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาระบบการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบ อินเตอร์เน็ตกรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา” ภายใต้แผนงานวิจัยเรื่อง “แผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาคด้วยการจัดการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวี ” เป็นทั้งวิจัยพื้นฐาน เพื่อหาองค์ความรู้ที่บูรณาการศาสตร์ต่างๆ เข้า ด้วยกัน ทั้งประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภูมิศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ในมิติต่างๆ และเป็นงานวิจัยประยุก ต์เพื่อ การ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี เ พื่ อ น าองค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ ไ ปต่ อ ยอดในกระบวนการสื่ อ ความหมายมรดกทาง สถาปัตยกรรมกับการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรม บนระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งถือว่าเป็นสื่อที่มีการใช้กันอย่างกว้างขวาง และเป็นช่องทางการเผยแพร่ ข้อมูลสู่สาธารณชนได้อย่างครอบคลุม รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงในปัจจุบัน ทั้งนี้ มีข้อค้นพบและข้อเสนอใหม่ทางวิชาการว่าด้วยเรื่องการสันนิษฐานรูปแบบของวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ที่ศึกษาสถานภาพของการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมภายในวัดพระศรี รั ตนมหาธาตุ อยุ ธ ยา ซึ่งเริ่ มต้น ด้ว ย “การศึกษาภาคเอกสาร” จากหลั กฐานทางประวัติ ศ าสตร์ “การศึกษาภาคสนาม” ด้วยการสารวจรังวัดอาคาร และ “การประมวลผลการสารวจรังวัดในงานใน จ


ห้องปฏิบัติการเขียนแบบ และห้องปฏิบั ติการคอมพิวเตอร์ ” เพื่อการทาความเข้าใจรูปแบบและ รู ป ทรงทางสถาปั ต ยกรรม จากการศึ ก ษา มีข้อเสนอว่ า พัฒ นาการผั ง บริเ วณของวั ด พระศรี รั ต น มหาธาตุอยุธยา แบ่งออกได้ทั้งหมด 12 ระยะใหญ่ๆ ครอบคลุมช่วงเวลาตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็ จพระ ราเมศวร ในปี พ.ศ.1931 จนถึง ก่อนการเสี ยกรุงศรีอยุธ ยาครั้ง ที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 โดยมีการ สันนิษฐานรูปแบบของพระปรางค์ประธานในสมัยเมื่อแรกสร้างโดยใช้หลักฐาน และระเบียบวิธีวิจัย ทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมเพื่อเทียบเคียงข้อมูล ซึ่งมีข้อเสนอว่าพระปรางค์ประธานเมื่อแรก สร้างนั้นอาจเป็นได้ทั้ง “พระปรางค์องค์เดียว” และ “พระปรางค์สามองค์” และรูปแบบสันนิษฐาน ของ “พระปรางค์ที่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาทอง” เนื่องจากส่วน ยอดได้พังทลายลงมา นอกจากนี้ ยังทาการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบของอาคารประกอบผัง หลังอื่นๆ อาทิ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่สร้างอยู่รายรอบพระปรางค์ประธานภายในวงล้อม ของระเบียงคด รวมทั้ง “พระวิหารหลวง” สามารถจาแนกพัฒนาการได้ทั้งหมด 3 ระยะ, “พระ อุโบสถ”, “พระปรางค์บริวาร” เป็นต้น ทั้งนี้ เมื่อได้องค์ความรู้ใหม่ และข้อเสนอใหม่ทางวิชาการได้ผลักดันไปสู่การใช้ประโยชน์ งานวิจัยเพื่อส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยว และเรียนรู้ ด้วยการพัฒนาระบบสื่อความหมายมรดกทาง สถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์และประมวลผล ข้ อ มู ล จากการท าแบบสอบถามออนไลน์ แ ละน าผลวิเ คราะห์ ม าสู่ ขั้ น การออกแบบเวปไซต์ และ แอพพลิ เ คชั่ น บนระบบอุ ป กรณ์ ส ารสนเทศเคลื่ อ นที่ อั จ ฉริ ย ะ เพื่ อ สื่ อ ความหมายมรดกทาง สถาปัตยกรรมวัดมหาธาตุอยุธยา คาสาคัญ: วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา / มรดกโลกทางวัฒนธรรม / มรดกโลกเมืองประวัติศาสตร์ อยุธยา / การแปลความหมายมรดกทางวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว / การสารวจรังวัด สถาปัตยกรรม / การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม / การจัดการการท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม และการท่องเที่ยวยั่งยืน


Research Title Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation: Wat Mahathat Ayutthaya Researcher 1. Dr. Kreangkrai Kirdsiri (Project Leader) Faculty of Architecture Silpakorn University 2. Isarachai Buranaut (Co-Researcher) Faculty of Architecture Silpakorn University 3. Sakon Muangsun (Co-Researcher) Faculty of Arts Silpakorn University 4. Tawan Weerakoon (Co-Researcher) Faculty of Architecture Silpakorn University Research Grants Fiscal Year 2013, Research and Development Institute, Silpakorn University Year of complement 2016 Type of research Applied research Subjects (based NRCT) Philosophy Abstract “ Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation a Case Study of Wat Mahathat Ayutthaya” is a part of the research project “Driven Strategic Plan for Thailand as a Hub of Tourism by Managing the World Heritage in the Main Land of Southeast Asia” which aims to integrate sciences including history, archaeology, geography, architecture, and communication arts. The results of this study are the knowledge and understanding about Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya which can be applied with other related aspects, especially interpretation of cultural heritage and tourism. The Internet is one significant channel which is effective in terms of fast spreading information to public. The new findings are about the architectural forms of Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya, from the secondary sources and field studies, along with measurement of the construction and the computer techniques. That is, the site plan of Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya can be categorized into 12 ranges, from King Ramesuan, in 1388, to the collapse of the capital, in 1767. The consumption of ช


the construction of the Prang was based on methodology in architectural history. It was found that the Prang at the first place could have been the sole Prang or the three Prangs. Restoration was done in the reign of King Prasat Tong due to the fact that the top collapsed. Other components were also studied, comprising the gallery, the main Vihara, Ubosot, and the surrounding Prangs. The academic findings are beneficial in terms of promoting tourism and learning. Interpretation tools were created via the Internet. That is, the analysis and results were used for the web design, along with mobile application so as to interpret the cultural heritage of Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya. Key words : Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya / World Cultural Heritage / World Heritage Town of Ayutthaya / Cultural Tourism Interpretation / Architectural Measurement / Architectural Re- construction / Cultural Tourism and Sustainable Tourism

ซ


สารบัญ กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................ บทคัดย่อภาษาไทย....................................................................................................................... บทคัดย่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................... ....... สารบัญภาพ.................................................................................................................... .............. บทที่ 1 บทนา......................................................................................................................... ...... คาถามของการศึกษา............................................................................................. ความสาคัญและที่มาของการทาวิจัย...................................................................... คาสาคัญ.............................................................................................................. .. วัตถุประสงค์ของการวิจัย....................................................................................... ขอบเขตของการวิจัย... .......................................................................................... ทฤษฎี สมมติฐาน และกรอบแนวความคิด............................................................. นิยามศัพท์ และข้อตกลงเบื้องต้น........................................................................... ลักษณะโครงการวิจัย............................................................................................. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ..................................................................................... วิธีการดาเนินการวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง /เก็บข้อมูล............................... แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย………………………...... 2 สารสนเทศคัดสรร............................................................................................................ เอกสารประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหาธาตุอยุธยา………………………………. เอกสารที่เกี่ยวเนื่องกับมุมมอง ความคิด และการตีความที่เกี่ยวเนื่องกับ พระมหาธาตุอยุธยา………………………………………………………………………….. 3 พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา…………………......................................................................... คติการบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และประเภทของเจดีย์ในพระพุทธศาสนา………… ความสัมพันธ์ระหว่างพระมหาสถูปกับการวางผังเมืองโบราณในอินเดีย ลังกา และ การส่งอิทธิพลยังเมืองโบราณในลุ่มแม่น้าภาคกลางของไทย…………… ความสับสนของการขนานนามระหว่าง “พระมหาธาตุ” และ “พระบรมธาตุ”….. ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับพระมหาธาตุ หรือพระสถูปทรงปรางค์………………………….. พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี: ต้นธารศิลปะสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุทรงปรางค์ ในลุ่มน้าภาคกลางของไทย.......................................................................... ฌ

หน้า ค จ ช ฎ 1 1 2 8 8 9 9 9 10 10 11 11 13 13 18 39 39 48 54 57 89


ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์การสถาปนาพระพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา..... ประวัติศาสตร์อยุธยาที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา........... วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และความสัมพันธ์กับผังเมืองกรุงศรีอยุธยา........... ผังบริเวณของวัดพระมหาธาตุ และที่ตั้งสัมพันธ์..................................................... สถานภาพของมรดกสถาปัตยกรรมภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาภายหลัง เสียกรุงศรีอยุธยาถึงปัจจุบัน.......................................................................... สภาพของมรดกสถาปัตยกรรมภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาจากการ สารวจรังวัด และการใช้กล้องสารวจเลเซอร์สามมิติ (3Ds Laser Scan).... 4 การสันนิษฐานรูปแบบวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา………………………………………………. สถานภาพการศึ ก ษาเพื่ อ การสั น นิ ษ ฐานรู ป แบบสถาปั ต ยกรรม และการสื่ อ ความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติ ศาสตร์พระนครศรีอยุธยา........................................................................... ขั้นตอนการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยาในการวิจัยนี้............................................................................... พั ฒ นาการทางสถาปั ต ยกรรมวั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยาจากการศึ ก ษา เอกสารทางประวั ติ ศ าสตร์ และการส ารวจรั ง วั ด น าสู่ ก ระบวนการ สันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม................................................................ การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมและพัฒนาการของผังบริเวณวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยา........................................................................................... 5 การพัฒนาระบบสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต……………………………………………………………………….………. การอภิปรายผลข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์ “การพัฒนาระบบสื่อความ หมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต: กรณีศึกษา วัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา”.............................................................................. การออกแบบสื่อสารสนเทศประเภทเวปไซต์ และแอพพลิเคชั่นในระบบอุปกรณ์ สารสนเทศเคลื่อนที่ เพื่อสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมวัดพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา……………………………………………………………………… 6 สรุปผลการศึกษา.............................................................................................................. บรรณานุกรม............................................................................................................................. ... ภาคผนวก..................................................................................................................................... ประวัติผู้วิจัย................................................................................................................................. ญ

97 105 113 118 138 154 203

203 213

222 291 311

312

331

347 363 372 391


สารบัญภาพ ภาพที่ 1

2

3 4 5 6

7

8

9

10

หน้า จิตรกรรมฝาผนังเล่าเรื่องเหตุการณ์ที่โทณพราหมณ์แบ่งพระบรมสารีริกธาตุอยู่ภายใน ปราสาท (มุมขวามือของภาพ) ส่วนทางซ้ายมือนั้นแสดงเหตุการณ์ถวายพระ เพลิ งพระพุ ทธสรี ระ ซึ่ งเป็ น จิ ต รกรรมฝาผนังในพระที่ นั่ งพุ ท ไธสวรรย์ อดี ต พระราชวังบวรสถานมงคล ในปัจจุบันคือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร..... ภาพแสดงวิวัฒนาการพระสถูป ที่เริ่มต้นจากการสร้างเนินดินพูนเหนือหลุมศพหรือที่ บรรจุอัฐิเพื่อให้เห็นชัดเจนว่าไม่ใช่เป็นพื้ นที่สามัญ ต่อมาจึงมีการปักเสาเขื่อน ล้อมรอบกันมูลดินพังทลายลงมา ต่อมามีการสร้างเขื่อนหินแทนเพื่อความคงทน มีการสร้างประตูทางเข้าสู่ผังบริเวณทั้ง 4 ทิศ ในภาพเป็นกรณีศึกษาจากสถูป สาญจี…….............................................................................................................. ภาพแสดงวิวัฒนาการพระสถูปที่เริ่มต้นจากอินเดียสู่พระสถูปในลังกา........................... เส้นทางการเชื่อมต่อและการเผยแพร่พระพุทธศาสนาจากอินเดีย ลังกา และเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านเส้นทางการค้าในอดีต……………………………………….......... ภาพซ้าย พระมหาสถูปรุวันเวลิเสยะกลางเมืองอนุราธปุระ, ภาพขวา พระมหาสถูปแห่ง สานักเชตวันมหาวิหาร แห่งเกาะลังกา………………………………………………….. ภาพแสดงความแตกต่างกันระหว่างรูปทรงทางสถาปัตยกรรมกับคานามที่กล่าวเรียก ขาน กล่าวคือ ภาพซ้าย คือ “พระมหาธาตุ” ซึ่งหมายถึง “สถูปทรงปรางค์ ” ในขณะที่ภาพขวา คือ “พระมหาเจดีย์” หรือ “พระบรมธาตุ” หรือ “พระสถูป ทรงเจดีย์”……………………………………………………………………………………………….. ภาพจิตรกรรมบนสมุดข่อยแสดงรูปภาพของเขาพระสุเมรุ ตลอดภูมิต่างๆ ตามคติเรื่อง “ไตรภูมิ” ที่หยังรากลงลึกอยู่กับสังคมพระพุทธศาสนาในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา จนส่งอิทธิพลไปสู่การตีความ การประยุกต์ และการนาเสนอคติเรื่องไตรภูมิใน รูปแบบต่างๆ ทั้งผลงานศิลปกรรม และผลงานสถาปัตยกรรม………………………… การถ่ายทอดคติเรื่องเขาพระสุเมรุออกมาสู่ผลงานประณีตศิลป์ไทยงานลงรักปิดทอง บานประตูของตู้พระธรรมสมัยอยุธยา สะท้อนให้เห็นถึงความลึกซึ้งในตัวบทของ คติที่อยู่ในสานึกของนายช่วงศิลปินที่เป็นคนออกลวดลายและวางองค์ประกอบ ที่มีความถูกต้องแม่นยาตามคติ และมีความงดงามอย่างยิ่ง…………………………….. การถ่ายทอดคติเรื่องเขาพระสุเมรุออกมาสู่ผลงานการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมพระ ปรางค์ หรือที่เรียกกันในสมัยอยุธยาว่า “พระมหาธาตุ” ที่ประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ตลอดจนการออกแบบวางผังบริเวณ ซึ่งแสดงออก ได้อย่างเด่นชัด ในการออกแบบสร้างสรรค์วัดไชยวัฒนารามในสมัยสมเด็จพระ เจ้าปราสาททอง……………………………………………………………………………………….. พระปรางค์รูปแบบต่างๆ ภาพซ้าย คือ พระปรางค์ทรงศิขร, ภาพขวา คือ พระปรางค์ ทรงงาเนียม........................................................................................................... ฎ

40

43 44 49 51

56

62

63

64 67


11 12 13 14

15

16 17 18

19

20 21 22 23 24

พระปรางค์รูปแบบต่างๆ ภาพซ้าย คือ พระปรางค์ทรงฝักข้าวโพด และภาพขวา คือ พระปรางค์ทรงจอมแห……………………………………………………………………………… แบบสถาปัตยกรรมแสดงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์…………………. แบบแสดงลักษณะฐานแบบต่างๆ ของพระปรางค์………………………………………………….. ตัวอย่างของประดิษฐานประติมากรรมพระพุทธรูปปางประทับยืนที่สอดคล้องกับพื้นที่ ว่างของซุ้มประตูที่มีลักษณะแคบสูง ภาพซ้าย คือ ประติมากรรมพระพุทธรูปปูน ปั้นประดับซุ้มจระนาด้านทิศเหนือของพระปรางค์ประธานวัดพระราม และภาพ ขวา คือ ประติมากรรมพระพุทธรูปหล่อสาริด ประดิษ ฐานในซุ้มจระน าพระ ปรางค์พุทไธศวรรย์…………………………………………………………………………………… แสดงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระมหาธาตุ ทั้งนี้ ภาพบน เป็นพระมหาธาตุ ที่มีรูปทรงที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของปราสาทในวัฒนธรรมขอม, ภาพ ล่าง เป็นพระมหาธาตุที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมพัฒนาขึ้นในช่วงอยุธยา ตอนต้น……………………………………………………………………………………………......... แบบสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุวดั ราชบูรณะ ภาพซ้าย คือ รูปด้านข้าง, ภาพขวา คือ รูปด้านหน้า……………………………………………………………………………………………… แบบสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุวัดไชยวัฒนาราม ภาพซ้าย คือ แผนผัง , ภาพขวา คือ รูปด้านหน้า……………………………………………………………………………………………… ภาพซ้าย คือ แบบสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุวัดไชยวัฒนาราม ภาพขวา คือ พระ มหาธาตุ วั ด วรเชตุ เ ทพบ ารุ ง ซึ่ งจะเห็ น ได้ ว่ า มี รู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรมที่ เหมือนกัน คือ การให้ความสาคัญกับแกนทั้ง 4……………………………………………… ภาพซ้าย คือ พระมหาธาตุวัดจุฬามณี สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และ ภาพขวา คือพระมหาธาตุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง สันนิษฐานว่าสร้างในรัช สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเช่นเดียวกัน โดยน่าจะสร้างครอบทับพระเจดีย์ ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์……………………………………………………………………………….. พระมหาธาตุลพบุรี ซึ่งสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในราวต้นพุทธศตวรรษที่ 19…………………. พระปรางค์ แ ขก เป็ น พระปรางค์ ก่ อ อิ ฐ ที่ มี ก ารวางผั งเป็ น ปรางค์ ว างตั ว เรี ย นหน้ า กระดานกัน 3 องค์……………………………………………………………………………………. แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานแสดงพระมหาธาตุลพบุรีที่มีพระปรางค์บริวารขนาบ ด้านข้าง…………………………………………………………………………………………………... โบราณสถานเขาคลังนอก เมืองโบราณศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์……………………………… “ภาพซ้าย” คือ พระมหาธาตุวัดพระราม มุมทางขวามือของภาพยังเห็นซากฐานของ พระปรางค์ที่สร้างขนาบข้าง “ภาพขวา” คือ มหาธาตุวัดพุทไธสวรรย์ แลเห็นมี มณฑปขนาบอยู่ด้านหน้าข้าง………………………………………………………………………

69 71 71

73

76 84 87

87

88 92 92 92 93

96


25

26 27 28 29

30

31 32

แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงที่ตั้งของพระมหาธาตุต่างๆ ในเกาะ และนอกเกาะกรุง ศรีอยุธยา ดังจะเห็นได้ว่าในสมัยอยุธยาตอนต้น และสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ หลังสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง มีความนิยมในการก่อสร้างพระมหาธาตุ เป็นหลักเป็นประธานของวัด ในขณะที่สมัยอยุธยาตอนมีความนิยมในการสร้าง พระบรมธาตุ หรือพระเจดีย์เป็นหลักเป็นประธานของวัด………………………………. พระมหาธาตุลพบุรี…………………………………………………………..………………………………… เศียรหลวงพ่อธรรมมิกราชที่มีพุทธศิลป์แบบอู่ทอง…………………………………………………. ภาพซ้าย คือ ปราสาทธมมานนท์ และ ภาพขวา คือ ปราสาทสายเทวดา………………….. แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมแสดง (ภาพบน) ภาพถ่ายดาวเทียมเมืองพระนครแสดงแกน ตะวันออก-ตะวันตก จาก “สะพานหิน” ที่เรียกว่า “สเปียน ทมอร์” ข้ามแม่น้า เสียมเรียบ ตรงไปในทางทิศตะวันตกจะพบปราสาท 2 หลังตั้งขนาบเส้นทาง คือ ปราสาทเจ้ า สายเทวดาอยู่ ท างฟากซ้ า ยมือ ปราสาทธมมานนท์ อ ยู่ ท างฟาก ขวามื อ จากนั้ น ถนนวิ่ งตรงไปผ่ า นซุ้ มประตูเ มื อ งและตรงไปบรรจบกั บลาน พระราชวั ง ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น เรี ย ก Elephant Terrace (ภาพล่ า ง) ภาพถ่ า ย ดาวเที ย มกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แสดงให้ เ ห็ น แนวแกนตะวั น ออก-ตะวั น ตก จาก “สะพานป่าถ่าน” ข้ามคลองประตูข้าวเปลือก จะพบวัด 2 วัดตั้งขนาบเส้นทาง คือ “วัดพระมหาธาตุ” อยู่ทางฟากซ้ายมือ และ “วัดราชบูรณะ” อยู่ทางฟาก ขวามือ ตรงไปบรรจบกับพระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์มหาปราสาท………………….. ภาพแสดงที่ตั้งของวัดสาคัญบนแกนตะวันออก-ตะวันตก จากแกนเดิม คือ แกนจาก พระราชวังหลวงมายังวัดมหาธาตุ ซึ่งเป็นแกนที่เกิดขึ้นในสมัยพระราเมศวร แต่ ต่อมาในสมัยพระบรมไตรโลกนาถได้ยกพระราชวังหลวงทาวัดพระศรีสรรเพชญ์ แม้ว่าจะต่อมาในสมัยสมเด็จเจ้าสามพระยาจะเกิดแกนใหม่แต่ก็ยังอยู่ในแนว ตะวันออก-ตะวันตกเช่นเดิม คือ จาก “สะพานป่าถ่าน” ผ่าน “วัดพระมหาธาตุ” ทางซ้ายมือ และ “วัดราชบูรณะ” ทางขวามือ จากนั้นผ่าน “วัดหลังคาขาว” ทางซ้ายมือ และ “วัดชุมแสง” ทางขวามือ จากนั้นตรงไปยังพระที่นั่งจักรวัติ ไพชยนต์ ซึ่งในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองหลวงที่โปรดฯ ให้สร้างพระที่นั่ง จักรวัติไพชยนต์ซึ่งเทียบได้กับลานพระราชวังที่เมืองพระนครหลวง ทาให้แกน ตะวันออก-ตะวันตกนี้มาสมบูรณ์แบบและเทียบได้กับแกนหลักทางตะวันออก ของเมืองพระนครหลวงด้วย…………………………………………………………................. แผนที่แสดงที่ตั้งสัมพันธ์ของวัดพระมหาธาตุกับองค์ประกอบระดับผังเมืองอื่นๆ………… แบบสถาปัตยกรรมแสดงภาพตัด (Section) วัดราชบูรณะที่ตัดผ่านระเบียงคด เพื่อ แสดงให้เห็นแนวกาแพงก่ออิฐจากพื้นจรดโครงสร้างหลังคาในฝั่งด้านนอก และ ใช้เสาลอยรอยรับโครงสร้างหลังคาเพื่อให้แสงลอดเข้ามายังพื้นที่ตอนใน ใน ขณะเดียวกันก็เปิดมุมมองของผู้ใช้พื้นที่ออกไปยังพระมหาธาตุประธานที่ตั้งอยู่ กลางของผังบริเวณ…………………………………………………………………………………… ฐ

102 104 104 114

114

115 117

120


33

34

35 36

37

38

39

40 41 42 43 44

ภาพสามมิติแสดงระเบียงคดล้อมรอบผังบริเวณเขตพุทธาวาสของวัดพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช จะเห็นว่าห้องท้ายของวิหารธรรมศาลาซึ่งเป็นวิหารด้านทิศ ตะวันออกของผังบริเวณนั้นยื่นเข้าไปยังผังบริเวณด้านในระเบียงคด อันเป็น เอกลักษณ์สาคัญของการวางผังวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น………………………………. แบบสถาปัตยกรรมแสดงผังบริเวณเขตพุทธาวาสวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น เปรียบเทียบ กันระหว่างวัดพุทไธศวรรย์ (ภาพบน) และวัดราชบูรณะ (ภาพล่าง) จะเห็นได้ว่า มีการวางผังให้มุขท้ายของพระวิหารหลวงจะยื่นเข้าไปยังผังพื้นที่ภายในที่โอบ ล้อมด้วยพระระเบียงคด หรืออาจจะกล่าวได้ว่าระเบียงคดนั้นวิ่งเข้ามาบรรจบที่ ห้องท้ายวิหารหรือส่วนท้ายวิหาร ซึ่งลักษณะดังกล่าวถือเป็นอันเป็นเอกลักษณ์ สาคัญของการวางผังวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น…………………………........................ ภาพแสดงท้ายจระนาวิหารหลวงวัดพุทไธศวรรย์ พระนครศรีอยุธยา แสดงให้เห็นการ ต่อเชื่อมกับระเบียงคดที่ตาแหน่งห้องท้ายวิหาร…………………………………………… พื้นที่และบรรยากาศภายในระเบียงคดที่สร้างขึ้นเพื่อก่อรูปให้เกิดพื้นที่ปิดล้อ มอั น ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระมหาธาตุประธานตรงกึ่ งกลางผั ง บริเวณ จากภาพจะแลเห็นผนังที่อยู่รอบนอกก่อทึบและเป็นพนักให้ประดิษฐาน พระพุทธรูปเรียงรายไปตลอดแนว และฝั่งด้านในใช้การก่อเสารับโครงสร้าง หลังคา เพื่อดึงแสงธรรมชาติให้เข้ามายังพื้นที่ตอนใน และฉายส่องมายังองค์ พระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ด้วย………………………………………………………………… ภาพผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอ ยุธยาจากการส ารวจด้ วยกล้อ งสารวจ เลเซอร์ 3 มิติ ด้านหน้าคือทิศตะวันออก คือ พระวิหารหลวง และด้านตะวันตก คือ พระอุโบสถ ทั้งนี้ ผังบริเวณที่แสดงนี้เป็นผังที่สะท้อนให้เห็นผังวัดพระศรีรัต นมหาธาตุอยุธยาในสมัยสุดท้ายก่อนการเสียกรุง………………………………………….. ประเภทของอาคาร และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ภายในผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา ทั้งนี้ ผังบริเวณที่แสดงนี้เป็นผังในสมัยสุดท้ายก่อนการเสียกรุงในปี พ.ศ. 2310………………………………………………………………………………………………………. แบบสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบระหว่างปราสาทหินพิมาย และพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ซึ่งยังคงแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ทางสถาปัตยกรรมที่ถ่ายทอดถึงกันอยู่ ทว่ามณฑปด้านหน้าได้มีการลดขนาดลง เนื่ องเพราะมีการก่อสร้างพระวิหาร หลวงด้านหน้าพระมหาธาตุเพื่อเป็นพื้นที่สาหรับประกอบพิธีกรรมทางศาสนา…. รูปตัด (Section) ผังบริเวณเขตพุทธาวาสภายในวงล้อมของระเบียงคดวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยา………………………………………………………………………………………… การวางผังในแนวแกนทิศ ตะวันออก-ตะวันตก (วิหารหลวง-ปรางค์ประธาน-อุโบสถ)…. แผนผังแสดงการหันทิศของพระวิหารรายหลังต่างๆ ในผังบริเวณเขตพุทธาวาสชั้นนอก การวางผังแบบรวมศูนย์กลาง………………………………………………………………………………. การหันทิศด้านหน้าของพระปรางค์รายที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นนอก…………… ฑ

121

122 123

123

125

126

128 129 131 133 135 137


45 46 47 48 49 50

51 52 53 54

55 56 57

58 59

60 61 62

สภาพของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา มุมมองจากวัดราชบูรณะ เมื่อราวปี พ.ศ. 2499………………………………………………………………………………………………………. แบบสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่สารวจและจัดทาขึ้นในปี พ.ศ. 2500………………………………………………………………………………………………………. การขุดเปิดกรุวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา ในปี พ.ศ. 2499…………………………………… การขุดเปิดกรุวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา ในปี พ.ศ. 2499…………………………………… จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้าร่วมพิธีกรรมสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2499…………………………………………………………………………………….. มณฑลพิธีในการสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาตม พ.ศ.2499 จัดมณฑล พิธีตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา วัดที่เห็น เป็นฉากอยู่ด้านหลัง คือ วัดราชบูรณะ…………………………………………………………. มณฑลพิธีในการสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาตม พ.ศ.2499 จัดมณฑล พิธีตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา……………. มณฑลพิธีในการสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาตม พ.ศ.2499 จัดมณฑล พิธีอยู่ตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา……….. จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้าร่วมพิธีกรรมสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2499…………………………………………………………………………………….. สถูปซ้อนชั้นที่ทาด้วยจากวัสดุมีค่าชนิดต่างๆ ออกแบบเป็นทรงเจดีย์ทว่าไม่มีบัลลังก์ ซึ่งอาจเป็นรูปทรงอันเก่าแก่ของสถูปเจดีย์ที่ยังตกค้างอยู่ ภายในเป็นพระกรัณฑ์ ที่ตกแต่งด้วยแก้วผลึกมีค่าซึ่งภายในประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ................... ผอบหินรูปปลาเขียนลานทอง.......................................................................................... เครื่องมหัคฆภัณฑ์ของมีค่าต่างๆ ที่ค้นพบในกรุพระมหาธาตุ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา.................................................................................................................. ผั งบริ เ วณวั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยามุ ม มองตานก (Bird Eye View) จากการ ประมวลผลจากการสารวจด้วยเครื่องเลเซอร์ส แกนเนอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner)............................................................................................................. ผั ง บริ เ วณวั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยา ผลจากการส ารวจด้ ว ยเครื่ อ งเลเซอร์ สแกนเนอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner)........................................................... ผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แสดงสภาพของสถาปัตยกรรมแต่ละหลัง กล่าวคือ สีแดง คือมีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ สีเหลือง คือ มีสภาพหลงเหลือส่วน ฐานและผนังบางส่วน และสีน้าตาล คือ อาคารที่พังทลายเหลือเฉพาะส่วนฐาน.. ผังบริเวณเขตพุทธาวาสในวงล้อมของระเบียงคด อันเป็นที่ตั้งของพระศรีรัตนมหาธาตุ และอาคารบริวารอื่นๆ………………………………………………………………………………. แผนผังบริเวณเขตพุทธาวาสในวงล้อมของระเบียงคด แสดงสภาพทางกายภาพของ อาคารหลังต่างๆ ที่ตั้งอยู่โดยรอบพระศรีรัตนมหาธาตุ…………………………………… แผนผังสภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ....................................... ฒ

144 144 147 148 148

149 149 150 150

151 151 152

155 156

157 158 158 159


63 64 65 66 67

68

69

70

71

72

73

74 75

สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศตะวันออก.................... สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศเหนือ............................. สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศใต้.................................. สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศตะวันตก....................... ชุดฐานซ้อนชั้นของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ซึ่งตรงส่วนพระปรางค์ประธานนั้นเป็น โครงสร้างก่อด้วยศิลาแลงมาแต่เดิม และมีการก่อมุขให้กลายเป็นผังแบบจัตุรมุข ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง................................................................... วัสดุก่อสร้างของเรือนธาตุ และภายในห้องครรภธาตุใช้ศิลาแลงเป็นวัสดุก่อสร้างหลัก ทั้งนี้ในภาพขวามือจะแลเห็นว่ามีการใช้หินทรายก่อเป็นโครงสร้างรับน้าหนักใน ส่วนพื้นขององค์พระปรางค์นับตั้งแต่พื้นห้องครรภธาตุลงไปและก่อเป็นพนักของ กรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ………………………………………………………… ภาพจากการ 3Ds Laser Scanner ภาพซ้าย คือ พระปรางค์มุมด้านตะวันตกเฉียง เหนือ ซึ่งยังมีสภาพเกือบสมบูรณ์ และภาพขวา คือ พระปรางค์มุมด้านตะวันตก เฉียงใต้ที่เรือนยอด และตัวเรือนพังทลายลงมา แต่ยังเห็นร่องรอยของช่องประตู เข้าสู่ห้องครรภธาตุ……………………………………………………………………………………. เจดีย์บริวารทรงปราสาทยอด ภาพซ้าย คือ เจดีย์องค์ที่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ เกือบทั้งองค์เพื่อการสื่อความหมายการเรียนรู้ ภาพกลาง สภาพปัจจุบันของ เจดีย์บริวารที่รักษาไว้ตามสภาพจะเห็นเรือนธาตุ และฐานในผังสี่เหลี่ยมย่อมุม สาหรับภาพขวา คือ เจดีย์บริวารที่ยังคงเหลือถึงองค์ระฆังและปล้องไฉนทว่า ส่วนฐานมีการพังทลายสูงจนสิ้นสภาพ หากไม่มีองค์อื่นเทียบเคียงก็ไม่อาจทราบ ถึงรูปแบบของเรือนธาตุได้เลย……………………………………………………………………. ซากฐาน และเสาของมณฑปบริวารที่สร้างอยู่ล้อมรอบพระศรีรัตมหาธาตุสลับหว่างกับ เจดีย์บริวารทรงปราสาทยอด สันนิษฐานว่ามณฑปเหล่านี้บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้น ใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง……………………………………………………….. ภาพซ้ายบน-ล่าง ภาพจาก 3Ds Laser Scanner รูปด้านและผังของเจดีย์ทรงปราสาท ยอดผั งสี่ เ หลี่ ยมย่ อ มุม ภาพขวา คื อ ภาพถ่ า ยเก่ า เจดีย์ ท รงปราสาทยอดผัง สี่เหลี่ยมย่อมุม………………………………………………………………………………………….. ภาพซ้ายบน-ล่าง ภาพจาก 3Ds Laser Scanner รูปด้านและผังของเจดีย์ทรงปราสาท ยอดผั งสี่ เ หลี่ ยมย่ อ มุม ภาพขวา คื อ ภาพถ่ า ยเก่ า เจดีย์ ท รงปราสาทยอดผัง สี่เหลี่ยมย่อมุม...................................................................................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงผังพื้นของระเบียงคด............................................. ระเบียงคดด้านนอกซึ่งจะเป็นกาแพงอิฐทึบสูงเพื่อป้องกันความปอลดภัยแก่พื้นที่ตอน ใน เหนือกาแพงมีลักษณะเป็นบัวหลังเจียดที่ปั้นปูนตกแต่งเลียนแบบการมุง หลังคาด้วยกระเบื้องกาบ......................................................................................

159 160 160 160

163

163

165

166

167

168

169 170

171


76

77 78 79

80 81

82

83 84 85

86 87 88 89 90

91

ภายในระเบียงคด จะเห็นว่าพื้นที่ตอนในที่หันเข้าสู่พระศรีรัตนมหาธาตุจะมีความโถง ในขณะที่ ด้ า นนอกจะก่ อ ก าแพงสู ง ซึ่ ง ท าหน้ า ที่ ทั้ ง ส าหรั บ การรั ก ษาความ ปลอดภัย และกาแพงยังทาหน้าที่รับน้าหนักโครงสร้างหลังคาของระเบียงคด ในขณะที่ฟากด้านในใช้เสาลอยเป็นตัวรับน้าหนักโครงสร้างหลังคา..................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงขอบเขตและลักษณะชุดฐานทั้ง 3 ระยะ ของ วิหารหลวง (ดูภาพขยายในภาพที่ 78).................................................................. ลักษณะชุดฐานระยะต่างๆ ของวิหารหลวง……………………………………………………………. ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงภาพขยายผั งพื้ น ระยะต่ า งๆ ของวิ ห ารหลวง กล่าวคือ “กรอบสีเหลือง” คือ ผังพื้นระยะที่ 1 “กรอบสีเขียว” คือ ผังพื้นระยะ ที่ 2 และ “กรอบสีแดง” คือ ผังพื้นระยะสุดท้าย................................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงผังพื้น และรูปด้านต่างๆ ของพระวิหารหลวงวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา………………………………………………………………………... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงลักษณะทางสถาปัตยกรรม และสภาพปัจจุบัน ของพระวิหารหลวงภาพซ้าย คือ แผนผังอาคารวิหารหลวง ภาพขวา คือ รูปด้าน ทิศใต้..................................................................................................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงลักษณะทางสถาปัตยกรรม และสภาพปัจจุบัน ของพระวิหารหลวง ภาพซ้าย คือ รูปด้านทิศตะวันออก ภาพขวาบน คือ รูปด้าน ทิศตะวันตก และ ภาพขวาล่าง คือ รูปด้านทิศตะวันออก...................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงผังพื้น และรูปด้านต่างๆ ของพระอุโบสถวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา......................................................................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงภาพขยายสภาพปัจจุบันของพระอุโบสถ “ภาพ ซ้าย” คือ ผังพื้น และ “ภาพขวา” คือ รูปด้านข้างทางทิศใต้…………………………... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงภาพขยายสภาพปัจจุบันของพระอุโบสถ “ภาพ ซ้าย” คือ รูปด้านทางทิศเหนือ “ภาพขวาบน” คือ รูปด้านข้างทางทิศตะวันตก และ “ภาพขวาล่าง” คือ รูปด้านข้างทางทิศตะวันออก………………………………….. สภาพปัจจุบัน และทิศทางการวางของปรางค์ราย และเจดีย์ราย.................................... เปรียบเทียบขนาดและองค์ประกอบของพระปรางค์รายองค์ใหญ่ กับพระปรางค์ราย…. แผนผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แสดงพระปรางค์ และพระเจดีย์แบบต่างๆ ที่ ก่อสร้างขึ้นในพื้นที่ผังบริเวณเขตพุทธาวาสด้านนอกระเบียงคด……………………… ภาพจาก 3Ds Laser Scanner ปรางค์ราย และเจดีย์ราย ที่มีสภาพเหลือถึงส่วนยอด… ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงการเปรียบเทียบรูปทรงของพระปรางค์หมายเลข 8 และหมายเลข 13 ที่แสดงให้เห็นว่าระเบียบสัดสัดส่วนของรูปทรงนี้มีความ แตกต่างกัน อันนาไปสู่ข้อสันนิษฐานว่า พระปรางค์หมายเลข 13 ควรจะสร้าง ขึ้นภายหลัง แต่ทว่าสร้างขึ้นตรงตาแหน่งของพระปรางค์มุมองค์เดิม………………. ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงการเปรียบเทียบรูปทรงของพระปรางค์ รายองค์ ต่างๆ………………………………………………………………………………………………… ด

171 173 173

174 175

176

177 179 180

181 183 184 185 186

188 189


92 93

94

95 96 97 98 99 100 101

102 103 104

105

องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์รายผังแปดเหลี่ยม หมายเลข 1…………. ภาพซ้าย คือ พระปรางค์ผังแปดเหลี่ยมตั้งอยู่ฐานไพทีผังย่อมุมไม้ยี่สิบ ตัวเรือนธาตุ แบ่งเป็น 3 ชั้น และออกแบบเป็นซุ้มจระนา และปั้นปูนเป็นรูปเจดีย์ตกแต่งกลาง ซุ้มซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นการแสดงนัยถึงการบรรจุอัฐิไว้ภายใน ภาพขวาบน และ กลาง คือ เรือนยอดออกแบบเป็นสถูปทรงปรางค์ 9 ยอด ซึ่งสันนิษฐานว่าพระ ปรางค์ผังแปดเหลี่ยมองค์นี้ว่าสร้างหลังจากสมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรง บูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุพระศรีรัตนมหาธาตุเป็นพระปรางค์เก้ายอด , ภาพขวาล่ า ง คื อ ภาพประติ ม ากรรมปู น ปั้ น รู ป เทวดายื น ซึ่ ง สะท้ อ น ความสัมพันธ์กับศิลปะล้านนา……………………………………………………………………. ภาพจาก 3Ds Laser Scanner ภาพซ้าย คือ พระเจดีย์หมายเลข 25 เป็นพระเจดีย์ผัง ย่อมุมไม้ยี่สิบ ภาพขวา คือ พระปรางค์หมายเลข 26 ซึ่งเป็นพระปรางค์ที่มีชุด ฐานเป็นฐานสิงห์ อีกทั้งฐานและตัวเรือนชะลูดสูงซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมในสมัย อยุธยาตอนปลาย……………………………………………………………………………………… ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของเจดีย์ทรง ระฆัง หมายเลข 27…………………………………………………………………………………… พระเจดีย์ทรงระฆังอยู่ที่มุมด้านตะวันตกเฉียงเหนือด้านข้างพระอุโบสถ……………………. “วิหารแกลบ” คือ พระวิหารที่มีขนาดเล็กซึ่งออกแบบเป็นอาคารเครื่องก่อทั้งหลัง…….. แผนผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แสดงตาแหน่งของพระวิหารราย ที่ก่อสร้างขึ้น ในพื้นที่ผังบริเวณเขตพุทธาวาสด้านนอกระเบียงคด............................................. ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงสภาพปัจจุบันของพระวิหารราย............................ ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงสภาพปัจจุบันของพระวิหารราย (ต่อ)................... ตัวอย่างการการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมฝีพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ กรณีศึกษาพระวิหารหลวงพ่อมงคลบพิตร พระนครศรีอยุธยา ที่ทรงให้แนวทางความน่าจะเป็นของรูปแบบสถาปัตยกรรมที่อาจเป็นไปได้ จาก การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล แวดล้ อ มต่ า งๆ จึ งได้ น าเสนอรู ป แบบสถาปั ต ยกรรม 2 แนวทาง…………………………………………………………………………………………………… หน้ า ปกวารสารหน้ า จั่ ว วารสารวิ ช าการประจ าคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 8 ปีการศึกษา 2531................................................... หน้าปกหนังสือวัดพระศรีสรรเพชญ์................................................................................ การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ ระยะสุดท้าย ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยรองศาสตราจารย์เสนอ นิลเดช แสดงการใช้ แบบสถาปัตยกรรมแสดงสภาพปัจ จุบัน (Existing Condition) ซึ่งยังปรากฏ ร่องรอยของไวทยากรณ์ทางสถาปัตยกรรมในการขึ้นรูปทรงสันนิษฐาน…………… แบบทัศนียภาพ (Isometric) แสดงแบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานรูปแบบพระวิหาร หลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ แสดงแบบพระวิหารหลวงระยะสุดท้ายก่อนเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยรองศาสตราจารย์เสนอ นิลเดช……………………………………. ต

190

191

192 193 194 195 196 197 198

206 208 208

209

209


106

107 108 109

110 111 112 113 114 115 116

ภาพบน หน้าปกหนังสือ Ayutthaya World Heritage ซึ่งจัดพิมพ์ 2 เล่ม คือ แหล่ง มรดกโลกพระนครศรีอยุธยา และแหล่งมรดกโลกสุโขทัย สนับสนุนการจัดพิมพ์ โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย แสดงให้เห็นถึงวามสนใจในการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และการเรียนรู้มรดกทางสถาปัตยกรรมด้วยการใช้การ สั น นิ ษ ฐานรู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรมเพื่ อ กระตุ้ น จิ น ตภาพของผู้ รั บ สาร (Receiver) ต่อแหล่งมรดกทางสถาปัตยกรรมที่พังทลายเป็นซาก (Ruin) ไปแล้ว ภาพล่ า ง การน าเสนอด้ ว ยวิ ธี ก ารพิ ม พ์ ภ าพถ่ า ยสี ข องแหล่ ง มรดกทาง สถาปัตยกรรมมุมมองที่เป็นเอกลักษณ์ของแหล่งนั้นๆ และซ้อนทับด้วยแผ่นใส พิมพ์สี โดยเขียนภาพสันนิษฐานรูปแบบซ้อนทับลงไปบนภาพถ่าย ช่วยสร้าง จินตนาการแก่ผู้รับสารได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ในภาพ คือ แหล่งโบราณสถานวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา………………………………………………………………………………. สู จิ บั ต รนิ ท รรศการแสดงผลงานศิ ล ปะที่ ส ร้ า งสรรค์ จ ากการสั น นิ ษ ฐานรู ป แบบ โบราณสถาน......................................................................................................... การเขียนแบบร่าง (Architectural Hand Drawing)………………………………………………. การสารวจรังวัดด้วยเครื่องมือพื้นฐาน ภาพซ้าย คือ การใช้ตลับเมตร ภาพกลาง คือ การใช้หลักเมตรอ้างอิงระยะ ภาพขวา คือ เครื่องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ที่ใช้ใน การสารวจ……………………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างแบบร่างทางสถาปัตยกรรมด้วยมือ และการบันทึกระยะจากการสารวจรังวัด…. การสารวจรังวัดด้วยเครื่องมือ กล้องสารวจเลเซอร์สามมิติที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา และเครื่องมือกล้องสารวจเลเซอร์สามมิติที่ใช้ในการสารวจรังวัด…………. การประมวลผลข้อมูลภาพแบบหมอกจุดด้วยโปรแกรม CloudCompare………………… การประมวลผลข้ อ มู ล ภาพแบบหมอกจุ ด ด้ ว ยโปรแกรม CloudCompare และ ประมวลผลมาสูก่ ารเป็นรูปด้านทางสถาปัตยกรรม (Elevation Image)………….. การใช้ เ ทคโนโลยี Building Information Modeling (BIM) ในการขึ้ น รู ป ทรงทาง สถาปัตยกรรม……………………………………………………………………………………….... แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานแสดงพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ที่มีพระปรางค์บริวาร ขนาบ………………………………………………………………………………………………………. แสดงแบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา เมื่อแรกสถาปนาใน ปี พ.ศ. 1931 ใน รัชกาลสมเด็จพระราเมศวร พ.ศ. 1931 (ภาพซ้าย) ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ ประธานองค์เดียว (ภาพขวา) ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ประธาน และมีปรางค์ บริวารขนาบด้านข้าง ทั้งนี้จากข้อมูลแวดล้อมที่กล่าวมาข้างต้น จึงเสนอว่า พระ ศรีรัตน มหาธาตุอยุธยาในระยะแรกสร้างนั้น อาจเป็นไปได้ทั้ง 2 แนวทาง ทั้งที่ เป็นพระปรางค์ประธานองค์เดียว และมีลักษณะเป็นพระปรางค์ 3 องค์ เช่น พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี, พระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ และพระมหาธาตุวัด พระราม ซึ่งจาเป็นต้องสารวจทางโบราณคดีเพิ่มเติมจากสมมติฐานดังกล่าว……. ถ

211 212 214

215 216 218 219 220 221 225

227


117

118

119

120

121

122

123

124

แบบสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบสัดส่วนและความสูงของพระมหาธาตุ ลพบุรี (ซ้าย) มี ระยะความกว้างรวมของฐานด้านหน้า ประมาณ 15.52 เมตร สูง ประมาณ 28 เมตร ซึ่งได้ข้อมูลจากการสารวจรังวัด และพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา (ขวา) ซึ่ง ได้ข้อมูลในการทาแบบสันนิษฐานจากการสารวจรังวัด และการข้อมูลความสูง จากพระราชพงศาวดาร ทั้งนี้มีระยะความกว้างรวมของฐานด้านหน้า 22.03 เมตร และความสูงประมาณ 38 เมตร………………………………………………………….. ปราสาทพระปิถุ X ซึ่งเป็นปราสาทจัตุรมุขยกฐานสูง (ภาพซ้าย) แสดงภาพรวมของ ปริมาตรของตัวปราสาทที่ยกฐานสูง และมีทางเข้าทั้ง 4 ด้าน (ภาพขวา) แสดง บันไดทางขึ้นปราสาทพระปิถุ X………………………………………………………………….. แบบแสดงลักษณะทางสถาปัตยกรรมของปราสาทนครวัด จะเห็นได้ว่าเมื่อแสดงข้อมูล ของลักษณะทางสถาปัตยกรรมด้วยภาพตัด (Section) จะเห็นว่าพระปรางค์ ประธานก็ถูกออกแบบให้เป็นปราสาทยกฐานสูง ทว่าเมื่อมองในภาพรวมจะถูก ส่วนระเบียงคด และอาคารหลังอื่นๆบัง ทาให้เห็นเฉพาะส่วนเรือนยอดเท่านั้น…. ภาพตั ด แสดงต าแหน่ ง กรุ ป ระดิ ษ ฐานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ อ ยู่ ลึ ก ลงไปจากห้ อ ง ครรภธาตุ ใ นเรื อ นธาตุ 17 เมตร ทั้ ง นี้ ใ นห้ อ งครรภธาตุ ใ นเรื อ นธาตุ นั้ น ประดิ ษ ฐานเจดี ย์ จ าลองที่ มี ฐ านรูป แปดเหลี่ ย มเป็ น สัญ ลัก ษณ์ ถึ งต าแหน่งที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ………………………………………………………………….. ภาพตั ด แสดงต าแหน่ ง กรุ ป ระดิ ษ ฐานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ อ ยู่ ลึ ก ลงไปจากห้ อ ง ครรภธาตุ ใ นเรื อ นธาตุ 17 เมตร ทั้ ง นี้ ใ นห้ อ งครรภธาตุ ใ นเรื อ นธาตุ นั้ น ประดิ ษ ฐานเจดี ย์ จ าลองที่ มี ฐ านรูป แปดเหลี่ ย มเป็ น สัญ ลัก ษณ์ ถึ งต าแหน่งที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ............................................................................ พระบรมสารีริกธาตุประดิษฐานอยู่ในผอบที่ทาด้วยของมีค่าชนิดต่างๆ ดังนี้ จากซ้ายไป ขวา สถูปทาด้วยชิน, สถูปทาด้วยสาริด, สถูปทาด้วยทองคา, สถูปทาด้วยหินสี ดาขัดมัน, สถูปทาด้วยไม้จันทร์ และชั้นสุดท้ายเป็นตลับทองคาและแก้วมีค่า ชนิดต่างๆ (ภาพขยายด้านซ้ายมือ)....................................................................... การตกแต่งชั้นอัสดงของพระมหาธาตุต่างๆ ที่สถาปนาขึ้นก่อนหน้า และร่วมสมัยกับ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา (ซ้าย) การตกแต่งชั้นอัสดงพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรีด้วยกลีบขนุน (กลาง) การตกแต่งชั้นอัสดงพระมหาธาตุ วัดพุทไธศวรรย์ ด้ ว ยกลี บ ขนุ น (ขวา) การตกแต่ ง ชั้ น อั ส ดงพระมหาธาตุ วั ด พระรามด้ ว ย ประติมากรรมปูนปั้นรูปครุฑที่ตาแหน่งมุมประธาน และมุมรองตกแต่งด้ วยกลีบ ขนุนปั้นตกแต่งด้วยรูปเทวดา............................................................................... แบบสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบพระปรางค์พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างใน ประเด็นการตกแต่งชั้นอัสดง ภาพทางซ้ายมือ คือ การตกแต่งชั้นอั สดงด้วยการ ใช้กลีบขนุนเช่นเดียวกับพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี สาหรับภาพทางขวามือ คือ การตกแต่ ง ชั้ น อั ส ดงโดยใช้ ป ระติ ม ากรรมรู ป ครุ ฑ และเทวดาประทั บ ยื น ท

229

230

230

231

232

232

234


125

126 127 128 129

130

131

132

133 134

135

เช่นเดียวกับการตกแต่งพระมหาธาตุวัดพระรามซึ่งสร้างในรัชกาลสมเด็จพระ นเรศวรเช่นเดียวกัน………………………………………………………………………………….. พระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี อาจเคยมีพระสถูปทรงปรางค์ตั้งอยู่บนสันหลังคาด้วยก็ อาจเป็นได้ เนื่องจากสภาพในปัจจุบันหลังคาส่วนมุขได้พังทลายลงมาจึงเปิด โอกาสให้จินตนาการบนหลักฐานที่ปรากฏ ในที่นี้ ภาพทางซ้ายจึงเป็นแบบ สถาปั ต ยกรรมแสดงรู ป ด้ า นข้ า งแสดงให้ เ ห็ น ถึ งพระสถู ป ทรงปรางค์ บ นสั น หลังคามุขด้านทิศตะวันออก................................................................................. ภาพถ่ายเก่าของพระมหาธาตุวัดพระราม ดังจะเห็นได้ว่ามุขทางด้านตะวันออกนั้นมี สถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุข…………………………………………………………………. พระมหาธาตุวัดราชบูรณะมีสถูปทรงเจดีย์บนสันหลังคามุขด้านหน้าทางทิศตะวันออก.. แบบสถาปัตยกรรมแสดงรูปด้านข้างของพระมหาธาตุวัดราชบูรณะมีสถูปทรงเจดีย์บน สันหลังคามุขด้านหน้าทางทิศตะวันออก……………………………………………………… แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานเพื่อเปรียบเทียบพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรก สร้างในประเด็นว่าด้วย “สถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุขทิศตะวันออก” ภาพ ทางซ้ายมือ คือ แบบสันนิษฐานของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้าง แบบไม่มีมุขบนสันหลังคา สาหรับภาพทางขวามือ คือ แบบสันนิษฐานของพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างแบบมีสถูปทรงปรางค์อยู่บนสันหลังคามุข… มุมประธานของพระศรีรัตนมหาธาตุองค์เดิมสร้างด้วยศิลาแลง และมีการก่อมุขทิศด้วย อิฐออกมาเพื่อทาให้แผนผังของพระศรีรัตนมหาธาตุกลายเป็นแบบจัตุรมุขที่ สมมาตร……………………………………………………………………………………………..…… ภาพเก่าของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาก่อนที่จะพังทลายลงมา เป็นหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่สาคัญ จากภาพจะยังเห็นเรือนยอดสถูปทรงปรางบนสันหลังคา มุขทิศด้านตะวันตก, โกลนก่ออิฐของประติมากรรมรูปครุฑบนชั้นอัสดง และรวม ไปถึ ง เรื อ นยอดสถู ป ทรงปรางค์ บ นเจดี ย์ ผั ง แปดเหลี่ ย มที่ อ ยู่ ต รงมุ ม ด้ า น ตะวันออกเฉียงใต้นอกระเบียงคด……………………………………………………………….. แบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาทางด้านทิศตะวันออก ซึ่งเป็นรูปแบบที่ ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ในปี พ.ศ. 2176 สาหรับ ภาพบน แสดงเฉพาะองค์พระศรีรัตนมหาธาตุประธาน ไม่มีพระปรางค์ มุม และ ภาพล่าง แสดงพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาและพระปรางค์มุม…………… จิตรกรรมฝาผนังรูปซุ้มเรือนแก้วภายในห้องครรภธาตุพระปรางค์มุมตะวันตกเฉียง เหนือ……………………………………………………………………………………………………….. ภาพซ้าย คือ ปูนปั้นประดับช่องทางเข้าสู่เมรุทิศ -เมรุรายวัดไชยวัฒนาราม และ ภาพ ขวา คือ แบบสันนิษฐานรูปแบบลวดลายปูนปั้นประดับช่องทางเข้าสู่เมรุทิศ-เมรุ รายวัดไชยวัฒนาราม............................................................................................ ภาพซ้าย คือ แบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ภายหลังที่สมเด็จพระเจ้า ปราสาททองโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์ โดยมีการสร้างพระปรางค์มุม และมีการ ธ

234

236 236 236 237

237

240

243

244 247

247


136

137 138

139

140 141

142

143

ยืดมุขอีกสามด้านให้ยาวเสมอด้านตะวันออกแล้วใส่พระปรางค์น้อยไว้บนสัน หลังคามุข จึงทาให้ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีสถานภาพเป็นพระปรางค์เก้า ยอด และ ภาพขวา คือ แบบสามมิติแสดงรูปพระปรางค์วัดอรุณที่สันนิษฐานว่า ได้รับอิทธิพลในการสร้างพระมหาธาตุประจาเมืองจากพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา................................................................................................................... หุ่นจาลองสาริดวิหารมหาโพธิพุทธคยาที่หล่อขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง รัชกาลจักรพรรดิ ย่ ง เลอ ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง เจดี ย์ แ บบวั ช รบั ล ลั ง ก์ (กรอบสี เ หลื อ ง) ซึ่ ง รอง ศาสตราจารย์ ดร. พิ ริ ย ะ ไกรฤกษ์ เ สนอว่ า ส่ งอิ ท ธิ พ ลในการส้ า งเจดี ย์ ท รง ปราสาทยอดในประเทศไทย................................................................................. ภาพซ้าย คือ พระเจดีย์วัดป่าสัก เมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และ ภาพขวา คือ พระเจดีย์เชียงยัน วัดพระธาตุหริภุญชัย เมืองหริภุญไชย จังหวัดลาพูน................ แบบสถาปัตยกรรมแสดงพระเจดีย์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัยซึ่งเป็นพระ เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ และมีพระเจดีย์ทิศทรงปรางค์ยอดเจดีย์ และพระเจดีย์ มุมทรงปราสาทยอดเจดีย์..................................................................................... แบบสถาปัตยกรรมแสดงพระเจดีย์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัย ซึ่งเป็นพระ เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ และมีพระเจดีย์ทิศทรงปรางค์ยอดเจดีย์ และพระเจดีย์ มุมทรงปราสาทยอดเจดีย์..................................................................................... พระเจดีย์มุมทรงปราสาทยอดเจดีย์ของพระมหาธาตุวัดพระราม สร้างในรัชกาลสมเด็จ พระราเมศวร......................................................................................................... แสดงแบบสั น นิ ษ ฐานพระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยาที่ มี เ จดี ย์ ร ายทรงปราสาทยอด ล้อมรอบ ภาพบน คือ ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ประธาน และมีปรางค์บริวาร ขนาบด้านข้าง ภาพล่าง คือ ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ประธานองค์เดียว ทั้งนี้ จากข้อมูลแวดล้อมที่กล่าวมาข้างต้น จึงเสนอว่า พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาใน ระยะแรกสร้างนั้น อาจเป็นไปได้ทั้ง 2 แนวทาง ทั้งที่เป็นพระปรางค์ประธาน องค์เดียว และมีลักษณะเป็นพระปรางค์ 3 องค์ เช่น พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุร,ี พระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ และพระมหาธาตุวัดพระราม................................... ตัวอย่างประติมากรรมสาริดเท่าที่ยังหลงเหลืออยู่ที่มัณฑะเลย์ กล่าวคือ สมเด็จพระ บรมราชาธิราชที่ 2 หรือสมเด็จเจ้าสามพระยาโปรดเกล้าให้ขนย้ายมาจากเมือง พระนครยามที่กองทัพอยุธยามีชัยเหนือ และนามาถวายเป็นพุทธบูชาไว้ที่วัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ต่อมาในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 พระเจ้า บุเรงนองโปรดเกล้าฯ ให้ขนย้ายไปยังเมืองหงสาวดี ต่อมาเมื่อกองทัพยะไข่มีชัย เหนือเมืองหงสาวดีก็นาไปไว้ที่แคว้นยะไข่ จนกรระทั่งพระเจ้าปะดุงตีแคว้นยะไข่ สาเร็จ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขนย้ายมาพร้อมกับการอัญเชิญพระมหามัยมุนีมายัง กรุงมัณฑะเลย์....................................................................................................... ตัวอย่างรูปสัตว์ที่ใช้ตกแต่งโดยรอบพระเมรุที่ช่วยสร้างความหมายของนัยที่เชื่อมต่อกับ เขาพระสุเมรุได้แจ่มชัดขึ้น.................................................................................... น

248

251 253

254

255 256

257

259 260


144

145 146 147

148 149 150 151

152

153 154 155 156 157 158 159 160 161 162

ซากฐาน และเสาของมณฑปบริวารที่สร้างอยู่ล้อมรอบพระศรีรัตมหาธาตุสลับหว่างกับ เจดีย์บริวารทรงปราสาทยอด สันนิษฐานว่าเป็นที่ติดตั้งรูปหล่อสาริด ทั้งนี้ส่วน ของหลังคาควรจะเป็นเครื่องยอดโครงสร้างไม้ เพราะหากเป็นโครงสร้างเครื่อง ก่อนั้นไม่อาจจะรับน้าหนักได้................................................................................ ภาพซ้าย คือ พระเจดีย์ประธานวัดญาณเสน ภาพขวา คือ พระเจดีย์มุมด้านตะวันออก เป็นพระเจดีย์ทรงปราสาทในผังสี่เหลีย่ มย่อมุม..................................................... แบบสถาปัตยกรรม ภาพซ้าย แสดงรูปด้านพระเจดีย์มุมด้านตะวันออก เป็นพระเจดีย์ ทรงปราสาทในผังสี่เหลี่ยมย่อมุม ภาพขวา แสดงผังหลังคา.................................. พระเจดีย์วัดวัดชะราม ภาพซ้าย คือ ภาพก่อนการบูรณะ และภาพขวา คือ ภาพหลัง การบูรณะ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า ระเบียบสัดส่วนทางสถาปัตยกรรมของพระเจดีย์ ดั งกล่ า วมี ค วามคล้ า ยคลึ งกั บ พระเจดี ย์ มุ ม คู่ ด้ า นหลั งของผั งบริ เ วณภายใน ระเบียงคดวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และยังมีรูปทรงที่เหมือนกับพระเจดีย์ มุมบนฐานไพทีพระมหาธาตุวัดราชบูรณะ ซึ่งกาหนดอายุได้ในราวพุทธศตวรรษ ที่ 20 หรือสมัยอยุธยาตอนต้น............................................................................... ภาพสามมิติแสดงแบบสถาปัตยกรรมองค์ประกอบภายในผังบริเวณที่อยู่ภายในวงล้อม ของระเบียงคด...................................................................................................... แบบสถาปัตยกรรมแสดงภาพตัด (Section) ของระเบียงคด........................................... ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงขอบเขตและลั ก ษณะชุ ด ฐานทั้ ง 3 สมั ย ของ วิหารหลวง............................................................................................................ ภาพสามมิติแสดงลักษณะชุดฐานระยะต่างๆ ของวิหารหลวง ภาพซ้าย คือ ลักษณะ ฐานของวิหารในระยะที่ 1 ภาพกลาง คือ คือ ลักษณะฐานของวิหารในระยะที่ 2 และภาพขวา คือ คือ ลักษณะฐานของวิหารในระยะที่ 3....................................... แบบสันนิษฐานพระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ระยะที่ 3 ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ซึ่งสัมพันธ์กับความนิยมในการก่อสร้างมุขโถงขนาดใหญ่ด้วยการใช้ หลังคาทรงโรงคลุม เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เป็นต้น.................................. แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 1.................................................................. แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 1.............................. แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 1................................................... แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 1............... แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 2................................................... แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 2............... แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 3.................................................... แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 3............... แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 3.................................................................. แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 3.............................. บ

261 264 264

265 266 268 270

271

272 273 274 275 276 277 278 279 280 281 282


163 164 165 166 167

168

169

170

171

แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงเปรียบเทียบระยะต่างๆ 3 ระยะ................................................................................................................. ภาพร่างใบเสมาทั้ง 2 รูปแบบที่พบที่พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา โดย อาจารย์ น.ณ ปากน้า............................................................................................ บัวหัวเสาแบบบัวแวงของมุขโถงด้านหน้าทางทิศตะวันตกของพระอุโบสถวัดพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา.............................................................................................. บัวหัวเสาแบบบัวแวงพระเมรุทิศ-เมรุรายวัดไชยวัฒนาราม ซึ่งสร้างในสมัยสมเด็จพระ เจ้าปราสาททอง................................................................................................... แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานของพระปรางค์รายที่สร้างขึ้นอยู่นอกระเบียงคด ภาพ ซ้าย คือ พระปรางค์มุม ภาพกลาง คือ พระปรางค์ราย และ ภาพขวา คือ พระ ปรางค์มุมที่มีรูปทรงแบบพระปรางค์แปดเหลี่ยม ซึ่งสันนิษฐานว่าพระปรางค์ สมัยอยุธยาตอนต้นได้พังทลายลง แล้วจึงถูกสร้างขึ้นแทนที่ใหม่ในรัชกาลสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชลงมา................................................................................... แบบสั น นิ ษ ฐานผังบริ เวณของวั ดพระศรีรัตนมหาธาตุอ ยุธ ยา ระยะที่ 1 ในรั ชกาล สมเด็จพระราเมศวร ในปี พ.ศ. 1931 สามารถสันนิษฐานได้ 2 รูปแบบ คือ (ภาพบน) ผังบริเวณระยะที่ 1 แบบที่ 1 ประกอบด้วยพระปรางค์ประธาน มี ลักษณะเป็น “ปรางค์องค์เดียว” พระวิหารหลวง ระเบียงคด และพระอุโบสถ (ภาพล่าง) ผังบริเวณระยะที่ 1 แบบที่ 2 ประกอบด้วยพระปรางค์ประธาน มี ลักษณะเป็น “ปรางค์สามองค์” พระวิหารหลวง ระเบียงคด และพระอุโบสถ..... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ในระหว่างรัชกาลสมเด็จ พระราเมศวร-สมเด็จพระนครินทราธิราช (สมเด็จพระอินทราชา) ในช่วง พ.ศ. 1931-1967 (ภาพบน) ผั งบริ เ วณระยะที่ 2 มี ก ารสร้ า ง “พระปรางค์มุม ” ภายนอกของระเบียงคด (ภาพล่าง) ผังบริเวณระยะที่ 3 มีการสร้าง “พระปรางค์ ราย” โดยรอบระเบียงคดทั้ง 4 ด้าน...................................................................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 4 ในระหว่าง รัชกาลสมเด็จพระราเมศวร ถึงก่อนสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระ ยา) ในช่ ว ง พ.ศ.1931-1967 มี ก ารสร้ า ง “พระเจดี ย์ ท รงปราสาทยอด” ล้อมรอบพระปรางค์ประธาน และการสร้าง “วิหารคู่” ทางด้านทิศตะวันออก ของพระปรางค์ประธาน........................................................................................ แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 5 ในระหว่าง รัชกาลสมเด็จพระนครินทราธิราช (เจ้านครอินทร์) ถึงรัชกาลสมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ในช่วง พ.ศ.1952-1991 มีการสร้าง“พระเจดีย์ มุม ทรงระฆังบนฐานซ้อนชั้นผังแปดเหลี่ยม” บริเวณมุมภายในของระเบียงคด...

283 285 287 287

290

292

294

295

296


172

173

174

175

176

177

178

179

แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 6 ในช่วงรัชกาล สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) พ.ศ.1967-1991 มีการสร้าง“มณฑป บริวาร” วางตัวสลับหว่างกับพระเจดีย์ทรงปราสาทยอด ล้อมรอบพระปรางค์ประธาน ทั้ง 4 ด้าน เพื่อติดตั้งประติมากรรมหล่อสาริดจากเมืองพระนคร..................................... แบบสั น นิ ษ ฐานผั ง บริ เ วณของวั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยา ระยะที่ 7 ในช่ ว ง เหตุการณ์การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2112 มีการรื้อ “มณฑป บริวาร” เพื่อขนย้ายประติมากรรมหล่อสาริดไปยังเมืองหงสาวดี โดยพระเจ้า บุเรงนอง............................................................................................................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 8 ในช่วงรัชกาล สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช พ.ศ. 2133-2148 มี ก ารเปลี่ ย นแปลงในเขต สังฆาวาสทางทิศตะวันตก..................................................................................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 9 ในช่วงรัชกาล สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ในปี พ.ศ. 2153 เรือนยอดของพระปรางค์ประธาน พังทลายลงมาถึงชั้นอัสดง และทาลายอาคารบางส่วนที่อยู่โดยรอบ..................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 10 ในช่วงรัชกาล สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ในปี พ.ศ. 2176 มีการบูรณปฏิสังขรณ์ส่วนยอด พระปรางค์ประธานที่พังทลายลง โดยปรับทรวดทรงให้สูงขึ้น บริเวณเรือนธาตุ มีการสร้างมุขเพิ่มทั้ง 4 ด้านเป็นจัตุรมุข บนสันหลังคามุมมีปรางค์ทิศ และมีการ สร้างพระปรางค์มุมทั้ง 4 องค์ และมีการประดับตกแต่งเรือนยอดพระปรางค์ ประธาน พระปรางค์มุม และพระปรางค์รายด้วยทองเหลือง หรือ “ทองจังโก” รวมไปถึงการสร้าง “พระเจดีย์คู่ ” บริเวณมุมภายในด้านทิศตะวัน ออกของ ระเบียงคด และการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวง ในระยะที่ 2 โดยการขยาย มุขโถงด้านหน้า เพิ่มอีก 1 ช่วงเสา และขยายฐานไพทีทั้งสองข้างเพื่อเชื่อมกับ ชุดฐานของมุขโถงด้านหน้า โดยชุดฐานมีการย่อมุมที่ซับซ้อน สอดคล้องกับการ ย่อมุมบริเวณพระปรางค์ประธาน......................................................................... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 11 ในระหว่าง รัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในช่วง พ.ศ. 2173-2231 มีการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อเนื่อง และการสร้างพระปรางค์เก้ายอด เรือนธาตุผังแปดเหลี่ยม บริเวณมุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ด้านนอกระเบียงคด...... แบบสันนิษฐานพัฒนาการของผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ทั้ง 12 ระยะ ตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระราเมศวรจึงถึงช่วงก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้ง ที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 มีการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวงในระยะสุดท้าย.......... แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 12 ในช่วงก่อน การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 มีการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหาร หลวงในระยะสุดท้าย............................................................................................ ผ

297

298

299

300

302

304

305

306


180 181 182

183 184 185

ตัวอย่างของตัวอักษรที่มีการประดิษฐ์ให้มีเอกลักษณ์ เหมาะสาหรับใช้เป็นชื่อหัวข้อ เรื่อง................................................................................................................................. ตัวอย่างของตัวอักษรที่มีลักษณะเรียบง่าย เหมาะสาหรับใช้กับส่วนที่ต้องการความ รวดเร็ว และความสะดวกในการอ่าน............................................................................... เส้นสีแดงแสดงเส้นรอบรูปที่เกิดขึ้นรอบตัวอักษร สังเกตได้ว่าเส้นรอบรูปที่เกิดขึ้นรอบ คาที่ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ผสมกับตัวอักษรพิมพ์เล็กจะมีความแตกต่างกัน และ คาดเดาความหมายของคาได้มากกว่าคาที่ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด............... ตัวอย่างการจัดวางตาแหน่งข้อมูลเป็นกลุ่มละ 3-4 บรรทัด เพื่อสะดวกในการอ่าน......... ตัวอย่างหน้าจอของการแสดงผลของแอพพลิเคชั่น “จินตทัศนา” บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ อัจฉริยะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ “ไอโอเอส (IOS)”............................. ตัวอย่างหน้าจอของการแสดงผลของแอพพลิเคชั่น “จินตทัศนา” บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ อัจฉริยะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ “แอนดรอยด์ (Android)”................

333 333

334 335 344 345


บทที่ 1 บทนำ

1. คำถำมของกำรศึกษำ ค ำถาำของกาำศึก า าำ( Research Question)(หศื ง (ปั ญ หำวิ จั ย ( Research Problem)( องกาำศวิจัยชิ้นนี้ขีด้วยาันหลำยคำถาำข(และขีควำขซับซ้งนองกปัญหำที่แตาต่ำกาันหลำยสถาำนภำพ( าล่ำวคืง(คำถาำขที่ตั้กอก้นจำาควำขสกสัยใคศ่ศู้ในขุขขงกองกาำศ(“วิจัยพื้นฐาน (Basic Research)”( เพื่งสศ้ำกควำขเอ้ขแอ็ก(และควำขเป็นเลิึทำกวิชำาำศในสำอำวิชำสถาำปัตยาศศข(โดยขุ่กึกาาำซำา ปศัาหั าพักองกโบศำณสถาำนเพื่งหำศ่งกศงยองกไวยำาศณ์ ทำกสถาำปัตยาศศขที่ยักคกหลกเหลื งงยู่( ตลงดจนาำศึกาาำขศดาทำกึิลปะและสถาำปัตยาศศขที่ศ่วขสขัยงยุธยำ(บูศณำาำศเอ้ำาับาำศึกาาำ ปศะวัติึำสตศ์สขัยงยุธยำที่เาี่ยวเนื่งกสัขพันธ์าับขศดาทำกสถาำปัตยาศศขที่าล่ำวขำอ้ำกต้น(จนเศียาได้ ว่ำเป็ นาำศึกาาำเพื่งทำควำขเอ้ำใจโดยใช้เคศื่งกขืงทำก(“ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม”(ทั้กนี้งยู่ ภำยใต้อ้งคำถาำขที่(1.(ว่ำ(“สถาปัตยกรรมวัดพระศรีรั ตนมหาธาตุอยุธยาในอดีตควรมีรูปแบบทาง สถาปัตยกรรมเช่นไร” โจทย์วิจัยลำดับถาัดขำขุ่กเน้นไปสู่าำศผลัาดันผลกำนาำศึกาาำไปสู่าำศใช้ปศะโยชน์ด้ำนาำศ สื่งควำขหขำย(เพื่งตงบโจทย์องกาำศบศิหำศจัดาำศขศดาทำกสถาำปัตยาศศข(และาำศท่งกเที่ยวทำก วัฒนธศศข ในลัาาณะ(“การวิจัยประยุกต์ (Apply Research)” โดยขีอ้งคำถาำขที่(2(ว่ำ(“สถานภาพ การณ์สื่อความหมายแหล่งมรดกทางสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีสถานการณ์เช่น ไร” และอ้งคำถาำขที่(3(ว่ำ(“ช่องว่างของการศึกษาหรือการนาใช้ระบบสื่อความหมายนั้นยังมีพื้นที่ ให้แก่การผลักดันในส่วนใด จึงจะทาให้การสื่อความหมายของพื้นที่ศึกษานั้นสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น”( ทั้กนี้ชุดคำถาำขาลุ่ขที่(2(และ(3(นี้(จกกเป็นาำศึกาาำเชิกเพื่งาำศต่งยงด(ด้วยไข่ปศะสกค์จะ วำกอ้งค้นพบใหข่(หศืงอ้งเสนงใหข่ที่ได้ศับจำาาำศึกาาำที่ได้ศับจำาคำถาำขชุดที่(1(นั้น งยู่แต่เพียกใน เล่ขศำยกำนวิจัย(หศืงขีแต่าำศเผยแพศ่ตำขธศศขเนียข(เช่น(าำศตีพิขพ์เผยแพศ่ในวำศสำศวิชำาำศ(หศืง าำศนำเสนงผลกำนในาำศปศะชุขวิชำาำศเท่ำนั้น


2

2. ควำมสำคัญและที่มำของทำกำรวิจัย “อยุธยา” เป็นที่ศู้จัาองกปศะชำชนชำวไทยงย่ำกาว้ำกอวำกในฐำนะองกเขืงกศำชธำนีแห่ก ลุ่ขแข่น้ำเจ้ำพศะยำ(และยิ่กเป็นที่ศู้จัาาว้ำกอวำกอก้นเขื่งได้ศับาำศยาย่งกจำางกค์าำศยูเนสโาให้เป็น แหล่กขศดาโลาทำกวัฒนธศศข( World Cultural Heritage)(ในฐำนะองกเขืงกปศะวัติึำสตศ์ภำยใต้ ชื่งว่ำ("เมืองประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา (Historic Town of Ayutthaya)”(โดยผ่ำนอ้งาำหนด และหลัาเาณฑ์ในาำศพิจำศณำให้เป็นแหล่กขศดาโลาทำกวัฒนธศศขจำนวน(2(อ้ง(คืง(อ้งที่(3(จำา เาณฑ์าำศพิจำศณำทั้ก(6 แหล่ กขศดาโลางุท ยำนปศะวัติึำสตศ์ งยุธยำปศะางบไปด้วยซำาโบศำณสถาำนจำนวน ขำาขำย(ซก่ ก หำาผู้ ไ ปเยื ง นไข่ ใ ช่ นั า โบศำณคดี ( นั า ปศะวั ติ ึ ำสตศ์ ( นั า ปศะวั ติ ึ ำสตศ์ ึิ ล ปะสถาำปัตยาศศข(หศืงผู้ทขี่ ีควำขเชี่ยวชำญา็ไข่สำขำศถาเอ้ำใจ(และไข่สำขำศถาจินตนำาำศต่งไปถากกศูปทศก ที่สขบูศณ์แบบ(และควำขศุ่กเศืงกองกศำชงำณำจัาศงยุธยำเขื่งคศั้กงดีตได้(ดักจะเห็นได้ว่ำึัายภำพ( และจ ำนวนที่ขีงยู่ งย่ ำกขำาขำยองกแหล่กโบศำณสถาำน(และโบศำณคดีในงุทยำนปศะวัติึำสตศ์ งยุธยำาลับไข่สำขำศถาดกกดูดนัาท่งกเที่ยวได้(ทำให้จำนวนวันพัาเฉลี่ยองกนัาท่งกเที่ยวยักขีจำนวนวันที่ น้งยาว่ำที่ควศจะเป็น(ซก่กหำาส่กเสศิขให้เาิดาำศเพิ่ขจำนวนวันพัาองกนัาท่งกเที่ยวได้จะทำให้ขีควำข เคลื่งนไหวำทำกเึศาฐาิจที่ชุขชนท้งกถาิ่นขำาอก้น (นงาจำานี้(ในสถาำนาำศณ์าำศท่งกเที่ยวในปัจจุบัน าล่ำวว่ำ(นัาท่งกเที่ยวหศืงผู้ขำเยืงนนั้นขิได้ขงกาำศเดินทำกไปเยืงนที่ต่ำกๆ(เพียกแต่เป็นาำศท่งกเที่ยว งย่ำกเดียว(แต่ขงกถากกาำศ(“ท่องเที่ยว และเรียนรู้ ”(เพื่งเพิ่ขพูนทัึนะ(ขุขขงก(และควำขศู้เาี่ยวาับ แหล่กต่ำกๆ(แต่ทว่ำในแหล่กท่งกเที่ยวปศะวัติึำสตศ์ในปัจจุบัน ยักไข่ได้ส่กเสศิขให้นัาท่งกเที่ยวได้ ศับ อ้งขูล(และควำขศู้ขำาเท่ำที่ควศจะเป็น( ในาำศึก า าำวิ จั ย นี้ ( จก ก ขี ส ขขติ ฐ ำนเบื้ ง กต้ น ว่ ำ หำาขี า ำศส ำศวจศั ก วั ด ซำาขศดาทำก สถาำปัตยาศศของกแหล่กโบศำณสถาำนที่เป็นแหล่กท่งกเที่ยวหลัาองกงุทยำนปศะวัติึำสตศ์งยุธยำ(เพื่ง นำชุดอ้งขูลไปสู่าศะบวนาำศึกาาำ(และาำศสันนิาฐำนศูปแบบทำกสถาำปัตยาศศขดั้กเดิขา่งนที่จะ พักทลำยลก(และจัดทำหุ่นจำลงกด้วยคงขพิวเตงศ์สำขขิติเพื่งนำไปสู่าำศสศ้ำกงกค์ควำขศู้สำหศับาำศ แปลควำขหขำยองกพื้น ที่ จะทำให้ ขีผู้ ที่สนใจปศะวัติึำสตศ์สถาำปัตยาศศข(และาำศท่งกเที่ยวทำก วัฒนธศศขในพื้นที่ึกาาำเชิกลกาขำาอก้น( ตลงดจนชัาชวนให้ เาิด เป็ น อ้งเสนงใหข่(งกค์ควำขศู้ใหข่(หศืงปศะเด็นใหข่ที่ชัาชวนให้ นัาวิชำาำศได้สนทนำและต่งยงดเป็นควำขา้ำวหน้ำทำกวิชำาำศเพื่งแสวกหำงกค์ควำขศู้ใหข่(หศืง อ้งเสนงใหข่ที่ปศะขวลอ้งขูลที่ศงบด้ำนขำาอก้นต่งไปในงนำคต(งัน จะทำให้ึำสตศ์(“ด้านการศึกษา และการแปลความหมายของอดี ต ”(ทั้ ก ที่ เาี่ ย วเนื่ ง กโดยตศก(และเาี่ ย วเนื่ ง กโดยง้ ง ข(งำทิ( ปศะวัติึำสตศ์(ปศะวัติึำสตศ์สถาำปัตยาศศข(ปศะวัติึำสตศ์ึิลปะ(โบศำณคดี(ภูขิึำสตศ์(ศัฐึำสต ศ์( ฯลฯ(ให้ ขีควำขเจศิญกงากำข(ทั้กในแก่องกาำศพัฒ นำควำขศู้(และพัฒ นำาศงบควำขคิด(ปศะเด็น(


3

ทฤาฎี(และขุขขงกองกผู้สนใจึกาาำวิจัยในึำสตศ์าำศแปลควำขหขำยงดีตให้าว้ำกอวำกและลุ่ขลกา( โดยขี า ำศใช้ป ศะสบาำศณ์ ที่ น ำไปสู่ าำศตั้กอ้ง สั น นิ า ฐำน(สขขติ ฐ ำน(หศืง าำศงนุ ข ำน(และน ำขำ ตศวจสงบควำขเป็ น ได้ห ศื งาำศค้น หำควำขจศิกด้ว ยเคศื่งกขื งในาำศวิจัย งัน จะท ำให้ คนในสั กคข สำขำศถาใช้ตศศาึำสตศ์ดักาล่ำวไปใช้ในาำศพิสูจน์ทศำบหำควำขจศิกที่สขบูศณ์(และสัขพัทธ์าับเกื่งนไอ ต่ำกๆ(ที่แวดล้งข(และพศ้งขจะยงขศับปศับเปลี่ยนควำขศู้(หศืงควำขเชื่ง(หำาขีงกค์ควำขศู้ใหข่(หศืง อ้งเสนงใหข่ที่สำขำศถางธิบำยปศำาฏาำศณ์ ต่ำกๆ(ได้งย่ำกศงบด้ำนขำาอก้น(หศืงเปิดโงาำสให้งกค์ ควำขศู้ใหข่(หศืงอ้งเสนงใหข่เป็นแนวทำกใหข่คู่อนำนไปาับงกค์ควำขศู้เดิข(หศืงอ้งเสนงที่ขีงยู่เดิข อั้นตงนแศาใน(“การเตรียมความพร้อมก่อนการวิจัย (Pre-Research Preparation)”(เพื่ง าำศวำกยุ ท ธึำสตศ์ แ ละแนวทำกองกาำศวิ จั ย (ผู้ วิ จั ย เลื ง าใช้ ศ ะเบี ย บวิ ธี ( “วิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative Research)”(เพื่งพัฒนำาศงบควำขคิดเบื้งกต้นโดยโดยปศะยุาต์วิธีาำศเา็บอ้งขูลเชิก ปศะชำาศึำสตศ์ อ งกผู้ ที่ ส นใจเศี ย นศู้ ในฐำนะองก “นั ก ท่ อ งเที่ ย วทางศิ ล ปวั ฒ นธรรม (Art and Cultural Tourist)”(ซก่กเป็นาลุ่ขที่คุ้นชินในาำศใช้ศะบบงินเตงศ์เน็ต(และสื่งสักคขงงนไลน์( Social Network) ที่ ขี ต่ งแหล่ กขศดาทำกสถาำปั ตยาศศขส ำคั ญ ในพื้ น ที่ า ศณี ึก าาำ(คื ง(“แหล่ งมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา”(และ(“แหล่งมรดกโลกอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัช นาลัย-กาแพงเพชร”(เพื่งทศำบถากกควำขสนใจองกาลุ่ขเป้ำหขำยที่ขีต่งแหล่กโบศำณสถาำนต่ำกๆ(งัน นำไปสู่าำศาำหนด(“พื้นที่โครงการนาร่อง”(ในาำศวิจัย(ซก่กพบอ้งขูลที่น่ำสนใจว่ำ(ผู้ตงบแบบสงบถาำข นั้นได้(“จัดลาดับของแหล่งโบราณสถานในฐานะของการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นตัวแทนของอุ ทยาน ประวัติศาสตร์อยุธยา” จำาแหล่กโบศำณสถาำนสำคัญ จำนวน(10(แหล่ก( เศียกตำขลำดับตัวงัาาศ) ดักต่งไปนี้(คืง(พศะศำชวักหลวก,(วัดไชยวัฒนำศำข,(วัดธศศขขิาศำช,(วัดพศะศำข,(วัดพศะึศีศัตนขหำ ธำตุงยุธยำ,(วัดพศะึศีสศศเพชญ์,(วัดพุธไธึวศศย์,(วัดศำชบูศณะ,(วัดหน้ำพศะเขศุ,(วัดใหญ่ชัยขกคล(( จำาผลองกาำศสำศวจอ้งขูลพบว่ำ(ผู้ตงบแบบสงบถาำขให้ควำขคุณค่ำในฐำนะองกาำศเป็นตัวแทน องก(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา”(ในลำดับที่(3(ศงกลกขำจำา(“วัดพระศรีสรรเพชญ์”(และลำดับ ที่(1(คืง(“วัดใหญ่ ชัยมงคล”(ซก่กแสดกนัยให้ เห็ นว่ำ(แข้ว่ำวัดพศะึศีศัตนขหำธำตุงยุธยำที่ เป็นวัดที่ สำคัญ ที่สุ ดองกปศะวัติึำสตศ์ าศุ กึศีงยุธยำ( ซก่กแข้ ว่ำในภำยหลั กจะขีวัดพศะึศีส ศศเพชญ์ อก้นขำ เที ย บเคี ย ก)(แต่ ในสถาำนะองกาำศศับศู้องกาลุ่ ขปศะชำาศที่ ท ำาำศึก าาำนั้ น าลั บ ตศกาั นอ้ ำขซก่กขี สขขติฐำนได้จำาาำศสศ้ำกและน ำเสนงาำศสื่ งควำขหขำยองกวัดพศะึศีศัตนขหำธำตุนั้ นยักไข่ส่ ก งิทธิพลต่งควำขคิดองกาลุ่ขปศะชำาศที่ทำาำศึกาาำ( จกกนำไปสู่าำศาำหนดพื้นที่ึกาาำวิจัย(คืง(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา”(สำหศับงุทยำน ปศะวัติึำสตศ์งยุธยำ(และ(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัย ”(สำหศับงุทยำนปศะวัติึำสตศ์สุโอทัย( และ(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง”(สำหศับงุทยำนปศะวัติึำสตศ์ึศีสัชนำลัยซก่กงยู่ในโคศกาำศวิจัย เศื่ง ก“แนวทางการศึ กษาซากมรดกทางสถาปัต ยกรรมเพื่ อการออกแบบโครงการสื่ อ ความหมาย


4

ทางการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม กรณีศึกษา วัดมหาธาตุสุโขทัย และวัดมหาธาตุเชลียง”(เพื่งนำไปสู่ าำศสักเคศำะห์องกแผนาำศวิจัยที่ ขีคำถาำขว่ำหำาขีาำศพัฒ นำึัายภำพด้ำนาำศสื่งควำขหขำยองก แหล่กขศดาโลาในศูปแบบต่ำกๆ(เพิ่ขเติขนั้นจะทำให้ผู้ขำเยืงนให้ควำขสนใจแหล่กขศดาโลานั้นเพิ่ขอก้น หศืงไข่งย่ำกไศต่งไป นงาจำานี้(จำาาำศึกาาำสำศวจภำคสนำขเบื้งกต้นในพื้นที่าศณีึกาาำพบว่ำ(ขีาำศพัฒนำ ศะบบาำศสื่ ง ควำขหขำยในพื้ น ที่ ( On Site Interpretation)(ด้ ว ยาำศน ำผลาำศค้ น คว้ ำวิ จั ย โดย ึำสตศำจำศย์(เาียศติคุณ(สันติ(เล็าสุอุข(นำไปจัดทำศะบบสื่งควำขหขำยซำาโบศำณสถาำนด้วยวิธีาำศ สันนิาฐำนศูปแบบและจัดทำในลัาาณะป้ำยสื่งควำขหขำย(ทั้กนี้ยักขีเป้ำหขำยที่จะจัดทำหุ่นจำลงก เพื่งาำศสื่งควำขหขำยด้วย(ซก่กาำศสื่งควำขหขำยดักาล่ำวนั้นได้ศับควำขสนใจจำานัาท่งกเที่ยวที่เอ้ำ ขำเที่ยวชข(จำาสถาำนภำพองกาำศสื่งควำขหขำยในพื้นที่าศณีึกาาำดักาล่ำวขำอ้ำกต้น(ผู้วิจัยจกกได้ าำหนดโจทย์าำศเผยแพศ่งกค์ควำขศู้ใหข่หศืงอ้งเสนงใหข่ที่คำดว่ำจะค้นพบ(ผลัาดันให้เป็น โคศกาำศ นำศ่งกองกาำศงงาแบบาำศสื่งควำขหขำยขศดาทำกสถาำปัตยาศศขผ่ำนเว็บไซต์(และเคศื่งกขืงสื่งสำศ เคลื่ งนที่( Mobile Media)(ปศะเภทโทศึัพท์ งัจฉศิยะ( Smart Phone)(เพื่งเติขเต็ขศะบบาำศสื่ ง ควำขหขำยองกวัดพศะึศีศัตนขหำธำตุงยุธยำ(และแหล่กาศณีึกาาำงื่นๆ(ให้สขบูศณ์แบบขำายิ่กอก้น ส ำหศั บ าำศึก า าำวิ จั ย นี้ ขี ลั า าณะเป็ น (“การวิ จั ย แบบสหวิ ท ยาการผสานศาสตร์ (Interdisciplinary Research)”(ทำกด้ ำ นขนุ า ยึำสตศ์ -สั ก คขึำสตศ์ ( Humanities and Social Science)(แอนกต่ำกๆ(เอ้ำไว้ด้วยาัน(ซก่กเป็นาำศวิจัยที่ต้งกใช้ควำขศู้จำาึำสตศ์หลำยสำอำบูศณำาำศ เอ้ำด้วยาัน(เพื่งให้คำตงบองกาำศวิจัยนั้นคศงบคลุขคศบถา้วนในแก่ขุขต่ำกๆ 1(ทั้กในอั้นตงนาำศวิจัย( และในอั้นตงนาำศผลัาดันให้กำนวิจัยนั้นถาูานำไปใช้ปศะโยชน์(ซก่กาศะบวนวิธีในาำศทำาำศวิจัยนั้นเป็น( “การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)”(เป็นหลัา(และขีเาณฑ์ศะดับควำขเอ้ขอ้นองก าำศควบคุขตัวแปศทั้ก(3(แบบ(คืง(“การวิจัยเอกสาร (Documentary Research)”(ซก่กเป็นวิธีาำศ ทำกำนวิจัยในส่วนต้นเพื่งเป็นาำศค้นคว้ำศวบศวข(และสำศวจสถาำนภำพองก(“องค์ความรู้ (Body of Knowledge)”(ต่ำกๆ(ที่เาี่ยวเนื่งกจำาเงาสำศชั้นต้น( Primary Document)(ปศะเภทต่ำกๆ(และาำศ สำศวจสถาำนภำพองกอ้งเสนงที่ปศำาฏจำาาำศตีควำข(อ้งคิดเห็น(อ้งเสนง(และอ้งสศุปจำาเงาสำศ ชั้นศงก( Secondary Document) ปศะเภทต่ำกๆ(ทั้กบทควำขวิชำาำศ(บทควำขวิจัย(วิจัย(หนักสืง( ตำศำ(ฯลฯ(เขื่งได้สถาำนภำพองกอ้งขูล(ควำขศู้(และอ้งเสนงแล้วจกกนำขำพัฒ นำเป็นคำถาำขเชิกลก า( และาศงบแนวทำกในาำศวำกแผนาำศวิจัยในส่วนถาัดไป(คืง(“การวิจัยสนาม (Field Research)”(ที่ ต้งกงงาไปยักพื้นที่าศณีึกาาำ(คืง(วัดพศะึศีศัตนขหำธำตุงยุธยำ(และพื้นที่งื่นๆ(ที่เาี่ยวเนื่งกสัขพันธ์( 1

พิชิต(ฤทธิ์จศูญ.(ระเบียบวิธีกำรวิจัยทำงสังคมศำสตร์ .(าศุกเทพฯ: เฮ้ำส์(งงฟ(เคงศ์ขิสท์.(2554.( หน้ำ(21.


5

เพื่ ง น ำอ้ ง สั กเาตจำาาำศวิจั ย ภำคสนำขขำพิ สู จ น์ (และเา็ บ อ้ ง ขู ล เชิ กพื้ น ที่ (ทั้ กนี้ (ผู้ วิจั ย ใช้ วิธี าำศ( “ส ารวจรั งวัด (Measurement)”(ด้ว ยเคศื่ง กขืง แบบขำตศฐำน(และด้ว ยเทคโนโลยี าำศส ำศวจที่ ทันสขัยด้วยเคศื่งกสแานเนงศ์เลเซงศ์(3(ขิติ(ที่ขีค่ำควำขคลำดเคลื่งนองกศะยะที่ได้จำาาำศสำศวจใน ศะดับขิลลิเขตศ(ซก่กขีควำขแข่นยำสูกขำาาว่ำสำศวจด้วยเคศื่งกขืง แบบพื้นฐำน(ศวขทั้กาำศบันทกาภำพ ถา่ำย(จำานั้นจกกนำอ้งขูลที่ได้ขำสู่(“การวิจัยในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (Computer Laboratory Research)” เพื่งาำศทดสงบสขขติฐำนที่ได้ศับขำจำาาำศวิจัยทั้กสงกส่วนที่าล่ำวขำอ้ำกต้น(เพื่งหำ ควำขเป็นไปได้องกงกค์ควำขศู้(หศืงอ้งเสนงใหข่ องกขศดาทำกสถาำปัตยาศศขภำยในวัดพศะึศีศัตนข หำธำตุงยุธยำ สำหศับอั้นตงนาำศใช้ศะเบียบวิธี (“การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)”(องก กำนวิจัย นี้เป็นส่วนที่สงก(ซก่กไข่ได้ผสขผสำนแนวทำกเอ้ำไปงยู่ในอั้นตงนาำศวิจัยส่วนต้นที่เน้นหนัา เป็นาำศวิจัยเชิกคุณภำพที่ขีวัตถาุปศะสกค์เพื่งาำศค้นหำงกค์ควำขศู้ใหข่หศืงอ้งเสนงใหข่(ทว่ำศะเบียบ วิธีวิจัยเชิกปศิขำณนั้นจะงยู่ในส่วนที่จะนำอ้งค้นพบหศืงอ้งเสนงนั้นไปสู่ (“การใช้ประโยชน์ ผลลัพธ์ ของการวิจัย”(าล่ำวคืง(ได้ดำเนิน าำศปศะยุาต์วิธีาำศเา็บอ้งขูลเชิกปศะชำาศึำสตศ์ องกผู้ ที่สนใจ เศียนศู้ในฐำนะองก “นักท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม (Art and Cultural Tourist)”(ซก่กเป็นาลุ่ขที่ คุ้ น ชิ น ในาำศใช้ ( “ระบบอิ น เตอร์ เน็ ต (Internet System)”(และ(“สื่ อ สั ง คมออนไลน์ (Social Network)”(งยู่ในชีวิตปศะจำวัน(เป็นหลัาตำขวัตถาุปศะสกค์องกาำศเผยแพศ่อ้งขูล(งกค์ควำขศู้ ใหข่( และอ้งเสนงใหข่(เพื่ งน ำขำสู่ าำศวำกแผนาำศผลั าดันให้ าำศสื่ งสำศที่ จะเาิดอก้นนั้นสงดคล้ งกาับ ลัาาณะทำกปศะชำาศึำสตศ์ (และควำขสนใจองกาลุ่ ขปศะชำาศดักาล่ำวขำอ้ำกต้น (ทั้กนี้(เพื่งให้ สงดคล้งกาับคุณลัาาณะองกาลุ่ขเป้ำหขำยวิธีาำศเา็บอ้งขูลดักาล่ำวจกกใช้าำศจัดทำแบบสงบถาำข งงนไลน์((E-Questionnaire) ซก่กนำไปสงบถาำขบนสื่งสักคขงงนไลน์ปศะเภท(Facebook, Twitter, Line ในาลุ่ข((Group) องกผู้สนใจด้ำนึิลปวัฒนธศศข(ปศะวัติึำสตศ์(และาำศท่งกเที่ยว(โดยใช้วิธี แบบ(“การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling)” จำาผู้ที่สขัคศใจ(และสนใจเอ้ำขำตงบแบบสงบถาำข เงก(และควำขงิ่ขตัวองกาลุ่ขตัวงย่ำกนั้นพบจำาาำศซ้ำาันองกคำตงบ(โดยาำศปศะยุาต์วิธีคิดองกแนว ทำกาำศเา็ บ อ้ ง ขู ล าลุ่ ข ตั ว งย่ ำ กแบบ“แบบเครื อ ข่ า ยหรื อ ก้ อ นหิ ม ะ (Network or Snowball Sampling)”(ซก่กยุติเขื่งขีผู้ตงบแบบสงบถาำขขีจำนวนขำาเพียกพงที่ทำให้เห็นทิึทำกองกผลลัพธ์ที่จะ นำไปสู่าศะบวนาำศต่งยงดในอั้นตงนถาัดไปได้ ทั้กนี้(วัตถาุปศะสกค์หลัาองกาำศวิจัยคืง(ขุ่กเป้ำหขำยสู่าำศค้นคว้ำหำงกค์ควำขศู้(อ้งค้นพบ( หศืงอ้งเสนงใหข่ด้ำนปศะวัติึำสตศ์สถาำปัตยาศศข(าศณีึกาาำองกวัดพศะึศีศัตนขหำธำตุงยุธยำด้วย ศะเบี ย บวิธี วิจั ย องกึำสตศ์ ต่ ำกๆ(งำทิ (ภู ขิ ึ ำสตศ์(ปศะวั ติ ึ ำสตศ์(ปศะวัติ ึ ำสตศ์ ส ถาำปั ต ยาศศข( ตลงดจนเทคโนโลยี าำศสำศวจศักวัดด้วยเคศื่งกขืงที่ทันสขัย(เพื่งนำผลลัพธ์าำศึกาาำดักาล่ำวขำนั้น นำไปสู่าำศตั้กสขขติฐำนและอ้งเสนง(และนำไปสู่ าศะบวนาำศตศวจสงบควำขเป็นไปได้ด้ว ยาำศ


6

งนุ ขำนซก่กในที่นี้ เศีย าว่ำ(“กระบวนการสั นนิ ษฐานรูปแบบ”(และาำศทำแบบสถาำปัตยาศศขด้ว ย เทคโนโลยี(“แบบจาลองสารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling)”(ซก่กเศียาตัวย่งว่ำ( “บีม (BIM)” ซก่กนับเป็นคศั้กแศาชงกวกาำศวิชำาำศและวิชำชีพสถาำปัตยาศศของกปศะเทึไทยที่นำ เทคโนโลยีแบบจำลงกสำศสนเทึงำคำศ( BIM)(ขำจัดทำฐำนอ้งขูลองกสถาำปัตยาศศขไทย(และาำศ จัดทำแบบสันนิาฐำนศูปแบบสถาำปัตยาศศขงย่ำกเป็นศูปธศศข โดยใช้าำศอ้งขูลจำาาำศสำศวจศักวัด ซำาสถาำปั ต ยาศศขเพื่ ง หำศ่ ง กศงยองกไวยำาศณ์ ท ำกสถาำปั ต ยาศศขที่ ห ลกเหลื ง งย่ ำกเป็ น ศะบบ( นงาจำานี้(เขื่งได้ศับงกค์ควำขศู้จำาาำศวิจัยเชิกคุณภำพดักที่าล่ำ วขำแล้ว(ยักได้ดำเนินาำศทำวิจัยเชิก ปศิขำณที่ปศะขวลผลควำขต้งกาำศองกนัาท่งกเที่ยวในขิติต่ำกๆ(ที่ขีต่งแหล่กโบศำณสถาำนในงุทยำน ปศะวัติึำสตศ์พศะนคศึศีงยุธยำ(และวัดพศะึศีศัตนขหำธำตุงยุธยำ(ซก่กถาูาเลืงาขำเป็นพื้นที่นำศ่งก เนื่งกจำาเป็นหนก่กในแหล่กโบศำณสถาำนที่ขีควำขสำคั ญที่สุดแหล่กนก่กงีาทั้กขีผู้ขำเยี่ยขชขเป็นจำนวน ขำา(แต่ทว่ำพศะปศำกค์ปศะธำนได้พักทลำยลกขำจนไข่สำขำศถาจินตนำาำศต่งศูปทศกได้(แต่งย่ำกไศา็ ตำข(ขีภำพถา่ำยโบศำณได้บันทกาภำพงกค์พศะึศีศัตนขหำธำตุไว้(1(ภำพ(ในคศำวที่พศะบำทสขเด็จพศะ จุลจงขเาล้ำเจ้ำงยู่หัวเสด็จปศะพำสาศุกเา่ำ(เป็นภำพพศะึศีศัตนขหำธำตุา่งนาำศพักทลำยลก(จกกเป็น แหล่กที่ขีึัายภำพต่งาำศึกาาำศูปแบบเพื่งนำฐำนอ้งขูลขำจัดทำแบบสันนิาฐำนศูปแบบที่สขบูศณ์ องกพศะขหำธำตุปศะจำเขืงกงยุธยำ(โดยเขื่งได้ศับอ้งขูลแบบสันนิาฐำน(และหุ่นจำลงกสำขขิติแล้ว จะนำขำพัฒนำศะบบสื่งควำขหขำยที่สำขำศถางงนไลน์บนศะบบงินเตงศ์เน็ตเพื่งสศ้ำกแศกจูกใจให้คน ศุ่น ใหข่ส นใจในปศะวัติึำสตศ์(และขศดาทำกวัฒ นธศศของกชำติ(ศวขทั้กเป็นาำศสศ้ำกแศกจูกใจให้ นั า ท่ งกเที่ ย วต่ ำกชำติ เอ้ำขำท่ ง กเที่ ย วงีา ด้ว ย ซก่ กน ำขำสู่ า ำศวิจัย เศื่งก(“การพั ฒ นาระบบการสื่ อ ความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต กรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา (Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation a Case Study of Wat Mahathat Ayudhaya)” ภำยใต้แผนกำนวิจัย เศื่งก(“แผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาคด้วยการจัดการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ภ าคพื้ น ทวี ป (Driven Strategic Plan for Thailand as a Hub of Tourism by Managing the World Heritage in the Main Land of Southeast Asia)”


7

แผนผังแสดงภำพรวมของกำรทำวิจัย และกำรเผยแพร่


8

3. คำสำคัญ -(วัดขหำธำตุงยุธยำ( Wat Mahathat Ayutthaya)( -(วัดพศะึศีศัตนขหำธำตุงยุธยำ( Wat Phra Sri Rattana Mahathat Ayutthaya)2 -(ขศดาโลาทำกวัฒนธศศข( World Cultural Heritage)( -(ขศดาโลาเขืงกปศะวัติึำสตศ์งยุธยำ((World Heritage Town of Ayutthaya) - าำศแปลควำขหขำยขศดาทำกวั ฒ นธศศขาั บ าำศท่ ง กเที่ ย ว (Cultural Tourism Interpretation) -(าำศสำศวจศักวัดสถาำปัตยาศศข( Architectural Measurement) (และาำศสันนิาฐำนศูปแบบสถาำปัตยาศศข( Architectural Re-construction) - าำศจั ดาำศาำศท่งกเที่ยวทำกวัฒ นธศศข และาำศท่ งกเที่ยวยั่กยืน (Cultural Tourism and Sustainable Tourism)

4. วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย - เพื่ ง ึก า าำึั า ยภำพแหล่ ก ท่ ง กเที่ ย วทำกวั ฒ นธศศขภำยในงุ ท ยำนปศะวั ติ ึ ำสตศ์ พศะนคศึศีงยุธยำเพื่งนำไปสู่าำศคัดเลืงาาศณีึกาาำ( -(าำศส ำศวจศั ก วั ด เพื่ ง ึก า าำงกค์ ป ศะางบทำกสถาำปั ต ยาศศขอ งกซำาขศดาทำก สถาำปั ตยาศศข(เพื่งทำควำขเอ้ำใจต่งไวยำาศณ์ ทำกสถาำปัตยาศศขส ำหศับาำศสั นนิาฐำนศูปแบบ ดั้กเดิของกงำคำศ - เพื่งึกาาำ(และสันนิาฐำนศูปแบบดั้กเดิของกงำคำศจำาหลัาฐำนทำกสถาำปัตยาศศข(และ โบศำณคดีที่หลกเหลืงงยู่เพื่งาำศเอียนสันนิาฐำนศูปแบบสถาำปัตยาศศข - เพื่งจัดทำหุ่นจำลงกด้วยคงขพิวเตงศ์สำขขิติแบบโดยใช้เทคโนโลยีแบบจำลงกสำศสนเทึ งำคำศ((Building Information Modeling) -(เพื่งาศะตุ้นให้เาิดาศะบวนทัึน์ใหข่ในาำศงนุศัาา์และพัฒนำแหล่กขศดาทำกวัฒนธศศขที่ สำคัญองกปศะเทึงย่ำกยั่กยืน -(ผลั า ดั น ให้ ขี า ำศน ำงกค์ ค วำขศู้ ไปต่ ง ยงดในาศะบวนาำศสื่ ง ควำขหขำยขศดาทำก สถาำปัตยาศศขาับาำศท่งกเที่ยวในศูปแบบต่ำกๆ โดยเฉพำะาำศสื่งควำขหขำยขศดาทำกสถาำปัตยาศศข บนศะบบงินเตงศ์เน็ต

2

สำหศับาำศวิจัยนี้ใช้ชื่ง(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา”(แทนชื่งว่ำ(“วัดมหาธาตุอยุธยา”(เพื่งแสดกให้เห็นชื่งที่ แสดกให้เห็นควำขหขำยองกาำศเป็น(“พระมหาธาตุประจาเมือง”


9

5. ขอบเขตของกำรวิจัย “วั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยา”(ซก่ ก ถาื ง เป็ น แหล่ ก ท่ ง กเที่ ย วหลั า ( Main Tourism Attraction) ในงุทยำนปศะวัติึำสตศ์ พศะนคศึศีงยุธยำ(เพื่งทำาำศสำศวจศักวัดโดยละเงียด(จัดทำ แบบสภำพปัจจุบัน(จัดทำแบบสันนิาฐำน(และาำศจัดทำหุ่นจำลงกคงขพิวเตงศ์สำขขิติ และจัดทำ โปศแาศขศะบบสื่ ง ควำขหขำยบนงิ น เตงศ์เน็ ต แบบงิ น เตงศ์ แ งคที ฟ ( Interactive)(ที่ ส ำขำศถาขี ปฏิสัขพันธ์( Response)(าับผู้ใช้ได้

6. ทฤษฎี สมมติฐำน และกรอบแนวควำมคิด สถาำปั ต ยาศศขแบบปศะเพณี ไทยแต่ ล ะยุ ค สขั ย จะขี ศู ป แบบทำกสถาำปั ต ยาศศขที่ ขี เงาลัาาณ์(และขีไวยำาศณ์ที่เป็นเงาลัาาณ์เฉพำะตัว(เพศำะฉะนั้นาำศสำศวจศักวัดเพื่งหำอ้งขูล ศ่งกศงยงกค์ปศะางบทำกสถาำปัตยาศศข(และสภำพทำกโบศำณคดีที่หลกเหลืงงยู่ขำผสำนาั บงกค์ ควำขศู้ด้ำนาำศสถาำปัตยาศศข(และทัาาะด้ำนาำศงงาแบบ(ศวขไปถากกคุณลัาาณะ(และอ้งจำาัดองก วัสดุที่ใช้ในาำศา่งสศ้ำก(จะทำให้สำขำศถาสันนิาฐำนถากกศูปแบบดั้กเดิของกงำคำศา่งนที่จะพักทลำยไป ได้(ศวขทั้กเขื่งนำงกค์ควำขศู้ที่ได้ศับขำสศ้ำกศะบบโปศแาศขคงขพิวเตงศ์เพื่งาำศสื่งควำขหขำย(และ สำขำศถาตงบสนงก( Response) าับผู้ใช้ได้(ย่งขสศ้ำกให้เาิดาศะบวนาำศเศียนศู้(และควำขสนใจใน ขศดาทำกสถาำปั ต ยาศศข(ศวขไปถาก ก สำขำศถาใช้ เป็ น ส่ ว นหนก่ ก องกาำศเศี ย นาำศสงนทำกด้ ำ น สถาำปัตยาศศขได้

7. นิยำมศัพท์ และข้อตกลงเบื้องต้น ในาำศึกาาำวิจัยนี้(ผู้วิจัยได้าำหนดใช้ชื่ง(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” แทนาำศใช้ชื่ง ว่ำ(“วัดมหาธาตุ อยุธยา” ตำขาำศศับศู้โดยทั่วไป(และที่ปศำาฏในหัวอ้งองกศำยกำนาำศวิจัย(ทั้กนี้( เนื่งกขำจำา(เขื่งทำาำศวิจัยในบศิบทองกคำว่ำ(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ”(และ “วัดมหาธาตุ”(นั้น(ขี ควำขแตาต่ำกาันงย่ำกขีนัยสำคั ญ(ทว่ำชื่งที่ถาูาเศียาาันงย่ำกแพศ่หลำยนั้น(จกกถาูาใช้ในชื่งหัวอ้งองก าำศึกาาำวิจัย(ทว่ำ(ในเนื้งหำภำยในจะองใช้ว่ำ(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” ซก่กขีควำขหขำยถากก( วัดที่ขีงกค์สถาูปปศะธำนปศะดิาฐำนพศะบศขสำศีศิาธำตุองกงกค์พศะสัขขำสัขพุทธเจ้ำตำขควำขเชื่ง( และทำหน้ำที่เป็นหลัาเป็นปศะธำนองกงำณำจัาศหศืงเขืงกึูนย์าลำกาำศปาคศงก(งย่ำกไศา็ตำข(ใน ศำยกำนวิจัยนี้(ยักคกใช้ชื่งว่ำ(“วัดมหาธาตุอยุธยา” ในเนื้งหำที่ไข่ได้เชื่งขโยกาับบศิบทควำขสำคัญ ดักที่าล่ำวขำอ้ำกต้น(ทว่ำใช้ในเนื้งหำส่วนที่ต้งกาำศจะสื่งสำศในเศื่งกาำศศับศู้โดยทั่วไปองกสั กคข( เช่น(ขิติาำศท่งกเที่ยว(และส่วนแบบสงบถาำข


10

8. ลักษณะโครงกำรวิจัย 8.1 ควำมสอดคล้องของโครงกำรวิจัยกับยุทธศำสตร์กำรพัฒนำประเทศตำมแผนพัฒนำ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)( ยุทธึำสตศ์:(ยุทธึำสตศ์าำศปศับโคศกสศ้ำกเึศาฐาิจสู่าำศเติบโตงย่ำ กขีคุณภำพ(และ ยั่กยืน ฟื้น ฟูและพัฒ นำคุณภำพแหล่กท่งกเที่ยวให้ส งดคล้งกาับควำขต้งกาำศองกตลำด,(บศิห ำศ จัดาำศท่งกเที่ยวให้เาิดควำขสขดุลและยั่กยืน) 8.2 ควำมสอดคล้องของโครงกำรวิจัยกับนโยบำยและยุทธศำสตร์กำรวิจัยของชำติ (พ.ศ. 2555 -2559)( ยุทธึำสตศ์าำศวิจัยที่(2 าำศสศ้ำกึัายภำพและควำขสำขำศถาเพื่งาำศพัฒนำทำกเึศาฐาิจ าลยุทธ์าำศวิจัยที่(4(พัฒนำึัายภำพศะดับคุณภำพบศิหำศในงุตสำหาศศขบศิาำศ(และาำศ ท่งกเที่ยว แผนกำนวิจัยที่(4.12(าำศวิจัยเาี่ยวาับาำศพัฒนำึัายภำพทำกเึศาฐาิจจำาาำศท่งกเที่ยว เชิกปศะวัติึำสตศ์ 8.3 ควำมสอดคล้องของโครงกำรวิจัยกับกลุ่มเรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วนตำมนโยบำยและ ยุทธศำสตร์กำรวิจัยของชำติ (พ.ศ. 2551-2553) าลุ่ขเศื่งก าำศบศิหำศจัดาำศาำศท่งกเที่ยว 8.4 ระบุควำมสอดคล้องของโครงกำรวิจัยกับนโยบำยรัฐบำล นโยบำยเศ่กด่วนที่จะเศิ่ขดำเนินาำศในปีแศา: เศ่กเพิ่ขศำยได้จำาาำศท่งกเที่ยวทั้กในและนงา ปศะเทึ นโยบำยศะยะาำศบศิหำศศำชาำศ(4(ปี(องกศัฐบำล: นโยบำยปศับโคศกสศ้ำกเึศาฐาิจ ภำค าำศท่งกเที่ยว(าำศบศิาำศ(และาีฬำ)

9. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ปศะโยชน์ทำกวิชำาำศ(คืง(าำศค้นพบงกค์ควำขศู้ใหข่(หศืงอ้งเสนงใหข่ทำกวิชำาำศ(และ น ำไปสู่ า ำศตี พิ ข พ์ เผยแพศ่ ในเงาสำศทำกวิ ช ำาำศต่ ำ กๆ,(าำศจั ด บศศยำยพิ เึา,(าำศจั ด แสดก นิทศศึาำศ,(ตลงดจนาำศให้คำปศกาาำแา่ภำคนโยบำย(และภำคเงาชนที่ดำเนินธุศาิจที่เาี่ยวเนื่งกาับ าำศท่งกเที่ยว สำหศับหน่วยกำนที่จะนำงกค์ควำขศู้ไปใช้ปศะโยชน์ขีดักต่งไปนี้( -(หน่วยงำนด้ำนนโยบำยระดับชำติ (เช่น(หน่วยงานระดับกระทรวง(ได้แา่(าศะทศวกาำศ ท่ ง กเที่ ย วและาี ฬ ำ,(าศะทศวกวั ฒ นธศศข,(หน่ ว ยงานระดั บ กรม(ได้ แ า่ ( าศขึิ ล ปำาศ,(งุ ท ยำน


11

ปศะวัติึำสตศ์งยุธยำ,(สำนัากำนแผนและนโยบำยสิ่กแวดล้งข(พิพิธภัณฑสถาำนแห่กชำติเจ้ำสำขพศะ ยำ(เป็นต้น -(สถำบันกำรศึกษำ เพื่งเป็นงกค์ควำขศู้องกผู้สนใจ(ศวขทั้กใช้ในาำศวำกแผนนโยบำยด้ำน าำศจัดาำศ(าำศึกาาำเพื่งตงบโจทย์ในสำอำวิชำที่อำดแคลน(ทั้กาำศึกาาำในศะบบ(และาำศบศิาำศ วิชำาำศสู่ชุขชน(และขหำวิทยำลัยศำชภัฏในท้งกถาิ่น -(หน่วยงำนส่วนท้องถิ่น (เช่น(งกค์าำศบศิห ำศส่วนจักหวัด,(งกค์าำศบศิห ำศส่วนท้งกถาิ่น,( บศิาัทนำเที่ยว(เป็นต้น

10. วิธกี ำรดำเนินกำรวิจัย และสถำนที่ทำกำรทดลอง /เก็บข้อมูล าำศวิจัยนี้(แบ่กาำศทำกำนงงาเป็น(3(ส่วนหลัา(คืง(าำศวิจัยภำคสนำข(และาำศจัดทำแบบ สถาำปั ต ยาศศข(และคงขพิ ว เตงศ์ ส ำขขิ ติ ที่ สั น นิ า ฐำน และน ำเผยแพศ่ผ่ ำ นศะบบโปศแาศขสื่ ง ควำขหขำยบนศะบบงินเตงศ์เน็ต -(ศวบศวขอ้งขูล(ศวบศวขเงาสำศทั้กเงาสำศชั้นต้นและชั้นศงกจำาแหล่กสำศสนเทึต่ำกๆ( - ลกสำศวจภำคสนำข(เา็บอ้งขูลภำคสนำขด้วยาำศจัดทำแผนที่(าำศบันทกาภำพ(าำศสำศวจ ศักวัดสถาำปั ตยาศศขสำคัญ ภำยในวัด (วิเคศำะห์ ลัาาณะและศูปแบบขศดาทำกสถาำปัตยาศศข(ตำข ปศะเด็นาำศึกาาำต่ำกๆ( - ึกาาำ(วิเคศำะห์(และเศียบเศียกอ้งขูล(และจัดทำหุ่นจำลงกคงขพิวเตงศ์(3(ขิติ(และาำศ จั ด ท ำเวปไซต์ ( และแงพพลิ เคชั่ น บนโทศึั พ ท์ งั จ ฉศิ ย ะ( Smartphone Application)(เพื่ ง น ำ ผลกำนวิจัยเผยแพศ่สูสำธำศณะ(และาำศใช้ปศะโยชน์ผลกำนวิจัย - สศุปผลาำศวิจัย - จัดทำศูปเล่ขศำยกำนาำศวิจัย(( -(าำศตีพิขพ์บทควำขเผยแพศ่ผลกำนวิจัย -(าำศนำเสนงผลกำนวิจัย(และาำศบศศยำยพิเึา

11. แผนกำรถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ หรือผลกำรวิจัยสู่กลุ่มเป้ำหมำย -(จัดทำหนักสืงศำยกำนาำศวิจัย ผลาำศวิจัยเผยแพศ่ไปยักห้งกสขุดสถาำบันาำศึกาาำ(และ หน่วยกำนที่เาี่ยวอ้งก -(าำศบศศยำยพิเึา(และาำศนำเสนงผลกำนวิจัยในาำศปศะชุขวิชำาำศต่ำกๆ( -(จัดาิจาศศขพำผู้สนใจึกาาำดูกำนแหล่กขศดาโลาาศณีึกาาำ( ไข่ศวขงยู่ในเกื่งนไอในาำศ ดำเนินาำศวิจัย(แต่จะดำเนินาำศต่งในภำยหลัก) -(าำศเผยแพศ่ ผ่ ำ นสื่ ง งิ เล็ า ทศงนิ า ส์ ( และเคศื ง อ่ ำ ยทำกสั ก คข( Social Media) เช่ น( Facebook, Website


12


บทที่ 2 สารสนเทศคัดสรร

การวิจัย เรื่อง “การพัฒ นาระบบการสื่ อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่ านระบบ อิ น เตอร์ เน็ ต กรณี ศึ ก ษา วั ด มหาธาตุ อ ยุ ธ ยา (Multimedia Design for Architectural Heritage Tourism Interpretation a case study of Wat Mahathat Ayutthaya)” ภายใต้แผนงานวิจัย เรื่อง “แผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภูมิภาคด้วยการจัดการ ท่ อ งเที่ ย วแหล่ งมรดกโลกในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ภ าคพื้ น ทวีป (Driven Strategic Plan for Thailand as a Hub of Tourism by Managing the World Heritage in the Main Land of Southeast Asia)” นั้นได้แบ่งการจาแนกเอกสารที่คัดสรรมาเพื่อการสารวจ และทบทวนสารสนเทศ เพื่อจัดทาสถานภาพของความรู้ ความคิดเห็น ตลอดจนการตีความที่เกี่ยวเนื่องกับ “พระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธ ยา” ในมิติต่างๆ โดยแบ่ งสารสนเทศออกเป็น 2 ส่ วน คือ “เอกสารทางประวัติศาสตร์ที่ เกี่ยวเนื่องกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” และ “เอกสารที่เกี่ยวเนื่องกับมุมมอง ความคิด และการ ตีความที่เกี่ยวเนื่องกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา”

เอกสารประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา -

“พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 209-233. เอกสารพระราชพงศาวดารฉบับนี้ เดิมพระยาปริยัติ ธรรมธาดา (แพ เปรียญ) เมื่อครั้งยังเป็น หลวงประเสริฐอักษรนิติ์ไปพบมาแล้วนามามอบให้หอพระสมุดวชิรญาณ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2450 ในบานแพนกกล่าวว่าเป็นหนังสือฉบับหลวง สมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีรับสั่งให้แต่งขึ้น ใน การศึกษาประวัติศาสตร์กล่าวกันว่าพระราชพงศาวดารฉบับนี้มีศักราชที่แม่นยากว่าพงศาวดารอื่นๆ 1 แต่ทว่าก็มีเนื้อหาที่สั้นลักษณะการเขียนเหมือนกับจดหมายเหตุปูมโหร และไม่ได้กล่าวถึงเหตุการณ์ สาคัญหลายเหตุการณ์ อีกทั้งต้นฉบับเท่าที่พบแล้วในปัจจุบันมีเพียงเล่มเดียวซึ่งมีข้อความค้างถึงอยู่ เพียงรัชกาลพระนเรศวร

1

“พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 210.


14

ทั้ ง นี้ ในพระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ อั ก ษรนิ ติ์ มี เนื้ อ หาที่ ตี ค วามว่ า เกี่ยวข้องกับ “พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” ดังรายละเอียดต่อไปนี้ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ให้ข้อมูล ว่ามีการสถาปนาพระศรี รัตนมหาธาตุขึ้น ในปี พ.ศ. 1917 ตรงกับ รัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ความว่า “... ศักราช 736 ขาลศก สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าและพระมหาเถรธรรมกัลญาณ แรกสถาปนาพระ ศรีรัตนมหาธาตุฝ่ายบูรพาทิศ หน้าพระบันชั้นสิงห์สูงเส้น 3 วา...”2 ซึ่งข้อมูลในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ส่ว นนี้เองที่เป็นส่วนหนึ่ง ของฐานคิด และการตีความอันนาไปสู่สถานของการสร้างคาอธิบายในปัจจุบันว่า พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยาได้รับการสถาปนาขึ้นในสมัยพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) - “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธ ยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 209-233. ในบานแพนกกล่าวว่าเป็นพระราชพงศาวดารที่ชาระขึ้นในศักราช 1157 ปีเถาะ สพศก ซึ่ง ตรงกับ ปี พ.ศ.2338 ในรัช กาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬ าโลก ทรงโปรดให้ มีการชาระ พงศาวดารฉบับนี้ขึ้น3 ทั้งนี้มีการกล่าวถึงข้อมูลและเหตุการณ์ที่สันนิษฐานว่าเกี่ยวเนื่องกับวัดพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา ดังรายละเอียดต่อไปนี้ - พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ให้ข้อมูลว่ามีการสถาปนา พระศรีรัตนมหาธาตุขึ้น ในปี พ.ศ. 1917 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ความว่า “ศักราช 736 ปีขาล ฉอศก สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าและพระเถรธรรมากัลป์ญาณ แรกสถาปนา พระศรีรัตนมหาธาตุ ฝ่ายบุรทิศหน้าบันชอนสิงสูง 19 วา ยอดนภศูลสูง 3 วา”4 - พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ให้ข้อมูลว่ามีการสถาปนา พระมหาธาตุขึ้น ในปี พ.ศ. 1927 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระราเมศวร ความว่า “...แล้วเสด็จออก ทรงศีลยังพระที่นั่งมังคลาภิเศกเพลา 10 ทุ่ม ทอดพระเนตรโดยฝ่ายบูรพเห็นพระบรมสารีริกธาตุเสด็จ ปาฏิหาริย์ เรียกปลัดวังให้เอาพระราชยานทรงเสด็จออกไป ให้เอาตรุยปักขึ้นไว้ สถาปนาพระมหาธาตุ

2

“พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 212. 3 วีรวัลย์ งามสันติกุล. “รู้จักหลักฐานประวัติศาสตร์อยุธยา” ใน 80 ทัศ พลตรีหม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา. 2555. 4 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 215.


15

นั้นสูง 19 วา ยอดนภศูลสูง 3 วา ชื่อวัดมหาธาตุ แล้วให้ทาพระราชพิธีประเวศพระนคร แล้วเฉลิม พระราชมณเฑียร”5 - ในปี พ.ศ. 1964 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) เสด็จไปตีเมืองพระนคร หลวงได้ จึงให้เจ้านครอินทร์ไปเสวยราชที่เมืองพระนครหลวง ครั้งนั้นได้โปรดให้ขนเอารูปหล่อสาริด ต่างๆ มาถวายยังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และวัดพระศรีสรรเพชญ์ ความว่า “...ท่านจึงให้เอา พญาแก้ว พญาไท และครอบครัว ทั้งพระโค รูปสิงห์ สัตว์ทั้งปวงมาด้วย ครั้นถึงพระณครศีรอยุทธยา จึงให้เอารูปสัตว์ทั้งปวงไปบูชาไว้ ณ วัดพระศรีรัตนธาตุบ้าง ไว้วัดพระศรีรันมหาธาตุบ้ าง ไว้วัดพระศรี สรรเพชญ์บ้าง”6 - ในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2099 นั้น พระเจ้าบุเรงนองได้โปรดเกล้าฯ ให้ขนย้ายรูปหล่อสาริดดังกล่าวไปยังพระราชวังของพระองค์ที่เมืองหงสาวดี “พระเจ้าหงสาวดีก็ให้เขา เอาครัวอพยพชาวพระนคร และรูปภาพทั้งปวงในหน้าพระบันชันสิงคนั้นส่งไปเมืองหงษาวดี”7 - ในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวร (พ.ศ.2133-2148) ได้โปรดให้มหาเถรคันฉ่องที่พระองค์ทูล เชิญนิ มนต์มาจากเมืองมอญมายังกรุงศรีอยุธยาโดยโปรดฯ ให้ประทับจาพรรษาที่วัดมหาธาตุ ดัง ใจความว่า “...จึงโปรดให้พระมหาเถระคันฉ่องอยู่วัดมหาธาตุ ได้พระราชทานสัปทน กรรชิง คานหาม จังหัน นิตยภัตร เครื่องสมณบริกขารต่างๆ”8 - ใน พ.ศ. 2149 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ซึ่งครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.21542171 ในขณะที่พระองค์กาลังดีพระทัยที่ได้ข่าวการค้นพบรอยพระพุทธบาทบนภูเขาที่เมืองสระบุรี และโปรดฯ ให้มีการก่อสร้างพระมณฑปคลุม ทว่าที่พระนครศรีอยุธยากลับเกิดเหตุพระปรางค์วัดพระ มหาธาตุพังทลายลงมาถึงชั้นอัศดง ดังกล่าวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ความว่า “....ในปีนั้น ปรางค์วัดมหาธาตุทาลายลงจันทันครุฑพื้นอัศดง”9

5

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 216. 6 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 218. 7 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุ มาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 272. 8 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 283. 9 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 374.


16

- ในการนั้น ในปีพ.ศ. 2176 สมเด็จพระเจ้าปราสาททองได้โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์ ส่วนยอดของพระปรางค์นับเหนือขึ้นไปจากชั้นอัศดง ดังข้อความกล่าวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรี อยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ความว่า “...ศักราช 995 ทรงพระกรุณาให้สถาปนาพระปรางค์วัด มหาธาตุอันทาลายลงเก่า เดิมในองค์สูงสิบเก้าวา ยอดนภศูลสามวา จึงดารัสว่าทรงเก่านั้นต่านัก ก่อ ไม้ให้องค์สูงเส้นสองวา ยอดนภศูลคงไว้ เข้ากันเป็นเส้นห้าวา ก่อแล้วเห็นเพรียวอยู่ ให้เอาไม้มะค่า แทรกดามอิฐ เอาปูนโบกทับ เก้าเดือนสาเร็จ ให้กระทาการฉลองอันมากนัก”10 - “พระราชพงศาวดารกรุ งสยาม จากต้ นฉบับ ของบริติช มิ ว เซีย ม กรุงลอนดอน”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 209-233. พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน ให้ข้อมูลว่ามีการ สถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุขึ้น ในปี พ.ศ. 1917 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ความว่า “ศักราช 736 ปี ขาลฉศก สมเด็จ พระบรมราชาธิราชเจ้าพระเถรธรรมากัล ป์ญ าณ แรก สถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุ ฝ่ายบูรทิศ หน้าพระบรรพชั้นสิงห์สูง 19 วา ยอดนพศูลสูง 3 วา”11 - กรมศิลปากร. รวมบัน ทึกประวัติ ศาสตร์อยุธยาของ ฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร. 2546. หนังสือ รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของ ฟานฟลีต (วัน วลิต) ที่จาพิมพ์เผยแพร่โดยกรม ศิลปากรนี้ ถือว่าเป็นหนังสือที่รวบรวมผลงานเกี่ยวกับอยุธยาของฟาน ฟลีตไว้ได้อย่างสมบูรณ์ที่สุด กล่ า วคื อ ประกอบไปด้ ว ยเอกสารทางประวั ติ ศ าสตร์ 3 ชิ้ น ที่ แ ปลจากภาษาดั ช ท์ โ บราณมา สู่ ภาษาอังกฤษ และแปลมาเป็นภาษาไทย คือ “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม (Description of the Kingdom of Siam )”12 “พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับวันวลิต พ.ศ. 2182 (The Short History

10

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 380. 11 “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้ นฉบับ ของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 12. 12 “พรรณนาเรื่งอาณาจักรสยาม” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร. 2546. หน้าที่ 5-162.


17

of the King of Siam 1640)”13 และ “จดหมายเหตุฟาน ฟลีต (Historical Account of Siam in the 17th Century)”14 ซึ่งทั้งนี้เอกสารทั้ง 3 ชิ้นนี้มีคุณลักษณะที่แตกต่างกันออกไป กล่าวคือ “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม” เป็นหนังสือที่ฟาน ฟลีต เรียบเรียงต่อมาจากจดหมายเหตุที่ บันทึกไว้โดยนายโยส สเคาเต็น ที่เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในกรุงศรีอยุธยาก่อนหน้าฟาน ฟลีต ทั้งนี้เอกสาร ชิ้นนี้มีเป้าประสงค์สาหรับเป็นคู่มือการทาความเข้าใจกรุงศรีอยุธยาในมิติประวัติศาสตร์ และสังคม วัฒ นธรรม อัน จะเป็ นประโยชน์ต่อผู้เข้ามาติดต่อทาการค้าต่างๆ ซึ่งเนื้อหาที่เกี่ยวเนื่องกับวัดพระ มหาธาตุ ป รากฏอยู่ บ้ า ง แม้ ว่ า จะไม่ ม าก แต่ ก็ มี ค วามน่ า สนใจเนื่ อ งจากให้ ข้ อ มู ล ในลั ก ษณะ ประวัติศาสตร์สังคม และความนึกคิดของผู้คนในช่วงเวลาดังกล่าวที่ไม่อาจพบได้ในเอกสารประเภท พงศาวดารต่างๆ ที่ให้ข้อมูลอย่างย่นย่อและไม่สะท้อนให้เห็นถึงประวัติศาสตร์สังคม วัฒนธรรม “พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับวันวลิต” เนื่องจากฟาน ฟลีต เข้ามายังกรุงศรีอยุธยาระหว่าง รัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ทั้งนี้ ประวัติศาสตร์ราชวงศ์ของอยุธยาที่เรียบเรียงโดยฟาน ฟลี ตจึงมาหยุดตรงรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง นอกจากนี้ ข้อมูลที่นามาเรียบเรียงมีความน่าสนใจ ตั้งแต่เนื้อของเมื่อแรกสร้างกรุงศรีอยุธยาที่เต็มไปด้วยอิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์ ตลอดจนแทรกเนื้อที่เห็น เหตุ เป็ น ผลที่ สั ม พัน ธ์กับ เรื่องบุ ญ กรรมต่างๆ จึงท าให้ สั นนิ ษ ฐานได้ว่า ฟาน ฟลี ต ได้ รับ ฟั งข้อมู ล ประวัติศาสตร์แบบมุขปาฐะที่บอกเล่ากันทั่วไปแล้วจึงนามาเรียบเรียง และผู้ให้ข้อมูลต่างๆ นั้นน่าจะ เป็นพระสงฆ์ที่มีความรู้ด้านประวัติศ าสตร์ ซึ่งเนื้อหาในเอกสารนี้ มีบางส่วนที่สัมพันธ์กับวัดพระศรี รัต นมหาธาตุ อยุ ธ ยาบ้ าง แต่โดยภาพรวมนั้ น เป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ยวกัน กั บเอกสารพรรณนาเรื่อ ง อาณาจักรสยาม “จดหมายเหตุ ฟานฟลีต” เป็นเอกสารชิ้นสาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ในยุคเปลี่ยนผ่าน ของราชวงศ์ปราสาททองโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ที่มีเนื้อหาที่แสดงให้เห็นความวุ่นวาย และ การชิงไหวชิงพริบกันในช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนผ่าน ทั้งนี้เนื้อหาที่เกี่ยวข้อกับวัดพระมหาธาตุมีน้อย มาก แต่มีเนื้อหาเรื่องราชสานักจานวนมากมายแทน

13

“พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับวันวลิต พ.ศ. 2182” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้าที่ 164-248. 14 “จดหมายเหตุฟาน ฟลีต ” ใน รวมบั นทึ กประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร. 2546. หน้า 249-342.


18

เอกสารที่เกี่ยวเนื่องกับมุมมอง ความคิด และการตีความที่เกี่ยวเนื่องกับ พระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยา ทั้งนี้ เอกสารสารในกลุ่มนี้ประกอบไปด้วยเอกสารประเภทต่างๆ ทั้งนี้ประกอบไปด้วยเอกสาร ดั งนี้ “รายงานวิจั ย ” “วิ ท ยานิ พ นธ์ ” “หนั งสื อ ” “บทความวิ จั ย ” และ “บทความวิช าการ” ที่ เกี่ยวเนื่องกับคาสาคัญในการสืบค้นจากฐานข้อมู ลว่า “พระมหาธาตุ” และ “พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุ ธยา” ทั้งนี้ จะเรีย งล าดับ จากปี ที่ตีพิมพ์ ล่ าสุ ดย้อนกลั บไปถึงที่ ตีพิมพ์เก่าที่ สุด เพื่ อนาไปสู่ การ สารวจสถานภาพการศึกษาต่อไป - ชาตรี ประกิ ต นนทการ. คติ สั ญ ลั ก ษณ์ แ ละการออกแบบวัด อรุ ณ ราชวราราม. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ประกันภัย. 2557. คติสัญลักษณ์และการออกแบบวัดอรุณราชวราราม ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วนหลัก คือ “ส่วนที่ 1: วัดอรุณราชวราราม: ประวัติ ความสาคัญ และพัฒนาการทางสถาปัตยกรรม” “ส่วนที่ 2: ไตรภูมิโลกวินิจฉัย และสมุดภาพไตรภูมิ : เอกสารความคิดที่ส่งผลต่อการออกแบบวัดอรุณราชวรา ราม” และ “ส่วนที่ 3: คติสัญลักษณ์วัดอรุณราชวราราม: การจาลองจักรวาล เขาพระสุเมรุ ชมพูทวีป และลังกาทวีปตามความเชื่อทางพุทธศาสนายุคต้นรัตนโกสินทร์” ทั้งนี้ แม้ว่าหนังสือเล่มนี้จะไม่ได้มีเนื้อความเชื่อมโยงกับกรณีศึกษาวัด พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยาอย่ างตรงไปตรงมานั ก ทว่าการสร้างพระปรางค์ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ตอนต้นนั้นย่อมเชื่อม ความสัมพันธ์ทางวิธีคิด คติความเชื่อ และรูปทรงทางสถาปัตยกรรมจากอยุธยามาสู่กรุงรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะการอธิ บ ายคติ ค วามเชื่ อ ทางพระพุ ท ธศาสนาอั น เป็ น ชุ ด ความคิ ด ที่ เชื่ อ มโยงไปสู่ ก าร ออกแบบผลงานทางสถาปัตยกรรมต่างๆ โดยใช้หลักฐานประกอบการศึกษา 2 ชิ้น คือ “คัมภีร์ไตรภูมิ โลกวินิจฉัย” ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าฯ ให้แต่งขึ้น รวมทั้ง “เอกสารสมุดภาพไตรภูมิ ” ที่ เขียนขึ้น ร่ว มสมัย ทั้งนี้ ในการศึกษานี้มีการตีความแนวคิดและคติ สั ญ ลั ก ษณ์ ก ารออกแบบสถาปั ต ยกรรมวั ด อรุ ณ ราชวรารามโดยมี ฐ านคิ ด จากหลั ก ฐานทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น นอกจากนี้ ยั ง มี ค วามพยายามที่ จ ะอธิ บ ายรายละเอี ย ดของ สถาปัตยกรรมสาคัญที่ปรากฏอยู่ในเขตพุทธาวาสโดยใช้มุมมองผ่านเอกสารที่กล่าวมาข้างต้นด้วย เช่นกัน


19

-

กวิฏ ตั้งจรัสวงศ์. “ระบบแผนผังปรางค์ประธานและปีกปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ”. ใน วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 34 (2) 2557. (หน้า 147-168). บทความนี้มุ่งศึกษาลักษณะการวางผังของพระปรางค์พระมหาธาตุลพบุรี ซึ่งปรากฏร่องรอย ของการวางผั งพระปรางค์ที่ ว างตั ว กัน ในแนวหน้ากระดาน 3 องค์ ทั้ งนี้มี ข้อ สงสั ยว่าพระปรางค์ ประธาน และพระปรางบริวารดังกล่าวนั้นสร้างขึ้นในช่วงเวลาเดียวกันหรือไม่ ทั้งนี้ บทความนี้ให้ ข้อเสนอว่าพระปรางค์ประธานและพระปรางค์บริวารถูกสร้างกันคนละคราวกัน ทั้งนี้ พระปรางค์ บริวารถูกสร้างขึ้นในภายหลัง แต่ต้องก่อนการสร้างพระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ และพระมหาธาตุวัด พระราม15 ทั้งนี้ พระปรางค์บริวารดังกล่าวนั้นควรสร้างขึ้นในคราวเดียวกับ การสร้างพระปรางค์ราย นอกระเบียงคด ซึ่งในการศึกษาเกี่ยวกับวัดพระมหาธาตุลพบุรีได้ กาหนดชื่อเรียกไว้ว่า พระปรางค์ หมายเลข 16ค. เนื่องจากภาพถ่ายเก่าที่คงเห็ นพระปรางค์บริวารดังกล่าวก่อนพังทลายลงมานั้นมี รูปทรงเช่นเดียวกันกับพระปรางค์รายหมายเลข 16ค. -

พิช ญา สุ่ มจิน ดา. “สถูป จาลองบรรจุพ ระบรมสารีริกธาตุจากกรุปรางค์ประธานวัดมหาธาตุ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา: ภาพสะท้ อ นพระพุ ท ธศาสนาลั ง กาวงศ์ ส มั ย ต้ น อยุ ธ ยา” ใน ประวัติศาสตร์ศิลปะบันดาลใจ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์. 2557. หน้า 192-252. บทความเสนอว่าการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุภายในกรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา นั้นสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์กับลังกาอย่างใกล้ชิด โดยสะท้อนให้เห็นผ่านสถูปจาลองที่บรรจุพระ บรมสารีริกธาตุที่มีรูปทรงเป็นทรงลอมข้าวหรือลอมฟางซึ่งเป็นลักษณะที่คล้ายคลึงกับที่บรรยายใน คัมภีร์ถูปวงศ์ และอีกแบบหนึ่งมีลักษณะที่คล้ายกับฟองน้าที่บรรยายในคัมภีร์มหาวงศ์ และคัมภีร์ถูป วงศ์ นอกจากนี้ การบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในสถูปจาลองและผอบซ้อน 7 ชั้นยังได้รับอิทธิพลจาก อรรถกถามหาปรินิพพานสูตร รวมทั้งยังเกี่ยวข้องกับแนวคิดเรื่องปัญจอันตรธาน ซึ่งหลักฐานที่กล่าว มาข้างต้นสะท้อนให้เห็นถึงการเข้ามาของพุทธศาสนาลังกาวงศ์อยุธยาภายใต้คณะสงฆ์มหาวิหารจาก ลังกา ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 19 นอกจากนี้ ยังมีข้อสังเกตว่าการเลือกชุดฐานซ้อนชั้นยกสูงนั้นอาจ เป็นเพราะความเปลี่ยนแปลงหน้าที่จากปราสาทแบบเขมรมาสู่การประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่ง สอดคล้องกับชุดฐานยกสูงของปราสาทพระปิถุเอ๊กซ์ (X)

15

กวิฏ ตั้งจรัสวงศ์. “ระบบแผนผังปรางค์ประธานและปีกปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ”. ใน วารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 34 (2) 2557. (หน้า 147-168). หน้า 166.


20

- ศักดิ์ชาย สายสิงห์. พระพุทธรูปในประเทศไทย รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. หนังสือ “พระพุทธรูปในประเทศไทย รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย” เป็น รายงานวิจั ย ที่ ท าการศึกษาเกี่ย วกับ พระพุ ท ธรูป ในประเทศไทยอย่างเป็ นระบบ ทั้ งนี้แ บ่งเนื้ อหา การศึกษาออกเป็น 3 ส่วน คือ “ส่วนที่ 1” การแบ่งยุคสมัยของพระพุทธรูปในประเทศไทย โดยใช้ หลักฐานประกอบประเภทต่างๆ ในการจาแนกและจัดหมวดหมู่ช่วงเวลาของพระพุทธรูป ทั้งนี้นับเป็น ครั้ ง แรกที่ ได้ ให้ ค วามส าคั ญ ในการจั ด หมวดหมู่ ที่ น อกจากจะจั ด เป็ น ช่ ว งเวลาแล้ ว ผู้ เขี ย นยั งให้ ความสาคัญกับพัฒ นาการที่เป็นลักษณะเฉพาะของท้องถิ่นและวัฒ นธรรมด้วย “ส่วนที่ 2” ว่าด้วย เรื่องรูปแบบ พัฒนาการซึ่งได้นาเสนอไปพร้อมกับการแบ่งยุคสมัย และ “ส่วนที่ 3” ว่าด้วยศรัทธา ความเชื่ออันเป็นบ่อเกิดในการสร้างสรรค์พระพุทธปฏิมา ซึ่งในอดีตการศึกษาทางประวัติศาสตร์ศิลปะ นั้นไม่ค่อยให้ความสาคัญในเรื่องดังกล่าว เพราะฉะนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงนับว่าเป็นการศึกษาที่มอง บริบทแวดล้อมกันเป็นปัจจัยสาคัญของการสร้างสรรค์พระพุทธรูปอย่างเป็นองค์รวม ทั้ ง นี้ มี เนื้ อ หาส่ ว นที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ วั ด พระมหาธาตุ อ ยู่ ในบทที่ 10: สมั ย อยุ ธ ยา ดั ง มี รายละเอียดคือ การกล่าวถึงกลุ่มพระพุทธรูปบุทองที่พบในกรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่ ใน การศึกษานี้ได้จัดหมวดหมู่เป็น “พระพุทธรูปแบบอู่ทอง รุ่นที่ 2” ทั้งนี้ มีข้อสังเกตว่าพระพุทธรูปที่ ค้นพบในกรุนั้นจะมีอุษณีษะที่มีรัศมีเป็นเปลว ซึ่งแตกต่างไปจากพระพุทธรูปอู่ทองรุ่นแรกที่อุษณีษะ เป็นทรงกรวย หรือมีพระรัศมีเป็นดอกบัวตูม16 ทั้งนี้ ผู้เขียนยังมีข้อเสนอว่า พระพุทธรูปแบบอู่ทองรุ่น ที่ 2 นี้ ถือได้ว่าเป็นพระพุทธรูปของอยุธยาตอนต้นอย่างแท้จริง17 ส าหรั บ พระพุ ท ธรู ป ที่ ค้ น พบในกรุ วั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยา จ านวนหนึ่ ง นั้ น เป็ น พระพุ ท ธรู ป บุ ท องทั้ งแบบนั่ งแลยื น ที่ มี พุ ท ธลั ก ษณะแบบอู่ ท อง 2 ซึ่ งค้ น พบพร้ อ มกั บ พระบรม สารีริกธาตุ และเครื่องทองอื่นๆ นอกจากนี้ ยังพบในกรุวัดพระราม และวัดราชบูรณะซึ่งเป็นพระ มหาธาตุที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้นด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ยังได้กล่าวถึง “พระพุทธรูปศิลาเขียว” หรือที่เรียกว่า “พระคันธารราฐ” ซึ่งมีผู้ ตี ค วามว่ าเป็ น พระศรี อ าริ ย เมตไตรด้ ว ยวางพระหั ต ถ์ ทั้ งสองข้ างบนพระชานุ ซึ่ งแตกต่ า งไปจาก พระพุทธรูปนั่งห้อยพระบาทองค์อื่นๆ ที่ทามุทราที่แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ดี เนื่องจากมีหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ยืนยันว่าสภาพดั้งเดิมตอนค้นพบว่ามีสภาพที่ชารุด เหลือเฉพาะส่วนพระพักตร์

16

ศักดิ์ชาย สายสิงห์. พระพุทธรูปในประเทศไทย รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556 หน้าที่ 369. 17 ศักดิ์ชาย สายสิงห์. พระพุทธรูปในประเทศไทย รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556 หน้าที่ 374-377.


21

พระอุระ พระวรกาย พระกรท่อนบน พระชงฆ์ล งมาถึงพระบาท โดยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้ า เจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้เจ้าพระยาไชยวิชิต (เผือก) ทาการบูรณปฏิสังขรณ์18 - สถาบันวิจัยเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะอนุกรรมการพิจารณาและเรียบเรียง ประวั ติ ศ าสตร์ ไทยสมั ย อยุ ธ ยา. โครงการประกอบสร้ า งความรู้ เ รื่ อ งอยุ ธ ยาตอนปลาย. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2555. โครงการวิจัย “โครงการประกอบสร้างความรู้เรื่องอยุธยาตอนปลาย” ประกอบด้ว ย เนื้อหาทั้งหมด 6 หัวเรื่อง ได้แก่ 1) สถานะความรู้ประวัติศาสตร์อยุธยาตอนปลาย 2) ราชอาณาจักร อยุ ธ ยาในโลกาภิ วั ต น์ ร ะยะแรก: พลวัต ของการทู ต ไทยสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย 3) การค้ าเครื่อ ง กระเบื้องระหว่างจีนสมัยต้นราชวงศ์ชิง กับ กรุงศรีอยุธยาสมัยราชวงศ์บ้านพลูหลวง พ.ศ.๒๑๘๗๒๓๑๐ 4) ราชประเพณีสมัยอยุธยาตอนปลาย: กรณีศึกษาพระราชพิธีราชาภิเษก 5) ข้อสังเกต ว่า ด้ว ยพั ฒ นาการทางภาษาและวัฒ นธรรม สมั ย กรุงศรีอ ยุ ธ ยาตอนปลาย ในต านานมุ ข ปาฐะและ วรรณคดีลายลักษณ์ 6) ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะและสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาปลายกับศิลปกรรม อินโด-เปอร์เซีย โดยในการทาสาระสังเขปของโครงการนี้จะเน้นไปที่หัวข้อที่ 6 คือ ความสัมพันธ์ระหว่าง ศิลปะและสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาปลายกับศิลปกรรมอินโด-เปอร์เซีย โดยจุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์ ซึ่ง จากการศึกษาพบว่า ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมในสมัยอยุธยาตอนปลายมีความสัมพันธ์กับศิลปะ แบบ “อินโด-เปอร์เซีย” ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 ซึ่งเป็นรูปแบบศิลปะที่มีต้นแบบมาจากศิลปะ เปอร์เซีย ในสมัย ราชวงศ์ซาฟาวี ผสมผสานกับ ศิล ปะโมกุ ล ของอินเดีย และแพร่กระจายผ่ านการ ขยายตัว ทางการค้ าและความสั มพั นธ์ระหว่างอยุธยา อิน เดีย และอิห ร่าน ในรัช สมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช โดยรูปแบบศิลปะดังกล่าว ส่งอิทธิพลสาคัญให้ แก่ศิลปะและสถาปัตยกรรมในสมัย อยุธยาตอนปลาย คือ “ด้านสถาปัตยกรรม” มีการสร้างอาคารที่มีประโยชน์ใช้สอยรูปแบบใหม่ เช่น ตึกรับ รองแขก ซึ่งรับ แบบแผนของดิวาน (Diwan) ในสถาปัตยกรรมอินโด-เปอร์เซีย โดยมีการใช้ องค์ประกอบแบบซุ้มโค้งแหลมในส่วนของช่องประตู และหน้าต่าง การทาช่องปรุของอาคาร รวมไป ถึงลวดลายประดับ บางส่วนของอาคาร ต่อมาคือ “ด้านจิตรกรรม” ซึ่งมีแบบแผนที่ส อดคล้ องกับ จิตรกรรมอิหร่านในสมัยราชวงศ์ซาฟอวีตอนต้น ทั้งวิธีการเล่าเรื่องจากบนลงล่าง และแสดงเหตุการณ์ ต่อเนื่องแบบสลับฟันปลา การเขียนภาพ 2 มิติของอาคาร โดยการคลี่รูปด้านของอาคารออก และ การใช้ทองเขียนลายประกอบ เป็นต้น สุดท้ายคือ “ด้านลวดลายในงานประณีตศิ ลป์” ลายพรรณ พฤกษาแบบก้านต่อดอกเป็ น วงโค้งเข้าหากัน ลายพุ่ มข้าวบิณ ฑ์ของอยุธยากับลายพุ่ มดอกไม้ของ 18

ศักดิ์ชาย สายสิงห์. พระพุทธรูปในประเทศไทย รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556 หน้าที่ 36.


22

เปอร์เซีย ลายกระหนกก้านขดปลายรูปสัตว์กับลายก้านขดในพรมอินเดียและเปอร์เซีย ดาวเพดาน และดาวเพดานดอกจอกในลายผ้าเปอร์เซีย เป็นต้น19 - บุญเตือน ศรีวรพจน์. พระบรมสารีริกธาตุ คติพระพุทธศาสนาเถรวาทจากอินเดียสู่ประเทศ ไทย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2553. หนังสือ “พระบรมธาตุ คติพระพุทธศาสนาเถรวาทจากอินเดียสู่ประเทศไทย” เป็นหนังสือที่ มีวัตถุประสงค์ที่จะนาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับพระบรมสารีริกธาตุ และพระมหาธาตุในภาพรวมซึ่งมีโครง เรื่องเช่นเดียวกับหนังสือ “มหาธาตุ”20 ที่ได้ตีพิมพ์มาก่อนหน้า ซึ่งเริ่มต้นเนื้อหาด้วยมูลเหตุของการ นับถือพระบรมสารีริกธาตุที่ปรากฏในเอกสารทางศาสนาต่างๆ คุณูปการของหนังสือเล่มนี้จึงอยู่ที่การ ให้ข้อมูลและอ้างอิงเอกสารโบราณจานวนมากอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับการสืบค้นต่ อเนื่อง ส าหรับ เนื้ อหาที่ เกี่ย วกับ ศิล ปะสถาปั ต ยกรรมของพระมหาธาตุ และพระบรมธาตุนั้ นเป็น การจัด หมวดหมู่โดยใช้ที่ตั้งของพระมหาธาตุ และพระบรมธาตุต่างๆ รวมทั้งช่วงสมัยทางประวัติศาสตร์ชาติ เป็นเกณฑ์ แต่อย่างไรก็ตาม ด้วยกรอบความคิดดังกล่าวมานั้นจึงอาจไม่สามารถสร้างคาอธิบายต่อ พระมหาธาตุ และพระบรมธาตุในลุ่มน้าเจ้าพระยาบางองค์ได้เนื่องจากความซับซ้อนของยุคสมัยของ การสถาปนา และการบูรณปฏิสังขรณ์ ดังตัวอย่างของ พระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี และพระมหาธาตุ ราชบุรี ที่ถูกจัดอยู่ภายใต้กรอบความคิดของพระหาธาตุของกรุงศรีอยุธยา ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว พระมหาธาตุทั้งสองนั้นมีอายุที่เก่าแก่กว่าสมัยการสร้างกรุงศรีอยุธยา หากแต่ทว่าทาเลที่ตั้งนั้นอยู่ใน พื้นที่ลุ่มแม่น้าภาคกลางของไทยซึ่งอยู่ภายใต้อิทธิพลของอยุธยา และเป็นเมืองที่มีพัฒนาการสืบเนื่อง มาตั้งแต่ยุคเก่าแก่จนกระทั่งสมัยอยุธยาด้วยนั่นเอง - สัน ติ เล็กสุ ขุม. “วัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา” ใน พั ฒนาการของลายไทย: กระหนกกับ เอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้าที่ 236-251. “พัฒ นาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ไทย” เป็นหนังสือที่ประวัติศาสตร์ และ พัฒนาการของลวดลายประดับในแผ่นดินไทยได้อย่างสมบู รณ์ และเป็นองค์รวมทาให้เห็นพัฒนาการ ของรู ป แบบศิ ล ปะการตกแต่ ง สถาปั ต ยกรรม เนื่ อ งจากหนั งสื อ เล่ ม นี้ ป ระกอบไปด้ ว ยเนื้ อ หาที่ กว้างขวางและหลากหลาย เพราะฉะนั้นในการวิจัยนี้จะขอทบทวนเฉพาะเนื้อหาที่เกี่ยวเนื่องกับวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาโดยตรงเท่านั้น และสรุปเป็นประเด็นได้ดังต่อไปนี้ 19

สถาบันวิจัยเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะอนุกรรมการพิจารณาและเรียบเรียงประวัติศาสตร์ ไทยสมัยอยุธยา. โครงการประกอบสร้างความรู้เรื่องอยุธยาตอนปลาย. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุ น สนับสนุนการวิจัย. 2555. หน้า 438-439. 20 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2534.


23

- ในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาพบหินทรายจานวนมากที่นามาทาเป็นพระพุทธรูป และ มีหินทรายจานวนหนึ่งที่ถูกแกะสลักเป็นลวดลายพรรณพฤกษา ซึ่งขุดพบหินทรายเหล่านี้จากชุกชีของ วิหารหลวง สาหรับลวดลายนั้นแสดงให้เห็นความสัมพันธ์กับลวดลายของจีน21 - พระปรางค์มุมที่อยู่รอบนอกของพระระเบียงคดมีรูปแบบและสัดส่วนที่สัมพันธ์กับพระ ปรางค์ในระยะแรกๆ เช่น พระปรางค์รายหมายเลข 16ค. ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี22 - พระปรางค์รายที่อยู่รอบนอกพระระเบียงคด เมื่อศึกษาด้วยวิธีวิทยาทางประวัติศาสตร์ ศิลปะแล้วมีข้อเสนอว่าเป็นพระปรางค์ที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น23 - เจดีย์ผังแปดเหลี่ยมที่อยู่ประจามุมด้านตะวันออกเฉียงใต้นอกพระระเบียงคด ซึ่งเรียกกัน ว่า “เจดี ย์ ท รงถะ” ซึ่ งเป็ น รู ป แบบสถาปั ต ยกรรมที่ ไม่ คุ้ น เคยกั น ในศิ ล ปะสถาปั ต ยกรรมอยุ ธ ยา สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลจากศิลปะล้านนา โดยเฉพาะการตกแต่งด้วยปูนปั้นรูปเทวดา24 - พระปรางค์มุมบนฐานไพทีเดียวกับพระมหาธาตุประธาน เสนอว่าสร้ างขึ้นในสมัยอยุธยา ตอนต้น ทั้งนี้ใช้หลักฐานจากจิตรกรรมที่เขียนขึ้นในคูหา ซึ่งเขียนเป็นซุ้มเรือนแก้วซึ่งตัวกนกปลายของ ซุ้ม ยังไม่ พั ฒ นาการเป็ น กนกสามตั ว นอกจากนี้ ลายรัก ร้อ ยที่ เขี ยนยั งสะท้ อ นความสั ม พั น ธ์ กั บ ลวดลายปูนปั้นของวัดนางพญาสุโขทัย25 -

กรมศิลปากร สานักศิลปากรที่ 1 ราชบุรี. วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี. กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร. 2552. หนังสือ “วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี ” ประกอบไปด้วยเนื้อหา คือ “ภูมิศาสตร์ และ ประวัตศาสตร์จังหวัดราชบุรี” “ประวัติวัดมหาธาตุวรวิหารและประวัติการดาเนินงาน” “สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมในวัดมหาธาตุวรวิหาร” และ “วัดมหาธาตุวรวิหารกับเมืองราชบุรี” ซึ่งนับว่าเป็น หนังสือที่ให้ข้อมูลวัดมหาธาตุในลักษณะองค์รวมตั้งแต่ภาพกว้างในแง่ของสภาพภูมิศาสตร์อันเป็น ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ดังกล่าวมาอย่างยาวนานตั้งแต่สมัยทวารวดี จวบจนสมัย 21

สันติ เล็กสุขุม. “วัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้าที่ 236-238. 22 สันติ เล็กสุขุม. “วัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้าที่ 239. 23 สันติ เล็กสุขุม. “วัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้าที่ 242-244. 24 สันติ เล็กสุขุม. “วัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้าที่ 248-249. 25 สันติ เล็กสุขุม. “วัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้าที่ 245-247.


24

ที่เขมรเรืองอานาจและแผ่อิทธิพลมายังลุ่มแม่น้าภาคกลางของไทยรวมทั้งพื้นที่จังหวัดราชบุรี จาก ข้อมูลภาพกว้างในเชิงพื้นที่ขยายความลงมาสู่การอธิบายข้อมูลทางสถาปัตยกรรม และศิลปกรรม และข้ อสั น นิ ษ ฐานถึ งอายุ ในการก่อสร้างของพระมหาธาตุราชบุ รียังมี ฐ านมาจากการส ารวจทาง โบราณคดี แตกต่างไปจากการศึกษาที่ผ่ านๆ มาซึ่งส่ว นใหญ่ เป็นการให้ ข้อสันนิษ ฐานจากประวัติ ศาสตร์ศิลปสถาปัตยกรรมที่เกิดจากการเทียบเคียงรูปแบบ เพราะฉะนั้นการได้มาซึ่งข้อมูลการขุดค้น ทางโบราณคดีจึงเป็นการศึกษาที่มีน้าหนักและเป็นวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ ผังบริเวณของวัดพระมหาธาตุ ราชบุรี มีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนกรุงศรี อยุธยาในช่วงระหว่างที่ขอมมีบทบาทในดินแดนลุ่มแม่น้าภาคกลางโดยเฉพาะสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ดั ง ประจั ก ษ์ ห ลั ก ฐานของรู ป แบบก าแพงศิ ล าแลงซึ่ ง มี ก ารแกะสลั ก หิ น ทรายเป็ น ใบเสมาที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปตั้งทับอยู่บนหลังของบัวหลังเจียดของกาแพง ดังตัวอย่างของกาแพงปราสาท หินบันเตียกะเดยที่เมืองเสียมเรียบ ปราสาทบันเตียฉมาร์ จังหวัดบันเตียเมียนเจย เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ข้อสันนิษฐานจากหลักฐานทางโบราณคดีก็กาหนดอายุที่สอดคล้องกับกับข้อ สันนิษฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปสถาปัตยกรรม คือ มีอายุการก่อสร้างราว 900 ปี และมีการก่อสร้าง พร้อมกัน ที่พระปรางค์ป ระธานและปรางค์ทิศทั้ง 3 องค์ ซึ่งมีอายุการก่อสร้างมาก่อนสมัยอยุธยา สาหรับ งานปู น ปั้น ประดับตกแต่งพระมหาธาตุนั้ นยังปรากฏทั้งงานปูนปั้นตั้งแต่เมื่อแรกสร้างพระ ปรางค์ และส่วนที่ถูกซ่อมแซมใหม่ในสมัยอยุธยาตอนปลาย และรัตนโกสินทร์ 26 ทว่าวัดพระมหาธาตุ ราชบุรีก็เป็นวัดที่มีพัฒนาการสืบเนื่องมา กล่าวคือ ในสมัยอยุธยาตอนต้นมีการถมพื้นขยายฐานไพที โดยรอบของฐานพระปรางค์ และในสมัยปลายอยุธยาหรือต้นรัตนโกสินทร์มีการสร้างพระเจดีย์ราย ฐานแปดเปลี่ยมขึ้น27 สาหรับจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนอยู่ในห้องครรภธาตุซึ่งเป็นผนังก่ออิฐฉาบด้วยดิน ดิบเขียนเป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับนั่งต่อเรียงรายกันเป็นแถว ทั้งนี้กาหนดอายุเป็นจิตรกรรมฝา ผนังสมัยอยุธยาตอนต้น28

26

กรมศิลปากร สานักศิลปากรที่ 1 ราชบุรี. วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2552. หน้า 78-81. 27 กรมศิลปากร สานักศิลปากรที่ 1 ราชบุรี. วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2552. หน้า 45-46. 28 กรมศิลปากร สานักศิลปากรที่ 1 ราชบุรี. วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2552. หน้า 96.


25

- ทวี โ รจน์ กล่ ากล่ อ มจิ ต ต์ . สมโภชวั ด มหาธาตุ ว รวิ ห าร จ.เพชรบุ รี ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาครบ ๕๐๐ ปี. เพชรบุรี: เพชรภูมิการพิมพ์. 2552. “สมโภชวัดมหาธาตุวรวิหาร จ.เพชรบุรี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครบ ๕๐๐ ปี” เป็น หนังสือรวมบทความว่าด้วยเรื่องต่างๆ ของวัดมหาธาตุว รวิหาร จังหวัดเพชรบุรี โดยในเนื้อหาระบุว่า สาหรับบทความเรื่อง “วัดมหาธาตุวรวิหาร”29 ซึง่ ให้ข้อสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นร่วมสมัยวัฒนธรรมทวาร วดีถึงสุโขทัย มีอายุราว 800-1,000 ปี โดยใช้หลักฐานของซากอิฐ และเสมาคู่ที่มีลวดลายที่สันนิษฐาน ว่าเป็นลวดลายแบบทวารวดี30 นอกจากนี้ ผู้เรียบเรียงได้ใช้เอกสารจากรายงานการอนุรักษ์จิตรกรรม ฝาผนังพระวิหารหลวง วัดมหาธาตุวรวิหารเพชรบุรี 31 เป็นข้อมูลในการเรียบเรียง ซึ่งได้กล่าวถึงข้อ สันนิษฐานเรื่องการก่อสร้างพระมหาธาตุว่าสร้างขึ้นใน พ.ศ. 1734 โดยอ้างอิงหลักฐานจารึกปราสาท พระขรรค์ที่ระบุว่า พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ได้อัญเชิญพระพุทธรูปไปประดิษฐานยังเมืองต่างๆ ได้แก่ ลพบุ รี สุ พรรณบุ รี ราชบุ รี เพชรบุรี จึงสันนิษฐานว่าวัดมหาธาตุวรวิห าร เพชรบุรี อาจสร้างขึ้นใน ช่วงเวลานั้น32 นอกจากนี้ ยังให้ข้อมูลคราวการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในสมัยอยุธยาซึ่งเป็นที่แน่ ชัด ว่ามีการบูรณปฏิสังขรณ์ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกษฐ์ และมีการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อมาอีก หลายครั้งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ สาหรับบทความเรื่อง “ปรางค์ที่วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบุรี”33 ได้ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการบูรณปฏิสังขรณ์พระปรางค์ในสมัยอยุธยาในรัชกาลพระเจ้ าอยู่หัวบรมโกษฐ์ และ การบูรณปฏิสังขรณ์เมื่อสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ในปี พ.ศ. 2357 สาหรับเนื้อหาส่วนอื่นๆ นั้นเป็นการ เรียบเรียงขึ้นจากการทบทวนสารสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับพระปรางค์

29

จานงค์ เอมรื่น. “วัดมหาธาตุวรวิหาร” ใน ทวีโรจน์ กล่ากล่อมจิตต์ (บรรณาธิการ). สมโภชวัดมหาธาตุวรวิหาร จ.เพชรบุรี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครบ ๕๐๐ ปี. เพชรบุรี: เพชรภูมิการพิมพ์. 2552. หน้าที่ 3851. 30 ทั้งนี้ ผู้วิจัยมีความเห็นว่า การสันนิษฐานด้วยระเบียบวิธีแบบดังกล่าวก็มีข้อจากัดอยู่มาก เนื่องจากตัวแบบที่มีอยู่ นั้นมีน้อย และมีลักษณะเฉพาะท้องถิ่น อีกทั้งไม่มีหลักฐานจารึกใดๆ สาหรับการเปรียบเทียบ 31 รายงานการอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนังพระวิหารหลวง วัดมหาธาตุวรวิหารเพชรบุรี 7 มีนาคม–30 กันยายน พ.ศ. 2534. 32 ทั้งนี้ ผู้วิจัยมีความเห็นว่า การสันนิษฐานในส่วนนี้ ได้มองข้ามวัดกาแพงแลงไป ซึ่งเป็นวัดที่ตั้งอยู่ในวงล้อมของ เมืองเพชรบุรีโบราณ และมีโบราณสถานที่แสดงถึงความสัมพันธ์กับสมัยเมืองพระนครในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 อย่างเด่นชัดกว่า นอกจากนี้ จากสถานภาพความรู้ใหม่เป็นที่ยอมรับ กันแล้วว่าพระศรีรัตนมหาธาตุ ราชบุรี และพระศรีรัตนมหาธาตุสุพรรณบุรีนั้นสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น 33 บุญมี พิบูลสมบัติ. “ปรางค์ที่วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบุรี” ใน ทวีโรจน์ กล่ากล่อมจิตต์ (บรรณาธิการ). สมโภชวัด มหาธาตุวรวิหาร จ.เพชรบุรี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครบ ๕๐๐ ปี. เพชรบุรี: เพชรภูมิการพิมพ์. 2552. หน้าที่ 38-69-92.


26

-

กรมศิลปากร. การอนุรักษ์และพัฒนาโบราณสถานวัดพระธาตุ ตาบลศิลาขาว อาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2551. หนังสือ “การอนุรักษ์และพัฒนาโบราณสถานวัดพระธาตุ ตาบลศิลาขาว อาเภอเมืองฯ จังหวัด สุ พ รรณบุ รี ” เป็ น หนั งสื อ รายงานการขุ ด ค้ น และขุ ด แต่ งทางโบราณคดี ที่ น ามาตี พิ ม พ์ เผยแพร่ สู่ สาธารณะ เนื้อหาจึงประกอบไปด้วยข้อมูลพื้นฐานของกรณีศึกษา และเน้นหนักไปเรื่องรายงานการขุด ค้ น และการขุ ด แต่ ง ดั งนี้ “ที่ ตั้ งและประวั ติ ค วามส าคั ญ ของวั ด พระธาตุ ” “การด าเนิ น การทาง โบราณคดี” “โบราณวัตถุที่พบ” “สรุป ผลการศึกษาทางโบราณคดี ” และ “การบูรณะเสริมความ มั่นคงโบราณสถานวัดพระธาตุ” สาหรับวัดพระธาตุนี้ มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า “วัดพระธาตุสวนแตง” และ อยู่ นอกเมืองสุ พรรณบุ รีจึงทาให้ มีชื่อเรีย กอีกชื่อว่า “วัดพระธาตุนอก” ในขณะที่วัดพระมหาธาตุ สุพรรณบุรีก็ คือ “วัดพระธาตุใน” ในประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการกาหนดอายุของพระปรางค์นั้นใช้ การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะการวางผังบริเ วณของวัดกล่าวคือ ให้ข้อเสนอว่าวัดพระธาตุสวนแตงนี้ เป็นวัดในระดับชุมชน กล่าวคือ ไม่มีการสร้างระเบียงคดล้อมรอบ34 สาหรับองค์พระปรางค์ที่มีเรือน ธาตุที่มีมุขทิศทั้ง 4 ยื่นออกมาไม่มากนัก ในหนังสือเล่มนี้มีข้อเสนอที่ใช้ฐานความคิดมาจากการศึกษา ของนนทชัย ทองพุ่มพฤกษ์ว่าเป็นรูปแบบที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นถึงปลายรัชสมัยสมเด็จพระ มหาธรรมราชา35 ซึ่งข้อเสนอดังกล่าวนั้นอภิปรายในประเด็นที่ว่าด้วยการสร้างพระปรางค์ที่มีมุขทิศ 4 ด้าน และมีมุขด้านหน้าอยู่ทางทิศตะวันออกซึ่งเป็นแบบแผนตามปกติของพระปรางค์แม้จะถูกสร้าง ขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย หรือรัตนโกสินทร์ เนื่องมาจากว่าทิศตะวันออกเป็นทิศที่มีความสาคัญ ตามคติ ค วามเชื่ อ ในพระพุ ท ธศาสนาจึ งย่ อ มต้ อ งหั น หน้ า หรือ สร้ างทางเข้ าหลั ก สู่ อ าคารทางทิ ศ ตะวันออกเป็นเรื่องปกติ นอกจากนี้ พระปรางค์ในสมัยอยุธยาตอนปลายและรัตนโกสินทร์ตอนต้นนั้น เป็นพระปรางค์ที่มีขนาดเล็ก และซ้อนฐานสูง และไม่มีความนิยมเข้าไปยังภายในของห้องครรภธาตุจึง ไม่มีความจาเป็นต้องเจาะช่องทางเข้า นอกจากนี้ การที่เสนอว่ามีการก่อสร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ตอนต้นและหมดความนิยมไปในช่วงปลายรัชสมัยของสมเด็จพระมหาธรรมราชานั้น สันนิษฐานว่าใช้ กรอบความคิดมาจากการแพร่หลายของการก่อสร้างเจดีย์ทรงระฆังที่นิยมมากขึ้นนั่นเอง แต่อย่างไรก็ 34

นนทชั ย ทองพุ่ ม พฤกษา. บทบาทหน้ า ที่ แ ละการออกแบบปรางค์ ในสมั ย อยุ ธ ยา. วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญา มหาบัณ ฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: บัณ ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. อ้างใน กรมศิลปากร. การอนุรักษ์และพัฒนาโบราณสถานวัดพระธาตุ ตาบลศิลาขาว อาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2551. หน้า 68. 35 นนทชั ย ทองพุ่ ม พฤกษา. บทบาทหน้ า ที่ แ ละการออกแบบปรางค์ ในสมั ย อยุ ธ ยา. วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญา มหาบัณ ฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: บัณ ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. อ้างใน กรมศิลปากร. การอนุรักษ์และพัฒนาโบราณสถานวัดพระธาตุ ตาบลศิลาขาว อาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2551. หน้า 68.


27

ดี การก่อสร้างพระปรางค์ก็กลับมาฟื้นความนิยมใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ซึ่งเมื่อไม่ได้ น าเงื่อนไขบริบ ทที่แวดล้ อมมาประมวลอย่างรอบด้านเพียงพอ ทว่านามาสู่ การใช้ระเบียบวิธีทาง ประวัติศาสตร์ศิลปะสถาปัตยกรรมจึงอาจทาให้การกาหนดอายุด้วยเครื่องมือดังกล่าวนั้นคลาดเคลื่อน ไปได้ นอกจากนี้ น.ณ ปากน้า ยังมีข้อเสนอไว้ว่า “ปรางค์สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีมุขทิศทั้งสี่ยื่นสั้น อาทิเช่น ปรางค์วัดมหาธาตุ สุพรรณบุรี และปรางค์วัดพระธาตุสวนแตง จังหวัดสุ พรรณบุรี เป็นระเบียบเฉพาะ ของปรางค์ส กุลช่างหนึ่ งซึ่งรุ่ งเรืองอยู่ในบริเวณฝั่ งตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา” 36 ทั้งนี้ มีความ จ าเป็ น ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ พิ สู จ น์ ส มมติ ฐ านดั งกล่ า วมาข้ างต้ น ของ น.ณ ปากน้ า ด้ ว ย กรณีศึกษาที่กว้างขวาง และการจัดหมวดหมู่ของการวางผังและรูปแบบสถาปัตยกรรมของพระปรางค์ ในภาพรวมต่อไป - สันติ เล็กสุขุม. “ปรางค์ประธานในสมัยอยุธยาตอนต้น” ใน รวมบทความมุมมอง ความคิด และ ความหมาย: งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้าที่ 38-51. บทความเรื่อง “ปรางค์ประธานในสมัยอยุธยาตอนต้น ” ซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือ “รวมบทความ มุมมอง ความคิด และความหมาย: งานช่างไทยโบราณ” ซึ่งได้ใช้กรณีศึกษาจากพระปรางค์ที่สามารถ กาหนดอายุได้แน่นอนว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น คือ พระปรางค์ประธานวัดพุทไธศวรรย์, พระ ปรางค์ประธานวัดพระราม และพระปรางค์ประธานวัดราชบูรณะ ซึ่งการได้มุ่งเน้ นที่จะอธิบายที่มา ของการวางพระเจดีย์ทรงกลมเหนือซุ้มมุขของพระปรางค์วัดราชบูรณะที่ไม่เคยพบมีการประดับใน ลักษณะดังกล่าวในพระปรางค์ที่มีอายุเก่าแก่กว่าอยุธยาตอนต้น ทั้งนี้ ผู้เขียนจึงสันนิษฐานว่าการ เกิดขึ้นของพระเจดีย์ทรงกลมดังกล่าวนั้นได้รับอิทธิพลมาจากพุกามที่มีความนิยมแพร่หลายในการ ประดับตกแต่งในลักษณะดังกล่าว37

36

นนทชั ย ทองพุ่ ม พฤกษา. บทบาทหน้ า ที่ แ ละการออกแบบปรางค์ ในสมั ย อยุ ธ ยา. วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญา มหาบัณ ฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: บัณ ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. อ้างใน กรมศิลปากร. การอนุรักษ์และพัฒนาโบราณสถานวัดพระธาตุ ตาบลศิลาขาว อาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2551. หน้า 68. 37 สันติ เล็กสุขุม. “ปรางค์ประธานในสมัยอยุธยาตอนต้น ” ใน รวมบทความมุมมอง ความคิด และความหมาย: งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้าที่ 49.


28

- สั น ติ เล็ ก สุ ขุ ม . “ปรางค์ ข องวัด ปรางค์ ห ลวง จั งหวัด นนทบุ รี กั บ การก าหนดอายุ ” ใน รวม บทความมุมมอง ความคิด และความหมาย: งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้าที่ 113-122. บทความเรื่อง “ปรางค์ของวัดปรางค์หลวง จังหวัดนนทบุรี กับการกาหนดอายุ ” ซึ่งตีพิมพ์ใน หนังสือ “รวมบทความมุมมอง ความคิด และความหมาย: งานช่างไทยโบราณ” เป็นบทความที่ใช้ ระเบี ย บวิธีวิจั ย ทางประวัติ ศาสตร์ศิ ล ปะมาใช้ในการกาหนดอายุการก่อสร้าง ซึ่ งบทความชิ้น นี้ มี ข้อเสนอว่า ลวดลายที่ใช้ใ นการประดับตกแต่งพระปรางค์หลวง จังหวัดนนทบุรีนั้นเป็นลวดลายที่มี อายุราวครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 21 หาได้อยู่ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นหรือในราวพุทธศตวรรษ ที่ 20 ตามทีเ่ คยมีผู้เสนอไว้ไม่38 - สุรินทร์ ศรีสังข์งาม. เจดีย์เหลี่ยมย่อมุมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร. 2548. ในการศึกษานี้ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมของวัดในสมัยอยุธยา จานวน 16 วัด โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่สามารถกาหนดอายุสมัยได้ชัดเจน จานวน 11 วัด และกลุ่มที่ไม่ สามารถกาหนดอายุสมัยได้ชัดเจน จานวน 5 วัด ซึ่งได้ผลสรุปของการศึกษาว่า เจดีย์เหลี่ยมย่อมุม สร้างขึ้นครั้งแรกในราวครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 22 ในช่วงสมัยของพระเจ้าปราสาททอง (พ.ศ. 2172-2199) โดยรูปแบบมีพัฒนาการมาจากเจดีย์ทรงกลม ทั้งนี้ได้แบ่งรูปแบบของเจดีย์เหลี่ยมย่อมุม ในสมัยอยุธยา ออกเป็น 4 รูปแบบ คือ 1) “เจดีย์เหลี่ยมย่อมุมกลุ่มมีมาลัยเถาแบบมาลัยลูกแก้ว ”โดย เจดีย์ทั้งหมดพบในวัดที่มีความสัมพันธ์กับพระเจ้าปราสาททอง 2) “เจดีย์เหลี่ยมย่อมุมกลุ่มมีมาลัยเถา แบบฐานปัทม์” พบหลักฐานการสร้างในช่วงสมัยพระเจ้าปราสาททอง ถึงสมัยพระเจ้าเสือ 3) “เจดีย์ เหลี่ยมย่อมุมกลุ่มมีมาลัยเถาแบบฐานสิงห์” พบหลักฐานการสร้างในช่วงสมัยพระเพทราชาถึงช่วงเสีย กรุงศรีอยุธยา 4) “เจดีย์เหลี่ยมย่อมุมกลุ่มมีมาลัยเถาแบบฐานสิงห์และมีบัวโถ” พบหลักฐานการสร้าง ในช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย ระหว่างสมัยของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจนถึงสิ้นสุดกรุงศรีอยุธยา โดย รูปแบบเจดีย์ดังกล่าว เป็นรูปแบบมีอิทธิพลต่อมายังสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ด้วย39

38

สัน ติ เล็กสุขุม. “ปรางค์ของวัด ปรางค์ หลวง จังหวัดนนทบุ รี กับการกาหนดอายุ ” ใน รวมบทความมุ มมอง ความคิด และความหมาย: งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้าที่ 122. 39 สุรินทร์ ศรีสังข์งาม. เจดีย์เหลี่ยมย่อมุมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2548. หน้า 244-251.


29

- นนทชัย ทองพุ่มพฤกษ์ . บทบาทหน้าที่แ ละการออกแบบปรางค์ในสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. ในการศึกษานี้ ผู้วิจัยมุ่งจะศึกษาและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปรางค์กับสั งคมอยุธยา และมีข้อเสนอว่า ในสมัยก่อนอยุธยาพระปรางค์ที่ถูกสร้างขึ้นในบริเวณภาคกลางของไทย อาจเป็น เครื่องหมายแสดงความสัมพันธ์กับมณฑลอานาจเนื่องในอารยธรรมเขมร ทั้งนี้ ระดับความสัมพันธ์ ระหว่างราชธานีศูนย์กลางกับพื้นที่ภายใต้อาณาบริเวณมณฑลของอานาจนั้นอาจจะมองภาพได้จาก ระเบียบทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์ กล่าวคือ หากว่าในช่วงเวลาที่มีการก่อสร้างพระปรางค์ใน พื้ น ที่ ภ ายในปริ ม ณฑลแห่ ง อ านาจนั้ น มี ค วามสั ม พั น ธ์กั บ ศู น ย์ ก ลางอย่ างแนบแน่ น ระเบี ย บทาง สถาปั ตยกรรมก็จ ะใกล้ ชิ ดกับ ระเบียบแบบแผนอันเคร่งครัด ของปราสาทหิ น ที่ส ร้างในศูน ย์กลาง หากแต่ช่วงเวลาใดความสัมพันธ์ทางอานาจมีความยืดหยุ่น ผ่อนปรน ระเบียบอันแข็งเกร็งของรูปแบบ ทางสถาปัตยกรรมนั้นก็จะมีการพลิกผันแปรเปลี่ยนไปด้วย นอกจากนี้ พระปรางค์ ยังทาหน้าที่เป็น สัญลักษณ์ของมณฑลอานาจที่เป็นที่รับรู้กันอย่างกว้างขวาง ในแง่นี้ชุมชนท้องถิ่นอาจสร้างขึ้นเองเพื่อ อ้างความสัมพันธ์กับมณฑลอานาจเนื่องในอารยธรรมเขมร ซึ่งอาจมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการอ้าง สิทธิธรรมทางการเมือง และในทางตรงกันข้ามรัฐที่พยายามสถาปนาปริมณฑลอานาจใหม่ก็อาจใช้ ปรางค์เป็นสัญลักษณ์แห่งมณฑลอานาจใหม่นั้นด้วย40 - ปั ท มา วิ ชิ ต จ ารู ญ . การศึ ก ษาแผนผั ง วั ด สมั ย อยุ ธ ยาในเขตจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2543. ในการศึกษานี้ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาวัดในสมัยอยุธยาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจานวน 58 วัด ซึ่งแบ่งช่วงเวลาในการก่อสร้างเป็น วัดในสมัยอยุธยาตอนต้น จานวน 32 วัด วั ดที่สร้างขึ้นในสมัย อยุธยาตอนกลาง 19 วัด และวัดในสมัยอยุธยาตอนปลาย 7 วัด ทั้งนี้ได้ข้อสรุปว่า วัดที่ก่อสร้างขึ้นใน สมัยอยุธยาตอนต้นนั้นยังมีสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์กับการวางผังปราสาทขอมในสมัยบายน และแผนผังวัดในสมัยลพบุรีและสุโขทัย ทั้งนี้การวางผังนั้นยั งใช้คติจักรวาลและเขาพระสุเมรุมาเป็น ส่วนหนึ่งของการออกแบบวางผัง นอกจากนี้ ยังให้ความสาคัญของการหันทิศไปยังทิศตะวันออก ทั้งนี้ ยังสรุปประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับขนาดของวัดได้ดังต่อไปนี้ คือ “วัดขนาดใหญ่” เป็นลักษณะการวางผัง ที่มีองค์ป ระกอบหลัก 3 ส่ วน ได้แก่ วิห ารตั้งอยู่ทางด้านหน้า เจดีย์ประธานตั้งอยู่ตรงกลาง และ อุโบสถตั้งอยู่ทางด้านหลัง โดยแบบแผนดังกล่าวพบว่า ส่วนใหญ่มีการสร้างเจดีย์ประธานกับวิหาร ขึ้นมาก่อนตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นและตอนกลาง ต่อมาจึงมีการสร้างอุโบสถเพิ่มเติมขึ้นภายหลัง 40

นนทชัย ทองพุ่มพฤกษ์. บทบาทหน้าที่และการออกแบบปรางค์ในสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. หน้า 358-359.


30

ต่อมาคือ “วัดขนาดกลาง” เป็นลักษณะการวางผังที่มีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน ได้แก่ เจดีย์ประธาน กับวิหาร หรือ เจดีย์ประธานกับอุโบสถ โดยแบบแผนในสมัยอยุธยาตอนต้นจะนิยมสร้างวิหารคู่กับ เจดีย์ประธาน ต่อมาในสมัยอยุธยากลางเป็นต้นมา จะนิยมสร้างอุโบสถคู่กับเจดีย์ประธาน ซึ่งมีทั้งการ ปรับเปลี่ยนจากวิหารเดิมในสมัยอยุธยาตอนต้นให้กลายเป็นอุโบสถ หรือมีการสร้างอุโบสถพร้อมกับ เจดีย์ประธานตั้งแต่แรกสร้าง สุดท้ายคือ “วัดขนาดเล็ก” เป็นลักษณะการวางผังที่มีองค์ประกอบหลัก 1 ส่วน โดยมีวิหารหรืออุโบสถ เป็นประธานของวัด เป็นแบบแผนที่นิยมสร้างในสมัยอยุธยาตอนปลาย ซึ่งส่วนใหญ่จะให้ความสาคัญกับอุโบสถ ในขณะที่เจดีย์ประธานกับวิหารจะมีบทบาทน้อยลง ซึ่งแบบ แผนดังกล่าวได้สืบเนื่องมาจนถึงในช่วงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นด้วย41 - Santi Leksukhum. (สั น ติ เล็ ก สุ ขุ ม ). Historical Images Ayutthaya World Heritage. BKK: TAT. 2543. หนังสือ “Ayutthaya World Heritage” ว่าด้วยอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา เป็นหนังสือใน ชุด World Heritage ที่ประกอบด้วยหนังสือ 2 เล่ม ซึ่งอีกเล่มนั้นว่าด้วยอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ซึ่งมุ่งหมายเพื่อการนาความรู้ทางวิขาการด้านประวัติศาสตร์ศิลปะที่ศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบ สถาปัตยกรรมสาคัญในแหล่ง มรดกโลกทั้ง 2 แหล่งของประเทศไทยมาเพื่ อเป็น “ข้อสันนิษฐานเปิด (Open Hypothesis)” ซึ่ ง ในการศึ ก ษานี้ ไ ด้ ใ ช้ ข้ อ มู ล หลั ก ฐานจากหลายแหล่ ง อาทิ แหบ่ ง โบราณสถานอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์ เอกสารทางประวัติศาสตร์ และหลักฐานทางโบราณคดี 42 สื่อสาร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเรียนรู้แหล่งมรดกทางสถาปัตยกรรมในเมืองประวัติศาสตร์ ทั้งสอง สาหรับ เล่ ม แหล่ งมรดกโลกพระนครศรี อ ยุ ธ ยานั้ น ได้ คั ดเลื อกแหล่ งโบราณสถานทั้ งพระที่ นั่ ง พระมหา ปราสาท และวัดวาอารามต่างๆ โดยจาแนกการนาเสนอออกเป็นยุคสมัย กล่าวคือ “อยุธยาตอนต้น” ใช้กรณี ศึกษาของวัดพระราม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดราชบูรณะ “อยุธยาตอนกลาง” ใช้กรณี ศึกษาของพระที่นั่งสรรเพชญ์มหาปราสาท วัดพระศรีสรรเพชญ์ พระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ “อยุธยาตอนปลาย” ใช้กรณีศึกษาของวัดไชยวัฒนาราม พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต์มหาปราสาท วัด ธรรมิกราช พระที่นั่งบรรยงค์รัตนนาสมหาปราสาท และวัดกุฎีดาว ซึ่งในคานาของเล่มยังได้กล่าวให้ เห็นถึงกระบวนการวิธีการทาวิจัย ตลอดจนแนวคิดที่เปิดกว้างต่อการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบ ที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคตเพื่อความงอกงามและเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ และข้อเสนอว่าต้องมี

41

ปั ท มา วิชิต จารูญ . การศึ กษาแผนผั งวัดสมัย อยุธยาในเขตจังหวัดพระนครศรีอ ยุธ ยา. กรุงเทพฯ: บั ณ ฑิ ต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2543. หน้า 550-554. 42 Santi Leksukhum. (สันติ เล็กสุขุม). Historical Images Ayutthaya World Heritage. BKK: TAT. 2543. P. 5.


31

การศึกษาเพื่อพัฒนา ตรวจสอบความถูกต้อง ปรับกระบวนทัศน์ใหม่ รวมทั้งการตั้งสมมติฐานใหม่ 43 ต่อไปในอนาคตของการศึกษาว่าด้วยอดีต - สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2542. หนังสือศิลปะอยุธยาของศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม เป็นหนังสือสาคัญ ใน การศึกษาศิลปสถาปัตยกรรมอยุธยา ที่ให้เนื้อหาสรุปรวบยอดแบบสังเขปเกี่ยวกับศิลปะอยุธยาแขนง ต่างๆ โดยเริ่ ม ต้น เนื้ อ หาด้ว ยประวัติศ าสตร์อ ยุธ ยาโดยสั งเขป และเนื้ อ หาว่าด้ ว ยสถาปั ตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม สาหรับเนื้อหาว่าด้วย วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ถูกกล่าวถึ งใน เนื้อหาที่ว่าด้วย “แผนผังวัด: ยุคต้น” กล่าวคือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาถูกจัดเป็นวัดที่ก่อสร้าง ในสมัย อยุ ธยาตอนต้น ซึ่งมีระบบระเบี ยบในการวางผั งที่เป็ นเอกลั กษณ์ โดยมีพ ระวิห ารหลวงอยู่ ด้านหน้าวัด ส่วนท้ายของวิหารหลวงยื่นล้าเข้ามาในระเบียงคด มีพระปรางค์หรือ พระเจดีย์ประธาน และด้านหลั งคือพระอุโบสถ 44 ส าหรับองค์พระศรีรัตนมหาธาตุประธานถูกกล่ าวถึงในเนื้อหาส่ว น “เจดีย์ทรงปรางค์: ยุคต้น” ซึ่งให้ข้อมูลว่าแผนผังของพระปรางค์นั้นมีลักษณะเป็นผังแบบจัตุรมุข ซึ่ง แม้ว่าสร้างในสมัยอยุธยาตอนต้น แต่ก็มีการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาท ทอง ในปี พ.ศ. 2176 ซึ่งศาสตราจารย์ ดร. สันติ เล็ กสุ ขุ มก็ได้สันนิษฐานว่าการยืดมุขออกมาเป็น จัตุรมุขนั้นควรเกิดขึ้นในคราวนี้เอง 45 นอกจากนี้ ยังกล่าวถึง “เจดีย์ทรงปราสาทยอดประจามุมและ ประจาด้านวัดมหาธาตุ” 46 และ “วิหารหลวง” ซึ่งได้เสนอประเด็นที่เกี่ยวเนื่องว่าการประดับซี่ลูกกรง ของผนังวิหารหลวงในแนวตั้งด้วยดอกเหลี่ยมนี้เป็นรูปแบบที่ควรมีมาอย่างน้อยตั้งแต่ยุคต้น หรือยุค กลางในคราวการบูรณะ แต่ไม่ใช่งานที่เกิดขึ้นในยุคอยุธยาปลายในสมัยอยุธยาตอนปลายในสมัยพระ เจ้าปราสาททอง47 นอกจากนี้ในหมวดประติมากรรมได้มีการกล่าวถึงภาพสลักบนหินทรายที่สัมพันธ์ กับ ลายช่อในกลี บ บั ว ที่ป ระดับ องค์พระมหาธาตุวัดราชบูรณะและลวดลายบนพระปรางค์ทองคา จาลองที่ค้นพบในกรุวัดราชบูรณะ 48 ซึ่งลวดลายดังกล่าวนั้นมีการปรับปรุงให้เข้ากับลวดลายทานอง

43

Santi Leksukhum. (สันติ เล็กสุขุม). Historical Images Ayutthaya World Heritage. BKK: TAT. 2543. P. 5. 44 สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2542. หน้าที่ 43. 45 สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2542. หน้าที่ 59-60. 46 สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2542. หน้าที่ 59-60. 47 สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2542. หน้าที่ 117-119. 48 สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2542. หน้าที่ 154-155.


32

จีน49 และสาหรับจิตรกรรมได้กล่าวถึงจิตรกรรมฝาผนั งบนผนังห้องครรภธาตุพระปรางค์ทิศตะวันตก เฉียงเหนือที่อยู่บนฐานไพทียกสูงขององค์พระศรีรัตนมหาธาตุว่าเป็นจิตรกรรมในยุคต้น50 - น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หนังสือ “ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา” เป็นบันทึกการสารวจภาคสนามของอาจารย์ ประยูร อุลุชาฎะ หรือ น.ณ ปากน้ า เมื่อปี พ.ศ. 2509 เกี่ยวกับวัดต่างๆ ในอยุธยา ทั้งนี้มีข้อมูล ที่ เกี่ยวกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาสรุปโดยสังเขปเป็นประเด็นดังต่อไปนี้ - น. ณ ปากน้า ได้แสดงให้เห็นความขัดแย้งของเอกสารทางประวัติศาสตร์ 2 ชิ้น คือ พระ ราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งให้ข้อมูลที่ขัดแย้งกัน ทั้งนี้ น.ณ ปากน้า มีทัศนะที่โน้มเอียงไปในทิศทางที่ว่า พระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยาถูกสร้างขึ้นในสมัยขุนหลวงพระงั่ว ตามข้อมูลชุดที่กล่าวไว้ในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ - สาหรับการช่วงเวลาที่มีการสร้างพระอุโบสถนั้น น.ณ ปากน้า ได้กาหนดพระอุโบสถของ วัด พระศรีรั ต นมหาธาตุอยุ ธยา โดยใช้วิธีการเที ยบเคีย งอายุใบเสมาว่า กล่ าวคื อ เสมาที่ พ บที่ วัด มหาธาตุนั้นมีสองชนิด ชนิดหนึ่งเป็นใบเสมา 2 ชนิด คือ “แบบที่ 1” ใบเสมาขนาดย่อมสูง 1 เมตร กว้าง 67 เซนติเมตร หนา 11 เซนติเมตร ทาด้วย หินชวนค่อนข้างแดง ซึ่งเป็นใบเสมาที่มีรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน อยู่ตรงกลางของใบเสมา ทั้งนี้ น.ณ ปากน้าให้ข้อสังเกตว่าเป็นเสมาที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกับเสมาวัดพุทไธสวรรย์ ซึ่งทาให้สัน นิษฐานว่าใบ เสมาดังกล่าวนั้นน่าจะเป็นใบเสมาสมัยขุนหลวงพระงั่ว51 “แบบที่ 2” ใบเสมาขนาดใหญ่ ทาด้วยหินเนื้อละเอียด สูง 1.12 เมตร กว้างตรงส่วนล่าง 72 เซนติเมตร หนา 8 เซนติเมตร ตรงส่วนล่างทาเป็นลวดบัวคล้ ายใบเสมาสุโขทัย ทั้งนี้ เมื่อนาเสมา ดังกล่าวไปเปรียบเทียบกับเสมาวัดภูเขาทอง และวัดภูเขาทอง 52 ซึ่งเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จ พระราเมศวรเช่นเดียวกัน53 - ลายปูนปั้น ที่เรือนธาตุของพระปรางค์ทิศองค์ใหญ่ ซึ่งตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกขององค์ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเป็นลวดลายรุ่นเก่า คงเป็นของเดิมตั้งแต่เมื่อครั้งพระราเมศวร อย่า งไรก็ดี

49

สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2542. หน้าที่ 157 . สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2542. หน้าที่ 179. 51 น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 109. 52 น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 108. 53 น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 108. 50


33

น.ณ ปากน้า ให้ทัศนะว่าในกรณีของวัดพระมหาธาตุนี้คงมีความยากลาบากในการจาแนกเนื่องจากมี การสร้างซ้อนทับกันไปมา54 - งานจิตรกรรมของวัดมหาธาตุนี้หลงเหลืออยู่ในคูหาของปรางค์มุม ซึ่งตั้งอยู่บนฐานไพที เดียวกับองค์พระมหาธาตุประธาน ทั้งนี้ ศาสตราจารย์เฟื้อ หริพิทั กษ์ได้มาคัดลอกไปศึกษาและเก็บ รักษาไว้แล้ว ซึ่งจิตรกรรมที่เขียนใช้สีเพียง 3 สี คือ สีดา สีดินแดง และสีขาว ซึ่งยังไม่อาจระบุได้ว่า เป็นสมัยอยุธยาตอนต้น หรือตอนกลาง55 - การสร้างพระปรางค์ และพระเจดีย์ประกอบอยู่ในผัง มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรจุพระอัฐิ ของเจ้าในราชวงศ์สมั ยอยุธยาตอนต้น หรืออาจจะตลอดสมัยอยุธยา แม้ว่าสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ได้สถาปนาวัดพระศรีสรรเพชญ์แล้วก็ตาม ก็อาจะยังมีเจ้านายที่ยังนิยมมาสร้างเจดีย์เพื่อบรรจุอัฐิไว้ที่ วัดมหาธาตุด้วย เนื่องถือว่าได้อยู่ใกล้กับพระบรมสารีริกธาตุ56 - ปาริสุทธิ์ สาริกะวณิช. การศึกษาสถาปัตยกรรมวัดไชยวัฒนาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2536. ในการศึกษานี้ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษามูลเหตุและปัจจัยของการสร้างวัดไชยวัฒ นาราม บทบาทและหน้าที่ รวมไปถึงการออกแบบด้านสถาปัตยกรรมในคติเชิงสัญลักษณ์ ของวัดไชยวัฒนา ราม ในสมัยพระเจ้าปราสาททอง จากการศึกษาพบว่า วัดไชยวัฒนารามเป็นสถาปัตยกรรมที่ถูกสร้าง ขึ้นเพื่อสะท้อนภาพอานาจทางการเมือง การปกครอง และศาสนาของพระเจ้าปราสาททอง อย่าเห็น ได้ชัด โดยสรุปมูลเหตุของการสร้างวัดไชยวัฒนารามของพระเจ้าปราสาททองไว้ 4 ประการ คือ 1) สร้างขึน้ ในฐานะและหน้าที่ของปราสาทบรรพบุรุษ เพื่ออ้างสิทธิธรรมในการขึ้นครองราชย์สมบัติ และ อุทิศกุศลให้แก่พระราชมารดา เช่นเดียวกับวัฒนธรรมเขมร ซึ่งเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของกษัตริย์เขมร ที่จะต้องสร้างปราสาทเพื่อถวายแก่บรรพบุรุษภายหลังจากการขึ้นครองราชย์ 2) สร้างขึ้นในคติเชิง สั ญ ลั กษณ์ เพื่ อเปรี ย บเที ย บสถานะของพระเจ้าปราสาททอง ในฐานของพระอิน ทร์ เทพผู้ รักษา พระพุทธศาสนา 3) สร้างขึ้นในเชิงสัญลักษณ์ของเขาพระสุเมรุในฐานะศูนย์กลางจักรวาลเพื่อแสดง ออกถึงความเป็นจักรพรรดิราชโดยสมบูรณ์ของพระเจ้าปราสาททอง 4) สร้างขึ้นในเชิงสัญลักษณ์ เพื่อ แสดงออกถึงความปรารถนาในการเป็นอนาคตพุทธเจ้าของพระเจ้าปราสาททอง57 54

น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 110-111. 55 น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 111. 56 น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 111. 57 ปาริสุ ทธิ์ สาริกะวณิ ช. การศึ กษาสถาปัตยกรรมวัดไชยวัฒ นาราม จังหวัดพระนครศรีอ ยุธยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2536. หน้า 153-154.


34

-

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2534. หนั งสื อ “มหาธาตุ ” จัดพิ มพ์ขึ้น ในโอกาสเฉลิ มฉลองพระชนมายุ 3 รอบนักษั ตร สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นหนังสือวิชาการเล่มแรกๆ ที่มองประเด็นคาว่า “พระ มหาธาตุ” ในความหมายของ “พระบรมสารีริกธาตุ” และสิ่งเกี่ยวเนื่องอย่างเป็นองค์รวม ทั้งนี้ มีการ น าเสนอถึงทาเลที่ตั้งของวัดพระมหาธาตุ และวัดพระบรมธาตุประจาเมืองต่างๆ ในประเทศไทย จานวน 12 วัด คือ พระบรมธาตุหริภุญชัยฯ, วัดมหาธาตุสุโขทัย, วัดพระมหาธาตุเชลียงฯ, วัดพระธาตุ พนมฯ, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลกฯ, วัดมหาธาตุ อยุธยา, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี, วัด พระศรีมหาธาตุ สุพรรณบุรีฯ, พระปฐมเจดีย์ฯ, วัดมหาธาตุราชบุรีฯ, วัดพระมหาธาตุ ไชยาฯ, วัดพระ มหาธาตุ นครศรีธรรมราชฯ ซึ่งการทาแผนที่เพื่อแสดงทาเลที่ตั้งของวัดพระมหาธาตุ และพระบรม ธาตุข้างต้นนั้นทาให้เห็นทาเลที่ตั้งของเมืองโบราณต่างๆ โดยเฉพาะในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา นอกจากนี้ การแบ่งโครงสร้างของเนื้อหาภายในเล่มนั้นได้ส่งอิทธิพลต่อนักวิชาการที่ได้ทาการศึกษาในประเด็น เรื่องพระมหาธาตุในรยะเวลาต่อมา อาทิ “ความสาคัญของพระมหาธาตุ ” “มูลเหตุที่เกิดพุทธเจดีย์” “ธรรมเนียมมีวัดวหาธาตุเป็นหลักเมือง” และ “วัดมหาธาตุ และวัดพระบรมธาตุ” ทั้งนี้ ในประเด็นเรื่อง “วัดมหาธาตุ และวัดพระบรมธาตุ” นั้น มีเนื้อหาที่กล่าวถึงลักษณะทาง สถาปัตยกรรมของวัดพระมหาธาตุ และวัดพระบรมธาตุในที่ต่างๆ แต่ไม่ได้วิพากษ์มูลเหตุของคาเรียก ที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดี เนื้อหาที่อธิบายในประเด็นเรื่องการวางผัง องค์ประกอบระดับผัง ลักษณะ ทางสถาปัตยกรรมต่างๆ ก็เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่สาคัญในการศึกษาต่อยอด นอกจากนี้ คุณูปการอันมหาศาลของหนังสือเล่มนี้อีกประการ คือ ได้นาเสนอข้อมูลภาพถ่าย เก่าทางสถาปัตยกรรม และศิลปะอันทรงคุณค่าของวัดพระมหาธาตุที่ต่างๆ จานวนมาก ที่ทาให้ผู้วิจัย ทางศิลปสถาปัตยกรรมนาไปใช้เป็นหลักฐานในการศึกษาทาความเข้าใจศิลปสถาปัตยกรรมของวัด มหาธาตุ และวัดพระบรมธาตุต่างๆ ก่อนที่ จะมีความชารุดเสียหายจากกาลเวลา และก่อนหน้าที่จะมี การขุดแต่งบทางโบราณคดี และการบูรณปฏิสังขรณ์ที่ผ่านมาซึ่งทาให้ ข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ เปลี่ยนแปลงไป - ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป . (พิมพ์ ครั้งแรก พ.ศ.2459) กรุงเทพฯ: มติชน. 2546. หนังสือ “เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป ” มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกับเหตุการณ์ที่ พระเจ้าเกียรติศิริราชสิงหะกษัตริย์ลังกาผู้ครองกรุงแคนดีได้ส่งทูตมาสืบทอดศาสนายังกรุงศรีอยุธยา ในรั ช กาลสมเด็จ พระเจ้ าอยู่ หั ว บรมโกศ เพื่ อขอคณะสงฆ์ ไปจากกรุง ศรีอ ยุธ ยารวมทั้ งได้คั ด ลอก มหาวงศ์พงศาวดารลังกากลับไปด้วย ทั้งนี้ สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงนิพนธ์ด้วยวิธีการ เรียบเรียงข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ดังที่กล่าวไว้ในคานาว่า “เรื่องราวแต่


35

ต้น จนราชทูตลั งกาเข้ามากรุงศรีอยุธยาที่ป รากฏในหนังสื อนี้ ข้าพเจ้าแต่งใหม่ทั้ งสิ้ น ความตั้งแต่ ราชทูตลังกาเข้ามาขอคณะสงฆ์มีจดหมายของเดิมซึ่งทูตผู้มาได้แต่งไว้โดยพิสดาร น่าแปลออกเป็น ภาษาไทยให้ตรงกับจดหมายเหตุนั้น แต่ความขัดข้องมีอยู่ ด้วยจดหมายเหตุของเดิมแต่งไว้ในภาษา สิงหฬ แลแปลไปเป็นภาษาอังกฤษเสียอีกชั้น 1 แลเห็ นได้ว่าผู้แปล แปลโดยไม่รู้ภูมิประเทศแลกิจการ ในกรุงศรีอยุธยาความพลาดไปหลายแห่ง ข้าพเจ้าจึงแปลจดหมายเหตุของราชทูตลังกาโดยอิสระที่จะ แก้ไขความในที่ซึ่งรู้แน่ว่าผิด แลเปลี่ยนโวหาร วิธีเรียงความให้เป็นสานวนไทย เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ”58 สาหรับเนื้อหาที่ว่าด้วยกรุงศรีอยุธยา และพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาจึงเป็นส่วนที่ถูกชาระและเรียบ เรียงโดยสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ ทั้งนี้ เมื่อนาเนื้อความในเอกสารมาสอบทานกับเอกสาร อื่น ๆ ตลอดจนหลั กฐานทางศิ ล ปะสถาปั ตยกรรมก็พ บว่ามี ค วามถู กต้ องแม่ น ยาที่ มี ป ระโยชน์ ต่ อ การศึกษา แต่อย่ างไรก็ตาม หากมีโอกาสที่จะนาเนื้อความในภาษาอังกฤษมาสอบทวนได้ก็จะยิ่ง แม่นยามากขึ้น

58

ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ใ นลังกาทวีป. (พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2459) กรุงเทพฯ: มติชน. 2546. หน้า 18-19.


36

เอกสารอ้างอิง เอกสารภาษาไทย “จดหมายเหตุฟาน ฟลีต” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. “พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับวันวลิต พ.ศ. 2182” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟ ลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. “พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนา ภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. กรมศิลปากร สานักศิลปากรที่ 1 ราชบุรี. วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี. กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร. 2552. กรมศิล ปากร. การอนุ รักษ์ แ ละพั ฒ นาโบราณสถานวัด พระธาตุ ต าบลศิล าขาว อ าเภอเมื องฯ จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2551. กรมศิลปากร. วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2552. กวิฏ ตั้งจรัสวงศ์. “ระบบแผนผังปรางค์ประธานและปีกปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ”. ใน วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 34 (2) 2557. (หน้า 147-168). จ านงค์ เอมรื่ น . “วัดมหาธาตุว รวิห าร” ใน ทวีโรจน์ กล่ ากล่ อมจิตต์ (บรรณาธิการ). สมโภชวั ด มหาธาตุวรวิหาร จ.เพชรบุรี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครบ ๕๐๐ ปี. เพชรบุรี: เพชร ภูมิการพิมพ์. 2552. หน้าที่ 38-51. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2534. ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป . (พิมพ์ครั้ง แรก พ.ศ.2459) กรุงเทพฯ: มติชน. 2546. น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540.


37

นนทชัย ทองพุ่ มพฤกษา. บทบาทหน้ าที่ แ ละการออกแบบปรางค์ในสมั ย อยุ ธ ยา. วิท ยานิ พ นธ์ ปริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิช าประวัติ ศาสตร์ส ถาปั ต ยกรรม. กรุงเทพฯ: บั ณ ฑิ ต วิท ยาลั ย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. บุ ญ มี พิ บู ล สมบั ติ . “ปรางค์ ที่ วั ด มหาธาตุ จั ง หวั ด เพชรบุ รี ” ใน ทวี โ รจน์ กล่ ากล่ อ มจิ ต ต์ (บรรณาธิการ). สมโภชวัดมหาธาตุวรวิหาร จ.เพชรบุรี ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครบ ๕๐๐ ปี. เพชรบุรี: เพชรภูมิการพิมพ์. 2552. หน้าที่ 38-69-92. ปัทมา วิชิตจารูญ . การศึกษาแผนผังวัดสมัยอยุธยาในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2543. ปาริสุ ท ธิ์ สาริกะวณิ ช. การศึกษาสถาปั ตยกรรมวัดไชยวัฒ นาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธ ยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2536. วีรวัลย์ งามสันติกุล. “รู้จักหลักฐานประวัติศาสตร์อยุธยา” ใน 80 ทัศ พลตรีหม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา. 2555. ศักดิ์ชาย สายสิงห์. พระพุทธรูปในประเทศไทย รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. สถาบั นวิจัยเอเชีย ศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และคณะอนุกรรมการพิจารณาและเรียบเรียง ประวั ติ ศ าสตร์ ไทยสมั ย อยุ ธ ยา. โครงการประกอบสร้ า งความรู้ เรื่ อ งอยุ ธ ยาตอนปลาย. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2555. สันติ เล็กสุขุม. “ปรางค์ของวัดปรางค์หลวง จังหวัดนนทบุรี กับการกาหนดอายุ ” ใน รวมบทความ มุมมอง ความคิด และความหมาย: งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สั น ติ เล็ ก สุ ขุ ม . “วั ด มหาธาตุ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา” ใน พั ฒ นาการของลายไทย: กระหนกกั บ เอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. สุ ริ น ทร์ ศรี สั งข์งาม. เจดี ย์เหลี่ ยมย่ อมุ ม สมั ยอยุธ ยา. กรุงเทพฯ: บั ณ ฑิ ตวิท ยาลั ย มหาวิท ยาลั ย ศิลปากร. 2548.


38


บทที่ 3 พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา

1. คติการบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และประเภทของเจดีย์ในพระพุทธศาสนา เมื่อพระพุทธเจ้าได้เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานใต้ต้นสาละ ณ เมืองกุสินารา ในราตรีขึ้น 15 ค่​่า เดือน 6 ไปได้ 7 วัน ซึ่งตลอดทั้ง 7 วันนั้น มัลลกษัตริย์แห่งเมืองกุสินาราได้จัดเครื่องสักการบูชา อันประกอบด้วยด้วยเครื่องหอม ดอกไม้ และประโคมด้วยดุริยางค์ดนตรีตลอดทั้ง 7 วัน ในการนั้น มัลละกษัตริย์พร้อมทั้งพุทธบริษัททั้งปวงจึงด่าริที่จัดงานถวาย โดยให้เจ้ามัลละระดับ 8 คน ช่าระล้าง ร่ างกายให้ ส ะอาดแล้ ว นุ่ งห่ มผ้ าใหม่ ท่าหน้าที่อัญเชิญพระบรมสรีระของพระพุทธองค์ไปทางทิศ ตะวันออกของเมืองกุสินาราเพื่อถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ณ มกุฏพันธนเจดีย์ ส่าหรับพระพุทธสรีระของพุทธองค์นั้น ในคัมภีร์มหาปรินิพพานสูตร 1 ซึ่งสันนิษฐานว่า แต่งขึ้นและแพร่หลายในอินเดียราวพุทธศตวรรษที่ 4-82 ได้กล่าวว่า พระอานนท์เถระให้ปฏิบัติต่อ พระพุทธสรีระด้วยการห่อด้วยผ้าใหม่ซับด้วยส่าลีท่าเช่นนี้จนหมดผ้า 500 คู่ แล้วอัญเชิญพระพุ ทธ สรีระลงประดิษฐานบนรางเหล็กที่มีน้่ามันบรรจุเต็ม และครอบทับด้วยรางเหล็กอีกใบ แล้วจึงวางลง บนแท่นจิตกาธานที่เต็มไปด้วยดอกไม้จันทน์ และเครื่องหอมนานาชนิด เฉกเช่นเดียวกับการถวายพระ เพลิงพระสรีระของพระเจ้าจักรพรรดิ จากนั้นจึงได้จุดเพลิงเพื่อถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ทว่า เพลิงหาได้ลุกติดไม่ ด้วยมีเหตุว่าเทวดาประสงค์ให้รอพระมหากัสสปะ และพระภิกษุอีก 500 รูป ที่ ก่าลังเดินทางมาเพื่อสักการพระพุทธสรีระเสียก่อน จากนั้นเพลิงก็จะจุดติดขึ้นเอง ทั้งนี้ ในคัมภีร์มหา ปรินิพพานสูตรยังได้กล่าวถึงการสร้างสถูปไว้ตรงทาง 4 แพร่ง และอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุไป ประดิษฐานในสถูป3 เพื่อให้ผู้คนได้สักการบูชา

1

“พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย เล่มที่ 2 มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร” ใน พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัย, 2470–2503. หน้า 133. 2 Hajime Nakamura. Indian Buddhism: A Survey with Bibliographical Notes. Delhi: Motilal Banaesidass publishing house. 1965. 3 “พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย เล่มที่ 2 มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร” ใน พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัย, 2470–2503. หน้า 133.


40

ในเอกสารไตรภูมิกถา ได้กล่าวถึงธรรมเนียมการปลงพระบรมศพพระมหาจักรพรรดิราช ไว้ว่า “เมื่อนั้นจึงพระญาจักรพรรดิราชนนธก็ทิพพชชคคตพิธรชะโลมด้วยกระแจะจวงจันทน์ แล้วจึง เอาผ้าขาวอันเนื้อละเอียดนั้นมาตราสังศพพระญาจักรพรรดิราชนั้น แล้วจึงเอาสาลีอันดีดด้วยสพัดได้ แลร้อยคาบมาห่อชั้น ๑ แล้วเอาผ้าขาวอันละเอียดมาห่อชั้น ๑ เล่า แล้วเอาสาลีอันละเอียดมาห่อเล่า ดังนั้นนอกผ้าตราสังทั้งหลายเป็นพันชั้น คือ ว่าห่อผ้า ๐๐ ชั้น แลสาลีอันอ่อนนั้นก็ได้ ๕๐๐ ชั้นจึงรด ด้วยน้าหอมอันอบได้แลร้อยคาบแล้วเอาใส่ในโกฐทองอันประดับนิ์คาถมอ แลรจนาด้วยวรรณลวดลาย ทั้งหลายอันละเอียดนักหนา แล้วจึงยกศพไปส่งสักการด้วยแก่นจันทน์ กฤษณาทั้งหลายแล้วบูชาด้วย ข้าวตอกดอกไม้”4 ซึ่งก็สะท้อนให้เห็นชุดความคิดเรื่องธรรมเนียมในการปลงพระบรมศพของกษัตริย์ที่ รับสืบทอดมาจากคัมภีร์ทางศาสนามหาปรินิพพานสูตรด้วยเช่นกัน ในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนากล่าวต่อไปว่า เมื่อถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระจน เพลิงดับมอดลงแล้ว บรรดากษัตริย์มัลละจึงมีด่าริที่จะอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุทั้งหมดใส่ลงในหีบ ทองเพื่อสักการที่นครกุสินารา ความทราบไปยังบรรดากษัตริย์แคว้นต่างๆ จึงส่งทูตเพื่อขอแบ่งพระ บรมสารีริกธาตุไปสักการะยังแคว้นของตน แต่กษัตริย์มัลละทรงปฏิเสธ กษัตริย์แคว้นต่างๆ จึงได้ยก กองทัพหมายเพื่อมาพิชิต ทว่าโทณพราหมณ์ได้เข้ามาไกล่เกลี่ยโดยเสนอให้แบ่งพระบรมสารีริกธาตุ ออกเป็น 8 ส่วน ทั้งนี้ โทณพราหมณ์ได้หยิบพระทักษิณทาฐธาตุ คือ พระเขี้ยวแก้วด้านบนข้า งขวา แล้ ว ซ่อนไว้ในมวยผมของตนหมายจะน่ าไปบูชา ทว่าพระเขี้ยวแก้ว องค์ดังกล่าวนั้นพระอินทร์ได้ อัญเชิญขึ้นไปประดิษฐานยังพระเจดีย์จุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เสียโดยที่โทณพราหมณ์ไม่รู้ตัว

ภาพที่ 1: จิตรกรรมฝาผนังเล่าเรื่องเหตุการณ์ ที่ โ ทณพราหมณ์ แ บ่ งพระบรมสารี ริ ก ธาตุ อ ยู่ ภายในปราสาท (มุ ม ขวามื อ ของภาพ) ส่ ว น ทางซ้ายมือนั้นแสดงเหตุการณ์ถวายพระเพลิง พระพุทธสรีระ ซึ่งเป็นจิตรกรรมฝาผนังในพระ ที่ นั่ ง พุ ท ไธศวรรย์ อดี ต พระราชวั งบวรสถาน มงคล ในปัจจุบันคือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร 4

ไตรภูมิพระร่วง หรือไตรภูมิกถา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2543. หน้า 143-144.


41

ในการนั้น โทณพราหมณ์ด่าเนินการตักตวงพระบรมสารีริกธาตุด้วยทะนานทอง ถวาย ยังกษัตริย์ทั้ง 8 พระนคร ได้พระบรมสารีริกธาตุพระนครละ 2 ทะนานเท่ากัน รวมเป็นพระบรม สารีริกธาตุได้ 16 ทะนาน เพื่อให้กษัตริย์แต่ละเมืองน่าไปประดิษฐานยังพระสถูปที่เมืองของตนเพื่อ สักการบูชา ดังนี้ 1. กษัตริย์ลิจฉวี ทรงสร้างพระสถูปเจดีย์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่เมืองเวสาลี 2. กษัตริ ย์ ศากยะ ทรงสร้างพระสถูป เจดีย์ป ระดิ ษฐานพระบรมสารี ริ กธาตุ ที่ เ มื อ ง กบิลพัสดุ์ 3. กษัตริย์ถูลิยะ ทรงสร้างพระสถูปเจดีย์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่เมืองอัลลกัป ปะ 4. กษัตริย์โกลิยะ ทรงสร้างพระสถูปเจดีย์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่ที่เมืองราม คาม 5. มหาพราหมณ์ ทรงสร้างพระสถูปเจดีย์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่ที่เมืองเวฏฐ ทีปกะ 6. กษัตริย์มัลละแห่งเมืองปาวา ทรงสร้างพระสถูปเจดีย์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ที่เมืองปาว 7. พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงสร้างพระสถูปเจดีย์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่เมืองรา ชคฤห์ 8. มัลลกษัตริย์แห่งกุสินารา ทรงสร้างพระสถูปเจดีย์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่ เมืองกุสินารา ทั้งนี้สถูปที่ประดิษฐานพระบรมสาริ กธาตุทั้ง 8 องค์ในเมือง 8 เมืองจึงถือได้ว่าเป็นพระ สถูปเจดีย์ 8 องค์แรกในพุทธศาสนาที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพุทธองค์ มีชื่อเรียกในมหา ปรินิพพานสูตรเป็นภาษาบาลีว่า “อัฏฐสรีรถูป” อย่างไรก็ดี ธรรมเนียมในการสร้างสถูปเพื่อบรรจุอัฐิ ธาตุนั้นก็เป็นธรรมเนียมเก่ าแก่ที่มีมาแต่เดิมเนื่องจากมีหลักฐานที่แสดงว่าอย่างน้อย 6 เดือน ก่อนที่ พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานนั้น พระสารีบุตรผู้เป็นพระอัครสาวกเบื้องขวาของพระองค์ได้ ปรินิพพาน และโปรดให้ก่อสถูปบรรจุอัฐิธาตุไว้ ณ ประตูพระเชตวัน เมืองสาวัตถี และอัฐิอีกส่วนหนึ่ง ให้น่าไปบรรจุยังสถูปที่สร้างไว้ที่นาลันทาอันเป็นมาตุภูมิของพระสารีบุตรด้วย อย่างไรก็ดี นับตั้งแต่พระพุทธองค์ทรงดับขันธ์ปรินิพพานไปนั้น ธรรมเนียมการบูชาพระ ธาตุนั้นคงไม่ได้เป็นที่ยอมรับกันในหมู่สงฆ์ ดังปรากฏหลักฐานกล่าวถึงในคัมภีร์มิลินทปัญหาว่า ในราว พุทธศตวรรษที่ 5 มีพระสงฆ์กลุ่ มฝ่ ายมหาสังฆิกะได้หั นไปกราบไหว้บูชาสถูป จนท่าให้ เกิดความ


42

ขัดแย้งกันว่าพระสงฆ์นั้นควรปฏิบัติตนเช่นไร5 อย่างไรก็ตาม แนวคิดและธรรมเนียมในการสักการบูชา พระธาตุเจดีย์ก็ได้รับการปฏิบัติอย่างแพร่หลาย ดังที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด่ารงราชานุภาพ ได้ทรงพระนิพนธ์ไว้ใน หนังสือ “ตานานพระพุทธเจดีย์” ความว่า “ในครั้งพุทธกาลนั้นพวกที่นับถือพระพุทธศาสนา นับถือ แต่พระพุทธเจ้า พระธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า และพระสงฆ์พุทธสาวกทั้งหลายเป็นหลักพระ ศาสนา… หามีวัตถุอื่นเป็นเจดีย์” และอธิบายเพิ่มเติมว่า “อันพระสถูปเจดีย์นั้นมีประเพณีสร้างสาหรับ บรรจุอัฐิธาตุมาแต่ก่อนพุทธกาล ไม่เฉพาะแต่สาหรับบรรจุอัฐิธาตุของพระเจ้าจักรพรรดิเท่านั้น สถูปที่ สร้างบรรจุอัฐิธาตุบุคคลอื่นๆก็มี ดังปรากฏในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทว่า พระพาหิยเป็นพุทธสาวกถูก โคชนถึงมรณภาพ พระพุทธองค์โปรดให้สร้างสถูปบรรจุอัฐิธาตุไว้มีเป็นตัวอย่าง ถ้าว่าตามโบราณวัตถุ ที่ตรวจพบในอินเดีย ถึงพวกที่นับถือศาสนาอื่น เช่น พวกเดียรถีย์นิครนถ์ก็สร้างสถูปบรรจุอัฐิธาตุของ ศาสดาจารย์เป็นทานองเดียวกัน พิเคราะห์ดูตามลักษณะพระสถูปที่สร้ างตั้งแต่โบราณมาตลอดกาล บัดนี้ เห็นว่าสถูปชั้นเดิมทีเดียวก็จะเป็นแต่พูนดินขึ้นเป็นโคกตรงที่ฝังอัฐิธาตุ (อย่างที่เราก่อพระทราย) แล้ ว ลงเขื่ อ นรอบกั น ดิ น พั ง และบนโคกนั้ น ท านองจะปั ก ร่ ม หรื อ ฉั ต รให้ เ ป็ น เกี ย รติ ย ศ หรื อ เป็ น เครื่องหมายให้รู้ว่าเป็นที่ฝังอัฐิธาตุท่านผู้ใด ถ้าไม่ใช่อัฐิธาตุคนสาคัญก็จะเป็นแต่พูนดินเป็นโคกเท่านั้น สถูปจะทาเป็นขนาดใหญ่หรือขนาดน้อย และจะทาโดยประณีตบรรจงหรือทาแต่พอสาเร็จก็แล้วแต่ กาลังของผู้สร้าง ต่อชั้นหลังมาเมื่อนิยมนับถือพระธาตุเจดีย์ในพระพุทธศาสนา จึงตกแต่งแปลงรูปพระ สถูปให้งดงามวิจิตรขึ้น เช่น แต่งกองดินให้เป็นรูปทรง ทาเขื่อนให้เป็นฐาน และชั้นทักษิณ และทารูป บัลลังก์ตั้งบนหลังโคก แล้วต่อฉัตรให้เป็นยอด ของเหล่านี้น่าจะเกิดขึ้นในชั้นเมื่อพระพุทธศาสนา รุ่งเรืองจนถึงเป็นประธานของประเทศตั้งแต่สมัยแห่งพระเจ้าอโศกมหาราชเป็นต้นมาทั้งนั้น”6 ทั้งนี้ ค่าว่า “เจดีย์” ซึ่งเป็นค่าที่ใช้แพร่หลายกันในไทยในความหมายว่า “สิ่งก่อสร้าง เครื่องก่อที่มียอดแหลมพุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้าที่ทาหน้าที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ หรือสิ่งสาคัญใน พระพุทธศาสนา และสร้างเป็นประธานของวัดต่างๆ” อย่างไรก็ดี เมื่อกลับมาพิจารณารากศัพท์เดิม ของค่าว่า “เจดีย์” ซึ่งเป็นค่าในภาษาบาลีว่า “เจติยะ” หรือในภาษาสันสกฤตว่า“ไจติยะ” ซึ่งมีความ หมายถึง “สิ่งอันควรเคารพบูชา” ซึ่งเป็นความหมายที่กว้างขวาง มิได้เพียงหมายถึงสถาปัตยกรรม เครื่องก่อที่ใช้ประดิษฐานพระบรมสาริกธาตุ หรือสิ่งส่าคัญในพระพุทธศาสนาอย่างเดียวไม่ ซึ่งในความ

5

มิลินทปัญญหา. ปรารภเมณฑกปัญญา ตติยวรรค พุทธปูชานุญญาตา นุญญาตปัญหา ค่ารบที่ 5 (ถามเรื่องทรง อนุญาตพุทธบูชา) ใน พระไตรปิฎก ฉบับธรรมทาน. ปทุมธานี: บริษัทโอเชี่ยน มีเดียซ 2545. หน้า 283284. อ้างถึงใน ธนธร กิตติกานต์. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2557. หน้า 11. 6 ด่ารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ตานานพระพุทธเจดีย์ เล่ม 1. พระนคร: องค์การค้า ของคุรุสภา, 2503. หน้า 7–8.


43

เป็นจริงแล้วนั้นควรจะเรียกสถาปัตยกรรมดังกล่าวนั้นว่า “สถูป” เพราะฉะนั้นความว่า “เจดีย์” ที่ใช้ กันแพร่หลายอยู่ในบริบทของประเทศไทยนั้นจึงมีความหมายที่ไม่ตรงกับความหมายดั้งเดิมนัก

ภาพที่ 2: ภาพแสดงวิวัฒนาการพระสถูป ที่เริ่มต้นจากการสร้างเนินดินพูนเหนือหลุมศพหรือที่บรรจุอัฐิเพื่อให้เห็น ชัดเจนว่าไม่ใช่เป็นพื้นที่สามัญ ต่อมาจึงมีการปักเสาเขื่อนล้อมรอบกันมูลดินพังทลายลงมา ต่อมามีการสร้างเขื่อน หินแทนเพื่อความคงทน มีการสร้างประตูทางเข้าสู่ผังบริเวณทั้ง 4 ทิศ ในภาพเป็นกรณีศึกษาจากสถูปสาญจี ที่มา: เฉลิม รัตนทัศนีย. วิวัฒนาการศิลปะสถาปัตยกรรมไทยพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามฯ. 2539. หน้า 27.


44

ภาพที่ 3: ภาพแสดงวิวัฒนาการพระสถูปที่เริ่มต้นจากอินเดียสู่พระสถูปในลังกา ที่มา: เฉลิม รัตนทัศนีย. วิวัฒนาการศิลปะสถาปัตยกรรมไทยพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามฯ. 2539. หน้า 28.


45

จากความหมายดั้งเดิมของค่าว่า “เจดีย์” ที่หมายถึง “สิ่งอันควรเคารพบูชา” นั้น ท่าให้ คัมภีร์ทางศาสนา เช่น มหาปรินิพพานสูตรและมิลินทปัญหา ได้จ่าแนกประเภทของเจดีย์จึงท่าให้มี การจ่าแนกเจดีย์ในพระพุทธศาสนาออกเป็น ๔ ประการ คือ “ธาตุเจดีย์” “บริโภคเจดีย์ ” “ธรรม เจดีย์” “อุเทสิกเจดีย์”7 กล่าวคือ 1. “ธาตุเจดีย์” คือ พระสถูปที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 2. “บริโภคเจดีย์ ” คือ สถานที่ที่เป็นสังเวชนียสถาน 4 ต่าบล หรือสถานที่ทรงแสดง ปาฏิหาริย์ 4 แห่งบรรจุของใช้ และวัตถุที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธองค์ 3. “ธรรมเจดีย์ ” คือ พระธรรมค่าสั่ งสอนของพระพุทธองค์ เช่น พระธรรมคั ม ภี ร์ พระไตรปิฎก 4. “อุเทสิกเจดีย์” คือ สิ่งต่างๆ ถูกสร้างขึ้นโดยปรารถนาจะเครื่องเตือนให้ระลึกถึงพระ พุทธองค์ เช่น พระพิมพ์ พระพุทธรูป พระสถูป รอยพระพุทธบาท เป็นต้น ส่าหรับ “บริโภคเจดีย์ ” มีที่มาจากการที่พระอานนฺท์ทูลถามพระพุทธองค์ด้วยความ กังวลในเหตุที่พระพุทธองค์ก่าลังประชวรและใกล้เสด็จดับ ขันธ์ปรินิพพานถึงสิ่งที่ควรยึดถือในฐานะ เป็นเครื่องเหนี่ยวจิตใจของพุทธบริษัทในยามที่พระพุทธองค์ได้เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้ว ในการ นั้ น พระพุ ท ธองค์ ท รงให้ ก่ า หนดสั ง เวชนี ย สถาน 4 แห่ ง ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ พุ ท ธประวั ติ และ ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาเพื่อเป็นสถานที่ที่ ส่าหรับให้พุทธบริษัทได้ระลึกถึง นอกจากนี้ ยังมีการ ก่าหนดบริโภคเจดีย์ขึ้นมาอีกในภายหลัง โดยก่าหนดสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพุทธประวัติเพิ่มเติม รวม ไปถึงสถานที่ที่เก็บรักษาเครื่องพุทธบริขารของพระพุทธองค์ รวมมีบริโภคเจดีย์ที่ก่าหนดไว้ตามคัมภีร์ ในพระพุทธศาสนา 19 แห่ง คือ - สังเวชนียสถาน 4 แห่ง คือ 1. “ป่าลุมพินี” ในแขวงเมืองกบิลพัสดุ์ สถานที่พระพุทธองค์ประสูติ 2. “โพธิพฤกษมณฑล” หรือที่รู้จักกันว่า “พุทธคยา” ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่ริ มฝั่ ง แม่น้่าเนรัญชรา ต่าบลอุรุเวลาเสนานิคม ปัจจุบันอยู่ในแขวงเมืองคยา สถานที่พระ พุทธองค์ทรงตรัสอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ 3. “ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน” ที่สารนาถ แขวงเมืองพาราณสี สถานที่พระองค์แสดงปฐม เทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ 4. “สาลวโนทยาน” ในแขวงเมืองกุสินารา สถานที่พระองค์เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน

7

ด่ารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ตานานพระพุทธเจดีย์ เล่ม 1. พระนคร: องค์การค้า ของคุรุสภา, 2503. หน้า 20.


46

- สถานที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เหตุ ก ารณ์ ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพพระพุ ท ธองค์ ดั ง ที่ กล่าวถึงในคัมภีร์ปฐมสมโพธิ 2 แห่ง คือ 1. พระสถูปเจดีย์บรรจุพระสรีรังคาร ณ เมืองปิบผลิ 2. พระสถูปเจดีย์ที่ประดิษฐานทะนานทองที่ใช้ตวงพระบรมสารีริกธาตุที่เมืองกุสิ นารา - สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพุทธประวัติตอนพระองค์ทรงแสดงปาฏิหาริย์ 3 แห่ง คือ 1. สถานที่พระพุทธเจ้าทรงเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์มายังโลกมนุษย์ ณ เมืองสังกัส 2. สถานที่พระพุทธเจ้าทรงกระท่ายมกปาฏิหาริย์ ณ เมืองสาวัตถี 3. สถานที่พระพุทธเจ้าทรงทรมานพญาวานร ณ เมืองเวสาลี - สถานที่ประดิษฐานพุทธบริขารของพระพุทธเจ้า 10 แห่ง คือ 1. กายพันธ์ ซึ่งหมายถึง ประคตเอวหรือสายรัดเอว กับบาตร ประดิษฐานอยู่ที่ เมืองปาฏลีบุตร 2. ผ้าอุทกสาฎก ซึ่งหมายถึง ผ้านุ่งอาบน้่า ประดิษฐานอยู่ที่เมืองปัญจาลราฐ 3. ผ้าจัมขันธ์ ซึ่งหมายถึงเครื่องหนัง ประดิษฐานอยู่ที่เมืองโกศลราฐ 4. ไม้สีพระทนต์ ซึ่งหมายถึง ไม้สีฟัน ประดิษฐานอยู่ที่เมืองมิถิลา 5. ผ้ากรองน้่า ประดิษฐานอยู่ที่เมืองวิเทหราฐ 6. มีดกับกล่องเข็ม ประดิษฐานอยู่ที่เมืองอินทปัตถ์ 7. รองพระบาตรและถลกพระบาตร ประดิษฐานอยู่ที่บ้านอุสสิพราหมณ์คาม 8. เครื่องลาด ซึ่งหมายถึง เครื่องใช้ส่าหรับปูลาด ประดิษฐานอยู่ที่เมืองมกุฏนคร 9. ผ้าไตรจีวร ประดิษฐานอยู่ที่เมืองภัทราฐ 10.นิสีทนสันถัต ซึ่งหมายถึง ผ้าปูนั่งหรือผ้ารองนั่ง ประดิษฐานอยู่ที่เมืองกุรุราฐ ส่าหรับ “ธรรมเจดีย์” สันนิษฐานว่ามีมูลเหตุมาจากการที่พระพุทธศาสนาได้เผยแพร่ไป อย่ างกว้างขวาง การเดิน ทางไปบู ช าพระธาตุเจดีย์ และบริโ ภคเจดีย์ดั้งเดิมนั้นเป็นไปด้ว ยความ ยากล่าบาก อีกทั้งพระพุทธองค์ก็ทรงแสดงแก่เหล่าพระสาวกว่าหากพระองค์ปรินิพพานไปนั้น พระ ธรรมจะท่าหน้าที่แทนพระองค์ต่อไป ดังที่ปรากฏกล่าวไว้ในพระสูตรต่างๆ เช่น วักกลิสูตร8, อรรถกถา 8

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่มที่ 3. หน้า 276.


47

สังฆาฏิสูตร9 และอรรถกถานกุลปิตุสูตร10 ที่กล่าวความโดยสรุปได้ว่า หากผู้ใดแลเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่า ย่อมเห็นพระพุทธองค์ อันเป็นการผลักดันให้เกิดการเรียนรู้พระธรรมค่าสั่งสอนนั่นเอง จากมูลเหตุ ดังกล่าวได้น่าไปสู่ความนิยมในการจารึกพระธรรมค่าสั่งสอนของพระพุทธองค์ไว้เป็นพุทธบูชา และ ประดิษฐานเก็บรักษาไว้ตามเจดียสถานต่างๆ ด้วยนั่นเอง ทั้งนี้ ความนิยมในการสร้างธรรมเจดีย์ในรูป ของสถูป กล่าวคือ มีการสร้างสถูปใหญ่น้อยและจารึกพระธรรมค่าสอนไว้แทนพระบรมสารีริกธาตุนั้น เฟือ่ งฟูมากขึ้นในสมัยราชวงศ์คุปตะ (พ.ศ.823-1093 / ค.ศ.280-550) และราชวงศ์ปาละ (พ.ศ.12931663 / ค.ศ.750-1120) ซึ่งสัมพันธ์กับที่พระพุทธศาสนานิกายมหายานได้รุ่งเรืองมากขึ้นด้วยเช่นกัน ในขณะที่การสร้างสถูปเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของฝ่ายเถรวาทได้รับความน้อยลงไปจากอินเดีย นับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 9 เป็นต้นมา11 ในการนี้ จึงมีการจารึกพระธรรมเป็นตัวอักษรประดิษฐานขึ้นไว้เป็นที่บูชาอันเป็นที่มา ของการเกิดมีประเพณีสร้างธรรมเจดีย์ขึ้น ทั้งนี้ มักเลือกเอาพระธรรมที่เป็นหัวใจพุทธศาสนาเช่น คาถาพระอริยสัจ ว่า “เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา (ธรรมเหล่าใด เกิดแต่เหตุ) เตส เหตุ ตถาคโต (พระ ตถาคตกล่าวเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น) เตสญฺจ โย นิโรโธ จ (และความดับของธรรมเหล่านั้น) เอว วาที มหาสมโณ (พระมหาสมณะมีวาทะเช่นนี้)”12 เป็นต้น ดังนิยมจารึกกันมากในสมัยทวารวดีในลุ่มแม่น้่า ภาคกลางของไทยอีกด้วย ส่าหรับ “อุเทสิกะเจดีย์” เป็นสิ่งก่อสร้าง หรือวัตถุที่ก่อสร้างขึ้นด้วยมีเจตนาอุทิศถวาย ต่อพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นสัญลักษณ์เชื่อมโยงและสร้างสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธบริษัท ทั้งนี้ อุเทสิ กะเจดีย์ที่นิยมสร้างกันในชั้นแรกจะท่าเป็นพุทธบัลลังก์เป็นที่สักการบูชาในเวลาร่าลึกถึง พระพุทธองค์ เมื่อเสด็จเข้าปรินิพพานแล้ว เรียกกันว่า อาสนะบูชา เป็นอุเทสิกะเจดีย์มีขึ้นก่อนอย่างอื่น13 นอกจากนี้ อุเทสิกะเจดีย์ยังประกอบด้วยพระพุทธรูป รอยพระพุทธบาท ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นต้น ซึ่งทั้งหมด ทั้งมวลนั้นเป็นสิ่งที่มุ่งสร้างขึ้น หรือก่าหนดขึ้นเพื่อเป็ นสัญลักษณ์ในการระลึกถึงพระพุทธองค์ และ เป็นสัญลักษณ์ในพระพุทธศาสนาด้วย 9

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตก เล่มที่ 1 ภาค 4. หน้า 583. 10 พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่มที่ 3. หน้า 12. 11 ธนธร กิตติกานต์. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2557. หน้า 20. 12 ธรรมดังกล่าวนี้พระอัสสชิเถระได้แสดงต่ออุปติสสะ ซึ่งเป็นบุตรของวังคันตะพราหมณ์ กับนาสารีพราหมณี ซึ่งวัง คันตะพราหมณ์นั้นเป็นนายบ้านต่าบลนาลกะ หรือนาลันทา ทั้งนี้ตามประวัติเล่าว่าอุปติสสะได้แสวงหาการ เรียนรู้ยังส่านักพราหมณ์ต่างๆ ก็ยังมิอาจได้รับค่าตอบอันเป็นที่น่าพอใจ จนกระทั่งได้พบกับพระอัสสชิเถระ ผู้เป็นหนึ่งในปัญจวัคคียามที่บิณฑบาตในเมืองราชคฤห์ และได้รับฟังธรรมดังกล่าว จนดวงตาเห็นธรรมบรรลุ โสดาบัน และขอบวชใพระพุทธศาสนา และได้รับการขนานนามว่า “พระสารีบุตร” 13 ด่ารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ตานานพระพุทธเจดีย์ เล่ม 1. พระนคร: องค์การค้า ของคุรุสภา, 2503. หน้า 8–11.


48

2. ความสัมพันธ์ระหว่างพระมหาสถูปกับการวางผังเมืองโบราณในอินเดีย ลังกา และ การส่งอิทธิพลยังเมืองโบราณในลุ่มแม่นาภาคกลางของไทย ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง จักรพรรดิราชผู้เป็นองค์อัครณูปถัมภ์ภกพุทธ ศาสนาที่ส่าคัญ คือ พระเจ้าอโศก แห่งราชวงศ์โมริยะ ซึ่งครองแคว้นมคธในราวพุทธศตวรรษ 236273 พระองค์ทรงมีพระราชกรณียกิจส่าคัญที่บันทึกไว้ใน คัมภีร์อโศกาวทาน14 คือ การสร้างสถูปทั่ว ทั้งชมพูทวีป หรือที่เรียกว่า “ธรรมราชิกาสถูป” ซึ่งมีความหมายว่า “พระสถูปที่สร้างขึ้นโดยพระราชา ผู้ทรงธรรม” ทว่าอีกนัยหนึ่งก็คือการขยายอ่านาจทางการเมืองผ่านการประกาศศาสนา ซึ่งเรียกว่า “ธรรมวิชัย” พระสถูปที่ทรงสถาปนาขึ้นเหล่านี้ได้ท่าหน้าที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่พระองค์ ได้รวบรวมมาจากพระสถูปต่างๆ ที่มีประวัติศาสตร์กล่าวว่าเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของ พุทธองค์ หรือ “อัฏฐสรีรถูป”15 เพราะฉะนั้นสถูปต่างๆ ที่สถาปนาขึ้นในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช นอกเหนือจะท่าหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ของการตั้งมั่นประดิษฐานพระพุทธศาสนาในรัชกาลของพระองค์ แล้วยังแสดงถึงพระราชอ่านาจของพระเจ้าอโศกมหาราชเหนือดินแดนต่างๆ เหล่านั้นด้วย ท่าให้ธรรม ราชิกาสถูปนั้นได้ท่าหน้าที่พระสถูปประจ่าเมืองไปโดยปริยาย หากแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าต้องท่า หน้าที่เป็นศูนย์กลางทางกายภาพของเมือง นอกจากการสถาปนาพระมหาสถูปธรรมราชิกาตามแว่นแคว้นต่างๆ ที่อยู่ภายใต้พระ ราชอ่านาจของพระองค์ พระเจ้าอโศกยังทรงแต่งสมณทูตออกไปเผยแพร่พระพุทธศาสนายังที่ต่างๆ ทั้งสิ้น 9 เส้นทาง กล่าวคือ “เส้นทางทางที่ 1 แคว้นแคชเมียร์และแคว้นคันธาระ” เผยแผ่ศาสนาโดย คณะพระมัชฌันติกเถระ “เส้นทางที่ 2 มหิสกมณฑล” ซึ่งปัจจุบัน คือ แคว้นไมซอร์ และดินแดนลุ่ ม แม่น้่าโคธาวารี เผยแผ่ศาสนาโดยคณะพระมหาเทวะ “เส้นทางที่ 3 ไปวนวาสีประเทศ” ซึ่งปัจจุบัน คือ แคว้นมุมไบ เผยแผ่ศาสนาโดยคณะพระรักขิตะ “เส้นทางที่ 4 ปอปรันตกชนบท” ปัจจุบัน คือ แถบทะเลอาหรับทางเหนือของบอมเบย์ เผยแผ่ศาสนาโดยคณะพระธรรมรักขิต “เส้นทางที่ 5 ไป แคว้นมหาราษฎร์” เผยแผ่ศาสนาโดยคณะพระมหาธรรมรักขิต “เส้นทางที่ 6 ไปโยนกประเทศ” ซึ่ง ปัจจุบัน คือ เอเชียกลาง อิหร่าน และเตอร์กิสถาน เผยแผ่ศาสนาโดยคณะพระมหารักขิต “เส้นทางที่ 7 ไปแถบเทือกเขาหิ มาลั ย ” ซึ่งปั จ จุ บั น คือ แถบเนปาล เผยแผ่ ศาสนาโดยคณะพระมัชฌิมเถระ “เส้นทางที่ 8 ไปสุวรรณภูมิ” ซึ่งปัจจุบัน คือ ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีปในเขต 14

จอห์น เอส สตรอง, เขียน. สุลักษณ์ ศิวลักษณ์, แปล. ความเข้าใจในเรื่องพระเจ้าอโศกและอโศกาวทาน. พิมพ์ ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. 2552. 15 จอห์น เอส สตรอง, เขียน. สุลักษณ์ ศิวลักษณ์, แปล. ความเข้าใจในเรื่องพระเจ้าอโศกและอโศกาวทาน. พิมพ์ ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. 2552. หน้า 83–101.


49

ประเทศพม่า และอาจจะเผยแผ่ ต่อเนื่องมายังพื้นที่ที่เป็นดินแดนประเทศไทยในปัจจุบัน เผยแผ่ ศาสนาโดยคณะพระโสณะ และพระอุตตระ 16 “และเส้นทางที่ 9 ไปลังกา” เผยแผ่ศาสนาโดยคณะ พระมหินทระ ซึ่งการเดินทางไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาดังกล่าวนั้นย่อมน่าพาธรรมเนียมการบูชา พระสถูปเป็นสัมภาระทางวัฒนธรรมติดตัวไปด้วย อย่ างไรก็ดี แม้ว่าพระเจ้าอโศกมหาราช และราชวงศ์โ มริยะได้สิ้ นสุ ดลงไปอัน เป็นไปตามหลักสัจธรรม อย่างไรก็ดีพระพุทธศาสนาที่ได้เผยแผ่ออกมาจากดินแดนต้นก่าเนิดในครั้ง นั้นกลับได้ลงหลักปักฐานรุ่งเรืองและงอกงามมากขึ้นอยู่ในลังกา และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาคพื้นทวีปสืบเนื่องมาจนกระทั่งปัจจุบัน

ภาพที่ 4: เส้นทางการเชื่อมต่อและการเผยแพร่พระพุทธศาสนาจากอินเดีย ลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านเส้นทางการค้าในอดีต 16

มีความพยายามที่จะเชื่อมโยงแนวคิดการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในดินแดนประเทศไทยที่สัมพันธ์กับการเผย แผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช เช่น กรณีขององค์พระปฐมเจดีย์ เป็นต้น หากแต่หลักฐาน ทางโบราณคดีที่ค้นพบในปัจจุบันไม่ได้ยืนยันความเก่าแก่ไปร่วมสมัยดังกล่าวได้


50

ทั้งนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างอินเดีย ลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีปนั้นก็ ยังมีความสัมพันธ์กันสืบเนื่องมาก ดังกรณีตัวอย่างที่เป็นต้นแบบส่าคัญและอาจส่งอิทธิพลมาให้ กับ มหาธาตุในพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ “มหาไจติยะแห่งเมืองวิชัยบุรีบนเขานาคารชุ นโกณฑะ” เมื่อพิจารณาจากชัยภูมิทางพื้นที่ประกอบกับอ่านาจทางการเมืองแล้ว ด้วยราชวงศ์อิกษวากุซึ่งเป็น กลุ่มผู้สร้างมหาสถูปนั้นมีอ่านาจในดินแดนบริเวณชายฝั่งตะวันออก บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้่ากฤษณะมา ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 8–10 ทั้งนี้เมื่อราชวงศ์อิษวากุมีชัยชนะเหนือราชวงศ์ศาตวาหนะที่ตั้งอยู่ทาง ชายฝั่งตะวันตกและตอนกลางของอินเดีย ท่าให้พื้นที่บริเวณนี้นอกจากจะท่าหน้าที่เป็นศูนย์กลางทาง การเมืองแล้วยังท่าหน้าที่เป็นศูนย์กลางทางพุทธศาสนาที่ส่าคัญในช่วงเวลาดังกล่าวซึ่งสัมพันธ์กับ หลักฐานการประดิษฐานพระพุทธศาสนายังเมืองในวัฒนธรรมทวารวดีในพื้นที่ภาคกลางของไทยอีก ด้วย ดังปรากฏประจักษ์หลักฐานการสร้างพระมหาสถูปใหญ่ที่เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี , เมืองโบราณคูบัว จังหวัดราชบุรี ตลอดจนโบราณสถานเขาคลังนอกและเขาคลังใน เมืองโบราณศรี เทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นต้น นอกจากนี้ แหล่งฟูมฟักพระพุทธศาสนาที่ส่าคัญอีกแหล่งที่มีบทบาทที่เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์ กับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ “ลังกา” นับตั้งแต่มีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าไปลงหลักปักฐาน อย่างมั่นคงในลังกาในสมัยพระเจ้าเทวนัมปิยติสสะ โดยพระธรรมทูตผู้น่าพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ คือ พระมหินเถระผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอโศกมหาราช ในการนั้นได้น่าพาให้ลังกาที่มีธรรม เนียมการบูชาพระมหาสถูปที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และธรรมเนียมการบูชาพระศรีมหาโพธิ์ ในลักษณะของอุเทสิกะเจดีย์ที่เชื่อมกับแนวคิดบริโภคเจดีย์ ท่าให้ลังกามีการก่อสร้างพระมหาสถูป ขนาดใหญ่เป็นดั่งศาสนสถานประจ่าเมือง อันเป็นการสืบทอดแนวคิดการบูชาสถูปประดิษฐานพระ บรมสารีริกธาตุตามธรรมเนียมฝ่ายเถรวาทดั้งเดิม ซึ่งในอินเดียธรรมเนียมดังกล่าวได้ลดบทบาทลงไป ในราวพุทธศตวรรษที่ 9 เมื่อนิกายมหายานได้รุ่งเรืองมากขึ้น ลังกาจึงได้ท่าหน้าที่เป็นสะพานเชื่อมเอา แนวความคิดในการบู ช าพระสถูป จากอิน เดียโบราณมารั กษาไว้ได้เป็ นอย่า งดี และส่ งผลต่อการ ประดิษฐานพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในเวลาต่อมาด้วย อย่างไรก็ตาม ในลังกาจะ เรียกสถูปว่า “ดากาบา (Dagaba)” ซึ่งมาจากค่าว่า “ธาตุคัพพะ” ซึ่งแปลว่าห้องที่ประดิษฐานพระ บรมสารีริกธาตุ ทั้งนี้แสดงให้เห็นว่าแนวคิดการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุในห้องบูชาที่สามารถ เข้าไปสักการบูชาได้ ดังตัวอย่างของอาคารประดิษฐานพระเขี้ยวแก้ว เป็นต้น ธรรมเนียมการบูชาพระสถูปเจดีย์ในลังกานั้นได้ถูกท่าให้แพร่หลายโดยคณะสงฆ์เถรวาท ในส่านักมหาวิหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ พระพุทธโฆสะ ที่ได้รจนาคัมภีร์ทางศาสนาที่เป็นอรรถกถา อธิบายขยายความเกี่ยวกับพระบรมสารีริกธาตุด้วยต่านานที่ไม่ปรากฏมาก่อนหน้าในอินเดีย ทั้งนี้ได้ กล่าวถึงพระบรมสารีริกธาตุที่ปรากฏแล้วในมหาปรินิพพานสูตร อันหมายถึงพระบรมสารีริกธาตุทั้ง 8 ส่วนที่ถูกแบ่งไปประดิษฐานยังพระมหาสถูปต่างๆ เมื่อครั้งพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ


51

ของพุทธองค์ดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น และพระบรมสารีริกธาตุส่วนที่ไม่ปรากฏในมหาปรินิพพาน สูตร ซึ่งได้ถูกแต่งขึ้นในอรรถกถาของพระพุทธโฆษะ17 ส่าหรับตัวอย่างของพระมหาสถูป หรือดากาบาองค์ส่าคัญในลังกามีตั วอย่างดังนี้ คือ “พระมหาสถู ป ถู ป าราม” ซึ่ ง เป็ น พระมหาสถู ป ที่ ส ร้ า งขึ้ น ตั้ ง แต่ เ มื่ อ ครั้ ง พระมหิ น เถระน่ า พระพุทธศาสนามาเผยแผ่ยังเกาะลังกาในครั้งรัชกาลพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ “พระมหาสถูปแห่ง สานักมหาวิหารแห่งเมืองอนุราธปุระ” ท่าหน้าที่เป็นศูนย์กลางของเมืองอนุราธปุระทั้ งในเชิงกายภาพ และเชิงความหมายที่สัมพันธ์กับราชส่านัก ทั้งนี้ต่อมาเมื่อมีการศึกษาและตีความพระพุทธศาสนา อย่างกว้างขวาง และท่าให้เกิดการขยายตัวของส่านักความคิดต่างๆ จึงมีการสร้างพระมหาสถูปขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางทางกายภาพและจิตวิญญาณของแต่ละส่านักด้วย อาทิ “พระมหาสถูปแห่งอภัยคีรี มหาวิหาร” “พระมหาสถูปแห่งสานักเชตวันมหาวิหาร”

ภาพที่ 5: ภาพซ้าย พระมหาสถูปรุวันเวลิเสยะกลางเมืองอนุราธปุระ, ภาพขวา พระมหาสถูปแห่งส่านักเชตวันมหา วิหาร แห่งเกาะลังกา

17

ธนธร กิตติกานต์. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2557. หน้า 20.


52

จะเห็นว่าหากพิจารณาการวางผังระดับเมืองของอินเดีย และลังกาจะพบว่า พระมหา สถูปดังกล่าวนั้นถึงแม้ว่าจะเป็นองค์ประกอบที่ส่าคัญของเมือง แต่หาได้ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ภายในวง ล้อมของก่าแพงเมืองไม่ แต่ก็อยู่ไม่ไกลกับเมืองมากนัก เนื่องมาจากพระอารามหรือส่านักต่างๆ ซึ่ง พื้นที่ดังกล่าวนอกเหนือจากท่าหน้าที่ประกอบศาสนกิจของสงฆ์แล้ว ยังท่าหน้าที่เป็นสถานที่พ่านักจ่า พรรษาและการศึกษาเล่าเรียนของบรรดาภิกษุสงฆ์ด้วย ในแง่ของการออกแบบวางผังนั้นจึงต้องการ พื้ น ที่ ที่ ก ว้ า งขวางใหญ่ โ ต ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป็ น ดั่ ง วิ ท ยาเขต (Campus) ซึ่ ง มี พื้ น ที่ ก ว้ า งขวางใหญ่โ ต เทียบเท่ากับเมืองเลยทีเดียว รวมไปถึงในการเรียนรู้และปฏิบัติธรรมนั้นต้องการพื้นที่ที่มีความสงบ และใกล้ชิดอยู่กับธรรมชาติ ทั้งนี้ การก่อตัวขึ้นของการกลุ่มพระสงฆ์ที่ประสงค์จะแสวงหาพื้นที่อันสงบ ส่าหรับการปฏิบัติธรรมวิปัสสนาธุระในลังกานั้นเริ่มต้นมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 1218 ส่าหรับดินแดนลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยาในช่วงเวลาเดียวกันนั้นเองได้ปรากฏมีวัฒนธรรมที่ เรียกว่า “ทวารวดี” ขึ้นตามเมืองต่างๆ ที่อยู่ตั้งอยู่บนพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์อันเหมาะสมกับการท่าการ เพาะปลูก หากแต่สามารถติดต่อกับโลกภายนอกผ่านการค้าทางทะเลได้ อาทิเช่น เมืองโบราณคูบัว ที่ อ่าเภอคูบัว จังหวัดราชบุรี , เมืองนครปฐมโบราณ ที่อ่าเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม, เมืองอู่ทอง ที่ อ่าเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี , เมืองโบราณทุ่งเศรษฐี ที่อ่าเภอชะอ่า จังหวัดเพชรบุรี , เมืองโบราณ ลพบุรี ที่อ่าเภอเมืองฯ จังหวัดลพบุรี ตลอดจนเมืองโบราณศรีเทพ ที่อ่าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นต้น ซึ่งเมืองต่างๆ เหล่านี้ล้วนแต่มีการสร้างสถูปเจดีย์เนื่องในพระพุทธศาสนาเป็นจ่านวนมาก หากแต่แต่ละเมืองจะมีสถูปเจดีย์ขนาดใหญ่อยู่กลางใจเมือง ซึ่งคงสัมพันธ์กับการเป็นอารามและสถูป เจดีย์ที่ผู้ปกครองให้ความส่าคัญ และเป็นที่ประกอบพิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องด้วยนั่นเองจึงมีการก่อสร้างที่ มีความวิจิตรบรรจง และมีขนาดที่ใหญ่โต ความน่าสนใจของการวางผังเมืองที่มีความสัมพันธ์กับการสร้างพระมหาสถูปเจดีย์ใน ลังกานั้น เห็นชัดเจนขึ้นหลังจากมีการย้ายเมืองหลวงจากอนุราธปุระไปสร้างที่โปโลนาลุวะในพุทธ ศตวรรษที่ 16 ก็ท่าให้มีการสร้างวัดวาอารามขึ้ นใหม่ด้วย ในการนั้นมีการสร้างวัดและสถูป อาทิเช่น “พระมหาสถูปแห่งสานักอุทุมพรคีรี ” ซึ่งในภาษาสิงหลเรียกว่า “ทิมพุลาคละ” ซึ่งท่าหน้าที่เป็นวัดที่ อยู่นอกเมือง หรือที่เรียกว่า “วัดอรัญวาสี” ที่ชัดเจนมากขึ้น หลังจากที่เริ่มต้นมีการก่อตัวของกลุ่ม พระสงฆ์ที่แสวงหาสัจธรรมด้ว ยการวิปัสสนาธุระ ที่เรียกว่ากลุ่ม “อารัณยกะ” มาตั้งแต่ราวพุ ทธ ศตวรรษที่ 12 แล้ ว ก็ตาม ทั้งนี้ การวางผั งระดั บเมื องในการก่ าหนดที่ตั้ งของวัด อรัญวาสี นั้ น จะมี ระยะห่างจากเมืองไม่ใกล้กว่า 500 คันธนู หรือประมาณ 864 เมตร19 หากแปลงเป็นหน่วยวัดในระบบ เมตร นอกจากการสร้างอารามส่าหรับคณะสงฆ์ฝ่ายอรัญวาสีแล้ว ในเมืองโปโลนาลุวะก็มีการสร้าง 18

Walpola Rahula. History of Buddhism in Ceylon: the Anuradhapura period 3rd century BC10th century. Colombo: M.D. Gunasena, 1956. 19 ธนธร กิตติกานต์. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2557. หน้า 50.


53

อารามส่าหรับพระสงฆ์ฝ่ายคามวาสีด้วยเช่นกันโดยมี “พระมหาสถูปกิริเวเหระแห่งสานักอาฬาหณปริ เวณ” ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าปรากรมพาหุที่ 1 ซึ่งครองราชย์อยู่ใน พ.ศ.1696-1729 /ค.ศ.11531186 ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวส่งอิทธิพลต่อพระพุทธศาสนาด้วยสัมพันธ์กับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ของรัฐต่างๆ ในดินแดนลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยา ทั้งสุโขทัย และอโยธยา ด้วยนั่นเอง แนวคิดเรื่องการวางผังเมือง และการจ่าแนกพระภิกษุสงฆ์ออกเป็น 2 ฝ่าย ตามวัตร ปฏิบัติ คือ ฝ่ายคามวาสี และฝ่ายอรัญวาสี นั้นจึงท่าให้มีการสร้างพระอาราม ทั้งมีท่าเลที่ตั้งอยู่ในเมือง และมี ท่ า เลที่ ตั้ ง อยู่ น อกเมื อ งแต่ ท ว่าก็ ไ ม่ ห่ า งจากเมื อ งไปมากเกิ น กว่า ที่ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ จะออกไป บิณฑบาตได้ ดังตัวอย่างของพระสถูปเจดีย์พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช เมืองแรกสร้างก็อยู่นอก เมืองพระเวียงซึ่งเป็นเมืองโบราณ แต่ต่อมาเมื่อเมืองมีการขยายตัวตามแนวสันทรายที่ทอดตัวยาวใน แนวเหนือ-ใต้ กลายเป็นเมืองนครดอนพระที่ต่อเนื่องมาจากทางตอนเหนือของเมืองพระเวียง ท่าให้ พระมหาสถู ป พระบรมธาตุ น ครศรี ธ รรมราชกลายเป็ น พระมหาสถู ป กลางเมื อ งไปโดยปริ ย าย 20 นอกจากนี้ การวางผังลักษณะดังกล่าวยิ่งปรากฏชัดเจนในการวางผังเมืองในวัฒนธรรมสุโขทัย เช่น เมืองสุโขทัย, เมืองศรีสัชนาลัย , เมืองก่าแพงเพชร และเมืองพิษณุโลก ที่มีการสร้างวัดฝ่ายคามวาสี และฝ่ายอรัญวาสีอย่างชัดเจน ในเอกสารไตรภู มิ ก ถา ได้ ก ล่ า วถึ ง ธรรมเนี ย มการบรรจุ พ ระบรมอั ฐิ ข องพระมหา จักรพรรดิราชไว้ว่า “...ครั้นว่าสงสักการเสร็จแล้วคนทั้งหลายจึงเก็บเอาธาตุพระญามหาจักรพรรดิราช นั้นไปบรรจุแลก่อพระเจดีย์แทบทางคบแห่งกลางเมืองนั้นแต่งให้คนทั้งหลายไปไหว้นบบูชาฯ ผู้ใดแล ได้ไหว้นบเคารพบูชาไส้ ผู้นั้นครั้นตายไปได้เกิดในเมืองฟ้า ดุจดังได้ไหว้พระปัจเจกโพธิเจ้า พระอรหันต์ เจ้า…”21 อันแสดงให้เห็นถึงแนวความคิดในการสถาปนาพระสถูปที่แม้จะประดิษฐานพระบรมอัฐิของ ผู้ปกครองก็ก่าหนดให้มีท่าเลที่ตั้งกลางเมือง ตรงบริเวณที่เป็นจุดตัดของเส้นทางสัญจรหลักของเมื อง ด้วย ทั้งนี้ พระมหาธรรมราชาลิไทผู้เรียบเรียงไตรภูมิกถาย่อมได้รับอิทธิพลจากคัมภีร์มหาปรินิพพาน สูตรในประเด็นดังสะท้อนให้เห็นชัดในประเด็นที่ว่าด้วยการก่อพระมหาสถูปไว้ตรงทาง 4 แพร่ง22 เพื่อให้คนได้สักการบูชานั่นเอง

20

21 22

ดูเพิ่มเติมใน เกรียงไกร เกิดศิริ และบุณยกร วชิระเธียรชัย. “พัฒนาการของผังบริเวณวัดพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราชจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และการสารวจภาคสนาม”. ใน วารสารหน้าจั่ว ฉบับ สถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม. ปีที่ 28 ประจ่าปีการศึกษา 2557. หน้า 81-118. ไตรภูมิพระร่วง หรือไตรภูมิกถา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2543. หน้า 144. “พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย เล่มที่ 2 มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร” ใน พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ . กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัย, 2470–2503. หน้า 133.


54

ทั้งนี้ การเกิดขึ้นของ “พระมหาสถูปประจาเมือง” หรือที่ในเอกสารสมัยอยุธยาเรียกว่า “หลักพระนคร” นั้นมีข้อสันนิษฐานที่น่าสนใจซึ่งรองศาสตราจารย์ ศรีศักร วัลลิโภดม23 ให้ข้อสังเกต ไว้ว่า 1. เป็นวัดกลางเมืองที่ดูใหญ่โตส่าคัญกว่าวัดอื่น และมีสถูปเจดีย์เป็นประธาน 2. มีประวัติการ บูรณปฏิสังขรณ์อย่างต่อเนื่องกว่าวัดอื่นๆ 3. มักมีการเขียนต่านานเกี่ยวกับความเป็นมาของพระบรม สารีริกธาตุและประวัติของเมืองควบคู่กัน มูลเหตุปัจจัยที่ 3 ข้อดังกล่าวมานั้นเองได้สร้างความหมาย แก่การเป็นพระอาราม และพระมหาสถูปประจ่าเมือง

3. ความสับสนของการขนานนามระหว่าง “พระมหาธาตุ” และ “พระบรมธาตุ” จากมูลเหตุแห่งความสลับสับสนใจความหมายของค่าว่า “เจดีย์” ที่ใช้กันในภาษาไทย ค่าดังกล่ าวมีร ากศัพท์มาจาก “เจติย ะ” ที่ห มายถึง “สิ่ งอันควรสั กการบูชา” หาได้มีความหมาย เฉพาะเจาะจงไปถึง สิ่ งก่อสร้ างประเภทอาคารเครื่ อ งก่ อด้ว ยหิ นหรื อ อิฐ ที่ป ระดิ ษฐานพระบรม สารีริกธาตุ ซึ่งพัฒนารูปทรงมาจากมูลดินจนมีรูปแบบตัวเรือนเป็นแบบลอมฟางบ้าง เป็นแบบองค์ ระฆังบ้าง รวมไปถึงการปักฉัตราวลี หรือร่มไว้ด้านบนของมูลดิน ซึ่งต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นปล้องไฉนที่ ท่าด้วยเครื่องก่อเช่นเดียวกับตัวองค์ระฆัง ซึ่งในความเป็นจริงแล้วควรเรียกสิ่งก่อสร้างดังที่กล่าวมานี้ ว่ า “สถู ป (Stupa)” ซึ่ ง มี ค วามหมายตรงกั บ รู ป ทรงที่ พั ฒ นาขึ้ น มาจากมู ล ดิ น และลั ก ษณะทาง สถาปัตยกรรมที่ปรากฏ ทั้ ง นี้ ค่ า ว่ า “สถู ป ” เป็ น ค่ า มาจากภาษาบาลี ว่ า “ถู ป ะ” ซึ่ ง เมื่ อ มี ก ารประดิ ษ ฐาน พระพุทธศาสนาจากอินเดียยังเกาะลังกาได้รับเอาธรรมเนียมการบูชาพระสถูปเข้ามาด้วย หากแต่ใน ลั ง กานั้ น เรี ย กสถู ป ว่ า “ดากาบา (Dagaba)” ซึ่ ง มาจากค่ า ว่ า “ธาตุ คั พ พะ” ซึ่ ง แปลว่ า ห้ อ งที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าในแนวคิดการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุใน ห้องบูชาที่สามารถเข้าไปสักการบูชาได้นั่นเอง แต่ ท ว่ า ในพื้ น ที่ เ อเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ภ าคพื้ น ทวี ป นั้ น ได้ ใ ช้ ค่ า ว่ า “เจดี ย์ ” ใน ความหมายของ “สถูป” อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในพม่า และไทย กล่าวคือในพม่าเรียกว่า “เซดี” และในภาษาไทยเรียกว่า “เจดีย์” ทว่าในภาษาถิ่นไทยภาคเหนือ และตะวันออกเฉี ยงเหนือเรียกว่า “ธาตุ” ซึ่งตรงกับความหมายของการท่าหน้าที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพุทธองค์ หรืออัฐิ นั่นเอง

23

ศรีศักร วัลลิโภดม. ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2546. หน้า 90.


55

นอกจากนี้ ในภาษาไทยลุ่ มแม่น้่าเจ้าพระยายังปรากฏมีค่าเรียกอีก 2 ค่า คือ ค่าว่า “พระมหาธาตุ” และ “พระบรมธาตุ/พระมหาเจดีย์” ที่มักใช้สลับสับสนกัน เนื่องจากในปัจจุบันรับรู้ ในความหมายว่าเป็น “สถาปัตยกรรมเครื่องก่อ หรือที่เรียกว่าสถูป ที่ทาหน้าที่ประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุ" ซึ่งหมายถึง "พระบรมอัฐิของพระพุทธเจ้า" ส่าหรับการศึกษานี้ ผู้วิจัยใช้ค่าว่า “วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธ ยา” แทนการใช้ชื่อ เรียกว่า "วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา" ซึ่งในปัจจุบันเป็นชื่อที่ใช้เรียกกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจาก เอกสารทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยาได้ให้ความหมายของค่าว่า “พระมหาธาตุ” หรือ “พระศรี รัตนมหาธาตุ” นั้นหมายถึง “พระสถูปที่เป็นทรงปรางค์” ซึ่งมีหลักฐานอ้างอิงแน่ชัดว่าคนโบราณได้ เรียกชื่อทั้งสองให้แตกต่างกันโดยใช้รูปทรงเป็นตัวจ่าแนก ดังปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สมัยอยุธยาที่กล่าวถึงข้อมูลดังข้อความว่า "พระมหาธาตุที่เปนหลักกรุงศรีอยุธยา 5 องค์ คือ [1] พระ มหาธาตุวัดพระราม 1, [2] พระมหาธาตุวัดมหาธาตุ 1, [3] พระมหาธาตุวัดราชบุรณ 1, [4] พระ มหาธาตุวัดสมรโกฎ 1, [5] พระมหาธาตุวัดพุทไธสวริย 1"24 ในขณะที่ในเอกสารเดียวกันนี้ก็ได้เรียก “พระสถูปที่เป็นทรงเจดีย์” ว่า “พระมหาเจดีย์” ดังข้อความว่า "พระมหาเจดีย์ฐานที่เปนหลักกรุง 5 องค์ คือ [1] พระมหาเจดีย์วัดสวนหลวงสพสวรรค์ 1, [2] พระมหาเจดีย์วัดขุนเมืองใจ 1, [3] พระมหาเจดีย์วัดเจ้าพระยาไทย 1, [4] พระมหาเจดีย์วัด ภูเขาทอง สูงเส้นห้าวา 1, [5] พระมหาเจดีย์วัดใหญ่ไชยมงคล สูงเส้นห้าวา 1"25 จากข้อความที่ย กมาข้างต้นจะเห็ นว่าค่าว่า "พระมหาธาตุ" นั้นจึงต้องมีรูปทรงทาง สถาปัตยกรรมเป็น "สถูปทรงปรางค์" และนอกจากนี้ น. ณ ปากน้่า ให้ข้อสังเกตว่า “เมืองเก่าแก่ก่อน อยุธยา เช่น สิงห์บุรี ราชบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี เมืองพิชัย ศรีสัชนาลัย พิษณุโลก แม้อยุธยา ล้วนทาปรางค์บรรจุพระบรมธาตุทั้งสิ้น และเรียกว่า วัดมหาธาตุบ้าง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุบ้าง วัด หน้าพระธาตุบ้าง วัดศีรษะเมือง บ้างตามความนิยมของแต่ละที่ แต่ละท้องถิ่น ”26 และหากพิจารณา ชื่อเก่าแก่ของวัดที่ใช้ชื่อว่า "วัดพระบรมธาตุ" จะเห็นว่ามีสถูปเจดีย์ประธานของวัดเป็น "เจดีย์ทรง ระฆัง" อาทิเช่น พระบรมธาตุทุ่งยั้ง อ.ทุ่งยั้ง จ.อุตรดิตถ์, พระบรมธาตุไชยา อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี , พระบรมธาตุนครชุม อ.เมืองฯ จ.ก่าแพงเพชร, พระบรมธาตุดอยสุเทพ อ.เมืองฯ จ.เชียงใหม่ เป็นต้น รวมทั้งชื่อเดิมของวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช เป็นต้น

24

วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. อยุธยา พรรณนาภูมิสถานและมรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. หน้า 105. 25 วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. อยุธยา พรรณนาภูมิ สถานและมรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. หน้า 106. 26 น. ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 49-50.


56

ภาพที่ 6: ภาพแสดงความแตกต่างกันระหว่างรูปทรงทางสถาปัตยกรรมกับค่านามที่กล่าวเรียกขาน กล่าวคือ ภาพ ซ้าย คือ “พระมหาธาตุ” ซึ่งหมายถึง “สถูปทรงปรางค์” ในขณะที่ภาพขวา คือ “พระมหาเจดีย์” หรือ “พระบรม ธาตุ” หรือ “พระสถูปทรงเจดีย์”

นอกจากเอกสารประวัติศาสตร์ค่าให้การชาวกรุงเก่า (เอกสารจากหอหลวง) ที่น่ามา ยกตัวอย่างนั้น ในเอกสารทางประวัติศาสตร์อื่นๆ ก็มีการเรียก “สถูปทรงปรางค์” ว่า “พระมหาธาตุ” หรือ “พระศรีรัตนมหาธาตุ” ตัวอย่างเช่น “..ทรงพระนามสมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า ท่านจึงขุด เอาพระศพเจ้าอ้ายพญา เจ้ายี่พญาไปถวายพระเพลิง ที่ถวายพระเพลิงนั้นให้สถานนาพระมหาธาตุ พระวิหารแล้วให้นามชื่อว่าวัดราชปุณ...”27 หรือ “....และที่ถวายพระเพลิงสมเด็จพระรามาธิบดีที่ พระองค์ส ร้ างกรุ งนั้ น ให้ ส ถาปนาพระมหาธาตุ และพระวิห ารเป็ นพระอารามหลวงให้ นามชื่ อ วั ด พระราม”28 หรือ “...ตั้งบ้านหลวงอยู่ริมวัดสุทาวาชและที่บ้านสมเด็จพระพันปีหลวงนั้น พระเจ้าอยู่หัว ให้สถาปนาสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ มีพระระเบียงรอบ และมุมพระระเบียงนั้นกระทาเป็นทรงเมรุราช อันรจนาและกอปรด้วยพระอุโบสถพระวิหารการเปรียญและสร้างกุฏิถวายพระสงฆ์เป็นอันมาก แล้ว เสร็จให้นามชื่อว่าวัดไชยวัทนาราม”29

27

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 218. 28 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 219. 29 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 378.


57

ในที่นี้ จึงขอสรุปว่า ในสมัยอยุธยานั้น ค่าเรียกชื่อว่า “พระมหาธาตุ” จะใช้เรียก “พระ สถูปทรงปรางค์ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ” และค่าว่า “พระศรีรัตนมหาธาตุ” หรือ “พระศรี รัตนธาตุ” จะใช้เรียก “พระสถูปทรงปรางค์ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่เป็นประธานของเมือง” ในขณะที่ “พระสถูป ทรงเจดีย์ ที่ป ระดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ” จะเรียกว่า “พระมหาเจดี ย์ ” เพราะฉะนั้นการกล่าวถึงค่าว่า “พระมหาธาตุ ” แทนการเรียก “พระปรางค์” ในเอกสารจ่าพวก พงศาวดารจึงท่าให้ผู้อ่านในชั้นหลังเข้าใจผิด คิดว่ากล่าวถึง “นาม” ของ “วัดพระมหาธาตุ ” อัน น่าไปสู่การตีความที่คลาดเคลื่อนไปด้วยนั่นเอง

4. ข้อมูลเบืองต้นเกี่ยวกับพระมหาธาตุ หรือพระสถูปทรงปรางค์ 4.1 ที่มา และความหมายอันย้อนแย้งของ “พระมหาธาตุ” “พระปรางค์” “พุทธปรางค์” ดังที่กล่าวมาในเนื้อหาข้างต้นแล้วว่า ค่าเรียกชื่อว่า “พระมหาธาตุ” จะใช้เรียก “พระ สถูปทรงปรางค์ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ” และค่าว่า “พระศรีรัตนมหาธาตุ” หรือ “พระศรี รัตนธาตุ” จะใช้เรียก “พระสถูปทรงปรางค์ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่เป็นประธานของเมือง” ในเนื้อหาส่วนนี้ขออธิบายความหมายของพระมหาธาตุ หรือพระปรางค์ดังที่มีผู้ให้ความหมายไว้ดังนี้ ค่ า ว่ า “ปรางค์ ” นั้ น สมเด็ จ กรมพระยานริ ศ รานุ วั ด ติ ว งศ์ ได้ ท รงวิ นิ จ ฉั ย และให้ ความหมายไว้ว่า “...คาว่าปรางค์ เหนจะมาแต่ปรางคณะ (ปร+องฺคณ) แปลว่า ชาลา ว่าทางเดินเข้า เช่น เทวสถานเมื่อเข้าโคปุระแล้วก็ถึงปรางคณะ แล้วจึงถึงเทวาลั ย เพราะเปนของติดต่อปะปนกันอยู่ เลยทาให้เข้าใจไปผิดๆ “คาว่าปรางค์” แม้บัดนี้ก็ยังเข้าใจเปนสองอย่าง ว่าที่อยู่ก็ได้ ว่ายอดรูปดอก ข้าวโพดก็ได้”30 ส่าหรับ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด่ารงราชานุภาพ ทรงวินิจฉัยและให้ อรรถาธิบายไว้ว่า “พระปรางค์นั้น แบบอย่างมาแต่ปราสาท คือ เรือนหลายชั้น ซึ่งเดิมสร้างด้วยเครื่อง ไม้เป็นที่อยู่ของคนมั่งมี นับตั้งแต่พระมหากษัตริย์เป็นต้นลงมาจนเศรษฐี จึงนับถือกันว่าปราสาทเป็น เรือนของบุคคลชั้นสูง ถ้าเป็นแต่บุคคลสามัญก็อยู่เรือนโรงชั้นเดียว แต่เดิมถือเป็นคติ ดังนี้ ครั้นมาถึ ง สมัยอันหนึ่งจะเป็นด้วยเหตุใดยกไว้ก่อนผู้สร้างปราสาทประสงค์จะสร้างเรือนเพื่อใช้การแต่หลังเดียว แต่ต้องการจะให้คงเป็นปราสาทให้สมศักดิ์จึงแก้แบบแผนปราสาททาแต่ชั้นล่างให้กว้างขวางใหญ่โต ชั้นบนต่อขึ้นไปลดส่ วนโค้งลง คงให้มีแต่รูปปรากฏว่าเป็นปราสาทเช่นนี้ แต่แรกทาด้วยเครื่ อ งไม้ ภายหลั ง มาเปลี่ ย นเป็ น สร้ า งด้ ว ยอิ ฐ และศิ ล าจึ ง เกิ ด เป็ น พระปรางค์ ชอบสร้ า งทั้ ง พวกถื อ พระพุทธศาสนาและพวกถือศาสนาพราหมณ์มักสร้างเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหรือเทวรูปอันเป็น 30

นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา และด่ารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม 2. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา 2515. หน้า 259.


58

ประธาน ด้ ว ยจะให้ เ ห็ น ว่ า อยู่ ป ราสาทดู เ หมื อ นแบบพระปรางค์ ที่ ส ร้ า งในอิ น เดี ย แต่ เ ดิ ม จ ะมี เครื่องหมายผิดกัน ถ้าปรางค์สร้างในพระพุทธศาสนายอดทาเป็นพระสถูป ถ้าปรางค์สร้างในศาสนา พราหมณ์ยอดทาเป็นตรีศูลหรือนภศูล”31 ทั้งนี้ รองศาสตราจารย์ ดร. พิริยะ ไกรฤกษ์ ได้ให้ที่มาของค่าว่า “ปรางค์” ว่า “มาจาก ภาษามอญ หมายถึง หอ”32 จะเห็ น ได้ ว่ า ในการศึ ก ษาในปั จ จุ บั น นั้ น “พระปรางค์ ” ถู ก ให้ ค วามหมายว่ า เป็ น สถาปัตยกรรมทางศาสนาที่ใช้กระบวนการถอดรหัส และตีความคติเรื่อง “เขาพระสุเมรุ ” แล้วจึง คลี่คลายออกมาสู่การวางผังและการออกแบบสถาปัตยกรรมกลายเป็นรูปทรงของ “พระปรางค์” ในการศึกษาครั้งนี้ มีข้อคิดเห็นว่าค่าอธิบายว่ารูปทรงทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์ นั้นเกี่ยวพันหรือมีความหมายว่าเป็น “เขาพระสุเมรุ” เพียงอย่างเดียวนั้น ไม่ถูกต้องทั้งหมด หากมอง ว่ารูปทรงทางสถาปัตยกรรมของพระมหาธาตุ หรือพระปรางค์นี้คลี่คลายรูปแบบมาจากปราสาทขอม เนื่องจากการรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่เป็นที่มานั้นมีชื่อเรียกว่ า “ทรงศิขร” ซึ่งมีความหมายถึง “ภูเขา” นั้นย่อมเกี่ยวพันกับแนวคิดที่ว่าด้วยเรื่อง “ภูเขาศักดิ์สิทธิ์” แต่ทว่าศาสนาของโลกตะวันออก อาทิ “ศาสนาพุทธ” และ “ศาสนาฮินดู” นั้นก็มีความข้องเกี่ยวกับภูเขาศักดิ์สิทธิ์ที่หลากหลาย ไม่ว่า จะเป็น “เขาพระสุเมรุ” “เขาไกรลาส” “เขาคันธมาสน์” เป็นต้น เพราะฉะนั้น สถาปัตยกรรมที่ถูก ออกแบบนั้นให้เป็นส่วนหนึ่ง หรือท่าหน้าที่รับรองศาสนาที่แตกต่างกัน รวมทั้งนิกายที่แตกต่างกัน ย่อมมีเหตุผลเค้ามูล ที่เป็ นรากเหง้าของคติความเชื่อที่น่ามาเป็นต้นธาร และแรงบันดาลใจที่ย่ อ ม แตกต่างกันออกไปด้วยนั่นเอง นอกจากนี้ การสร้างศาสนสถานที่ท่าหน้าที่ส่าหรับการประดิษฐานสิ่งอันควรเคารพบูชา ของศาสนาต่างๆ และนิกายต่างๆ นั้น แต่เดิมทีก็ออกแบบเป็น “ปราสาท” ซึ่งหมายถึง “เรือนซ้อน ชั้น” ที่สะท้อนให้เห็นถึงสถานภาพที่สูงส่งของผู้ที่อยู่อาศัยว่าหาใช่คนธรรมดาไม่ ทั้งนี้ ต้องเป็นกษัตริย์ หรือคหบดีผู้ร่ารวย แนวคิดในการสร้าง “ปราสาท” เพื่อแสดงออกถึงสถานภาพที่สูงส่ง และแตกต่าง ไปจากคนธรรมดาสามัญจึ งถูกน่าไปให้ ความหมายเป็น “สถานที่พักพิงของพระเจ้า ” ด้วยนั่นเอง เพราะฉะนั้น หากมีการก่อสร้างศาสนสถานในรูปแบบของปราสาทและมีเรือนยอดแบบสิงขรจึ งมิ จ่าเป็นต้องหมายถึงเพียงแต่เป็นเขาพระสุเมรุเท่านั้นนั่นเอง ตัวอย่างเช่น “ปราสาทนครวัด” ซึ่งมีชื่อ ในจารึกว่า “บรมวิษณุโลก” อันหมายถึงการเป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดูเนื่องในนิกายไวษณพ เพราะฉะนั้นการสร้างเรือนยอดทรงศิขรของปราสาทจึงมิได้หมายถึงการเป็นเขาพระสุเมรุ แต่ท่า หน้าที่เป็น “พระมหาปราสาท” ของพระวิษณุนั่นเอง หรือตัวอย่างของ “ปราสาทเขาพนมรุ้ง” และ 31

ด่ารงราชนุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ตานานพุทธเจดีย์ เล่ม 1. พระนคร: องค์การค้าคุรุสภา. 2503. หน้าที่ 95-96. 32 พิริยะ ไกรฤกษ์. กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพฯ. 2555. หน้า 44.


59

“ปราสาทเขาพระวิหาร” ซึ่งเป็นที่แน่ชัดว่าเป็นศาสนสถานฮินดูเนื่องในศิวะนิกาย ซึ่งนับถือพระศิวะ เป็นใหญ่ เพราะฉะนั้นปราสาทที่ก่อสร้างเรือนยอดเป็นทรงศิขรนั้นจึงหมายถึง “เขาไกรลาส” อันเป็น ที่ประทับของพระศิว ะนั่นเอง หรือตัวอย่างของ “อานันดากู่พญา” ซึ่งเป็นศาสนสถานที่ส่าคัญใน วัฒนธรรมพุกาม ซึ่งมีการก่อสร้างเป็นศาสนสถานเนื่องในพระพุทธศาสนาที่ให้ความหมายของตัว อาคารที่เชื่อมโยงกับ “ภูเขาคันทมาสน์” หรือ “เขาหอมหวล” อันเป็นสถานที่จ่าพรรษาของบรรดา ปัจเจกพุทธเจ้าตามคัมภีร์ทางศาสนา เพราะฉะนั้นเรือนยอดทรงศิขรแบบพุกามของอานันดากู่พญา จึงมีความหมายถึง “เขาคันทมาสน์ ” นั่นเอง รวมทั้งพระมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง คือ “พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท” ซึ่งมักมีค่าอธิบายว่ามีความหมายถึงเขาพระสุเมรุ แต่เมื่ อหากพิจารณา พระนามของพระที่นั่งร่วมกับคัมภีร์ทางศาสนาที่ใช้อ้างอิงในแง่ความหมายของเขาพระสุเมรุ ก็จะท่า ให้ทราบว่าในความเป็นจริงแล้ว ยอดพระมหาปราสาทของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทนั้นมิได้หมายถึง เขาพระสุเมรุ หากแต่หมายถึงพระมหาปราสาทบนสวรรค์ชั้นดุสิต ซึ่งเป็นสวรรค์ชั้นที่เป็นที่ประทับ ของพระโพธิสัตว์เพื่อรอคอยเวลาจุติลงมาเป็นพระบรมโพธิ์สัตว์ด่ารงพระชนม์ชีพในโลกมนุษย์และได้ ค้นพบสัจจะธรรม จากข้อมูลในประเด็นที่ว่าด้วยคติและชุดความคิดที่ส่งผลมาสู่การตีความ และประยุกต์ ไปสู่การออกแบบสร้างสรรค์ศิลปสถาปัตยกรรม ทั้งที่เป็นอาคารที่ท่าหน้าที่เป็นศาสนสถานเนื่องใน สถาบั น ศาสนา หรื อเป็ น อาคารที่ท่าหน้าที่เป็นที่ประทับและว่าราชการเนื่องในสถาบันพระมหา กษัตริย์ที่ยกมากล่าวข้างต้น ต่างก็มีความหมายที่แตกต่างกันออกไป เพราะฉะนั้น ในการตีความ รูปทรงทางสถาปัตยกรรมแบบ “ทรงศิขร” หรือเป็น “อาคารที่มีเครื่องยอด” หรือที่เรียกว่า “กุฎา คาร” นั้นต้องพิจารณาให้เห็นคติที่เป็นเค้ามูลในการออกแบบสร้างสรรค์ และหน้าที่ของอาคารที่ สัมพันธ์กับบริบทแวดล้อมต่างๆ จึงจะทราบถึงที่มา และความหมาย หาใช่เป็นแต่เพียงความหมายถึง “เขาพระสุเมรุ” เท่านั้น อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในประเด็นเรื่องพัฒนาการรูปแบบสถาปัตยกรรมของพระ ปรางค์นั้ น จะเห็ น ได้ว่า มีข้อเสนอที่พิจารณาพระปรางค์ใ นฐานะของ “พระพุทธเจดีย์ ” ในเชิ ง ความหมายในการก่อสร้างเพื่อสนองต่อประโยชน์ใช้ส อยทางพระพุทธศาสนา 33 ในลักษณะที่เป็น “สถาปัตยกรรมที่ทาหน้าที่เป็นสิ่งที่ควรเคารพบูชาเนื่องในพระพุทธศาสนา” ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว สามารถเป็นได้ทั้ง พระเจดีย์ พระปรางค์ พระมณฑป ซึ่งแต่ละรูปแบบนั้นมีลักษณะของแนวคิดในการ สร้างสรรค์และพัฒนาการทางเชิงช่างซึ่งได้รับการสืบทอดต่อกันมาหลายยุคสมัยที่บรรลุถึงคุณลักษณะ

33

สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554.


60

ในแง่ ข องสุ น ทรี ย ภาพ และความหมายในทางพุ ท ธปรั ช ญา 34 และน่ า ไปสู่ ก ารเรี ย กรู ป แบบทาง สถาปัตยกรรมของพระมหาธาตุหรือพระปรางค์ว่า “พุทธปรางค์” ทั้งนี้ ความหมายของ “พระมหาธาตุประจาเมือง” หรือ “พระศรีรัตนมหาธาตุ ” นั้น ศาสตราจารย์ ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ ให้ข้อเสนอไว้ว่า “ประการแรก” การสร้างปราสาทที่มีลักษณะ ทางสถาปัตยกรรมเป็นปราสาทซ้อนบนฐานซ้อนสูง ซึ่งแต่เดิมมาเป็นฐานานุศักดิ์ที่สอดรับกับพระราช อ่านาจหนึ่งเดียวของกษัตริย์ขอม เจ้าเมืองประเทศราชไม่มีความชอบธรรมที่จะสร้างศาสนสถาน ประเภทนี้ ขึ้ น มาได้ เพราะฉะนั้ น ในการสถาปนาพระมหาธาตุ ที่ มี รู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรมที่ เทียบเคียงได้กับศาสสถานของขอมประเภทขึ้นในบริเวณที่เคยรับวัฒนธรรมขอมมาอย่างเข้มข้น จึง อาจหมายถึงการสร้างสัญลักษณ์ใหม่แห่งอ่านาจของกษัตริย์ท้องถิ่นเพื่อประกาศสิทธิธรรมทางการ ปกครองเหนือดินแดนรัฐของตน “ประการที่สอง” คือ การสถาปนาพระมหาธาตุขึ้นเป็นพุทธสถาน ประจ่าเมืองน่าจะผูกพันอยู่กับคติการแสดงความหมายของเมือง ในฐานะรูปจ่าลองของจักรวาลซึ่งมี เขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลาง ซึ่งปรากฏมีการสถาปนาพระมหาธาตุทรงปรางค์ขึ้นมากมายในดินแดนลุ่ม น้่าเจ้าพระยาในเวลาไล่เลี่ยกัน จึงแสดงถึงความพยายามแข่งขันเพื่อสร้างความเป็ นศูนย์กลางทางการ ปกครองของนครรั ฐ ของตน ด้ ว ยการแสดงสั ญ ลั ก ษณ์ ข องปริ ม ณฑลแห่ ง อ่ า นาจในรู ป แบบของ ปริมณฑลของจักรวาลที่ถ่ายทอดรูปแบบมาเป็นสัญญะทางสถาปัตยกรรม35 ทั้งนี้ ในช่วงเวลาดังกล่าว ยังมีความนิยมในคติ “ไตรภูมิ” ได้สะท้อนให้เห็นถึงการเรียบเรียงเอกสารส่าคัญทางศาสนา คื อ “ไตร ภูมิพระร่วง” โดยพระยาลิไทกษัตริย์สุโขทัยในราวครึ่งหลังพุทธศตวรรษ 19 ซึ่งเป็นที่น่าสนใจว่ามีการ กล่าวถึงพระอโนมทัสสีพระอาจารย์ของพระยาลิไทในเอกสารดังกล่าว ทั้งนี้ พระอโนมทัสสีนั้นได้ลงมา ศึกษาพระพุทธศาสนายังอโยธยา ทั้งนี้ อโยธยาเองก็ได้รับพระพุทธศาสนานิ กายลังกาวงศ์มาจากการ เผยแผ่ของพระปิยทัสสีแห่งส่านักอุทุมพรมหาสวามีเมืองพันด้วย อันแสดงให้เห็นว่า พระศรีรัตนมหา ธาตุในลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยาที่สร้างขึ้นตามคติดังกล่าวนั้นมีอายุไม่เก่ากว่าปลายพุทธศตวรรษที่ 1836 นอกจากนี้ นนทชัย ทองพุ่มพฤกษ์อธิบายว่าพระปรางค์ที่ถูกสร้างขึ้นในบริเวณภาคกลางของ ไทย อาจเป็นเครื่องหมายแสดงความสัมพันธ์กับมณฑลอ่านาจเนื่องในอารยธรรมเขมร ทั้งนี้ ระดับ ความสัมพันธ์ระหว่างราชธานีศูนย์กลางกับพื้นที่ภายใต้อาณาบริเวณมณฑลของอ่านาจนั้นอาจจะมอง ภาพได้จากระเบียบทางสถาปั ตยกรรมของพระปรางค์ กล่าวคือ หากว่าในช่วงเวลาที่มีการก่อสร้าง 34

สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 67. 35 เสมอชัย พูลสุวรรณ. สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-24. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2539. หน้า 10-11. 36 เสมอชัย พูลสุวรรณ. สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-24. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2539. หน้า 13.


61

พระปรางค์ ในพื้น ที่ภ ายในปริ มณฑลแห่ ง อ่ านาจนั้ นมี ความสั ม พั นธ์ กับ ศูน ย์ก ลางอย่ างแนบแน่ น ระเบียบทางสถาปัตยกรรมก็จะใกล้ชิดกับระเบียบแบบแผนอันเคร่งครัดของปราสาทหินที่สร้างใน ศูนย์กลาง หากแต่ช่วงเวลาใดความสัมพันธ์ทางอ่านาจมีความยืดหยุ่น ผ่อนปรน ระเบียบอันแข็งเกร็ง ของรูปแบบทางสถาปัตยกรรมนั้นก็จะมีการพลิกผันแปรเปลี่ยนไปด้วย นอกจากนี้ พระปรางค์ยังท่า หน้าที่เป็นสัญลักษณ์ของมณฑลอ่านาจที่เป็นที่รับรู้กันอย่างกว้างขวาง ในแง่นี้ชุมชนท้องถิ่นอาจสร้าง ขึ้นเองเพื่ออ้างความสัมพันธ์กับมณฑลอ่านาจเนื่องในอารยธรรมเขมร ซึ่งอาจมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับ การอ้างสิทธิธรรมทางการเมือง และในทางตรงกันข้ามรัฐที่พยายามสถาปนาปริมณฑลอ่านาจใหม่ก็ อาจใช้ปรางค์เป็นสัญลักษณ์แห่งมณฑลอ่านาจใหม่นั้นด้วย37 ทั้งนี้ รูปทรงทางสถาปัตยกรรมของพระศรีรัตนมหาธาตุไ ด้โยงยึดกับแนวคิด “จักรวาล วิทยาในพระพุทธศาสนา” ผ่านการตีความ “ไตรภูม”ิ มาสู่กระบวนการออกแบบ ทั้งนี้ ในสมัยอยุธยา นั้นทัศนะต่อจักรวาลทั้งในศาสนาพุทธและฮินดูถูกน่ามาใช้ในเชิงสัญลักษณ์ในหลายรูปแบบ เช่น การ แสดงพระราชสภาวะของพระมหากษัตริย์ในฐานะของจักรพรรดิราช อั นเป็นเหมือนราชาแห่งราชา ทั้งหลายในจักรวาล ซึ่งการจะเป็นพระจักรพรรดิราชได้ต้องเป็นผู้ที่ท่าบุญสร้างบารมีอย่างยิ่งใหญ่มา ในอดีตชาติ38 ซึ่งให้ความหมายของผู้ปกครองสูงสุดของรัฐมีสถานะทางสัญลักษณ์ว่าเป็นใหญ่ที่สุดใน โลกทั้งสาม รวมทั้งคติในการมองสภาวะความสัมพันธ์ระหว่ างเมืองศูนย์กลางพระราชอ่านาจกับเมือง ภายใต้พระราชอ่านาจในลักษณะของ “มณฑล”39 และแสดงออกผ่านลักษณะทางกายภาพในการ ออกแบบสถาปัตยกรรม การวางผังบริเวณ ตลอดจนคติสัญลักษณ์ และรูปแบบการประดับตกแต่ง สถาปัตยกรรมที่ช่วงขับเน้นความหมายของภาพรวมผลงานสร้างสรรค์ทางสถาปัตยกรรมนั้นให้มีความ สมบูรณ์ นอกจากนี้ ผู้ที่เป็นใหญ่เหนือโลกทั้งสามในทางพระพุทธศาสนานั้นมีนัยแสดงถึงพระพุทธองค์ เพราะฉะนั้นจึงมีธรรมเนียมในการเปรียบเทียบบารมีของกษัตริย์เฉกเช่นเดียวกับพระพุทธองค์ในยาม ที่ยังทรงสถานะเป็น “พระบรมโพธิสัตว์” ก่อนการละทิ้งราชสมบัติเพื่อแสวงหาทางหลุดพ้นและได้ ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ ดังแสดงให้เห็นถึงผ่านแนวคิด “หน่อพุทธางกูร” ของกษัตริย์อยุธยานั่นเอง

37

นนทชัย ทองพุ่มพฤกษ์. บทบาทหน้าที่และการออกแบบปรางค์ในสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: บั ณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. หน้า 358-359. 38 ชาตรี ประกิตนนทการ. “สังคมและการเมืองในสถาปัตยกรรมสยามเก่าสู่ไทยใหม่ พ.ศ.2399-2490” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. ฉบับที่ 4 กันยายน 2549. หน้า 37. 39 มานพ ถาวรวัฒน์สกุล. ขุนนางอยุธยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2536. หน้า 47.


62

นอกจากนี้ ในคัมภีร์อัคคัญญสูตรซึ่งเป็นพุทธาธิบายที่ว่าด้วยการก่าเนิดโลก และจักรวาล ได้น่าเสนอว่าผู้ที่เสวยราชสมบัติเป็นกษัตริย์ต้องเป็นผู้สั่ งสมบุญญาบารมีมาไว้มากตั้งแต่ชาติปางก่อน อันแสดงออกผ่านความสมบูรณ์และความมั่งคั่งของชีวิตในชาติภพนี้ ดังแสดงออกผ่านปราสาทราชวัง เครื่องราชกกุธภัณฑ์ เครื่องราชูปโภคอันท่าขึ้นจากสิ่งของมีค่า และหาได้ยากยิ่ง ทั้งนี้ อาจารย์รสิตา สินเอกเอี่ยม ยังเสนอว่าในการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมอยุธยา ยังมีความสัมพันธ์กระบวนการคิดแลระบบความเชื่อ 6 ประการ คือ คติกษัตริย์, พุทธศาสนา, จักรวาล วิทยา, ศาสนาฮินดู, ดาราศาสตร์-โหราศาสตร์ และไสยศาสตร์ ผสานเป็นวัฒนธรรมการสร้างสรรค์ งานสถาปัตยกรรม สื่อความหมายจากนามธรรมมาสู่รูปธรรม40

ภาพที่ 7: ภาพจิตรกรรมบนสมุด ข่ อ ยแสดงรู ป ภาพของเขาพระ สุ เ มรุ ตลอดภู มิ ต่ า งๆ ตามคติ เรื่อง “ไตรภูมิ” ที่หยังรากลงลึก อยู่กับสังคมพระพุทธศาสนาใน ลุ่ ม แม่ น้่ า เจ้ า พระยา จนส่ ง อิ ท ธิ พ ลไปสู่ ก ารตี ค วาม การ ประยุ ก ต์ และการน่ า เสนอคติ เรื่องไตรภูมิในรูปแบบต่างๆ ทั้ง ผลงานศิ ล ปกรรม และผลงาน สถาปัตยกรรม 40

รสิตา สินเอกเอี่ยม. “การศึกษาวัฒนธรรมการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมไทยจากพระราชพงศาวดารกรุงศรี อยุธยา” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2547. หน้า 78.


63

ภาพที่ 8: การถ่ายทอดคติเรื่องเขาพระสุเมรุออกมาสู่ผลงานประณีตศิลป์ไทยงานลงรักปิดทองบานประตูของตู้พระ ธรรมสมัยอยุธยา สะท้อนให้เห็นถึงความลึกซึ้งในตัวบทของคติที่อยู่ในส่านึกของนายช่วงศิลปินที่เป็นคนออก ลวดลายและวางองค์ประกอบที่มีความถูกต้องแม่นย่าตามคติ และมีความงดงามอย่างยิ่ง


64

ภาพที่ 9: การถ่ายทอดคติเรื่องเขาพระสุเมรุออกมาสูผ่ ลงานการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมพระปรางค์ หรือที่เรียก กันในสมัยอยุธยาว่า “พระมหาธาตุ” ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ตลอดจนการออกแบบวาง ผังบริเวณ ซึ่งแสดงออกได้อย่างเด่นชัด ในการออกแบบสร้างสรรค์วดั ไชยวัฒนารามในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาท ทอง


65

4.2 ประเภทของพระปรางค์ จากการศึกษารูปแบบของพระปรางค์ในประเทศไทยเสนอว่า สามารถแบ่งวิธีการจ่าแนก ประเภทของพระปรางค์ได้เป็น 2 แบบ คือ 1. “การจาแนกตามตาแหน่งภายในผังบริเวณ” 2. “การ จาแนกตามลักษณะรูปแบบ” โดยมีรายละเอียดดังนี้ 4.2.1 การจาแนกตามตาแหน่งภายในผังบริเวณ การจ่าแนกพระปรางค์ โดยการวิเคราะห์จากต่าแหน่งที่ตั้งของพระปรางค์ภายในผั ง บริเวณพบว่า สามารถจ่าแนกรูปแบบของการจัดวางต่าแหน่งของพระปรางค์ได้เป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1) ปรางค์ประธาน มีลักษณะเป็นพระปรางค์ขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่ตั้งอยู่บริเวณ จุ ดตัดระหว่างแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก และแนวแกนทิศเหนือ -ใต้ เป็นศูนย์กลางของผัง บริเวณ และท่าหน้าที่เป็นหลักประธานของวัด และมักสร้างระเบียงคตล้อมรอบปรางค์ประธาน เพื่อ สร้างพื้นที่ปิดล้อมภายในเพื่อเป็นการรั กษาความปลอดภัย และเพิ่มความส่าคัญให้แก่องค์ปรางค์ ประธาน โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ วัดราชบูรณะ อยุธยา, วัดพระศรีรัตนมหา ธาตุวรมหาวิหาร พิษณุโลก เป็นต้น 2) ปรางค์ทิศ เป็นลักษณะของการวางต่าแหน่งของพระปรางค์ในแนวแกนทั้ง 4 ทิศ คือ ทิศตะวันออก ทิศตะวั นตก ทิศเหนือ ทิศใต้ โดยอ้างอิงจากต่าแหน่งศูนย์กลางของผังบริเวณ ซึ่งเป็นต่าแหน่งที่ตั้งของปรางค์ประธานที่มีขนาดใหญ่กว่า โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ราชบุรี เป็นต้น 3) ปรางค์มุม เป็นลักษณะของการวางต่าแหน่งพระปรางค์ในบริเวณมุมทแยงทั้ง 4 ของปรางค์ประธาน ซึ่งต่าแหน่งดังกล่าวเป็นพื้นที่ว่างที่เกิดขึ้นจากผังพื้นที่มีการย่อมุมของปรางค์ ประธาน เมื่อวางลงบนฐานไพทีซึ่งผังพื้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม ท่าให้เกิดพื้นที่ว่างบริเวณมุมทั้ง 4 จึงมีการ สร้างปรางค์มุมขึ้น เพื่อเสริมให้แผนผังมีความสมบูรณ์และสวยงามยิ่งขึ้น เช่น วัดมหาธาตุ อยุธยา, วัด ไชยวัฒนาราม เป็นต้น หรือการสร้างปรางค์บริเวณมุมภายในทั้ง 4 ของระเบียงคต เช่น พระปรางค์ที่ มุมภายในระเบียงคตที่ล้อมรอบพระอุโบสถของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพฯ เป็นต้น ในขณะที่การสร้ างปรางค์มุมอีกลักษณะหนึ่ง คือ การวางในต่าแหน่งมุมตามแนวขอบเขตของผั ง บริเวณ โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ วัดเทพธิดาราม กรุงเทพฯ เป็นต้น 4) ปรางค์ราย มีลักษณะเป็นพระปรางค์ขนาดเล็ก สร้างเรียงเป็นแนวต่อเนื่องกัน แบบสม่​่าเสมอ โดยแต่ละองค์จะมีขนาดเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน มีทั้งแบบที่เรียงเป็น 2 แถวขนานกัน และแบบที่เรียงเป็น 4 ด้านล้อมรอบศูนย์กลาง โดยแต่ละแถวจะมีระยะอ้างอิงจากต่าแหน่งศูนย์กลาง ของผังบริเวณในระยะห่างที่เท่ากันในลักษณะสมมาตร เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งที่ท่าให้การวางผัง บริเวณมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ พระปรางค์รายของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา เป็นต้น


66

5) ปรางค์แถว มีลักษณะเป็นพระปรางค์ที่มีขนาดเท่ากัน จ่านวนมากกว่า 3 องค์ ขึ้นไป โดยมีการวางผังเรียงเป็นแถวยาวต่อเนื่องกัน โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ อัษฎามหาเจดีย์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ วัดมหาพฤฒาราม กรุงเทพฯ เป็นต้น 4.2.2 การจาแนกตามรูปแบบ การจ่าแนกพระปรางค์ โดยการวิเคราะห์จากรูปแบบ และการจัดวางองค์ประกอบของ พระปรางค์ สามารถจ่าแนกรูปแบบของพระปรางค์ได้ทั้งหมด 5 ลักษณะ ดังนี้ 1) ปรางค์คู่ หรือ ปรางค์สององค์ เป็นลักษณะของการวางต่าแหน่งพระปรางค์คู่ กัน 2 องค์ ซึ่งมีรูปแบบที่เหมือนกัน และมีขนาดสัดส่วนที่เท่ากัน โดยส่วนใหญ่จะวางอยู่ทางด้านหน้า ขนานกับแนวแกนของผังบริเวณ เพื่อเพิ่มความส่าคัญให้กับอาคารประธานที่อยู่ในแนวแกนกลางของ ผังบริเวณ โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ วัดสระบั ว เพชรบุรี, วัดพญาแมน อยุธยา เป็นต้น ลักษณะของพระปรางค์คู่หน้าวัดนั้นเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย เนื่องจาก ความหมายของพระปรางค์ที่ท่าหน้าที่เป็นดั่ง “พระมหาธาตุ ” ที่เป็นศูนย์กลางของศาสนสถานได้ เปลี่ยนแปลงความหมายเป็นเพียง “รูปทรง” ของ “พระปรางค์” จึงถูกน่ามาก่อสร้างเป็นอาคาร ประกอบผังเพื่อส่งเสริมให้อาคารหลังอื่นๆ ในแกนหลักดูโดดเด่น แต่ทว่าความหมายในตัวเองกลับ ด้อยลง 2) ปรางค์สามองค์ เป็นลักษณะการวางผังของปรางค์ที่เรียงตัวในแนวเดียวกัน และหันด้านหน้าไปในทิศทางเดียวกันทั้ง 3 องค์ โดยจะให้ความส่าคัญกับปรางค์องค์กลางซึ่งท่าหน้าที่ เป็นดั่งประธานมากที่สุด ด้วยแสดงออกถึงคุณลักษณะของขนาดที่ใหญ่โตกว่าปรางค์ด้านข้างอีก 2 องค์ โดยคติการสร้างปรางค์เรียงกัน 3 องค์ เป็นคติความเชื่อที่ได้รับอิทธิพลมาจากพุทธศาสนานิกาย มหายาน โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ พระปรางค์สามยอด และพระศรีรัตนมหา ธาตุ ลพบุรี จังหวัดลพบุรี , พระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี , พระมหาธาตุวัดศรี สวาย และพระมหาธาตุวัดพระพายหลวง จังหวัดสุโขทัย เป็นต้น ทั้งนี้ อิทธิพลการออกแบบวางผัง และการก่อสร้างพระปรางค์ส ามองค์นี้เป็ น อิ ทธิพลที่รับสื บเนื่องมาจากการสร้างปราสาทเนื่ องใน พระพุทธศาสนามหายาน ที่นิยมแพร่หลายในรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ในสมัยเมืองพระนคร และ ทิ้งร่องรอยสืบเนื่องต่อมาในดินแดนลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยา 3) ปรางค์ห้า องค์ เป็ น ลั กษณะของการจัดวางต่าแหน่งของพระปรางค์ 5 องค์ ตั้งอยู่ในระดับเดียวกัน โดยมีทั้งการวางผังแบบศูนย์กลาง โดยจะให้ความส่าคัญกับปรางค์ประธาน ซึ่ง ตั้งอยู่บริเวณกึ่งกลางของแผนผัง และมีปรางค์อีก 4 องค์ วางอยู่ที่ทิศทั้ง 4 หรือมุมทั้ง 4 ซึ่งที่มีขนาด เล็กกว่าปรางค์ประธาน โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ วัดไชยวั ฒนาราม เป็นต้น ในขณะที่อีกลักษณะหนึ่ง คือ การวางผังที่ให้ปรางค์เรียงซ้อนกัน 2 แถว ประกอบด้วย ปรางค์แถว


67

หน้า 3 องค์ และปรางค์แถวหลัง 2 องค์ โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ มีความสัมพันธ์กับ การวางผังในวัฒนธรรมเขมร ได้แก่ ปราสาทเมืองต่​่า บุรีรัมย์ หรือปราสาทในวัฒนธรรมเขมร เช่น ปราสาทพระโคในเสียมเรียบ เป็นต้น 4) ปรางค์ห้ายอด เป็นลักษณะของพระปรางค์ที่มีการออกแบบให้ปรางค์ทั้ง 5 องค์ ตั้งอยู่บนฐานชุดเดียวกัน โดยบริเวณกึ่งกลางจะเป็นต่าแหน่งของปรางค์องค์ใหญ่ และมีพระปรางค์ ขนาดเล็กตั้งอยู่เหนือหลังคามุขที่ยื่นออกมาทั้ ง 4 ทิศ โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ วัดมหาธาตุวรวิหาร เพชรบุรี เป็นต้น 5) ปรางค์เก้ายอด เป็นลักษณะของพระปรางค์ที่มีการผสมผสานระหว่าง การวาง ผังแบบห้าองค์ โดยมีปรางค์ประธานอยู่บริเวณกึ่งกลางของผัง และมีการสร้างพระปรางค์อยู่ที่มุมทั้ง 4 ของผัง และผสมกับการท่าปรางค์ห้ายอดในส่วนของปรางค์ประธาน โดยมีการยืดมุขออกมาทั้ง 4 ทิศ แล้วใส่พระปรางค์น้อยไว้บนสันหลังคามุข จากลักษณะของพระปรางค์ดังกล่าว จึงท่าให้มีสถานภาพ เป็นพระปรางค์เก้ายอด โดยการวางผังของพระปรางค์ลักษณะนี้ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และวัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ 4.2.3 รูปทรงของพระปรางค์ ลักษณะรูปทรงของพระปรางค์ในประเทศไทย สามารถจ่าแนกได้เป็น 4 รูปทรง ได้แก่ 1) พระปรางค์ทรงศิขร ทั้งนี้ค่าว่า “ศิขร” ดังกล่าวนั้นมีความหมายว่า “ภูเขา” ซึ่งลักษณะของปรางค์แบบนี้ มีร ะเบียบ สัดส่วน และรูปทรงที่ได้รับอิทธิพลมาจากปราสาทหิ น ใน วัฒนธรรมขอมซึ่งเป็นปราสาทหินที่ใช้วัสดุที่เป็นหินและศิลาแลงเป็นวัสดุก่อสร้างหลัก จึงเป็นเหตุให้ การก่อรูปขึ้นทรงของปรางค์ทรงศิขรมีลักษณะที่เตี้ยล่​่า และให้ความรู้สึกหนักแน่น และมั่นคง เป็น รู ป ทรงที่สื่ อถึงคติความเชื่อเรื่ องศูนย์กลางจักรวาล อันสะท้อนผ่ านการซ้อนชั้น และการประดับ ตกแต่งในส่วนยอดของปรางค์ ซึ่งเปรียบได้กับสวรรค์ชั้นต่างๆ ตามคติจักรวาล โดยสถาปัตยกรรมที่มี ลั กษณะแบบปรางค์ทรงศิขร ได้แก่ ปราสาทหิ นพิมาย จังหวัดนครราชสี มา ปราสาทหิ นพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นต้น 2) พระปรางค์ทรงงาเนียม เป็นลักษณะของพระปรางค์ที่มีรูปทรง และสัดส่วน ของพระปรางค์มีความสูงชะลูดขึ้นกว่าพระปรางค์ทรงศิขร โดยลักษณะที่เกิดขึ้นดังกล่าวมีเหตุมาจาก หลายประการ ประการหนึ่งคือ การปรับเปลี่ยนคติความเชื่อของการสร้างปรางค์ในชั้นหลัง ที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้าเป็นส่าคัญ จึงไม่มีความจ่าเป็นต้องสร้างโถงบูชาด้านหน้าเช่น ปรางค์ทรงศิขร ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่รับแบบแผนมาจากปราสาทขอม ดังนั้นพื้นที่ใช้สอยภายในของ พระปรางค์ทรงงาเนียมจึงมีขนาดเล็ก เหลือเพียงการประดิษฐานพระพุทธรูป หรือสถูปจ่าลองพระ บรมสารีริกธาตุเท่านั้น และเป็นพื้นที่ที่มีความเข้มข้นของการใช้สอยน้อย เมื่อเทียบกับโถงบูชาของ


68

ปราสาทหิน ด้วยเหตุนี้เอง ฐานของพระปรางค์ทรงงาเนียมจึงถูกยกให้สูงมากขึ้นกว่าพระปรางค์ทรง ศิขร ประกอบกับ การก่าหนดเส้น รอบรู ปบริเวณส่ว นยอดของปรางค์ให้ มีความต่อเนื่องกัน ตั้งแต่ ส่วนล่างจนถึงยอดบนสุดซึ่งโค้งรวบเป็นปลายแหลม จึงส่งผลให้รูปทรงของพระปรางค์ทรงงาเนียมมี ความผอมเพรียว มีลักษณะที่สูงชะลูดขึ้น โดยสถาปัตยกรรมแบบพระปรางค์ทรงงาเนียม ถือได้ว่าเป็น พั ฒ นาการทางรู ป ทรงของพระปรางค์ ที่ มี ค วามแตกต่ างจากแบบแผนของปราสาทขอม ซึ่ ง เป็ น สุนทรียะทางการออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ และได้รับความนิยมอย่างมากในช่วงสมัยของอยุธ ยา ได้แก่ วัดราชบูรณะ และวัดพระราม อยุธยา นอกจากนี้ รูปทรงดังกล่าวยังส่งอิทธิผลไปยังเมืองต่างๆ ที่อ่านาจทางการปกครองของอยุธยาในสมัยนั้นแผ่ขยายไปถึง เช่น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเฉลียง สุโขทัย และวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก เป็นต้น

พระปรางค์ทรงศิขร

พระปรางค์ทรงงาเนียม

ภาพที่ 10: พระปรางค์รูปแบบต่างๆ ภาพซ้าย คือ พระปรางค์ทรงศิขร, ภาพขวา คือ พระปรางค์ทรงงาเนียม ที่มา: สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและ การเงิน. 2554. หน้า 56-59.

3) พระปรางค์ ท รงฝั ก ข้ า วโพด เป็ น รู ป ทรงของพระปรางค์ ที่ ลั ก ษณะของ องค์ประกอบโดยรวม ซึ่งมีขนาดและสัดส่วนที่ยืดสูง และยาวขึ้นในแนวดิ่ง ท่าให้รูปทรงมีลักษณะผอม เพรี ย วกว่ า พระปรางค์ ท รงงาเนี ย ม รวมไปถึ ง การประดั บตกแต่ งที่ มี ก ารลดทอนรายละเอียดลง โดยเฉพาะส่วนของยอดปรางค์ที่มีการท่าปูนปั้นให้นูนขึ้นเพียงเล็กน้อย พอให้เห็นลวดลายเท่านั้น ไม่ได้ปั้นลวดลายแบบลอยตัวเช่นปรางค์ทรงงาเนียม โดยพระปรางค์ที่มีรูปทรงแบบฝั กข้าวโพด เริ่ม ปรากฏให้เห็นในช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่งในช่วงเวลา ดังกล่าว ความนิยมในการสร้างพระปรางค์เป็นหลักประธานของวัดเริ่มมีบทบาทน้อยลง ท่าให้ปรางค์


69

ในชั้นหลัง ส่วนใหญ่สร้างเป็นพระปรางค์ขนาดเล็ก และเป็นส่วนหนึ่งในองค์ ประกอบของผังบริเวณ เช่น พระอัษฎามหาเจดีย์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ, พระปรางค์มุม วัดเทพธิดาราม กรุงเทพฯ เป็นต้น 4) พระปรางค์ทรงจอมแห เป็นลักษณะของปรางค์ที่มีการควบคุมเส้นกรอบนอก ให้มีรูปทรงคล้ายกับการทิ้งน้่าหนักของแหระหว่างที่ถูกยกขึ้น ซึ่งเส้นกรอบนอกที่ได้จะมีเส้นโค้งที่ ค่อยๆ ผายออกจากส่ ว นยอดลงสู่ ส่ ว นฐานโดยลั กษณะของเส้ นโค้งที่เรียกว่า “ทรงจอมแห” ถูก น่ามาใช้อย่างแพร่หลายในการขึ้นรูปของเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมตั้งแต่สมัยอยุธยาปลาย ต่อเนื่องมาจนถึง สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่การใช้เส้นโค้งทรงจอมแหในการสร้างพระปรางค์นั้น ตัวอย่างเช่น พระ ปรางค์ประธาน วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นพระปรางค์ที่ได้รับการยอมรั บกันว่าเป็นพระ ปรางค์ที่มีเส้นรอบรูปเป็นจอมแหที่งดงามที่สุด ซึ่งรูปทรงดังกล่าวนั้นเป็นผลมาจากการสร้างพระ ปรางค์ที่มีขนาดสูงใหญ่ริมแม่น้่าที่เป็นพื้นที่ดินอ่อนจึงจ่าเป็นต้องท่าฐานให้ผายออกมามากเพื่อรับ น้่าหนักส่วนตัวเรือนของพระปรางค์นั่นเอง

พระปรางค์ทรงฝักข้าวโพด

พระปรางค์ทรงจอมแห

ภาพที่ 11: พระปรางค์รูปแบบต่างๆ ภาพซ้าย คือ พระปรางค์ทรงฝักข้าวโพด และภาพขวา คือ พระปรางค์ทรงจอม แห ที่มา: สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและ การเงิน. 2554. หน้า 56-59.


70

4.2.4 องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์ สถาปัตยกรรมพระปรางค์ สามารถแบ่งองค์ประกอบหลักได้เป็น 3 ส่วน คือ “ส่วนฐาน” “ส่วนเรือนธาตุ” และ “ส่วนเรือนยอด” 1) ส่วนฐาน เป็นองค์ประกอบที่อยู่บริเวณด้านล่างสุดของพระปรางค์ ซึ่งระดับ ความสูงชั้นฐานของพระปรางค์ ขึ้นอยู่กับขนาดและสัดส่วนที่สัมพันธ์กับรูปทรงของปรางค์ ทั้งนี้ด้าน ในของฐานนั้นจะเป็นกรุส่าหรับประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และเครื่องบูชาต่างๆ ทั้งนี้ ชุดฐาน ของพระปรางค์มีความหลากหลาย ทั้งนี้ ความหลากหลายของรูปแบบฐานที่กล่าวมานั้นมีทั้งมาจาก การออกแบบที่ต้องการให้ฐานแต่ละชั้นมีความหมาย และฐานานุศักดิ์ที่แตกต่างกันของชุดฐานแต่ละ ชั้น และลักษณะอีกประเภทหนึ่ง คือ ลักษณะของฐานที่สัมพันธ์กับความนิยมในแต่ละยุคสมัย อาทิ เช่น ฐานของพระปรางค์ในชั้นแรกในสมัยอยุธยาตอนต้นที่ได้รับอิทธิพลทางรูปแบบสถาปัตยกรรมมา จากวัฒนธรรมเขมรจะมีการใช้ลักษณะ “ฐานแบบบัวลูกฟัก” ต่อมาจึงมีการใช้ลักษณะ “ฐานแบบขา สิงห์” หรือที่เรียกว่า “ฐานสิงห์ ” ได้เกิดขึ้นมาและได้รับความนิยมมากในสมัยอยุธ ยาตอนปลาย ต่อเนื่องมาจนสมัยรัตนโกสินทร์ ทั้งนี้ สันนิษฐานว่าความแปรเปลี่ยนความนิยมที่มีต่อรูปแบบฐานของพระปรางค์ที่ เกิดขึ้นกับการออกแบบชุดฐานของพระปรางค์จากที่นิยมใช้ฐานแบบบัวลูกฟักมาสู่การใช้ฐานสิงห์นั้น เนื่องมาจากในช่วงอยุธยาตอนกลางไม่มีความนิยมในการสร้างพระปรางค์เนื่องจากได้รับ รูปแบบเจดีย์ ทรงระฆังจากสุโขทัยลงมา และมีการสร้างอย่างแพร่หลายมาก เมื่อมีการฟื้นฟูการก่อสร้างพระปรางค์ ขึ้นใหม่อีกครั้งในสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ท่าให้ความรู้เรื่องแบบแผนในการก่อสร้างพระปรางค์ได้ ถูกหลงลืมไปนั่นเอง ส่าหรับรูปแบบของชุดฐานที่พบในการออกแบบสร้างสรรค์ พระปรางค์มีรูปแบบ ดังต่อไปนี้ “ฐานหน้ากระดาน” “ฐานปัทม์” “ฐานบัวลูกฟัก” “ฐานบัวลูกแก้ว” และ “ฐานสิงห์”41 เป็นต้น นอกจากนี้ ในกรณีที่แผนผังมีการจัดวางเป็นกลุ่มปรางค์จ่านวนหลายองค์ จะมีการสร้างชุด ฐานที่เรียกว่า “ฐานไพที” ซึ่งมีลักษณะเป็นฐานยกพื้นไม่สูงมาก ท่าหน้ าที่รองรับพระปรางค์ที่จัดวาง เป็นกลุ่มหลายองค์ เช่น ฐานไพทีรองรับพระปรางค์ประธานและพระปรางค์มุมของวัดพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยา ฐานไพทีรองรับพระปรางค์ประธานและพระปรางค์มุมของวัดไชยวัฒนาราม เป็นต้น

41

สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 51.


71

ภาพที่ 12: แบบสถาปัตยกรรมแสดงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์

ภาพที่ 13: แบบแสดงลักษณะฐานแบบต่างๆ ของพระปรางค์


72

2) ส่วนเรือนธาตุ เป็นองค์ประกอบที่อยู่ระหว่างส่วนฐานและส่วนยอด ในกรณีที่ มีการสร้างพระปรางค์มีขนาดใหญ่เป็นหลักประธานของวัด ส่าหรับส่วนเรือนธาตุจะมีห้องภายใน เรียกว่า “ครรภธาตุ” ซึ่งมีความหมายถึง “ห้องภายในเรือนธาตุของพระมหาธาตุซึ่งมักตั้งอยู่เหนือบัว เชิงบาตรชั้นสุดท้าย ที่ปากช่องทางเข้าภายในทาเป็นซุ้มคูหา มีทางเดินเข้าสู่พื้นที่ตอนใน”42 เป็นพื้นที่ ส่าหรับประดิษฐานพระพุทธรูป หรือสถูปจ่าลองที่เป็นสัญลักษณ์ที่สะท้อนให้เห็นถึงความหมายของ การประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุซึ่งตามปกติจะมีกรุอยู่ตรงส่วนฐานในระดับพื้นดิน ซึ่งตามจารีตใน การก่อสร้างจะมีการช่องประตูอยู่ทางด้านทิศตะวันออก ส่วนด้านอื่นๆ จะออกแบบเป็น “ซุ้มประตู หลอก” ซึ่งสาเหตุของการสร้างซุ้มประตูทางเข้าสู่ห้องครรภธาตุด้านทิศตะวันออกนั้นเป็นผลมาจาก วัสดุในการก่อสร้างพระปรางค์ ซึ่งพระปรางค์ที่ก่อสร้างในดินแดนลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยาส่วนใหญ่จะ ก่อสร้างด้วยอิฐจึงมีปัญหาในการรับแรงกดจากน้่าหนักจ่านวนมหาศาลของเรือนยอด จึงไม่อาจจะ ออกแบบให้มีช่องเปิดทั้ง 4 ด้านได้ เนื่องจากต้องการใช้ผนังของเรือนธาตุช่วยแบ่งเบาน้่าหนักของ เรือนยอด และเนื่องจากพระปรางค์ในลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยานั้นท่าหน้าที่เป็น “พุทธปรางค์” ในนามของ “พระมหาธาตุ” ทั้งนี้ คติของพระพุทธศาสนาที่ได้ก่าหนดว่า ทิศที่ส่าคัญที่สุด คือ “ทิศตะวันออก” เนื่องจากเป็นสัญลักษณ์ส่าคัญที่เชื่อมโยงไปถึงเหตุการณ์ในการตรัสรู้ของพระพุทธองค์ ที่กล่าวว่าพระ พุทธองค์ประทับใต้ต้นพรศรีมหาโพธิ์และหันพระพักตร์ไปทางด้านทิศตะวันออก และได้ทรงตรัสรู้ สัมมาสัมโพธิญาณในตอนเช้าตรู่ที่พระอาทิตย์ ได้เริ่มทอแสงทอง ซึ่งพระอาทิตย์นั้นได้เปรียบประดุจ เป็ น สั ญลั กษณ์ของ “ธรรม” ที่พระพุทธองค์ได้ทรงค้นพบที่ได้ท่าหน้าที่ขับไล่ “ความไม่รู้ ” หรือ “อวิชชา” ที่เปรียบได้กับ “ความมืดมนอนธกาล” นั่นเอง เพราะฉะนั้นในการออกแบบวางผังก่อสร้าง อาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงก่าหนดให้หันหน้าทางทิศตะวันออก ทั้งนี้ เรือนธาตุของพระปรางค์จะมีเอกลักษณ์ที่ส่าคัญ คือ มีมุมประธานขนาดใหญ่ และมีมุมรองขนาดเล็กกว่า เนื่องมาจาก “มุมประธาน” ดังกล่าวนั้นท่าหน้าที่เป็น “มุมของมณฑปที่มี ผังพื้นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส” และ “มุมรอง” หรือ “มุมย่อย” ที่เกิดจาการยกเก็จขึ้นมาในผังอาคารเพื่อ สร้างมิติให้กับตัวเรือนธาตุให้มีความงดงามมากขึ้นโดยเฉพาะเวลาที่ต้องแสง ท่าให้เกิดแสงเงา ทั้งนี้มุม ประธาน และมุมรองที่เกิดขึ้นมานั้นจะท่าหน้าที่รองรับเรือนยอดของพระปรางค์ ซึ่งย่อมท่าให้เรือน ยอดของพระปรางค์มีการย่อมุมที่สอดคล้องกับเรือนธาตุด้วยนั่นเอง นอกจากนี้ จากตัวเรือนธาตุประธานดังกล่าวมานั้นจะมีการยกมุขออกมาเพื่อท่า หน้าที่รองรับหน้าบันที่แสดงสัญลักษณ์ของท่าหน้าที่เป็น “ปราสาทผังจัตุรมุข” ซึ่งตามปกตินั้นจะมี การยกมุขออกมา “สองชั้น” และจะยกมุขออกมาทางด้านทิศตะวันออกยื่นยาวออกมามากกว่ามุข 42

ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. พจนานุ ก รมศั พ ท์ ศิ ล ปกรรม อั ก ษร ก-ช ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุ ง เทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. หน้า 132.


73

ด้านอื่นๆ เนื่องจากใช้มุขด้านตะวันออกนี้ท่าหน้าที่เป็นทางเข้าสู่ห้องครรภธาตุ รวมทั้งพื้นที่ภายใน ของห้องครรภธาตุดังกล่าวนั้นก็มีความคับแคบเนื่องจากไม่อาจสร้างโครงสร้างพาดกว้าง (wide span) ได้เนื่องจากต้องรับน้่าหนักเรือนยอดที่มีจ่านวนมหาศาล เพราะฉะนั้นมุขทางด้านตะวันออกนี้ในบาง แห่งจึงท่าหน้าที่เป็นพื้นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาด้วย ในขณะที่ซุ้มประตูด้านอื่นๆ เรียกซุ้ม ดังกล่าวว่า “ซุ้มจระนา” ซึ่งไม่มีการเจาะช่องประตูเข้าไปยังเรือนธาตุด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น ส่าหรับปราสาทขอมนั้นท่าเป็นแต่เพียงช่องประตูประดับที่เลียนแบบบานประตูไม้ที่ปิดอยู่ เรียกว่า “ซุ้มประตูหลอก” แต่พุทธปรางค์ที่ก่อสร้างกันในดินแดนลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยานั้นนิยมประดิษฐาน ประติมากรรมปูนปั้นเป็นพระพุทธรูปประทับยืนในปางต่างๆ อาทิ ปางห้ามญาติ ปางห้ามสมุทร ปาง ประธานอภัย ปางลีลา และปางอุ้มบาตรเนื่องจากประติมากรรมปูนปั้นพระพุทธรูปประทับยืนนั้นมี ระเบียบและสัดส่วนสอดคล้องกับพื้นที่ว่างที่แคบสูงของช่องประตูด้วยนั่นเอง

ภาพที่ 14: ตัวอย่างของประดิษฐานประติมากรรมพระพุทธรูปปางประทับยืนที่สอดคล้องกับพื้นที่ว่างของซุ้มประตู ที่มีลักษณะแคบสูง ภาพซ้าย คือ ประติมากรรมพระพุทธรูปปูนปั้นประดับซุม้ จระน่าด้านทิศเหนือของพระปรางค์ ประธานวัดพระราม และภาพขวา คือ ประติมากรรมพระพุทธรูปหล่อส่าริดประดิษฐานในซุ้มจระน่าพระปรางค์พุท ไธศวรรย์


74

3) ส่วนเรื อนยอด จากที่กล่ าวน่ามาแล้ ว ก่อนหน้านี้ว่า พัฒ นาการรูปทรงทาง สถาปัตยกรรมพระมหาธาตุ หรือพระปรางค์นั้นมีพัฒนาการสืบเนื่องมาจากปราสาทที่เป็นศาสนสถาน เนื่องในศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาในวัฒนธรรมเขมร ซึ่งในช่วงก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาอย่าง เป็นทางการโดยสมเด็จพระเจ้าอู่ทองนั้น ปฏิเสธไม่ได้ว่าดินแดนลุ่มแม่น้่าภาคกลางของไทยนั้นเต็มไป ด้ว ยอิทธิพลทางวัฒนธรรมเขมร โดยมีศูน ย์กลางส่าคัญอยู่ที่เมืองละโว้หรือลพบุรี นอกจากนี้ ใน การศึกษาประวัติศาสตร์การก่อตั้งราชธานีแห่งลุ่มแม่น้่าภาคกลางของไทยในนามของ “อโยธยาศรี รามเทพนคร” ที่กล่าวถึงในจารึกหลักเขาสุมนกูฏ หลักที่ 11 ซึ่งจารึกไว้เมื่อราว พ.ศ.1898 โดยสมเด็จ พระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามณี ซึ่งจารหลังจากการตั้งกรุงศรีอยุธยาอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 1893 ราว 5 ปี นอกจากนี้ยังมีเอกสารทางประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยกับเหตุการณ อื่นๆ อีก อาทิ จารึก วัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุพรรณบุรี ได้กล่าวนามว่า “โยชฌราช” และจารึกลานทองวัดส่องคบเรียกว่า “สฺริอโยทยา”43 ทั้งนี้ ในสถานภาพความรู้ในปัจจุบัน นักประวัติศาสตร์และโบราณคดีมีความเห็นไป ในทิศทางเดียวกันว่าอโยธยานั้นมีการสืบสายความสัมพันธ์ต่อเนื่องมาจากเมืองละโว้ ดังสะท้อนให้เห็น จากสภาพทางภูมิศาสตร์ การติดต่อสัมพันธ์ ตลอดจนสภาพสังคมวัฒนธรรมที่ปรากฏเป็นประจักษ์ให้ เห็นผ่านโบราณสถาน-วัตถุในสมัยอยุธยาตอนต้นที่พบในอยุธยา ส่าหรับรูปทรงของเรือนยอดพระมหาธาตุในสมัยอยุธยาตอนต้นนั้นยังสะท้อนให้ เห็นถึงความสัมพันธ์กับรูปทรงของพระมหาธาตุ เช่น พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี และปราสาทขอมใน สมัยก่อนหน้า เช่น พระปรางค์สามยอด เป็นต้น กล่าวคือ ด้วยวัสดุในการก่อสร้างของปราสาทเขมร ในสมัยเมืองพระนครนั้นนิย มก่อสร้ างด้วยหินทราย และศิลาแลง เพราะฉะนั้นจึงท่าให้มีลั ก ษณะ รูปทรงของเรือนยอดที่แตกต่างไปจากการก่อรูปของเรือนยอดก่ออิฐ ส่าหรับส่วนเรือนยอดของพระปรางค์ในสมัยอยุธยาตอนต้นที่ได้รับอิทธิพลสืบทอด มาจากรูปทรงของปราสาทหินของเขมรนั้น ยังสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อมต่อของรูปทรงที่สืบเส้นสาย ต่อเนื่องขึ้นมาจากส่วนเรือนธาตุ กล่าวคือ มุมประธานของเรือนธาตุที่มีขนาดใหญ่นั้นก็ส่งผลยังเส้น รอบรูปของส่วนเรือนยอดด้วยนั่นเอง จึงท่าให้มุมประธานของเรือนยอดแต่ละชั้นนั้นมีขนาดใหญ่กว่า มุมประกอบ และส่งผลต่อเนื่องไปยังองค์ประกอบประดับตกแต่งส่วนเรือนยอดซึ่งก็คือองค์ประกอบที่ เรียกว่า “กลีบขนุน” ซึ่งกลีบขนุนที่ประดับตกแต่งอยู่บนมุมประธานก็จะมีขนาดที่ใหญ่กว่ากลีบขนุน ของมุมประกอบ

43

ดูเพิ่มเติมใน วินัย พงศ์ศรีเพียร. อยุธยา: พรรณนาภูมิสถานและมรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. ซึ่งให้ข้อมูลว่าชื่อว่า “อยุธยา” นั้นเป็นชื่อที่มาเปลี่ยนแปลงในชั้นหลังในราว พ.ศ.2112 หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1.


75

ทั้งนี้ เรือนยอดของพระมหาธาตุจะถูกแบ่งออกเป็นชั้นๆ มีความหมายแทนสรวงสวรรค์ แต่ละชั้น เรียกว่า “ชั้นรัดประคต” ซึ่งมีพัฒนาการมาจากชั้นบัญชร หรือชั้นวิมารของปราสาทแบบ ขอม ซึ่งวางตัวลดหลั่นกันระหว่างชั้นอัสดงกับจอมโมฬี 44 ทั้งนี้ ชั้นเรือนยอดชั้นที่ 1 ที่อยู่เหนือจาก ส่วนเรือนธาตุขึ้นมานั้นเรียกว่า “ชั้นอัสดง” ซึ่งหมายถึงพื้นบนสุดของหน้ากระดานเหนือเรือนธาตุของ พระมหาธาตุ45 ทั้งนี้ หากบนชั้นอัสดังนั้นมีการตกแต่งด้วยประติมากรรมรูปครุฑ บางครั้งก็จะเรียกว่า “ชั้นครุฑพื้นอัสดง”46 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าครุฑที่ยืนอยู่บนชั้นอัสดงนั้นช่วยกันแบกเรือนยอดของพระ ปรางค์เอาไว้ ทั้งนี้ แสดงความหมายต่อเนื่องไปถึงการลอยอยู่กลางอากาศของสรวงสวรรค์ชั้นฟ้า นั่นเอง ถัดจากชั้นอัสดงขึ้นไปก็คือ “ชั้นรัดประคต” ท่าหน้าที่เป็นเครื่องรัดเรือนยอดของปรางค์ให้เป็น ชั้นๆ ซึ่งมีตั้งแต่ 5 ชั้นขึ้นไป และจ่านวนชั้นจะเป็นเลขคี่47 ทั้งนี้ ตรงกลางของด้านของชั้นรัดประคตแต่ ละชั้นจะมี “ช่องบัญชร” และมีองค์ประกอบตกแต่งที่เรียกว่า “กลีบขนุน” ที่ติดตั้งอยู่มุมประธานและ มุมรองของชั้นรัดประคตแต่ละชั้น บนยอดสุดของพระมหาธาตุ คือ “จอมโมฬี” คือส่วนยอดบนสุด ของพระมหาธาตุซึ่งมักถูกออกแบบให้แกะสลักขึ้นจากหินก้อนเดียวกันทั้งก้อนเพื่อเป็นตัวกดทับเรือน ยอดในจุดบนสุด บางครั้งออกแบบเป็นรูปดอกบัว หรือเกสรบัว ทั้งนี้หากพิจารณาร่วมกับตัวเรือนยอด ทั้งหมดก็อาจจะตีความได้ว่าภาพรวมของเรือนยอดนั้นมีความหมายที่สัมพันธ์กับดอกบัวด้วยก็เป็นได้ ตรงกลางของจอมโมฬีจะเจาะเป็นรูวงกลมส่าหรับปัก “นภศูล”

44

ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. พจนานุ ก รมศั พ ท์ ศิ ล ปกรรม ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. หน้า 271. 45 ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. พจนานุ ก รมศั พ ท์ ศิ ล ปกรรม ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. หน้า 274. 46 ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. พจนานุ ก รมศั พ ท์ ศิ ล ปกรรม ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. หน้า 271. 47 ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. พจนานุ ก รมศั พ ท์ ศิ ล ปกรรม ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. หน้า 271.

อั ก ษร ก-ช ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุ ง เทพฯ: อั ก ษร ก-ช ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุ ง เทพฯ: อั ก ษร ก-ช ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุ ง เทพฯ: อั ก ษร ก-ช ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุ ง เทพฯ:


76

ภาพที่ 15: แสดงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระมหาธาตุ ทั้งนี้ ภาพบน เป็นพระมหาธาตุที่มีรูปทรง ที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของปราสาทในวัฒนธรรมขอม, ภาพล่าง เป็นพระมหาธาตุที่มรี ูปแบบทาง สถาปัตยกรรมพัฒนาขึ้นในช่วงอยุธยาตอนต้น


77

4.3 การแบ่งยุคสมัยในการก่อสร้าง: จากปราสาทในศาสนาฮินดูและพุทธมหายานสู่พระ มหาธาตุในศาสนาพุทธเถรวาท จากการศึกษาของรองศาสตราจารย์สมคิด จิระทัศนกุล48 ได้แบ่งยุคสมัยของการก่อสร้าง ปราสาทขอมในดินแดนประเทศไทย และพระมหาธาตุที่ในดินแดนประเทศไทย ดังมีรายละเอียด ต่อไปนี้ คือ 4.3.1 ปราสาทขอมในประเทศไทย 1) ปราสาทขอมในประเทศไทยที่มีการก่อสร้างมาตังแต่พุทธศตวรรษที่ 12-14 พบได้ ใ นภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคตะวั น ออก ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ปราสาทก่ อ อิ ฐ ยกเว้ น องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่ต้องมีสมรรถนะในการรับน้่าหนัก เช่น เสาประดับกรอบประตู และ ทับหลังนั้นที่ต้องท่าจากหินทราย เช่น “ปราสาทเขาน้อย” อ่าเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว , “ปราสาทภูมิโพน” อ่าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ เป็นต้น49 2) ปราสาทขอมในประเทศไทยที่มีการก่อสร้างมาตังแต่พุทธศตวรรษที่ 15 เป็น ช่วงเวลาที่อยู่ในสมัยพะโค และเกาะแกร์ ส่าหรับในประเทศไทยมีปราสาทที่สร้างอยู่ในช่วงเวลานี้ไม่ มากนัก ทั้งนี้ เป็นปราสาทก่ออิฐและมีทับหลังหินทรายที่บ่งชี้ได้ว่าเป็นทับหลังศิลปะแบบเกาะแกร์ ดัง ตัวอย่างของ “ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย” อ่าเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์, “ปราสาทเมืองแขก” อ่าเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา รวมทั้งมีผู้เสนอว่า “ปราสาทปรางค์แขก” อ่าเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี แต่ อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีความเห็นที่ขัด แย้งว่าปราสาทปรางค์แขกนั้นควรสร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 1650 3) ปราสาทขอมในประเทศไทยที่มีการก่อสร้า งมาตังแต่พุทธศตวรรษที่ 16 พบว่า มีการสร้างปราสาทจ่านวนหลายหลัง โดยเฉพาะในรัชกาลพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ตัวอย่างเช่น “ปราสาทเขาพระวิหาร” ซึ่งตัวปราสาทและผังบริเวณเกี่ยวเนื่องนั้นตั้งอยู่ระหว่างพรมแดนไทยและ กัมพูชา “ปราสาทกู่กาสิงห์” จังหวัดร้อยเอ็ด, “ปราสาทเมืองต่า” จังหวัดบุรีรัมย์, “ปราสาทพนมวัน”

48

สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 24. 49 สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 24. 50 สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 27.


78

จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งต่อมาได้มีการปรับจากศาสนสถานเนื่องในศาสนาฮินดูมาเป็นศาสนสถานใน พุทธศาสนาในราวพุทธศตวรรษที่ 1851 4) ปราสาทขอมในประเทศไทยที่มีการก่อสร้า งมาตังแต่พุทธศตวรรษที่ 17 ช่วงเวลาดังกล่าวถือเป็นจุดที่ศิลปสถาปัตยกรรมขอมรุ่งเรืองถึงขีดสุด อันมีตัวแทนของปราสาทใน ช่วงเวลานี้ที่ทุกคนรู้จักกันดี คือ “ปราสาทนครวัด” ส่าหรับปราสาทหินที่พบในเขตดินแดนประเทศ ไทย ได้แก่ “ปราสาทพิมาย” และ “ปราสาทพนมรุ้ง” 5) ปราสาทขอมในประเทศไทยที่มีการก่อสร้า งมาตังแต่พุทธศตวรรษที่ 17 ช่วงเวลาดังกล่าวนั้นมีพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวมี ความเร่งรัดในการสร้างศาสนสถานจ่านวนมาก ทั้งนี้เรียก ศิลปะสถาปัตยกรรมในช่วงเวลาดังกล่าวว่า “สมัยบายน” อันเรียกนามตามปราสาทบายนที่ท่าหน้าที่เป็นศูนย์กลางทางกายภาพ และศูนย์กลาง ทางจิตวิญญาณของเมืองพระนครธม ทั้งนี้ ในดินแดนประเทศไทยมีปราสาทที่สร้างอยู่ในช่วงเวลา ดังกล่าวหลายแหล่ง อาทิ “ปราสาทเมืองสิงห์ ” จังหวัดกาญจนบุรี , “ปราสาทกาแพงแลง” จังหวัด เพชรบุรี, “พระปรางค์สามยอด” จังหวัดลพบุรี 4.3.2 พระมหาธาตุ (พระปรางค์) ในดินแดนลุ่มนาเจ้าพระยา จากที่กล่าวเนื้อหาของการจ่าแนกยุคสมัยของปราสาทขอมก่อนหน้าการสถาปนากรุงศรี อยุธยาตั้งแต่พุทธศตวรรษ 12 จนถึงพุทธศตวรรษที่ 17 ดังที่กล่าวมาแล้ วนั้น ในเนื้อหาส่ว นนี้จ ะ กล่าวถึงการแบ่งช่วงสมัยของการประยุกต์ใช้รูปทรงปราสาทขอมที่ท่าหน้าที่เป็นศาสนสถานในศาสนา ฮินดู และพุทธศาสนาแบบมหายานมาสู่การท่าหน้าที่เป็นศาสนสถานในพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท ในดิ น แดนลุ่ ม แม่ น้่ า เจ้ า พระยาตั้ ง แต่ พุ ท ธศตวรรษที่ 19 เป็ น ต้ น มา ทั้ ง นี้ ส อดคล้ อ งกั บ ที่ ร อง ศาสตราจารย์ สมคิด จิระทัศนกุล ได้จ่าแนกช่วงเวลาของการก่อสร้างพระมหาธาตุ หรือพุทธปรางค์ที่ ก่อสร้างเนื่องในพุทธศาสนาแบบเถรวาทในดินแดนลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยาไว้เป็น 3 ช่วงเวลา คือ52 1) พระมหาธาตุก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา (พุทธศตวรรษ 18-19) จากการศึกษา หลักฐานเชิงประจักษ์ของศิลปะสถาปัตยกรรมต่างๆ ที่ก่อสร้างนั้นได้สะท้อนให้เห็นถึงการผสมผสาน กันระหว่างแบบแผนศิลปสถาปัตยกรรมแบบทวารวดีที่เคยรุ่งเรืองอยู่ในดินแดนลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยาอยู่ มาก่อนหน้า ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 11-16 กับแบบแผนศิลปะสถาปัตยกรรมแบบขอมที่รุ่งเรืองขึ้นมา แทนที่ในราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 ทั้งนี้ รองศาสตราจารย์อนุวิทย์ เจริญศุภกุล ได้เสนอว่า การน่าพา 51

สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 29-30. 52 สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 67.


79

อิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอาณาจักรเขมรมาสู่กรุงศรีอยุธยา น่าไปสู่การสร้างอิทธิพลทางความคิด ความเชื่อ จากกระบวนการทางความคิดและรูปแบบงานสถาปัตยกรรมอัน ประกอบขึ้นจากกลไก โครงสร้างอินทรีย์ของอารยธรรมเขมร กล่าวคือ แนวคิดจากองค์ประกอบด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา วัฒนธรรม ฯลฯ53 อย่างไรก็ดี จากการส่ารวจสถานภาพการศึกษาด้านประวัติศาสตร์โบราณคดีลุ่ม แม่น้่าเจ้าพระยาในช่วงเวลาภายหลังพุทธศตวรรษที่ 17 จนถึงก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาอย่าง เป็นทางการในปีพ.ศ.1893 นั้น ไม่ปรากฏการกล่าวถึงว่ามีศูนย์กลางอ่านาจที่มีความชัดเจน ซึ่งอาจมี สาเหตุเนื่องจากขาดเอกสารทางประวัติศาสตร์กล่าวถึง แต่อย่างไรก็ตามเอกสารจีนก็มีการกล่าวถึงว่า สังคมในลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยามีความเคลื่อนไหว และเป็นจุดเริ่มต้นในการก่อตัวขึ้นของการตั้งรัฐ และมี การติดต่อสัมพันธ์กับจีน นอกจากนี้ ความคลุมเครือของประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาดังกล่าวนั้น ยัง อาจจะเกิดจากเพดานความคิดเรื่องการสถาปนารัฐศูนย์กลางลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยาในนามของรัฐอยุธยา อย่างเป็นทางการในปีพ.ศ.1893 แต่ในความเป็นจริงแล้วอาจมีศูนย์กลางอ่านาจอื่นๆ ที่อยู่ข้างเคียงอีก เช่น สุพรรณบุรี หรือแม้แต่ลพบุรีเองก็ตามที่ไม่ได้ถูกกล่าวถึงและท่าการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมจนท่า ให้ประวัติศาสตร์ในช่วงสมัยดังกล่าวนั้นยังคลุมเครืออยู่ แต่การสถาปนาอยุธยาขึ้นอย่างเป็นทางการ ในปีพ.ศ.1893 ดังกล่าวมานั้นเองก็เป็นข้อบ่งชี้ว่าสังคมในลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยามีพัฒนาการทางสังคม วัฒนธรรมของตนเองจนสามารถก่อตั้งรัฐจารีตขึ้นได้ และปฏิเสธอ่านาจของมหาอาณาจักรเมืองพระ นครที่เคยแผ่อิทธิพลเข้ามาครอบง่าได้โดยสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีสถาปนาราชธานีแห่งลุ่มแม่น้่า เจ้าพระยาได้ส่าเร็จทั้งใน เรื่ อ งระบบการเมื อ ง การปกครอง เศรษฐกิ จ และสั ง คมนั้ น แต่ ท ว่ า ในการสร้ า งสรรค์ ศิ ล ป สถาปัตยกรรมเนื่องในพุทธศาสนานั้น กลับยังได้แรงบันดาลใจจากรูปทรงทางสถาปัตยกรรมแบบขอม ที่มีอยู่เดิมและยังทรงอิทธิพลอยู่ ในดินแดนลุ่มแม่น้่าเจ้าพระยา ในการสร้างสรรค์ศิลปสถาปัตยกรรม ทางศาสนาเพื่อท่าหน้าที่เป็นศูนย์กลางทางจิตวิญญาณของบ้านเมืองในนามของ “พระมหาธาตุ” หรือ “พุทธปรางค์” ที่แม้ว่าจะเป็นการหยิบยืมรูปทรงของปราสาทเนื่องในศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ แบบมหายานที่เคยรุ่งเรืองอยู่ก่อนหน้า มาเป็นสัญลักษณ์ของการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุอัน เป็นสิริมงคลอันเป็นหลักเป็นประธานของบ้านเมืองตามคติของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทลังกาวงศ์ ซึ่งสืบทอดมาจากแบบแผนของพระพุทธศาสนาที่เคยรุ่งเรืองในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยทวารวดีแต่ ทว่าได้รับการแทรกแซงโดยแบบแผนการเมืองการปกครอง และศาสนาในสมัยที่อาณาจักรเขมรเรือง

53

อนุ วิ ท ย์ เจริ ญ ศุ ภ กุ ล . ปราสาทเมื อ งต่ า การศึ ก ษาทางประวั ติ ศ าสตร์ ส ถาปั ต ยกรรม. กรุ ง เทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541. หน้า 4.


80

อ่านาจ ทั้งนี้ น.ณ ปากน้่า ได้แสดงทัศนะว่าศิลปะอู่ทองรุ่นแรกมีความเชื่อมโยงกับศิลปะทวารวดี อย่างใกล้ชิด54 รู ป แบบศิล ปสถาปั ตยกรรมที่ถู กสร้า งสรรค์ ขึ้น ในช่ว งก่อนการสถาปนากรุ ง ศรี อยุธยา และสืบต่อลงมายังสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นนั้น นักวิชาการทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดีเรียกว่า “ศิลปะอู่ทอง” ด้วยฐานความคิดอันเนื่องมาจากความเชื่อที่ว่าอยุธยาเป็นเมือง ที่มีพัฒนาการสืบเนื่องมาจากอู่ทอง ทั้งนี้ น.ณ ปากน้่า ให้ทัศนะว่า ควรเรียกว่า “ศิลปะกัมโพช” หรือ “ศิลปะอโยธยา สุพรรณภูมิ” แต่อย่างไรก็ดีค่าว่า “ศิลปะอู่ทอง” นั้น เป็นชื่อรูปแบบที่เรียกกันอย่าง แพร่หลายกันจนยากที่จะเปลี่ยนแปลง55 ทั้งนี้ รองศาสตราจารย์ สมคิด จิระทัศนกุล ได้ยกตัวอย่างของพระมหาธาตุที่มีอายุ การก่อสร้างก่อนสมัยอยุธยา มีดังนี้ “พระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี” “พระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี” และ“พระศรีรัตนมมหาธาตุ ราชบุรี ”56 ทั้งนี้ผลการขุดค้นทางโบราณคดีที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ราชบุรี ได้มีข้อสรุปว่าพระปรางค์ประธานนั้นสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น57 ส่าหรับ น.ณ ปากน้่า กล่าวถึงพระมหาธาตุที่มีอายุในการก่อสร้างก่อนสมัยอยุธยา มีดังนี้ คือ “พระศรีรัตนมหาธาตุ ราชบุรี” เป็นศิลปะแบบลพบุรี58, “พระศรีรัตนมหาธาตุศรีสัชนาลัย” และ “พระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก” เป็นศิลปะแบบสุโขทัย59, “พระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี” เป็ น ศิ ล ปะแบบอู่ ท อง 60, “พระปรางค์ ส รรค์ บุ รี ” เป็ น ศิ ล ปะแบบอู่ ท อง 61, “พระศรี รั ต นมหาธาตุ

54

น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 24. 55 น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 24. 56 สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 68-87. 57 สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 68-87. 58 น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25. 59 น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25. และประเด็นดังกล่าวนี้ อาจารย์ น.ณ ปากน้่าได้กล่าวเน้นย้่าอีกครั้งใน เล่มเดียวกัน. หน้าที่ 34. ว่าปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เชลียง และวัดพระศรีรัตนมหาธาตุพิษณุโลกเป็นปรางค์แบบสุโขทัย หาใช่เป็นแบบอยุธยาไม่ ทว่าการตีความ และการสันนิษฐานนี้ดูจะไม่ได้รับการยอมรั บอย่างกว้างขวางนัก เพราะในแวดวงการศึกษาโบราณคดี และ ประวัติศาสตร์ศิลปะ-สถาปัตยกรรมนั้นต่างสันนิษฐานกันว่า เป็นปรางค์สมัยอยุธยาที่พระบรมไตรโลกนาถได้ มีการก่อพอกพระเจดีย์องค์เดิม ซึ่งสันนิษฐานกันต่อไปอีกว่า ควรจะเป็นเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ 60 น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25. 61 น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25.


81

ลพบุรี” เป็นแบบศิลปะลพบุรี และศิลปะอโยธยา 62, “พระปรางค์วัดหน้าพระธาตุสิงห์บุรี ” ศิลปะ อโยธยา63, “ปรางค์วัดอรัญญิกราชบุรี ” เป็นแบบอู่ทองตอนปลาย 64 ซึ่งเป็นที่น่าสนใจอย่างมากว่า น.ณ ปากน้่าได้จ่าแนกศิลปะก่อนสมัยอยุธยาอย่างละเอียด เป็นทั้ง “ศิลปะลพบุรี” “ศิลปะอู่ทอง” และ “ศิลปะ อโยธยา” ทั้งนี้ การเรียก “ศิลปะสถาปัตยกรรมแบบเขมร” ว่า “ศิลปะลพบุรี” ตาม แนวคิดชาตินิยมท่าให้ น.ณ ปากน้่า ก็ได้ก่าหนดว่า “พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี” นั้นเป็น “ศิลปะ ลพบุรี และศิลปะ อโยธยา” ที่หมายถึงศิลปะสถาปัตยกรรมแบบเขมรที่มีพัฒนาการคลี่คลายสู่ความ เป็ น ท้องถิ่น และถูกสร้ างขึ้น ก่ อนการสถาปนากรุงศรีอยุธ ยาซึ่งเป็ นยุคสมั ย น.ณ ปากน้่าเรียกว่ า “สมัยอโยธยา” นั่นเอง 2) พระมหาธาตุสมัยกรุงศรีอยุธยา (ปลายพุทธศตวรรษที่ 19 ถึงปลายพุทธ ศตวรรษที่ 23) ทั้งนี้ สามารถแบ่งช่วงเวลาออกได้เป็น “สมัยอยุธยาตอนต้น (สมเด็จพระเจ้าอู่ทองสมเด็จเจ้าสามพระยา (พ.ศ.1893-1991))” “สมัยอยุธยาตอนกลาง (สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ.1991-2171))” และ “สมัยอยุธยาตอนปลาย (สมเด็จพระเจ้าปราสาท ทอง-เสียกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ.2173-2310))” กรุงศรีอยุธยาซึ่งถูกสถาปนาขึ้นอย่างเป็นทางการในปีพ.ศ.1893 ในรัชกาลสมเด็จ พระเจ้าอู่ทองได้ตั้งอยู่ในชัยภูมิที่สามารถควบคุมดินแดนตอนในเพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ประเภท ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี เนื่องจากตั้งอยู่ตรงต่าแหน่งที่แม่น้่าเจ้าพระยา และแม่น้่าป่าสักไหลมาบรรจบกัน ท่าให้อยุธยามีความรุ่งเรืองขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ทว่าจากการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภท ต่างๆ นั้นท่าให้ทราบว่าในการตั้งราชวงศ์ในช่วงต้นนั้นยังไม่ค่อยราบรื่นนัก และมีการแย่งชิงราชสมบัติ และการเปลี่ยนวงศ์ของผู้ปกครองกันอยู่เนืองๆ

62

ข้อความดังกล่าวนั้น อาจารย์ น.ณ ปากน้่า อาจจะหมายถึงว่า วัดมหาธาตุลพบุรีมีพระปรางค์หลายองค์ ทั้งปรางค์ ประธาน และปรางค์ราย ซึ่งมีรูปแบบศิลปะที่แตกต่างกัน 63 อย่างไรก็ตาม ในบริบทของรูปประโยคนี้ ซึ่งอาจารย์ น.ณ ปากน้่า ต้องการเขียนรวบประโยคเพื่อสร้างความ กระชับให้แก่รูปประโยคที่ต่อเนื่องกัน แต่ได้สร้างความสับสน เนื่องจากว่าเป็นการอ้างอิงถึงการก่า หนด รูปแบบมาจากบริบทของวัดมหาธาตุลพบุรี ซึ่งกล่าวว่ามี 2 รูปแบบ จึงสร้างความสับสนว่า น.ณ ปากน้่า ต้องการก่าหนดว่าปรางค์วัดมหาธาตุสิงห์บุรี เป็นศิลปะอะไรระหว่าง ศิลปะลพบุรี และศิลปะอโยธยา 64 น. ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 34.


82

อย่างไรก็ตาม ในการที่ “สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง” (ครองราชย์ 1893-1912) ได้ทรง ตั้งเมืองใหม่ในปีพ.ศ.1893 ขึ้นมานั้นก็มีความจ่าเป็นที่ต้องสร้างหลักประธานของบ้านเมืองทั้งในฝ่าย อาณาจักร และฝ่ายพุทธจักร กล่าวคือ มีการสร้างพระราชฐานที่ประทับชั่วคราวเพื่อเป็นที่ประทับใน ระหว่างการบัญชาสร้างพระนคร และพระราชวังหลวงแห่งใหม่ ซึ่งพระราชฐานเฉพาะกิจดังกล่าวนั้นมี ชื่อว่า “เวียงเหล็ก” จนกระทั่งเมื่อการสร้างพระราชวังหลวงถาวรแล้วเสร็จจึงโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา พระอารามขึ้น ตรงต่า แหน่ งเวีย งเหล็ ก ซึ่ง เคยเป็ นที่ ประทั บชั่ว คราว โดยโปรดให้ มีการสร้า งพระ มหาธาตุเป็นหลักเป็นประธานของวัด และพระราชทานนามว่า “วัดพุทไธสวรรย์” ซึ่งจะเห็นได้ว่าแบบ แผนทางการวางผังสถาปัตยกรรมของ “พระมหาธาตุวัดพุทไธสวรรย์” นั้นออกแบบเป็นลักษณะของ สิ่งก่อสร้างที่วางเรียงตัวในแถวหน้ากระดานแนวเดียวกันสามหลัง โดยมีมีพระมหาธาตุประธานตั้งอยู่ ตรงกลาง ซึ่งในที่นี้ อาคารที่วางตัวกระหนาบข้างพระมหาธาตุในปัจจุบันนี้ เป็นอาคารที่มีรูปทรงทาง สถาปัตยกรรมที่มีผังพื้นเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและมีเรือนยอดเป็นกรวยในผังสี่เหลี่ยม ท่าให้สันนิษฐาน ได้ว่า ในการก่อสร้างพระมหาธาตุวัดพุทไธสวรรย์นั้นได้รับอิทธิพลจากการวางผังจากพระศรีรัตนมหา ธาตุลพบุรี หากแต่พระปรางค์ที่กระหนาบข้างคงได้ช่า รุดลงไปแล้วจึงได้ก่อสร้างพระมณฑปดังกล่าว ขึ้นแทนที่ นอกจากนี้ ผลจากการขุดค้นทางโบราณคดี “วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชบุรี ” มีข้อสรุปว่า พระปรางค์ประธานดังกล่าวนั้นถูกสร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเป็นสมัยอยุธยาตอนต้น65 หาใช่เป็นพระปรางค์ที่สร้างมาก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยาไม่เป็นไปตามที่สถานภาพของข้อเสนอที่มีอยู่ ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร (ครองราชย์ 1912-1913) ซึ่งเป็นพระราชโอรสนั้น ใน การครองราชย์ ค รั้ ง แรกนั้ น เป็ น ช่ ว งเวลาสั้ น ๆ เนื่ อ งมาจาก “สมเด็ จ พระบรมราชาธิ ร าชที่ 1” (ครองราชย์ 1914-1931) หรือที่รู้จักกันในนามว่า “ขุนหลวงพระงั่ว” ได้เสด็จมาจากสุพรรณบุรี เพื่อชิงราชสมบัติ ในการนั้นได้โปรดให้พระราเมศวรไปครองเมืองลพบุรีแทน จากสถานภาพการศึกษา ที่มีอยู่ในปัจจุบันได้กล่าวว่า ในปีพ.ศ.1917 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ได้โปรดให้สร้าง “พระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา” โดยอ้างข้อความว่าในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ความว่า “... ศักราช 736 ขาลศก สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าและพระมหาเถรธรรมกัลญาณ แรก สถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุฝ่ายบูรพาทิศ หน้าพระบันชั้นสิงห์สูงเส้น 3 วา...”66 แต่ในการศึกษานี้ มี ข้อเสนอว่า การสร้างพระมหาธาตุที่กล่าวถึงนั้นควรจะหมายถึง “พระมหาธาตุวัดสมณโกฐ” ซึ่งตั้งอยู่ ทางทิศตะวันออกของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ซึ่งพระมหาธาตุดังกล่าวนี้ถือว่าเป็นหนึ่งในหลัก ประธานของบ้ านเมืองอัน ประกอบด้ว ยพระมหาธาตุของวัดต่ างๆ จ่านวน 5 องค์ (ดูรายละเอี ยด 65

สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกันและการเงิน. 2554. หน้า 68-87. 66 “พระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เ ษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 212.


83

ข้อเสนอได้ในเนื้อหาส่วนที่ว่าด้วย “ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์การสถาปนาพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยา”) ต่อมาเมื่อสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 เสด็จสวรรคต “สมเด็จพระเจ้าทองลัน” ผู้ เป็ น พระราชโอรสได้ เ สด็ จ ครองราชสมบั ติเ หนือ กรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยา แต่ ท ว่ า “สมเด็ จ พระราเมศวร” (ครองราชย์ครั้งที่ 2 พ.ศ.1931-1938) ที่ไปทรงไปครองเมืองลพบุรีได้เสด็จยกกองทัพมาชิงราชสมบัติ คืน และในการศึกษานี้ มีข้อเสนอว่า “พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” ได้สถาปนาขึ้นในรัชกาลในปีแรก ของรัชกาล คือ พ.ศ.1931 (ดูรายละเอียดข้อเสนอได้ในเนื้ อหาส่วนที่ว่าด้วย “ความยอกย้อนของ ประวัติศาสตร์ การสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธ ยา”) ทั้งนี้ เนื่องจากวัดมหาธาตุเป็นวั ดหลั ก ประจ่าเมืองจึงมีการบูรณปฏิสังขรณ์มาโดยตลอดหน้าประวัติศาสตร์ และนอกจากนี้ ในคราวรัชกาล “สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม” (ครองราชย์ พ.ศ.2153-2171) เรือนยอดของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ได้พังทลายลงมาเหลือเพียงชั้นอัสดง และมีการซ่อมแซมบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในสมัย “สมเด็จพระ เจ้าปราสาททอง” (ครองราชย์ พ.ศ.2172-2199) จึงท่าให้รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของพระศรีรัตนม หาธาตุอยุธยามีลักษณะที่แตกต่างไปจากแรกสร้างมาก นอกจากนี้ ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรยัง โปรดเกล้าให้สถาปนา “วัดพระราม” ตรงต่าแหน่งที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ในปี พ.ศ.1912 ในการขึ้น ครองราชย์ครั้งแรกของพระองค์ แต่ทว่าคงสร้างไม่แล้ ว เสร็จเนื่อ งจาก เหตุการณ์แย่งชิงราชสมบัติโดยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) และคงได้มาสร้างต่อ จนแล้วเสร็จในการขึ้นครองราชย์ครั้งที่ 2 ดังกล่าวว่ามีการสถาปนา “พระมหาธาตุวัดพระราม” พร้อม ทั้ง “พระวิหาร” ขึ้นด้วย เมื่อสมเด็จพระราเมศวรเสด็จสวรรคต “สมเด็จพระรามราชาธิราช” (ครองราชย์ พ.ศ.1938-1952) ผู้เป็นพระราชโอรสได้ขึ้นครองราชย์ แต่ทว่าไม่มีหลักฐานในการสร้างพระมหาธาตุ ต่อมา “เจ้านครอินทร์” ผู้ปกครองเมืองสุพรรณบุรีได้ยกทัพมาชิงราชสมบัติ และเสวยราชย์สมบัติเป็น “สมเด็จพระอินทร์ราชา” (ครองราชย์ พ.ศ.1952-1957) โดยเนรเทศพระรามราชาธิราชให้ไปยังปะทา คูจาม ในช่วงรัชกาลสมเด็จพระอินทร์ราชานี้เองที่ได้ด่าเนินนโยบายเข้าแทรกแซงหัวเมืองฝ่ายเหนือ โดยให้พระราชโอรสทั้งสามพระองค์ไปครองเมืองต่างๆ คือ เจ้าอ้ายพระยาไปครองเมืองสุพรรณบุรี เจ้ายี่พระยาไปครองเมืองสรรค์บุรี และเจ้าสามพระยาไปครองเมืองชัยนาท 67 ต่อมาสมเด็จพระอินทร์ ราชาเสด็จสวรรคตท่าให้เกิดการแย่งชิงราชสมบัติกันระหว่างเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยา ซึ่งทั้ง สองพระองค์ได้ถึงแก่พิราลัยในการรบเพื่อแย่งชิงราชสมบัติครั้งนั้น เปิดโอกาสให้พระอนุชาพระองค์ เล็ ก คือ “สมเด็จ เจ้ าสามพระยา” ได้ครองราชยสมบัติแห่ งกรุงศรีอยุธ ยาเป็น “สมเด็จพระบรม ราชาธิร าชที่ 2” (ครองราชย์ 1929-1991) ในการนั้น ได้โ ปรดให้ ส ถาปนา “พระมหาธาตุวัดราช 67

“พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 2. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 14


84

บูรณะ”68 ทั้งนี้ ในการศึกษานี้มีข้อเสนอว่า ในการก่อสร้างพระมหาธาตุวัดราชบูรณะให้มีระเบียบ และสัดส่วนสอดคล้องกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่มีอยู่ก่อนหน้านั้น ได้สะท้อนให้เห็นถึงความ พยายามที่จะเชื่อมต่อแนวความคิดในการวางผังเมืองที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากเมืองพระนครหลวง เนื่องจากในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 นี้ กรุงศรีอยุธยานั้นมีชัยเหนือเมืองพระนคร (ดู รายละเอียดข้อเสนอได้ในเนื้อหาส่วนที่ว่าด้วย วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และความสัมพันธ์กับผัง เมืองกรุงศรีอยุธยา)

ภาพที่ 16: แบบสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุวดั ราชบูรณะ ภาพซ้าย คือ รูปด้านข้าง, ภาพขวา คือ รูปด้านหน้า

68

“พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 213-214.


85

หลังจากรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (สมเด็จเจ้าสามพระยา) แล้ว ความนิยม ในการสร้าง “พระมหาธาตุ” หรือ “พุทธปรางค์” นั้นก็หมดบทบาทลง เนื่องจากการที่เจ้าสามพระยา ได้ด่าเนินนโยบายผูกความสัมพันธ์กับหัวเมืองฝ่ายเหนือผ่านเครือญาติด้วยการอภิเษกสมรสกับเจ้า หญิงจากหัวเมืองฝ่ายเหนือ69 และทรงมีพระราชโอรส คือ “สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ” (ครองราชย์ 1991-2031) ซึ่งสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถมีความใกล้ชิดอย่างแนบแน่นกับหัวเมืองฝ่ายเหนือ อัน เป็นมูลเหตุให้ความนิยมก่อสร้าง “พุทธเจดีย์” จากรูปทรงของ “พระมหาธาตุ” หรือ “พุทธปรางค์” นั้นลดบทบาทลงโดยสิ้นเชิง และถูกแทนที่ด้วยค่านิยมในการก่อสร้าง “พระเจดีย์ทรงระฆัง ” แบบ เมืองเหนือจ่ านวนมากมายในพระนครศรีอยุธยา และท่าให้รูปทรงทางสถาปัตยกรรมของ “พระ มหาธาตุ” ยุติบทบาทในการก่อสร้างลงไปโดยสิ้นเชิง ทั้งนี้ ความนิยมในการก่อสร้าง “พระมหาธาตุ” หรือ “พุทธปรางค์” ได้รับการรื้อฟื้น ขึ้นมาอีกครั้งในรัชกาล “สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 5” หรือที่รู้จักพระนามแพร่หลายว่า “สมเด็จพระเจ้า ปราสาททอง” (ครองราชย์ 2173-2199) ซึ่งในรัชกาลของพระองค์ได้มีความนิยมในบริบทของ “เขมร โบราณ” กลับมาอีกครั้ง ทั้งในการก่อสร้างศิลปสถาปัตยกรรม ตลอดจนจารีตประเพณีต่างๆ เนื่องจาก ในรัชกาลของพระองค์นั้นมีชัยเหนือเมืองพระนคร ในการนั้นพระองค์โปรดเกล้าให้บูรณปฏิสังขรณ์ เรือนยอดของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่พังทลายลงมาตั้งแต่รัชกาลพระเจ้าทรงธรรม โดยในการ บูรณปฏิสังขรณ์ในครั้งนี้ ได้น่าสุนทรียภาพแบบใหม่ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากศิลปสถาปัตยกรรมใน เมืองพระนคร ซึ่งสันนิษฐานว่า คือ “ปราสาทนครวัด” น่ามาสู่การก่าหนดรูปทรงในการก่อสร้างให้มี ความสูงขึ้นจากเดิมเพื่อให้องค์พระมหาธาตุแลดูสง่างาม ต่างไปจากรูปทรงเดิมที่มีพระบรมราชวินิจฉัย ว่า “องค์เก่าล่านัก” ในรัชกาลของพระองค์ยังโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนา “พระมหาธาตุ และวัดไชยวัฒนา ราม” ทั้งผังบริเวณตรงต่าแหน่งซึ่งเคยเป็นนิวาสสถานดั้งเดิมของพระมารดาของพระองค์ จะเห็นได้ว่า “พระมหาธาตุวัดไชยวัฒนาราม” ที่สร้างขึ้นใหม่นี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการทางสถาปัตยกรรม อย่างน่าสนใจ กล่าวคือ การก่อสร้างได้หลุดออกจากขนบแบบแผนที่เป็นจารีตในการก่อสร้างที่ผลิตซ้่า กัน มาอย่ างยาวนานในสมัยอยุ ธยาตอนต้น โดยเฉพาะในการวางผั งของพระมหาธาตุประธานให้ ความสัมพันธ์กับแกนทั้ง 4 ด้านด้วยการสร้างบันไดทางขึ้นทั้ง 4 ด้าน ในขณะที่พระมหาธาตุในสมัย อยุ ธ ยาตอนต้น จะให้ ความส่ า คัญ กับ มุข ทิศด้ านตะวัน ออกเท่านั้น เพราะฉะนั้น ในการออกแบบ สร้างสรรค์พระมหาธาตุวัดไชยวัฒนารามจึงได้สะท้อนให้เห็นถึงความอิสระในการออกแบบที่หลุด ออกมาจากขนบดั้งเดิม ด้วยระยะเวลาที่ทิ้งห่างอย่างยาวนาน

69

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. อยุธยา ประวัติศาสตร์และการเมือง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการต่าราสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์, 2544. หน้า 29–31.


86

นอกจากนี้ สันนิษฐานว่ายังทรงสถาปนา “พระมหาธาตุวัดวรเชตุเทพบารุง ” ที่มีการวางผัง และรูปทรงทางสถาปัตยกรรมแบบจัตุรมุขสมมาตรกัน อันเป็นแบบแผนที่มีความนิยมในการก่อสร้าง ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง สอดคล้องกับข้อเสนอของศาสตราจารย์ ดร. สันติ เล็กสุขุมที่เสนอ ว่าพระมหาธาตุวัดวรเชตุเทพบ่ารุงนั้นน่าจะมีอายุร่วมสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง 70 ดังจะเห็นได้ จากการบูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และการก่อสร้างพระมหาธาตุวัดไชยวัฒนาราม เพราะฉะนั้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวมาข้างต้นพระมหาธาตุวัดวรเชตุเทพบ่ารุงจึงควรสร้างขึ้นในช่วงสมัย สมเด็จพระเจ้าปราสาททองด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ดี มีผู้เชื่อว่าพระมหาธาตุวัดวรเชตุเทพบ่ารุงนั้นสร้าง ในรัชกาลสมเด็จพระเอกาทศรถนั้น ประเด็นดังกล่าวนั้นไม่อาจเป็นไปได้ เนื่องจากในช่วงรัชกาล สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถนั้นไม่ปรากฏการสร้างพระมหาธาตุองค์ใดเลย รวมทั้งหากพิจารณาเอกสารพระราชพงศาวดารอยุธยาฉบับต่างๆ ในตอนพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์ต่างๆ ก็กล่าวไว้อย่างชัดเจน ว่าโปรดให้สร้างพระเจดีย์หาใช่พระมหาธาตุไม่ “พระเชษฐารามมหาวิหารอันรจนาพระพุทธประติมา มหาเจดีย์บรรจุพระสาริกธาตุ...”71 เพราะฉะนั้น พระเจดีย์ที่วัดวรเชษฐารามซึ่งสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงสร้างนั้นย่อมไม่ใช่สร้างพระมหาธาตุซึ่งเป็นเจดีย์ทรงปรางค์ หากแต่เป็นการสร้างเจดีย์ทรงระฆัง

70

สันติ เล็กสุขุม. เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชาศิลปะอยุธยาและศิลปะรัตนโกสินทร์ ภาคการศึกษาต้นปี การศึกษา 2541. อ้างถึงใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. “การสันนิษฐานรูปแบบทาง สถาปัตยกรรมวัดวรเชตุเทพบารุง จ.พระนครศรีอยุธยา” ใน มองอดีตผ่านเวลาศรัทธาสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. หน้า 1-8. 71 “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 2. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 157. ความกล่าวตรงกันกับ “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 2. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 366.


87

ภาพที่ 17: แบบสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุวดั ไชยวัฒนาราม ภาพซ้าย คือ แผนผัง, ภาพขวา คือ รูปด้านหน้า

ภาพที่ 18: ภาพซ้าย คือ แบบสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุวัดไชยวัฒนาราม ภาพขวา คือ พระมหาธาตุวัดวรเชตุ เทพบ่ารุง ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่เหมือนกัน คือ การให้ความส่าคัญกับแกนทั้ง 4

นับตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) มานั้นไม่มีการก่อสร้ าง พระมหาธาตุขนาดใหญ่ในกรุงศรีอยุธยาเลย แต่ทว่าในการสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถกลับได้มี การน่ารูปแบบทางสถาปัตยกรรมของพระมหาธาตุทรงปรางค์ที่สร้างแพร่หลายในดินแดนลุ่มแม่น้่า พระยา เป็นสัมภาระทางวัฒนธรรมติดพระองค์ได้ด้วย และโปรดให้สถาปนาพระมหาธาตุทรงปรางค์ ครอบทับพระเจดีย์เดิมของวัดส่าคัญต่างๆ ในลุ่มน้่าน่านแห่งเมืองพิษณุโลก เช่น “พระมหาธาตุวัด จุฬามณี” ซึ่งพังทลายลงมาเหลือถึงเรือนธาตุ “พระมหาธาตุวัดวิหารทอง” ซึ่งพังทลายลงมาเหลือแต่


88

ฐาน “พระศรีรัตนมหาธาตุพิษณุโลก” และ “พระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง” แต่จะเห็นได้ว่า ในช่วงเวลา ดั ง กล่ า วในดิ น แดนลุ่ ม แม่ น้่ า เจ้ า พระยากลั บ ไม่ มี ก ารก่ อ สร้ า งพระมหาธาตุ อ งค์ ใ หม่ หรื อ การ เปลี่ ย นแปลงรู ป ทรงของเจดี ย์ แ บบเดิ ม มาเป็ น พระมหาธาตุ ดั ง เช่ น ที่ พ บในเมื อ งฝ่ า ยเหนื อ เลย เพราะฉะนั้น ในแง่นี้จะเห็นได้ว่ารูปทรงทางสถาปัตยกรรม “พระมหาธาตุ” จึงสะท้อนให้เห็นการท่า หน้าที่เป็นสัญลักษณ์ของ “อานาจ” อยุธยาในหัวเมืองฝ่ายเหนือด้วยนั่นเอง

ภาพที่ 19: ภาพซ้าย คือ พระมหาธาตุวัดจุฬามณี สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และภาพขวา คือพระ มหาธาตุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง สันนิษฐานว่าสร้างในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเช่นเดียวกัน โดย น่าจะสร้างครอบทับพระเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์

เหตุดังกล่าวท่าให้ภูมิปัญญาในการก่อสร้าง และคติความเชื่อ ตลอดจนฐานานุศักดิ์ทาง สถาปัตยกรรมในการออกแบบพระมหาธาตุแบบเดิมนั้นไม่ได้ถูกถ่ายทอดเชื่อมต่อไปจึงท่าให้เกิดความ เปลี่ ย นแปลงของรู ปแบบทางสถาปัตยกรรม ตลอดจนการเลื อกใช้องค์ประกอบตกแต่งกอปรกับ สุนทรียภาพแบบใหม่ดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงท่าให้รูปทรงทางสถาปัตยกรรมของ “พระมหาธาตุ” ที่ สร้างขึ้นในชั้นหลังแปรเปลี่ยนไปจากเดิม นอกจากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับรูปทรงแล้ว ความ เปลี่ยนแปลงยังเกิดขึ้นกับความหมายและฐานานุศักดิ์ของรูปทรงอีกด้วย ดังปรากฏมีความนิยมในการ ก่อสร้างพระปรางค์ให้เป็นองค์ประกอบรองในผังบริเวณด้วย เช่น การสร้างพระปรางค์คู่หน้าพระ อุโบสถ เป็นต้น ดังปรากฏมีการก่อสร้างพระปรางค์คู่ด้านหน้าพระอุโบสถวัดพระยาแมนซึ่งสร้างขึ้นใน รัชกาล “สมเด็จพระเพทราชา” (ครองราชย์ พ.ศ.2231-2246) เป็นต้น รวมทั้งมีความแพร่หลายไปยัง ท้องที่อื่นๆ นอกเหนือจากอยุธยาเช่น วัดสระบัว จังหวัดเพชรบุรี เป็นต้น ทั้งนี้ เนื่องจากการรื้อฟื้น รูปทรงของพระปรางค์ขึ้นมาใหม่อีกครั้งหลังจากที่หลงลืมไปอย่างยาวนาน ท่าให้เกิดการแหวกขนบ ดั้งเดิมในการก่อสร้างออกไปมากมาย กล่าวคือ มีการบูรณาการองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมอื่นๆ


89

มาใช้ในการออกแบบก่อสร้างพระปรางค์ เช่น การหายไปของชุดฐานบัวที่ท้องไม้ออกแบบเป็นบัวลูก ฟักซึ่งเป็นเอกลักษณ์ส่าคัญของพระปรางค์ได้ถูกแทนที่ด้วยการใช้รูปแบบชุดฐานแบบฐานสิงห์ รวมทั้ง การหายไปของชั้นอัสดงอันเนื่องมาจากสุนทรียภาพที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากเมืองพระนครที่ให้ ความส่าคัญกับเส้นรอบรูปของเรือนยอด ท่าให้การก่อสร้างประติมากรรมรูปครุฑขนาดใหญ่ที่เคย ประดับอยู่บนมุมประธานของชั้นอัสดงนั้นหายไป เปลี่ยนมาใช้เป็นกลีบขนุนเพื่อรักษาเอกภาพของ เส้นรอบรูปส่วนเรือนยอด ดังตัวอย่างของ พระมหาธาตุวัดไชยวัฒนาราม และพระมหาธาตุวั ดวรเชตุ เทพบ่ารุง เป็นต้น นอกจากนี้ ยังปรากฏการย่อมุมที่ซับซ้อนมากขึ้นจากเดิม รวมไปทั้งการหดเข้าของ มุมประธานของส่วนเรือนธาตุไปเสมอกับมุมประกอบอื่นๆ จึงท่าให้คุณลักษณะของเรือนธาตุแบบ อยุธยาตอนต้นที่รับถ่ายทอดมาจากปราสาทขอมได้สูญสิ้นไป และท่าให้ภาพรวมของการย่อมุ มของผัง พื้นตัวเรือนธาตุ และเรือนยอดที่เคยวางมุมสัมผัสกับเส้นรอบรูปวงกลมได้เปลี่ยนแปลงไป กลายเป็น การย่อมุมอยู่ภายในผังรูปแปดเหลี่ยมซึ่งส่งผลต่อรูปทรงของเรือนยอดที่เคยดูกลมแบบ “พระปรางค์ ทรงงาเนียม” อันเป็นเอกลักษณ์ของพระปรางค์แบบอยุธยา เปลี่ยนมาเป็นรูปทรง “พระปรางค์แบบ ฝักข้าวโพด” แทนที่ นอกจากนี้ การที่ไม่มีการก่อสร้างพระมหาธาตุขนาดใหญ่อีกต่อไป การหยิบยืมรูปทรงของพระมหาธาตุมาพัฒนาต่อเป็นพระปรางค์ขนาดเล็ก เช่น “พระ ปรางค์คู่ประกอบผัง ” หรือ “พระปรางค์ราย” ได้เกิดความจ่าเป็นในการลดทอนรายละเอี ยดอัน ซับซ้อนของเรือนยอดลงโดยเฉพาะมิติที่ลึกเข้าไปของชั้นรัดประคดที่ตั้งกลีบขนุนที่ลอยตัวออกมา ด้วย การออกแบบเป็นกลีบขนุนติดแปะเข้ากับส่วนตัวเรือนยอดโดยยกให้มีมิติเพียงเล็กน้อยหรือการใช้ วิธีการตัดเส้นเส้นหรือสีสันที่แตกต่างกันเป็นตัวก่ากับเท่านั้น รูปแบบการน่าเสนอที่กล่าวมานั้นได้ ท่า ให้เรือนยอดที่เคยดูซับซ้อนมีมิติแบบเดิม คงเหลือเป็นเพียง “กลีบขนุนเทียม” ประดับบน “ชั้นรัด ประคตเทียม” เท่านั้น ดังตัวอย่างของพระปรางค์สมัยอยุธยาตอนปลาย และรัตนโกสินทร์

5. พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี: ต้นธารศิลปะสถาปัตยกรรมพระมหาธาตุทรงปรางค์ใน ลุ่มนาภาคกลางของไทย ในภูมิภ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ในช่ว งพุทธศตวรรษที่ 16–17 จะเห็ นได้ว่ า พุ ท ธ ศาสนารุ่งเรืองมากขึ้นที่อาณาจักรมอญทางตอนใต้ของพม่า รวมไปถึงได้รุ่งเรืองอย่างสูงยิ่งที่เมือง พุกามในพม่าตอนบน เนื่องมากจากภาวะสงครามในเกาะลังกา ส่าหรับในพื้นที่ในเขตดินแดนประเทศ ไทยก็เริ่มปรากฏหลักฐานการสร้างบ้านแปงเมืองและมีการสถาปนาพระบรมธาตุขึ้นด้วยเช่นกัน เช่น พระบรมธาตุหริภุญชัยที่มีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมอญและพม่า หรือแม้แต่พระบรมธาตุนครศรีธรรมราชที่ ตั้งอยู่ บ นคาบสมุ ทรภาคใต้ ที่มี ห ลั กฐานทางประวัติ ศาสตร์ที่ พ ยายามจะยึดโยงเข้า กับ ศู นย์ กลาง พระพุทธศาสนาที่ลังกา เป็นต้น


90

แม้ว่าในช่วงเวลาดังกล่าวนั้น นอกจากจะมีเมืองพุกามที่ท่าหน้าที่เป็นศูนย์กลางทาง พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทแล้ว ในดินแดนลุ่มแม่น้่าโตนเลสาบก็ยังมีการนับถือพระพุทธศาสนา นิกายมหายานเกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ซึ่งแม้ว่าจะเป็นการประดิษฐานดวงเทียนแห่งพุทธ ศาสนาขึ้นเป็นระยะเวลาสั้นๆ แต่ก็มีบทบาทและอิทธิพลอย่างสูงยิ่งต่อดินแดนลุ่มน้่าโตนเลสาบ และ ดินแดนลุ่มแม่น้่าภาคกลางของไทยซึ่งมีสายสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกัน กล่าวคือ ศูนย์กลางอ่านาจแห่งลุ่มแม่น้่าภาคกลางของไทยในช่วงเวลาดังกล่าวนั้นอยู่ที่ “เมืองลพบุรีโบราณ” หรือที่รู้จักกันว่า “เมืองละโว้” ทว่าเมืองนี้เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีการตั้งถิ่นฐาน ซ้อนทับกันหลากยุคหลากสมัยอยู่บนที่ตั้งเดิมมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนกระทั่งเข้าสู่ยุคสมัย วัฒนธรรมทวารวดี เมืองลพบุรีโบราณก็เป็นเมืองที่มีความส่าคัญมาก เนื่ องจากปรากฏมีหลักฐานทาง โบราณคดี และโบราณสถานจ่านวนมากมาย รวมไปมีการสถาปนาพระมหาสถูปเพื่อเป็นองค์ประกอบ ของเมืองด้วย คือ “พระมหาสถูปวัดนครโกษา” นอกจากนี้ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ “ชินกาล มาลีปกรณ์” ยังกล่าวถึงการที่พระนางจามเทวีซึ่งเป็นพระธิดาของกษัตริย์ลพบุรีขึ้นไปครองเมืองหริ ภุญไชย พร้อมกับพระมหาเถร และช่างฝีมือแขนงต่างๆ แสดงให้เห็นถึงความเจริญทางพุทธศาสนา และชุมชนที่มีความซับซ้อนและมีทรัพยากรที่หลากหลาย ตราบจนกระทั่งสมัยอาณาจักรเขมรเรือง อ่านาจ เมืองลพบุรีโบราณก็ยังท่าหน้าที่เมืองส่าคัญอยู่ดังเดิม และกลายเป็นเมืองส่าคัญอย่างยิ่งเมือง หนึ่งของอาณาจักรเขมรด้วย 72 ซึ่งพบร่องรอยของสิ่งก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม และโบราณวัตถุใน สมัยอาณาจักรเขมรจ่านวนมากมายที่เมืองลพบุรีโบราณ โดยเฉพาะในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่มี การก่อสร้างปราสาทศิลาแลงเป็นพระปรางค์ 3 องค์เนื่องในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน 73 ซึ่งเป็น ต้นเค้าของการสร้างสรรค์ศิลปสถาปัตยกรรมพระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีอีกด้วย เมื่อท่าการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดี ตลอดจนภูมิศาสตร์ของพื้นที่ภาคกลางอย่าง บูรณาการแล้ว ท่าให้ มีข้อสั นนิ ษฐานว่าราชธานีเดิมก่อนย้ายลงมายังกรุงศรีอยุธ ยานั้นควรจะเป็น “เมืองละโว้ ” เนื่ องจากที่ตั้งของเมืองเป็ น ชัยภูมิที่ยอดเยี่ย มด้ว ยคุณสมบัติข องการเป็นชุม ทางที่ สามารถเชื่อมต่อไปยังพื้นที่ราบสูงโคราช และพื้นที่ตอนในของแม่น้่าป่าสักได้ รวมไปถึงมีเส้นทางแม้ น้่าลพบุรีที่เชื่อมไปยังแม่น้่าเจ้าพระยาได้โดยสะดวก จึงมีคุณสมบัติอันเหมาะสมในการเป็นเมื อง ศูนย์กลางการปกครองของลุ่มแม่น้่าภาคกลางก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาในสมัยพระเจ้าอู่ทอง

72

จารึกศาลสูง และ จารึกปราสาทพระขรรค์ กล่าวถึงอิทธิพลทางการเมืองจากอาณาจักรขอมได้เข้ามาสู่เมืองลพบุรี แล้วอย่างน้อยในสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 (พ.ศ.1545–1593) และยังคงอยู่อย่างต่อเนื่องจนถึงในสมัย ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ.1724–1761) 73 สถาพร อรุ ณ วิ ล าส. “พุ ท ธปรางค์ ประวั ติ ศ าสตร์ ส ถาปั ต ยกรรมยุ ค ต้ น สยามประเทศ” ใน หน้ า จั่ ว ฉบั บ ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2547. หน้า 16.


91

และแม้ว่ามีก ารสถาปนากรุ ง ศรี อ ยุธ ยาเป็ นเมื องราชธานี แล้ ว เมืองละโว้ก็ยัง ท่ าหน้ าที่ เป็ น เมื อง ศักดิ์สิทธิ์ด้วยเป็นที่ตั้งของพระศรีรัตนมหาธาตุอันเก่าแก่ของลุ่มแม่น้่าภาคกลางของไทย แม้ว่า พระพุทธศาสนาเถรวาทจะลงหลักปักฐานยังดินแดนลุ่มแม่น้่าภาคกลางของไทย อย่างเข้มแข็ง ทว่ารูปทรงทางสถาปัตยกรรมที่แพร่หลายและนิยมมาอยู่ก่อนหน้ากลับเป็นแรงบันดาล ใจมาจากรูปทรงพระปรางค์ของปราสาทหิน อันสะท้อนให้เห็นว่าการเข้ามาของพระพุทธศาสนา ในช่ ว งดั ง กล่ า วนั้ น เป็ น เข้ ามาในลั ก ษณะของการเผยแผ่ ข องหลั ก ธรรม หาได้ น่ า พาวิ ธีคิ ด ในการ ออกแบบสถาปั ตยกรรมมาด้ว ยไม่ คงปล่ อยให้ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของศาสนสถานฮินดู ที่ แพร่หลายอยู่เดิมด่ารงบทบาทเป็นแรงบันดาลใจสู่การสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมในพระพุทธศาสนา 74 ส่ า หรั บ เมื อ งลพบุ รี ใ นสมั ย โบราณภายใต้ อิ ท ธิ พ ลของอาณาจั ก รเขมรนั้ น มี ก ารก่ อ สร้ า งศิ ล ป สถาปัตยกรรมจ่านวนมากมายที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากศิลปสถาปัตยกรรมแบบเขมรเมืองพระนคร อย่างไรก็ดี ในทัศนะความคิดภายใต้เพดานชาตินิยมที่ ผ่านมาของประเทศไทยในอดีตได้พยายาม ปฏิเสธการมีบทบาท และความสัมพันธ์ของอาณาจักรเขมรที่มีเหนือดินแดนลุ่มน้่าภาคกลางของไทย ท่าให้มีการก่าหนดเรียกศิลปสถาปัตยกรรมและศิลปวัตถุแบบเขมรดังกล่าวว่า “ศิลปะลพบุรี” ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่าในช่วงระหว่างพุทธศตวรรษที่ 16–18 ที่อาณาจักรเขมรเรืองอ่านาจ เหนือดินแดนลุ่มแม่น้่าภาคกลางของไทย และเมืองลพบุรีโบราณจะเห็นได้ว่ามีการก่อสร้างศาสนสถาน ส่วนใหญ่ที่ได้รับแรงบันดาลใจอันสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์จากอาณาจักรเขมรทั้งสิ้น อาทิ “พระ ปรางค์สามยอด”, “ปรางค์แขก”75 รวมทั้ง “พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี” อีกด้วย

74

Karl Dohring. Buddhist (Phra Chedi) Architecture of Thailand. Bangkok: White Lotus. 2000. P.34 75 Boisselier, “Rapport . . . 1964” (1965), p. 41; และ “Recherches archeologiques 1965” (1969), p. 54. อ้างถึงใน Hiram Woodward. The Art and Architecture of Thailand. Amsterdam: Leiden. 2003. Pp. 142. กล่าวว่าปรางค์แขกมีรูปทรงที่คล้ายคลึงกับปราสาทปักษีจ่ากรง เมืองเสียมเรียบที่มีอายุใน การก่อสร้างในครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 10.


92

ภาพที่ 20: พระมหาธาตุลพบุรี ซึ่งสันนิษฐานว่า ภาพที่ 21: พระปรางค์แขก เป็นพระปรางค์ก่ออิฐที่มีการ สร้างขึ้นในราวต้นพุทธศตวรรษที่ 19 วางผังเป็นปรางค์วางตัวเรียนหน้ากระดานกัน 3 องค์

ภาพที่ 22: แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานแสดงพระมหาธาตุลพบุรที ี่มีพระปรางค์บริวารขนาบด้านข้าง

ด้วยเหตุนี้จึงสรุปได้ว่า “เมืองโบราณลพบุรี ” เป็นเมืองที่มีความส่าคัญมาตลอดหน้า ประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยก่อประวัติศาสตร์จนกระทั่งสมัยทวารวดี และเคยมีการสถาปนาพระมหาสถูป กลางเมือง คือ “พระมหาสถูปที่วัดนครโกษา” และพระสถูปอื่นๆ อีกจ่านวนมากมาย นอกจากนี้ ใน ลุ่มแม่น้่าป่าสักยังมีเมืองโบราณที่ส่าคัญอีกเมืองหนึ่ง คือ “เมืองโบราณศรีเทพ” ซึ่งปรากฏมีการ ก่อสร้างพระมหาสถูปของเมืองทั้ง “พระมหาสถูปเขาคลังที่อยู่ในเมือง” และ “พระมหาสถูปเขาคลังที่ อยู่นอกเมือง” ซึ่งเมืองโบราณศรีเทพและเมืองโบราณลพบุรีย่อมมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นมาในอดีต เพราะมีความสัมพันธ์ในลุ่ มน้่าเดียวกันนั่น เอง ต่อมาในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ซึ่งพระองค์ทรง


93

ส่งเสริมให้มีการนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานและมีการก่อสร้างเสนาสนะ และพระมหาสถู ป เพื่อเป็นประธานของวัดต่างๆ ที่สร้างขึ้นในสมัยของพระองค์ โดยยืมเอารูปทรงทางสถาปัตยกรรมของ ปราสาทหินเนื่องในศาสนาพราหมณ์ฮินดูที่รุ่งเรืองและแพร่หลายอยู่ก่อนหน้ามาเป็นสถาปัตยกรรม ประธานของวัดพุทธศาสนานิกายมหายานด้วย

ภาพที่ 23: โบราณสถานเขาคลังนอก เมืองโบราณศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์

ต่อมามหาอาณาจักรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมอ่านาจลง ทั้งอาณาจักรพุกามซึ่ง เกิดจากการที่มองโกลลงมาโจมตีเมืองพุกามแตก รวมทั้งอาณาจักรเขมรซึ่งเสื่อมลงในปลายพุทธ ศตวรรษที่ 18 หลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สภาพสุญญากาศทางการเมืองของมหา อาณาจักรใหญ่ดังกล่าวมานั้นได้เปิดโอกาสให้บ้านเมือง และชุมชนต่างๆ ได้สถาปนาตนขึ้นเป็นรัฐใหญ่ น้อย อาทิเช่น เชียงใหม่ สุโขทัย หลวงพระบาง ตลอดจนละโว้ และ อโยธยา เป็นต้น จากสถานภาพการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บด้ ว ยวิ ธี วิ ท ยาทางโบราณคดี ประวั ติ ศ าสตร์ สถาปัตยกรรม และประวัติศาสตร์ศิลปะ ท่าให้ข้อสันนิษฐานว่าพระปรางค์ หรือองค์พระศรีรัตนมหา ธาตุลพบุรีนั้น ควรถูกสร้างขึ้นในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 19 หรือในราว 100 ปี ก่อนการสถาปนากรุง ศรีอยุธยาอย่างเป็นทางการในปีพ.ศ.1893 ทั้งนี้ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของปรางค์องค์นี้มีการใช้ ศิลาแลงขนาดใหญ่เป็นวัสดุก่อสร้าง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของปราสาทขอมในดินแดนไทยที่สร้าง ในช่วงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 18 โดยมีพัฒนาการต่อเนื่องมาจากปราสาทขอมในสมัยบายน ทั้งนี้ ดินแดนลุ่มแม่น้่าภาคกลางของไทยก่อนหน้าที่พระเจ้าอู่ทองได้สถาปนากรุงศรี อยุธยาขึ้นอย่างเป็นทางการในปีพ.ศ.1893 นั้น ก็ไม่ได้ร้างลาผู้คน แต่กลับมีการตั้งถิ่นฐานสร้างบ้าน แปงเมืองกันอย่างคึกคัก เพียงแต่ว่าไม่มีหลักฐานประวัติศาสตร์ลายลักษณ์กล่าวถึงมากนัก ดังสะท้อน ให้เห็นจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พระราชพงศาวดารกรุงเก่ าฉบับหลวงประเสริฐ ที่ให้ข้อมูลว่า


94

"จุลศักราช 686 ชวดศก แรกสถาปนาพระพุทธเจ้าแพนงเชีง ”76 ซึ่งตรงกับปีพ.ศ.1867 ซึ่งก่อนหน้าปี ที่พระเจ้าอู่ทองสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีอย่างเป็นทางการถึง 26 ปี อย่างไรก็ตาม สถานภาพความรู้ในอดีตที่ปราศจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อันแสดง ถึงที่มาของพระเจ้าอู่ทอง การศึกษาในอดีตจึงมีความพยายามเชื่อมโยงพระเจ้าอู่ทองให้มีนิวาสสถาน ดั้งเดิมอยู่ที่ “เมืองอู่ทอง” อันเนื่องจากนามที่พ้องชื่อกัน อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการขุดค้นทางโบราณคดี ได้ท่าให้สถานภาพความรู้ที่เกิดจากการตีความโดยการเชื่อมโยงระหว่าง “นามของเมือง” กับ “พระ นามของพระเจ้าอู่ทอง” ปฐมกษัตริย์ของกรุงศรีอยุธยา (ตามที่ปรากฏหลักฐาน) ต้องเปลี่ยนแปลงไป เพราะเมืองอู่ทองนั้นถูกทิ้งร้างไปก่อนการตั้งกรุงศรีอยุธยาอย่างเป็นทางการในสมัยพระเจ้าอู่ทอง หลายร้อยปี ในกรุงศรีอยุธยานั้นรับเอาคติเรื่องธาตุบูชาจากลังกาเข้ามาผสมผสานกับสถาปัตยกรรม ที่ได้รับอิทธิพลจากเขมร จนเกิดเป็นแบบอย่างเฉพาะของมหาธาตุแห่งอาณาจักรอยุธยาที่มีความ แตกต่างไปจากดินแดนอื่นๆอย่างชัดเจน โดยความส่าคัญของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีนี้คงมีมาก ขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น77 สืบเนื่องจากความส่าคัญของเมืองลพบุรีที่ได้กลายเป็นเมืองลูกหลวงแห่ง แรกของอยุธยา ในการนี้ จึงสันนิษฐานว่าเมืองลพบุรีนั้นอาจจะเป็นที่ประทับของสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 1 ก่อนที่จะทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาในปีพ.ศ.1893 ในหนังสือ “สถูปเจดีย์ในประเทศไทย” ที่เรียบเรียงโดย น.ณ ปากน้่า หรือ อาจารย์ ประยูร อุลุชาฎะ ตีพิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.2516 หรือเมื่อประมาณ 40 กว่าปีที่แล้วได้ให้ทัศนะว่า เมืองอู่ ทองไม่ได้เป็นเมืองที่พระเจ้าอู่ทองได้ทรงจากมาก่อนที่จะมาตั้งเมืองใหม่ที่อยุธยา 78 นอกจากนี้ ยังให้ ทัศนะอีกว่า จ่าเป็นต้องท่าการศึกษาโดยละเอียดเพื่อจ่าแนกศิลปะระหว่าง “อู่ทอง” และ “อยุธยา” ออกจากกันด้วยการศึกษาอย่างระมัดระวัง เพราะเนื่องจากการศึกษาที่ผ่านมาจะก่าหนดอายุศิลปวัตถุ ต่างๆ ที่ควรจะเป็นศิลปะอู่ทองให้ไปเป็นศิลปะอยุธยา79 จากที่กล่าวมาข้างต้น จึงปฏิเสธไม่ได้ว่า ค่าว่า “อู่ทอง” จึงถูกน่ามาเรียก “ยุคสมัย ศิลปะที่มีอายุก่อนหน้าอยุธยา” ซึ่งมีรูปลักษณะที่มีเอกลักษณะเฉพาะตนที่แตกต่างไปจากศิลปะสมัย อยุธยา ด้วยฐานความคิดอันเนื่องมาจากความเชื่อที่ว่าอยุธยาเป็นเมืองที่มีพัฒนาการสืบเนื่องมาจากอู่ 76

“พระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เ ษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 211. 77 อย่างไรก็ตามเรื่องราวของวัดแห่งนี้เพิ่งมาปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนในสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ โดยพระ ราชพงศาวดารฉบั บ พั น จั น ทนุ ม าศ ได้ ร ะบุ ถึ ง เหตุ ก ารณ์ ที่ พ ระองค์ ท รงเสด็ จ มายั ง เมื อ งลพบุ รี เ พื่ อ บูรณปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุในพ.ศ.2095 78 น. ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25. 79 น. ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25.


95

ทองดังกล่าวมาข้างต้น เพราะฉะนั้นในอดีตจึงมีการก่าหนดเรียกชื่อศิลปะเก่ากว่าอยุธยาดังกล่าวว่า “ศิล ปะอู่ทอง” ซึ่ง น.ณ ปากน้่ า ให้ ทัศ นะว่า ควรเรียกศิล ปะดัง กล่ าวว่า “ศิล ปะกัมโพช” หรือ “ศิลปะอโยธยา สุพรรณภูมิ ” แต่ทว่าว่าเป็นชื่อรูปแบบที่เรียกกันอย่างแพร่ห ลายกันจนยากที่จ ะ เปลี่ยนแปลง80 นอกจากนี้ ยังแสดงทัศนะว่า “ศิลปะอู่ทอง” พบอย่างกว้างขวางเป็นศิลปะสายใหญ่ และศิลปะอู่ทองรุ่นแรกมีความเชื่อมโยงกับศิลปะทวารวดีอย่างใกล้ชิด81 นอกจากนี้ น.ณ ปากน้่า ก็ยังให้ทัศนะต่อศิลปะก่อนสมัยอยุธยา โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง “ปรางค์” อย่างน่าสนใจที่สมควรต้องน่ามาอภิปรายให้เห็นชุดความคิดของ น.ณ ปากน้่า กล่าวคือ 1. ปรางค์พระมหาธาตุ วัดมหาธาตุ ราชบุรี เป็นศิลปะแบบลพบุรี82, 2. ปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุศรีสัชนาลัย และพิษณุโลก เป็นศิลปะแบบสุโขทัย83, 3. ปรางค์พระมหาธาตุ สุพรรณบุรี เป็นศิลปะแบบอู่ทอง84, 4. ปรางค์ที่สรรค์บุรี เป็นศิลปะแบบอู่ทอง85, 5. ปรางค์วัดมหาธาตุลพบุรี เป็นแบบศิลปะลพบุรี และศิลปะอโยธยา86, 6. ปรางค์ ห น้ า วั ด พระธาตุ สิ ง ห์ บุรี ซึ่ ง ในที่ นี้ จึ ง ตี ค วามได้ ว่ า อาจารย์ น.ณ ปากน้่า ก่าหนดให้เป็นศิลปะแบบศิลปะอโยธยา87, 7. ปรางค์วัดอรัญญิกราชบุรี เป็นแบบอู่ทองตอนปลาย88 80

น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 24. น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 24. 82 น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25. 83 น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25. และประเด็นดังกล่าวนี้ อาจารย์ น.ณ ปากน้่าได้กล่าวเน้นย้่าอีกครั้งใน เล่มเดียวกัน. หน้าที่ 34. ว่าปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เชลียง และวัดพระศรีรัตนมหาธาตุพิษณุโลกเป็นปรางค์แบบสุโขทัย หาใช่เป็นแบบอยุธยาไม่ ทว่าการตีความ นี้ไม่ได้รับการยอมรับนัก เพราะสันนิษฐานกันว่าเป็นปรางค์อยุธยาที่พระบรมไตรโลกนาถได้ก่อพอกพระ เจดีย์องค์เดิม ซึ่งสันนิษฐานว่าควรเป็นเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ 84 น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25. 85 น.ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 25. 86 ข้อความดังกล่าวนั้น อาจารย์ น.ณ ปากน้่า อาจจะหมายถึงว่า วัดมหาธาตุลพบุรีมีพระปรางค์หลายองค์ ทั้งปรางค์ ประธาน และปรางค์ราย ซึ่งมีรูปแบบศิลปะที่แตกต่างกัน 87 ในบริบทของรูปประโยคนี้ น.ณ ปากน้่า ต้องการเขียนรวบประโยคที่ต่อเนื่องกัน แต่ได้สร้างความสับสน เนื่องจาก เป็นการก่าหนดรูปแบบมาจากบริบทของวัดมหาธาตุลพบุรี ซึ่งกล่าวว่ามี 2 รูปแบบ จึงสร้างความสับสนว่า น.ณ ปากน้่า ต้องการก่าหนดว่าปรางค์วัดมหาธาตุสิงห์บุรี เป็นศิลปะอะไรระหว่าง ศิลปะลพบุรี และศิลปะ อโยธยา 88 น. ณ ปากน้่า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. หน้า 34. 81


96

จากกระแสการเรียก “ศิลปะสถาปัตยกรรมแบบเขมร” ว่า “ศิลปะลพบุรี” ตามแนวคิด ชาตินิยมดังที่กล่าวมาแล้วนั้นท่าให้ น.ณ ปากน้่า ก็ได้ก่าหนดว่า “พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี” นั้นเป็น “ศิลปะลพบุรี และศิลปะอโยธยา” ซึ่งก็หมายถึงเป็น “ศิลปะสถาปัตยกรรมแบบเขมร” ที่มีพัฒนาการ คลี่คลายสู่ความเป็นท้องถิ่นและถูกสร้างขึ้นก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาอย่างเป็นทางการ ซึ่งยุค สมัยดังกล่าวนั้น น.ณ ปากน้่าเรียกว่าเป็น “สมัยอโยธยา” นั่นเอง

ภาพที่ 24: “ภาพซ้าย” คือ พระมหาธาตุวัดพระราม มุมทางขวามือของภาพยังเห็นซากฐานของพระปรางค์ที่สร้าง ขนาบข้าง “ภาพขวา” คือ มหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ แลเห็นมีมณฑปขนาบอยู่ด้านหน้าข้าง

ทั้งนี้ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมและการวางผังของพระมหาธาตุลพบุรีนั้นมีลักษณะเป็น พระปรางค์เรียงหน้ากระดาน 3 องค์โดยพระปรางค์องค์กลางมีขนาดใหญ่และมีพระปรางค์บริวาร ขนาบอยู่นั้นได้ส่งอิทธิพลต่อไปยังการวางผัง “พระปรางค์วัดพระราม” และ “พระปรางค์วัดพุทไธ ศวรรย์” จึงท่าให้ในการศึกษานี้มีข้อสันนิษฐานว่า “พระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” ก็ อาจจะเคยเป็นปรางค์ที่มีการวางผังแบบปรางค์ 3 องค์เรียงหน้ากระดานด้วยก็เป็นได้


97

6. ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์การสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่กล่าวถึงการสถาปนา “พระศรีรัตนมหาธาตุ” ที่ชวนให้เข้าใจ หรื อชวนให้ ตีความว่าหมายถึง “การสถาปนาพระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” ตามที่ ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ มีดังต่อไปนี้ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ให้ข้อมูลว่ามีการสถาปนาพระ ศรีรัตนมหาธาตุขึ้น ในปีพ.ศ.1917 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ความว่า “... ศักราช 736 ขาลศก สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าและพระมหาเถรธรรมกัลญาณ แรกสถาปนาพระ ศรีรัตนมหาธาตุฝ่ายบูรพาทิศ หน้าพระบันชั้นสิงห์สูงเส้น 3 วา...”89 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ให้ข้อมูลว่ามีการสถาปนา พระศรีรัตนมหาธาตุขึ้น ในปีพ.ศ.1917 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ความว่า “ศักราช 736 ปีขาล ฉอศก สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าและพระเถรธรรมากัลป์ญาณ แรกสถาปนา พระศรีรัตนมหาธาตุ ฝ่ายบุรทิศหน้าบันชอนสิงสูง 19 วา ยอดนภศูลสูง 3 วา”90 พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน ให้ข้อมูลว่า มีการสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุขึ้น ในปีพ.ศ.1917 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ความว่า “ศักราช 736 ปีขาลฉศก สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้าพระเถรธรรมากัลป์ญาณ แรก สถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุ ฝ่ายบูรทิศ หน้าพระบรรพชั้นสิงห์สูง 19 วา ยอดนพศูลสูง 3 วา”91 จะเห็นได้ว่าข้อมูลจากพระราชพงศาวดารทั้ง 3 ฉบับ คือ พระราชพงศาวดารฉบับหลวง ประเสริ ฐ อั ก ษรนิ ติ์ พระราชพงศาวดารกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาฉบั บ พั น จั น ทนุ ม าศ (เจิ ม ) และพระราช พงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับ บริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน ได้ให้ข้อมูลที่ตรงกันในการสถาปนา “พระศรีรัตนมหาธาตุ” ในปีพ.ศ.1917 ตรงกับรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) ครองราชย์ระหว่าง และให้ข้อมูลก่ากับไว้ด้วยว่าเป็น “พระศรีรัตนมหาธาตุฝ่ายบูรพาทิศ” ซึ่งหมายถึง “พระศรีรัตนมหาธาตุที่ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออก” แต่พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐ อักษรนิติ์ให้ข้อมูลเรื่องความสูงของพระปรางค์ไม่ตรงกับฉบับอื่น กล่าวคือให้ความสูงเป็น 1 เส้น 3 วา ซึ่งเท่ากับประมาณ 46 เมตร แต่ตัวเลข 3 วาดังกล่าวนั้นก็อาจจะหมายถึงความสูงของยอดนพศูลก็

89

“พระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เ ษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 212. 90 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 215. 91 “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 12.


98

เป็นได้ ในขณะที่พงศาวดารฉบับอื่นๆ ให้ความสูงเท่ากับ 19 วา หรือประมาณ 38 เมตร และมียอด นพศูลสูง 3 วา หรือประมาณ 6 เมตร อย่ างไรก็ดี ปี พ.ศ.1917 ที่ท่าการสถาปนาพระมหาธาตุที่กล่าวถึงตรงกันในเอกสาร ประวัติศาสตร์อยุธยาฉบับต่างๆ นั้น กลับมีปัญหาที่จะเป็นต้องน่ามาสู่การวินิจฉัยเพิ่มเติมกล่าวคือ มี ข้อมูล ที่ถูกกล่ าวถึงในรั ช กาลสมเด็จ พระราเมศวรที่เป็น ข้อ ขัดแย้ งกับหลั กฐานการสถาปนาพระ มหาธาตุดังที่กล่าวมาข้างต้น กล่าวคือ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ให้ข้อมูลว่ามีการสถาปนา พระมหาธาตุขึ้นในรัชสมัยของสมเด็จพระราเมศวร ความว่า “...แล้วเสด็จออกทรงศีลยังพระที่นั่งมัง คลาภิเศก เพลา 10 ทุ่ม ทอดพระเนตรโดยฝ่ายบูรพเห็นพระบรมสารีริกธาตุเสด็จปาฏิหาริย์ เรียกปลัด วังให้ เอาพระราชยานทรงเสด็จ ออกไป ให้ เอาตรุยปัก ขึ้ นไว้ สถาปนาพระมหาธาตุนั้ นสู ง 19 วา ยอดนภศู ล สู ง 3 วา ชื่ อ วั ด มหาธาตุ แล้ ว ให้ ท าพระราชพิ ธี ป ระเวศพระนคร แล้ ว เฉลิ ม พระราช มณเฑียร”92 ซึ่งปีที่สถาปนาดังกล่าวถึงนั้นหากเป็นปีเดียวกับที่สมเด็จพระราเมศวรขึ้นครองราชย์ คือ ปีพ.ศ.1931 พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน ให้ข้อมูลว่า มีการสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุขึ้นในรัชสมัยของสมเด็จพระราเมศวร ความว่า “แล้วเสด็จออกทรง ศีลยังพระที่นั่งมังกลาภิเศก เพลา 10 ทุ่ม ทอดพระเนตรไปโดยฝ่ายทิศบูรพาเห็นพระสารีริกบรมธาตุ เสด็จ ปาฏิห าริ ย์ เรี ย กปลั ดวังให้ เอาราชยานทรงเสด็จ ออกไป ให้ เอากรุยปักขึ้นไว้ สถาปนาพระ มหาธาตุนั้นสูง 19 วา ยอดนภศูลสูงสามวา ชื่อ วัดมหาธาตุ แล้วให้ทาพระราชพิธีประเวศพระนครแล เฉลิมพระราชมณเฑียร”93 ทั้งนี้ ในเอกสาร “เทศนาจุลยุทธการวงศ์” กลับไม่ได้ให้รายละเอียดในการสถาปนาพระ มหาธาตุในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) หากแต่ให้ข้อมูลในการสถาปนา พระมหาธาตุในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร ความว่า “...ให้กระทาพระมหาธาตุเจดีย์องค์หนึ่ง สูง 19 วา ยอดนพศูล 3 วา แล้วสร้างพระมหาวิหารลงในที่นั้น ให้นามชื่อว่า มหาธาตุวิหาร”94

92

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 216. 93 “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 14. 94 “เทศนาจุลยุทธการวงศ์”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 192.


99

ทั้งนี้ น.ณ ปากน้่า ก็ได้ให้ข้อสังเกตในความขัดแย้งของข้อมูลดังกล่าวมาข้างต้นเช่นกัน 95 อย่างไรก็ตาม ในทางวิชาการที่มีหน้าที่สอบสวนทวนความข้อมูลต่างๆ เพื่อสถาปนาองค์ความรู้ผ่าน กระบวนวินิจฉัยอย่างถี่ถ้วนบนข้อมูลที่มีอยู่ รวมไปถึงการเปิดประเด็นข้อสันนิษฐานอื่นๆ ที่อาจเป็นไป ได้ให้กว้างขวางขึ้นเพื่อเปิดประเด็นไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ หรือข้อเสนอใหม่ ซึ่งจากข้อมูล ข้างต้นที่กล่ าวมาข้างต้นของความไม่ล งรอยกันของข้อมูลจากพระราช พงศาวดารฉบับต่างๆน่าไปสู่ข้อสันนิษฐานใน 3 ประเด็น คือ “ประเด็นที่ 1” คือ มีการสถาปนาพระมหาธาตุ หรือการสร้างสถูปทรงปรางค์ ในปีพ.ศ. 1917 ในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) อย่างแน่นอน แต่ทว่าพระมหาธาตุ ดังกล่าวนั้นเป็นพระสถูปประธานที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา หรือวัดใดนั้นจ่าเป็นต้องสืบสวนกัน ต่อไป “ประเด็ น ที่ 2” คื อ พงศาวดารฉบั บ หลวงประเสริ ฐ อั ก ษรนิ ติ์ ถื อ เป็ น เอกสาร ประวัติศาสตร์ที่มีกระบวนศักราชเชื่อได้แน่กว่าพระราชพงศาวดารฉบับอื่นๆ 96 แต่ไม่มีข้อมูล การ สถาปนาพระมหาธาตุในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร ซึ่งจะว่าไปแล้วในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรมี เหตุการณ์ส่าคัญหลายประการแต่ทว่าไม่ปรากฏในเอกสารพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐเลย คงปรากฏแต่เพียงการกล่าวถึงเหตุการณ์ที่พระบรมราชาธิราชที่ 1 เสด็จสวรรคตแล้วพระเจ้าทองลัน ขึ้นครองราชย์แทน และสมเด็จพระราเมศวรยกทัพมาจากลพบุรีเพื่อชิงราชสมบัติ จากนั้นเหตุการณ์ก็ ข้ามไปกล่าวถึงการสวรรคตของสมเด็จพระราเมศวรเลยในปีพ.ศ.193897 จากข้อมูลดังกล่าวจึงท่าให้ สันนิษฐานได้ว่า พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐนิติ์นั้นให้ข้อมูลเหตุการณ์ส่าคัญไม่ ครบถ้วน แม้ว่าจะมีการก่าหนดศักราชต่างๆ ได้แม่นย่าก็ตามที ในขณะที่พระราชพงศาวดารที่ใช้ในการศึกษานี้ อีก 2 ฉบับนั้น ปรากฏความในทิศทาง เดียวกัน จึงสันนิษฐานว่า ในการจดบันทึกในพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ที่แม้ว่า จะมีการจดศักราชที่แม่นย่า แต่ก็มีแนวทางการจดบันทึกอย่างย่นย่อ และการคัดลอกสืบต่อกันมาก็ อาจจะขาดตกเหตุการณ์บางเรื่องไป แต่ในทางกลับกันพระราชพงศาวดารฉบับอื่นๆ ก็อาจจะมีการ เพิ่มเติมข้อมูลเข้าไป เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ในช่วงเดียวกับที่อยุธยายกทัพขึ้นไปตีเมืองเหนือและมีชัย เหนือเมืองเหนือทั้งปวง ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่น่าภาคภูมิใจในทัศนะของอยุธยาจึงมีการให้ข้อมูลในชุดนี้ โดยละเอียด อีกทั้งกระบวนการสร้ างสิทธิธรรมและความศักดิ์สิทธิ์ให้แก่สถาบันกษัตริย์และบ้านเมือง 95

น.ณ ปากน้่า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 102. ด่ารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ, กรมพระยา. “คานาพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 210. 97 ด่ารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. “คานาพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 213. 96


100

ก็ยังได้ถูกแสดงออกผ่านเหตุการณ์การกระท่าปาฏิหาริย์พระธาตุ การสถาปนาวัดพระมหาธาตุประจ่า เมือง การพระราชพิธีเฉลิมราชมณเฑียร และการพระราชพิธีประเวศพระนคร “ประเด็นที่ 3” น่าไปสู่ค่าถามที่ว่า “พระศรีรัตนมหาธาตุฝ่ายบูรพาทิศ” ที่ถูกสถาปนา ในสมัยพระบรมราชาธิราชที่ 1ที่กล่าวถึงในพระราชพงศาวดารฉบับต่างๆ นั้นเป็นองค์เดียวกับ “พระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” หรือไม่ เนื่องมาจากว่าในพระนครศรีอยุธยามีการก่อสร้าง “พระสถูปทรง ปรางค์” ที่เรียกกันว่า “พระมหาธาตุ” หรือ “พระศรีรัตนมหาธาตุ” หลายองค์ ซึ่งสร้างความสลับ สับสนให้แก่นักวิชาการในชั้นหลังให้เข้าใจ และตีความคลาดเคลื่อน กล่าวคือ ในเอกสารสมัยอยุธยาได้ กล่ าวถึง “พระมหาธาตุที่เป็ น หลักของกรุ งศรีอยุธ ยา” ว่ามีทั้งสิ้ น 5 องค์อันประกอบด้ว ย “พระ มหาธาตุวัดพระราม, “พระมหาธาตุวัดมหาธาตุ”, “พระมหาธาตุวัดราชบุรณ”, “พระมหาธาตุวัดสมร โกฎ”, “พระมหาธาตุวัดพุทไธสวริย”98 ทั้งนี้ พระมหาธาตุหรือพระปรางค์วัดสมณโกฐได้พังทลายลง มาเหลือเพียงชุดฐานที่ท่าให้ทราบว่าแต่เดิมเคยเป็นพระมหาสถูปทรงปรางค์ อีกทั้งการยึดโยงกับทิศตะวันออกนั้น แสดงว่าผู้กล่าวนั้นจ่าเป็นต้องมีต่าแหน่งที่อ้างอิง ในฐานะของ “ศูน ย์ กลาง” ทั้งทางกายภาพ และจิตวิญญาณ อันน่าไปสู่ การก่าหนดทิศต่างๆ ซึ่ง สันนิษฐานว่าเป็นต่าแหน่งที่ก่าหนดออกมาจากศูนย์กลางของบ้านเมือง คือ “พระราชวังหลวง” เมื่อ พิจารณาในแผนผังระดับเมือง (Urban Scale) จะเห็นว่า พระมหาธาตุที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของ พระราชวังหลวง คือ “พระมหาธาตุวัดพระราม” “พระมหาธาตุวัดมหาธาตุ” “พระมหาธาตุวัดลังกา” และ “พระมหาธาตุวัดสมรโกฏิ ” แต่ทั้งนี้ พระมหาธาตุวัดลังกานั้นมีขนาดเล็กจึงไม่น่าจะเป็นพระ มหาธาตุส่าคัญที่ถูกอ้างถึง ในการนี้ หากปักหมุดลงบนวัดต่างๆ ที่มีการก่อสร้าง “พระมหาธาตุ” หรือที่เรียกกันใน ปัจจุบันว่า “พระปรางค์” คือ “วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” “วัดลังกา” และ “วัดสมณโกฏิ” ลง บนแผนที่จะเห็นความน่าสนใจของแกนในแนวตะวันออก-ตะวันตกที่เป็นแกนส่าคัญและถูกออกแบบ วางผังในระดับ เมือง (Urban Scale) แต่ไม่มีการศึกษาการวางผังดังกล่าวอย่างจริงจัง แต่ทว่าใน ปัจจุบันนั้นไม่อาจรับรู้ได้ด้วยการมองด้วยสายตาแล้วเนื่องเพราะถูกสิ่งก่อสร้างอาคารบ้านเรือนบดบัง ลงไปเสียสิ้น ซึ่งการศึกษาเชิงลึกในประเด็นที่กล่าวมานี้มีความจ่า เป็นต้องท่าการศึกษาเชิงลึกต่อไป นอกจากนี้ ผังเมืองพระนครศรีอยุธยาก่อนหน้าที่พระมหาธรรมราชาได้ขุดขยายคูขื่อหน้าทางฟาก ตะวันออกของเกาะเมืองซึ่งแต่เดิมมีลักษณะเป็นคลองลัดขนาดเล็กท่าหน้าที่เชื่อมแม่น้่าลพบุรี แม่ น้่าป่าสัก และแม่น้่าเจ้าพระยาเข้าด้วยกันให้กลายเป็นแม่น้่ากว้างใหญ่ ท่าให้พื้นที่ทางฟากตะวันออก ของเกาะเมืองนั้นไม่ได้ถูกตัดขาดออกไปด้วยมีแม่น้่าใหญ่กั้นขวางอยู่เช่นปัจจุบัน การพิจารณาใน ลักษณะองค์รวมของพื้นที่ก็ถูกตัดขาดออกไปจากส่านึกด้วยเช่นกัน 98

วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. อยุธยา พรรณนาภูมิสถานและมรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. หน้า 105.


101

ในการศึกษานี้ จึงมีสันนิษฐานว่า “พระศรีรัตนมหาธาตุฝ่ายบูรพาทิศ” ที่สถาปนาขึ้นใน รัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) ในปีพ.ศ.1917 ที่กล่าวถึงในพงศาวดารกรุง เก่า ฉบับหลวงประเสริฐ99 หรือ “พระศรีรัตนมหาธาตุ ฝ่ายบุรทิศ ” ที่กล่าวถึงในพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 100 และ “พระศรีรัตนมหาธาตุ ฝ่ายบูรทิศ” ที่กล่าวถึงในพระ ราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน101 นั้นหมายถึง “พระมหาธาตุ วัดสมรโกฐิ” ซึ่งถือว่าเป็นพระมหาธาตุศักดิ์สิทธิ์ 1 ใน 5 องค์ส่าคัญที่เป็นหลักเป็นประธานของเมือง อยุ ธ ยาตามทัศนะชาวพระนครศรี อยุธยาในอดีต ดั งกล่ าวที่ได้กล่ าวไว้ใน “คาให้ การชาวกรุงเก่า (เอกสารจากหอหลวง)” ทว่าด้ว ยการพังทลายของพระปรางค์ล งไปในอดีต นั้นท่ าให้ ไ ม่มี ก ารให้ ความส่าคัญกับพระปรางค์องค์นี้อย่างจริงจัง อีกทั้งการขุดลอกคูขื่อหน้าให้กว้างขวางในสมัยอยุธยา ตอนกลางนั้นก็ท่าให้ส่านึกการรับรู้ การเป็นเนื้อเดียวกันระหว่างเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยากับพื้นที่ ฟากตะวันออกที่ถูกก่าหนดเรียกว่า “ฝั่งอโยธยา” นั้นถูกตัดขาดกันออกไป “ประเด็นที่ 4” คือ สถานภาพการศึกษามีข้อสันนิษฐานว่า ข้อมูลเกี่ยวกับวัดที่กล่าวถึง การสถาปนาพระมหาธาตุในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) ในปีพ.ศ.1917 อยู่บนฐานคิดที่ว่าค่าว่า “พระมหาธาตุ” หรือ “พระศรีรัตนมหาธาตุ” หมายถึง “วัดพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยา” ซึ่งในบริบทของค่าในสมัยอยุธยานั้น ทั้งสองค่านั้นมีความหมายถึง “พระปรางค์” หาได้ ผูกติดกับวัดใดวัดหนึ่งไม่ เหตุดังกล่าวจึงท่าให้มีผู้สันนิษฐานที่ว่าวัดดังกล่าวสร้างไม่แล้วเสร็จในคราว รัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) จึงได้มีการสร้างต่อในรัชกาลพระราเมเมศวร ที่ทรงครองราชย์เป็นครั้งที่ 2 พ.ศ.1931–1938

99

“พระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เ ษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 212. 100 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 215. 101 “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 12.


102

ภาพที่ 25: แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงที่ตั้งของพระมหาธาตุต่างๆ ในเกาะ และนอกเกาะกรุงศรีอยุธยา ดังจะ เห็นได้ว่าในสมัยอยุธยาตอนต้น และสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ หลังสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง มีความนิยมใน การก่อสร้างพระมหาธาตุเป็นหลักเป็นประธานของวัด ในขณะทีส่ มัยอยุธยาตอนมีความนิยมในการสร้างพระบรม ธาตุ หรือพระเจดียเ์ ป็นหลักเป็นประธานของวัด

จากการศึกษาครั้งนี้ มีข้อสันนิษฐานว่าไม่น่าเป็นไปได้ที่พระมหาธาตุวัดพระศรีรัตนม หาธาตุอยุ ธ ยาจะสร้ างไม่แล้วเสร็ จแล้ว สมเด็จพระราเมศวรมาสร้างสืบต่อจนส่าเร็จ เนื่องจากใน เอกสารได้กล่าวชัดเจนว่าพระมหาธาตุดังกล่าวนั้นต้องสร้างแล้วเสร็จ ตั้งแต่ ปีพ.ศ.1917 ถึงแม้ว่าจะมี ความไม่ลงรอยกันในประเด็นเรื่องความสูงของพระปรางค์ที่พระราชพงศาวดารหลวงประเสริฐกล่าวว่า สูง 1 เส้น หรือ 20 วา ในขณะที่พงศาวดารอื่นกล่าวว่าสูง 19 วา ซึ่งมียอดนพศูลสูง 3 วา อันเป็น หลักฐานที่บ่งชี้ว่าพระมหาธาตุดังกล่าวสร้างเสร็จสมบูรณ์ นอกจากนี้ ความไม่ลงรอยกันระหว่างสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 และสมเด็จพระ ราเมศวรย่อมมีอย่างร้าวลึก เนื่องจากสมเด็จพระราเมศวรนั้นได้ขึ้นครองราชย์ครั้งแรกในปีพ.ศ.1913 แต่ถูกสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพระงั่ว) ซึ่งเดิมครองราชย์อยู่ที่เมืองสุพรรณบุรีมาเสวย ราชสมบัติแทนแล้วให้สมเด็จพระราเมศวรไปครองเมืองลพบุรีแทน ซึ่งเมื่อสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ได้เสด็จสวรรคตในปีพ.ศ.1931 พระเจ้าทองลันขึ้นครองราชย์สมบัติยังราชธานีกรุงศรีอยุธยาแทน แต่ถูกสมเด็จพระราเมศวรยกทัพมาจากเมืองลพบุรีมาช่วงชิงราชสมบัติและปราบดาภิเษกขึ้นเป็น กษัตริย์ครองพระนครศรีอยุธยาแทน


103

จากประเด็นทั้ง 5 เรื่องที่กล่าวมาข้างต้น น่ามาสู่ข้อสันนิษฐานที่ว่า “พระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยา” หรือ “พระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” นั้น ถูกสร้างขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระ ราเมศวร ซึ่งครองราชย์ ร ะหว่ างปี พ.ศ.1931-1938 ซึ่งสร้างขึ้นในปีแรกของรัช กาลของพระองค์ หลังจากที่เสด็จกลับมาจากทัพยังหัวเมืองฝ่ายเหนือซึ่งตีได้เมืองเชียงใหม่ จากนั้นเสด็จไปเมืองสวางค บุรี ซึ่งย่อมต้องผ่านเมืองสุโขทัย เมืองศรีสัชนาลัยเพื่อมุ่งหน้าไปยังล่าแม่น้่าน่าน จากนั้นได้เสด็จพระ ราชด่าเนินต่อไปยังเมืองพิษณุโลกเพื่อนมัสการพระพุทธชินศรี และพระพุทธชินราช 102 เมื่อกลับถึง พระนครศรีอยุธยาเสด็จประทับ ณ พระที่นั่งมังคลาภิเศก จนกระทั่งเวลา 10 ทุ่ม เกิดปาฏิหาริย์ของ พระธาตุ จึงเสด็จพระราชด่าเนินออกจากพระราชฐานไปยังต่าแหน่งที่พระธาตุกระท่าปาฏิหาริย์โดย ให้ เ อากรุ ย ปั ก ไว้ แ ล้ ว ก่ อ สถาปนาพระมหาธาตุ ขึ้ น มี ค วามสู ง 19 วา ยอดนพศู ล สู ง 3 วา แล้ ว พระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุ” ซึ่งระยะทางระหว่างพระราชวังหลวง ซึ่งคือท่าเลที่ตั้งของวัดพระ ศรีสรรเพชญ์มาทางทิศตะวันออกมายังวัดมหาธาตุนั้นอยู่ในระยะที่ไม่ไกลมากนักอยู่ในวิสัยที่จะเสด็จ พระราชด่าเนินมาได้ แม้ว่าการกล่าวถึงการแสดงปาฏิหาริย์ของพระธาตุซึ่งดูประหนึ่งเป็นเรื่องราวอัศจรรย์ เหนือธรรมชาติ แต่อย่างไรก็ตาม ก็พบจารีตในการเขียนกล่าวอ้างสิทธิธรรม หรือการสร้างความ ศักดิ์สิทธิ์ให้กับเมืองเพื่อสร้างเสถียรภาพให้แก่สถาบันกษัตริย์ ตลอดจนการสร้างขวัญก่าลังใจให้ แก่ เสนาอมาตย์ และอาณาประชาราษฎร์ ผู้ อ ยู่ อ าศั ย อยู่ ภ ายใต้ พ ระบรมโพธิ ส มภาร อย่ า งไรก็ ต าม ต่าแหน่งที่ปักกรุยดังกล่าวนั้นอาจจะมีลักษณะเป็นโคกเนินอันเกลื่อนกล่นไปด้วยเศษซากของวัสดุ ก่อสร้างจนเป็นที่ร่าลือของผู้คนว่าเป็นวัดเก่าแก่โบราณก็เป็นไปได้ทั้งสิ้น เนื่องมาจากก่ อนที่จะมีการ สร้างกรุงศรีอยุธยาอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ.1893 นั้น พื้นที่บริเวณนี้ก็มีการตั้งถิ่นฐานของผู้คนอยู่ แล้ว ดังประจักษ์หลักฐานการสร้างพระพุทธรูปพระเจ้าพนัญเชิงเป็นพระพุทธรูปประทับกลางแจ้ง ขนาดใหญ่ที่สถาปนาขึ้นก่อนการสร้างกรุงศรีอยุธยาถึง 26 ปี รวมไปถึงวัดธรรมิกราชที่ประดิษฐาน หลวงพ่อโตซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธศิลป์ที่เชื่อมโยงกับศิลปะก่อนหน้าสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งถูก เรียกว่าเป็น “ศิลปะแบบอู่ทอง” ก็อยู่ไม่ไกลจากท่าเลที่ตั้งของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามากนัก นอกจากนี้ ซากมรดกทางสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมจ่านวนมากที่เกลื่อนกล่นอยู่ใน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาก็มีพุทธศิลปะที่เก่าแก่กว่าศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้นด้วย ทั้งนี้ จาก รายงานการขุดตรวจชั้นดินวัดมหาธาตุ อยุธยา ในปีพ.ศ.2512-2513 ซึ่งมีการเปิดหลุมตรวจชั้นดิน 2 หลุม คือ ด้านหน้าพระมหาธาตุ และบริเวณก่าแพง ซึ่งมีผลการศึกษาที่น่าสนใจว่า เมื่อเปรียบเทียบ 102

“พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 13. และ “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 216.


104

ระดับพื้นดินเดิมในหลุมตรวจทั้ง 2 หลุมจะเห็นว่าระดับพื้นดินเดิมตรงต่าแหน่งที่สร้างพระมหาธาตุอยู่ สูงกว่าประมาณ 55 เซนติเมตร บ่งชี้ว่าบริเวณตรงนี้เคยเป็นเนินดินอยู่ก่อนที่จะมีการก่อสร้าง แต่เดิม อาจจะเป็นที่ต่าน้่าท่วมถึง ก่อนที่จะท่าการก่อสร้างก็คงน่าดินมาถมเพิ่มเติมเพื่อให้สูงขึ้น และเป็นการ ปรับพื้นที่ให้มีความแน่นมากขึ้น 103 รวมไปถึงในการขุดตรวจชั้นดินในหลุมขุดค้นที่ 1 ด้านหน้าพระ มหาธาตุยังพบหลักฐานของซากฐานอาคารที่มีอายุเก่าแก่กว่าการสร้างวัด ซึ่งบริเวณดังกล่าวนี้ น่าจะ เคยเป็นวัดมาก่อนแล้วค่อยมีการก่อสร้างทับของเดิมในสมัยต่อมา 104 หลักฐานจากการขุดค้นทาง โบราณคดีที่กล่าวมาข้างต้นนี้ช่วยยืนยันช่วงเวลาที่เก่าแก่กว่าสมัยแรกสถาปนาวัดที่ปรากฏในเอกสาร ทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ดังกล่าวมาข้างต้น

ภาพที่ 26: พระมหาธาตุลพบุรี

ภาพที่ 27: เศียรหลวงพ่อธรรมมิกราชที่มีพุทธศิลป์ แบบอู่ทอง

นอกจากนี้ การที่สมเด็จพระราเมศวรขึ้นไปครองราชย์ที่เมืองลพบุรีอยู่ถึง 13 ปี รวม สมัยที่ครองเมืองในฐานะอุปราชในสมัยพระเจ้าอู่ทองด้วยรวมเป็นเวลาร่วม 30 ปี จึงท่าให้พระองค์ ย่อมซึมซับรับเอาแนวความคิดเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ของพระมหาธาตุประจ่าเมืองในฐานะวัดศูนย์กลาง จิตวิญญาณและความศักดิ์สิทธิ์ของผู้คนประจ่าเมืองลพบุรี ตลอดจนรูปแบบสถาปัตยกรรมของพระศรี 103

สมศั ก ดิ์ รั ต กุ ล . “การขุ ด แต่ ง และบู ร ณะโบราณสถานจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาตามโครงการอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์” ใน ศิลปกรรมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2514. หน้า 43-46. 104 สมศั ก ดิ์ รั ต กุ ล . “การขุ ด แต่ ง และบู ร ณะโบราณสถานจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาตามโครงการอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์” ใน ศิลปกรรมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2514. หน้า 45.


105

รัตนมหาธาตุซึ่งได้รับแรงบันดาลใจและอิทธิพลจากศิลปสถาปัตยกรรมเขมรที่ เคยรุ่งเรืองอยู่ก่อนหน้า และน่ามาก่อสร้างสถาปนายังพระนครศรีอยุธยาเพื่อเชื่อมโยงความศักดิ์สิทธิ์ที่พระองค์เคยได้กราบ ไหว้บูชามาจากราชธานีเดิม ด้วยการสถาปนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ่าพระนครศรีอยุธยาผ่านรูปทรงของ การเป็น “สถูปเจดีย์ทรงปรางค์” หรือที่เรียกว่า “พระมหาธาตุ” ที่เป็นมรดกความทรงจ่ามาจากเมือง ลพบุรีซึ่งเคยเป็นเมืองศูนย์กลางของพระราชอาณาจักรแต่ต่อมาได้ท่าหน้าที่เป็นเมืองลูกหลวงยามเมื่อ มีการสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้น ทั้งนี้การสถาปนาพระมหาธาตุลพบุรีนั้นเกิดขึ้นในปีพ.ศ.1931 อันเป็น ปี แรกของการขึ้น ครองราชย์ ส มบั ติด้ว ยนั่ นเอง นอกจากนี้ พระยาโบราณราชธานินทร์ก็ยังให้ข้อ สันนิษฐานว่าพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นสร้างในรัชสมัยสมเด็จพระราเมศวรด้วยเช่นกัน105

7. ประวัติศาสตร์อยุธยาที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา จากข้อเสนอที่กล่าวมาข้างต้นว่า พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นได้ถูกสถาปนาขึ้นในปี เดียวกันกับที่สมเด็จพระราเมศวร (ครองราชย์ครั้งที่ 2 ระหว่าง พ.ศ.1931-1938) ปราบดาภิเษกขึ้น ครองราชย์เป็นเป็นกษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยา คือ ในปีพ.ศ.1931 นั่นเอง ทั้งนี้สันนิษฐานว่าพระองค์ ทรงได้รับแรงบันดาลใจในแง่ของความหมายและรูปทรงทางสถาปัตยกรรมมาจากพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี เมืองที่พระองค์ทรงได้ไปปกครองอยู่ถึง 13 ปี ในระหว่างที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ครอง กรุงศรีอยุธยาอยู่ ดังที่ปรากฏกล่าวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจั นทนุมาศ (เจิม) ให้ข้อมูลว่ามีการสถาปนาพระมหาธาตุขึ้น ในปีพ.ศ.1927 ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระราเมศวร ความว่า “...แล้วเสด็จออกทรงศีลยังพระที่นั่งมังคลาภิเศกเพลา 10 ทุ่ม ทอดพระเนตรโดยฝ่ายบูรพ เห็นพระบรมสารีริกธาตุเสด็จปาฏิหาริย์ เรียกปลัดวังให้เอาพระราชยานทรงเสด็จออกไป ให้เอาตรุย ปักขึ้นไว้ สถาปนาพระมหาธาตุนั้นสูง 19 วา ยอดนภศูลสูง 3 วา ชื่อวัดมหาธาตุ แล้วให้ทาพระราชพิธี ประเวศพระนคร แล้วเฉลิมพระราชมณเฑียร”106 ทั้งนี้ความทรงจ่าต่อการที่สมเด็จพระราเมศวรทรง เป็นองค์อัครณูปถัมภกที่ส่าคัญยังปรากฏกล่าวถึงในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับวันวลิต ความว่า “...พระองค์ทรงพระราชทานสิ่งของให้แก่พระภิกษุและคนยากจน ทรงสร้างและบูรณะโบสถ์วิหาร

105

โบราณราชธานินทร์, พระยา. “ตานานกรุงเก่า” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 121. 106 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 216.


106

จ านวนมากด้ ว ยพระราชศรั ท ธา เสด็ จ ไปถวายพระราชทรั พ ย์ แ ด่ พ ระพุ ท ธเจ้ าประหนึ่ ง ทรงเป็น พระภิกษุยิ่งกว่าทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดิน...”107 หลังจากรัชสมัยสมเด็จพระราเมศวรไปแล้วนั้น วัดพระมหาธาตุได้ปรากฏในเอกสารทาง ประวัติศาสตร์อีกครั้ง คือ ในเหตุการณ์ที่พระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ซึ่งทรงครองราชย์ ระหว่าง พ.ศ.1967-1991 ได้ทรงตีเมืองพระนครได้อยู่ภายใต้พระราชอ่านาจ การนั้นได้โปรดให้น่ารูป หล่อส่าริดต่างๆ อาทิ รูปพระโค รูปสิงห์ และรูปสัตว์ทั้งปวงมาบูชาถวายไว้ ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ และวัดพระศรีสรรเพชญ์ ทว่าในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ในปีพ.ศ.2099 นั้น พระเจ้าบุเรงนองได้โปรดฯ ให้ ขนย้ายรูปหล่อส่าริดดังกล่าวไปยังพระราชวังของพระองค์ ที่เมืองหงสาวดี “พระเจ้าหงสาวดีก็ให้เขา เอาครัวอพยพชาวพระนคร และรูปภาพทั้งปวงในหน้าพระบันชันสิงคนั้นส่งไปเมืองหงษาวดี ”108 ซึ่ง ความน่ าสนใจของการขนย้ า ยรู ป หล่ อส่ าริ ดดั ง กล่ าวไปนั้ น อาจมีความเกี่ ยวเนื่ องสั ม พั นธ์ กั บ ชื่ อ “พระราชวังกัมโพชธานี (Kamboza Thadi Palace)” ด้วยก็เป็นได้ ต่อมาเมื่อยะไข่ยกทัพมาตีเมือง หงสาวดีก็ได้ขนย้ายรูปหล่อส่าริดเหล่านี้ไปยังแคว้นยะไข่ และเมื่อพระเจ้าปดุงตีแคว้นยะไข่ได้ส่าเร็จก็ โปรดให้ขนรูปหล่อส่าริด พร้อมกับอัญเชิญพระมหามัยมุนีมาประดิษฐานยังเมืองมัณฑะเลย์ ในปีพ.ศ.2104 ในพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ให้ข้อมูลว่า “พระศรีสี นบวชอยู่ วัดมหาธาตุ...”109 ซึ่งผนวชเป็ นสามเณรที่วัดราชประดิษฐานเมื่อ ปีพ.ศ.2087110 และใน รัชกาลสมเด็จพระนเรศวร (พ.ศ.2133-2148) ได้โปรดให้มหาเถรคันฉ่องที่พระองค์ทูลเชิญนิมนต์มา จากเมืองมอญมายังกรุงศรีอยุธยาโดยโปรดฯ ให้ประทั บจ่าพรรษาที่วัดมหาธาตุ ดังใจความว่า “...จึง โปรดให้พระมหาเถระคันฉ่องอยู่วัดมหาธาตุ ได้พระราชทานสัปทน กรรชิง คานหาม จังหัน นิตยภัตร เครื่องสมณบริกขารต่างๆ”111 อันแสดงให้เห็นถึงความส่าคัญของวัดมหาธาตุในฐานะของวัด ที่จ่า พรรษาของพระเถระชั้นผู้ใหญ่ของเมือง และพระภิกษุที่เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงอีกด้วย

107

“พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต ” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้า 184. 108 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 272. 109 “พระราชพงศาวดารกรุงเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 224. 110 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 244. 111 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 283.


107

ใน พ.ศ.2149 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ซึ่งครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.21542171 มีธรรมเนียมในราชส่านักอยุธยาที่พระมหากษัตริย์เสด็จพระราชด่าเนินออกจากพระราชวัง หลวงทางสถลมารคมาให้อาณาประชาราษฎร์เข้าเฝ้าจากบันทึกของนายโยส สเคาเต็น112 ที่เข้ามาเป็น ผู้แทนยังกรุงศรีอยุธยาระหว่าง พ.ศ.2167-2172 (ค.ศ.1624-1629) ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม และถูกขยายความ และอ้างอิงถึงวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธ ยาในเอกสารของ “พรรณนาเรื่อง อาณาจักรสยาม”113 ของฟาน ฟลีต ผู้ที่เดินทางเข้ามาประจ่าสถานีการค้าที่ กรุงศรีอยุธยาระหว่าง พ.ศ.2176-2185 (ค.ศ.1633-1642) ความว่า “ในประเทศสยามมีประเพณีเก่าแก่ที่ทุกปีตอนปลาย เดือนตุลาคมหรือในต้นเดือนพฤศจิกายน พระเจ้าแผ่นดินจะเสด็จออกมานอกพระราชวังอย่างหรูหรา ใหญ่โตที่สุด และพวกข้าราชสานักทั้งหมด และพวกเสนาบดี ขุนนาง และข้าราชการจะตามเสด็จครั้ง แรกเสด็จสถลมารค และครั้งต่อๆ ไปเสด็จทางชลมารคอีกหลายครั้ง โดยเสด็จเยือนวัดสาคัญเพื่อ ทาบุญแก่เทพเจ้า และสวดอ้อนวอนของให้พระเจ้าแผ่นดินมีพระชนมานุยืนนาน และขอให้บ้านเมือง ร่มเย็นเป็นสุข ขบวนเสด็จทางสถลมารคไม่จัดเหมือนกันทุกปี แต่บางครั้งก็จัดดังนี้ คือ ตอนแรกออกมา จากรพระราชวังเป็นระเบียบสง่างาม ตรงไปยังวัดสาคัญชื่อวัดหน้าพระธาตุ ขบวนนี้มีช้าง 80 ถึง 100 เชื อ ก ซึ่ ง จั ด แต่ ง อย่ า งหรู ห รา บนช้ า งแต่ ล ะตั ว นั้ น นอกจากคนถื อ อาวุ ธ 2 คน นั่ ง อยู่ แ ล้ ว ยั ง มี ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งนั่งอยู่ในกูบปิดทอง ตรงหน้ าเขามีภาชนะ (พาน) ทองใส่ผ้า แลของถวาย พระวางอยู่ มีช้าง 50 ถึง 60 เชือกตามมา บนช้างแต่ละตัวนั้นมีคนถือธนูและลูกศรนั่งอยู่ตัวละ 2-3 คน หลังจากขบวนนี้ไปก็มีขบวนช้างซึ่งมีพวกคนสาคัญที่สุดของอาณาจักร 5-6 คนนั่งอยู่บนหลังช้าง แต่ละเชือก บางคนสวมมงกุฎทอง แต่ละคนมีหีบหมากทองหรือหีบหมากเงิน หรือของอื่นๆ ซึ่งเป็น เครื่องหมายแห่งเกียรติยศซึ่งพระเจ้าแผ่นดินพระราชทานให้วางอยู่ เขาเหล่านั้นมีบริวารเดินตามหลัง 30 ถึง 60 คน จากนั้นก็ถึงขบวนทหารถือหอก มีด ธนู ลูกศร ปืน และธงต่างๆ จานวนมาก ในหมู่พวก ทหารถืออาวุธนี้มีทหารญี่ปุ่นปนอยู่ด้วย 60-80 คน พวกญี่ปุ่นเหล่านี้แต่งกายโอ่อ่างดงามและถืออาวุธ ดีๆ นักดนตรีเดินตามหลังพวกทหารมา นักดนตรีเหล่านี้เล่นปี่ แตรทรอมโบน เขาสัตว์ และกลอง เสียงเครื่องดนตรีดังกล่าวผสมกลมกลืนกันอย่างไพเราะ ม้าและช้างของพระเจ้าแผ่นดินได้รับการ ตกแต่งด้วยทองคา และอัญมณีอย่างมากมาย และมีพวกข้าทาสในวังถือผลไม้และสิ่งอื่นๆ อันเป็นของ ถวายตามมาเป็นจานวนมาก มีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่จานวนมากติดตามมาด้วย

112

โยสต์ สเคาเต็น. “จดหมายเหตุของโยสต์ สเคาเต็น ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 262-263. 113 “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม”. ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้า 18.


108

จากนั้นก็เป็นพวกขุนนางจานวนมากเดินพนมมือไปและค้อมตัว (เหมือนทุกคนที่ขี่ช้าง หรือเดินไปข้างหน้าพระเจ้าแผ่นดิน) ขุนนางเหล่านี้บางคนก็สวมมงกุฎ จากนั้นก็มาถึงช้างสีแดงเชือก หนึ่งตกแต่งอย่างประณีตวิจิตรด้วยทองคาและอัญมณีต่อจากช้างเชือกนี้ก็มีคนสาคัญ 2 คน คนหนึ่ง ถือพระแสงดาบและอีกคนหนึ่ งถือธงทอง ต่อมาเป็นบัล ลั งก์ปิดทอง เพื่อแสดงให้ เห็ นว่าพระเจ้า แผ่นดินองค์ก่อนๆใช้วิธีนั่งบัลลังก์ให้คนแบกไปบนบ่า จากนั้นก็ถึงพระเจ้าแผ่นดินประทับไปบนหลัง ช้างทรงสมเครื่องแต่งพระองค์อย่างกษัตริย์ ทรงสมมงกุฎองคาทรงพีระมิด มีพวกขุนนาง และพวก ชาววังล้อมอยู่รอบองค์ ถัดมาอีกเป็นเจ้าชายผู้ยังเยาว์พระชันษา ซึ่ งเป็นพระราชโอรสที่ถูกต้องตาม กฎหมายของเพระเจ้ าแผ่ น ดิน ผู้ ยิ่ งใหญ่ ขณะนี้ทรงมีพระชนม์ 11 พรรษา พระอนุช าของพรเจ้ า แผ่นดินซึ่งทรงเป็นทายาทลาดับแรกที่สุดตามมาอย่างหรูหราสง่างาม ถัดมาเป็นพระราชมารดา และ พระราชินี และบรรดาโอรสธิดาและสนมทั้งหลายซึ่งประทับนั่งและนั่งมาในกูบที่ปิดมิดชิดบนหลังช้าง สุดท้ายเป็นพวกชาววังและคนสาคัญทั้งหลายบนหลังม้าและพวกทหาร 300 ถึง 4,500 คน รวมแล้วมีคนเข้าร่ว มพิธีนี้ ประมาณ 6,000 ถึง 7,000 คน แต่มีเพียงพระเจ้า แผ่ นดิน พระมเหสี และสนม พระโอรสธิดา พระอนุชา พระสงฆ์ที่มีสมณศักดิ์สูงที่สุด 4 องค์ และพระชั้นสูง อื่นๆ เท่านั้นที่เข้าไปในโบสถ์ ประทับในโบสถ์ประมาณ 2 ชั่วโมง พระเจ้าแผ่นดินพร้อมขบวนที่ยิ่งใหญ่ งดงามก็กลับไปยังพระราชวังตามระเบียบขบวนที่ได้บรรยายมา....”114 จากค่าพรรณนาที่กล่าวมาข้างต้นนั้นเป็นเหตุการณ์ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ที่ บันทึกไว้โดยนายโยส สเคาเต็น ทั้งนี้ฟาน ฟลีต ได้ใช้เอกสารดังกล่าวน่ามาเรียบเรียงใหม่อันแสดงให้ เห็นความส่าคัญของวัดพระมหาธาตุที่มีบทบาทต่อพระราชพิธี และราชส่านักอย่างสูง อย่างไรก็ดี ใน การแปลอาจะจะสั บ สนในการเรี ย กค่ า ศั พ ท์ ท างสถาปั ต ยกรรมของอาคาร กล่ า วคื อ อาคารที่ พระมหากษัตริย์เสด็จเข้าไปประกอบพิธีกรรมนั้น คือ “พระวิหารหลวง” ซึ่งอยู่ด้านหน้าพระมหาธาตุ ทางทิศตะวันออกของวัด ซึ่งด้วยเป็นพื้นที่อันศักดิ์สิทธิ์ในการประกอบพิธีกรรมของราชส่านักจึงอาจ เป็นเหตุให้พระวิหารหลวงที่มีผนังด้านแปออกแบบช่องเปิดเป็นช่องลมแคบยาวลายกุดั่น ซึ่งมีความ นิยมมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น และแม้ว่าจะมีการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่อย่างน้อยอีก 2 ครั้งดัง ประจักษ์หลักฐานของซากสถาปัตยกรรม แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนแก้ช่องลมเป็นช่องหน้าต่าง ด้วยนัยยะเพื่อ เป็นการรักษาความปลอดภัยแก่พระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงยามที่ เสด็จมาใช้งาน พระวิหารหลวง ตลอดจนรักษาคุณลักษณะที่เข้มขลังของพื้นที่ภายในเอาไว้เพื่อสร้างความศักดิ์สิทธิ์ ให้แก่พิธีกรรมด้วยนั่นเอง

114

“พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม”. ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้า 33-35.


109

อย่างไรก็ดี ใน พ.ศ.2149 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ในขณะที่พระองค์ก่าลังดี พระทัยที่ได้ข่าวการค้นพบรอยพระพุทธบาทบนภูเขาที่เ มืองสระบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างพระ มณฑปคลุม ทว่าที่พระนครศรีอยุธยากลับเกิดเหตุพระปรางค์วัดพระมหาธาตุพังทลายลงมาถึงชั้น อัสดง ดังกล่าวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ความว่า “....ในปีนั้น ปรางค์วัดมหาธาตุทาลายลงจันทันครุฑพื้นอัสดง”115 หรือในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา จากต้นฉบับบริ ติชมิวเซียม กรุงลอนดอนกล่าวว่า “… ในปีนั้นปรางค์วัดมหาธาตุทาลายลงจนชั้นครุฑพื้นอัส ดงค์ …”116 ต่อมาในรั ช กาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.2173-2199) กล่าวคือ ในปีพ.ศ.2176 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์พระปรางค์มหาธาตุที่พังทลายลงมาตั้งแต่ ปีพ.ศ.2149 เป็นเวลายาวนานถึง 27 ปี ที่องค์พระปรางค์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาอัน เป็นหลักประธานของกรุงศรีอยุธยาได้ยอดหักพังทลายลงมา สะท้อนให้เห็นถึงความไม่ต่อเนื่องและ เสถียรภาพที่ไม่มั่นคงอันเกิดจากปัญหาภายในในช่วงปลายรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม รวมทั้ง รัชกาลสมเด็จพระเชษฐาธิราช และสมเด็จพระอาทิตยวงศ์ก็มีช่วงเวลาที่สั้นมาก เนื่องจากทรงเป็นเยา วกษัตริย์ที่ยังไม่พร้อมในการบริหารราชการบ้านเมือง ซึ่งได้สะท้อนข้อมูลอยู่ในพงศาวดารวันวลิต ที่ กล่าวว่ามีพระมหากษัตริย์หลายพระองค์พยายามอ่านวยการให้เกิดการบูรณปฏิสังขรณ์พระมหาธาตุ ขึ้นไปใหม่แต่ก็ไม่ส่าเร็จ ทั้งนี้ ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับฟาน ฟลีต กล่าวว่า “...ครั้งหนึ่งวัดแห่งนี้ เป็นวัดใหญ่ที่สุดในพระราชอาณาจักร แต่ได้ถูกฟ้าผ่าและพายุพัดหักลงมาตลอดเวลา พระเจ้าแผ่นดิน หลายพระองค์ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ แต่เมื่อไรก็ตามที่เริ่มงานก็ต้องล้มเลิกไปกลางคันเพราะว่าผู้ ควบคุมงานและคนงานเกิดเจ็บป่วยและสิ้นชีวิตอย่างน่าสังเวช กล่าวกันว่าพราหมณ์และพระสงฆ์ได้ ทานายไว้ว่า ผู้ที่จะบูรณะวัดนี้ได้ต้องเป็นพระเจ้าแผ่นดินซึ่งสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เก่าอย่างบริสุทธิ์ เมื่อสองสามเดือนที่แล้วพระองค์ศรีธรรมราชาธิราชได้ทรงให้รื้อวัดจนถึงฐานและทรงย้ายรูปหล่อ ทองแดงซึ่งประดิษฐานอยู่นั้น ออกไปไกลหลายวา เพื่อที่จะสร้างวัดใหม่ ณ ที่ประดิษฐานรูปหล่ อ ทองแดง ประชาชนต่างมีความเห็นในการสร้างวัดนี้ต่ างๆ กัน มีหลายคนที่ที่เห็นว่าพระเจ้าแผ่นดินจะ ทรงสามารถทางานนี้ได้สาเร็จ ด้วยเหตุที่ว่าพระองค์ทรงเหมือนพระเจ้าแผ่นดินผู้แรกสร้างกรุง ศรี อยุธยาหลายด้าน ซึ่งเหตุผลนี้ก็เป็นเรื่องที่ยอมรับกัน แต่ชาวสยามก็ไม่ได้มีความเห็นเช่นนั้นทั้งหมด เนื่ องจากผู้ ส ร้ างวัดนี้ เป็ น คนแรกที่ฆ่าพระเจ้าแผ่ นดินซึ่งมีพระชนมพรรษาเพียง 5 ปี (หลั งจากที่ 115

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 374. 116 “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 165.


110

ครองราชย์ อ ยู่ 5 เดื อ น) และชิ ง พระราชบั ล ลั ง ก์ อย่ า งไรก็ ดี พวกพราหมณ์ ก ล่ า วว่ า ได้ เ ห็ น ปรากฏการณ์บนสวรรค์ซึ่งระบุว่าพระเจ้าแผ่นดินจะสร้างวัดใหม่ไม่สาเร็จ และจะทรงสวรรคตก่อนที่ งานจะสาเร็จ เนื่องจากสาเหตุที่พระเจ้าแผ่นดินไม่ทรงสร้างวัดด้วยเจตนาบริสุทธิ์ แต่พระองค์ทรงหวัง ว่าจะได้พบทรัพย์สมบัติล้าค่าในการทาลายรื้อวัดเก่า แต่ใครเล่าจะสามารถบอกความจริงได้นอกจาก กาลเวลา”117 ข้อความที่กล่าวถึงในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับฟาน ฟลีต ที่มีเนื้อหากล่าวถึงวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีความน่าสนใจอย่างยิ่ง เนื่องจากว่าเอกสารอื่นๆ ไม่ได้ให้บริบทแวดล้อม ทางสังคมวัฒนธรรมมากนัก ต่างไปจากข้อมูลที่ปรากฏในพงศาวดารอยุธยาของฟาน ฟลีต กล่าวคือ ได้ข้อมูลว่าพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นฟังทลายลงมาในท่ามกลางวันที่ฝนตกฟ้าคะนองหนัก และ อาจจะเกิดจากฟ้าผ่าลงบนองค์ปรางค์เนื่องจากเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในบริเวณดังกล่าว กอปรกับ โครงสร้างก่ออิฐที่ที่เก่าแก่ของส่วนเรือนยอดที่สร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นคงมีความเสื่อมสภาพ ของวัสดุก่อสร้างมาก ทั้งนี้ ยังสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อของชาวกรุงศรีอยุธยา โดยเฉพาะผู้ที่ให้ข้อมูลแก่ฟาน ฟลีตว่าภายใต้องค์พระมหาธาตุนั้นมีทรัพย์สมบัติอันมีค่าฝังอยู่ รวมไปถึงความเชื่อว่าผู้ที่จะสามารถ อ่านวยให้การบูรณปฏิสังขรณ์ลุล่วงไปนั้นต้องสืบสายมาจากเชื้อพระวงศ์เก่าซึ่งในประเด็นดังกล่าวนั้น สะท้อนให้เห็นข้อมูลอันส่าคัญประการหนึ่งที่ปรากฏกล่าวถึงอยู่ในเอกสารโคลงเฉลิมพระเกียรติพระ นารายณ์ที่กล่าวอ้างถึงการสืบสายความสัมพันธ์ทางสายโลหิตมาจากราชธานีเดิมที่ละโว้ รวมทั้ง ยัง แสดงให้เห็นอีกด้วยว่า แม้ว่ากองทัพพม่าจะได้ขนย้ายเทวรูป และรูปหล่อส่าริดไปเมื่อคราวเสียกรุงศรี อยุธยาครั้งที่ 1 แต่คงได้มีการหล่อรูปหล่อส่าริดชุดใหม่มาถวายเป็นพุทธบูชาแทนที่และตั้งอยู่รายรอบ องค์พระมหาธาตุ เพราะฉะนั้นในการรื้อย้ายอิฐที่ถล่มลงมากองนั้นมีความจ่าเป็นต้องย้ายรูปหล่อ เหล่านั้นออกไปพักยังพื้นที่ข้างเคียงก่อน นอกจากนี้ ข้อความชุดดังกล่าวมาข้างต้น ยังสนับสนุนสมมติฐานที่ว่าผู้ทรงสถาปนาพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา คือ สมเด็จพระราเมศวร ดังกล่าวความว่า “ผู้สร้างวัดนี้เป็นคนแรกที่ฆ่าพระ เจ้าแผ่นดินซึ่งมีพระชนมพรรษาเพียง 5 ปี (หลังจากที่ครองราชย์อยู่ 5 เดือน) และชิงพระราชบัลลังก์” ซึ่งข้อมูลพระชนมายุ และช่วงเวลาในการครองราชย์ของพระเจ้าทองลันที่กล่ าวถึงในนี้ไม่ตรงกับ พงศาวดารฉบับอื่นๆ ทั้งนี้ พระเจ้าทองลัน หรือเอกสารบางชิ้นเรียก พระเจ้าทองจันทร์ ครองราชย์ เมื่อมีพระชนมายุได้ 15 พรรษา และครองราชย์สั้นเพียง 7 วัน118 ซึ่งคงมีเหตุผลมาจากลักษณะของ 117

“พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต ”. ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้า 247. 118 ปรีดี พิศภูมิวิถี. “สมเด็จพระเจ้าทองลัน” ใน ศุภวัฒย์ เกษมศรี, บรรณาธิการ. นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ. 2554. หน้า 59.


111

ข้อมูลที่ฟาน ฟลีตได้รับมาในลักษณะเป็นค่าสัมภาษณ์ หรือประวัติศาสตร์แบบมุขปาฐะทั้งนี้ผู้ให้ข้อมูล นั้นสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นพระภิกษุผู้รู้ประวัติศาสตร์ 119 อย่างไรก็ดี การบอกเล่าข้อมูลย่อมมีความ คลาดเคลื่อนในแง่ของข้อมูลตัวเลข แต่ก็แสดงข้อมูลของบริบทแวดล้อมให้สามารถสะกดรอยตามได้ รวมไปถึงข้อความยังทิ้งท้ายของบริบทที่เกี่ยวเนื่องกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาว่า จากค่าท่านายของผู้ทรงศีลทั้งพระสงฆ์ และพราหมณ์ ซึ่งอาจจะเป็นทัศนะของผู้คนในสังคม ที่ดูจะไม่ ค่อยเชื่อมั่นนักกับการบูรณปฏิสังขรณ์ในครั้งนี้ว่าจะเป็นไปด้วยดีประสบความส่าเร็จของผู้คนในสังคม รวมถึงความคลางแคลงใจในว่าการซ่อมที่เกิดขึ้นนี้จะเป็นการขุดทรัพย์สมบัติต่างๆ ที่บอกเล่ากันมา หรือไม่ ซึ่งได้ทิ้งท้ายว่าต้องให้กาลเวลาเป็นเครื่องบ่งชี้นั้น เป็นข้อมูลที่แสดงว่าในขณะที่จดบันทึกนั้น พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยายังบูรณปฏิสังขรณ์ไม่แล้วเสร็จ และฟาน ฟลีตคงกลับออกไปจากกรุงศรี อยุ ธ ยาก่ อ นที่ พ ระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยาจะบู ร ณะเสร็ จ สมบู ร ณ์ นอกจากนี้ หลั ก ฐานทาง สถาปัตยกรรมที่ได้รับจากการส่ารวจรังวัดยังสอดคล้องกับข้อมูลที่กล่าวที่กล่าวไว้ในพงศาวดารว่าพระ มหาธาตุช่ารุดทรุดลงมาถึงชั้นอัสดง และได้บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นไปใหม่เฉพาะส่วนยอด หาได้รื้อลงแล้ว สร้างใหม่ไม่ ดังกล่าวถึงในพระราชพงศาวดารว่า ในปีพ.ศ.2176 สมเด็จพระเจ้าปราสาททองได้โปรด เกล้ าฯ ให้ บู ร ณปฏิสั งขรณ์ส่ ว นยอดของพระปรางค์เ หนื อชั้ น อัส ดงขึ้น ไป ดังกล่ าวถึงในพระราช พงศาวดารกรุ งศรี อยุ ธ ยา ฉบั บ พันจันทนุมาศ (เจิม) ความว่า “...ศักราช 995 ทรงพระกรุณาให้ สถาปนาพระปรางค์วัดมหาธาตุอันทาลายลงเก่า เดิมในองค์สูงสิบเก้าวา ยอดนภศูลสามวา จึงดารัสว่า ทรงเก่านั้นต่านัก ก่อไม้ให้องค์สูงเส้นสองวา ยอดนภศูลคงไว้ เข้ากันเป็นเส้นห้าวา ก่อแล้วเห็นเพรียว อยู่ ให้เอาไม้มะค่าแทรกดามอิฐ เอาปูนโบกทับ เก้ าเดือนสาเร็จ ให้กระทาการฉลองอันมากนัก ”120 ทั้งนี้ ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา จากต้นฉบับบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน ความว่า “... ศักราช 995 ปีระกาศก ทรงพระกรุณาให้สถาปนาพระปรางค์วัดมหาธาตุอันทาลายลงเก่า เดิมในองค์ สูงสิบเก้าวา ยอดนภศูลสามวา จึงดารัสว่าทรงเก่า ล่านัก ก่อใหม่ให้องค์สูงเส้นสองวา ยอดนภศูลคงไว้ เข้ากันเป็นเส้นห้าวา ก่อแล้วเห็นเพรียวอยู่ ให้เอาไม้มะค่าแทรกตามอิฐ เอาปูนบวก 9 เดือนสาเร็จ ให้ กระทาการฉลองเป็นอันมาก”121 นอกจากนี้ จะเห็นได้ว่าการบูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยาซึ่งท่าหน้าที่เป็นหลักเป็นประธานของบ้านเมืองในครั้งนั้น ยังเป็นโอกาสในการแสดงสิทธิธรรม ในการปกครองบ้านเมืองกรุงศรีอยุธยาของสมเด็จพระเจ้าปราสาททองหลายอย่าง โดยเฉพาะการ 119

ทัศนะของพลตรี หม่อมราชวงศ์ ศุภวัฒย์ เกษมศรี จากการสัมภาษณ์. “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 380. 121 “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 170. 120


112

บูรณปฏิสังขรณ์ส่าเร็จสมบูรณ์นั้นยังช่วยตอกย้่าข้อกังขาเรื่องความชอบธรรมในการขึ้นมาสู่อ่านาจ ของสมเด็จพระเจ้าปราสาททองนั้นมีเป็นผู้มีบุญญาธิการด้วยสืบสายโลหิตมาจากราชวงศ์เก่า ดังที่มีค่า ร่​่ า ลื อ ว่ า หากไม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู้ สื บ สายโลหิ ต จากราชวงศ์ เ ก่ า นั้ น จะไม่ มี ท างบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ ไ ด้ ส่ า เร็ จ สอดคล้องกับค่าประกาศที่กล่าวอ้างถึงในโคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์ด้วยนั่นเอง ข้ อ ความดั ง กล่ า วมานี้ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า สุ น ทรี ย ภาพต่ อ รู ป ทรงพระปรางค์ มี ค วาม เปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือพระปรางค์ในสมัยอยุธยาตอนต้นมีลักษณะเป็นพระปรางค์ที่มีลักษณะที่ใน เอกสารพระราชพงศาวดารเรียกว่า “ต่า/ล่า” อันสืบเนื่องมากจากเทคนิควิธีในการก่อสร้าง ตลอดจน เป็นพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นได้รับอิทธิพลสืบเนื่องมาจากพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีซึ่งได้รับ อิทธิพลมาจากปราสาทแบบศิลปะเขมรสมัยบายนที่รุ่งเรืองอยู่ในเมืองลพบุรีมาอีกต่อหนึ่ง ทั้งนี้ อาจเป็นผลมาจากการที่ช่วงต้นรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองมีการส่งช่างไป ส่ ารวจรั งวัดปราสาทที่เมืองพระนครหลวงเพื่อจ่าถ่ายแบบน่ามาก่อสร้างที่อยุธยา ดั งกล่ าวถึงใน พงศาวดาร มีใจความว่า “ศักราช 993 ปีมะแมศก ทรงพระกรุณาให้ช่างออกไปถ่ายอย่างพระนคร หลวง แลปราสาทกรุงกาภุชประเทศเข้ามา...”122 ซึ่งการดังกล่าวคงได้สร้างความประทับใจในรูปทรง ของปราสาทที่เมืองพระนครโดยเฉพาะอย่างยิ่งปราสาทนครวัด ท่าให้รูปทรงทางสถาปัตยกรรมของ ส่วนยอดพระปรางค์ที่ปฏิสังขรณ์ขึ้นไปใหม่มีระเบียบสัดส่วนที่สูงเพรียวมากขึ้น ในราวปีพ.ศ.2294 ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศมีคณะทูตจากลังกาเดินทางมาของ พระสงฆ์สยามเพื่อสืบพระพุทธศาสนาจากกรุงศรีอยุธยากลับไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในเกาะลังกา กล่าวคือ พระเจ้าเกียรติศิริราชสิงหะ มีรับสั่งให้สามเณรสรณังกรแต่งพระราชสาส์นเป็นภาษามคธมา ถวายพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แล้วแต่งข้าราชการชาวสิงหลเป็นทูตานุทูต 5 นาย เชิญพระราชสาส์น และเครื่องบรรณาการมายังกรุงศรีอยุธยา123 ในครั้งนั้นคณะทูตานุทูตได้เข้าเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และได้เข้าเยี่ยมชมวัดวาอารามต่างๆ ที่ถือว่าเป็นหน้าเป็นตาของพระนคร ซึ่งในที่นี้ก็หมายรวมถึงวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาด้วย

122

“พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 169. 123 “จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ด่ารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่อง ประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. หน้า 127.


113

8. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และความสัมพันธ์กับผังเมืองกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่กล่าวถึงเหตุการณ์การสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยาในสมัยสมเด็จพระราเมศวรเมื่อปีพ.ศ.1931 จากการที่พระองค์เสด็จประทับบนพระที่นั่งมังคลา ภิเษกแล้วเห็นปาฏิหาริย์พระธาตุ น่ามาเปรียบเทียบกับระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์จะเห็นว่า แนวแกน ตะวันออกดังกล่าวนั้นเป็นแกนที่วิ่งตรงจากพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยาตอนต้น ซึ่งก็คือที่ตั้งของวัด พระศรีสรรเพชญ์ เนื่องมาจากที่ตั้งของวัดพระศรีสรรเพชญ์นั้นเคยเป็นพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยา ตอนต้น ต่อมาในสมัยพระบรมไตรโลกนาถได้โปรดยกวังสร้างเป็นวัดพระศรีสรรเพชญ์ เมื่อ ปีพ.ศ. 2061 แล้วขยับพระราชวังหลวงขึ้นไปทางเหนือของพื้นที่เดิม ต่อมาในสมัยพระเจ้าสามพระยามีการก่อสร้างวัดราชบูรณะหลังปีพ.ศ.1967124 ทั้งนี้ ใน ปีพ.ศ.1974 เสด็จไปตีเมืองพระนครหลวงได้125 ความน่าสนใจประการหนึ่ง คือ เมื่อสมเด็จเจ้าสาม พระยาให้สถาปนาพระมหาธาตุวัดราชบูรณะขึ้นเคียงคู่กับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้น ท่าให้เกิด แกนที่สมมาตรขึ้นในการวางผังระดับเมือง (Urban Scale) กล่าวคือ จากแกนของสะพานป่าถ่านนั้น มุ่งตรงไปยังทิศตะวันตกกลายเป็นแกนที่ส่าคัญเนื่องจากทางทิศตะวันตกนั้นเป็นที่ตั้งของพระราชวัง หลวง (หมายเลข 14 ในภาพที่ 31) โดยที่มีพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และพระมหาธาตุวัดราชบูรณะ ตั้งขนาบถนนดังกล่าว ยิ่งเมื่อสมเด็จพระเจ้าปราสาททองสร้างพระมหาปราสาทองค์ห นึ่งแล้ ว ให้ พระราชทานนามว่า “ศิริยโสธรมหาพิมานบันยังค์”126 แต่ก็ได้เปลี่ยนนามใหม่เป็น “จักรวัติไพชยันตม หาปราสาท”127 (หมายเลข 13 ในภาพที่ 31) เมื่อปีพ.ศ.2175 ยิ่งตอกย้่าความส่าคัญของแกนดังกล่าว และที่น่าสนใจก็คือแกนดังกล่าวนี้เหมือนกับแกนทางด้านทิศตะวันออกของเมืองศรียโสธรปุระ ที่ เริ่มต้นจากสะพานศิลาแลงข้ามแม่น้่าเสียมเรียบ ในปัจจุบันเรียกสะพานดังกล่าวว่า “สเปียน ทมอร์ (Spean Thma)” ซึ่ ง แปลว่ า สะพานหิ น ถั ด เข้ า มาจะพบปราสาท 2 หลั ง วางตั ว ขนาบแกนถนน ดังกล่าว คือ “ปราสาทเจ้าสายเทวดา (Chau Say Tevoda)” และ “ปราสาทธมมานนท์ (Thom manon)” เมื่อมุ่งตรงไปยังทิศตะวันตกจะผ่านประตูชัยซึ่งเป็นแกนที่มุ่งตรงไปยังลานหน้าพระที่นั่ง

124

“พระราชพงศาวดารกรุงเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 214. 125 “พระราชพงศาวดารกรุงเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 214. 126 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 379. 127 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 379.


114

ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า “ลานช้าง (Elephant Terrace)” ความสัมพันธ์ดังกล่าวมาข้างต้นจึงสะท้อนให้ เห็นว่าการวางผังดังกล่าวนั้นไม่ใช่เป็นเรื่องบังเอิญ แต่เป็นการออกแบบวางผังเมืองอย่างจงใจ

ภาพที่ 28: ภาพซ้าย คือ ปราสาทธมมานนท์ และ ภาพขวา คือ ปราสาทสายเทวดา


115

ภาพที่ 29: แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมแสดง (ภาพบน) ภาพถ่ายดาวเทียมเมืองพระนครแสดงแกนตะวัน ออก ตะวันตก จาก “สะพานหิน” ที่เรียกว่า “สเปียน ทมอร์” ข้ามแม่น้่าเสียมเรียบ ตรงไปในทางทิศตะวันตกจะพบ ปราสาท 2 หลังตั้งขนาบเส้นทาง คือ ปราสาทเจ้าสายเทวดาอยู่ทางฟากซ้ายมือ ปราสาทธมมานนท์อยู่ทางฟาก ขวามือ จากนั้นถนนวิ่งตรงไปผ่านซุ้มประตูเมืองและตรงไปบรรจบกับลานพระราชวัง ซึ่งในปัจจุบันเรียก Elephant Terrace (ภาพล่าง) ภาพถ่ายดาวเทียมกรุงศรีอยุธยา แสดงให้เห็นแนวแกนตะวันออก-ตะวันตก จาก “สะพานป่า ถ่าน” ข้ามคลองประตูข้าวเปลือก จะพบวัด 2 วัดตั้งขนาบเส้นทาง คือ “วัดพระมหาธาตุ” อยู่ทางฟากซ้ายมือ และ “วัดราชบูรณะ” อยู่ทางฟากขวามือ ตรงไปบรรจบกับพระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์มหาปราสาท


116

ภาพที่ 30: ภาพแสดงที่ตั้งของวัดส่าคัญบนแกนตะวันออก-ตะวันตก จากแกนเดิม คือ แกนจากพระราชวังหลวง มายั งวั ด มหาธาตุ ซึ่ งเป็ น แกนที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสมั ย พระราเมศวร แต่ ต่ อ มาในสมั ย พระบรมไตรโลกนาถได้ ย ก พระราชวังหลวงท่าวัดพระศรีสรรเพชญ์ แม้ว่าจะต่อมาในสมัยสมเด็จเจ้าสามพระยาจะเกิดแกนใหม่แต่ก็ยังอยู่ใน แนวตะวันออก-ตะวันตกเช่นเดิม คือ จาก “สะพานป่าถ่าน” ผ่าน “วัดพระมหาธาตุ” ทางซ้ายมือ และ “วัดราช บูรณะ” ทางขวามือ จากนั้นผ่าน “วัดหลังคาขาว” ทางซ้ายมือ และ “วัดชุมแสง” ทางขวามือ จากนั้นตรงไปยัง พระที่นั่งจักรวัติไพชยนต์ ซึ่งในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองหลวงที่โปรดฯ ให้สร้างพระที่นั่งจักรวัติไพชยนต์ ซึ่งเทียบได้กับลานพระราชวังที่เมืองพระนครหลวง ท่าให้แกนตะวันออก-ตะวันตกนี้มาสมบูรณ์แบบและเทียบได้ กับแกนหลักทางตะวันออกของเมืองพระนครหลวงด้วย


117

ผังบริเวณของวัดพระมหาธาตุ และที่ตังสัมพันธ์ 9.1 ที่ตังสัมพันธ์ วัดพระมหาธาตุเป็นวัดที่ส่าคัญที่สุดของเมืองในสมัยอยุธยาตอนต้นเนื่องจากท่าหน้าที่ เป็นหลักเป็นประธานของบ้านเมือง ที่ตั้งสัมพันธ์ของวัดมีดังนี้ “ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก” จรด “ถนนชี กุ น ” (หมายเลข 3 ในภาพที่ 3-31) และทาง ตะวันออกเฉียงเหนือของวัดมหาธาตุ คื อ “สะพานป่าถ่าน” (หมายเลข 2 ในภาพที่ 3-31) ซึ่งแต่เดิม เป็นตลาดหน้าวัดมหาธาตุ มีร้านขายเสื่อตะนาวศรี เสื่อแขก เครื่องอัฐบริขาร เครื่องบวชนาค เครื่อง ทอดกฐิน คือ ฝาบาตร เชิงบาตร กราด (ไม้กวาดยาวส่าหรับกวาดลานวัด) ตาลปัตร ตะลุ่มโอ ชื่อว่า “ตลาดบริ ขาร”128 (หมายเลข 5 ในภาพที่ 3-31) นอกจากนี้ หน้าวัดมหาธาตุยังมี “ตลาดแลก” (หมายเลข 5 ในภาพที่ 3-31) เป็นศาลาห้าห้องที่ผู้คนจะเอาข้าวของเครื่องใช้โลหะเก่า เช่น พร้า ขวาน มีดที่ช่ารุดแล้วมาแลกกับตังเม ข้าวพอง เป็นต้น129 “ด้านทิศใต้” ปัจจุบันเป็นที่ว่างโล่งจึงใช้เป็นส่วนบริการนักท่องเที่ยว และมีวัดที่มีพระ ปรางค์เป็นประธานของวัดชื่อ “วัดนก” (หมายเลข 6 ในภาพที่ 3-31) ซึ่งตั้งอยู่คล้อยไปทางตะวันตก เฉีย งใต้ พื้น ที่ส่ ว นนี้ ในอดีตนั้ น เป็ นที่ตั้งของบ้านเรือนชาวมอญที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในกรุงศรี อยุธยา ซึ่งมีหลักฐานประวัติศาสตร์กล่าวว่าเป็นครัวมอญที่เคลื่อนย้ายมาพร้อมสมเด็จพระนเรศวรซึ่ง ส่วนหนึ่งเป็นเครือญาติของพระมหาเถรคันฉ่อง พระยาเกียรติ พระยาราม130 พื้นที่ว่างโล่งบริเวณนี้จึง เคยมีบ้านเรือนตั้งถิ่นฐาน และตลาดชื่อ “ตลาดมอญ” (หมายเลข 7 ในภาพที่ 3-31) มีร้านช่าทั้งคน ไทย คนมอญ ขายขัน พานน้อย พานใหญ่ เครื่องทองเหลือง มีของสดขายตอนเช้าและตอนเย็น131 ถัด ออกไปทางทิศใต้จะจรดกับบึงพระรามซึ่งเป็นเส้นทางส่าคัญสัญจรของผู้คน “ด้านทิศตะวันตก” เมื่อพิจารณาจากแนวก่าแพงแก้วด้านหน้าของพระอุโบสถวัดพระ มหาธาตุ ผู้คนทั่วไปจะคิดว่าหมดเขตของวัดแต่เพียงเท่านี้ แต่ในความเป็นจริงแล้วก่าแพงดังกล่าวนั้น ท่าหน้าที่กั้นเขตพุทธาวาสเท่านั้น ถัดจากแนวก่าแพงไปเล็กน้อยจะเป็นคูไม่กว้างมากนัก และมีพื้นที่ ว่ า งโล่ ง ผื น ใหญ่ ซึ่ ง พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ เ องซึ่ ง เคยเป็ น ที่ ตั้ ง ของ “เขตสั ง ฆาวาสของวั ด พระมหาธาตุ ” 128

วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. “ตอนที่ 5: ตลาดในกรุงและรอบกรุง ” ใน พรรณนาภูมิสถานอยุธยา และ มรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. หน้า 78. 129 วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. “ตอนที่ 5: ตลาดในกรุงและรอบกรุง ” ใน พรรณนาภูมิสถานอยุธยา และ มรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. หน้า 82. 130 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 283. 131 วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. “ตอนที่ 5: ตลาดในกรุงและรอบกรุง ” ใน พรรณนาภูมิสถานอยุธยา และ มรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. หน้า 82.


118

(หมายเลข 9 ในภาพที่ 3-31) โดยเฉพาะเป็นที่ตั้งของต่าหนักพระสังฆราชของกรุงศรีอยุธยาด้วย ดัง ปรากฏกล่ า วถึ ง ในเอกสารคณะทู ต ตานุ ทู ต จากลั ง กาที่ ไ ด้ มี โ อกาสมานมั ส การพระสั ง ฆราวาส นอกจากนี้ ยังประกอบไปด้วยกุฏิใหญ่น้อยมากมายส่าหรับพระภิกษุสามเณรจ่าพรรษา และยังมีที่พัก ของพวกข้าพระโยมสงฆ์ที่คอยอุปัฏฐากพระสงฆ์ด้วย132 “ด้านทิศเหนือ” จรดถนนที่วิ่งตรงในแนวแกนตะวันออก-ตะวันตกจากสะพานป่าถ่านไป ยังพระราชวังหลวง ปัจจุบันเรียกชื่อว่าถนนนเรศวร ซึ่งถนนสายนี้ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ได้ถูกกล่าวในเอกสาร “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม (Description of the Kingdom of Siam )” ของฟานฟลี ต ว่ า “...มี เ พี ย งถนนสายเดี ย วและมี ท างเดิ น เล็ ก ๆ สองสายเท่ า นั้ น ที่ ต รงไปยั ง พระราชวัง”133 ซึ่งได้ถูกใช้เป็นเส้นทางเสด็จพระราชด่าเนินทางสถลมารคมายังวัดมหาธาตุเป็นประจ่า ทุกปี ดังข้อความกล่าวพรรณนาไว้ว่า “ขบวนเสด็จทางสถลมารคไม่จัดเหมือนกันทุกปี แต่บางครั้งก็จัด ดังนี้ คือ ตอนแรกออกมาจากพระราชวังเป็นระเบียบสง่างาม ตรงไปยังวัดสาคัญชื่อว่าหน้าพระธาตุ ” 134 ถัดไปเล็กน้อย คือ ที่ตั้งของ “วัดราชบูรณะ” (หมายเลข 10 ในภาพที่ 31)

ภาพที่ 31: แผนที่แสดงที่ตั้งสัมพันธ์ของวัดพระมหาธาตุกับองค์ประกอบระดับผังเมืองอื่นๆ

132

“จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ด่ารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่อง ประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. หน้า 138-140. 133 “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้า 18. 134 “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้า 33.


119

9.2 ผังบริเวณเขตพุทธาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา จากที่กล่ าวมาข้ า งต้ นว่า ในการวางผั ง วั ด พระศรี รัต นมหาธาตุ อยุธ ยา ได้ แ บ่ ง พื้ น ที่ ออกเป็น 2 ส่วน คือ “เขตพุทธาวาส” ซึ่งหมายถึง พื้นที่ส่วนที่ใช้ประกอบศาสนกิจของพระสงฆ์ซึ่งเป็น ส่วนที่แยกต่างหากออกจากส่วนที่อยู่อาศัยของพระสงฆ์1 ซึ่งเรียกว่า “เขตสังฆาวาส” ทั้งนี้ ภายในเขต พุทธาวาสจะถูกล้อมรอบด้วยเครื่องกั้นเพื่อกาหนดขอบเขต อาทิ กาแพงแก้ว หรือระเบียงคด และ ประกอบด้วยพระอุโบสถ พระวิหาร และพระเจดีย์2 เป็นต้น ในขณะที่เขตสังฆาวาสนั้นทาหน้าที่เป็น พื้นที่สาหรับการจาพรรษา และใช้ชีวติ ประจาวันของพระสงฆ์ ผังบริเวณเขตพุทธาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าวางตัวใน แกนตะวันออก-ตะวันตก โอบล้อมพื้นที่ทั้งหมดด้วยกาแพงแก้ว ที่มีความหนา และมีความสูงมาก สันนิษฐานว่ากาแพงแก้วดังกล่าวได้ทาหน้าที่เป็นกาแพงกันไฟด้วย เนื่องจากบริเวณหน้าวัดพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยานั้นเป็นตลาดที่มีการก่อสร้างที่มีลักษณะเป็นเพิงแบบชั่วคราว และมีความแออัด อีกทั้ง เอกสารประวัติศาสตร์กล่าวถึงเหตุการณ์ไฟไหม้ตลาดหน้าวัดมหาธาตุอยู่หลายครั้ง สาหรับ ประตูทางเข้าสู่ผังบริเวณเขตพุทธาวาส จากสภาพปัจจุบันแสดงให้เห็นว่ามีประตูมีทางเข้าออกวัดอยู่ที่ ด้านหน้าทางทิศตะวันออก และด้านหลังทางทิศตะวันตกซึ่งเป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อไปยังพื้ นที่ส่วน สังฆาวาสของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แต่ทว่าในเอกสารทางประวัติศาสตร์คณะทูตลังกามา เยี่ยมชมวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าบรมโกศได้บ่งชี้ว่า คณะทูตได้เดิน ทางเข้าสู่ผังบริเวณเขตพุทธาวาสจากทางเข้าวั ดทางด้านทิศใต้ หรืออาจจะขึ้นเรือมาจากท่าน้าที่เชื่อม มาจากบึงพระราม แล้วจึงเดินต่อมายังด้านหน้าวัด เขตพุทธาวาสของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยายังสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ “พื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นใน” และ “พื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นนอก” ทั้งนี้ ผังพื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นในคือ พื้นที่ที่ล้อมรอบด้วยระเบียงคดมีลักษณะผังพื้นรูปสี่เหลี่ยมเกือบจัตุรัส กล่าวคือ แนวแกนตะวันอออกตะวันตกจะมีความยาวกว่าแนวแกนเหนือ-ใต้เล็กน้อย บริเวณกึ่งกลางของแผนผังเป็นที่ตั้งของพระ มหาธาตุทาหน้าที่เป็นหลักประธาน และศูนย์กลางของวัด ทั้งนี้ องค์พระมหาธาตุได้หันหน้าทางทิศ ตะวันออกตามจารีตในการก่อสร้างพระมหาธาตุเนื่องในพระพุทธศาสนา ทั้งนี้ ด้านหน้าของพระ มหาธาตุจะมีมุขโถงของท้ายจระนาของพระวิหารหลวงที่ก่อสร้างให้ยื่นมุขคร่อมระเบียงคดเข้ามายัง พื้นที่ตอนในระเบียงคด ซึ่งการออกแบบวางผัง ให้มุขท้ายจระนาของพระวิหารยื่นเข้ ามาในพื้นที่ปิด ล้อมของระเบียงคดดังกล่าวนั้นถือเป็นเอกลักษณ์สาคัญประการหนึ่งของการวางผังในสมัยอยุธยา ตอนต้น เช่น พระวิหารวัดพระราม, พระวิหารวัดราชบูรณะ, พระวิหารวัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี , พระวิหารธรรมศาลา วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช เป็นต้น 1 2

โชติ กัลยาณมิตร. พจนานุกรมสถาปัตยกรรมและศิลป์เกี่ยวเนื่อง. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้า 363. โชติ กัลยาณมิตร. พจนานุกรมสถาปัตยกรรมและศิลป์เกี่ยวเนื่อง. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้า 363.


120

จากการศึกษาพบว่า การสร้างพื้นที่ปิดล้อมด้วยการสร้างระเบียงคดนั้น ซึ่งหากเมื่อ พิจารณาในรูปตัดขวางจะเห็นว่ามีการก่อกาแพงทึ บด้านนอก และมีคุณลักษณะความโถงอยู่ทางฟาก ด้านในระเบียง ทั้งนี้ ผนังที่อยู่รอบนอกก่อทึบและเป็นพนักให้ประดิษฐานพระพุทธรูปเรียงรายไป ตลอดแนว และฝั่งด้านในใช้การก่อเสารับโครงสร้างหลังคา เพื่อดึงแสงธรรมชาติให้เข้ามายังพื้นที่ตอน ใน และฉายส่องมายังองค์พระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ รวมทั้งเชื่อมมุมมองจากระเบียงคดออกไปยัง พระมหาธาตุประธานที่ตั้งอยู่กึ่งกลางของผังบริเวณด้วย

ภาพที่ 32: แบบสถาปัตยกรรมแสดงภาพตัด (Section) วัดราชบูรณะที่ตัดผ่านระเบียงคด เพื่อแสดงให้เห็นแนว กาแพงก่ออิฐจากพื้นจรดโครงสร้างหลังคาในฝั่งด้านนอก และใช้เสาลอยรอยรับโครงสร้างหลังคาเพื่อให้แสงลอดเข้า มายังพื้นที่ตอนใน ในขณะเดียวกันก็เปิดมุมมองของผู้ใช้พื้นที่ออกไปยังพระมหาธาตุประธานที่ตั้งอยู่กลางของผัง บริเวณ


121

สาหรับการก่อสร้างระเบียงคดล้อมผังบริเวณเขตพุทธาวาสนี้ พบคู่อยู่กับวัดสาคัญขนาดใหญ่ใน สมัยอยุธยา เช่น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา, วัดราชบูรณะ, วัดพระราม, วัดใหญ่ชัยมงคล, วัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี, วัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช, วัดพระบรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี, วัดพระศรีรัตนมหาธาตุพิษณุโลก จังหวัด พิษณุโลก เป็นต้น ทั้งนี้ หากพิจารณาลงไปในรายละเอียดจะเห็นได้ว่า วัดที่มีการสร้างระเบียงคด ล้อมรอบผังเขตพุทธาวาสเหล่านั้น ล้วนแต่มีพระมหาธาตุ (พระปรางค์) หรือพระบรมธาตุ (พระเจดีย์) ทาหน้าทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ หรือเป็นวัดสาคัญประจาเมืองทั้งสิ้น

ภาพที่ 33: ภาพสามมิติแสดงระเบียงคดล้อมรอบผังบริเวณเขตพุทธาวาสของวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช จะ เห็นว่าห้องท้ายของวิหารธรรมศาลาซึ่งเป็นวิหารด้านทิศตะวันออกของผังบริเวณนั้นยื่นเข้าไปยังผังบริเวณด้านใน ระเบียงคด อันเป็นเอกลักษณ์สาคัญของการวางผังวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น


122

ภาพที่ 34: แบบสถาปัตยกรรมแสดงผังบริเวณเขตพุทธาวาสวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น เปรียบเทียบกันระหว่างวัด พุทไธศวรรย์ (ภาพบน) และวัดราชบูรณะ (ภาพล่าง) จะเห็นได้ว่ามีการวางผังให้มุขท้ายของพระวิหารหลวงจะยื่น เข้าไปยังผังพื้นที่ภายในที่โอบล้อมด้วยพระระเบียงคด หรืออาจจะกล่าวได้ว่าระเบียงคดนั้นวิ่งเข้ามาบรรจบที่ห้อง ท้ายวิหารหรือส่วนท้ายวิหาร ซึ่งลักษณะดังกล่าวถือเป็นอันเป็นเอกลักษณ์สาคัญของการวางผังวัดในสมัยอยุธยา ตอนต้น ปรับปรุงจาก: กรมศิลปากร. ศิลปกรรมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2514. หน้าที่ 72.


123

ภาพที่ 35: ภาพแสดงท้ายจระนาวิหารหลวงวัดพุทไธศวรรย์ พระนครศรีอยุธยา แสดงให้เห็นการต่อเชื่อมกับ ระเบียงคดที่ตาแหน่งห้องท้ายวิหาร

ภาพที่ 36: พื้นที่และบรรยากาศภายในระเบียง คดที่สร้างขึ้นเพื่อก่อรูปให้เกิดพื้นที่ปิดล้อมอัน ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อั น เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานขององค์ พ ระ มหาธาตุประธานตรงกึ่งกลางผั งบริเ วณ จาก ภาพจะแลเห็ น ผนั งที่ อ ยู่ ร อบนอกก่ อ ทึ บ และ เป็นพนักให้ประดิษฐานพระพุทธรูปเรียงรายไป ตลอดแนว และฝั่ ง ด้ า นในใช้ ก ารก่ อ เสารั บ โครงสร้างหลังคา เพื่อดึงแสงธรรมชาติให้เข้า มายั ง พื้ น ที่ ต อนใน และฉายส่ อ งมายั ง องค์ พระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ด้วย


124

สาหรับลักษณะทางสถาปัตยกรรม ตลอดจนชุดความคิดที่ส่งอิทธิพลให้เกิด การสร้าง ระเบียงคดล้อมรอบองค์พระมหาธาตุนั้น ได้รับอิทธิพลมาจากการสร้างระเบียงคดในปราสาทขอม เช่นเดียวกันกับแรงบันดาลใจในการก่อสร้างพระมหาธาตุ ทั้งนี้ การสร้างระเบียงคดนี้มีจุดมุ่งหมายอยู่ 2 ประการ คือ ประการที่ 1 คือ การมุ่งสร้างพื้นที่ปิดล้ อมภายในเพื่อสร้างความศักดิ์สิทธิ์ต่ อการ ประดิษฐานองค์พระมหาธาตุที่ตั้งตระหง่านเป็นประธานอยู่ ในพื้นที่ตอนในระเบียงคด กล่าวคือ การ ก่อให้เกิดพื้นที่ปิดล้ อมดังกล่าวนั้ นได้ทาให้ พื้นที่ภายในกลายเป็นพื้นที่ที่มีฐานานุศัก ดิ์สูงกว่า พื้ นที่ สามัญภายนอก เนื่องจากพื้นที่ตอนในเป็นพื้นที่แสดงออกให้เห็น “ความมีอยู่” และ “ความศักดิ์สิทธิ์” ในฐานะทีเ่ ป็นพื้นทีอ่ ยู่ล้อมรอบองค์ประธานที่ประดิษฐานพระบรมสาริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งแสดงสัญญะผ่านรูปทรงทางสถาปัตยกรรมของพระมหาธาตุ นอกจากนี้ ด้วยความเป็นวัดหลวง ประจาเมืองชาวเมืองทุกคนไม่อาจจะสามารถก้าวล่วงเข้ามายังพื้นที่ตอนในของระเบียงคดในเวลาใดๆ ก็ได้ ประการที่ 2 เป็นผลพลอยได้ของการก่อตัวขึ้นของพื้นที่ปิดล้อมภายในระเบียงคด ซึ่งทาให้พื้นที่ ตอนในเป็นพื้นที่ทมี่ ีคุณลักษณะของความมั่นคงปลอดภัย เนื่องจากภายในผังบริเวณเขตพุทธาวาสของ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาซึ่ง มีการสร้างเสนาสนะต่างๆ มากมาย ตลอดจนมีการถวายเครื่ อง มหัคฆภัณฑ์อันมีค่าสาหรับสักการบูชาองค์พระมหาธาตุจึงมีความจาเป็นต้องรักษาความปลอดภัย อีก ทั้ง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุก็ยังเป็นวัดที่เป็นหลักเป็นประธานของบ้านเมืองที่พระมหากษัตริย์และพระ บรมวงศานุวงศ์ต้องเสด็จมาสักการบูชาจึงมีความจาเป็นต้องรักษาความปลอดภัยอย่างยิ่งยวด สาหรับ “พื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นนอก” เป็นที่ตั้งของ “พระปรางค์ราย” ตั้งอยู่ล้อมรอบ ด้านนอกของระเบียงคด นอกจากนี้ยังมี “พระวิหารหลวง” (ดูภาพประกอบที่ 38) ที่ตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันออก และ “พระอุโบสถ” (ดูภาพประกอบที่ 38) ทีต่ ั้งอยู่ทางท้ายวัดทางทิศตะวันตก และมีวิหาร รายที่วางตัวอยู่โดยรอบทั้ง 4 ทิศ ทั้งนี้ ในผังบริเวณทางทิศตะวันออกของวัดมีวิหารรายจานวน 7 หลัง สาหรับในผังบริเวณทางทิศใต้ และทิศเหนือมีวิหารรายจานวนด้านละ 2 หลัง สาหรับด้านทิศตะวันตก ซึ่ ง เป็ น ด้ า นหลั ง ของวั ด มี วิ ห ารราย 3 หลั ง และมี วิ ห ารขนาดเล็ ก 1 หลั ง ซึ่ ง เรี ย กว่ า วิ ห ารแกลบ นอกจากนี้ ยังมีการก่อสร้างพระปรางค์รายอยู่ล้อมรอบด้วย ทั้งนี้ เมื่อทาการส ารวจรั งวั ดผั ง บริเวณด้ว ยกล้ องส ารวจเลเซอร์ 3 มิติ (3Ds Laser Scan) เพื่อนาข้อมูลมาจัดทาแบบสถาปัตยกรรม และผังบริเวณ (ดูภาพประกอบที่ 37) พบข้อมูลอัน นามาสู่การจัดระบบข้อมูล เพื่อนาไปสู่การวิเคราะห์สู่แบบแผนและระบบในการวางผังบริเวณวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา โดยเฉพาะในส่ วนของ “วิหารราย” และ “พระปรางค์ราย” ที่อยู่ภายนอก ระเบียงคด ซึง่ สถานภาพความรู้ในปัจจุบันยังไม่มีการจัดการข้อมูลและข้อเสนอถึงแบบแผนการวางผัง ของอาคารต่างๆ เหล่านี้อย่างเป็นระบบเพื่อหาความรู้ที่ยังแฝงอยู่ อาทิ คติและแนวคิดในการก่อสร้าง การเข้าถึงตัวอาคาร (Accessibility) จะนาไปสู่ความเข้าใจถึงรหัสและเงื่อนไขในการวางผังของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในอดีตตั้งแต่เมื่อสมัยแรกสร้าง และพัฒนาการของผังเมื่อมีการก่อสร้าง


125

เพิ่มเติม

ภาพที่ 37: ภาพผั งบริ เวณของวัดพระศรี รัตนมหาธาตุ อยุ ธยาจากการสารวจด้ว ยกล้อ งสารวจเลเซอร์ 3 มิติ ด้านหน้าคือทิศตะวันออก คือ พระวิหารหลวง และด้านตะวันตก คือ พระอุโบสถ ทั้งนี้ ผังบริเวณที่แสดงนี้เป็นผังที่ สะท้อนให้เห็นผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในสมัยสุดท้ายก่อนการเสียกรุง


126

ภาพที่ 38: ประเภทของอาคาร และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ภายในผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ทั้งนี้ ผังบริเวณที่แสดงนี้เป็นผังในสมัยสุดท้ายก่อนการเสียกรุงในปี พ.ศ. 2310


127

ทั้งนี้ จากลักษณะของแผนผังโดยรวมที่กล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นถึงภาพรวมของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาว่ามีการวางผังอยู่ 2 ลักษณะ คือ 9.2.1 การวางผังในแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก 9.2.2 การวางผังแบบรวมศูนย์กลาง 9.2.1 การวางผังในแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก การวางผั งในแนวแกนทิ ศ ตะวัน ออก-ตะวัน ตก เป็น การวางผั งที่ มี การวางต าแหน่ ง องค์ประกอบสาคัญของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่เรียงตัวกันในแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก โดย มีปรางค์ประธานเป็นศูนย์กลางหันหน้าทางทิศตะวันออก มีพระวิหารหลวงอยู่ทางด้านหน้าซึ่งเป็น ด้านหน้าวัด และพระอุโบสถทางทิศตะวันตก โดยการวางผังดังกล่าว ให้ความสาคัญกับทิศตะวันออก เป็นหลัก เนื่องมาจากทิศตะวันออกเป็นทิศมงคลของพระพุทธศาสนา ด้วยเป็นสัญลักษณ์ที่เปรียบ ประดุจ “ความสุขสว่างทางปัญญา” จากการที่พระพุทธองค์ทรงเสด็จ “ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ” ดังกล่าวว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จตรัสรู้ในยามย่ารุ่งที่แสงอาทิตย์เริ่มฉายแสงทองขึ้นมาที่ข อบฟ้า ทางด้านตะวัน ออก ด้ว ยมูล เหตุ ดังกล่ าวมาจึ ง เป็ นสาเหตุ ให้ การออกแบบสถาปั ตยกรรมส าหรั บ ประดิษฐานพระพุทธรูปประธานของวัดจึงถูกกาหนดให้หันหน้าอาคารไปทางทิศตะวันออกเพื่อให้พระ ปฏิมาประธานได้หันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออกตามคติ ยกเว้นว่ามีเงื่อนไขอื่นๆ เช่น การสร้าง วิ ห ารรายที่ มี ค วามส าคั ญ ลดลง หรื อ การสร้ า งอาคารอยู่ ใ นทิ ศ ที่ ท าเลที่ ตั้ ง ทางทิ ศ ตะวั น ออกไม่ เอื้ออานวยจึงอนุโลมให้หันด้านหน้าไปทางด้านอื่นๆ ได้ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณารูปแบบทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์ในสมัยอยุธยาตอนต้น ซึ่งมี การยื่นมุขทางด้านทิศตะวันออกยาวกว่าด้านอื่น ทั้งนี้ จารีตดั้งเดิมในการก่อสร้างพระมหาธาตุในลุ่ม แม่น้าเจ้าพระยานั้นได้รับอิทธิพลทางรูปทรงทางสถาปัตยกรรมต่อเนื่องมาจากปราสาทขอมที่เคย รุ่งเรืองอยู่ก่อนหน้า ซึ่งรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของปราสาทขอมที่มีการก่อสร้างกันแพร่หลายอยู่ใน เขตดินแดนประเทศไทยนั้นเป็นปราสาทที่มีขนาดไม่ใหญ่โตนัก และให้ความสาคัญทางเข้าด้านหน้า เพียงด้านเดียว ส่วนซุ้มประตูด้านอื่นๆ ไม่ได้ยื่นมุขเช่นเดียวกับด้านหน้า นอกจากนี้ หากว่าปราสาทมี ขนาดไม่ใหญ่โตนักก็จะไม่มีการเจาะซุ้มประตูด้านอื่นๆ เข้าไปยังห้องครรภธาตุ หากแต่จะทาเป็นเพียง ประตูหลอก ด้วยต้องการสร้างปริมาตรของผนังให้มีมากขึ้นซึ่งจะช่วยรับน้าหนักของเรือนยอดที่มี จานวนมหาศาลไว้ด้วย นอกจากนี้ พื้นที่ตอนในของปราสาทซึ่งใช้เป็นที่ประดิษฐานประติมากรรมรูปเคารพ เนื่องในศาสนาหรือนิกายที่ศาสนสถานแห่งนั้นสร้างอุทิศถวาย อีกทั้งห้องครรภธาตุก็ไม่อาจสร้ าง โครงสร้างให้ระยะมีช่วงพาดกว้าง (Span) ได้ เนื่องจากการใช้วัสดุก่อสร้างจาพวกหินที่มีน้าหนักมาก


128

ทว่ามีความเปราะมากจึงมักจะหักลงตรงกลางโดยง่าย จึงไม่อาจมีการก่อสร้างให้มีช่องเปิด หรือช่วง พาดกว้างได้มากนั กเพราะต้องรั บ น้ าหนั กเรือนยอดที่ก่อสร้างด้ว ยหิ นซึ่งมีน้าหนักมหาศาลซึ่งอยู่ ตอนบน ด้วยเหตุผลเชิงวัสดุและโครงสร้างที่กล่าวมาข้างต้น จึงทาให้พื้นที่ตอนในของห้องครรภธาตุมี ขนาดไม่กว่างขวางเพียงพอสาหรับการใช้สอย ในการนี้ จึงมีความจาเป็นต้องออกแบบพื้ นที่ต่อเชื่อม เข้าไปยังห้องครรภธาตุ และให้รองรับกิจกรรมทางศาสนาต่างๆ ซึ่งหากเป็นปราสาทขอมก็จะเรียก องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่ทาหน้าที่ก่อรูปพื้นที่ดังกล่าวนี้ว่า “มณฑป” เพราะฉะนั้นจึงมีการ ออกแบบให้มีมุขด้านหน้าออกมาเพื่อทาหน้าที่ใช้สอยที่เปรียบได้กับพระวิห ารด้านหน้าพระเจดีย์ เหตุ ดังกล่าวจึงทาให้แผนผังของพระมหาธาตุนั้นจึงไม่ได้สมมาตรกันทุกด้าน หากแต่จะสมมาตรกันโดย การแบ่งซ้ายขวาจากแกนแนวตะวันออก-ตะวันตกเท่านั้น หาได้ทาให้เกิดการสมมาตรกันในแกน เหนือ-ใต้ด้วยไม่

ภาพที่ 39: แบบสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบระหว่างปราสาทหินพิมาย และพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ซึ่งยังคงแสดง ให้เห็นความสัมพันธ์ทางสถาปัตยกรรมที่ถ่ายทอดถึงกันอยู่ ทว่ามณฑปด้านหน้าได้มีการลดขนาดลง เนื่องเพราะมีการ ก่อสร้างพระวิหารหลวงด้านหน้าพระมหาธาตุเพื่อเป็นพื้นที่สาหรับประกอบพิธีกรรมทางศาสนา

อย่างไรก็ดี แม้ว่ารูปแบบทางสถาปัตยกรรมของพระมหาธาตุในช่วงก่อนสมัยอยุธยา ดัง ตัวอย่างของพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี และพระมหาธาตุที่ก่อสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้นนั้นจะยัง มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่สัมพันธ์กัน หากแต่จะเห็นได้ว่ามุขด้านหน้าที่เ คยเป็นมณฑปที่สาหรับ เป็นพื้นที่ประกอบพิธีกรรมนั้นได้ลดขนาดลง อันเนื่องมาจากการนารูปทรงทางสถาปัตยกรรมของพระ ปรางค์มาก่อสร้างเป็นพระมหาธาตุประธานของวัด แต่ทว่าไม่ได้ทาหน้าที่ รองรับการใช้สอยในฐานะ ของพื้นที่สาหรับประกอบพิธีกรรมเฉกเช่นศาสนสถานเนื่องในศาสนาฮินดู หากแต่ทาหน้าที่เป็นเพียง สัญลักษณ์ของรูปทรงอันศักดิ์สิทธิ์ และดึงหน้าที่ใช้สอยในการเป็นพื้นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา


129

ลงมาอยู่ในพระวิหารหลวงที่มีขนาดใหญ่และมีการก่อสร้างอยู่ด้านหน้าของพระมหาธาตุ

ภาพตัดที่ 1

ภาพตัดที่ 2

ภาพตัดที่ 1

ภาพตัดที่ 2

ภาพที่ 40: รูปตัด (Section) ผังบริเวณเขตพุทธาวาสภายในวงล้อมของระเบียงคดวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา


130

ซึ่งเมื่อจัดการข้อมูล เรื่องแบบแผนการวางผังของอาคารประเภท “วิหาร” หลังต่างๆ เหล่านี้อย่างเป็นระบบ ด้วยมุ่งหมายเพื่อหาความรู้ที่ยังแฝงอยู่ อาทิ คติและแนวคิดในการก่อสร้าง การเข้าถึงตัวอาคาร (Accessibility) เพื่อนาไปสู่ความเข้าใจถึงรหัสและเงื่อนไขในการวางผังของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในอดีตตั้งแต่เมื่อสมัยแรกสร้าง และพัฒนาการของผังเมื่อมีการก่อสร้าง เพิ่มเติม มีข้อค้นพบว่า วิหารหลังต่างๆ ที่ทาหน้าที่ประดิษฐานพระพุทธรูปและรองรับการประกอบ พิธีกรรม ซึ่งหากในการวางผังนั้นมีพื้นที่เหลือมากเพียงพอในการก่อสร้าง และการเส้นทางสัญจร จะ เห็นว่าจะกาหนดให้วิหารหันหน้าไปทางทิศตะวันออกตามธรรมเนียมดังที่กล่าวมาข้างต้น ดังตัวอย่ าง ของ “วิหารคู่” ที่อยู่ด้านหน้าขององค์พระมหาธาตุก็เป็นวิหารที่หันหน้าทางทิศตะวันออก ถึงแม้ว่า การทิศดังกล่าวนั้นอาจจะไม่อาจบอกได้ว่าเป็นการหันตามธรรมเนียมเพียงอย่างเดียว เนื่องจากไม่ ปรากฏวิหารรูปแบบดังกล่าวประกบอยู่กับบันไดทางขึ้นด้านอื่นๆ ขององค์พระมหาธาตุ ในการนี้ จึง ควรให้ความหมายในแง่อื่นๆ ด้วย เช่น เป็นวิหารที่อยู่คู่กับบันไดประธานที่ขึ้นสู่เรือนธาตุของพระ มหาธาตุซึ่งหันหน้าทางทิศตะวันออก จึงทาให้วิหารคู่นี้ต้องหันหน้าทางทิศตะวันออกด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ในพื้นที่ในเขตพุทธาวาสชั้นนอก หากพิจารณาในรายละเอี ยดถึงประเด็น เรื่องทิศทางของ “วิหารราย” ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในสภาพคงเหลืออยู่เพียงส่วนฐานเท่านั้น ทั้งนี้ เมื่อ พิจารณาซากฐานที่คงเหลื อนั้น ทาให้สั นนิ ษฐานได้ว่าวิหารรายเหล่ านี้มีลั กษณะเป็น “วิหารโถง” เนื่องจากความกว้างของผนังที่คงเหลือนั้น มีไม่มากนักจึงควรมีลักษณะเป็นเพียงพนักที่กั้นแสดงความ ชั ด เจนของวิ ห าร สาเหตุ ที่ ก่ อ สร้ า งเป็ น วิ ห ารโถงนั้ น อาจจะเพราะท าหน้ า ที่ ร องรั บ กิ จ กรรม อเนกประสงค์ในยามที่กษัตริย์เสด็จพระราชดาเนินมานมัสการพระศรีรัตนมหาธาตุ รวมทั้งทาหน้าที่ เฉกเช่นเดียวกับศาลาการเปรียญ คือ เป็นที่ ร่าเรียนพระพุทธศาสนา ทั้งนี้การพิจารณาว่าวิหารเหล่านี้ หันหน้าไปทางทิศใดจึงต้องพิจารณาจากการหันพระพักตร์ของพระประธานในวิหารแต่ละหลังนั่นเอง


131

ภาพที่ 41: การวางผังในแนวแกนทิศ ตะวันออก-ตะวันตก (วิหารหลวง-ปรางค์ประธาน-อุโบสถ)


132

ในการศึกษานี้ จึงสรุปแบบแผนการวางผังในส่วนของวิหารรายเหล่านี้ได้ว่า ในพื้นที่ส่วน “เขตพุทธาวาสชั้นนอกทางด้านตะวันออก” (ภาพที่ 42) กล่าวคือ มีวิหารจานวน 6 หลัง หรือเป็น 3 คู่ คือ “วิหารหมายเลข 2” คู่กับ “วิหารหมายเลข 5”, “วิหารหมายเลข 2” คู่กับ “วิหารหมายเลข 6” ซึ่งวิห ารทั้ง 4 หลั ง (หมายเลข 1, 2, 5 และ 6) ที่กล่ าวมานี้เป็นวิห ารที่ส ร้างหันหน้าทางทิศ ตะวันออก ซึ่งควรจะสร้างขึ้นมาหลังจาก “วิหารหลวง (วิหารหมายเลข 1)” แต่ต้องสร้างขึ้นก่อน “วิหารหมายเลข 4” ซึ่งหันหน้าไปทางทิศเหนือ และ “วิหารหมายเลข 7” ซึง่ หันหน้าไปทางทิศใต้ ซึ่ง วิหารทั้งสองดังกล่าวนั้นได้สร้างให้หันด้านหน้าเข้าสู่วิหารหลวง เพื่อทาหน้าที่เป็นทั้งวิหาร และศาลา สาหรับรองรับกิจกรรมอเนกประสงค์ต่างๆ ยามที่กษัตริย์เสด็จพระราชดาเนินมายังวัดพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยา การออกแบบวางผังดังกล่าวเป็นความจงใจเพื่อสร้างความสมมาตรให้ กับมุมมองจาก ทางด้านตะวัน ออกโดยมีพระวิห ารหลวงทาหน้าที่เป็นอาคาร นอกจากนี้ ทางด้านทิศเหนือวิห าร หมายเลข 7 คือ “วิหารหมายเลข 8” ก็หันหน้ามาทิศใต้เข้าหาวิหารหลวง ซึ่งการวางตัวของวิหารนี้ได้ เอี้ยวบิดไม่ตั้งฉากกับแกนซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นการก่อสร้างในชั้นหลัง และไม่ได้ให้ความสาคัญในการ ปักผังในการก่อสร้าง ส าหรั บ พื้น ที่ “เขตพุทธาวาสชั้น นอกทางด้านทิศใต้ ” และ “เขตพุทธาวาสชั้นนอก ทางด้านทิศเหนือ” (ภาพที่ 42) มีการก่อสร้างวิหารรายอยู่ด้านละ 2 หลัง คือ “วิหารหมายเลข 9” และ “วิหารหมายเลข 10” อยู่ในเขตพุทธาวาสชั้นนอกด้านทิศใต้ และ “วิหารหมายเลข 11” และ “วิหารหมายเลข 12” อยู่ในเขตพุทธาวาสชั้นนอกด้านทิศเหนือ ซึ่งวิหารทั้ง 4 หลังนี้ ต่างก็หันหน้า ทางทิศตะวันออก ส่วนสุดท้าย คือ “เขตพุทธาวาสชั้นนอกทางด้านทิศตะวันตก” (ภาพที่ 42) คือ ด้านหลัง วัดซึ่งเป็นที่ตั้งของ “พระอุโบสถ” ซึ่งตามธรรมเนียมในการวางผังวัดสาคัญในสมัยอยุธยาตอนต้นจะ กาหนดให้พระอุโบสถอยู่ด้านหลังพระมหาธาตุหรือพระบรมธาตุประธานของวัด และหันหน้าอาคาร พระอุโบสถไปทางทิศตะวัน ตก ซึ่งในพื้นที่ส่วนนี้ประกอบด้วยวิห าร 4 หลัง ซึ่งหันหน้าไปทางทิ ศ ตะวันตก คือ “วิหารหมายเลข 13” “วิหารหมายเลข 14” และ “วิหารหมายเลข 16” ทั้งนี้ “วิหาร หมายเลข 14” เป็นวิหารที่มีขนาดเล็กที่เรียกกันว่า “วิหารแกลบ”


133


134

ภาพที่ 42: แผนผังแสดงการหันทิศของพระวิหารรายหลังต่างๆ ในผังบริเวณเขตพุทธาวาสชั้นนอก

9.2.2 การวางผังแบบรวมศูนย์ นอกจากการให้ความสาคัญของการวางผังในแกนตะวันออก-ตะวันตกที่กล่าวมาข้างต้น แล้ว หากพิจารณาพื้นที่ปิดล้อมภายในวงล้อมของระเบียงคด จะเห็นว่ามี “การวางผังแบบรวมศูนย์” แม้ว่าจะมีท้ายจระนาของพระวิหารหลวงที่ก่อสร้างมุขด้านหลังให้ยื่นล้าเข้ามาตอนในของระเบียงคดก็ ตามที นอกจากนี้ หากพิจ ารณาถึ ง การออกแบบวางผั งของพระมหาธาตุ เ มื่ อแรกสถาปนาซึ่ ง ให้ ความสาคัญกับแกนด้านทิศตะวันออกโดยมีการยื่นมุขทางเข้าสู่ห้องครรภธาตุออกมายาวกว่าด้านอื่นๆ อัน เป็ น ผลสื บ เนื่ องมาจากพัฒ นาการทางรู ป แบบทางสถาปัต ยกรรมที่ยั งแสดงความเชื่ อมต่ อ กั บ ปราสาทที่ก่อสร้างขึ้นในวัฒนธรรมขอมที่มีการก่อสร้างอย่างแพร่หลายมาในสมัยก่อนหน้า และทั้งนี้ อาจจะมีมุขด้านตะวันตกที่ยื่นยาวออกมาด้วยเช่นกัน ก็จะเห็นว่ามีการวางผังที่ให้ความสาคัญกั บแกน ในแนวตะวันออก-ตะวันตก อย่างน้อยมาจนถึงรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองที่ทาให้มีการวางผัง ในลักษณะแบบรวมศูนย์อย่างแท้จริง กล่าวคือ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์พระมหาธาตุวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาครั้งใหญ่ ในปีพ.ศ.2176 และในการนั้นมิได้เพียงแค่บูรณปฏิสังขรณ์ตามที่ เคยเป็นมา หากแต่มีการแก้รูปแบบทางสถาปัตยกรรมให้องค์พระมหาธาตุมีลักษณะเป็นพระมหาธาตุ ที่มีผังแบบจัตุรมุขด้วยการก่อเพิ่มมุขอีกสองด้าน คือ ด้านทิศเหนือ และด้านทิศใต้ ดังยังปรากฏตัวมุข ก่ออิฐซึ่งแตกต่างไปจากเรือนธาตุประธานที่ก่อด้วยศิลาแลง ซึ่งในการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งนี้ได้ทาให้ พระมหาธาตุประธานในมีการวางผังและรูปทรงเหมาะสมกับการเป็นศูนย์กลางของแผนผังแตกต่างไป จากเดิ ม ที่ ก่ อ สร้ า งขึ้ น ในสมั ย อยุ ธ ยาตอนต้ น นอกจากนี้ ยั ง มี ก าร จั ด วางองค์ ป ระกอบทาง สถาปัตยกรรมประกอบในผังบริเวณประเภทต่างๆ ที่มีลักษณะการวางผังในลักษณะที่แผ่ขยายตัวออก จากศูนย์กลางออกไป โดยมีพระมหาธาตุอยู่ในตาแหน่งกึ่งกลาง ซึ่งได้มีการซ่อมแก้ทรงและมีการก่อ ยื่นมุขออกมาทั้ง 4 ทิศ รวมไปถึงบนสันหลังคามุขได้ มีการจัดวางสถูปทรงปรางค์ขนาดย่อม 4 องค์ รวมทั้งบนฐานไพทีตรงตาแหน่งรักแร้มุมซึ่งเป็นตาแหน่งทแยงมุมทั้ง 4 มุม มีการก่อสร้าง “พระปรางค์ มุม” ซึ่งทาให้ภาพรวมขององค์พระมหาธาตุมีลักษณะเป็นพระมหาธาตุเก้ายอด ด้านล่างของฐานไพที ทั้งสี่ด้านมีการสร้าง “เจดีย์รายทรงปราสาทยอด” สลับสับหว่างกับ “มณฑปราย” ถัดออกไปเป็น “เจดีย์มุม” ที่ตั้งอยู่ตรงรักแร้ของระเบียงคด ซึ่งน่าสนใจว่าเจดีย์มุมคู่หน้านั้นก่อสร้างเป็นเจดีย์ผังย่อ มุมไม้สิบสอง และเจดีย์คู่ด้านหลังนั้นเป็นเจดีย์ทรงระฆังที่ซ้อนอยู่บนฐานซ้อนชั้นในผังแปดเหลี่ ยม จากนั้นจึงล้อมรอบด้วยระเบียงคดซึ่งภายในประดิษฐานพระพุทธรูปนั่งเรียงรายหันหน้าเข้าไปยังพระ มหาธาตุที่อยู่ตรงจุดศูนย์กลาง นอกจากนี้ ตรงตาแหน่งแกนของพระมหาธาตุนั้น ระเบียงคดจะมีการ ยกมุขขึ้นเพื่อให้ความสาคัญกับแกนทิศทั้ง 4 และประดิษฐานพระพุทธรูปประจามุขดังกล่าว และ ภายนอกระเบียงคดล้อมรอบด้วยปรางค์รายและเจดีย์รายเป็นชั้นนอกสุด


135

ภาพที่ 43: การวางผังแบบรวมศูนย์กลาง


136

จากการวางผังพื้นที่ภายในวงล้อมของระเบียงคดภายหลังการบูรณปฏิ สังขรณ์ในรัชกาล สมเด็จพระเจ้าปราสาททองเมื่อปีพ.ศ.2176 ที่ทาให้พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีการวางผังแบบรวม ศูนย์โดยสมบูรณ์ ทั้งนี้เมื่อพิจารณาการวางผังของพื้นที่ภายนอกระเบียงคด ในส่วนของพระปรางค์ราย ที่ก่อสร้างกระหนาบอยู่ด้านข้างระเบียงคด ทั้งนี้ใช้การพิจารณาจากการวางทิศของช่องประตูทางเข้าสู่ ห้องครรภธาตุของพระปรางค์ เนื่องมาจากว่าพระปรางค์รายมีขนาดไม่ใหญ่โตนัก และถูกออกแบบให้ แสดงคุณลักษณ์ของความสมมาตรในตัวเอง จึงไม่มีการยื่นมุขทางเข้าด้านหน้ามากนัก เมื่อพิจารณาใน องค์รวมของรูปทรง (Form) จึงเห็นถึงความสมมาตรขององค์พระปรางค์รายเหล่านี้ นอกจากนี้ การ ก่อสร้างพระปรางค์ในสมัยอยุธยาตอนต้นจะให้ความสาคัญกับการหันด้านหน้าไปทางทิศตะวันออก แต่ในระยะเวลาต่อๆ มาเริ่มมีการอนุโลมให้พระปรางค์ไม่จาเป็นต้องหันด้านหน้าไปทางทิศตะวันออก หากแต่หันไปยังเส้นทางสัญจรภายในผังบริเวณของวัด หรือเส้นทางการเชื่อมต่อมาจากอาคารสาคัญ หลังอื่นๆ เพื่ออานวยความสะดวกแก่การเข้าถึงของผู้มาสักการบูชาด้วย ดังจะเห็ น ได้ว่า พระปรางค์ร ายที่ว างตัว อยู่ล้ อมรอบระเบีย งคด (ภาพที่ 44) ใน “เขต พุทธาวาสชั้นนอกทางด้านทิศ ตะวัน ออก”คือ “พระปรางค์หมายเลขที่ 21” ซึ่งอยู่ในสภาพเกื อบ สมบูรณ์ และ “พระปรางค์หมายเลขที่ 23” ซึ่งอยู่ในสภาพที่เรือนยอดและตัวเรือนธาตุพังทลายลงมา แต่ยังเห็นร่องรอยทางเข้าสู่ห้องครรภธาตุซึ่งอย่างด้านทิศตะวันออก สาหรับพระปรางค์ที่ตั้งอยู่ใน “เขตพุทธาวาสชั้นนอกทางด้านทิศใต้” มีพระปรางค์จานวน 4 องค์ ซึ่งอยู่ในสภาพสมบูรณ์ และชารุด แต่ยังสามารถมองเห็นร่องรอยทางเข้าสู่ห้องครรภธาตุ คือ “พระปรางค์หมายเลข 2” “พระปรางค์ หมายเลข 6” “พระปรางค์หมายเลข 7” และ “พระปรางค์หมายเลข 8” ซึ่งล้วนแต่หันหน้าทางทิศ ตะวันออก จึงทาให้อนุมานได้ว่าระบบการหันทิศของพระปรางค์ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ “เขตพุทธาวาส ชั้นนอกทางด้านทิศเหนือ” ซึ่งพังถล่มจนเหลือเพียงฐานได้ว่าควรจะหันหน้าทางทิศตะวันออกด้วย เช่นกัน สาหรับพระปรางค์รายในพื้นที่ “เขตพุทธาวาสชั้นนอกทางด้านทิศตะวันตก” มีการหันทิศไป ทางทิศตะวันตก คือ “พระปรางค์หมายเลข 10” “พระปรางค์หมายเลข 11” ซึ่งหันหน้าเข้าสู่ยังพื้นที่ ลานโล่ ง ซึ่ ง เป็ น เส้ น ทางสั ญ จร และ“พระปรางค์ ห มายเลข 13” ซึ่ ง ระเบี ย บและสั ด ส่ ว นทาง สถาปัตยกรรมนั้นสอดคล้องกับพระปรางค์สมัยต้นอยุธยา และทาหน้าที่เป็นดั่งพระปรางค์ท้ายวิหาร รายซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันตกเข้าหาเส้นทางสัญจรด้านท้ายวัด ซึ่งทาให้ทราบว่าการสร้างวิหาร รายดังกล่าวนั้นก็ควรจะมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นด้วย ในการนี้ จึงอนุมานได้ว่าพระปรางค์ที่เหลือ อีก 2 องค์ของเขตพุทธาวาสชั้นนอกด้านทิศตะวันตก คือ “พระปรางค์หมายเลข 9” และ “พระ ปรางค์หมายเลข 12” ก็ควรจะหันหน้าไปสู่ทิศตะวันตกด้วยเช่นกัน


137

ภาพที่ 44: การหันทิศด้านหน้าของพระปรางค์รายที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นนอก


138

10. สถานภาพของมรดกสถาปัตยกรรมภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาภายหลัง เสียกรุงศรีอยุธยาถึงปัจจุบัน นับตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2310 กรุงศรีอยุธยาในสถานะราชธานีเก่าก็รก ร้างไปด้วยถูกทอดทิ้ง สิ่งก่อสร้างนานาถูกทาลายลงด้วยฟอนไฟทั้งในระหว่างสงคราม และภายหลัง สงคราม ตลอดจนกาลเวลาได้สร้างความเสื่อมโทรมทาลายลง ตลอดจนความจาเป็นในการรื้อเอาอิฐ เก่าจากกรุงศรีอยุธยาเพื่อเป็นวัสดุก่อสร้างในการสถาปนาขึ้นของราชธานีใหม่แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ที่ ก่อร่างสร้างตัวขึ้น อยู่ภายใต้ความจ ากัดด้านทรัพยากรต่างๆ โดยเฉพาะแรงงานในการผลิ ต ด้วย แรงงานล้มตายลด้วยภัยสงคราม บ้างแตกกระสานซ่านเซ็นหลบหนี้ไปที่ต่างๆ และมีจานวนไม่น้อยที่ ถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลยศึก และแรงงานในราชธานีของผู้มีชัยชนะ นอกจากนี้ ในการสร้างราชธานีใหม่ยังกรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ ให้เป็นราชธานีใหม่ นั้นยังมีความจาเป็นต้องรื้อกาแพงเมืองของกรุงศรีอยุธยาลงเสียสิ้น เพื่อป้องกันไม่ให้กรุงศรีอยุธยานั้น กลายเป็นที่พานักพักพิงเป็นที่ซ่องสุมผู้คนจนเป็นภัยต่อราชธานีใหม่ซึ่งอยู่ไปไม่ไกลมากนัก ตลอดจน ได้ผลพลอยได้ คือ นาอิฐไปสร้างอาคารต่างๆ ตลอดจนกาแพงเมืองที่กรุงเทพฯ ภาพความรุ่งเรืองของกรุงศรีอยุธยาในอดีตเมื่อครั้งที่เรียกว่า “เมื่อครั้งบ้านเมืองยังดี” ได้ถูก ฉายภาพผ่านวรรณคดีนิราศชิ้นสาคัญที่รจนาขึ้นโดยสมเด็จกรมพระราชวังบวร มหาสุรสิงหนาท ผู้ทรง เป็นกรมพระราชวังบวร หรือวังหน้า ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ดัง กล่าวถึงไว้ใน “เพลงยาวนิราศกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท” ปีพ.ศ.2336 ดังจะขอยกตัวอย่าง เนื้ อหาส่ ว นที่ป ระพัน ธ์ ถึ งความงดงามของกรุ ง ศรี อยุธ ยาในช่ว งเวลาที่เ รีย กขานกันว่ า “เมื่อ ครั้ ง บ้านเมืองยังดี” และความสูญเสียอันเกิดขึ้นจากภัยสงคราม ความว่า ๏ ประกอบด้วยโภชนากระยาหาร ทุกถิ่นฐานบริบูรณ์หนักหนา อยู่เย็นเป็นสุขทุกทิวา

เช้าค่าอัตราทั้งราตรี

ประหนึ่งว่าจะไม่มีค่าคืน ไม่เห็นเช่นว่าจะเป็นถึงเพียงนี้

รวยรื่นเป็นสุขเกษมศรี มาเยินยับอัปรีย์ศรีศักดิ์คลาย

๏ ทั้งถนนหนทางอารามราช

มาวินาศสิ้นสุดสูญหาย

สารพัดย่อยยับกลับกลาย เมื่อพระกาฬจะมาผลาญดังทานาย

อันตรายไปจนพื้นปัถพี แสนเสียดายภูมิพื้นกรุงศรี

บริเวณอื้ออลด้วยชลธี

ประดุจเกาะอสุรีลงกา

เป็นคันขอบชอบกลถึงเพียงนี้ ๏ ผู้ใดใครเห็นจะไม่นาพา

มาเสียสูญไพรีอนาถา อยุธยาอาภัพลับไป


139

เห็นจะสิ้นอายุพระนคร เป็นป่าหญ้ารกดังพงไพร

ให้อาวรณ์ผู้รักษาหามีไม่ แต่จะสาบสูญไปทุกทิวา

คิดมาก็เป็นน่าอนิจจัง

ด้วยกรุงเป็นที่ตั้งพระศาสนา

๏ ทั้งอารามเจดีย์ที่บูชา ก็ทลายยับยุ่ยเป็นผุยผง

ปฏิมาฉลององค์พระทรงญาณ เหมือนพระองค์เสด็จดับสังขาร

ยังไม่สิ้นศาสนามาอรธาน

ทั้งเจดีย์วิหารก็สูญไป

เสียดายพระนิเวศน์บุรีวัง ๏ ตั้งเรียบระเบียบขั้นเป็นหลั่นไป

พระที่นั่งทั้งสามงามไสว อาไพวิจิตรรจนา

มุขโถงมุขเด็จมุขกระสัน

เป็นเชิงชั้นลวดลายล้วนเลขา

เพดานในไว้ดวงดารา ที่ตั้งบัลลังก์แก้วทุกองค์

ผนังฝาดาดแก้วดังวิมาน ทวารลงอัฒจันทร์หน้าฉาน

๏ ปราบพื้นรื่นราบดังพระลาน

มีโรงคชาธารตระการตา

ทิมดาบคดลดพื้นกาแพงแก้ว เป็นที่แขกเฝ้าเข้าวันทา

เป็นถ่องแถวยืดยาวกันหนักหนา ดั่งเทวานฤมิตประดิษฐ์ไว้

สืบทรงวงศ์กษัตริย์มาช้านาน

แต่บุราณแล้วไม่นับพระองค์ได้

๏ พระที่นั่งซึ่งตั้งอยู่ข้างใน ชื่อที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์

มีสระชลาลัยชลธี ที่ประพาสมัจฉาในสระศรี

ทางเสด็จเสร็จสิ้นสารพันมี

เป็นที่กษัตริย์สืบมา

ก็สูญสิ้นศรีมลายหายหมด ๏ อันถนนหนทางมรรคา

จะปรากฏสักสิ่งไม่มีว่า คิดมาก็เสียดายทุกสิ่งอัน

ร้านเรียบเป็นระเบียบด้วยรุกขา

ขายของนานาทุกสิ่งสรรพ์

ทั้งพิธีปีเดือนทุกคืนวัน ฤดูใดก็ได้เล่นเกษมสุข

สารพันจะมีอยู่อัตรา แสนสนุกทั่วเมืองหรรษา

๏ ตั้งแต่นี้แลหนาอกอา

อยุธยาจะสาบสูญไป

จะหาไหนได้เหมือนกรุงแล้ว นับวันแต่จะยับลับไป

ดังดวงแก้วอันสิ้นแสงใส ที่ไหนจะคืนคงมา

ไป่ปรากฏเหตุเสียเหมือนดังนี้

มีแต่บรมสุขา


140

๏ ครั้งนี้มีแต่พื้นพสุธา ทั้งนี้เป็นต้นด้วยผลเหตุ

อนิจจาสังเวชทนาใจ จะอาเพศกษัตริย์ผู้เป็นใหญ่

มิได้พิจารณาข้าไท

เคยใช้ก็เลี้ยงด้วยเมตตา

ไม่รู้รอบประกอบในราชกิจ ๏ สุภาษิตท่านกล่าวเป็นราวมา

ประพฤติการแต่ที่ผิดด้วยอิจฉา จะตั้งแต่งเสนาธิบดี

ไม่ควรอย่าให้อัครฐาน

จะเสียการแผ่นดินกรุงศรี

เพราะไม่ฟังตานานโบราณมี เสียยศเสียศักดิ์นัคเรศ

จึงเสียทีเสียวงศ์กษัตรา เสียทั้งพระนิเวศน์วงศา

๏ เสียทั้งตระกูลนานา

เสียทั้งไพร่ฟ้าประชากร

สารพัดจะเสียสิ้นสุด จึงไม่รู้กู้แก้พระนคร

ทั้งการยุทธก็ไม่เตรียมฝึกสอน เหมือนหนอนเบียนให้ประจากรรม

อันจะเป็นเสนาธิบดี

ควรที่จะพิทักษ์อุปถัมภ์

๏ ประกอบการหว่านปรายไว้หลายชั้น นี่ทาหาเป็นเช่นนั้นไม่

ป้องกันปัจจาอย่าให้มี เหมือนไพร่ชาติชั่วช้ากระทาสี

เหตุภัยใกล้กรายร้ายดี

ไม่มีที่จะรู้สักประการ

ศึกมาแล้วก็ล่าไปทันที ๏ ตีกวาดผู้คนไม่ทนทาน

มิได้มีเหตุเสียจึงแตกฉาน เผาบ้านเมืองยับจนกลับไป

ถึงเพียงนี้ละไม่มีที่กริ่งเลย

ไม่เคยรู้ล่วงลัดจะคิดได้

ศึกมาชิงล่าเลิกกลับไป จะคิดโบราณอย่างนี้ก็หาไม่

มิได้เห็นจะฝืนคืนมา ชาติไพร่หลงฟุ้งแต่ยศถา

๏ ครั้นทัพเขากลับยกมา

จะองอาจอาสาก็ไม่มี

แต่เลี้ยวลดปดเจ้าทุกเช้าค่า ฉิบหายตายล้มไม่สมประดี

จนเมืองคร่าเป็นผุยยับยี่ เมืองยับอัปรีย์จนทุกวันฯ


141

มิ เ พี ย งแต่ บ้ า นเมื อ ง หลั ก ประธานของบ้ า นเมื อ ง อั น ได้ แ ก่ พระมหาปราสาทอั น เป็ น สัญลักษณ์ของการเมืองการปกครองเท่านั้น ที่ย่อยยับลงเพราะสงครามและเหตุการณ์เกี่ยวเนื่องต่างๆ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจาพระนคร อันได้แก่ วัดวาอารามต่างๆ ก็พลอยได้รับความเสียหายไปด้วย ทั้ง ที่ เกิดขึ้นในระหว่างการสงครามและหลัง การสงคราม ทั้งที่โดนไฟเผาผลาญ ทั้งที่โดนปล้นสะดมทั้งจาก กองทัพคู่ตรงข้าม และก็ยังมีการรื้อทาลายเพื่อเก็บหาของมีค่าจากคนภายในเมืองเอง เพราะปฏิเสธ ไม่ได้ว่ากรุงศรีอยุธยานั้นเป็นดั่งชุมชนนานาชาติหลากชาติพันธุ์ หลากศาสนา และดารงอยู่ในสภาวะ แห่งการจุลาจล ข้าวก็ยากหมากก็แพง และหมดสิ้นระบบการเมืองการปกครอง จึงมีการปล้นสะดม เอาข้าวของมีค่าทั้งหลายไปขาย รวมทั้งในการสร้างกาแพงเมือง และพระราชวังแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ก็ได้มารื้อเอาอิฐเก่าไปก่อสร้าง ซึ่งมีผลพลอยได้ในแง่ของการรักษาเสถียรภาพของพระนครแห่งใหม่ ด้วยไม่ให้มีเมืองที่ยังมีกาแพงเมืองให้อริราชศัตรูมาใช้เป็นฐานที่มั่นในการโจมตีพระนครได้ ด้วยเหตุ ดังกล่าวนี้เองจึงทาให้ซากโบราณสถาน นอกจากนี้ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ก็ยังโปรดให้มารื้อขนเอาอิฐเก่าไปถมสร้างป้อม และถมกั้นน้าเค็ม ตลอดจนสร้างเจดีย์ ภูเขาทอง และอาจจะนามาสร้างพระปรางค์วัดอรุณ ราชวรารามด้วยก็อาจเป็นได้ วัดวาอารามโดย เฉพาะที่ติดอยู่ริมแม่น้าที่อยุธยาจึงมีสภาพเหลือเป็นเพียงฐานรากของอาคารเท่านั้น จนทาให้เกิด ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปว่าข้าศึกได้ทาลายกรุงศรีอยุธยาจนราบเป็นหน้ากลอง ภายหลังเมื่อมีการก่อตั้งราชธานีกรุงรัตนโกสินทร์เป็นที่เรียบร้อย พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงมีพระราชหฤทัยราลึกถึง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจาพระนคร ทว่าเฉพาะสิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์ประจาพระนครประเภทพระพุทธรูปสาคัญ เท่านั้นที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ อาทิ พระศรี สรรเพชญดาญาณพระประธานในวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ ตลอดจนพระโลกนาถซึ่งเป็นพระ ประธานในวิหารพระโลกนาถในวัดพระศรีสรรเพชญ์เช่นเดียวกั น พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญ พระพุทธรูปต่างๆ ไปยังกรุงรัตนโกสินทร์ราชธานีแห่งลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาแห่งใหม่ ทว่าไม่มีหลักฐานใด กล่าวถึงวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ตั้งแต่แรกตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช และมีการรื้อขนวัสดุก่อสร้างไปสร้างราชธานีใหม่ รวมทั้งอัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจาพระนครศรีอยุธยา ไปยังราชธานีใหม่ นอกจากนี้ คงได้มีการอัญเชิญพระพุทธรูปสาริดจากวัดวาอารามต่างๆ ไปยังกรุง รัตนโกสินทร์จานวนมากด้วย และหลังจากนั้นมากรุงศรีอยุธยาดูเหมือนว่าจะตัดขาดออกไปจากความ ทรงจาของผู้คงลงไป จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้เสด็จพระราช ดาเนินมายังอยุธยา และทรงโปรดเกล้าฯ ให้ บูรณปฏิสังขรณ์พระราชวังจันทร์เกษมซึ่งเป็นพระราชวัง บวรสถานในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีซึ่งตั้งอยู่บริเวณด้านเหนือของเกาะตรงตาแหน่งที่เรียกว่า “หัวรอ” ขึ้นใหม่อีกครั้งเพื่อเป็นที่ประทับสาหรับการแปรพระราชฐาน ซึ่งในการนั้นโปรดเกล้าฯ ให้ บูรณะวัดวาอารามหลายวัด อาทิ วัดเสนาสนารามราชวรวิหาร แล้วเสร็จเมื่อปีพ.ศ.2406 เพื่อเป็นดั่ง


142

วัดประจาพระราชวังจันทรเกษม รวมทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์วัดขุนแสนด้วย วิธีการก่อพอก ทว่ายังบูรณะยังไม่สาเร็จคงค้างอยู่แต่เพียงเท่านั้น นอกจากนี้ พระองค์ยังนาแรง บันดาลใจของรูปทรงของพระเจดีย์ “ทรงระฆัง” จากวัดพระศรีสรรเพชญ์ไปก่อสร้างเป็น “พระศรี รัตนเจดีย์” ในพระบรมมหาราชวังแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ด้วย เนื่องจากพระองค์ทรงวินิจฉัยว่ารูปทรง เจดีย์แบบทรงระฆัง เป็นรูปทรงที่ได้รับอิทธิพลมาจากลังกาอันเป็นดินแดนที่พระพุทธศาสนาแบบเถร วาทลงหลักปักฐานอย่างมั่นคง การดังกล่าวนั้นเองที่ทาให้ตีความได้ว่าพระองค์ทรงเห็นว่ารูปทรงของ “พระมหาธาตุ” หรือ “พระปรางค์” นั้นเป็นรูปทรงที่ไม่ได้เชื่อมต่อไปยังพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท ดั้งเดิมที่ลังกานั่นเอง ในการนี้ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในช่วงรัชกาลพระองค์ก็ คงไม่ได้รับการ บูรณปฏิสังขรณ์ใดๆ เหตุการณ์ล่วงเลยไปนับตั้งแต่แรกสร้างกรุงจนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 ที่ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระปรางค์วัดอรุณราชวรารามซึ่งรูปแบบทาง สถาปัตยกรรมได้สะท้อนถึงความเชื่อมโยงกับพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาอย่างใกล้ชิด ทว่าไม่มีเอกสาร ใดกล่ า วถึ ง มู ล เหตุ ค วามสั ม พั น ธ์ ไ ว้ หากแต่ เ มื่ อ สะกดร่ อ งรอยของการคลี่ ค ลายรู ป แบบทาง สถาปัตยกรรมย่อมเห็นถึงชุดความคิดที่ส่งผลต่อการออกแบบที่ได้รับอิทธิพลไปอย่างแน่นอน ทว่าหลังจากนั้นความทรงจาอันลางเลือนของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และกรุงศรี อยุธยาของผู้คนในสมัยรัตนโกสินทร์ได้ถูกทาให้เกิดการรับรู้ขึ้นอีกครั้ง และได้รับความสนใจมากขึ้น โดยล าดั บ นั บ ตั้ ง แต่ รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 5 เป็ น ต้ น มา โดยเฉพาะการบุ ก เบิ ก การศึ ก ษาเชิ ง พื้ น ที่ แ หล่ ง มรดกทางวั ฒ นธรรมต่ า งๆ ภายในเกาะเมื อ ง พระนครศรีอยุธยาโดยข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลอยุธยา (พระยาโบราณราชธานินท์ฯ) ตั้งแต่ที่เข้ารับ ตาแหน่งข้าหลวงเทศาภิบาลเมื่อปี พ.ศ.24463 ซึ่งได้ค้นคว้าข้ อมูลความรู้เกี่ยวกับแหล่งโบราณคดี ภายในเกาะเมื อ งอยุ ธ ยาและพื้ น ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งโดยการศึ ก ษาภาคสนามควบคู่ กั บ การศึ ก ษาทาง ประวัติศาสตร์ จ ากเอกสารทางประวัติศาสตร์ต่างๆ 4 นอกจากนี้ยังได้ทาการรวบรวมโบราณวัตถุ ศิ ล ปวั ต ถุ ต่ า งๆ มารวบรวมและจั ด ตั้ ง “อยุ ธ ยาพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถาน” 5 ขึ้ น ที่ พ ระราชวั ง จั น ทรเกษม จนกระทั่งปีพ.ศ. 2455 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้

3

ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 8. 4 ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 14-15. 5 ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 15.


143

เป็นอมาตย์โท และมีราชทินนามเป็น “พระยาโบราณราชธานินทร์ สยามินทรภักดี พิริหะ”6 ทาให้ องค์ความรู้เกี่ยวกับพระนครศรีอยุธยาได้ถูกเผยแพร่ออกมาเป็นจานวนมาก ทั้งนี้ ในช่วงต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ส่วนเรือนยอด ของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาได้พังถล่มลงมา และต้องพังทลายลงมาหลังปี พ.ศ.24507 สาหรับ พัฒนาการของกรมศิลปากรที่ทาหน้าที่พิทักษ์รักษาดูแลมรดกทางวัฒนธรรม ต่อมาในปีพ.ศ.2454 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 มีพระราชดาริให้โอนกิจการของช่างมหาดเล็ก จากกระทรวงวังและกรมพิพิธภัณฑ์จากกระทรวงธรรมการมาจัดตั้งเป็น “กรมศิลปากร” และในปี พ.ศ.2454 ได้มีการลักลอบขุดกรุพระศรีมหาธาตุอยุธยาเล่ากันว่าผู้ลักลอบขุดกรุนั้นได้ขันสาครใบใหญ่ บรรจุพระพิมพ์ไว้เต็มขัน8 ส าหรั บ กลไกในการบริ ห ารจั ด การศิ ล ปวั ฒ นธรรมของชาติ ใ นช่ว งเวลาดั ง กล่ า วนั้ นก็มี พั ฒ นาการในช่ ว งดั ง กล่ า วก็ เ ริ่ ม ปรากฏชั ด เจนมากขึ้ น กล่ า วคื อ ในปี พ .ศ.2469 ในรั ช กาล พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้งานพิพิธภัณฑ์ไป อยู่ ภ ายใต้ การดูแลของกรรมการหอพระสมุด และทรงจัดตั้งราชบัณฑิตยสภาเรียกว่า “ศิล ปากร สถาน” ซึ่งในครั้งนั้นมีการเข้าไปดูและอนุรักษ์แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมหลายแห่งด้วยการพิทักษ์ รักษาและการเสริมความแข็งแรง รวมทั้งการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่าย เช่น วัด พระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี เป็นต้น จนกระทั่ง เมื่อปีพ.ศ.2476 ได้มีการตราพระราชบัญญัติจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นโดยมี สังกัดอยู่ภายใต้กระทรวงธรรมการ ซึ่งต่อมาในปีพ.ศ.2478 กรมศิลปากรได้ดาเนินการประกาศขึ้น ทะเบียนโบราณสถานจานวน 69 แห่งในเกาะรอบเมืองพระนครศรีอยุธยาเป็นโบราณสถานสาคัญของ ชาติ ต่อมาในปีพ.ศ.2500 กรมศิลปากรได้มอบหมายให้อาจารย์จารัส เกียรติก้อง ซึ่งในขณะนั้น ได้ป ฏิบั ติห น้ าที่เป็ นช่างศิลป์ โท หัว หน้าแผนกส ารวจ ด าเนินการส ารวจรังวัดวัดต่างๆ เพื่อจัดทา แผนผังของวัดเพื่อนามาตีพิมพ์เผยแพร่ในนิตยสารศิลปากร 9 ซึ่งวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาได้

6

ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 9. 7 ตรี อมาตยกุล. “วัดมหาธาตุ ” ใน กรมศิลปากร. พระราชวัง และวัดโบราณในจังหวัดพระนครศรี อยุ ธ ยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2511. หน้า 34. 8 ตรี อมาตยกุล. “วัดมหาธาตุ ” ใน กรมศิลปากร. พระราชวัง และวัดโบราณในจังหวัดพระนครศรี อยุ ธ ยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2511. หน้า 34. 9 ธนิต อยู่โพธิ์. “คานา” ใน กรมศิลปากร. พระราชวัง และวัดโบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2511. หน้า ก.


144

สารวจในวันที่ 10 กุม ภาพันธ์ 2500 และดาเนินการเขียนแบบวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 และ เขียนแบบแล้วเสร็จในวันที่ 22 กุมภาพันธ์พ.ศ.2500 (ภาพที่ 46)

ภาพที่ 45: สภาพของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา มุมมองจากวัดราชบูรณะ เมื่อราวปี พ.ศ. 2499 ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

ภาพที่ 46: แบบสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่สารวจและจัดทาขึ้นในปี พ.ศ. 2500 ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม


145

การที่แหล่งโบราณสถาน และวัดวาอารามต่างๆ ถูกทิ้งร้างจึงถูกปกคลุมด้วยวัชพืช และ ต้นไม้จนกลายเป็นป่าละเมาะที่รกชัฏไร้ผู้คนเข้าไปสอดส่อง จึงเป็นเหตุให้ โจรผู้ร้ายสบโอกาสลักลอบ ลงไปขุดกรุเพ่ือหาของมีค่าต่างๆ ตามพระเจดียสถานต่างๆ ในวัดร้างทั่วทั้งภาคกลาง โดยเฉพาะที่ พระนครศรีอยุธยาที่มีสถานะเป็นดั่งเมืองร้างเนื่องจากศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของชุมชนนั้นไปเจริญ อยู่แถบหัวรอเพื่อรักษาย่านประวัติศาสตร์ไว้จากการรบกวนจากการพัฒนาสมัยใหม่ อีกทั้งในช่วงเวลา ดังกล่าวนั้นมีเจ้าหน้าที่บ้านเมืองจานวนน้อยไม่เพียงพอต่อการสอดส่องดูแล เพื่อการป้องกันไม่ให้มี คนร้ายลักลอบขุดกรุ ทางราชการในช่วงเวลาดังกล่าวจึงตัดสินใจเปิดกรุอย่างเป็นทางการ กล่าวคือ พ.ศ.2499 จอมพล ป.พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีได้มีมติคณะรัฐมนตรีให้บูรณะวัดในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ในการนั้นได้มีการขุดแต่งและสารวจองค์พระมหาธาตุในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา จนพบผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ดังกล่าวข้อความถึงเหตุการณ์ดังกล่าวในหนังสือ วิวัฒนา นุเบกษาพ.ศ.2500 ความว่า “อนุสนธิเรื่องการบูรณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2499 ซึ่งกลมศิลปากรได้ดาเนินการขุดแต่งวัดศรีสรรเพชญ์ วัดพระราม วัดราชบูรณะ และ วัดมหาธาตุ ในการขุดแต่งนี้ได้ขุดค้นพบโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ ตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2499 ถึง วันที่ 25 สิงหาคม 2499 รวม 4 ครั้ง และได้นาศิลปวัตถุและโบราณวัตถุที่ขุดพบให้ประชาชนชมเพื่อ ศึกษา ณ คุ้มขุนแผน ตามคาสั่งของท่านนายกรัฐมนตรี บัดนี้เจ้าหน้าที่ได้ทาการขุดค้นได้ศิลปวัตถุและโบราณวัตถุจากพระปรางค์วัดมหาธาตุอีก หลายอย่างซึ่งรวมทั้งพระบรมศรีริกธาตุด้วย มีรายการย่อๆดั่งนี้ วันที่ 30 สิงหาคม ได้พบพระว่านหน้าทองคาและหน้าเงิน พลอยสีต่างๆ วันที่ 31 สิงหาคม ได้พบแหวนนาก พลอยสี พระชิน และพระพุทธรูปดินเผาสมัยอู่ทอง วันที่ 3 กันยายน ได้พบพระพุทธรูปสมัยอู่ทอง สาริดหน้าตักประมาณ 4 นิ้ว วันที่ 5 กันยายน ได้พบพระว่านหน้าทองคาและพระเงิน วันที่ 9 กันยายน ได้พบพระพิมพ์ดินดิบ พระพิมพ์ดินเผา และพระพุทธรูปศิลาทราย นาคปรกสมัยลพบุรี 1 องค์ วันที่ 24 กันยายน ได้พบสิ่งของรวม 24 รายการ ที่สาคัญได้แก่ พระพุทธรูปทองคา เงิน สัมฤทธิ์ และดินเผาจานวนหลายองค์ วันที่ 25 กันยายน ได้พบสิ่งของรวม 23 รายการ ส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูปสาริด พระ ว่านหน้าทองคา เงินและพระชิน แหวนและพลอยสีต่างๆ วันที่ 28 กันยายน ได้พบสิ่งของรวม 21 รายการส่วนใหญ่เป็นพระชินแผง 10 องค์ พระ แผง 15 องค์ และพระพุทธรูปต่างๆ


146

วัน ที่ 29 กัน ยายน ได้พบสิ่ งของรวม 47 รายการ ส่ ว นใหญ่เป็นพระชิน พลอยสี ต่าง พระพุทธรูปหินหัวแหวน เป็นต้น และในคืนวันที่ 29 กันยายน 2499 เวลาประมาณ 04.00 น. เศษ เจ้าหน้าที่สามารถนา ผอบหินสี่เหลี่ยมขนาดกว้าง 30 ชม. ยาว 35 ชม. และสูง 108 ชม. ขึ้นจากบ่อที่ขุดได้ รุ่งขึ้นในวันที่ 30 กันยายน 2499 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวัฒนธรรม พร้อมด้วย คณะกรรมการได้ร่วมกันเปิดผอบ เมื่อเวลา 14.00 น. ได้พระสถูปซึ่งประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ รวม 7 ชั้น นอกจากนี้มีเครื่องทองคาพรรณต่างๆ อีกมาก เช่น กาไลทองคา แหวนทองคา พระพุทธรูป ทองคา ตลับทองคา แผ่นทองรูปสัตว์ต่างๆ อีกมาก รวมทั้งสิ้น 14 รายการ สาหรับพระสถูปเจดีย์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุนั้นทาเป็น 7 ชั้น เปิดออกได้ที่ละ ชั้นดังนี้ ชั้นที่ 1 ทาด้วยชิน ชั้นที่ 2 ทาด้วยเงินมีนภศูล น้าหนัก 350 กรัม ชั้นที่ 3 ทาด้วยทองคายอดนภศูล น้าหนัก 230 กรัม ชั้นที่ 4 ทาเป็นเจดีย์ไม้ประดู่ ยอดหุ้มทองคา มีน้าหนักทั้งสิ้น 135 กรัม ชั้นที่ 5 ทาด้วยไม้จันทน์เป็นรูปเจดีย์ ยอดหุ้มทองคาน้าหนัก 41 กรัม 500 มิลลิกรัม ชั้นที่ 6 ทาเป็นพระจุฬามุนี ฐานเป็นพลอยสีดอกตะแบก (สีม่วง) มีทองคาเป็นเรือน ชั้นที่ 7 เป็นตลับทองคาประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุ และพลอยสีต่างๆ ล้อมรอบ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้จัดประกอบพิธีสรงน้าสมโภช และฉลองพระบรมสารีริกธาตุ และพิธีสดับปกรณ์พระอัฐิและพระอังคารที่ขุ ดได้จากพระปรางค์วัดมหาธาตุ เป็นการภายในจังหวัด ก่อนเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2499 ในพิธีนี้นายกรัฐมนตรีได้ กรุณาไปร่วมด้วย พร้อมกับรัฐมนตรีก็ได้เข้า ร่วมด้วย พร้อมกับข้าราชการชั้นผู้ใหญ่จากจังหวัดพระนครหลายท่าน พิธีได้เริ่มตั้งแต่เวลา 06.00 น. ณ วัดมหาธาตุ ตอนเช้าพระสงฆ์สมณศักดิ์ของจังหวัดรวม 10 รูป เจริญพระพุทธมนต์ ถวายภัตตาหาร เช้าสดับ ปกรณ์ และทาบุ ญตักบาตรเช้า พระสงฆ์ประมาณ 50 รูปเสร็จแล้ ว นายกรัฐ มนตรีและ ข้าราชการทหารตารวจและประชาชนได้ ทาพิธีเวียนเทียน สรงน้าพระบรมสารีริกธาตุ แล้วได้อัญเชิญ พระบรมสารีริกธาตุขึ้นประดิษฐานบุษบกแห่เป็นทักษิณาวรรตรอบเมือง หลังจากนั้ นเชิญประดิษฐาน เปิ ดให้ ป ระชาชนได้ น มัส การ ณ ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุ ธยา พิธีได้ดาเนินไปด้ว ยความ เรียบร้อย มีประชาชนไปร่วมพิธี และสักการะกันอย่างเนืองแน่น อนึ่ง ทางราชการได้เปิดให้ประชาชนได้นมัสการในเวลาราชการได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 น. ถึง เวลา 16.00 น. สาหรับโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุที่ขุดค้นพบก็ได้นามาไปตั้งให้ประชาชนได้ชม และสักการะเช่นเดียวกัน”10 10

กรมศิลปากร. พระบรมสารีริกธาตุ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2553. หน้า 83-89.


147

นอกจากนี้ จากเหตุการณ์ที่พระมหาธาตุวัดราชบูรณะจึงถูกผู้ร้ายลักลอบขุดกรุ และต่อมา ในวันที่ 28 กันยายนพ.ศ.2500 กรมศิลปากรได้ดาเนินการเปิดกรุเพื่อรวบรวมทรัพย์สมบัติต่างๆ ไป เก็บรักษาซึ่งต่อมาในปีพ.ศ.2503 จึงได้มีการวางศิลาฤกษ์เพื่อสร้างพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสาม พระยาเพื่อเก็บรักษาโบราณวัตถุที่ค้นพบในกรุวัดราชบูรณะ และโบราณวัตถุอื่นๆ ที่ค้นพบที่อยุธยา รวบรวมไว้เพื่อให้ประชาชนศึกษา11 หลังจากมีความตื่นตัวเรื่องการค้นพบกรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ของวัดพระศรีรัต นมหาธาตุอยุธยา และกรณีที่ผู้ร้ายลักขุดกรุวัดราชบูรณะ ตลอดจนความเติบโตของแนวคิดเรื่องการ อนุรักษ์มรดกทางสถาปัตยกรรมเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ทาให้มีการขุดค้นทางโบราณคดีเพื่อพัฒนาองค์ ความรู้ที่เกี่ยวเนื่องกับแหล่งโบราณคดีต่างๆ ด้วยการพิสูจน์ทางกระบวนการทางโบราณคดีซึ่งเป็น วิทยาศาสตร์ควบคู่กับการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ ตลอดจนการขุดแต่งเพื่อส่งเสริมให้วัดพระศรีรัต นมหาธาตุอยุธยาเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวในฐานะของวัดสาคัญของอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา และการยกย่องเป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมเมื่อวันที่ 13 ธันวาคมพ.ศ.2534

ภาพที่ 47: การขุดเปิดกรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ในปีพ.ศ.2499 ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

11

กฤษณ์ อินทโกศัย. “รายงานการเปิดกรุในองค์พระปรางค์วัดราชบูรณะ” ใน ศิลปากร, กรม. เครื่องทองกรุวัด ราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2550. หน้า 24-28.


148

ภาพที่ 48: การขุดเปิดกรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ในปีพ.ศ.2499 ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

ภาพที่ 49: จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้าร่วมพิธีกรรมสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2499 ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม


149

ภาพที่ 50: มณฑลพิธีในการสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2499 จัดมณฑลพิธีตรงมุมด้าน ตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา วัดที่เห็นเป็นฉากอยู่ด้านหลัง คือ วัดราชบูรณะ ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

ภาพที่ 51: มณฑลพิธีในการสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาตม พ.ศ.2499 จัดมณฑลพิธีตรงมุมด้าน ตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม


150

ภาพที่ 52: มณฑลพิธีในการสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2499 จัดมณฑลพิธีอยู่ตรงมุม ด้านตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

ภาพที่ 53: จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้าร่วมพิธีกรรมสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2499 ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม


151

ภาพที่ 54: สถูปซ้อนชั้นที่ทาด้วยจากวัสดุมีค่าชนิดต่างๆ ออกแบบเป็นทรงเจดีย์ทว่าไม่มีบัลลังก์ ซึ่งอาจเป็นรูปทรง อันเก่าแก่ของสถูปเจดีย์ที่ยังตกค้างอยู่ ภายในเป็นพระกรัณฑ์ที่ตกแต่งด้วยแก้วผลึกมีค่าซึ่งภายในประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุ ที่มา: กรมศิลปากร. พระบรมสารีริกธาตุ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2553.

ภาพที่ 55: ผอบหินรูปปลาเขียนลานทอง ที่มา: กรมศิลปากร. พระบรมสารีริกธาตุ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2553.


152

ภาพที่ 56: เครื่องมหัคฆภัณฑ์ของมีค่าต่างๆ ที่ค้นพบในกรุพระมหาธาตุ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ที่มา: กรมศิลปากร. พระบรมสารีริกธาตุ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2553.


153

จากที่กล่ าวมาข้า งต้น ถึ งสภาพปรั กหั ก พั งของโบราณสถานวัด พระศรีรัต นมหาธาตุ อยุธยา ทั้งที่เกิดขึ้นจากปัจจัยคุกคามประเภทต่างๆ ทว่าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และแหล่ง โบราณสถานต่างๆ ในกรุงเก่าก็ได้รับความสนใจมากขึ้นโดยลาดับ นับตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา โดยเฉพาะการบุกเบิกการศึกษาเชิงพื้นที่แหล่ง มรดกทางวัฒนธรรมต่างๆ ภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาโดยข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลอยุธยา (พระยาโบราณราชธานิน ท์ฯ) ตั้ งแต่ที่เข้ารับตาแหน่งข้าหลวงเทศาภิบาลเมื่อ ปีพ.ศ.2446 1 ซึ่งได้ ค้ น คว้ า ข้ อ มู ล ความรู้ เ กี่ ย วกั บ แหล่ ง โบราณคดี ภ ายในเกาะเมื อ งอยุ ธ ยาและพื้ น ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งโดย การศึกษาภาคสนามควบคู่กับการศึกษาทางประวัติศาสตร์จากเอกสารทางประวัติศาสตร์ต่างๆ 2 นอกจากนี้ ยั ง ได้ ท าการรวบรวมโบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ ต่ า งๆ มารวบรวมและจั ด ตั้ ง “อยุ ธ ยา พิพิธภัณฑสถาน”3 ขึ้นที่พระราชวังจันทรเกษม จนกระทั่งปีพ.ศ.2455 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นอมาตย์โท และมีราชทินนามเป็น “พระยาโบราณราช ธานินทร์ สยามินทรภักดี พิริหะ”4 สาหรับพัฒนาการของกรมศิลปากรที่ทาหน้าที่พิทักษ์รั กษาดูแล มรดกทางวัฒนธรรมต่อมาในปี พ.ศ.2454 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 มี พระราชดาริให้โอนกิจการของช่างมหาดเล็ก จากกระทรวงวังและกรมพิพิธภัณฑ์จากกระทรวงธรรม การมาจั ดตั้งเป็ น “กรมศิล ปากร” ต่อมาในปีพ.ศ.2469 ในรัช กาลพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้ า เจ้ าอยู่ หั ว รั ช กาลที่ 7 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ งานพิพิธ ภัณฑ์ไปอยู่ภ ายใต้ การดูแลของ กรรมการหอพระสมุด และทรงจัดตั้งราชบัณฑิตยสภาเรียกว่า “ศิลปากรสถาน” ซึ่งในครั้งนั้นมีการ เข้าไปดูและอนุรักษ์แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมหลายแห่งด้วยการพิทักษ์รักษาและการเสริม ความ แข็งแรง รวมทั้งการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่าย เช่น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี เป็นต้น จนกระทั่ง เมื่อปีพ.ศ.2476 ได้มีการตราพระราชบัญญัติจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นโดยมีสังกัดอยู่ภายใต้กระทรวง ธรรมการ ซึ่งต่อมาในปีพ.ศ.2478 กรมศิลปากรได้ดาเนินการประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานจานวน 69 แห่งในเกาะรอบเมืองพระนครศรีอยุธยาเป็นโบราณสถานสาคัญของชาติ

1

ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 8. 2 ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 14-15. 3 ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 15. 4 ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 9.


154

ต่อมาในปีพ.ศ.2499 ได้มีมติคณะรัฐมนตรีให้บูรณะวัดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในการ นั้นได้มีการขุดแต่งและสารวจองค์พระมหาธาตุในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา จนพบผอบบรรจุพระ บรมสารีริกธาตุ และในปีพ.ศ.2500 กรมศิลปากรได้มอบหมายให้อาจารย์จารัส เกียรติก้อง ซึ่งใน ขณะนั้นได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นช่างศิลป์ โท หัวหน้าแผนกสารวจ ดาเนินการสารวจรังวัดวัดต่างๆ ในเกาะ เมืองพระนครศรีอยุธยาเพื่อจัดทาแผนผังของวัดเพื่อนามาตีพิมพ์เผยแพร่ในนิตยสารศิลปากร5 นอกจากนี้ หลังจากมีความตื่นตัวเรื่องการค้นพบกรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และกรณีที่ผู้ร้ายลักขุดกรุวัดราชบูรณะ ตลอดจนความเติบโตของแนวคิด เรื่องการอนุรักษ์มรดกทางสถาปัตยกรรมเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ทาให้มีการขุดค้นทางโบราณคดี เพื่อ พัฒนาองค์ความรู้ที่เกี่ยวเนื่องกับแหล่งโบราณคดีต่างๆ ด้วยการพิสูจน์ทางกระบวนการทางโบราณคดี ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ ตลอดจนการขุดแต่งเพื่อส่งเสริมให้วัดพระ ศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยาเป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ แ ละแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในฐานะของวั ด ส าคั ญ ของอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และการยกย่องเป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2534

11. สภาพของมรดกสถาปัตยกรรมภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาจากการ สารวจรังวัด และการใช้กล้องสารวจเลเซอร์สามมิติ (3Ds Laser Scan) มรดกทางสถาปัตยกรรมภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ประกอบไปด้วยอาคาร 2 รูปแบบหลัก คือ “สถาปัตยกรรมที่ทาหน้าที่รองรับการใช้สอย” และ “สถาปัตยกรรมที่ทาหน้าที่เชิง ความหมายและสัญลักษณ์” ซึ่งสถาปัตยกรรมในประเภทแรกนั้น คือ พระอุโบสถ และพระวิหารต่างๆ ซึ่งล้วนแล้วแต่พังทลายลงมาหมดสิ้นเนื่องจากเป็นอาคารเครื่องก่อในส่วนฐานและตัวเรือน หากแต่ เรือนยอดเป็นโครงสร้างไม้มุงกระเบื้อง ยกเว้น วิหารแหลบซึ่งเป็นวิหารขนาดเล็กที่สร้างเป็นเครื่องก่อ ทั้งหลังอยู่ท้ายวัดตรงมุมด้านตะวันตกเฉียงใต้เพียงหลังเดียวเท่านั้นที่ยังคงสภาพที่ค่อนข้างสมบูรณ์ ในขณะที่สถาปัตยกรรมในกลุ่มที่สองนั้น คือ พระศรีรัตนมหาธาตุ พระปรางค์ และพระเจดีย์ต่างๆ ซึ่ง มีทั้งยังคงสภาพอยู่เต็มองค์ ชารุดบางส่วน และชารุดจนถึงระดับฐาน ทั้งนี้ได้อธิบายประกอบด้วย แผนผั งบริ เวณวัด พระศรี รั ต นมหาธาตุ ในภาพที่ 3-58 และ 3-59 และภาพขยายผั ง บริ เวณเขต พุทธาวาสภายในวงล้อมของระเบียงคด ในภาพที่ 3-60 และ 3-61 5

ธนิต อยู่โพธิ์. “คานา” ใน กรมศิลปากร. พระราชวัง และวัดโบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2511. หน้า ก.


155

ภาพที่ 57: ผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามุมมองตานก (Bird Eye View) จากการประมวลผลจากการ สารวจด้วยเครื่องเลเซอร์สแกนเนอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner)


156

ภาพที่ 58: ผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ผลจากการสารวจด้วยเครื่องเลเซอร์สแกนเนอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner)


157

ภาพที่ 59: ผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แสดงสภาพของสถาปัตยกรรมแต่ละหลัง กล่าวคือ สีแดง คือมี สภาพค่อนข้างสมบูรณ์ สีเหลือง คือ มีสภาพหลงเหลือส่วนฐานและผนังบางส่วน และสีน้าตาล คือ อาคารที่พังทลาย เหลือเฉพาะส่วนฐาน


158

ภาพที่ 60: ผังบริเวณเขตพุทธาวาสในวงล้อมของระเบียงคด อันเป็นที่ตั้งของพระศรีรัตนมหาธาตุและอาคาร บริวารอื่นๆ

ภาพที่ 61: แผนผังบริเวณเขตพุทธาวาสในวงล้อมของระเบียงคด แสดงสภาพทางกายภาพของอาคารหลังต่างๆ ที่ตั้งอยู่โดยรอบพระศรีรัตนมหาธาตุ


159

ภาพที่ 62: แผนผังสภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ

ภาพที่ 63: สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศตะวันออก


160

ภาพที่ 64: สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศเหนือ

ภาพที่ 65: สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศใต้

ภาพที่ 66: สภาพปัจจุบันของปรางค์ประธาน และอาคารประกอบ ด้านทิศตะวันตก


161

11.1 พระศรีรัตนมหาธาตุ หรือพระปรางค์ประธาน “พระศรี รั ตนมหาธาตุ ” หรือ “พระปรางค์ประธาน” ตั้งอยู่ในตาแหน่งศูนย์กลางของผัง บริ เวณวัด มีลั กษณะเป็ น สถูป ทรงปรางค์ยกฐานสู ง หั นหน้า ไปทางทิศตะวันออก สภาพปัจจุบัน ปรักหักพังจากการที่เรื อนยอดพังทลายลงมาจนถึงชั้นเรือนธาตุ ผังพื้นของพระศรีรัตนมหาธาตุ มี ลักษณะเป็นผังเหลี่ยมย่อมุม โดยมีสัดส่วนของมุมประธานขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญของ พระปรางค์ในสมัยอยุธยาตอนต้น มีชุดฐานแบบฐานบัวคว่า-บัวหงายแบบที่ท้องไม้มีบัวลูกฟัก6 ซ้อน กัน 3 ชุดซึ่งซ้อนอยูบ่ นฐานไพทีขนาดใหญ่ จากการสารวจรังวัดพบว่า ชุดฐานจะมีความสูงประมาณ 8 เมตร ทั้งนี้พบว่า มีการก่ออิฐเข้าไปชนกับตัวเรือนธาตุเดิมที่ก่อด้วยศิลาแลงเป็น มุขยื่นออกไปทั้งสี่ทิศ และมีบันไดขึ้นสู่ เรื อนธาตุทั้ง สี่ทิศ แต่เฉพาะมุขด้านทิศตะวันออกเพียงมุขเดียวเท่านั้นที่ส ามารถ เชื่อมต่อเข้าสู่บริเวณศูนย์กลางของเรือนธาตุ หรือที่เรียกว่า “ครรภธาตุ” ได้ ทั้งนี้ปรากฏมีการใช้วัสดุ ในการก่อสร้างที่แตกต่างกัน 3 ประเภท คือ “ศิลาแลง” ใช้ในการก่อสร้างตั้งแต่เมื่อแรกสร้างพระศรีรัตนมหาธาตุ ซึ่งการใช้ศิลาแลง ในการก่อสร้างพระปรางค์นั้นเป็นธรรมเนียมในการเลือกวัสดุที่มีมาตั้งแต่โบราณตั้งแต่สมัยขอมเรือง อานาจในดินแดนลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ดังการก่อสร้างปราสาทพระปรางค์สามยอด ศาลพระกาฬ และ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี และด้วยฐานานุศักดิ์อันสูงส่งของพระมหาธาตุประจาเมืองวัสดุก่อสร้าง ที่พิเศษ เช่น ศิลาแลงจึงถูกนามาใช้เป็นวัสดุก่อสร้างหลักของพระปรางค์ประธาน ในที่นี้ ยังไม่ทราบว่า แหล่งขุดศิลาแลงที่ใช้ในการก่อสร้างนั้นนามาจากที่ใด แต่สันนิษฐานว่าน่าจะมีแหล่งขุดศิลาแลงอยู่ใน เขตจังหวัดลพบุรี และเพชรบูรณ์และขนส่งมาตามลาแม่น้าป่าสัก ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าส่วนเรือนธาตุ และ ชุดฐานของพระปรางค์ประธานเมื่อแรกสร้างนั้นสร้างด้วยศิลาแลง และส่วนเรือนยอดก็ควรก่อด้วย ศิลาแลงด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ ในห้องครรภธาตุซึ่งมีผังพื้นเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้าง 4.5 เมตร และมีมุขยื่น ออกมาทางทิศตะวันออกประมาณ 3 เมตร ก็ใช้ศิลาแลงเป็นวัสดุก่อสร้างหลัก นอกจากนี้ สันนิษฐาน ว่าการเลือกใช้ศิลาแลงเป็นโกลนของโครงสร้างยังทาให้งานประดับตกแต่งผิวนอกที่ใช้ปูนปั้นซึ่งเป็น ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สาคัญของลุ่มแม่น้าภาคกลางของไทยมาตั้งแต่ส มัยทวารวดียังมีประสิ ทธิภ าพ มากกว่า เนื่องจากรูพรุนของผิวศิลาแลงยังช่วยให้เนื้อปูนยึดติดกับโกลนศิลาแลงที่เป็นโครงสร้างได้ เป็นอย่างดีอีกด้วย “อิฐดินเผา” เป็นวัสดุก่อสร้างที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในดินแดนลุ่มแม่น้าเจ้าพระยามา ตั้งแต่เดิมนับแต่สมัยทวารวดี ทั้งนี้ อาจกล่าวได้ว่าเป็นภูมิปัญญาในการผลิตวัสดุก่อสร้าง ตลอดจนภูมิ ปั ญญาในการก่อสร้ างที่ส าคัญของดิ นแดนลุ่ ม แม่น้าเจ้าพระยา เนื่องมาจากการผลิ ตอิฐ ดิน เผามี ปัจจัยพื้นฐานมาจากวัตถุดิบตั้งต้น (Raw Material) คือ ดินเหนียวตะกอนแม่น้า ฟางและแกลบที่ใช้ 6

ดูคาอธิบายเพิ่มเติมใน สันติ เล็กสุขุม. “ก่อนที่จะปรากฏในศิลปะไทย และก่อนที่จะหายไปในที่สุด: ฐานบัวลูกฟัก” ใน งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้า 180-193.


162

เป็นเชื้อเพลิงซึ่งเป็น ผลพลอยได้มาจากการทานาเพาะปลูกข้าว ทั้งนี้ องค์พระศรีรัตนมหาธาตุนั้นมี การใช้อิฐในการก่อสร้างต่อเติมมุขทั้งสี่ด้านออกมาจากเรือนธาตุเดิมที่ใช้ศิลาแลงเป็นวัสดุก่อสร้างหลัก เมื่อคราวบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง โดยมุขก่ออิฐที่เพิ่มเติมเข้ าไป นั้ น มีลั กษณะเป็ น มุ ขโถงยื่ น ออกมาทั้ ง 4 ทิศ โดยที่มุขทิศเหนือ -ใต้ จะสั้ นกว่ามุขทิศตะวั น ออกตะวันตก โดยมุขทิศตะวันออกจากเดิมที่มีการก่อด้วยศิลาแลงก็มีการถูกก่อ ยกมุขด้วยอิฐ เพื่อทาให้ผัง ของพระศรีรัตนมหาธาตุมีความสมมาตรกัน รวมทั้งส่วนยอดที่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ในสมัยสมเด็จ พระเจ้าปราสาททองก็เป็นเรือนยอดที่ก่ออิฐด้วย ดังปรากฏกล่าวถึงในเอกสารทางประวัติศาสตร์ จาพวกพงศาวดารฉบับต่างๆ “หินทราย” เป็นวัสดุก่อสร้างชั้นเลิศในการก่อสร้างศาสนสถานสาหรับทวยเทพเนื่องใน ศาสนาฮินดูที่เคยรุ่งเรืองอยู่ในพื้นที่แถบนี้มาก่อนหน้าที่ รัฐอยุธยาจะสถาปนาขึ้น อย่างไรก็ตาม ด้วย หินทรายเป็นวัสดุก่อสร้างที่มีฐานานุศักดิ์สูงมาตั้งแต่เดิม ทาให้ไม่มีการใช้หินทรายในการก่อสร้าง สถาปั ต ยกรรมอย่ า งแพร่ ห ลายนั ก ปราสาทหิ น ที่ ใ ช้ หิ น ทรายก่ อ สร้ า งทั้ ง หลั ง ที่ อ ยู่ กั บ ลุ่ ม แม่ น้ า เจ้าพระยามากที่สุดเห็นจะเป็นปราสาทหิ นพิมาย ซึ่งในอดีตนั้นเป็นเมืองสาคัญที่สัมพันธ์กับกษัตริย์ เขมรจึงสามารถใช้หินทรายในการก่อสร้างปราสาทสาหรับทวยเทพได้ เพราะฉะนั้นในราชธานีลุ่ม แม่น้าเจ้าพระยาตั้งแต่ลพบุรีและอยุธยาจึงไม่มีธรรมเนียมในการสร้างปราสาททั้งหลังด้วยหินทราย คง ใช้แต่เพียงกับโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมบางองค์ประกอบเท่าที่จาเป็น เช่น โครงสร้างที่ต้องรับ น้าหนักอย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ ทับหลัง กรอบประตู เป็นต้น นอกจากนั้นก็จะนาไปใช้ในการสร้าง พระพุทธรูป และใบเสมา สาหรับพระศรีรัตนมหาธาตุใช้ก่อสร้างในส่วนของพื้นห้องห้องครรภธาตุที่ทา หน้าที่เป็นกรุลึกลงไปในชุดฐานซ้อนชั้น ซึ่งสาเหตุของการเลือกใช้หินทรายดังกล่าวคงเนื่องมาจาก ต้องการสร้างห้องโล่งเป็นโพรงลงไปในชุดฐานเพื่อสาหรับใช้เป็นกรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และเก็บรักษาเครื่องมหัคฆภัณฑ์ต่างๆที่บูชาพระบรมสารีริกธาตุ นอกจากนี้ยังมีการใช้หินทรายเป็น โครงสร้างตรงตาแหน่งช่องเปิดของมุขด้านหน้าเพื่อรับน้าหนักเรือนยอดในลักษณะของกรอบประตู และคงใช้ในลักษณะของการเป็นคานรับน้าหนักโครงสร้างหลังคาส่วนมุข และเรือนยอดด้วย แต่สภาพ ปัจจุบันไม่ปรากฏเพราะพังทลายลงหมดสิ้นแล้ว


163

ภาพที่ 67: ชุดฐานซ้อนชั้นของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ซึ่งตรงส่วนพระปรางค์ประธานนั้นเป็นโครงสร้างก่อด้วย ศิลาแลงมาแต่เดิม และมีการก่อมุขให้กลายเป็นผังแบบจัตุรมุขในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

ภาพที่ 68: วัสดุก่อสร้างของเรือนธาตุ และภายในห้องครรภธาตุใช้ศิลาแลงเป็นวัสดุก่อสร้างหลัก ทั้งนี้ในภาพ ขวามือจะแลเห็นว่ามีการใช้หินทรายก่อเป็นโครงสร้างรับน้าหนักในส่วนพื้นขององค์พระปรางค์นับตั้งแต่พื้นห้อง ครรภธาตุลงไปและก่อเป็นพนักของกรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ


164

11.2 พระปรางค์มุม “พระปรางค์ มุ ม ” ตั้งอยู่ บ ริ เวณมุ มทั้ ง 4 ของฐานไพที ในระดับเดียวกัน กั บ ปรางค์ ประธาน สภาพปัจจุบันของปรางค์มุมทั้ง 4 องค์ มีเพียงปรางค์มุมทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือที่อยู่ใน สภาพสมบูรณ์ โดยมีองค์ประกอบแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ 1) ส่วนฐาน มีลักษณะเป็นผังเหลี่ยมย่อมุมไม้ ยี่สิบ7 มีสัดส่วนของมุมประธานขนาดใหญ่เช่นเดียวกับปรางค์ประธาน มีความสูงประมาณ 2.9 เมตร มีลักษณะเป็นฐานเขียงซ้อนด้วยฐานบัวลูกฟัก 2 ชั้น ส่วนเรือนธาตุ มีความสูงประมาณ 3.35 เมตร บริเวณเรือนธาตุตรงกลางที่รับส่วนยอด มีลักษณะเป็นผังเหลี่ยมย่อมุมไม้ยี่สิบ มีบันไดขึ้นสู่เรือนธาตุทั้ง 4 ทิศ แต่ละทิศทาเป็นซุ้มจระนา โดย ด้านหน้าจะทาเป็นช่องเข้าสู่ภายในเรือนธาตุ และก่อเป็นผนังทึบตันอีก 3 ด้าน โดยการหันทิศทางของ ปรางค์มุมมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ปรางค์มุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกเฉียงใต้ จะหันไป ทางทิศตะวันออก ในขณะที่ปรางค์มุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ จะหันไปทางทิศ ตะวันตก ส่วนยอด มีความสูงประมาณ 4 เมตร มีลักษณะเป็นผังเหลี่ยมย่อมุมไม้ยี่สิบ เริ่มต้นที่ชั้น อัสดงเหนือเรือนธาตุ ต่อด้วยชั้นรัดประคดซ้อนกัน 5 ชั้น บริเวณกึ่งกลางของแต่ละด้านประดับด้วย ช่องบัญชร และบริเวณย่อมุมประดับด้วยกลีบขนุน ทั้งนี้ จากการศึกษาได้ใช้วิธีการสารวจรังวัดเก็บข้อมูลของพระปรางค์รายทั้งหมด เพื่อ นามาจัดระบบของข้อมูล ทั้งนี้จะสามารถอภิปรายผลได้เฉพาะพระปรางค์รายที่ยังคงมีสภาพค่อนข้าง สมบู ร ณ์ หรื อมีองค์ป ระกอบทางสถาปั ตยกรรมในส่ ว นเรื อนธาตุสู งเหนื อ ขึ้นมาจากฐาน ทั้งนี้ มี ข้อเสนอดังต่อไปนี้ คือ พระปรางค์มุมที่สร้างอยู่บนฐานไพทีของพระศรีรัตนมหาธาตุยังคงเหลื อให้ อภิปรายผลได้จานวน 2 องค์ คือ “พระปรางค์มุมด้านตะวันตกเฉียงเหนือ” (ภาพที่ 57 ภาพซ้าย) ซึ่ง อยู่ในสภาพสมบูรณ์ และ “พระปรางค์มุมด้านตะวันตกเฉียงใต้ ” (ภาพที่ 57 ภาพขวา) ซึ่งเรือนยอด พังทลายลงมาทว่าตัวเรือนที่ยังเหลืออยู่ก็เพียงพอสาหรับการอภิปรายผล กล่าวคือ พระปรางค์ทั้งสอง องค์ซึ่งตั้งอยู่ทางฟากทิศตะวันตกซึ่งภายในห้องครรภธาตุพระปรางค์นั้นเคยประดิษฐานพระพุทธรูป ปางประทับ ยื น และมีจิ ตรกรรมฝาผนั งเขียนอยู่ ทั้งนี้พระปรางค์ ทั้งสององค์นี้หั นหน้าไปทางทิ ศ ตะวันตกเพื่อความสะดวกแก่พุทธศาสนิกชนที่จะมาสักการบูชาพระพุทธรูปในครรภธาตุของพระ ปรางค์

7

เป็นลักษณะของการแตกมุมของแท่น ฐาน ในงานสถาปัตยกรรมไทย โดยการทาให้เป็นมุมย่อย หรือทาให้พื้นที่ของ มุมเดิมเล็กลง โดยจะเรียกชื่อตามจานวนมุมที่แตกย่อยนั้น เช่น ย่อมุมไม้แปด ย่อมุมไม้สิบสอง ย่อมุมไม้ยี่สิบ ใน พจนานุกรมศัพท์ศิลปกรรม อักษร ก-ฮ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2550. 609.


165

ทั้งนี้ สถานภาพของข้อเสนอทางวิชาการของช่วงอายุในการก่อสร้างพระปรางค์มุมนี้ถูก เสนอว่ามีอายุในการก่อสร้างอยู่ในราวสมัยอยุธยาตอนต้น โดยศาสตราจารย์ ดร. สันติ เล็กสุขม ใช้ การบ่งชี้โดยการศึกษาเปรียบเทียบลวดลายปูนปั้น และจิตรกรรมฝาผนัง 8 และศาสตราจารย์ ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ ใช้การบ่งชี้โดยการศึกษาเปรียบเทียบจากภาพจิตรกรรมฝาผนัง 9 ซึ่งต่างก็มี ระเบี ย บวิธีในการวิจั ย และการอภิปรายผลที่น่าสนใจ แต่ในการศึกษานี้ จึงมี ข้ อเสนอเพิ่ มเติ ม อี ก แนวทางหนึ่งจากสถานภาพข้อเสนอที่มีอยู่เดิมว่า พระปรางค์มุมบนฐานไพทีนี้อาจถูกสร้างขึ้นในสมัย สมเด็จพระเจ้าปราสาททองในคราวที่ปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุครั้งใหญ่ เนื่องจากระเบียบ สัดส่วนของรูปทรงมีความสูงเพรียวมากกว่าพระปรางค์ในสมัยอยุ ธยาตอนต้น และตาแหน่งที่ตั้งของ พระปรางค์ทั้งสี่องค์ยังสัมพันธ์กับการขยายมุขทั้ง 4 ด้านของพระศรีรัตนมหาธาตุประธานอีกด้วย

ภาพที่ 69: ภาพจากการ 3Ds Laser Scanner ภาพซ้าย คือ พระปรางค์มุมด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งยังมีสภาพ เกือบสมบูรณ์ และภาพขวา คือ พระปรางค์มุมด้านตะวันตกเฉียงใต้ที่เรือนยอด และตัวเรือนพังทลายลงมา แต่ยัง เห็นร่องรอยของช่องประตูเข้าสู่ห้องครรภธาตุ

11.3 พระเจดีย์บริวารทรงปราสาทยอด 8

สันติ เล็กสุขุม. “ประเทศไทยกับงานช่างตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับ เอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้า 245-247. 9 เสมอชัย พูลสุวรรณ. สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-24. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2539. หน้า 41-42.


166

“พระเจดีย์บริวารทรงปราสาทยอด” ในแผนผังมีจานวนทั้งหมด 20 องค์ ตั้งสลับกับมณฑป รายที่อยู่ ล้ อมรอบฐานไพทีทั้ง 4 ด้าน ของพระศรีรัตนมหาธาตุ ทั้งนี้เจดีย์ ส่ว นใหญ่ อยู่ในสภาพที่ พังทลายลงมา มีเพียง 2 องค์ที่มีสภาพเหลือถึงส่วนยอด และจานวน 1 องค์ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ ทั้งองค์เพื่อการสื่อความหมาย สาหรับผังของเจดีย์รายนั้นส่วนฐานและส่วนเรือนธาตุเป็นผังเหลี่ยมย่อ มุมไม้ยี่สิบ ส่วนฐานประกอบด้วย ฐานบัวลูกฟักซ้อน 2 ชั้น ส่วนเรือนธาตุ ประดับด้วยซุ้มจระนาก่อ ผนังตันทั้ง 4 ทิศ เหนือเรือนธาตุเป็นชั้นอัสดง ต่อด้วยบัวปากระฆังฐานวงกลม รองรับองค์ระฆัง ในผัง วงกลมซึ่งในรูปด้านข้างจะเป็นองค์ระฆังที่มี เอวคอด เหนือองค์ระฆังไม่มีบัลลังก์ ต่อด้วยปล้องไฉน 5 ชั้น ปลียอด และเม็ดน้าค้าง รวมความสูงของเจดีย์รายประมาณ 9 เมตร ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ ดร. สันติ เล็กสุขุม ได้วิเคราะห์พัฒนาการของเจดีย์แบบนี้ไว้ว่าส่วนฐาน และส่วนเรือนธาตุอยู่ในระเบียบของเจดีย์ทรงปรางค์ หากแต่เ รือนยอดสะท้อนให้เห็นว่าได้รับอิทธิพล มาจากเจดีย์แบบพม่าสมัยพุกามที่ไม่ทาบัลลังก์เหนือองค์ระฆัง10

ภาพที่ 70: เจดีย์บริวารทรงปราสาทยอด ภาพซ้าย คือ เจดีย์องค์ที่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่เกือบทั้งองค์เพื่อ การสื่อความหมายการเรียนรู้ ภาพกลาง สภาพปัจจุบันของเจดีย์บริวารที่รักษาไว้ตามสภาพจะเห็นเรือนธาตุ และ ฐานในผังสี่เหลี่ยมย่อมุม สาหรับภาพขวา คือ เจดีย์บริวารที่ยังคงเหลือถึงองค์ระฆังและปล้องไฉนทว่าส่วนฐานมีการ พังทลายสูงจนสิ้นสภาพ หากไม่มีองค์อื่นเทียบเคียงก็ไม่อาจทราบถึงรูปแบบของเรือนธาตุได้เลย

10

สันติ เล็กสุขุม. “ประเทศไทยกับงานช่างตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับ เอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้า 245-247.


167

11.4 พระมณฑปบริวาร “พระมณฑปบริวาร” มีจานวนทั้งหมด 14 องค์ ตั้งสลับกับเจดีย์รายล้อมรอบฐานไพทีทั้ง 4 ด้าน ของปรางค์ประธาน สภาพปัจจุบันส่วนใหญ่พังทลายลงเหลือเพียงส่วนฐานและฐานเสาบางส่วน โดยส่วนฐานประกอบด้วย ฐานเขียงซ้อนชั้นด้วยฐานย่อมุมไม้ยี่สิบ มีความสูงประมาณ 80 เซนติเมตร ส่วนเสาอาคาร มีลักษณะเป็นเสาย่อมุมไม้ยี่สิบสัมพันธ์กับส่วนฐาน และมีลายปูนปั้นประดับเสา ดังจะ เห็นได้ว่าสภาพที่ยังคงเหลือตรงส่วนฐานและส่วนโคนเสานั้นจะเห็นได้ว่าเป็นเสาลอยสี่ต้น พื้นที่ด้าน ในโถง และมีหลุมสี่เหลี่ยมอยู่ตรงกึ่งกลางของฐาน จึงสันนิษฐานว่าคือมณฑปประดิษฐานรูปหล่อสาริ ด ที่สมเด็จเจ้าสามพระยาทรงเคลื่อนย้ายมาจากเมืองพระนคร

ภาพที่ 71: ซากฐาน และเสาของ มณฑปบริ ว ารที่ ส ร้ า งอยู่ ล้ อ มรอบ พระศรีรัตมหาธาตุสลับหว่างกับเจดีย์ บริวารทรงปราสาทยอด สันนิษฐาน ว่ามณฑปเหล่านี้บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้น ใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาท ทอง


168

11.5 พระเจดีย์มุม “พระเจดีย์มุม” ตั้งอยู่บริเวณมุมภายในทั้ง 4 ของระเบียงคด โดยเจดีย์คู่หน้าทางทิศตะวันออก มีลักษณะเป็น “เจดีย์ทรงปราสาทยอดผังสี่เหลี่ยมย่อมุม” หรือ “เจดีย์ทรงปราสาทยอดผังสี่เหลี่ยม เพิ่มมุม ”11 โดยมีองค์ทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือ ที่อยู่ ในค่ อนข้า งสภาพสมบูร ณ์ และได้รับการ บูรณปฏิสังขรณ์ต่อยอดจนสมบูรณ์แล้ว ทั้งนี้เจดีย์คู่ด้านหน้าทางทิศตะวันออกดังกล่าวนั้นมีลักษณะ เป็นเจดีย์ทรงปราสาทที่มีผังย่อมุม ซึ่งแบบแผนของเจดีย์แบบนี้พบความสัมพันธ์กับรูปทรงของ “เจดีย์ ภูเขาทอง” “เจดีย์วัดญานเสน” “เจดีย์สุริโยทัย” แต่ทว่าหากเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรูปทรงโดย ละเอียดจะเห็นว่ามีความใกล้ชิดกับเจดีย์วัดญานเสนมากที่สุด ในขณะที่เจดีย์คู่หลังทางทิศตะวันตก มี ลักษณะเป็นเจดีย์ฐานแปดเหลี่ยม ซึ่งสภาพปัจจุบันเหลือเพียงส่วนฐาน

ภาพที่ 72: ภาพซ้ายบน-ล่าง ภาพจาก 3Ds Laser Scanner รูปด้านและ ผังของเจดีย์ทรงปราสาทยอดผังสี่เหลี่ยมย่อมุม ภาพขวา คือ ภาพถ่ายเก่า เจดีย์ทรงปราสาทยอดผังสี่เหลี่ยมย่อมุม (ที่มา: สันติ ฉันทวิลาสวงศ์. ตาม รอยภาพเก่ า เล่ ม ที่ 1: วั ด ในกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา . กรุ ง เทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2553. หน้า 56.)

11

ดูคาอธิบายเพิ่มเติมใน สันติ เล็กสุขุม. “แนวความคิดกับกระบวนกรรมวิธีทางช่าง: เหตุผลที่เรียกเจดีย์เพิ่มมุมแทน เจดีย์ย่อมุม” ใน งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้า 99-112.


169

11.6 ระเบียงคด “ระเบียงคด” มีลักษณะเป็นโถงทางเดินผังรูปสี่เหลี่ยมเกือบจะจัตุรัสทาหน้าที่ล้อมรอบพระศรี รัตนมหาธาตุทั้ง 4 ด้าน ทิศตะวันออกเชื่อมต่อกับท้ายจระนาของวิหารหลวง ระเบียงคดแต่ละด้าน มี ความยาวประมาณ 86 เมตร มีช่วงกว้างประมาณ 7 เมตร โดยเปิดพื้นที่โล่งหันเข้าด้านในสู่ปรางค์ ประธาน ในขณะที่บ ริ เวณริ มด้านนอก มีลั กษณะเป็นกาแพงก่ออิฐ หนาประมาณ 50 เซนติเมตร บริ เ วณติ ด กั บ ก าแพงสร้ างฐานชุ ก ชี เพื่ อ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ปในระเบี ยงคด สู ง ประมาณ 85 เซนติเมตรยาวตลอดแนวกาแพง ถัดจากฐานชุกชีจะเว้นเป็นช่องทางเดินกว้างประมาณ 3 เมตร ถัดไป เป็นแนวเสาแปดเหลี่ยม และริมด้านในสุด ก่อเป็นกาแพงเตี้ยๆ สลับกับแนวเสาสี่เหลี่ยม ซึ่งสัมพันธ์ กับตาแหน่งของเสาแปดเหลี่ยม เพื่อรองรับโครงสร้างหลังคา นอกจากนี้ ยังมีก ารสร้างห้องคูหาขนาด เล็ก บริเวณที่ตรงกับแนวแกนทิศของปรางค์ ซึ่งยื่นออกมาจากแนวระเบียงคดประมาณ 4 เมตร มี หน้ากว้างประมาณ 8 เมตร ตั้งอยู่ทั้งหมด 3 ทิศ คือ ทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันตก ของระเบียงคด ยกเว้นทางทิศตะวันออกที่มีการเชื่อมต่อกับท้ายจระนาของวิหารหลวงอยู่แล้ว

ภาพที่ 73: ภาพตัด (Section) แสดงระเบียงคดซึ่งมีลักษณะเป็นโถงทางเดินมีหลังคาคลุมล้อมรอบพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยา เพื่อความปลอดภัยและสร้างความศักดิ์สิทธิ์และฐานานุศักดิ์ชั้นสูงแก่พื้นที่เขตพุทธาวาสตอนในวงล้อม ของระเบียงคด


170

การเข้าถึงพื้นที่ภายในระเบียงคดนั้น สามารถเข้าถึงได้ 2 ทาง คือ ทางเข้าด้านทิศตะวันออก ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ 2 ลักษณะ คือ การเข้าถึงโดยผ่านส่วนท้ายของวิหารหลวง ซึ่งมีบันไดเชื่อมต่อเข้า สู่ระเบียงคดโดยตรง และการเข้าถึงโดยตรง ผ่านประตูด้านข้างวิหารหลวง 2 ประตู และ 2) ทางเข้า ด้านทิศตะวันตกซึ่งเข้าถึงระเบียงคดโดยตรงผ่านประตูทั้ง 2 ข้างของอุโบสถ สภาพปัจจุบันของระเบียงคด แนวกาแพงด้านนอก และแนวของฐานชุกชีส่วนใหญ่อยู่ในสภาพ สมบูรณ์ ในขณะที่สภาพของแนวเสาแปดเหลี่ยม แนวกาแพงเตี้ยและเสาสี่เหลี่ยมภายใน ส่วนใหญ่ เหลือให้เห็นเพียงโคนเสาซึ่งเป็นเสาก่ออิฐโผล่พ้นดินมาเล็กน้อย สาหรับโครงสร้างหลังคาไม่ปรากฏให้ เห็ น เนื่ องจากเป็ น โครงสร้ างไม้ จึ งผุ พังไปจนหมดสิ้ น ทั้งนี้ห ลั งคามุงด้ว ยกระเบื้องกาบูดังปรากฏ ร่องรอยเศษกระเบื้องมุงหลังคากระจายอยู่ทั่วไป

ภาพที่ 74: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงผังพื้นของระเบียงคด


171

ภาพที่ 75: ระเบียงคดด้านนอกซึ่งจะเป็นกาแพงอิฐทึบสูงเพื่อป้องกันความปอลดภัยแก่พื้นที่ตอนใน เหนือกาแพงมี ลักษณะเป็นบัวหลังเจียดที่ปั้นปูนตกแต่งเลียนแบบการมุงหลังคาด้วยกระเบื้องกาบ

ภาพที่ 76: ภายในระเบียงคด จะเห็นว่าพื้นที่ตอนในที่หันเข้าสู่พระศรีรัตนมหาธาตุจะมีความโถง ในขณะที่ด้านนอก จะก่อกาแพงสูงซึ่งทาหน้าที่ทั้งสาหรับการรักษาความปลอดภัย และกาแพงยังทาหน้าที่รับน้าหนักโครงสร้างหลังคา ของระเบียงคด ในขณะที่ฟากด้านในใช้เสาลอยเป็นตัวรับน้าหนักโครงสร้างหลังคา


172

11.7 พระวิหารหลวง “พระวิห ารหลวง” ตั้งอยู่ ในพื้น ที่เขตพุทธาวาสนอกวงล้อมของระเบี ยงคดด้านทางทิศ ตะวันออกของผังบริเวณซึ่งอยู่ด้านหน้าของปรางค์ประธานตามธรรมเนียมในการวางผัง สภาพปัจจุบัน ของตัวอาคารมีลักษณะผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ยกฐานสูงประมาณ 2 เมตร ส่วนฐานมีลักษณะแบบ ฐานบัวลูกแก้วอกไก่ โดยมีการแอ่นโค้งเชิดปลายขึ้นทั้ง 4 มุมของฐาน ในขณะที่ส่วนท้ายเชื่อมต่อกับ ระเบียงคดซึ่งเป็นลักษณะสาคัญอย่างสาคัญของการออกแบบวางผังในแบบอยุธยาตอนต้น วิหาร หลวงปัจจุบัน มีขนาด 16 ห้องเสา สามารถแบ่งได้เป็น 3 ส่วนหลัก ดังนี้ 1) ส่วนมุขโถงด้านหน้า มีขนาด 3 ห้องเสา มีบันไดขึ้น 3 ทาง ด้านหน้าทิศตะวันออก 1 บันได ด้านทิศเหนือและทิศใต้ ด้านละ 1 บันได บริเวณมุขโถง ปรากฏการใช้เสาอยู่ 2 แบบ โดยเสา รอบนอก มีลักษณะเป็นเสาแบบย่อมุมไม้สิบสอง ขนาดประมาณ 0.80 เมตร ในขณะที่เสาร่วมใน มี ลักษณะเป็นเสาแปดเหลี่ยม ขนาดประมาณ 1.20 เมตร วางเป็นคู่ตามแนวยาวของอาคาร สภาพของ เสาทั้งหมด เหลือเพียงแค่ส่วนฐาน 2) ส่ ว นกลางอาคาร มี ข นาด 11 ห้ อ งเสา ประกอบด้ ว ยพื้ น ที่ 2 ลั ก ษณะ คื อ “พื้ น ที่ ภายนอก” ซึ่งมีลักษณะเป็นระเบียงขนาบทั้ง 2 ข้างของห้องโถงกลางอาคาร เป็นพื้นที่ต่อเนื่องมาจาก มุขโถงด้านหน้า และ “พื้นที่ภายใน” มีลักษณะเป็นห้องโถงขนาดใหญ่ ล้อมรอบด้วยผนังทั้ง 4 ด้าน กว้างประมาณ 16 เมตร ยาวประมาณ 50 เมตร มีเสาร่วมใน วางเป็นคู่เป็นแนวยาวต่อเนื่องมาจาก ส่วนมุขโถง สภาพเสาส่วนใหญ่พังทลายลง เหลือเพียงหนึ่งต้น ซึ่งมีความสูง ประมาณ 11 เมตร มี ลักษณะเป็นเสาแปดเหลี่ยม โดยบริเวณฐานเสาจะมีขนาดใหญ่ และค่อยๆเล็กลงในส่วนปลาย ผนังด้านทิศตะวันออกมีประตูเชื่อมต่อกับ กับมุขโถง จานวน 3 ประตู ตรงกลางเป็นประตู ใหญ่ ขนาบข้างด้วยประตูเล็กทั้ง 2 ข้าง ซุ้มประตูมีลักษณะเป็นซุ้มแบบยกเก็จ สภาพปั จจุบันเหลือ เพียงส่วนฐาน ผนังทางทิศเหนือ และทิศใต้ มีลักษณะโค้งเข้าด้านในบริเวณตรงกลาง สภาพส่วนใหญ่ พังทลายลง เหลือเพียงผนังทางทิศใต้บางส่วน ที่ยังปรากฏร่องรอยของการทาช่องแสง ซึ่งมีลักษณะ แคบและสูง โดยจะมีการเจาะช่องแสงจานวน 4 ช่อง บริเวณผนังระหว่างห้องเสา โดยบริเวณช่วงเสา ที่ 9 จะเว้นเป็นช่องประตูสาหรับเข้าออกทั้ง 2 ฝั่ง ตาแหน่งที่ประดิษฐานพระประธาน ตั้งอยู่ในส่วนท้ายบริเวณห้องเสาที่ 11 และ 12 โดยมี การสร้างฐานไพที กว้าง 11.20 เมตร ยาว 13.80 เมตร เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปประธานองค์ใหญ่ ทางด้ า นหลั ง ซึ่ ง มี ก ารก่ อ ก าแพงอิ ฐ รองรั บ และมี พ ระพุ ท ธรู ป อี ก 3 องค์ อ ยู่ ท างด้ า นหน้ า โดย พระพุทธรูปทั้งหมดเหลือเพียงแค่ส่วนฐานชุกชี ซึ่งมีลักษณะเป็นฐานก่ออิฐสอปูนซึ่งเป็นสภาพที่ได้รับ การบูรณะแล้ว ไม่ปรากฏพระพุทธรูปประธาน ในที่นอี้ าจสันนิษฐานได้ว่า พระพุทธรูปประธานอาจทา ด้วยสาริด หรือวัสดุมีค่าจึงถูกเคลื่อนย้ายไป


173

นอกจากนี้ บริเวณส่วนท้ายของห้องโถงด้านหลังพระประธาน มีประตู 2 ข้าง เพื่อเชื่อม ต่อไปยังพื้นที่ภายในระเบียงคด 3) ส่วนท้ายจระนา มีขนาด 2 ห้องเสา เป็นส่วนท้ายสุดของวิหารหลวงที่ยื่นเข้ามาภายใน ระเบียงคด มีลักษณะเป็นห้องโถงขนาดเล็กท้ายวิหารหลวง มีบันไดขึ้นทางทิศตะวันตก ไม่สามารถ เข้าถึงได้จากภายในของวิหารหลวงโดยตรง ต้องเข้าผ่านพื้นที่ภายในของระเบียงคด อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาพบว่า วิหารหลวงมีการบูรณะและต่อเติมมาโดยตลอดหน้า ประวัติศาสตร์ ดังแสดงให้เห็นจากหลักฐานการขุดแต่งทางโบราณคดีของกรมศิลปากร บริเวณมุขโถง ด้านหน้าของวิหารหลวง ซึ่งปรากฏรูปแบบและองค์ประกอบชุดฐานของวิหารหลวงที่แตกต่างกัน 3 ระยะ (ภาพที่ 78) คือ “ฐานระยะที่ 1” มีลักษณะเป็นฐานปัทม์ซ้อนด้วยฐานหน้ากระดาน โดยมีการ ทาเป็นเสายกเก็จนูนออกมาตลอดแนวของฐานหน้ากระดาน “ฐานระยะที่ 2” มีผังที่ขยายใหญ่ขึ้นจาก ฐานระยะที่ 1 มีลักษณะผังแบบย่อมุม ฐานบัวลูกฟัก และ“ฐานระยะที่ 3” เป็นผังที่มีการปรับพื้นที่ ส่วนที่ย่อมุมของฐานระยะที่ 2 ให้ขยายเต็มพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีลักษณะเป็นฐานบัวลูก แก้ว อกไก่

ภาพที่ 77: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงขอบเขตและลักษณะชุดฐานทั้ง 3 ระยะ ของวิหารหลวง (ดูภาพ ขยายในภาพที่ 78)

ภาพที่ 78: ลักษณะชุดฐานระยะต่างๆ ของวิหารหลวง


174

ภาพที่ 79: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงภาพขยายผั ง พื้ น ระยะต่ า งๆ ของ วิหารหลวง กล่าวคือ “กรอบสีเหลือง” คือ ผังพื้นระยะที่ 1 “กรอบสีเขียว” คือ ผังพื้น ระยะที่ 2 และ “กรอบสีแดง” คือ ผังพื้น ระยะสุดท้าย


175

ภาพที่ 80: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงผังพื้น และรูปด้านต่างๆ ของพระวิหารหลวงวัดพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยา


176

ภาพที่ 81: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงลักษณะทางสถาปัตยกรรม และสภาพปัจจุบันของพระวิหาร หลวงภาพซ้าย คือ แผนผังอาคารวิหารหลวง ภาพขวา คือ รูปด้านทิศใต้


177

ภาพที่ 82: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงลักษณะทางสถาปัตยกรรม และสภาพปัจจุบันของพระวิหาร หลวง ภาพซ้าย คือ รูปด้านทิศตะวันออก ภาพขวาบน คือ รูปด้านทิศตะวันตก และ ภาพขวาล่าง คือ รูปด้านทิศ ตะวันออก


178

11.8 พระอุโบสถ “พระอุโบสถ” ตั้งอยู่ทางแกนทิศตะวันตกของผังบริเวณ ตัวอาคารมีการตั้งใบเสมาคู่ทา จากหิน ล้อมรอบตัวอาคารบริเวณมุมทั้ง 4 และทิศทั้ง 4 รวมทั้งหมด 8 ตาแหน่ง และมีการสร้างพื้นที่ ปิดล้อมบริเวณทั้ง 2 ข้างของอุโบสถ ด้วยการสร้างกาแพงแก้ว เชื่อมต่อระหว่างกาแพงชั้นนอกกับ ระเบียงคด เพื่อสร้างความศักดิ์สิทธิ์ให้กับพื้นที่โดยรอบตัวพระอุโบสถ ตัวอาคารมีลักษณะเป็นอาคาร ก่ออิฐ ยกพื้นสูงประมาณ 1.60 เมตร ชุดฐานมีลักษณะเป็นฐานบัวลูกฟัก ทางเข้าหลักอยู่ด้านทิศ ตะวันตก ทาเป็นช่องทางเข้าคู่กัน และมีขนาดเท่ากันทั้งสองข้าง นอกจากนี้ ยังมีทางเข้าอีก 2 ทาง บริเวณส่วนท้ายของผนังทิศเหนือและทิศใต้ของอุโบสถ วางอยู่ในแนวเดียวกันทั้งสองฝั่ง ผังพื้นพระอุโบสถเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 17 เมตร ยาว 48 เมตรผังพื้นพระ อุโบสถมีขนาด 9 ห้องเสา โดยสามารถแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก คือ “พื้นที่มุขโถงด้านหน้า” อยู่ทางทิศ ตะวันตกของตัวอาคาร มีลักษณะเป็นพื้นทีโ่ ถง มีความกว้างประมาณ 4.5 เมตร ก่อนเข้าสู่พื้นที่ภายใน อุโบสถ ทาหน้าที่เป็นพื้นที่เปลี่ยนผ่านระหว่างภายนอกสู่ภายใน สภาพของอาคารส่วนนี้ ยังปรากฏเสา ร่วมในที่สมบูรณ์อยู่ 1 ต้น ซึ่งให้รายละเอียดและองค์ประกอบของเสาได้อย่างชัด โดยเสาดั งกล่าว มี ลักษณะเป็นเสาย่อมุมไม้สิบสอง ขนาดกว้างประมาณ 1 เมตร ลักษณะของบัวหัวเสาเป็นแบบบัวแวง ซึ่งเป็นรูปแบบบัวหัวเสาที่นิยมในสมัยอยุธยาตอนปลาย มีช่องประตู 3 ช่อง โดยประตูก ลางมีขนาด ใหญ่กว่าประตูด้านข้างทั้ง 2 สภาพของซุ้มประตูปัจจุบันเหลือเพียงส่วนฐาน พื้นที่ภายในมีลักษณะเป็นห้องโถงขนาดใหญ่ ล้อมรอบด้วยผนังทั้ง 4 ด้าน มีเสาร่วมใน วาง เป็นคู่เป็นแนวยาวต่อเนื่องมาจากส่วนโถงหน้า มีลักษณะเป็นเสาแปดเหลี่ยม สภาพเสาส่วนใหญ่ พังทลายลงเหลือแต่ส่วนฐาน ในส่วนท้ายของอุโบสถ บริเวณห้องเสาที่ 6, 7 และ 8 มีการยกพื้นเป็น แท่น ขนาดใหญ่ แ บบฐานเขีย ง กว้าง 11.50 เมตร ยาว 14.80 เมตร และมี ฐ านชุกชี ประดิ ษ ฐาน พระพุทธรูปจานวน 6 ฐาน โดยตรงกลางประดิษฐานพระพุทธรูปประธานองค์ใหญ่ และประดิษฐาน พระพุทธรู ป ขนาดรองลงมาทางด้านข้า ง เรียงเป็น 2 แถว แถวละ 2 องค์ โดยพระพุทธรู ป องค์ ด้านหน้าจะมีขนาดเล็กว่าพระพุทธรูปองค์ด้านหลัง


179

ภาพที่ 83: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงผังพื้น และรูปด้านต่างๆ ของพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา


180

ภาพที่ 84: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงภาพขยายสภาพปัจจุบันของพระอุโบสถ “ภาพซ้าย” คือ ผังพื้น และ “ภาพขวา” คือ รูปด้านข้างทางทิศใต้


181

ภาพที่ 85: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงภาพขยายสภาพปัจจุบันของพระอุโบสถ “ภาพซ้าย” คือ รูปด้าน ทางทิ ศ เหนื อ “ภาพขวาบน” คื อ รู ป ด้ า นข้ างทางทิ ศตะวั นตก และ “ภาพขวาล่ าง” คื อ รู ป ด้ า นข้ า งทางทิศ ตะวันออก


182

11.9 พระปรางค์ราย และพระเจดีย์ราย ผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา มีการก่อสร้างพระปรางค์ราย และพระเจดีย์ ราย จานวนทั้งสิ้น 31 องค์ ดังแสดงในแผนผังบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุในภาพที่ 86 และภาพ แสดงประเภทพระปรางค์และพระเจดีย์แบบต่างๆ ในภาพที่ 86 ทั้งนี้ จากการศึกษาจาแนกออกเป็น 3 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ “กลุ่มที่ 1” คือ พระปรางค์ที่วางผังเป็นระบบล้อมรอบระเบียงคดในพื้นที่เขตพุทธาวาส ชั้นนอก จานวน 24 องค์ คือ พระปรางค์หมายเลข 1 ถึงพระปรางค์หมายเลข 24 ทั้งนี้ มีพระปรางค์ที่ มีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ คือ พระปรางค์แปดเหลี่ยมหมายเลข 1, พระปรางค์หมายเลข 2, พระปรางค์ หมายเลข 6, พระปรางค์หมายเลข 7, พระปรางค์หมายเลข 8, พระปรางค์หมายเลข 10, พระปรางค์ หมายเลข 11, พระปรางค์หมายเลข 13 และพระปรางค์หมายเลข 23 “กลุ่มที่ 2” คือ พระเจดีย์น อกระบบซึ่งตั้งอยู่ พื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นนอกทางทิศ เหนือ จานวน 2 องค์ คือ พระเจดียห์ มายเลข 25 และพระเจดีย์หมายเลข 26 ซึ่งเป็นเจดีย์ทรงเครื่อง “กลุ่มที่ 3” คือ พระเจดีย์นอกระบบซึ่งตั้งอยู่ พื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นนอกทางทิศตะวันตก จานวน 5 องค์ คือ พระเจดีย์หมายเลข 27, พระเจดีย์หมายเลข 28, พระเจดีย์หมายเลข 29, พระ เจดีย์หมายเลข 30, และพระเจดีย์หมายเลข 31 ซึ่งพระเจดีย์หมายเลข 27 นั้นเป็นพระเจดีย์ทรงระฆัง ขนาดใหญ่ ทั้งนี้ มีข้อสังเกต คือ พระเจดีย์ที่ตั้งอยู่นอกระบบนั้นจะตั้งอยู่ในพื้นที่เขตพุทธาวาสชั้นนอก ทางทิศเหนื อ และทิศตะวัน ตก ซึ่งเป็นทิศที่มีความส าคัญน้อยกว่าทางทิศตะวันออกซึ่งถือว่ าเป็น ด้านหน้าวัด รวมทั้งทางด้านทิศใต้เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เป็นมุมมองจากบึงพระรามซึ่งเป็นมุมมองสาคัญ จากเส้นทางสัญจรทางเรือ ในการก่อสร้างพระเจดีย์ที่อยู่นอกระบบจึงไปแทรกตัวอยู่ในเขตพุทธาวาส ชั้นนอกทางด้านตะวันตกซึ่งเป็นด้านหลังวัด และทางด้านทิศเหนือแทน นอกจากนี้ พระเจดี ย์ ห มายเลข 17 ซึ่ ง เป็ น พระเจดี ย์ ท รงระฆั ง ขนาดใหญ่ ก็ ยั ง มี ค วาม น่าสนใจ หากนาไปเปรียบเทียบกับผังบริเวณของวัดราชบูรณะก็จะพบว่าตาแหน่งทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือของผังบริเวณจะมีการสร้างพระเจดีย์ทรงระฆังขนาดใหญ่อยู่เช่นกัน ซึ่งสาเหตุของการวาง ผังที่สัมพันธ์กันดังกล่าวนั้นย่อมเป็นผลมาจากคติในการออกแบบสร้างสรรค์อย่างใดอย่างหนึ่งอย่าง แน่นอนซึ่งจาเป็นต้องศึกษาสอบสวนกันต่อไป


183

ภาพที่ 86: สภาพปัจจุบัน และทิศทางการวางของปรางค์ราย และเจดีย์ราย


184

1) พระปรางค์ และพระเจดีย์ ที่ตั้งอยู่ล้อมรอบระเบียงคด (เขตพุทธาวาสภายนอกระเบียง คด) จากการวางแผนผังพื้นที่เขตพุทธาวาสภายนอกระเบียงคด มีพระปรางค์ราย และพระเจดีย์ ราย มีจานวนทั้งหมด 24 องค์ (ภาพที่ 88) โดยส่วนใหญ่มีสภาพพังทลายลงมาถึงส่วนฐาน เหลือเพียง 9 องค์ ที่ยังมีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์จนถึงส่วนยอด โดยเป็น พระปรางค์จานวน 8 องค์ ได้แก่ “พระ ปรางค์หมายเลข 2”, “พระปรางค์หมายเลข 6”, “พระปรางค์หมายเลข 7”, “พระปรางค์หมายเลข 8”, “พระปรางค์หมายเลข 10”, “พระปรางค์หมายเลข 11”, “พระปรางค์หมายเลข 13” และ “พระ ปรางค์หมายเลข 23” ที่นามาใช้ในการศึกษาเปรียบเทียบ ทั้งนี้ ยังคงมีพระปรางค์อยู่ 2 องค์ ที่ยังคงสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ หรือมีสภาพที่แสดงให้ เห็นได้ว่ามีขนาดใหญ่กว่าพระปรางค์องค์อื่นๆ คือ “พระปรางค์หมายเลข 8” ซึ่งตั้งอยู่บริเวณมุมทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ มีฐานกว้างประมาณ 13 เมตร สูงประมาณ 18.5 เมตร มีชั้นรัดประคดซ้อน 5 ชั้น และ “พระปรางค์หมายเลข 13” ที่ตั้งอยู่ตรงมุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีฐานกว้างประมาณ 13 เมตร สูงประมาณ 20 เมตร ทว่าบริเวณส่วนยอดได้ พังลงมาครึ่ง หนึ่ง ทาให้ ไม่สามารถเห็ นรายละเอี ยด องค์ประกอบเรือนยอดได้ชัดเจนนัก

พระปรางค์ราย หมายเลข 08

พระปรางค์ราย หมายเลข 10

ภาพที่ 87: เปรียบเทียบขนาดและองค์ประกอบของพระปรางค์รายองค์ใหญ่ กับพระปรางค์ราย องค์เล็ก และเจดียร์ าย ที่มสี ภาพเหลือถึงส่วนยอด


185

ภาพที่ 88: แผนผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แสดงพระปรางค์ และพระเจดีย์แบบต่างๆ ที่ก่อสร้าง ขึ้นในพื้นที่ผังบริเวณเขตพุทธาวาสด้านนอกระเบียงคด


186

ภาพที่ 89: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner ปรางค์ราย และเจดียร์ าย ที่มีสภาพเหลือถึงส่วนยอด


187

ในขณะที่พระปรางค์ที่เหลืออีก 6 องค์ จะมีขนาดเล็กกว่า โดยมีความกว้างฐานอยู่ในช่วง 6.8-8 เมตร และมีความสูงอยู่ในช่วงประมาณ 9.8-13.5 เมตร และทั้งหมดมีจานวนชั้นรัดประคดซ้อน 4 ชั้น ได้แก่ “พระปรางค์ห มายเลข 2” มีขนาดฐานกว้าง 8 เมตร สู ง 12.8 เมตร, “พระปรางค์ หมายเลข 6” มีขนาดฐานกว้าง 6.8 เมตร สูง 9.5 เมตร, “พระปรางค์หมายเลข 7” มีขนาดฐานกว้าง 7.5 เมตร สูง 13.5 เมตร, “พระปรางค์หมายเลข 10” มีขนาดฐานกว้าง 7.5 เมตร สูง 13 เมตร สาหรับ “พระปรางค์หมายเลข 11” นั้นมีขนาดฐานกว้าง 8 เมตร สูง 13.1 เมตร และ “พระปรางค์ หมายเลข 23” มีขนาดฐานกว้าง 7.4 เมตร สูง 13 เมตร โดยการหันทิศทางของปรางค์รายทั้ง 8 องค์นั้น ส่วนใหญ่หันไปทางทิศตะวันออก มีจานวน 5 องค์ ได้แก่ หมายเลข 2 6 7 8 และ 23 ในขณะที่มี พระปรางค์ที่สร้างให้ หันไปทางทิศตะวันตก จานวน 3 องค์ ได้แก่ “พระปรางค์หมายเลข 10”, “พระปรางค์หมายเลข 11” และ “พระปรางค์ หมายเลข 13” ซึ่งในประเด็น เรื่องแบบแผนของการหันทิศ ดังกล่าวนั้น ทาให้ มีข้อสงสัยว่า “พระปรางค์ หมายเลข 13” ซึ่งปัจจุบันอยู่ในสภาพพังทลายลงครึ่งองค์นั้น อาจเป็นพระปรางค์ที่สร้างขึ้นใหม่ทับลง บนตาแหน่งพระปรางค์มุมองค์เดิมที่คงชารุดพังทลายลง จึงสร้างให้พระปรางค์มีสัดส่วนสัมพันธ์กับ พระปรางค์มุม องค์เดิมเพื่อรักษาสุนทรียภาพความงามของผังบริเวณวัดเอาไว้ ทั้งนี้ควรสร้างขึ้นใน ระยะเวลาที่ไล่เลี่ยกับพระวิหารที่ตั้งอยู่เบื้องหน้าด้วย จึงทาให้พระปรางค์ดังกล่าวหันหน้าทางทิศ ตะวันตกเป็นดั่งพระปรางค์ท้ายวิหารหลังดังกล่าวด้วยนั่นเอง นอกจากนี้ เมื่อทาการเปรียบเทียบรูปทรงของพระปรางค์ขนาดใหญ่ที่ทาหน้าที่เป็นพระ ปรางค์มุม เช่น “พระปรางค์หมายเลข 8” ซึ่งลักษณะทางสถาปัตยกรรมมีลักษณะที่เรียกได้ว่า “เตี้ย ล่า” อันเป็นคุณลักษณะของพระปรางค์แบบก่อนสมัยอยุธยาและสมัยอยุธยาตอนต้น ทั้งนี้ “พระ ปรางค์หมายเลข 8” นี้ถูกสร้างอยู่ในมุมด้านตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นด้านท้ายวัด จึงทาให้สันนิษฐานถึง ระบบของการวางผังได้ว่า วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นมีการสร้างพระระเบียงคด และการสร้าง พระปรางค์มุมดังกล่าวมาตั้งแต่ระยะแรกๆ ของการสร้างวัด และเห็นจะมีพระปรางค์แบบเดียวกั น และขนาดเดียวกันนี้ประจามุมทั้ง 4 ด้วย และพระปรางค์มุมเหล่านี้ควรหันหน้าทางทิศตะวันออก ทว่าคงมีการชารุดพังทลายลงบ้างและมีการสร้างขึ้นใหม่ทดแทน เช่น “พระปรางค์ผังแปดเหลี่ยม หมายเลข 1” และ “พระปรางค์หมายเลข 13” ที่ตั้งหันหน้าทางทิศตะวันตกดังที่กล่าวมาแล้วก่อน หน้านี้ จากการศึกษาในประเด็นเรื่องระเบียบสัดส่วนของพระปรางค์ รายองค์ต่างๆที่ประมวลผล จากการใช้เครื่อง แสกนเนอร์เลเซอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner) ที่สามารถแสดงภาพ “รูปด้าน” ของอาคารที่สมจริงไม่ลวงตาอันเป็นผลมาจากอากาศกิน พบว่าทรวดทรงของ “พระปรางค์หมายเลข 13” มีความแตกต่างจาก “พระปรางค์หมายเลข 8” อย่างมีนัยสาคัญ กล่าวคือตัวเรือนธาตุของ “พระ


188

ปรางค์หมายเลข 8” นั้นจะมีลักษณะผายลงมารับกับชุดฐานอันสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคง หรือใน ลักษณะที่เรียกว่า “เตี้ยล่า” ในขณะที่ส่วนเรือนธาตุของ “พระปรางค์หมายเลข 13” นั้นตั้งฉากขึ้น ตรงจึงทาให้มีความเพรียวกว่า (ภาพที่ 86) อย่างไรก็ดี การสร้างพระปรางค์หมายเลข 13 ขึ้นใหม่นั้น สั น นิ ษฐานว่าคงสร้ างในช่ว งสมัย ที่ล วดลายปูนปั้นแบบอยุธ ยาตอนต้นนั้นยังมีบทบาทอยู่ตามผล การศึกษาของศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม12

ภาพที่ 90: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงการเปรียบเทียบรูปทรงของพระปรางค์หมายเลข 8 และหมายเลข 13 ที่แสดงให้เห็นว่าระเบียบสัดสัดส่วนของรูปทรงนี้มีความแตกต่างกัน อันนาไปสู่ข้อสันนิษฐานว่า พระปรางค์ หมายเลข 13 ควรจะสร้างขึ้นภายหลัง แต่ทว่าสร้างขึ้นตรงตาแหน่งของพระปรางค์มุมองค์เดิม

12

สันติ เล็กสุขุม. “ประเทศไทยกับงานช่างตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับ เอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้า 239-240.


189

ภาพที่ 91: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงการเปรียบเทียบรูปทรงของพระปรางค์รายองค์ต่างๆ


190

นอกจากนี้ ตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงใต้ ยังมี “พระปรางค์ผังแปดเหลี่ยม” หรือในที่นี้ก็ อาจจะเรียก “พระเจดีย์ผังแปดเหลี่ยม” ได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งในที่นี้ให้เป็น “หมายเลข 1” มีความกว้าง ฐานประมาณ 12.5 เมตร และความสูงประมาณ 17.5 เมตร ตั้ง อยู่บนฐานเหลี่ยมย่อมุมไม้ยี่สิบส่วน เรือนธาตุมีผังแปดเหลี่ยมซ้อน 3 ชั้น แต่ละชั้นมีประดับด้วยซุ้มจระนาทั้ง 8 ด้าน รวม 24 ซุ้ม โดยซุ้ม จระนาในชั้นที่ 4 มีลักษณะเป็นซุ้มยอดปรางค์ทั้ง 8 ด้าน รวมเป็น 32 ซุ้ม และเหนือขึ้นไปเป็นยอด ปรางค์อีก 1 ยอด จึงทาให้มีลักษณะเป็นปรางค์ 9 ยอด จากลักษณะทางสถาปัตยกรรมดังกล่าวจึง สันนิษฐานว่าพระปรางค์ผังแปดเหลี่ยมนี้สร้างขึ้นหลังจากที่ การบูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุ ในสมั ย สมเด็ จ พระเจ้ า ปราสาททองแล้ ว เสร็ จ และนายช่ า งผู้ อ อกแบบได้ ใ ช้ แ รงบั น ดาลใจเชิ ง ความหมายของพระศรีรัตนมหาธาตุประธาน 9 ยอด มาออกแบบพระปรางค์ผังแปดเหลี่ยมนี้ ทั้งนี้ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เนื่องจากว่าในรัชกาลของพระองค์มีการ พัฒนารูปแบบทางสถาปัตยกรรมอย่างมากมายด้วยได้รับแรงบันดาลใจจากแหล่งต่างๆ อันเป็นผลให้ ศิล ปะสถาปั ตยกรรมอยุ ธ ยาในรั ช สมัย ของพระองค์เปรียบได้ กับงานเชิง ทดลองซึ่งรูป แบบหลาย รูปแบบมีการทาซ้าสืบทอดไป รูปแบบบางรูปแบบได้รับความนิยมในช่วงเวลาสั้นๆ ทั้งนี้ พระปรางค์ ผั ง แปดเหลี่ ย มนี้ ยั ง ปรากฏร่ อ งรอยของศิ ล ปะล้ า นนาอยู่ 13 ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ เหตุ ก ารณ์ ท าง ประวัติศาสตร์ที่พระองค์ทรงยกทัพขึ้นไปตีเชียงใหม่ ซึ่งคงได้ทาให้แรงบันดาลใจจากศิลปะล้านนาได้ แพร่หลายเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาครั้งใหญ่ด้วย

ภาพที่ 92: องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์รายผังแปดเหลีย่ ม หมายเลข 1 13

สันติ เล็กสุขุม. “ประเทศไทยกับงานช่างตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับ เอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้า 248-249.


191

ภาพที่ 93: ภาพซ้าย คือ พระปรางค์ผังแปดเหลี่ยมตั้งอยู่ฐานไพทีผัง ย่อมุมไม้ยี่สิบ ตัวเรือนธาตุแบ่งเป็น 3 ชั้น และออกแบบเป็นซุ้มจระนา และปั้นปูนเป็นรูปเจดีย์ตกแต่งกลางซุ้มซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นการแสดง นัยถึงการบรรจุอัฐิไว้ภายใน ภาพขวาบน และกลาง คือ เรือนยอด ออกแบบเป็นสถูปทรงปรางค์ 9 ยอด ซึ่งสันนิษฐานว่าพระปรางค์ผัง แปดเหลี่ยมองค์นี้ว่าสร้างหลังจากสมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรง บูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุพระศรี รัต นมหาธาตุเ ป็น พระ ปรางค์เก้ายอด, ภาพขวาล่าง คือ ภาพประติมากรรมปูนปั้นรูปเทวดา ยืนซึ่งสะท้อนความสัมพันธ์กับศิลปะล้านนา


192

2) เขตพุทธาวาสภายนอกระเบียงคดทางทิศเหนือ พื้นที่เขตพุทธาวาสนอกระเบียงคดทางทิศเหนือ ในที่นี้ ไม่รวมถึงพระปรางค์รายในระบบ ที่วางตัวล้อมรอบระเบียงคดดังที่กล่าวไปแล้ว ในพื้นที่ส่วนนี้มี เจดีย์ราย มีจานวน 1 องค์ คือ “พระ เจดีย์หมายเลข 25” เป็นเจดีย์ผังเหลี่ยมย่อมุมไม้ยี่สิบ สภาพปัจจุบันส่วนยอดพังทลายลงมาเหลือถึง บัลลังก์ วัดความสูงได้ 6.4 เมตร เจดีย์ตั้งอยู่บนฐานปัทม์รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้าง 5.5 เมตร ชุดฐาน ของเจดีย์ประกอบด้วย ฐานหน้ากระดานต่อด้วยฐานสิงห์ซ้อน 3 ชั้น เหนือขึ้นไปทาเป็นบัวปากระฆัง ปั้นปูนประดับรูปกลีบบัว องค์ระฆังมีลักษณะเป็นทรงกลม บัลลังก์ฐานเหลี่ยมย่อมุม นอกจากนี้ยังพบ ปรางค์ราย อีก 1 องค์ คือ “พระปรางค์หมายเลข 26” สภาพปัจจุบันเหลือถึงส่วนเรือนธาตุ วัดความ สูงได้ 6.5 เมตร ปรางค์ตั้งอยู่บนฐานปัทม์รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้าง 5.28 เมตร ชุดฐานประกอบด้วย ฐานหน้ากระดานต่อด้วยฐานสิงห์ซ้อน 3 ชั้น เหนือขึ้นไปทาเป็นเรือนธาตุ ประดับด้วยซุ้มจระนาทั้ง 4 ด้าน จึงเป็นพระปรางค์สมัยอยุธยาตอนปลายในช่วงที่นิยมสร้างพระปรางค์ที่ใช้ชุดฐานเป็นฐานสิงห์ แล้ว

ภาพที่ 94: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner ภาพซ้าย คือ พระเจดีย์หมายเลข 25 เป็นพระเจดีย์ผังย่อมุมไม้ยี่สิบ ภาพขวา คือ พระปรางค์หมายเลข 26 ซึ่งเป็นพระปรางค์ที่มีชุดฐานเป็นฐานสิงห์ อีกทั้งฐานและตัวเรือนชะลูดสูงซึ่ง เป็นรูปแบบที่นิยมในสมัยอยุธยาตอนปลาย


193

2) เขตพุทธาวาสภายนอกระเบียงคดทางทิศตะวันตก พื้นที่เขตพุทธาวาสนอกระเบียงคดทางทิศตะวันตก ในที่นี้ ไม่รวมถึงพระปรางค์รายใน ระบบที่วางตัวล้อมรอบระเบียงคดดังที่กล่าวไปแล้ว ในพื้นที่ส่วนที่มีเจดีย์จานวน 5 องค์ โดยมีสภาพ เหลือแค่ส่วนฐาน จานวน 3 องค์ ได้แก่ “เจดีย์หมายเลข 28” “เจดีย์หมายเลข 29” และ “เจดีย์ หมายเลข 30” และมีสภาพเหลือถึงส่วนยอดจานวน 2 องค์ ได้แก่ “เจดีย์หมายเลข 31” มีลักษณะ เป็นเจดีย์ผังย่อมุม มีความกว้างฐานประมาณ 5.5 เมตร และความสูงประมาณ 6.43 เมตร ชุดฐาน ประกอบด้วยฐานหน้ากระดานต่อด้วยฐานสิงห์ซ้อน 2 ชั้น เหนือขึ้นไปทาเป็นบัวปากระฆั งปั้นปูน ประดับรูปกลีบบัว องค์ระฆังทรงกลม บัลลังก์ฐานเหลี่ยมย่อมุม ต่อด้วยปล้องไฉน ปลียอด และเม็ด น้าค้าง และ “เจดีย์หมายเลข 27” ที่ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอุโบสถ มีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงระฆัง ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนฐานเขียงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรั ส ตะวันออก มีความกว้างประมาณ 15.8 เมตร และ ความสูงประมาณ 25 เมตร มีบันไดขึ้นทางทิศ ส่วนองค์ระฆังอยู่ในผังวงกลม ชุดฐานประกอบด้วย ฐานเขียงซ้อน 2 ชั้น ฐานปัทม์ บัวถลา บัวลูกแก้ว 3 ชั้น ในส่วนขององค์ระฆัง ประกอบด้วย บัวปาก ระฆัง องค์ระฆัง บัลลังก์ฐานสี่เหลี่ยม เหนือขึ้นไปจากบัลลังก์เป็นส่วนยอด ประกอบด้วย ก้านฉัตร เสา หาน ปล้องไฉน ปลียอด และเม็ดน้าค้าง

ภาพที่ 95: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของเจดีย์ทรงระฆัง หมายเลข 27


194

ภาพที่ 96: พระเจดีย์ ท รงระฆังอยู่ที่มุมด้าน ตะวันตกเฉียงเหนือด้านข้างพระอุโบสถ

11.10 พระวิหารราย “พระวิหารราย” มีลักษณะเป็นอาคารฐานก่ออิฐขนาดเล็ก วิหารรายที่พบภายในผังบริเวณ มี จานวนทั้งหมด 15 หลัง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก 7 หลัง ได้แก่ “วิหารหมายเลข 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 ทั้งนี้ ตั้งอยู่ในเขตพุทธาวาสนอกระเบียงคดทางทิศใต้ จานวน 2 หลัง ได้แก่ “พระวิหารหมายเลข 9” และ “พระวิหารหมายเลข 10” ตั้งอยู่ตั้งอยู่ในเขตพุทธาวาสนอกระเบียงคดทางทิศเหนือ จานวน 2 หลัง ได้แก่ “วิหารหมายเลข 11” และ “พระวิหารหมายเลข 12” และ ตั้งอยู่ในเขตพุทธาวาสนอก ระเบียงคดทางทิศตะวันออก 7 หลัง ได้แก่ “พระวิหารหมายเลข 13” “พระวิหารหมายเลข 14” “พระวิหารหมายเลข 15” และ “พระวิหารหมายเลข 16” ทั้งนี่ พระวิหารเหล่านี้มีสภาพเหลือแค่ เพียงส่วนฐานอาคาร ฐานเสา และฐานชุกชีพระ ซึ่งสันนิษฐานว่า แต่เดิมคงมีลักษณะเป็นวิหารโถง ดัง ปรากฏกล่าวถึงในจดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยามความว่า “...นอกกาแพง บริเวณวิหารที่กล่าวมาแล้วมีธรรมศาลาหลายหลัง”14 ทั้งนี้ โครงสร้างหลังคานั้นเป็นโครงสร้างไม้จึงไม่

14

“จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่อง ประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. หน้า 138-140.


195

สามารถคงสภาพได้ยาวนาน และพุพังไปตามกาลเวลา คงเหลือแต่เพียงจากโครงสร้างก่ออิฐในส่วน ฐาน และชุกชีพระ ที่ยังปรากฏร่องรอยให้เห็นถึงปัจจุบัน ตาแหน่งทิศทางของวิหารราย ส่วนใหญ่หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ซึ่งเป็นทิศสาคัญในพุทธ ศาสนา นอกจากกลุ่มวิหารทางทิศตะวันออกแล้ว กลุ่มพระวิหารที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตพุทธาวาสนอก ระเบียงคดด้านทิศเหนือ และทิศใต้ ก็จะหันหน้าไปทางทิศตะวันออกเช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นการหันทิศ ตามธรรมเนียมในการก่อสร้างพระวิหารประดิษฐานพระพุทธรูป ยกเว้นกลุ่มวิหารที่อยู่ในพื้นที่เขต พุทธาวาสนอกระเบียงคดทางทิศตะวันตกที่ยังคงหันหน้าไปยังทิศตะวันตกเพื่อหันสู่เส้นทางสัญจรด้าน ท้ายวัดที่ต่อเชื่อมไปยังเขตสังฆาวาส นอกจากนี้ ยังพบลักษณะของการหันวิหารรายเข้าหาอาคาร สาคัญด้วย คือ “วิหารรายหมายเลข 4” และ “วิหารรายหมายเลข 7” ซึ่งหันหน้าอาคารเข้าหาพระ วิหารหลวง จากวิหารรายทั้งหมด 15 หลัง วิหารที่มีความสมบูรณ์มากที่สุด คือ พระวิหารหมายเลข 14 ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของผังบริเวณ มีลักษณะเป็นอาคารก่ออิฐตั้งแต่ส่วนฐานยาวต่อเนื่ อง จนถึงส่ ว นของหลั งคา ด้ว ยความที่วิห ารหลังนี้มีขนาดเล็ กกว่าวิหารโดยทั่วไป จึง นิยมเรียกวิหาร ลักษณะนี้ว่า “วิหารแกลบ” ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะของอาคารที่มีขนาดเล็ก

ภาพที่ 97: “วิหารแกลบ” คือ พระวิหารที่มีขนาดเล็กซึ่งออกแบบเป็นอาคารเครื่องก่อทั้งหลัง


196

ภาพที่ 98: แผนผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา แสดงตาแหน่งของพระวิหารราย ที่ก่อสร้างขึ้น ในพื้นที่ ผังบริเวณเขตพุทธาวาสด้านนอกระเบียงคด


197

ภาพที่ 99: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงสภาพปัจจุบันของพระวิหารราย


198

ภาพที่ 100: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงสภาพปัจจุบันของพระวิหารราย (ต่อ)


199

บรรณานุกรม บทที่ 3 เอกสารภาษาอังกฤษ Hajime Nakamura. Indian Buddhism: A Survey with Bibliographical Notes. Delhi: Motilal Banaesidass publishing house. 1965. Karl Dohring. Buddhist (Phra Chedi) Architecture of Thailand. Bangkok: White Lotus. 2000. P.34 Walpola Rahula. History of Buddhism in Ceylon: the Anuradhapura period 3rd century BC-10th century. Colombo: M.D. Gunasena, 1956. เอกสารภาษาไทย “จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระ ยา. เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. “เทศนาจุลยุทธการวงศ์”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร. 2542. “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม”. ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. “พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนา ภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน”. ใน ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 2. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต ” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. “พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย เล่มที่ 2 มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร” ใน พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัย. กรมศิลปากร. พระบรมสารีริกธาตุ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2553. กฤษณ์ อินทโกศัย. “รายงานการเปิดกรุในองค์พระปรางค์วัดราชบูรณะ” ใน ศิลปากร, กรม. เครื่อง ทองกรุวัดราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2550.


200

เกรี ย งไกร เกิ ด ศิ ริ และบุ ณ ยกร วชิ ร ะเธี ย รชั ย . “พั ฒ นาการของผั ง บริ เ วณวั ด พระบรมธาตุ นครศรีธรรมราชจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และการสารวจภาคสนาม”. ใน วารสารหน้า จั่ว ฉบับสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม. ปีที่ 28 ประจาปีการศึกษา 2557. จอห์น เอส สตรอง, เขียน. สุลักษณ์ ศิวลักษณ์, แปล. ความเข้าใจในเรื่องพระเจ้าอโศกและอโศกาว ทาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. 2552. ชาญวิ ท ย์ เกษตรศิ ริ . อยุ ธ ยา ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละการเมื อ ง. กรุ ง เทพฯ: มู ล นิ ธิ โ ครงการต ารา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544. ชาตรี ประกิตนนทการ. “สังคมและการเมืองในสถาปัตยกรรมสยามเก่าสู่ไทยใหม่ พ.ศ.2399-2490” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. ฉบับที่ 4 กันยายน 2549. โชติ กัลยาณมิตร. พจนานุกรมสถาปัตยกรรมและศิลป์เกี่ยวเนื่อง. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. ดารงราชนุ ภ าพ, สมเด็จ พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ตานานพุทธเจดีย์ เล่ม 1. พระนคร: องค์การค้าคุรุสภา. 2503. ดารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. “คานาพระราชพงศาวดารฉบับหลวง ประเสริฐ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. ดารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะ คุปต์)” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. ตรี อมาตยกุ ล . “วั ด มหาธาตุ ” ใน กรมศิ ล ปากร. พระราชวั ง และวั ด โบราณในจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2511. ไตรภูมิพระร่วง หรือไตรภูมิกถา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2543. ธนธร กิตติกานต์. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2557. ธนิต อยู่โพธิ์. “คานา” ใน กรมศิลปากร. พระราชวัง และวัดโบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2511. น. ณ ปากน้า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา และดารงราชานุภาพ, สมเด็จพระ เจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม 2. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา 2515. โบราณราชธานินทร์, พระยา. “ตานานกรุงเก่า” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่า เล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554.


201

ปรี ดี พิ ศ ภู มิ วิ ถี . “สมเด็ จ พระเจ้ า ทองลั น ” ใน ศุ ภ วั ฒ ย์ เกษมศรี , บรรณาธิ ก าร. นามานุ ก รม พระมหากษัตริย์ไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ. 2554. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตก เล่มที่ 1 ภาค 4. พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่มที่ 3. พิริยะ ไกรฤกษ์. กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพฯ. 2555. มานพ ถาวรวัฒน์สกุล. ขุนนางอยุธยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2536. มิลินทปัญญหา. ปรารภเมณฑกปัญญา ตติยวรรค พุทธปูชานุญญาตา นุญญาตปัญหา คารบที่ 5 (ถาม เรื่องทรงอนุญาตพุทธบูชา) ใน พระไตรปิฎก ฉบับธรรมทาน. ปทุมธานี: บริษัทโอเชี่ยน มีเดีย. 2545. โยสต์ สเคาเต็น. “จดหมายเหตุของโยสต์ สเคาเต็น ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. รสิ ต า สิ น เอกเอี่ ย ม. “การศึ ก ษาวั ฒ นธรรมการสร้ า งสรรค์ ง านสถาปั ต ยกรรมไทยจากพระราช พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรม ไทย. ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2547. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ศิลปกรรม อักษร ก-ช ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. “ตอนที่ 5: ตลาดในกรุงและรอบกรุง ” ใน พรรณนาภูมิสถาน อยุธยา และมรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. วิ นั ย พงศ์ ศ รี เ พี ย ร, บรรณาธิ ก าร. อยุ ธ ยา พรรณนาภู มิ ส ถานและมรดกความทรงจ าแห่ ง พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. ศรีศักร วัลลิโภดม. ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2546. หน้า 90. สถาพร อรุณวิลาส. “พุทธปรางค์ ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมยุคต้นสยามประเทศ” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2547. สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกัน และการเงิน. 2554. สมศักดิ์ รัตกุล. “การขุดแต่งและบูรณะโบราณสถานจังหวัดพระนครศรีอยุธยาตามโครงการอุทยาน ประวัติศาสตร์” ใน ศิลปกรรมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2514. สมศักดิ์ รัตกุล. “การขุดแต่งและบูรณะโบราณสถานจังหวัดพระนครศรี อยุธยาตามโครงการอุทยาน ประวัติศาสตร์” ใน ศิลปกรรมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2514.


202

สันติ เล็กสุขุม. “ก่อนที่จะปรากฏในศิลปะไทย และก่อนที่จะหายไปในที่สุด: ฐานบัวลูกฟัก ” ใน งาน ช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สันติ เล็กสุขุม. “แนวความคิดกับกระบวนกรรมวิธีทางช่าง: เหตุผลที่เรียกเจดีย์เพิ่มมุมแทนเจดีย์ย่อ มุม” ใน งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สันติ เล็กสุขุม. “ประเทศไทยกับงานช่างตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. สันติ เล็กสุขุม. เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชาศิลปะอยุธยาและศิลปะรัตนโกสินทร์ ภาค การศึกษาต้นปีการศึกษา 2541. มปพ. เสมอชัย พูลสุวรรณ. สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-24. กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2539. อนุวิทย์ เจริญศุภกุล. ปราสาทเมืองต่า การศึกษาทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2541.


บทที่ 4 การสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา

1. สถานภาพการศึ ก ษาเพื่ อ การสั น นิ ษ ฐานรู ป แบบสถาปั ต ยกรรม และการสื่ อ ความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา การศึกษาเพื่อ “การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม” เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ “สื่อ ความหมาย” มรดกทางสถาปัตยกรรมที่ทรงคุณค่าในอดีต ทว่ามีความเปลี่ยนแปลงไป หรือพังทลาย ลงไป ซึ่งเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ทาความเข้าใจมรดกทางวัฒนธรรมประเภท สถาปัตยกรรม ซึ่ง นอกจากจะเป็นการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้แล้ว ยังเป็นประโยชน์ในแง่ของการท่องเที่ยวด้วยใน สถานการณ์ปัจจุบัน ในการนี้ ขอนาเสนอข้อมูลพัฒนาการการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมที่ ผ่านมาในประเทศไทย โดยมุ่งเน้นเฉพาะแหล่ งมรดกทางสถาปัตยกรรมในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยาซึ่งเป็นพื้นที่ศึกษาเดียวกันกับที่ผู้วิจัยได้ทาการศึกษา กล่าวคือ การศึกษาเพื่อการสั น นิ ษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมนั้นมีมาตั้งแต่ครั้งอดีต ดังตัว อย่าง การศึกษาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพได้มีอยู่บ่อยครั้งในการกล่าวถึง ในเอกสารทางประวั ติ ศาสตร์ ต่า งๆ แต่การสั นนิษฐานรูป แบบดัง ที่ กล่ าวมานั้ น อยู่ ในรูป ของการ “พรรณนา” ด้วยตัวอักษร หรือตัวอย่างของผลงานของพระยาโบราณราชธานินทร์ที่ศึกษาภาคสนาม ในพื้นที่อยุธยาและพื้น ที่เกี่ยวเนื่ องต่างๆ จนมีความรู้ลึกซึ้งอันนาไปสู่ การนาเสนอข้อมูลต่างๆ ใน “ตานานกรุงเก่า”1 ที่พิมพ์ครั้งแรกเมื่อพ.ศ.2450 เนื่องในโอกาสเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เนื่องในงานพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกทรงครองราชย์ครบ 40 ปี เสมอด้วยรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา และ “ระยะทางเสด็จพระราชดาเนิน 1

โบราณราชธานินทร์, พระยา. “ระยะทางเสด็จพระราชดาเนินประพาสทรงบวงสรวงอดีตมหาราช ณ พระราชวัง กรุงศรีอยุธยาในรัชกาลที่ 6” ใน ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 206-235


204

ประพาสทรงบวงสรวงอดีตมหาราช ณ พระราชวังกรุงศรีอยุธยาในรัชกาลที่ 6”2 เป็นต้น แต่ทั้งนี้อยู่ใน รูปของการพรรณนาข้อมูล แต่ก็มีการยกตัวอย่างภาพถ่ายประกอบ ตลอดจนได้มีการจัดทาแผนที่ แสดงวัดร้างต่างๆ กากับ ซึ่งพระยาโบราณราชธานินท์ได้ใช้การศึกษาภาคสนามควบคู่กับการใช้ หลั กฐานประวัติ ศ าสตร์ ป ระเภทต่ า งๆ อย่ างลึ กซึ้ง และละเอียดลออ ดังตัว อย่างในเหตุ ก ารณ์ ที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ตรัสถามว่า “ปราสาทครั้งกรุงเก่ายอดประดับกระจก หรือไม่” พระยาโบราณราชธานินท์ได้ทูลตอบว่า “ประดับ” และทูลข้อมูลแวดล้อมของข้อสันนิษฐาน โดยอ้างอิงจากเนื้อหาจากพระราชพงศาวดารอยุธยาในเหตุการณ์เมื่อคราวที่สมเด็จพระนารายณ์ยัง ทรงเป็นพระราชกุมารแล้วเสด็จออกมาที่เกยปราสาท ขณะนั้นฟ้าได้ผ่าลงมาที่ยอดปราสาทจนกระจก ตกปลิวลงมา3 จากข้อความที่ยกมากล่าวข้างต้น นอกจากมุ่งหมายที่แสดงให้เห็นว่าการศึกษาเพื่อการ สันนิษฐานรูปแบบนั้นมีความจาเป็นต้ องใช้หลักฐานแวดล้อมที่เกี่ยวเนื่องให้สมบูรณ์ที่สุด นอกจากนี้ จะเห็นได้ว่าผู้สนใจในประวัติศาสตร์และโบราณคดี ไม่เว้นแม้แต่พระมหากษัตริย์ก็ทรงปรารถนาที่จะ ทรงทราบถึง “รูปแบบสถาปัตยกรรมที่ควรจะเป็นในอดีต” เมื่อยามที่สภาพปัจจุบันของสถาปัตยกรรม นั้นได้สิ้นสภาพลง หรือมีพัฒนาการความเปลี่ยนแปลงไปอันนามาสู่การศึกษาเพื่อการสันนิ ษฐาน รูปแบบสถาปัตยกรรมนั่นเอง นอกจากนี้ การศึกษาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ที่ พระองค์ทรงเป็น “นายช่าง” ทั้งสถาปนิกและศิลปิน พระองค์จึงทรงมีทักษะในการแสดง “แบบ สถาปัตยกรรม” ซึ่งทาให้การสันนิษฐานรูปแบบที่อยู่ในความคิดถูกถ่ายทอดออกมาและสื่อสารกับ ผู้รับสาร (Receiver) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังตัวอย่างเช่น การศึกษาว่าด้วยพระวิหารพระมงคล บพิตรซึ่งส่วนหลังคาได้ชารุด พังทลายลงแต่ทว่ายังปรากฏร่องรอยไวทยากรณ์ทางสถาปัตยกรรมให้ สามารถทาความเข้าใจได้ว่าสภาพของอาคารในอดีตจะมี ลักษณะเป็นเช่นไร ทั้งนี้พระองค์ททรงมี หลักการที่สาคัญของการศึกษา และฝึกฝนทักษะทางช่างของพระองค์ ซึ่งสัมพันธ์กับทักษะในการ สันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม ดังการศึกษาของรองศาสตราจารย์ สมคิด จิระทัศนกุล ในเนื้อหาว่า ด้วย “กระบวนการศึกษาเบื้องต้นเพื่อนาไปสู่การขึ้นรูป : แนวคิด และหลักการ กับการสันนิษฐาน รูปแบบลักษณะของพระวิหารพระมงคลบพิตร”4 ความว่า “...เดาน้อยที่สุด คือ ต้องดูของจริงในบ้าน เรา ถ้าไม่เช่นนั้นก็หลง” และ “ต้องเหนมากกับทั้งสังเกตจาด้วย จึงจะเปนเครื่ องเรืองปัญญา ถ้าได้ 2

โบราณราชธานินทร์, พระยา. “ตานานกรุงเก่า” ใน ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่า เรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 61-139. 3 ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. หน้า 14. 4 สมคิด จิระทัศนกุล. งานออกแบบสถาปัตยกรรมไทยฝีพระหัตถ์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. หน้า 702-710.


205

เหนน้อยหรือไม่จาก็ไม่ช่วยอะไร”5 นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงให้ความสาคัญกับการศึกษาให้ละเอียด ถ่องแท้ก่อนการ “สันนิษฐาน” หรือที่ทรงเรียกว่า “พยากรณ์” ดังกล่าวถึงในเนื้อหาเมื่อเสด็จ ไป ทอดพระเนตรเทวสถานปนตารัน ซึ่งได้กล่าวข้อความความว่า “...แต่ว่าได้เหนน้อยย่อมพยากรณ์ยาก จะมีแต่ผิด”6 ทั้งนี้ รองศาสตราจารย์ สมคิด จิระทัศนกุลสรุปไว้ว่า สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุ วัดติวงค์ว่าการได้มาซึ่งความชัดเจนของการ “สันนิษฐาน” นั้น ย่อมต้องอาศัยบทสรุปจากองค์ความรู้ ส าคั ญ 2 ส่ ว นที่ ป ระกอบร่ ว มกั น เพื่ อ น าไปสู่ ก ารพิ จ ารณาอย่ า งรั ด กุ ม คื อ ต้ อ งมี ฐ านข้ อ มู ล ทาง ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละจากตั ว สถาปั ต ยกรรม 7 ทั้ ง นี้ ในกรณี ศึ ก ษาของรู ป แบบสั น นิ ษ ฐานทาง สถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงพ่อมงคลบพิตรนั้น นอกจากพระองค์จะทรงดาเนินการค้นคว้าข้อมูล ทางประวัติศาสตร์อย่างลึกซึ้งแล้วยังมีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถาปัตยกรรม โดยอาศัย “ผังพื้น” และ “โครงสร้าง” ในการทาความเข้าใจรูปแบบทางสถาปัตยกรรมแบบที่ควรจะเป็น ประกอบกับพระองค์ ทรงมีความจัดเจนเรื่องสถาปัตยกรรมไทยทั้งแบบประเพณี และการออกแบบโครงสร้างและไวทยา กรณ์ ท างสถาปั ต ยกรรมแบบใหม่ ๆ ในงานเชิ ง ทดลองชิ้ น ต่ า งๆ ท าให้ เ มื่ อ พระองค์ ไ ด้ ข้ อ มู ล ทาง สถาปัตยกรรมมาแล้วนั้น พระองค์จึงทรงทราบได้โยทันทีว่าหลังคาของพระวิหารที่พังทลายลงไปนั้น จะมีลักษณะเป็นเช่นไร ดังกล่าวข้อความว่า “...ที่ว่าหลังคาเก่าจะเปนอย่า งไร รู้ไม่ได้นั้นไม่จริงเลย การก่อสร้างของไทยนั้นไม่มีลัดแลง แม้ว่าเหนแผนผังก็รู้ได้ว่าหลังคาเปนอย่างไร ไม่พ้นความสามารถ ที่จะรู้ได้ไปเลย...”8 5

โต จิตรพงศ์, หม่อมราชวงศ์. พระราชประวัติและฝีพระหัตถ์ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ . พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัด ติ ว งศ์ ณ พระเมรุ ท้ อ งสนามหลง พ.ศ.2493. หน้ า 30. อ้ า งถึ งใน สมคิ ด จิ ร ะทั ศ นกุ ล . งานออกแบบ สถาปัตยกรรมไทยฝีพระหัตถ์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. หน้า 702-710. 6 นริศรานุวัดติงวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา,และ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. สาส์น สมเด็จ เล่ม 13. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา 2504. หน้า 95. อ้างถึงใน สมคิด จิระทัศนกุล. งานออกแบบ สถาปัตยกรรมไทยฝีพระหัตถ์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริ ศรานุวัดติวงศ์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. หน้า 702-710. 7 สมคิด จิระทัศนกุล. งานออกแบบสถาปัตยกรรมไทยฝีพระหัตถ์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. หน้า 702. 8 นริศรานุวัดติงวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา,และ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. สาส์น สมเด็จ เล่ม 2. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา 2504. หน้า 170-172. อ้างถึงใน สมคิด จิระทัศนกุล. งาน ออกแบบสถาปัตยกรรมไทยฝีพระหัตถ์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. หน้า 705.


206

ภาพที่ 101: ตัวอย่างการการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมฝีพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ กรณี ศึ ก ษาพระวิ ห ารหลวงพ่ อ มงคลบพิ ต ร พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ที่ ท รงให้ แ นวทางความน่ า จะเป็ น ของรู ป แบบ สถาปัตยกรรมที่อาจเป็นไปได้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลแวดล้อมต่างๆ จึงได้นาเสนอรูปแบบสถาปัตยกรรม 2 แนวทาง

ทั้งนี้ การศึกษาว่าด้วยการสันนิษฐานรูปแบบเพื่อสร้างจินตภาพต่อสภาพของสถาปัตยกรรม ในอดีตว่าควรจะมีลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นอย่างไรนั้น เริ่มมีทิศทางที่ชัดเจนมากขึ้นจากการ จัดการเรียนการสอนรายวิชาสารวจรังวัดสาหรับนักศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งการเปิด การสอนในหลักสูตรศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ซึ่งมีรายวิชาที่สอนเกี่ยวกับการสารวจรังวัด และการ สันนิษฐานรูปแบบสถาปั ตยกรรม และทาให้มีการศึกษาวิจัยในวิทยานิพนธ์จานวนหลายเรื่ อ งที่มี เนื้อหาสัมพันธ์กับการสารวจรังวัด และการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมเพื่อนาเสอรูปแบบที่ควร จะเป็นในอดีต ตลอดจนพัฒนาการทางสถาปัตยกรรม


207

ทั้งนี้ ผลงานสาคัญที่สร้างความตื่นตัวในการศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมอยุธยาครั้ง ใหญ่ ที่ ด าเนิ น การโดยคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร คื อ งานสั ม มนาและ นิทรรศการทางวิชาการเรื่อง “รูปแบบสถาปัตยกรรมของวัดพระศรีสรรเพชญ์ ” เนื่องในวโรกาสการ เฉลิ ม ฉลองปี รั ช มั ง คลาภิ เ ษกพ.ศ.2531 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาวิ จั ย ด้ า น สถาปัตยกรรมไทย และการอนุรักษ์งานสถาปัตยกรรมไทยในอดีต ตลอดจนการรวบรวมข้อคิดเห็น รายละเอี ย ดข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ สถาปั ต ยกรรมไทยในสมั ย อยุ ธ ยา และการส่ ง เสริ ม การสงวนรั ก ษา ปฏิสังขรณ์ และบูรณะให้สอดคล้องกับนโยบายการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชาติ9 ทั้งนี้ ในการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมในวัดพระศรีสรรเพชญ์ ในครั้ง นั้นได้ทาการศึกษาอาคารหลัก 2 หลัง คือ “พระวิหารหลวง” และ “พระที่นั่งจอมทอง” ทั้งนี้ สาหรับ “พระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ ” ได้ใช้แบบการสารวจรังวัดที่ดาเนินการโดยรองศาสตราจารย์ สมใจ นิ่ ม เล็ ก ซึ่ ง ด าเนิ น การส ารวจรั ง วั ด ไว้ ตั้ ง แต่ เ มื่ อ ปี พ .ศ.2517 10 ส าหรั บ การศึ ก ษาเพื่ อ การ สันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมของพระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์นั้น รองศาสตราจารย์ เสนอ นิลเดช ได้นาเสนอรูป แบบสั นนิ ษฐาน 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 คือ “พระวิหารยุคแรกในสมั ย พระ รามาธิบดีที่ 2 (พ.ศ.2034-2072)” และ ระยะที่ 2 คือ “พระวิหารหลวงยุคหลังเมื่อครั้ง สมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พ.ศ.2275-2301)” 11 และรองศาสตราจารย์สมใจ นิ่มเล็ก ได้นาเสนอรูปแบบ สันนิษฐานสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงอีก 1 รูปแบบ ซึ่งจะเห็นได้ว่าจากซากทางสถาปัตยกรรมของ โบราณสถานนั้นก็อาจมรแนวทางกาหนดรูปแบบสันนิษฐานสถาปัตยกรรมออกไปได้หลายรูปแบบ เท่าที่หลักฐานของไวทยากรณ์ทางสถาปัตยกรรม ผังพื้น และโครงสร้างเอื้อให้เป็น หรืออาจจะเรียกได้ ว่าเป็น “การออกแบบทางสถาปัตยกรรมภายใต้เงื่อนไขแวดล้อมต่างๆ” ก็ได้ นับเป็นความเจริญงอก งามของความรู้ที่แตกต่างหลากหลาย และงอกงาม นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ ฤทัย ใจจงรัก ได้ ศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบของ “พระที่นั่งจอมทอง” ด้วย12

9

ประสงค์ เอี่ยมอนันต์. “รูปแบบสถาปัตยกรรมของวัดพระศรีสรรเพชญ์ (ส่วนที่ 1)” ใน วารสารหน้าจั่ว. ฉบับที่ 8 ปีการศึกษา 2531. หน้า 5. 10 ประสงค์ เอี่ยมอนันต์. “รูปแบบสถาปัตยกรรมของวัดพระศรีสรรเพชญ์ (ส่วนที่ 1)” ใน วารสารหน้าจั่ว. ฉบับที่ 8 ปีการศึกษา 2531. หน้า 8. 11 ประสงค์ เอี่ยมอนันต์. “รูปแบบสถาปัตยกรรมของวัดพระศรีสรรเพชญ์ (ส่วนที่ 1)” ใน วารสารหน้าจั่ว. ฉบับที่ 8 ปีการศึกษา 2531. หน้า 8. 12 ประสงค์ เอี่ยมอนันต์. “รูปแบบสถาปัตยกรรมของวัดพระศรีสรรเพชญ์ (ส่วนที่ 1)” ใน วารสารหน้าจั่ว. ฉบับที่ 8 ปีการศึกษา 2531. หน้า 8.


208

ต่อมาในรองศาสตราจารย์เสนอนิลเดช ได้ดาเนินการศึกษาเพื่อการสันนิษ ฐานรูปแบบทาง สถาปัตยกรรมของวัดพระศรีสรรเพชญ์เพิ่มเติมอีกเพื่อความสมบูรณ์ โดยได้ศึกษาพัฒนาการทาง สถาปัตยกรรมของหอระฆังที่ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดพระศรีสรรเพชญ และได้จัดพิมพ์หนังสือ “วัดพระศรี สรรเพชญ์”13 ซึ่งได้จัดพิมพ์แบบสันนิษฐานของพระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ระยะต่างๆ รวมทั้ง แบบสันนิษฐานของพัฒนาการของหอระฆังดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น

ภาพที่ 102: หน้ า ปกวารสารหน้า จั่ว วารสารวิชาการ ภาพที่ 103: หน้าปกหนังสือวัดพระศรีสรรเพชญ์ ประจาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มา: เสนอ นิลเดช. วัดพระศรีสรรเพชญ์. กรุงเทพฯ: อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา ส านั ก งาน ปีที่ 8 ปีการศึกษา 2531 ศิลปากรที่ 3 กรมศิลปากร, 2546.

13

เสนอ นิลเดช. วัดพระศรีสรรเพชญ์. กรุงเทพฯ: อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สานักงานศิลปากรที่ 3 กรมศิลปากร, 2546.


209

ภาพที่ 104: การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ ระยะสุดท้ายก่อนเสียกรุงศรี อยุธยาครั้งที่ 2 โดยรองศาสตราจารย์เสนอ นิลเดช แสดงการใช้แบบสถาปัตยกรรมแสดงสภาพปัจจุบัน (Existing Condition) ซึ่งยังปรากฏร่องรอยของไวทยากรณ์ทางสถาปัตยกรรมในการขึ้นรูปทรงสันนิษฐาน ที่มา: เสนอ นิลเดช. วัดพระศรีสรรเพชญ์. กรุงเทพฯ: อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สานักงานศิลปากรที่ 3 กรมศิลปากร, 2546. หน้า. 44.

ภาพที่ 105: แบบทัศนียภาพ (Isometric) แสดงแบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานรูปแบบพระวิหารหลวงวัดพระศรีสรร เพชญ์ แสดงแบบพระวิหารหลวงระยะสุดท้ายก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยรองศาสตราจารย์เสนอ นิลเดช ที่มา: เสนอ นิลเดช. วัดพระศรีสรรเพชญ์. กรุงเทพฯ: อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สานักงานศิลปากรที่ 3 กรมศิลปากร, 2546. หน้า. 70.


210

ทั้งนี้ ในการสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของพระวิหารหลวงในระยะต่างๆ จะขึ้น รูปทรงทางสถาปัตยกรรมจากการสารวจรังวัดเพื่อทราบถึงสัดส่วนและระยะต่างๆ จากซากมรดกทาง สถาปัตยกรรมเท่าที่ยังหลงเหลืออยู่ ทั้งนี้ การศึกษาด้วยการสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม เป็นวิธีการศึกษาเพื่อสร้างภาพอดีตขึ้นมาโดยผ่านการวิเคราะห์ทางสถาปัตยกรรมโดยอาศัยหลักฐาน ข้อมูล ที่เป็ น อยู่ จ ริง ทั้ งจากเอกสารประวัติศาสตร์ที่บันทึกเรื่องราวต่างๆไว้ และจากเอกสารที่ยัง ปรากฏร่องรอยอยู่ในตัวงานสถาปัตยกรรม แล้วจึงนามาก่อเป็นภาพสมบูรณ์โดยอ้างอิงกับความเป็น จริงในอดีต14 ทั้งนี้ เพื่อสร้างเรื่องราวในอดีตโดยผ่านวิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม สู่ กระบวนการสร้างสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ในวิถีทางที่อิงกับหลักฐานข้อมูลที่เป็นจริงมากที่สุด15 นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและนาเอาความรู้ จากการค้นคว้าวิจัยเผยแพร่สู่สาธารณะชนอย่างกว้างขวาง รวมไปถึงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเรียนรู้ แหล่งมรดกทางวัฒนธรรม 2 แหล่งหลักของประเทศไทย ซึ่งได้รับการยกย่องเป็นแหล่งมรดกโลกทาง วัฒนธรรม ผลงานชุดดังกล่าวนั้นศึกษาโดยศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม ซึ่งได้เผยแพร่ หนังสือชุด “World Heritage (มรดกโลก)” ทีไ่ ด้ศึกษาวิจัยแหล่งโบราณสถานในแหล่งมรดกโลกทั้ง 2 แหล่ง คือ มรดกโลกเมืองประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และแหล่งมรดกโลกเมืองประวัติศาสตร์ สุโขทัยและเมืองบริวาร มาสู่กระบวนการศึกษาและสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรมโดยใช้วิธี วิทยาทางประวัติศาสตร์ศิลปะ และนาเสนอในรูปของการใช้ภาพสีและแผ่นใสที่เขียนแบบต่อเติมส่วน สั น นิ ษฐานให้ ส มบู ร ณ์ นั บ ว่าเป็ น หนั งสื อ ที่ส่ งเสริ ม การเรียนรู้ม รดกทางสถาปัตยกรรม และการ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ ได้ทาการสันนิษฐานรูปแบบของโบราณสถานในกรุงศรี อยุธยาจานวน 12 แหล่ง ซึ่งประกอบไปด้วยวัด ต่างๆ และพระที่นั่ง ต่างๆ ในพระราชวังหลวงโดย จาแนกลาดับตามยุคสมัยในการก่อสร้าง รวมทั้งมีการสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยู่ในเล่มนี้ด้วย16

14

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. “การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม: การสั นนิษฐาน รู ป แบบ” ใน มองอดี ต ผ่ า นเวลาศรั ท ธาสถาปั ต ยกรรมไทย. กรุ ง เทพฯ: คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. 1-3. 15 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. “การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม: การสั นนิษฐาน รู ป แบบ” ใน มองอดี ต ผ่ า นเวลาศรั ท ธาสถาปั ต ยกรรมไทย. กรุ ง เทพฯ: คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. 1-3. 16 Santi Leksukhum. Ayutthaya World Heritage. BKK: TAT. 2000.


211

ภ า พ ที่ 106: ภ า พ บ น ห น้ า ป ก ห นั ง สื อ Ayutthaya World Heritage ซึ่ ง จั ด พิ ม พ์ 2 เล่ม คือ แหล่งมรดกโลกพระนครศรีอยุธยา และ แหล่งมรดกโลกสุโขทัย สนับสนุนการจัดพิม พ์ โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย แสดงให้เห็น ถึ งวามสนใจในการส่ งเสริม การท่ อ งเที่ ย วทาง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ม ร ด ก ท า ง สถาปัตยกรรมด้วยการใช้การสันนิษฐานรูปแบบ ทางสถาปัตยกรรมเพื่อกระตุ้นจินตภาพของผู้รับ ส า ร ( Receiver) ต่ อ แ ห ล่ ง ม ร ด ก ท า ง สถาปัตยกรรมที่พังทลายเป็นซาก (Ruin) ไปแล้ว ภาพล่าง การนาเสนอด้วยวิธีการพิมพ์ภาพถ่ายสี ของแหล่งมรดกทางสถาปัตยกรรมมุมมองที่เป็น เอกลั ก ษณ์ ข องแหล่ ง นั้ น ๆ และซ้ อ นทั บ ด้ ว ย แผ่นใสพิมพ์สี โดยเขียนภาพสันนิษฐานรู ปแบบ ซ้อนทับลงไปบนภาพถ่าย ช่วยสร้างจินตนาการ แก่ผู้รับสารได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ในภาพ คือ แหล่ง โบราณสถานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ที่มา: Santi Leksukhum. Ayutthaya World Heritage. BKK: TAT. 2000.

ต่อมาในราวทศวรรษที่ 2550 เป็นต้นมา เป็นช่วงเวลาที่เทคโนโลยีทางคอมพิว เตอร์ ระบบปฏิบัติการ รวมไปถึงโปรแกรมต่างๆได้พัฒนาไปจากทศวรรษก่อนหน้าอย่างก้าวกระโดด ซึ่ง ช่วงเวลาดังกล่าวนั้นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนแบบร่างสามมิติ Sketch up ได้รับความนิยม อย่างสูงในการนามาจัดแบบร่างทางสถาปัตยกรรมที่สามารถนาเสนอภาพเป็นแบบสถาปัตยกรรมสาม มิติ สาหรับการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดังกล่าวนั้นถูกนามาใช้ มากขึ้น ดังมีผลงานการต่อยอดจากการศึกษาวิจัยเพื่อการนาเสนอในข้อมูลจากการค้นคว้าในมิติใหม่ รวมไปถึงการนาเสนอในฐานะของผลงานศิลปะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ โดยศาสตราจารย์ เกียรติ คุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม ซึ่งทาการศึกษาแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา และสุโขทัย โดยนาเสนอผลงานออกมาในหลายลักษณะ อาทิ ป้ายสื่อความหมายเพื่อการเรียนรู้ที่ติดตั้ง อยู่ใน แหล่ งโบราณสถานทั้งที่อุทยานประวัติศาสตร์อยุธ ยา อุทยานประวัติศาสตร์สุ โขทัย และอุทยาน


212

ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย 17 ตลอดจนได้นาข้อเสนอดังกล่าวมาสู่ การแสดงนิทรรศการศิลปะที่ได้รับ แรงบันดาลใจซากโบราณสถานและนามาสู่การสันนิษฐานรูปแบบและสร้างสรรค์เป็นผลงานทัศนศิลป์ ที่น่าสนใจอย่างยิ่ง นับเป็นการนาผลงานการค้นคว้าทางประวั ติศาสตร์ศิลปะนามาสู่การกระตุ้นให้ สังคมหันมาสนใจเรียนรู้ในมรดกทางวัฒนธรรมผ่านชิ้นงานศิลปะ

ภาพที่ 107: สูจิบัตรนิทรรศการแสดงผลงานศิลปะที่ สร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปแบบโบราณสถาน ที่ ม า: สั น ติ เล็ ก สุ ขุ ม . ศิ ล ปะสร้ า งสรรค์ จ ากการ สั น นิ ษ ฐานรู ป ลั ก ษณ์ โ บราณสถาน. กรุ ง เทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จากัด. 2554.

17

สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง จากัด. 2554. หน้า 3.


213

2. ขั้นตอนการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยาในการวิจัยนี้ การศึกษาเพื่อ “การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม” เป็นวิธีการศึกษาเพื่อสร้างภาพอดีต ของสถาปัตยกรรมขึ้นมาโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์ทางสถาปัตยกรรม โดยอาศัยหลักฐานข้อมูลที่ เป็นอยู่จริง ทั้งการศึกษาจากเอกสารประวัติศาสตร์ที่บันทึกเรื่องราวต่างๆไว้ และจากเอกสารทียัง ปรากฏร่องรอยอยู่ในตัวงานสถาปั ตยกรรม นามาก่อเป็นภาพสมบูรณ์โดยอ้างอิงกับความเป็นจริงใน อดีต 18 ทั้งนี้ เพื่อสร้ างเรื่ องราวในอดีตโดยผ่ านวิธีการศึ กษาทางประวัติศ าสตร์ส ถาปัตยกรรม สู่ กระบวนการสร้างสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ในวิถีทางที่อิงกับหลักฐานข้อมูลที่เป็นจริงมากที่สุด 19 ซึ่ง การศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบในการวิจัยนี้ ประกอบไปด้วยการทางานใน 3 ขั้นตอนหลัก คือ 1. “การศึกษาภาคเอกสาร (Documentary Research)” ซึ่งประกอบไปด้วยการศึกษาทั้ง จาก “หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ” ประเภทต่างๆ เช่น พระราชพงศาวดาร เอกสารชาวต่างชาติ บันทึก จดหมายเหตุ บทประพันธ์ หรือแม้แต่ภาพถ่ายเก่า และแผนที่ประเภทต่างๆ และการศึกษา ทบทวน “สารสนเทศ” ที่เกี่ยวเนื่องประเภทต่างๆ ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่าการ “ทบทวนวรรณกรรม” อัน หมายถึง ผลงานการศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวนั้นในมิติและมุมมองต่างๆ ที่มีการศึกษาและ นาเสนอมาแล้วในการวิจัย บทความวิชาการ บทความวิจัย บทสารคดี ฯลฯ เพื่อให้สามารถประมวล ออกมาเป็น สถานภาพความรู้ ของเรื่องดังกล่าวนั้นว่ามีสถานภาพความรู้เป็นเช่นไร มีช่องว่างของ การศึกษาหรือไม่ และยังมีประเด็นใดที่ยังตอบคาถามไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ 2. “การศึกษาภาคสนาม (Field Work Measuring)” เป็นการลงพื้นที่เพื่อเก็บรวบรวม ข้อมูล และหลักฐานประเภทต่างๆ ทั้งยังปรากฏร่องรอยอยู่ในพื้นที่ ทั้งนี้ มีขั้นตอนในการทางาน ดังต่อไปนี้ คือ 2.1 การประมวลผลข้อมูล และสถานภาพความรู้เท่าที่มีอยู่เพื่อตรวจสอบทานกับข้อ ค้นพบในพื้นที่จริง เปรียบดั่งการตรวจสอบสมมติฐาน และความเป็นไปได้ นอกจากนี้ หากมีสถานภาพ ของการท างานเดิ ม เช่ น ข้ อ เสนอ ข้ อ คิ ด เห็ น รวมไปถึ ง การศึ ก ษาแผนที่ เ ก่ า แผนผั ง และแบบ สถาปัตยกรรมที่เคยมีการจัดทาไว้แล้วมาสอบทานความถูกต้องแม่นยาในพื้นที่จริง 18

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. “การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม: การสันนิษฐาน รู ป แบบ” ใน มองอดี ตผ่ า นเวลาศรั ท ธาสถาปั ต ยกรรมไทย. กรุ งเทพฯ: คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. หน้า 1-3. 19 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. “การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม: การสันนิษฐาน รู ป แบบ” ใน มองอดี ตผ่ า นเวลาศรั ท ธาสถาปั ต ยกรรมไทย. กรุ งเทพฯ: คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. หน้า 1-3.


214

2.2 การศึกษาภาพรวมของพื้นที่เพื่อศึกษาข้อมูลของผังบริเวณ เพื่อทาความเข้าใจ ลั กษณะการวางผั ง และความสั มพัน ธ์ของอาคารต่ างๆ รวมไปถึงการศึก ษาเพื่ อ ให้ เห็ นภาพรวม เบื้องต้นของพื้น ที่ศึกษาอันจะน ามาสู่ การทาความเข้าใจองค์รวมของผังบริเวณ และลักษณะทาง สถาปัตยกรรมและร่องรอยหลักฐานประเภทต่างๆ ที่ยังหลงเหลือเบื้องต้น 2.3 การเขี ย น “แบบร่ า งทางสถาปั ต ยกรรมด้ ว ยมื อ (Architectural Hand Drawing)” เพื่อเป็นการให้ผู้วิจัยได้ทาความเข้าใจเบื้องต้นต่อลักษณะทางสถาปัตยกรรมของซากที่ยัง หลงเหลืออยู่ เนื่องมาจากการให้ความสาคัญต่อซากสถาปัตยกรรมแล้วประมวลออกมาเป็นแบบร่าง จะช่ว ยให้ ผู้ วิจั ยมีส มาธิ และพิจ ารณาบริ บ ทของแบบแผนทางสถาปัตยกรรมอย่างละเอียดลึกซึ้ง แตกต่างจากการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่ายเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ จะใช้แบบร่างที่ได้บันทึกไว้ เหล่านี้ในการบันทึกข้อมูลระยะต่างๆ จากการสารวจรังวัด และการวัดระยะ ทั้งนี้ หากอาคารจัดทา แบบร่างนั้นเป็นอาคารที่มีขนาดใหญ่จะมีการเขียนแบบร่างที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลระยะรวมๆ ของ อาคาร และมีการเขียนแบบร่างขยายเป็นจุดๆ เพิ่ม เติมเพื่อให้สะดวกในการทางาน รวมไปทั้ง ส่วนที่ ยากที่สุดของการเก็บข้อมูลจะเป็นการวัดระยะทางดิ่ง เนื่องจากจะเป็นตัวกากับทรวดทรงและรูปแบบ หลังคาของอาคาร นอกจากนี้ จะเขียนแบบร่างขยายในองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม เช่น ซุ้มประตู หน้าต่าง ชุดฐาน ฯลฯ

ภาพที่ 108: การเขียนแบบร่าง (Architectural Hand Drawing)


215

2.4 การส ารวจรั ง วั ด ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ พื้ น ฐาน หลั ง จากที่ มี ก ารเขี ย นแบบร่ า งทาง สถาปัตยกรรมในขั้นตอนที่ 2.3 ที่กล่ าวมาแล้วนั้นก็จะลงมือทาการวัดระยะด้วยเครื่องมือพื้นฐาน คือ “ตลับเมตร (tape measure)” และ “ไม้เมตรเทียบระยะ (Reference Meter Pole)” เมื่อได้ระยะ ต่างๆ มาแล้วก็บันทึกลงไปในแบบร่างเพื่อใช้ส าหรับการอ้างอิงในขั้นตอนการนาไปจัดทา “แบบ สถาปัตยกรรมที่แสดงถึงสภาพปัจจุบันของอาคาร (Existing Condition Architectural Drawing)” ทั้งนี้ ยิ่งมีการวัดรายละเอียดของระยะต่างๆ ไว้มากก็จะยิ่งทาให้ในขั้นตอนการจั ดทาแบบได้นั้นมี ความถูกต้องแม่นยามากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีการวัดระยะด้วย “เครื่องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ (Laser distance measuring tools)” ด้ ว ยเครื่ อ งยี่ ห้ อ Leica รุ่ น Disto D510 ซึ่ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ประสิทธิภาพในการวัดระยะได้ดีกว่าการใช้ตลับเมตรวัดระยะ ด้วยมีระยะทางในการวัดระยะที่แม่นยา ได้ถึง 200 เมตร และคุณสมบัติพิเศษที่ช่วยให้การสารวจรังวัดมีประสิทธิภาพ และถูกต้องแม่นยามาก ขึ้นด้วยสามารถสารวจรังวัดระยะทางดิ่งด้วยการใช้การฟัง ก์ชั่นการคานวณด้วยสูตรแบบตรีโกณมิติ ทาให้สามารถสารวจรังวัดความสูงของโครงสร้างอาคารในส่วนต่างๆ เพื่อความถูกต้องแม่นยาของ ข้อมูล อย่างไรก็ดี แม้ว่าจะสามารถวัดระยะทางดิ่ง (vertical) ของอาคารได้เป็นอย่างดี แต่ทว่าการวัด ระยะทางนอน (Horizon) ของอาคารในส่วนเรือนยอดนั้นมีข้อจากัดเนื่องจากต้องวัดระยะล้มสอบของ อาคารซึ่งทาให้ระยะที่วัดได้นั้นมีความคลาดเคลื่อนอยู่บ้าง แต่ก็อยู่ในการควบคุมได้

ภาพที่ 109: การสารวจรังวัดด้วยเครื่องมือพื้นฐาน ภาพซ้าย คือ การใช้ตลับเมตร ภาพกลาง คือ การใช้หลักเมตร อ้างอิงระยะ ภาพขวา คือ เครื่องวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ที่ใช้ในการสารวจ


216

ภาพที่ 110: ตัวอย่างแบบร่างทางสถาปัตยกรรมด้วยมือ และการบันทึกระยะจากการสารวจรังวัด


217

2.5 การบันทึกภาพถ่ายร่องรอยทางสถาปัตยกรรมต่างๆ โดยละเอียด ทั้งนี้ในการ บันทึกข้อมูลภาพถ่ายนี้มีความจาเป็นอย่างยิ่ งในการนามาวิเคราะห์ข้อมูลเมื่อกลับมาจากสถานที่จริง รวมไปถึงใช้เป็นข้อมูลประกอบในขั้นตอนการจัดทา “แบบสถาปัตยกรรมที่แสดงถึงสภาพปัจจุบันของ อาคาร (Existing Condition Architectural Drawing)” เพื่ อ ประกอบในการสั น นิ ษ ฐานรู ป แบบ สถาปัตยกรรมที่มีความน่าจะเป็นไปได้จากไวทยากรณ์ และองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่ยังคง เหลืออยู่ 2.6 การบันทึกข้อมูลด้วยเครื่องมือที่ทันสมัย สาหรับการสารวจรังวัดและการบันทึก ข้อมูลภาคสนาม ซึ่งการศึกษาที่ผ่านมานั้นจะเห็นได้ว่ามีการใช้เทคโนโลยีในการบันทึกภาพที่เรียกว่า “โฟโตแกรมเมตรี (Photogrammetry)” ซึ่ ง เป็ น องค์ ค วามรู้ ซ่ึ ง เกิ ด จากการผสมผสานระหว่ า ง วิทยาศาสตร์ และศิลปะเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีในการสารวจรังวัด และการบันทึกภาพ โดยวิธีการ เขียนและกาหนดภาพสามมิติของวัตถุ อาคาร หรือพื้นที่ใดๆ จากภาพถ่ายสองมิติ 20 ทั้งนี้ โฟโตแกรม เมตรีและการประยุกต์ใช้นั้นแบ่งการใช้งานออกเป็น 2 ประเภท คือ “งานโฟโตแกรมเมตรีภาคพื้นดิน (Terrestrial photogrammetry)” และ “งานโฟโตแกรมเมตรี ท างอากาศ (Aerial photogram metry/non-topographic photogrammetry)” ซึ่ ง ใช้ ใ นการผลิ ต แผนที่ ท างอากาศหรื อ แผนที่ ภูมิศาสตร์ซึ่งใช้การบินถ่ายภาพ และในปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้งานคู่กับระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Global Positioning System (GPS))21 สาหรับการวิจัยนี้ เลือกใช้วิธีการสารวจรังวัดด้วย “กล้องสารวจเลเซอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner)” ยี่ห้อ FARO รุ่น FARO Laser Scanner Focus3D X 330 ซึ่งมีระยะในการดาเนิน สารวจรังวัดการได้ 330 เมตร จานวน 1 เครื่อง และ FARO Laser Scanner Focus3D X 130 ซึ่งมี ระยะในการดาเนินสารวจรังวัดการได้ 130 เมตร จานวน 1 เครื่อง ดาเนินการสารวจรังวัดพร้อมกันใน การสารวจ เนื่องจากความซับซ้อนของผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุที่มีสูง และเป็นวัดที่มี ขนาดใหญ่ หากใช้เครื่องมือดังกล่าวเพียงเครื่องเดียวในการสารวจจะใช้เวลามาก และจะทาให้เครื่อง ทางานหนักมากจนเกินไปจนเกิดความร้อน ทั้งนี้ ในวิธีการสารวจใช้วิธีการ 2 แบบ คือ การใช้ “วัตถุ 20

ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ. “โฟโตแกรมเมตรีกับงานอนุรักษ์สถาปัตยกรรม: ทบทวนองค์ความรู้และความเป็นไปได้ใน การประยุกต์ใช้กับงานสถาปัตยกรรมไทย” ใน วารสารหน้าจั่วฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และ สถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ฉบับที่ 9 (กันยายน 2555-สิงหาคม 2556) หน้า. 160-161. 21 ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ. “โฟโตแกรมเมตรีกับงานอนุรักษ์สถาปัตยกรรม: ทบทวนองค์ความรู้และความเป็นไปได้ใน การประยุกต์ใช้กับงานสถาปัตยกรรมไทย” ใน วารสารหน้าจั่วฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และ สถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ฉบับที่ 9 (กันยายน 2555-สิงหาคม 2556) หน้า. 160-161.


218

ทรงกลมสาหรับอ้างอิงจุด (Laser Scanner Reference Sphere)” และการสารวจรังวัดที่ใช้วิธีการ “อ้างอิงภาพหมอกจุด (Cloud to Cloud Reference)” ซึ่งใช้การประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ใน ภายหลังในการปะติดปะต่อภาพแบบหมอกจุดที่ได้รับจากการสารวจรังวัดเพื่อประมวลผลอ้างอิง ตาแหน่งเพื่อให้ประหยัดเวลาในการดาเนินการ ทั้งนี้ จากการสารวจรังวัดด้วยการใช้เครื่องมือแสกน เนอร์เลเซอร์สามมิตินี้ กาหนดจุดตั้งเครื่องมือทั้งหมด 67 จุด แต่ละจุดใช้เวลาในการสารวจจุดละ 20 นาที พักเครื่อง 30 นาที แล้วจึงสารวจรังวัดในจุดถัดไป ใช้เวลาในการสารวจรวม 3 วัน

ภาพที่ 111: การสารวจรังวัดด้วยเครื่องมือกล้องสารวจ เลเซอร์ ส ามมิ ติ ที่ วั ด พระศรี รัต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยา และ เครื่องมือกล้องสารวจเลเซอร์สามมิติที่ใช้ในการสารวจ รังวัด


219

3. การประมวลผลการสารวจรังวัดในงานในห้องปฏิบัติการเขียนแบบ (Drawing Studio) และห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (Computing laboratory) เมื่อกลับจากการเก็บข้อมูลภาคสนาม แล้วจึงนาข้อมูลมาสู่การประมวลผลในห้องปฏิบัติการเขียนแบบด้วยลายมือและคอมพิวเตอร์ และ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลภาพหมอกจุด (Cloud Image) ทั้งนี้ เริ่มต้นด้วยการ แปลงแบบร่างเก็บข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลดิจิตอล เพื่อป้ องกันการสูญหาย และความชารุดของแบบร่าง สถาปัตยกรรมด้วยมือและการบันทึกข้อมูลซึ่งเอกสารชุดนี้ได้มีความสาคัญในฐานะหลักฐานชั้นต้นของ การศึกษา และการสารวจรังวัด นอกจากนี้ “ภาพแบบหมอกจุด (Cloud Image)” ที่ได้รับจากการสารวจรังวัดด้วยเครื่อง แสกนเนอร์เลเซอร์สามมิติซึ่ งอยู่ในรูปแบบของไฟล์ส กุล .fls โดยนามาประมวลผลด้วยโปรแกรม SCENE 3D Laser Scanner Software สาหรับการต่อภาพไฟล์หมอกจุดที่ได้รับจากการสารวจรังวัด จากจุดทั้งตั้งทั้ง 67 จุดตั้งจากเครื่องมือทั้ง 2 เครื่อง ด้วยวิธีการ “ผสานภาพหมอกจุก (Cloud to Cloud Integration)”22 จากนั้นจึงบันทึกข้อมูล ในรูปแบบไฟล์ส กุล .E57 ของข้อมูลทั้งหมดทั้งผั ง บริเวณ และแบ่งออกเป็นอาคารแต่ละหลัง แล้วนาไปประมวลผลต่อด้วยโปแกรม CloudCompare เพื่อน าไฟล์ ออกมาเป็ น “รู ป ด้านของอาคาร (Elevation Image)” ซึ่งแก้ปัญหาเรื่อง “ความซ้ น (Illusion)” ซึ่งในศัพท์ช่างไทยเรียกว่า “อากาศกิน” ซึ่งเป็นภาพลวงตาหากมองอาคารด้วยตาเปล่า หรือแม้แต่การบันทึกภาพด้วยกล้องถ่ายภาพ

ภาพที่ 112: การประมวลผลข้อมูลภาพแบบหมอกจุดด้วยโปรแกรม CloudCompare 22

ขอขอบพระคุ ณ คุ ณ ธนพั ฒ น์ พิ พั ฒ น์ ศิ ริ ส วั ส ดิ์ บริ ษั ท เอสดี เ อ็ ม จ ากั ด ในการอ านวยความสะดวกในการ ประมวลผลการผสานภาพแบบหมอกจุด


220

ภาพที่ 113: การประมวลผลข้อมูลภาพแบบหมอกจุดด้วยโปรแกรม CloudCompare และประมวลผลมาสู่การเป็น รูปด้านทางสถาปัตยกรรม (Elevation Image)

จากนั้นจึงนาข้อมูลดังกล่าวทั้งที่ได้รับจากการสารวจรังวัดแบบด้วยเครื่องมือพื้นฐาน และ เครื่องมือที่ทันสมัยนามาประมวลผลแล้วเขียนแบบสถาปัตยกรรมด้วยคอมพิวเตอร์โดยการใช้ซอฟแวร์ NANO CAD ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ฟรี (Free Ware) เพื่อขึ้นรูปแบบสถาปัตยกรรมเบื้องต้น ทั้งนี้ ในอาคาร ที่มีความจาเป็นต้องสันนิษฐานรูปแบบเช่น พระวิหารหลวง พระอุโบสถ ซึ่งจาเป็นต้อง “ขึ้นทรง” ของ อาคารทับลงบนโครงสร้างทางสถาปั ตยกรรมที่เป็นซากหลงเหลือนั้น เพื่อให้ได้ระเบียบสัดส่ ว นที่ สวยงามจาเป็นต้องขึ้นรูปทรงทางสถาปัตยกรรมด้วยมือ (Hand Drawing) แล้วจึงนามาเขียนแบบ ด้วยคอมพิวเตอร์ทับอีกครั้ง ทั้งนี้ เมื่อเขียนแบบสถาปัตยกรรมแบบ 2 มิติ ด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นที่เรียบร้อย แล้วจึงนามาประมวลสู่การเขียนแบบอีกครั้งด้วยโปรแกรมที่อยู่บนฐานของ “แบบจาลองสารสนเทศ อาคาร (Building Information Modeling)” หรือที่รู้จักกันในนามว่า “BIM”23 ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ ประมวลผลข้ อ มู ล การขึ้ น รู ป ทรงของอาคาร ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ เ พี ย งแต่ ก ารเขี ย น “แบบสถาปั ต ยกรรม (Architectural Drawing)” และ “แบบสถาปัตยกรรม 3 มิติ (3D Architectural Model)” เพียง อย่ า งเดี ย ว แต่ แ บบจ าลองนั้ น จะถู ก ขึ้ น รู ป ขึ้ น มาพร้ อ มกั บ ข้ อ มู ล ขององค์ ป ระกอบสารสนเทศ (Information) ทั้งนี้ การทางานของ BIM เป็นการสร้างแบบจาลองอาคาร (Building Model) ด้วย 23

สถาบันสถาปนิกสยาม. คู่มือปฏิบัติวิชาชีพ แนวทางการใช้งานแบบจาลองสารสนเทศอาคารสาหรับประเทศ ไทย (Thailand BIM Guideline). กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์. 2558. หน้า 1.


221

โปรแกรมคอมพิว เตอร์ โ ดยแบบจ าลองอาคารนี้ ประกอบขึ้นจากองค์ป ระกอบต่ างๆ ของอาคาร (Building Component) เช่น โครงสร้างต่างๆ เป็นต้น ซึ่งจะประกอบด้วยข้อมูลกราฟิก (Graphics) ทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ และข้อมูลที่ไม่ใช่กราฟิกที่ผูกติดมากับองค์ประกอบอาคารเหล่านั้น 24 ซึง่ สามารถ น ามาประมวลผลในเชิงการจั ดการโครงการก่อสร้าง ซึ่ งในการทางานบนเทคโนโลยี BIM นี้ ทาง โครงการวิจัยได้เลือกใช้โปรแกรม ArchiCAD รุ่น 17 เพื่อขึ้นรูปทรงทางสถาปัตยกรรมของอาคาร

ภาพที่ 114: การใช้เทคโนโลยี Building Information Modeling (BIM) ในการขึ้นรูปทรงทางสถาปัตยกรรม

24

สถาบันสถาปนิกสยาม. คู่มือปฏิบัติวิชาชีพ แนวทางการใช้งานแบบจาลองสารสนเทศอาคารสาหรับประเทศ ไทย (Thailand BIM Guideline). กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์. 2558. หน้า 2.


222

3. พัฒนาการทางสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาจากการศึกษาเอกสาร ทางประวั ติ ศาสตร์ และการส ารวจรั ง วั ด น าสู่ ก ระบวนการสัน นิ ษ ฐานรูปแบบ สถาปัตยกรรม ในเนื้ อ หาส่ ว นนี้ จ ะน าเสนอเรื่ อ งลั ก ษณะทางสถาปั ต ยกรรม และพั ฒ นาการทาง ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ทั้งนี้ใช้ข้อมูลจากการสารวจรังวัดด้วย เครื่องมือวัดระยะแบบปกติ ด้วยการใช้เทปและตลับเมตรวัดระยะ รวมทั้งได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการ สารวจด้วยเครื่องเลเซอร์แสกน 3 มิติ รวมทั้งการศึกษาเปรียบเทียบกับพัฒนาการทางสถาปัตยกรรม ในแหล่ ง อื่ น ๆ ที่ ส ามารถก าหนดอายุ ไ ด้ ชั ด เจน ตลอดจนการบู ร ณาการเข้ า กั บ องค์ ค วามรู้ ท าง ประวัติศาสตร์ที่ได้รับจากการทาสารัตถะวิพากษ์ และการอ่านเอกสารทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงนามาจัดทาแบบเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ รูปทรงทางสถาปัตยกรรมต่อไป ทั้งนี้ ในการวิจัยนี้ ขอเสนอเฉพาะส่วนอาคารหลักภายในผังบริเวณวัด พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา ดังมีอาคารที่จะกล่าวถึงดังต่อไปนี้ 3.1 อาคารที่อยู่ในผังบริเวณที่ล้อมรอบด้วยระเบียงคด 3.1.1 พระศรีรัตนมหาธาตุ (พระปรางค์ประธาน) 3.1.2 พระปรางค์มุมของพระมหาธาตุ 3.1.3 เจดีย์ราย/บริวารทรงปราสาทยอด 3.1.4 พระมณฑปบริวาร 3.1.5 พระเจดีย์มุมระเบียงคด 3.2 อาคารที่อยู่นอกระเบียงคด 3.2.1 ระเบียงคด 3.2.2 พระวิหารหลวง 3.2.3 พระอุโบสถ 3.2.4 พระปรางค์ราย


223

3.1 อาคารที่อยู่ในผังบริเวณที่ล้อมรอบด้วยระเบียงคด 3.1.1 พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา (พระปรางค์ประธาน) สืบเนื่องจากพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ได้รับการสถาปนาขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น ทั้งนี้ในการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอเพิ่มเติมในประเด็นที่ว่าด้วยปีที่ก่อสร้าง คือ ปีพ.ศ.1931 ในรัชกาล สมเด็จพระราเมศวร และมีการพังทลายของเรือนยอดลงมาในปีพ.ศ.2149 ในรัชสมัยของสมเด็จพระ เจ้าทรงธรรมและก็ไม่ได้บูรณะขึ้นมา จนเวลาให้หลังไปถึง 27 ปี จนล่วงเข้าสู่รัชกาลสมเด็จพระเจ้า ปราสาททอง จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์ส่วนยอดพระมหาธาตุที่พังทลายลงมาในปีพ.ศ. 2176 เพราะฉะนั้ น ในการน าเสนอข้ อ มู ล ต่ อ ไปนี้ จะจ าแนกเป็ น 2 ส่ ว น คื อ “ลั ก ษณะทาง สถาปัตยกรรมของพระมหาธาตุเมื่อแรกสถาปนา” และ “ลักษณะทางสถาปัตยกรรมพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยาเมื่อบูรณปฏิสังขรณ์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง” ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

O ลักษณะทางสถาปัตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนา - การวางผังลักษณะพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา จากเนื้อหาว่าด้วย “พระมหาธาตุหลักกรุงศรีอยุธยา: ข้อเสนอเพิ่มเติมว่าด้วยความยอกย้อน ในประวัติศาสตร์การสถาปนา” ที่กล่าวมาในส่วนต้นแล้ว ให้ข้อสันนิษฐานว่า “พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา” สถาปนาขึ้นครั้งแรกในปีพ.ศ.1931 ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรที่กลับมาครองราชย์ยังกรุง ศรีอยุธยาอีกครั้ง เนื่องจากการครองราชย์ครั้งแรกในปีพ.ศ.1913 ได้ถูกสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) จากเมืองสุพรรณบุรีมาเสวยราชสมบัติแทน เป็นเหตุให้สมเด็จพระราเมศวรต้องไป ครองเมืองลพบุรี จนกระทั่งเมื่อสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 สวรรคตแล้ว สมเด็จพระเจ้าทองลันผู้ เป็นพระราชโอรสขึ้นครองราชย์ สมเด็จพระราเมศวรจึงกรีธาทัพจากลพบุรีลงมาเพื่อชิงราชสมบัติคืน และปราบดาภิเษกเป็น พระมหากษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยาเป็นครั้งที่ 2 ในปีพ.ศ.1931 ด้วยเหตุ ดังกล่าวจึงสันนิษฐานได้ว่า พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างนั้น ย่อมได้รับอิทธิพลในแง่ของ ความเชื่อ ความศรัทธา ตลอดจนรูปทรงทางสถาปัตยกรรมจาก “พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ” มาไม่ มากก็น้อย


224

ทั้งนี้ ช่วงเวลาในการสถาปนา “พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี” นั้น มีข้อสันนิษฐานว่าควรสร้าง ขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 19 25 คือ ราวปีพ.ศ.1800-190026 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เขมรเสื่อมอานาจลง ทว่าก่อนจะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นเป็นราชธานี ประมาณ 100 ปี ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ Jean Boisselier ได้เสนอว่าเป็นช่วงเวลาที่เขมรหมดสิ้นอานาจลงจากลุ่มน้าเจ้าพระยา และเมืองลพบุรีนั้นก็ มีผู้ปกครองของตนเอง ดังปรากฏหลักฐานว่าลพบุรีได้ส่งคณะทูตไปยังจีนอย่างน้อย 3 ครั้ง ระหว่างปี พ.ศ.1832-184227 นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม ได้ศึกษาลวดลายปูนปั้นที่ ประดับบนองค์ปรางค์และให้ข้อคิดเห็นว่าลวดลายยังรักษาระเบียบแบบเขมรไว้ได้มาก จึงสันนิษฐาน ว่าพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีนี้สร้างขึ้นก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาราว 100 ปี28 เนื่องจากสะท้อน ความสัมพันธ์กับศิลปะก่อนสมัยอยุธยาที่ยังมีกลิ่นอายว่าได้รับแรงบันดาลใจจากศิลปสถาปัตยกรรม เขมรที่เผยแผ่เข้ามายังดินแดนภาคกลางของไทย สาหรับพระมหาธาตุ ลพบุรี นั้นมีการวางผังประกอบด้วยพระปรางค์ประธานตรงกลาง และมี พระปรางค์บริวารขนาบด้านข้าง ซึ่งในปัจจุบันได้พังทลายลงแล้ว สิ่งที่เป็นที่น่าสังเกต คือ วัสดุในการ ก่อสร้างพระปรางค์ประธาน และพระปรางค์บริวารนั้นใช้วัสดุก่อสร้างที่แตกต่างกัน กล่าวคือ พระ ปรางค์ประธานก่อสร้ างด้วยศิลาแลง ในขณะพระปรางค์บริวารนั้นก่อสร้างด้ว ยอิฐเป็นหลั ก จาก การศึกษาของอาจารย์กวิฏ ตั้งจรัสวงศ์ เสนอว่าพระปรางค์ประธาน และพระปรางค์บริวารถูกสร้างกัน คนละคราวกัน แต่ต้องก่อนการสร้าง “พระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์” “พระมหาธาตุวัดพระราม”29 ทั้งนี้ มีพระมหาธาตุที่ควรสร้างในสมัยอยุธยาตอนต้นอีกองค์ คือ “พระมหาธาตุ สุพรรณบุรี ”30 ที่มี การออกแบบวางผังให้เป็นพระปรางค์ที่วางตัวเรียงกันในแนวหน้ากระดาน 3 องค์ 25

กวิฏ ตั้งจรัสวงศ์. “ระบบแผนผังปรางค์ประธานและปีกปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ”. ใน วารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 34 (2) 2557. (หน้า 147-168). หน้า 147. 26 สมคิด จิระทัศนกุล, บรรณาธิการ. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ประกันภัย. 2554. หน้าที่ 71. 27 Jean Boisselier. Rapport de; a Mission (24 Juillet-28 Novembre 1964). Art Asiatique XII. 1965. สุ ภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า, แปล. “รายงานการสารวจทางโบราณคดี”. ใน ศิลปากร. 9(3) 2508. หน้า 37. 28 สันติ เล็กสุขุม. ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย (ฉบับย่อ): การเริ่มต้นและการสืบเนื่อ งของงานช่า งในศาสนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2544. หน้า 153. 29 กวิฏ ตั้งจรัสวงศ์. “ระบบแผนผังปรางค์ประธานและปีกปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ”. ใน วารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 34 (2) 2557. (หน้า 147-168). หน้า 166. 30 น.ณ ปากน้า. ศิลปะก่อนกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2541. หน้า 57. กาหนดว่าพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรีเป็นศิลปะสมัยสุพรรณภูมิ. อย่างไรก็ดีเมื่อทาการศึกษาพัฒนาการของรูปทรงโดยเฉพาะในส่วนของ ชั้นของมุขทิศแล้วจะเห็นได้ว่ามีความสัมพันธ์กับพระมหาธาตุในสมัยอยุธยาตอนต้นมากกว่าพระมหาธาตุที่มี อายุเก่าแก่ไปกว่านั้น.


225

นอกจากนี้ ในกลุ่มของพระปรางค์ที่มีอายุเก่าแก่กว่าสมัยอยุธยาตอนนั้นพบว่า มีความนิยมใน การวางผังพระปรางค์ในลักษณะที่กล่ าวมา อาทิเช่น “พระมหาธาตุ ราชบุรี”31 เป็นต้น ซึ่งแม้ว่าพระ มหาธาตุราชบุรี นั้นจะมีการสร้างปรางค์บริวารอีกองค์ด้านหลัง ทาให้กลายเป็นมีพระปรางค์บริวาร 3 องค์ แต่ก็สะท้อนให้เห็นพัฒนาการว่ามาจากการสร้างพระปรางค์บริวารขนาบด้านข้างมาแต่เดิม

ภาพที่ 115: แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานแสดงพระศรีรตั นมหาธาตุลพบุรีที่มีพระปรางค์บริวารขนาบ ด้านข้าง

จากข้อมูลดังกล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็นว่าพระมหาธาตุองค์ต่างๆ ที่ก่อสร้างขึ้นก่อนหน้า สมัยอยุธยา รวมทั้งพระมหาธาตุในสมัยอยุธยาตอนต้นต่างก็มีการวางผังในลักษณะเป็นพระปรางค์ 3 องค์วางตัวเรียงหน้ากระดานกัน โดยมีปรางค์ประธานตรงกลางมีขนาดใหญ่พระกว่าปรางค์ที่วางขนาบ ข้างทั้ง 2 องค์ ทาให้เกิดคาถามต่อเนื่องว่า หากว่า “พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” ได้รับแรงบันดาลใจ มาจากพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี แล้ว ถ้าเช่นนั้นลักษณะการวางผังของควรจะมีลักษณะเป็นเช่นไร เนื่องจากว่าพระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีนั้น มีการวางผังเป็นพระปรางค์ 3 องค์ โดยมี พระปรางค์องค์กลางมีขนาดใหญ่กว่าพระปรางค์ที่ขนาบข้างอยู่

31

ในสถานภาพทางวิชาการนั้นได้กาหนดอายุพระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ราชบุรี อยู่ในสมัยอยุธยาตอนต้น แต่เมื่อพิจารณาจากหลักฐานแวดล้อมอื่นๆ เช่น การตกแต่งกาแพงแก้วด้วยรูปสลักหินทรายเช่นเดียวกับ ปราสาทในพระพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 อันสะท้อนให้เห็นถึงการตั้งถิ่นฐานที่มีอายุเก่าแก่มา แต่โบราณ รวมทั้ง รูปทรงของพระปรางค์ประธานที่มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมเช่นเดียวกันกับพระปรางค์วัด พระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ในการศึกษานี้จึงเห็นควรกาหนดอายุของพระปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ราชบุรี ให้อยู่ในสมัยก่อนอยุธยา.


226

ทั้งนี้ รูปแบบการวางผังพระปรางค์ที่วางเรียงกัน 3 องค์ ดัง กล่าวนั้นยังปรากฏมายังการ ก่อสร้าง “พระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์” ซึ่งตามหลักฐานประวัติศาสตร์กล่าวว่าสร้างขึ้นในสมัยพระ เจ้าอู่ทอง ดังเนื้อความดังนี้ “ศักราช 715 ปีมะเส็งเบญจศก (พ.ศ.1896) วันพฤหัสบดี เดือน 4 ขึ้น 1 ค่า เพลา 2 นาฬิกา 5 บาท ทรงพระกรุณาตรัสว่า ที่พ ระตาหนักเวียงเหล็กนั้น ให้สถาปนาพระวิหาร และพระมหาธาตุเป็นพระอาราม แล้วให้นามชื่อวัดพุทไธสวรรค์ ”32 ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงการวางผังของ องค์พระมหาธาตุก็ยังปรากฏร่องรอยของการวางผังแบบที่มีสิ่งก่อสร้างวางตัวเรียงกัน 3 องค์ ทว่า อาคารที่ขนาบข้างของพระปรางค์ประธานได้กลายเป็นอาคารทรงมณฑป ซึ่งสันนิษฐานว่ามีการซ่อม แก้ในชั้นหลัง แต่อย่างไรก็ต้องเป็นการซ่อมแก้รูปทรงในสมัยอยุธยานั่นเอง นอกจากนี้ ลั ก ษณะที่ ยั ง ปรากฏเด่ น ชั ด คื อ “พระมหาธาตุ วั ด พระราม” ซึ่ ง ในพระราช พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) กล่าวว่าสร้างขึ้นในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ดัง ใจความว่า “...ที่ถวายพระเพลิงสมเด็จพระรามาธิบดีที่พระองค์สร้างกรุงนั้นให้สถาปนาพระมหาธาตุ และพระวิหารเป็นพระอารามหลวงให้นามชื่อว่า วัดพระราม”33 จะเห็นได้ว่าข้อความชุดดังกล่าวนี้ เป็นความสับสนของผู้คัดลอก เนื่องจากในเนื้อหาก่อนหน้านั้นกล่าวว่ า “พระราเมศวรเจ้าผู้เป็นพระ ราชกุมารขึ้นเสวยราชสมบัติทรงพระนามชื่อพระบรมไตรโลกนาถ...”34 ซึ่งหากเปรียบเทียบข้อความ เดียวกันในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์กล่าวว่า “...จึงพระราชกุมารท่าน สมเด็จพระราเมศวรเจ้าเสวยราชสมบัติ ทรงพระนามสมเด็จพระบรมไตรโลกเจ้า”35 จึงทาให้เนื้อหาใน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ได้เขียนขยายความในกรณีการสถาปนา พระมหาธาตุวัดพระรามขึ้นโดยนาไปใส่ไว้เป็นเนื้อหาภายใต้รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่ง ความเป็ น จริงแล้ว วัดพระรามต้องถูกสร้ างขึ้นในสมัยสมเด็จพระราเมศวร ทั้งนี้ จะเห็ นได้ว่าพระ มหาธาตุประธานวัดพระรามนั้นก็มีการวางผังเป็นพระปรางค์ที่วางตัวเรียงกัน 3 องค์เช่นเดียวกัน จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า องค์พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างใน รัชกาลสมเด็จพระราเมศวรในปีพ.ศ.1931 นั้น อาจเป็น “พระปรางค์ประธานที่มีพระปรางค์คู่วางตัว ขนาบด้านข้าง” เนื่องจากการที่เรือนยอดของพระปรางค์ได้พังทลายลงมาในครั้งรัชกาลสมเด็จพระ 32

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 214. 33 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 219. 34 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 219. 35 “พระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เ ษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 215.


227

เจ้าทรงธรรม อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่พระปรางค์คู่ด้านข้าง จนเมื่อมีการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้ง ใหญ่ในปีพ.ศ.2176 ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ซึ่งในการปฏิสังขรณ์ครั้งนั้นมีการรื้อพระ ปรางค์บางส่วนออกจนถึงระดับฐานราก ดังปรากฏกล่าวถึงความว่า เมื่อสองสามเดือนที่แล้วพระองค์ ศรีธรรมราชาธิราชได้ทรงให้รื้อวัดจนถึงฐานและทรงย้ายรูปหล่อทองแดงซึ่งประดิษฐานอยู่นั้นออกไป ไกลหลายวา เพื่อที่จะสร้างวัดใหม่ ณ ที่ประดิษฐานรูปหล่อทองแดง...”36 แต่ไม่ได้รื้อทั้งองค์เนื่องจาก ชุดฐานที่ก่อด้ว ยศิลาแลงซึ่งเป็น ฐานเดิมยังเป็นประจักษ์ การบูรณปฏิสังขรณ์ดังกล่ าวจึงเป็น การ ปรับแก้รูปทรงของพระมหาธาตุให้มีความสูงเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการก่อเพิ่มความยาวของมุขก่อด้วยอิฐ เข้าไปชนกับโครงสร้างเรือนธาตุเดิมที่ก่อด้วยศิลาแลงตามสุนทรียภาพใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไป จึงอาจ เป็นเหตุให้มีการก่อสร้างทับลงบนฐานของพระปรางค์บริวารที่เคยขนาบข้างของพระปรางค์ประธาน อยู่ก็เป็นได้ ทั้งนี้ หากมีวิทยาการที่มีความก้าวหน้าในการสารวจ หรือมีโครงการบูรณะและสารวจทาง โบราณคดี หากได้พิสูจน์ทราบว่าลักษณะการวางผังของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างนั้นมี ลักษณะเป็นเช่นไรก็จะเกิดประโยชน์ต่อวงวิชาการอีกไม่น้อย

ภาพที่ 116: แสดงแบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา เมื่อแรกสถาปนาใน ปี พ.ศ. 1931 ในรัชกาลสมเด็จ พระราเมศวร พ.ศ. 1931 (ภาพซ้าย) ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ประธานองค์เดียว (ภาพขวา) ในกรณีที่เป็นพระ ปรางค์ประธาน และมีปรางค์บริวารขนาบด้านข้าง ทั้งนี้จากข้อมูลแวดล้อมที่กล่าวมาข้างต้น จึงเสนอว่า พระศรีรตั น งของพระปรางค์ พระศรีทัร้งัตทีนมหาธาตุ อยุปธระธานองค์ ยา เดียว และมี มหาธาตุ- อยุธความสู ยาในระยะแรกสร้ างนั้น อาจเป็ปนระธานวั ไปได้ทั้ง 2ดแนวทาง ่เป็นพระปรางค์ ลักษณะเป็นพระปรางค์ 3 องค์ เช่น พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี, พระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ และพระมหาธาตุวัด 36 “พระราชพงศาวดารอยุ ธยา ฉบับวันวลิต ”.เพิใน นทึกประวั พระราม ซึ่งจาเป็นต้องสารวจทางโบราณคดี ่มเติรวมบั มจากสมมติ ฐานดัตงิศกล่าสตร์ าว อยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้า 247.


228

“พระศรีรัตนมหาธาตุ ” หรือ “พระปรางค์ประธาน” ตั้งอยู่ในตาแหน่งเกือบจะศูนย์กลาง ของผังบริเวณภายในระเบียงคด มีลักษณะเป็นสถูปทรงปรางค์ยกฐานสูง หันหน้าไปทางทิศตะวันออก สภาพปัจจุบันปรักหักพังจากการที่เรือนยอดพังทลายลงมาจนถึงชั้นเรือนธาตุ ผั งพื้นของพระศรีรัตนม หาธาตุมีลักษณะเป็นผังเหลี่ยมย่อมุมโดยมีสัดส่วนของมุมประธานขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่ สาคัญของพระปรางค์ในสมัยอยุธยาตอนต้น มีชุดฐานแบบฐานบัวคว่า-บัวหงายแบบที่ท้องไม้มีบัวลูก ฟัก37 ซ้อนกัน 3 ชุดซึ่งซ้อนอยู่บนฐานไพทีขนาดใหญ่ จากการสารวจรังวั ดพบว่า ชุดฐานจะมีความสูง ประมาณ 8 เมตร ทั้งนี้พบว่า มีการก่ออิฐเข้าไปชนกับตัวเรือนธาตุเดิมที่ก่อด้วยศิลาแลงเป็นมุขยื่น ออกไปทั้งสี่ทิศและมีบันไดขึ้นสู่เรือนธาตุทั้งสี่ทิศ แต่เฉพาะมุขด้านทิศตะวันออกเพียงมุขเดียวเท่านั้นที่ สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่บริเวณศูนย์กลางของเรือนธาตุ หรือที่เรียกว่า “ครรภธาตุ” จากที่กล่าวมาข้างต้นว่า การสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาได้รับแรงบันดาลใจจากพระ ศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ทั้งนี้จากการสารวจรังวัดพระปรางค์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ได้ ความสู งตั้งแต่ร ะดับ พื้น ดิน ถึงจอมโมลี ประมาณ 28 เมตร 38 หรือประมาณ 14 วา ย้อนกลั บมา พิจารณาจากหลักฐานพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาที่กล่าวถึงความสูงของพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยาว่ามีความสูงตั้งแต่ฐานถึงจอมโมลี 19 วา และยอดนพศูลสูง 3 วา ทั้งนี้ ความสูงของพระศรีรัต นมหาธาตุอยุธยายังถูกกล่าวถึงอีกครั้งในช่วงรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองด้วย จึงทาให้ค่อนข้าง แน่ใจได้ว่าสัดส่วนที่กล่าวมานั้นเป็นความสูงของพระปรางค์ประธานวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา อย่างแน่นอน ทั้งนี้ หากเทียบเป็นมาตราวัดสากลนั้นจะเทียบได้ประมาณ 38 เมตร หรือมีความสูงประมาณ ตึก 12 ชั้นในสมัยปัจจุบัน และมีความสูงของยอดนพศูลประมาณ 6 เมตร โดยเฉพาะลักษณะการซ้อน ชุดฐานบัวลูกฟักซ้อนกัน 3 ชั้น ทาให้กลายเป็นองค์เรือนธาตุนั้นตั้งเทินอยู่บนฐานที่สูงประมาณ 9.50 เมตร39 เพราะฉะนั้นความสูงของตัวเรือนจนถึงยอดจอมโมลีควรจะมีความสูงประมาณ 28.5 เมตร ซึ่ง เมื่อน าความสู งที่ได้จ ากการส ารวจรั งวัด แล้ ว นามาหั กลบกับความสู งที่กล่ าวถึงไว้ในเอกสารทาง ประวัติศาสตร์ดังกล่าวนั้นจึงนามาสู่การสันนิษฐานรูปแบบของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา

37

ดูคาอธิบายเพิ่มเติมใน สันติ เล็กสุขุม. “ก่อนที่จะปรากฏในศิลปะไทย และก่อนที่จะหายไปในที่สุด : ฐานบัวลูก ฟัก” ใน งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้า 180-193. 38 ข้อมูลจากการสารวจรังวัดด้วยเครื่องวัดระยะด้วยการสะท้อนแสงเลเซอร์ Laica Disto D5 เมื่อวันที่15 มิถุนายน พ.ศ. 2556. 39 ข้อมูลจากการสารวจรังวัด.


229

ภาพที่ 117: แบบสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบสัดส่วนและความสูงของพระมหาธาตุ ลพบุรี (ซ้าย) มีระยะความกว้าง รวมของฐานด้านหน้า ประมาณ 15.52 เมตร สูง ประมาณ 28 เมตร ซึ่งได้ข้อมูลจากการสารวจรังวัด และพระศรีรัต นมหาธาตุอยุธยา (ขวา) ซึ่งได้ข้อมูลในการทาแบบสันนิษฐานจากการสารวจรังวัด และการข้อมูลความสูงจากพระราช พงศาวดาร ทั้งนี้มีระยะความกว้างรวมของฐานด้านหน้า 22.03 เมตร และความสูงประมาณ 38 เมตร

ทั้งนี้ อาจารย์พิชญา สุ่มจินดา ให้ข้อเสนอว่า การซ้อนฐานสูงดังกล่าวนั้นได้รับอิทธิพลมาจาก ปราสาทพระปิถุ X ในกลุ่มปราสาทพระปิถุ ซึ่งสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 8 (ครองราชย์ระหว่างพ.ศ.1813-1838) ซึ่งเป็นปราสาทที่ยกฐานสูงแตกต่างไปจากปราสาทหลังอื่นๆ ใน เมืองพระนครที่สร้างขึ้นก่อนหน้า40 ซึ่งอาจจะส่งอิทธิพลมาสู่การออกแบบพระวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยาก็เป็นได้ แต่ทั้งนี้ ก็จะเป็นต้องพิจารณาเงื่อนไขการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุจึงมีความ จาเป็นต้องสร้างชุดฐานซ้อนชั้นสูง จึงทาให้ลักษณะการซ้อนฐานสูงดังกล่าวนั้นไปพ้องกับปราสาท พระปิถุด้วยก็เป็นได้ อย่างไรก็ดี เมื่อมีการศึกษาลักษณะทางสถาปัตยกรรมของปราสาทหินในเมือง พระนครโดยละเอี ย ดจะพบว่ า มี ป ราสาทอี ก หลายองค์ ที่ ส ร้ า งในลั ก ษณะยกฐานสู ง แต่ ท ว่ า มี องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมอื่นๆ อยู่ร่วมด้วย จึงทาให้คุณลักษณะของการเป็นปราสาทยกฐานสูง ไม่ได้แสดงออกมาอย่างชัดเจนนัก ดังตัวอย่างของ พระปรางค์ประธานของปราสาทนครวัด เป็นต้น 40

พิ ช ญา สุ่ ม จิ น ดา. “สถู ป จ าลองบรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ จ ากกรุ ป รางค์ ป ระธานวั ด มหาธาตุ จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา: ภาพสะท้อนพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์สมัยต้นอยุธยา” ใน ประวัติศาสตร์ศิลปะบันดาล ใจ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์. 2557. หน้า 199.


230

ภาพที่ 118: ปราสาทพระปิถุ X ซึ่งเป็นปราสาทจัตุรมุขยกฐานสูง (ภาพซ้าย) แสดงภาพรวมของปริมาตรของตัว ปราสาทที่ยกฐานสูง และมีทางเข้าทั้ง 4 ด้าน (ภาพขวา) แสดงบันไดทางขึ้นปราสาทพระปิถุ X

ภาพที่ 119: แบบแสดงลักษณะทางสถาปัตยกรรมของปราสาทนครวัด จะเห็นได้ว่าเมื่อแสดงข้อมูลของลักษณะทาง สถาปัตยกรรมด้วยภาพตัด (Section) จะเห็นว่าพระปรางค์ประธานก็ถูกออกแบบให้เป็นปราสาทยกฐานสูง ทว่าเมื่อ มองในภาพรวมจะถูกส่วนระเบียงคด และอาคารหลังอื่นๆบัง ทาให้เห็นเฉพาะส่วนเรือนยอดเท่านั้น


231

- กรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ในประเด็นเรื่องกรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุภายในพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธ ยานั้น ศาสตราจารย์ ดร. พิริยะ ไกรฤกษ์ ให้ข้อคิดเห็นว่าเมื่อพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทคณะมหาวิหาร เข้ามามีบทบาทต่อการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ในการนั้นได้นาเอารูปทรงสถูปทรงลังกาเข้ามาด้วย ดังจะเห็นได้จากสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ขนาดต่างๆ ที่สวมครอบกันเป็นชั้ นๆ ในกรุวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา นอกจากนี้ ส่วนยอดของ สถูปทองคาองค์ใหญ่สุดนั้นยังตกแต่งด้วยยอดนพศูลซึ่งสะท้อนถึงประเพณีนิยมของกัมพูชาที่ยังคง หลงเหลืออยู่ 41 ทั้งนี้ แนวคิดดังกล่าวได้ถูกขยายความเพิ่มเติมในการศึกษาของอาจารย์พิชญา สุ่ม จินดา ทั้งนี้ เมื่อศึกษาเปรียบเทียบกรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของเจดีย์ต่างๆ ในลังกาซึ่งอยู่ ในช่วงเวลาที่มีความสัมพันธ์กับการประดิษฐานในดินแดนลุ่มน้าเจ้าพระยา ซึ่งประเภทของกรุแบบ ต่างๆนั้นได้ศึกษาไว้โดย Professor Dr. Roland Silva พบว่า มีลักษณะของกรุที่ซ้อนกันหลายชั้น ทั้งนี้ พิ จ ารณาตามแบบสถาปั ตยกรรมภาพตัด (Section) ของกรุแบบต่างๆ ในภาพที่ 120 ซึ่งมี ลักษณะที่เชื่อได้ว่าได้ส่งอิทธิพลมายังการสร้างกรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและเครื่องบูชาต่างๆ ในดินแดนลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา หากแต่รูปทรงของสถูปนั้นในดินแดนลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาได้เลือกใช้ รูปทรงสถูปทรงปรางค์ที่เป็นรูปทรงอันศักดิ์สิทธิ์ตามคติความเชื่อที่มีอยู่ในพื้นที่มาก่อนหน้าตั้งแต่เมื่อ คราวสมัยก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา

ภาพที่ 120: ภาพตัดแสดงตาแหน่งกรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่อยู่ลึกลงไปจากห้องครรภธาตุในเรือนธาตุ 17 เมตร ทั้งนี้ในห้องครรภธาตุ ในเรือนธาตุนั้นประดิษฐานเจดีย์จาลองที่มีฐานรูปแปดเหลี่ยมเป็นสัญลักษณ์ถึง ตาแหน่งที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ 41

พิริยะ ไกรฤกษ์. กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพ. 2555. หน้า 102.


232

ภาพที่ 121: ภาพตัดแสดงตาแหน่งกรุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่อยู่ลึกลงไปจากห้องครรภธาตุในเรือนธาตุ 17 เมตร ทั้งนี้ในห้องครรภธาตุในเรือนธาตุนั้นประดิษฐานเจดีย์จาลองที่มีฐานรูปแปดเหลี่ยมเป็นสัญลักษณ์ถึงตาแหน่งที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ

ภาพที่ 122: พระบรมสารีริกธาตุประดิษฐานอยู่ในผอบที่ทาด้วยของ มีค่าชนิดต่างๆ ดังนี้ จากซ้ายไปขวา สถูปทาด้วยชิน, สถูปทาด้วย สาริด, สถูปทาด้วยทองคา, สถูปทาด้วยหินสีดาขัดมัน, สถูปทาด้วย ไม้จันทร์ และชั้นสุดท้ายเป็นตลับทองคาและแก้วมีค่ า ชนิด ต่ า งๆ (ภาพขยายด้านซ้ายมือ) ที่มาของภาพ:


233

-

ชั้นอัสดงของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนา

เนื่องจากว่าพระมหาธาตุองค์เดิมเมื่อแรกสถาปนานั้นได้พังทลายลงมาจนถึงชั้นอัสดง คาถาม ที่มีต่อลักษณะทางสถาปัตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาอีกประการหนึ่ง คือ ลักษณะการประดับ ตกแต่งชั้นอัสดงของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาควรเป็นอย่างไร ในการนี้ หากพิจารณาพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีที่สร้างขึ้นก่อนหน้า และเป็นแม่แบบสาคัญ ให้แก่พระมหาธาตุองค์ต่างๆ ในลุ่มน้าเจ้าพระยานั้น จะเห็นได้ว่าชั้นอัสดงซึ่งถือว่าเป็นชั้นหลังคาชั้น แรกที่อยู่เหนือเรือนธาตุขึ้นไปนั้น ซึ่งจะต่อขึ้นไปด้วยเรือนยอดชั้นถัดไปที่จะต้องลดขนาดของผังลง เพื่อรวบให้ยอดนั้นเป็นกระพุ่ม จึงจะเห็นได้ว่าพื้นที่ชั้นอัสดงที่เรือนยอดชั้นต่อไปเทินอยู่นั้นจะมีพื้นที่ ว่างเหลืออยู่จึงมีการออกแบบเป็นกลีบขนุนซึ่งมีความหมายเป็นดั่งซุ้มวิมานชั้นต่างๆ ของสรวงสวรรค์ ทว่าด้วยพื้นที่ที่ติดตั้งกลีบขนุนนั้นอยู่ตรงมุมที่ต้องมองได้จากทิศทางต่างๆ จึงออกแบบวิมานดังกล่าว ให้มีลักษณะพับครึ่ งหั กมุมสัมพันธ์กับพื้นที่ที่ติดตั้ง อย่างไรก็ดี ในพระปรางค์ที่มีขนาดเล็ ก หรือมี พัฒนาการต่อมาในชั้นหลังความหมายของการเป็นวิมานได้เลือนไป เนื่องจากพื้นที่บนผิวหน้าของกลีบ ขนุนที่จะสามารถนาเสนอข้อมูลอย่างตรงไปตรงมาได้นั้นมีขนาดเล็กลง ในการนี้ จึงมีการลดรูปที่ ซับซ้อนลงเหลือเป็นรูปทรงนามธรรมดังที่ปรากฏนั่นเอง อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยากับพระศรีรัตนม หาธาตุลพบุรีก็เห็นจะมีข้อเสนอว่า การตกแต่งชั้นอัสดงของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาควรตกแต่ง ด้วยกลีบขนุนเช่นเดียวกัน หากแต่ว่ามีข้อขัดแย้งที่ทาให้ต้องเปิดมุมมองของการสันนิษฐานเพิ่มเติมอีก มุมมอง คือ เนื่องจากว่าพระมหาธาตุวัดพระรามซึ่งสร้างในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรเช่นเดียวกันนั้น ก็มีการออกแบบตกแต่งตรงชั้นอัสดงด้วยประติมากรรมรูปครุฑบนมุมประธาน และมุมย่อยตกแต่ง ด้วยประติมากรรมรูปเทวดาประทับยืน ทั้งนี้ ในสถานภาพความรู้ปัจจุบันยังไม่มีข้อเสนอใดๆ ว่าการ ตกแต่งชั้นอัสดงของพระมหาธาตุวัดพระรามที่เป็นรูปครุฑกับเทวดานั้นเกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อแรกสถาปนา องค์พระปรางค์หรือไม่ หรือมีการซ่อมแก้ใหม่ในการบูรณปฏิสังขรณ์ในชั้นหลัง เนื่องด้วยข้อมูลที่บ่งชี้ดังกล่าวนั้นยังไม่มีมากพอที่จะชี้ชัดได้ เมื่อนามาศึกษาเปรียบเทียบ กลับมายังกรณีศึกษาของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเกี่ยวกับการตกแต่งชั้นอัสดงของพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยาว่ามีโอกาสจะเป็นได้ทั้ง 2 แนวทาง คือ การตกแต่งด้วยกลีบขนุนเช่นเดียวกับพระศรีรัตนม หาธาตุลพบุรีที่เป็นแรงบันดาลใจ หรืออาจจะตกแต่งด้วยประติมากรรมรูปครุฑและเทวดาเช่นเดียวกับ พระมหาธาตุวัดพระรามที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระราเมศวรเช่นเดียวกัน จนกว่าจะมีการศึ กษาและ สามารถบ่งชี้ได้ว่าประติมากรรมตกแต่งบนชั้นอัสดงของพระมหาธาตุวัดพระรามนั้นถูกสร้างขึ้นมา พร้อมกับองค์พระปรางค์หรือไม่


234

.

ภาพที่ 123: การตกแต่งชั้นอัสดงของพระมหาธาตุต่างๆ ที่สถาปนาขึ้นก่อนหน้า และร่วมสมัยกับ พระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยา (ซ้าย) การตกแต่งชั้นอัสดงพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีด้วยกลีบขนุน (กลาง) การตกแต่งชั้นอัสดงพระ มหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ด้วยกลีบขนุน (ขวา) การตกแต่งชั้นอัสดงพระมหาธาตุวัดพระรามด้วยประติมากรรมปูนปั้น รูปครุฑที่ตาแหน่งมุมประธาน และมุมรองตกแต่งด้วยกลีบขนุนปั้นตกแต่งด้วยรูปเทวดา

ภาพที่ 124: แบบสถาปัตยกรรมเปรียบเทียบพระปรางค์ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างในประเด็นการ ตกแต่งชั้นอัสดง ภาพทางซ้ายมือ คือ การตกแต่งชั้นอัสดงด้วยการใช้กลีบขนุนเช่นเดียวกับ พระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุ รี ส าหรั บ ภาพทางขวามื อ คื อ การตกแต่ งชั้ น อั ส ดงโดยใช้ ป ระติ ม ากรรมรู ป ครุ ฑ และเทวดาประทับยืน เช่นเดียวกับการตกแต่งพระมหาธาตุวัดพระรามซึ่งสร้างในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรเช่นเดียวกัน


235

- การตกแต่งสันหลังคามุขทิศตะวันออกของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อ แรกสถาปนา สืบเนื่องจากพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างมีการยื่นมุขทิศด้านตะวันออกมายาวก ว่ามุขด้านอื่นๆ ซึ่งอีกสามด้านที่กล่าวถึงนั้นทาหน้าที่เป็นเพียงมุขสัญลักษณ์ หาได้เป็นทางเข้าสู่ห้อง ครรภธาตุเช่นมุขทางด้านตะวันออกไม่ ทั้งนี้ จึงนาไปสู่คาถามที่ว่า “บนสันหลังคาของมุขทิศด้านตะวันอกของพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยานั้นเคยมีสถูปขนาดเล็กตั้งอยู่หรือไม่ ” เนื่องมาจากพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ที่ก่อสร้างก่อน หน้านั้นก็มีหลักฐานไม่เพียงพอที่จะกล่าวว่ามีหรือ ไม่มีการสร้างสถูปบนสันหลังคามุขทิศตะวันออก เนื่องจากสันหลังคามุขทิศได้พังถล่มลงมา ซึ่งประเด็นดังกล่าวนั้นอาจทาให้สันนิษฐานได้ว่า พระศรีรัต นมหาธาตุลพบุรี อาจเคยมีการสร้างสถูปขนาดย่อมอยู่บนสันหลังคามุขด้านตะวันออกได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งสถูปดังกล่าวนั้นอาจจะเป็นสถูปยอดปรางค์ เนื่องจากสันหลังคาของมุขได้พังถล่มลงมาในขณะที่บัน แถลงด้านข้างของมุขนั้นยังคงสภาพอยู่ สะท้อนให้เห็นถึงน้าหนักกดทับจานวนมหาศาลที่กดลงบนสัน หลังคาที่ตั้งอยู่เหนือช่องเปิดโล่งของโถงทางเดินมุขนั่นเอง นอกจากนี้ ยังมีพระมหาธาตุในสมัยอยุธยา ตอนต้นอีกหลายองค์ที่มีหลักฐานบ่งชี้ว่ามีการสร้างสถูปขนาดเล็กรูปทรงต่างๆ อยู่บนสันหลังคามุขทิศ ด้านตะวันออก เช่น พระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ซึ่งมีสถูปทรงเจดีย์เหลี่ยมย่อมุม แต่น่าสันนิษฐานว่า รูปทรงสถูปแบบเจดีย์แบบเหลี่ยมย่อมุมดังกล่าวนั้นเป็น ผลงานการบูรณปฏิสังขรณ์ในภายหลังจึงมี การเปลี่ยนแก้รูปทรง เนื่องจากเจดีย์รูปทรงสี่เหลี่ยมย่อมุมดังกล่าวนั้นมีการก่อสร้างแพร่หลายในชั้น หลัง หรืออาจจะมีการสร้างสถูปทรงสี่เหลี่ยมย่อมุมดังกล่าวขึ้นใหม่ในภายหลังก็อาจจะเป็นได้ด้วย เช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม ยังมี “พระมหาธาตุวัดพระราม” ที่สร้างขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระราเมศวร เช่นเดียวกันนั้นก็มีการสร้างสถูปทรงพระปรางค์บนสันหลังคามุขทิศด้วยเช่นกัน (ดูภาพที่ 126) จากข้อมูลแวดล้อมที่กล่าวมาข้างต้น จึงเปิดโอกาสให้มีข้อสันนิษฐานได้ 2 ประเด็น คือ บน สันหลังคามุขทางด้านทิศตะวันออกของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาอาจจะมี หรืออาจจะไม่มีสถูปทรง ปรางค์บนสันหลังคามุขทิศตะวันออกก็เป็นไปได้ทั้ง 2 แนวทาง คือ “ไม่มีสถูปทรงปรางค์บนสันหลังคา มุขทิศตะวันออก” หรือ “มีสถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุขทิศตะวันออก” เช่นเดียวกับพระมหาธาตุ วัดพุทไธศวรรย์ หรือพระมหาธาตุวัดพระรามที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระราเมศวรเช่นเดียวกัน


236

ภาพที่ 125: พระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี อาจเคยมีพระสถูปทรงปรางค์ตั้งอยู่บนสันหลังคาด้วยก็อาจเป็นได้ เนื่องจาก สภาพในปัจจุบันหลังคาส่วนมุขได้พังทลายลงมาจึงเปิดโอกาสให้จินตนาการบนหลักฐานที่ปรากฏ ในที่นี้ ภาพทางซ้าย จึงเป็นแบบสถาปัตยกรรมแสดงรูปด้านข้างแสดงให้เห็นถึงพระสถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุขด้านทิศตะวันออก

ภาพที่ 126: ภาพถ่ายเก่าของพระมหาธาตุวัดพระราม ดังจะเห็น ภาพที่ 127: พระมหาธาตุวัดราชบูรณะมีสถูป ได้ว่ามุขทางด้านตะวันออกนั้นมีสถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุข ทรงเจดี ย์ บ นสั น หลั งคามุ ข ด้ า นหน้ า ทางทิ ศ ตะวันออก


237

ภาพที่ 128: แบบสถาปัตยกรรมแสดงรูปด้านข้างของพระมหาธาตุวัดราชบูรณะมีสถูปทรงเจดีย์บนสันหลังคามุข ด้านหน้าทางทิศตะวันออก

ภาพที่ 129: แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานเพื่อเปรียบเทียบพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างในประเด็นว่า ด้วย “สถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุขทิศตะวันออก” ภาพทางซ้ายมือ คือ แบบสันนิษฐานของพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างแบบไม่มีมุขบนสันหลังคา สาหรับภาพทางขวามือ คือ แบบสันนิษฐานของพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างแบบมีสถูปทรงปรางค์อยู่บนสันหลังคามุข


238

นอกจากนี้ หากว่าพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเคยมีพระสถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุขทิศ ด้านตะวันออกเช่นเดียวกันกับพระมหาธาตุวัดพระรามนั้น ก็ยิ่งเป็นที่น่าสนใจและอาจจะเป็นคาตอบ ถึงการก่อสร้างพระมหาธาตุวัดราชบูรณะในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าสามพระยาซึ่งมีการก่อสร้างสถูป ขนาดเล็กทรงเจดีย์อยู่บนสันหลังคามุขทิศด้านตะวันออกด้วย (ดูภาพที่ 4-13) กล่าวคือ อาจตีความได้ว่าในการก่อสร้างพระมหาธาตุวัดราชบูรณะในสมัยเจ้าสามพระยาที่ ทาให้แกนที่พุ่งตรงไปยังพระราชวังหลวงนั้นชัดเจนมากขึ้น โดยมีพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และพระ มหาธาตุวัดราชบูรณะขนาบข้างกันด้วยการออกแบบสร้างสรรค์ด้วยความจงใจ ผ่านรูปทรงปรางค์ และขนาดที่ใกล้เคียงกัน เพราะฉะนั้นจึงมีการออกแบบพระสถูปบนสันหลังคามุขทิศตะวันออกของ พระปรางค์วัดราชบูรณะให้เป็นทรงเจดีย์ เพื่อแสดงความแตกต่างในแง่สัญลักษณ์และความหมายของ พระมหาธาตุสององค์ที่มีความหมายที่แตกต่างกันเมื่อพินิจพิจารณาในรายละเอียดนั่นเอง

O ลักษณะทางสถาปัตยกรรมพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อได้รับการบูรณ ปฏิสังขรณ์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง จากที่กล่าวมาข้างต้นถึงข้อสันนิ ษฐานเกี่ยวกับรูปทรงทางสถาปัตยกรรมของพระศรี รัตน มหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนาที่ได้จากการศึกษาเปรียบเทียบกับพระมหาธาตุองค์อื่นๆ ว่า การวาง ผังอาจมีลักษณะเป็นพระปรางค์ที่วางเรียงตัวกัน 3 องค์ ทั้งนี้ มุขด้านหน้าทางทิศตะวันออก และมุข ด้านหลังทางทิศตะวันตกนั้นน่าจะยื่นยาวมากกว่ามุขด้านข้างทางทิศเหนือ และทิศใต้ ซึ่งบนสันหลังคา มุขที่ยื่นยาวทางด้านตะวันออกและตะวันตกอาจเคยมีเรือนยอดเป็นพระปรางค์ทิศด้วย ส าหรั บ การศึกษาในส่ ว นนี้ ผู้ วิจั ย ใช้เอกสารประวัติ ศาสตร์ 3 กลุ่ มหลั ก คือ 1) เอกสาร ประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา อันได้แก่ พระราชพงศาวดารอยุธยาฉบับต่างๆ ที่กล่าวถึงข้อมูลแวดล้อม เกี่ยวกับการบูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุ ทั้งที่มามูลเหตุ และช่วงเวลา เพื่อนามากาหนดอายุ ของรูปแบบสถาปัตยกรรมและเหตุการณ์แวดล้อมร่วมสมัย 2) เอกสารต่างชาติซึ่งนักเดินทาง และ คณะทูตที่เข้ามาเยี่ยมชมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุได้กล่าวไว้ เช่น เอกสารคณะทูตลังกาที่มาสืบพระ ศาสนาในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ 3) ภาพถ่ายเก่าต่างๆ ก่อนที่พระศรีรัตนมหาธาตุได้พังทลายลง มา ผสานกับการสารวจรังวัดด้วยเครื่องมือมาตรฐาน คือ การใช้ตลับเมตรสาหรับวัดระยะ และการใช้ เครื่องมือสมัยใหม่ คือ กล้องสารวจเลเซอร์แสกนเนอร์สามมิติ (3Ds Laser Scanner) จากการประมวลเอกสารทางประวั ติ ศาสตร์ ต่า งๆ ข้างต้น สรุปข้อมูล เกี่ย วกั บ การบู ร ณ ปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาได้ดังต่อไปนี้ คือ จากเหตุการณ์ที่พระศรีรัตนมหาธาตุพังทลาย ลงมาของตัว เรื อนยอดพระมหาธาตุ จ นถึงชั้นอัส ดงในปี พ.ศ.2153 ทั้งนี้ส รุปความจากเหตุการณ์ สืบเนื่องในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม กล่าวคือ ในศักราช 968 ปีมะเมียศก (พ.ศ.2149) หลักฐาน


239

ทางประวัติศาสตร์กล่าวว่าเป็นปีที่ทรงให้พูนดินหน้าวิหารแกลบไว้เป็นที่ถวายพระเพลิง 42 และโยงไป ต่อว่าในปีเดียวกันนั้น มีใบบอกจากเมืองสระบุรีว่า พรานบุนพบรอยเท้าอันใหญ่บนไหล่เขา พระเจ้า ทรงธรรมจึงเสด็จไปตรวจสอบ พบเป็นรอยพระพุทธบาทจึงโปรดให้ก่อพระมณฑปครอบรอยพระพุทธ ดังกล่าว และสร้างวัดที่เชิงเขา ทั้งนี้ในเอกสารประวัติศาสตร์ให้ข้อมูลว่าสร้างวัดพระพุทธบาทดังกล่าว นั้นอยู่ 4 ปีจึงแล้วเสร็จจากนั้นจึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานสมโภช 7 วัน43 ทั้งนี้ ในปีที่ได้ทรงสมโภชวัดพระพุทธบาท ซึ่งในเอกสารทางประวัติศาสตร์ได้กล่าวว่า “ทรง พระกรุณาเร่งรัดให้ช่างสร้างมรฎปพระพุทธบาท และอาวาสบริเวณทั้งปวงสี่ปีจึงสาเร็จ สมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นไปกระทาการเฉลิมฉลอง มีงานมหรสพสมโภช 7 วัน แล้วเสด็จกลับกรุงเทพมหานคร ในปีนั้นปรางค์วัดมหาธาตุทาลายลงจันทันครุฑพื้นอัศตงค์ ”44 ในการนี้ จึงสรุปได้ว่านับจากปีพ.ศ. 2149 คล้อยหลังมา 4 ปี คือปีพ.ศ.2153 เป็นปีที่พระศรีรัตนมหาธาตุพังทลายลงถึงชั้นอัสดง ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมและก็ไม่ได้บูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุ อาจ เนื่องมากจากพระราชทรัพย์จานวนมากได้หมดสิ้นไปกับการสร้างวัดพระพุทธบาทสระบุรี รวมไปถึง เมื่อพระองค์เสด็จ สวรรคตแล้ วบ้ านเมืองก็วุ่นวายจากการช่วงชิงราชสมบัติในรัชกาลสมเด็จพระ เชษฐาธิราชและสมเด็จพระอาทิตยวงศ์45 จนเวลาให้หลังไปถึง 23 ปี ในปีที่ 3 ของรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ปี พ.ศ.2173) จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์ส่วนยอดพระมหาธาตุที่พังทลายลงมาในปีพ.ศ. 2176 ทั้ ง นี้ มี พ ระราชวิ นิ จ ฉั ย ให้ แ ก้ ไ ขทรวดทรงของพระมหาธาตุ ใ ห้ สู ง เพรี ย วขึ้ น กว่ า เดิ ม ด้ ว ย สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลจากสุนทรียภาพอันเป็นความประทับใจในระเบียบและสัดส่วนของปราสาท นครวัดที่พระองค์ทรงส่งให้ช่างไปถ่ายอย่างมาด้วยก็เป็นได้ ทั้งนี้ความสูงเดิมของพระมหาธาตุ คือ 19 วา หรือเท่ากับประมาณ 38 เมตร โดยให้แก้สัดส่วนความสูงเป็นหนึ่งเส้นสองวา หรือเท่ากับประมาณ 44 เมตร สาหรับนพศูลใช้ของเดิมที่สูง 3 วา หรือประมาณ 6 เมตร นอกจากการซ่อมแก้สัดส่วนของเรือนยอดแล้ว ยังจะเห็นได้ว่ามีก่ออิฐเสริมเข้าไปชนกับศิลา แลงที่เป็ น โกลนของพระมหาธาตุองค์เดิ มซึ่งรูป ทรงแต่ เดิมนั้น มีการยกมุ ขเพื่อเป็ นทางเข้า สู่ ห้ อ ง 42

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 373. 43 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 373. 44 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 374. 45 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 375-377.


240

ครรภธาตุทางด้านทิศตะวันออกเพียงด้านเดียว ตัวเรือนธาตุทิศอื่ นๆ เป็นเพียงการยกเก็จ และทาเป็น ประตูหลอกเช่นเดียวกับพระมหาธาตุองค์อื่นๆ ทั้งนี้เมื่อมีการยื่นมุขทางด้านทิศใต้ และทิศเหนือนั้นก็ มีความจาเป็นต้องมีการเสริมชุดฐานพร้อมไปด้วยในคราวเดียวกัน ซึ่งการซ่อมแก้ตัวเรือนด้วยยกมุข ก่ออิฐเข้าไปชนกับโครงสร้างศิลาแลงของเดิ มนั้นยังทาหน้าที่ช่วยพยุงเรือนธาตุที่รับน้าหนักของเรือน ยอดให้มีความมั่นคงด้วย ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุมก็ได้สันนิษฐานเช่นกันว่า จัตุรมุขนั้นควรก่อขึ้นมาในคราวบูรณปฏิสังขรณ์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง46

ภาพที่ 130: มุมประธานของพระศรีรัตนมหาธาตุองค์เดิมสร้างด้วยศิลาแลง และมีการก่อมุขทิศด้วยอิฐออกมาเพื่อ ทาให้แผนผังของพระศรีรัตนมหาธาตุกลายเป็นแบบจัตุรมุขที่สมมาตร

การยกมุขดังกล่าวมานั้นยังเปิดโอกาสให้สามารถวางสถูปทรงปรางค์บนสันหลังคามุขทิศทั้ง 4 ด้านอีกด้วย การออกแบบเพื่อการบูรณปฏิสังขรณ์ดังกล่าวนับเป็นความสาเร็จขั้นสูงสุดประการหนึ่ง คือ การสร้างคุณลักษณะของความสมมาตรให้กับตัวองค์ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่แต่เดิมนั้นให้ ความสาคัญแต่ทางด้านทิศตะวันออกเพียงอย่างเดียว และยังทาให้ รูปแบบสถาปัตยกรรมของพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยา ซึ่งมีความหมายของการเป็น “พระมหาธาตุประจาเมือง” หรือที่ในเอกสารเก่า เรียกว่า “พระมหาธาตุหลักกรุง ” ที่ทาหน้าที่เป็น “หลักเป็นประธานของบ้านเมือง” มีรูปลักษณ์ที่ แตกต่างไปจากพระมหาธาตุสามัญที่มีการก่อสร้างขึ้นมากมายขึ้นด้วยนั่นเอง 46

สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2542. หน้าที่ 59-60.


241

ทั้งนี้ ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองซึ่งเป็นการเปลี่ยนราชวงศ์ และถือว่าเป็นจุดเริ่มต้น ของสมัยอยุธยาตอนปลายนั้น ความนิยมในการก่อสร้างพระมหาธาตุ หรือพระปรางค์เป็นประธาน ของวัดได้กลับมานิยมอีกครั้ง หลังจากที่ในสมัยอยุธยาตอนกลางนั้นหันไปนิยมก่อสร้างสถูปประธาน เป็นทรงเจดีย์แทน ทว่าพระปรางค์ที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองนี้จะเป็นพระปรางค์ที่ ให้ความสาคัญกับการออกแบบอย่างสมมาตร ด้วยได้รับรสนิยมและสุนทรียภาพต่อความงามอย่าง ใหม่จากการส่งช่างไปถ่ายแบบปราสาทที่เมืองพระนครหลวง ดังตัวอย่างของพระมหาธาตุวัดไชย วัฒนารามที่องค์พระปรางค์นั้ นมีผังเป็นจัตุรมุขที่แสดงความสมมาตรมากขึ้นกว่าพระปรางค์ในสมัย อยุธยาตอนต้นที่เน้นความสาคัญที่มุขทิศด้านหน้าหรือด้านทิศตะวันออกเพียงอย่างเดียว ในราวปี พ.ศ.2294 ในรั ช กาลพระเจ้าอยู่หั ว บรมโกศมี คณะทูตจากลั ง กาเดินทางมาของ พระสงฆ์สยามเพื่อสืบพระพุทธศาสนาจากกรุงศรีอยุธยากลับไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในเกาะลังกา กล่าวคือ พระเจ้าเกียรติศิริราชสิงหะ มีรับสั่งให้สามเณรสรณังกรแต่งพระราชสาส์นเป็นภาษามคธมา ถวายพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แล้ วแต่งข้าราชการชาวสิงหลเป็นทูตานุทูต 5 นาย เชิญพระราชสาส์น และเครื่องบรรณาการมายังกรุงศรีอยุธยา 47 ในครั้งนั้นคณะทูตานุทูตได้เข้าเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และได้เข้าเยี่ยมชมวัดวาอารามต่างๆ ที่ถือว่าเป็นหน้าเป็นตาของพระนคร ซึ่งรวมทั้งวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยาด้วย ทั้งนี้ เอกสารบันทึกการเดินทางของคณะทูตลังกานี้มีคุณประโยชน์อย่างสูงยิ่งต่อการศึกษา ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา เนื่องจากมีการพรรณนาข้อมูลทาง สถาปัตยกรรมความว่า “....ถึงวันอาทิตย์ที่ 21 กันยา ตามสุริยคติ เวลาเช้า ข้าราชการไทย 3 คน พา เรือมารับทูตานุทูตไปยังวัดมหาธาตุวราราม อยู่ที่ตาบลเรียกว่าหน้าพระธาตุ วัดนี้สร้างในที่ราบรื่น มี กาแพงล้อมทั้ง 4 ด้าน นอกกาแพงมีคลองเป็นคู ตั้งแต่ท่าหน้าวัดด้านตะวันออกมีฉนวนหลังคา 2 ชั้น ยืนยาวเข้าไปจนถึงประตูวัด เมื่อเข้าประตูวัด แลดูทั้ง 4 ด้านมีพ ระเจดีย์ปิดทอง 8 องค์ ระหว่างพระเจดีย์ตั้งพระพุทธรูป แลมีหลังคา 2 ชั้น ทั้ง 4 ทิศ ในวิหารมีพระพุทธรูปใหญ่นั่งจรดถึงเพดาน ภายในที่ซึ่งพระเจดีย์แล วิหารทั้ง 4 ล้อมอยู่นั้น ตรงศูนย์กลางเป็นองค์พระมหาธาตุ 5 ยอด มีบันไดขึ้นไปถึงซุ้มที่องค์พระ มหาธาตุ ตรงชั้นบัลลังก์ทั้ง 4 มุมปั้นรูปภาพต่างๆ ตั้งไว้ คือ รูปครุฑ รูปจตุโลกบาล รูปโทวาริกถือดาบ รูปรากษสถือตระบองสั้น แลรูปพิราวะยักษ์ถือตระบองยาว เป็นต้น ยอดพระมหาธาตุนั้นเป็นทองทั้งแท่ง บันไดหลังพนักทั้ง 2 ข้างเป็นนาคราชตัวโตเท่าลาตาล เลื้อยลงมา ศีรษะแผ่พังพานประดับกระจกอยู่เชิงบันได อ้าปากมีเขี้ยว ใครเห็นก็เป็นที่พึงกลัว รอบ ฐานพระมหาธาตุยังมีรูปสัตว์ตั้งเรียงรายรอบไป คือ รูปราชสีห์ รูปหมี รูปหงส์ รูปนกยูง รูปกินนร รูป 47

“จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่อง ประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. หน้า 127.


242

โค รูปสุนัขป่า รูปกระบือ รูปมังกร แลยังมีรูปโทวาริกถือดาบบ้าง ถือวัชนีบ้าง ถือจามรบ้าง ถือฉัตร บ้าง นอกจากนี้ ยังมีรูปภาพถือเครื่องพุทธบูชาต่างๆ อีกเป็นอันมาก ที่หน้าบันซุ้ม ปั้นเป็นลายรูปพระ พรหม พระสักระ พระสุยามเทพ ล้วนปิดทองทั้งสิ้น ในพระวิหารด้านตะวันออกมีพระพุทธรูปนั่งหันพระพักตร์เข้าไปทางพระมหาธาตุ แลมีรูป พระอัครสาวกอยู่ทั้ง 2 ข้าง ในวิหารนี้มีพระพุทธรูปทรงบาตรด้วยอีกพระองค์ 1 อีกวิหารต้องขึ้นบันได หลายขั้น ในวิหารนั้นมีพระพุทธรูปหลายพระองค์ แลมีรอยพระพุทธบาทจาลองด้วย 2 รอย พระวิห ารด้านตะวั น ตกมี พระพุ ทธรูป 3 องค์ อีกวิห าร 1 มี พระพุทธรูปปางเสด็ จ สี ห ไสยาสน์อยู่ในพระคันธกุฎี มีรูปพระอานนท์นั่งถือเชิงเทียนทองด้ว ยพระหัตถ์ขวา ฝาผนังเขียนเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก แลเรื่องปฐมสมโพธิ์ รูปภาพที่เขียนนั้นล้วนปิดทองทั้งนั้น นอกกาแพงบริเวณวิหารที่กล่าวมาแล้วมีธรรมศาลาหลายหลัง ข้างด้านตะวันตกเป็นตาหนัก สมเด็จพระสังฆราช ตัวตาหนักก็ดี หอเสวยก็ดี ตาหนักที่ทรงแสดงธรรมก็ดี ล้วนสลักลวดลายปิดทอง ที่ในตาหนักหลัง 1 ผูกเพดานแลม่านปักทอง พื้นปูพรม มีขวดปักดอกไม้ตั้งเรียงรายเป็นแถว เพดาน ตาหนักแขวนอัจกลับ ในตาหนักนี้มีบัลลังก์ 2 ข้าง บนบัลลังก์นั้นตั้งพัดยศสาหรับตาแหน่งสมเด็จ พระสังฆราชข้างละเล่ม พัดทั้ง 2 เล่มนี้ด้ามทาด้วยงา ส่วนตัวพัดอีกเล่ม 1 เป็นพัดสานด้วยงาที่เลื่อย จักเป็นเส้นละเอียด อีกเล่ม 1 พื้นกามะหยี่แดงปักลวดลายด้วยทองแลเงิน ภายในม่าน 2 ไขอันปัก ด้วยทอง ตั้งพระแท่นสมเด็จพระสังฆราช พระสังฆราชประทับอยู่บนพระแท่นนั้น พระหัตถ์ขวาถือพัด ขนนกบังพระพักตร์อยู่ หน้าพระแท่นลงมามีพระฐานานุกรมยืนเฝ้าข้างละองค์ ....ในบริเวณรอบตาหนักสมเด็จพระสังฆราช มีกุฏิภิกษุสามเณรต่อไปเป็นอันมาก มีทั้งที่พัก อุบาสก อุบาสิกา แลที่พักของพวกข้าพระโยมสงฆ์ซึ่งมากระทาการอุปัฏฐากทุกๆ วัน เมื่อเฝ้าสมเด็จ พระสังฆราชแล้ว เจ้าพนักงานจึงพาพวกทูตานุทูตกลับไปส่งถึงที่พักเวลาเย็น”48 คาพรรณนายังให้ข้อมูลที่สาคัญมาก คือ การประดับตกแต่งส่วนเรือนยอดขององค์ พระ มหาธาตุ ที่กล่าวว่าเป็นพระมหาธาตุทรงปรางค์ 5 ยอด และปิดทอง 49 การที่เอกสารดังกล่าวนี้ให้ ข้อมูลว่าเป็นพระปรางค์ 5 ยอดนั้นยังสอดคล้องกับลักษณะการวางผังขององค์พระปรางค์ที่ก่อสร้าง เพิ่มเติมในลักษณะของการยื่นมุขออกมาทั้ง 4 ด้านเพื่อทาหน้าที่รองรับเรือนยอดปรางค์ทิศบนสัน หลังคามุขนั่นเอง นอกจากนี้ ภาพถ่ายเก่าของพระศรีรัตนมหาธาตุก่อนพังทลายลงมาจนถึงเรือนธาตุ นั้นก็แสดงภาพเรือนยอดปรางค์ทิศตะวันตกอยู่ แต่ ก็เห็นไม่ชัดเจนมากนัก การที่เอกสารดังกล่าวนี้ให้ ข้อมูลว่าเป็นพระปรางค์ 5 ยอดนั้นยังสอดคล้องกับลักษณะการวางผังขององค์พระปรางค์ที่ก่อสร้าง 48

“จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่อง ประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. หน้า 138-140. 49 “จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่อง ประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. หน้า 138-140.


243

เพิ่มเติมในลักษณะของการยื่นมุขด้านทิศเหนื อและทิศใต้เพิ่มเติมเพื่อเป็นโครงสร้างประกบกับเรือน ธาตุพระมหาธาตุในลักษณะเป็นโครงสร้างเพื่อค้ายันโดยมีการขยายชุดฐานให้ผายออกมามากขึ้น มุขที่ เพิ่มขึ้นมาดังกล่าวนี้ยังทาหน้าที่รองรับเรือนยอดปรางค์ทิศบนสันหลังคามุขด้วย

ภาพที่ 131: ภาพเก่าของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาก่อนที่จะพังทลายลงมา เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญ จากภาพจะยังเห็นเรือนยอดสถูปทรงปรางบนสันหลังคามุขทิศด้านตะวันตก, โกลนก่ออิฐของประติมากรรมรูปครุฑ บนชั้นอัสดง และรวมไปถึงเรือนยอดสถูปทรงปรางค์บนเจดีย์ผังแปดเหลี่ยมที่อยู่ ตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงใต้นอก ระเบียงคด


244

ภาพที่ 132: แบบสั น นิ ษ ฐานพระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยาทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก ซึ่ ง เป็ น รู ป แบบที่ ไ ด้ รั บ การ บูรณปฏิสังขรณ์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ในปี พ.ศ. 2176 สาหรับ ภาพบน แสดงเฉพาะองค์พระศรีรัตนม หาธาตุประธาน ไม่มีพระปรางค์มุม และ ภาพล่าง แสดงพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาและพระปรางค์มุม


245

3.1.2 พระปรางค์มุมบนฐานไพทีพระมหาธาตุ (ภายในผังบริเวณที่ล้อมรอบด้วยระเบียงคด) สถานภาพของข้อเสนอทางวิชาการของช่วงอายุในการก่อสร้างพระปรางค์มุมนี้ถูกเสนอว่ามี อายุในการก่อสร้างอยู่ในราวสมัยอยุธยาตอนต้น โดยศาสตราจารย์ ดร. สันติ เล็กสุขุม ใช้การบ่งชี้โดย การศึกษาเปรียบเทียบลวดลายปูนปั้น และจิตรกรรมฝาผนัง 50 และศาสตราจารย์ ดร. เสมอชัย พูล สุวรรณ ใช้การบ่งชี้โดยการศึกษาเปรียบเทียบจากภาพจิตรกรรมฝาผนัง 51 ซึ่งผลงานวิชาการทั้งสอง ชิ้นต่างก็มีระเบียบวิธีในการวิจัยและการอภิปรายผลที่น่าสนใจ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ศิลปะ พีระ ศรี และอาจารย์ธนิต อยู่โพธิ์ก็ยังสันนิษฐานไปในทิศทางเดียวกัน 52 รวมทั้งอาจารย์ น.ณ ปากน้า และ ศาสตราจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ซึ่งได้เสนอว่าจิตรกรรมที่เขียนใช้สีเพียง 3 สี คือ สีดา สีดินแดง และสีขาว ซึ่งยังไม่อาจระบุได้ว่าเป็นสมัยอยุธยาตอนต้น หรือตอนกลาง53 อย่างไรก็ตาม หากใช้ระเบียบวิธีวิจัยในการวางผัง และการออกแบบทางสถาปัตยกรรมที่ ได้รับจากการศึกษาเปรียบเทียบในแง่ของตาแหน่งที่ตั้ง และรูปทรงของพระปรางค์ จึงมีข้อเสนอ เพิ่มเติมเป็นอีกแนวทางหนึ่งจากสถานภาพข้อเสนอที่มีอยู่เดิมดังกล่าวมาแล้วข้างต้นว่า หากพิจารณา ผั งของพระมหาธาตุเมื่อแรกสถาปนานั้นจะยังไม่ส มมาตร เนื่องจากมีการยืดมุขด้านหน้าทางทิศ ตะวันออกเพียงด้านเดียว เพราะฉะนั้นการหาจุดศูนย์กลางของจุดศูนย์กลางของผังบริเวณของพระมหาธาตุก่อนและ หลังการบูรณปฏิสังขรณ์ในสมัยพระเจ้าปราสาททองนั้นจะมีผังที่แตกต่างกัน จากสมมติฐานจากการ วางผังที่กล่าวมานั้น จึงสั นนิ ษฐานว่าพระปรางค์มุมน่าจะถูกสร้างขึ้นในคราวบูรณปฏิสั งขรณ์ พระ มหาธาตุครั้ งใหญ่ที่มีการยื่ น มุขยาวออกมาทั้ง 4 ด้าน ทาให้ พื้นที่มุม หรือที่เรียกในภาษาช่างว่ า “รักแร้” ของพระมหาธาตุกลายเป็นพื้นที่ว่างโล่ง จึงต้องแก้ไขคุณลักษณะของความ “หลวม” ของ พื้นที่ ซึ่งทาให้มีมุมมองที่มีต่อพระมหาธาตุ อยุธยานั้นไม่สง่างาม จึงมีการก่อสร้าง “พระปรางค์มุม” นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาระเบียบและสัดส่วนของพระปรางค์จากการสารวจรังวัดพบว่า พระปรางค์มุม เหล่านี้มีระเบียบและสัดส่วนแบบพระปรางค์ในสมัยสมเด็จพระเจ้ าปราสาททอง รวมทั้ง การเขียน จิตรกรรมฝาผนังรูปเรือนแก้วที่มีตอนปลายซุ้มที่มีลักษณะคล้ายกับการประดับซุ้มที่พบในล้านนาที่

50

สันติ เล็กสุขุม. “ประเทศไทยกับงานช่างตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับ เอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้า 245-247. 51 เสมอชัย พูลสุวรรณ. สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-24. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2539. หน้า 41-42. 52 ศิลป์ พีระศรี และธนิต อยู่โพธิ์. “วิวัฒนาการแห่งจิตกรรมฝาผนังไทย” ใน วิวัฒนาการแห่งจิตรกรรมฝาผนังของ ไทย สถานจิตรกรรมและสารบาญจิตกรรมฝาผนังในหอศิลปะ. พระนคร: กรมศิลปากร. 2502. หน้า 15. 53 น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 111.


246

เรียกว่า “หางวัน” ทว่ามีการยืดส่วนปลายให้ยาวกว่านั้น ก็พบการทางานปูนปั้นประดับซุ้มเรือนแก้ว พระพุทธรูป และซุ้มประตูของเมรุทิศ-เมรุรายวัดไชยวัฒนารามด้วย นอกจากนี้ หากพิ จ ารณาของการก่ อ สร้ า งพระเจดี ย์ มุ ม ที่ อ ยู่ ล้ อ มรอบพระมหาธาตุ ประธานจะเห็นว่า พระเจดีย์มุมที่ล้อมรอบพระมหาธาตุวัดพระรามซึ่งสร้างในสมัยสมเด็จพระราเม ศวรนั้นสร้างเป็นพระเจดีย์ทรงปราสาทยอด ในขณะที่พระเจดีย์มุมที่ล้อมรอบพระมหาธาตุวัดราช บูรณะนั้นก่อสร้างเป็นเจดีย์ทรงระฆังที่ซ้อนอยู่บนชุดฐานแปดเหลี่ยม ยิ่งช่วยสนับสนุนว่าในแง่ของการ วางผังนั้นพระปรางค์มุมของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ควรจะสร้างขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเจ้า ปราสาททองเช่นเดียวกับที่วัดไชยวัฒนาราม นอกจากนี้ ยังชวนให้สงสัยว่านอกเหนือจากรูปทรงที่สูง เพรียวขึ้นขององค์พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่ได้รับการซ่อมบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่โดยสมเด็จพระเจ้า ปราสาททองนั้น ยังสันนิษฐานได้ว่าการสร้างพระปรางค์มุม 4 องค์ที่ทาให้จานวนยอดในภาพรวมมี จานวนเป็น 9 ยอดนั้น ยังสอดคล้องกับจานวนยอดของปราสาทนครวัดอีกด้วย เพียงแต่ตาแหน่งของ ยอดบริวารของปราสาทนครวัดนั้นเป็นเรือนยอดมุมทั้ง 8 ยอด ในขณะที่พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามี เรือนยอดขนาดย่อมอยู่บนสันหลังคา 4 ยอดดังกล่าวนั้นเป็นเรือนยอดที่ตั้งอยู่ที่ด้าน และอีก 4 ยอด คือพระปรางค์มุม ซึ่งในการออกแบบสร้า งสรรค์นั้นการได้รับคติความเชื่อ หรือรับอิทธิพลมาก่อสร้าง นั้นย่อมไม่มีความจาเป็นที่จะต้องสร้างเหมือนเนื่องจากแต่ละแห่งแต่ละที่มีเงื่อนไขด้านต่างๆ ที่โอบ ล้อมการออกแบบอยู่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาจากภาพจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนเป็นรูปซุ้มเรือนแก้ว (ภาพที่ 58) จะเห็นว่าเค้าโครงของรูปทรงของซุ้มเรือนแก้วที่ตัวเหงาตรงปลายของซุ้มมีลักษณะคล้ายกับหางวัน ของทางล้านนา ทว่ามีการยืดส่วนมากกว่า ซึ่งรองศาสตราจารย์ สมคิด จิระทัศนกุล อธิบายว่า “เป็น แบบซุ้มทรงบันแถลงที่มีซุ้มโค้งวงเดียว โดยตรงส่วนเชิงซุ้มขมวดท้วนปลายเข้าหากันอย่างอินทรธนู ของเรือนแก้ว”54 มีความนิยมมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ดังเช่น ซุ้มเรือนแก้วล้อมพระพุทธรูปปูน ปั้นประดับพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี ซุ้มเรือนแก้วของพระพุทธชินราชที่เมืองพระพิษณุโลก ซุ้มเรือน แก้วของพระประธานวัดไลย์ ที่อาเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี เป็นต้น ทว่ารูปแบบของซุ้มดังกล่าวนี้ก็มี ความนิยมนามาใช้ในตกแต่งสถาปัตยกรรมมาจนถึงสมัยพระเจ้าปราสาททองด้วยเช่นกัน ดังตัวอย่าง ของซุ้มเรือนแก้ว และซุ้มปูนปั้นตกแต่งช่องทางเข้าของเมรุทิศ -เมรุรายวัดไชยวัฒนาราม (ภาพที่ 434) เป็นต้น

54

สมคิด จิระทัศนกุล. คติสัญลักษณ์ และความหมายของซุ้มประตู -หน้าต่างไทย. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. หน้า 226.


247

ภาพที่ 133: จิ ต รกรรมฝาผนั งรูป ซุ้ มเรือน แก้ ว ภายในห้ อ งครรภธาตุ พ ระปรางค์ มุ ม ตะวันตกเฉียงเหนือ

ภาพที่ 134: ภาพซ้าย คือ ปูนปั้นประดับช่องทางเข้าสู่เมรุทิศ -เมรุรายวัดไชยวัฒนาราม และ ภาพขวา คือ แบบ สันนิษฐานรูปแบบลวดลายปูนปั้นประดับช่องทางเข้าสู่เมรุทิศ -เมรุรายวัดไชยวัฒนาราม (ที่มา: สมคิด จิระทัศนกุล. คติสัญลักษณ์ และความหมายของซุ้มประตู -หน้าต่างไทย. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร. 2546. หน้า 233.)


248

นอกจากนี้ ในการก่อสร้างพระปรางค์มุมยังเชื่อมถึงแนวคิดและความหมายของเขาพระ สุเมรุ และทาให้ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยากลายเป็น “พระมหาธาตุ เก้ายอด” และยังพ้องกับจานวนยอดปรางค์ของปราสาทนครวัด ดังกล่าวมาข้างต้นด้วย การออกแบบ ดังกล่าวนับเป็นการสร้างสรรค์ที่มุ่งสร้างความหมายให้กับ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาให้มีความหมาย และฐานานุศักดิ์ทางสถาปัตยกรรมสูงที่สุดกว่าพระมหาธาตุองค์อื่นๆ ที่สร้างกันมากมายในอยุธ ยา และเมืองต่างๆ อีกด้วย ตอกย้าการเป็นพระมหาธาตุองค์สาคัญในระดับอาณาจักรหาได้เป็น พระ มหาธาตุประจาเมืองอยุธยาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป เมื่อพิจารณาถึงความพ้องกันของ “รูปทรงทางสถาปัตยกรรม” ของ “พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา” กับ “พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม” แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งต่างก็เป็นพระปรางค์ที่มียอด ปรางค์เก้ายอด ความพ้องกันของรูป ทรงพื้นฐานดังกล่าวนั้นจึงมิใช่เรื่องบังเอิญ หากสันนิษฐานว่าต้อง มีมูลปัจจัยมาจากความทรงจาที่มีต่อความหมายและรูปทรงของพระมหาธาตุทรงปรางค์ 9 ยอดแห่ง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อครั้งบ้านเมืองยังดี และได้ธารงรักษาสืบทอดผ่า นความทรงจาของ ผู้คนและนามาก่อสร้างยังราชธานีแห่งใหม่ ซึ่งในแง่นี้จึงตีความได้ว่า รูปทรงของพระปรางค์วัดอรุณ ราชวรารามได้สะท้อนให้เห็นถึงการสืบทอดคติการสร้างพระมหาธาตุประจาเมืองจากกรุงศรีอยุธยา มายังกรุงรัตนโกสินทร์ด้วยนั่นเอง

ภาพที่ 135: ภาพซ้าย คือ แบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ภายหลังที่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองโปรด ให้บูรณปฏิสังขรณ์ โดยมีการสร้างพระปรางค์มุม และมีการยืดมุขอีกสามด้านให้ยาวเสมอด้านตะวันออกแล้วใส่พระ ปรางค์น้อยไว้บนสันหลังคามุข จึงทาให้ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีสถานภาพเป็นพระปรางค์เก้ายอด และ ภาพ ขวา คือ แบบสามมิติแสดงรูปพระปรางค์วัดอรุณที่สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลในการสร้างพระมหาธาตุประจาเมือง จากพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา


249

ดังจะเห็นได้ว่า ข้อมูลที่กล่าวถึงวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาปรากกฎอยู่ในเอกสาร ประเภทต่างๆ อย่างกระจัดกระจาย ทั้ง นี้ เอกสารประเภทพระราชพงศาวดารก็กล่าวถึงเหตุการณ์ที่ เกี่ยวเนื่องอย่างย่นย่อ แต่มีคุณูปการในแง่ของการกาหนดอายุในการก่อสร้าง ตลอดจนเหตุการณ์ สาคัญที่เกิดขึ้นภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา อย่างไรก็ดี เอกสารชิ้นสาคัญที่กล่าวถึงลักษณะ ทางสถาปัตยกรรมของวัด พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยากลับเป็นเอกสารของคณะทูตานุทูตลังกาผู้ มา เยื อนกรุ งศรี อยุ ธ ยาในช่ว งแผ่ น ดิน พระเจ้ า อยู่หั ว บรมโกศ ซึ่งในทัศนะของคนอยุธ ยามองว่ า เป็ น ช่วงเวลาแห่งความสงบสุข บ้านเมือง และพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง แต่หลังจากนั้นไม่นานอยุธยา ก็ประสบกับภัยจากสงครามจนถึง กาลแตกดับ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และวัดวาอารามอื่นๆ ต่างถูกทิ้งร้างไปจากการย้ายราชธานี อีกทั้ง ประสบปัญหาการลักลอบการขุดค้นเพื่อหาทรัพย์สินที่ ผู้คนในอดีตกัลปนาไว้เป็นพุทธบูชาเพื่อการสืบทอดพระพุทธศาสนา จนกระทั่ง พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุ ธ ยาได้ล้ มพังทลายลงด้ว ยเงื่อนไขจากการเสื่ อมสภาพของวัส ดุก่อสร้าง ซึ่งเป็นผลมาจากการ บูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองที่มีการเพิ่มความสูงของพระปรางค์ซึ่งย่อม เพิ่มน้าหนักอันมีมหาศาลต่อฐานราก รวมไปถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ที่หมายจะให้รูปทรงต้องตามพระ ราชหฤทัยจึงมีการใช้วัสดุก่อสร้างจาพวกไม้มะค่าเป็นวัสดุก่อแทรกไประหว่างอิฐ ซึ่งในระยะแรกก็ สามารถช่ ว ยรั บ น้ าหนั ก ได้ แต่ เ มื่ อ กาลเวลาล่ ว งเลยไปยาวนานจนถึ ง สมั ย รั ช กาลที่ 6 แห่ ง กรุ ง รั ตนโกสิ น ทร์ ในราวพ.ศ.245455 ทาให้ บรรดาไม้มะค่าที่ใช้แทรกเพื่อรับน้าหนักย่อมผุ กร่อ นตาม กาลเวลา ทาให้การรับน้าหนักของพระปรางค์มีปัญหาจนพังทลายลงมาในที่สุด

3.1.3 เจดีย์ราย/บริวารทรงปราสาทยอด (ภายในผังบริเวณที่ล้อมรอบด้วยระเบียงคด) ข้อแตกต่างจากพระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรีอีกประการ คือ พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นมี การก่อสร้าง “พระเจดีย์รายทรงปราสาท” ล้อมรอบองค์พระมหาธาตุ ซึ่งบางครั้งเรียกว่า “พระเจดีย์ ทรงปราสาทยอดเจดีย์ ” มีลักษณะเป็นเจดีย์ที่มีชัดฐานและเรือนธาตุอยู่ใน “ผังสี่เหลี่ยมยกเก็จ ” กล่าวคือ เป็นการลดทอนผังพื้นของปราสาทลงกล่าวคือ อาคารปราสาทนั้นจะมีผังพื้นของอาคารตรง กลางเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพื่อรองรับหลังคาเรือนยอด และมีการยกมุขออกมาทั้งสี่ด้านเพื่อเป็นพื้นที่ใช้ สอย แต่ทว่าการออกแบบเจดีย์ทรงปราสาทนั้นแทนที่จะเป็นการยกมุขออกมายาว แต่กลับกดมุขให้ หดเข้าไปจนเกือบจะเท่ากับผังพื้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสของตัวเรือนหลัก ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาแล้วจะเห็นว่ามุม ประธานที่เทียบได้กับมุมของตัวเรือนนั้นจะมีขนาดใหญ่กว่ามุมของมุขที่ยื่นออกมา ทั้งนี้ในภาษาช่าง 55

จีราวรรณ แสงเพ็ชร. ระบบการจัดและการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2552. หน้า 217.


250

เรียกว่า “ย่อมุม” หรือ “เพิ่มมุม”56 ก็ได้ ทั้งนี้เจดีย์ทรงปราสาทยอดส่วนใหญ่จะมีมุมรวมกันทั้งสี่ด้าน รวมเป็นสิบสองมุมจึงเรียกว่า “ย่อมุมไม้สิบสอง” ทั้งนี้ บริเวณตัวเรือนของเจดีย์นั้นก็ออกแบบเป็นซุ้ม จระนาซึ่งมีความหมายเชื่อมโยงไปถึงการเป็นมุขทั้งสี่ด้านของปราสาทนั่นเอง เหนือตัวเรือนขึ้นไปจะ ต่อด้วยยอดรูปทรงสถูปเจดีย์ ทั้งนี้ เกรียงไกร เกิดศิริ ได้เสนอว่าพัฒนาการของเจดีย์ทรงปราสาทยอดนี้น่าจะเกิดจากการ ถ่ า ยทอดรู ป แบบสถาปั ต ยกรรม และน ามาสู่ ก ารลดทอน ดั ง กรณี ศึ ก ษาของ “กู่ พ ญา” ใน สถาปัตยกรรมพุกามซึ่งหมายถึง “เจติยะวิหาร” ที่สามารถเข้าไปใช้ส อยพื้นที่ภ ายในได้ มาสู่การ ลดทอนลงเป็ น เพีย งรู ปทรงสั ญลั กษณ์เท่านั้น รวมทั้งได้รับอิทธิพลจากเจดีย์แบบปาละที่เข้ามามี บทบาทในเมืองพุกาม และพระเจดีย์ทรงปราสาทยอดของพุกามก็ได้ส่งอิทธิพลเข้ามายังล้านนาและ สุโขทัยด้วย57 นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ ดร. พิริยะ ไกรฤกษ์ ได้เสนอว่าเจดีย์ทรงปราสาทยอดนี้ ควรมีที่มาจากแนวคิดของ “วัชรบัลลังก์” ตามที่เอเดรียน สนอดการดได้ เสนอไว้58 ซึ่งแนวคิดดังกล่าว ได้ถ่ายทอดมาสู่การสร้างเจดีย์บริวารที่วิหารมหาโพธิ์พุทธคยา ซึง่ ยังปรากฏหลักฐานในหุ่นจาลองมหา โพธิ์วิหารพุทธคยาซึ่งมีจารึกว่าสร้างขึ้นในรัชกาลจักรพรรดิ์ย่งเลอ (Yong Le) (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.1946-1967) ราชวงศ์หมิง59 ทั้งนี้ รองศาสตราจารย์ ดร. พิริยะ ไกรฤกษ์ ได้กาหนดอายุของเจดีย์ทรงปราสาทยอดใน ล้านนา คือ พระเจดีย์ปราสาทยอดเชียงยัน วัดพระบรมธาตุหริภุญชัย ให้มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 22 ระหว่างพ.ศ.2100-2150 และพระเจดีย์ปราสาทยอดวัดป่าสักเมืองเชียงแสน ในราวครึ่ งหลังของ พุทธศตวรรษที่ 2360 ทั้งนี้เนื่องจากได้ใช้ข้อมูลกล่าวถึงพระภิกษุตารนาถชาวธิเบตที่มาศึกษาคัมภีร์ที่ วัดหริภุญชัย61 อย่างไรก็ตาม การกาหนดอายุพระเจดีย์ทรงปราสาทยอดเชียงยืนด้วยข้อมูลดังกล่าวได้ ท าให้ มี อ ายุ อ่ อ นลงกว่ า ที่ ค วรจะเป็ น ซึ่ ง ความเป็ น จริ ง แล้ ว พระเจดี ย์ ท รงปราสาทยอดนั้ นควรมี พัฒนาการอยู่ในล้านนามาก่อนหน้าโดยได้รับอิทธิพลมาจากพุกามดังกล่าวมาแล้วข้างต้น 56

ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุมได้ขยายความดังกล่าวเพื่อให้เข้าใจถึงที่มาที่ไป ตลอดจนเทคนิควิธีใน การสร้างสรรค์ ดูเพิ่มเติมใน สันติ เล็กสุขุม. “แนวความคิดกับกระบวนกรรมวิธีทางช่าง: เหตุผลที่เรียกเจดีย์ เพิ่มมุมแทนเจดีย์ย่อมุม ”. ใน รวมบทความมุม มอง ความคิ ด และความหมาย: งานช่ า งไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548 หน้าที่ 99-111. 57 เกรียงไกร เกิดศิริ. พุกาม การก่อรูปของสถาปัตยกรรมจากก้อนอิฐแห่งศรัทธา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. หน้า 84. 58 สนอดกราส เอเดรียน, เขียน, ภัทรพร สิริกาญจน. สัญลักษณ์แห่งพระสถูป. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์วิชาการ. 2541. หน้า 104. 59 พิริยะ ไกรฤกษ์. กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพ. 2555. หน้าที่ 138. 60 พิริยะ ไกรฤกษ์. กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพ. 2555. หน้าที่ 138. 61 พิริยะ ไกรฤกษ์. กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพ. 2555. หน้าที่ 138.


251

อาจเป็ น ได้ ว่ า รู ป ทรงของเจดีย์ ท รงปราสาทยัง อาจมีรู ป ทรงที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะที่ มี ความ หมายถึงการสร้างเจดีย์บรรจุอัฐิของพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงด้วยก็อาจเป็นได้ เนื่องจากรูปแบบของ เจดีย์ทรงปราสาทยอดนี้จะเห็นได้ชัดว่าเป็นการบูรณาการรูปทรงของ “ปราสาท” และ “เจดีย์” เข้า อยู่ ในสถาปั ตยกรรมองค์เ ดีย วกัน ซึ่งในประเด็นเรื่ อ งการออกแบบสถาปั ตยกรรมพระเจดี ย์ ท รง ปราสาทยอดนี้ สันนิษฐานว่าสุโขทัยได้รับแรงบันดาลใจในการทาเจดีย์ทรงปราสาทนี้ต่อมาจากล้านนา ซึ่งมีความนิยมในการก่อสร้างเจดีย์ทรงปราสาทนี้มาก่อนหน้าแล้ว เช่น เจดีย์วัดป่าสักเมืองเชียงแสน, เจดีย์เชียงยัน วัดพระบรมธาตุหริภุญชัย เมืองหริภุญไชย เป็นต้น

ภาพที่ 136: หุน่ จาลองสาริดวิหารมหาโพธิพุทธคยาที่หล่อขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง รัชกาลจักรพรรดิย่งเลอ ซึ่งแสดง ให้เห็นถึงเจดีย์แบบวัชรบัลลังก์ (กรอบสีเหลือง) ซึ่งรองศาสตราจารย์ ดร. พิริยะ ไกรฤกษ์เสนอว่าส่งอิทธิพลในการ สร้างเจดีย์ทรงปราสาทยอดในประเทศไทย ที่มา: พิริยะ ไกรฤกษ์. กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: 2555. หน้าที่ 105.


252

ซึ่งศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุมกาหนดอายุ การก่อสร้าง “พระเจดีย์ ท รง ปราสาทยอดเชียงยืน วัดพระบรมธาตุหริภุญชัย” ไว้ว่าควรจะสร้างในราวครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ 1962 รวมทั้งยังเสนอว่า ทั้งนี้อาจจะยังไม่อายยุติได้ง่ายว่าควรจะสร้างในช่วงสมัยปลายหริภุญชัยหรือ สมัยต้นของล้านนา63 ทั้งนีศ้ าสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชาย สายสิงห์ ได้กาหนดอายุพระเจดีย์เชียงยืนอยู่ใน ราวปลายสมัยหริภุญไชยจนถึงต้นสมัยล้านนาตอนต้น64 สาหรับลวดลายตกแต่งนั้นควรมาปั้นบูรณะ เสริมในชั้นหลังราวพุทธศตวรรษที่ 21 65 ในขณะที่อาจารย์จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา เสนอว่าส่วนยอดนั้น น่าจะมีอายุก่อนพุทธศตวรรษที่ 1966 สาหรับ “พระเจดีย์ทรงปราสาทยอดวัดป่าสักเชียงแสน” ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม กาหนดอายุในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 19 67 และศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชาย สายสิงห์ได้ อภิปรายในประเด็นเรื่องลวดลายที่ประดับตกแต่งจึงให้ข้อเสนอว่าควรสร้างขึ้นในราวต้น หรือกลาง พุทธศตวรรษที่ 19 และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์กันระหว่างแรงบันดาลใจจากหลากหลายแหล่ง อาทิ พุกาม จีน เป็นต้น68 ทั้งนี้ จากการศึกษาของอาจารย์จริ ศักดิ์ เดชวงศ์ญามีข้อเสนอว่า แม้ว่าพระ เจดีย์วัดป่าสักจะถูกสร้างขึ้นภายใต้แรงบันดาลใจในรูปแบบมาจากหลายแหล่ง โดยเฉพาะพุกามก็ตาม หากแต่แหล่งที่สาคัญนั้น คือ ศิลปะหริภุญไชย69

62

สันติ เล็กสุขุม. พัฒนาการกระหนกของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้า 170. 63 สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะภาคเหนือ: หริภุญชัย-ล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2549. หน้า 93. 64 ศักดิ์ชาย สายสิงห์. ศิลปะล้านนา. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. หน้า 74. 65 ศักดิ์ชาย สายสิงห์. ศิลปะล้านนา. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. หน้า 74. 66 จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา. เครื่องยอดลาพูน. เอกสารประกอบการศึกษาวิชาการศึกษาสถาปัตยกรรมไทยชั้นสูง บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2531. มปพ. หน้า 18. 67 สันติ เล็กสุขุม. พัฒนาการกระหนกของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้า 156. 68 ศักดิ์ชาย สายสิงห์. ศิลปะล้านนา. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. หน้า 79. 69 จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา. พระเจดีย์เมืองเชียงแสน. เชียงใหม่: สุริวงศ์บคุ๊ เซนเตอร์. 2539. หน้า 48.


253

ภาพที่ 137: ภาพซ้าย คือ พระเจดีย์วัดป่าสัก เมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และ ภาพขวา คือ พระเจดีย์เชียงยัน วัดพระธาตุหริภุญชัย เมืองหริภุญไชย จังหวัดลาพูน

ทั้งนี้ การออกแบบวางผังที่มีสร้างพระเจดีย์รายทรงปราสาทล้อมรอบพระปรางค์ประธานนั้น ปรากฏมีอยู่ที่วัดมหาธาตุสุโขทั ย ซึ่งจากการศึกษาของวิโรจน์ ชีวาสุขถาวรให้ข้อเสนอว่า เจดีย์ทรง ปราสาทยอดที่สร้างล้อมรอบพระเจดีย์ประธานทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัยนั้น ควรสร้างขึ้นในปีพ.ศ.1927 หลังจากที่พระมหาธรรมราชาลิไทเสด็จสวรรคต 70 เนื่องจากมีการค้นพบ จารึกกล่าวถึงการบูรณปฏิสังขรณ์สถูปเจดีย์บรรจุอัฐิพระมหาธรรมราชาลิไทในเจดีย์รายทรงปราสาท องค์ห นึ่ ง จึ งทาให้ ส ามารถกาหนดอายุการก่อสร้างเจดีย์รายทรงปราสาทนี้ได้ชัดเจน 71 และจาก หลักฐานดังกล่าวทาให้ทราบถึงธรรมเนียมในการก่อสร้างพระเจดีย์บรรจุอัฐิ เป็น พระเจดีย์รายอยู่ ภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอันเปรียบเสมือนการได้เฝ้าแหนองค์พระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธ 70

วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร. การศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรมสุโขทัย กรณีศึกษาวัดมหาธาตุ ตาบลเมืองเก่า จังหวัด สุโขทัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. หน้า 93-94. 71 พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. “อัฐิธาตุเจดีย์มหาธรรมราชาลิไท เจดีย์บรรจุกระดูก ”. ใน วารสารศิลปวัฒนธรรม. 10,2 (ธันวาคม 2536) หน้า 94 (หน้าที่ 92-98).


254

องค์ตราบจนสิ้นอายุขัยด้วยนั่นเอง ทั้งนี้จึงเห็นได้ว่า หากพิจารณาในลาดับทางประวัติศาสตร์แล้ว พระเจดีย์ทรงปราสาทยอดในล้านนาทั้ง พระเจดีย์ปราสาทยอดเชียงยืน วัดพระบรมธาตุหริภุญชัย และพระเจดีย์ ทรงปราสาทยอดวัดป่ าสั ก เมืองเชียงแสน ล้วนแต่สร้างขึ้นก่อนหน้าพระเจดีย์ ท รง ปราสาทยอดที่สร้างเป็นเจดีย์มุมของพระเจดีย์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัย

ภาพที่ 138: แบบสถาปัตยกรรมแสดงพระเจดีย์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัยซึ่งเป็นพระเจดีย์ทรงพุ่มข้าว บิณฑ์ และมีพระเจดีย์ทิศทรงปรางค์ยอดเจดีย์ และพระเจดีย์มุมทรงปราสาทยอดเจดีย์


255

3

ภาพที่ 139: แบบสถาปัตยกรรมแสดงพระเจดียป์ ระธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัย ซึ่งเป็นพระเจดีย์ทรงพุ่มข้าว บิณฑ์ และมีพระเจดีย์ทิศทรงปรางค์ยอดเจดีย์ และพระเจดีย์มุมทรงปราสาทยอดเจดีย์

หากพิจารณาประวัติศาสตร์อยุธยาในช่วงเวลาดังกล่าวจะเห็นว่า อยุธยาได้พยายามขยาย ขัณฑสีมาออกไปยังหัวเมืองฝ่ายเหนือ คือ เมืองพิษณุโลก เมืองชากังราว เมืองเชียงใหม่ และเมือง ลาปาง มาตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 72 ซึ่งศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็ก สุขุมก็มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะสร้างขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ในปีพ.ศ.191773 ต่อมา ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรได้ยกทัพไปยังหัวเมืองฝ่ายเหนือซึ่งตีได้เมืองเชียงใหม่จากนั้นเสด็จไป เมืองสวางคบุรี ซึ่งย่อมต้องผ่านเมืองสุโขทัย เมืองศรีสัชนาลัยเพื่อมุ่งหน้าไปยังลาแม่น้าน่านเพื่อเสด็จ 72

“พระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เ ษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 212. 73 สันติ เล็กสุขุม. เจดีย์ราย “ทรงปราสาทยอด” วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์ พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จากัด. 2541. หน้า 30.


256

ต่อไปยังเมืองพิษณุโลกเพื่อนมัสการพระพุทธชินศรี และพระพุทธชินราช74 ซึ่งในการนั้นย่อมเสด็จผ่าน เมืองสุโขทัยด้วย เพราะฉะนั้นนับตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ตราบกระทั่งรัช กาล สมเด็จพระราเมศวร อยุธยานั้นรู้จักหัวเมืองฝ่ายเหนือเป็นอย่างดี ในการนี้ จึงอาจจะเป็นได้ว่าอยุธยา ได้รับแรงบัน ดาลใจในการออกแบบสถูป เจดีย์ทรงปราสาท และมีการวางผั งให้ส ถูปทรงปราสาท ดังกล่าวทาหน้าที่เป็นเจดีย์รายล้อมรอบองค์พระมหาธาตุด้วย ทั้งนี้แสดงให้เห็นว่ารูปแบบการสร้าง สรรค์เจดีย์ทรงปราสาทล้อมรอบพระเจดีย์ประธานที่เพิ่งสร้างในปีพ.ศ.1927 ก็ได้ส่งอิทธิพลเนื่อง ต่อมายังการสร้างเจดีย์รายทรงปราสาทที่ล้อ มรอบเป็นบริวารของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ทว่าก็มี การสร้างสรรค์รูปทรงอันงดงามแตกต่างไปจากรูปทรงเดิมทว่ายังทิ้งร่องรอยของแรงบันดาลใจอยู่ โดยเฉพาะการใช้ชุดฐานแบบบัวลูกฟักซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของฐานของสถูปทรงปรางค์75 นอกจากนี้ ส่วนเรือนยอดของเจดีย์ทรงปราสาทยอดเหนื อองค์ระฆังที่ต่อขึ้นไปเป็นเรือนยอดที่เป็นปล้องไฉน ขนาดใหญ่โดยไม่มีบัลลังก์นี้ยังสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์กับเจดีย์แบบพม่าซึ่งรับผ่านล้านนามา ด้วย76 ยังมีพระมหาธาตุวัดพระรามอีกองค์ที่มีการออกแบบวางผังให้มีการก่อสร้างพระเจดีย์รายทรง ปราสาทล้อมรอบซึ่งก็เป็นพระมหาธาตุที่สร้างขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรด้วยเช่นกัน

.. ภาพที่ 140: พระเจดีย์มุมทรงปราสาทยอดเจดีย์ ของพระมหาธาตุวัดพระราม สร้างในรัชกาลสมเด็จ พระราเมศวร 74

“พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 13. และ “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 216. 75 สันติ เล็กสุขุม. ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย (ฉบับย่อ) การเริ่มต้นและการสืบเนื่องงานช่างในศาสนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้า 171. 76 สันติ เล็กสุขุม. พัฒนาการกระหนกของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้า 241.


257

ภาพที่ 141: แสดงแบบสันนิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาที่มีเจดีย์รายทรงปราสาทยอดล้อมรอบ ภาพบน คือ ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ประธาน และมีปรางค์บริวารขนาบด้านข้าง ภาพล่าง คือ ในกรณีที่เป็นพระปรางค์ ประธานองค์เดียว ทั้งนี้จากข้อมูลแวดล้อมที่กล่าวมาข้างต้น จึงเสนอว่า พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในระยะแรก สร้างนั้น อาจเป็นไปได้ทั้ง 2 แนวทาง ทั้งที่เป็นพระปรางค์ประธานองค์เดียว และมีลักษณะเป็นพระปรางค์ 3 องค์ เช่น พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี, พระมหาธาตุวัดพุทไธศวรรย์ และพระมหาธาตุวัดพระราม

3.1.4 พระมณฑปบริวาร


258

จากเอกสารพระราชพงศาวดารอยุธยาได้กล่าวถึงเหตุการณ์ “สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2” หรือพระนามที่เป็นที่รู้จกกันคือ “สมเด็จเจ้าสามพระยา” ที่พระองค์ทรงยกกองทัพไปยึดเมืองพระ นครเข้ามาอยู่ภายใต้พระราชอานาจได้ ในครั้งนั้นได้โปรดเกล้าฯ ให้เคลื่อนย้ายประติมากรรมสาริดรูป ต่างๆ จากเมืองพระนครหลวงมายังกรุงศรีอยุธยา ทั้งนี้ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหลวง ประเสริฐอักษรนิติ์ได้กล่าวแต่เพียงว่า “...ครั้งนั้นท่านจึงให้พญาแก้วพญาไท แลรูปภาพทั้งปวงมายัง กรุงศรีอยุธยา”77 สาหรับพระราชพงศาวดารกรุงสยามฯ ให้ข้อมูลว่า “ท่านจึ่งให้เอาพญาแก้ว พญาไท แลครอบครัว แลทั้งรูปพระโค รูปสิงห์สัตว์ทั้งปวงมาด้วย ครั้นถึงกรุงศรีอยุธยาจึ่งให้เอารูปสัตว์ทั้งปวง ไปบูชาไว้ ณ วัดพระศรีรัตนธาตุบ้าง ไปไว้วัดพระศรีสรรเพชญ์บ้าง”78 สาหรับพระราชพงศาวดาร อยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) กล่าว่า “...ท่านจึงให้เอาพญาแก้ว พญาไท และครอบครัว ทั้งพระโค รูปสิงห์สัตว์ททั้งปวงมาด้วย ครั้นถึงพระณครศรีอยุธยาจึงให้เอารูปสัตว์ทั้งปวงไปบูชาไว้ ณ พระศรีรั ต นมหาธาตุบ้าง ไว้วัดพระศรีรัตนมหาธาตุบ้าง ไว้วัดพระศรีสรรเพ็ชญ์บ้าง”79 จะเห็นว่าพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์นั้นไม่ได้บอกว่าเมื่อ นาประติมากรรมเหล่านั้นมาแล้วโปรดเกล้าฯ ให้นาไปประดิษฐานที่ใด ส่วนเอกสารอีก 2 ฉบับ ได้บอก ว่าให้ไปประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และวัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่งคงเป็นการเขียน ขยายความขึ้นในภาพหลังเมื่อเห็นว่าประติมากรรมเหล่านั้นไปประดิษฐานอยู่ที่ใดบ้าง เนื่องจากใน รัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 นั้นยังไม่ได้สร้างวัดพระศรีสรรเพชญ์ นอกจากนี้ ข้อมูลที่กล่าว ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) อาจจะตีความไปได้อีกว่ายังมีการนา ประติมากรรมไปประดิษฐานที่วัดอื่นที่มีพระมหาธาตุเป็นประธานของวัดอีกด้วย ซึ่งในการศึกษานี้ จึง สันนิษฐานว่าประติมากรรมต่างๆ นั้นควรนามาตั้งอยู่ล้อมรอบพระศรี รัตนมหาธาตุ และมีการสร้าง มณฑปคลุมไว้ ต่อมาประติมากรรมเหล่านี้ได้ถูกเคลื่อนย้ายต่อไปยังกรุงหงสาวดีเมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ.2099 ดังกล่าวไว้ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทุนมาศ (เจิม) ความว่า “พระเจ้าหงสาวดีก็ให้เขาเอาครัวอพยพชาวพระนคร แลรูปภาพทั้งปวงในหน้าพระบันชัน

77

“พระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิ เ ษก เล่ ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 214. 78 “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 15. 79 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 216.


259

สิงคนั้นส่งไปเมืองหงษาวดี...”80 ซึ่งบ่งชี้ว่าได้ขนเอาประติมากรรเหล่านี้ไปทั้งหมด และความน่าสนใจ ของการขนย้ายรูปหล่อสาริดดังกล่าวไปนั้น อาจมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับชื่อ “พระราชวังกัมโพช ธานี (Kamboza Thadi Palace)” ด้วยก็เป็นได้ ต่อมาเมื่อยะไข่ยกทัพมาตีเมืองหงสาวดีก็ได้ขนย้าย รูปหล่อสาริดเหล่านี้ไปยังแคว้นยะไข่ และเมื่อพระเจ้าปดุงตีแคว้นยะไข่ได้สาเร็จก็โปรดให้ขนรูปหล่อ สาริด พร้อมกับอัญเชิญพระมหามัยมุนีมาประดิษฐานยังเมืองมัณฑะเลย์

ภาพที่ 142: ตัวอย่างประติมากรรมสาริดเท่าที่ยังหลงเหลืออยู่ที่มัณฑะเลย์ กล่าวคือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือสมเด็จเจ้าสามพระยาโปรดเกล้าให้ขนย้ายมาจากเมืองพระนครยามที่กองทัพอยุธยามีชัยเหนือ และนามา ถวายเป็นพุทธบูชาไว้ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ต่อมาในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 พระเจ้าบุเรงนอง โปรดเกล้าฯ ให้ขนย้ายไปยังเมืองหงสาวดี ต่อมาเมื่อกองทัพยะไข่มีชัยเหนือเมืองหงสาวดีก็นาไปไว้ที่แคว้นยะไข่ จนกรระทั่งพระเจ้าปะดุงตีแคว้นยะไข่สาเร็จ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขนย้ายมาพร้อมกับการอัญเชิญพระมหามัยมุนี มายังกรุงมัณฑะเลย์

80

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 272.


260

แม้ว่ากองทัพพระเจ้าบุเรงนองจะได้ขนประติมากรรมสาริดเหล่านี้ไปจากวัดพระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยาจนหมดสิ้นก็ตาม หากแต่ในช่วงเวลาต่อมาคงได้มีการหล่อประติมากรรมสาริดขึ้นใหม่ ทดแทน หากแต่ไม่หลงเหลือถึงปัจจุบันด้วยภัยของสงคราม ดังกล่าวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรี อยุธยา ฉบับฟาน ฟลีต คงเหตุการณ์คราวที่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองจะบูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตน มหาธาตุ กล่าวว่า “...เมื่อสองสามเดือนที่แล้วพระองค์ศรีธรรมราชาธิราชได้ทรงให้รื้อวัดจนถึงฐาน และทรงย้ายรูปหล่อทองแดงซึ่งประดิษฐานอยู่นั้นออกไปไกลหลายวา เพื่อที่จะสร้างวั ดใหม่ ณ ที่ ประดิษฐานรูปหล่อทองแดง...”81 จากการสารวจรังวัดพบว่า ซากมรดกทางสถาปัตยกรรมส่วนที่เหลือนั้นมีลักษณะเป็น ฐานสี่เหลี่ยม หรือสี่เหลี่ยมย่อมุม ตั้งอยู่สับหว่างกับพระเจดีย์บริวารที่เรียงรายอยู่รอบองค์พระศรีรัตน มหาธาตุ บนฐานดังกล่าวมีการก่อเป็นเสาอิฐย่อมุม เว้นตรงกลางไว้จึงทาให้ผังพื้นเท่าที่เหลืออยู่นั้นมี ลักษณะเป็นผังของมณฑปโถง จึงสันนิษฐานว่าเป็นที่ตั้งประดิษฐานประติมากรรมหล่อสาริดที่ถูก เคลื่ อ นย้ า ยมาจากเมื อ งพระนครเพื่ อ ถวายเป็ น พุ ท ธบูช าแก่ อ งค์ พ ระศรี รัต นมหาธาตุ และท าให้ ความหมายของพระปรางค์พระศรีรัตนมหาธาตุมีความหมายของการเป็นเขาพระสุเมรุโดยสมบูรณ์ เพราะฉะนั้ น แม้ว่ารู ป หล่ อส าริ ดเหล่านี้ จะถูกเคลื่ อนย้ายไปยังเมืองหงสาวดีก็จึงได้มีการหล่ อรูป ประติมากรรมหล่อสาริดมาติดตั้งใหม่ทดแทนนั่นเอง นอกจากนี้ การนารูปหล่อสาริดรูปสัตว์หิมพานต์ ยังสะท้อนอยู่ให้เห็นในธรรมเนียมการสร้างหุ่นรูปสัตว์หิมพานต์ตกแต่งรอบพระเมรุสาหรับพระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพกษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ด้วยนั่นเอง

ภาพที่ 143: ตัวอย่างรูปสัตว์ที่ใช้ตกแต่งโดยรอบพระเมรุที่ช่วยสร้างความหมายของนัยที่เชื่อมต่อกับเขาพระสุเมรุ ได้แจ่มชัดขึ้น

81

“พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต ”. ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้า 247.


261

สาหรับการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมพระมณฑปบริวารจึงเลือกใช้ลักษณะมณฑป เครื่องไม้ที่มีรูปทรงแบบพระมณฑปในสมัยอยุธยาตอนปลายที่ยังสืบทอดรูปแบบต่อเนื่ องมาจนกระทั่ง รัตนโกสินทร์ในการขึ้นรูปทรงสถาปัตยกรรมพระมณฑปราย เนื่องจากเมื่อพิจารณาผังพื้นที่มีลักษณะ เป็นมณฑปที่มีพื้นที่ตรงกลางโล่งสาหรับติดตั้งประติมากรรมหล่อสาริดจะเห็นได้ว่าชุดเสาดังกล่าวนั้น ไม่มีกาลั งเพีย งพอที่จ ะรั บ เรื อ นยอดเครื่ องก่อ ซึ่ง มีน้าหนัก มหาศาลได้ เพราะฉะนั้นแนวทางการ สันนิษฐานรูปแบบที่น่าจะเป็นของอาคารส่วนหนี้จึงยุติอยู่ที่มณฑปที่มีหลังคาเป็นเครื่องไม้ อย่างไรก็ดี รูปแบบสถาปัตยกรรมนั้นอาจจะเป็นเช่นไรก็ได้ หากแต่ระบบโครงสร้างนั้นเห็นจะไม่หนีไปจากที่กล่าว มา ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม ได้ให้ข้อเสนอว่าลวดลายปูนปั้นที่ตกแต่งอยู่นั้น แสดงถึงการสร้างในสมัยอยุธยาตอนปลาย ซึ่งมาก่อสร้างแทรกในภายหลัง82

ภาพที่ 144: ซากฐาน และเสาของมณฑปบริวารที่สร้างอยู่ล้อมรอบพระศรีรัตมหาธาตุสลับหว่างกับเจดีย์บริวาร ทรงปราสาทยอด สันนิษฐานว่าเป็นที่ติดตั้งรูปหล่อสาริด ทั้งนี้ส่วนของหลังคาควรจะเป็นเครื่องยอดโครงสร้างไม้ เพราะหากเป็นโครงสร้างเครื่องก่อนั้นไม่อาจจะรับน้าหนักได้

82

สันติ เล็กสุขุม. วิวัฒนาการของชั้นประดับ และลวดลายสมัยอยุธยาตอนต้น. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์การพิมพ์. 2522. หน้า 65.


262

3.1.5 พระเจดีย์มุมระเบียงคด พระเจดีย์มุมนั้นถูกสร้างขึ้นอยู่ตรงบริเวณมุมของผังบริเวณภายในวงล้อมของพระระเบียง คด สืบเนื่องจากว่าพระเจดีย์มุมทั้ง 4 องค์นี้ นั้นคงมีเพียงองค์ด้านตะวันออกเฉียงเหนือเพียงองค์เดียว ที่อยู่ในสภาพที่เห็นรูปแบบสถาปัตยกรรมชัดเจน ในขณะที่พระเจดีย์องค์อื่นๆ ทังทลายลงมากคงเหลือ แต่ส่วนฐาน และได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่แต่ทว่าดูแล้วระเบียบสัดส่วนนั้ นผิดเพี้ยนไปมาก จนทา ให้ทาการศึกษาลักษณะทางสถาปัตยกรรมได้ค่อนข้างยาก ทั้งนี้ สามารถจาแนกรูปแบบสถาปัตยกรรม และรูปแบบที่ควรจะเป็นของพระเจดีย์มุมได้ดังต่อไปนี้ 4.5.1 พระเจดีย์มุมทางด้านตะวันออก สาหรับพระเจดีย์ในรูปแบบดังกล่าวนี้ มีชื่อเรียกหลักๆ ในทางวิชาการ 2 ชื่อด้ วยกัน คือ “เจดีย์เหลี่ยมย่อมุม” และ “เจดีย์เหลี่ยมเพิ่มมุม”83 อย่างไรก็ดี เนื่องจากพระเจดีย์คู่ทางด้านหน้า หรือทางทิศตะวันออกของผังบริเวณภายในระเบียงคดนั้นมีลักษณะเป็น “พระเจดีย์ทรงปราสาท” ใน ที่นี้ จึงขอเรียกชื่อว่า “พระเจดีย์ทรงปราสาทผังเหลี่ยมย่อมุม ” ทั้งนี้ องค์มุมด้านตะวันออกเฉียงใต้ได้ พังทลายลง และได้รับการบูรณะส่วนฐานขึ้นใหม่ และองค์มุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือยังคงสภาพ โดยรวมค่อนข้างสมบูรณ์ คงถูกปฏิสังขรณ์ซ่อมเฉพาะส่วนยอดจนสมบูรณ์ สาหรับรูปแบบสถาปัตยกรรมของพระเจดีย์ทรงปราสาทผังสี่เหลี่ยมย่อมุมนี้มีรู ปทรงคล้าย กับพระเจดีย์ศรีสุริโยทัยวัดสวนหลวงสบสวรรค์, พระเจดีย์ประธานวัดญาณเสน, พระเจดีย์ภูเขาทอง ซึ่งศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม ได้สันนิษ ฐานว่าเป็นเจดีย์ที่ก่อสร้างอยู่ในช่วงสมัย อยุธยาตอนกลาง 84 และได้เสนอว่าพระเจดีย์ รูปแบบนี้สร้างขึ้นครั้งแรกในรัชกาลสมเด็จพระมหา จักรพรรดิ สาหรับอาจารย์ น.ณ ปากน้า ได้ให้ข้อเสนอว่ารูปแบบเจดีย์แบบผังสี่เหลี่ยมย่อมุมนั้นเป็น รู ป แบบที่พัฒ นาต่อเนื่ องมาจากปรางค์ และกาหนดอายุของเจดีย์องค์นี้ว่ามีมาตั้งแต่ส มัยอยุธยา ตอนกลางเป็นต้นมา85 และอาจารย์สุรินทร์ ศรีสังข์งามได้เสนอว่ารูปแบบเจดีย์แบบนี้สร้างขึ้นเป็นครั้ง แรกในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ดังจะเห็นได้ว่า รูปแบบสถาปัตยกรรมของพระเจดีย์แบบนี้

83

สันติ เล็กสุขุม. เจดีย์เพิ่มมุม เจดีย์ย่อมุม สมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์การพิมพ์. 2529. ทั้งนี้ แนวคิดที่ ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม เสนอนั้นมีฐานความคิดที่มองจากมุมมองเชิงช่างในกระบวนการ ออกแบบซึ่งจะเห็นได้ว่าการอธิบายในลักษณะดังกล่าวนี้ได้ทาให้เข้าใจกระบวนวิธีการทางานสร้างสรรค์ได้ ตรงกับที่เป็นมากกว่าการเรียกว่า “ย่อมุม” ดูเพิ่มเติมใน สันติ เล็กสุขุม. “แนวความคิดกับกระบวนกรรมวิธี ทางช่าง: เหตุผลที่เรียกเจดีย์เพิ่มมุมแทนเจดีย์ย่อมุม ” ใน งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. หน้าที่ 99-112. แต่อย่างไรก็ตามคาว่า “ย่อมุม” ก็ถูกเรียกมาอย่างแพร่หลายยาวนานแล้ว 84 สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2544. หน้า 97-100. 85 น. ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 225.


263

ยั งไม่ มีจุ ดยุ ติว่า ถูกสร้ างขึ้น ในช่วงเวลาใด เนื่องจากมีผู้ สั นนิษ ฐานไปในทิศทางที่แตกต่างกัน ตาม สมมติฐาน และเครื่องมือของศาสตร์ที่แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ตาม รูปทรงทางสถาปัตยกรรมโดยรวมของพระเจดีย์ทรงปราสาทผังสี่เหลี่ยมย่อ มุมคู่หน้าดังกล่าวนั้นมีรูปแบบที่ใกล้ชิดกับพระเจดีย์ประธานวัดญาณเสนมากกว่าพระเจดีย์องค์อื่น ๆ ทั้งนี้ พระเจดีย์ประธานวัดญาณเสนนั้นไม่มีหลักฐานบ่งชี้ว่าสร้างขึ้นในสมัยใด แต่ ในการศึกษาของ สุรินทร์ ศรีสังข์งาม ซึ่งใช้ระเบียบวิธีทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมให้ข้อเสนอว่า พระเจดีย์วัดญาณ เสนนั้นควรสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช86 นอกจากนี้ หากพิจารณาในแง่ความนิยมในการสร้างพระเจดีย์ผังเหลี่ยมย่อมุมเป็น “พระ เจดีย์คู่” จะเห็นว่านิยมมากในสมัยพระเจ้าปราสาททอง อาทิเช่น พระเจดีย์คู่หน้าวัดไชยวัฒนาราม และพระเจดีย์คู่วัดชุมพลนิกายารามนั้น จึงสันนิษฐานว่าอาจมีการซ่อมแปลงรูปทรงพระเจดีย์คู่หน้าที่ มีรูปแบบเป็นพระเจดีย์ที่มีองค์ระฆังบนชุดฐานผังแปดเหลี่ยมแบบเดิมมาเป็นพระเจดีย์ทรงปราสาทใน ผังสี่เหลี่ยมย่อมุมในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองพร้อมกับการบูรณปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยาครั้งใหญ่ หรืออาจจะก่อสร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตามการข้อเสนอว่า พระเจดีย์ ป ระธานวัดญาณเสนซึ่งมีรูปทรงพ้องกับพระเจดีย์องค์นี้ ทั้งนี้ อาจจะสร้างขึ้นในคราว เดียวกับการบูรณปฏิสังขรณ์ระเบียงคดที่แลเห็นการเจาะช่องประทีปอันเป็นเอกลักษณ์สาคัญของศิลป สถาปัตยกรรมสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จากที่กล่าวมาข้างต้น จึงมีข้อสังเกตว่า มีจารีตในการสร้างพระเจดีย์ประจามุมของพระศรี รัตนมหาธาตุอยุธยามาตั้งแต่สมัยเมื่อแรกสร้างแล้ว และอย่างน้อยต้องมีมาก่อนหน้าการที่สมเด็จพระ บรมราชาธิราชที่ 2 หรืออสมเด็จเจ้าสามพระยาสร้างวัดราชบูรณะ จนกระทั่งมีการบูรณปฏิสังขรณ์ พระเจดีย์มุมคู่ด้านหน้าทางทิศตะวันออกด้วยการใช้รูปทรงของพระเจดีย์ทรงปราสาทผังสี่เหลี่ยมย่อ มุมมาก่อสร้ างเป็ น เจดีย์ คู่ด้านหน้ า ซึ่งนัยยะของการก่อสร้า งพระเจดี ย์รูปทรงดัง กล่ าวนั้น อาจมี ความสั มพัน ธ์กับเจดีย์ที่อุทิศส่ว นกุศลส าหรับบุคคล หรือบรรจุอัฐิของผู้วายชนม์ด้วยก็เป็นได้ ดั ง ตัวอย่างเช่น พระเจดีย์ผังสี่เหลี่ยมย่อมุมคู่หน้าวัดไชยวัฒนาราม, พระเจดีย์ผังสี่เหลี่ยมย่อมุมคู่หน้าวัด ชุมพลนิกายาราม และแม้แต่พระเจดีย์ผังสี่เหลี่ยมย่อมุมคู่ห น้าปราสาทพระเทพบิดรซึ่งพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้สร้างเพื่ออุทิศพระราช กุศลถวายพระปฐมบรมราชนก และพระบรมราชมารดาของพระองค์ ซึ่งข้อสังเกตเรื่องรูปแบบของ เจดีย์ผังสี่เหลี่ยมยอดมุมที่กล่าวมานี้จาเป็นต้องทาการศึกษาเชิงลึกกันต่อไป

86

สุรินทร์ ศรีสังข์งาม. เจดีย์เหลี่ยมย่อมุมสมัยอยุธยา. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2548. หน้า 214.


264

ภาพที่ 145: ภาพซ้าย คือ พระเจดีย์ประธานวัดญาณเสน ภาพขวา คือ พระเจดีย์มุมด้านตะวันออก เป็นพระเจดีย์ ทรงปราสาทในผังสี่เหลี่ยมย่อมุม

ภาพที่ 146: แบบสถาปัตยกรรม ภาพซ้าย แสดงรูปด้านพระ เจดี ย์ มุ ม ด้ า นตะวั น ออก เป็ น พระเจดี ย์ ท รงปราสาทในผั ง สี่เหลี่ยมย่อมุม ภาพขวา แสดงผังหลังคา


265

พระเจดีย์มุมทางด้านตะวันตก พระเจดีย์คู่ทางด้านหลัง หรือทางทิศตะวันตกของผังบริเวณภายในระเบียงคด มีลักษณะ เป็น “พระเจดีย์ทรงระฆังบนชุดฐานผังแปดเหลี่ยม” ทั้งนี้ องค์มุมทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ได้พังทลาย ลง และได้รับการบูรณะส่วนฐานขึ้นใหม่ และองค์มุมด้านตะวันตกเฉียงเหนือยังคงสมภาพโดยรวมถึง ส่วนองค์ระฆัง ส่วนบัลลังก์และปล้องไฉนพังลงมาและไม่ได้รับการปฏิสังขรณ์ ทั้งนี้ พระเจดีย์ทรงระฆังบนชุดฐานผังแปดเหลี่ยมนี้ ปรากฏมาตั้งแต่ในสมัยอยุธยาตอนต้น ดังตัวอย่างของการก่อสร้างพระเจดีย์รูปทรงดังกล่าวเป็นเจดีย์มุมบนฐานไพทีพระมหาธาตุประธานวัด ราชบูรณะ ซึ่งแน่ชัดว่าสร้างขึ้นพร้อมกับพระมหาธาตุวัดราชบูรณะด้วย นอกจากนี้ก็ยังมีการสร้างพระ เจดีย์แบบนี้ที่อื่นๆ เช่น พระเจดีย์วัดชะราม เป็นต้น

ภาพที่ 147: พระเจดีย์วัดวัดชะราม ภาพซ้าย คือ ภาพก่อนการบูรณะ และภาพขวา คือ ภาพหลังการบูรณะ ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่า ระเบียบสัดส่วนทางสถาปัตยกรรมของพระเจดีย์ดังกล่าวมีความคล้ายคลึงกับพระเจดีย์มุมคู่ด้านหลัง ของผังบริเวณภายในระเบียงคดวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และยังมีรูปทรงที่เหมือนกับพระเจดีย์มุมบนฐานไพที พระมหาธาตุวัดราชบูรณะ ซึ่งกาหนดอายุได้ในราวพุทธศตวรรษที่ 20 หรือสมัยอยุธยาตอนต้น ที่ ม า: ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ. สมุ ดภาพศิ ลปะอยุ ธยา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะ โบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2555. หน้า 44-45.


266

ภาพที่ 148: ภาพสามมิติแสดงแบบสถาปัตยกรรมองค์ประกอบภายในผังบริเวณที่อยู่ภายในวงล้อมของระเบียงคด


267

3.2 อาคารที่อยูน่ อกระเบียงคด 3.2.1 พระระเบียงคด “พระระเบียงคด” มีลักษณะเป็นโถงทางเดินผังรูปสี่เหลี่ยมเกือบจะจัตุรัสทาหน้าที่ล้อมรอบ ทั้ง 4 ด้านของพระศรีรัตนมหาธาตุ เพื่อกั้นพื้นที่ตอนในให้แสดงสถานะอันศักดิ์สิทธิ์ด้วยการปิดล้อม พื้นที่ ผังของระเบียงคดมีความยาวประมาณ 86 เมตร กว้างประมาณ 7 เมตร ทั้งนี้ ตาแหน่งที่พระ วิหารหลวงคร่อมเข้ามานั้นทาหน้าที่เป็นจุดต่อเชื่อมต่อระหว่างระเบียงคดกับส่วนท้ายของพระวิหาร หลวง ซึ่งถือว่าเป็นทางเข้าหลักสู่พื้นที่ตอนในตามธรรมเนียม หลังจากที่ได้สักการบูชาพระประธาน ภายในพระวิหารหลวงเป็นที่เรียบร้อย อย่างไรก็ตาม ก็มีการเจาะช่องประตูบนระเบียงคดโดยตรงเพื่อ เข้าสู่พื้นที่ตอนในโดยไม่ต้องผ่านมาจากพระวิหารหลวง โดยซุ้มประตูนี้ทางทิศตะวันออกจะกระหนาบ อยู่ด้านข้างวิหารทั้งสองฟาก ในขณะที่ทางทิศตะวันตกก็มีซุ้มประตูที่เชื่อมต่อไปยังพระอุโบสถ หากพิจารณาภาพตัดขวาง (ภาพที่ 4-30) จะเห็นว่า ระเบียงคดมีความกว้างประมาณ 7 เมตร ทางฟากด้านนอกเป็นกาแพงก่อด้วยอิฐมีความหนาประมาณ 50 เซนติเมตรขึ้นจรดโครงสร้าง หลังคา หากมองจากด้านนอกจะแลเห็นว่าหลังคาจั่วจะวางอยู่บนหลังเจียดของแนวกาแพงเครื่องก่อที่ มีการปั้นปูนเลียนแบบการมุงหลังคาด้วยกระเบื้องกาบู พื้นที่ภายในมีการก่อฐานชุกชียกพื้นสูงประมาณ 85 เซนติเมตรไปตลอดแนวกาแพง สาหรับ ประดิษฐานพระพุทธรูป ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูปหินทรายลงรักปิดทอง ถัดมาเป็นทางเดินกว้าง ประมาณ 3 เมตร ซึ่งมีแนวเสาแปดเหลี่ยมลอยตัวเพื่อรองรับโครงสร้างหลังคาจั่ว และริมด้านในสุดก่อ เป็ น กาแพงเตี้ย ๆ สลั บ กับ แนวเสาสี่ เหลี่ ยมซึ่ง อยู่ในพิ กัดเดียวกับ แนวเสาแปดเหลี่ ย มเพื่ อรองรั บ โครงสร้างหลังคาปีกนกที่ต่อเนื่องสัมพันธ์มาจากโครงหลังคาจั่วตอนบบน เปิดพื้นที่โล่งหันเข้าด้านในสู่ ปรางค์ประธาน นอกจากนี้ ตรงตาแหน่งแกนประจาทิศที่ซึ่งสัมพันธ์กับ ตรงกับมุขทิศของพระศรีรัตนมหา ธาตุ สร้างเป็นห้องคูหาขนาดเล็ ก ซึ่งยื่นออกมาจากแนวระเบียงคดประมาณ 4 เมตร มีหน้ากว้าง ประมาณ 8 เมตร ตั้งอยู่ทั้งหมด 3 ทิศ คือ ทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันตกของระเบียงคด ทาให้ตรง ตาแหน่งดังกล่าวเกิดเป็นจุดตัดของแกนที่พุ่งตรงเข้าไปยังพระศรีรัตนมหาธาตุกับแกนของสันหลังคา ระเบี ย งคดกลายเป็น ตรีมุข ซึ่งการประดิษฐานพระพุทธรูปประธานประจามุขทิศของระเบียงคด ดังกล่าวนั้นจึงเท่ากับการดึงเอาความหมายของพระบรมสารีริกธาตุในพระศรีรัตนมหาธาตุออกมาให้ พุทธศาสนิกชนได้สักการบูชาทว่าอยู่ในรูปทรงของพระพุทธรูปประจาทิศดังกล่าวนั่นเอง ยกเว้นทาง ทิศตะวันออกที่มีการเชื่อมต่อกับท้ายจระนาของวิหารหลวงซึ่งในอดีตย่ อมประดิษฐานพระพุทธรูป สาคัญประทับนั่ง หรือยืนหันพระพักตร์เข้าสู่องค์พระศรีรัตนมหาธาตุ ซึ่งร่องรอยทางสถาปัตยกรรม ของการก่อกาแพงของระเบียงคด และห้องคูหาประดิษฐานพระพุทธรูปที่มีการเจาะช่องรูปกลีบบัว สาหรับวางประทีปจึงสันนิษฐานได้ว่าได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช


268

ภาพที่ 149: แบบสถาปัตยกรรมแสดงภาพตัด (Section) ของระเบียงคด

3.2.2 พระวิหารหลวง

“พระวิหารหลวง” เป็นอาคารสาหรับการใช้สอยที่สาคัญที่สุดของวัดดังเห็นประจักษ์ในการ กาหนดที่ตั้งให้เป็นอาคารที่อยู่ด้านทางทิศตะวันออกซึ่งเป็นหน้าของผังบริเวณ ทั้งนี้ คาว่า “วิหาร” หมายความดั้งเดิมนั้นหมายถึง “ที่อยู่ของพระสงฆ์ ซึ่งมีความหมายเดียวกับคาที่เข้าใจในปัจจุบัน คือ กุฏิ”1 แต่อย่างไรก็ตาม ความหมายดังกล่าวนั้นได้เคลื่อนแตกต่างออกไป กล่าวคือ ใช้คาว่า “กุฏิ” ใน ความหมายถึงที่จาพรรษาของพระสงฆ์ และคาว่า “วิหาร” ในความหมายของอาคารที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปตัวแทนพระองค์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อันมีที่มามาจากความหมายของกุฏิที่จาพรรษา ของพระพุทธองค์ในอดีตนั่นเอง

1

สมคิด จิระทัศนกุล. รู้เรื่องวัด วิหาร โบสถ์ เจดีย์ พุทธสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: มิวเซียมเพลส. 2554. หน้า 122.


269

ทั้งนี้ พระวิหารยังมีความหลากหลายทั้งในแง่ของรูปแบบ ประเภท หน้าที่ รวมทั้งตาแหน่ง ที่ตั้งของอาคารที่แตกต่างกันไปในผังบริเวณ2 โดยพระวิหารที่ตั้งอยู่ตรงตาแหน่งประธานซึ่งอยู่ด้านทิศ ตะวัน ออกของวั ดและอยู่ ด้ านหน้ าเจติย ะประธานของวั ด ถูก เรี ยกชื่ อ ว่า “วิห ารหลวง” ซึ่งคาว่ า “หลวง” นั้นเป็นคาในภาษาตระกูลไทดั้งเดิมมีความหมายว่า “ใหญ่” ซึ่งต่อมาความหมายได้เคลื่อนไป เป็นหมายถึง “หลัก” หรือ “ประธาน” ได้ด้วย สาหรับพระวิหารหลวงของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นตั้งอยู่ที่ด้านตะวันออกเบื้อง หน้าขององค์พระศรีรัตนมหาธาตุ ดังที่กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า การเกิดขึ้นของพระวิหารในวัฒนธรรม พุทธศาสนาแบบเถรวาทในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาเกิดขึ้นเนื่องจากการยืมรูปทรงทางสถาปัตยกรรมของ “ปราสาทขอม” ในศาสนาฮิ น ดู ม าสู่ ก ารสถาปนาองค์ “พระศรี รั ต นมหาธาตุ ” ที่ มี รู ป ทรงทาง สถาปัตยกรรมของ “พระปรางค์” แต่ทว่าห้องมณฑปด้านหน้าที่เคยใช้ประกอบพิธีกรรมนั้นก็มีพื้นที่ ใช้สอยไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติศาสนกิจของพุทธศาสนิกชนจึงมีการสร้างพระวิหารอยู่ด้า นหน้าเพื่อ ทาหน้าที่ดังกล่าวนั่นเอง พระวิหารหลวงของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นคงถูกสร้างขึ้นพร้อมกับการสร้างวัด โดยรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร (ครองราชย์ พ.ศ.1931-1938) ทั้งนี้พระองค์ทรงสร้างองค์พระศรีรัตน มหาธาตุ ในปี พ.ศ.1931 ซึ่งสร้างขึ้นในปีแรกของรัชกาลของพระองค์ และก็คงมีการสร้างพระวิหาร ขึ้นในคราวนั้นด้วยนั่นเอง จากการที่กรมศิลปากรได้ดาเนินขุดสารวจทางโบราณคดี และมีการขุดแต่งพระวิหารหลวง ด้วย ซึ่งในการขุดแต่งพระวิห ารหลวงตรงบริเวณมุขโถงด้านหน้าของอาคารวิห ารหลวงนั้น แสดง หลักฐานว่า พระวิหารหลวงนั้นมีพัฒนาการอย่างน้อย 3 สมัย ดังรายละเอียดต่อไปนี้ “ฐานวิหารระยะที่ 1” (ดูเส้นประสีเหลือง ในภาพที่ 4-31, 4-32) เป็นฐานวิหารเมื่อครั้ง สร้างวัดในปี พ.ศ. 1931 ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรนั่นเอง ซึ่งน่าสนใจว่าเป็นรูปแบบฐานของพระ วิหารหลวงซึ่งไม่ได้ใช้ฐานแบบบัวลูกฟักซึ่งปรากฏอยู่ในฐานของพระศรีรัตนมหาธาตุซึ่งได้รับอิทธิพล จากปราสาทขอม ทั้งนรี้เป็นชุดฐานแบบฐานปัทม์ที่มีท้องไม้ไม่ความสูงมากนัก แต่เหนือชุดฐานปัทม์ นั้นเป็นฐานที่ยกสูง และออกแบบพื้นที่หน้ากระดานของฐานให้มีมิติตื้นลึกลักษณะเป็นเหมือนกับ กรอบช่องกระจกที่นิยมในดินแดนลุ่มแม่น้าเจ้าพระยามาก่อนหน้า จึงแลเห็นเป็นเหมือนเสาอิงที่สร้าง ให้ผืนหน้ากระดานของชุดฐานแลดูมีมิติตื้นลึกที่เกิดเป็นแสงที่มาตกระทบสร้างให้เกิดเงา

2

สมคิด จิระทัศนกุล. รู้เรื่องวัด วิหาร โบสถ์ เจดีย์ พุทธสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: มิวเซียมเพลส. 2554. หน้า 126.


270

“ฐานวิหารระยะที่ 2” (ดูเส้นประสีเขียว ในภาพที่ 4-31, 4-32) มีการขยายอาคารในช่วงที่ 2 เป็นการขยายขนาดอาคารด้วยการยกมุขด้านหน้าขึ้นมาจากเดิม 1 ห้องเสา และขยายปีกด้านข้าง ทั้งสองของอาคารด้านข้างของวิหารอีก 1 ห้องเสาตลอดแนวอาคาร ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นการขยาย อาคารในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2173-2199) ในปี พ.ศ.2176 เนื่องจากทั้งวัดมีการบูรณปฏิสังขรณ์ใหญ่ทั้งพระอาราม ความน่าสนใจของวิหารในช่วงนี้ คือ ผังวิหาร ส่วนมุขโถงด้านหน้าที่ขยายตัวออกมาซึ่งเป็นฐานย่อมุมอย่างซับซ้อนฟากละ 11 มุม ทั้งนี้ การย่อมุม อย่างซับซ้อนดังกล่าวนั้นในเชิงการออกแบบจะเห็นได้ว่า เป็นการคลี่คลายด้านการออกแบบออกมา จากการที่พระศรีรัตนมหาธาตุประธานที่มีก ารก่อยื่นมุขออกมาอย่างซับซ้อนในการปฏิสังขรณ์ครั้ง ใหญ่นี้ “ฐานวิหารระยะที่ 3” (ดูเส้นประสีแดง ในภาพที่ 4-31, 4-32) เป็นผังของพระวิหารหลวง ระยะสุดท้ายก่อนเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่ 2 สันนิษฐานว่ามีการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่อีกครั้งในสมัย สมเด็จพระเข้าอยู่หัวบรมโกศ เนื่องจากการขยายฐานออกมาเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าดังกล่าวนั้นส่งผลให้มี การออกแบบหลังคามุขหน้าเป็นหลังคาทรงโรงเพื่อเพิ่มพื้นที่ใช้สอยตรงมุขหน้าของอาคารพระวิหาร หลวง ซึ่งเป็นที่นิยมกันในรัชกาลของพระองค์ดังมีการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวงวัดพระศรีสรร เพชญ์ นอกจากนี้ ลักษณะมุขโถงทรงโรงดังกล่าวนั้นยังเป็นรูปแบบที่สืบทอดมายังกรุงรัตโกสินทร์ใน การสร้างพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระอุโบสถวัดสระเกศ เป็นต้น

ภาพที่ 150: ภาพจาก 3Ds Laser Scanner แสดงขอบเขตและลักษณะชุดฐานทั้ง 3 สมัยของวิหารหลวง

270


271

ภาพที่ 151: ภาพสามมิติแสดงลักษณะชุดฐานระยะต่างๆ ของวิหารหลวง ภาพซ้าย คือ ลักษณะฐานของวิหารใน ระยะที่ 1 ภาพกลาง คือ คือ ลักษณะฐานของวิหารในระยะที่ 2 และภาพขวา คือ คือ ลักษณะฐานของวิหารในระยะ ที่ 3

ทั้งนี้ เมื่อศึกษาจากซากวิหารระยะสุดท้ายซึ่งเป็นแบบวิหารก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยละเอียด และนามาส ่กู ระบวนการศึกษาเพื่อสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรมพบว่า พระ วิหารหลวงระยะที่ 3 นี้ มีรูปทรงที่สอดคล้องกับรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของวิหารหลวงวัดพระศรี สรรเพชญ์ระยะสุดท้าย (ระยะที่ 3) ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ตามที่รองศาสตราจารย์ เสนอ นิล เดช เสนอว่า เป็นผลงานการบูรณปฏิสังขรณ์ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ. 2275-2301)3 รวมทั้งพระวิหารหลวงวัดวัดราชบูรณะก็มีรูปแบบมุขโถงแบบนี้ด้วยเช่นกัน

3

เสนอ นิลเดช. วัดพระศรีสรรเพชญ์. กรุงเทพฯ: อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สานักงานศิลปากรที่ 3 กรมศิลปากร, 2546. หน้า. 44.


272

ภาพที่ 152: แบบสันนิษฐานพระวิหารหลวงวัดพระศรี สรรเพชญ์ระยะที่ 3 ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ซึ่ง สัมพันธ์กับความนิยมในการก่อสร้างมุขโถงขนาดใหญ่ด้วย การใช้หลังคาทรงโรงคลุม เช่น วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เป็นต้น ที่มา: เสนอ นิลเดช. วัดพระศรีสรรเพชญ์. กรุงเทพฯ: อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา ส านั ก งาน ศิลปากรที่ 3 กรมศิลปากร, 2546. หน้า. 44.

272


273

รูปตัดด้านสกัด

รูปด้านหน้า

รูปตัดตามยาว

รูปด้านตามยาว

ผังพื้น ภาพที่ 153: แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 1


274

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 1: รูปด้านหน้า

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 1: รูปด้านข้าง

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 1: ภาพทัศนียภาพ ภาพที่ 154: แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 1 274


275

รูปตัดด้านสกัด

รูปด้านหน้า

รูปตัดตามยาว

รูปด้านตามยาว

ผังพื้น ภาพที่ 155: แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 1


276

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 2 แบบที่ 1: รูปด้านหน้า

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 2 แบบที่ 1: รูปด้านข้าง

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 2 แบบที่ 1: ภาพทัศนียภาพ ภาพที่ 156: แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 1

276


277

รูปตัดด้านสกัด

รูปด้านหน้า

รูปตัดตามยาว

รูปด้านตามยาว

ผังพื้น ภาพที่ 157: แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 2


278

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 2 แบบที่ 2: รูปด้านหน้า

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 2 แบบที่ 2: รูปด้านข้าง

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 2 แบบที่ 2: ภาพทัศนียภาพ ภาพที่ 158: แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 2

278


279

รูปด้านหน้า

รูปตัดด้านสกัด

รูปตัดตามยาว

รูปด้านตามยาว

ผังพื้น ภาพที่ 159: แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 3


280

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 2 แบบที่ 3: รูปด้านหน้า

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 2 แบบที่ 3: รูปด้านข้าง

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 2 แบบที่ 3: ภาพทัศนียภาพ ภาพที่ 160: แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 2 แบบที่ 3

280


281

รูปด้านหน้า

รูปตัดด้านสกัด

รูปตัดตามยาว

รูปด้านตามยาว

ผังพื้น ภาพที่ 161: แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารหลวงระยะที่ 3


282

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 3: รูปด้านหน้า

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 3: รูปด้านข้าง

แบบสถาปัตยกรรมพระวิหารระยะที่ 3: ภาพทัศนียภาพ ภาพที่ 162: แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงระยะที่ 3

282


283

ภาพที่ 163: แบบสถาปัตยกรรม และแบบสามมิติแสดงพระวิหารหลวงเปรียบเทียบระยะต่างๆ 3 ระยะ


284

3.2.3 พระอุโบสถ อาจารย์ น ณ. ปากน้า ให้ข้อเสนอเกี่ยวกับรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของพระอุโบสถวัด พระศรีรัตน มหาธาตุอยุธยา ความว่า “...พระอุโบสถใหญ่อันหันหน้าสู่ทิศตะวันตก เข้าใจว่าหันสู่ พระบรมมหาราชวัง ก็มองเห็นเสาเหลี่ยมย่อมุมสิบสองทรงไม่สอบมากนัก ทั้งยังบากลึก บัวหน้าเป็น บัวกลีบยาว แบบหัวเสาห้องตัวเองว่าได้รับการปฏิสังขรณ์ในภายหลัง อาจจะเป็นสมเด็จพระเจ้า ปราสาททอง หรื อมิฉะนั้ น ก็ต้ องเป็ น สมั ย สมเด็ จพระนารายณ์ ไ ม่สู ง ไม่ต่ าไปกว่านั้ น...”4 จากข้ อ สันนิษฐานของอาจารย์ น ณ. ปากน้าที่ กล่าวมาข้างต้น ว่า การสร้างพระอุโบสถหันหน้าไปทางทิศ ตะวันตกนั้นเป็นเพื่อหันสู่พระราชวังหลวงนั้นจึงไม่เป็นไปเช่นนั้น เนื่องมาจากจะเห็นได้ว่าวัดหลวงที่มี ขนาดใหญ่ในสมัยอยุธยาตอนต้นที่มีการสร้างพระวิหารอยู่ด้านหน้าพระมหาธาตุ หรือพระเจดีย์นั้น ก็ จะมีการสร้างพระอุโบสถไว้ด้านท้ายและหันหน้าไปทางทิศตะวันตกโดยไม่จาเป็นต้องเพื่อหันหน้าไปสู่ พระราชวังหลวงแต่อย่ างใด เช่น วัดพุทไธศวรรย์, วัดกุฎีดาว, วัดใหญ่ชัยมงคล เป็นต้น ซึ่งวัด ที่ ยกตั ว อย่ า งมานี้ ไ ม่ ไ ด้ มี ที่ ตั้ ง สั ม พั น ธ์ กั บ พระราชวั ง หลวงแต่ อ ย่ า งใดเพราะตั้ ง อยู่ น อกเกาะเมื อ ง พระนครศรีอยุธยา อย่างไรก็ดี ลักษณะการวางผังของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยามีข้อพิจารณาที่น่าสนใจ คือ ท้ายวัดด้านตะวันตกนั้น คือ “เขตสังฆาวาส” ซึ่งเป็นเขตที่พระภิกษุสงฆ์จาพรรษา จึงน่าสนใจว่า ในการวางผังของวัดต่างๆ ที่ควรจะมีเขตสังฆาวาสอยู่คู่ด้วยนั้นก็ควรจะมีการวางผังที่สอดคล้องกับการ วางผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา เพราะฉะนั้นการที่พระอุโบสถหน้าไปทางทิศตะวันตกนั้นจึงมีนัย ที่สั มพัน ธ์กับ เขตสั งฆาวาสซึ่งเป็ น ที่จ าพรรษาของพระภิกษุส งฆ์ ทั้งนี้ เพื่ออานวยความสะดวกแก่ พระภิกษุสงฆ์ผู้ใช้สอยหลักของพระอุโบสถ มากกว่าการหันไปยังพระราชวังหลวง ในการนี้ อาจจะ ขยายต่อความรู้ดังกล่าวไปสู่การสร้างสมติฐานต่อที่ตั้งของเขตสังฆาวาสของวัดอื่นๆ ต่อไป จากการศึกษาของอาจารย์ น.ณ ปากน้า มีข้อเสนอว่า พระอุโบสถของวัดพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยานั้นมีความเก่าแก่ร่วมสมัยกับเมื่อแรกสร้างวัดโดยใช้การบ่งชี้โดยใช้รูปแบบของใบเสมา ทั้งนี้ พบใบเสมา 2 รูปแบบ คือ ใบเสมาหินชนวนสีออกแดงขนาดย่อมสูง 1 เมตร กว้าง 67 เซนติเมตร หนา 11 เซนติเมตร อีกรูปแบบ คือ ใบเสมาหินชนวนเนื้อละเอียดสีเขียว สูง 1.12 เมตร กว้าง 72 เซนติเมตร และหนา 8 เซนติเมตร ส่วนล่างทาลวดบัวคล้ายใบเสมาสุโขทัย5 ซึ่งรูปแบบของใบเสมานั้น มีความคล้ายคลึงกับใบเสมาวัดภูเขาทอง และวัดพระราม จึงได้สันนิษฐานว่าใบเสมาดังกล่าวนั้นทาขึ้น ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร อย่างไรก็ดี ใบเสมาอีกรูปแบบนั้นมีความคล้ายคลึงกับใบเสมาวัดพุทไธ ศวรรย์ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นรูปแบบใบเสมาในสมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ในการนี้ อาจารย์ น.ณ ปากน้า จึงเสนอว่าอาจพระอุโบสถเดิมนั้นอาจเก่าแก่ไปถึงรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะ 4 5

น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 107. น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 108. 284


285

งั่ว) ได้ตามที่มีหลักฐานการกล่าวถึงในพระราชพงศาวดารได้กล่าวถึง 6 แต่จากการศึกษาวิเคราะห์ บริ บ ทแวดล้ อมทางประวัติ ศ าสตร์ จากเอกสารทางประวั ติ ศาสตร์ และการส ารวจภาคสนามได้ มี ข้อเสนอว่าวัดพระศรีรั ตนมหาธาตุอยุธยานั้นสร้างขึ้นในรัช กาลสมเด็จพระราเมศวรในปีแรกของ รัชกาลเมื่อการครองราชย์ครั้งที่ 2 ดังกล่าวมาข้างต้นแล้วนั้น จึงไม่น่าแปลกที่ใบเสมาที่มีรูปแบบที่ สัมพันธ์กับรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอู่ทองยังตกค้างมาถึง

ภาพที่ 164: ภาพร่างใบเสมาทั้ง 2 รูปแบบที่พบที่พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา โดยอาจารย์ น.ณ ปากน้า ที่มา: น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 108.

6

น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 109.


286

ในการศึกษานี้ จึงสันนิษฐานว่าพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้น ถูกสร้างขึ้นมา ครั้งแรกพร้อมๆ กับการสถาปนาพระศรีรัตนมหาธาตุประธาน พระวิหารหลวง และพระระเบียงคด ซึ่ง เป็นการวางผังวัดหลวงในสมัยอยุธยาตอนต้น ทั้ งการใช้หลักฐานใบเสมาที่เป็นข้อเสนอของ อาจารย์ น.ณ ปากน้า นั้นก็เป็นหลักฐานที่ช่วยส่งเสริมข้อสันนิษฐานดังกล่าวได้เป็นอย่างดี แต่ไม่อาจสันนิษฐาน รูปแบบของพระอุโบสถเมื่อแรกสร้างได้ เนื่องจากไม่มีหลักฐานเหลือเพียงพอต่อการศึกษา สาหรับซากพระอุโบสถที่ยังปรากฏอยู่ในปัจจุบัน มีลักษณะเป็นผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด กว้าง 17 เมตร ยาว 48 เมตร มีขนาด 9 ห้องเสา และตัวอาคารตั้งเป็นอิสระไม่เชื่อมต่อกับระเบียงคด เช่นวิหาร เนื่องจากมีความต้องการกากับแนวเขตทุถูกลากเส้นสมมติผ่านใบเสมาเพื่อกาหนดขอบเขต ของพัทธสีมาที่ชัดเจนดังจะเห็นได้ว่า แม้ว่าพระวิหารในสมัยอยุธยาตอนต้นนั้นออกแบบให้ท้ายจระนา คร่ อมเข้ามาในพื้น ที่ส่ ว นในและต่อเชื่อมระเบียงคดผ่ านห้ องท้ายวิห าร หากแต่พระอุโ บสถจะไม่ ออกแบบเช่น นั้ น โดยเด็ดขาด เพราะทาให้ ไม่ส ามารถแสดงคุณลั กษณะของความเป็นเอกเทศอัน เป็นสัญญะที่แสดงให้เห็นถึงความบริสุทธิ์ของพื้นที่พัทธสีมาสาหรับการประกอบสังฆกรรม ทั้งนี้ พื้น ที่ของพระอุโ บสถถูก แบ่ง ออกเป็น 2 ส่ ว นตามคุณลั กษณะของพื้นที่ กล่ าวคือ “พื้นที่ส่วนโถงหน้า ” อยู่ทางทิศตะวันตกของตัว อาคาร เพื่อเป็นพื้นที่เปลี่ยนผ่านสภาวะระหว่ าง ภายนอกสู่ภายใน เนื่องจากภายในนั้นมีหน้าต่างน้อยจึงสันนิษฐานว่ามีความมืดมาก การออกแบบมุ ข โถงซึ่งมีคุณลักษณะกึ่งเปิดกึ่งปิดจะช่วยปรับสภาพของสายตาในยามเข้าและออกพื้นที่ปิดล้อมภายใน นอกจากนี้ ยั ง มี ค วามหมายในเชิ ง กระตุ้ น เตื อ นการรั บ รู้ ข องผู้ เ ข้ า ไปใช้ ส อยในพื้ น ที่ ภ ายในให้ เตรียมพร้อมในการวางตัวอย่างเหมาะสมในก้าวล่วงเข้าสู่พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ภายในพื้นที่ปิดล้อมในเชิง สัญลักษณ์อีกด้วย มีช่องประตูจานวน 3 ช่อง ประตูกลางมีขนาดใหญ่กว่า ประตูด้านข้างทั้ง 2 สภาพ ของซุ้มประตูปัจจุบันเหลือเพียงส่วนฐาน หลักฐานองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพื้นที่ส่วนมุขโถงด้านหน้านั้นยังปรากฏมีเสา ร่วมในหลงเหลืออยู่ 1 ต้น มีลักษณะเป็นเสาย่อมุมไม้สิบสอง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เมตร มีบัวหัวเสาแบบบัวแวง ซึ่งมีลักษณะเป็นบัวกลีบยาวอันเป็นรูปแบบบัวหัวเสาที่นิยมในสมัย อยุธยาตอนปลาย ซึ่งอาจารย์ น.ณ ปากน้าได้กาหนดอายุไว้ในราวรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง หรือรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ไม่สูงไม่ต่าไปกว่านั้น7 สาหรับ “พื้นที่ภายในพระอุโบสถ” มีลักษณะเป็นห้องโถงขนาดใหญ่ ล้อมรอบด้วยผนังทั้ง 4 ด้าน มีเสาร่วมใน วางเป็นคู่เป็นแนวยาวต่อเนื่องมาจากส่วนโถงหน้า มีลักษณะเป็นเสาแปดเหลี่ยม สภาพเสาส่วนใหญ่พังทลายลงเหลือแต่ส่วนฐาน ในอดีตนั้นจะเห็นได้ว่าพื้นที่ภายในจะมีความมืดมาก เนื่องจากมีจานวนช่องเปิดน้อย สะท้อนให้เห็นถึงการควบคุมสภาวะแวดล้อมภายในโดยการจากัด ปริมาณแสงเพื่อให้พื้นที่ภายในนั้นเป็นพื้นที่ว่างแห่งความสงบสุข และสันนิษฐานว่าใช้แสงจากประทีป 7

น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 107. 286


287

ซึ่งสามารถควบคุมตาแหน่งจุดกาเนิดแสงได้มากกว่ าการใช้แสงธรรมชาติ นอกจากนี้ การมีช่องเปิด น้อยดังกล่าวนั้นยังอาจมีที่มาจากการคานึงถึงเรื่องความปลอดภัย และการไม่ถูกรบกวนจากภายนอก เนื่องจากเป็นพระอุโบสถของวัดที่สาคัญที่สุดในกรุงศรีอยุธยา ซึ่งย่อมมีพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงทรง มาประกอบพิธีกรรมทางศาสนา รวมถึงการทรงผนวชด้วย

ภาพที่ 165: บัวหัวเสาแบบบัวแวงของมุขโถงด้านหน้าทางทิศตะวันตกของพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา ที่มาของภาพซ้าย: น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 107.

ภาพที่ 166: บัวหัวเสาแบบบัวแวงพระเมรุทิศ -เมรุรายวัดไชยวัฒนาราม ซึ่งสร้างในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาท ทอง


288

ในการศึกษานี้ จึงสันนิษฐานว่าพระอุโบสถคงได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่เมื่อคราว บูรณปฏิสังขรณ์พระศรีรัตนมหาธาตุในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ทว่าการปฏิสังขรณ์ ไม่ สมบูรณ์ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช เนื่องมาจากแนวกาแพงแก้วที่สร้างล้อมรอบด้านข้าง ของพระอุโบสถนั้นมีการเจาะช่องใส่ประทีปอันเป็นเอกลักษณ์สาคัญของศิลปสถาปัตยกรรมสมัย สมเด็จพระนารายณ์ มหาราช

3.2.4 พระปรางค์ราย

ภายนอกของระเบียงคดนั้นมี “พระปรางค์ราย” ซึ่งในเอกสารดังกล่าวนั้นใช้ว่า “เจดีย์” อยู่ ล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน ซึ่งมุมมองจากทางด้านทิศตะวันออกซึ่งเป็นด้านหน้า และมุมมองจากด้านทิศ ตะวันตกซึ่งเป็นด้านหลังนั้นจะแลเห็นมีป รางค์ราย 6 องค์ ในขณะที่มุมมองด้านทิศเหนือคือ ด้าน ขวามือ และมุมมองทางด้านทิศใต้ คือ ด้านซ้ายมือ จะแลเห็นมีพระปรางค์รายจานวน 8 องค์ ในการนี้ จึงชวนให้สงสัยว่า เรือของคณะทูตลังกานั้นอาจจะมาจอดเทียบศาลาท่าน้าด้านข้างทางทิศใต้ของวัด ซึ่งเชื่อมต่อกับบึงพระราม จึงทาให้ผู้จดบันทึกกล่าวว่ามีปรางค์รายด้านละ 8 องค์ ซึ่งล้วนแต่ปิดทอง ทั้งสิ้น ซึ่งสอดคล้องกับหลักฐานเชิงประจักษ์ที่แสดงให้เห็นว่า พระปรางค์รายเหล่านี้ได้รับการบูรณะ ในชั้นหลังด้วยการฉาบปูนทับลวดลายปูนปั้นดั้งเดิม ซึ่งยังปรากฏร่องรอยปูนฉาบที่กะเทาะออกมาเผย ให้เห็นลวดลายปูนปั้นในสมัยอยุธยาตอนต้นอยู่ ในการศึกษาเพื่อการสันนิษฐานรูปแบบ และการ นาเสนอจึงกาหนดให้แบบสถาปัตยกรรมของพระปรางค์รายในระยะตั้งแต่รัช กาลสมเด็จพระเจ้า ปราสาททองลงมามีเรือนยอดเป็นสีทอง - ทั้งนี้ หน้าที่ของพระปรางค์รายคงมีหน้าที่บรรจุอัฐิของพระมหากษัตริย์และพระบรม วงศานุวงศ์ชั้นสูง ซึ่งพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทยังมีแนวคิดในการอุทิศบุญกุศลไปยังผู้ที่ล่วงลับไป แล้ว8 ซึ่งแนวคิดดังกล่าวนี้อาจมีการผสมผสานกับคติการสร้างปราสาทบรรพบุรุษเนื่องในอารยธรรม เขมรซึ่ ง ได้ ส่ ง ผลอิ ท ธิ พ ลความคิ ด มายั ง ราชส านั ก อยุ ธ ยา 9 ในขณะที่ พ ระศรี รั ต นมหาธาตุ นั้ น ได้ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธองค์นั่นเอง แต่ต่อมาการใช้รูปแบบพระปรางค์นั้นได้ถูก แทนที่ด้วยความนิยมในการก่อสร้างพระเจดีย์ทรงระฆังไปในช่วงสมัยอยุธยาตอนกลางโดยปรากฏ ความเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

8 9

น.ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. หน้า 111. รสิตา สินเอกเอี่ยม. “การศึกษาวัฒนธรรมการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมไทยจากพระราชพงศาวดารกรุ งศรี อยุธยา” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2547. หน้า 81. 288


289

จากการศึกษาเพื่อทาความเข้าใจระบบในการวางผั งของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุโ ดยใช้ ข้อมูลจากการการสารวจด้วยเครื่องเลเซอร์สแกนเนอร์สามมิติ ซึ่งพบว่า พระปรางค์รายที่ก่อสร้างอยู่ นี้มีรูปทรงทางสถาปัตยกรรมแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ “พระปรางค์ที่มีระเบียบสัดส่วนเตี้ยล่า” และ “พระปรางค์ที่มีระเบียบสัดส่วนสูงเพรียว” ซึง่ จะเห็นได้ว่าพระปรางค์ที่มีระเบียบสัดส่วนที่ดูเตี้ยล่านั้น จะเป็นพระปรางค์กลุ่มที่สร้างขึ้นเป็นพระปรางค์มุม และพระปรางค์รายในผังทางด้านทิศใต้ ซึ่งเป็น ทิศที่สาคัญรองลงมาจากทิศตะวันออกตามคติ นอกจากนี้ ยังเป็นทิศทีส่ ัมพันธ์ต่อเนื่องมาจากท่าเทียบ เรือที่ขึ้นมาจากบึงพระราม ซึ่งเป็นเส้นทางเสด็จพระราชดาเนินจึงมีความจาเป็นต้องรักษาระเบียบ ของผังบริเวณโดยเคร่งครัด ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า ในขณะที่พระปรางค์ที่มีระเบียบสัดส่วนที่สูง เพรียวนั้นเป็นพระปรางค์รายเท่านั้น และพบก่อสร้างตรงตาแหน่งด้านทิศตะวันตกซึ่งมีความสาคัญ น้อยกว่าทิศตะวันออก และทิศใต้ ในการนี้ จึงพบระบบของการวางผังที่สัมพันธ์กับระเบียบสัดส่วนของพระปรางค์ดังนี้ คือ ใน สมัยอยุธยาตอนต้นมีการสร้างพระปรางค์ที่อยู่ด้านนอกของระเบียงคดในส่วนที่เป็น “พระปรางค์มุม” ก่อน ต่อมาจึงได้มีการก่อสร้างพระปรางค์รายองค์อื่นๆ เพิ่มเติม ทั้งนี้ ธรรมเนียมในการก่อสร้างพระ ปรางค์รายประกอบผังก็เริ่มสร้างมาตั้งตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ ลาดับในการเลือก ที่ตั้งนั้นจะสร้างเป็นพระปรางค์รายตรงพื้นที่ทางด้านทิศตะวันออก และทิศใต้ ก่อนที่จะสร้างพระ ปรางค์รายตรงพื้นที่ ด้านทิศตะวันตก และทิศเหนือ อาจจะเป็นเพราะมีทาเลที่ตั้งที่สะดวกแก่การ เข้าถึงมากกว่า และก็มีการก่อสร้างพระปรางค์เรื่อยมาดังจะเห็นได้ว่ามีความพยายามควบคุมความสูง ของพระปรางค์รายให้สอดคล้องกันเพื่อรักษาสุนทรียภาพของผังบริเวณ แต่ไม่ได้สร้างพระปรางค์ราย ทั้งหมดขึ้นพร้อมในคราวเดียวกัน หรือหากสร้างขึ้นพร้อมในคราวเดียวกัน คงมีพระปรางค์รายบาง องค์ที่พังทลายลงไป นอกจากนี้ ตรงมุมด้านตะวันออกเฉียงใต้ ยังมี “พระปรางค์ผังแปดเหลี่ยม” หรือในที่นี้ก็ อาจจะเรียก “พระเจดีย์ผังแปดเหลี่ยม” ได้ด้วยเช่นกัน ตั้งอยู่บนฐานเหลี่ยมย่อมุมไม้ยี่สิบมีลักษณะ เป็นทรงแปดเหลี่ยมซ้อน 3 ชั้น แต่ละชั้นมีการประดับด้วยซุ้มจระนาทั้ง 8 ด้าน รวม 24 ซุ้ม โดยซุ้ม จระนาในชั้นที่ 4 มีลักษณะเป็นซุ้มยอดปรางค์ทั้ง 8 ด้าน รวมเป็น 32 ซุ้ม และมียอดปรางค์อีก 1 ยอด อยู่ตรงกลางบนยอดสุด จึงทาให้มีลักษณะเป็นปรางค์ 9 ยอด ซึ่งสันนิษฐานว่าได้รับแรงบันดาลใจจาก พระศรีรัตนมหาธาตุประธานที่มีเก้ายอด และย่อมต้องสร้างขึ้นในราวรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช เนื่องจากมีร่องรอยของศิลปะล้านนาปรากฏอยู่10 สอดคล้องกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่มีการยกทัพขึ้นไปตีเชียงใหม่ ซึ่งคงได้ทาให้แรงบันดาลใจจากศิลปะล้านนาได้แพร่หลายเข้ามายังกรุง ศรีอยุธยาครั้งใหญ่ด้วย 10

สันติ เล็กสุขุม. “ประเทศไทยกับงานช่างตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับ เอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. หน้า 248-249.


290

ภาพที่ 167: แบบสถาปัตยกรรมสันนิษฐานของพระปรางค์รายที่สร้างขึ้นอยู่นอกระเบียงคด ภาพซ้าย คือ พระ ปรางค์มุม ภาพกลาง คือ พระปรางค์ราย และ ภาพขวา คือ พระปรางค์มุมที่มีรูปทรงแบบพระปรางค์แปดเหลี่ยม ซึ่งสันนิษฐานว่าพระปรางค์สมัยอยุธยาตอนต้นได้พังทลายลง แล้วจึงถูกสร้างขึ้นแทนที่ใหม่ในรัชกาลสมเด็จพระ นารายณ์มหาราชลงมา

290


291

4. การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมและพัฒนาการของผังบริเวณวัดพระศรีรัตนม หาธาตุอยุธยา จากวิธีการศึกษา “การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม” ดังที่กล่าวมาข้างต้นนั้น ผู้วิจัยได้ ทาการศึกษาแยกเป็นอาคารรายหลัง และมีข้อสันนิษฐานถึงพัฒนาการทางสถาปัตยกรรมของอาคาร เหล่ านั้ น ที่สั มพัน ธ์กับ ประวั ติศ าสตร์ช่ว งเวลาต่า งๆ ส าหรับการนาเสนอข้ อมูล ส่ ว นนี้จึงจะน าข้ อ สันนิษฐานถึงรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและพัฒนาการของอาคารเหล่านั้นมาประกอบลงในผังบริเวณ เพื่อน าไปสู่ แบบสั น นิ ษฐานทางสถาปัตยกรรมของผั งบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธ ยา ดังมี พัฒนาการของผังบริเวณดังต่อไปนี้ ผังบริเวณระยะที่ 1: แสดงผังบริเวณในช่วงเวลา “รัชกาลสมเด็จพระราเมศวร (ครองราชย์ครั้งที่ 2 พ.ศ.19311938)” เมื่อแรกสถาปนา “พระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” และอาคารอื่นๆ ในพระอาราม อาทิ “พระ วิหารหลวง” “ระเบียงคด” และ “พระอุโบสถ” ซึ่งองค์พระศรีรัตนมหาธาตุนั้นเป็นอย่างแรก ทว่า พระวิหารหลวง พระระเบียงคด และพระอุโบสถก็คงสร้างขึ้นไล่เลี่ยกัน ทั้งนี้ สาหรับประเด็นเรื่อง รูปทรงขององค์พระศรีรัตนมหาธาตุนั้น เนื่องจากพระศรีรัตนมหาธาตุองค์เดิมที่สถาปนาในรัช กาล สมเด็จพระราเมศวรได้ชารุดลงจึงเปิด โอกาสให้สันนิษฐานรูปแบบของพระศรีรัตนมหาธาตุว่า อาจ เป็นได้ทั้งที่เป็นพระศรีรัตนมหาธาตุที่ประกอบไปด้วย 3 องค์ หรือพระศรีรัตนมหาธาตุที่เป็นพระ ปรางค์ 1 องค์ (ซึ่งในการนาเสนอในเนื้อหาว่าด้วยพัฒนาการของผังบริเวณในพัฒนาการขั้นที่ 2 เป็น ต้นไป จะแสดงด้วยแบบของพระศรีรัตนมหาธาตุมีลักษณะเป็นพระปรางค์ 3 องค์) รวมทั้งบนสัน หลังคามุขทิศด้านตะวันออก (และตะวันตก) ควรจะมีสถูปทรงปรางค์ประดับอยู่ด้วย สาหรับพระวิหาร หลวงเมื่อแรกสร้างนั้นเป็นพระวิหารขนาด 11 ห้องเสา และมีด้านท้ายวิหารที่ก่อเชื่อมกับระเบียงคด รวมเป็น 12 ห้อง


292

ภาพที่ 168: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 1 ในรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร ในปี พ.ศ. 1931 สามารถสันนิษฐานได้ 2 รูปแบบ คือ (ภาพบน) ผังบริเวณระยะที่ 1 แบบที่ 1 ประกอบด้วยพระ ปรางค์ประธาน มีลักษณะเป็น “ปรางค์องค์เดียว” พระวิหารหลวง ระเบียงคด และพระอุโบสถ (ภาพล่าง) ผัง บริเวณระยะที่ 1 แบบที่ 2 ประกอบด้วยพระปรางค์ประธาน มีลักษณะเป็น “ปรางค์สามองค์” พระวิหารหลวง ระเบียงคด และพระอุโบสถ 292


293

ผังบริเวณระยะที่ 2-3: แสดงผังบริเวณในช่วงเวลาระหว่าง “รัชกาลสมเด็จพระราเมศวร (ครองราชย์ พ.ศ.19311938) ถึงรัชกาลสมเด็จพระนครินทราธิราช (เจ้านครอินทร์) (ครองราชย์ พ.ศ.1952-1967)” คือ ระหว่าง พ.ศ.1931-1967 (36 ปี) มีการสร้าง “พระปรางค์มุม” ที่ตั้งอยู่ภายนอกระเบียงคด เนื่องจาก รูปทรงของพระปรางค์มุมนั้นมีลักษณะเตี้ยล่าอันเป็นลักษณะสาคัญของพระปรางค์ในสมัยอยุธยา ตอนต้น รวมทั้งอาจจะมีการสร้างปรางค์รายขึ้นพร้อมกันด้วย เนื่องจากพบว่ามีการก่อสร้างปรางค์ราย ที่มีรูปทรงเช่นเดียวกับพระปรางค์มุมที่เป็นพระปรางค์ที่มีรู ปทรงแบบสมัยอยุธยาตอนต้น ที่กาหนด อายุไว้ไม่เกินรัชกาลสมเด็จสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) เนื่องจากสุนทรียภาพต่อ รูปทรงทางสถาปัตยกรรมในการก่อสร้างพระมหาธาตุได้เปลี่ยนแปลงไป ดังตังอย่างของพระมหาธาตุ วัดราชบูรณะที่พัฒนารูปแบบมาสู่พระปรางค์ทรงงาเนียม นอกจากนี้ สันนิษฐานว่าอาจจะมีการสร้างพระปรางค์รายด้วยในคราวเดียวกัน แต่ทว่าพระ ปรางค์บางองค์อาจจะชารุดพังทลายลงไป จึงมีการก่อสร้างพระปรางค์องค์ใหม่ครอบทับ จึงทาให้ รูปทรงทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์รายบางองค์ ที่ปรากฏอยู่นั้นมีรูปลักษณะทางสถาปัตยกรรม เป็นแบบพระปรางค์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง หรือถ้าหากไม่เป็นไปตามที่สันนิษฐานข้างต้น ก็อาจจะมีการวางผังแม่บท (Master Plan) ที่กาหนดรูปแบบของสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในระบบแบบแผนให้ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพราะฉะนั้นแม้ว่าไม่ได้มีการก่อสร้างขึ้นไล่เลี่ยกัน แต่ก็ด้วยการเคารพผัง แม่บทดังกล่าวก็ทาให้ในชั้นหลังได้สร้างพระปรางค์รายที่มีระเบียบสั ดส่วนตามที่กาหนด แต่ทว่า รูปแบบทางสถาปัตยกรรมนั้นเกิดจากสุนทรียภาพและเทคนิคเชิงช่างก็จึงผันแปรไปตามยุคสมัย นอกจากนี้ การที่พระศรี รัตนมหาธาตุสุ พรรณบุรี ที่สันนิษฐานว่าสถาปนาขึ้นในรัช กาล สมเด็จพระนครินทราธิร าชซึ่งมีลั กษณะเป็นพระปรางค์ที่มีการวางผังเรียงกัน 3 องค์ จึงอาจเป็น หลักฐานอีกประการที่สนับสนุนว่าพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสร้างนั้นควรมีลักษณะเป็นพระ ปรางค์ที่มีการวางผังเรียงกัน 3 องค์นั่นเอง


294

ภาพที่ 169: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ในระหว่างรัชกาลสมเด็จพระราเมศวรสมเด็จพระนครินทราธิราช (สมเด็จพระอินทราชา) ในช่วง พ.ศ.1931-1967 (ภาพบน) ผังบริเวณระยะที่ 2 มีการ สร้าง “พระปรางค์มุม” ภายนอกของระเบียงคด (ภาพล่าง) ผังบริเวณระยะที่ 3 มีการสร้าง “พระปรางค์ราย” โดยรอบระเบียงคดทั้ง 4 ด้าน 294


295

ผังบริเวณระยะที่ 4: แสดงผังบริเวณในช่วงเวลา “ระหว่างรัชกาลสมเด็จพระราเมศวร (ครองราชย์ พ.ศ.19311938) ถึงก่อนรัช กาลสมเด็จ พระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) (ครองราชย์ พ.ศ. 19671991)” จากการศึกษามาข้างต้น ในที่นี้ที่จึงสันนิษฐานว่า “พระเจดีย์ทรงปราสาทยอด” ที่สร้างเป็น พระเจดีย์บริวารนั้นต้องก่อสร้างก่อนรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) เนื่องมา จกเมื่อพระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างพระมหาธาตุวั ดราชบูรณะขึ้นนั้น ความนิยมในการสร้าง พระเจดีย์ทรงปราสาทยอดได้เสื่อมถอยลงดังปรากฏให้สร้างพระเจดีย์ทรงระฆังซ้อนอยู่บนชุดฐานซ้อน ชั้นในผังแปดเหลี่ยมเป็นพระเจดีย์มุมของพระมหาธาตุวัดราชบูรณะ มิเพียงแต่พระเจดีย์บริวารทรง ปราสาทยอด อิทธิพลของสุโขทัยอีกประการที่ยังปรากฏร่องรอยในการวางผังบริเวณ คือ การสร้าง วิหารคู่เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปอยู่ด้านหน้าพระเจดีย์ประธานซึ่งก็พบในการวางผังของมณฑปพระ อัฏฐารสของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุโขทัยด้วยเช่นกัน

ภาพที่ 170: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 4 ในระหว่างรัชกาลสมเด็จพระ ราเมศวร ถึงก่อนสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ในช่วง พ.ศ.1931-1967 มีการสร้าง “พระเจดีย์ ทรงปราสาทยอด” ล้อมรอบพระปรางค์ประธาน และการสร้าง “วิหารคู่” ทางด้านทิศตะวันออกของพระปรางค์ ประธาน


296

ผังบริเวณระยะที่ 5: แสดงผังบริเวณในช่วงเวลา “ระหว่างรัชกาลสมเด็จพระนครินทราธิราช (เจ้านครอินทร์) (ครองราชย์ พ.ศ.1952-1967) ถึงรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) (ครองราชย์ พ.ศ. 1967-1991)” คือ ระหว่าง พ.ศ.1952-1991 (39 ปี) สันนิษฐานว่าเป็นช่วงเวลาที่มีการก่อสร้าง “พระเจดียม์ ุม ทรงระฆังบนฐานซ้อนชั้นผังแปดเหลี่ยม” ด้านในระเบียงคด (ตรงรักแร้ของระเบียงคด) ซึ่งเป็นที่น่าสนใจว่ารูปแบบดังกล่าวนั้นสร้างอย่างแพร่หลายในแถบเมืองสุพรรณบุรีดินแดนลุ่มแม่ น้าท่าจีน ในที่นี้ จึงสันนิษฐานว่าอาจเป็นเพราะในรัชกาลสมเด็จพระนครินทราธิราชสองลุ่มน้าทั้งสอง มีความใกล้ชิดกันมาก จึงทาให้มีการส่งผ่านรูปแบบทางสถาปัตยกรรมดังกล่าวระหว่างกันของพื้นที่ทั้ง สองลุ่มน้า สาหรับในกรุงศรีอยุธยา รูปแบบของพระเจดีย์ แบบดังกล่าวได้ถูกใช้เป็นพระเจดีย์มุมมา อย่างช้าในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ดังที่ปรากฏเป็นพระเจดีย์มุมบน ฐานไพทีของพระมหาธาตุราชบูรณะด้วยนั่นเอง

ภาพที่ 171: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 5 ในระหว่างรัชกาลสมเด็จพระ นครินทราธิราช (เจ้านครอินทร์) ถึงรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ในช่วง พ.ศ.19521991 มีการสร้าง“พระเจดีย์มุม ทรงระฆังบนฐานซ้อนชั้นผังแปดเหลี่ยม” บริเวณมุมภายในของระเบียงคด

296


297

ผังบริเวณระยะที่ 6: แสดงผังบริเวณในช่วงเวลารัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 1974 พระองค์ทรงยกทัพไปตีเมืองพระนครได้สาเร็จ ในครั้งนั้นได้ขนย้ายรูปหล่อสาริดรูป สัตว์ต่างๆ มาจากเมืองพระนครแล้วโปรดเกล้าฯ ให้นามาถวายเป็นพุทธบูชาที่พระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา ในการนี้ จึงสันนิษฐานว่ามีการสร้าง “มณฑปบริวาร” ที่วางตัวสลับหว่างกับพระเจดีย์ทรง ปราสาทยอดเพื่อติดตั้งประติมากรรมหล่อสาริดเหล่านี้

ภาพที่ 172: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 6 ในช่วงรัชกาลสมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) พ.ศ.1967-1991 มีการสร้าง“มณฑปบริวาร” วางตัวสลับหว่างกับพระเจดีย์ทรง ปราสาทยอด ล้อมรอบพระปรางค์ประธานทั้ง 4 ด้าน เพื่อติดตั้งประติมากรรมหล่อสาริดจากเมืองพระนคร


298

ผังบริเวณระยะที่ 7: แสดงผังบริเวณในช่วง “เหตุการณ์การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2112” เมื่อราช ส านั ก หงสาวดี มี ชั ย เหนื อ ราชส านั ก อยุ ธ ยา ในการนั้ น พระเจ้ า บุ เ รงนองโปรดเกล้ า ฯ ให้ ข นย้ า ย ประติมากรรมหล่อสาริดที่พระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) โปรดให้ขนย้ายมาจากเมืองพระ นครและให้มาถวายเป็นพุทธบู ชาพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ซึ่งได้ขนย้ายไปจนหมดเพราะฉะนั้น ด้วยเหตุนั้นแสดงว่าต้องมีการรื้ อมณฑปที่สร้างครอบประติมากรรมหล่ อสาริด รวมทั้งระเบียงคด บางส่วนลงเพื่อขนย้ายรูปหล่อสาริดดังกล่าวไปยังเมืองหงสาวดี แต่ต่อมาคงได้มีการบูรณะและหล่อรูป หล่อสาริดขึ้นทดแทน ดังปรากฏความกล่าวถึงรูปหล่อสาริดในเอกสารพระราชพงศาวดารกรุ งศรี อยุธยา ฉบับฟาน ฟลีต ที่กล่าวถึงเหตุการณ์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง11

ภาพที่ 173: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 7 ในช่วงเหตุการณ์การเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2112 มีการรื้อ “มณฑปบริวาร” เพื่อขนย้ายประติมากรรมหล่อสาริดไปยังเมืองหง สาวดีโดยพระเจ้าบุเรงนอง 11

“พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต ”. ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. หน้า 247. 298


299

ผังบริเวณระยะที่ 8: แสดงผั งบริ เวณในช่ว ง “รัช กาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ครองราชย์ พ.ศ. 21332148)” แม้ไม่มีหลักฐานใดๆ กล่าวถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุโดยตรง แต่การที่ พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มหาเถรคันฉ่องมาจาพรรษายังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ และให้ครัวมอญ มาอยู่อาศัยตรงพื้นที่ว่างด้านข้างทางทิศใต้ของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ซึ่งย่อมต้องมีการก่อสร้างหมู่ กุฏิ และพัฒนาเขตสังฆาวาสที่อยู่ทางด้านทิศใต้ของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ รวมทั้งคงได้มีการสร้าง ทางเดินมีหลังคาคลุม (Cover Way) จากท่าน้า ดังกล่าวถึงในบันทึกคณะทูตานุทูตลังกาที่กล่าวว่า ตั้งแต่ศาลาท่าน้าของวัดมีอ าคารเครื่องไม้เป็นทางเดินที่มีหลังคาคลุมเชื่อมต่อไปจนถึงประตูวัดเพื่อ อานวยความสะดวกแก่พุทธศาสนิกชนที่มาสักการะพระมหาธาตุ ด้วย ซึ่งธรรมเนียมการสร้างทางเดิน มีหลังคาคลุมนิยมก่อสร้างมากในวัฒนธรรมมอญ-พม่า เนื่องจากเชื่อว่าหากได้ สร้างสิ่งอานวยความ สะดวกแก่พุทธศาสนิกชนที่เดินทางจาริกแสวงบุญมา ผู้ที่บริจาคก็จะได้อานิสงค์ผลบุญด้วย ทั้งนี้เป็น คติที่ยึดถือสืบทอดจากคติเรื่องกาเนิดพระอินทร์ที่กล่าวว่าในช่วงเวลาที่ยังเป็นมนุษย์อยู่นั้นได้บาเพ็ญ ทานด้วยการสร้างศาลาที่พักแก่คนเดินทาง จึงได้อานิสงค์ไปเป็นพระอินทร์อยู่บนสวรรค์ชั้ นดาวดึงส์ ซึ่งเป็นที่น่าสนใจว่า อาจเป็นธรรมเนียมในการก่อสร้างที่ได้รับตกทอดมาจากการที่สมเด็จพระนเรศวร มหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ครัวมอญมาพานักอยู่ในละแวกวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานี้ก็เป็นได้

ภาพที่ 174: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 8 ในช่วงรัชกาลสมเด็จพระ นเรศวรมหาราช พ.ศ. 2133-2148 มีการเปลี่ยนแปลงในเขตสังฆาวาสทางทิศตะวันตก


300

ผังบริเวณระยะที่ 9: แสดงผังบริเวณในช่วงเวลา“รัชกาลสมเด็จ พระเจ้าทรงธรรม (ครองราชย์ ปี พ.ศ.21542171)” ในปี พ.ศ. 2153 ที่ มีการฉลองพระมณฑปพระพุทธบาทสระบุรีห ลั งจากที่ใช้เวลาในการ ก่อสร้างมา 4 ปี “...ในปีนั้นปรางค์วัดมหาธาตุทาลายลงจันทันครุฑพื้นอัศตงค์”12 ซึ่งเศษซากของเรือน ยอดคงได้ตกหล่นลงมาทับถมอาคารบางส่วนให้พังทลายลงไปด้วย และไม่ได้บูรณปฏิสังขรณ์พระศรี รัตนมหาธาตุจนเวลาให้หลังไปถึง 23 ปี ในปีที่ 3 ของรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองจึงได้รับการ บูรณปฏิสังขรณ์

ภาพที่ 175: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 9 ในช่วงรัชกาลสมเด็จพระเจ้า ทรงธรรม ในปี พ.ศ. 2153 เรือนยอดของพระปรางค์ประธานพังทลายลงมาถึงชั้นอัสดง และทาลายอาคารบางส่วน ที่อยู่โดยรอบ

12

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. หน้า 374. 300


301

ผังบริเวณระยะที่ 10: แสดงผังบริเวณในช่วง “รัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ.2173-2199)” นับเป็นเวลาถึง 23 ปีที่เรือนยอดของพระศรีรัตนมหาธาตุได้พังทลายลงมา ซึ่งในปีที่ 3 ของรัชกาล สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์ส่วนยอดพระมหาธาตุที่พังทลายลง มาในปี พ.ศ. 2176 ทั้งนี้ มีพระราชวินิจฉัยให้แก้ไขทรวดทรงของพระมหาธาตุให้สูงเพรียวขึ้นกว่าเดิม ด้วยสันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลจากสุนทรียภาพอันเป็นความประทับใจในระเบียบและสัดส่ว นของ ปราสาทนครวัดที่พระองค์ทรงส่งให้ช่างไปถ่ายแบบเอาอย่างมาด้วยก็เป็นได้ ทั้งนี้ความสูงเดิมของพระ มหาธาตุ คือ 19 วา หรือเท่ากับประมาณ 38 เมตร โดยให้แก้สัดส่วนความสูงเป็นหนึ่งเส้นสองวา หรือ เท่ากับประมาณ 44 เมตร สาหรับนพศูลใช้ของเดิมที่สูง 3 วา หรือประมาณ 6 เมตร ทั้งนี้ เมื่อมีการ เสริมเรือนยอดให้ยืดสูงและเพื่อป้องกันมิให้ส่วนตัวเรือน และฐานให้รับน้าหนักจนเกินกาลังซึ่งอาจ เป็นเหตุให้เกิดการทรุดตัว และทาให้เรือนยอดต้องพังทลายลงมา จึงออกแบบให้มีการก่อสร้างมุขทั้ง 4 ด้านให้ยื่นออกมาตั้งแต่ส่วนฐานจนถึงส่วนตัวเรือนธาตุเพื่อทาหน้าที่ประคองเรือนยอด (Buttress) และมีการสร้างสถูปทรงปรางค์เทินอยู่บนสันหลังคาของมุขทั้งจตุรทิศด้วย ในคราวนั้นด้วย สาหรับ การประดับตกแต่งเรือนยอดนั้นมีการหุ้มแผลงด้วยทองเหลือง หรือที่เรียกว่า “ทองจังโก” ส่วนเรือน ยอดแล้วปิดทองเช่นเดียวกับเทคนิคการตกแต่งของวัดไชยวัฒนาราม เพราะเอกสารคณะทูตลังกาได้ กล่าวว่าส่วนยอดนั้นเป็นทองคา นอกจากนี้ สันนิษฐานว่าในการณ์ครั้งนั้นได้ก่อพระปรางค์มุมทั้ง 4 องค์ขึ้นพร้อมกันด้วยทาให้เมื่ อพิจารณาโดยองค์รวมจะเห็นว่า ได้มีลักษณะเป็นพระศรีรัตนมหาธาตุ ปรางค์เก้ายอดโดยสมบูรณ์ นอกจากนี้ สันนิษฐานว่ามีการบูรณปฏิสังขรณ์ เป็น “พระวิหารหลวงระยะที่ 2” ขึ้นใหม่ ด้วยการสร้างมุขโถงด้านหน้าออกมาเพิ่ม อีก 1 ห้องเสา ทาให้พระวิหารหลวงในระยะนี้ มีขนาดเป็น พระวิหารขนาด 12 ห้องเสา และมีด้านท้ายวิหารที่ก่อเชื่อมกับระเบียงคดรวมเป็น 13 ห้องเสา และ ขยายฐานไพทีที่ปีกด้านข้างของวิหารทั้งสองข้างเพื่อเชื่อมกับชุดฐานของมุขโถงด้านหน้า ทั้งนี้ อาจจะ มีการต่อชายคาปีกนกออกมาที่ด้านข้างของวิหารเพื่อกันแดดกันฝนให้แกพื้นที่ที่ขยายออกมาด้วยก็ อาจเป็นได้ สาหรับชุดฐานของมุขด้านหน้าที่ก่อเพิ่มออกมายังมีการย่อมมุมที่ซับซ้อน ราวกับจงใจให้ สอดคล้องกับการย่อมุมอันสลับซับซ้อนมากขึ้นขององค์พระศรีรัตนมหาธาตุอันเกิดจากการยืดมุขทั้ง จตุรทิศให้ยื่นยาวออกมาซึ่งหากมองในภาพรูปด้าน (Elevation) ก็จะเห็นว่ามีการเพิ่มจานวนมุมมาก ขึ้นด้วยนั่นเอง ซึ่งลักษณะการก่อฐานอาคาร และฐานไพทีให้มีผังแบบย่อมุมนั้นเป็นรูปแบบที่นิยมใน รัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองด้วย นอกจากนี้ การบูรณปฏิสังขรณ์พระอุโบสถครั้งใหญ่ก็ควร เกิดขึ้นในช่วงเวลานี้ด้วยเช่นกัน


302

ภาพที่ 176: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 10 ในช่วงรัชกาลสมเด็จพระเจ้า ปราสาททอง ในปี พ.ศ. 2176 มีการบูรณปฏิสังขรณ์ส่วนยอดพระปรางค์ประธานที่พังทลายลง โดยปรับทรวดทรง ให้สูงขึ้น บริเวณเรือนธาตุ มีการสร้างมุขเพิ่มทั้ง 4 ด้านเป็นจัตุรมุข บนสันหลังคามุมมีปรางค์ทิศ และมีการสร้าง พระปรางค์มุมทั้ง 4 องค์ และมีการประดับตกแต่งเรือนยอดพระปรางค์ประธาน พระปรางค์มุม และพระปรางค์ รายด้วยทองเหลือง หรือ “ทองจังโก” รวมไปถึงการสร้าง “พระเจดีย์คู่” บริเวณมุมภายในด้านทิศตะวันออกของ ระเบียงคด และการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวง ในระยะที่ 2 โดยการขยายมุขโถงด้านหน้า เพิ่มอีก 1 ช่วงเสา และขยายฐานไพทีทั้งสองข้างเพื่อเชื่อมกับชุดฐานของมุขโถงด้านหน้า โดยชุดฐานมีการย่อมุมที่ซับซ้อน สอดคล้อง กับการย่อมุมบริเวณพระปรางค์ประธาน

302


303

ผังบริเวณระยะที่ 11: แสดงผังบริเวณในช่วงระหว่าง“รัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ.21732199) ถึงรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ พ.ศ.2199-2231)” นับตั้งแต่เมื่อคราว รัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองที่มีการบูรณปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุครั้งใหญ่ ทั้งองค์ พระศรีรัตนมหาธาตุ พระวิหารหลวง และพระอุโบสถดังกล่าวมาแล้วนั้น งานการก่อสร้างอาจจะไม่ ลุล่วงเรียบร้อยและคงมีการบูรณปฏิสังขรณ์สืบต่อมาจนรัชกาลพระนารายณ์ โดยเฉพาะส่วน “พระ ระเบียงคด” สันนิษฐานว่าการต่อชายคาปีกนกด้านในของระเบียงคดด้วยการก่อเสาสี่เหลี่ยมและแนว กาแพงแก้วทาหน้าที่รับโครงสร้างหลังคาส่วนปีกนก และสร้างห้องคูหาประดิษฐานพระพุทธรูปที่สร้าง เป็นแบบตรีมุขบนระเบียงคดตรงตาแหน่งที่ ตรงกับแกนที่พุ่งตรงจากมุขทิศของพระศรีรัตนมหาธาตุ ทั้ง 3 ทิศ คือ ทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันตก นอกจากนี้ ยัง มีการบูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์มุมในระเบียงคดจากพระเจดีย์ทรงระฆังที่ ซ้อนอยู่บนฐานผังแปดเหลี่ยมซ้อนชั้น ที่เป็นเจดีย์องค์เดิมมาเป็น “พระเจดีย์ทรงปราสาทผังสี่เหลี่ยม ย่อมุม” ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่ามีธรรมเนียมการก่อสร้างพระเจดีย์ผังสี่เหลี่ยมย่อมุมอย่างแพร่หลายมากใน รัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง อย่างไรก็ดี มีข้อสันนิษฐานว่ารูปแบบพระเจดีย์ดังกล่าวอาจมีมา ตั้งแต่อยุธยาตอนกลาง13 ทั้งนี้ เมื่อศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบทางสถาปัตยกรรมจะเห็นว่า พระเจดีย์ ทรงปราสาทยอดผังสี่ เหลี่ยมย่อมุมของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นคล้ายกับพระเจดีย์ประธาน วัดญาณเสนซึ่งน่าจะสร้างขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์14 จึงสันนิษฐานว่าการบูรณปฏิสังขรณ์พระ เจดีย์คู่ทรงปราสาทผังสี่เหลี่ยมย่อมุมนั้นควรสร้างระหว่างรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองถึงรัชกาล สมเด็จพระนารายณ์มหาราช นอกจากนี้ “พระปรางค์ผังแปดเหลี่ยม” มุมด้านทิศตะวันตออกเฉียงใต้ควรจะสร้างขึ้น หลังจากที่พระมหาธาตุประธานสร้างแล้วเสร็จ ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เนื่องจากยัง ปรากฏร่องรอยของศิลปะล้านนา สาหรับ “พระอุโบสถ” ที่อยู่ทางด้านทิศตะวันตกของวัดก็คงบูรณปฏิสังขรณ์มาตั้งแต่รัชกาล สมเด็จพระเจ้าปราสาท แต่มาแล้วเสร็จในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ดังปรากฏการสร้าง แนวกาแพงแก้วที่เจาะช่องวางประทีปกระหนาบอยู่ด้านข้างของพระอุโบสถด้วยนั่นเอง

13 14

สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2544. หน้า 97-100. สุรินทร์ ศรีสังข์งาม. เจดีย์เหลี่ยมย่อมุมสมัยอยุธยา. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2548. หน้า 214.


304

ภาพที่ 177: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรตั นมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 11 ในระหว่างรัชกาลสมเด็จพระ เจ้าปราสาททอง ถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในช่วง พ.ศ. 2173-2231 มีการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อเนื่อง และการ สร้างพระปรางค์เก้ายอด เรือนธาตุผังแปดเหลี่ยม บริเวณมุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ด้านนอกของระเบียงคด

304


305

ผังบริเวณระยะที่ 12: แสดงผังบริเวณในช่วง “ก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310” มีหลักฐานที่ คณะทูตลังกาได้เขียนพรรณนาถึงวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาอย่างละเอียดดังที่กล่าวมาแล้ว ในช่วง เวลานี้พระวิหารหลวงได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่มาก่อนหน้า สันนิษฐานว่าในรัชกาลสมเด็จ พระบรมราชาธิราชที่ 3 (สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ) (ครองราชย์ ในพ.ศ.2275-2301) ทั้งนี้ มีการ ก่อขยายมุขด้านหน้าพระวิหารหลวงอีก 1 ห้องเสา ทาให้มีผังพื้นเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าเต็มพื้นที่แทนที่ การย่อมุมแบบพระวิหารในระยะที่ 2 และด้านท้ายพระวิหารหลวง หรือที่เรี ยกว่าท้ายจระนาก็มีการ ก่อมุขเพิ่มอีก 1 ห้องเสาด้ วย ทาให้พระวิหารหลวงในระยะนี้ เป็นพระวิหารขนาด 16 ห้องเสา และ ร่องรอยของไวทยากรณ์ทางสถาปัตยกรรมจะเห็นว่ามีการต่อพาไลปีกนกมาคลุมส่วนฐานด้านข้างของ พระวิหาร และปรับรูปทรงหลังคามุขด้านหน้าให้เป็นมุขโถงหลังคาทรงโรงทาให้เกิดเป็นพื้นที่ใช้สอย ด้านหน้าของพระวิหารขนาดใหญ่

ภาพที่ 178: แบบสันนิษฐานผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ระยะที่ 12 ในช่วงก่อนการเสียกรุงศรี อยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 มีการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวงในระยะสุดท้าย


306

ภาพที่ 179: แบบสันนิษฐานพัฒนาการของผังบริเวณของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ทั้ง 12 ระยะ ตั้งแต่รัชกาลสมเด็จ พระราเมศวรจึงถึงช่วงก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 มีการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวงในระยะ สุดท้าย 306


307

บรรณานุกรม บทที่ 4 เอกสารภาษาอังกฤษ Santi Leksukhum. Ayutthaya World Heritage. BKK: TAT. 2000. เอกสารภาษาไทย “จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระ ยา. เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. “พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนา ภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต ”. ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. Jean Boisselier. Rapport de; a Mission (24 Juillet-28 Novembre 1964). Art Asiatique XII. 1965. สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า, แปล. “รายงานการสารวจทางโบราณคดี ”. ใน ศิลปากร. 9(3) 2508. กวิฏ ตั้งจรัสวงศ์. “ระบบแผนผังปรางค์ประธานและปีกปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ”. ใน วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 34 (2) 2557. (หน้า 147-168). เกรี ย งไกร เกิ ด ศิ ริ . พุ ก าม การก่ อ รู ป ของสถาปั ต ยกรรมจากก้ อ นอิ ฐ แห่ ง ศรั ท ธา. กรุ ง เทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. “การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม: การ สั น นิ ษฐานรู ป แบบ” ใน มองอดีตผ่า นเวลาศรั ทธาสถาปัต ยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา. เครื่องยอดลาพูน. เอกสารประกอบการศึกษาวิชาการศึกษาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นสูง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2531. มปพ. จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา. พระเจดีย์เมืองเชียงแสน. เชียงใหม่: สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์. 2539. จี ร าวรรณ แสงเพ็ ช ร. ระบบการจั ด และการประดิ ษ ฐานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ใ นประเทศไทย. วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าโบราณคดี ส มั ย ประวั ติ ศ าสตร์ , บั ณ ฑิ ต วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2552.


308

ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ. “โฟโตแกรมเมตรีกับงานอนุรักษ์สถาปัตยกรรม: ทบทวนองค์ความรู้และความ เป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้กับงานสถาปัตยกรรมไทย” ใน วารสารหน้าจั่วฉบับประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร. ฉบับที่ 9 (กันยายน 2555-สิงหาคม 2556) ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. โต จิตรพงศ์, หม่อมราชวงศ์. พระราชประวัติและฝีพระหัตถ์ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ์. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จฯ เจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง พ.ศ. 2493. น. ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. น.ณ ปากน้า. ศิลปะก่อนกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2541. นริศรานุวัดติงวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา,และ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม 13. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา 2504. นริศรานุวัดติงวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา, กรมพระยาดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม 2. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา 2504. โบราณราชธานินทร์, พระยา. “ตานานกรุงเก่า” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุง เก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. โบราณราชธานินทร์, พระยา. “ระยะทางเสด็จพระราชดาเนินประพาสทรงบวงสรวงอดีตมหาราช ณ พระราชวังกรุงศรีอยุธยาในรัชกาลที่ 6” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่า เล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. ประสงค์ เอี่ยมอนันต์. “รูปแบบสถาปัตยกรรมของวัดพระศรีสรรเพชญ์ (ส่วนที่ 1)” ใน วารสารหน้า จั่ว. ฉบับที่ 8 ปีการศึกษา 2531. พิชญา สุ่มจินดา. “สถูปจาลองบรรจุพระบรมสารีริกธาตุจากกรุปรางค์ประธานวัดมหาธาตุ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา: ภาพสะท้อนพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์สมัยต้นอยุธยา” ใน ประวัติศาสตร์ ศิลปะบันดาลใจ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์. 2557. พิริยะ ไกรฤกษ์. กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพ. 2555. พิ เ ศษ เจี ย จั น ทร์ พ งษ์ . “อั ฐิ ธ าตุ เ จดี ย์ ม หาธรรมราชาลิ ไ ท เจดี ย์ บ รรจุ ก ระดู ก ”. ใน วารสาร ศิลปวัฒนธรรม. 10,2 (ธันวาคม 2536) หน้า 94 (หน้าที่ 92-98). รสิ ต า สิ น เอกเอี่ ย ม. “การศึ ก ษาวั ฒ นธรรมการสร้ า งสรรค์ ง านสถาปั ต ยกรรมไทยจากพระราช พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรม ไทย. ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2547. 308


309

วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร. การศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรมสุโขทัย กรณีศึกษาวัดมหาธาตุ ตาบลเมือง เก่า จั งหวัด สุโ ขทัย . วิทยานิพนธ์ปริญญาศิล ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิช าประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. ศักดิ์ชาย สายสิงห์. ศิลปะล้านนา. กรุงเทพฯ: มติชน. 2556. ศิลป์ พีระศรี และธนิต อยู่โพธิ์. “วิวัฒนาการแห่งจิตกรรมฝาผนังไทย” ใน วิวัฒนาการแห่งจิตรกรรม ฝาผนังของไทย สถานจิตรกรรมและสารบาญจิตกรรมฝาผนังในหอศิลปะ. พระนคร: กรม ศิลปากร. 2502. สถาบันสถาปนิ กสยาม. คู่มือปฏิบัติวิชาชีพ แนวทางการใช้งานแบบจาลองสารสนเทศอาคาร สาหรับประเทศไทย (Thailand BIM Guideline). กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระ บรมราชูปถัมภ์. 2558. สนอดกราส เอเดรียน, เขียน, ภัทรพร สิริกาญจน. สัญลักษณ์แห่งพระสถูป. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์วิชา การ. 2541. สมคิด จิระทัศนกุล, บรรณาธิการ. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ ประกันภัย. 2554. สมคิด จิระทัศนกุล. คติสัญลักษณ์ และความหมายของซุ้มประตู -หน้าต่างไทย. กรุงเทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. สมคิด จิระทัศนกุล. งานออกแบบสถาปัตยกรรมไทยฝีพระหัตถ์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา นุวัดติวงศ์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. สมคิด จิระทัศนกุล. รู้เรื่องวัด วิหาร โบสถ์ เจดีย์ พุทธสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: มิวเซียมเพลส. 2554. สันติ เล็กสุขุม. “ก่อนที่จะปรากฏในศิลปะไทย และก่อนที่จะหายไปในที่สุด: ฐานบัวลูกฟัก” ใน งาน ช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สันติ เล็กสุขุม. “แนวความคิดกับกระบวนกรรมวิธีทางช่าง: เหตุผลที่เรียกเจดีย์เพิ่มมุมแทนเจดีย์ย่อ มุม”. ใน รวมบทความมุมมอง ความคิด และความหมาย: งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สันติ เล็กสุขุม. “ประเทศไทยกับงานช่างตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. สันติ เล็กสุขุม. เจดีย์เพิ่มมุม เจดีย์ย่อมุม สมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์การพิมพ์. 2529. สันติ เล็กสุขุม. เจดียร์ าย “ทรงปราสาทยอด” วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จากัด. 2541.


310

สันติ เล็กสุขุม. ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย (ฉบับย่อ) การเริ่มต้นและการสืบเนื่องงานช่างในศาสนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สันติ เล็กสุขุม. พัฒนาการกระหนกของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ไ ทย. กรุงเทพฯ: เมือง โบราณ. 2553. สันติ เล็กสุขุม. วิวัฒนาการของชั้นประดับ และลวดลายสมัยอยุธยาตอนต้น . กรุงเทพฯ: อัมรินทร์ การพิมพ์. 2522. สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะภาคเหนือ: หริภุญชัย-ล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2549. สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จากัด. 2554. สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2544. สุรินทร์ ศรีสังข์งาม. เจดีย์เหลี่ยมย่อมุมสมัยอยุธยา. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2548. เสนอ นิลเดช. วัดพระศรีสรรเพชญ์. กรุงเทพฯ: อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สานักงาน ศิลปากรที่ 3 กรมศิลปากร. 2546. เสมอชัย พูลสุวรรณ. สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-24. กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2539.

310


บทที่ 5 การพัฒนาระบบสื่อความหมาย มรดกทางสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา บนระบบอินเตอร์เน็ต และแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถืออัจฉริยะ

ส ำหรั บ เนื้ อ หำส่ ว นที่ ส องกำรศึ ก ษำในหั ว ข้ อ “การพั ฒ นาระบบสื่ อ ความหมายมรดกทาง สถาปัตยกรรม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ” ประกอบด้วยเนื้อหำหลัก 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กำรอภิปรำยผลข้อมูลจำกแบบสอบถำมออนไลน์ เรื่อง “การพัฒนาระบบสื่ อ ความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต: กรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา” ซึ่งเป็น กระบวนกำรที่ มี ร ะเบี ย บวิ ธี “การวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ (Qualitative Research)” โดยกำรใช้ “แบบสอบถามออนไลน์ (E-Questionnaire)” เป็นเครื่องมือในกำรเก็บข้อมูล และมีกลุ่มตัวอย่ำง (Sample Group) เป็นผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์อัจฉริยะในชีวิตประจำวัน โดยมีกำรเลือก กลุ่มตัวอย่ำง “แบบเครือข่ายหรือก้อนหิมะ (Network or Snowball Sampling)” จำกบุคคล หรือ กลุ่ ม บุ ค คลที่ ส นใจเรี ย นรู้ ด้ ำ นศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประวั ติ ศ ำสตร์ และกำรท่ อ งเที่ ย ว ในฐำนะของ “นักท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม (Art and Cultural Tourist)” โดยมี“การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling)” จำกกลุ่มบุคคลทั่วไปที่สมัครใจ และสนใจเข้ำมำตอบแบบสอบถำมเอง และกลุ่ม บุคคล ภำยในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ โดยเฉพำะกลุ่มนิสิตนักศึกษำที่มีควำมรู้พื้นฐำนเกี่ยวกับเมือง ประวัติศำสตร์อยุธยำเป็นอย่ำงดี กระบวนกำรเก็บข้อมูลจะยุติลง เมื่อควำมอิ่มตัวของกลุ่มตัวอย่ำงนั้น พบจำกกำรซ้ำกันของคำตอบ และเมื่อมีผู้ตอบแบบสอบถำมมีจำนวนมำกเพียงพอที่ ทำให้เห็นทิศทำง ของผลลัพธ์ที่จะนำไปสู่กระบวนกำรต่อยอดในขั้นตอนถัดไป ส่วนที่ 2: แนวควำมคิด และกำรออกแบบเว็บ ไซต์ และแอพพลิเคชั่น บนอุปกรณ์สำรสนเทศ เคลื่อนที่อัจฉริยะ และตัวอย่ำงกำรออกแบบ ผลักดันให้เป็นโครงกำรนำร่องของกำรออกแบบกำรสื่อ ควำมหมำยมรดกทำงสถำปัตยกรรมผ่ำนเว็บไซต์ และเครื่องมือสื่อสำรเคลื่อนที่ (Mobile Media) ประเภทโทรศัพท์อัจฉริยะ (Smart Phone) เพื่อเติมเต็มระบบกำรสื่อควำมหมำยของวัดพระศรีรัตนม หำธำตุอยุธยำ และแหล่งกรณีศึกษำอื่นๆ ให้สมบูรณ์แบบมำกยิ่งขึ้น


312

1. การอภิปรายผลข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์ “การพัฒนาระบบสื่อความหมาย มรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต: กรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา” กำรศึ ก ษำด้ ว ยกำรท ำแบบสอบถำมเรื่ อ ง “การพั ฒ นาระบบสื่ อ ความหมายมรดกทาง สถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต: กรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา” มีควำมประสงค์ เพื่อสอบถำม ข้อมูล และมุมมองต่ำงๆ ของผู้ตอบแบบสอบถำมเพื่อนำมำประมวลผลเพื่อพัฒนำระบบสำรสนเทศ เพื่อกำรสื่อควำมหมำยมรดกทำงสถำปัตยกรรมกับกำรท่องเที่ยว เพื่อเป็นโครงกำรนำร่องในกำร พัฒนำกำรท่องเที่ยวทำงวัฒนธรรมอย่ำงยั่งยืนต่อไป สำหรับแบบสอบถำมนี้ มีเนื้อหำ 4 ตอน คือ ตอนที่ 1: ข้อมูล เบื้ องต้น ของผู้ ตอบแบบสอบถำม และกำรท่องเที่ยวอุทยำนประวัติศำสตร์ อยุธยำ ตอนที่ 2: กำรตัดสินใจท่องเที่ยวแหล่งโบรำณสถำนในอุทยำนประวัติศำสตร์อยุธยำ ตอนที่ 3: สิ่งอำนวยควำมสะดวกสนับสนุนกำรท่องเที่ยวกับโบรำณสถำน ตอนที่ 4: แนวทำงกำรพัฒนำระบบสื่อควำมหมำยวัดพระศรีรัตนมหำธำตุอยุธยำ ทั้งนี้ ในกำรออกแบบโครงสร้ำงของชุดคำถำมดังที่กล่ำวมำนั้น ผู้วิจัยมีควำมประสงค์ที่จะ สอบถำมข้ อ มู ล ทั้ ง ทำงกว้ ำ งและทำงลึ ก ที่ ค รอบคลุ ม เกี่ ย วข้ อ งกั บ กำรท่ อ งเที่ ย วแหล่ ง มรดกทำง สถำปัตยกรรมในอุทยำนประวัติศำสตร์ในมิติต่ำงๆ อย่ำงไรก็ดี ในเนื้อหำของส่วนของกำรอภิปรำยผลนี้จะแสดงข้อมูลเฉพำะที่เกี่ยวข้องกับกำร วำงแผนระบบสื่อควำมหมำยทำงกำรท่องเที่ยวดังวัตถุประสงค์ของกำรเผยแพร่องค์ควำมรู้ใหม่ หรือ ข้อเสนอใหม่ที่ได้รับ จำกกำรวิจัยผ่ ำนเว็บ ไซต์เท่ำนั้น เพื่อเป็นกำรกระชับเนื้อหำ และได้นำข้อมูล ทั้งหมดใส่ในภำคผนวกเพื่อจะเป็นประโยชน์ต่อกำรบริหำรจัดกำรกำรท่องเที่ยวต่อไป

1.1 ข้อมูลเชิงประชากรศาสตร์ของผูต้ อบแบบสอบถาม 1.1.2 ข้อมูลเพศ และอายุ จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด 253 คน จำแนกเป็นผู้ชำย 108 คน ผู้หญิง 145 คน โดยช่วงอำยุของผู้ตอบแบบสอบถำม ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอำยุ 10-20 ปี มีจำนวน 128 คน (50.6 %) รองลงมำคือ ช่วงอำยุ 21-30 ปี จำนวน 70 คน (27.7 %) และช่วงอำยุ 31-40 ปี จำนวน 33 คน (13 %) ช่วงอำยุ 41-50 ปี จำนวน 16 คน (7 %) และน้อยที่สุดคือ ช่วงอำยุ 51-60 ปี จำนวน 7 คน (2.7 %)


313

1.1.3 อาชีพ จำกกำรประมวลผลข้อมูล ผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ กลุ่ มอำชีพส่ ว นใหญ่เป็นนิสิต นักศึกษำ มีจำนวน 177 คน (68.6%) รองลงมำคือ อำชีพข้ำรำชกำร-พนักงำนรำชกำร จำนวน 36 คน (14%) พนักงำนองค์กรเอกชน 20 คน (7.8%) อำชีพอิสระ 14 คน (5.4%) นักเรียน 2 คน (0.8%) มัคคุเทศก์ และผู้ประกอบอำชีพเกี่ยวกับกำรท่องเที่ยว 2 คน (0.8%) และอำชีพอื่นๆ 7 คน (2.7%)


314

1.1.4 ระดับการศึกษาสูงสุด ระดับ กำรศึกษำสู งสุ ดของผู้ ตอบแบบสอบถำม ส่ ว นใหญ่จบกำรศึกษำในระดับปริญญำตรี จำนวน 111 คน (43%) รองลงมำคือ ระดับมัธยมศึกษำ 91 คน (35.3%) ระดับปริญญำโท 38 คน (14.7%) ระดับปริญญำเอก 11 คน (4.3%) ระดับใบประกอบวิชำชีพ (ปวช.) 2 คน (0.8%) ระดับใบ ประกอบวิชำชีพขั้นสูง (ปวส.) 5 คน (1.9%)

ทั้งนี้ ด้ว ยเครื่ องมือของกำรจั ดทำ “แบบสอบถามออนไลน์ (E-Questionnaire)” และ ประยุกต์ใช้กำรสุ่ มตัว อย่ ำงของโดยกำรประยุกต์วิธีกำรเลื อกกลุ่มตัว อย่ำงโดยใช้เครื่องมือ “แบบ เครือข่ายหรือก้อนหิมะ (Network or Snowball Sampling)” จำกบุคคล หรือกลุ่มบุคคลที่สนใจ เรี ย นรู้ ด้ ำ นศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประวั ติ ศ ำสตร์ และกำรท่ อ งเที่ ย ว ในฐำนะของ “นั ก ท่ อ งเที่ ย วทาง ศิลปวัฒนธรรม (Art and Cultural Tourist)” โดยมี“การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling)” จำก กลุ่มบุคคลทั่วไปที่สมัครใจ และสนใจเข้ำมำตอบแบบสอบถำมเอง โดยเฉพำะกลุ่มนิสิตนักศึกษำที่มี ควำมรู้พื้นฐำนเกี่ยวกับเมืองประวัติศำสตร์อยุธยำเป็นอย่ำงดี กระบวนกำรเก็บข้อมูลจะยุติลง เมื่อ ควำมอิ่มตัวของกลุ่มตัวอย่ำงนั้นพบจำกกำรซ้ำกันของคำตอบ และเมื่อมีผู้ตอบแบบสอบถำมมีจำนวน มำกเพียงพอที่ทำให้เห็นทิศทำงของผลลัพธ์ที่จะนำไปสู่กระบวนกำรต่อยอดในขั้นตอนถัดไป ดังจะเห็นได้ว่ำ กลุ่มนักเรียนนักศึกษำในพื้นที่เป็นบุคคลที่มีควำมตื่นตัวสูงในกำรเรียนรู้ และผู้ใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต ตลอดจนโทรศัพท์อัจฉริยะ (Smart Phone) ซึ่งเป็นผู้อยู่อำศัย หรือเรียนหนังสือภำยในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ซึ่งเป็นกลุ่มเป้ำหมำยที่สอดคล้องกับกำร พัฒนำระบบสำรสนเทศเพื่อกำรสื่อควำมหมำยมรดกทำงสถำปัตยกรรม กรณีศึกษำ วัดพระศรีรัตน มหำธำตุอยุธยำ บนระบบสื่อสำรสนเทศสมัยใหม่ทั้งระบบอินเตอร์เน็ตบนเว็บไซต์ และแอพพลิเคชั่น บนโทรศัพท์อัจฉริยะ


315

1.2 การท่องเที่ยวในอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา 1.2.1 การไปเยือนอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และจานวนครั้งที่เคยไปเยือน จำกกำรประมวลผลข้อมูล ผู้ ต อบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ส่ ว นใหญ่ เคยไปเยือนอุ ท ยำน ประวัติศำสตร์อยุธยำมำแล้ว ซึ่งมีจำนวน 250 คน จำกทั้งหมด 253 คน หรือ 97.6% โดยในที่นี้ มีผู้ที่ เคยมำเยือนมำกกว่ำ 5 ครั้ง จำนวนถึง 110 คน (44%) ในขณะที่รองลงมำคือ มีผู้ที่เคยไปเยือน 1 ครั้ง จำนวน 55 คน (22%) ผู้ที่เคยไปเยือน 2 ครั้ง จำนวน 37 คน (14.8%) ผู้ที่เคยไปเยือน 3 ครั้ง จ ำนวน 25 คน (10%) ผู้ ที่เคยไปเยือน 4 ครั้ง จำนวน 15 คน (6%) และผู้ ที่เคยไปเยือน 5 ครั้ง จำนวน 8 คน (3.2%)

1.2.2 เหตุผลในการไปเยือนอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ เหตุผลที่มีผู้เลือกมำกที่สุดคือ เพื่อ กำรท่องเที่ยวพักผ่อนและถ่ำยรูป มีจำนวน 200 คน จำก 250 คน หรือกว่ำ 80% เหตุผลที่มีผู้เลือก รองลงมำคือ เพื่อกำรเรียนรู้ตำมควำมสนใจ จำนวน 150 คน (60%) ซึ่งใกล้เคียงกับเหตุผลเพื่อศึกษำ ดูงำน-ทัศนศึกษำกับสถำนศึกษำ จำนวน 146 คน (58.4%) ในขณะที่เหตุผลอื่นๆ ที่มีลำดับรองลงมำ คือ เพื่อพำญำติพี่น้องไปเที่ยวชม จำนวน 93 คน (37.2%) เพื่อแวะเยี่ยมชมเนื่องจำกเป็นทำงผ่ำน ใน กำรเดินทำงไปสถำนที่อื่นๆ จำนวน 57 คน (22.8%) พำนักเรียนนักศึกษำไปศึกษำดูงำน จำนวน 39 คน (15.6%) พำนักท่องเที่ยวชำวต่ำงชำติไปเที่ยวชม จำนวน 27 คน (10.8%) พำนักท่องเที่ยวชำว ไทยไปเที่ยวชม จำนวน 25 คน (10%) ศึกษำดูงำนกับหน่วยงำน จำนวน 24 คน (9.6%) เป็นส่วน หนึ่งของกำรประชุม อบรม สัมมนำ จำนวน 21 คน (8.4%)


316

1.2.3 การสืบค้นข้อมูลก่อนการเดินทางในการเยือนอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา ครั้งล่าสุด จำกกำรประมวลผลข้อมูล ผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ ที่มีกำรค้นหำข้อมูล ก่อนกำร เดินทำง มีจำนวน 107 คน (42.8%) ซึ่งน้อยกว่ำ คนที่ไม่ได้ค้นหำข้อมูลก่อนกำรเดินทำง จำนวน 143 คน (57.2%)

1.2.4 ลักษณะข้อมูลในการสืบค้น จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ที่ ค้นคว้ำข้อมูลก่อนกำรเดินทำง นั้นมีกำรสืบค้นด้วยวิธีกำรต่ำงๆ ซึ่ง ส่วนใหญ่สืบค้นข้อมูลจำกอินเตอร์เน็ตด้วยระบบกำรสืบค้นของ Google (Google Search Engine) จำนวน 67 คน (25.9%) รองลงมำ คือ กำรสอบถำมข้อมูลจำก บุคคลที่เคยไปเยือนมำแล้ว จำนวน 62 คน (23.9%) ค้นข้อมูลจำกหนังสือนำเที่ยว จำนวน 44 คน (17%) ค้นข้อมูลจำกเว็บไซต์กำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จำนวน 32 คน (12.4%) ค้นข้อมูลจำก นิตยสำร หรือวำรสำร จำนวน 24 คน (9.3%) ค้นข้อมูลจำกเว็บไซต์ Review สถำนที่ท่องเที่ยวที่ จัดทำขึ้นโดยบุคคล จำนวน 20 คน (7.7%) และค้นข้อมูลจำกแหล่งอื่นๆ จำนวน 10 คน (3.9%)


317

1.2.5 สาเหตุที่ไม่สืบค้นข้อมูลก่อนการเดินทาง จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ เหตุผลส่วนใหญ่ของผู้ ที่ไม่ได้ค้นหำ ข้อมูลก่อนกำรเดินทำง คือ เคยไปมำแล้ว มีจำนวน 75 คน (37.3%) รองลงมำ คือ เดินทำงเป็นหมู่ คณะ มีคนหำข้อมูลและกำหนดสถำนที่ในกำรเดินทำงไว้แล้ว มีจำนวน 67 คน (33.3%) ค่อยไปหำ ข้อมูล เมื่อไปถึงสถำนที่ มีจำนวน 45 คน (22.4%) ใช้มัคคุเทศก์นำทำง มีจำนวน 7 คน (3.5%) และ เหตุผลอื่นๆ จำนวน 7 คน (3.5%)


318

1.2.6 การจั ด ลาดั บของแหล่ งโบราณสถานในฐานะของการเป็น แหล่ ง ท่อ งเที่ย วที่ เ ป็ น ตัวแทนของอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา เป็นกำรจัดลำดับแหล่งโบรำณสถำนสำคัญในฐำนแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นตัวแทนของอุท ยำน ประวัติศำสตร์อยุธยำ ทั้งหมด 10 แหล่ง ได้แก่ 1) พระรำชวังหลวง 6) วัดพุธไธศวรรย์ 2) วัดไชยวัฒนำรำม 7) วัดมหำธำตุ 3) วัดธรรมมิกรำช 8) วัดรำชบูรณะ 4) วัดพระรำม 9) วัดหน้ำพระเมรุ 5) วัดพระศรีสรรเพชญ์ 10) วัดใหญ่ชัยมงคล โดยผู้ตอบแบบสอบถำมสำมำรถจัดอันดับ 1-10 หรือไม่เป็นตัวแทน หรือไม่รู้จัก ให้กับแหล่ง โบรำณสถำนทั้ง 10 แหล่ง โดยจำกผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด 253 คน มีรำยละเอียดของกำรให้ อันดับของแต่ละแหล่ง ดังนี้


319


320

ทั้งนี้ ผลกำรสำรวจกำรรับรู้ และทัศนคติของผู้ตอบแบบสอบถำมเรื่อง “การจัดอันดับของ แหล่งโบราณสถานทั้ง 10 แหล่ง ” ที่ผู้ตอบแบบสอบถำมว่ำเป็นตัวแทนของแหล่งท่องเที่ยวอุทยำน ประวัติศำสตรพระนครศรีอยุธยำ ทั้งนี้ ผู้ตอบแบบสอบถำมจำนวน 253 คน เมื่อนำมำคำนวณโดยมี เกณฑ์กำรคะแนน คือ อันดับ 1 = 10 คะแนน, อันดับ 2 = 9 คะแนน, อันดับ 3 = 8 คะแนน, อันดับ 4 = 7 คะแนน, อันดับ 5 = 6 คะแนน, อันดับ 6 = 5 คะแนน, อันดับ 7 = 4 คะแนน, อันดับ 8 = 3 คะแนน, อันดับ 9 = 2 คะแนน, อันดับ 10 = 1 คะแนน, ไม่เป็นตัวแทน หรือไม่รู้จัก = 0 คะแนน จำก เกณฑ์กำรให้คะแนนดังกล่ำว สำมำรถสรุปผลคะแนน และอันดับของแหล่งโบรำณสถำนที่เป็นตัวแทน ของอุทยำนประวัติศำสตร์อยุธยำได้ดังนี้ อันดับ 1 วัดใหญ่ชัยมงคล 1,945 คะแนน อันดับ 2 วัดพระศรีสรรเพชญ์ 1,904 คะแนน อันดับ 3 วัดมหำธำตุ 1,826 คะแนน อันดับ 4 วัดไชยวัฒนำรำม 1,767 คะแนน อันดับ 5 วัดรำชบูรณะ 1,667 คะแนน อันดับ 6 วัดหน้ำพระเมรุ 1,568 คะแนน อันดับ 7 พระรำชวังหลวง 1,505 คะแนน อันดับ 8 วัดพุทไธศวรรย์ 1,342 คะแนน อันดับ 9 วัดพระรำม 1,223 คะแนน อันดับ 10 วัดธรรมมิกรำช 1,198 คะแนน


321

ซึ่งเมื่ออภิปรำยผลลัพธ์ของกำรสำรวจกำรรับรู้ และทัศนคติของผู้ตอบแบบสอบถำมให้ข้อมูลที่ น่ำสนใจว่ำวัดที่ผู้ตอบแบบสอบถำมถือว่ำเป็นตัวแทนของอยุธยำลำดับที่ 1 คือ “วัดใหญ่ชัยมงคล” ลำดับที่ 2 คือ “วัดพระศรีสรรเพชญ์” และลำดับที่ 3 คือ “วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ” ซึ่งน่ำสนใจว่ำ วัด ทั้งสอง คือ “วัดพระศรีสรรเพชญ์” และ “วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา” ในหน้ำประวัติศำสตร์นั้น เป็นวัดที่เป็นหลักเป็นประธำนของบ้ำนเมือง และมีควำมสำคัญมำกที่สุดในประวัติศำสตร์อยุธยำ แต่ ทว่ำในกำรรับรู้ของผู้ตอบแบบสอบถำมกลับได้คำตอบเป็น “วัดใหญ่ชัยมงคล” แทน ซึ่งหำกลองมอง วิธีกำรบริหำรจัดกำรของแหล่ง และกระบวนกำรประชำสัมพันธ์นั้นจะเห็นว่ำ วัดใหญ่ชัยมงคลมีระบบ วิธีกำรบริหำรจัดกำรแหล่งที่แตกต่ำงกันไป คือ มีวัดทำหน้ำที่เป็นผู้บริหำรจัดกำร ทำให้วัดใหญ่ชัย มงคลมิได้ทำหน้ำที่เป็นแต่เพียงโบรำณสถำนที่ตัดขำดจำกวิถีคนในปัจจุบันและทำหน้ำที่เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเพียงอย่ำงเดียวเช่นอีกวัดทั้งสอง ตลอดจนสื่อภำพยนตร์ซึ่งเรียกได้ว่ำเป็นสื่อที่ทรงพลังต่อ ควำมคิดควำมเห็น และกำรรับรู้ของผู้คน จำกกำรประมวลเหตุผลที่กล่ำวมำข้ำงต้นทำให้วัดใหญ่ชัย มงคลเป็นที่รู้จักในฐำนะของตัวแทนของแหล่งมรดกโลกพระนครศรีอยุธยำ ซึ่งมูลเหตุข้อนี้เองที่เป็นข้อ ท้ำทำยให้กำรกระบวนคิดต่อยอดเพื่อส่งเสริมศักยภำพของแหล่งวัดพระศรีรัตนมหำธำตุอยุธ ยำให้ กลั บ มำโดเด่น ขึ้น อีกครั้ งให้ ส มกับ กำรเป็นวัดที่เป็นหลั กเป็นประธำนของบ้ำนเมืองมำตลอดหน้ ำ ประวัติศำสตร์อยุธยำ

1.3 ระบบสื่อความหมายทางการท่องเที่ยว กรณีศึกษา วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ “ระบบสื่อความหมายทางการ ท่องเที่ยว” เช่น ป้ำยชี้ทำง, ป้ำยสื่อควำมหมำย, ป้ำยแสดงข้อมูล, ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรท่องเที่ยว เป็นต้น มีผลต่อกำรตัดสินใจเข้ำเที่ยวชมแหล่งโบรำณสถำนในอุทยำนประวัติศำสตร์อยุธยำ ส่วนใหญ่ อยู่ในระดับมำกที่สุด ซึ่งมีจำนวน 129 คน หรือ 51% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับมำก จำนวน 77 คน (30.4%) และระดับปำนกลำง จำนวน 35 คน (13.8%)


322

1.3.1 "วัดมหาธาตุอยุธยา" และแนวทางการพัฒนาระบบสื่อความหมาย 5.1.4.1 การไปเที่ยวชมวัดมหาธาตุอยุธยา จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่เคยไป เที่ยวชมวัดมหำธำตุอยุธยำ ซึ่งมีจำนวน 189 คน (74.7%) และไม่เคยไปเที่ยวชมวัดมหำธำตุอยุธยำ จำนวน 64 คน (25.3%)

1.3.2 ความคาดหวังจะได้รับความรู้เรื่องต่างๆ เกี่ยวกับวัดมหาธาตุอยุธยา จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมที่เคยไปเที่ยว ชมวัดมหำธำตุอยุ ธ ยำ จ ำนวน 189 คน มีควำมคำดหวังที่จะได้รับควำมรู้เรื่องต่ำงๆ เกี่ยวกับวัด มหำธำตุอยุธยำ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับคำดหวังมำก ซึ่งมีจำนวน 75 คน (39.7%) รองลงมำมีควำม คำดหวังในระดับปำนกลำง จำนวน 57 คน (30.2%) ควำมคำดหวังในระดับมำกที่สุด จำนวน 40 คน (21.2%) ควำมคำดหวังในระดับน้อย จำนวน 11 คน (5.8%) และควำมคำดหวังในระดับน้อยที่สุ ด จำนวน 6 คน (3.2%)


323

1.3.4 เมื่อได้เที่ยวชมวัดมหาธาตุอยุธยาแล้ว ระบบสื่อความหมายทางการท่องเที่ยว เช่น ป้ายสื่อความหมาย, ป้ายแสดงข้อมูล ฯลฯ ที่มีอยู่ในแหล่ง ทาให้เกิดการเรียนรู้ ในระดับใด จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมที่เคยไปเที่ยว ชมวัดมหำธำตุอยุธยำ จำนวน 189 คน ระบุว่ำ ระบบสื่อควำมหมำยทำงกำรท่องเที่ยวที่อยู่ภำยในวัด มหำธำตุอยุธยำในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ ทำให้เกิดควำมรู้ใหม่ในระดับมำก จำนวน 75 คน (39.7%) รองลงมำคือ เกิดควำมรู้ใหม่ในระดับปำนกลำง จำนวน 52 คน (27.5%) เกิดควำมรู้ใหม่ในระดับน้อย จำนวน 33 คน (17.5%) เกิดควำมรู้ใหม่ในระดับมำกที่สุด จำนวน 20 คน (10.6%) และเกิดควำมรู้ ใหม่ในระดับน้อยที่สุด จำนวน 9 คน (4.8%)

1.3.5 ในการไปเที่ยวชมวัดมหาธาตุอยุธยา ท่านสนใจที่จะเรียนรู้ หรือคาดหวังจะได้ความรู้ เรื่องใดเพิ่มเติม เป็นชุดแบบสอบถำมที่เกี่ยวกับเรื่องที่มีควำมสนที่จะเรียนรู้ หรือควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ เมื่อไปเที่ยวชมวัดมหำธำตุอยุธยำ โดยสำมำรถจำแนกหมวดหมู่ควำมรู้ที่เกี่ยวข้องกับวัดมหำธำตุ อยุธยำ ได้ทั้งหมด 8 เรื่อง ดังนี้ 1) ประวัติศำสตร์วัดมหำธำตุ 2) กำรวำงผังวัดมหำธำตุกับผังเมืองอยุธยำ 3) กำรวำงผังวัดมหำธำตุ 4) พัฒนำกำรทำงสถำปัตยกรรมของพระปรำงค์ประธำน 5) กรุใต้องค์ปรำงค์ และพระบรมสำรีริกธำตุ 6) โบรำณวัตถุที่ค้นพบในวัดมหำธำตุ 7) พัฒนำกำรทำงสถำปัตยกรรมของพระวิหำรหลวง 8) ควำมหมำยและกำรใช้สอยอำคำรภำยในผังบริเวณวัดมหำธำตุ โดยมีเกณฑ์กำรวัดระดับ เป็น 5 ระดับ คือ น้อยที่สุด น้อย ปำนกลำง มำก มำกที่สุด ซึ่งมี รำยละเอียดดังนี้


324

1) ประวัติศาสตร์วัดมหาธาตุ จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่มี ควำมสนใจที่จะเรียนรู้ และควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ “ประวัติศาสตร์วัดมหาธาตุ ” อยู่ในระดับมำกที่สุด ซึ่งมีจำนวนถึง 110 คน หรือ 43.5% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำ คือ ระดับมำก มีจำนวน 105 คน (41.5%) ระดับปำนกลำง มีจำนวน 32 คน (12.6%) ระดับน้อย จำนวน 5 คน (2%)

2) การวางผังวัดมหาธาตุกับผังเมืองอยุธยา จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่มี ควำมสนใจที่จะเรียนรู้ และควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ “การวางผังวัดมหาธาตุกับผัง เมืองอยุ ธ ยา” อยู่ ในระดับ มำก มีจ ำนวน 107 คน หรือ 42.3% ของผู้ ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับมำกที่สุด มีจำนวน 82 คน (32.4%) ระดับปำนกลำง จำนวน 54 คน (21.3%) ระดับน้อย จำนวน 8 คน (3.2%) ระดับน้อยที่สุด จำนวน 2 คน (0.8%)


325

3) การวางผังวัดมหาธาตุ จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่มี ควำมสนใจที่จะเรียนรู้ และควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ “การวางผังวัดมหาธาตุ” อยู่ ในระดับมำก มีจำนวน 110 คน หรือ 43.5% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับมำก ที่สุด มีจำนวน 74 คน (29.2%) ระดับปำนกลำง จำนวน 54 คน (21.3%) ระดับน้อย จำนวน 12 คน (4.7%) ระดับน้อยที่สุด จำนวน 3 คน (1.2%)

4) พัฒนาการทางสถาปัตยกรรมของพระปรางค์ประธาน จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่มี ควำมสนใจที่จะเรียนรู้ และควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ “พัฒนาการทางสถาปัตยกรรม ของพระปรางค์ประธาน” อยู่ในระดับมำกที่สุด และระดับมำก ซึ่งมีจำนวนเท่ำกัน คือ 98 คน หรือ 38.7% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับปำนกลำง มีจำนวน 40 คน (15.8%) ระดับน้อย จำนวน 13 คน (5.1%) ระดับน้อยที่สุด จำนวน 4 คน (1.6%)


326

5) กรุใต้องค์ปรางค์ และพระบรมสารีริกธาตุ จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่มี ควำมสนใจที่จะเรียนรู้ และควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ “กรุใต้องค์ปรางค์ และพระ บรมสารีริกธาตุ” อยู่ในระดับมำก มีจำนวน 102 คน หรือ 40.3% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับมำกที่สุด มีจำนวน 96 คน (37.9%) ระดับปำนกลำง จำนวน 45 คน (17.8%) ระดับน้อย จำนวน 7 คน (2.8%) ระดับน้อยที่สุด จำนวน 3 คน (1.2%)

6) โบราณวัตถุที่ค้นพบในวัดมหาธาตุ จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่มี ควำมสนใจที่จะเรียนรู้ และควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ “โบราณวัตถุที่ค้นพบในวัด มหาธาตุ” อยู่ในระดับมำกที่สุด มีจำนวน 118 คน หรือ 46.6% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับมำก มีจำนวน 89 คน (35.2%) ระดับปำนกลำง จำนวน 38 คน (15%) ระดับ น้อย จำนวน 5 คน (2%) ระดับน้อยที่สุด จำนวน 3 คน (1.2%)


327

7) พัฒนาการทางสถาปัตยกรรมของพระวิหารหลวง จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่มี ควำมสนใจที่จะเรียนรู้ และควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ “พัฒนาการทางสถาปัตยกรรม ของพระวิหารหลวง” อยู่ในระดับมำก มีจำนวน 98 คน หรือ 38.7% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับ มำกที่สุ ด มีจ ำนวน 91 คน (36%) ระดับปำนกลำง จ ำนวน 50 คน (19.8%) ระดับน้อย จำนวน 10 คน (4%) ระดับน้อยที่สุด จำนวน 4 คน (1.6%)

8) ความหมายและการใช้สอยอาคารภายในผังบริเวณวัดมหาธาตุ จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่มี ควำมสนใจที่จะเรียนรู้ และควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ “ความหมายและการใช้สอย อาคารภายในผั งบริเวณวัดมหาธาตุ ” อยู่ในระดับมำก มีจำนวน 98 คน หรือ 38.7% ของผู้ ตอบ แบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับมำกที่สุด มีจำนวน 91 คน (36%) ระดับปำนกลำง จำนวน 50 คน (19.8%) ระดับน้อย จำนวน 10 คน (4%) ระดับน้อยที่สุด จำนวน 4 คน (1.6%)


328

จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ระดับควำมสนใจที่จะเรียนรู้ หรือ ควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ เมื่อไปเที่ยวชมวัดมหำธำตุอยุธยำ จำกหัวข้อที่กำหนดไว้ทั้ง 8 หัวเรื่อง มี ผลสรุป คือ โดยผู้ตอบแบบสอบถำมจำนวน 253 คน เมื่อนำมำคำนวณโดยมีเกณฑ์กำรคะแนน คือ มำกที่สุด = 5 คะแนน, มำก = 4 คะแนน, ปำนกลำง = 3 คะแนน, น้อย = 2 คะแนน, น้อยที่สุด = 1 คะแนน จำกเกณฑ์กำรให้คะแนนดังกล่ำว สำมำรถสรุปผลคะแนน และอันดับเรื่องที่มีควำมสนที่จะ เรียนรู้ หรือควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ เมื่อไปเที่ยวชมวัดมหำธำตุอยุธยำ ดังนี้ อันดับ 1 ประวัติศำสตร์วัดมหำธำตุ 1,077 คะแนน อันดับ 2 โบรำณวัตถุที่ค้นพบในวัดมหำธำตุ 1,073 คะแนน อันดับ 3 กรุใต้องค์ปรำงค์ และพระบรมสำรีริกธำตุ 1,040 คะแนน อันดับ 4 พัฒนำกำรทำงสถำปัตยกรรมของพระปรำงค์ประธำน 1,032 คะแนน อันดับ 5 พัฒนำกำรทำงสถำปัตยกรรมของพระวิหำรหลวง 1,021 คะแนน อันดับ 6 ควำมหมำยและกำรใช้สอยอำคำรภำยในผังบริเวณวัดมหำธำตุ 1,018 คะแนน อันดับ 6 กำรวำงผังวัดมหำธำตุกับผังเมืองอยุธยำ 1,019 คะแนน อันดับ 7 กำรวำงผังวัดมหำธำตุ 999 คะแนน 1.3.6 ประโยชน์ ข องการจั ด ท าสื่ อ ความหมายมรดกทางสถาปั ต ยกรรมด้ ว ยการท า คอมพิวเตอร์ สามมิติ เพื่อประโยชน์ต่ อการเรี ยนรู้ หรื อการท่องเที่ยวมรดกทางวั ฒนธรรมใน โบราณสถานวัดมหาธาตุอยุธยา จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่คิดว่ำ กำรจัดทำสื่อควำมหมำยมรดกทำงสถำปัตยกรรมด้วยกำรทำคอมพิวเตอร์สำมมิติ จะมีประโยชน์ต่อ กำรเรียนรู้ หรือกำรท่องเที่ยวมรดกทำงวัฒนธรรมในโบรำณสถำนวัดมหำธำตุอยุธยำ อยู่ในระดับมำก ที่สุด โดยมีจำนวนถึง 127 คน หรือ 50.2% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับมำก 87 คน (34.4%) ระดับปำนกลำง 32 คน (12.6%) ระดับน้อยที่สุด 4 คน (1.6%) ระดับน้อย 3 คน (1.2%)


329

1.3.7 ประโยชน์ของการจัดทาระบบสารสนเทศ (Application) สาหรับอุปกรณ์สารสนเทศ เคลื่อนที่ อาทิ Smartphone, Tablet ให้บริการในโบราณสถานวัดมหาธาตุอยุธยา จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่คิดว่ำ กำรจัดทำระบบสำรสนเทศ (Application) สำหรับอุปกรณ์สำรสนเทศเคลื่อนที่ อำทิ Smartphone, Tablet ให้บริกำร จะมีประโยชน์ต่ออยู่ในระดับมำกที่สุด โดยมีจำนวนถึง 119 คน หรือ 47% ของ ผู้ ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับมำก 89 คน (35.4%) ระดับปำนกลำง 35 คน (13.8%) ระดับน้อย 6 คน (2.4%) ระดับน้อยที่สุด 4 คน (1.6%)

1.3.8 ประโยชน์ของการให้บริการ "ระบบอินเตอร์เน็ตไร้สาย (WIFI)" ในแหล่งท่องเที่ยว จำกกำรประมวลผลข้ อ มู ล ผู้ ต อบแบบสอบถำมได้ ค ำตอบว่ ำ หำกกำรให้ บ ริ ก ำร "ระบบ อินเตอร์เน็ตไร้สำย (WIFI)" ในแหล่งท่องเที่ยว จะมีประโยชน์อยู่ในระดับ “มากที่สุด” จำนวนถึง 135 คน หรือ 53.4% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำ คือ ระดับมำก 66 คน (26.1%) ระดับ ปำนกลำง 27 คน (10.7%) ระดับน้อย จำนวน 13 คน (5.1%) ระดับน้อยที่สุด 5 คน (2%)


330

1.3.9 การจัดทา Application ให้ดาวน์โหลดเพื่อการเรียนรู้และการท่องเที่ยว จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ หำกมีกำรจัดทำ Application ให้ ดำวน์โหลดเพื่อกำรเรียนรู้และกำรท่องเที่ยว ผู้ตอบแบบสอบถำมโดยส่วนใหญ่ จำนวนกว่ำ 236 คน หรือ 93.3% จะใช้บริกำรดำวน์โหลด ในขณะที่อีกจำนวน 17 คน หรือ 6.7% ที่เหลือ จะไม่ใช้บริกำร ดำวน์โหลด

1.3.10 อุปกรณ์สารสนเทศเคลื่อนที่ และระบบปฏิบัติ จำกกำรประมวลผลข้อมูล ผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ที่ผู้ตอบแบบสอบถำมใช้อุปกรณ์ สำรสนเทศเคลื่ อ นที่ และระบบปฏิ บั ติ ดั ง นี้ คื อ “โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ อั จ ฉริ ย ะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ Android” โดยมีจำนวน 146 คน รองลงมำ คือ “โทรศัพท์มือถืออัจฉริยะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ IOS (iPhone)” มีจำนวน 90 คน, “แทบเลต (Tablet) ระบบปฏิบัติการ Android” จ ำนวน 21 คน, “แทบเลต(Tablet) ระบบ IOS” จ ำนวน 19 คน, “โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ อัจฉริยะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ Windows Phone” จำนวน 13 คน, และ “แทบเลต (Tablet) ระบบปฏิบัติการ Windows Phone” จำนวน 10 คน


331

2. การออกแบบสื่อสารสนเทศประเภทเว็ บไซต์ และแอพพลิเคชั่นในระบบอุปกรณ์ สารสนเทศเคลื่อนที่ เพื่อการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมวัดมหาธาตุอยุธยา 2.1 เว็บไซต์ (Website) สื่อสำรสนเทศประเภทเว็บไซต์ (Website) เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลสำรสนเทศที่อยู่ในรูป ของระบบดิจิตอล ที่มีข้อมูลสำรสนเทศหลำกหลำยรูปแบบ (Format) เก็บข้อมูลไว้ในระบบ และมี กำรเรียกใช้ข้อมูลต่ำงๆ ผ่ำนระบบอินเทอร์เน็ต จึงถือว่ำเป็นสื่อที่เข้ำถึงผู้คนได้จำนวนมำกที่มีควำม ยืดหยุ่นสูง เนื่องจำกสำมำรถเชื่อมโยงกับฐำนข้อมูลในรูปแบบต่ำงๆ ได้ ทั้งที่เป็นข้อมูลตัวหนังสือ ภำพ เสียง วีดีทัศน์ ตลอดจนหนังสืออิเล็ กทรอนิกส์ นอกจำกนี้ ค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินกำรเมื่อเทียบกับ จำนวนกำรเข้ำถึงของ "ผู้ใช้ (User)" จะมีต้นทุนที่ต่ำมำก อีกทั้ง เป็นสื่อที่สำมำรถปรับเปลี่ยนเนื้อหำ ให้ทันสมัยได้ง่ำย เนื่องจำกกำรปรับเปลี่ยนเนื้อหำนั้นจัดกำรอยู่ที่ส่วนกลำงที่บันทึกข้อมูลไว้เพียงแห่ง เดียว เมื่อผู้ใช้เข้ำถึงก็จะได้รับข้อมูลที่มีกำรปรับปรุงเนื้อหำไปโดยปริยำย นอกจำกนี้ สื่อประเภทนี้ยัง เปิดโอกำสให้ผู้ใช้โต้ตอบ (Response) ได้อีกด้วย ควำมต้องกำรพื้นฐำนของสื่อประเภทเว็บไซต์นี้ คือ ต้องมีพื้นที่ใน Server สำหรับกำรบรรจุ ข้อมูล อีกทั้ง หำกต้องกำรกำรเข้ ำถึ งโดยตรงจะต้อ งมี Domain name และผู้ ใช้ต้องมีเ ครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ป ระเภทคอมพิ ว เตอร์ หรื อ "แทบเลต (Tablet)" หรื อ "โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ อั จ ฉริ ย ะ (Smartphone)" แต่อย่ ำงไรก็ตำม เนื่องจำกระบบอินเทอร์เน็ตที่ส ำมำรถทำงำนได้นั้นต้องมีกำร ออกแบบโปรแกรมที่สอดคล้องกับ "ระบบปฏิบัติการ (OS)" อีกทั้ง ต้องสอดคล้องกับลักษณะของ "โปรแกรมเข้าถึงเว็บไซต์ (Web browser)" ซึ่งหำกว่ำผู้ใช้มี "ระบบปฏิบัติการ (OS)" และ "โปรแกรม เข้าถึงเว็บไซต์ (Web browser)" ที่แตกต่ำงไปจำก "ความต้องการพื้นฐาน (Basic requirement)" นั้ น อำจจะท ำให้ ผู้ ใ ช้ไ ม่ ส ำมำรถเข้ ำถึ ง ระบบได้ หรื อ ไม่ ส ำมำรถแสดงผลได้ อ ย่ำ งมี ประสิ ทธิภ ำพ นอกจำกนี้ ขนำดของข้อมูลจะมี กำรจำกัดด้วยควำมเร็วของกำรเชื่อมต่อของผู้ให้บริกำร ในกำรนี้ จึง ไม่สำมำรถบันทึกวีดที ัศน์ที่มีควำมละเอียดสูงได้ ทั้งนี้สื่อวีดีทัศน์ถือเป็นสื่อที่เหมำะสมกับสภำพกำรใช้ งำนในที่ที่มีกำรใช้ระบบอินเทอร์เน็ตกันอย่ำงกว้ำงขวำง และควำมเร็วในกำรเชื่อมต่อสูงขึ้นมำกใน ปัจจุบัน และข้อมูลที่มีกำรปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมอยู่เสมอ ในกำรพัฒนำระบบของเว็บ ไซต์ ผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรม “เวิร์ดเพรส (WordPress)” ซึ่งมี ลั ก ษณะเป็ น “โปรแกรมเปิ ด (Open Code Software)” และเป็ น กำรให้ บ ริ ก ำรฟรี จ ำกมู ล นิ ธิ WordPress (WordPress Foundation) ที่อนุญำตให้ทุกคนสำมำรถสร้ำงเว็บไซต์ในรูปแบบ Blog ได้ ด้ว ยตนเอง ทั้งนี้ สำมำรถปรั บ แต่งเว็ บไซต์ ที่สร้ำงให้ รองรับกั บกำรทำงำนได้ ห ลำกหลำยรูปแบบ Wordpress.com ได้เตรียมเครื่องมือบริหำรจั ดกำรเนื้อหำทั้งที่เป็นแบบ Dynamic และเนื้อหำแบบ Static ตอลดจนฟังก์ชั่นกำรนำเข้ำภำพ แฟ้มเอกสำรฟอร์แมตต่ำงๆ


332

ซอฟต์แวร์ระบบจัดกำรเนื้อหำ (Content Management System: CMS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ ใช้จัดกำรเนื้อหำอย่ำงเป็นระบบ โดยกำรทำงำนสำมำรถจัดหมวดหมู่ ให้บริกำรสืบค้น (Searching) เนื้อหำที่ต้องกำร ซึ่งสำมำรถรองรับกำรขยำยตัวของเนื้อหำที่เพิ่มขึ้นได้ในอนำคต ทั้งนี้ ควำมต้องกำรของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในกำรติดตั้งซอฟต์แวร์เวิร์ดเพรสนั้น เครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่ำย (Server Computer) ต้องติดตั้งโปรแกรมดังต่อไปนี้ PHP เวอร์ชัน 5.2.4 หรือสูง กว่ำ และ MySQL เวอร์ชัน 5.0 หรือสูงกว่ำ 2.1.1 แนวความคิดในการออกแบบอินเตอร์เฟส (User Interface) ของเว็บไซต์ ในกำรน ำเสนอข้ อ มู ล สำรสนเทศด้ ว ยสื่ อ เว็ บ ไซต์ จ ะต้ อ งมี ค วำมครอบคลุ ม และสำมำรถ ตอบสนองต่อกลุ่มเป้ำหมำยได้อย่ำงกว้ำงขวำง เหมำะสมกับกำรสื่อสำรกับผู้ใช้ในวงกว้ำง ดังนั้นในกำร ออกแบบสื่ อจึ ง มีควำมจ ำเป็ น ต้องน ำ "หลั กการออกแบบเรขศิล ป์" มำใช้ เพื่อ ให้ ผ ลลั พธ์ของงำน สร้ำงสรรค์นั้นสัมฤทธิ์ผลตำมควำมคำดหวัง อันได้แก่ กำรควบคุมกลุ่มโทนสีของแต่ละชิ้นงำน กำรใช้ ภำพประกอบ กำรใช้รูปแบบของตัวอักษร ลักษณะรูปแบบของกำรจัดวำงภำพ กรำฟิกและตัวอักษร จะต้องไม่มีควำมขัดแย้งกัน เพื่อเป็นกำรควบคุมให้สื่อทุกชนิดและประเภท ไม่ว่ำจะถูกใช้งำนเป็นชุด หรือแยกกำรใช้งำนในแต่ละประเภท มีควำมเป็นเอกลักษณ์และสวยงำม ผสมผสำน กลมกลืนและเป็น รูปแบบเดียวกัน - หลักการออกแบบเรขศิลป์ ในกำรออกแบบสื่อสำรสนเทศเพื่อกำรสื่อควำมหมำย ควรนำหลักกำรกำรออกแบบเรข ศิล ป์ หรื อกรำฟิกดีไซน์ มำใช้ในกำรออกแบบเพื่อให้ ผ ลลั พธ์ของกำรออกแบบสำมำรถสื่ อสำรกั บ ผู้ใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เป็นระบบที่เข้ำใจได้ง่ำย รวมถึงมีควำมเป็นระเบียบที่ทำให้คนจดจำ วิธีใช้และกำรเข้ำถึงข้อมูล ทั้งนี้ ในกำรออกแบบ “เรขศิลป์” หรือ “เลขนศิลป์” ซึ่งมักรียกทับศัพท์ภำษำอังกฤษว่ำ “Graphic Design” เป็ น ผลงำนในสำขำนิ เ ทศศิ ล ป์ หมำยถึ ง “ศิ ล ปะในผลงานที่ ต้ อ งการสื่ อ ความหมายกั บ มวลชน” ซึ่ ง ต้ อ งมี ก ำรออกแบบทั้ ง สิ้ น โดยกำรออกแบบเรขศิ ล ป์ ส ำหรั บกำรสื่ อ ควำมหมำยนั้น ในกำรดำเนินกำรออกแบบต้องคำนึงถึงองค์ประกอบต่ำงๆ ที่จะเป็นสิ่งที่ช่วยในกำรสื่อ ควำมหมำยไปยังผู้ใช้งำน กำรละเลยองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งอำจทำให้กำรสื่อควำมหมำยไม่ อำจบรรลุผลได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ องค์ประกอบที่จำเป็นต้องคำนึงถึงมีดังต่อไปนี้


333

- ตัวอักษร (Typographic) กำรเลือกใช้ตัวอักษร และรำยละเอียดของตัวอักษรบนสื่อต่ำงๆ มีควำมสำคัญต่อกำร ถ่ำยทอดข้อมูลไปสู่คนอ่ำน สำหรับแนวทำงกำรเลือกใช้รูปแบบตัวอักษรมีสิ่งที่ต้องคำนึงดังต่อไปนี้ - รูปแบบ และบุคลิกของตัวอักษร (Typeface) ในปั จ จุ บั น รู ป แบบของตั ว อั ก ษร หรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ ำ “ฟอนต์ (Font)” มี รู ป แบบที่ หลำกหลำย ตัวอักษรบำงรูปแบบมีลักษณะที่อ่ำนง่ำย เหมำะสำหรับนำมำใช้กับส่วนเนื้อหำ ในขณะที่ ตัวอักษรบำงตัวอำจมีลักษณะที่เด่นสะดุดตำ และมีบุคลิกเฉพำะตัว เช่น มีลักษณะเป็นทำงกำร มี ลักษณะลำลอง แต่อ่ำนยำกกว่ำตัวอักษรที่ดูเรียบง่ำย โดยเฉพำะกำรเลือกใช้ตัวอักษรสำหรับป้ำยที่มี ข้อมูลเนื้อหำมำก ซึ่งต้องกำรควำมรวดเร็วในกำรอ่ำน จึงต้องกำรรูปแบบของตัวอักษรที่อ่ำนง่ำยที่สุด เพื่อให้ใช้เวลำในกำรอ่ำนและทำควำมเข้ำใจให้น้อยที่สุด

ภาพที่ 180: ตัวอย่ำงของตัวอักษรที่มีกำรประดิษฐ์ให้มีเอกลักษณ์ เหมำะสำหรับใช้เป็นชื่อหัวข้อเรื่อง

ภาพที่ 181: ตัวอย่ำงของตัวอักษรที่มีลักษณะเรียบง่ำย เหมำะสำหรับใช้กับส่วนที่ต้องกำรควำมรวดเร็ว และควำม สะดวกในกำรอ่ำน

ทั้งนี้ ในกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัยโดยกำรจัดทำระบบสำรสนเทศเพื่อกำรสื่อควำมหมำยทำงกำร ท่องเที่ยวโดยกำรประยุกต์ผลงำนวิจัยดังกล่ำวมำข้ำงต้นมำสู่กำรจัดทำเว็บไซต์นั้น ผู้วิจัยได้กำหนดใน กำรเลื อ กใช้ แ บบอั ก ษรที่ เ ป็ น หั ว ข้ อ หลั ก ด้ ว ยแบบตั ว อั ก ษร 2 ปร ะเภท คื อ แบบอั ก ษรชื่ อ “Silpakorn70new” และ “Silpakorn70yr” ซึ่งเป็นแบบอักษรที่เป็นอัตลั กษณ์ของมหำวิท ยำลั ย ศิลปำกรที่จัดทำและเผยแพร่สู่สำธำรณะให้ใช้ประโยชน์โดยไม่คิดมูลค่ำ เนื่องในโอกำสครบรอบ 70 ปี กำรก่อตั้งมหำวิทยำลัยศิลปำกร สำหรับ แบบอักษรของส่วนเนื้อหำนั้นกำหนดใช้แบบอักษรชื่อ “Th Sarabun” สำนักงำนส่งเสริมอุตสำหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชำตอ (องค์กำรมหำชน) หรือ (SIPA) ได้ จัดทำและส่งเสริมให้ ใช้อย่ำงแพร่หลำย ซึ่งแบบอักษรดังกล่ำวนั้นเป็นแบบอักษรที่อ่ำนง่ำย ดูเป็น ทำงกำร ทว่ำไม่ดูหน้ำเบื่อ จึงเป็นแบบอักษรที่เหมำะสมในกำรนำมำผลิตเป็นเว็บไซต์นำเสนอข้อมูล กำรค้นคว้ำของโครงกำร และกำรส่งเสริมให้เกิดกำรเรียนรู้และท่องเที่ยวมรดกทำงสถำปัตยกรรม กรณีศึกษำวัดพระศรีรัตนมหำธำตุอยุธยำ


334

- การใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ และตัวอักษรพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษ ทั้งนี้ กำรใช้ตัวอักษรภำษำอังกฤษ ควรใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ผสมกับตัวอักษรพิมพ์เล็ ก เพื่อให้อ่ำนได้รวดเร็ว เพรำะผู้อ่ำนจะสำมำรถคำดเดำควำมหมำยของคำได้จำกเส้นรอบรูปที่เกิดขึ้น รอบตัวอักษร ในขณะที่กำรใช้ตัว อักษรพิมพ์ใหญ่เพียงอย่ำงเดียวจะไม่เกิดเส้นรอบรูปที่มีรูป แบบ แตกต่ำงกันไปเช่นกำรใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ผสมกับตัวอักษรพิมพ์เล็ก

ภาพที่ 182: เส้นสีแดงแสดงเส้นรอบรูปที่เกิดขึ้นรอบตัวอักษร สังเกตได้ว่ำเส้นรอบรูปที่เกิดขึ้นรอบคำที่ใช้ตัว อักษร พิมพ์ใหญ่ผสมกับตัวอักษรพิมพ์เล็กจะมีควำมแตกต่ำงกัน และคำดเดำควำมหมำยของคำได้มำกกว่ำคำที่ใช้ตัว อักษร พิมพ์ใหญ่ทั้งหมด

- ขนาดตัวอักษร (Letter Height) ในกำรกำหนดควำมสูงของตัวอักษรในสื่อแต่ละประเภทนั้น ต้องสัมพันธ์กับรูปแบบกำร แสดงผลของจอภำพ และระยะของมุมมอง

ภ ำ พ ที่ 4 - 5 : แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมสูงของ ตัวอักษร Helvetica ตัวอักษรพิมพ์ ใหญ่ และระยะทำงที่สำมำรถอ่ำน เห็นได้ (Campus Graphics, State University Construction Fund, Albany, NY, 1970, Paul Athur.)


335

- การวางองค์ประกอบ (Composition) ในกำรออกแบบกำรสื่อควำมหมำยที่ต้องบรรจุข้อมูลเป็นจำนวนมำก หำกมีกำรจัดกลุ่ม ข้อมูลจะทำให้อ่ำนได้ง่ำย และรวดเร็ว โดยแต่ละกลุ่มให้มีข้อควำมเพียง 3-4 ข้อควำม

ภำพที่ 183: ตัวอย่ำงกำรจัดวำงตำแหน่งข้อมูลเป็นกลุ่มละ 3-4 บรรทัด เพื่อสะดวกในกำรอ่ำน

- ระยะห่างระหว่างตัวอักษร และระหว่างบรรทัด (Letter and Line Spacing) ในกำรออกแบบต้องมีกำรเว้นระยะห่ำงระหว่ำงตัวอักษร และระยะห่ำงระหว่ำงบรรทัดที่ เหมำะสมกับกำรอ่ำน ถ้ำตัวอักษรวำงชิดกันมำกจะทำให้อ่ำนยำก หรือถ้ำมุมมองในกำรอ่ำนไม่ตั้งฉำก กับตัวสื่อ จะต้องใช้ระยะห่ำงระหว่ำงตัวอักษร หรือระหว่ำงบรรทัดเพิ่มมำกขึ้น - สัญลักษณ์ (Symbol) และเครื่องหมาย (Icon) กำรออกแบบสัญลักษณ์และเครื่องหมำย คือ กำรออกแบบที่แสดงถึงกำรสื่อควำมหมำยให้ รับรู้ร่วมกันได้ในสังคม โดยเป็นกำรสื่อควำมหมำยที่แสดงนัยหรือเงื่อนควำมคิดที่แฝงไว้ในรูปแบบ ไม่ใช่ภำษำหรือภำพที่แสดงเป้ำหมำยไว้ตรงๆ ผู้ที่จะทำควำมเข้ำใจกับสื่อควำมหมำยนั้นอำจจะต้อง พบเห็นบ่อยๆ หรือเรียนรู้จำกประสบกำรณ์ระดับหนึ่งจึงจะสื่อควำมหมำยกันได้ดี กำรนำสัญลักษณ์และเครื่องหมำยมำใช้ในออกแบบกำรสื่อควำมหมำยช่วยแก้ไขปัญหำด้ำน ภำษำ และช่วยย่นระยะเวลำในกำรอ่ำนข้อมูล เนื่องจำกกำรมองและทำควำมเข้ำใจสัญลักษณ์ภำพที่ เป็นที่รู้จักดีอยู่แล้วนั้นใช้เวลำน้อยกว่ำกำรอ่ำนตัวอักษร อย่ำงไรก็ตำมสัญลักษณ์และเครื่องหมำยเป็น สิ่งที่ต้องเรียนรู้และทำควำมเข้ำใจ กำรใช้สัญลักษณ์และเครื่องหมำยซึ่งไม่เป็นที่รู้จักจะสร้ำงควำม สับสนมำกกว่ำกำรอธิบำยด้วยตัวอักษร ดังนั้นในกำรออกแบบจึงต้องใช้สัญลักษณ์ภำพที่มีควำมเป็น สำกล


336

กำรออกแบบสัญลักษณ์และเครื่องหมำยควรออกแบบให้มีลักษณะเรียบง่ำย ควำมหมำยที่จะ สื่อควรเป็นจุดมุ่งหมำยเดียวไม่ควรแปลได้หลำยควำมหมำย ใช้สีเพียงสีเดียวเพื่อให้ง่ำยต่อกำรจำแนก และสัญลักษณ์ภำพที่ดีไม่ควรพึ่งประสิทธิภำพของสีเพียงอย่ำงเดียว 2.1.2 การออกแบบโครงสร้างของเว็บไซต์ จำกกำรให้ระดับเรื่องที่มีควำมสนที่จะเรียนรู้ หรือควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ เมื่อไปเที่ยวชม วัดมหำธำตุอยุธยำ ทั้ง 8 หัวเรื่อง โดยผู้ตอบแบบสอบถำมจำนวน 253 คน เมื่อนำมำคำนวณโดยมี เกณฑ์กำรคะแนน คือ มำกที่สุด = 5 คะแนน, มำก = 4 คะแนน, ปำนกลำง = 3 คะแนน, น้อย = 2 คะแนน, น้อยที่สุด = 1 คะแนน จำกเกณฑ์กำรให้คะแนนดังกล่ำว สำมำรถสรุปผลคะแนน และอันดับ เรื่องที่มีควำมสนที่จะเรียนรู้ หรือควำมคำดหวังที่จะได้ควำมรู้ เมื่อไปเที่ยวชมวัดมหำธำตุอยุธยำ ดังนี้ อันดับ 1 ประวัติศำสตร์วัดมหำธำตุ 1,077 คะแนน อันดับ 2 โบรำณวัตถุที่ค้นพบในวัดมหำธำตุ 1,073 คะแนน อันดับ 3 กรุใต้องค์ปรำงค์ และพระบรมสำรีริกธำตุ 1,040 คะแนน อันดับ 4 พัฒนำกำรทำงสถำปัตยกรรมของพระปรำงค์ประธำน 1,032 คะแนน อันดับ 5 พัฒนำกำรทำงสถำปัตยกรรมของพระวิหำรหลวง 1,021 คะแนน อันดับ 6 ควำมหมำยและกำรใช้สอยอำคำรภำยในผังบริเวณวัดมหำธำตุ 1,018 คะแนน อันดับ 6 กำรวำงผังวัดมหำธำตุกับผังเมืองอยุธยำ 1,019 คะแนน อันดับ 7 กำรวำงผังวัดมหำธำตุ 999 คะแนน จำกข้อมูลควำมสนใจของนักท่องเที่ยวจำกกำรจัดทำแบบสอบถำมข้ำงต้น ได้นำมำสู่กระบวน กำรวิเครำะห์ระบบ (System Analysis) เพื่อกำรออกแบบโครงสร้ำงของเว็ บไซต์ ดังมีรำยละเอียด ดังต่อไปนี้ ๐ หน้าหลัก ๐ ประวัติศาสตร์ มีหัวข้อย่อย (Sub menu) ดังนี้ - คติกำรบูชำพระบรมสำรีริกธำตุ และประเภทของเจดีย์ในพระพุทธศำสนำ - ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพระมหำสถูปกับกำรวำงผังเมืองโบรำณในอินเดีย ลังกำและ กำ ส่งอิทธิพลยังเมืองโบรำณในลุ่มแม่น้ำภำคกลำงของไทย - ควำมสับสนของกำรขนำนนำมระหว่ำง “พระมหำธำตุ” และ “พระบรมธำตุ” - ประวัติศำสตร์อยุธยำที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับวัดพระศรีรัตนมหำธำตุอยุธยำ - กำรสถำปนำพระพระศรีรัตนมหำธำตุอยุธยำ


337

๐ ที่ตั้ง มี Sub menu ดังนี้ - ผังบริเวณของวัดพระมหำธำตุ และที่ตั้งสัมพันธ์ - วัดพระศรีรัตนมหำธำตุอยุธยำ และควำมสัมพันธ์กับผังเมืองกรุงศรีอยุธยำ ๐ สถาปัตยกรรม มี Sub menu ดังนี้ - ผังบริเวณ - พระปรำงค์ประธำน - พระวิหำรหลวง - พระอุโบสถ - พระปรำงค์รำย - เจดีย์รำย - วิหำรรำย ๐ วีดีทัศน์ ๐ ห้องภาพ ๐ เอกสารเผยแพร่ (สำหรับให้ดำวน์โหลด รำยงำนวิจัย, เอกสำรเผยแพร่ต่ำงๆ) ๐ เกี่ยวกับโครงการ 2.1.3 ตัวอย่างการออกแบบของเว็บไซต์


338


339


340


341


342

2.2 “จินตทัศนา” แอพพลิเคชั่นในระบบอุปกรณ์สารสนเทศเคลื่อนที่ เพื่อการสื่อความหมาย มรดกทางสถาปัตยกรรม ในปัจจุบันที่โทรศัพท์เคลื่อนที่อัจฉริยะ (Smart Phone) และเครื่องมือสำรสนเทศเคลื่อนที่ (Tablet) ต่ ำ งๆ ล้ ว นแต่ มี ร ะบบประมวลผลควบคุ ม ด้ ว ยระบบปฏิ บั ติก ำร (Operation System) เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น รวมทั้งระบบอินเตอร์เน็ตที่ให้บริกำรเครือข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นมี ประสิทธิภำพในกำรถ่ำยโอนข้อมูลสู งกว่ำแต่ก่อนมำก“แอพพลิเคชั่น ในระบบอุปกรณ์สารสนเทศ เคลื่อนที”่ หรือ “โมบาย แอพพลิเคชั่น (Mobile Application)” คือ โปรแกรมที่พัฒนำขึ้นเพื่อรองรับ กำรใช้งำนบนระบบปฏิบัติกำรที่ควบคุมเครื่องมือสื่อสำรเคลื่อนที่ (Mobile Device) เพื่อตอบสนอง กิจกรรมต่ำงๆ ของผู้ใช้งำน โดยมีประเภทของโปรแกรมที่หลำกหลำย ทั้งนี้ นอกจำกกำรจัดทำเว็บไซต์ของโครงกำรดังกล่ำวมำข้ำงต้นแล้วยังนำมำสู่กำรพัฒนำ แอพพลิเคชั่น บนอุป กรณ์ส ำรสนเทศเคลื่ อนที่ อัจฉริยะ ในชื่อแอพพลิเคชั่นว่ำ “จินตทัศนา” ที่ม่งุ พั ฒ นำ และผลั ก ดั น ให้ เ ป็ น โครงกำรน ำร่ อ งของกำรออกแบบกำรสื่ อ ควำมหมำยมรดกทำง สถำปัตยกรรมผ่ำนเว็บไซต์ และเครื่องมือสื่อสำรเคลื่อนที่ (Mobile Media) ประเภทโทรศัพท์อัจฉริยะ (Smart Phone) เพื่อเติมเต็มระบบกำรสื่อควำมหมำยของวัดพระศรีรัตนมหำธำตุอยุธยำ และแหล่ง กรณีศึกษำอื่นๆ ให้สมบูรณ์แบบมำกยิ่งขึ้น สำหรับกำรพัฒนำแอพพลิเคชั่น “จินตทัศนา” นอกเหนือจะเป็นกำรนำเอำองค์ควำมรู้ใหม่ และข้อเสนอใหม่มำเรียบเรียงเพื่อให้มีเนื้อหำที่เหมำะสมกับกำรส่งเสริมกำรท่องเที่ยว และกำรเรียนรู้ แหล่งมรดกทำงสถำปัตยกรรม โดยขั้นตอนกำรพัฒนำแอพพลิเคชั่นดังกล่ำวได้ประมวลผลข้อมูลที่ได้ รั บ มำจำกกำรจั ดทำแบบสอบถำมออนไลน์เพื่อ กำรวำงแผนพัฒ นำแอพพลิ เคชั่น ดังรำยละเอียด ต่อไปนี้ 2.2.1 ประโยชน์ ข องการจั ด ท าระบบสารสนเทศ (Application) ส าหรั บ อุ ป กรณ์ สารสนเทศเคลื่อนที่ อาทิ Smartphone, Tablet ให้บริการในโบราณสถานวัดมหาธาตุอยุธยา จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่ คิ ด ว่ ำ กำรจั ด ท ำระบบสำรสนเทศ (Application) ส ำหรั บ อุ ป กรณ์ ส ำรสนเทศเคลื่ อ นที่ อำทิ Smartphone, Tablet ให้บริกำร จะมีประโยชน์ต่ออยู่ในระดับมำกที่สุด โดยมีจำนวนถึง 119 คน หรือ 47% ของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด รองลงมำคือ ระดับมำก 89 คน (35.4%) ระดับปำน กลำง 35 คน (13.8%) ระดับน้อย 6 คน (2.4%) ระดับน้อยที่สุด 4 คน (1.6%) ทั้งนี้ ผลสรุปของผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่เห็นประโยชน์หำกมีกำรจัดทำแอพพลิชั่นเพื่อ ส่งเสริมกำรท่องเที่ยวเรียนรู้แหล่งมรดกทำงสถำปัตยกรรม


343

2.2.2 การจัดทา Application ให้ดาวน์โหลดเพื่อการเรียนรู้และการท่องเที่ยว จำกกำรประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถำมได้คำตอบว่ำ หำกมี กำรจัดทำ Application ให้ดำวน์โหลดเพื่อกำรเรียนรู้และกำรท่องเที่ยว ผู้ตอบแบบสอบถำมโดยส่วนใหญ่ จำนวนกว่ำ 236 คน หรือ 93.3% จะใช้บริกำรดำวน์โหลด ในขณะที่อีกจำนวน 17 คน หรือ 6.7% ที่เหลือ จะไม่ใช้บริกำร ดำวน์โหลด ทั้งนี้ ผลสรุปของผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่จะทำกำรดำวน์โหลดแอพพลิ เคชั่นมำใช้ ประโยชน์เพื่อกำรเรียนรู้และกำรท่องเที่ยว ซึ่งข้อมูลดังกล่ำวนั้นยังวิเครำะห์ได้ถึงว่ำ หำกมีหน่วยงำนที่ เกี่ย วข้อง เช่น กำรท่องเที่ย วแห่ งประเทศไทย กรมศิล ปำกร หรือหน่ว ยงำนองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ได้ส นั บ สนุ น ให้ มีกำรพัฒ นำแอพพลิ เคชั่นดั งกล่ ำวขึ้นมำจะเป็น ประโยชน์อ ย่ำงสู งต่ อ กำร ส่งเสริมกำรท่องเที่ยว รวมทั้งหำกมีกำรสร้ำงเครือข่ำยควำมร่วมมือกับภำคเอกชน เช่น ผู้ให้บริกำร สัญญำณโทรศัพท์เคลื่อนที่ย่อมจะสำมำรถนำผลลัพธ์กำรวิจัยไปสู่กำรใช้ประโยชน์ทำงเศรษฐกิจได้อีก ทำงหนึ่งด้วย 2.2.3 อุปกรณ์สารสนเทศเคลื่อนที่ และระบบปฏิบัติ จำกกำรประมวลผลข้ อ มู ล ผู้ ต อบแบบสอบถำมได้ ค ำตอบว่ำ ที่ ผู้ ต อบแบบสอบถำมใช้ อุปกรณ์สำรสนเทศเคลื่อนที่ และระบบปฏิบัติ ดังนี้ คือ “โทรศัพท์มือถืออัจฉริยะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ Android” โดยมีจำนวน 146 คน รองลงมำ คือ “โทรศัพท์มือถืออัจฉริยะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ IOS (iPhone)” มีจำนวน 90 คน, “แทบเลต (Tablet) ระบบปฏิบัติการ Android” จ ำนวน 21 คน, “แทบเลต(Tablet) ระบบ IOS” จ ำนวน 19 คน, “โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ อัจฉริยะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติการ Windows Phone” จำนวน 13 คน, และ “แทบเลต (Tablet) ระบบปฏิบัติการ Windows Phone” จำนวน 10 คน สืบเนื่องจำกระบบปฏิบัติกำร (Operation System) ที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ อัจฉริยะ (Smart Phone) และเครื่องมือสำรสนเทศเคลื่อนที่ (Tablet) นั้นแบ่งออกเป็น 3 ระบบหลัก คือ - “ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (IOS)” ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติกำรที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ของบริษัท แอปเปิ้ล ซึ่งได้เปิดตัวครั้ งแรกในปี พ.ศ. 2550 เพื่อใช้บนโทรศัพท์เคลื่ อนที่อัจฉริยะรุ่นุ “ไอโฟน (IPhone) และต่ อ มำได้ พั ฒ นำระบบปฏิ บั ติ ก ำรให้ ส ำมำรถควบคุ ม อุ ป กรณ์ พ กพำอื่ น ๆ ทั้ ง นี้ ระบบปฏิบัติกำรไอโอเอส (IOS) นั้นแตกต่ำงไปจำกระบบปฏิบัติกำรื่นๆ ตรงที่แอปเปิลไม่อนุญำตให้ นำไอโอเอส (IOS) ไปติดตั้งบนอุปกรณ์อื่นๆ ที่ไม่ใช่อุปกรณ์ของแอปเปิล


344

2) ระบบปฏิบัติกำร “แอนดรอยด์ (Android)” ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติกำรที่มีพื้นฐำนอยู่บน กำรของระบบปฏิบัติกำรลีนุกซ์ (Linux) ซึ่งเป็นลักษณะของโปรแกรมที่เรียกว่ำ “โอเพนซอร์ซ (open source)” ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกำรเปิ ด เผยรหั ส โปรแกรม หรื อ ที่ เ รี ย กว่ ำ “ซอร์ ส โค๊ ด (Source Code)” ที่เรียบเรียงไว้ในกำรพัฒนำระบบ รวมทั้งยังเผยแพร่ ออกสู่สำธำรณะ ด้วยมุ่งหวังให้บุคคล นำเอำรหัสดังกล่ำวนั้นไปพัฒนำต่อไปได้ ในกำรนี้ จึงทำให้ระบบปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ (Android) นั้นเป็นระบบปฏิบัติกำรมีผู้ใช้ และพัฒนำไปอย่ำงกว้ำงขวำง 3) ระบบปฏิบัติกำร “วินโดวส์ โฟน (Windows Phone)” เป็นระบบปฏิบัติกำรบนอุปกรณ์ โทรศัพท์มืออัจฉริยะที่พัฒนำขึ้นมำโดยบริษั ทไมโครซอฟต์ซึ่งเป็นผู้ครอบครองระบบปฏิบัติกำรส่วน ใหญ่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่ำงไรก็ดี ระบบปฏิบัติกำรวินโดวส์ โฟน (Windows Phone) ซึ่งแม้จะ เปิ ด โอกำสให้ ติ ด ตั้ ง ลงบนอุ ป กรณ์ เ คลื่ อ นที่ ต่ ำ งๆ ได้ ก็ ต ำม แต่ ก็ ไ ด้ รั บ ควำมนิ ย มน้ อ ยกว่ ำ ระบบ ปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติกำรแบบโอเพนซอร์ซ จึงทำให้มีผู้พัฒนำกว้ำงขวำงกว่ำ นั่นเอง ทั้งนี้ ในกำรพัฒนำแอพพลิเคชั่นจึงให้ลำดับของกำรพัฒนำที่สอดคล้องกับ ระบบปฏิบัติกำร ที่มีผู้ใช้กว้ำงขวำงที่สุดเป็นลำดับแรก เนื่องมำจำกแอพพลิเคชั่นที่ถูกพัฒนำจะได้ถูกนำไปใช้อย่ำง แพร่หลำย ซึ่งจะนำมำสู่จำนวนครั้งในกำรดำวน์โหลดแอพพลิเคชั่นลงไปติดตั้ง ซึ่งจำกกำรประมวลผล แบบสอบถำมพบว่ ำ ผู้ ต อบแบบสอบถำมใช้ อุ ป กรณ์ ที่ ค วบคุ ม ด้ ว ยระบบปฏิ บั ติ ก ำรแอนดรอยด์ (Android) จ ำนวนมำกที่สุด รองลงมำคือ ระบบปฏิบัติกำรไอโอเอส (IOS) และล ำดับสุ ดท้ำย คือ ระบบปฏิบัติกำรวิโดวส์โฟน ซึ่งมีจำนวนน้อยมำกเสียจนไม่มีศักยภำพในกำรพัฒนำแอพพลิเคชั่นให้ รองรับระบบปฏิบัติกำรวินโดวส์ โฟน

ภาพที่ 184: ตัวอย่ำงหน้ำจอของกำรแสดงผลของแอพพลิเคชั่น “จินตทัศนำ” บนโทรศัพท์เคลื่อนที่อั จฉริย ะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติกำร “ไอโอเอส (IOS)”


345

ภาพที่ 185: ตัวอย่ำงหน้ำจอของกำรแสดงผลของแอพพลิเคชั่น “จินตทัศนำ” บนโทรศัพท์เคลื่อนที่อั จฉริย ะ (Smart Phone) ระบบปฏิบัติกำร “แอนดรอยด์ (Android)”


346


บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ จากคาถาาของกกาศึกกาา( Research Question)(หศืงปัญหาวิจัย( Research Problem)( องกกาศวิจัยชิ้นนี้ขีด้วยกันหลายคาถาาข(และขีควาขซับซ้งนองกปัญหาที่แตกต่ากกันหลายสถาานภาพ( กล่าวคืง(คาถาาขที่ตั้กอก้นจากควาขสกสัยใคศ่ศู้ในขุขขงกองกกาศ( “วิจัยพื้นฐาน (Basic Research)”( เพื่งสศ้ากควาขเอ้ขแอ็ก(และควาขเป็นเลิึทากวิชากาศในสาอาวิชาสถาาปัตยกศศข(โดยขุ่ก ึกกาาซาก ปศักหักพักองกโบศาณสถาานเพื่งหาศ่งกศงยองกไวทยากศณ์ทากสถาาปัตยกศศขที่ยักคกหลกเหลื งงยู่( ตลงดจนกาศึกกาาขศดกทากึิลปะและสถาาปัตยกศศขที่ศ่วขสขัยงยุธยา(บูศณากาศเอ้ากับกาศึกกาา ปศะวัติึาสตศ์สขัยงยุธยาที่เกี่ยวเนื่งกสัขพันธ์กับขศดกทากสถาาปัตยกศศขที่กล่าวขาอ้ากต้น(จนเศียกได้ ว่าเป็นกาศึกกาาเพื่งทาควาขเอ้าใจโดยใช้เคศื่งกขืงทาก(“ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม”(ทั้กนี้งยู่ ภายใต้อ้งคาถาาขที่(1.(ว่า(“สถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาในอดีตควรมีรูปแบบทาง สถาปัตยกรรมเช่นไร” โจทย์วิจัยลาดับถาัดขาขุ่กเน้นไปสู่กาศผลักดันผลกานกาศึก กาาไปสู่กาศใช้ปศะโยชน์ด้านกาศ สื่งควาขหขาย(เพื่งตงบโจทย์องกกาศบศิหาศจัดกาศขศดกทากสถาาปัตยกศศข(และกาศท่งกเที่ยวทาก วัฒนธศศข ในลักาณะ(“การวิจัยประยุกต์ (Apply Research)” โดยขีอ้งคาถาาขที่(2(ว่า(“สถานภาพ การณ์สื่อความหมายแหล่งมรดกทางสถาปัตยกรรมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยามีสถานการณ์เช่น ไร” และอ้งคาถาาขที่(3(ว่า(“ช่องว่างของการศึกษาหรือการนาใช้ระบบสื่อความหมายนั้นยังมีพื้นที่ ให้แก่การผลักดันในส่วนใด จึงจะทาให้การสื่อความหมายของพื้นที่ศึกษานั้นสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น”( ซก่กผลลัพธ์องกกาศวิจัยในคศั้กนี้(ขีทั้กที่เป็นผลลัพธ์ในลักาณะองก(“ผลการดาเนินการ”(ซก่ก เกิดอก้นจากวัตถาุปศะสกค์ในกาศึกกาาเพื่งเป็นฐานคิดในกาศต่งยงดเชิกลกกในวัตถาุปศะสกค์อ้งงื่นๆ(ซก่ก ขุ่กหา(“องค์ความรู้ ใหม่ หรื อข้อเสนอใหม่ ”(เพิ่ขเติขจากที่ส ถาานภาพควาขศู้ห ศืงสถาานภาพองก อ้งเสนงเดิขขีงยู่ ทั้กนี้(จากปศะเด็นคาถาาขที่ตั้กไว้ทั้ก(2(ส่วนดักที่กล่าวขาอ้ากต้นนั้น(ในที่นี้(องนาขากศะจาย งงกเป็ น กาศศายกานตาขวัตถาุป ศะสกค์องกกาศึกกาาที่กล่ าวไว้ในบทที่(1(และทั้กนี้จะองสศุปผล กาศึกกาาแยกเป็นศายหัวอ้งตาขวัตถาุปศะสกค์ในกาศึกกาา(ดักนี้


348

1. วิธีการศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมภายในอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา เพื่อนาไปสู่การคัดเลือกกรณีศึกษา ในกาศึกกาาเบื้งกต้นเพื่งทาควาขศู้จักบศิบทแวดล้งของกแหล่กขศดกทากสถาาปัตยกศศขใน งยุธยา ซก่กในปัจจุบันงยู่ในสถาานะองกกาศเป็น(“แหล่งโบราณสถาน และแหล่งโบราณคดี”(ซก่กส่วน ใหญ่งยู่ภายใต้ควาขดูแลองกงุทยานปศะวัติึาสตศ์พศะนคศึศีงยุธยา(งย่ากไศก็ดี(ยักขี( “โบราณสถาน ที่ยังมีสถานภาพเป็นวัดที่ยังมีพลวัติ ”(งยู่งีกจานวนหนก่ก(เพศาะฉะนั้นจกกเท่ากับเป็นแหล่ กโบศาณ สถาานที่ยักขีกาศใช้สงยศ่วขสขัยในแก่องกกาศเป็นึาสนสถาานซ้งนทับงยู่ในปัจจุบัน( ทั้กนี้(ผู้วิจัยใช้ศะเบียบวิธี( “การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)”(โดยดาเนินกาศ กาศจั ดทาแบบสงบถาาขงงนไลน์ ((E-Questionnaire) และเผยแพศ่ไปยักผู้ตงบแบบสงบถาาขผ่าน เคศืงอ่ายสักคขงงนไลน์ปศะเภทต่ากๆ(งาทิ( Facebook, Tweeter เป็นต้น(เพื่งให้แบบสงบถาาขนั้น กศะจายไปงย่ากกว้ากอวาก(โดยกาศเก็บอ้งขูลเชิกปศะชากศึาสตศ์ องกผู้ที่สนใจเศียนศู้ในฐานะองก “นั ก ท่ อ งเที่ ย วทางศิ ล ปวั ฒ นธรรม (Art and Cultural Tourist)”(ซก่ ก เป็ น กลุ่ ข ที่ คุ้ น ชิ น ในกาศใช้ ( “ระบบอินเตอร์เน็ต (Internet System)”(และ(“สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network)”(ปศะเภท( Facebook, Twitter, Line ในกลุ่ข((Group) องกผู้สนใจด้านึิลปวัฒนธศศข(ปศะวัติึาสตศ์(และกาศ ท่งกเที่ยว(โดยใช้วิธีแบบ(“การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling)” จากผู้ที่สขัคศใจ(และสนใจเอ้าขา ตงบแบบสงบถาาขเงก(และจนได้อ้งขูลเพียกพงจากกาศซ้ากันองกคาตงบ(ซก่กเป็นกาศปศะยุกต์ศะเบียบ วิธีในกาศเก็บอ้งขูลกลุ่ขตัวงย่าก“แบบเครือข่ายหรือก้อนหิมะ (Network or Snowball Sampling)” ทั้กนี้(สศุปได้ว่า(แหล่กโบศาณสถาานที่ปัจจุบันเป็นแหล่กท่งกเที่ยวทากวัฒนธศศขซก่กงยู่ในเอต งุทยานปศะวัติ ึาสตศ์ ( และนงกงุท ยานปศะวั ติึ าสตศ์นั้ น(ขีึักยภาพสู กต่ ง กาศดก กดู ด ผู้ ขาเยื ง น( เนื่งกจากงยู่ไข่ไกลจากศุกเทพขหานคศจกกเปิดโงกาสให้ขีกาศท่งกเที่ยวภายใน(1(วัน( Day Trip) ได้( และนงกจากนี้( ปศะวัติึาสตศ์งยุธยาที่ถาืงว่าเป็นปศะวัติึาสตศ์กศะแสหลักองกชาติก็เป็นปัจจัยสาคัญ ในกาศส่กเสศิขให้เกิดกาศท่งกเที่ยว(ตลงดจนกาศทัึนึกกาาดูกานองกสถาาบันกาศึกกาาต่ากๆ(ซก่กทาให้ ปศะชากศปศะเดิขสาหศับกาศท่งกเที่ยวในงยุธยาขีสูกกว่าแหล่กท่งกเที่ยวแบบเดียวกันในพื้นที่งื่นๆ( นงกจากนี้(ผลกาศตงบแบบสงบถาาขในปศะเด็นเศื่งกทัึนคติต่ง(“ความเป็นตัวแทน”(องก แหล่กโบศาณสถาานต่ากๆ(ในเอตเขืงกพศะนคศึศีงยุธยา(ว่าแหล่กโบศาณสถาานใดที่ผู้ตงบแบบสงบถาาข คิดว่าขี(“ความเป็นตัวแทนของแหล่งมรดกโลกพระนครศรีอยุธยา” ซก่กผลกาศสาศวจพบว่า(ขีผู้ ให้ คะแนน(“วัดใหญ่ชัยมงคล”(ขากที่สุด(ศงกลกขาคืง(“วัดพระศรีสรรเพชญ์”(และ(“วัดพระศรีรัตนมหา ธาตุอยุธยา”(ซก่กตศกกันอ้าขกับสขขติฐานที่คาดขาจาก(“คุณค่าด้านประวัติศาสตร์ -โบราณคดี”(องก วัดหลักทั้ก(2(แหล่ก(ดักที่ขีสขขติฐานว่า(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา”(และ(“วัดพระศรีสรรเพชญ์”( ควศจะงยู่ในลาดับ(1(และ(2(


349

กล่าวคืง(เขื่งพิจาศณาคุณค่าทากปศะวัติึาสตศ์ องก(“วัดพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยา”(ที่ขี ขาตั้กแต่เขื่งคศั้กสขัยตงนต้นองกกศุกึศีงยุธยา(และกาศเป็นวัดที่เป็นหลักเป็นปศะธานองกบ้านเขืงก( ตลงดจนสะท้งนให้เห็นถากกศูปทศกงันึักดิ์สิทธิ์องก(“พระปรางค์”(ที่คลี่คลายขาจากปศาสาทองข(และ ยักได้ส่กงิทธิพลต่งเนื่งกไปยักกาศก่งสศ้ากพศะขหาธาตุที่งื่นๆ(ในลุ่ขแข่น้าเจ้าพศะยางีกเป็นจานวน ขาก(หศืง(กศณีองก(“วัดพระศรีสรรเพชญ์ ”(ที่เป็นวัดปศะจาพศะศาชวักหลวกนับตั้กแต่สขัยงยุธ ยา ตงนกลากขาจนกศะทั่กเสียกศุกึศีงยุธยา(และเป็นแข่แบบทากควาขคิดในกาศสศ้ากวัดพศะึศีศัตน ึาสดาศาขแห่กกศุกศัตนโกสินทศ์ แสดกให้เห็นว่าในกาศศับศู้(และทัึนคติองกผู้ตงบแบบสงบถาาขนั้น ขิได้ขงกงยู่ ที่ควาขศู้ ทากปศะวัติึาสตศ์ -โบศาณคดีเพียกงย่ากเดียว(นงกจากนี้( เขื่ง ได้ดาเนินกาศ สัขภาาณ์เชิกลกกยักกลุ่ขผู้ตงบแบบสงบถาาขเดียวกันนั้นได้อ้งขูลว่า(“วัดใหญ่ชัยมงคล”(เป็นวัดซก่กใน ปั จ จุ บั น ยั ก ขี พ ลวั ติ ด้ ว ยยั ก ขี พ ศะสกฆ์ จ าพศศาา(และที่ ขี กิ จ กศศขทากึาสนา(ตลงดจนกิ จ กศศข เกี่ยวเนื่งก(นงกจากนี้(ปศะวัติึาสตศ์ที่ศับศู้กันองกวัดใหญ่ชัยขกคลนั้นยักถาูกผลิตผ่านปศะวัติึาสตศ์ ชาติในกศณีสขเด็จพศะนเศึวศขหาศาชด้วย( ในที่นี้จกกสศุปได้ว่า(แข้ว่าในพื้นที่จะขีปศะวัติึาสตศ์ -โบศาณคดีที่สาคัญขากเพียกไศ(หากแต่ อาดศะบบกาศสื่งควาขหขาย(ตลงดจนกาศปศะชาสัขพันธ์อ้งขูลต่ากๆ(ตลงดจนกิจกศศขที่ส่กเสศิขกาศ ท่งกเที่ยวทากวัฒนธศศขก็จ ะขีบ ทบาทในควาขคิดองกผู้ ที่ปศะสกค์ขาเยืงนน้งยกว่า(เพศาะฉะนั้น กศะบวนกาศสื่ ง ควาขหขายขศดกทากวั ฒ นธศศขและกาศท่ ง กเที่ ย ว((Heritage and Tourism Interpretation) เป็นสิ่กที่ขีควาขจาเป็นงย่ากขาก นงกจากนี้( กาศกาหนดพื้นที่วัดกศณีึกกาานั้นได้ขาจากกาศึกกาาทบทวนสาศสนเทึที่ เกี่ยวเนื่งกซกก่ พบว่า(“วัดพระศรีสรรเพชญ์”1(ขีกาศึกกาาเพื่งสันนิาฐานศูปแบบทากสถาาปัตยกศศขโดย ใช้กศะบวนวิธีวิทยาทากปศะวัติึาสตศ์สถาาปัตยกศศขที่เน้น กาศสาศวจศักวัดและสันนิาฐานศูปแบบอก้น จากโคศกสศ้าก(และไวทยากศณ์ทากสถาาปัตยกศศขที่ยักหลกเหลืง บูศณากาศกับกาศึกกาาด้านเงกสาศ ปศะวัติึาสตศ์ที่เกี่ยวเนื่งก(เพื่งให้แบบสถาาปัตยกศศขสันนิาฐานนั้นขีควาขใกล้เคียกกับลักาณะทาก สถาาปั ตยกศศขดั้กเดิขขากที่สุ ดเท่า ที่ จะเป็ น ไปได้นั้น (ในโคศกกาศวิจัยได้เลื งกพื้นที่กศณีึก ก าาใน กาศึกกาา(คืง(“วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยา”(เพื่งเป็นวัดกศณีึกกาาที่ตงบโจทย์ควาขต้งกกาศ ดักกล่าวขาอ้ากต้นนั่นเงก

1

เสนง นิลเดช. วัดพระศรีสรรเพชญ์. กศุกเทพฯ: งุทยานปศะวัติึาสตศ์พศะนคศึศีงยุธยา สานักกานึิลปากศที่ 3, กศขึิลปากศ, 2546.


350

2. วิธีการสารวจรังวัดเพื่อศึกษาองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของซากมรดกทาง สถาปัตยกรรม เพื่อทาความเข้าใจต่อไวยากรณ์ทางสถาปัตยกรรมสาหรับการ สันนิษฐานรูปแบบดั้งเดิมของอาคาร สืบเนื่งกจากศะเบียบวิธีวิจัยทากปศะวัติึาสตศ์สถาาปัตยกศศข(และกาศสันนิาฐานศูปแบบ ทากสถาาปั ต ยกศศขนั้ น (ให้ ค วาขส าคั ญ กั บ กาศส าศวจศั ก วั ด ซากขศดกทากสถาาปั ต ยกศศขหศื ง โบศาณสถาานเพื่งทศาบถากกศ่ งกศงยองกโคศกสศ้าก(และไวทยากศณ์ทากสถาาปัตยกศศขที่หลกเหลืงงยู่ เพื่งนาขาสู่กศะบวนกาศสันนิาฐานศูปแบบ ทั้กนี้(ในอั้นตงนกาศสาศวจศักวัดในโคศกกาศวิจัยนั้นใช้วิธีกาศสาศวจศักวัด(2(ศูปแบบ(คืง( “การสารวจรังวัดด้วยเครื่องมือ พื้นฐาน”(คืง(กาศใช้ตลับเขตศวัดศะยะ(และ(“การสารวจรังวัดด้วย เครื่ อ งมื อ ด้ ว ยกล้ อ งส ารวจเลเซอร์ 3 มิ ติ (3Ds Laser Scanner)” ยี่ ห้ ง (FARO ศุ่ น (FARO Laser Scanner Focus3D X 330 ซก่กขีศะยะในกาศดาเนินสาศวจศักวัดกาศได้( 330(เขตศ(จานวน(1(เคศื่งก( และ FARO Laser Scanner Focus3D X 130 ซก่กขีศะยะในกาศดาเนินสาศวจศั กวัดกาศได้(130(เขตศ( จานวน(1(เคศื่งก(ดาเนินกาศสาศวจศักวัดพศ้งขกันในกาศสาศวจ(เนื่งกจากควาขซับซ้งนองกผักบศิเวณ องกวัดพศะึศีศัตนขหาธาตุที่ขีสูก(และเป็นวัดที่ขีอนาดใหญ่( หากใช้เคศื่งกขืงดักกล่าวเพียกเคศื่งกเดียว ในกาศสาศวจจะใช้เวลาขาก(และจะทาให้เคศื่งกทากานหนักขากจนเกินไปจนเกิดควาขศ้งน(ทั้กนี้(ใน วิ ธี ก าศส าศวจใช้ วิ ธี ก าศ(2(แบบ(คื ง (กาศใช้ ( “วั ต ถุ ท รงกลมส าหรั บ อ้ า งอิ ง จุ ด (Laser Scanner Reference Sphere)” และกาศสาศวจศักวัดที่ใช้วิธีกาศ(“อ้างอิงภาพหมอกจุด (Cloud to Cloud Reference)” ซก่กใช้กาศปศะขวลผลโดยคงขพิวเตงศ์ในภายหลักในกาศปะติดปะต่งภาพแบบหขงกจุด ที่ได้ศับจากกาศสาศวจศักวัดเพื่งปศะขวลผลง้ากงิกตาแหน่กเพื่งให้ปศะหยัดเวลาในกาศดาเนินกาศ(ทั้กนี้( จากกาศสาศวจศักวัดด้วยกาศใช้เคศื่งกขืง กล้งกสาศวจเลเซงศ์สาขขิตินี้(กาหนดจุดตั้กเคศื่งกขืงทั้กหขด( 67(จุด(แต่ละจุดใช้เวลาในกาศสาศวจจุดละ(20(นาที( พักเคศื่งก(30(นาที( แล้วจกกสาศวจศักวัดในจุด ถาัดไป(ใช้เวลาในกาศสาศวจศวข(3(วัน (จากนั้นจกกนาผลอ้งขูลที่ได้นาไปปศะขวลผลในห้งกปฏิบัติกาศ เอี ย นแบบ( Drawing Studio)(และห้ ง กปฏิ บั ติ ก าศคงขพิ ว เตงศ์ (Computing laboratory) เพื่ ง ปศะขวลผลภาพหขงกจุ ด((Cloud Image)(ซก่กงยู่ในศูปแบบองกไฟล์ ส กุล (.fls โดยด้ว ยโปศแกศข( SCENE 3D Laser Scanner Software ส าหศั บ กาศ(“ผสานภาพหมอกจุ ก (Cloud to Cloud Integration)”(จากนั้นจกกบันทกกอ้งขูลในศูปแบบไฟล์สกุล(.E57 องกอ้งขูลทั้กหขดทั้กผักบศิเวณ(และ แบ่กงงกเป็นงาคาศแต่ละหลัก(แล้วนาไปปศะขวลผลต่งด้วยโปแกศข(Cloud(Compare เพื่งนาไฟล์ งงกขาเป็น(“รูปด้านของอาคาร (Elevation Image)”(


351

ซก่กกาศสาศวจด้วยกล้งกเลเซงศ์สาขขิติดักกล่าวนั้น(ได้เป็นเคศื่งกขืงที่ช่วยในกาศแก้ปัญหา กาศบันทกกภาพที่ขีปัญหาเศื่งก(“ความซ้น (Illusion)”(ซก่กในึัพท์ช่ากไทยเศียกว่า(“อากาศกิน”(ซก่กเป็น ภาพลวกตาหากขงกงาคาศด้วยตาเปล่า(หศืงแข้แต่กาศบันทกกภาพด้วยกล้งกถา่ายภาพ(แล้วทาให้ได้ ภาพที่ขีลักาณะเหขืงนกับภาพศูปด้าน((Elevation) ที่ไข่ผิดเพี้ยนจากกาศลวกตา(งันนาขาสู่กาศเอียน แบบสถาาปัตยกศศขสภาพปัจจุบัน((Existing Condition Drawing) จะไข่ขีควาขผิดเพี้ยนซก่กทาให้กาศ สันนิาฐานศูปแบบทากสถาาปัตยกศศขในอั้นตงนต่งไปนั้นขีใกล้เคียกกับศูปลักาณะทากสถาาปัตยกศศขที่ เคยเป็นขาในงดีตขากที่สุด

3. ข้อค้นพบใหม่ และข้อเสนอใหม่ ทางวิชาการจากงานวิจัย การสันนิษฐานรูปแบบ ดั้งเดิมของอาคารจากหลักฐานทางสถาปัตยกรรม และโบราณคดีที่หลงเหลืออยู่ เพื่อการเขียนสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม 3.1 ประเด็นเรื่องความสับสนของการขนานนามระหว่าง “พระมหาธาตุ” และ “พระ บรมธาตุ” ในสขัย งยุ ธ ยานั้ น (คาเศี ยกชื่งว่า(“พระมหาธาตุ ”(จะใช้เศียก(“พระสถูปทรงปรางค์ ที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ”(และคาว่า(“พระศรีรัตนมหาธาตุ”(หศืง(“พระศรีรัตนธาตุ”(จะใช้ เศียก(“พระสถูปทรงปรางค์ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่เป็นประธานของเมือง” ในอณะที่( “พระสถูปทรงเจดีย์ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ”(จะเศียกว่า(“พระมหาเจดีย์”(ซก่กขีหลักฐาน ง้ากงิกแน่ชัดว่าคนโบศาณได้เศียกชื่งทั้กสงกให้แตกต่ากกันโดยใช้ศูปทศกเป็นตัวจาแนก(ดักปศากฏใน หลักฐานทากปศะวัติึาสตศ์สขัยงยุธยาที่กล่าวถากกอ้งขูลดักอ้งควาขว่า("พระมหาธาตุที่เปนหลักกรุงศรี อยุธยา 5 องค์ คือ [1] พระมหาธาตุวัดพระราม 1, [2] พระมหาธาตุวัดมหาธาตุ 1, [3] พระมหาธาตุ วัดราชบุรณ 1, [4] พระมหาธาตุวัดสมรโกฎ 1, [5] พระมหาธาตุวัดพุทไธสวริย 1"2 ในอณะที่ในเงกสาศเดียวกันนี้ก็ได้เศียก(“พระสถูปที่เป็นทรงเจดีย์”(ว่า(“พระมหาเจดีย์”(ดัก อ้งควาขว่า("พระมหาเจดีย์ฐานที่เปนหลักกรุง 5 องค์ คือ [1] พระมหาเจดีย์วัดสวนหลวงสพสวรรค์ 1, [2] พระมหาเจดีย์วัดขุนเมืองใจ 1, [3] พระมหาเจดีย์วัดเจ้าพระยาไทย 1, [4] พระมหาเจดีย์วัดภูเขา ทอง สูงเส้นห้าวา 1, [5] พระมหาเจดีย์วัดใหญ่ไชยมงคล สูงเส้นห้าวา 1"3

2

วินัย(พกึ์ึศีเพียศ,(บศศณาธิกาศ.(อยุธยา พรรณนาภูมิสถานและมรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา.( กศุกเทพฯ: งุาาคเนย์.(2551.(หน้า(105. 3 วินัย(พกึ์ึศีเพียศ,(บศศณาธิกาศ.(อยุธยา พรรณนาภูมิสถานและมรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา.( กศุกเทพฯ: งุาาคเนย์.(2551.(หน้า(106.


352

เพศาะฉะนั้นกาศกล่าวถากกคาว่า(“พระมหาธาตุ”(ในเงกสาศปศะเภทพกึาวดาศฉบับต่ากๆ(ที่ ใช้คาว่า(“พระมหาธาตุ”(แทนคาว่า(“พระปรางค์”(จกกทาให้ผู้ง่านในชั้นหลักเอ้าใจผิด(คิดว่ากล่าวถากก( “นาม”(องก(“วัดพระมหาธาตุ”(งันนาไปสู่กาศตีควาขที่คลาดเคลื่งนไปด้วย 3.2 ข้อเสนอเกี่ยวกับปีที่สร้างพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ในสถาานภาพองกอ้ ง เสนงในปั จ จุ บั น เกี่ ย วกั บ ปี ที่ ส ถาาปนาพศะึศี ศั ต นขหาธาตุ นั้ น( สันนิาฐานกันว่าสศ้ากอก้นในศัชกาลสขเด็จพศะบศขศาชาธิศาชที่(1( อุนหลวกพะกั่ว) ในปี(พ.ึ.(1917( นั้น(จากกาศึกกาานี้ขีอ้งสันนิาฐานเสนงเพิ่ขเติขงีก(1(แนวทาก(คืง(วัดพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยานั้น ควศถาูกสถาาปนาอก้นในศัชกาลสขเด็จพศะศาเขึวศในปี ( พ.ึ.(1931(ตาขหลักฐานทากปศะวัติึาสตศ์ที่ แวดล้งขดักกล่าวขาแล้วอ้ากต้น(นงกจากนี้( กาศที่สขเด็จพศะศาเขึวศอก้นไปคศงกศาชย์ที่เขืงกลพบุศี งยู่ถากก(13(ปี(ศวขสขัยที่คศงกเขืงกในฐานะงุปศาชในสขัยพศะเจ้างู่ทงกด้วยศวขเป็นเวลาศ่วข(30(ปี(จกก ทาให้พศะงกค์ย่งขซกขซับศับเงาแนวควาขคิดเศื่งกควาขึักดิ์สิทธิ์องกพศะขหาธาตุปศะจาเขืงกในฐานะ วัดึูนย์กลากจิตวิญญาณและควาขึักดิ์สิทธิ์(ตลงดจนศูปแบบสถาาปัตยกศศของกพศะึศีศัตนขหาธาตุ ซก่กได้ศับแศกบันดาลใจและงิทธิพลจากึิลปสถาาปั ตยกศศขเอขศที่เคยศุ่กเศืงกงยู่ก่งนหน้า(และนาขา ก่งสศ้ากสถาาปนายักพศะนคศึศีงยุธยาเพื่งเชื่งขโยกควาขึักดิ์สิทธิ์ที่พศะงกค์เคยได้กศาบไหว้บูชาขา จากศาชธานีเดิข(ด้วยกาศสถาาปนาสิ่กึักดิ์สิทธิ์ปศะจาพศะนคศึศีงยุธยาผ่านศูปทศกองกกาศเป็น( “สถูปเจดีย์ทรงปรางค์”(หศืงที่เศียกว่า(“พระมหาธาตุ”(ที่เป็นขศดกควาขทศกจาขาจากเขืงกลพบุศีซก่ก เคยเป็นเขืงกึูนย์กลากองกพศะศาชงาณาจักศด้วย 3.3 วัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา และความสัมพันธ์กับผังเมืองกรุงศรีอยุธยา จากึกกาาทากภูขิึาสตศ์(และกาศจัดทาฐานอ้งขูลสาศสนเทึทากภูขิึาสตศ์( (GIS) ปศะกงบ กับกาศใช้ภาพถา่ายดาวเทียข(และภาพถา่ายทากงากาึเกาะเขืงกพศะนคศึศีงยุธยาในศะดับผักเขืงก( พบอ้งสักเกตที่น่าสนใจว่า(กาศสถาาปนาพศะพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยาในสขัยสขเด็จพศะศาเขึวศ เขื่งปี พ.ึ.(1931(ในแนวด้านตะวัน งงกนั้ น เป็นแกนที่วิ่กตศกจากพศะศาชวักหลวกในสขัยงยุธยา ตงนต้น(ต่งขาในสขัยพศะเจ้าสาขพศะยาขีกาศก่งสศ้ากวัดศาชบูศณะหลักปี(พ.ึ.1967 4(ทั้กนี้(ในปี( พ.ึ.1974(เสด็จไปตีเขืงกพศะนคศหลวกได้ 5(ทาให้เกิดแกนที่สขขาตศอก้นในกาศวากผักศะดับเขื งก( Urban Scale) จากสะพานป่าถา่านขุ่กไปทิึตะวันตกกลายเป็นแกนที่สาคัญเนื่งกจากเป็นที่ตั้กองก 4

“พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ”.(ใน(ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1.(กศุกเทพฯ: กศขึิลปากศ.(2542.(หน้า(214. 5 “พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ”.(ใน(ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1.(กศุกเทพฯ: กศขึิลปากศ.(2542.(หน้า(214.


353

พศะศาชวักหลวก ทาให้ที่พศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยา(และพศะขหาธาตุวัดศาชบูศณะตั้กอนาบถานน ดักกล่าว(ยิ่กเขื่งสขเด็จพศะเจ้าปศาสาททงกสศ้ากพศะขหาปศาสาท(“ศิริยโสธรมหาพิมานบันยังค์”6( แต่ได้เปลี่ยนนาขใหข่เป็น(“จักรวัติไพชยันตมหาปราสาท”7(เขื่งปี(พ.ึ.(2175(ยิ่กตงกย้าควาขสาคัญ องกแกนดักกล่าว(และที่น่าสนใจก็คืงแกนดักกล่าวนี้เหขืงนกับแกนทากด้านทิึตะวันงงกองกเขืงกึศี ยโสธศปุศะที่เศิ่ขต้นจากสะพานึิลาแลกอ้าขแข่น้าเสียขเศียบ(ซก่กปัจจุบันเศียกสะพานว่า(“สเปียน ทมอร์ (Spean Thma)”(ถาัดขาจะขีปศาสาท(2(หลักวากตัวอนาบแกนดักกล่าว(คืง(“ปราสาทเจ้าสาย เทวดา (Chau Say Tevoda)”(และ(“ปราสาทธมมานนท์ (Thommanon)” เขื่งขุ่กตศกไปยักทิ ึ ตะวันตกจะผ่านปศะตูชัยซก่กเป็นแกนที่ขุ่กตศกไปยักลานหน้าพศะที่นั่ก(ซก่กปัจจุบันเศียกว่า( “ลานช้าง (Elephant Terrace)” ควาขสัขพันธ์ดักกล่าวขาอ้ากต้นจกกสะท้งนให้เห็นว่ากาศวากผักดักกล่าวนั้น ไข่ใช่เป็นเศื่งกบักเงิญ(แต่เป็นกาศงงกแบบวากผักเขืงกงย่ากจกใจ 3.4 การศึกษาหลักฐานทางสถาปัตยกรรม และโบราณคดีที่หลงเหลืออยู่เพื่อการเขียน สันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม จากอั้นตงนกาศสาศวจศักวัด(และกาศจัดทาแบบสภาพปัจจุบันองกสถาาปั ตยกศศขหลักต่ากๆ( ที่กล่าวขาอ้ากต้น(จะได้นาควาขศู้ต่ากๆ(ขาบูศณากาศเอ้ากับงกค์ควาขศู้ทากปศะวัติึาสตศ์ที่ได้ศับจาก กาศทาสาศัตถาะวิพากา์(และกาศง่านเงกสาศทากปศะวัติึาสตศ์ต่ากๆ(ที่เกี่ยวอ้งก(จากนั้นจกกนาขา จัดทาแบบเพื่งกาศสันนิาฐานศูปแบบเพื่งสศ้ากควาขศู้ควาขเอ้าใจเกี่ยวกับศูปทศกทากสถาาปัตยกศศข ต่งไป ทั้กนีข้ ีอ้งสศุปดักต่งไปนี้( 3.4.1 พระศรีรัตนมหาธาตุ 3.4.1.1 ข้อสังเกตเกี่ยวกับพระศรีรัตนมหาธาตุ (พระปรางค์ประธาน) เมื่อแรกสถาปนา เนื่ งกจากส่ ว นยงดองกงกค์ พศะึศีศั ตนขหาธาตุ ง ยุธ ยาได้ พัก ทลายลก(ศวขทั้ก ขี ก าศ ซ่งขแซขบูศณปฏิสักอศณ์ขาหลายคศั้ก(ทาให้หลักฐานทากสถาาปัตยกศศของกงกค์พศะึศี ศัตนขหาธาตุ ในสขัยแศกนั้นหลกเหลืงงยู่น้งยขาก(ในกาศึกกาาในเศื่งกนี้นงกจากกาศึกกาาด้วยวิธีกาศสาศวจศักวัด( และกาศึกกาาทบทวนเงกสาศแล้ ว (ยักต้งกึกกาาเทียบเคียกกับึิล ปสถาาปัตยกศศขแหล่ กงื่นๆ( ที่ ก่ ง สศ้ า กงยู่ ศ่ ว ขสขั ย กั น และขี ค วาขสั ข พั น ธ์ กั น ทั้ ก ทากปศะวั ติ ึ าสตศ์ ( และวั ฒ นธศศข ซก่ ก เขื่ ง

6

“พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”.(ใน(ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3.(กศุกเทพฯ: กศขึิลปากศ.(2542.(หน้า(379. 7 “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”.(ใน(ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3.(กศุกเทพฯ: กศขึิลปากศ.(2542.(หน้า(379.


354

ทากาศึกกาาดักกล่าวขาอ้ากต้น(ทาให้ขีอ้งสักเกตเพิ่ขเติขเกี่ยวกับพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยาเขื่งแศก สศ้ากดักนี้( - การวางผั ง องค์ พ ระศรี รั ต นมหาธาตุ อ ยุ ธ ยาเมื่ อ แรกสถาปนา เขื่ ง ท ากาศึก ก าา เปศียบเทียบพศะึศีศัตนขหาธาตุ( และพศะขหาธาตุ ต่ากๆ(ที่สศ้ากก่งนสขัยงยุธยา(และสขัยงยุธยา ตงนต้น(เช่น(พศะึศีศัตนขหาธาตุลพบุศี( พศะึศีศัตนขหาธาตุสุพศศณบุศี( พศะขหาธาตุวัดพศะศาข( พศะขหาธาตุวัดพุทไธึวศศย์(จะเห็นได้ว่าขีกาศวากผักในลักาณะเป็นพศะปศากค์สาขงกค์วากเศียกตัวใน แนวหน้ากศะดาน(ในกาศนี้(จกกขีอ้งสันนิาฐานว่า(พศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยางาจเคยขีกาศวากผักใน ลักาณะเป็นพศะปศากค์วากตัวในแนวหน้ากศะดานสาขงกค์เช่นเดียวกับพศะึศีศัตนขหาธาตุ( และพศะ ขหาธาตุงื่นๆ(ที่สศ้ากงยู่ในบศิบทก่งนหน้าและศ่วขสขัย(ทว่าเขื่งขีกาศบูศณปฏิสักอศณ์คศั้กใหญ่( คก ไข่ได้ทาเช่นเดิขงีกเพศาะคติในกาศก่งสศ้าก(และสุนทศียภาพได้เปลี่ยนแปลกไปแล้วนั่นเงก - ความสูงของพระศรีรัตนมหาธาตุ อยุธยาเมื่อแรกสถาปนา(แข้ว่าเศื่งกปศะเด็นในกาศ สถาาปนาพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยานั้นขีควาขเห็นแตกต่ากกันงงกเป็น(2(ส่วน(คืง(สันนิาฐานว่าสศ้าก อก้นในศัชสขัยสขเด็จ พศะบศขศาชาธิศาชที่(1( อุนหลวกพะกั่ว)(หากเขื่งึกกาาพศะศาชพกึาวดาศที่ กล่าวถากกกาศสถาาปนาพศะึศีศัตนขหาธาตุ ทั้ก(2(คศั้ก(คืง(ศัชกาลสขเด็จพศะบศขศาชาธิศาชที่(1( อุน หลวกพะกั่ว)(และศัชกาลสขเด็จพศะศาเขึวศ(พบว่ากาศให้อ้งขูลควาขสูกองกพศะึศีศัตนขหาธาตุไข่ ตศกกัน(และเขื่งตศวจสงบเงกสาศไปถากกเนื้งหาที่กล่าวถากก พศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยาในศัชกาลสขเด็จ พศะเจ้าปศาสาททงกซก่กให้อ้งขูลเหตุกาศณ์ที่เศืงนยงดองกพศะึศีศัตนขหาธาตุ( ได้พักทลายลกขา(ซก่กขี อ้งขูลที่ให้เป็นควาขสูกเดียวกับ พศะึศีศันขหาธาตุที่กล่าวถากกในศัชกาลสขเด็จ พศะศาเขึวศ(จกกเป็น เหตุผลสนับสนุนงีกปศะกาศว่าพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยานั้นแศกสถาาปนาในศัชกาลสขเด็จพศะเจ้า ปศาสาททงก ซก่กขีควาขสูกตั้กแต่ฐานถากกจงขโขลี(19(วา(และยงดนพึูลสูก(3(วา(หศืงสูกปศะขาณ(38( เขตศ(และยงดนพึูลสูกปศะขาณ(6(เขตศ ทั้กนี้(จากกาศสาศวจศักวัดพบว่าชุด ฐานสูกปศะขาณ(9.50( เขตศ(เพศาะฉะนั้นควาขสูกองกตัวเศืงนจนถากกยงดจงขโขลีควศจะขีควาขสูกปศะขาณ(28.5(เขตศ(ซก่กได้ นาขาสู่กาศสันนิาฐานศูปแบบองกพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยา(เพื่งสศ้ากจิตภาพองกพศะึศีศัตนขหา ธาตุงยุธยาเขื่งแศกสถาาปนา(สาหศับเขื่งบูศณปฏิสักอศณ์ในสขัยสขเด็จพศะเจ้าปศาสาททงกได้ไอควาข สูกเพิ่ขไปงีกเป็น(1(เส้น(2(วา - ชั้นอัสดงของพระพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนา เนื่งกจากเศืงนยงด องกพศะึศีศัตนขหาธาตุงกค์ได้พักทลายลก(จกกขีคาถาาขว่าในกาศตกแต่กชั้นงัสดกนั้นตกแต่กด้วยกลีบ อนุน(หศืงปศะติขากศศขศูปต่ ากๆ(เนื่งกจากพศะึศีศัตนขหาธาตุ ลพบุศี(และพศะขหาธาตุวัดพุทไธ ึวศศย์ที่สศ้ากขาก่งนหน้านั้นบนชั้น งัส ดกองกพศะปศากค์นั้นตกแต่กด้ว ยกลีบอนุน(ในอณะท (ี่พศะ ขหาธาตุวัดพศะศาขซก่กสศ้ากในศัชกาลสขเด็จพศะศาเขึวศเช่นเดียวกับวัดพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยา( ศวขทั้ก(พศะขหาธาตุวัดศาชบูศณะซก่กสศ้ากในศัชสขัยพศะบศขศาชาธิศาชที่( 2( เจ้าสาขพศะยา)(ในที่นี้(


355

จกกขีอ้งเสนงว่า(งาจเป็นไปได้ทั้ก(2(แนวทาก(คืง(ชั้นงัสดกพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยางาจตกแต่กด้วย กลีบอนุน(หศืงงาจตกแต่กด้วยปศะติขากศศขศูปคศุฑและเทวดา(ทั้กนี(้ ในกาศวิจัยนี้จกกเสนงว่ายักไข่ควศ สศุปว่ากาศตกแต่กดักกล่าวนั้นเป็นแนวทากใด(จาเป็นต้งกขีกาศึกกาาปศะติขากศศขศูปคศุฑบนชั้น งัสดกพศะขหาธาตุวัดพศะศาขงย่ากละเงียด(จะช่วยสศ้ากคางธิบายยักกาศตกแต่กชั้นงัสดกวัดพศะึศี ศัตนขหาธาตุงยุธยา - การตกแต่งสันหลังคามุขทิศตะวันออกของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยาเมื่อแรกสถาปนา สืบเนื่งกจากพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยาเขื่งแศกสศ้ากขีกาศยื่นขุอทิึด้านตะวันงงกขายาว(กว่าขุอ ด้ า นงื่ น ๆ(ซก่ ก งี ก สาขด้ า นที่ ก ล่ าวถากก นั้ นท าหน้ าที่ เ ป็น เพี ย กขุ อ สั ญ ลั ก าณ์ ( หาได้ เ ป็ น ทากเอ้ า สู่ ห้ งก คศศภธาตุเช่นขุอทากด้านตะวันงงกไข่ จกกนาไปสู่คาถาาขว่า(“บนสันหลังคาของมุขทิศด้านตะวันอก ของพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยานั้นเคยมีสถูปขนาดเล็กตั้งอยู่หรือไม่ ”(เนื่งกขาจากพศะขหาธาตุลพบุศี ที่ก่งสศ้ากก่งนหน้านั้นไข่ขีหลักฐานที่บ่กชี้ได้ว่าขีหศืงไข่ขี( เนื่งกจากสันหลักคาองกขุอได้พักทลายลกขา นงกจากนี้( พศะขหาธาตุวัดพุทไธึวศศย์ที่สันนิาฐานว่าสศ้ากขาก่งน 8((พศะขหาธาตุวัดพศะศาขซก่ก สศ้ากศ่วขสขัย(และพศะขหาธาตุวัดศาชบูศณะที่สศ้ากในภายหลัก(ทั้กหขดเหล่านี้ต่ากๆ(ขีสถาูปบนสัน หลักคาทั้กสิ้น(ทั้กนี้( ในกาศวิจัยนี้จกกเสนงว่า(ควศเปิดปลายองกอ้งสันนิาฐานไว้ทั้กสงกแนวทากทั้กขี( และไข่ขีสถาูปบนสันหลักคาขุอทากเอ้าสู่พศะึศีศัตนขหาธาตุ 3.4.1.2 ข้ อ สั ง เกตเกี่ ย วกั บ พระศรี รั ต นมหาธาตุ (พระปรางค์ ป ระธาน) เมื่ อ ครั้ ง บู ร ณปฏิสังขรณ์ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง จากเหตุกาศณ์ที่เศืงนยงดองกพศะึศีศัตนขหาธาตุพักทลายลกขาจนถากกชั้นงัสดกในปี พ.ึ.( 2153(ในศัชสขัยองกสขเด็จพศะเจ้าทศกธศศข(และก็ไข่ได้บูศณปฏิสักอศณ์(จนเวลาให้หลักไป(23(ปี(ใน ปีพ.ึ.(2176(ซก่กเป็นปีที่(3(ในศัชกาลสขเด็จพศะเจ้าปศาสาททงกได้บูศณปฏิสักอศณ์ส่วนยงดพศะ ขหาธาตุที่พักทลายลกขา(ในกาศนั้นขีพศะศาชวินิจฉัยให้แก้ไอทศวดทศกองกพศะขหาธาตุให้สูกเพศียว อก้นกว่าเดิข(ด้วยสันนิาฐานว่าได้ศับงิทธิพลจากสุนทศียภาพในศะเบียบและสัดส่วนองกปศาสาทนคศ วัดที่ทศกส่กให้ช่ากไปถา่ายงย่ากขา(ทั้กนี้ควาขสูกเดิของกพศะขหาธาตุ(คืง(19(วา(หศืงเท่ากับปศะขาณ( 38(เขตศ(โดยให้แก้สัดส่วนควาขสูกเป็นหนก่กเส้นสงกวา(หศืงเท่ากับปศะขาณ(44(เขตศ(สาหศับนพึูล ใช้องกเดิขที่สูก(3(วา(หศืงปศะขาณ(6(เขตศ นงกจากกาศซ่งขแก้สัดส่วนเศืงนยงดยักก่งงิฐเสศิขเอ้าไป ชนกับึิลาแลกที่เป็นโกลนองกพศะขหาธาตุงกค์เดิข (เพื่งทาหน้าที่ช่วยพยุกเศืงนธาตุที่ศับน้าหนักองก เศืงนยงดให้ขีควาขขั่นคกขากอก้น และคกได้สศ้ากสถาูปทศกปศากค์บนสันหลักคาขุอทั้ก(4(และพศะ

8

กศณีองกพศะขหาธาตุวัดพุทไธึวศศย์ขีสถาานะที่ได้ศับกาศบูศณปฏิสักอศณ์คศั้กใหญ่หลายคศั้ก(ทั้กในสขัยงยุธยา( และศัตนโกสินทศ์(จกกงาจจะไข่เป็นตัวงย่ากที่ดีนักสาหศับปศะเด็นนี้


356

ปศากค์ขุขบนฐานไพทีซก่กทาให้ภาพองกศูปทศกโดยศวของกพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยาขีลักาณะเป็น ปศากค์เก้ายงด 3.4.2 พระปรางค์มุมของพระมหาธาตุ จากสถาานภาพองกอ้งเสนงได้กาหนดงายุพศะปศากค์ขุขดักกล่าวนี้ในสขัยงยุธยาตงนต้น( แต่เขื่งใช้กล้งกสาศวจเลเซงศ์สาขขิติเพื่งแสกนศูปทศกโดยศวของกพศะปศากค์ดักกล่าวทาให้เห็นว่าขี ศะเบียบและสัดส่วนสงดคล้งกกับศูปแบบทากสถาาปัตยกศศของกพศะปศากค์ในสขัยสขเด็จพศะเจ้า ปศาสาทททงก(ศวขทั้กึิลปกศศขตกแต่กในหลายๆ(จุดก็ยักขีควาขสงดคล้งกกับึิลปกศศขในสขัยพศะ เจ้าปศาสาททงก(ในที่นี้จกกขีอ้งเสนงว่า(พศะปศากค์ขุขถาูกสศ้ากอก้นในคศาวกาศบูศณปฏิสักอศณ์งกค์พศะ ึศีศัตนขหาธาตุในศัชกาลสขเด็จพศะเจ้าปศะสาททงก 3.4.3 เจดีย์ราย/บริวารทรงปราสาทยอด กาศกาหนดช่วกเวลาในกาศก่งสศ้ากพศะเจดีย์บศิวาศทศกปศาสาทยงดที่สศ้ากงยู่ล้งขศงบ งกค์พศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยานั้น(ขีอ้งเสนงว่าควศสศ้ากใช้ในศัชกาลสขเด็จพศะศาเขึวศ(โดยสศ้าก หลักปี(พ.ึ.(1927(ทั้กนี้(สันนิาฐานว่าได้ศับแศกบันดาลใจจากเจดีย์ทศกปศาสาทยงดที่สศ้ากล้งขศงบ พศะเจดีย์ปศะธานทศกพุ่ขอ้าวบิณฑ์ที่วัดพศะึศีศัตนขหาธาตุสุโอทัย 3.4.4 พระมณฑปบริวาร จากเงกสาศปศะเภทพกึาวดาศได้ให้อ้งขูลในศัชกาลสขเด็จพศะบศขศาชาธิศาชที่( 2 สขเด็จ เจ้าสาขพศะยา)(ไปตศีกศุกกัขพูชาและโปศดเกล้าฯ(ให้เคลื่งนย้ายปศะติขากศศขต่ากๆ(แล้วให้ขาถาวาย ไว้ที่วัดพศะึศีศัตนขหาธาตุ(ซก่กสันนิาฐานว่านาขาตั้กไว้ในงาคาศที่งยู่ศายศงบ(ซก่กปัจจุบันเหลืงส่วน ฐานในผักสี่เหลี่ยขย่งขุข(และส่วนฐานเสาจกกสันนิาฐานว่าคืงขณฑปบศิวาศแบบโถากที่ตั้กปศะติขากศศข ส าศิ ดั ก กล่ า ว งย่ า กไศก็ ดี ( ในคศาวเสี ย กศุ ก ึศี ง ยุ ธ ยาคศั้ ก ที่ ( 1(พศะเจ้ า บุ เ ศกนงกให้ เ คลื่ ง นย้ า ย ปศะติขากศศขดักกล่าวไปยักกศุกหกสาวดี(แต่ก็คกได้ขีกาศสศ้ากปศะติขากศศขสาศิดอก้นใหข่(เพศาะใน จดหขายเหตุฟานฟลีตได้กล่าวถากกในเหตุกาศณ์ปฏิสักอศณ์ในคศาวศัชกาลพศะเจ้าปศาสาททงก 3.4.5 พระเจดีย์มุมระเบียงคด แบ่กศูปแบบองกพศะเจดีย์ขุข(แบ่กงงกเป็น(2(แบบ(คืง(“พระเจดีย์ทรงระฆังบนชุดฐานผัง แปดเหลี่ยม”(ซก่กงยู่ทากด้านหลัก(หศืงทากทิึตะวันตกองกผักบศิเวณภายในศะเบียกคด(ซก่ก สัขพันธ์กับ ศูปแบบงกเจดีย์แบบงยุธยาตงนต้นที่สศ้ากในศัชกาลสขเด็จพศะบศขศาชาธิศาชที่(2( สขเด็จเจ้าสาข พศะยา)(จากตั ว งย่ า กพศะเจดี ย์ บ นฐานไพที ที่ วั ด ศาชบู ศ ณะ(และต่ ง ขาเจดี ย์ คู่ ด้ า นหน้ า ถาู ก ซ่ ง ข


357

เปลี่ยนแปลกศูปแบบขาเป็น(“พระเจดีย์ทรงปราสาทยอดผังสี่เหลี่ยมย่อมุม ”(ซก่กสันนิาฐานว่าสศ้าก หลักจากที่บูศณปฏิสักอศณ์พศะึศีศัตนขหาธาตุแล้วเสศ็จศะหว่ากศัชกาลสขเด็จพศะเจ้าปศาสาททงกถาก ก ศัชกาลสขเด็จพศะนาศายณ์ขหาศาช 3.4.6 ระเบียงคด ศะเบียกคดทาหน้าที่กาหนดองบเอตองกพื้นที่ึักดิ์สิทธิ์ตงนในงันเป็นที่ตั้กองกงกค์พศะึศี ศัตนขหาธาตุทั้กในแก่องกกาศสศ้ากควาขหขายพิเึา(และกาศศักาาควาขปลงดภัยยักพื้นที่ตงนใน( ทั้กนี้ศะเบียกคดนั้นคกขีกาศบูศณปฏิสักอศณ์งยู่(2(ศะยะใหญ่(ซก่กศะเบียกคดในศะยะต้นนั้นก็คกสศ้ากอก้น พศ้งขๆ(กับกาศสศ้ากวัด(ต่งขาเขื่งเขื่งขีกาศบูศณปฏิสักอศณ์พศะึศีศัตนขหาธาตุคศั้กใหญ่ในศัชกาล สขเด็จพศะเจ้าปศาสาททงก(เขื่งแล้วเสศ็จและล่วกเอ้าสู่ศัชกาลสขเด็จพศะนาศายณ์ขหาศาชจกกได้ขี บูศณปฏิสักอศณ์ศะเบียกคดดักปศะกฎหลักฐานึิลปสถาาปัตยกศศขในพศะศาชนิยขสขเด็จพศะนาศายณ์( คืง(กาศเจาะช่งกวากปศะทีปเป็นศูปกลีบบัว(ซก่กศะเบียกคดนั้นได้ขีกาศต่งชายคาปีกนกทากด้านในเพิ่ข( 1(ตับ(และขีกาศก่งสศ้ากขุอทิึตศกตาแหน่กที่สัขพันธ์กับช่งกปศะตูองกงกค์พศะึศีศัตนขหาธาตุเพื่ง ปศะดิาฐานพศะพุทธศูป 2.4.7 พระวิหารหลวง พศะวิหาศหลวกองกวัดพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยา(ซก่กตั้กงยู่ที่ด้านตะวันงงกเบื้งกหน้าองก งกค์พศะึศีศัตนขหาธาตุ ในปี(พ.ึ.1931(จากกาศที่กศขึิลปากศได้ดาเนินอุดสาศวจทากโบศาณคดี( และขีกาศอุดแต่กพศะวิหาศหลวกด้วย(ซก่กในกาศอุดแต่กพศะวิหาศหลวกตศกบศิเวณขุอโถากด้านหน้าองก งาคาศวิ ห าศหลวกนั้ น แสดกหลั ก ฐานว่ า (พศะวิ ห าศหลวกนั้ น ขี พั ฒ นากาศงย่ า กน้ ง ย(3(สขั ย (ดั ก ศายละเงียดต่งไปนี้ “ฐานวิหารระยะที่ 1”(สันนิาฐานว่าเป็นฐานวิหาศเขื่งคศั้กสศ้ากวัดในปี( พ.ึ.(1931(ใน ศัชกาลสขเด็จพศะศาเขึวศ(ผักองกงาคาศขีลักาณะเป็นสี่เหลี่ยขผืนผ้า(และขียกขุอด้านหน้าเล็กน้งย ส่วนฐานไข่ใช้ฐานบัวลูกฟักซก่กต่ากจากชุดฐานองกงกค์พศะึศีศัตนขหาธาตุ( แต่ใช้ชุดฐานแบบฐานปัทข์ เตี้ยๆ(แต่เหนืงชุดฐานปัทข์เป็นฐานยกสูกงงกแบบพื้นที่หน้ากศะดานองกฐานให้ ขีขิติตื้นลกกเหขืงน กศงบช่งกกศะจกที่นิยขในดินแดนลุ่ขแข่น้าเจ้าพศะยาขาก่งนหน้า(ขีลักาณะเหขืงนกับเสางิกที่สศ้าก ให้ผืนหน้ากศะดานชุดฐานขีขิติตื้นลกกยาขที่แสกขาตกกศะทบ( “ฐานวิหารระยะที่ 2”(ขีกาศอยายงาคาศในช่วกที่(2(เป็นกาศอยายอนาดงาคาศด้วยกาศยก ขุอด้านหน้าอก้นขาจากเดิข(1(ห้งกเสา(และอยายปีกด้านอ้ากทั้กสงกองกงาคาศด้านอ้ากองกวิหาศงีก(1( ห้งกเสาตลงดแนวงาคาศ(ในที่นี้(สันนิาฐานว่าเป็นกาศอยายในศัชสขัยสขเด็จพศะเจ้าปศาสาททงก ใน ปี(พ.ึ.2176(เนื่งกจากทั้กวัดขีกาศบูศณปฏิสักอศณ์ใหญ่ทั้กพศะ(และขุอโถากด้านหน้าที่อยายตัวงงกขา


358

งงกแบบเป็นฐานย่งขุขฟากละ(11(ขุข(ซกก่ ในเชิกกาศงงกแบบสันนิาฐานว่าคลี่คลายจากกาศงกค์พศะ ึศีศัตนขหาธาตุปศะธานที่ขีกาศก่งยื่นขุองงกขางย่ากซับซ้งนในกาศปฏิสักอศณ์คศั้กใหญ่นี้ “ฐานวิหารระยะที่ 3” เป็นผักองกพศะวิหาศหลวกศะยะสุดท้ายก่งนเหตุกาศณ์เสียกศุกคศั้กที่( 2(สันนิาฐานว่าขีกาศบูศณปฏิสักอศณ์คศั้กใหญ่ในสขัยสขเด็จพศะเอ้างยู่หัวบศขโกึ(เนื่งกจากกาศ อยายฐานงงกขาเป็นสี่เหลี่ยขผืนผ้าดักกล่าวนั้นส่กผลให้ขีกาศงงกแบบหลักคาขุอหน้าเป็นหลักคาทศก โศกเพื่งเพิ่ขพื้นที่ใช้สงยตศกขุอหน้าองกงาคาศพศะวิหาศหลวก(ซก่กเป็นที่นิยขกันในศัชกาลองกพศะงกค์ ดักขีกาศบูศณปฏิสักอศณ์พศะวิหาศหลวกวัดพศะึศีสศศเพชญ์ 2.4.8 พระอุโบสถ พศะงุโบสถาองกวัดพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยา(ตั้กงยู่ด้านตะวันตกองกแกนสาคัญองกวัด( คืง(แกนแนวตะวันงงก-ตะวันตก(ซก่กสันนิาฐานว่าสัขพันธ์กับ (“เขตสังฆาวาส”(ซก่กพศะภิกาุสกฆ์จา พศศาา(สันนิาฐานว่าสศ้ากอก้นพศ้งขกับกาศสศ้ากวัด(แต่ทว่าขีกาศบูศณปฏิสักอศณ์ต่งขาในภายหลัก(ดัก ปศากฏหลักฐานศ่งกศงยกาศปฏิสักอศณ์ในศัชกาลสขเด็จพศะเจ้าปศาสาททงก(ทว่ากาศปฏิสักอศณ์ไข่ สขบูศณ์ในศัชกาลสขเด็จพศะนาศายณ์(ขหาศาช( 2.4.9 พระปรางค์ราย พศะปศากค์ศ ายตั้กเศี ยกศายล้ งขศงบงยู่ นงกศะเบียกคด(จากกาศึกกาาโดยกาศใช้ กล้ งก สาศวจเลเซงศ์สาขขิติที่ทาให้ได้ศูปทศกองกพศะปศากค์ที่เป็นศูปทศกจศิกที่ไข่ลวกตา(โดยพบศะบบกาศ วากผักที่สัขพันธ์กับศะเบียบสัดส่วนองกพศะปศากค์(คืง(ในสขัยงยุธยาตงนต้นขีกาศสศ้ากพศะปศากค์ที่ งยู่ด้านนงกองกศะเบียกคดเป็น(“พระปรางค์มุม”(ก่งน(ต่งขาจกกได้ขีกาศก่งสศ้ากพศะปศากค์ศายงกค์ งื่นๆ(เพิ่ขเติข(แสดกว่าธศศขเนียขกาศก่งสศ้ากพศะปศากค์ศายปศะกงบผักเศิ่ขขาตั้กตั้กแต่สขัยงยุธยา ตงนต้นเช่นเดียวกัน(ทั้กนี้( จากผลกาศวิเคศาะห์ศูปทศกจากกาศสาศวจด้วยกล้งกเลเซงศ์สาขขิตินั้น พบว่าพศะปศากค์ศายไข่ได้สศ้ากอก้นพศ้งขในคศาวเดียวกัน(หศืงหากสศ้ากอก้นพศ้งขในคศาวเดียวกัน(คก ขีพศะปศากค์ศายบากงกค์ที่พักทลายลกไป(กล่าวคืง(จะให้ควาขสาคัญกับพื้นที่ด้านทิึตะวันงงก(และ ทิึใต้ด้านทิึตะวันตก(และทิึเหนืง(ซก่กสันนิาฐานว่าเพศาะเป็นทาเล(และขุขขงกจากกาศเอ้าถากก(ทั้กนี้( ขีกาศก่งสศ้ากพศะปศากค์เศื่งยขา(แต่ขีกาศกากับควาขสูกองกพศะปศากค์ศายให้สงดคล้งกกันเพื่ง ศักาาสุนทศียภาพองกผักบศิเวณ( นงกจากนี้(จากกาศึกกาาเงกสาศทากปศะวัติึาสตศ์ยักทศาบอ้งขูลงีกว่า(พศะปศากค์ศาย เหล่านี้ได้ศับกาศบูศณะในชั้นหลักด้วยกาศฉาบปูนทับลวดลายปูนปั้นดั้กเดิขเพื่งปิดทงก(ซก่กยักปศากฏ


359

ศ่ งกศงยปู น ฉาบที่กะเทาะงงกขาเผยให้ เห็ นลวดลายปูนปั้นในสขัยงยุธ ยาตงนต้นงยู่ด้ านใน(ซก่ก สันนิาฐานว่าเป็นกาศบูศณะตั้กแต่ศัชกาลสขเด็จพศะเจ้าปศาสาททงก

3. การจัดทาหุ่นจาลองด้วยคอมพิวเตอร์สามมิติแบบโดยใช้เทคโนโลยีแบบจาลอง สารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling) จากผลองกกาศสาศวจศักวัดซากโบศาณสถาานด้วยกาศศักวัดด้วยเคศื่งกขืงพื้นฐาน(และกาศ สาศวจศักวัดด้วยกล้งกสาศวจเลเซงศ์สาขขิติ( และนาขาสู่อั้นตงนกาศปศะขวลผลกาศสาศวจศักวัดใน กานในห้งกปฏิบัติกาศเอียนแบบ( Drawing Studio)(และห้งกปฏิบัติกาศคงขพิวเตงศ์ (Computing laboratory) เพื่งกาศปศะขวลผลภาพหขงกจุด((Cloud Image)(ทั้กนี้(เศิ่ขต้นด้วยกาศแปลกแบบศ่าก เก็บอ้งขูลเอ้าสู่ฐานอ้งขูลดิจิตงล(เพื่งป้งกกันกาศสูญหาย(และควาขชาศุดองกแบบศ่ากสถาาปัตยกศศข ด้วยขืงและกาศบันทกกอ้งขูลซก่กเงกสาศชุดนี้ได้ขีค วาขสาคัญในฐานะหลักฐานชั้นต้นองกกาศึกกาา( และกาศสาศวจศักวัด จากนั้นจกกนาอ้งขูลดักกล่าวทั้กที่ได้ศับจากกาศสาศวจศักวัดแบบด้วยเคศื่งกขืงพื้นฐาน(และ เคศื่งกขืงที่ทันสขัยนาขาปศะขวลผลแล้วเอียนแบบสถาาปัตยกศศขด้วยคงขพิวเตงศ์โดยกาศใช้ซงฟแวศ์( NANO CAD ซก่กเป็นซงฟต์แวศ์ฟศี( Free Ware)(เพื่งอก้นศูปแบบสถาาปัตยกศศขเบื้งกต้น(ทั้กนี้(ในงาคาศ ที่ขีควาขจาเป็นต้งกสันนิาฐานศูปแบบเช่น(พศะวิหาศหลวก(พศะงุโบสถา(ซก่กจาเป็นต้งก(“ขึ้นทรง”(องก งาคาศทับลกบนโคศกสศ้ากทากสถาาปัตยกศศขที่เป็นซากหลกเหลืงนั้น(เพื่งให้ได้ศะเบียบสัดส่ ว นที่ สวยกาขจาเป็นต้งกอก้นศูปทศกทากสถาาปัตยกศศขด้วยขืง( Hand Drawing)(แล้วจกกนาขาเอียนแบบ ด้วยคงขพิวเตงศ์ทับงีกคศั้ก ทั้กนี้(เขื่งเอียนแบบสถาาปัตยกศศขแบบ(2(ขิติ(ด้วยโปศแกศขคงขพิวเตงศ์เป็นที่เศียบศ้งย แล้วจกกนาขาปศะขวลสู่กาศเอียนแบบงีกคศั้กด้วยโปศแกศขที่งยู่บนฐานองก( “แบบจาลองสารสนเทศ อาคาร (Building Information Modeling)” หศืงที่ศู้จักกันในนาขว่า(“BIM”9 ซก่กเป็นเทคโนโลยีที่ ปศะขวลผลอ้ ง ขู ล กาศอก้ น ศู ป ทศกองกงาคาศ(ซก่ ก ไข่ ไ ด้ เ พี ย กแต่ ก าศเอี ย น(“แบบสถาปั ต ยกรรม (Architectural Drawing)”(และ(“แบบสถาปัตยกรรม 3 มิติ (3D Architectural Model)” เพียก งย่ า กเดี ย ว(แต่ แ บบจ าลงกนั้ น จะถาู ก อก้ น ศู ป อก้ น ขาพศ้ ง ขกั บ อ้ ง ขู ล องกงกค์ ป ศะกงบสาศสนเทึ( Information)(ทั้กนี้(กาศทากานองก(BIM เป็นกาศสศ้ากแบบจาลงกงาคาศ( Building Model)(ด้วย โปศแกศขคงขพิว เตงศ์ โ ดยแบบจ าลงกงาคาศนี้ ปศะกงบอก้นจากงกค์ป ศะกงบต่ ากๆ(องกงาคาศ( (Building Component) เช่น(โคศกสศ้ากต่ากๆ(เป็นต้น(ซก่กจะปศะกงบด้วยอ้งขูลกศาฟิก( Graphics)( 9

สถาาบันสถาาปนิกสยาข.(คู่มือปฏิบัติวิชาชีพ แนวทางการใช้งานแบบจาลองสารสนเทศอาคารสาหรับประเทศ ไทย (Thailand BIM Guideline). กศุกเทพฯ: สขาคขสถาาปนิกสยาขในพศะบศขศาชูปถาัขภ์.(2558.(หน้า( 1.(


360

ทั้ก(2(ขิติและ(3(ขิติ(และอ้งขูลที่ไข่ใช่กศาฟิกที่ผูกติดขากับงกค์ปศะกงบงาคาศเหล่านั้น10(ซก่กสาขาศถา น าขาปศะขวลผลในเชิกกาศจั ดกาศโคศกกาศก่งสศ้าก(ซก่ กในกาศทากานบนเทคโนโลยี( BIM นี้(ทาก โคศกกาศวิจัยได้เลืงกใช้โปศแกศข(ArchiCAD ศุ่น(17(เพื่งอก้นศูปทศกทากสถาาปัตยกศศของกงาคาศ ซก่กในกาศดาเนินกาศนั้นพบปัญหาในเชิกเทคนิคงยู่บ้ากเนื่งกจากโปศแกศขถาู กงงกแบบขาให้ เหขาะสขกับกานสถาาปัตยกศศขสขัยใหข่(เขื่งนาขาอก้นศูปทศกองกสถาาปัตยกศศขแบบปศะเพณีจกกขีอ้ง ติดอัด(ซก่กคาสั่กบากตัวนั้นไข่สาขาศถาดาเนินกาศได้ต้งกใช้วิธีกาศพลิกแพลกคาสั่กเพื่งจะอก้นศูป ทศก( นงกจากนี้ ( กานยั กขีศ ายละเงีย ดที่ซับ ซ้งนทาให้ อนาดไฟล์ กานขี อนาดใหญ่ท าให้ เสี ยเวลาในกาศ ปศะขวล(และกาศทากานเพิ่ขอก้น(ทาให้ใช้ศะเวลาในกาศอก้นศูปขากกว่าแผนกาศทีไ่ ด้กาหนดไว้ ทั้กนี้ได้อก้นแบบสถาาปัตยกศศของกงาคาศภายในผักบศิเวณทั้กหขด(ดักต่งไปนี้(พศะึศีศัตนข หาธาตุแบบเขื่งแศกสถาาปนา(ซก่กสันนิาฐานได้เป็น(2(แบบ(คืง(แบบพศะปศากค์งกค์เดียว(และแบบ พศะปศากค์(3(งกค์,(พศะึศีศัตนขหาธาตุเขื่งได้ศับกาศบูศณปฏิสักอศณ์สขัยสขเด็จพศะเจ้าปศาสาททงก ,(พศะปศากค์ขุข,(พศะเจดีย์บศิวาศ,(พศะขณฑปบศิวาศ,(พศะเจดีย์ขุข,(ศะเบียกคด(2(แบบ(คืง(ศะเบียก คดเขื่งแศกสถาาปนา(และศะเบียกเขื่งได้ศับกาศบูศณปฏิสักอศณ์สขัยสขเด็จพศะเจ้ าปศาสาททงก,(พศะ วิหาศหลวก(3(ศะยะ,(พศะปศากค์บศิวาศที่งยู่ภายนงกศะเบียกคด(และพศะงุโบสถา(ทั้กนี้ยกเว้นส่วนองก พศะวิหาศศายซก่กหลกเหลืงซากงาคาศเพียกแค่ส่วนฐานจกกไข่เพียกพงต่งกาศสันนิาฐานศูปแบบ(

4. เพื่ อ กระตุ้ น ให้ เ กิ ด กระบวนทั ศ น์ ใหม่ ใ นการอนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นาแหล่ ง มรดกทาง วัฒนธรรมที่สาคัญของประเทศอย่างยั่งยืน ด้วยการผลักดันให้มีการนาองค์ความรู้ไป ต่อยอดในกระบวนการสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมกับการท่องเที่ยวใน รู ป แบบต่ า งๆ โดยเฉพาะการสื่ อ ความหมายมรดกทางสถาปั ต ยกรรมบนระบบ อินเตอร์เน็ต ในกาศึก ก าาเพื่ ง กาศสั น นิ า ฐานศู ป แบบสถาาปั ต ยกศศขเพื่ ง กาศเศี ย นศู้ ข ศดกทาก สถาาปั ตยกศศข(และกาศท่ง กเที่ ย วทากวัฒ นธศศขในกาศึก ก าาวิจัย นี้( กล่ าวคืง(กาศบันทกก อ้ ง ขู ล ภาพถา่ายโดยละเงียดเพื่งเป็นฐานอ้งขูลสาหศับกาศค้นคว้าวิจัยงนาคต(และกาศสาศวจศักวัดงาคาศ ต่ากๆ(ภายในผักบศิเวณเพื่งเก็บ อ้งขูลกาศสาศวจศักวัดส าหศับกาศึกกาาวิจัย(ตลงดจนกาศง้ากงิก สาหศับกาศงนุศักา์ต่งเนื่งกไปในงนาคต(นงกจากนี้(ในกาศึกกาาวิจัยคศั้กนี้ยักได้บุกเบิกนาวิธีกาศ สาศวจสขัยใหข่ด้วยกล้งกสาศวจเลเซงศ์สาขขิติที่ทาให้ได้อ้งขูลศูปแบบทากสถาาปัตยกศศข(ศะเบียบ 10

สถาาบันสถาาปนิกสยาข.(คู่มือปฏิบัติวิชาชีพ แนวทางการใช้งานแบบจาลองสารสนเทศอาคารสาหรับประเทศ ไทย (Thailand BIM Guideline). กศุกเทพฯ: สขาคขสถาาปนิกสยาขในพศะบศขศาชูปถาัขภ์.(2558.(หน้า( 2.(


361

และสัดส่วนองกสถาาปัตยกศศขต่ากๆ(ภายในวัดพศะึศีศัตนขหาธาตุที่ขีปศะโยชน์ต่งกาศึกกาาวิจัย( และกาศงนุศักา์ต่งไป นงกจากนี้ ( เป้ า หขายต่ ง เนื่ ง กจากกาศส าศวจศั ก วั ด ขศดกทากสถาาปั ต ยกศศขก็ คื ง กาศ ปศะขวลผลอ้งขูลที่ได้จากกาศเก็บอ้งขูลขาสู่กาศจัดทาแบบสันนิาฐานสถาาปัตยกศศข(และนาไปสู่กาศ จัดทาศะบบสื่งควาขหขายทากสถาาปัตยกศศขบนสื่งดิจิตงล(เพื่งให้สงดศับกับควาขต้งกกาศองกผู้ใช้( (User) ในปัจจุบันที่ใช้โทศึัพท์ขืงถาืงงัจฉศิยะ( Smart Phone) และเคศื่งกแท๊บเลต(ทาให้สาขาศถา เศี ย นศู้ ทั้กจากทากไกล(และกาศเศี ย นศู้ภ ายในพื้น ที่ แหล่ ก ท่ ง กเที่ ยว( นงกเหนืง จากศะบบกาศสื่ ง ควาขหขายในแหล่ก( On Site Interpretation) ที่ขีงยู่ในปัจจุบัน(เพื่งเพิ่ขช่งกทากกาศเศียนศู้( และสิ่ก งานวยควาขสะดวก(ตลงดจนกาศสื่งควาขหขายเพื่ง กาศท่งกเที่ยวทากวัฒนธศศขแก่ผู้ขาเยืงนให้ขาก อก้น(ซก่กนงกเหนืงจากจะช่วยสศ้ากควาขศู้ควาขเอ้าใจงันเป็นวัตถาุปศะสกค์หลักแล้ว(ยักขีผลพลงยได้ใน เชิกเึศาฐกิจขากยิ่กอก้น(กล่าวคืง(เขื่งขีศะบบสื่งควาขหขายที่สาขาศถาสื่งสาศให้แก่ผู้ขาเยืงนได้ึกกาา เศียนศู้เชิกลกก(ทาให้เกิดกาศใช้เวลาในแหล่กท่งกเที่ยวแต่ละแหล่กขากอก้น(งั นนาขาสู่กาศอยายจานวน วัน พักยั กท้งกถาิ่น ขากอก้น ซก่ก ส่ กผลต่งเข็ดเกินศายได้องกท้งกถาิ่นที่ได้ศับจากภาคส่ วนกาศท่งกเที่ยว กศะจายไปยักผู้ที่เกี่ยวอ้งก(ทั้กผู้ปศะกงบกาศที่เกี่ยวเนื่งกกับกาศท่งกเที่ยวโดยตศก(และชุขชนท้งกถาิ่นที่ ได้ศับผลพลงยได้จากเึศาฐกิจที่เติบโตอก้นด้วยนั่นเงก นงกจากนี้( กาศสันนิาฐานศูปแบบ(และกาศนาเสนงด้วยสื่งดิจิตงลนั้นยักช่วยทาให้ เขื่งขี กาศปศับเปลี่ยนสถาานภาพควาขศู้ใหข่ๆ(เกิดอก้นนั้น(สาขาศถาขีกาศปศับปศุกแก้ไอให้ทันสขัยได้ก่าย(และ ปศะหยัดทศัพยากศ(เนื่งกจากเพียกแค่ปศับปศุกในฐานอ้งขูลหลัก(เขื่งผู้ศับสาศ( Audience)(ต้งกกาศ สาศะกาศเศี ย นศู้ ( ศะบบก็ จ ะปศะขวลผลอ้ ง ขู ล ใหข่ ส่ ก ตศกไปยั ก ผู้ ศั บ สาศได้ ทั น ที ( งี ก ทั้ ก (หากขี วัตถาุป ศะสกค์ในกาศจั ดกาศแหล่กขศดกทากสถาาปัตยกศศข(และโบศาณสถาานที่ขีลั กาณะเป็นซาก( Relic Monument)(ด้วยขีวัตถาุปศะสกค์เพื่งส่กเสศิขกาศเศียนศู้และกาศท่งกเที่ยว(กาศส่กเสศิขให้เกิด กาศจัดกาศในลักาณะที่กล่าวขาอ้ากต้นนั้น(ยักช่วยลดควาขเสี่ยกในกาศบูศณปฏิสักอศณ์ลกบนตัวขศดก ทากสถาาปัตยกศศขหศืงโบศาณสถาานโดยตศก(ซก่กเป็นควาขเสี่ยกที่งาจนาไปสู่กาศบูศณปฏิสักอศณ์ที่ ผิดพลาด(งันนาไปสู่กาศตีควาขต่งเนื่งกที่ผิดพลาดคลาดเคลื่งนได้


362

5. ข้อจากัดของการศึกษา และข้อเสนอแนะในการวิจัยในโอกาสต่อไป สืบเนื่งกจากโจทย์ในกาศวิจัยที่กาหนดขาตั้กแต่ต้นว่า(กาศวิจัยนี้ปศะกงบไปด้วยกาศวิจัย2( ส่ ว น(คืง(“การวิจั ย พื้น ฐาน (Basic Research)”(ซก่กขุ่กเป้าหขายเพื่งพัฒ นางกค์ควาขศู้ใหข่( หศืง อ้งเสนงใหข่ทากวิชากาศ(และขุ่กอยายผลลัพธ์องกงกค์ควาขศู้ใหข่(หศืงอ้งเสนงใหข่สู่สาธาศณชน(และ เพื่งเป็นปศะโยชน์เชิกเึศาฐกิจในลักาณะองกกาศเป็น(“การวิจัยประยุกต์ (Apply Research)” ทา ให้ภาศะควาขศับผิดชงบองกโคศกกาศวิจั ยที่กาหนดไว้(1(ปี(นั้นไข่งาจจะดาเนินกาศได้สาเศ็จภายใน ศะยะเวลาที่กาหนด( งย่ากไศก็ดี( หากไข่ขีกาศึกกาาในกาศวิจัยพื้นฐานเพื่งค้นหางกค์ควาขศู้ใหข่( หศืงอ้งเสนง ใหข่ทากวิชากาศแล้ว(ขุ่กที่จะดาเนินกาศวิจัยเชิกปศะยุกต์ที่ขุ่กเป้าในเศื่งกกาศใช้ปศะโยชน์ผลกานใน แก่ขุขต่ากๆ(เป็นสาคัญเพียกงย่ากเดียวแล้ว(ก็จะทาให้กานวิจัยปศะยุกต์ดักกล่าวนั้นไข่เอ้ขแอ็กเพียกพง( ทั้กนักวิจัย(และสักคขก็จะไข่ได้ศับปศะโยชน์เท่าที่ควศ(เพศาะต่งยงดไปจากงกค์ควาขศู้( หศืงอ้งเสนงที่ ไข่เอ้ขแอ็กนัก ในกาศวิจัยในคศั้กนี้จกกพิจาศณาว่ากาศพัฒนางกค์ควาขศู้ใหข่( และอ้งเสนงใหข่ทากวิชากาศ เป็นสิ่กที่สาคัญที่สุด(เนื่งกจากนักวิจัยเงกย่งขเติบโตทากควาขคิด(ตลงดจนสักคขที่จะได้ศับปศะโยชน์ จากกาศวิจัยก็จะได้ใช้ผลกานวิจัยที่ทุ่ขเทกับกาศพัฒนางกค์ควาขศู้ใหข่( และอ้งเสนงใหข่ทากวิชากาศ( จากนั้นจกกค่งยนาขาสู่กาศต่งยงดในกาศผลักดันกาศใช้ ปศะโยชน์(ผ่านกศะบวนกาศวิจัยปศะยุกต์(ซก่ก เหตุดักกล่าวนั้นทาให้โคศกกาศไข่สาขาศถาดาเนินกาศได้แล้วเสศ็จภายใน(1(ปี(ทั้กนี้(หากในงนาคต(ถา้า ผู้วิจัย(หศืงนักวิจัยงื่นๆ(ขีโงกาสึกกาาในโคศกกาศในลักาณะดักกล่าวขาอ้ากต้นควศดาเนินกาศใน ลั กาณะโคศกกาศต่ งเนื่ ง ก(ซก่กจ าเป็ น งย่ า กยิ่ ก ที่แ หล่ ก ทุนสนับ สนุ น กาศวิจั ยจะต้ ง กเอ้ าใจ(และให้ ควาขสาคัญองกกาศวิจัยพื้นฐาน( Basic Research) ที่ขุ่กสศ้ากงกค์ควาขศู้ใหข่(และอ้งเสนงใหข่(และ ให้โคศกกาศวิจัยปศะยุกต์เป็นโคศกกาศในศะยะที่(2(ซก่กหขายถากกกาศให้ทุนวิจัยในลักาณะทุนต่งเนื่งก งย่ากน้งย(2(ปี สาหศับอ้งจากัดในกาศึกกาางีกปศะกาศหนก่ก(คืง(เนื่งกจากวัดพศะึศีศัตนขหาธาตุงยุธยา เป็นวัดที่ขีอนาดใหญ่( ขีจานวนสิ่กก่งสศ้ากจานวนขาก(และสิ่กก่งสศ้ากจานวนหนก่กนั้นพักทลายลกเหลืง เพียกฐานศากจกกขีอ้งจากัดในกาศึกกาาเพื่งกาศสันนิาฐานศูปแบบทากสถาาปัตยกศศข(งย่ากไศก็ดี( หาก ขี ก าศพั ฒ นาศะบบกาศสื่ ง ควาขหขายที่ เ น้ น สศ้ า ก( “จิ น ตนาการ”(และกศะตุ้ น ส่ ก เสศิ ข ให้ เ กิ ด กศะบวนกาศเศียนศู้องกผู้ที่เอ้าขาเยี่ยขเยียนท่งกเที่ยว(ก็ควศทาสันนิาฐานศูปแบบองกงาคาศที่เหลืง เพิ่ ข เติ ข ต่ ง ไปให้ ค ศบถา้ ว นสขบู ศ ณ์ ( ก็ จ ะส่ ก ผลให้ เ กิ ด กาศส่ ก เสศิ ข จิ น ตนากาศและกศะตุ้ น ให้ เ กิ ด กศะบวนกาศกาศเศียนศู้ที่สขบูศณ์ขากอก้น


363

บรรณานุกรม เอกสารภาษาไทย “จดหมายเหตุฟาน ฟลีต” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. “จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระ ยา. เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. “จดหมายเหตุระยะทางราชทูตลังกาเข้ามาขอพระสงฆ์สยาม” ใน ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระ ยา. เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2546. “เทศนาจุลยุทธการวงศ์”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร. 2542. “พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับวันวลิต พ.ศ. 2182” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. “พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. “พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนา ภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน” ใน ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารกรุ ง สยาม จากต้ น ฉบั บ ของบริ ติ ช มิ ว เซี ย ม กรุ ง ลอนดอน”. ใน ประชุ ม พงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 2. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. “พระราชพงศาวดารอยุธยา ฉบับวันวลิต ” ใน รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟานฟลีต (วัน วลิต). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2546. “พระสุ ตตัน ตปิ ฎ ก ทีฆนิ กาย เล่ มที่ 2 มหาวรรค มหาปรินิพ พานสู ตร” ใน พระไตรปิ ฎ กฉบับ สยามรัฐ. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัย. Jean Boisselier. Rapport de; a Mission (24 Juillet-28 Novembre 1964). Art Asiatique XII. 1965. สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า, แปล. “รายงานการสารวจทางโบราณคดี”. ใน ศิลปากร. 9(3) 2508.


364

กรมศิลปากร สานักศิลปากรที่ 1 ราชบุรี. วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี. กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร. 2552. กรมศิล ปากร. การอนุรั กษ์แ ละพัฒนาโบราณสถานวัดพระธาตุ ตาบลศิลาขาว อาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2551. กรมศิลปากร. พระบรมสารีริกธาตุ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2553. กฤษณ์ อินทโกศัย. “รายงานการเปิดกรุในองค์พระปรางค์วัดราชบูรณะ” ใน ศิลปากร, กรม. เครื่อง ทองกรุวัดราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2550. กวิฏ ตั้งจรัสวงศ์. “ระบบแผนผังปรางค์ป ระธานและปีกปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ”. ใน วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 34 (2) 2557. หน้า 147-168. เกรี ย งไกร เกิ ด ศิ ริ และบุ ณ ยกร วชิ ร ะเธี ย รชั ย . “พั ฒ นาการของผั ง บริ เ วณวั ด พระบรมธาตุ นครศรีธรรมราชจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และการสารวจภาคสนาม”. ใน วารสารหน้า จั่ว ฉบับสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม. ปีที่ 28 ประจาปีการศึกษา 2557. เกรี ย งไกร เกิ ด ศิ ริ . พุ ก าม การก่ อ รู ป ของสถาปั ต ยกรรมจากก้ อ นอิ ฐ แห่ ง ศรั ท ธา. กรุ ง เทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. “การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปั ตยกรรม: การ สั น นิ ษฐานรู ป แบบ” ใน มองอดี ต ผ่า นเวลาศรั ทธาสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. จอห์น เอส สตรอง, เขียน. สุลักษณ์ ศิวลักษณ์, แปล. ความเข้าใจในเรื่องพระเจ้าอโศกและอโศกาว ทาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. 2552. จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา. เครื่องยอดลาพูน. เอกสารประกอบการศึกษาวิชาการศึกษาสถาปัตยกรรมไทย ชั้นสูง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2531. มปพ. จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา. พระเจดีย์เมืองเชียงแสน. เชียงใหม่: สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์. 2539. จี ร าวรรณ แสงเพ็ ช ร. ระบบการจั ด และการประดิ ษ ฐานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ใ นประเทศไทย. วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าโบราณคดี ส มั ย ประวั ติ ศ าสตร์ , บั ณ ฑิ ต วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2552. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2534. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ. “โฟโตแกรมเมตรีกับงานอนุรักษ์สถาปัตยกรรม: ทบทวนองค์ความรู้และความ เป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้กับงานสถาปัตยกรรมไทย” ใน วารสารหน้าจั่วฉบับประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร. ฉบับที่ 9 (กันยายน 2555-สิงหาคม 2556)


365

ชาญวิ ท ย์ เกษตรศิ ริ . อยุ ธ ยา ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละการเมื อ ง. กรุ ง เทพฯ: มู ล นิ ธิ โ ครงการต ารา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544. ชาตรี ประกิตนนทการ. “สังคมและการเมืองในสถาปัตยกรรมสยามเก่าสู่ไทยใหม่ พ.ศ.2399-2490” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปั ตยกรรมไทย. ฉบับที่ 4 กันยายน 2549. โชติ กัลยาณมิตร. พจนานุกรมสถาปัตยกรรมและศิลป์เกี่ยวเนื่อง. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. ดารงราชนุ ภ าพ, สมเด็จ พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ตานานพุทธเจดีย์ เล่ม 1. พระนคร: องค์การค้าคุรุสภา. 2503. ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะคุปต์) ” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. ดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. เรื่องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ในลังกาทวีป . (พิมพ์ครั้ง แรก พ.ศ.2459) กรุงเทพฯ: มติชน. 2546. ดารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. “คานาพระราชพงศาวดารฉบับหลวง ประเสริฐ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. ดารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. “พระยาโบราณราชธานินทร์ฯ (พร เดชะ คุปต์)” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. ตรี อมาตยกุ ล . “วั ด มหาธาตุ ” ใน กรมศิ ล ปากร. พระราชวั ง และวั ด โบราณในจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2511. โต จิตรพงศ์, หม่อมราชวงศ์. พระราชประวัติและฝีพระหัตถ์ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ์. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จฯ เจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ณ พระเมรุท้องสนามหลง พ.ศ.2493. ไตรภูมิพระร่วง หรือไตรภูมิกถา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2543. ธนธร กิตติกานต์. มหาธาตุ. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 2557. ธนิต อยู่โพธิ์. “คานา” ใน กรมศิลปากร. พระราชวัง และวัดโบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2511. น. ณ ปากน้า. สถูปเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2516. น. ณ ปากน้า. ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2540. น.ณ ปากน้า. ศิลปะก่อนกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2541.


366

นนทชัย ทองพุ่มพฤกษา. บทบาทหน้า ที่แ ละการออกแบบปรางค์ใ นสมัย อยุธ ยา. วิทยานิพนธ์ ปริ ญญามหาบั ณ ฑิต สาขาวิช าประวัติศาสตร์ส ถาปั ตยกรรม. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. นริศรานุวัดติงวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา, กรมพระยาดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม 2. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา 2504. นริศรานุวัดติงวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา,และ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม 13. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา 2504. นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา และดารงราชานุภาพ, สมเด็จพระ เจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม 2. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา 2515. โบราณราชธานินทร์, พระยา. “ตานานกรุงเก่า” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุง เก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. โบราณราชธานินทร์, พระยา. “ระยะทางเสด็จพระราชดาเนินประพาสทรงบวงสรวงอดีตมหาราช ณ พระราชวังกรุงศรีอยุธยาในรัชกาลที่ 6” ใน วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่า เล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. ประสงค์ เอี่ยมอนันต์. “รูปแบบสถาปัตยกรรมของวัดพระศรีสรรเพชญ์ (ส่วนที่ 1)” ใน วารสารหน้า จั่ว. ฉบับที่ 8 ปีการศึกษา 2531. ปรี ดี พิ ศ ภู มิ วิ ถี . “สมเด็ จ พระเจ้ า ทองลั น ” ใน ศุ ภ วั ฒ ย์ เกษมศรี , บรรณาธิ ก าร. นามานุ ก รม พระมหากษัตริย์ไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ. 2554. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตก เล่มที่ 1 ภาค 4. พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่มที่ 3. พิชญา สุ่มจินดา. “สถูปจาลองบรรจุพระบรมสารีริกธาตุจากกรุปรางค์ประธานวัดมหาธาตุ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา: ภาพสะท้อนพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์สมัยต้นอยุธยา” ใน ประวัติศาสตร์ ศิลปะบันดาลใจ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์. 2557. พิริยะ ไกรฤกษ์. กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพฯ. 2555. พิ เ ศษ เจี ย จั น ทร์ พ งษ์ . “อั ฐิ ธ าตุ เ จดี ย์ ม หาธรรมราชาลิ ไ ท เจดี ย์ บ รรจุ ก ระดู ก ”. ใน วารสาร ศิลปวัฒนธรรม. 10,2 (ธันวาคม 2536) หน้า 94 (หน้าที่ 92-98). มานพ ถาวรวัฒน์สกุล. ขุนนางอยุธยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2536. มิลินทปัญญหา. ปรารภเมณฑกปัญญา ตติยวรรค พุทธปูชานุญญาตา นุญญาตปัญหา คารบที่ 5 (ถาม เรื่องทรงอนุญาตพุทธบูชา) ใน พระไตรปิฎก ฉบับธรรมทาน. ปทุมธานี: บริษัทโอเชี่ยน มีเดีย . 2545.


367

โยสต์ สเคาเต็น. “จดหมายเหตุของโยสต์ สเคาเต็น ”. ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2542. รั กสิ ตา สิ น เอกเอี่ย ม. “การศึกษาวัฒ นธรรมการสร้า งสรรค์ งานสถาปั ตยกรรมไทยจากพระราช พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรม ไทย. ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2547. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ศิล ปกรรม อักษร ก-ช ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. 2550. วรรณศิริ เดชะคุปต์ และปรีดี พิศภูมิวิถี. กรุงเก่าเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มติชน. 2554. วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. “ตอนที่ 5: ตลาดในกรุงและรอบกรุง ” ใน พรรณนาภูมิสถาน อยุธยา และมรดกความทรงจาแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. 2551. วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร. การศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรมสุโขทัย กรณีศึกษาวัดมหาธาตุ ตาบลเมือง เก่า จั งหวัด สุโ ขทัย . วิทยานิพนธ์ปริญญาศิล ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิช าประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. วีรวัลย์ งามสันติกุล. “รู้จักหลักฐานประวัติศาสตร์อยุธยา” ใน 80 ทัศ พลตรีหม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา. 2555. ศรีศักร วัลลิโภดม. ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2546. หน้า 90. ศักดิ์ชาย สายสิงห์. พระพุทธรูปในประเทศไทย รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. ศักดิ์ชาย สายสิงห์. ศิลปะล้านนา. กรุงเทพฯ: มติชน. 2556. ศิลป์ พีระศรี และธนิต อยู่โพธิ์. “วิวัฒนาการแห่งจิตกรรมฝาผนังไทย” ใน วิวัฒนาการแห่งจิตรกรรม ฝาผนังของไทย สถานจิตรกรรมและสารบาญจิตกรรมฝาผนังในหอศิลปะ. พระนคร: กรม ศิลปากร. 2502. สถาบันสถาปนิ กสยาม. คู่มือปฏิบัติวิชาชีพ แนวทางการใช้งานแบบจาลองสารสนเทศอาคาร สาหรับประเทศไทย (Thailand BIM Guideline). กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระ บรมราชูปถัมภ์. 2558. สถาพร อรุณวิลาส. “พุทธปรางค์ ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมยุคต้นสยามประเทศ” ใน หน้าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2547. สนอดกราส เอเดรียน, เขียน, ภัทรพร สิริกาญจน. สัญลักษณ์แห่งพระสถูป. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์วิชา การ. 2541.


368

สมคิด จิระทัศนกุล, บรรณาธิการ. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ ประกันภัย. 2554. สมคิด จิระทัศนกุล. คติสัญลักษณ์ และความหมายของซุ้มประตู -หน้าต่างไทย. กรุงเทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2546. สมคิด จิระทัศนกุล. งานออกแบบสถาปัตยกรรมไทยฝีพระหัตถ์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา นุวัดติวงศ์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2556. สมคิด จิระทัศนกุล. พัฒนาการพระปรางค์ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: อาคเนย์ กลุ่มธุรกิจประกัน และการเงิน. 2554. สมคิด จิระทัศนกุล. รู้เรื่องวัด วิหาร โบสถ์ เจดีย์ พุทธสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: มิวเซียมเพลส. 2554. สมศักดิ์ รัตกุล. “การขุดแต่งและบูรณะโบราณสถานจังหวัดพระนครศรีอยุธยาตามโครงการอุทยาน ประวัติศาสตร์” ใน ศิลปกรรมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 2514. สันติ เล็กสุขุม. “ก่อนที่จะปรากฏในศิลปะไทย และก่อนที่จะหายไปในที่สุด: ฐานบัวลูกฟัก” ใน งาน ช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สันติ เล็กสุขุม. “แนวความคิดกับกระบวนกรรมวิธีทางช่าง: เหตุผลที่เรียกเจดีย์เพิ่มมุมแทนเจดีย์ย่อ มุม”. ใน รวมบทความมุมมอง ความคิด และความหมาย: งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สันติ เล็กสุขุม. “ประเทศไทยกับงานช่างตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19” ใน พัฒนาการของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. สันติ เล็กสุขุม. “ปรางค์ของวัดปรางค์หลวง จังหวัดนนทบุรี กับการกาหนดอายุ” ใน รวมบทความ มุมมอง ความคิด และความหมาย: งานช่างไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สั น ติ เล็ ก สุ ขุ ม . “วั ด มหาธาตุ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา” ใน พั ฒ นาการของลายไทย: กระหนกกั บ เอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2553. สันติ เล็กสุขุม. เจดีย์เพิ่มมุม เจดีย์ย่อมุม สมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์การพิมพ์. 2529 สันติ เล็กสุขุม. เจดีย์ราย “ทรงปราสาทยอด” วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จากัด. 2541. สันติ เล็กสุขุม. ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย (ฉบับย่อ) การเริ่มต้นและการสืบเนื่องงานช่างในศาสนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2548. สันติ เล็กสุขุม. พัฒนาการกระหนกของลายไทย: กระหนกกับเอกลักษณ์ไทย. กรุงเทพฯ: เมือง โบราณ. 2553.


369

สันติ เล็กสุขุม. วิวัฒนาการของชั้นประดับ และลวดลายสมัยอยุธยาตอนต้น. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์ การพิมพ์. 2522. สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะภาคเหนือ: หริภุญชัย-ล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2549. สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จากัด. 2554. สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. 2544. สันติ เล็กสุขุม. เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชาศิลปะอยุธยาและศิลปะรัตนโกสินทร์ ภาค การศึกษาต้นปีการศึกษา 2541. มปพ. สุรินทร์ ศรีสังข์งาม. เจดีย์เหลี่ยมย่อมุมสมัยอยุธยา. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2548. เสนอ นิลเดช. วัดพระศรีสรรเพชญ์. กรุงเทพฯ: อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สานักงาน ศิลปากรที่ 3 กรมศิลปากร.2546. เสมอชัย พูลสุวรรณ. สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-24. กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2539. อนุวิทย์ เจริญศุภกุล. ปราสาทเมืองต่า การศึกษาทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2541.

เอกสารภาษาอังกฤษ Hajime Nakamura. Indian Buddhism: A Survey with Bibliographical Notes. Delhi: Motilal Banaesidass publishing house. 1965. Karl Dohring. Buddhist (Phra Chedi) Architecture of Thailand. Bangkok: White Lotus. 2000. P.34 Santi Leksukhum. Ayutthaya World Heritage. BKK: TAT. 2000. Walpola Rahula. History of Buddhism in Ceylon: the Anuradhapura period 3rd century BC-10th century. Colombo: M.D. Gunasena, 1956.


370


371

ภาคผนวก 1 หมายเหตุ: เนื้อหาในส่วนนี้เป็นผลลัพธ์จากการประมวลผลแบบสอบถามออนไลน์เรื่อง “การ พัฒนาระบบสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมผ่านระบบอินเตอร์เน็ต: กรณีศึกษา วัดมหาธาตุ อยุธยา” มีความประสงค์ เพื่อสอบถามข้อมูล และมุมมองต่างๆ ของผู้ตอบแบบสอบถามเพื่อนามา ประมวลผลเพื่อพัฒ นาระบบสารสนเทศเพื่ อการสื่ อ ความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรมกั บ การ ท่องเที่ยว เพื่อเป็นโครงการนาร่องในการพัฒนาการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนต่อไป สาหรับ แบบสอบถามนี้ มีเนื้อหา 4 ตอน คือ ตอนที่ 1: ข้อมูล เบื้ องต้น ของผู้ ตอบแบบสอบถาม และการท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์ อยุธยา ตอนที่ 2: การตัดสินใจท่องเที่ยวแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา ตอนที่ 3: สิ่งอานวยความสะดวกสนับสนุนการท่องเที่ยวกับโบราณสถาน ตอนที่ 4: แนวทางการพัฒนาระบบสื่อความหมายวัดพระศรีรัตนมหาธาตุอยุธยา ทั้งนี้ เนื้ อหาที่เกี่ย วเนื่ องโดยตรงกับการพัฒ นาชุดความคิดเกี่ยวกับการออกแบบระบบสื่ อ ความหมายจะได้แสดงข้อมูลในเนื้อบทที่ 5 ไปแล้ว ทว่าเนื้อหาที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวแหล่ง มรดกโลกอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา แต่ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ การสื่อความหมายจึงขอนามาไว้ในส่วนของภาคผนวกนี้ ด้วยคาดหวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาใน ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยาต่อไป


372

1. ข้อมูลเชิงประชากรของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.1 ข้อมูลเพศ และอายุ จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 253 คน จาแนกเป็นผู้ชาย 108 คน ผู้หญิง 145 คน โดยช่วงอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 10-20 ปี มีจานวน 128 คน (50.6 %) รองลงมาคือ ช่วงอายุ 21-30 ปี จานวน 70 คน (27.7 %) และช่วงอายุ 31-40 ปี จานวน 33 คน (13 %) ช่วงอายุ 41-50 ปี จานวน 16 คน (7 %) และน้อยที่สุดคือ ช่วงอายุ 51-60 ปี จานวน 7 คน (2.7 %)

1.2 อาชีพ จากการประมวลผลข้อมูล ผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า กลุ่ มอาชีพส่ ว นใหญ่เป็นนิสิต นักศึกษา มีจานวน 177 คน (68.6%) รองลงมาคือ อาชีพข้าราชการ-พนักงานราชการ จานวน 36 คน (14%) พนักงานองค์กรเอกชน 20 คน (7.8%) อาชีพอิสระ 14 คน (5.4%) นักเรียน 2 คน (0.8%) มัคคุเทศก์ และผู้ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยว 2 คน (0.8%) และอาชีพอื่นๆ 7 คน (2.7%)


373

1.3 ระดับการศึกษาสูงสุด ระดับ การศึกษาสู งสุ ดของผู้ ตอบแบบสอบถาม ส่ ว นใหญ่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี จานวน 111 คน (43%) รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษา 91 คน (35.3%) ระดับปริญญาโท 38 คน (14.7%) ระดับปริญญาเอก 11 คน (4.3%) ระดับใบประกอบวิชาชีพ (ปวช.) 2 คน (0.8%) ระดับใบ ประกอบวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) 5 คน (1.9%)


374

2. ข้อมูลการเดินทางไปอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยาครั้งล่าสุด 2.1 การไปเยือนอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยาครั้งล่าสุด จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า ส่วนใหญ่มีโอกาสไปเยือนอุทยาน ประวัติศาสตร์อยุธยาครั้งล่าสุด ในช่วงเวลาน้อยกว่า 1 ปีที่ผ่านมา มีจานวน 123 คน (49.6%) และมี ผู้ที่ไปเยือนภายใน 1 ปีที่ผ่านมา จานวน 57 คน (23%) ภายใน 2 ปีที่ผ่านมา จานวน 23 คน (9.3%) ภายใน 3 ปีที่ผ่านมา จานวน 20คน (8.1%) ภายใน 4 ปีที่ผ่านมา จานวน 2 คน (0.8%) ภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา จานวน 23 คน (9.3%)

2.2 จานวนวันพัก ในการไปเยือนอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยาครั้งล่าสุด จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีการพักค้างคืน ซึ่งมี จานวน 218 คน หรือ 87.2% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด ในขณะที่มีการพักค้าง 1 คืน จานวน 15 คน (6%) พักค้าง 2 คืน จานวน 12 คน (4.8%) พักค้าง 3 คืน จานวน 2 คน (0.8%) พักค้าง มากกว่า 4 คืน จานวน 3 คน (1.2%)


375

2.3 จังหวัดต้นทางในการไปเยือนอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยาครั้งล่าสุด จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า จังหวัดที่เป็นต้นทางในการมาเยือน อุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา มีจานวนทั้งสิ้น 27 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี จันทบุรี ชลบุรี ชัยนาท เชียงใหม่ เชียงราย นครนายก นครปฐม นครราชสีมา นครสวรรค์ นนทบุรี นราธิวาส ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ราชบุรี ลพบุรี สกลนคร สระแก้ว สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง และอุทัยธานี โดยจั งหวัดที่เป็ นต้น ทางในการมาเยือนอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยามากที่สุ ด คือ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา จานวน 89 คน (35.6%) รองลงมาคือ กรุงเทพมหานคร จานวน 81 คน (32.4%) ในขณะที่จังหวัดอื่นๆ สามารถจาแนกตามภูมิภาคได้เป็น ภาคกลาง มีจานวน 67 คน (26.8%) ภาค ตะวันตก มีจานวน 2 คน (0.8%) ภาคตะวันออก มีจานวน 4 คน (1.6%) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี จานวน 2 คน (0.8%) ภาคเหนือ มีจานวน 4 คน (1.6%) ภาคใต้ มีจานวน 1 คน (0.4%)

2.4 ลักษณะการเดินทางจากสถานที่ต้นทางไปยังอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า ส่วนใหญ่มีลักษณะการเดินทางจาก สถานที่ต้นทางไปยังอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา โดยการใช้รถยนต์ส่วนตัว มีจานวนถึง 152 คน หรือ 60.8% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด รองลงมาคือ รถโดยสารเช่าเหมา มีจานวน 40 คน (16%) รถ บัสโดยสารประจาทาง รถตู้โดยสารประจาทาง จานวน 32 คน (12.8%) รถจักรยานยนต์ จานวน 26 คน (10.4%) รถจักรยาน จานวน 20 คน (8%) รถตู้โดยสารเช่าเหมา มีจานวน 11 คน (4.4%) รถไฟ จานวน 10 คน (4%) และอื่นๆ จานวน 10 คน (4%)


376

2.5 ลักษณะการเดินทางภายในอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้ คาตอบว่า ส่วนใหญ่มีลักษณะการเดินทาง ภายในอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา โดยการเดินเท้าเที่ยวชม มีจานวน 181 คน (72.4%) รองลงมา คื อ การใช้ ร ถยนต์ ส่ ว นตั ว จ านวน 69 คน (27.6%) รถจั ก รยานเช่ า จ านวน 29 คน (11.6%) รถจักรยานยนต์ส่วนตัว จานวน 17 คน (6.8%) รถตุ๊กตุ๊กรับจ้าง จานวน 14 คน (5.6%) รถจักรยาน ส่วนตัว จานวน 11 คน (4.4%) รถรางสาหรับนักท่องเที่ยว จานวน 10 คน (4%) รถสามล้อถีบรับจ้าง จานวน 5 คน (2%) รถจักรยานยนต์รับจ้าง จานวน 3 คน (1.2%) รถจักรยานยนต์เช่า จานวน 2 คน (0.8%) และอื่นๆ จานวน 4 คน (1.6%)


377

3. สิ่งอานวยความสะดวกสนับสนุนการท่องเที่ยวกับโบราณสถาน เป็นลักษณะของชุดแบบสอบถามที่เกี่ยวกับการมีหรือไม่มีสิ่งอานวยความสะดวกที่สนับสนุน การท่องเที่ยว เพื่อวัดระดับของการตัดสินใจเข้าเที่ยวชมแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์ อยุธยา โดยประเภทของสิ่งอานวยความสะดวก มีทั้งหมด 8 ประเภท ดังนี้ 1) ที่จอดรถบัสโดยสาร 2) ที่จอดรถส่วนบุคคล 3) ที่จอดรถจักรยานยนต์ และจักรยานที่ปลอดภัยจากการสูญหาย 4) ทางเดิน หรือเส้นทางสาหรับการเที่ยวชม 5) สิ่งอานวยความสะดวกแก่ผู้ที่มีร่างกายไม่พร้อม (disabled people) 6) ร้านขายอาหาร และเครื่องดื่ม 7) ร้านขายสินค้าที่ระลึก 8) ระบบสื่อความหมายทางการท่องเที่ยว เช่น ป้ายชี้ทาง, ป้ายสื่อความหมาย, ป้ายแสดง ข้อมูล, ระบบสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว เป็นต้น โดยมีเกณฑ์การวัดระดับ เป็น 5 ระดับ คือ น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้ 3.1 ที่จอดรถบัสโดยสาร จากการประมวลผลข้ อ มู ล ผู้ ต อบแบบสอบถามได้ ค าตอบว่ า “ที่ จ อดรถบั ส ” มี ผ ลต่ อ การ ตัดสินใจเข้าเที่ยวชมแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก และ ปานกลาง ซึ่งมีจานวน 74 คนเท่ากัน หรือ 29.2% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 253 คน รองลงมา คือ ระดับมากทีส่ ุด มีจานวน 42 คน (16.6%) และระดับน้อยที่สุด มีจานวน 35 คน (13.8%)


378

3.2 ที่จอดรถส่วนบุคคล จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า “ที่จอดรถส่วนบุคคล” มีผลต่อการ ตัดสินใจเข้าเที่ยวชมแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปาน กลาง ซึ่งมีจานวน 75 คน หรือ 29.6% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 253 คน รองลงมาคือ ระดับ มาก มีจานวน 73 คน (28.9%) และระดับมากที่สุด มีจานวน 72 คน (28.5%)

3.3 ที่จอดรถจักรยานยนต์ และจักรยานที่ปลอดภัยจากการสูญหาย จากการประมวลผลข้อมูล ผู้ ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า “ที่จอดรถจักรยานยนต์ และ จักรยานที่ปลอดภัยจากการสูญหาย” มีผลต่อการตัดสินใจเข้าเที่ยวชมแหล่งโบราณสถานในอุทยาน ประวั ติ ศ าสตร์ อ ยุ ธ ยา ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ นระดั บ มาก ซึ่ ง มี จ านวน 88 คน หรื อ 34.8 % ของผู้ ต อบ แบบสอบถามทั้งหมด รองลงมาคือ ระดับมากที่สุด จานวน 65 คน (25.7%) และระดับปานกลาง จานวน 61 คน (24.1%)


379

3.4 ทางเดิน หรือเส้นทางสาหรับการเที่ยวชม จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า “ทางเดิน หรือเส้นทางสาหรับการ เที่ยวชม” มีผลต่อการตัดสินใจเข้าเที่ยวชมแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา ส่วน ใหญ่อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งมีจานวน 89 คน หรือ 35.2 % ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด รองลงมา คือ ระดับมาก จานวน 83 คน (32.8%) และระดับปานกลาง จานวน 57 คน (22.5%)

3.5 สิ่งอานวยความสะดวกแก่ผู้ที่มีร่างกายไม่พร้อม (disabled people) จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า “สิ่งอานวยความสะดวกแก่ผู้ที่มี ร่างกายไม่พร้อม (disabled people)” มีผลต่อการตัดสินใจเข้าเที่ยวชมแหล่งโบราณสถานในอุทยาน ประวั ติ ศ าสตร์ อ ยุ ธ ยา ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ นระดั บ น้ อ ย ซึ่ ง มี จ านวน 84 คน หรื อ 33.2% ของผู้ ต อบ แบบสอบถามทั้งหมด รองลงมาคือ ระดับน้อยที่สุด จานวน 74 คน (29.2%) และระดับปานกลาง จานวน 67 คน (26.5%)


380

3.6 ร้านขายอาหาร และเครื่องดื่ม จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า “ร้านขายอาหาร และเครื่องดื่ม” มี ผลต่อการตัดสินใจเข้าเที่ยวชมแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา ส่วนใหญ่อยู่ใน ระดับปานกลาง ซึ่งมีจานวน 83 คน หรือ 32.8% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด รองลงมาคือ ระดับ มาก จานวน 62 คน (24.5%) และระดับมากที่สุด จานวน 42 คน (16.6%)

3.7 ร้านขายสินค้าที่ระลึก จากการประมวลผลข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามได้คาตอบว่า “ร้านขายสินค้าที่ระลึก” มีผลต่อ การตัดสินใจเข้าเที่ยวชมแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปาน กลาง ซึ่งมีจานวน 74 คน หรือ 29.2% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด รองลงมาคือ ระดับน้อย จานวน 53 คน (20.2%) และระดับน้อยที่สุด จานวน 51 คน (20.2%)


381

ภาคผนวก 2 ตัวอย่างแบบสอบถามออนไลน์เรื่อง “การพัฒนาระบบสื่อความหมายมรดกทางสถาปัตยกรรม ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต: กรณีศึกษา วัดมหาธาตุอยุธยา”


382


383


384


385


386


387


388


389


390


391

ประวัติผู้วิจัย ข้อมูลทั่วไป ชื่อ-สกุล ที่อยู่ติดต่อ

เกรียงไกร เกิดศิริ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์/โทรสาร 02-882-4099 อีเมล arch.su.kreangkrai@gmail.com ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2552 สาเร็จการศึกษา Doctor of Philosophy (Architectural Heritage Management and Tourism) (International Program) Silpakorn University, Thailand พ.ศ. 2548 สาเร็จการศึกษา Master of Arts (Architectural Heritage Management and Tourism) (International Program) Silpakorn University, Thailand พ.ศ. 2543 สาเร็จการศึกษาอักษรศาสตรบัณฑิต (ภูมิศาสตร์-ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร คุณวุฒิอื่นๆ Certificate in World Heritage Studies, Cultural Heritage in Asia and the Pacific Centre, Faculty of Arts, Deakin University, Melbourne, Australia. ประวัติการทางาน พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน อาจารย์ ป ระจ าภาควิ ช าสถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2555-2558 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน รองคณบดีฝ่ายวางแผนและวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร


392

ผลงานวิจัย พ.ศ. 2557 หัวหน้าโครงการวิจัย "ภูมิปัญญาสถาปัตยกรรมอาเซียน" สนับสนุนทุนวิจัยโดย สานักงานพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. พ.ศ. 2556 หัวหน้าโครงการวิจัย. โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรู้เรื่องที่อยู่อาศัย และวิถีการอยู่อาศัยผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคใต้. สนับสนุนทุนวิจัยการเคหะ แห่งชาติ. พ.ศ. 2555 รองหัวหน้าโครงการ "โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านสามแพร่ง กิจกรรมที่ ๑ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนา และเผยแพร่ภูมิทัศน์วัฒนธรรม" สนับสนุนทุนวิจัยโดยกองการท่องเที่ยว สานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร. พ.ศ. 2554 หั ว หน้ าโครงการ “โครงการจัดทาแผนที่ทางธรรมชาติแ ละวัฒนธรรมเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการเข้ า สู่ ม รดกโลก กิ จ กรรมที่ ๓ จั ด ท าแผนที่ ธ รรมชาติ แ ละ วัฒนธรรมของ ๔ จังหวัด ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน” สนับสนุนทุน วิจัยโดยกลุ่มยุทธศาสตร์จังหวัดภาคเหนือตอนบน พ.ศ. 2554 ผู้ร่วมวิจัย "โครงการแผนแม่บทการพัฒนาแหล่งท่องเที่ ยวกลุ่มจังหวัดนครชัย บุรินทร์" สนับสนุนทุนวิจัยโดยกลุ่มยุทธศาสตร์จังหวัดนครชัยบุรินทร์ พ.ศ. 2554 หั ว หน้ าโครงการ "การศึกษารู ปแบบทางสถาปั ตยกรรม และแนวทางการ บูรณปฏิสังขรณ์ จองวัดม่อนจาศีล อ.เมืองฯ จ.ลาปาง" เสนอต่อการเคหะ แห่งชาติ และมูลนิธิวทัญญู ณถลาง พ.ศ. 2553 หัวหน้าโครงการ “โครงการวิจัยแผนที่ที่อยู่อาศัยทรงคุณค่าทางวัฒนธรรมใน เขตเทศบาลเมื อ งฯ สมุ ท รสงคราม” สนั บ สนุ น ทุ น วิ จั ย โดยเทศบาลเมืองฯ สมุทรสงคราม และศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2553 หัวหน้าโครงการ “การจัดการองค์ความรู้ วัสดุก่อสร้า ง และเทคโนโลยีการ ก่อสร้างพื้นถิ่นในภาคกลาง” สนับสนุนทุนวิจัยโดยการเคหะแห่งชาติ (ทุนวิจัย 1,500,000 บาท) พ.ศ. 2552 ผู้ร่วมวิจัย “100 เอกสารสาคัญเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย” โดย อาจารย์ ดร. วินัย พงศ์ศรีเพียร หัวหน้าโครงการ สนับสนุนโดยสานักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย (สกว.) (โครงการวิจัย 3 ปี) พ.ศ. 2552 ผู้ร่วมวิจัย “โครงการวิจัยการศึกษาแบบองค์รวมของการปรับตัวในบริบทใหญ่ ที่แตกต่างของกลุ่มชาติพันธุ์ไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มน้าภาคกลางของประเทศไทย” ทุนอุดหนุนวิจัย ศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น 2552 โดย ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ


393

อรศิริ ปาณินท์ สนับสนุนทุนโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (โครงการวิจัย 3 ปี) พ.ศ. 2550 ผู้ร่วมวิจัย “โครงการวิจัยกฎหมายตราสามดวง: กฎหมายไทยในฐานะมรดก ความทรงจาโลก” ทุนเมธีวิจัยอาวุโส สกว. โดย อาจารย์ ดร. วินัย พงศ์ศรีเพียร หัวหน้าโครงการ (โครงการวิจัย 3 ปี)


394


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.