รวมบทคัดย่อการค้นคว้าอิสระ-วิทยานิพนธ์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโครงการก่อสร้าง

Page 1

รวมบทคัดย่อการค้นคว้าอิสระ – วิทยานิพนธ์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโครงการก่อสร้าง (พุทธศักราช 2550 – 2557)

ภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร



คำชี้แจง รวมบทคัดย่อการค้นคว้าอิสระ – วิทยานิพนธ์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจั ด การ โครงการก่ อ สร้ า ง จั ด ท าขึ้ น ในวาระที่ ภ าควิ ช าเทคนิ ค สถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรดังกล่าวต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 จวบจนปั จจุ บั นเป็ นเวลาครบ 12 ปี โดยเป็ นหลั กสู ตรที่ มุ่งเน้ นส่ ง เสริ มการศึ กษาวิ จัย ด้ านการจั ดการ โครงการก่อสร้าง ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่มีค วามส าคัญต่ อการพัฒ นาประเทศ ที่ผ่านมาหลักสูตรได้ ผ ลิ ต บัณฑิตที่มีคุณภาพออกไปรับใช้สังคมเป็นจานวนมาก หนังสือเล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจะให้เป็นหนังสืออ้างอิงที่รวบรวมรายชื่อ บทคัดย่อ และบทสรุปวิเคราะห์ ผลงานการค้ น คว้ า อิ ส ระ – วิ ท ยานิ พ นธ์ ของบั ณ ฑิ ต ที่ ส าเร็ จ การศึ ก ษาจากหลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโครงการก่อสร้าง ซึ่งมีผลงานการค้นคว้าอิสระ 33 เรื่อง และวิทยานิพนธ์ 1 เรื่ อง โดยเนื้ อหาเหล่ านี้ ไ ด้ ค รอบคลุ มองค์ ค วามรู้ ที่ มีค วามส าคั ญ ที่ จะสามารถนาไปใช้ เ พื่ อบริ ห าร โครงการก่ อสร้ างให้ ไ ด้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด ภายใต้ ส ามปั จจั ย หลั กในการจั ด การงาน โครงการ ได้แก่ เวลา ราคา และคุณภาพ ข้อมูลที่ปรากฏในรวมบทคัดย่อการค้นคว้าอิสระ – วิทยานิพนธ์ เล่มนี้ ประกอบไปด้วยภาคภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ซึ่งแต่ละส่วนมีรายละเอียดดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ชื่อหัวเรื่องการค้นคว้าอิสระ – วิทยานิพนธ์ ชื่อผู้เขียนการค้นคว้าอิสระ – วิทยานิพนธ์ คาสาคัญ อาจารย์ผู้ควบคุมการค้นคว้าอิสระ – วิทยานิพนธ์ บทคัดย่อ บทสรุป

ทั้งนี้ คณะทางานได้อาศัยข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในการค้นคว้าอิสระ – วิทยานิพนธ์แต่ละเล่มเป็นหลัก ซึ่งอาจมี ข้อมูลบางส่วนไม่สมบูรณ์เนื่องด้วยข้อจากัดต่าง ๆ จึงต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย อย่างไรก็ดี คณะผู้จัดทา หวังเป็นอย่ างยิ่ ง ว่ า รวมบทคัดย่อการค้ นคว้ าอิ สระ – วิทยานิพนธ์ หลักสูตรวิท ยาศาสตรมหาบั ณฑิ ต สาขาวิ ช าการจั ด การโครงการก่ อ สร้ าง (พุ ท ธศั กราช 2550 – 2557) คงจะเป็ นประโยชน์ ต่ อ พั ฒ นา อุตสาหกรรมการก่อสร้างของประเทศต่อไปในอนาคต

14 กุมภาพันธ์ 2560 ภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร



สารบัญ ปีการศึกษา 2550 การใช้หลักการของลีนคอนสตรั๊กชัน่ ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกู้ภัย

3

สินีพันธุ์ สมบุญฤทธิ์

การบริหารโครงการก่อสร้างงานตกแต่งภายในด้วย TQM

11

สุวิทย์ชา ปิยะธนาวิวฒ ั น์

การวิเคราะห์เปรียบเทียบราคาค่าก่อสร้างอาคารเพื่อหาสัดส่วนงาน ของโครงการชุดพักอาศัยที่เป็นอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษ ในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2548 – 2550

15

อภิสิทธิ์ กุสลานันท์

ปีการศึกษา 2551 การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งาน สาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

23

กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์

ปีการศึกษา 2552 การศึกษาการนาเสนอขั้นตอนการก่อสร้างอาคารพักอาศัยโดยใช้ เทคโนโลยีสื่อผสม

35

กานต์ สงวนแก้ว

การประเมินผลการดาเนินการโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดิน ของกลุ่มร่วมค้าและกิจการร่วมค้าในโครงการก่อสร้างของ บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน)

41

บุญเสริม คุณดิลกกาญจน์

การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ RFID เพื่อระบุตาแหน่งของท่องาน ระบบใต้ดนิ

45

ภิวัฒน์ ดีมารยาตร์

การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

51

ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์

การสารวจเบื้องต้นของการประกอบธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยา ในช่วงปี 2550 – 2553

61

สรรพรณ สงวนวงษ์

กรณีศึกษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างภายใต้ สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบนั (ปี 2551 – 2552) สุวัชชัย ทัศนนิพันธ์

65


ปีการศึกษา 2553 การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้าง ประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร

75

ชาญกนก ชาญสุทธิกนก

ปัจจัยที่ทาให้เกิดงานเปลี่ยนแปลงในการก่อสร้างอาคารกรณีศึกษางาน โครงการก่อสร้างอาคารสานักงานใหญ่หลังใหม่บางขุนพรหม

83

ธวัชชัย ทองศรีเปล่ง

การประเมินการใช้พื้นที่อาคาร กรณีศึกษา : อาคารเรียนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

87

ปัญจพงศ์ นาคะบุตร

การศึกษาใช้ระบบจาลองสถานการณ์ในการวางแผนงานก่อสร้าง

91

พงศ์เทพ วรัตถ์ตระกูล

การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิต พร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน

95

วรรณวลี นาคสินธุ์

วัฒนธรรมองค์กรที่ปรึกษาออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. : โครงการรถไฟฟ้า สายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย

111

วรวุฒิ กิจสิริวิศาล

การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการ ก่อสร้างเจดีย์ที่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทยในประเทศไทย

117

วราพร บุญมีฤทธิ์

การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร

127

วิกิตติ์ หินแก้ว

การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานใน งานก่อสร้าง

133

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์

การเพิ่มประสิทธิภาพของการก่อสร้างอาคารด้วยระบบผนังภายนอก อาคารสาเร็จรูป

145

อัครวัฒน์ ตรัยจิรพงศ์

ปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้าของโครงการดัดแปลงอาคารเพื่อใช้เป็นพื้นที่ สาหรับห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร

151

โอภาส สิมะธัมนันท์

ปีการศึกษา 2554 การวิเคราะห์ค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนราคางานของโครงการก่อสร้างฝาย และประตูระบายน้า

157

เขตรัฐ จันทรา

การศึกษารูปแบบการจ้างงานแรงงานฝีมือในธุรกิจรับเหมาตกแต่งภายใน ประเภทเฟอร์นิเจอร์บิวท์อนิ

161

คทาพงศ์ ณัฐโชติ

การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษัท ผู้รับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทัศนชัย โอฬารึก

165


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้าง ในประเทศไทย

177

ธณัชชา สุขขี

ปีการศึกษา 2555 การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

191

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส

แนวทางบริหารจัดการในการปรับปรุงจากโรงงานเก่าไปสู่โรงงานที่ สามารถประกอบการผลิตได้ กรณีศึกษา : บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จากัด

203

วิชัย กิจวัฒนาบูลย์

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างรีสอร์ทเชิงเขา ที่จงั หวัดภูเก็ต

207

สรายุทธ เกษมกมลวาทิน

การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขต กรุงเทพมหานคร

213

กริชวิทย์ พิริยะสถิต

ปีการศึกษา 2556 การวิเคราะห์ราคาค่าก่อสร้าง เพื่อหาสัดส่วนราคาของโครงการสถานพัก ตากอากาศบนพื้นที่เกาะ (ภาคตะวันออกของประเทศไทย) ปี 2550 - 2554

225

ธีรวัฒน์ เย็นใจ

การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง

229

ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์

ปีการศึกษา 2557 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่ม อาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

239

ฐปรัตน์ บุญครอบ

คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง

249

ศศธร บริสุทธิ์นฤดม

การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง สุขจิตร ฉัตรโพธิ์

257



3



การใช้หลักการของลีนคอนสตรั๊กชั่น ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกูภ้ ัย

การใช้หลักการของลีนคอนสตรัก๊ ชั่น ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกู้ภัย บทคัดย่อ สินีพันธุ์ สมบุญฤทธิ์ คาสาคัญ: ลีนคอนสตรั๊กชั่นในการควบคุมโครงการก่อสร้าง อาจารย์ที่ปรึกษา: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์วิเชษฎ์ สุวิสิทฐ์

การศึกษาในครั้ง นี้ มีวัตถุประสงค์ ใ นการวางแผนการด าเนินการก่ อสร้างบ้ านกู้ภั ยเพื่ อให้ การ ก่อสร้างดาเนิ นไปได้ อย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพ และสามารถนาไปประยุ กต์ ใช้ กับโครงการบ้ านกู้ภั ยอื่ น ๆ ที่ อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต จึงได้นาเสนอแนวทางในการจัดการการก่อสร้างบ้านในโครงการบ้านกู้ภัยให้ได้ มาตรฐานและคุณภาพ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการใช้หลักการของลีน คอนสตรั๊กชั่น (Lean Construction) เพื่อช่วยเพิ่มประสิท ธิ ภาพในการก่ อสร้ างบ้ านในโครงการบ้ านกู้ภัย หลักการที่ สาคัญคือการวางแผนเพื่อป้องกันข้อผิดพลาด ลดการสูญเสียในกระบวนการก่อสร้าง โดยจะดาเนินการวาง แผนการปฏิบัติการก่อสร้าง ศึกษาการใช้วัสดุหลักแต่ละชนิดโดยละเอียด ศึกษาขั้นตอนการก่อสร้างและ การใช้เทคนิคในการแสดงการประกอบให้ง่ายต่อการเข้าใจ เพื่อที่จะลดปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับโครงการ โดยจะจัดทาคู่มือประกอบสาหรับการดาเนินการก่อสร้างบ้านในโครงการบ้านกู้ภัย เพื่อทาให้การก่อสร้างมี ประสิทธิภาพมีมาตรฐานชัดเจนในการประกอบติดตั้ง ซึ่งจะช่วยลดปัญหาในการติดตั้งจริง ลดขั้นตอนที่ไม่ จาเป็นและใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่กาหนด และควบคุ มระยะเวลาและแรงงานในการก่อสร้างได้ ซึ่งจะ ส่งผลต่อค่าใช้จ่ายของโครงการ ผลการศึกษาพบว่า 1. เมื่อมีการวางแผนการในการด าเนินการก่ อสร้ าง จะช่วยให้ลดปัญหาที่ อาจจะเกิด ขึ้ น ใน ระหว่างการก่อสร้าง และจากการวางแผนการก่อสร้าง โดยการจัดทาคู่มือผลิตชิ้น ส่วนประกอบ และคู่มือ ประกอบการติดตั้งชิ้นส่วนประกอบการก่อสร้าง และจากการศึกษาคาดว่าการใช้คู่มือและการวางขั้ นตอน การท างานจะช่ วยลดขั้ นตอนที่ ซ้าซ้ อน และจะสามารถลดระยะเวลาในการด าเนิ นการก่ อสร้ างลงได้ ประมาณ 5 วัน 2. ซึ่งจากการศึกษา พบว่าในวัสดุบางชนิดมีการใช้วัสดุเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากความต้องการด้ าน ความแข็งแรงของวัสดุนั้น แต่อย่างไรก็ตาม จากการวางแผนการใช้วัสดุ จะสามารถลดปริมาณการใช้ วัสดุ หลัก ซึ่งส่งผลให้ค่าก่อสร้างทั้งหมดของโครงการลดลง 5,860 บาทต่อหลัง หรือ เป็น 281,280 บาท ของ ทั้งโครงการ 3. จากการศึ กษาด้ านแรงงานในการก่ อสร้ างเมื่ อกาหนดลั กษณะการใช้ แ รงงานในแต่ ล ะ ขั้นตอนในการดาเนินการก่อสร้างแล้ว เมื่อกาหนดวันในการก่อสร้างเป็นเวลา 24 วัน แล้ว จะสามารถสรุป จานวนแรงงานในการก่อสร้ างบ้า นกู้ ภัยในโครงการตัวอย่ างทั้งหมด 48 หลัง ได้ดังนี้ แรงงานที่มีทักษะ จานวน 98 คน และแรงงานทั่วไป 360 คน โดยในการก่อสร้างจริงนั้น ถ้าแรงงานมีอยู่อย่างจากัดก็ จะทา ให้ระยะเวลาในการก่อสร้างเลื่อนออกไป ขึ้นอยู่กับลักษณะของพื้นที่ประสบภัยนั้น ๆ สรุ ป ผลการศึ กษาการใช้ หลั กการของลีน คอนสตรั๊ กชั่ น (Lean Construction) มาใช้ ใ นการ ควบคุ มการก่ อสร้ า งบ้ า นในโครงการบ้ า นกู้ ภั ย โดยการวางแผนการปฏิ บั ติ ง านก่ อสร้ าง ศึ กษาด้ า น ระยะเวลา ด้านการใช้วัสดุ และแรงงานอย่างละเอียด ทาให้สามารถกาหนดระยะเวลาในการก่อสร้างที่ สัมพันธ์กับ จานวนแรงงานในการก่ อสร้ างได้ ซึ่งสามารถใช้ค วบคุ มและกาหนดระยะเวลาและจ านวน แรงงานได้กับโครงการในอนาคต นอกจากนั้ น ในการศึกษาการใช้ วัสดุ ประกอบการก่ อสร้ าง เพื่อที่จะ กาหนดแนวทางในการใช้วัสดุที่เป็นวัสดุที่ได้มาจากการบริจาคให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเหลือเศษน้อย

สินีพันธุ์ สมบุญฤทธิ์

3


การใช้หลักการของลีนคอนสตรั๊กชั่น ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกูภ้ ัย

ที่สุด จนสามารถกาหนดปริมาณวั สดุที่แ น่นอนได้ ซึ่งเมื่อสามารถลดการใช้ วั สดุหลั กลง ก็ส่งผลตรงกั บ ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง ซึ่งสามารถตอบสนองหลักการของทางโครงการเพื่อผู้ประสบภัยได้อย่างสมบูรณ์

USING LEAN CONSTRUCTION PRINCIPLES TO CONTROL THE RESCUE HOUSE CONSTRUCTION ABSTRACT SINEEPUN SOMBOONYARIT KEYWORD: LEAN CONSTRUCTION/ RESCUE HOUSE CONSTRUCTION ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR VICHEAD SUVISIT

The objectives of this study are to implement the rescue house construction effectively and to apply the concept to other rescue house constructions in the future. The study presents how to manage the rescue house construction to be standardized and equipped with quality, with optimal available resources by using lean construction principles. The lean construction principles are used for controlling the rescue house construction to be conducted effectively by 1) detailed planning on the use of main materials, 2) studying the construction steps, and 3) using illustrating techniques in assembly to lessen the project’s potential problems that might occur. The retrieved findings could be compiled as a manual for implementing rescue house construction in order to have effective construction, apparent standard for installation, reduce problems in actual installation construction, prevent unnecessary steps, and employ the set tools and equipment within the estimated timeframe. The study’s findings are; 1. Planning of construction implementation helps reducing potential problems during the construction. And the study estimated that having manuals (installation manual and instruction manual) and planning would eliminate the redundant process and shorten the construction time for five days. 2. The study found that there was a need to increase quantity of some materials because of their durability. However, the implementation planning can reduce the main material usage that effect to the rescue house construction cost by 5,860 Bath/house or reduce the total project cost to 281,289 Bath. 3. From the study of construction labor when fixing the types and the steps of labors used. And calculation from the study of construction time which is 24 Days. It could be concluded that in construction all 48 project’s rescue houses, 98 skilled laborers and 360 general laborers were needed. In the actual construction, If in that site have limited labor work the timeframe for construction period will postpone due to specific site. Conclusion of the study: using lean construction principle in controlling rescue house construction project by having construction implementation plans and studying timeline and labor use thoroughly can result in determining the proportionate time with 4

สินีพันธุ์ สมบุญฤทธิ์


การใช้หลักการของลีนคอนสตรั๊กชั่น ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกูภ้ ัย

the labor force used in construction. Moreover, the study of construction materials was conducted to utilize the donated materials optimally, with the least residuals so that the project can determine the certain amount of materials needed for construction. This would have the direct effect on construction cost because when the construction materials used is reduced, it would respond to the principles of rescue house project perfectly.

สรุปผลอภิปราย หลักการของลีน คอนสตรั๊กชั่น (Lean Construction) นั้นจะเน้นในเรื่องของการวางแผนเพื่ อ ป้องกันข้อผิดพลาด การสูญเสีย หรือการกาจัดส่วนเกินที่ไม่จาเป็นออกให้มากที่สุด ในการก่อสร้างบ้านใน โครงการกู้ภัยนั้นสามารถนาหลักการของลีน คอนสตรั๊กชั่น (Lean Construction) มาใช้ได้ดังนี้ ด้านการวางแผนปฏิบัติงานก่อสร้าง โดยตามหลักของลีน คอนสตรั๊กชั่น (Lean Construction) แล้ว การวางแผนการท างานหรื อ การวางแผนการก่อสร้างนั้น เป็นส่วนสาคัญที่จะเป็นตัวกาหนดแนวทางในการปฏิบัติงานให้ได้มาตรฐาน มี ประสิทธิภาพ จะช่วยลดเวลาในการวางแผนงานและป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นในระหว่างการ ก่อสร้าง ซึ่งจะทาให้เ สียเวลาและค่ าใช้ จ่ายในการก่ อสร้ าง โดยจากการศึ กษาการวางแผนปฏิ บั ติ ง าน ก่อสร้างจะสามารถจัดทาเป็น “คู่มือประกอบชิ้นส่วนประกอบบ้านกู้ภัย ” (ภาคผนวก จ) ซึ่งเป็นคู่มือที่ แสดงวิธีการในการประกอบเป็นลาดับขั้นตอนการก่อสร้างบ้านกู้ภัยอย่างละเอียด ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ กลุ่มเป้าหมายของคู่มือเล่มนี้จะเป็นชาวบ้านทั่วไป คู่มือจึงต้องง่ายต่อการเข้าใจมากที่สุด ด้านระยะเวลาในการก่อสร้าง จากการนาหลั กการของลี น คอนสตรั๊ กชั่ น (Lean Construction) มาใช้ ใ นการควบคุ ม การ ก่อสร้างโดยจะเริ่ มจากการวางแผนในการด าเนิ นการก่ อสร้ าง เพื่อที่จะทาให้เ กิด ความรวดเร็ วในการ ก่อสร้าง จะสามารถเรียงลาดับขั้นตอนในการทางานให้มีความซ้อนทับกันของขั้นตอนการทางาน ระหว่าง การทางานนอกพื้นที่ก่อสร้างและในพื้นที่ก่อสร้าง เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อ งของงานและลดระยะเวลาใน การรอการติดตั้ง ซึ่งการดาเนินการก่อสร้างบ้านกู้ภัยควรจะดาเนินการก่อสร้างให้เร็วที่ สุด เพื่อบรรเทา ความทุกข์ร้อนให้แก่ผู้ประสบภัย ดังนั้นจากการศึกษาสามารถสรุประยะเวลาในการติดตั้ง โดยเรียงลาดับ จากขั้นตอนการก่อสร้างให้มีความต่อเนื่องของงานได้ดังนี้คือ 1. ขั้นตอนของการวางแผนการดาเนินงานจะเป็นการวางแผนของทั้งสองพื้นที่ในเวลาเดีย วกัน เพื่อที่จะเริ่มทาการก่อสร้างในเวลาต่อมาใช้เวลาประมาณ 5 วัน 2. เทฐานรากของทั้ ง สองพื้ นที่ ทิ้ ง ไว้ เ พื่ อให้ ค อนกรี ต เข้ าที่ ซึ่ ง จะต้ องใช้ เ วลาในการทิ้ ง ให้ คอนกรีตเข้าที่ประมาณ 5 - 7 วัน 3. ทาการผลิตชิ้นส่วนประกอบการก่อสร้างทั้งสองพื้นที่ 4. เมื่อผลิตชิ้นส่วนเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขนส่งไปที่พื้นที่ก่อสร้าง 5. แล้วจึงทาการประกอบติดตั้งชิ้นส่วนประกอบอาคาร ในขั้ น ตอนของการเทฐานรากและขั้นตอนการผลิ ตชิ้ นส่ วนประกอบ เป็ นขั้ นตอนที่ ช าวบ้ าน สามารถเข้ามาดาเนินการเองได้ โดยจะใช้เจ้าหน้าที่เพื่อที่จะควบคุมดูแลการดาเนิน การให้เป็นไปอย่ าง ถูกต้อง และในช่วงเวลาเดีย วกั นนี้เ องทางแรงงานฝีมือก็ ส ามารถที่ จะไปเริ่ มงานผลิต ชิ้ นส่วนประกอบ อาคารได้พร้อม ๆ กัน ซึ่งในขั้นตอนนี้จะช่วยลดระยะเวลาในการทางานได้ประมาณ 5 วัน โดยจากการศึกษาการดาเนินงานของทางวิทยาลัยเทคนิคจังหวัดแพร่ โดยใช้แรงงานช่างจากทาง วิทยาลัยจานวน 54 คน (นักศึกษาและอาจารย์ผู้ควบคุม) กับการก่อสร้างบ้านทั้งสิ้น 48 หลัง ในโครงการ สินีพันธุ์ สมบุญฤทธิ์

5


การใช้หลักการของลีนคอนสตรั๊กชั่น ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกูภ้ ัย

ตัวอย่าง จะทาให้สามารถกาหนดระยะเวลาในการก่อสร้างเบื้อ งต้นจากจานวนแรงงานที่จากัดแล้ว จะใช้ เวลาในการก่อสร้างทั้งสิ้น 96 วัน ด้านการใช้วัสดุประกอบการก่อสร้าง การศึกษาครั้งนี้จะศึกษาเฉพาะวัสดุก่อสร้างหลักของโครงการเท่านั้น ซึ่งได้แก่ เหล็ก วีว่าบอร์ด และหลังคากระเบื้องลอนคู่ เพื่อเป็นการกาหนดแนวทางในการใช้วัสดุให้แข็งแรง โดยให้เหลือเศษน้อย ที่สดุ โดยจะทาการศึกษาตามหัวข้อดังนี้ 1. การกาหนดรหัสและหมายเลขของชิ้นส่วนตามตาแหน่งและหน้าที่ใช้สอย ผู้ ศึ ก ษาจะท าการก าหนดรหั ส หรื อ ชื่ อ เรี ย กชิ้ น ส่ ว นต่ า ง ๆ ลงในแบบก่ อ สร้ า ง และคู่ มื อ ประกอบการผลิตและการก่อสร้าง เพื่อ ให้มีบรรทัดฐานในการกาหนดหมายเลขของชิ้นส่วนแต่ละชิ้นใน โครงการนั้น ๆ เช่นกาหนดรหัสเป็นตัวย่อ เช่น เสา = P (Post), คานหลัก = MB (Main Beam) เป็นต้น ส่วนชิ้นที่มีชื่อซ้ากัน เช่น ชิ้นส่วนโครงสร้าง Stud (ST) ก็จะมีการกาหนดรหัสหมายเลขโดยเรียงลาดับตาม ความสาคัญ หรือลาดับในการติดตั้งชิ้นส่วนนั้น พร้อมทั้งกาหนดหมายเลขของชิ้นส่วนนั้น เพิ่มเติมเข้าไป เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน เมื่อเกิดการสูญหายหรือปะปนกันในกระบวนการติดตั้ง 2. การจัดเก็บชิ้นส่วนตามหน้าที่การใช้สอยในการประกอบอาคาร 3. การศึ กษาขนาดของวั ส ดุ ซึ่ ง เป็ นการกาหนดขนาดและชนิ ด หน้ าที่ ใ ช้ ส อยของเหล็ กจะ สามารถคานวณการใช้เหล็กจากแบบก่อสร้า ง และวางแผนการตัดเหล็กในแต่ละขนาดแต่ละชนิด โดยจะ กาหนดรูปแบบชิ้นส่วนต่าง ๆ เป็น “คู่มือผลิตชิ้นส่วนประกอบอาคาร” (ภาคผนวก จ) เพื่อลดระยะเวลา ในการคานวณการผลิตชิ้นส่วน และเพื่อให้ชิ้นส่วนได้มาตรฐานเดียวกัน a. เหล็ ก จะค านวณการใช้ เ หล็ ก โดยจะใช้ การเชื่ อมเหล็ กให้ น้ อยที่ สุ ด เพื่ อคง คุณภาพ และความแข็งแกร่งของเหล็กเอาไว้ โดยจากการศึกษาแบบก่อสร้างของบ้านกู้ภัยจะสามารถสรุป การใช้เหล็กได้ดังนี้ เหล็กกล่อง ขนาด 100x100x2.0 มม. จานวนทั้งหมด 7 เส้น เหล็กกล่อง ขนาด 50x50x1.2 มม. จานวนทั้งหมด 15 เส้น เหล็กรูปตัวซี ขนาด 100x50x3.2 มม. จานวนทั้งหมด 5 เส้น เหล็กรูปตัวซี ขนาด 100x50x2.3 มม. จานวนทั้งหมด 13 เส้น เหล็กรูปตัวซี ขนาด 75x38x2.3 มม. จานวนทั้งหมด 35 เส้น เหล็กรูปตัวซี ขนาด 60x30x1.6 มม. จานวนทั้งหมด 11 เส้น b. วีว่าบอร์ด จากการศึกษาทางที่อ อกแบบได้ยึดเอาขนาดของวีว่าบอร์ด ในการกรุ ผนังเป็น Modular System ในการออกแบบบ้านในโครงการบ้านกู้ภัยนี้ โดยจะใช้วีว่าบอร์ดที่ขนาด 2.4 x 1.2 เมตร หนา 10 มม. จานวนทั้งสิ้น 16 แผ่น และเนื้อส่วนของวัสดุปูพื้น จะใช้วีว่าบอร์ด 2.4 x 1.2 เมตร หนา 20 มม. จานวนทั้งสิ้น 11 แผ่น นามาตัดให้ได้ขนาดตามระบุ c. กระเบื้องลอนคู่ จากการศึกษาแบบก่อสร้างจะสามารถสรุป จานวนของกระเบื้ อง ลอนคู่ได้เป็น 120 แผ่น ต่อหลัง ซึ่งจากการศึกษาด้านการใช้วัสดุ ตามหลักการของลีน คอนสตั๊คชั่น (Lean Construction) แล้ว นั้น นอกเหนือจากจะสามารถกาหนดการใช้วัสดุได้อย่างแน่นอนให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีความแข็งแรง ทนทานและเกิดการสูญเสียน้อยที่สุด ยังสามารถช่วยลดปริมาณการใช้วัสดุลง ซึ่งส่งผลต่อค่าใช้จ่ายในการ ก่อสร้างได้อีกด้วย ด้านการใช้แรงงานในการก่อสร้าง แนวทางในการดาเนิ นการของบ้านกู้ภัย คือให้ความช่วยเหลื อเท่ าที่จาเป็ น โดยที่ต้องการให้ ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการก่อสร้างให้มากที่สุด ด้วยการใช้ระบบการก่อสร้างแบบสาเร็จรูป (Knock Down) และเพื่อให้การก่อสร้างเป็นไปอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ทางผู้ศึกษาจึงได้ดาเนินการวิเคราะห์วางแผนใน

6

สินีพันธุ์ สมบุญฤทธิ์


การใช้หลักการของลีนคอนสตรั๊กชั่น ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกูภ้ ัย

การใช้แรงงานในการก่อสร้าง เพื่อทาให้การก่อสร้างบ้านในโครงการบ้านกู้ภัยสามารถนาไปใช้กับโครงการ อื่น ๆ ในอนาคตได้ต่อไป โดยการแบ่งกลุ่มของแรงงานจะแบ่งตามลักษณะของงานก่ อสร้างบ้านโครงการสร้างบ้านกู้ภัย ซึ่งจะสามารถแยกได้เป็น 2 กลุ่ม ตามวิธีการดาเนินการ คือ 1. งานผลิตชิ้นส่วนประกอบ เป็นขั้นตอนที่จะต้องมีความชานาญในทางการก่อสร้าง เพราะ เป็นชิ้นส่วนที่ต้องการความแม่นยาสูง และต้องมีความละเอียดในการผลิตชิ้นส่วนประกอบอาคาร เพื่อให้ การประกอบสามารถดาเนินไปได้อย่างเรียบร้อยไม่เกิดข้อผิดพลาด โดยจะผลิตชิ้นส่วนประกอบอาคาร ต่าง ๆ ตามคู่มือผลิตชิ้นส่วนประกอบ ที่ทางโครงการแนบไปกั บแบบก่อสร้างเป็นแรงงานฝีมือ (Skilled Labors) หรือแรงงานกลุ่มที่ 1 2. งานประกอบติดตั้งชิ้ นส่ วนประกอบ จะสามารถดาเนิ นการประกอบโดยศึ กษาจากคู่ มื อ ประกอบชิ้นส่วนของโครงการบ้านกู้ภัย เป็นแรงงานทั่วไป (Non-Skilled Labors) หรือแรงงานกลุ่มที่ 2 เมื่อทาการวิเคราะห์การใช้แรงงานแยกตามประเภทของแรงงานแล้ว โดยกาหนดระยะเวลาใน การก่อสร้างตามที่ศึกษาไว้ที่ 24 วัน ในการก่อสร้างบ้านกู้ภัยในโครงการตัวอย่างทั้งสิ้น 48 หลัง จะต้องใช้ แรงงานฝีมือ 98 คน และแรงงานทั่วไป 360 คน โดยในการก่อสร้างจริงนั้น ถ้าแรงงานมีอยู่อย่างจากัดก็จะ ทาให้ระยะเวลาในการก่อสร้างเลื่อนออกไป ขึ้นอยู่กับลักษณะของพื้นที่ประสบภัยนั้น ๆ ด้านค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง เมื่อนาหลักการของลีน คอนสตรั๊กชั่น (Lean Construction) มาใช้ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกู้ภั ย การวางแผนการท างานนอกจากจะสามารถควบคุ มระยะเวลาและแรงงานในการ ดาเนินงานแล้วนั้น ตามผลการศึกษาจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน การศึกษาด้านการใช้วัสดุ ในการวางแผนการใช้ วัสดุหลั กของทางโครงการ พบว่าจะสามารถลดการใช้ เหล็กลงได้ และเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างบ้านกู้ภัยนั้น ค่าใช้จ่ายในด้านวัสดุหลักของโครงการคิด เป็นร้อยละ 39 ดังนั้นในการวางแผนการใช้วัสดุจึงส่งผลโดยตรงกับค่าใช้จ่ายของโครงการ โดยจะทาให้ สามารถลดค่าใช้จ่ายลงไปได้ 5,860 บาท ต่อหลัง หรือเป็น 281,280 บาท ของทั้งโครงการ สรุปผลการศึกษา ในการก่อสร้างบ้านในโครงการบ้านกู้ภัย หลักการสาคัญคือการก่อสร้างต้องเป็นไปอย่างรวดเร็ว สามารถตอบสนองความต้องการด้านที่อยู่อาศัยของผู้ประสบภัยได้รวดเร็วที่สุด และมีคุณภาพในราคาที่ถูก ดังนั้นการใช้หลักการของลีน คอนสตรั๊กชั่น (Lean Construction) มาใช้ในการควบคุมการก่อสร้างบ้าน ในโครงการบ้านกู้ภัย โดยการวางแผนการปฏิบัติงานก่ อสร้าง ศึกษาด้านระยะเวลา และแรงงานอย่ าง ละเอียด ทาให้สามารถกาหนดระยะเวลาในการก่อสร้างที่สัมพันธ์กับจานวนแรงงานในการก่อสร้างได้ ซึ่ง สามารถใช้ควบคุม และกาหนดระยะเวลาและจานวนแรงงานได้กับโครงการในอนาคต นอกจากนั้น ใน การศึกษาการใช้วัสดุประกอบการก่อสร้างเพื่อที่จะกาหนดแนวทางในการใช้วัสดุที่เป็นวัสดุที่ได้มาจากการ บริจาคให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเหลือเศษน้อยที่สุดจนสามารถกาหนดปริมาณวัสดุที่แน่นอนได้ ซึ่งส่งผล โดยตรงกับค่าใช้จ่ายในการก่ อสร้าง โดยเมื่อสามารถลดการใช้วัสดุหลั กลงได้ ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้ าง ทั้งหมดก็ลดลงด้วย ซึ่งสามารถตอบสนองหลักการของทางโครงการเพื่อผู้ประสบภัยได้อย่างสมบูรณ์ ข้อเสนอแนะในการศึกษา จากการศึกษาการก่อสร้างบ้านในโครงการบ้านกู้ภัย ทางผู้ศึกษามีขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้ เมื่อได้ทาการศึกษาขั้นตอนในการก่อสร้างบ้านของโครงการบ้านกู้ภัยแล้ว ทางผู้ศึกษาได้เล็ งเห็น ว่าระยะเวลาเป็นเรื่องสาคัญ ยิ่งผู้ประสบภัยสามารถเข้าใช้พื้นที่ได้เร็วเท่าไร ก็ยิ่งจะเป็นการช่วยฟื้นฟูจิต ใจ ของผู้ประสบภัยได้เร็วยิ่งขึ้นเท่านั้น จึงได้เสนอแผนในการจัดกลุ่มของบ้ านผู้ประสบภัยออกเป็นย่อย ๆ เพื่อทาให้การก่อสร้างสามารถดาเนินไปได้อย่างคล่องตัวยิ่งขึ้น

สินีพันธุ์ สมบุญฤทธิ์

7


การใช้หลักการของลีนคอนสตรั๊กชั่น ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกูภ้ ัย

จากการวิเคราะห์ขั้นตอนการก่อสร้างและวิธีดาเนินการก่อสร้างประกอบโครงสร้าง จากพื้นที่ ก่อสร้างจริงแล้ ว จะพบว่าในการก่ อสร้ างบ้ านกู้ภัย จะต้ องท าการผลิ ตชิ้ นส่ วนต่ าง ๆ ไปกองรวมกั น ใน ตาแหน่งหนึ่งก่อน แล้วจึงทาการประกอบติดตั้งชิ้นส่วนเหล่านั้น ซึ่งในการวางแผนการก่อสร้างเช่นนี้ จะทา ให้ตาแหน่งของบ้านที่อยู่ไกลใช้เวลาในการรอและประกอบติดตั้งช้ากว่าบ้านอื่น ๆ เป็นเวลามาก ผู้ศึกษา จึงได้วิเคราะห์และเสนอแนวทางในการจัดการก่ อสร้ างบ้านในโครงการบ้านกู้ภัย โดยจะเสนอให้มีการ แบ่งกลุ่มของบ้านตามตาแหน่งที่ตั้ง เพื่อให้การกองเก็บชิ้นส่วนประกอบการก่อสร้างอยู่ในบริเวณใกล้พื้ นที่ ก่อสร้าง และทาให้การก่อสร้างเป็นไปอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ตามแผนภาพต่อไปนี้

ซึ่ ง เมื่ อศึ กษาจากพื้ นที่ ก่อ สร้ างแล้ ว จะสามารถแบ่ ง กลุ่ มในการก่ อสร้ างตามต าแหน่ ง พื้ น ที่ ก่อสร้างได้ดังนี้ ตาบลช่อแฮ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 รหัส P1 และ P2 จานวนรวม 2 หลัง สามารถฝากกองไว้ได้ที่โรงเรียน เมืองแพร่ กลุ่มที่ 2 รหัส P9, P10 และ P11 จานวน 3 หลัง สามารถฝากกองได้ที่สถานีอนามัย ตาบลช่อ แฮ กลุ่มที่ 3 รหัส P3, P4, P5, P6, P7, P8 และ P12 จานวนรวม 7 หลัง สามารถฝาก กองได้ที่วัด ธรรมเมือง รวมพื้นที่ก่อสร้างในตาบลช่อแฮเป็นจานวน 12 หลัง

8

สินีพันธุ์ สมบุญฤทธิ์


การใช้หลักการของลีนคอนสตรั๊กชั่น ในการควบคุมการก่อสร้าง โครงการบ้านกูภ้ ัย

ตาบลนาตอง แบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มที่ 4 รหัส P23, P24, P25, P26, P27, P29, P30, P32 และ P34 จานวน 9 หลัง กลุ่มที่ 5 รหัส P18, P19, P20, P21 และ P22 จานวน 5 หลัง กลุ่มที่ 6 รหัส P11, P12, P13, P14, P15, P16 และ P17 จานวน 8 หลัง กลุ่มที่ 7 รหัส P5, P5, P7, P8, P9, P31, P33 และ P35 จานวน 8 หลัง กลุ่มที่ 8 รหัส P1, P2, P3 และ P28 จานวน 4 หลัง รวมพื้นที่ก่อสร้างบ้านในตาบลนาตองจานวน 36 หลัง

จากการแบ่งกลุ่มการก่อสร้างบ้านในโครงการบ้านกู้ภัย กาหนดสถานที่กองเก็บวัสดุให้ใกล้กับ พื้นที่ก่อสร้างให้มากที่สุด จะช่วยลดระยะเวลาในการขนส่ง คาดว่าจะช่วยให้ชาวบ้านผู้ประสบภัย ได้รับ บ้านเร็วยิ่งขึ้น

สินีพันธุ์ สมบุญฤทธิ์

9



การบริหารโครงการก่อสร้างงานตกแต่งภายในด้วย TQM

การบริหารโครงการก่อสร้างงานตกแต่งภายในด้วย TQM บทคัดย่อ สุวิทย์ชา ปิยะธนาวิวฒ ั น์ คาสาคัญ: ระเบียบวิธีปฏิบัติงาน อาจารย์ที่ปรึกษา: รองศาสตราจารย์จรัญพัฒน์ ภูวนันท์

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาแนวคิดของการบริหารคุณภาพทั่วองค์กร (TQM) มาประยุกต์ ใช้ในโครงการก่อสร้างงานตกแต่งภายใน โดยกาหนดกระบวนการหลัก (Core Process) และกระบวนการ รอง (Support Process) และจัดทาระเบียบปฏิบัติ (Work Instruction) ขึ้นใช้ในโครงการ วิธีการศึกษา เป็นการนาหลักการของ TQM ที่เน้นในเรื่องของการมองอย่างเป็น กระบวนการ และ PDCA มาใช้ทาการฝึ กอบรมให้ กับ ผู้ปฏิบัติ ง านในบริ ษัท ที่มีค วามรู้ค วามเข้าใจ และร่วมกันจั ด ท า ระเบียบวิธีปฏิบัติง าน แล้วนาไปทดลองใช้ กับโครงการก่ อสร้างจริ ง โดยมีการติดตามและประเมิ น ผล เปรียบเทียบกันระหว่างโครงการที่บริห ารและท าการก่ อ สร้ างตามปกติ กับโครงการที่มีการฝึกอบรมผู้ ปฏิบัติและนาระเบียบวิธีปฏิบัติงานที่ได้ทาขึ้นนั้นมาใช้ ผลจากการศึกษาสรุปได้ว่า การนาแนวคิดของ TQM การฝึกอบรมและการทดลองนาระเบียบวิธี ปฏิบัติงานที่ได้ร่วมกันทาขึ้นมาทดลองใช้ในโครงการก่อสร้างจริง (งานตกแต่งภายในอาคารคอนโดมิเ นียม) เมื่อมีการประเมินผลเปรียบเทียบกันระหว่างทีมงานของบริษัทที่ท างานตามปกติ กับทีมงานที่ผ่านการ ฝึกอบรม TQM และมีระเบียบวิธีปฏิบัติงาน พบว่าผลงานของทีมหลังมีประสิทธิภาพและคุณภาพงานดี ขึ้น (ทางานได้เร็วกว่าแผนงานถึงร้อยละ 21.35 และมีข้อผิดพลาดของงานน้อยกว่าถึงร้อยละ 29.59) ซึ่งทาให้ บริษัทมีผลกาไรเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.19 จากโครงการที่มีมูลค่างานเท่ากัน จากกรณีศึกษาดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่า การนาแนวคิด TQM และระเบียบวิธีปฏิบัติงานมาประยุกต์ใช้ในการบริหารโครงการงานตกแต่ง ภายในนั้น จะช่วยปรับปรุงคุณภาพงาน ระยะเวลา และผลกาไรของบริษัทได้จริง

สุวิทย์ชา ปิยะธนาวิวัฒน์

11


การบริหารโครงการก่อสร้างงานตกแต่งภายในด้วย TQM

PROJECT MANAGEMENT WITH TQM FOR INTERIOR CONSTRUCTION ABSTRACT SUVITCHA PIYATHANAWIWAT KEYWORD: WORK INSTRUCTION ADVISOR: ASSOCIATE PROFESSOR CHARUNPAT PUVANANT

The purpose of this study is to apply the concept of TQM for an interior construction project. Core processes and support processes were defined to make a work instruction for production teams. The principles of TQM that emphasizes a systematic approach, procedural method and PDCA were introduced for the study. Both employees in factory and construction site were trained to improve their knowledge and worked together to get a work instruction used for interior construction projects. Then the model work instruction and trained teamwork were adopted in an actual construction project to evaluate and compare a result with some conventional projects. The study can be concluded that using the concept of TQM, training and work instruction in an actual construction project (condominium interior construction) can improve work efficiency and increase work quality. According to the comparative study of an experimental project, the construction was finished 21.35% faster than the expected schedules, defective work in construction was 29.59% less than conventional projects and the company’s profit raised by 8.19%. From the case study, adoption of TQM and work instruction in interior construction projects will develop job quality, reduce work duration and increase company’s profit.

12

สุวิทย์ชา ปิยะธนาวิวัฒน์


การบริหารโครงการก่อสร้างงานตกแต่งภายในด้วย TQM

สรุปผลอภิปราย จากวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาและกาหนดกระบวนการหลัก และกระบวนการรอง ของโครงการก่อสร้างงานตกแต่งภายใน และจัดทาระเบียบและวิธีปฏิบัติของการทางานโครงการก่อสร้ าง ตกแต่งงานภายใน สาหรับช่างรับเหมาก่อสร้างตกแต่งภายใน โดยเน้นในส่วนของสายงานผลิตนั้น ผู้ศึกษา ได้ปฏิบัติการทดลองโดยใช้แ นวคิด การบริห ารจัด การ TQM มาประยุกต์ใช้โดยเน้นหลั ก PDCA เข้ามา ประยุกต์ใช้ โดยมีวิธีการดาเนินการศึกษาดังนี้ การศึกษาข้ อมูลและทบทวนเอกสารที่เกี่ย วข้อง จัดการ ทดสอบวั ด ผลความเข้ าใจ และอบรมเบื้ องต้ นส าหรั บ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านจริ ง การวิ เ คราะห์ ข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ กระบวนการท างานเพื่ อจั ด ท าระเบี ย บวิ ธีป ฏิ บั ติ ง านและนาไปทดลองใช้ การตรวจสอบและวั ด ผล เปรี ย บเทีย บของการนาระเบีย บวิ ธีป ฏิบั ติง านไปใช้ ปฏิบั ติง าน โดยเน้ นในการปฏิบัติ ตามขั้ นตอนของ ระเบียบวิธีปฏิบัติงาน ซึ่งสามารถกาหนดกระบวนการทางานหลักและกระบวนการทางานรองที่เหมาะสม กับสภาพของบริษัททดลอง และนาไปทดลองใช้ในการปฏิบัติงานจริง โดยมีการควบคุมในส่วนของสายงาน ผลิตอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งจากการทดลองนั้น ได้ติดตามประเมินผลงานตามที่ผู้ศึกษาได้จัดทาหัวข้อประเมิน โดยเน้นใน ด้านมุมมองกระบวนการภายใน ซึ่งได้ผลดังนี้ 1. ด้านผลิตภาพ จากการนาระเบียบวิธีปฏิบัติงานไปทดลองใช้นั้นเห็นได้ว่า วงจรเวลาของการ ท างานของที มงานทดลองนั้ น มี ร ะยะเวลาที่ สั้ นขึ้ น และคุ ณภาพของงานดี ขึ้น และมี ชิ้ นงานที่ เ สี ยหาย น้อยลง 2. ด้านการเงิน จากการรวบรวมผลการทดลองนั้นแสดงให้เห็นว่า ต้นทุนของบริษัทฯ ทั้งใน เรื่องของค่าวัสดุและค่าแรงนั้นลดลง และสามารถเพิ่มผลกาไรของบริษัทฯ ทดลองได้จริง 3. ด้านทักษะของพนักงาน จากผลงานด้านการปฏิบัติงานและชิ้นงานที่ออกมา แสดงให้เห็น ว่าการนาระเบียบวิธีปฏิบัติงานไปใช้นั้น ทาให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้นและคุณภาพดีขึ้น แต่ต้องมีการ อบรมและควบคุมอย่างเคร่งครัด ผู้ศึกษาจึงสามารถสรุปได้ว่าการจัดทาระเบียบวิธีปฏิบัติงานขึ้นมานั้น จะต้องสามารถนาไปใช้ได้ จริ ง และเหมาะสมกั บ บริษัท นั้ น ๆ เนื่ องจากสภาพของบริ ษัท ทั้ ง ในเรื่ องของนโยบายและบุ คลากรที่ แตกต่างกัน และหลังจากที่ได้ระเบียบวิธีปฏิบัติงานไปทดลองใช้ดาเนินงานแล้ว ยังจาเป็นที่จะต้องมีการ จั ด การอบรมเกี่ ย วกั บ ระบบคุณภาพ เพื่ อให้ ผู้ ป ฏิ บัติ งานทุ กฝ่ ายเข้ าใจได้ดี และเห็นถึ งผลดีข องการนา ระเบียบวิธีปฏิบั ติงานไปใช้มากยิ่งขึ้ น และมีการควบคุมการปฏิบัติ งานที่ ชัดเจน และต้องมีการติด ตาม ประเมินผลเพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง

สุวิทย์ชา ปิยะธนาวิวัฒน์

13



การวิเคราะห์เปรียบเทียบราคาค่าก่อสร้างอาคารเพื่อหาสัดส่วนงานของโครงการชุดพักอาศัยที่เป็นอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่ พิเศษในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2548-2550

การวิเคราะห์เปรียบเทียบราคาค่าก่อสร้างอาคารเพือ่ หาสัดส่วนงานของ โครงการชุดพักอาศัยทีเ่ ป็นอาคารสูง และอาคารขนาดใหญ่พิเศษใน กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2548 – 2550 บทคัดย่อ อภิสิทธิ์ กุสลานันท์ คาสาคัญ: สัดส่วนราคาค่าก่อสร้าง/ การบริหารต้นทุน/ ดัชนีชี้สัดส่วนราคาค่าก่อสร้าง อาจารย์ที่ปรึกษา: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์บัญชา ชุ่มเกษร

สั ด ส่ ว นราคาค่ า ก่ อ สร้ า งของอาคารแต่ ล ะประเภท และลั ก ษณะอาคารจะเป็ น เครื่ อ งมื อ ประกอบการพิ จารณาส าหรับ การบริ หารต้ นทุนของโครงการก่ อสร้าง อี กทั้ ง สามารถตรวจสอบความ ถูกต้องของหมวดงานและงานได้ในเบื้องต้น โดยค่าของสัดส่วนราคาค่าก่อสร้างจะคิดเป็นร้อยละเท่าไรของ โครงการ และแต่ละสัดส่วนเป็นเท่าไรของหมวดงาน การบริหารต้นทุนโครงการและงบประมาณการก่อสร้างอาคารจะต้องมีกรอบเกณฑ์ ในการชี้วัด ด้านราคาสัดส่วนของราคา เพื่อสามารถนามาบริหารจัดการโครงการ ดัชนีชี้วัดสัดส่วนของราคาค่าก่อสร้าง เกิดจากผลของค่าเฉลี่ยของสัดส่วนของราคาค่าก่อสร้ างใน แต่ละหมวดงาน นามาเป็นค่าบ่งชี้ กรอบเกณฑ์ใ นการจั ดสรรงบประมาณ และตรวจสอบในการบริ ห าร ต้นทุนของโครงการ การศึกษาได้ผลสรุปว่า 1. ค่าเฉลี่ยสัดส่วนของราคาค่าก่อสร้างหมวดงาน และงานจะมีค่าใกล้เคียง เปลี่ยนแปลงเพียง เล็กน้อย เมื่อราคาวัสดุและความสูงของอาคารเปลี่ยนแปลง 2. ค่าเฉลี่ยสัดส่วนของราคาค่าก่ อสร้ างของงานจะแปรผันตามลั กษณะเฉพาะเงื่ อนไขและ สถานที่ของแต่ละโครงการ 3. สามารถนาค่าสัด ส่ วนมาใช้ ใ นการบริ หารจั ดการต้ นทุ นของโครงการประเภทอาคารพั ก อาศัยที่ก่อสร้างในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้

อภิสทิ ธิ์ กุสลานันท์

15


การวิเคราะห์เปรียบเทียบราคาค่าก่อสร้างอาคารเพื่อหาสัดส่วนงานของโครงการชุดพักอาศัยที่เป็นอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่ พิเศษในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2548-2550

COMPARATIVE ANALYSIS OF BUILDING COSTS IDENTIFYING PROPORTION OF CONSTRUCTION WORKS OF THE LARGE HIGH – RISE RESIDENTAIL BUILDINGS IN BANGKOK FROM 2005 – 2007 ABSTRACT APISIT KUSSALANANT KEYWORD: PROPORTION OF CONSTRUCTION COSTS/ PROJECT COST MANAGEMENT/ COST PROPORTION INDEX ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR BUNCHA CHUMKASORN

The knowledge of the proportions of construction cost of various parts of the project is a tool for consideration of the project cost management. These proportions will also help what in project cost management. It is important to find out the percentage of each proportion relative to the total building cost, such as the cost of the structural work, the cost of architectural work, etc. It is important that the parameters in the project cost management and the construction budget must be used as criteria in the consideration. The conclusion of the study can be summarized as follows: 1. The proportion of the average cost of main work of the buildings will tend to remain constant which slide variation when the material cost, labor cost, and the height of the buildings change. 2. The proportion of the average cost of work will vary according to the specifications of the project, such as project requirements or the project site. 3. The conclusions as indicated can be utilized in the project cost management of residential buildings.

16

อภิสทิ ธิ์ กุสลานันท์


การวิเคราะห์เปรียบเทียบราคาค่าก่อสร้างอาคารเพื่อหาสัดส่วนงานของโครงการชุดพักอาศัยที่เป็นอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่ พิเศษในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2548-2550

สรุปผลอภิปราย ผลของการวิเคราะห์และดาเนินการ การศึกษาวิเคราะห์ราคาค่าก่อสร้างอาคารเพื่อหาสัดส่วนงานของโครงการอาคารพักอาศัยที่เ ป็น อาคารสูงที่เป็นอาคารขนาดใหญ่พิเศษในกรุ งเทพมหานครปี พ.ศ. 2548 - 2550 จะได้สัดส่วนของงาน ต่าง ๆ ดังนี้ 1. สัดส่วนงานที่ได้จากราคาค่าก่อสร้างตามหมวดงานตามตารางที่ 4 ตารางที่ 15 และตาราง ที่ 16 ดังนี้ 1.1 หมวดงานโครงสร้าง มีสัดส่วนประมาณ 34.84% ของโครงการและมีค่าบวก ลบ ประมาณ 6% สัดส่วนของงานจะอยู่ในเสาเข็มและงานคอนกรีตเสริมเหล็ก 1.2 หมวดงานสถาปัตยกรรม มีสัดส่วนหมวดงานประมาณ 31.05% ของโครงการ มีค่าบวก ลบ ประมาณ 5% ถึง 7% ของโครงการและหมวดงานสถาปัตยกรรม สัดส่วนของงานจะอยู่ในงานผนัง และประตูหน้าต่าง 1.3 หมวดงานระบบไฟฟ้ า มี สั ด ส่ วนหมวดงานระบบไฟฟ้ า ประมาณ 74% มี ค่ า บวก ลบ ประมาณ 2% ถึง 6% ของโครงการและหมวดงานไฟฟ้า สัดส่วนของงานที่ มีค่ า สู งเกิด จากระบบ ไฟฟ้าแรงสูง ระบบการจ่ายไฟฟ้า สายไฟฟ้าและงานท่อและรางไฟฟ้า 1.4 หมวดงานสุขาภิบาล ค่าเฉลี่ยสั ดส่วนงานสุขาภิบาล 7.10% มีค่า บวก ลบ ประมาณ 2% ถึง 3% ของโครงการ และหมวดงานสุขาภิบาล สัดส่วนของงานที่มีค่าสูงเกิดจากระบบป้องกันอัคคีภัย 1.5 หมวดงานระบบปรั บ อากาศ ค่ า เฉลี่ ย สั ด ส่ ว นงานปรั บ อากาศ 5.27% มี ค่ า บวก ลบ ประมาณ 4% ถึง 5% ของโครงการและสัดส่วนของงานที่มีค่าสูงเกิดจากตัวเครื่องและระบบท่อลม 1.6 หมวดงานระบบลิฟท์ ค่าเฉลี่ยสัดส่วนงานลิฟท์ 3.66% มีค่าบวก ลบ ประมาณ 2% ของ โครงการ 1.7 หมวดงานสนับสนุนการก่อสร้าง ค่าเฉลี่ยส่วนงานสนับสนุนก่อสร้าง 7.14% มีค่าบวก ลบ ประมาณ 8% ถึง 12% ของโครงการขึ้นอยู่กับสถานที่ก่อสร้างและวิธีการก่อสร้าง จากตารางที่ 4 ตารางที่ 15 และตารางที่ 16 สามารถนาสัดส่วนของหมวดงานหลักมาพิจารณา เป็ นเกณฑ์ วางกรอบเบื้องต้นในการบริ หารงบประมาณโครงการเบื้ องต้น และสั ด ส่ วนงานย่ อยต่าง ๆ จะต้องมาพิจารณาในรายละเอียดของเงื่อนไขเฉพาะของแต่ละโครงการ หากจะให้กรอบเกณฑ์ในการพิจารณาสามารถใช้ข้อมูลทางสถิติเพื่อให้ช่วงสูงต่าของงานแคบลง โดยใช้ค่าเบี่ยงเบนตามตารางที่ 4 2. สัดส่วนงานที่ได้จากการปรับราคาค่าก่ อสร้างจะใกล้เคียงกัน เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย สัดส่วนงานที่ได้จาการกลุ่มอาคารพักอาศัยที่เป็นอาคารสูง 16 – 25 ชั้น และความ สูง 26 - 35 ชั้น จะมี สัดส่วนของหมวดงานใกล้เคียงกันมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย สามารถใช้ค่าเฉลี่ยสัดส่วนตามตารางที่ 4 ได้ 3. สัดส่วนงานที่ได้จากการปรับราคาการก่อสร้างจะใกล้เคียงกัน เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แม้ว่าราคาวัสดุ ค่าแรง ค่าก่อสร้าง และราคาต่อหน่วยเปลี่ยนแปลง สั ดส่วนงานเฉลี่ยสามารถนาไปใช้เ ป็น กรอบในการบริห ารจัด การต้ นทุ นราคาของโครงการได้ ซึ่ง อาจมี ค่ า บวก ลบ แตกต่างมากน้ อยต่ า งกั น สามารถใช้ค่าเฉลี่ยสัดส่วนตามตารางที่ 4 ได้ 4. ราคาน้ามันจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ต้นทุนราคาค่าก่อสร้างเปลี่ยนแปลงทั้ง การผลิ ต วั ส ดุ และการขนส่ง รวมทั้งค่าแรงงานที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งในภาพรวมราคาค่าก่อสร้างจะสูงขึ้นใกล้เคียงกับอั ตรา การขยายตัวของ GDP และอัตราเงินเฟ้อ ซึ่งสามารถคาดการณ์ได้ในอนาคต 5. สั ด ส่ ว นงานที่ แ ปรผั น มากน้ อ ย จากกรอบค่ า เฉลี่ ย สั ด ส่ ว นงานจ าเป็ น ต้ อ งศึ ก ษาใน รายละเอียดเงื่อนไขเฉพาะแต่ละโครงการ เช่น การออกแบบระบบโครงสร้างชั้นใต้ดิน ความสูงอาคาร วัสดุ อภิสทิ ธิ์ กุสลานันท์

17


การวิเคราะห์เปรียบเทียบราคาค่าก่อสร้างอาคารเพื่อหาสัดส่วนงานของโครงการชุดพักอาศัยที่เป็นอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่ พิเศษในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2548-2550

ตกแต่งอาคาร และสถานที่ก่อสร้าง อันเป็นเงื่อนไขเฉพาะ เช่น อาคารที่มีชั้นใต้ดินลึกหลายชั้น ผนังด้าน นอกเป็นกระจก และก่อสร้างในพื้นที่จากัด 6. การศึกษาให้เข้าใจถึงมูลค่าสัดส่วนของงานที่สูง นามาใช้บริหารจัด การด้านการออกแบบ และวางแผนโครงการให้เจ้าของโครงการและผู้ออกแบบเกี่ยวข้องร่วมพิจารณา และพิจารณาตรวจสอบ ตลอดเวลาทุกขั้นตอนเพื่อให้อยู่ในงบประมาณ 7. การบริหารต้นทุนค่าก่อสร้างอาคารของโครงการ จาเป็นต้องพิจารณาสัดส่วนที่ค่าเฉลี่ยของ งานที่มีมูลค่าสูง เพื่อบริหารจัดการได้อย่ างมีประสิทธิภาพ เพราะหากราคาในส่วนนี้เปลี่ยนแปลงจะท าให้ ราคาค่าก่อสร้างต่อหน่วยสูง เช่น งานคอนกรีตเสริมเหล็ก งานเหล็กเสริมจะเป็นตัวแปรที่สาคัญหรือมี การ ขยับปรับราคาให้สูงขึ้นซึ่งจะต้องนามาพิจารณาในการบริหารโครงการ และวางแผนจัดการล่วงหน้า การ คาดการณ์ราคาในอนาคต ปัจจัยทั้งภายในภายนอก การบริหารความเสี่ยงเพื่อให้โครงการสามารถส าเร็จ ได้ ข้อเสนอแนะ การศึกษานี้เป็นเพียงแนวทางการนาค่าเฉลี่ยสัดส่วนงานของโครงการเป็นกรอบเกณฑ์ใ นการ พิจารณา เพื่อการบริหารจัดการต้นทุนค่าก่อสร้างของโครงการอาคารพักอาศัยที่เป็นอาคารสูงและอาคาร ขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานครเท่านั้น ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. สถาบันการศึกษาและองค์กร น่าจะมีการศึกษาสัดส่วนอาคารแต่ละประเภท ขนาดสถานที่ เพื่อจัดทาเป็นข้อมูลในการอ้างอิง ในการใช้สาหรับการจัดทาโครงการต่าง ๆ เนื่องจากต้นทุนค่าก่อสร้ างจะ เป็นปัจจัยหลักในการพิจารณาในการจัดทาโครงการรวมทั้ง หากเป็นผลงานจากสถาบันการศึกษาข้อมูล ต่าง ๆ จะสามารถค้นหาได้ง่ายและเป็นที่น่าเชื่อถือ 2. การศึกษาสัด ส่ วนนี้ เพีย งเพื่ อการนาผลไปใช้ใ นการบริ หารจัด การต้นทุ นค่ าก่ อสร้ า งของ โครงการเท่านั้น ยังมีสมมติฐานและสิ่งที่น่าสนใจในการศึกษาเกี่ยวกับราคาค่าก่อสร้าง เช่น ราคาต่อหน่วย สัดส่วนงานต่อตารางเมตร ต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งสามารถนามาเป็นกรอบในการตรวจสอบประมาณการได้ เช่น ในการศึกษาครั้งนี้พบว่าสามารถหาค่าเฉลี่ยปริมาณคอนกรีตต่อพื้นที่ก่อสร้างได้ หรือจานวนน้ าหนัก เหล็กต่อปริมาณคอนกรีตเพื่อตรวจสอบการทาบัญชีประมาณการ 3. การศึกษาด้านราคา อาจศึกษาความแปรผันของอัตราเงินเฟ้อ ดัชนีวัสดุก่อสร้างเปลี่ยนไปมี ผลกระทบต่อราคาค่าก่อสร้างโดยรวมเป็นร้อยละเท่าไร แต่การศึกษาจาเป็นต้องทางานเป็นกลุ่ม เพราะ ข้อมูลรายละเอียดมีจานวนมาก และต้องเป็นผู้มีความรู้ เพียงพอในการศึ กษารวมทั้งระยะเวลา เพื่อให้ สามารถจาลองสถานการณ์การคาดเดาในอนาคต สาหรับการบริหารจัดการได้และต้องหาสมการซึ่งต้องใช้ ผู้รู้ทางสถิติมาช่วย 4. การศึกษาครั้งนี้เป็นเพียงการเริ่มต้น ด้านการบริหารต้นทุนราคาค่าก่อสร้างของโครงการ โดยรวม ซึ่งน่าจะมีข้อมูลพื้นฐานอ้างอิง สาหรับการศึกษาในรายละเอียดเป็นส่วน ๆ เฉพาะเรื่องต่อไป อุปสรรค การศึกษาครั้งนี้ ได้พบอุป สรรคในการด าเนิ นการวิเคราะห์ ที่อาจทาให้การศึกษาไม่ครบถ้ วน สมบูรณ์ ชัดเจน แม่นยา อาจมีการคลาดเคลื่อนบ้าง เนื่องจากมีอุปสรรคดังนี้ 1. ตั วอย่ างจานวนบั ญ ชี ป ระมาณการราคาค่ าก่ อสร้างมี จานวน 9 โครงการนั้ น ท าให้ การ วิเคราะห์จากัด เนื่องจากบัญชีประมาณการเป็นความลับ และอาจมีผลต่อโครงการได้ จึงไม่มีหน่วยงานใด ให้มาทาการศึกษา 2. การศึกษาเฉพาะบั ญชี ประมาณการราคาค่ าก่ อสร้ างเพีย งอย่ างเดีย ว ไม่เพียงพอในการ วิเคราะห์บริหารจัดการต้นทุนโครงการได้ จาเป็นต้องมีแบบทุกหมวดงาน รายการประกอบแบบ และ 18

อภิสทิ ธิ์ กุสลานันท์


การวิเคราะห์เปรียบเทียบราคาค่าก่อสร้างอาคารเพื่อหาสัดส่วนงานของโครงการชุดพักอาศัยที่เป็นอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่ พิเศษในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2548-2550

เงื่อนไขเฉพาะโครงการ ตลอดจนสถานที่ก่อสร้าง จึงจะสามารถพิจารณาได้ครบถ้วนใช้บริหารจัดการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การศึกษาการปรับราคาค่าก่อสร้างและศึ กษาปั จจัยตั วแปร ไม่สามารถกระทาได้ชั ด เจน เนื่ องจากเป็ นโครงการเฉพาะ หากมี การปรั บ ราคา แนวโน้ มควรท าแบบจาลองเดี ยวกั น และกาหนด เงื่อนไขที่ชัดเจนจะได้วิเคราะห์ถูกต้องมากขึ้น 4. ข้อมูลรายละเอียดในการศึกษาทั้งทางตรงและทางอ้อมมีจานวนมากและกระจัดกระจายไม่ มีหน่วยงานใดจัดเป็นหมวดหมู่ เพื่อการนามาบริหารจัดการต้นทุ นค่าก่อสร้างของโครงการ จะต้องศึกษา และนามาใช้เฉพาะการวิเคราะห์เท่านั้น 5. ไม่มีตาราหรือเอกสารวิจัยด้านการบริหารจัดการต้นทุนค่าก่อสร้างโครงการ สาหรับอ้างอิง เป็นแนวทางการศึกษาโดยตรง 6. ระยะเวลาการศึกษามีจากัด เอกสารข้อมูลมีจานวนมาก ต้องใช้เวลาในการพิจาณา เช่น บัญชีประมาณ 9 โครงการ มีจานวนมาก

อภิสทิ ธิ์ กุสลานันท์

19



3



การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้าง เพือ่ ใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย บทคัดย่อ กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์ คาสาคัญ: การจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้าง อาจารย์ที่ปรึกษา: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์บัญชา ชุ่มเกษร

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดแนวทางการจัดทาดัชนีร าคางานก่อสร้ างบ้านพัก อาศั ย เพื่อใช้ประโยชน์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการจัดทางบประมาณของภาครัฐ วิ ธีการศึ กษาเป็ นการศึ กษาเปรี ย บเที ย บราคางานก่ อสร้ างบ้ านพั กอาศั ย ทั้ ง ของภาค รั ฐ และ ภาคเอกชน ที่มีการก่อสร้ างในปี 2547 - 2551 ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล เพื่อจัดทาดัชนีราคาค่ า ก่ อ สร้ า งและเปรี ย บเที ย บ Input price index และ Output price index กั บ ดั ช นี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ คาดคะเนแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงราคาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ผลการศึกษาสรุปได้ ว่าแนวโน้มการเปลี่ย นแปลงราคาวั สดุร วมและค่ าแรง หรือ Input price index เป็นไปตามกลไกดัชนีทางเศรษฐกิจเช่นดัชนี GDP รวม, ดัชนี GDP สาขาการก่อสร้าง, ดัชนีราคา ผู้บริโภคในประเทศ, ดัชนีราคาเหล็ก ส่วนค่าดาเนินการ กาไร ภาษี ในภาครัฐหรือค่า Factor F นั้นมีค่า เปลี่ยนแปลงเล็กน้อยมาก ส่วนการเปลี่ยนแปลงราคาบ้านพักเอกชน เป็นลักษณะขึ้นลงตลอดเวลา ส่วน Input price index เป็นไปตามกลไกดัชนีทางเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน บ้านพักข้าราชการ เช่น ดัชนี GDP รวม, ดัชนี GDP สาขาการก่อสร้าง, ดัชนีราคาผู้บริโภคในประเทศ, ดัชนีราคาเหล็ก ส่วนดัชนีความเชื่ อมั่น ผู้บริโภคเป็นเรื่องของจิตวิทยาการเสนอราคาแก่ลูกค้า ส่วน Output price index ซึ่งมีค่าเปลี่ยนแปลงขึ้น ลง ในช่วง 10% - 25% ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และผลงานของบริษัทที่รับเหมาก่อสร้างในแต่ ล ะปี และการเลือกใช้วัสดุก่อสร้างต้นทุน เป็นต้น สรุปผลการศึกษาพบว่า Input price index เป็นตัววัดการ เปลี่ยนแปลงราคางานก่อสร้าง ได้ใกล้เคียงกว่าดัชนีราคาค่าวัสดุก่อสร้างเพียงอย่างเดียว

กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์

23


การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

A STUDY ON A GUIDELINE FOR DEVELOPING CONSTRUCTION PRICE INDEX FOR RESIDENTIAL BUILDINGS ABSTRACT KRITSANAPONG THANOMSING KEYWORD: ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR BUNCHA CHUMKASORN

This objectives of this study is determine the guideline of construction work price index preparation for house in real estate business and budget of governmental. The study methodology is the price comparison study of construction work during 2004-2008. Compared Input price index and Output price index with the concerning index to forecast the trend of price change in the future. The study result could be concluded that the trend of price change of Input price index dynamically as economic index such as total GDP index, GDP index in construction branch, consumers price index, the steel price index which is factor to the direction of the constructional price change of governmental sector whereas the operation cost, profit, tax in governmental which the changing value is infinitesimal. But the trend of change of Input price index and Output price index of the private sector’s residential house construction work had contrasting, always fluctuated all the time while the price change Input price index continued in compliance with economic index device in the same as the houses which had trend in the same direction as economic index. But the consumer confidence index is the psychological factor in offering the construction price to the customer while Output price index which the changing value fluctuated in 10% - 25% range wherefrom it depended upon the experience. So in put price index, be formed change price construction work temple get more price value construction materials index only.

24

กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์


การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

สรุปผลอภิปราย จากการศึกษาข้อมูลและเป็นแนวทางการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างบ้านพักอาศัย ข้าราชการ และบ้านพักเอกชน ปี 2547 - 2551 กรณีศึกษา โดยการประมวลผลข้อมูลราคางานก่อสร้ าง โดยแบ่ง จาแนกเป็นหมวดงานต่าง ๆ และหาค่าเฉลี่ยต่อตารางเมตร จากนั้นจึงจัดทาดัชนีเพื่อศึกษาแนวโน้มการ เปลี่ ย นแปลงราคางานก่ อสร้ างบ้ านพั กอาศั ย โดยจั ด ท าเป็ น Input price index และ Output price index จากนั้นจึงนาดัชนีที่ได้มาวิเคราะห์กับดัชนีทางเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่ใกล้เคีย งกัน เพื่ออธิบายดัชนีที่ส่งผลกระทบต่อราคางานก่อสร้างบ้านพักอาศัย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนปี 2547 – 2551 ซึ่งในการจัดทาดัชนีแต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในส่วนของค่าใช้จ่ายที่ทาการจัดเก็บ เพื่อ จัดทาดัชนี และในการจัดทาดัชนีแต่ละประเภท ต่างมีวิธีการจัดทาจากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับการเลื อกใช้ งานของแต่ละประเภทที่เป็นผู้จัดทาดัชนี เลือกประเภทและรูปแบบของการจัดทาดัชนี เพื่อให้การจัด ทา ดั ช นี ร าคางานก่ อสร้ างสามารถวั ด การเปลี่ ย นแปลงราคาของงานก่ อสร้ างได้ อ ย่ างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ใน กรณีศึกษานี้ผู้ศึกษาได้ทาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างโครงการบ้านพักอาศัยข้าราชการระดับ 7 ขนาด พื้นที่ใช้สอย 150 ตารางเมตร ได้รับข้อมูลจากกรมพัฒนาที่ดินและโครงการบ้านพักอาศัยเอกชน ขนาด พื้นที่ใช้สอย 272 - 431 ตารางเมตร ปี 2547 - 2551 ภายในเขต กรุงเทพและปริมณฑล จากบริ ษัท รับเหมาก่อสร้างเอกชนทั้งหมด 5 หลัง 5 บริษัท เพื่อจัดทาดัชนีราคาค่าก่อสร้าง Input price index และ Output price index ของงานอาคารพั กอาศัย สองชั้ นระดับ กลาง เปรียบเทียบหา Input price index และ Output price index กั บ ดั ช นี ที่ เ กี่ ย วข้ องเพื่อคาดคะเนและแนวโน้ มการเปลี่ย นแปลงราคาที่จะ เกิ ด ขึ้ น ในอนาคต เป็ น การศึ ก ษาเพื่ อ หา Input price index และ Output price index โดยใช้ วิ ธี Schedule of price และ Building volume per area โดยกาหนดปีฐาน ในการจัดทาดัชนีคือ ปี 2547 จากการศึกษาแนวทางการจัดทาดัช นีราคางานก่อสร้ างเพื่อใช้ งานในประเทศไทย โดยในการ จัดทาได้แบ่งอาคารที่พักอาศัยออกเป็น 3 ประเภทได้ข้อสรุปดังนี้ 1. Input price index หรือ ดัชนีราคาต้นทุนทางตรง กรณีศึกษาเป็นดัชนีราคางานก่อสร้ างที่มี ลักษณะของการจัดเก็บค่าใช้จ่ายของงานก่อสร้างในลักษณะที่เก็บข้อมูลของค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างในการที่ ดาเนินงานก่อสร้างให้ แล้ วเสร็ จ ทาให้องค์ประกอบของดัช นีราคางานก่ อสร้ างประเภทนี้ ประกอบด้ วย ค่าใช้จ่ายในส่วนของ ค่าวัสดุ ค่าจ้างแรงงาน ค่าเครื่องจักร ค่าขนส่ง ตามตารางที่ 1 ตัวอย่าง ดัชนี Input price index ของประเทศ Mauritius 2. Output price index หรื อ ดั ช นี ร าคาต้ น ทุ น ทางตรง บวกดั ช นี ร าคาต้ น ทุ น ทางอ้ อ ม กรณีศึกษาเป็นดัชนีราคางานก่อสร้างที่มีลักษณะการจัดเก็บค่าใช้จ่ายของงานก่อสร้าง ในลักษณะที่เก็บ ข้อมูลค่าใช้จ่ายของผู้ว่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างในการที่ดาเนินงานก่อสร้างให้แล้วเสร็จ ทาให้องค์ประกอบของ ดั ช นี ร าคางานก่ อสร้ างประเภทนี้ ป ระกอบด้ วย ค่ าใช้ จ่ายในส่ วนของ Input price index รวมกั บ ค่ า ดาเนินการ กาไร ภาษี ฯลฯ ตารางที่ 2 ตัวอย่าง ดัชนี Output price index ของประเทศเยอรมนี 3. Seller’s price index เป็นดัชนีราคางานก่อสร้างที่มีลั กษณะการจัดเก็บค่าใช้จ่ายของงาน ก่อสร้าง ในลักษณะที่เก็บข้อมูลค่าใช้จ่ายในการที่เจ้าของสุดท้ายหรือผู้ซื้อทาการซื้องานก่อสร้างนั้นจากผู้ ว่าจ้าง โดยผู้ว่าจ้างกับเจ้าของสุดท้ายสามารถเป็ นบุคคลคนเดียวกันได้ ทาให้องค์ประกอบของดัชนีราคา งานก่อสร้ างประเภทนี้ประกอบด้ วยค่ าใช้ จ่ายในส่ วนของ Output price index ค่าที่ดิน ภาษี รวมทั้ ง ค่าใช้จ่ายอื่ น ๆ ที่ผู้ว่าจ้างต้ องการรวมไปในราคาขายของงานก่ อสร้ าง ที่ทาการส่ง มอบให้ กับ เจ้ า ของ สุดท้าย ในกรณีศึกษาไม่มีข้อมูลด้านราคาที่ดิน จึงไม่สามารถวิเคราะห์หา Seller’s price index ได้ จากข้อมูลดังกล่าว ผู้ศึกษาได้กาหนดความสาคัญของรายการองค์ประกอบของงานและเลื อก แนวทางในการจั ด ทาดั ชนี ร าคาก่ อสร้าง เพื่ อจั ด ท าดั ช นี ที่เ หมาะสมกั บลั กษณะของข้ อมูล แบ่ ง เป็ น 2 ประเภท ได้แก่ Input price index, Output price index โดยตั้งสมมติฐานในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้

กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์

25


การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

1) บ้ านพั กอาศั ย ข้ าราชการไม่ มีค วามแตกต่ างกั นในเรื่ องของแบบก่ อสร้ าง แต่ จะมี ค่ างาน ก่อสร้างแตกต่างกันตามปีที่ก่อสร้าง 2) บ้านพักเอกชน มีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก เนื่องจากมีขนาดของพื้นที่ใช้สอยที่แตกต่ าง กันการออกแบบ เลือกใช้วัสดุก่อสร้างรวมถึงบริษัทที่ทาการออกแบบซึ่งมีมาตรฐานในการเสนอราคาค่า ก่อสร้างที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และผลงานที่มาของบริษัท เมื่อวิเคราะห์ตามหลักสถิติ โดยแบ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. การ Weight น้ าหนั กราคาตามหมวดงานการก่ อสร้ าง ของบ้ านพั กอาศั ย ทั้ ง ภาครั ฐ และ ภาคเอกชนปี 2547 - 2551 2. การหาค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐานของราคารวม ของบ้านพักอาศัย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ปี 2547 - 2551

จากตารางที่ 32 พบว่าเมื่อแยกสัดส่วนของแต่ละหมวดงานออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์เทียบกับราคา งานก่อสร้างของแต่ละหลังของบ้านพักอาศัยข้าราชการดังนี้ หมวดงานโครงสร้างมีสัดส่วนระหว่าง 17.44 % - 21.61 % โดยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ยกเว้นปี 2550 ลดลง 2.81 %

26

กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์


การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

หมวดงานสถาปัตยกรรมได้แ ก่ งานพื้นอยู่ที่ 8.25% - 11.22% ปี 2547 - 2549 ลดลงอย่าง ต่อเนื่องจนถึงปี 2550 มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น 1.95%, งานหลังคาอยู่ที่ 11.19% - 14.55% ลดลงอย่างต่อเนื่ อง จนถึงปี 2550 มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น 3.25% และเพิ่มขึ้น 0.11% ในปี 2551 ต่อมา งานผนัง 7.48% - 9.38% มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และลดลง 1.61% ในปี 2550 และลดลง 0.29% ในปี 2551, งานเพดานมี สัดส่วน 3.11% - 4.61% เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และลดลง 0.41% ในปี 2550 และลดลง 1.11% ในปี 2551 งานประตูหน้าต่างและบันได 11.8% - 14.55% มีสัดส่วนลดลงอย่างต่อเนื่องจนถึงปี 2551, งาน ทาสี 3.61% - 4.86% มีสดั ส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และลดลง 0.38% ในปี 2551 หมวดงานสุขาภิบาล สุขภัณฑ์ และประปา มีสัดส่วน 3.61% - 3.89% ลดลง 0.09% ในปี 2550 และลดลง 0.13% ในปี 2551 หมวดงานระบบงานไฟฟ้า มีสัดส่วน 2.72% - 3.81% ลดลง 0.87% ในปี 2550 และเพิ่มขึ้นใน ปี 2551 0.12% และสุ ด ท้ ายหมวดด าเนิ น การก าไรภาษี ฯลฯ หรื อ Factor F มี สั ด ส่ วนระหว่ า ง21.15% 21.65% โดยลดลง 0.02% ในปี 2548 จากนั้นเพิ่มขึ้นเล็กน้อยอย่างต่อเนื่อง ถึงปี 2551

จากข้อมูลดังกล่าว สามารถสรุปข้อมูล สัดส่วนโดยรวมได้ดังนี้ หมวดงานที่มีสัดส่วนมากที่สุด ได้แก่ หมวดดาเนินการ กาไร ภาษี ฯลฯ หรือ Factor F อันดับ 2 ได้แก่ หมวดโครงสร้าง อันดับ 3 ได้แก่ งานประตูหน้าต่างและบันได อันดับ 4 ได้แก่ งานหลังคา อันดับ 5 ได้แก่ งานพื้น อันดับ 6 ได้แก่ งานผนัง อันดับ 7 ได้แก่ งานเพดานและงานทาสี อันดับ 8 ได้แก่ หมวดงานสุขาภิบาลสุขภัณฑ์ และประปา อันดับ 9 ได้แก่ หมวดงานระบบไฟฟ้า

กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์

27


การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

การเปรียบเทียบราคาค่าวัสดุและค่าแรงจาแนกตามหมวดงาน คิดเป็นสัดส่วน % ของราคางาน ก่อสร้างบ้านพักอาศัยเอกชนของแต่ละหลัง ปี 2547 - 2551 จากตารางที่ 33 พบว่าเมื่อแยกสัดส่วนของแต่ละหมวดงานออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์ เทียบกับราคา งานก่อสร้างของแต่ละหลังของบ้านพักอาศัยเอกชน ดังนี้ หมวดงานโครงสร้ างมี สัด ส่วนระหว่าง 20.40% - 37.66% โดยมีสัดส่วนลดลง 4.43% ในปี 2548 เพิ่มขึ้น 4.41% ในปี 2549, ลดลง 1.86% ในปี 2550 จากนั้นเพิ่มขึ้นสูงถึง 14.71% ในปี 2551 หมวดงานสถาปัตยกรรมได้แก่ งานพื้น อยู่ที่ 6.26% - 10.86% จากปี 2547 อยู่ที่ 10.86% ปี 2548 ลดลง 4.26% และมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น 3.04% ในปี 2549 จากนั้น ลดลงเหลือ 6.26% และ 6.61% ตามลาดับ, งานหลังคาอยู่ที่ 1.56% - 15.00% ลดลง 2.40% ในปี 2548 และมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น 0.46% ใน ปี 2549 จากนั้นเพิ่มขึ้นสูงถึง 12.98% และลดลง 5.62% ในปี 2551, งานผนัง 6.61% - 16.69% ลดลง 1.58% ในปี 2548 และมี สั ด ส่ วนเพิ่ มขึ้ น 6.41% ในปี 2549 จากนั้ น ลดลง 2.75% และ 7.13% ตามลาดับ 28

กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์


การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

งานเพดาน มีสัดส่วน 1.51% - 6.65% ลดลง 5.14% ในปี 2548 และมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น 0.9% ใน ปี 2549 จากนั้นลดลง 0.75% และเพิ่มขึ้น 4.45% ตามลาดับ, งานประตูหน้า ต่างและบันได 9.63% 16.75% มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น 5.14% ในปี 2548 จากนั้น ลดลงอย่างต่อเนื่อง 0.89% 5.9% และ 0.33% ตามลาดับ, งานทาสี 1.97% - 4.45% มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น 0.94% ในปี 2548 จากนั้น ลดลง 2.48% ในปี 2549 และเพิ่มขึ้น 2.47% ในปี 2550 สุดท้าย ในปี 2551 ลดลง 1.45% หมวดงานสุขาภิบาล สุขภัณฑ์ และประปา มีสัดส่วน 9.09% - 3.21% เพิ่มขึ้น 4.79% ในปี 2548 และลดลง 5.88% ในปี 2549, เพิ่มขึ้น 3.21% และลดลง 1.35% ตามลาดับ หมวดงานระบบไฟฟ้า มีสัดส่วน 0.88% - 3.9% มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นในปี 2548 - 2549 คือ 0.43%, 5.53% และในปี 2550 ลดลง 0.41% และลดลงในปี 2551 3.57% และสุดท้าย หมวดดาเนินการ กาไร ภาษี ฯลฯ มีสัดส่วนระหว่าง 17% - 32% โดยเริ่มจากปี 2547 อยู่ที่ 22% จากนั้นเพิ่มขึ้น 10% ในปี 2548 และลดลง 10% ในปี 2549 จากนั้น ลดลง 5% ในปี 2550 และคงที่ในปี 2551 จากข้อมูลดังกล่าว พบว่าสัดส่วนราคางานก่อสร้างแต่ละหมวดงานของบ้านพักอาศัยเอกชน มี สัดส่วนที่แตกต่างกันมากกว่าบ้านพักข้าราชการ เนื่องจากปัจจัยในเรื่องของการออกแบบ การเลือกใช้วัสดุ ก่อสร้าง รสนิยมความชอบของเจ้าของบ้าน คุณภาพของการก่อสร้าง ที่มีความแตกต่างกัน ผู้ศึกษาจึงไม่ได้ จั ด ล าดั บ สั ด ส่ วนราคางานก่ อสร้างของบ้ านพักอาศั ยเอกชนให้เกิ ด ความชั ด เจนได้ ส่ วนบ้ านพั กอาศั ย ข้าราชการระดับ 7 นั้น มีแบบบ้านที่มีลักษณะเดียวกัน แตกต่างกันที่ราคางานก่อสร้างแต่ละปี จึงสามารถ มองเห็นภาพรวมสัดส่วนราคางานก่อสร้างของแต่ละปีที่ใกล้เคียงกันได้อย่างชัดเจน การอภิปรายผล เมื่ อเปรี ย บเที ย บการจั ด ท าดั ช นี ร าคางานก่ อสร้ าง Input price index และ Output price index แปลงปีฐานเป็นช่วงเวลาเดียวกัน พบว่ าแนวโน้มของอัตราการเปลี่ยนแปลง Input price index และ Output price index ของงานก่อสร้างบ้านพักข้าราชการ ปี 2547 - 2551 มีการขยายตัวเท่ากัน ใน ทุ กช่ วงปี ซึ่ ง เมื่ อมองปั จจั ย ในเรื่ องของราคาค่ าวั ส ดุ การปรั บ ค่ าแรง หรื อ Input price index มี การ เปลี่ยนแปลงทิศทางใกล้เคียงกับดัชนี GDP รวม, ดัชนี GDP สาขาการก่อสร้าง, ดัชนีราคางานก่อสร้ าง และดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง หมวดผลิตภัณฑ์ไม้ ซึ่งเมื่อพิจารณาในรายละเอียดของวัสดุ ที่ใช้ในการก่อสร้ าง บ้านพักอาศัยข้าราชการนั้น งานไม้ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญในการก่ อสร้าง ผู้ศึกษาจึงใช้ดัชนีราคาวัสดุ ก่อสร้างหมวดผลิตภัณฑ์ไม้ เข้ามาพิจารณาร่วมกับดัชนีหลักทางเศรษฐกิจควบคู่ไปด้วย เมื่อพิจารณาจากข้อมูลดังกล่าว แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงราคาวัสดุรวมและค่าแรงเป็นไปตาม กลไกดัชนีทางเศรษฐกิจในภาพรวม ส่วนค่าดาเนินการ กาไร ภาษี ฯลฯ ในภาครัฐหรือค่า Factor F นั้นคือ องค์ประกอบในการพิจารณารวมกับ ค่าวัสดุและค่าแรง หรือ Output price index ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง เล็กน้อยมากหรือแทบจะคงที่ ดังนั้นตัวแปรในส่วนของค่าดาเนินการ กาไร ภาษี ฯลฯ ในภาครัฐ แทบจะ ไม่มีผลต่อแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงราคางานก่อสร้างบ้านพักอาศัยข้าราชการ ส่วนราคาค่าวัสดุและค่าแรง นั้นถือเป็นปัจจัยหลักสาคัญต่อทิศทางการเปลี่ยนแปลงราคางานก่อสร้างของภาครัฐอย่างเห็นได้ชัดเจน ส่วนแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง Input price index และ Output price index ของงานก่อสร้าง บ้านพักเอกชนปี 2547 - 2551 อัตราการเพิ่มขึ้นของทั้ง 2 ดัชนี แนวโน้มในลักษณะขึ้นลงผันผวนโดยในปี 2548 Input price index เพิ่มขึ้นจากปี 2547 36% เกือบเท่ากับปี 2547 ในขณะที่ ในปี 2548 Output price index เพิ่มขึ้นจากปี 2547 ถึง 48% ซึ่งแสดงให้เห็นว่า บริษัทที่รับเหมาก่อสร้าง ปี 2548 ได้มีการ บวกค่าดาเนินการกาไร ภาษี ฯลฯ มากกว่าปีอื่น ๆ โดยคิดค่าดาเนินการ กาไร ภาษี ในปี 2548 ถึง 25% ในขณะที่บริษัทที่รับเหมาก่อสร้างปี 2547 และ 2549 คิดค่าดาเนินการ กาไร ภาษี เพียง 15% ทาให้เกิด ช่องว่างของแนวโน้มดัชนีการเปลี่ยนแปลงราคางานก่อสร้างได้ชัดเจน ซึ่งเมื่อพิจารณาดัชนีราคาผู้บ ริโภค ในประเทศของปี 2548 ก็มีอัตราการเพิ่มขึ้นสูงถึง 67% แสดงให้เห็นว่ามาตรฐานในการคิดค่าดาเนิ นการ กาไร ภาษี ฯลฯ นอกจากประสบการณ์ และผลงานที่ผ่านมา ต้นทุนบริษัท ฯลฯ ยังมีปัจจัยในเรื่องของ ดัชนีราคาผู้บริโภคในประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง ตลอดจนภาพรวมที่ดีของเศรษฐกิจในปี 2548 กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์

29


การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

ต่อมาในปี 2549 ซึ่งเป็นปีที่เกิดปัญหาทั้งด้านเศรษฐกิจโลก ปัญหาการเมืองภายในประเทศ ทา ให้ Output price index ในปี 2549 ลดลงถึ ง 47% เป็ นข้ อสั ง เกตที่ แสดงให้เ ห็นว่ าผู้ ประกอบการไม่ สามารถบวกค่าดาเนินการ กาไร ภาษี ฯลฯ ได้ มากนัก ดังนั้นเพื่อความอยู่รอดของบริษัท จึงจาเป็นต้อง เสนอราคาลดค่าใช้จ่ายบางส่วนเพื่อให้อยู่ในงบประมาณของลูกค้าเป็นสาคัญ นอกจากนั้น ดัชนีราคาเหล็ก ก็ลดลง 4% ในปี 2549 เช่นกัน ยิ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการลดค่าวัสดุในหมวดโครงสร้างได้ด้วย จากนั้ น Input price index และ Output price index ในปี 2550 - 2551 มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องมีแนวโน้ม ใกล้เคียงกับดัชนี GDP รวม, ดัชนี GDP สาขาการก่อสร้างและดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง จากข้อมูลดังกล่าว สามารถมองภาพรวมแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงดัชนีทางเศรษฐกิจ ที่มีความสัมพันธ์กับดัชนีบ้านพักอาศัย เอกชน จากข้อมูลดังกล่าว พบว่าเมื่อคิดราคาก่อสร้างแปลงเป็นดัชนี Output price index ราคางาน ก่อสร้างในปี 2549 ดัชนีเพิ่มขึ้นจาก Input price index ในปีเดียวกัน คิดเป็น 12% ซึ่งปัจจัยที่ทาให้ดัชนี ของปี 2549 เปลี่ยนแปลงนั้น เกิดจากการบวกค่าด าเนิ นการ กาไร ภาษี ฯลฯ ของผู้รับเหมาคิดเป็ นที่ 25% ซึ่งสูงขึ้นทุกบริษัท ทาให้ค่าดัชนีในปี 2549 สูงกว่าปีอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด การแยกประเภทท า Input price index และ Output price index ท าให้ เ ห็ นแนวโน้ มดัชนี ราคางานก่อสร้างได้ชัดเจนขึ้น เพราะในการจัดทาดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง เป็นการแสดงการเปลี่ยนแปลง ราคาวัสดุก่อสร้างในภาพรวม ในขณะที่การจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเป็นการจัดทาดัชนีโดยมีการรวม หมวดงานต่าง ๆ รวมทั้งค่าวัสดุ ค่าแรง และค่าดาเนินการ กาไร ภาษี ฯลฯ ทาให้ทราบถึงความสาคัญของ วัสดุแต่ละประเภท รวมทั้งหมวดงานต่าง ๆ ว่ามีผลต่อราคาของงานก่อสร้างอย่างไร เพื่อใช้ในการวางแผน งานก่อสร้างและประมาณราคาของงานก่อสร้างในช่วงเวลาต่าง ๆ และใช้ในการศึกษาราคาของต้นทุนที่ใช้ ในการก่อสร้างกับการเสนอราคาของงานก่อสร้างรวม ทั้งสามารถนาไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาแบบ ปรับราคาได้ สาหรับงานก่อสร้างอาคารที่พักอาศัย โดยใช้ดัชนีราคางานก่อสร้าง ประเภท Input price index ในการจัดทาเพราะมีการกาหนดสัด ส่วนและประเภทของวั สดุจากงานก่ อสร้างจริง ทาให้ในการ ประมาณการเปลี่ ย นแปลงราคาของงานก่ อสร้ าง เนื่องจากการเปลี่ย นแปลงราคาของวั สดุ แ ละค่ า จ้ าง แรงงาน ทาให้สามารถประมาณการเปลี่ ยนแปลงราคาของงานก่ อสร้ างได้ ใ กล้เคีย งกว่ าดั ชนีร าคาวั ส ดุ ก่อสร้างเพียงอย่างเดียว ในส่วนของการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างประเภท Output price index ที่ทาการจัดท าดั ชนี ราคางานก่อสร้างโดยการกาหนดองค์ประกอบของดัชนีจากงานต่าง ๆ ในงานก่อสร้างซึ่งสามารถนาการ เปลี่ยนแปลงราคาค่าก่อสร้างของหมวดงานต่าง ๆ ไปใช้ในการประมาณราคาของงานก่ อสร้าง ที่มีการ รวบรวมค่ าด าเนิ นการและกาไรของการก่ อสร้างเพื่อใช้ ใ นการวางแผนการก่ อสร้ าง รวมทั้ ง ใช้ ใ นการ ประมาณราคาของงานก่อสร้างในช่วงเวลาต่าง ๆ รวมทั้งนาลักษณะการแบ่งหมวดงานนี้ มาทาการศึ กษา เพิ่มเติมในการกาหนดรายละเอียดของหมวดงานประเภทต่ าง ๆ ว่าควรประกอบด้ วยวั สดุ ประเภทใด รวมทั้งค่าใช้จ่ายในส่วนอื่น ๆ โดยเมื่อมีการแบ่งประเภทของหมวดงานได้ชัดเจน สามารถนามาใช้ในการ พัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างแบบ Schedule of price ที่นาเอาหมวดงานแต่ละประเภทมาใช้ ในการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้ างของงานก่ อสร้างประเภทต่าง ๆ ได้หลายประเภท เพราะนาเอาการ เปลี่ยนแปลงราคาของหมวดงานต่าง ๆ มาใช้ในการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างทาให้ง่ายต่อการจัดทา ข้อเสนอแนะ 3.1 ในการจัดทาแนวทางการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้าง กรณีศึกษานี้ได้จัดทาเฉพาะบ้านพัก อาศัยข้าราชการระดับ 7 พื้นที่ใช้สอย 150 ตารางเมตร และบ้านพักอาศัย เอกชน พื้นที่ใช้สอย 272 - 431 ตารางเมตรปี 2547 - 2551 ในเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ มณฑลเท่ านั้ น ในการจั ด ท าดั ช นี ที่ดีควร ครอบคลุมทั่ วทั้ งประเทศไทย ในขั้นตอนแรกอาจท าการแบ่ง พื้ นที่ ออกเป็ นภาค แต่ทาการจัด ท าดั ช นี ภายในภาคนั้น ๆ จากนั้นจึงทาการกาหนดน้าหนักถ่วงรวมของภาคต่าง ๆ โดยใช้ข้อมูลค่าของงานก่อสร้ าง ในการจัดทา ซึ่งเมื่อทาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างรวมทั้งประเทศ จะทาให้สามารถทราบลักษณะ 30

กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์


การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างเพื่อใช้งานสาหรับโครงการบ้านพักอาศัย

รู ป แบบการก่ อสร้ างอาคารที่ พั ก อาศั ย ได้ ชั ด เจนกว่ า การจั ด ท าเฉพาะในเขตกรุ ง เทพมหานคร และ ปริมณฑล 3.2 ควรมีการศึกษาการจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้างประเภทอื่น ๆ เช่น คอนโดมิเนียม หรือทาว เฮ้ าส์ ซึ่ง เป็ นประเภทของอสั ง หาริ มทรั พ ย์ ที่ มีค วามต้ องการซื้ อในปั จจุ บั นมากเป็ น อั นดั บ 2 และ 3 รองลงมาจากบ้านเดี่ยว รวมทั้งสามารถเลือกใช้วิธีการจัดทาดัชนีประเภท อื่น ๆ ในการจัดทาดัชนี เช่น ใน การจั ด ท าดั ช นี ร าคางานก่ อสร้ าง ควรใช้ การจั ด ท าดั ช นี Output index โดยใช้ วิธีการจั ด ท าดั ชนีแบบ Schedule of price ในการจัดทาดัชนี

กฤษณพงษ์ ถนอมสิงห์

31



3



การศึกษาการนาเสนอขั้นตอนการก่อสร้างอาคารพักอาศัยโดยใช้เทคโนโลยีสื่อผสม

การศึกษาการนาเสนอขัน้ ตอนการก่อสร้างอาคารพักอาศัย โดยใช้เทคโนโลยีสื่อผสม บทคัดย่อ กานต์ สงวนแก้ว คาสาคัญ: ขั้นตอนการก่อสร้าง/ เทคโนโลยีสื่อผสม อาจารย์ที่ปรึกษา: รองศาสตราจารย์ฐิติพัฒน์ ประทานทรัพย์

การศึกษาค้ นคว้ าครั้ งนี้ เป็นการศึกษาการนาเสนอขั้ นตอนการก่ อสร้างอาคารพั กอาศั ย ด้ วย เทคโนโลยีสื่อผสม เพื่อศึกษาและจัดทาเอกสารระบุขั้นตอนการก่อสร้างอาคารพักอาศัยที่บุคคลธรรมดา ทั่วไปสามารถเข้าใจได้ โดยทาการคัดเลือกเอาเทคโนโลยีสื่อผสม ที่เหมาะสมในปัจจุบันมาประยุกต์ใช้ และ ทาการสารวจความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย จากการทดลองใช้สื่อผสมที่จัดทาขึ้น ผลการศึกษาพบว่า 1. สามารถจัดทาสื่อผสมนาเสนอขั้นตอนการก่อสร้างได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 2. ความพึงพอใจจากการทดลองใช้สื่อผสมของผู้บริโภคจากกลุ่มตัวอย่าง ถือว่าอยู่ในเกณฑ์สูง อย่างไรก็ตามการนาไปใช้งานจริงก็ยังมีข้อจากัดที่เกิดจากปัจจัยหลักซึ่งก็คือค่าใช้จ่ายในการจัดทาสื่ อผสม ที่มีราคาสูงนั่นเอง 3. ทางออกในการพัฒนาสื่อผสมเพื่อผู้บริโภคเบื้องต้นก็คือการจัดให้องค์กรที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ ออก ทุนและบุคลากรในการจัดทาขึ้นมา ซึ่งได้แก่สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, วิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และสุดท้ายสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทยในพระบรมราชูปถัมภ์

กานต์ สงวนแก้ว

35


การศึกษาการนาเสนอขั้นตอนการก่อสร้างอาคารพักอาศัยโดยใช้เทคโนโลยีสื่อผสม

THE STUDY OF RESIDENTIAL CONSTRUCTION METHOD PRESENTATION WITH MULTIMEDIA TECHNOLOGY ABSTRACT KARN SANGUANKEO KEYWORD: CONSTRUCTION METHOD/ MULTIMEDIA TECHNOLOGY ADVISOR: ASSOCIATE PROFESSOR THITIPHAT PRATARNSUP

The purpose of this study is to construct a construction method of a house with multimedia technology which normal people can comprehend. This study will search for the practical present technology to create the multimedia and allow the target group to test the multimedia. The results of the study were: 1. It is possible to use current technology to create multimedia that provides construction method information. 2. The multimedia is accepted by the target group. The production cost of the Multimedia is the key factor that the target group concern. 3. There are three organizations that are able to subsidize the production cost of the multimedia which are Architect association, Engineering association and Construction industrial organization of Thailand.

36

กานต์ สงวนแก้ว


การศึกษาการนาเสนอขั้นตอนการก่อสร้างอาคารพักอาศัยโดยใช้เทคโนโลยีสื่อผสม

สรุปผลอภิปราย สรุปผลการศึกษา การศึ กษาค้ นคว้ าครั้ ง นี้ เป็ นการศึกษาการนาเสนอขั้ นตอนการก่ อสร้างอาคารพั กอาศัยด้วย เทคโนโลยีสื่อผสม มีจุดประสงค์ในการศึกษา คือ 1. เพื่อศึกษาและจัดทาสื่อผสม (Multimedia) ที่ให้ข้อมูลและแสดงขั้นตอนการก่อสร้างอาคาร พักอาศัยที่บุคคลธรรมดาทั่วไปสามารถเข้าใจได้ และนาไปใช้ในการติดต่อประสานงานในช่วงดาเนินการ ก่อสร้าง โดยพิจารณาจากความเป็นไปได้ที่ผู้ศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ 2. เพื่อเป็นแนวทางในการนาเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยในการบริหารโครงการก่อสร้างขนาด เล็ก ผู้ศึกษาได้กาหนดกลุ่ มเป้ าหมายที่ชัดเจนประกอบการวิเคราะห์ข้ อมู ล ได้แก่ บุคคลธรรมดา เนื่องจากกระบวนการก่อสร้างมีกลุ่มคนที่เข้ามาเกี่ยวข้องหลายกลุ่ม และแต่ละกลุ่มก็ประกอบด้วยความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการก่อสร้างแตกต่างกันไป การระบุกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน จะสามารถช่วยกาหนด ขอบเขตของการศึกษาให้แคบลง ช่วยให้สามารถทาการศึกษาได้อย่างถูกต้องแม่นยา จากวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายที่ได้วางไว้จึงได้กาหนดสมมติฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1) สามารถจัดทาสื่อผสม ที่รวบรวมเอาข้อมูลสาคัญของขั้นตอนการก่อสร้างของอาคารพักอาศัย คอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาด 2 ชั้นในกรอบที่วางไว้ได้ครบถ้วน 2) สื่ อผสมที่ จัด ท าขึ้ น ควรจะได้ ค ะแนนความพึ ง พอใจในฐานะเครื่องมื อบริห ารจั ด การการ ก่อสร้างบ้านเกินกว่ากึ่งหนึ่ง จากบุคคลทั่วไปที่ได้ทดลองใช้และกรอกแบบสอบถาม จากสมมติฐานดังกล่าว ผู้ศึกษาได้ดาเนินขั้นตอนการศึ กษาที่กาหนดไว้ ส ามารถสรุปข้ อ มู ล ได้ ดังต่อไปนี้ 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการก่อสร้าง โดยท าการเก็ บรวบรวมข้อมู ล เรื่ องเทคนิ ค การก่ อสร้าง (Construction Technique) อั ต รา ผลผลิ ต การก่ อ สร้ า ง (Construction Productivity) และวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ก ารก่ อ สร้ า ง (Construction Material) ทั้งจากตาราวิชาการ และการสัมภาษณ์ช่างก่อสร้างท้องถิ่น เปรียบเทียบขั้นตอนการก่อสร้ างที่ ร่างขึ้นมากับการทางานจริง เพื่อที่จะเปรียบเทียบขั้นตอนการก่อสร้างที่ ได้ร่างขึ้นมาจากตาราและเอกสาร วิชาการเข้ากับการทางานจริงในปัจจุบัน ได้ข้อสรุปออกมาดังนี้ 1.1.1 เอกสารข้อมูลในปัจจุบัน เพียงพอต่อการจัดทาเรียบเรียงเป็นขั้นตอนการก่อสร้างโดยได้ นาเสนอการเรียบเรียงขั้นตอนการสร้างไว้ใน ภาคผนวก ค 1.1.2. เอกสารข้อมูลภาษาไทยในปัจจุบัน ยังไม่ได้ถูกรวบรวมเข้าเป็นขั้นตอนการก่อสร้างอย่ าง ครบถ้วนตามหลักวิชาการ โดยได้นาเสนอรายการค้นหาไว้ ในภาค ผนวก ก 1.2 ทางเลือกในการนาสื่อผสมมาใช้เพิ่มความสามารถในการจัดทาขั้นตอนการก่อสร้าง จากการศึกษาก็สามารถยืนยันถึงศักยภาพของซอฟต์แวร์ที่วงการธุรกิจก่อสร้างและบุคลากรที่มี ความพร้อมในการพัฒนาจัดทาขั้นตอนการก่อสร้างด้วยสื่อผสม ได้ข้อสรุปออกมาดังนี้ 1.2.1 การใช้คอมพิวเตอร์และซอฟท์แวร์ที่เหมาะสมสามารถจัดทาสื่อผสมได้ครบถ้วน 1.2.2 สามารถใช้ซอฟต์แวร์บางชนิดสร้างสื่อผสม ที่สร้างภาพของขั้นตอนการก่อสร้างในรูปแบบ อื่น นอกจากการสร้างหุ่นจาลองสามมิติในคอมพิวเตอร์ 1.3 ความเหมาะสมของโครงการนาร่อง จากการศึกษาทดลองจัดทาโครงการนาร่องขึ้นมา ได้ข้อสรุปออกมาดังนี้ 1.3.1 จาเป็นต้องมีการตัดทอนความซับซ้อนลง เนื่องจากการรูปแบบที่ซับซ้อนเกิน ไปส่งผลต่อ การรับชมสื่อผสม ทั้งในส่วนของหุ่นจาลองสามมิติและการเรียบเรียงคาบรรยาย 1.4 ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ที่ใช้ภายในโครงการนาร่อง กานต์ สงวนแก้ว

37


การศึกษาการนาเสนอขั้นตอนการก่อสร้างอาคารพักอาศัยโดยใช้เทคโนโลยีสื่อผสม

จากการเก็บรวบรวมข้อมูลคัดเลือกและการทดลองใช้งาน จากตารางที่ 7 ได้ข้อสรุป ออกมาดังนี้ 1.4.1 มีปริมาณ ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์ ให้ สามารถเลือกใช้จัดทาสื่อผสมได้อย่างกว้างขวาง โดยอาศัยรายชื่อซอฟต์แวร์ จากสถาบัน NETDESIGN 1.4.2 ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานในธุรกิจก่อสร้างปัจจุบันมีศักยภาพที่จะจัดทาสื่อผสมได้ 1.4.3 ราคาซอฟต์แวร์ทั้งหมดที่ใช้ในการจัดทาสื่อผสมมีราคาสูง และจะเป็นปัจจัยสาคัญในการ จัดทาขึ้น 1.4.4 สามารถประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานในธุรกิจอื่นเพื่อใช้ในการจัดทาขั้นตอนการก่อสร้ าง ได้ 1.5 การแสดงผลการนาเสนอขั้นตอนการก่อสร้างอาคารพักอาศัยด้วยสื่อผสม โดยการทาแบบสารวจความพึงพอใจในการรับชมขั้นตอนการก่อสร้างที่จัดทาขึ้นมา จากตารางที่ 7 ได้ข้อสรุปออกมาดังนี้ 1.5.1 เกินกว่า 50% ของผู้กรอกแบบสารวจมีความพึงพอใจต่อสื่อผสมที่จัดทาขึ้น 15.2 ข้อมูลจากแบบสารวจแสดงให้เห็นแนวโน้มที่ผู้บริโภคสนใจที่จะเสียค่าใช้จ่าย เพื่อจัดทา สื่อผสมเพื่อบ้านเขาเอง 1.5.3 ข้อมูลจากแบบสารวจแสดงให้เห็นว่ามากกว่า 50% ผู้บริโภคลดความสนใจในการจัดทา สื่อผสมหากมีค่าใช้จ่ายเกิน 10,000 บาท การอภิปรายผลการศึกษา การดาเนินการจัดทาขั้นตอนการก่ อสร้างด้ วยสื่ อผสมครั้ งนี้ยั งไม่ ได้จัด ทาขั้ นตอนให้ครบถ้ วน สมบูรณ์แบบทั้งหมด และยังไม่ได้จัดทาให้ซับซ้อนลงไปในทุกขั้นตอน แต่ด้วยขั้นตอนการศึกษาที่ได้จัด ทา ไว้ช่วยแสดงให้เห็นถึงประโยชน์มากมายอันพึงจะเกิดขึ้นหากมีการพัฒนาการจัดทาขั้นตอนการก่อสร้าง ด้วยสื่อผสมเข้ าเป็ นส่ วนหนึ่ง ของกระบวนการออกแบบก่ อสร้ าง เป็นการรวบรวมเทคนิค การก่ อสร้ าง (Construction Technique) อัตราผลผลิตการก่อสร้าง (Construction Productivity) และวัสดุอุปกรณ์ การก่ อสร้ าง (Construction Material) เข้ าด้ วยกั น และกลั่ นกรองตั ด ทอนออกให้ ชั ด เจนเพื่ อใช้ เ ป็ น เครื่องมือในการสื่อสารกับเจ้าของ ซึ่งเปรียบเทียบเสมือนการเปิดประตูยอมรับเอาผู้ว่าจ้างเข้ามาเป็ นส่ วน หนึ่งของกระบวนการก่อสร้างอย่างแท้จริง เป็นการเริ่มความสัมพันธ์แบบผู้ร่วมธุรกิจ (Partnering) ที่ผู้ว่า จ้างและผู้รับจ้างต่างแบ่งเป็นข้อมูลต่อกัน และมีความเป็นไปได้ที่บริษัทก่อสร้างอาคารพักอาศั ยต่าง ๆ จะ เริ่ มต้ นจั ด ท าขั้ นตอนการก่ อสร้ างเพื่ อ ผลทางการตลาด ท าให้ ผู้ บ ริ โ ภคได้ รั บ ประโยชน์ ซึ่ ง นั บ เป็ น กระบวนการที่สนับสนุนให้ธุรกิจการก่อสร้างเติบโตอย่างโปร่งใสยั่งยืน ข้อเสนอแนะ จากข้อสรุปที่ได้มีข้อแนะนาแบ่งออกเป็นสองส่วนก็คือรูปแบบสื่อผสมในอนาคตและผู้เกี่ ย วข้ อง ที่เหมาะสมในการจัดทา 3.1 องค์กรที่มีศักยภาพในการจัดทาสื่อผสมขั้นตอนการก่อสร้าง เพื่อที่จะลดข้อจากัด เรื่องเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการจัดทาสื่อผสมในโอกาสต่อไป เล็งเห็นว่ามีความเป็นไปได้ที่จะขอความร่ วมมือ จากองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ และอุตสาหกรรมก่อสร้างเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทาสื่อผสม ที่ นาเสนอขั้นตอนการก่อสร้างออกมาเพื่อ ประโยชน์ต่อสังคมซึ่งประกอบด้วย 1. สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เ พื่ อให้ ความรู้ คาปรึกษาทางวิ ชาชีพ วิชาการ และสิทธิประโยชน์ แก่สมาชิกและสังคม ส่งเสริมสนับสนุน และ เผยแพร่ การศึกษา ค้นคว้า การวิจัยและพัฒนา เพื่อความก้าวหน้าในการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม และทันกับการเปลี่ ยนแปลงตามยุค สมั ย ให้ความร่วมมื อกับ หน่ วยงานของรั ฐ องค์กรและสถาบัน ทั้ง ภายในประเทศและภายนอกประเทศ เพื่อพัฒนาและเผยแพร่อุดมการณ์ บทบาท และหน้าที่ของสถาปนิก ให้วิชาชีพสถาปัตยกรรม เป็นที่เชื่อถือศรัทธาของประชาชน ซึ่งจะเป็นผู้ให้ข้อมูลวัสดุอุปกรณ์ รูปแบบเชิง ความงามสาหรับโครงการนาร่อง 38

กานต์ สงวนแก้ว


การศึกษาการนาเสนอขั้นตอนการก่อสร้างอาคารพักอาศัยโดยใช้เทคโนโลยีสื่อผสม

2. วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทยในพระบรมราชูปถั มภ์ ซึ่งเป็นองค์ กรที่ มีค วาม เชี่ยวชาญเรื่องเทคนิคการก่อสร้างโดยตรง ซึ่งจะเป็นผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับขั้นตอนการดาเนินการ ก่อสร้างที่ถูกต้องตามหลักวิชาการสาหรับโครงการนาร่อง 3. สมาคมอุ ต สาหกรรมก่ อสร้ างไทยในพระบรมราชู ป ถั มภ์ โดยจะเป็ นผู้ ใ ห้ ข้ อมูล ขั้นตอนการดาเนินการก่อสร้างในปัจจุบัน ทั้งเรื่องของเวลา ความสามารถในการดาเนินการขึ้นต่าง ๆ รวม ไปถึงเรื่องค่าใช้จ่ายในการดาเนินการขั้นตอนต่าง ๆ 4. องค์กรรัฐหรือเอกชนอื่นที่มีความรู้ความสามารถในการจัดทาสื่อผสม เพราะส่วน ของการจัดทาสื่ อผสมนั้ น อาจจะไม่จาเป็ นต้องใช้บุคลากรของทั้ง สามองค์ กรที่ กล่ าวมาเป็ นผู้ จัด ท าแต่ สามารถจัดจ้างให้องค์กรเอกชนเป็นผู้รับผิดชอบ 3.2 ข้อมูลที่สามารถเพิ่มเติมลงไปในสื่อผสม นอกจากอาศัยความร่วมมือจากองค์กรดังที่กล่ าวมา ข้ างต้ นแล้ ว ยั ง เปิ ด โอกาสให้ส ามารถเพิ่ มเติมข้ อมู ล ที่จะช่วยให้ สื่ อผสมที่ จะจั ด ทาขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ยิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งได้แก่ 3.2.1 การเพิ่มเติมภาพถ่ ายจริ งของการก่ อสร้ าง แม้ว่าภาพสามมิติที่ จาลองขึ้ นจะ สมจริงอย่างไร การที่สามารถเพิ่มเติมภาพถ่ายจริงของการก่อสร้างเข้าไป ย่อมช่วยให้เกิดความเข้าใจมาก ยิ่งขึ้นไปอีก 3.2.2 การนาเอาสื่อผสมที่จัดขึ้นมาสามารถเข้าถึงได้ด้วยระบบอินเตอร์เน็ต สื่อผสมที่ จัดทาขึ้นมานี้สามารถรับชมผ่านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลผ่านเครื่องเล่น CD อย่างไรก็ตาม ก็สามารถพัฒนา ดัดแปลงให้อยู่ในรูปแบบของเว็บไซต์เพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงได้นั่นเอง

กานต์ สงวนแก้ว

39



การประเมินผลการดาเนินการโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดินของกลุ่ม ร่วมค้าและกิจการร่วมค้าในโครงการก่อสร้างของบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน)

การประเมินผลการดาเนินการโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดินของกลุ่ม ร่วมค้าและกิจการร่วมค้าในโครงการก่อสร้าง ของบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) บทคัดย่อ บุญเสริม คุณดิลกกาญจน์ คาสาคัญ: กลุ่มร่วมค้า/ กิจการร่วมค้า/ บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปณิตา วงศ์มหาดเล็ก

การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่ อศึกษา การประเมินผลการดาเนินการโครงการย้ายสายเคเบิล อากาศลงใต้ดินของกลุ่มร่วมค้า และกิจการร่วมค้า ซึ่งเป็นกิจการนิติบุคคลที่ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ค้าใน ประเภทงานท่อร้ อยสายโทรศัพ ท์ และงานสร้างข่ ายสายท้ องถิ่ น ในลาดับชั้นที่ 1 ตามข้อกาหนดทาง เทคนิคที่ บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ระบุไว้ใน TOR (Terms Of Reference) ในการเสนอราคาที่ได้รับ การคัดเลือกให้เป็นผู้รับ จ้าง จากการจัดหาของบริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) สัญญาการจัดจ้ างงานที่ รวมถึงการออกแบบควบคู่การก่อสร้าง (Design & Build Project) ที่มีผลต่อความสาเร็จหรือล้มเหลวใน การดาเนินโครงการย้ายเคเบิลอากาศลงท่อร้อยสายโทรศัพท์ใต้ดิน ของกลุ่มนิติบุคคลทั้งสองประเภท การเพิ่มคุณสมบัติข องผู้ ค้า เงื่อนไขและข้อกาหนดทั่ วไปของผู้รับ จ้ างในการจ้ างเหมางานที่ มี เทคนิคเฉพาะด้านการก่อสร้างท่อร้อยสายโทรศัพท์ใต้ดิน และข่ายสายโทรศัพท์ท้องถิ่น (Local Cable Network) ให้ มีฐ านะเป็ น ผู้ ร่ ว มค้ า (Joint Venture/ Consortium) เป็ นพั นธมิ ต รกั นจึ ง เป็ น วิ ธี ห นึ่ ง ที่ สามารถผสมผสานทรัพยากรและความร่วมมือในการพัฒนาความชานาญหลักของกลุ่มผู้ร่วมค้าต่อไป โดยที่ ผู้ ศึ ก ษาเป็ น คณะกรรมการตรวจการจ้ า งและผู้ ค วบคุ ม งาน (Inspector) ในเขต กรุงเทพมหานครและในเขตปริมณฑล ของบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ศึกษาการประเมินผลการด าเนิน โครงการที่กลุ่มร่วมค้ า (Consortium) และกิจการร่วมค้ า (Joint Venture) ดาเนินการระหว่ างปี พ.ศ. 2548 ถึง ปี พ.ศ.2550 จากข้อมูลที่มีการจัดหาทั้งหมด 81 สัญญา ผลการศึกษาได้เลือกเฉพาะโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดินของกลุ่มร่วมค้า และกิจการ ร่วมค้า จานวน 42 สัญญา ซึ่งจะชี้ให้เห็นความแตกต่ างของทั้ง สองนิติบุคคล ทั้งด้านการประสานงาน ระยะเวลาการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ ด้านคุณภาพในการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างที่ประสบความสาเร็จหรือไม่ เป็นไปตามข้อกาหนดเงื่อนไขของสัญญา และการรับประกันการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ด้านราคาค่างาน ก่อสร้างที่มีการแก้ไขและเปลี่ยนแปลงที่จะเป็นปัญหาอุปสรรคต่อสัญญาจ้างมาประเมินผลการดาเนิ นการ ของโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดินในการจัดหาผู้รับจ้างของ บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ใน อนาคต

บุญเสริม คุณดิลกกาญจน์

41


การประเมินผลการดาเนินการโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดินของกลุ่ม ร่วมค้าและกิจการร่วมค้าในโครงการก่อสร้างของบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน)

THE EVALUATION OF THE CABLE REMOVAL FROM AERIAL TO UNDERGROUND PROJECT OF THE CONSORTIUM AND JOINT VENTURE IN THE CONSTRUCTION PROJECT OF TOT ABSTRACT BOONSERM KUNNADIROKKAN KEYWORD: CONSORTIUM/ JOINT VENTURE/ TOT PUBLIC COMPANY LIMITED ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PANITA WONGMAHADLEK

This research has an objective to study the evaluation of the result of the project to relocate the air cable into the underground cable line by the consortium and joint venture groups, which are carried out by juristic persons that have been registered under the telecommunication networking and local networking category, and have been chosen as the first contractor under a technical regulation specified by TOT Public Corporation Limited in its Terms of Reference (TOR) in the bidding. The hire of service agreement includes the Design and Build Project, which may affect in the success or failure of both of the aforementioned group of juristic persons’ execution of the project of relocating the air cable into the underground network. The upgrade of the traders’ properties, condition, and general regulation of hire of service contractors with specific technique in constructing underground and local cable network to the status of Joint Venture/ Consortium is one of the ways to combine the resource and cooperation in improving the main expertise of the joint venture in the future. The researcher is the project’s supervisor and inspector for Bangkok and its metropolitan area, working for TOT Public Corporation Limited, the researcher’s scope of work is to study and evaluate the execution of the project that the consortium and the joint venture has carried out from 2005 to 2007 altogether 81 contracts, according to the project information. The result of the study, in which specifically chosen project of relocating the cable into the underground by the consortiums and joint ventures altogether 48 contracts, which will pinpoint the different between the two juristic persons in coordination, time taken for construction, the quality of the operation of the contractors which are success or not success according to the contract condition, contractor’s operation assurance, construction expenses and its amendment, which may become a problem or obstacle to the contract, will be put into consideration in seeking a contractor for the air cable relocation project in the future.

42

บุญเสริม คุณดิลกกาญจน์


การประเมินผลการดาเนินการโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดินของกลุ่ม ร่วมค้าและกิจการร่วมค้าในโครงการก่อสร้างของบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน)

สรุปผลอภิปราย การบริหารโครงการ ไม่ว่าจะเป็นโครงการของรัฐวิสาหกิจหรือเอกชนก็ตาม จะต้องมีการกาหนด วัตถุประสงค์และเป้าหมายไว้ เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นภายหลัง เมื่อวางแผนโครงการและมีการ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ตลอดจนการออกแบบโครงการเป็นอย่างดีแล้ว ผู้ที่มีอานาจจะทา การคัดเลือกโครงการ และอนุมัติดาเนินการโครงการต่อไป ถ้าการวางแผนโครงการดีเท่ากับงานสาเร็จไป แล้วระดับหนึ่ง แต่ในความเป็นจริงแล้ว การวางแผนโครงการที่ดีจะเป็นปัจจัยที่ช่วยเพิ่มโอกาสสาเร็ จของ โครงการ แต่ก็มิใช่เป็นหลักประกันความสาเร็จของนโยบายโครงการเสียทั้งหมด เพราะความสาเร็จ หรือ ความล้มเหลวของโครงการต่าง ๆ จะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ อีกมาก วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการประเมิ น ผลโครงการย้ ายสายเคเบิ ล อากาศลงใต้ ดิ นของกลุ่ มร่ ว มค้ า (Consortium) และกิจการร่วมค้า (Joint Venture) ในโครงการก่อสร้างบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ใน ครั้ ง นี้ เ ปรี ย บเที ย บผลการด าเนิ นการขององค์ กรที่ มีโ ครงสร้ างที่ แตกต่ างกั น เนื่ องจากผู้ ศึ กษาเห็ นว่ า โครงสร้างและการรวมตัวของกลุ่ มผู้รับจ้ าง เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทาให้โครงการประสบความสาเร็ จหรื อ ล้มเหลว ซึ่งผลการสารวจและประเมิ นเป็ นสิ่ง บ่ งชี้ ว่า สิ่งสนับสนุ นข้ อสังเกตดัง กล่ าว และนอกจากนั้ นผู้ ศึกษายังพบว่าผลสัมฤทธิ์ของโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดิน ยังมีปัจจัยที่สาคัญอื่น ๆ อีกได้แก่ ปัญหาการจัดจ้าง จากการวิเคราะห์พบว่า นอกจากโครงสร้างภายในของกลุ่มร่วมค้าจะเป็นปัญหาแล้ว การจัดจ้าง แบบเบ็ดเสร็จ (Turn Key) ในรูปแบบของการออกแบบควบคู่การก่อสร้าง (Design & Build) ของบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ก็เป็นปัญหาเนื่องจากยังเป็นรัฐวิสาหกิจ จากระเบียบพัสดุที่กาหนดคุณสมบัติข องผู้ เสนอราคาที่เปิดช่องให้มีการรวมตัวได้โดยที่ไม่กาหนดสัดส่วนของผู้ดาเนินการหลักให้ชัดเจนว่าต้ องถื อ สัดส่วนงานที่จะดาเนินการมากเท่าใด ในระหว่างเนื้องานทั้งหมดของกลุ่มผู้ร่วมค้า สรุปผลการศึกษา การศึกษานี้เป็นเพียงแนวทางในการคัดเลือกผู้รับจ้างที่จะนามาใช้ในโครงการก่อสร้างของบริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ในการพิจารณาเลือกกลุ่มนิติบุคคลที่เป็นกลุ่มร่วมค้า (Consortium) และกิจการ ร่วมค้า (Joint Venture) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อุปสรรคและข้อเสนอแนะ 1. การประเมิ นผู้ รั บ จ้ างในรู ป แบบกลุ่ มร่ วมค้ า (Consortium) และกิ จการร่ วมค้ า (Joint Venture) ในโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดิน ควรมีการติดตามผลการปฏิบัติงานโดยมีการแบ่ งเป็น ช่วงก่อนดาเนินการ ซึ่งเป็นช่วงที่ผู้รับจ้างจะต้องดาเนินการสารวจและออกแบบการก่อสร้า ง จะทาให้การ วิเคราะห์การวางแผนในเรื่องของระยะเวลาที่จะใช้ในการก่อสร้างมีข้อมูลที่แน่นอน 2. ในกรณีศึกษาครั้งนี้เป็นการประเมินโครงการหลังจากการก่อสร้างได้เสร็จสิ้นไปแล้ว ในการ จัดจ้างแบบเบ็ดเสร็ จ (Turn Key) รูปแบบการออกแบบควบคู่ การก่ อสร้ าง (Design & Build Project) อาจจะไม่เหมาะสมกับโครงการย้ายเคเบิลอากาศลงใต้ดิน ข้อมูล บางส่วนเป็นข้อมูลเฉพาะภายในแต่ละ โครงการ ไม่มีการเผยแพร่ ซึ่งแต่ละหน่วยงานในโครงการไม่มีการเก็บข้อมูลในรูปแบบรายงาน การกาหนด ขอบเขตของโครงการทาได้ยาก ทาให้โครงการอาจมีปัญหาด้านคุณภาพ 3. รายละเอียดในข้อสัญญาและข้อมูลการจัดหาในขั้นตอนการคัดเลือกผู้รับจ้างเป็นความลับ และอาจมีผลต่อการเลือกโครงการได้ จึงไม่สามารถให้รายละเอียดที่มาของการคัดเลือกผู้รับจ้าง การศึกษา ครั้งนี้จึงเป็นเพียงแนวทางที่ผู้สนใจจะนาไปปรับปรุงวิธีการคัดเลือกผู้รับจ้างที่มีรูปแบบของผู้ค้าร่วม

บุญเสริม คุณดิลกกาญจน์

43


การประเมินผลการดาเนินการโครงการย้ายสายเคเบิลอากาศลงใต้ดินของกลุ่ม ร่วมค้าและกิจการร่วมค้าในโครงการก่อสร้างของบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน)

4. ระยะเวลาและเอกสารข้อมูลจากัด ผู้ปฏิบัติงานที่สามารถให้ข้อมูลมีจานวนน้ อย การให้ ข้อมูลการประเมินโครงการเป็นวงจากัดเฉพาะภายในกลุ่ม จานวนโครงการที่ประเมิน มีความแตกต่างกัน ด้านพื้นที่ก่อสร้าง ความละเอียดของผู้ตอบแบบสอบถามมีจานวนน้อยเกินไป ข้อเสนอแนะต่อองค์กร การสารวจและออกแบบก่อสร้างโดยใช้ผู้ปฏิบัติงานภายในที่เกี่ยวข้องโดยตรงแต่ละพื้นที่และ ดาเนินการจัดจ้างขนาดของโครงการที่มีมูลค่าไม่เกิน 10 ล้านบาท น่าจะมีความเหมาะสมกับโครงการย้าย สายเคเบิลอากาศลงใต้ดิน

44

บุญเสริม คุณดิลกกาญจน์


การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ RFID เพื่อระบุตาแหน่ง ของท่องานระบบใต้ดิน

การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ RFID เพื่อระบุตาแหน่ง ของท่องานระบบใต้ดิน บทคัดย่อ ภิวัฒน์ ดีมารยาตร์ คาสาคัญ: เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี/ ท่องานระบบใต้ดิน/ อุปกรณ์ลูกข่ายแบบแพสซิฟ/ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีชญา มหัทธนทวี

ในปัจจุบันโครงการก่ อสร้ างหลายโครงการ กาหนดให้งานระบบท่ อภายนอกอาคารเป็ น งาน ระบบฝังใต้ดินทั้งโครงการเพื่อทัศนียภาพที่สวยงาม แต่การซ่อมแซมและบารุงรักษาจะทาได้ยากกว่ างาน ระบบบนดิ น หากเกิ ด ความเสี ยหายขึ้ นกั บ งานระบบใต้ดิ น จะต้ องขุ ด เปิด หน้ าดิ นเพื่ อหาแนวท่ อและ ตาแหน่งที่เสียหาย ซึ่งต้องใช้เวลามากและอาจทาให้ท่อเสียหายจากการใช้เครื่องมือขุดเจาะได้ การศึกษานี้ จึงมีวัตถุประสงค์หลักที่จะศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการนาเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (Radio Frequency Identification) มาประยุกต์ใช้ในการระบุตาแหน่งท่องานระบบใต้ดิน เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีมีหลักการท างานโดยการส่ง ผ่านสัญ ญาณคลื่ นวิทยุระหว่ างเครื่องอ่ าน (Reader Tag) กับอุปกรณ์ลูกข่าย จากการศึกษาคุณสมบัติของอุปกรณ์ลูกข่ายที่เหมาะสมในการทดลอง คือ อุปกรณ์ลูกข่ายประเภทแพสซิฟ (Passive) แบบกระเปาะแก้ว โดยการทดลองหาระยะการส่งและรับ คลื่นความถี่วิทยุผ่านอากาศ สามารถอ่านค่าได้ในระยะ 0.00 - 0.70 เมตร ทดลองหาระยะการส่งและรับ คลื่นความถี่ วิท ยุผ่ านชั้นดิ นที่ระดับความลึ ก 0.60 เมตร สามารถอ่านค่าได้ และการใช้ เครื่ องอ่า นและ อุปกรณ์ลูกข่ายตรวจหาตาแหน่งแนวท่องานระบบท่อรดน้าต้ นไม้ใต้ดินซึ่งติดตั้งในระดับความลึ ก 0.40 เมตร พบว่าสามารถระบุตาแหน่งท่องานระบบใต้ดินได้ โดยมีความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ประมาณ 0.11 เมตร จากผลการทดลองดั ง กล่ าวข้ างต้ น จึ ง มี ค วามเป็ น ไปได้ ใ นการน าเทคโนโลยี อ าร์ เ อฟไอดี ม า ประยุกต์ใช้ระบุตาแหน่งท่อของงานระบบใต้ดิน เพื่อลดความเสียหายกับท่อของระบบงานใต้ดิ น ผลจาก การศึ ก ษาสามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการพั ฒ นาและผลิ ต อุ ป กรณ์ เทคโนโลยี อ าร์ เ อฟไอดี ให้ มี ประสิทธิภาพเหมาะกับโครงการก่อสร้างต่อไป

ภิวัฒน์ ดีมารยาตร์

45


การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ RFID เพื่อระบุตาแหน่ง ของท่องานระบบใต้ดิน

THE STUDY OF POSSIBILITY TO USE RFID TO LOCATE POSITIONS OF UNDERGROUND PIPES ABSTRACT PIWAT DEEMARAYAT KEYWORD: RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION/ UNDERGROUND PIPES/PASSIVE RFID TAG/ ASSUMPTION UNIVERSITY ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PRECHAYA MAHATTANATAWE, PH.D.

Nowadays many construction projects are designed with exterior systems in which the whole project structures are equipped with the underground systems for piping and wiring. Although the buildings have a better outlook and physical layout, the maintenances may prove to be far more difficult when compared with those equipped with the more traditional at grade systems. In case of damage in any piping or wiring systems, the surface must be excavated in order to identify the problem spots, lines or positions and that can be very time-consuming and costly. Therefore, the main purpose of this research is to study the possibility to use Radio Frequency Identification (RFID) to specify the position of the underground pipes. Radio Frequency Identification is the technology operating on sending radio frequency back and forth between Tag Reader and Tag. The result from the study with the experiments performed on Tag Reader and Transponders (Tag) demonstrated the affective type of RFID technology as Passive Transponder in bolus glass. The study also found that the affective operation range in air and underground was at 0.00 - 0.70 meters and 0.60 meters respectively. In addition, the tools can specify the position of the underground water saturation system which was located at 0.40 meters underground, with the variation value around 0.11 meters. From the study findings, it was confirmed that RFID can be adopted as a device to specify the exact positions of the underground systems lines and decrease the damages and casts which may incur from excavation. The findings of the study can be applied to the new trend leading to better RFID technology development for future construction businesses.

46

ภิวัฒน์ ดีมารยาตร์


การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ RFID เพื่อระบุตาแหน่ง ของท่องานระบบใต้ดิน

สรุปผลอภิปราย การศึกษาทดลองในครั้งนี้เป็นการศึกษาคุณสมบัติและหลักการทางานของระบบเทคโนโลยี อาร์ เอฟไอดีเพื่อเป็นแนวทางในการนาไปประยุ กต์ใ ช้กับ การตรวจหาตาแหน่งแนวท่ องานระบบใต้ดิน โดย การศึกษาจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการทดลองส่งและรับคลื่นความถี่วิทยุผ่านอากาศ ผ่าน ชั้นดินในหลุมทดลอง และทดลองกับงานระบบใต้ดินในโครงการก่อสร้างของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยา เขตสุวรรณภูมิ ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ คุณสมบัติและหลักการทางานของระบบเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID) เป็นระบบบ่งชี้ด้วยคลื่นความถี่วิทยุเป็นระบบ Auto-ID ที่กาลัง ได้รับความนิยมและถูกนาไปประยุกต์ใช้ในงานต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ในอนาคตอาจเข้ามาทดแทนระบบ อัตโนมัติที่ใช้บาร์โค้ด ระบบตัวเลข ระบบลายนิ้วมือ และระบบสมาร์ทการ์ด หลักการทางานของระบบอาร์ เอฟไอดีประกอบด้วยอุปกรณ์สองส่วน คือ อุปกรณ์ส่งคลื่นความถี่วิ ทยุ หรือเรียกว่าอุปกรณ์ลูกข่ายและ อุปกรณ์สาหรับอ่านและเขียนข้อมูล เรียกว่า เครื่องอ่าน (Reader) ซึ่งอุปกรณ์ทั้งสองส่วนทาการส่งและรับ ข้อมูลด้วยคลื่นความถี่วิทยุ ในปัจ จุบันย่านความถี่สาหรับใช้งานในระบบอาร์เอฟไอดีทั่วโลกจะอยู่ในย่าน ความถี่ ISM Band (Industrial-Scientific-Medical) ในประเทศไทย กทช. ได้ อนุ มัติ ใ ห้ ใ ช้ ค ลื่ นความถี่ ระหว่าง 920 - 925 เมกะเฮิรตซ์ จากการศึกษาคุณสมบัติของอุปกรณ์ลูกข่ายแบบต่าง ๆ พบว่าอุปกรณ์ลูกข่ายที่เหมาะสมสาหรับ การนามาประยุ กต์ ใ ช้ กับ งานระบบใต้ ดิน คื อ อุ ป กรณ์ ลู กข่ ายชนิ ด แพสซิ ฟ แบบกระเปาะแก้ วหุ้ มด้วย กระเบื้องเคลือบทรงกระบอก เนื่องจากทนต่อการกัดกร่อน มีความแข็งแรงทนแรงกระแทกได้ดี มีระยะ การส่งและรับคลื่นความถี่ที่ 0.00 - 0.80 เมตร (ข้อมูลที่ได้จากบริษัทผู้ผลิต) จากการทดลองส่งและรับคลื่นความถี่วิทยุผ่านอากาศของเครื่องรุ่น I - Read Pi80 และอุปกรณ์ ลูกข่ายชนิดแพสซิฟ รุ่น HDX - BOLUS RFID ขั้นตอนที่ 1 โดยผ่านอากาศและไม่มีสิ่งกีดขวางได้ระยะไกล สุดที่ 0.70 เมตร มีรัศมี 0.40 เมตร ในกรณีที่มีสิ่ง กีดขวางเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูนหนา 0.10 เมตร ไม่เป็น อุปสรรคในการอ่านข้อมูล และในกรณีที่ส่งและรับคลื่นวิทยุผ่านผนังก่ออิฐฉาบปูน และมีคลื่นรบกวนจาก อุปกรณ์ไฟฟ้า พบว่าทาให้ระยะส่งและรับคลื่นความถี่วิทยุลดลง สามารถอ่านข้อมูลได้ในระยะ 0.60 เมตร ผลการทดลองขั้นตอนที่ 2 หาระยะการส่งและรับคลื่นความถี่วิทยุผ่านชั้นผิวดิน ชั้นบนปูทับด้วยแอสฟั ลท์ หญ้า และอิฐตัวหนอน สามารถอ่านข้อมูลได้ที่ระยะ 0.60 เมตร ผลการทดลองขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้กับ การตรวจหาตาแหน่งแนวท่องานระบบรดน้าใต้ดิน ที่ระยะความลึก 0.40 เมตร จากผิวดินชั้นบน พบว่ า สามารถระบุตาแหน่งของแนวท่อได้ โดยมีความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ระยะโดยเฉลี่ย 0.11 เมตร ความเป็นไปได้ ข้อดีและข้อจากัดในการนามาใช้ระบุตาแหน่งของงานติดตั้งท่องานระบบใต้ดิน จากการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้อาร์เอฟไอดีเพื่อระบุตาแหน่งของท่อระบบงานใต้ดินนั้น พบว่าสามารถระบุตาแหน่งของงานติดตั้งท่องานระบบใต้ดินได้ ข้อดีของระบบอาร์เอฟไอดี คือ สามารถบ่งชี้วัตถุหรืออ่านข้อมูลได้โดยวัตถุนั้นไม่ต้องอยู่ในแนว ระดับที่มองเห็น สามารถอ่านข้อมูลผ่านวัตถุหรือสิ่งกีดขวางได้ (ยกเว้นโลหะ หรือของเหลวที่มีผลต่ อการ ส่งและรับคลื่นวิทยุ) สามารถอ่านข้อมูล ของวัตถุทั้ งหมดที่อยู่ใ นรัศ มีการอ่านได้ใ นครั้งเดี ยว เพิ่มควา ม สะดวกรวดเร็วและความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บ ข้อจากัดในการนามาประยุกต์ใช้ระบุตาแหน่งของงานติดตั้งท่องานระบบใต้ดินนั้น มีปัจจัยที่เป็น อุปสรรคในการส่งและรับคลื่นความถี่วิทยุ หรือเรียกง่าย ๆ ว่าระยะอ่าน (Read Range) ถ้าอุปกรณ์ลู ก ข่ายชนิดแพสซิฟ รุ่น HDX - BOLUS RFID ถูกติดตั้งกับท่อใต้ดินไม่ได้ในแนวดิ่ง หรืออุปกรณ์ลูกข่ายเอน เอียงไปด้านใดด้านหนึ่งทาให้องศาการส่งและรับคลื่นความถี่วิทยุไม่ตรงกับเครื่องอ่าน จะส่งผลให้การส่ง และรับคลื่นความถี่ไม่สมบูรณ์ ผลที่ตามมาคืออ่านค่าได้ระยะที่สั้นลง และอีกปัจจัยที่สาคัญ ในการส่ ง และ ภิวัฒน์ ดีมารยาตร์

47


การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ RFID เพื่อระบุตาแหน่ง ของท่องานระบบใต้ดิน

รับคลื่นความถี่ คือการวางตาแหน่งขดลวดเสาอากาศของอุปกรณ์ลูกข่ายชนิดแพสซิฟ รุ่น HDX - BOLUS RFID เมื่อพิจารณาโครงสร้างภายในกระเปาะแก้วจะพบว่าขดลวดเสาอากาศอยู่ด้านหนึ่ง ซึ่งขดลวดนี้จะ ทาหน้าที่ส่งและรับความถี่วิทยุกลับไปยังเครื่องอ่าน ดังนั้นเมื่อติดตั้งอุปกรณ์ลู กข่ายตั้งขึ้นในแนวดิ่งจะต้ อง มั่นใจว่าส่วนที่เป็นขดลวดเสาอากาศอยู่ด้านบนเสมอ หากขดลวดเสาอากาศอยู่ด้านล่างอุปกรณ์ลูกข่ายจะ ไม่สามารถรับและส่งคลื่นความถี่วิทยุกลับไปยังเครื่องอ่านได้ในสภาวะที่อุปกรณ์ลูกข่ายถูกฝังดิน แนวทางในการนาไปใช้กับงานระบบใต้ดิน 1. น าไปใช้ กั บ งานระบบใต้ ดิน อื่ น ๆ จากการทดลองพบว่ า ระบบอาร์ เ อฟไอดี ที่ ใ ช้ ใ นงาน ทดลองนี้ สามารถตรวจหาตาแหน่งแนวท่องานระบบใต้ดินได้ในระยะความลึก 0.60 เมตร ดังนั้นจึงเป็น แนวทางที่จะนาไปใช้กับงานระบบท่อใต้ดินระบบอื่นที่ฝังใต้ดินในระยะไม่เกินนี้ เช่น ระบบท่อส่งน้าเย็น ระหว่างอาคาร ในอนาคตเมื่อบริษัทผู้ผลิตมีการพัฒนาอุปกรณ์ลูกข่ายให้มีระยะการอ่านข้อมูลได้ไกลขึ้น สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการตรวจหาตาแหน่งงานระบบใต้ดินที่มีมูลค่าการติดตั้งและการบารุงรักษาสูง เช่น ระบบสื่อสารและระบบไฟฟ้า (มีระยะความลึกในการติดตั้งท่อใต้ดิน 0.90 เมตร) ซึ่งจะทาให้เกิดความ คุ้มค่าในการลงทุ นมากกว่ าการที่ จะใช้ กับ งานระบบท่ อรดน้ าใต้ดิ น ดังแสดงในตารางที่ 12 เนื่องจาก ระบบสื่อสารและระบบไฟฟ้านั้น หากมีการขุดเจาะผิดพลาดแล้ว จะทาให้เกิดความเสียหายทั้งค่าใช้จ่ายใน การซ่อมแซมที่สูงและความเสียหายทางด้านการให้บริการ

ยกตัวอย่างงานติดตั้งระบบสายโทรศั พท์ใต้ดิ นที่ มหาวิทยาลัย อัส สัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภู มิ จากอาคารปฏิ บั ติการถึง อาคารหอพั กนั กศึกษา ซึ่ ง มี ค วามยาวของสายโทรศัพ ท์ 4,000 เมตร โดยใช้ สายโทรศัพท์ยี่ห้อ Phelps dodge รุ่น 24 AP - FSF 200 ขนาด 200 Pair ราคาเมตรละ 1,009 บาท รวม เป็นเงิน 4,036,000 บาท และติดตั้งอุปกรณ์ลูกข่ายทุก ๆ ระยะความห่าง 10 เมตร จะใช้อุปกรณ์ลู กข่ าย จานวน 400 ชุด ราคาชุดละ 150 บาท รวมเป็นเงิน 60,000 บาท เครื่องอ่าน 1 เครื่อง ราคา 40,000 บาท รวมมูลค่าอุปกรณ์ติดตั้งระบบอาร์เอฟไอดี เป็นเงินทั้งสิ้น 100,000 บาท เมื่อเทียบกับราคาค่าสายโทรศัพท์ แล้วคิดเป็น 2.48 เปอร์เซ็นต์ 2. ตาแหน่งที่ติดตั้ง การติดตั้งอุปกรณ์ลูกข่ายกับท่อพีอี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 นิ้ว ในแนว ตรง สามารถกาหนดให้มีระยะห่างทุก ๆ 10.00 เมตร แต่ถ้าแนวท่อบางช่วงที่เปลี่ยนทิศทางก็ควรติดตั้งให้ มีระยะที่สั้นลง เพื่อให้ทราบแนวท่อที่เปลี่ยนไปจากแนวตรงเดิม และควรติดตั้งตาแหน่งข้อต่อทุกจุดเพื่อ ประโยชน์ในการซ่อมแซมและบารุงรักษา 3. ฐานข้ อ มู ล ในอุ ป กรณ์ ลู ก ข่ า ย ข้ อ มู ล ที่ ค วรบั น ทึ ก ไว้ ใ นอุ ป กรณ์ ลู ก ข่ า ย เพื่ อ ใช้ ใ นการ บารุงรักษางานระบบท่อใต้ดิน ได้แก่ ชื่องานระบบ ระดับความลึกฝังใต้ดิน ชื่ออุปกรณ์ รุ่น ขนาด ยี่ห้อ

48

ภิวัฒน์ ดีมารยาตร์


การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ RFID เพื่อระบุตาแหน่ง ของท่องานระบบใต้ดิน

วันที่ติดตั้ง บริษัท ผู้ติดตั้ง และตาแหน่งที่ติดตั้ง (เพื่อให้ทราบว่าเป็นตาแหน่งที่จุดข้อต่อท่อหรือระหว่าง กลางท่อ) เป็นต้น 4. การวางแผนในการดาเนิน งาน หากมีความต้องการที่จะติดตั้ งระบบอาร์เ อฟไอดีกับ งาน ระบบใต้ดิน ควรจะกาหนดในขอบเขตและรายละเอียดของงานติดตั้งอุปกรณ์ติดกับท่องานระบบ ตั้งแต่ ขั้นตอนของการออกแบบก่อสร้าง เพื่อให้ผู้รับเหมาได้คานวณต้นทุนสาหรับการประมูลงาน และในขั้นตอน ของการติดตั้งจะต้องติดตั้งอุปกรณ์ระบบอาร์เอฟไอดีกับท่องานระบบนั้น ๆ ให้เสร็จสิ้นก่อนที่จะฝังกลบ รวมทั้งระบุตาแหน่งการติดตั้ง RFID ในแบบติดตั้งงานระบบ ข้อเสนอแนะ ในกรณี ที่ มีผู้ ส นใจจะท าการศึ กษาการใช้ RFID กั บ งานระบบใต้ ดิ นอื่ น ๆ เพิ่ มเติ ม เพื่ อเป็ น ประโยชน์ ใ นการศึ ก ษาต่ อไป ควรค านึ ง ถึ ง ประเภทและคุ ณ สมบั ติ ข องอุ ป กรณ์ ลู ก ข่ า ยแบบแพสซิ ฟ (Passive Tag) และสถานที่ที่จะนาไปใช้ติดตั้งที่แตกต่างกัน อาจจะส่งผลถึงคุณภาพในการส่งและรั บคลื่น ความถี่วิทยุที่ต่างกันได้ เช่น กรณีที่จะทาการทดลองในสถานที่ที่มีคลื่นไฟฟ้า จะทาให้มีผลต่อระยะการส่ง และรับคลื่นความถี่ วิทยุสั้ นลง ดังนั้นก่อนนาเทคโนโลยี อาร์ เ อฟไอดีไ ปใช้หรื อศึ กษาต่ อ ควรทาการสุ่ ม ทดลองเพื่อนาผลการทดลองมาประกอบการตัดสินใจต่อไป ในส่วนของอุป กรณ์ ลู กข่ ายที่ใ ช้ใ นการทดลองครั้ งนี้ เป็ นแบบกระเปาะแก้ วบรรจุใ นกระเบื้ อง เคลือบทรงกระบอก ทาให้มีราคาค่อนข้างสูง ดังนั้นควรมีการออกแบบวัสดุบรรจุเป็นแบบอื่นที่มีราคาต่า กว่า ซึ่งสามารถออกแบบให้เหมาะสมกับงานที่หลากหลาย เช่น การบรรจุวัสดุเรซิ่น หรือพีวีซี ซึ่งวัสดุทั้ง สองชนิดสามารถทารูปทรงได้ตามการใช้งาน การนาไปใช้ติดตั้งกับระบบท่อใต้ดินที่ต้องฝังในระดับที่ลึกกว่า 0.60 เมตร สามารถทาได้โดยเพิ่ม ความยาวท่อบรรจุอุปกรณ์ติดตั้งเครื่องลูกข่ายได้อีกด้วย

ภิวัฒน์ ดีมารยาตร์

49



การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี บทคัดย่อ ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์ คาสาคัญ: การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุน/ คอนโดมิเนียม/ นนทบุรี อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.ขวัญชัย โรจนกนันท์

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ ของการลงทุ นทาธุ ร กิ จ คอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี โดยศึกษาครอบคลุมทั้งในด้านกฎหมาย ด้านการตลาด และด้านการเงิน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจถึงความคุ้มค่า และความเหมาะสมในการลงทุน ตลอดจนศึกษาถึงวิ ธีการ บริหารจัดการโครงการ เพื่อเข้าใจถึงปัญหาและอุปสรรค และแนวทางการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพใน การประกอบธุรกิจได้อย่างเหมาะสม วิธีการศึกษาประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน การ สารวจบริเวณที่ตั้งโครงการ และการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม นาข้อมูลมาวิเคราะห์ ผล ในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย ความต้องการของผู้บริ โภค วิเคราะห์ ธุรกิจทั้ งปั จจั ยภายในและภายนอก วิ เ คราะห์ อุป สงค์ อุป ทาน และกลยุ ท ธ์ ท างการตลาด วิ เ คราะห์ แ ผนการเงิ น ผลตอบแทน วิ เ คราะห์ สถานการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (Scenario Analysis) และวิเคราะห์ความเสี่ยง (Sensitivity Analysis) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เหมาะสมกับโครงการควรเป็นกลุ่มคนโสดหรือครอบครั ว ขนาดเล็กที่มีอายุระหว่าง 21 - 24 ปี มีรายได้ต่อครอบครัวประมาณ 20,000 - 50,000 บาทต่อเดือน และ เป็นกลุ่มผู้ที่ต้องการที่พักอาศัยอยู่ในจังหวัดนนทบุรี โครงการที่ทาการศึกษากาหนดให้เป็นคอนโดมิเ นียมที่ มีทาเลติดถนนรัตนาธิเบศร์ เนื่องจากมีความสะดวกในการเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าสีม่วงที่ จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมีแนวคิดในการออกแบบอาคารให้สามารถตอบสนองชีวิตความเป็นอยู่และกาลัง ซื้อของคนระดั บ กลาง ลักษณะอาคารที่ ออกแบบเป็ นอาคารคอนโดมิเ นีย มสูง 20 - 24 ชั้น มีห้องชุ ด จานวน 939 ยู นิต มี ข นาดห้ อง 30 - 60 ตารางเมตร ราคาเฉลี่ ย ต่อยู นิตอยู่ที่ 1,577,061 บาท หรือ 38,000 บาทต่ อตารางเมตร หากการขายเป็ นไปตามเป้ าหมาย คาดว่ าโครงการจะแล้ วเสร็ จภายใน ระยะเวลา 2 ปี ผลของการวิเคราะห์ด้านการเงินพบว่าผลตอบแทนของโครงการมีกระแสเงินสุทธิ (NPV) เท่ากับ 166,869,356 บาท และค่า IRR เท่ากับ 19.99% ซึ่งมากกว่าอัตราผลตอบแทนในส่วนที่เจ้าของ ต้องการ และมีจุดคุ้มทุนอยู่ที่ 62.43% ซึ่งทาให้โครงการนี้มีความเป็นไปได้ในการลงทุน

ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์

51


การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

THE FEASIBILITY STUDY OF THE INVESTMENT ON A CONDOMINIUM PROJECT, NONTHABURI ABSTRACT SAJEERAT KLINPHAN KEYWORD: INVESTMENT FEASIBILITY STUDY/ CONDOMINIUM/ NONTHABURI ADVISOR: KWANCHAI ROACHANAKANAN, PH.D.

The aim of this research is to study and analyze the feasibility of investment in condominium in Nonthaburi Province in aspect of law, marketing and finance to provide data for decision making. The worthiness, suitability and project management methodology were considered to identify problems and threats as well as the solutions for improving business management. The study methods included collecting data from government agencies and private sectors, site survey, and questionnaire survey. Several aspects were analyzed from the collected data including consumers’ needs, business analysis, internal and external factors, demand, supply, marketing strategies, financial plan, rate of return as well as scenario and sensitivity analysis. The result indicated that the target groups of the project should be singles or small families, whose ages are between 21-40 years old, earning monthly income approximately 20,000-50,000 baht per month, and prefer to have residences in Nonthaburi Province. The proposed project is located on Rattanathibet Road which is convenient to access by MRT purple line extension in the near future. T he proposed project was designed in response to lifestyle and purchasing power of middle class people in Nonthaburi. The condominium building in this project has 20-24 floors and 939 units. The room sizes are 30-60 sq.m., and the average price is 1,577,061 baht per unit or 38,000 baht per square meter. If the sale reached the target, the project is expected to finish within 2 years. However, the result of the financial analysis indicated that the net present value (NPV) of the return of the project was 166,869,356 baht and the internal rate of return (IRR) was 19.99% which was higher than the needed return. Moreover, the break even point was 62.43%. Therefore, this project is feasible for the investment.

52

ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์


การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

สรุปผลอภิปราย การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุ นธุร กิจคอนโดมิเนีย มในจังหวัด นนทบุรี เป็นการศึกษา ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพก่อนการดาเนินงานจริง เพื่อหาผลตอบแทนและผลกระทบด้านต่าง ๆ ที่ มีต่อการลงทุน เพื่อกาหนดยุทธศาสตร์ที่จะเป็นแนวทางในการทาธุรกิจให้มีความสามารถในการแข่งขั นได้ โดยมีข้อสรุปของการศึกษาความเป็นไปได้ ดังนี้ สรุปการศึกษาความเป็นไปได้ด้านทาเลที่ตั้งโครงการ 1. ปัจจัยและข้อบังคับทางการตลาด พื้นที่ตั้งอยู่บริเวณที่มีความหนาแน่นของประชากรและปริมาณผู้มีรายได้ปานกลาง-สูง เนื่องจาก อยู่ในเขตอาเภอเมือง ปริมาณความต้องการที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องในบริเวณดังกล่าว โดยดูจาก โครงการก่อสร้างคอนโดมิเ นียมที่เกิด ขึ้นในบริเ วณใกล้เคีย งกับโครงการ (ภาพที่ 24) อีกทั้งพื้นที่ มีการ เชื่อมต่อได้ทั้งทางด่วนและถนนราชพฤกษ์ รวมทั้งคมนาคมผ่านทางถนนวงแหวนรอบนอกได้

ภาพที่ 24 แสดงตาแหน่งการกระจายตัวของคอนโดมิเนียมที่อยู่ใกล้กับโครงการ

ในอนาคตจะมีโครงการรถไฟฟ้าผ่ านใกล้บริเ วณโครงการ มีห้างสรรพสินค้าหลากหลาย เช่น เซ็นทรัล รัตนาธิเบศร์, คาร์ฟู สาขารัตนาธิเบศร์, โลตัส สาขาติวานนท์ ฯลฯ เป็นตัวดึงดูดลูกค้าให้กับทาง โครงการ ทาให้ที่ดินที่ตั้งโครงการมีศักยภาพสูง 2. ปัจจัยทางลักษณะทางกายภาพ โครงการตั้ ง อยู่ติ ดกั บ ถนนรั ตนาธิ เ บศร์ ซึ่ ง เป็ นถนนสายหลั กสายหนึ่ ง ของจั ง หวั ด นนทบุรี มี โครงการทางยกระดับและถนนเชื่อมวงแหวนรอบนอก และในอนาคตจะมีโครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน สายสี ม่ ว งผ่ า นใกล้ บ ริ เ วณโครงการ ซึ่ ง คาดว่ า จะเริ่ ม ด าเนิ น การภายในปี 2553 ท าให้ โ ครงการมี ความสามารถในการเข้าถึงสูง ความคล่องตัวของการจราจร สามารถเดินทางผ่านที่ตั้งโครงการโดยผ่าน ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์

53


การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

ถนนรัตนาธิเบศร์ ซึ่งมีความกว้างของถนน 10 ช่องจราจรไปกลับ และปัจจุบันมีสะพานกลับรถซึ่งอยู่ห่ าง จากที่ตั้งโครงการประมาณ 300 เมตร ทาให้ไม่มีผลกระทบด้านลบต่อโครงการและไม่บังหน้าโครงการ ซึ่ง จะเป็นจุดเด่นของโครงการ เนื่องจากการเดินทางกลับ และที่ตั้งโครงการอยู่ใกล้ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี ซึ่ง เป็นถนนเชื่อมต่อระหว่างถนนติวานนท์และถนนสนามบินน้า ทาให้ผู้อยู่อาศัยในละแวกดังกล่าวสามารถ เข้าถึงโครงการได้ง่ายขึ้น ที่ดินเป็นพื้นที่ว่างเปล่าระดับดินต่ากว่าระดับถนนประมาณ 1 เมตร ที่ดินอยู่ห่าง จากตาแหน่งทางขึ้นลงรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนประมาณ 200 เมตร (ภาพที่ 25) มีหน้ากว้างที่ดินขนาดกว่า 80 เมตร ซึ่งมีด้านหน้าโครงการที่เหมาะสม หากแต่ติดเรื่องมุมมองที่ ถูกบดบังโดยอาคารห้องแถวเก่ า เล็กน้อย และด้านข้างอยู่ติดกับโรงพยาบาลนนทเวช (โครงการในอนาคต) ที่ตั้งโครงการสามารถมองเห็น โครงการได้ชัดเจนสาหรับผู้ที่สัญจรผ่านไปมา รวมทั้งรูปแบบการก่อสร้างอาคารที่ทันสมัย เป็นจุดดึงดูด สายตาผู้ที่ผ่านหน้าโครงการ

ภาพที 25 แสดงระยะในการเข้าถึงรถไฟฟ้ากับที่ตั้งโครงการและโครงการใกล้เคียง

3. ปัจจัยทางด้านภาครัฐและกฎหมายข้อบังคับ 3.1. ข้อจากัดในการใช้ประโยชน์ที่ดิ น ที่ดินตั้งอยู่ในเขตพื้ นที่สี ส้ ม ซึ่งเป็นที่ดินประเภทที่ อยู่ อาศัยหนาแน่นปานกลาง เป็นที่ดินประเภท ย.7 มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการอยู่อาศัยในบริเวณพื้ นที่ ต่อเนื่องกับเขตเมืองชั้นใน ซึ่งอยู่ในเขตการให้บริการระบบขนส่งมวลชน ไม่มีข้อห้ามการใช้ประโยชน์ ที่ดิน เพื่อการอยู่อาศัยประเภทคอนโดมิเ นีย มหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ สามารถสร้ างอาคารที่ มีพื้ นที่ เ กิ น 10,000 ตารางเมตร ได้ มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) ไม่เกิน 5 ต่อ 1 โครงการ มีพื้นที่ ที่ดิน 11,200 ตารางเมตร สามารถสร้างอาคารที่มีพื้นที่ใช้สอยได้สูงสุดไม่เกิน 56,000 ตารางเมตร ซึ่ง โครงการนี้มีพื้นที่อาคารทั้งหมด 53,798 ตารางเมตร 3.2. ความสูงของอาคารที่สามารถสร้างได้ มีความแตกต่างกันตามตาแหน่งของอาคารในที่ ดิ น โดยสามารถก่อสร้างอาคารสูงได้ตั้งแต่ 86 เมตร (ประมาณ 28 ชั้น) และไม่เกิน 226 เมตร (ประมาณ 75 ชั้น) ซึ่งโครงการนี้มีอาคารสูงสุดที่ 72 เมตร (ประมาณ 24 ชั้น) 3.3. ที่ว่างภายนอกอาคาร สัดส่วนพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม (Open Space Ratio) ไม่น้อย กว่าร้อยละ 6 ของพื้นที่อาคารรวม ซึ่งต้องมีพื้นที่ว่างไม่น้อยกว่า 3,360 ตารางเมตร ซึ่งโครงการมีพื้นที่ว่าง (สวนและทางเท้า) 4,750 ตารางเมตร คิดเป็นร้อยละ 8.5 ของพื้นที่อาคารรวม 3.4. จานวนที่จอดรถยนต์ คอนโดมิเนียมที่มีพื้นที่แต่ละครอบครัวตั้งแต่ 60 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 2 ครอบครัว หรือให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คั นต่อพื้นที่ อาคาร 240 ตารางเมตร เศษของ 240 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 240 ตารางเมตร ทั้งนี้ให้ถือว่าที่จอดรถยนต์ จานวนที่มากกว่าเป็นเกณฑ์ ซึ่งในโครงการจัดให้มีที่จอดรถจานวน 213 คัน (ภายในอาคาร) และ 82 คัน (ภายนอกอาคาร) รวมที่จอดรถ 295 คัน (ไม่รวมในกรณีที่จอดซ้อนคัน)

54

ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์


การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

สรุปการศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาด จากการศึ กษาความต้ องการตลาดของโครงการคอนโดมิ เ นี ย มที่ ท าการศึ กษาโดยการออก แบบสอบถามจานวน 200 ตั วอย่ าง จากกลุ่ มอาชี พ ข้ าราชการ พนั ก งานรั ฐ วิ ส าหกิ จและพนั ก งาน บริษัทเอกชน แบ่งการสรุปผลออกเป็นดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไป ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 200 คน เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 40 และเป็นเพศหญิงคิดเป็น ร้อยละ 60 มีอายุอยู่ระหว่าง 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 54 ระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 57 รายได้ต่อเดือนมากกว่า 30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 45 ที่พักอาศัยเป็น ลักษณะอาศัยอยู่ กับญาติ ห รื อ เพื่อน คิดเป็นร้อยละ 23 และเช่าหอพักหรือพาร์ตเมนท์ คิดเป็นร้อยละ 65 2. ความต้องการซื้อคอนโดมิเนียม พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ยังมีความต้องการซื้อคอนโดมิเนียมร้อยละ 73 ปัจจัยที่สาคัญ ในการตัดสินใจซื้อคอนโดมิเนียม ร้อยละ 42 พบว่าปัจจัยด้านทาเลที่ตั้ งเป็นเหตุผลสาคัญที่สุดที่ผู้บริโภค ตัดสินใจซื้อคอนโดมิเนียม สาหรับปัจจัยด้านทาเลที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสาคัญในการตัดสินใจซื้อ ร้อยละ 52 พบว่าเป็นเพราะใกล้กับที่ทางาน ที่ตั้งของคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี ร้อยละ 40 พบว่า ต้ อ งการที่ ตั้ ง อยู่ ใ กล้ ศู น ย์ ก ารค้ า ส าหรั บ งบประมาณในการซื้ อ คอนโดมิ เ นี ย ม ร้ อ ยละ 68 พบว่ า คอนโดมิเนียมที่มีระดับราคาต่ากว่า 20 ล้านบาท มีความต้องการมากที่สุด ความต้องการขนาดของห้อง ชุด ร้อยละ 43 พบว่าต้องการห้องชุดขนาด 40-50 ตารางเมตร จานวนห้องนอนที่สนใจ ร้อยละ 65 พบว่า เลือกแบบ 1 ห้อง จานวนเงินดาวน์ที่ต้องการชาระต่องวด ร้อยละ 42 พบว่าสามารถชาระเงินดาวน์ ไ ด้ 3,500 - 5,000 บาทต่องวด สิ่งอานวยความสะดวกที่ต้องการนอกเหนือจากลิฟต์และโทรศัพท์ ร้อยละ 36 พบว่าต้องการที่จอดรถ แหล่งข้อมูลที่พบมากที่สุดเกี่ยวกับคอนโดมิเนียม ร้อยละ 51 พบว่า เลือกแผ่ นพับ และใบปลิว 3. การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย เป็นชายหรือหญิงที่มีอายุระหว่าง 21 - 40 ปี อยู่ในวัยทางานตอนต้น - ตอนกลาง เป็นโสด เพิ่ง แต่งงาน หรือเพิ่งเริ่มต้นครอบครัวขนาดเล็ ก ที่มีสมาชิกในครอบครั วไม่เ กิ น 3 คน ทางานเป็นพนั กงาน บริ ษัท เอกชนหรื อรั ฐ วิ ส าหกิ จ มี ร ายได้ ต่ อครอบครัวประมาณ 20,000 - 50,000 บาทต่ อเดื อน ซึ่ ง มี ความสามารถในการซื้อที่พักอาศัยได้ที่ระดับราคาประมาณ 1 - 2 ล้านบาท มีที่อยู่อาศัยหรือทางานที่ต้ อง มีการเดินทางระหว่างนนทบุรีและเขตติดต่อใกล้เคียง เนื่องจากลูกค้าจะมีความคุ้นเคยกับเส้ นทางและ สถานที่ตั้งโครงการ หรือมีเส้นทางระหว่างบ้านกับที่ทางานที่ต้องผ่านถนนรัตนาธิเบศร์เป็นประจา มีความ พอใจในรูปแบบของโครงการ และสามารถเดินทางได้สะดวก มีสถานภาพทางสังคมอยู่ในระดับกลาง ชอบ ใช้ชีวิตในรูปแบบที่มีความทันสมัยเป็นอิสระ มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง เลือกซื้อสินค้าโดยไม่ยึดติดกับตรา ยี่ห้อหรือชื่อเสียงของเจ้าของโครงการมากนัก แต่เน้นที่ตัวสินค้าที่มี ความคุ้มค่าตรงกับรสนิยมและความ ต้องการของตนเอง เป็นผู้ที่ยังไม่เคยมีบ้านเป็นของตนเอง และกาลังหาห้องชุดขนาดเล็ก - กลาง เป็นบ้าน หลังแรกของตน ใช้ในการอยู่อาศัยจริงและจะพักอาศัยอยู่นานจนกว่าจะมีครอบครัวที่มีสมาชิกมากกว่า 3 คน จึงจะย้ายออกไปหาที่พักใหม่ที่เป็นบ้านเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เพียงพอกับขนาดของครอบครัวที่ขยายใหญ่ ขึ้น 4. จุดขาย จุดขายหลักที่จะนาเสนอให้กับลูกค้าคือ เป็นคอนโดมิเนียมที่มีทาเลติดถนนใหญ่ รัตนาธิเบศร์ สะดวกรวดเร็วด้วยระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าสายสีม่วง ใกล้ทางด่วน อีกทั้งสามารถเชื่อมต่อถนนสาย หลักได้หลายสายเพื่อเข้าสู่ใจกลางเมื อง ส่วนจุดขายรองที่เป็นตัวสนับสนุนก็คื อ อยู่ใกล้แหล่งค้าขายที่ หลากหลาย มีอาณาเขตต่อเนื่องกับพื้นที่ธุรกิจการค้า โรงแรม โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย และศูนย์กลาง หน่วยงานราชการอีกมากมาย 5. การออกแบบผลิตภัณฑ์ ลักษณะอาคารจะเป็นไปตามแนวคิด Form Follow Function โดยใช้รูปทรงเรขาคณิตที่ เรียบ ง่าย เพื่อสร้างจุดเด่นให้กับตัวอาคารและใช้สีอาคารเป็นโทนอ่อน เพื่อให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย และรู้สึก ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์

55


การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

เป็นกันเอง พร้อมทั้งเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพ ให้เกิดการใช้งานได้จริงและคงทนยาวนานที่สุด การจัดวาง ห้องเป็น Double Corridor เพื่อให้สามารถใช้พื้นที่ทางเดินส่วนกลางได้อย่างคุ้มค่ า และมีที่ว่างภายใน ห้องให้มีประสิทธิภาพที่สุด รองรับการใช้ชีวิตที่ใช้ได้จ ริง การจัดภูมิทัศน์เน้นรูปแบบการจัดสวนในเมือง แบบ Urban Park โดยเชื่อมโยงภายในและภายนอกเข้าด้ วยกัน เพื่อไม่ให้ชีวิตคนเมืองอยู่เพียงภายใน กล่อง พื้นที่ระหว่างอาคารแบ่งพื้ นที่ใช้สอยด้วยสระว่ายน้าและสวนพื้นที่อื่น ๆ ตกแต่งสลับกับต้นไม้ ใหญ่ และ ด้านล่างเป็นลานหญ้าโล่งเพื่อความโปร่งโล่ง ไม่อึดอัด ลดความกระด้างของพื้นที่ว่างระหว่างอาคาร ลง ส่วนพักผ่อนที่มีการออกแบบให้โดดเด่นภายใต้แนวคิด Resort Condo ผสานสวนสวยที่จัดให้ต้นไม้ ใหญ่อวดรูปทรงสูงสง่า พื้นที่บริเวณโดยรอบโอบล้อมด้วยความเขียวร่มรื่นของสวน ทาให้สภาพแวดล้อม ของอาคารมีบรรยากาศที่ดี ห้องพักส่วนใหญ่สามารถมองเห็นสระว่ายน้าและสวนสวยได้จากในห้องนอน 6. รายละเอียดจากโครงการ 6.1. เป็นคอนโดมิเนียมพักอาศัย ติดถนนรัตนาธิเบศร์ สูง 20 ชั้น 2 อาคาร และสูง 24 ชั้น 2 อาคารมีห้องชุดจานวน 939 ยูนิต 6.2. ประเภทห้องชุด Stype พื้นที่ 30 ตารางเมตร จานวน 324 ห้อง Mtype พื้นที่ 40 ตารางเมตร จานวน 510 ห้อง Ltype พื้นที่ 60 ตารางเมตร จานวน 105 ห้อง 6.3. พื้นที่อาคารทั้งหมด 53,798 ตารางเมตร แบ่งออกเป็น พื้นที่ขาย 38,970 ตารางเมตร พื้นที่ส่วนกลาง 14,828 ตารางเมตร 7. การส่งเสริมการตลาด โครงการมี กลยุ ท ธ์ ใ นการเลื อกท าเลที่ มีศักยภาพสู ง ในการขยายตัวจากตั วเมื อง รองรั บ การ กระจายตัวจากศูนย์กลางธุรกิจ และเป็นทาเลที่พร้อมด้วยสาธารณูปโภค เนื่องจากโครงการมีขนาดไม่ใหญ่ นั ก อี กทั้ ง กลุ่ มเป้ าหมายก็ เ ป็ นผู้ ที่ อยู่ ใ นพื้ น ที่ บ ริ เ วณพื้ นที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น โครงการเลื อกใช้ กลยุ ท ธ์ ท าง การตลาดที่เหมาะสมเพื่อกระตุ้นการซื้อของผู้บริโภค เช่น การทา Co-Promotion ร่วมกับสถาบันการเงิน จั ด เงื่ อนไขทางการเงิ นในรู ปแบบเฉพาะ และเน้ นการโฆษณาในมุ มกว้ างใช้ ฝ่ ายขายตั้ง รับ ในลั กษณะ Counter Sales และมีการใช้มาตรการทางการตลาดแบบ Direct Marketing มาผสมผสาน โดยที่ฝ่าย ขายมีการเสนอขายในเชิงรุกด้วยการวิเคราะห์หากลุ่มลู กค้าเป้าหมาย ใช้การโฆษณาประกอบกิจกรรม ทางการตลาด เช่น E-Marketing เพื่อเพิ่มช่องทางการจาหน่ ายทางอินเตอร์เน็ต เพื่อให้สามารถเข้ า ถึ ง กลุ่มเป้าหมายได้อย่างคุ้มค่าและไม่สูญเปล่า สรุปการศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงิน การศึกษาครั้งนี้ได้จัดทาเงินลงทุนเริ่มแรกงบกระแสเงินสดสุทธิ และการประเมินค่าของโครงการ ซึ่งการประเมินค่าของโครงการได้ประมาณการทางการเงินกรณี Base Case จากพื้นที่ขายทั้งหมด 38,970 ตารางเมตร เป็นรายรับทั้งหมด 1,480,860,000 บาท จาก 939 ยูนิต คิดเฉลี่ยยูนิตละ 1,577,061 บาท หรือประมาณ 38,000 บาทต่อตารางเมตร ในส่วนของการเปิดให้ลูกค้าจองห้องได้หลังจากที่ไ ด้ทาการตลาดซึ่งจะมีการประชาสัมพันธ์ใน ช่วงแรกก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างโครงการ โดยคาดว่าจะสามารถขายห้องชุดโดยเฉลี่ยเดือนละ 54 ห้อง หรือคิดเป็น 6% ของห้องพักทั้งหมด และขายหมดภายในระยะเวลา 17 เดือนนับตั้งแต่เริ่มจอง (ตาม สภาวะ Base Case) โดยเริ่มขายในเดือนกรกฎาคม 2553 และจะขายได้หมดในเดือนธันวาคม 2554 และ โอนได้หมดภายในเดือนมกราคม 2555 ผลการวิเคราะห์สรุปได้ ดังนี้ NPV = 166,869,356 บาท IRR = 19.99 % Break-even Point = 62.43% หรือ 58,630 ห้อง จาก 939 ห้อง

56

ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์


การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

ในส่วนของการชาระเงินกู้ให้กับสถาบันการเงินนั้น เมื่อโครงการฯ ได้รับเงินจองเงินทาสัญญา และเงินดาวน์จากลูกค้า จะนารายได้จานวนหนึ่งมาชาระดอกเบี้ยให้กับสถาบันการเงิน นับตั้งแต่ได้เริ่มการ เบิกกู้จนกระทั่งคืนเงินต้นจนหมด และเมื่ออาคารก่อสร้างแล้วเสร็จ ซึ่งใช้เวลาประมาณ 15 ปี จะสามารถ โอนห้องชุดให้กับลูกค้าได้ตั้งแต่เดือนที่ 25 การวิเคราะห์ความเสี่ยงเมื่อปรับเปลี่ยนตัวแปรราคาขายต่อตารางเมตรลดลง 10% และ 15% ส่งผลให้ค่า NPV จากเดิม (Base Case) 166,869,356 บาท ลดลงเหลือเพีย ง 88,794,483 บาท และ 49,648,667 บาท ตามลาดับ ถ้าในอนาคตมีคู่แข่ งมากขึ้ นหรื อกาลัง ซื้ อของผู้บริโภคลดลง โครงการนี้ สามารถที่จะลดราคาขายลงได้ประมาณ 10% มีค่า IRR 14.90 % ถึงแม้ว่าจะต่ากว่าอัตราผลตอบแทนใน ส่วนของเจ้าของต้องการ (15%) แต่ถือว่ายังอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถยอมรับได้ ในส่วนของตัวแปรต้นทุน ค่า ก่อสร้างที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จากปัจจัยน้ามันที่ปรับตัวสูงขึ้น ภาวะเงินเฟ้อ โดยเมื่อตัวแปรเหล่ านี้ ปรับตัวเพิ่มขึ้น 5 - 15% อัตราผลตอบแทนของโครงการในส่วนของ NPV เป็นบวก และ IRR ก็ยังมากกว่า 15% ดังนั้นแม้ว่าในอนาคตค่าก่อสร้างจะปรับเพิ่มขึ้นอีก 15% โครงการนี้ยังสามารถให้ผลตอบแทนตาม ต้องการได้ และในส่วนของอัตราดอกเบี้ยที่ได้ปรับเพิ่มเป็น 8.45%, 9.45% และ 10.45% เมื่อมีการปรับ เพิ่มทุก 1% จะทาให้ค่า NPV ลดลงประมาณ 2 ล้านบาท ดังนั้นถึงแม้ว่าอัตราดอกเบี้ยจะมีแนวโน้มเพิ่ม มากขึ้น ก็ไม่ส่งผลกระทบต่อผลตอบแทนของโครงการจากภาวะปัจจุบันเท่าใดนัก สรุปบริหารงานก่อสร้างและการบริหารจัดการโครงการ การบริหารโครงการเป็นขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ หลังจากพบว่ามีความเป็นไปได้ก็จะทา โครงการ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่วงคือ ช่วงที่ 1 : ช่วงก่อนการก่อสร้าง (Pre - Construction Stage) ประกอบด้วย 1. การกาหนดรูปแบบและลักษณะองค์ กรในการบริหารจัดการ โดยมีนโยบายในการบริ ห าร จัดการโครงการในลักษณะ Outsourcing คือว่าจ้างผู้จัดการแผนกต่าง ๆ ที่มีประสบการณ์และทีมงาน บริ ห ารโครงการเป็ นพนั กงานประจาบริ ษั ท เพื่ อท าหน้ าที่ กากั บ ดู แ ลบริ ษัท ผู้ ช านาญการด้ านต่ าง ๆ ประสานงานกับหน่วยงานด้านการตลาด ด้านการขายของบริษัท เพื่อพัฒนาโครงการให้เป็นไปตามผล การศึกษาความเป็นไปได้ 2. การกาหนดรูปแบบและลักษณะสัญญาในการบริหารจัดการ ใช้สัญญาแบบการบริหารจัด การ โครงการในลั กษณะออกแบบประมู ล ก่ อสร้ าง (Design - Bid - Build, D-B-B) และแบ่ ง งานออกแบบ ออกเป็น 5 สัญญา 3. การด าเนิ นการจั ด จ้ างผู้ รับ เหมา โดยบริ ษัทผู้ รับ เหมาที่เ ข้าประกวดราคาตามสั ญญาที่ 1 จะต้ องเป็ นผู้ ป ระสานงานหลั กในการทางานของทุ กสัญ ญา ทั้ ง นี้ เ พื่ อความเรี ย บร้อยของงานก่ อสร้าง ทั้งหมด โดยใช้วิธีการประกวดราคาโดยจากัดผู้เข้าร่วมประมูล ให้ได้ ผู้รับเหมาที่มีศักยภาพเหมาะสมกับ โครงการ 4. การดาเนินการด้านภาษีอากรในส่วนของภาษีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ช่วงที่ 2 : ช่วงการก่อสร้าง (Construction Stage) ประกอบด้วย 1. การวางแผนและกาหนดเวลางานก่อสร้าง โดยการวางแผนโครงการ มีขั้นตอนย่อย ๆ ดังนี้ รวบรวมเอกสารสัญ ญาที่เ กี่ย วข้ องทุ กสั ญญา ทาการตรวจทานอย่ างละเอียด เพื่อให้แน่ใ จว่ า รายละเอียดของงานตามสัญญาต่าง ๆ มีความครบถ้วนชัดเจน กาหนดเวลาสาคัญต่าง ๆ และสิ้นสุดของ งานแต่ละสัญญามีความสอดคล้องกับความต้องการของโครงการ กาหนดกรอบงานของโครงการ ได้แก่ โครงสร้ างการแตกงาน (Work Breakdown Structure, WBS) โดยแตกงานให้ เป็ นส่ วนย่ อย ๆ หลาย ระดับ เพื่อให้สามารถจะควบคุมดูแลได้ง่าย เช่น งานสนาม งานสาธารณูปโภค และงานอาคาร โครงสร้าง การแตกองค์กร โดยใช้ WBS เป็นพื้นฐานในการจัดการบุค ลากร และโครงสร้างการแตกต้นทุน โดยใช้ WBS เป็นพื้นฐานในการเชื่อมงานเข้ากับต้นทุน ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์

57


การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

2. การควบคุมงานก่อสร้างองค์ประกอบหลักของงานก่อสร้างที่ต้องควบคุม เพื่อให้งานก่อสร้ าง ของโครงการบรรลุความต้องการมี 3 องค์ประกอบ คือ การควบคุมกาหนดเวลา (Schedule Control) การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การควบคุมค่าใช้จ่าย (Cost Control) ช่วงที่ 3 : ช่วงสิ้นสุดการก่อสร้าง (Construction Close-Out Stage) ประกอบด้วย เรื่องเกี่ยวกับ การขอใบรับ รองการก่ อสร้ างอาคาร ขอเลขที่ประจาบ้ าน การขอเชื่อมต่ อ งาน สาธารณูปโภค การจัดเตรียมและฝึกอบรมพนักงานประจาอาคาร การรับมอบงานก่อสร้าง การเปิดตั ว โครงการ การขอจดทะเบียนอาคารชุด และการขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด ส่วนการบริหารจัดการโครงการ ใช้นโยบายในการบริหารจัดการในลักษณะ Outsourcing โดย ว่าจ้างบริษัทบริหารทรัพย์สินที่มีชื่อเสียงในตลาดมาทาการบริหารทรัพย์สิ นให้ พนักงานประจาอาคาร ต่ าง ๆ ให้ อยู่ ใ นส่ วนความรั บ ผิ ด ชอบของผู้ รั บจ้ างที่ เป็ นบริษัท ทรั พย์ สิ น โครงการจึ ง มี ห น้ าที่ เ พี ยงแต่ คัดเลือกบริษัทบริหารทรัพย์สินให้แล้วเสร็จ ก่อนถึงขั้นตอนการรับมอบงานก่อสร้างจากบริษัทรับเหมาแต่ ละราย เพื่อให้บริษัทบริหารทรัพย์สินจัดพนักงานประจาอาคารของตนเข้ามามีส่วนร่วมในการรับมอบงาน ก่อสร้าง การฝึกอบรมการทางานและบารุงรักษางานและอุปกรณ์ต่าง ๆ กับบริษัทผู้รับเหมาโดยตรง โดย บริษัทบริหารทรัพย์สินจะต้องเสนอรายละเอียดบุคลากรที่ทาหน้าที่รับผิดชอบในฝ่ายต่าง ๆ ให้พิจารณา รายละเอียดและขอบเขตการบริหารอาคาร ข้อเสนอแนะ ภาพรวมของจังหวัดนนทบุรีเป็นจังหวัดที่มีการเปลี่ยนแปลงของเมืองอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลมา จากการขยายตัวของกรุงเทพฯ มีอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรสูง ประกอบกับความหนาแน่นและความ แออัดของกรุงเทพฯ จึงมีการย้ายที่ทาการของส่วนราชการระดับกระทรวงมาอยู่ เช่น กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงยุติธรรม เป็นต้น ทาให้มีผู้เลือกจังหวัดนนทบุรีเป็นที่พักอาศัยจานวนมาก นอกจากนี้จังหวัดนนทบุรี ยังเป็นที่ตั้งของศูนย์แสดงสินค้าระดับชาติ คือ อิมแพค เมืองทองธานี และยังมี ความพร้อมด้านโครงข่ ายบริ การขั้นพื้นฐาน และมีโครงข่ายการคมนาคมครบวงจรที่ ส ามารถเชื่อ มโยง ปริมณฑลและภูมิภาค ทาให้นนทบุรีเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับการขยายตัวของกรุงเทพฯ แต่เป็น ปัญหาของผู้ประกอบการใหม่ในจังหวัดนนทบุรี คือผังเมืองรวมจังหวัดนนทบุรีฉบับปัจจุบันที่ประกาศใช้ เมื่อปี 2548 ที่ยังคงใช้อยู่ ส่งผลให้ผู้ประกอบกิจการไม่ สามารถขยายการลงทุนได้เต็มที่เนื่องจากผังเมือง เดิมมีข้อจากัดด้ านกฎหมายต่ าง ๆ มากมาย ส่งผลให้การขยายตั วของธุร กิ จเหล่ านี้เป็ นไปได้ โดยยาก สาหรับความคืบหน้าการจัดทาผังเมืองใหม่ของจังหวัดนนทบุรีขณะนี้ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว โดยผังเมือง ใหม่ที่จัดทาขึ้น จะรองรับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและธุรกิจต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตโดยเฉพาะ ด้ านคมนาคมขนส่ ง ที่ ระบบรถไฟฟ้ าสายสี ม่วงที่ จะขยายไปสู่ จัง หวั ด นนทบุ รี ท าให้ การพั ฒ นาที่ ดิ นใน จังหวัดนนทบุรีจะมีศักยภาพสูงมากในอนาคต ซึ่งผังเมืองใหม่ได้มีการแก้ไขกฎหมายให้เอื้อกับผู้ประกอบ ธุรกิจและเจ้าของที่ดินมากขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ธุรกิจดังกล่าวมีส่วนผลักดันให้จังหวัดนนทบุรีเติ บโตต่อไป แต่สิ่งที่ต้องพิจารณาคือหากอนาคตไม่นาค่า FAR และ OSR มาใช้ อาจทาให้ราคาที่ดินขยับขึ้นไม่ต่ากว่า 10 - 20% ส่วนบริเวณใกล้รถไฟฟ้าสายสีม่วง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สีเขียวพัฒนาได้เฉพาะบ้านเดี่ยว หากปรับ เป็นพื้นที่สีเหลืองสามารถสร้างคอนโดมิเนียมได้ ราคาก็จะขยับขึ้น 20 - 30% แต่ถ้ามีค่า FAR และ OSR มาใช้ จากเดิมสูงสุด 10 เท่า จะเหลือแค่ 3 - 5 เท่าของแปลงที่ดิน ส่งผลให้ราคาที่ดินย่านนั้นจากที่ปรับ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง อาจอยู่ในภาวะทรงตัวขายไม่ออก พัฒนาที่ดินได้น้อยเพราะที่ดินแต่ละแปลงถูกจากัด การพัฒนาได้น้อยลงกว่าเดิม แม้ผังเมืองฉบับใหม่จะปรับการใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นก็ตาม เมื่อเป็นเช่นนี้ จะ ส่งผลให้ที่ดินดังกล่าวมีมูลค่าที่ลดลงในที่สุด โดยเฉพาะบริเวณรัศมีโดยรอบศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ เมือง ทอง ห้าแยกปากเกร็ด ข้ามแม่น้าเจ้าพระยาไปยังฝั่งตรงข้าม อย่างไรก็ดีผู้ศึกษายังคงคิดว่าจังหวัดนนทบุรี กับกรุงเทพฯ มีความแตกต่างกัน คือจังหวัดนนทบุรียังมีที่ดินเหลือรอการพัฒนาอยู่มาก และการแข่งเรื่อง แย่ ง ท าเลคงไม่ มากเท่ ากรุ ง เทพฯ ส่ ง ผลให้ ร าคาที่ ดิ นในอนาคตไม่ น่าจะสู ง มากนั ก หากไม่ ป รั บ การใช้ ประโยชน์ที่ดินเลียนแบบการควบคุมทางผังเมืองของกรุงเทพฯ มาใช้ และหากมองอีกมุมหนึ่งอาจมีเ จตนา 58

ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์


การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนธุรกิจคอนโดมิเนียมในจังหวัดนนทบุรี

ที่ดีที่จะใช้มาตรการทางผังเมืองในการควบคุมการขยายตัวของเมือง ไม่ให้โตแบบไร้ทิศทางตามโครงสร้ าง พื้นฐานที่เกิดขึ้น ก่อนที่จะควบคุมไม่ได้เหมือนกรุงเทพฯ การศึกษาความเป็นไปได้โครงการเป็นการคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ในสถานการณ์ที่ แตกต่างกันผลของการศึกษาย่อมแตกต่าง ซึ่งข้อเท็จจริงของข้อมูลในการวิเคราะห์เป็นสิ่งสาคัญ การได้ ศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ที่อาจส่งผลกระทบต่อการพัฒนาจึงมีความจาเป็นต้องทาอย่างละเอียด และรอบคอบ อีกทั้งต้องมีการปรับปัจจั ยต่าง ๆ เหล่านั้น ตามสถานการณ์ ที่เปลี่ยนไปในแต่ละช่วง การ คาดการณ์ที่ แม่ นย าและครบถ้ วนเป็ นหลั กการบริห ารความเสี่ย งที่ส าคัญ และด้วยสมมติฐ านที่ ว่ า การ พัฒนาอสังหาริมทรั พย์ มีทั้ งการปรับตั วที่เพิ่ มขึ้ นและลดลง ผู้ลงทุนควรจะศึ กษาความเป็ นไปได้โ ดยใช้ ข้อมูลที่ถูกต้องและทันต่อสถานการณ์ นอกจากนี้ในการวิเคราะห์ด้านการตลาด ผู้ลงทุนจะต้องกาหนด กลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่ชัดเจน โดยดูจากผลของการศึ กษาความต้องการของตลาดเบื้ องต้ น และจะต้อง กาหนดแผนการตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค ด้านการจัดการจะต้องมีการวางรูปแบบ และสรรหาบุคลากรที่เหมาะสม และควรจะต้องศึกษาระเบียบต่าง ๆ ที่ เกี่ยวกับการขออนุญาตก่อสร้าง ด้านการก่อสร้างผู้ลงทุนต้องมีการควบคุมการก่อสร้างอย่างใกล้ชิด เพราะถ้าการก่อสร้างไม่ตรงตามแบบ แล้ว การแก้ไขทาได้ยากและเสียเวลา สาหรับการเงินจะต้องมีการวางแผนว่าเงินที่นามาใช้ในการลงทุ นจะ นามาจากแหล่งใดบ้าง ซึ่งจะต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับสถาบันการเงินต่าง ๆ เพื่อให้ได้รับการสนับสนุน ทางด้านการเงินตลอดระยะเวลาของโครงการ และโดยเฉพาะควรจะศึกษาอัตราผลการตอบแทนจากการ ลงทุนว่าคุ้มกับการลงทุนหรือไม่

ศจีรัตน์ กลิ่นพันธุ์

59



การสารวจเบือ้ งต้นของการประกอบธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาในช่วงปี 2550-2553

การสารวจเบือ้ งต้นของการประกอบธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาในช่วง ปี 2550 – 2553 บทคัดย่อ สรรพรณ สงวนวงษ์ คาสาคัญ: บ้านจัดสรร/ พัทยา อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิเชษฎ์ สุวิสิทฐ์

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้ อมูล ธุรกิ จบ้านจัดสรรในเขตเมื องพัทยา ในช่วงปี พ.ศ. 2550 - 2553 พร้ อมทั้ ง ศึ กษาปั จ จั ย ในการท าธุ ร กิ จบ้ านจั ด สรรในเขตเมื อ งพั ท ยาให้ ป ระสบ ความสาเร็จ จากการสารวจเบื้องต้นธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตพัทยาทั้ง 7 โครงการ ได้แก่ โครงการเรือนภิ ษา, เซ็นทรัลปาร์คฮิลไซต์, เดอะวิลล่า ราชาวดี, กรีนฟิลด์ 3, พรีนารี่พาร์ค, เอสตินี่ปาร์ค และพัทยาทรอปิคอล พบว่ าโครงการบ้านจั ดสรรที่ ขายได้ ดีที่ สุ ด คื อ โครงการเรือนภิษา เนื่ องจากโครงการนี้ มีการเลื อกใช้ ส่วนผสมทางการตลาดที่เหมาะสมกับปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อบ้ านจัดสรรในเขตเมืองพัท ยาของ ลูกค้า คือ โครงการตั้งอยู่ในบริเวณชุมชน มีรูปแบบบ้านเป็นบ้านเดี่ยว และแบบบ้านจานวนห้องนอน 3 ห้อง มีจานวนห้องน้า 2 ห้อง และมีพื้นที่ใช้สอยระหว่าง 100 - 150 ตารางเมตร มีพื้นที่บ้านจัดสรร 50 100 ตารางวา ราคาบ้านอยู่ระหว่าง 3.1 - 4 ล้านบาท ราคาบ้านต่อตารางเมตรอยู่ระหว่าง 20,000 25,000 บาท และโอกาสที่ทาให้โครงการนี้ที่ขายได้มากกว่าโครงการอื่น คือ โครงการเรือนภิษานี้ เป็น โครงการที่มีการเริ่มดาเนินการก่อนโครงการอื่น ทาให้โครงการฯ มีโอกาสที่ขายสูงกว่าอีก 6 โครงการ ประกอบกับโครงการฯ มีการประชาสัมพันธ์ด้วยวิธีการติดป้ายโฆษณาเน้นตามทางเส้นทางจราจร และยัง เน้นในเรื่องของความปลอดภัยภายในโครงการ รวมทั้งมีสิ่งอานวยความสะดวกภายในโครงการมากมาย เช่น สระว่ายน้า สวนสาธารณะพร้อมสนามเด็กเล่น และสโมสร เนื่องจากโครงการดังกล่าวมีทาเลที่ตั้งห่ าง จากแหล่งพาณิชย์ของเมืองพัทยา องค์ประกอบเหล่านี้จะช่วยเพิ่มโอกาสในการประสบความสาเร็จ ให้ กับ โครงการบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยามากขึ้น

สรรพรณ สงวนวงษ์

61


การสารวจเบือ้ งต้นของการประกอบธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาในช่วงปี 2550-2553

LITERATURE REVIEW OF PROPERTY DEVELOPMENT IN PATTAYA AREA 2007 – 2010 ABSTRACT SANPARON SANGUNWONG KEYWORD: PROPERTY DEVELOPMENT/ PATTAYA ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR VICHEAD SUVISIT

The objective of the independent study is to collect information of property development businesses in Pattaya area during the year 2007 – 2010. The success factors of the businesses will be analyzed. In preliminary survey, seven property development projects in Pattaya area are selected including Ruen Pisa, Central Park Hillside, The Villa Rachavadee, Greenfield3, Plenary Park, Eastiny Park and Pattaya Tropical. The survey indicates that the best selling project is Ruen Pisa. The appropriate marketing mix influences on customer decisions. Ruen Pisa project is located in community location. It is a detached house project that there are 3 bedrooms, 2 bathrooms, 100 – 150 square meters per house area and 50 – 100 square wahs per land area. Price is around 3.1 – 4 million baht therefore price per square meters is 20,000 – 25,000 bath. Ruen Pisa project has started before other projects, so it has more opportunities to sell than others. In promotion aspect, Ruen Pisa applies public relations by setting advertising signs along nearby public roads. The project emphasizes security system. Furthermore, there are many facilities in the project, such as swimming pool, public park with playground and clubhouses. Lastly Ruen Pisa is far away from commercial area. With these factors, the property development project has more opportunities to success than others.

62

สรรพรณ สงวนวงษ์


การสารวจเบือ้ งต้นของการประกอบธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาในช่วงปี 2550-2553

สรุปผลอภิปราย การสรุปผลการศึกษาวิจัยเรื่อง “การสารวจเบื้องต้นธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาใน ช่วงปี พ.ศ. 2550 - 2553” ผู้ วิจัย เสนอผลการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ได้ แ ก่ สรุ ป ผลการส ารวจเบื้ องต้ น โดยมี วัตถุประสงค์ในการวิจัยดังนี้ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาในช่วงปี พ.ศ. 2550 - 2553 2. เพื่อศึกษาปัจจัยในการทาให้ธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาให้ประสบความสาเร็จ สรุปผลการศึกษาเบื้องต้น จากการสารวจเบื้องต้นธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาทั้ง 7 โครงการ ได้แก่ โครงการเรือน ภิษา, เซ็นทรัลปาร์คฮิลไซต์, เดอะวิลล่า ราชาวดี, กรีนฟิลด์ 3, พรีนารี่พาร์ค, เอสตินี่ปาร์ค และพัทยาทอปิ คอล พบว่า 5.1.1 ด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัด สินใจซื้ อบ้านจัดสรรในเขตเมื องพัท ยาของลู กค้ าในด้านผลิตภั ณฑ์ คือ ที่ตั้งของโครงการอยู่ในชุมชน หรือไม่ก็จ ะไม่ห่างจากชุมชนมากนัก และมีรูปแบบบ้านเป็นบ้านเดี่ยว โดย แบบบ้านที่ขายได้จะต้องมีจานวนห้องนอน 3 ห้อง มีจานวนห้องน้า 2 ห้อง มีพื้นที่ใช้สอยที่อยู่ระหว่าง 100 - 150 ตารางเมตร และมีพื้นที่ของบ้านจัดสรรจานวน 50 - 100 ตารางวา 5.1.2 ด้านราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินซื้อบ้านจัดสรรในเขตพัทยาของลูกค้าในด้านราคา คือ ราคาบ้านที่อยู่ ระหว่าง 3.1 - 4 ล้านบาท และราคาบ้านต่อตารางเมตรอยู่ระหว่าง 20,000 - 25,000 บาท 5.1.3 ด้านการจัดจาหน่าย โครงการบ้านจัดสรรทั้ง 7 โครงการมีการจัดจาหน่ายโดยมีสานักงานในที่ตั้งของโครงการ และมี พนักงานพร้อมบ้านตัวอย่างในการเสนอขายให้กับลูกค้า ไม่มีการตั้งสานักงานขายหรือจัดจุดขายแห่งอื่น ภายนอกโครงการ จึงทาให้ปั จจัยทางด้านนี้ไม่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาของ ผู้บริโภค การประชาสัมพันธ์ข องทั้ง 7 โครงการมีการติดป้ายโฆษณาตามเส้ นทางจราจร และเน้นการ ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มลูกค้าได้รู้จักถึงโครงการ แต่ไม่มีการโฆษณาผ่านสิ่งพิมพ์ หรือการออกบูธโครงการ เพราะเป็นการสิ้นเปลื องงบโฆษณา ประกอบกับลูกค้าโดยส่ วนใหญ่เป็ นชาวต่ างชาติ จึงอาจทาให้ การ โฆษณาผ่านสิ่งพิมพ์และการออกบูธเป็นการลงทุนที่เสียเปล่าได้ 5.1.4 ด้านการส่งเสริมการตลาด โครงการบ้านจัดสรรทั้ ง 7 โครงการมีการส่ง เสริ มการขายที่ไ ม่แตกต่างกั นมากนั ก โดยทั้ง 7 โครงการมีการแถมชุดครัวและเครื่องปรับอากาศเป็นหลัก ทาให้ปัจจัยทางด้านการส่งเสริมการตลาดไม่ เป็นปัจจัยที่ทาให้ทั้ง 7 โครงการมียอดขายโครงการที่แตกต่างกัน จากการสารวจเบื้องต้นธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยา ทั้ง 7 โครงการ พบว่าโครงการบ้ าน จัดสรรที่ขายได้ดีที่สุด คือ โครงการเรือนภิษา เนื่องจากโครงการนี้มีปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อบ้าน จัดสรรในเขตเมืองพัทยาของลูกค้า คือ โครงการตั้งอยู่ในบริเวณชุมชน มีรูปแบบบ้านเป็นบ้านเดี่ยว และ แบบบ้านมีจานวนห้องนอน 3 ห้อง มีจานวนห้องน้า 2 ห้อง มีพื้นที่ใช้สอยระหว่าง 100 - 150 ตารางเมตร มีพื้นที่บ้านจัดสรร 50 - 100 ตารางวา ราคาบ้านอยู่ระหว่าง 3.1 – 4 ล้านบาท ราคาบ้านต่อตารางเมตร อยู่ระหว่าง 20,000 -25,000 บาท และโอกาสที่ทาให้โครงการนี้ขายได้มากกว่าโครงการอื่น คือ โครงการ เรือนภิษานี้ เป็นโครงการที่มีการเริ่มดาเนินการก่อนโครงการอื่น ทาให้โครงการฯ มีโอกาสขายสูงกว่าอีก 6 โครงการ ประกอบกับโครงการฯ มีการประชาสัมพันธ์ด้ วยวิธีการติดป้ ายโฆษณาเน้ นตามทางเส้ นทาง จราจร และยังเน้นในเรื่องของความปลอดภัยภายในโครงการ รวมทั้งมีสิ่งอานวยความสะดวกภายใน โครงการมากมาย เช่ น สระว่ ายน้ า สวนสาธารณะพร้ อมสนามเด็ กเล่ น และสโมสรภายในโครงการ สรรพรณ สงวนวงษ์

63


การสารวจเบือ้ งต้นของการประกอบธุรกิจบ้านจัดสรรในเขตเมืองพัทยาในช่วงปี 2550-2553

เนื่องจากโครงการจัดสรรเป็นโครงการที่ห่างจากตัวเมืองพัทยา จึงทาให้ผู้ประกอบการหรือผู้ลงทุนทาง ธุรกิจจาเป็นต้องมีสิ่งอานวยความสะดวกดังกล่าวไว้ให้บริการกับลู กค้า เพื่อเป็นการสร้างโอกาสในการ แข่งขัน ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 5.2.1 การศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการศึกษาในด้านของคุณภาพของวัสดุในการก่อสร้างว่ามีผล ต่อการตัดสินใจซื้อบ้านจัดสรรหรือไม่ 5.2.2 การศึ ก ษาวิ จั ย ควรมี ก ารท าการวิ จั ย ทั้ ง ในเชิ ง บวกและเชิ ง ลบในประเด็ น อื่ น ๆ ที่ นอกเหนือจากการวิจัยในครั้งนี้ เช่น กลยุทธ์ทางการตลาดของโครงการบ้านจัดสรรที่ทาให้ลูกค้าตัดสิ นใจ ซื้อบ้านจัดสรร เพื่อให้ผู้ประกอบการมีแนวทางในการปรับปรุงกลยุทธ์ทางการตลาด

64

สรรพรณ สงวนวงษ์


กรณีศกึ ษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างภายใต้สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551-2552)

กรณีศึกษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างภายใต้ สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551 - 2552) บทคัดย่อ สุวัชชัย ทัศนนิพันธ์ คาสาคัญ: วิศวกรรมคุณค่า/ การจัดการงานก่อสร้าง/ ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ อาจารย์ที่ปรึกษา: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พิบูลย์ จินาวัฒน์

การค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการงานก่อสร้างในภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อ ศึกษาการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้าง เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานจริงในการจัดการงาน ก่อสร้างที่เจ้าของโครงการมีบริษัทที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมคุณค่าในงานก่อสร้างมาช่วยดูแลในการควบคุม ต้นทุนของโครงการ การศึกษาครอบคลุม เฉพาะนิติบุคคลในพื้นที่กรุงเทพมหานครในหมวดธุรกิจก่อสร้าง โดยท าการศึ ก ษาวิ จั ยเชิ งคุ ณภาพ (Qualitative Research) แบบสั ม ภาษณ์ ระดับ เจ้ าของโครงการ ที่ ปรึกษาโครงการ ผลการศึกษาพบว่า โครงการก่อสร้างแบ่งหน้าที่ของตาแหน่งต่าง ๆ ในการควบคุมงานก่อสร้างดังนี้ เจ้าของโครงการ ให้นโยบายที่ปรึกษาโครงการไปปฏิบัติงาน ส่วนที่ปรึกษาโครงการมีหน้าที่เป็นตัวกลางในการสื่ อสาร นโยบายของเจ้าของโครงการไปยังวิศวกรผู้ออกแบบและผู้รับเหมา วิศวกรผู้ออกแบบโครงการมีหน้าที่ ออกแบบโครงสร้างของสิ่งก่อสร้างและแรงต้านทานของวัสดุ เพื่อหาวัสดุและขนาดของวัสดุที่เหมาะสมกับ งานก่อสร้างนั้น ๆ หน้าที่ของผู้รับเหมาคือ การปฏิบัติงานทุกอย่างให้เป็นไปตามเอกสารสัญญา ด้วยวัสดุ และฝีมือแรงงานตามที่กาหนดไว้ในเอกสารสัญญาให้เป็นไปตามข้อกาหนดทางเทคนิคแบบ หมวดงานในโครงการก่อสร้างมี 3 หมวด คือ งานโครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม งานระบบซึ่ง สามารถนาวิศวกรรมคุณค่าในงานก่อสร้างเข้ามาใช้เพื่อลดต้นทุนของโครงการ โดยที่ยังคงคุณภาพของงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงของแต่ละหมวดงานสามารถสรุปได้ ดังนี้ งานโครงสร้าง หมวดงานนี้เป็นจุดหนึ่งที่จะใช้วิศวกรรมคุณค่าได้โดยการ Redesign ใหม่ งาน สถาปัตยกรรมมีการลดต้นทุน โดยเจ้าของโครงการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เอง โดยหน่วยจัดซื้อส่วนกลางของ บริษัท ซึ่งจะใช้วิธีรวมยอดซื้อหลายโครงการทาให้ราคาต้นทุนลดลง งานระบบเป็นหมวดงานที่จะมีผลมาก ในการลดต้นทุนในงานก่อสร้างโดยคุณภาพงานไม่ได้ลดลง ส่วนนี้จะลดค่าใช้จ่ายได้มากเนื่องจากราคา อุปกรณ์เหล่านี้ส่งเป็นหลักล้านบาท วิศวกรรมคุณค่าเป็นส่วนหนึ่งของการลดต้นทุนค่าก่อสร้างซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาโครงการ โดยทุกโครงการสามารถทาได้ แต่จะอยู่ที่ส่วนใดเวลาใดก็ขึ้นอยู่กับบุคลากรที่ทางานร่วมกัน ทั้งเจ้าของ โครงการ ที่ปรึกษาโครงการ วิศวกรผู้ออกแบบ ทุกคนสามารถเสนอความคิดเห็นที่จะช่วยทาให้ต้นทุนของ โครงการลดลงได้ ถ้าหากทาได้ก็จะได้ค่าก่อสร้างที่ถูกลงและเป็นมาตรฐานในการทางานในครั้งต่อไป

สุวัชชัย ทัศนนิพนั ธ์

65


กรณีศกึ ษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างภายใต้สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551-2552)

APPLICATION OF VALUE ENGINEERING METHODS TO CONSTRUCTION MANAGEMENT OF A PROJECT UNDER ECONOMIC CRISES (2008 - 2009 A.D.) ABSTRACT SUWATCHAI THASANANIPAN KEYWORD: VALUE ENGINEERING/ CONSTRUCTION MANAGEMENT/ ECONOMIC CRISES ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PIBUL JINAWATH, PH.D.

This research deals with the application of value engineering principles to effect the reduction of cost budgeting improvement of the overall efficiency in construction management and effective control of construction time of the project. A case study of a condominium construction project on Jaran-sanitwong Road, Thonburi which was executed during an economic crises years of 2008-9 was presented. The application of value engineering principles were tested and trialed with good results, resulting in saving a considering amount of assets and delivering time to the customers. It is recommended that V.E. should be applied to whenever possible occasions to any construction project but should also be under supervision of qualified and experienced personnels in order to achieve the required results.

66

สุวัชชัย ทัศนนิพนั ธ์


กรณีศกึ ษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างภายใต้สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551-2552)

สรุปผลอภิปราย การศึกษาค้นคว้าเรื่องกรณีศึกษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้าง ภายใต้สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551 - 2552) เป็นการศึกษาค้นคว้าที่ครอบคลุมเฉพาะนิติ บุ ค คลในพื้ น ที่ ก รุ งเทพมหานครในหมวดธุ ร กิ จ ก่ อ สร้ า ง โดยใช้ วิ ธี ก ารศึ ก ษาค้ น คว้ า เชิ งคุ ณ ภาพแบบ สัมภาษณ์เจาะลึก ระดับเจ้าของโครงการ ที่ปรึกษาโครงการ และได้นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์รว่ มกับข้อมูล ที่ได้จากการเก็บรวบรวมเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ แนวคิด เกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาด แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจสานักพิม พ์และนิตยสารเป็นกรอบในการ วิเคราะห์ และนามาเปรียบเทียบ ซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษาค้นคว้าได้ดังนี้ สรุปผลอภิปรายผล 1.1 การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าในส่วนของการจัดการงานก่อสร้าง การบริหารโครงการก่อสร้างของโครงการนี้ พบว่ามีผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างทั้งหมด 5 กลุ่ม ซึ่งทางานประสานกันในหน้าที่ต่าง ๆ ที่ได้รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถบริหารโครงการให้แล้วเสร็จตาม วัตถุประสงค์ ประกอบไปด้วย เจ้าของโครงการ ผู้ออกแบบ ที่ปรึกษาโครงการ หน่วยงานจัดซื้อของบริษัท และผู้รับเหมาก่อสร้าง ซึ่งจะมีความแตกต่างจากโครงการก่อสร้างโดยทั่วไป ที่จะมีเจ้าของโครงการเป็นผู้ ประสานงานกับผู้ออกแบบและผู้รับเหมาเอง โครงการนี้ได้เลือกใช้วิธีจ้างบริษัทที่ปรึกษามาให้คาแนะนาใน การบริหารโครงการก่อสร้าง และเป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งที่ปรึกษาโครงการได้มีส่วน ร่วมกับเจ้าของโครงการในการนาวิศวกรรมคุณค่าในงานก่อสร้างมาลดต้นทุนในงานก่อสร้าง เพื่อให้ สามารถควบคุมงานก่อสร้างที่มีงบประมาณจากัด ให้ลดค่าใช้จ่ายลง ส่งผลให้สามารถมีผลกาไรมากขึ้นได้ โดยในการจัดการงานก่อสร้างในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เจ้าของโครงการต้องมีส่วนร่วมในการ ให้นโยบายและสนับสนุนให้มีการนาหลักวิ ศวกรรมคุณค่ามาปฏิบัติในโครงการ โดยการให้หลักการและ แนวทางในการดาเนินงานแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องดังนี้คือ เมื่อมีการนาหลักของ VE มาใช้แล้วนั้น ราคาต้อง ลดลงแต่ยังคงคุณภาพที่ดีมีมาตรฐาน และไม่มีผลกระทบต่อแผนงานโดยรวม ซึ่งที่ปรึกษาโครงการมีหน้าที่ ในการเป็นสื่อกลางในการประสานงานและสื่อนโยบายของเจ้าของโครงการไปสู่ผู้ออกแบบ ผู้รับเหมา อีก ทั้ งยั งมี ห น้ า ที่ ใ นการติ ด ตาม ตรวจสอบทั้ งในด้ า นราคา การควบคุ ม คุ ณ ภาพ รวมทั้ ง ระยะเวลาการ ดาเนินงาน ตั้งแต่เริ่มต้นโครงการจนกระทั่งการทางานแล้วเสร็จ โดยการจัดการโครงการนี้เจ้าของโครงการ ได้มอบหมายให้ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายก่อสร้างเป็นผูร้ ับผิดชอบในการจัดการและควบคุมดูแลโครงการทั้งหมด ในส่วนของผู้ออกแบบ จะมีหน้าที่ในการออกแบบ วิเคราะห์ทั้งทางด้ านของงานโครงสร้าง งาน สถาปัตยกรรม และงานระบบต่าง ๆ รวมทั้งมีหน้าที่ในการนาเสนอหรื อจัด ทาวัสดุ อุป กรณ์ที่มี ค วาม เหมาะสมกับสภาพของงาน โดยผู้ออกแบบจะนาแนวทางที่ได้จากเจ้าของโครงการคือการนาหลักของ VE มาประยุกต์ใช้ให้ตรงกับวัตถุประสงค์ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อโครงการ ดังนั้นแบบที่แล้วเสร็จ จึ ง ค่อนข้างที่จะสมบูรณ์ หลังจากนั้นจึงส่งแบบเพื่อให้บริษัทรับเหมาก่อสร้างได้ประมูลราคาต่อไป เมื่อบริษัท รับเหมาก่อสร้างได้นาแบบมาศึกษาแล้วนั้น ขั้นต่อไปคือการส่งราคาประมูลพร้อมทั้งการนาเสนอวิธีการใน การดาเนินงาน และวิธีการลดต้นทุนทางด้านเวลาในการดาเนินงาน เช่น มีการนาระบบไม้แบบไมวาน (MIVAN) ซึ่งสามารถประหยัดเวลาได้มากกว่าระบบการใช้ไม้แบบดั้งเดิมมาใช้ดาเนินงาน และให้ความ ร่วมมือกับทางโครงการในการที่โครงการจะจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ เองในบางรายการ เนื่องจากฝ่าย จัดซื้อของส่วนกลางจะทาการประสานงานกับทุกโครงการเพื่อรวมจานวนวัสดุให้ได้มากที่สุดและนาไปใช้ ต่อรองทางด้านราคากับบริษัทค้าวัสดุก่อสร้าง 1.2 การนาวิศวกรรมคุณค่ามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง โครงการจะเริ่มต้นจาก Business Development (BD) หาที่ดินที่จะสร้างโครงการ นาเสนอ ผู้บริหาร และ Marketing มีหน้าที่ในการ Design Product ว่าควรสร้างโครงการลักษณะใด พื้นที่กี่ตาราง สุวัชชัย ทัศนนิพนั ธ์

67


กรณีศกึ ษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างภายใต้สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551-2552)

เมตร ราคาเท่าไร โดยเจ้าของโครงการ Support ราคาของการก่อสร้างแล้วนาข้อมูลเหล่านี้เสนอให้ BD ทา Feasibility ว่าโครงการมีความคุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่ และสร้างแบบ 3 มิติ โดยแบ่ งเป็นแบบ Conceptual และ Floor Plan แล้วนา Product ไปเสนอขายก่อนที่จะสร้างแบบจริงที่จะใช้ในโครงการ ก่ อ สร้ า ง โดยบริ ษั ท จะพิ จ ารณาลงทุ น ในโครงการที่ มี Gross Profit (GP) มากกว่ า 30% ขึ้ น ไป เมื่ อ พิจารณาแล้วว่าคุ้มก็จะเริ่มดาเนินการ Marketing เริ่มขายโครงการ เจ้าของโครงการรับโครงการมา ดาเนินการต่อโดยมี Budget มาใช้ในการดาเนินโครงการมี Master Schedule ว่าจะเริ่มโครงการเมื่อใด สิ้นสุดโครงการเมื่อใด และจะโอนให้กับผู้ซื้อเมื่อใด โดยในรายละเอียดของ Bill of Quantities นั้นจะประกอบด้วย งานโครงสร้าง ซึ่งในโครงการนี้ มีการออกแบบเป็นอาคารที่ไม่สูงใหญ่มากนัก ดังนั้นฐานรากและเสาเข็ม จึงไม่มีความจาเป็นที่จะต้องใช้ เข็มเจาะขนาดใหญ่ รวมทั้งการออกแบบผนังกั้นห้องต่าง ๆ ให้เป็น ผนังคสล. ก็ทาให้การทางานมีความ รวดเร็ ว ยิ่ งขึ้ น เนื่ อ งจากไม่ ต้ อ งก่อ อิ ฐ ฉาบปู น และยั งสามารถรับ น้ าหนั กพื้ น ชั้ น ต่ อ ไปได้อี ก ด้ วย การ ออกแบบโครงสร้ า งในลั ก ษณะนี้ ส ามารถช่ ว ยประหยั ด เวลาได้ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 10 เดื อ น และประหยั ด งบประมาณได้ไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท อีกทั้งอาคารดังกล่าวไม่ใช่อาคารที่มีความสูงมากนัก จึงไม่มีความ จาเป็นที่จะต้องใช้เครื่องจักรหนัก ดังนั้นจึงสามารถประหยัดค่าเครื่องจักรได้จานวนหลายล้านบาท ในส่วนของงานสถาปัตยกรรมในโครงการนี้ มีส่วนของงานก่ออิฐฉาบปูนจานวนน้อย เนื่องจาก การออกแบบที่มีความต้องการที่จะลดขั้นตอนและลดเวลาการดาเนินงาน อีกทั้งเจ้ าของโครงการเป็นผู้ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เองในบางรายการ เช่น กระเบื้อง สุขภัณฑ์ ประตู หน้าต่าง เป็นต้น ทาให้โครงการนี้ สามารถประหยัดค่าวัสดุอุปกรณ์ได้ไม่น้อยกว่า 2,800,000 บาท และส่วนของงานระบบ ทางโครงการได้ เป็นผู้จัดซื้อลิฟต์เอง จึงทาให้สามารถลดต้นทุนได้ไม่น้อยกว่า 400,000 บาท จากที่กล่าวมาแล้วในข้างต้น จะเห็นได้ว่า การนาหลักวิศวกรรมคุณค่ามาใช้ทั้งในหมวดของงาน โครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม และงานระบบนั้น จะช่วยทาให้โครงการนี้สามารถลดต้นทุนทางด้านราคาได้ ไม่น้อยกว่า 4.6% ของมูลค่าก่อสร้าง ดังนั้นการนาหลักวิศวกรรมคุณค่ามาใช้ในการจัดการงานก่อสร้างจึง สามารถเห็นผลได้จริงในด้านการประหยัดต้นทุนและการประหยัดเวลา แต่ยังคงคุณภาพไว้ดังเดิม ความสาคัญของบริษัทปรึกษาในการลดต้นทุนงานก่อสร้าง เจ้าของโครงการมีเกณฑ์ในการพิจารณาในการคัดเลือกบริษัทที่ปรึกษาโครงการก่อสร้าง คือ ต้องเคยเป็นที่ปรึกษาที่เคยร่วมงานกับบริษัทมาก่อน และมีประวัติการทางานที่ดี ไม่มีข้อผิดพลาด และอยู่ ใน Budget ที่บริษัทกาหนดไว้ การมีที่ปรึกษามาช่วยในการบริหารโครงการและช่วยเหลือในการตัดสินใจด้านต่าง ๆ เช่น การ เลือกใช้วัสดุในการก่อสร้าง การคัดเลือกผู้รับเหมา จะทาให้สามารถควบคุมดูแลเรื่องการลดต้นทุนได้อย่าง มีประสิทธิภาพมากกว่าเจ้าของโครงการเป็นผู้ดูแลเอง ที่ปรึกษาเข้ามาช่วยในการควบคุมงาน เนื่องจากบุคลากรบริษัทไม่เพียงพอที่จะมาบริหารจัดการ ทุกโครงการพร้อม ๆ กัน จึงต้องมีที่ปรึกษา (CM) เข้ามาช่วย ซึ่งที่ปรึกษาจะมี ประสบการณ์ในงานบาง เรื่ อ งที่ เ จ้ า ของโครงการไม่ มี เช่ น การควบคุ ม คุ ณ ภาพ การควบคุ ม งบประมาณ เพราะที่ ป รึ ก ษามี ประสบการณ์ในการดูแลโครงการก่อสร้างหลายบริษัท ก็จะทราบว่าจุดอ่อนแต่ละประเด็นอยู่ที่ใด ตรงส่วน ใดที่ต้องดูแลควบคุมเป็นพิเศษ สิ่งที่ต้องพิจารณามีอยู่ 2 ส่วนก็คือ 1. ความเพียงพอของจานวนบุคลากร 2. ความรู้ความเชี่ยวชาญของบุคลากร ถ้าเจ้าของโครงการมีทีมที่ชานาญในการก่อสร้างเฉพาะด้าน ก็ไม่จาเป็นต้องมี CM ก็ได้ เจ้าของ โครงการสามารถดาเนินการเองได้เช่นกัน แต่บางครั้งบริษัทจะติดปัญหาเรื่องงบประมาณ เรื่องค่าแรงที่ไม่ ไหว หรือปัญหาบุคลากรไม่เพียงพอ ก็ตัดปัญหานี้ออกไปโดยการแจ้ง CM ซึ่งจะเป็นการจ้างโดยทาสัญญา โครงการต่อโครงการ 68

สุวัชชัย ทัศนนิพนั ธ์


กรณีศกึ ษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างภายใต้สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551-2552)

การการจัดการกับปัญหาที่พบในการบริหารโครงการก่อสร้าง เรื่องความพร้อมของปริมาณแรงงานและวัสดุอุ ปกรณ์ จะต้องมีการเตรียมความพร้อมของ แผนงานโดยจะให้ Supplier ทั้งหมดมาประชุมกันให้ทราบถึงแผนที่จะก่อสร้างว่า จะมีกาหนดการเข้าของ วัสดุต่าง ๆ อย่างไรบ้าง Supplier จะมีทั้ง 2 ส่วนคือ ที่เจ้าของโครงการเป็นผู้จัดซื้อเอง และ Supplier ที่ ผู้รับเหมาเป็นผู้จัดหามาให้ โดย CM จะเป็นผู้ประสานงานเรื่องแผนและการเข้าของวัสดุ และจะพยายาม เลือกผู้รับเหมาเจ้าใหญ่ ๆ เพื่อที่จะได้ไม่มีปัญหาเรื่องแรงงาน ราคาวัสดุที่ผันผวนและไม่สามารถทาการปรับราคาก่อสร้างเพิ่มขึ้นตามได้ วิธีการที่ดีในการ จัดการเรื่องลดราคาวัสดุอุปกรณ์ก็คือ Pack รายการหลาย ๆ โครงการเข้าด้วยกันให้ได้ปริมาณมาก ๆ ให้ สามารถต่อรองได้ราคาที่ถูกลง หรือทาการลด Spec วัสดุก่อสร้างลง ปัญหาการควบคุมงานตามเวลาที่กาหนด งานก่อสร้างเป็นผลจากการปฏิบัติงานของผู้รับเหมา เป็นหลัก ผู้รับเหมาที่เข้ามาจะใช้วิธีการ Biding และเลือกใช้วิธีก่อสร้างที่มีต้นทุนถูก แต่ที่นี่ใช้เทคนิคใหม่ คือการหล่อตึกขึ้นมาใน Site เมื่อหล่อเสร็จแล้วจะได้ผนังพื้นและฝ้าเพดานขึ้นมาในคราวเดียว จะได้ผิวที่ เรียบกว่าการใช้คนงานก่อ วิธีนี้จะช่วยให้งานเสร็จเร็วขึ้น บริษัทเคยประสบปัญหาผู้รับเหมาหนีงาน เมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นก็จะเกิดความเสียหายกับทุก ฝ่าย เพราะฉะนั้นก่อนจะถึงจุดนั้นก็จะพยายามช่วยเหลือกันให้ถึงที่สุดก่อน แต่ถ้าเกิดขึ้นเป็นอันดับแรกก็ ต้องไม่จ่าย Payment เกินกว่าปริมาณงานที่ทาไป เพราะเมื่อหาผู้รับเหมารายใหม่เข้ามาทางานต่อก็จะ เกินงบประมาณที่เหลือ ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องควบคุมตั้งแต่ต้นจนจบ ถ้าเกิดเหตุการณ์ขึ้นจะมีหลักประกันที่ถอื ไว้ตอนเริ่มก่อสร้าง จากประสบการณ์ของ CM จะมีสัญญาณให้สังเกตได้ว่าผู้รับเหมากาลังจะทิ้งงาน เช่น จานวน คนงานลดลง คนงานไม่ได้ค่าแรง วัสดุไม่เข้า Site งาน งานไม่คืบหน้า ซึ่ง CM จะช่วยผลักดันให้ผู้รับเหมา ทางานจนจบ กรณีที่มีปัญหาก็จะปรึกษาเจ้าของโครงการว่าจะดาเนินการอย่างไร เพราะการให้ผู้รับเหมา ออกเป็นเรื่องใหญ่ ผลการออกจะเกิดความเสียหายอย่างมหาศาล ในช่วงที่ผู้รับเหมาจะ Terminate นั้น CM ต้ อ งเข้ า ไปรั บ ผิด ชอบทุ ก อย่ าง แม้ ก ระทั่ งการขนย้ า ยวั สดุ ภายใน Site งาน คนที่ จ ะขนของออก ภายนอก คนภายนอกที่จะเข้ามาใน Site งาน เป็นต้น 1.3 การศึกษาวิธีการจัดการงานก่อสร้างในวิกฤตเศรษฐกิจ ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจจะส่งผลกระทบต่อธุรกิจก่อสร้างเป็นอย่างมากเพราะเป็นสินค้าที่มีมูลค่า สูง ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวลูกค้าจะไม่ค่อยมีกาลังซื้อมากนัก ทางเจ้าของโครงการจึงต้องใช้วิธีการจัดการ โดยการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้ายังสามารถจ่ายได้ ซึ่งจะมีผลิตภัณฑ์ที่ครอบคลุมทุกตลาด ในแง่ของการขายจะมีการจัดโปรโมชั่นออกมาเพื่อกระตุ้นยอดขายให้ลูกค้าซื้อหาได้เหมื อนเดิม เช่น จ่ายงวดดาวน์ถูกลง ในส่วนของการก่อสร้างก็ต้องรักษาให้ใช้ ต้นทุนต่าที่สุด ในขณะที่ราคาขายเพิ่มไม่ได้ ดังนั้นสิ่งที่ รักษา Margin เอาไว้ได้ก็คือ ต้องทาให้ค่าก่อสร้างน้อยที่สุด โดยปกติค่าที่ดินกับค่าก่อสร้างจะคิดเป็น 70 80% ของมูลค่าโครงการ ถ้าลดส่วนของค่าก่อสร้างได้ก็จะเป็นกาไรกลับคืนมาให้บริษัทได้มาก ระหว่างการทางานก่อสร้าง หากต้นทุนวัสดุสูงขึ้นในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจนั้น งานของเอกชน ผู้รับเหมาจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบความเสี่ยงเอง โดยการคิดเผื่อไว้ในค่าก่อสร้างแล้ว ซึ่งเมื่อปี 2550 ก็เคย ประสบปัญหาทั้งประเทศ ค่าน้ามันและราคาเหล็กเพิ่มขึ้นสูงมาก ยิ่งงานใหญ่ก็ยิ่งติดลบได้มาก แต่โดยปกติ แล้วผู้รับเหมาจะมีสัญญากับบริษัทผู้ผลิตเหล็ก ทาง CM มี ส่วนช่วยประสานงานกับเจ้าของโครงการใน ส่วนของวัสดุว่าจะสามารถลด Spec ลงได้หรือ ไม่ CM จะต้องควบคุมงานอย่างใกล้ชิด เช่น การตรวจสอบ งานเป็นรายวัน ควบคุมระยะเวลา ทางานให้อยู่ในสัญญา และให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ กรณีที่ผู้รับเหมาเกิดภาวะขาดทุนก็จะทาให้เกิดการทิ้งงาน ในช่วงเศรษฐกิจผันผวน เจ้าของ โครงการจะช่ ว ยเหลือ ผู้รับ เหมาได้โ ดยการ Absorb ค่ า ใช้ จ่ า ยบางอย่า งที่ เกี่ ย วข้ อ ง เช่ น อาจช่ ว ยให้ ผู้รับเหมาได้รับ Cash flow เร็วขึ้น การให้เบิกเงินค่าของที่มี PO และกาหนดส่งแน่นอนและล่วงหน้า อีก ประเด็นที่ช่วยเหลือได้ก็คือ พิจารณาไม่มีเบี้ยปรับในกรณีที่ส่งมอบงานล่าช้า สุวัชชัย ทัศนนิพนั ธ์

69


กรณีศกึ ษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างภายใต้สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551-2552)

1.4 Key Success Factor ในการ Implement วิศวกรรมคุณค่าในงานก่อสร้าง สิ่ ง ที่ ท าก็ คื อ การ Redesign โครงสร้ า งอาคารใหม่ ซึ่ ง มี ขั้ น ตอนของการด าเนิ น การ Value Engineer By Contractor ตามเอกสารในภาคผนวก ซึ่ งจะระบุ คุ ณ สมบั ติ ข องวิ ศ วกรที่ จ ะมาท างาน วิศวกรรมคุณค่า โดยเงื่อนไขของการท างานที่จะต้ อ งปรับ ปรุงโครงสร้า งที่มีส่ วนสาคัญในเรื่ องความ ปลอดภัย ก็จะมีวุฒิวิศวกรและสถาปนิกเข้ามาดาเนินการ Product ที่ได้ก็คือ แบบที่แก้ไขปรับปรุงกลับมา Key Success Factor เป็นเรื่องของบุคลากรที่ทาหน้าที่ควบคุมดูแลงาน และเป็นปัจจัยสาคัญ คือต้องมีประสบการณ์ที่ผ่านงานมามากพอสมควร ต้องสามารถมองได้ว่าแบบที่ Designer ทามามีส่วนใด ที่ลดต้นทุนได้ทั้งงานโครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม และงานระบบ และอีกปัจจัยก็คือการเลือกใช้วิธีการ ก่อสร้างให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เช่น ใน กทม. จะให้รถขนปูนวิ่งเข้ามาเป็นจานวนมากในเวลาที่ จากัดจะทาได้ยาก ก็ต้องใช้การขนส่งชิ้นส่วนสาเร็จรูป เป็นต้น หรือการก่อสร้างในชานเมืองไม่ต้ องใช้ เสาเข็มเจาะก็เปลี่ยนเป็นเสาเข็มตอกที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายลงไปได้ สรุปการนาเอาวิศวกรรมคุณค่ามาใช้ในการลดต้นทุนของโครงการก่อสร้างดังนี้ วิศวกรรมคุณค่า เป็นส่วนหนึ่งของการลดต้ นทุ นค่า ก่อสร้ างซึ่งเป็นส่ วนหนึ่ งในการ Develop โครงการ ทุกโครงการก็ สามารถทาได้ แต่จะอยู่ในส่วนใด เวลาใด ก็ขึ้นอยู่กับบุคลากรที่ทางานร่วมกัน ทั้งเจ้าของโครงการ CM Designer ทุกคนสามารถเสนอความคิดเห็นที่จะช่วยทาให้ต้นทุนของโครงการลดลงได้ ถ้าหากทาได้ก็จะได้ ค่าก่อสร้างทีถ่ ูกลงและเป็นมาตรฐานในการทางานในครั้งต่อไป ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาค้นคว้าเรื่อง กรณีศึกษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้าง ภายใต้ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551 - 2552) ผู้ศึกษาค้นคว้ามีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะสาหรับเจ้าของโครงการ การใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้าง นั้น ขึ้นอยู่กับบุคลากรและประสบการณ์ในการบริหารโครงการของเจ้าของโครงการ หากบุคลากรของ เจ้าของโครงการมีมากพอและมีประสบการณ์ในการบริหารโครงการ ก็ไม่จาเป็นที่จะต้องมีทีมที่ปรึกษา วิศวกรรมคุณค่าในการบริหารโครงการ แต่ หากขาดข้อใดข้อหนึ่งไป เจ้าของโครงการควรมีทีมที่ปรึกษาใน การบริหารโครงการก่อสร้าง เพราะหากบุคลากรหรือประสบการณ์ในโครงการมีไม่มากพอก็จะส่งผลต่อ การดาเนินงาน ซึ่งหากต้องการมีการแก้ไขงานก็จะสิ้นเปลืองงบประมาณมากยิ่งขึ้นไปอีก 2. ข้อเสนอแนะสาหรับผู้รับเหมา การที่โ ครงการก่อสร้างมีทีมที่ปรึกษาวิศวกรรมคุณค่ามา บริหารโครงการนั้น แท้จริงแล้วกลับเป็นผลดี ต่อผู้รับเหมา เพราะที่ปรึกษาจะคอยตรวจสอบ ดูแล และ แก้ไขงานของผู้รับเหมา ทาให้งานที่ผู้รับเหมาทาออกมาตรงตามความต้องการของเจ้าของโครงการ และ ช่วยลดต้นทุนให้กับเจ้าของโครงการ ซึ่ งจะส่งผลในทางบวกแก่ผู้รับเหมาด้วย เพราะเจ้าของโครงการก็ อาจจะเลือกผู้รับเหมารายเดิมในโครงการต่อไป ทั้งนี้ข้อเสนอแนะนี้ ก็ขึ้นอยู่กับมุมมองของผู้รับเหมาเอง เพราะผู้รับเหมาอาจคิดแต่เพียงว่า ทาอย่า งไรให้ งานเสร็จเร็ วตรงตามกาหนด หรือเสร็จก่อนกาหนด ผู้รับเหมาจะได้รับงานต่อไป ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป จากการศึกษาค้นคว้าเรื่องกรณีศึกษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้าง ภายใต้สภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551 - 2552) ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความเห็นว่า ควรมีการศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมดังนี้ 1. ควรทาการศึกษาการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างในโครงการแบบอื่น เช่น โครงการบ้านจัดสรร โครงการทาวน์เฮ้าส์ โครงการทาวน์โฮม 2. ควรทาการศึกษาการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้าง โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง เป็ น บริ ษั ท พั ฒ นาอสังหาริ มทรัพ ย์ ที่ จดทะเบี ย นในตลาดหลั กทรั พ ย์ ว่ า มี ก ารใช้ ป ระโยชน์ จ ากการใช้ วิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างด้านใดบ้าง เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาวิศวกรรมคุณค่าใน การจัดการงานก่อสร้างของประเทศไทยต่อไป 70

สุวัชชัย ทัศนนิพนั ธ์


กรณีศกึ ษาของการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างภายใต้สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน (ปี 2551-2552)

3. ควรทาการศึกษาการใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการจัดการงานก่อสร้างในหมวดค่าบริหาร จัดการ ซึ่งหากพิจารณาตัวอย่างผลการวิเ คราะห์จากโครงการนี้จะเห็นได้ว่า มีมูลค่าสูงถึง 25% ซึ่งเป็น มูลค่าที่มากกว่าหมวดอื่น ๆ ทุกหมวดในงานก่อสร้างโครงการ

สุวัชชัย ทัศนนิพนั ธ์

71



3



การศึกษาปัจจัยที่สง่ ผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างจึงเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้างประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร

การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้าง ประมาณการ กรณีศกึ ษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร บทคัดย่อ ชาญกนก ชาญสุทธิกนก คาสาคัญ: การบริหารโครงการก่อสร้าง/ ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาค่าก่อสร้าง อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัญชา ชุ่มเกษร

การบริ ห ารโครงการก่ อสร้างของอาคาร เริ่ ม ตั้ ง แต่ การวางแผนงานของโครงการจนกระทั่ง โครงการก่อสร้างแล้วเสร็ จ การบริหารโครงการก่อสร้ างจึ งมีค วามส าคัญ ในทุกภาคส่ วน และผู้ที่มีส่ วน เกี่ยวข้องกับการดาเนินการในทุกขั้นตอน ควรกระทาการวางแผนอย่างรอบคอบและละเอียดถี่ถ้วน เพื่อ ช่วยลดปัญหาในระหว่างการดาเนินการก่อสร้างของโครงการ ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาข้อมูลทั้งหมดของ โครงการที่มีการด าเนิ นการแล้ วเสร็ จ เพื่อให้ทราบถึ งปั ญ หาต่ าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อเป็นกรณี ศึ กษาและ แนวทางในการเตรียมงบประมาณโครงการก่อสร้างให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาค่าก่อสร้างตั้งแต่เริ่มโครงการจนกระทั่งโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จ มีหลายปัจจัยที่ทาให้ต้นทุนของค่าก่อสร้างมีมูลค่าเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปได้อย่างราบรื่นและมีข้อผิดพลาดน้อยที่สุด จึงต้องทาการศึกษาถึง สาเหตุ ต่ าง ๆ เหล่ านั้ น เพื่ อนามาเป็ นกรณี ศึ กษาและสามารถเป็ นตัวอย่ างในการนาไปประยุกต์หรือ ปรับเปลี่ยนวิธีการในการวางแผนงานของโครงการได้ จากการศึกษาได้ผลสรุปว่า 1. ปั จจั ย หลั กที่ ส่ ง ผลให้ ร าคาต้ นทุ น ค่ า ก่ อ สร้ างจริ ง สู ง ขึ้ น กว่ าค่ า ก่ อ สร้ างประมาณการอั น เนื่องมาจากการขาดประสบการณ์ของผู้รับเหมางาน 2. ปั จ จั ย รองส่ ง ผลให้ ร าคาต้ น ทุ น ค่ า ก่ อ สร้ า งจริ ง สู ง ขึ้ น กว่ า ค่ า ก่ อ สร้ า งประมาณการอั น เนื่องมาจากการว่าจ้างแรงงานที่ขาดฝีมือและประสิทธิภาพในการทางาน

ชาญกนก ชาญสุทธิกนก

75


การศึกษาปัจจัยที่สง่ ผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างจึงเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้างประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร

A STUDY OF ACTUAL COST FACTORS AFFECTING CONSTRUCTION BUDGET: A CASE STUDY OF A WARE HOUSE PROJECT IN BANGKOK ABSTRACT CHANKANOK CHANSUTIKANOK KEYWORD: CONSTRUCTION PROJECT MANAGEMENT/ FACTOR AFFECTIVE OF CONSTRUCTION COST ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR BUNCHA CHUMKASORN

Construction project management start from planning of the project until construction is completed. Construction project management is important in all sectors and stakeholders to the implementation of all stages of planning should be done carefully and thoroughly to help reduce problems during the construction of the project. So after the completion of the project, lesson should be learnt to identify issues that happen to be the case and plan for the preparation of the project to the most effective. Factors affecting the cost of construction from beginning of the project to the project completion were identified. There are several factors that increase the cost of construction is worth more. Factors such as internal factors and external factors. To project management is seamless with minimum error, learnt lessons from case studies should be utilized to the full. The conclusion of the study can be summarized as follows: 1. The main factors resulting in the actual construction cost higher than the construction cost estimate due to the lack of contractor experience. 2. Secondary factors resulting in the actual construction cost higher than the construction cost estimate due to the lack of employment skills and performance.

76

ชาญกนก ชาญสุทธิกนก


การศึกษาปัจจัยที่สง่ ผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างจึงเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้างประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร

สรุปผลอภิปราย สรุปผลจากการศึกษาและวิเคราะห์ การศึกษาและวิเ คราะห์ปั จจัย ที่ ส่ง ผลให้ต้ นทุ นค่ าก่ อสร้ างจริ งเพิ่ มขึ้ นจากต้ นทุ นค่ าก่ อ สร้ าง ประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้าในเขตกรุงเทพมหานคร มีข้อสรุปดังนี้ กรณีศึกษาโครงการที่ 1 ในกรณีศึกษาโครงการที่ 1 เป็นการก่อสร้างโดยมีผู้รับเหมางานเป็นผู้จัดหาวัสดุ และมีการว่าจ้าง แรงงานแบบรายวัน โดยการว่าจ้างจะเป็นลักษณะสัญญาแบบราคาต่อหน่วย หรือ Unit Price Contract จากตารางที่ 17 จะพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในโครงการมาจากสาเหตุใด ซึ่งจากผลการศึกษาและ วิเคราะห์สาเหตุเพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่เกิดขึ้นต่อโครงการ สรุปได้ดังนี้ 1. ปริมาณวัสดุที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการมากที่สุด ปริมาณวัสดุที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการมากที่สุด คือ เพิ่มขึ้นคิดเป็น 4.45% มีสาเหตุมาจาก การสารวจหน้างานถึงสภาพแวดล้อมของสถานที่ก่อสร้าง วิธีการและขั้นตอน วัสดุในการก่อสร้าง และการ ประมาณการเผื่อการสูญเสียของการใช้วัสดุ มีการประมาณการผิดพลาด ทาให้บางส่วนต้องใช้วัสดุเพิ่มขึ้น จากที่ประมาณการไว้ โดยสาเหตุเหล่านี้ทาให้ต้องมีการสั่งซื้อวัสดุในปริมาณที่มากขึ้นกว่าที่ประมาณการไว้

2. ค่าวัสดุที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสอง ค่าวัสดุที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสอง เพิ่มขึ้นคิดเป็น 4.17% มีสาเหตุมาจาก การคาดการณ์ ร าคาค่ า วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ใ นการก่ อ สร้ า งมี ค วามผิ ด พลาด ท าให้ ก ารประมาณการเผื่ อ การ เปลี่ ย นแปลงของราคาวั ส ดุนั้นน้ อยกว่ าความเป็ นจริง โดยสาเหตุ เ หล่ านี้ ท าให้ ต้องมี การสั่ งซื้ อวั ส ดุใน ช่วงเวลาที่มีราคาสูงกว่าที่ได้ประมาณการไว้ 3. ค่าแรงที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสาม ค่าแรงที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสาม เพิ่มขึ้นคิดเป็น 1.99% มีสาเหตุมาจาก ความสัมพันธ์ของปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากการจ้างงานเป็นลักษณะการว่าจ้างแรงงานแบบรายวัน หากปริมาณงานเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นก็จะส่งผลให้ค่าแรงสูงขึ้นตามไปด้วย และการจัดการด้านการควบคุม คุณภาพของแรงงานนั้นขาดประสิทธิภาพ โดยมีสาเหตุทาให้แรงงานมีราคาสูงขึ้นกว่าที่ได้ประมาณการไว้ 4. ค่าดาเนินการที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสี่ ชาญกนก ชาญสุทธิกนก

77


การศึกษาปัจจัยที่สง่ ผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างจึงเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้างประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร

ค่าดาเนินการที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสี่ เพิ่มขึ้นคิดเป็น 0.77% มีสาเหตุมา จากการคาดการณ์ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการไม่ครอบคลุมกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง รวมถึงการสูญเสียที่ เกิดจากราคาค่าก่อสร้างทางตรง ทาให้ต้นทุนในส่วนของค่าดาเนินการเพิ่มมากขึ้นจากที่ได้ประมาณการไว้ จากแผนภูมิที่ 19 จะเห็นสัดส่วนของการเพิ่ มขึ้ น ของราคาค่ าก่อสร้ างในแต่ล ะหมวดหมู่ ข อง โครงการว่ามีสัดส่วนเพิ่มขึ้นมากน้อยเท่าใด จากแผนภูมิจะเห็นว่างานที่มีการเปลี่ยนแปลงมากอย่างชัดเจน จะมี ง านโครงสร้ างเหนื อพื้ นดิ นและงานสถาปั ต ยกรรม โดยหมวดหมู่ ง านอื่ น ๆ ในโครงการมี ก าร เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย สรุปผลโครงการที่ 1 มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณของวัสดุและค่าวัสดุมากที่สุด โดยในส่วน ของปริมาณวัสดุที่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อโครงการเกิดจากการประมาณการที่มีการผิดพลาดเป็น ส่วนสาคัญที่สุด และในส่วนของวัสดุ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอันเนื่ องมาจากการปริ มาณที่เพิ่ มขึ้ นและการ ปรับตัวของกลไกทางการตลาด ซึ่งในทั้งสองส่วนนี้สามารถสรุปได้ว่า การประมาณการที่ขาดประสบการณ์ และคาดการณ์แนวโน้มของราคาค่าวัสดุมีการผิดพลาดทาให้โครงการประสบความล้มเหลวในการบริ หาร จัดการ

กรณีศึกษาโครงการที่ 2 ในกรณีศึกษาโครงการที่ 2 เป็นการก่อสร้างโดยมีเจ้าของโครงการเป็นผู้จัดหาวัสดุเอง และมีการ ว่าจ้างแรงงานแบบเหมาค่าแรง โดยการว่าจ้างค่าแรงจะเป็นลักษณะสัญญาแบบราคาต่อหน่วยหรือ Unit Price Contract

78

ชาญกนก ชาญสุทธิกนก


การศึกษาปัจจัยที่สง่ ผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างจึงเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้างประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร

1. ค่าวัสดุที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการมากที่สุด ค่าวัสดุที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการมากที่สุด เพิ่มขึ้นคิดเป็น 2.70% มีสาเหตุมาจากการ ใช้วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างมากกว่าที่ประมาณการไว้ โดยสาเหตุเหล่านี้ทาให้ต้องมีการสั่งซื้อวัสดุในจานวน มากขึ้นกว่าที่ได้ประมาณการไว้ 2. ปริมาณวัสดุที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสอง ปริมาณวัสดุที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสอง เพิ่มขึ้นคิดเป็น 2.35% มีสาเหตุมา จากแรงงานขาดประสิทธิภาพในการทางาน วิธีการนาวัสดุมาใช้จึงมีความสิ้นเปลืองมากกว่าที่ได้ประมาณ การไว้ โดยสาเหตุเหล่านี้ทาให้ต้องสั่งซื้อวัสดุในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นกว่าที่ได้ประมาณการไว้ 3. ค่าดาเนินการที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสาม ค่าดาเนินการที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็ นอันดับสาม เพิ่มขึ้นคิดเป็น 0.44% มีสาเหตุมา จากค่าการประสานงานของหน่วยงานต่าง ๆ มีราคาเพิ่มขึ้นมากกว่าที่ได้ประมาณการไว้ แต่จากข้อมูลที่ได้ ไม่ส่งผลต่อโครงการมากนัก 4. ค่าแรงที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็นอันดับสี่ ค่าแรงที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่อโครงการเป็ นอั นดับสี่ ลดลงคิดเป็น 0.32% มีสาเหตุมาจากงาน เพิ่มเติมที่เจ้าของโครงการเป็นผู้เปลี่ยนแปลงปริมาณงาน ทาให้ค่าแรงมีราคาเพิ่มขึ้นแต่ไม่มากนัก

ชาญกนก ชาญสุทธิกนก

79


การศึกษาปัจจัยที่สง่ ผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างจึงเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้างประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร

จากแผนภู มิที่ 20 จะเห็ นสั ด ส่ วนของการเพิ่ มขึ้ นของราคาก่ อสร้ างในโครงการ ซึ่ ง ในแต่ ล ะ หมวดหมู่ของโครงการจะมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นมากน้อยเท่าใด จากแผนภูมิจะเห็นว่างานที่มีการเปลี่ยนแปลง มากอย่างชัดเจนจะมีงานสถาปัตยกรรม นอกนั้นงานในหมวดอื่น ๆ ก็มีเพิ่มขึ้นบ้างเพียงเล็กน้อยไม่เกิน 1% สรุปผลโครงการที่ 2 มีการเปลี่ยนแปลงของค่าวัสดุและปริมาณการใช้ของวัสดุมากที่สุดคล้ ายกับ ลักษณะของโครงการที่ 1 และในส่วนของค่าวัสดุและปริมาณวัสดุที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจะมีความสั มพั นธ์ กัน แต่ในส่วนของโครงการที่ 2 สามารถสรุปได้ว่า การสูญเสียที่เกิดขึ้นเกิดจากการว่าจ้างแรงงานแบบ เหมางานแต่ขาดการควบคุมอย่างเป็นระบบ การเลือกใช้วัสดุที่เป็นส่วนประกอบในโครงการถูกใช้อย่าง สิ้นเปลือง ทาให้ส่งผลสะท้อนกลับมาที่ราคาวัสดุและปริมาณวัสดุของโครงการ การสรุปผลจากสาเหตุเพื่อหาปัจจัยจากการกรณีศึกษาทั้งสองโครงการ ในกรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้าทั้งสองโครงการสรุปได้ว่า มีสาเหตุ ที่ทาให้ ราคา ก่อสร้างจริงสูงขึ้นกว่าราคาก่อสร้างที่ได้ประมาณการไว้ โดยสรุปเป็นปัจจัยหลักที่เป็น ที่มาของปัญหาได้ ดังนี้ สรุปปัจจัยที่ส่งผลให้ค่าก่อสร้างสูงขึ้นจากกรณีศึกษาโครงการที่ 1 1. ปัจจัยหลัก 1. ผู้รับเหมาขาดประสบการณ์ในการก่อสร้าง ปัจจัยที่เกิดขึ้นนี้อันเนื่องมาจากสาเหตุที่เกิด ขึ้น เกิ ด จากความผิ ด พลาดของผู้ รั บ เหมางานในหลายส่ วน ไม่ ว่าจะเป็ นผู้ ที่ ส ารวจสถานที่ ก่อสร้าง ผู้ที่ทาการประมาณราคา ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ที่ทาให้ราคาก่อสร้างนั้นสูงขึ้นโดย ต้นทุนจากการประมาณการนั้นต่ากว่าความเป็นจริงทาให้ในหมวดงานต่าง ๆ ของ โครงการ นั้นได้รับผลกระทบไปทั้งหมดทุกภาคส่วน 2. ปัจจัยรอง 1. บุคลากรในส่วนของผู้รับเหมางานขาดประสบการณ์และประสิทธิภาพในการทางาน ไม่ว่า จะเป็นการควบคุมงาน การติดตามงาน และการประเมินผลงาน เป็นต้น 2. เจ้าของโครงการมีการแทรกแซงการท างาน ทาให้การทางานมีความยากลาบากมากขึ้ น ส่งผลให้ค่าแรงในการทางานสูงขึ้น สรุปปัจจัยที่ส่งผลให้ค่าก่อสร้างสูงขึ้นจากกรณีศึกษาโครงการที่ 2 1. ปัจจัยหลัก 1. เจ้าของโครงการขาดความรู้และรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เนื่องจากเจ้าของโครงการเป็นผู้ซื้อวัสดุเ อง และมี การจ้ างงานแบบเหมาค่าแรงงาน โดยเจ้ าของโครงการเป็นฝ่ ายดูแ ลการท างานเองทั้ ง หมด ซึ่ ง ประสบการณ์ในการควบคุมและดูแลยังไม่มากนัก ทาให้การทางานของผู้รับเหมาค่าแรงนั้น ทางานโดยไม่ คานึงถึงวิธีการก่อสร้างและการเลือกใช้วัสดุ ทาให้เกิดความสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ 2. ปัจจัยรอง 1. ผู้ที่ดูแลงานแทนเจ้าของโครงการไม่ได้อยู่ในส่วนงานก่อสร้างโดยตรง ซึ่งทาให้บางครั้งขาด การดูแลและติดตามงานอย่างต่อเนื่อง วิธีการป้องกันและแก้ไข วิธีการป้องกันและแก้ไข ผู้เขียนพบว่า ปัญหามาจากปัจจัยหลักคือ การขาดประสบการณ์ของ ผู้รับเหมางานรวมถึงประสิทธิภาพในการทางานของบุคลากรดังนั้น วิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิด จากปัจจัยดังกล่าวสามารถสรุปได้เป็นข้อใหญ่ ๆ ได้ดังนี้ 1. ก่อนการดาเนินการก่อสร้าง 80

ชาญกนก ชาญสุทธิกนก


การศึกษาปัจจัยที่สง่ ผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างจึงเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้างประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร

ก่อนการดาเนิ นการก่ อสร้างต้ องมี การรวบรวมข้ อมูล ทั้งหมดก่ อนการก่ อสร้า ง ตั้งแต่สถานที่ ก่อสร้าง วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง ราคาของวัสดุและแนวโน้มของราคาในอนาคต เพื่อนามาประเมินถึ ง ปัญหาและผลกระทบ โดยการสารวจและคาดการณ์ล่วงหน้าก่อนการจัดทาบัญชีรายการราคาต้นทุนค่า ก่อสร้าง ทั้งนี้ในการจัดทาบัญชีรายการราคาต้นทุนค่าก่อสร้าง หรือการประมาณราคานั้น ต้องกระทาโดย ให้ครอบคลุมถึงรายจ่ายที่จะเกิดขึ้นในโครงการให้ละเอียดมากที่สุด เพื่อลดปัญหาและป้องกันสิ่งที่จะเกิด ขึ้นมาในภายหลังให้ได้มากที่สุด 2. ระหว่างการดาเนินการก่อสร้าง ระหว่างการดาเนินการก่อสร้างบุคลากรและผู้รับผิดชอบในส่วนของหน้าที่ต่าง ๆ ในงานก่อสร้าง ของผู้รับเหมาต้องมีการติดตามงานอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ทราบถึงปัญหาที่กาลั งจะเกิดขึ้ น หรือปัญหาที่ เกิ ด ขึ้ นแล้ ว เพื่ อนาข้ อมู ล ที่ ไ ด้ มาประเมิ นและวางแผนในการแก้ ไ ขปั ญ หาระหว่ างการทางานได้อย่าง ต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะ การศึกษาฉบับนี้เป็นการศึกษาเพื่อให้ทราบถึ งปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโครงการว่า มีปัจจัยใดที่ ส่งผลกระทบต่อต้นทุนราคาค่าก่อสร้างของโครงการประเภทอาคารเก็บสินค้า ซึ่งปัญหาและปัจจัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกรณีศึกษานี้ อาจเป็นเพียงส่วนหนึ่ งของปัญหาที่ส่งผลต่ อโครงการทั้งหมด เนื่องมาจากปั จจั ย ในหลาย ๆ ด้าน ซึ่งแต่ละโครงการจะมีความแตกต่างกันไป ทั้งนี้ผู้เขียนจัดทาขึ้นเพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของ ปัญหาว่านอกจากต้นทุนของราคาค่าวัสดุและต้นทุนของราคาค่าแรงในการก่อสร้า งที่ได้ประมาณการไว้ ล่วงหน้านั้นสามารถมีการเปลี่ยนแปลงได้เนื่องมาจากผลกระทบอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งจะส่ง ผลให้ต้นทุ นของ ราคาค่าก่อสร้างนั้ นมี การเปลี่ย นแปลงจากราคาที่ได้ประมาณการไว้ โดยการศึกษาฉบับนี้จะเป็ นเพี ย ง กรณีศึกษาตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้น เพื่อใช้ในการเตรียมวางแผนในการบริหารจัดการโครงการ ก่อสร้างล่วงหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด

ชาญกนก ชาญสุทธิกนก

81



ปัจจัยที่ทำให้เกิดงำนเปลี่ยนแปลงในกำรก่อสร้ำงอำคำรกรณีศึกษำงำนโครงกำรก่อสร้ำง อำคำรสำนักงำนใหญ่หลังใหม่บำงขุนพรหม

ปัจจัยที่ทำให้เกิดงำนเปลี่ยนแปลงในกำรก่อสร้ำงอำคำรกรณีศกึ ษำงำน โครงกำรก่อสร้ำง อำคำรสำนักงำนใหญ่หลังใหม่บำงขุนพรหม บทคัดย่อ ธวัชชัย ทองศรีเปล่ง คำสำคัญ: งำนเปลี่ยนแปลงในกำรก่อสร้ำงอำคำร อำจำรย์ที่ปรึกษำ: ผูช้ ่วยศำสตรำจำรย์ปณิตำ วงศ์มหำดเล็ก

กำรศึกษำนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำปัจจัยที่ทำให้เกิดงำนเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดควำม ล่ำช้ำและค่ำใช้จ่ำยเพิ่มขึ้นของงำนโครงกำรก่อสร้ำงอำคำรสำนักงำนใหญ่ ธนำคำรแห่งประเทศไทย วิธีกำรศึกษำโดยรวบรวมข้อมูลงำนเปลี่ ยนแปลงที่เกิดขึ้นจำกกำรบันทึก งำนเปลี่ยนแปลงของ ผู้รับเหมำหลัก นำมำวิเครำะห์หำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเจ้ำของกับผู้ออกแบบและที่ปรึกษำบริหำรโครงกำร เพื่อหำปัจจัยที่ทำให้เกิดขึ้น จำกกำรศึกษำพบว่ำปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดงำนเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นจำกเจ้ำของมีควำมต้องกำร เปลี่ยนแปลงกำรใช้งำน เพื่อตอบสนองตำมกำรใช้ง ำนตำมกำรเปลี่ย นแปลงในเชิง นโยบำยขององค์ กร เกิดขึ้นจำกผู้ออกแบบและที่ปรึกษำบริหำรโครงกำรออกแบบผิดพลำดและตรวจสอบแบบผิดพลำด ผลกระทบที่เกิดขึ้นทำให้ระยะเวลำงำนก่อสร้ำงล่ำช้ำและงบประมำณรำยจ่ำยเพิ่มขึ้นจำกสัญ ญำ และสูญเสียโอกำสในกำรใช้งำนอำคำร

ธวัชชัย ทองศรีเปล่ง

83


ปัจจัยที่ทำให้เกิดงำนเปลี่ยนแปลงในกำรก่อสร้ำงอำคำรกรณีศึกษำงำนโครงกำรก่อสร้ำง อำคำรสำนักงำนใหญ่หลังใหม่บำงขุนพรหม

FACTORS EFFECTING CHANGE ORDER IN CONSTRUCTION PROJECT, CASE STUDY NEW CONSTRUCTION PROJECT OF BANK OF THAILAND HEAD OFFICE, BANG KHUNPHROM ABSTRACT THAWATCHAI THONGSRIPLANG KEYWORD: CHANGE ORDER IN CONSTRUCTION PROJECT ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PANITA WONGMAHADLEK

The objective of this study is to investigating the factors causing change order which impact to cost and time overrun in new construction project of Bank of Thailand Head office. The study is made on the reviews and analyses of documents related to change order of main contractor contract. The study revealed the most important factors are the changes that were made to fulfill urgent need of organization and policy-makers. These factors brought about errors in design, defects and construction scheduling.

84

ธวัชชัย ทองศรีเปล่ง


ปัจจัยที่ทำให้เกิดงำนเปลี่ยนแปลงในกำรก่อสร้ำงอำคำรกรณีศึกษำงำนโครงกำรก่อสร้ำง อำคำรสำนักงำนใหญ่หลังใหม่บำงขุนพรหม

สรุปผลอภิปรำย กำรศึกษำเรื่องปัจจัยที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงในกำรก่อสร้ำงอำคำร กรณีศึกษำงำนโครงกำร ก่ อสร้ ำงอำคำรส ำนั กงำนใหญ่ ห ลั ง ใหม่ บ ำงขุ นพรหม มี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อศึ กษำปั จจั ย ที่ ท ำให้ เ กิ ด งำน เปลี่ยนแปลง ประเมินผลและหำควำมสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่ำงปัจจัยที่ทำให้เกิดงำนเปลี่ยนแปลงกับผล กำรเปลี่ ย นแปลงข้อสั ญ ญำก่ อสร้ ำง โดยมี ส มมติ ฐ ำนว่ ำปั จจั ย ที่ท ำให้ เกิ ด งำนเปลี่ย นแปลงคือเจ้ ำของ โครงกำร ผู้ศึกษำได้ทำกำรทบทวนเอกสำรและบทควำมที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมำใช้ในกำรศึกษำวิเครำะห์ โดย ใช้โครงกำรก่อสร้ำงอำคำรสำนักใหญ่หลังใหม่ ของธนำคำรแห่งประเทศไทยเป็นกรณีศึกษำ ผู้ศึกษำนำ เอกสำรงำนเปลี่ยนแปลงของผู้รับเหมำหลักมำใช้เป็นข้อมูลในกำรศึกษำ เพื่อหำปัจจัยหลักที่ทำให้เกิด งำน เปลี่ยนแปลง ซึ่งพบว่ำมี 2 ปัจจัยคือ 1. เจ้ำของโครงกำรเปลี่ยนแปลงแบบ 2. ควำมผิดพลำดของผู้ออกแบบและที่ปรึกษำบริหำรโครงกำร ซึ่งเมื่อนำมำวิเครำะห์ต่อพบว่ำ เจ้ำของในที่นี้หมำยถึงผู้ว่ำกำรฯ ซึ่งเป็นผู้มีอำนำจกำรตัดสินใจได้ เปลี่ยนแปลงแบบก่อสร้ำง เพื่อให้ตอบสนองต่อควำมต้องกำรขององค์กรในขณะนั้นๆ อำทิเช่น นโยบำย ทบทวนโยกย้ำยหน่วยงำน กำรปรับพื้นที่เพื่อใช้ในกำรประชุมใหญ่ระดับภูมิภำคเอเชีย และกำรปรับพื้นที่ ให้เหมำะสมกับเทคโนโลยีใหม่ งำนเปลี่ยนแปลงดังกล่ำว ยังทำให้เกิดผลกระทบต่อคุณภำพของแบบก่อสร้ำงและกำรควบคุม งำน ทำให้มีควำมผิดพลำด เนื่องจำกระยะเวลำก่อสร้ำงกระชั้นชิดและต้องมีค่ำใช้จ่ำยในกำรแก้ไ ขและ หยุดรองำน จำกกำรแก้ ไ ขแบบในบริ เ วณพื้ น ที่ ห นึ่ ง อำจจะส่ ง ผลต่ อ เนื่ อ งกั น ท ำให้ ต้ อ งแก้ ไ ขแบบ สถำปัตยกรรม ระบบปรับอำกำศ ระบบสุขำภิบำล ระบบไฟฟ้ำ และงำนโครงสร้ำง และมีควำมซ้ำซ้อน มำกกว่ำกำรออกแบบอำคำรก่ อสร้ำงใหม่ เป็นสำเหตุทำให้ผู้ออกแบบแก้ไขแบบไม่ทั่วถึง ทำให้เกิดงำน เปลี่ยนแปลง กระทบต่อค่ำก่อสร้ำงตำมสัญญำและระยะเวลำในแผนงำนหลักของโครงกำรเพิ่มขึ้น โดยมี ค่ำก่อสร้ำงตำมสัญญำที่เพิ่มขึ้น 11.20% ระยะเวลำกำรก่อสร้ำงล่ำช้ำ 300 วัน ทำให้เสียโอกำสในกำรใช้ อำคำร และระบบวิศวกรรมที่ นำมำติด ตั้ง เกิด กำรเปลี่ย นแปลงในเชิ งเทคโนโลยี อำคำรที่ ล้ำ สมัย วัส ดุ อุ ป กรณ์ มีค่ ำเสื่ อมรำคำเพิ่ มมำกขึ้ น เนื่ องจำกไม่ ไ ด้ ใ ช้ ง ำนตำมระยะเวลำอั นสมควร คุ ณภำพงำนที่ มี ข้อบกพร่องของงำนมำกจำกกำรแก้ไขแบบมำก จำกผลวิเครำะห์ของงำนเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น พบว่ำปัจจัยหลักเกิดขึ้นจำกเจ้ำของ จะเกิดขึ้น จำกในเรื่องของนโยบำยกำรบริหำรองค์กร ทำให้เกิดงำนเปลี่ยนแปลงในช่วงกำรก่อสร้ำงและกระทบต่อ กำรออกแบบ ทำให้เกิดควำมผิดพลำดของแบบก่ อสร้ำงซึ่ง มีควำมสอดคล้ องกับ สมมติฐำนที่ตั้งไว้ และ นิยำมของงำนเปลี่ยนแปลงที่นำมำใช้ในกรณีศึกษำฉบับนี้ ในเรื่องปัจจัยและสำเหตุที่กล่ำวมำนี้ เจ้ำของควรจะคำนึงถึงค่ำก่อสร้ำงตำมสัญญำที่เพิ่มขึ้ นและ ระยะเวลำกำรก่อสร้ำงที่ล่ำช้ำไปจำกแผนงำนหลักเป็นจำนวนมำก กับกำรเสียโอกำสในกำรใช้อำคำรและ ควำมคุ้มค่ำของระบบวิศวกรรมที่เสื่อมรำคำและเทคโนโลยีที่ล้ำสมัย ควรมีมุมมองในเรื่องของค่ำก่อสร้ ำงที่ เพิ่มขึ้นและระยะเวลำที่สูญเสียไปจำกกำรเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบำยในแต่ละครั้ง ว่ำเหมำะสมหรือไม่ ควรมี กำรสำรวจควำมเห็นควำมต้องกำรของส่วนงำนในช่วงกำรออกแบบ ควรมีกำรวำงนโยบำยที่ชัดเจนและ เป็นรูปธรรม ควรมีกำรวิเครำะห์เปรี ยบเที ยบในเชิงของเศรษฐศำสตร์ ว่ำมี ค วำมคุ้ มค่ ำเพีย งไร และหำ แนวทำงป้องกันแก้ไขปัจจัยสำเหตุของงำนเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนำคต ในกำรศึกษำครั้งต่อไป ผู้ศึกษำเห็นว่ำควรจะนำเอำโครงกำรที่มีขนำดใกล้เคียงกับกรณีศึกษำนี้ นำมำศึกษำด้ำนกำรเงินของงำนเปลี่ยนแปลงเพื่อหำต้นทุนที่เกิดขึ้น และเปรียบเทียบหำค่ำก่อสร้ำงที่ เ พิ่ม ขึ้นกับระยะเวลำควำมล่ำช้ำ ในเรื่องของกำรเสียโอกำสใช้อำคำร ค่ำเสื่อมรำคำ ใช้เป็นข้อมูลทำงวิช ำกำร

ธวัชชัย ทองศรีเปล่ง

85


ปัจจัยที่ทำให้เกิดงำนเปลี่ยนแปลงในกำรก่อสร้ำงอำคำรกรณีศึกษำงำนโครงกำรก่อสร้ำง อำคำรสำนักงำนใหญ่หลังใหม่บำงขุนพรหม

ในกำรคำนึงถึงควำมสูญเสียที่เกิดขึ้นจำกกำรที่เจ้ำของตัดสินใจเปลี่ยนแปลงแก้ไขแบบก่อสร้ำงแต่ละครั้ง ว่ำมีควำมคุ้มค่ำหรือไม่

86

ธวัชชัย ทองศรีเปล่ง


การประเมินการใช้พื้นที่อาคาร กรณีศึกษา: อาคารเรียนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

การประเมินการใช้พนื้ ที่อาคาร กรณีศึกษา: อาคารเรียนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร บทคัดย่อ ปัญจพงศ์ นาคะบุตร คาสาคัญ: การประเมินพื้นที่หลังการใช้งาน/ มาตรฐานพื้นที่อาคารเรียน/ การบริหารจัดการพื้นที่ อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.นนท์ คุณค้าชู

งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการทาการประเมินโครงการหลังการใช้งาน (Post Occupancy Evaluation, POE) ของอาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ในเรื่องขนาดการใช้พื้นที่ สาหรับการเรียนการสอนภายหลังการปรับปรุงอาคาร เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบกับมาตรฐานของพื้น ที่ ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ รวมถึงเพื่อศึกษาปัญหาที่พบและเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่มี และเสนอแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่ให้เหมาะสม เพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคต จากการวิเคราะห์ข้อมูลของพื้นที่สาหรับการเรียนการสอนพบว่า 1. ผลการศึกษาเปรียบเทียบค่ามาตรฐานขนาดและพื้นที่ของห้องเรียน พบว่ามีห้องเรียนทั้งหมด 9 ห้อง ที่ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดไว้ (ห้องเรียน 7 ห้อง และห้องปฏิบัติการ 2 ห้อง) ซึ่งคิดเป็น สัดส่วน 50% ของห้องเรียนทั้งหมด 2. จากการศึกษาพบว่ าขนาดของพื้ นที่ห้ องเรีย นและห้ องปฏิบัติ การส่วนใหญ่ ไม่เพียงพอกั บ จานวนของนักศึกษาที่ต้องการใช้พื้นที่จริง และไม่เหมาะสมกับการใช้งาน 3. ผลการเปรียบเทียบความถี่อัตราการใช้ห้องเรียน พบว่าห้องเรียนมีการใช้งานที่ไม่คุ้มค่าในแง่ ของการใช้พื้นที่อาคาร ผลการศึกษานี้ แสดงให้เห็นปัญหาเรื่องพื้น ที่ที่จากัดและไม่เพีย งพอต่อจานวนนักศึ กษา จาก การศึกษาพบว่าแนวทางการแก้ไขปัญหาเรื่องนี้แบ่งออกเป็น 3 แนวทาง ได้แก่ 1.นโยบายการจัดการด้ าน การเรียนการสอน 2.นโยบายการจัดการด้านกายภาพ 3.นโยบายการจัดการด้านตารางเรียนตารางสอน ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นข้อมูล เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องพื้นที่จากัดและไม่เพียงพอต่อจานวนนักศึกษา

ปัญจพงศ์ นาคะบุตร

87


การประเมินการใช้พื้นที่อาคาร กรณีศึกษา: อาคารเรียนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

THE ASSESSMENT OF BUILDING USAGE: THE FACULTY OF ARCHITECTURE’S BUILDING, SILPAKORN UNIVERSITY ABSTRACT PUNJAPONG NAKABUTARA KEYWORD: POST OCCUPACY EVALUTION/ BUILDING ASSESSMENT/ STANDARDS FOR SCHOOL BUILDINGS/ SPACE MANAGEMENT ADVISOR: NON KHUNCUMCHOO, PH.D.

This research aims to evaluate space utilization of the Faculty of Architecture’s building. Post Occupancy Evaluation (POE) is used as a tool to identify problems. Data are collected and analyzed from case studies that portray similar problems. Suitable standards for teaching and learning areas are collected from published papers and used as a tool to evaluate the suitability of current area usage in each university. Subsequently, space management tactics used in each institution are studied and later on used as suggestions for the Faculty of Architecture’s building space management strategies. The study has found that: 1. 50% of all the classroom in Architecture’s building are under set forth standards. 2. The size of the classroom and studio space, comparing to the number of students who actually use the space, is inadequate and inappropriate for usage. 3. The frequency rate of classrooms usage shows that almost a quarter of the classrooms in used are underutilized. The result of this study illustrates the problem that space is limited and insufficient for the numbers of students. Further study finds that the solutions to this issue can be divided into three management approaches: 1. Using a management policy in teaching and learning 2. Using a management policy in space utilization and 3. Using a management policy in teaching schedules.

88

ปัญจพงศ์ นาคะบุตร


การประเมินการใช้พื้นที่อาคาร กรณีศึกษา: อาคารเรียนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

สรุปผลอภิปราย งานศึ กษาวิ จัย นี้ เ ป็ น การประเมิ น การใช้ พื้ นที่ ข องอาคารเรี ย นคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ซึ่งเป็นการศึกษาเรื่องการใช้พื้นที่สาหรับการเรียนการสอน โดยมุ่งเน้น ศึกษาเรื่องของห้องเรียนและห้องปฏิบัติการภายในอาคาร วัตถุประสงค์เพื่อนาผลที่ได้จากการวิเคราะห์ไป เป็นข้อเสนอแนะในการบริห ารจัด การการใช้พื้ นที่ ของห้ องเรีย นและห้ องปฏิ บัติ การ อาคารเรีย นคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ให้สามารถใช้พื้นที่ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์ สู ง สุ ด รวมถึ ง การแก้ ปั ญ หาในเรื่ องของการใช้ พื้ นที่ ส าหรั บ การเรีย นการสอนที่ ไ ม่ เ พี ย งพอกั บ จานวน นักศึกษาที่เกิดขึ้น วิ ธีการศึ กษาที่ ใ ช้ เ ป็ นการส ารวจพื้ นที่ อาคารเรี ย นคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร วังท่าพระ หลังการปรับปรุง อาคารใหม่ และดาเนินการเก็บ รวบรวมข้ อมู ลที่เ กี่ย วข้อง ได้แก่ การศึกษาทฤษฎีและผลงานวิ จัยที่เกี่ย วข้ องกับสารนิพ นธ์ ทั้งในเรื่องของแนวความคิดและรูปแบบการ บริหารจัดการพื้นที่ กระบวนการประเมินอาคารหลังเข้าใช้ (Post-Occupancy Evaluation หรือ POE) การศึกษามาตรฐานการออกแบบห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ ต่อการใช้งานต่อคน รวมถึงขนาดพื้นที่ที่ เหมาะสมกั บ รู ป แบบของห้ องเรี ย นและห้ องปฏิ บั ติ การในขนาดต่ าง ๆ แล้ วนาข้ อมู ล ทั้ ง หมดที่ ไ ด้ ม า เปรี ย บเที ย บกั บ ค่ า มาตรฐานที่ ใ ช้ เ ป็ น เกณฑ์ ในการเปรี ย บเที ย บมาตรฐานการใช้ พื้ น ที่ ข องคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ได้ค่าเกณฑ์มาตรฐานดังต่อไปนี้ ค่าเกณฑ์มาตรฐานที่น้อยที่สุดสาหรับพื้นที่ห้องเรียน ได้ค่าดังนี้ ห้องเรียนจุ 80 - 300 คน ควรมีพื้นที่ 1.0 ตารางเมตรต่อคน ห้องเรียนจุ 50 – 80 คน ควรมีพื้นที่ 1.4 ตารางเมตรต่อคน ห้องเรียนจุ 1 - 25 คน ควรมีพื้นที่ 1.4 ตารางเมตรต่อคน ค่าเกณฑ์มาตรฐานที่น้อยที่สุดสาหรับห้องปฏิบัติการ ได้ค่าดังนี้ ห้องปฏิบัติการ ควรมีพื้นที่ 3.6 ตารางเมตรต่อคน หลังจากได้ค่ามาตรฐาน ได้นามาเปรียบเทียบกับพื้นที่ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการตามความจุที่ รองรับ และจานวนนักศึกษาที่เข้าใช้จริง ขั้นตอนต่อมาได้ศึกษาและสารวจอาคารเรียนคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ตัวอย่าง 3 มหาวิทยาลัย เพื่อศึกษาถึงพื้นที่ที่ใช้สอยในการเรียนการสอนรวมถึงปัญหาที่มี โดยใช้ เกณฑ์ มาตรฐานที่ กาหนดไว้ ใ นการวิ เ คราะห์ ห าค่ าของการใช้ พื้ นที่ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ทั้ ง 3 แห่ ง แล้ ว ด าเนิ นการศึ กษาแนวความคิ ด ในการบริ หารจั ด การพื้นที่ ข องห้องเรีย นและห้องปฏิบั ติการของแต่ละ สถาบัน ซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้ จากการเปรียบเทียบพื้นที่ของห้องเรียนและห้องปฏิบัติการสาหรับการเรียนการสอนของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ทั้งหมดกับค่ามาตรฐานที่กาหนดไว้เปรียบเทียบ ขนาดและสัดส่วนของพื้นที่ พบว่าปัญหาพื้นที่ห้องไม่ได้มาตรฐานตามที่ระบุไว้คิดเป็นสัดส่วนสู งถึง 50% โดยการเปรีย บเทียบกั บจานวนนั กศึ กษาที่มีการใช้ งานจริง ยิ่ ง ท าให้ เ ห็ นว่ านโยบายการย้ ายนั กศึ กษา ทั้งหมดมาทาการเรียนการสอนที่วังท่าพระ จะส่งผลให้พื้นที่สาหรับการเรียนการสอนมีการใช้งานที่แ ออัด และไม่เพียงพอกับการรองรับจานวนของนักศึกษาที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพราะพื้นที่ขนาดของห้องไม่สามารถ รองรับจานวนนักศึกษาเพิ่มได้ จากการวิเคราะห์อัตราความถี่การใช้ห้อง โดยนาเอาตารางเรียนตารางสอนมาเปรียบเทียบการ ใช้งานห้องเรียนของนักศึกษาในแต่ละสัปดาห์ ได้ผลสรุปว่ามีพื้นที่ที่มีการจัดการการใช้ประโยชน์ที่ไม่คุ้ มค่า และไม่ได้เต็มประสิทธิภาพเท่าที่ควรจะเป็ น อยู่ถึง 26.32% ซึ่งถือเป็นการใช้งานที่ มีระดับน้ อย คืออยู่ ระหว่าง 0% - 30% ส่วนห้องที่มีอัตราการใช้งานที่มีระดับมาก ที่คุ้มค่าและได้ประสิทธิภาพในการใช้พื้ นที่ ปัญจพงศ์ นาคะบุตร

89


การประเมินการใช้พื้นที่อาคาร กรณีศึกษา: อาคารเรียนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

มีเพียง 21.05% ส่วนห้องที่เหลืออีก 52.63% จะใช้ในระดับปานกลาง ซึ่งสะท้อนถึงการจัดการเรื่องตาราง เรียนตารางสอนที่ยังไม่ได้คานึงถึงประโยชน์การใช้ห้องและพื้นที่อาคารเท่าที่ควร แม้การปรับปรุงอาคารใหม่จะช่วยลดปัญหาการใช้พื้นที่บางส่วนลงได้ แต่ก็ยังเป็นแนวทางในการ แก้ปัญหาได้ไม่มากพอ เนื่องจากการวิเคราะห์จะเห็นได้ชัดว่าการปรับปรุงอาคารครั้งนี้ เป็นการปรับปรุง พื้นที่บางส่วนเท่านั้น โดยเน้นการเพิ่มความจุของคนที่ใช้งานให้มากขึ้นแต่ยังมีขนาดพื้นที่เท่าเดิม และห้อง ที่มีการปรับปรุงใหม่ไม่มีความยืดหยุ่นในการปรับใช้งานพื้นที่ในอนาคต ซึ่งทาให้การใช้งานพื้นที่ต่อคนมีค่า น้ อยลงตามไปด้ วย ส่ ง ผลถึ ง การใช้ พื้ นที่ข องนั กศึกษาที่ ไ ม่เ หมาะสมและไม่ส ะดวกสบายแก่ ค นใช้ งาน เนื่องจากมีพื้นที่การใช้งานต่อคนที่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดไว้ จากการศึกษาแนวความคิดและวิธีการในการบริหารจัดการพื้นที่ที่มีอยู่อย่างจากัด รวมถึงการ บริหารจัดการพื้นที่ของมหาวิทยาลัยทั้ง 3 แห่ง สามารถนามาประมวลผลและเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหา เกี่ยวกับพื้นที่ที่ไม่เพียงพอต่อการใช้งานในปัจจุบัน ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ได้โดย 1. นโยบายการจัดการเรียนการสอน โดยการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนโดยเน้น การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาผสมผสานในการเรียนการสอน 2. นโยบายการจัดการด้านกายภาพ โดยการปรับพื้นที่ห้องให้สามารถยืดหยุ่นต่อการใช้งาน และการลดพื้นที่ต่อคนในการใช้งานห้องปฏิบัติการ ด้วยการลดขนาดโต๊ะเขียนแบบ 3. นโยบายการจัดการด้านตารางเรียนตารางสอน โดยการแบ่งกลุ่มนักศึกษาออกเป็นกลุ่ มย่อย เพื่อลดการใช้พื้นที่ที่แออัด และการขยายเวลาในการเรียนการสอนให้มีช่วงเวลาที่มากขึ้น เพื่อให้สามารถแบ่งการจัดตารางเรียนและการใช้พื้นที่ห้องเรียนได้มากขึ้น ข้อเสนอแนะในการวิจัย งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยที่ทาการศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการใช้พื้นที่หลังจากการใช้ อาคาร ซึ่งการศึกษานี้เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการในการออกแบบ (Design Process) ซึ่งทาได้ทั้ง การวิเคราะห์ดูว่าอาคารหรือโครงการนั้น ๆ สามารถสนองประโยชน์ตรงตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดหรือไม่ และการประเมินกระบวนการออกแบบว่ามีความเหมาะสมถูกต้องเหมาะสมเพียงไร ซึ่งในการวิจัยครั้ง นี้ได้ ทาการประเมินโครงการหลังการใช้งาน (Post Occupancy Evaluation, POE) จะเห็นได้ว่าการประเมินพื้นที่อาคารเรียน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วัง ท่าพระ จะเป็นเครื่องมือป้อนกลับ (Feedback Mechanism) เมื่อวิเคราะห์ผลแล้วพบว่า พื้นที่การใช้งาน ของอาคารมี ปั ญ หา ก็ จะท าการรวบรวมข้ อมู ล เพื่ อป้ องกั นการเกิ ด ปั ญ หาอี กในอนาคต และเพื่ อการ ตัดสินใจปรับปรุงหรือหาแนวทางแก้ไขกับการบริหารจัดการพื้นที่ เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับการนาไปปรับปรุง และใช้งานในการออกแบบ และแนวทางในการจัดการพื้นที่ให้เพียงพอและเหมาะสมกับการใช้งานต่อไป จากผลการวิจัยที่ชี้ให้เห็นถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับอาคารเรียน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่ าพระ โดยเฉพาะปัญหาเรื่องพื้นที่สาหรับการเรียนการสอนไม่เพียงพอและ เหมาะสมกับการใช้งานของนั กศึ กษาที่เรีย นอยู่ ในปั จจุ บัน ซึ่งเกิดจากการรับจานวนนั กศึกษาที่เ พิ่ ม ขึ้ น รวมถึงการย้ายนักศึกษาทั้งหมดมาเรียนที่วังท่าพระทั้งหมด ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาการ ประเมินพื้นที่อาคารหลังการใช้งานในประเทศไทยมากขึ้น โดยเฉพาะกรณีอาคารเรียนคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ควรศึ กษารู ป แบบการบริ ห ารจั ด การเรื่ องพื้ นที่ ข องอาคารประเภทอาคารเรี ย น คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ของต่างประเทศประกอบให้มากขึ้น เพื่อหาข้อแตกต่างที่จะมาปรับใช้งานได้ 2. เพื่อการใช้พื้นที่ อาคารให้ คุ้มค่ า ควรศึกษาการใช้ประโยชน์พื้ นที่ที่ ส ามารถใช้ ได้ อย่ างเต็ ม ประสิทธิภาพ ควรศึกษาและกาหนดค่าอัตราการใช้ห้อง และอัตราการใช้พื้นที่ที่เหมาะสม แล้วจึงศึกษา ประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ต่อไป 3. การตั้งเกณฑ์มาตรฐาน นอกเหนือจากการศึกษาข้อมูลทฤษฎีและแนวทางการนาไปใช้แล้ ว ควรสัมภาษณ์ผู้ใช้งานพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาและอาจารย์เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ 90

ปัญจพงศ์ นาคะบุตร


การศึกษาใช้ระบบจาลองสถานการณ์ในการวางแผนงานก่อสร้าง

การศึกษาใช้ระบบจาลองสถานการณ์ในการวางแผนงานก่อสร้าง บทคัดย่อ พงศ์เทพ วรัตถ์ตระกูล คาสาคัญ: การจาลองสถานการณ์/ การวางแผนงานก่อสร้าง อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.นนท์ คุณคาชู

การวิจัยครังนีมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ระบบจาลองสถานการณ์ในการวางแผน งานก่อสร้ างโดยเก็บรวบรวมข้ อมู ล การก่ อสร้ างเฉพาะในช่ วงงานฐานรากภายใต้ ส มมติฐ านที่ตั งไว้ คื อ เทคนิคการจาลองสถานการณ์หรือ Simulation เป็นวิธีการวางแผนที่สามารถใช้งานได้จริงในเชิงปฏิ บัติ และผลลัพธ์ที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากกว่า CPM และ PERT โดยเลือกใช้โปรแกรม Crystal Ball มา ช่วยในการจาลองสถานการณ์ ผลจากการศึกษาพบว่า Simulation สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการวางแผนงานการก่อสร้าง ได้จริง แต่ผลลัพธ์ยังไม่สามารถให้ผลที่ใกล้เคียงความเป็น จริงเท่ากับ CPM และ Simulation โดยผลการ ทดลองกับกรณีศึกษาทัง 3 โครงการภายใต้ข้อมูลและเงื่อนไขของงานวิจัยนีพบว่า PERT จะให้ผลลัพธ์ ออกมาได้ ใ กล้ เ คี ย งความเป็ นจริ งมากกว่ า Simulation ในสั ด ส่ วน 2 ใน 3 ของกรณี ศึ กษาทั งหมด ซึ่ ง ผลลั พ ธ์ ที่ ออกมานี ยั ง ไม่ ส ามารถสรุ ป และทดสอบสมมติ ฐ านตามที่ ตั งไว้ ไ ด้ ว่า Simulation ให้ ผ ลลั พ ธ์ ออกมาได้ใกล้เคียงกว่า PERT และ CPM ได้อย่างชัดเจน เนื่องจากการศึกษาในครังนียังไม่ได้ทาการพัฒ นา แบบจาลองที่สร้างขึนจนถึงที่สุด

พงศ์เทพ วรัตถ์ตระกูล

91


การศึกษาใช้ระบบจาลองสถานการณ์ในการวางแผนงานก่อสร้าง

A STUDY OF SIMULATION TECHNIQUES IN CONSTRUCTION PROJECT PLANNING ABSTRACT PHONGTHEP WARATRAKOOL KEYWORD: SIMULATION/ CONSTRUCTION PROJECT PLANNING ADVISOR: NON KHUNCUMCHOO, PH.D.

The purpose of this study is to prove that simulation techniques can be used in construction project planning in real life. It also aims to demonstrate that the result form the simulation will yield a better result in predicting the project duration than other traditional project planning tools. Data are drawn from three finished construction projects and Crystal Ball software is employed to run the simulations. The result from the study clearly confirms that simulation can be applied in the construction project planning task. However, it does not conclusively shows the better result when compares with CPM or PERT. The study finds that under the study’s constraints, PERT has shown a closer project duration prediction than simulation with the ratio of 2:1.

92

พงศ์เทพ วรัตถ์ตระกูล


การศึกษาใช้ระบบจาลองสถานการณ์ในการวางแผนงานก่อสร้าง

สรุปผลอภิปราย สรุปผลการศึกษา การศึกษาวิจัยในครังนีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ต้องการศึกษาการวางแผนงานหรือโครงการโดยใช้ Simulation และท าการทดลองประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ข้ า กั บ การวางแผนงานในโครงการก่ อ สร้ า ง และ 2) เปรี ย บเที ย บผลที่ ไ ด้ รั บ ระหว่ าง Simulation กั บ PERT และ CPM เพื่ อตอบสมมติ ฐ านที่ ไ ด้ ตั งไว้ ซึ่ ง การศึกษาที่ได้กระทาในงานวิจัยนีตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษาทังหมด โดยการศึกษาทาให้ พบว่า Simulation สามารถนามาประยุกต์ใช้กับการวางแผนงานสาหรับการก่อสร้างได้ แต่มีข้อจากัดและควร ระวั ง ในการใช้ ง านตามที่ ไ ด้ ก ล่ า วไว้ ในบทวิ เ คราะห์ แ ละเมื่ อ ท าการเปรี ย บเที ย บทั ง 3 วิ ธี พ บว่ า Simulation, PERT และ CPM ให้ ค่ า Project Duration ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น แต่ ด้ วยข้ อจากั ด ของ การศึกษาทาให้ผลการศึกษาที่ได้นียังไม่ตรงตามสมมติฐานที่ได้ตังไว้ อาจเป็นเพราะว่าข้อมูลที่นามาใช้ ใน ช่วงแรกของการศึกษาบางส่วนมีข้อผิดพลาด เช่น การกาหนดกลุ่มของประชากรตัวอย่างที่กาหนดไว้เ พื่อ ทาการสัมภาษณ์สาหรับข้อมูล และความต้องการที่จะเลือกทดลองศึกษากับข้อจากัดของ Simulation ที่มี อยู่ ซึ่งได้พบจากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในเบืองต้น เช่น Simulation สามารถใช้ งานและพิสูจน์ได้กับกระบวนการทางานในระยะเวลาสัน ๆ เป็นการกระทาแบบซา ๆ โดยไม่มีกิจกรรมที่ ซับซ้อน และมักหลีกเลี่ยงกระบวนการที่กระทาขึน ณ สถานที่ก่อสร้างจริง หรือหลีกเลี่ยงการใช้แรงงานคน (Ersahim, McCabe and Doyle, 2003) จึงเป็นสาเหตุทาให้ผลการศึกษานีไม่สอดคล้องกับงานวิจัยอื่น ๆ ที่ผ่านมาและการให้ผลที่ไม่แม่นยา ผลการทดลองที่ได้รับจากการคานวณระยะเวลาแล้ วเสร็จของกิจกรรมก่อนสร้างงานฐานราก ด้ วย Simulation ทั ง 3 โครงการภายใต้ ข้ อมู ล และเงื่ อนไขของงานวิ จัย นี พบว่ าให้ ผ ลลั พ ธ์ ออกมาได้ ใกล้เคียงความเป็ นจริง มากกว่า Simulation ในสัดส่วน 2 ใน 3 ของกรณีศึกษาทังหมด โดยผลลัพ ธ์ ที่ ออกมานียังไม่สามารถสรุปและตอบสมมติฐานตามที่ตั งไว้ ได้อย่ างแน่นอนว่า Simulation ให้ผลลัพธ์ ที่ ใกล้ เ คี ย งกว่ า PERT และ CPM ได้ อย่ างชั ด เจน เนื่ องจาการศึ ก ษาในครั งนี ยั ง ไม่ ไ ด้ ท าการพั ฒ นา แบบจาลองที่สร้างขึนจนถึงที่สุด ตามหลักการจาลองสถานการณ์ที่บุญเสริม ได้กล่าวไว้ แต่ภายหลังจาก การศึกษานี ทาให้ผู้วิจัยได้ทราบถึง ความต้ องการและลั กษณะการท างานโครงการจาลองสถานการณ์ (Simulation) โดยสามารถสรุปได้ดังนี คือ 1. Simulation สามารถพยากรณ์ผลลัพธ์ออกมาให้ใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุดได้ แต่จะต้อง ใช้ ร ะยะเวลาในการจั ด เตรี ย มข้ อ มู ล จ านวนมาก โดยความต้ อ งการหลั ก คื อตั ว แปรต่ าง ๆ ที่ อยู่ ใ น กระบวนการก่อสร้างทังหมด จะต้องกาหนดให้เหมาะสมกับโครงการนัน ๆ 2. Simulation ต้องการข้อมูลจริงที่ผ่านการจดบันทึกสังเกตและจัดเก็บอย่างละเอียด 3. ยากที่จะทาให้แบบจาลองของ Simulation นันสมบูรณ์แบบที่สุด 100% ข้อเสนอแนะ สาหรับผู้ที่สนใจที่ จะทาการศึ กษาเกี่ ยวกับ การนา Simulation มาใช้งานในการวางแผนงาน ก่อสร้างหรืออื่น ๆ ต่อจากนี ทางผู้วิจัยขอเสนอแนะความคิดเห็นจากประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาใน ครังนีว่า การศึกษา Simulation ผู้ศึกษาควรมีเวลาอย่างมากหรือพอเพียงต่อขันตอนการเรียนรู้ และการ จัดเตรียมข้อมูลสาหรับนาไปใช้ในการสร้างและพัฒนาแบบจาลอง เพื่อให้มีความใกล้เคียงและความเป็น จริงมากที่สุด ส่วนขอบเขตการศึกษาที่น่าสนใจคือ การวางแผนงานการก่อสร้างในมุมมองระดับโครงการ หรือ Project Level โดยครอบคลุมทังโครงการอย่างเป็นระบบ ตังแต่เริ่มดาเนินการจนถึงโครงการแล้ว เสร็จ คาดว่าน่าจะเป็นหัวข้องานวิจัยที่น่าสนใจอีกหัวข้อหนึ่ง ซึ่งหากผู้วิจัยมีโอกาสได้กลับมาทาการศึ กษา อีกครัง ทางผู้วิจัยจะเลือกใช้กลุ่มตัวอย่างที่ อยู่ในระดับปฏิบัติการอย่างแท้จริง โดยข้อมูลระยะเวลาของแต่ ละกิจกรรมทัง 3 ค่า (a, m และ b) ที่นามาใช้จะต้องเป็นข้อมูลที่ได้มาจากการเก็บข้อมูลจริง หรือมาจาก

พงศ์เทพ วรัตถ์ตระกูล

93


การศึกษาใช้ระบบจาลองสถานการณ์ในการวางแผนงานก่อสร้าง

ผู้เชี่ยวชาญและช านาญเฉพาะเรื่ องจริ ง ๆ โดยผลลัพธ์การศึ กษาที่ได้ อาจนามาใช้เ ป็นแนวทางในการ พัฒนาเทคนิคในการวางแผนงานก่อสร้างให้สมบูรณ์มากยิ่งขึนได้ต่อไปในอนาคต

94

พงศ์เทพ วรัตถ์ตระกูล


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนือ่ งของขั้นตอนการผลิต พร้อมติดตั้งงานเฟอร์นเิ จอร์บิลท์อิน บทคัดย่อ วรรณวลี นาคสินธุ์ คาสาคัญ: ขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน/ การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.ขวัญชัย โรจนกนันท์

ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขั้นตอนการผลิตและติดตั้งเฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน และ หาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาขั้นตอนการผลิตและติดตั้ง เพื่อลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการ ผลิตและติดตั้งของบริษัทผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบข้อมูลขั้นตอนการผลิต ระยะเวลาการผลิต จานวนแรงงาน ต้นทุนการผลิต ของการผลิตชุดตู้เสื้อผ้าและโต๊ะแต่งตัว โดยจัดทารูปแบบชุดตู้เสื้อผ้ าและ โต๊ะแต่งตัว พร้อมระบุขนาด วัสดุ และอุปกรณ์ 2) การสัมภาษณ์ 3) การเยี่ยมชมโรงงาน การวิเคราะห์ข้อมูลบริษัททั้ง 4 บริษัท คือ บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้ เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เด็คคอเรชั่น จากัด และ บริษัท กรีนแอคส์ จากัด ใช้ทฤษฎีการเทียบรอยมาจับคู่เปรียบเทียบบริษัทผู้ผลิต เปรียบเทียบกระบวนการผลิต ระยะเวลาที่ ใช้ และต้นทุนการผลิต หาผู้ผลิตที่มีความเป็นเลิศ ใช้แนวความคิดแบบ PDCA และลีนมาปรับปรุงขั้นตอน การปฏิบัติงาน ผลการศึกษาสรุปว่า แหล่งการผลิตพร้อมการติดตั้งเฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน มีความแตกต่างกันในกระบวนการผลิต ทา ให้ระยะเวลาการผลิตแตกต่างกัน และต้นทุนการผลิตแตกต่างกัน แหล่งการผลิตเฟอร์นิเจอร์บิลท์อินที่พัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง พัฒนาการนาเครื่องจั กร มาแทนแรงงานคน มีผลทาให้เพิ่มรายได้ที่มากขึ้น มีแนวโน้มที่จะเติบโตขึ้นมากกว่าการผลิตโดยใช้ฝีมือ แรงงาน

วรรณวลี นาคสินธุ์

95


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

THE STUDY OF CONTINUOUS QUALITY IMPROVEMENT OF BUILT-IN FURNITURE INSTALLATION PROCESS ABSTRACT WANWALEE NAKSIN KEYWORD: BUILT-IN FURNITURE INSTALLATION / CONTINUOUS QUALITY IMPROVEMENT ADVISOR: KWANCHAI ROACHANAKANAN, PH.D.

This study focuses on the improvement of the built-in furniture installation process. The purpose of study is to reduce the waste from production and installation of built-in furniture, which is a part of continuous quality management. This study was conducted by distributing questionnaires to collect data about the wardrobe and dressing table set which was designed to measure the productivity of builtin furniture manufacturers. This questionnaires were distributed to four famous manufacturers, which are Bunkee Shanghai Furniture and Construction Co. Ltd., Silom Furniture Co. Ltd., Kanok Furniture & Decoration Co. Ltd. and Greenact Co. Ltd. The data were analyzed by benchmarking method, the PDCA concept and Lean concept were used to compare the productivity of those four manufacturers. Lean concept was used to improve the productivity of production and installation process. The PDCA concept was applied to identify the process that would improve the manufacturer productivity. The study concludes that the different production processes and installation processes cause different production time and cost. The built-in furniture manufacturers who have continuously developed and improved quality can increase more revenue and become a leader in the business.

96

วรรณวลี นาคสินธุ์


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

สรุปผลอภิปราย วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาขั้นตอนการผลิตและติดตั้งเฟอร์นิเจอร์บิลท์อินที่เหมาะสม และหาแนวทางในการปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาขั้ นตอนการผลิ ต และติ ด ตั้ ง เพื่ อลดความสู ญ เสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน กระบวนการผลิตและติดตั้งของบริษัทผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน และปรับปรุงอย่างต่อเนื่ อง โดยศึกษา ข้ อมู ล ขั้ นตอนการผลิ ต และติ ด ตั้ ง จากบริ ษัท ผู้ ผ ลิ ต ที่ มีชื่ อเสี ย งของประเทศไทย และนาข้ อมู ล ที่ ไ ด้ ม า เปรียบเทียบและวิเคราะห์ขั้นตอนการทางานของแต่ละบริษัท เพื่อจับคู่เปรียบเทียบการทางานและหา บริษัทที่มีความเป็นเลิศในการผลิตและติดตั้ง โดยนาแนวทางการทางานของบริษัทที่มีความเป็นเลิ ศ มา ปรับปรุงบริษัทที่ด้อยกว่า ในเรื่องการจัดการควบคุมเวลา วัตถุดิบ เครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจน กาลั ง คนในกระบวนการผลิ ต ให้ เ หมาะสม ซึ่ ง สามารถน าไปพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง การท างานให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อให้เกิดการลดเวลาสูญเสีย สมมติฐานของการศึกษาคือ 1. แหล่งการผลิตพร้อมการติดตั้งเฟอร์นิเจอร์บิลท์อินมีความแตกต่างกันในกระบวนการผลิต ให้ผลผลิตที่แตกต่างกัน 2. แหล่งการผลิตเฟอร์นิเจอร์บิลท์อินที่พัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องทาให้รายได้เพิ่มมาก ขึ้น จากขอบเขตของข้อมูลที่ศึกษาขั้นตอนการผลิตเฟอร์นิเจอร์บิลท์อินพร้อมการติดตั้งของผู้ผลิตใน เขตกรุงเทพและปริมณฑล เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามในปี 2552 และการคัดงบการเงินของบริษัทตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2552 ของบริษัทผู้ ผลิ ต 4 บริษัท ได้แก่ บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้ เฟอร์ นิเ จอร์ แ ละ ก่อสร้าง จากัด, บริษัท กรีนแอคส์ จากัด, บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด และ บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์ แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด วิธีการศึกษา 1. เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และเยี่ยมชมโรงงานผลิตโดยการบันทึกข้อมูลและภาพถ่าย 2. การทาแบบสอบถามโดยกาหนดโจทย์ การผลิ ตชุด ตู้เสื้ อผ้ าและโต๊ะ แต่ง ตัว ระบุรูปแบบ ขนาด สัดส่วน วัสดุที่ใช้ นาข้อมูลดังกล่าวมาจัดเรียงบันทึกในรูปแบบตารางแสดงการเปรียบเทียบ 3. นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ปัญหาของกระบวนการผลิตและติดตั้งโดยการจับคู่เปรียบเทียบ 4. ศึกษาจากงบการเงินของบริษัททั้ง 4 บริษัท โดยการคัดงบการเงินจากกระทรวงพาณิชย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2552 อภิปรายผลการศึกษา ตอนที่ 1 จากการเก็บข้อมูลแบบสอบถามสามารถแบ่งกลุ่มได้สองกลุ่ม โดยวิเคราะห์จากมูล ค่า งานต่อปี ระยะเวลาการผลิต วิธีการผลิต และงบการเงิน กลุ่มที่ 1 ได้แก่ บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด และ บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด เป็นคู่เปรียบเทียบที่ใกล้เคียงกัน และกลุ่มที่ 2 ได้แก่ บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่ น จากัด และ บริษัท กรีนแอคส์ จากัด เป็นคู่เปรียบเทียบที่ใกล้เคียงกัน กลุ่มที่ 1 บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด มีความเป็นเลิศด้านมูลค่างานต่ อปี ระยะเวลาการผลิต และต้นทุนรวมในการผลิต กลุ่มที่ 2 บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์ เดคคอเรชั่น จากัด มีความเป็นเลิศด้านมูลค่างานต่อปี ระยะเวลาการผลิต และต้นทุนรวมในการผลิต ถ้าเปรียบเทียบทั้ง 4 บริษัท บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด มีการปฏิบัติการณ์ ที่เป็นเลิศในขั้นตอนการผลิตไม้เพาะโครง การทาสี ขั้นตอนการติดตั้ง บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด เป็นบริษัทผู้ผลิตที่มีการปฏิ บัติการเป็นเลิศ ใน เรื่องระยะเวลาในการผลิตและติดตั้งเฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน ปริมาณวัสดุที่ใช้ในการผลิต ใช้ไม้อัดยางหนา 10 วรรณวลี นาคสินธุ์

97


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

มม. และ 15 มม. โครงไม้ตะแบกภายในขนาด 1 นิ้ว x 2 นิ้ว ยาว 3 ม. และสุดท้ายราคาต้นทุนในการผลิต ทางด้านราคาต้นทุนแรงงานช่างธรรมดา ทางด้านต้นทุนวัสดุ ทางด้านต้นทุนรวม บริ ษัท กรี น แอค จากั ด เป็ นบริ ษัท ผู้ ผ ลิ ต ที่ มีการปฏิ บั ติ การเป็ นเลิ ศ ในเรื่ องแรงงานที่ ใ ช้ ใ น กระบวนการผลิต, แรงงานที่ใช้ในการผลิต, ปริมาณวัสดุหลักที่ใช้ในการผลิต ใช้ไม้อัดยางหนา 6 มม. และ ราคาต้นทุนแรงงานช่างฝีมือ บริษัท บุ่นกี่เซียงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด เป็นบริษัทผู้ผลิตที่มีการปฏิ บัติการเป็นเลิศ ในเรื่องปริมาณวัสดุหลักที่ใช้ในการผลิต ใช้ไม้อัดยางหนา 4 มม. 6 มม. 10 มม. 15 มม. บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด เป็นบริษัทผู้ผลิตที่มีการปฏิบัติการเป็นเลิศในเรื่องแรงงานที่ใช้ ใน กระบวนการผลิต, แรงงานที่ใช้ในการผลิต, ปริมาณวัสดุหลักที่ใช้ในการผลิต ใช้ไม้อัดสักหนา 4 มม. ไม้อัด ยางหนา 6 มม. 10 มม. 15 มม. โครงไม้ตะแบกภายในขนาด 1 นิ้ว x 2 นิ้ว ยาว 3 ม. การวิเคราะห์ปัญหาของกระบวนการผลิตและติดตั้งโดยการจัดกลุ่มคู่เปรียบเทียบ กลุ่มที่ 1 ได้แก่ บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด และบริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด สรุ ป ได้ ว่าก่ อนการปรั บ ปรุ ง ของบริษัท สี ล มเฟอร์ นิเ จอร์ จากั ด ช่ วงห่ างระยะเวลาการผลิต ระหว่าง บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด และบริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด รวม -8 ชม. โดยแบ่งเป็นการผลิตไม้เพาะโครง -2.5 ชม. การทาสีย้อม 3.5 ชม. การทาสีพ่น -9 ชม. และการติดตั้ง เท่ากัน ส่วนบริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด มีการปฏิบัติการที่เป็นเลิศในการผลิตไม้ เพาะโครง การทาสีพ่น และบริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด มีการปฏิบัติการที่เป็นเลิศในขั้นตอนการท าสี ย้อม การปรับปรุงสายการผลิตของบริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด ให้เทียบเท่าหรือเหนือกว่าบริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด ควรปรับปรุงดังนี้ 1. การผลิตไม้เพาะโครง ในขั้นตอนย่อยการทาแผงประกอบในหน่วยกิจกรรมการตัดไม้ อัด ปรับปรุงบุคลากรให้มีความ ชานาญในการใช้เครื่องจักร ถ้าปรับปรุงแล้วจะทาให้การใช้เวลาในขั้นตอนนี้ น้อยลงตามผังภาพ

รวมระยะเวลาการผลิตใหม่ ก่อนปรับปรุงระยะเวลาการผลิต ลดระยะเวลาการผลิต 44.5-36.5

98

= = =

วรรณวลี นาคสินธุ์

36.5 44.5 8

ชม. ชม. ชม.


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

2. ขั้นตอนการทาสีพ่น ปรับปรุงการกาหนดระยะเวลาการทางานของบุคลากร หรือหาเครื่องมือเสริมช่วย ถ้าปรับปรุง แล้วจะทาให้การใช้เวลาลดน้อยลงตามผังรูป (ทาสี 80% เสร็จในโรงงาน)

รวมระยะเวลาการผลิตใหม่ ก่อนปรับปรุงระยะเวลาการผลิต ลดระยะเวลาการผลิต 59.61-43

= = =

43 ชม. 59.61 ชม. 16.60 ชม.

ถ้าปรับปรุงในแต่ละขั้นตอนแล้ว ระยะเวลาที่คาดว่าจะลดลงเป็นดังนี้

วรรณวลี นาคสินธุ์

99


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

รวมระยะเวลาการผลิตใหม่ = รวมระยะเวลาหลังปรับปรุง = ไม่รวมระยะเวลารอแห้ง = ลดระยะเวลาการผลิตและติดตั้ง 229.50-201.32 =

229.50 201.32 24 28.15

ชม. ชม. ชม. ชม.

จากตารางที่ 38 พบว่า บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่ อสร้าง จากัด ใช้ระยะเวลาการ ผลิตและติดตั้งทั้งหมด 221.5 ชม. ถ้าบริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด ปรับปรุงการผลิตและติดตั้งแล้ว จะทาให้ใช้ระยะเวลาเพียง 201.32 ชม. ระยะเวลาการผลิตและติดตั้งใหม่น้อยกว่าบริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด 20.18 ชม. ถ้าบริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด ปรับปรุงการผลิตแล้วอาจทาให้บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด มีความเป็นเลิศในการผลิตและติดตั้ง Built-in แบบเน้นการใช้ฝีมือแรงงานเป็นหลัก กลุ่มที่ 2 บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด และ บริษัท กรีนมแอคส์ จากัด

สรุปได้ว่าก่อนการปรั บปรุงของบริ ษัท กรีนแอคส์ จากัด ช่วงห่างระยะเวลาการผลิต ระหว่ าง บริษัท กนกเฟอร์ นิเ จอร์แ อนด์ เดคคอเรชั่ น จากัด และบริษัท กรีนแอคส์ จากัด รวม -46.5 ชม. โดย แบ่งเป็น การผลิตงานไม้เพาะโครง -24 ชม. การทาสีย้อม -5.5 ชม. การทาสีพ่น -8 ชม. และการติดตั้ง -9 ชม. และบริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด มีการปฏิบัติการที่เป็นเลิ ศในขั้นตอนการผลิต งานไม้เพาะโครง การทาสีย้อมและการทาสีพ่น และขั้นตอนการติดตั้ง การปรั บ ปรุ ง สายการผลิ ตของ บริ ษัท กรี นแอคส์ จากั ด ให้ เ ที ย บเท่ าหรือดี กว่ าบริษัท กนก เฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด ควรปรับปรุงขั้นตอนการทางานดังนี้ 1. ขั้นตอนการผลิตไม้เพาะโครง เมื่อปรับปรุงกิจกรรมการทาแผงประกบ การประกอบ ปรับขนาดจะทาให้ลดระยะเวลาการผลิต

100

วรรณวลี นาคสินธุ์


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

รวมระยะเวลาการผลิตใหม่ ก่อนปรับปรุงระยะเวลาการผลิต ระยะเวลาการผลิต ลดระยะเวลาการผลิต

= = = =

14.5 ชม. 39.5 ชม. 39.5-14.5 ชม. 25 ชม.

2. ขั้นตอนการทาสีย้อมเสร็จในโรงงาน 80% เมื่อปรับปรุงกิจกรรมการย้อม พ่นรองพื้นซิลเลอร์ พ่นแลคเกอร์รอบที่ 1 และรอบที่ 2 และเพิ่ม หน่วยกิจกรรมที่สาคัญ คือ รองพื้นแชลครอบที่ 1 จะทาให้ลดระยะเวลาการผลิต

รวมระยะเวลาการผลิตใหม่ ก่อนปรับปรุงระยะเวลาการผลิต ระยะเวลาการผลิต ลดระยะเวลาการผลิต

= = = =

วรรณวลี นาคสินธุ์

6 11.5 11.5-6 5.5

ชม. ชม. ชม. ชม.

101


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

3. ขั้นตอนการทาสีพ่นเสร็จในโรงงาน 80% เมื่อปรับปรุงกิจกรรมรองพื้นแชลครอบที่ 1, รองพื้นแชลครอบที่ 2, พ่นสีจริงรอบที่ 1 และพ่นสี จริงรอบที่ 2 และขั้นตอนรองพื้นพ่นขาว เพิ่มกิจกรรมขัดละเอียด และกิจกรรมโป๊วแดงตามลาดับ จะทาให้ ลดระยะเวลาการผลิต

รวมระยะเวลาการผลิตใหม่ ก่อนปรับปรุงระยะเวลาการผลิต ระยะเวลาการผลิต ลดระยะเวลาการผลิต

= = = =

9 16.5 16.5-9 7.5

ชม. ชม. ชม. ชม.

4. ขั้นตอนการติดตั้ง เมื่อปรับปรุงขั้นตอนการติดตั้งและเรียงขั้นตอนใหม่จะช่วยลดระยะเวลาการติดตั้ง

102

วรรณวลี นาคสินธุ์


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

รวมระยะเวลาการผลิตใหม่ ก่อนปรับปรุงระยะเวลาการผลิต ระยะเวลาการผลิต ลดระยะเวลาการผลิต

= = = =

31 45 45 - 31 14

ชม. ชม. ชม. ชม.

ถ้าปรับปรุงในแต่ละขั้นตอนแล้ว ระยะเวลาที่คาดว่าจะลดลงเป็นดังนี้

รวมระยะเวลาก่อนปรับปรุง รวมระยะเวลาหลังปรับปรุง

= = วรรณวลี นาคสินธุ์

115 ชม. 60.50 ชม. 103


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

ไม่รวมระยะเวลารอแห้ง ลดระยะเวลาการดาเนินงาน ลดระยะเวลาได้

= = =

24 ชม. 115-60.5 ชม. 54.5 ชม.

จากตารางที่ 39 พบว่าบริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด ใช้ระยะเวลาการผลิต และติดตั้งทั้งหมด 68.5 ชม. ถ้าบริษัท กรีนแอคส์ จากัด ปรับปรุงการผลิ ตและติ ดตั้ งแล้ วจะทาให้ ใ ช้ ระยะเวลา 60.50 ชม. ลดระยะเวลาการผลิตและติดตั้ง 8 ชั่วโมง ระยะเวลาการผลิตและติดตั้งใหม่น้อย กว่า บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด อาจทาให้บริษัท กรีนแอคส์ จากัด มีความเป็นเลิศ ในการผลิตและติดตั้ง วิเคราะห์จานวนแรงงานและต้นทุนแรงงานในการผลิตของขบวนการผลิตชุดตู้เสื้อผ้าของผู้ผลิต พบว่าทั้ง 4 บริษัท ใช้จานวนแรงงานในกระบวนการผลิตไม่แตกต่างกัน ต้นทุนแรงงานช่างฝี มือ บริษัท สีลมเฟอนิเจอร์ จากัด สูงสุดคือ 18,000 บาท และบริษัท กรีนแอคส์ จากัด ต่าสุดคือ 3,000 บาท และต้ นทุ นแรงงานช่ างธรรมดา บริ ษัท สี ล มเฟอร์ นิเ จอร์ จากั ด สู ง สุ ด คื อ 13,000 บาท บริ ษัท กนก เฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด ต่าสุดคือ 3,520 บาท ต้นทุนแรงงานเป็นต้นทุนหนึ่งที่อยู่ในต้นทุนรวม ซึ่งต้นทุนรวมประกอบด้วย 1. ราคาต้นทุนแรงงานช่างฝีมือ 2. ราคาต้นทุนแรงงานช่างธรรมดา 3. ราคาต้นทุนวัสดุ อาจรวมถึงอัตราค่าเสื่อมของเครื่องมือเครื่องจักร ต้นทุนรวมของบริษัท กนกเฟอนิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่ น จากัด ต่าสุดคือ 28,600 บาท และ บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด มีต้นทุนรวมสูงสุดคือ 59,000 บาท

104

วรรณวลี นาคสินธุ์


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

สรุปได้ว่า 1.ราคาต้นทุนแรงงานของแต่ละบริษัทเป็นดังนี้ 1.1 บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด 1.2 บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด 1.3 บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด 1.4 บริษัท กรีนแอคส์ จากัด

= = = =

14,000 บาท 31,000 บาท 9,120 บาท 7,000 บาท

บริษัท กรีนแอคส์ จากัด มีราคาต้นทุนแรงงานสูงสุด 7,000 บาท และ บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด มีราคาต้นทุนแรงงานสูงสุด 31,000 บาท แต่จากการวิเคราะห์ระยะเวลาการผลิต ขั้นตอนการผลิต พบว่า บริษัท กรีนแอคส์ จากัด มี ปัญหาด้านทักษะความชานาญของช่าง เป็นไปได้ว่าบริษั ท กรีนแอคส์ จากัด พยายามลดต้นทุนแรงงาน ฝีมือ จนทาให้แรงงานช่างฝีมือด้อยคุณภาพลง ทาให้ระยะเวลาการผลิตเพิ่มขึ้น ต้นทุนวัสดุสูงขึ้น

ส่วนบริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด มีราคาต้นทุนแรงงานต่า รองจากบริษัท กรีนแอคส์ 9,120 บาท แต่จากการวิเคราะห์ร ะยะเวลาการผลิ ต ขั้นตอนการผลิต พบว่าบริษัท กนก เฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด ประสบความสาเร็จด้านการบริหารเวลาการผลิต ขั้นตอนการผลิต แสดงว่าแรงงานช่างฝีมือของบริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด มีคุณภาพ ดังนั้น ต้นทุน แรงงานของบริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด จึงต่ากว่า วรรณวลี นาคสินธุ์

105


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

2. ราคาต้นทุนวัสดุ 2.1 บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด มีราคาต้นทุนวัสดุต่าสุดคือ 19,480 บาท 2.2 บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด มีราคาต้นทุนวัสดุสูงสุดคือ 31,000 บาท จะเห็นได้ว่า การทางานโดยเน้นฝีมือแรงงานแบบกลุ่มที่ 1 คือบริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์ และก่อสร้าง จากัด และบริษัท สีลมเฟอร์นิเ จอร์ จากัด จะมีต้นทุนการผลิต สู ง กว่ ากลุ่ มที่ 2 การเน้ น เครื่องจักรในการผลิตคือ บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด และบริษัท กรีนแอคส์ จากัด ทาให้ระยะเวลาการผลิตสั้นลง สามารถลดขั้นตอนการผลิตได้ ทาให้ได้ผลผลิตมากขึ้น จึงกล่าวได้ว่าการ ผลิตแบบเน้นเครื่องจักรมีแนวโน้มที่จะเติบโตขึ้นมากกว่าการผลิตโดยใช้ฝีมือแรงงาน จากการศึ ก ษาต้ น ทุ น การผลิ ต ผู้ จัด ท าวิ เ คราะห์ ต้ นทุ นเบื้ องต้ น จากแบบสอบถามและบท สัมภาษณ์ โดยทางบริษัทผู้ผลิตมิได้ให้ข้อมูลด้านราคาเครื่องจักร จึงทาให้การวิเคราะห์ต้นทุนข้างต้นยัง ไม่ รวมค่าต้นทุนในการลงทุ นเครื่ องจั กร ดังนั้น ทางผู้จัดทาจึงศึ กษาข้ อมูลต้ นทุ นการผลิตเพิ่ มเติ มจากงบ การเงินของบริษัทผู้ผลิตดังที่กล่าวไว้ในตอนที่ 2 ผลการศึกษาจากงบการเงินบริษัททั้งสี่บริษัทในปี พ.ศ. 2550 ถึง 2552 กลุม่ ที่ 1 เน้นฝีมือแรงงาน พบว่ าบริ ษัท บุ่ นกี่ เ ซี่ ย งไฮ้ เ ฟอร์ นิเ จอร์ แ ละก่ อสร้ า ง จากั ด มี ผ ลประกอบการที่ ส ม่ าเสมอ ประมาณ 50 ล้านบาท มีค่าใช้จ่ายคิดเฉลี่ยเป็นร้อยละ 82.55 กาไรคิดเฉลี่ยเป็นร้อยละ 17.4 บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด มีผลประกอบการประมาณ 100 ล้านบาท มีค่าใช้จ่ายคิดเฉลี่ย เป็นร้อยละ 83.01 กาไรคิดเป็นร้อยละ 16.99 กลุ่มที่ 2 เน้นเครื่องจักรในการผลิต พบว่าบริษัท กรีนแอคส์ จากัด ผลประกอบการมีแนวโน้มสูงขึ้นต่อเนื่อง ประมาณ 1,000 ล้าน บาท มีค่าใช้จ่ายคิดเป็นร้อยละ 95.48 ผลกาไรคิดเฉลี่ยเป็นร้อยละ 4.52 บริษัท กนกเฟอร์ นิเ จอร์ แ อนด์ เดคคอเรชั่ น จากัด ผลประกอบการมีแ นวโน้ มสูง ขึ้ นต่ อเนื่ อ ง ประมาณ 1,000 ล้านบาท มีค่าใช้จ่ายที่คิดเฉลี่ยเป็นร้อยละ 87.25 ผลกาไรคิดเฉลี่ยเป็นร้อยละ 12.75 สรุปได้ว่าบริษัทที่พัฒนาขยายการผลิตโดยนาเครื่องจักรมาใช้ สามารถขยายการผลิตได้มากขึ้น ช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้าและขยายช่องทางการตลาดได้กว้างขึ้น รวมถึงตลาดต่างประเทศ ทาให้แนวโน้มบริษัท มีรายได้เพิ่มมากขึ้น การนาเครื่องจักรมาใช้ขึ้นอยู่กับนโยบายของบริษัทในการวางแผนการผลิตและปั จจัย ภายนอก แนวโน้มของค่าจ้างพนั กงาน และค่าวัสดุปกรณ์ลดลง แต่ค่าจ้างเหมาบุคคลภายนอกเพิ่ มขึ้ น ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของเครื่องจักรไม่ได้เป็นตัวบ่งชี้ของการเพิ่มขึ้นของรายได้และการลดลงของค่าใช้ จ่ายได้ ทั้งหมด เนื่องจากเฟอร์นิเจอร์เป็นงานที่ต้องใช้ฝีมือและความชานาญของแรงงานประกอบการทางาน สรุปผลการศึกษา จากการอภิปรายผลที่ได้กล่าวข้างต้นนั้น การพัฒนาการผลิตเพื่อปรับปรุงคุณภาพในการผลิต เฟอร์นิเจอร์ให้มีคุณภาพมากขึ้น การศึกษาเริ่มจาก 1. การคัดเลือกผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์บิลท์อินที่มีคุ ณสมบัติตรงตามข้ อกาหนด คัดเลือกผู้ผลิตได้ จานวน 4 บริษัท ได้แก่ บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด บริษัท สีลมเฟอร์นิเจอร์ จากัด บริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด และบริษัท กรีนแอคส์ จากัด 2. สัมภาษณ์ เยี่ยมชมโรงงานผลิต ทาแบบสอบถาม 3. ศึกษาข้อมูลของการผลิตเฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน ตามที่ระบุในแบบสอบถามของแต่ละบริ ษัทมา เปรียบเทียบกันแบบการเทียบรอย (Benchmarking) ซึ่งเป็นเครื่องมือคุณภาพที่นิยมใช้กันอยู่ในองค์กร ต่าง ๆ มากมาย โดยการเทียบรอยนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรี ยบเทียบการปฏิบัติงานของบริษัทคู่แข่ง และ ค้ นหาแนวปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ นเลิ ศ ในการจั ด กระบวนการการผลิ ต ซึ่ ง นาไปสู่ ผ ลการปฏิ บั ติ ที่ ดี ก ว่ า จึ ง ได้ คู่ เปรียบเทียบบริษัทที่ใกล้เคียงกันคือ บริษัท บุ่นกี่เซี่ยงไฮ้เฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากัด กับบริษัท สีลม เฟอร์นิเจอร์ จากัด และบริษัท กนกเฟอร์นิเจอร์แอนด์เดคคอเรชั่น จากัด กับบริษัท กรีนแอคส์ จากัด 106

วรรณวลี นาคสินธุ์


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

4. ใช้แนวคิดแบบลีน (Lean) ที่จะช่วยในการปรับปรุงคุณภาพการดาเนินการผลิตที่ดีกว่าด้วย ทรัพยากรที่น้อยลง ประกอบด้วยการใช้แนวคิดวงจร PDCA เพื่อการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง และมักจะ เกิดวิธีการใหม่ ๆ เสมอในวงจร นาไปสู่มาตรฐานการทางาน ดังนั้นจึงได้แนวทางการปรับปรุง สายการผลิตใหม่ให้เ กิดสายธารการผลิตที่มีคุ ณภาพมากขึ้ น เพื่อให้ได้คุณภาพตรงตามความต้องการของลูกค้า ทั้งด้านเวลา คุณภาพของสินค้า และราคา อีกทั้งยัง ส่งผลต่อการลดต้นทุนการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า การปรับเปลี่ยนระบบการผลิตที่ทาให้ลดความสูญเปล่า ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตแบบเดิม เกิดสายธารการผลิตแบบใหม่ เป็นแนวทางการผลิต ที่ จะ นามาปรับปรุงคุณภาพของขั้นตอนการผลิต ผลการศึกษาพบว่าก่อนการปรับปรุ งการผลิตและหลังการปรับปรุงการผลิต ทาให้ใช้ระยะเวลา ผลิตน้อยลงตามตารางที่ 41 – 42

สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 1. จากผลการวิเคราะห์ การผลิตพร้อมการติดตั้งเฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน ที่มีความแตกต่างกั นใน กระบวนการผลิ ต ท าให้ ร ะยะเวลาการผลิ ตแตกต่ างกั น ต้ นทุ นการผลิ ต แตกต่ างกั น ดั ง นั้ นจึ ง ยอมรับ สมมติฐานของการศึกษา 2. จากการเปรียบเทียบต้นทุนรวมการผลิต ชุดตู้เสื้อผ้าและโต๊ะแต่งตัว ตามแบบสอบถาม บริ ษัท กนกเฟอร์ นิเ จอร์ แ อนด์ เ ดคคอเรชั่ น จากั ด มี ต้ นทุ นรวมการผลิ ต น้ อยที่ สุ ด ทั้ ง นี้ บ ริ ษัท กนก เฟอร์นิเจอร์แอนเดคคอเรชั่น จากัด เป็นผู้ผลิตที่พัฒนาการผลิตแบบเน้นฝีมือแรงงาน เป็นการผลิตที่ เ น้น เครื่องจักรในการผลิต จากผลการส ารวจโดยใช้ ง บการเงิน (บางส่ วน) และวิ เ คราะห์ ตามหลั กการบั ญ ชี รายได้ของ บริษัทผู้ผลิตที่มีการปรับปรุงโดยการนาเครื่องจักรมาใช้ พบว่า บริษัทมีศักยภาพในการเพิ่มการผลิตโดยดู ได้จากรายได้ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งแตกต่างกับบริษัทที่ไม่ได้นาเครื่ องจั กรมาใช้ และบริษัทที่นาเครื่องจักรมาใช้ สามารถขยายการผลิตได้มากขึ้น ช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้าและขยายช่องทางการตลาดได้กว้างขึ้น รวมถึงตลาด วรรณวลี นาคสินธุ์

107


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

ต่ างประเทศ ท าให้ บ ริ ษัท มี ร ายได้ เ พิ่ มมากขึ้ น ดั ง นั้ น จึ ง ยอมรั บ สมมติ ฐ านข้ อที่ 2 คื อแหล่ ง การผลิ ต เฟอร์นิเจอร์บิลท์อินที่พัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่องทาให้รายได้เพิ่มมากขึ้น ข้อเสนอแนะ จากการศึกษากระบวนการพัฒนาคุ ณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้ ง งาน เฟอร์นิเจอร์บิลท์อินพบว่า 1. การเทียบแบบวิธีการทางานโดยจัดกลุ่มการเทียบของบริษัทที่ด้อยกว่าจะสามารถนาวิธีการ ทางานของผู้ที่เด่นกว่ามาใช้ปรับปรุงวิธีการทางานของตนได้ เป็นการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด 2. การศึกษาวิธีการผลิตมีประโยชน์ สามารถนาข้อมูลที่ได้มาศึกษาเรื่องระยะเวลาการผลิ ต ทาให้สามารถกาหนดระยะเวลาการผลิตได้ การวางแผนงานให้การผลิตเป็นไปอย่างต่อเนื่องไม่สะดุดคือ การผลิตแบบไหล 3. สามารถกาหนดต้นทุนการผลิตได้ตามตารางที่ 43

108

วรรณวลี นาคสินธุ์


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

4. ลดการใช้ทรัพยากร ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เช่น 4.1 ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์พบว่ าการท าสีเฟอร์ นิเ จอร์ บิล ท์อินไม่ค วรทาเสร็ จในโรงงาน 100% เพราะการติ ด ตั้ ง บิ ล ท์ อินจะไม่ ส ามารถกาหนดขนาดเฟอร์ นิเ จอร์ ใ ห้ พ อดี กับ พื้ นที่ ไ ด้ 100 % เนื่องจากขนาดที่พอดี ช่างจะไม่สามารถยกเข้าที่ติดตั้งได้ ดังนั้น ช่างที่มีประสบการณ์มากจะลดขนาด เฟอร์นิเจอร์ลงเล็กน้อย เพื่อติดตั้งงานได้สะดวกขึ้น การลดขนาดเฟอร์นิเจอร์จึงต้องมีการเก็บงานหน้ างาน การเสริมขนาดให้พอดีกับพื้นที่หน้างาน ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการทาสีเพิ่มเติมหน้างานเสมอ และเก็บงานให้ สมบูรณ์ วรรณวลี นาคสินธุ์

109


การศึกษากระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์บลิ ท์อิน

4.2 การใช้โป๊วแดงหลังจากขั้นตอนการพ่นรองพื้นเทา สาเหตุที่ต้องใช้หลังจากการพ่นรองพื้ นเทา เพราะเมื่อพ่นรองพื้นเทาแล้วจะเห็นส่วนที่พื้นผิวชิ้นงานที่ไม่เรียบชัดเจนมากขึ้น ทาให้การโป๊วพื้นผิ วที่ ไม่ เรียบด้วยโป๊วแดงมีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อพ่นรองพื้นขาวในขั้นตอนต่อไปจะทาให้ได้ผิวชิ้นงานที่เรียบ ยิ่งขึ้น จะช่วยลดขั้นตอนการขัดก่อนลงสีจริงรอบที่ 1 ไม่สิ้นเปลืองสีจริง 4.3 การท ารองพื้ น ซิ ล เลอร์ ใ นขั้ นตอนการท าสี ย้ อ มจะช่ ว ยลดการพ่ นแลคเกอร์ ห ลายรอบ เนื่องจากซิลเลอร์เป็นแลคเกอร์ชนิดหนึ่งที่มีเนื้อสีหนา ทาให้หน้าสีเต็มเสี้ยนเร็วขึ้น ช่วยลดระยะเวลาการ ผลิตและการใช้ทรัพยากรสิ้นเปลือง 4.4 การควบคุ มการผลิ ต โดยผู้ค วบคุมงานจ่ ายโดยเฉพาะทาให้ ควบคุมการผลิ ตได้ ดีขึ้ น เช่ น บริษัทที่นาเครื่องจั กรมาใช้มักจะไม่ต้ องการเสี ยเศษของวัสดุ จะมีวิศวกรควบคุมหรือผู้ จัด การโรงงาน คานวณการตัดไม้โครง การตัดไม้อัด การวางแบบชิ้นงานไม้ ทาให้ตัดแบบได้มากที่สุด บ้างก็ปรับแบบก่อน ดาเนินงานกับผู้ออกแบบ ที่ปรึกษาโครงการ หรือเจ้าของโครงการ เพื่อขอปรับขนาดเฟอร์นิเจอร์ให้ ข นาด ใกล้เคียงกับขนาดไม้อัดและขนาดวัสดุในท้องตลาด 5. การใช้ใบสั่งผลิตเพื่อระบุชิ้นงาน ขนาด จานวน วิธีการทางาน ระยะเวลาการทางาน และ ผูร้ ับผิดชอบประกอบการผลิต จะช่วยให้การทางานมีประสิทธิภาพ 6. การใช้ เ ครื่ องจั กรในการผลิ ต ต้ องค านึ ง ถึ ง ต้ นทุ นเครื่ องจั กร ซึ่ ง ค่ าเสื่ อมของการลงทุ น ค่ อนข้ างสู ง จึ ง ต้ องหาจุ ด คุ้ มทุ น จะสั ง เกตเห็ นว่ า งานที่ มีมูล ค่ ามากกว่ า 100 ล้ านบาทขึ้ นไป การใช้ เครื่องจักรทางานจึงจะคุ้มกับการลงทุนซื้อเครื่องจักรที่ราคาประมาณ 80 ล้านบาท (ที่มา จากการเฉลี่ย ราคาเครื่องจักรทั้ง 2 บริษัท, 2552) 7. บริษัทผู้ผลิตในกลุ่มที่เน้นแรงงานมีฝีมือเป็นหลัก ในอนาคตอาจมีผลเสีย เพราะค่าแรงงาน ค่าครองชีพจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ ถ้าไม่ปรับปรุงวิธีการผลิตหรือการนาเครื่องจักรมาใช้ทดแทนแรงงานช่างฝี มือ บ้าง จะทาให้มีต้นทุนในการผลิตมากขึ้น ฉะนั้น ผู้ผลิตกลุ่มนี้จะต้องปรับเป้าหมายลูกค้าไปสู่การหากลุ่ม ลูกค้าที่เน้นงานฝีมือมีราคาสูงจึงจะคงอยู่ได้

110

วรรณวลี นาคสินธุ์


วัฒนธรรมองค์กรที่ปรึกษาออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. : โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย

วัฒนธรรมองค์กรทีป่ รึกษาออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. : โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย บทคัดย่อ วรวุฒิ กิจสิริวิศาล ค้าส้าคัญ: วัฒนธรรมองค์กร/ วัฒนธรรมย่อย/ การประเมินวัฒนธรรมองค์กร อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปณิตา วงศ์มหาดเล็ก

การค้ นคว้ า อิ ส ระนี มี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อหาวั ฒ นธรรมองค์ กรของกลุ่ ม ที่ ป รึ ก ษาออกแบบที่ ปฏิบัติงานในโครงการของรัฐ โดยใช้กรณีศึกษาของโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย อันเป็น โครงการในความรับผิดชอบของ รฟม. เพื่อหาค้าตอบว่าวัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มกรณีศึกษา จะเป็นดัง สมมติ ฐ านที่ ตั งว่ า องค์ ก รกรณี ศึ ก ษาจะมี วั ฒ นธรรมที่ เ ป็ น ดั ง ที ม เฉพาะกิ จ (Ad-Hoc) หรื อ ไม่ โดย ท้าการศึกษาสรุปหาความหมายของวัฒนธรรมองค์กร ประเด็นส้าคัญที่เกิดขึนในงานประเภทโครงการ และหาองค์ประกอบของวั ฒนธรรมองค์กร (Organizational Culture) และวัฒนธรรมกลุ่มย่ อย (SubCulture) ด้วยการใช้การสังเกตตามกรอบที่ สรุปได้ จากการทบทวนวรรณกรรม และเครื่องมือประเมิ น วัฒนธรรมองค์กร น้าผลมาเปรียบเทียบวิเคราะห์กับสมมติฐานตังต้น หาสาเหตุ สรุปออกเป็นปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรขององค์กรกรณีศึกษา

วรวุฒิ กิจสิริวิศาล

111


วัฒนธรรมองค์กรที่ปรึกษาออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. : โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย

ORGANIZATIONAL CULTURE OF MRTA DESIGN CONSULTANT BLUE LINE EXTENSION PROJECT ABSTRACT WORAWUT KIJSIRIWISAL KEYWORD: ORGANIZATIONAL CULTURE/ SUB CULTURE/ ORGANIZATIONAL ASSESMENT ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PANITA WONGMAHADLEK

The objective of this independent study is to identify organizational culture of a group of design consultants who work in governmental construction projects, using design consultants of Blue line extension project of MRTA as a case study. The result of the study was used to prove the assumption that the project organizational culture should be Adhocracy Culture according to the project organization characteristic (Ad-Hoc). The case study’s organizational culture was investigated by using a method derived from literature review to identify the organizational culture meaning, essential issues emerged during the project, and the components of the organizational culture. Then the organizational culture and sub-culture of the case study was analyzed and identify the factors that influenced the organizational culture of the case study.

112

วรวุฒิ กิจสิริวิศาล


วัฒนธรรมองค์กรที่ปรึกษาออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. : โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย

สรุปผลอภิปราย ส้าหรับบทที่ 5 จะท้าการวิเคราะห์ และสรุปผลของการศึกษาในช่วงต้นของบท และท้าการตัง ข้อสังเกต รวมทังข้อเสนอแนะเป็นส่วนสุดท้ายของการศึกษา การวิเคราะห์ผลการศึกษา เมื่อท้าการวิเคราะห์ถึงสาเหตุว่าเพราะเหตุใดลักษณะของวัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มกรณีศึ กษา จึงเป็น Hierarchy Culture ตามผลการศึกษา ซึ่งเป็นลักษณะโดยทั่วไปขององค์ กรที่เหมื อนดัง องค์ กร ขนาดใหญ่ที่มีล้าดับขัน ซึ่งแตกต่างจากสมมติฐานที่ตังไว้ตังแต่ต้นของการศึกษา จากผลการศึ กษาที่ ไ ด้ รั บจากบทที่ 4 ในส่ วนของการใช้ เ ครื่องมื อประเมิ นวั ฒนธรรมองค์กร (OCAI) โดยท้าการประเมินจากภายใน คือกลุ่มกรณีศึกษา และการประเมินจากภายนอกคือ รฟม. อันเป็น องค์กรที่ปฏิบัติงานร่วมกับกลุ่มกรณีศึกษา พบปัจจัยจากภายนอกองค์กร และปัจจัยจากภายในองค์ กรซึ่ง ส่งเสริมและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับลักษณะของวัฒนธรรมองค์กรในภาพรวมขององค์กร ปัจจัยจากภายนอกองค์กร ปัจจัยภายนอกองค์ กรเป็ นปั จจัยที่ มีอิท ธิพ ลให้ องค์ กรกรณีศึ กษา ต้องท้าการปรับ วัฒ นธรรม องค์กรในด้ านต่ าง ๆ เพื่อให้เกิดความสอดคล้ องในการท้ างานในโครงการออกแบบรถไฟฟ้ าของกลุ่ ม กรณีศึกษา 1. เจ้าของโครงการ (รฟม.) เป็นส่วนส้าคัญในการก้าหนดและสร้างกฎเกณฑ์ในโครงการทั งหมด ตังแต่ยังไม่เริ่มต้นโครงการ เนื่องด้วย รฟม. เป็นผู้จัดท้าสัญญาเงื่อนไขในโครงการ รวมทังเป็นผู้คัดเลื อกที่ ปรึกษาของโครงการ ซึ่งจะต้องเป็นองค์กรที่จัดตังขึนตามที่ รฟม. เห็นควร เพื่อให้สอดคล้องกับการท้างาน ของ รฟม. ดังนันวัฒนธรรมของกลุ่มกรณีศึ กษาจึงเป็นวัฒ นธรรมที่เป็ นไปในแนวทางเดียวกันกับ รฟม. ได้แก่ วัฒนธรรมแบบ Hierarchy Culture รฟม. เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลท้าให้วัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มกรณีศึกษาเป็นดังผลการศึกษา ซึ่ง สะท้อนออกมาในวัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มกรณีศึกษาที่เห็นได้ในเรื่องของพฤติกรรม, การจัดโครงสร้าง องค์กร (Organizational Structure) และการปฏิบัติงานที่เป็นทางการ ในระดับของคุณค่า (Value) ที่ แสดงออกมาในมิติต่าง ๆ ของวัฒนธรรมที่มุ่งเน้นที่ภายใน (Internal) องค์กร และการควบคุม (Control) โดยจากการวัดค่าคะแนนที่ได้ในแต่ละมิติของวัฒนธรรมองค์กรใน 6 หัวข้อ พบว่ามีค่าของมิติวัฒนธรรมที่ มี ค วามใกล้ เ คี ย งกั น เป็ น อย่ า งมาก อยู่ 4 หั ว ข้ อ อั น ได้ แ ก่ ลั ก ษณะเด่ น (Character), ภาวะผู้ น้ า (Leadership), กลยุทธ์ที่มุ่งเน้น (Strategy), และเงื่อนไขแห่งความส้าเร็ จ (Criteria of Success) ทังใน ส่วนของวัฒนธรรมองค์กรในปัจจุบัน (Now) และที่ควรเป็น (Prefer) มิติทางวัฒนธรรมของกลุ่มกรณีศึกษาเป็นไปในลักษณะที่ไปในทิศทางเดียวกับ รฟม. อาจกล่ าว ได้ว่า เกิดขึนจากปัจจัยหลักในการบริหารงานโครงการก่อสร้างคื อ เวลา ที่เป็นสิ่งที่จ้ากัด เร่งรัด และไม่ สามารถหาทดแทนได้ ดังนันวิธีที่ง่ายที่สุดในการสร้างวัฒนธรรมส้าหรับองค์กรที่จัดขึนเฉพาะกิจส้าหรับ โครงการคือ การรับเอาวัฒนธรรมขององค์กรที่ปฏิบัติงานร่วมมาปรับใช้ในองค์กรเพื่อลดเวลาในการปรับ วัฒนธรรมขององค์กรกรณีศึกษาให้เข้ากันได้กับองค์กรที่ปฏิบัติงานร่วมที่เป็นเจ้าของโครงการซึ่งในที่ นีคือ องค์กร รฟม. 2. เป้าหมายขององค์กรกรณีศึกษา แบ่งเป็นเป้าเฉพาะในโครงการและเป้าหมายระยะยาวของ องค์กรกรณีศึกษา เป้าหมายในโครงการขององค์ กรกรณีศึกษาคือการปฏิบัติงานโครงการให้ลุ ล่วงตาม เงื่อนไขสัญญาของโครงการที่เป็นพันธกิจผูกพันกับ รฟม. เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์กร ท้าให้ผู้น้า องค์กรกรณีศึกษาต้องท้าการก้าหนดเงื่อนไข (Criteria) และกลยุทธ์ (Strategy) ที่เหมาะสมกับการท้างาน โครงการและ รฟม. เป้าหมายระยะยาวขององค์กรกรณีศึกษา คือ การได้รับเลือกเป็นกลุ่มที่ปรึกษาในโครงการงาน ออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. ในสายทางที่จะเกิดในอนาคตสายอื่น ๆ ดังนัน การปฏิบัติงานในโครงการที่ วรวุฒิ กิจสิริวิศาล

113


วัฒนธรรมองค์กรที่ปรึกษาออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. : โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย

ท้าในปัจจุ บั นจึง จ้ าเป็ นจะต้ องสร้ างความพึง พอใจให้ กับ รฟม. เพื่อให้ได้ รับ การอ้ างอิ ง ที่ดี อันเป็ นข้ อ ได้เปรียบในการยื่นเสนอในการคัดเลือกกลุ่มที่ปรึกษาส้าหรับโครงการอื่นในอนาคต จากเหตุที่กล่าวมาขันต้น ชีให้เห็นว่าการปรับวัฒนธรรมองค์กรให้สอดคล้องกับ รฟม. จึงเป็นสิ่ง ส้าคัญที่องค์กรกรณีศึกษาจ้าเป็นเพื่อให้บรรลุซึ่งเป้าหมายขององค์กร ปัจจัยจากภายในองค์กร ปัจจัยภายในอันเกิดจากในกลุ่มกรณีศึก ษา เป็นเหตุปัจจัยหนึ่งที่ร่วมปัจจัยภายนอก ท้าให้เกิด วัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มกรณีศึกษา ปัจจัยภายในที่ส้าคัญขององค์กรอันเกิดมาจากบุคคลากรในองค์ กร ประกอบไปด้วยเหตุดังต่อไปนี 1. วั ฒ นธรรมย่ อย (Sub Culture) ขององค์ กรกรณี ศึ กษาสามารถแยกได้ ต ามกลุ่ ม อาชี พ (Occupation Subculture) แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม จากผลการศึกษาในบทที่ 4 ด้วยการใช้ OCAI เห็นได้ ชั ด ว่ าวั ฒ นธรรมที่ เ ด่ นชั ด ในแต่ ล ะกลุ่ มอาชี พ ขององค์ กรกรณี ศึ กษาเป็ นแบบ Hierarchy Culture ซึ่ ง สอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กรของกลุ่ม เมื่อท้าการวิเคราะห์ผลที่ได้จาก OCAI แยกตามกลุ่มในบทที่ 4 พบว่า ในมุมมองของทัง 4 กลุ่ม เห็นว่าวัฒนธรรมของกลุ่มกรณีศึกษา มีน้าหนักไปในรูปแบบของ Hierarchy Culture เกือบทังหมด กลุ่ม ผู้บริหาร กลุ่มสถาปนิก และกลุ่มวิศวกร มีมุมมองในการให้ล้าดับที่เหมือนกัน มีเพียงกลุ่มสนั บสนุนและ ธุรการที่เป็นส่วนที่ปฏิบัติงานภายในเท่านันที่มีความแตกต่าง โดยให้น้าหนักที่ Clan Culture เป็นอันดับ แรก ซึ่งทัง 3 กลุ่ม เป็นส่วนที่ท้างานร่วมกับ รฟม. โดยตรง จึงอาจสรุปได้ว่าวัฒนธรรมย่อยในส่วนของ องค์กรกรณีศึกษาที่มีการปฏิบัติงานร่วมกับ รฟม. มีวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับ รฟม. ในกรณีของวัฒนธรรมย่อยนี ผู้เขียนตังข้อสังเกตที่เป็นประเด็นส้าหรับการศึกษาต่อเนื่องจาก การศึกษาฉบับนีว่า หากท้าการศึกษาวัฒนธรรมของกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ในกรณีที่ไม่ได้ปฏิบัติงานของ รฟม. ว่ามีลักษณะแบบใด ผลที่ได้จะสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับวัฒนธรรมกลุ่มย่อยที่มีในการรวมกลุ่ม ปฏิบัติงานโครงการมากยิ่งขึน 2. ผู้น้าองค์กรและลักษณะการรวมกลุ่มของกลุ่มที่ปรึกษางานออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. ที่ เกิดจากการรวมกลุ่มแบบ Consortium อันเป็นการรวมกลุ่มในลักษณะที่แยกหน้าที่ความรับผิดชอบออก จากกันโดยมี Lead Firm เป็นคนจัดการในองค์กร รู ป แบบของการรวมกลุ่ ม แบบ Consortium เป็ น รู ป แบบการรวมตั ว เฉพาะกิ จ เพี ย งเพื่ อ ปฏิบัติงานตามขอบเขตของแต่ละบริษัทตามที่ระบุในสัญญา ท้าให้ขาดความสัมพันธ์ที่ลึกซึงในองค์กร ไม่ สร้างให้เกิดวัฒนธรรมร่วมของกลุ่ม ดังนัน Lead Firm ที่ท้าหน้าที่เป็นผู้น้าองค์กร จึงเป็นปัจจั ยหลักใน การสร้างวัฒนธรรมของกลุ่ม โดยการก้าหนดนโยบายและแนวทางการด้าเนินงานของกลุ่ มที่ท้าให้ เ กิ ด วัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มกรณีศึกษา จากผลการศึกษาในบทที่ 4 ด้วย OCAI ของแต่ละมิติวัฒนธรรมในส่วนปัจจุบัน (Now) และที่ ควรจะเป็ น (Prefer) พบว่ า การเปลี่ ย นมิ ติ ข องวั ฒ นธรรมองค์ กรกรณี ศึ กษา ในส่ วนของผู้ น้าองค์ ก ร (Organization Leadership) ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งยังคงเป็น Hierarchy Culture อยู่ดังเดิม ทังจาก การประเมินด้วยกลุ่มกรณีศึกษาเองและจาก รฟม. ท้าให้อาจกล่าวได้ว่าลักษณะของผู้น้าองค์กรที่เหมาะ กับงานโครงการออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. ควรที่จะมีลักษณะที่เป็นแบบ Hierarchy Culture 3. มิติวัฒนธรรม จากการศึกษาผลของการใช้ OCAI จากมุมมองของกลุ่มกรณีศึกษาเอง และ จากผู้ว่าจ้างหรือ รฟม. พบว่า หากพิจารณาจากคะแนนที่ได้ในแต่ละมิติวัฒนธรรม มีหลายมิติที่ได้คะแนน ใกล้เคียงกันเป็นอย่างมาก จะมีเพียงมิติในด้าน Organization Glue ที่แตกต่างโดย รฟม. เห็นว่ากลุ่มที่ ปรึกษาออกแบบรถไฟฟ้าเป็นกลุ่มที่มีลักษณะแบบเฉพาะกิจ (Ad-hoc) ทังด้วยลักษณะของวัฒนธรรม ปั จจุ บั น (Now) และที่ ค วรเป็ น (Prefer) ท้ าให้ ส รุ ป ได้ ว่า ในมุ มมองของ รฟม. เห็ นว่ ากลุ่ มที่ ป รึ กษา ออกแบบรถไฟฟ้าเป็นกลุ่มที่มีลักษณะแบบเฉพาะกิจ ในภาพรวมของทิศทางในการปรับวัฒนธรรมของกลุ่มกรณีศึ กษา พบว่ากลุ่มที่ปรึกษามี ค วาม ต้องการให้ปรับวัฒนธรรมจากที่เน้นการเป็ นองค์ กรที่มีค วามมั่นคง (Stability) ให้ปรับทิศทางที่มีความ ยืดหยุ่น (Flexible) มากขึน 114

วรวุฒิ กิจสิริวิศาล


วัฒนธรรมองค์กรที่ปรึกษาออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. : โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย

มิ ติ วัฒ นธรรมที่ เ ปลี่ ย นแปลงมากที่ สุ ด 2 อั นดั บ แรกคื อ มิ ติ ด้ าน Criteria of Success และ Strategic Emphasis ตามล้าดับ ซึ่งจากการศึกษาในบทที่ 2 พบว่าเป็นส่วนที่ปรับเปลี่ยนด้วยแรงกระท้า ที่เกิดจากสภาพภายนอก อันได้แก่ รฟม. เป็นปัจจัยหลัก สรุปผลการศึกษา การก่อรูปของวั ฒ นธรรมองค์ กรกรณี ศึ กษาเกิด จากปั จจั ยภายนอก ได้แก่ เจ้าของโครงการ, เป้าหมายองค์กร และปัจจัยภายใน ได้แก่ วัฒนธรรมย่อย, ผู้น้าองค์กรและการรวมกลุ่ม และมิติวัฒนธรรม ซึ่งส่งผลกับส่วนต่าง ๆ ของวัฒนธรรมองค์กรขององค์กรกรณีศึกษา องค์กรออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. กรณีศึกษาสายสีน้ าเงินส่วนต่ อขยาย (BMTC) มีลักษณะ วัฒนธรรมแบบ Hierarchy Culture อันเกิดจากอิทธิพลของเจ้าของโครงการคือ รฟม. ส่งผลให้องค์กร เป็นองค์กรที่ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญจากหลายบริษัท ที่มีความเป็นทางการ มีระเบียบขันตอน โครงสร้าง ในการแบ่งแผนกในการปฏิบัติงาน และล้าดับขันการสั่งงานที่ชัดเจน เพื่อให้สอดคล้องกับ รฟม. ถึงแม้ว่า รูปแบบของการท้างานในลักษณะโครงการที่มีระยะเวลาที่ก้าหนดชัดเจน มีการรวมตัวของบุคลากรสาขา ต่าง ๆ ในแบบเฉพาะกิจ (Ad-Hoc) ซึ่งควรที่จะมีรูปแบบของวัฒนธรรมแบบ Adhocracy Culture ด้วยรูปแบบของการรวมตัวขององค์กรในลักษณะแบบ Consortium ซึ่งเป็นลักษณะการรวมตัว แบบแยกหน้าที่และความรับผิดชอบออกจากกันชัดเจน ท้าให้กลุ่มไม่เกิด การสร้างวัฒนธรรมร่วม ดังนัน ลักษณะของวัฒนธรรมองค์กรจึงเป็นไปในแนวทางที่ถูกก้าหนดโดยผู้น้าองค์กร (Lead Firm) และ รฟม. เพียงเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของโครงการตามสัญญาของโครงการ การที่องค์ กรกรณีศึ กษามี ลั กษณะของวั ฒ นธรรมที่เ ข้ ากั นได้ กับ รฟม. นัน เนื่องมาจากกลุ่ ม ต้องการความพึงพอใจจาก รฟม. เพื่อเป้าหมายของกลุ่มที่หวังผลในระยะยาว ในการได้รับคัดเลือกเป็ นที่ ปรึกษาออกแบบในโครงการรถไฟฟ้าสายอื่น ๆ ที่จะเกิด ขึนในอนาคต สิ่งนีเป็นประเด็นส้าคัญที่ส่งผลให้ กลุ่มกรณีศึกษาใช้วิธีการวางกลยุทธ์ต่อการท้างานในโครงการของ รฟม. ด้วยการวางโครงสร้าง รูปแบบ วิธีการท้างาน และวัฒนธรรมองค์กรที่เอือให้เข้ากั นได้กับรูปแบบวัฒนธรรมองค์กรของ รฟม. เพื่อให้เกิด บรรยากาศการท้างานร่วมกันที่ดีและดูเป็นเนือเดียวกัน อันเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่จะเป็นประโยชน์ ต่อการเข้าท้างานในโครงการรถไฟฟ้าสายอื่น ๆ ในอนาคต จากการศึ ก ษากลุ่ ม กรณี ศึ ก ษาในสารนิ พ นธ์ ฉ บั บ นี ผู้ เ ขี ย นตั งข้ อ สั ง เกตเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะ ความสัมพันธ์ของวั ฒนธรรมร่วม (Corporative Culture) ของกลุ่มที่ปรึกษาและ รฟม. หรือหน่วยงาน ภาครัฐอื่น ๆ ในงานออกแบบโครงการขนาดใหญ่ ว่าจะมีความเหมือนหรือความต่างจากกรณีศึกษาหรือไม่ ทังนี ยังควรที่จะขยายผลการศึกษาถึงวัฒนธรรมขององค์กรผู้เชี่ยวชาญที่ไม่ได้ท้างานในโครงการของรัฐ เพื่อหาลักษณะของวัฒนธรรมองค์กร ของบริษัทสถาปนิก วิศวกร ในกรณีที่ไม่ได้รับอิทธิพล ข้อเสนอแนะของการศึกษา จากกระบวนการศึกษาทังหมดของสารนิพนธ์ฉบับนี ผู้เขียนสามารถเสนอแนะส้าหรับผู้ที่มีความ สนใจที่จะท้าการศึกษาเพิ่มเติมในประเด็นต่าง ๆ ที่เห็นว่าน่าจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาในอนาคต ข้อจ้ากัดในการศึกษา การศึกษาวัฒนธรรมองค์กรในระดับของรากฐานอันก่อให้เกิดความเชื่อร่วมกันที่ลึกซึง จ้าเป็น จะต้องใช้เครื่องมือในการศึ กษาและการเก็บข้อมูลขันสูง อันจะต้องใช้กระบวนการ และแบบทดสอบทาง วั ฒ นธรรมโดยผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ านการตรวจสอบวั ฒ นธรรม รวมทั งเวลาในการทดสอบที่ นอกเหนื อจาก ขอบเขตของสารนิพนธ์ ข้อจ้ากัดส้าคัญอีกประการหนึ่งของการศึกษาวัฒนธรรมองค์กรคือการเข้าถึงข้อมูลชันสูงของแต่ ละองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรราชการที่มีระเบียบและขันตอน รวมทังข้อจ้ากัดในการให้ข้อมูล มาก ซึ่งในการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กรนัน จ้าเป็นต้องท้าการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กรนัน จ้าเป็นจะต้องศึกษาในประเด็นที่อ่อนไหวหลายประการ ซึ่งอาจจะท้าให้ผู้ศึกษานันไม่ได้ข้อมูลในบางส่วน วรวุฒิ กิจสิริวิศาล

115


วัฒนธรรมองค์กรที่ปรึกษาออกแบบรถไฟฟ้าของ รฟม. : โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้าเงินส่วนต่อขยาย

ข้อเสนอแนะ สืบเนื่องมาจากข้อจ้ากัดและขอบเขตของการศึกษาในสารนิพนธ์นี ผู้เขียนจึงมีความเห็นและ ข้อเสนอแนะส้าหรับผู้ที่มีความสนใจในการศึกษาในหัวข้อของวัฒนธรรมองค์กรเพิ่มเติม เพื่อต่อยอดองค์ ความรู้ในด้านนีที่ยังมีผู้ศึกษาเป็นจ้านวนน้อย ควรท้าการศึกษาลักษณะวัฒนธรรมขององค์กรราชการ รวมถึงวัฒนธรรมของบริษัทต่าง ๆ ที่ ประกอบกันเป็ นองค์ กรที่ ปรึ กษาเพิ่มเติ ม ให้ทราบถึงรายละเอี ยดปลี กย่ อยของวัฒ นธรรมขององค์ กร ราชการและบริษัทผู้เชี่ยวชาญ เพื่อน้ามาใช้วิเคราะห์ผลได้ดีมากขึน ท้าการเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มที่ปรึกษาของงานโครงการอื่น ๆ ที่แตกต่างออกไป เช่น มีขนาดโครงการแตกต่างกันหรือต่างประเภทกัน หรือมีเจ้าของโครงการต่างกัน เพื่อหาความเหมื อน ความต่าง จุดร่วม ซึ่งเมื่อมีปริมาณที่มากเพียงพอจะสามารถสรุปถึงลักษณะของวัฒนธรรมขององค์กรใน ภาพกว้างได้ อันจะสร้างประโยชน์ต่อความเข้าใจต่ออุตสาหกรรมงานออกแบบก่อสร้างของประเทศไทยได้ วัฒนธรรมองค์กรเป็นองค์ความรู้ที่มีการศึกษาอย่างแพร่หลายและมีการปรับเปลี่ยนให้ทันยุ ค สมัยตลอดเวลา ดังนันกรอบของทฤษฎีที่ใช้ในการศึ กษานัน จึงจ้าเป็นจะต้องปรับให้ร่วมสมัยอยู่ตลอดเวลา ผู้เขียนพบว่าการศึกษาทางวิชาการเกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กรในประเทศไทยนันยังมีจ้านวนที่ น้อยมาก หากเปรียบเทียบกับงานการศึกษาที่มีในต่างประเทศ และเป็นองค์ความรู้ที่มีประโยชน์ในการ บริหารงานโครงการที่มีความส้าคัญแขนงหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันยังต้องใช้ข้อมูลการศึกษาจากต่างประเทศใน การศึกษาเป็นหลัก ดังนันผู้เขียนจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจากผลการศึกษาในประเด็นของวัฒนธรรมองค์กร จะสามารถน้าไปใช้ต่อยอดการศึกษาเพื่อขยายองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมองค์กรในประเทศไทย ให้มีความ แพร่หลายมากขึนต่อไป

116

วรวุฒิ กิจสิริวิศาล


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการ ก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทยในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2547-2552 บทคัดย่อ วราพร บุญมีฤทธิ์ คาสาคัญ: โครงการสร้างเจดีย/์ สัดส่วนราคาค่าก่อสร้าง/ เครื่องมือประมาณราคา อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิบูลย์ จินาวัฒน์

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาผลที่ได้จากการวิเคราะห์ไปใช้เป็นเครื่องมือประมาณราคาค่า ก่อสร้างโครงการก่อสร้างเจดีย์ ที่มีลักษณะการออกแบบด้วยประติมากรรมไทยในประเทศไทยในเบื้องต้น ผลการวิจัยพบว่า 1. โครงการก่อสร้างเจดีย์มีสัดส่วนในส่วนค่าก่ อสร้างทางตรงสองส่ วนคื อ ค่างานโครงสร้าง ประมาณ 25% ของมูลค่าโครงการ และค่างานสถาปัตยกรรมประมาณ 55% ของมูลค่าโครงการ และใน ส่วนค่าก่อสร้างทางอ้อมประมาณ 20% ของมูลค่าโครงการ 2. โครงการก่อสร้างเจดีย์ที่มีรูปแบบลักษณะเป็นทรงระฆัง มีความสูงประมาณ 2.3 เท่าของ ความยาวฐานเรือนธาตุองค์เจดีย์ และมีการประดับตกแต่งอย่างพอประมาณตามมาตรฐานไม่มากหรื อ น้อยเกินไป สามารถใช้สมการมูลค่าโครงการ = 22,000 AB + 11,000 S บาท เมื่อ AB คือพื้นที่ฐานเรื อน ธาตุ และ S คือพื้นที่ผิวมีหน่วยเป็นตารางเมตร เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้างในเบื้องต้น 3. โครงการก่อสร้างเจดีย์ที่มีรูปแบบลักษณะเป็นทรงระฆัง มีความสูงประมาณ 2.3 เท่าของ ความยาวฐานเรือนธาตุ องค์เ จดีย์ และมีการประดับตกแต่ง สูง กว่ ามาตรฐานและมีย อดเจดีย์ องค์ เ ดี ย ว สามารถใช้สมการมูลค่าโครงการ = 30,000 AB + 14,000 S เมื่อ AB คือพื้นที่ฐานเรือนธาตุ และ S คือ พื้นที่ผิวมีห น่ วยเป็ นตารางเมตร เพื่อประมาณราคาค่ าก่ อสร้ างในเบื้ องต้ น สาหรับเจดีย์ มีการประดั บ ตกแต่งสูงกว่ามาตรฐานและมียอดเจดีย์หลายองค์ สามารถใช้สมการมูลค่าโครงการ = 1.3 (30,000 AB + 14,000 S) บาท เมื่อ AB คือพื้นที่ฐานเรือนธาตุ และ S คือพื้นที่ผิวมีหน่วยเป็นตารางเมตร เพื่อประมาณ ราคาค่าก่อสร้างในเบื้องต้น

วราพร บุญมีฤทธิ์

117


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

COMPARATIVE ANALYSIS OF BUILDING COSTS IDENTIFYING PROPORTION OF CONSTRUCTION WORKS OF THAI ARCHITECTURE JEDEE IN THAILAND FROM 2004-2009 ABSTRACT WARAPORN BOONMEERIT KEYWORD: JEDEE CONSTRUCTION/ CONSTRUCTION COSTS PROPORTION/ COST ESTIMATING GUIDELINE ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PIBUL JINAWATH, PH.D.

The objectives of this research were to use results from the analysis as a guide to estimate project cost of Thai style architecture jedee in Thailand. The sample consisted of 11 Thai style architecture jedee construction projects in Thailand, between the year 2004 to 2009. Data analysis using statistical methods, to the mean and standard deviation. The analysis section of the main portion of the jedee, and analyze the equations that can be used as a guide to estimate the construction cost of projects with Thai style architecture jedee. The results of the research were as follows: 1. Jedee construction project have the proportion of direct construction cost of two parts: the structure cost is approximately 25% of the project cost and the architecture approximately 55% of construction cost and indirectly cost is approximately 20% of project 2. Construction of the Thai style jedee with a bell shape with a height of about 2.3 times the length of the base of jedee, and decorated with a modest standard can use "Project Cost 22,000 AB + 11.000 S (Baht), if AB is base area and S is surface area in square meter, equation to estimate the initial construction cost. 3. Construction of the Thai style jedee with a bell shape with a height of about 2.3 times the length of the base of jedee with deluxe decoration, and have only one top jedee can use Project Cost a 30,000 AB 14,000 S (Baht) if AB is base area and S is surface area in square metre, equation to estimate the initial construction cost. As for the jedee with deluxe decoration, and have multi-top jedee can use Project Cost a 1.3 (30.000 AB + 14.000 S) (Baht)”, if AB is base area and S is surface area in square meter, equation to estimate the initial construction cost.

118

วราพร บุญมีฤทธิ์


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

สรุปผลอภิปราย สารนิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่ อหาสัดส่ วนของราคาโครงการ ก่อสร้างเจดีย์ที่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทยในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2547 ถึง 2552 มีวัตถุประสงค์เพื่อนาผลที่ได้จากการวิเคราะห์ ไปใช้เป็ นคู่มือประมาณราคาค่ าก่ อสร้ างโครงการ ก่อสร้างเจดีย์ที่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทยในประเทศไทยในเบื้องต้น สาหรับเจ้าของ โครงการ, ผู้ออกแบบโครงการ, ผู้บริหารโครงการ และผู้รับเหมาก่อสร้างโครงการ เพื่อให้การเริ่มเจรจา ต่อรองสาหรับโครงการก่อสร้างเจดีย์ที่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในช่วงเริ่มโครงการ เป็นไปได้ง่ายขึ้น โดยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาความเป็นมาและรูปแบบองค์ประกอบของเจดีย์ การรวบรวมรูปแบบ รายละเอียดของโครงการก่อสร้างเจดีย์ 11 โครงการ จากผู้ออกแบบโครงการแต่ละโครงการ การเก็บ รวบรวมบัญชีประมาณราคาโครงการก่อสร้างเจดีย์ 11 โครงการ จากผู้ประมาณราคาโครงการที่ทาการ เสนอราคาค่ าก่ อสร้ าง และแยกแยะบั ญ ชี ป ระมาณราคาตามหมวดงานหลั ก โดยแยกเป็ น หมวดงาน โครงสร้าง หมวดงานสถาปัตยกรรมทั่วไป หมวดงานสถาปัตยกรรมไทย หมวดงานสถาปัตยกรรมตกแต่ง พิเศษและงานระบบ และหมวดงานเตรียมการและสนับสนุน จากนั้นได้ดาเนิ นการการวิ เคราะห์ข้ อมูล จากตั วอย่างโครงการก่ อสร้ างเจดีย์ ที่มีลั กษณะการ ออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทยทั้ง 11 โครงการ ดังนี้ การวิเคราะห์รูปร่างและลักษณะของเจดีย์ การวิเคราะห์บัญชีประมาณการ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์มูลค่างานต่อหน่วยพื้นที่ การวิเคราะห์มูลค่างานต่อหน่วยพื้นที่ การวิเคราะห์สมการคานวณมูลค่าโครงการก่อสร้างเจดีย์ ซึ่งสามารถสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. จากการวิเคราะห์อัตราส่วนจากรูปเจดีย์ตามตารางที่ 7 สามารถสรุปผลได้ดังนี้ เจดีย์ทรงกลมมีความสูงประมาณ 1.1 เท่าของความยาวฐานเรือนธาตุ มีพื้นที่ผิวประมาณ 0.9 เท่า ของพื้นที่ใช้สอยและมีพื้นที่ผิวประมาณ 1.9 เท่าของพื้นที่เรือนธาตุ เจดีย์ทรงระฆังมีความสูงประมาณ 2.5 เท่าของความยาวฐานเรือนธาตุ เจดีย์ทรงระฆังที่มียอดเจดีย์องค์เดียว มีพื้นที่ผิวประมาณ 1.1 เท่าของพื้นที่ใช้สอย และมีพื้นที่ ผิวประมาณ 4.3 เท่าของพื้นที่เรือนธาตุ เจดีย์ทรงระฆังมียอดเจดีย์หลายองค์ มีพื้นที่ผิวประมาณ 2.4 เท่าของพื้นที่ใช้สอย และมีพื้นที่ผิว ประมาณ 6.2 เท่าของพื้นที่เรือนธาตุ 2. จากการวิ เ คราะห์ สั ด ส่ วนที่ ไ ด้ จากค่ าเฉลี่ ย สั ด ส่ วนหมวดงานหลั กตามตารางที่ 8 และ แผนภูมิที่ 5 สามารถสรุปผลได้ดังนี้ ในโครงการก่ อสร้างเจดี ย์มีสั ดส่ วนในส่ วนค่าก่ อสร้างทางตรง 2 ส่ วน คื อ ค่ างานโครงสร้าง ประมาณ 25% ของมูลค่าโครงการ และค่างานสถาปัตยกรรมประมาณ 55% ของมูลค่าโครงการ และใน ส่วนค่าก่อสร้างทางอ้อมประมาณ 20% ของมูลค่าโครงการ สรุปได้ว่าข้อสมมติฐานที่ว่าปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อราคาค่าก่อสร้างเจดีย์ ประกอบด้วย 2 ปัจจัย หลัก คือหมวดงานโครงสร้าง และหมวดงานสถาปัตยกรรมเป็นจริง 3. จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์มูลค่างานต่อหน่วยพื้ นที่ เจดีย์ที่มียอดเจดีย์องค์เดียวจะมีความสัมพันธ์ของมูลค่าโครงการกับพื้นที่ใช้สอยแบบแปรผันตรง และเจดีย์ที่มียอดเจดีย์หลายองค์จะมีความสัมพันธ์ของมูลค่าโครงการกับพื้นที่ใช้สอยแบบแปรผกผัน

วราพร บุญมีฤทธิ์

119


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

เจดีย์ที่ยอดเจดีย์องค์เดียวและเจดีย์ที่มียอดเจดีย์หลายยอดจะมีความสัมพันธ์ของมูลค่าโครงการ กับพื้นที่ผิวแบบแปรผันตรง มูลค่างานโครงสร้างยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อพื้นที่ใช้สอยเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มเจดีย์ จึงสรุปได้ว่า ข้อสมมติฐานที่ว่าค่าก่อสร้างเจดีย์ในหมวดงานโครงสร้างแปรผันตรงกับพื้นที่ใช้สอยของเจดีย์เป็นจริง มูลค่างานสถาปัตยกรรมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อพื้นที่ผิวเพิ่มขึ้น จึงสรุปได้ว่าข้อสมมติฐานที่ว่า ค่า ก่อสร้างเจดีย์ในหมวดงานสถาปัตยกรรมแปรผันตรงกับพื้นที่ผิวของเจดีย์เป็นจริง 4. จากการวิเคราะห์อัตราส่วนของราคาค่าก่อสร้างต่อหน่วยพื้นที่ตามตารางที่ 9 สามารถสรุป ผลได้ดังนี้ มูลค่าโครงการมีค่าประมาณ 50,000 บาทต่อตารางเมตรของพื้นที่ฐานเรือนธาตุ ถึง 150,000 บาทต่อตารางเมตรของพื้ นที่ ฐานเรื อนธาตุ ซึ่งสามารถจาแนกได้เป็ น ค่างานโครงสร้าง มีค่าประมาณ 21,691 บาทต่อตารางเมตรของพื้นที่ฐานเรือนธาตุ และค่างานสถาปัตยกรรมมีค่าประมาณ 10,521 บาท ต่อตารางเมตรของพื้นที่ผิวองค์เจดีย์ 5. จากการวิเคราะห์สมการคานวณมูลค่าโครงการก่อสร้างเจดีย์ สามารถสรุปเป็นสมการที่จะ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการประมาณการมูลค่าโครงการได้ดังนี้ โครงการที่สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือดังกล่าว ในการประมาณการมูลค่าโครงการเบื้องต้ นต้อง เป็นโครงการก่อสร้างเจดีย์ในศิลปะลักษณะสถาปัตยกรรมไทยรูปทรงระฆัง ที่มีอัตราส่วนความสูงประมาณ 2.0 ถึง 3.0 เท่าของความยาวฐานเรื อนธาตุ ข ององค์เ จดีย์ โดยในเครื่องมือได้จาแนกเจดีย์ ออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ เจดีย์ที่มีการประดับตกแต่ งตามมาตรฐาน35 ไม่มากหรือน้อยเกินไป และเจดีย์ที่มีการประดับ ตกแต่งสูงกว่ามาตรฐาน36 ในเจดี ย์ ลั กษณะที่ 1 คื อ เจดี ย์ ที่ มีการประดับ ตกแต่ง ตามมาตรฐาน ไม่ มากหรื อน้ อยเกิ นไป สามารถใช้สมการที่ 1 มูลค่าโครงการ = 22,000 AB + 11,000 S หรือใช้สมการที่ 2 มูลค่าโครงการ = 22,000 B2 + 11,000 (29 (2.2 B)) ในการประมาณการ โดยผลลัพธ์ที่ได้จากสมการอาจมีค่าคลาดเคลื่ อน ได้ประมาณ ± 20% เนื่องจากค่าก่อสร้างทางอ้อม ในเจดีย์ลักษณะที่ 2 คือเจดีย์ที่มีการประดับตกแต่งสูงกว่ามาตรฐาน ได้แ บ่งเจดีย์ออกเป็น 2 ลักษณะคือ เจดีย์ทรงระฆังที่มียอดเจดีย์องค์เดียว และเจดีย์ทรงระฆังที่มียอดเจดีย์หลายองค์ สาหรับเจดีย์ที่ มียอดเจดีย์องค์เดียว สามารถใช้สมการที่ 3 มูลค่าโครงการ = 30,000 AB + 14,000 S ในการประมาณ การมูลค่าโครงการในเบื้องต้น สาหรับเจดีย์ที่มียอดเจดีย์หลายองค์ สามารถใช้สมการที่ 4 มูลค่าโครงการ = 1.3 (30,000 AB +14,000 S) ในการประมาณการเบื้องต้น โดยผลลัพธ์ที่ได้จากสมการอาจมีค่าคลาดเคลื่อนได้ประมาณ ± 20% เนื่องจากค่าก่อสร้างทางอ้อม จากผลการศึกษาในการค้นคว้าอิสระเล่มนี้สามารถเขียนแผนภูมิแสดงแนวทางการประมาณการ มูลค่าโครงการก่อสร้างเจดีย์ได้ดังที่แสดงไว้ในแผนภูมิที่ 27 และแผนภูมิที่ 28

35

เจดีย์ที่มีการประดับตกแต่งตามมาตรฐานคือโครงการที่มีมูลค่างานสถาปัตยกรรม ต่อพื้นที่ผิวต่ากว่า 11,000 บาทต่อตารางเมตร ข้อสังเกตคือประดับพื้นด้วย หินแกรนิต หรือ หินอ่อน, ผนังฉาบปูนเรียบ, ฝ้าเพดาน อาจประกอบดาวเพดานปิด ทอง ประดับกระจก แต่ไม่เต็มพื้นที่ 36 เจดีย์ที่มีการประดับตกแต่งสูงกว่ามาตรฐานคือ โครงการที่มูลค่างานสถาปัตยกรรม ต่อพื้นที่ผิวสูงกว่า 11,000 บาทต่อตารางเมตร ข้อสังเกตคือ ใช้ไม้สักในการประดับตกแต่ง พื้น ผนัง และฝ้าเพดาน, ผนังกรุหินอ่อน, ฝ้าเพดานประดับดาวเพดาน ปิดทอง ประดับกระจก และ ลวดบัวปูนปั้นด้านสถาปัตยกรรม ไทยเต็มพื้นที่ 120

วราพร บุญมีฤทธิ์


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

วราพร บุญมีฤทธิ์

121


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

เครื่องมือคานวณมูลค่าโครงการสร้างเจดีย์ จากแผนภูมิที่ 27 และแผนภูมิที่ 28 และสามารถอธิบายรายละเอียดลาดับขั้นตอนการประมาณ การมูลค่าโครงการได้ดังนี้ สาหรับเจดีย์ที่มีความสูงประมาณ 2.0 ถึง 3.0 เท่าของความยาวฐานเรือนธาตุขององค์เจดีย์ เมื่อได้รับรูปแบบมาแล้ว :ลาดับที่ 1: ตรวจสอบขนาดความกว้างของฐานเรือนธาตุ (B) โดยไม่รวมถึงลานประทักษิณ 122

วราพร บุญมีฤทธิ์


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

ลาดับที่ 2: ตรวจสอบขนาดความสูงของเจดีย์ (H) โดยรวมตั้งแต่ฐานประทักษิณจนถึงปลายยอด ฉัตร ลาดับที่ 3: คานวณสัดส่วนความสูงต่อพื้นที่ฐานเรือนธาตุ (H/B) เพื่อตรวจสอบรูปทรงของเจดีย์ ด้วยหากว่าความสูงของเจดีย์มีค่าระหว่าง 2.0 ถึง 3.0 เท่าของความยาวฐานเรือนธาตุขององค์เจดีย์ ใ ห้ ดาเนินการต่อในข้อที่ 4 แต่หากว่าความสูงของเจดีย์มีค่าน้อยกว่า 2.0 เมตร หรือมากกว่า 3.0 เท่าของ ความยาวฐานเรือนธาตุขององค์เจดีย์ ไม่แนะนาให้ดาเนินการต่อเนื่องจากผลลัพธ์จากการคานวณอาจมีค่า คลาดเคลื่อนสูง ลาดับที่ 4: คานวณพื้นที่ฐานเรือนธาตุ (AB) จากความกว้างฐานเรือนธาตุ (B) หากเจดีย์มีฐาน เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมด้านเท่า AB = B x B ลาดับที่ 5: คานวณพื้นที่ผิวของเจดีย์ (S) หากรูปแบบที่ได้มาไม่มีรายละเอียดเพียงพอสาหรับ การคานวณพื้นที่ผิว อาจใช้วิธีการคานวณพื้นที่ผิวอย่างหยาบด้วยสมการต่อไปนี้ 5.1 หากโครงการเป็นเจดีย์ทรงระฆังที่มียอดเจดีย์องค์เดียว S = 4.3 AB โดยค่าสัมประสิทธิ์อาจแปรผันตามรูปทรงของเจดีย์ระหว่าง 4.0 ถึง 5.0 5.2 หากโครงการเป็นเจดีย์ทรงระฆังที่มียอดเจดีย์หลายองค์ S = 6.2 AB โดยค่าสัมประสิทธิ์อาจแปรผันตามรูปทรงของเจดีย์ระหว่าง 5.0 ถึง 6.7 ลาดับที่ 6: แทนค่าในสมการคานวณมูลค่าโครงการตามข้อกาหนดของสมการดังนี้ 6.1 หากโครงการกาหนดให้มีการประดับตกแต่งตามมาตรฐานไม่มากหรือน้อยเกินไป สามารถ ใช้สมการต่อไปนี้ เพื่อประมาณการมูลค่าโครงการในเบื้องต้นได้ทั้งโครงการที่เป็นเจดีย์ทรงระฆังที่มียอด เจดีย์องค์เดียว และเจดีย์ทรงระฆังที่มียอดเจดีย์หลายองค์ มูลค่าโครงการ = 22,000 AB + 11,000 S หรือ มูลค่าโครงการ = 22,000 B2 + 11,000 (29 (2.2 B)) โดยมู ล ค่ าโครงการที่ค านวณจากสมการดัง กล่ าวอาจมี ค่ าคลาดเคลื่ อนได้ ประมาณ ± 20% เนื่องจากค่าก่อสร้างทางอ้อม 6.2 หากโครงการกาหนดให้ มีการประดับตกแต่ง สู ง กว่ ามาตรฐาน ให้ตรวจสอบว่ าโครงการ ดังกล่าวมียอดเจดีย์กี่องค์ 6.2.1 หากโครงการกาหนดให้มีการประดับตกแต่งสูงกว่ามาตรฐานและเป็นเจดีย์ทรงระฆังที่มี ยอดเจดีย์องค์เดียว ใช้สมการต่อไปนี้เพื่อประมาณการมูลค่าโครงการ ในเบื้องต้นได้ มูลค่าโครงการ = 30,000 AB + 14,000 S โดยมู ล ค่ าโครงการที่ค านวณจากสมการดัง กล่ าวอาจมี ค่ าคลาดเคลื่ อนได้ ประมาณ ± 20% เนื่องจากค่าก่อสร้างทางอ้อม 6.2.2 หากโครงการกาหนดให้มีการประดับตกแต่งสูงกว่ามาตรฐาน และเป็นเจดีย์ทรงระฆัง ที่มี ยอดเจดีย์หลายองค์ ใช้สมการต่อไปนี้เพื่อประมาณการมูลค่าโครงการ ในเบื้องต้นได้ วราพร บุญมีฤทธิ์

123


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

มูลค่าโครงการ = 1.3 (30,000 AB + 14,000 S) โดยมู ล ค่ าโครงการที่ค านวณจากสมการดัง กล่ าวอาจมี ค่ าคลาดเคลื่ อนได้ ประมาณ ± 20% เนื่องจากค่าก่อสร้างทางอ้อม กรณีศึกษาการประมาณการมูลค่าโครงการก่อสร้างเจดีย์เบื้องต้น เนื่องจากท่านรองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประยุกต์ ศิลป์) สาขาย่อยสถาปัตยกรรม ผู้เชี่ยวชาญการออกแบบด้านสถาปัตยกรรมไทย ได้มีการออกแบบเจดีย์ขึ้น ใหม่ ดังที่ได้แสดงรูปแบบไว้ในภาพลายเส้นที่ 27 และท่านรองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ได้ กรุณาอนุญาตให้ใช้ผลงานการออกแบบของท่านเพื่อทดลองใช้คู่มือการประมาณการราคาค่าก่อสร้างจาก ผลการศึกษานี้ เนื่องจากโครงการก่อสร้างเจดีย์ในกรณีศึกษานี้เพิ่งออกรูปทรงเสร็จ จึงไม่มีรายละเอียดที่จาเป็น ในการประมาณราคาแบบละเอียด อาทิเช่น รายละเอียดระยะที่แน่นอน และรายละเอียดวัสดุที่ใช้ประดับ ตกแต่ง โดยท่านรองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ได้กาหนดวัตถุประสงค์ในการประดับตกแต่งให้ มีการประดับตกแต่งตามมาตรฐานทั่วไปไม่มากหรือน้อยเกินไป จากรูปแบบร่างโครงการและวัตถุประสงค์การประดับตกแต่งดังกล่าว สามารถคานวณมู ล ค่ า โครงการตามเครื่องมือที่ได้จากผลการศึกษาครั้งนี้ดังนี้ ลาดับที่ 1. ตรวจสอบค่าความกว้างของฐานเรือนธาตุ (B) โดยไม่รวมถึงฐานประทักษิณ โครงการก่อสร้างเจดีย์ดังกล่าวมีความกว้างฐานเรือนธาตุประมาณ 58 เมตร ลาดับที่ 2. ตรวจสอบขนาดความสูงของเจดีย์ (H) โดยรวมตั้งแต่ฐานประทักษิณ จนถึงปลาย ยอดฉัตร โครงการก่อสร้างเจดีย์ดังกล่าว มีความสูงจากฐานประทักษิณถึงยอดเจดีย์ประมาณ 120 เมตร ลาดับที่ 3. คานวณสัดส่วนความสูงต่อพื้นที่ฐาน (H/B) เมื่อคานวณสัดส่วนความสูงต่อพื้นที่ฐานเรือนธาตุ พบว่า H = 2.1B มีค่าระหว่าง 2.0 ถึง 3.0 เท่าของความยาวฐานเรือนธาตุขององค์เจดีย์ จึงสามารถดาเนินการในขั้นตอนที่ 4 ต่อไปได้ ลาดับที่ 4. คานวณพื้นที่ฐานเรือนธาตุ (AB) โครงการก่อสร้างเจดีย์ดังกล่าวมีความกว้างฐานเรือนธาตุประมาณ 3,364 ตารางเมตร ลาดับที่ 5. คานวณพื้นที่ผิวของเจดีย์ (S) เนื่องจากรูปแบบโครงการดังกล่าวยังขาดรายละเอียดระยะและรูปแปลนที่สามารถใช้คานวณ พื้นที่ผิว รวมถึงรูปแบบที่ได้รับมาไม่สามารถวัดเข้าอัตราส่วนได้ และเมื่อตรวจสอบรูปแบบพบว่าโครงการ ดังกล่าวมีรูปแบบเป็นเจดีย์ทรงระฆังที่มียอดเจดีย์หลายยอด จึงใช้สมการตามหัวข้อ 5.2 คือ S = 6.2 AB เพื่อคานวณพื้นที่ผิวของโครงการ ได้ผลว่าพื้นที่ผิวของโครงการมีค่าเท่ากับ 20,856 ตารางเมตร ลาดับที่ 6. แทนค่าในสมการคานวณมูลค่าโครงการตามข้อกาหนดของสมการดังนี้ เนื่องจากโครงการมีวัตถุประสงค์ให้มีการประดับตกแต่งตามมาตรฐานไม่มากหรือน้อยเกินไป จึง ใช้สมการในหัวข้อที่ 6.2 คือ มูลค่าโครงการ = 22,000 AB +11,000 S ในการคานวณมูลค่ าโครงการ ได้ผลว่ามูลค่าโครงการมีค่าเท่ากับ 303,424,000 บาท โดยมู ล ค่ าโครงการที่ คานวณจากสมการดัง กล่ าวอาจมี ค่ าคลาดเคลื่ อนไปประมาณ ± 20% เนื่องจากค่าก่อสร้างทางอ้ อม ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า โครงการก่อสร้างเจดีย์ดังกล่าว อาจมีมูลค่างาน โครงการในส่วนของเจดีย์ ประมาณ 303,424,000 บาท ถึง 364,108,800 บาท โดยมูลค่าโครงการที่ได้ คานวณมานี้ไม่รวมถึงศาลา 2 หลังในรูปแบบ

124

วราพร บุญมีฤทธิ์


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

ท่านรองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประยุกต์ศิลป์) สาขาย่อยสถาปัตยกรรม เจ้าของรูปแบบโครงการก่อสร้างเจดีย์ตัวอย่างนี้กล่าวว่า ผลที่ได้จากการค านวณ ด้วยเครื่องมือและสมการจากผลการศึกษานี้ใกล้เคียงกับ ที่ท่ านได้ประมาณการไว้ด้วยความคุ้นเคยและ ชานาญจากประสบการณ์ ว่าโครงการก่อสร้างเจดีย์หลังนี้น่าจะมีมูลค่าโครงการประมาณ 300,000,000 บาท ถึง 350,000,000 บาท แต่ผลที่ได้จากเครื่องมือนี้เป็นการประมาณการในเบื้องต้นอย่างมีหลักการ และเมื่อรวมกับมูลค่างานศาลา 2 หลัง ซึ่งน่าจะมีมูลค่าประมาณ 30,000,000 บาท รวมทั้งโครงการก็ น่าจะมีมูลค่าโครงการประมาณ 380,000,000 บาท จากความเห็นของท่านรองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ดังกล่าว อาจสรุปได้ว่าเครื่องมือ การประมาณการมูลค่าโครงการก่อสร้างเจดีย์ที่ได้ จากผลการศึกษาครั้งนี้มีค วามแม่นย าพอที่ จะใช้ เ ป็ น เครื่องมือประมาณการในเบื้องต้นได้ และน่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างเจดีย์ ในบทบาทต่าง ๆ ข้อเสนอแนะ การค้นคว้าอิสระชิ้ นนี้เป็ น การศึ กษาชิ้ นแรกที่ ท าให้ การวิเคราะห์ห าสั ดส่ วนราคาค่ า ก่ อสร้ าง โครงการก่อสร้างเจดีย์ที่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย จึงคาดว่าน่าจะเป็นประโยชน์อย่ าง มากต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างเจดีย์ในอนาคต ผลการวิเคราะห์จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือประมาณการเบื้องต้นส าหรับ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างเจดีย์ ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของโครงการ ผู้ออกแบบโครงการ ผู้บริหารโครงการ หรือผู้รับเหมาก่อสร้าง ในแต่ละช่วงของโครงการ ตัวอย่างเช่น ในช่วงเริ่มโครงการ เจ้าของโครงการสามารถใช้ผลการวิเคราะห์เพื่อเป็นบรรทัดฐานในการเริ่ม เจรจากั บ ผู้ ออกแบบโครงการ เพื่ อ ให้ ไ ด้ รู ป แบบเจดี ย์ ที่ ต รงตามวั ต ถุ ป ระสงค์ และสามารถควบคุ ม งบประมาณในการก่อสร้างได้ สาหรับผู้ออกแบบโครงการก็สามารถใช้ผลการวิเคราะห์นี้เพื่อเป็นเครื่ องมือ ในการออกแบบเจดี ย์ ใ ห้ มีค วามสวยงามและประโยชน์ ใ ช้ ส อยตรงตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องโคร งการใน งบประมาณที่ถูกกาหนดไว้ ในช่วงคัดเลือกผู้รับเหมา ผู้บริหารโครงการสามารถใช้ผลการวิเคราะห์นี้เพื่อเป็นเครื่องมือในการ เปรียบเทียบราคาของผู้เสนอราคา ในส่วนของผู้รับเหมาก็ส ามารถใช้เครื่องมื อนี้ เพื่ อประมาณราคาค่ า ก่อสร้างคร่าว ๆ อย่างมีหลักการ เพื่อวิเคราะห์โครงการและเป็นกรอบราคาก่อนที่จะทาการประมาณการ ราคาค่าก่อสร้างโดยละเอียด

วราพร บุญมีฤทธิ์

125


การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนงานของราคาโครงการก่อสร้างเจดียท์ ี่มีลักษณะการออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมไทย ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547-2552

เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารโครงการก่อสร้างเจดีย์ในประเทศไทยยิ่งขึ้นมีข้ อเสนอแนะ ดังนี้ 1.เพื่อให้เกิดความแม่นยายิ่งขึ้นควรมีการทาวิจัยโครงการก่อสร้างเจดีย์ทรงระฆังในแต่ละกลุ่ม เพิ่มเติม เช่น ในกลุ่มที่มียอดเจดีย์องค์เดียวและในกลุ่มที่มียอดเจดีย์หลายองค์ 2. เพื่ อให้ เ กิ ด ความชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ นควรมี การวิ จัย เกี่ ย วกั บ หมวดงานสถาปั ต ยกรรมไท ย และ สถาปัตยกรรมตกแต่งพิเศษ โดยละเอียด 3. เพื่อให้เกิดความหลากหลายควรมีการทาวิจัยโครงการก่อสร้างเจดีย์รูปทรงอื่น ๆ เช่น เจดีย์ ทรงกลม และเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบินฑ์ เจดีย์ทรงปราสาท และเจดีย์ทรงปรางค์ อุปสรรค การศึกษาครั้งนี้ไ ด้ พบอุปสรรคในการด าเนินการวิเคราะห์ ที่อาจทาให้การศึ กษาไม่ครบถ้ วน สมบูรณ์ ชัดเจน แม่นยา อาจมีการคลาดเคลื่อนบ้างเนื่องจากประสบอุปสรรค ดังนี้ 1. มีความจากัดด้านข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ เพราะจานวนตัวอย่างบัญชีประมาณราคาค่า ก่อสร้างมีเพียง 11 โครงการเท่านั้น เนื่องจากบัญชีประมาณราคาเป็นความลับ และอาจมีผลต่อโครงการ ได้ จึงมีหน่วยงานที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลน้อย 2. โครงการตัวอย่างที่สามารถรวบรวมมาเพื่ อทาการศึกษามีความหลากหลายด้านรู ป แบบ และเป็นเอกลักษณ์เฉพาะโครงการ จึงทาให้ยากต่อการหาตัวร่วมเพื่อสรุปผลได้ 3. บัญชีประมาณราคาที่สามารถนามาใช้เป็นตัวอย่างได้จัดทาจากหลากหลายหน่วยงาน จึงมี แนวทางและเงื่อนไขในการประมาณการที่แตกต่างกัน ทาให้ค่าเฉลี่ยแต่ละโครงการมีความหลากหลายซึ่ง อาจทาให้ผลการวิจัยมีความคลาดเคลื่อน 4. จานวนโครงการที่สามารถจัดกลุ่มไว้ด้วยกันในแต่ละกลุ่มมีจานวนน้อย จึงเป็นข้อจากัดใน การวิเคราะห์และอาจทาให้ผลการวิเคราะห์ในแต่ละกลุ่มมีความคลาดเคลื่อนสูง 5. ตัวอย่างบัญชีประมาณราคาส่วนมากเป็นบัญชีแบบหยาบ ๆ ไม่มีการระบุรายละเอียด จึง เป็นข้อจากัดในการศึกษารายละเอียดที่มาของราคาในแต่ละหมวดงาน 6. ไม่ มีต าราหรื อเอกสารการวิ เ คราะห์ ด้ านการบริ ห ารจั ด การต้ นทุ นค่ าก่ อสร้ างโครงการ ก่อสร้างเจดีย์ สาหรับอ้างอิงเป็นแนวทางการศึกษาโดยตรง 7. ระยะเวลาศึกษามีจากัด เอกสารข้อมูลมีจานวนมาก ต้องใช้เวลาในการพิจารณา เช่น บัญชี ประมาณราคา 11 โครงการมีจานวนมาก

126

วราพร บุญมีฤทธิ์


การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร

การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบัติงานของทีมผูต้ รวจสอบอาคาร บทคัดย่อ วิกิตติ์ หินแก้ว คาสาคัญ: การตรวจสอบอาคาร/ ผู้ตรวจสอบอาคาร/ ผู้ประกอบการวิชาชีพเฉพาะ/ ทีมผู้ตรวจสอบอาคารจากภายนอก/ ตัวชี้วัดความสาเร็จ อาจารย์ที่ปรึกษา: รองศาสตราจารย์จรัญพัฒน์ ภูวนันท์

ในการศึกษาเรื่องการจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร เป็นการ วิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและกาหนดตัวชี้วัด (KPI) เพื่อนาไปใช้ในการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร โดยกาหนดตัวชี้วัดตามมุมมองของ Balance Score Card เป็น 3 มุมมอง ได้แก่ มุมมองด้านการเงิน ตัวชี้วัด คือ ต้นทุนค่าจ้าง/ค่าบริการของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร โดย พิ จารณาการเก็ บ ข้ อมู ล รวบรวมข้ อมู ล ในอดี ต ที่ เ สนอราคาในอั ต ราต่ าอย่ างต่ อเนื่ อง คื อ ต้ นทุ นของ โครงการไม่เกินร้อยละ 40 ของรายได้ค่าบริการ มุมมองด้านกระบวนการทางานของภายในองค์การ โดย พิจารณาจาก เป้าหมายขององค์การและการเก็บรวบรวมข้อมูลในอดีตจากโครงการที่แล้วเสร็จในปีก่อน ๆ ตัวชี้วัด คือ ด้านการปฏิบัติงานตรวจสอบอาคาร โดยใช้จานวนวันของการปฏิบัติงาน ในแต่ละโครงการ ต้องแล้วเสร็จภายใน 35 วัน ด้านคุณภาพของการตรวจสอบอาคาร ตัวชี้วัดที่นามาใช้คื อ ร้อยละของ จานวนโครงการที่ ที มผู้ ต รวจสอบการด าเนิ นงานแล้ ว เสร็ จภาย 35 วั น ไม่ ต่ ากว่ าร้ อยละ 90 ด้ าน ประสบการณ์ ก ารตรวจสอบอาคาร ตั ว ชี้ วั ด ที่ น ามาใช้ คื อ จ านวนโครงการที่ ที ม ผู้ ต รวจสอบเคยมี ประสบการณ์ไม่น้อยกว่ า 5 โครงการ และส่วนมุมมองด้านลู กค้ า ตัวชี้วัดคือ ความพึงพอใจของลู กค้ า ตั วชี้ วัด ที่ นามาใช้ คื อ ร้ อยละของระดับ ความพึ ง พอใจของลู กค้ า ที่มีต่ อการให้ บริ การ มี ค่ า เป้ าหมายที่ กาหนดไว้โดยใช้เกณฑ์การประเมินผลของสานักงานสถิติแห่งชาติ คือ ทีมผู้ตรวจสอบอาคารจะต้องได้รับ ความพึงพอใจจากลูกค้าไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 และมีการกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ คือผล การปฏิบัติงานสูงกว่าค่าเป้าหมายมาก ผลการปฏิบัติงานสูงกว่าค่าเป้าหมาย ผลการปฏิบัติงานตามค่ า เป้าหมาย ผลการปฏิบัติงานต่ากว่าค่าเป้าหมาย และผลการปฏิบัติงานต่ากว่าค่าเป้าหมายมาก ผลการศึกษาพบว่ า การนาตัวชี้ วัดในแต่ ละมุมมองไปใช้ใ นการประเมิ นผลการปฏิ บัติง านใน แผนกตรวจสอบอาคารของบริษัทผู้ตรวจสอบอาคาร โดยภาพรวมถือว่าประสบความสาเร็จเป็นอย่างดี เนื่ องจากบรรลุ วัต ถุ ป ระสงค์ ข องการน าตั วชี้ วัด มาใช้ คื อ สามารถจั ด ท าตั วชี้ วัด และน าไปใช้ ใ นการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในการจัดทาตัวชี้วัด และ นาไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของแผนกตรวจสอบอาคารในครั้งนี้นั้น มีข้อจากัดในการศึกษา คือ ตัวชี้วัดบางตัวยากต่อการกาหนดเป้าหมายที่แน่นอนได้ เนื่องจากไม่มีข้อมูลในอดีตเป็นค่ามาตรฐาน และยากต่อการแปลความหมาย และกาหนดตัวชี้วัดให้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการนาไปใช้ เนื่องจาก ตัวชี้วัดเป็นเรื่องใหม่ที่องค์การนามาใช้ อีกทั้งขาดการสื่อสาร การทาความเข้าใจ และการถ่ายทอดตัวชี้วัด ภายในองค์การอย่างเพียงพอ และจากผลการศึกษา ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะว่า ต้องมีการชี้แจงและทาความ เข้าใจเกี่ยวกับตัวชี้วัดระหว่างผู้ประเมินและผู้รับการประเมินก่อนที่จะมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน

วิกิตติ์ หินแก้ว

127


การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร

KEY PERFORMANCE INDICATOR FOR BUILDING AUDITOR ABSTRACT WIKIT HINKAEW KEYWORD: BUILDING INSPECTION PROFESSIONAL/ BUILDING INSPECTORS/ KEY PERFORMANCE INDICATOR ADVISOR: ASSOCIATE PROFESSOR CHARUNPAT PUVANANT

The objective of this independent study is to design and identify key performance indicators (KPIs) for measuring building inspectors' performance. This type of research is a qualitative research. Key performance indicators are identified according to three aspects of Balance Score Card. Firstly, KPI in financial aspect is building inspectors wage service cost, considering historical data collection of service cost i.e. cost of project is not less than 40% of income from delivery of service. Secondly, aspect of working process within organization is considered by organization goal and data collection of completed projects in previous years. KPI in working process is building inspection i.e. each project must finish its building inspection within 3 5 days. KPI in quality of building inspection is considered from not less than 9 0 percent of the total number of projects that building inspectors finished their job within 3 5 days. KPI in experience of building inspection is considered from not less than 5 projects that inspectors have inspection experience. Thirdly KPI in customer aspect is customer satisfaction, considering percent of satisfaction level of customer towards service. Specified goal based on evaluation standard of National Statistical Office of Thailand is that building inspectors must gain not less than 8 0 percent in customer satisfaction. Score criterion is divided into five levels namely, highest performance, high performance, fair performance, low performance and lowest performance relative to specified goal. Results found that overall, KPIs application in each aspect to performance evaluation in building inspection department is successful. The objective of KPIs application is achieved. It can be said that KPIs application to performance evaluation of building inspectors is effective. However, there are some limitations in KPIs application. Limitations of the study include that it is difficult to set certain goal for some KPIs because historical data is insufficient. For some KPIs, it is hard to interpret their meanings and it's difficult to identify some KPIs to meet the objective. For many organizations, KPI is a new issue. Moreover, organizations lack proper communication, understanding and interpretation of KPIs within organization. The suggestion of the author is that understanding about KPIs between those who evaluate performance and those who are evaluated is important before evaluating performance.

128

วิกิตติ์ หินแก้ว


การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร

สรุปผลอภิปราย การศึ ก ษาการจั ด ท าตั ว ชี้ วั ด ความส าเร็ จ การด าเนิ น งาน ของที ม ผู้ ต รวจสอบของบริ ษัท ฯ ตรวจสอบอาคาร มี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อออกแบบและกาหนดตั วชี้ วัด (KPI) ที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ นผลการ ปฏิบัติงานและเมื่อประเมินผลการปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคารของบริษัท ฯ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิง คุณภาพ กระบวนการและขั้นตอนการนา KPI มาใช้วัดผลการปฏิ บัติงาน เริ่มตั้งแต่ทาการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีตัวอย่างการจัดทาตัวชี้วัดตลอดจนข้อมูลของบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ แล้ว ทาการกาหนดปัจจัยสาคัญสู่ความสาเร็จ (Critical Success Factor) ในแต่ละมุมมองว่าควรมีอะไรบ้ าง แบ่งตามลักษณะงาน หรือหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานเป็ นสาคั ญ และนาไปสู่การจัดทาตัวชี้ วัด ทดสอบ ตั วชี้ วัด และ คั ด กรองตั วชี้ วัด เพื่ อให้ ไ ด้ ตั วชี้ วัด ที่ เ หมาะสมในการประเมิ นผลการปฏิ บัติ ง านของทีมผู้ ตรวจสอบอาคารมากที่สุด หลังจากนั้นจึงนาตัวชี้วัด (KPI) ที่ได้ไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของ แผนกตรวจสอบอาคาร ซึ่งจากการศึกษาสามารถกาหนดตัวชี้วัดตามมุมมองของ BSC ได้เป็น 3 มุมมอง คื อ มุ มมองด้ านการเงิ น ตั วชี้ วัด คื อ ต้ นทุ น ค่ าจ้ าง/ ค่ าบริ การของที มผู้ ต รวจสอบอาคาร มุ มมองด้ าน กระบวนการทางานภายในองค์การ ตัวชี้วัดคือ การปฏิบัติงานตรวจสอบอาคาร คุณภาพของการตรวจสอบ อาคาร และประสบการณ์การตรวจสอบอาคาร ส่วนมุมมองด้านลูกค้า ตัวชี้วัดคือความพึงพอใจของลู กค้า สาหรับผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ สรุปผลการศึกษา ผลการศึกษาการออกแบบและจัดท าตัวชี้ วัดเพื่อใช้ใ นการประเมินผลการปฏิบัติงานของที มผู้ ตรวจสอบอาคารของบริษัทฯ นั้นสรุปได้ดังนี้ 1. มุ ม มองด้ า นการเงิ น (The Financial Perspective) ตั ว ชี้ วั ด ที่ ใ ช้ คื อ ต้ น ทุ น ค่ า จ้ า ง/ ค่าบริการของทีมผู้ตรวจสอบอาคารซึ่งบริษัท ฯ ให้ความสาคัญและถือเป็นต้นทุนหลักของการปฏิบัติงาน ตรวจสอบอาคาร มีวัตถุประสงค์เพื่อการกาหนดต้นทุนของโครงการให้เหมาะสมกับงานและระยะเวลาที่ใช้ ในการตรวจสอบ มีการกาหนดน้าหนักคะแนนไว้ร้อยละ 20 เป็นการวัดผลสาเร็จตามเป้าหมายของตั วชี้วัด โดยวัดจากอัตราต้นทุนของแต่ละโครงการที่แผนกตรวจสอบอาคารดาเนินการแล้วเสร็ จ ซึ่งเกณฑ์การ ประเมินผลของบริษัทฯ กาหนดไว้ว่าต้นทุนการว่าจ้างทีมตรวจสอบอาคารนั้นไม่ควรเกินร้อยละ 40 จาก การนาตั วชี้ วัด โดยใช้ อัต ราต้ นทุ นของแต่ ล ะโครงการมากาหนดเป็ น ตั ว ชี้ วัด ในการประเมิ นผลการ ปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคารของบริษัท ฯ พบว่าโดยส่วนใหญ่ทีมผู้ตรวจสอบอาคารของบริษัทฯ มี อัตราต้นทุนของค่าจ้างหรือค่าบริการแต่ละโครงการ โดยมีอัตราต้นทุนต่อรายได้อยู่ระหว่างร้อยละ 24 54 และเมื่อทาการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือต้นทุนการว่าจ้างทีมตรวจสอบอาคารไม่ควรเกิน ร้อยละ 40 ผลการประเมินพบว่ามีทีมผู้ตรวจสอบอาคารที่ผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์ดังกล่าว สาหรับทีม ตรวจสอบที่มีต้นทุนเกินเกณฑ์ที่กาหนดไว้ พบว่าส่วนหนึ่งเกิดจากการลดรายรับหรือค่าบริการจากลูกค้า เพื่อรักษาฐานลูกค้าเดิมของบริษัท ฯ และเพื่อการแข่งขันกับบริษัทอื่น ๆ ที่ประกอบกิจการเดียวกัน เป็น ต้น ซึ่งผู้ประเมินการปฏิบัติงานได้นาปัจจัยเหล่านี้มาพิจารณาประกอบการประเมินผลในด้านนี้ ไว้ด้วยแล้ว 2. มุมมองด้านกระบวนการทางานภายในองค์การ (The Business Process Perspective) มี การกาหนดตัวชี้วัด ใน 3 ด้าน คือ ตัวชี้วัดด้านการปฏิบัติงานตรวจสอบอาคาร ตัวชี้วัดด้านคุณภาพของ การตรวจสอบอาคาร และตัวชี้วัดด้านประสบการณ์การตรวจสอบอาคาร 2.1 ตัวชี้วัดด้านการปฏิบัติงานตรวจสอบอาคารซึ่งถือว่าเป็นหัวใจหลักของการปฏิบัติงาน เป็น การพิจารณากระบวนการการปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร ตั้งแต่เริ่มโครงการจนสิ้นสุดโครงการ มี วัตถุประสงค์เพื่อให้การปฏิบัติงานตรวจสอบอาคารเป็นไปอย่างรวดเร็ว จึงมีการกาหนดน้าหนักคะแนนไว้ ร้อยละ 25 และวัดผลการปฏิบัติงานตรวจสอบอาคารแต่ละโครงการ จากจานวนวันที่เริ่มดาเนินการจนถึง วันที่ปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามขั้นตอนการปฏิบัติงานตรวจสอบอาคาร ซึ่งแต่เดิมบริษัทฯ ได้กาหนดขอบเขต ระยะเวลาการท างานไว้ ต ามปริ มาณงานที่ รั บ ตรวจสอบ แต่ บ ริ ษัท ฯ ไม่ ไ ด้ นามาเป็ นตั วชี้ วัด ในการ วิกิตติ์ หินแก้ว

129


การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร

ประเมินผลการปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคารแต่อย่างใด แต่เมื่อได้นา KPI มาใช้ประเมินผลการ ปฏิบัติงาน จึงมีการกาหนดเกณฑ์การประเมินผลไว้ว่า ผู้ตรวจสอบอาคารจะต้ องปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จ ภายใน 35 วัน ซึ่งหลังจากการเก็บข้อมูลเพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานพบว่ า ทีมตรวจสอบอาคาร สามารถปฏิบัติงานแล้วเสร็จอยู่ระหว่าง 31 - 37 วัน ระยะเวลาการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นหรือน้อยลงอาจ ขึ้ นอยู่ กับ ปั จจั ย ภายนอก เช่ น ความสะดวกของลู กค้ า และปริ มาณงานของบริ ษัท ฯ เป็ นต้ น ในการ ประเมินผลการปฏิ บัติ ง านตามตั วชี้ วัด ในด้ านนี้ จึงมีทั้งทีมผู้ตรวจสอบอาคารที่ผ่ านและไม่ ผ่ านเกณฑ์ ดังกล่าว แต่ผู้ประเมินผลก็ได้นาปัจจัยภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ข้างต้นมาประกอบการพิจารณาด้วย แล้วเช่นกัน เพื่อให้การประเมินผลการปฏิบัติงานมีความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย นอกจากนี้ บริษัทฯ สามารถ นาข้ อมู ล ที่ ไ ด้ จากการประเมิ นเกี่ ย วกั บ ระยะเวลาการปฏิ บั ติ ง านมาใช้ ใ นการปรั บ ปรุ ง และกาหนด ระยะเวลาการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับงานมากยิ่งขึ้น และสามารถกาหนดได้ว่าแต่ละขั้นตอนควรแล้ว เสร็จภายในกี่วัน ควรจะเพิ่มหรือลดระยะเวลาในขั้นตอนใดลงบ้าง จากการนาตัวชี้วัดมาใช้ดังกล่าว ทาให้ บริษัทฯ ลดเวลาสูญเสียไปได้หลายขั้นตอน ทาให้ระยะเวลาในการปฏิบัติงานกระชับขึ้นและสามารถลด ต้นทุนไปได้ด้วย 2.2 ตัวชี้วัดด้านคุณภาพของการตรวจสอบอาคาร การตรวจสอบอาคารเป็นงานบริการอย่าง หนึ่ ง การบริ การอย่ างมี คุ ณภาพจึ ง ถื อเป็ นปั จจั ย ส าคั ญ ของการให้ บ ริ การ ในขณะเดี ย วกั นก็ ห มายถึ ง มาตรฐานของการปฏิบัติงานของบริษัท ฯ ด้วยเช่นกัน ในการนา KPI มาใช้ในการประเมินการปฏิบัติงาน ของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การปฏิบัติงานตรวจสอบอาคารมีคุณภาพมากขึ้น จึง กาหนดน้าหนักคะแนนในด้านนี้ไ ว้ร้อยละ 25 และวัดผลความสาเร็จจากจานวนโครงการที่ผู้ตรวจสอบ อาคารได้รับมอบหมายงานจากบริษัท ฯ และสามารถดาเนินการได้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด เมื่ อเที ย บกั บ จานวนโครงการทั้ ง หมดและก าหนดค่ ามาตรฐานไว้ ว่าร้ อยละของจ านวนโครงการที่ ผู้ ตรวจสอบได้รับความไว้วางใจมอบหมายให้เป็นผู้ดาเนินงาน แล้วเสร็จภายในกาหนดเวลาไม่ต่ากว่าร้ อยละ 90 ซึ่งเป็นมุมมองที่ว่าหากทีมผู้ตรวจสอบอาคารได้รับงานอย่างสม่าเสมอ หมายถึงได้รับความไว้วางใจจาก บริษัทฯ เพราะนโยบายของบริษัท ฯ นั้นเน้นคุณภาพของงานบริการเป็นสาคัญ ถ้าเป็นทีมงานตรวจสอบ อาคารที่ไม่มีคุณภาพ ย่อมได้รับการว่าจ้างจากบริษัทฯ เพียงครั้งเดียวเท่านั้น โดยส่วนใหญ่ทีมผู้ตรวจสอบ อาคารจะได้รับงานจากบริษัทฯ และสามารถปฏิบัติงานแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้อยู่ระหว่ าง ร้อยละ 86 - 95 ถ้าในสถานการณ์ปกติ บริษัทฯ จะว่าจ้างทีมผูต้ รวจสอบอาคารทีมเดิมที่เคยใช้บริการและ มีความคุ้นเคยกันอยู่ แล้ ว แต่ก็มีบางครั้งที่บริษัท ฯ มีผู้ว่าจ้างหรือมี ลูกค้ าเป็ นจานวนมาก ทาให้มีความ จาเป็นต้องใช้บริการจากทีมผู้ตรวจสอบอาคารรายใหม่ ๆ ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ในด้านนี้ที่ผู้ ตรวจสอบอาคารจึงผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นส่วนใหญ่ 2.3 ตั วชี้ วัด ด้ านประสบการณ์ การตรวจสอบอาคาร เป็ นการพิ จารณาถึ ง ประสบการณ์ การ ทางานของทีมผู้ตรวจสอบอาคารเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่บริษัท ฯ กาหนดไว้ หากทีมผู้ตรวจสอบอาคารมี ประสบการณ์ในการทางาน นั้นหมายถึงความสามารถและความชานาญในการปฏิบัติงานก็จะมากขึ้นด้ วย เช่นกัน การได้ร่วมงานกับทีมผู้ตรวจสอบอาคารที่มีประสบการณ์ บริษัทฯ มั่นใจได้ในระดับหนึ่งว่าจะมีการ ให้บริการแก่ลูกค้าอย่างมีคุณภาพ และสร้างความน่าเชื่อถือจากทั้งตัวลูกค้าและบริษัท ฯ เอง ในการนา KPI มาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน จึงนาประสบการณ์การทางานของทีมผู้ตรวจสอบอาคารมาเป็น ตั วชี้ วัด หนึ่ ง ในการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน โดยมี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ จั ด หาผู้ ต รวจสอบอาคารที่ มี ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน มีการกาหนดค่าน้าหนักคะแนนไว้ร้อยละ 10 และวั ดผลความสาเร็จจาก จานวนโครงการที่ทีมผู้ตรวจสอบอาคารเคยมี ประสบการณ์การตรวจสอบอาคารในระยะเวลา 12 เดือน จากการประเมินการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดในด้านนี้ พบว่าทีมผู้ตรวจสอบอาคารส่วนใหญ่มีประสบการณ์ การปฏิบัติงานตรวจสอบอาคารมีตั้งแต่ 3 โครงการ จนถึง 7 โครงการ ถ้าเป็นทีมผู้ตรวจสอบอาคารเดิม ๆ ที่บริษัทฯ เคยใช้บริการกันอยู่ เป็นประจา ก็จะมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานมากกว่าทีมผู้ตรวจสอบ อาคารรายใหม่ ๆ ซึ่งยังขาดประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน แต่ก็มีทีมผู้ตรวจสอบอาคารบางรายที่ เ ป็ น ทีมงานใหม่ของบริษัทฯ แต่มีประสบการณ์ การทางานมาแล้วจากที่อื่น ๆ เป็นต้น สาหรับการประเมิ นผล 130

วิกิตติ์ หินแก้ว


การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร

จากการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดด้านประสบการณ์การทางานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร จึงมีทีมผู้ตรวจสอบ อาคารที่ผ่านเกณฑ์การประเมินดังกล่าวเป็นส่วนใหญ่ 3. มุมมองด้านลูกค้า (The Customer Perspective) ตัวชี้วัดของมุมมองด้านนี้ คือความพึง พอใจของลูกค้า มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อบริษัท ฯ เป็นการพิจารณาผลส ารวจ ความพึงพอใจของผู้รั บบริการ หรือลูกค้าของบริษัท ฯ ที่มีต่อการปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร เกี่ ย วกั บ กระบวนการหรื อขั้ นตอนการให้ บ ริ ก าร เจ้ าหน้ าที่ ที มผู้ ต รวจสอบอาคาร และคุ ณภาพการ ตรวจสอบอาคาร จึงกาหนดน้าหนักคะแนนไว้ร้อยละ 20 โดยวัดผลความสาเร็จจากผลการสารวจความพึง พอใจของผู้ รั บ บริ การในด้ านต่ าง ๆ ประกอบด้ วย ความพึ ง พอใจด้ านกระบวนการ และขั้ นตอนการ ให้บริการ ความพึงพอใจด้านคุณภาพการบริการ และกาหนดค่าเป้าหมายไว้ว่า ระดับความพึงพอใจของ ลูกค้าที่มีต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบอาคารของทีมผู้ตรวจสอบอาคารไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 การประเมินผล การปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดในด้านนี้ เป็นการวัดสิ่งที่ไม่เป็นรูปธรรมเพียงด้านเดียวจากปัจจัยทั้งหมด จึงไม่มี ฐานข้อมูลปีก่อนเป็นค่ามาตรฐาน เนื่องจากบริษัทฯ ไม่เคยมีการประเมินผลในเรื่องดังกล่าวมาก่อน ซึ่ง จากการประเมิ นผลพบว่ า ที มผู้ ต รวจสอบอาคารมี ร ะดั บ ความพึ ง พอใจจากลู ก ค้ าต่ อ การปฏิ บั ติ ง าน ตรวจสอบอาคารผ่ านเกณฑ์ ห รื อค่ าเป้ าหมายที่ กาหนดไว้ คื ออยู่ ร ะหว่ างร้ อยละ 83-88 แต่ ก็มีที มผู้ ตรวจสอบอาคารบางทีมที่ลูกค้าแสดงความคิดเห็นให้มีการปรับปรุงการให้บริการในเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ จากการนาตัวชี้วัดที่ได้ออกแบบและจัดท าขึ้น ไปใช้ในการประเมิ นผลการปฏิบัติงานของที มผู้ ตรวจสอบอาคาร โดยใช้ตัวชี้วัดวัดด้านต้นทุนค่าจ้าง/ ค่าบริการของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร ตัวชี้วัดด้านการ ปฏิบัติงานตรวจสอบอาคาร ตัวชี้วัดด้านคุณภาพของการตรวจสอบอาคาร ตัวขี้วัดด้านประสบการณ์การ ตรวจสอบอาคาร และตัวชี้วัดด้านความพึงพอใจของลูกค้าดังกล่าวข้างต้น หลังจากที่ได้มีการประเมิ นครบ ทุกด้านแล้ว ผู้ประเมินผลจึงนาคะแนนรวมที่ได้รับจาก KPI ในแต่ละด้านไปแปลผลตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ซึ่ ง มี การกาหนดเกณฑ์ การให้ ค ะแนนการประเมิ นผลไว้ เ ป็ น 5 ระดั บ คื อผลการปฏิ บั ติ ง านสู ง กว่ าค่ า เป้าหมายมาก ผลการปฏิบัติงานสูงกว่าค่าเป้าหมาย ผลการปฏิบัติงานตามค่าเป้าหมาย ผลการปฏิบัติงาน ต่ากว่าค่าเป้าหมาย ผลการปฏิบัติงานต่ากว่าค่าเป้าหมายมาก ซึ่งทาให้ผู้ประเมินและผู้รับ การประเมิ น มองเห็นผลการปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคารครบทุกด้าน และสามารถทาการเปรียบเทียบได้ว่าแต่ ละทีมมีผลการปฏิบั ติง านอยู่ร ะดับ ใด ซึ่งข้อมูลที่ ได้ จากการประเมิ นผลการปฏิบัติ ง านดั ง กล่ าว จะถู ก นาไปใช้เป็นข้อมูลสาหรับการพิจารณาว่าจ้างทีมผู้ตรวจสอบอาคารของบริษัท ฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อไป จากเดิมที่บริษัทฯ พิจารณาจากใบเสนอราคาประกอบกับความน่าเชื่อถือของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร เป็นหลัก ดังนั้นการนาหลักเกณฑ์หรือตัวชี้วัดดัง กล่าวไปใช้ ในการประเมิ นผลการปฏิบัติงานของแผนก ตรวจสอบอาคารจึงเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญที่เกิดขึ้ นในองค์กร และโดยภาพรวมประสบความสาเร็จ เป็นอย่างดี เนื่องจากบรรลุวัตถุประสงค์ของการนาตัวชี้วัดมาใช้ ปัญหาและอุปสรรค ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการกาหนด และจัดทาตัวชี้วัดเพื่อนาไปใช้ในการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร แผนกตรวจสอบอาคารของบริษัทฯ สามารถสรุปปัญหาและอุปสรรค ที่เกิดขึ้นได้ดังนี้ 1. ผู้รับการประเมินผลไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับตัวชี้วัดเพียงพอ และไม่เชื่อถือในหลักเกณฑ์ ที่ บริษัทฯ นามาใช้ในการประเมินผล 2. ผู้ รั บ การประเมิ นผลไม่ ใ ห้ ข้ อมู ล หรื อข้ อเท็ จจริ ง ที่ เ พี ย งพอต่ อการนาไปใช้ ใ นการจั ด ทา ตัวชี้วัดในการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. กระบวนการการจั ด ท าตั ว ชี้ วั ด เป็ น หน้ าที่ ข องผู้ บ ริ ห ารหรื อ พนั ก งานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพี ย ง บางส่วนเท่านั้น ก่อให้เกิดการต่อต้านหรือไม่ยอมรับผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน 4. ขาดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพภายในบริษัทฯ ทาให้เป็นการยากที่จะทาให้พนักงานหรือ บุคคลอื่นๆ สามารถทาความเข้าใจกับตัวชี้วัดที่กาหนดขึ้นได้ วิกิตติ์ หินแก้ว

131


การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานของทีมผู้ตรวจสอบอาคาร

5. การประเมินผลการปฏิบัติงานมีความคลาดเคลื่อน เนื่องจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกันระหว่าง ผู้ประเมินผล คือบริษัทฯ และตัวผู้รับการประเมิน คือทีมผู้ตรวจสอบอาคาร ข้อเสนอแนะ ในการนา KPI มาใช้ ใ นการประเมิ นผลการปฏิ บั ติ ง านให้ มีป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ควรมี การ ปรับปรุงกระบวนการบางประการที่สาคัญ ซึ่งจากการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ต้องการชี้แจงและทาความเข้าใจเกี่ยวกับตั วชี้วัดระหว่างผู้ประเมินคือ บริษัท ผู้ตรวจสอบ อาคาร และผู้รับการประเมิน คือทีมผู้ตรวจสอบอาคาร ก่อนที่จะมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2. ต้องมีการสื่อสารที่เพียงพอภายในองค์การ เพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับตัวชี้วัด โดยต้องมี การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายจากผู้จัดทาตัวชี้วัดไปสู่ระดับพนักงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะทาให้การนา KPI ไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น และสร้างความรู้สึกมีส่วนร่วมในการทางาน 3. ต้องให้ความสาคัญกับพนักงานทุกระดับ และเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ ของการนา KPI ไปใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อทาให้ได้แนวคิดหลากหลาย และได้ข้อมูลหรือแนวคิดที่ได้ อาจ นาไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการจัดทาตัวชี้วัดได้ 4. ต้องมีการพิจารณาและคานึ งถึง ปัจจัย อื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเป็นปั จจัยภายนอกที่ ไ ม่ สามารถควบคุมได้ เช่น ความล่าช้าเกี่ยวกับระยะเวลาการปฏิบัติงานที่เกิด จากปัญหาภายในของลู กค้ า เพื่อให้การประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวมีความยุติธรรม มีความน่าเชื่อถือ และได้รับ การยอมรับจากผู้ถูกประเมินผล

132

วิกิตติ์ หินแก้ว


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงาน ในงานก่อสร้าง บทคัดย่อ สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์ คาสาคัญ: ผลิตภาพแรงงาน/ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพงานก่อสร้าง อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.ขวัญชัย โรจนกนันท์

ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลผลิตในงาน ก่อสร้าง สรุปปัญหาและความคิดเห็นต่าง ๆ ของผู้เกี่ยวข้องในการแก้ไขการลดลงของผลผลิต พร้อมทั้ง แนวทางในการวางแผนรับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้นในดาเนินการก่อสร้างในด้านต่าง ๆ ต่อไป กลุ่ มของข้ อมู ล ที่ นามาใช้ ใ นการศึ กษา ได้ แ ก่ ทฤษฎี ต่ าง ๆ และงานวิ จัย ต่ าง ๆ ที่ มีเ นื้ อหา ครอบคลุมในด้านแรงงานก่อสร้าง ด้านผลิตภาพแรงงาน ด้านการบริหารจัดการทั้งในประเทศไทยและ ต่างประเทศ จากการรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงของปัญหาที่เกิดขึ้น ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเกณฑ์ที่ ใช้ ใน การศึกษา โดยแบ่งงานวิจัยที่ใช้ในการศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มของงานวิจัยในประเทศไทย จานวน 26 งานวิจัย และกลุ่มของงานวิจัยต่างประเทศ จานวน 24 งานวิจัย รวมจานวนทั้งสิ้น 50 งานวิจัย โดยใช้การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพงานก่อสร้างของ Olomolaiye และคณะ (1998) และสาเหตุที่ทาให้อัตราผลผลิตงานก่อสร้างต่าลง จากการศึกษาของ Louis (1980) มาใช้ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาสรุปว่า 1. ปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานของกลุ่มงานวิจัยในประเทศไทย คือ ปัจจัยด้านการออกแบบเป็นปัจจัยที่สาคัญ รองลงมาคือปัจจัยองค์กร และปัจจัยด้านการจัดการ 2. ปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานของกลุ่มงานวิจัยต่างประเทศคือ ปัจจัยด้านการจัดการเป็นปัจจัยที่สาคัญ รองลงมาคือปัจจัยภายนอก และปัจจัยองค์กร 3. ปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่ อการลดลงของผลิตภาพแรงงานของกลุ่ มงานวิ จัย โดยรวม คือ ปัจจัยด้านการจัดการเป็นปัจจัยที่สาคัญ รองลงมาคือปัจจัยด้านการออกแบบ และปัจจัยขององค์กร

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์

133


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

THE STUDY OF THE FACTORS AFFECTING LOWER LABOR PRODUCTIVITY IN CONSTRUCTION ABSTRACT SAVALUK CHUASUWAN KEYWORD: LABOR PRODUCTIVITY/ FACTORS INFLUENCING CONSTRUCTION PRODUCTIVITY ADVISOR: KWANCHAI ROACHANAKANAN, PH.D.

The purposes of this study are to identify the factors affecting the decrease in construction productivity and to summarize problems and various opinions of people working in the construction industry in order to solve the problems with the decrease of labor productivity. The study used Thai and international theories and researches related to construction labor productivity as a guideline to identify the problems and opinions of people working in the construction industry. The theories and researches used in the study can be devised into two groups; a group of total 26 researches written by Thailand researchers and a group of total 24 researches written by researchers from Europe, America and Asia. By applying the factors affecting the construction productivity written by Olomolaiye, et. al. (1998) and the causes resulting in a decrease of construction productivity studied by Louis (1980) as a guideline to identify the study problems, it can be concluded that: 1. In case of Thai researchers, the most important factor effecting labor productivity is design and the second factors organization and management factor. 2. In case of the international researchers, the most important factor effecting labor productivity management and the second factors are outside and organization factors. 3. For the both groups of researchers, the factors effecting the decrease of labor productivity relate to management design and organization respectively.

134

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

สรุปผลอภิปราย การวิจัยนี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้ าง มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลผลิตในงานก่อสร้าง สรุปปัญหา และ ความคิดเห็นต่าง ๆ ของผู้เกี่ยวข้องในการแก้ไข การลดลงของผลผลิต แนวทางในการวางแผนรับมือกับ ปัญหาที่เกิดขึ้นในการดาเนินการก่อสร้าง โดยข้อมูลที่ได้นามาศึกษาข้างต้นนี้ เป็นข้อมูลที่ได้จากงานวิ จัย ในประเทศไทยและต่างประเทศจานวน 50 งานวิจัย โดยใช้การกาหนดเกณฑ์จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องคือ การกาหนดปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพ งานก่อสร้าง (Factors Influencing Construction Productivity) ตามที่ Olomolaiye และคณะ (1998) ได้มีการแบ่งไว้ และนาสาเหตุ ที่ทาให้อัตราผลผลิตงานก่อสร้างต่าลง จากการศึกษาของ Louise (1980) มาใช้ในการช่วยในการวิเคราะห์ ข้อจากัดและอุปสรรคในการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้สามารถสรุปปัญหาอุปสรรคได้ดังนี้ 1. ข้อจากัดการศึกษาได้ศึกษาจากงานวิจัยในประเทศไทยจานวน 26 งานวิจัย และงานวิจัย ต่างประเทศจานวน 24 งานวิจัย ทาให้ผลของการศึกษาที่ได้มาไม่สามารถนาไปใช้ได้กับงานก่อสร้างทุก งานได้ แต่เป็นผลการศึกษาของเฉพาะกลุ่มของงานวิจัยในจานวน 50 งานวิจัยนี้เท่านั้น 2. งานวิจัยที่ได้นามาศึกษามีความหลากหลายของข้อมูลมาก ไม่สามารถนางานที่เป็นประเภท ของงานลักษณะเดียวกันได้ทั้งหมด จึงทาให้ผลที่ได้เป็นผลโดยรวม ไม่ใช่ผลเฉพาะงานก่อสร้างประเภทใด ประเภทหนึ่ง สรุปผลการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ สามารถสรุปผลการศึกษาได้ดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มงานวิจัยที่นามาใช้ในการศึกษา 2. การเปรียบเทียบปัจจัยที่สาคัญของงานวิจัยระหว่างงานในประเทศไทยและต่างประเทศ 3. ปัจจัยหลักที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง 4. ความสัมพันธ์ของสาเหตุที่ทาให้อัตราผลผลิตงานก่อสร้างต่าลง กับปัจจัยที่เป็นผลกระทบ ต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในการก่อสร้าง 1. กลุ่มงานวิจัยที่นามาใช้ในการศึกษา กลุ่มงานวิจัยในประเทศไทย ประเภทงานส่วนใหญ่เป็นงานก่อสร้างโดยรวมร้อยละ 58 ทุกสาขา อุตสาหกรรมร้อยละ 15 และงานก่อสร้างอื่น ๆ ร้อยละ 27 (จากตารางที่ 2) และ กลุ่มงานวิจัยต่างประเทศ มีประเภทของงานก่อสร้างโดยรวมร้อยละ 67, ทุกสาขาอุตสาหกรรม ร้อยละ 21 และงานก่อสร้างอื่น ๆ ร้อยละ 12 (จากตารางที่ 3) ตามตารางที่ 25

2. การเปรียบเทียบปัจจัยที่สาคัญของงานวิจัยระหว่างในประเทศและต่างประเทศ สามารถสรุปปัจจัยหลักที่สาคัญของงานวิจัยที่นามาใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ผลที่ได้ดังนี้ สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์

135


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

จากภาพที่ 17 สรุปได้ดังนี้ ปัจจัยด้านการจัดการคิดเป็นร้อยละ 26 ของงานวิจัยต่างประเทศ เป็นลาดับความสาคัญที่ 1 โดยของงานวิจัยในประเทศไทย คือปัจจัยด้านการออกแบบคิดเป็นร้อยละ 22 เป็นลาดับความสาคัญรองลงมาเป็นอันดับที่ 2 และลาดับความสาคัญรองลงมาเป็นอันดับที่ 3 ของงานวิจัย ในประเทศคือ ปัจจัยขององค์กร คิดเป็นร้อยละ 18 โดยของงานวิจัยต่างประเทศคือ ปัจจัยภายนอก คิด เป็นร้อยละ 17 โดยปัจจัยการปฏิบัติงานของแรงงาน, ปัจจัยเกี่ยวกับสถานที่ก่อสร้าง และปัจจัยเกี่ยวกับงานใน โครงการของทั้งงานวิจัยงานวิจัยในประเทศไทยและต่างประเทศมีอัตราร้อยละที่เท่ากัน หรือใกล้เคียงกัน คือปัจจัยการปฏิบัติงานของแรงงาน คิดเป็นร้อยละ 8 เท่ากัน ปัจจัยเกี่ยวกับสถานที่ก่อสร้าง คิดเป็นร้อย ละ 5 - 6 และปัจจัยเกี่ยวกับงานในโครงการ คิดเป็นร้อยละ 3 ตามลาดับ 3. ปัจจัยหลักที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง ปัจจัยหลักที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้างในกลุ่มงานวิจัย ใน ประเทศไทยแยกตามประเภทงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

136

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

จากตารางที่ 26 สามารถสรุปกลุ่มงานวิจัยในประเทศไทยแยกตามประเภทงาน ผลที่ได้คือ 1. ปัจจัยด้านการออกแบบมีผลกระทบต่อประเภทงานทุกอุตสาหกรรม, งานก่อสร้างขนาด เล็ก และงานก่อสร้างโดยรวม ตามลาดับ 2. ปัจจัยองค์กรมีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างโดยรวม, งานก่อสร้างอาคารพักอาศั ย , งานก่อสร้างอาคารสูง และงานก่อสร้างขนาดเล็ก ตามลาดับ 3. ปัจจัยด้านการจัดการ มีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างอาคารสูง, งานก่อสร้างขนาดเล็ก และงานก่อสร้างโดยรวม ตามลาดับ 4. ปัจจัยผู้ว่าจ้างมีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างโดยรวม 5. ปัจจัยภายนอก มีผลกระทบต่อประเภทงานทุกอุตสาหกรรม และงานก่อสร้างขนาดเล็ ก ตามลาดับ 6. ปัจจัยการปฏิบัติงานของแรงงาน มีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างเฉพาะกิจกรรม 7. ปัจจัยเกี่ยวกับสถานที่ก่อสร้าง มีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างเฉพาะกิจกรรม จากผลการศึกษาของงานวิจัยในประเทศไทย สามารถสรุปผลการศึกษาตามลาดับความสาคัญได้ ตามตารางที่ 27 ดังนี้

จากตารางที่ 27 สามารถสรุปปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานของกลุ่ม งานวิจัยในประเทศไทย คือปัจจัยด้านการออกแบบ คิดเป็นร้อยละ 22 เป็นปัจจัยหลักที่สาคัญมากที่สุด รองลงมาคือปัจจัยองค์กร คิดเป็นร้อยละ 18 และปัจจัยด้านการจัดการ คิดเป็นร้อยละ 14 ตามลาดับ และในกลุ่มงานวิจัยต่างประเทศแยกตามประเภทงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์

137


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

จากตารางที่ 28 สามารถสรุปกลุ่มงานวิจัยต่างประเทศ แยกตามประเภทงาน ผลที่ได้คือ 1. ปัจจัยด้านการจัดการ มีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างโดยรวม, งานก่อสร้างอาคารสู ง, ทุกสาขาอุตสาหกรรม และงานก่อสร้างอาคารพักอาศัย ตามลาดับ 2. ปัจจัยภายนอก มีผลกระทบต่อประเภทงานทุกสาขาอุตสาหกรรม และงานก่อสร้างโดยรวม ตามลาดับ 3. ปัจจัยองค์กร มีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างโดยรวม และงานก่อสร้างอาคารพักอาศัย ตามลาดับ 4. ปัจจัยด้านการออกแบบ มีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างโดยรวม งานก่อสร้างอาคาร พักอาศัย และงานก่อสร้างเฉพาะกิจกรรมตามลาดับ 5. ปัจจัยของผู้ว่าจ้าง มีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างอาคารพักอาศัย 6. ปัจจัยเกี่ยวกับสถานที่ก่อสร้าง มีผลกระทบต่อประเภทงานก่อสร้างเฉพาะกิจกรรม 7. ปัจจัยคุณลักษณะของแรงงาน มีผลกระทบต่อประเภทงานทุกสาขาอุตสาหกรรม จากผลการศึกษาของงานวิจัยต่างประเทศ สามารถสรุปผลการศึกษาตามลาดับความสาคัญได้ ตามตารางที่ 29 ดังนี้

138

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

จากตารางที่ 29 สามารถสรุปปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานของกลุ่ม งานวิ จัย ต่ างประเทศคื อ ปั จจั ย ด้ านการจั ด การคิ ด เป็ นร้ อยละ 26 เป็ นปั จจั ย หลั กที่ ส าคั ญ มากที่ สุ ด รองลงมาคือปัจจัยภายนอกคิดเป็นร้อยละ 17 และปัจจัยองค์กร คิดเป็นร้อยละ 14 ตามลาดับ ทั้งนี้ในส่วนของกลุ่มงานวิจัยต่างประเทศ สามารถแบ่งกลุ่มประเทศเป็นร้อยละของงานวิจัยที่ นามาใช้ในการศึกษาตามตารางที่ 30 ได้ดังนี้

จากตารางที่ 30 สามารถสรุป กลุ่มงานวิจัยต่ างประเทศจาก 24 งานวิจัย สามารถแยกกลุ่ ม ประเทศได้ 3 กลุ่ม โดยมีสัดส่วนคิด เป็ นร้ อยละดัง นี้ กลุ่มประเทศอเมริ กา คิดเป็นร้อยละ 62.5 กลุ่ ม ประเทศยุโรป คิดเป็นร้อยละ 16.7 และกลุ่มประเทศเอเชีย คิดเป็นร้อยละ 20.8 โดยสามารถสรุปปัจจัยที่สาคัญ จาแนกตามกลุ่มประเทศ ได้ตามตารางที่ 31 ดังนี้

จากตารางที่ 31 สามารถสรุปปัจจัยที่สาคัญต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานของกลุ่มงานวิจัย ต่างประเทศ ได้ดังนี้ ปัจจัยที่มีความสาคัญของกลุ่มประเทศในทวีปอเมริกา คือปัจจัยด้านการจัดการ คิด เป็นร้อยละ 27 รองลงมาคือปัจจัยภายนอก คิดเป็นร้อยละ 19 และปัจจัยการปฏิบัติงานของแรงงาน, ปัจจัยองค์กร คิดเป็นร้อยละ 14 ตามลาดับ ปัจจัยที่มีความสาคัญของกลุ่มประเทศในทวีปยุโรป คือปัจจัย ด้านการจัดการ คิดเป็นร้อยละ 32 รองลงมาคือ ปัจจัยองค์กร, ปัจจัยด้านการออกแบบ คิดเป็นร้อยละ 23 และปัจจัยเกี่ยวกับสถานที่ก่อสร้าง, ปัจจัยภายนอก คิดเป็นร้อยละ 11 ตามลาดับ ปัจจัยที่มีความสาคัญ ของกลุ่มประเทศในทวีปเอเชีย คือปัจจัยของผู้ว่าจ้าง, ปัจจัยด้านการจัดการและปัจจัยภายนอก คิดเป็น ร้อยละ 17 รองลงมาคือ ปัจจัยองค์กร, ปัจจัยเกี่ยวกับงานในโครงการ และปัจจัยด้านการออกแบบ คิด เป็นร้อยละ 12 และปัจจัยคุณลั กษณะของแรงงาน, ปัจจัยเกี่ยวกับ สถานที่ ก่อสร้ าง คิดเป็นร้อยละ 5 ตามลาดับ จากผลการศึกษาของงานวิจัยทั้งหมดสามารถสรุปผลการศึกษาได้ตามตารางที่ 32 ดังนี้

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์

139


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

จากตารางที่ 32 สามารถสรุปปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานของกลุ่ม งานวิจัยโดยรวม คือปัจจัยด้านการจัดการ คิดเป็นร้อยละ 19 เป็นปัจจัยหลักที่สาคัญมากที่สุด รองลงมา คือปัจจัยด้านการออกแบบ คิดเป็นร้อยละ 18 และปัจจัยขององค์กร คิดเป็นร้อยละ 16 ตามลาดับ 4. ความสัมพันธ์ของสาเหตุที่ทาให้อัตราผลผลิตงานก่อสร้างต่าลงกับปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อ การลดลงของผลิตภาพแรงงานในการก่อสร้าง ความสัมพันธ์ของสาเหตุที่ทาให้อัตราผลผลิตงานก่อสร้างต่าลงกับปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่ อการ ลดลงของผลิตภาพแรงงานในการก่อสร้าง จากตารางที่ 21 สามารถสรุป ได้ดังนี้ 1) สาเหตุการควบคุมคุณภาพที่เข้ม มีความสัมพันธ์กับปัจจัยเกี่ยวกับงานในโครงการ, ปัจจัย ด้านการออกแบบ และปัจจัยของผู้ว่าจ้าง ตามลาดับ สาเหตุจากความชานาญของคนงาน มีความสัมพันธ์กับปัจจัยในการปฏิบัติงานของแรงงาน, ปัจจัยเกี่ยวกับสถานที่ก่อสร้างและ ปัจจัยภายนอก ตามลาดับ 2) สาเหตุของรูปแบบสัญญาที่ไม่เหมาะสมมีค วามสัมพั นธ์กับปั จจัยของผู้ ว่าจ้าง และปัจจัย ขององค์กร ตามลาดับ 3) สาเหตุ ข องการพั ฒ นาด้ านเทคโนโลยี การก่ อ สร้ างที่ ร วดเร็ ว มี ค วามสั มพั นธ์ กับ ปั จ จั ย ภายนอก, ปัจจัยด้านการจัดการ และปัจจัยการปฏิบัติงานของแรงงาน ตามลาดับ 4) สาเหตุของอัตราค่าแรงต่าเมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายอื่น มีความสัมพันธ์กับปัจจัยขององค์ กร และปัจจัยภายนอก ตามลาดับ 5) สาเหตุของต้นทุนต่อหน่วย และอัตราผลผลิตในงานก่อสร้าง มีความสัมพันธ์กับ ปัจจัยของ องค์กร, ปัจจัยด้านการจัดการ และปัจจัยการปฏิบัติงานของแรงงาน ตามลาดับ แนวทางการแก้ไขและการปรับปรุงผลิตภาพแรงงาน จากผลการศึกษาที่ได้พบว่า ปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานของกลุ่ม งานวิจัยโดยรวมคือ ปัจจัยด้านการจัดการคิดเป็นร้อยละ 19 เป็นปัจจัยหลักที่สาคัญมากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยด้านการออกแบบ คิดเป็นร้อยละ 18 และปัจจัยขององค์กรคิดเป็นร้อยละ 16 ตามลาดับ จึงได้นามา ทาการศึกษาแนวทางการแก้ไขตามปัจจัยที่สาคัญได้ดังนี้ แนวทางการปรับปรุงผลผลิตในโครงการก่อสร้าง เพื่อการเพิ่มประสิทธิผลของการวางแผนและควบคุ ม โครงการ จากการศึ ก ษาของ Weldon McGlaun ผู้ จั ด การฝ่ า ยก่ อ สร้ า งของ Proctor & Gamble (Clarkson H. Oglesby, et al., 1989 : 40) ซึ่งดูแลด้านบริหารงานก่อสร้างโรงงานต่าง ๆ ให้กับธุรกิจใน กลุ่มบริษัทตัวเอง พบว่าสามารถทาให้งานก่อสร้างประหยัดได้ 4 ถึง 8 เท่าของจานวนเงินที่ลงทุน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิผลของการวางแผนและควบคุมโครงการได้ตามภาพที่ 18 ดังนี้

140

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

จากภาพที่ 18 จากการศึ กษาเทคนิ ค การลดต้ นทุ นงานก่ อสร้ างจากการศึกษาของ Weldon McGlaun ยังจาแนกเทคนิคย่อยโดยกาหนดเป็นคะแนนถ่วงน้าหนัก (รวม 100%) ได้ดังนี้ 1. การศึกษาวิธีการทางาน (Method Study) มีผลต่อการลดต้นทุน ร้อยละ 50 การควบคุม ต้นทุน (Cost Control) มีผลต่อการลดต้นทุน ร้อยละ 25 2. การวางแผนและกาหนดเวลา (Planning & Scheduling) มีผลต่อการลดต้นทุ น ร้อยละ 15 3. การคาดการณ์ (Forecasting) มีผลต่อการลดต้นทุน ร้อยละ 10 และหากมีการนาเทคนิค ข้ างต้ นมาใช้ อย่ างเหมาะสม สามารถท าให้ ล ดต้ นทุ น ก่ อ สร้ างจากเดิ มได้ ม าก ซึ่ ง ก็ ขึ้ นอยู่ กับ การให้ ความสาคัญและจัดสรรงบประมาณอย่างเหมาะสมด้วย จากผลการศึ กษาของ Weldon McGlaun จะเห็ นได้ ว่า การศึ กษาวิ ธีการท างาน (Method Study) มีผลมากที่สุดต่อการลดต้นทุน ซึ่งในภาคอุตสาหกรรมก็ให้ความสาคัญกับเทคนิคนี้มากสาหรับ ใน การเพิ่มผลผลิต แนวทางการปรับปรุงผลผลิตงานก่อสร้างโดยปรับปรุงวิธีการทางาน งานก่อสร้างจาเป็นต้องมีการใช้เครื่องมื อช่ วยในการปรับปรุงพัฒนาวิธีการก่ อสร้าง เพื่อให้ได้ ผลผลิตที่ดีที่สุดในต้นทุนที่ต่าที่สุด เพื่อจัดการทรัพยากรต่าง ๆ ให้อย่างเหมาะสมก็คือการศึกษาวิธีการ ทางาน จากผ ล การ ศึ ก ษ าข อง Weldon McGlaun (Clarkson H. Oglesby, et al., 1989 : 40) การศึกษาวิธีการทางานคือ 1. การตรวจสอบสภาพการทางานในปัจจุบัน 2. ศึกษาปัญหากระบวนการทางานเพื่อพัฒนาวิธีทางานที่ดีขึ้นกว่าเดิม 3. การวัดงาน (Work Measurement) ซึ่งเป็นเทคนิคในการกาหนดเวลามาตรฐาน และอัตรา ผลผลิตมาตรฐาน เพื่อใช้ช่วยในการบริหารงานก่อสร้าง เพื่อให้ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น ผลที่ได้จากการศึกษา วิ ธีการท างาน และด าเนิ นการปรับ ปรุ ง วิ ธีการท างาน สิ่ ง ที่ ห น่ วยงานก่ อสร้ างจะได้ คื อผั ง บริ เ วณงาน ก่ อสร้ างที่ เ หมาะสม เพื่ อให้ การจราจรขนส่ ง คล่องตั ว ลดการขนส่ ง ซ้ าซ้ อน ลดความสู ญ เสี ย ของวัสดุ อุปกรณ์ และการจัดการด้านความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมการทางาน ผลการศึกษาวิธีการทางานจะ

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์

141


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

ได้วิธีการใหม่ที่ง่ายขึ้น สามารถลดงานที่ไม่จาเป็ นและเวลาไร้ประสิท ธิผล รวมไปถึงลดความล้าในการ ทางานของคนงานให้น้อยลงด้วย แม้ว่าการศึกษาวิธีการทางานจะให้ผลที่ดีในการทา แต่ในงานก่อสร้างยังคงมีปัญหาและอุปสรรค เพราะไม่ค่อยมีการทาหรือให้ความสนใจในการทาเท่าที่ควร การลดอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน เหตุผลที่โครงการก่อสร้างมักไม่ค่ อยให้ความสาคั ญต่อการศึ กษาการท างานเพื่ อการปรั บ ปรุ ง ผลผลิตงานก่อสร้างเท่าที่ควร มีดังนี้ 1. ลักษณะของงานก่อสร้าง งานก่อสร้างมีลักษณะเฉพาะจากขั้นตอนหนึ่งไปในตอนหนึ่ง และ ไม่ค่อยซ้ากัน ลักษณะงานมีลักษณะเฉพาะ เนื่องจากการออกแบบที่ต่างกัน ขั้นตอนและวิธีการก่อสร้ างก็ แตกต่างกัน ระยะเวลาในการก่ อสร้ างมีการกาหนดเวลาเริ่ มต้ นและสิ้ นสุด ที่แ น่นอน ทาให้รู้สึกว่ า หาก ต้องการศึกษาจนได้วิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม และนาวิธกี ารใหม่ไปใช้งาน ซึ่งอาจมีเนื้องานเหลืออยู่น้อย หรือมีเวลาก่อสร้างน้อยจึงไม่คุ้มค่าในการศึกษา 2. ไม่มีเวลาและงบประมาณในการศึกษาการทางาน เนื่องจากธุรกิจการก่อสร้างเป็นธุรกิจที่ ต้องใช้เงินทุนหมุนเวียนจานวนมากและต่อเนื่อง ผู้บริหารในระดับต่าง ๆ ต้องใช้เวลาไปกับการหางานเพื่อ ความต่อเนื่องของงานก่อนที่งานเก่าจะสิ้นสุด และการควบคุมดูแลงานให้สามารถส่งมอบงานให้ตรงตาม เวลาที่กาหนด เพื่อเบิกเงินสาหรับใช้หมุนเวียนในกิจกรรมต่อไป จึงทาให้การจัดสรรงบประมาณและเวลา ในการศึกษาการทางานมีน้อยหรือไม่มีเลย ผู้บริหารมองไม่เห็นประโยชน์ที่จะได้จากการศึกษา โดยอาจ เนื่องมาจากการไม่มีการเผยแพร่ความสาเร็จจากการศึกษาโครงการในอดีต ตัวอย่างเช่น คายืนยันของ Weldon McGlaun จาก Proctor and Gamble (Oglesby et. al., 1989 : 40) ได้กล่าวว่า ทุก 1 หน่วย ของเงินที่ใช้ไปในการศึกษาเพื่อวางแผนการทางาน จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในงานก่อสร้างได้ถึง 4 – 8 เท่ าของเงิ นที่ ล งทุ นในการศึ กษานั้ น ขณะที่ C.D. Brown (1985) จากบริ ษัท DuPont ได้ ร ายงานผล การศึกษาในลักษณะเดียวกั น โดยพบว่าสามารถประหยัดได้ถึง 10 เท่าของเงินลงทุนที่ใช้ในการศึ ก ษา (C.D. Brown, Engineering News Record, Aug 14, 1986 : 48) หรื อ จากการ ศึ ก ษาโดย Victor Sanvido (1983) ได้รายงานผลการศึกษาพบว่าประหยัดได้มากถึง 15 เท่าของเงินลงทุน หากผู้บริหารเห็น ประโยชน์ที่ได้รับแล้วก็คงจะให้การสนับสนุนด้านทรัพยากรต่าง ๆ ในการศึกษาเพื่อพัฒนาวิธีการทางานที่ ดีขึ้น 3. การกาหนดเครื่องจักรก่อนการศึกษาการทางาน ในโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ จาเป็นต้อง ใช้เครื่องจักรราคาสูงมาช่วยในการทางาน ที่ต้องติดตั้งก่อนเริ่มงานก่อสร้าง หากมีการศึกษาวิธีการท างาน หลั ง จากปฏิ บั ติ ง านไปแล้ ว และเห็ นว่ ามี เ ครื่ องจั กรอื่ นที่ เ หมาะสมกว่ าก็ จะท าได้ ย าก หากต้ องการ เปลี่ยนแปลงเครื่องจักรนั้น เนื่องจากต้องเร่งเวลาในการก่อสร้าง ไม่มีเวลาสาหรับการรื้อย้ายเปลี่ยนแปลง เป็นเหตุให้ผู้บริหารโครงการคิดว่าไม่มีประโยชน์ที่จะทา 4. การใช้ ผู้ รั บ เหมาช่ วง ผู้ รั บ เหมาหลั กมี แ นวโน้ มที่ จะจ้ างผู้ รับ เหมาช่ วงเข้ ามารับ ผิ ดชอบ เฉพาะส่วนมากขึ้น ทาให้ผู้รับเหมาหลักไม่ให้ความสนใจการปรับปรุงวิธีการทางาน เนื่องจากต้นทุนต่ อ หน่วยได้ถูกกาหนดไว้ ใ นสั ญ ญาจ้างเหมาช่ วงแล้ ว ส่วนผู้รับเหมาช่ วงก็ ไ ม่ มีทุ นและบุค ลากรที่มีค วามรู้ ความสามารถเพียงพอ ในการศึกษาวิธีการทางาน (วิสูตร, 2546 : การปรับปรุงผลผลิตงานก่อสร้าง) การปรับปรุงผลผลิตในการก่อสร้ างเป็ นกระบวนการที่ต่ อเนื่ องคล้ ายวัฏ จั กร ของเดมมิ่ง โดย ความสาเร็จในการปรับปรุงผลผลิต ได้จากคุณภาพของแผนงานและแผนกาหนดเวลางานก่อสร้าง โดย อาศั ย ข้ อมู ล เทคนิ ค วิ ธีก ารก่ อสร้ างจากข้ อ กาหนดงานก่ อ สร้ าง และข้ อมู ล อั ต ราผลผลิ ต มาตรฐานที่ น่าเชื่อถือได้จากการศึกษาของ Olomolaiye และ Ogulana (1989) พบว่าอัตราผลผลิตจะสูงจะต่ามีผล มาจากการบริหารจัดการที่หน้างานร้อยละ 75 และจากคนงานเพียงร้อยละ 25 การปรับปรุงผลผลิตจึง สามารถแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ปรับปรุงจากปัญหาด้านการจัดการ ปรับปรุงโดยการจูงใจให้ทางาน โดยไม่ใช้เงิน และปรับปรุงโดยการจูงใจให้ทางานโดยใช้เงิน 142

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์


การศึกษาปัจจัยที่เป็นผลกระทบต่อการลดลงของผลิตภาพแรงงานในงานก่อสร้าง

จากการศึ กษาของ Olomolaiye และคณะ (1987) ได้ เ ก็ บ ข้ อมู ล การท างานของช่ างแต่ ล ะ ประเภท โดยเก็บตัวอย่างจาก 7 หน่วยงานก่อสร้าง ผลที่ได้คือร้อยละ 95 ความเชื่อมั่นชี้ให้เห็นว่า คนงาน ก่อสร้างใช้เวลาทางานอย่างมีประสิทธิผลได้ประมาณร้อยละ 50 นอกนั้นจะเสียเวลาไปกับปัญหาต่าง ๆ ที่ ส่วนใหญ่มาจากการจัดการหน้างาน เช่น วัสดุขาดแคลน เครื่องมือชารุดหรือไม่เพียงพอ เครื่องจักรเสีย การรบกวนกันระหว่ างชุดช่ าง หากผู้บริหารโครงการที่ดีจะลดปัญหาจากการจัด การข้ างต้ นได้โ ดยการ จัดทาแผนงานที่มีคุณภาพ การปรับปรุงโดยการจูงใจให้ทางานโดยไม่ใช้เงิน สามารถทาได้โดยการเพิ่มสิ่งจูงใจให้ทางานและ ลดการบั่นทอนกาลั งใจให้น้อยลง โดยสิ่งจูงใจสาหรับคนในแต่ละภู มิภาคหรื อแต่ละประเทศจะมี ค วาม แตกต่างกันไปบ้างตามค่านิยมและวัฒนธรรมการทางาน เช่น ได้ทางานกับเพื่อนรู้ใจ สามารถช่วยเป็ น แรงจูงใจในการทางาน หรือ การได้ทางานที่ท้าทาย เพราะเป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้ทางานได้ หรือแม้แต่ สวัสดิการของงานความปลอดภัย ความมั่นคง การเป็นที่ยอมรับการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เป็นต้น การปรับปรุงโดยการจูงใจให้ทางานโดยใช้เงิน ในระดับคนงานการจ่ายเงินจูงใจควรทาโดยอิ งกับ ผลงานที่ทาได้ในแต่ละวันเป็นหลัก แต่ในบางกรณีก็มีการจ่ายเงินจูงใจโดยไม่คานึงถึงผลงาน ซึ่งจะไม่ได้ เน้นถึงผลผลิตมากนัก แต่เป็นการรักษาคนดีมีฝีมือไว้กับองค์กร เช่น การให้เงินกองทุนสารองเลี้ยงชี พหรือ การให้ประกันสุขภาพ ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา 1. ผลการศึกษาที่ได้จากงานวิจัยที่ได้นามาศึกษา ทาให้ทราบถึงตั้งแต่สาเหตุของปัญหา ปัจจัย ที่มีผลกระทบ รวมทั้งแนวทางแก้ไขในแต่ละปัจจัยที่เกิดขึ้นตามประเภทของงานก่อสร้างด้วย ถึงแม้จะเป็น เพียงส่วนหนึ่งที่ได้นามาศึกษา แต่ผู้วิจัยคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ได้ สาหรับผู้ที่เกี่ยวข้องในการทางานใน โครงการก่อสร้าง 2. ผลการศึกษาทาให้ได้ทราบถึงปัจจัยสาคัญที่เป็นผลกระทบต่อโครงการก่อสร้างในประเทศ และต่างประเทศที่เหมือนกันและต่างกันในด้านใดบ้าง และในประเภทงานก่อสร้างต่าง ๆ 3. ทาให้ทราบถึงแนวทางที่จะช่วยในการพิจารณาการดาเนินงานตั้งแต่เริ่มโครงการ หรือเมื่อมี ปัญหาเกิดขึ้นซึ่งใช้เป็นแนวทางให้การคิดการแก้ไขใช้เวลาน้อยลง 4. ผลการศึกษาทาให้ทราบถึงการเลือกรูปแบบการบริหารงานที่เหมาะสมกับเป้าหมาย หรือ เหมาะสมกับปัญหาที่เกิดขึ้น และได้ผลที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สวลักษณ์ เชื้อสุวรรณ์

143



การเพิ่มประสิทธิภาพของการก่อสร้างอาคารด้วยระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป

การเพิ่มประสิทธิภาพของการก่อสร้างอาคารด้วยระบบ ผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป บทคัดย่อ อัครวัฒน์ ตรัยจิรพงศ์ คาสาคัญ: ระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.ขวัญชัย โรจนกนันท์

การศึกษานี้เป็นการเพิ่มประสิท ธิภาพของการก่อสร้างอาคารด้ วยระบบผนังภายนอกอาคาร สาเร็จรูป โดยการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคนิคการก่อสร้างผนังภายนอกอาคาร จากการก่ออิฐฉาบปูน เป็นระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูปในโครงการก่อสร้างจริง ซึ่งเป็นผลมาจากการวิเคราะห์ความเสี่ยง โครงการในกิจกรรมก่อสร้างที่จะทาให้ล่าช้า (ดาเนินการก่อสร้างและสรุปผลการเปลี่ยนแปลง) วิ ธีด าเนิ นการศึ กษาและท าการศึ กษาจากการเปลี่ ย นแปลงเทคนิ ค การก่ อสร้างในโครงการ ก่อสร้างจริง ในช่วงการวางแผนงานก่อสร้างและวิเคราะห์ความเสี่ยงโครงการ โดยระบุความเสี่ยงที่ จะทา ให้โครงการก่อสร้างล่าช้า จากกิจกรรมก่อสร้างในหมวดงานหลัก 3 หมวด คือ งานโครงสร้าง งานระบบ และงานสถาปัตยกรรม โดยวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงในการจัดทากิจกรรมก่อสร้าง ทั้งการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ และการวิเคราะห์เชิงปริมาณ จากนั้นเป็นการสรุปผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง ทาการจัดลาดั บความส าคัญ ความเสี่ยงและวางแผนตอบสนองความเสี่ยง บริหารความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการตอบสนองความ เสี่ยง ปรับปรุงแผนงานก่อสร้ างอย่างละเอียด การเตรียมงานเบื้องต้น โดยควบคุมความเสี่ยงและการ เปลี่ยนแปลง และดาเนินการก่อสร้างโดยการเปลี่ยนแปลงเทคนิคการก่อสร้าง ติด ตามและประเมินผลแต่ ละช่วงของการก่อสร้างจากภาพถ่ายและข้อมูลการก่อสร้าง ผลของการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนแปลงเทคนิคการก่อสร้างผนังภายนอกอาคาร จากการก่ออิฐ ฉาบปูน เป็นระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูปในโครงการที่ทาการศึกษา สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของ การก่อสร้าง ช่วยลดการทางานชั่วคราวในที่สูงและที่เสี่ยงภัย ลดปริมาณขยะจากการก่อสร้าง ลดปัญหา การแก้ไขผลงานก่อสร้าง เนื่องจากผนังภายนอกที่ไม่ได้มาตรฐาน ลดความเสี่ยงโครงการก่อสร้างล่าช้ า และสามารถนาขั้นตอนในการเปลี่ยนแปลงเทคนิคการก่อสร้างดังกล่าว มารวบรวมเพิ่มเติมข้อเสนอแนะ จัดทาคู่มือการเปลี่ยนแปลงการก่อสร้างจากระบบปกติ -ผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป สาหรับโครงการ ก่อสร้างโครงการอื่น ๆ เพื่อลดความเสี่ยงโครงการก่อสร้างล่าช้า และเพิ่มประสิทธิภาพของการก่อสร้างได้

อัครวัฒน์ ตรัยจิรพงศ์

145


การเพิ่มประสิทธิภาพของการก่อสร้างอาคารด้วยระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป

INCREASE EFFECTIVENESS OF CONVENTIONAL BUILDING CONSTRUCTION TECHNOLOGY WITH EXTERIOR PRECAST WALL PANEL SYSTEM ABSTRACT AKARAWAT TRIJIRAPONG KEYWORD: EXTERIOR PRECAST WALL PANEL SYSTEM ADVISOR: KWANCHAI ROACHANAKANAN, PH.D.

The purpose of this study is increase effectiveness of conventional building construction by changing construction technique from exterior masonry wall with plaster to exterior precast wall panel system. This study is come from a real construction project. That change resulting from the risk analysis from construction activities can cause project delay and decrease the risk. The risk management and change management can improve baseline planning. The process of this study started with analyzing a real construction project in planning phase to identify the risk from construction activities with 3 categories, structural work, mechanical and electrical work, and architectural work. Risk was analyzed by quantitative and qualitative method, to categorized, related to planning, control and monitored the risk with change management in construction technique. Next step was to monitor the construction from photograph and construction progress report. Result of this study by changing construction technique from exterior masonry wall with plaster to exterior precast wall panel can increase the effectiveness of building construction technology and reducing a temporary work in high and risk area, decrease garbage from construction and reduce the construction quality problem. This also prevented risk from project delay. The process of changing construction technique was an analyzing to prepare a manual for changing construction technique. Manual of changing construction technique will be used as a guideline to save time in process of changing, and reduce risk of project delay.

146

อัครวัฒน์ ตรัยจิรพงศ์


การเพิ่มประสิทธิภาพของการก่อสร้างอาคารด้วยระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป

สรุปผลอภิปราย การเปลี่ยนแปลงเทคนิคการก่อสร้างผนังภายนอกอาคารจากการก่ออิฐฉาบปูนเป็นระบบผนัง ภายนอกอาคารส าเร็ จรู ปสามารถเพิ่มประสิ ทธิ ภ าพการท างาน และช่ วยลดความเสี่ ย งของงานล่ าช้า เนื่องจากระบบข้างต้นมีขั้นตอนการก่อสร้างที่กระชับและลดปริมาณการทางานชั่วคราว เหมาะสมในการ ก่อสร้างในที่สู งและเสี่ยงภั ย และชิ้นส่วนผนังภายนอกที่จัด ท าขึ้ นมีข นาดที่ ตรงกั นกับ งานก่ อสร้ าง ลด ปริมาณการตัดแต่งวัสดุ ลดการเกิดขยะจากการก่อสร้าง และผิวของผนังมีความเป็นมาตรฐาน สามารถที่ จะส่งมอบผลงานได้ ช่วยลดขั้นตอนของการแก้ ไขคุ ณภาพผลงานก่ อสร้ างที่ไ ม่ ได้ มาตรฐาน เนื่อ งจาก โครงการก่อสร้างที่ทาการศึกษาเป็นโครงการที่เป็นอาคารขนาดใหญ่และอาคารสูง การก่อผนังภายนอก อาคารตลอดอายุการใช้งานอาคารจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงด้วยการทุบ รื้อถอน หรือเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ดังนั้นข้อเสียเปรียบของการเลือกใช้ระบบผนั งภายนอกอาคารสาเร็ จรูปที่ถู กรื้ อถอน หรือเปลี่ยนแปลง รูปแบบได้ยากจากเทคนิคการก่อสร้างและวัสดุที่เป็นคอนกรีตหล่อ จึงไม่เป็นข้อเสียของการเลือกใช้ ใน โครงการนี้ โดยภาพรวมระยะเวลาการก่อสร้างของงานผนังภายนอกสามารถดาเนินการก่อสร้างเป็นไป ตามแผนงาน และไม่ส่งผลต่อกิจกรรมก่อสร้างอื่น ๆ ในลาดับถัดไป ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการก่อสร้าง การติ ด ตามผลความคื บ หน้ าการก่ อสร้ างที่ เ กิ ด ขึ้นจากการเปลี่ ยนแปลง พบว่ ามี ปั ญ หาและ อุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างช่วงการก่อสร้างในหลายประเด็นที่การวางแผนงานคาดไม่ถึง ในเรื่องของการใช้ ไฟฟ้าชั่วคราวเพื่อทาการก่อสร้าง เนื่องจากเทคนิคการก่อสร้างระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป ใช้การ เชื่อมเหล็กที่ฝังในโครงสร้างพื้น เพื่อยึดติดกับเหล็กที่ฝังในชิ้นส่วนผนัง และการทางานในการเชื่อมแต่ละ ครั้ ง จะไม่ มีการหยุ ดงานชั่วคราว โดยจะเชื่ อมติ ดตายภายในครั้ง เดี ยว และการเชื่ อมชิ้ นส่ วนผนั ง เป็น ขั้นตอนที่สาคัญในการติ ดตั้งผนัง และเป็นหนึ่งในขั้นตอนที่ระบบผนังภายนอกสาเร็จรูปจัดทาในสถานที่ ก่อสร้าง การเข้าทางานเชื่อมดังกล่าวจะทางานพร้อมกันใน 1 ชั้น ทาให้มีการใช้ปริมาณกระแสไฟฟ้าจากตู้ เชื่อมเป็นจานวนมาก และการจ่ายกระแสไฟฟ้าไม่เพียงพอทาให้ไฟฟ้าดับ ซึ่งกรณีดังกล่าวสามารถที่จ ะ เตรียมความพร้อมของการใช้ไฟฟ้าได้ตั้งแต่ต้น ถ้ามีการใช้ระบบชิ้นส่วนสาเร็จรูป เรื่องการขนส่งทางดิ่ง การใช้ทาวเวอร์เครนในการขนส่งชิ้นส่วนผนังต่าง ๆ มีผลโดยตรงต่อแผนการใช้งานเครื่องจักรและต้ องทา การปรึกษาและกาหนดระยะเวลาการขนส่งเพื่อการวางแผนงาน เนื่องจากทาวเวอร์เครนต้องทาหน้ าที่ ขนส่งวัสดุสาหรับการก่อสร้างไปในแต่ละชั้นเพื่อทาการก่อสร้าง และมีปริมาณมาก เช่น อิฐมวลเบา ปูน ฉาบ วงกบ ประตู หน้าต่าง กระเบื้อง และสุขภัณฑ์ การกาหนดระยะเวลาในการขนส่งชิ้นส่วนผนัง จะช่วย ลดปัญหาในการขนส่ง วั สดุ ก่อสร้างอื่ นไม่ ทั นการก่ อสร้ าง และลดปริมาณพื้ นที่ กองเก็บ ภายในสถานที่ ก่อสร้างที่มีพื้นที่จากัดลงได้ โดยขั้นตอนของการขนส่งชิ้นส่วนผนัง จะถูกส่งมาจากโรงงานทางรถยนต์ถึง สถานที่ก่อสร้างในเวลา 23.00 น. - 24.00 น. ในแต่ละวัน และจะทาการขนส่งไปยังตาแหน่งติดตั้งชิ้ นงาน ทาการแขวน และบางส่วนที่ขนส่งมาที่สถานที่ก่อสร้างและไม่ได้แขวน จะถูกกองเก็บในสถานที่ก่อสร้าง เวลา 7.00 น. - 8.00 น. ของเช้าวันรุ่งขึ้น จะทาการปรับแผ่นในตาแหน่งติดตั้งใช้งานและเชื่อมติดตาย และทาการแขวนชิ้นส่วนผนังที่เหลือจากพื้นที่กองเก็บ ปรับแผ่นและเชื่อมติดตายเช่นกัน ในกระบวนการ ขนส่งชิ้นส่วนผนังจึงจาเป็นที่จะต้องมีการใช้งานทาวเวอร์เครนในช่วงเวลากลางคืน และเวลาช่วงเช้าในแต่ ละวัน ทาให้สามารถกาหนดแผนการใช้งานเครื่องจักรให้สามารถขนส่งวัสดุก่อสร้างต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับ การก่อสร้างของโครงการได้ ข้อเสนอแนะ ปั จจุ บั นการบริ ห ารงานก่ อสร้ างให้ มีป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยการค านึ ง ถึ ง เวลา, คุ ณภาพ, และ งบประมาณเป็ นหลั ก มี เ ครื่ องมื อในการวางแผนและกาหนดรู ป แบบ รวมถึ ง การจาลองสถานการณ์ มากมายจากการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในโปรแกรมประยุกต์สาหรับการออกแบบ, เขียนแบบ, การ อัครวัฒน์ ตรัยจิรพงศ์

147


การเพิ่มประสิทธิภาพของการก่อสร้างอาคารด้วยระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป

ท าหุ่ นจาลองสามมิ ติ แ ละการก่ อสร้ าง การนาเทคโนโลยี มาใช้ เ ป็ นเครื่ องมื อในการวิ เ คราะห์แ ละวาง แผนการก่อสร้าง เพื่อให้เกิดความแม่นยาของการก่อสร้าง การทดลองเพื่อหาผลลัพธ์ในบรรยากาศสามมิติ มีส่วนช่วยลดปัญหาและความผิดพลาดจากงานก่อสร้างได้เป็นอย่างดี และสามารถกาหนดให้การก่อสร้ าง บางส่วนสามารถจัดทาในระบบอุตสาหกรรม ทาการผลิตชิ้นส่วนสาเร็จรูปจากโรงงาน และนามาติดตั้ง ใน สถานที่ก่อสร้าง เพื่อการควบคุมคุณภาพของชิ้นส่วน และการลดระยะเวลาการก่อสร้างในสถานที่ก่อสร้าง การสิ้ นเปลื องวั ส ดุ การลดพื้ นที่ กองเก็ บ และการลดปริ มาณการท างานชั่ วคราว ท าให้ ง านก่ อสร้ างมี ประสิทธิภาพมากขึ้ น และลดความเสี่ยงของงานล่าช้าได้ ตัวอย่างของการเลื อกใช้ระบบผนังภายนอก สาเร็จรูปของโครงการอื่นที่ช่วยลดขั้นตอนและระยะเวลาการก่อสร้างลง เช่น การตกแต่งผนังภายนอกของ ห้ างสรรพสิ นค้ าแห่ ง หนึ่ ง ดั ง ภาพที่ 84 ที่ ต้ องการให้ ภ ายนอกอาคารผนั ง มี ลั กษณะนู นต่ า ได้ รั บ การ ออกแบบเป็นผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป เพื่อคุณภาพของผลงานและลดระยะเวลาการทางานในสถานที่ ก่อสร้าง

และในบางโครงการก่อสร้าง ต้นทุนก็ไม่ใช่เหตุผลในการจัดทาชิ้นส่วนการก่อสร้างในลั ก ษณะ การก่อสร้างระบบอุตสาหกรรม แต่มีความจาเป็นอื่ นในการจัดท า เนื่องจากรายละเอี ยดของชิ้น งานที่ ต้องการความประณีต และการทางานในสถานที่ก่อสร้างทาได้ยากกว่าการจัดทาต้นแบบในโรงงาน ทาการ หล่อชิ้นงานและขนส่ งไปติ ดตั้ง ในสถานที่ ก่อสร้ าง เช่น โครงการอมตะคาสเซิ ล ที่มีการออกแบบผนั ง ภายนอกเป็นผนังตกแต่งเป็นประติ มากรรมนูนสูงบุคคลสาคัญต่าง ๆ รูปแบบศิลปกรรมสมัยทราวดี ดัง ภาพที่ 85

148

อัครวัฒน์ ตรัยจิรพงศ์


การเพิ่มประสิทธิภาพของการก่อสร้างอาคารด้วยระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป

ทางบริษัทไทยโอบายาชิ มีการวางแผนในการจัดทาชิ้นงานดังกล่าว จากต้นแบบขนาดเท่าจริง ก่อนด้วยปฏิมากรเพื่อขออนุมัติผู้ออกแบบ และเจ้าของโครงการในการจัดทาชิ้นงานเนื่องจากมิตินูนสูงของ แบบไม่สามารถกาหนดได้ชัดเจนในแบบก่อสร้าง และเมื่อทาการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจ และทาการหล่อ ชิ้นงานขนส่งไปติดตั้งในสถานที่ก่อสร้าง ขั้นตอนดังกล่าวก็ไม่กระทบกระเทือนงานก่อสร้างทั้งโครงการ ที่ สามารถด าเนิ น การต่ อ ไปได้ โ ดยไม่ เ ป็ น อุ ป สรรค เนื่ องจากชิ้ น ส่ ว นผนั ง ภายนอกอาคารส าเร็ จ รู ป มี รายละเอียดสูง กรรมวิธีการจัดทาแม่พิมพ์จึงจาเป็นต้องใช้ซิลิโคนในการจัดทา เพื่อให้คอนกรีตที่ทาการ หล่อสามารถแทรกตัวเข้าไปในพื้นที่ที่เล็กและมีรายละเอียดสูงได้ ชิ้นส่วนสาเร็จรูปนี้จึงเป็นส่วนหนึ่งของ การวางแผนแก้ไขปัญหางานก่อสร้างได้อย่างดี

อัครวัฒน์ ตรัยจิรพงศ์

149



ปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้าของโครงการดัดแปลงอาคารเพื่อใช้เป็นพื้นที่สาหรับห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร

ปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้าของโครงการดัดแปลงอาคารเพื่อใช้เป็นพืน้ ที่ สาหรับห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร บทคัดย่อ โอภาส สิมะธัมนันท์ คาสาคัญ: ความล่าช้า/ ห้างค้าปลีกขนาดใหญ่/ ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปณิตา วงศ์มหาดเล็ก

งานวิจัยนี้จะทาการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้าของโครงการดัดแปลงอาคาร เพื่อใช้เป็นพื้นที่สาหรับห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร โดยจะดาเนินการโดยใช้การสัมภาษณ์ และการใช้แบบสอบถามกลุ่มผู้ชานาญที่ประกอบด้วยบุคลากรในส่วนของเจ้าของโครงการและบุคลากรใน ส่วนของผู้บริหารโครงการที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่ากลุ่มปัจจัยด้านการบริหารจัดการ (Management Factor) ไม่ใช่ปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ความล่าช้าของโครงการดัดแปลงอาคารเพื่อใช้เป็นพื้นที่สาหรับห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร โดยปัจจัยที่เป็ นสาเหตุ ค วามล่ าช้ าฯ จะประกอบด้วยปั จจัย จานวน 10 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยที่เกี่ ย วกั บ เจ้าของอาคารที่ให้เช่าพื้นที่สาหรับจัดทาโครงการฯ ปัจจัยเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนแบบในระหว่างช่วงเวลา ก่อสร้าง ปัจจัยเกี่ยวกับความชัดเจนของเนื้อหาสัญญา ปัจจัยเกี่ยวกับจานวนประสบการณ์และทักษะของ บุคลากรในส่วนของเจ้าของโครงการ ปัจจัยเกี่ยวกับ จานวนประสบการณ์และทักษะของบุคลากรในส่วน ของผู้บริหารโครงการ ปัจจัยเกี่ยวกับการเสนอราคาประมูลที่ต่ าเกินไปของผู้รั บเหมาก่ อสร้ าง ปัจจัยที่ เกี่ ย วกั บ ความถู กต้อง การสร้ างได้ ข องแบบ และระยะเวลาในการจั ดท าแบบ ปั จจั ย ที่ เ กี่ ย วกั บ ปัญหา เกี่ ย วกั บ การส่ ง มอบพื้ นที่ โ ครงการจากเจ้ าของอาคารฯ ปั จจั ย ที่ เ กี่ ย วกั บ การด าเนิ น การที่ เ กี่ ย วกั บ กฎระเบียบและข้อบังคับทางราชการ ปัจจัยเกี่ยวกับสภาวะเศรษฐกิจการตลาดและคู่แข่งทางการค้า

โอภาส สิมะธัมนันท์

151


ปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้าของโครงการดัดแปลงอาคารเพื่อใช้เป็นพื้นที่สาหรับห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร

FACTORS CAUSING DELAY IN BUILDING MODIFICATION PROJECT FOR HYPER MARKET IN BANGKOK ABSTRACT OPAS SIMATHAMNAND KEYWORD: DELAY/ MODERN TRADE/ MANAGEMENT RELATED FACTOR ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PANITA WONGMAHADLEK

This research aimed to find factors causing delay in building modification project for Hyper Market in Bangkok. The data were gathered via interview and questionnaire surveys from experienced personnel including Project owners and Project consultants involved in Modern trade construction project in Bangkok. The study found that Management related factor is not the cause of delay in building modification project for Hyper Market in Bangkok. The study also found that the major cause of delay are Building Owner Related, Design Change, Ambiguous of Contract Condition, Insufficient Manpower & Experience and Skill of Owner's Staff, Insufficient Manpower & Experience and Skill of Project Stakeholder's Staff, Low Bids, Drawing Accuracy & Buildability and Time Limitation in Design Phase, Late Site Liberation by Building Owner, Government Regulations & Permit Difficulty, Marketing & Economic Uncertainty and Business Competitors.

152

โอภาส สิมะธัมนันท์


ปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้าของโครงการดัดแปลงอาคารเพื่อใช้เป็นพื้นที่สาหรับห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร

สรุปผลอภิปราย การศึ กษาเรื่ องปั จจั ย ที่ เ ป็ นสาเหตุค วามล่ าช้ าของโครงการดัด แปลงอาคารเพื่ อใช้ เป็ นพื้นที่ สาหรับห้างค้าปลีกสมัยใหม่ข นาดใหญ่ประเภทไฮเปอร์ มาร์เ ก็ต เป็นการศึกษาที่ มีวัตถุประสงค์เ พื่ อหา ปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้าของโครงการฯ โดยมีสมมติฐานของงานวิจัยว่า ปัจจัยด้านการบริ หารจัด การ (Management Related Factor) เป็นปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความล่าช้าของโครงการฯ ผลการศึกษา จากการศึกษาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ผู้ชานาญการพบว่ามีปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้า ของโครงการฯ จานวน 10 ปัจจัย ทั้งนี้มีข้อสรุปที่ได้จากการวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้าของ โครงการฯ ดังกล่าวดังนี้ 1. การวิ เ คราะห์ ปั จจั ย จานวน 6 กลุ่ มพบว่ า กลุ่ มปั จจั ย ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การบริ ห ารจั ด การ (Management Related Factor) ไม่ใช่ปัจจัยที่เป็นสาเหตุความล่าช้าของโครงการฯ 2. ปั จจั ย ที่ ผู้ ช านาญการลงความเห็ นว่ าเป็ นปั จจั ย ที่ เ ป็ นสาเหตุ ความล่ าช้ าของโครงการฯ จานวน 4 ปัจจัย จากจานวนทั้งหมด 10 ปัจจัย เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ (Uncontrollable Factor) เนื่องจากโครงการประเภทดัดแปลงอาคารเป็นโครงการที่ต้องเกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอก ซึ่งเป็น ปัจจัยที่ไม่ส ามารถคาดการณ์ ได้ (Unpredictable) คือ เจ้าของอาคาร รวมทั้งการที่โครงการประเภท ดังกล่าวเป็ นโครงการประเภทธุร กิ จการค้ า (Commercial Project) ทาให้ต้องเกี่ย วข้ องกับปั จจั ย ทาง ธุรกิจ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้เช่นกัน ดังนั้นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ดังกล่าวจึงส่งผล กระทบกับระยะเวลาการดาเนินโครงการ 3. ปัจจัยที่เกี่ยวกับเจ้าของอาคารที่ให้เช่าพื้นที่สาหรับจัดทาโครงการฯ และปัจจัยเกี่ยวกับการ ปรับเปลี่ยนแบบในช่วงระหว่างการก่อสร้าง เป็นปัจจัยที่ผู้ชานาญการส่วนใหญ่เห็ นว่ าเป็นสาเหตุ ค วาม ล่าช้าของโครงการ รวมทั้งเป็นปัจจัยที่ผู้ชานาญการทั้งในส่วนของเจ้าของโครงการและผู้บริหารโครงการมี ความคิดเห็นที่ตรงกันว่าเป็ นสาเหตุค วามล่ าช้ าของโครงการฯ เนื่องจากเจ้าของอาคาร เป็นปัจจัยที่ ไ ม่ สามารถควบคุ ม ได้ และสามารถส่ ง ผลกระทบกั บ การด าเนิ นโครงการได้ ต ล อดเวลา ในขณะที่ ก าร ปรั บ เปลี่ ย นแบบ เป็ นปั จจั ย ที่ ส่ ง ผลกระทบกั บงานก่ อสร้ างในทุ กส่ วน เนื่ องจากโครงการห้ างค้าปลีก สมัยใหม่มีแบบที่เกี่ยวข้องเป็ นจานวนมาก ดังนั้นการปรับเปลี่ยนแบบในงานส่ วนใดส่ วนหนึ่ง จึงส่งผล กระทบกับงานในส่วนอื่นที่เหลือ 4. สาเหตุสาคัญที่ทาให้ผู้ชานาญการลงความเห็นว่าปัจจัยส่ว นใหญ่ (จานวน 26 ปัจจัย จาก 36 ปั จจั ย ) ไม่ ใ ช่ ปั จจั ย ที่ เ ป็ นสาเหตุ ค วามล่ าช้ าของโครงการฯ เกิ ด จากการที่ บุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ โครงการทุกฝ่าย เป็นบุคลากรที่เคยร่วมงานกับเจ้าของโครงการ และมีประสบการณ์ในการดาเนินโครงการ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ มาเป็นจานวนมาก ดังนั้นจึงสามารถหาวิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากปั จจั ย ดังกล่าวโดยไม่ส่งผลกระทบทาให้การดาเนินโครงการเกิดความล่าช้า ข้อเสนอแนะ 1. การดาเนินการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่เป็นต้นเหตุของความล่าช้าที่เกิดในโครงการดัดแปลง อาคารเพื่อใช้เป็นพื้นที่สาหรับห้างค้าปลีกสมัย ใหม่ขนาดใหญ่ประเภทไฮเปอร์มาร์เก็ต เป็นการศึกษาโดย การเก็บข้อมู ล จากบุค ลากรในส่ วนของเจ้ าของโครงการและบุค ลากรในส่ วนของผู้บริ ห ารและควบคุ ม โครงการ ดังนั้นจึงควรดาเนินการวิจัยโดยเก็บข้อมูลจากบุคลากรในส่ วนของผู้รับเหมาก่อสร้าง เพื่อหา ข้อสรุปจากมุมมองของผู้รับเหมาก่อสร้างด้วย 2. การวิจัยในครั้งนี้เป็นการดาเนินการวิจัยเกี่ยวกับโครงการดัดแปลงอาคารประเภทห้างค้า ปลีกสมัยใหม่ ดังนั้นเพื่อให้ได้ข้อมูลเปรียบเทียบ จึงควรดาเนินการวิจัยในโครงการสร้างใหม่ของห้างค้า ปลีกสมัยใหม่ เพื่อเปรียบเทียบข้อสรุปที่ได้จากการวิ จัยระหว่างโครงการประเภทดัดแปลงอาคารและ โครงการประเภทสร้างใหม่ โอภาส สิมะธัมนันท์

153



3



การวิเคราะห์คา่ ก่อสร้างเพือ่ หาสัดส่วนราคางานของโครงการก่ อสร้างฝายและประตูระบายน้า

การวิเคราะห์ค่าก่อสร้างเพื่อหาสัดส่วนราคางานของโครงการก่อสร้างฝาย และประตูระบายน้า บทคัดย่อ เขตรัฐ จันทรา ค้าส้าคัญ: ค่าก่อสร้าง/ ฝาย/ ประตูระบายน้า อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.ทยากร จารุชัยมนตรี

การศึ กษานี มี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อประมาณราคาโครงการก่ อสร้ างและหาสั ด ส่ วนของราคาค่า ก่อสร้างของโครงการก่อสร้างฝายและโครงการก่อสร้างประตูระบายน้า เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ ข อง โครงการ โดยกลุ่ มตั วอย่ างเป็ นโครงการก่ อสร้ างฝายและประตูร ะบายน้ าของกรมชลประทาน ภาค ตะวันออกในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2546 – 2553 จากผลการศึกษาพบว่าราคาค่ าก่อสร้างประตูระบายน้ าเฉลี่ยต่ อความกว้ างบานรวมเมตรละ 4,167,463 บาท (± 30%) ราคาก่อสร้างฝายเฉลี่ยต่อความยาวฝายรวมเมตรละ 224,522 บาท (± 30%) สัดส่วนราคาของหมวดงานของโครงการก่อสร้างประตูระบายน้า ไม่พิจารณาหมวดงานอื่น ค่า Factor F ค่าควบคุมงานจ้างเหมา ค่าอ้านวยการ พบว่าสัดส่วนหมวดงานดิน : หมวดงานเสาเข็ม : หมวด งานคอนกรีต : หมวดงานเหล็ก : หมวดหินกรวดทราย : หมวดงานบานระบาย จะอยู่ระหว่าง 12-30% : 13-22% : 19-29%: 11-26% : 2-7% : 15-16% ตามล้าดับ สัดส่วนราคาของหมวดงานของโครงการก่อสร้างฝาย ไม่พิจารณาหมวดงานอื่น ค่า Factor F ค่า ควบคุมงานจ้างเหมา ค่าอ้านวยการ พบว่าสัดส่วนหมวดงานดิน : หมวดงานคอนกรีต : หมวดไม้แบบ : หมวดเหล็กรูปพรรณ : หมวดหินกรวดทราย : หมวดงานบานระบาย จะอยู่ระหว่าง 7-20% : 50-70% : 8-13%: 0.3-1% : 6-17% : 1-2% ตามล้าดับ รู ป แบบรายละเอี ย ดของอาคารทดน้ า ลั กษณะภู มิป ระเทศ ท้ า เลที่ ตั งของแต่ ล ะโครงการที่ แตกต่างกันท้าให้ปริมาณงานและอัตราราคาต่ อหน่ วยต่างกั น ส่งผลให้สัดส่วนราคางานของหมวดงาน หลัก ๆ และราคาโครงการก่อสร้างต่างกัน

เขตรัฐ จันทรา

157


การวิเคราะห์คา่ ก่อสร้างเพือ่ หาสัดส่วนราคางานของโครงการก่ อสร้างฝายและประตูระบายน้า

COST ANALYSIS IDENTIFYING PROPORTION OF CONSTRUCTION WORKS OF WEIR AND FLOODGATE PROJECTS ABSTRACT KHETRUT JUNTRA KEYWORD: CONSTRUCTION/ WEIR/ FLOODGATE ADVISOR: TAYAGORN CHARUCHAIMONTRI, PH.D.

The objectives of this study were to estimate the construction project cost of weir project and floodgate project, as well as to identify proportion of the construction costs in order to make a project feasibility study. The project samples are weir and floodgate projects of Royal Irrigation Department in the eastern part Thailand, between the year 2003 to 2010. The equation to estimate the floodgate project cost is "4,167,463 X ± 30% (Baht)” if X is the summation length of the floodgate. The floodgate construction project, excluding F-factor, managing cost, operating cost and other, has the proportion of direct construction cost of six parts: earth work: pile: concrete: steel: rock & sand: drainage gate is approximately 12-30% : 13-22% : 19-29% : 11-26% : 2-7% : 15-16% respectively. The equation to estimate the weir project cost is “224,522 X ± 30% (Baht)” if X is the summation length of the weir. The weir construction project, excluding F-factor, managing cost, operating cost and other, has the proportion of direct construction cost of six parts: earth work: concrete: formwork: steel: rock & sand: drainage gate is approximately 7-20% : 50-76% : 8-13% : 0.3-1% : 6-17% : 1-2% respectively. The construction detail, topography and site access of each construction project make the amount and unit cost different, resulting in the variation of cost proportion and project cost.

158

เขตรัฐ จันทรา


การวิเคราะห์คา่ ก่อสร้างเพือ่ หาสัดส่วนราคางานของโครงการก่ อสร้างฝายและประตูระบายน้า

สรุปผลอภิปราย สรุปผลการศึกษา วัตถุประสงค์ของการก่อสร้างฝายและประตูระบายน้า เพื่อทดน้าในล้าน้าให้มีระดับสูงขึน ท้าให้ มีปริมาณน้าในล้าน้านัน ๆ ไหลเข้าคลองส่งน้าได้สะดวก และเข้าที่พืนที่เพาะปลูกของเกษตรกร ใช้ในการ อุปโภคบริโภค ความแตกต่างระหว่างฝายและประตูร ะบายน้าคือ ฝายยอมให้ปริมาณน้าที่เหลือเกินความ ต้องการไหลล้นข้ามสันฝายไปได้ แต่ประตูระบายน้าจะระบายน้าที่เกินความต้ องการโดยใช้ประตูเหล็ก ไม่ ว่าจะเป็นแบบบานตรงหรือบานโค้ง ควบคุมการไหลของน้าให้ได้ระดับตามที่ต้องการ จากการศึกษาพบว่า ราคาค่าก่อสร้างประตูระบายน้าเฉลี่ยเมตรละ 4,167,463 บาท (± 30%) ราคาก่อสร้างฝายเฉลี่ยเมตรละ 224,521 บาท (± 30%) จากการเปรียบเทียบโครงการก่อสร้างประตูระบายน้าและฝายจากกรณีศึกษามาสร้างกราฟ จะ ได้กราฟโครงการก่อสร้างประตูระบายน้าเป็นกราฟเส้นตรง ได้สมการเส้นตรง y = 4,167,463 x ค่า R2 เท่ากับ 0.91 โครงการก่อสร้างฝายจะเป็นกราฟเส้นตรง ได้สมการเส้นตรง y = 224,522 x ค่า R2 เท่ากับ 0.26 ทังนี ค่า R2 จะมีค่ามากหรือน้อยขึนอยู่กับที่ตังและรูปแบบของอาคารทดน้าแต่ละโครงการที่แตกต่าง กัน ตามลักษณะภูมิประเทศ กายภาพพืนที่ที่แตกต่างกัน อัตราราคาต่อหน่วยและปริมาณงานเป็นสาเหตุ ปัจจัยที่ท้าให้หมวดงานหลัก ๆ มีสัดส่วนของราคาของโครงการก่อสร้างต่างกัน สัดส่วนราคาของหมวดงานของโครงการก่ อสร้ างประตูระบายน้ า พิจารณาเฉพาะหมวดงาน หลัก ๆ ไม่พิจารณาหมวดงานอื่ น ค่ า Factor F ค่าควบคุมงานจ้ างเหมา ค่าอ้านวยการ พบว่าสั ด ส่ วน หมวดงานดิน : หมวดงานเสาเข็ม : หมวดคอนกรีต : หมวดงานเหล็ก : หมวดหินกรวดทราย : หมวดงาน บานระบาย จะอยู่ระหว่าง 12-30% : 13-22% : 19-29% : 11-26% : 2-7% : 15-16% ตามล้าดับ สั ด ส่ วนราคาของหมวดงานของโครงการก่ อสร้างฝาย พิ จารณาเฉพาะหมวดงานหลั ก ๆ ไม่ พิจารณาหมวดงานอื่น ค่า Factor F ค่าควบคุมงานจ้างเหมา ค่าอ้านวยการ พบว่า สัดส่วนหมวดงานดิน : หมวดคอนกรีต : หมวดไม้แบบ : หมวดเหล็กรูปพรรณ : หมวดหิน กรวดทราย : หมวดงานบานระบาย จะ อยู่ระหว่าง 7-20% : 50-76% : 8-13% : 0.3-1% : 6-17% : 1-2% ตามล้าดับ ข้อจ้ากัดของการศึกษา ข้อจ้ากัดของการศึกษาจะพบว่าการเก็บข้อมูลด้านเอกสารประมาณการและการคิดค้านวณราคา ค่าก่อสร้างฝายและประตูระบายน้ าจากเอกสารประมาณการตามรายละเอียด BOQ หากข้อมูล ที่ ไ ด้ มี จ้านวนน้อยเกินไป หรือไม่เป็นปัจจุบัน หรือเกิดการผิดพลาด การค้านวณบางรายการตกหล่นหรือไม่ตรง กับแบบก่อสร้าง ประมาณการโครงการก่อสร้างประตูระบายน้าและโครงการก่อสร้างฝายบางโครงการ ไม่ได้แนบแบบก่ อสร้ าง ไม่ได้แนบรายละเอียดผลการศึ กษาพิ จารณาโครงการมากั บประมาณการ ซึ่ง เอกสารข้อมูลเหล่านีเป็นข้อมูลที่มีความส้าคัญมากในการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบโครงการ ในเรื่อง ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับราคาโครงการก่อสร้างประตูระบายน้าและฝาย เนื่องจากการเก็บข้อมูลที่ น้ามา เป็นกรณีศึกษาของการก่ อสร้ างฝายและประตูระบายน้า เป็นงานที่ต้องอาศัย ความละเอียดและความ ร่วมมือจากส่วนงานหลาย ๆ จังหวัดของกรมชลประทาน ท้าให้รายงานการศึกษาเล่มนีจึงยังไม่สมบูรณ์ เท่าที่ควร ในอนาคตถ้ามีผู้ใดสนใจศึกษาเพิ่มเติมในเนือหาที่ขาดตกบกพร่องไป จะเป็นการต่อยอดความรู้ จากการศึกษาวิจัยเล่มนีให้ดียิ่งขึนต่อไป ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา จากข้อจ้ากัดของการศึกษาในข้างต้นที่กล่าวมา ควรมีการเก็บรวบรวมเอกสารเพิ่มเติมหลาย ๆ ด้านนอกเหนือจาก BOQ ได้แก่ ข้อมูลเรื่องผลพิจารณาศึกษาความเหมาะสมโครงการแบบก่อสร้าง รูป ถ่าย และเอกสารดังกล่าวควรมีความถูกต้องครบถ้วน รวมถึงควรมีการศึกษารวบรวมอย่างต่อเนื่องเพื่ อให้ เห็นถึงแนวโน้มด้านราคาต่อไป เพื่อให้การศึกษาหัวข้อเรื่องราคาค่าก่อสร้างนีมีความสมบูรณ์ครอบคลุม เขตรัฐ จันทรา

159


การวิเคราะห์คา่ ก่อสร้างเพือ่ หาสัดส่วนราคางานของโครงการก่ อสร้างฝายและประตูระบายน้า

เรื่องราคาโครงการก่อสร้างจริง ควรจะเก็บรวบรวมข้อมูลตัวเลขเรื่องราคาหลังการประมูลมาศึกษาด้วย เพราะราคาค่าก่อสร้างจริงจะสะท้อนความเป็นจริงในการประกอบการพิจารณาปรับปรุงเรื่องราคากลาง งานโครงการก่อสร้างต่อไป

160

เขตรัฐ จันทรา


การศึกษารูปแบบการจ้างงานแรงงานฝีมือในธุรกิจรับเหมาตกแต่งภายในประเภทเฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน

การศึกษารูปแบบการจ้างงานแรงงานฝีมอื ในธุรกิจรับเหมาตกแต่งภายใน ประเภทเฟอร์นิเจอร์บิวท์อนิ บทคัดย่อ คทาพงศ์ ณัฐโชติ คาสาคัญ: การจ้างงานแรงงานฝีมือ/ งานตกแต่งภายใน อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปณิตา วงศ์มหาดเล็ก

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการจ้างงาน (Employment Practice) อัน ประกอบด้วยรูปแบบของการจ้างงาน และความสัมพันธ์กับการจัดการโครงการก่อสร้างขององค์กรธุ ร กิจ รับเหมาตกแต่งภายในที่มีรูปแบบการทางานต่างกัน 2) ศึกษารูปแบบการจ้างงานที่มีความเหมาะสมกับ ธุรกิจรับเหมาตกแต่งภายในประเภทเฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน (built-in) โดยใช้การสัมภาษณ์ฝ่ายนายจ้าง หรือ ผู้มีอานาจตัดสินใจด้านการจ้างงานในสถานประกอบการขนาดเล็ก ที่มีจานวนแรงงานไม่เกิน 10 คน ใน กรุงเทพมหานคร จานวน 20 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์จากสถานประกอบการรับเหมา ตกแต่งภายในประเภทเฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน (built-in) โดยประกอบด้วยคาถามด้านข้อมูลทั่วไปของสถาน ประกอบการ และข้อดี-ข้อเสียในด้านการจัดการคุณภาพ เวลาและงบประมาณของแต่ละรูปแบบการจ้ าง งาน การวิเคราะห์ข้อมู ลใช้ การวิ เคราะห์ปั จจัยที่ มีความสั มพั นธ์ กับรูป แบบการจ้ างงาน ได้แก่ รูปแบบ องค์กรและการจัดการในด้านการควบคุมคุณภาพ เวลาและงบประมาณโครงการ และวิเคาะห์รูปแบบการ จ้างงานที่เหมาะสม โดยการนาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เ ชิงลึก แบบการวิเคราะห์เชิงตรรกะโดยการ เชื่อมโยงในเชิงเหตุและผลในประเด็นต่าง ๆ ผลการวิจัย พบว่า 1. การจ้างงานของสถานประกอบการ มีปั จจัยด้านรูปแบบการทางานขององค์กร และอายุ องค์กรเป็นปัจจัยที่กาหนดพฤติกรรมและรูปแบบการจ้างงาน 2. การจัดการคุณภาพ เวลา และงบประมาณโครงการ เป็นปัจจัยที่กาหนดพฤติกรรมการจ้ าง แต่ไม่ใช่ปัจจัยหลักในการตัดสินใจ 3. เมื่อพิจารณาเฉพาะปัจจัยด้านการจัดการโครงการ และทางเลือกของผู้ประกอบการที่มีการ ก่ อตั้ ง นาน พบว่ า การจ้ างประจามี ค วามเหมาะสมที่ สุ ด ส าหรั บ ผู้ ป ระกอบการรั บ เหมาตกแต่ ง ภายใน ประเภทเฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน (built-in)

คทาพงศ์ ณัฐโชติ

161


การศึกษารูปแบบการจ้างงานแรงงานฝีมือในธุรกิจรับเหมาตกแต่งภายในประเภทเฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน

THE STUDY OF SKILLED LABOURED EMPLOYMENT PRACTICE IN BUILT-IN FURNITURE CONSTRUCTION INDUSTRY ABSTRACT KATAPONG NUTTACHOTE KEYWORD: EMPLOYMENT PRACTICE/ INTERIOR CONSTRUCTION/ BUILT-IN FURNITURE ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PANITA WONGMAHADLEK

The purposes of this research were 1) to study the employment practice of skilled labor for interior contractor in various types of business operation, and 2) to evaluate suitable employment type for interior contractor. The samples of this research are 20 small built-in furniture companies with no more than 10 skilled labor employees in Bangkok, Thailand. The research instruments were the data gathered via interviews with employers consisting of questions regarding basic information of the organization and the pros and cons in quality, time and budget management in relation to different employment types of skilled labor. The data were analyzed using business genre related factors and construction project management related factors. The method employed is a logical analysis to determine the relations of these factors to the type of employment chosen by employers as well as the suitable skilled labor employment type for built-in furniture industry. The results of this research were as follow: 1. Business genre and business period/length are the factors in employment type selection for built-in furniture construction organizations. 2. The main objectives in construction management, which are quality, time and cost control, are factors in employment type selection for built-in furniture contractor. 3. The construction management related factors together with the data of experienced built-in furniture contractor lead to the conclusion that the suitable employment type for skilled labor is permanent or full-time.

162

คทาพงศ์ ณัฐโชติ


การศึกษารูปแบบการจ้างงานแรงงานฝีมือในธุรกิจรับเหมาตกแต่งภายในประเภทเฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน

สรุปผลอภิปราย สรุปผลการศึกษา การศึกษารูปแบบการจ้างงานแรงงานฝีมือในธุรกิจรับเหมาตกแต่งภายในประเภทเฟอร์นิเจอร์ บิวท์อิน มุ่งเน้นศึกษาพฤติกรรมและรูปแบบการจ้างแรงงานฝีมือ เนื่องจากเป็นหัวใจสาคัญของธุรกิจและมี ความต้องการมากในตลาดแรงงานปั จจุบั น ส่งผลให้เกิดภาวะการขาดแคลน และต้นทุนค่าจ้างที่สู ง ขึ้ น ภาวะดังกล่าวทาให้เกิดทางเลือกในการจ้างแรงงานที่นอกเหนือจากการจ้างประจา คือการจ้างเหมาช่วง และเหมาแรง โดยยังไม่พบว่ามีข้อมูลศึกษาวิจัยด้านการจัดการแรงงานของสถานประกอบการในธุ ร กิ จ รับเหมาตกแต่งภายในประเภทเฟอร์นิเจอร์ติดตายหรือบิวท์อิน อันเป็นผลให้ยังไม่อาจเข้าถึงสภาพของ ตลาดแรงงานธุรกิจนี้อย่างถ่องแท้ โดยผลการค้นคว้าพบว่าผู้ป ระกอบการรับเหมาก่อสร้างส่วนใหญ่เป็น องค์กรขนาดเล็ก มีจานวนแรงงานไม่เกิน 10 คน การศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นศึกษากลุ่มตัวอย่างดัง กล่ าว โดยกาหนดปัจจัย ที่ค าดว่ ามีผ ลต่ อการตัด สิ นใจเลื อกรู ปแบบการจ้ างงาน คือ 1) รูปแบบการทางานที่ แตกต่างกันระหว่างออกแบบและก่อสร้าง และรับเหมาก่อสร้างอย่างเดียว 2) การจัดการโครงการซึ่งเป็น เกณฑ์ ใ นการวั ด ผลความส าเร็ จของงานก่ อนสร้ าง คื อคุ ณภาพของงาน เวลาที่ ใ ช้ ใ นการท างาน และ งบประมาณค่าก่อสร้าง โดยได้บทสรุปดังนี้ 1. พฤติกรรมการจ้างงาน การศึกษาครั้งนี้พบว่าพฤติกรรมการจ้ างงานของสถานประกอบการ มีปัจจัยด้านรูปแบบการ ทางานและอายุองค์กรเป็นตัวแปรสาคัญ แต่ไม่พบว่าการจัดการคุณภาพ เวลา และงบประมานโครงการ เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับรูปแบบการทางานหรือรูปแบบการจ้างงานที่สถานประกอบการ เลือกใช้ การศึกษาพบว่ ารูป แบบการท างานมี ค วามสั มพั นธ์แ ปรผั นกับรู ปแบบการจ้ างงาน โดยพบว่ า ผู้ประกอบการออกแบบและก่ อสร้ างนิยมจ้างประจามากที่ สุด รองลงมาได้แก่ เหมาแรงและเหมาช่ วง ตามลาดับ ส่วนผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างนิยมจ้างเหมาแรงมากที่สุด และรองลงมาคือจ้างประจา ไม่ พบว่ามีการจ้างเหมาช่วงในกลุ่มที่ทาการสารวจ โดยเมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ดังกล่าว ร่วมกับการเลื อก รูปแบบการจ้างงานขององค์กรแต่ละกลุ่มอายุ จึงสรุปได้ว่าปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดพฤติกรรมการจ้างงาน ของสถานประกอบการ คือ รูปแบบการทางานและอายุการทางาน โดยพบว่าความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเจน ในผู้ ป ระกอบการซึ่ ง มี แ นวโน้ ม สู ง ที่ จ ะมี รู ป แบบการบริ ห ารจั ด การและการจ้ า งงานคงที่ แ ล้ ว ด้ ว ย ประสบการณ์การทางานที่มี 5 ปีขึ้นไป และผู้ประกอบการที่เพิ่ งเริ่มก่อตั้งองค์กร คือ สัดส่วนในการจ้าง งานประจา ซึ่งพบว่าสภาวะการขาดแคลนแรงงานฝีมือ และราคาต้นทุนที่สูง เป็นสาเหตุที่ผู้ประกอบการที่ เพิ่ ง เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง ไม่ ส ามารถจ้ า งแรงงานฝี มื อ เป็ น แรงงานประจ าในองค์ ก รได้ อย่ า งไรก็ ต าม พบว่ า ผู้ ป ระกอบการรับ เหมาก่ อสร้างที่มีป ระสบการณ์ มากจานวนหนึ่ ง ยั ง คงเลื อกใช้ การจ้ างเหมาแรงเป็น รูปแบบหลัก ซึ่งการศึกษาพบว่ามาจากสาเหตุด้านลักษณะการรับเหมา คือ ข้อจากัดด้านรูปแบบ ปริมาณ งาน และค่าใช้จ่าย ยกเว้นในองค์กรที่มีความสามารถจ้างแรงงานจานวนค่อนข้างมากได้ ในด้านปัจจัยเรื่องการจัดการคุณภาพ เวลา และงบประมานของโครงการก่อสร้าง พบว่าไม่ มี ความสัมพันธ์แปรผันกับรูปแบบการท างานขององค์ กร คือ ผู้ประกอบการออกแบบและก่อสร้ าง และ รับเหมาก่อสร้างอย่างเดียว มีความเห็นตรงกันว่าการจ้างประจามีข้อดีในการจัดการโครงการมากที่สุด โดย พบว่า มีข้อดีด้านการควบคุมคุณภาพ เวลา และงบประมาณ ซึ่งทาได้มากกว่าการจ้างงานเหมาช่วงและ เหมาแรง ซึ่งผู้ประกอบการต้องพึ่งพาความรับผิดชอบของแรงงานเป็นหลัก เนื่องจากขาดอานาจในการสั่ง การและควบคุม แต่ก็ยังพบว่ามีผู้ประกอบการที่เลื อกใช้ การจ้ างงานรูปแบบดัง กล่าว โดยที่ทราบดี ถึ ง ข้อเสียในการจั ด การโครงการ ด้วยสาเหตุที่ ได้ อธิบ ายข้ างต้ น จึงได้สรุปได้ ว่าการจั ด การโครงการไม่ มี ความสัมพันธ์กับรูปแบบการจ้างงานและไม่ได้เป็นปัจจัยหลักที่กาหนดพฤติกรรมในการจ้างงาน

คทาพงศ์ ณัฐโชติ

163


การศึกษารูปแบบการจ้างงานแรงงานฝีมือในธุรกิจรับเหมาตกแต่งภายในประเภทเฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน

2. รูปแบบการจ้างงานที่เหมาะสม เมื่อพิจารณาเฉพาะปั จจัยด้ านการจัด การโครงการ และทางเลือกของผู้ประกอบการที่ มี การ ก่อตั้งมานาน พบว่าการจ้างประจามีความเหมาะสมมากที่สุด ไม่แตกต่างกันในผู้ประกอบการออกแบบ และก่อสร้างหรือก่อสร้างอย่างเดียว การจ้างงานประจา พบว่ามีข้อดีด้านการจัดการโครงงานที่เหนือกว่ าการจ้างงานแบบอื่น คือทา ให้ผู้ประกอบการสามารถควบคุณคุณภาพของงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามข้อตกลงกับเจ้ าของ โครงการ แม้จะมีข้อจากัดเรื่องขอบเขตของงานที่สามารถทาได้ ซึ่งขึ้ นกับความสามารถของลูกจ้างเป็ น หลัก แต่แรงงานเองที่ มีขีด ความสามารถที่ พัฒ นาได้ ส่วนในด้านเวลา ผู้ประกอบการสามารถควบคุ ม ระยะเวลาได้ และโครงการส่วนใหญ่เสร็จตรงตามที่ วางแผนไว้ ไม่พบปัญหาการล่าช้าของงานบ่ อยนั ก เนื่องจากเจ้าของกิจการหรือหัวหน้างานเป็นผู้วางแผนงานแต่ละขั้นตอนเอง และสั่งปฏิบัติการโดยตรง แม้ จะไม่สามารถเร่งงานได้ แต่ก็อาจไม่มีความจาเป็นหากมีการวางแผนงานที่ดี แต่เมื่อคานวณต้นทุนเฉลี่ยทุก โครงการจะพบว่าต่ากว่าการจ้างงานแบบอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงต่า ที่จะเกิดความผิดพลาดที่จะ ส่งผลให้ต้นทุนสูงจากที่คาดการณ์ไว้ ข้อเสนอแนะ 1. ในการจ้ า งงานแบบประจ า พบว่ า มี ข้ อ ดี ด้ า นการจั ด การโครงการมากที่ สุ ด แต่ ใ น ขณะเดี ย วกั น มี ภ าระค่ าใช้ จ่ายที่ ต ามมา ทั้ ง ยั ง ต้ องเสนอผลตอบแทนที่ จูง ใจ ในภาวะที่ ต ลาดมี ค วาม ต้องการแรงงานสูงเช่นปัจจุบัน ผู้ ประกอบการจึงควรคัดเลือกแรงงานที่มีฝีมือดีและมีความรับผิดชอบต่อ งานก่อนการตัดสินใจจ้างงาน และเน้นการพัฒนาบุคลากรในองค์กรของตนอยู่เสมอ เพื่อลดข้อจากัดใน ด้านฝีมือแรงงาน ที่พบว่าเป็นข้อด้อยเมื่อเทียบกับการจ้างงานแบบอื่น ๆ 2. การศึกษารูปแบบการจ้างแรงงานฝีมือในธุรกิจรับเหมาตกแต่งภายใน ประเภทเฟอร์นิเจอร์ บิ วท์ อิน ได้ ท าการศึ กษาเฉพาะปัจจั ยด้ านรูป แบบการท างาน การจั ด การโครงการ และอายุ ซึ่ ง ยั ง ไม่ ครอบคลุมปัจจัยอีกหลาย ๆ ด้าน ที่อาจมีความสัมพั นธ์กับ พฤติกรรมการจ้ างงาน จึงควรทาการศึ กษา ค้นคว้าเพิ่มเติม 3. การดาเนินการศึกษา เรื่องรูปแบบการจ้างงานแรงงานฝีมือในธุรกิจรับเหมาตกแต่ง เป็น การศึกษาโดยการเก็บข้อมูลจากสถานประกอบการจานวน 20 แห่ง ที่ดาเนินการในรูปแบบออกแบบและ ก่อสร้างและรับเหมาก่อสร้างอย่างเดียว ดังนั้นจึงควรเก็บข้อมูลเพิ่มเติม จากสถานประกอบการจานวน มากขึ้น และมีความหลากหลายด้านรูปแบบการทางาน ขนาด และอายุมากขึ้น 4. การดาเนินการศึกษาเรื่องรูปแบบการจ้างงานฝีมือในธุรกิจรับเหมาตกแต่ง เป็นการศึกษา โดยการเก็บข้อมูลจากเจ้าของสถานประกอบการ หรือบุคลากรที่มีหน้าที่ตัดสินใจด้านการจัดจ้างเพียงฝ่าย เดียว ดังนั้นเพื่อให้ได้ข้อมูลเปรียบเทียบ จึงควรดาเนินการสัมภาษณ์ฝ่ายแรงงานฝีมือด้วย

164

คทาพงศ์ ณัฐโชติ


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของ บริษทั ผู้รับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บทคัดย่อ ทัศนชัย โอฬารึก คาสาคัญ: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ/ บริษัทรับเหมาก่อสร้าง/ ไอที บารอมิเตอร์/ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.นนท์ คุณคาชู

การวิ จัย ครั งนี มี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อส ารวจสถานภาพการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศของบริ ษั ท รับเหมาก่อสร้าง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริ มณฑล และเปรียบเทียบสถานภาพการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศในไทยกับผลการสารวจในต่างประเทศ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเฉพาะบริษัท รับเหมาก่อสร้าง ประเภทอาคารและงานระบบต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยใช้ไอทีบารอมิเตอร์ เป็น เครื่องมือในการสารวจในการทาวิจัยครังนี ผลการศึกษาพบว่า บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เกือบทังหมดใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยในการทางานก่อสร้าง ส่วนใหญ่ใช้แก้ไขแบบก่อสร้างด้วยโปรแกรม AutoCAD นอกจากนี ยังใช้ในงานด้านบัญชีและการจัดซือ งานบริหารทรัพยากรบุคคลและงานด้านสื่อสาร และยังพบว่าบริษัทฯ ได้รับประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการสื่อสารให้ดีขึน สาหรับการเปรียบเทียบผลสารวจบริษัทรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพและปริมณฑลกั บ ผล สารวจของต่างประเทศ พบว่า ผลสารวจที่ได้มีความเหมือนกันในบางเรื่อง เช่น การใช้ระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ และมีการอัพเกรดระบบให้ทันสมัยขึนอย่างต่อเนื่อง ส่วนโปรแกรม AutoCAD ยังคงเป็น โปรแกรมที่นิยมใช้ในทุกประเทศที่ท าการสารวจ ส่วนผลสารวจการเปรียบเทียบความแตกต่ าง พบว่า บริษัทรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพและปริมณฑล มีการใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านประชาสัมพันธ์ น้อย กว่าประเทศจอร์แดน นอกจากนียังพบว่าแต่ละประเทศมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการส่งเอกสาร แลกเปลี่ยนระหว่างบริษัทกับบุคคลภายนอกแตกต่างประเภทกัน ส่วนการเปรียบเทียบข้อดีของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่าแต่ละประเทศเห็นข้อดีของการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอันดับหนึ่งแตกต่างกัน บริษัทรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพและปริมณฑล นา ไอทีมาใช้เพื่อช่วยพัฒนาการสื่อสารให้ดีขึน ส่วนต่างประเทศใช้ช่วยพัฒนาคุณภาพของงาน ช่วยให้งาน เสร็ จไวขึ นและใช้เ วลาน้ อยลง ส าหรั บ ปั ญ หาส่ วนใหญ่ข องการใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ พบว่ า บริ ษัท รับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ต้องการผู้ชานาญมากขึน แต่ประเทศแคนาดาและจอร์ แดน พบว่าต้องมีการอัพเกรดบ่อย

ทัศนชัย โอฬารึก

165


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

A SURVEY STUDY ON THE READINESS OF INFORMATION TECHNOLOGY USAGE IN CONSTRUCTION FIRMS IN BANGKOK AND PERIMETERS ABSTRACT TASSANACHAI OLARIKA KEYWORD: INFORMATION TECHNOLOGY USAGE/ IT IN CONSTRUCTION FIRMS/ IT BAROMETER/ IT APPLICATION ADVISOR: NON KHUNCUMCHOO, PH.D.

The purpose of the research was to survey on the constructor information technology (IT) usage status in Bangkok and the perimeters and compared the result with other countries. The researcher collected the data from the contractors, working in buildings and related building work using IT Barometer as a tool. The research revealed that almost all contractors use computers in construction related work. Most of them use AutoCAD software for editing construction drawings. Additionally, the computers are used in accountancy and purchasing, human resources management and communication works. The result evidently showed that the contractors gained the benefit from using IT in project communication. A comparison study showed a similar result in terms of the types and activities of IT usage and problems, such as types of computer operation systems which were continually upgraded and modernized. As for IT advantages, each country differently realized its first advantage. Some used the IT as the tool for communication development; the other countries used to help finishing a job quickly with less time spent. A crucial problem of using the IT found were the contractors needed more experts while in some countries, Canada and Jordan, needed their IT to be frequently upgraded.

166

ทัศนชัย โอฬารึก


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สรุปผลอภิปราย สรุปผลการศึกษา ในบทนีจะแสดงให้เห็นการนาผลการสารวจจากบทที่ 4 มาวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์การวิจัย ที่ ต้องการทราบการใช้งานของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการก่อสร้างของประเทศไทย โดย จะแบ่งเป็น 1) การวิเคราะห์และอภิปรายเทคโนโลยีระบบปฏิบัติการซอฟต์แวร์และโปรแกรม ที่บริษัท รับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเลื อกใช้ โดยแบ่งบริษัท เป็นกลุ่มตามเกณฑ์การแยก ข้อมูลที่เหมาะสมกับการสารวจแบบไอทีบารอมิเตอร์ในบทที่ 2 เพื่อใช้เปรียบเทียบชนิดและปริมาณการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษัทรับเหมาก่อสร้างแต่ละกลุ่ม และ 2) วิเคราะห์เปรียบเทียบกับผลสารวจ ของประเทศอื่น ๆ ที่ทาการสารวจในประเด็นเดียวกัน เพื่อเทียบสถานภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ของบริษัทรับเหมาก่อสร้างในแต่ละประเทศว่ามีความเหมือนหรือต่างกันหรือไม่อย่างไร ดังต่อไปนี การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการสารวจ

จากตารางที่ 5.1 แสดงให้เห็นร้อยละของการตอบแบบสอบถามในการเริ่มสารวจเป็นครังแรก ของทุกประเทศ ซึ่งแสดงให้เห็นความตื่นตัว ความสนใจด้านไอที และปฏิกิริยาตอบสนองด้านการมีส่ วน ร่ วมเบื องต้ น ของบริ ษัท กลุ่ มตั วอย่ างในทุ กประเทศ ซึ่ ง บริ ษัท รั บ เหมาก่ อสร้ างในกรุ ง เทพฯ มี ผู้ ต อบ แบบสอบถาม 13% มากเป็นอั นดับ ที่ 2 ของตาราง ส่วนอันดับ ที่ 1 เป็นประเทศสวี เดน มี 16% ส่วน ประเทศอื่น ๆ มีเปอร์เซ็นต์ของผู้ตอบอยู่ในช่วง 7–10% ทังสิน การที่บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ มี ผู้ ต อบแบบสอบถามมากเป็ นอั นดั บ 2 แสดงให้ เ ห็ นว่ ามี ค วามสนใจและให้ ค วามร่ วมมื อในการตอบ แบบสอบถามเป็นอย่างดี ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง จากการศึ กษาพบว่ าจานวนคอมพิ วเตอร์ ที่ มีอยู่ ใ นการใช้ ง านของบริ ษัท รับ เหมาก่ อ สร้ างใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เทียบกับจานวนพนักงานของบริษัทในตารางที่ 4.5 และตารางที่ 4.6 ระบุ ผลสารวจในแถวสุดท้าย (จานวนคอมพิวเตอร์ของบริษัท) แสดงข้อมูลตรงกันทุกช่อง แสดงให้เห็นว่าผล การตอบแบบสอบถามเรื่องจานวนคอมพิวเตอร์ของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง เป็นข้อมูล ที่สามารถเชื่อถือได้ และเมื่อทาการเทียบสัดส่วนจานวนคอมพิวเตอร์ทัง 2 แบบ ต่อพนักงาน 1 คน ของบริษัททัง 39 แห่ง ได้ผลดังตารางที่ 5.2

ทัศนชัย โอฬารึก

167


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

จากตารางที่ 5.2 แสดงให้เห็นว่าค่าเฉลี่ยของสัดส่วนจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อพนักงาน 1 คน ในบริษัทรับเหมาก่อสร้างทังหมด มีคอมพิวเตอร์แบบตังโต๊ะคิดเป็น 0.32 เครื่อง มากกว่าคอมพิวเตอร์ แบบพกพาที่ มี เ พี ย ง 0.07 เครื่ อง ต่ อพนั กงาน 1 คน สรุ ป ได้ ว่า ในบริ ษัท ผู้ รั บ เหมาก่ อสร้ างมี การใช้ คอมพิวเตอร์ตังโต๊ะ มากกว่าการใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา และเมื่อเปรียบเทียบผลการศึกษานี กับผล สารวจจากประเทศแคนาดา และประเทศจอร์แดน ได้ผลการเปรียบเทียบดังตารางที่ 5.3

จากตารางที่ 5.3 แสดงว่ า จานวนคอมพิ วเตอร์ แ บบตั งโต๊ ะ ต่ อพนั กงานของบริ ษัท รั บ เหมา ก่อสร้างในกรุงเทพฯ (2009) เทียบสัดส่วนกันแล้วได้ 0.32 เครื่อง สารวจในปี ค.ศ. 2009 ซึ่งน้อยกว่าผล สารวจของประเทศจอร์แดนที่ทาการสารวจในปีที่ไล่เลี่ยกัน คือในปี ค.ศ. 2007 ที่ได้ 0.35 เครื่อง อย่างไร ก็ตาม หากพิจารณาผลการศึกษาเทียบกับประเทศแคนาดาที่ได้สารวจตังแต่ 11 ปีก่อนหน้านี เราพบว่า ตัวเลขไม่ต่างกันมาก คือ 0.3 เครื่องต่อพนักงาน 1 คน ซึ่ง ณ ปัจจุบัน ตัวเลขนีอาจเปลี่ยนแปลงไปใน ทางบวกที่มากกว่านี ส่วนจานวนคอมพิวเตอร์แบบพกพาต่อพนักงานของบริษัท รับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ เทียบ สัดส่วนกันแล้วได้ 0.07 มีค่ามากกว่าทังประเทศแคนาดา ที่ได้ 0.06 ในปี ค.ศ. 1998 และประเทศจอร์แดน ที่ ไ ด้ 0.017 เมื่ อปี ค.ศ. 2007 วิ เ คราะห์ ไ ด้ ว่า จานวนเครื่ องคอมพิ วเตอร์ แ บบพกพาที่ บ ริษัท รั บ เหมา ก่ อสร้ างเตรี ย มให้ พ นั ก งานของบริ ษัท ทั ง 3 ประเทศใช้ ยั ง มี จานวนน้ อยมาก และน้ อยกว่ าจ านวน เครื่องแบบตังโต๊ะมากถึง 6.6 เท่า สาเหตุอาจเป็นเพราะคอมพิวเตอร์แบบตังโต๊ะถูกผลิตขึนมาก่อนจึงมี จานวนมากกว่ า และอาจเพราะคุ ณสมบั ติ ใ นการใช้ ง านที่ ค งทนมากกว่ า ใช้ ง านได้ นานกว่ า สามารถ ปรับเปลี่ยนพัฒนาอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้มากกว่า และราคาถูกกว่าคอมพิวเตอร์แบบพกพาก็เป็นได้ ส่วนที่ 2 ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และการใช้งานซอฟต์แวร์ของบริษัท จากผลการส ารวจระบบปฏิ บั ติ การ ที่ บ ริ ษัท รั บ เหมาก่ อสร้ างใช้ ใ นการท างาน ตามแผนภู มิ รูปภาพที่ 4.1 จะเห็นได้ว่า บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ เลือกใช้ระบบปฏิบัติการ Window XP คิด เป็นร้อยละ 92 จากทุกบริษัทที่ตอบแบบสอบถาม เมื่อทาการเปรียบเทียบกับผลสารวจระบบปฏิบัติก ารที่ บริษัทรับเหมาก่อสร้างจากต่างประเทศเลือกใช้มากที่สุด 3 อันดับแรก แสดงผลตามตารางที่ 5.4

168

ทัศนชัย โอฬารึก


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

หากแยกการวิเคราะห์โดยดูจากระบบปฏิบัติการ (Operating System) พบว่า บริษัทเหล่านัน ใช้ Window base operating system สู ง ที่ สุ ด คิ ด เป็ น เกื อ บ 100% จากทั งหมด เนื่ อ งจากตาราง แสดงผลการตอบแบบสอบถามของ 39 บริษัท ระบุว่า มีบริษัทที่เลือกใช้ระบบปฏิบัติการ Window XP ถึ ง 36 แห่ ง จากทั งหมด 39 แห่ ง และบริ ษัท 3 แห่ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ลื อ กใช้ ร ะบบปฏิ บั ติ ก าร Window XP เนื่องจากบริษัทเหล่านันได้พัฒนาไปใช้ระบบปฏิบัติการ Window 7 แทน จากตารางที่ 5.4 พบว่าทุกประเทศที่ทาการส ารวจ แม้ว่าอาจจะอยู่ใ นช่ วงเวลาที่ต่ างกั น จะ พบว่าระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมเลือกใช้งานมากที่สุด ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows แม้จะใช้ เวอร์ชั่นที่ต่างกัน เนื่องจากความแตกต่างของช่วงเวลาในการสารวจ เช่น ประเทศเดนมาร์ ก (1998) ใช้ Windows95 คิดเป็น 92.31% ประเทศฟินแลนด์ ใ ช้ Windows95 42.00% ประเทศแคนาดา เลือกใช้ MS Windows คิดเป็น 90.00% และ บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ ก็ใช้ Windows XP มากที่สุด คิดเป็น 92.31% เท่ากับประเทศเดนมาร์ก ระบบปฏิบัติการ Windows ได้รับความนิยมมานานในทัง 4 ประเทศ เนื่องจากเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้งานง่าย ขันตอนการทางานไม่ซับซ้อน รวมทังมีโปรแกรมที่ สามารถใช้ร่วมกับระบบปฏิบัติการนีได้ นอกจากนี จากผลการตอบแบบสอบถามในตารางที่ 4.7 แสดงประเภทงานที่ บริ ษัทรั บ เหมา ก่อสร้างเลื อกนาเครื่ องคอมพิ วเตอร์ และโปรแกรมต่ าง ๆ มาใช้ในการท างานของบริ ษัท พบว่าบริ ษัท รับเหมาก่อสร้างส่วนใหญ่ นาคอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่ใช้เขียนแบบ มาใช้งานด้านการก่อสร้างเป็ น อันดับหนึ่ง รองลงมาเป็นโปรแกรมคาสั่งประมวลผลใช้งานด้านบัญชีและการจัดซือ และอันดับที่ 3 เป็น โปรแกรมที่ใช้ในการวางแผนการทางานตารางเวลานัดประชุมและกาหนดการ ใช้ในงานด้านสื่อสาร และ โปรแกรมที่ ใ ช้ ทาฐานข้ อมู ล ต่าง ๆ ใช้ ง านบริ ห ารทรั พยากรบุ คคล เมื่ อเปรี ย บเทีย บกั บ ผลส ารวจของ ประเทศจอร์แดน สามารถวิเคราะห์ได้ ว่าบริ ษัทรับเหมาก่อสร้ างในกรุงเทพฯ นิยมนาไอทีมาใช้ ใ นงาน ต่ าง ๆ เหมื อนกั น โดยมี การใช้ โ ปรแกรมที่ ช่ วยในการเขี ยนแบบในงานก่ อสร้ างมากที่ สุ ดถึ ง 94.87% เช่นเดียวกับประเทศจอร์แดน (2007) ที่บริษัทรับเหมาก่อสร้างเกือบทังหมด (94.00%) ใช้ AutoCAD ใน การทางานก่อสร้างของบริษัทฯ โปรแกรมคาสั่งประมวลผลเช่ น Excel ใช้ในงานบัญชี, จัดซือ มีการใช้เป็นลาดับถัดมา โดยมี อัตราการใช้อยู่ที่ 89.74% ซึ่งน้อยกว่าผลสารวจของประเทศจอร์แดนที่ใช้ Excel ถึง 97.00% การใช้โปรแกรมฐานข้ อมูลด้ านงานทรั พยากรบุคคล เช่น Access มีการใช้งานอยู่ที่ 84.63% จากบริษัทฯ ทังหมดในกรุงเทพฯ ต่างจากผลสารวจของประเทศจอร์แ ดน ที่มีการใช้โปรแกรม Access เพียง 24.00% เท่านัน งานสื่อสารมีการใช้งานโปรแกรมสร้างตารางเวลานัดหมายต่างๆ และโปรแกรมรายงานผลการ ดาเนินงานโครงการเช่น Project Planning และ Microsoft Project และงานด้านทรัพยากรบุคคลของ บริษัทในกรุงเทพฯ มีการใช้เท่ากันคือ 84.63% ซึ่งแตกต่างอย่างมากกับผลสารวจของประเทศจอร์แดนที่มี การใช้เพียง 23.00% งานที่บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ นาโปรแกรมทาเว็บไซต์และสร้างกราฟิก มาใช้ในงาน ประชาสัมพันธ์น้อยกว่างานประเภทอื่น เพียง 48.72% น้อยกว่าประเทศจอร์แดนที่ ใช้โปรแกรม Web Browser มากถึง 76.00% ดังแสดงในแผนภูมิรูปภาพที่ 5.1

ทัศนชัย โอฬารึก

169


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ส่วนผลการส ารวจจานวนบริ ษัทรับ เหมาก่ อสร้ างในกรุงเทพฯ และปริมณฑลที่ใช้ AutoCAD แสดงในตารางที่ 4.8 พบว่าการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทางานก่อสร้างของบริษัทในกรุงเทพฯ คิดเป็น 89.74% เมื่อนามาเปรียบเทียบกั บผลส ารวจจากจอร์แดน (2007) ที่มีการใช้งาน 100% และประเทศ สิงคโปร์ (2003) ที่มีอัตราการเขียนแบบด้วยคอมฯ ใกล้เคียงกันถึง 90.00% (ผลการสารวจเมื่อ 9 ปีที่แล้ว ปัจจุบันมีโอกาสที่จะเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์มากกว่านีมาก) อีกทังยังพบว่ามีบริษัทรับเหมาก่อสร้างใน กรุงเทพฯ บางส่วนที่ใช้การเขียนแบบด้วยมือ ดังแสดงในตารางที่ 5.5

หากพิ จารณาถึ ง Software ที่ ใ ช้ ใ นการท าแบบจะพบว่ า บริ ษัท เกื อบทั งหมดในกรุ ง เทพฯ เลื อ กใช้ AutoCAD ในการท างานก่ อ สร้ า ง (แผนภู มิ รู ป ภาพที่ 4.3) ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ผลส ารวจจาก ต่ า งประเทศที่ ใ ช้ AutoCAD ในการท างานก่ อ สร้ า งมากเป็ น อั น ดั บ แรก ตารางที่ 5.6 แสดงผลการ เปรียบเทียบโปรแกรมที่บริษัทรับเหมาก่อสร้างนิยมใช้ทางานก่อสร้างมากที่สุด 5 ลาดับ

สาหรับการใช้โปรแกรม AutoCAD นัน (ตารางที่ 4.9) จากการศึกษาพบว่าการนา AutoCAD มาใช้ในงานก่อสร้างของบริษัทรับเหมาก่ อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเกือบทังหมด นามาใช้ใน 170

ทัศนชัย โอฬารึก


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

การเขียนแบบ 2 มิติ ทังแบบไม่มีโครงสร้างเสมือนรูปถ่าย, แบบมีโครงสร้าง โดยมีการแบ่ง Layer และ แบบมีโครงสร้างและมีการระบุรายละเอียดต่าง ๆ ลงไปด้วย แต่การใช้ AutoCAD เพื่อเขียนแบบ 3 มิติ ยัง มีจานวนน้อยที่สุดเพียง 32.35% แม้จะมีโปรแกรมที่สามารถเขียนแบบ 3 มิติได้ดีให้เลือก แต่บริษัทเหล่านี ยังคงเขียนแบบ 2 มิติ เนื่องจากเป็นวิธีสื่อสารที่มีความคุ้นเคยหรือการเขียนแบบ 3 มิติ อาจใช้เวลาในการ ทางานมากเกินไป จากการเปรียบเทียบกับต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า กรุงเทพฯ มีการใช้คอมพิวเตอร์ใ นการ เขียนแบบก่อสร้าง 89.74% จากบริษัททังหมดในปี ค.ศ. 2009 น้อยกว่า จอร์แดน ที่มีการใช้คอมพิวเตอร์ เขียนแบบก่อสร้าง 100% ในปี ค.ศ. 2007 โปรแกรม AutoCAD ถูกเลือกใช้ในการเขียนแบบก่อสร้างของ บริษัทรับเหมาก่อสร้างทังในกรุงเทพฯ และทุกประเทศที่ทาการสารวจ จากการสารวจครังแรกในปี ค.ศ. 1998 ถึงปัจจุบันโปรแกรม AutoCAD ยังคงเป็นโปรแกรมที่ใช้งานมากที่สุดในการเขียนแบบ สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนที่ 2 จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ระบบปฏิบัติการ Window ได้รับความนิยมมากที่สุด มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่น ๆ อย่างชัดเจน จากผลสารวจการใช้งาน Window ของบริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทุกบริษัท คิดเป็น 100 % แม้จะมีความต่าง เรื่องของรุ่นที่ใช้ต่างกัน เช่น Window XP และ Window 7 แต่ยังคงเป็นระบบปฏิบัติการเดียวกัน ความ นิยมระบบปฏิบัติการ Window นีมิได้มีแต่ในปัจจุบันเท่านัน จากการศึกษาผลสารวจต่างประเทศที่สารวจ ไว้ในปี ค.ศ. 1998 เช่นกลุ่มประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ได้แก่ ประเทศเดนมาร์ก สวีเดน และฟินแลนด์ ก็ นิยมใช้ระบบปฏิบัติการ Window รุ่นต่าง ๆ เช่นกัน การเลื อกใช้ ร ะบบปฏิ บั ติ การย่ อมส่ ง ผลโดยตรงต่ อการเลื อกใช้ โ ปรแกรมต่ าง ๆ เนื่ องจาก ระบบปฏิบัติการ Window เป็นที่นิยมใช้กันทุกสาขาวิชาชีพ จึงมีโปรแกรมที่สามารถใช้งานร่วมกันได้เ ป็น จานวนมาก การเลือกนาโปรแกรมต่าง ๆ มาใช้ในกระบวนการทางานของบริ ษัทรับเหมาก่อสร้าง เป็น ตัวชีวัดสาคัญที่บ่งชีถึงความชานาญ ความรู้ และความสามารถของพนักงานและบริษัทรับเหมาก่อสร้าง ใน การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีต่าง ๆ จากการวิเคราะห์แผนภูมิรูปภาพที่ 5.1 ที่เปรียบเทียบการนาไอที มาใช้ในงานประเภทต่าง ๆ ของบริษัทรับเหมาก่ อสร้ างทั ง 3 กลุ่มในช่ วงเวลาที่ต่ างกั น กรณีประเทศ แคนาดา ที่ทาการสารวจในปี ค.ศ. 1998 ไม่สามารถนาผลสารวจมาเปรียบเทียบได้ เนื่องจากช่วงเวลาที่ ห่างกันถึง 11 ปี จึงเลือกปรียบเทียบเฉพาะการสารวจของประเทศจอร์แดนในปี ค.ศ. 2007 เพื่อแสดงให้ เห็นความรู้ความชานาญในการใช้เทคโนโลยีที่ต่างกัน ผลการตอบแบบสอบถามของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง ในกรุงเทพและปริมณฑลระบุว่า มีการใช้โปรแกรมที่ใช้ในงานส่วนก่อสร้างมากที่สุด อันดับที่ 2 เป็นงานด้านบัญ ชีและการจัด ซื อที่ ใช้โ ปรแกรมค าสั่ งประมวลผลสอดคล้ องกั บ ผล สารวจของประเทศจอร์แดนที่มีการใช้โปรแกรมในงานเขียนแบบก่อสร้าง และงานบัญชี, จัดซือ มากที่สุด ส่วนอันดับที่ 3 เป็นโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลที่ใช้ในงานบริหารทรัพยากรบุคคลและงานด้านการสื่ อสาร ต่าง ๆ ที่ใช้โปรแกรมวางแผนการดาเนินงาน ก่อสร้าง, ส่งตารางนัดหมายประชุม, แจ้งกาหนดส่งงวดงาน ต่าง ๆ ผลสารวจในส่วนนีขัดแย้งกับผลสารวจของประเทศจอร์แดน ที่มีการใช้โปรแกรมจัดการฐานข้ อมูล ด้านทรัพยากรบุคคล เพียง 24% และการใช้โปรแกรมการวางแผนโครงการ และทาตารางแจ้งนัดหมาย ประชุมต่าง ๆ เพียง 23% เท่านัน แม้จะมีโปรแกรมที่สามารถใช้งานได้ดีให้เลือกมากมาย แต่กลับไม่เป็นที่ นิยมในกลุ่มบริษัทรับเหมาก่ อสร้างประเทศจอร์แดน แต่งานด้านประชาสัมพันธ์ ที่ ใช้โปรแกรมเกี่ ย วกั บ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและงานกราฟิก มีบริษัทรับเหมาก่อสร้างของจอร์แดนใช้งานถึง 76% แต่กลับเป็น งานที่บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ ให้ความสนใจน้อยที่สุดเพียง 48.72% เนื่องจากบริษัทรับ เหมา ก่ อสร้ างในกรุ ง เทพฯ จานวนมากขาดบุ ค ลากรที่ มีค วามช านาญเกี่ ย วกั บ การใช้ อิ นเตอร์ เ น็ ต เป็ น สื่ อ ประชาสั มพั นธ์ และไม่ ต้ องการสิ นเปลื องงบประมาณในการด าเนิ นงานในส่ ว นนี เนื่ องจากเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ของบริษัทที่มีอยู่จากัดนันต้องใช้ในขันตอนการดาเนิน งานต่าง ๆ ของบริษัทโดยเฉพาะงาน เขียนแบบก่อสร้างที่ระบุในผลสารวจว่ามีการใช้เทคโนโลยีมาประกอบมากที่สุด ด้วยเหตุดังกล่าว จึงทาการสารวจการใช้ AutoCAD ในบริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล จากการศึกษาพบว่า มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบก่อสร้าง 89.74% จากบริษัททังหมด ในปี ค.ศ.2009 น้อยกว่าจอร์แดนที่มีการใช้คอมพิวเตอร์เขียนแบบก่อสร้าง 100% ในปี ค.ศ. 2007 ส่วน ทัศนชัย โอฬารึก

171


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบก่อสร้างของบริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ ใช้โปรแกรม AutoCAD เกือบทังหมด เช่นเดียวกันกับทุกประเทศที่ทาการส ารวจ จากการสารวจครังแรกในปี ค.ศ. 1998 ถึงปัจจุบัน โปรแกรม AutoCAD ยังคงเป็นโปรแกรมที่ใช้งานมากที่สุดในการเขียนแบบตลอดมา ส่วนที่ 3 ข้อมูลและการติดต่อสื่อสาร จากผลการตอบแบบสอบถามข้อที่ 11 เกี่ยวกับจานวนบริษัทที่มีเว็บไซต์ของตนเอง เมื่อนามา วิเคราะห์แยกเป็น 4 กลุ่ม สรุปว่าบริษัทกลุ่มที่ 4 ขนาด 200 คนขึนไป มีเว็บไซต์เป็นของตนเอง คิดเป็น 70% กลุ่มที่ 3 มีพนักงาน 50-199 คน มีเว็บไซต์เป็นของตนเอง คิดเป็น 42% กลุ่มที่ 2 มีพนักงาน 10-49 คน มีเว็บไซต์เป็นของตนเอง คิดเป็น 20% และกลุ่มที่ 1 มีพนักงาน 1-9 คน ไม่มีเว็บไซต์เป็นของตนเอง สรุปได้ว่าบริษัทที่มีพนักงานจานวนมาก จะมีเว็บไซต์เป็นของตัวเองมากขึนตามจานวนพนักงานในบริ ษัท แสดงผลดังตารางที่ 5.7 ซึ่งการเลือกใช้ LAN ในบริษัทที่สารวจก็มีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกันด้วย ดัง แสดงผลในตารางที่ 5.8

เมื่อพิจารณาถึงระบบการเชื่อมต่ ออินเตอร์เน็ต จากการศึกษาพบว่า ที่นิยมมากที่สุดของทั ง 4 กลุ่มคือ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) เนื่องจากขออนุญาตติดตังง่าย ส่วนการเชื่อมต่อ ด้วย Modem โดยอาศัยคู่สายโทรศัพท์ธรรมดาเป็นวิธีที่กลุ่มบริษัทยังคงใช้งานมาอย่างต่อเนื่อง เพราะ การเปลี่ยนแปลงวิธีเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต หมายรวมถึงค่าใช้จ่ายในการลงทุนเปลี่ยนอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มาก หรือน้อยขึนอยู่กับขนาดของบริษัทนัน ๆ ส่วนการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบ Cable Modem ที่มีอุปกรณ์ เป็น Modem ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างผู้รับบริการกับผู้ให้บริการ (Service Provider) โดยผ่านทางเครื อข่าย สาย Cable TV เช่น การใช้ร่วมกับสาย Cable ของ UBC ตามอาคารต่าง ๆ ไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากต้ อง เสียค่าเดินสายไปยังจุดที่ต้องการใช้งาน การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตด้วยระบบ ISDN ที่สามารถรับ-ส่งข้ อมูล ด้ วยความเร็ ว 128 Kbps ขึ นไป ด้ วยระบบดิ จิต อลนั น มี การใช้ ใ นบริ ษัท กลุ่ มที่ 3 และกลุ่ มที่ 4 ที่ มี พนักงานจานวนมากเท่านัน เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูงกว่ามาก ตามตารางที่ 5.9 ดังนี

172

ทัศนชัย โอฬารึก


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

เมื่อพิจารณาประเภทเอกสาร, ข้อมูล และข่าวสาร ที่บริษัทนิยมส่ง–รับ ภายในบริษัทผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ มากที่สุด 3 อันดับแรก พบว่าเอกสารที่ส่งถึงกันภายในบริษัทมากที่สุดคือ เอกสาร งานก่อสร้าง อันดับที่ 2 คือรายละเอียดของงาน ส่วนอันดับที่ 3 เป็นใบสั่งซือ เนื่องจากเป็นการส่งข้อมูล ต่าง ๆ ภายในบริษัท เอกสารงานก่อสร้างจึ งเป็นเอกสารที่มีการส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์มากที่สุ ดเพื่อ ความสะดวกในการท างานโครงการต่ าง ๆ อันดับต่อมาเป็ นเอกสารรายละเอี ยดงานที่ต้ องแจ้ ง หน้ าที่ รับผิดชอบของบุคคลที่เกี่ยวข้อง อันดับที่ 3 เป็นใบสั่งซือสินค้าต่าง ๆ ที่ต้องส่งถึงแผนกที่รับผิดชอบภายใน บริษัท เอกสารที่ถูกส่งระหว่างบริษัทหรือบุคคลภายนอกบริษัทผ่านระบบเครือข่ายมากที่สุด 3 อันดับ แรก คือ เอกสารรายละเอียดงานที่ต้องแจ้ งแก่ ผู้ที่มีส่ วนเกี่ย วข้ องรับทราบหน้ าที่รับผิดชอบของตนเอง ลาดับต่อมาเป็นใบสั่งซือ, ใบแจ้งหนี เพื่อเรียกเก็บค่าจ้างงวดงานจากเจ้าของโครงการ อันดับที่ 3 เป็นใบ เสนอราคา เพื่อแจ้งค่าใช้จ่ายเพื่อขออนุมัติดาเนินการก่อสร้างตามราคาที่ตกลงไว้ จากผลสารวจนีแสดงให้ เห็นว่า บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ ไม่นิยมส่งเอกสารงานออกแบบหรือเอกสารแบบโครงสร้างออก สู่บุคคลภายนอกองค์กร เนื่องจากไม่มั่นใจในความปลอดภัยของข้อมูลต่าง ๆ เมื่อเทียบผลสารวจกับต่างประเทศในช่วงเวลาที่ต่างกัน พบว่า ประเทศจอร์แดน กลุ่มประเทศ แถบสแกนดิเนเวีย มีการส่งเอกสารงานในส่วนก่อสร้างและงานออกแบบมากที่สุด แต่ไม่นิยมส่งเอกสารที่ เกี่ยวกับการคานวณต่าง ๆ ส่วนประเทศสิงคโปร์ ไม่มีการส่งเอกสารในส่วนก่อสร้างใด ๆ จะมุ่งเน้นการ แลกเปลี่ยนเอกสารด้านอื่น ๆ เช่น เอกสารงานบัญชี และวันเวลาการประชุม เป็นต้น โดยมีการส่งใบสั่งซือ และใบแจ้งหนีเป็นอันดับที่ 1 แสดงผลดังตารางที่ 5.10

ส่วนที่ 4 ข้อดีและข้อเสียจากการใช้ ไอที ในงานของแผนกก่อสร้าง เปรียบเทียบข้อดีที่ได้จากการนาไอทีมาใช้ในการทางานมากที่สุด 3 อันดับแรก พบว่าประโยชน์ หรือข้อดีจากการนาไอทีมาใช้ในงานก่อสร้างของบริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริ มณฑล คือ การสื่อสารที่ดีขึน งานเสร็จไวขึน และงานมีคุณภาพดีขึน หากใช้อันดับที่ได้จากการคานวณค่านาหนัก ทัศนชัย โอฬารึก

173


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

มาพิจารณาจะพบว่ามีคล้ ายหรือใกล้เคีย งกั น หากแต่ลาดับต่างกันบ้าง กล่าวคือ อันดับที่ 1 คือ งานมี คุณภาพดีขึน ส่วนงานเสร็จไวขึน ได้รับเลือกเป็นอันดับที่ 3 มากที่สุด จึงสรุปให้ ข้อดีอันดับที่ 2 เป็นเรื่อง ของงานที่มีคุณภาพดีขึน ส่วนอันดับที่ 3 เป็นการใช้เวลาทางานน้อยลงตามลาดับ เมื่อนาผลสารวจจากต่ างประเทศมาเปรี ยบเที ยบข้ อดี จากการนาไอที มาใช้ใ นงานก่อสร้ าง 3 อันดับแรก จากผลสารวจบริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ เลือกการสื่อสารที่ดีขึนเป็นประโยชน์อันดับที่ 1 ซึ่งไม่ตรงกับประเทศใด ประเทศสวีเดน และประเทศแคนาดา เลือกการเพิ่มคุณภาพงาน ส่วนประเทศ สิงคโปร์เลือกงานเสร็จไวเป็นอั นดับแรก และเลือกการเพิ่มคุ ณภาพงานให้เป็นอั นดับที่ 2 เช่นเดียวกั บ บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพฯ ส่วนอีก 2 ประเทศ คือ ประเทศสวีเดนและแคนาดา ที่เลือกงานเสร็จ ไว เป็นข้อดีอันดับที่ 2 แต่บริษัทในกรุงเทพฯ เลือกงานเสร็จไว มาเป็นอันดับที่ 3 แต่ทัง 3 ประเทศเลือก ข้อดีอันดับที่ 3 แตกต่างกัน สรุปได้ว่าบริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร ให้ความสาคัญเรื่องการ สื่อสารที่ดีขึนมากที่สุด ต่างจากผลสารวจของประเทศอื่น ๆ ที่มองเรื่องการสร้างผลงานเป็นส าคัญ ดัง แสดงในตารางที่ 5.11

เมื่อเปรียบเทียบข้อเสียที่ได้จากการนาไอทีมาใช้ ในการท างาน พบว่า ความต้องการผู้มีค วาม ชานาญมากขึน เป็นปัญหาอันดับที่ 1 อันดับที่ 2 คือ ความจาเป็นต้อง Upgrade บ่อย และข้อเสียอันดับที่ 3 ได้แก่ ความเสี่ยงจากไอทีที่ใช้งานไม่ได้ และข้อมูลมีความปลอดภัยน้อยลง มีแต้มเท่ากันจึงต้องใช้ผลจาก การคานวณด้วยค่าความถี่เพื่อช่วยในการตัดสินใจ ผลจากตารางคานวณค่าความถี่ ระบุว่า ปัญหาเรื่อง ความเสี่ ย งจากไอที ที่ ใ ช้ ง านไม่ ไ ด้ ถู กเลื อกให้ เป็ นข้ อเสี ย ในอั นดั บที่ 2 มากกว่ า ส่ วนปั ญ หาเรื่ องความ ปลอดภัยน้อยลงนันได้รับเลือกให้เป็นข้อเสียอันดับที่ 3 มากกว่า ดังนันข้อเสียอันดับที่ 3 จึงเป็นเรื่องความ เสี่ยงจากไอทีที่ใช้งานไม่ได้ เมื่อนาผลสารวจจากประเทศจอร์แดนในปี 2007 มาเปรียบเทียบ พบว่า มีข้อที่เลือกสลับกั นอยู่ 2 ข้อ ได้แก่ ต้องการผู้ชานาญมากขึน กับจาเป็นต้อง Upgrade บ่อย แต่ในอันดับที่ 2 มีการเลือกที่ต่างกัน โดยบริษัทรับเหมาในกรุงเทพฯ เลือกความเสี่ยงจากไอทีที่ใช้งานไม่ได้ แต่ประเทศจอร์แดนเลือกค่าใช้ จ่าย ในการลงทุนสูง ดังแสดงในตารางที่ 5.12

สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนที่ 4 จะพบว่า ข้อดีของการนาเอาไอที มาใช้ในงานก่อสร้างของ บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร มีหลายข้อ แต่ที่ได้รับคะแนนมากเป็นอันดับแรก เป็นเรื่องการ สื่อสารที่ดีขึน ต่างจากผลสารวจของประเทศอื่น ๆ ที่มองเรื่องการสร้างผลงานเป็นสาคั ญ เช่น การเพิ่ม คุณภาพงาน หรืองานเสร็จไวขึนเป็นต้น ส่วนข้อเสียที่เกิดขึนจากการนาไอทีมาใช้ในงานก่อสร้างของบริษัท 174

ทัศนชัย โอฬารึก


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ได้รับเลือกมากที่สุดจากตัวแทนของบริษัทรับเหมา ก่อสร้าง ได้แก่ ต้องการผู้ชานาญมากขึน เป็นการเลือกที่ ต่างจากผลส ารวจจากประเทศอื่ น ๆ ที่เลือก จาเป็นต้อง Upgrade บ่อย มุมมองของปัญหาข้อนีมุ่งเน้นว่า ปัญหาที่สาคัญเกิดจากอุปกรณ์ทางเทคโนโลยี แต่ปัญหาเรื่องต้องการผู้ชานาญมากขึนของบริษัทในกรุงเทพฯ นันมีความสอดคล้องกับข้อสังเกตที่พ บจาก การวิเคราะห์ข้อมูลพืนฐานของบริษัทรับเหมาก่อสร้ างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เรื่องที่บริษัท ไม่ ใ ห้ ค วามส าคั ญ และไม่ เ ปิด โอกาสให้ พนั กงานของบริษัท พั ฒ นาความสามารถในการใช้ ง านอุ ป กรณ์ คอมพิวเตอร์ เนื่องจากไม่มีการวางแผนพัฒ นาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถเพิ่มขึน ส่งผลให้เลือก ปัญหาขาดผู้ชานาญเป็นปัญหาสาคัญที่สุด สรุปผลตามวัตถุประสงค์การวิจัย จากการศึกษาสามารถสรุปได้ว่าบริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเกื อบ ทังหมดมีการใช้คอมพิวเตอร์ในงานก่อสร้าง กล่าวคือ ส่วนใหญ่มากกว่ า 90% ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้ าน ก่ อสร้ าง โดยนามาใช้ ใ นการแก้ ไ ขแบบก่ อสร้ างด้ วยโปรแกรม AutoCAD นอกจากนี ยั ง ใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศในงานด้านบัญชีและการจัดซือ โดยใช้โปรแกรมคาสั่งประมวลผลในกระบวนการทางาน ส่วน การใช้ในงานบริห ารทรัพ ยากรบุคคล จะใช้โปรแกรมในการวางแผนการท างานตารางเวลานัดประชุ ม ส าหรั บ การใช้ ง านในด้ า นสื่ อ สาร ใช้ โ ปรแกรมที่ ใ ช้ ท าฐานข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ แต่ ส าหรั บ งานด้ า นการ ประชาสัมพันธ์ มีการใช้ง านคอมพิ วเตอร์ น้อยกว่ า 50% โดยใช้โปรแกรมท าเว็ บไซต์ และสร้างกราฟิ ก นอกจากนีจากผลการสารวจถึงข้อดีของการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใ นงานก่ อสร้าง แสดงให้เห็น ชัดเจนว่า บริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลได้รับประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อพัฒนาการสื่อสารให้ดีขึน การเปรียบเทียบผลสารวจบริ ษัทรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลเมื่อปี 2009 กับผลสารวจของต่างประเทศ เพื่อหาว่ามีความเหมื อนหรื อความแตกต่ างกั นอย่างไรนั น พบว่ามีความ เหมือนกันในบางเรื่อง กล่าวคือมีการใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของ Microsoft Windows เป็นส่วน ใหญ่ ซึ่งในต่างประเทศมีการใช้เป็นเวลานานแล้ว ตังแต่ทาการสารวจครังแรกเมื่อปี 1998 แต่จะมีการ อั พ เกรดระบบให้ ทั นสมั ย ขึ น ส่ วนโปรแกรมที่ ใ ช้ ใ นงานเขี ย นแบบใช้ โ ปรแกรม AutoCAD ยั ง คงเป็ น โปรแกรมที่ได้รับความนิยมและใช้ในทุกประเทศที่ทาการสารวจ ส่วนการเปรียบเทียบความแตกต่าง ผลการสารวจพบว่าบริษัทรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุง เทพฯ และปริมณฑลปี 2009 มีการคอมพิวเตอร์ในงานด้านประชาสัมพันธ์น้อยกว่า 50% ซึ่งแตกต่างกับผลการ สารวจของประเทศจอร์แดนเมื่อปี 2007 ที่มีการใช้คอมพิวเตอร์ในงานดังกล่าว มากกว่าคือ 76% นอกจากนีจากผลการสารวจกับประเทศอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศจอร์แดน (2007) สิงคโปร์ (2003) กลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย (1998) พบว่าการส่งเอกสารแลกเปลี่ยนระหว่างบริษัทกับบุคคลภายนอกมี ความแตกต่างกัน คือการสารวจบริษัทรับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลในปี 2009 เอกสาร ส่วนใหญ่เป็นเอกสารรายละเอียดงาน แต่ประเทศอื่น ๆ ได้แก่ กลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย เอกสารส่วน ใหญ่จะเป็นเอกสารแผนงานก่อสร้าง ส่วนประเทศจอร์แดนเป็นเอกสารงานออกแบบ ประเทศสิงคโปร์เป็น เอกสารใบสั่งซือและใบแจ้งหนี ซึ่งในปัจจุบันอาจจะมีความแตกต่างไปแล้วในประเทศที่สารวจนานกว่า 10 ปี ส่วนการเปรียบเทียบข้อดีของการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในงานก่ อสร้างของบริษัทรับ เหมา ก่อสร้างในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลปี 2009 พบว่าเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยพัฒนาการสื่อสารให้ดี ขึน ส่วนประเทศสวีเดนและแคนาดา นามาช่วยพัฒนาคุณภาพของงาน ประเทศสิงคโปร์นามาช่วยให้งานเสร็จ ไวขึนและใช้เ วลาน้ อยลงเป็ นอั นดับ 1 ซึ่งตรงกันข้ ามกับ บริ ษัทรั บเหมาก่ อสร้ างในเขตกรุง เทพฯ และ ปริมณฑล ที่ให้ความสาคัญในเรื่องนีเป็นอันดับที่ 3 ส าหรั บ การเปรี ย บเที ย บข้ อเสี ย ของการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศในงานก่ อสร้ างของบริ ษัท รับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลปี 2009 ส่วนใหญ่พบว่า ต้องการผู้ชานาญมากขึ น แต่ ทัศนชัย โอฬารึก

175


การสารวจระดับความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั ผู้รบั เหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ประเทศแคนาดาและจอร์แดน พบว่าปัญหาที่พบอันดับ 1 คือ ต้องมีการอัพเกรดบ่อย ในขณะที่บริษัท รับเหมาก่อสร้างในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ให้ความสาคัญเรื่องนีเป็นอันดับที่ 3 ข้อสังเกตที่น่าสนใจก็คือ สาเหตุที่ต้องทาการเปรียบเทียบผลสารวจกับประเทศจอร์แดนมากกว่า ประเทศอื่น ๆ เนื่องจากประเทศจอร์แดน มีการสารวจแยกตามประเภทบริษัท โดยมีการสารวจบริษัท รับเหมาก่อสร้างโดยตรง และเป็นการสารวจที่เน้นให้เห็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในบริษัทรับเหมา ก่อสร้างภายในประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยนีที่ต้องการสารวจบริษัทรับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพ ฯ และปริมณฑล แต่ประเทศอื่น ๆ นันจะสารวจเปรียบเทียบในเชิ งภาพรวมอุตสาหกรรมก่อสร้างระหว่าง ประเทศมากกว่า ปัญหาและอุปสรรคในการวิจัย 1. การส ารวจของต่ า งประเทศมี ค าถามส่ ว นที่ ส ารวจแนวโน้ ม การลงทุ นด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศ ที่ ไ ม่ ป รากฏในการส ารวจครั งนี เนื่ องจากด้ วยข้ อจากั ด ของวิ ธี การส ารวจโดยการแจก แบบสอบถาม ทาให้ไม่สามารถเข้าถึงผู้บริหารของทุกบริษัทได้ 2. การส่ ง แบบสอบถามทางไปรษณี ย์ มี ข้ อจากั ด เนื่ องจากวิ ธีก ารส ารวจแบบนี ท าให้ ไ ม่ สามารถเข้าถึงข้อมูลที่แท้จริงของผู้ตอบแบบสอบถามได้ ข้อเสนอแนะสาหรับผู้ทาวิจัยครั้งต่อไป 1. การวิจัยครังต่อไปควรศึกษากลุ่มตัวอย่างให้ครอบคลุมทังหมดของธุรกิ จการก่อสร้าง ไม่ เพียงแต่บริษัทรับเหมาก่อสร้างเท่านัน แต่ควรรวมถึงบริษัทวิศวกร บริษัทออกแบบสถาปัตยกรรม และ บริษัทที่ปรึกษาการจัดการก่อสร้างด้วย 2. การสารวจครังต่อไปควรมีการเก็บข้อมูลในเชิงลึก เช่น การสัมภาษณ์ผู้บริหาร พนักงานใน บริ ษัท ธุ ร กิ จการก่ อสร้ า ง เพื่ อจะได้ ข้ อมู ล และความคิ ด เห็ นในเชิ ง ลึ กมากขึ น และสามารถสอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ 3. ควรทาการสารวจซาอย่างน้อยปี ละครัง เพื่อให้เห็นพัฒนาการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในงานก่อสร้างในประเทศไทยได้อย่างชัดเจน และเพื่อทราบความเปลี่ยนแปลง ความเคลื่อนไหวของข้อมูล ส่งผลให้สามารถวางแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานก่อสร้างต่อไปได้ 4. ควรนาข้อมูลที่สารวจแล้วในครังต่อ ๆ ไปมาเปรียบเทียบกับผลสารวจที่ได้ในต่างประเทศ เพื่อทราบถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของต่างประเทศ และสามารถนามา ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีในประเทศไทย รวมถึงสามารถคาดการณ์แนวโน้มและวางแผน พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานก่อสร้าง

176

ทัศนชัย โอฬารึก


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย บทคัดย่อ ธณัชชา สุขขี คาสาคัญ: แบบจาลองข้อมูลอาคาร/ แนวคิดและทฤษฎี/ การประยุกต์ใช้/ ปัจจัย อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.นนท์ คุณคาชู

งานวิจัยชินนีเป็นการศึกษาเกี่ย วกับการใช้และปั จจัย ที่มีผลต่ อการเลื อกใช้ แบบจาลองข้ อ มู ล อาคาร ขององค์กรออกแบบและรับเหมาก่อสร้างในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจการใช้ ง าน แบบจาลองข้อมูลอาคาร และเพื่อการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้แนวคิดดังกล่าวในประเทศไทย โดยงานวิ จัย ใช้ วิธีก ารเก็ บ ข้ อมู ล การใช้ ง านจากกลุ่ ม องค์ กรตั ว อย่ าง เพื่ อวิ เ คราะห์ เ ชิ ง สถิ ติ เ กี่ ย วกั บ สถานะการประยุกต์ใช้แบบจาลองข้อมูลอาคารในประเทศไทย และเก็บข้อมูลจากกรณีศึกษาเพื่อวิเคราะห์ เชิงบรรยาย เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเลื อกใช้ประโยชน์ที่ ได้รับและปั ญหา - อุปสรรคที่พบจากการ ประยุกต์ใช้ จากการศึกษาพบว่าการใช้งาน BIM ในประเทศไทยยังมีไม่มาก ประมาณ 22% ของประชากร ที่สารวจ และปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ มากคือ การเพิ่มประสิทธิภาพในการออกแบบ เช่น ประมาณ ราคา วิเคราะห์อาคารและลดการสูญเสียทรัพยากร ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ระดับปานกลางคือ As Built Drawing มี ค วามถู กต้ องเชื่ อถื อได้ และลดปั ญ หาจากการเริ่ มต้ นท างานใหม่ เมื่ อเกิ ด การแก้ ไ ข เปลี่ยนแปลงและปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้น้อยที่สุดก็คื อ ตอบสนองความต้องการของลู กค้า , พัฒนา วิธีการทางานให้เป็นสากล, ใช้บุคลากรน้อยกว่าการทางานด้วย AutoCAD, สามารถนาข้อมูลมาบริหาร จัดการอาคาร, ความสามารถในการนาเสนอผลงานในรูปแบบ 3 มิติ , ผู้บริหารเล็งเห็นความสาคัญของ BIM, ผู้ใช้งานมีประสบการณ์ด้านการใช้งาน BIM มาก่อน, การใช้ AutoCAD ต้องอาศัยผู้ที่มีทักษะในการ ถ่ า ยทอดข้ อ มู ล และสื่ อ สารและกระแสของ LEED (Leadership in Energy and Environmental Design)

ธณัชชา สุขขี

177


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

FACTORS AFFECTING BUILDING INFORMATION MODELING SELECTION IN CONSTRUCTION INDUSTRY IN THAILAND ABSTRACT THANATCHA SUKKHI KEYWORD: BIM THEORY AND CONCEPT/ FACTORS/ APPLICATIONS ADVISOR: NON KHUNCUMCHOO, PH.D.

This research aims to study the current usage and factors affecting a decision to use Building Information Modeling (BIM) in design and construction firms in Thailand. This study has two steps; the first step is to survey to collect the currents BIM usage in a general picture. The second step is to interview selected firms for factors affecting its decision to adopt BIM in its business practice. The information from case study is also analyzed regarding, advantages and problems, and suggestions from applying BIM by using descriptive analysis. It includes comparative analysis compare all case studies in many aspects. It is found that approximately 22% of all case studies use BIM. The most important factors of choosing BIM is to check for shop drawings conflicts. The second most factor is to increase efficiency of design, such as cost estimate, building analysis and decreasing resource waste. Accuracy and reliability of As-Built drawings and decreasing problems from re-draw when there is a change are the third most important factors. The least factors affecting choosing BIM are to respond to the need of customers; development toward international system; using lesser people than Auto CAD; using BIM for managing buildings and three dimensional presentations; adopting BIM from top management and having some experience with BIM usage; requiring skilled personal and trend of LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) in construction industry.

178

ธณัชชา สุขขี


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

สรุปผลอภิปราย การวิเคราะห์ข้ อมู ลของกรณี ศึ กษา เกี่ยวกับการศึ กษาการเลื อกใช้แบบจาลองข้ อมู ล อาคาร (BIM) สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย ประกอบไปด้วย การวิเคราะห์รูปแบบการประยุ กต์ ใช้ งาน ปัจจัยที่มีผลต่อการประยุกต์ใช้ ประโยชน์ที่ได้รับและปัญหา-อุปสรรค ที่เกิดจากการประยุกต์ใช้ โดย ในส่วนแรกจะเป็นการวิเคราะห์รูปแบบการประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าวเพื่อเปรียบเทียบระหว่างกรณีศึกษา ซึ่งเป็นองค์กรด้านการออกแบบและรับเหมาก่อสร้าง การวิเคราะห์ในส่วนที่สอง เป็นการวิเคราะห์จากปัจจัยที่มี ผลต่อการใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร ของกรณีศึกษาซึ่งได้จากการสัมภาษณ์ โดยแบ่งการวิเคราะห์ออกมาเป็น 2 มิติ ตามความถี่ของลักษณะ ของข้อมูล การวิเคราะห์ในส่วนที่สาม เป็นการวิเคราะห์ประโยชน์ที่ได้รับจากการประยุกต์ใช้ เปรียบเทียบ ระหว่างผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบในประเภทองค์กรที่ต่างกัน และความถี่ของปัญหา – อุปสรรค ที่พบจากการประยุกต์ใช้ เพื่อระบุถึงปัญหาที่พบได้มาก และแนวทางการลดปัญหาดังกล่าว ในลาดับต่อไปจะเป็นการสรุปผลการศึกษาและดาเนินงาน และข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางใน การวิจัยต่อไป การวิเคราะห์ผลการศึกษา การวิเคราะห์รูปแบบการประยุกต์ใช้แบบจาลองข้อมูลอาคารในประเทศไทย จากการเปรียบเทียบรูปแบบการประยุ กต์ใช้แนวคิดแบบจาลองข้อมูลอาคารในองค์กรออกแบบ และรับเหมาก่อสร้างในประเทศไทย พบว่ารูปแบบการประยุกต์ใช้มีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน ดังนันงานวิจั ยนี จึงได้วิเคราะห์ความถี่ของรูปแบบการประยุกต์ใช้ดังกล่าว เพื่อนาเสนอรูปแบบการประยุกต์ ใช้ที่มีการใช้ งานมากที่สุด มากปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ตามลาดับ ดังที่แสดงในแผนภูมิที่ 25 1. รูปแบบการประยุกต์ใ ช้ที่มีการใช้งานมากที่สุด ก็คือการสร้างแบบจาลองอาคาร 3 มิติ ซึ่ง ถื อเป็ นแนวทางส าคั ญ ในการประยุ กต์ ใ ช้ เ พราะ BIM เป็ นระบบการสร้ า งชิ นงานจากวั ต ถุ (Object Oriented) ซึ่งระบบดังกล่าวถือเป็นการดาเนินงานตามหลักและแนวคิดแบบจาลองข้อมูลอาคาร ซึ่งจะ เห็นว่าบริษัทออกแบบมีการใช้งานรูปแบบดังกล่าวมากที่สุด เพราะนอกจากการนาแบบจาลองดังกล่ าวมา เป็นฐานข้อมูลสาหรับออกแบบแล้ว ฐานข้อมูลดังกล่าวยังสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ส่งผลให้การทางานขันตอนต่าง ๆ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน ด้านการสื่อสารระหว่าง ผู้ออกแบบกับลูกค้า การสร้างแบบจาลองอาคารจะเป็นการช่วยให้ทังผู้ออกแบบและลูกค้าสามารถเข้ าใจ แบบก่อสร้างได้ดียิ่งขึน อีกทังยังเป็นตัวช่วยในด้านการส่ งเสริมการขาย และการจัดทาทางเลือกให้ กับ ลูกค้า เช่น การแก้ไขเปลี่ยนแปลงแบบก่อสร้างที่สามารถนาเสนอมุมมอง 3 มิติ ให้ลูกค้าดูได้ทันที เป็นต้น

ธณัชชา สุขขี

179


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

2. รูปแบบการประยุกต์ใช้ที่มีการใช้งานมาก ก็คือการสร้างแบบจาลองอาคารสามมิติ (สาหรับ บริษัทรับเหมาก่อสร้าง), การเขียนแบบก่อสร้าง และการนาเสนอผลงาน (สาหรับบริษัทออกแบบ) จาก การวิเคราะห์พบว่าบริษัทรับเหมาก่อสร้างมีการประยุกต์ใช้งานดังกล่าว เพื่อเป็นการช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องใน งานก่อสร้างสามารถเห็นภาพจาลองอาคาร ก่อนที่จะทาการก่อสร้างจริง ซึ่งเป็นการลดปัญหาการไม่เข้ าใจ แบบก่อสร้าง และความผิดพลาดที่จะเกิด ขึ น ในส่วนของบริ ษัท ออกแบบ ซึ่งถือเป็นต้นทางของข้ อ มู ล ทังหมดในงานก่อสร้าง ก็สามารถใช้ประโยชน์จากแบบจาลองอาคาร ในการออกแบบ/เขียนแบบก่อสร้ าง แบบสาหรับการขออนุญาตก่อสร้าง และที่สาคัญก็คือการได้แบบจาลองสามมิติที่มีลั กษณะเหมื อ นจริ ง นาไปเสนอต่อลูกค้า เพื่อช่วยในการตัดสินใจที่รวดเร็วยิ่งขึน 3. รู ป แบบการประยุ กต์ ใ ช้ ที่ มีการใช้ ง านในระดับ ปานกลาง ก็ คื อ การเขี ย นแบบก่ อสร้ าง (สาหรับบริษัทรับเหมาก่ อสร้ าง), ตรวจสอบข้ อขัดแย้ ง ของแบบก่ อสร้ าง, การประมาณราคา และการ วิเคราะห์อาคาร (สาหรับบริษัทออกแบบ) จากการวิเคราะห์พบว่า ทังบริษัทออกแบบและรับเหมาก่อสร้าง มีรูปแบบการประยุกต์ใช้ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดปัญหาข้อขัด แย้งระหว่ างแบบก่อ สร้ าง เนื่ องจากแบบก่ อสร้ างจะถู กตรวจสอบในแบบจ าลองข้ อมู ล เดี ย วกั น ดั ง นั นทั งแบบโครงสร้ าง แบบ สถาปั ต ยกรรม และแบบงานระบบประกอบอาคารจึ ง มี ค วามสอดคล้ องกั น ด้ านการประมาณราคา เนื่องจากการคานวณปริมาณงานที่ละเอียดและถูกต้อง จึงส่งผลให้การประมาณราคาค่าก่อสร้างใกล้เคียง กับการก่อสร้างจริง ทังยังเป็นการลดข้อผิดพลาดซึ่งเกิดจากการคานวณของมนุษย์อีกด้วย ด้านการเขี ยน แบบก่ อสร้ าง พบว่ าบริ ษัท รั บ เหมาก่ อสร้ างมี การประยุกต์ ใ ช้ ใ นขันตอนการจั ด ท าแบบขยายเพื่องาน ก่อสร้าง (Shop Drawing) และแบบก่อสร้างจริง (As - Built Drawing) ซึ่งจาเป็นต้องใช้ข้อมูลที่มีความ ถู กต้ องแม่ นย าจึ ง จะส่ ง ผลให้ ง านก่ อสร้ างที่ ออกมามี ป ระสิ ทธิ ภ าพ และช่ วยลดความผิ ด พลาดในการ ด าเนิ นงาน ในด้ านการวิ เ คราะห์ อาคาร จะพบว่ าบริ ษั ท ออกแบบมี การประยุ กต์ ใช้ ชั ดเจนกว่ าบริษัท รั บ เหมาก่ อสร้ าง ซึ่ ง ยั ง ไม่ มีการประยุ กต์ ใช้ ด้ านนี เลย โดยเฉพาะการออกแบบทางด้านวิ ศ วกรรม ซึ่ ง นาไปใช้ในขันตอนของการวิเคราะห์ด้านโครงสร้างตามหลักวิศวกรรม สาหรับการจัดทารายงานเกี่ยวกับ นาหนักของชินส่วน จุดศูนย์ถ่วงและวิธีการติดตัง เป็นต้น นอกจากการวิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรมแล้ว ใน ส่ วนของงานสถาปั ต ยกรรมซึ่ ง มี การประยุ กต์ ใ ช้ ไ ด้ อย่ างหลากหลาย เช่ น การวิ เ คราะห์ พื นที่ (Area Analysis) การวิ เ คราะห์ ด้ านการประหยั ด พลั ง งาน การตรวจสอบทิ ศ ทางแสงแดด (Solar and Day Lighting Analysis) หรือการวิเคราะห์แสงสว่าง (Lighting Analysis) แต่ทว่าหากผู้ใช้งานยังขาดความรู้ ความเข้าใจและไม่สามารถดึงเอาความสามารรถต่าง ๆ เหล่านัน ออกมาใช้งานได้อย่างเต็มประสิท ธิภ าพ แล้ว BIM ก็อาจกลายเป็นเพียงเครื่องมือในการสร้างแบบจาลอง หรือซอฟต์แวร์ในการเขียนแบบก่อสร้ าง เท่านัน

180

ธณัชชา สุขขี


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

4. รูปแบบการประยุกต์ใช้ที่มีการใช้งานในระดับ น้อย ก็คือการนาเสนอผลงาน และการลาดับ ขันตอนของงานก่อสร้าง จากการวิเคราะห์รูปแบบการประยุกต์ใช้ดังกล่าว พบว่าการประยุกต์ใช้ทังสอง รู ป แบบมี ป ระโยชน์ ม ากกั บ บริ ษั ท รั บ เหมาก่ อ สร้ า ง โดยเฉพาะขั นตอนของงานก่ อ สร้ า ง (Method Statement) ซึ่งมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาในการดาเนินโครงการ ส่งผลให้ผู้ดาเนินการมองเห็นภาพ ขันตอนต่าง ๆ ของงานก่อสร้างได้อย่างชัดเจน และสามารถวางแผนใช้เวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ ด้วยรูปแบบการทางาน ที่ถือได้ว่ามีความแปลกใหม่อีกทังผู้ใช้งานยังขาดความรู้และประสบการณ์ในการใช้ งาน ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง จึงส่งผลให้รูปแบบการประยุกต์ใช้ดังกล่าว มีการใช้ งานน้อยกว่ารูปแบบอื่น ๆ ในส่วนของการนาเสนอผลงานนัน บริษัทรับเหมาก่อสร้างส่วนใหญ่ ใช้สาหรับ การนาเสนอรูปแบบการติดตังชินงาน การทาข้ อมูลประกอบการส่งงวดงานที่แสดงในรูปแบบสามมิติ อีก ทังการนาเสนอผลงานในรูปแบบของจาลอง 3 มิติ ยังเป็นการช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในงานก่อสร้างสามารถ เห็นภาพจาลองอาคารก่อนที่จะทาการก่อสร้างจริง ซึ่งช่วยลดปัญหาการไม่เข้าใจแบบก่อสร้ างและความ ผิดพลาดที่จะเกิดขึน 5. รูปแบบการประยุกต์ใช้ที่มีการใช้ง านในระดับ น้ อยที่ สุด ก็คือการลาดับ ขันตอนของงาน ก่อสร้าง (สาหรับบริษัทออกแบบ) จากการวิเคราะห์พบว่า รูปแบบการใช้งานดังกล่าวถึงแม้จะไม่เกี่ย วข้ อง กับงานออกแบบมากนัก แต่ผู้ออกแบบเองก็ยังต้องเข้ามาตรวจสอบ และควบคุมด้านคุณภาพของการผลิต ผลงานในระหว่างขันตอนของการก่อสร้าง ก็จะส่งผลให้การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงแบบ สามารถทาได้ ใน ระยะเวลาที่เหมาะสม และไม่กระทบกระเทือนต่องานก่อสร้างในขันตอนอื่น ๆ การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้งานแบบจาลองข้อมูลอาคารในประเทศไทย จากการศึ กษาปั จจั ย ที่ มีผ ลต่ อการใช้ ง านแบบจาลองข้ อมู ล อาคารในประเทศไทย โดยการ สัมภาษณ์กรณีศึกษาเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ BIM ผลการศึกษาพบว่า มีปัจจัย สาคัญทังสิน 14 ข้อ ดังที่ได้แสดงในตาราง 36 ในบทที่ 4 โดยการวิเคราะห์ผลการศึกษาจะแยกออกเป็ น 2 มิติ ตามลักษณะความสัมพันธ์ของข้อมูลดังนี 1. แยกตามความถี่ของข้อมูล จากผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่พบทัง 14 ข้อ สามารถแบ่งสัดส่วน ตามความถี่ได้เป็น 4 กลุ่ม ดังที่แสดงในตารางที่ 47

ธณัชชา สุขขี

181


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

กลุ่มที่ 1 BIM ถูกเลือกใช้เพราะสามารถใช้สาหรับตรวจสอบข้อขัดแย้งที่เกิดขึนจากแบบก่อสร้าง คิดเป็น 55.56 เปอร์เซ็นต์ จากการวิเคราะห์พบว่า เนื่องจากลักษณะของการท างานภายใต้ฐานข้ อมู ล เดียวกัน จึงเกิดการตรวจสอบและสามารถระบุข้อขัดแย้งได้ในทันที ดังนันในขันตอนของการประสานแบบ ก่อสร้าง (Combine) ที่มีทังแบบโครงสร้าง แบบสถาปัตยกรรม และงานระบบประกอบอาคาร จึงเริ่มขึน ตังแต่การสร้างแบบจาลองอาคาร ซึ่งจะพบว่าทังทางด้านผู้ออกแบบและผู้รับเหมาก่อสร้าง ต่างก็มีความ คิดเห็นและได้รับประโยชน์ในเชิงคุณภาพที่ใกล้เคียงกัน แม้แต่องค์กรผู้ให้การฝึ กอบรมและจัดจาหน่าย ซอฟต์แวร์เองยังให้ความเห็นอีกว่า ลูกค้าส่วนใหญ่ซึ่งมีทังองค์กรออกแบบ/ รับเหมาก่อสร้าง/ ผู้พัฒนา อสั ง หาริ มทรั พ ย์ ต่ างก็ ใ ห้ ค วามส าคั ญ กั บ ปั จจั ย ดั ง กล่ า วเป็ น อย่ างมาก เนื่ องจากจะส่ ง ผลทั งในด้ า น งบประมาณและระยะเวลาในการก่อสร้างแล้ว ยังเกี่ยวพันกับ การดาเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน ก่อสร้าง กลุ่ มที่ 2 BIM ถู กเลื อกใช้ เ พราะสามารถเพิ่ มประสิ ท ธิ ภาพการออกแบบก่ อสร้ าง เช่ น การ ประมาณราคา วิเคราะห์อาคาร และลดการสูญเสียทรัพยากร คิดเป็น 33.33 เปอร์เซ็นต์ จากการวิเคราะห์ พบว่ า ปั จ จั ย ดั ง กล่ า วจะมี ป ระโยชน์ ค่ อ นข้ า งมาก ในขั นตอนของการก่ อ สร้ า ง โดยเฉพาะกั บ ผู้รับเหมาก่อสร้าง เนื่องจากลักษณะของการคานวณปริมาณงานที่มีความละเอียดและแม่นยาสูง ทาให้ สามารถลดต้นทุนการสูญเสียทรัพยากร ที่อาจเกิดขึนในระหว่างการก่ อสร้าง เช่น ปริมาณวัสดุเหลือใช้ บุคลากร ชินส่วนสาเร็จรูป หรือแม้กระทั่งเวลาในการทางาน เป็นต้น กลุ่มที่ 3 BIM ถูกเลือกใช้เพราะ As - Built Drawing มีความถูกต้องเชื่อถือได้ ใช้ในการบริหาร จัดการอาคาร, ลดระยะเวลาการทางานที่ซับซ้อน, และตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและตลาดที่ กาลังเกิดขึนในอนาคต คิดเป็น 22.22 เปอร์เซ็นต์ จากการวิเคราะห์พบว่า ปัจจัยส่วนใหญ่จะส่งผลโดยตรง ต่อบริษัทรับเหมาก่อสร้าง โดยเฉพาะด้านเวลา งบประมาณ และกระบวนการทางานที่ถูกต้องแม่นยา ซึ่ง ถือเป็นหัวใจหลักสาคัญในการก่อสร้าง ในส่วนของบริษัทออกแบบนัน ค่อนข้างจะให้ความสาคัญในด้าน 182

ธณัชชา สุขขี


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

ภาพลักษณ์ขององค์กร เนื่องจากกระแสของ BIM และ FTA (Free Trade Area) การเปิดการค้าเสรี ซึ่ง กาลังเข้ามามีบทบาทกับอุตสาหกรรมออกแบบ/ ก่อสร้างในประเทศไทย เพราะฉะนันการสร้างภาพลักษณ์ และลักษณะการทางานที่เป็นสากล จึงเป็นแรงผลักดันให้มีการประยุกต์ใช้ BIM กลุ่มที่ 4 BIM ถูกเลือกใช้เพราะสามารถพัฒนาวิธีการทางานให้เป็นสากล, ใช้บุคลากรน้อยกว่า การท างานด้ ว ย AutoCAD, การน าเสนอผลงานให้ กั บ ลู ก ค้ า , ผู้ บ ริ ห ารเล็ ง เห็ น ถึ ง ความส าคั ญ และ ประสิ ท ธิ ภ าพการท างาน, ผู้ ใ ช้ เ คยมี ป ระสบการณ์ ใ นการใช้ ง าน BIM มาก่ อน, และการท างานด้ ว ย AutoCAD ต้องอาศัยบุคคลที่มีความสามารถเฉพาะตัว ในด้านการถ่ายทอดข้อมูลและการสื่อสาร คิดเป็น 11.11 เปอร์เซ็นต์ จากการวิเคราะห์พบว่าปัจจัยดัง กล่าวค่ อนข้ างมีค วามหลากหลาย ทังในแง่ของการ กระบวนการทางาน ภาพลักษณ์ขององค์กรและบุคลากร ซึ่งความหลากหลายดังกล่าวอาจจะเกิดขึ นจาก ลั กษณะประเภทธุ ร กิ จของกรณี ศึ กษา ดั ง นั นปั จจั ย ที่ พ บจึ ง มี ค วามหลากหลาย และสะท้ อนถึ ง ความ ต้ องการที่ แ ตกต่ างกั น แต่ ที่ ใ ห้ เ ห็ นชั ด เจนที่ สุ ด ก็ คื อปั จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ บุ ค คล เช่ น จานวนความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ หรือแม้แต่ ประสบการณ์ในการทางาน ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสาคัญต่อการ ประยุกต์ใช้งาน BIM 2. แยกตามลักษณะของข้อมูล จากผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่พบทัง 14 ข้อ สามารถแบ่งผลการ วิเคราะห์ออกเป็น 3 กลุ่ม ดังที่แสดงในตารางที่ 48

กลุ่มที่ 1 ด้านภาพลักษณ์ขององค์กร อันประกอบไปด้วยการพัฒนาวิธีการทางานให้เป็นสากล มากขึน, และการตอบสนองต่อความต้องการข้อมูลของลูกค้าและตลาดที่กาลังเกิดขึนในอนาคต จากการ วิเคราะห์พบว่า ส่วนใหญ่แล้วองค์กรด้านการออกแบบจะเน้นด้านภาพลักษณ์องค์กรเป็นสาคัญ เนื่ องจาก มีผลต่อการรับงาน โดยเฉพาะโครงการที่เจ้าของเป็นคนต่างชาติ หรือโครงการขนาดใหญ่ ดังนันการที่ จะ เข้ าไปแข่ ง ขั นในตลาดระดั บนั นได้ ภาพลั กษณ์ ข ององค์ กรจึ ง มี ค วามส าคั ญอย่ างมาก ยิ่ ง ถ้ าเป็ นความ ธณัชชา สุขขี

183


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

ต้องการของลูกค้าโดยตรง ก็ย่อมปฏิเสธไม่ได้ เพราะฉะนันเทคโนโลยีด้านการทางานจึงส่งผลโดยตรงต่อ องค์กร กลุ่มที่ 2 ด้านกระบวนการทางาน อันประกอบไปด้วย แบบก่อสร้างจริง (As - built Drawing) มีความถูกต้องเชื่อถือได้, การบริการจัดการ, ใช้สาหรับตรวจสอบข้อขัดแย้งที่เกิดขึนจากแบบก่อสร้าง, เพิ่ม ประสิทธิภาพในการออกแบบ/ ก่อสร้าง, การนาเสนอผลงานต่อลูกค้ า, ลดการสูญเสียทรัพยากรที่ อาจ เกิดขึนจากความผิดพลาดที่เ กิด จากแบบก่ อสร้ าง และช่วยลดเวลาและการท างานที่ ซับ ซ้ อน จากการ วิเคราะห์พบว่าบริษัทรับเหมาก่อสร้างจะให้ความสาคัญในปัจจัยที่เกี่ยวกับการตรวจสอบข้อขัดแย้ง และ ลดการสูญเสียทรัพยากร ด้านกระบวนการทางานค่อนข้างจะมีผลทั งบริษัทออกแบบและรับเหมาก่อสร้ าง จะแตกต่างกันก็ขึนอยู่กับขันตอนของแต่ละประเภทธุรกิจ กลุ่มที่ 3 ด้านบุคลากร อันประกอบไปด้วยผู้บริหารเล็งเห็นความสาคัญ และประสิทธิภาพการ ทางานของ BIM, การมีประสบการณ์ด้านการใช้งาน BIM มาก่อน และการใช้โปรแกรม AutoCAD ต้อง อาศัยบุคคลที่มีทั กษะและความรู้ความสามารถเฉพาะตัว ในด้านการถ่ายทอดข้อมูลและการสื่อสาร จาก การวิเคราะห์พบว่าปัจจัยด้านบุคลากรมีผลต่อองค์ กรที่ดาเนินธุรกิจด้านการออกแบบรับเหมาก่อสร้างและ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ส่วนใหญ่ที่มีการประยุกต์ใช้ BIM เพราะเป็นผู้ที่มีการใช้งานโดยตรง ดังนันหากจะ ให้การประยุกต์ใช้ได้ประโยชน์มากสูงสุด ผู้บริหารและผู้ใช้งานจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ ท างานของ BIM มี การศึ กษาถึ ง ลั กษณะการท างาน การบริ ห ารจั ด การ และการใช้ เ ทคโนโลยี อย่ า ง เหมาะสม ควรมี การกาหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ห รื อเป้ าหมายในการใช้ ง านที่ ชั ด เจนของ BIM จั ด ให้ มีการ ฝึกอบรมและให้ความรู้กับพนักงาน หรือบุคลากรในองค์กรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีความ เข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน และสามารถพัฒนาไปสู่การถ่ายทอดข้อมูลและการสื่อสารอย่างมีประสิท ธิภาพ สูงสุด การวิเคราะห์ประโยชน์ที่ได้รับจากการประยุกต์ใช้ BIM ในองค์กร จากการประยุกต์ใช้แนวคิดแบบจาลองข้อมูลอาคารในกรณีศึกษา ซึ่งได้มีการแสดงความคิ ดเห็น และทัศนะคติเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการประยุกต์ใช้งานและรูปแบบการดาเนินของแต่ละประเภท องค์กร ดังที่แสดงในตารางที่ 49

184

ธณัชชา สุขขี


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

จากการวิเคราะห์ประโยชน์ที่ได้รับโดยเปรียบเทียบจากองค์กรที่มีหน้าที่และความรั บผิดชอบ ต่ างกั น พบว่ า ผู้ ออกแบบผู้ รั บ เหมาก่ อสร้ างและผู้ พั ฒ นาอสั ง หาริ มทรั พย์ ต่ างก็ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ ด้าน คุณภาพของงานโครงการที่คล้ายกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การถอดปริมาณวัสดุก่อสร้างและประมาณราคา เนื่องจากข้อมูลทางปริมาณที่ได้จากแบบจาลองข้อมูลอาคาร มีความละเอียดถูกต้องและแม่นยามากกว่า การคานวณด้วยคน ซึ่งเป็นการลดปริมาณวัสดุที่เกินความต้องการ ส่งผลให้การประมาณราคาก่อสร้ าง ใกล้เคียงกับความเป็นจริง สาหรับประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ที่พบ ได้แก่ การสร้างแบบจาลอง 3 มิติ และการ ตรวจสอบข้อขัดแย้งของแบบก่อสร้าง ซึ่งปัจจัยดังกล่าวก็ถือเป็นหัวใจสาคัญของการประยุกต์ใช้ เนื่องจาก แบบจาลองอาคารเกิ ด จากการบั นทึ กฐานข้ อมู ล ต่ าง ๆ (Information) ของอาคารเข้ าไป และสร้ าง ความสัมพันธ์ของข้อมูลต่าง ๆ เหล่านัน โดยความสัมพันธ์เหล่านีจะมีการเชื่อมโยง และตรวจสอบกั นเอง ระหว่างการทางานที่ใช้แบบจาลองข้อมูลเดียวกัน ส่งผลให้ลดปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างแบบก่อสร้าง ทัง งานโครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม และงานระบบอาคาร ด้านเวลา พบว่าผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ได้รับประโยชน์มากกว่าองค์กรประเภทอื่น ๆ ทังด้าน ระยะเวลา และต้นทุนในการทางานที่ลดลง ลดปัญหาการทางานที่ซาซ้อน และการแก้ไขแบบก่อสร้ างให้ เป็นปัจจุบัน ซึ่งประโยชน์ต่าง ๆ เหล่านี ล้วนส่งผลต่อการบริหารจัดการข้อมูลต่าง ๆ ของโครงการทั งสิน เช่น การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากข้อมูลมีความเป็นปัจจุบัน (Update) อยู่เสมอ แม้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขเกิดขึน เช่น ปริมาณวัสดุ หรือการจัดทางบประมาณที่มีความสะดวก รวดเร็ว และแม่นยา เป็นต้น ด้ านการบริ หาร พบว่าทางด้านผู้ ออกแบบและผู้พั ฒ นาอสัง หาริ มทรัพย์ จะได้รับประโยชน์ ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะการสร้างภาพพจน์ข ององค์กร และความสามารถในการแข่งขั นกับคู่แ ข่ง ได้ ใ น อนาคต โดยเฉพาะการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีในการทางาน ซึ่ง ในปัจจุบันส่วนแบ่งทางการตลาดใน อุตสาหกรรมก่อสร้างมีจานวนมากขึน ดังนันแต่ละองค์กรจึงพยายามหาจุดแข็ง เพื่อพัฒนาองค์กรให้เป็นที่ รู้จักของกลุ่มเป้าหมาย ทังในและต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงกระแสของการเปิดเสรีการค้า (FTA) ที่จะเกิดขึน ในปี พ.ศ. 2558 นี ด้านผู้รับเหมาก่อสร้างนันจะได้ประโยชน์ด้านการบริหารจัดการเป็นหลั ก เช่น การ บริหารจัดการเอกสารงานก่อสร้าง การบริหารจัดการอาคาร และการบริหารงานก่อสร้าง เป็นต้น

ธณัชชา สุขขี

185


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

การวิเคราะห์ปัญหา-อุปสรรคที่เกิดจากการประยุกต์ใช้ BIM ในองค์กร จากการประยุกต์ใช้แนวคิดแบบจาลองข้อมูลอาคาร ในกรณีศึกษาซึ่งได้มีการแสดงความคิ ดเห็น และทัศนคติเกี่ยวกับปัญหา - อุปสรรคที่เกิดจากการประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าว ซึ่งแตกต่างกันออกไปตาม ลักษณะการประยุกต์ใช้งานและรูปแบบการดาเนินงานของแต่ละประเภทองค์กร ซึ่งจาแนกตามสาเหตุที่ ทาให้เกิดปัญหาได้ 4 ด้าน คือ ด้านเทคโนโลยี ด้านบุคลากร ด้านขันตอนการทางาน และด้านองค์กร ดังที่ แสดงในตารางที่ 50 ซึ่งจากการวิ เคราะห์ด้ านปัญ หา - อุปสรรค ที่เกิดจากการประยุ กต์ ใช้ โดยเปรีย บเทีย บจาก องค์กรทีมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่ต่างกัน พบว่า ด้านเทคโนโลยี ปัญหาด้านลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์และการเพิ่มประสิทธิภาพของฮาร์ดแวร์มีร าคา ค่อนข้างสูง ซึ่งจะส่งผลโดยตรงด้านการลงทุน เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีในการทางาน โดยเฉพาะกับบริษัท ขนาดกลางและขนาดเล็กซึ่งมีต้นทุนจากัดส่งผลให้การใช้งาน BIM ในองค์กรมีน้อย ด้ านบุ ค ลากร ซึ่ ง วิ เ คราะห์ โ ดยมองจากความรู้ ความสามารถ และทั ศ นคติ ส่ วนบุ ค คลของ ผู้ใช้งาน BIM พบว่าองค์กรทังด้านการออกแบบรับเหมาก่อสร้าง และผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ล้วนประสบ ปัญหาการขาดแคลนบุ คลากรด้ านการใช้ง าน และบุคลากรที่มีค วามรู้ค วามเชี่ย วชาญด้ านการบริ ห าร จั ด การระบบการท างานของ BIM ใกล้ เ คี ย งกั น เนื่ องจากแนวคิ ด ดั ง กล่ า วถื อ เป็ นเรื่ องใหม่ ส าหรั บ อุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย และยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก ดังนันการพัฒนาด้านเทคโนโลยีจึงยั งมี ข้ อจากั ด อี กมาก ปั จจั ย ส าคั ญ อี กประการหนึ่ ง ก็ คื อ ขาดการเผยแพร่ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ แนวคิ ด ดั ง กล่ าว โดยเฉพาะในสถาบันการศึกษา ซึ่งเป็นแหล่งผลิตบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในแต่ละสาขาอาชีพ ส่งผลให้การเรียนรู้เกี่ยวกับแนวคิดดังกล่าวเกิดขึนจากการศึกษาด้วยตนเอง การเข้ารับการฝึกอบรมด้ าน การใช้งานจากบริษัทผู้จัดจาหน่ายซอฟต์แวร์หรือผู้ให้บริการด้านการฝึกอบรมหรือศึกษาจากผู้รู้ เป็นต้น ดังนันหากต้องการจะลดปัญหา - อุปสรรคในด้านดังกล่าว จึงควรมีการร่วมมือระหว่างหน่ วยงานหรื อ องค์กรทังทางภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันส่งเสริมและผลักดันให้มีการพัฒนาทั งทางด้ าน การศึกษาและการพัฒนาด้านเทคโนโลยี เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทยให้มีความเป็น สากลเพื่อให้ทัดเทียมและสามารถแข่งขันกับต่างชาติได้ ในแง่ของทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้งานก็เช่นเดียวกัน เนื่องจากความเคยชินในระบบการ ทางานและเทคโนโลยีแบบเก่า ซึ่ งมีการใช้งานมาอย่างยาวนาน ส่งผลให้เกิดการต่อต้านและทัศนคติใน ด้านลบเกี่ยวกับรูปแบบและเทคโนโลยีสมัยใหม่ และสาเหตุสาคัญอีกอย่างนันก็คือ การมองว่าเทคโนโลยี ดังกล่าวจะเข้ามาเพิ่มภาระหน้าที่และปริมาณงานมากขึนกว่าเดิม ดังนันการจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ ทัศนคติดังกล่าวจึงต้องการให้ความรู้ การฝึกอบรมรวมถึงระยะเวลาในการเรียนรู้ระบบการทางานใหม่ ๆ ซึ่งอาจจะต้องการใช้เวลานานในช่วงแรกของการดาเนินการ ด้านขั้น ตอนในการทางาน พบว่าองค์กรด้านการออกแบบ และรับเหมาก่อสร้าง จะประสบ ปัญหาคล้ายกันคือ ด้านการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างผู้ที่ใช้งานร่วมกัน เนื่องจากเป็น BIM ระบบการทางาน ที่ค่อนข้างใหม่ และที่สาคัญคือยังไม่เป็นที่นิยมแพร่หลายมากนักในประเทศไทย ดังนันจึงก่อให้เกิดปั ญหา ในแง่ของการเชื่อมโยงข้อมูลในระหว่างการทางานระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ออกแบบ ผู้รับเหมาก่อสร้ าง หรื อผู้ ผ ลิ ต ชิ นส่ วน เป็ นต้ น ซึ่ ง การแก้ ไ ขปั ญ หาดั ง กล่ าว ในปั จจุ บั นจึ ง เป็ นแนวทางของการก าหนด เทคโนโลยีที่ใช้สาหรับเป็นตัวกลาง ซึ่งสามารถเชื่อมโยงการทางานจากเทคโนโลยีที่มีความแตกต่างกั นได้ และข้อมูลที่ได้จากเทคโนโลยีเหล่านันก็สามารถนาไปทางานในขันตอนอื่น ๆ ต่อไปได้ ในแง่ของการประสานงานกับผู้รับเหมาก็เช่นเดียวกับที่ได้กล่าวไปข้างต้น โดยเฉพาะผู้รับเหมา จะประสบปัญหาเหล่านีโดยตรง เนื่องจากต้องประสานงานกับผู้รับเหมาช่วง ในระหว่างการทางานซึ่งต้ อง อาศัยการสื่อสารและถ่ายทอดข้อมูลเป็นหลัก นอกจากนันก็คือขาดการสนับสนุนในด้านฐานข้อมูลสาหรับ ใช้ประกอบการทางาน ซึ่งเกิดขึนกับผู้พัฒนาอสั งหาริ มทรัพย์ ดังนันจึงทาให้ต้องมี การสร้ างฐานข้ อ มู ล ขึ นมาเอง หรื อ เข้ า ไปดาวน์ โ หลดข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ของอาคาร เช่ น ประตู หน้ า ต่ า ง หรื อ สุ ข ภั ณ ฑ์ ข อง ต่างประเทศ ซึ่งข้อมูลบางประเภทก็ไม่เหมาะสมกับการใช้งานในประเทศไทย เป็นต้น 186

ธณัชชา สุขขี


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

ด้านองค์กร ซึ่งวิเคราะห์โดยมองจากความรู้ค วามเข้ าใจองค์ กรหรื อผู้ บริห าร วิธีการบริ ห าร จัดการ และความสามารถด้านการฝึกอบรมพนักงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้ BIM พบว่าทังองค์กรออกแบบ และรับเหมาก่อสร้างต่างก็พบปัญหาใกล้เคียงกันคือ ความไม่เข้าใจของผู้บริหารเกี่ยวกับประสิทธิภาพและ กระบวนการทางานของ BIM ส่งผลให้การจะนาแนวคิดดังกล่าวเข้ามาประยุกต์ใช้ในองค์กรมีความเป็ นไป ได้ยาก เพราะผู้บริหารส่ วนใหญ่ยั งไม่เ ข้ าใจในระบบการท างาน ระยะเวลา และผลที่จะได้รับ ปัญหา นอกเหนื อจากนั นก็ คื อ ขาดแคลนบุ ค ลากรที่ จะมาให้ค วามรู้ แ ละให้การฝึกอบรมถึง ระบบการท างาน วิธีการใช้และการบริหารจัดการซึ่งถือเป็นปัจจัยสาคัญ เนื่องจากในปัจจุบันการให้คาปรึกษาและจัดอบรม จะมาจากผู้ จัด จาหน่ ายซอฟต์ แ วร์ เ ป็ นส่ วนใหญ่ ส่ วนการให้ ค าปรึ กษาก็ เ ฉพาะกั บ องค์ กรหรื อผู้ ที่ ซื อ โปรแกรมแล้วเท่านัน ในการแก้ไขปัญหาดั งกล่าวอาจจะเริ่มที่ตัวผู้บริหารหรือบุคลากร ที่มีหน้าที่ความ รับผิดชอบในด้านดังกล่าว ในการศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และปรับเปลี่ยนทัศนคติใน ด้านลบ เพื่อที่จะเปิดสูงมุมมองและความคิดใหม่ ในการพัฒนาประสิทธิภาพการทางานขององค์กรให้ดีขึน สรุปผลการศึกษาและดาเนินการ งานศึกษาวิจัยครังนี เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเลือกใช้ BIM ในอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศ ไทย โดยมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ สารวจการใช้งานแบบจาลองข้อมูลอาคารในประเทศไทย และ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคารในประเทศไทย 1. จากการส ารวจการใช้ง านแบบจาลองข้ อมู ล อาคารในประเทศไทย พบว่าปัจจุบั น มี การ ประยุกต์ใช้แบบจาลองข้อมูล อาคารในองค์ กรออกแบบและรับเหมาก่ อสร้ างในประเทศไทยไม่ มากนั ก ประมาณ 22 เปอร์เซ็นต์ แต่ส่วนใหญ่รู้จักและเข้าใจว่า BIM คือระบบการจัดการอาคารผ่านกระบวนการ ธณัชชา สุขขี

187


การศึกษาเลือกใช้แบบจาลองข้อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างในประเทศไทย

ของ Software สามมิติ ซึ่งตรงกับความหมายหรือนิยามที่ให้ไว้ในการศึกษานี และยังพบอีกว่า องค์กรด้าน การออกแบบมีปริมาณการใช้งานมากกว่าองค์กรรับเหมาก่อสร้าง 3 งานหลักที่ใช้ในองค์กรเหล่านี คือ การ สร้ างแบบจาลองอาคารสามมิ ติ , การเขี ย นแบบก่ อสร้ าง และการนาเสนอผลงาน คื อรู ป แบบการ ประยุกต์ใช้งานที่มีอัตราการใช้มากที่สุด นอกจากนียังพบอี กว่ า องค์กรด้านการออกแบบและรับ เหมา ก่อสร้างต่างให้ความสนใจเกี่ยวกับความสาคัญของ BIM ที่มีผลต่ออุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลด ขันตอนระยะเวลาและต้นทุนในการทางาน และข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึนในขันตอนการออกแบบและใน ระหว่างขันตอนของการก่อสร้าง 2. จากการศึ กษาปั จจั ย ที่ มี ผ ลต่ อการใช้ แ บบจาลองข้ อมู ล อาคารในประเทศไทย สามารถ สรุปผลการศึกษาได้ว่า ปัจจัยที่มี ผลต่อการใช้แบบจาลองข้อมูล อาคารส าหรับ อุตสาหกรรมออกแบบ/ รับเหมาก่อสร้างในประเทศไทยมากที่สุดคือ การตรวจสอบข้อขัดแย้งของแบบก่อสร้าง ปัจจัยที่มีผลต่อการ เลือกใช้มาก คือเพิ่มประสิทธิภาพในการออกแบบ เช่น ประมาณราคา วิเคราะห์อาคาร และลดการสูญเสีย ทรัพยากร ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ระดับปานกลาง คือ As - Built Drawing มีความถูกต้องเชื่อถือได้ และลดปัญหาจากการเริ่ มต้นทางานใหม่ เมื่อเกิดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงและปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ น้อยที่สุดก็คือ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า , พัฒนาวิธีการทางานให้เป็นระบบสากล, ใช้บุคลากร น้อยกว่าการทางานด้วย AutoCad, สามารถนาเสนอข้อมูลมาบริหารจัดการอาคาร, การนาเสนอผลงาน ในรูปแบบ 3 มิติ, ผู้บริหารเล็งเห็นความสาคัญของ BIM, มีประสบการณ์ด้านการใช้งาน BIM มาก่อน, การ ใช้ AutoCAD ต้องอาศัยผู้ที่มีทักษะในการถ่ายทอดข้อมูลและสื่อสาร และกระแสของ LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) จากผลการศึกษาที่พบทาให้ทราบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ แบบจาลองข้อมูลอาคารมาก ที่สุดคือ เพื่อตรวจสอบข้อขัดแย้งของแบบก่อสร้าง ซึ่งผลการดังกล่าวมีความสอดคล้องกับสมมติฐานที่ได้ ตังเอาไว้ นั่นคือช่วยลดข้อผิดพลาดและระบุจุดบกพร่องของแบบก่อสร้างก่อนการสร้างจริง ข้อเสนอแนะ 1. ข้ อมู ล ที่ ไ ด้ จากการวิ จัย เป็ น การส ารวจข้ อ มู ล จากกลุ่ ม ตั ว อย่ า งขององค์ กรออกแบบ/ รั บ เหมาก่ อสร้ างทังสิ นจานวน 73 องค์ กร ซึ่ ง ข้ อมู ล ดั ง กล่ าวเป็ นเพี ยงส่ วนหนึ่ ง ขององค์กรออกแบบ/ รับเหมาก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร เพราะฉะนันการอ้างอิงข้อมูลนี จึงควรใช้วิจารณญาณและไตร่ตรอง อย่างถี่ถ้วน ซึ่งในงานวิจัยต่อไปควรมีการใช้ข้อมูลจานวนมาก ขึนเพื่อให้ผลงานวิจัยมีความละเอียดและ ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด 2. เนื่องจากรูปแบบการประยุกต์ใช้งานแบบจาลองข้อมูลอาคาร มีการปรับเปลี่ยนตามความ เหมาะสมและลักษณะการทางานของแต่ละองค์กร จึงควรมีการศึกษารูปแบบ และลักษณะการทางานของ องค์กรแต่ละประเภทก่อน แล้วจึงทาการศึกษาวิเคราะห์ในด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป 3. การประยุกต์ใช้แนวความคิด ในการจัดการข้ อมู ลอาคารในประเทศไทยยั งไม่ สมบู ร ณ์ นัก เนื่ องจากขาดความพร้ อ มของปั จ จั ย หลาย ๆ อย่ าง เช่ น ขาดบุ ค ลากรที่ มีค วามรู้ ความเข้ าใจด้ า น กระบวนการทางานของ BIM ความพร้อมด้านเทคโนโลยีและฐานข้อมูล และที่สาคัญก็คือทัศนคติในทาง ลบของผู้บริหารและผู้ใช้งานที่มีต่อรูปแบบและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นต้น 4. การประยุกต์ใช้แนวความคิด ในการจัดการข้อมูลอาคารและเทคโนโลยีให้มีความเหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุด ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในการแบ่งปันและเชื่อมโยงข้ อมูล และจะนาไปสู่การลดข้อผิดพลาด ซึ่งเกิดขึนจากการทางานได้เป็นอย่างดี

188

ธณัชชา สุขขี


3



การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก บทคัดย่อ ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส คาสาคัญ: ระบบสารสนเทศ/ องค์กรสถาปนิกขนาดเล็ก/ การสื่อสาร อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.นนท์ คุณคาชู

งานวิจัยชินนีเป็นการศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก โดยจะให้ความสาคัญ กับ องค์ กรสถาปนิ ก ที่ มีจานวนพนั กงานในองค์ กรไม่ เ กิ น 20 คน มี การเจาะจงเลื อ กกลุ่ มตั ว อย่ า งเพื่ อ ทาการศึกษา และเก็บข้อมูลโดยศึกษารูปแบบการทางานขององค์กรสถาปนิก ก่อนจะใช้วิธีการสัมภาษณ์ ผู้บริหาร หรือสถาปนิกภายในองค์กรสถาปนิก เพื่อจะนามาวิเคราะห์และสรุปผลการศึกษา ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการทางานขององค์กรสถาปนิกขนาดเล็ก ที่มีพนักงานไม่เกิน 20 คน มีรูปแบบขันตอนและวิธีการในการทางานที่คล้ายกัน เป็นผลทาให้การเลือกใช้ระบบสารสนเทศค่อนข้าง จะเป็นไปในทิศทางเดีย วกั น โดยองค์กรส่วนใหญ่ จะเลือกระบบสารสนเทศที่ส ามารถตอบสนองความ ต้องการตามลักษณะของการทางานในแต่ละขันตอนและวัตถุประสงค์ขององค์กรได้เป็นอย่างดี เพื่อช่วยให้ การทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ยกเว้นในบางกรณีที่อาจจะมีการเลือกใช้ระบบสารสนเทศบางอย่าง เพื่อตอบสนองขันตอนการทางานที่มีความพิเศษออกไปนอกเหนือจากที่ เป็นอยู่ โดยระบบสารสนเทศที่มี ความส าคั ญ และมี การเลื อ กใช้ ภ ายในองค์ กรสถาปนิ กสู ง สุ ด 2 อั นดั บ แรก คื อ ระบบใช้ จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) คิดเป็น 24 เปอร์เซ็นต์ และการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์ คิดเป็น 20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมักจะพบในหลายขันตอนของการทางาน นอกจากนีรูปแบบของโครงการที่ด าเนิ นการ รวมถึงลูกค้าก็มีส่วนส าคัญในการเลื อกใช้ ร ะบบ สารสนเทศขององค์กรสถาปนิก เพื่อให้สามารถตอบสนองการทางานได้อย่างเหมาะสม

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส

191


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

A STUDY OF INFORMATION SYSTEM USAGE IN ARCHITECTURAL FIRMS ABSTRACT LINDA MAY MELENDEZ KEYWORD: INFORMATION SYSTEM/ ARCHITECTURAL FIRMS/ SMALL ARCHITECTURAL FIRMS/ COMMUNICATION ADVISOR: NON KHUNCUMCHOO, PH.D.

This research aimed to investigate the process and use of Information Systems (IS) in architectural organizations. The study focused on the organization which had no more than 20 employees. Firstly, Data regarding working processes in each organization were collected and later, some individuals were interviewed. The informants in the study were architectural firms’ managers and architects. The study found that small architectural organizations had similar procedures and processes. The size of organization affected how the information systems were used. Most IS chosen were based on the characteristics of each work steps and organization’s goals, in terms of efficiency and effectiveness. However, in some cases, needs for extra use of information systems were found for organizations that provided service more than the standard. The top two most usage IS in architectural organizations were by communicating via electronic mail (e-mail) which accounted for 24 percentage and via telephone which accounted for 20 percentage. In addition, the study also found that the decision of choosing and using IS in each project were directly related to customer’ preference.

192

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

สรุปผลอภิปราย บทนีจะแสดงการวิ เคราะห์ข้ อมู ล เรื่องการศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์ กรสถาปนิ ก ผูว้ ิจัยได้นาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและสถาปนิกมาวิเคราะห์ โดยจะแบ่งเป็นสามส่วนดังนี ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ผลการศึกษา ส่วนที่ 2 สรุปผลการศึกษาและการดาเนินการ ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะในการวิจัย การวิเคราะห์ผลการศึกษา ระบบสารสนเทศที่มีการใช้งานในองค์กรสถาปนิก จากผลการศึกษาสามารถสรุปรูปแบบของระบบสารสนเทศภายในองค์กรสถาปนิกออกได้เป็น สามส่วนดังนี 1. การพูดคุยติดต่อสื่อสาร เป็นรูปแบบของสารสนเทศที่มีความสาคัญที่สุดสาหรับองค์กรสถาปนิกขนาดเล็ก เพราะจะเป็น การสื่อสารข้อมูลไปสูงผู้รับได้โดยสะดวก มีขันตอนที่ไม่ซับซ้อน และสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลได้ทันที จากการวิเคราะห์ สามารถแบ่ งรูปแบบของระบบการพูด คุย ออกเป็ นสองระบบ คือ การ พูดคุยแบบตัวต่อตัวอย่างไม่เป็นทางการ และการพูดคุยตัวต่อตัวอย่างเป็นทางการ 1.1 การพูดคุยแบบตัวต่อตัวอย่างไม่เป็นทางการ เป็นรูปแบบที่องค์กรสถาปนิกเลือกใช้ในการติดต่อสื่อสารกันภายในองค์กรเป็นหลัก การพูดคุย แบบตัวต่อตัวอย่างเป็นทางการ ยังสามารถจาแนกวิธีการที่ใช้ได้ดังนี การพูดคุยแบบตัวต่อตัวโดยตรง จากการศึกษาพบว่า การพูดคุยแบบตัวต่อตัวโดยตรงเป็นรูปแบบที่มีการใช้งานภายในองค์กร สถาปนิกทุกองค์กร เนื่องจากหลายปัจจัย เช่น จานวนพนักงานที่ไม่มาก ลักษณะของขันตอนในการทางาน ที่จะต้องมีการพูดคุย ประสานงานกั น ทาให้การสื่อสารรูปแบบนีสามารถตอบสนองความต้ องการของ องค์กรสถาปนิกขนาดเล็กได้เป็นอย่างดี โดยการพูดคุยจะมีขึนระหว่างพนักงานและผู้บริหาร ส่วนใหญ่ ข้อมูลที่สื่อสารจะเกี่ยวกับงานที่ดาเนิ นการอยู่ เช่น การปรึกษาหรือเสนอแนะแนวทางในการออกแบบ หรือการวิจารณ์งานที่ทา จะมีลักษณะที่ไม่เป็นทางการ ผู้บริหารสามารถที่จะเข้าไปพูดคุย แสดงความ คิดเห็นได้โดยตรง ไม่จาเป็นต้องผ่านรูปแบบการสื่อสารแบบอื่น เช่นเดียวกับพนักงานในองค์ กร ที่สามารถ พูดคุยประสานงานกั นได้โดยสะดวก ส่วนใหญ่องค์กรสถาปนิ กขนาดเล็ ก จะมี ข นาดของสถานที่ใ นการ ทางานไม่ใหญ่มากนัก รูปแบบการวางผังของการทางานก็มักจะแบ่งออกเป็นสัดส่วนอย่ างชัดเจน เช่น ส่วน ของฝ่ายออกแบบจะอยู่ในพืนที่เดียวกัน เมื่อมีข้อสงสัยหรือต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลก็จะสามารถทาได้ ทันที โทรศัพท์ องค์กรสถาปนิกขนาดเล็ก จะมีรูปแบบของการพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ โดยผ่านทางโทรศัพท์ เพราะเป็นวิธีการที่สะดวก และสามารถแจ้งเรื่องที่ต้องการทราบหรือได้คาตอบของเรื่องต่าง ๆ ได้ทันที จากการศึกษาพบว่า มีการใช้โทรศัพท์ในหลายขันตอนของการทางาน โดยเริ่มจากขันแรก คือการติดต่อ ระหว่างองค์กรสถาปนิกและลูกค้า วิธีการนีจะช่วยให้องค์กรสถาปนิกและลูกค้าพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูล กันได้อย่างเข้ าใจมากขึน โดยเฉพาะกับลูกค้าใหม่ที่ยังไม่เคยร่วมงานกับองค์กรสถาปนิกมาก่อน ในส่วน ของขั นตอนการท าแบบขั นต้ นจนถึ ง การท าแบบก่ อสร้ าง การใช้ วิธีการพู ด คุ ย ทางโทรศัพ ท์ จะเป็ นใน ลักษณะของการแจ้งให้ทราบ ก่อนจะมีการส่งเอกสารทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ให้ ในส่วนของ ฝ่ายออกแบบจะเป็นเพียงการติดต่อเล็ก ๆ น้อย ๆ เท่านัน เพราะในช่วงนียังไม่ต้องประสานงานกับส่ วนอื่น ๆ มากนัก ยกเว้นวิศวกรและบริษัทรับเขียนแบบ (Outsource) แต่สาหรับส่วนของเลขานุการ จะมีการใช้

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส

193


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

โทรศัพท์ในการติดต่อประสานงานตลอด ตังแต่การติดต่อลูกค้าหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่องค์กร ต้องดาเนินการยื่นเรื่องขออนุญาตด้วย การประชุม การพูดคุยแบบไม่เป็นทางการผ่านวิธีการประชุมขององค์กรสถาปนิก จะเป็นการประชุมภายใน องค์กร ที่มีผู้เข้าร่วมประชุมเพียงแค่พนักงานเท่านัน โดยส่วนใหญ่การประชุมลักษณะนีจะมีในส่วนของ ผู้ออกแบบ ได้แก่ สถาปนิกและพนักงานเขีย นแบบ ผู้บริหารจะใช้วิธีการประชุมในกรณีที่ มีการเริ่ มต้ น โครงการใหม่ และต้องการแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบได้ทราบถึงรูปแบบของโครงการ รวมถึง ขอบเขตของการทางานเพื่อการรับรู้ร่วมกัน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการชีแจงข้อมูลต่าง ๆ ก็จะเป็นรูปแบบที่ สามารถเข้าใจร่วมกันได้ง่ายและส่งผลต่อทุกคนในองค์กร เมื่อต้องการซักถาม สามารถที่จะซักถามและมี การตอบข้อสงสัยได้ในทันที เป็นการลดช่องว่างระหว่างผู้บริหารและพนักงานลง ช่วยให้ทางานได้ง่ายขึน ภายหลั ง จากรั บ ข้ อมู ล จากผู้ บ ริ หารหรื อสถาปนิ กอาวุ โ สแล้ ว ในบางโครงการอาจจะต้ องใช้ รูปแบบของการประชุมเข้ามาในขันเริ่มต้นอีก โดยเป็นการประชุมแบบไม่เป็นทางการ องค์กรสถาปนิก ขนาดเล็กจะเน้นที่การชีแจงผ่านกระดาษหรือเอกสาร ยกเว้นกรณีที่โครงการมีความซับซ้อน อาจจะต้องมี การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยขยายความ เพื่อให้พนักงานหรือผู้ที่ต้อ งการจะ สื่อสารเข้าใจข้อมูลที่ได้รับมาตรงกัน และป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึน จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) จากการศึกษาองค์กรสถาปนิกขนาดเล็ก มีการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ในการพูดคุย อย่างไม่เป็นทางการกับบุคคลที่เกี่ยวข้องในขันตนการทางาน ส่วนใหญ่จะเป็นการติดต่อสื่อสารระหว่าง องค์กรสถาปนิกและวิศวกรในช่วงของการทาแบบก่อสร้าง โดยจะเป็นการชีแจงรายละเอียดที่เกี่ยวกั บ เอกสารที่แนบส่งไป และเมื่อมีการตอบกลับจากวิศวกรก็จะเป็นในรูปแบบเดียวกัน เพราะรวดเร็วและมี ขันตอนที่ไม่ยุ่งยาก สาหรับการติดต่อสื่อสารในช่วงการก่อสร้างระหว่างองค์กรสถาปนิกกับผู้รับเหมาโครงการ จะ เป็ นการสอบถามข้ อสงสั ยต่ าง ๆ หรื อเพื่ อสื่ อสารถึ ง ปัญ หาที่เ กิ ดขึ นในระหว่ างการก่ อสร้ าง จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) จะช่วยให้การสื่อสารในช่วงนีมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน เพราะเมื่อเกิดปัญหาที่ สถานที่ก่อสร้าง ผู้รับเหมาสามารถที่จะส่งข้อความพร้อมรูปถ่ายของปัญหามาทางจดหมายอิเล็กทรอนิ ก ส์ (E-mail) ทันที สถาปนิกเมื่อได้รับข้อความแล้ว ก็พิจารณาและส่งกลับไปในรูปแบบเดียวกัน จะเห็นได้ว่า จดหมายอิเล็กทรอนิ กส์ (E-mail) จะช่วยให้การทางานในขั นตอนนี มีค วามสะดวกมากยิ่งขึ น ต่างจาก รูปแบบของการส่งผ่านข้อมูลทางโทรสาร ที่พบข้อผิดพลาดบ่อยครัง เนื่องจากข้อจากัดหลาย ๆ ด้าน เช่น เอกสารที่ส่งเป็นขาว - ดา ทาให้ข้อมูลที่ต้องการจะสื่อสารไม่มีความชัดเจน หรือข้อจากัดทางด้านของการ ส่งรูปภาพ ข้อความต่าง ๆ ที่ไม่สามารถแสดงข้อมูลที่ต้องการส่งได้ ดังนัน องค์กรสถาปนิกในปัจจุบั นจึ งใช้ วิธีการพูดคุยสื่อสารทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) มากกว่า 1.2 การพูดคุยแบบตัวต่อตัวอย่างเป็นทางการ เป็นรูปแบบของระบบสารสนเทศที่มีการเลือกใช้ในส่วนของการติดต่อสื่อสารกับบุคคลภายนอก ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นลูกค้าและผู้ร่วมงานหลาย ๆ ฝ่าย สามารถจาแนกวิธีการที่ใช้ได้ดังนี การประชุม องค์กรสถาปนิกที่ทาการศึกษาจะเลือกใช้การประชุมในแบบที่เป็นทางการ โดยการพบปะพูดคุย กันในขันตอนของการทางานที่มีความสาคัญ และมีบุคคลในการเข้าร่วมประชุมจากหลายองค์กร โดยจะ เห็นได้ว่า มีการใช้การประชุมในรูปแบบที่เป็นทางการในหลายขันตอน ดังนี - การประชุมเพื่อนาเสนอแบบร่างขันต้น ในช่วงนีจะเป็ นช่ วงเริ่มต้นของโครงการ จากผลการศึกษาพบว่ าทุ กองค์ กรเลือกใช้รู ป แบบนี เพราะในขันตอนแรกนัน การพบปะพูดคุยระหว่างเจ้าของโครงการและสถาปนิกถือเป็นสิ่งสาคัญ สถาปนิก จะทราบถึ ง ความต้องการของเจ้ าของโครงการได้ใ นการพู ดคุ ย การนาเสนอแบบร่ างขั นต้ น มี ทั งการ นาเสนอแบบใช้โปรแกรมสาเร็จรูป และการใช้เอกสารแบบร่างขันต้น ทังสองวิธีการนีจะทาให้เ จ้ าของ 194

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

โครงการมีความเข้าใจในแบบที่ทางสถาปนิก ต้องการนาเสนอ หากมีข้อสงสัยก็สามารถที่จะซักถามและ เสนอแนะได้อย่างเต็มที่ - การประชุม ณ สถานที่ก่อสร้าง จะเป็นอีกรูปแบบของการประชุมที่ต้องมีความเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย เช่น ผู้รับเหมาหรือ วิศวกร การประชุมจึงจะต้องมีความเป็นทางการมากกว่าการประชุมทั่วไป โดยจะมีรูปแบบชัดเจน มีหัวข้อ และวาระการประชุมที่มีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า เพื่อบุคคลที่เกี่ยวข้องจาเป็นจะต้องเข้ าร่วมประชุ มและ ชีแจงตามวาระต่าง ๆ ที่ตนเองเกี่ยวข้อง - การประชุมภายในองค์กร องค์กรสถาปนิกจะมีการประชุมเป็นประจาทุกเดือน เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของงานที่ท า และแจ้งเรื่องสาคัญต่าง ๆ ภายในองค์กร โดยปกติแล้วองค์กรสถาปนิกจะเลือกใช้รูปแบบของการประชุมที่ ไม่ เ ป็ นทางการมาก แต่ จากการศึ กษาพบว่ า ในบางโอกาสจาเป็ นที่ จะต้ องมี การประชุ มในรู ป แบบนี เนื่องจากเรื่องที่จะแจ้งให้ทราบมีความเกี่ยวข้องกับบุคลากรทังองค์กร เรื่องบางเรื่องมีความเกี่ยวข้องกับ บุคคลภายนอก การประชุมในรูปแบบที่เป็นทางการจะทาให้พนักงานสามารถรับรู้ได้ว่า เรื่องที่กาลังแจ้งให้ ทราบนัน มีความสาคัญและจาเป็นจะต้องปฏิบัติตาม จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) จากการศึกษาพบว่าการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ในการพูดคุยอย่างเป็นทางการ จะ ใช้ในกรณีที่ต้องการเอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อใช้เป็นหลักฐานสาคัญในการติดต่อประสานงาน และการแจ้งให้ทราบ จากการศึกษาพบว่าในส่วนขององค์กรสถาปนิกที่ได้รับการติดต่อจากลูกค้า จะเป็น การติดต่อทางจดหมายอิเล็ กทรอนิกส์ (E-mail) ทังในส่วนของลู กค้าใหม่แ ละลู กค้าเดิ ม เพราะมีความ สะดวก ในขณะเดียวกันพบว่า องค์กรสถาปนิกที่มีการทางานร่วมกันเป็นบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Developer) มีรูปแบบของการติดต่อกันผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) มากกว่าวิธีอื่น ๆ ทังนี เนื่องจากรูปแบบของข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร จะมีความเป็นทางการมากกว่า และการส่งข้อมูลหรือพูดคุย ผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) สามารถเก็บไว้เป็นหลักฐานในการสนทนาครังต่อ ๆ ไปได้ เพราะ การทางานร่วมกับบริษัทพั ฒนาอสังหาริ มทรัพย์ (Developer) จะมีรูปแบบที่มีความเฉพาะตัวมากกว่ า การทางานขององค์กรสถาปนิกทั่วไป การติดต่อสื่อสารจะต้อ งมีสาเนาเอกสารเก็บไว้โดยตลอด เนื่องจาก การทางานจะมีเรื่องของเวลาและสัญญาที่ค่อนข้างเข้มงวดชัดเจน ดังนันถ้าหากองค์กรสถาปนิกทางาน บกพร่องหรือเกิดข้อผิดพลาดใด ๆ ก็ตาม และไม่มีหลักฐานหรือเหตุผลรองรับ อาจทาให้ทางฝ่ายบริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Developer) ฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายได้ จดหมาย จากผลการศึกษาพบว่า การพูดคุยแบบเป็นทางการผ่านจดหมาย ซึ่งมีลักษณะเป็นเอกสารเป็น วิธีการที่บริษัทพัฒนาอสั งหาริ มทรัพย์ (Developer) ใช้เพื่อส่งข้อมูลของโครงการที่ต้ องการให้อ งค์ กร สถาปนิกเข้าร่วมดาเนินการ ทาให้รูปแบบของเอกสารจะต้องมีความเป็นทางการ เพราะเอกสารนีจะใช้ เพื่ อ แจ้ ง ให้ ห น่ ว ยงานอื่ น ๆ เช่ น บริ ษั ท รั บ เหมาก่ อ สร้ า งทราบด้ ว ยเช่ น เดี ย วกั น บริ ษั ท พั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์ (Developer) จะใช้รูปแบบนี ในการติดต่อกับ องค์ กรสถาปนิกที่ร่ วมงานด้วยเฉพาะ ขันตอนที่สาคัญ และมีการแจ้งให้ทราบหรือแจ้งเตือนเมื่อมีความล่าช้าของงานเท่านัน เมื่อสถาปนิกได้รับ จดหมายก็จะสามารถรับรู้ได้ว่ามีความสาคัญที่จาเป็นจะต้องตอบกลับ โดยส่ วนใหญ่ แ ล้ ว องค์ กรสถาปนิ ก จะมี การใช้ จ ดหมายที่ เ ป็ นทางการในส่ ว นของการแจ้ ง ค่ า บริ ก ารหรื อ การเบิ ก ค่ า บริ ก ารเป็ น หลั ก โดยเลขานุ ก ารหรื อ พนั ก งานธุ ร การที่ เ กี่ ย วข้ อ งจะเป็ น ผู้ดาเนินการและจัดส่งโดยใช้พนักงานส่งเอกสาร เพราะจะต้องมีเอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร ในส่วน เอกสารที่เกี่ยวข้องกับสัญญาหรือค่าบริการ จาเป็นที่จะต้องแสดงตราประทับของบริษัทหรือลายมือชื่อของ ผู้บริหาร เพื่อยืนยันว่าข้ อความที่ปรากฏเป็นความจริง และเป็นการสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าในการ ดาเนินงานขันต่อไป ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส

195


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

อี กรู ป แบบหนึ่ ง ของการใช้ จดหมายที่เ ป็นทางการ ก็ คื อ จดหมายเวี ย น จากการศึ กษาพบว่ า องค์กรสถาปนิกบางองค์ กรใช้ระบบการเวียนจดหมาย ในการแจ้งให้พนักงานในองค์ กรทราบถึ ง ข้ อมู ล ข่ าวสารหรื อวาระการประชุ มที่ส าคั ญ ขององค์ กร เมื่ อพนั กงานได้ อ่านข้ อความแล้ วจะต้ องลงชื่ อเพื่อ รั บ ทราบตามจดหมายต้ องการจะแจ้ ง องค์ กรสถาปนิ ก ใช้ วิธี ก ารนี ต่ อเมื่ อ ข้ อความที่ แ จ้ ง ให้ ท ราบมี ความสาคัญต่อองค์ กร และต้องการร่วมมือจากทุ กคน โดยปกติแล้วจะเวียนจดหมายหลัง จากได้ มี การ ประชุมและมีการตกลงเรื่องที่ต้องรับทราบร่วมกัน เป็นการยาเตือนอีกครัง และเป็นหลักฐานที่สาคัญใน กรณีที่เกิดความขัดแย้งขึนภายในองค์กร 2. การรับ - ส่งข้อมูล จะเป็นการรับ - ส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานระหว่างองค์กรสถาปนิกและผู้ที่เกี่ย วข้ อง กับการทางานในขันตอนต่าง ๆ โดยจะมีรูปแบบของระบบสารสนเทศอยู่ 2 รูปแบบดังนี 2.1 การรับ-ส่งข้อมูลทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) เป็นวิธีการที่องค์กรสถาปนิกขนาดเล็กมีการเลือกใช้มากที่สุด เพราะมีความสะดวก รวดเร็ว และ ยังตอบสนองความต้องการในขันตอนการทางานได้เป็นอย่างดี โดยส่วนมากแล้ว การรับ - ส่งข้อมูลผ่าน จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) นัน มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางานในเกือบทุกขันตอนของสถาปนิก โดย ข้อมูลส่วนใหญ่ที่จะต้องส่งผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) จะเป็นข้อมูลที่เร่งด่วน เพื่อต้องการจะลด เวลาการส่งในรูปแบบอื่น ๆ ข้อมูล ประเภทนีจะเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทางานขององค์กร เช่น การ ขอแบบอนุญาตหรือแบบก่อสร้าง จากการศึกษาพบว่า องค์ กรสถาปนิกจะมี การรับ - ส่งข้อมูลที่เป็นใน รูปแบบของ Digital File ให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางานในขันตอนนัน เช่น วิศวกร หรือ บริษัทรับ เขี ย นแบบ (Outsource) ข้ อมู ล ที่ ส่ ง ไปจะต้ องมี การนาไปดาเนิ นการต่อก่ อนที่ จะส่ ง กลั บมาให้ องค์กร สถาปนิกอีกครัง ดังนันการรับ - ส่งข้อมูลด้วยวิธีการนีจึงเป็นวิธีการที่องค์กรสถาปนิกให้ ความส าคั ญ ไม่ น้อยไปกว่าการส่งข้อมูลเอกสารทางพนักงานส่งเอกสาร (Messenger) เลยทีเดียว 2.2 การรับ - ส่งข้อมูลทางพนักงานรับ - ส่งเอกสาร (Messenger) เป็นวิธีการที่จะใช้ใ นช่ วงของการรับ – ส่งเอกสารระหว่างผู้ที่เ กี่ย วข้ องในการทางานขั นตอน ต่าง ๆ ขององค์กรสถาปนิกกับผู้ร่วมงานอื่น ๆ โดยทั่วไปแล้วองค์กรสถาปนิกจะมีรูปแบบของเอกสารที่ มี ความเฉพาะตัว เช่น แบบขออนุญาตหรือแบบก่อสร้างที่เป็นรูปเล่ม เพื่อใช้ในการตรวจสอบความถู กต้ อง โดยหน่ วยงานราชการ เช่ นเดี ย วกั บ แบบก่ อสร้ างที่ ทางผู้ รั บเหมาจะต้องใช้ เพื่ อประกอบการก่ อสร้าง องค์กรสถาปนิกจะใช้พนักงานส่งเอกสาร (Messenger) ในการจัดส่งเอกสารให้เจ้าของโครงการ ในส่วน ของแบบอนุญาตและแบบก่อสร้าง เพื่อนาไปดาเนินการในขันตอนต่าง ๆ การเลือกใช้วิธีนีในการรับ - ส่ง ข้อมูลมีความรวดเร็วและตอบสนองขันตอนในการทางานส่วนนีได้เป็นอย่างดี จากการศึกษาพบว่ าองค์กร สถาปนิกทุกองค์กรเลือกใช้วิธีการนีเหมือนกันทังหมด 3. การเก็บข้อมูล องค์กรสถาปนิกขนาดเล็ก เป็นองค์กรที่มีรูปแบบของเอกสารแตกต่างจากองค์กรอื่น ๆ เพราะ รูปแบบมีความเฉพาะตัว เป็นลักษณะของแบบที่เป็นเล่มขนาดใหญ่ มีตังแต่ ขนาด A0, A1, A2, A3 (118 cm. x 84 cm., 84 cm. x 54 cm., 54 cm. x 42 cm., 42 cm. x 29 cm. ตามลาดับ) รวมถึง Digital File ด้วยจากการศึกษาสามารถแบ่งออกได้ 2 รูปแบบดังนี 3.1 การเก็บข้อมูลแบบรูปเล่ม (Hard Copy) จากการศึกษาพบว่ า องค์กรสถาปนิกทุกองค์กรมี การเก็บข้ อมู ลในรูปแบบเอกสารเหมื อ นกั น ทังหมด โดยเอกสารจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ตามลักษณะการทางานขององค์กรสถาปนิก โดยส่วนหนึ่งคือ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ เอกสารนีจะมีขนาดใหญ่ เป็นลักษณะของกระดาษพิมพ์เขีย วและ กระดาษไข มีการเก็บแบบม้วนและจัดหมวดหมู่เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหา ส่วนใหญ่แล้วเอกสารในรูปแบบนี จะมีระยะเวลาในการเก็บแน่นอน เนื่องจากต้องใช้พืนที่ในการเก็บค่อนข้างมาก โดยมีระยะเวลาประมาณ 5 - 7 ปี ทั งนี ขึ นอยู่ กับ ความส าคั ญ ของเอกสารโครงการนั น ๆ ด้ วย เพราะบางโครงการอาจจะเป็น โครงการที่มีความต่อเนื่องหรือมีระยะเวลาในการก่อสร้างนาน ก็จะมีการแบ่ งหมวดหมู่ของเอกสารส่ วนนี ให้ชัดเจน ในส่วนของเอกสารนอกเหนื อจากแบบก่ อสร้ างหรื อ ขออนุญ าตปลู กสร้ าง จะเป็นเอกสารที่ 196

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

เกี่ยวข้องกั บส่ วนของเลขานุ การหรื อพนั กงานบั ญ ชี เอกสารในส่ วนนีจะเก็บ ในแฟ้ม และมี การจัด เรี ย ง หมวดหมู่อย่างชัดเจน เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างสะดวก ส่ วนใหญ่แล้วจะเป็นเอกสารที่เกี่ยวข้ องกับ ลูกค้าสัญญาก่อสร้าง, เอกสาร BOQ, หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับองค์กร ผู้รับผิดชอบในส่วนนีก็จะมีเ พียง เลขานุการหรือพนักงานบัญชีเท่านัน เพราะองค์กรสถาปนิกขนาดเล็กจะมีฝ่ายที่ทางานด้านธุรการเพียง หนึ่ ง ถึ ง สองคน และมี ห น้ าที่ จัด การกั บ เอกสารทั งหมดที่ ไ ม่ ไ ด้ เ กี่ ย วข้ องกั บ แบบในส่ วนของสถาปนิ ก ระยะเวลาในการเก็บเอกสารส่วนนีจะพิจารณาเป็นกรณีไป เนื่องจากเอกสารมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก 3.2 การเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล (Digital File ) การเก็ บ ข้ อมู ล ในรู ป แบบนี จะเป็ นการเก็ บ เอกสารในอุ ป กรณ์ ค อมพิ วเตอร์ หรื ออุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่ าง ๆ เช่น แผ่นซีดี หรืออุปกรณ์เก็บข้อมูล (External Hard Disk) วิธีการนีจะสามารถ ตอบสนองความต้ องการในการท างานขององค์ กรสถาปนิ กสมัยใหม่ได้ เป็ นอย่ างดี เพราะรูปแบบการ ทางานในปัจจุบันขององค์กร จะเป็นการทางานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ รูปแบบของข้อมูลส่วนใหญ่ก็จะ เป็นข้อมูลที่เก็บในคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัวหรือส่วนกลาง องค์กรสถาปนิกที่ ทาการศึกษาทางานด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป เช่น AutoCAD, Adobe, 3D max เป็นต้น ดังนัน การเก็บ ข้ อมู ล ในรู ป แบบนี จะง่ ายต่ อการท างานของสถาปนิ ก เพราะสามารถเรี ย กใช้ ข้ อมู ล ได้ อย่ างรวดเร็ ว สถาปนิกที่ใช้งานจะมีการจัดหมู่ของแฟ้มข้อมูล ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของแต่ละองค์กร เพื่อที่ทุกคนจะสามารถค้นข้อมูลเพื่อนาไปทางานได้ด้วยตนเอง จากผลการศึกษาที่ได้ สามารถสรุประบบสารสนเทศที่มีการใช้งานในองค์กรสถาปนิกขนาดเล็กที่ ได้มีการเก็บข้อมูลได้ตามแผนภูมิที่ 6 ซึ่งพบว่ามีทังหมด 11 วิธีการด้วยกัน เมื่อเรียงลาดับจากเปอร์เ ซ็น ต์ สู ง สุ ด พบว่ า มี การใช้ จดหมายอิ เ ล็ กทรอนิ กส์ (E-mail) สู ง ถึ ง 24.00 เปอร์ เ ซ็ นต์ รองลงมาคื อการใช้ โทรศัพท์ 20.00 เปอร์เซ็นต์ มีความใกล้เคียงกันมาก ในส่วนของการประชุมแบบทางการ คิดเป็น 13.00 เปอร์เซ็นต์ การประชุมแบบไม่เป็นทางการ และการพู ด คุ ย โดยตรง มี เ ปอร์ เ ซ็ นต์ เ ท่ ากั นคื อ 11.00 เปอร์ เ ซ็ นต์ การใช้ พ นั กงานส่ ง เอกสาร 7.00 เปอร์เซ็นต์ และการใช้โทรสาร 6.00 เปอร์เซ็นต์ ส่วนการใช้จดหมายเวียน การส่งข้อความทางโทรศัพท์ การใช้จดหมายเป็นทางการ และ Social Network มีเปอร์เซ็นต์เท่ากันทังหมดคือ 2.00 เปอร์เซ็นต์ ดังที่ แสดงไว้ในแผนภูมิที่ 4

การวิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก จากผลการศึ กษาพบว่ า เมื่อทาการเปรี ยบเทีย บการใช้ระบบสารสนเทศระหว่ างกรณี ศึ ก ษา ตัวอย่างกับกรณีศึกษาที่เหลืออีก 5 กรณีศึกษา สามารถแบ่งการวิเคราะห์ออกได้เป็น 2 ประเด็นดังนี ประเด็นที่ 1 รูปแบบขององค์กร ลักษณะการดาเนินงานและขอบเขตการทางาน

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส

197


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

จากการเปรีย บเทียบพบว่ า กรณีศึกษาตั วอย่ างจะมีรู ปแบบของการท างานที่ คล้ ายกับ อี ก 5 กรณีศึกษา โดยทั่วไปแล้วองค์กรสถาปนิกที่มีพนักงานไม่เกิน 20 คน หรือมีรูปแบบของโครงสร้างองค์ กร แบบสตูดิโอเดี่ยวนัน มักจะมีรูปแบบของการท างานและขันตอนของการด าเนิ นงานในหนึ่งโครงการที่ คล้ายกัน เนื่องจากมีมาตรฐานการประกอบวิชาชีพของสถาปนิกที่เป็นตัวกาหนด อย่างไรก็ตามหากมองลง ไปในรายละเอียด จะพบเห็นข้อแตกต่างในบางขันตอน เช่น ขันตอนของการยื่นขออนุญาตปลูกสร้าง และ ขันตอนของการประมูลงานก่อสร้าง ซึ่งทังสองขันตอนนีมีการให้บริการในกรณีศึกษาตัวอย่างเท่านัน โดย ปัจจัยที่ทาให้กรณีศึกษาที่ตัวอย่างมีการให้บริการในขันตอนทังสองก็คือ รูปแบบและประเภทของอาคารที่ ให้บริการ กรณีศึกษาที่เป็นตัวอย่างมีการให้บริการออกแบบอาคารประเภทพักอาศัยค่อนข้างมาก และ เนื่องด้วยอาคารประเภทนี ลูกค้ามักต้องการความเอาใจใส่เป็นพิเศษจึงจาเป็นต้องมีบริการเหล่านี ด้ วย เช่น การประมูลงานเพื่อคัดเลือกผู้รับเหมาหรือการขออนุญาตปลูกสร้างอาคาร ประเด็นที่ 2 การใช้ระบบสารสนเทศ โดยจะแสดงให้เห็นถึงระบบสารสนเทศที่ มีการใช้งานในองค์ กรสถาปนิกที่ท าการศึกษาทัง 6 กรณีศึกษา ดังตารางที่ 22

198

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส

199


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

จากการศึกษาและเปรี ยบเทียบพบว่า กรณีศึกษาตัวอย่างมีการใช้ระบบสารสนเทศในขันตอน การทางานคล้ ายกั บ กรณี ศึกษาอื่ น ๆ เนื่องจากรู ปแบบการทางานที่ไ ม่ แตกต่ างกั นมากนั ก อีกทั งการ เลือกใช้ระบบสารสนเทศให้เหมาะสม จะต้องยึดตามขันตอนการทางานเป็นสาคัญ ทาให้การเลือกใช้ระบบ สารสนเทศเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เช่น ระบบสารสนเทศในช่วงของการนาเสนอแบบขันต้นต่อเจ้าของ โครงการ พบว่ามีการจัดส่งแบบให้กับเจ้าของโครงการทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ล่วงหน้า ก่อน มีการนาเสนอแบบทุกครั ง เป็นต้น ทาให้ส ามารถสรุปได้ว่าเมื่ อท าการเปรียบเทียบระหว่างกรณี ศึ ก ษา ตัวอย่างกับกรณีศึกษาที่เหลือ 5 กรณี พบว่าระบบสารสนเทศที่คล้ายกันเป็นส่วนใหญ่ ทังในเรื่องของการ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับขั นตอนการท างานก็ มีค วามคล้ ายกั น แสดงให้เห็นว่ ารู ปแบบและขันตอนการ ทางาน จะเป็นตัวกาหนดแนวทางในการใช้ระบบสารสนเทศว่าจะเป็นไปในทิศทางใด สรุปผลการศึกษาและดาเนินการ การศึกษาวิจัยนีเป็นการศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก ซึ่งเป็นการศึกษาถึง ระบบที่มีการใช้งานในปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นที่องค์กรสถาปนิกที่มีจานวนของบุคลากรไม่เกิน 20 คน เพราะ ระบบและขันตอนในการดาเนินงานไม่มีความซับซ้อน และเพื่อแสดงให้เห็นถึงระบบสารสนเทศที่มีการใช้ งานพร้อมทังแนวทางและปัจจัยในการเลือกใช้ สาหรับวิธีที่ใช้ในการศึกษาคือ การศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในระบบสารสนเทศ และ ลักษณะขององค์กรสถาปนิก รูปแบบและขันตอนในการดาเนินงาน รวมถึงการสื่อสาร จากนันนาข้ อมู ลที่ ได้ศึกษามาเป็นแนวทางในการกาหนดบทสัมภาษณ์ ในการเก็บข้อมูลและด าเนิ นการสั มภาษณ์อ งค์ กร สถาปนิกขนาดเล็ก ซึ่งสามารถสรุปผลการศึกษาได้ดังนี จากการศึกษาพบว่ า ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิ กส่ วนใหญ่ จะมี ค วามคล้ ายกั น มีการ นาไปใช้งานในขันตอนปลีกย่อยเหมือนกัน ผลการศึกษาชีให้เห็นว่า ขันตอนในการดาเนินงาน ลักษณะของ โครงการที่ ท า รวมถึ ง เจ้ าของโครงการ มี ผ ลต่ อการเลื อกใช้ ร ะบบสารสนเทศ การศึ กษาวิ จัย ครั งนี มี การศึกษารูปแบบของการทางานขององค์กรสถาปนิก โดยจาแนกได้เป็น 4 ส่วน คือ การทาแบบร่างขันต้น การทาแบบขออนุญาต การทาแบบก่อสร้าง และการตรวจงานในระหว่างการก่อสร้าง โดยในแต่ละขันตอน นั น องค์ กรสถาปนิ กแต่ ล ะองค์ กรจะมี รู ป แบบการเลื อ กใช้ ร ะบบสารสนเทศเหมื อ นกั น เช่ น ในการ ดาเนินการพัฒนาแบบ ก็จะมีการนาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน หรือการติดต่อประสานงานกับบุคคล ที่ เ กี่ ย วข้ อง เช่ น วิ ศ วกร จะเป็ นรู ป แบบของการพู ด คุ ย และส่ ง เอกสาร (Digital File) ทางจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ที่เป็นรูปแบบที่สาคัญที่สุดสาหรับองค์กรสถาปนิกซึ่งคิดเป็น 24 เปอร์เซ็นต์ จาก ระบบสารสนเทศทังหมดที่ มีการใช้ งาน จากการศึ กษาหลายองค์ กร ให้เหตุผลที่คล้ายกั น คือ สะดวก รวดเร็ว ค่าใช้จ่ายน้อย และเป็นรูปแบบที่องค์กรส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับการทางานขององค์กรสถาปนิ กมี การใช้งาน นอกจากนันยังเป็นเรื่องง่ายที่ในปัจจุบันจะมีการติดต่อสื่อสารผ่านระบบนี องค์กรสถาปนิกบาง 200

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส


การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก

องค์กรใช้จดหมายอิเล็ กทรอนิกส์เป็ นหลั กในการด าเนิ นงานทังหมด โดยมีการใช้โทรศัพท์เป็นบางครั ง เท่านัน คิดเป็น 20 เปอร์เซ็นต์ จากระบบสารสนเทศทังหมดที่มีการใช้งานในองค์กรสถาปนิก ขันตอนในการด าเนิ นงานขององค์ กรสถาปนิ ก จะเป็นตัวกาหนดการใช้ ระบบสารสนเทศใน องค์กร องค์กรสถาปนิกแต่ละองค์กรจะมีการเลือกใช้ระบบสารสนเทศ ตามความเหมาะสมของขันตอนใน การทางาน และเหมาะสมต่อการติดต่อสื่อสารกับเจ้าของโครงการ เพื่อช่วยให้การทางานมีความสะดวก มากยิ่งขึน โดยเมื่อนาขันตอนในการท างานของแต่ ละองค์ กรมาวิเคราะห์ พบว่า การทางานในขั นตอน เดียวกัน จะมีการเลือกรูปแบบของระบบสารสนเทศคล้ายกันในแต่ละขันตอน นอกจากนันลักษณะของโครงการที่ทาและลูกค้าที่มารับบริการ ก็ถือว่าเป็นตัวกาหนดแนวทาง ของระบบสารสนเทศที่ใช้ในองค์กรสถาปนิกได้อย่างชัดเจน เนื่องจากรูปแบบการทางานและการให้บริ การ ย่อมแตกต่างออกไปด้วย แต่ทังนีระบบสารสนเทศที่ใช้ก็ยังมีความคล้ายกันของกรณีศึกษาตัวอย่าง จะเน้น โครงการที่เป็นลักษณะบ้านพักอาศัย ในขณะที่กรณีศึกษาอีก 5 กรณี มีรูปแบบการทางานโครงการที่มี ขนาดใหญ่ ทาให้กลุ่มลูกค้ามีความแตกต่างกัน ตลอดจนความต้องการที่แตกต่างกัน จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ าองค์กรสถาปนิ กกว่ า 67.00 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีนโยบายในการ พัฒนาระบบสารสนเทศ โดยจะมีการปรับปรุงเปลี่ยนระบบก็ต่อเมื่อมีปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการทางาน ในขณะที่ 33.00 เปอร์เซ็นต์ คือองค์กรสถาปนิกที่มีนโยบายในการพัฒ นาระบบชัดเจน เนื่องจากผู้บริ หาร ได้มีการวางแนวทางในการพั ฒนาองค์กรที่ชัดเจน และให้ความสาคัญกับระบบสารสนเทศ เพราะถือว่า เป็นหัวใจสาคัญในการทางานที่จะต้องมีการติดต่อสื่อสารกับทังบุคลากรภายในองค์กรและบุคคลภายนอก องค์กรสถาปนิกที่มีนโยบายในด้านนีจะมีระยะเวลาพัฒนาระบบที่ชัดเจน เช่น มีการพัฒนาอุปกรณ์ภายใน องค์กรทุก ๆ สองปี ทาให้ลดปัญหาที่จะเกิดขึนจากระบบสารสนเทศลงได้ ข้อเสนอแนะในการวิจัย งานวิจัยชินนีเป็นการศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบของการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรสถาปนิก ขนาดเล็ก รูปแบบและการใช้งาน โดยองค์กรสถาปนิกที่ทาการศึกษานันเป็น องค์กรขนาดเล็ก มีพนักงาน ในองค์กรไม่ ถึง 20 คน จากการศึ กษาชี ให้เ ห็ นว่ า องค์กรที่มีขนาดใกล้เ คีย งกั นและมีรูป แบบของการ ประกอบธุรกิจที่เหมือนกัน จะมีรูปแบบของระบบสารสนเทศที่คล้ายกัน หากแต่ขนาดขององค์กรมี ข นาด แตกต่างกันออกไป ในส่วนของจานวนบุคลากรหรือรูปแบบของการทางาน ระบบสารสนเทศที่ใช้ อาจจะมี รูปแบบที่หลากหลายมากยิ่งขึน ดังนันการเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาใช้ระบบสารสนเทศในองค์กร สถาปนิก ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี 1. การวิจัยนีเป็นการศึกษารูปแบบของระบบสารสนเทศในส่วนขององค์กรสถาปนิกขนาดเล็ก เท่านัน ทาให้ข้อมูลและผลของการศึกษาไม่ส ามารถนาไปเป็นตัวชี วัดรูปแบบของระบบสารสนเทศใน องค์กรสถาปนิกขนาดอื่น ๆ ได้ ดังนันในอนาคตหากมีการศึกษาเพิ่มเติม อาจจะศึกษาองค์กรสถาปนิ ก หลาย ๆ ขนาด เพื่อให้เห็นทังภาพรวมของอุตสาหกรรมการออกแบบ 2. รูปแบบของระบบสารสนเทศมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมขององค์กรสถาปนิก ซึ่ง อาจมีขนาดไม่เท่ากัน จึงควรศึกษารูปแบบขององค์กรและทาการวิเคราะห์ลักษณะขันตอนของการท างาน ในขนาดอื่น ๆ ด้วย 3. ระบบสารสนเทศมี การพั ฒ นาและเปลี่ ย นแปลงอย่ างรวดเร็ว ท าให้ รู ป แบบของระบบ สารสนเทศในอนาคตอาจมีการเปลี่ยนแปลงไปจากผลการศึกษาวิจัยนี ทาให้จะต้องมีการศึกษาถึงรูปแบบ ของระบบสารสนเทศในช่วงเวลานัน ๆ พร้อมทังแนวทางในการพัฒนาให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึน

ลินดา เมย์ เมอร์เรนเดส

201



แนวทางบริหารจัดการในการปรับปรุงจากโรงงานเก่าไปสู่โรงงานที่สามารถประกอบการผลิตได้ กรณีศึกษา : บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จากัด

แนวทางบริหารจัดการในการปรับปรุงจากโรงงานเก่าไปสู่โรงงานที่สามารถ ประกอบการผลิตได้ กรณีศกึ ษา : บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จากัด บทคัดย่อ วิชัย กิจวัฒนาบูลย์ คาสาคัญ: แนวทางบริหารการจัดการ อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิบูลย์ จินาวัฒน์

การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการก่อสร้าง ในกรณีศึกษาการ ปรับปรุงโรงงานเก่าสู่โรงงานใหม่ในสภาวะที่เร่งด่วน ซึ่งเป็นการทางานที่มีกรอบของเวลามาเป็นกรอบใน การทางานให้สาเร็จได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งประกอบด้วยสภาพการด าเนิน โครงการข้อมูลโครงการ การวางแผนการดาเนินการปรับปรุง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสาเร็ จใน การนาแนวทางบริหารจัดการในการปรับปรุงจากโรงงานเก่าไปสู่โรงงานที่สามารถประกอบการผลิตได้ ผลการศึกษาสรุปได้ว่า การบริหารงานก่อสร้างในกรณีศึกษาการปรับปรุงโรงงานเก่าสู่โรงงาน ใหม่ ใ นสภาวะที่ เ ร่ ง ด่ วนโดยมี เ งื่ อนไขด้านเวลาเข้ ามาเป็ นตัวแปรที่ ส าคั ญ นั้ น ในการบริ ห ารโครงการ ดั ง กล่ าวให้ ส าเร็ จลุ ล่ วงไปด้ วยดี ต ามกรอบเวลาที่ กาหนดและมี คุ ณภาพตามมาตรฐาน ต้ องอาศั ย 3 องค์ประกอบใหญ่ ๆ ได้แก่ การบริหารบุคลากรภายในโครงการทั้งหมด คือทั้งบุคลากรภายในองค์กรเอง และบุคลากรของบริษัทผู้รั บเหมาช่ วง องค์ประกอบที่สองคื อการวางแผนงานและการกาหนดกลยุ ท ธ์ ต่าง ๆ ซึ่งได้มีการกาหนดวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานและการวางแผนต่าง ๆ ได้แก่ การวางแผนด้าน ระยะเวลา เงินทุน ทรัพยากร บุคคล วัสดุ และอุปกรณ์ การวางแผนในการปฏิบัติงานจริง และที่สาคัญคือ การคาดคะเนความเสี่ ยงและการแก้ ปัญ หาส าหรั บเหตุ การณ์ ที่ไ ม่ คาดคิด ที่จะเกิดขึ้ น องค์ประกอบตั ว สุดท้าย คือขั้นตอนการดาเนินงานและปฏิบัติจริง กระบวนการทางานทั้งหมดตั้งแต่ เริ่มต้นจนจบโครงการ ซึ่งทาให้บริษัทฯ สามารถส่งมอบงานให้กับเจ้าของโครงการได้ทันเวลาและสามารถทาให้ลูกค้าผลิตสิ นค้า ส่งออกต่างประเทศและในประเทศได้ และผลงานก็ได้ตามมาตรฐานที่ตั้งไว้

วิชัย กิจวัฒนาบูลย์

203


แนวทางบริหารจัดการในการปรับปรุงจากโรงงานเก่าไปสู่โรงงานที่สามารถประกอบการผลิตได้ กรณีศึกษา : บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จากัด

NEW APPROACH IN CRASH PROGRAMMING: REFURBISHING AN OLD FACTORY TO MODERN FACTORY, A CASE STUDY OF NEC TOKIN ELECTRONICS (THAILAND) ABSTRACT VICHAI KITWATTANABOON KEYWORD: PROJECT MANAGEMENT/ CRASH PROGRAMMING ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PIBUL JINAWATH, PH.D.

The objectives of this Independent Study are to show how to approach in crash programming of the refurbishing an old factory to modern factory under forced time limitation. The method of this Independence study is analyzing available secondary data composed of the various stages of Project planning, Project’s data and Project execution under the objectives of studying the successful methodology of Project management in refurbishing an old factory to Modern factory. The results showed that the way to refurbishing the old factory to a modern factory applying crash programming method is assembled by 3 elements. First, Project’s Personnel Management. Second, Sets or the strategy and planning for time’s limit, personnel Budget and material and risk evaluation. Third, the steps of operation for the real action from the beginning to the end. With the result that the project can be finished with quality and also on time which the main contractor had signed contract with the factory’s owner.

204

วิชัย กิจวัฒนาบูลย์


แนวทางบริหารจัดการในการปรับปรุงจากโรงงานเก่าไปสู่โรงงานที่สามารถประกอบการผลิตได้ กรณีศึกษา : บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จากัด

สรุปผลอภิปราย อภิปรายผลแนวทางบริหารจัดการในการปรับปรุงจากโรงงานเก่าไปสู่โรงงานที่สามารถประกอบการ ผลิตได้ หลั กการส าคั ญ ของการบริ ห ารงานก่ อสร้ างโครงการ มี การนาการบริ ห ารงานแบบเร่ ง ด่ วน CRASH PROGRAMMING มาใช้บริหารโครงการ มีการปรับแผนงานจากวิธีปกติเป็นการเร่งด่วน โดยแบ่ง งานการประกอบดั ดแปลงชิ้ นส่ วนของโรงงานทั้ งหมดเป็นชิ้ นส่ วน ๆ และแยกกันไปทาและประกอบที่ โรงงานของผู้รับเหมาย่อยแต่ละราย แล้วจึงนามาประกอบกันทั้งหมดที่บริเวณภายในของอาคารปรั บปรุง ใหม่ซึ่งทาให้สามารถลดระยะเวลาไปได้มากทีเดียว ถึงแม้ว่าจะมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าการดาเนินงานแบบวิธี ปกติ แต่ ก็ถื อว่ าคุ้ มค่ าเมื่ อแลกกั บเวลาที่เ สี ยไป นอกจากนี้ ยั ง ใช้ ห ลั กการของลี นคอนสตรักชั่ น (Lean Construction) ที่ เ ป็ น การน าหลั ก การแนวความคิ ด มาจากลี น โปรดั ก ชั่ น (Lean Production) ใน อุตสาหกรรมการผลิตเป็นบางส่วน ซึ่งหลักการของลีน (Lean) คือการออกแบบและจัดกระบวนการผลิต ชิ้นส่วนต่าง ๆ อย่างเหมาะสม โดยจะเน้นในเรื่องของการวางแผนเพื่อป้องกันความผิดพลาด การสูญเสีย หรือการกาจัดส่วนเกินที่ไม่จาเป็นออกให้มากที่สุด ลดตัวแปรต่าง ๆ ที่เป็นปัญหาต่อกระบวนการเพื่ อให้มี การดาเนินงาน (Workflow) เป็นไปอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ และเป็นการจากัดขั้นตอนการทางานที่ ไม่ ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในการผลิต (Non-Value Added) ลดขั้นตอนการทางานซ้าซ้อน เป็นต้น ซึ่งสามารถ นามาประยุกต์ใช้ในการบริหารโครงการที่มีระยะเวลาในการดาเนินการอันสั้น ทั้งนี้ในการที่ประสบความสาเร็จของการปรับปรุงโรงงานเก่าให้สามารถประกอบการผลิต ได้ ทัน ตามระยะเวลาที่กาหนด ยังรวมถึงการสั่งสต็อกวัสดุและอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน เพื่อให้แน่ใจว่าจะมี ของที่ต้องการใช้งานที่มีคุณภาพตามต้องการเพียงพอต่อการทางาน ซึ่งจากการใช้วิธีนี้ทาให้สามารถร่น ระยะเวลาในการดาเนินงานลงไปได้ มาก ถึงแม้ว่าจะมีค่าใช้ จ่ายสูง ก็ต าม แต่ก็สามารถบริหารให้ อยู่ ใ น งบประมาณที่ มี ไ ด้ บริ ษั ท มี ก าไรลู ก ค้ า ก็ เ กิ ด ความพึ ง พอใจ เรื่ อ งของเวลาในการปฏิ บั ติ ง านก็ เ ป็ น องค์ประกอบหนึ่งที่ทาให้การดาเนินการแล้วเสร็จตามกาหนด การเพิ่มเวลาการทางาน OT ให้กับบุคลากร คนงาน เพื่อจูงใจให้สามารถปฏิบัติงานล่วงเวลาได้ มีการเพิ่มขวัญและกาลังใจในการทางานโดยการให้ โบนัสกับพนักงานผู้ปฏิบัติงานที่ทางานเสร็จตามระยะเวลาที่กาหนด ถือเป็นการสร้างความร่วมมือร่วมใจ ในการทางาน ตลอดจนการนาเครื่องจักรที่ทันสมัย เครื่องทุ่นแรงต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการปรับปรุงโรงงาน และ อีกองค์ประกอบหนึ่งซึ่งมีความสาคัญเช่นเดียวกันนั้นคือ จานวนเงินงบประมาณในการดาเนินการปรับปรุง ซ่อมแซมโรงงานเก่า จากตัวเลขงบประมาณสาหรับการดาเนินงาน ซึ่งมีจานวนมากพอที่จะทาให้เกิดความ คล่ องตั วในการบริ ห ารงานโครงการในภาวะเร่ง ด่ วนและมี ระยะเวลาอั นสั้ น จานวน 45 วั น โดยแบ่ง ระยะเวลาในการทางานที่ใช้สาหรับการรื้อถอนโครงสร้างที่ชารุดและโครงสร้างที่ไม่ต้องการออก รวมถึง การต่อเติมและเพิ่มโครงสร้างใหม่ในกาหนดระยะเวลาดาเนินการ 15 วัน สาหรับการทางานเกี่ยวกั บ การ วางระบบต่าง ๆ อาทิ น้า ไฟฟ้า แอร์ และการตกแต่งปรับปรุงภายในอาคารและนอกอาคารก็ใช้ระยะเวลา จานวน 30 วัน จึงจะแล้วเสร็จ การบริหารโครงการในลักษณะนี้ต้องการความร่วมมือร่วมใจที่เป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันของผู้ร่วม ปฏิบัติงานทุกระดับชั้น อาทิ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง และผู้ปฏิบัติงานระดับล่าง ซึ่งในแต่ละ ระดั บ ต้ องมี การท างานร่ วมมื อกั น มี ค วามสามั ค คี มี ค วามไว้ เ นื้ อเชื่ อใจกั นและกั น ซึ่ ง เป็ นสิ่ ง ที่ ส าคั ญ เนื่องจากมีระยะเวลาอันสั้น ในการดาเนินการปรับปรุงเป็นตัวบังคับ ถ้าหากมีความร่วมมือร่วมใจประกอบ กับมีการวางแผนการดาเนินงาน การแบ่งงานที่ชัดเจน ตลอดจนนโยบายชัดเจนและสามารถปฏิบัติได้ ก็ทา ให้การดาเนินการเป็นไปตามเป้าหมายตามที่วางไว้ ในช่วงระยะเวลา 45 วันที่ทางานมีบุคคลากรทุกระดับเดินอยู่ในสถานที่ทางานวันละประมาณ 1,200 คน ซึ่งน่าเป็นห่วงความปลอดภัยในการทางาน แต่ตลอดระยะเวลาของโครงการนี้ไม่มีอุบัติเหตุเลย จึงพิสูจน์ได้ว่ามาตรการด้านความปลอดภัย และทัศนคติของผู้ปฏิบัติงานโดยเฉพาะผู้ปฏิบัติงานระดับล่ าง วิชัย กิจวัฒนาบูลย์

205


แนวทางบริหารจัดการในการปรับปรุงจากโรงงานเก่าไปสู่โรงงานที่สามารถประกอบการผลิตได้ กรณีศึกษา : บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จากัด

มีทัศนคติในเชิ งบวกในการปฏิ บัติ งาน ที่มีมาตรการความปลอดภั ยเข้ ามาควบคุม เห็นได้จากการไม่ มี อุบัติเหตุเกิดขึ้นในระหว่างการก่อสร้างเลย ขั้นตอนด้านความปลอดภัยในการทางาน ต้องปฏิบัติตั้งแต่ที่พักคนงาน การเดินทางไปทางาน การเตรียมตัวก่อนการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานในโครงการ ความสะอาดภายในหน่วยงาน ที่บริษัทได้ถือ เป็นมาตรการที่ใช้อยู่และได้รับความร่วมมือที่ดี เนื่องจากการสร้างทัศนคติที่ดี และมีผู้นาที่ดีที่นาผู้ร่วม ปฏิบัติงานทุกคนเข้ากรอบของมาตรการด้านความปลอดภัยให้ได้ผลเป็นอย่างดี นอกจากนี้การดาเนินการควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงานและวิธีการตามที่กาหนด ไว้ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ หรือ Project Manager ที่เป็นผู้ควบคุมการทางานในภาพรวมทั้งโครงการถือ ว่ามีบทบาทสาคัญที่จะทาให้การทางานเป็นไปอย่างราบรื่น คอยแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นเฉพาะ หน้าได้ทันท่วงที ข้อเสนอแนะ จากการศึ กษาแนวทางบริ ห ารจั ด การในการปรั บ ปรุ ง จากโรงงานเก่ าสู่ โ รงงานที่ ส ามารถ ประกอบการผลิตได้ กรณีศึ กษา : บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ ประเทศไทย จากัด สามารถทาได้แต่ไ ม่ ใ ช่ ทุ ก โครงการ เพราะปัจจัยร่วมอาจไม่เหมือนกัน เช่น ผู้รับเหมาช่วง ผู้ร่วมงาน การนาวิธีนี้ไปใช้ควรจะต้องมี การพิจารณาให้ดี แต่ถ้าเป็นไปได้ควรทาแบบวิธีปกติจะดีกว่า

206

วิชัย กิจวัฒนาบูลย์


ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างรีสอร์ทเชิงเขาที่จังหวัดภูเก็ต

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างรีสอร์ทเชิงเขาที่จังหวัดภูเก็ต บทคัดย่อ สรายุทธ เกษมกมลวาทิน คาสาคัญ: ค่าใช้จ่าย/ ลักษณะทางกายภาพของสถานทีก่ ่อสร้าง อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิบูลย์ จินาวัฒน์

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัย ที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายงานก่อสร้างอาคารเชิ งเขา เนื่องจากลักษณะธรรมชาติที่ต่างกันของแต่ละขั้นตอนการก่อสร้าง งานวิจัยได้แบ่งขั้นตอนการก่อสร้างเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ งานฐานราก งานโครงสร้าง งานสถาปัตย์ งานเครื่องปรับอากาศ งานไฟฟ้ าและงาน สุขาภิบาล ปัจจัยที่ทาการศึกษาแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก คือ ปัจจัยด้านบริหาร และปัจจัยเฉพาะ การศึกษานี้ ได้ใช้การรวบรวมข้อมูลจากงานจริงมาเปรียบเทียบกับข้อมูล จากบัญชีรายการราคาค่าก่อสร้างประมาณ การ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านการบริหาร ผู้ออกแบบ ผู้รับเหมาหลั ก ผู้บริหารโครงการ (CM) ต่างก็ขาดประสบการณ์ เป็นปัจจัยในทุ กขั้นตอนการก่อสร้าง สาหรับปัจจัยเฉพาะคือ ความลาดชัน ของ สถานที่เป็นปัจจัยสาคัญ ในงานฐานราก งานโครงสร้างอาคาร เครื่องจักรที่ใช้อยู่ไม่สามารถดาเนินการได้ เต็มที่ ความสามารถและการปรับราคาของผู้จาหน่ายของงานปรับอากาศ ไฟฟ้าและงานสุขาภิบาล ความ ล่าช้าของการอนุมัติแบบ ดังนั้น ปัจจัยทั้งหลายนี้ควรได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบและระมัดระวัง เพื่อ การบริหารงานก่อสร้างที่ดีได้

สรายุทธ เกษมกมลวาทิน

207


ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างรีสอร์ทเชิงเขาที่จังหวัดภูเก็ต

FACTORS AFFECTING THE COST OF CONSTRUCTION OF HILLSIDE RESORT AT PHUKET ABSTRACT SARAYUTH KASEMKAMOLWATIN KEYWORD: COST/ PHYSICAL FEATURES OF CONSTRUCTION SITE ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PIBUL JINAWATH, PH.D.

This study aims to determine the impact of the construction cost of building on the steep hills. Due to the different stages of construction, it was divided into five stages: the construction of the foundations, structures, works of architecture, the air conditioning, electricity and sanitation. The study is divided into two main parts: the execution and the specific factor. The study used to gathered specific information from the actual work. Comparative data from the actual construction cost and the estimates prior to the bidding was performed. Result of the research found that during the execution; the designer, the main contractor, and the C.M. all were inexperienced. A factor in all phases of construction. For the specific factor, the slope of the hill along with the unevenness of the terrain are critical factors in the constructions of foundations and the building structures. The available machines were not at full capacity and the price of electricity, sanitary hardware; Airconditioned units were at the mercy of the supplier. The approval of shop drawing submitted were so slow. All of these factors were important and should be considered carefully in order to be a good construction practice.

208

สรายุทธ เกษมกมลวาทิน


ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างรีสอร์ทเชิงเขาที่จังหวัดภูเก็ต

สรุปผลอภิปราย สรุปผลจากการศึกษาและวิเคราะห์ จากการศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลให้ต้นทุนและค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้นจากต้นทุนค่าก่อสร้าง ประมาณการ กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างอาคารถาวร ค.ส.ล โครงการภารีสารีสอร์ท ต.กมลา อ.กระทู้ จ.ภูเก็ต มีข้อสรุปดังนี้ กรณีศึกษา อาคาร (Villa Design 1,2 ) H1-9, Chiff 1-7, Clubhouse, Swimming Pool เป็น การก่อสร้างโดยบริษัทเป็นผู้จัดหาวัสดุและมีการว่าจ้างแรงงานแบบรายวัน และมีผู้รับเหมาช่วงโดยว่าจ้าง เป็นลักษณะสัญญาแบบราคาต่อหน่วย หรือ Unit Price Contract จะพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในโครงการมา จากสาเหตุใด ซึ่งจากผลสรุปจากการศึกษาและวิเคราะห์ถึงสาเหตุเพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่เกิดขึ้นต่ออาคาร ได้ดังนี้ 1. ความเสียหายที่เกิดจากมนุษย์ (MAN) - เกิดจากความประมาทของผู้รับจ้าง ที่คิดว่าหน่วยงานนี้เหมือนกับโครงการที่เคยทามาศึกษา แบบไม่ละเอียด ไม่อ่าน TOR ให้รอบคอบ และตกลงเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น การรักษาต้นไม้โดย ค่าใช้จ่ายผู้รับจ้างเป็นผู้รับผิดชอบ - ผู้ออกแบบไม่ชัดเจนเนื่องจากได้รับค่าตอบแทนไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย ทาให้การออกแบบล่าช้า ไม่ชัดเจนเรื่องความละเอียดของแบบ - CM ไม่ค่อยยอมตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ของโครงการ คอยแต่จะให้ผู้ออกแบบหรือเจ้าของ โครงการตัดสินใจ - เกิดจากการใช้แรงงานต่างชาติเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งทางผู้รับจ้างต้องจ่ายค่าแรงคนงานคนละ 250 บาท บวก VAT เท่ากัน ไม่ว่าจะเป็นช่างหรือกรรมกร ทางผู้จัดหาแรงงานต่างชาติมักจะส่งแรงงานที่เป็น กรรมกรมาให้ ไม่ค่อยมีช่างฝีมือจึงทาให้ได้ผลงานน้อยกว่าค่าจ้าง 2. ความเสียหายของวัสดุ (MATERIAL) ค่าวัสดุที่ใช้ในหน่วยงาน ไม่มีการควบคุมจานวนการใช้เท่าที่ควร จึงเกิดการใช้วัสดุเกินจากการ ประมาณการ การขนส่งวัสดุไปยังหน่วยงานเกิดความเสียหายมาก เช่น - การเทคอนกรีตด้วยราง ทาให้เกิดความเสียหายจากคอนกรีตที่ค้างอยู่บนราง ต้องตักทิ้ง - กระเบื้องหลังคาเสียหายจากการประมาณการผิดพลาด เนื่องจากไม่ได้คิดค่า Slopes ของ หลังคา เสียหายเนื่องจากการขน เสียหายจากโรงงานที่ทาผิดพลาด 3. ความเสียหายจากเครื่องจักร (MACHINE) - เกิดจากการใช้ Tower Crane ได้ไม่เต็มที่ เพราะที่ตั้งอยู่ไม่สามารถหมุนได้ รอบตัวเพราะติด เชิงเขาอีกด้าน ใช้ Mobile Crane ช่วยก็ไม่สามารถเข้าได้ทุกอาคาร เพราะไม่ได้ทาถนนชั่วคราวให้วิ่ง การ ใช้เครื่องลม Compressor ก็ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก 4. ความเสียหายจากการเงิน (MONEY) - เกิดจากงานเพิ่มไม่สามารถคิดตามสภาพปัจจุบัน ณ เวลานั้น ให้คิดได้ตามราคาที่เสนอตาม BOQ ซึ่งทาสัญญาไว้ตั้งแต่ 3 ปีที่แล้ว - เกิดจากการคืนเงิน Retention เพียงครึ่งเดียว ผู้ว่าจ้างอ้างว่างานไม่เรียบร้อยทั้ง ๆ ที่เปิดให้ นักท่องเที่ยวเข้ามาพักแล้ว - เกิดจากการไม่จ่ายค่าเสียหายที่เกิดจากความล่าช้าจากการเปลี่ยนแบบ และเพิ่มเติมงานใหม่ นอกสัญญา ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากความล่าช้า คือ - ค่าเช่าที่สาหรับสานักงานสนาม, บ้านพักคนงาน - ค่าเงินเดือนพนักงาน สรายุทธ เกษมกมลวาทิน

209


ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างรีสอร์ทเชิงเขาที่จังหวัดภูเก็ต

- ค่าน้า, ค่าไฟฟ้าชั่วคราว - ค่าเดินทางของพนักงานระดับบริหาร - ค่าน้ามันรถที่ใช้ในหน่วยงานและอื่นๆ 5. ความเสียหายจากการบริหาร (MANAGEMENT) ผู้รับจ้างวางตัวพนักงานระดับบริหารซ้อนกัน ไม่ชัดเจนว่าใครควรขึ้นกับใคร ใครมีอานาจในการ ตัดสินใจอย่างไร ขาดบุคลากร ขาดประสบการณ์ด้านการสร้างอาคารเชิงเขา ทาให้การวางแผนงานไม่ตรง เป้าหมาย การใช้เครื่องมือไม่เต็มความสามารถ การประมาณจานวนวัสดุที่ต้องใช้กับโครงการผิดพลาด และการบริหารการเงินที่ใช้กับโครงการไม่ไหลลื่นดังที่ควรเป็น ปริมาณวัสดุและแรงงานที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่ออาคารโดยรวมมากที่สดุ คิดเป็น 2.65%, 3.52%, 6.24%, 7.50%, 10.40%, 9.43% ตามล าดั บ มี ส าเหตุ ม าจากการส ารวจหน้ า งานไม่ ล ะเอี ย ดถึ ง สภาพแวดล้อมของสถานที่ก่อสร้าง ความลาดชันของเชิงเขาทาให้มีพื้นที่ทางานและพื้นที่วางวัสดุน้อย วิธีการและขั้นตอนการใช้วัสดุใช้ในการก่อสร้าง และการประมาณการเผื่อการสูญเสียของการใช้วัสดุ ผิดพลาด ทาให้บางส่วนต้องใช้วัสดุเพิ่มขึ้นจากที่ประมาณการไว้ โดยสาเหตุเหล่านี้ทาให้ต้องมีการสั่งซื้อ วัสดุในปริมาณที่มากขึ้นกว่าที่ได้ประมาณการไว้ งาน Infrastructure อันได้แก่งาน Buggy Path งาน Walkways งาน Boundary Fence และ งานที่เป็นงาน Provisional Sum ฯลฯ เช่นงาน Buggy Path เป็นงานทางเชื่อมระหว่างอาคารที่ให้รถ Golf วิ่ง งาน Walk Way ก็เป็นทางเท้าที่เชื่อมระหว่างอาคาร เช่น เดียวกับ Buggy Path และงานที่เป็น งาน Provisional Sum ซึ่งเป็นงานที่ไม่มีรายละเอียด กาหนดมาแบบกว้าง ๆ โดยกาหนดวงเงินมาก้อน หนึ่ง เป็นต้น งาน Preliminary เป็นงานเตรียมการสาหรับงานทั้งโครงการที่มีไว้รองรับงาน หรือช่วยเสริมงาน หลักที่กล่าวผ่านมาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นงานทางตรงหรืองานทางอ้อม จะพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในงานมา จากสาเหตุใด ซึ่งผลจากการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุทาให้ทราบถึงปัจจัยที่เกิดขึ้นต่องาน Preliminary ดังนี้ ส่วนที่เปลี่ยนแปลงมีผลต่องาน Preliminary โดยรวมมากที่สุด เพิ่มขึ้นคิดเป็น 23.05% มีสาเหตุมา จากการเปลี่ยนแบบ และการกาหนดตาแหน่งของอาคารโดยผูอ้ อกแบบวางอาคารทับซ้อนกับตาแหน่งของ ต้นไม้ที่เจ้าของต้องการอนุรักษ์ไว้ การออกแบบที่ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง ทาให้มีงานเพิ่ม - ลด มาก เช่น เส้นความลาดชันของแบบที่แสดงอยู่เมื่อเปรียบเทียบกับความเป็นจริงไม่ตรงกันทุกอาคาร ความสูง ของเสาที่รับอาคารตามแบบที่แสดงทางวิศวกรรม ถือว่าไม่สามารถรับน้าหนักได้ถ้าปราศจากคาน Tie Beam งานที่กล่าวมาเป็นตัวที่ทาให้เกิดความล่าช้าที่ต้องขยายเวลาการก่อสร้างไป ส่งผลกระทบต่องาน Preliminary ที่ได้ประมาณการไว้ ดังนั้น พอจะสรุปได้ว่าการขาดทุนของโครงการนี้อยู่ที่ตาแหน่งที่ตั้งของอาคาร คืออาคารที่อยู่ ไกลทางเข้าลึกลงไปทางเชิงเขาใกล้ทะเล จะมีการขาดทุนมากกว่าอาคารที่อยู่ใกล้ทางเข้า เนื่องจากการ ขนส่งวัสดุที่ใช้ก่อสร้างอาคารทาได้ช้า เพราะความชันและลาดเอียงของเชิงเขาทาให้แรงงานที่ใช้ขนส่งส่วน ใหญ่ขนส่งได้น้อยและช้า ต้องเพิ่มแรงงานในการขนส่งวัสดุให้ทันกับเวลาและเกิดความเสียหายของวัสดุ มากกว่าปกติ ข้อเสนอแนะ การศึกษาฉบับีเป็ นี้ นการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโครงการ ว่ามีปัจจัยใดที่ ส่งผลกระทบต่อต้นทุนราคาค่าก่อสร้างของโครงการประเภทอาคารที่สร้างอยู่เชิงเขา ซึ่งปัญหาและปัจจัย ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกรณีศึกษานี้ ล้วนแต่เป็นปัญหาที่ส่งผลต่อโครงการทั้งหมด เนื่องมาจากปัจจัย ใน หลาย ๆ ด้านซึ่งแต่ละอาคารจะมีความแตกต่างกันไป ทั้งนี้ผู้เขียนจัดทาขึ้นเพื่อให้ทราบถึงสาเหตุ ของ ปัญหาว่า ต้นทุนของราคาค่าวัสดุและต้นทุนของราคาค่ าแรงงานในการก่อสร้างที่ไ ด้ประมาณการไว้ ล่วงหน้านั้น สามารถมีการเปลี่ยนแปลงได้เนื่องมาจากผลกระทบอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ต้นทุนของ ราคาค่าก่อสร้างนั้นมีการเปลี่ยนแปลงจากราคาที่ได้ประมาณการไว้ โดยการศึกษาฉบับนี้จะเป็นเพียง กรณีศึกษาตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้น ในการเตรียมการวางแผนการบริหารจัดการโครงการก่อสร้าง 210

สรายุทธ เกษมกมลวาทิน


ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างรีสอร์ทเชิงเขาที่จังหวัดภูเก็ต

ล่วงหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด โครงการที่ผู้ศึกษาได้ศึกษานี้ เหมาะสาหรับการก่อสร้างที่จังหวัด ภูเก็ต หรือจังหวัดใกล้เคียงที่มีภูมิประเทศเหมือนกันคือเป็นที่ราบเชิงเขา

สรายุทธ เกษมกมลวาทิน

211



การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร

การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟืน้ ฟูโครงการอาคารสร้างค้าง ในเขตกรุงเทพมหานคร บทคัดย่อ กริชวิทย์ พิริยะสถิต คาสาคัญ: ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง/ อาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิบูลย์ จินาวัฒน์

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขต กรุ ง เทพมหานคร โดยเริ่ มจากการศึ กษาความเป็นมาและที่มาที่ ไ ปของปัญ หาที่ ท าให้เ กิ ดการยุ ติการ ก่ อสร้ างอาคาร รวบรวมข้ อมู ล ปั จจั ย และสาเหตุ อันจะก่ อให้เ กิ ดอาคารสร้ างค้างจากโครงการที่เป็น กรณีศึกษา เพื่อให้เป็นข้อมูลและแนวทางในการพิจารณาการลงทุนโครงการก่อสร้างของผู้พัฒนาโครงการ วิ ธี ก ารศึ ก ษานี้ เป็ น การน าข้ อ มู ล เชิ ง สถิ ติ ที่ ไ ด้ จากการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ของศู น ย์ ข้ อมู ล อสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และข้อมูลเชิงอภิปรายที่ได้จากนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้ าน อสังหาริมทรัพย์เป็นข้อมูลพื้นฐาน จากนั้นได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากโครงการที่เป็นกรณีศึกษาทั้ง หมด 4 โครงการ โดยกาหนดให้มีหัวข้อ ตัวแปรต่าง ๆ และเงื่อนไขที่เหมือนกัน และกาหนดสถานการณ์ของการ ลงทุนต่าง ๆ ขึ้นมาเพื่อที่จะหาปัจจัยอื่น ๆ ที่ทาให้การลงทุนฟื้นฟูอาคารสร้างค้างนั้นประสบความส าเร็จ ได้ ผลของการศึกษาพบว่า 1. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร มีทั้งหมด 6 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยทางกายภาพ, ปัจจัยทางเศรษฐกิจ, ปัจจัยทางการเงิน, ปัจจัยทางการตลาด, ปัจจัยทาง กฎหมายและนโยบายภาครัฐ, ปัจจัยทางด้านข้อมูลเชิงสนับสนุน 2. ปัจจัยที่สาคั ญที่ สุด ในการพิ จารณาเลื อกโครงการอาคารที่ สร้ างค้ างกลั บมาพัฒ นาต่ อ คือ ทาเลที่ตั้งโครงการ เนื่องจากผู้ลงทุนได้เล็งเห็นว่าทาเลที่ตั้งโครงการที่มีศักยภาพนั้น จะต้องอยู่ในเขต CBD (Central Business District) โดยมีโซนผังเมืองที่เอื้อประโยชน์ต่อการลงทุนการก่อสร้าง อยู่ติดกับถนน ใหญ่มีทางเข้ าออกที่ สะดวก อยู่ติดกับเส้นทางการคมนาคมขนส่ ง ส่วนปัจจัยที่ พิ จารณารองลงมา คือ ประเภทการใช้สอยของอาคาร และใบอนุญาตการก่อสร้าง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การเจรจาระหว่างผู้จะซื้อ ผู้จะขาย และธนาคาร และการใช้โครงสร้างอาคารเดิมในการดาเนินการก่อสร้างต่อ

กริชวิทย์ พิริยะสถิต

213


การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร

A STUDY OF POTENTIALITY OF NPA RENOVATING PROJECT IN BANGKOK METROPOLITAN AREA (BMA) ABSTRACT KRITWIT PIRIYASATHIT KEYWORD: NPA BUILDING/ RE-CONSTRUCTION BUILDING IN BANGKOK ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR PIBUL JINAWATH, PH.D.

The objective of this research is to study the potentiality of NPA renovating project in Bangkok metropolitan area (BMA). First, backgrounds and problems that caused the incompletion of the construction project was investigated. Next, relevant data were collected and analyzed in order to explain why selected NPA buildings were abandoned and identify the factors of the failure. The information will be used to help investors making decision on the renovation of the NPA projects. The methods used in this study are: collect statistical data from Real Estate Information Center (REIC), Government Housing Bank (GH Bank); discuss the issues with academic people experts in the field; analyze the potential of investment of four selected NPA renovation projects based on the same criteria and scenario; and identify the factors of the success of NPA renovation projects. The results were as follows; 1. Six factors related to NPA renovating project in Bangkok Metropolitan Area (BMA) were physical factor, economical factor, financial factor, marketing factor, laws and regulations and government policy factor, and supportive data factor. 2. The most important factor of NPA project development was location. Investors suggested that buildings in CBD (Central Business District) had the most potential for investment particularly in urban area where infrastructures are in good conditions and well maintained. Sites adjacent to main road with convenient access and transportation network would increase the opportunity of investment. Other factors to be considered were; building use; construction permission; relevant laws and regulations; negotiation between buyers, sellers, and banks; and the possibility to use existing structure.

214

กริชวิทย์ พิริยะสถิต


การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร

สรุปผลอภิปราย ปัจจัยที่มีศักยภาพสาคัญที่มีผลต่อการลงทุนโครงการต่าง ๆ จากการศึกษาข้อมูลจากบทความ, งานวิจัย, บทสัมภาษณ์, ประสบการณ์จากนักวิชาการและผู้ที่ คร่าหวอดในแวดวงอสังหาริมทรัพย์ และจากการรวบรวม ศึกษาข้อมูล และการวิเคราะห์จากโครงการที่ เป็นกรณีศึกษาทั้ง 4 โครงการ พบว่า เราสามารถจาแนกปัจจัยที่มีศักยภาพในการฟื้นฟูโครงการ NPA ใน เขตกรุงเทพมหานครได้ทั้งหมด 6 ปัจจัย ได้แก่ 1. ปัจจัยทางกายภาพ 2. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ 3. ปัจจัยทางการเงิน 4. ปัจจัยทางการตลาด 5. ปัจจัยทางกฎหมายและนโยบายภาครัฐ 6. ปัจจัยทางด้านข้อมูลเชิงสนับสนุน ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นตัวร่วมของโครงการที่เป็นกรณีศึกษาทั้ง 4 โครงการ โดยกาหนดให้ 1. = โครงการ Center Point Witthayu 2. = โครงการ Lumpini Place Water Cliff 3. = โครงการ Grand Park View Asoke 4. = โครงการ Ideo Verve Ratchaprarop ปัจจัยทางกายภาพ

กริชวิทย์ พิริยะสถิต

215


การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร

ปัจจัยทางเศรษฐกิจ

ปัจจัยทางการเงิน

ปัจจัยทางการตลาด

ปัจจัยทางกฎหมายและนโยบายภาครัฐ

216

กริชวิทย์ พิริยะสถิต


การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร

ปัจจัยด้านข้อมูลเชิงสนับสนุน

สรุปปัจจัยที่มีศักยภาพในการฟื้นฟูโครงการโดยแบ่งตามลาดับความสาคัญ 1. ทาเลที่ตั้งโครงการ จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ทาเลที่ตั้งโครงการเป็นปัจจัยที่มีศักยภาพสาคัญที่สุด ใน การพิจารณาเลือกโครงการ NPA ที่สร้างค้างกลับมาพัฒนาต่อ เนื่องจากผู้ลงทุนได้เล็งเห็นว่ าทาเลที่ ตั้ ง โครงการที่มีศักยภาพนั้นจะต้องอยู่ในเขต CBD (Central Business District), โซนผังเมืองเป็นประโยชน์ ต่อการลงทุนการก่อสร้าง, อยู่ติดกับถนนใหญ่ มีทางเข้าออกที่สะดวกและควรมีความกว้างของถนนไม่ น้อย กว่า 18 เมตร, อยู่ติดกับเส้นทางการคมนาคมขนส่ง เช่น รถไฟฟ้า, รถใต้ดิน, BRT, Airport Link, ศึกษา ข้อมูลของสภาพแวดล้อมรอบข้างว่ามีอะไรบ้าง โดยที่ผู้ลงทุนนิยมที่จะศึกษาควบคู่ไปพร้อมกับราคาที่ ดิน ในทาเลนั้น ๆ ด้วย โดยจะทาการศึกษาความเป็ นไปได้ แบ่ งเป็ น 2 กรณี คือ ในรูปแบบที่สร้างต่ อ จาก อาคารเดิม และรูปแบบของการรื้อถอนอาคารเก่าออกและก่อสร้างใหม่ ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็จะมีปัจจัยอื่น ๆ มา เกี่ ย วข้ องด้ วย เช่ น ประมาณการต้ นทุ นของการลงทุ นของทั้ ง 2 กรณี อั นเนื่ องมาจากสภาพอาคาร, ระยะเวลาการถูกทิ้งร้าง, ระยะเวลาของการลงทุน, อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เป็นต้น ซึ่งก็จะสัมพันธ์กันกับ การ ตรวจสอบสภาพของอาคาร, สภาพของใบอนุญาตก่อสร้าง, กฎหมายที่เกี่ยวข้องในขณะนั้นอีกด้วย โดยที่ 3 ใน 4 ของโครงการที่เป็นกรณีศึกษานั้น อยู่ในเงื่อนไขของการพิจารณาในด้านของท าเลที่ตั้งโครงการ ยกเว้ น โครงการ Lumpini Place Water Cliff ที่ มี ข้ อ ได้ เ ปรี ย บจากปั จ จั ย ด้ า นอื่ น เป็ น เกณฑ์ ใ นการ พิจารณา

กริชวิทย์ พิริยะสถิต

217


การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร

2. ประเภทการใช้สอยของอาคารและใบอนุญาตการก่อสร้าง จากการศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล พบว่ า ประเภทของการใช้ ส อยอาคารและสภาพของ ใบอนุญาตก่อสร้ างของโครงการเป็ นปั จจัย ที่มีศักยภาพสาคัญรองลงมาเป็ นอั นดับ 2 เนื่องจากผู้ ล งทุ น จาเป็นต้องทราบว่าโครงการ NPA ที่จะนามาพัฒนาต่อนั้น เคยขออนุญาตก่อสร้างเป็นอาคารประเภทใด, มีการต่อใบอนุญาตก่อสร้างอยู่หรือไม่ , พื้นที่ก่อสร้างตามใบอนุญาตเป็นเท่าไร เพราะทั้งหมดนี้ถือเป็นตัว แปรที่สาคัญที่ทาให้ผู้ลงทุนได้พิจารณาเปรียบเทียบการลงทุนใน 2 รูปแบบตามที่กล่าวมาข้างต้น เพราะ จากใบอนุญาตก่อสร้างเดิม ในบางโครงการอาจเป็นข้อได้เปรียบของการลงทุนโดยก่อสร้างต่อจากอาคาร เดิมก็เป็นได้ โดยที่โครงการที่เป็นกรณีศึกษาทั้ง 4 โครงการนั้น ได้มีการต่อใบอนุญาตก่อสร้างอยู่ อย่ าง ต่อเนื่อง ซึ่งหากโครงการนั้น ๆ มีการต่อใบอนุญาตก่อสร้างอยู่แล้ว ก็ถือว่าเป็นผลประโยชน์ของผู้ลงทุน โครงการที่จะสามารถเปรียบเทียบได้ง่ายขึ้น 3. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง จากการศึ กษาและวิ เ คราะห์ ข้ อมู ล พบว่ า โครงการที่ เ ป็ นกรณี ศึ กษา 3 ใน 4 โครงการ ได้ ผลประโยชน์จากกฎหมายที่เ กี่ย วข้ องตามใบอนุ ญ าตก่ อสร้ างเดิ มที่ มีการต่ ออายุ เนื่องจากใบอนุ ญ าต ก่อสร้างเดิมนั้นจะครอบคลุ มกฎหมายที่เ กี่ยวข้องทั้งหมดในขณะนั้น ดังนั้นหากผู้ ลงทุนจะนาโครงการ NPA ที่ ส ร้ างค้ างมาพั ฒ นาต่ อนั้ น ก็ จะต้ องพิ จารณาในเรื่ องของกฎหมายเดิ มที่ เ กี่ ย วข้ องด้ วย เพราะ กฎหมายบางข้อ เอื้อประโยชน์ต่อการลงทุนมากกว่าการก่อสร้างใหม่ โดยการขอใบอนุญาตใหม่ เช่น เรื่อง ความกว้างถนนที่มีผลต่อพื้นที่อาคาร, ขนาดของอาคารที่มีผลต่อระยะร่นของอาคาร, ผังเมืองที่มีผลต่อ การแบ่งประเภทใช้สอยของที่ดิน และพื้นที่ของอาคาร, พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่ เริ่มจะมีบทบาทในการพิจารณาก่อนการยื่นขออนุญาตก่อสร้างอาคาร 4. การเจรจาระหว่างผู้จะซื้อ ผู้จะขาย และธนาคาร จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ในกระบวนการพิจารณาการเลือกโครงการ NPA มา ลงทุนพัฒนาต่อนั้น การเจรจาระหว่างผู้จะซื้อ ผู้จะขาย และธนาคาร เป็นสิ่งที่ทุกฝ่ายยังคงกระทาร่ วมกัน อยู่เพื่อให้โครงการสามารถดาเนินการต่อไปได้ ไม่ว่าจะเป็นการลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ การประนอมหนี้ เพื่อให้ผู้ลงทุนเดิมสามารถกลับมาพัฒนาโครงการต่อไปได้ หรือการเจรจากันระหว่างผู้จะขายและผู้ จะซื้อ ใหม่ เพื่อหาข้อสรุปในเรื่องของราคาซื้อขาย โดยที่ในบางครั้งทางธนาคารหรือเจ้าของสินทรัพย์ที่ยึดมา อาจจะทาการบังคับขาย ในอัตราที่ต่ากว่าราคาประเมินทรัพย์สินจริง เนื่องมาจากทางธนาคารพิจารณา เห็นแล้วว่า ทางผู้จะขายเดิมนั้นไม่มีศักยภาพเพียงพอในการลงทุนพัฒนาโครงการต่อ ซึ่งอาจจะมีจากการ ตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินบริษัท หลักทรัพย์ หลักประกันอื่น ๆ ในขณะที่ผู้จะซื้อใหม่มีความพร้อมในการ ลงทุนที่มากกว่า แต่เนื่องมาจากไม่สามารถซื้อในราคาที่ผู้จะขายกาหนดไว้ได้ จึงต้องมีธนาคารเป็นตัวกลาง ในการเจรจาไกล่เกลี่ย โดยที่ข้อมูลในเรื่องของการเจรจาระหว่างผู้จะซื้อ ผู้จะขาย และธนาคารนั้น ถือว่า เป็นเรื่องที่ค่อนข้างปกปิด เป็นความลับของธุรกิจ จึงไม่สามารถที่จะเปิดเผยข้อมูลเชิงละเอียดได้ ทางผู้ ศึกษาจึงทราบแต่เพียงว่า ในการพิจารณาเลือกโครงการ NPA มาลงทุนพัฒนาต่อนั้น จะมีปัจจัยในเรื่อง ของการเจรจาระหว่างผู้จะซื้อ ผู้จะขาย และธนาคารรวมอยู่ด้วย ทั้งนี้ทั้ง 4 โครงการที่เป็นกรณีศึกษานั้น มีเงื่อนไขของการเจรจาระหว่างผู้จะซื้อ ผู้จะขาย และธนาคารรวมอยู่ทั้งในรูปแบบของการบังคับขายใน ราคาที่ต่ากว่าราคาประเมินทรัพย์สินตามท้องตลาด การฟ้องร้อง การประนอมหนี้ การลดอัตราดอกเบี้ย เงินกู้ เป็นต้น 5. การใช้โครงสร้างอาคารเดิมในการดาเนินการก่อสร้างต่อ จากการศึ กษาและวิ เ คราะห์ ข้อมู ล พบว่ า ผู้ ล งทุ นจะท าการส ารวจและตรวจสอบสภาพของ โครงสร้างอาคาร งานสถาปัตยกรรม งานระบบต่าง ๆ ที่ได้ดาเนินการไปแล้ว ว่า ยังสามารถใช้งานต่อได้ หรื อไม่ ห รื อซ่ อมแซมในบางส่ วน ซึ่ ง โครงการที่ มีการก่ อสร้ างเดิ มทิ้ ง ค้ างไว้ โดยส่ วนมากจะเป็ นงาน โครงสร้าง โดยเฉพาะงานฐานรากซึ่งใช้เวลาก่อสร้างค่อนข้างนาน การที่โครงการสามารถใช้ประโยชน์ จาก โครงสร้างอาคารเดิมได้นั้น ถือว่าเป็นประโยชน์ของผู้ลงทุน ซึ่งหมายถึงการลดต้นทุนค่าก่อสร้าง การลด ระยะเวลาการก่อสร้าง ซึ่งจะสัมพันธ์ไปกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้อีกด้วย โดยที่ 3 ใน 4 ของโครงการที่เป็น โครงการกรณี ศึ ก ษานั้ น ได้ ใ ช้ ป ระโยชน์ จ ากโครงสร้ า งอาคารเดิ ม ยกเว้ น โครงการ Ideo Verve 218

กริชวิทย์ พิริยะสถิต


การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร

Ratchaprarop ซึ่งสภาพของโครงสร้างเดิม และรูปแบบอาคารไม่สัมพันธ์กับการโครงการที่จะก่อ สร้ าง ใหม่ จึงได้รื้อถอนอาคารเดิมออกและก่อสร้างใหม่ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของแต่ละโครงการ

กริชวิทย์ พิริยะสถิต

219


การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร

สรุปได้ว่าในแต่ละโครงการนั้น ต้นทุนขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องนั้น จะมีสัดส่วนที่ไม่ เท่ากัน และไม่ตายตัวเสมอไป เช่น ราคาที่ดิน อัตราค่าก่อสร้างในแต่ละปี อัตราดอกเบี้ยและอัตราเงินเฟ้อ ทั้งนี้ระยะเวลาที่อาคารถูกปล่อยทิ้งร้าง สภาพของอาคารที่สามารถนามาก่อสร้างได้ต่อ หรือระยะเวลาใน การลงทุ นพั ฒ นาโครงการ จะเป็ นตั วแปรที่ ท าให้ ต้ นทุ นของโครงการ และระยะเวลาการคื นทุ นของ โครงการไม่เท่ากัน

จากภาพที่ 112-113 เป็นแผนผังที่แสดงเส้นทางที่มาของการเกิด NPL/NPA ซึ่งในภายหลัง จะ มีการศึกษาวิจัยข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ในการนาเอาโครงการ NPA ที่สร้างค้างนั้นมาพัฒนา ต่อเป็นโครงการที่ประสบความสาเร็จได้

220

กริชวิทย์ พิริยะสถิต


การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการฟื้นฟูโครงการอาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร

ข้อเสนอแนะ การค้นคว้าอิสระชิ้นนี้เป็นการศึกษาที่ทาการหาข้อมูลและวิเคราะห์โครงการ NPA ที่มีศักยภาพ เพียงพอในการที่จะฟื้นฟูนามาพัฒนาต่อ โดยได้รวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่มาต่าง ๆ เช่น บทความ, บท สั มภาษณ์ , ข้ อมู ล เชิ ง สถิ ติจากการวิ จัย ของศู นย์อสั งหาริมทรั พย์ ของ ธอส., บทความทางวิ ช าการของ อาจารย์และนักวิชาการ ตลอดจนข้อมูลและการวิเคราะห์ โครงการ โดยการนาเอากรณีศึกษาตั วอย่ าง จานวน 4 โครงการ มาวิ เ คราะห์ ข้ อมู ล อย่ า งละเอี ย ดมากขึ้ น เพื่ อที่ จะหาปั จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและหา ความสัมพันธ์ของโครงการที่เป็นกรณีศึกษาทั้ง 4 โครงการ จึงคาดว่าน่าจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่ อผู้ที่ จะสนใจลงทุนพัฒนาโครงการอาคารสร้างค้างในอนาคต ผลการวิเคราะห์จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือประมาณการเบื้องต้นส าหรับ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการลงทุ นพั ฒนาโครงการ NPA ทั้งในส่วนของเจ้ าของโครงการ, ผู้ออกแบบ, ที่ปรึกษา โครงการและผู้บริหารโครงการ, ผู้รับเหมาก่อสร้าง เพื่อที่จะได้ทราบที่มาที่ไปของข้อมูลที่เป็นส่วนประกอบ ของโครงการ และให้คาแนะนาต่อผู้ที่จะลงทุนพัฒนาโครงการอาคารสร้างค้างได้ว่าสามารถทาได้ หรื อทา ได้โดยมีความเสี่ยงหรือไม่ควรลงทุนโดยเด็ดขาด อุปสรรคในการดาเนินงาน ในการศึกษาค้นคว้านี้ได้พบกับอุปสรรคในการหาข้อมูลและการวิเคราะห์ ที่อาจทาให้การศึ กษา ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ชัดเจน และแม่นยา เนื่องจากประสบอุปสรรคดังนี้ 1. ข้อมูลที่หามาได้นั้น เริ่มที่จะไม่ทันสมัยเข้ากับการศึกษาในปัจจุบัน ดังนั้นทางผู้ศึกษาจะขอ ความอนุเคราะห์ศึกษาข้ อมูลและวิเคราะห์โครงการจนถึง พ.ศ. 2555 อันเนื่องมาจากแนวโน้ม (Trend) ในการลงทุนในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง โดยผู้ลงทุนนิยมลงทุนโครงการบนที่ดินใหม่ เนื่องจากต้องการ ลดเงื่อนไขในการพิจารณาประกอบการลงทุน อีกทั้งทางศูนย์อสังหาริมทรัพย์ของ ธอส. ที่ได้ทาการวิจัย เก็บรวบรวมสถิติและข้อมูลมาโดยตลอด ได้มีการหยุดการวิจัยดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 จึงมีผลทาให้ผู้ ศึกษาไม่สามารถหาข้อมูลในเชิงสถิติได้เพิ่มเติม 2. การเข้าไปเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความลับทางธุรกิจนั้นเป็นไปได้ยาก ทางเจ้าของ โครงการเองหรือผู้ ที่ เกี่ ย วข้ องไม่ สามารถให้ ข้อมู ล นั้ นได้ อย่ างเช่ น ข้ อมู ล เชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ , ข้ อมู ล ที่ เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาและความขั ด แย้ ง , ข้ อมู ล ด้ านการเงิ น เป็ นต้ น จึ ง ได้ เ ป็ นข้ อมู ล ที่ เ ป็ นในรู ป แบบของ แนวความคิด, แนวทาง, ประมาณการ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้นาไปใช้ต่อยอดในการศึกษาต่อไป 3. ประมาณการต้นทุนของการลงทุนของโครงการในแต่ละโครงการ เป็นเพียงแนวทางโดยใช้ วิธีคิดที่เหมือนกันเป็นตัวตั้งต้นของทุกโครงการ ทั้งนี้ในความเป็นจริงแล้ว แต่ละโครงการนั้นมีวิธีคิดและ เงื่อนไขที่แตกต่างกันไป ซึ่งอาจทาให้ผลการวิจัยในเชิงปริมาณ (ต้นทุนการเงิน) นั้นคลาดเคลื่อนไปบ้าง 4. ทางผูศ้ ึกษามีการเปลี่ยนย้ายบริษัทที่สังกัดอยู่ ประกอบกับลักษณะงานที่ทาอยู่นั้นไม่เอื้ อต่อ การศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม ทาให้ค่อนข้างมีข้อจากัดในการศึกษาครั้งนี้

กริชวิทย์ พิริยะสถิต

221



3



การวิเคราะห์ราคาค่าก่อสร้าง เพื่อหาสัดส่วนราคาของโครงการสถานพักตากอากาศบนพื้นที่เกาะ (ภาคตะวันออกของประเทศไทย) ปี 2550-2554

การวิเคราะห์ราคาค่าก่อสร้าง เพือ่ หาสัดส่วนราคาของ โครงการสถานพักตากอากาศบนพืน้ ทีเ่ กาะ (ภาคตะวันออกของประเทศไทย) ปี 2550-2554 บทคัดย่อ ธีรวัฒน์ เย็นใจ คาสาคัญ: โครงการก่อสร้างสถานพักตากอากาศ/ สัดส่วนราคาค่าก่อสร้าง อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิเชษฎ์ สุวิสิทฐ์

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาผลที่ได้จากการวิเคราะห์ไปใช้เ ป็นเครื่องมือประกอบการ พิ จารณา ส าหรั บ การจั ด การงบประมาณของโครงการก่ อสร้ าง ตั้ ง แต่ เ ริ่ มต้ นโครงการ การออกแบบ จนกระทั่งถึงขั้นตอนการก่ อสร้าง สามารถตรวจสอบความถู กต้ องของหมวดงานต่ าง ๆ โดยจะคิดเป็ น สัดส่วนร้อยละหมวดงาน สัดส่วนของราคาก่อสร้างได้จากผลของค่าเฉลี่ยสัดส่วนในแต่ละหมวดงาน และนามาเป็นเกณฑ์ ในการจัดสรรงบประมาณ และตรวจสอบการบริหารจัดการงบประมาณได้ในทุกขั้นตอนของโครงการ ผลการศึกษาพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยสัดส่วนของราคาค่าก่อสร้างของหมวดงานหลัก จะมีค่าการเปลี่ยนแปลงไป เมื่อ รูปแบบของการออกแบบโครงสร้างใช้วัสดุที่ก่อสร้างได้ง่ายและรวดเร็ว 2. ค่ า เฉลี่ ย สั ด ส่ ว นของราคาค่ า ก่ อ สร้ า งของหมวดงานแต่ ล ะโครงการ จะแปรผั น ตาม ลักษณะเฉพาะของโครงการ เงื่อนไขของสภาพพื้ นที่ ก่อสร้า ง เงื่อนไขด้านการขนส่ ง และรู ปแบบการ ก่อสร้าง 3. สามารถนาค่าสัดส่วนมาใช้ในการบริหารงบประมาณโครงการประเภทสถานพักตากอากาศ บนพื้นที่เกาะ โดยต้องพิจารณาร่วมกับพื้นที่ก่อสร้าง เงื่อนไขด้านการขนส่ง และรูปแบบการก่อสร้าง

ธีรวัฒน์ เย็นใจ

225


การวิเคราะห์ราคาค่าก่อสร้าง เพื่อหาสัดส่วนราคาของโครงการสถานพักตากอากาศบนพื้นที่เกาะ (ภาคตะวันออกของประเทศไทย) ปี 2550-2554

COMPARATIVE ANALYSIS OF BUILDING COST IDENTIFYING PROPORTION OF THE CONSTRUCTION WORK OF THE RESORTS ON ISLAND (OF EAST OF THAILAND) FROM 2007-2011 ABSTRACT THEERAWAT YENJAI KEYWORD: RESORTS CONSTRUCTION/ COST PROPORTION ADVISOR: ASSISTANT PROFESSOR VICHEAD SUVISIT

The purposed of this study to use the results as tools for budgeting management consideration for the construction project. Since starting the project design until the construction period. Determined the accuracy of the work by using percentage ratio. Proportion of the construction costs as a result of the average proportion of each work and use to be the rule for arrange the budgeted and monitoring budget management in every step of the project. The results revealed that: 1. The average of the proportion of the main construction cost. Be change when the structure design were selected the simple and fast construction materials. 2. The average of the proportion of the construction cost there would be change depended on the project characteristic, the condition of the area, transportation terms and model of construction 3. Proportion can be applied to project budget administration for the resort on the island. Must be considered to the terms of the construction area, transportation and model of construction.

226

ธีรวัฒน์ เย็นใจ


การวิเคราะห์ราคาค่าก่อสร้าง เพื่อหาสัดส่วนราคาของโครงการสถานพักตากอากาศบนพื้นที่เกาะ (ภาคตะวันออกของประเทศไทย) ปี 2550-2554

สรุปผลอภิปราย ผลของการวิเคราะห์และดาเนินการ การศึกษาวิเคราะห์ราคาค่าก่อสร้างอาคารเพื่อหาสัดส่วนงานของโครงการสถานพักตากอากาศ บนพื้นที่เกาะ (ภาคตะวันออกของประเทศไทย) ปี 2550 - 2554 จึงได้สัดส่วนของงานต่าง ๆ ดังนี้ 1. สัดส่วนงานที่ได้จากราคาค่าก่อสร้างตามหมวดงานตามตารางที่ 3 ตารางที่ 4 และตารางที่ 6 ดังนี้ 1.1. หมวดงานโครงสร้าง มีค่าเฉลี่ยสัดส่วนประมาณ 19.84% ของโครงการ และค่าบวก ลบ ประมาณ 5% - 6% ของโครงการ สัดส่วนของงานไม่มีงานเสาเข็ม 1.2. หมวดงานสถาปัตยกรรม มีค่าเฉลี่ยสัดส่วนหมวดงานประมาณ 43.09% ของโครงการ มีค่า บวก ลบประมาณ 1% - 9% ของโครงการ และหมวดงานสถาปัตยกรรมสัดส่วนของงานจะอยู่ในงานผนัง และประตูหน้าต่าง 1.3. หมวดงานระบบไฟฟ้า มีค่าเฉลี่ยสัดส่วนหมวดงานประมาณ 14.67% และมีค่าบวก ลบ ประมาณ 8% - 17% ของโครงการและหมวดงานไฟฟ้ า สัดส่วนของงานที่มีค่ าสู งเกิดจากระบบเครื่ อง กาเนิดไฟฟ้า 1.4. หมวดงานสุขาภิบาล มีค่าเฉลี่ยสัดส่วนงานประมาณ 9.47% และมีค่าบวก ลบประมาณ 7% - 8% ของโครงการและหมวดงานสุขาภิบาล 1.5. หมวดงานระบบปรั บ อากาศ มี ค่ าเฉลี่ ย สั ด ส่ วนงานประมาณ 2.81% และมี ค่ าบวก ลบ ประมาณ 1% - 2% ของโครงการ 1.6. หมวดงานเตรียมการก่ อสร้าง มีค่าเฉลี่ยสัดส่วนงานประมาณ 3.56% และมีค่าบวก ลบ ประมาณ 2% - 3% ของโครงการ ขึ้นอยู่กับสถานที่ก่อสร้างและวิธีการก่อสร้าง 1.7. หมวดงานค่าขนส่ง มีค่าเฉลี่ยสัดส่วนงานประมาณ 3.56% และค่าบวก ลบ ประมาณ 2% 3% ของโครงการ ขึ้นอยู่กับสถานที่ก่อสร้าง จากตารางที่ 3 ตารางที่ 4 และตารางที่ 6 สามารถนาสัดส่วนของหมวดงานหลักมาพิจารณาเป็น เกณฑ์วางกรอบเบื้องต้นในการบริหารงบประมาณโครงการเบื้องต้น และจะต้องมาพิจารณาในรายละเอียด ของเงื่อนไขเฉพาะของแต่ละโครงการ 2. สัดส่วนงานที่ได้จากการปรับราคาค่าก่ อสร้างจะใกล้เคียงกั น เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย สัดส่วนงานที่ได้จากการเปรียบเทียบกับโครงการบนฝั่ง มีสัดส่วนของหมวดงานใกล้เคียงกัน และมีปัจจัย ของค่าขนส่งทางเรือที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน สามารถใช้ค่าเฉลี่ยสัดส่วนตามตารางที่ 4 ได้ 3. สัดส่วนงานที่ได้จากการปรับราคาค่าก่ อสร้างจะใกล้เคียงกั น เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แม้ว่าราคาวัสดุ ค่าแรง ค่าก่อสร้าง และราคาต่อหน่วยเปลี่ยนแปลง สัดส่วนงานค่าเฉลี่ยสามารถนาไปใช้ เป็นกรอบในการบริหารจัดการต้นทุนราคาของโครงการที่ได้ซึ่งอาจที่ค่าบวกลบแตกต่างมากน้อยต่างกัน สามารถใช้ค่าเฉลี่ยตามตารางที่ 4 ได้ 4. สั ด ส่ ว นงานที่ แ ปรผั น มากน้ อ ยจากกรอบค่ า เฉลี่ ย สั ด ส่ ว นงานจ าเป็ น ต้ อ งศึ ก ษา ใน รายละเอียดเงื่อนไขเฉพาะของแต่ละโครงการ เช่น การออกแบบระบบโครงสร้าง วัสดุตกแต่งอาคารและ สถานที่ก่อสร้างอันเป็นเงื่อนไขเฉพาะ เช่น พื้นที่ตามแนวชายหาด พื้นที่ตามที่ลาดชันเชิ งเขา เป็นการ ก่อสร้างในพื้นที่จากัด การศึกษาเข้าใจถึงมูลค่าสัดส่วนของหมวดงาน นามาใช้บริหารจัดการด้านการออกแบบ และ วางแผนโครงการให้เจ้าของโครงการและผู้ออกแบบ ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันพิจารณา และพิจารณาตรวจสอบ ตลอดเวลาทุกขั้นตอนเพื่อให้อยู่งบประมาณ

ธีรวัฒน์ เย็นใจ

227


การวิเคราะห์ราคาค่าก่อสร้าง เพื่อหาสัดส่วนราคาของโครงการสถานพักตากอากาศบนพื้นที่เกาะ (ภาคตะวันออกของประเทศไทย) ปี 2550-2554

ข้อแนะนา การศึกษานี้เป็นเพียงแนวทางการนาค่าเฉลี่ยสัดส่วนงานของโครงการเป็นกรอบเกณฑ์ใ นการ พิจารณา เพื่อการบริหารจัดการต้นทุนค่าก่อสร้างของโครงการสถานพักตากอากาศ บนพื้นที่เกาะทางภาค ตะวันออกของประเทศไทย เท่านั้น ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีข้อแนะนาดังนี้ 1. สถาบั นการศึ กษาและองค์ กร ควรจะมี การศึ กษาสั ด ส่ วนอาคารแต่ ล ะประเภท ขนาด สถานที่ เพื่อจัดทาเป็นข้อมูลในการอ้างอิงในการใช้สาหรับการจัดทาโครงการต่าง ๆ เนื่องจากต้นทุนค่า ก่ อ สร้ า งจะเป็ น ปั จ จั ย หลั ก ในการพิ จ ารณาในการจั ด ท าโครงการ รวมทั้ ง หากเป็ น ผลงานจาก สถาบันการศึกษา ข้อมูลต่าง ๆ จะสามารถค้นหาได้ง่ายและเป็นที่น่าเชื่อถือ 2. การศึกษาสัด ส่วนนี้เ พียงเพื่ อการนาผลไปใช้ใ นการบริห ารจัด การต้ นทุ นค่ าก่ อสร้า งของ โครงการเท่านั้น ยังมีสมมติฐานและสิ่งน่าสนใจในการศึกษาเกี่ยวกับราคาค่าก่อสร้าง เช่น ราคาต่อหน่ วย สัดส่วนงานต่อตารางเมตร ต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งสามารถนามาเป็นกรอบในการตรวจสอบประมาณการได้ เช่น เพื่อตรวจสอบการทาบัญชีประมาณการ 3. การศึกษาด้านราคาอาจศึกษาความแปรผันของอัตราเงินเฟ้อ ดัชนีวัสดุก่อสร้างที่เปลี่ย นไป มีผลกระทบต่อราคาค่าก่อสร้างโดยรวมเป็นร้อยละเท่าไหร่ การศึกษาจาเป็นต้องทางานเป็นกลุ่มเพราะ ข้อมูลรายละเอียดมีจานวนมาก และต้องเป็นผู้มีความรู้เพียงพอในการศึ กษา รวมทั้งระยะเวลาเพื่อให้ สามารถจาลองสถานการณ์ การคาดการณ์ในอนาคต สาหรับการบริหารจัดการได้ และควรต้องใช้ผู้รู้ท าง สถิติมาช่วย 4. การศึ กษาครั้ ง นี้ เ ป็ นเพี ย งการเริ่ มต้ นด้ านการบริ ห ารต้ นทุ นราคาค่ าก่ อสร้ า งโครงการ โดยรวม ซึ่งน่าจะเป็นข้อมูลพื้นฐานอ้างอิงสาหรับการศึกษาในรายละเอียดเป็นส่วน ๆ เรื่องต่อไป อุปสรรค การศึกษาครั้ง นี้ ได้ พบอุ ปสรรค์ ใ นการด าเนิ นการวิเ คราะห์ที่ อาจทาให้ การศึ กษาไม่ ครบถ้ วน สมบูรณ์ชัดเจน แม่นยา อาจมีการคาดเคลื่อนบ้างเนื่องจากมีอุปสรรค์ดังนี้ 1. ตัวอย่างจานวนบัญชีประมาณการราคาค่าก่อสร้างมีจานวน 5 โครงการ เท่านั้น ทาให้การ วิเคราะห์จากัด เนื่องจากบัญชีประมาณการเป็นความลับและอาจะมีผลต่อโครงการได้ จึงไม่มีหน่วยงานใด ให้มาทาการศึกษา 2. การศึกษาเฉพาะบัญ ชีประมาณการราคาค่ าก่ อสร้ างเพีย งอย่ างเดี ย ว ไม่เพียงพอในการ วิเคราะห์บริหารจัด การต้ นทุ นโครงการได้ จาเป็นต้องมี แบบทุ กหมวดงาน รายการประกอบแบบและ เงื่อนไขเฉพาะโครงการตลอดจนสถานที่ก่อสร้าง จึงสามารถจะพิจารณาได้ครบถ้วน ใช้บริหารจัดการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การศึ ก ษาการราคาค่ า ก่ อ สร้ า งและศึ ก ษาปั จ จั ย ตั ว แปรไม่ ส ามารถกระท าได้ ชั ด เจน เนื่องจากเป็นโครงการเฉพาะ หากมีการปรับราคาแนวโน้ม ควรทาแบบจาลองเดียวกันและกาหนดเงื่อนไข ที่ชัดเจน จะได้การวิเคราะห์ถูกต้องมากขึ้น 4. ข้อมูลรายละเอียดในการศึกษาทั้งทางตรงและทางอ้อมมีจานวนมาก และกระจัดกระจาย ไม่มีหน่วยงานใดจัดเป็นหมวดหมู่ เพื่อการนามาบริหารจัดการต้นทุนค่าก่อสร้างของโครงการจะต้องศึ กษา และนามาใช้เฉพาะการวิเคราะห์เท่านั้น 5. ไม่มีตาราหรือเอกสารวิจัยด้านการบริหารจัดการต้นทุนค่าก่อสร้างโครงการ สาหรับอ้างอิง เป็นแนวทางการศึกษาโดยตรง 6. ระยะเวลาการศึกษามีจากัด เอกสารข้อมูลมีจานวนมาก ต้องใช้เวลาในการพิจารณา เช่น บัญชีประมาณ 5 โครงการมีจานวนมาก

228

ธีรวัฒน์ เย็นใจ


การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง

การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง บทคัดย่อ ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์ คาสาคัญ: ปัญหาการเขียนแบบ/ ปัจจัยศึกษาเปรียบเทียบเกณฑ์วัดผล/ การประยุกต์ใช้/ CAD/ BIM อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.นนท์ คุณคาชู

งานวิ จัย ชิ นนี เป็ นการศึ กษาเปรี ยบเที ย บศั กยภาพในการจั ด ทาแบบก่ อสร้ าง ด้ วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์จาก 2 เทคโนโลยี คือ CAD และ BIM โดยมีโปรแกรม AutoCAD จากเทคโนโลยี CAD และ โปรแกรม ArchiCAD จากเทคโนโลยี BIM ซึ่งมีประเด็นการศึกษาเปรียบเทียบคือ “การแก้ไขแบบร่างขัน สุดท้ายเพื่อจัดทาแบบก่อสร้าง” โดยได้มาจากการสอบถามและศึกษาปัญหาที่พบในระหว่างจัดทาแบบ ก่อสร้างจากสถาปนิกผู้มีประสบการณ์ในจัดทาแบบก่อสร้างในโครงการสาธารณะขนาดกลาง – ขนาดใหญ่ ซึ่งทางานอยู่ในหน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องครอบคลุมทุกภาคส่วนในโครงการก่อสร้าง โดยปัจจัยศึกษา เปรี ย บเที ย บคื อ ปั จจั ย ด้ านระยะเวลา ด้ านคุ ณภาพความถู กต้ องแม่ นย า และด้ านงบประมาณ โดย ทาการศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์วัดผลที่กาหนดโดยผู้เชี่ยวชาญที่เป็นสถาปนิกผู้ อาวุโสภายในบริ ษัท สถาปนิก ที่ได้รับมอบหมายให้ออกแบบจัดทาแบบก่อสร้างของโครงการอาคารพักอาศัยรวม 12 ชัน พืนที่ กว่า 8,000 ตร.ม. ซึ่งใช้เป็นโครงการกรณีศึกษาสาหรับการศึกษาวิจัยครังนี การศึกษาเปรียบเทียบใช้เวลา รวมทั งหมด 2 เดื อน มี การตรวจสอบจดบั นทึ ก เป็ นรู ป แบบของตารางข้ อมู ล ผลที่ ไ ด้ คื อโปรแกรม ArchiCAD จากเทคโนโลยี BIM สามารถบรรลุเกณฑ์วัดผลการศึกษาภายใต้ขอบเขตการศึกษาทังหมด เมื่อ เปรียบเทียบกับโปรแกรม AutoCAD จากเทคโนโลยี CAD ที่ผ่านเกณฑ์วัดผลเพียง 2 ปัจจัยการศึกษา คือ ปัจจัยการศึกษาในแง่ระยะเวลา และในแง่งบประมาณการจัดทาแบบก่อสร้าง ภายใต้บริบทการทางาน ขององค์กรที่ศึกษา หวังว่าจากผลการเปรียบเทียบที่ได้ จะสร้ างความมั่นใจให้กับบุค ลากรหรือองค์ กรที่ เกี่ยวข้อง ให้สามารถนาเทคโนโลยี BIM มาพัฒนาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับคนในองค์กรโดยเฉพาะการ จัดทาแบบก่อสร้างได้ไม่มากก็น้อย

ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์

229


การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง

A COMPARATIVE STUDY OF ARCHITECTURAL DRAFTING: CAD vs BIM TECHNOLOGIES IN CONSTRUCTION INDUSTRY ABSTRACT PORRAMAZE PONRATTANSIT KEYWORD: CONSTRUCTION DRAWING PROBLEMS/ COMPARATIVE STUDY/ BIM/ CAD / AUTOCAD/ ARCHICAD ADVISOR: NON KHUNCUMCHOO, PH.D.

This research aimed to compare between two technologies in producing construction drawings under the context of Thai architectural firms. The two mentioned technologies were Computer Aided Drafting (CAD) technology represented by AutoCAD software and Building Information Modeling (BIM) technology, represented by ArchiCAD. The research started with delivering a survey questionnaire to the experienced architects to identify the problem often found in the process of producing construction drawings. With three comparative factors of time, accuracy and budget, the study was then compared with specified performance criteria from the opinions of the two senior architects responsible for the project. The 12 story, 8000 square meters residential building was adopted as a case study for the research with 2 months in examining, measuring and recording the result in a form of data tables. The result showed that the ArchiCAD had a better outcome in all criteria over the AutoCAD under the studied organization’s context. The goal of this research was to ensure the potential user that the BIM technology can be used to satisfy all architectural related work.

230

ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์


การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง

สรุปผลการศึกษา เนือหาในบทนีกล่าวถึง 1. การสรุปผลการศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพการทางานของโปรแกรม AutoCAD จากเทคโนโลยี CAD และโปรแกรม ArchiCAD จากเทคโนโลยี BIM ในการแก้ไขแบบร่างขันสุดท้ายเพื่อจัดทาแบบก่อสร้าง 2. การวิเคราะห์ผลการศึกษาเปรียบเทียบ 3. การเสนอแนะแนวทางพร้อมกับความคิดเห็นในการเลือกใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์จาก 2 เทคโนโลยี CAD และ BIM ให้เหมาะสมในการจัดทาแบบเพื่อโครงการก่อสร้างต่อไป สรุปผลการศึกษาเปรียบเทียบ ผลการศึกษาเปรีย บเทีย บการท างานในประเด็นการแก้ไ ขแบบร่างขั นสุด ท้ายเพื่ อจัดท าแบบ ก่อสร้างของโปรแกรม คือ AutoCAD จากเทคโนโลยี CAD และโปรแกรม ArchiCAD จากเทคโนโลยี BIM ซึ่งมีปัจจัยการศึกษา 3 แนวทาง ได้แก่ ปัจจัยการศึกษาในแง่ระยะเวลา ปัจจัยการศึกษาในแง่ความถูกต้องแม่นยา ปัจจัยการศึกษาในแง่งบประมาณ โดยมีเกณฑ์วัดผลเป็นรายสัปดาห์แ ละภาพรวม ตามที่ได้กล่าวไว้ ใ นบทระเบีย บวิ ธีการศึ ก ษา สามารถสรุปผลการศึกษาได้เป็นข้อมูลตาราง ดังแสดงในตารางที่ 22 ดังนี

จากข้อมูลในตารางที่ 22 นี แสดงให้เห็นว่าทุกปัจจัยการศึกษาเปรียบเทียบนัน มีข้อสรุปจากการ แก้ไขแบบร่างขันสุดท้ายเพื่อจัดทาแบบก่อสร้างดังนี ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์

231


การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง

การวัดผลรายสัปดาห์ ในส่วนโปรแกรม AutoCAD เป็นโปรแกรมเดียวที่สามารถจัดทาแบบได้ ผ่านเกณฑ์ วัดผลรายสัปดาห์ ในแง่การจัด ท าแบบก่ อสร้ างเพี ยงปั จจัย เดีย ว แตกต่างกับการวัด ผลราย สัปดาห์ของโปรแกรม ArchiCAD ที่ไม่สามารถผ่านเกณฑ์วัดผลรายสัปดาห์ในทุกปัจจัยการศึกษาได้เลย การวัดผลภาพรวม ในส่วนนีโปรแกรม ArchiCAD เป็นโปรแกรมเดียวที่สามารถจัดทาแบบได้ ผ่านเกณฑ์วัดผลภาพรวมทุกปัจจัยการศึกษา แตกต่างกับโปรแกรม AutoCAD ที่จัดทาแบบได้ผ่านเกณฑ์ วัดผลภาพรวมได้เพียง 2 ใน 3 ปัจจัยการศึกษาเท่านัน คือ ปัจจัยระยะเวลาการจัดทาแบบก่อสร้าง และ ปัจจัยงบประมาณการจัดทาแบบ ส่วนปัจจัยความถูกต้ องแม่นยาในการจัดทาแบบโปรแกรมนัน โปรแกรม AutoCAD ไม่สามารถมีผลการศึกษาที่ผ่านเกณฑ์วัดผลภาพรวมได้เหมือนกับโปรแกรม ArchiCAD สรุปได้ว่าผลการศึกษาเปรีย บเทียบในประเด็ นการแก้ ไขแบบร่ างขั นสุ ดท้ าย เพื่อจัดท าแบบ ก่อสร้างของโปรแกรม ArchiCAD มีศักยภาพในการแก้ไขแบบร่ าง เพื่อจัดทาแบบก่อสร้างในบริบทของ การทางานภายใต้ องค์ กร ที่รับผิดชอบการจัดท าแบบก่ อสร้ างโครงการกรณีศึ กษานี ได้ดี กว่าโปรแกรม AutoCAD จากเทคโนโลยี CAD วิเคราะห์ผลการศึกษาเปรียบเทียบ โดยจะทาการวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ส่งผลต่อผลการศึกษาการแก้ไขแบบร่างขันสุดท้าย เพื่อจัดทา แบบก่อสร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทัง 2 โปรแกรมในครังนี ดังนี 1. บทวิเคราะห์ ผลการศึกษาเปรียบเทียบปั จจัยระยะเวลาการแก้ไขแบบร่ างขั นสุด ท้ายเพื่ อ จัดทาแบบก่อสร้าง

จากผลการศึกษา จะเห็นได้ว่าโปรแกรม ArchiCAD ไม่ผ่านเกณฑ์วัดผลรายสัปดาห์ ในปัจจัย การศึกษานี เนื่องจากต้องเสียเวลาไปกับการแก้ไขและไล่เรียงฐานข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องใหม่ทังโครงการ เนื่องจากวิธีการดาเนินงานที่ต้องจัดทาแบบก่อสร้าง ที่มีรายละเอียดของการระบุวัสดุที่ต้องชัดเจน และ นาเอาข้อมูลเหล่านีใส่เข้าไปในระบบ เพื่อที่ข้อมูลทังหมดนีจะได้ถูกใช้เป็นองค์ประกอบในการจัดท าแบบ ก่อสร้าง ตามลักษณะการทางานของโปรแกรม ArchiCAD ต่อไป (ดูรายเอียดในบททฤษฎีและเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง) ซึ่งเป็นพืนฐานของการทางานของโปรแกรมจากเทคโนโลยี BIM จึงทาให้ค่อนข้าง เสียเวลาในช่วงสัปดาห์ที่ 1 และ 2 ที่ไม่สามารถแก้ไขแบบร่างขันสุดท้าย เพื่อจัดทาแบบก่อสร้างให้แล้ว เสร็จออกมาตามเกณฑ์ ที่วางไว้ แต่เมื่อการจัดวางระบบและนาข้อมูลโครงการทังหมดใส่โปรแกรมเสร็จ เรี ย บร้ อย ในสั ป ดาห์ ถั ด มาจึ ง ท าให้ มีแ บบที่ แ ล้ วเสร็ จออกเป็ นจานวนมาก ผ่ านเกณฑ์ ที่ ไ ด้ กาห นดไว้ ตลอดจนส่งผลให้ดัชนีชีวัดภาพรวมผ่านเกณฑ์ก่อนเวลาถึง 1 สัปดาห์ เช่นเดียวกันกับโปรแกรม AutoCAD ที่สามารถแก้ไขแบบร่างขันสุดท้าย เพื่อจัดทาแบบก่อสร้างให้แล้วเสร็จออกมาได้ตามเกณฑ์วัดภาพรวม อีก ทังยังผ่านเกณฑ์วัดผลรายสัปดาห์ กาหนดไว้ได้ตังแต่ในสัปดาห์แรกที่ จัดทาแบบก่อสร้างออกมาได้เกิน 4 232

ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์


การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง

แผ่น ทุกสัปดาห์ มีเพียงสัปดาห์ที่ 7 ที่ได้จานวนแผ่นเพียง 3 แผ่นเท่านัน ซึ่งด้วยวิธีการทางานที่สามารถ แยกส่วนการจัดทาของแบบก่อสร้างแต่ละแผ่นของโปรแกรม AutoCAD ได้ทาให้เมื่อได้รับข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงแบบร่างขันสุดท้าย ก็สามารถนาไปพัฒนาแก้ไขต่อจนเป็นแบบก่อสร้างได้เลย ดังที่แสดงในแผนภูมิ เส้นที่ 1 2. บทวิเคราะห์ผลการศึกษาเปรียบเทียบในปัจจัยความถูกต้องแม่นยาในการแก้ไข แบบร่างขัน สุดท้ายเพื่อจัดทาแบบก่อสร้าง จากผลการศึกษาในปัจจัยนีจะเห็นได้ว่าทัง 2 โปรแกรม มีผลการศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์วัดผลราย สัปดาห์ และหากดูลงไปในรายละเอียดจะเห็นว่าในช่วงเวลาทัง 7 สัปดาห์ คือ สัปดาห์ที่ 5 ซึ่งเป็นสัปดาห์ ที่ใช้งานโปรแกรม AutoCAD ทางานในส่วนของสัญลักษณ์ประกอบแบบ, รายการประกอบแบบ, สารบัญ แบบ, แผนที่โดยสังเขปและผังวางโฉนดที่ดิน ทาให้โอกาสที่จะมีจุดผิ ดพลาดเกิดขึนในแบบก่ อสร้ างนั น เป็นไปได้น้อย เนื่องจากแบบเหล่านันเป็นรูปแบบมาตรฐานที่ทางสานักงาน (บริษัท อาร์คิพลัสสตูดิโอ) มี ไว้อยู่แล้ว เหลือเพียงแค่การปรับเปลี่ยนข้อความที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับโครงการกรณีศึกษานี และนา แบบก่ อสร้ างในส่ วนของผั ง บริเ วณ และรู ป ตั ดที่ แล้ วเสร็ จบางส่ วนมาจั ดวางในหน้ ากระดาษของแบบ ก่อสร้างในข้างต้น และหากจะวิเคราะห์เป็นรายนัน ในสัปดาห์ที่ 1-3 นัน AutoCAD เกิดจุดผิดพลาดใน ลักษณะตกหล่นของแบบส่วนใหญ่ อาจเป็นเพราะเกิดจากการเร่งจัดทาแบบก่อสร้างให้ทันเวลาตามเกณฑ์ วัดผลในปัจจัยระยะเวลาก็เป็นได้ ส่วนในสัปดาห์ที่ 4 จะเห็นได้ว่าโปรแกรม AutoCAD นัน เริ่มเกิดจุด ผิดพลาดส่วนใหญ่เปลี่ยนจากเรื่องแบบตกหล่น เป็นการคลาดเคลื่อนของแบบแทน ซึ่งอาจเป็นเพราะช่ วง ของการแก้ไขรูปตัดและรูปด้าน ทาให้รายละเอียดของแบบอาจจะไม่ตรงกันในแต่ล ะแผ่น เช่น ขนาดและ ความสูงของผนังกระจกของรูปด้าน ทาให้รายละเอียดของแบบไม่ตรงกันในแต่ล่ะแผ่น เช่น ขนาดและ ความสูงของผนังกระจกของรูปด้าน 1 ซึ่งเชื่อมต่อกับรูปด้าน 2 ไม่ตรงกัน เป็นต้น ส่วนในสัปดาห์ที่ 6 นัน จุดผิดพลาดเกิดขึนพร้อมกันถึง 11 จุดในลักษณะการคลาดเคลื่อนของแบบ อาจเป็นเพราะในช่วงของการ เริ่มทาแบบขยายต่าง ๆ ทาให้รายละเอียดของแบบนันขยายไม่ตรงกัน หรือไม่ตรงกันกับแบบก่อสร้างแผ่น อื่น ๆ เช่น การต้องกาหนดทางระบายนาที่พื นของแบบ ขยายห้องนา ทาให้ต้องปรับเปลี่ย นต าแหน่ ง สุขภัณฑ์ ซึ่งไม่สัมพันธ์กับตาแหน่งผังพืนเดิม เป็นต้น ซึ่งทังหมดได้แสดงในแผนภูมิเส้นที่ 2 แต่ ส าหรั บ ArchiCAD มี เ พี ย ง 2 สั ป ดาห์ คื อ สั ป ดาห์ ที่ 3-4 ที่ มีจุด ผิ ด พลาด ไม่ ผ่ านเกณฑ์ มาตรฐานตามข้อกาหนด เนื่องด้วยลักษณะการทางานของโปรแกรม ArchiCAD ที่มีการทางานสัมพันธ์ กัน ของแบบทุกแผ่น เมื่อระบุรายละเอียดลงไปในแผ่นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย (ผังพืน, รูปตัด, รูปด้าน) เพียงแต่ อยู่ในตาแหน่งที่ไม่สามารถอ่านแบบได้ชัดเจนเท่านัน เช่น การระบุสัญลักษณ์บันไดในผังพืนบริเวณการขึน บันไดชัน 1 แต่ในรูปตัดอาจปรากฏตรงบริเวณชานพักของบันไดชัน 2 ก็เป็นได้ หรือการทาแบบขยายทาง สถาปัตยกรรม ซึ่งแบบขยายบางส่วน เช่น แบบขยายห้องนา จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนการวางสุขภัณฑ์ ภาย หลังเพื่อให้สอดรับกับงานระบบสุขาภิบาลมากขึน ทาให้ตาแหน่งของรายละเอียดที่ปรากฏในแบบส่ วนอื่น อาจจะไม่ตรงกัน โดยลักษณะจุดผิดพลาดความไม่ชัดเจนของแบบแตกต่าง

ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์

233


การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง

จากโปรแกรม AutoCAD ที่สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขแบบในแผ่นนัน ๆ ได้ โดยที่ไม่กระทบกับ แบบก่ อสร้ างแผ่ นอื่ นเลย ซึ่ ง ในสั ป ดาห์ ที่ 5 จนถึ ง สั ป ดาห์ ที่ 7 แบบก่ อสร้ างที่ แ ก้ ไ ขจากโปรแกรม ArchiCAD ก็มีผลการศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ตลอด จนแล้วเสร็จทังโครงการ อาจเป็นเพราะข้อมูลของโครงการ ที่จาเป็นต้องใส่ลงไปแบบก่อสร้างครบถ้วนหมดแล้ว เหลือเพียงแค่ตรวจสอบตาแหน่งการจัดวางสัญลั กษณ์ เท่านัน จุดผิดพลาดจึงเกิดขึนได้น้อยอยู่ในเกณฑ์ที่กาหนด ดังแสดงในแผนภูมิเส้นที่ 3 และจากผลการศึกษาเปรียบเทียบการแก้ไขแบบร่างเพื่อจัดทาแบบก่อสร้างในปัจจัยด้านความ ถูกต้องแม่นยาของโปรแกรม AutoCAD ที่ไม่ผ่านเกณฑ์วัดผลรายสัปดาห์เกือบทุกสัปดาห์ มีเพียงสัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์เดียวที่ผ่านเกณฑ์นัน ส่งผลให้มีจุดผิดพลาดสะสมกันเป็นจานวนมาก ทาให้ไม่สามารถผ่านเกณฑ์ วัดผลในภาพรวมไปด้วย จุดผิดพลาดส่วนมากของการจัดทาแบบก่อสร้างของโปรแกรม AutoCAD นีเกิด จากความเคลื่อนของแบบก่อสร้าง ระหว่างแผ่นที่แสดงแบบส่วนเดียวกัน แต่มีรายละเอียดไม่ตรงกัน เช่น การต้องกาหนดทางระบายนาที่พืนของแบบขยายห้องนา ทาให้ต้องปรับเปลี่ยนตาแหน่งสุขภัณฑ์ซึ่ง ไม่ สามารถสัมพันธ์กันกับตาแหน่งผังพืนเดิม เป็นต้น

ซึ่ ง ก็ เ ป็ นหนึ่ ง ประเด็ นปั ญ หาที่ ไ ด้ จ ากการสอบถามสถาปนิ กผู้ เ ชี่ ย วชาญ แตกต่ างกั บ ของ โปรแกรม ArchiCAD ที่แม้มี 2 สัปดาห์ที่ไม่ผ่านเกณฑ์วัดผลรายสัปดาห์ แต่ก็ยังสามารถมีผลรวมทั งหมดผ่านเกณฑ์ ในส่วนดัชนีชีวัดภาพรวมได้ โดยจุดผิดพลาดส่วนมากของการจัดทาแบบก่อสร้างของโปรแกรม ArchiCAD นีเกิดจากความไม่ชัดเจนของระบบก่อสร้าง หรือรายละเอียดของแบบก่อสร้างไม่สมบูรณ์ ซึ่งอาจจะเกิด จากสาเหตุที่ ในขั นแรกของการจัดท าแบบก่ อสร้ างของโปรแกรม ArchiCAD นัน จาเป็นต้องมี การวาง ระบบและไล่เรียงฐานข้อมูล เพื่อจะให้ข้อมูลเหล่านันเป็นองค์ประกอบในการผลิตแบบออกมา ซึ่งบางครัง 234

ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์


การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง

การวางระบบที่ไม่ล ะเอียดครอบคลุมพอ อาจทาให้ผลลัพธ์ของแบบก่อสร้างที่ ออกมาขาดความถู กต้ อง แม่นยา และไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่ได้กาหนดไว้ การระบุสัญลักษณ์ประกอบแบบที่ยังไม่ต รงกับ ตาแหน่งที่ควรจะแสดงในแบบแต่ละแผ่น เช่น การระบุสัญลัก ษณ์บันไดในผังพืน บริเวณทางขึนบันไดชัน 1 แต่ในรูปตัดอาจจะปรากฏตรงบริเวณชานพักของบันไดชัน 2 เป็นต้น ซึ่งผลรวมของจุดผิดพลาดของทัง 2 โปรแกรมได้แสดงให้เห็นในแผนภูมิแท่งที่ 4 ดังนี

3. บทวิเคราะห์ผลการศึกษาเปรียบเทียบในปัจจัย งบประมาณในการแก้ไขแบบร่างขันสุดท้าย เพื่อจัดทาแบบก่อสร้าง จากปัจจัยการศึกษานีที่ ต้องการเปรียบเทียบจากทางานในแง่งบประมาณ ซึ่งถือเป็นปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์ และสอดคล้องกับระยะเวลาในการทางาน เนื่องจากผลโดยตรงจากระยะเวลาในการท างาน เช่น หากมีการใช้เวลาในการท าแบบก่ อสร้ างนาน งบประมาณที่จะต้องสู ญเสีย ไป เช่น ค่าไฟฟ้า หรือ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องระหว่างการจัดทาแบบก่อสร้าง ก็จะมีปริมาณมากขึนตามไปด้วย จากข้อมูล ใน บทผลการศึกษาจะเห็นได้ว่า ผลการศึกษาเปรียบเทียบรายสัปดาห์แรกโปรแกรม ArchiCAD จะใช้เวลา การทางานต่อวันมากกว่ า เนื่องจากต้องนาข้อมูลทังหมดที่เกี่ย วข้ องกับโครงการ ที่ได้รับการแก้ไขจาก สถาปนิกและวิศวกรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องลงในตัวโปรแกรม อีกทังการวางระบบไล่เรียงข้อมูลให้สอดคล้อง กับแนวทางการจัดแบบก่ อสร้างของที่โครงการต้องการ และเพื่อให้ได้จานวนแบบก่อสร้างแล้วเสร็จตาม เกณฑ์ ทาให้ช่วงเวลาใน 3 สัปดาห์แรกเต็มที่ตามกรอบที่ ให้ไว้คือ 6 ชั่วโมงเกือบทุกวัน แตกต่างกับทาง โปรแกรม AutoCAD ที่สามารถใช้เวลาในช่วงแรกแก้ไขแบบร่างขันสุดท้ายเพื่อจัดทาแบบก่อสร้างให้แ ล้ ว เสร็จออกมาพร้อม ๆ ไปกับการจัดทาแบบก่อสร้างแผ่นอื่น ๆ แต่เมื่อดูในช่วงสัปดาห์ที่ 4 - 7 จะเห็นได้ว่า จากความซับซ้อนของแบบขยายต่าง ๆ และความไม่สอดคล้องต่อเนื่องกันของแบบทังหมด ทาให้โปรแกรม AutoCAD ใช้เวลาต่อวันค่อนข้างมาก ในการไล่เรียงรายละเอียดแบบขยายให้ตรงกับแบบส่วนอื่น ๆ ด้วย ตัวผู้ที่ใช้โปรแกรมนัน ๆ เอง ต่างกับ ArchiCAD ที่เมื่อจัดการกับข้อมูลในช่วงแรกเสร็จเรียบร้อยก็สามารถ นาแบบที่ขึนเป็น 3 มิติ แล้วมาเลือกฉายภาพในแต่ละส่วนที่ต้องการ และจัดวางในหน้ากระดาษเพื่ อเป็น แบบก่อสร้างได้เ ลย แต่ทังสองโปรแกรมก็ ส ามารถผ่ านเกณฑ์ วัด ผลในแง่ง บประมาณการทางานไปได้ เหมือนกัน หากนับชั่วโมงการทางานรวมที่ไม่เกินกรอบเวลาที่ใช้เป็นเกณฑ์วัดผลไว้ ดังแสดงในแผนภูมิแท่ง ที่ 5

ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์

235


การศึกษาเปรียบเทียบการเขียนแบบโดยเทคโนโลยี CAD และ BIM ในโครงการก่อสร้าง

การเสนอแนะแนวทางในการใช้งาน ผลการศึกษาครั งนีมี เพื่ อการศึกษาเปรี ยบเทียบการแก้ ไขแบบร่ างขันสุด ท้ ายเพื่ อจัดท าแบบ ก่อสร้างในปั จจัย การศึ กษา 3 แนวทาง (ระยะเวลา, ความถูกต้ องแม่ นย า และงบประมาณ) ระหว่ าง โปรแกรมคอมพิวเตอร์จากเทคโนโลยี CAD และ BIM ก็จริง แต่หากจะมองลึกลงไปในรายละเอียดแล้วการ เตรียมการในการใช้งานโปรแกรมจากเทคโนโลยี BIM จัดทาแบบก่อสร้างนัน จาเป็นต้องการมีการวางแผน และวางระบบที่ชัดเจนครอบคลุมทุกส่วนของการทางานร่วมกันทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องในโครงการ รูปแบบ และวิธีการทางานต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีนี เพราะฉะนันเทคโนโลยี BIM จึงเหมาะสมกับหน่วยงานที่มีการทางานกันภายในองค์กรหลายภาคส่วน มีนโยบายปฏิบัติที่สอดคล้อง มี การประสานข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ โครงการที่ ดี เพื่ อลดข้ อบกพร่ องเพี ย งอย่ างเดี ย วของเทคโนโลยี นี คื อ ฐานข้อมูลที่ไม่ตรงกันจะทาให้การทางานไม่สัมพันธ์กัน ถึงแม้จะเป็นโครงการที่มีรายละเอียดซับซ้อน แต่ ถ้ า สามารถจั ด การข้ อ มู ล ตามที่ ก ล่ า วมาได้ การจั ด ท าแบบก่ อ สร้ า งก็ ส ามารถแล้ ว เสร็ จ ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ได้ในระยะเวลาที่กาหนด แบบที่ออกมามีความถูกต้องแม่นยาและอยู่ในงบประมาณที่ ตังไว้ อย่างดี แต่ถ้าหากเป็นโครงการก่อสร้างที่มีขนาดเล็ก ความละเอียดซับซ้อนมีไม่มาก มีผู้เกี่ยวข้องในการ สื่อสารทางเอกสารเอกสารน้ อย โปรแกรมจากเทคโนโลยี CAD ก็ยังสามารถใช้ ง านในการจัดท าแบบ ก่อสร้างได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในปัจจัยด้านระยะเวลาในการจัดทาแบบ สรุป จากการสรุ ป ผลการศึ กษาเปรี ย บเที ย บและบทวิ เ คราะห์ ข้ า งต้ น ท าให้ ท ราบว่ า โปรแกรม ArchiCAD จากเทคโนโลยี BIM มีศักยภาพในการจัดทาแบบก่อสร้างตามประเด็นการศึกษา ผ่านเกณฑ์ วัดผลในภาพรวมได้รวดเร็ว มีความถูกต้องแม่นยา และใช้งบประมาณได้คุ้มค่ากว่าโปรแกรม AutoCAD จากเทคโนโลยี CAD ทุกปัจจัยการศึกษาในบริบทขององค์กรที่ท าการศึกษา ดังนันโปแกรม ArchiCAD หรือโปรแกรมอื่น ๆ จากเทคโนโลยี BIM จึงน่าจะมีความเหมาะสมและควรมีการส่งเสริมให้มีการใช้งาน โปรแกรมมากกว่าที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เพื่อเป็นการพัฒนาการทางานในวงการก่อสร้างไทยโดยเฉพาะใน ด้านงานเอกสารก่อสร้างให้มีประสิทธิภาพมากขึนกว่าเดิม ข้อเสนอแนะแนวทางในการศึกษาอนาคต ข้อมูลที่ได้จากการเปรียบเทียบประเด็นการศึกษานี ได้มีการกาหนดปัจจัยการศึกษาในแง่ของ ระยะเวลา ความถูกต้อง แม่นยา และงบประมาณ ซึ่งเป็นแค่การยกเอาหัวใจของหลักการบริหารโครงการ ก่อสร้างมาเป็นแนวทางเท่านั น ยังมีอีกหลายปัจจัย หลายแนวทางที่ควรนามาศึกษาการวิ จัยต่อไป ควร กาหนดปัจจัยการศึกษาให้ที่มีความหลากหลายมากขึน โดยศึกษาจากปัญหาอุปสรรคอื่น ๆ ที่เกิดขึนจาก งานเอกสารโครงการก่อสร้าง โดยเฉพาะการออกแบบและจัดทาแบบก่อสร้าง งานวิจัยนีเป็นงานวิจัย ที่ใช้ กรณีศึกษาในการวิเคราะห์ข้ อ มูลซึ่ งมีลั กษณะเป็นอาคารสาธารณะพั กอาศัยรวม ซึ่งมีรายละเอียดของ อาคารที่ไม่ซับซ้อนมากนัก สาหรับงานวิจัยต่อไปควรเลือกใช้ โครงการกรณีศึกษาที่มีองค์ประกอบ และ ความซับซ้อนของโครงการมากขึน และสามารถนาไปใช้วิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบกับการทางานที่ลั กษณะ ใกล้เคียงสอดคล้องกันได้เป็นอย่างดีต่อไป

236

ปรเมศวร์ พลรัฐธนาสิทธิ์


3



การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศกึ ษา : อาคารเรียนกลุ่ม อาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต บทคัดย่อ ฐปรัตน์ บุญครอบ คาสาคัญ: การวิเคราะห์การใช้พื้นที่/ มาตรฐานพื้นที่อาคารเรียน/ การบริหารจัดการพื้นที่ อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.นนท์ คุณค้าชู

งานวิจัยชิ้ นนี้ มีวัตถุ ประสงค์เ พื่ อศึ กษาประสิ ท ธิภ าพการใช้ อาคารเรี ย นในส่ วนของพื้ น ที่ ห้ อง บรรยาย ห้องปฏิบัติการ และเสนอแนะแนวทางการจัดการพื้นที่ที่เป็นปัญหา เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน การตัดสินใจวางแผนปรับปรุงอาคารเรียนในอนาคตของผู้บริหาร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของพื้นที่การเรียนการสอนของอาคาร 4, 4/1, 4/2 อาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต พบว่าห้องบรรยายและห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ยังคงใช้พื้นที่ในการเรีย นการ สอนไม่ เ ต็ มประสิ ท ธิ ภ าพ ผลโดยรวมยั ง คงต่ าว่ า เกณฑ์ ม าตรฐานของส านั ก งานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา มี เ พี ย ง 2 ห้ อ ง จาก 46 ห้ อ ง ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พื้ น สู ง กว่ า เกณฑ์ ม าตรฐานคื อ ห้ องปฏิ บั ติ การ 4/2-206 และ 4/2-305 มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพวั ด เป็ นร้ อยละ 105.37 ทั้ ง สองห้ อง ซึ่ ง เกณฑ์ มาตรฐานกาหนดไว้ร้ อยละ 64 และเมื่อพิจารณาอัตราการใช้ห้ องเรียนตามเวลา มี 3 ห้อง มีค่าสูงกว่ า เกณฑ์มาตรฐานคื อ ห้องบรรยายที่ 4/1 - 503 มีอัตราการใช้ห้ องตามเวลาคิดเป็นร้ อยละ 83.30, ห้อง บรรยาย 4/2 -803 ร้ อยละ 118.75 และห้ องปฏิ บั ติ การ 4/2 - 504 อั ต ราการใช้ ห้ องตามเวลาสู ง กว่ า เกณฑ์ มาตรฐาน โดยมี ค่ าคิด เป็ นร้อยละ 100 โดยมี เ กณฑ์ มาตรฐานอยู่ ที่ ร้อยละ 80 ส่ วนอั ต ราการใช้ ห้องเรียนตามความจุ โดยภาพรวมมีค่าต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด สาหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาเรื่องนี้แบ่งออกเป็น 3 แนวทาง ได้แก่ 1. ใช้นโยบายการจัด การ ด้านการเรียนการสอน 2. ใช้นโยบายการจัดการด้านกายภาพ 3. ใช้นโยบายการจัดการด้านตารางเรียน ตารางสอน ซึ่งสามารถนามาใช้ เป็ นข้ อมู ล เพื่อแก้ไขปั ญหาเรื่ องพื้ นที่ จากัด และไม่ เพีย งพอต่ อจ านวน นักศึกษา

ฐปรัตน์ บุญครอบ

239


การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

CLASSROOM UTILIZATION AND EFFICIENCY ANALYSIS: MEDICINE AND HEALTH SCIENCE COMPLEX, RANGSIT UNIVERSITY ABSTRACT TAPARAT BOONKROB KEYWORD: EFFICIENCY ANALYSIS/ BUILDING ASSESSMENT/ STANDARDS FOR SCHOOL BUILDINGS/ SPACE MANAGEMENT ADVISOR: NON KHUNCUMCHOO, PH.D.

This research aimed to study the utilization efficiency of educational buildings particularly lecture and basic science laboratory classrooms. The results will be used for space management recommendations, space planning and a decision making at the administrative level. The study of the science building 4, 4/1 and 4/2, Rangsit University founded both room types were still under-utilized and had a relatively low efficiency according to the Office of the Higher Education Commission Standards. Only two out of forty-six laboratory classrooms had a higher utilization rate. Those were laboratory classroom 4/2-206 and room 4/2-305 (both efficiency rate = 105.37%, standard efficiency rate = 64%). When considering the lecture rooms in those three buildings, only three rooms had a higher utilization rate per class schedule. Those rooms were: lecture room 4/1-503 (utilization rate per class schedule = 83.30%, standard utilization rate = 80%); lecture room 4/2-803 (utilization rate per scheduled =118.75%); and laboratory classroom 4/2-504 (utilization rate per scheduled =100%). In terms of utilization rate per classroom capacity, none was above the standard rate which means all of them were under-utilized. There were three strategies to improve the situation; 1) change the teaching-learning methods; 2) reconsider the classroom management policy; and 3) revise classroom scheduling. These strategies will be used to resolve the shortage of educational space and improve students’ learning capacity.

240

ฐปรัตน์ บุญครอบ


การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

สรุปผลอภิปราย การศึ กษาวิ จัย นี้ เ ป็ น การวิ เ คราะห์ การใช้ พื้ นที่ ข องอาคารกลุ่ มคณะวิ ช าแพทยศาสตร์ แ ละ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรัง สิต มีวัตถุประสงค์เพื่อนาผลที่ ได้ จากการวิเคราะห์ ใช้เป็นข้ อมู ล ประกอบการตัดสินใจ เพื่อวางแผนการบริหารจัดการการใช้พื้นที่ห้องบรรยาย และห้องปฏิบัติการ โดยทา การสรุปผลการวิเคราะห์และนาเสนอในบทนี้โดยจะแบ่งเป็น 3 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 สรุปผลการศึกษาและการดาเนินการ ส่วนที่ 2 แนวทางการแก้ไขปัญหา ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะในการวิจัย สรุปผลการศึกษาและการดาเนินการ อาคาร 4 อาคารวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องบรรยายและห้องปฏิบัติการจากอาคาร 4 ในปีการศึกษา 2557 พบว่ามีการใช้ห้องบรรยายและห้องปฏิบัติการเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานในทุกมิติ ซึ่งแสดงให้เห็น ว่ามหาวิทยาลัยมีการใช้ห้องบรรยายและห้องปฏิบัติการยังไม่เต็มประสิทธิภาพ ดังตารางที่ 12 ทั้งนี้เมื่อ พิจารณาอัตราการใช้ห้องตามเวลา พบว่าทุกห้องมีการใช้ห้องต่ากว่าเกณฑ์ค่ อนข้างมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ยังสามารถเพิ่มจานวนชั่วโมงการใช้ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการในแต่ละสัปดาห์ได้อีก เมื่อพิจารณาอัตรา การใช้พื้นที่ตามความจุทุกห้องมีอัตราการใช้พื้นที่ต่ากว่าเกณฑ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าจานวนนักศึกษาที่เข้ าใช้ ห้องปฏิบัติการต่อครั้ง มีจานวนไม่เหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับความจุของห้องเรียน และห้องปฏิบัติการที่ ยังสามารถรองรับจานวนนักศึกษาในการเข้าใช้ห้องต่อครั้งได้อีก

อาคาร 4/1 อาคารวิทยาศาสตร์ การวิ เ คราะห์ป ระสิท ธิ ภ าพการใช้ ห้องปฏิบั ติการจากอาคาร 4/1 อาคารวิ ท ยาศาสตร์ ในปี การศึ ก ษา 2557 พบว่ า มี ก ารใช้ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารเฉลี่ ย ต่ ากว่ า เกณฑ์ ม าตรฐาน ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ตมี การใช้ ห้ องปฏิ บัติ การยั งไม่ เต็ มประสิ ท ธิ ภาพ (แผนภู มิที่ 15 ในบทที่ 4) ทั้ ง นี้ เ มื่ อ พิจารณาอัตราการใช้ห้องตามเวลา พบว่าทุกห้องมีการใช้ห้องต่ากว่าเกณฑ์ค่อนข้างมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ยังสามารถเพิ่มจานวนชั่วโมงการใช้ห้องปฏิบัติการในแต่ละสัปดาห์ได้อีก เมื่อพิจารณาอัตราการใช้พื้นที่ ตามความจุ ทุ ก ห้ อ งมี อั ต ราการใช้ พื้ น ที่ ต่ ากว่ า เกณฑ์ ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ว่ า จ านวนนั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ใช้ ห้องปฏิบัติการต่อครั้ง มีจานวนไม่เหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับความจุของห้องปฏิบัติการที่ยังสามารถ เพิ่มจานวนนักศึกษาในการเข้าใช้ห้องต่อครั้งได้อีก ในส่วนของห้องบรรยาย จากการศึกษาพบว่ามีประสิทธิภาพการใช้ห้องบรรยายต่ากว่าเกณฑ์ มาตรฐานทั้งหมดในทุกมิติ (แผนภูมิที่ 12 ในบทที่ 4) ยกเว้นห้อง 503 ซึ่งเป็นห้องเรียนขนาด 250 คน มี อัตราการใช้ห้องเรียนตามเวลาร้อยละ 83.33 ซึ่งอยู่ในระดับสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมดทุกมิติ (แผนภูมิ ที่ 11 ในบทที่ 4) แต่อัตราการใช้พื้นที่ตามความจุ ร้อยละ 27.74 ซึ่งอยู่ในระดับต่ากว่าเกณฑ์ค่อนข้างมาก (แผนภู มิที่ 10 ในบทที่ 4) แสดงว่ าห้ องบรรยาย 503 อาคาร 4/1 อาคารวิ ท ยาศาสตร์ มี ข นาดพื้ น ที่

ฐปรัตน์ บุญครอบ

241


การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

ห้ องเรี ย นไม่ เ หมาะสมกั บ จานวนนั กศึ กษาดั ง แสดงในตารางที่ 13 ซึ่ ง จะท าการเสนอแนวทางในการ แก้ปัญหาในส่วนถัดไป

อาคาร 4/2 อาคารวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียนจากอาคาร 4/2 อาคารวิทยาศาสตร์ ในปีการศึ กษา 2557 พบว่าห้องบรรยายมีประสิทธิภาพการใช้พื้นที่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมดในทุกมิติ (แผนภูมิที่ 18 ในบทที่ 4) ยกเว้น ห้อง 803 ซึ่งเป็นห้องเรียนขนาด 250 คน มีอัตราการใช้ห้ องเรีย นตามเวลาร้ อยละ 118.75 ซึ่งมีอัตราสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานมาก (แผนภูมิที่ 16 ในบทที่ 4) แต่มีอัตราการใช้พื้นที่ตามความจุ ร้ อ ยละ 34.61 ซึ่ ง ต่ ากว่ า เกณฑ์ (แผนภู มิ ที่ 17 ในบทที่ 4) แสดงว่ า ห้ อ งบรรยาย 803 มี ข นาดพื้ น ที่ ห้องเรียนไม่เหมาะสมกับจานวนนักศึกษา ในส่วนการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องปฏิบัติการ อาคาร 4/2 ในปีการศึกษา 2557 พบว่า ห้อง 206 และ 305 มีประสิทธิภาพการใช้ห้องปฏิบัติการร้อยละ 115.37 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานมาก และยังมีอัตราการใช้ห้องปฏิบัติการตามเวลาร้อยละ 115.63 และอัตราการใช้ห้องปฏิบัติการตามความจุ ร้อยละ 105.37 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานเช่นกัน (แผนภูมิที่ 19, แผนภูมิ 20 ในบทที่ 4) แสดงว่าขนาด พื้นที่ห้องปฏิบัติการดังกล่าว มีพื้นที่ไม่เพียงพอกับจานวนนักศึกษา ห้องปฏิบัติการ 206 และ 305 เป็น ห้องปฏิบัติการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์ โดยมีลักษณะการใช้พื้นที่ในการเรียนการสอนพร้อมกัน จึงทาให้ ค่าในการวิเคราะห์มีผลเหมือ นกัน นอกจากนี้ยังพบว่าห้องปฏิบัติการ 504 มีประสิทธิภาพการใช้ห้องต่า กว่าเกณฑ์มาตรฐาน (แผนภูมิที่ 21 ในบทที่ 4) ในทางตรงกันข้าม เมื่อพิจารณาการใช้ห้องเรียนตามเวลา แล้วพบว่า ห้อง 504 มีอัตราการใช้ห้องเรียนตามเวลาร้อยละ 100 ซึ่งอยู่ในระดับสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (แผนภูมิที่ 19 ในบทที่ 4) แต่อัตราการใช้พื้ นที่ต ามความจุ ร้อยละ 53.13 ซึ่งอยู่ในระดับต่ากว่ าเกณฑ์ (แผนภู มิ ที่ 20 ในบทที่ 4) แสดงว่ าห้ องปฏิบั ติการ 504 อาคาร 4/2 อาคารวิ ท ยาศาสตร์ มี ข นาดพื้ นที่ ห้ องเรี ย นไม่ เ หมาะสมกั บ จานวนนั กศึ กษาดั ง แสดงในตารางที่ 14 ซึ่ ง จะท าการเสนอแนวทางในการ แก้ปัญหาในส่วนถัดไป

242

ฐปรัตน์ บุญครอบ


การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

แนวทางการแก้ไขปัญหา ในส่วนนี้เป็นการวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาในเรื่องของการใช้พื้นที่อาคารของกลุ่ มคณะ วิชาแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยยึดบริบทของมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อตรวจสอบว่าวิธีการใด มีความเหมาะสมมากที่สุด ห้องปฏิบัติการ 206 และ 305 ใช้ในการเรียนการสอนภาควิ ชากายวิภ าคศาสตร์ ซึ่งเป็นวิ ช า พื้นฐาน เป็นห้องปฏิบัติการกลางดูแลโดยคณะวิทยาศาสตร์ ต้องรองรับนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ , คณะ ทันตแพทยศาสตร์ , คณะกายภาพบาบัด , คณะเทคนิคการแพทย์ , คณะการแพทย์แผนตะวันออก, และ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์

จากการศึกษาแนวทางการแก้ไข ห้องปฏิบัติการ 206 และ 305 มี 3 วิธี ดังแสดงในตารางที่ 15 ผู้วิจัยจะทาการนาเสนอเป็นข้อๆ ดังต่อไปนี้ วิธีที่ 1 จัดหาพื้นที่เพิ่มเติมตามความต้องการ อาคาร 4/2 ห้ องปฏิ บั ติ การเลขที่ 206 และ 305 มี พื้ นที่ ส าหรั บ การเรีย นสอนไม่ เ พีย งพอต่อ จานวนนักศึกษา จาเป็นต้องจัดหาพื้นที่เพิ่มเติมสาหรับรองรับนักศึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาพื้นที่ไม่เพียงพอ ต่อการใช้งาน โดยทาการศึกษาหาพื้นที่การใช้งานสาหรับรองรับนักศึกษาที่ใช้ห้องปฏิบัติการภาควิช ากาย วิภาคศาสตร์นี้ ได้ตามรายการในตารางดังต่อไปนี้

สรุปการแก้ไขปัญหาในวิธีที่ 1 ต้องจัดหาพื้นที่ห้องปฏิบัติการสาหรับภาควิชากายวิภาคศาสตร์ เพิ่มอย่างน้อย 516 ตร.ม. เพื่อรองรับนักศึกษาจานวน 252 คนในปัจจุบัน จึงจะเพียงพอต่อความต้องการ ใช้งานและเกิดประโยชน์สูงสุด ถ้าแก้ไขปัญหาในวิธีที่ 1 โดยจัดหาพื้นที่เพิ่มให้สาหรับการเรียนการสอน วิชากายวิภาคศาสตร์ ส่งผลให้ประสิทธิภาพการใช้พื้นที่ต่ากว่าเกณฑ์มาก ดังแผนภูมิที่ 22 ซึ่งอาจจะเป็น การลงทุนที่ไ ม่ คุ้มค่ า ประกอบกับ พื้ นที่ที่ มีอยู่ จากัด และในการเพิ่ มพื้ นที่ค วรเป็ นบริเ วณที่ อยู่ใ กล้ เ คี ย ง ห้องปฏิบัติการเดิมเพื่อสะดวกในการบริหารจัดการ ทาให้การหาพื้นที่เพิ่มนี้อาจจะเป็นไปได้ยาก

ฐปรัตน์ บุญครอบ

243


การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

วิธีที่ 2 เพิ่มการเรียนการสอนในช่วงเวลาเย็นหรือในวันหยุด ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนของห้องปฏิบัติการ 206 และ 305 อาคาร 4/2 ปัจจุบันทั้ง 2 ห้อง มีการเพิ่มการเรียนการสอนในช่วงเย็นวันจันทร์ ตั้งแต่เวลา 16.00 – 19.00 น (ภาพที่ 33) คงมีเวลา เหลือในช่วงเย็นวันอื่น และในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ การจัดตารางเรียนเพิ่มในช่วงเวลาเย็นหรือในวั นหยุด น่าจะเป็นการช่วยลดปัญหาพื้นที่ไม่เพียงพอต่อการใช้งานได้ดีที่สุด

วิ ธี ที่ 3 จั ด วางเฟอร์ นิ เ จอร์ ที่ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบการใช้ ง านได้ ห ลายรู ป แบบ ห้องปฏิบัติการ 206 และ 305 ใช้ในการเรียนการสอนภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะ การใช้เฟอร์นิเจอร์ไม่ตายตัวอยู่แล้ว (ภาพที่ 34) ลักษณะการจัดวางเฟอร์นิเจอร์ จะเป็นแบบเคลื่อนย้ายได้ และขนาดของเฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ มีขนาดมาตรฐานตายตัว (ภาพที่ 35) ซึ่งพิจารณา จากผังการจัดวางเฟอร์นิเจอร์ (ภาพที่ 36 และ 37) มีการจัดวางเฟอร์นิเจอร์ ในรูปแบบที่สามารถรองรับ นักศึกษาได้มากที่สุดแล้ว วิธีการแก้ปัญหาวิธีนี้จึงไม่เหมาะสม

244

ฐปรัตน์ บุญครอบ


การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

ห้ องบรรยาย อาคาร 4/1 ห้ อง 503 และ อาคาร 4/2 ห้ อง 803 และห้ องปฏิ บั ติ การ 504 มี ประสิทธิภาพการใช้ห้องและอัตราการใช้ห้องบรรยายตามความจุ มีค่าต่ากว่าเกณฑ์ มาตรฐานมาก ในทาง กลับกันมีอัตราการใช้ห้องบรรยายตามเวลาสู งกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน แสดงว่าทั้ง 3 ห้อง มีขนาดพื้นที่ ไ ม่ เหมาะสมกับจานวนนักศึกษา ขนาดของพื้นที่มากเกินความจาเป็น พื้นที่ทั้ง 3 ห้องมีลักษณะของปัญหาเช่นเดียวกัน ซึ่งตรงกับกรณีที่ 2 คือ อัตราการใช้พื้นที่ตาม เวลา, อัตราการใช้พื้นที่ตามความจุ และประสิทธิภาพการห้องเรียนต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด ซึ่งจะ นาเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาดังตารางที่ 17 ต่อไปนี้

จากการศึกษาแนวทางการแก้ไขห้องบรรยาย 503 และ 803 ห้องปฏิบัติการ 504 มี 2 วิธี ผู้วิจัย จะทาการนาเสนอเป็นข้อ ๆ ดังต่อไปนี้ วิธีที่ 1 ปรับปรุงห้องให้เป็นแบบเอนกประสงค์ สามารถปรับเป็นห้องเล็กหรือห้องใหญ่ได้ตาม จานวนนักศึ กษาที่มาใช้ง านโดยการเพิ่มพาติ ชั น (Partition) กั้นระหว่างห้อง ปัจจุบันลักษณะของห้ อง บรรยาย 4/1-503 และ 4/2-803 เป็นห้องสโลปขนาด 250 ที่นั่ง ชนิดม้านั่งยึดติดกับพื้น (ภาพที่ 38 - 41) จึงทาให้ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ทั้งสองห้องไม่เหมาะกับการกั้นแบ่งพื้น วิธีนี้จึงไม่เหมาะสมส าหรับ ห้องบรรยาย 4/1-503 และ 4/2-803 ส่วนห้องปฏิบัติการ 4/2-504 มีลักษณะทางกายภาพไม่เหมาะกับ การกั้นแบ่งพื้น (ภาพที่ 43) เนื่องจากการจัดวางตาแหน่งเฟอร์นิเจอร์และประตูทางเข้าห้อง ถ้ามีการแบ่ง พื้นที่จะทาให้เสียประโยชน์การใช้พื้นที่มากกว่าเดิม วิธีนี้มีลักษณะไม่เหมาะสมเช่นกัน

ฐปรัตน์ บุญครอบ

245


การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

วิธีที่ 2 จัดการเรียนการสอนให้พิจารณาขนาดพื้นที่ห้องเป็นสาคัญ โดยจัดจานวนนักศึกษาให้ เหมาะสมห้องเรียนหรือห้องปฏิบัติการนั้น พิจารณาจากตารางที่ 18 พบว่า ห้องดังกล่าวทั้ง 3 ห้อง มีอัตรา การส่วนคนต่อพื้นที่เกินเกณฑ์มาตรฐานอยู่มาก ในการพิจารณาเพิ่มจานวนนักศึกษาให้มีความเหมาะสม กับพื้นที่น่าจะเป็นทางเลือกที่เหมาะสม

จากตารางที่ 19 แสดงให้เห็นว่าควรเพิ่มจานวนนักศึกษา สาหรับห้องบรรยาย 4/2-803 อีกไม่ เกิน 155 และห้อง 4/1-503 จานวนไม่เกิน 120 คน ส่วนห้องปฏิบัติการ 4/2-504 จานวนไม่เกิน 55 คน เพื่อทดลองทาการคานวณอัตราการใช้พื้นที่ตามความจุ จะได้ผลตามแผนภูมิที่ 23

246

ฐปรัตน์ บุญครอบ


การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน กรณีศึกษา : อาคารเรียนกลุ่มอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

จากแผนภู มิที่ 23 วิ ธีที่ 2 จะพบว่ าอั ต ราการใช้ ห้ องบรรยายตามเวลา มี ค่ าใกล้ เ คี ย งเกณฑ์ มาตรฐาน อัตราการใช้ห้องตามความจุและประสิทธิภาพ การใช้ห้องบรรยายมีเกณฑ์ดีขึ้นกว่าเดิม ถือว่าวิธี นี้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ห้องดังกล่าวได้ ดังนั้นการจัดการเรียนการสอน โดยยึดขนาดของพื้นที่เ ป็น หลัก น่าจะเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับทั้ง 3 ห้องนี้ สรุปการแก้ปัญหา

ข้อเสนอแนะในการวิจัย 1. จากการศึ ก ษาวิ จั ย การใช้ พื้ น ที่ โ ดยรวมของอาคารกลุ่ มคณะวิ ช าแพทยศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์สุขภาพ พบว่าการใช้พื้นที่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน มีเพียง 2 ห้อง ที่สูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน เห็นควรพิจารณาการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอน โดยพิจารณาขนาดพื้นที่ห้องเป็นสาคัญ ในการ จัดตารางสอนหรือการจองห้องต้องมีความเหมาะสมกับจานวนนักศึกษา 2. จากการศึกษา ผู้วิจัยทาการศึกษาเฉพาะห้องที่มีอัตราการใช้พื้นที่ตามความจุ อัตราการใช้ พื้นที่ตามเวลา ประสิทธิภาพการใช้พื้นที่สู งกว่ ามาตรฐาน ควรทาการศึกษาในส่ วนที่มีค่าต่ ากว่ าเกณฑ์ มาตรฐานมาก เนื่องจากมี การใช้พื้ นที่ไ ม่คุ้ มค่ า ควรทาการศึกษาว่ าควรมี การจัด การพื้นที่ อย่ างไรให้ มี ประสิทธิภาพสูงสุด 3. การศึ กษาในครั้ ง นี้ ผู้ วิจัย ท าการศึ กษาเฉพาะอาคารกลุ่ มคณะวิ ช าแพทยศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์สุขภาพ ควรทาการศึกษาในส่วนของอาคารอื่น ๆ เพิ่มเติม

ฐปรัตน์ บุญครอบ

247



คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง

คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง บทคัดย่อ ศศธร บริสุทธิ์นฤดม คาสาคัญ: ผู้ควบคุมงาน/ คุณลักษณะ/ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ/์ การบริหารโครงการก่อสร้าง อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.นนท์ คุณคาชู

การวิจัยนีเป็นการวิจัยเชิงสารวจเพื่อศึกษาคุณลักษณะด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของผู้ควบคุ มงาน ในงานก่อสร้าง โดยทาการศึกษาจากบุคลากรในโครงการก่อสร้าง ที่มีที่ตังโครงการอยู่ในเขตกรุงเทพและ ปริมณฑล และทาการเก็บข้อมูลในกลุ่มผู้ควบคุมงานตัวอย่างจานวน 117 คน ด้วยวิธีแจกแบบสอบถาม (เอกสารและออนไลน์) เพื่อค้นหาลักษณะของผู้มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูงโดยทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ เชิงพรรณนาและสถิติเชิงวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าผู้ควบคุมงานที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 31 - 40 ปี (ร้อยละ 47.86) มี ป ระสบการณ์ ท างานในต าแหน่ ง ผู้ ค วบคุ ม งานตั งแต่ อ ดี ต ถึ ง ปั จ จุ บั น 6 - 10 ปี (ร้ อ ยละ 30.77) มี ประสบการณ์ทางานในตาแหน่งผู้ควบคุมงานในบริษัทปัจจุบัน 3 – 5 ปี (ร้อยละ 33.33) มีระดับการศึกษา สูงสุดที่ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (ร้อยละ 58.12) และมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรือ สถาปัตยกรรมควบคุ ม (ร้อยละ 55.56) สาหรับการศึกษาเรื่องแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์แบ่งเป็น 7 ด้าน ตาม ลักษณะผู้มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง พบว่าผู้ควบคุมงานส่วนใหญ่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง ในด้านความกล้า เสี่ยง, ความขยันขันแข็ง, ความต้องการทราบผลการตัดสินใจของตนเอง, การมีความคาดการณ์ล่วงหน้า และ การมีทักษะในการจัดระบบงาน ทังนีมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ป านกลาง ในด้านความรับผิดชอบ ต่อ ตนเองและความชอบการแข่งขัน นอกจากนีจากการศึกษายังพบว่าประสบการณ์การทางานในตาแหน่งผู้ควบคุมงาน ตังแต่อดีต ปั จจุ บั น มี ผ ลต่ อแรงจู ง ใจใฝ่ สั มฤทธิ์ ด้ านความกล้ าเสี่ ย ง และความขยั นขั นแข็ ง ในการท างานอย่ างมี นัยสาคัญทางสถิติด้านความสัมพันธ์ของระดับการศึกษากับแรงจูงใจพบว่า มีผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้ าน ความกล้าเสี่ยง และการมีทักษะในการจัดระบบงานอย่ างมี นัยส าคัญ ทางสถิติ ทังยังพบว่าใบประกอบ วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรือสถาปัตยกรรมควบคุมมีผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความชอบการแข่ ง ขัน อีกด้วย

ศศธร บริสุทธิ์นฤดม

249


คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง

ACHIEVEMENT MOTIVATION CHARACTERISTICS IN CONSTRUCTION'S SUPERVISOR ABSTRACT SASATHORN BORISUTNARUDOM KEYWORD: SUPERVISOR/ CHARACTERISTICS/ ACHIEVEMENT MOTIVATION/ CONSTRUCTION MANAGEMENT ADVISOR: NON KHUNCUMCHOO, PH.D.

The objective of this survey research was to study the achievement motivation characteristics of supervisors in construction. This research examined and collected data from 117 supervisors in construction project located within Bangkok metropolitan via survey questionnaires (paper and online). The questions in the questionnaire were extracted from the study that related to the research. Descriptive and inferential statistics were used to analyze the data in this research. Results showed that most of the supervisors were 31 - 40 years old (47.86%), had been the supervisors in the construction industry for 6 - 10 years (30.77%), had been the supervisors in the current organization for 3-5 years (33.33%), had the bachelor’s degree (58.12%) and had a license for professional practice in engineering or architecture (55.56%). In terms of achievement motivation characteristics, the study indicated that supervisors had high achievement motivation characteristics in risk-taking, energetic, knowledge of result of decision, anticipation of future possibilities and organizational skills. They had medium achievement motivation characteristics in individual responsibility and competition. Moreover, the results showed that working experience as a supervisor had a significant influence in risk-taking and energetic characteristics. The results also indicated that the education level and motivations were related to the risk-taking and organizational skills. Licenses for professional practice in engineering or architecture had a high correlation to competition motivation.

250

ศศธร บริสุทธิ์นฤดม


คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง

สรุปผลอภิปราย จากผลการศึกษาในเรื่องคุณลักษณะของผู้ควบคุมงานในด้านแรงจูงใฝ่สัมฤทธิ์พบว่าผู้ค วบคุ ม งานในงานก่อสร้างเป็นบุคคลที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์อยู่ในระดับปานกลางถึงระดับสูง เมื่อนามาวิเคราะห์ จะพบว่ามีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของผู้ควบคุมงาน อีกทังบางส่วนยังมีความสัมพั นธ์ กัน ระหว่างประชากรศาสตร์ของผู้ควบคุมงานและแรงจูงใจใฝ่สั มฤทธิ์ โดยผลที่ได้มาจากการใช้วิธีการเชิ ง สารวจ (Survey Research) จากกลุ่มประชากรที่เป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ทาการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการ สุ่มโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non - Probability Sampling) ทังนีเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการท างาน ของผู้ควบคุมงานและท าการสรุปโดยแบ่งเป็ น 3 ส่วนคือ ส่วนของลักษณะทางประชากรศาสตร์ ข องผู้ ควบคุมงาน ส่วนของแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการทางานของผู้ควบคุมงาน และส่วนของความสัมพันธ์ระหว่าง ประชากรศาสตร์ของผู้ควบคุมงานและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการทางานของผู้ควบคุมงาน การวิเคราะห์ผลการศึกษา การศึกษาวิจัยเรื่องแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของผู้ควบคุมงานในการจัดการโครงการก่อสร้างสามารถ วิเคราะห์ผลการศึกษาได้ดังนี 1 การวิเคราะห์ผลการศึกษาข้อมูลส่วนที่ 1 ผลการศึกษาด้านปัจจัยทางประชากรศาสตร์ของผู้ควบคุมงานพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่ วน ใหญ่ เ ป็ นคนที่ มีช่ วงอายุ 31 - 40 ปี มีป ระสบการณ์ การท างานในต าแหน่ ง ผู้ ค วบคุ มงาน ตั งแต่ อดีต ปัจจุบันอยู่ระหว่าง 6 - 10 ปี โดยมีประสบการณ์การทางานในบริษัทปัจจุบัน 3 - 5 ปี ทังนีพบว่าผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าและมีใบอนุญาตประกอบวิ ช าชีพ วิศวกรรมควบคุมหรือสถาปัตยกรรมควบคุม 2 การวิเคราะห์ผลการศึกษาข้อมูลส่วนที่ 2 2.1 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความกล้าเสี่ยง

จากตารางที่ 59 สรุปได้ว่า ผู้ควบคุมงานส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถามมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้ าน ความเสี่ยงในการทางานสูง (𝑥̅ รวม = 3.56) โดยมีความพยายามสูงสุดที่จะทางานที่ได้ รับมอบหมายให้ ประสบความสาเร็จแม้จะเป็นงานที่ยากหรือมีอุปสรรคก็ตาม (Mode = 5, 𝑥̅=4.39) เนื่องจากการก่อสร้าง มีการวางแผนงานและวัตถุประสงค์ชัดเจน ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ควบคุมงานต้องปฏิบัติตามอยู่แล้ว อีกทังผู้ควบคุม งานยังมีความกล้าเสี่ยง และมีความกล้าตัดสินใจในงานที่มีความเร่งด่วนได้ปานกลาง (Mode = 3, 𝑥̅ = 2.64) อาจมีสาเหตุเนื่องจาก ในการตัดสินใจของผู้ควบคุมงานนัน มักจะส่งผลกระทบการทางานของหลาย ฝ่าย ทาให้ผู้ควบคุมงานต้องใช้เวลาในการคิดวิเคราะห์พอสมควร ซึ่งขัดแย้งกับการทางานที่ต้องการความ รวดเร็ว เช่น การที่พวกผู้ควบคุ มงานออกค าสั่ งหยุด งาน เนื่องจากงานไม่เป็ นไปตามแบบ ซึ่งส่งผลต่ อ แผนงานโดยรวมของโครงการที่ จะต้ องล่าช้าขึน นอกจากนีผู้ค วบคุมงานส่วนใหญ่ยั งมีค วามเชื่ อ มั่ น ใน ศศธร บริสุทธิ์นฤดม

251


คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง

ความสามารถของตั วเองในระดั บ ปานกลาง (Mode= 5, 𝑥̅ = 3.66) เนื่ องจากยั ง มี ค วามคิ ด เกี่ ย วกั บ ความสาเร็จและโชคชะตาอยู่ พ อสมควร ดังนันในฐานะผู้บังคั บบั ญชาอาจมี การสร้ างความเชื่ อมั่ น ให้ ผู้ ควบคุมงานมากขึน เช่น มีการกล่าวคาชมเชย มีการมอบรางวัลเมื่องานเป็ นไปตามเป้ าหมาย เพื่อให้ผู้ ควบคุมงานมีความมั่นใจในตนเองและทางานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเต็มที่มากขึน 2.2 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความขยันขันแข็ง

จากตารางที่ 60 สรุปได้ว่าผู้ ค วบคุ มงานมีแรงจูง ใจใฝ่ สั มฤทธิ์ด้ านมีค วามขยั นขั นแข็ ง ในการ ทางานสูง (𝑥̅ รวม = 3.94) โดยความพยายามสูงที่จะทางานที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็จ แม้จะเป็นงานที่มี ความยากหรือมีอุปสรรค (Mode= 5, 𝑥̅= 4.62) ซึ่งสอดคล้องกับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความเสี่ย งใน ข้างต้น ทังนียังมีความมานะพยายามสูง ในการค้นคว้าหาความรู้ให้ตนเองอยู่เสมอ (Mode= 5, 𝑥̅=4.10) อาจมีสาเหตุมาจากในการทางานก่อสร้าง มักจะมีปัญหาใหม่เกิดขึนมากมาย ทาให้ผู้ควบคุมงานต้องคอย หาความรู้ถึงสาเหตุและแนวทางแก้ไขอยู่เ สมอ เพื่อนาไปสู่การแก้ ไขปั ญหาได้ อย่างทั นท่ วงที ทังนีจาก สภาพแวดล้อมในการทางานไม่เอืออานวย จะทาให้ผู้ควบคุมงานไม่สามารถทางานได้บางครังบางคราว (Mode = 3, 𝑥̅ = 3.10) เนื่องจากการทางานของผู้ควบคุมงานจาเป็นต้องใช้สมาธิในการคิดเพื่อแก้ปั ญหา และตัดสินใจอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้เกิดผลกระทบต่อการทางานน้อยที่สุด ดังนันในการทางานในสถานที่ ก่อสร้าง อาจมีการจัดพืนที่การทางานให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ควบคุมงานสามารถทางานได้อย่างเต็มที่ 2.3 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง

จากตารางที่ 61 สรุปได้ว่าผู้ควบคุมงานมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง ใน การทางานปานกลาง (𝑥̅ รวม = 3.11) โดยมีความทะเยอทะยานในการมี ชื่ อเสีย งปานกลาง (Mode= 3, 𝑥̅ = 2.95 ) และมี ค วามคาดหวั ง ความส าเร็ จในผลงานตนเองว่ าต้ องเหนื อกว่ าผู้ อื่น อยู่ พ อสมควร (Mode= 3, 𝑥̅ = 3.10) เห็นได้จากมีการเปรียบเทียบผลงานตนเองกับผู้อื่นเพราะคาดหวังว่าผลงานตนเอง จะสมบูรณ์ และดีเลิศเสมอ นอกจากนี ไม่ มีเ วลาพัฒ นาตนเองได้ มากนั ก เนื่องจากคิดว่ าตนเองมี ค วาม รับผิดชอบในงานมากเกินไป (Mode = 3, 𝑥̅= 3.21) ดังนันในการเป็นผู้บังคับบัญชาของผู้ควบคุ มงาน อาจต้องมีการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจนและไม่มากจนเกินไป เพื่อให้ผู้ควบคุมงานมีเวลาใน การพัฒนาตนเอง 2.4 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านมีความต้องการทราบผลการตัดสินใจของตนเอง

252

ศศธร บริสุทธิ์นฤดม


คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง

จากตารางที่ 62 สรุปได้ว่า ผู้ควบคุมงานมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความต้องการทราบผลการ ตัดสินใจของตนเองในการทางานสูง (𝑥̅รวม= 4.38 ) เห็นได้จากเมื่อมีการทางานไปแล้วจะมีการติดตาม ผลงานของตัวเองอยู่เสมอ (Mode= 5, 𝑥̅= 4.49) โดยผลการทางานที่ได้รับต้องไม่ใช่เพียงการคาดคะเน แต่ต้องมีผลที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน เช่น เป็นตัวเลขหรือรายงาน เป็นต้น และมีความพยายามสูงในการ แก้ไขปรับปรุงผลงานให้ดีขึนเรื่อย ๆ (Mode= 5, 𝑥̅= 4.14 ) นอกจากนี เมื่อเกิดปัญหาในการทางานขึน ผู้ ควบคุมงานจะพยายามหาสาเหตุแ ละวิ ธีการแก้ ไขอยู่เ สมอ ๆ (Mode=5, 𝑥̅=4.52) ทังนีในการท างาน ก่อสร้างการแก้ไขปัญหาที่ช้า อาจนาไปสู่ความล่าช้าของแผนงานในโครงการด้วยซึ่งสอดคล้องกับแรงจู งใจ ใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความเสี่ยงและความขยันขันแข็งในข้างต้น 2.5 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านการคาดการณ์ล่วงหน้า

จากตารางที่ 63 สรุปได้ว่า ผู้ควบคุมงานนีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านการคาดการณ์ล่วงหน้าในการ ทางานสูงรวม (𝑥̅= 4.24) แต่จากผลจะเห็นได้ว่าผู้ควบคุมงานชอบปานกลาง ในการวางแผนระยะยาว (Mode=5, 𝑥̅= 3.68) อาจเป็นเพราะในการทางานของผู้ค วบคุ มงานจะได้รับแผนงานในระยะยาวจาก ผู้จัดการโครงการหรือผู้ดูแลโครงการ โดยหน้าที่ของผู้ควบคุมงานจะเป็นเพียงการวางแผนงานในระยะ สัน ๆ แต่เน้นไปที่การตรวจสอบความถู กต้ องของงานตามหลักวิช าการช่ างมากกว่า ทังนีผู้ควบคุมงาน สามารถมองเห็นถึงแนวโน้มของปัญหาที่เกิดขึนในขณะทางานได้ดีเช่นกัน (Mode =5 , 𝑥̅= 4.35) แต่จะ ตั กเตื อนเมื่ อเห็ นถึ ง ความไม่ ป ลอดภั ย ที่ อาจเกิ ด ขึ นได้ ทุ กครั ง (Mode = 5, 𝑥̅ = 4.68 ) เนื่ องจากการ ท างานของผู้ ค วบคุ ม งานเป็ น การท างานอยู่ ห น้ าโครงการก่ อสร้ า งจริ ง ท าให้ มีค วามใกล้ ชิ ด กั บการ ปฏิบัติงาน ทาให้สามารถมองเห็นถึงแนวโน้มของปัญหาหรือผลที่เกิดขึน 2.6 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านการมีทักษะในการจัดการระบบงาน

ศศธร บริสุทธิ์นฤดม

253


คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง

ตารางที่ 64 สรุ ป ได้ ว่า ผู้ ค วบคุ มงานมี แ รงจู ง ใจใฝ่ สั มฤทธิ์ ด้ า นการมี ทั ก ษะในการจั ด การ ระบบงานในการทางานสูง (𝑥̅รวม = 4.49) โดยชอบที่จะเป็นผู้วางแผนมากกว่าเป็นผู้ตามหรื อผู้ป ฏิ บั ติ (Mode= 5, 𝑥̅ = 4.38) อีกทังในการทางาน บ่อยครังที่จะเลือกเพื่อนร่วมงานที่มีความสามารถเป็นอั นดับ แรก (Mode= 5, 𝑥̅ =4.47) เพื่อทาให้ระบบและงานที่ทาประสบความสาเร็จและใส่ใจในการทางานเป็ น ทีมสูงสุด (Mode= 5, 𝑥̅=4.61) โดยจะฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เพื่อเป็นแนวทางในการทางานหรือเมื่อ เกิดปัญหาซึ่งสอดคล้องกับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง 2.7 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความชอบการแข่งขัน

จากตารางที่ 65 สรุปได้ว่า ผู้ควบคุมงานมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านการชอบการแข่งขั นในการ ทางานปานกลาง (𝑥̅รวม = 3.39) เห็นได้จากการที่ผู้ควบคุมงานมีความคาดหวังที่จะทางานให้ดีกว่ าผู้ อื่น บ่อยครัง (Mode= 3, 𝑥̅ = 3.63) ซึ่งสอดคล้องกับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง และ บางครังจะเลือกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขัน (Mode= 3 , 𝑥̅= 3.30) เพื่อเป็นการฝึกความชานาญ ให้กับตนเองซึ่งสอดคล้องกับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความเสี่ยงและความขยันขันแข็งในข้างต้น ทังนียังมี ความชื่นชอบการแข่งขันและชัยชนะปานกลาง (Mode=3, 𝑥̅=3.25) 3 สรุปผลการศึกษาข้อมูลส่วนที่ 3 ผลการศึกษาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของผู้ควบคุมงานกับตัวแปรข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ ของผู้ควบคุมงานสามารถแบ่งได้เป็น 5 หัวข้อ ตามข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้ควบคุมงานดัง ตารางต่อไปนี

จากตารางที่ 66 แสดงให้เห็นว่าปัจจัยด้านอายุและประสบการณ์การทางานในตาแหน่งผู้ค วบคุม งานในบริษัทปัจจุบันที่แตกต่างกัน มีผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่ไม่แตกต่างกัน ปั จจั ย ด้ านประสบการณ์ การท างานในต าแหน่ ง ผู้ ค วบคุ ม งานตั งแต่ อดี ต - ปั จจุ บั น พบว่ า ประสบการณ์การทางานในตาแหน่งผู้ควบคุ มงานตังแต่อดีต - ปัจจุบัน ที่แตกต่างกันมีผลต่อแรงจูงใจใฝ่ 254

ศศธร บริสุทธิ์นฤดม


คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง

สัมฤทธิ์ด้านความกล้าเสี่ยง ในการทางานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 และมีผล ต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความขยันขันแข็งในการทางานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยด้านระดับการศึกษา พบว่าระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้ าน ความกล้าเสี่ยงในการทางานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีผลต่อแรงจูง ใจใฝ่ สัมฤทธิ์ด้านการมีทักษะในการจัดการระบบในการทางานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคั ญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยด้านการมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ พบว่าการมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพที่แตกต่ างกัน มีผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความชอบการแข่งขันในการทางานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 อภิปรายผล จากการศึกษาเรื่องแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของผู้ควบคุมงานในการจัดการโครงการก่อสร้าง ผู้วิจัยได้ มีการค้นพบประเด็นที่น่าสนใจที่นามาสู่การอภิปราย ดังนี ด้านปัจจัยทางประชากรศาสตร์ของผู้ควบคุมงาน 1. ปัจจัยด้านระดับการศึกษาและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้วิจัยมีความสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการศึกษาและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมหรือสถาปัตยกรรมควบคุม เนื่องจากงานก่อสร้างถือเป็นงานที่มีค วามเสี่ยงที่ จะเกิดอันตรายต่ อ ผู้ใช้งานและต่อสาธารณชน ดังนันจึงมีการกาหนดใบประกอบวิชาชีพขึน เพื่อเป็นเครื่องแสดงว่าบุคคลนัน ต้องมีความรู้ความสามารถและมีความรับผิดชอบต่อความปลอดภัยที่พึงมีในการประกอบวิชาชีพ อีกทังยัง เป็นการสร้างความไว้วางใจ ในการตรวจสอบและควบคุมอาคารว่าจะมีความปลอดภัยตามหลักวิชาช่าง และการก่ อสร้ าง ท าให้ ผู้ วิจัย มี ค วามสนใจและหาความสั มพั นธ์ ข องระดั บ การศึ กษาและใบอนุ ญ า ต ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรือสถาปัตยกรรมควบคุม ดังในตารางที่ 67

จากตารางที่ 67 จะเห็นได้ว่ายังมีผู้ค วบคุ มงานบางส่ วนที่ ไม่ มีใบประกอบวิ ชาชีพ โดยเฉพาะ บุคคลที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่ า (ร้อยละ 45.10) ทังนีอาจเป็นไปได้ว่าผู้ควบคุ มงาน บางส่วนที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีแต่ที่ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ อาจเรียนในสาขาอื่นซึ่งไม่สามารถสอบ และยื่นขอใบประกอบวิชาชีพได้ ซึ่งหากดูในด้านความสัมพันธ์ในข้างต้น จะพบว่าระดับการศึกษาที่ต่างกัน มีผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านความกล้าเสี่ยง และด้านความมีทักษะในการจัดระบบงาน นอกจากนีการมี ใบประกอบวิชาชีพ ก็ยังมีผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้านการแข่งขันอีกด้วย 2. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของผู้ควบคุมงาน จากการสรุปผลการศึ กษาที่ ผ่านมาจะเห็นได้ว่า ผู้ควบคุมงานในงานก่ อสร้ างปั จจุ บัน ยังคงมี แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่ไม่สูงนัก และมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์บางด้านอยู่ในระดับต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ สามารถ สรุปได้ดังนี

ศศธร บริสุทธิ์นฤดม

255


คุณลักษณะของผู้ควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพในการบริหารงานก่อสร้าง

เนื่ องจากแรงจู ง ใจใฝ่ สั มฤทธิ์ เ ป็ นแรงจู ง ใจที่ จะท าให้ ค นมี ค วามมานะพยายาม เพื่ อบรรลุ ความสาเร็จตามเป้าหมายที่ตนตังไว้ โดยจากผลการศึกษาพบว่าผู้ควบคุมงานมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง เห็น ได้จากการมีพฤติกรรมด้ านความกล้าเสี่ยง ความขยันขันแข็ง ความต้องการทราบผลการตัด สินใจของ ตนเอง การคาดการณ์ล่วงหน้าและการมีทักษะในการจัดระบบในการทางานสูง นอกจากนียังพบว่าผู้ควบคุมงานมีแรงจูงใจใฝ่สั มฤทธิ์ในด้านความรับผิดชอบต่อตนเองในการ ทางานในระดับปานกลาง แสดงให้เห็นว่าผู้ควบคุมงานมีความทะเยอทะยานและคาดหวังในความสาเร็ จไม่ สู ง นั ก และต้ องการมี เ สรี ภ าพในการคิ ด หรือการจั ด การอยู่ บ้ าง แต่ ยั ง คงต้ องการให้ ผู้ อื่นควบคุ มหรือ ตรวจสอบอีกขันหนึ่ง ทังนีอาจเป็นเพราะว่าผู้ควบคุมงานเป็นเพียงผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ควบคุม ดูแล และ ตรวจสอบงานก่อสร้าง เพื่อให้การก่อสร้างดาเนินไปตามขอบเขตที่กาหนดและบรรลุเป้าหมายที่ตังไว้ โดย จาเป็นจะต้องมีการรายงานผล ตรวจสอบและควบคุมโดยผู้จัดการโครงการหรื อผู้บริหารโครงการอี กครัง หนึ่ง สาหรับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในด้านชอบการแข่งขันในการทางานของผู้ควบคุ มงานพบว่า อยู่ ใ น ระดั บ ปานกลาง แสดงให้ เ ห็ นว่ าผู้ ค วบคุ มงานไม่ ช อบกิ จกรรมที่ มีการแข่ ง ขั นหรื องานที่ ต้ องเอาชนะ อุปสรรคต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นเพราะว่าตาแหน่งผู้ควบคุมงาน มีหน้าที่ให้การก่อสร้างดาเนินไปตามขอบเขตที่ กาหนดและบรรลุเป้าหมายที่ตังไว้ ดังนันผู้ควบคุมงานจึงไม่ชอบงานที่มีอุปสรรคหรือการแข่งขันสูง อีกทัง ด้วยวัฒนธรรมและนิสัยของคนไทย เป็นคนขีเกรงใจและให้เกียรติคนอื่น โดยเฉพาะกับคนที่อายุมากกว่า หรืออาวุโสกว่า จนบางครังคนที่อายุน้อยกว่าอาจจะมีความคิดความสามารถมากกว่าแต่ไม่กล้าแสดงออก ทาให้บางครังคนไทยจะมองว่าการแข่งขันในการทางานเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม ข้อสรุปตามสมมติฐาน จากสมมติฐานที่ตังไว้ว่า ผู้ควบคุมงานในงานก่อสร้างมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูงนันจึงเป็นจริง โดยมี แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์อยู่ในระดับสูงจานวน 5 ด้านจากทังหมด 7 ด้าน ตามที่ได้มีการศึกษาในงานวิจัยนี ข้อเสนอแนะ ในการสร้างคาถามในแบบสอบถามไม่ควรมีการชีนาคาตอบมากเกิ นไป เพราะจะทาให้ผู้ตอบ สามารถคาดเดาคาตอบหรือแนวทางในการตอบได้ ทาให้ผลที่ได้ไม่ตรงตามความเป็นจริง และคาถามควร มีความชัดเจน เข้าใจง่าย ตรงตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อไม่ให้ผู้ตอบคาถามเลือกตอบคาถามใน ระดับคะแนนกลาง ๆ เนื่องจากความไม่เข้าใจและความไม่ชัดเจนของคาถาม งานวิจัยที่เกี่ยวเนื่องในอนาคต 1. การศึกษาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับความสาเร็จในการทางานของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง 2. การศึกษาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับงานตาแหน่งอื่นในโครงการก่อสร้าง เช่น ผู้จัดการโครงการ ที่ ปรึกษาโครงการ

256

ศศธร บริสุทธิ์นฤดม


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง บทคัดย่อ สุขจิตร ฉัตรโพธิ์ คาสาคัญ: โทรทัศน์วงจรปิด/ การจัดการโครงการก่อสร้าง/ เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.นนท์ คุณคาชู

งานวิ จัย นี เพื่ อศึ กษาการประยุ กต์ ใ ช้ โ ทรทั ศ น์ วงจรปิ ด ในการจั ด การโครงการก่ อสร้ าง โดย ทาการศึกษาในกลุ่มบุคลากรที่ มีหน้ าที่ใ นการดูแล ควบคุม และมีอานาจในการตัดสินใจ ที่มีผลต่อการ ดาเนินงานของโครงการก่อสร้างเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร และทาการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ เกี่ยวกับรูปแบบการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิดในโครงการก่อสร้าง ทังด้านการจัดการและปัญหาจากการ ประยุกต์ใช้ เพื่อจะนามาวิเคราะห์และสรุปผลการศึกษา จากการศึกษาพบว่าการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในขันตอนการก่อสร้างนัน ส่วนใหญ่จะมี ลักษณะการใช้งานคล้ายกัน คือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานให้รวดเร็ว ช่วยลดเงื่อนไขและข้อจากัด การดาเนินการโครงการก่อสร้าง เหตุผลหลักในการเลือกใช้ด้านเวลาและต้นทุนคือ ใช้โทรทัศน์วงจรปิดใน การตรวจสอบการปฏิ บัติห น้ าที่ ของพนั กงานและเครื่องจั กร และติ ด ตามความก้ าวหน้ าของโครงการ ก่อสร้าง เพื่อนาไปเปรียบเทียบกับแผนงาน สาหรับการจัดการด้านคุณภาพมีการใช้โทรทัศน์วงจรปิดเพื่อ ติดตามขันตอนการก่อสร้าง จากการศึกษาพบว่าปัญหาที่เกิดจากการใช้โทรทัศน์วงจรปิด ในด้านการจัดการโครงการก่อสร้าง ที่พบมากคือ โทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตังกีดขวางการทางาน ในช่วงที่มีความซับซ้อนของงานมากขึน และ ปัญหาด้านเทคนิคที่พบมากที่สุด คือ โทรทัศน์วงจรปิดที่ทาให้ภาพมีคุณภาพและมีความคมชัดจะมีราคา ค่อนข้างสูง

สุขจิตร ฉัตรโพธิ์

257


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

A STUDY OF CCTV APPLICATIONS IN CONSTRUCTION ABSTRACT SUKJIT CHATPHO KEYWORD: CLOSED – CIRCUIT TELEVISION/ CONSTRUCTION PROJECT MANAGEMENT/ INFORMATION TECHNOLOGY ADVISOR: NON KHUNCUMCHOO, PH.D.

This research studied how to apply Closed - Circuit Television (CCTV) for construction project management. The study focused on the staffs who have the authority in making a decision that affects the construction project in Bangkok areas only. The data was collected by interviewing method asking how CCTV was applied in the project. The operation and problems of using CCTV were collected, analyzed, and concluded the study. The study indicated that CCTV applications in the processes of construction projects management were relatively similar. They were used to improve the time efficiency and reduce the work conditions and limitations. In terms of time and cost, the CCTV was used to inspect the staffs and machines. They also used to track the progress against the plan. For quality management, the most used of CCTV was to follow up the procedures of the construction. Furthermore, there were some problems of CCTV applications that indicated from the study. One was the obstacle of CCTV that complicated the work flows. Another was the technical problem which was the cost of good quality CCTV was quite expensive.

258

สุขจิตร ฉัตรโพธิ์


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

สรุปผลอภิปราย ในบทนีจะแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยสามารถแบ่งเป็น 3 ส่วนดังนี ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ผลการศึกษา ส่วนที่ 2 สรุปผลการศึกษา ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะในการวิจัย 1. การวิเคราะห์ผลการศึกษา 1.1 รูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง จากผลการศึกษารูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้างด้าน เวลา ต้นทุน และคุณภาพ พบว่าหลักการและเหตุ ผลของการนาไปประยุ กต์ใ ช้ จะมีความแตกต่ า งกั น ออกไป ขึนอยู่กับโครงการหรือองค์ประกอบขององค์กรของผู้ให้สัมภาษณ์ โดยผู้วิจัยได้รวบรวมการสรุปผล วิเคราะห์ออกมา และทาการสรุปข้อมูลจากการศึกษาได้ออกเป็น 3 ส่วนดังต่อไปนี 1.1.1 รูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง ด้านเวลา (Time) ผลการศึกษารูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดสาหรับโครงการก่อสร้าง สามารถสรุป ผล การใช้งานได้ 2 หัวข้อ คือ รูปแบบการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในด้านการจัดการโครงการก่อสร้างด้านเวลา และรูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านเวลา แบ่งตามประเภทโครงการที่ใช้โทรทัศน์วงจรปิด ดังต่อไปนี 1.1.1.1 รูปแบบการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในด้านการจัดการโครงการก่อสร้างด้านเวลา (Time) จากการศึกษารูปแบบการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในด้านการจัดการโครงการก่อสร้างด้านเวลาใน โครงการที่เคยมีการให้บริการ สามารถสรุปได้ดังนี

แผนภูมิ 1 แสดงผลสรุปรูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิด ในการจัดการโครงการ ก่อสร้าง ด้านเวลา (Time)

จากแผนภูมิ 1 พบว่าในด้านเวลา บริษัทผู้ให้สัมภาษณ์ส่ วนใหญ่ มีรูปแบบการใช้ เ กี่ยวกั บ การ ตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานและเครื่องจักรคิดเป็น 31.5% โดยมีการติดตังโทรทัศน์วงจรปิด ตามจุดที่มีการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานและเครื่องจักร เพื่อใช้ในการตรวจสอบว่าการปฏิบัติงานของแต่ ละฝ่ ายตรงตามเวลาหรื อไม่ อี กทั งยั ง ใช้ เ ป็ นหลั ก ฐานเมื่ อเกิ ด ความผิ ด พลาดในการท างาน เช่ น การ ตรวจสอบระยะเวลาการทางานของเครน เพื่อใช้ในตรวจสอบเวลาการเข้าทางานของพนักงาน เป็นต้น ปัจจัยต่อมาเป็นการใช้เพื่อการติดตามความก้าวหน้าของโครงการก่อสร้างและนาไปเปรียบเทียบ กับแผนงานคิดเป็น 31.5% เนื่องจากกระบวนการนีสามารถให้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ระหว่างสิ่งที่เกิดขึน จริงกับแผนที่วางไว้และทาการแก้ไขปรับปรุงตามตามที่สมควรได้ทันเวลา สุขจิตร ฉัตรโพธิ์

259


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

นอกจากนียังพบว่ามีการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในด้านตรวจสอบบุคคลภายนอกที่เข้ามาส่งสินค้า หรือเข้ามาประสานงานในโครงการก่อสร้างคิดเป็น 16% เป็นการตรวจสอบการจัดส่ งสินค้าในโครงการ และใช้ เ ป็ นข้ อมู ล พื นฐานในการตรวจสอบช่ วงเวลา และวั นที่ มีการจั ด ส่ ง สิ นค้ าว่ าตรงตามที่ สั่ ง จากที่ วางแผนไว้หรื อไม่ และยังใช้ในการตรวจสอบบุคคลภายนอกที่เ ข้ ามาในโครงการได้ อีกด้ วย เนื่องจาก โครงการก่อสร้างเป็นโครงการที่มีอันตราย อีกทังยังมีทรัพย์สิ นที่เป็นของเจ้าของโครงการอยู่มาก ดังนัน การใช้โทรทัศน์วงจรปิดจะสามารถช่วยบันทึกการเข้าออกได้ สาหรับการตรวจสอบเวลาเข้า - ออก การทางานของพนักงาน จากแผนภูมิ 1 พบว่า มีการติดตัง โทรทัศน์วงจรปิดตามจุดที่มีการเข้า - ออก เพื่อใช้ตรวจสอบช่วงเวลาการทางานของพนักงานคิดเป็น 16% ช่วยลดการสูญเสียเวลาการทางานและค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึน ทังยังสามารถใช้ในการตรวจสอบจานวน การเข้า - ออกในพืนที่ก่อสร้างได้อีกด้วย ในด้านการติดต่อการประสานงานระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้าง พบว่ามีการติดตัง โทรทัศน์วงจรปิดเพื่อใช้ในการติดต่อการประสานงานระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้างคิดเป็น 5% เป็นการช่วยลดเวลาการเดินทางของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้าง เนื่องจากสามารถดูข้ อมูล ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้ ทาให้ไม่เสียเวลาเดินทางเข้ามาที่หน่วยงานก่อสร้าง 1.1.1.2 รู ป แบบการประยุ กต์ ใ ช้ โ ทรทั ศ น์ วงจรปิ ด เรื่ องด้ านเวลา (Time) แบ่ ง ตามประเภท โครงการ จากการศึกษารูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านเวลา (Time) เมื่อแบ่งตามประเภท โครงการสามารถสรุปได้ ดังนี

แผนภูมิ 2 แสดงผลสรุปรูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านเวลา (Time) เมื่อ แบ่งตามประเภทโครงการ

จากแผนภูมิ 2 พบว่า โครงการประเภทคอนโดมิเนียม มีรูปแบบการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิด ใน การจัดการโครงการก่อสร้างด้านเวลา (Time) ทุกข้อ โดยมีการใช้ในด้านการปฏิบัติหน้าที่ของพนั กงาน และเครื่องจักรมากที่สุดคิดเป็น 100% ซึ่งเท่ากับการติดตามความก้าวหน้าของโครงการก่ อสร้ าง และ นาไปเปรียบเทียบกับแผนงานคิดเป็น 100% รองลงมาเป็นการใช้ในด้านการตรวจสอบเวลาเข้า - เวลา ออก การทางานของพนั กงานคิดเป็ น 50% การตรวจสอบบุค คลภายนอกที่เข้ ามาส่ งสิ นค้ าหรื อเข้ า มา ประสานงานในโครงการก่อสร้างคิดเป็น 50% และการติดต่อการประสานงานระหว่ างผู้ ที่เกี่ย วข้ องใน โครงการก่อสร้างคิดเป็น 50% ในโครงการประเภทบ้านพักอาศัย มีการประยุกต์ใช้งานโทรทัศน์วงจรปิดในด้านเวลา (Time) ดังนี มีการใช้ในด้านการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานและเครื่องจักรมากที่สุดคิดเป็น 100% ซึ่งเท่ากับการ ติดตามความก้าวหน้าของโครงการก่อสร้าง และนาไปเปรียบเทียบกับแผนงานคิดเป็น 100% นอกจากนี ยังมีการใช้ในด้านการตรวจสอบเวลาเข้า - เวลาออก การทางานของพนักงานคิดเป็น 50% ทังนีอาคาร 260

สุขจิตร ฉัตรโพธิ์


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

ประเภทบ้านพักอาศัยไม่มีการใช้งานในด้านการตรวจสอบบุคคลภายนอกที่เข้ามาส่ง สินค้า หรือเข้ามา ประสานงานในโครงการก่ อ สร้ าง และการติ ด ต่ อการประสานงานระหว่ างผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในโครงการ สาหรับโครงการประเภทสานักงาน มีประยุกต์ใช้งานโทรทัศน์วงจรปิด ดังนี มีการใช้ในด้า นการ ปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานและเครื่องจักรมากที่สุดคิดเป็น 100% ซึ่งเท่ากับการติดตามความก้าวหน้าของ โครงการก่ อ สร้ า ง และน าไปเปรี ย บเที ย บกั บ แผนงานคิ ด เป็ น 100% การใช้ ใ นด้ า นการตรวจสอบ บุคคลภายนอกที่เข้ามาส่งสินค้า หรือเข้ามาประสานงานในโครงการก่อสร้างคิดเป็น 100% ทังนีโครงการ ประเภทสานักงานมีการใช้ในด้านการตรวจสอบ เวลาเข้า - เวลาออก การทางานของพนักงานคิ ด เป็ น 50% แต่ไม่มีการใช้งานในด้านการติดต่อการประสานงานระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้าง จากข้อมูลแสดงให้เห็นว่าโครงการประเภทคอนโดมิเนียม มีรูปแบบการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิด ในการจัดการโครงการก่อสร้างได้เวลาทุกหัวข้อ เนื่องจากเป็นโครงการที่มีระบบโครงสร้างอาคารที่ซับซ้ อน อีกทังโครงการคอนโดมิเนียมส่วนใหญ่จะเป็นอาคารสูง ทาให้การดูแลและตรวจสอบในทุกชันเป็นไปได้ ยาก จึงมีการใช้โทรทัศน์วงจรปิดเพื่อตรวจสอบที่ง่ายยิ่งขึ น อีกโครงการประเภทคอนโดมิเนียมยังมีการ ทางานหลายฝ่าย และมักจะมีระยะเวลาการเปิดโครงการหรือการส่งมอบห้องให้ลูกค้าที่ชัดเจน จึงมีการใช้ โทรทัศน์วงจรปิด เพื่ อการติดต่ อการประสานงานระหว่ างผู้ที่เ กี่ย วข้ องในโครงการก่ อสร้ างในกรณี เ กิ ด ปัญหาและต้องการการตัดสินใจที่เร่งด่ วน เพื่อไม่ให้การทางานเกิดความล่าช้า สาหรับโครงการประเภท สานักงาน มีการใช้งานด้านการตรวจสอบบุคคลภายนอกที่เข้ ามาส่งสิ นค้ า หรือเข้ามาประสานงานใน โครงการก่อสร้างมากที่สุดเมื่อเทียบกับโครงการประเภทอื่น อาจมีสาเหตุมาจากองค์กรที่เป็นกรณีศึกษาใน ครังนีเป็นองค์ กรที่ เ จ้ าของโครงการว่ าจ้ างให้ ออกแบบรวมก่ อสร้ าง (Design - Build) ทาให้ต้องมี ก าร ตรวจสอบบุ ค คลภายนอกที่ เ ข้ามาส่ ง สิ นค้า หรื อเข้ ามาประสานงานในโครงการก่ อสร้ างมากขึ น เพื่ อ นาเสนอต่อเจ้าของโครงการ ทังนีไม่มีการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิดในการติดต่อการประสานงานระหว่ างผู้ที่ เกี่ ย วข้ องในโครงการก่ อสร้ าง เนื่ องจากการจ้ างออกแบบรวมก่ อสร้ าง (Design - Build) ท าให้ มีผู้ ที่ เกี่ยวข้องในโครงการน้อย เพราะส่วนใหญ่เป็นบุคลากรในองค์กรของผู้รับเหมาเอง ทาให้ลดระยะเวลาและ ขันตอนในการประสานงานลง สาหรับโครงการบ้านพักอาศัย พบว่าไม่มีการใช้งานในด้านการตรวจสอบ บุ ค คลภายนอกที่ เ ข้ า มาส่ ง สิ น ค้ า หรื อ เข้ า มาประสานงานในโครงการก่ อ สร้ า ง และการติ ด ต่ อ การ ประสานงานระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้ องในโครงการ เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นโครงการขนาดเล็กและไม่ มีค วาม ซับซ้อนของงานมากนัก 1.1.2 รูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้างด้านต้นทุน (Cost) ผลจากการศึกษารูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดสาหรับโครงการก่อสร้างนัน สามารถ สรุปผลเรื่องรูปแบบการใช้ง าน ในด้านการจัด การโครงการก่ อสร้ างและประเภทของโครงการที่ น าไป ประยุกต์ใช้เรื่องต้นทุน (Cost) ได้ 2 หัวข้อ คือ รูปแบบการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัด การโครงการ ก่อสร้างด้านต้นทุน และรูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านต้นทุน เมื่อแบ่งตามประเภทโครงการ ดังต่อไปนี 1.1.2.1 รูปแบบการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในด้านการจัดการโครงการก่อสร้างด้านต้นทุน(Cost) จากการศึ กษารูปแบบการใช้โ ทรทั ศ น์ วงจรปิด ในการจัด การโครงการก่ อสร้ างด้ านต้ นทุ น ใน โครงการที่เคยมีการให้บริการ สามารถสรุปได้ดังนี

สุขจิตร ฉัตรโพธิ์

261


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

แผนภูมิ 3 แสดงรูปแบบการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้างด้านต้นทุน (Cost)

จากแผนภูมิ 3 พบว่า บริษัทผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่มีรูปแบบการใช้โทรทัศน์ วงจรปิด ในการ จัดการโครงการก่อสร้างด้านต้นทุน เกี่ยวกับการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานและเครื่องจักร คิดเป็น 24% เพื่อเป็นการเข้ าตรวจสอบการปฏิบั ติ ง านว่ า มีระยะเวลาการท างานเป็ นอย่ างไร ทังการ ทางานในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน เนื่องจากต้นทุนของเครื่องจักรนันมีค่าใช้จ่ายในแต่ละวันค่อนข้ าง สูง ทาให้ในหน่วยงานโครงการก่อสร้างต้องเฝ้าสังเกตและควบคุมการทางานให้คุ้มค่ากับการทางานมาก ที่สุดจะเห็นได้ว่าเป็นรูปแบบนีมีผลในด้านเวลามากที่สุดเช่นกัน นอกจากนีจากแผนภูมิ 3 จะเห็นได้ว่ารูปแบบการใช้โทรทัศน์วงจรปิด ในการจัดการด้านต้ นทุน ได้แก่ การติดตามความก้าวหน้าของโครงการก่ อสร้าง และนาไปเปรียบเทียบกับแผนงานคิดเป็น 24% เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาหรือตรวจสอบต้นทุนที่ใช้จ่ายไป เป็น การแสดงให้เห็นถึงความคืบหน้าของ โครงการก่อสร้างที่เกิดขึนจริงว่าเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้หรือไม่และสามารถช่วยในการวางแผนการใช้ จ่ายเงินในโครงการก่อสร้างในแต่ละสัปดาห์หรือในแต่ละเดือนได้ นอกจากนี ยั ง พบว่ ามี การใช้ โ ทรทั ศน์ วงจรปิ ดในการจั ดการด้านต้ นทุ น เกี่ ย วกั บ การติ ด ตาม ทรัพย์สินและป้องกันการสูญหายคิดเป็น 20% จากการเก็บข้อมูลพบว่า โครงการก่อสร้างส่วนใหญ่ จะทา การติดตังโทรทัศน์วงจรปิดไว้ที่แผนกสโตร์หรือพืนที่วางของ เพื่อไว้ติดตามการเบิกของหน้างานและเพื่อ ป้องกันการสูญเสียเครื่องมืออุปกรณ์และทรัพย์สินต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นการควบคุมค่าใช้จ่ายของต้นทุ นใน โครงการก่อสร้างได้ สาหรับในด้านการติดต่อการประสานงานระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้าง จากแผนภูมิ 3 พบว่า มีการติดตังโทรทัศน์วงจรปิดในเพื่อใช้ในการติดต่อประสานงานระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการ ก่อสร้าง คิดเป็น 20% โดยส่วนใหญ่ใช้ในการประชุมทางไกล หรือในกรณีเกิดปัญหาขึนในโครงการและ ต้องการการตัดสินใจที่เร่งด่วนที่สุด เนื่องจากโทรทัศน์วงจรปิดสามารถเชื่อมต่อกับระบบ Internet ทาให้ สามารถดูข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดขึนได้ทันที (Real time) ซึ่งเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ในด้านการตรวจสอบเวลาเข้า - เวลาออก การทางานของพนักงานจากแผนภูมิ 3 พบว่ามีการ ติดตังโทรทัศน์วงจรปิดตรวจสอบเวลาเข้า - เวลาออก การทางานของพนักงาน คิดเป็น 12% โดยติดตัง ตามจุดที่มีการตอกบัตรเข้า – ออกพนักงาน เป็นการตรวจสอบต้นทุนเรื่องของค่าแรงพนักงานประจาและ พนักงานรายวันที่จ้างเข้ามาทางาน ทังยังเป็นการตรวจสอบจานวนบุคคลากรในโครงการก่อสร้างได้ และ ตรวจสอบการทุจริต เนื่องจากการตอกบัตรแทนกันได้อีกด้วย 1.1.2.2 รูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านต้นทุน (Cost) แบ่งตามประเภทโครงการ จากการศึกษารูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านต้นทุน (Cost) เมื่อแบ่งตามประเภท โครงการ สามารถสรุปได้ดังนี

262

สุขจิตร ฉัตรโพธิ์


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

แผนภูมิ 4 แสดงผลสรุปรูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านต้นทุน (Cost) เมื่อแบ่งตามประเภทโครงการ

จากแผนภูมิ 4 พบว่าโครงการประเภทคอนโดมิเนียมมีรูปแบบการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิดใน การจัดการโครงการก่อสร้างเรื่องต้นทุนเท่า ๆ กัน ดังนี มีการใช้งานในด้านการตรวจสอบการปฏิบัติห น้าที่ ของพนักงานและเครื่องจักร การติดตามความก้าวหน้าของโครงการก่ อสร้างและนาไปเปรียบเทีย บกั บ แผนงาน และการติดตามทรัพย์สินและป้องกันการสูญหายทังหมดคิดเป็น 100% รองลงมาเป็นการใช้ ใน ด้ านการตรวจสอบเวลาเข้ า – เวลาออก การท างานของพนั กงานคิ ด เป็ น 50% และการติ ด ต่ อการ ประสานงานระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้างคิดเป็น 50% ในโครงการประเภทบ้านพักอาศัย มีรูปแบบการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการ ก่ อสร้ างเรื่ องต้ นทุนเท่า ๆ กั น ดั ง นี มี การใช้ ใ นด้ านการตรวจสอบการปฏิ บัติห น้ าที่ข องพนั กงานและ เครื่ องจั กร คิ ด เป็ น 100% การติ ด ตามความก้ าวหน้ าของโครงการก่ อสร้างและนาไปเปรีย บเทียบกับ แผนงาน คิดเป็น 100% และการติดต่อการประสานงานระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้าง คิดเป็น 100% นอกจากนียังมีการใช้ ในด้านการตรวจสอบเวลาเข้า -เวลาออก การทางานของพนักงาน คิดเป็น 50% และการติดตามทรัพย์สินและป้องกันการสูญหาย คิดเป็น 50% เช่นกัน สาหรับโครงการประเภทสานักงาน มีรูปแบบการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิด ในการจัดการโครงการ ก่ อสร้ างเรื่ องต้ นทุ นเท่ าๆ กั น ดั ง นี มี ก ารใช้ ใ นด้ านการตรวจสอบการปฏิ บัติ ห น้ าที่ ของพนั กงานและ เครื่องจักร คิดเป็น 100% ในด้านการติดตามความก้าวหน้าของโครงการก่อสร้างและนาไปเปรียบเทียบ กับแผนงาน คิดเป็น 100% ในด้านการติดตามทรัพย์สินและป้องกันการสูญหาย คิดเป็น 100% และใน ด้านการติดต่อการประสานงานระหว่ างผู้ที่เ กี่ยวข้ องในโครงการก่อสร้าง คิดเป็น 100% ทังนีโครงการ ประเภทสานักงาน มีการใช้ในด้านการตรวจสอบเวลาเข้ า - เวลาออกการทางานของพนั กงาน คิดเป็น 50% จากข้อมูลแสดงให้เห็นว่าโครงการประเภทสานักงาน มีรูปแบบการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิดใน การจัดการโครงการก่อสร้างด้านต้นทุนทุกข้อ ทังนีจะเห็นได้ว่ารูปแบบการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิดในการ จั ด การโครงการก่ อสร้ างเรื่ องต้นทุ นของโครงการประเภทส านั กงาน มี รู ป แบบใกล้ เ คี ยงกั บโครงการ ประเภทคอนโดมิเนียม เนื่องจากเป็นโครงการที่มีระบบอาคารซับซ้อน สาหรับโครงการประเภทบ้านพัก อาศั ย มี การใช้ ง านโทรทั ศ น์ วงจรปิ ด เพื่ อติ ด ตามทรั พ ย์ สิ นและป้ องกั นการสู ญ หายน้ อยกว่ าโครงการ ประเภทอื่น เนื่องจากโครงการส่วนใหญ่เป็นโครงการขนาดเล็กและมีผู้เกี่ยวข้องในโครงการจานวนน้อย 1.1.3 รูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิด ในการจัดการโครงการก่อสร้างด้านคุ ณภาพ (Quality) ผลจากการศึ กษา รูปแบบการประยุกต์ใช้โ ทรทัศ น์ วงจรปิด สาหรับ โครงการก่ อสร้ างนั น สามารถสรุปผลเรื่องรูปแบบการใช้งานในด้านการจัดการโครงการก่อสร้าง และประเภทของโครงการที่ นาไปประยุกต์ ใ ช้เรื่ องคุ ณภาพ (Quality) ได้ 2 หัวข้อ คือ รูปแบบการใช้โทรทั ศน์ วงจรปิดในด้ า นการ สุขจิตร ฉัตรโพธิ์

263


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

จัดการโครงการก่อสร้างเรื่องคุณภาพ และรูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านคุณภาพ เมื่อแบ่ง ตามประเภทโครงการ ดังต่อไปนี 1.1.3.1 รูปแบบการใช้โทรทัศน์วงจรปิ ดในด้านการจัดการโครงการก่ อสร้ างเรื่ องคุ ณภาพ (Quality) จากการศึ กษารู ป แบบการใช้ โ ทรทั ศ น์ วงจรปิ ดในด้ านการจั ดการโครงการก่ อสร้ างเรื่อง คุณภาพ ในโครงการที่เคยมีการให้บริการ สามารถสรุปได้ดังนี

แผนภูมิ 5 แสดงรูปแบบการใช้โทรทัศน์วงจรปิด ในการจัดการโครงการก่อสร้างด้านคุณ ภาพ(Quality)

จากแผนภูมิ 5 พบว่า บริษัทผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่มีรูปแบบการใช้โทรทัศน์ วงจรปิด ในด้าน การจัดการโครงการก่อสร้างเรื่องต้นทุน (Cost) เพียง 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 เพื่อติดตามขันตอนการ ก่อสร้าง คิดเป็น 55% โดยส่วนใหญ่ต้องมีภาพรวมของโครงการก่อสร้างและรายละเอียดในมุมกว้าง เพื่อ ใช้ตรวจสอบขันตอนต่ างๆ ที่เกิดขึนในโครงการก่อสร้าง และเป็นข้อมูลพืนฐาน หากเกิดการผิดพลาดขึน จะเห็นได้ว่าการติดตามขันตอนการก่ อสร้ างเป็ นการตรวจสอบการทางาน เพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพของ โครงการให้ เ ป็นไปอย่ างถู กวิ ธีแ ละเป็ นไปตามขั นตอน และรู ป แบบที่ 2 คื อ เพื่ อตรวจสอบดู แ ลความ ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน คิดเป็น 45% ผลจากการศึกษาพบว่า มีการติดตังโทรทัศน์วงจรปิดตามจุด ที่มี การเข้า - ออกในโครงการก่อสร้าง รวมถึงจุดที่เสี่ยงอันตราย และจุดที่เข้าถึงได้ยากในการทางาน เพื่อ สอดส่องดูแลความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงานของพนักงานและบุคคลอื่น ๆ ที่เข้ามาในพืนที่ก่อสร้ าง การปฏิบัติงานภายใต้ความปลอดภัยนี ถือเป็นเรื่องหนึ่งที่ส่งผลต่อด้ านคุ ณภาพในการจัด การโครงการ ก่อสร้าง 1.1.3.1 รูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านคุณภาพ (Quality) แบ่งตามประเภท โครงการ จากการศึกษารูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดเรื่องคุ ณภาพ (Cost) เมื่อแบ่งตาม ประเภทโครงการ สามารถสรุปได้ดังนี

แผนภูมิ 6 แสดงผลสรุปรูปแบบการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านคุณภาพ (Quality) เมื่อแบ่งตามประเภทโครงการ

264

สุขจิตร ฉัตรโพธิ์


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

จากแผนภูมิ 6 พบว่า โครงการประเภทคอนโดมิเนียมมีรูปแบบการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิด ในการจั ด การโครงการก่ อสร้ างเรื่ อ งคุ ณภาพเท่ า กั น คื อ เพื่ อตรวจสอบดู แ ลความปลอดภั ย ในการ ปฏิบัติงาน คิดเป็น 100% และเพื่อติดตามขันตอนการก่อสร้าง คิดเป็น 100% ในโครงการประเภทบ้ านพั กอาศั ย มี รู ป แบบการใช้ ง านโทรทั ศ น์ วงจรปิ ด ในการจั ด การ โครงการก่อสร้างเรื่องคุณภาพ ดังนี เพื่อตรวจสอบดูแลความปลอดภัยในการปฏิบัติง าน คิดเป็น 50% และเพื่อติดตามขันตอนการก่อสร้าง คิดเป็น 100% สาหรับโครงการประเภทส านั กงาน มีรูปแบบการใช้ง านโทรทัศ น์ วงจรปิด ในการจัด การ โครงการก่อสร้างเรื่องคุณภาพเท่ากั น คือ เพื่อตรวจสอบดูแลความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน คิดเป็น 100% และเพื่อติดตามขันตอนการก่อสร้าง คิดเป็น 100% จากข้อมูลแสดงให้เห็นว่า โครงการประเภทคอนโดมิเนียมและสานักงาน มีรูปแบบการใช้ งานโทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้างเรื่องคุณภาพทุกข้อ โดยจะเห็นได้ว่ามีรูปแบบการใช้ งานโทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้างเพื่อตรวจสอบดูแลความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และเพื่อติดตามขันตอนการก่อสร้างทุกโครงการ เนื่องจากโครงการประเภทคอนโดมิเนียมและสานั กงาน เป็นโครงการที่มีรายละเอียดในการก่อสร้างมาก อีกทังยังมีงานระบบต่าง ๆ ในอาคารซับซ้อน และมีการใช้ จานวนบุคลากร และแรงงานมากกว่างานโครงการบ้ านพั กอาศัย ดังนันจึงจาเป็นต้ องมี ก ารตรวจสอบ คุณภาพ เพื่อให้เป็นไปตามขอบเขตของโครงการอยู่ตลอดเวลา สาหรับโครงการประเภทบ้านพักอาศัย มี การใช้งานโทรทัศ น์วงจรปิดเพื่ อเพื่ อตรวจสอบดูแ ลความปลอดภั ยในการปฏิ บัติง านน้ อยกว่า โครงการ ประเภทอื่น เนื่องจากโครงการส่วนใหญ่เป็นโครงการขนาดเล็ก และมีผู้เกี่ยวข้องในโครงการจานวนน้อย และเจ้าของโครงการอาจไม่ได้ให้ความสนใจในด้านนีเท่าไหร่นัก 1.2 ปัญหาการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง จากผลการศึ กษาสามารถสรุ ป ปั ญ หาของการน าโทรทั ศ น์ ว งจรปิ ด ไปใช้ ใ นการจั ด การ โครงการก่อสร้าง ได้เป็น 2 เรื่อง ดังต่อไปนี 1.2.1 ปัญหาการใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านจัดการโครงการก่อสร้าง ผลจากการศึกษาปัญหาที่เกิ ดขึ นจากการใช้โทรทัศน์ วงจรปิด ในด้านการจัดการโครงการ ก่อสร้าง สามารถสรุปได้ดังนี

แผนภูมิ 7 แสดงปัญหาโทรทัศน์วงจรปิดด้านการจัดการโครงการก่อสร้าง

จากแผนภู มิ 7 พบว่ า ปั ญ หาที่ พ บมากที่ สุ ด ในการใช้ โ ทรทั ศ น์ วงจรปิ ด ด้ านการจั ด การ โครงการก่อสร้าง คือ การกีดขวางการทางานในช่วงที่มีความซับซ้อนของงานมาก คิดเป็น 32% เนื่องจาก การติดตังโทรทัศน์วงจรปิดต้องมีการเดินสายสัญญาณ รวมถึงระบบรองรับอื่น ๆ เช่น ระบบอินเตอร์เ น็ ต ดังนันเมื่องานในโครงการมีความซับซ้อนมากขึนหรือ ใกล้แล้วเสร็จ ตาแหน่งในการติดตังโทรทัศน์วงจรปิด อาจกีดขวางการทางานในส่วนนันได้ รองลงมาเป็นการไม่สามารถติดตามรายละเอียดของงานต่าง ๆ ได้ครบถ้วน คิดเป็น 26% ซึ่ง ส่งผลต่อการจัดการโครงการก่อสร้าง เนื่องจากการติด ตังโทรทัศน์วงจรปิด มีการติดตังตัวกล้องที่มั่นคง สุขจิตร ฉัตรโพธิ์

265


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

และมีความแข็งแรง จึงนิยมติดกับผนังหรือโครงการที่จะไม่มี การเคลื่อนย้าย แต่เมื่องานมีความคืบหน้า มากขึน อาจทาให้บดบังมุมมองของกล้องได้ และทาให้ไม่สามารถมองเห็นรายละเอียดในบางมุมได้ เช่น เมื่ อ มี ก ารก่ อ ผนั ง กั นห้ อ งมากขึ น ท าให้ ก ารติ ด ตั งกล้ อ งไม่ ส ามารถมองมุ ม กว้ า งในห้ อ งอื่ น ๆ หรื อ รายละเอียดของงานส่วนอื่นได้ ซึ่งส่งผลต่อการตรวจสอบงานในด้านการจัดการโครงการก่อสร้าง สาหรับด้านค่าใช้ จ่ายการบ ารุงรั กษาและค่ าโยกย้ายระหว่ างด าเนิ นการก่ อสร้าง คิดเป็น 21% เนื่องจากการติดตังโทรทัศน์วงจรปิดต้องมีการเดินสายสัญญาณ รวมถึงระบบรองรับอื่น ๆ ทาให้การ ติดตังในบางตาแหน่งต้องมีการโยกย้าย เนื่องจากส่งผลต่อการทางาน นอกจากนียังต้องมีค่าใช้จ่ายการ บ ารุ ง รั กษา ซึ่ ง อาจมี ส าเหตุ มาจากอุ บั ติ เ หตุที่ เ กิ ดขึ นจากทางหน้ างาน เช่ น รถขนของเกี่ ย วสายไฟส่ง สัญญาณขาด เป็นต้น ทาให้ส่งผลต่องบประมาณในด้านการจัดการโครงการก่อสร้าง สาหรับปัจจัยด้านค่าใช้จ่ายในการรือถอนเมื่อจบโครงการ คิดเป็น 16% เนื่องด้วยการติดตัง โทรทัศน์วงจรปิดมี การลงทุนทังในด้านระบบและอุปกรณ์สูง ทังการลงทุนจัด ซือตัวกล้อง เครื่องบันทึก สัญญาณ เครื่องแสดงผล สายสัญญาณรวมถึงระบบรองรับอื่น ๆ ที่ต้องรองรับ อีกทังยังมีค่าใช้จ่ายในการ ติดตังที่ต้องมีความมั่นคงแข็งแรง และเมื่อเสร็จสินโครงการก็ต้องมีค่าใช้จ่ายในการรือถอน เพื่อให้อุปกรณ์ ไม่เสียหาย และสามารถนาไปใช้ได้ในโครงการต่อไป ซึ่งส่งผลต่องบประมาณในด้านการจัดการโครงการ ก่อสร้าง และปั จ จั ย สุ ด ท้ า ย คื อ การท าให้ พ นั ก งานรู้ สึ ก อึ ก อั ด ระหว่ า งปฏิ บั ติ ง าน คิ ด เป็ น 5% เนื่องจากการติดตังโทรทัศน์วงจรปิดเป็นการบันทึกข้อมูลภาพ และส่งข้อมูลไปยังเครื่องแสดงผลแบบทั นที (Real Time) ซึ่งอาจทาให้พนักงานหรือแรงงานบางส่วนที่ปฏิบัติอยู่ บริเวณดังกล่าวรู้สึกว่ากาลังถูกจับ ตา มองอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้พนักงานรู้สึกอึดอัด ซึ่งหากปัญหาดังกล่าวอาจส่งผลต่อการจัดการโครงการ ก่อสร้างได้ จากปัญหาการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้างที่กล่าวมานัน ทาให้การใช้ โทรทั ศ น์ วงจรปิ ด ในโครงการก่ อสร้ างไม่ เป็ นที่ นิย มในบางโครงการ เช่ น ในโครงการขนาดเล็ กที่ ไม่ มี งบประมาณในการติดตังเพียงพอ หรือโครงการที่มีระยะเวลาการทางานสัน เป็นต้น นอกจากนียังส่งผลใน มีการใช้ประโยชน์จากโทรทัศน์วงจรปิดไม่คุ้มค่า เช่น เมื่อทาให้พนักงานรู้สึกอึดอัด จึงมีการติดตังโทรทัศน์ วงจรปิ ด เฉพาะทางเข้ าโครงการเท่ านั น ท าให้ ไ ม่ ส ามารถควบคุ มและตรวจสอบการทางานต่าง ๆ ใน โครงการได้ และส่งผลกระทบต่อภาพรวมของโครงการ เช่น คุณภาพของงานไม่เป็นไปตามที่ตังไว้ การ สูญเสียทรัพยากรไปโดยเปล่ าประโยชน์ หรือโครงการมีค วามล่ าช้ าเนื่ องจากไม่ส ามารถควบคุ ม และ ตรวจสอบการทางานได้ เป็นต้น 1.2.2 ปัญหาการใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านเทคนิค ผลจากการศึกษาปัญหาที่เกิดขึนจากการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในด้านเทคนิค สามารถสรุปได้ ดังนี

แผนภูมิ 8 แสดงปัญหาโทรทัศน์วงจรปิดด้านเทคนิค

266

สุขจิตร ฉัตรโพธิ์


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

จากแผนภูมิ 8 พบว่า ปัญหาที่พบมากที่สุดในการใช้โทรทัศน์วงจรปิดด้านเทคนิค คือ กล้อง ที่มีคุณภาพดีและคมชัดจะมีราคาสูง คิดเป็น 30% จากการศึกษาพบว่า ผู้ดูแลโครงการจะทราบปัญหานีก็ ต่อเมื่อมีการติดตั งโทรทัศน์วงจรปิดในโครงการไปแล้ว แต่ไม่สามารถใช้งานได้จริงตามที่ค าดหวัง และ พบว่าถ้าต้องการคุณภาพของภาพดีและมี ความคมชัด จะต้องเลือกกล้องและอุ ปกรณ์ที่มีคุณภาพดีด้ วย เช่นกัน ทาให้ค่าใช้จ่ายในการติดตังโทรทัศน์วงจรปิดมีราคาสูงขึน นอกจากนียังพบว่าปัญหาภาพที่ไม่ ได้ คุณภาพ ยังมีสาเหตุมาจากอุปกรณ์อื่น ๆ ในระบบ เช่น สายสัญญาณที่มีคุณภาพต่า ทาให้การส่งภาพไป ยังเครื่องแสดงผลน้อยลงด้วยเช่นกันซึ่งปัญหาต่าง ๆ เหล่านี ทางผู้บริหารโครงการไม่สามารถทราบก่อน ล่ วงหน้ าได้ เนื่ องจากเป็ นปั ญ หาด้ านเทคนิ ค ซึ่ ง จะพบปั ญ หาก็ ต่ อเมื่ อมี การติ ด ตั งไปแล้ ว จากปั ญ หา ดังกล่าว เมื่อทาการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับประสิทธิภาพและคุณภาพของโทรทัศ น์วงจรปิด จะพบว่า ราคาและคุณภาพของโทรทัศน์วงจรปิดนันมีความหลากหลาย ทังด้านตัวสินค้าและคุณภาพอยู่มาก โดย ส่วนใหญ่มีการใช้ ง านโทรทัศ น์ วงจรปิ ด เฉลี่ยราคาต่อ 1 จุด ประมาณ 4,000 - 5,000 บาท ไม่รวมถึ ง จอภาพ (Monitor) และระบบรองรับอื่น ๆ แต่หากเมื่อได้เปรียบเทียบราคากับกล้องที่มีคุณภาพสูงแล้ว จะมีความแตกต่างกัน โดยเฉลี่ย 5,000 - 10,000 บาท ต่อจุด ซึ่งราคาดังกล่าวจะเป็นตัวกาหนดเรื่องการ ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในหน่วยงานก่อสร้างตามงบประมาณที่มีอยู่ ส าหรั บ ปั ญ หาการใช้ โ ทรทั ศ น์ ว งจรปิ ด ด้ า นเทคนิ ค รองลงมา คื อ ไม่ ส ามารถติ ด ตาม รายละเอียดของงานต่าง ๆ ได้ครบถ้วน คิดเป็น 29% มีสาเหตุมาจากคุณสมบัติของโทรทัศน์วงจรปิดบาง รุ่น เช่น มีความละเอียดของกล้องไม่เพียงพอ ไม่สามารถมองเห็นได้ในเวลากลางคืน ไม่สามารถขยายภาพ หรือหมุนมุมกล้องได้ เป็นต้น ทาให้ไม่สามารถมองเห็นรายละเอียดของงานได้ชัดเจน นอกจากนีโทรทั ศน์ วงจรปิด ยังมีสายไฟและสายสัญญาณจานวนมาก ดังนัน ในการติดตังโทรทัศน์วงจรปิดจึงควรต้องมีการ วางแผนตังแต่แรกพร้อม ๆ กับการเตรียมโครงการเพื่อป้องกันการโยกย้ายมุม กล้อง ทาให้ต้องสูญเสียเวลา และข้อมูลภาพที่ได้ไม่ต่อเนื่องกัน ส าหรั บ ปั ญ หาการใช้ โ ทรทั ศ น์ วงจรปิ ด ด้ า นเทคนิ ค เกี่ ย วกั บ สภาพแวดล้ อม บางมุ ม ไม่ เอืออานวยต่อการติดตังตาแหน่งกล้องโทรทัศน์ คิดเป็น 29% เนื่องจากบางโครงการมีข้อจากัดเรื่องพื นที่ การทางานและการโยกย้ายการติดตังโทรทัศน์วงจรปิด จึงนิยมติดโทรทัศน์วงจรปิดไว้ที่ด้านนอกอาคาร และเมื่อโครงการใกล้จบก็จาเป็นต้องมีการปรับพืนที่ บริเวณรอบนอกอาคาร ทาให้ต้องมีการย้ายการติดตัง โทรทัศน์วงจรปิด ทาให้ไม่สามารถเก็บข้อมูลภาพจากต้นจนจบโครงการได้ ดังนันบางโครงการจึ งมีการ ติดตังกล้องโทรทัศน์ไปกับ ทาวเวอร์เครน (Tower Crane) แต่ต้องเผื่อสายไฟและสายสัญญาณไว้สาหรับ เคลื่อนย้ายตามโครงสร้างตึกด้วย และควรเลือกกล้องโทรทัศน์ที่มีคุณสมบัติ ให้ความละเอียดภาพชัด ทัง กลางวันและกลางคืนเพื่อจะได้ข้อมูลที่หลากหลายทางเลือกได้ นอกจากนียังพบปัญหาเกี่ยวกับการทางานร่วมกับระบบอินเตอร์เน็ตที่ไม่เสถียร คิดเป็น 6% เนื่องจากระบบอินเตอร์เน็ ตถือเป็นระบบเสริมที่ส นับสนุนการท างานของโทรทัศน์ วงจรปิด เพื่อช่วยให้ สามารถดูภาพการทางานได้แบบทันที (Real Time) หรือสามารถดูผ่านโทรศัพท์ มือถือจากที่ใดก็ได้ แต่ เนื่องจากโครงการก่อสร้างเป็นการทางานที่ไม่ อยู่กับที่ถาวร เมื่อจบโครงการก็ต้องทาการย้ายออก จึงไม่ สามารถติดตังระบบอินเตอร์เน็ต แบบถาวรได้ และในบางโครงการก็ไม่สามารถติดตังระบบสายสัญญาณ ของอิ นเตอร์ เ น็ ต ได้ ท าให้ ต้ องเลื อกใช้ ระบบ Wi-Fi ซึ่ ง จาเป็ นต้ องใช้ กับ โทรทั ศ น์ วงจรปิด ที่มีระบบรับ สัญญาณอินเตอร์เน็ตในตัวเท่านัน นอกจากนี ยังมีปัญหาของการส่งสัญญาณภาพจากตัวกล้องมายังเครื่ อง บันทึก เนื่องจากระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ต ที่มีความเร็วต่า ทาให้ภาพที่ได้ไม่มีความคมชัด หรือเกิดการ กระตุกของภาพ ทังนียังมีปัญหาของการใช้โทรทัศน์วงจรปิดกับระบบอินเตอร์เน็ต เนื่องจากการให้บริ การ ของสัญญาณอินเตอร์เน็ ตที่ในบางพืนที่ ไม่มีการให้บริหารระบบอินเตอร์เน็ต ทาให้ไม่สามารถดูภาพการ ทางานได้แบบทั นที (Real time) หรือสามารถดูผ่ านโทรศัพ ท์มือถื อได้ ซึ่งปัญหาดังกล่ าวเป็ นปั ญ หาที่ เกิดขึนในด้านเทคนิค จากการใช้โทรทัศน์วงจรปิดในโครงการก่อสร้าง

สุขจิตร ฉัตรโพธิ์

267


การศึกษาการประยุกต์ใช้โทรทัศน์วงจรปิดในการจัดการโครงการก่อสร้าง

สรุปผลการศึกษา การศึกษาวิ จัย นีเป็ นการศึ กษาเรื่ องการประยุ กต์ ใช้ กล้ องโทรทัศ น์ วงจรปิด ในการจัด การ โครงการก่อสร้างที่มีการใช้งานในปัจจุบัน และปัญหาที่เกิดขึนจากการใช้งาน โดยมุ่งเน้นการศึกษาไปที่ ผู้จัดการโครงการหรือผู้ที่มีอานาจในการตัดสินใจในโครงการก่อสร้าง และเป็นโครงการที่อยู่ในช่วงระหว่าง การก่อสร้างเพื่อให้ได้ข้อมูลจากการใช้งานจริง ทังในด้านการใช้งานระบบและปัญหาที่เกิดขึนจาการใช้ง าน ในการจัดการโครงการก่อสร้าง จากการศึกษาพบว่า การประยุกต์ใช้กล้องโทรทัศน์วงจรปิดในขันตอนการก่อสร้างนัน ส่วน ใหญ่จะมีลักษณะความคล้ายกัน โดยอาศัยหลักการในการจัดการงานก่อสร้างทั่วไปมาประกอบกับการใช้ เทคโนโลยี เพื่ อเพิ่ มประสิ ท ธิ ภ าพการท างานให้ ร วดเร็วช่ วย ลดเงื่ อนไขและข้ อจากั ด การด าเนิ นการ โครงการก่อสร้าง ซึ่งหลักการในการจัดการงานก่อสร้างนัน ได้แก่ ข้อจากัดด้านเวลา (Time) และต้นทุน (Cost) มี การใช้ โ ทรทั ศน์ วงจรปิ ดในการตรวจสอบการปฏิ บัติ หน้ าที่ ของพนั กงานและเครื่องจั กร และ ติดตามความก้าวหน้าของโครงการก่อสร้ างเพื่ อนาไปเปรียบเทียบกับแผนงานมากที่สุด ทังในโครงการ คอนโดมิเนียม บ้านพักอาศัย และสานักงาน สาหรับการจัดการด้านคุณภาพ (Quality) มีการใช้โทรทัศ น์ วงจรปิ ด เพื่ อติ ด ตามขั นตอนการก่ อสร้ างมากที่ สุ ด ทั งในโครงการคอนโดมิ เ นี ย ม บ้ านพั กอาศั ย และ สานักงาน สาหรับปัญหาที่เกิดขึนจากการใช้งานโทรทัศน์วงจรปิด จากการศึกษาพบว่า ปัญหาด้านการ จัดการโครงการก่อสร้างที่พบมากที่สุด คือ โทรทัศน์วงจรปิดที่ติดตังกีดขวางการทางานในช่ วงที่มีความ ซับซ้อนของงานมากขึน และปัญหาด้านเทคนิคที่พบมากที่สุด คือ โทรทัศน์วงจรปิดที่ทาให้ภาพมีคุ ณภาพ และมีความคมชัดจะมีราคาค่อนข้างสูง ข้อเสนอแนะในการวิจัย การติดตังโทรทั ศ น์ วงจรปิด เป็นเพียงวิ ธีการหนึ่ง ที่ มาช่ วยในการเสริ มประสิ ท ธิภ าพการ ทางานด้านการจัดการโครงการก่อสร้างแต่ประสิทธิผลความสาเร็จของโครงการไม่ได้อยู่ขึนกับความส าเร็จ ของการติดตังระบบเพียงอย่างเดียว แต่ยังขึนอยู่กับความสามารถของผู้จัดการโครงการที่ต้องอาศัย ทั กษะ ความชานาญ และการประยุกต์ใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในการจัดการโครงการก่อสร้างด้ วยเพื่อให้โครงการ ก่อสร้างประสบความสาเร็จ การศึกษาวิจัยนี ทาการศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครเท่านัน ทาให้ข้อมูลและผลของการศึ กษา จึงยังไม่สามารถสรุปและเป็นตัวชีวัดรูปแบบการประยุกต์ใช้กล้องโทรทัศน์วงจรปิดทังหมดได้ เนื่องจาก ความเฉพาะของพืนที่โครงการ หรือข้อจากัดในเรื่องระบบที่มีความแตกต่างกัน เช่น ระบบอินเตอร์เน็ต ใน แต่ละพืนที่ หรือความชานาญของช่างในการติดตังโทรทัศน์วงจรปิด เป็นต้น

268

สุขจิตร ฉัตรโพธิ์


KEYWORDS ก

ด กลุ่มร่วมค้า/ กิจการร่วมค้า การจัดการโครงการก่อสร้าง

41 3, 65, 75, 203, 249, 257 การจัดทาดัชนีราคางานก่อสร้าง 23 การจ้างงานแรงงานฝีมือ 161 การจาลองสถานการณ์ 91 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 165 การตรวจสอบอาคาร 127 การบริหารจัดการพื้นที่ 87, 239 การบริหารต้นทุน 15 การประเมินพื้นที่หลังการใช้งาน 87 การประเมินวัฒนธรรมองค์กร 111 การประยุกต์ใช้ 177, 229 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 165 การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 95 การวางแผนงานก่อสร้าง 91 การวิเคราะห์การใช้พื้นที่ 239 การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุน 51 การสื่อสาร 191

ข ขั้นตอนการก่อสร้าง ขั้นตอนการผลิตพร้อมติดตั้งงาน เฟอร์นิเจอร์บิลท์อิน

35

ดัชนีชี้สัดส่วนราคาค่าก่อสร้าง

15

ตัวชี้วัดความสาเร็จ

127

ท่องานระบบใต้ดิน ทีมผู้ตรวจสอบอาคารจากภายนอก เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสื่อผสม เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี โทรทัศน์วงจรปิด

45 127 257 35 45 257

นนทบุรี แนวคิดและทฤษฎี บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) บริษัทรับเหมาก่อสร้าง

51 177 41 165

บ้านจัดสรร แบบจาลองข้อมูลอาคาร (BIM)

61 177, 229

ประตูระบายน้า/ ฝาย ปัจจัย ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ปัจจัยที่เกีย่ วข้องกับการก่อสร้าง ปัจจัยที่มอี ิทธิพลต่อผลิตภาพ งานก่อสร้าง ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาค่า ก่อสร้าง ปัจจัยศึกษาเปรียบเทียบเกณฑ์วัดผล ปัญหาการเขียนแบบ

157 177 151 213

ต ท

95

ค ความล่าช้า คอนโดมิเนียม ค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่าย คุณลักษณะ เครื่องมือประมาณราคา โครงการก่อสร้างสถานพักตากอากาศ โครงการสร้างเจดีย์

151 51 157 207 249 117 225 117

ง งานตกแต่งภายใน 161 งานเปลี่ยนแปลงในการก่อสร้างอาคาร 83

133 75 229 229


อ ผลิตภาพแรงงาน ผู้ควบคุมงาน ผู้ตรวจสอบอาคาร ผู้ประกอบการวิชาชีพเฉพาะ

133 249 127 127

องค์กรสถาปนิกขนาดเล็ก อาคารสร้างค้างในเขตกรุงเทพมหานคร อุปกรณ์ลูกข่ายแบบแพสซิฟ ไอที บารอมิเตอร์

191 213 45 165

CAD

229

C พัทยา

61

ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ

65

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มาตรฐานพื้นที่อาคารเรียน

45 87, 239

ระบบผนังภายนอกอาคารสาเร็จรูป ระบบสารสนเทศ ระเบียบวิธีปฏิบัติงาน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์

145 191 11 249

ลักษณะทางกายภาพของ สถานที่ก่อสร้าง ลีนคอนสตรั๊กชั่น

207 3

วัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมองค์กร วิศวกรรมคุณค่า

111 111 65

สัดส่วนราคาค่าก่อสร้าง

15, 117, 225

ห้างค้าปลีกขนาดใหญ่

151

ภ ม ร

ส ห


ADVISORS ขวัญชัย โรจนกนันท์ (ดร.) ศจีรัตน์ 52, วรรณวลี 53, สวลักษณ์ 53, อัครวัฒน์ 53

ทยากร จารุชัยมนตรี (ดร.) เขตรัฐ 54

นนท์ คุณค้าชู (ดร.) ปัญจพงศ์ 53, พงศ์เทพ 53, ทัศนชัย 54, ธณัชชา 54, ลินดา เมย์ 55, ปรเมศวร์ 56, ฐปรัตน์ 57, ศศธร 57, สุขจิตร 57

บัญชา ชุ่มเกษร (ผู้ช่วยศาสตราจารย์) อภิสิทธิ์ 50, กฤษณพงษ์ 51, ชาญกนก 53

ปณิตา วงศ์มหาดเล็ก (ผู้ช่วยศาสตราจารย์) บุญเสริม 52, ธวัชชัย 53, วรวุฒิ 53, โอภาส 53, คทาพงศ์ 54

วิเชษฎ์ สุวิสิทฐ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์) สินีพันธุ์ 50, สรรพรณ 52, ธีรวัฒน์ 56

ปรีชญา มหัทธนทวี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.) ภิวัฒน์ 52

พิบูลย์ จินาวัฒน์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.) สุวัชชัย 52, วราพร 53, วิชัย 55, สรายุทธ 55, กริชวิทย์ 55

จรัญพัฒน์ ภูวนันท์ (รองศาสตราจารย์) สุวิทย์ชา 50, วิกิตติ์ 53

ฐิติพัฒน์ ประทานทรัพย์ (รองศาสตราจารย์) กานต์ 52


ที่ระลึกวาระ 12 ปี หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการโครงการก่อสร้าง

ภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 http://www.arch.su.ac.th

พิมพ์

มีนาคม 2560

จานวน 300 เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.