จางหาย แต่ ไม่ตายจาก
เครือ่ งดีดล้านนา
พิณเพียะ
จางหายแต่ไม่ตายจาก เครือ่ งดีดล้านนาพิณเพียะ เรือ่ งและภาพ ศรีสทิ ธิ์ วงศ์วรจรรย์ 13570580
เชียงใหม่มีมนต์เสน่ห์มากมายหลายอย่าง ผู้คนต่างหลงใหล ใฝ่ ฝันอยากมาเยือน สิง่ หนึง่ ที่ดงึ ดูดให้ ผู้คนเดินทางมาที่นี่เพื่อชื่นชม นัน่ คือ นาฎดุริยการล้ านนา ด้ วยความไพเราะอ่อนหวานของเสียงดนตรี นนมี ั้ ประวัตกิ ารณ์มาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครื่ องดนตรี พื ้นบ้ านล้ านนาโบราณ ประเภทเครื่ องดีด หนึง่ ในเพชรน� ้ำงามของจังหวัดเชียงใหม่ นามว่า พิณเพียะ
พิณเพียะ เป็ นเครื่ องดนตรี ที่ส�ำคัญของล้ านนาอย่างหนึง่ มีลกั ษณะ
คล้ ายน� ้ำเต้ าของทางเขมร เวียดนาม แต่ลกั ษณะเด่นที่สงั เกตเห็นได้ วา่ เป็ น ของทางล้ านนาคือ ใช้ กะลามะพร้ าว มีน� ้ำหนักประมาณ 70 กรัม พกพาได้ ง่าย แต่ดแู ลรักษายาก ต้ องทนุถนอม หากไม่ใช้ เล่นควรปลดสาย เอาวางไว้ ข้ างฝาหรื อวางไว้ กบั พื ้นก็ไม่ได้ การแขวนเป็ นการดูแลรักษาที่ดีที่สดุ ส�ำหรับ เครื่ องดนตรี ชิ ้นนี ้ เดิมทีมีค�ำกล่าวของนักดนตรี ล้านนาโบราณที่วา่ “สามเดือนหัดปี่ สามปี หัดเพียะ” เป็ นหลักฐานส�ำคัญ บ่งชี ้ให้ ได้ ทราบว่า พิณเพียะมีความ นิยมมาตังแต่ ้ อดีตกาล โดยค�ำกล่าวนี ้สามารถตีความได้ วา่ หากหัดเป่ าปี ใช้ เวลาเพียงไม่นานนัก สามเดือนก็เป็ น แต่หากจะหัดเล่นพิณเพียะ ต้ องใช้ เวลา นานถึงสามปี เพราะเป็ นเครื่ องดนตรี ที่เล่นยาก ทังต้ ้ องใช้ กระบวนนิ ้วประสาน กันก่อนถึงจะเล่นได้ ไหนจะดีดให้ เป็ นเพลงได้ อย่างไพเราะอีก จากความหมายของค�ำกล่าวข้ างต้ นสื่อให้ เห็นถึงความนิยมของพิณ เพียะในบริ บทของการเล่นเพื่อการเกี ้ยวพาราสีสาว ๆ เป็ นส�ำคัญทังนี ้ ้ในอดีต จึงเกิดเป็ นความนิยมของทังฝ่ ้ ายหญิงและฝ่ ายชาย ควบคูก่ นั โดยฝ่ ายหญิง จะมีความนิยมต่อผู้ชายที่เล่นพิณเพียะ เพราะเมื่อก่อนชายชาวล้ านนาผู้ใด จะไปจีบหญิงต้ องมีเครื่ องดนตรี ในการไปจีบผู้หญิง โดยมีการเล่นดนตรี ให้ ฟั ง ทังนี ้ ้ในล้ านนามีเครื่ องดนตรี มากมาย ไม่วา่ จะเป็ น ซึง สะล้ อ ขลุย่ แต่ชาย ใดที่เล่นเครื่ องดนตรี เหล่านี จ้ ะไม่เป็ นที่นิยมมากเท่าชายผู้ที่เล่นพิณเพียะ เพราะพิณเพียะเป็ นเครื่ องดนตรี ที่เล่นยาก แสดงให้ เห็นถึงความอดทน ความ เป็ นพ่อบ้ านพ่อเรื อน สามารถเป็ นหัวหน้ าครอบครัวที่จะคูเ่ คียงกายหญิงที่จะ เป็ นภรรยาในอนาคตได้ ผู้หญิงจึงเห็นความส�ำคัญ ความนิ ยมนี เ้ ป็ นกระบวนการหนึ่งที่ท�ำให้ คู่รักชายหญิ งเกิ ดความ เห็นใจซึง่ กันและกัน ความนิยมของผู้หญิงต่อผู้ชายที่เล่นเครื่ องพิณเพียะและ ความนิยมของผู้ชายในการเล่นเพื่อหาคูค่ รอง เป็ นความสัมพันธ์ที่ได้ ประโยชน์ร่วมกัน ถือเป็ นเรื่ องราวที่ดี
ในเวลาต่ อ มาการเล่น พิ ณ เพี ย ะได้ ถูก สั่ง ระงับ ไป เพราะเวลาเกิดเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทพวกบ่าวชอบน�ำเอา พิณเพียะมาแทงกัน เหตุที่ใช้ พิณเพียะเป็ นอาวุธเพราะด้ าน ปลายของมันมีความแหลมคม เกิดความอันตราย ท�ำให้ ถึงแก่ชีวิตได้ ตังแต่ ้ นนมาจึ ั ้ งไม่คอ่ ยมีคนเล่น หากจะเล่นก็ ห้ ามน�ำออกไปนอกชายคาหรื อที่สาธารณะ จนเมื่อปี พ.ศ. 2530 ศิลปิ นผู้มีเอกลักษณ์ในการ สร้ างสรรค์งานดนตรี จากภาษาถิ่นเหนือ นามว่า จรัล มโนเพ็ ชร ได้ รือ้ ฟื น้ การเล่นพิณเพียะขึ ้นมาอีกครัง้ โดยการเอามา เล่นกับโฟล์คซอง จนเกิดเป็ นดนตรี ประเภท โฟล์คซองค�ำ เมือง ซึง่ ได้ รับความนิยมชมชอบจากชาวล้ านนาซึง่ เข้ าใจ ภาษาค�ำเมือง ภาษาท้ องถิ่นของตนอยูแ่ ล้ ว อีกทังยั ้ งเป็ นที่ ชื่นชอบต่อชาวไทยภาคอื่น ๆ อีกด้ วย
ปลายของพิณเพียะ ซึง่ มีความแหลมคม
ช่วงนันเทปคาสเซ็ ้ ทเป็ นสื่อทางวัฒนธรรมอย่างหนึง่ (Mass Culture) ที่สามารถเผยแพร่ดนตรี สผู่ ้ คู นในสังคมได้ พอคนได้ ยินเข้ าก็จะเกิดการเอะใจว่า เอ๊ ะ นี่คือเสียงอะไร ท�ำไมมันถึงไพเราะเพียงนี ้ พิณเพียะจึงได้ กลับมารุ่งเรื องอีก ครัง้ หนึง่ ภายหลัง พิ ณ เพี ย ะก็ ไ ด้ ล ดความนิ ย มลงไปสัก พัก หนึง่ จนกระทัง่ ละครเรื่ องรอยไหมได้ เอาพิณเพียะออกมา แสดง เมื่อปี พ.ศ. 2554 ประกอบกับค�ำหล้ า ธัญยพร อุตธรรม ชัย ก็ได้ ออกอัลบัมชุ ้ ดพิเศษ เพลงพิณเพียะ กลองปู่ จา และ เอาไปประยุกต์กบั เครื่ องดนตรี ชิ ้นอื่นให้ มีความร่ วมสมัยจน เกิดเป็ นรูปแบบเพลงที่ไพเราะ อีกทัง้ ครูแอ๊ ด ภานุทตั อภิชนา ก็ได้ ออกอัลบัมเพลงพิ ้ ณเพียะ และวงลายเมืองก็ได้ น�ำไปเล่น แสดงอยูเ่ รื่ อย ๆ โดยทังหมดทั ้ งมวลคงสามารถพู ้ ดได้ วา่ ใน ยุคหลังบริ บทความนิยมได้ เปลี่ยนมาเป็ นการบริ โภคโดยการ ฟั งมากกว่าการหัดเล่นเอง อาจพูดได้ วา่ เป็ นการรื อ้ ฟื น้ ผ่าน ทางกระแสสื่อ ละคร และเทปคาสเซ็ท โดยนักดนตรี มีสว่ น ช่วยในการรื อ้ ฟื น้ เพราะเขาเป็ นนักดนตรี เขาจึงเห็นความ ส�ำคัญ ในปั จ จุบัน ความนิ ย มพิ ณ เพี ย ะของคนล้ า นนาได้ เปลี่ ย นบริ บ ทความนิ ย มไปเป็ น การฟั ง มากกว่ า การเล่ น เพราะปั จจุบนั สื่อได้ มาแทนที่ในการเล่นแล้ ว ทังยั ้ งเข้ าถึงง่าย แค่ใส่ซีดีเข้ าเครื่ องเล่นก็สามารถฟั งได้ เลย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุผลหลักคือเป็ นเครื่ องดนตรี ที่เล่นยาก ราคาแพง วัสดุอปุ กรณ์ท�ำยาก ช่างที่ท�ำโดยเฉพาะก็ไม่มี จึงท�ำให้ ปัจจุบนั ไม่เป็ นที่นิยมในการเล่น ทุกวันนี ป้ ระชากรเชี ยงใหม่ที่เล่นพิณเพี ยะมี ไม่ถึง ยี่สบิ คน ถ้ านับเทียบสัดส่วนประชาก็ในจังหวัดทังหมดแล้ ้ ว ดู เป็ นจ�ำนวนที่น้อยมากจนน่าตกใจทีเดียว กระบวนการเล่น ปั จจุบนั แทบจะไม่หลงเหลือ มีแต่การฟั งเพลงจากสื่อก็ เท่านัน้ ในตัวเมืองเชียงใหม่ มีอดีตนักศึกษาปริ ญญาโท สาขาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นามว่า พระภาณุเดช ฐิตสิปโป ผู้ซงึ่ เต็มเปี่ ยมไปด้ วยจิตวิญญาณ ของศิลปิ น เชี่ยวชาญด้ านนาฎดุริยการ และโดยส่วนตัวชื่น ชอบการเล่นพิณเพียะ เพราะหลงใหลในเสียงของตัวเครื่ อง ดีดนามนี ้ ปั จจุบนั ได้ ท�ำการบวชเป็ นพระประจ�ำอยู่ วัดมหาวัน
พระภาณุเดช ฐิ ตสิปโป : วัดมหาวัน
ต�ำบลช้ างคลาน อ�ำเภอเมือง กล่าวถึงจุดเริ่ มต้ นของตนใน การเล่นพิณเพียะว่า พระอาจารย์เล่นตังแต่ ้ ครัง้ ยังเป็ นนักศึกษาปริ ญญาตรี สมัย ชันปี ้ ที่ 1 ประมาณปี พ.ศ. 2553 เพราะพระอาจารย์ชอบลีลา ของเครื่ องดนตรี อีกทังยั ้ งมีเสียงไพเราะ จึงสนใจที่จะศึกษา ถึงแม้ ต้องใช้ เวลาหัดอยูน่ าน สมัยก่อนผู้ใหญ่และผู้แก่ผ้ เู ฒ่าจะเป็ นคนเล่น แต่ ปั จจุบนั มีเด็กอายุวยั ประมาณ 20 ปี ได้ มาช่วยรื อ้ ฟื น้ เพราะ เกิดการฉุกคิดถึงการอนุรักษ์ จนสนใจที่จะศึกษา ท�ำให้ พอใจ ชื ้นขึ ้นมาบ้ าง
ต่อมาพระอาจารย์ได้ กล่าวถึงมุมมองแง่คิดส่วนตัวที่ มี ต่อบริ บทความนิ ยมของพิณเพี ยะที่ ได้ เปลี่ยนไปตามยุค สมัยไว้ วา่ ในปั จจุ บั น การเล่ น พิ ณ เพี ย ะนั น้ เล่ น เพื่ อ เข้ าสู่ กระบวนการทุนนิยม เพื่อต้ องการที่จะผลิตสื่อ เช่นท�ำเทป คาสเซ็ทเพื่อออกมาให้ คนฟั ง และท�ำละครเพื่อให้ คนทาง บ้ านได้ ชม สะท้ อนให้ เห็นความนิยมในการบริ โภคสื่อ โดยส่วนตัวเข้ าใจถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงของ สังคมในแต่ละยุคสมัย แม้ จะท�ำให้ เห็นถึงความห่างเหินของ คนที่จะเป็ นผู้เล่นน้ อยลง แต่อย่างน้ อยสื่อก็ได้ ชว่ ยรื อ้ ฟื น้ ดี กว่ามันหายไปเลย ถ้ าไม่มีสื่อตรงนี ้ ผู้ที่จะช่วยรื อ้ ฟื น้ เห็นได้ ว่าคงจะไม่มี เพราะไม่มีอะไรเป็ นตัวสื่อกลางขยาย เผยแพร่ ให้ คนรู้จกั เมื่อมีการรื อ้ ฟื น้ ก็ยอ่ มต้ องมีการนิยม แล้ วมันก็มี ความเปลี่ยนแปลง ค�ำว่า เปลี่ยนแปลง ในที่นี ้คือ เปลี่ยนแปลง ไปตามกระแสสังคม เราอย่าคิดว่า พิณเพียะมันจะด�ำเนิน การมาแค่การบรรเลงแค่นนั ้ เป็ นไม่ได้ แล้ ว ที่ ผ่ า นมาหากสัง เกตหลัก สู ต รการศึ ก ษาใน รายวิชาดนตรี ให้ ดีจะพบว่า เพราะความเจริ ญทางสังคมมัน สูงขึ ้นเร็ วมาก โรงเรี ยนส่วนใหญ่ก็ไปเน้ นสอนแค่ดนตรี สากล และดนตรี ไทย แต่ดนตรี พื ้นบ้ านกลายเป็ นแค่ชมรมเล็ก ๆ กิจกรรมเล็ก ๆ ไม่ได้ ถกู บรรจุเป็ นหนึง่ ในหลักสูตรการเรี ยน เพราะการก�ำหนดระยะขอบเขตการศึกษา ที่เป็ นสาเหตุ ท�ำให้ เด็กห่างเหินจากความเป็ นท้ องถิ่น ทุกวันนี ้เด็ก ๆ จึงเข้ า ไม่ถงึ ดนตรี พื ้นบ้ านและมีความสนใจน้ อยลง
พูดถึงการอนุรักษ์ ก็ต้องอยากให้ มีอยูแ่ ล้ ว แต่ความ เป็ นไปมันต้ องอาศัยปั จจัยหลาย ๆ ส่วน เข้ าเชื่อมกัน ไม่วา่ จะ เป็ น สังคมกับผู้เล่น หรื อความส�ำคัญที่ผ้ ใู หญ่ตอ่ ลูกหลานที่ สนใจเล่นเครื่ องดีดล้ านนาชิ ้นนี ้ สิง่ ส�ำคัญคือพ่อแม่เป็ นตัว ก�ำหนด ถ้ าพ่อแม่เขาเข้ าใจแล้ วส่งเสริ ม เหมือนอย่างพ่อแม่ ของลูกศิษย์พระอาจารย์หลาย ๆ คนที่เข้ าใจ ก็นบั เป็ นเรื่ องดี แต่หากพ่อแม่กีดกัน ไม่สง่ เสริ ม ก็ถือเป็ นเรื่ องที่นา่ เสียใจที่ เด็กได้ ถกู หักห้ ามให้ อยูใ่ นกรอบของเขา แม้ว่าคุณค่ าของบริ บทความนิ ยมต่ อพิ ณเพี ยะใน ปัจจุบนั ได้เปลีย่ นไป แต่เป็ นเช่นนีก้ ็ยงั ดีกว่ากลายเป็ นการ สูญหายไปในทีส่ ดุ ..