Issue 05 July 2016
Unsung Heroes
ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล ย้อนรอยความเจริญของประเทศ เพื่อส่องเส้นทางสู่อนาคต
ADVANCE NOTICE
Welcome to Optimise ในระหว่างการสัมภาษณ์หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล หรือ ‘หม่อมเต่า’ หนึ่งใน Unsung Heroes ผู้สร้างคุณูปการหลากหลายไว้ให้กับประเทศ ปกอัน ทรงเกียรติของ Optimise ฉบับนี้ ท่านได้พูดในสิ่งที่เราคิดว่าสรุปใจความของการ พัฒนาไว้อย่างลัดสั้นที่สุด ไม่ว่าจะสำ�หรับยุคโชติช่วงชัชวาลที่ได้ผ่านมาแล้ว หรือ ยุคที่เมืองไทยกำ�ลังจะต้องก้าวต่อไปในวันข้างหน้า ท่านบอกสั้นๆ ว่า “คนเราต้องปรับตามสิ่งที่เราพบ คนที่ไม่ปรับตามสิ่งที่ตัวเอง พบก็จะไม่เจริญ คนที่ปรับตามสิ่งที่ตัวเองพบก็จะเจริญกว่า ง่ายแค่นั้นชีวิต” เพราะในโลกที่เทคโนโลยีกำ�ลังสร้างความเปลี่ยนแปลงหลายๆ เรื่องพร้อมกัน จนแม้แต่บรรดากูรูก็ไม่กล้าพยากรณ์ว่าสิ่งต่างๆ จะเดินทางไปลงเอยในจุดไหน สิ่งหนึ่งที่แน่ชัดก็คือ การไม่ปรับตัวไม่ใช่ทางเลือก คอมพิวเตอร์สมัยนี้ ไม่เพียงฉลาดกว่าเดิม แต่ยังเข้าถึงข้อมูลที่กว้างขวาง มากขึ้นอย่างมหาศาล โปรแกรม ‘คุ้ย’ หรือทำ�เหมืองข้อความ (text-mining) อาจ กระทบงานของนักกฎหมาย โปรแกรมการประเมินผลภาพเริ่มเข้ามากินที่นักวิจัย หรือนักเทคนิคในการสำ�รวจชิ้นเนื้อมะเร็ง นักบัญชีอาจสูญพันธุ์ได้เมื่อโปรแกรม วางแผนภาษีดีขึ้น แม้กระทั่งข่าวกีฬาหรือข่าวการเงินที่มีรูปแบบไม่ซับซ้อน เดี๋ยวนี้ ก็ถูกเขียนขึ้นโดยโปรแกรมแทนที่จะเป็นนักข่าวแล้ว พูดง่ายๆ ก็คือ งานที่มนุษย์เคยคิดว่าคอมพิวเตอร์ไม่มีวันทำ�ได้ เดี๋ยวนี้ คอมพิวเตอร์ได้ทำ�แล้ว และทำ�ดีขึ้นเรื่อยๆ สำ�หรับ Optimise ท่ามกลางบรรยากาศของความเปลีย่ นแปลงนี้ ดร.พิพฒ ั น์ เหลืองนฤมิตชัย ได้วิเคราะห์ disruptive technology ที่จะกระทบชีวิตและการลงทุน (‘Disruptive Technology กับการลงทุน’) ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ พูดถึงโลกที่นโยบาย การเงินอ่อนล้าจนทำ�ให้นักเศรษฐศาสตร์ต้องแก้ปัญหาแบบฉีกตำ�ราเศรษฐศาสตร์ (‘เศรษฐกิจโลกที่พึ่งพานโยบายการเงินมา 8 ปีเริ่มอ่อนแรง’) สองคุณพ่อคุณลูก ณรงค์-นันท์ชนก ไพรัชเวทย์ แห่งธุรกิจเครื่องหนัง St. James แสดงให้เห็นวิธีการ ส่งทอดธุรกิจในโลกที่ไม่เหมือนเดิม (‘One Step Ahead’) ในขณะที่เรื่องราวอื่นๆ ก็ล้วนแสดงให้เห็นถึงคนในแวดวงต่างๆ ที่พยายามจะเสาะหาโอกาสและเจริญให้ ได้จากความเปลี่ยนแปลงหรือความรู้ ความคิดใหม่ๆ ที่มาถึงตัวทั้งสิ้น ดูเหมือนจะไม่มีเวลาไหนน่าหวาดหวั่นและน่าสนุกเท่าเวลานี้อีกแล้ว ธนกร จ๋วงพานิช บรรณาธิการ
02
OPTIMISE | JANUARY 2016
OPTIMISE | JULY 2016
03
ECONOMIC REVIEW
เศรษฐกิจโลกที่พึ่งพานโยบาย การเงินมา 8 ปี เริ่มอ่อนแรง ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ กรรมการผู้จัดการ และหัวหน้าสายงานวิจัย บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
การลงทุนในช่วง 10 ปีทผ่ี า่ นมาทำ�ให้นกั ลงทุนต้องให้ความสำ�คัญและติดตามเหตุการณ์ ทีเ่ กีย่ วโยงกับนโยบายการเงินของธนาคารกลาง เป็นหลัก หากถามว่าใครคือผูว้ า่ การธนาคาร กลางสหรัฐฯ ปัจจุบนั หลายคนจะตอบว่าคือ นางเจเน็ต เยลเลน (และตอบได้ดว้ ยว่าคนก่อน หน้าคือนายเบน เบอร์นนั เก และอลัน กรีนสแปน) แต่หากถามว่าใครคือรัฐมนตรีคลังสหรัฐฯ น้อย คนจะจำ�ได้วา่ คือเจค็อบ (แจ็ค) ลูว์ ยิง่ ไม่ตอ้ งพูด ถึงคนก่อนๆ อย่างทิโมธี ไกธ์เนอร์ และเฮนรี (แฮงก์) พอลสัน ทั้งนีเ้ พราะก่อนวิกฤติการเงินในสหรัฐฯ (ปี 2007-2008) นโยบายการคลังมีบทบาทน้อย มากในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ ส่วนหนึง่ เป็น เพราะสหรัฐฯ มีหนีส้ าธารณะสูงและจะสูงขึน้ ไป อีกหากยังปล่อยให้ระบบประกันสังคมใช้จา่ ย เกินตัวอย่างเช่นปัจจุบนั ทำ�ให้เกิดการขัดแย้ง กันของพรรคการเมืองหลักและการหาทางออก เพือ่ ปรับโครงสร้างนโยบายการคลังทำ�ไม่ได้และ ชะงักงันเป็นหมันมาโดยตลอด (และในช่วงที่ เกิดความขัดแย้งรุนแรง ก็น�ำ ไปสูก่ ารปิดทำ�การ ของรัฐบาลชั่วคราวที่คงจะจำ�กันได้) ด้วยเหตุนี้ จึงมีการพึง่ พานโยบายการเงิน เพียงอย่างเดียว ซึง่ ผ่อนคลายนโยบายจนฉีก ตำ�ราเศรษฐศาสตร์และดำ�เนินมาตรการนอก กรอบ คือการพิมพ์เงินใหม่มากว้านซือ้ สินทรัพย์ คุณภาพดีจากมือประชาชนเพือ่ ให้ประชาชน ต้องนำ�เงินไปซือ้ สินทรัพย์เสีย่ ง (หุน้ ) การดำ�เนิน มาตรการคิวอี 1, 2 และ 3 ทำ�ให้ราคาสินทรัพย์ ปรับตัวสูงขึน้ มาโดยตลอด เห็นได้จากการที่ ดัชนีตลาดหลักทรัพย์สหรัฐฯ ปรับตัวสูงขึน้ 06
OPTIMISE | JULY 2016
ส่งผลต่อโอกาสในการทำ�กำ�ไร จึงเอาสภาพ คล่องส่วนเกินไปฝากกองเอาไว้ในบัญชีของตน ทีธ่ นาคารกลาง 3. ยุโรปและญีป่ นุ่ ดำ�เนินมาตรการคิวอีตาม สหรัฐฯ แต่เศรษฐกิจของประเทศทัง้ สองอ่อนแอ กว่า จึงน่าจะต้องทำ�คิวอีเพิม่ ขึน้ อีกในอนาคต ปัญหาทีต่ ามมานัน้ สรุปได้วา่ มีอยู่ เพราะในระยะหลังแม้จะเพิม่ คิวอี แต่เงินยูโร 3 ประการคือ และเงินเยนก็ยงั แข็งค่าขึน้ ทำ�ให้ตอ้ งใช้นโยบาย 1. ชนชัน้ กลางฐานะทางการเงินไม่ดขี น้ึ มาก ดอกเบีย้ ติดลบมากขึน้ เรือ่ ยๆ ตรงนีฉ้ ดุ ให้ นัก แตกต่างจากคนรวยน้อยคนทีเ่ ป็นเจ้าของ พันธบัตรรัฐบาลทัว่ โลกประมาณ 1 ใน 3 ขณะนี้ สินทรัพย์ (ทีร่ าคาปรับสูงขึน้ ) เกือบทัง้ หมดของ ให้ดอกเบีย้ ติดลบไปแล้ว สร้างความลำ�บากให้ ประเทศ ทำ�ให้เกิดกระแสต่อต้านกลุม่ ทีก่ มุ กับกองทุนต่างๆ โดยเฉพาะกองทุนผูส้ งู อายุใน อำ�นาจทางเศรษฐกิจและการเมืองในปัจจุบนั ยุโรป กระแสต่อต้านคิวอีและนโยบายดอกเบีย้ ส่งผลให้นายโดนัลด์ ทรัมป์ (ทีถ่ กู มองว่าเป็น ติดลบทีก่ �ำ ลังขยายตัวมากขึน้ เป็นลำ�ดับ ทำ�ให้ ‘คนนอก’) และนายเบอร์นี แซนเดอร์ส (วุฒสิ มาชิก เกิดคำ�ถามว่านโยบายการเงินเริม่ อ่อนล้าและ มลรัฐทีม่ พี ลเมืองเพียง 600,000 คน) สามารถ เสือ่ มประสิทธิผลแล้วหรือไม่ ต่อสู้ ฮิลลารี คลินตัน จนนางคลินตันต้องปรับ จึงนำ�มาสูก่ ารคาดการณ์วา่ ธนาคารกลาง จุดยืนไปทางซ้าย (สังคมนิยม) ปฏิเสธข้อตกลง ของประเทศหลักอาจต้องถลำ�ตัวลึกเข้าไปอีก ทีพพี แี ละการปฏิรปู ประกันสังคม กล่าวคือ โดยมีการกล่าวถึง ‘helicopter money’ หรือการ นโยบายฟืน้ เศรษฐกิจด้วยนโยบายการเงิน เปรียบเปรยของเบน เบอร์นนั เก ว่าหากจำ�เป็นก็ เป็นสาเหตุหลักอันหนึ่งทีท่ �ำ ให้การเมืองสหรัฐฯ อาจต้องนำ�เงินสดโปรยลงมาจากเฮลิคอปเตอร์ แตกแยกอย่างไม่เคยเห็นมาในรอบหลาย ให้ประชาชนนำ�ไปใช้จา่ ย ฝ่ายทีค่ ดิ การเรือ่ งนี้ 10 ปี และสร้างความไม่แน่นอนให้ทง้ั กับ มิได้หมายความเช่นนัน้ จริงๆ นะครับ โดยมอง เศรษฐกิจสหรัฐฯ และเศรษฐกิจโลกในปลายปี ว่าจะต้องทำ�ผ่านนโยบายการคลัง เช่นการที่ ทีจ่ ะมีการเลือกตัง้ ประธานาธิบดี ธนาคารกลางจะรับซือ้ พันธบัตรรัฐบาลอายุ 2. แม้จะมีการพิมพ์เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เพิม่ 100 ปีทใ่ี ห้ดอกเบีย้ 0% แปลว่าจะต้องนำ�เอา เกือบ 3 ล้านล้านเหรียญ (จากเดิมทีม่ เี งินสด นโยบายการเงินมาสนับสนุนนโยบายการคลังใน หมุนเวียนเพียง 9 แสนล้านเหรียญ) แต่เงินดัง ลักษณะนอกตำ�ราเศรษฐศาสตร์ตอ่ ไป กล่าว ‘ไม่หมุน’ กล่าวคือธนาคารพาณิชย์ถกู ผมคาดว่าเศรษฐกิจโลกคงจะไม่ไปถึงจุดนัน้ ‘ลงโทษ’ (เพราะเป็นสาเหตุของวิกฤติเมือ่ 9 ปีท่ี แต่กเ็ ป็นสิง่ ทีน่ กั ลงทุนจะต้องติดตามและ แล้ว) โดยถูกบังคับไม่ให้ประกอบธุรกิจเสีย่ ง ประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ครับ เป็นประวัตกิ ารณ์นบั ครัง้ ไม่ถว้ น แปลว่าหลัง จากวิกฤติเศรษฐกิจเป็นต้นมา ผูท้ เ่ี ป็นเจ้าของ ทรัพย์สนิ เสีย่ งพลิกฟืน้ ฐานะทางเศรษฐกิจของ ตนเองจนดีขน้ึ มาเป็นลำ�ดับจากเมือ่ 10 ปีกอ่ น หน้าอย่างเห็นได้ชดั
OPTIMISE | JULY 2016
07
INVESTMENT REVIEW
Disruptive Technology กับการลงทุน ดร.พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ และหัวหน้าทีมวิจัยลูกค้าบุคคล สายงานลูกค้าบุคคล บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
08
OPTIMISE | JULY 2016
disruptive technology คือ นวัตกรรมหรือเทคโนโลยี ที่สร้างตลาดและมูลค่า ให้กับตัวผลิตภัณฑ์ที่ใช้ เทคโนโลยี และส่งผล กระทบอย่างรุนแรง (disrupt) ต่อตลาด ของผลิตภัณฑ์เดิม
ช่วงหลังนี้เราคงได้ยินคำ�ว่า ‘disruptive technology’ กันบ่อยขึ้น ทราบไหมครับว่ามันคืออะไร และจะส่งผลต่อการลงทุนอย่างไร? disruptive technology คือนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่สร้างตลาด และมูลค่าให้กับตัวผลิตภัณฑ์ที่ใช้เทคโนโลยี และส่งผลกระทบอย่าง รุนแรง (disrupt) ต่อตลาดของผลิตภัณฑ์เดิม และอาจจะทำ�ให้ธุรกิจ ที่ใช้เทคโนโลยีแบบเดิมๆ ล้มหายตายจากไป ต่างจากนวัตกรรมทั่วไป ที่อาจจะเพียงช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพของสินค้า หรือลด ต้นทุนกระบวนการผลิตแบบเดิมๆ เทคโนโลยีใหม่เหล่านี้อาจเป็นนวัตกรรมที่มีอยู่แล้ว แต่มีการ เปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบของตลาดบางอย่าง เช่น ในเชิงคุณภาพ ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต ต้นทุน หรือราคา ซึ่งทำ�ให้เทคโนโลยี เหล่านี้มีเงื่อนไขที่เหมาะสมขึ้นจนเป็นที่นิยมของตลาด กระบวนการทีเ่ ทคโนโลยีใหม่ ‘disrupt’ เทคโนโลยีเดิมนัน้ ไม่ใช่ ประเด็นใหม่ แต่เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ในอดีตและ จะยังคงดำ�เนินต่อไปในอนาคต บางคนเรียกกระบวนการนีว้ า่ ‘creative destruction’ หรือการทำ�ลายอย่างสร้างสรรค์ให้โลกเรามีประสิทธิภาพ มากขึน้ ขณะทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั สินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพและตอบโจทย์มากกว่าเดิม ตัวอย่างที่คลาสสิกมากข้อหนึ่ง คือกรณีศึกษาที่คุณโทนี เซบา ผู้เขียนหนังสือ Clean Disruption of Energy and Transportation ใช้ในการบรรยายหลายๆ ครั้ง ในช่วงปี 1900 รถม้าเป็นยานพาหนะที่สำ�คัญในการเดินทาง และปัญหาใหญ่ที่สุดในช่วงนั้น คือจะทำ�อย่างไรกับอุจจาระม้าที่กอง เกลื่อนอยู่เต็มเมือง เฉพาะในนิวยอร์ก ซิตี้เอง มีม้ากว่า 175,000 ตัว ผลิตอุจจาระกว่า 1,000 ตันต่อวัน ในปี 1894 หนังสือพิมพ์ฉบับหนึง่ ในอังกฤษทำ�นายว่า ในอีก 50 ปี ถนนทุก สายในกรุงลอนดอนจะเต็มไปด้วยกองอุจจาระม้าสูงกว่า 9 ฟุต! จนมี คนเรียกวิกฤตนี้ว่า The Great Horse Manure Crisis of 1894 ปี 1898 มีการประชุมการวางผังเมืองนานาชาติที่นิวยอร์ก เพื่อหาทางออกให้กับ ปัญหานี้ แต่ก็ไม่สามารถหาวิธีแก้ได้ ดูเหมือนอารยธรรมโลกกำ�ลังจะถึง คราวสิ้นสุดเลยทีเดียว แต่อย่างที่เราทราบ ปัญหาที่ว่าได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว ด้วย การมาถึงของรถยนต์ซึ่งเข้ามาแทนที่รถม้าเกือบจะทั้งหมดในเวลาไม่ถึง 15 ปี ทำ�ให้เมืองใหญ่ๆ ทั่วโลกไม่ต้องเผชิญกับปัญหาดังกล่าว (แต่มี ปัญหาอื่นเข้ามาแทน) สิ่งที่น่าสนใจคือ รถยนต์ไม่ได้กลายเป็นที่นิยมอย่างรวดเร็ว รถยนต์ แบบเครื่องยนต์สันดาปภายในมีขายมาก่อนหน้านั้นกว่า 10 ปีแล้ว (ไม่นับรถยนต์แบบอื่นๆ เช่นรถยนต์ไอน้ำ� หรือรถยนต์ไฟฟ้า ฯลฯ) และมีการจัดแสดงรถยนต์เป็นครั้งแรกในปี 1900 ด้วย แต่มีราคาแพง ทำ�ให้ยังไม่เป็นที่นิยมนัก เทคโนโลยีหนึ่งที่ช่วยให้รถยนต์เป็นที่นิยมมาก ขึ้นก็คือการพัฒนาการผลิตแบบสายพานการประกอบ ที่ทำ�ให้สามารถ ผลิต Ford Model T ได้ในปริมาณมากและต้นทุนถูกลง ทำ�ให้ผู้ผลิต รถยนต์ที่ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีแบบสายพานการประกอบล้มหายตาย
จากไปเป็นจำ�นวนมาก ในยุคนั้น เทคโนโลยีการผลิตแบบสายพานจึง เป็น disruptive technology ที่ทำ�ลายทั้งเจ้าของตลาดเดิม (รถม้า) และ มีผลกระทบต่อคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกันที่มีเทคโนโลยีสูง (รถยนต์ แบบผลิตทีละคัน) และมีผลต่อการผลิตสินค้าอื่นๆ ที่รับเทคโนโลยีการ ผลิตนี้ไปใช้ด้วย ในอดีตทีผ่ า่ นมา เราเห็นสินค้าหลากชนิดถูกเทคโนโลยีใหม่เข้ามา แทนทีอ่ ย่างต่อเนือ่ ง สินค้าบางชนิดค่อยๆ หายจากตลาดไปภายในช่วง 10 ปีทผ่ี า่ นมา ลองทวนความจำ�กันดีไหมครับ พาเหรดเฉลิมฉลองเทศกาลอีสเตอร์ ในกรุงนิวยอร์ก ปี 1900 ลองสังเกตจะเห็นว่าตรงกลางภาพมีรถยนต์ก�ำ ลังแล่นอยู่
ที่มา: US National Archives
พาเหรดเฉลิมฉลองเทศกาลอีสเตอร์ ในกรุงนิวยอร์ก ปี 1913 ไม่มี ม้าสักตัวปรากฎให้เห็นในสายตา
ที่มา: George Grantham Bain Collection OPTIMISE | JULY 2016
09
INVESTMENT REVIEW พอมองไปข้างหน้า ด้วยเทคโนโลยีท่ี ก้าวหน้าเร็วมากขึน้ ประกอบกับการนำ� ในอดีตที่ผ่านมา เราเห็นสินค้าหลากชนิดถูกเทคโนโลยี เทคโนโลยีดงั กล่าวมาใช้ในอุตสาหกรรมทีห่ ลาก ใหม่เข้ามาทดแทนอย่างต่อเนื่อง สินค้าบางชนิดค่อยๆ หลาย แนวโน้มทีว่ า่ จึงน่าจะเกิดเร็วขึน้ และทวี หายจากตลาดไปภายในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เช่น ความรุนแรง รวมถึงในอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น Uber ที่เรียกตัวเองเป็นบริษัท แผ่นเสียงถูกทดแทนด้วย เทป ซีดี และทั้งหมดกำ�ลังถูก เทคโนโลยี กำ�ลังส่งแรงกระเพื่อมไปทั่วโลก ทดแทนด้วยเพลงดิจิตอลและการฟังเพลงออนไลน์ และเปลี่ยนการแข่งขันในธุรกิจแท็กซี่ที่เคยได้ รับการปกป้องไปอย่างรุนแรง การเข้ามาของ Airbnb ทำ�ให้ผู้ประกอบการห้องพักรายย่อย สามารถแข่งกับผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม ที่ใกล้ตัวที่สุด คงไม่พ้นอุตสาหกรรมเพลง เทคโนโลยีใหม่ๆ ก็อาจจะกลายเป็นธุรกิจ ได้ หรือการที่ Alibaba จากประเทศจีนแสดง ที่เราเห็นแผ่นเสียงถูกทดแทนด้วยเทปและซีดี ล้าสมัยและตกยุคเอาง่ายๆ ในส่วนของสาย ให้เห็นว่าบริษัทที่ใช้เทคโนโลยี สามารถเปลี่ยน ตามลำ�ดับ และตอนนี้ทั้งหมดกำ�ลังถูกแทนที่ การบินต้นทุนต่ำ�ก็กำ�ลังค่อยๆ บีบให้ธุรกิจ โครงสร้างการแข่งขันในธุรกิจค้าส่งค้าปลีก ด้วยเพลงในรูปแบบดิจิตอลและออนไลน์ (จำ� รถโดยสาร (หรือแม้กระทั่งรถไฟ) ต้องปรับ การค้าระหว่างประเทศ โลจิสติกส์ การชำ�ระ ผู้นำ�ตลาดอย่าง Sony Walkman ได้ไหมครับ) ตัวอย่างหนัก เงิน หรือแม้แต่การให้สินเชื่อและการลงทุน โมเดลธุรกิจก็เริ่มเปลี่ยนจากการขายแผ่น การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและ ซึ่งไม่จำ�กัดเฉพาะในจีนเท่านั้น แต่อาจส่งผล ขายเพลง ไปเป็นธุรกิจบอกรับสมัครสมาชิก เงื่อนไขของตลาดจึงถือเป็นสิ่งสามัญที่เกิด ต่อรูปแบบการแข่งขันในอุตสาหกรรมอื่นๆ บริษัทที่ไม่ปรับตัวก็อาจจะถูกกลืนไปได้ง่ายๆ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประเด็นสำ�คัญคือนักลงทุน หลายประเทศทั่วโลกด้วย หรือในอุตสาหกรรมสื่อสิ่งพิมพ์ ที่แพลตฟอร์ม และผู้ประกอบการจะปรับตัวอย่างไรกับการ แนวโน้มที่เห็นได้ชัดคือ อุตสาหกรรมที่ไม่มี ออนไลน์กำ�ลังเข้ามาทดแทนการพิมพ์ลงบน เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สามารถคาดการณ์ ประสิทธิภาพซึ่งต้องได้รับการปกป้อง รวมถึง กระดาษ หนังสือพิมพ์ในต่างประเทศที่เคยได้ แนวโน้มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมที่ ธุรกิจแบบตัวกลาง กำ�ลังถูกเขย่าขวัญอย่าง รับความนิยมต้องปิดตัวกันไปหลายแห่ง เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องหรือไม่ ในบางกรณี หนัก เพราะธุรกิจที่มีกำ�ไรส่วนเกินจะเป็นแรง ในขณะเดียวกันเราก็เริ่มเห็นการโฆษณาผ่าน บริษัทที่คาดการณ์แนวโน้มของอุตสาหกรรม สื่อออนไลน์ต่างๆ แทนการโฆษณาผ่านช่อง ผ่านเงื่อนไขของอุตสาหกรรมในขณะนั้น อาจ จูงใจให้ผู้เล่นหน้าใหม่เข้ามาในอุตสาหกรรม ในขณะที่การคุ้มครองธุรกิจจากรัฐแบบเดิมๆ ทางแบบเดิมๆ จะประเมินพลาดจนแพ้การแข่งขันก็เป็นได้ ยังจำ�กล้องถ่ายรูปที่ใช้ฟิล์มได้ไหมครับ เช่น ในปี 1985 บริษัท AT&T เชื่อว่าจำ�นวนผู้ จะทำ�ได้ยากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการแข่งขันจะเข้า 20 ปีก่อนใครจะเชื่อว่าตลาดฟิล์มที่แข่งกัน ใช้มือถือในสหรัฐฯ จะอยู่ราวๆ 900,000 คนใน มาในรูปแบบที่ป้องกันยากขึ้น และอาจกลาย อย่างหนักจะหายไปเลยทั้งอุตสาหกรรม แล้ว ปี 2000 แต่จริงๆ แล้วกลับพุ่งสูงกว่า 100 ล้าน เป็นผู้บริโภคเองที่ออกมาเรียกร้องให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงก็เป็นได้ ร้านขายและล้างฟิล์มในอดีตต้องปรับตัวอย่าง คน ทำ�ให้ผู้นำ�ในธุรกิจอย่าง AT&T พลาด ในตอนถัดไป ผมจะเล่าให้ฟังถึงแนวโน้ม ไร? หรือทราบไหมครับว่า Blackberry หรือ โอกาสทองไป ของ disruptive technology ที่อาจกำ�ลังจะ โทรศัพท์มือถือ Nokia ที่เคยครองตลาดทั่วโลก แม้การรับเทคโนโลยีเข้ามาช้าเกินไปอาจ เกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ และน่าจะมีผลต่อ เมื่อ 10 ปีที่แล้วหายไปไหน? หรือเกิดอะไรขึ้น ทำ�ให้เกิดความเสี่ยง แต่การกระโดดเข้าหา อุตสาหกรรมหลายๆ ภาคส่วนที่เราเห็นอยู่ใน กับร้านเช่าวีดีโอที่เคยมีอยู่ทั่วไป? แล้วยังจำ� เทคโนโลยีแบบไม่ยั้งคิด ก็อาจส่งผลเสียได้ ปัจจุบัน เพจเจอร์และ PDA (เช่น Palm Pilot) ที่เคย เช่นกัน หากธุรกิจรับเอาเทคโนโลยีที่สุดท้าย เป็นที่นิยม (แม้จะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ก็ตาม) แล้วกลายเป็น ‘ผู้แพ้’ เช่น การแข่งขันในเรื่อง ได้ไหมครับ? อย่างทีวีแบบหลอดภาพก็หายไป มาตรฐานของ Bluray กับ HD-DVD หรือ ถ้า เกือบหมดและถูกแทนที่ด้วยทีวีแบบ plasma เราลงทุนในเทคโนโลยีที่ยังไม่พัฒนาถึงขั้น กับ LED แม้ยี่ห้อของทีวีจะไม่เปลี่ยนไปมาก สุด และไม่มีความสามารถในการพัฒนา นัก แต่ถ้าธุรกิจเหล่านี้ (และผู้ผลิตชิ้นส่วน เทคโนโลยีนั้นต่อเนื่องไปได้ ก็อาจกลายเป็น ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง) ไม่ลงทุนใน ต้นทุนราคาแพง
10
OPTIMISE | JULY 2016
OPTIMISE | JULY 2016
11
optimum view
Unsung Heroes ธนกร จ๋วงพานิช
ม.ร.ว. จัตมุ งคล โสณกุล ย้อนรอยความ ‘โชติชว่ งชัชวาล’ ของประเทศในอดีตเพือ่ ส่องเส้นทางสูอ่ นาคต
12
OPTIMISE | JULY 2016
OPTIMISE | JULY 2016
13
optimum view
พอทำ�กับดร.ป๋วยก็สนุก ท่านไว้ใจเด็ก ท่านก็จะถาม ‘คุณไหวมั้ย’ พอเรา ‘ไหวครับ’ ท่านก็ให้ทำ�เลย แล้วงาน สศค. มันสนุก มันสร้างประเทศ... สมัยผมมีอยู่ 40 คนเอง... แล้วบริหารเกือบทั้งประเทศเลย มันก็สนุก แวบแรกทีเ่ ห็นหนังสือ ‘สดุดี (คนอืน่ )’ โดย หม่อมราชวงศ์จตั มุ งคล โสณกุล หรือ ‘หม่อม เต่า’ อดีตผูว้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย ปลัดกระทรวงการคลัง อธิบดีกรมสรรพสามิต อธิบดีกรมสรรพากร ออกวางตลาด ความรูส้ กึ ของผูท้ ร่ี กู้ ติ ติศพั ท์เกีย่ วกับตัวหม่อมเต่ามักจะ ปรากฏออกมาในลักษณะของความ ‘ไม่เชือ่ ’ เพราะบุคคลทีถ่ อื กันว่าเป็นหนึง่ ใน ‘เทคโนแครต’ ผูม้ สี ว่ นอย่างมากในการสร้าง ประเทศยุคโชติชว่ งชัชวาลทีย่ กระดับจีดพี ตี อ่ หัวประชากรของประเทศไทยจาก 743 มาเป็น 3,055 ดอลลาร์สหรัฐ* และทำ�ให้ประเทศพ้น จากสถานะประเทศยากจนผูน้ ้ี ขึน้ ชือ่ ในเรือ่ งของ คำ�พูดทีต่ รงแสกหน้าอย่างทีส่ ดุ จนหลายคน จดจำ�วาทะ ‘สดุรา้ ย’ ของเขาได้มากกว่าสดุดี แม้แต่ตวั เขาเองก็ยงั ยอมรับและบอกว่า “เขียนหนังสือไม่ให้วา่ ใครนีม่ นั ลำ�บาก เพราะว่า คนมันก็นา่ ว่า แล้วผมก็ชอบว่าอีก มันก็ล�ำ บาก” อย่างไรก็ตาม เมือ่ ได้อา่ นหนังสือเล่มนีจ้ ะพบ ว่า แม้ค�ำ ด่าของหม่อมเต่าจะเป็น ‘สีสนั ’ ทีท่ �ำ ให้ เหตุการณ์ตา่ งๆ จัดจ้านลืมได้ยาก คำ�สดุดขี อง เขาต่างหาก จึงเป็น ‘ลายเส้น’ ทีช่ ว่ ยเชือ่ มโยงให้ คนเห็นว่าความเจริญของประเทศในทุกวันนีเ้ ป็น รูปเป็นร่างขึน้ มาได้อย่างไร มีสง่ิ ใดหรือบุคคลใด เป็นปัจจัยเติมเต็มช่องว่างระหว่างสิง่ ทีเ่ ป็นกับ สิง่ ทีค่ วรเป็น โดยเฉพาะในเมือ่ หม่อมเต่ามี มุมมองทีเ่ ฉพาะตัวอย่างยิง่ บ่อยครัง้ สิง่ ทีเ่ ขา สดุดไี ว้จงึ เป็นสิง่ ทีค่ นทัว่ ไปตกสังเกต อย่างที่ เขาเคยให้สมั ภาษณ์กบั หนังสือพิมพ์ประชาชาติ ธุรกิจในปี 2553 ว่า “คนชอบว่าผมปากไม่ดี แต่เวลาปากดี ก็ไม่คอ่ ยมีใครเข้าใจ”
การสัมภาษณ์หม่อมเต่า จึงเป็นโอกาส ของการทำ�ความเข้าใจเกีย่ วกับเรือ่ งราวการ เปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ในอดีต ซึง่ ดูเหมือนจะ ทวีความสำ�คัญมากขึน้ เรือ่ ยๆ ในขณะประเทศ กำ�ลัง ‘ติดๆ ดับๆ’ และต้องการกลับขึน้ มา โชติชว่ งชัชวาลอีกครัง้ อย่างทุกวันนี้
จุดเริม่ จากการหลงทาง
หม่อมเต่ามีบทบาทหลากหลาย เพือ่ น สมัยประถมทีก่ รุงเทพคริสเตียนเล่าถึงความ เป็นนักเรียนวิศวกรรมศาสตร์ทม่ี หาวิทยาลัย เคมบริดจ์ และนักเรียนบริหารรัฐกิจที่ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดทีส่ อบได้คะแนนสูงจน “ฝรัง่ ยอมรับว่าฉลาดมาก” นักลงทุนนึกถึงเขาในฐานะ ‘ซูเปอร์ ดีลเมกเกอร์’ แห่งบริษัท เอ็ม ที อาร์ แอสเส็ท แมนเนเจอร์ ผู้สามารถประสานให้กลุ่มทุน ต่างชาติขนาดใหญ่เข้ามาลงทุนในไทยได้ โครงการแล้วโครงการเล่า อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนบทบาททีค่ น จดจำ�เขาได้มากทีส่ ดุ คือ ‘เทคโนแครต’ หรือ ข้าราชการสายวิชาการผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังความ สำ�เร็จของโครงการสร้างบ้านแปลงเมืองหลาก หลายของประเทศ ตัง้ แต่การแก้ประมวล กฎหมายภาษีสรรพสามิต การจัดระบบชดเชย ภาษีอากร การยืน่ แบบ ภงด. และชำ�ระภาษี ผ่านทางอินเตอร์เน็ต การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การตัง้ กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ ตลอดจนโครงการอีสเทิรน์ ซีบอร์ด “ผมทำ�งานอยูท่ ่ี สศค. (สำ�นักงานเศรษฐกิจ การคลัง) แล้วปรากฏว่าปี 2516 ราคาน�ำ้ มัน
ขึน้ ไป 4-5 เท่า ทำ�ให้เงินกูข้ องรัฐ default หมด พอเงินกู้ default กระทรวงการคลังก็ตอ้ งเข้าไป แก้ปญ ั หาเงินกูข้ องทุกกระทรวง ทีนค้ี นเดียวที่ เป็นวิศวะในกระทรวงการคลังคือผม ผมก็ตอ้ ง เข้าไปเกีย่ วกับทุกเรือ่ ง อย่างเรือ่ งกฎหมาย กรมสรรพสามิต ผมเขียนคนเดียว ไม่มผี แู้ ทน สรรพสามิตอะไร ผมแค่โทรไปถามว่าตรงนีค้ ณ ุ ทำ�ยังไง แล้วผมก็เขียน หรืออย่างสมัยอีสเทิรน์ ซีบอร์ด ต้องมีเรือ่ งเงิน เรือ่ งวิศวะมาเกีย่ วข้อง ผมก็ตอ้ งเข้าไปทำ�งานร่วมกับหน่วยงานอืน่ ” เมือ่ ได้เห็นพลังและความสนุกในการทำ�งาน ของหม่อมเต่าแล้ว เป็นการง่ายทีจ่ ะรูส้ กึ ว่างาน ข้าราชการคือเป้าหมายในชีวติ ของเขา อย่างไร ก็ตาม สำ�หรับหม่อมเต่า งานนีเ้ ป็นเพียงผลพวง ของการ ‘หลงทาง’ “ผมหลงทาง ผมอยากเป็นเอกชน ไม่ได้ อยากรับราชการ ผมแค่ดนั ไปสมัครฝึกงานก่อน จะกลับไปเรียนต่อแล้วติดทำ�งาน ตอนนัน้ ผม ถามพ่อแม่วา่ ไปฝึกงานทีไ่ หนดีทท่ี �ำ งานพัฒนา พ่อแม่กส็ ง่ ผมไปกระทรวงการคลัง เพราะท่าน รูจ้ กั ดร.ป๋วย (อึง๊ ภากรณ์) อยูค่ นเดียว พอทำ� กับ ดร.ป๋วย ก็สนุก ท่านไว้ใจเด็ก ท่านก็จะถาม ‘คุณไหวมัย้ ’ พอเรา ‘ไหวครับ’ ท่านก็ให้ท�ำ เลย แล้วงาน สศค. มันสนุก มันสร้างประเทศ ไม่มี พวกคนใหญ่คนโตเข้าไปประจบอธิบดี รองอธิบดี เพราะว่า สศค. สมัยผมอยูม่ ี 40 คน เอง เป็นธุรการสัก 30 คนมัง้ พวกทีเ่ ป็นฝ่าย วิชาการมีไม่ถงึ 10 คน แล้วบริหารเกือบทัง้ ประเทศเลย มันก็สนุก …ตอนนัน้ ดร.ป๋วย ท่านกำ�ลังสร้างทีม บริหารชาติอยู่ ใครทำ�ได้ทา่ นก็โปรโมท ใครทำ�
*คิดจากปี 2525 เทียบกับปี 2539 14
OPTIMISE | JULY 2016
OPTIMISE | JULY 2016
15
optimum view ขายได้เป็นหมืน่ เล่ม เพราะว่าคนทีไ่ ม่เคยมีใครชม ดร.ปิยสวัสดิ์จบเฟิร์สคลาส เขาดูโจทย์ปุ๊บ เขี่ยแป๊บเดียว พออยูด่ ๆี มีคนมาเขียนชม เขาก็ตอ้ งซือ้ แล้วชม ด้วยตัวเลข มีการ substantiate ผมบอกเลยว่า คำ�ตอบมันออกมาเลย มันสมองเขาคนละระดับ คนๆ นีท้ �ำ อะไร ตัวเลขเท่าไหร่ แล้วผมว่าเก่ง ต่างกับหลายคนทีบ่ อกว่า คนๆ นีเ้ ก่ง แต่เก่ง ดังนั้นพอเขาเข้ามาทำ�เรื่องนํ้ามัน ผมก็ออกเลย อย่างไร ทำ�ไมเก่ง มักตอบอย่างไม่มน่ั ใจ หรือ ผมขี้เกียจไปเถียงกับเขา เถียงก็แพ้ เขาทำ�เรื่องเดียว ไม่รจู้ ะตอบอย่างไร” ส่วนผมจับฉ่าย เถียงสู้ไม่ได้ แล้วผมก็รู้ว่า หม่อมเต่ายกตัวอย่าง ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กับผลงานในการปรับลดกำ�มะถัน ‘It’s in good hands’ ในน�ำ้ มันดีเซลจนทำ�ให้อากาศกรุงเทพฯ สะอาด ซึง่ ยืนยันโดยมติคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แห่งชาติและมติคณะรัฐมนตรีเกีย่ วกับการ ไม่ได้ทา่ นก็ปล่อย ทีนผ้ี มเป็นวิศวะคนเดียวใน สบาย ไม่ได้เดือดร้อนอะไร เพียงแต่เราเงิน ปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ มันที่ ดร.ปิยสวัสดิเ์ ป็นผู้ กระทรวงการคลัง มันก็สบายปรือ๋ เลย เพราะ เดือน 7 พันบาท เพือ่ นได้เป็นแสน เราก็เลย ผลักดันตลอดระยะเวลากว่า 16 ปี รวมไปถึงการ ตอนนัน้ ประเทศกำ�ลังเปิด คนพูดภาษาอังกฤษ โจ๊กว่า ต้องพยายามทำ�งานให้คมุ้ ค่ากับเงิน กลับคืนมาของเสียงจัก๊ จัน่ ทีเ่ คยเลือนหายไปจาก ได้เปรียบอยูแ่ ล้ว ยิง่ จบวิศวะก็ชว่ ยให้เวลา เดือนทีไ่ ม่ได้รบั ฟังเรือ่ งเทคนิคไม่ตอ้ งคอยถามคนกระทรวง …สมัยนัน้ ผมลุยลูกเดียว ใครให้ลยุ อะไร กรุงเทพฯ เพราะระดับมลพิษลดลง “ความจริง ดร.ปิยสวัสดิเ์ ป็นคนทีท่ �ำ อะไร อืน่ แล้วผมก็จบวิศวะแบบดีกว่าทีอ่ น่ื เพราะ ผมก็ลยุ มันเริม่ จากการทีผ่ มไม่คดิ จะเจริญ วิศวะทีผ่ มเรียนทำ�อะไรไม่เป็น ผมถูกหัดให้เป็น ผมไม่ได้มปี ญ ั หาอย่างคนอืน่ ทำ�ยังไงนายจะ เยอะมาก แต่ผมจับเฉพาะเรือ่ งทีผ่ มมีเบอร์ เพราะ controller ของวิศวะ อย่างตอนทำ�ปุย๋ แห่งชาติ รัก ทำ�ยังไงคนจะชอบ ลุยลูกเดียว สนุกฉิบหาย ในหนังสือ ผมจะแสดงทุกอย่างด้วยตัวเลข หรือ ข้อกฎหมาย ไม่ใช่ความเห็นของผม เวลา Foster-Miller บริษทั ใหญ่ทส่ี ดุ ในโลกมาเสนอ คนอย่าง ดร.ป๋วย คุณบุญมา (วงศ์สวรรค์) โรงงาน ผมดูไดอะแกรมเห็นข้างขวาออกมา ดร.เสริม (วินจิ ฉัยกุล) เขาเป็นแมนดาริน นัง่ ดู ดร.ปิยสวัสดิเ์ จอผม เขาจะบอกว่า ความจริงไม่ได้ ทำ�แค่เรือ่ งกำ�มะถันนะ ผมก็จะบอก ‘ป๊อก ผมรูว้ า่ มากกว่าข้างซ้ายเข้าผมก็ตกใจ เพราะสิง่ แรก ว่าเด็กคนไหนทำ�งานเป็น มึงทำ�งานเป็น คุณยิง่ ใหญ่ ผมออกจากวงการพลังงานก็เพราะ ทีเ่ ราดูเวลาดูไดอะแกรมก็คอื material มึงสุจริต ทำ�ไปเลย มันก็สนุก ผูใ้ หญ่สมัย คุณคิดเร็วกว่าผมนัน่ แหละ’ เขาจบคณิตศาสตร์ balance มันออกมากกว่าเข้าไม่ได้ ฝรัง่ มันก็ โบราณเขาไม่ท�ำ เอง เขาแค่เดินให้เด็กทำ�” ้ ระดับเฟิรส์ คลาส ทีอ่ อ๊ กซฟอร์ด เวลาผมทำ�โจทย์ ‘โอ้ย--โทษที ลืมน�ำ ’ อะไรแบบนี้ แล้วตอน ความดี ท ไ ่ ี ด้ พ านพบ เลข ยิง่ คูณมันยิง่ ยาว คูณเลขสามวันสามคืน ได้ ทุกอย่างเจ๊ง ทุกกระทรวงก็ตอ้ งใช้วศิ วะ บทบาทที ก ่ ว้ า งขวางของ สศค.ในยุ ค เป็นเล่มเลย แต่ ดร.ปิยสวัสดิจ์ บเฟิรส์ คลาส เขา …พอรับราชการไปสักพักก็รสู้ กึ ว่าคนไทย นั น ้ ทำ � ให้ ห ม่ อ มเต่ า ได้ ท � ำ งานกั บ ข้ า ราชการ ดูโจทย์ปบุ๊ เขีย่ แป๊บเดียวคำ�ตอบมันออกมาเลย จนเนอะ เดินข้ามไปฝัง่ ธนฯ แค่นน้ั ห่างกัน แทบทุ ก กระทรวง และอยู ใ ่ นฐานะพิ เ ศษที จ ่ ะ มันสมองเขาคนละระดับ ดังนัน้ พอเขาเข้ามาทำ� สะพานเดียว เดินเข้าไปในสวน บ้านคนยัง ประเมิ น ได้ อ ย่ า งน่ า เชื อ ่ ถื อ ว่ า งานใดหรื อ บุ ค คล เรือ่ งน�ำ้ มัน ผมก็ออกเลย ผมขีเ้ กียจไปเถียงกับเขา ไม่มพี น้ื เลยต้องอยูบ่ นดิน จนมาก ผมเคยคิด เถียงก็แพ้ เขาทำ�เรือ่ งเดียว ส่วนผมจับฉ่าย เถียง ว่าผมจน ตอนทีอ่ ยูฮ่ าร์โรว์อายุ 16 เพือ่ นผมที่ ใดทีค่ วรค่าแก่การสดุดี กระนัน้ แม้ไม่มนี สิ ยั กริ ง ่ เกรงการแสดงความเห็ น ส่ ว นตั ว ให้ ป รากฏ สูไ้ ม่ได้ แล้วผมก็รวู้ า่ ‘It’s in good hands’ คือ เป็นกรีกเจ้าของบริษทั ชิปปิง้ ได้เรือยอทช์เป็น ในหนั ง สื อ ‘สดุ ด ี (คนอื น ่ )’ หม่ อ มเต่ า เลื อ กจะ บางเรือ่ งเขาอาจจะผิด แต่ผดิ ก็ดว้ ยความคิดที่มี รางวัลจากทีบ่ า้ น ผมได้จกั รยานหนึง่ คัน แต่ผม ชมบุ ค คล ต่ อ เมื อ ่ มี ต ว ั เลขหรื อ หลั ก ฐานยื น ยั น เหตุผลอธิบายได้ เป็นแนวที่ควรจะไป ไปแล้ว ก็ยงั รวยกว่าคนไทยทีพ่ ดู ถึงแยะ ก็เลยคิดว่าจะ ได้ อ ย่ า งชั ด แจ้ ง เท่ า นั น ้ ไม่ถูก ก็ค่อยปรับแต่งเอาทีหลัง เรื่องกำ�มะถัน ช่วยประเทศสักพักหนึง่ ใช้ one generation “บั ง เอิ ญ ตอนนี ผ ้ มมี เ วลาพอที จ ่ ะเขี ย น มันชัดเจน เพราะมันเห็น แล้วไปนั่งที่โรงแรม concept คือเวลา 1 ชัว่ อายุคนหรือ 25 ปี หนั ง สื อ และก็ ด อ ู ยู แ ่ ล้ ว ว่ า ถ้ า มี โ อกาสอยาก สยามเคมปินสกี้ พอเริ่มจะเขียนแล้วก็ได้ยินเสียง เพราะรูส้ กึ เหมือนเราได้เปรียบ ผมอยูฮ่ าร์โรว์ ช่ ว ยให้ ค นที ท ่ � ำ ความดี ใ ห้ ป ระเทศได้ ค � ำ ชมเชย จั๊กจั่นมันร้อง ผมทำ�สวนผมก็รู้ว่าจั๊กจั่นมันต้อง เคมบริดจ์ ฮาร์วาร์ด เคยขึน้ รถเมล์หนเดียว สิ ง ่ เหล่ า นี ไ ้ ม่ ไ ด้ ส น ้ ิ เปลื อ ง แค่ ล งแรง หนั ง สื อ ดี กินน้ำ�ค้างสะอาด เลยถือว่าพระเจ้าบันดาลให้ แล้วก็ โห---เดือดร้อน ซือ้ รถดีกว่า พอแต่งงาน หรือไม่ดกี ข็ ายได้เงินอยูแ่ ล้ว แต่จะสามารถ ผมเขียน” อยากได้บา้ น ไปดูอาคารสงเคราะห์ คิดแล้ว ช่ ว ยคนที เ ่ รานั บ ถื อ ให้ ส ง ั คมรู ว ้ า ่ เขาทำ � ความ น่าเสียดายทีท่ ศั นคติแบบมองจัก๊ จัน่ แล้ว 25 ปี ผ่อนได้แค่ 20% จ่ายได้แต่ดอกเบีย้ ดี แ ล้ ว ประเทศได้ ป ระโยชน์ โถ---ทำ � ไมหนั ง สื อ ระลึกไปถึงคนลดกำ�มะถันในอากาศนัน้ มีนอ้ ยเกิน ก็กลับบ้านบอกแม่ให้ซอ้ื บ้านให้เลย มันก็ 16
OPTIMISE | JULY 2016
OPTIMISE | JULY 2016
17
optimum view
ข้าราชการที่เคยไว้ใจได้ถูกเปลี่ยนสถานะ จากคนทำ� มาเป็นคนคอยรับคำ�สั่ง ถ้าไม่รับคำ�สั่งก็อดทำ�งาน มันเปลี่ยนไปแบบนั้น เปลี่ยนแบบนี้ได้ 20-30 ปี ระบบข้าราชการเรียกว่าถูกทำ�ลายเลย เพราะตำ�แหน่ง สำ�คัญ ไม่ใช่คนสำ�คัญ ไปในสังคมทีค่ ณ ุ ความดีเลือนหายได้ไวพอๆ กับ ้น�ำ ค้าง “ความจริงเรือ่ งพวกนี้ คนเขาก็รๆู้ กันนะแต่ ไม่ใช่เรือ่ งน่าสนใจสำ�หรับเขา สือ่ มวลชนก็รู้ แต่ฉบิ หายสนุกกว่าทำ�ดี มันเป็นธรรมชาติของ มนุษย์ เห็นคนตกบันไดสนุกกว่าคนวิง่ ขึน้ บันได เร็ว ทีผ่ มเขียนผมก็ไม่ได้ตอ้ งการทำ�ให้สงั คม ดีขน้ึ ไม่ได้คดิ เปลีย่ นสังคมยังไง แต่อย่างทีม่ ี สุภาษิตว่า Everybody has a book in them ทุกคนมีหนังสือหนึง่ เล่มในชีวติ ผมก็เลยเอา เรือ่ งใครต่อใครทีเ่ ราเห็นทำ�ความดีมาเขียน”
ให้ท�ำ งานให้จกั รพรรดิซง่ึ ก็คอื ประเทศ วิธคี อื เขา ก็จะดูวา่ คนไหนท่าทางใช้ได้ เขาก็เลีย้ ง ให้ขา้ ว ให้ทรัพยากร ดูแลให้อยูใ่ นวิสยั ทีจ่ ะทำ�งานได้ ระบบข้าราชการไทยสมัยนัน้ ก็เป็นแบบ แมนดาริน เรียกว่า rank classification คือให้ ความสำ�คัญกับคน เอาคนมาสอบ สอบได้กไ็ ด้ เลือ่ นชัน้ ได้ท�ำ งานทีส่ งู ขึน้ แต่ตอ่ มาเปลีย่ น เป็น post classification คือให้ความสำ�คัญกับ ตำ�แหน่ง ดูวา่ ตำ�แหน่งงานนีต้ อ้ งการอะไร ดู เผินๆ มันต่างไปแค่นดิ เดียว แต่ความจริงคือ มันเพีย้ นเลย เปลีย่ นข้าราชการจากขาวเป็นดำ� ข้าราชการทีเ่ คยไว้ใจได้ถกู เปลีย่ นสถานะ จาก กลไกทีย่ งั ขาดหาย คนทำ�มาเป็นคนคอยรับคำ�สัง่ ถ้าไม่รบั คำ�สัง่ ก็ นอกจากเรือ่ งของ ดร.ปิยสวัสดิส์ มัยเป็น อดทำ�งาน มันเปลีย่ นไปแบบนัน้ เปลีย่ นแบบนี้ ข้าราชการในสำ�นักนโยบายพลังงานแห่งชาติ ได้ 20-30 ปี ระบบข้าราชการเรียกว่าถูกทำ�ลาย แล้ว ในหนังสือ ‘สดุดี (คนอืน่ )’ ยังมีเรือ่ งของ เลย เพราะตำ�แหน่งสำ�คัญ ไม่ใช่คนสำ�คัญ ดร.สาวิตต์ โพธิวหิ ค อดีตผูอ้ �ำ นวยการ …เคยมีเซอร์เวย์คนทีอ่ อกจากราชการ สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาพืน้ ทีบ่ ริเวณ ไปแล้ว 1 ปี ใช้ค�ำ ถามว่า ‘เหตุใดจึงออกจาก ชายฝัง่ ทะเลตะวันออกกับการผลักดันโครงการ ข้าราชการ’ 1 ใน 10 คนเท่านัน้ ทีจ่ ะตอบว่า อีสเทิรน์ ซีบอร์ด ดร.ทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์ เงินเดือนไม่พอ อีก 9 คนจะตอบว่า ไม่พอใจ อดีตผูว้ า่ การการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย กระบวนการทำ�งาน ไม่ใช่เรือ่ งเงิน เพราะเงิน กับการวางรากฐาน ปตท. ฯลฯ จนชัดเจนว่า น้อยเขาก็หาวิธอี ยูข่ องเขาได้ รอรัฐส่งไปเรียน ประเทศไทยในสมัยนัน้ หมุนไปโดยกำ�ลังของ นัง่ เรือบินก็นง่ั ชัน้ ประหยัด อะไรพวกนี้ แต่สว่ น ข้าราชการ อย่างไรก็ตาม ในยุคทีก่ ารแข่งขันใน ใหญ่คนทีอ่ อกคือไม่พอใจกระบวนการทำ�งาน โลกเกรีย้ วกราดขึน้ ทุกขณะ ประกอบกับบริบท ของข้าราชการ ก็เข้าใจได้วา่ ทำ�ไมไม่พอใจ ทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองทีเ่ ปลีย่ น ในเมือ่ ทุกคนเก่ง แต่กไ็ ม่ใช่ทกุ คนทีเ่ จริญ ไป ทำ�ให้เกิดคำ�ถามว่าการพัฒนาประเทศ …ดังนัน้ ผมบอกกับลูก (หม่อมหลวง ในปัจจุบนั ยังสามารถฝากไว้เป็นภาระของ อภิมงคล โสณกุล) เลยว่าต้องออกไปอยู่ ข้าราชการอย่างเดียวได้อยูห่ รือไม่ การเมือง ต่อไปนีก้ ารขับเคลือ่ นประเทศต้อง “‘แมนดาริน’ ทีผ่ มพูดถึงคือคำ�เรียก มาจากการเมือง ราชการไม่มแี ล้วทีจ่ ะเลือกตัว ข้าราชการของจักรพรรดิจนี เขาเลีย้ งไว้เพือ่ จะ กันเองแบบแมนดาริน ว่าคนนีเ้ ก่งก็ให้คนนีท้ �ำ 18
OPTIMISE | JULY 2016
ไปเลย คือสมัยนีค้ นอาจเก่ง แต่จะไม่มบี ทบาท ในการกำ�หนดทิศทาง เดิมมีบทบาท เพราะคน ทีเ่ ก่งของสังคมมักจะอยูใ่ นภาคข้าราชการ แล้ว พอมีแวว เขาก็จะหัดให้คนๆ นัน้ ทำ�งานเป็นขึน้ เรือ่ ยๆ แต่พอเปลีย่ นเป็น post classification แล้วมันกลายเป็นโฟกัสเรือ่ งงาน ไม่ใช่เรือ่ งคน เอาใครทำ�ก็ได้ มันก็เพีย้ นเลย …แล้วการเมืองไทยตอนนีม้ นั ยาก เพราะ มันมาไกล มีแต่พรรคการเมืองซึง่ ใช้นโยบาย ทีไ่ ม่ดกี บั ประเทศในระยะยาว แต่ระยะสัน้ ประชาชนชอบใจ ติดใจ ทีนใ้ี ครจะมาใช้ นโยบายทีด่ ตี อ่ ประเทศในระยะยาวมันก็ เลยเหนือ่ ยมาก นโยบายทีด่ ี 1 วันไม่เกิดผล อะไรหรอก มันต้อง 5 ปี 10 ปี แล้วถามว่าใน พรรคการเมือง มีใครไหมทีพ่ ร้อมทำ�แบบนัน้ ก็ยงั ไม่เห็น …และการขับเคลือ่ นประเทศจากการเมือง นัน้ จริงๆ แล้วก็หมายถึง เบอร์ 1 หรือ เบอร์ 2 นะ ไกลกว่านัน้ ขับเคลือ่ นไม่ได้ การเมือง ตอนนีย้ งั ต้องใช้หวั หน้า หัวหน้าอาจจะมีคน ทำ� technical works ให้ แต่คนทำ� technical works จะไปเป็นใหญ่เองยังไม่ได้ ต้องมีคน คอยดันให้คนทำ�ให้เกิดความสำ�เร็จ”
ความได้เปรียบตามธรรมชาติ
แม้จะมีบทบาทขับเคลือ่ นประเทศอย่าง มากในอดีต แต่หม่อมเต่าก็คอ่ นข้างสงวน บทบาทของตัวเองในห้วงเวลาปัจจุบนั ด้วย เหตุผลว่า “เดีย๋ วคนหาว่าเจ๊งแล้วไม่รจู้ กั เจ๊ง คนไม่มอี �ำ นาจ ทำ�ไมถึงจะมาทำ�ตัวเสมือนมี อำ�นาจ” อย่างไรก็ตาม ด้วยนิสยั ทีใ่ ห้ความ OPTIMISE | JULY 2016
19
optimum view
ตอนนี้รัฐบาลไม่ได้จับอะไรเรื่องเดียวแล้วเข็นลูกเดียว เราพยายามจับทุกอย่าง จริงๆ ในโลกนี้จับเรื่องเดียว แล้วเข็นเรื่องเดียว อย่างอื่นตามมาหมด มันเหมือนช้าง วิ่งไป ม้า กวาง อะไรก็วิ่งตามได้ง่าย เพราะป่ามันเรียบ จริงๆ ผมว่าที่น่าทำ�คือเรื่องรถไฟ เลือกรถไฟในแบบที่มี ความพอดีและเป็นไปได้ สำ�คัญกับข้อมูลเชิงประจักษ์เสมอมา หม่อมเต่า ในบทบาทนักธุรกิจในปัจจุบนั จึงยังติดตาม ความเคลือ่ นไหวของประเทศอย่างใกล้ชดิ และ มีความเห็นทีค่ วรรับฟังอย่างยิง่ “ผมไม่มคี วามอยากกำ�หนดประเทศอะไร หรอก ทีไ่ ปศึกษา ก็เพราะกำ�ลังลงทุนอยู่ คุณจะลงทุนในหลุมดำ�ไม่ได้ ผมก็ตอ้ งนัง่ ศึกษา ว่าเมืองไทยมันกำ�ลังไปไหน ผมจะได้ไม่เดินลง เหว ตอนนีบ้ ญ ุ เก่าทีก่ นิ กันอยูส่ มัยอีสเทิรน์ ซีบอร์ดค่อนข้างจะหมดแล้ว ต้องเริม่ ก้าวไป อีกขัน้ ของเศรษฐกิจ ...เวลาจะทำ�อะไรก็ตอ้ งหา natural advantage ของเรา ต้องดูวา่ มีสมบัตเิ ก่ารึเปล่า สมัยก่อนมีแก๊สก็ท�ำ แก๊ส หมดแก๊สแล้ว ลอง เปิดดูรายการ 10 basic materials ก็จะเห็นว่า เรามีโพแทช มีทอง แต่จะทำ�ให้ดเี หมือนแก๊ส ก็ยาก เพราะเวลาจะทำ�ของพวกนี้ มันต้องทำ� สมัยทุกคนยังไม่รเู้ รือ่ ง รัฐบาลจะทำ� ตัง้ คณะ แล้วก็กม้ หน้าก้มตาทำ� แล้วถ้ามันพอไปได้มนั ก็จะเดิน แต่เดีย๋ วนี้ ทำ�อย่างนัน้ ไม่ได้แล้ว คนรู้ เรือ่ งเยอะแยะไปหมด รัฐทำ�ไปคนเดียวไม่ได้ ...อีกอย่างทีเ่ รามี คือในทางภูมศิ าสตร์เรา เป็น commercial center ของ CLMV ไม่ใช่ เมืองหลวงของอาเซียนนะ เป็นเมืองพาณิชย์ อย่างตอนนี้ เวลาผมไปลาว พม่า เวียดนาม ผมสามารถไปเช้าเย็นกลับ เมือ่ บินไปเช้าเย็น กลับได้ แสดงว่ากรุงเทพฯ ต้องมี traffic เยอะ และแปลว่าเราเป็นเมืองพาณิชย์ ทีส่ �ำ เร็จ ก็เพราะอะไร เรามีความสบาย มีเสาไฟ มี รถไฟฟ้า มีสวนสาธารณะ ร้านอาหารเราก็ชน้ั ยอด ประเทศทีเ่ ข้าไปกินร้านไหนก็อร่อยโดยไม่ 20
OPTIMISE | JULY 2016
ต้องถามคน มีแค่ไทยกับฮ่องกงมัง้ ไม่อร่อยอยู่ ไม่ได้ คนของเราไม่ยอมกิน จีนก็เคยอยากเอา คุนหมิงเป็นศูนย์กลางพาณิชย์ของภูมภิ าค แต่ ไม่ส�ำ เร็จ จีนยังไม่สามารถปล่อยเสรีภาพชนิด อยากจะไปไหนก็ไป ทำ�อะไรก็ท�ำ ได้ ไม่เหมือน ไทย ไปไหนก็ไป ทำ�อะไรก็ท�ำ ตายก็บอกโง่เอง …การท่องเทีย่ วก็เป็นจุดแข็งของเรา โรงแรม เราถูก อาหารอร่อย ทะเลก็มี ของเก่าก็มี มีทกุ อย่างยกเว้นสกี คนก็นสิ ยั ดี เห็นเด็กยืนตาก แดดก็เอาร่มไปกางให้ ก็ตอ้ งใช้ประโยชน์ อย่าง ทีค่ ณ ุ ชาติชาย (ชุณหะวัณ) เปลีย่ นจากวัน สงกรานต์เป็นสัปดาห์สงกรานต์ดว้ ยลายเซ็น กริก๊ เดียว เมือ่ ก่อนไปสาดน�ำ้ ก่อนวันที่ 13 ถูก ต่อย เดีย๋ วนีท้ ง้ั อาทิตย์ใครสาดใครได้ทง้ั หมด พอเล่นทัง้ อาทิตย์ คนก็ตอ้ งมานอนหลายวัน เหมือนฝรัง่ เศสสมัยก่อน คนเคยไปฝรัง่ เศสแล้ว อยูแ่ ค่ 3 วัน วันดีคนื ดีประธานาธิบดีปอมปิดู บอกจะทำ�ให้คนมาฝรัง่ เศสปารีส 14 วัน เขาก็ ไปเปิดพิพธิ ภัณฑ์ปอมปิดู ไปซือ้ รูปแวนโกะห์ โชว์ผา้ ไทย เดีย๋ วนีค้ นก็ไปเทีย่ วยาว 14 วันเลย …เสียดาย ตอนนีร้ ฐั บาลไม่ได้จบั อะไรเรือ่ ง เดียวแล้วเข็นลูกเดียว เราพยายามจับทุกอย่าง หลายอย่าง จริงๆ ในโลกนีจ้ บั เรือ่ งเดียวแล้ว เข็นเรือ่ งเดียว อย่างอืน่ ตามมาหมด มันเหมือน ช้างวิง่ ไป ม้า กวาง อะไรก็วง่ิ ตามได้งา่ ย เพราะ ป่ามันเรียบ จริงๆ ผมว่าทีน่ า่ ทำ�คือเรือ่ งรถไฟ เลือกรถไฟในแบบทีม่ คี วามพอดี และเป็นไปได้ ไม่ตอ้ งเอาหรอกรถไฟความเร็ว 450 กิโลเมตร ต่อชัว่ โมง เพือ่ ให้ไปประชุมปารีสได้ในวันกว่า นี่ ไม่เกิดขึน้ ในชัว่ ชีวติ พวกเราหรอก ไปถึงปักกิง่ ก็มหัศจรรย์แล้ว เอาแค่คนจีนตอนใต้ ลงมา
เทีย่ วเมืองไทย ไปพม่า ไปลาวได้ แค่นน้ั ก็เก่งแล้ว อีกอันคือรัชกาลที่ 5 ท่านทรงอุตส่าห์ยดึ ทีท่ พ่ี งั งา ไว้ท�ำ ท่าเรือน�ำ้ ลึก ลงไปสุราษฎร์ธานีเลีย้ วไปอีก ร้อยกว่ากิโลเมตร Indian Ocean Port ทำ�ไมไม่ ทำ� ดันไปออกทวาย ไปประเทศอืน่ ไม่มวี นั เจริญ ทวายอาจจะใกล้กรุงเทพฯ แต่พอมันอยูค่ นละ ประเทศมันทำ�ได้ยาก สูว้ ง่ิ ลงไปอีก 500 กิโลเมตร ทีส่ รุ าษฎร์ฯ และใช้ทา่ เรือน�ำ้ ลึกพังงาดีกว่า ไม่มี ใครทำ� …ส่วนเรือ่ งเขตคลัสเตอร์ของรัฐบาล ผมพยายามดีดๆ ดูวา่ จะรวยทีไ่ หนได้บา้ งใน 9 คลัสเตอร์ ผมยังไม่เห็นเรามีจดุ ได้เปรียบตาม ธรรมชาติทไ่ี หน อีสเทิรน์ ซีบอร์ดมันมีแก๊ส เราถึง ทำ� แล้วในคลัสเตอร์ใหม่มอี ะไร ถ้าจะเอาทองกับ โพรแทชก็ไปอีสาน แต่คลัสเตอร์อน่ื มีอะไร ไม่มี อะไรก็ตอ้ งเริม่ แต่ถา้ ต้องเริม่ ทำ�จากไม่มอี ะไรเลย มันเหนือ่ ยนะ”
ทรัพยากรทางปัญญา
อีกเรือ่ งหนึง่ ทีห่ ม่อมเต่าเห็นว่าเป็นปัจจัย สำ�คัญต่อการยกระดับเศรษฐกิจก็คอื เรือ่ งการ ศึกษา โดยในขณะทีก่ ารปฏิรปู การศึกษาเป็น เรือ่ งใหญ่ สาธยายได้หลายแง่มมุ หม่อมเต่าชีช้ ดั ว่าปัญหาสำ�คัญทีส่ ดุ ก็คอื ลักษณะการรวมศูนย์ อำ�นาจของระบบการศึกษาไทย “รูจ้ กั middle income trap ไหม ก็คอื เราใช้ ทรัพยากรหมด ใช้แรงงานหมด ต่อไปก็ตอ้ งใช้ ปัญญา แต่การใช้ปญ ั ญานีย่ าก โรงเรียนเราก็ยงั ไม่ยดื หยุน่ มีลกั ษณะเป็น ministry-based (ขึน้ อยูก่ บั กระทรวง) ไม่ใช่ school-based (ขึน้ อยูก่ บั โรงเรียน) …ผมเปิดกูเกิลดู ก็เลยรูว้ า่ ฝรัง่ ตัง้ private school มาเพราะก่อนนีม้ แี ต่โรงเรียนวัดกับ โรงเรียนรัฐ จึงต้องตัง้ โรงเรียนเอกชนมันขึน้ มาเพือ่ ให้เป็นอิสระ ห้ามไม่รบั คนเพราะเรือ่ งศาสนา แต่ พออิสระก็แปลว่าใครดีใครอยู่ บางอันก็ได้เปรียบ เช่น อีตนั ใกล้พระราชวังวินด์เซอร์กม็ เี จ้านายเยอะ ฮาร์โรว์ตง้ั อยูบ่ นภูเขาก็อากาศดี คนมาอยูเ่ ยอะ สรุปคือโรงเรียนฝรัง่ มันต้องแข่งกันว่าใครดีกว่า ใคร ของเราไม่ตอ้ ง กระทรวงศึกษาเป็นคนจัด หลักสูตร ครูใหญ่กท็ �ำ หน้าทีค่ มุ ข้าราชการครู ให้ท�ำ ตามกฎของกระทรวง ทำ�ดีทส่ี ดุ ก็ได้เข้า OPTIMISE | JULY 2016
21
optimum view
ผมมีรุ่นน้องที่อยู่บริษัทของญี่ปุ่น อยู่ดีๆ เขาก็มาเปิด research center ที่นี่ ผมก็ถามว่าคนไทยเงินเดือน ถูกเหรอ เขาก็บอกว่าแพงกว่าญี่ปุ่นอีก แล้ว output ก็น้อยกว่าเมื่อเทียบกับญี่ปุ่น ผมก็ อ้าว---แล้วมาเปิด ทำ�ไม เขาก็บอกมาเปิดเพราะอยากได้ความคิดอย่างอื่น บ้าง ไม่งั้นมีแต่ญี่ปุ่น กระทรวง การเลือ่ นตำ�แหน่งของครูไม่ได้ขน้ึ กับ คุณภาพทีด่ ขี น้ึ ของนักเรียน หรือสอนเก่งอะไร เท่าไหร่นกั …นีพ่ ดู แล้วเดีย๋ วก็โดนด่าอีก ตอนนัน้ ผม บอกว่าต้องปรับปรุงการศึกษาเพือ่ ให้คนเข้าใจ ประชาธิปไตย คนเลยด่าว่าผมดูถกู คนไม่มี การศึกษา แต่จริงๆ ผมดูถกู ระบบการศึกษา ทีไ่ ม่ได้เจอใคร โรงเรียนไทยมันถอดมาจาก กระทรวงศึกษา สอนเลขหนังสือเล่มไหน เรียน อะไร ครูใหญ่ไม่มสี ทิ ธิคดิ ทำ�อย่างอืน่ เมือ่ เป็น เช่นนัน้ ทุกคนก็เรียนตำ�ราเดียวกัน โตขึน้ ไปเข้า มหาวิทยาลัยก็เจอแต่คนกลุม่ เดียวกันอีก ผม รูเ้ พราะผมเปิดร้านอาหารในจุฬาฯ อุตส่าห์ตง้ั โต๊ะยาวเพราะอยากให้เด็กนัง่ แจมกัน แต่สง่ิ ที่ เกิดขึน้ คือนักเรียนเขาก็พยายามชวนเพือ่ นมา ให้ครบโต๊ะ จะได้ไม่มคี นอืน่ แจม แล้วก็นง่ั กัน แบบนัน้ 4 ปีโดยไม่มคี นอืน่ มานัง่ เลย ซัดไปยาว 4 ปีโดยไม่เจอใครเลย …ทีเ่ คมบริดจ์มนั ทำ�อย่างนีไ้ ม่ได้ อย่างแรก คือมันไม่ตอ้ งเข้าเรียน เพราะไม่มกี ารเช็คชือ่ ปีหนึง่ สอบหนหนึง่ สอบตกก็ตกเลย เวลาอยู่ ทีน่ น่ั ต่างคนต่างกินข้าวทีค่ อลเลจของตัวเอง ตอนกินเขาไม่มที น่ี ง่ั ประจำ� นัง่ ตรงไหนก็ได้ แต่ เนือ่ งจากเวลาเขาเสิรฟ์ อาหาร เขาจะเสิรฟ์ จาก หัวมาท้าย เราไปนัง่ แยกเป็นคนที่ 25 ก็จะไม่ ได้กนิ ข้าว เราก็ตอ้ งนัง่ ต่อไปเรือ่ ยๆ แต่ละวัน ก็เลยไม่รจู้ ะเจอใครเวลากินข้าว แล้วทุกคนก็ เรียนหนังสือต่างกันอีก เพราะแต่ละคอลเลจ มีคนเรียนทุกวิชา โอกาสทีจ่ ะเจอคนเรียนวิชา เดียวกันแทบไม่มี มันก็เลยได้คยุ และทำ�ให้เป็น คนหัวเปิด 22
OPTIMISE | JULY 2016
…ผมมีรนุ่ น้องทีอ่ ยูบ่ ริษทั ไทยคาร์บอนแบล็ค ของญีป่ นุ่ อยูด่ ๆี เขาก็มาเปิด research center ที่ นี่ ผมก็ถามว่าคนไทยเงินเดือนถูกเหรอ เขาก็บอก ว่าแพงกว่าญีป่ นุ่ อีก แล้ว output ก็นอ้ ยกว่าเมือ่ เทียบกับญีป่ นุ่ ผมก็ อ้าว---แล้วมาเปิดทำ�ไม เขาก็บอกมาเปิดเพราะอยากได้ความคิดอย่าง อืน่ บ้าง ไม่งน้ั มีแต่ญป่ี นุ่ คิดอยูท่ ญ ่ี ป่ี นุ่ มันจำ�กัด เขาจึงยอมมาเปิดทีน่ ่ี ทัง้ ทีแ่ พงกว่า ความหลาก หลายเป็นสิง่ สำ�คัญ ไม่มที ไ่ี หนเจริญได้โดย ตัวเองคนเดียว ...ผมถึงได้ชน่ื ชมรัฐบาลนีอ้ ยู่ 2 เรือ่ ง เรือ่ ง แรกก็คอื การอนุญาตให้โครงการของรัฐเดิน หน้าหาผูร้ บั เหมาไปก่อนได้ ระหว่างทีร่ อผล EIA เพราะถ้ามีผรู้ บั เหมามันก็มคี นคอยตาม เรือ่ ง EIA ให้เกิด ถ้าไม่มผี รู้ บั เหมาเข้ามา มีแต่ ข้าราชการ มันก็ไม่เดิน อีกเรือ่ งก็คอื การศึกษา เขาสัง่ ให้โรงเรียนไม่ตอ้ งรวมศูนย์แล้ว ของเก่า เส้นควบคุมจากส่วนกลางชัด รัฐมนตรี ปลัด อธิบดี ผูอ้ �ำ นวยการ พอคำ�สัง่ นีอ้ อกมา ไม่มี แบบนัน้ แล้ว บอกให้โรงเรียนทำ�อะไรก็ได้ ยุบ central control ทิง้ ติดอยูน่ ดิ เดียว ตอนจบ คำ�สัง่ บอกว่าให้โรงเรียนรายงานกับกระทรวง ศึกษาธิการ ผมก็เลยน็อกเลย ไม่รตู้ ง้ั ใจจะให้ มันทำ�งานยังไงแน่ ...อาจจะเป็นความตัง้ ใจของเขานะ อย่าง เรือ่ ง EIA เขารอจนกระทัง่ คนเดือดร้อนแยะมาก ถึงได้สง่ั โป้งลงมา ถ้ามีค�ำ สัง่ ก่อนหน้านี้ คนยัง ไม่คอ่ ยเดือดร้อน ก็จะมีแต่เอ็นจีโอออกมาค้าน ไม่ส�ำ เร็จหรอก เขาปล่อยจนกระทัง่ ไม่มอี ะไร เดิน คนเดือดร้อนค่อยสัง่ ทีนพ้ี อเอ็นจีโอออกมา ค้าน ทุกคนก็รมุ เอ็นจีโอเอง ส่วนเรือ่ งการศึกษา
เขาอาจตัง้ ใจเขียนให้ปวดหัว คนจะได้คา้ นน้อย ผมก็วา่ ผมฉลาดแล้วนะ เมือ่ ผมยังไม่สามารถ ชมได้ถกู เพราะไม่รเู้ ขาตัง้ ใจยังไงแน่ ผมก็วา่ คน อืน่ ไม่สามารถค้านได้เหมือนกัน”
เริม่ ก้าวจากจุดทีย่ นื อยู่
ความยากของการปฏิรปู ทุกยุคทุกสมัย คือ แม้ค�ำ ตอบทางทฤษฎีจะปรากฏชัดอยูเ่ บือ้ งหน้า แต่สดุ ท้ายการปฏิบตั จิ ริงย่อมต้องถูกจำ�กัด โดยสภาพแวดล้อมในปัจจุบนั ด้วยเหตุน้ี จึง น่าสนใจว่า หม่อมเต่าประเมินสถานการณ์ใน ปัจจุบนั อย่างไรบ้าง “สมัยผมมีขอ้ ดีอย่างคือการเมืองอ่อน ระบบ เลือกตัง้ มันอ่อน มันเป็นระบบ Patronage เหมือนเมือ่ 500-1,000 ปีกอ่ นมากกว่า มีหวั หน้า หัวหน้าก็พาวิง่ ไป ไปไหนก็ไม่รู้ เรา ก็วง่ิ ไปกับหัวหน้า สูก้ บั อีกข้าง สูช้ นะหัวหน้าก็ แบ่งผลประโยชน์ ไม่ถามว่าหัวหน้าพาไปไหน แล้วแต่หวั หน้าพาไป เผอิญได้หวั หน้าทีด่ ี อย่าง เรือ่ งอีสเทิรน์ ซีบอร์ดที่ ดร.สาวิตต์ ประสานให้ แต่ละกลุม่ ผลประโยชน์ยอมไปทางเดียวได้ ก็เพราะป๋า (พลเอกเปรม ติณสูลานนท์) เป็น แบ็คอยู่ ดร.เสนาะ (อูนากูล) เป็น CEO ของ โครงการ แต่ Chairman คือป๋า แล้วเนือ่ งจาก ป๋าทัง้ เด็ดขาดและนิสยั ดี อยากให้ประเทศ เจริญ มันก็เป็นองค์ประกอบทีต่ า้ นทานยาก …ดังนัน้ หลักการใหญ่กค็ อื เลือกคนดี คนเก่ง รัฐบาลนีเ้ ป็นห่วงทีส่ ดุ ก็คอื การเดินขบวน เรือ่ งความขัดแย้ง เพราะฉะนัน้ เขาก็จะทำ�ทุก อย่างเพือ่ ไม่ให้มคี วามขัดแย้ง มาตรการอืน่ ๆ รัฐบาลก็พยายามเดิน แต่ความสงบเป็นความ OPTIMISE | JULY 2016
23
optimum view สำ�คัญลำ�ดับแรก เหมือนนัง่ เรือไปแล้วเจอพายุ รัฐบาลก็เอาสมอทะเลโยนลงไป เรือมันก็วง่ิ ช้า แต่ มันก็นง่ิ กว่าแยะ ถามว่าถึงเวลามัย้ ทีจ่ ะดึงสมอขึน้ แล้ว กางใบวิง่ เต็มเหนีย่ วเลย ผมก็วา่ ยัง เพราะพายุ ยังมีอยู่ ความขัดแย้งยังมีอยู่ มากด้วย …ดูการตัง้ รัฐบาล 2 หนเห็นเลยว่าเขาเลือกคน ที่ stable ทีส่ ดุ ไม่ใช่คนที่ creative ทีส่ ดุ เขาเลือกที่ จะให้มนั นิง่ ส่วนเรือ่ ง growth เป็นแค่เรือ่ งทีท่ �ำ ได้กด็ ี คนก็ถามทำ�ไมไม่พยายามวิง่ ไปกับ growth ให้สดุ ไป เลย ก็มี 2 คำ�ตอบ หนึง่ คือเขาคิดว่าวิง่ เลย แต่ขา้ งล่าง มัน unstable เขาก็พงั ก่อน กับสอง ต่อให้ตอ้ งการวิง่ เลย ใครจะวิง่ ทีมวิง่ เป็นใคร ผมก็รอดูนะ เด็กรุน่ ใหม่ อายุ 30-40 แต่กย็ งั ไม่เห็นใคร สมัยรุน่ ผม ยังพอเห็น ชัวร์ๆ ว่ามีคนไหน ทีมไหน เดีย๋ วนี้ สภาพัฒน์? สำ�นัก งบประมาณ? คลัง? มีใครหรือเปล่า …แล้วรัฐบาลนีไ้ ม่มวี ศิ วะ ในโลกนี้ เรือ่ ง banking เอย อะไรเอย ก็ใช้วศิ วะทัง้ นัน้ ไม่ได้ใช้นกั การเมือง เพราะวิศวะคือคนทีห่ วั ดีมรี ะบบ แต่รฐั บาลนีไ้ ม่มี สนใจมาร์เก็ตติง้ แต่ไม่ใช่ตวั พืน้ ฐาน ถ้าสร้างรถไฟ 8-9 ขบวนให้ได้ แค่ 3 ปีรบั รองเศรษฐกิจบินเลย ตัง้ แต่ตอนสร้างมันก็หมุนแล้ว ถามว่านายกฯ เข้าใจ ปัญหาไหม เพราะนายกฯ คือตัวเดินทุกอย่างในโลก ผมว่าท่านเข้าใจนะ แต่ท�ำ ได้แค่นแ้ี หละ ขืนดึงสมอ ขึน้ ท่านก็คดิ ว่าเรือจะล่ม ดังนัน้ ก็เอาคนนิสยั ดีมา ทำ�งาน ซึง่ ก็ท�ำ งานได้ ไม่ใช่ไม่ได้ แต่กท็ �ำ งานรูปแบบ นัน้ เกือบจะเรียกว่ารัฐบาลมีแต่ขา้ ราชการประจำ� ...ในฐานะผูน้ �ำ คุณก็ตอ้ งตัดสินใจว่าจะเอายัง ไง ใส่สมอเรือไว้นานๆ เรือมันก็ไปไหนช้า ดีไม่ดมี นั ก็ ล่มเหมือนกันนัน่ แหละ เพราะมันอยูใ่ นพายุนานขึน้ ผมว่าเรือ่ ง 5 คลัสเตอร์คอื จุดมุง่ หมายของเขาทีจ่ ะให้ คนมีงานทำ� แต่ถามว่าเขารูว้ ธิ ที �ำ ไหม ก็ควรเอาตำ�รา ของ ดร.สาวิตต์ไปอ่าน จะเข้าใจได้ดขี น้ึ แต่สว่ นตัว ผมสดุดที า่ นนายกฯ นะ ทัง้ ทีห่ ลายคนด่า ผมว่า ท่านทำ�ได้เยีย่ ม ภายใต้กรอบทีว่ า่ ประเทศแตกอย่าง เป็นเสีย่ ง ชนิดไม่มวี นั ต่อได้ ท่านยังทำ�มาได้ขนาดนี้ ผมนับถือมาก” เราถามต่อว่า ในเมือ่ บ้านเมืองแตกเป็นเสีย่ ง ผูค้ นย่อมอยูใ่ นภาวะแบ่งฝักแบ่งฝ่าย จนไม่อาจ แลกเปลีย่ นรับฟังกันด้วยเหตุผลอีกต่อไป เมือ่ เป็น อย่างนี้ การพัฒนาจะยังเป็นไปได้จริงหรือ หม่อมเต่า ตอบทันทีวา่
24
OPTIMISE | JULY 2016
ในฐานะผู้นำ�คุณก็ต้องตัดสินใจว่าจะเอายังไง ใส่สมอเรือไว้นานๆ เรือมันก็ไปไหนช้า ดีไม่ดีมันก็ล่ม เหมือนกันนั่นแหละ เพราะมันอยู่ในพายุนานขึ้น ผมว่าเรื่อง 5 คลัสเตอร์คือจุดมุ่งหมายของเขาที่ จะให้คนมีงานทำ� แต่ถามว่าเขารู้วิธีทำ�ไหม ก็ควรเอา ตำ�ราของดร.สาวิตต์ไปอ่าน จะเข้าใจได้ดีขึ้น “ไม่ส�ำ คัญ ตอนผมไปทีแ่ บงก์ชาติ ผมก็บอก คุณ ช่วยเปิดไฟทีต่ กึ ริมน�ำ้ หน่อยได้ไหม เขาก็ถามว่าทำ�ไม ครับ ผมก็ อ้าว---คนจะได้คดิ ว่าเรากำ�ลังเจริญแล้ว นักท่องเทีย่ วมาก็จะได้เห็นตึกสว่าง มันก็จะได้มาอีก ไม่ใช่มาเมืองล้มละลาย มาแล้วมืดตือ๋ ไปหมด มันก็ จะคิดว่าเจ๊ง แต่ถา้ เปิดไฟได้ ก็จะคิดว่าเราเริม่ เดินไป ได้ ดังนัน้ คนไม่ยอมฟังไม่ส�ำ คัญ สุภาษิตฝรัง่ ก็บอก พันปีเหมือนกัน Nothing succeeds like success ความสำ�เร็จมันนำ�ไปสูค่ วามสำ�เร็จ ทำ�อะไรทำ�ให้มนั สำ�เร็จก็แล้วกัน เดีย๋ วเรือ่ งอืน่ ๆ มันก็ตามมาเอง” สำ�หรับหลายๆ คน คติทว่ี า่ ‘ความสำ�เร็จนำ�ไปสู่ ความสำ�เร็จ’ หรือ Nothing succeeds like success นัน้ เป็นเหมือนหลักการทีม่ ไี ว้ฟงั คมๆ มากกว่าจะ เอาไว้ยดึ ถือปฏิบตั ิ อย่างไรก็ตาม ในชีวติ ทีผ่ ลักดัน โครงการขนาดใหญ่ให้ส�ำ เร็จท่ามกลางความเป็นไป ไม่ได้ตา่ งๆ มามากแล้วอย่างหม่อมเต่า เขาได้พสิ จู น์ แล้วว่า คตินเ้ี ป็นคติส�ำ หรับลงมือทำ� อย่างทีเ่ ขาบอก เรียบๆ ว่า “ตอนทีผ่ มทำ�งานต่างๆ ผมไม่มคี ณ ุ สมบัตอิ ะไรที่ จะทำ�งาน แต่กท็ �ำ ได้ เพราะผมสูง้ าน ผมใช้ความคิด และก็ลยุ ไปอย่างเดียว หรืออย่างอีสเทิรน์ ซีบอร์ด ผมก็ไม่เชือ่ ว่าจะเกิด แต่สาวิตต์เขาเชือ่ ว่ามันจะเกิด ผมบอก ‘สาวิตต์---ขับรถมาตัง้ ชัว่ โมงแล้ว ไม่เจอหมา สักตัว มีแต่คนอีสานนัง่ ปลูกมันสำ�ปะหลัง เรือก็ไม่ ผ่าน มันจะไปได้จริงๆ เหรอ’ แต่สดุ ท้ายเราก็ลยุ ไป มันก็เกิดจริงๆ”
Essentials
หนังสือ ‘สดุดี (คนอืน่ )’ โดยหม่อมราชวงศ์ จัตมุ งคล โสณกุล ราคา 235 บาท • สำ�หรับบริษทั ทีต่ อ้ งการสัง่ หนังสือ เป็น Corporate Gift กรุณาติดต่อ ทิพย์ประภา เสวีวลั ลภ โทร. 02-381-8188 อีเมล thipprapha@mtr.co.th รายได้หลังหักค่าใช้จา่ ย จะนำ�เข้าสมทบทุนกองทุนพัฒนา เด็กและเยาวชนในถิน่ ทุรกันดาร (ก.พ.ด.) (สามารถสัง่ พิมพ์ โลโก้ และโฆษณาของบริษทั ในใบรองปก) • สำ�หรับบุคคลทัว่ ไป หาซือ้ หนังสือได้ท่ี - ร้านนายอินทร์ - ร้านภูฟา้ - ศูนย์หนังสือจุฬาฯ - ศูนย์หนังสือพระจอมเกล้าธนบุรี - Asia Books - Café Amazon (เฉพาะสาขาทีร่ ว่ มรายการ) - Facebook หม่อมเต่า www.fb.com/momtau - KMITL bookstore - readery.co - SE-ED - TARAD.com
OPTIMISE | JULY 2016
25
FULL FLAVORS
01
Bangkok Dreams of Sushi การได้เห็นลุงทำ�ซูชเิ ป็นครัง้ แรกตอนอายุ 5 ขวบ จุดประกาย ให้มาซาโตะ ชิมิซุ ฝันอยากเป็นเชฟซูชิผู้มากฝีมือ “ตอนนัน้ ลุงดูเท่มาก” ชายชาวโตเกียวผูน้ เ้ี ล่า “ทำ�ให้ผมรูเ้ ลยว่าโตขึน้ อยากเป็นอะไร แล้วก็ไม่ เคยเปลีย่ นใจ ลุงผมบอกว่า ‘ไม่ตอ้ งเสียเวลาไป เรียนมหาวิทยาลัยหรอก อย่างดีกไ็ ด้แค่เพือ่ นแล้ว ก็ใบปริญญา แกไปฝึกเป็นเชฟซูชดิ กี ว่า’ ผมก็เลย ทำ�ตามทีล่ งุ บอก โดยออกจากโรงเรียนตัง้ แต่อายุ 18 เพราะอยากใช้เวลาทัง้ หมดกับซูชิ ฝึกอยู่ 7 ปี รับค่าจ้างวันละ 20 เหรียญ และทำ�งาน 100 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์” และเมือ่ มาซาโตะอายุได้ 29 ปี ขณะทำ�งานเป็นเชฟอยูท่ ห่ี อ้ งอาหาร Jewel Bako ในนิวยอร์ก เขาก็กลายเป็นเชฟอายุนอ้ ยทีส่ ดุ ใน มหานครแห่งนีท้ ไ่ี ด้รบั ดาวมิชลิน ปัจจุบนั มาซาโตะพำ�นักอยูท่ ก่ี รุงเทพฯ แม้ทน่ี ่ี จะมีรา้ นอาหารญีป่ นุ่ อยูก่ ว่า 3,500 แห่ง แต่กว่า วงการอาหารทีน่ จ่ี ะสุกงอมพอจะดึงดูดเชฟระดับ มาซาโตะให้เข้ามาทำ�งานได้ ต้องถือว่าวงการนี้ ได้เปลีย่ นไปอย่างใหญ่หลวง โดยไม่วา่ นีจ่ ะเป็น ผลจากมาตรฐานการใช้ชวี ติ ทีด่ ขี น้ึ หรือการผ่อน ผันระเบียบวีซา่ ไปญีป่ นุ่ สำ�หรับคนไทยก็ตาม สิง่ หนึง่ ทีเ่ ด่นชัดก็คอื ในช่วง 3 ปีทผ่ี า่ นมา บรรดาร้าน ซูชริ ะดับไฮเอนด์ในกรุงเทพฯ ได้กา้ วล�ำ้ ไปอีกขัน้ แล้วจริงๆ หลังจากย้ายมาตัง้ รกรากอยูก่ บั ภรรยาชาว ไทยในช่วงปลายปีทแ่ี ล้ว มาซาโตะได้เปิดร้าน ซูชเิ ล็กๆ ในซอยสุขมุ วิท 31 โดยทีห่ น้าร้านชือ่ เดียวกับเจ้าตัวแห่งนี้ ไม่มปี า้ ยหรือจุดสังเกตอืน่ ใด นอกจากโคมไฟติดผนังอันน้อย ทีเ่ ขียนด้วย
26
OPTIMISE | JULY 2016
อักขระญีป่ นุ่ โบราณเป็นคำ�ว่า ‘ซูช’ิ และคำ�อ่าน เป็นอักษรโรมันข้างใต้ ต่อเมือ่ แขกก้าวเข้าไปในร้านและเดินผ่าน สวนหินในร่มและทางเดินแคบๆ ตัดไปตัดมา จึงจะได้พบกับบาร์ซชู ทิ ก่ี �ำ ลังเป็นทีน่ ยิ มทีส่ ดุ ใน กรุงเทพฯ ณ เวลานี้ โดยตลอด 6 คืนต่อสัปดาห์ ทีมอันประกอบด้วยเชฟ 3 คนของมาซาโตะ จะสร้างสรรค์ ‘omakase sushi’ หรือซูชแิ บบ ‘ตามใจเชฟ’ จำ�นวน 20 คอร์สให้แก่นกั กินทีโ่ ชค ดีจองทีน่ ง่ั ได้ส�ำ เร็จจำ�นวน 9 คน (ขณะกำ�ลัง เขียนเรือ่ งนีใ้ นเดือนเมษายน ร้านมาซาโตะก็ถกู จองเต็มไปจนถึงปลายเดือนตุลาคมเรียบร้อย) ทัง้ นี้ ร้านมาซาโตะเป็นหนึง่ ในบรรดาร้าน
ตลอด 6 คืนต่อสัปดาห์ ทีมอันประกอบด้วยเชฟ 3 คนของมาซาโตะจะ สร้างสรรค์ ‘omakase sushi’ จำ�นวน 20 คอร์ส ให้แก่นกั กินทีโ่ ชคดีจองทีน่ ง่ั ได้สำ�เร็จจำ�นวน 9 คน 01 เชฟมาซาโตะพิ ถ ี พ ิ ถ ั น ทุ ก ขั ้ น ตอน 02 ปลาอายู ท ี ่ เ ชฟย่ า งใหม่ ๆ บนถ่ า นให้ ท ี ล ะตั ว
ซูชริ นุ่ ใหม่ทก่ี �ำ ลังพยายามขับเคลือ่ นวงการ อาหารญีป่ นุ่ ในกรุงเทพฯ ให้มอี ะไรน่าตราตรึง ใจมากกว่าบุฟเฟ่ตป์ ลาแซลมอน ด้วยเหตุนน้ั ทีร่ า้ นซูชเิ หล่านี้ ไม่วา่ จะเป็น Sushi Hinata, Ginza Sushi Ichi, Tama Sushi และ Umi Sushi จึงเลือกทีจ่ ะใช้เฉพาะปลาสดส่งตรงทุก วันจากตลาดซึกจิ ใิ นกรุงโตเกียว ซึง่ ขึน้ ชือ่ ว่าเป็น แหล่งอาหารทะเลสดทีด่ ที ส่ี ดุ ในโลกเพือ่ ทำ�ซูชิ โดยหลายร้านจะปิดร้านในวันถัดจากวันหยุด ราชการของญีป่ นุ่ เนือ่ งจากถ้าตลาดซึกจิ ไิ ม่เปิด ร้านเหล่านีก้ จ็ ะไม่ขาย หนังสือมิชลิน ไกด์อาจไม่ใช่มาตรวัดทีด่ ี ทีส่ ดุ สำ�หรับตัดสินร้านอาหารในญีป่ นุ่ แต่กน็ บั
02 OPTIMISE | JULY 2016
27
FULL FLAVORS เป็นจุดเริม่ ต้นทีด่ พี อสำ�หรับใช้ดวู า่ มีรา้ นซูชชิ น้ั เลิศใดทีม่ าถึงกรุงเทพฯ แล้วบ้าง โดยร้านแรก ทีม่ าถึงก็คอื กินซา ซูชิ อิชิ ณ ศูนย์การค้าแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ ซึง่ เปิดในปี 2557 เพราะนีค่ อื สาขาของร้านซูชยิ า่ นกินซา ภายใต้การกำ�กับ ของเชฟมาสะคาซุ อิชบิ า ซึง่ คว้า 1 ดาวมิชลิน มาแล้ว ผูป้ ระกอบการชาวไทย 3 คน ได้แก่ กวิน ว่องกุศลกิจ ศิรเดช โทณวณิก และศุภชัย วงศ์วรเศรษฐ์ เป็นผูท้ าบทามให้เชฟมาสะคาซุมาเปิดร้าน กินซา ซูชิ อิชิ ในกรุงเทพฯ โดยมีมาสะคาซุเอง ดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้าเชฟ พร้อมด้วยทีมเชฟ จากแดนอาทิตย์อทุ ยั อีก 4 คน (คิดเป็นอัตรา 1 เชฟต่อแขก 5 คน) ทัง้ นี้ ทุกๆ 2-3 เดือนจะมีการ สับเปลีย่ นทีมเชฟในกรุงเทพฯ กับเชฟทีโ่ ตเกียว และทีส่ งิ คโปร์ดว้ ยเพือ่ ตัดปัญหาฝีมอื เชฟยิง่ หย่อนกว่ากัน “ปลาของเราส่งตรงจากตลาดซึกจิ ทิ กุ วัน บ้าน ของเชฟมาสะคาซุอยูใ่ นกินซา เขาไปตลาดตัง้ แต่ ตีหา้ และเลือกวัตถุดบิ สำ�หรับร้านทีก่ รุงเทพฯ และ ทีโ่ ตเกียวกับมือ ปลามาจากทีเ่ ดียวกันหมด เขาซือ้ ขายกับพ่อค้าแม่คา้ ทีน่ น่ั มาไม่รกู้ ป่ี แี ล้ว ทำ�ให้เรือ่ ง คุณภาพรับรองได้” ศิรเดชเล่า ศิรเดชบอกว่าเรือ่ งนีท้ �ำ ให้พวกเขาได้เปรียบ กว่าร้านซูชอิ น่ื ๆ ทีย่ งั ต้องอาศัยพ่อค้าคนกลาง เป็นคนเลือกปลา แต่กแ็ ปลว่าต้นทุนของพวก เขาจะสูงมากเช่นกัน “คิดดูแล้ว กำ�ไรร้านเราไม่ ได้สงู เลยเมือ่ เทียบกับร้านซูชธิ รรมดาๆ ต่อให้ เทียบกับร้านทีโ่ ตเกียว ต้นทุนของเราก็แพงกว่า เพราะต้องนำ�เข้าวัตถุดบิ แถมยังต้องขายให้ ลูกค้าในราคาเท่ากันอีก” แต่สง่ิ ทีไ่ ด้กลับมาก็คอื ซูชอิ นั ประณีตใน ทุกรายละเอียด อย่างไรก็ตาม ศิรเดชก็บอกว่า เหตุผลหนึง่ ทีเ่ ขาเลือกแบรนด์กนิ ซา ซูชิ อิชิ ก็เพราะร้านนีไ้ ม่ท�ำ เจ้ายศเจ้าอย่างกับลูกค้าที่ ถ่ายรูปหรือพูดคุยกันเสียงดังในร้าน ต่างจาก ร้านซูชริ ะดับบนอืน่ ๆ อย่างเช่นร้าน 3 ดาวมิชลิน Mazutani อันเป็นตำ�นาน ภายในร้านกินซา ซูชิ อิชปิ ระกอบด้วยห้อง 2 ห้อง ห้องละ 11 ที่ โดยภายในห้องกรุดว้ ยไม้ ตัง้ แต่พน้ื จดเพดาน เมือ่ ถึงเวลา ลูกค้าทุกคนจะ นัง่ ทีเ่ คาน์เตอร์ เพือ่ รับชมเชฟบรรจงประดิษฐ์ 28
OPTIMISE | JULY 2016
ซูชคิ �ำ น้อยด้วยลีลาสุขมุ เด็ดขาด นิกริ คิ �ำ แล้วคำ� เล่าถูกเสิรฟ์ ติดต่อกัน เริม่ จากปลาเนือ้ ขาวรส กระจ่าง ก่อนเปลีย่ นไปเป็นเนือ้ ทูนา่ หอมมันคาว ก่อนจะปิดท้ายด้วยรสเข้มข้นหรูหราของไข่หอย เม่นและปูฮอกไกโด เช่นเดียวกับชาวกรุงเทพฯ หลายๆ คน ศิรเดชโตมาท่ามกลางวัฒนธรรมญีป่ นุ่ อยูแ่ ล้ว กระนัน้ เขายอมรับว่าคนไทยเพิง่ ศึกษาเกีย่ ว กับอาหารญีป่ นุ่ จริงจังเมือ่ ไม่นานมานีเ้ อง โดย เมือ่ ถามว่าเหตุใดร้านอาหารญีป่ นุ่ ระดับบนจึง ค่อยมาเริม่ เบ่งบานในกรุงเทพฯ เอาเมือ่ ปี 2557 เข้าไปแล้ว ศิรเดชชีใ้ ห้เห็นถึงความสัมพันธ์ ระหว่าง 2 ประเทศในขณะนัน้ “ช่วง 3 ปีทผ่ี า่ นมา ญีป่ นุ่ เปิดกว้างขึน้ มาก สำ�หรับนักท่องเทีย่ วชาวไทย เราไม่ตอ้ งขอวีซา่ ไปญีป่ นุ่ แล้ว ซึง่ ทำ�ให้มโี ปรโมชัน่ ของสายการ บินโลว์คอสต์เต็มไปหมด ตอนทีเ่ ราเปิดร้านเป็น ช่วงทีร่ ฐั บาลญีป่ นุ่ ประกาศยกเว้นวีซา่ สำ�หรับคน ไทยพอดิบพอดี คนเลยมีโอกาสได้ไปเห็น ไปกิน ว่าโอมากาเสะทีถ่ กู แบบแผนเป็นอย่างไร สิง่ เหล่านีท้ �ำ ให้รา้ นโอมากาเสะในไทยขายได้” แรนดี้ นพประภา เห็นด้วยกับศิรเดช เขาเป็น คนไทยอีกคนทีฝ่ กึ ทำ�ซูชมิ าตัง้ แต่อายุ 16 ปีและ เปิดร้านโอมากาเสะของตนเองภายใต้ชอ่ื Fillets ณ ย่านหลังสวนในเวลาไล่เลีย่ กับทีศ่ ริ เดชเริม่ กิจการร้านกินซา ซูชิ อิชิ “ผมใช้เวลาตระเวนกินตามร้านซูชเิ ด็ดๆ ของ ญีป่ นุ่ มาทัง้ ชีวติ เมือ่ 8-9 ปีกอ่ น ไม่มที างเห็นคน ไทยในร้านแบบนีท้ โ่ี ตเกียวเลย อย่างร้าน Jiro (ร้านทีเ่ ป็นพระเอกของ Jiro Dreams of Sushi หนังสารคดีเกีย่ วกับโอมากาเสะซูชปิ ี 2555 ของ เดวิด เกลบ์) ผมกินทีน่ น่ั มาหลายปีแล้ว ไปทีไรก็ มีแต่คนญีป่ นุ่ แต่พอ 5 ปีให้หลัง ผมเริม่ เห็นคน ไทยมากินร้านแบบนีก้ นั มากขึน้ เลยรูว้ า่ เดีย๋ วนี้ คนไทยเราเริม่ เห็นคุณค่าของศิลปะของซูชอิ ย่าง จริงจังแล้ว” อีกคนหนึง่ ทีต่ ระเวนไปลิม้ ลองร้านซูชชิ น้ั ครู ของญีป่ นุ่ มาตลอดหลายปีกค็ อื ชวยศ รัตตกุล นักธุรกิจหนุม่ ผูม้ ชี อ่ื อยูใ่ นแวดวงอสังหาริมทรัพย์ และร้านซูชชิ อ่ื ดังหลายแห่งในกรุงเทพฯ งาน อดิเรกของชวยศคือการอัพอินสตาแกรมชือ่ @puppup_foodguru เพือ่ บอกเล่าประสบการณ์
03
05
04
06
ผมดีใจมากที่เห็นโอมากาเสะ มาไกลถึงขนาดนี้ ในช่วงแค่ไม่กี่ปีที่ผ่านมา เดี๋ยวนี้คนเริ่มโหยหาซูชิ แบบดั้งเดิม ไม่ใช่สั่งแต่ นิกิริหน้าเห็ดทรัฟเฟิลหรือ ฟัวร์กราส์
07
03 ปลาดิ บ ชิ ้ น สวยจากการ แล่ อ ย่ า งบรรจงของเชฟที ่ Fillets 04 ร้ า นซู ช ิ ส ไตล์ ม ิ น ิ ม อลโปร่ ง ตา ของ Sushi Hinata 05 เชฟแรนดี ้ แ ห่ ง Fillets 06 ซู ช ิ ไ ข่ ห อยเม่ น ที ่ Sushi Hinata 07 ชวยศ นั ก กิ น ผู ้ แ สวงหาซู ช ิ ชั ้ น เยี ่ ย ม
การกินของเขาตามร้านอาหารชัน้ นำ�ของโลก โดยเฉพาะญีป่ นุ่ ในการเดินทางไปยังโตเกียว เมือ่ เดือนมีนาคมทีผ่ า่ นมา ชวยศได้จาริกไปถึง ‘แดนศักดิส์ ทิ ธิ’์ ของวงการซูชอิ ย่างร้าน Kyoaji ซึง่ ต้องจองล่วงหน้านานเป็นปี และเคยปฏิเสธ ไม่รบั แม้แต่นกั ชิมของมิชลิน ไกด์ พูดได้วา่ น่า จะมีคนไทยไม่มากนักทีไ่ ด้ลม้ิ ลองซูชมิ าอย่าง โชกโชนเช่นเขา “ผมดีใจมากทีเ่ ห็นโอมากาเสะมาไกลถึง ขนาดนีใ้ นช่วงแค่ไม่กป่ี ที ผ่ี า่ นมา เดีย๋ วนีค้ นเริม่ โหยหาซูชแิ บบดัง้ เดิม ไม่ใช่สง่ั แต่นกิ ริ หิ น้าเห็ด ทรัฟเฟิล หรือฟัวร์กราส์” ชวยศกล่าวกระทบถึง ซูชลิ กู ครึง่ ตามร้านอาหารญีป่ นุ่ หรูๆ หลายแห่ง ในกรุงเทพฯ ทีม่ กั ใช้วตั ถุดบิ หรูหราโปะหน้า สวน ทางกับปรัชญา ‘น้อยคือมาก’ ของตำ�รับซูชอิ นั เก่าแก่กว่าร้อยปีของโตเกียวทีเ่ รียกว่า ‘เอโดะเมะ’ (Edo-mae) ชวยศเสริมต่ออีกว่า “ซูชแิ บบนัน้ มันเหมือน ตบหน้าวัฒนธรรมญีป่ นุ่ แต่เดีย๋ วนีค้ นเริม่ กิน เป็นและเห็นคุณค่าในฝีมอื ของเชฟ ในเวลาไม่ กีป่ ี วงการนีเ้ ปลีย่ นเลย คนแยกแยะสไตล์ตา่ งๆ ของซูชไิ ด้ ตลาดก็หลากหลายขึน้ แต่กอ่ นคนไม่รู้ ด้วยซ�ำ้ ว่าอะไรคือโอมากาเสะ แต่เดีย๋ วนี้ ผูบ้ ริโภคทัว่ ๆ ไปก็รจู้ กั หมด” เขายกตัวอย่างร้านทามะ ซูชิ ในซอยสุขมุ วิท 49 ของเชฟเซอิจิ ซูโดะ อดีตเชฟจากกินซา ซูชิ อิชิ ผูเ้ ชีย่ วชาญในการทำ�ซูชสิ ไตล์ ‘โช’ (Sho) ความพิเศษของซูชิสไตล์นี้อยู่ที่เมนูซง่ึ ไม่จ�ำ กัด อยูแ่ ค่นกิ ริ ิ แต่สลับคัน่ ด้วยเมนูจดั วางประณีต อืน่ ๆ เช่น หอยสังข์ อิวาชิ โรล ข้าวย่างผสมกับ เนือ้ ปูขนและอูนิ ตลอดจนซุปซูชอิ นั เป็นยีห่ อ้ ของ เชฟเซอิจิ “ตระกูลโชในญีป่ นุ่ มีรา้ นแบบนีแ้ ค่ 5 แห่ง เองมง้ั หลายคนไม่เคยได้กนิ ซูชสิ ไตล์น้ี ผมเลย ตืน่ เต้นมากทีค่ นกรุงเทพฯ เดีย๋ วนีส้ ามารถเลือก กินซูชไิ ด้หลากหลายสไตล์ แบบรสจัด รสอ่อน รสเปรีย้ ว จากไม่รจู้ กั คำ�ว่าโอมากาเสะเลยมา ถึงจุดนีไ้ ด้ตอ้ งถือว่ามาไกลมาก” ชวยศบอก อย่างไรก็ตาม ความกระตือรือร้นทีช่ วยศมีตอ่ วงการซูชขิ องกรุงเทพฯ ต่อท้ายด้วยคำ�เตือนว่า เราไม่ควรคุยโตไปจนถึงขนาดว่ามาตรฐานซูชทิ ่ี นีด่ กี ว่าเมืองใหญ่เมืองอืน่ ๆ ในต่างประเทศ OPTIMISE | JULY 2016
29
FULL FLAVORS
คนมักเหมารวมว่าซูชิ อร่อยเพราะปลาสด ทั้งที่จริงๆ แล้วมันขึ้นอยู่ กับประเภทปลาด้วย ปลาบางชนิดต้องดอง ก่อน บางชนิดต้องปรุง สุกก่อน บางชนิดต้องบ่ม ทิ้งไว้เป็นชั่วโมงหรือเป็น วัน รสชาติถึงจะออกมา ได้เต็มที่ “ตามหัวเมืองใหญ่ๆ จะมีรา้ นซูชริ ะดับนี้ ประมาณ 3-4 แห่งอยูแ่ ล้ว ไม่วา่ จะเป็น สิงคโปร์ กัวลาลัมเปอร์ นิวยอร์ก หรือแอลเอ เราโชคดีท่ี อยูใ่ กล้ญป่ี นุ่ กว่า เลยหาวัตถุดบิ ดีๆ ได้ แต่ไม่ใช่ ว่าซูชใิ นกรุงเทพฯ จะดีเยีย่ มกว่าทีอ่ น่ื ” ชวยศ กล่าว ก่อนจะอธิบายเพิม่ “คิดดูนะครับ ปลาจะถูกจับเมือ่ วานแล้วส่ง มาทางเครือ่ งบินถึงกรุงเทพฯ ภายใน 1 วัน แค่น้ี รสชาติกเ็ ปลีย่ นไปแล้ว ถ้าอยูโ่ ตเกียว เชฟอาจ จะซือ้ ปลาแล้วเอามาทำ�ซูชไิ ด้ภายในชัว่ โมง เดียวกัน แต่อยูน่ ท่ี �ำ ไม่ได้ น�ำ้ ประปาก็มสี ว่ น น�ำ้ ในญีป่ นุ่ สะอาดมาก ไม่เหมือนน�ำ้ บ้านเรา ซึง่ พอเอาไปใช้ลา้ งปลาและหุงข้าวก็จะกระทบ แล้วมีเรือ่ งความชืน้ อีก บ้านเราชืน้ กว่าญีป่ นุ่ หรือ ยุโรป ซึง่ ทำ�ให้กระบวนการบ่มปลาต่างออกไป” เชฟซูชทิ อ่ี ยูน่ อกญีป่ นุ่ ล้วนทราบถึงข้อจำ�กัดนี้ และได้คดิ วิธแี ก้ปญ ั หาเรือ่ งปลาไม่สดได้ส�ำ เร็จ โทโมฮิโกะ ซาโตะ ปรมาจารย์เชฟซูชทิ ซ่ี ชู ิ ฮินาตะ ร้านโอมากาเสะรุน่ บุกเบิกทีเ่ ปิดตัวพร้อม กับห้างเซ็นทรัล เอ็มบาสซีในปี 2557 อธิบาย ถึงกระบวนการทีเ่ รียกว่า ‘ไคมิน คัตสึเกียว’ (Kaimin Katsugyo) ซึง่ แปลตรงตัวว่า ‘ปลาเป็น หลับลึก’ ให้เราฟังว่า “นีค่ อื วิธฆี า่ ปลาแบบไม่ตอ้ งฆ่าจริงๆ ปกติ แล้วในญีป่ นุ่ เวลาทีจ่ บั ปลาได้ เขาจะฆ่ามันให้ ตายทันที แต่พอ่ ค้าปลาทีส่ ง่ ปลาให้รา้ นเราจะใช้ วิธนี ้ี คือแทนทีจ่ ะตัดเส้นไขสันหลังแล้วปล่อยให้ 30
OPTIMISE | JULY 2016
08
09
Essentials Fillets 31 เดอะ ปอร์ตโิ ก ซอยหลังสวน กรุงเทพฯ โทร. 092-879-6882, 02-041-6056 www.filletsbangkok.com Ginza Sushi Ichi 494 อาคารเอราวัณ แบงค็อก ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ โทร. 02-250-0014 www.facebook.com/ ginzasushiichiBKK
เลือดทะลักออกจากตัวปลา เขาจะแค่ปาดเส้น ไขสันหลังให้พอเป็นแผล และให้เลือดซึมออก มาทีละน้อยๆ ทำ�ให้ปลายังไม่ตายตอนทีม่ าถึง กรุงเทพฯ นีค่ อื วิธรี กั ษาความสดให้นานทีส่ ดุ ” โทโมฮิโกะยังได้อธิบายเรือ่ งความสำ�คัญของ ความสดต่อการทำ�ซูชทิ ห่ี ลายคนยังเข้าใจคลาด เคลือ่ น “แน่นอน ไม่วา่ จะทำ�อาหารอะไร ความ สดของวัตถุดบิ เป็นเรือ่ งสำ�คัญอย่างยิง่ ยวด แต่ คนมักเหมารวมว่าซูชอิ ร่อยเพราะปลาสดไป หมด ทัง้ ทีจ่ ริงๆ แล้วมันขึน้ อยูก่ บั ประเภทปลา ด้วย ปลาบางชนิดต้องดองก่อน บางชนิดต้อง ปรุงสุกก่อน บางชนิดต้องบ่มทิง้ ไว้เป็นชัว่ โมง หรือเป็นวัน รสชาติถงึ จะออกมาได้เต็มที”่ แต่นไ่ี ม่ได้แปลว่าการส่งปลามากรุงเทพฯ จะทำ�ได้โดยไม่ตอ้ งดูแลอะไร เชฟซูชหิ ลายคน ยืนยันว่าแม้ปลาบางชนิดต้องบ่มก่อนกิน แต่ กระบวนการบ่มนัน้ ก็ตอ้ งควบคุมอย่างพิถพี ถิ นั มาซาโตะ ชิมซิ ุ อธิบายว่า “ร้านผมใช้หลัก คิดง่ายๆ ว่า ‘วันนีว้ ตั ถุดบิ อะไรสดทีส่ ดุ ’ เพราะ ของสดย่อมเหมาะกับทัง้ โอมากาเสะและตัว ลูกค้า แต่ปลาบางชนิดต้องบ่มให้ได้ทก่ี อ่ น เหมือนเนือ้ วัว ซึง่ ผมว่าร้านผมต่างจากร้านอืน่ ๆ ตรงนี้ อย่างปลาทูนา่ บางครัง้ ผมบ่มไว้เป็น อาทิตย์ เพือ่ ให้นานพอทีจ่ ะเกิดรสอูมะมิ ถ้ากิน ก่อนหน้านัน้ เนือ้ จะเหนียวแล้วอูมะมิกจ็ ะยังไม่ ออกมาเต็มที”่ อูมะมิเป็นหนึง่ ใน 5 รสชาติพน้ื ฐาน นอกจากหวาน เปรีย้ ว ขม เค็ม ซึง่ นิยามกัน
ว่าเป็นรสโอชะ ทีพ่ บในอาหารจำ�พวกเนือ้ ตุน๋ เต้าเจีย้ ว เนยแข็ง ตลอดจนผงชูรส มาซาโตะยังอธิบายถึงความสำ�คัญของการ ซือ้ ปลาจากตลาดซึกจิ ิ “ตลาดซึกจิ เิ ขาแบ่งเกรด สำ�หรับทุกอย่างและมีการบอกข้อมูลทุกเรือ่ ง เกีย่ วกับวัตถุดบิ ตัง้ แต่น�ำ้ หนักปลา จับทีไ่ หน เวลาไหน ใครเป็นคนจับ ใจจริงผมอยากจะลอง ใช้ปลาไทยเหมือนกัน แต่ความสดยังไม่ได้ ผม เคยไปเดินตลาดทีน่ อ่ี ยู่ 2-3 ครัง้ แต่ปรากฎว่า เจอแต่กลิน่ แอมโมเนียฉุนกึกเลย แล้วเขายังใช้ แค่รถติดแอร์ธรรมดาขนน�ำ้ แข็งอีกต่างหาก เปิด ออกมาก็เห็นน�ำ้ แข็งละลายอยูแ่ ล้ว ยังดีนะว่าคน กินเข้าไปแล้วไม่ปว่ ยหรือเป็นอะไรขึน้ มา” บทสนทนาเหล่านีเ้ ปรียบเสมือนยอด ภูเขาน�ำ้ แข็งเท่านัน้ เบือ้ งหลังศาสตร์การทำ�ซูชิ ยังมีความซับซ้อนอยูอ่ กี มาก แม้ซชู จิ ะปรุงขึน้ จากเพียงปลาและข้าว แต่ความพิเศษของซูชิ ย่อมอยูท่ ค่ี วามเพียรของเชฟในการบรรจุราย ละเอียดอันไร้ทต่ี ลิ งไปในความสามัญธรรมดา เพือ่ ทำ�ให้ซชู กิ ลายเป็นอาหารชัน้ เลิศ แต่นา่ เสียดาย ชวยศกล่าวว่าการตระหนักถึงความจริง ข้อนีย้ งั เป็นสิง่ ทีข่ าดหายไปจากนักชิมบ้านเรา “กลุม่ คนทีเ่ ล็งเห็นคุณค่าในเรือ่ งนีย้ งั เป็นแค่ กลุม่ เล็กๆ การทีก่ นิ ซา ซูชิ อิชิ มาเปิดทีก่ รุงเทพฯ ถือเป็นข่าวดีอย่างมาก แต่หลายครัง้ คนก็ไป ร้านนีเ้ พียงแค่เอาเท่ และตอนนีม้ าซาโตะก็ก�ำ ลัง เจอสถานการณ์แบบเดียวกัน เหมือนกับว่าถ้า
ร้านไหนจองได้ยากๆ ทุกคนก็จะแห่กนั ไปเพือ่ ไม่ให้ตก กระแส ซึง่ มันก็คงมีขอ้ ดีของมัน แต่อกี แง่หนึง่ ก็แปล ว่าคนไปร้าน ไม่ได้ไปเพราะชืน่ ชมอาหารจริงๆ” อย่างไรก็ตาม การได้มานัง่ ร้านมาซาโตะ อาจ ทำ�ให้หลายคนชืน่ ชมความงามของซูชไิ ด้มากขึน้ ด้วยเหตุทอ่ี ดีตนิวยอร์กเกอร์อย่างมาซาโตะสามารถ สือ่ สารกับลูกค้าอย่างเป็นกันเองด้วยภาษาอังกฤษ และเชฟชิเกะ มือขวาของเขาก็พดู ไทยได้คล่อง ลูกค้า จึงมักกลับบ้านไปพร้อมกับความรูเ้ กีย่ วกับอาหาร อย่างเต็มเปีย่ ม เช่น เคล็ดการหมักปลาด้วยเทคนิค โคบุจเิ มะจากสมัยเอโดะ ไปจนถึงวิธกี ารปรุงซุปชิราโกะ รสชาติละมุนจากถุงสเปิรม์ ปลากระพงแดง แต่ใน ทีส่ ดุ แล้ว ขอเพียงเปิดใจรับรู้ ศิลปะและความประณีต ในการทำ�ซูชแิ บบดัง้ เดิมย่อมทำ�ให้ใครๆ ดืม่ ด�ำ่ ได้ไม่ ยาก แม้ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญมาจากไหนก็ตาม ท่ามกลางข่าวอื้อฉาวของอุตสาหกรรมอาหาร ทะเลไทย หลายคนหวังลึกๆ ว่าร้านซูชเิ หล่านีจ้ ะเป็น อีกปัจจัยหนึง่ ทีช่ ว่ ยกดดันให้วตั ถุดบิ ของผูผ้ ลิตในท้อง ถิน่ มีคณ ุ ภาพสูงขึน้ อย่างไรก็ตาม ระหว่างรอนี้ ทุกคน ย่อมมีทางเลือกทีจ่ ะไปเยีย่ มเยียนร้านซูชมิ าตรฐาน ญีป่ นุ่ ดังได้กล่าวมาข้างต้น ซึง่ นึกๆ ดูแล้วก็เป็น โชคบังเอิญ จากการผ่อนระเบียบวีซา่ ทีห่ วังกระตุน้ ให้คน ไทยไปเทีย่ วญีป่ นุ่ มากขึน้ สิง่ ทีไ่ ด้กลับเป็นร้านซูชิ มาตรฐานสูงทีท่ �ำ ให้คนไทยลิม้ รสญีป่ นุ่ ดัง้ เดิมได้โดย ไม่ตอ้ งแม้แต่จะออกนอกประเทศเหล่านีน้ เ่ี อง
Sushi Hinata เซ็นทรัล เอ็มบาสซี 1031 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ โทร. 02-160-5935 www.shin-hinata.com
10
Sushi Masato 3/22 ซอยสวัสดี 1 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 02-040-0015 www.sushimasato.com Tama Sushi พิมาน 49 46/10 ซอยสุขมุ วิท 49 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 091-871-0666 www.fb.com/ tamasushibangkok Umi Sushi พิมาน 49 46/10 ซอยสุขมุ วิท 49 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 02-662-6661 www.fb.com/umi.49
08 ร้ า นมาซาโตะที ่ เ ก้ า อี ้ ถ ู ก จอง เต็ ม ล่ ว งหน้ า ไปหลายเดื อ น
11
09 ซู ช ิ ท ี ่ บ รรจงเสิ ร ์ ฟ จากมื อ เชฟ มาซาโตะ 10 โต๊ ะ ทานอาหารของ Ginza Sushi Ichi ที ่ พ ร้ อ มรั บ ลู ก ค้ า โอมากาเสะ 11 ชู ช ิ เ ต็ ม คำ � ของ Ginza Sushi Ichi
OPTIMISE | JULY 2016
31
STATE OF THE ARTS เชียงใหม่มอี งค์ประกอบความเป็นเมือง อันดับ 2 ของประเทศอย่างครบถ้วน ไม่วา่ จะ เป็นจังหวะชีวติ นุม่ เนิบ การเปลีย่ นแปลงทีไ่ ม่ บุม่ บ่าม ตลอดจนความเป็นตัวของตัวเอง ใน ขณะทีก่ รุงเทพฯ อาจคอยเปรียบเทียบตัวเอง กับมาตรฐานสากลเหมือนเมืองสำ�คัญอืน่ ๆ ใน โลก เมืองหลวงแห่งดินแดนล้านนานีเ้ ชือ่ ในการ กำ�หนดมาตรฐานและจังหวะของตัวเอง ด้วย เหตุน้ี หากเมืองรองอย่างบอสตัน หรือ พระตะบอง ได้รบั การยกย่องให้เป็น ‘เมืองหลวง แห่งวัฒนธรรม’ การจะขนานนามเชียงใหม่วา่ เป็น ‘รังไหมแห่งวัฒนธรรม’ ย่อมไม่ผดิ ไป ไลลา พิมานรัตน์ ผูก้ อ่ ตัง้ แกลเลอรีท่ ม่ี ชี อ่ื เดียวกันเมือ่ ปี 2557 บรรยายถึงเชียงใหม่ไว้ ว่า “เชียงใหม่มคี วามเป็นตัวของตัวเองในเรือ่ ง
01
ศิลปะวัฒนธรรม และมีความเป็นชุมชนสูง” อย่างไรก็ตาม แม้เชียงใหม่จะไม่ให้ความสำ�คัญ กับการตีตราจากภายนอก แต่ภายนอกกลับ สนใจพัฒนาการของวงการศิลปะของทีน่ ม่ี าก ขึน้ เรือ่ ยๆ ทัง้ นีเ้ นือ่ งมาจากบรรดาศิลปินคนดังที่ ยึดเชียงใหม่เป็นบ้าน ไม่วา่ จะเป็นอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล เจ้าของรางวัลปาล์มทองคำ�จาก เทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช นาวิน ลาวัลย์ชยั กุล คามิน เลิศชัยประเสริฐ ตลอดจน อารยา ราษฎร์จ�ำ เริญสุข จนแทบจะพูดได้วา่ เชียงใหม่ผกู ขาดศิลปินร่วม สมัยไทยทีโ่ ลดแล่นอยูบ่ นเวทีโลกเอาไว้ทง้ั หมด และเมือ่ หนึง่ ในคอลเลกชันศิลปะร่วมสมัยชัน้ เยีย่ มของประเทศกำ�ลังจะเปิดให้สาธารณชน ได้ยลโฉม ณ พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะร่วมสมัยทีช่ อ่ื ว่า ‘ใหม่เอีย่ ม’ ในอีกไม่นานนี้ อิทธิพลด้านศิลปะ ของเชียงใหม่นา่ จะมีแต่เพิม่ เป็นทวีคณ ู
คำ�ว่ากล้าได้กล้าเสีย ชุมชนคนศิลป์ ลองผิดลองถูก และเห็น คำ�ว่ากล้าได้กล้าเสีย ลองผิดลองถูก และ เห็นแก่สว่ นรวมคือหัวใจของชุมชนศิลปะทีน่ ่ี ซึง่ แก่ส่วนรวมคือหัวใจของ เป็นดินแดนทีม่ ธี รุ กิจสตาร์ทอัพมากพอๆ กับ ชุมชนศิลปะที่นี่ ซึ่งเป็น ศิลปินล�ำ้ ๆ แม้ความเป็นอนุรกั ษ์นยิ มของเมือง ดินแดนที่มีธุรกิจสตาร์ทอัพ ไทย จะทำ�ให้ศลิ ปินหลายคนต้องไปดังอยูต่ า่ ง ประเทศมากกว่าบ้านเกิด เชียงใหม่กเ็ ป็นมุม มากพอๆ กับศิลปินล้ำ�ๆ หนึง่ ของประเทศทีส่ กุ งอมพอจะใช้ศลิ ปินเหล่านี้
Culture Cocoon 32
OPTIMISE | JULY 2016
01 นิ ท รรศการที ่ บ ้ า นของ นาวิ น ลาวั ล ย์ ช ั ย กุ ล 02 I’m Not OK อี ก หนึ ่ ง งานที ่ น าวิ น บอกเล่ า เรื ่ อ งราวของ ตั ว เขา 03 คามิ น เลิ ศ ชั ย ประเสริ ฐ ศิ ล ปิ น ร่ ว มสมั ย ผู ้ ปั ก หลั ก สร้ า งงานศิ ล ป์ ในเชี ย งใหม่
TKTK
ในโอกาสที่ ‘พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะร่วมสมัยใหม่เอีย่ ม’ กำ�ลังจะเปิด ตัวในเชียงใหม่ นีค่ อื โอกาสดีสำ�หรับย้อนดูพฒ ั นาการแห่ง วงการศิลปะใน ‘รังไหมทางวัฒนธรรม’ ของประเทศแห่งนี้
ทดลองโครงการศิลป์อะไรต่อมิอะไรได้ไม่นอ้ ย ในช่วงปลายยุค 80s หลังกลับจากการ ศึกษาทีต่ า่ งประเทศ อารยา ราษฎร์จ�ำ เริญสุข มิตร ใจอินทร์ อุทศิ อติมานะ และมณเฑียร บุญมา ผูไ้ ด้ชอ่ื ว่าเป็นเจ้าพ่อแห่งศิลปะร่วมสมัย ในไทย ได้รวมตัวทำ�ให้ศลิ ปะมีบทบาทในชีวติ ประจำ�วันคนเชียงใหม่ ตามทีไ่ ด้รบั แรงบันดาล ใจจากขบวนการ Arte Povera หรือ ‘ศิลปะ ของคนยาก’ ในอิตาลี โดยให้ชอ่ื ว่า ‘โครงการ เชียงใหม่จดั วางสังคม’ (Chiang Mai Social Installation) ซึง่ ได้ชว่ ยสร้างงานศิลป์และ การแสดงหลายต่อหลายชิน้ ทีน่ �ำ เสนอผ่าน องคาพยพต่างๆ ของเมือง แม้แต่สสุ านและวัด ทัง้ นี้ ต้องถือว่าโครงการเชียงใหม่จดั วาง สังคมเดินทางสวนกระแสกับแนวโน้มของวงการ ศิลปะไทยในขณะนัน้ เพราะไม่เน้นแต่เรือ่ งการ ทำ�โครงการถาวรหรือยึดศิลปินเป็นหลักอย่าง เดียว ตรงกันข้าม งานทีจ่ ดั ขึน้ มักเชิญคนทีไ่ ม่ใช่ ศิลปินมามีสว่ นร่วมอยูเ่ สมอ เช่น การเชิญหมอ ให้มาฉีดวัคซีนสำ�หรับ ‘ป้องกันการเป็นศิลปิน เส็งเคร็ง’ การให้สาธารณชนขึน้ ไปปราศรัย บนแท่นในหัวข้อ ‘สิบนาทีจากใจฉัน’ หรือแม้ กระทัง่ จัดกิจกรรมทีไ่ ม่ใช่ศลิ ปะแท้ๆ เช่น การ บริจาคต้นไม้ให้แก่วดั ด้วย เพราะศิลปินเห็นว่า ประเพณีดงั กล่าวกำ�ลังเลือนหายไป อย่างไร ก็ตาม หนึง่ ผลลัพธ์ของโครงการทีส่ ง่ ผลยืนยาว
02
03 OPTIMISE | JULY 2016
33
STATE OF THE ARTS
04 Thailand Foundation
ก็คอื การก่อตัง้ เว็บไซต์ ‘มหาวิทยาลัยเทีย่ งคืน’ (midnightuniv.org) ในปี 2538 ตามเจตจำ�นง ของศิลปินกลุม่ นีท้ ต่ี อ้ งการให้ความสำ�คัญกับ การแลกเปลีย่ นทางความคิดมากกว่าเพียง การแสดงเทคนิคศิลปะ ก่อนเฟสบุค๊ จะรุง่ เรือง มหาวิทยาลัยเทีย่ งคืนนีเ่ องทำ�หน้าทีเ่ ป็นแหล่ง แลกเปลีย่ นทางความคิดอันคึกคัก โดยไม่จ�ำ กัด วงแต่เฉพาะผูท้ เ่ี ข้าเรียนในมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ในปี 2541 ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช ศิลปินผูไ้ ด้ตระเวนแสดงงานศิลปะทัว่ โลก มาตัง้ แต่ปลายยุค 90s และคามิน เลิศชัยประเสริฐ ได้รว่ มกันก่อตัง้ ‘มูลนิธทิ น่ี า’ (The Land Foundation) บนพืน้ ทีร่ าวๆ 2 ทุง่ นาใน หมูบ่ า้ นสันป่าตอง ซึง่ ได้กลายเป็นแหล่งฝึกการ ใช้ชวี ติ อย่างยัง่ ยืนตามทฤษฎีพทุ ธการเกษตร ของ ฉลวย แก้วคง และเป็นทีร่ จู้ กั ในระดับสากล โดย ณ สถานทีแ่ ห่งนี้ ศิลปินและผูเ้ ชีย่ วชาญจะ จับมือกับนักเรียนและชาวบ้านเพือ่ ทำ�โครงการ ต่างๆ เช่น การผลิตก๊าซธรรมชาติและไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการการเกษตรที่ อิงหลักการใช้ชวี ติ แบบร่วมกัน ฯลฯ โดยมุง่ หวัง สร้างความงอกงามจากกระบวนการเรียนรูม้ าก กว่าตัวผลผลิตหรือแม้กระทัง่ งานศิลปะใดๆ “ผมเริม่ ทำ�โครงการมูลนิธทิ น่ี ากับเพือ่ นๆ เพราะพวกเราอยากจะมีสถานทีพ่ บปะและ
08
09
04 พื ้ น ที ่ ศ ิ ล ปะ Gallery Seescape
07
05 งานศิ ล ปะของนาวิ น ลาวั ล ย์ ช ั ย กุ ล 06 เอริ ก บู ธ ผู ้ ร ่ ว มก่ อ ร่ า ง สร้ า ง ‘พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ์ ศ ิ ล ปะร่ ว ม สมั ย ใหม่ เ อี ่ ย ม’ 07 ต่ อ ลาภแห่ ง Gallery Seescape 08 นาของมู ล นิ ธ ิ ท ี ่ น าเปิ ด โอกาสให้ ศ ิ ล ปิ น ได้ ล งมาใช้ ชี ว ิ ต เรี ย บง่ า ยในชนบทของ เชี ย งใหม่ 09 พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ์ ศ ิ ล ปะร่ ว มสมั ย ใหม่ เ อี ่ ย ม 10 ไลลา พิ ม านรั ต น์ แ ห่ ง Lyla Gallery
34
OPTIMISE | JULY 2016
05 06
ระดมความคิดกันได้ หรือไม่กใ็ ช้เวลาอยูก่ บั ความ คิดตัวเองตามลำ�พัง เราหวังแค่วา่ พอมาแล้ว คุณจะรูจ้ กั ตัวเองดีขน้ึ ค้นพบว่าตัวเองอยากทำ� อะไรกับชีวติ และเดินออกไปพร้อมกับความคิดที่ งอกงามกว่าเมือ่ ตอนเข้ามา” ฤกษ์ฤทธิ์ กล่าว บุคคลมีชอ่ื เสียงจำ�นวนไม่นอ้ ยจากแวดวง ศิลปะนานาชาติได้เคยมาใช้เวลาอยูท่ น่ี ่ี โดยผู้ มาเยือนจะได้ฝกึ นัง่ วิปสั สนา ซึง่ ถือเป็นหนึง่ ใน หัวใจสำ�คัญ 5 ประการของโครงการ นอกเหนือ จากเรือ่ งทีน่ า การเกษตร กิจกรรมทางสังคม และการใช้ชวี ติ แบบยัง่ ยืน ด้วยเหตุน้ี ท่ามกลาง สภาวะทางเศรษฐกิจทีไ่ ม่หยุดนิง่ และการขยาย ตัวของการท่องเทีย่ ว มูลนิธทิ น่ี าถือเป็นช่องทาง หลีกเร้นจากชีวติ ประจำ�วันอันเร่งรีบบีบคัน้ ได้ เป็นอย่างดี ซึง่ คามินย�ำ้ ว่าสิง่ สำ�คัญกว่า รายละเอียดของกิจกรรมในโครงการก็คอื โอกาส ในการพูดคุยและแลกเปลีย่ นทางความคิด ความจริงแล้ว คามินก็มสี ถาบันในลักษณะ เช่นนีเ้ ป็นของตัวเองเช่นกัน ‘พิพธิ ภัณฑ์ จิตวิญญาณร่วมสมัยแห่งศตวรรษที่ 31’ ของ เขาประกอบขึน้ จากตูค้ อนเทนเนอร์หลายๆ ตู้ ซึง่ แต่ละตูจ้ ะบรรจุเนือ้ หาแตกต่างกันไป แต่จดุ ประสงค์ส�ำ คัญคือเมือ่ เข้าไปดูแล้ว ผูม้ าเยือน จะสามารถตระหนักถึงคุณค่าภายในมากกว่า
สิ่งหนึ่งที่ไม่น่าจะเปลี่ยน ไปง่ายๆ ก็คือความนอก กรอบของศิลปินที่นี่ ศิลปะมาตัง้ แต่ยคุ 80s ทัง้ คูเ่ องจึงปรากฎใน ผลงานหลายชิน้ ของนาวิน ไม่วา่ จะเป็นในภาพ สไตล์โปสเตอร์หนังไทยทีว่ าดลงบนรถโฟล์ค เต่า หรือในฉากมโหฬารทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจ จากภาพวาด The Last Supper ซึง่ เต็มไปด้วย บุคคลสำ�คัญในวงการศิลปะร่วมสมัยไทย “ใหม่เอีย่ มสร้างแค่ 15 เดือนหลังจากทีผ่ ม ซือ้ ทีด่ นิ มา เพราะอยากรีบสร้างหอศิลป์ดๆี มา จัดแสดงงานศิลปะในเชียงใหม่” เอริก บูธ กล่าว ใหม่เอีย่ มจะเปิดตัวด้วยงานย้อนรำ�ลึกอดีต 10 ของอภิชาติพงศ์ และในอนาคตอันใกล้น้ี จะ จัดงานนิทรรศการเดีย่ วของศิลปินร่วมสมัย ภายนอก โดยทัง้ หมดนีต้ ง้ั อยูใ่ นเขตชนบทอัน หลักๆ ของไทย การเน้นศิลปินเชียงใหม่ของ บริสทุ ธิ์ ซึง่ เอือ้ แก่การใคร่ครวญถึงแก่นสารชีวติ ท่ามกลางเวลาทีเ่ คลือ่ นคล้อยไป แต่ตอนนีเ้ ขา พิพธิ ภัณฑ์สะท้อนให้เห็นการแสดงความเคารพ ต่อประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะของพืน้ ที่ และในขณะ ได้ยา้ ยพิพธิ ภัณฑ์จากทีเ่ ดิมไปอยูท่ ส่ี นั ป่าตอง เดียวกันก็อาจทำ�ให้ศลิ ปินในพืน้ ทีเ่ ปลีย่ นมา ห่างจากมูลนิธทิ น่ี าเพียงไม่ถงึ 5 นาที และ เตรียมลงนิทรรศการใหม่ทค่ี าดว่าจะแล้วเสร็จใน พยายามมากขึน้ ทีจ่ ะทำ�งานอันจับต้องได้ เก็บ ในพิพธิ ภัณฑ์ได้ มากกว่าจะเป็นงานศิลปะแบบ เดือนกุมภาพันธ์ปี 2560 ชัว่ คราวอย่างทีผ่ า่ นๆ มา กระนัน้ สิง่ หนึง่ ทีไ่ ม่ น่าจะเปลีย่ นไปง่ายๆ ก็คอื ความนอกกรอบของ พืน้ ทีแ่ ห่งใหม่ อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากศิลปะในแบบ ศิลปินทีน่ ่ี เช่น ในปี 2558 นาวินได้จดั งาน A Tale of เปิดกว้าง มีสว่ นร่วม และเพียงชัว่ ครัง้ ชัว่ คราว Two Homes of Navin เพือ่ เฉลิมฉลองช่วงเวลา แล้ว เชียงใหม่กก็ �ำ ลังจะมีสถานศิลป์ในแบบ ถาวร คือ ‘พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะร่วมสมัยใหม่เอีย่ ม’ 20 ปีแห่งการเป็นศิลปิน โดยจัดแสดงในบริเวณ บ้านเก่าของเขากลางชุมชนตลาดวโรรสและที่ ซึง่ มีก�ำ หนดเปิดตัวในวันที่ 3 กรกฎาคม สตูดโิ อสร้างใหม่ทอ่ี ยูห่ า่ งออกไป ด้วยเหตุน้ี ผูม้ า พิพธิ ภัณฑ์แห่งนีต้ ง้ั ใจดัดแปลงมาจากคลัง สินค้าเก่าเพือ่ ให้ดรู าบเรียบไม่แข่งกับงานศิลปะ เยือนจึงมีโอกาสชมผลงานภาพวาดและศิลปะ วัตถุของนาวิน ทัง้ ในบรรยากาศอันเต็มไปด้วย ภายใน โดยจะจัดแสดงคอลเลกชันงานศิลปะ สิง่ ละอันพันละน้อยของบ้านเก่าและบรรยากาศ ร่วมสมัยไทยของเอริก บูธ ผูจ้ ดั การอาวุโสของ บริษทั ผ้าไหมไทย จิมส์ ทอมป์สนั ตลอดจนของ โอ่อา่ กว้างขวางของสตูดโิ อ สิง่ เหล่านีท้ �ำ ให้ผชู้ ม ได้สนุกไปกับการแยกแยะผลงานและชีวติ จริง แม่และพ่อเลีย้ งของเขา (พัฒศรี บุนนาค และ ของศิลปินซึง่ ถูก ‘เบลอ’ เข้าด้วยกันอย่างน่าสนใจ ฌอง มิเชล เบอร์เดอเร) ภายในพืน้ ทีจ่ ดั แสดง นิทรรศการประกอบด้วยผลงานสำ�คัญในช่วงยุค แรกๆ ของอารยาและนาวินปะปนไปกับศิลปิน ศิลปะทีก่ ว้างไกลกว่าศิลปิน ต่อลาภ ลาภเจริญสุข บันฑิตสาขาวิจติ รอืน่ ๆ และเนือ่ งจากพัดศรีและฌองสะสมงาน ศิลป์จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เจ้าของผมทรง OPTIMISE | JULY 2016
35
STATE OF THE ARTS Essentials
11
พิพธิ ภัณฑ์ จิตวิญญาณร่วมสมัย แห่งศตวรรษ 31 หมูบ่ า้ นหนองไหว ต.นา้ํ บ่อหลวง สันป่าตอง เชียงใหม่ www.31century.org
พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะ ร่วมสมัยใหม่เอีย่ ม
122 หมู่ 7 ต.ต้นเปา สันกำ�แพง เชียงใหม่ www.maiiam.com
มูลนิธทิ น่ี า 12
เดรดล็อก เป็นอีกหนึง่ ในบรรดาคนหนุม่ สาวทีม่ าลง หลักปักฐานทีเ่ ชียงใหม่ โดยเขาดำ�เนินกิจการ Gallery Seescape อยูห่ ลายปีกอ่ นจะหันมาทำ� Hern Gallery ซึง่ มุง่ เจาะตลาดสากล โดยใช้ความเข้าใจชุมชนศิลปะ เชียงใหม่ทแ่ี น่นแฟ้นเป็นฐาน “เชียงใหม่มสี ว่ นผสมทีล่ งตัวระหว่างภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ กับศิลปะร่วมสมัย ความแปลกของเชียงใหม่ เกิดขึน้ เพราะคนทีน่ แ่ี บ่งปันความคิดและทำ�งานร่วม กันได้ โดยมีสถานทีจ่ ดั แสดงงานศิลปะ ชุมชนคนรัก ศิลปะหลากหลายคอยสนับสนุน” ต่อลาภกล่าว กิตกิ อ้ ง ติลกวัฒโนทัย อดีตนักเรียนนอกจาก ออสเตรเลีย ริเริม่ โครงการทีช่ อ่ื ว่า CAP Studio (Chiang Mai Art on Paper) ซึง่ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นทัง้ เวิรก์ ช็อป แกลเลอรี่ และพืน้ ทีข่ าย ทัง้ นี้ ด้วยความทีส่ ตูดโิ อได้สะสมผล งานภาพพิมพ์ของศิลปินไว้ขายเป็นจำ�นวนมาก ทีน่ จ่ี งึ มี ทัง้ งานแบบเก่าและแบบล�ำ้ หน้าวางอยูค่ เู่ คียงกัน ภาพ กราฟฟิตด้ี เุ ดือดตัง้ ประชันกับภาพวัดชนบทในอาทิตย์ อัสดงมลังเมลืองหรือไม่กภ็ าพช้างหน้าตาบ้องแบ๊ว ซึง่ ช่วยให้เราเห็นภาพเส้นทางของประวัตศิ าสตร์ ความเชือ่ และวัฒนธรรมร่วมสมัยของเชียงใหม่ทม่ี าตัดกันได้ดยี ง่ิ Lyla Gallery ยังคงจัดนิทรรศการอย่างต่อเนือ่ ง 36
OPTIMISE | JULY 2016
13
โดยเฉพาะสำ�หรับศิลปินล�ำ้ หน้าทัง้ จากกรุงเทพฯ และ เชียงใหม่ เช่น อริญชย์ รุง่ แจ้ง ตัวแทนของไทยในงาน Venice Biennale 2013 หรือปิยรัศม์ ปิยะพงศ์ววิ ฒ ั น์ ศิลปินทีเ่ ปิดเผยว่าตนมีรสนิยมรักร่วมเพศ และสร้าง ป้ายไฟนีออนหลากหลาย ทีบ่ รรจุขอ้ ความเรียบๆ แต่ กลับแรงไปเองด้วยบรรยากาศการเมืองอึมครึมใน ปัจจุบนั (เช่น ‘Hope for the better future’) นอกจากนีแ้ ล้วก็ยงั มี Thapae East ชุมชนศิลปะ ทีล่ า่ สุดเปิดตัวขึน้ ในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมหน้าตาทันสมัย โดยเป็นแหล่งแสดงออกของศิลปะแขนงต่างๆ เช่นการ เล่นดนตรี อ่านบทกวี หรือทัศนศิลป์ สถานทีเ่ หล่านีเ้ ป็นสิง่ บ่งชีว้ า่ ในขณะทีเ่ ชียงใหม่ อาจเติบโตมาในจังหวะและรูปแบบทีเ่ ป็นตัวของตัวเอง อย่างยิง่ แต่สดุ ท้าย พัฒนาการนัน้ ย่อมนำ�เชียงใหม่ มาอยูใ่ นจุดทีค่ ล้ายกับเมืองหลวงอย่างกรุงเทพฯ มาก ขึน้ คือจุดทีศ่ ลิ ปะก้าวลงจากหอคอยงาช้างของศิลปิน เพือ่ มาพบกับตลาดของสามัญชน ซึง่ แม้จะใช้เวลา นาน แต่กน็ บั ว่าเชียงใหม่ในปัจจุบนั ไม่เพียงเป็นเมือง ในอุดมคติของศิลปินเท่านัน้ แต่ยงั เป็นเมืองในอุดมคติ สำ�หรับคนอย่างเราๆ ทีห่ วังจะชืน่ ชมผลงานของศิลปิน เหล่านีอ้ กี ด้วย
48 หมู่ 1 ต.บ้านแม สันป่าตอง เชียงใหม่ โทร. 083-941-9033 www.thelandfoundation.org
CAP Studio 368/13 ซอยนิมมานเหมินทร์ 17 ถนนนิมมานเหมินทร์ เชียงใหม่ โทร. 087-810-8860 www.chiangmaiartonpaper. com Gallery Seescape 22/1 ซอยนิมมานเหมินทร์ 17 ถนนนิมมานเหมินทร์ เชียงใหม่ โทร. 093-831-9394 www.fb.com/ galleryseescape Hern Gallery 1/3 ถนนป่าแดด ต.ช้างคลาน เชียงใหม่ โทร. 088-268-3893 www.fb.com/herngallery Lyla Gallery 234 ถนนท่าแพ เชียงใหม่ โทร. 084-388-1488 www.lylagallery.com
ความสำเร็จทางการเงินของคุณ คือความสำคัญอันดับแรกของเรา
PRIORITY บริการพิเศษทางการเงินสำหรับลูกคาที่มียอดเงินฝาก และการลงทุน 10 ลานบาทขึ้นไป มุงใหคำปรึกษาโดยใสใจทุกความตองการ เพื่อความสำเร็จทางการเงินขั้นสูงสุด
11 Lyla Gallery 12 กิ ต ิ ก ้ อ งแห่ ง CAP Studio 13 Thapae East ชุ ม ชนคน ศิ ล ปะล่ า สุ ด ของเชี ย งใหม่
OPTIMISE | JULY 2016
37
SERVING YOU
กองทุน Phatra Smart Minimum Volatility
ทางเลือกใหม่ในการลดความเสี่ยง อย่างชาญฉลาด กองทุนหุน้ ไทยแห่งแรกทีม่ กี ลยุทธ์การลดความผันผวนของผลตอบแทนจากกองทุนโดย รวมและเน้นโอกาสรับผลตอบแทนจากการลงทุนทีค่ วามผันผวนของการลงทุนโดยรวม อยูใ่ นระดับต่ำ�ตามความผันผวนทีค่ าด (expected volatility) ท่ามกลางความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจ โลก ส่งผลให้ความผันผวนและความเสีย่ งของการ ลงทุนมีมากขึน้ นักลงทุนต้องใช้ความระมัดระวัง ในการลงทุน เพือ่ ให้เงินทีล่ งทุนไปเติบโตอย่างต่อ เนือ่ งในระยะยาว แต่เนือ่ งจากหุน้ เป็นสินทรัพย์ทม่ี ี ความผันผวนค่อนข้างมาก การลงทุนในตลาดหุน้ จึงทำ�ได้ยาก การควบคุมความเสีย่ งของพอร์ตการ ลงทุนจึงเป็นเรือ่ งสำ�คัญ กองทุน Phatra Smart Minimum Volatility เป็นกองทุนทีล่ งทุนในหุน้ ไทย ทีม่ งุ่ ลดความผันผวนของผลตอบแทนของกอง ทุนโดยรวม เพือ่ ให้กลุม่ หลักทรัพย์ทก่ี องทุนลงทุน มีความเสีย่ งในความผันผวนทีน่ อ้ ยลงและอยูใ่ น ระดับต�ำ่ ทีส่ ดุ ของความผันผวนทีค่ าด ซึง่ กองทุนนี้ ถือว่าเป็นกองทุนรวมแรกของไทยทีใ่ ช้กลยุทธ์การ ลดความผันผวนของผลตอบแทนโดยรวมให้อยูใ่ น ระดับต�ำ่ ในการเข้าลงทุนตลาดหุน้ ไทย
กองทุน Phatra Smart Minimum Volatility คือ อะไร
กองทุนนีเ้ ป็นกองทุนประเภทตราสารแห่งทุน
38
OPTIMISE | JULY 2016
ซึง่ มีนโยบายลงทุนในตราสารทุนโดยเฉลีย่ ในรอบ ปีบญ ั ชีไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของมูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิของกองทุนรวม โดยกองทุนจะพิจารณาคัด เลือกหลักทรัพย์เพือ่ ลดความเสีย่ งและ/หรือลด ความผันผวนของการลงทุนโดยรวมของกองทุน ภายใต้แนวคิดการสร้างกลุม่ หลักทรัพย์ทก่ี องทุน ลงทุน (Portfolio ของกองทุน) โดยมีเป้าหมายให้ ความผันผวนทีค่ าดของ Portfolio อยูใ่ นระดับต�ำ่ ทีส่ ดุ ซึง่ การคาดการณ์ความผันผวนอยูภ่ ายใต้ เงือ่ นไขทีก่ �ำ หนดและมีการพิจารณาถึงปัจจัยที่ เกีย่ วข้องกับการลงทุนในขณะทีส่ ร้าง Portfolio เช่น การกระจายการลงทุน สภาพคล่องของหลักทรัพย์ รายตัว อัตราการเติบโตของรายได้หรือกำ�ไรของ บริษทั อัตราส่วนความสามารถในการชำ�ระหนี้ ต้นทุนในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ เป็นต้น กองทุนนีเ้ ป็นการทำ�งานร่วมกันระหว่าง บลจ. ภัทร และ บล. ภัทร ในฐานะทีป่ รึกษาการลงทุน ของกองทุนรวม ผูเ้ ชีย่ วชาญกลยุทธ์บริหารความ เสีย่ งในการลงทุน ผ่านการคิดค้นพัฒนาจาก Investment Lab ของบล. ภัทร พร้อมทีมงานที่
มีประสบการณ์ตรงในตลาดหุน้ ทัง้ ในและต่าง ประเทศมาอย่างยาวนาน ได้น�ำ องค์ความรูท้ ม่ี อี ยู่ มาเชือ่ มต่อเพือ่ ให้ได้กองทุนรวมทีต่ อบสนองความ ต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี กองทุนรวมนีจ้ งึ ถือได้วา่ เป็นกองทุนรวมทีไ่ ด้รบั การบริหารจัดการ โดยผูจ้ ดั การกองทุนมืออาชีพ และทีป่ รึกษาการ ลงทุนทีม่ คี วามรู้ มีประสบการณ์ในกลยุทธ์นน้ั ๆ และมีความเข้าใจพืน้ ฐานของกองทุนรวมแต่ละ ประเภทและความต้องการของผูล้ งทุน กองทุน Phatra Smart Minimum Volatility เป็นกองทุนทีน่ �ำ เอากลยุทธ์การลงทุนแบบ Smart Beta ทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างสูงในตลาดโลกเข้า มาปรับใช้ โดยเป็นการผสมผสานกลยุทธ์การ ลงทุนเชิงรุกและกลยุทธ์การลงทุนเชิงรับเข้ามาไว้ ด้วยกัน มุง่ เน้นผลตอบแทนต่อความเสีย่ งสูงกว่า ตลาดหุน้ และเป็นการนำ�ข้อดีของการลงทุนเชิงรับ ในด้านการลงทุนทีเ่ ป็นระบบ ช่วยลดต้นทุนและ ลดความผิดพลาดทีอ่ าจเกิดจากการตัดสินใจของผู้ จัดการกองทุน มาผนวกรวมกับข้อดีของการลงทุน เชิงรุกทีม่ งุ่ เน้นการสร้างผลตอบแทนทีส่ งู กว่าดัชนี
ชีว้ ดั ทีค่ �ำ นวณโดยใช้มลู ค่าตลาด เป็นการลงทุนทีม่ ี Portfolio with lower risk provides better risk-adjusted ่ ต้นทุนน้อย ความเสีย่ งต�ำ แต่สามารถให้ผลตอบแทน return than portfolio with higher risk ต่อความเสีย่ งสูง ซึง่ จุดเด่นของ Minimum Volatility ประกอบไปด้วย 1. การลงทุนทีม่ โี อกาสสร้างผลตอบแทนทีป่ รับ ด้วยความเสีย่ ง (risk-adjusted returns) ดีกว่าตลาด 2. มุง่ เน้นและให้ความสำ�คัญกับการบริหารความ เสีย่ งของกองทุน เช่น กระจายการลงทุน สภาพคล่อง ของหลักทรัพย์รายตัว อัตราการเติบโตของรายได้หรือ กำ�ไรของบริษทั อัตราส่วนความสามารถในการชำ�ระ หนี้ ต้นทุนในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ เป็นต้น ซึง่ อาจมี การปรับเปลีย่ นกลยุทธ์นใ้ี นอนาคต กองทุนทีม่ รี ปู แบบการลงทุนประเภท Smart Beta นีไ้ ด้รบั ความนิยมอย่างสูง โดยในปีทผ่ี า่ นมา สัดส่วน ของการลงทุนในกองทุนประเภท Smart Beta ขยาย ตัวขึน้ อย่างรวดเร็ว จากปี 2014 ทีน่ กั ลงทุนลงทุนใน รูปแบบกลยุทธ์นเ้ี ท่ากับ 11% ของการลงทุนของ กองทุนประเภท ETFs และปรับสูงขึน้ เป็น 37% ในปี Source: บล. ภัทร จำ�กัด (มหาชน) 2015 จากกองทุนประเภท Smart Beta กลยุทธ์แบบ Minimum Volatility มีความน่าสนใจในด้านความ ผันผวนทีน่ อ้ ยกว่าตลาด รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยในการลงทุน การลงทุนในกองทุนประเภท Smart Beta เติบโตอย่างรวดเร็ว ทีไ่ ม่สงู นักเมือ่ เทียบกับการลงทุนหุน้ ในรูปแบบต่างๆ รายละเอียดปรากฏตามรูป
กองทุนนีเ้ หมาะกับใคร
กองทุนนีเ้ ป็นกองทุนทีเ่ หมาะกับนักลงทุนทีต่ อ้ งการ ลงทุนระยะยาวในหุน้ ไทยและมีวตั ถุประสงค์หลัก ว่าการลงทุนในส่วนนีเ้ น้นทีค่ วามผันผวนไม่สงู เท่ากับ การลงทุนหุน้ รายตัว และผูล้ งทุนทีใ่ ห้ความสำ�คัญ กับการบริหารความผันผวนในช่วงตลาดขาลง โดย ไม่ได้คาดหวังผลตอบแทนสูงเท่ากับหรือชนะดัชนี ตลาดหลักทรัพย์ และผูล้ งทุนทีม่ คี วามเข้าใจในกลยุทธ์ และยอมรับว่าในตลาดขาขึน้ กองทุนนีจ้ ะปรับตัวขึน้ ไม่สงู เท่ากับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ เนือ่ งจากเป้าหมาย Source: Invesco, Bloomberg L.P. (as of June 30, 2015) หลักของกลยุทธ์การลงทุนของกองทุนนีค้ อื การลด ความผันผวนของผลตอบแทนของกองทุนโดยรวม กองทุน Phatra Smart Minimum Volatility สามารถทำ�การซื้อขายกองทุนได้ทุกวัน ผู้สนใจ สามารถสอบถามข้อมูลกองทุนผ่านทางโทรศัพท์ 02-305-9800 หรืออีเมลที่ customerservice@ phatraasset.com
การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาและทำ�ความเข้าใจข้อมูลสำ�คัญเกี่ยวกับกองทุนรวมถึงนโยบายการ ลงทุน รูปแบบการลงทุน ผลตอบแทน และความเสี่ยง โดยขอข้อมูลดังกล่าวจากบุคคลที่ขายหน่วยลงทุนท่าน ก่อนการตัดสินใจลงทุน •การลงทุนในหน่วยลงทุนมิใช่การฝากเงิน และมีความเสี่ยงของการลงทุน รวมทั้งไม่ อยู่ภายใต้ความคุ้มครองของสถาบันคุ้มครองเงินฝาก จึงมีความเสี่ยงจากการลงทุนซึ่งผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับเงิน ลงทุนคืนเต็มจำ�นวน ผู้ลงทุนควรลงทุนในกองทุนรวมดังกล่าวเมื่อเห็นว่าการลงทุนในกองทุนรวมเหมาะสม กับวัตถุประสงค์การลงทุนของตนและผู้ลงทุนยอมรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการลงทุนดังกล่าวได้ และผู้ลงทุนควรพิจารณาความเหมาะสมของการลงทุน โดยคำ�นึงถึงประสบการณ์การลงทุน วัตถุประสงค์ และฐานะการเงินของผู้ลงทุนเอง OPTIMISE | JULY 2016
39
SERVING YOU
ปกติธนาคารจะเปิดกลางวัน ในขณะทีท่ องหล่อจะ alive ในเวลากลางคืน เราเลย คิดจะทำ�ยังไงให้ทองหล่อ alive กลางวันได้ดว้ ย สาขานีจ้ งึ ออกมาในรูปแบบ ของบูตกิ เลานจ์หรือคาเฟที่ เกียรตินาคินภัทรปฏิวตั ยิ า่ นทองหล่อ เปิด Financial Hub เปิดกลางวัน แต่มรี ปู ลักษณ์ ครบวงจร และให้อารมณ์สนุกเหมือน กลางคืน
Breaking the Rules 40
OPTIMISE | JULY 2016
แต่ไหนแต่ไรธนาคารมักถูกถือเป็นตัวแทน ของอนุรกั ษ์นยิ มและการยึดติดกับแบบแผน แต่ในยุคสมัยทีผ่ คู้ นเพลิดเพลินกับการเลือกกิน เลือกใช้ และรุม่ รวยด้วยรสนิยมอย่างในปัจจุบนั คำ�ถามมีอยูว่ า่ นอกเหนือจากบทบาทของผูใ้ ห้ บริการด้านการเงินอันเป็นความจำ�เป็นพืน้ ฐาน แล้ว ธนาคารยังสามารถหยิบยืน่ ประสบการณ์ ชวนพึงพอใจอืน่ ๆ ให้กบั ลูกค้า และชุมชนที่ ธนาคารตัง้ อยูไ่ ด้หรือไม่ คำ�ถามนีเ้ องทีน่ �ำ ไปสูก่ ารปฏิวตั โิ ฉมธนาคาร เกียรตินาคิน ในย่านทีข่ น้ึ ชือ่ ว่าเป็น ‘หัวใจ’ ของ ธุรกิจไลฟ์สไตล์และแหล่งบันเทิงชัน้ นำ�ของ กรุงเทพฯ อย่างทองหล่อ โดยทีส่ าขานี้ เกียรตินาคินภัทรได้เปลีย่ นอาคารพาณิชย์ 3 ชัน้ แบบเดิมมาเป็น Financial Hub รูปลักษณ์ สะดุดตา ทีภ่ ายในประกอบไปด้วยบริการทุก อย่างจาก บล.ภัทร และธนาคารเกียรตินาคิน ไม่วา่ จะเป็นบริการ PRIORITY สำ�หรับลูกค้า เงินฝากรายใหญ่ Phatra Wealth Management บริการทีป่ รึกษาทางการลงทุนส่วนบุคคล และ Phatra Edge บริการวางแผนการลงทุนสำ�หรับ ลูกค้าทีม่ เี งินลงทุน 2 ล้านบาทขึน้ ไป ชารีฟ ลอนา ผูอ้ �ำ นวยการ Studio Act of Kindness ผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังร้านไลฟ์สไตล์โดดเด่น อย่าง Track 17 และ Organika House ซึง่ รับ หน้าทีเ่ ป็นผูแ้ ปลงโฉมสาขาทองหล่อ บอกเล่า ถึงแนวคิดการออกแบบไว้วา่ “ปกติธนาคารจะ เปิดกลางวัน ในขณะทีท่ องหล่อจะมีชวี ติ หรือ alive ในเวลากลางคืน เราเลยคิดจะทำ�ยังไงให้ ทองหล่อ alive กลางวันได้ดว้ ย สาขานีจ้ งึ ออกมา ในรูปแบบของบูตกิ เลานจ์หรือคาเฟทีเ่ ปิดกลาง วัน แต่มรี ปู ลักษณ์และให้อารมณ์สนุกเหมือน กลางคืน” เพราะโจทย์การออกแบบทีเ่ ล่นกับย่านโดย รอบอาคารนีเ่ อง ความเป็นอิฐและเหล็กแบบ อินดัสเทรียลทีเ่ ป็นภาพติดตาของคนทัว่ ไปเกีย่ ว กับทองหล่อจึงถูกดึงมาใช้กบั ไฟแนนเชียล ฮับ แห่งนีอ้ ย่างเต็มที่ เริม่ ตัง้ แต่การกรุภายนอก อาคารด้วยแผ่นทองแดงตีมอื ชิน้ ย่อมจำ�นวนนับ ไม่ถว้ น เพือ่ ให้ลอ้ แสงแดดตลอดวันตาม คอนเซ็ปต์การฉีดชีวติ ให้กบั ทองหล่อในเวลา กลางวัน อีกทัง้ สือ่ ถึงสีและรูปทรงของอิฐได้อย่าง
แปลกใหม่ เมือ่ เข้าไปภายใน อิฐเปลือยและ เหล็กแผ่นดัดหลากหลายทรวดทรงรับช่วงต่อใน การสร้างบรรยากาศ ‘คูล’ ให้กบั การทำ�ธุรกรรม และในขณะเดียวกันก็มคี วามนัยแยบยลถึงการ ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในยุโรปทีเ่ ปลีย่ นโฉมหน้าการ เงินโลก ตลอดจนความมุง่ มัน่ ของธนาคารในการ ร่วมสร้างธุรกิจกับลูกค้าตัง้ แต่ฐานราก อย่างไรก็ตาม ดีไซน์ไม่ใช่สิ่งเดียวที่ ไฟแนนเชียล ฮับ แห่งนีม้ ใี ห้แก่ลกู ค้า ตรงกันข้าม ชารีฟบอกว่าการแปลงโฉมครัง้ นีถ้ กู ตัง้ ใจให้ เป็นการยิงปืนนัดเดียว แต่ได้นก 3 ตัว “หนึง่ มันทำ�ให้ลกู ค้าได้มพี น้ื ทีท่ เ่ี หมาะสมสำ�หรับเจรจา ธุรกิจหรือปรึกษาการลงทุน สอง มันช่วยให้ลกู ค้า มีธนาคารทีม่ บี ริการครอบคลุมและตอบโจทย์ใน
ระดับของไลฟ์สไตล์ให้เลือกใช้ และสุดท้าย พืน้ ทีม่ นั เปิดเชือ่ มต่อกันหมด ทุกคนเห็นกันหมด นักธุรกิจใหม่ๆ ทีป่ ระชุมอยูด่ า้ นบน อาจจะ ทำ�ให้คนทีเ่ ข้ามาใช้บริการธนาคารเริม่ อยากทำ� ธุรกิจหรือลงทุนก็ได้ เป็นบรรยากาศของการ สร้างแรงบันดาลใจแบบไม่ตอ้ งพูดออกมา” นับเป็นการตอกย�ำ้ ความเป็นมืออาชีพของ เกียรตินาคินภัทร ทีพ่ ร้อมเปลีย่ นเพือ่ ให้บริการที่ เหนือกว่าในทุกจังหวะธุรกิจยุคใหม่ทต่ี อ้ งปรับตัว ให้พร้อมกับความเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ไฟแนนเชียล ฮับ สาขาทองหล่อ ตัง้ อยูท่ ่ี ซอยทองหล่อ 15 (J Avenue) เปิดให้บริการ วันจันทร์-วันเสาร์ เวลา 9:00-18:00 น.
OPTIMISE | JULY 2016
41
CLIENT VALUES การสืบทอดกิจการไม่ใช่เรื่องง่าย แต่เมื่อ ใดที่ประสบการณ์ของคนรุ่นก่อนสามารถ บรรจบกับความรักและความรู้ในธุรกิจของคน รุ่นใหม่ กิจการย่อมก้าวได้ไกลและมั่นคงกว่า ที่เคย พบกับเส้นทางธุรกิจของแบรนด์เครื่อง หนังหรูเจ้าแรกของไทยจากการบุกเบิกของ ณรงค์ ไพรัชเวทย์ ที่กำ�ลังเข้าสู่ช่วงเปลี่ยนผ่าน ถึงนันท์ชนก ไพรัชเวทย์ ทายาทธุรกิจรุ่นที่ 2 ผู้มีหน้าที่สืบสานและสร้างแบรนด์ต่อในโลกที่ กำ�ลังเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว
จากบัณฑิตเภสัชสูพ ่ อ่ ค้ารองเท้า
ณรงค์: ตอนเรียนมหาวิทยาลัย ผมเรียน เภสัชฯ ทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย จริงๆ แล้ว ต้องเรียน 5 ปี แต่พอ่ ซึง่ เป็นช่างทำ�รองเท้าและ เจ้าของกิจการร้านรองเท้าก็บอกให้ออกมาช่วย ทำ�ธุรกิจ ผมก็ไปปรึกษาอาจารย์ทป่ี รึกษา แกบอก “บ้าหรือเปล่า เรียนมาตัง้ ปี 3 แล้ว จะให้ออกได้ยงั ไง” ก็เลยตัดสินใจเรียนต่อควบคู่ ไปกับเรียนรูธ้ รุ กิจช่วยคุณพ่อไปด้วย เพราะสมัย 50-60 ปีทแ่ี ล้วทีค่ ณ ุ พ่อทำ�รองเท้า ทุกคูต่ อ้ งทำ� มือหมดทุกชิน้ เลยทำ�ได้วนั ละ 1 คู่ เท่านัน้ เอง ลูกค้าของคุณพ่อเป็นลูกค้าไฮเอนด์มากๆ เท่า ทีท่ ราบนายกรัฐมนตรีไทยสมัยนัน้ มาใช้บริการ ทุกคน เช่น จอมพล ป.พิบลู สงคราม
จับช่องว่างของตลาด
One Step Ahead เปิดบ้านไพรัชเวทย์กับธุรกิจสองวัย ของ St. James 42
OPTIMISE | JULY 2016
รองเท้านำ�เข้าจากยุโรปตอนนั้นขายใน ประเทศแพงกว่าที่เมืองนอก 2-3 เท่า และราคาจะแพงกว่ารองเท้าทั่วๆ ไปที่ผลิต ในเมืองไทย 10-20 เท่า ผมก็เลยมีความ คิดว่า แล้วทำ�ไมเราไม่ทำ�อะไรขึ้นมาโดยใช้ วัตถุดิบนำ�เข้าคุณภาพเหมือนของเขาแล้ว ผลิตในเมืองไทย แต่ขายถูกกว่า 5-6 เท่า และทำ�ให้คุณภาพสินค้าเท่าเทียมหรือดีกว่า
ณรงค์: จากทีไ่ ปคลุกคลีชว่ ยทีบ่ า้ นขายของ ผมก็จบั จุดได้หนึง่ อย่างว่าตลาดรองเท้าในเมือง ไทย มีอยู่ 2 แบบเท่านัน้ คือแบบธรรมดาผลิต ในประเทศทัว่ ไป กับอีกอย่างคือแบบนำ�เข้า เลย โดยรองเท้านำ�เข้าจากยุโรปตอนนัน้ ขายใน ประเทศแพงกว่าทีเ่ มืองนอก 2-3 เท่า และราคา จะแพงกว่ารองเท้าทัว่ ๆ ไปทีผ่ ลิตในเมืองไทย 10-20 เท่า ผมก็เลยมีความคิดว่า แล้วทำ�ไมเรา ไม่ท�ำ อะไรขึน้ มาโดยใช้วตั ถุดบิ นำ�เข้าคุณภาพ เหมือนของเขาแล้วผลิตในเมืองไทย แต่ขาย ถูกกว่า 5-6 เท่า และทำ�ให้คณ ุ ภาพสินค้าเท่า เทียมหรือดีกว่า
กลุม่ ลูกค้าทีถ่ กู ต้อง
ณรงค์: เราจับลูกค้าไฮเอนด์ตง้ั แต่แรก เพราะสินค้าเราไม่ได้ขายราคาตลาดอยูแ่ ล้ว
ตอนนัน้ ผมจำ�ได้เลย รองเท้าทัว่ ไปขายในราคา ร้อยกว่าบาท แต่ของผมขายเกือบพันบาท แต่ ในขณะทีเ่ ราขายพันกว่าบาท รองเท้านำ�เข้า ขายคูล่ ะ 3,000-5,000 บาท บางแบรนด์เป็น หมืน่ สำ�คัญคือลูกค้าทีซ่ อ้ื สินค้าประเภทนี้ เขาดูของเป็นอยูแ่ ล้ว เขาจับวัสดุกบั งานฝีมอื เขาก็ดอู อกแล้ว เราก็เลยได้ลกู ค้ามาเรือ่ ยๆ ยุคนัน้ ก็เริม่ เป็นยุคทีม่ กี ารสร้างศูนย์การค้าขึน้ มา เช่น อัมรินทร์พลาซ่า เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ เซ็นทรัล เราก็ไปจับจองทีต่ ามห้างต่างๆ ขยาย ร้านมาเรือ่ ยๆ
แต่สดุ ท้ายมันเป็นจริงตามทีก่ ลัว
บาทเดียวก็ไม่เบีย้ ว
ณรงค์: ตอนนัน้ ยอมรับว่าเราก็มหี นี้ แต่ก็ เป็นหนีใ้ นประเทศปกติ แค่อยูใ่ นสถาบันการเงิน หลายอันทีเ่ ขาล้มแล้ว ยกตัวอย่างได้เลย อย่าง Fin One ตอนนัน้ ล้มแล้วนะ หนีท้ ผ่ี มมีกบั เขา ผมจะไม่จา่ ยก็ได้ เพราะไม่มใี ครมาทวงหนีผ้ ม เขาเจ๊งแล้ว แต่ผมยังคงจ่ายหนีเ้ ขาทุกบาททุก สตางค์ จ่ายมาอยูห่ ลายปีจนกระทัง่ หนีก้ อ้ นนีถ้ กู ซือ้ ไป เพือ่ นผมเป็นคนซือ้ หนีอ้ นั นีม้ า เขายังบอก เลยว่า โอ้โห---คุณเป็นคนเดียวในนัน้ นะทีจ่ า่ ยหนี้ ก้าวย่างอย่างสุขมุ คืนมา ตอนทีเ่ ขาไปซือ้ หนีม้ าจะเจอแต่พวกเข้า ณรงค์: เรือ่ งขยายร้าน ขยายธุรกิจใช้หลัก มาขอลดหนี้ หรือไม่กพ็ วกไม่จา่ ย ส่วนผมไม่รวู้ า่ ว่า เราจะทำ�อะไร เราต้องรูอ้ ยูแ่ ล้วว่า เส้นทางที่ โง่หรือฉลาดแน่ แต่สดุ ท้าย ผมว่ามันเป็นข้อดีถงึ จะไปถูกต้องหรือเปล่า ไม่ใช่ซี้ซั้วทำ�โดยทีไ่ ม่ได้ ตอนนัน้ คนจะดูวา่ โง่ แต่ตอนนีเ้ ครดิตของเรา ศึกษา ธุรกิจทุกอย่างมันต้องมีปญ ั หาอยูแ่ ล้ว แต่ ดีมาก เพราะบาทเดียวก็ไม่เบีย้ วเขา ว่าของผมจะคิดวางแผนแก้ปญ ั หาไว้กอ่ นเลย ไม่ใช่ปบุ๊ ปับ๊ ทำ� อย่างวัตถุดบิ ต้องหาให้ได้กอ่ น ปลูกฝังธุรกิจให้ทายาท นันท์ชนก: อาจจะโชคดีทเ่ี ป็นคนชอบแฟชัน่ ว่าต้องดีเท่าเขา ช่างฝีมอื ต้องสุดยอด โลเคชัน่ ทีจ่ ะขายก็ตอ้ งดี ตอนนัน้ อัมรินทร์พลาซ่า กับ อยูแ่ ล้ว จำ�ได้เลยว่าบ้านเก่าอยูบ่ นชัน้ 6 ของ เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์กด็ ที ส่ี ดุ ไฮเอนด์ทส่ี ดุ แล้ว ออฟฟิศ เวลาเลิกเรียนตัง้ แต่ชน้ั ประถมถึงมัธยม ในสมัยนัน้ ค่อนข้างครบทัง้ product, place, ก็ตอ้ งเดินผ่านออฟฟิศไปแต่ละชัน้ เช่นชัน้ 1 price พอเริม่ ขายก็เลยดีมากๆ คิดดูสิ ลูกค้าซือ้ เป็นแผนก QC ทำ�ให้ได้เห็นการทำ�งานของ ทุกๆ แผนก ได้คลุกคลีกบั ทุกแผนกตัง้ แต่เด็ก ของนอกมาตลอด พอมาเจอของเรา ทำ�ขาย ถึงวัยวุฒจิ ะไม่พร้อม แต่กไ็ ด้รจู้ กั พีๆ่ เรียนรู้ ไม่ทนั เลย ขนาดจะกินข้าวยังไม่คอ่ ยมีเวลา วัฒนธรรมองค์กรทีละเล็กทีละน้อย พอ ป.4-ป.5 บริหารความเสีย่ ง คุณแม่กใ็ ห้ไปเริม่ ฝึกกับพีพ่ นักงานหน้าร้าน ณรงค์: เวลาเราขยายร้านจะคอยเตือน เพราะกิจวัตรวันสุดสัปดาห์ของเราก็คอื ไปเดิน รุน่ ลูกเสมอว่า ต้องดูดๆี อย่าทำ�อะไรเกินตัว ตรวจสาขาทีห่ า้ งอยูแ่ ล้ว คุณแม่กจ็ ะให้ไปคุย ต้องรูว้ า่ ทุกอย่างมันมีความเสีย่ ง ทำ�ธุรกิจต้อง ไปลองพูด encourage ลูกค้าดู ตอนแรกๆ วุฒิ ลงทุนอยูแ่ ล้ว แต่เราต้องควบคุมความเสีย่ ง ภาวะยังน้อย ขายของไม่คอ่ ยเป็น แต่อย่างน้อย ให้นอ้ ยทีส่ ดุ อย่างช่วงวิกฤตต้มยำ�กุง้ ปี 2540 ก็ได้เริม่ ซึมซับความรักบริการ รูจ้ กั เข้าหาลูกค้า เซนต์เจมส์รอดมาได้ฉวิ เฉียด เพราะก่อนวิกฤต พอช่วงมัธยมฯ ถึงได้เริม่ ขายของได้ทกุ ครัง้ ทีเ่ ข้า 3-4 ปี มีธนาคารมาติดต่อเยอะมาก จะให้กเู้ งิน ร้าน เป็นความภูมใิ จเล็กๆ น้อยๆ ดอลลาร์ โอ้โห---ตอนนัน้ อัตราดอกเบีย้ เงินกูม้ นั ี �ำ ว่าสมบูรณ์แบบ 10% แต่ทเ่ี ขาเสนอมามันแค่ 1-2 % ถูกมากๆ ไม่มค ณรงค์: ผมเองก็ยงั งงว่าตัวเองเป็นผูช้ าย แต่ถา้ ตอนนัน้ ใครหลวมตัวกูไ้ ป พอเจอวิกฤตหนี้ ก็เพิม่ ขึน้ เท่าตัวพอดี ตอนนัน้ อยากกูบ้ า้ งเหมือน เรียนจบเภสัชฯ แล้วไปรูค้ วามต้องการของผู้ กัน แต่กลัวว่า ถ้าวันหนึง่ อัตราแลกเปลีย่ นไม่ใช่ หญิงเมือ่ 30 กว่าปีกอ่ นได้ยงั ไง เพราะผูช้ ายจะ แบบนีแ้ ล้ว กูม้ า 100 ไปๆ มาๆ กลายเป็น 200 ค่อนข้างหยาบ ไม่ละเอียดอ่อน ในขณะทีก่ าร ดอกเบีย้ ถูกแทบจะไม่ชว่ ยอะไรเลย ก็เลยตัดสิน ทำ�สินค้าสตรี มันต้องละเอียดอ่อน อาจจะเป็น ใจไม่เอา ยอมใช้เงินกูภ้ ายในประเทศ ซึง่ แพง ความชอบส่วนตัวเพราะผมได้คลุกคลีมาแต่ OPTIMISE | JULY 2016
43
CLIENT VALUES เด็กเลยรูว้ า่ มันคืออะไร แต่กต็ อ้ งคอยติดตาม แฟชัน่ และพยายาม forecast ด้วย เป็นทัง้ ประสบการณ์และลูกฟลุก เพราะไม่มใี ครทำ� อะไรได้รอ้ ยทัง้ ร้อย ออกมา 100 คอลเล็กชัน จะ ให้ดหี มดทัง้ 100 นีไ่ ม่มหี รอก ต่อให้เป็นเซียน ระดับไหนของโลกก็ไม่ได้ ออกมาแล้วผิดพลาด น้อยสุด คือดีทส่ี ดุ แล้ว ตอนนีก้ เ็ ลยพยายามให้ รุน่ นีท้ เ่ี ป็นผูห้ ญิง มาสานต่อว่าจะเป็นแบบไหน
หลังจากนัน้ อีก 6 เดือน กลับมาขายได้ ซึง่ ทำ�ให้ เห็นว่าอะไรทีเ่ ร็วไปก็ไม่ใช่วา่ ดี เรารูว้ า่ มันมา แน่ๆ แต่เร็วไปก็ไม่ได้ เราต้องหาเวลาพอดี พอเหมาะ เพราะถ้าเราทำ�แล้วไม่เวิรค์ เท่ากับ เราเอาเงินไปจม
ต่อยอดด้วยนวัตกรรม
นันท์ชนก: เรือ่ งนวัตกรรมเป็นกุญแจ สำ�คัญสำ�หรับทำ�ให้ธรุ กิจอยูใ่ นกระแสได้ สวมรองเท้าของพ่อ ตลอด การจะผลิตสินค้าออกมาให้ตรงตาม ณรงค์: จริงๆ ปุย้ เพิง่ เข้ามาทำ�งานได้เกือบ ความต้องการได้ ต้องมองโลกระยะยาว ลงทุน ปีเอง ตอนแรกทีเ่ ข้ามาเราก็ไม่มี job title ต้อง ในนวัตกรรมใหม่ๆ โดยไม่หวังกำ�ไรระยะสัน้ เรียนรูจ้ ากทุกแผนก จากล่างสุดจนถึงบนสุด และถึงจะมีตน้ ทุนเข้ามา ก็ตอ้ งคงคุณภาพไว้ ไปคลุกคลีท�ำ งานให้รจู้ ริงว่าเขาทำ�งานยังไง เหมือนอย่างทีค่ ณ ุ พ่อบอก ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ ปัญหาอยูต่ รงไหนบ้าง ไปแนะนำ�วิจารณ์ ชัดเรือ่ งนวัตกรรม ก็คอื โชคดีทน่ี อ้ งสาว ณัฐพร ทีมงานได้ จะแก้ยงั ไงให้ถกู จุด แต่จะยึดทฤษฏี ไพรัชเวทย์ ซึง่ จบปริญญาโทสถาปัตยกรรมที่ อย่างเดียวแล้วมาถึงเปลีย่ นหมดทุกอย่างไม่ได้ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย เขามาเสนอไอเดียทำ� องค์กรมีวฒ ั นธรรมของเขา บางคนอยูม่ าตัง้ รองเท้า One Sole ซึง่ เป็นคอลเลกชันแรกทีน่ �ำ 30 ปี ฉะนัน้ จะไปเปลีย่ นปุบ๊ ปับ๊ นีม่ นั ไม่ได้ ถาม นวัตกรรมเชิงสถาปัตย์มาผลิตรองเท้าด้วยการ ว่าแล้วเป็น deadwood หรือเปล่า มันก็ไม่ใช่ ใช้วธิ เี ย็บหนังรองเท้าให้เข้ากับพืน้ รองเท้าเป็น อีก เพราะเขาคือคนทีม่ คี ณ ุ ค่าสำ�หรับองค์กรเรา เนือ้ เดียวกัน ทำ�ให้ยดื อายุการใช้งานของสินค้า และแตกต่างจากยีห่ อ้ อืน่ ในตลาด
ทำ�งานแบบ Gen Y
นันท์ชนก: เราเป็น Gen Y คิดอะไรเร็ว ก็ เชือ่ มต่อลูกค้าด้วยดิจติ ลั นันท์ชนก: เราจัดเก็บข้อมูลลูกค้าเป็น จะกล้าทำ�เลย แต่รนุ่ คุณพ่อเป็น baby boomer ก็จะคิดรอบคอบ ไม่คอ่ ย take risk มาก บางที digital data ซึง่ ช่วยปุย้ ได้มาก ทำ�ให้เราทราบ เราคิดว่า บางโปรเจคทำ�ไมช้าจัง แต่พอค่อยๆ ความต้องการของลูกค้า เพือ่ ผลิตสินค้าที่ ทำ�ตามสเต็ปของคุณพ่อแล้วจะเห็นว่าถ้ารีบ ร้อนเกิน ทำ�แล้วบางอย่างผิดพลาดก็จะไม่เวิรค์ นีอ่ าจจะเป็น value ของคนสมัยก่อนทีเ่ รามอง ข้ามไป จริงๆ เราค่อนข้างจะเป็น Gen Y ทีร่ บั ฟังแล้วก็เปิดใจกับทุกๆ ความเห็น ตอนก้าวเข้า มาได้เรียนรูท้ กุ แผนกทำ�ให้เราสามารถแนะนำ� เรือ่ งงานได้เหมือนคนทีร่ จู้ ริงๆ มากกว่าเป็น ผูบ้ ริหารทีอ่ ยูใ่ นฐานะคนมองแล้วออกแต่ความ คิดเห็น
จังหวะคือหัวใจ
ณรงค์: เคยประสบกับตัวเอง คิดว่าเทรนด์ นีม้ าแน่นอน เพราะเรารีเสิรช์ มาจากเมืองนอก แล้ว ก็ท�ำ กระเป๋าออกมาเลย แต่กลับกลายเป็น ว่าดีไซน์นน้ั ไม่เวิรค์ เลยสำ�หรับเมืองไทย ทัง้ สี ทัง้ แบบ ขายช้ามาก ค้างในร้านเกือบเดือน แต่
44
OPTIMISE | JULY 2016
ตรงเทรนด์ หรือแม้แต่เป็นผูน้ �ำ เทรนด์ได้ดว้ ย ตัวอย่างทีป่ ระสบความสำ�เร็จก็คงเป็นรองเท้า ส้นสูง 4 นิว้ สำ�หรับออกงานราตรีทใ่ี ส่สบายยืน ได้ทง้ั คืน เพราะพยายามตอบโจทย์วา่ รองเท้า ส้นสูงส่วนใหญ่จะใส่แล้วเจ็บ แม้กระทัง่ แบรนด์ หรูๆ เวลาเราถามคนใส่วา่ ใส่สบายไหม ก็ไม่ กล้าตอบว่าใส่สบาย ตอบหน้ามุย่ ๆ ซึง่ เรามอง ว่าทนเจ็บเพือ่ ความสวยนีไ่ ม่ใช่ละ ปรากฏว่าพอ เราออกมารุน่ นีข้ ายดีมาก แต่กว่าจะทำ�ได้ ก็ตอ้ งลองหลายโมเดล ถ้าเป็นส้นสูง 4 นิว้ ข้าง หน้าควรจะหนุนขึน้ กีน่ ว้ิ สูงเท่าไหร่ ควรจะรอง พืน้ ด้วยอะไร
สร้างตัวตนออนไลน์
นันท์ชนก: อีกเรือ่ งทีป่ ยุ้ เข้ามาบุกเบิก เลยคือด้านโซเชียลมีเดีย ตอนแรกในร้านไม่มี ใครทำ�เลย เรียกได้วา่ เริม่ จากศูนย์ ก็เริม่ ทำ� Facebook page กับ Line official account ตอนแรกๆ ก็ทอ้ ใจบ้างว่าไม่มคี นติดตาม ต่อมา เราปรับกลยุทธ์คอื หาเนือ้ หาทีไ่ ม่ใช่แค่การขาย ของอย่างเดียวมาโพสต์ เช่นวิธกี ารดูแลรักษา กระเป๋า รองเท้า เทรนด์สแี พนโทนปีนเ้ี ป็นอะไร บ้าง เพราะปุย้ มองว่าการทีล่ กู ค้าจะมาชืน่ ชอบ ในตัวสินค้าเราได้ เราต้องไม่ขายของอย่างเดียว เราต้องรักเขาด้วย เขาต้องได้ประโยชน์จากการ มาเป็นคนติดตามเรา ปรากฏว่าหลังจากนัน้ ยอดคนติดตาม ทีเ่ คยมีแค่อาทิตย์ละ 5-10 คน
ก็กา้ วกระโดดขึน้ มาเรือ่ ยๆ ตอนนีจ้ ะครบหมืน่ คนแล้ว เพิง่ เริม่ ทำ�เอง
30 ปีมาแล้ว อัมรินทร์เค้าขายพืน้ ทีว่ นั แรกปุป๊ ผมก็ไป จองเลย ค่อนข้างให้ความไว้วางใจกับกลุม่ เกียรตินาคิน
คำ�สอนทีไ่ ม่ตอ้ งพูด
เล็งขยายฐานสู่ AEC และตลาดหลักทรัพย์
สไตล์การลงทุน
ความสำ�เร็จทีย่ ากขึน้
ณรงค์: ปกติเราไม่มมี านัง่ สอนกันนะ เป็นการ พยายามแทรกแนวคิดให้เขารูว้ า่ ถ้าเจอแบบนีพ้ อ่ จะทำ� ยังไง มันก็ไม่ใช่คมั ภีรว์ า่ จะทำ�ยังไง แต่แค่บอกว่าพ่อทำ� แบบนี้ แล้วสมัยนีค้ ดิ ว่าจะแก้ยงั ไง ก็ให้เขาไปคิดเอง วิธี พ่ออาจจะถูกต้องสำ�หรับสมัยนูน้ แต่ตอนนีใ้ ช้ไม่ได้แล้ว เพราะยุคสมัยมันเปลีย่ นไปมาก 30 กว่าปี เขาก็ตอ้ ง คิดเอง เพราะคิดผิดตอนนีก้ ย็ งั ดีกว่าคิดผิดหลังจากนี้ เวลาไม่มใี ครคอยให้ค�ำ ปรึกษาแล้ว ณรงค์: ผมเป็นสไตล์กลัวความเสีย่ ง อย่างลงทุน ในตลาดหลักทรัพย์กม็ บี า้ ง แต่เป็นการลงทุนแบบ โบรกเกอร์เกลียด คือซือ้ ไว้ 10 ปีแล้วก็ยงั ไม่ขายสักที ตอนนีก้ ม็ ี private fund ให้ภทั รดูอยู่ ซึง่ ก็ชว่ ยได้เยอะ เพราะไม่มเี วลาบริหารเอง แล้วเราก็จะพยายามลงทุน กระจายไปหลายๆ กองทุน เพราะนโยบายแต่ละทีไ่ ม่ เหมือนกัน ผมเองก็เป็นลูกค้าเกียรตินาคินมานานมาก
ณรงค์: ให้เขาใช้ความรูท้ เ่ี รียนมาไปดูเอง แต่ ไม่ใช่ไปสุม่ สีส่ มุ่ ห้า เพราะเจ็บตัวมาเยอะ เราต้องได้ พาร์ตเนอร์ทด่ี ดี ว้ ย การทีเ่ ราจะไปตัง้ ร้านด้วยตัวเอง ยากมาก เพราะต่างประเทศมีเรือ่ งภาษีเยอะ ไหน จะเรือ่ งส่งสินค้าคืนกลับไปมา อีกใจผมก็อยากเข้า ตลาดหลักทรัพย์เหมือนกัน เพราะเป็นการทำ�ธุรกิจแบบ long run พอเข้าตลาดฯ บุคลากรทีจ่ ะมาร่วมมือกับเราก็ จะกว้างขึน้ คนทีม่ ฝี มี อื ก็อยากมาร่วมมือกับเรา ณรงค์: เราพูดตรงๆ ไม่ได้พดู ให้เขากลัว ตอนนีก้ าร แข่งขันสูงมาก ไม่ใช่ one man show อย่างสมัย 30 ปี ก่อนอีกแล้ว ไม่ใช่แค่ของเราดี ถูก ก็จะอยูร่ อดได้ มัน ต้องมีอกี หลายอย่าง อย่าเอาความสำ�เร็จของพ่อมาทำ� ถ้าบริหารแบบเดิมๆ จะสำ�เร็จเหมือนเดิม ไม่ใช่แล้ว ยากขึน้ เรือ่ ยๆ
รูจ้ กั สองพ่อลูก ตระกูลไพรัชเวทย์ ณรงค์ ไพรัชเวทย์ จบปริญญาตรีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทคณะ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กอ่ น จะก่อตัง้ บริษทั เลเธอร์ แกลเลอรี่ จำ�กัด เจ้าของกลุม่ สินค้าเครือ่ งหนัง St. James ปัจจุบนั ดำ�รงตำ�แหน่งประธาน กรรมการบริหาร ส่วน นันท์ชนก ไพรัชเวทย์ จบปริญญาตรีมหาวิทยาลัย Northeastern University ในสหรัฐฯ และปริญญาโทจาก สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่ง ผู้อำ�นวยการฝ่ายการตลาดและ ส่งเสริมการขายของเซนต์เจมส์
OPTIMISE | JULY 2016
45
BEYOND BOUNDARIES เย็นวันหนึง่ ในกรุงไทเป หนุม่ สาวในวัย 20 กว่าๆ ซึง่ แต่งองค์ทรงเครือ่ งตามสมัยนิยม ใส่ กางเกงกากีรดี เนีย้ บ แว่นตากรอบดำ� และ เสือ้ สูทลำ�ลองเข้ารูป ทยอยเดินเข้ามาในร้าน Something Ales ขุมทรัพย์เบียร์ชน้ั ยอดของ ไต้หวันซึง่ ซ่อนอยูใ่ ต้ตกึ แถวหน้าตาเรียบๆ ณ อีกฟากเมือง ฝูงชนกำ�ลังออกันหน้าป็อปอัพ สโตร์ของร้าน Poler เพือ่ รอการเปิดตัวรองเท้า ผ้าใบรุน่ ลิมเิ ต็ต อิดชิ นั ของแบรนด์เสือ้ ผ้า เอาท์ดอร์ยอดนิยมจากพอร์ตแลนด์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา ถัดขึน้ ไปเพียงสองชัน้ นักศึกษา และหนุม่ สาววัยทำ�งานกำ�ลังจิบชาแบบ ‘single origin’ ขณะเดินดูหนังสือศิลปะภายใน ห้างดีไซน์ล�ำ้ อย่าง Eslite Spectrum ไม่นา่ เชือ่ ว่า เมืองทีเ่ คยขึน้ ชือ่ เฉพาะแต่เรือ่ ง ตลาดโต้รงุ่ ขายของกินราคาถูก พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะ จีนทีด่ ที ส่ี ดุ ของโลก (พิพธิ ภัณฑ์พระราชวังแห่ง ชาติ) และโรงงานอุตสาหกรรมมากกำ�ลังการ ผลิต ปัจจุบนั กำ�ลังกลายเป็นแหล่งรวมงานฝีมอื และความคิดสร้างสรรค์ ค่านิยมในการทำ�งาน หนักของบรรพชนไต้หวันดูเหมือนจะยอมหลีก ทางให้กบั วิถชี วี ติ ของหนุม่ สาวชาวเมืองรุน่ ใหม่ ทีพ่ อใจจะชมศิลปะไปพลาง จิบคราฟต์เบียร์ ไปพลางมากกว่าจะก้มหน้าก้มตาทำ�งานอย่าง เดียว จะอย่างไรก็แล้วแต่ สำ�หรับผูม้ าเยือนแล้ว สิง่ เหล่านีท้ �ำ ให้ไทเปเป็นเมืองหลวงอีกแห่งของ เอเชียที่ ‘ชิล’ ทีส่ ดุ ณ เวลานี้
01
มาร่วมเปิดประสบการณ์ใหม่ในมหานครของไต้หวัน ไม่ว่าจะ เป็นอาคารเก่าแก่ที่ถูกแปลงเป็นครีเอทีฟ สเปซ หรือวิถีชีวิต ของเมืองแห่งจักรยาน ศิลปะและงานฝีมือ ที่กำ�ลังชุ่มฉ่ำ�ไป ด้วยคราฟต์เบียร์และกาแฟแบบ ‘single-origin’ 46
OPTIMISE | JULY 2016
02 ร้านหนังสืออลังการในห้าง Eslite Spectrum 03 จักรยาน YouBike จอดเรียง รายตามสถานีต่างๆ ที่กระจาย อยู่ทั่วนครไทเป
สโลว์ ไลฟ์หลังยุคอุตสาหกรรม
ตัวเมืองไทเปจริงๆ มีประชากรเพียง 2.5 ล้านคนเท่านัน้ แต่หากนับรวมแถบนอกเมือง ด้วย ตัวเลขนัน้ จะพุง่ สูงถึง 7 ล้านชีวติ ทีเดียว ขณะทีม่ หานครส่วนใหญ่ของเอเชียต้องเผชิญ กับความตึงเครียดจากการจราจร สภาพทาง ภูมศิ าสตร์และวิถชี วี ติ อันเฉพาะตัวของชาว เมืองได้ท�ำ ให้ไทเปกลายเป็นเมืองทีเ่ หมาะกับ ชีวติ ‘สโลว์ ไลฟ์’ อย่างวิเศษ กล่าวคือ นครแห่ง นีล้ อ้ มรอบด้วยเทือกเขา 3 ด้าน ซึง่ หมายความ ว่าหากใครอยากออกสำ�รวจ The Four Beasts อันประกอบด้วย ภูเขาเสือ ภูเขาช้าง ภูเขาเสือ ดาว และภูเขาสิงโตขึน้ มา เขาคนนัน้ ก็สามารถ ทำ�ได้โดยเดินเท้าเพียง 15 นาทีจาก Taipei 101 (แลนด์มาร์กอีกแห่งของไทเป) เท่านัน้ แต่แม้
ขณะทีม่ หานครส่วนใหญ่ ของเอเชียต้องเผชิญ กับความตึงเครียดจาก การจราจร สภาพทาง ภูมศิ าสตร์และวิถชี วี ติ อันเฉพาะตัวของชาวเมือง ได้ทำ�ให้ไทเปกลายเป็น เมืองทีเ่ หมาะกับชีวติ ‘สโลว์ ไลฟ์’อย่างวิเศษ
02
Credit: Wikipedia
Taipei Takes it Slow
01 ตึก Taipei 101 โดดเด่นใน ยามอัสดง
จะพูดถึงในตัวเมืองเอง ตั้งแต่ปี 2014 เป็นต้น มา ระบบ YouBike ของไทเปมีฐานผู้ใช้เพิ่ม ขึ้นสองเท่าเป็น 22 ล้านคน และได้ขยายไป ยังเมืองข้างเคียงอย่างนิวไทเป ไทจง รวมถึง มณฑลจางฮัวแล้ว ทัง้ นี้ บรรดานักปัน่ จะพบว่าเส้นทางริมแม่น�ำ้ คือหนึง่ ในประสบการณ์อนั น่าอภิรมย์ทส่ี ดุ เริม่ ต้น จากถนนตีห้ วั หนึง่ ในถนนหลักสายเก่าแก่ทส่ี ดุ ของเมือง แม้ถนนคร�ำ่ ครา่ ริมแม่น�ำ้ ทีอ่ ดั แน่นด้วย ตึกแถวและร้านยาจีนสายนีจ้ ะเป็นทีร่ จู้ กั ดี แต่สง่ิ ทีค่ นไม่รกู้ ค็ อื ปัจจุบนั ร้านขายผ้าและโรงน�ำ้ ชา ซึง่ อยูค่ ถู่ นนดังกล่าวมายาวนาน กำ�ลังถูกขนาบ โดยคาเฟ่ แกลเลอรี่ และ ‘co-working space’ อีกมากมาย จนทำ�ให้ยา่ นนีก้ ลายเป็นส่วนผสม ระหว่างเก่าใหม่อนั ลงตัวอย่างยิง่ จากนัน้ ลอง ปัน่ เลาะไปยังถนนฝูจน้ิ ถนนเส้นใหญ่รม่ รืน่ และ
03
OPTIMISE | JULY 2016
47
BEYOND BOUNDARIES 05
06
07
06 เชฟอเลน หวง หนึ่งในบรรดาเชฟ แห่งร้าน RAW Credit: 3,co
07 ชุดจานดีไซน์เรียบหรูของ 3,co 08 บรรยากาศดิบเท่ของร้าน Raw 09 คาเฟ่ 3,co ที่เน้นสินค้าดีไซน์ นอกเหนือจากกาแฟชั้นเยี่ยม
10
10 พื้นที่สร้างสรรค์ Huashan 1914 Creative Park 11 อาหารจานสวยของ RAW
ความประหลาดและความล�ำ้ เลิศ
ร้าน Raw เป็นร้านอาหารร้านที่ 2 ของ ไต้หวันทีต่ ดิ อันดับสุดยอด 50 ร้านอาหารทีด่ ี ไต้หวันนัน้ ขึน้ ชือ่ เรือ่ งอาหาร คนอาจเคย ได้ชมิ เกีย๊ วของร้าน Din Tai Fung ทีก่ รุงเทพฯ ทีส่ ดุ ของโลกปี 2016 ในลำ�ดับที่ 48 เชฟเจ้า แล้ว แต่ตน้ ตำ�รับซึง่ ตัง้ อยูบ่ นถนนซินยีก่ ย็ งั คง ถิน่ อย่าง อังเดร เจียง แห่ง Restaurant André ในสิงคโปร์ (ซึง่ ครองอันดับ 3) ได้เปิด รอว์ เมือ่ เป็นหนึง่ ในสถานทีต่ อ้ งไปของนักท่องเทีย่ ว ปลายปี 2014 ร่วมกับเชฟอีกสองคน เชฟทัง้ หลายๆ คน อย่างไรก็ตาม การเปิดรับกระแส สามเสิรฟ์ อาหารตามสิง่ ทีพ่ วกเขาเรียกว่า โลกาภิวฒ ั น์และสภาพภูมปิ ระเทศทีม่ คี วาม 24 ‘ฤดูกาลย่อย’ (micro-seasons) ของเกาะ เฉพาะตัว ทำ�ให้ไทเปมีอะไรทีม่ ากกว่าตลาด นัดกลางคืนและเสีย่ วหลงเปารสชาติหอเจีย๊ ะ ไต้หวัน เมนูหน้าตาอลังการเหล่านี้ เช่น Clam / Corn / Kelp Jus หรือ Perfect Egg / Praline กล่าวคือ นอกจากเส้นทางเดินป่าซึง่ แทบจะ เริม่ จากใจกลางเมืองแล้ว ความเป็นทีร่ าบสูงยัง / Wild Veg จะค่อยๆ เผยรสชาติซง่ึ อัดแน่น ทำ�ให้ไต้หวันมีภมู อิ ากาศทีห่ ลากหลายด้วย ไม่ ด้วยสมุนไพรท้องถิน่ กับอาหารทะเล ซึง่ ความ จริงก็ไม่นา่ แปลกใจ เพราะไทเปนัน้ อยูห่ า่ งจาก ผิดอะไรจากอีกหนึง่ ดินแดนสวรรค์ของคนรัก ชายฝัง่ เพียง 25 กิโลเมตรเท่านัน้ อาหารอย่างประเทศเปรู
11
Credit: Raw
ไว้ประดับโต๊ะกาแฟหรือทีใ่ ส่สก็อตเทปทำ�จาก คอนกรีตเพือ่ เพิม่ ความดิบให้กบั โต๊ะทำ�งาน ก่อนจะไปทอดอารมณ์ท่ี FabCafe ซึง่ ไม่เพียง เสิรฟ์ กาแฟหอมๆ หากยังมีเครือ่ งพิมพ์ 3 มิตไิ ว้ บริการอีกด้วย การเทีย่ วชมมรดกทางสถาปัตยกรรมซึง่ ถูก เปลีย่ นให้เป็นพืน้ ทีด่ ไี ซน์สดุ ล�ำ้ จะไม่สมบูรณ์ แบบเลย หากไม่ได้โฉบไปที่ 44 South Village ร้านรวงเล็กๆ น่ารักทีก่ ระจุกตัวโดยมีตกึ Taipei 101 สูง 509 เมตรเป็นฉากอยูเ่ บือ้ งหลัง ทัง้ นี้ ท่ามกลางหลังคากระเบือ้ งและผนังเกล็ดไม้ ขอให้มองหา Good Cho’s แหล่งรวมผลิตภัณฑ์ คุณภาพทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และทีต่ ง้ั ของ คาเฟ่ทเ่ี สิรฟ์ เมนูปรุงจากวัตถุดบิ ท้องถิน่
Credit: jennifer yin
สาธารณะในปี 2011 ซึง่ ประกอบไปด้วยร้าน หนังสือ สถานทีจ่ ดั อีเวนต์ แกลเลอรีแ่ ละคาเฟ่ ท่ามกลางสถาปัตยกรรมอินดัสเทรียลเปีย่ มเสน่ห์ พิพธิ ภัณฑ์ Taiwan Design Museum ก็ตง้ั อยูท่ ่ี นีแ่ ละขณะนีก้ �ำ ลังจัดแสดงนิทรรศการสุดยอด งานออกแบบนิเทศศิลป์ทไ่ี ด้รบั รางวัล Red Dot Design Award อันทรงเกียรติ โดยงานจะมี จนถึงวันที่ 7 สิงหาคมนี้ สวนสาธารณะ Huashan 1914 Creative Park ก็มที ม่ี าทีไ่ ปคล้ายๆ กัน อดีตโรงงานทำ�ไวน์ แห่งนีไ้ ด้กลายมาเป็นแหล่งรวมตัวของดีไซเนอร์ ท้องถิน่ ซึง่ ถูกจริตกันดีกบั เพดานสูงโปร่ง ผนังอิฐ เปลือย และศิลปะกราฟฟิตบ้ ี นกำ�แพงของตึก ขณะ อยูท่ น่ี ่ี เป็นการดีทจ่ี ะลองหาซือ้ ระเบิดมือเซรามิก
Credit: Raw
OPTIMISE | JULY 2016
09 05 ตลาดนัดงานทำ�มือและงานดีไซน์ที่ 44 South Village
Credit: Raw
48
Credit: 3,co
Credit: Alexander Synaptic
เงียบสงบซึง่ ซ่อนตัวอยูแ่ ถวๆ สนามบินซงชาน ทีน่ เ่ี ป็นแหล่งรวมคาเฟ่ แกลเลอรี่ และร้านขาย สินค้าดีไซน์สวยๆ ถ้าไม่รจู้ ะเริม่ จากตรงไหน ลองแวะไปทีร่ า้ น FujinTree355 ซึง่ ขายเสือ้ ผ้าผู้ หญิงสีสนั สดใสสวมใส่สบาย และของใช้ในบ้าน หน้าตาดีทไ่ี ด้รบั อิทธิพลมาจากญีป่ นุ่ แถมยังมี ร้านกาแฟของทางร้านทีเ่ ปิดอยูต่ ดิ กันตรงบ้าน เลขที่ 353 ด้วย อีกแห่งทีค่ วรแวะเวียนไปก็คอื FunFunTown ร้านขายของเล่นย้อนยุคและงาน ไม้โบราณทำ�มือ รวมถึงคาเฟ่อย่าง 3,co ซึง่ มี กาแฟคุณภาพดีเสิรฟ์ ในถ้วยเซรามิกหรูเรียบที่ ได้รบั แรงบันดาลใจมาจากเครือ่ งเอกรงค์ยคุ ราชวงศ์ซง่ ของจีน “ตอนเราย้ายมาทีน่ ่ี มีแค่รา้ นจักรยานกับร้าน อาหารออร์แกนิกอยูอ่ ย่างละร้าน ทุกคนบอกว่า พวกเราบ้า แต่เราว่าทีน่ ส่ี วย แล้วก็เข้ากับแนวคิด ‘less is more’ ของเรา แถวนีม้ สี วนสาธารณะอยู่ 20 แห่ง แถมรถก็ไม่ตดิ เราก็เลยมัน่ ใจเปิด แต่ใน ช่วงไม่กป่ี ที ผ่ี า่ นมา มีรา้ นมาเปิดเพิม่ อีก 20-30 ร้าน มีโรงเรียนสอนโยคะ มีรา้ นอาหารสุขภาพสไตล์ อิตาเลียน ตอนนีท้ ง้ั เมืองเห็นดีเห็นงามไปหมดว่านี่ เป็นทำ�เลดี” แคธี หยู ผูร้ ว่ มก่อตัง้ ร้าน 3,co เล่า นอกจากจะเป็นชุมชนเมืองทีท่ นั สมัยแล้ว ไทเปยังอุทศิ พืน้ ทีห่ ลายๆ ส่วนเพือ่ ใช้เป็นแหล่ง เพาะสร้างพรสวรรค์ทางศิลปะให้กบั ชาวเมือง Songshan Cultural and Creative Park ซึง่ เดิมเป็นคลังสินค้าและสำ�นักงานของบริษทั ยาสูบแห่งเดียวของไต้หวัน ได้ถกู เปิดเป็นพืน้ ที่
08
ไทเปมีอะไรที่มากกว่าตลาด นัดกลางคืนและเสี่ยวหลงเปารสชาติหอเจี๊ยะ นอกจากเส้นทางเดินป่า ซึ่งแทบจะเริ่มจากใจกลาง เมืองแล้ว ความเป็น ที่ราบสูงยังทำ�ให้ไต้หวัน มีภูมิอากาศที่หลากหลาย ด้วย
OPTIMISE | JULY 2016
49
BEYOND BOUNDARIES
12
Credit: Alchemy
คนของทีน่ จ่ี ำ�นวนมากเคย ไปใช้ชวี ติ อยูแ่ ถบชายฝัง่ เวสต์ โคสต์ของอเมริกา หรือในนิวยอร์ก และพอกลับบ้าน ก็ตดิ เอา ความกระหายในคราฟต์ เบียร์กลับมาด้วย
13 14
12 Beer & Cheese Social House ร้านเบียร์สุดฮิปที่มีคนแวะเวียนมาชิม คราฟต์เบียร์ตลอดทั้งคืน
14 แซนด์วิชชีสเยิ้มของร้าน Beer & Cheese Social House 15 Alchemy บาร์สไตล์ ‘speakeasy’ ที่ิติดหนึ่งใน 50 บาร์ดีที่สุดในเอเชีย
50
OPTIMISE | JULY 2016
กว่า เช่นทีร่ า้ น Luguo บาริสต้าจะลงลึกถึง บทวิเคราะห์เกีย่ วกับความซับซ้อนและรสชาติ ของส่วนผสมหลากชนิดเพือ่ สร้างกาแฟให้ตรง ตามรสนิยมของลูกค้ามากทีส่ ดุ พืน้ ทีเ่ งียบๆ บนชัน้ 2 เป็นทีป่ ลีกวิเวกชัน้ ดี เพราะตกแต่ง ด้วยเครือ่ งพิมพ์ดดี โบราณ ชัน้ หนังสือทีเ่ รียง รายด้วยนิยายตะวันตก และเฟอร์นเิ จอร์ไม้ท่ี เข้ากันได้ดกี บั อาคารเก่าแก่ทร่ี า้ นกาแฟแห่งนี้ ครองพืน้ ทีอ่ ยู่ ถ้ากระหายอะไรแรงๆ บาร์คอ็ กเทลอย่าง Alchemy Bar และ Woo Taipei ทีต่ ดิ อันดับ Asia’s 50 Best Bars ไปสดๆ ร้อนๆ ก็ตอบ โจทย์ได้ไม่นอ้ ย ทีอ่ ลั เคมี จะเห็นได้ชดั ว่า กระแส ‘speakeasy’ ก็มาไทเปด้วยเช่นกัน เพราะคอเหล้าจะต้องเปิดประตูลบั ตรงชัน้ วาง หนังสือ กว่าจะเข้าถึงบาร์เหล้าแบบสมัย ทศวรรษที่ 20 แห่งนี้ โดยทีท่ างร้านไม่ได้ โฆษณาประชาสัมพันธ์ใดๆ นอกจากปล่อยให้ คนทีต่ ดิ ใจในตัวร้านและฝีมอื ชงค็อกเทลกลิน่ อายย้อนยุคของแองกัส โจว พูดปากต่อปาก ไปเองเท่านัน้
อย่างไรก็ตาม เครือ่ งดืม่ ยอดนิยมในไทเป ตอนนีค้ งจะไม่มอี ะไรสู้ ‘คราฟต์เบียร์’ หรือ เบียร์ทบ่ี ม่ ทีละไม่มาก โดยผูผ้ ลิตรายย่อย ร้าน Beer & Cheese Social House ซึง่ ตัง้ อยู่ ณ ใจกลางถนนอันอึกทึกอย่างจีหลง คือบาร์เบียร์ ใหม่อกี แห่งทีด่ งึ ดูดกลุม่ คนในท้องถิน่ ด้วยการ จับคูส่ ดุ ยอดความสำ�ราญอย่างคราฟต์เบียร์ และชีสอาร์ตซิ านมาไว้ดว้ ยกัน ในคืนวันอังคาร บาร์แห่งนีค้ ราคร�ำ่ ไปด้วยแขกซึง่ แบ่งได้เป็นคน ท้องถิน่ กับคนต่างชาติอย่างละครึง่ ทุกคนต่าง ก็ปรารถนาจะลิม้ รสแซนด์วชิ ชีสย่างคูก่ บั เบียร์ 886 Czech In Pilsner ทีท่ างร้านบ่มเอง ชอน คิดด์ ผูก้ อ่ ตัง้ บาร์แห่งนีก้ ล่าวว่า เหตุผลทีไ่ ทเปมีรา้ นเบียร์รสนิยมฝรัง่ เปิดกัน เป็นจำ�นวนมากก็เพราะ “คนทีน่ จ่ี �ำ นวนมาก เคยไปใช้ชวี ติ อยูแ่ ถบชายฝัง่ เวสต์ โคสต์ของ อเมริกาหรือในนิวยอร์ก และพอกลับบ้าน ก็ตดิ เอาความกระหายในคราฟต์เบียร์กลับมาด้วย” อาร์วนิ เจ้าของบาร์รา่ งล�ำ่ สันแห่งแวดวง คราฟต์เบียร์ ผูน้ �ำ เข้าเบียร์นอกมากว่า 20 ปี เป็นห่วงว่าไทเปอาจกำ�ลังวิง่ ไล่ตามกระแสโลก
15
Essentials 3,Co 377 Fujin St., Songshan District, Taipei โทร. 886-2-8787-5271 www.3co.com.tw Alchemy Bar 16-1 Xinyi Rd., Section 5, Xinyi District, Taipei โทร. 886-2-2720-0080 www.fb.com/BarAlchemy Beer & Cheese Social House 117, Keelung Rd., Section 2, Xinyi District, Taipei โทร. 886-2-2737-1983 www.eighteightsixbrewing.com Huashan 1914 Creative Park 1, Section 1, Bade Rd., Zhongzheng District, Taipei โทร. 886-2-2358-1914 www.huashan1914.com Raw 301, Lequn 3rd Rd., Zhongshan District, Taipei โทร. 886-2-8501-5800 www.raw.com.tw Something Ales 195, Section 3, Roosevelt Rd., Da’an District, Taipei Songshan Cultural and Creative Park 133, Guangfu S Rd., Xinyi District, Taipei โทร. 886-2-2765-1388 www.songshanculturalpark.org Taiwan Design Museum 133, Guangfu S Rd., Xinyi District, Taipei โทร. 886-2-2745-8199 www.tdm.org.tw
Credit: Alchemy
อย่างไรก็ตาม โดยทัว่ ไปแล้ว วงการอาหาร และเครือ่ งดืม่ ทีน่ ค่ี อ่ นข้างผ่อนคลายและมัก ถูกเทียบกับเมืองหลวงของพวกฮิปสเตอร์อย่าง พอร์ตแลนด์ของสหรัฐอเมริกาอยูเ่ สมอ เช่น แค่ เดินทอดน่องไม่กอ่ี ดึ ใจจากสวน Shongshan ก็จะพบกับ Voodoo Doughnut ร้านเปิดใหม่ จากพอร์ตแลนด์ซง่ึ ยึดคำ�ขวัญประจำ�เมือง ทีว่ า่ ‘อย่าให้พอร์ตแลนด์หายแปลก (Keep Portland Weird)’ โดยการนำ�เสนอโดนัท พิลกึ พิลน่ั อย่างเช่นโดนัทหน้าเบคอน หรือ โดนัทปัน้ เป็นทรงตุก๊ ตาหมอผีวดู ู เควิน ลี ผูน้ �ำ ร้านโดนัทคอนเซ็ปต์แปลก เข้ามาไทเป กล่าวว่า “ทีอ่ น่ื ๆ ในเอเชียอาจจะ ตลาดใหญ่กว่า แต่ไทเปหลากหลายกว่า และ เปิดกว้างต่อสิง่ ใหม่ๆ มากกว่า” โดยเขาเชือ่ ว่าการทีโ่ ดนัทแต่ละอันปัน้ ด้วยมือและมีหลาก หลายรูปแบบจะเข้าได้ดกี บั นิสยั คนทีน่ ่ี อย่างไรก็ดี หากรูส้ กึ ว่าโดนัทหน้าตา เหมือนฝีมอื ขยำ�ของเด็กอนุบาลไม่ถกู จริต เครือ่ งดืม่ แรงๆ และกาแฟซิงเกิล ออริจน้ิ ที่ ฮิปสเตอร์แถวนัน้ โปรดปรานอาจจะเข้าถึงง่าย
Credit: Beer & Cheese Social House
Credit: Beer & Cheese Social House
13 แองกัส โจว มิกโซโลจิสต์ของ Alchemy
จนถลำ�ลึกเกินไป แม้บาร์เล็กๆ ของเขาอย่าง Something Ales จะไม่มปี า้ ยชือ่ ร้านและไม่ได้เป็นทีร่ จู้ กั นัก แต่มนั ก็ได้กลายมาเป็นจุดนัดพบสำ�หรับกลุม่ ปัญญาชนทีม่ า รวมตัวสังสรรค์ดม่ื คราฟต์เบียร์เจือรสส้มจีด๊ ทีบ่ ริษทั Jim & Dad’s Brewing Company ของไต้หวันเป็นคน บ่มเอง “ลองมองไปรอบๆ เมืองดู เรามีตกึ รามบ้านช่องอายุ เป็นพันๆ ปี แต่ทเ่ี ราเห็นตอนนีก้ ลับมีแต่รา้ นเปิดใหม่ สิง่ นีท้ �ำ ให้เรามองข้ามมรดกล�ำ้ ค่าของไต้หวันไป เพราะคน มัวแต่หลงระเริงกับของทีเ่ ป็นกระแส เราอาจหลงลืมไปว่า อะไรคือเอกลักษณ์จริงๆ ของเมืองนี”้ อาร์วนิ พูดตบท้าย แม้กระนัน้ เราก็ยงั ลงความเห็นว่าไทเปสามารถรักษา สมดุลระหว่างใหม่และเก่าไว้อย่างลงตัว เมืองนีม้ ที ง้ั ตา หู และต่อมรับรสทีถ่ กู ฝึกให้คนุ้ เคยกับแนวคิดใหม่ๆ จาก อีกครึง่ ค่อนโลก อิทธิพลของอารยธรรมจีนทีห่ ยัง่ รากลึก ในงานศิลป์ อีกทัง้ ความเข้าอกเข้าใจทีเ่ พิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ เกีย่ วกับจุดแข็งทางภูมศิ าสตร์ของตน ด้วยบุคลิกมัน่ ใจที่ แฝงไว้ดว้ ยความสร้างสรรค์ และความทันสมัยทีไ่ ม่ เย็นชา ไทเปจึงนับเป็นอีกเมืองหนึง่ ทีม่ อี ะไรให้เมืองหลวง อืน่ ๆ ของเอเชียสามารถเรียนรูไ้ ด้ไม่นอ้ ยทีเดียว
Woo Taipei 39-1, Zhongxiao East Rd., Lane 205, Section 4, Daan District, Taipei โทร. 886-2-8771-9813 www.woo-life.com/wootp
OPTIMISE | JULY 2016
51
THE GOOD LIFE
01
Labor of Love งานอดิเรกประเภทปั้นเซรามิกไปจนถึงการเขียนอักษรศิลป์ ได้กลายมาเป็นวิธีบำ�บัดเครียดขนานใหม่ของคนกรุงช่วงสุดสัปดาห์ ดังเห็นได้จากเวิร์กช็อปงานฝีมือที่กำ�ลังเบ่งบานไปทั่วเมือง สำ�หรับมือสมัครเล่น เวลาปัน้ 3 วันและเงินอีกราวๆ 6,000 บาท คือสิ่งที่ต้องจ่ายเพื่อแลกกับจานเซรามิก หน้าตาโย้เย้ชุดหนึ่ง ผลงานที่ได้เหล่านี้ อย่างดีก็จะมี เสน่ห์ของความไม่สมบูรณ์พร้อมตามอุดมคติศิลปะ ญี่ปุ่น และอย่างร้าย ก็จะหน้าตาใกล้เคียงงานฝีมือ เด็กประถม กระนั้น สิง่ เหล่านีไ้ ม่ถอื เป็นอุปสรรคต่อ หนุม่ สาวชาวกรุงจำ�นวนมาก ผู้ยอมใช้วันสุดสัปดาห์ มานั่งเรียนวิชาปั้นหม้อในเวิร์กช็อปของ ‘ชามเริญ สตูดิโอ’ หรือที่อื่นๆ อันที่จริง นับเฉพาะในกรุงเทพฯ อย่างเดียว สตูดิโอสอนงานฝีมือเหล่านี้มีมากกว่า 20 แห่ง ดูเหมือนคนกรุงจำ�นวนไม่น้อยหวังจะสัมผัส ความสุขที่เรียบง่ายอีกครั้งผ่านการทำ�ถ้วยกาแฟเซรามิกเคลือบ ผ้าพันคอมัดย้อม หรือการเขียนอักษร ศิลป์บนโปสการ์ด มากกว่านั้น นี่อาจจะสะท้อนให้ เห็นถึงพลังของแมกกาซีน ‘สโลว์ ไลฟ์’ โซเชียลมีเดีย ตลอดจนพฤติกรรมของผู้บริโภคซึ่งเริ่มเบื่อหน่ายกับ สินค้าหน้าตาโหล และอยากรู้ที่มาของผลิตภัณฑ์ที่ กินใช้อยู่ทุกวัน
มหาวิทยาลัย และก็แค่มองหาสถานที่จัดแสดงผล งาน เพราะนอกจากในมหาวิทยาลัยและเกาะเกร็ด แล้ว คนแทบไม่ได้สนใจศิลปะเซรามิกเท่าไหร่” ชามเริญ สตูดิโอประกอบไปด้วย 4 ชั้น ซึ่งแยก เป็นส่วนแกลเลอรี่ ส่วนเวิร์กช็อป ส่วนสตูดิโอ และ ห้องจัดแสดงงาน โดยสไตล์งานของที่นี่จะเน้นเล่น สีสันสดใส ดูโมเดิร์นและมีชีวิตชีวา อันบ่งบอกถึง สุนทรียะแห่งความเยาว์วัยของสตูดิโอได้เป็นอย่างดี “ตอนนั้นนักเรียนศิลปะคนอื่นๆ คิดว่างานของ เราเจ๋งดีเลยอยากจะลองทำ�ดูบ้าง เราก็เลยตัดสินใจ เปิดคลาสสอนทำ�เซรามิกเป็นครั้งแรกโดยใช้เทคนิค รากุ ปรากฏว่าผลตอบรับดีมาก เพราะเราทำ�ให้มัน เข้าถึงได้ง่าย และแต่ละคนก็ได้เรียนรู้ทุกๆ ขั้นตอน ในการทำ�” เครือ่ งรากุ (หรือรากุยากิ) ซึ่งแต่เดิมใช้ในพิธีชง ชาของญี่ปุ่นนั้น อาศัยการปั้นด้วยมือล้วนๆ ไม่ได้ ขึ้นด้วยแป้นหมุน รูปลักษณ์ที่บิดเบี้ยวคือเสน่ห์ของ เครื่องรากุ โดยส่วนผสมของน้ำ�เคลือบและการเผา ด้วยอุณหภูมิสูงจะทำ�ให้เกิดลวดลายชวนมองที่ไม่ จุดเริ่มต้นเล็กๆ เคยซ้ำ�กัน เมือ่ 3 ปีกอ่ น ชามเริญ สตูดโิ อได้เปิดทำ�การขึน้ บน “ใครจะไปคิดว่าสอนอะไรแบบนี้ในกรุงเทพฯ ถนนแพร่งสรรพศาสตร์ในละแวกเสาชิงช้า ในขณะที่ ได้ มันไม่มีตลาด จะมีก็แต่ชั้นเรียนมัดย้อมไม่กี่แห่ง ชัน้ เรียนเครือ่ งปัน้ ดินเผาส่วนใหญ่มกั จะถูกผูกขาดโดย ในต่างจังหวัด ตอนนั้นมีคนเข้าใจน้อยมากว่าคราม กลุม่ แม่บา้ นญีป่ นุ่ แถวสุขมุ วิทหรือไม่กน็ กั เรียนศิลปะ คืออะไร” ใหม่กล่าว ศิลปะการย้อมครามซึ่งเปิด กลุม่ เล็กๆ ชามเริญจัดเป็นหนึง่ ในสตูดโิ อแห่งแรกๆ ที่ สอนที่ชามเริญด้วยนั้น คือการนำ�ผ้าไปย้อมเย็นด้วย สามารถดึงดูดบรรดาคนรุ่นใหม่งานรัดตัวให้เข้ามา สีน้ำ�เงินจากธรรมชาติ เพื่อให้ได้สีอันเป็นเอกลักษณ์ ร่วมด้วย อย่างไรก็ตาม การเปิดสอนชั้นเรียนเซรามิก ที่คนมักจำ�ได้จากเสื้อม่อฮ่อมของชาวนาทางเหนือ ไม่ใช่สิ่งที่สตูดิโอตั้งใจไว้แต่อย่างใด ชามเริญจะจัดชั้นเรียนในช่วงสุดสัปดาห์เพื่อให้ ใหม่ ธนิตา โยธาวงษ์ ผูร้ ว่ มก่อตัง้ ชามเริญ สตูดโิ อ ง่ายกับนักเรียนที่เป็นพนักงานประจำ� เวิร์กช็อปเหล่า เล่าว่า “เราไม่ได้ตั้งใจเปิดเวิร์กช็อปเลย เราแค่ถนัด นี้จะมีผู้เรียนประมาณ 5-10 คนและใช้เวลา 1-3 วัน งานเครื่องปั้นดินเผาและประติมากรรมตั้งแต่สมัย 52
OPTIMISE | JULY 2016
ตอนนัน้ นักเรียน ศิลปะคนอืน่ ๆ คิดว่างานของเรา เจ๋งดีเลยอยากลอง ทำ�ดูบา้ ง เราเลย ตัดสินใจเปิดคลาส สอนทำ�เซรามิก เป็นครัง้ แรกโดยใช้ เทคนิครากุ ปรากฏ ว่าผลตอบรับดีมาก เพราะเราทำ�ให้มนั เข้าถึงได้งา่ ย และแต่ละคนก็ได้ เรียนรูท้ กุ ๆ ขัน้ ตอนในการทำ� 01 ใหม่ ธนิ ต า โยธาวงษ์ (ขวา) และ บุ บ ชาญชั ย บริ บ ู ร ณ์ ผู ้ บ ุ ก เบิ ก เวิ ร ์ ก ช็ อ ปเครื ่ อ งปั ้ น ดิ น เผาที ่ ‘ชามเริ ญ สตู ด ิ โ อ’
OPTIMISE | JULY 2016
53
THE GOOD LIFE 03
02
02 เต้ จุฑาภัทร (ที่สองจากขวา) และเพื่อนๆ ผู้ร่วม ก่อตั้ง Olive Creative Laboratory
04 Screen print หนึ่งในเวิร์คช็อปของ F.A.C.T. Experience 05 กาย ไลยมิตรวิจารณ์ แห่ง F.A.C.T. Collective 06 นักเรียนเล็งถ่ายภาพลิปทำ�มือไว้ลง Instagram ของตัวเองที่ Simply Organic 07 งานปั้นมือของ ‘ชามเริญ สตูดิโอ’
54
OPTIMISE | JULY 2016
เพราะชีวิตคนเราทุกวันนี้มีแต่ของผลิตจาก โรงงาน และของที่ผลิตทีละมากๆ อย่างนั้น กลายเป็นของน่าเบื่อ งานฝีมือจึงเข้ามาตอบ โจทย์คนที่ต้องการอะไรที่แตกต่างออกไป” กายกล่าว เวิร์กช็อปทำ�มือเหล่านี้ยังช่วยทำ�ให้คนเริ่ม รู้ถึงความเป็นมาของสิ่งต่างๆ ที่เราบริโภค ซึ่ง ถือว่าจำ�เป็นขึ้นทุกที โดยเฉพาะเมื่อนึกถึงข้อ สร้างเอกลักษณ์ความเป็นไทย เท็จจริงอันยากจะเพิกเฉยว่าประเทศไทยติด ในวันหนึ่ง คำ�ว่า ‘แนวคินโฟล์ค’ อาจ อันดับ 1 ใน 10 ของประเทศที่ทิ้งขยะพลาสติก กลายเป็นอดีตไป แต่บรรดาผู้จัดเวิร์กช็อปงาน ลงทะเลมากที่สุด และมีปัญหาแรงงานทาส ฝีมือของกรุงเทพฯ ต่างเชื่อว่าความอยาก รวมถึงการใช้สารกันบูดในปลาและผลผลิต ปลดปล่อยความคิดสร้างสรรค์ และลงมือทำ� ทางการเกษตรต่างๆ มากกว่าซื้อจะไม่เลือนหายไปง่ายๆ แอน จันทน์สุภา ชมกุล คือผู้ก่อตั้ง Simply “เวิร์กช็อปศิลปะและงานฝีมือกำ�ลังโต Living (นิตยสารที่จะตีพิมพ์ก็ต่อเมื่อได้ยอดสั่ง 04
05
Ming Chokpaiboon
03 คลาสเรียนระบายสีไม้ของ Olive Creative Laboratory
ที่เปิดตัว คินโฟล์คได้เป็นมากกว่านิตยสารและ กลายเป็นชื่อไลฟ์สไตล์ โดยปัจจุบันคินโฟล์คได้รับ การตีพิมพ์เป็นภาษาจีน รัสเซีย เกาหลี และญี่ปุ่น สำ�หรับในประเทศไทย ชั้นแมกกาซีนที่วางขาย คินโฟล์คใน Asia Books ถึงขนาดกินที่ส่วนที่เคย เป็นของโมโนเคิลมาก่อนไปเรียบร้อยแล้ว โดยอาศัยแรงส่งของโซเชียล มีเดียอย่าง Pinterest และ Instagram (ทั้งคู่เปิดตัวในปี 2553) คำ�ว่า ‘แนวคินโฟล์ค’ ได้เริ่มเป็นที่รู้จักใน มีอะไรใหม่ๆ ให้ทำ� ฐานะอะไรก็ตามที่เกี่ยวกับเส้นใยธรรมชาติ ของ นานๆ ทีในบรรณพิภพจะปรากฏนิตยสารที่ ทำ�มือ และวัตถุดิบจากท้องถิ่น อิทธิพลของ สามารถกำ�หนดรสนิยมความงามของคนในสังคม คินโฟล์คอย่างที่ว่า แพร่กระจายไปตามวงการ ได้ อย่างเช่น Wallpaper* นิตยสารแนวมินิมอล- ศิลปะและเวิร์กช็อปงานฝีมือทั่วโลก ก่อนจะเดิน ลิสต์ของไทเลอร์ บรูเล่ หรือ Monocle นิตยสาร ทางมาถึงกรุงเทพฯ ในที่สุด เล่มต่อมาของเขาซึ่งเน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการทูต ใหม่ แห่งชามเริญ สตูดิโอกล่าวว่า “มัน เมืองน่าอยู่ และงานลักชัวรีแบบทำ�มือ เหมือนกับแฟชั่นเลย พลังของโซเชียล มีเดียมีส่วน Kinfolk (ซึง่ มีค�ำ โปรยว่า ‘Discovering New อย่างมาก พวกภาพวิถีชีวิตแบบสโลว์ ไลฟ์ แบบ Things to Cook, Make and Do’) ก็คอื อีกหนึง่ ฮิปสเตอร์ที่แชร์ๆ กันทำ�ให้คนเริ่มอยากทำ�งาน นิตยสารทีม่ ศี กั ยภาพในระดับนัน้ โดยนิตยสารราย ฝีมือ และคนส่วนใหญ่ก็ติดต่อเราผ่านโซเชียล ไตรมาสฉบับนีก้ อ่ ตัง้ โดยนาธาน วิลเลียมส์ ชาวเมือง มีเดียนี่แหละ” พอร์ตแลนด์ รัฐออริกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา Olive Creative Laboratory ที่เปิดเมื่อเดือน ผู้ต้องการผลักดันแนวคิดสโลว์ ไลฟ์และการหวน ธันวาคมที่ผ่านมา ก็เป็นอีกที่หนึ่งที่นำ�เสนอชั้น คืนสู่ธรรมชาติ โดยผ่านการใช้ภาพพอร์เทรตใน เรียนงานฝีมือหลากหลายในห้องซึ่งมีทั้งหน้าต่าง แสงธรรมชาติ และการถ่ายรูปอาหารลงบนพื้นที่ สูงจรดเพดานและผนังอิฐสีขาวตามตำ�รับ เป็นเพียงแผ่นไม้เก่าๆ ในเวลาเพียง 5 ปีนับจาก
ต่างๆ เช่น ทริปล่าสุดที่อุดรธานี ซึ่งผู้เข้าร่วม ได้มีโอกาสลิ้มรสวัตถุดิบจากท้องถิ่นและลอง ทำ�เวิร์กช็อปงานหัตถกรรมอีสานไปตลอดทาง เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนแนวคิดและ เทคนิคต่างๆ เพราะการเรียนรู้จากท้องถิ่นและ การกลับมากินของในท้องถิ่นนี้เองคือสิ่งที่ถือ กันว่าเป็นหัวใจของคินโฟล์ค
Ming Chokpaiboon
ในวันหนึง่ คำ�ว่า ‘แนวคินโฟล์ค’ อาจ กลายเป็นอดีต แต่ บรรดาผูจ้ ดั เวิรก์ ช็อป งานฝีมอื ของกรุงเทพฯ ต่างเชือ่ ว่าความอยาก ปลดปล่อยความคิด สร้างสรรค์ และลงมือ ทำ�มากกว่าซือ้ จะไม่ เลือนหายไปง่ายๆ
(โดยในกรณีหลังจะแบ่งเป็น 2 อาทิตย์) วิชาที่เปิด สอนมีตั้งแต่การทำ�เครื่องปั้นดินเผา การมัดย้อม ไปจนถึงการทำ�น้ำ�มันหอมระเหย โดยค่าใช้จ่าย เริม่ ต้นจาก 1,800 บาท สำ�หรับเวิรก์ ช็อปเรียนลงสี เซรามิก 1 วัน อย่างไรก็ตาม กว่าชามเริญ สตูดโิ อจะ ได้รับความนิยมอย่างในปัจจุบัน แมกกาซีน สโลว์ ไลฟ์และโซเชียล มีเดียถือเป็น 2 ปัจจัยที่มี ส่วนช่วยอย่างมาก
คินโฟล์คที่ดี โดยเพียงผูกผ้ากันเปื้อนและก้าว เข้าไปในห้อง ผูเ้ รียนก็จะสามารถเรียนวาดภาพ สีน�ำ้ ผสมเบลนด์กาแฟ ทำ�มงกุฎดอกไม้ หรือ เรียนวิธถี า่ ยภาพให้สวยด้วยไอโฟน ร่วมไปกับ บรรดาเด็กสาววัยรุน่ ร่วมชัน้ เรียนอืน่ ๆ ได้ “นับตั้งแต่มีพินเทอเรสและอินสตาแกรม ก็มีวิธีทำ�อะไรเจ๋งๆ ให้เราหาดูได้ง่ายๆ เต็มไป หมด คนเลยได้เห็นว่าคนอื่นเขาทำ�อะไรกัน แล้วก็เริ่มอยากลองทำ�บ้าง ยิ่งพอพวกเขาแชร์ ลงบนโลกออนไลน์ คนก็ยิ่งให้ความสนใจมาก ขึ้นไปอีก” เต้ จุฑาภัทร บันไดเพชร หนึ่งใน ผู้ก่อตั้งโอลีฟ ครีเอทีฟ แล็บบอราทอรีกล่าว แม้ชื่อวิชาที่สอนอาจฟังเหมือนเช็กลิสต์ กิจกรรมมาตรฐานของฮิปสเตอร์ แต่โอลีฟ ครีเอทีฟ แล็บบอราทอรี ได้ทุ่มเทกับคุณภาพ ของผู้สอนอย่างเต็มที่ โดยจุฑาภัทรได้ชกั ชวน วิทยากรอย่าง เบนซ์-ธนชาติ (ผู้เขียนหนังสือขาย ดีชื่อ New York 1st Time) ทีมผู้เชี่ยวชาญ ด้านกาแฟจาก Roastology และนักวาดภาพ เปี่ยมพรสวรรค์ UNTITLED29Project ให้มา นำ�เวิร์กช็อปของเธอ กลุ่มที่เรียกตัวเองว่า F.A.C.T. ซึ่งย่อมา จาก Food, Art, Culture และ Travel ก็กำ�ลัง รวบรวมบุคคลมีชื่อเสียงจากสาขาต่างๆ เพื่อ นำ�เสนอประสบการณ์ใหม่ๆ ให้แก่หนุ่มสาว ชาวกรุงด้วยเช่นกัน ในเดือนกรกฎาคม ปี 2558 F.A.C.T. Collective ได้จัด ‘อาหารค่ำ� แบบคินโฟล์ค’ ขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยในขณะที่อาหารค่ำ�มื้อดังกล่าวมีภาพ ลักษณ์และอารมณ์แนวคินโฟล์คทุกอย่าง กาย ไลยมิตรวิจารณ์ หนึง่ ในผูก้ อ่ ตัง้ ย�ำ้ ว่างานนี้ มีอะไรที่ลึกซึ้งกว่าแค่ความสวยๆ งามๆ “เราเปิดเวิร์กช็อปควบคู่ไปกับการเลี้ยง มื้อค่ำ� ซึ่งไม่ได้เน้นแค่การลงมือทำ�เท่านั้น แต่ ยังเน้นกระบวนการคิดด้วย เช่น ตอนชิมและ ชงชา เราก็จะพูดกันจนถึงส่วนผสมและองค์ ประกอบที่เกี่ยวข้องในกระบวนการทั้งหมด เราคิดว่านี่คือความต่างของเราจากชั้นเรียน มัดย้อมหรือเวิรก์ ช็อปอืน่ ๆ ในตอนนี”้ กายกล่าว ทุกๆ 2 เดือนแฟกท์ คอลเล็กทิฟ จะจัด ทริปที่เรียกว่า F.A.C.T. Experience หรือ ‘การเรียนรู้เชิงประสบการณ์’ ไปยังจังหวัด
06
07
OPTIMISE | JULY 2016
55
THE GOOD LIFE Simply Organics
09
08
ซื้อขั้นต่ำ�ตามปรัชญาสโลว์ ไลฟ์ และมีเนื้อหาเกี่ยว กับวิถีชีวิตแบบเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม) ซึ่งต่อมาเธอ ต่อยอดให้เป็น Simply Organics เวิร์กช็อปที่สอน ทำ�ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ เช่นแชมพู สบู่ และผ้ามัดย้อม แอนกล่าวว่า “เราอยากช่วยให้คนใช้ชีวิตแบบ ปลอดสารพิษจริงๆ ไม่ใช่แค่อ่าน หลายคนเรียน เวิร์กช็อปเพื่อผ่อนคลาย อย่างเช่นชั้นเรียนงานฝีมือ ที่ต้องใช้สมาธิสูง จำ�พวกเย็บปักถักร้อย วาดสีน้ำ� แต่ก็เริ่มมีคนบางกลุ่มสนใจเวิร์กช็อปเพื่อทำ�เป็น ธุรกิจเหมือนกัน” ธุรกิจของคลื่นผู้ประกอบการลูกใหม่ที่มีใจรัก งานฝีมือนั้น เรียกได้ว่าครอบคลุมทุกอย่างตั้งแต่ ร้านกาแฟที่มีเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ไปจนกระทั่งศิลปิน อาหาร หรือ ‘ฟู้ด อาร์ติซาน’ ในผ้ากันเปื้อนผืนเนี้ยบ คนรุ่นใหม่เหล่านี้ใช้เรื่องความยั่งยืนและความเป็น งานฝีมือเป็นจุดขาย ไม่ว่าจะขายโดยผ่านตลาดสุด สัปดาห์หรืออินสตาแกรม จากผลสำ�รวจของ The Total Retail 2559 ซึ่งจัดทำ�โดย Price Waterhouse Cooper เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปี 2558 ระบุว่า กว่า 51% ของนักช็อปออนไลน์ในประเทศไทยซื้อสินค้า ผ่านการติดต่อโดยตรงกับผู้ขายบนโซเชียลมีเดีย ซึ่งนำ�หน้าอินเดีย (32%) มาเลเซีย (31%) และจีน (27%) อยู่ไกลลิบ ณัฏฐธิดา โต๊ะชูดี ดีไซน์เนอร์วยั 27 ปี เจ้าของ แบรนด์เสื้อผ้ายูนิเซ็กส์ ซึง่ เริม่ ขายในอินสตาแกรม เมื่อไม่นานมานี้อย่าง Seeker x Retriever ได้เข้า
ร่วมเวิร์กช็อปที่ชามเริญ สตูดิโอเพื่อเรียนการทำ�มัด ย้อมธรรมชาติจากใบไม้ เปลือกหอย และเปลือกไม้ “แนนคิดว่ามันเหมาะกับตัวเราสุดๆ เราได้เรียนรู้ หลายสิ่งหลายอย่างที่นำ�มาประยุกต์กับแบรนด์ของ ตัวเองได้ พอไปเข้าเวิร์กช็อปแล้ว เราก็กลับมานั่งสับ กากมะพร้าวบนดาดฟ้าที่บ้านเอง ตอนนี้ตลาดอาจ จะยังเป็นกลุ่มเฉพาะมาก แต่ก็กำ�ลังค่อยๆ ขยาย เดี๋ยวนี้คนไม่ได้อยากซื้อแค่ของสวยๆ งามๆ อย่าง เดียว เขาอยากให้มันมีเรื่องราว ฉะนั้น เดี๋ยวนี้พูดว่า ผ้าเราเป็นผ้าไทยไม่พอ แต่ถ้าบอกว่าผ้าเราย้อมใน บ่อน้ำ�พุร้อนที่ลำ�ปาง คนถึงได้เริ่มสนใจ” แนนพูดไป หัวเราะไป ด้วยเหตุผลทั้งหมดนี้ จึงขอเชิญชวนทุกคนให้ มาร่วมกิจกรรมมือเปรอะไปพร้อมกับบรรดาชาว ออฟฟิศหัวศิลป์อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นการประดิษฐ์กล่อง ลายดอกไม้ที่ Sugar & Spice Club ทำ�ซิลค์สกรีน บนดินเหนียวที่ Lamun Lamai หรือการจัดสวนจิ๋วใน ขวดแก้วที่ Tiny Tree ทั้งนี้ แม้เราจะไม่สามารถรับ ประกันได้ว่างานอดิเรกใหม่จะสามารถเบ่งบานเป็น ธุรกิจอินสตาแกรมที่อยู่รอดในยุคสมัยของรสนิยม อันผันเปลี่ยนรวดเร็ว หรือแม้กระทั่งว่าผลงานชิ้นเอก ชิ้นแรกจะเรียกยอดไลค์ได้หลายร้อย แต่อย่างน้อย สีหน้าเปื้อนยิ้มของมือสมัครเล่นคนอื่นๆ ก็น่าจะเป็น สิ่งเตือนใจคุณได้ว่าสิ่งตอบแทนที่ดีที่สุดจากการ ทำ�งานฝีมือนั้น ไม่ได้อยู่ที่ผลลัพธ์แต่อย่างใด
Essentials
ชามเริญ สตูดโิ อ
95 ซอยแพร่งสรรพศาสตร์ ถนนตะนาว กรุงเทพฯ โทร. 080-587-6331 www.fb.com/ charmlearnstudio95 F.A.C.T. Collective 136 ซอยรามอินทรา 52/1 ถนนรามอินทรา กรุงเทพฯ โทร. 081-750-2261 www.factcollective.com Olive Creative Laboratory 3 ชัน้ 3 เวิง้ โบราณ ซอยเอกมัย 10 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 084-164-4056 www.fb.com/olivelaboratory Seeker x Retriever โทร. 093-924-6247 www.seekerxretriever.com Simply Organic 144/25 ซอยลาดพร้าว 48 ถนนลาดพร้าว กรุงเทพฯ โทร. 096-545-7566 www.fb.com/ simplyorganicsBKK 08 ชายหนุ ่ ม มาเรี ย นย้ อ มครามที ่ Simply Organics 09 เสื ้ อ ผ้ า มี เ รื ่ อ งราวของ Seeker x Retriever
56
OPTIMISE | JULY 2016
*Phatra Edge บรกิารสำหรบันกัลงทนุทม่ีเีงนิลงทนุตง้ัแต 2 ลานบาทขน้ึไป
OPTIMISE | JULY 2016
57
THE FAST LANE ในโอกาสที่ BMW กำ�ลังจะครบรอบ 1 ศตวรรษในปีน้ี ทางบริษทั ได้ออกรคอนเซ็ปต์คาร์ Vision 100 ยานยนต์ระบบไฟฟ้าไร้ คนขับ ผิวตัวถังสีทองกุหลาบยืดหยุน่ ในขณะ ทีห่ ลายๆ คนอาจจะคิดว่านีเ่ ป็นแค่การตลาด ประเดีย๋ วประด๋าว เพราะไม่วา่ จะมีคอนเซ็ปต์คาร์ ออกมากีค่ นั แต่ไหนแต่ไรมนุษย์กข็ บั รถแบบ เดิมมาตลอด คือเติมน�ำ้ มัน ติดเครือ่ ง แล้วก็ บังคับพวงมาลัยเท่านัน้ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบนั ความเปลีย่ นแปลงใหญ่ก�ำ ลังมาถึงวงการยาน ยนต์ รถยนต์ไฟฟ้าเริม่ เป็นทีแ่ พร่หลาย รถยนต์ ไร้คนขับของกูเกิลเองก็อยูใ่ นระหว่างการทดสอบ เรียบร้อย ด้วยเหตุน้ี วาระครบรอบ 100 ปีของ บีเอ็มดับเบิลยู จึงทำ�ให้เกิดผลประหลาด คือทาง หนึง่ ก็เป็นการกระตุน้ ให้คนเริม่ มองไปในอนาคต ข้างหน้า แต่อกี ทางหนึง่ ก็เป็นการโหมให้เกิด ความโหยหาอดีตอันเกรียงไกรของบริษทั ผลิต รถยนต์บาวาเรียนรายนี้ อย่างไรก็ตาม สำ�หรับผูท้ โ่ี หยหาอดีต การ บำ�รุงรักษารถเก่าคันงามในกรุงเทพฯ ถือเป็น งานพิถพี ถิ นั ทีบ่ รรดานักสะสมต้องสูต้ ง้ั แต่ อากาศร้อนชืน้ ทีค่ อยทำ�ร้ายรถ ไปจนกระทัง่ กฎระเบียบเข้มงวดของกรมศุลกากร กระนัน้ นักสะสมยืนยันว่าสิง่ เหล่านีล้ ว้ นคุม้ ค่า เพราะ รถยนต์ทย่ี งั ต้องใช้คนขับ คือพาหนะแห่งความ
01
Tropical Bavarians ในขณะที่ BMW กำ�ลังก้าวเข้าสูป่ ที ่ี 100 การเสาะหา ซ่อมแซม และบำ�รุงรักษารถจากอดีตยุค 70s ของผูผ ้ ลิต รถยนต์สญ ั ชาติเยอรมันรายนีก้ ลับกลายเป็นเรือ่ งคึกคัก แม้กระทัง่ ในประเทศไทย ซึง่ อยูไ่ กลจากแหล่งกำ�เนิดกว่า ครึง่ ค่อนโลก 58
OPTIMISE | JULY 2016
สุนทรียท์ ย่ี งั ไม่มเี ทคโนโลยีไหนมาแทนได้งา่ ยๆ ยุคทองของผูผ้ ลิตรถยนต์จากมิวนิกรายนีเ้ ริม่ ตัง้ แต่ BMW 2002 รุน่ ปี 1966 ไปจนถึงรถ E30 รุน่ ปี 1985 เพราะเป็นยุคของรถซีดาน (4 ประตู) และคูเป้ (2 ประตู) แบบสปอร์ต ซึง่ แม้แต่ผู้ บริหารระดับกลางก็มกี �ำ ลังซือ้ หามาได้ ศุภวิทย์ วงศ์ววิ ฒ ั น์ ผูน้ �ำ เข้าคราฟต์เบียร์และไซเดอร์ อย่าง Brew Dogs และ Eviltwin Brewing เป็น เจ้าของ Alpine 2002 สีขาว อันถือกันว่าเป็นรถที่ แสดงความเป็นบีเอ็มดับเบิลยูได้อย่างดียง่ิ คือโฉบ เฉีย่ ว ปลอดภัย และหรูหรา โดยไม่ถงึ กับมีราคาสูง เกินเอือ้ มอย่างซูเปอร์คาร์เฟอร์รารี หรือพอร์ช “ผมเคยลองขับ 02 ของเพือ่ นคนหนึง่ แล้วก็ รักทันที เพราะให้ความรูส้ กึ ทีด่ บิ สะใจมาก” ศุภวิทย์กล่าว ‘02’ คือชือ่ ของซีรสี ร์ ถคูเป้แบบ สปอร์ตทีบ่ เี อ็มดับเบิลยูเริม่ ผลิตในปี 1966 อัน ได้แก่รนุ่ 1502, 1602, 1802 และ 2002 โดยใช้ ต้นแบบจากรถซีดานรุน่ ใหม่ทเ่ี รียกว่า ‘นิว คลาส (Neue Klasse)’ ในสมัยนัน้ โดย 02 นีเ่ องทีเ่ ป็น รถทีท่ �ำ ให้บเี อ็มดับเบิลยูหลุดออกจากสภาพ จวนล้มละลายและกลายมาเป็นแบรนด์ตดิ หูใน ปัจจุบนั อย่างไรก็ตาม ต่อให้เป็นรุน่ ซีดานทีเ่ น้น ความสบาย บีเอ็มดับเบิลยูกย็ งั ทำ�ได้แรงจนเป็น ทีน่ ยิ มต่อมาอีกหลายทศวรรษเช่นกัน เมือ่ เทียบกับรถยนต์ทผ่ี ลิตในอิตาลีชว่ งยุค 03
02
รูปลักษณ์ภายนอกไม่ใช่สิ่ง เดียวที่ซีดานรุ่นปี 1962 และคูเป้รุ่นปี 1964 ใช้ใน การกระตุ้นยอดขาย ภายใต้ฝากระโปรงมันวับ คือเครื่องยนต์ M10 ซึ่งพิสูจน์แล้วว่ามีสมรรถนะ เป็นเลิศ 01 ศุ ภ วิ ท ย์ ก ั บ BMW 2002 รุ ่ น ปี 1973 ที ่ ไ ด้ ร ั บ การบู ร ณะแล้ ว 02 แผงหน้ า ปั ด ของ BMW 2002 ให้ อ ารมณ์ ส ปอร์ ต แบบดิ บ ๆ 03 BMW ฉลองครบรอบศตวรรษด้ ว ยการเผย โฉมคอนเซ็ ป ต์ ค าร์ Vision 100
เดียวกัน นิวคลาส 4 ประตูไม่ได้มเี สน่หก์ ว่ามาก นักในแง่ของดีไซน์ ซึง่ แปลว่ารูปลักษณ์ภายนอก ไม่ใช่สง่ิ เดียวทีร่ ถซีดานใช้ในการกระตุน้ ยอดขาย ภายใต้ฝากระโปรงมันวับคือเครือ่ งยนต์ M10 ซึง่ พิสจู น์แล้วว่ามีสมรรถนะเป็นเลิศ “เครือ่ งยนต์ M10 คือสุดยอด” ศุภวิทย์พดู ถึงแท่นเครือ่ งยนต์ 4 สูบ 2,000 ซีซี ทีอ่ ยูใ่ นรถรุน่ 2002 ของเขา “ไม่เคยดับเลย บีเอ็มดับเบิลยูถงึ ได้ ใช้รนุ่ นีอ้ ยูเ่ ป็นสิบๆ ปี แถมยังนำ�ไปใช้ในการแข่ง ฟอร์มลู าวันด้วย ในบรรดารถของผม คันนีข้ บั สนุก สุด คันอืน่ อาจแรงกว่าก็จริง แต่คนั นีข้ บั แล้วรูส้ กึ เร็วกว่า ผมชอบมาก” ปัจจุบนั นี้ ราคารถรุน่ 2002 คันหนึง่ จะตกอยู่ ทีร่ าวๆ 250,000-350,000 บาท แต่ราคายังขึน้ อยู่ กับอีกหลายปัจจัย เช่น สภาพตัวรถ ประวัตกิ ารใช้ งาน ใบอนุญาตและเอกสารประกอบ รวมถึงการ ปรับแต่งรถด้วย ศุภวิทย์เล่าว่า “เวลาซือ้ รถ คนมักจะตัดสิน จากค่างานสีบนตัวถังทีต่ อ้ งไปทำ� คือทำ�สีใหม่อาจ จะเสียเงินสักแสน แต่จริงๆ แล้วเรือ่ งสีนา่ ห่วงน้อย ทีส่ ดุ ทีค่ วรห่วงมากกว่าคือรถขับเอียงซ้ายหรือ ขวาไหม เคยประสบอุบตั เิ หตุไหม อะไหล่แท้ไหม เครือ่ งยนต์มปี ญ ั หาอะไรหรือเปล่า เวลาผมไปดูรถ OPTIMISE | JULY 2016
59
ในทางปฏิบัติแล้ว เป็นไปไม่ได้ที่จะนำ�รถรุ่น คลาสสิกเข้ามาในไทย ก่อนหน้านี้อาจจะพอมี ทาง เช่นให้นักเรียนไทย ที่ไปเรียนเมืองนอกนำ� ‘รถยนต์ส่วนตัว’ กลับมา บ้านเกิดด้วย แต่เดี๋ยวนี้ใช้ วิธีนั้นไม่ได้แล้ว ผมถึงต้องพาช่างไปช่วยดูดว้ ยทุกครัง้ ” ช่างของศุภวิทย์คอื วินยั แสนทอง วินยั เริม่ งานตอนอายุ 13 ปี จากการเป็นลูกมือ ช่างทีอ่ ู่ ‘ดำ�เนิน สปีด’ ซึง่ เป็นของยนตรกิจ ผูผ้ ลิตและนำ�เข้าบีเอ็มดับเบิลยูรายแรกใน ประเทศไทย ตัง้ แต่ทร่ี ฐั บาลห้ามนำ�เข้ารถยนต์ ทัง้ คันในปี 1978 ครอบครัวลีนตุ พงษ์แห่งกลุม่ ยนตรกิจได้กลายมาเป็นหนึง่ ในผูผ้ ลิตรถยนต์ให้ กับบีเอ็มดับเบิลยูรายแรกทีต่ ง้ั อยูน่ อกประเทศ เยอรมนี จนกระทัง่ ในปี 1998 บีเอ็มดับเบิลยูได้ เข้ามาควบซือ้ กิจการการผลิต จัดจำ�หน่าย และ ซ่อมบำ�รุงรถยนต์ของตัวเองในไทย และก่อตัง้ บริษทั Bayerishe Motoren Werke (Thailand) Co., Ltd. ขึน้ มา ในปัจจุบนั BMW Group Manufacturing Thailand นัน้ ถือเป็นยักษ์ใหญ่ โดยเพิง่ เปิดตัวศูนย์รวมอะไหล่รถยนต์มลู ค่ากว่า 220 ล้านบาท ซึง่ รองรับการจัดจำ�หน่ายอะไหล่ สำ�รองได้มากถึง 40,000 ชิน้ ต่อวัน ทั้งนี้ทั้งนั้น การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดของ บีเอ็มดับเบิลยูไม่ทำ�ให้วินัยยินดียินร้าย เพราะ ดูเหมือนความสนใจในบีเอ็มดับเบิลยูของเขา จะหยุดอยู่ที่รถยุค 70s ถึงกลางยุค 80s เท่านั้น อู่รถของเขานั้นคือแหล่งขุมทรัพย์ของ บีเอ็มดับเบิลยูรนุ่ วินเทจ ไม่วา่ จะเป็นซีรสี ์ 02 หรือรุน่ E21, E30, E28 รวมถึงกระทัง่ โมเดลอัน เป็นทีห่ มายปองอย่าง E9 ซึง่ เป็นรถคูเป้ทผ่ี ลิต 60
OPTIMISE | JULY 2016
04
ระหว่างปี 1968-1975 โดยสนนค่าตัวอยูร่ าวๆ 1.5 ถึง 3 ล้านบาท ขึน้ อยูก่ บั สภาพตัวรถและทีม่ า วินยั บอกว่าสภาพอากาศร้อนชืน้ บ้านเรา แทบจะทำ�ร้ายรถได้พอๆ กับการชนประสาน งาเลยทีเดียว ทีอ่ ขู่ องวินยั มีรถซึง่ คนบริจาคไว้ สำ�หรับใช้เป็นอะไหล่ส�ำ รอง เนือ่ งจากตัวรถ เยินเกินซ่อมอยูห่ ลายคัน “คันนีโ้ ดนสนิมกินลึก เกินไป” เขาพูดพร้อมกับชีไ้ ปที่ E21 ทัง้ นี้ แม้ จะสภาพดีและได้ดไี ซน์เรียบหรูจากผลงาน นักออกแบบรถชือ่ ดังอย่าง พอล บราค แต่รถ รุน่ ลูกของ 2002 คันนี้ กลับเรียกค่าตัวได้เพียง 100,000-150,000 บาทเท่านัน้ ธนบดี เหมสุจิ ผูจ้ ดั การภูมภิ าคของสำ�นักงาน ส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) ก็เป็นอีกคนทีต่ ดิ ใจในม้าเหล็กบาวาเรียน เขาเป็น เจ้าของ E24 ซึง่ ออกมาแทนทีร่ นุ่ E9 รถรุน่ ดัง กล่าวเป็นหนึง่ ในรถซีรสี ์ 6 ทีม่ สี มรรถนะเหนือ กว่า E21 อยูส่ องเท่าตัว ธนบดีเล่าว่า “รถคนนี้ เคยเป็นของแม่มาก่อน แม่ผมชอบขับรถซิง่ ตอนนัน้ ท่านทำ�งานเป็นผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายช่าง ของการบินไทย ชอบพวกเครือ่ งยนต์เอามากๆ แม่เคยเอารถเก่ามาซ่อมจนใหม่เอีย่ มไปหลาย คัน มี Citroen DS 2 คัน แล้วก็มี Jaguar รุน่ e ท่านถือเป็นผูห้ ญิงแนวมากๆ” รถรุน่ E24 ของธนบดีถอื เป็นรุน่ ปิดตัวยุค ทอง โดยเมือ่ เปิดตัวครัง้ แรกในปี 1976 รถรุน่
นีม้ าพร้อมกับพวงมาลัยเพาเวอร์ ระบบหัวฉีด อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงคอมพิวเตอร์ในตัว ทัง้ นี้ การเกิดวิกฤตน�ำ้ มันขึน้ ได้ท�ำ ให้วงการรถยนต์ ทีเ่ คยใช้แต่ภาพลักษณ์เรือ่ งความอิสระและ ความดุดนั เป็นจุดขาย ต้องเปลีย่ นเป็นขายความ คุม้ ค่า ประหยัด และปลอดภัย รถรุน่ E24 ได้ เป็นเสมือนรุน่ ทิง้ ทวนทีย่ งั มีความแรงล้นเหลือ เนือ่ งจากได้รบั การบูรณะและประกอบขึน้ ใหม่ ด้วยอะไหล่จาก Alpina B9 เป็นการยากทีจ่ ะพูดถึงยุคเฟือ่ งฟูของ บีเอ็มดับเบิลยู โดยไม่เอ่ยถึงบริษทั อย่าง Alpina Burkard Bovensiepen บริษทั อัลพินาก่อตัง้ ใน รัฐบาวาเรียในปี 1965 และได้รบั ใบอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจในฐานะผูผ้ ลิตรถยนต์ ถึง อัลพินาจะไม่ได้ผลิตรถภายใต้แบรนด์ของตัว เอง แต่กไ็ ด้น�ำ รถบีเอ็มดับเบิลยูออกจากสาย การผลิตในโรงงานมาอัพเกรดเพิม่ สมรรถนะ ก่อนจะเปลีย่ นชือ่ รุน่ และหมายเลขประจำ�ถัง รถใหม่ อย่างไรก็ตาม ด้วยข้อจำ�กัดจากกฎ ระเบียบการนำ�เข้าของไทย รถของธนบดีจงึ ไม่มี หมายเลขทีว่ า่ ปรากฏอยู่ “ในทางปฏิบตั แิ ล้ว เป็นไปไม่ได้ทจ่ี ะนำ�รถ รุน่ คลาสสิกเข้ามาในไทย ก่อนหน้านีอ้ าจจะพอ มีทาง เช่นให้นกั เรียนไทยทีไ่ ปเรียนเมืองนอกนำ� ‘รถยนต์สว่ นตัว’ กลับมาบ้านเกิดด้วย แต่เดีย๋ วนี้ ใช้วธิ นี น้ั ไม่ได้แล้ว” ธนบดีกล่าว เพราะแน่นอน
ว่าเมือ่ จำ�นวนของนักเรียนไทยทีก่ ลับบ้านเกิด พร้อมกับพอร์ชหรือเฟอร์รารีเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ จน ผิดสังเกต ช่องโหว่ทางกฎหมายก็ถกู ปิดลง ส่วน E24 ของธนบดีเอง ได้ถกู นำ�เข้ามาเมือ่ หลายสิบปีกอ่ นโดย “พลตำ�รวจท่านหนึง่ ซึง่ ขายรถต่อให้คณ ุ ตา” หรือพูดให้ถกู ก็คอื ตัวถัง ของ E24 ทีต่ อ้ งพูดอย่างนีก้ เ็ พราะ เนือ่ งจากรถรุน่ อัลพินาไม่เคยถูกนำ�เข้ามาในประเทศ คนไทยทีช่ อบอัลพินาจะต้องสัง่ แยกรถออก เป็น 2 ส่วนทีต่ า่ งประเทศ (ซึง่ มักจะเป็นญีป่ นุ่ หรือแอฟริกาใต้ เพราะทีน่ ง่ั คนขับอยูฝ่ ง่ั ขวา) และนำ�เข้ามาในรูปแบบของชิน้ ส่วนอะไหล่ ครึง่ หน้าของรถ เบาะทีน่ ง่ั ไฟท้าย และองค์ ประกอบอืน่ ๆ เหล่านีจ้ ะถูกส่งเข้ามาเพือ่ ประกอบเข้ากับรถบีเอ็มดับเบิลยูคนั ทีเ่ ข้ามา เมืองไทยอย่างถูกกฎหมาย (ส่วนใหญ่คอื รถที่ ถูกนำ�เข้ามานานแล้ว) ธนบดีจงึ นับเป็นผูโ้ ชค ดีอย่างมาก ทีห่ าได้ทง้ั บีเอ็มดับเบิลยูลกั ษณะ ทีว่ า่ ตลอดจนชิน้ ส่วนรถ Alpina B9 ทีม่ คี นนำ� เข้ามาจากญีป่ นุ่ เขาเล่าว่า “ผมจับมาซ่อมใหม่ทง้ั คัน ทัง้ งานสนิม งานทำ�สี แล้วก็วางช่วงล่างใหม่
เรียกว่าทำ�ทุกอย่าง นอกจากตัวถังแล้ว บอก ได้เลยว่ารถคันนีถ้ อดแบบ Alpina B9 มาถึง 90%” จุฬา แก้วคำ�แสน ผูเ้ ป็นเจ้าของรถรุน่ E12 ทีผ่ ลิตในปี 1975 ซึง่ เป็นรถรุน่ แรกภาย ใต้ซรี สี ์ 5 ในตำ�นาน ก็เป็นอีกคนทีต่ อ้ งผ่าน กระบวนการซับซ้อนในการบูรณะรถและ อัพเกรดให้เป็นสเปกรุน่ อัลพินา “รถสมัยนัน้ คุณภาพคนละเรือ่ งกับตอนนี้ เลย ลักษณะการประกอบชิน้ ส่วนภายในก็จะ ไม่มแี ตกหรือหลุด ไม่มเี สียงรบกวนด้วย ผมใช้ รถคันนีป้ ระจำ�ทุกวันมาหลายปีแล้ว และก็ยงั ไม่เคยเจอปัญหาอะไรเลย” จุฬากล่าว บางทีอาจเป็นเพราะว่ารถตระกูลนีแ้ ละ อะไหล่ส�ำ รองของมันเป็นของหายากอย่างยิง่ ในบรรดากลุม่ นักสะสมทีเ่ ราเจอจึงมีความ สัมพันธ์เหนียวแน่นเหมือนเป็นชุมชนเล็กๆ เจ้าของบีเอ็มดับเบิลยูรนุ่ ปูด่ จู ะรูจ้ กั กันหมด และคอยช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี “นึกถึง E12 ต้องนึกถึงผม ผมสร้างเว็บบอร์ดและคอยให้ค�ำ ปรึกษาคนทีต่ อ้ งการคำ�แนะนำ� ทุกคนจะรูจ้ กั ผม ในฐานะผูก้ อ่ ตัง้ เว็บไซต์ bmwe12thailand.com” จุฬาพูดเสริม ธนบดีเองก็มองว่ารถของเขาเป็น
เสมือนตราเกียรติยศเช่นเดียวกัน เขากล่าวว่า “รถคันนีค้ อื ตัวตนของผม มันคือผม เพราะมี ไม่กค่ี นหรอกทีจ่ ะโชคดีหาได้ คนทีม่ จี ะรูจ้ กั กัน หมดบนเฟสบุค๊ เรามีไลน์กลุม่ กันด้วย แล้วทุก คนก็จะคอยช่วยกัน ขอแค่บอก” เห็นจะจริงอย่างคอนเซ็ปต์ของ Vision 100 ทีว่ า่ อนาคตเป็นของยานยนต์ระบบไฟฟ้า ไร้คนขับ อันทีจ่ ริง พิจารณาจากภาวะโลกร้อน ทีท่ �ำ ให้เราเจอภัยแล้งหนักเป็นประวัตกิ ารณ์ หรือยอดผูป้ ระสบอุบตั เิ หตุบนถนนใน สงกรานต์ทผ่ี า่ นมาทีต่ อกย�ำ้ ว่าประเทศไทยมี ผูเ้ สียชีวติ จากอุบตั เิ หตุบนถนนสูงเป็นอันดับ 2 ของโลกแล้ว ความคิดทีว่ า่ รถยนต์ใช้น�ำ้ มันจะ ถูกห้ามใช้ในอนาคตดูไม่ใช่เรือ่ งเป็นไปไม่ได้ เสียทีเดียว อย่างไรก็ตาม หากว่าเรือ่ งราวของนักสะสม บีเอ็มดับเบิลยูชาวไทยจะบ่งบอกอะไรได้บา้ ง สิง่ นัน้ ก็คอื บรรดาผูค้ ลัง่ ไคล้รถยนต์พร้อมทีจ่ ะ บากบัน่ เพือ่ นำ�เครือ่ งยนต์ดดุ นั จากอดีตมาโลด แล่นต่อไปให้ได้เสมอ ดูเหมือนว่า แม้สมองอาจ จะไม่เห็นด้วย แต่แค่แวบเดียวทีไ่ ด้ยลโฉม บีเอ็มดับเบิลยู E9 คันเงาวับ หัวใจของพวกเขาก็ จะกลับตะโกนว่า “ลุย!” ในทันใด
05
04 รถ E24 ของธนบดี ซ ึ ่ ง ได้ ร ั บ การปรั บ แต่ ง โดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญด้ า นสมรรถนะจาก Alpina 05 อู ่ ร ถของวิ น ั ย ซึ ่ ง เปรี ย บเสมื อ นแหล่ ง ขุ ม ทรั พ ย์ ข อง BMW ช่ ว งยุ ค 70s 06 คอนเซ็ ป ต์ ค าร์ อ ี ก รุ ่ น หนึ ่ ง ของ BMW ในปี นี ้ ซึ ่ ง หวนให้ ้ ร ะลึ ก ถึ ง BMW 2002
06 OPTIMISE | JULY 2016
61
LIVING SPACE มีค�ำ ถามเล่นๆ ว่าถ้าพูดชือ่ The Beer Cap หรือ The Lobster Lab หรือ Holly Molly หรือ Pie Barrio Bonito หรือ Xiao Chi และ Egg My God ขึน้ มา มีชอ่ื ไหนทีค่ นรูจ้ กั บ้าง อันทีจ่ ริงแล้ว จากผูเ้ ช่าทัง้ หมดกว่า 30 รายในศูนย์การค้าเปิด ใหม่ของซอยทองหล่ออย่าง The Commons เป็นไปได้วา่ ชือ่ ทีค่ นคุน้ หูอาจมีเพียง Roast และ Peppina สองร้านเท่านัน้ อย่างไรก็ตาม ก่อนทีเ่ ราจะสรุปว่า ศูนย์การค้าอย่างเดอะ คอมมอนส์เป็นเพียง ของแปลกชัว่ ครัง้ ชัว่ คราว ในอีกไม่กอ่ี าทิตย์ ต่อมาหลังการเปิดตัวของเดอะ คอมมอนส์ (กุมภาพันธ์ปี 2559) ก็มศี นู ย์การค้าผุดขึน้ บน อีกฟากถนน คือ 72 Courtyard ผลงานดีไซน์ เตะตาของบริษทั สถาปนิกชัน้ นำ� ซึง่ เลือกใช้พน้ื ที่ เปิดโล่งแทนการติดแอร์ และมีผเู้ ช่าชือ่ แปลก หูอย่างเช่น Touche Hombre และ BEAM ใน ทำ�นองเดียวกับเดอะ คอมมอนส์เช่นกัน ทัง้ นี้ ขณะทีก่ �ำ ลังเขียนบทความ 72 คอร์ทยาร์ดยังไม่ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการ แต่ในฟากของเดอะคอมมอนส์นน้ั ได้คลาคลํา่ ไปด้วยนักแสวงความคูลชาวกรุงทุกสุดสัปดาห์ มานับตัง้ แต่เปิด ดูเหมือนสิง่ ทีด่ คู ล้ายกระแส นิยมชัว่ ครัง้ ชัว่ คราวนี้ แท้จริงอาจมีรากฐานมา จากรสนิยมทีเ่ ปลีย่ นไปของคนกรุงเทพฯ และ แม้แต่หา้ งยักษ์ใหญ่เจ้าเก่า ก็ยงั ไม่อาจปฏิเสธ ความเปลีย่ นแปลงนีเ้ ช่นกัน
01
The New Face of Retail คอมมูนิตี้ มอลล์เล็กๆ ที่เปิดตัวขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกันอย่าง The Commons และ 72 Courtyard อาจไม่ใช่แค่เรื่องบังเอิญ หากเป็นปรากฎการณ์ที่ สะท้อนรสนิยมการกินการใช้ที่เปลี่ยนไปของคนกรุงเทพฯ 62
OPTIMISE | JULY 2016
01 The Commons ที่เน้นร้านรวง ของตัวจริงแห่ง แวดวงอาหาร
การเปิดตัวของห้างยักษ์ใหญ่อย่าง Central Embassy และ The EM District ในปี 2557คอมมูนติ ้ี มอลล์ไม่ใช่ของใหม่ส�ำ หรับ 2558 ยิง่ ช่วยตอกย�ำ้ ว่าโมเดล ‘bigger is better’ กรุงเทพฯ ทีค่ นรูจ้ กั มากหน่อยคงเป็น J Avenue จะยังคงครองตลาดต่อไป อย่างน้อยก็อกี ชัว่ ซึง่ เปิดในปี 2547 แต่กระแสคอมมูนติ ้ี มอลล์นน้ั มาแรงทีส่ ดุ ในช่วงปี 2553-2555 ด้วยการเปิดตัว ระยะหนึง่ จาเรด โอ’ไบรอัน กรรมการผูจ้ ดั การของ ของ K Village ตามมาด้วย Festival Walk และ Nawamin City Walk แถวเกษตรนวมินทร์ Rain Sapparot Group ซึง่ อยูเ่ บือ้ งหลังร้านกาแฟสไตล์ Hill บนถนนสุขมุ วิท Seenspace และ Grass ใน สแกนดิเนเวียน Rocket รวมถึงบาร์และร้าน อาหารชิคๆ อย่าง Lady Brett และ U.N.C.L.E. ย่านทองหล่อ Aree Garden และ La Villa ใน ได้ผา่ นประสบการณ์คา้ ปลีกมาแล้วหลายรูปแบบ ย่านอารีย์ Crystal Design Center และ The Crystal แถวเลียบทางด่วนริมอินทรา The Portico ตัง้ แต่ศนู ย์การค้าขนาดใหญ่ ขนาดย่อม หรือแม้ ย่านหลังสวน รวมถึง Park Lane ในเอกมัย ทำ�ให้ กระทัง่ ร้านเดีย่ วริมถนน อย่างไรก็ตามเขาไม่ได้ แหล่งช็อปปิง้ ซึง่ เคยถูกครอบครองมายาวนาน มองศูนย์การค้าเฉพาะในแง่ขนาดพืน้ ที่ แต่ยงั รวมถึงรายชือ่ ร้านทีถ่ กู เลือกเข้ามาด้วย โดยศูนย์การค้าอย่าง Central และ The Mall “ถามว่าถ้าเป็นเมือ่ 5 ปีกอ่ น เดอะ คอมมอนส์ Group (Paragon และ Emporium) จูๆ่ กลับถูก กับ 72 คอร์ทยาร์ด จะมีทางเกิดขึน้ ได้ไหม แทรกด้วยโครงการขนาดกลางนับสิบๆ แห่ง ซึง่ ส่วนใหญ่มกั มีขนาดกะทัดรัด เลย์เอาต์แบบเปิด ก็อาจจะเป็นไปได้ แต่ถา้ เป็นเมือ่ 10 ก่อน ไม่มี ทางแน่นอน เวลามีใครเปิดคอมมูนติ ้ี มอลล์ โล่ง (และการตกแต่งด้วยหญ้าปลอม!) จะมีรา้ น 20-30 เจ้าทีพ่ ร้อมจะเข้ามาเช่าทันที เมือ่ ปลายปี 2556 Colliers International แม้วา่ ร้านพวกนัน้ จะมีอกี สาขาตัง้ อยูแ่ ทบจะ Thailand รายงานว่ามีพน้ื ทีค่ า้ ปลีกรวมกว่า ฝัง่ ตรงข้ามอยูแ่ ล้ว คือพวกร้านอย่างสตาร์บคั ส์ 117,000 ตารางเมตรทีว่ างแผนจะเปิดตัวขึน้ และเอ็มเค แต่คนทำ� 72 คอร์ทยาร์ดและเดอะ ภายในสิน้ ปี โดยเป็นคอมมูนติ ้ี มอลล์ยา่ น คอมมอนส์ ไม่ใช่อย่างนัน้ พวกนีเ้ ป็นเด็กรุน่ ใหม่ ชานเมืองทัง้ หมด ถึงขนาดมีการเชียร์วา่ เคยเรียนและใช้ชวี ติ ต่างประเทศ มีวธิ คี ดิ ทีต่ า่ ง คอมมูนติ ้ี มอลล์เป็น ‘the hottest retail ออกไป และทำ�งานเก่งมาก 2 เจ้านีไ้ ม่รบั ผูเ้ ช่าที่ category’ อย่างไรก็ตาม ในเดือนกุมภาพันธ์ เป็นแบรนด์ใหญ่เลย แต่เลือกร้านเล็กๆ ใน ทีผ่ า่ นมาคอลลิเออร์สก็กลับลำ� โดยบอกว่า “ความแปลกใหม่ของคอมมูนติ ้ี มอลล์เริม่ หมด ท้องถิน่ แทน” โอ’ไบรอันกล่าว โอ’ไบรอันเชือ่ ว่าตลาดนัดสุดสัปดาห์คอื สิง่ ไปและการพัฒนาโครงการใหม่ได้ชะลอตัวลง”
จิว๋ แต่แจ๋ว?
จากผูเ้ ช่าทัง้ หมดกว่า 30 รายในศูนย์การค้าเปิดใหม่ ของซอยทองหล่ออย่าง The Commons เป็น ไปได้วา่ ชือ่ ทีค่ นคุน้ หูอาจมี เพียง Roast และ Peppina สองร้านเท่านัน้
02 พื้นที่นั่งทาน อาหารคลาคลํ่า ไปด้วยผู้คน แทบทั้งวัน
02 OPTIMISE | JULY 2016
63
LIVING SPACE ทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลังการเปลีย่ นแปลงครัง้ นี้ “เดิมทีมี ตลาดนัดใหญ่ๆ อยูแ่ ค่แห่งสองแห่ง แต่ตอนนี้ ใครมีพน้ื ทีก่ ว้างๆ ก็เปิดตลาดนัดกันหมด คนเริม่ รูว้ า่ ตัวเองมีทางเลือกใหม่นอกเหนือจากแค่ถกู ขังอยูห่ อ้ งแอร์ในห้าง กรุงเทพฯ อาจตามหลัง โตเกียว ลอนดอน และซิดนียอ์ ยูเ่ ป็น 10 ปี แต่ตอนนีก้ �ำ ลังไล่ทนั แล้ว” โอ’ไบรอันเล่าต่อ “ตลอดระยะเวลา 5 ปีทผ่ี า่ นมา ผูบ้ ริโภค เปลีย่ นไปเยอะ เขาไม่ได้ตอ้ งการแค่ของดูดี ของ อร่อย แต่เขาเริม่ อยากทราบเรือ่ งราวของมัน” วิชรี วิจติ รวาทการ หนึง่ ในสองพีน่ อ้ งผูก้ อ่ ตัง้ เดอะ คอมมอนส์ กล่าว และด้วยเหตุนเ้ี อง วิชรีและ วรัตต์ ผูเ้ ป็นพีช่ าย จึงเชือ่ ว่ากรุงเทพฯ ต้องการสิง่ ปลูกสร้างแบบใหม่เพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงนี้ “ร้านทีเ่ ราเลือกส่วนใหญ่เคยอยูต่ ามตลาด นัดขายสินค้า ร้านเหล่านีเ้ ล็กเกินกว่าทีจ่ ะจับจอง พืน้ ทีใ่ นห้างใหญ่ๆ และไปสูก้ บั คูแ่ ข่งอีกกว่า 400 เจ้าได้ เราเลยคิดว่าเราจะไม่เป็นสถานทีท่ ค่ี นมา เดินแค่เดือนละครัง้ เราอยากเป็นสถานทีท่ ค่ี นมา กันได้ทกุ วันมากกว่า” วิชรีกล่าว
ส่วนรวมหรือส่วนบุคคล
นอกเหนือจากพืน้ ทีส่ �ำ หรับแบรนด์ทอ้ งถิน่ แล้ว เดอะ คอมมอนส์ และ 72 คอร์ทยาร์ดยัง
คนทำ� 72 คอร์ทยาร์ด และเดอะ คอมมอนส์ พวก นี้เป็นเด็กรุ่นใหม่ เคยเรียน และใช้ชีวิตต่างประเทศ มีวิธีคิดที่ต่างออกไปและ ทำ�งานเก่งมาก 2 เจ้านี้ไม่ รับผู้เช่าที่เป็นแบรนด์ใหญ่ เลย แต่เลือกร้านเล็กๆ ในท้องถิ่นแทน 03 ร้าน Rocket พกความเท่มายังซอยทองหล่อด้วย 04 วสุ วิรัชศิลป์แห่ง Vaslab 05 ร้าน U.N.C.L.E. ที่เลือกมาปักหลักใน 72 Courtyard 06 สวนเปิดโล่งด้านหลัง 72 Courtyard
64
OPTIMISE | JULY 2016
หวังทีจ่ ะช่วยสร้างความเป็นชุมชนให้กบั ย่าน ทองหล่ออีกด้วย โดยทำ�นองเดียวกับ Siam Square One ทีเ่ ปิดให้บริการตัง้ แต่ปี 2557 แผนผังอาคารแบบเปิดโล่งของคอมมูนติ ้ี มอลล์ ได้พยายามลบเส้นแบ่งระหว่างถนนกับห้าง และสร้างบริเวณขายของควบคูไ่ ปกับสวนเล็กๆ เพือ่ ช่วยเพิม่ พืน้ ทีส่ าธารณะให้กบั คนเมือง การสร้าง 72 คอร์ทยาร์ดเป็นความคิด ของเชษฐ์ เชษฐโชติศกั ดิ์ (บุตรชายของสุรชัย เชษฐโชติศกั ดิ์ เจ้าของค่ายเพลง RS) ผูร้ เิ ริม่ โครงการนีข้ ณะกำ�ลังศึกษาระดับปริญญาโทอยูท่ ่ี Parsons School for Design ในกรุงนิวยอร์กโดย เขาได้วา่ จ้างบริษทั Vaslab เจ้าของผลงานอาคาร รูปร่างล�ำ้ ยุคอย่าง Honda Bigwing Dealership รวมทัง้ อแมนดา ลีฟเว็ต นักออกแบบคอนเซ็ปต์ เจ้าของรางวัลชนะเลิศ RIBA Stirling Prize และ ผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั AL_A ทีม่ ผี ลงานออกแบบพืน้ ทีส่ ว่ น ขยายของพิพธิ ภัณฑ์ Victoria & Albert ใน กรุงลอนดอนและศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี ในบ้านเราให้มาเป็นผูอ้ อกแบบโครงการนี้ “คุณเชษฐ์ตอ้ งการให้รสชาติของดีไซน์เป็น สากล เขาพาผมไปตามสถานทีท่ ข่ี น้ึ ชือ่ ว่าฮิป ในนิวยอร์กอย่างร้าน Isola และ Dover Street 03
Market เพือ่ ให้ดวู า่ เขาชอบแบบไหน” วสุ วิรชั ศิลป์ แห่งแวสแล็บเผย ผลลัพธ์ทก่ี ไ็ ด้คอื โครงสร้างอาคารทีม่ าพร้อม แผ่นหินมหึมาด้านหน้าตึก ทางเดินเล็กๆ ทำ� หน้าทีเ่ ป็นสวนหย่อมและพืน้ ทีส่ ญ ั จรนำ�คนไปสู่ ด้านหลังของอาคารอันเป็นทีต่ ง้ั ของ บีม สถาน บันเทิงแห่งใหม่ ถัดลงมาชัน้ ล่าง คือทีต่ ง้ั ของ ร็อคเก็ต ร้านกาแฟคัว่ เองท่ามกลางบรรยากาศ สแกนดิเนเวียน ส่วนด้านบนมีรา้ นใหม่อย่าง เลดี้ เบรทท์ และอังเคิล แหล่งนำ�เสนอค็อกเทล จากฝีมอื การผสมของแดนนี่ โซรัม มิกโซโลจิสต์ มือฉมัง ผูป้ ลุกกระแสคลาสสิกค็อกเทลใน กรุงเทพฯ ไม่นา่ แปลกใจทีค่ อมมูนติ ้ี มอลล์แห่ง นีจ้ ะเป็นย่านแฮงก์เอาต์โปรดของเหล่าทายาท ธุรกิจ ซึง่ ล้วนคุน้ เคยกับวิถชี วี ติ แบบเมืองนอกมา เช่นเดียวกับตัวเจ้าของ 72 คอร์ทยาร์ดเอง “คุณเชษฐ์เหมือนนักพัฒนารุน่ ใหม่ เขาไม่ พึง่ แบรนด์ใหญ่ๆ ทีเ่ ห็นได้ทว่ั ไป เขาต้องการให้ โครงการมีพน้ื ทีเ่ ชือ่ มต่อจากถนนมายังพืน้ ทีร่ า้ น ค้า เพราะเขาอยากจะให้พน้ื ทีส่ าธารณะกับพืน้ ที่ ของโครงการเป็นเนือ้ เดียวกันให้มากทีส่ ดุ นีค่ อื สาเหตุทช่ี น้ั ล่างใช้ยางมะตอยแบบเดียวกับ ฟุตบาท และเขาก็ชอบให้มสี วนด้วย” วสุกล่าว
04
Essentials
05
72 Courtyard ซอยสุขมุ วิท 55 (ซอย ทองหล่อ) ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ www.72courtyard.com Department of Architecture 44 ถนนสาทรเหนือ กรุงเทพฯ โทร. 02-633-9936 www.departmentof architecture.co.th EmQuartier 651 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 02-269-1188 www.emquartier.co.th The Commons 335 ซอยทองหล่อ 17 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 089-152-2677 www.thecommonsbkk.com
06
ด้วยเหตุนเ้ี อง พืน้ ทีท่ ค่ี วรจะมีไว้เช่าจึงถูก เปลีย่ นให้เป็นพืน้ ทีส่ ว่ นรวมแทน “คนชอบถาม ว่าโครงการทีม่ แี ค่ 8 ร้านมันจะรอดได้ไง แต่ผม คิดว่าคุณเชษฐ์ให้ความสำ�คัญกับการสร้างพืน้ ที่ ส่วนรวมและการคืนกำ�ไรให้แก่สงั คมมากกว่า ในซอยทองหล่อมีโครงการก่อสร้างเยอะแยะ แต่ไม่มสี วนหย่อมสักที่ 72 คอร์ทยาร์ดอาจเป็น แบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั ย่านนี”้ วสุอธิบาย
เพือ่ นักท่องเทีย่ วหรือชุมชน
วสุไม่ออ้ มค้อมทีจ่ ะพูดถึงความคล้ายกัน อย่างมากระหว่าง 72 คอร์ทยาร์ดและเดอะ คอมมอนส์ ซึง่ ตัง้ อยูห่ า่ งออกไปเพียง 120 เมตร วิชรีและวรัตต์ วิจติ รวาทการเองก็เคยไปรํา่ เรียน ทีอ่ เมริกา และดำ�เนินธุรกิจโดยหวังตอบแทน ชุมชนมากกว่าการขายพืน้ ทีใ่ ห้เช่าเต็มอัตรา “ธนาคารดูโมเดลธุรกิจของเราแล้วถามว่า ‘อาคารขนาดตัง้ 5,000 ตารางเมตร ทำ�ไมถึงให้ เช่าแค่ 2,000 ตารางเมตร แล้วมีรา้ นไหนมาเช่า
บ้าง ไม่เห็นมีแมคโดนัลด์ เราไม่รจู้ กั ร้านพวกนี้ เลย’” วิชรีกล่าว โดยเล่าว่าเพราะเหตุนเ้ี ธอจึง ต้องหันไปหานักลงทุนเอกชนแทน แม้วา่ สองพีน่ อ้ งอาจดูเป็นมือใหม่ในสายตา ธนาคาร แต่ความจริง วิชรีเคยทำ�งานเป็นที่ ปรึกษาด้านค้าปลีกทีส่ หรัฐฯ มาก่อน ส่วนวรัตต์ ก็เคยคลุกคลีอยูใ่ นวงการสือ่ ก่อนออกมาเปิดร้าน กาแฟเป็นของตัวเองอย่าง Ohana Cafe และ ตามมาด้วย โรสท์ ทีซ่ นี สเปซ ซึง่ ประสบความ สำ�เร็จอย่างล้นหลาม จนได้รบั การกล่าวขานว่า เป็นร้านทีช่ ว่ ยแก้ความหมายของ ‘บรันช์’ ทีค่ น ไม่นอ้ ยมักเข้าใจว่าหมายถึงบุฟเฟต์ในโรงแรม ห้าดาว ให้มาเป็นความหมาย ‘ลูกครึง่ ของ เบรกฟาสต์กบั ลันช์’ ตามดัง้ เดิมได้อกี ครัง้ หนึง่ ความนิยมของโรสท์นเ่ี องคือหัวใจของเดอะ คอมมอนส์ของวิชรีและวรัตต์ ทัง้ สองวางแผนที่ จะย้ายร้านจากซีนสเปซมาอยูบ่ นชัน้ ดาดฟ้าของ เดอะ คอมมอนส์ เพือ่ ทำ�หน้าทีผ่ เู้ ช่าหลักและ คอยดึงดูดให้ลกู ค้าเดินชมตัง้ แต่ชน้ั ล่างมาจนถึง
Vaslab 344 ซอยสุขมุ วิท 101 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 02-741-8099 www.vaslabarchitecture. com
ชัน้ บน โดยสองพีน่ อ้ งได้รา่ งเอกสารนำ�เสนอ ยาว 60 หน้าซึง่ มีเนือ้ หาคละเคล้ากันไประหว่าง แนวคิดทางพาณิชย์และการเอาใจใส่ชมุ ชน อมตะ หลูไพบูลย์ ประธานบริษทั ออกแบบ สถาปัตยกรรม Department of Architecture กล่าวถึงเอกสารโครงการดังกล่าวด้วยนา้ํ เสียง ทีเ่ จือไปด้วยความทึง่ “ทัง้ คูเ่ ป็นลูกค้าในฝัน ผม แทบไม่อยากเชือ่ สิง่ ทีไ่ ด้ยนิ ในวันนัน้ ในหน้าแรก ของพาวเวอร์พอยท์ พวกเขาเขียนเลยว่า ‘ทีน่ จ่ี ะ เป็นแหล่งรวมคนทีร่ กั และเก่งในสิง่ ทีต่ วั เองทำ�’” อมตะวิเคราะห์ลกั ษณะของคอมมูนติ ้ี มอลล์ทม่ี อี ยูใ่ นปัจจุบนั อย่างละเอียดแล้วพบ ว่าศูนย์การค้าเหล่านัน้ มีปญ ั หาหลักๆ ในเรือ่ ง โครงสร้างอยู่ 3 ประการ คือ พืน้ ทีเ่ อาท์ดอร์ไม่มี ทีบ่ งั แดด ลม ฝน ชัน้ บนไม่คอ่ ยมีคนเดิน และ สไตล์การตกแต่งทีส่ บั สนอลหม่านเนือ่ งจากมี ป้ายและหน้าร้านทีห่ ลากหลาย ด้วยเหตุน้ี เพือ่ แก้ไขปัญหาดังกล่าว เดอะ คอมมอนส์ จึงทำ�ทางลาดกว้างๆ เป็นทาง OPTIMISE | JULY 2016
65
LIVING SPACE
06
คอมมูนติ ้ี มอลล์ใน ปัจจุบนั นัน้ มีปญ ั หาหลักๆ ในเรือ่ งโครงสร้างอยู่ 3 ประการ คือพืน้ ทีเ่ อาท์ดอร์ ไม่มที บ่ี งั แดด ลม ฝน ชัน้ บนไม่คอ่ ยมีคนเดิน และ สไตล์การตกแต่งทีส่ บั สน อลหม่านเนือ่ งจากมีปา้ ย และหน้าร้านทีห่ ลากหลาย 06 งาน World’s Pop-up Beach ที่ EmQuartier
เดินขึน้ ไปยังชัน้ บน และสร้างโถงโอ่อา่ กลาง อาคารทีต่ กแต่งด้วยพัดลมอุตสาหกรรมเพือ่ ช่วย ป้องกันทัง้ แดดและฝน และทำ�ให้ผทู้ อ่ี ยูช่ น้ั ล่าง สามารถมองขึน้ มาเห็นวิวของสวนดาดฟ้าบน ชัน้ 4 ได้ตลอด แม้กระทัง่ ในคืนวันทำ�งานที่ อากาศร้อนระอุ โต๊ะเอาท์ดอร์บนชัน้ G ก็ยงั แน่นขนัดไปด้วยหนุม่ สาววัยทำ�งาน พงศธร โกยสมบูรณ์ บรรณาธิการนิตยสารไลฟ์สไตล์ท่ี เพิง่ เปิดตัวฉบับกรุงเทพฯ ไปเมือ่ ไม่นานนีอ้ ย่าง TimeOut ก็เป็นหนึง่ ในลูกค้าประจำ�ของทีน่ ่ี “ผมชอบทีน่ ม่ี าก ไปเค วิลเลจ มักเจอแต่คณ ุ ป้าพาหมามาเดินเล่น แต่ทน่ี ค่ี อื แหล่งรวมคนมี สไตล์ของตัวเอง จริงอยู่ อาหารราคาสูงสักหน่อย หาทีจ่ อดรถยาก และอากาศก็คอ่ นข้างร้อน แต่ ผมว่าคนรับได้ ผมเห็นลูกค้า 2 ระลอกมาแล้ว และไปแล้ว คือดาราและคนในแวดวงสือ่ แต่ ตอนนีท้ น่ี ม่ี ลี กู ค้าจริงๆ แล้ว คือลูกค้าทีไ่ ม่ได้มา เพือ่ อวด แต่มาเพราะชอบจริงๆ” พงศธรกล่าว กลุม่ ลูกค้าทีว่ รัตต์และวิชรีตง้ั ใจไว้คอื ผูท้ ่ี อาศัยและทำ�งานอยูภ่ ายในรัศมี 4 กิโลเมตรจาก โครงการ แต่การจะพาเดอะ คอมมอนส์ ให้ไป พ้นจากการเป็นเพียงแหล่งท่องเทีย่ วเอาเท่และ กลายเป็นสถานทีพ่ กั ผ่อนสำ�หรับคนท้องถิน่ อย่างแท้จริงไม่ใช่เรือ่ งง่าย เพราะลำ�พังแค่ การรองรับรถยนต์กว่า 500 คันในพืน้ ทีจ่ อดรถ สำ�หรับแค่ 40 คันในทุกๆ สุดสัปดาห์ ก็เป็นโจทย์ ยากมากอยูแ่ ล้ว และทำ�ให้สองพีน่ อ้ งถึงกับต้อง 66
OPTIMISE | JULY 2016
ออกแอพฯ เพือ่ ช่วยจัดคิวบริการทีจ่ อดรถเลยที เดียว ทัง้ นี้ ขณะทีเ่ รากำ�ลังพูดคุยกันอยู่ วรัตต์ มองไปเห็นคูห่ นุม่ สาวทีก่ �ำ ลังง่วนอยูก่ บั การถ่าย เซลฟี่ “แน่นอน ตอนนีเ้ รามีลกู ค้าแนวนัน้ อยูบ่ า้ ง แต่ผมว่าต่อไปเราจะสามารถกลายเป็นสถานที่ ของชุมชนจริงๆ ได้ ผมเริม่ เห็นแววแล้ว คนหน้า เดิมๆ นัง่ ทำ�งานทีน่ ท่ี ง้ั วัน และมาทีน่ ่ี 3 ครัง้ ต่อ สัปดาห์” วรัตต์กล่าวขณะทีต่ ามองไปยังคูร่ กั “คำ�ถามสำ�คัญก็คอื โครงการแบบนีไ้ ป รอดไหม ทำ�เงินดีหรือเปล่า” โอ’ไบรอันแห่ง สับปะรด กรุป๊ ตัง้ คำ�ถาม “ดูจาก The Helix [ที่ EmQuartier] ในแง่ของการออกแบบถือว่ายอด เยีย่ ม แต่สดุ ท้าย ลูกค้าส่วนใหญ่กย็ งั ไปทีร่ า้ น ฟูจิ หรือร้านกระแสหลักอืน่ ๆ อยูด่ ี ธุรกิจขนาด ย่อมจะอยูไ่ ด้โดยไม่มสี ตาร์บคั ส์หรือเอ็มเคได้น่ี แปลว่าร้านเล็กๆ ต้องมีพลังดึงดูดคนได้ดว้ ย ตัวเองเลยนะ” เดอะ เฮลิกซ์ ทีโ่ อ’ไบรอันกล่าวถึงคือบริเวณ ทางลาดวนของเอ็มควอเทียร์ซง่ึ รวบรวมร้าน อาหารไว้กว่า 50 เจ้า รอบข้างเดอะ เฮลิกซ์ ตกแต่งด้วยสวนพรรณไม้ฤดูรอ้ นกว่า 3,000 ตารางเมตร แถมยังมีน�ำ้ ตกสูง 40 เมตรอยูท่ ข่ี า้ ง ลานชัน้ G ซึง่ ก็เป็นอีกหนึง่ แหล่งกิจกรรมมาก ความ ‘นิช’ กลางแจ้งของเมือง เช่น เทศกาล World’s Pop-up Beach ในเดือนเมษายน ทีผ่ า่ นมา ทีม่ กี ารออกร้านของแบรนด์แปลกหู
อย่าง Luka, Bad Motel, Another Summer Story และ Statement และได้ดงึ ดูดบรรดา ครอบครัวหนุม่ สาวชาวต่างชาติ คูร่ กั วัยกลางคน ทีม่ กี �ำ ลังซือ้ ตลอดจนฮิปสเตอร์ในวัย 20 กว่าๆ ให้มารวมตัวโดยพร้อมเพรียงกัน ความจริง ถ้าจะพูดถึงลูกค้าขีเ้ บือ่ ก็คงหนี ไม่พน้ ลูกค้ากลุม่ ทีก่ ล่าวมานัน่ เอง ย้อนกลับไป เมือ่ ปี 2548 คอมมูนติ ้ี มอลล์รนุ่ บุกเบิกอย่าง H1 แหล่งช็อปสไตล์รม่ รืน่ อย่างเจ อเวนิวและพืน้ ที่ สุดฮิปอย่าง Playground ล้วนแล้วแต่เคยเป็น ศูนย์รวมของความเท่ ถัดมาในปี 2555 จึงเป็น คราวของซีนสเปซและกราสส์ ดูเหมือนว่า การ จะทำ�ให้ทองหล่อมีอะไรใหม่อยูเ่ รือ่ ยๆ นัน้ ธุรกิจ ในย่านนีจ้ �ำ เป็นต้องเกิดขึน้ และจากไปอย่าง รวดเร็ว เพราะเหตุนน้ั ตอนนีอ้ าจยังเร็วเกินไป ทีจ่ ะตัดสินว่าคอมมูนติ ้ี มอลล์รนุ่ ปี 2559 จะ สามารถทนธรรมชาติทผ่ี นั ผวนของทองหล่อและ สร้างความเป็นชุมชนทีย่ ง่ั ยืนได้อย่างใจหวังหรือ ไม่ แต่ในฐานะคลืน่ ระลอกใหม่แห่งวงการค้าปลีก อย่างน้อยต้องถือว่าเดอะ คอมมอนส์และ 72 คอร์ทยาร์ด ได้เพาะวิถชี วี ติ และรสนิยมใหม่ๆ ให้ กับชาวกรุงเทพฯ อย่างทีย่ อ้ นกลับไปไม่ได้อกี แล้ว “มีศูนย์การค้าใหญ่ๆ เข้ามาติดต่อผู้เช่า ของเรา ทาบทามให้ร้านเหล่านี้ไปเปิดสาขากับ เขา โดยบอกว่า ‘เราจะทำ�เหมือนกับเดอะ คอมมอนส์เป๊ะเลย’” วรัตต์กล่าว เป็นการย�ำ้ อีกครัง้ ว่าทัง้ คูเ่ ดินมาถูกทางแล้ว OPTIMISE | JULY 2016
67
THE AGENDA
1
กองทุนเปิดภัทร หุ้นระยะยาวปันผล (PHATRA LTFD) ภายใต้การบริหารของ บลจ.ภัทรได้รับเลือกให้เป็นกองทุนรวมหุ้น ระยะยาวยอดเยี่ยมปี 2016 (Long Term Equity Fund) จากมอร์นิ่งสตาร์ รีเสิร์ช (ประเทศไทย) โดยมียุทธพล ลาภละมูล กรรมการผูจ้ ดั การ บลจ. ภัทรเป็นตัวแทนขึ้น รับรางวัล ณ อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ กองทุนเปิดภัทร หุ้นระยะยาวปันผล (PHATRA LTFD) ที่ลงทุนในหุ้นที่มี ปัจจัยพื้นฐานและผลประกอบการดี มี แนวโน้มการเจริญเติบโตสูง และมีความ มั่นคงในฐานะการเงิน กองทุนมีนโยบาย จ่ายเงินปันผลไม่เกินปีละ 2 ครั้ง กองทุน PHATRA LTFD เป็นกองทุนที่มีระดับ ความเสี่ยงสูง เหมาะสำ�หรับผู้ลงทุนที่ ต้องการลงทุนในหุ้น รับความเสี่ยงได้สูง และต้องการสิทธิประโยชน์ทางภาษี
2
Phatra Wealth Management และ PRIORITY ธนาคารเกียรตินาคิน ร่วมกันจัดงานสัมมนา ‘การลงทุนหุน้ ไทยด้วยกลยุทธ์ Smart Beta’
Phatra Wealth Management และ PRIORITY ธนาคารเกียรตินาคิน ร่วมกันจัดงานสัมมนา ‘การลงทุนหุ้นไทยด้วยกลยุทธ์ Smart Beta’ เพื่อ แนะนำ�แนวทางการลงทุนที่เหมาะสมท่ามกลางความไม่แน่นอนใน ปัจจุบัน โดยมี ดร.จอน วงศ์สวรรค์ ณฤทธิ์ โกสลาทิพย์ ยุทธพล ลาภละมูล และดร.พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ร่วมเสวนาในงานนี้ ซึ่งงานดังกล่าวได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากลูกค้า งานสัมมนาจัดขึ้นที่ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ 68
OPTIMISE | JULY 2016
3
บลจ. ภัทร คว้ารางวัลกองทุน ยอดเยี่ยมจาก Morningstar Fund Awards Thailand 2016
เกียรตินาคินภัทร เปิดสาขาทองหล่อ Financial Hub แห่งใหม่ พร้อมให้บริการด้านการลงทุนอย่างครบวงจร
กลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร เปิด Financial Hub แห่งใหม่ทส่ี าขา ทองหล่อ โดยได้รบั เกียรติจากคุณหญิงเฉิดฉัน แสงรุจิ เป็นประธานเปิดงาน ร่วมด้วย ลูกค้า แขกผูม้ เี กียรติ และผูบ้ ริหาร เข้าร่วมภายในงาน Grand Opening เมือ่ เร็วๆ นี้ Financial Hub สาขาทองหล่อออกแบบในคอนเซ็ปต์อนิ ดัสเทรียล ลอฟต์ ประสานความร่วมมือในการทำ�งาน สะท้อนจุดแข็งของ บล.ภัทร และธนาคาร เกียรตินาคิน ในการเป็นธนาคารทีใ่ ห้บริการด้านตลาดทุนอย่างครบวงจร ตัง้ อยูท่ ่ี ซอยทองหล่อ 15 (J Avenue) เปิดให้บริการวันจันทร์-วันเสาร์ เวลา 9:00-18:00 น.
4
ธนาคารเกียรตินาคิน จับชีพจรธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) จัดงานสัมมนาใหญ่ ประจำ�ปี KK Annual Seminar 2016 เพือ่ ลูกค้าสินเชือ่ ผูป้ ระกอบการ อสังหาริมทรัพย์ พร้อมเชิญผูเ้ ชีย่ วชาญและผูท้ รงคุณวุฒริ ว่ มให้ขอ้ มูล โดยประเมินว่าตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปี 2016 นี้ จะขยายตัว 17% คิดเป็นมูลค่าราว 274,000 ล้านบาท
6
5
เปิดบ้านต้อนรับ KK NeXtGen รุ่น 3
อภินนั ท์ เกลียวปฏินนท์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฐิตนิ นั ท์ วัธนเวคิน กรรมการ และ กุลนันท์ ซานไทโว ประธานสายธนบดีธนกิจ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ร่วมต้อนรับทายาทธุรกิจของ ลูกค้าทีเ่ ข้าร่วม KK NeXtGen: From Study to Success รุน่ 3 ซึง่ เป็น หลักสูตรพิเศษสำ�หรับลูกค้าเงินฝาก PRIORITY ของธนาคารในการ เตรียมความพร้อมทายาทธุรกิจ ใช้ระยะเวลาในการอบรม 1 เดือน เนือ้ หาถูกออกแบบเป็นพิเศษ เน้นสร้างทักษะการเป็นผูป้ ระกอบการรุน่ ใหม่ทม่ี องการณ์ไกลและกล้าเปลีย่ นแปลง เสริมสร้างความพร้อมเพือ่ ส่งต่อความมัง่ คัง่ จากรุน่ สูร่ นุ่
ธนาคารเกียรตินาคิน และเจนเนอราลี่ ประกันชีวิตร่วมเปิด ตัว CHRONOS
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับบริษทั เจนเนอราลี่ ประกันชีวติ (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) พันธมิตรทางด้านธุรกิจแบงก์ แอสชัวแรนส์ของธนาคาร ร่วมจัดกิจกรรม KKGEN Exclusive Dinner เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ภายใต้ชอ่ื CHRONOS นิยามใหม่ของความ คุม้ ครองเอกสิทธิท์ ด่ี แู ลเวลาของคุณ ผลิตภัณฑ์ทางด้านประกันชีวติ สำ�หรับลูกค้าทีม่ คี วามมัง่ คัง่ สูง มาพร้อมกับสิทธิพเิ ศษระดับ World Class อาทิ บริการความช่วยเหลือด้านสุขภาพ การเดินทาง และบริการ เลขาส่วนตัว ทีจ่ ะดูแลลูกค้าผูถ้ อื กรมธรรม์ของเจนเนอราลีท่ กุ ทีท่ ว่ั โลก ตลอด 24 ชัว่ โมง
OPTIMISE | JULY 2016
69
7
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรนำ�ร่องโมเดล ‘บรรยงพามา บัญชาพาไปชิมนิพพาน’ ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
กลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร จัด กิจกรรม ‘บรรยงพามา บัญชาพาไปชิมนิพพาน’ โดยมีบรรยง พงษ์พานิช ประธานกรรมการ บริหาร ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) นำ�คณะผูบ้ ริหารและพนักงานของกลุม่ ธุรกิจฯ จำ�นวน 60 คน ไปสร้างความคุน้ เคยกับการ เรียนรู้ ธรรมะ ณ หอจดหมายเหตุพทุ ธทาส อินทปัญโญ (สวนโมกข์กรุงเทพ) ซึง่ กลุม่ ธุรกิจ การเงินฯ ให้การสนับสนุนอย่างต่อเนือ่ งตลอด มาตัง้ แต่กอ่ นเริม่ ก่อตัง้ จนถึงปัจจุบนั และมี นายแพทย์บญ ั ชา พงษ์พานิช กรรมการและ เลขานุการมูลนิธหิ อจดหมายเหตุพทุ ธทาส อินทปัญโญ รับช่วงต่อเพือ่ นำ�คณะชิมลอง นิพพานผ่านกิจกรรมต่างๆ ตามแนวทางของ ท่านพุทธทาสภิกขุทเ่ี คยกล่าวไว้วา่ “นิพพาน ชิมลอง ก็เป็นของทีช่ มิ ลองดูกอ่ น ถูกใจแล้ว มันจึงค่อยซือ้ ก็ได้ ชิมลองดูกอ่ นสิ”
70
OPTIMISE | JULY 2016
นอกจากนี้ กลุม่ ธุรกิจฯ และสวนโมกข์ กรุงเทพร่วมกันจัดกิจกรรมนีข้ น้ึ เพือ่ ให้เป็นโมเดล นำ�ร่องแก่องค์กรอืน่ ๆ ในการเชือ่ มโยงการเรียน รูธ้ รรมะระหว่างผูน้ �ำ องค์กร ผูน้ �ำ ความคิดใน สังคม กับผูบ้ ริหารและพนักงานเพือ่ จุดประกาย ความสนใจศึกษาธรรมะโดยมีผนู้ �ำ องค์กรให้การ สนับสนุนอย่างใกล้ชดิ ร่วมแบ่งปันมุมมองและ แนวคิด รวมถึงประสบการณ์กบั ผูบ้ ริหารและ พนักงาน กิจกรรม ‘บรรยงพามา บัญชาพาไปชิม นิพพาน’ มุง่ ผสมผสานธรรมะเข้ากับการดำ�เนิน ชีวติ ตามปกติของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม โดยเริม่ จากการฝึกสติและสัมผัสความสงบท่ามกลาง ธรรมชาติอนั ร่มรืน่ ของสวนพุทธธรรมก่อนเข้า สูช่ ว่ งล้อมวงเสวนากับบรรยง เรือ่ ง ‘โลก(ย์)กับ พุทธศาสนา’ ชีใ้ ห้เห็นถึงความสอดคล้องของ ระบบทุนนิยมกับธรรมะขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าฯ ซึง่ บรรยงได้น�ำ หลักอิทปั ปจัยตา
อิทธิบาท และพรหมวิหาร มาปรับใช้กบั การ ทำ�ธุรกิจและชีวติ ประจำ�วันได้อย่างสมดุล จากนัน้ นายแพทย์บญ ั ชา ได้น�ำ ชมภาพ ปริศนาธรรมะภายในสวนโมกข์กรุงเทพ ก่อนเข้า สูช่ ว่ ง ‘ภาวนากับชีวติ ’ นำ�โดย ครูดล ธนวัชร์ เกตน์วิมตุ ได้สร้างความตระหนักรูเ้ กีย่ วกับ โยงใยชีวติ และความสัมพันธ์ระหว่างตัวเรา ผูอ้ น่ื และสิง่ ทีต่ อ้ งเป็นไป รวมถึงการนำ�หลักคิดเรือ่ ง ‘ตัวกู ของกู’ ของท่านพุทธทาสภิกขุ มาประยุกต์ เพือ่ ลดตัว ลดตน และถอนชีวติ เราจากชีวติ ผูอ้ น่ื ทัง้ ในฐานะผูก้ ระทำ�และผูถ้ กู กระทำ� กิจกรรมนี้ปิดท้ายที่การพูดคุยเรื่อง ‘การปฏิบัติภาวนากับชีวิต’ โดย บรรยง นายแพทย์บัญชา และ ‘นิ้วกลม’ (สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์) ซึ่งได้ข้อสรุปว่ามนุษย์ต้องการเข้า ถึงความจริงและสัจธรรมที่แตกต่างกัน ดังนั้น เราจะเลือกแนวทางการปฏิบัติธรรม แบบใดก็ได้ที่เหมาะกับตัวเรา OPTIMISE | JULY 2016
71
Optimise04.indb 64
3/24/16 3:02 PM