Issue 06 October 2016
Going the Distance พลังและความหมายเบื้องหลัง ภารกิจพเนจรเพื่อช่วยผู้ยากไร้ ของ ศ.ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์
ADVANCE NOTICE
Welcome to Optimise เอมิล ซาโตเปค หนึ่งในนักวิ่งระยะไกลผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลกตลอดกาล เจ้าของ ฉายา ‘รถไฟเชค (Czech Locomotive)’ เคยพูดประโยคทองที่กิจกรรมวิ่งที่ไหนๆ ก็ เอาไปใช้ปลุกใจนักมาราธอนให้วิ่งได้ตลอดรอดฝั่งว่า “ถ้าอยากแค่ชนะรางวัลบาง อย่าง ไปวิ่งแข่งร้อยเมตรเอาก็ได้ แต่ถ้าอยากจะผ่านพบประสบการณ์บางอย่าง มีแต่ต้องวิ่งมาราธอน” เพราะกิจกรรมที่ลำ�บากจนเกือบจะเป็น ‘ภัย’ ของชีวิตมากกว่าสุขภาพอย่าง มาราธอนนั้น ถ้าล่อใจด้วยสิ่งของภายนอกอย่างเหรียญรางวัล ดูจะไม่ค่อยคุ้มค่านัก แต่เนื่องจากมาราธอนให้อะไรกับนักวิ่งในระดับที่ลึกกว่าเหรียญ ไม่ว่าจะเป็นความ หมาย ศักดิ์ศรี การรู้จักตัวเอง ฯลฯ คนจำ�นวนไม่น้อย จึงยังถือเอาการวิ่งมาราธอน เป็นสิ่งที่ต้องทำ�ให้ได้สักครั้งในชีวิต พิเศษกว่านั้น หลายคนก็ได้ใช้ชีวิตในสปิริตยิ่งใหญ่ของนักวิ่งมาราธอน เช่น จากบทสัมภาษณ์ของศาสตราจารย์ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ (‘Healing Power’) เรา ได้เห็นว่า การที่ดร.กฤษณา มีแรง ‘going the distance’ เพื่อไปช่วยเพื่อนมนุษย์ใน ทวีปแอฟริกาอันทุรกันดารอย่างไม่กลัวเหนื่อยกลัวตาย ไม่แพ้นักวิ่งมาราธอนนั้น ก็เพราะสุดท้ายแล้ว สิ่งที่เธอทำ�ไม่ได้มีเพียงความสำ�เร็จภายนอกเป็นรางวัล หาก ยังมีความหมายและประสบการณ์บางอย่างที่เธอพบว่าได้เปลี่ยนตัวเธอ มากพอๆ กับที่เธอได้เปลี่ยนชีวิตของคนอื่น เช่นเดียวกับเรื่องของกากั้น อนันด์ (‘The Gaggan Revolution’) เชฟอันดับหนึ่ง ของเอเชีย ผู้พร้อมจะเสี่ยงกว่าเดิม เหนื่อยกว่าเดิม เพื่อสิ่งที่มีความหมายมากกว่า รางวัลร้านอาหารระดับโลก ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์องค์ความรู้เพิ่มเติมให้กับ ตำ�รับเก่าแก่ของอาหารอินเดีย หรือการสนับสนุนบ่มเพาะเชฟรุ่นใหม่ๆ ดังนั้นในโอกาสที่ทุกคนกำ�ลังขับเคี่ยวเข้าสู่โค้งสุดท้ายของปี เรื่องราวของบุคคล เหล่านี้จึงถือเป็นแรงบันดาลใจที่มาย้ำ�เตือนอย่างได้จังหวะเวลาว่าบางครั้ง การ Going the Distance หรือวิ่งให้ได้ไกลกว่าคนอื่น อาจไม่ได้เกิดจากการทุ่มฝีเท้า หรือกำ�ลังปอดแต่เพียงอย่างเดียว หากยังต้องรวมถึงการมองเห็นความหมายยิ่งใหญ่บางอย่างเบื้องหลังสิ่งที่ กำ�ลังทำ� ในขณะที่คนอื่นมองเห็นแต่เหรียญรางวัลอีกด้วย ธนกร จ๋วงพานิช บรรณาธิการ
02
OPTIMISE | JANUARY 2016
OPTIMISE | OCTOBER 2016
03
Contents 06
24
เศรษฐกิจที่ขยายตัวอย่าง เชื่องช้ากับเทคโนโลยีที่พลิกผัน
The Gaggan Revolution
ECONOMIC REVIEW
08
INVESTMENT REVIEW
Disruptive Technology กับการลงทุน [2]
FULL FLAVORS
40
CLIENT VALUES
Global Treads เชฟกากั้น อนันด์ กับการปฎิวัติตำ�รับอาหาร Deestone กับภารกิจของทายาทรุ่นที่ 2 แบบโมเดิร์นมาสู่ภูมิภาค และสร้างร้านอาหาร ที่พร้อมยกระดับยางไทยสู่ความเป็นแบรนด์ ระดับโลก ที่ดีที่สุดของเอเชีย 2 ปีซ้อน
THE FAST LANE
Better with Age มูลค่าของนาฬิกาสายเหล็กทรงสปอร์ตจาก ยุค 50s-70s กำ�ลังพุ่งทะยานเป็นประวัติการณ์ ในหมู่นักสะสมชาวไทย
30
STATE OF THE ARTS
BEYOND BOUNDARIES
12
OPTIMUM VIEW
36
SERVING YOU
More Than Just a Car ไม่มีที่ดิน แต่มีรถ ก็สู้ได้อีกหลายยกด้วย ‘สินเชื่อ KK SME รถคูณ 3’
บรรณาธิการที่ปรึกษา ผกาภรณ์ บุณยัษฐิติ ธัญญ์นภัส นราศิริอภิพงษ์
Charming Chanthaburi การฟืน้ คืนสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกผสาน วัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของเมืองจันทบุรี ได้มอบชีวติ ใหม่ให้กบั ชุมชนเก่าแก่รมิ น้ำ�อีกครัง้
จัดทำ�โดย สื่อสารองค์กร กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
62
LIVING SPACE
Contact
52
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
THE GOOD LIFE
Learning to Run การวิง่ ถูกมองว่าเป็นกีฬาทีใ่ ครๆ ก็สามารถทำ�ได้ แต่ผเู้ ชีย่ วชาญด้านการออกกำ�ลังกายบอกว่านี่ เป็นความคิดทีผ่ ดิ ถนัด
ผลิตโดย บริษัท เอเชีย ซิตี้ พับบลิชชิ่ง (ไทยแลนด์) จำ�กัด
Modernism’s Last Stand มรดกทางสถาปัตยกรรมจากยุคโมเดิร์นของไทย กำ�ลังเสี่ยงสูญหายไปจากหน้าประวัติศาสตร์
beersingnoi.com
PHATRA LTFD กองทุนรวมที่ดีให้คุณมากกว่าสิทธิ ประโยชน์ภาษี
ที่ปรึกษา บรรยง พงษ์พานิช อภินันท์ เกลียวปฏินนท์ ภัทรพร มิลินทสูต
บรรณาธิการ ธนกร จ๋วงพานิช
Molam Mania เสียงเพลงจากชนบทห่างไกลของเมืองไทย กำ�ลังสร้างชื่อเสียงขจรไกลไประดับโลก
46 Healing Power ค้นหาพลังและความหมายเบื้องหลังภารกิจช่วย ทุกชีวิตให้เข้าถึงยาของ ศ.ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์
58
Team
209 อาคาร เคเคพี ทาวเวอร์ ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02 165 5555 ต่อ 3804
www.kiatnakinphatra.com E-mail: corporate.communications@kiatnakin.co.th
68
corporate.communications@phatracapital.com
THE AGENDA
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 โดยกลุ่มธุรกิจการเงิน เกียรตินาคินภัทร ห้ามนำ�ส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ทำ�สำ�เนา ถ่ายเอกสาร หรือนำ�ไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต และเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางบริษัทเท่านั้น 04
OPTIMISE | OCTOBER 2016
OPTIMISE | OCTOBER 2016
05
ECONOMIC REVIEW
เศรษฐกิจที่ขยายตัวอย่าง เชื่องช้ากับเทคโนโลยีที่พลิกผัน ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ กรรมการผู้จัดการ และหัวหน้าสายงานวิจัย บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
ผมเกรงว่าโลกของเราใน 10-20 ปีขา้ งหน้า เศรษฐกิจจะขยายตัวอย่างเชือ่ งช้า และกำ�ลัง ซื้อชะลอตัว ทำ�ให้กจิ กรรมทางเศรษฐกิจขยาย ตัวไม่มากนัก เป็นผลให้ดอกเบีย้ และเงินเฟ้อต�ำ่ กล่าวคือสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ กับเศรษฐกิจโลกในช่วง 6-7 ปีทผ่ี า่ นมาจะดำ�เนินต่อไปอีกนาน การลงทุนเพือ่ หวังผลตอบแทนทีส่ งู จึงเป็นไปได้ยาก ทำ�ไมจึง เป็นเช่นนัน้ ? 1. ประเทศทีเ่ ป็นหลักของเศรษฐกิจโลกคือ ยุโรป ญีป่ นุ่ จีน และสหรัฐฯ ต่างมีประชากรทีเ่ ข้า สูย่ คุ ผูส้ งู อายุ เศรษฐกิจจะขยายตัวช้า เหมือนใน กรณีของญีป่ นุ่ ทีเ่ ศรษฐกิจเกือบไม่ขยายตัวเลย ตัง้ แต่ญป่ี นุ่ เข้าสูย่ คุ ผูส้ งู อายุในปี 1990 เป็นต้น มา ในช่วงดังกล่าวเศรษฐกิจญีป่ นุ่ เผชิญกับ ปัญหาเงินฝืด (ไม่ใช่เงินเฟ้อ) ประกอบกับภาวะ ดอกเบีย้ ต�ำ่ และเงินเกินดุลบัญชีเดินสะพัด กล่าว คือประเทศจะมีรายได้มาก แต่รายจ่ายน้อย ประเทศไทยเองก็เริม่ เข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุแล้ว เห็นได้จากทีป่ ระชากรในวัยทำ�งานเริม่ ลดลง แต่ประชากรวัยสูงอายุก�ำ ลังเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว 2. ประเทศทีเ่ ศรษฐกิจแข็งแกร่งทีส่ ดุ ในกลุม่ ประเทศเศรษฐกิจชัน้ นำ�ของโลกคือ สหรัฐอเมริกา (ซึง่ มีแนวโน้มจะปรับขึน้ ดอกเบีย้ ในขณะทีญ ่ ป่ี นุ่ และยุโรปอาจต้องปรับให้ ดอกเบีย้ ติดลบเพิม่ ขึน้ ) แต่เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวได้เพียง 1% ต่อไตรมาสใน 3 ไตรมาสที่ ผ่านมา ถือเป็นการฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจทีเ่ ชือ่ งช้า ทีส่ ดุ ตัง้ แต่หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 3. McKinsey Global Institute พบว่า สถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนในประเทศ หลัก 25 ประเทศในช่วง 2005-2014 นัน้ 06
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ประชากรกว่า 65-70% (540-580 ล้านคน) ฐานะยากจนกว่าเดิมหรือเสมอตัว เนือ่ งมาจาก วิกฤติเศรษฐกิจในปี 2008 ผนวกกับการแก่ตวั ลงของประชากรและสัดส่วนของเงินเดือนต่อ จีดพี ที ลี่ ดลง และหากสภาวการณ์ดงั กล่าว ดำ�เนินต่อไป ครัวเรือนกว่า 70-80% จะยากจน ลงอีกในอนาคต (Poorer than their parents) 4. เกิดกระแสต่อต้านการค้าเสรีอย่างรุนแรง เห็นได้จากการต่อต้านทีพพี ี (ความตกลงการค้า ระหว่างสหรัฐกับเอเชียทีใ่ ช้เวลาเจรจานานถึง 6 ปี) แม้วา่ ประธานาธิบดีโอบามาจะเป็นแกน นำ�หลักในการเจรจา นอกจากนัน้ ยังมีกระแส ต่อต้านการเชือ่ มโยงเศรษฐกิจโลก เช่นการที่ ชาวอังกฤษมีมติให้แยกอังกฤษออกจากสหภาพ ยุโรป แนวโน้มดังกล่าวน่าจะส่งผลกระทบต่อ การขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ในขณะทีไ่ ทยเอง ต้องพึง่ พาเศรษฐกิจโลกเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เช่นในปี 1975 การส่งออกสินค้าและบริการของไทยนัน้ คิดเป็นสัดส่วนเท่ากับ 18.4% ของจีดพี แี ละเพิม่ ขึน้ มาเป็น 36.8% ในปี 1993 (หลังการพัฒนา อุตสาหกรรม โดยอาศัยก๊าซธรรมชาติจากอ่าว ไทย) และเพิม่ ขึน้ อีกอย่างก้าวกระโดดหลังวิกฤติ เศรษฐกิจในปี 1997 เนือ่ งจากไทยต้องหาเงิน ตราต่างประเทศมาชำ�ระหนี้ ทำ�ให้สดั ส่วนการ ส่งออกสินค้าและบริการเพิม่ ขึน้ มาเป็น 64.8% ของจีดพี ใี นปี 2000 และ 69.2% ในปี 2014 แม้วา่ เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย ในระดับมหภาคจะขยายตัวทีร่ ะดับต�ำ่ แต่ไม่ ได้หมายความว่าจะไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงใน ระดับอุตสาหกรรม ในทางตรงกันข้าม การ เปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีในยุคหลังนีเ้ กิดขึน้
อย่างรวดเร็ว ทำ�ให้เกิดความพลิกผันและแรง สัน่ เทือนหรือ ‘disruptive technology’ ซึง่ จะ เป็นทัง้ ความเสีย่ งและโอกาสในการลงทุน ทำ�ให้ ต้องย้อนกลับมามองสถานการณ์กนั ใหม่ เช่น ประเด็นทีป่ ระเทศไทยมาดหมายจะขึน้ เป็น Detroit of Asia กล่าวคือเป็นผูผ้ ลิตรถยนต์ราย ใหญ่แห่งภูมภิ าค โดยปัจจุบนั คาดกันว่าไทยนัน้ เป็นผูผ้ ลิตรายใหญ่ล�ำ ดับที่ 10 ของโลก แต่เมือ่ พิจารณาหุน้ ของบริษทั General Motors (GM) ซึง่ เป็นบริษทั เก่าแก่อายุกว่า 100 ปี ซึง่ มีส�ำ นักงานใหญ่อยูท่ ่ี Detroit ก็นา่ สรุปว่าประเทศไทยไม่ควรนำ�บริษทั ดังกล่าวมา เป็นต้นแบบ เพราะมีพอี เี พียง 4 เท่า แปลว่าหาก เพิม่ ทุนเพือ่ ขยายกิจการจะสามารถขายหุน้ ได้ใน ราคาเพียง 4 เท่าของกำ�ไรทีห่ ามาได้ เทียบกับ Facebook ซึง่ มีพอี ี 59 เท่า และ GM นัน้ มียอด ขายต่อพนักงาน 1 คน เพียง 0.73 ล้านเหรียญ ขณะทีเ่ ฟซบุก๊ ทำ�ได้ 1.53 ล้านเหรียญต่อคน ทัง้ นี้ GM มีพนักงานมากถึง 215,000 คน ในขณะที่ เฟซบุก๊ มีพนักงาน 14,495 คน จึงไม่แปลกใจที่ สัดส่วนกำ�ไร (profit margin) ของ GM นัน้ ต�ำ่ เพียง 7.9% (โตโยต้า 8.1%) ในขณะทีเ่ ฟซบุก๊ นัน้ มีสดั ส่วนกำ�ไรสูงถึง 27.2% สภาวการณ์ เช่นนีแ้ ปลว่าเฟซบุก๊ ได้เปรียบ GM อยูม่ ากหาก ต้องการเพิม่ ทุนขยายกิจการ ดังนัน้ แม้วา่ เศรษฐกิจโลกโดยรวมจะขยาย ตัวอย่างเชือ่ งช้า แต่การเปลีย่ นแปลงของ เทคโนโลยีนา่ จะเกิดขึน้ อย่างรวดเร็วและความ อยูร่ อดหรือรุง่ เรืองของอุตสาหกรรมต่างๆ จึงเป็น เรือ่ งทีจ่ ะต้องนำ�มาเขียนถึงในคราวต่อไปครับ OPTIMISE | OCTOBER 2016
07
INVESTMENT REVIEW
Disruptive Technology กับการลงทุน [2] ดร.พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ และหัวหน้าทีมวิจัยลูกค้าบุคคล สายงานลูกค้าบุคคล บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
08
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ในตอนทีแ่ ล้วผมพูดถึง ‘disruptive technology’ หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ ทีส่ ง่ ผล กระทบอย่างรุนแรงต่อผลิตภัณฑ์และตลาด แบบเดิมๆ จนทำ�ให้ผลิตภัณฑ์และตลาดของ สินค้าและบริการหลายประเภทล้มหายตายจาก ไปต่อหน้าต่อตา (ไม่วา่ จะเป็นกล้องฟิลม์ เทป ซีดเี พลง โทรศัพท์บา้ น ฯลฯ) ในอนาคตอันใกล้ ด้วยพัฒนาการทาง เทคโนโลยีทก่ี �ำ ลังเกิดขึน้ อย่างรวดเร็วและ ต่อเนือ่ ง เราคงพอคาดเดากันได้วา่ จะมีสนิ ค้า และบริการ ตลอดจนรูปแบบของตลาดทีจ่ ะ เปลีย่ นไปอย่างมาก นักลงทุนควรจับตาดูการ เปลีย่ นแปลงพวกนีไ้ ว้ให้ดนี ะครับ เพราะอาจจะ ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม บริษทั ทางเลือก ในการลงทุน และชีวติ ของเราอย่างมหาศาล ลองมาดูกนั ดีกว่าครับว่า ด้วยความรูท้ เ่ี รามี อยูต่ อนนี้ เราเห็นอะไรทีม่ โี อกาสเป็น disruptive technology ได้บา้ ง ผมขอยกตัวอย่างทีน่ า่ จะมีผลกระทบต่อเราอย่างเห็นได้ชดั มาสัก 3 เทคโนโลยีนะครับ เทคโนโลยีแรก คือพลังงานสะอาด โดย เฉพาะพลังงานจากแสงอาทิตย์ ทีก่ �ำ ลังจะ เปลีย่ นโมเดลทางธุรกิจและวิธคี ดิ เกีย่ วกับ พลังงานในอนาคตอันใกล้ จากเดิมเวลาเรา คิดถึงการผลิตกระแสไฟฟ้า เรามักจะคิดถึงโรง ไฟฟ้าขนาดใหญ่ ทีใ่ ช้เชือ้ เพลิงอย่างถ่านหินและ ก๊าซธรรมชาติในการผลิต หรืออาจจะนึกถึงโรง ไฟฟ้าพลังน�ำ้ หรือโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ทีม่ ตี น้ ทุนการสร้างค่อนข้างสูง และมีตน้ ทุน แปรผันจากต้นทุนเชือ้ เพลิง และส่งไฟฟ้าตาม สายส่งไฟฟ้าแรงสูงมาแตกเป็นระบบสายส่ง ก่อนส่งต่อไปยังบ้านเรือนหรือธุรกิจ แต่เทคโนโลยีการผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ทม่ี รี าคาถูกลงเรือ่ ยๆ และ มีตน้ ทุนแปรผันทีเ่ ป็นศูนย์ กำ�ลังทำ�ให้พลังงาน ไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์เป็นพลังงานทีเ่ ริม่ สามารถ แข่งขันในด้านราคากับพลังงานทีม่ าจากแหล่ง อืน่ ๆ ได้ การกระจายการผลิตพลังงาน (แทนที่ จะเป็นการรวมศูนย์การผลิตไว้ทโ่ี รงไฟฟ้าขนาด ใหญ่) กำ�ลังจะเป็น disruptive technology เหมือนกับทีอ่ นิ เทอร์เน็ตเคยเปลีย่ นโลกมาแล้ว ในหลายประเทศ การติดตัง้ แผงผลิตกระแส
ในอนาคต โรงไฟฟ้าอาจกลายเป็นเพียงแหล่งผลิต กระแสไฟฟ้าสำ�รอง และยิ่งถ้าเทคโนโลยีแบตเตอรี่ได้รับ การพัฒนาจนราคาถูกลงมากๆ เราอาจจะสามารถผลิต เก็บ และนำ�กระแสไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่โดยไม่ต้องง้อ โรงไฟฟ้าขนาดใหญ่อีกเลยก็เป็นได้ ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาบ้าน อาคารสำ�นักงาน หรือโรงงาน กำ�ลังได้รบั ความ นิยมเป็นอย่างมาก เพราะต้นทุนทีต่ �ำ่ ลงและคืน ทุนเร็ว ทีส่ �ำ คัญคือทำ�ให้สามารถผลิตกระแส ไฟฟ้าได้ใกล้กบั แหล่งทีใ่ ช้พลังงาน ความจำ�เป็น ทีจ่ ะมีโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ และสายส่งทีม่ ตี น้ ทุน สูงอาจลดน้อยลงเรือ่ ยๆ อย่างในเยอรมนี มีการ ผลิตกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์มากจนใน บางช่วงราคาไฟฟ้าถึงขัน้ ติดลบ (กล่าวคือ ผูใ้ ช้ไฟได้รบั เงินเพือ่ ให้ใช้กระแสไฟฟ้า!) การมองพลังงานแสงอาทิตย์เป็น ‘พลังงาน ทดแทน’ หรือพลังงานทีต่ อ้ งได้รบั การอุดหนุน จึงกำ�ลังจะเป็นเรือ่ งล้าสมัย ในไม่ชา้ แม้แต่ใน ประเทศไทย ถ้าประชาชนสามารถขายไฟที่ ผลิตออกมาเกินความจำ�เป็นในการใช้ส�ำ หรับ ทีอ่ ยูอ่ าศัยและโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่าง เสรี (แม้จะไม่ตอ้ งมีการอุดหนุนก็ตาม) เราอาจ จะเริม่ เห็นคนหันมาติดแผงผลิตกระแสไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์กนั มากขึน้ เรือ่ ยๆ และ ในอนาคต โรงไฟฟ้าอาจกลายเป็นเพียงแหล่ง ผลิตกระแสไฟฟ้าสำ�รอง และยิง่ ถ้าเทคโนโลยี แบตเตอรีไ่ ด้รบั การพัฒนาจนราคาถูกลงมากๆ เราอาจจะสามารถผลิต เก็บ และนำ�กระแส ไฟฟ้ากลับมาใช้ใหม่โดยไม่ตอ้ งง้อโรงไฟฟ้า ขนาดใหญ่อกี เลยก็เป็นได้ พอจะเริม่ นึกภาพออก ไหมครับ ว่าจะเกิดอะไรขึน้ กับโลกในอนาคต เทคโนโลยีอกี ประเภทหนึง่ คือ รถยนต์ไฟฟ้า ทีก่ �ำ ลังเริม่ เห็นนำ�มาใช้จริงบนท้องถนนแล้ว จริงๆ แล้วรถยนต์ไฟฟ้าไม่ใช่เทคโนโลยีใหม่ และการพัฒนามอเตอร์ไฟฟ้ามีมานานจนมี ประสิทธิภาพสูสหี รือกระทัง่ แซงหน้าเครือ่ งยนต์ ทีใ่ ช้น�ำ้ มันแล้ว แต่อปุ สรรคใหญ่ของการพัฒนา
รถยนต์ไฟฟ้าคือแบตเตอรี่ ซึง่ ทีผ่ า่ นมายังคง มีขนาดใหญ่และมีน�ำ้ หนักมาก ทำ�ให้รถทีใ่ ช้ พลังงานไฟฟ้าวิง่ ไปได้ไม่ไกลด้วยตัวมันเอง การพัฒนารถยนต์แบบไฮบริดจึงเป็นทีน่ ยิ มใน ช่วงทีผ่ า่ นมา และทำ�ให้อตั ราการใช้น�ำ้ มันของ รถยนต์ลดลงไปได้พอสมควร จนเมือ่ ไม่นานมานี้ การพัฒนาเทคโนโลยี แบตเตอรีเ่ ริม่ ดีขน้ึ Tesla กลายเป็นรถยนต์ยห่ี อ้ ใหม่ทด่ี งั เป็นพลุแตก จนผลิตกันแทบไม่ทนั เนือ่ งด้วยเป็นรถยีห่ อ้ แรกๆ ทีใ่ ช้พลังงานไฟฟ้า อย่างเดียว ซึง่ พิสจู น์ให้เห็นแล้วว่าต้นทุนการใช้ และดูแลรักษาถูกกว่าและทนทานกว่ารถยนต์ท่ี ใช้เชือ้ เพลิงแบบเดิม เป็นไปได้อย่างมากว่าในอนาคตอันใกล้ ถ้าเทคโนโลยีแบตเตอรีพ่ ฒ ั นาไปไกลขึน้ อีก ไม่วา่ จะเป็นแบตเตอรีท่ ใ่ี ช้ลเิ ทียมหรือใช้เซลล์ เชือ้ เพลิงไฮโดรเจนแบบทีญ ่ ป่ี นุ่ กำ�ลังพัฒนา หรือเทคโนโลยีแบบอืน่ ๆ รถยนต์ทใ่ี ช้น�ำ้ มันอาจ จะถูกแทนทีด่ ว้ ยรถยนต์ทใ่ี ช้พลังงานไฟฟ้าเกือบ ทัง้ หมด เหมือนกับทีก่ ล้องดิจติ อลมาแทนที่ กล้องฟิลม์ หรืออย่างในอดีตทีร่ ถยนต์ใช้น�ำ้ มัน เข้ามาแทนทีร่ ถม้ามาแล้ว นอกจากนี้ เราอาจ จะได้เห็นรถยนต์ไร้คนขับ ทีอ่ าจจะมาเปลีย่ นรูป แบบการใช้รถยนต์แบบเดิมๆ ก็เป็นได้ ประเด็นทีน่ า่ ขบคิดต่อก็คอื จะเกิดอะไรขึน้ กับประเทศทีไ่ ด้ชอ่ื ว่า Detroit of Asia อย่าง บ้านเราซึง่ เป็นแหล่งประกอบรถยนต์ทส่ี �ำ คัญ ของโลก รถยนต์ในปัจจุบนั มีสว่ นประกอบที่ ซับซ้อน ทำ�ให้ประเทศไทยได้ประโยชน์จาก การเป็นแหล่งรวมการผลิตชิน้ ส่วนรถยนต์ จึง มีผปู้ ระกอบการรายย่อยจำ�นวนมากได้รบั ประโยชน์ แต่ในอนาคตรถยนต์ไฟฟ้าจะต้องการ OPTIMISE | OCTOBER 2016
09
INVESTMENT REVIEW กำ�ลังทำ�ให้เกิดขึน้ นัน้ ได้แก่ การลดต้นทุน การลดความไม่มปี ระสิทธิภาพของระบบ การ แบ่งปันทรัพยากร และการลดการรวมศูนย์ลง แต่นา่ สังเกตนะครับ ว่าทุกครัง้ ทีม่ เี ทคโนโลยี ใหม่ๆ เข้ามาในตลาด ผูเ้ ล่นเจ้าตลาดรายเดิม ผูก้ �ำ หนดนโยบาย และผูใ้ ช้จ�ำ นวนหนึง่ อาจ จะตอบสนองด้วยการปฏิเสธและปกป้องสิง่ ที่ เคยเป็นมาในอดีต หรือพยายามกีดกันไม่ให้ เทคโนโลยีใหม่เกิดขึน้ ได้ หรือปักใจเชือ่ ไว้กอ่ น ว่าความเปลีย่ นแปลงคงไม่เกิดขึน้ ซึง่ อาจเป็น เพราะมีการพึง่ พาเทคโนโลยีแบบเก่ามานาน จนไม่กล้าจะเสีย่ งย้ายทรัพยากรจากผลิตภัณฑ์ เดิมๆ มายังผลิตภัณฑ์ใหม่ ทีย่ งั มีความไม่ แน่นอนอยูพ่ อสมควร ที่มา Tesla.com แต่สดุ ท้าย เราก็มกั จะต้านทานกระแสของ การเปลีย่ นแปลงไปไม่ได้ และคงต้องเลือกว่าจะ เพียงระบบสำ�คัญๆ อย่าง ระบบขับเคลือ่ น ผูกขาด และต้นทุนในการเปลีย่ นค่ายธนาคารก็จะ ล้มหายตายจากไปพร้อมกับเทคโนโลยีเก่าหรือ แบตเตอรี่ ระบบควบคุม และระบบช่วงล่าง ถูกลงเรือ่ ยๆ ทำ�ให้การแข่งขันสูงขึน้ ธุรกิจต่อเนือ่ ง จะยอมเปลีย่ นแปลงและเกาะไปกับกระแสของ ถ้าเป็นเช่นนั้นแล้ว จะเกิดอะไรขึ้นกับผู้ผลิต ต่างๆ เช่น การซือ้ ขายสินค้าบนอินเทอร์เน็ตได้รบั การเปลีย่ นแปลงทีม่ คี วามไม่แน่นอนดังกล่าว ฝาสูบ หม้อน�ำ้ น�ำ้ มันเครือ่ ง สายพานและชิน้ ความนิยมเพิม่ มากขึน้ เราเริม่ เห็นรูปแบบใหม่ๆ นักลงทุนเองก็คงต้องอ่านกระแสของการ ส่วนอืน่ ๆ หรือธุรกิจปัม๊ น�ำ้ มันจะต้องปรับเปลีย่ น ในการระดม จัดสรร และติดตามการใช้ทรัพยากร เปลีย่ นแปลงให้ออก และเลือกลงทุนในธุรกิจ ตัวเองอย่างไร? น่าคิดนะครับ ทุน การพึง่ พาโมเดลธุรกิจสถาบันการเงินแบบ ทีเ่ หมาะสม มีผบู้ ริหารทีย่ ดื หยุน่ และปรับตัว แล้วก็นา่ คิดต่อว่าทัง้ การผลิตไฟฟ้าจาก เดิมๆ ลดน้อยลง และการพึง่ พาการใช้เงินสดก็คง ได้ดกี บั การเปลีย่ นแปลง ส่วนการกระจาย พลังงานแสงอาทิตย์และรถไฟฟ้า อาจจะทำ�ให้ ถอยลงด้วย ความเสีย่ งในการลงทุนยังคงเป็นเรือ่ งสำ�คัญใน ความต้องการใช้น�ำ้ มันลดลงอย่างมากในโลก เราเห็นผูเ้ ล่นใหม่ๆ ทีเ่ ป็นบริษทั เทคโนโลยี สภาวการณ์ทเ่ี ต็มไปด้วยความไม่แน่นอนครับ อนาคต และอาจจะเป็นการตอกย�ำ้ คำ�กล่าวทีว่ า่ กำ�ลังเข้ามากินส่วนแบ่งของธุรกิจการเงิน ไม่วา่ “ยุคหินไม่ได้สน้ิ สุดลงเพราะหินหมด และยุคของ จะเป็นเรือ่ งการลงทุน การบริหารจัดการเงินส่วน การพึง่ พาพลังงานจากน�ำ้ มัน อาจจะสิน้ สุดลง บุคคล การจัดการ supply chain หรือการจัดการ ้ ก่อนน�ำ มันจะหมดโลก” รูปแบบธุรกิจและการ การปฏิบตั งิ านหลังบ้านของสถาบันการเงิน เช่น ลงทุนในธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องอาจจะเปลีย่ นไปอย่าง การเคลียร์เช็คหรือการชำ�ระบัญชี หรือแม้แต่ ยุคหินไม่ได้สิ้นสุดลงเพราะ สิน้ เชิงในอีกไม่กป่ี จี ากนี้ บทบาทของธนาคารกลางก็อาจจะถูกสัน่ คลอน หินหมด และยุคของการ เทคโนโลยีทส่ี ามคือเทคโนโลยีการเงิน หรือ ได้ในอนาคต ถ้าเงินทีธ่ นาคารกลางพิมพ์ออกมา พึ่งพาพลังงานจากน้ำ�มัน ‘fintech’ ทีเ่ ราได้ยนิ กันบ่อยขึน้ มากในช่วงหลังๆ ถูกท้าทายโดยเงินตราสกุลใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จาก อาจจะสิ้นสุดลงก่อนน้ำ�มัน ด้วยการพัฒนาด้านเทคโนโลยีดา้ นต่างๆ โมเดล เทคโนโลยี ธุรกิจการเงินแบบเดิมๆ กำ�ลังถูกสัน่ คลอนใน นอกจากทีผ่ มยกตัวอย่างมา ก็ยงั มีอกี จะหมดโลก หลายมิติ หลายเทคโนโลยีนะครับทีอ่ าจจะนับได้วา่ เป็น ต้นทุนธุรกรรมทางการเงินและข้อมูลทีถ่ กู ลง disruptive technology ในอนาคตอันใกล้ บ เคลื ่ อ นรถยนต์ ไ ฟฟ้ า เพราะความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี กำ�ลังทำ�ให้ ไม่วา่ จะเป็น 3D printing เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ใน 01 ระบบขั ที ่ อ าจเป็ น ไปได้ ใ นอนาคต รูปแบบของธนาคารเปลีย่ นไป เส้นแบ่งในธุรกิจ การผลิต การประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลแบบ ภาคการเงินกำ�ลังเลือนลางลงเรือ่ ยๆ ผูเ้ ล่นราย cloud หรือเทคโนโลยีอน่ื ๆ ทีก่ �ำ ลังจะเกิดขึน้ ใหม่ๆ จากหลากหลายอุตสาหกรรมกำ�ลังเข้า พร้อมกับอินเทอร์เน็ตซึง่ ได้รบั การพัฒนาอย่าง มาสูธ่ รุ กิจการชำ�ระเงินทีค่ รัง้ หนึง่ ธนาคารเคย ต่อเนือ่ ง แต่แนวโน้มสำ�คัญทีเ่ ทคโนโลยีเหล่านี้ 01
10
OPTIMISE | OCTOBER 2016
OPTIMISE | OCTOBER 2016
11
optimum view
Healing Power
จริงๆ ไม่ใช่ยาเอดส์ อย่างเดียว ยาเบาหวาน ยาความดัน ทำ�หมด ทุกอย่าง อะไรที่ทำ�ได้ ก็ทำ�หมด ไม่ได้คิดว่า เกิดมาเพื่อยาเอดส์ ธนกร จ๋วงพานิช ฉันทำ�ยาอย่างอื่นไม่ได้ ค้นหาพลังและความหมายเบื้องหลังภารกิจช่วยเหลือ แล้ว เรามองว่าทุกคนมี สิทธิมีชีวิต ไม่ว่าเขาจะ ทุกชีวิตให้เข้าถึงยา ท่ามกลางดินแดนที่ได้ชื่อว่า ‘God-forsaken continent’ ของศาสตราจารย์ ขาวจะดำ� จะรวยจะจน ฉะนั้นเราทำ�ยาอะไรก็ได้ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ ที่ให้เขามีชีวิต
เมื่อพูดถึงภารกิจต่อต้านโรคระบาด ระดับโลกอย่างเอดส์หรือมาลาเรีย คน ส่วนใหญ่มักจะนึกถึงภาพขององค์การ ระหว่างประเทศที่เต็มไปด้วยทรัพยากร บุคคลและงบประมาณสำ�หรับให้การช่วย เหลือกับประเทศต่างๆ มากกว่าภาพของ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพราะสถานการณ์ ร้ายแรงที่คร่าชีวิตคนเป็นหลักหลายสิบ ล้านและเกี่ยวพันกับหลักวิชาขั้นสูงอย่าง เภสัชเคมีนั้น ดูพ้นวิสัยการแก้ปัญหาใน ระดับของบุคคลไปไกล กระนั้น หนึ่งคนที่ไม่คิดอย่างนี้ก็ คือศาสตราจารย์ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เภสัชกรรางวัลรามอน แมกไซไซ ผู้ตระเวนไปตามประเทศที่ประสบปัญหา อย่างไลบีเรีย เอธิโอเปีย แซมเบีย คองโก ฯลฯ เพื่อสอนคนท้องถิ่นทำ�ยาจากวิธี ที่เป็นไปได้ในพื้นที่ก่อนเดินทางไปยัง ประเทศประสบภัยอื่นๆ ต่ออย่างไม่ หยุดยั้ง จนได้รับสมญาจากสื่อนานาชาติ ว่า ‘เภสัชกรยิปซี’ โดยหลายครั้งเธอไปถึง พื้นที่วิกฤติก่อนการสนับสนุนจากองค์กร ระดับนานาชาติหรือแม้กระทั่งน้ำ�ประปา 12
OPTIMISE | OCTOBER 2016
คุณภาพจะไปถึง หลายครั้งก็ไปก่อน สงครามกลางเมืองยุติ และอีกหลายครั้ง เธอไปโดยเงินส่วนตัวของเธอเอง ความ ยากของปัญหาดูเหมือนจะเป็นเพียงจุด เริ่มต้นของการทำ�งานสำ�หรับ ดร.กฤษณา ไม่ใช่จุดจบ ในโอกาสที่รายงานล่าสุด (2016) จากโครงการเอดส์แห่งสหประชาชาติ (UNAIDS) ระบุข่าวน่าพอใจว่าจำ�นวน ผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ลดลงถึง 41% จาก ปี 2005 จนมีความหวังว่าสถานการณ์ ระบาดอาจหายไปได้ในปี 2030 จึงขอ เชิญติดตามแนวคิดและการทำ�งานของ หญิงแกร่งผู้แสดงให้เห็นได้เป็นอย่างดี ว่าการแก้ไขปัญหาระดับโลกอาจทำ�ได้ โดยไม่จำ�เป็นต้องอาศัยความพร้อมระดับ โลกเสมอไป
ต้านเชื้อไวรัสเอดส์ในประเทศไทย ภาย ใต้การนำ�ของเธอ องค์การเภสัชกรรม สามารถผลิตยา Zidovudine ซึ่งมีฤทธิ์ ในการลดการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก และยา รวมต้านเอดส์ 3 ชนิดในเม็ดเดียวที่เรียก ว่า GPO-VIR ให้เป็นยาสามัญได้สำ�เร็จ และขายในราคาเศษเสี้ยวของยามียี่ห้อ ซึ่งหมายความว่าผู้ป่วยเอดส์จะสามารถ ซื้อยาเหล่านี้มารักษาตัวได้ในระยะยาว โดยไม่หมดตัวเพราะค่าใช้จ่าย “จริงๆ ไม่ใช่ยาเอดส์อย่างเดียว ยา เบาหวาน ยาความดัน ทำ�หมดทุกอย่าง อะไรที่ทำ�ได้ก็ทำ�หมด ไม่ได้คิดว่าฉันเกิด มาเพื่อยาเอดส์ ฉันทำ�ยาอย่างอื่นไม่ได้ แล้ว เรามองว่าทุกคนมีสิทธิมีชีวิต ไม่ว่า เขาจะขาวจะดำ� จะรวยจะจน เขามีสิทธิมี ชีวิต มีสิทธิเข้าถึงยา ฉะนั้นเราทำ�ยาอะไร ก็ได้ที่ให้เขามีชีวิต สิทธิในการมีชีวิต …แน่นอนบริษัทยามีกำ�ไรได้ แต่ไม่ใช่ ดร.กฤษณา ไกรสินธุเ์ ริม่ สร้างชือ่ สมัย กำ�ไร 200 % 800 % เขาทำ�ให้ราคาถูก ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผูอ้ �ำ นวยการ สถาบันวิจัย ได้ แต่ไม่ทำ� เพราะต้องทำ�กำ�ไรสูงสุดให้ และพัฒนา องค์การเภสัชกรรม กระทรวง ผู้ถือหุ้น แต่เราไม่ใช่ เรามาทำ�งานองค์ สาธารณสุข โดยเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยา การเภสัชฯ เราทำ�งานให้คนส่วนใหญ่ของ OPTIMISE | OCTOBER 2016
13
optimum view
เราทุกคนถูกกำ�หนดไว้แล้วว่าจะตายเมื่อไหร่ ตายอย่างไร แล้วจะกังวลไปทำ�ไม ถ้าเป็น food poisoning อาจมีกังวลบ้าง ว่าจะไปเข้าห้องน้ำ�ที่ไหน แต่เรื่องตายไม่กังวล จะทำ�งานทำ�ไมต้องมี excuse ประเทศ ซึง่ ยากจน ดังนัน้ เราก็ท�ำ ยาชือ่ สามัญ ฝรัง่ ทำ�ยามียห่ี อ้ เราก็ท�ำ บ้าง แต่เราขายในราคา ถูกกว่าเขาเป็น 20-30 เท่า เพือ่ ให้มจี �ำ นวนคนได้ รับประโยชน์มากขึน้ อย่างผูป้ ว่ ยเอดส์ แต่เดิมค่า ยา 20,000-30,000 บาทต่อเดือน มีแค่คน 600 คนทีเ่ ข้าถึงได้ นอกนัน้ ไม่มเี งิน แต่พอเราทำ�ยา คน 150,000 คนทีเ่ ป็นผูป้ ว่ ยได้รบั ยาหมด ผูป้ ว่ ยเอดส์นไ่ี ม่มยี าก็อยูไ่ ม่ได้ แต่ได้ยาเขาก็ มีชวี ติ อยูเ่ หมือนคนปกติ ถึงต้องพยายามทำ� เพราะคนเรามีสทิ ธิทจ่ี ะมีชวี ติ ” ฟังเผินๆ การผลิตยาสามัญอาจดูไม่ใช่เรือ่ ง ยาก เพราะเป็นการผลิตยาโดยถอดสูตรเอาจาก ส่วนผสมหลักของยามียห่ี อ้ ทีว่ างขายอยูแ่ ล้ว แต่ในทางปฏิบตั ิ กระบวนการนีย้ งั ต้องอาศัยการ ค้นคว้าทดลองทีล่ ะเอียดซับซ้อนอีกยาวนานกว่า จะได้สดั ส่วนและกรรมวิธที ถ่ี กู ต้องสำ�หรับส่วน ผสมต่างๆ และในบางครัง้ การทำ�งานกับสารเคมี ทีม่ ฤี ทธิร์ ะดับระงับโรคร้ายได้กม็ อี นั ตรายสูง เช่น ตัวยา Zidovudine ที่ ดร.กฤษณาวิจยั จนผลิต ได้ส�ำ เร็จนัน้ มีองค์ประกอบเป็นสารพิษก่อมะเร็ง ซึง่ ทำ�ให้ระยะหนึง่ เธอต้องทำ�งานวิจยั วิเคราะห์ และผลิตยาตัวนีเ้ พียงลำ�พังโดยไม่มใี ครช่วย เนือ่ งจากนักวิจยั คนอืน่ ๆ ไม่พร้อมเสีย่ ง ชัดเจน ว่าในขณะที่ ดร.กฤษณาให้ความสำ�คัญกับสิทธิ ในการมีชวี ติ ของเพือ่ นมนุษย์อย่างยิง่ ชีวติ ของ เธอเอง กลับมีความสำ�คัญเป็นลำ�ดับรองเท่านัน้ “คนเราทุกคนถูกกำ�หนดไว้แล้วว่าจะตาย เมือ่ ไหร่ ตายอย่างไร แล้วจะกังวลไปทำ�ไม ถ้าเป็น food poisoning อาจมีกงั วลบ้างว่าจะ ไปเข้าห้องนา้ํ ทีไ่ หน แต่เรือ่ งตายไม่กงั วล จะทำ�งานทำ�ไมต้องมี excuse” 14
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ก็เลยลาออกจากทุกอย่าง แล้วก็ไป …ไม่ได้คดิ หรอกเรือ่ งจะยากลำ�บากแค่ไหน ผู้ที่ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคเอดส์อาจไม่ค่อยได้รับรู้ ถึงความสำ�เร็จของ ดร.กฤษณา แต่ความจริง คิดแต่วา่ ฉันจะทำ� ทำ�ได้ไม่ได้อกี เรือ่ ง เป็นคนดือ้ ทำ�อะไรก็จะทำ�ไปเรือ่ ยๆ ไม่คดิ ว่าจะทำ�สำ�เร็จนะ แล้ว ผลงานของเธอส่งผลกระทบกว้างไกล ตอนทีค่ ดิ ทำ�ยาเอดส์ในเมืองไทยด้วยเหมือนกัน องค์การอนามัยโลกยกให้ตัวยาของเธอเป็น แนวทางการระงับโรคเอดส์ในประเทศยากจน ตอนปี 2004 ทีป่ ระเทศไทยมีงานประกาศว่าจะ ให้ยาแก่ผปู้ ว่ ยเอดส์ทกุ คน เราก็ไปร่วมงานด้วย ในขณะที่ประเทศไทยก็สร้างประวัติศาสตร์ ด้วยการเป็นประเทศกำ�ลังพัฒนาประเทศแรก ขากลับจากงานยังคุยกับผูช้ ว่ ยว่าไม่เคยคิดว่าจะ มีวนั นี้ วันทีผ่ ปู้ ว่ ยเอดส์ทกุ คนได้รบั ยา แต่ท�ำ ไป ที่สามารถผลิตและส่งออกยาเอดส์ได้ เรือ่ ยๆ มันก็เสร็จเหมือนกัน อย่างไรก็ตาม ช่วงเวลาแห่งความสำ�เร็จนี้ …ทำ�งานไม่ต้องไปคิดว่ามันจะสำ�เร็จ เองกลับเป็นจุดผกผันสำ�หรับ ดร.กฤษณา เพราะเมือ่ ตัวแทนประเทศไทยไปประกาศในที่ จริงๆ ความสำ�เร็จนี่ ถ้าเราไปแบ่งเป็นตอนๆ ประชุมองค์การอนามัยโลกว่าพร้อมจะให้ความ ก็สำ�เร็จทุกวัน อย่างสัญญาว่าจะมาให้ สัมภาษณ์ วันนี้ก็ทำ�สำ�เร็จแล้ว พรุ่งนี้ก็ค่อยว่า ช่วยเหลือประเทศในทวีปแอฟริกาผลิตยา กันใหม่ พรุ่งนี้กับชาติหน้าอะไรจะถึงก่อนกัน แต่เมื่อกลับถึงไทยกลับไม่ได้ดำ�เนินการ โดยให้เหตุผลว่าทำ�แล้วประเทศอาจไม่ได้อะไร ยังไม่รู้เลย เพราะฉะนั้นก็ทำ�ไปเรื่อยๆ เสร็จเมื่อ ไหร่ก็เมื่อนั้น ไม่เสร็จก็ไม่เสร็จ จะเอาอะไรกัน ดร.กฤษณาก็ตัดสินใจลาออกจากองค์การ เภสัชกรรม เพื่อเดินทางไปให้ความช่วยเหลือ นักหนา เราทำ�ดีที่สุดแล้ว มากที่สุดแล้ว มันก็ ไม่จบหรอกชีวิตนี้ เพราะถ้าทำ�เสร็จ วันรุ่งขึ้นก็ แก่คนในทวีปแอฟริกาด้วยตัวเธอเอง โดยมี ประเทศคองโกเป็นเป้าหมายแรก ทั้งนี้ เธอไม่ ต้องทำ�อย่างอื่นอีก …ทำ�ไปเลย เรามีอะไรพร้อมในชีวิต ความ ได้รับการสนับสนุนใดๆ จากทางการ อันที่จริง ไม่พร้อมคือข้ออ้าง ถ้าไม่มีไอ้นั่นไม่มีไอ้นี่ เงินบำ�เหน็จจำ�นวน 1 ล้านบาทที่เธอได้รับ แล้วไม่ทำ�ดีกว่า รอให้พร้อม ไม่มีหรอกชาตินี้ ตอนลาออก ถูกใช้จนหมดในโครงการช่วย เพราะว่าข้ออ้างมันเกิดขึ้นได้เรื่อยๆ พอมีอันนี้ เหลือแรกของเธอนี่เอง ก็อ้างอันอื่นอีก สรุปคือจะไม่ทำ� มันก็ไม่พร้อม “ไปทำ�ตั้งแต่ออกแบบโรงงาน คุมงาน สักที พร้อมมันอยู่ที่ใจ ถ้าเราพร้อม ไม่มีอะไร ก่อสร้าง บอกสูตรยา ก็ทำ�ทุกอย่าง มันเป็น เราก็พร้อมได้ ดัดแปลงได้ทั้งนั้น เรามีสมองอยู่ สัจจะ สัจจะนี่สำ�คัญนะ คนอาจจะมองว่าโง่ อย่าไปตันตรงนี้ ถ้าคิดว่าตรงนี้ไม่มี ก็ไม่เอา หรือเปล่า ทำ�ไมต้องทำ�ตามสัญญาตลอด คิดอะไรไม่ออกแล้ว ก็ไม่ต้องทำ�อะไรกันพอดี” แต่คนเราถ้าไม่มสี จั จะแล้ว มันไม่มอี ะไรเหลือ ถ้าบอกว่าจะไป แล้วไม่ได้ไป ตายเสียดีกว่า เราลืมสัญญา แต่คนได้รบั สัญญาเขาไม่เคยลืม
มนุษยธรรมไม่มีพรมแดน
OPTIMISE | OCTOBER 2016
15
optimum view
ความพร้อมอยู่ที่ใจ
แม้ ดร.กฤษณาจะเล่าเหมือนเป็น เรื่องง่ายๆ แต่หากอ่านประวัติชีวิตของ เธอที่ถูกเล่าขานอยู่ในสื่อสิ่งพิมพ์ชั้นนำ� หลากหลายภาษา เช่น The New York Times, Der Spiegel, Le Figaro หรือ Reader’s Digest แล้ว ก็จะเห็นว่า ‘ความ ไม่พร้อม’ ที่เธอได้เผชิญตลอดการเดิน ทางไปสอนวิธีการทำ�ยาเอดส์ มาเลเรีย หรือยาสำ�คัญอื่นๆ ในประเทศในแอฟริกา นั้น เป็นมากกว่าข้ออ้างลมๆ แล้งๆ มาก นัก ไม่ว่าจะเป็นการกินการอยู่ที่อัตคัต ไปจนถึงความไม่ปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน ในคืนแรกทีค่ องโก ข้างบ้านของ ดร.กฤษณาถูกระเบิดลง ซึง่ สันนิษฐานว่า เป็นฝีมอื ของนักธุรกิจยาทีก่ ลัวถูกขัดผล ประโยชน์ จนต้องมีการส่งคนมาคุม้ กัน (แต่ภายหลังเธอสัง่ ยกเลิก เพราะเห็นว่าไม่ ช่วยอะไร เนือ่ งจากในยามกลางคืน เธอ แง้มม่านดูแล้วพบยามกว่า 10 คนทีถ่ กู ส่ง มาก็นอนหลับเหมือนเธอ) ทีไ่ นจีเรีย รถแท็กซีท่ เ่ี ธอนัง่ จากสนามบินเข้าบ้านพัก ถูกปล้นถึง 5 ครั้งในคืนเดียว ในขณะทีใ่ น ไลบีเรีย คุณภาพของน�ำ้ ประปาก็ขนุ่ และ คันจน ดร.กฤษณา ต้องใช้โซดาในตูเ้ ย็นมา ล้างหน้า และใช้น�ำ้ หวานแฟนต้าล้างเท้า ยิ่งกว่านั้น แม้ผ่านทุกอย่างมาได้ เมื่อ ถึงเวลาลงมือทำ�งานเข้าจริงๆ อุปกรณ์ ก็ยังขาดแคลนอย่างน่าใจหาย ในบาง ประเทศ ดร.กฤษณาต้องผสมยาโดยใช้ ถุงพลาสติกเป็นที่เขย่า วิเคราะห์การแตก ตัวของยาโดยละลายยาในน้ำ�แล้วคน หรือแม้กระทั่งวัดความแข็งของยาโดยใช้ แรงเท้ากระทืบและกะความแรงให้เท่าๆ กัน จนเธอรำ�พึงว่า “ย้อนหลังไปสักร้อยปี คนสมัยก่อนคงทำ�แบบนี้” “ความจริงเรื่องงานไม่ถือว่ายาก เพราะเรารู้วิธี ความท้าทายคือเรื่อง สุขภาพ เพราะมันอันตราย เป็นอาหาร เป็นพิษบ่อยมาก ไม่รู้กินอะไรเข้าไป จะเป็นมาลาเรียหรือเปล่าก็ไม่รู้ เวลาเดิน 16
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ชีวิตทุกคนมันต้องตาย แล้วจะกลัวอะไรนักหนา ...ใครอยากข่มขู่ก็ช่าง หมาเห่าไม่กัดหรอก ไม่ได้ รู้สึกอะไร พี่ไปทำ�งานตีห้าครึ่ง กลับตอนหนึ่งทุ่ม จอดรถที่เดิมตลอด ใครอยากทำ�อะไรก็ทำ�ได้เลย ตามสบาย ทางจึงมียา ¼ ของกระเป๋า อาหารไม่มี ไปกินกับเขา เขากินอะไรก็กินแบบนัน้ ของพวกนีม้ นั แค่ชว่ั ครู่ ก็คอยบอกคนอืน่ ว่า ไปแอฟริกามันเดือดร้อน ลำ�บากก็จริง แต่แป๊ปเดียวก็กลับมาไทย มาอยูก่ บั ชีวติ สุขสบายทีไ่ ทยแล้ว แค่นท้ี นไม่ได้เหรอ แค่ช่วงหนึ่งของชีวิต ไม่ได้อยู่ตรงนั้น ตลอด ถ้าอยู่ตรงนั้นตลอดก็อาจจะเป็น ทุกข์ ว่าชีวิตฉันมีอยู่แค่นี้ ไม่มีมากกว่านี้ แต่นี่ไปแทนซาเนีย 42 ครั้ง ภายใน 5 ปี ใช้เวลาอยู่ที่แทนซาเนีย 240 วัน ก็เป็นแค่ ช่วงหนึ่งของชีวิต ไม่ใช่ทั้งหมด …ไม่เคยรู้สึกว่างานนี้ไม่เหมาะกับเรา เราอุตส่าห์เรียนอะไรมาเยอะแยะ เรียน อะไรเต็มไปหมด แล้วจะมาคิดว่าฉันไม่ ควรทำ�งานนี้ไม่ได้ ไม่ทำ�แล้วใครจะทำ� ถ้าฉันไม่ล้างเครื่องแก้ว แล้วใครจะล้าง นั่งรอให้มันล้างเองเหรอ ก็ไม่ใช่ ก็ทำ�เสีย ดีกว่า ตอนนี้อยู่คอนโดคนเดียวก็ทำ�ทุก อย่าง ล้างห้องน้ำ� กวาดบ้าน ซักผ้า รีดผ้า ไม่เคยมีคนใช้ ไม่เคยมีเลขาฯ เลยตั้งแต่ ทำ�งานมา เอาเลขาฯ ไปทำ�แล็บดีกว่า ไม่ ต้องมาอยูใ่ กล้ๆ เดีย๋ วฉันจัดการของฉันเอง …ชีวติ ทุกคนมันต้องตาย แล้วจะกลัว อะไรนักหนา แค่เปลีย่ นจากบ้านหนึง่ ไป นอนอีกบ้านหนึง่ ไม่ใช่วา่ อยูๆ่ จะไปท้าให้ คนยิงอะไรแบบนัน้ แต่เรือ่ งพวกนีไ้ ม่เคย อยูใ่ นสมอง ไม่มเี ลย ใครอยากข่มขูก่ ช็ า่ ง หมาเห่าไม่กดั หรอก ไม่ได้รสู้ กึ อะไร พีไ่ ป ทำ�งานตีหา้ ครึง่ กลับตอนหนึง่ ทุม่ จอดรถ ทีเ่ ดิมตลอด ใครอยากทำ�อะไรก็ท�ำ ได้เลย ตามสบาย”
เข็นครก (ยา) ขึ้นภูเขา
ในด้านของการทำ�งาน นับเป็นเรื่องน่า ประหลาดว่า ดร.กฤษณา สามารถสอน ให้คนท้องถิ่นทำ�ยาได้ทั้งที่พูดภาษาไม่ได้ และอุปกรณ์ไม่พร้อม ในบางประเทศ เมื่อ ไปถึงแล้วถามว่าต้องการให้ทำ�ยาที่ไหน คำ�ตอบที่ ดร.กฤษณาได้คือมือที่ชี้ไปที่ ภูเขา ซึ่งหมายความว่าเธอมีแต่ที่ดินเปล่า สำ�หรับสร้างโรงงาน กระนั้นท่ามกลาง ข้อจำ�กัดเหล่านี้ ดร.กฤษณากลับประสบ ความสำ�เร็จในการสอนให้คนท้องถิน่ ทำ�ยา เอดส์และมาเลเรียในราคาถูกได้เป็นอย่าง ดี ในคองโก เธอใช้เวลา 3 ปีในการเปลี่ยน ที่ดินเปล่าให้เป็นโรงงาน ในแทนซาเนีย เธอช่วยอัพเกรดโรงงานยาร้างให้กลับมา ผลิตยาที่มีความจำ�เป็นได้ เช่นเดียวกับ ที่มาลี ที่เธอได้ช่วยปลุกปั้นให้ประเทศนี้ เป็นประเทศแรกในทวีปแอฟริกาใต้ ซาฮาราที่สามารถผลิตยาต้านมาเลเรีย ได้ในสเกลอุตสาหกรรม “ไม่ต้องพูดอะไรมากหรอก ทำ�งานให้ เขาดูก่อน ภาษากายก็มี ให้เขาทำ�ตาม แล้วจดไว้ แล้วก็ให้เขาทำ�ซ้ำ�อีกรอบเพื่อดู ว่าจดถูกไหม ง่ายจะตาย ภาษาไม่สำ�คัญ อะไร พยายาม simplify พูดกันไม่รู้เรื่องนี่ ดีเสียอีก เราบ่นเขาก็ไม่รู้ เขาบ่นเราก็ไม่รู้ ก็อยู่กันอย่างมีความสุข อยากพูดอะไรก็ พูดไปสิ ฟังไม่รู้เรื่อง ดีเหมือนกัน สมองจะ ได้พัก ทำ�อย่างอื่น คิดอย่างอื่นไป …เป็นเรื่องของ flexibility เรามีความ ยืดหยุ่น เพราะไม่ได้ก�ำ หนดว่ามันต้อง เป็นแบบนีๆ้ มีอะไรก็แก้ปญ ั หาเฉพาะหน้า OPTIMISE | OCTOBER 2016
17
optimum view
ยามที่ถาม ดร.กฤษณาถึงงานหลากหลายของเธอว่า โครงการใดกินเวลาเธอมากที่สุด ดร.กฤษณาตอบอย่าง แสดงตัวตนความเป็น ‘เวิร์กอะฮอลิก’ ผู้ดุดันของเธอได้ เป็นอย่างดีว่า “เรื่องสัมภาษณ์นี่แหละ เพราะไม่ได้ของ ถ้าเอาเวลาไปทำ�งานก็ยังได้ของบ้าง” ไปเรือ่ ยๆ มีปญ ั หาตรงนีก้ แ็ ก้ไปจุดหนึง่ มีตรง นีก้ แ็ ก้ไปอีกจุด มันไม่มรี ปู แบบอยูแ่ ล้ว ไม่วา่ เรือ่ งอะไรก็ตาม แผนปรับได้ตลอดเวลา ไม่ใช่ เป็นคนโลเลไม่แน่นอนนะ แต่เมือ่ สถานการณ์ เปลีย่ นไป เราก็ต้องปรับวิธีการให้เข้ากับ สถานการณ์” สำ�หรับ ดร.กฤษณา สิ่งที่สำ�คัญที่สุดไม่ใช่ ภาษาแต่เป็นการเชื่อในความสามารถและ ศักดิ์ศรีของมนุษย์ ที่ไม่จำ�กัดด้วยสีผิวหรือ เชื้อชาติ เธอพบว่าความสำ�เร็จในการผลิตยา ไม่ได้อยู่ที่ความพร้อมของอุปกรณ์มากเท่ากับ ความตั้งใจของคนในท้องถิ่น บางประเทศ ขาดแคลนและไม่รู้ภาษาอังกฤษ แต่สอนเพียง ครั้งเดียวก็ทำ�ได้ ในขณะที่บางประเทศ ไม่มี อุปสรรคในด้านการสื่อสารและได้รับความช่วย เหลือจากองค์กรต่างๆ มาโดยตลอดแต่กลับ สอนยากกว่า “ตอนแรกไปใหม่ๆ บริษัทยาข้ามชาติ ก็พูด โอ้ย---ทำ�ไม่ได้หรอก พวกนี้ไม่รู้เรื่อง อะไรทั้งนั้น 10 ปีให้หลังถึงค่อยมาบอก ‘เรา ควรสนับสนุนให้มีการผลิตยาโดยคนท้องถิ่น’ กลับลำ�เลย นี่เพราะไปดูถูกเขาก่อนว่าทำ�ไม่ ได้ อีกทีก็ที่บราซิล มีคนดำ�ที่ไปอยู่กับคนขาว แล้วก็ดูถูกคนประเทศเดียวกัน บอก ‘โอ้ย--คุณทำ�ไม่สำ�เร็จหรอก คุณไม่เข้าใจคน แอฟริกัน’ พี่ก็เลยบอก ‘ถ้าฉันทำ�เสร็จ ฉันจะ บอกคุณคนแรกเลย’ แล้วพอพี่ทำ�เสร็จพี่ก็ เขียนอีเมลไปบอกเขาก่อนจริงๆ คนก็คือคน ทำ�ไมเราต้องแบ่ง มาจากแอฟริกาผิวดำ� มา จากยุโรปผิวขาว เอเชียผิวเหลือง มันก็คนทั้ง นั้น ไม่ต่างกัน ถ้าเอาข้างในมาดู” 18
OPTIMISE | OCTOBER 2016
อย่างไรก็ตาม การผลิตยาได้สำ�เร็จเป็น เพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้น เพราะเช่นเดียวกับอีก หลายๆ แห่งในโลก การเมืองเป็นปัญหาที่ เคลือบซ้อนอยู่เบื้องหลังของแทบทุกๆ ปัญหา ดังที่เธอเคยให้สัมภาษณ์กับนิตยสารแพรวว่า “หลังจากผลิตยาเสร็จแล้ว ก็ยังต้องออกแรงอีก ต้องทำ�อะไรหลายอย่าง คุยกับผู้ใหญ่ เพื่อนคน ไหนรู้จักใคร เราก็ขอให้ช่วยติดต่อไปคุย ยอม ทำ�ทั้งนั้น แต่ปัญหาบางอย่างเราก็แก้ไม่ได้ โดยเฉพาะปัญหากับนักการเมือง ต้องคิดว่า ถ้าเขาไม่คิดว่าประชาชนของเขาควรได้รับยา ก็สุดแล้วแต่” ด้วยแรงทุ่มเทระดับนี้ ไม่แปลกที่คน ท้องถิ่นที่ทำ�งานกับ ดร.กฤษณาจะรับรู้ได้ เป็นอย่างดีถึงความห่วงใยที่เธอมีให้แก่เพื่อน มนุษย์ แต่ในขณะเดียวกันพวกเขาก็ยอมรับ ถึงสไตล์การทำ�งานอันรวบรัดเด็ดขาด ไม่เปิด ช่องให้ข้ออ้างใดๆ ของเธอ ดังสังเกตได้ชัดจาก สมญากึ่งพระคุณกึ่งพระเดชที่พวกเขาตั้งให้ กับ ดร.กฤษณา ไม่ว่าจะเป็น Mama Tough ที่ แปลว่า ‘แม่ถึก’ หรือ Simba Jike ซึ่งเป็นภาษา สวาฮิลีแปลว่า ‘นางสิงห์’ อันที่จริง ยามที่ถาม ดร.กฤษณาถึงงาน หลากหลายของเธอว่าโครงการใดกินเวลาเธอ มากที่สุด ดร.กฤษณาตอบอย่างแสดงตัวตน ความเป็น ‘เวิร์กอะฮอลิก’ ผู้ดุดันของเธอได้เป็น อย่างดีว่า “เรื่องสัมภาษณ์นี่แหละ เพราะไม่ได้ ของ ถ้าเอาเวลาไปทำ�งานก็ยังได้ของบ้าง”
รากฐานครอบครัว
แม้สิ่งที่ ดร.กฤษณาทำ�จะมีความละเอียด ซับซ้อนและเป็นเรื่องใหญ่ระดับนานาชาติ แต่เมื่อถามว่าอะไรคือรากฐานของสิ่งเหล่านี้ น่าแปลกที่ ดร.กฤษณาไม่ได้พูดถึงสถาบันอัน ทรงเกียรติที่เธอได้ผ่านมาอย่าง University of Strathclyde (ปริญญาโท) หรือ University of Bath (ปริญญาเอก) มากเท่ากับวัยเด็กที่เธอ ได้เคยเห็นคนในบ้านให้การ ‘รักษา’ ผู้อื่นมา ตลอด ไม่ว่าในฐานะหมอแผนโบราณ หมอ แผนปัจจุบัน พยาบาล หรือแม่ชี รวมไปถึงวัย ประถมในโรงเรียนราชินีบน ซึ่งทำ�ให้เธอเรียน รู้ที่จะอยู่ร่วมกับคนทุกๆ พื้นเพได้อย่างสนิทใจ ในชีวิตที่ได้ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รางวัล และเกียรติยศต่างๆ จนนับจำ�นวนไม่ ได้ ดร.กฤษณาบอกว่ารางวัลที่ภูมิใจที่สุดคือ รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นของโรงเรียนราชินี “การอยู่โรงเรียนประจำ�ทำ�ให้เราเรียนรู้ เรื่องการปรับตัว การเข้ากับเพื่อน และเรียนรู้ พฤติกรรมของคน เพราะจะเป็นคนไทยหรือ คนชาติไหนๆ พฤติกรรมก็เหมือนกันหมด กิเลส เหมือนกัน สิ่งเหล่านี้มีความหมายมาก โดยเฉพาะในการทำ�งานที่เราต้องรับมือกับคน หลากหลาย ต้องรู้เขา รู้เรา เวลาจะไปคุย กับใคร ต้องพูดให้ถูกจุด ถูกเส้น ให้มันเป็น win-win ไม่ใช่ฉันได้คนเดียว แล้วเธอไม่ได้ อะไรเลย ให้เขามีความสุขว่าเขาก็ได้ ไอ้เรา ก็ได้เหมือนกัน ต่างคนต่างสุข โรงเรียนประจำ� ให้การศึกษาตรงนี้ได้ดีที่สุด …แล้วคนเรามันมาจากพื้นฐานทั้งนั้น แม่พี่เป็นพยาบาล พ่อเป็นหมอ ขี่ม้าไปรักษา OPTIMISE | OCTOBER 2016
19
optimum view
คนแอฟริกนั เป็นคนทีม่ คี วามสุขมากทีส่ ดุ ในโลกนะ ...เพราะความสุขของเขาไม่ได้ขึ้นอยู่กับวัตถุ ความสุขเขาเป็นอิสระ ความสุขเราไม่เป็นอิสระ ความสุขเราเป็นเมืองขึ้น เพราะมันขึ้นอยู่กับ อย่างอื่น เรามีอย่างนี้ เราถึงจะมีความสุข แต่เขาไม่ใช่ เพราะเขาไม่มี คนไข้ เพราะเกาะสมุยไม่มีรถ การเดิน ทางลำ�บาก คนไข้ไม่มีเงินก็ให้กะปิ นํ้าปลามาแทน มีอะไรก็ให้อันนั้น ก็ไม่ เป็นไร คุณตาก็เป็นหมอแผนโบราณ เราเคยนั่งปั้นและสุมไฟยาลูกกลอนแผน โบราณของคุณตา ส่วนคุณยายเป็นแม่ชี อยู่ที่วัด เราชอบไปนั่งรอคุณยายสวดมนต์ อยู่ใต้ต้นพิกุลนอกโบสถ์ ยายก็คอยสอน ว่าหนูโอกาสดีกว่าคนอื่น หนูต้องช่วยคน อื่นนะ เราก็เห็นและถูกปลูกฝังอย่างนี้มา ตลอด ถึงได้บอกว่าช่วงชีวิตเด็กๆ นี่มัน มีความหมายมากสำ�หรับชีวิตคนๆ หนึ่ง ทำ�ให้เราเป็นนู่นเป็นนี่ได้ มาสอนตอนโตๆ มันไม่ทันแล้ว มันเหมือนมาบังคับให้ทำ� …พ่อเราสอนให้เราภูมิใจว่าเรามีแค่นี้ เราพอแล้วนะลูก เราเลยไม่เคยรู้สึกด้อย อะไรเลย จะยากจนจะเป็นยังไง ก็ไม่เคย รู้สึกอะไร อยู่โรงเรียนสำ�หรับพวกผู้ดี ทั้งหลาย คนร่ำ�รวย โดยที่เราก็ไม่ได้ ร่ำ�รวย เราก็ไม่ได้รู้สึกอะไร ไม่ได้หลง ตัวเองนะ แต่ไม่ได้รู้สึกว่าเราด้อยกว่า คนอื่น เงินทอง ชื่อเสียง เกียรติยศ มันคือ อะไร เดี๋ยวตายไป มันก็ไปกับเราแล้ว มันก็ไม่มีแล้ว แต่สิ่งที่เราทำ�ให้คนอื่นมัน ยังเหลืออยู่ ตอนนี้ผู้ป่วยเอดส์ 150,000 คน เขายังไม่ตาย เขายังอยู่ทั้งหมด …ก็มคี นเอาเรือ่ งไปทำ�เยอะ ทำ�ละคร ทำ�หนัง บรอดเวย์อะไร แต่จริงๆ ก็อย่าง ทีบ่ อก ไม่ได้รสู้ กึ ว่าโอ้โห---ฉันภูมใิ จมาก จริงๆ บอกเขาไปด้วยว่า อย่าเพิ่งทำ�นะ 20
OPTIMISE | OCTOBER 2016
รอฉันตายก่อนค่อยทำ� เพราะฉันยังมี โอกาสทำ�ชั่วได้อีก เรื่องตั้งใจชั่วเราไม่ทำ� อยู่แล้ว แต่ไม่ตั้งใจนั่นก็อีกเรื่องหนึ่ง ทำ�พลาดไป แต่เอาละ เขาอยากทำ�ก็ ทำ�ไป ดีไม่ดีก็พิสูจน์กันเอาเองแล้วกัน”
ความสุขที่คนมองไม่เห็น
อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางภาพความ แร้นแค้นทุรกันดารมากมายเกี่ยวกับชีวิต ในแอฟริกาของ ดร.กฤษณา ไม่ว่าจะเป็น ที่ปรากฏอยู่ในบทสัมภาษณ์ คำ�ประกาศ กิตติคุณ ชีวประวัติ ตลอดจนหนังสารคดี A Right to Live: AIDS Medication for Millions และบทละครเรื่อง Cocktail เธอ บอกว่าสิ่งหนึ่งที่คนอาจมองพลาดไปก็คือ ความสุขของคนแอฟริกัน “คนแอฟริกันเป็นคนที่มีความสุขมาก ที่สุดในโลกนะ ที่เขาวัดดัชนีความสุขนี่ คนแอฟริกันสุขที่สุด ทั้งๆ ที่คนแอฟริกัน ก็ยากจนที่สุด และมีสงครามกลางเมือง เกิดขึ้นในแอฟริกามากที่สุด ทำ�ไมเขา มีความสุข ก็เพราะความสุขของเขาไม่ ได้ขึ้นอยู่กับวัตถุ ความสุขเขาเป็นอิสระ ความสุขเราไม่เป็นอิสระ ความสุขเราเป็น เมืองขึ้น เพราะมันขึ้นอยู่กับอย่างอื่น เรามีอย่างนี้ เราถึงจะมีความสุข แต่เขา ไม่ใช่ เพราะเขาไม่มี …เขาสุขได้ทั้งนั้น โค้กกระป๋องเดียว ก็มีความสุข วิ่งทั่วไปหมด พี่ไปประเทศ หนึ่ง พี่ก็ใช้บลูทูธเพราะว่าชอบมีคนมา
ฉกมือถือ เลยเอามือถือไว้ในกระเป๋าแล้ว ก็คุยบลูทูธเอา ปรากฎมีคนเห็นแล้วก็คิด ว่าไอ้โทรศัพท์อันเล็กๆ นี่วิเศษมากเลย เขาก็เลยปลดสร้อยทองออกมาบอกว่า ‘ฉันให้เธอ แต่แลกกับเอาโทรศัพท์มาให้ หน่อย’ มันก็ตลกดี พี่ก็ประทับใจทุกที จะ ลำ�บากมาก หรืออันตรายก็ตาม มันก็แค่ ชั่วครู่เดี๋ยวก็หาย แต่ความประทับใจมัน นาน ตอนนี้เรายังจำ�ได้เลยว่าที่มาลี เรา ทำ�อะไรบ้าง ที่คองโกเราทำ�อะไรบ้าง มัน จำ�ได้เพราะว่าเราประทับใจ …เมืองไทยสบายเกินไป ทำ�ให้เรา ไม่รู้ว่าความยากลำ�บากเป็นยังไง ถ้าคน ไทยไปแอฟริกา กลับมาจะเปลี่ยนนิสัย เขาจะขอบคุณประเทศไทยที่ให้เราได้เกิด ในที่ที่ดี คนเราบางคนไม่รู้ว่าได้เกิดในที่ ดี ก็มองไม่ดีอย่างนั้นนี้ ติว่าต่างๆ นานา พี่ไปมา 153 ประเทศ พี่ก็ว่าประเทศไทย น่าอยู่ที่สุด” ไม่เพียงเท่านัน้ ความสุขของ ดร.กฤษณา เองก็มกั เป็นสิง่ ทีค่ นจินตนาการไม่คอ่ ยออก เธอยกตัวอย่างจาก ‘ลังกาสุกะ’ หนึง่ ใน หลากหลายโครงการในปัจจุบนั ทีเ่ ธอเดิน ทางลงไป 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้เพือ่ ช่วยชาวบ้านผลิตยาจากสมุนไพรในท้อง ถิน่ อย่างสาหร่าย เกลือหวาน รังนก ฯลฯ เพือ่ นำ�ไปขายสร้างคุณภาพชีวติ ความเป็น อยูท่ ด่ี ใี ห้กบั คนในพืน้ ที่ “การได้เห็นคนมีความสุข เราก็มี ความสุขแล้ว นี่คือความสำ�เร็จ ไม่ใช่ของ ไม่ใช่รายได้ แต่เป็นการที่เราไปอยู่กับเขา แล้วเขามีความสุข กับการที่เขาได้อยู่กับ เราแล้วเรามีความสุข ไม่ได้คิดว่าจะทำ�ให้ ภาคใต้สงบ ไม่ได้คิดอะไรทั้งนั้น คิดแต่ ว่าจะทำ�ให้ชุมชนนี้ดีขึ้น เป้าหมายพี่ไม่ได้ ไกลมาก อยู่แค่ข้างหน้านิดหน่อยเท่านั้น เอง เราทำ�ชุมชนให้ 400-500 ครอบครัว เขามีความสุข เราก็จบ แต่จากเวลาที่ทำ� วันแรกตั้งแต่ปี 2551 จนถึงตอนนี้ มันต่างกันมากจริงๆ ความเชื่อใจ ความไว้ใจ เราบอกให้เขาทำ�อะไร เขาทำ�หมดทุกอย่าง ความสนิทสนมกัน OPTIMISE | OCTOBER 2016
21
optimum view
ปัญหามีสองอย่าง ปัญหาแก้ได้กับแก้ไม่ได้ ถ้าพี่คิดอยากเป็นนายกฯ จะได้แก้ปัญหาได้ แล้วพี่จะได้เป็นไหม แล้วปัญหาจะได้แก้ไหม แล้วพี่จะคิดทำ�ไม ฉะนั้นก็คิดแค่ข้างหน้า 1 เมตรนี่แหละ เราแก้ได้ไหม เราแก้ได้เราก็แก้ เราแก้ไม่ได้ก็ไม่ต้องแก้ ไม่ต้องพูดถึงมัน คิดได้แบบนี้ ชีวิตก็ง่าย มันทำ�ให้เรามีความสุข บอกไม่ได้เลยว่ามันสุข ยังไง ทำ�ให้พี่อยากไปใต้บ่อยๆ อยากไปนั่งกิน ข้าวกับเขา ให้เขาทำ�ข้าวยำ�ให้กิน กินน้ำ�บูดู เราก็มีความสุขแล้ว …ความจริงไปอยู่ไหนก็ประทับใจทุกที่ เพราะว่าคนพอเราไปอยู่กับเขานานๆ เขาก็ น่ารัก มันก็เกิดความผูกพัน ดังนั้นพอจะจาก มา เราก็คิดถึงเขา แต่ว่ามันก็ได้แค่นั้นแหละ เราพบกันก็เพื่อจากกัน อย่างที่คองโกไปทำ�ตั้ง 3 ปีก็ผูกพันกับเขา เขาพูดภาษาฝรั่งเศสแต่เรา พูดไม่เป็น ก็พูดกันไม่รู้เรื่อง แต่มีความผูกพัน ในเนื้องาน วันที่กลับเขามายืนส่งเรา ใส่เสื้อสูท งดงามเลย เขาก็บอกว่าฉันจะคิดถึงเธอ ถ้าเธอไม่อยู่ เราก็บอก เธอไม่ต้องคิดถึงฉัน หรอก เธอเอายาเม็ดที่เธอทำ�มามอง ฉันอยู่ใน ยาเม็ดทุกเม็ดนั่นแหละ ถ้าเธอคิดถึงฉัน เธอก็ ทำ�ยาเม็ดให้ดีๆ แล้วเอายาเม็ดมาดู นั่นแหละ ฉันอยู่ตรงนั้นแหละ”
แก้โลกจากจุดที่ยืนอยู่
ทุกวันนี้ที่กระแสการปฏิรูปประเทศไทย คุกรุ่นอยู่ในบรรยากาศ จากประสบการณ์ ทำ�งานใหญ่และยาก ตั้งแต่การต่อสู้กับ โรคระบาด ความยากจน ไปจนกระทั่งกลุ่ม ผลประโยชน์ในหลากหลายประเทศของ ดร.กฤษณา ชวนให้คิดว่า ถ้ามีอำ�นาจกำ�หนด ทิศทางของสิ่งต่างๆ ได้ ดร.กฤษณาอยากจะ ทำ�อะไร อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนคำ�ว่า ‘ถ้า’ ไม่ ค่อยมีความหมายนัก ในพจนานุกรมที่มีแต่คำ� ว่า ‘ทำ�’ ของ ดร.กฤษณา
22
OPTIMISE | OCTOBER 2016
“ปัญหามี 2 อย่าง ปัญหาแก้ได้กับแก้ไม่ได้ ถ้าพี่คิดอยากเป็นนายกฯ จะได้แก้ปัญหาได้ แล้วพี่จะได้เป็นไหม แล้วปัญหาจะได้ แก้ไหม แล้วพี่จะคิดทำ�ไม ฉะนั้นก็คิดแค่ ข้างหน้า 1 เมตรนี่แหละ เราแก้ได้ไหม เราแก้ได้เราก็แก้ เราแก้ไม่ได้ก็ไม่ต้องแก้ ไม่ต้องพูดถึงมัน คิดได้แบบนี้ ชีวิตก็ง่าย …ไอ้คิดใหญ่มันก็คิดนะคะ ไม่ใช่ไม่คิด เพราะถ้าทำ�แต่เล็กๆ ไปตลอดชีวิตก็คงไม่ได้ อะไรเลย ดังนั้นใหญ่ๆ เราก็คิด แต่ไม่ต้องไป พูดอะไรมาก ค่อยๆ ทำ� ค่อยๆ ต่อจิ๊กซอว์เล็กๆ ของเราไป ในที่สุดใหญ่มันก็เกิดเอง อย่างพี่มี เป้าหมายอยากให้คนทางใต้มีศักดิ์ศรี มีงานทำ� ก็คิด เอ๊ะ---แล้วเราจะทำ�อะไรดี ก็ได้ออกมาว่า จะทำ�แบบนี้ ผลออกมาจะสำ�เร็จไม่สำ�เร็จก็อีก เรื่องหนึ่ง แต่เราต้องทำ�ไปให้ถึงจุดนั้นก่อน …ทำ�มันอยู่รอบตัวนี่แหละ จริงๆ แล้วเรา อยู่ในวงการนี้ เรามีโอกาสที่จะได้ช่วยคน เยอะมาก ยังเคยพูดกับเด็กเภสัชว่า เราเป็น เภสัช เราทำ�ยาให้คน ทำ�ยาช่วยชีวิตคน เรา ต้องคิดว่าเราทำ�ประโยชน์ให้สังคมได้เยอะมาก อย่าไปคิดน้อยอกน้อยใจ ว่าต้องเป็นหมอถึง จะดี มันอยู่ที่ความคิดตัวเอง เรามีสิทธิช่วยคน ตั้งเยอะ เป็นส่วนหนึ่งที่ทำ�ให้คนสุขภาพดี คิด แบบนี้ ไม่น้อยอกน้อยใจอะไรทั้งนั้น แล้วเรา ก็จะทำ�งานกับบุคลากรอื่นได้อย่างมีความสุข เพราะสุดท้ายเราเป็นกลไกที่สำ�คัญในการที่จะ ทำ�ให้สาธารณสุขของประเทศดีขึ้น เราเป็นคน ทำ�ยาไง เพราะยังไงคนก็ต้องการยา”
น่าสังเกตว่า สำ�หรับ ดร.กฤษณา การช่วย คนเป็นสิทธิ ไม่ใช่หน้าที่ ความจริงในขณะที่คน อื่นเรียกงานของเธอว่าเป็น ‘ภารกิจ’ ‘วีรกรรม’ ‘การเสียสละ’ ดร.กฤษณามองทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นเพียง ‘โอกาส’ ที่คนที่ได้รับประโยชน์ไม่ใช่ ชาวแอฟริกา แต่เป็นตัวเธอเอง “การไปอยู่แอฟริกา ทำ�ให้พี่มีโอกาส มากกว่าคนอื่น ได้เห็นชีวิตทุกชีวิต ทั้งรํ่ารวย ทั้งจนสุดจน เห็นหมดแล้ว คนตายต่อหน้าก็ เห็นมาแล้ว มันทำ�ให้ปลงกลายๆ ว่า มันก็แค่ นี้เอง เดี๋ยวเราก็ไปกันแล้ว ไม่ใช่ว่าหมดอาลัย ตายอยากนะ แต่มันทำ�ให้คิดได้ว่าชีวิตมันไม่มี อะไรเลย เราเจอกันวันนี้ เดี๋ยวเราก็จากกันแล้ว แล้วจะแสวงหาอะไรนักหนา” กระนัน้ ในสายตาคนนอก การทำ�งานของ ดร.กฤษณาในปัจจุบนั ยังห่างไกลจากคำ�ว่าปลง ขณะเสร็จจากการสัมภาษณ์ทว่ี ทิ ยาลัยการ แพทย์แผนตะวันออกของมหาวิทยาลัยรังสิต ทีเ่ ธอนัง่ เป็นอธิการอยูจ่ นปัจจุบนั เราต้องใช้ลกู ออดอ้อนมากมายกว่าจะรัง้ ให้เธออยูถ่ า่ ยรูป ขึน้ ปกได้สำ�เร็จ ดูเหมือนไม่ว่ารูปจะออกมาดูดี หรือไม่นั้นไม่ใช่สิ่งที่เธอสนใจ ใจของเธอน่าจะ ไปอยู่ที่ห้องแล็บแห่งใดแห่งหนึ่งเสียแล้ว “พีเ่ ป็นคนงกเวลา หนึง่ นาทีกม็ คี า่ เพราะเรา เอาคืนไม่ได้ เพราะฉะนัน้ พยายามทำ�ให้มาก ทีส่ ดุ ตอนทีย่ งั มีชวี ติ อยูน่ ล่ี ะ่ ” ดร.กฤษณากล่าว ทิง้ ท้าย ก่อนเดินดุม่ หายไปในสำ�นักงาน
OPTIMISE | OCTOBER 2016
23
FULL FLAVORS
The Gaggan Revolution เชฟกากัน้ อนันด์ เจ้าของร้านอาหาร Gaggan คว้ารางวัลร้านอาหารทีด่ ที ส่ี ดุ ของเอเชีย 2 ปีซอ้ น พร้อมนำ�การปฎิวตั ติ ำ�รับอาหารแบบโมเดิรน์ มาสูภ่ มู ภิ าค ในขณะทีแ่ ขกลิม้ รสแชมเปญจิบแรก แผงกระจกสีขาวทึบซึง่ กัน้ ระหว่างโต๊ะหมายเลข CD1 กับครัวของ Gaggan ก็พลันเปลีย่ นสภาพ ไปเป็นกระจกใส เผยให้เห็นความเคลือ่ นไหว ชวนพิศวงไม่แพ้การแสดงบัลเลต์ภายในครัว กากัน้ อนันด์ เชฟหนุม่ รูปร่างสูง 183 เซนติเมตร โผจากเคาน์เตอร์หนึง่ ไปยังอีกเคาน์เตอร์หนึง่ ท่ามกลางเหล่าลูกทีมหลากหลายสัญชาติกว่า 20 ชีวติ (ตัง้ แต่โปรตุเกส คอสตาริกา ฮอลแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ สเปน เวเนซุเอลา อินเดีย ไทย ไปจนกระทัง่ รัสเซีย) เพือ่ ชิมนานาวัตถุดบิ และ สุกก่อนจะประกาศคำ�พิพากษาถีย่ บิ ราวสะเก็ด ไฟ สิง่ เหล่านีอ้ าจถือเป็นความชุลมุนในครัวอัน ชินตา หากมิใช่ดว้ ยภาพของการเล่นแร่แปรธาตุ ทีห่ ญิงสาวคนหนึง่ กำ�ลังแกะผิวลูกโป่งออกจาก ก้อนทรงกลมสีขาวนวลแช่แข็ง อีกคนสาละวน รดนํา้ แข็งแห้งลงใส่จานจนแลดูเดือดพล่าน ราวปรอท ในขณะทีอ่ กี คนก็งว่ นอยูก่ บั การตักผง อะไรบางอย่างทีค่ ล้ายขีเ้ ถ้า แต่เมือ่ ชิมแล้วกลับ ให้รสหัวหอม นับเป็นเวลา 2 ปีซอ้ นมาแล้วทีเ่ ชฟและ กองทัพบริกรย่อมๆ ของร้านกากัน้ ณ ซอย หลังสวน ได้ครองอันดับสูงสุดในการจัดอันดับ 50 ร้านอาหารทีด่ ที ส่ี ดุ ในเอเชีย ซึง่ สนับสนุนโดย น�ำ้ ดืม่ San Pellegrino ทัง้ นี้ แม้การทีร่ า้ นกากัน้ ขึน้ ครองอันดับหนึง่ อาจมีผไู้ ม่พอใจบ้าง เพราะ ข้ามหน้าร้านระดับบรมครูในญีป่ นุ่ หลายแห่ง กระนัน้ เมือ่ ได้ลม้ิ รสเซ็ตอาหาร 18 คอร์ส ราคา 4,000 กว่าบาทซึง่ ประกอบด้วยปลา 24
OPTIMISE | OCTOBER 2016
กระพงทีห่ น้าตาเหมือนก้อนถ่าน ตลอดจนหยด โยเกิรต์ ในกระเปาะเจลทีใ่ ห้รสสัมผัสเหมือนไข่ ของทีน่ แ่ี ล้ว ก็จะสัมผัสได้วา่ นีค่ อื ชัยชนะทีไ่ ด้มา ด้วยความกบฏ กากัน้ ได้น�ำ การปฏิวตั อิ าหาร อันมีจดุ กำ�เนิดจากสเปนเข้ามาสูเ่ อเชีย ซึง่ เมือ่ พิจารณาประกอบกับแผนลงทุนเปิดร้านให้ บรรดาศิษย์เอกของเขา ตลอดจนโครงการเปิด โรงเรียนสอนทำ�อาหาร และแผนทีจ่ ะย้ายตัวเอง ไปทำ�อาหารทีญ ่ ป่ี นุ่ ในปี 2020 แล้วก็จะเห็นว่า อนาคตของกากัน้ ยังคงเต็มไปด้วยการทดลอง บ้าบิน่ ทีแ่ ฝงไว้ดว้ ยความไม่ยอมลดราวาศอกใน เรือ่ งอาหารอย่างเช่นทีผ่ า่ นมา
ออกไปเสาะหาของกินอร่อยๆ ตามท้องถนน ของโกลกาตา ไม่วา่ จะเป็นซาโมซา ถัว่ รวมมิตร หรือปลาทอด และดูเหมือนจะติดใจชีวติ อิสระ อย่างนัน้ ทำ�ให้เมือ่ เข้ามหาวิทยาลัย เขาตัดสิน ใจลาออกจากหลักสูตรเรียนทำ�อาหารทัง้ ทีท่ �ำ คะแนนได้สงู เป็นอันดับต้นๆ เขาก่อตัง้ บริษทั รับจัดเลีย้ งและลิม้ ลองชีวติ นักธุรกิจ แต่หลัง ประสบความล้มเหลวทัง้ ชีวติ แต่งงานและธุรกิจ กากัน้ ก็ตดั สินใจทิง้ ทุกอย่างและมาเริม่ ต้นใหม่ท่ี กรุงเทพฯ ด้วยความหวังว่าจะได้กลับมาทำ�งาน ก้นครัวอีกครัง้ หนึง่
การหลบหนีและการปฎิวตั ิ
หากย้อนดูภมู หิ ลังของกากัน้ จะเห็นว่าชีวติ ของเขาไม่ชวนให้สร้างเมนูปลุกความทรงจำ� ในอดีตพร้อมๆ กับท้าทายกรอบความคิดเรือ่ ง อาหารของผูค้ นอย่างทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของเขา ในทุกวันนีเ้ ท่าใดนัก กากัน้ เป็นชาวเมืองโกลกาตาโดยกำ�เนิด และเป็นบุตรของนักธุรกิจซึง่ ฐานะทางการเงินขึน้ ๆ ลงๆ ได้ท�ำ ให้ครอบครัว ต้องมีอดีตอันยากแค้นหลายครัง้ หลายครา “แต่พอ่ ไม่เคยห้ามผมเป็นเชฟ ทุกคนใน ครอบครัวทำ�อาหารเป็นหมด อาหารเป็นเหมือน ศาสนาสำ�หรับเรา และเนือ่ งจากธุรกิจของพ่อ ไปได้ไม่สวยนัก ท่านเลยสอนว่า ‘ให้หาทักษะ วิชาชีพติดตัวเอาไว้ อย่างน้อยก็จะได้ไม่อด ตาย” กากัน้ เล่า สมัยเรียนชัน้ มัธยมศึกษา กากัน้ มักหนีเรียน
พ่อไม่เคยห้ามผมเป็นเชฟ ทุกคนในครอบครัวทำ� อาหารเป็นหมด อาหารเป็น เหมือนศาสนาสำ�หรับเรา และเนือ่ งจากธุรกิจของพ่อ ไปได้ไม่สวยนัก ท่านเลย สอนว่า ‘ให้หาทักษะวิชาชีพ ติดตัวเอาไว้ อย่างน้อยก็จะ ได้ไม่อดตาย’ OPTIMISE | OCTOBER 2016
25
FULL FLAVORS อันดับร้านอาหารทีด่ ที ส่ี ดุ 1,000 แห่งเสียเอง เพือ่ ตอบโต้ อย่างไรก็ตาม สำ�หรับกากัน้ เขา ตระหนักทันทีวา่ ท่ามกลางสงครามแห่งความ แตกแยกทางอาหารนี้ เขาอยากยืนอยูฝ่ า่ ยใด กากัน้ เล่าว่า “ผมดูสง่ิ ต่างๆ พวกนีแ้ ล้วพูดกับ ตัวเองว่า ‘เอล บูญเี จ๋งมาก พวกเขาใช้โฟมกับ ไนโตรเจนเหลว!’ สิง่ เหล่านีค้ อ่ ยๆ ซึมซับเข้ามา แต่ผมไม่เคยคิดว่าตัวเองจะกล้าลองทำ�จริงๆ”
ฟองและรูปทรงกลม
กากัน้ เล่าว่า “ผมเคยเป็นคนชอบหนีปญ ั หา ผมหลงทางอยู่ 6-7 ปี ผมเลือกผูห้ ญิงผิด ทำ�ธุรกิจ ก็ลม้ ลุกคลุกคลาน ระหว่างนัน้ ก็พยายามค้นหา ว่าชีวติ นีม้ นั คืออะไร แต่การเผชิญช่วงแย่ๆ อย่าง นีท้ �ำ ให้ผมกลายเป็นคนไม่กลัวอะไร” เมือ่ อายุได้ 28 ปี เขาได้รบั ตำ�แหน่งเชฟ ประจำ� Red ร้านอาหารอินเดียในย่านทองหล่อ แต่ในปี 2007 ขณะยังทำ�งานอยูท่ ร่ี า้ นดังกล่าว กากัน้ ก็ได้ยนิ เกีย่ วกับร้าน elBulli เป็นครัง้ แรก จากนักวิจารณ์อาหารรายหนึง่ ผลงานอาหาร ของเชฟเฟอร์รนั อาเดรีย ทีร่ า้ นดังกล่าวเป็นดัง่ แสงสวรรค์ทส่ี อ่ งให้เขาเห็นทางของตัวเอง ร้านเอล บูญี ของอาเดรีย ในเมือง โรสเซส ประเทศสเปน มีชอ่ื เสียงกระฉ่อนโลก เพราะอาหาร 35 คอร์สของทางร้าน ได้รบั การ ประดับ 3 ดาวมิชลินตัง้ แต่ปี 1997 ความจริง Restaurant Magazine ได้ยกให้ เอล บูญี เป็น ร้านอาหารทีด่ ที ส่ี ดุ ในโลกตัง้ แต่ปี 2002 แล้ว แต่ไม่ได้รบั ความสนใจ จวบจนเมือ่ ปี 2006 ทาง นิตยสารได้จดั ตัง้ คณะกรรมการประกอบด้วย นักวิจารณ์อาหาร 500 คน และจัดให้มกี ารมอบ 26
OPTIMISE | OCTOBER 2016
รางวัล World’s 50 Best Restaurants หรือ 50 ร้านอาหารทีด่ ที ส่ี ดุ ในโลก คนทัว่ โลกจึงเริม่ จับตา มองร้านทีค่ ว้าอันดับ 1 ในการประกาศรางวัลนี้ และเสิรฟ์ อาหารชวนพิศวงอย่างค็อกเทล มาร์การิตาในรูปฟองละมุนรสเค็มในก้อนนํา้ แข็งยักษ์ ผลมะกอกฝีมอื มนุษย์สอดไส้ดว้ ยเนือ้ มะกอกเหลวระเบิดในปาก และเมลอนเม็ดละ อันพันน้อยหน้าตาพิมพ์เดียวกับไข่ปลาแซลมอน ร้านเอล บูญี ได้พลิกโฉมวงการไฟน์ไดน์นง่ิ ทุกกระเบียด ปัจจุบนั นี้ El Cellar de Can Roca (ซึง่ ถือเป็นร้านตัวตายตัวแทน หลังร้านเอล บูญปี ดิ ตัวลงเพือ่ เปลีย่ นพืน้ ทีเ่ ป็นห้องวิจยั ทาง อาหาร) ยังคงคว้าอันดับ 1 หรือ 2 มาครองอย่าง ต่อเนือ่ งในการประกาศรางวัล World’s 50 Best Restaurants ทัง้ นีร้ างวัลดังกล่าวถือเป็นหนาม ยอกอกของร้านอาหารในประเทศฝรัง่ เศส ซึง่ มักได้รางวัลลำ�ดับท้ายๆ โดยโจเอล โรบูชง เชฟผูไ้ ด้รบั การประดับดาวมิชลินมากทีส่ ดุ ใน โลก ออกมากล่าวหาว่าการจัดอันดับรางวัล World’s 50 Best Restaurants มีการเล่น พรรคเล่นพวก รัฐบาลฝรัง่ เศสถึงกับลุกขึน้ จัด
ผมเคยเป็นคนชอบหนี ปัญหา ผมหลงทางอยู่ 6-7 ปี ผมเลือกผูห้ ญิงผิด ทำ�ธุรกิจก็ล้มลุกคลุกคลาน ระหว่างนั้นก็พยายามค้นหา ว่าชีวิตนี้มันคืออะไร แต่การเผชิญช่วงแย่ๆ อย่างนี้ทำ�ให้ผมกลาย เป็นคนไม่กลัวอะไร
หากเป็นคนอืน่ คงจะรอให้สายลมแห่งการ ปฏิวตั อิ าหารนีพ้ ดั จากสเปนมาถึงกรุงเทพฯ แน่นอนโดยผ่านการบุกเบิกของบรรดาร้านไฟน์ ไดน์นง่ิ ตามโรงแรม 5 ดาวเสียก่อน ทว่า สำ�หรับ กากัน้ เขารีบอ่านรีบศึกษาเทคนิคใหม่ๆ จาก สเปนเหล่านีด้ ว้ ยตัวเอง และเริม่ นำ�มาใช้จริงใน ครัวของร้านเรดทันที ความใจร้อนและไม่กลัว อะไรของเขา ยังรุนแรงเหมือนทีผ่ า่ นมา “ตอนผมลองทำ�อะไรใหม่ๆ เช่น โปรยฟอง ลงบนไก่ทกิ ก้า คนอืน่ ๆ ก็พากันชีห้ น้าว่า ‘แกผิด แล้วล่ะ ทำ�อะไรไม่เข้าท่าเลย’ ผมเลยฉุกคิดได้ ว่าสงสัยเราอยูผ่ ดิ ที่ แล้วก็ตดั สินใจลาออก” เขา เล่าย้อนไป ทุกวันนี้ ในเมนูอาหารอินเดียจำ�นวน 18 คอร์สของกากัน้ มีแกงกะหรีอ่ ยูเ่ พียงเมนูเดียว
เท่านัน้ ซึง่ ถูกตัง้ ชือ่ ว่า ‘I want my curry!!!’ หรือ ‘ส่งแกงกะหรีข่ องฉันมาเดีย๋ วนี!้ !!’ เมนูชอ่ื แสบสันนีช้ ใ้ี ห้เห็นสงครามยืดเยือ้ ระหว่างความ อยากกินอาหารทีค่ นุ้ ปากของคนกินกับความ พยายามแหกตำ�รับเดิมๆ ของกากัน้ โดยเมนู แกงกะหรีน่ จ้ี ะเสิรฟ์ ถัดจากบรรดาเมนูขนาดพอดี คำ� 10 จานรวด ซึง่ เรียงร้อยขึน้ จากความทรงจำ� เกีย่ วกับอาหารข้างถนนในอินเดียของกากัน้ เช่น โยเกิรต์ รูปทรงกลม จานซิกเนเจอร์ของเขา (ที่ เป็นเสมือนเมนูไหว้ครูทส่ี อ่ื ไปถึงเมนูมะกอกอัน โด่งดังของ เอล บูญ)ี ถัว่ อบในซองพลาสติกใส ซึง่ กินได้ทง้ั ซอง (แล้วซองจะไปละลายในปาก) หรือปลาไหลย่างแบบญีป่ นุ่ บนคาคร่า ขนมปัง กรอบของชาวอินเดียตะวันตก ทว่า ในยามทีล่ าออกจากร้านเรด เมนูเหล่า นีก้ ย็ งั เป็นได้เพียงความฝันลมๆ แล้งๆ ของเชฟ หนุม่ เพราะด้วยความทีต่ อ้ งหาเลีย้ งชีพ กากัน้ ต้องพับเอาความฝันเรือ่ งการทำ�อาหารด้วย เทคนิค ‘spherization’ และ ‘emulsification’ ทัง้ หลายไว้กอ่ นและตกลงรับงานทีโ่ รงแรมเลอ บัว ทีซ่ ง่ึ เขาได้โคจรมาพบกับเชฟฝาแฝดโธมัส และมาธิอสั ซูหร์ งิ (ปัจจุบนั เขาเป็นหนึง่ ในหุน้ ส่วนร้านอาหาร Sühring ของฝาแฝดคูน่ ใ้ี นซอย เย็นอากาศ ซึง่ เปิดให้บริการเมือ่ เดือนมีนาคมที่ ผ่านมา) แต่สถานการณ์แทบไม่ได้ดขี น้ึ เท่าใด
นัก เพราะกากัน้ ยังต้องถูกจำ�กัดอิสรภาพอยูใ่ น โรงแรมขนาดห้าร้อยกว่าห้อง ซึง่ เพียงการเตรียม อาหารเช้าให้ทนั และครบเพียงอย่างเดียวก็เป็น เหมือนฝันร้ายเสียแล้ว เรือ่ งจึงลงเอยด้วยการที่ กากัน้ วิง่ หนีอกี ตามเคย “ตอนแรกผมกะจะเปิดร้านแกงกะหรีเ่ ล็กๆ ผมไม่เคยคิดเลยว่าจะทำ�อะไรพิสดารแบบนี้ ได้จริง แต่เพือ่ นผม ราเจช เควาลรามณี อยาก ทำ�ร้านนีร้ ว่ มกับผม เขาเลยถามผมว่า ‘อะไรคือ ความฝันของแก จริงๆ แล้วแกอยากทำ�อะไร กันแน่’ ผมก็เลยตอบไปว่าผมอยากทำ�อาหาร อินเดียให้ได้อย่าง เอล บูญ”ี ในทีส่ ดุ กากัน้ ก็เลยตัดสินใจออกเดินตาม ทางของตัวเองจริงๆ เชฟนักเล่าผูน้ เ้ี ท้าความให้ ฟังถึงความพยายามนับครัง้ ไม่ถว้ นของเขาใน การโทรศัพท์ไปที่ เอล บูญี แต่ไม่เคยคุยภาษา สเปนรูเ้ รือ่ ง จนกระทัง่ ในวันทีค่ วามหวังริบหรี่ ลงถึงขีดสุด ก็บงั เอิญมีสภุ าพสตรีรายหนึง่ ซึง่ รู้ ภาษาอังกฤษ (เพราะมีสามีเป็นชาวเนปาล) เป็นคนรับโทรศัพท์ เขาถึงสามารถจองทีน่ ง่ั ใน เวิรก์ ช็อปของทางร้านเอล บูญี ซึง่ เป็นเสมือน ห้องทดลองลับทีส่ อนการออกแบบเมนูอาหาร โดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เกีย่ วกับรสชาติ “ผมเป็นชาวเอเชียคนแรกทีไ่ ด้เข้าร่วม เวิรก์ ช็อปทีน่ น่ั ” กากัน้ คุย (ซึง่ เราเองก็อยากเชือ่ Essentials Gaggan 68/1 ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ โทร. 02-652-1700 www.eatatgaggan.com Meatlicious 8 ซอยสุขมุ วิท 63 กรุงเทพฯ โทร. 091-698-6688 www.fb.com/meatlicious Sühring 10 ซอยเย็นอากาศ 3 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ โทร. 02-287-1799 www.fb.com/SuhringsHome
OPTIMISE | OCTOBER 2016
27
FULL FLAVORS คำ�อ้างทีว่ า่ ) การนำ�เอาเทคนิคทีร่ า่ํ เรียนจาก เอล บูญี มาประยุกต์กบั อาหารอินเดีย ทำ�ให้กากัน้ กลายเป็นเชฟทีม่ หี วั ก้าวหน้าทีส่ ดุ ในเอเชียและ เป็นเจ้าพ่อการปรุงอาหารแบบโมเลกุลาร์ใน ภูมภิ าคนี้ ร้านกากัน้ คว้าอันดับ 10 จากการจัด อันดับ Asia’s 50 Best Restaurants 2013 ก่อน ขยับขึน้ มาเป็นอันดับ 3 และ 1 ในปี 2014 และ 2015 ตามลำ�ดับ ซึง่ ในปีเดียวกันนัน้ เขายังคว้า อันดับ 10 จากการจัดอันดับ World’s 50 Best Restaurants ด้วย ล่าสุดในปีน้ี ร้านกากัน้ ก็ยงั คงครองอันดับ 1 ในฝัง่ เอเชียเหมือนเคย ทัง้ นี้ สำ�หรับกากัน้ แล้ว ชัยชนะดังกล่าวเป็นชัยชนะ ของความก้าวหน้าเหนือความเข้าใจครํา่ ครึ ตายตัวเกีย่ วกับตำ�รับอาหารอินเดีย ดังนัน้ การได้ รับรางวัลดังกล่าว จึงไม่ใช่เป็นเพียงชัยชนะส่วน ตัวของเขา หากแต่เป็นชัยชนะของประเทศด้วย
อนาคตแห่งอนาคต
นักวิง่ หนีอย่างกากัน้ ได้วง่ิ ขึน้ ไปจนถึงจุด สูงสุดของเอเชีย ซึง่ หมายความว่าต่อจากนีย้ อ่ ม มีแต่หนทางลงเท่านัน้ อย่างเมือ่ เดือนมิถนุ ายนที่ ผ่านมา ในการประกาศรางวัล World’s 50 Best Restaurants คำ�ตัดสินทีอ่ อกมาดูเหมือนจะไม่ ลงรอยกับรางวัล Asia’s 50 Best Restaurants เท่าไรนัก เพราะขณะทีร่ า้ น Narisawa ใน โตเกียวยังคงครองอันดับ 8 ตามเดิม กากัน้ ได้ ร่วงจากอันดับ 10 ไปอยูท่ ่ี 23 กระนัน้ ถ้วยรางวัล เงาวับไม่ใช่สง่ิ ทีก่ ากัน้ หมายมัน่ อีกต่อไป ขณะนี้ เขากำ�ลังมองหาเชฟใหม่ โปรเจกต์ใหม่ และขอบ ฟ้าใหม่ๆ แล้ว กากัน้ เล่าว่า “การได้เป็นทีห่ นึง่ ในเอเชียทำ�ให้ เรามีความมัน่ ใจ เราเลิกใช้ฟองหรืออะไรพวก นัน้ แล้ว เมนูอาหารใหม่นจ้ี ะไม่ใช่แนวโมเลกุลาร์ เหมือนทีเ่ อล บูญี สิง่ ทีค่ ณ ุ เห็นอยูต่ อนนีค้ อื สิง่ ทีผ่ มคิดไว้เมือ่ 3 ปีกอ่ น ส่วนเมนูทผ่ี มวางแผน ไว้วนั นี้ คุณจะได้ยลโฉมมันในอีก 2 ปีขา้ งหน้า ตอนห้องแล็บสร้างเสร็จ” เชฟผูน้ เ้ี ล่าถึงห้องทดลองราคา 20 ล้านบาท ซึง่ เมือ่ แล้วเสร็จจะตัง้ ขนาบกับร้านอาหาร แม้ กากัน้ จะประกาศชัดแจ้งว่าตนได้ไปพ้น เอล บูญี แล้ว แต่เขาก็ได้จา้ งนักเทคโนโลยีอาหารจาก ยูนลิ เี วอร์มาสร้างห้องทดลอง ซึง่ ปฎิเสธได้ยาก 28
OPTIMISE | OCTOBER 2016
การได้เป็นที่หนึ่งในเอเชียทำ�ให้เรามีความมั่นใจ เราเลิกใช้ฟองหรืออะไรพวกนั้นแล้ว เมนูอาหารใหม่นี้ จะไม่ใช่แนวโมเลกุลลาร์เหมือนที่เอล บูญี สิ่งที่คุณเห็น อยู่ตอนนี้คือสิ่งที่ผมคิดไว้เมื่อ 3 ปีก่อน ส่วนเมนูที่ผม วางแผนไว้วันนี้ คุณจะได้ยลโฉมมันในอีก 2 ปีข้างหน้า ว่าเป็นการเจริญรอยตามร้านในตำ�นานของ สเปนอยูด่ ี กระทัง่ การประกาศของกากัน้ ว่าจะ ปิดร้านอาหารของตนในปี 2020 ก็ยงั ชวนให้ นึกถึงการปิดตัวของเอล บูญี ในช่วงทีร่ า้ นกำ�ลัง อยูใ่ นยุครุง่ เรืองสูงสุด เพือ่ เปลีย่ นมาเป็นสถาน วิจยั เต็มตัวเช่นกัน “กากัน้ จะกลายเป็นพิพธิ ภัณฑ์ คนจะมาทีน่ ่ี เพือ่ เรียนรู้ คุณอยูใ่ นจุดสูงสุดไปตลอดไม่ได้อยู่ แล้ว เพราะฉะนัน้ ผมเลยอยากจะลงทุนกับคนรุน่ ใหม่ นัน่ เป็นเหตุผลทีผ่ มร่วมหุน้ ทำ�ร้านซูห์ร งิ นัน่ คือเหตุผลทีผ่ มกำ�ลังสร้างร้านใหม่ตรงข้าม ร้านนี”้ กากัน้ กล่าว นอกจาก Meatlicious ร้านอาหารสไตล์ ปิง้ ย่างบรรยากาศเป็นอันเองของเขาซึง่ เปิดตัว ไปเมือ่ เดือนมกราคมทีผ่ า่ นมา ตอนนีก้ ากัน้ มี โครงการจะเปิดร้านเพิม่ บนทีด่ นิ ทีอ่ ยูต่ รงข้าม ร้านแรกของเขาในซอยหลังสวน โดยเชฟ การิมา อโรรา อดีตหัวหน้าเชฟผูส้ ง่ั สม ประสบการณ์มากว่า 3 ปีจากร้าน Noma จะมา เข้ารับตำ�แหน่งหัวเรือใหญ่ เธอบอกว่าทีร่ า้ นใหม่ นีจ้ ะเน้นในเรือ่ งรสชาติกอ่ นรูปลักษณ์ และปรุง อาหารอินเดียในรูปแบบทีส่ อดคล้องกับความ ทรงจำ�ของคนกินมากขึน้ “ผมไม่เคยคิดจะทำ�แฟรนไชส์ เคยมีคนถาม เหมือนกัน ผมเคยไปอินเดีย ไปดูไบ แต่ผมไม่ อยากขยายสาขา ผมเชือ่ ในการให้โอกาสคนอืน่ ” กากัน้ กล่าว ท่ามกลางเสียงหัวเราะและการตบหลังตบ ไหล่อย่างเป็นกันเอง กากัน้ ในห้องครัวกลับมี บารมีของครูบาอาจารย์ กล่าวคือเขาจะเป็นฝ่าย พูดเสียงดังอยูเ่ สมอ ในขณะทีล่ กู มือของเขาจะ
พูดต่อเมือ่ ถูกถามเท่านัน้ “เคยมีคนขอให้ผมเขียนอัตชีวประวัติ แต่ ถ้าต้องเขียนหนังสือ ผมอยากเขียนเกีย่ วกับแรง บันดาลใจและการทำ�ตามความฝันมากกว่า” เขากล่าว ก่อนจะคุยฟุง้ ไปถึงแผนการของเขาที่ จะเปิดร้านอาหารเล็กๆ ร่วมกับ La Maison de la Nature Goh ณ แดนอาทิตย์อทุ ยั ทีซ่ ง่ึ เมนูจะ ปรับเปลีย่ นไปตามฤดูกาล ยิง่ กว่านัน้ การปรากฏตัวของกากัน้ บนซีรยี ์ Chef’s Table ทางช่อง Netflix ไปเมือ่ เร็วๆ นี้ ทำ�ให้เขามีสาวกมากขึน้ เรือ่ ยๆ ใบสมัครงานหลัง่ ไหลเข้ามาจากทุกมุมทัว่ โลก “เราได้รบั ใบสมัครจากทนายความ สถาปนิก ทุกคนอยากลาออกจากงานเพือ่ มาเป็นเชฟ เราจะกลายเป็นหนึง่ ในโรงเรียนสร้างแรงบันดาล ใจในการทำ�อาหารทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในภูมภิ าคนีย้ งั ไม่เคยมีอะไรแบบนี”้ แม้นสิ ยั มัน่ ใจในตัวเองของกากัน้ จะเป็นสิง่ ทีห่ ลายคนชอบ แต่ในอีกแง่หนึง่ ก็เป็นสายล่อ ฟ้าสำ�หรับผูท้ ไ่ี ม่ปลืม้ ซึง่ กล่าวหาว่าอาหารของ กากัน้ เป็นแค่มายากลหลอกเด็ก อย่างไรก็ตาม เพียงได้ลม้ิ รสเนือ้ ย่างเสิรฟ์ พร้อมสลัดง่ายๆ ที่ ร้านมีทลิเชียสในคืนกลางสัปดาห์ ก็จะช่วยยํา้ เตือนได้อย่างชัดเจนว่า กากัน้ ไม่ได้เป็นแค่พวก หัวขบถ พวกชอบลองของใหม่ หรือพวกเก่ง มายากล เขายังเป็นเชฟชัน้ ยอดโดยแท้จริง เพียง แต่เขาจะไม่ยอมทนกับการทำ�อาหารแบบจำ�เจ เพือ่ แลกกับคำ�ชมเท่านัน้ พูดก็พดู คนทีม่ าร้านของเขาอาจอยาก กินแกงกะหรี่ แต่สง่ิ ทีก่ ากัน้ ถวิลหาคือการได้ ไล่ตามความฝันอย่างไม่ตอ้ งยึดติดกับสิง่ ใดๆ OPTIMISE | OCTOBER 2016
29
STATE OF THE ARTS 02
01
03
01 สมาชิ ก วง ‘ขุ น นริ น ทร์ ศ ิ ล ป์ พ ิ ณ ประยุ ก ต์ ’ แห่ ง ท้ อ งทุ ่ ง หล่ ม สั ก จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ 02 คำ � เม้ า มื อ พิ ณ สุ ด ม่ ว นแห่ ง วง Paradise Bangkok 03 วงหมอลำ � เป็ น ของคู ่ ก ั บ งาน บวชและงาน มงคลใน ภาคอี ส าน
Molam Mania เสียงเพลงจากชนบทห่างไกลของเมืองไทยขจรไกล ถึงเวทีโลกได้อย่างไร
30
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ด้วยเหตุที่หมอลำ�ไม่อยู่ ภายใต้ขนบดนตรีแบบ คลาสสิกแต่อัดแน่นไปด้วย เสียงแปลกปร่าชวนพิศวง ชาวตะวันตกจึงอดหลง เสน่ห์ไม่ได้
เรือ่ งราวนีเ้ ริม่ ต้นด้วยคลิปยูทปู ทีอ่ ดั จาก โทรศัพท์และจบลงด้วยการเซ็นสัญญากับค่าย เพลงในสหรัฐอเมริกา คลิปทีว่ า่ บันทึกภาพการ แสดงของวงดนตรีจงั หวะเนิบแต่สนุกทีเ่ รียกว่า วงพิณประยุกต์ ไม่นา่ เชือ่ เลยว่าเหล่านักดนตรี ท่าทางสบายบนเก้าอีพ้ ลาสติกในชนบทอันห่าง ไกลของประเทศไทยเหล่านีส้ ดุ ท้ายจะบรรเลง เพลงเฮฟวีร่ อ็ กเร้าใจแบบจิมิ เฮนดริกซ์ ซึง่ เด่น ด้วยเสียงเครือ่ งเคาะและท่อนริฟฟ์ทรงพลังของ พิณไฟฟ้า เป็นความยาวต่อเนือ่ งกว่า 11 นาที กระนัน้ แรกทีเดียววง ‘ขุนนรินทร์ศลิ ป์ พิณประยุกต์’ ก็ยงั ไม่ได้ดงั ทันที จวบจนเมือ่ เว็บไซต์เกีย่ วกับศิลปะและวัฒนธรรมร่วมสมัย ของอเมริกานาม Dangerous Minds ได้น�ำ คลิป นีไ้ ปโพสต์ในชือ่ Mindblowing Psychedelia from Thailand คลิปนีจ้ งึ ได้ถกู แชร์อย่าง ล้นหลาม และกระตุน้ ให้โปรดิวเซอร์ชาว ลอส แอนเจลิสอย่าง จอช มาร์ซี สนใจจนถึงขัน้ ออกตามหาตัวพวกเขาเพือ่ ขอให้บนั ทึกเสียง ลงเทป และตัง้ แต่นน้ั เองวงดนตรีจากเพชรบูรณ์ ซึง่ ประกอบด้วยนักดนตรีกง่ึ สมัครเล่นหลาก พืน้ เพนี้ ได้ออกผลงานภายใต้คา่ ยเพลงทรง อิทธิพลอย่าง Innovative Leisure มาแล้วถึง 2 อัลบัม้ รวมถึงออกอัลบัม้ ชือ่ II ในปีน้ี และได้ ทัวร์ยโุ รปมาแล้ว 2 รอบ เจ้าพ่อเพลงฮิปฮอป อย่างดีเจแกสแลมป์ คิลเลอร์ ประทับใจถึง ขนาดนำ�เอาบทเพลงของพวกเขาไปรีมกิ ซ์ใหม่
ในขณะทีน่ ติ ยสารอย่าง Wired Vogue และ Newsweek ล้วนตีพมิ พ์เรือ่ งราวของพวกเขา บนหน้าหนังสือมาแล้วทัง้ สิน้ อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางความดังกระหึม่ ทีก่ ล่าวมายังมีเพียง น้อยคนในกรุงเทพฯ ทีค่ นุ้ หูกบั ชือ่ ของพวกเขา ขุนนรินทร์ศลิ ป์ พิณประยุกต์ เป็นหนึง่ ใน ศิลปินกลุม่ เล็กๆ ในวงการหมอลำ�ร่วมสมัยที่ ประกอบด้วย รัสมี เวระนะ ดีเจมาฟต์ ไซ และ วง Paradise Bangkok Molam International Band โดยศิลปินกลุม่ นีไ้ ด้น�ำ เสียงซือ่ ๆ ของ ดนตรีพน้ื บ้านไปสูห่ ผู ฟู้ งั ทัว่ โลก โดยใช้รากฐาน จากดนตรีหมอลำ� ซึง่ กำ�เนิดมาตัง้ แต่ศตวรรษ ที่ 17 ทัง้ นี้ แม้บางคนอาจตีตราว่าหมอลำ�เป็น ดนตรีของผูใ้ ช้แรงงานชาวอีสาน แต่ดว้ ยเหตุท่ี หมอลำ�ไม่อยูภ่ ายใต้ขนบดนตรีแบบคลาสสิก และอัดแน่นไปด้วยเสียงแปลกปร่าชวนพิศวง อย่างนัน้ นัน่ เอง ชาวตะวันตกทีไ่ ด้ยนิ ได้ฟงั จึง อดหลงเสน่หไ์ ม่ได้ ทว่านีไ่ ม่ใช่ปรากฏการณ์ชว่ั ข้ามคืน ความ สนใจท่วมท้นจากนานาชาตินน้ั มีสว่ นไม่นอ้ ย มาจาก ณัฐพล เสียงสุคนธ์ หรือทีร่ จู้ กั กันในนาม มาฟต์ ไซ ดีเจซึง่ ผันตัวมาเป็นผูก้ อ่ ตัง้ ค่ายเพลง นักจัดปาร์ต้ี หัวหน้าวง เจ้าของไนต์คลับ และ แกนนำ�ขบวนการชุบชีวติ หมอลำ� เราได้ พูดคุยกับเขาที่เอดินบะระ เมืองหลวงของ สก็อตแลนด์ ในขณะที่วงพาราไดซ์ บางกอก หมอลำ� อินเตอร์เนชันแนลของเขากำ�ลังเตรียม
ตัวออกวาดลวดลายในซัมเมอร์ฮอลล์ความจุ 400 คน โดยพวกเขาเพิง่ กลับจากการเดินสาย แสดงสดจำ�นวน 6 รอบใน 6 ประเทศ ภายใน ระยะเวลาเพียง 1 สัปดาห์ ครัง้ นีถ้ อื เป็นการ ทัวร์ยโุ รปครัง้ ที่ 5 ของพวกเขา และอาจเรียก ได้วา่ เป็นอีกหนึง่ ก้าวสำ�คัญ เนือ่ งจากพวกเขา จะมีโอกาสได้แสดงที่ Glastonbury Festival เทศกาลดนตรีอนั ทรงเกียรติประจำ�เกาะอังกฤษ อีกทัง้ ออกอากาศทางช่องออนไลน์ยอดนิยม อย่าง Boiler Room TV เมือ่ ถามว่ากระแสตอบ รับเป็นอย่างไรบ้าง มาฟต์ ไซบอกว่า “ทุกคนเต้น กันกระจายไม่ยอมหลับยอมนอน” ตัง้ แต่ปี 2553 เป็นต้นมา ร้านจำ�หน่าย แผ่นเสียง ‘สุดแรงม้า’ ของมาฟต์ ไซ ซึง่ ตัง้ อยูท่ ่ี ซอยสุขมุ วิท 51 ได้จ�ำ หน่ายแผ่นเสียงไวนิล (ซึง่ มีทง้ั แบบทีน่ �ำ กลับมาผลิตซา้ํ รวมมิตรศิลปิน อัลบัม้ หายาก และเพลงใหม่ๆ) ให้แก่ลกู ค้าจาก ทุกมุมโลกอยูแ่ ล้ว แต่ยง่ิ กว่านัน้ เขากับคริส เมนิสต์ ยังได้ชว่ ยกันรวบรวมเพลงในอัลบัม้ Sound of Siam ชุดที่ 1 และ 2 (สังกัด Soundway Records ในปี 2554 และ 2557) และ Thai? Dai! – The Heavier Side of Luk Thung (สังกัด Finder Keepers ในปี 2554) ซึง่ ได้ชว่ ยจุดกระแสเพลงไทยยุค 60s และ 70s ให้กลับมาลุกโพลงอีกครัง้ โดยเฉพาะในอังกฤษ ทีซ่ ง่ึ ดีเจผูท้ รงอิทธิพลแห่ง BBC อย่าง ไจลส์ ปีเตอร์สนั และหนังสือพิมพ์ The Guardian OPTIMISE | OCTOBER 2016
31
STATE OF THE ARTS
เมือ่ ทหารอเมริกนั เข้ามา ตัง้ ฐานทัพในอีสานตอน ต้นยุค 70s หมอลำ�ก็ได้ วิวฒ ั นาการไปเป็นดนตรี ร็อกซึง่ อัดแน่นไปด้วยแนว ดนตรีสากลอย่างไซคีเดลิก โซลและฟังก์อย่างเต็มที่ ต่างสรรเสริญหมอลำ�กันขนานใหญ่ เพลงต่างๆ ทีถ่ กู รวบรวมไว้ในอัลบัม้ เหล่านี้ เป็นเพลงจากยุคทีม่ าฟต์ ไซยกให้เป็น ‘ยุคทอง’ ของวงการหมอลำ� การแสดงหมอลำ�ในยุคแรกๆ จะเป็นการขับลำ�กลอนสอดแทรกแง่คดิ สอนใจ เกีย่ วกับชีวติ ในชนบท โดยอาศัยแค่ตวั นักร้องกับ แคนหนึง่ เต้าเท่านัน้ แต่เมือ่ ทหารอเมริกนั เข้ามา ตัง้ ฐานทัพในอีสานตอนต้นยุค 70s หมอลำ�ก็ได้ วิวฒ ั นาการไปเป็นดนตรีรอ็ กซึง่ อัดแน่นไปด้วย แนวดนตรีสากลอย่างไซคีเดลิก โซลและ ฟังก์อย่างเต็มที่ หลายๆ เพลงในอัลบัม้ Sound of Siam นัน้ ผูฟ้ งั จะได้กลิน่ อายของเจมส์ บราวน์ ในขณะทีบ่ างช่วงบางตอนแทบจะยก เอาท่อนริฟฟ์จากเพลงของ Rolling Stones มา ทัง้ ท่อน มาฟต์ ไซอธิบายว่า “ยุค 70s เป็นช่วงที่ มีการนำ�เครือ่ งดนตรีสากลเข้ามาใช้มากขึน้ เป็น ยุคทดลอง และเป็นยุคทีม่ าก่อนกระแสยุค 80s กับดรัมแมชชีนซึง่ ทำ�ให้หมอลำ�เริม่ ออกแนว พาณิชย์มากเกินไป ส่วนยุค 90s ไม่ตอ้ งพูดถึง เป็นเรือ่ งของธุรกิจล้วนๆ” ในยุคแรกๆ ทีม่ าฟต์ ไซและเมนิสต์รว่ มกัน จัดปาร์ต้ี พวกเขาทัง้ สองต้องลงแรงเกลีย้ กล่อม บรรดาครูเพลงหมอลำ�จากยุค 70s ให้มาร่วม งานด้วย พวกเขาเดินทางไปยังต่างจังหวัดเพือ่ โน้มน้าวให้นกั ร้องอย่างดาว บ้านดอน และราชินี เพลงหมอลำ� อังคนางค์ คุณไชย มาร่วมแสดง ในกรุงเทพฯ โดยเล่าว่า “ตอนทีเ่ ราชวนคุณ อังคนางค์มาร่วมงาน เธอบอกว่า ‘พวกฝรัง่ กับ เด็กรุน่ ใหม่เขาจะมาอยากดูฉนั ทำ�ไม พวกเธอ ขาดทุนแน่ๆ’ ทุกวันนี้ เธอก็ยงั ไม่คอ่ ยเชือ่ เลยว่า คนพวกนีจ้ ะสนใจเพลงของเธอจริงๆ” 32
OPTIMISE | OCTOBER 2016
04
05
06
นอกจากนัน้ เวลาจัดงานปาร์ตด้ี งั กล่าว มาฟต์ ไซและเมนิสต์จ�ำ เป็นต้องมีวงดนตรี แบ็กอัพ นัน่ ถือเป็นจุดกำ�เนิดของวง พาราไดซ์ บางกอก อินเตอร์เนชันแนล วงดนตรีขนาดใหญ่ ซึง่ มีสมาชิกเป็นนักดนตรีมากประสบการณ์อย่าง คำ�เม้า เปิดถนน (พิณ) สไว แก้วสมบัติ (แคน) ปิยน์ าท โชติกเสถียร (เบส) กับภูษณะ ตรีบรุ ษุ (กลอง) นอกเหนือไปจากมาฟต์ ไซและเมนิสต์ ซึง่ ร่วมเล่นเครือ่ งเพอร์คชั ชัน ทัง้ นี้ แม้วงจะเกิด ขึน้ อย่างจับพลัดจับผลู แต่จงั หวะทีเ่ ร้าใจและ การแสดงเปีย่ มพลัง ได้ท�ำ ให้พวกเขาเริม่ มีสาวก อย่างรวดเร็ว ทุกวันนี้ เวลาไม่ได้ออกทัวร์ยโุ รป วงจะประจำ�อยูท่ ่ี ‘สตูดโิ อลำ�’ คลับของมาฟต์ ไซ ซึง่ อยูห่ า่ งจากสำ�นักงานใหญ่ของสุดแรงม้าไป เพียงไม่กก่ี า้ ว นอกเหนือจากการนำ�เสนอเสียงใหม่ๆ ภารกิจอีกประการหนึง่ ของวงก็คอื การเปลีย่ น
07
ค่านิยมผิดๆ เกีย่ วกับหมอลำ� “คนไทยมองว่า หมอลำ�เป็นดนตรีบา้ นนอกทีค่ นจนเล่นให้คน จนฟัง ซึง่ เป็นการล้างสมอง เหมือนกับเรือ่ งคน สวยต้องผิวขาว ในขณะทีต่ อนนีค้ นทัว่ โลกเขา มองไปทีเ่ นือ้ แท้จริงๆ ของมัน” มาฟต์ ไซ กล่าว รัสมีคอื นักร้องหมอลำ�อีกรายหนึง่ ทีต่ อ้ งต่อสู้ กับค่านิยมของสังคม เธอได้น�ำ เอาอิทธิพลของ ‘เวิลด์ มิวสิก’ มาผสมผสานเข้ากับหมอลำ� โดย ถ่ายทอดชีวติ ส่วนตัวผ่านเนือ้ ร้องทีเ่ ขียนขึน้ เป็น ภาษาอีสานและภาษาเขมร ศิลปินผูซ้ ง่ึ มีถน่ิ พำ�นักอยูใ่ นจังหวัดเชียงใหม่รายนี้ ได้คว้ารางวัล จากเวทีคมชัดลึก มิวสิก อวอร์ดในปี 2559 มา ไว้ในครอบครองถึง 3 สาขา ประกอบด้วยรางวัล ศิลปินหญิงเดีย่ วยอดเยีย่ ม รางวัลอัลบัม้ ยอด เยีย่ ม (‘อีสานโซล’) และรางวัลเพลงยอดเยีย่ ม (‘มายา’) แต่กว่าจะมาถึงวันนีไ้ ม่ใช่เรือ่ งง่าย รัสมีเกิดในครอบครัวนักดนตรีชาวอุบลราชธานี เธอเข้าร่วมวงหมอลำ�และออกเดินสายตาม งานต่างๆ ตัง้ แต่อายุเพียง 13 ปี แม้รายได้จะ ดี แต่การร้องเฉพาะเพลงของคนอืน่ เป็นเรือ่ ง น่าเบือ่ สำ�หรับเธอ ต่อมารัสมียา้ ยทีพ่ �ำ นักไปยัง ขอนแก่นและเชียงใหม่ ซึง่ ทำ�ให้เธอเริม่ เจอทาง ดนตรีของตัวเอง เธอเล่าให้ฟงั ว่า “เราได้เจอ นักดนตรีหลายๆ คนทีช่ ว่ ยเปิดโลกให้รวู้ า่ หมอลำ� 08
เอามามิกซ์กบั แจ๊สหรือดนตรีแนวแอฟริกนั ตะวัน ตกได้ หลังจากนัน้ เราก็เริม่ แต่งเพลงเป็นภาษา ลาวกับเขมร ในขณะทีก่ ารทำ�งานในโรงแรม 5 ดาวก็ท�ำ ให้เราได้เรียนรูพ้ น้ื ฐานดนตรีแจ๊ส และป๊อบ และได้ฝกึ ร้องเพลงฝรัง่ ควบคูไ่ ปด้วย” รัสมีค้นพบตัวเองจริงๆ เมื่อไปเยือน ฝรั่งเศสตอนที่ได้ออกทัวร์กับวง Limousine หนึ่งในวงดนตรีแจ๊สจากเชียงใหม่ เธอเล่า ว่า “คนฟังปลื้มมาก พวกเขาไม่เข้าใจหรอก ว่าเราร้องอะไร แต่ก็เต้นและปรบมือตามไป ด้วย เวลาร้องเพลงที่ไทย บางครั้งจะมีคนพูด ว่า ‘ร้องอะไรก็ไม่รู้เป็นภาษาเขมร ฟังไม่รู้เรื่อง’ แต่เอาเข้าจริง ดนตรีมันเป็นอีกภาษาหนึ่ง เราไม่จำ�เป็นต้องเข้าใจสิ่งที่ร้องเสมอไป มันเป็นเรื่องของอารมณ์ความรู้สึก หลายคน ติดกับการพยายามให้ความหมายจนเกินไป” เพือ่ ลบล้างอคติทค่ี นไทยมีตอ่ เพลงอีสาน กฤติยา กวีวงศ์ ภัณฑารักษ์ประจำ�โครงการ ‘รถบัสหมอลำ�แห่งหอศิลป์บา้ น จิม ทอมป์สนั ’ (Molam Bus Project by Jim Thompson Art Center) จึงได้รบั มอบหมายให้ด�ำ เนินการจัดตัง้ พิพธิ ภัณฑ์หมอลำ�ให้แล้วเสร็จภายใน 5 ปี หนึง่ ในความสำ�เร็จของกฤติยาคือการแปลงโฉมรถ บัสคันเก่าให้กลายเป็นโชว์หมอลำ�เคลือ่ นทีซ่ ง่ึ
เดินสายไปทัว่ ประเทศ และทำ�หน้าทีเ่ ฟ้นหานัก ดนตรีทง้ั รุน่ ใหม่และรุน่ เก๋าไปด้วยระหว่างทาง กฤติยาตระหนักดีถงึ ทัศนคติลบทีส่ งั คมเมือง มีตอ่ หมอลำ� เธอสรุปอย่างบาดลึกว่า “มันถูก มองเป็นเพลงของคนใช้ ใครจะไปกล้าออกตัวว่า ชอบ” แม้กระนัน้ เธอเชือ่ ว่าภาพและเสียงความ เป็นหมอลำ�นัน้ ไร้พรมแดนและชนชัน้ หลายครัง้ หลายหนหมอลำ�อาจถูกใช้เป็นโฆษณาชวนเชือ่ อย่างเช่นสมัยหนึง่ ทีม่ กี ารใช้หมอลำ�โฆษณาต้าน คอมมิวนิสต์ แต่กฤติยาหวังว่ารถบัส ซึง่ ประกอบ ด้วยตูเ้ พลง เวที และนิทรรศการภาพถ่ายขนาด ย่อม จะทำ�ให้คนอีสานทวงหมอลำ�คืนมาได้ อย่างเต็มภาคภูมิ สำ�หรับกฤติยาแล้ว สิง่ ทีน่ า่ ประทับใจทีส่ ดุ ก็คอื การไปเยือนวัดและโรงเรียน ต่างๆ ในชนบท เช่น ขอนแก่น ยโสธร และ อุบลราชธานี ซึง่ ผูเ้ ข้าชมส่วนมากไม่เคยย่าง กรายเข้าไปในสถานทีท่ เ่ี รียกว่าพิพธิ ภัณฑ์ อย่างไรก็ดี สถานทีๆ่ รถบัสได้รบั ความสนใจ สูงสุด ก็คอื ทีง่ าน Wonderfruit Festival ทีพ่ ทั ยา เมือ่ ปีทแ่ี ล้ว เพราะมันดูแปลกตาสำ�หรับชาวต่าง ชาติและเหล่าคนเมือง กฤติยาเล่าว่า “มีคนเข้า มาถ่ายรูปเยอะมาก บางคนก็ปนี ขึน้ ไปข้างบน แล้วโพสท่าโยคะ มีคนจีนไว้ผมเดรดล็อกคนหนึง่ ถือแซ็กโซโฟนมาขอแจมด้วย” 04 รถกระบะของวง ขุ น นริ น ทร์ ศ ิ ล ป์ พิ ณ ประยุ ก ต์ ที ่ ต ระเวนเล่ น ดนตรี ไ ปทั ่ ว ภาคอี ส าน 05 วง Paradise Bangkok Molam International กั บ แฟนๆ ที ่ ม าต้ อ นรั บ การ กลั บ มาจากการทั ว ร์ ย ุ โ รป กั น เหนี ย วแน่ น 06 ลี ล าการเป่ า แคนเร้ า ให้ แ ฟน เพลงคนเมื อ งออกมาเต้ น 07 รั ส มี เวระนะ นั ก ร้ อ งสาว อี ส านที ่ ค ว้ า รางวั ล ด้ า น ดนตรี ม าครองจากงาน หมอลำ � ร่ ว มสมั ย ของเธอ 08 แฟนชาวกรุ ง เทพฯ แห่ ก ั น ไปฟั ง เสี ย งร้ อ งของรั ส มี เวระนะ เมื ่ อ ครั ้ ง ลงมาทั ว ร์ กรุ ง เทพฯ
OPTIMISE | OCTOBER 2016
33
STATE OF THE ARTS 09
การชีช้ ดั ว่าองค์ประกอบใดของหมอลำ�เป็นสิง่ ที่ ดึงดูดความสนใจของชาวต่างชาตินน้ั เป็นเรือ่ งยาก แต่ ในความเห็นนักเขียนด้านดนตรีชาวอเมริกนั อย่าง ปีเตอร์ ดูแลน มันคือส่วนผสมระหว่างเสียงทีแ่ ปลก หูกบั ลีลาทีค่ นุ้ เคย ดูแลนเคยทำ�หน้าทีร่ วบรวมบัญชี รายชือ่ เพลงขณะทำ�งานเป็นเจ้าหน้าทีห่ อสมุด ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึง่ เป็นช่วงเวลาทีเ่ ขาเริม่ เขียนบล็อกมนต์รกั เพลงไทย (monrakplengthai. blogspot.com) ว่าด้วยเพลงลูกทุง่ และหมอลำ�ทีห่ า ฟังได้ยาก นอกจากนัน้ เขายังมีสว่ นร่วมในงานอัดเสียง ให้แก่อลั บัม้ เปิดตัวของวงขุนนรินทร์ศลิ ป์ พิณประยุกต์ โดยเป็นคนกลางช่วยประสานงานให้กบั จอช มาร์ซี ผูเ้ ป็นโปรดิวเซอร์อกี ด้วย เขาบอกว่าสิง่ ทีส่ ะกดผูช้ มจาก นานาประเทศไว้ได้กค็ อื “ท่อนอิมโพรไวส์ยาวๆ ซึง่ ถูกจริต บรรดาแฟนเพลงแนว ‘แจม แบนด์’ และเอ็ฟเฟกต์กตี าร์ กับระบบเครือ่ งเสียงสัง่ ทำ�พิเศษ ฟังแล้วชวนนึกถึงดนตรี แนวโลไฟหรือการาจ ซึง่ กำ�ลังเป็นทีน่ ยิ มในขณะนี”้ ดูแลนยังยอมรับด้วยว่าองค์ประกอบอีกประการ ทีช่ ว่ ยปลุกกระแสหมอลำ�ก็คอื การโหยหาของเก่าๆ ตลับเทปบันทึกเสียงและปกอัลบัม้ สีเทคนิคคัลเลอร์ ถือเป็นของสะสมชัน้ ดี (และอันทีจ่ ริงก็เป็นเหตุผลส่วน หนึง่ ทีท่ �ำ ให้ดแู ลนชอบหมอลำ�) อย่างไรก็ตาม สำ�หรับ หลายๆ คน ดนตรีหมอลำ�ของขุนนรินทร์ศลิ ป์ พิณประยุกต์ เป็นงานทีธ่ รรมดาเกินไป ดูแลนมองต่าง เขาแย้งว่า “เพลงพวกนีส้ ว่ นใหญ่เป็นเพลงสนุกๆ ที่ ใช้ในขบวนแห่ หรือใช้เต้นในวงเหล้ากลางแดดร้อนๆ ถามว่ามันจำ�เป็นหรือทีต่ อ้ งใช้นกั ดนตรีแบบสุดยอด เลยมาเล่น” 34
OPTIMISE | OCTOBER 2016
10
อันทีจ่ ริง ในแถบอีสานเอง ทีซ่ ง่ึ วงดนตรีทง้ั หลาย ยังคงออกทัวร์คอนเสิรต์ กันมากกว่าปีละ 200 ครัง้ การ แสดงหมอลำ�นัน้ เอนเอียงไปทางรายการวาไรตีโ้ ชว์ซง่ึ มี จุดประสงค์เพือ่ การค้ามากกว่าจะเป็นดนตรีฮปิ ๆ ของ มาฟต์ ไซ หรือเพลงแฝงกลิน่ อายเวิลด์ มิวสิกของรัสมี แต่ดว้ ยเหตุน้ี กฤติยาจึงเปรียบหมอลำ�เป็นวัฒนธรรมที่ ยังมีชวี ติ ซึง่ ย่อมมีทว่ งทำ�นองทีผ่ ดิ แผกไปตามท้องถิน่ เธอกล่าวว่า “หัวใจสำ�คัญของหมอลำ�คือความยืดหยุน่ ถ้าคนไม่จา้ งคุณเพราะคุณไม่สนุก คุณก็ตอ้ งปรับ เหมือนอย่างตอนทีด่ สิ โก้และกระแสเพลงอืน่ ๆ เริม่ เข้า มาแทนที่ ในแง่หนึง่ มันก็ถอื เป็นอะไรทีป่ ระชาธิปไตย เอามากๆ” ความยืดหยุน่ นีเ่ องทีท่ �ำ ให้หมอลำ�สามารถอยูร่ อด ในต่างจังหวัด พร้อมๆ ไปกับเอาชนะใจผูฟ้ งั ชาวต่างชาติ โดยเป็นไปได้วา่ ต่อไปเมืองหลวงอย่างกรุงเทพฯ อาจ หันกลับมานิยมหมอลำ�ก็ได้ “ในอดีตหมอลำ�ถูกมองว่า เป็นดนตรีของคนอีสาน แต่พอมีคนนอกมาช่วยยืนยัน คุณภาพ ต่อไปเราก็อาจจะเห็นความงามของสิง่ เหล่านี้ ซึง่ อาจทำ�ให้เราเริม่ มีวฒ ั นธรรมทีพ่ ร้อมเปิดรับสิง่ ใหม่ๆ ได้งา่ ยเหมือนยุโรป” รัสมีกล่าว ไม่แน่นกั อาจจะเป็นตัวรัสมีเองทีป่ ลุกกระแส หมอลำ�ขึน้ มาอีกครัง้ หนึง่ เสียงดนตรีซง่ึ มีกลิน่ อาย ปะปนระหว่างหมอลำ� แจ๊ส และดนตรีสไตล์แอฟริกนั ตะวันตกของเธอ ดูเหมือนจะบอกใบ้ถงึ อนาคตทีเ่ ต็ม ไปด้วยความเป็นไปได้ แน่นอน อนาคตนัน้ ย่อมรวมถึงการทีห่ มอลำ� จะหวนคืนจากการโลดแล่นบนเวทีโลกกลับมายัง กรุงเทพฯ และเอาชนะใจบรรดาคนรุน่ ใหม่ได้ในทีส่ ดุ
Essentials
ขุนนรินทร์ศลิ ป์ พิณประยุกต์
หล่มสัก เพชรบูรณ์ โทร. 087-525-7883 www.goo.gl/RMGLFr
Paradise Bangkok Molam International Band www.fb.com/ paradisebangkok Rasmee www.fb.com/wayrana. rasmee
ความสำเร็จทางการเงินของคุณ คือความสำคัญอันดับแรกของเรา
PRIORITY บริการพิเศษทางการเงินสำหรับลูกคาที่มียอดเงินฝาก และการลงทุน 10 ลานบาทขึ้นไป มุงใหคำปรึกษาโดยใสใจทุกความตองการ เพื่อความสำเร็จทางการเงินขั้นสูงสุด 09 กฤติ ย า กวี ว งศ์ ผู ้ ใ ห้ ก ำ � เนิ ด Molam Bus Project พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ์ หมอลำ � เคลื ่ อ นที ่ 10 รถหมอลำ � ได้ ร ั บ ความนิ ย ม ล้ น หลามจากฮิ ป สเตอร์ ใ น เทศกาลดนตรี Wonderfruit OPTIMISE | OCTOBER 2016
35
SERVING YOU
PHATRA LTFD กองทุนรวมที่ดีให้คุณมากกว่าสิทธิประโยชน์ภาษี การลงทุนในกองทุนรวมหุน้ ระยะยาว (Long Term Equity Fund) หรือ LTF มักเป็นทีร่ จู้ กั ใน ฐานะเครือ่ งมือสำ�หรับลดหย่อนภาษีมากกว่า การลงทุน จนทำ�ให้คนจำ�นวนไม่นอ้ ยไม่ได้ พิถพี ถิ นั กับการเลือกกองทุนมากนัก เพราะถือว่า กองทุนกองไหนๆ ก็ให้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษี ไม่ตา่ งกัน อย่างไรก็ตาม นักลงทุนทีค่ ดิ อย่างนีถ้ อื ว่า พลาดประโยชน์ส�ำ คัญของแอลทีเอฟ เพราะด้วย ลักษณะของกองทุนทีม่ ขี อ้ กำ�หนดให้ผลู้ งทุนถือ หน่วยลงทุนในระยะยาว ดังนัน้ หากเลือกให้ดี แอลทีเอฟย่อมถือเป็นเครือ่ งมือทีจ่ ะช่วยให้นกั ลงทุนได้ลงทุนทางอ้อมในหุน้ เป็นระยะเวลานาน พอทีจ่ ะได้รบั ผลตอบแทนคุม้ ค่า โดยไม่ผลีผลาม ขายทิง้ ไปก่อนเพราะความผันผวนระยะสัน้ ดังเช่นทีม่ กั เป็นปัญหาของนักลงทุนรายย่อย ในการนี้ ด้วยรางวัลกองทุนรวมหุน้ ระยะ ยาวยอดเยีย่ มในปี 2559 จาก Morningstar และรางวัลกองทุนรวมหุน้ ระยะยาวหุน้ 100% ยอดเยีย่ มแห่งปี 2558 จากวารสารการเงิน ธนาคาร กองทุนเปิด ภัทร หุน้ ระยะยาวปันผล (PHATRA LTFD) ของบริษทั หลักทรัพย์จดั การ กองทุน ภัทร จำ�กัด ถือเป็นอีกหนึง่ ทางเลือกที่ แสดงให้เห็นประโยชน์ของแอลทีเอฟนอกจาก ภาษีได้อย่างชัดเจน
ตัดสินใจด้วยวิทยาศาสตร์
หัวใจสำ�คัญของ PHATRA LTFD คือ การเสาะหาหุน้ ‘เพชรในตม’ หรือหุน้ พืน้ ฐาน ดีทต่ี ลาดยังไม่เห็น ด้วยกระบวนการทีเ่ ป็น วิทยาศาสตร์ กล่าวคือเมือ่ กองทุนสนใจหุน้ ของบริษทั ใดก็จะประเมินจุดเด่นจุดด้อยของ บริษทั นัน้ ภายใต้บริบทเศรษฐกิจแวดล้อมอย่าง ละเอียด ไม่วา่ จะเป็นในเรือ่ งปัจจัยพืน้ ฐาน 36
OPTIMISE | OCTOBER 2016
มูลค่าหลักทรัพย์ มุมมองของตลาด ความยัง่ ยืน อีกทัง้ ยังทำ� ‘company visit’ หรือสัมภาษณ์ ผูบ้ ริหารอีกกว่า 200-300 ครัง้ ต่อปีเพือ่ ความ เข้าใจแบบลงลึกก่อนตัดสินใจลงทุน โดย ยุทธพล ลาภละมูล กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน ภัทร จำ�กัด อธิบายว่า “หน้าทีข่ องทีมจัดการกองทุนคือ การพยายามคัดเลือกบริษทั ทีเ่ หมาะสมในการ ลงทุนระยะกลาง-ยาวภายใต้การประเมินภาพ เศรษฐกิจในมุมกว้าง โดยเป็นการลงทุนอย่าง active ทีผ่ สมผสานทัง้ แนว growth และแนว value ตามแต่สถานการณ์ และหลังจากลงทุน ไปแล้วก็ตดิ ตามผลและปรับให้สอดคล้องอย่าง ต่อเนือ่ ง ดังนัน้ สิง่ ทีเ่ ห็นเป็นดอกผลในวันนี้ มันไม่ใช่เหตุบงั เอิญ แม้ปที แ่ี ล้วตลาดลง 10 กว่า เปอร์เซ็นต์ performance ของกองยังเป็นบวก”
ยัง่ ยืนด้วยระบบ
ไม่เพียงเท่านัน้ ในโลกของการจัดการ กองทุนทีป่ กติมกั ให้ความสนใจเฉพาะแต่ชอ่ื เสียงของผูจ้ ดั การกองทุน สิง่ ที่ PHATRA LTFD เน้นย�ำ้ คือการทำ�งานกันเป็นทีมทีท่ กุ คนใช้ความ เชีย่ วชาญทีแ่ ตกต่างมาทำ�งานร่วมกัน ดังที่ ยุทธพล เปรียบว่า “ทีมจัดการกองทุนและทีม วิเคราะห์ท�ำ หน้าทีข่ องตัวเอง ถ้าเปรียบเป็นการ ขับรถแข่ง นักวิเคราะห์จะทำ�หน้าทีเ่ นวิเกเตอร์ บอกเส้นทาง ผูจ้ ดั การกองทุนจะทำ�หน้าทีเ่ ป็น คนขับดูเรือ่ งความเร็ว เกียร์ทใ่ี ช้ ฯลฯ เราเน้น กระบวนการทำ�งานร่วมกันแบบ dynamic เพือ่ ให้เกิดแนวคิดการลงทุนใหม่ๆ” โดยเนือ่ งจาก ผลงานของกองทุนเป็นผลมาจากการทำ�งาน เป็นทีมและความพยายามร่วมกันของทุกคน PHATRA LTFD จึงสามารถสร้างผลงานที่ ต่อเนือ่ ง ไม่ถกู กระทบโดยการเปลีย่ นแปลง คล่องตัวและทันท่วงที ตัวบุคคล สอดคล้องกับลักษณะของแอลทีเอฟ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน ภัทร จำ�กัด ซึง่ ต้องวัดผลกันในระยะยาว มีกระบวนการวิเคราะห์หนุ้ ทีล่ ะเอียดรอบด้าน ในโอกาสที่ช่วงระยะเวลาปลายปีและเส้น แต่ในขณะเดียวกันก็ด�ำ เนินการอย่างคล่องตัว ตายการซื้อกองทุนเพื่อลดหย่อนภาษีเขยิบใกล้ และเคลือ่ นทีเ่ ร็ว โดยในขณะทีก่ องทุนไม่นอ้ ย เข้าเรือ่ ยๆ ขณะนีจ้ งึ ถือเป็นเวลาดีทน่ี กั ลงทุนจะ อาจใช้เวลาหลายอาทิตย์ในการเปลีย่ นหุน้ ที่ ได้ทบทวนการลงทุนให้เกิดผลงอกงามกว่าที่ ลงทุน ทีบ่ ริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน ภัทร ผ่านมา ซึง่ ด้วยกระบวนการคัดกรองหุน้ ทีเ่ ป็น ผูจ้ ดั การกองทุนและทีมนักวิเคราะห์จะทำ�งาน วิทยาศาสตร์ การตัดสินใจทีค่ ล่องตัว ตลอดจน ร่วมกันอย่างใกล้ชดิ จนการเปลีย่ นทิศทางการ ระบบของทีมเวิรก์ ทีย่ ง่ั ยืนไม่ขน้ึ กับตัวบุคคล ลงทุนสามารถเกิดขึน้ ได้ในชัว่ ระยะเวลาอันสัน้ การันตีโดยรางวัลคุณภาพดังกล่าวแล้ว ทำ�ให้เมือ่ เห็นโอกาสการลงทุนก็ด�ำ เนินการได้ทนั PHATRA LTFD ถือเป็นอีกตัวเลือกทีน่ กั ลงทุน ท่วงที “เราใช้ประโยชน์จากกระบวนการทำ�งาน ควรให้ความสนใจอย่างยิง่ ทีค่ ล่องตัว ทำ�ให้ไม่พลาดโอกาส และพลิกเอา เพราะคงปฏิเสธไม่ได้วา่ ในขณะทีส่ ทิ ธิ ประโยชน์จากสถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงได้” ประโยชน์ทางภาษีเป็นเรือ่ งเฉพาะของปีน้ี วรสินี เศรษฐบุตร ผูอ้ �ำ นวยการทีมกลยุทธ์การ ผลตอบแทนของการลงทุนทีด่ จี ะช่วยวาง ตลาดและการขายฝ่ายบริหารงานขาย บริษทั รากฐานทีม่ น่ั คงให้กบั อนาคตข้างหน้าต่อไป หลักทรัพย์จดั การกองทุน ภัทร จำ�กัด กล่าว OPTIMISE | OCTOBER 2016
37
SERVING YOU จากคำ�อธิบายของปพนธ์ มังคละธนะกุล ผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั ทีป่ รึกษาธุรกิจ บริษทั ล้มยักษ์ จำ�กัด ทีป่ รึกษาของธนาคารเกียรตินาคิน ใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพือ่ เอสเอ็มอี ระบุวา่ ประเทศไทยมีเอสเอ็มอีอยูเ่ กือบ 3 ล้านราย แต่มี เพียง 1 ใน 3 เท่านัน้ ทีเ่ ข้าถึงสินเชือ่ ของธนาคาร ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นผูป้ ระกอบการรายใหญ่ ในทาง ตรงกันข้าม ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี (2555-2557) แสดงให้เห็นว่าตลาดสินเชือ่ เอสเอ็มอีทเ่ี ติบโต สูงทีส่ ดุ คือเอสเอ็มอีขนาดเล็ก (อัตราการเติบโต 12% เทียบกับ 1.5% และ 5.5% ของเอสเอ็มอี ขนาดใหญ่และขนาดกลาง ตามลำ�ดับ) ดังนัน้ ธนาคารเกียรตินาคินจึงมุง่ เข้าช่วยเหลือเอสเอ็มอี กลุม่ นี้ ซึง่ มีศกั ยภาพจะเติบโตได้อกี มาก หากได้ รับเงินทุนทีเ่ พียงพอ “ตอนนีก้ ระแสดิจติ อล ไปจนถึงการทีส่ งั คม ไทยเปลีย่ นไปเป็นสังคมสูงอายุ ได้ท�ำ ให้ตลาด เปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก อาจเป็นวิกฤติส�ำ หรับ คนทีไ่ ม่ปรับตัว แต่จะเป็นโอกาสสำ�หรับคนทีป่ รับ ตัวได้ เราจึงอยากช่วยให้เอสเอ็มอีทม่ี ศี กั ยภาพ ไปต่อได้ ซึง่ ก็จะกลับมาสร้างความเข้มแข็งให้กบั เศรษฐกิจของประเทศ” ปพนธ์กล่าว หลังจากทีเ่ ปิดตัวไปเมือ่ ต้นปี ภัทรพงศ์
More Than Just a Car ไม่มที ด่ี นิ แต่มรี ถ ก็สไู้ ด้อกี หลายยกด้วย ‘สินเชือ่ KK SME รถคูณ 3’
38
OPTIMISE | OCTOBER 2016
รักตะบุตร ประธานสายช่องทางการตลาดและ พัฒนาฐานลูกค้า เผยว่ากระแสการตอบรับ สินเชือ่ โครงการนีด้ มี าก เพราะในขณะทีเ่ อสเอ็มอี รายย่อยอาจไม่มอี สังหาริมทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ค�ำ้ ประกัน แต่อย่างน้อยมักจะมีรถยนต์ไว้ใช้ใน กิจการอยูแ่ ล้ว และวงเงินสินเชือ่ ตามโครงการ ถือว่ามากพอจะสร้างความต่างให้กบั ธุรกิจ “ปกติเอารถไปให้ตีมูลค่า ก็มักจะได้แค่ 70% หรือ 1 เท่าของมูลค่ารถ แต่เราให้สูงสุด ถึง 3 เท่า พร้อมวงเงินสูงสุด 5 ล้านบาท อีกทั้งกระบวนการขอค่อนข้างรวดเร็ว เทียบ แล้วเร็วกว่าเอาอสังหาริมทรัพย์มาค�ำ้ ประกัน แถมได้วงเงินเฉลีย่ มากกว่าสินเชือ่ บุคคลหรือ สินเชือ่ รถแลกเงิน โดยทีอ่ ตั ราดอกเบีย้ ต�ำ่ กว่า สินเชือ่ บุคคล” ภัทรพงศ์ขยายความ ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์สนิ เชือ่ KK SME รถคูณ 3 คิดอัตราดอกเบีย้ ประมาณ 14% ระยะ เวลาการผ่อนชำ�ระ 24-72 เดือน โดยมีการค�ำ้ ประกันวงเงินสินเชือ่ จากบรรษัทประกันสินเชือ่ อุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจไทยทีท่ �ำ ให้หลาย ธุรกิจพยายามเก็บตัวหลีกเลีย่ งความเสีย่ ง ธุรกิจ อีกไม่นอ้ ยกลับมองว่านีค่ อื จังหวะทีด่ ที ส่ี ดุ สำ�หรับ
เอสเอ็มอีรายย่อยอาจไม่มี อสังหาริมทรัพย์เป็นหลัก ทรัพย์คำ้ �ประกัน แต่อย่าง น้อยมักจะมีรถยนต์ไว้ใช้ใน กิจการอยูแ่ ล้ว และวงเงิน สินเชือ่ ตามโครงการถือว่า มากพอจะสร้างความต่าง ให้กบั ธุรกิจ สูก้ บั อุปสรรคทีค่ นอืน่ ไม่สู้ และคว้าเอาโอกาสที่ คนอืน่ ไม่เห็น ซึง่ สำ�หรับธุรกิจเหล่านี้ สินเชือ่ KK SME รถคูณ 3 นับเป็นอีกหนึง่ ปัจจัยทีจ่ ะช่วย ให้ธรุ กิจโลดแล่นไปได้อย่างเต็มกำ�ลัง สะท้อนความเชือ่ ของธนาคารเกียรตินาคิน ว่าธุรกิจเล็กจะโตเป็นธุรกิจใหญ่ได้ ก็เพราะการ สูอ้ ย่างไม่ถอยเพือ่ พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสนีเ่ อง สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมโทร. 02-165-5555 หรือ www.kiatnakin.co.th/kk-sme_sme-car3x
ในโลกของเอสเอ็มอีรายย่อย ไม่มเี รือ่ งใด ใหญ่กว่าเงินทุน เงินทุนทีม่ ากพอจะทำ�ให้ธรุ กิจ สามารถก้าวข้ามอุปสรรคและคว้าโอกาสสำ�หรับ เติบโตต่อยอดได้ แต่นา่ เสียดาย หลายครัง้ ศักยภาพในการเติบโตนี้ กลับถูกจำ�กัดเพียง เพราะผูป้ ระกอบการไม่มที รัพย์สนิ ชิน้ ใหญ่ อย่าง เช่นทีด่ นิ มาค�ำ้ ประกันสินเชือ่ กับสถาบันการเงิน นี่เองคือที่มาของผลิตภัณฑ์ ‘สินเชื่อ KK SME รถคูณ 3’ สินเชื่อธุรกิจแรกของประเทศ ที่เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีสามารถ ใช้ ‘รถยนต์’ เป็นหลักทรัพย์ค้ำ�ประกันสินเชื่อใน วงเงินที่สูงถึง 3 เท่าของมูลค่ารถ เพื่อช่วยปลด ล็อคปัญหาการขาดแคลนอสังหาริมทรัพย์เป็น หลักประกันสินเชื่อ และส่งเสริมให้ผู้ประกอบ การที่มีคุณภาพสามารถ ‘สู้’ กับคู่แข่งและ สภาวะตลาดได้อย่างแข็งแกร่งกว่าเดิม OPTIMISE | OCTOBER 2016
39
CLIENT VALUES
Global Treads
01
วัลยา วงศาริยวานิช และกรวิกา วงศาริยวานิช สองสาว แห่ง Deestone อาณาจักรยางชั้นนำ�ของเมืองไทย ในวันที่หมุนเข้าสู่ทศวรรษที่ 4 พร้อมมองไกลสู่ความเป็น แบรนด์ระดับโลก การก้าวขึน้ เป็นแบรนด์ระดับโลกไม่ใช่เรือ่ ง ง่าย แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่ใช่เรื่องเหลือวิสัย สำ�หรับผู้มี ‘ความพร้อม’ ดังเช่น Deestone อีกหนึ่งแบรนด์ยางรถยนต์คุณภาพน่าเชื่อ ถือของไทย ที่ภายใต้การนำ�ของทายาทรุ่นที่ สองอย่าง วัลยา และ กรวิกา วงศาริยวานิช สองสาวพี่น้อง กำ�ลังเสริมฐานรากธุรกิจให้ แข็งแกร่ง เตรียมพร้อมสำ�หรับการยกระดับ แบรนด์เข้าสู่ตลาดโลกอย่างมั่นคง
ปัจจุบันขยายจนมีพื้นที่ทั้งหมดเกือบ 500 ไร่
เรียนรู้ด้วยเนื้องาน
วัลยา: ได้เข้ามาช่วยคุณพ่อในช่วง 20 ปีหลังของดีสโตน ตอนนั้นเราเพิ่งเรียน จบปริญญาตรีก็ตั้งใจจะไปเรียนต่อ แต่มีจุด เปลี่ยนตรงที่คุณพ่อกำ�ลังขยายโรงงานที่ 3 เป็นโรงงานที่ขนาดค่อนข้างใหญ่ ปริมาณ การผลิตจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 2 โรงเดิม 3 เท่า แล้วคุณพ่อไม่มีคนช่วย ก็เลยบอกคุณพ่อว่า โอกาสในความเล็ก จะช่วยก่อน 2 ปี แล้วค่อยไปเรียนต่อ ปรากฏ วัลยา: เราเชื่อว่า global brand เขาก็มี ว่าสิ่งที่คุณพ่อพูดในวันนั้นทำ�ให้เรารู้สึกไม่ ต้นทุนในระดับ global ในขณะที่เราเป็นบริษัท ต้องรีบไปเรียนก็ได้ คือจะไปหางานที่ไหนที่ ที่เริ่มจากประเทศไทย ฉะนั้นความสามารถ มันสอนเราครบขนาดนี้ มีเรื่องให้เรียนทุกวัน ในการบริหาร การตัดสินใจ การคุมต้นทุนการ ต้องแก้ทุกวัน เราจึงได้เริ่มช่วยทำ�ตั้งแต่ ผลิตและต้นทุนการตลาด เราน่าจะได้เปรียบ โรงงานยังเป็นพื้นที่ร้างจนถึงจ้างคนมาทำ�งาน อย่างตอนที่คุณพ่อ (สุวิทย์ วงศาริยวานิช) ถือเป็นประสบการณ์ที่ดีมาก ก่อตั้งบริษัทเมื่อ 40 ปีก่อน ก็เพราะหนึ่ง ท่านมองเห็นความพร้อมในเรื่องของวัตถุดิบ ตำ�หนิแต่ต้องชี้ทางออก วัลยา: เวลาทำ�งานมีปัญหาจะบอกกับทุก เพราะประเทศไทยผลิตยางพาราเป็นอันดับ หนึ่งของโลก สองก็คือความพร้อมของตัวท่าน คนว่า ด่าได้แต่ต้องบอกวิธีแก้มาด้วย ไม่ใช่ เองที่เป็นวิศวกรเคมีและสามารถเข้าถึงแหล่ง แค่โทษกันไปมา ดังนั้นจะมีหลักกับตัวเองว่า เมื่อไหร่ถ้าจะดุจะว่าลูกน้อง เราก็ต้องมีสิ่งที่ เทคโนโลยี ยิ่งตลาดรถยนต์ตอนนั้นโตขึ้น เรื่อยๆ โดยไม่มี local brand เลย ก็เลยมีช่อง ทำ�ให้เขาพึ่งได้ด้วย ถึงจะอยู่กันได้ เวลาลูก น้องวิ่งเข้ามาหา เราก็จะถามว่า ปัญหาระดับ ว่างทางการตลาดให้ดีสโตนได้เกิด คุณพ่อ ลงทุนไป 30 ล้านบาท สร้างโรงงานแรก 30 ไร่ ไหน ระดับเผาหรือยัง ถ้าเผาแล้วก็จะถามว่า 01 วั ล ยา (ซ้ า ย) และ กรวิ ก า วงศาริ ย วานิ ช สองสาวผู ้ ก ุ ม บั ง เหี ย นอาณาจั ก รยางรถยนต์ ใ หญ่ ท ี ่ ส ุ ด ของไทย
40
OPTIMISE | OCTOBER 2016
OPTIMISE | OCTOBER 2016
41
CLIENT VALUES
มันเป็นหน้าที่ของเจ้านายที่จะทำ�ให้บริษัทเป็นบ้าน เพราะลูกน้องเขาใช้ชีวิตที่นี่ 8 ชั่วโมงต่อวัน เราโชคดี คือเข้ามาตอนที่บริษัทยังเล็กอยู่ ต้องทำ�งานกันทุกคน ทุกวันนี้ก็ยังเข้าโรงงานกันทุกคน หลังบ้านเราจึงแน่น แล้วการจะออกไปล่าโอกาสนอกบ้าน หลังบ้านมัน ต้องแข็ง ถ้าหลังบ้านไม่แข็ง ก็ไปไม่ได้ เขาเชื่อใจคุณพ่อขนาดบอกว่า L/C เปิดไม่ได้ ใช่ไหม อย่างนั้นไม่ต้องเปิด จะส่งของมา ให้ก่อน อีก 3 เดือนค่อยมาจ่าย เราเรียก open account ซึ่งระหว่างประเทศกรณีนี้ ไม่ค่อยเกิด
โอกาสกลางวิกฤติ
ทำ�ไมเพิ่งมาบอกคือสุดท้ายคนเป็นเจ้านาย เวลาลูก น้องเขาวิ่งมาหาเรา แสดงว่าเราเป็นคำ�ตอบ ดังนั้นเราต้องไปหาคำ�ตอบมาให้เขาให้ได้ พอบอก ทางออกเสร็จเราก็จะบอกว่า ทีนี้ฉันจะด่าแล้วนะ วัลยา วงศาริยวานิช จบการ เพราะฉันมีสิทธิแล้ว แต่สุดท้ายมันก็เป็นสปิริต ศึกษาจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะศิลปศาสตร์ สาขาธุรกิจ ของการแก้ไขปัญหาร่วมกัน มันเป็นหน้าที่ของ ภาษาจีน ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่ง เจ้านายที่จะทำ�ให้บริษัทเป็นบ้าน เพราะลูกน้อง รองกรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริษัท เขาใช้ชีวิตที่นี่ 8 ชั่วโมงต่อวัน เราโชคดีคือเข้ามา ดีสโตน ส่วนกรวิกา วงศาริยวานิช ตอนที่บริษัทยังเล็กอยู่ ต้องทำ�งานกันทุกคน สำ�เร็จการศึกษาด้าน Engineering Management จาก California State ทุกวันนี้ก็ยังเข้าโรงงานกันทุกคน หลังบ้าน University ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่ง เราจึงแน่น แล้วการจะออกไปล่าโอกาสนอกบ้าน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท หลังบ้านมันต้องแข็ง ถ้าหลังบ้านไม่แข็ง ก็ไปไม่ได้ ดีสโตนจำ�กัด
รูจ้ กั กับ วัลยา และ กรวิกา วงศาริยวานิช
42
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ร่วมใจในวิกฤติ
วัลยา: พอครบ 2 ปีที่คิดไว้ว่าจะอยู่ช่วยคุณพ่อ ก็เกิดวิกฤตเศรษฐกิจต้มยำ�กุ้งพอดี เลยรู้สึกว่าเราทิ้ง ไปไม่ได้ แล้วตอนนั้นน้องๆ ก็อยู่เมืองนอกกันหมด ทำ�ให้เรายิ่งรู้สึกว่า ไปไม่ได้ ต้องอยู่ก่อน กรวิกา: เรากับพี่ๆ ที่อยู่ต่างประเทศตอนนั้นทุก คนเป็นกังวลหมด ไม่ใช่กังวลว่าจะไม่ได้เรียนต่อ แต่ กังวลว่าจะช่วยครอบครัวยังไงได้บ้าง ซึ่งแต่ละคนก็ มีสไตล์น่ารักมาก อย่างพี่ชายคนโต เขาก็ไปทำ�งาน เป็นผู้ช่วยครูเพื่อให้ค่าเทอมถูกลง พี่ชายคนรองใช้ วิธีเรียนลัดเพื่อเรียนให้เร็วที่สุดแบบปีเดียวจบ เราก็ พยายามเรียนให้จบเร็วๆ เหมือนกัน สรุปคือทุกคนมี
วิธีเข้ามาช่วยกันพยุงให้ผ่านไปได้
ผลแห่งความน่าเชื่อถือ
วัลยา: วิกฤติตม้ ยำ�กุง้ นีแ่ หละทีท่ �ำ ให้เรา เรียนรูม้ ากทีส่ ดุ จูๆ่ ตืน่ ขึน้ มาอัตราค่าเงินเปลีย่ น ถ้าเรานำ�เข้าสินค้า อัตราเปลี่ยนทันที อัตรา ดอกเบี้ยก็ลอยตัว ตอนแรกตกลงกันที่ 12% เปลี่ยนเป็น 14%, 16%, 20% โกลาหลมาก เห็นได้ชัดเลยว่าที่รอดได้เพราะความน่าเชื่อ ถือของคุณพ่อที่ทำ�ตามคำ�พูดทุกคำ� คือมีหนี้ ก็ตามใช้หนี้จนหมด ตอนนั้นเราได้รับความ ช่วยเหลือจากต่างประเทศเยอะมาก มีคู่ค้าที่
วัลยา: ตอนค่าเงินลอยตัว ทำ�ให้เราส่ง ออกได้ดีขึ้น ธุรกิจเราโตขึ้นหลายเท่า เรียก ว่า double size ได้เลย เพราะค่าเงินจาก 25 บาท คืนเดียวกระโดดขึ้นมาเป็น 29 บาท และเคยขึ้นไปถึงเกือบ 50 ก็มี ซึ่งหากคนมอง โอกาสตรงนั้นให้ดีๆ ทุกคนน่าจะส่งออกและ ช่วยตัวเองได้ ส่วนเราก็ใช้เวลาใช้หนี้ราว 2-3 ปี เพราะยอดเงินไม่เยอะ และเป็นความ โชคดีที่เราไม่มีหนี้ในสกุลต่างประเทศเลย เพราะคุณพ่อเห็นว่ามันเสี่ยง เคยมีคนมา เสนอเรามากมาย ดอกเบี้ยก็ถูก แต่เราก็ไม่รับ นี่คือสิ่งที่คุณพ่อชี้ให้เห็นตลอดว่าเวลามีคนมา เสนอข้อเสนอที่มันดีมากๆ ยิ่งต้องคิดให้เยอะ คิดให้รอบคอบ
วินัยการเงินคือเกราะ
เราผ่านวิกฤติแต่ละครั้งมาได้เพราะเรา คว้าโอกาสที่ดีได้ หลักการคือหลังบ้านแข็ง แขนขามีกำ�ลังที่จะคว้าโอกาสอะไรที่ตกลงมา จากฟ้า โดยที่ตะกร้าเราก็ไม่รั่ว วินัยการเงิน แข็งแรง เราจะไม่หลงระเริง ไม่ฟุ่มเฟือย ใช้งบเฉพาะในจุดที่เห็นว่าจำ�เป็นจริงๆ ฉะนั้น เมื่อเกิดวิกฤติการเงินการค้า หรือก่อการร้าย
อะไรก็แล้วแต่ เราก็ยังอยู่ได้ เพราะยังมีต้นทุน อยู่ในมือ อึดได้มากกว่าคนอื่น
ใฝ่รู้ไม่สิ้นสุด
กรวิกา: สิ่งที่คุณพ่อปลูกฝังมาตลอดคือ การศึกษา พ่อเป็นคนชอบศึกษา ตั้งแต่เด็กๆ เราจะเห็นคุณพ่ออ่านหนังสือทุกคืน ไม่เคยมี คืนไหนที่คุณพ่อไม่อ่าน คุณพ่อใช้เวลาอย่าง น้อย 1-2 ชั่วโมงในการอ่าน คือกลับบ้านก็ดึก อยู่แล้ว กินข้าวเสร็จ อาบน้ำ�เสร็จ ก็ยังมานั่ง อ่านหนังสือ เป็นนิสัยที่ลูกๆ เห็นจนชิน แล้ว หนังสือที่อ่านก็เป็นหนังสือแปลกๆ หนังสือ บัญชีบ้าง หนังสือที่เกี่ยวกับงาน เป็นนิสัยที่ ดีที่พวกเราได้รับมา
พร้อมเพื่อรับโอกาส
วัลยา: อีกสิ่งที่เห็นจากคุณพ่อคือความอึด และความประหยัดของท่าน ทุกครั้งที่เดินทาง ท่านจะเลือกเครื่องบินชั้นประหยัด พอเครื่อง ลงปั๊ปก็ทำ�งานเลย บางทีเครื่องลงตอนตี 5 แล้วก็ไปประชุมต่อทั้งวัน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นไป ได้ก็เพราะท่านรักษาสุขภาพให้พร้อมกับการ ทำ�งาน ทุกวันนี้ ถึงจะกึ่งเกษียณแล้ว ท่านก็ยัง เดินเก่งเหมือนเดิม สปีดของคุณพ่อไม่มีใคร ตามทัน เรายังต้องคอยบอกพนักงานรุ่นหลัง อยู่เรื่อยเลยว่า เวลาไปกับท่านประธานต้อง ระวังว่าท่านใจร้อนนะ เวลามีสัมภาระต้องจำ� ให้ได้ว่ามีอะไรอยู่กับตัว หยิบแล้วเดินตามให้ ทัน โดยเฉพาะช่อง immigration ช่องไหนเร็ว สุดต้องรีบตามไป ไม่งั้นไม่ทัน ท่านเดินแป๊บ OPTIMISE | OCTOBER 2016
43
CLIENT VALUES กับหน่วยราชการทหารสำ�หรับใช้ในรถทหาร คุณพ่อก็บอกว่า เรื่องราคาก็ให้แข่งขันได้ตาม กลไกตลาด แต่ต้องแน่ใจว่ายางเราคุณภาพดี และใหม่สด เพราะว่ายังไงก็ต้อง “เอาเขากลับ บ้าน” เราฟังแล้วพลิกเลย ในขณะที่เราทำ� การค้าและมองถึงกำ�ไรอย่างเดียว แต่คุณพ่อ กลับนึกถึงมุมอย่างนี้
เราวาง position ของยางเราไว้ว่าเป็นของดีและราคา ถูก เราเคยประชุมเถียงกันสองวันสองคืนว่าจะทำ�ภาพ ลักษณ์ดีสโตนให้แพงขึ้นดีไหม แต่คุณพ่อมาเข้าประชุม แล้วให้ vision ทีเดียว จบเลย ท่านบอกว่า “ถ้าทุกคน ทำ�ของแพงหมดเลย แล้วคนที่เขาขับรถธรรมดา เขาจะ ความเชื่อมั่นคือแบรนด์ วัลยา: ตอนที่ได้รับโจทย์ให้ดูแลการ ใช้อะไร เราเป็นคนไทย เราก็ต้องให้คนไทยเขาซื้อของ ตลาดของที่นี่ ก็เคยคิดว่าจะทุ่มเงินลงโฆษณา เราใช้สบายๆ สิ” เลยดีไหมเพื่อทำ� brand awareness แล้วก็ว่า เดียวไปหยิบกระเป๋าที่สายพานและไปที่ประตู รอขึ้นรถแล้ว แต่ก็ทำ�ให้เราเรียนรู้ว่า คนแบบ นี้เขาจะได้โอกาสก่อนคนอื่น เพราะเขาพร้อม กว่าคนอื่นตอนที่เห็นโอกาส
วัฒนธรรมองค์กร
วัลยา: สิ่งเหล่านี้มันก็ตกทอดจากคุณพ่อ มายังพวกเราลูกๆ ไปจนถึงพนักงานดีสโตน ต้องพร้อม ต้องรอบคอบ เจอปัญหาอะไร ก็ต้องเรียนรู้ทุกวัน ตอนที่บริษัทเริ่มใช้ คอมพิวเตอร์ควบคุมภายในองค์กร พนักงาน รุ่นเก่าก็พยายามฝืน เราก็โน้มน้าวให้ทำ�ด้วย กัน จนตอนนี้มาถึงวันที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ไม่ ได้แล้ว ดังนั้นเป็นปกติว่าพอจะขยับไปอีก ก้าวก็จะต้องมีฝืนกันไปหนึ่งก้าว แต่เราก็ ต้องพยายามและหาเรื่องใหม่ให้พนักงานเรา ศึกษาไปเรื่อยๆ
คุณภาพที่คนเสาะหา
กรวิกา: แรกๆ เราไม่ได้ออกไปทำ�ตลาด ต่างประเทศ แต่ประเทศเพื่อนบ้านอย่างพม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม เป็นคนเข้ามาหาเรา ตั้งแต่เขายังปิดประเทศอยู่ด้วยซ้ำ� สาเหตุที่ เขามาหาเราเพราะเราเป็นโรงงานไทยแท้ มีฐานอยู่ที่นี่ เข้าถึงง่ายกว่าพวก global brand ซึ่งเขาจะไม่สามารถคุยกับโรงงาน ที่เมืองไทยได้ จะซื้อ Bridgestone ต้องไป ญี่ปุ่น จะซื้อ Michelin ต้องไปฝรั่งเศส จะซื้อ
44
OPTIMISE | OCTOBER 2016
Goodyear ต้องไปอเมริกา ไปให้เขาแต่งตั้ง เป็นตัวแทนก่อนแล้วถึงจะมาคุยกับโรงงานใน ไทยได้ การที่เราเข้าถึงได้ง่ายกว่าก็เป็นความ ได้เปรียบ ต่อมาประเทศตะวันออกกลาง ยุโรป จนในที่สุดอเมริกาก็เข้ามาหาเรา ทีนี้พอ อเมริกามา เราก็เลยตัดสินใจว่าน่าจะถึงตา เราออกไปบ้าง จนตอนนี้ก็ส่งออกไปกว่า 170 ประเทศทั่วโลก จริงๆ ยางเป็นสินค้าที่ขึ้นอยู่ กับสภาพพื้นที่ ฉะนั้นความเข้าใจสภาพพื้นที่ ในแต่ละประเทศสำ�คัญมาก ไม่มีทางที่จะ ทำ�ยางให้เข้ากับทุกสภาพพื้นที่ได้ สิ่งเหล่านี้ ทำ�ให้เรารู้สึกว่าโลกนี้มันใหญ่ มันยังมีโอกาส มากมายให้เราข้ามไปหา
คุณภาพในเนื้อสินค้า
กรวิกา: เราวาง position ของยางเราไว้ ว่าเป็นของดีและราคาถูก เราเคยประชุมเถียง กันสองวันสองคืนว่าจะทำ�ภาพลักษณ์ดีสโตน ให้แพงขึ้นดีไหม แต่คุณพ่อมาเข้าประชุมแล้ว ให้ vision ทีเดียว จบเลย ท่านบอกว่า “ถ้าทุก คนทำ�ของแพงหมดเลย แล้วคนที่เขาขับรถ ธรรมดา เขาจะใช้อะไร เราเป็นคนไทย เราก็ ต้องให้คนไทยเขาซื้อของเราใช้สบายๆ สิ เราอยากขายแพง เราก็ไปขายที่อื่น เราอยาก ขายแค่นี้ให้คนเขาภูมิใจ เป็นสินค้าที่ซื้อหา ได้ง่าย” วัลยา: อีกทีหนึ่ง บางครั้งเราขายยางให้
กันต่อไป แต่คุณพ่อบอกว่า เรามีแบรนด์มา นานแล้ว มันคือความน่าเชื่อถือ ไปหามาสิว่า ความน่าเชื่อถือมันอยู่ตรงไหนบ้าง เราก็ เออ---มันอยู่ที่ตัวสินค้า มันอยู่ที่คำ�มั่นสัญญา ที่เราจะดูแลลูกค้า จะต้องสร้างความเชื่อมั่น เวลาลูกค้าเดินมามองยางปั๊ป เขาจะต้องเดิน มาหายางดีสโตนก่อน ถ้าใช้แล้วมีปัญหาก็หา เจอว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบ ถ้าใช้แล้วดีก็ชม ได้ถูกตัว หลังจากนั้นถึงจะใช้ปัจจัยเรื่องการ ตลาดมาช่วย ทำ�ยังไงให้คนรู้จักมากขึ้น ให้คนเข้าถึงได้ง่ายและพยายามเข้าใจความ ต้องการของลูกค้ามากขึ้น เพราะมันหมายถึง การพัฒนาสินค้าของเราอย่างต่อเนื่อง
ธุรกิจรองรับอนาคต
วัลยา: เราทำ� The S-One Corporation ขึน้ มา เพือ่ ให้คคู่ า้ เราได้มตี น้ แบบการทำ�ธุรกิจ ทีท่ นั สมัย เพราะตอนนีย้ คุ สมัยเปลีย่ นไปเป็น ดิจทิ ลั หมดแล้ว ร้านแบบเดิมก็จะถูกลดความ นิยมลงไป ส่วนร้านทันสมัยก็กา้ วขึน้ มา เราก็ พยายามเปิดศูนย์ตน้ แบบนีม้ าเพือ่ ให้เข้าใจ ลูกค้าแล้วจึงค่อยขยายธุรกิจออกไป ในฐานะ ทีเ่ ป็นรุน่ ที่ 2 ในการทำ�ธุรกิจ เราต้องการ จะดันให้ดสี โตนเป็น global brand ทุกวันนี้ เรามีก�ำ ลังการผลิตอยูท่ ่ี 1% ของกำ�ลังการ ผลิตทัง้ โลก ถ้าจะไปให้ไกลกว่านัน้ เราต้อง เพิม่ กำ�ลังการผลิตให้ใหญ่ขน้ึ เรียนรูเ้ ทคโนโลยี ใหม่ๆ การตลาดก็ตอ้ งไปด้วยกัน ขยายเครือ ข่ายของเราให้ครอบคลุมทัว่ โลกให้ได้
OPTIMISE | OCTOBER 2016
45
BEYOND BOUNDARIES
Charming Chanthaburi
01 โบสถ์วัดแม่พระปฏิสนธินิรมล แลนด์มาร์กสำ�คัญของตัวเมือง และศูนย์รวมจิตใจของชุมชน ชาวเวียดนามที่นี่
02
02 บ้านเรือนไม้เก่าที่ชุมชนริมน้ำ�จันทบูร 03 ประภาพรรณ ฉัตรมาลัย หัวเรือใหญ่ ในการฟื้นฟูชุมชนเก่าจันทบุรี 04 บ้านเรียนรู้ชุมชนริมน้ำ�จันทบูร
การฟื้นคืนสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกผสานวัฒนธรรม เอเชียอันเป็นเอกลักษณ์ของเมืองอันเงียบสงบแห่งนี้ได้ มอบชีวิตใหม่ให้กับชุมชนเก่าแก่ริมน้ำ�อีกครั้ง 01
03
แม้สายการบินบางกอกแอร์เวย์จะมี เที่ยวบินตรงสู่ตราดโดยใช้เวลา 45 นาที แต่คงมีเพียงน้อยคนที่ใช้เที่ยวบินนี้มาเพื่อมุ่ง สู่จันทบุรี เกาะช้างและเกาะกูดดูเหมือนจะได้ รับความสนใจมากกว่าในฐานะแหล่ง ท่องเที่ยวเพชรนํ้างามของชายฝั่งตะวันออก แต่ก็อาจด้วยเหตุนั้น แนวบ้านไม้หลังน้อยๆ ซึ่งตั้งเรียงรายอยู่ริมฝั่งแม่นํ้าจันทบุรี จึงสามารถตั้งอยู่มาได้อย่างยาวนานโดยไม่ ถูกรบกวนจากสายตาของบรรดานักท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม หากเดินทอดน่องไปตาม อำ�เภอเมืองจันทบุรี (ซึ่งมีประชากรราว 27,000 คน) ในวันอาทิตย์ ก็อาจพอสังเกตได้ ถึงความเปลี่ยนแปลงที่เริ่มเกิดขึ้น จริงอยู่ ตรงข้ามกับ ‘บ้านหลวงราชไมตรี’ อายุกว่า 46
OPTIMISE | OCTOBER 2016
04
150 ปี นักท่องเทีย่ วยังสามารถเจอคุณยาย กระดกกระทะอย่างกระฉับกระเฉงเพือ่ ปรุงผัด ไทยให้กบั ลูกค้าโดยดูไม่ตน่ื เต้นกับความงาม จับใจของตึกสมัยรัชกาลที่ 5 รอบๆ ตัว ใน ขณะที่ตลาดตอนเช้าตรู่ยังขวักไขว่ไปด้วย ผู้คนหน้าตางัวเงียที่ออกมาหาซื้อก๋วยจั๊บ โจ๊ก ปาท่องโก๋ และข้าวเกรียบอ่อนแก้หิวเหมือน เมื่อเก่าก่อน แต่ท่ามกลางบรรยากาศยามเช้า ในชนบทอันคลาสสิกนี้ได้เริ่มมีนักท่องเที่ยว หนุ่มสาววัย 20 เศษๆ สะพายกล้องดิจิทัล หน้าตาวินเทจเข้ามานั่งจิบกาแฟปะปนอยู่กับ คนท้องถิ่น ซึ่งนั่นเองคือสัญลักษณ์บ่งบอกถึง ความสนใจระลอกใหม่ในดินแดนจันทบูร ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรม อาหารอันโอชะ หรือ ตึกรามบ้านช่องอันเก่าแก่ก็ตาม
ท่ามกลางบรรยากาศยาม เช้าในชนบทอันคลาสสิกนี้ ได้เริม่ มีนกั ท่องเทีย่ วหนุม่ สาววัย 20 เศษๆ สะพาย กล้องดิจทิ ลั หน้าตาวินเทจ เข้ามาจิบกาแฟปะปนอยู่ กับคนท้องถิน่ ซึง่ นัน่ เอง คือสัญลักษณ์บง่ บอกถึง ความสนใจระลอกใหม่ใน ดินแดนจันทบูร ไม่วา่ จะเป็น วัฒนธรรม อาหารอันโอชะ หรือตึกรามบ้านช่องอัน เก่าแก่กต็ าม
ปรากฎตัวตน
ในระยะเวลาที่ผ่านมา แม้แต่คนท้องถิ่นก็ ยังไม่เห็นจันทบุรีเป็นแหล่งท่องเที่ยว คนทั่วไป อาจเคยได้ยินเกี่ยวกับโบสถ์โรมันคาทอลิก สถาปัตยกรรมโกธิก ก๋วยเตี๋ยวหมูเลียง หอมฉุย เส้นจันท์เหนียวนุ่มผัดปู และแกงหมู ชะมวงรสเข้มข้นของที่นี่บ้าง แต่โดยส่วนใหญ่ แล้วจันทบุรีมักถูกมองว่าเป็นเพียงทางผ่านไป ตราดเท่านั้น นักท่องเที่ยวที่คิดอย่างนี้ถือว่าพลาด อะไรดีๆ ไปไม่น้อย ‘โบสถ์วัดแม่พระปฏิสนธิ นิรมล’ มีความงามที่ต้องไปยลให้เห็นกับตา จริงๆ (ยังไม่ต้องนับของแถมจากการที่ผู้มา เยือนสามารถลิ้มลองอาหารที่ใกล้เคียงต้น ตำ�รับฮานอยที่สุดในประเทศไทยจากฝีมือของ OPTIMISE | OCTOBER 2016
47
BEYOND BOUNDARIES Paul และ Eric Kayser จะข้ามนํ้าข้ามทะเล มาถึงเมืองไทย ความสำ�เร็จของร้านอย่างไอศกรีมตรา จรวดและจันทบุรี เบเกอรี่ ทำ�ให้ลูกหลานชาว จันทบุรีอีกไม่น้อยที่เคยอยู่ในกรุงเทพฯ หวน คืนสู่บ้านเกิดเพื่อปัดฝุ่นกิจการร้านรวงของ คนรุ่นพ่อแม่ และหนึ่งในนั้นคืออัครวัฒน์ ชินอุดมพงศ์ แห่งบ้านเลขที่ 119 “ผมเคยอยู่บ้านหลังนี้ และก็รู้สึกผูกพัน ผมตั้งใจที่จะกลับมาทำ�ธุรกิจอัญมณีของที่ บ้านนานแล้ว เราได้ทักษะมาจากพ่อก็อยาก เห็นกิจการมันอยู่ต่อไป” อัครวัฒน์กล่าว อุตสาหกรรมอัญมณีซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็น ความภาคภูมิใจของจันทบุรีได้ซบเซาลงที ละน้อย อันเนื่องมาจากบรรดาของเลียนแบบ บวกกับราคาที่สูงเกินจริงและกลยุทธ์การ ตลาดที่ไร้ประสิทธิภาพ ดังนั้นหลังสำ�เร็จ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ อัครวัฒน์ได้แปลงโฉมตึกแถวบนถนนเลียบ
การบูรณะบ้านไม้ 2 ชัน้ ของตระกูลหลวง ราชไมตรีเป็นอีกหนึง่ ตัวอย่างของการ ‘มอบ ชีวติ ใหม่’ ในสเกลทีใ่ หญ่ขน้ึ ไปอีก ...แต่การบูรณะบ้าน ขึน้ มาใหม่นบั เป็นเรือ่ งเกิน กำ�ลังทรัพย์ของเจ้าของ บ้านเพียงคนเดียว ดังนัน้ จึงนำ�ไปสูแ่ นวคิด การบูรณะตึกเก่าด้วยความ ร่วมมือในระดับชุมชน 05
ชุมชนชาวเวียดนามผู้สร้างโบสถ์แห่งนี้ด้วย) นํ้าตกหลายแห่งซึง่ อยูใ่ กล้จนั ทบุรี เช่นนํา้ ตก พลิว้ ก็มสี สี นั ไม่แพ้บรรดาชายหาดอืน่ ๆ ในภาค ตะวันออก อย่างไรก็ตาม สาเหตุทท่ี ำ�ให้ตวั เมือง กลับมาคึกคักอีกครัง้ นัน้ คงต้องยกความดีความ ชอบให้กบั ชุมชนริม 2 ฝัง่ แม่นา้ํ จันทบุรนี เ่ี อง ที่ชุมชนนี้ นักท่องเที่ยวจะเห็นหมู่ตึกแถว อายุกว่า 150 ปีตั้งขนาบแม่นํ้าจันทบุรี โดย มีบางส่วนของตึกตั้งอยู่บนเสาที่ปักลงไปใน แม่นํ้า สุดถนนทางทิศใต้คือที่ตั้งของท่าเรือ ซึ่งในอดีตได้ดึงดูดชาวไทย จีนและเวียดนาม ให้เข้ามาตั้งรกรากพร้อมสร้างที่อยู่อาศัยซึ่ง เคล้าอยู่ด้วยอิทธิพลจากพื้นเพเดิมของแต่ละ ชนชาติ ในขณะที่สุดถนนฝั่งทิศเหนือคือย่าน ของเจ้าหน้าที่รัฐและข้าราชการที่เต็มไปด้วย บ้านไม้ประดับด้วยช่องลมหรือระบายชายคา ที่ฉลุลายละเอียดราวลูกไม้ ไม่น่าเชื่อว่า แม้มรดกทางสถาปัตยกรรม ของที่นี่จะโดดเด่น แต่พื้นที่นี้กลับไม่เคย มีชื่อเรียกจริงๆ จนกระทั่งกระทรวงพาณิชย์ มาตั้งชื่อให้ว่า ‘ชุมชนริมนํ้าจันทบูร’ ตาม ความพยายามที่จะสร้างอัตลักษณ์ให้ 48
OPTIMISE | OCTOBER 2016
กับภูมิภาค โชคดีว่าในปี 2552 นักศึกษา สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์ มาลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อทำ�วิทยานิพนธ์ ใน จังหวะที่คณะกรรมการท้องถิ่นกำ�ลังจะสร้าง ศูนย์การเรียนรู้ว่าด้วยเรื่องคุณค่าของสิ่งปลูก สร้างและวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมในท้องถิ่นพอดี พวกเขาจึงร่วมมือกันบูรณะบ้านเลขที่ 69 ซึ่ง เป็นบ้านหลังงามที่มีลูกกรงประณีตเรียงตลอด แนวระเบียงชั้น 2 “เดิมทีคนในท้องถิน่ ไม่อยากให้มนี กั ท่องเทีย่ วมาเดินเข้าเดินออกหรือยุม่ ย่ามกับชีวติ ปกติของพวกเขา แต่พอเข้าใจว่า เราไม่ได้มี เจตนาจะเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ของเขา เราแค่มา ถ่ายทอดความงามนีใ้ ห้โลกเห็นและอนุรกั ษ์มนั ไว้ พวกเขาถึงได้เริม่ เปิดรับ” ธิป ศรีสกุลไชยรัก แห่งสถาบันอาศรมศิลป์เล่า สำ�หรับผู้ที่มาเที่ยวชม บ้านเลขที่ 69 บ้านเรียนรู้ชุมชนริมนํ้าจันทบูร ซึ่งแต่เดิมเป็น ของขุนอนุสรสมบัติ ผู้ช่วยคลังมณฑลจันทบุรี จะได้พบกับ ประภาพรรณ ฉัตรมาลัย หญิง กระฉับกระเฉงวัย 60 กว่าๆ หนึ่งในผู้บุกเบิก โครงการ ‘เปิดบ้านริมนํ้า’ ซึ่งพาผู้คน
นับร้อยออกเยี่ยมชมบ้านริมนํ้าซึ่งก่อนหน้านั้น ไม่เคยมีใครเหลียวแล “เราพยายามเพิ่มจำ�นวนบ้านที่เข้าร่วม โครงการทุกปีเพื่อให้ครอบครัวที่มีบ้านสวยๆ อยู่แล้วได้ใช้มันให้เกิดประโยชน์ สมัยก่อน แต่ละบ้านก็จะมีธุรกิจ มีขายอะไรต่อมิอะไร ของตัวเอง เราอยากปลุกวิถีนั้นกลับมาอีก” ประภาพรรณกล่าว
แม่นํ้าของเขาให้เป็นทั้งเวิร์กช็อป และร้าน ขายพลอย ซึ่งมอบชีวิตใหม่ให้กับงานฝีมือ ของครอบครัวเขา ณ อีกสุดฟากถนน การบูรณะบ้านไม้ 2 ชั้นของหลวงราชไมตรีนั้นเป็นอีกหนึ่งตัวอย่าง ของการ ‘มอบชีวิตใหม่’ ในสเกลที่ใหญ่ขึ้น ไปอีก เพราะหลังจากถูกปล่อยร้างมาหลาย ปี การบูรณะบ้านขึ้นมาใหม่นับเป็นเรื่องเกิน กำ�ลังทรัพย์ของเจ้าของบ้านเพียงคนเดียว ดังนั้น จึงนำ�ไปสู่แนวคิดการบูรณะตึกเก่า ด้วยความร่วมมือในระดับชุมชน “คำ�ถามคือเราจะสร้างคุณค่าร่วมกันใน ชุมชนได้ยังไง ก่อนหน้านี้มีโครงการบูรณะ ย่านเก่าแก่และโบราณสถานต่างๆ แต่ก็ต้อง พับไปเพราะขาดเงินสนับสนุนจากรัฐบาล เราเลยรู้ว่าเราต้องทำ�ให้คนในชุมชนมีแรง จูงใจที่จะเป็นผู้ผลักดันโครงการให้สำ�เร็จได้ ด้วยตัวเอง” ธิปกล่าว นี่เองจึงเป็นจุดกำ�เนิดของบริษัทจันทบูร-
รักษ์ดี จำ�กัด ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อระดมทุนจากชุมชน สำ�หรับการปรับปรุงบ้านหลวงราชไมตรีให้ เป็น ‘บ้านพักเชิงประวัติศาสตร์’ โดยมีทุนจด ทะเบียน 8.8 ล้านบาท และถือหุ้นโดยอาศรม ศิลป์ คนในชุมชน ตลอดจนผู้ร่วมเจตนารมณ์ อนุรักษ์อื่นๆ ด้วยเงินจำ�นวนนี้ บ้านหลวง ราชไมตรีจึงสามารถเปิดออกต้อนรับแขกผู้มา เยือนในเดือนตุลาคมปี 2556 ทั้งนี้ บ้านหลวงราชไมตรีเป็นบูติก เกสต์เฮาส์กึ่งพิพิธภัณฑ์ ซึ่งประกอบด้วยห้อง พัก 12 ห้อง แต่ละห้องจำ�ลองแง่มุมชีวิตต่างๆ ของหลวงราชไมตรีไว้ โดยเนื่องจากโครงการ นี้ยังไม่ทำ�กำ�ไรพอที่จะจ่ายเงินปันผล บรรดา ผู้ถือหุ้นจึงจะได้รับผลตอบแทนส่วนหนึ่งเป็น บัตรกำ�นัลเข้าพักในโรงแรม สำ�หรับบุคคล ทั่วไป ค่าที่พักหนึ่งคืนพร้อมอาหารเช้าริมนํ้า นั้นราคาเริ่มต้นที่ 1,250 บาท โดยห้องพักที่นี่ ตกแต่งอย่างเรียบง่าย แต่การใช้เครื่องเรือน เรียบๆ และเน้นไม้จริง ทำ�ให้ห้องพักมีเสน่ห์
06
07
ปลุกความดั้งเดิม
กระแสตอบรับที่ดีจากโครงการเปิดบ้าน ริมนํ้าได้นำ�ไปสู่การฟื้นฟูธุรกิจในชุมชนรวม ถึงกิจการค้าขายของแต่ละบ้าน เช่น ‘ไอศกรีม ตราจรวด’ หนึ่งในร้านดังที่ยังคงยึดสูตร ไอศกรีมดั้งเดิมของที่บ้านและทำ�รสชาติตาม ผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัด รสที่เข้มข้นที่สุดคงหนี ไม่พ้นรสทุเรียน ที่หวานมันและให้ความรู้สึก เหมือนได้กัดพูทุเรียนจริงๆ ‘จันทบุรี เบเกอรี่’ คืออีกร้านขึ้นชื่อซึ่งตกแต่งด้วยไม้ฉลุประณีต ร้านนี้เป็นร้านเบเกอรี่แห่งแรกในตัวเมือง และ ขายขนมง่ายๆ อย่างเช่นขนมปังเนยกระเทียม ซึ่งชวนให้อร่อยแบบคลาสสิกก่อนยุคที่ร้าน
08
09
05 บ้านหลวงราชไมตรีที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์ จาก UNESCO 06 บ้านเก่าเรียงรายไปบนถนนเลียบแม่น้ำ� 07 ปัทมา ปรางค์พันธ์ ผู้จัดการบ้าน หลวงราชไมตรี 08 การลนไฟพลอยก่อนการเจียระไน 09 อัครวัฒน์ ชินอุดมพงศ์ ผู้หวัง จุดประกายธุรกิจพลอยจันทบุรีอีกครั้ง
OPTIMISE | OCTOBER 2016
49
BEYOND BOUNDARIES
10
11
Essentials
12
จันทรโภชนา
ซอยมหาราช จันทบุรี โทร. 039-327-179 www.goo.gl/zyzr7t
บ้านหลวงราชไมตรี
252 ถ.สุขาภิบาล จันทบุรี โทร. 088-843-4516, 081-915-8815 www.baanluangrajamaitri.com
บ้านเลขที่ 119
119 ถนนสุขาภิบาล จันทบุรี โทร. 090-986-5537
ศูนย์เรียนรูช้ มุ ชน ริมนํา้ จันทบูร 13
ย้อนยุคอย่างน่าประหลาด ปัทมา ปรางค์พันธ์ ผู้จัดการทั่วไปของ บ้านพักเล่าว่า “การทำ�บ้านหลวงราชไมตรี ไม่ใช่เรื่องง่าย เรามีเวลาปรับปรุงบ้านแค่ 8 เดือน แถมต้องมั่นใจด้วยว่ารายละเอียด ต่างๆ ตรงตามข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ เราร่วมงานกับนักประวัติศาสตร์เพราะ อยากให้ที่นี่เป็นมากกว่าโรงแรม คือเป็น ศูนย์วัฒนธรรมไปในตัว” ความถูกต้องทาง ประวัติศาสตร์ของที่นี่ไม่เพียงแต่งดงาม หากยังนำ�มาซึ่งรางวัลน่าภาคภูมิใจ หลากหลาย เช่นรางวัลจากยูเนสโก สมาคม สถาปนิกสยาม และนิตยสารฟิวเจอร์อาร์ค (FutureArc)
โครงการ ‘เปิดบ้าน’ ทำ�ให้คนกลัวว่าพื้นที่ ชุมชนริมนํ้ากำ�ลังถูกทำ�ให้กลายเป็นถนน คนเดินที่อัดแอไปด้วยบรรดาแผงขายอาหาร ดังเช่นตลาดสามชุกในสุพรรณบุรี ทั้งๆ ที่ใน อดีต ชุมชนนี้ไม่ได้ทำ�มาค้าขายบนทางเท้า แต่เปิดร้านในตึกแถวเป็นกิจจะลักษณะ ความไม่ลงรอยนี้เองทำ�ให้แผนการทำ�ถนน คนเดินที่หน่วยงานเทศบาลวางไว้กลายเป็น ประเด็นเปราะบางระหว่างทั้ง 2 ฝ่าย “การจะอนุรักษ์ของเก่า ของดี ของแท้ ของชุมชนเอาไว้ไม่ใช่เรื่องง่ายอยู่แล้ว แต่ถ้า เราทำ�ให้คนเข้าใจคุณค่าระยะยาวของสิ่งที่ เรากำ�ลังทำ�อยู่ได้ เราเชื่อว่ามันจะยั่งยืนได้ จริงๆ” ปัทมากล่าว ซึ่งสะท้อนความคิดของ ชาวจันทบุรีโดยทั่วไปที่พยายามจะก้าวไป อ้าแขนต้อนรับอนาคต ข้างหน้าโดยไม่หลุดจากรากเหง้าของตน แม้โครงการจะประสบความสำ�เร็จ แต่ก็ ณ ใจกลางตัวเมือง ผู้ประกอบการคลื่น ยังมีคำ�ถามว่าชุมชนจะเดินหน้าต่อไปอย่างไร ลูกใหม่ต่างพากันออกผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น 50
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ใหม่ๆ ซึ่งผนวกรูปลักษณ์ร่วมสมัยเข้ากับ รากวัฒนธรรมเก่าแก่ของจันทบุรี ตัวอย่าง หนึ่งก็คือ ‘จันทรโภชนา’ ร้านอาหารขึ้นชื่อ ของจันทบุรีซึ่งเป็นหนึ่งในจุดหมายปลาย ทางของเหล่านักชิมผู้ครํ่าหวอด ร้านนี้ใช้ ผลไม้ท้องถิ่นมาปรุงอาหารตามตำ�รับเก่าแก่ เช่นแกงมัสมั่นทุเรียน หรือยำ�มังคุด ทั้งนี้ อุกฤษณ์ วงษ์ทองสาลี เจ้าของกิจการได้ อาศัยพื้นหลังจากวงการโฆษณามาใช้สร้าง ความสดใหม่ให้กับร้านอาหารอายุครึ่ง ศตวรรษแห่งนี้ โดยนอกจากสาขาแรกแล้ว เขายังเปิดร้านใหม่ตกแต่งแบบร่วมสมัย บนถนนมหาราชซึ่งปรากฏว่าประสบความ สำ�เร็จมากจนผู้มาเยือนต้องต่อคิวยาวกว่า จะได้โต๊ะ เช่นเดียวกัน หลังจบการศึกษาจาก ออสเตรเลีย สุดฤทัย และณภัทร กิจเจริญ ก็เลือกกลับสู่บ้านเกิดเพื่อริเริ่มสิ่งใหม่ๆ ร้าน
ถ้าเราทำ�ให้คนเข้าใจ คุณค่าระยะยาวของสิง่ ที่ เรากำ�ลังทำ�อยูไ่ ด้ เราเชือ่ ว่ามันจะยัง่ ยืนได้จริงๆ 10 อาหารตำ�รับเมืองจันทบุรีที่จันทรโภชนา 11 สุดฤทัยและณภัทร กิจเจริญ สองพี่น้องแห่งคาเฟ่ น้องใหม่อย่าง Whee 12 บ้านเรือนริมน้ำ�ได้รับการบูรณะให้เป็นร้านอาหาร รองรับการท่องเที่ยว 13 ลวดลายไม้ฉลุงดงามของบ้านเรือนในชุมชน 14 C.A.P. ร้านกาแฟสุดฮิปที่มาจับจองพื้นที่ในชุมชน ริมน้ำ�จันทบุรีไว้รองรับทั้งคนท้องถิ่นเองและ นักท่องเที่ยวในช่วงสุดสัปดาห์
14
Whee ของพวกเขาได้แรงบันดาลใจในการ ทำ�ร้านสไตล์ซักกะ หรือร้านขายของกระจุก กระจิกแบบญี่ปุ่น ในขณะที่ใช้วัตถุดิบ ท้องถิ่นปรุงอาหารอย่างพิซซ่าแป้งบางกรอบ และอาหารจานไข่สำ�หรับมื้อบรันช์ “เราใช้ วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น เหมือนกับเป็นระบบ นิเวศเลย คือใครมีอะไรก็เอามาช่วยกัน เรารู้สึกว่าคนรุ่นเรามีไอเดียใหม่ๆ มาให้ ชุมชนได้” สุดฤทัยกล่าว อีกหนึ่งนกคืนรังคือ ปริญญา ชัยสิทธิ์ หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งนิตยสารไลฟ์สไตล์ ท้องถิ่น About Chan ซึ่งหลังสำ�เร็จการ ศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากรก็ตัดสินใจ กลับมาทำ�หนังสือที่บ้านเกิด โดยเธอบอก ว่า “คนพยายามนำ�ความเป็น ‘จันท์’ แบบ ดั้งเดิมกลับมาปรุงใหม่ ตอนนี้มีตลาดใหม่ๆ และคอนเสิร์ตจัดขึ้นแถวตัวเมืองตลอด ซึ่ง แสดงให้เห็นว่าคนที่นี่พยายามจะหมุนไปให้
69 ถนนสุขาภิบาล จันทบุรี
Whee 81/3 ถนนมหาราช จันทบุรี โทร. 062-464-5614 www.fb.com/wearewhee
สอดคล้องกับความเป็นจันทบุรีที่ก็เปลี่ยนไป อยู่ตลอดเช่นกัน” ในขณะที่กระแสของการอนุรักษ์ใน จันทบุรียังมั่นคงแน่นหนา ดังอาจสังเกตได้ จากโครงการบูรณะบ้านของหลวงประกอบ นิติสาร (บ้านบุณยัษฐิติ) บ้านโบราณหลัง งามซึ่งผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรม แบบไทย จีน และฝรั่งเศส ที่ได้เริ่มเดินหน้า เป็นที่เรียบร้อย การหลั่งไหลคืนสู่บ้านเกิด ของบรรดาชาวจันทบุรีรุ่นใหม่เหล่านี้ได้ช่วย ให้หลักประกันอีกชั้นหนึ่งว่า การอนุรักษ์นี้ จะไม่เพียงเป็นการรักษาตึกเก่า หากแต่ยัง รวมถึงการสร้างและปรุงวัฒนธรรมใหม่ๆ ซึ่ง ไม่เพียงสะท้อนถึงรากเหง้าของพื้นที่ หากแต่ ยังช่วยรักษาเสน่ห์ย้อนยุคของจันทบุรีให้คง ความมีชีวิตชีวาร่วมกับยุคสมัยตลอดไป
OPTIMISE | OCTOBER 2016
51
THE GOOD LIFE ขณะรอเสียงสัญญาณปืนปล่อยตัว ธนาวัฒน์ กฤษณะปัณณะ หนึ่งในนักวิ่งเกือบพันคนที่ลง ทะเบียนเพื่อเข้าแข่งขันในงาน Phuket Fun Run ระยะทาง 5 กิโลเมตร แลดูประหม่าอย่างเห็นได้ชัด ทั้งนี้เพราะแม้ธนาวัฒน์จะแลดูแข็งแรงและสมส่วน แต่จริงๆ แล้ว เขาเพิ่งเริ่มฝึกวิ่งระยะทาง 5-6 กม. เป็นประจำ� 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์ได้เมื่อไม่กี่เดือน มานี้เอง ผู้บริหารการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์รายนี้เล่า ว่า “ผมต้องทำ�เพื่อสุขภาพ ครอบครัวผมมีประวัติ เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ระดับคลอเรสเตอรอล ของผมค่อนข้างสูง แล้วผมชอบให้ร่างกายฟิตอยู่ ตลอดเวลา จะได้ขึ้นลงบันไดหรือเล่นกีฬาได้โดยไม่ ต้องเหนื่อยหอบ” แต่แม้จะฟิตระดับนี้ ธนาวัฒน์กอ็ ดรูส้ กึ ตืน่ เต้นไม่ ได้กบั การเข้าร่วมงานวิง่ ครัง้ แรก “ผมนึกไม่ถงึ เลยว่า ความนิยมในกีฬาชนิดนีจ้ ะสูงขนาดนี้ จำ�นวนคนทีม่ า วิง่ เยอะมาก” เขาเล่าถึงความรูส้ กึ ตอนไปถึงภูเก็ต จริงๆ แล้ว ธนวัฒน์อาจจะมีเหตุควรแก่การวิตก จริต ใครๆ ก็คิดว่าการวิ่งเป็นสุดยอดกิจกรรมสำ�หรับ คนที่อยากกลับมามีรูปร่างดี เพราะเป็นสิ่งที่ใครๆ ก็ ทำ�เป็นและทำ�ได้ แต่งานวิจัยชิ้นหนึ่งของเดนมาร์ก เมื่อปี 2556 ชี้ว่าแท้จริงแล้วนักวิ่งมือใหม่เสี่ยงที่จะ ได้รับบาดเจ็บมากกว่าผู้ที่วิ่งเป็นประจำ� โดยเฉพาะ ในกลุ่มคนอายุระหว่าง 45-65 ปี
01
02
Learning to Run การวิ่งถูกมองว่าเป็นกีฬาที่ใครๆ ก็สามารถทำ�ได้โดยไม่ต้องผ่าน การฝึกมาก่อน แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านการแก้ไขท่าทางและป้องกัน การบาดเจ็บจากการออกกำ�ลังกายบอกว่านี่เป็นความคิดที่ผิดถนัด
52
OPTIMISE | OCTOBER 2016
“ถ้าชีวิตในวัยเด็กของคุณไม่ค่อยออกกำ�ลังกาย แล้วเพิ่งมาเริ่มเอาตอนโต การวิ่งไม่ใช่กิจกรรมง่ายๆ” ชุย มาร์ติเนซกล่าว โค้ชกีฬาแห่งโรงเรียนนานาชาติ โชรส์เบอรีรายนี้ เป็นทั้งครูฝึกวิ่งและนักมาราธอนมือ สมัครเล่นด้วย “แต่ก็ยังไงก็ตาม ตอนนี้กีฬาวิ่งกำ�ลัง เป็นที่นิยมเอามากๆ ในเมืองไทย” เขาพูดเสริม
ความเสี่ยงและรางวัล
จากสถิติข้อมูลของ Run Thailand (runthailand. com) ซึ่งเปรียบเสมือนคัมภีร์ของผู้มีใจรักในกีฬาวิ่ง ทั่วประเทศ ความถี่ในการจัดงานได้พุ่งพรวดในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา จาก 11 ครั้งในเดือนมกราคม 2557 ไป เป็น 31 ครั้งในช่วงมกราคมปี 2559 ซึ่งตัวเลขเหล่า นี้เป็นเครื่องยืนยันถึงความนิยมในกีฬาวิ่งได้เป็น อย่างดี แม้กระทั่งการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยก็ เห็นดีเห็นงามถึงขั้นเริ่มทำ�การตลาดโดยใช้งานวิ่ง มาราธอน งานไตรกีฬา และงานวิ่งฟันรัน มาดึงดูด ชาวต่างชาติที่ทั้งรักสุขภาพและในขณะเดียวกันก็ ต้องการเพลิดเพลินไปกับแสงแดด หาดทราย และ รอยยิ้มสยามของบ้านเรา จำ�นวนผู้เข้าร่วมในงานวิ่ง ต่างๆ เพิ่มขึ้นทวีคูณ ชนิดที่ว่าหากลงทะเบียนช้าไป เพียง 6 ชั่วโมง ก็อาจมีคนสมัครเข้าร่วมกิจกรรมจน เต็มไปแล้วก็ได้ เจอรี จั้ว ผู้อำ�นวยการ RaceBase Asia ออร์แกไนเซอร์รับจัดงานวิ่งเองก็เป็นนักวิ่งอัลตรา
ใครๆ ก็คิดว่าการ วิ่งเป็นสุดยอด กิจกรรมสำ�หรับ คนที่อยากกลับมา มีรูปร่างดีเพราะ เป็นสิ่งที่ใครๆ ก็ทำ�เป็นและทำ�ได้ แต่งานวิจัยชิ้น หนึ่งของเดนมาร์ก เมื่อปี 2556 ชี้ว่าแท้จริงแล้ว นักวิ่งมือใหม่เสี่ยง ที่จะได้รับบาดเจ็บ มากกว่าผู้ที่วิ่งเป็น ประจำ�
03
01 โค้ ช เอ็ ม เจ โค้ ช สอนวิ ่ ง แห่ ง MJ Athletic Studio ออกตั ว วิ ่ ง ในการซ้ อ มตอน เช้ า 02 เจอรี จั ้ ว ออร์ แ กไนเซอร์ RaceBase Asia ผู ้ ห ลงใหลการวิ ่ ง เป็ น ชี ว ิ ต จิ ต ใจ 03 The Great Relay Bangkok งานวิ ่ ง ระดั บ เอเชี ย ที ่ ม ี น ั ก วิ ่ ง เข้ า ร่ ว ม ล้ น หลาม
OPTIMISE | OCTOBER 2016
53
THE GOOD LIFE
ผู้ใหญ่มักจะมีปัญหา เรื่องท่าวิ่ง หลายครั้ง ที่พวกเขาคิดว่าแค่จ้าง ครูฝึกแล้วจะเก่งขึ้น ทันตา การจะแก้ไขท่า วิ่งภายใน 2 อาทิตย์ นั้นเป็นเรื่องเพ้อเจ้อ 04 เอกรั ต น์ พั น ธ์ ท ิ พ ย์ หรื อ ‘โค้ ช ริ ค กี ้ ’ แห่ ง ธั ญ ญปุ ร ะ 05 คอร์ ส เทรนนิ ่ ง สำ � หรั บ เพิ ่ ม กำ � ลั ง ขาในการวิ ่ ง ระยะไกล 06 ชุ ย มาร์ ต ิ เ นซ 07 นั ก วิ ่ ง ผู ้ ช ํ ่ า ชองวิ ่ ง แซงคนอื ่ น ในการแข่ ง ขั น The Great Relay Bangkok 08 เจอรี จั ้ ว ในการแข่ ง Ultra Trail Gobi ในจี น เมื ่ อ ปี ท ี ่ แ ล้ ว
04
54
OPTIMISE | OCTOBER 2016
มาราธอนตัวยง เธอกล่าวว่า “พัฒนาการของ ประเทศและเทคโนโลยีต่างๆ มักทำ�ให้คนเกิด ความเครียดจากหน้าที่การงานหรือสังคมที่ มากขึ้น คนเมืองจึงต้องเริ่มมองหาวิธีผ่อนคลาย กระแสรักสุขภาพและออกกำ�ลังกายทำ�ให้การวิ่ง ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ดี เพราะมันช่วยเคลียร์ หัวสมอง และเปิดโอกาสให้คนขับความเครียด ต่างๆ ออกมาได้” อย่างไรก็ดี ด้วยจำ�นวนนักวิง่ ทีม่ ากขึน้ การสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการวิง่ อย่าง ปลอดภัยยิง่ มีความสำ�คัญ เพราะตรงกันข้ามกับ ความเข้าใจของบรรดานักกีฬาหน้าใหม่ การวิง่ ไม่ใช่แค่เพียงสวมรองเท้าผ้าใบไปวิง่ ใน สวนสาธารณะ เจอรี จัว้ ชาวสิงคโปร์ผรู้ ว่ มวิง่ ในการ แข่งขัน Ultra Trail Gobi ระยะทาง 400 กิโลเมตร ในประเทศจีนเมือ่ ปีทแ่ี ล้วอธิบายว่าความผิดพลาด ทีร่ า้ ยแรงทีส่ ดุ ของนักวิง่ หน้าใหม่คอื “การวิง่ แบบ หักโหมจนเกินไป ร่างกายเองต้องใช้เวลาปรับตัว การวิง่ แบบตะบีต้ ะบันหรือนานเกินไปมักนำ�ไปสู่ การบาดเจ็บโดยไม่จ�ำ เป็น” เธอกล่าว แพทย์ลงความเห็นว่าอาการบาดเจ็บดังกล่าว มักเกิดขึ้นจากการวิ่งผิดวิธี ในยามปกติคนเรามัก 05
จะเดินโดยลงส้นเท้าก่อน แต่หากไปวิ่งในลักษณะ นั้น จะมีความเสี่ยงที่จะเกิดอาการบาดเจ็บที่ ข้อเท้า หัวเข่า หรือแม้กระทั่งหลังได้ง่าย เนื่องจาก ร่างกายต้องรับแรงกระแทก “การวิ่งลงส้นเท้าจะ เกิดแรงกระแทกมาก ประมาณ 5 เท่าของนํ้าหนัก ตัว” นพ.พิเชษฐ์ เยี่ยมสิริ แพทย์ด้านเวชศาสตร์ ฟื้นฟูประจำ�สถาบันเวชศาสตร์การกีฬาและออก กำ�ลังกายกรุงเทพ (BASEM) โรงพยาบาลกรุงเทพ และแพทย์ประจำ�ทีมนักกีฬาโอลิมปิกไทยชุดที่จะ เดินทางไปแข่งยัง ริโอ เดอ จาเนโรกล่าว โดยเขา แนะนำ�ให้นักวิ่งเปลี่ยนไปลงนํ้าหนักบริเวณส่วน กลางหรือปลายเท้าแทน และพยายามฝึกกล้าม เนื้อน่องให้แข็งแรงด้วยการเล่นเวทเทรนนิ่ง เพื่อให้ส่วนกลางและปลายเท้ารับนํ้าหนักได้ดีขึ้น
06
07
08
ค่อยเป็นค่อยไป
ด้วยเหตุนี้ นักวิ่งที่อยากจะเป็นยูเซน โบลต์ คนต่อไป อาจสนใจจ้างครูฝึกอย่าง ชุย มาร์ติเนซ ที่เพียงชั่วเวลาไม่กี่เดือนตั้งแต่เข้ามาพำ�นักอยู่ใน กรุงเทพฯ ก็ได้รับว่าจ้างให้เป็นผู้ฝึกสอนเทคนิค การวิ่งจากลูกค้าคนไทยทั้งหมด 15 ราย ควบคู่ ไปกับลูกค้าชาวอเมริกันอีก 52 คนทางออนไลน์ มาร์ติเนซเล่าให้ฟังว่านักเรียนเหล่านี้ ต่างจาก เด็กๆ ที่เขาสอนอยู่ที่โชรส์เบอรี “ผู้ใหญ่มักจะมี ปัญหาเรื่องท่าวิ่ง หลายครั้งที่พวกเขาคิดว่าแค่ จ้างครูฝึกแล้วจะเก่งขึ้นทันตา แต่การจะแก้ไข ท่าวิ่งภายใน 2 อาทิตย์นั้นเป็นเรื่องเพ้อเจ้อ” ลูกค้าวัยผูใ้ หญ่ของเขาหลายคนเป็นนัก วิง่ ซึง่ กำ�ลังฝึกสำ�หรับลงแข่งมาราธอนระยะ 42 กิโลเมตร ขนาดตัวเขาซึง่ เป็นนักกีฬาระดับ ‘semi-elite’ ยังจำ�กัดการวิง่ มาราธอนอยูท่ ป่ี ี ละเพียง 2 ครัง้ เพราะโดยปกติแล้วในการวิง่ มาราธอนครัง้ หนึง่ จะต้องใช้เวลาเตรียมความ พร้อมอย่างน้อย 6 เดือน เขาเน้นว่า “การ ทำ�เวลาเข้าเส้นชัยให้ได้ภายในเวลา 2.40 ชัว่ โมง ใช้แค่การออกไปวิง่ อย่างเดียวไม่พอ” มาร์ตเิ นซ แนะนำ�ให้เพิม่ ‘ช่วงฝึกหนัก (hard sessions)’ เข้าไปเพือ่ ทดสอบขีดความอดทนและ ‘ช่วงฝึก จับเวลา (time trials)’ เพือ่ วัดว่าสามารถรักษา ระดับความเร็วคงทีไ่ ด้นานเพียงใด
มาร์ติเนซ นักวิ่งผู้สั่งสมประสบการณ์ การแข่งขันมาเป็นเวลากว่า 17 ปี ยังแนะนำ� ให้ใช้นํ้าแข็งประคบข้อเท้าและหัวเข่าหลัง การวิ่งด้วย “จะเจ็บหรือไม่เจ็บก็ต้องประคบ” นอกจากนั้น เขายังรับประทานวิตามินรวม วิตามินซี แคลเซียม และนํ้ามันปลาทุกวัน รวมถึงไปฝังเข็มและนวดบ่อยเท่าที่จะทำ�ได้ เพื่อป้องกันการบาดเจ็บ เขาบอกอีกว่า ใน ระหว่างการแข่งขัน นักวิ่งควรดื่มนํ้าให้เพียงพอ ต่อให้เป็นการวิ่งสั้นๆ เพียง 5 กิโลเมตร “คุณ ต้องพยายามไม่ให้ร่างกายขาดนํ้า เสียเวลาดื่ม นํ้าสัก 2-3 วินาที จะทำ�ให้ในระยะยาววิ่งดีขึ้น กว่าเยอะ” ดัง่ คำ�โบราณว่าลางเนือ้ ชอบลางยา ทุกคน เห็นพ้องกันว่าประเด็นเรือ่ งโภชนาการสำ�หรับ นักวิง่ นัน้ เป็นสิง่ ทีถ่ กเถียงได้ไม่จบสิน้ อย่างไร ก็ตาม ในขณะนักวิง่ หลายคนใช้สตู รกินพิซซ่า และพาสต้าเพือ่ ‘โหลดคาร์บ’ ทีละมากๆ และ
หลายคนเน้นแต่ผักกับผลไม้ มาร์ติเนซกล่าวว่า สูตรลดนํ้าหนักแบบตัดแป้งอย่างแอตกินส์ ไดเอต โดยทั่วไปแล้วไม่เป็นผลดีนักต่อนักวิ่ง “ถ้าคุณกินแต่โปรตีน พอวิ่งไปสัก 9 กิโลคุณก็ หมดสภาพแล้ว” เขากล่าว การเตรียมร่างกายให้พร้อมก่อนวิง่ และการ ยืดตัวหลังวิง่ เสร็จนัน้ เป็นหัวใจสำ�คัญอีกประการ หนึง่ ณ สถาบันเพือ่ สุขภาพธัญญปุระในภูเก็ต ผูม้ าเยือนศูนย์ออกกำ�ลังกายขนาด 140 ไร่ แห่งนี้ สามารถฝึกฝนกีฬาหลากหลายประเภท ตั้งแต่เทนนิสไปจนถึงไตรกีฬา ควบคูไ่ ปกับการ ศึกษาเรือ่ งโภชนาการและกายภาพบำ�บัด รวม ถึงสามารถส่งบุตรหลานให้เข้าร่วมในค่ายกีฬา ด้วย “เรามีนกั วิง่ ทุกประเภท” เอกรัตน์ พันธ์ทพิ ย์ หรือ ‘โค้ชริคกี’้ กล่าว เขาแนะนำ�ไม่ให้นกั วิง่ “ข้ามขัน้ ตอนการอบอุน่ ร่างกายและยืดตัวเป็น อันขาด การอบอุน่ ร่างกายนัน้ จำ�เป็นสำ�หรับ นักกีฬาทุกคน เพราะมันช่วยป้องกันการ OPTIMISE | OCTOBER 2016
55
THE GOOD LIFE 09
บาดเจ็บ ในขณะที่การยืดตัวจะช่วยให้กล้ามเนื้อ ยืดหยุ่นและทนต่อการฝึกมากขึ้น” การเลือกอุปกรณ์ออกกำ�ลังกายก็เป็นสิ่งที่ สำ�คัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน โดยเฉพาะการเลือก รองเท้าวิ่ง ซึง่ สำ�หรับนักวิง่ หน้าใหม่แล้ว อาจเป็นการ ลงทุนทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ก็วา่ ได้ โค้ชริคกีแ้ นะนำ�ให้ผเู้ ริม่ หัด วิง่ เลือกรองเท้าสำ�หรับออกกำ�ลังกายทัว่ ๆ ไป (training shoes) ก่อนจะเปลีย่ นไปเป็นรองเท้าวิง่ เพือ่ จุดประสงค์ เฉพาะเจาะจงขึน้ อย่างเช่น รองเท้าสำ�หรับวิง่ บน ทางวิบาก หรือรองเท้าสำ�หรับวิง่ ระยะไกล “การเลือก รองเท้าให้เหมาะสมจะช่วยป้องกันการบาดเจ็บได้ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเลือกรองเท้าผิดก็จะทำ�ให้เจ็บ” เจน วงษ์วรโชติ นักวิ่งมาราธอนจากสหรัฐ และ ตัวแทนนักกีฬาโอลิมปิกทีมชาติไทยในปีนี้ เธอ ชื่นชอบรองเท้าวิ่งของ New Balance มาก อย่าง คอลเลกชัน 890 ซึ่งเธอเอ่ยปากชมว่า “แข็งแรง ทนทาน” และ “ไม่หนักจนเกินไป” สำ�หรับอุปกรณ์ จำ�พวกฟิตเนส แทรกเกอร์ เธอแนะนำ�นาฬิกาของ Garmin ซึ่งจะทำ�ให้คุณทราบถึงอัตราการวิ่งเฉลี่ย ระยะการวิ่ง และอัตราการเต้นของหัวใจ “ถ้าคุณใช้ นาฬิกาธรรมดา คุณจะรู้แค่ว่าตัวเองวิ่งไปนานเท่าไร แล้ว” เธอบอก นอกเหนือจากการมีครูฝึกและอุปกรณ์ที่มี ประสิทธิภาพ ก็คือการเลือกงานวิ่งที่เหมาะสม สิริชัย คำ�รัตน์ หรือ ‘โค้ชเอ็มเจ’ แห่ง MJ Athletic Studio ไม่ประทับใจนักกับงานวิ่งหลายๆ งานที่จัด 56
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ในเมืองไทย โดยให้ความเห็นว่าบางงาน “สกปรก และไม่ปลอดภัย” โค้ชผู้คว้าชัยในรายการวิ่งอย่าง Rainbow Run ซึ่งจัดขึ้น ณ สวนลุมพินีเมื่อเดือน มิถุนายนที่ผ่านมาผู้นี้ ให้เคล็ดเลือกงานวิ่งง่ายๆ ว่า งานวิ่งที่ดีก็คืองานที่มีการประชาสัมพันธ์ที่ดี ไม่ได้ จัดบนถนนที่มีรถวิ่ง และจัดขึ้นเวลาเช้าตรู่ช่วงเดือน พฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางประเด็นแวดล้อมอัน ละเอียดซับซ้อนเหล่านี้ ไม่ควรลืมว่าเสน่ห์ที่สำ�คัญ ที่สุดของกีฬาวิ่งย่อมอยู่ที่ความเข้าถึงง่าย อย่างที่โค้ช ริคกี้แห่งธัญญปุระกล่าวว่า ความเสี่ยงจากการวิ่ง นั้นน้อยกว่าประโยชน์ที่จะได้รับอย่างเทียบกันไม่ติด “อย่างที่ทุกคนรู้นั่นแหละ มันไม่ต้องทำ�อะไรมาก แค่คว้ารองเท้าผ้าใบคู่หนึ่งมาสวมก็เริ่มวิ่งได้แล้ว แถมจะวิ่งที่ไหนก็ได้ด้วย ไม่จำ�เป็นจะต้องวิ่งบนลู่ จะสวนสาธารณะ ถนนเล็กๆ ในหมู่บ้าน หรือแม้แต่ ทางขึ้นตึกก็สามารถใช้เป็นลู่วิ่งได้” แต่ในขณะเดียวกัน สำ�หรับนักวิ่งที่เริ่มจะ หมายตางานโหดอย่างเขาใหญ่เทรลมาราธอนของ ยาหม่องตราเสือในเดือนตุลาคม (ที่ประกอบด้วย การวิ่งระยะ 42, 21 และ 10 กิโลเมตรบนทางวิบาก) ก็จำ�เป็นจะต้องรู้ตัวด้วยว่า สำ�หรับงานระดับนี้ การขอคำ�แนะนำ�จากมืออาชีพไม่ใช่สิ่งที่พึงกระทำ� เพียงเพือ่ เร่งเวลาเข้าเส้นชัยให้เร็วขึ้นสัก 2-3 วินาที อีกต่อไป หากแต่เป็นกฎเหล็กสำ�หรับผู้ที่อยากจบ งานมาได้อย่างปลอดภัยเลยทีเดียว
10
Essentials
ธัญญปุระ ภูเก็ต
120/1 หมู่ 7 ถนนเทพกระษัตรี ภูเก็ต โทร. 076-336-000 www.thanyapura.com Khao Yai Trail Marathon www.tigerbalmtrail.com
ไดรับรางวัล
MJ Athletic Studio 21/69 ชัน้ 2 อาร์ซเี อ บล็อก C ซอยศูนย์วจิ ยั กรุงเทพฯ โทร. 083-090-2004 www.goo.gl/1Mpe9P RaceBase Asia www.racebase.asia
09 เหล่ า นั ก วิ ่ ง มื อ ใหม่ ม าเรี ย นรู ้ ก ารวิ ่ ง กั บ MJ Athletic Studio 10 เจน วงษ์ ว รโชติ นั ก วิ ่ ง มาราธอน ตั ว แทนโอลิ ม ปี ก ที ม ชาติ ไ ทย OPTIMISE | OCTOBER 2016
57
THE FAST LANE ดูเหมือนตอนนีจ้ ะไม่ใช่ยคุ ทองของตลาด นาฬิกาสวิสในประเทศไทย เมือ่ เดือนพฤษภาคม ทีผ่ า่ นมา สหพันธ์อตุ สาหกรรมนาฬิกาสวิส (The Federation of the Swiss Watch Industry) ได้ ออกมาแถลงว่ามูลค่าส่งออกนาฬิกาข้อมือจาก สวิตเซอร์แลนด์มายังไทยลดลงถึง 12 % จาก ปี 2015 คือจาก 24.2 ล้านฟรังก์สวิส (885 ล้าน บาท) เหลือเพียง 21.5 ล้าน (780 ล้านบาท) ด้วยมูลค่าในตลาดโลกทีล่ ดตํา่ กว่าช่วงเวลา เดียวกันนีเ้ มือ่ ปีทแ่ี ล้วถึง 9.7 % ตัวเลขเหล่านี้ เป็นสัญญาณบอกว่าอุตสาหกรรมกำ�ลังถดถอย ทางสมาคมยังประกาศด้วยว่า “แนวโน้มจะยัง คงอยูใ่ นแดนลบต่อไปอีก” ในขณะเดียวกัน ตัวเลขสถิตกิ ารประมูล แสดงให้เห็นว่าตลาดนาฬิกาวินเทจ (นาฬิกาที่ ผลิตในช่วงระหว่างปลายยุค 50s จนถึงยุค 70s) โตต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ปี 2008 นักลงทุนรายใหม่ไม่ น้อยเริม่ ให้ความสนอกสนใจกับตลาดนี้ ซึง่ เดิมที จำ�กัดอยูแ่ ต่เฉพาะในวงของแฟนพันธุแ์ ท้เท่านัน้ อย่างไรก็ตาม ไม่วา่ นักสะสมจะเข้ามาจับตลาด ทีว่ า่ เพราะอยากลงทุนหรือเพราะหลงรูปลักษณ์ และฟังก์ชนั ของนาฬิการุน่ เก๋าก็ตาม ทัง้ หมดก็ ล้วนโชคดีทป่ี จั จุบนั มูลค่าของนาฬิกาเหล่านีต้ า่ ง พุง่ ทะยานสุดกู่ อย่างกรณีของนาฬิกา Rolex Milgauss รุน่ 6541 ปี 1958 ซึง่ ขายไปในงานประมูลของ
01
Better with Age มูลค่านาฬิกาสายเหล็กทรงสปอร์ตจากยุค 50s-70s กำ�ลังพุง่ ทะยานเป็นประวัตกิ ารณ์ นับเป็นข่าวดีสำ�หรับ นักสะสมชาวไทยผูม้ ใี จรักในเครือ่ งบอกกาลเวลาแนววินเทจนี้ 58
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ตลาดโรเล็กซ์วินเทจ แทบไม่เคยซบเซา ที่ผมรู้มีแค่ครั้งเดียว ที่ราคาตกคือช่วงวิกฤติ เศรษฐกิจเมื่อปี 2008 แต่หลังจากนั้นราคาก็ พุ่งขึ้นเรื่อยๆ นาฬิกา พวกนี้มีอยู่จำ�นวนจำ�กัด และไม่ผลิตเพิ่มแล้ว
บริษทั Christie ณ กรุงเจนีวา ในปี 2010 ทีร่ าคา 123,000 ฟรังก์สวิส (4.46 ล้านบาท) ปีนเ้ี คาะ ราคาขายที่ 227,000 ฟรังก์สวิส (8.2 ล้านบาท) เช่นเดียวกับ Rolex Paul Newman Daytona 6262 จากยุค 70s ซึง่ ขายไปเมือ่ ปี 2010 ทีร่ าคา 62,500 ฟรังก์สวิส (2.27 ล้านบาท) ณ งาน ประมูลเดียวกันในปีน้ี ราคาได้พงุ่ พรวดขึน้ ไป แตะ 233,000 ฟรังก์สวิส (8.45 ล้านบาท) จะเห็นได้วา่ นาฬิกาทัง้ 2 รุน่ มีมลู ค่าพุง่ ขึน้ เกือบ 2 - 4 เท่าตัวภายในระยะเวลาเพียง 6 ปี
จะเพิม่ ขึน้ ราคามันก็ตอ้ งสูงอยูแ่ ล้ว อย่างในช่วง ไม่กป่ี ที ผ่ี า่ นมา บ้านเรามีสาวกเดย์โทนาเพิม่ ขึน้ เยอะมาก” ‘เดย์โทนา’ หมายถึงชือ่ รุน่ นาฬิกา โครโนกราฟทรงสปอร์ตของโรเล็กซ์ทใ่ี ครๆ ต่างหมายปอง ส่วนในคอลเลกชันของภควัฒน์ เรือนทีเ่ ขาภูมอิ กภูมใิ จคือโรเล็กซ์ เดย์โทนา 6263 จากยุค 70s ซึง่ มาพร้อม ‘หน้าปัด Paul Newman’ อันเป็นชือ่ เล่นทีส่ าวกตัง้ ตามชือ่ นัก แสดงฮอลลีวดู้ ผูเ้ คยสวมใส่รนุ่ นีจ้ นคนติดตา ความจริงนาฬิการุน่ ดังกล่าวถูกผลิตขึน้ พร้อมๆ ยุคทองนาฬิกาวินเทจ กับเดย์โทนารุน่ อืน่ ต่างกันเพียงแค่ตวั เลขบน มองใกล้เข้ามาทีป่ ระเทศไทย ตลาดนาฬิกา หน้าปัดสไตล์อาร์ตเดโคกับรายละเอียดปลีก เก่าก็กำ�ลังเฟือ่ งฟูไม่แพ้กนั ภควัฒน์ ไววิทยะ ย่อยอีกเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ กระนัน้ ด้วยราคา มือกีตาร์แห่งวง Kidnappers และเจ้าของ ขายทีส่ งู กว่า 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ทำ�ให้ใน สตูดโิ อบันทึกเสียง Atomix มีคอลเลกชันนาฬิกา ขณะนีเ้ ดย์โทนา 6263 เป็นเสมือนจอกศักดิส์ ทิ ธิ์ โรเล็กซ์อยูป่ ระมาณ 30 เรือน โดยทัง้ หมดมา สำ�หรับสาวกเดย์โทนาไปแล้ว จากช่วงยุค 50s-70s ซึง่ นับเป็นยุคทองแห่ง อย่างไรก็ตาม ความคิดทีว่ า่ นาฬิการุน่ นี้ ดีไซน์ของนาฬิกาวินเทจ ภควัฒน์เล่าว่า “ตลาด หายากกลับเป็นอะไรทีแ่ ล้วแต่คนมอง สำ�หรับ โรเล็กซ์วนิ เทจแทบไม่เคยซบเซา ทีผ่ มรูม้ แี ค่ แคเธอรีน โทมัส รองประธานและหัวเรือใหญ่ ครัง้ เดียวทีร่ าคาตกคือช่วงวิกฤติเศรษฐกิจเมือ่ ปี ฝ่ายนาฬิกาของบริษทั จัดประมูล Sotheby’s ใน 2008 แต่หลังจากนัน้ ราคาก็พงุ่ ขึน้ เรือ่ ยๆ นาฬิกา นครนิวยอร์ก นาฬิการุน่ นีไ้ ม่ได้หายากแต่อย่าง พวกนีม้ อี ยูจ่ ำ�นวนจำ�กัดและไม่ผลิตเพิม่ แล้ว ใด เธอเล่าว่า “ในการขายเดือนธันวาคมปี 2014 มันเป็นเรือ่ งอุปสงค์อปุ ทานนัน่ แหละ สมมติใน เรามีพอล นิวแมนอยู่ 5 เรือน และแต่ละเรือน โลกนีม้ เี ดย์โทนา 6263 สภาพสมบูรณ์อยูแ่ ค่ 10 ก็ตดิ ป้ายว่าเป็น ‘นาฬิกาโครโนกราฟวินเทจ เรือน แต่คนทีส่ นใจหรือชอบนาฬิกาพวกนีม้ แี ต่ หายาก’ ทัง้ นัน้ แต่ถงึ จุดๆ หนึง่ เราจะเริม่ 02
03
01 Rolex Daytona 6263 รุ่นใน ตำ�นานที่มีชื่อเล่นว่า ‘พอล นิวแมน’ 02 นาฬิ ก ารถแข่ ง จากยุ ค 70s ของ ภารไดย 03 ภควั ฒ น์ ไววิ ท ยะ ผู ้ ห ลงใหล นาฬิ ก าจากยุ ค 50s-70s
OPTIMISE | OCTOBER 2016
59
04
ตะขิดตะขวงใจแล้วเวลาต้องพูดอะไรอย่างนี้ ไม่ใช่วา่ มันเป็นเรือ่ งหลอกลวง แต่เราต้องอย่าลืม ว่า นาฬิกาพวกนีผ้ ลิตขึน้ มาทีละจำ�นวนมาก แล้ว คนผลิตตัง้ ใจให้มนั เป็นของใช้งานราคาไม่แพง” ในขณะที่โรเล็กซ์ เดย์โทนารุ่นล่าสุด ราคา จะตกอยู่ที่ราวๆ 450,000 บาท (หากมีชื่ออยู่ ใน waiting list) ย้อนไปในยุค 70s เดย์โทน่า เรือนใหม่เอี่ยมนั้นตั้งราคาขายอยู่ที่เพียง 300 ดอลลาร์สหรัฐ หรือหากคิดเป็นค่าเงินปัจจุบนั จะ เทียบเท่า 1,600 ดอลลาร์สหรัฐ (56,500 บาท) โทมัสเล่าว่า “ลูกค้ารายหนึง่ ของเราได้โรเล็กซ์รนุ่ Pre-Daytona เป็นของขวัญจากพ่อแม่ตอนอายุ 25 ปี เขาใช้เงินตัวเอง 125 ดอลลาร์และพ่อกับ แม่ชว่ ยออกอีกครึง่ ทีเ่ หลือ ล่าสุดเขาเพิง่ ขาย นาฬิกาเรือนนัน้ ไปในงานประมูลของโซเธอบีส์ ที่ 30,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ (1.06 ล้านบาท) เขาเองก็บอกว่าตัวเองเป็นแค่ผชู้ ายธรรมดาๆ คนหนึง่ แต่ราคาของนาฬิกาพวกนีเ้ วลาซือ้ กับ เวลาขายต่างกันลิบ ของทำ�จากเหล็กไม่ควรจะ ราคาแพงขนาดนี้ เพราะมันถูกผลิตมาสำ�หรับใส่ เล่นกีฬาและขายในปริมาณมาก”
ของเล่นทางเลือก
หากพิจารณาข้อเท็จจริงทีว่ า่ นาฬิกาเหล่านี้ ไม่ได้เป็นของหายากหรือแพงด้วยมูลค่าวัสดุ 60
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ราคาทีป่ รากฎในตลาดขณะนีต้ อ้ งนับว่าชวนให้ ฉงนไม่ใช่นอ้ ย นิโคลัส บีบคั ผูเ้ ชีย่ วชาญนาฬิกา อาวุโสทีค่ ริสตี้ จากฮ่องกงอธิบายว่า “ถ้าจะพูด ถึงราคานาฬิกาวินเทจทีแ่ พงขึน้ หูฉ่ี ก็ตอ้ งพูดถึง การลงทุนในทรัพย์สนิ ทางเลือก มันก็เหมือนกับ ตลาดรถวินเทจหลังปี 2008 คือคนไม่อยากฝาก เงินกับธนาคาร ก็เลยหันไปซือ้ รถ Ferrari 275 GTB แทน ตอนนีม้ นั แค่ลามไปถึงนาฬิกาด้วย เป็นตลาดของเล่นสำ�หรับผูช้ าย (boy’s toys) เหมือนกัน ขับเคลือ่ นด้วยปัจจัยคล้ายกัน” มูลค่าทีส่ งู ขึน้ ของนาฬิกาโรเล็กซ์และ Patek Philippe (ซึง่ บีบคั ขนานนามว่าเป็น ‘แบรนด์ บลูชพิ ’) นัน้ ยังได้กระตุน้ ให้ความต้องการนาฬิกา ยีห่ อ้ อืน่ ๆ ทีเ่ คยถูกมองข้ามมาช้านานเพิม่ สูงขึน้ ด้วย บีบคั กล่าวว่า “ตลาดโตไวมาก พวกนาฬิกา รุน่ ใหม่ทเ่ี มือ่ 12-18 เดือนทีแ่ ล้วคนทัว่ ไปยังจ่าย ไหว ตอนนี้ราคาเกินเอื้อมไปแล้ว ที่เห็นชัดๆ ก็ เป็น Omega Speedmaster และ Heuer ซึ่ง มีรนุ่ เด่นๆ แต่ไม่เป็นทีร่ จู้ กั ในวงกว้างนักอย่าง Carrera กับ Autavia จะว่าไปแล้วหน้าตาของ พวกนีม้ นั ก็คอื โรเล็กซ์ เดย์โทนาแต่เปลีย่ นชือ่ ยีห่ อ้ นัน่ แหละ ผมซือ้ Carrera มาเรือนหนึง่ เมือ่ ปี 2004 ในราคา 1,000 ดอลลาร์ (35,000 บาท) นาฬิกาเรือนเดียวกันตอนนีร้ าคาน่าจะตกอยูท่ ่ี ราวๆ 2-3 หมืน่ ดอลลาร์ (708,000 -1.06 ล้าน
มันคือซับมารีนเนอร์จากยุค 70s ทีม่ ขี ดี บอกเวลา เป็นคราบสนิมฟักทอง สุดยอดเลย” นักสะสมโรเล็กซ์อกี รายหนึง่ กิตติโชค คราบสนิมฟักทองนัน้ หมายถึงสีสม้ จางๆ ที่ อัศดรศักดิ์ หรือ ‘เล็กซ์’ (มาจากโรเล็กซ์) อดีตนัก อาจเกิดขึน้ บนขีดบอกเวลาเรืองแสงบนหน้า ธุรกิจค้าผักและผลไม้ อธิบายว่าทำ�ไมโรเล็กซ์ ถึงครองความสนใจของนักสะสมชาวไทยมาช้า ปัดนาฬิกาเมือ่ ใช้งานไปเป็นเวลานาน แม้จริงๆ แล้วสิง่ นีจ้ ะเกิดขึน้ จากข้อบกพร่องในขัน้ ตอน นาน “ผมเป็นคนจีนและธรรมเนียมของคนจีน ควบคุมคุณภาพ คราบสนิมฟักทองในปัจจุบนั ในประเทศไทยคือต้องใช้แต่โรเล็กซ์เท่านัน้ นีค่ อื ได้กลายเป็นคุณสมบัตทิ ส่ี าวกนาฬิการุน่ คุณปู่ เหตุผลว่าทำ�ไมตลาดทีน่ ถ่ี งึ แกร่งมาก ผมโตมา ต่างถวิลหา ภารไดยกล่าวว่า “นีถ่ อื เป็นแนวคิด เห็นเพือ่ นของพ่อกับแม่ใส่โรเล็กซ์ตลอด ทัง้ ลุง ใหม่สำ�หรับบ้านเราเลย เพราะปกติเราชอบของ ป้า น้า อา ทุกคนเลย” ใหม่แกะกล่อง ของมือสองจะถูกมองว่ามีมลทิน คอลเลกชันของเขารวมถึงรุน่ ทีห่ ลายคน เหมือนรถกับบ้านมือสองทีค่ นจะไปกลัวเรือ่ งผี ปรารถนาจะได้มาครอบครองอย่างโรเล็กซ์ เรือ่ งวิญญาณ แต่ความคิดพวกนัน้ กำ�ลังค่อยๆ ซับมารีนเนอร์ ซึง่ เป็นรุน่ ผลิตพิเศษสำ�หรับ COMEX บริษทั ดำ�นํา้ สัญชาติฝรัง่ เศส กิตติโชค เปลีย่ น คนเริม่ เห็นความงามของคราบสนิม คาดว่าเรือนทีเ่ ขามีเป็นเพียง 1 ใน 2 ของประเทศ ลักษณะเฉพาะตัวทีเ่ กิดขึน้ กับนาฬิกาแต่ละเรือน มีเรือ่ งราว แล้วก็เป็นอะไรทีเ่ ลียนแบบไม่ได้” เท่านัน้ โดยทัง้ หมดนีเ้ ริม่ มาจากการทีแ่ ม่เขาซือ้ จากคำ�บอกเล่าของภควัฒน์ เดีย๋ วนีก้ ารจะ โรเล็กซ์รนุ่ Datejust ซึง่ ตัวเรือนทำ�จากเหล็กและ ทองคำ�มาให้ อย่างไรก็ตาม เหมือนกับนักสะสม เป็นเจ้าของโรเล็กซ์วนิ เทจได้นน้ั จะต้องใช้เงิน ราวๆ 200,000 บาท ซึง่ น่าจะพอหาซือ้ โรเล็กซ์ นาฬิกาวินเทจส่วนใหญ่ ปัจจุบนั กิตติโชครวม ความสนใจอยูก่ บั โรเล็กซ์รนุ่ ทีเ่ ป็นเหล็กทัง้ เรือน รุน่ ซับมารีนเนอร์จากยุค 70s สภาพดีได้สกั เรือน เพราะดูไม่โฉ่งฉ่าง และเหมาะสำ�หรับสวมใส่กว่า อย่างไรก็ดี นักสะสมนาฬิกาทุกคนเตือนเรือ่ ง การซือ้ ผ่านเว็บไซต์ eBay เพราะมักจะเจอกับ เขาเล่าว่า “ผมรูจ้ กั ลูกครึง่ ไทย-จีนคนหนึง่ ทีพ่ อสามีเสียชีวติ เธอก็ไขตูเ้ ซฟแล้วเจอโรเล็กซ์ ‘นาฬิกาแฟรงเกนสไตน์’ หรือนาฬิกาย้อมแมว สายเหล็กเรือนหนึง่ เธอไม่เข้าใจว่าทำ�ไมต้องเก็บ แบบทีน่ ำ�ชิน้ ส่วนจากหลายๆ แหล่งมาประกอบ เข้าใหม่ แน่นอนว่าการออกเสาะหาตามงาน ไว้ในเซฟ ในเมือ่ มันไม่ใช่นาฬิกาทอง ไม่ได้ฝงั ประมูลระดับโลกย่อมทำ�ให้มน่ั ใจได้ถงึ แหล่งทีม่ า เพชร มันจะไปมีราคาอะไร พอผมดู ปรากฎว่า
อดีตทีย่ ากเลียนแบบ
05
บาท) น่าเสียดายผมขายทิง้ ไปนานแล้ว” นาฬิกาทัง้ หมดทีว่ า่ ปรากฏอยูใ่ นคลังของ ภารไดย ธีระธาดา รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กลุม่ กิจการองค์กรของ DTAC นาฬิกาของเขา นัน้ มีสารพัดยีห่ อ้ ตัง้ แต่โรเล็กซ์ซบั มารีนเนอร์รนุ่ แรกๆ ไปจนถึง Audemars Piguet Royal Oak เรือนงาม (ซึง่ ได้ชอ่ื ว่าเป็นนาฬิกาข้อมือเหล็กรุน่ แรกทีต่ ง้ั ใจทำ�ออกมาเพือ่ ขายเป็นของแพง) รวมถึงนาฬิการุน่ ทีร่ กู้ นั ในวงจำ�กัดอย่าง Tissot หน้าปัดไฟเบอร์กลาส และนาฬิกาดำ�นํา้ Seiko ตัวเรือนไทเทเนียมรุน่ แรกๆ ซึง่ กันนํา้ ลึก 600 เมตร ภารไดยกล่าวว่า “คนมักชอบโรเล็กซ์ มากกว่า เพราะในตลาดมือสองมันซือ้ ง่าย ขายคล่อง และค่าเสือ่ มราคาไม่คอ่ ยสูง ถ้ามอง ในระยะยาว ก็ตอ้ งเลือกอะไรทีม่ ลู ค่ามันสูงขึน้ เรือ่ ยๆ อย่างนี้ แต่สว่ นตัวผมซือ้ เฉพาะนาฬิกา ทีถ่ กู ใจจริงๆ เท่านัน้ กำ�ไรคือการทีผ่ มได้สง่ ต่อ คอลเลกชันพวกนีใ้ ห้กบั ลูกๆ เท่านัน้ ” แม้สำ�หรับทีอ่ น่ื นาฬิกาวินเทจยีห่ อ้ ซึง่ เป็น ทีร่ จู้ กั น้อยกว่าจะได้รบั ความนิยมเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ แต่ภารไดยบอกว่าตลาดในเมืองไทยยังแคบ “นักสะสมทีผ่ มเห็นทีน่ เ่ี น้นโรเล็กซ์เท่านัน้ มีกลุม่ เฉพาะทีแ่ ตกออกไปเล่นนาฬิกาโอเมกากับ ฮอยเออร์รนุ่ เก่าๆ บ้าง แต่หลักๆ มันคือโรเล็กซ์ กับปาเต็ก ฟิลปิ นีแ่ หละ”
คนเริ่มเห็นความงาม ของคราบสนิม ลักษณะ เฉพาะตัวที่เกิดขึ้นกับ นาฬิกาแต่ละเรือนมี เรื่องราว แล้วก็เป็นอะไร ที่เลียนแบบไม่ได้
แต่ภารไดยบอกว่าราคาทีไ่ ด้จะแพงหูดบั ดังนัน้ ทางทีด่ คี อื การมองหาตัวแทนขายดังๆ หรือเข้า ร่วมเว็บบอร์ดเพือ่ ทำ�ความคุน้ เคยกับชุมชน นักสะสมนาฬิกาวินเทจในประเทศไทย เพราะ ปกติคนเหล่านีจ้ ะขายนาฬิกาของตัวเองเพือ่ เอาเงินไปซือ้ เรือนใหม่อยูแ่ ล้ว โดยสำ�หรับการนี้ เว็บไซต์อย่าง Siamnaliga.com ถือเป็นจุดเริม่ ต้นทีด่ ไี ม่นอ้ ย “สิง่ ทีผ่ มว่าตลกคือ เรามีลกู ค้าที่ เศร้าจริงๆ เมือ่ ได้ยนิ ว่านาฬิกาของตัวเองแพง ขนาดนี้ พวกเขาไม่อยากขาย แต่ตอนนีก้ ก็ ลัวเกิน กว่าจะเอามาใส่” โทมัสกล่าว พ้นจากนี้ คำ�ตอบอาจอยู่ที่การซื้อนาฬิกา รุ่นเก่าที่นำ�กลับมาผลิตซํ้าก็เป็นได้ เพราะ ในขณะที่อุตสาหกรรมนาฬิกาข้อมือระบบ กลไกรุ่นใหม่ๆ ต้องเผชิญกับยอดขายที่ซบเซา หนทางแก้ปัญหาอย่างหนึ่งของหลายยี่ห้อก็ คือการกลับไปหาความสำ�เร็จในอดีต แบรนด์่ ไม่นอ้ ยต่างนำ�นาฬิการุน่ เก๋าของตนกลับมาผลิต ซํา้ มากขึน้ เรือ่ ยๆ เช่นนาฬิกาดำ�นํา้ รุน่ Ploprof ของโอเมกา ดีไซน์ดง้ั เดิมแบบ Reverso ของ Jaeger-LeCoultre หรือนาฬิกาโครโนกราฟรุน่ El Primero ปี 1965 ของ Zenith โดยเหตุผลนัน้ ก็งา่ ยๆ คือนาฬิกาจากยุค ดังกล่าวไม่เพียงสมบุกสมบัน แต่ยามอยูบ่ น ข้อมือก็ยงั ดูสวยเหมือนครัง้ ออกจากโรงงานไม่ เปลีย่ นแปลง
06
04 ภารไดย ธี ร ะธาดา ผู ้ ห ลงใหลกั บ นาฬิ ก าวิ น เทจที ่ หวั ง จะให้ ส ื บ ทอดจากรุ ่ น สู ่ ร ุ ่ น 05 นาฬิ ก าโรเล็ ก ซ์ 4 เรื อ นเรี ย งรายอยู ่ ข ้ า ง Heuer Monaco สี น ้ ำ � เงิ น รุ ่ น Steve McQueen อั น โด่ ง ดั ง 06 กิ ต ติ โ ชค อั ศ ดรศั ก ดิ ์ นั ก สะสมเชื ้ อ สายจี น ผู ้ ค ุ ้ น เคยกั บ แบรนด์ อ มตะอย่ า งโรเล็ ก ซ์ เ พราะครอบครั ว
OPTIMISE | OCTOBER 2016
61
LIVING SPACE
01
Modernism’s Last Stand
01 โรงภาพยนตร์ สกาล่าที่ โดดเด่นด้วย สถาปัตยกรรม โมเดิร์น แต่ยัง ไม่รู้ชะตากรรม หากหมดสิ้น สัญญาเช่า พื้นที่
มรดกทางสถาปัตยกรรมของไทยจากยุค 60s และ 70s ทีค่ อ่ ยๆ อันตรธานไป ถือเป็นอีกหนึ่งบทสำ�คัญในหน้าประวัติศาสตร์ของประเทศ การลุกขึน้ มาปกป้องสถาปัตยกรรมสมัย ใหม่ หรือทีเ่ รียกว่า ‘ยุคโมเดิรน์ ’ ของไทยจาก การถูกทุบทิง้ มักหนีไม่พน้ ข้อถกเถียง เช่น การ รือ้ ถอนตึก AUA ตรงถนนราชดำ�ริ ซึง่ ออกแบบ โดย กฤษฎา อรุณวงศ์ ณ อยุธยา เพือ่ เปิดพืน้ ที่ ให้กบั คอนโดมิเนียมหรู การทุบอาคารธนาคาร กรุงศรีอยุธยา ตรงหัวมุมสีแ่ ยกถนนเพลินจิตตัด กับวิทยุ เพือ่ ก่อสร้างอาคารสำ�นักงานสูง 37 ชัน้ แม้แต่ศาลฎีกาก็ยงั มีคดีในศาลทีเ่ กีย่ วข้องกับ การรือ้ ถอนอาคารของศาลเอง ซึง่ ตัง้ ตระหง่าน มาตัง้ แต่กลางศตวรรษที่ 20 บรรดาสิง่ ปลูกสร้างจากช่วงยุค 40s ถึง 70s เหล่านีเ้ ปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของการ เปลีย่ นผ่านไปสูร่ ฐั สมัยใหม่ โดยสือ่ ให้เห็นถึง ความก้าวหน้าในระบบการศึกษา การธนาคาร และกฎหมายของประเทศ กระนัน้ ชะตาของ สถาปัตยกรรมโมเดิรน์ เหล่านีก้ ลับอยูใ่ นภาวะ หมิน่ เหม่ ไม่วา่ จะด้วยรูปลักษณ์ทเ่ี ก่าล้าสมัย สิง่ อำ�นวยความสะดวกทีไ่ ม่ครบครัน หรือการใช้ พืน้ ทีท่ ห่ี ละหลวมไม่คมุ้ กับราคาทีด่ นิ ในปัจจุบนั อย่างไรก็ดี นักวิชาการจำ�นวนหยิบมือและ ผูม้ ใี จรักในสถาปัตยกรรมโมเดิรน์ ต่างกำ�ลัง พยายามทำ�ทุกวิถที างเพือ่ หยุดลูกตุม้ ทุบตึก สิง่ ทีพ่ วกเขาต้องการบอกมีเพียงอย่างเดียวเท่านัน้ คือสถาปัตยกรรมโมเดิรน์ เป็นเสมือนตัวกลาง เชือ่ มโยงเมืองไทยในปัจจุบนั กับอดีต การ ทำ�ลายตึกเหล่านี้ จะทำ�ให้สายใยระหว่างเรากับ ประวัตศิ าสตร์ของเมืองสูญหายไปตลอดกาล 62
OPTIMISE | OCTOBER 2016
โรงภาพยนตร์น้ี ยังไม่ได้รบั การขึน้ ทะเบียน เป็นมรดกทางสถาปัตยกรรม อันเนือ่ งมาจาก โรงภาพยนตร์สกาล่า ณ สยามสแควร์ ซึง่ ออกแบบโดยจิระ ศิลป์กนก สถาปนิกผูอ้ ยูเ่ บือ้ ง อายุของอาคารทีไ่ ม่เก่าแก่เพียงพอ ในปี 2555 สมาคมสถาปนิกสยามจึงได้รบี มอบรางวัล หลังความงามของโรงแรมอินทรา อีกหนึง่ อนุรกั ษ์ศลิ ปสถาปัตยกรรมดีเด่นให้แก่สกาล่า แลนด์มาร์กนัน้ ถือเป็นอาคารทีแ่ สดงลักษณะ ของสถาปัตยกรรมโมเดิรน์ ยุค 60s และ 70s ไว้ แต่เมือ่ ต้นปีนเ้ี อง ประเด็นการรือ้ ถอน ได้เป็นอย่างดี ไม่วา่ จะเป็นเสาคอนกรีตสอบลง โรงภาพยนตร์เก่าแก่แห่งนีก้ ถ็ กู ยกขึน้ มาอีก ตามสถานะปัจจุบนั ในเดือนมกราคมปี สูพ่ น้ื หรือโคมไฟระย้าทรงหยดนํา้ ค้างแข็ง 5 ชัน้ “สกาล่าเป็นหนึง่ ในอาคารทีผ่ มชอบทีส่ ดุ ใน 2560 ผูเ้ ช่ารายปัจจุบนั (เครือเอเพ็กซ์) จะได้รบั ประเทศไทย มันสร้างมาตัง้ แต่ปี 2512 และเป็น โอกาสต่อสัญญาเช่าอีก 3 ปี แต่ปี 2560 จะเป็น ั ญาสิน้ สุดลงอย่างถาวรและทางจุฬาฯ โรงภาพยนตร์แบบ ‘movie palace’ แห่งสุดท้าย ปีทส่ี ญ ในประเทศทีย่ งั เปิดให้บริการอยู”่ ฟิลปิ แจบลอน มีแผนจะมอบหมายให้บริษทั เอกชนเข้ามา พัฒนาทีด่ นิ บริเวณดังกล่าว รองอธิการบดี ช่างภาพเจ้าของบล็อก The Southeast Asia Movie Theater Project ทีบ่ อกเล่าเรือ่ งราวของ ท่านหนึง่ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยบอก กับหนังสือพิมพ์ไทยรัฐว่า เมือ่ ถึงตอนนัน้ การ โรงภาพยนตร์ทต่ี ง้ั แบบเอกเทศหรือ ‘สแตนด์ อโลน’ ทีย่ งั หลงเหลืออยูใ่ นภูมภิ าคนีก้ ล่าว ก่อน อนุรกั ษ์สกาล่าจะตกอยูใ่ นดุลพินจิ ของบริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยเสริมว่า “สกาล่า จะเสริมว่า “นอกจากนัน้ ผมยังเป็นแฟนตัวยง เป็นโรงภาพยนตร์ทง่ี ดงาม แต่ไม่ได้มคี ณ ุ ค่า ของโรงภาพยนตร์ฟา้ สยามทีส่ พุ รรณบุรี แต่ ทางประวัตศิ าสตร์เทียบเท่าวัดพระแก้ว” แม้ ตอนนีไ้ ม่อยูแ่ ล้วเพราะมันถูกทุบทิง้ ไปตัง้ แต่ปี ทุกวันนี้ ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต เอือ้ อาภรณ์ 2556 นีค่ อื ความสูญเสียอย่างทีส่ ดุ ของวงการ อธิการบดีของจุฬาฯ จะออกมาสนับสนุนการ ภาพยนตร์และวงการสถาปัตยกรรมโมเดิรน์ อนุรกั ษ์สกาล่าไว้ แต่ความไม่แน่นอนดูเหมือน แต่กลับไม่มใี ครสนใจเลย” สกาล่าเองก็ตกอยูใ่ นภาวะสุม่ เสีย่ งไม่ตา่ งกัน จะยังไม่หายไปง่ายๆ ย้อนดูภาพใหญ่กว่านัน้ แนวคิด เรียกได้วา่ ครัง้ แรกทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกมาประกาศถึงแผนการพัฒนาทีด่ นิ อันเป็น สถาปัตยกรรมสมัยใหม่หรือ Modernism ซึง่ ถือ กำ�เนิดจากขบวนการเบาเฮาส์ (Bauhaus) ใน ทีต่ ง้ั ของโรงภาพยนตร์แห่งนี้ สมาคมสถาปนิก เยอรมนีเมือ่ ช่วงทศวรรษที่ 20 นัน้ มุง่ สร้างสรรค์ สยามเองแทบจะไม่รเู้ นือ้ รูต้ วั ทัง้ นีเ้ พราะ งานทางสถาปัตยกรรมทีเ่ รียบง่ายและเผยให้
ตาของผูม้ อง
OPTIMISE | OCTOBER 2016
63
LIVING SPACE
มีอาคารอยู่ 4,000 แห่ง ในรายชื่ออาคารที่ควรค่า แก่การอนุรักษ์ แต่เราเพิ่ง ขึ้นทะเบียนไปได้แค่ครึ่ง หนึ่งเท่านั้น
03
04
03 ตึกฝักทองแปลกตาของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สงขลา 04 วสุ โปษยะนันทน์ แห่งกรมศิลปากร ผู้ร่วมให้คุณค่าสถาปัตยกรรมแห่ง กาลเวลาเหล่านี้
beersingnoi.com
05 แสงแดดตกกระทบเป็นเงาทะแยงบน อาคารเรียนฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์์ 06 รูปทรงอันแข็งแกร่งของอาคารเรียน ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 07 วีระพล สิงห์น้อย ช่างภาพผู้หลงใหลใน สถาปัตยกรรมย้อนยุคแต่ลํ้าสมัย
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ในคณะกรรมการผูท้ �ำ หน้าทีก่ �ำ หนดว่าสิง่ ปลูก สร้างใดจะได้รบั การขึน้ ทะเบียนเป็นโบราณสถาน ซึง่ แค่ฟงั ก็รวู้ า่ ไม่ใช่งานง่ายๆ “มีอาคารอยู่ 4,000 แห่งในรายชือ่ อาคารที่ ควรค่าแก่การอนุรกั ษ์ แต่เราเพิง่ ขึน้ ทะเบียนไป ได้แค่ครึง่ หนึง่ เท่านัน้ เพราะกระบวนการค่อน ข้างยุง่ ยากซับซ้อน ไม่วา่ การลงทะเบียน การ ออกสำ�รวจพืน้ ที่ รวมถึงการออกประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา” วสุกล่าว นอกจากข้อจำ�กัดในเรือ่ งกำ�ลังคนไม่พอ แก่งานแล้ว อุปสรรคอีกอย่างสำ�หรับการเลือ่ น สถานะของสถาปัตยกรรมโมเดิรน์ ไปเป็นมรดก ของชาติกค็ อื ระเบียบกฏเกณฑ์ของกรมศิลปากร เอง เนือ่ งด้วยหลักเกณฑ์ก�ำ หนดให้สง่ิ ปลูกสร้าง ทีจ่ ะรับการพิจารณาเป็นมรดกของชาติจะต้องมี ความงดงามทางศิลปะ และมีความสำ�คัญทาง ประวัตศิ าสตร์และโบราณคดี ซึง่ เกณฑ์อย่าง ปกป้องประวัตศิ าสตร์ หลังนัน้ วสุบอกว่าเป็นเกณฑ์ทส่ี ง่ิ ปลูกสร้างจาก ปัจจุบนั วสุ โปษยะนันทน์ ดำ�รงตำ�แหน่ง ยุค 60s และ 70s ผ่านได้ยากยิง่ ดังนัน้ ในการ สถาปนิกประจำ�สำ�นักสถาปัตยกรรม และ ชักจูงเพือ่ นร่วมงานในสำ�นักโบราณคดีให้เห็น สมาชิกในคณะกรรมการไทยของสภานานาชาติ ค่าของสถาปัตยกรรมโมเดิรน์ วสุจงึ มีหน้าทีต่ อ้ ง ว่าด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่ง อธิบายนิยามทีก่ ว้างขึน้ สำ�หรับคำ�ว่ามรดกชาติ โบราณคดี ประจำ�กรมศิลปากร รวมถึงเป็นหนึง่ “คำ�ถามสำ�คัญมันมีอยูค่ �ำ ถามเดียวเท่านัน้
beersingnoi.com
64
จนเกิดเป็นเงาทแยงคมคาย ส่วนในภาพถ่าย อาคารสตางค์ มงคลสุข ผลงานชิน้ เอกของ อมร ศรีวงศ์ แสดงให้เห็นเสาต้นเดีย่ วคํา้ โครง เหล็กกล้าซึง่ รองรับนํา้ หนักเพดานคอนกรีต เปลือยไว้อกี ทอดหนึง่ ภาพทีถ่ กู ถ่ายทอด เป็นขาวดำ�ยิง่ ขับเน้นความงามของรูปทรง สถาปัตยกรรมโมเดิรน์ ให้เด่นชัดขึน้ อีก “สิง่ ทีท่ �ำ ให้มนั สวยคือฝีมอื เทคโนโลยีทาง วิศวกรรม ครัง้ แรกทีผ่ มเห็นตึกพวกนีต้ ามต่าง จังหวัดไกลๆ ผมแทบไม่อยากเชือ่ ฝีมอื สถาปนิก สมัยนัน้ สุดยอดมาก อย่างเช่นตึกฟักทองที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ [สร้างในปี 2539] รูปทรงของมันเหมือนชาม แล้วมันก็ตง้ั อยูไ่ ด้ดว้ ย ตัวเองโดยอาศัยแค่เสาคํา้ ตรงกลางต้นเดียว นัน่ แหละคือนิยามของคำ�ว่าลํา้ สมัยสำ�หรับผม” วีระพลกล่าว
beersingnoi.com
เห็นเนือ้ แท้ของโครงสร้าง อาคารส่วนมากไร้ เครือ่ งตกแต่งใดๆ ด้วยความคิดทีว่ า่ รูปทรงควร ถูกกำ�หนดโดยการใช้งานเป็นหลัก สถาปนิก ผูบ้ กุ เบิกแนวคิดดังกล่าว อย่าง มีส ฟาน เดอร์ โรห์ และ เลอ กอร์บซู เิ อร์ ได้แผ่ขยายอิทธิพลไป ทัว่ ทุกมุมโลก รวมถึงประเทศไทย อย่างไรก็ตาม เมือ่ แนวคิดนีด้ �ำ รงอยูม่ า 40 ปี คติประจำ�ลัทธิท่ี ว่า ‘less is more’ ได้ถกู คนมองว่านำ�ไปสูอ่ าคาร แบบมีแต่แท่งคอนกรีตและแผ่นกระจก และ ทำ�ให้เกิดกระแสต่อต้านทีว่ า่ ‘less is bore’ ซึง่ นำ�ไปสูส่ ถาปัตยกรรมแบบ ‘พ้นโมเดิรน์ ’ หรือ Post-modernism ในยุค 80s ในทีส่ ดุ วีระพล สิงห์นอ้ ย ช่างภาพสถาปัตยกรรม ได้รบั การว่าจ้างจากสมาคมสถาปนิกสยามให้ บันทึกความงามของงานสถาปัตยกรรม โมเดิรน์ ชิน้ เอกในเมืองไทยทีก่ �ำ ลังค่อยๆ สาบสูญ ภาพของเขาพยายามถ่ายทอดความ งามของสถาปัตยกรรมซึง่ เน้นประโยชน์ใช้สอย และไร้การประดับประดาฟุม่ เฟือย เช่น ใน ภาพถ่ายตึกภาควิชาฟิสกิ ส์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ซึง่ ออกแบบโดยองอาจ สาตรพันธุน์ น้ั แสดงให้เห็นแสงแดดทีต่ ก กระทบโครงสร้างคอนกรีตทรงสีเ่ หลีย่ ม 26 ช่อง
คือ ‘สิง่ เหล่านีม้ นั เป็นส่วนหนึง่ ของหน้า ประวัตศิ าสตร์รเึ ปล่า’ ประวัตศิ าสตร์มนั ต้อง สืบเนือ่ งจากอดีตมาจนถึงปัจจุบนั คุณไม่ สามารถบอกว่า ‘ประวัตศิ าสตร์จบลงทีป่ ี 2472’ เราต้องถามว่าทำ�ไมรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ของเราถึงวิวฒ ั นาการจากสมัยอยุธยามาเป็น แบบชิโน-โปรตุกสี ก่อนจะมาจบทีน่ โี อคลาสสิก ได้ อย่างศาลฎีกานีน่ า่ สนใจมาก เพราะเป็นตึก ทีผ่ สมผสานเอกลักษณ์จากหลายยุคหลายสมัย เลย คุณสามารถเห็นร่องรอยประวัตศิ าสตร์ เหล่านีไ้ ด้ในทีๆ่ เดียว” เขากล่าว กรณีของศาลฎีกาถือเป็นเรือ่ งเจ็บปวด สำ�หรับกรมศิลปากร เพราะกลุม่ อาคารดังกล่าว จริงๆ ได้รบั การขึน้ ทะเบียนเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ตัง้ แต่ปี 2551 ดังนัน้ เมือ่ มีความพยายามรือ้ ถอนอาคารในปี 2555 กรมศิลปากรจึงได้ยน่ื เรือ่ งดำ�เนินคดีเพือ่ ยับยัง้ การกระทำ�ดังกล่าว ซึง่ ถือเป็นการสูย้ บิ ตาทีไ่ ม่ปรากฏให้เห็นบ่อยนัก
06
05
07
กระนัน้ ศาลฎีกาก็ยกเอาหลักกฎหมายและมติ คณะรัฐมนตรีปี 2531 มาทัดทาน ทำ�ให้ไม่เพียง การรือ้ ถอนจะยังดำ�เนินต่อไป หากอาคารหลัง ใหม่ทส่ี ร้างขึน้ ยังฝ่าฝืนข้อกำ�หนดความสูงภาย ใต้กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารในเขต เมืองเก่าอีกด้วย แม้กระทัง่ ทุกวันนี้ กรมศิลปากร ก็ยงั ดำ�เนินคดีเพือ่ ปกป้องอาคารโมเดิรน์ หลัง สุดท้ายทีย่ งั หลงเหลืออยู่ “ความหมกมุน่ ใน ‘ความเป็นไทย’ และการ นิยามคำ�ๆ นีอ้ ย่างแคบมากโดยผูม้ อี �ำ นาจใน ประเทศ ทำ�ให้เกิดการเซ็นเซอร์ทางวัฒนธรรม ในลักษณะหนึง่ ขึน้ มา” ภารวี วงศ์จริ ชัย อดีตรอง ผูอ้ �ำ นวยการของศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ แห่งประเทศไทย (TCDC) กล่าวไว้ เมือ่ ครัง้ ศูนย์ แห่งนีจ้ ดั นิทรรศการครัง้ สำ�คัญในปี 2551 ภาย ใต้ชอ่ื ‘อยากทันสมัย สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ของไทย พ.ศ. 2510-2530’ “งานสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ของไทยจากยุค 60s และ 70s จำ�นวนมากถูกมองว่าไม่ควรค่า แก่การอนุรกั ษ์เพราะมันไม่สอดคล้องกับสิง่ ทีเ่ ขา เห็นว่าเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ซึง่ เป็นเรือ่ งทีน่ า่ เศร้า เพราะกลายเป็นว่าเราโละประวัตศิ าสตร์ สมัยใหม่ของเราทิง้ ไปด้วยทัง้ หมด” เขากล่าว
ทัวร์ครัง้ ใหญ่
หากไม่ได้มเี ส้นสายอยูใ่ นสมาคม สถาปนิกสยาม คนธรรมดาทัว่ ไปทีห่ ลงใหลใน สถาปัตยกรรมสมัยใหม่และอยากไปเยีย่ มชมสิง่ ปลูกสร้างดังกล่าวจะพบว่ามีขอ้ มูลอยูน่ อ้ ยเต็มที อย่างไรก็ตาม นับตัง้ แต่ TCDC ได้จดั นิทรรศการ เกีย่ วกับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ขน้ึ ในปี 2551 สถานการณ์กด็ ขี น้ึ ตามลำ�ดับ จนเมือ่ ปี 2557 องค์การนอกภาครัฐซึง่ อุทศิ ตนเพือ่ การอนุรกั ษ์ สิง่ ปลูกสร้างสมัยใหม่นามว่า DOCOMOMO ได้ เริม่ เล็งเห็นความสำ�คัญของสถาปัตยกรรมสมัย ใหม่ในประเทศไทย จึงได้มกี ารรวบรวมข้อมูล เกีย่ วกับอาคารเด่นๆ 24 หลัง จากศตวรรษที่ 20 เอาไว้บนเว็บไซต์ภาษาไทยของตน ในกรุงเทพฯ โรงแรมอินทราเป็นหนึง่ ใน อาคารทีต่ ดิ โผของ DOCOMOMO ผลงานของ สถาปนิกผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังโรงภาพยนตร์ สกาล่านี้ ปรากฏให้เห็นลักษณะหลายประการ OPTIMISE | OCTOBER 2016
65
LIVING SPACE ทีเ่ ป็นนิยามของสถาปัตยกรรมไทยยุคใหม่ โครงสร้างแบบฐานกว้างเตี้ยรองรับตึกสูงด้าน บน ดูแล้วไม่ต่างจากโรงแรม SAS Royal ในเมืองโคเปนเฮเกน ซึง่ ออกแบบโดยอาร์เนอ ยาค็อบเซนในปี 2498 แต่ในขณะทีโ่ รงแรม เอสเอเอส รอยัล ใช้โครงสร้างคอนกรีตเป็นหลัก เพือ่ จะได้ไม่ตอ้ งพึง่ กำ�แพงหรือเสาในการรับ นา้ํ หนัก และใช้กระจกเป็นวัสดุบรุ อบตัวอาคาร แทน วัสดุโครงสร้างของโรงแรมอินทรากลับ สะท้อนถึงเอกลักษณ์ของสภาพอากาศเมือง ร้อนด้วยกำ�บังคอนกรีตหน้าอาคารทีย่ น่ื ออกมา ป้องกันแสงอาทิตย์ นับเป็นลูกเล่นหรูหราทีแ่ ฝง ประโยชน์ใช้สอยอยูไ่ ม่นอ้ ย ทัง้ นี้ การป้องกันแสงอาทิตย์อนั ร้อนระอุไม่ ให้เข้าสูภ่ ายในอาคาร เป็นสิง่ ทีพ่ บเห็นได้ใน สถาปัตยกรรมโมเดิรน์ ของไทยและประเทศ ในเขตร้อน ตึกคุรสุ มั นาคารซึง่ ตัง้ อยู่ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มี โครงสร้างหลังคาปีกโค้งลาดยืน่ จากผนังตึกออก ไปเพือ่ ป้องกันอาคารจากฝนในฤดูมรสุมรวมถึง แสงแดดจัดในตอนกลางวัน อาคารหลังนีส้ ร้าง ขึน้ ในปี 2503 โดยสถาปนิกชาวไทย วทัญญู ณ ถลาง และ นคร ศรีวจิ ารย์ ร่วมกับ ม.ร.ว. จาตุรสี าน ชุมพล ผูเ้ ป็นวิศวกร เมือ่ ได้เห็นอาคาร แล้วอาจชวนให้นกึ ถึงผลงานของสถาปนิก ลูกครึง่ ฟินนิชอเมริกนั อย่างเอโร ซาริเนน ทีไ่ ด้รบั 07
OPTIMISE | OCTOBER 2016
ผมยอมรับว่าโรงหนังพวก นีไ้ ม่ได้สวยหยดทุกโรง ก็มี ดีไม่ดปี ะปนกันไป แต่อย่าง น้อยทีไ่ ม่เหมือนกับโรงหนัง ตามห้างสมัยนี้ ก็ตรงทีโ่ รง หนังเหล่านีใ้ ห้ความรูส้ กึ เป็น ส่วนหนึง่ ของภูมทิ ศั น์ในเมือง องคาพยพก็วา่ ได้ สำ�คัญของพืน้ ทีอ่ กี ครัง้ หนึง่ น่าเสียดาย เมือ่ ถูกถามเกีย่ วกับแรงบันดาลใจ บรรดาเจ้าของ โครงการมักอ้างอิงแนวคิดจากเมืองใหญ่อย่าง มหานครนิวยอร์กหรือซิดนีย์ ทัง้ ทีค่ วามจริงแล้ว ร่องรอยแนวคิดเหล่านีก้ ป็ รากฏให้เห็นในตึกราม โมเดิรน์ ทีก่ �ำ ลังค่อยๆ อันตรธานไปของบ้านเรา เช่นกัน มองในแง่น้ี การทำ�ความเข้าใจให้ลกึ ซึง้ เกีย่ วกับสถาปัตยกรรมของประเทศจึงมีความ สำ�คัญอย่างยิง่ เพราะนัน่ อาจทำ�ให้วนั หนึง่ เรา พบว่า เราไม่จ�ำ เป็นต้องรอรับแรงบันดาลใจจาก ภายนอกเพียงถ่ายเดียว หากแต่ยงั สามารถทีจ่ ะหาแรงบันดาลใจได้ จากความเป็นเรานีเ่ อง 08
beersingnoi.com
beersingnoi.com
66
การประยุกต์ให้เข้ากับท้องถิน่ มากขึน้ “ผมถ่ายรูปตึกนีเ้ ป็นทีแ่ รก มันเรียบแล้วก็ โมเดิรน์ มาก ทัง้ ๆ ทีอ่ ยูใ่ นต่างจังหวัดลึกขนาด นัน้ ” วีระพลเล่าย้อนไป การใช้พน้ื ทีก่ ลางแจ้งถือเป็นอีกหนึง่ ลักษณะ ทางสถาปัตยกรรมทีโ่ ดดเด่นขึน้ มาของยุคโมเดิรน์ ดังเช่นตึก AUA ซึง่ เคยตัง้ อยูบ่ นถนนราชดำ�ริ และ มีโถงทางเดินและโรงอาหารของอาคารเปิดไปสู่ สวนเขตร้อนและต้นไทรขนาดมหึมา ทัง้ นีเ้ พราะ การออกแบบอาคารให้มอี ากาศถ่ายเท ถือเป็นสิง่ สามัญในสมัยทีเ่ ครือ่ งปรับอากาศยังไม่แพร่หลาย อย่างช่วงยุค 60s และ 70s โถงทางเข้าของโรง ภาพยนตร์สกาล่าเองก็มลี กั ษณะเปิดโล่ง เช่นเดียว กับโรงภาพยนตร์อน่ื ๆ อีกหลายแห่งจากภาพถ่าย ของแจบลอนและวีระพล “ผมยอมรับว่าโรงหนังพวกนีไ้ ม่ได้สวยหยด ทุกโรง ก็มดี ไี ม่ดปี ะปนกันไป แต่อย่างน้อยทีไ่ ม่ เหมือนกับโรงหนังตามห้างสมัยนี้ ก็ตรงทีโ่ รงหนัง เหล่านีใ้ ห้ความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของภูมทิ ศั น์ใน เมือง เป็นองคาพยพก็วา่ ได้” แจบลอนกล่าว ไม่นา่ เชือ่ ว่า ทุกวันนี้ อดีตดูเหมือนจะกลับมา เป็นปัจจุบนั อีกครัง้ เมือ่ บรรดาห้างสรรพสินค้า แนวคิดลํา้ สมัยอย่าง เอ็มควอเทียร์ เดอะ คอมมอนส์ ไปจนถึง 72 คอร์ทยาร์ด ได้น�ำ ลูกเล่น จำ�พวกพืน้ ทีเ่ ปิดโล่ง สวนหย่อมขนาดเล็ก รวม ถึงการเน้นพืน้ ทีส่ ว่ นรวมมาเป็นองค์ประกอบ
07 หลังคาลาดโค้งของตึกคุรุสัมนาคารตั้งโดดเด่นอยู่กลางสนาม 08 รูปทรงโมเดิร์นอันเป็นเอกลักษณ์ของโรงแรมอินทรา OPTIMISE | OCTOBER 2016
67
THE AGENDA
บล.ภัทรตอกย้ำ�ความเป็นเลิศระดับสากล คว้ารางวัล Best Private Bank in Thailand และรางวัล Best Broker in Thailand จาก FinanceAsia
บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) คว้ารางวัล Best Private Bank in Thailand เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน พร้อม รางวัล Best Broker in Thailand จาก FinanceAsia ในงาน Country Awards for Achievement 2016 โดยได้รับคัด เลือกจากความสามารถในการคงไว้ซง่ึ มาตรฐานระดับสากลของการให้บริการ Wealth Management ในสภาวะที่มีการ แข่งขันสูง กอปรกับความสามารถในการ ขยายธุรกิจให้มีการเจริญเติบโตอย่างมี คุณภาพ โดย ณฤทธิ์ โกสาลาทิพย์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ฝ่ายที่ปรึกษา การลงทุนส่วนบุคคล เป็นผู้แทนบริษัทรับ มอบรางวัลที่โรงแรมโฟร์ ซีซัน ประเทศ สิงคโปร์ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2559 68
OPTIMISE | OCTOBER 2016
10 ปี Thailand Focus ตอกย้ำ�ความเชื่อมั่นลงทุนไทย
ธนาคารเกียรตินาคิน รับรางวัล Investors’ Choice Award
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับบริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) และธนาคารแห่ง อเมริกา เมอร์รลิ ลินซ์ จัดงาน Thailand Focus 2016 ครัง้ ที่ 10 ภายใต้ชอ่ื A New Growth Strategy โดย ได้รบั เกียรติจาก อภิศกั ดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงการคลัง กล่าวเปิดงานและปาฐกถาพิเศษ ทั้งนี้ งาน Thailand Focus 2016 ได้รับการตอบรับ อย่างดีจากผู้บริหารระดับสูงของภาครัฐและเอกชน ตลอดจนนักลงทุนสถาบันทั้งในประเทศและต่าง ประเทศที่ให้ความสนใจเข้าร่วมงานกว่า 140 บริษัท โดยตลอดระยะเวลาจัดงานระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม-2 กันยายน 2559 มีการประชุมระหว่าง นักลงทุนและบริษัทจดทะเบียนไทยรวมทั้งสิ้น 1,255 ครั้ง ซึ่งถือเป็นจำ�นวนประชุมสูงสุดในรอบ 3 ปี สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและ ความสนใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ไทยที่ยังคง แข็งแรง
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) รับรางวัล Investors’ Choice Award จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสมาคม ส่งเสริมผูล้ งทุนไทย ในฐานะบริษทั จดทะเบียน ทีไ่ ด้รบั คะแนนการประเมินคุณภาพการ ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 100 คะแนน เต็ม โดยภัทรพร มิลนิ ทสูต ประธานเจ้าหน้าที่ กำ�กับดูแลกิจการ เป็นผูแ้ ทนรับมอบรางวัล จาก ดร.ชัยวัฒน์ วิบลู สวัสดิ์ ประธานกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมือ่ วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 ทัง้ นี้ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) จัดอยูใ่ นกลุม่ บริษทั ทีไ่ ด้รบั คะแนนเต็ม ต่อเนือ่ งเป็นระยะเวลา 8 ปี (2552-2559) ซึง่ ถือเป็นกลุม่ ทีไ่ ด้รบั คะแนน เต็มต่อเนือ่ งเป็นระยะเวลายาวนานทีส่ ดุ โดย ธนาคารเป็น 1 ใน 12 บริษทั จดทะเบียนและ 1 ใน 2 สถาบันการเงินทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ ดังกล่าว บลจ.ภัทรรับรางวัลรางวัลกองทุนยอดเยี่ยมแห่งปี ในงาน Money & Banking Awards 2016
ยุทธพล ลาภละมูล กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั หลักทรัพย์จดั การ กองทุน ภัทร จำ�กัด รับรางวัลกองทุนยอดเยีย่ มแห่งปี 2559 (Best Mutual Fund of the Year 2016) ในกลุม่ กองทุนรวมหุน้ ระยะยาว หุน้ 100% (LTF 100) จากพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี ประธานในงานมอบ รางวัลเกียรติยศ Money & Banking Awards 2016 เมือ่ วันที่ 23 มิถนุ ายน 2559 บล.ภัทรรับรางวัลนักวิเคราะห์ยอดนิยมสายผูล้ งทุนสถาบัน ในงาน Money Channel Awards 2016
เมือ่ วันที่ 29 มิถนุ ายน 2559 คมสัน สุขสำ�ราญ ผูช้ ว่ ยกรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) รับรางวัลด้านนัก วิเคราะห์ยอดนิยม สายผูล้ งทุนสถาบัน จากเกศรา มัญชุศรี กรรมการ และผูจ้ ดั การ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และประธานกรรมการ บริษทั แฟมมิล่ี โนฮาว จำ�กัด ในงาน Money Channel Awards 2016 ซึง่ จัดขึน้ เพือ่ ฉลองโอกาสครบรอบ 12 ปี Money Channel สถานี โทรทัศน์เพือ่ เศรษฐกิจและการลงทุน OPTIMISE | OCTOBER 2016
69
ธนาคารเกียรตินาคิน หนุนเอสเอ็มอี รายเล็กเข้าถึงเงินทุน
เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2559 ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) จัดงานแถลง ข่าวเพือ่ สร้างกระแสการรับรูต้ อ่ ผลิตภัณฑ์สนิ เชือ่ ‘KK SME รถคูณ 3’ ผ่าน Viral Clip ชุดใหม่ชอ่ื ว่า ‘พลอยนักสู’้ ซึง่ พูดถึงชีวติ ของพลอย เด็กสาวนักมวยหญิงผูใ้ ช้วธิ ชี กข้าม รุน่ กับคูต่ อ่ สูร้ นุ่ ใหญ่กว่าเพือ่ ย่นระยะเวลาการก้าวขึน้ เป็นนักมวยอาชีพ ไม่ตา่ งจากผู้ ประกอบการเอสเอ็มอี ซึง่ ต้องตัง้ เป้าหมายทีย่ ากและใหญ่ขน้ึ เพือ่ ไปสูค่ วามสำ�เร็จ โดยมีผลิตภัณฑ์ KK SME รถคูณ 3 เป็นปัจจัยสนับสนุน ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์ KK SME รถคูณ 3 เป็นสินเชือ่ แนวคิดใหม่ทใ่ี ช้ประโยชน์จากความ ชำ�นาญทางด้านตลาดสินเชือ่ เช่าซือ้ รถยนต์ของธนาคาร โดยให้ผปู้ ระกอบการสามารถ นำ�รถยนต์มาค�ำ้ ประกันสินเชือ่ ธุรกิจเอสเอ็มอีได้ในอัตราสูงสุด 3 เท่าของราคารถยนต์
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร สนับสนุน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มอบทุนการศึกษา บุคลากรทางการแพทย์
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ร่วมมอบเงิน สนับสนุนทุนการศึกษาบุคลากรทางการแพทย์จำ�นวน 15 ล้านบาท เพื่อนำ�ไปใช้ในโครงการของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีฐิตินันท์ วัธนเวคิน กรรมการ และปรีชา เตชรุ่งชัยกุล ประธานสาย ตลาดการเงิน ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) เป็น ผู้แทนมอบเงินสนับสนุนให้แก่ ศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2559 ธนาคารเกียรตินาคินร่วมเป็น 1 ใน 28 องค์กรผู้บุกเบิก ของโครงการรณรงค์สร้างวินัยทางการเงิน
เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ในฐานะ 1 ใน 28 องค์กรผูบ้ กุ เบิกของโครงการรณรงค์ให้ความรูแ้ ละสร้าง วินยั ทางการเงิน ขยายผลโครงการโดยเข้าร่วมพิธเี ปิดโครงการ ‘รณรงค์ สร้างวินยั ทางการเงิน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559’ ซึง่ จัดขึน้ โดยสหพันธ์สมาคมสตรีนกั ธุรกิจและวิชาชีพ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชินปู ถัมภ์และภาคีหลักอีก 5 องค์กร ทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ ภายใต้โครงการดังกล่าว ตัวแทนของธนาคารได้เข้ารับการอบรม หลักสูตร Happy Money จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพือ่ นำ� ความรูแ้ ละเครือ่ งมือสำ�หรับสร้างวินยั ทางการเงินมาใช้พฒ ั นาบุคลากร ภายในกลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรขึน้ เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ ทางการเงินแก่พนักงานตลอดจนสังคมในวงกว้าง 70
OPTIMISE | OCTOBER 2016
นอกจากนี้ ธนาคารยังสนับสนุนโครงการ ‘มอบโอกาสดีๆ ให้สตรี อีกครัง้ ’ ซึง่ จัดโดยสมาคมสตรีนกั ธุรกิจและวิชาชีพแห่งประเทศไทยกรุงเทพฯ ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ โดยดำ�เนินการจัดอบรมหัวข้อ ‘วางแผน การเงินดี...ชีวติ เปลีย่ น‘ ให้แก่ผตู้ อ้ งขังหญิงทีท่ ณ ั ฑสถานหญิงธนบุรี เมือ่ วันที่ 16 สิงหาคมทีผ่ า่ นมา OPTIMISE | OCTOBER 2016
71