Optimise issue 07

Page 1

OPTIMISE | ISSUE 07 JANUARY 2017

Issue 07 January 2017

KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP

Beyond the Surface ชยสาโรภิกขุเผยแก่นแห่งพระศาสนา ที่ยังคงเรืองรองภายใต้ความเปลี่ยนแปลง


ADVANCE NOTICE

Welcome to Optimise ผ้าทีป่ รากฏบนปกของ Optimise เล่มนี้ น่าจะเป็นหนึง่ ในผ้าทีค่ นไทยคุน้ เคยมาก ทีส่ ดุ เพราะเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา หนึง่ ในสามสถาบันหลักของชาติ แต่พน้ จากการรูช้ อ่ื เรียกว่า ‘จีวร’ แล้ว อาจมีเพียงน้อยคนทราบว่าผ้าสะอาดสะอ้าน ทีค่ นกราบไหว้น้ี แท้จริงถูกตัง้ ใจออกแบบมาให้ ‘เศร้าหมอง’ (damaged) กล่าวคือมี พระวินยั กำ�หนดให้เย็บเป็นผืนขึน้ เฉพาะจากผ้าทีต่ ดั เป็นชิน้ เล็กชิน้ น้อยมูลค่าต�ำ่ เพือ่ ให้ เหมาะกับการเป็นเครือ่ งนุง่ ห่มของสมณะผูม้ กั น้อยสันโดษ และคงมีคนน้อยไปกว่านัน้ ทีจ่ ะตระหนักว่าลายตารางทีเ่ ห็นบนผ้า ได้เค้ามาจากแปลงนาแคว้นมคธทีพ่ ระพุทธเจ้า มีพทุ ธบัญชาให้พระอานนท์ถอดแบบออกมาเป็นลายจีวร และคงยิง่ น้อยเข้าไปอีกทีจ่ ะ รูว้ า่ แต่ละชิน้ ผ้าทีป่ ระกอบเข้าเป็นตาราง ล้วนมีต�ำ แหน่งการเย็บทีจ่ �ำ เพาะเจาะจง และ มีชอ่ื ทางเทคนิคทัง้ สิน้ เช่น กุสิ อัฑฒกุสิ มณฑล วิวฏั ฏะ พาหันตะ ฯลฯ จีวรนับเป็นวัตถุท่ี แสดงให้เห็นได้เป็นอย่างดีวา่ สิง่ ทีเ่ ห็นจนเจนตาอาจมีเนือ้ หามากกว่าทีท่ กุ คนรูจ้ กั และด้วยเหตุนั้น การนำ�จีวรมาขึ้นปกจึงมีความลงตัวกับ Optimise ฉบับนี้เป็น อย่างยิ่ง ประการแรก เพราะเรือ่ งเด่นฉบับนีค้ อื การสัมภาษณ์อาจารย์ชยสาโร ผูโ้ ดย สมณสารูปและปฏิปทาขอให้เรางดเว้นจากการใช้รปู ของท่านขึน้ ปก แต่เนือ่ งจากผ้า กาสาวพัสตร์คอื เครือ่ งหมายของผูส้ งบระงับ การได้เห็นจีวรย่อมไม่ตา่ งจากการได้เห็น อาจารย์ชยสาโรเอง แต่เหนือไปกว่านัน้ เรือ่ งราวรายละเอียดของจีวรทีซ่ อ่ นอยูภ่ ายใต้ความเรียบง่าย ย่อม อาจสือ่ ถึงการดำ�ดิง่ ไปพ้นพืน้ ผิวเพือ่ ทำ�ความรูจ้ กั กับสิง่ ต่างๆ ทีร่ ายล้อมเราอยูใ่ ห้มากขึน้ อันเป็นเนือ้ หาของ Optimise ฉบับ Beyond the Surface นี้ เริม่ ตัง้ แต่บทสัมภาษณ์ คุณเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ของปตท. ทีบ่ อกเล่าแง่มมุ เกีย่ วกับบริษทั ไทยระดับโลกแห่งนีท้ อ่ี าจถูกมองข้ามไปภายใต้ความ ขัดแย้งเรือ่ งพลังงาน (‘National Treasure’) กำ�เนิดและความหมายทีแ่ ท้จริงของอาหาร ชาววังทีท่ กุ คนกล่าวขาน (‘Royal Touch’) และแน่นอนทีส่ ดุ บทสัมภาษณ์อาจารย์ ชยสาโรทีเ่ ปีย่ มไปด้วยข้อควรพิจารณาเกีย่ วกับพุทธศาสนา สังคมไทย และชีวติ ภายใน ของมนุษย์ทกุ คน (‘Unveiling Buddhism’) ในขณะทีโ่ ลกทุกวันนีอ้ าจแผ่ขยายทางกว้างอย่างรวดเร็วโดยอิทธิพลการเชือ่ มต่อ ของอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยี เราเชือ่ ว่าความรูค้ วามเข้าใจในทางลึกยังทรงคุณค่า และ แท้จริงอาจยิง่ ทวีความจำ�เป็น ดัง่ ทีจ่ อห์น ดรายเดน Poet Laureate คนแรกของอังกฤษ ประพันธ์ไว้เป็นทีจ่ ดจำ�ว่า “หากอยูแ่ ค่ผวิ น�ำ้ ย่อมพบเพียงสวะฟาง แสวงเม็ดมุกดาสว่าง ต้องดำ�สมุทรจึงเอือ้ มถึง (Errors, like straws, upon the surface flow; He who would search for pearls, must dive below.)” สวัสดีปใี หม่ครับ ธนกร จ๋วงพานิช บรรณาธิการ

02

OPTIMISE | JANUARY 2016

OPTIMISE | JANUARY 2017

03


Contents

06

24

36

58

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ กับตลาดหุ้น

Royal Touch

In Search of Excellence

Ready for Take-Off?

บรรดาร้านอาหารไทยเปิดใหม่ไม่น้อยกล่าว อ้างถึงความเป็นตำ�รับ ‘ชาววัง’ ชวนให้ย้อน รอยว่าอาหารชาววังมีความสำ�คัญอย่างไร

ค้นหาเบื้องหลังของ 3 รางวัล Platinum Awards ที่บ่งบอกความเป็นเลิศข้าม 2 ทศวรรษ

ธุรกิจอากาศยานส่วนบุคคลในไทยดูจะเติบโตไม่ทัน ตลาดประเทศอื่นๆ แต่พัฒนาการใหม่ๆ อาจเป็น สัญญาณของความเฟื่องฟูที่จะตามมาในไม่ช้า

ECONOMIC REVIEW

FULL FLAVORS

SERVING YOU

THE FAST LANE

40

National Treasure เทวินทร์ วงศ์วานิช กับภารกิจการสร้างปตท. ให้เป็นสมบัติชาติที่ทุกคนสามารถชื่นชมและ ส่งเสียงเชียร์

08

46

การจัดสรรเงินลงทุนกับ การลงทุนทางเลือก

BEYOND BOUNDARIES

The Eden Next Door แหล่งท่องเที่ยวน้ำ�งามอย่างหมู่เกาะมะริด ยังคงสภาพบริสุทธิ์ แม้ว่าการไปเยือนจะง่าย กว่าครั้งใดที่ผ่านมา

12

OPTIMUM VIEW

Unveiling Buddhism ชยสาโรภิกขุเผยเนื้อแท้ของพุทธศาสนา ที่ยังคงเรืองรองภายใต้ความเปลี่ยนแปลง

30

62

In Their Names เฟอร์นิเจอร์ไทยได้รับการยอมรับในต่างแดนจนเป็น แรงบันดาลใจสำ�หรับผู้เล่นรายอื่นๆ ที่ต้องการไป พ้นจากการเป็นเพียงผู้รับจ้างผลิตให้แบรนด์นอก

Contact กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร 209 อาคาร เคเคพี ทาวเวอร์ ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02 165 5555 ต่อ 3804

www.kiatnakinphatra.com

52

Wacky Workouts ฟิตเนสเปิดใหม่เสนอทางเลือกการ ออกกำ�ลังกายในรูปแบบที่แตกต่าง ตั้งแต่กระดานเซิร์ฟจำ�ลองไปจนถึงสนาม แทรมโพลีนขนาดยักษ์ OPTIMISE | JANUARY 2017

ผลิตโดย บริษัท เอเชีย ซิตี้ พับบลิชชิ่ง (ไทยแลนด์) จำ�กัด

LIVING SPACE

E-mail: corporate.communications@kiatnakin.co.th

THE GOOD LIFE

04

บรรณาธิการที่ปรึกษา ผกาภรณ์ บุณยัษฐิติ

จัดทำ�โดย สำ�นักสื่อสารองค์กร กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร

STATE OF THE ARTS

Gaining Independence หนังนอกกระแสของไทยกวาดคำ�ชม มาแล้วทั่วโลก ต่างกับกระแสตอบรับ ในบ้านเกิดลิบลับ

ที่ปรึกษา บรรยง พงษ์พานิช อภินันท์ เกลียวปฏินนท์ ภัทรพร มิลินทสูต

บรรณาธิการ ธนกร จ๋วงพานิช

CLIENT VALUES

INVESTMENT REVIEW

Team

68

THE AGENDA

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 โดยกลุ่มธุรกิจการเงิน เกียรตินาคินภัทร ห้ามนำ�ส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ทำ�สำ�เนา ถ่ายเอกสาร หรือนำ�ไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต และเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางบริษัทเท่านั้น OPTIMISE | JANUARY 2017

05


ECONOMIC REVIEW ผลตอบแทนเฉลีย่ จะต้องแตกต่างกันเกือบ 50% ไม่ใช่ 3.5% ต่อปี เห็นได้จากกรณีทผ่ี มกล่าว ข้างต้นว่าในช่วงทีป่ ระธานาธิบดีโอบามาอยูใ่ น ตำ�แหน่งนัน้ มีควิ อีเข้ามาผลักดันให้ราคาหุน้ เพิม่ ขึน้ ประมาณ 200% อีกช่วงหนึง่ ทีร่ าคาหุน้ ปรับขึน้ เกือบ 300% คือช่วงของประธานาธิบดี บิล คลินตัน ซึง่ ได้ รับอานิสงค์จากการส่งเสริมการค้าเสรี การเปิด เสรีของเศรษฐกิจจีน และการล่มสลายของ สหภาพโซเวียต ซึง่ เป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อ ระบบทุนนิยมของตะวันตกและต่อการขยายตัว ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ ของเศรษฐกิจของโลกเสรี ตรงกันข้ามในช่วงที่ กรรมการผู้จัดการ และหัวหน้าสายงานวิจัย นิกสันจากพรรคริพบั ลิกนั เป็นประธานาธิบดี คือ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) ปี 1969-1977 (ซึง่ รวมถึงตอนทีฟ่ อร์ดต้องมารับ ช่วงต่อด้วยหลังจากวิกฤติ Watergate) เป็นช่วง หากดูสถิตติ ลาดหุน้ กับการเลือกตัง้ -1.7% ต่อปีในเทอมแรกของประธานาธิบดีบชุ วิกฤตินา้ํ มัน ส่งผลให้เงินเฟ้อสูงเกินกว่า 10% ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาในอดีตจะพบ และลดลงมาเป็น -7.34% ต่อปีในเทอมที่ 2 ทัว่ โลกและในทีส่ ดุ ธนาคารกลางสหรัฐฯ ต้อง ว่า ในกรณีทผ่ี แู้ ทนของพรรคเดโมแครตชนะการ ทีส่ �ำ คัญคือ หลังจากการถดถอยอย่างรุนแรง ปรับดอกเบีย้ นโยบายสูงถึง 20% ทำ�ให้การถือ เลือกตัง้ ได้เป็นประธานาธิบดี ราคาหุน้ จะปรับ ของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปลายปี 2008 ธนาคาร หุน้ ให้ผลตอบแทนใกล้ศนู ย์ในช่วงดังกล่าว ตัวเพิม่ ขึน้ มากกว่ากรณีทผ่ี แู้ ทนของพรรค กลางสหรัฐฯ รีบลดดอกเบีย้ ลงใกล้ศนู ย์และ เมือ่ ผลการเลือกตัง้ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ รีพบั ลิกนั ชนะการเลือกตัง้ ดังทีน่ ติ ยสาร Forbes พิมพ์เงินใหม่ออกมาซือ้ พันธบัตร (มาตรการ พลิกผันและนายโดนัลด์ ทรัมป์คว้าชัยชนะไป ได้เคยทำ�ตัวเลขออกมา ซึง่ ผมนำ�มาสรุปดังนี้ คิวอี) อย่างต่อเนือ่ งถึง 3 รอบ คิดเป็นมูลค่ากว่า อย่างไม่คาดฝันและพรรครีพบั ลิกนั ยังรักษา 1. ตัง้ แต่ปี 1929 เป็นต้นมาถึงปี 2013 รวม 3 ล้านล้านเหรียญ ซึง่ เป็นปัจจัยหลักทีท่ �ำ ให้ เสียงข้างมากได้ในทัง้ วุฒสิ ภาและสภาผูแ้ ทน ทัง้ สิน้ 87 ปี มีการเลือกตัง้ ประธานาธิบดี 22 ครัง้ ราคาหุน้ ฟืน้ ตัวอย่างฉับพลันและปรับตัวสูงขึน้ ราษฎร จึงทำ�ให้ราคาหุน้ ปรับตัวลงในช่วงแรก ผูแ้ ทนพรรคเดโมแครตเป็นประธานาธิบดี 12 สมัย อย่างต่อเนือ่ งเป็นเวลายาวนานถึง 8 ปีทโ่ี อบามา ทีไ่ ด้รบั ทราบข่าว แต่ตอ่ มาก็พลิกกลับไปบวก ผูแ้ ทนพรรครีพบั ลิกนั เป็นประธานาธิบดี 10 สมัย ครองตำ�แหน่งประธานาธิบดีพอดี อย่างต่อเนือ่ งทีส่ หรัฐอเมริกา เพราะตลาดกลับ 2. ในแต่ละสมัย (ครั้งละ 4 ปี) เมื่อ นายรัสส์ โคเอสเตอริช นักกลยุทธ์ลงทุน ไปมองแต่แง่ดวี า่ นายทรัมป์จะลดภาษีรายได้ ประธานาธิบดีมาจากพรรครีพับลิกัน ตลาดหุ้น ของกองทุน Black Rock นำ�เอาสถิตใิ นอดีต ลดกฎเกณฑ์การควบคุมอุตสาหกรรมน�ำ้ มัน (ดัชนีเอสแอนด์พี 500) ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 16.61% ทำ�นองเดียวกันมาวิเคราะห์โดยมองย้อนหลังไป และสถาบันการเงิน ยกเลิกระบบประกันสุขภาพ คิดเฉลี่ยผลตอบแทนเท่ากับ 1.71% ต่อปี 114 ปี ก็ได้ขอ้ สรุปคล้ายคลึงกัน กล่าวคือหุน้ ให้ ของประธานาธิบดีโอบามา ซึง่ จะทำ�ให้บริษทั ยา แต่เมื่อประธานาธิบดีมาจากพรรคเดโมแครต ผลตอบแทนเฉลีย่ 9.5% ต่อปีในช่วงทีผ่ แู้ ทน สามารถปรับขึน้ ราคายาได้ โดยไม่กงั วลในด้าน ตลาดหุ้นปรับตัวเพิ่มขึ้น 57.44% หรือผล พรรคเดโมแครตเป็นประธานาธิบดี สูงกว่า ทีเ่ ป็นลบ เช่น นโยบายกีดกันการค้า การขับไล่ ตอบแทนเฉลี่ย 10.83% ต่อปี ในช่วงทีผ่ แู้ ทนพรรครีพบั ลิกนั ครองตำ�แหน่ง แรงงานต่างชาติกว่า 2 ล้านคนทีเ่ ข้าเมืองโดย 3. ในสมัยทีโ่ อบามาครองตำ�แหน่ง ประธานาธิบดี ซึง่ หุน้ ให้ผลตอบแทน 6% ต่อ ผิดกฎหมาย และความเสีย่ งทีง่ บประมาณจะ ประธานาธิบดีนาน 8 ปี (2008-2016) นัน้ ปี แต่นายโคเอสเตอริช ย�ำ้ ว่าความแตกต่าง ขาดดุลเพิม่ ขึน้ อย่างมาก ทำ�ให้ดอกเบีย้ ระยะยาว ตลาดหุน้ ให้ผลตอบแทนเฉลีย่ 17.47% ต่อปี ของผลตอบแทนดังกล่าวนัน้ ไม่มนี ยั สำ�คัญใน ปรับเพิม่ ขึน้ ไป 0.4 - 0.5% ภายใน 1 สัปดาห์หลัง ในเทอมแรกและอีก 12.6% ต่อปีในเทอมทีส่ อง เชิงสถิติ (not statistically significant) เพราะ การเลือกตัง้ อีกทัง้ เงินดอลลาร์กย็ งั แข็งค่าขึน้ อีก ตรงนีบ้ างคนจะแย้งว่าเหตุทร่ี าคาหุน้ ราคาหุน้ นัน้ มีความผันผวนสูงมาก กล่าวคือมีคา่ ด้วย ทำ�ให้เงินไหลออกจากประเทศตลาดเกิด ปรับเพิม่ ขึน้ มากในช่วง 8 ปีทผ่ี า่ นมานัน้ ก็ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (standard deviation) ต่อ ใหม่ และหากนายทรัมป์ด�ำ เนินนโยบายกีดกัน เพราะเศรษฐกิจสหรัฐฯ (และเศรษฐกิจโลก) ปีสงู ถึง 22% หมายความว่าผลตอบแทนเฉลีย่ ที่ การค้าจริง โดยเฉพาะการข่มขูเ่ ม็กซิโกและจีน เข้าสูส่ ภาวะวิกฤติพอดีตอนปลายสมัยที่ แตกต่างกันระหว่าง 9.5% กับ 6% ต่อปีนน้ั อาจ ก็จะส่งผลกระทบกับประเทศตลาดเกิดใหม่ ประธานาธิบดีบชุ คนลูก จากพรรครีพบั ลิกนั เป็น เป็นเหตุบงั เอิญ กล่าวคือหากจะให้มน่ั ใจในเชิง เช่นกัน ประธานาธิบดี (2008) ทำ�ให้หนุ้ ให้ผลตอบแทน วิชาการสถิตวิ า่ เป็นเพราะพรรคการเมืองจริงนัน้

การเลือกตั้ง ประธานาธิบดีสหรัฐฯ กับตลาดหุ้น

06

OPTIMISE | JANUARY 2017

OPTIMISE | JANUARY 2017

07


INVESTMENT REVIEW

08

OPTIMISE | JANUARY 2017

นอกจากจะช่วย กระจายความเสี่ยงแล้ว การกระจายการลงทุนไป ในสินทรัพย์หลายประเภท เช่น หุ้นและพันธบัตร ยังช่วยลดความผันผวนของ ผลตอบแทนจากเงินลงทุน

ผลตอบแทนจากสินทรัพย์ประเภทต่างๆ 500 450 400 350 300 250 200 150 100

พอรตการจัดสรรเงินลงทุน พันธบัตรไทย เงินสด

ตลาดหุนไทย พันธบัตรตางประเทศ

Jun-16

Sep-16

Dec-15

Mar-16

Jun-15

Sep-15

Dec-14

Mar-15

Jun-14

Sep-14

Dec-13

Mar-14

Jun-13

Sep-13

Dec-12

Mar-13

Jun-12

Sep-12

Dec-11

Mar-12

Jun-11

Sep-11

Dec-10

Mar-11

Jun-10

Sep-10

Dec-09

Mar-10

0

Jun-09

50

Sep-09

ดร.พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ และหัวหน้าทีมวิจัยลูกค้าบุคคล สายงานลูกค้าบุคคล บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)

เสี่ยงจากการลงทุนในหุ้นได้ อีกทั้งยังสามารถ ได้รับผลตอบแทนที่ดีในระยะยาวได้ นอกจากจะช่วยกระจายความเสี่ยงแล้ว การกระจายการลงทุนไปในสินทรัพย์หลาย ประเภท เช่น หุ้นและพันธบัตร ยังช่วยลด ความผันผวนของผลตอบแทนจากเงินลงทุน โดยจะเห็นได้ว่า ตัวอย่างพอร์ตการจัดสรรเงิน ลงทุนที่มีการกระจายความเสี่ยง (เส้นทึบใน รูป) ให้ผลตอบแทนที่มีความผันผวนน้อยกว่า การลงทุนในหุ้น ภายใต้กรอบการลงทุนนี้ นักลงทุนสามารถ ปรับเปลี่ยนสัดส่วนการลงทุนในสินทรัพย์ที่มี ความเสี่ยงประเภทต่างๆ ให้ความเสี่ยงของผล ตอบแทนโดยรวมของเงินลงทุนเหมาะสมกับ ระดับความเสี่ยงที่นักลงทุนแต่ละคนสามารถ ยอมรับได้ นอกจากนี้ กรอบการลงทุนแบบนี้ ยังสามารถปรับเปลี่ยนน้ำ�หนักการลงทุนให้ เหมาะสมกับสถานการณ์และราคาสินทรัพย์ ได้อีกด้วย

Mar-09

การจัดสรรเงินลงทุนกับ การลงทุนทางเลือก

กลยุทธ์การลงทุนแบบจัดสรรเงินลงทุน (asset allocation) เป็นทางเลือกในการลงทุน แบบหนึ่งที่ยืดหยุ่น สามารถปรับใช้ได้กับนัก ลงทุนหลายๆ ประเภท และสามารถปรับให้เข้า กับสถานการณ์การลงทุน ณ เวลานั้นๆ หลัก การสำ�คัญของกลยุทธ์การลงทุนประเภทนี้ คือ การจัดสรรเงินลงทุนไปในสินทรัพย์ประเภท ต่างๆ ที่มีลักษณะของผลตอบแทนและ ความเสี่ยงที่แตกต่างกัน โดยเชื่อว่าสินทรัพย์ ประเภทต่างๆ จะให้ผลตอบแทนที่ดีใน ระยะยาว แต่ในระยะสั้น ผลตอบแทนอาจ จะมีความผันผวนในระดับที่ต่างกันไป และ เชื่อว่าผลตอบแทนของสินทรัพย์ประเภทต่างๆ จะไม่ขึ้นลงพร้อมกัน โดยทั่วไปแล้วเราพบว่าสินทรัพย์ที่ให้ผล ตอบแทนในระยะยาวสูง (เช่น หุ้น) มักมีความ ผันผวนในระยะสั้นสูง แต่ในทางตรงกันข้าม การลงทุนที่ให้ผลตอบแทนที่มีความผันผวน ต่ำ� (เช่น เงินสดหรือพันธบัตรรัฐบาล) มักให้ ผลตอบแทนในระยะยาวที่ต่ำ�ไปด้วย การที่ผล ตอบแทนของสินทรัพย์แต่ละประเภทขึ้นลงไม่ พร้อมกัน (ความสัมพันธ์ของผลตอบแทนของ สินทรัพย์หรือ correlation ต่ำ�) สามารถช่วย กระจายความเสี่ยงและลดความผันผวนของ เงินลงทุนโดยรวม ในขณะเดียวกันก็มีโอกาส ในการสร้างผลตอบแทนที่ดีในระยะยาวได้ ยกตัวอย่างเช่น ในภาวะที่เศรษฐกิจดี หุ้นมักจะให้ผลตอบแทนที่ดี แต่อัตราเงินเฟ้อ ก็มีแนวโน้มสูงขึ้น อัตราดอกเบี้ยก็มักจะเป็น ขาขึ้น พันธบัตรก็อาจจะให้ผลตอบแทนที่ไม่ ดีนัก ตรงกันข้ามกับภาวะที่เศรษฐกิจชะลอ ตัวหรือเกิดวิกฤติ การลงทุนในหุ้นมักจะให้ ผลตอบแทนที่ไม่ดี แต่พันธบัตรมักจะให้ผล ตอบแทนที่ดี เพราะอัตราดอกเบี้ยมักจะมีแนว โน้มลดลง ทำ�ให้ผลตอบแทนของการลงทุนใน พันธบัตรดีขึ้น หรือแม้แต่การลงทุนในสินทรัพย์ประเภทใด ประเภทหนึง่ เช่น การลงทุนในหุน้ การกระจาย เงินลงทุนไปในหุ้นหลายๆ บริษัท หรือหลายๆ กลุ่มอุตสาหกรรม หรือการกระจายเงินลงทุน ไปลงทุนในกองทุนรวมหลายๆ กองทุนที่มี สไตล์การลงทุนไม่เหมือนกันก็จะช่วยลดความ

ตลาดหุนตางประเทศ การลงทุนทางเลือก

ที่มา: บริษัทหลักทรัพย์ภัทร จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุ: 1) ข้อมูลตั้งแต่เดือนมีนาคม 2009 ถึงตุลาคม 2016 2) เส้น ‘พอร์ตการจัดสรรเงินลงทุน’ (เส้นทึบ) แสดงถึงผลตอบแทนจากพอร์ตการลงทุนที่มีสัดส่วนการลงทุนในตลาดหุ้น ไทย 40%, ตลาดหุ้นต่างประเทศ 10%, พันธบัตรไทย 30%, พันธบัตรต่างประเทศ 5%, การลงทุนทางเลือก 10% และ เงินสด 5% โดยมีการปรับสัดส่วนการลงทุนทุกเดือน

OPTIMISE | JANUARY 2017

09


INVESTMENT REVIEW

การลงทุนที่ดีควรเป็นการลงทุนที่มีลักษณะสำ�คัญ 3 ประการคือ หนึ่ง ให้ผลตอบแทนที่สูงเมื่อเทียบ กับความเสี่ยง (มี risk-adjusted return ที่ดี) สอง ผลตอบแทนจากการลงทุนไม่ควรขึ้นลง พร้อมกับตลาด (ผลตอบแทนมี correlation ต่ำ�เมื่อเทียบกับสินทรัพย์หลักในการลงทุน เช่น หุ้น) และสาม การลงทุนนั้นควรมีสภาพคล่องที่ดี และมีต้นทุนต่ำ� การลงทุนที่ดีควรเป็นการลงทุนที่มีลักษณะ สำ�คัญ 3 ประการคือ หนึ่ง ให้ผลตอบแทนที่ สูงเมื่อเทียบกับความเสี่ยง (มี risk-adjusted return ที่ดี) สอง ผลตอบแทนจากการลงทุน ไม่ควรขึ้นลงพร้อมกับตลาด (ผลตอบแทนมี correlation ต่ำ�เมื่อเทียบกับสินทรัพย์หลักใน การลงทุน เช่น หุ้น) และสาม การลงทุนนั้นควร มีสภาพคล่องที่ดีและมีต้นทุนต่ำ� คุณสมบัติ เหล่านี้เป็นคุณสมบัติของการลงทุนที่นักลงทุน ทั่วไปแสวงหา

การลงทุนแบบทางเลือก

ปัจจุบันทางเลือกในการลงทุนมีมาก ขึ้นโดยไม่ได้ถูกจำ�กัดอยู่เพียงการลงทุนใน หุ้นและพันธบัตรเท่านั้น แต่โอกาสในการ ลงทุนทั้งในและต่างประเทศเปิดกว้างมาก ขึ้น การลงทุนแบบทางเลือก (alternative investment) จึงมีบทบาทและได้รับความ สนใจมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น การลงทุนใน ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ การลงทุนในกองทุน อสังหาริมทรัพย์/กองทุนโครงสร้างพื้นฐานที่ มีคุณสมบัติคล้ายทั้งหุ้นและพันธบัตร การ ลงทุนในสินค้าโภคภัณฑ์ (เช่น น้ำ�มัน ทอง หรือ เพชร) การลงทุนในหุ้นก่อนเข้าตลาด (เช่น private equity หรือ venture capital) การลงทุนในกองทุน hedge fund การลงทุน ในตราสารอนุพันธ์ หรือแม้แต่การลงทุนใน สินทรัพย์ที่เป็นที่สนใจเฉพาะกลุ่มต่างๆ เช่น

10

OPTIMISE | JANUARY 2017

ไวน์ ภาพวาด นาฬิกา รถยนต์และการลงทุน เฉพาะทางอื่นๆ การลงทุนทางเลือกเหล่านี้ มีคุณสมบัติ คล้ายกัน คือให้ผลตอบแทนในระยะยาวที่ น่าสนใจและผลตอบแทนมักจะไม่แปรผันตาม ตลาดหุ้นมากนัก จึงมีประโยชน์ในแง่ของการ กระจายความเสี่ยง อีกทั้งยังสามารถช่วยลด ความผันผวนให้กับเงินลงทุนโดยรวมได้ อย่างไรก็ตาม การลงทุนเหล่านี้มีลักษณะ ต่างกันไปในด้านอื่นๆ เช่น มีปัจจัยเสี่ยงที่ กระทบกับผลตอบแทนแตกต่างกัน การลงทุน บางอย่างมีความเสี่ยงและความผันผวนของ ผลตอบแทนในระดับที่สูงกว่าหุ้นในตลาด การลงทุนบางประเภทอาจจะมีสภาพคล่องต่ำ� เช่น ไม่สามารถซื้อขายได้ทุกวัน หรือมีต้นทุน ในการซื้อขายค่อนข้างสูง นอกจากนี้ ตลาด อาจจะค่อนข้างจำ�กัดอยู่เพียงเฉพาะกลุ่มหรือ มีความซับซ้อนของการลงทุนที่สูงขึ้นที่ต้อง อาศัยความเข้าใจก่อนตัดสินใจลงทุน การลงทุนประเภท ‘เฮดจ์ฟันด์’ (hedge fund) ก็เป็นการลงทุนทางเลือกประเภทหนึ่ง แม้ว่าในอดีตเฮดจ์ฟันด์อาจมีชื่อเสียงที่ไม่ดีนัก แต่ปัจจุบันกลับได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเพราะ สามารถสร้างผลตอบแทนได้ในระดับที่น่า สนใจ อีกทั้งผลตอบแทนยังไม่แปรผันตาม ตลาดมากนักและมีสภาพคล่องที่ดีพอสมควร กองทุนเฮดจ์ฟันด์มีหลายประเภท เช่น

• กองทุนแบบ arbitrage เป็นกองทุนที่หา ผลตอบแทนจากมูลค่าเชิงเปรียบเทียบของ สินทรัพย์ เช่น กองประเภท market neutral ที่มีการซื้อ (long) หุ้นหรือสินทรัพย์อื่นๆ (เช่น ค่าเงิน สินค้าโภคภัณฑ์ หรือสินทรัพย์ทางการ เงินอื่นๆ) และในขณะเดียวกันก็ขาย (short) สินทรัพย์ที่มีความสัมพันธ์กันสูง กองทุน ประเภทนี้สามารถเอาความเสี่ยงของตลาด ออกไปได้เกือบทั้งหมด ผลตอบแทนที่นัก ลงทุนจะได้ จะขึ้นอยู่กับความสามารถของ ผู้จัดการกองทุนในการเลือกซื้อสินทรัพย์ที่ให้ ผลตอบแทนดีกว่าสินทรัพย์ที่ขาย (คือถ้าขึ้นก็ ขึ้นมากกว่า หรือถ้าลงก็ลงน้อยกว่า) กองทุน ประเภทนี้มักจะสามารถควบคุมระดับความ ผันผวนของผลตอบแทนกองทุนได้ค่อนข้างดี • กองทุนที่มีการลงทุนบนทิศทางของ ตลาดเช่น กองทุนที่ลงทุนบนหุ้น ค่าเงิน พันธบัตร หรือการลงทุนอื่นๆ บนแนวคิดการ ลงทุนแบบมหภาค (global macro fund) ที่ อาจสามารถทำ�กำ�ไรได้จากแนวโน้มตลาดทั้ง ขึ้นและลง (เช่น อาจจะสามารถหากำ�ไรจาก แนวโน้มอัตราดอกเบี้ยที่กำ�ลังจะเป็นขาขึ้น) หรือกองทุนที่เน้นการลงทุนแบบเทคนิค • กองทุนทีล่ งทุนบนเหตุการณ์เฉพาะ (event-driven) เช่นกองทุนทีเ่ น้นลงทุนในหุน้ ที่ มีการควบรวมกิจการ กองทุนทีเ่ น้นซือ้ สินทรัพย์ ทีม่ ลู ค่าต�ำ่ ผิดปกติ (distressed assets) กองทุนทีล่ งทุนบนเหตุการณ์เฉพาะอืน่ ๆ เห็นไหมครับว่าในปัจจุบัน ทางเลือกใน การลงทุนมีมากขึ้น เพื่อช่วยกระจายความ เสี่ยง ลดความผันผวนของเงินลงทุนโดย รวม และสามารถหาวิธีสร้างผลตอบแทนใน สถานการณ์ที่ยากขึ้นเรื่อยๆ ที่การลงทุนแบบ ธรรมดาๆ ในอดีตไม่สามารถทำ�ได้ นักลงทุนจึง ต้องมีความพร้อมมากขึ้นในการหาข้อมูล และ ทำ�ความเข้าใจทางเลือกในการลงทุนใหม่ๆ เพื่อจะได้เลือกลงทุนอย่างเหมาะสมครับ

OPTIMISE | JANUARY 2017

11


optimum view

Unveiling Buddhism ธนกร จ๋วงพานิช

ชยสาโรภิกขุ เผยเนื้อแท้ของพุทธศาสนา ที่ยังคงเรืองรองภายใต้ความเปลี่ยนแปลง “นีห่ รือเมืองพุทธ” คือหนึง่ ในประโยคยอด นิยมทีม่ กั ถูกยกขึน้ มาเวลาทีค่ นไทยได้เห็นสิง่ ใด ทีไ่ ม่เป็นไปตามอุดมคติของสังคมทีด่ ี อย่างไร ก็ตาม เมือ่ พยายามสอบสวนให้ลกึ ขึน้ ว่าอะไร คือนิยามของเมืองพุทธ หรือเมืองพุทธทีแ่ ท้จริงมี ลักษณะเป็นเช่นใด ก็มกั พบคำ�ตอบทีไ่ ม่ชดั เจน และบ่อยครัง้ ก็ยอ้ นแย้ง เห็นได้จากเมืองไทย มีวดั ชือ่ แสนสงบทีอ่ กึ ทึกได้ยง่ิ กว่าบริษทั ห้าง ร้าน ผูค้ นบนอินเตอร์เน็ตทีท่ �ำ ร้ายกันด้วยการ ตัดสินและถ้อยคำ�ทัง้ ทีส่ รรเสริญความเมตตา ตลอดจนกิจกรรม ‘พุทธบูชา’ หลากหลายทีค่ น ขวนขวายเข้าไปร่วมเพือ่ เอาความขลังมากกว่า การขัดเกลาใดๆ ดูเหมือนช่อฟ้า ใบระกา หลังคา กระเบือ้ งของวัด และจีวรของพระทีม่ อี ยูท่ กุ หนแห่งในเมืองไทย ได้ทง้ั ‘รักษา’ และ ‘บดบัง’ พุทธศาสนาเอาไว้ในคราวเดียวกัน กระนัน้ ผูห้ นึง่ ทีอ่ ยูใ่ นฐานะเหมาะสมยิง่ ทีจ่ ะ ไขความข้องใจเกีย่ วกับความเป็นเมืองพุทธของ เมืองไทย ก็คอื ชยสาโรภิกขุหรืออาจารย์ชยสาโร เพราะมิตหิ นึง่ ท่านคือ ‘พระ’ มหาเถระ อดีตเจ้า อาวาสวัดป่านานาชาติ ผูบ้ วชมาแล้วกว่า 37 พรรษาในสำ�นักของพระโพธิญาณเถรหรือหลวง ปูช่ า สุภทฺโท ทีข่ น้ึ ชือ่ ว่าใกล้ชดิ เทีย่ งตรงในวัตร ปฏิบตั แิ บบพุทธบุตรครัง้ พุทธกาลมากทีส่ ดุ แต่ อีกมิตหิ นึง่ ท่านคือฌอน ชิเวอร์ตนั (Shaun Chiverton) ‘ฝรัง่ ’ จากประเทศอังกฤษผูม้ พี น้ื เพ ห่างไกลจากพุทธศาสนาโดยวัฒนธรรมประเพณี 12

OPTIMISE | JANUARY 2017

และความคิดแบบตะวันตก จนอยูพ่ น้ และอาจ วินจิ ฉัยภาวะ ‘ปลาไม่เห็นน�ำ้ ’ ทีห่ ลายคนเห็นว่า เป็นสถานการณ์ของชาวพุทธไทยได้เป็นอย่างดี ท่ามกลางความกระเพือ่ มรุนแรงจาก สถานการณ์การเมืองและเศรษฐกิจของโลก พัฒนาการของเทคโนโลยี ตลอดจนเหตุการณ์ วิปโยคยิง่ ใหญ่ของประเทศ น่าเชือ่ ว่าการกลับ มาทำ�ความเข้าใจกับศาสนาพุทธทีร่ ายล้อม สังคมไทยมาแต่อดีต จะช่วยให้เราได้พบกับ ทีพ่ ง่ึ เก่าแก่ส�ำ หรับเดินทางฝ่ากระแสความ เปลีย่ นแปลงเหล่านีไ้ ปได้ดว้ ยสันติและปัญญา

สปีชสี ข์ องศาสนา

ในความเห็นของอาจารย์ชยสาโร ก่อน จะพูดถึงสถานการณ์ของพุทธศาสนาในไทย สิง่ หนึง่ ทีจ่ �ำ เป็นต้องเข้าใจ ก็คอื ธรรมชาติโดย ทัว่ ไปของพุทธศาสนาเอง อาจารย์ชยสาโร เติบโตมาในสังคมทีน่ บั ถือศาสนาคริสต์ และ ก่อนจะมาบวชทีป่ ระเทศไทย ได้ใช้ชวี ติ ในวัย หนุม่ แสวงหาคำ�ตอบทางจิตวิญญาณมาอย่าง โชกโชน ตัง้ แต่จากสรรพหนังสือในศูนย์กลาง การเรียนรูอ้ ย่างเมืองเคมบริดจ์ ไปจนกระทัง่ จาก การพเนจรโบกรถจากอังกฤษ ไปยังเบลเยียม เยอรมัน ออสเตรีย ยูโกสลาเวีย กรีซ ตุรกี อิหร่าน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน และอินเดีย ประสบการณ์เหล่านีท้ �ำ ให้อาจารย์ชยสาโรได้ขอ้ สรุปอย่างหนึง่ ว่า แม้พทุ ธจะได้ชอ่ื ว่าเป็นศาสนา

แต่กเ็ ป็นศาสนาทีม่ ธี รรมชาติแตกต่างจาก ศาสนาอืน่ เช่น คริสต์ อิสลาม และยูดาห์ อย่างมีนยั สำ�คัญ “อาตมามองว่าศาสนาที่เกิดในตะวัน ออกกลางต่างจากศาสนาพุทธอย่างทีต่ อ้ งเรียก ว่าคนละตระกูลหรือคนละสปีชสี ์ ศาสนาที่ นับถือพระเจ้าองค์เดียวนัน้ อาตมาเรียกว่าเป็น ศาสนาในระบบ Belief System คือเน้นความ ศรัทธาเป็นคุณธรรมใหญ่ สังเกตได้จากภาษา อังกฤษบางทีจะใช้ค�ำ ว่า faith ซึง่ แปลว่าความ เชือ่ ถือแทนคำ�ว่าศาสนา เช่นพูดว่า Christian faith แทน Christian religion แต่ศาสนาพุทธ ไม่ได้เน้นเรือ่ งความเชือ่ เป็นสิง่ สูงสุด แต่เน้น การสอนให้พจิ ารณาว่าเรือ่ งใดมีเหตุมผี ลเป็น อย่างไร และในฐานะมนุษย์ ควรดำ�เนินการ อย่างไร ดังนัน้ ศาสนาพุทธจึงมีลกั ษณะเป็น Education System มากกว่า …สิง่ ทีต่ ามมาก็คอื ว่า หากเป็นศาสนาทีเ่ น้น หลักความเชือ่ ก็ยอ่ มเอือ้ ต่อการเผยแผ่ เพราะ เพียงแต่ย�ำ้ คำ�สอนทีผ่ เู้ ป็นสาวกจำ�เป็นต้องเชือ่ ก็อยูไ่ ด้ แต่ส�ำ หรับศาสนาทีเ่ ป็น Education System อย่างศาสนาพุทธ จะอยูไ่ ด้กเ็ ฉพาะ ด้วยคุณภาพของการศึกษาและคุณภาพของ ผูใ้ ห้การศึกษา ดังนัน้ พอในเมืองไทยมีความ อ่อนแอในสถาบันสงฆ์ซง่ึ มีหน้าทีร่ กั ษาและ เผยแผ่หลักธรรม ก็ยอ่ มมีผลกระทบต่อทัง้ ระบบ ความอ่อนแอของสถาบันในระบบ Belief System ไม่มผี ลกระทบมากเท่าระบบของเรา เพราะไม่มอี ะไรทีล่ ะเอียดลึกซึง้ จะต้องสอน …ข้อแตกต่างต่อมาก็คอื ศาสนาพุทธเป็น ศาสนาทีไ่ ม่มอี ดุ มการณ์ในการเปลีย่ นให้คน มาเป็นสาวก สังเกตได้วา่ พุทธศาสนาเข้าไป ทีไ่ หนไม่มคี วามรุนแรง เพราะเราก็จะพยายาม อยูอ่ ย่างเป็นมิตร ปรับตัวให้เข้ากับสิง่ แวดล้อม วัฒนธรรมใดทีไ่ ม่ขดั กับหลักพุทธศาสนาอย่าง ชัดเจน ก็ปล่อยไป อันนีเ้ ราเห็นตัง้ แต่สมัย พุทธกาล พระพุทธเจ้าก็อยูใ่ นสังคมทีม่ อี ะไรไม่ ถูกต้องหลายประการ แต่พทุ ธองค์เองก็ทราบ ดีวา่ ไม่สามารถต่อต้านหลักสังคมทัว่ ไปได้ ทัง้ หมด พุทธองค์จงึ ต่อต้านเฉพาะในข้อทีถ่ อื ว่า เป็นบาปเป็นกรรมหรือขัดกับหลักธรรมโดยตรง เช่นค่านิยมเรือ่ งชนชัน้ วรรณะทีถ่ อื ว่าใครดีหรือ OPTIMISE | JANUARY 2017

13


optimum view เรือ่ งสรุปยาก มองทางหนึง่ ก็นา่ ชืน่ ใจ มองทางหนึง่ ก็นา่ เศร้าใจ ปนๆ กันอยู”่ อะไรทีง่ า่ ยๆ อะไรทีต่ อบสนองความต้องการ เมือ่ ตัง้ ข้อสังเกตว่า หากพุทธศาสนาแบบ ขัน้ พืน้ ฐาน มันก็เป็นทีน่ ยิ ม คนจะพูดอยูเ่ สมอว่าสิง่ นัน้ ‘ฟาสต์ ฟูด้ ’ ประสบความสำ�เร็จในการสือ่ สารกับ คนในปัจจุบนั เหตุใดพุทธทีม่ คี วามถูกต้องเทีย่ งแท้ สิง่ นีม้ นั น่าจะมีอะไรดีสกั อย่างคนถึงนิยมเยอะ จึงไม่หยิบยืมกลวิธกี ารบริหารจัดการในลักษณะ แต่อาตมากลับคิดว่า เอ๊ะ---ทีค่ นเขานิยมมากขนาดนี้ ใกล้เคียงกัน เพือ่ ให้สามารถกระจายคำ�สัง่ สอนที่ มันน่าจะต้องมีอะไรที่ไม่ค่อยจะดี ถูกต้องนัน้ ไปได้อย่างเร็ว ง่ายและกว้างไกลทีส่ ดุ อาจารย์ชยสาโรได้ชใ้ี ห้เห็นว่าบางครัง้ ‘จำ�นวน’ สูงเพราะชาติก�ำ เนิด ค่านิยมเรือ่ งการบูชายัญที่ ต่างประเทศ ตะวันออกกับตะวันตก เราต้อง อาจไม่ใช่เป้าหมายของศาสนาพุทธ ถือว่าการฆ่าสัตว์หรือการทำ�ลายชีวติ เป็นบุญ ระวังให้มาก อย่าเอาแอปเปิล้ ไปเปรียบเทียบ “เราจะเอาประชาธิปไตยหรือความนิยมของ นีค่ อื นโยบายของพุทธเราตลอด กับส้ม ในกรณีของชาวตะวันตกทีเ่ ข้ามาสูพ่ ทุ ธ คนเป็นเครือ่ งตัดสินคุณค่าของสิง่ ต่างๆ ไม่ได้ …ทีน้ี พอลักษณะของศาสนาพุทธเป็น ศาสนาทีค่ นเห็น ส่วนมากจะเป็นชนชัน้ กลางมี อย่างทีพ่ ทุ ธองค์กล่าวจำ�แนกถึงประชาธิปไตย อย่างนี้ แต่คณ ุ ภาพกับความแม่นยำ�ในการ การศึกษาทีไ่ ม่พอใจกับวัฒนธรรมของคำ�สอน อัตตาธิปไตย ธรรมาธิปไตย อัตตาธิปไตยจะยึด ่ สัง่ สอนของสงฆ์กลับไม่สม�ำ เสมอ การแบ่ง ประจำ�ชาติ และแสวงหาสิง่ ทีใ่ ห้ความสุขและ ความคิด ความเห็น ความต้องการของตัวเอง แยกระหว่างพุทธกับสิง่ ทีไ่ ม่ใช่พทุ ธจะมัวๆ อยู่ ให้ค�ำ ตอบชีวติ มากกว่าทีม่ อี ยู่ เพราะฉะนัน้ ก็ เป็นหลัก แต่ธรรมาธิปไตยไม่ใช่ สิง่ ทีเ่ ป็นทีน่ ยิ ม เรียกได้วา่ ความเป็นพุทธอาจมีลกั ษณะเป็น เป็นการกลัน่ กรองอยูใ่ นตัวอยูแ่ ล้ว ทีนถ้ี า้ เราจะ กับคนจำ�นวนมาก มักจะต้องต�ำ่ เพราะมันเป็น spectrum คือมีความอ่อนแก่แบบ 100% 90% เปรียบเทียบกลุม่ ทีผ่ า่ นการกลัน่ กรองมาแล้วนี้ lowest common denominator เอาง่ายๆ 80% มากกว่าจะเด็ดขาดชัดเจน เช่นในศาสนา กับคนไทยโดยทัว่ ไป มันก็ไม่ยตุ ธิ รรม และไม่ สมมุตวิ า่ มีหนังสือ 2 เล่ม หนังสือธรรมะของ พุทธถือว่าไม่ควรไปไหว้พระขอนัน่ ขอนี่ สะท้อนให้เห็นความจริง อาจารย์พทุ ธทาสกับหนังสือโป๊ แล้วให้คนเลือกว่า ชาวพุทธส่วนใหญ่กร็ ู้ แต่ในขณะเดียวกันก็ยงั …อย่าลืมว่าเวลาเราพูดถึงคนไทย เรากำ�ลัง จะเอาเล่มไหน โดยไม่มใี ครรับรู้ ไม่ตอ้ งอายใคร อยากขออยู่ เพราะฉะนัน้ ในเมือ่ ยังอยากขอแต่ พูดถึงคน 50-60 ล้านคน ก็เป็นเรือ่ งธรรมดาที่ คนก็คงเอาหนังสือโป๊ ดังนัน้ อะไรทีง่ า่ ยๆ อะไรที่ ขอจากพุทธไม่ได้ ก็ไปขอจากเทวดาหรือจาก เวลาพิจารณาคนเป็นจำ�นวนมากอย่างนี้ พวกที่ ตอบสนองความต้องการขัน้ พืน้ ฐาน มันก็เป็น สิง่ อืน่ ในเมืองไทย พุทธ พราหมณ์ ผี อยูด่ ว้ ยกัน เน้นศรัทธาจะเป็นตัวเด่น แต่ในขณะเดียวกัน ทีน่ ยิ ม คนจะพูดอยูเ่ สมอว่าสิง่ นัน้ สิง่ นีม้ นั น่าจะ ตลอด สุดท้ายคุณภาพของพุทธจึงขึน้ อยูก่ บั พระ ผูท้ เ่ี ข้าหาพระพุทธศาสนาด้วยสติปญ ั ญาและ มีอะไรดีสกั อย่างคนถึงนิยมเยอะ แต่อาตมากลับ ทีจ่ ะชีใ้ ห้ชดั เจนว่านีค่ อื พุทธ นีค่ อื พราหมณ์ มุง่ มัน่ ศึกษาปฏิบตั กิ ม็ มี ากเหมือนกัน แต่กอ่ น คิดว่า เอ๊ะ---ทีค่ นเขานิยมมากขนาดนี้ มันน่าจะ นีค่ อื ผี นีค่ อื วัตถุนยิ ม นีค่ อื ลัทธิใหม่ๆ ทีเ่ ข้ามา มีแต่คนแก่มาถามอาตมา โอ๊ย---เป็นห่วงลูก ต้องมีอะไรทีไ่ ม่คอ่ ยจะดี” ครอบงำ�จิต ถ้าพระไม่ท�ำ หน้าทีน่ ใ้ี ห้ดี มันก็เป็น หลาน ไม่เอาศาสนาเลย ทำ�ยังไงดี แต่หลังๆ อย่างทีเ่ ห็นกัน” มานีม้ แี ต่หนุม่ สาวบอก โอ๊ย---พ่อแม่ไม่เอาเลย พุทธข้างนอก-ข้างใน อย่างไรก็ตาม ตรงกันข้ามกับความเข้าใจโดย ทำ�ยังไงพ่อแม่ถงึ จะเข้าวัด มันก็เป็นไปได้ นีแ่ หละเมืองพุทธ …สังคมเปลีย่ นแปลงไป ชีวติ ไม่ขน้ึ อยูก่ บั วัด ทัว่ ไปทีว่ า่ ศาสนาพุทธเป็นเรือ่ งของการมุง่ บำ�เพ็ญจิต นอกเหนือจากการทำ�ความเข้าใจธรรมชาติ เหมือนสมัยก่อน ความสนิทสนมกับพระสงฆ์ โดยไม่สนใจโลกข้างนอก อาจารย์ชยสาโรเน้นย�ำ้ ว่า ของศาสนาพุทธโดยหลักการ อีกสิง่ หนึง่ ที่ ก็ไม่เหมือนสมัยก่อน คนใช้ชวี ติ ด้วยความยาก ศาสนาพุทธทีแ่ ท้ไม่ได้เพิกเฉยกับการจัดโครงสร้าง อาจารย์ชยสาโรเห็นว่าจำ�เป็นต่อการวิเคราะห์ ลำ�บาก แค่ท�ำ มาหากินแต่ละวันกลับถึงบ้าน ทางโลก เพือ่ เอือ้ ให้มนุษย์เข้าถึงธรรมได้งา่ ยขึน้ ศาสนาพุทธในไทย ก็คอื การเก็บและประเมิน “ชือ่ ดัง้ เดิมของพระศาสนาตัง้ แต่พทุ ธกาล ก็หมดแรง ไม่แปลกใจว่าคนไม่มฉี นั ทะทีจ่ ะ ข้อมูลโดยไม่ดว่ นสรุป มิฉะนัน้ แล้ว อาจได้ภาพ ไปศึกษาค้นคว้าศาสนาอย่างลึกซึง้ ดังนัน้ พอ คือ ‘พระธรรมวินยั ’ ธรรมคือสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายใน ส่วน ทีฟ่ งั ดูสมเหตุสมผล แต่ไม่ตรงกับความจริง วินยั คือสิง่ แวดล้อมภายนอก พระพุทธเจ้าไม่เคย มีค�ำ สอนหรือมีส�ำ นักทีส่ อนอะไรได้งา่ ยแบบ อย่างเช่นการตัดสินโดยเหมารวมว่าชาวตะวัน สำ�เร็จรูป แบบ fast food มันก็ถกู จริตกว่า แต่ สอนความคิดแบบปัจเจกชนทีว่ า่ ทำ�ให้จติ ใจเรา ตกเข้าหาศาสนาพุทธด้วยปัญญาจนมักไปได้ ในขณะเดียวกันการเผยแผ่ในรูปแบบใหม่อย่าง ดีแล้วทุกอย่างมันจะดีไปเอง อันนีไ้ ม่ใช่ ในการที่ ถึงแก่น ในขณะทีค่ นไทยมักเน้นในเรือ่ งศรัทธา เช่นทาง Facebook หรือว่า Youtube ก็มขี อ้ ดี ท่านสร้างสถาบันสงฆ์ขน้ึ มาก็บอกชัดว่าเป็นไป จนหมิน่ เหม่ตอ่ การเป็นความงมงายทีท่ �ำ ให้ตดิ มาก ทำ�ให้ทกุ วันนีค้ นทีส่ นใจสามารถหาคำ�สอน เพือ่ จัดสรรความเป็นอยู่ สิง่ แวดล้อมให้เอือ้ ทีส่ ดุ อยูท่ เ่ี ปลือก ทีถ่ กู ต้องได้ สถานการณ์พทุ ธในเมืองไทยจึงเป็น สำ�หรับผูท้ ต่ี อ้ งการปฏิบตั ิ แล้วคำ�ว่าวินยั ก็ไม่ได้ “เวลาเราเปรียบเทียบระหว่างเมืองไทยกับ จำ�กัดเฉพาะวินยั ในพระปาฏิโมกข์ แต่หมายถึง 14

OPTIMISE | JANUARY 2017

OPTIMISE | JANUARY 2017

15


optimum view กฏหมาย ธรรมเนียม ประเพณี ทุกสิง่ ทุกอย่างที่ เราจัดสรรกันในครอบครัว ในชุมชน ในสังคมให้ สอดคล้องกับหลักธรรม ถ้าเราเข้าใจอย่างนี้ เราก็ตอ้ งพยายามสร้างระบบสังคมทีช่ วนให้คน เชือ่ ว่าทำ�ดีได้ดี ทำ�ชัว่ ได้ชว่ั เท่าทีเ่ ป็นไปได้ ในขณะทีเ่ มือ่ เห็นระบบอภิสทิ ธิ์ หรือมาตรฐาน สองระดับ ก็ตอ้ งรูว้ า่ สิง่ นีเ้ ป็นอันตรายต่อ วัฒนธรรมพุทธ ไม่งน้ั คนจะคิดว่าคนนีท้ �ำ ชัว่ ทำ�ไมเขาได้ดถี งึ ขนาดนี้ ทำ�ไมคนนีท้ �ำ ดีแล้วก็ถกู กดขี่ นีค่ อื การปล่อยให้ ‘ราคา’ เข้ามาแทน ‘วินยั ’ วัฒนธรรมพุทธจะเสียหาย …วินยั นัน้ สำ�คัญมาก ยกตัวอย่างหากอยูใ่ น ทีไ่ ม่ปลอดภัย มีความรุนแรงตลอด ถึงแม่บา้ นมี เวลาตอนบ่ายทีล่ กู ยังไม่กลับจากโรงเรียนสำ�หรับ นัง่ สมาธิให้จติ สงบ แต่ลกู อยูใ่ นทีไ่ ม่ปลอดภัย แม่จะสงบได้ยังไง ดังนั้นเราต้องจัดสรร สิง่ แวดล้อมอย่างน้อยให้ไม่ขดั กับการปฏิบตั ิ ไม่งน้ั ไม่ได้เรือ่ ง พระพุทธเจ้าสอนว่าการปฏิบตั ิ ธรรมจะได้ผล มีเงือ่ นไขบางส่วน คือคนเราจะ ต้องพ้นจากความเดือดร้อนในเรือ่ งปัจจัย 4 ก่อน ถ้าคนเขาจนแบบแค่ไม่ได้ไปเทีย่ ว อันนัน้ ก็ไม่วา่ ให้มกั น้อยสันโดษได้ แต่วา่ ถ้าคนจนแบบไม่มที ่ี อยูอ่ าศัย อาหารการกิน เสือ้ ผ้า ยารักษาโรค อันนีป้ ล่อยไม่ได้ ไม่งน้ั เรียกว่าเป็นพุทธไม่ได้ ฉะนัน้ ตัง้ แต่สมัยพุทธกาล พุทธองค์กล่าวว่า เป็นหน้าทีข่ องพระมหากษัตริย์ เป็นหน้าทีข่ อง รัฐบาล ทีจ่ ะต้องมีนโยบายให้ทกุ คนในประเทศ มีปจั จัย 4 ให้ครบ คือไม่ตอ้ งร�ำ่ ต้องรวย และไม่ ต้องเป็นคอมมิวนิสต์เสมอกันหมด แต่เพือ่ ให้คน สามารถเจริญในธรรม อย่างน้อยเขาจะต้องไม่ เป็นทุกข์กบั 4 ข้อนี้ …พูดง่ายๆ เราอาจสมมติได้วา่ ในสังคมใด สังคมหนึง่ เราอาจมีคน 10% ทีไ่ ม่วา่ สิง่ แวดล้อม จะเป็นยังไงก็ตาม 10% นีจ้ ะดี และคนอีก 10% ทีไ่ ม่วา่ สิง่ แวดล้อมจะเอือ้ หรือไม่เอือ้ ยังไง เขา ก็จะทำ�ชัว่ จนได้ แต่ทเ่ี หลืออีก 80% คือกลุม่ ที่ อ่อนแอ ถ้าสิง่ แวดล้อมชวนไปในทางดี เขาก็จะ ไปในทางดี สิง่ แวดล้อมชวนไปในทางชัว่ เขาก็ จะไปในทางชัว่ ดังนัน้ การบริหารจัดการก็ตอ้ ง มุง่ มาทีพ่ วกทีอ่ อ่ นแอนี้ เพราะถ้าเขามีตวั อย่าง ทีด่ ี ผูน้ �ำ ทีด่ ี สิง่ แวดล้อมทีด่ ี เขาก็มสี ทิ ธิจะไปทาง ดีได้มากกว่าชัว่ ” 16

OPTIMISE | JANUARY 2017

พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนความคิดแบบปัจเจกชน ที่ว่าทำ�ให้จิตใจเราดีแล้วทุกอย่างมันจะดีไปเอง อันนี้ไม่ใช่ ในการที่ท่านสร้างสถาบันสงฆ์ขึ้นมาก็ บอกชัดว่าเป็นไปเพื่อจัดสรรความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อมให้เอื้อที่สุดสำ�หรับผู้ที่ต้องการปฏิบัติ ไม่ใช่ดว้ ยความเชือ่ หรือการบังคับ ไม่วา่ จาก ภายในหรือภายนอก แต่จะเปลีย่ นได้กเ็ ฉพาะ เนือ่ งจากระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี จากการทำ�ตามความรูเ้ ห็นตามทีเ่ ป็นจริง ดังนัน้ ในปัจจุบนั วาดภาพมนุษย์ไว้วา่ เป็น Homo อาจพูดได้วา่ ศาสนาพุทธเป็นเรือ่ งของการปฏิบตั ิ Economicus หรือ ‘เศรษฐสัตว์’ ทีต่ ดั สินใจทำ� ตาม self-interest เพียงแต่เป็น self-interest สิง่ ต่างๆ เพียงเพือ่ ประโยชน์ของตัวเอง ภาวะ ทีม่ าจากการรูเ้ ห็นตามทีเ่ ป็นจริง สงบสันติของศาสนาทีอ่ ยูพ่ น้ การแก่งแย่งชิงดี …คนทัว่ ไปพูดถึง self-interest ในรูปของ ของสังคมหรือตลาด จึงถูกทำ�ให้เข้าใจไปโดย การแสวงหาผลประโยชน์เงินทอง แต่ถา้ เป็น ปริยายว่าจะเกิดขึน้ ต่อเมือ่ มนุษย์รจู้ กั ละวาง พุทธก็ตอ้ งถามว่า ความสัมพันธ์ระหว่างเงินกับ ความเห็นแก่ประโยชน์สว่ นตน โดยยิง่ วางได้ ความสุข มันเป็นยังไง เพราะทีน่ า่ สนใจคือเมือ่ มากเท่าไหร่ ก็จะยิง่ สุขเท่านัน้ อย่างไรก็ดี ดูเหมือนความเข้าใจเช่นนี้ จะไม่ใช่ความเข้าใจ เราพ้นความเดือดร้อนเรือ่ งปัจจัย 4 แล้ว ความ สัมพันธ์ระหว่างการเพิม่ ขึน้ ของเงินกับการเพิม่ ทีท่ �ำ ให้คนเข้าหาศาสนาพุทธได้อย่างถูกต้อง ขึน้ ของความสุขมันไม่ได้ไปด้วยกัน มีการวิจยั และมีพลังทีส่ ดุ แล้วพบว่าถ้าเรามีรายได้เป็นระดับชนชัน้ กลาง “เรือ่ งการสละผลประโยชน์สว่ นตัวเพือ่ ส่วนรวม อันนัน้ อาจเรียกได้วา่ เป็นความคิดแบบ แล้ว หลังจากนัน้ เพิม่ เงินเท่าไหร่กไ็ ม่มผี ลต่อ พุทธมหายาน เช่น เวลาอาตมาไปจีน ไปทิเบต ความสุข ดังนัน้ เราควรต้องกลับมาคิดว่าเป็น ไปภูฏาน เขาจะบอกว่าเราเถรวาทเป็นหินยาน ความงมงายหรือเปล่าทีค่ ดิ ว่าเงินยิง่ มากยิง่ ดี (ยานลำ�เล็ก ซึง่ ช่วยพาสัตว์โลกข้ามทะเลทุกข์ได้ ก็กลับมาทีเ่ รือ่ งความรูค้ วามเข้าใจตามความ เป็นจริงจะเป็นตัวกำ�หนดคุณภาพของ selfน้อย) อาตมาก็จะบอกว่า ฝ่ายเถรวาทไม่ได้ interest ถ้าคนคิดคับแคบ งมงาย หรือขาด ปฎิเสธการทำ�งานเพือ่ คนอืน่ แต่ถอื ว่าถ้าไม่ท�ำ ความเข้าใจตามความเป็นจริง ก็จะไม่รวู้ า่ อะไร เพือ่ ตัวเองพร้อมๆ กัน ผลจะไม่ดเี ท่าทีค่ วร คือสิง่ ทีด่ ที ส่ี ดุ เวลาคิดว่าทำ�เพือ่ ตน ผลออกมา …เราเห็นง่ายๆ พวกเอ็นจีโอทีท่ �ำ งานเพือ่ อาจเป็นการทำ�สิง่ ทีท่ �ำ ลายตนได้ สังคม บางทีท�ำ เต็มทีป่ สี องปีแล้วก็หมดแรง …ความจริง อาตมาว่าในบทสวดมนต์ทเ่ี รา เพราะอะไร เพราะไม่ได้ท�ำ เพือ่ ตัวเองด้วย คิด คุน้ กันดีได้ให้หลักการทีช่ ดั เจน เวลาเราทำ�พิธี ว่าคนดีจะต้องทำ�ให้คนอืน่ แต่สดุ ท้าย ถ้าไม่เริม่ จากทำ�เพือ่ ตัวเอง รูเ้ ท่าทันจิตใจตัวเอง รูเ้ ท่าทัน ทางศาสนา เราจะกล่าวว่าทำ�ไป ‘เพือ่ ประโยชน์ กิเลส กิเลสจะค่อยๆ แทรกเข้ามา จนกลายเป็น เพือ่ ความสุข ของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ตลอดกาล นาน’ อันนีช้ ดั มาก คือทำ�เพือ่ ‘ประโยชน์’ หนึง่ ความเชือ่ มัน่ ว่าตัวเองถูก คนอืน่ ผิด งานมันก็ ไม่ดี ดังนัน้ หากจะทำ�ประโยชน์ ทำ�ความสุขใน เพือ่ ‘สุข’ หนึง่ เพือ่ ‘ข้าพเจ้าทัง้ หลาย’ ไม่ใช่แค่ ระยะยาวของคนอืน่ จะแยกเรือ่ งการจัดการกับ ข้าพเจ้า ‘ตลอดกาลนาน’ คือระยะยาว ไม่ใช่ ระยะสัน้ เป้าหมายพระพุทธศาสนาอยูใ่ นนี้ กิเลสและปลูกฝังคุณงามความดีสว่ นตัวออก ไปไม่ได้ ทางพุทธศาสนาเรามีหลักว่าคนเราจะ ตอบในตัวเอง” ฟังดูแล้ว แม้กระทัง่ การฝึกฝนขัดเกลา เปลีย่ นพฤติกรรมไปในทางทีด่ ไี ด้อย่างแท้จริง

ประโยชน์ตน ประโยชน์ทา่ น

OPTIMISE | JANUARY 2017

17


optimum view

พุทธศาสนาไม่ได้สอนให้ไม่อยากอะไร แต่สอนว่าเราต้อง เปลี่ยนกระแส ‘ตัณหา’ เป็นกระแส ‘ฉันทะ’ ให้มากที่สุด เท่าที่จะทำ�ได้ ความแตกต่างระหว่างตัณหากับฉันทะ คือตัณหาจะมุ่งที่ผลงาน ส่วนฉันทะจะมุ่งที่ตัวงาน ตัวเองในศาสนาพุทธทีม่ คี วามหลุดพ้นจากกิเลส เป็นเป้าหมาย แท้จริงก็อาจเริม่ ได้เช่นเดียวกับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจอืน่ ๆ คือเมือ่ ผูฝ้ กึ ฝนเล็ง เห็นว่าการฝึกนัน้ เป็นคุณต่อตนเองมากกว่าเป็น โทษ จนอาจกล่าวได้วา่ ในบางระดับ การปฏิบตั ิ ธรรมก็ตอ้ งอาศัยความอยากเช่นกัน “อันนีก้ เ็ ป็นอีกข้อหนึง่ ทีเ่ ข้าใจผิดกันมาก พุทธศาสนาไม่ได้สอนให้ไม่อยากอะไร แต่สอน ว่าเราต้องเปลีย่ นกระแส ‘ตัณหา’ เป็นกระแส ‘ฉันทะ’ ให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะทำ�ได้ ความ แตกต่างระหว่างตัณหากับฉันทะคือ ตัณหาจะ มุง่ ทีผ่ ลงาน ส่วนฉันทะจะมุง่ ทีต่ วั งาน เช่น ถ้า เราทำ�งานเพือ่ เงินเดือน ก็กลายเป็นว่างานคือ เงือ่ นไขเพือ่ ให้ได้สง่ิ ทีต่ อ้ งการ คือเงิน นีค่ อื การ คิดแบบตัณหา ตัวงานไม่มคี วามหมายเท่าไหร่ หากว่ามีวธิ ที ไ่ี ด้เงินแต่ท�ำ งานน้อยลง หรือทาง ลัดอืน่ ๆ ก็ท�ำ ทัง้ นัน้ และในเมือ่ ไม่รกั ตัวงาน โอกาสทีง่ านจะฉาบฉวย ไม่มคี ณ ุ ภาพก็มี โอกาสทีจ่ ะคอร์รปั ชันก็มี การทำ�งานด้วยตัณหา จึงนำ�ไปสูป่ ญ ั หามากมาย …แต่ถา้ เป็นฉันทะ เราจะพยายามตัง้ ความ ภาคภูมใิ จ ความพอใจ ความสนใจ ไว้ในตัวงาน ซึง่ ไม่ใช่เรือ่ งเพ้อฝัน เงินเดือนก็ได้อยูแ่ ล้ว ทำ�ไม เราจึงไม่มาเน้นทีค่ ณ ุ ภาพของงาน การมีความ สุข ความพอใจกับงาน ทำ�ได้อย่างนีก้ จ็ ะมีความ สุขทุกวันโดยไม่ตอ้ งรอถึงปลายเดือน เป็นกำ�ไร แล้วความคิดสร้างสรรค์ ความคิดทีจ่ ะพัฒนา งานก็เกิดได้มาก ผลก็คอื แม้กระทัง่ ในระบบ การแข่งขัน การทำ�งานแบบนีเ้ ราก็ได้เปรียบ …เมืองนอกมีศพั ท์บญ ั ญัตถิ งึ ‘intrinsic motivation’ กับ ‘extrinsic motivation’ extrinsic คือแรงจูงใจทีม่ าจากข้างนอก เช่นเขา ให้โบนัสมากระตุน้ ให้เราทำ�งาน ส่วน intrinsic 18

OPTIMISE | JANUARY 2017

คือฉันทะจากภายใน มีหลายงานวิจยั บอกว่า แรงจูงใจภายในดีกว่า เขาแบ่งเด็กเป็น 2 กลุม่ ให้เล่นเกมต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ถ้าเล่นได้ ครบ 30 นาทีกลุม่ หนึง่ จะได้รางวัล อีกกลุม่ หนึง่ ไม่มรี างวัล กลุม่ แรก พอตีระฆังก็เลิกเลย ส่วน กลุม่ ทีส่ องทีไ่ ม่มรี างวัล พอตีระฆังแล้วขอเล่นต่อ เพราะกำ�ลังมัน กำ�ลังสนุก ไม่ได้ท�ำ เพือ่ อะไร แล้วพอทุกการกระทำ�มีความหมาย มีผล ประโยชน์ในตัว เรือ่ ง self-interest หรือเรือ่ ง ความแตกต่างระหว่างผลประโยชน์เพือ่ ตัวเอง หรือเพือ่ ใครมันก็หายไป มีแต่ความสุขในการทำ� อยากทำ�ให้มนั ดีเท่านัน้ ”

ตืน่ รู… ้ และเรียนรู้

ยังไม่ตอ้ งพูดถึงนิพพานหรือหลักธรรมขัน้ สูง ใดๆ การทีอ่ าจารย์ชยสาโรชีใ้ ห้เห็นความนัย ลึกซึง้ ของคำ�แปลบทถวายสังฆทานพืน้ ๆ ทีค่ น ส่วนใหญ่กล่าวได้อย่างคล่องปากแต่ไม่เคยเข้า ถึงความหมาย ตลอดจนการคลีค่ ลายความ เข้าใจผิดเกีย่ วกับคำ�สอนทัว่ ไปของพุทธศาสนา ในหลายประเด็นข้างต้น ทำ�ให้เห็นได้อย่าง ง่ายดายว่า ‘เมืองพุทธ’ ทีเ่ รานิยมอ้าง ยังเป็น เมืองทีว่ า่ งเปล่า และจำ�ต้องได้รบั การเติมเต็ม อีกมาก “อาตมาไม่มองว่าเมืองไทยเป็นเมืองพุทธ แต่มองว่าเมืองไทยมีศกั ยภาพสูงมากทีจ่ ะเป็น พุทธได้ ถ้าเรามองอย่างนีจ้ ะไม่ประมาท แต่ มันก็น�ำ ไปสูค่ �ำ ถามว่า แล้วเราต้องการเป็น เมืองพุทธไหม ถ้าเราไม่ตอ้ งการเป็นเมืองพุทธก็ แล้วไป แต่ถา้ เราต้องการ ก็ตอ้ งมีการจัดสรรสิง่ ต่างๆ กันใหม่ เช่นการศึกษา เพราะทุกวันนี้ เด็กไทยมีความสามารถน้อยมากในการคิด วิเคราะห์ตา่ งๆ และในเมือ่ พุทธศาสนา เป็น ศาสนาทีต่ อ้ งอาศัยการใช้ปญ ั ญา ศาสนาพุทธก็

เลยกลายเป็นจุดอ่อนของเรา …มีคนวิเคราะห์ถงึ สาเหตุทร่ี ะบบการศึกษา ของไทยหลากหลาย แต่สว่ นตัวของอาตมาเอง อาตมารูส้ กึ ว่าปัญหาคือเรานำ�เข้าระบบการ ศึกษาแบบตะวันตกมาในช่วงตอนปลาย ศตวรรษที่ 19 คล้ายกับเราเห็นว่ามันเป็น หลักการ universal สำ�หรับการพัฒนามนุษย์ สังเกตได้วา่ ในภาษาไทย คำ�ว่า western และ คำ�ว่า universal ใช้ค�ำ เดียวกันคือ ‘สากล’ ของ ตะวันตกก็คอื ของสากล แต่ความจริง ระบบ การศึกษาแบบตะวันตกนัน้ ตัง้ อยูบ่ นวัฒนธรรม ความคิด และอะไรอีกหลายอย่างของตะวันตก ซึง่ ทำ�ให้การนำ�หลักการนีม้ าใช้โดยไม่เข้าใจถึง ทีม่ า และก็ประทับไปบนวัฒนธรรมไทยเลย จะไม่คอ่ ยได้ผลดี แทนทีเ่ ราจะได้สง่ิ ทีด่ ที ส่ี ดุ จาก สองโลก เรากลับได้สง่ิ ทีแ่ ย่ทส่ี ดุ จากทัง้ สองโลก …อย่างทีอ่ าตมาพูดตอนต้น อาตมามองว่า ศาสนาพุทธนัน้ เป็น Education System เห็นได้ ง่ายๆ จากหัวใจการปฏิบตั ใิ นพุทธศาสนานัน้ รวมความอยูใ่ นคำ�ว่า ‘ไตรสิกขา’ สิกขาแปล ว่าศึกษา ไตรสิกขาก็คอื การศึกษาศีล-สมาธิปัญญา 3 อย่าง ซึง่ ถือได้วา่ เป็นการศึกษาที่ ครอบคลุมรอบด้านทีส่ ดุ เกีย่ วกับการเป็นมนุษย์ อาตมาจึงได้ความคิดว่า ถ้าหัวใจสำ�คัญของ ศาสนาพุทธคือการศึกษาเกีย่ วกับความเป็น มนุษย์ แล้วประเทศไทยก็มพี น้ื ฐานดัง้ เดิมเป็น วัฒนธรรมพุทธ ดังนัน้ เหตุใดเราจึงไม่จดั ระบบ การศึกษาของเราให้ลอ้ ไปกับกรอบทาง พุทธศาสนา แน่นอน ระบบการศึกษาไม่ สามารถครอบคลุมทัง้ หมดของศาสนาได้ แต่ อย่างน้อยก็ควรจะสอดคล้องกับพุทธศาสนา เพราะถ้าทำ�ได้อย่างนี้ หนึง่ การศึกษานัน้ จะ เป็นการศึกษาทีด่ ที ส่ี ดุ สำ�หรับความเป็นมนุษย์ และสอง การศึกษานัน้ จะสอดคล้องกับพืน้ ฐาน ของสังคมไทย แทนทีจ่ ะเป็นของทีถ่ กู ยกเข้ามา จากทีอ่ น่ื ทัง้ ก้อน” อย่างไรก็ตาม เพือ่ หลีกเลีย่ งคำ�ว่าไตรสิกขา ทีอ่ าจให้นยั ยะทางศาสนาจนคนรูส้ กึ ยากจะ เชือ่ มโยงกับการศึกษาทางโลก อาจารย์ชยสาโร ได้เลือกใช้หลักธรรม ‘ภาวนา 4’ ซึง่ ประกอบ ไปด้วยกายภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา และ ปัญญาภาวนา มาเป็นโครงสร้างหลักสูตร OPTIMISE | JANUARY 2017

19


optimum view

ในพุทธศาสนาเรามีคำ�ศัพท์วา่ ‘สัจจานุรกั ษ์’ คือการ อนุรกั ษ์สจั จะ หมายความว่า ถ้าหากเรา ‘เชือ่ ’ สิง่ ใด สิง่ หนึง่ อย่าเพิง่ กล่าวว่า ‘รู’้ ในสิง่ นัน้ ความเชือ่ กับความ รูไ้ ม่ตรงกัน คนเราสามารถเชือ่ 100% ในสิง่ ทีไ่ ม่จริงได้ การศึกษาในโรงเรียนทอสีและโรงเรียนปัญญา ประทีป โรงเรียนประถมและโรงเรียนมัธยม วิถพี ทุ ธทีอ่ าจารย์รบั หน้าทีเ่ ป็นทีป่ รึกษาอยู่ “อาตมารูส้ กึ ว่ากรอบนีเ้ ป็นกรอบทีเ่ หมาะ สำ�หรับประยุกต์สร้างระบบการศึกษา เพราะมี นัยยะครอบคลุมเช่นเดียวกับไตรสิกขา โดยคำ� ว่า ‘ภาวนา’ จริงๆ ก็คอื พัฒนา กายภาวนาก็คอื การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั วัตถุ รอบตัว (วิชาสายวิทย์) ศีลภาวนาคือการพัฒนา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สังคมรอบตัว (วิชาสายสังคม) จิตภาวนาคือการพัฒนาจิตใจ ให้สขุ มาก ทุกข์นอ้ ย และปัญญาภาวนา คือการ พัฒนาความคิด ตัง้ แต่ทกั ษะการคิดเบือ้ งต้น ไป จนกระทัง่ การพิจารณาสัจธรรมความจริงในทีส่ ดุ อาตมาเห็นว่าภายใต้กรอบนี้ เราสามารถเอา วิชาการศึกษาทางโลกมาใส่ได้ไว้ทง้ั หมด และใน ขณะเดียวกันก็เติมเต็มช่องว่างบางอย่างทีร่ ะบบ การศึกษาในปัจจุบนั ละเลยไป”

โลกทีไ่ ม่เหมือนเดิม

อย่างไรก็ตาม อาจารย์ชยสาโรบอกว่า ความสำ�เร็จของการศึกษาวิถพี ทุ ธไม่ได้ขน้ึ อยู่ กับหลักสูตรมากเท่ากับความเป็นกัลยาณมิตร ของครูและผูป้ กครอง ผูต้ อ้ งทำ�ตัวเป็นตัวอย่าง และสร้างบรรยากาศให้เอือ้ ต่อการซึมซับความ รูแ้ ละหลักธรรมต่างๆ ของเด็ก ไม่ตา่ งอะไรกับ บทบาทของพระต่อโยม และไม่ตา่ งอะไรกับ ประสบการณ์ของอาจารย์ชยสาโรเองเมือ่ ครัง้ ศึกษาอยูก่ บั หลวงปูช่ า “พระเรามีหน้าทีต่ อ้ งเป็นตัวอย่าง ต้องเป็น ผูพ้ สิ จู น์ดว้ ยวิถชี วี ติ ให้คนรูส้ กึ ได้วา่ ชีวติ ที่ เรียบง่าย ชีวติ ทีบ่ ริโภคน้อยสามารถมีความ สุขมากกว่าผูบ้ ริโภคมากได้ คือถ้าพระอยูแ่ บบ สะดวกสบาย ฟุม่ เฟือย แล้วไปสอนเรือ่ งมักน้อย สันโดษกับชาวบ้าน มันสอนได้ คนอาจจะเข้าใจ

20

OPTIMISE | JANUARY 2017

หลัก แต่วา่ มันไม่ถงึ ใจ เพราะพระเองไม่ได้เป็น ตัวอย่างทีด่ ี เหมือนกัน ในเรือ่ งการสอนธรรมะ ครูเป็นของสำ�คัญ อย่างทีอ่ าตมาไปอยูก่ บั หลวง พ่อชา ท่านมีพรสวรรค์ในการสอนธรรมะมาก จริง แต่จะว่าไปแล้ว ชาวตะวันตกทีไ่ ปอยูก่ บั ท่าน ก็ใช่จะไม่เคยฟังสิง่ ทีท่ า่ นพูดมาก่อน เพราะพวกเราก็อา่ นหนังสือเยอะ แต่สง่ิ ทีต่ า่ ง คือเวลาหลวงพ่อสอน เราจะเหมือนกับได้ฟงั สิง่ นัน้ เป็นครัง้ แรก แม้แต่ธรรมะพืน้ ๆ ทีเ่ ราเคย อ่าน ก็กลายเป็นถึงอกถึงใจเพราะตัวท่าน เพราะ ศรัทธาของเราทีเ่ กิดขึน้ ว่าหลวงพ่อท่านพูดจาก ความจริงในจิตใจของท่าน ไม่ได้พดู ตามสัญญา ไม่ได้พดู ตามสิง่ ทีท่ า่ นอ่านมาจากหนังสือหรือฟัง จากคนอืน่ สิง่ เหล่านีม้ ผี ลต่อจิตใจเรามากทีเดียว ทุกวันนี้ เทคโนโลยีอาจจะเริม่ มาแทนมนุษย์ใน หลายๆ เรือ่ ง แต่เรือ่ งความประทับใจ หรือสิง่ ลึก ซึง้ ทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างคนสองคน ระหว่างอาจารย์ กับลูกศิษย์ สิง่ เหล่านีน้ า่ จะไม่มวี นั ล้าสมัยไปได้” กระนัน้ อาจารย์ชยสาโรไม่ได้คาดหวังสูงมาก สำ�หรับการทีส่ งั คมจะนำ�การศึกษาวิถพี ทุ ธไปใช้ “อาตมาโชคดีทไ่ี ด้อปุ ฏั ฐากใกล้ชดิ หลวงพ่อชา ตอนนัน้ เป็นช่วงทีท่ า่ นเผยแพร่ ธรรมะไปในหมูล่ กู ศิษย์ชาวตะวันตกได้เป็น จำ�นวนมาก ลูกศิษย์หลายคนก็ตน่ื เต้นว่าสิง่ ดีๆ กำ�ลังจะเกิดขึน้ ต่อไปนีค้ นจะได้รจู้ กั พุทธศาสนา มากขึน้ แต่หลวงพ่อพูดว่า ‘อย่าไปคิดว่าจะวิด ทะเลทุกข์ของโลกให้แห้งได้ แค่ตกั มาได้ทลี ะ กระบวยก็ดแี ล้ว’ คำ�นีฝ้ งั อยูใ่ นหัวอาตมา ดังนัน้ อาตมาจึงอาจไม่หวังสูง ในขณะเดียวกัน อาตมาก็เชือ่ ว่าในช่วง 20-30 ปีขา้ งหน้า โลกจะ เกิดความเปลีย่ นแปลงอย่างมาก ไม่วา่ จะเรือ่ ง สิง่ แวดล้อม เรือ่ งโลกร้อน เรือ่ งหุน่ ยนต์ เราจะ มาถึงจุดทีม่ นุษย์ไม่ตอ้ งทำ�งานกันอีกแล้ว แล้ว เราจะทำ�อะไร นีย่ งั ไม่รวมถึงพัฒนาการทาง เทคโนโลยีทเ่ี รานึกไม่ออกอีกต่างหาก ดังนัน้ ใน

เรือ่ งการศึกษาทีค่ นมักจะพูดกันว่าให้เตรียมเด็ก ให้พร้อมสำ�หรับอยูใ่ นโลกให้ได้ แต่ขอ้ เท็จจริงคือ เด็กเขาจะไม่ได้อยูใ่ นโลกใบนี้ สิง่ ทีเ่ ขาเรียนจะ ต้องถูกโยนทิง้ เหมือนสิง่ อืน่ ๆ ทีเ่ ราทิง้ ไปตอนมี คอมพิวเตอร์กบั อินเตอร์เน็ต …มองอย่างนี้ สิง่ ทีโ่ รงเรียนควรปลูกฝังให้เด็ก คือฉันทะ คือความใฝ่รู้ คือความรักในการเรียน ต่างหาก เพือ่ ทีไ่ ม่วา่ ในอนาคตมีความท้าทาย อะไร เด็กจะมีความรูส้ กึ ว่า ‘หนูพร้อม’ ความจริง ศาสนาพุทธในฐานะคำ�สอนทีส่ นับสนุนให้คนมี ความเข้าใจสิง่ ต่างๆ รูท้ นั ว่าความเปลีย่ นแปลง เกิดขึน้ อย่างไร เพราะเหตุปจั จัยอะไร จะเป็น พืน้ ฐานทีส่ �ำ คัญมาก น่าเสียดายทีป่ จั จุบนั นี้ กลับไม่คอ่ ยมีคนเห็นคุณค่า …ถ้าดูความขัดแย้งในรอบ 10 ปีทผ่ี า่ นมา ยิง่ สะท้อนความอ่อนแอของพระพุทธศาสนา เพราะพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาเดียวทีม่ คี �ำ สอนว่าอย่ายึดมัน่ ถือมัน่ ในความคิดเห็นของตน เน้นเรือ่ งความอ่อนน้อมถ่อมตน การรับฟังผูอ้ น่ื คือมีค�ำ สอนในเรือ่ งนีโ้ ดยตรง ซึง่ ไม่มใี นศาสนา อืน่ ปกติศาสนาจะสอนกันว่าเราถูกเขาผิด แต่ ในพุทธศาสนาเรามีค�ำ ศัพท์วา่ ‘สัจจานุรกั ษ์’ คือ การอนุรกั ษ์สจั จะ หมายความว่า ถ้าหากเรา ‘เชือ่ ’ สิง่ ใดสิง่ หนึง่ อย่าเพิง่ กล่าวว่า ‘รู’้ ในสิง่ นัน้ ความเชือ่ กับความรูไ้ ม่ตรงกัน คนเราสามารถ เชือ่ 100% ในสิง่ ทีไ่ ม่จริงได้ ทุกคนมีสทิ ธิทจ่ี ะเชือ่ เพียงแต่อย่าเพิง่ กล่าวว่าสิง่ ทีเ่ ชือ่ มันจริงแน่นอน ต้องคิดเผือ่ ไว้ เพราะว่าข้อมูลอาจจะผิด ไม่ครบ การวิเคราะห์ขอ้ มูลในแต่ละขัน้ ตอน มันมีสทิ ธิจะ ผิดพลาดได้เสมอ …ยิง่ สมัยนีย้ ง่ิ อันตรายเพราะคนเชือ่ ทาง โซเชียล มีเดีย ทุกวันนีค้ นสามารถรับฟัง สามารถอ่านเฉพาะในสิง่ ทีต่ รงกับความคิดของ ตัวเองเท่านัน้ สมัยก่อนในอังกฤษ ทีวจี ะมีชอ่ ง แค่ 3 ช่อง ทางเลือกมันน้อย เพราะฉะนัน้ จึง จำ�เป็นต้องรับฟังความคิดเห็นของคนทีไ่ ม่ตรง กับเรา ทุกวันนีค้ นอยูใ่ นโลกของคนทีต่ รงกัน กรุป๊ เดียวกัน ความคิดเดียวกัน วัยเดียวกัน ยิง่ ฟัง ยิง่ อ่าน ยิง่ ตกร่องความคิดของตัวเอง สิง่ นี้ ก็ท�ำ ให้เกิดความขัดแย้ง หรือการรังเกียจกันได้ …พุทธศาสนาสอนว่าเราเป็นเพือ่ น เพือ่ น เกิด-แก่-เจ็บ-ตาย เรือ่ งต�ำ่ -สูง รวย-จน อันนัน้ OPTIMISE | JANUARY 2017

21


optimum view

คำ�ทักทายคำ�หนึ่งในภาษาไทยจะพูดว่า ‘ไปไหน’ ซึ่งสื่อถึงการเคลื่อนไหวตลอดเวลา อาตมาว่าถึง เวลาที่เราต้องทักทายว่า ‘หยุดอยู่ตรงไหน’ คนเรา ตอนนี้ต้องรู้จักหยุด ชีวิตที่สมบูรณ์ต้องมีการ เคลื่อนไหวและการนิ่งสมดุลกัน เป็นเรือ่ งสมมติ เราอยูใ่ นโลก 2 โลกพร้อมกัน โลกของสัจธรรมความจริงกับโลกของสมมติ ขณะอยูใ่ นโลกสมมติเราก็ตอ้ งยอมรับ ปฏิบตั ไิ ป ตามสมมติ แต่อย่าไปหลงกับมัน เพราะในโลก ของสัจธรรม สิง่ ทีค่ นเราเหมือนกันมากกว่าสิง่ ทีต่ า่ งกันอย่างเทียบไม่ได้ นีค่ อื คำ�สอนเบือ้ งต้น ของพระพุทธศาสนา การทีส่ งั คมไทยเกิดภาวะ อย่างทีเ่ ราเห็นกันได้ แสดงว่าคนไม่เอาเลย” แม้สง่ิ ทีไ่ ด้ยนิ ได้ฟงั จากอาจารย์ชยสาโรจะ สมเหตุสมผลอย่างยิง่ แต่เราอดนึกไม่ได้วา่ แม้ ความรูส้ กึ คล้อยตามเช่นนีก้ เ็ ป็นความเชือ่ ชนิด หนึง่ ซึง่ ดูจะค้านกับหลักธรรมในเรือ่ ง ‘ไม่เชือ่ ไว้ ก่อน’ ของศาสนาพุทธ อย่างไรก็ตาม สำ�หรับ อาจารย์ชยสาโร ความเชือ่ ไม่ได้เป็นพิษเป็น ภัยในตัวเอง ตรงกันข้าม หากจัดการได้ถกู ต้อง ความเชือ่ เบือ้ งต้นเหล่านีไ้ ม่ได้ตา่ งอะไรกับการ สร้างสมมติฐานของวิทยาศาสตร์ “คนชอบใช้ค�ำ ว่า ‘ศรัทธาทีม่ ดื บอด’ แต่มี คำ�สอนหลายเรือ่ งทีจ่ �ำ เป็นต้องยึดถือไว้กอ่ น ในฐานะ working hypothesis หรือสมมติฐาน สำ�หรับเอาไว้ท�ำ งาน อย่าลืมว่าพุทธศาสนาคือ เรือ่ งของการเปลีย่ นแปลงความเป็นมนุษย์ท่ี ลึกซึง้ มาก ซึง่ เราไม่มที างรูท้ ง้ั หมดตัง้ แต่ตน้ แน่นอนการเชือ่ มีความเสีย่ ง เพราะสำ�หรับบาง เรือ่ ง มีคนจำ�นวนน้อยมากทีจ่ ะสามารถพิสจู น์ สิง่ นัน้ ได้อย่างสิน้ สงสัย คนอืน่ ๆ จึงต้องใช้การ อนุมานเอา ขออุปมาง่ายๆ ว่า ถ้ามีคนบอกเรา ว่าบันไดมี 100 ขัน้ ถ้าเราเดินไปได้จนถึงขัน้ ที่ 90 เราก็อาจเริม่ มัน่ ใจว่าบันไดคงมีตอ่ ไปถึง 100 ขัน้ แต่ใครจะไปรูว้ า่ ความจริง บันไดอาจมีแค่ 91 ขัน้ ก็ได้ สุดท้ายแล้วมันจึงต้องมีเรือ่ งของศรัทธา เข้ามา ซึง่ ในทางพุทธศาสนา ศรัทธาไม่ใช่ของไม่ดี 22

OPTIMISE | JANUARY 2017

เพียงแต่ตอ้ งระลึกว่าศรัทธาเป็นแค่เครือ่ งมือ ไม่ใช่เป้าหมายหลัก แต่ส�ำ หรับอาตมาเองศึกษา ศาสนาพุทธมา 40 ปี ยังไม่มสี ว่ นไหนทีอ่ าตมา พูดได้เองว่าไม่ใช่ อาตมาจึงศรัทธาในคำ�สอน ของพุทธองค์”

หยุดเข้าปีใหม่

ก่อนจะกราบนมัสการอำ�ลาอาจารย์ชยสาโร เราขอพรสำ�หรับปีใหม่ทก่ี �ำ ลังมาถึง แต่ผดิ กับ ธรรมเนียมปกติทม่ี กั อวยพรให้เกิดความเจริญ ก้าวหน้าในโอกาส ‘ย่าง’ เข้าปีใหม่ อาจารย์ ชยสาโรเลือกจะอวยพรด้วย ‘ความหยุด’ “คำ�ทักทายคำ�หนึง่ ในภาษาไทยจะพูดว่า ‘ไปไหน’ ซึง่ สือ่ ถึงการเคลือ่ นไหวตลอดเวลา อาตมาว่าถึงเวลาทีเ่ ราต้องทักทายว่า ‘หยุด อยูต่ รงไหน’ คนเราตอนนีต้ อ้ งรูจ้ กั หยุด ชีวติ ที่ สมบูรณ์ตอ้ งมีการเคลือ่ นไหวและการนิง่ สมดุลกัน สมัยก่อนคนไปไหนก็ไปไม่ไกล แต่สมัยนี้ คนไปเสียจนไม่รจู้ กั หยุด สิง่ แวดล้อม กดดันมาก คนก็วง่ิ อยูต่ ลอด เวลาว่างก็อยู่ กับโทรศัพท์ อยูก่ บั เฟซบุก๊ อยูก่ บั ไลน์ ไม่อยู่ กับตัวเอง สือ่ สารกับคนทัว่ โลกแต่ไม่สอ่ื สาร กับตัวเอง เพราะฉะนัน้ ปีใหม่น้ี เราก็ตอ้ งอย่า ลืมตัวเอง อย่าลืมวาง อย่าลืมปิดโทรศัพท์ อย่าลืมปิดการสือ่ สารกับคนอืน่ ให้รจู้ กั สือ่ สาร กับตัวเอง …การทำ�นัน่ ทำ�นีท่ �ำ โน่นก็ดี จำ�เป็น แต่เรา เป็นชาวพุทธ เราควรสัมผัสคำ�ว่าสงบบ้าง พุทธองค์ตรัสไว้วา่ ‘ความสงบเป็นสุขอย่างยิง่ ’ ดังนัน้ จะสงบมากสงบน้อยก็ชา่ ง แต่อย่างน้อย เราควรแบ่งเวลาในชีวติ ของเราเพือ่ พยายาม สัมผัส พยายามพิสจู น์สง่ิ ทีพ่ ระพุทธเจ้าสอน

ตอนนีม้ คี นนัง่ สมาธิกนั มากขึน้ แต่สว่ นมาก นัง่ ก่อนนอน ถ้าดีกอ็ ยากให้นง่ั ตอนเช้า เช้ามืด ตืน่ ขึน้ มา สมองยังไม่คอ่ ยมีอะไรเท่าไหร่ สิง่ แวดล้อมยังเงียบอยู่ ภาระหน้าทีก่ ย็ งั ไม่ ปรากฏ เป็นเวลาทีจ่ ะฝึกจิตได้ดที ส่ี ดุ ทีส่ �ำ คัญก็ คือถ้านัง่ ก่อนนอน ถึงจะนัง่ ทุกวัน แต่พรุง่ นีเ้ ช้าก็ เป็นอีกฉากหนึง่ ของชีวติ ทำ�ให้เราไม่คอ่ ยเห็นผล ของการนัง่ สมาธิมากพอจนทำ�ให้เราเห็นการนัง่ สมาธิเป็นสิง่ ทีส่ �ำ คัญ แต่ถา้ เรานัง่ ตอนเช้าแล้วก็ พยายามสังเกตตัวเองว่านัง่ สมาธิแล้วใจเย็นกว่า แต่กอ่ นไหม มีความอดทนมากกว่าแต่กอ่ นไหม ถ้าเรารูส้ กึ ว่าความเมตตา ความรอบคอบ ความ ระมัดระวัง ความละอายต่อบาป ความเกรงกลัว ต่อบาปมีมากกว่าแต่กอ่ น เราก็จะมีก�ำ ลังใจทำ� ทุกวัน และได้เริม่ เห็นความสุขทีเ่ กิดจากการไม่มี อะไรในสมอง …คนเรากลัวอะไรทีส่ ดุ กลัวตัวเอง กลัว ตัวเองอยูเ่ ฉยๆ ไม่มอี ะไรทำ� แต่ถา้ เราทำ�สมาธิ ภาวนาได้ เราก็จะได้เปิดมิตใิ หม่ในชีวติ เช่นนัง่ ในรถไฟฟ้า นัง่ ในรถเมล์ หรือว่ายืนอยูใ่ นลิฟต์ หรือว่าเดินขึน้ บันได ลงบันได เวลาสัน้ ๆ ไม่ก่ี นาที กลับมาอยูก่ บั ตัวเอง ตัง้ สติใหม่ เพราะ ความเครียดในชีวติ ประจำ�วัน ส่วนใหญ่ไม่ได้ เป็นเรือ่ งใหญ่ทส่ี ะเทือนใจมาก แต่วา่ เป็นเรือ่ ง เล็กเรือ่ งน้อยทีค่ อ่ ยๆ สะสมตัง้ แต่เช้าจนพอ เลิกงานก็รสู้ กึ เต็มที่ ดังนัน้ ถ้าเรามีการหยุด เป็นระยะ ก็เหมือนกับเป็นการ reset ตัง้ สติ ใหม่ ความเครียดก็จะไม่สะสม เราก็จะเริม่ เกิด ความรูส้ กึ ทีด่ ี พอเราเองรูส้ กึ ดีขน้ึ การแสดงออก สัมพันธภาพกับคนรอบข้างก็ดขี น้ึ ดีส�ำ หรับ ตัวเรา ดีส�ำ หรับคนรอบข้าง ดังนัน้ ปีใหม่กอ็ ยาก ให้รจู้ กั หยุดเสียบ้าง” ท่ามกลางกระแสความเปลีย่ นแปลงทีท่ กุ คน อยากจะวิง่ ไล่ให้ทนั โดยไม่ถกู ทิง้ ท้าย ข้อความ จากอาจารย์ชยสาโรสัน้ และชัดเจน วิธกี าร เอาชนะกระแส แท้จริงแล้วไม่ใช่การวิง่ ให้ทนั แต่เป็นการหยุดเพือ่ จะได้เห็นกระแสทีพ่ ดั ผ่านทัง้ ภายนอกภายในก่อนพิจารณาเดินต่อไป ด้วยจังหวะทีส่ มควร

OPTIMISE | JANUARY 2017

23


FULL FLAVORS

Royal Touch บรรดาร้านอาหารไทยเปิดใหม่ไม่นอ้ ยกล่าวอ้างถึง ความเป็นตำ�รับ ‘ชาววัง’ ของเมนูในร้าน ชวนให้ยอ้ นรอย ว่าอาหารชาววังมีความหมายและความสำ�คัญอย่างไร ขนมเผือกทอดชิ้นน้อยที่ทอดจนเป็น สีเหลืองทองถูกยกมาเสิร์ฟที่โต๊ะ รูปทรง กระเปาะสามเหลี่ยมอาจทำ�ให้คนจินตนาการ ดีมองเห็นเป็นค้างคาวนอนหลับ สมชื่อเมนู ‘ค้างคาวเผือก’ หรือ ‘ซาโมซ่าสยาม’ ของว่าง ซึ่งปรุงขึ้นจากเผือกบดนวดกับแป้งและน้ำ�ใน พระบรมมหาราชวังเมื่อศตวรรษที่แล้ว และ ตกทอดมาถึงร้าน Siam Spring Bistro ผ่าน บันทึกหอจดหมายเหตุแห่งชาติ สยาม สปริง บิสโทร คือหนึ่งในบรรดาร้าน คลื่นลูกใหม่ที่ประกาศว่าสูตรอาหารในร้านได้ รับแรงบันดาลใจมาจากตำ�รับชาววัง ซึ่งเป็น คำ�พูดที่ได้ผลเสมอสำ�หรับเร้าให้ผู้กินชื่นชมกับ วัตถุดิบและวิธีปรุงอาหารแบบโบราณ อย่างไร ก็ตาม การกลับไปหาของเก่าทำ�ให้ความแตก ต่างระหว่างอาหารไทยในอดีตและปัจจุบันยิ่ง เด่นชัด สะท้อนโครงสร้างทางสังคม วัตถุดิบ อุปกรณ์ หรือแม้กระทั่งรสนิยมของผู้บริโภคที่ เปลี่ยนแปลงไป

คงไว้ซึ่งความซับซ้อน

“การได้อ่านบันทึกหอจดหมายเหตุฯ ช่วย เพิ่มแรงจูงใจในการทำ�งานอย่างมาก” ปรียาธร พิทักษ์วรรัตน์กล่าว เธอคือเจ้าของ ร้านสยาม สปริง บิสโทร ซึ่งเปิดให้บริการเมื่อ ต้นปี 2559 หลังจากที่เธอประสบความสำ�เร็จ กับโรงแรมบูติก Praya Palazzo โดยอาหาร ของที่ร้านจะคล้ายกับของโรงแรมแต่เรียบง่าย

การกลับไปหาของเก่าทำ�ให้ ความแตกต่างระหว่าง อาหารไทยในอดีตและ ปัจจุบนั ยิง่ เด่นชัด สะท้อน โครงสร้างทางสังคม วัตถุดบิ อุปกรณ์ หรือแม้ กระทัง่ รสนิยมของผูบ้ ริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไป กว่า กระนั้นก็ยังคงเน้นเมนูจากครั้งคฤหาสน์ อันเป็นที่ตั้งของโรงแรมแห่งนี้ยังอยู่ในยุค รุ่งโรจน์ “เราอยากรู้ว่าคนสมัยก่อนเขากินอยู่ กันอย่างไร” เธอกล่าว คำ�ถามนั้นนำ�พาเธอไปพบกับตำ�รับอาหาร โบราณหลากหลาย ซึ่งปัจจุบันได้กลายมาเป็น เมนูเด่นของสยาม สปริง บิสโทร เช่น แกงจืด สาคูยัดไส้ไข่เค็ม และแกงรัญจวน ซึ่งปรุงขึ้น

02

01 อาหารตำ � รั บ ไทยดั ้ ง เดิ ม เสิ ร ์ ฟ แบบ Chef’s Table ที ่ Bangkok Bold Cooking Studio

01 24

OPTIMISE | JANUARY 2017

02 ห้ อ งอาหารตกแต่ ง ร่ ว มสมั ย ของ Siam Spring Bistro OPTIMISE | JANUARY 2017

25


FULL FLAVORS เป็นครั้งแรกจากกะปิ เนื้อวัว และใบโหระพา อันเป็นของเหลือจากงานเลี้ยงพระกระยาหาร ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว นอกจากนั้น ที่ร้านยังเสิร์ฟปลา กระพงทอดราดซอสมะขามเคี่ยวน้ำ�ตาล มะพร้าวกับหอมกระเทียมเจียว ตลอดจน ผัดดอกขจรกับถั่วแขกโรยด้วยกระเทียมทอด และกากหมู (ผลพลอยได้จากการเจียวน้ำ�มัน หมู เครื่องปรุงหลักของอาหารไทยในอดีต) อันเป็นอาหารที่ปรียาธรนำ�เสนออย่างภาค ภูมิใจว่า “อาหารอย่างนี้แหละที่คนไทยกิน มาเป็นร้อยปีแล้ว” อย่างที่ได้กล่าวตอนต้น ร้านอาหารไทย รุ่นใหม่ ไม่ว่าจะเป็นสยาม สปริง บิสโทร, Bangkok Bold, The Local, Baan Nai, Siam Wisdom หรือ The Never Ending Summer ล้วนโฆษณาว่าอาหารในร้านสืบทอดมาจาก

ในอดีตเขตพระราชฐาน ชั้นในของพระบรม มหาราชวังจะแบ่งย่อย เป็นตำ�หนักต่างๆ ซึ่งเป็นที่ประทับของ เหล่าเชื้อพระวงศ์ สูตรของแต่ละตำ�หนักจึง แตกแขนงกันออกไป แต่นัยหนึ่งก็ถือว่าเป็น อาหารชาววังเหมือนกัน 03 ปลาแห้ ง แตงโมของร้ า น The Never Ending Summer 04 นวมิ น ทร์ วิ ท ยกุ ล เจ้ า ของ ร้ า นอาหารไทย ’เรื อ นอุ ไ ร’ 05 ห้ อ งอาหารดิ บ เท่ ข อง The Never Ending Summer ที ่ ด ั ด แปลงจาก โกดั ง เก่ า 06 ข้ า วตั ง ถึ ง เครื ่ อ งของร้ า น Paste 07 เชฟเจสั น เบลี ย ์ แห่ ง ร้ า น Paste

26

OPTIMISE | JANUARY 2017

ตำ�รับชาววัง อย่างไรก็ตาม ในอีกด้าน ผู้เชี่ยวชาญด้านปากะศิลป์ยังถกกันไม่จบสิ้น ว่า ‘อาหารชาววัง’ อย่างที่คนเข้าใจนั้นมีอยู่ จริงหรือไม่ หรือเป็นเพียงแผนการตลาดของ เจ้าของร้านมากกว่า ร้านอาหารยอดนิยมอย่างเดอะ เนเวอร์ เอนดิง ซัมเมอร์บรรยายว่าอาหารของตน นั้นเป็นตำ�รับดั้งเดิมจากในวัง โดยเสิร์ฟเมนู โบร่ำ�โบราณอย่างปลาแห้งแตงโม ข้าวตัง หน้าตั้ง ตลอดจนน้ำ�พริกอีกสารพัดสูตร ตาม อุดมการณ์ของทางร้านที่ต้องการเป็นร้าน อาหารไทยระดับบนสำ�หรับคนไทย นรี บุณยเกียรติ หุน้ ส่วนของร้านบอกว่าการปรุง อาหารไทยให้ได้แบบดัง้ เดิมนัน้ ต้องทุม่ เทและ อาศัยความพิถพี ถิ นั เป็นพิเศษ “ไม่ใช่ทกุ คนจะ เข้าใจว่าทำ�ไมร้านเราแพงกว่าอาหารไทยร้านอืน่ แต่ขอเพียงบางคนเข้าใจ แค่นั้นก็พอแล้ว” 03

อย่างไรก็ตาม นอกจากเมนูขา้ งต้น ทางร้านยัง นำ�เสนออาหารเรียบง่ายในแบบทีห่ นุ้ ส่วนของ ร้านอย่างนรีและดวงฤทธิ์ บุนนาค รับประทาน มาตัง้ แต่วยั เยาว์ เช่น ไข่พะโล้และน�ำ้ พริกลงเรือ อีกด้วย สะท้อนให้เห็นว่าคำ�ว่า ‘อาหารชาววัง’ ในบางความหมาย อาจกินความตัง้ แต่อาหาร ในวัง ไปจนกระทัง่ อาหารของชนชัน้ ขุนนางและ เหล่าคหบดีทป่ี รุงอย่างพิถพี ถิ นั

06

07

สงครามก้นครัว

“คือเราต้องเข้าใจความหมายของคำ�ว่า ‘อาหารชาววัง’ ก่อน ในอดีตเขตพระราชฐาน ชั้นในของพระบรมมหาราชวังจะแบ่งย่อยเป็น ตำ�หนักต่างๆ ซึ่งเป็นที่ประทับของเหล่าเชื้อ พระวงศ์ สูตรของแต่ละตำ�หนักจึงแตกแขนง กันออกไป แต่นัยหนึ่งก็ถือว่าเป็นอาหารชาววัง เหมือนกัน” เอก ทวีป นักวิชาการอิสระผู้ดำ�รง 04

05

ตำ�แหน่งภัณฑารักษ์อาสาสมัครของสยาม สมาคม และนักชิมอาหารตัวยงอธิบาย “ในเมื่อตอนนี้บรรดาทายาทต่างก็อ้างว่าเมนู ของตนมาจากต้นตำ�รับ ‘อาหารชาววัง’ แท้ๆ ทั้งนั้น จึงไม่แปลกที่สูตรหรือกลเม็ดเคล็ดลับ ของแต่ละเมนูจะมีหลากหลายไปหมด” อย่างไรก็ตาม นวมินทร์ วิทยกุล เจ้าของ ร้านอาหารไทยยอดนิยมอย่าง ‘เรือนอุไร’ บอก ว่าไม่ว่าจะแตกต่างกันแค่ไหน ส่วนประกอบ สามัญของอาหารชาววังย่อมมีอยู่ร่วมกัน 3 อย่าง คือเวลา แรงงาน และเงิน กระบวนการ เตรียมเครื่องแกงที่สลับซับซ้อน หรือขนมหวาน มากรายละเอียดอย่างลูกชุบ ไม่มีทางเป็นไป ได้เลยในบ้านที่ไม่ได้มีลูกมือแม่ครัวอยู่อย่าง เหลือเฟือ เงินย่อมเป็นปัจจัยสำ�คัญสำ�หรับการ หาซื้อวัตถุดิบของอาหารชาววัง เช่นที่นวมินทร์ ยกตัวอย่างว่า “ครอบครัวชาวนาสมัยนั้นจะหา เป็ดย่างมาทำ�แกงเผ็ดเป็ดย่างจากไหนได้ มีแต่ คนที่บ้านอยู่ใกล้ๆ ชุมชนชาวจีนเท่านั้นแหละ” กระนั้น นวมินทร์ไม่เชื่อว่าอาหารที่ได้ชื่อว่า ตำ�รับ ‘ชาววัง’ ทั้งหมดจะมาจากในวังแท้ๆ “ผมว่าเป็นแผนการตลาดมากกว่า” ในทางกลับกัน เชฟเจสัน เบลีย์ แห่งร้าน

Paste ผูร้ ายล้อมรอบตัวด้วยตำ�ราอาหารชาว วังราวๆ 400 กว่าเล่ม มองว่าไม่มอี ะไรควร ต้องสงสัยเกีย่ วกับอาหารชาววังทัง้ สิน้ เชฟชาว ออสเตรเลียผูน้ ค้ี ลุกคลีกบั ตำ�ราอาหารโบราณ อย่างเช่น ‘ตำ�รากับข้าว’ ของหม่อมส้มจีน ราชานุประพันธ์ ‘แม่ครัวหัวป่าก์’ ของท่านผูห้ ญิง เปลีย่ น ภาสกรวงศ์ และสร้างสรรค์อาหารไทย มากว่า 17 ปี ในขณะทีร่ า้ นเพสท์ของเขา นำ�เสนออาหาร ‘ไทยแท้’ จำ�พวกแกงจืด ยำ� แกง เผ็ด น�ำ้ พริก และหลน ทีไ่ ด้มาจากทัง้ การค้นคว้า ส่วนตัวของเจสันและตำ�รับของตระกูลสนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผูส้ นับสนุนสำ�คัญของทางร้าน ด้วยเหตุนส้ี �ำ หรับเจสัน การถามว่าอาหารชาววัง มีจริงหรือไม่จงึ “เหมือนกับถามว่าดวงอาทิตย์ บนฟ้าเป็นของจริงหรือเปล่า” ทัง้ นี้ บงกช สระทองอุน่ ผูเ้ ป็นหุน้ ส่วนและ ภรรยาของเจสัน ได้เริม่ ค้นคว้าหาข้อมูลเกีย่ วกับ อาหารชาววังอย่างจริงจังเมือ่ 8 ปีทแ่ี ล้ว ซึง่ เป็น ปัจจัยหนึง่ ทีท่ �ำ ให้รา้ นเพสท์ประสบความสำ�เร็จที่ หาได้ยาก ในฐานะร้านอาหารไทยภายใต้การนำ� ของเชฟฝรัง่ ทีย่ งั สามารถมีลกู ค้ากว่า 70% เป็น คนไทย “ผมว่าเราเป็นร้านอาหารไทยแบบไฟน์ ไดน์นง่ิ ร้านเดียวทีเ่ อาชนะใจคนไทยได้” เจสันคุย

ลิ้มรสในความต่าง

ในความเห็นของเจสัน ช่วง พ.ศ. 24132473 คือ ‘ยุคทอง’ ของอาหารไทย โดยเขา บอกว่าคนไทยทั่วไปอาจพิถีพิถันเรื่องอาหาร มากอยู่แล้ว แต่ชนชั้นศักดินาของไทยสมัย ก่อนยิ่งจู้จี้เป็นพิเศษ ทำ�ให้อาหารชาววังมี กฎเกณฑ์หยุมหยิมมากมาย เช่น ต้องใช้เครื่อง ปรุงคุณภาพดีที่สุด ห้ามเก็บเครื่องแกงเกิน 2 วัน หรือเมนูใดที่ต้องหยอดหัวกะทิให้คั้นเอา จากมะพร้าวสดๆ ก่อนเสิร์ฟเท่านั้น ฯลฯ เจสันเอง จึงมีเคล็ดลับแนะนำ�ผู้ต้องการทำ� อาหารไทยแบบชาววังอยู่อย่างเหลือเฟือ เช่น เวลาชิมเครื่องแกงให้เอาเครื่องแกงป้ายตรง ฟันหน้าด้านนอกแล้วค่อยชิม เพื่อให้จับรสชาติ ได้เที่ยงตรงที่สุด หรืออย่าเขียมเครื่องแกง เนื่องจากในขณะที่ร้านข้าวแกงแผงลอยใช้ เครื่องแกงเพียง 1.5 ช้อนโต๊ะสำ�หรับแกงหนึ่ง ถ้วย ตำ�รับโบราณอาจใช้เครื่องแกงมากถึง 7 ช้อนโต๊ะ “เครื่องแกงในปัจจุบันนี่ผมเรียกว่า ‘มิลค์เชครสพริก’ เท่านั้นแหละ” เจสันกล่าว กระนั้น ไม่ได้หมายความว่าอาหารชาววัง ทุกคำ�จะต้องมีรสจัดจ้าน นวมินทร์ เจ้าของร้าน เรือนอุไรเล่าว่าในขณะที่ไม่ว่าไพร่หรือเจ้าล้วน OPTIMISE | JANUARY 2017

27


FULL FLAVORS 08

09

กินน้ำ�พริกเป็นอาหารหลัก แต่น้ำ�พริกตำ�รับ ชาววังมักมาพร้อมกับผักแกะสลักหรือผักปรุง สุกในแบบต่างๆ ตลอดจนเนื้อปลาแล่เลาะ ก้าง ไข่ต้มสุกฝานพอดีคำ� และที่สำ�คัญที่สุดก็ คือรสชาติที่ไม่ดุเดือดจัดจ้านจนเกินไปนัก ซึ่ง มีผู้สันนิษฐานว่าเป็นผลมาจากการที่ชนชั้นสูง ไม่มีความจำ�เป็นต้องกินข้าวให้ได้ปริมาณมาก “เรื่องความเผ็ดขึ้นอยู่กับความชอบส่วนบุคคล แต่โดยทั่วไปชนชั้นสูงส่วนใหญ่จะกินข้าวน้อย กว่า เพราะการกินอาหารหรือน้ำ�พริกรสจัดเพื่อ ให้กินข้าวได้เยอะๆ นั้นถูกมองว่าเป็นเรื่องของ คนใช้แรงงาน” เช่นเดียวกับเจ้าตำ�รับชาววังอื่นๆ ปรียาธร เจ้าของร้านสยาม สปริง บิสโทร มีมาตรฐาน พิเศษของตัวเองสำ�หรับการทำ�กับข้าวชาววัง คือการไม่สนใจราคา เช่นเมนูกงุ้ ตะไลของเธอ นัน้ ต้องใช้กงุ้ ลวกเคล้ากับน�ำ้ ปลา มะนาว และ

น้ำ�มะนาวใหม่ทุกรอบ จากนั้นจึงนำ�น้ำ�มะนาวที่ได้ ไปรวนและปรุงให้เข้มข้น แต่คนสมัยนี้จะหาเวลาทำ� อะไรแบบนี้ได้ยังไง ดังนั้นถ้าอยากทำ�อาหาร ‘ชาววัง’ ในยุคนี้ ต้องรู้จักผ่อนผันกฎลงบ้าง” เช่นเดียวกัน เชฟนูรอ โซ๊ะมณี สเต็ปเป้ แห่งร้าน Blue Elephant ซึ่งนำ�เสนอเมนูชาววังอย่าง แสร้งว่า ปลาดุกฟู (ยำ�ปลาดุกทอดกรอบใบมะกรูด) มีความ เห็นว่าการทำ�อาหารชาววังไม่ได้หมายถึงการทิ้ง เทคโนโลยีสมัยใหม่ “คนสมัยโบราณทำ�อาหาร ด้วยมือทุกขั้นตอน จะหุงข้าวทีก็ต้องจุดเตาถ่าน ตั้งหม้อดินกันทีหนึ่ง ซึ่งมันกินเวลามาก แต่ตอนนี้เรา มีหม้อหุงข้าวไฟฟ้าแล้ว ดังนั้นอะไรๆ จึงเร็วขึ้นมาก ไม่มีเหตุผลที่จะไม่ใช้” เธอพูด ในขณะที่คนบางกลุ่มมองว่าการพึ่งพาเทคโนโลยี ใหม่ๆ ทำ�ให้อาหารชาววังด้อยกว่ามาตรฐานในยุค สมัยของหม่อมหลวงเนื่อง นิลรัตน์ ข้าหลวง ณ วังสุนันทา ผู้ได้รับการยกย่องในฐานะ ‘แม่ครัว 4 แผ่นดิน’ คนอีกไม่น้อยกลับเห็นว่านี่คือวิวัฒนาการ ของยุคสมัย “อาหารไทยในกรุงเทพฯ และตามเมืองใหญ่ๆ นั้น

11

10

ส้มซ่า ผลไม้รสเปรีย้ วหาซือ้ ยาก ทีร่ าคาอาจสูง ได้ถงึ ผลละ 70 บาท “อย่าไปงกเครือ่ ง” เธอบอก เอกลักษณ์ของอาหารชาววังไม่ได้ขึ้นอยู่กับ รสชาติเท่านั้น กลิ่นก็เป็นอีกหนึ่งองค์ประกอบ สำ�คัญ ในอดีตบ้านผู้มีอันจะกินจะทำ�เทียนอบ สูตรของตนเองเพื่อใช้แต่งกลิ่นอาหาร โดยร้าน อาหารไทยสมัยนี้ที่ยังยึดมาตรฐาน ได้แก่ร้าน อย่างเช่น Bo.lan ซึ่งเสิร์ฟเค้กข้าวไส้ถั่วและ งาดำ�คู่กับเทียนอบร่ำ�ด้วยไม้หอม อย่างไรก็ตาม การรักษาธรรมเนียมบาง อย่างในโลกปัจจุบัน ที่คนไม่มีเวลาตำ�เครื่อง แกงเองนั้นเป็นเรื่องยาก เชฟช่อทิพย์ อวยพรชัยสกุล แห่ง ‘โจ๋บางกอก’ เปรียบให้เห็น ภาพว่า “แม่ครัวในวังเขาแทบจะคัดข้าวทีละ เม็​็ดเพื่อไม่ให้มีข้าวหักปนอยู่ในหม้อ หรืออย่าง การทำ�น้ำ�สะเออะ ก็ต้องเอากุ้งมาทำ�ให้สุก ด้วยการหมักในน้ำ�มะนาว 3 รอบ โดยเปลี่ยน

12

คนสมัยโบราณทำ�อาหาร ด้วยมือทุกขัน้ ตอน จะหุงข้าวทีกต็ อ้ งจุดเตาถ่าน ตัง้ หม้อดินกันทีหนึง่ ซึง่ มันกินเวลามาก แต่ตอนนีเ้ รามีหม้อหุงข้าว ไฟฟ้าแล้ว ดังนัน้ อะไรๆ จึงเร็วขึน้ มาก ไม่มเี หตุผลทีจ่ ะไม่ใช้

มีกลิ่นอายความเป็นจีน เพราะต้องทำ�ให้ถูกปากคน ไทยเชื้อสายจีนที่นี่ อาหารที่เรากินจึงรสจัดน้อยลง และหวานขึ้น แต่ตอนนี้อาหารไทยแท้ๆ กลับมา เฟื่องฟูอีกครั้ง มีอาหารไทยหลายแขนง หลายเชฟ หลายการตีความอยู่ในสมัยนี้เต็มไปหมด” นวมินทร์ ผู้เป็นเจ้าของร้านเรือนอุไรกล่าวถึงพัฒนาการ แข็งแรงของอาหารไทยดั้งเดิม ท่ามกลางกระแสของ ความเจริญสมัยใหม่ที่คนอาจไม่ได้สังเกต แน่นอน หากถามว่าสูตรที่ใช้ในร้านอาหาร ‘ตำ�รับชาววัง’ ทุกวันนี้จะเหมือนกับในราชสำ�นักของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทุกกระเบียด หรือไม่ คำ�ตอบคือยากจะเป็นไปได้ แต่อย่างน้อย สิ่งหนึ่งที่ร้านอาหารเหล่านี้มีร่วมกัน คือความพร้อม ที่จะอุทิศเวลาและความอุตสาหะเพื่อทำ�ให้อาหาร ชาววังพิเศษกว่าอาหารอื่น เพราะในที่สุด หากจะ พูดกันถึงรสชาติจริงๆ แล้ว สิ่งที่สำ�คัญยิ่งกว่าการยึด สูตรโบราณแบบเถรตรง ก็คือจิตวิญญาณแห่งการ แสวงหาความเป็นเลิศที่เคยปกคลุมห้องครัวใน ราชสำ�นักเมื่อครั้งมีการคิดสูตรอาหารชาววังเหล่า นั้นขึ้นมานั่นเอง

Essentials

เรือนอุไร

Rose Hotel Bangkok 118 ถนนสุรวงศ์ กรุงเทพฯ โทร. 02-266-8268-72 www.ruen-urai.com Bangkok Bold 503 ถนนพระสุเมรุ กรุงเทพฯ โทร. 098-829-4310 www.fb.com/ bangkokboldcookingstudio Blue Elephant 233 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ โทร. 02-673-9353 www.blueelephant.com Bo.lan 24 ซอยสุขมุ วิท 53 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 02-260-2962 www.bolan.co.th Paste 999 ชัน้ 3 ศูนย์การค้าเกษร ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ โทร. 02-656-1003 www.pastebangkok.com Siam Spring Bistro The Natural Place Suite 38/9 ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 กรุงเทพฯ โทร. 087-777-3555 www.fb.com/siamspringbistro The Never Ending Summer 41/5 ถนนเจริญนคร กรุงเทพฯ โทร. 02-861-0953 www.fb.com/ TheNeverEndingSummer 08 อาหารไทยในบรรยากาศไฟน์ไดน์นิ่ง ที่ร้าน Blue Elephant 09 เชฟช่อทิพย์ อวยพรชัยสกุล แห่ง Bangkok Bold 10 บรรยากาศร้าน Bo.lan ที่อบอวลไปด้วย ความเป็นไทย 11 กุ้งตะไล เมนูโบราณของร้าน Siam Spring Bistro 12 อาหารตำ�รับชาววังในบรรยากาศเรือนไทย เดิมของร้าน ‘เรือนอุไร’

28

OPTIMISE | JANUARY 2017

OPTIMISE | JANUARY 2017

29


STATE OF THE ARTS เมือ่ เดือนกันยายนทีผ่ า่ นมา มีการเปิดตัว โรงภาพยนตร์อสิ ระขึน้ ในใจกลางกรุง เบือ้ ง หลังประตูทะมึนขึงขังในซอยบนถนนสีลมคือ ทีต่ ง้ั ของ Bangkok Screening Room โรง ภาพยนตร์ขนาด 50 ทีน่ ง่ั ซึง่ ให้ความสบาย ทัดเทียมโรงภาพยนตร์เครือใหญ่ กระนัน้ ใน คืนแรกทีเ่ ปิดตัว กลับมีผชู้ มเพียง 7 คนเท่านัน้ ทีเ่ ข้ามาชม ‘ลุงบุญมีระลึกชาติ’ ภาพยนตร์ของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ซึง่ คว้ารางวัลปาล์ม ทองคำ�จากเทศกาลหนังเมืองคานส์ปี 2553 ด้วยศักดิศ์ รีของรางวัลสูงสุดในอาชีพคน ทำ�หนัง ‘ลุงบุญมีระลึกชาติ’ ย่อมเป็นเสมือน ผูน้ �ำ ทัพของวงการหนังอิสระของไทยทีค่ คู่ วรทุก ประการสำ�หรับใช้เปิดตัวโรงภาพยนตร์แห่งนี้ แต่ในขณะเดียวกัน จำ�นวนผูช้ มในคืนเปิดตัวที่ นับได้ถว้ นด้วยนิว้ มือ ก็สะท้อนชัดถึงการตอบ รับหนังนอกกระแสภายในประเทศทีย่ งั ห่างกัน ไกลกับนานาชาติ

01

บ้านนีไ้ ม่มรี กั

ตามข้อมูลของ Box Office Mojo ของ เว็บไซต์ IMDb เมือ่ เข้าฉายครัง้ แรกในไทย ‘ลุงบุญมีระลึกชาติ’ ทำ�รายได้สทุ ธิเพียง 1.1 ล้านบาท ซึง่ เทียบไม่ได้เลยกับ ‘ไอฟาย.. แต๊งกิว้ ..เลิฟยู’้ หนังโรแมนติกคอมเมดีป้ ี 2557 ของค่าย GTH ทีแ่ ค่วนั แรกทีเ่ ข้าฉายก็

Gaining Independence หนังนอกกระแสของไทยกวาดคำ�ชมจากนักวิจารณ์ ในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติมาแล้วทัว่ โลก ต่างกับกระแสตอบรับในบ้านเกิดอยูม่ ากนัก 30

OPTIMISE | JANUARY 2017

‘ลุงบุญมีระลึกชาติ’ ทีต่ ระเวนคว้ารางวัลจาก เทศกาลภาพยนตร์เมือง คานส์ โตรอนโต และดูไบ กลับได้รบั เพียงหนึง่ รางวัล ในบ้านเกิด กล่าวคือรางวัล บันทึกเสียงยอดเยีย่ ม

ทำ�รายได้แซง ‘ลุงบุญมีระลึกชาติ’ ไปเกือบ 30 เท่า หนังของค่ายจีทเี อชนีอ้ าจได้เสียงตอบรับ เพียงพอประมาณในงานเทศกาลภาพยนตร์ Osaka Asian Film Festival แต่ได้รบั เสนอชือ่ เข้าชิงรางวัลสุพรรณหงส์ถงึ 10 สาขา ในขณะ ที่ ‘ลุงบุญมีระลึกชาติ’ ทีต่ ระเวนคว้ารางวัลจาก เทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ โตรอนโต และ ดูไบ กลับได้รบั เพียงหนึง่ รางวัลในบ้านเกิด กล่าวคือรางวัลบันทึกเสียงยอดเยีย่ ม และเรือ่ งทำ�นองนีไ้ ม่ได้เกิดเฉพาะแต่กบั อภิชาติพงศ์ ผูก้ �ำ กับไทยหลายคนได้รบั การ ยอมรับในระดับนานาชาติ เช่นหนังเรือ่ ง ‘ดาวคะนอง’ ของอโนชา สุวชิ ากรพงศ์ ซึง่ บอก เล่าความรูส้ กึ ของผูค้ นในอดีตต่อเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้รบั เลือกเข้าฉายในเทศกาลภาพยนตร์ นานาชาติโลคาร์โน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และได้รบั คำ�ชมจากนิตยสาร Slant ว่า “คลีค่ ลายเรือ่ งราวได้อย่างเป็นธรรมชาติ ด้วยจังหวะจะโคนละเมียดละไม” ในงาน เทศกาลภาพยนตร์รอ็ ตเตอร์ดมั เมือ่ ต้นปี 2559 ‘มหาสมุทรและสุสาน’ ของพิมพกา โตวิระ ที่ได้ก้อง ฤทธิ์ดี นักวิจารณ์จากหนังสือพิมพ์ บางกอกโพสต์มาร่วมเขียนบท ก็ได้รับคำ� ยกย่องจาก The Hollywood Reporter ว่า “แหวกขนบอย่างมีศิลปะ” ในขณะที่ ‘โรงแรม

02

ต่างดาว’ (Motel Mist) ผลงานกำ�กับเรือ่ งแรก ของนักเขียนรางวัลซีไรต์ ปราบดา หยุน่ ได้ รับคำ�สรรเสริญจากโปรดิวเซอร์ชาวดัตช์ บีโร ไบเยอร์ในการฉายรอบปฐมทัศน์ทร่ี อ็ ตเตอร์ดมั ในปีน้ี ยิง่ กว่านัน้ ย้อนกลับมาทีอ่ ภิชาติพงศ์ หนังของเขาได้ตดิ อันดับในโพลภาพยนตร์ท่ี ดีทส่ี ดุ แห่งศตวรรษที่ 21 ของ BBC จากเสียง โหวตของนักวิจารณ์หนังอาชีพเป็นจำ�นวนถึง 3 เรือ่ ง ซึง่ ถือว่าเป็นจำ�นวนทีช่ นะผูก้ �ำ กับคน อืน่ ๆ ในโพลนีท้ ง้ั หมด อย่างไรก็ตาม คำ�ชมอือ้ อึงเหล่านีเ้ ทียบ ไม่ได้เลยกับความเงียบสงัดทีเ่ กิดขึน้ ในบ้านเรา ยิง่ กว่านัน้ ในปี 2550 ลัดดา ตัง้ สุภาชัย ผูอ้ �ำ นวยการศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรมของ กระทรวงวัฒนธรรมในขณะนัน้ ยังได้กล่าว ประโยคทีไ่ ด้กลายมาเป็นดราม่าในวงการ ภาพยนตร์อสิ ระของประเทศ เมือ่ เธอให้ เหตุผลสำ�หรับการเซ็นเซอร์ภาพยนตร์เรือ่ ง ‘แสงศตวรรษ’ ของอภิชาติพงศ์วา่ “ไม่มใี ครไป ดูหนังของอภิชาติพงศ์หรอก คนไทยชอบดูหนัง ตลก เราชอบเสียงหัวเราะ” ก้อง ฤทธิด์ ี นักวิจารณ์ภาพยนตร์จาก หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เชือ่ ว่าทัศนคติของ คนเริม่ เปลีย่ นไป แม้อาจจะเพียงในระดับเล็กๆ “คนอาจจะยังกลัวคำ�ว่า ‘หนังอาร์ต’ อยูบ่ า้ ง แต่

03

01 Bangkok Screening Room โรงหนั ง อิ ส ระที ่ ส ร้ า งขึ ้ น เพื ่ อ สนั บ สนุ น หนั ง อิ ส ระอย่ า ง เต็ ม ตั ว 02 ฉากจาก ภาพยนตร์ เ รื ่ อ ง ‘มหาสมุ ท ร และสุ ส าน’ ที ่ ไ ปคว้ า รางวั ล จากประเทศญี่ปุ่น 03 ศริ ญ ญา มานะมุ ต ิ หนึ ่ ง ในผู ้ ก ่ อ ตั ้ ง Bangkok Screening Room

OPTIMISE | JANUARY 2017

31


STATE OF THE ARTS

04

เวลาคนไทยดูหนัง เขาต้องการบทสรุปใน ตอนจบ ไม่ชอบมีอะไร ค้างคา ซึง่ เป็นสิง่ ทีห่ นัง นอกกระแสไม่ชอบเลย คนที่อยากลองอะไรใหม่ๆ ก็มีมากขึ้น อย่าลืม ว่าพวกหนังอินดี้ หนังอาร์ต ปกติก็มีคนดูน้อย กว่าหนังทั่วไปอยู่แล้ว เรื่องนี้ไม่ได้เกิดแค่ใน ไทย ที่ฝรั่งเศส เยอรมนี หรืออเมริกาเองก็เป็น ความแพร่หลายของโรงหนังระบบมัลติเพล็กซ์ ที่ใช้กันทั่วโลกเดี๋ยวนี้ทำ�ให้เหลือหนังอยู่ไม่กี่ ประเภท และทำ�ให้คนมีรสนิยมไปในทิศทาง เดียวกันหมด” อย่างไรก็ดี ปราบดา หยุน่ นักเขียนรางวัล ซีไรต์ปี 2547 จากหนังสือ ‘ความน่าจะเป็น’ ผูก้ า้ วเข้าสูว่ งการภาพยนตร์ หลังบทภาพยนตร์ เรือ่ ง ‘โรงแรมต่างดาว’ ทีเ่ ขาเขียนได้รบั ทุนสร้าง จากทรูวชิ น่ั มองว่าปัญหาไม่ได้มแี ค่เรือ่ งหนัง นอกกระแสแพ้หนังในกระแส แต่มนั คือความ ไม่สมดุลของตลาดในไทยกับต่างประเทศด้วย “ต่อให้เกิดมีหนังอินดีท้ ไ่ี ด้รบั การตอบรับดีใน เมืองนอกขึน้ มา แต่พอเข้าเมืองไทยอาจจะ แป้กอีกก็เป็นได้” 32

OPTIMISE | JANUARY 2017

05

06

ข้อเท็จจริงทีว่ า่ หนังของเขาถูกทรูวชิ น่ั สัง่ ถอดจากโปรแกรมฉายเพียงคืนเดียวหลังจากที่ เปิดฉายรอบปฐมทัศน์ในวันที่ 15 พฤศจิกายน ทีผ่ า่ นมา ยิง่ ตอกยํา้ ถึงความท้าทายทีบ่ รรดาคน ทำ�หนังอิสระต้องเผชิญ

ประกาศอิสรภาพ

ในทางปฏิบตั แิ ล้ว สิง่ เดียวทีค่ นทำ�หนัง ‘อิสระ’ ต่างจากผูก้ �ำ กับหนังประเภทอืน่ ๆ คือ การระดมทุนสร้างหนังเองแทนทีจ่ ะรับเงินจาก ค่ายหนังใหญ่ อย่างไรก็ตาม นานเข้าคำ�ว่าหนัง อิสระหรืออินดีก้ เ็ ริม่ มีความหมายมากกว่านัน้ เช่นคนเริม่ รูส้ กึ ว่าถ้าเป็นหนังอินดี้ อย่างน้อยๆ ก็ตอ้ งเล่นประเด็นยาก หรือถ่ายทอดเรือ่ งทีค่ า่ ย ใหญ่มองข้าม หรือถ่ายทำ�แบบผิดจากกรอบ การทำ�หนังปกติ หรือทุกข้อทีก่ ล่าวมา ก้องอธิบายว่า “คนทำ�หนังนอกกระแส ไม่ถกู ตีกรอบโดยตลาด ทำ�ให้สามารถเลือก

07

ประเด็นและวิธกี ารนำ�เสนอได้ตามสุนทรีย์ ส่วนตน ซึง่ สำ�หรับในบ้านเรา คนทำ�หนังอิสระ ส่วนใหญ่จะสนใจเรือ่ งสังคมและการเมือง มากกว่าพวกหนังค่ายใหญ่ ทีแ่ ทบจะเรียกได้ ว่าอยูแ่ ต่ในโลกความฝัน” ก้องไม่ได้เป็นแค่นกั วิจารณ์เท่านัน้ เมือ่ ไม่นานมากนี้ เขามีผลงานเขียนบทภาพยนตร์ ครัง้ แรกเรือ่ ง ‘มหาสมุทรและสุสาน’ ร่วมกับ นักทำ�หนังมากประสบการณ์อย่างพิมผกา โตวิระ โดยภาพยนตร์เรือ่ งนีต้ ดิ ตามการเดิน ทางตามหาป้าของพีส่ าวน้องชายชาวมุสลิม กับเพือ่ นอีกคนไปยังหมูบ่ า้ นเล็กๆ ในภาคใต้ ซึง่ เป็นช่วงเวลาเดียวกับทีม่ กี ารชุมนุมของคน เสือ้ แดงหน้าห้างเซ็นทรัลเวิลด์ในปี 2553 ทัง้ นี้ ตัวหนังถ่ายทำ�ด้วยฟิลม์ 16 มม. มีจงั หวะการ ดำ�เนินเรือ่ งเนิบๆ ชวนให้คดิ ตาม และใช้ความ วุน่ วายในสังคมทีม่ องไม่เห็น ทัง้ ในกรุงเทพฯ และจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นฉากหลัง

“หนังอินดีเ้ ปิดโอกาสให้คนทำ�หนังถ่ายทอด อารมณ์ความรูส้ กึ นึกคิดได้มากกว่า หนังนำ�เสนอ ประเด็นทีค่ า่ ยหนังใหญ่ๆ ไม่สนใจ เพราะค่าย ใหญ่จะชอบทำ�หนังตามสูตร” พิมผกา กล่าว อภิชาติพงศ์ยงั เน้นถึงข้อดีของการทำ�หนัง นอกกระแสอีกอย่าง คือเวลาทำ�หนังสักเรือ่ ง เขาทำ�เพือ่ ความพอใจส่วนบุคคล ไม่ใช่เพือ่ คนดู “ผมคิดว่าตัวเองเป็นคนดู ผมต้องซือ่ สัตย์ กับตัวเองว่าผมชอบหนังแนวนี้ ผมไม่เชือ่ ในการ ทำ�หนังเพือ่ ส่วนรวม ผมเชือ่ ว่าคนทำ�หนังต้อง ทำ�เพือ่ ตัวเอง ทำ�อะไรทีเ่ ขาเชือ่ จริงๆ แล้วหนัง จะให้คณ ุ ค่าในตัวมันเองเพราะผูก้ �ำ กับไม่ตอ้ ง กรองอะไรทิง้ ไป” เขากล่าว แน่นอน สำ�หรับคนทีต่ อ้ งหาตัวเลขงามๆ มา ประดับบ็อกซ์ออฟฟิศ ความทะเยอะทะยานใน การสร้างงานศิลป์เช่นนีถ้ อื เป็นสิง่ ทีท่ า้ ทาย ดังที่ สุวรรณี ชินเชีย่ วชาญ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร สายงานการตลาดของโรงภาพยนตร์เอสเอฟ ซึง่ เป็นเครือโรงภาพยนตร์ทใ่ี หญ่ทส่ี ดุ เป็น อันดับ 2 ของไทย ด้วยโรงภาพยนตร์กว่า 200 โรงทัว่ ประเทศ กล่าวว่า “เวลาคนไทยดูหนัง เขาต้องการบทสรุปในตอนจบ ไม่ชอบมีอะไร ค้างคา ซึง่ เป็นสิง่ ทีห่ นังนอกกระแสไม่ชอบเลย”

จนในทีส่ ดุ จีทเี อชก็ตดั สินใจเลิกดำ�เนินกิจการ ก่อนจะกลับมาอีกครัง้ ในชือ่ GDH 559 ซึง่ ปล่อย สุวรรณีกล่าวว่าการทีห่ นังไทยอิสระจะ ภาพยนตร์ ‘แฟนเดย์..แฟนกันแค่วนั เดียว’ ออก ขึน้ อันดับบ็อกซ์ออฟฟิศนัน้ เป็นไปได้ยาก มาเป็นการประเดิม เมือ่ เดือนกันยายนทีผ่ า่ นมา ภาพยนตร์เรือ่ ง ‘ฝนตกขึน้ ฟ้า’ ของเป็นเอก แม้การฉายหนังนอกกระแสจะได้ก�ำ ไร รัตนเรือง ซึง่ เป็นหนังไทยนอกกระแสทีป่ ระสบ ความสำ�เร็จทีส่ ดุ ทีเ่ ธอนึกออก ก็ท�ำ เงินได้เพียง น้อย แต่โรงภาพยนตร์ในเครือเอสเอฟก็ให้การ สนับสนุนผูก้ �ำ กับไทยอยูบ่ า้ ง อย่างเช่นการกัน ประมาณ 10 ล้านบาทหลังเข้าฉายในโรง รอบฉายที่ SF World Cinema ทีเ่ ซ็นทรัลเวิลด์ไว้ ภาพยนตร์ 10 แห่ง หนึง่ โรงเพือ่ ฉายหนังอินดี้ “โชคดีทเ่ี อสเอฟเวิลด์ เธอยังยกตัวอย่างหนังค่ายจีทเี อชอย่าง ‘ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ’ ของ มีโรงหนังอยูห่ ลายโรง เราเลยมีทส่ี �ำ หรับแบ่งให้ หนังอินดีไ้ ด้โดยไม่ตอ้ งลังเล” สุวรรณีอธิบาย ผูก้ �ำ กับนวพล ธำ�รงรัตนฤทธิ์ ทีเ่ ข้าฉายในปี Vanishing Point ของผูก้ �ำ กับจักรวาล 2558 ในฐานะหนังนอกกระแสทำ�เงิน ทัง้ นี้ จีทเี อชนับเป็นค่ายหนังเดียวในไทยทีใ่ นบางแง่ นิลธำ�รงค์ ซึง่ คว้ารางวัล 3 สาขาในเทศกาล ภาพยนตร์นานาชาติรอ็ ตเตอร์ดมั ปี 2558 เป็น พอจะเอามาเทียบกับสตูดโิ อของสหรัฐฯ ทีท่ �ำ กำ�ไรจากหนังนอกกระแสอย่าง Miramax หรือ หนึง่ ในหนังอินดีท้ ไ่ี ด้ฉายทีเ่ อสเอฟเวิลด์ แต่ จักรวาลเล่าว่าโมเดลนีก้ ม็ ขี อ้ จำ�กัดเหมือนกัน Lionsgate ได้ เพราะมีศกั ยภาพในการสร้าง “เอสเอฟอาจจะสนับสนุนเรามากกว่าทีอ่ น่ื หนังทำ�เงินซึง่ ในขณะเดียวกันยังพอมีมติ ทิ าง ศิลปะบ้าง แต่จที เี อชได้ตดั สินใจยุบกิจการใน แต่ทน่ี ม่ี โี รงหนังใหญ่ๆ อยูแ่ ค่ 2 เครือ คือ เอสเอฟกับเมเจอร์ ถ้าหนังคุณฉายกับเครือหนึง่ ช่วงปลายปี 2558 ท่ามกลางกระแสข่าวว่า ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ผูถ้ อื หุน้ 30% ต้องการให้ คุณจะไปฉายกับอีกทีไ่ ม่ได้ และแต่ละเครือก็ อยากให้เป็น exclusive และฉายเฉพาะทีโ่ รง บริษทั เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ของตัวเองเท่านัน้ ซึง่ เป็นเรือ่ งน่าเสียดาย และ ในขณะทีห่ บั โห้หน้ิ บริษทั ผูก้ อ่ ตัง้ จีทเี อชนัน้ ปฏิเสธไม่ยอมทำ�ตาม เพราะกลัวจะกระทบกับ เป็นปัญหาทีผ่ มเจอกับ Vanishing Point เอสเอฟไม่ให้ผมฉายทีเ่ ฮ้าส์ อาร์ซเี อด้วยซ�ำ้ ความคิดสร้างสรรค์และมาตรฐานของค่าย

ตระเวนหาโรงฉาย

08

09

04 โรงภาพยนตร์ House RCA 05 ปราบดา หยุ ่ น นั ก เขี ย นผู ้ ป ระเดิ ม ทำ � งานหนั ง อิ ส ระ เป็ น ครั ้ ง แรกกั บ เรื ่ อ ง ‘โรงแรม ต่ า งดาว’ 06 ฉากจากภาพยนตร์ เรื ่ อ ง ‘โรงแรม ต่ า งดาว’ 07 ภาพยนตร์ เ รื ่ อ ง Vanishing Point ที ่ ค ว้ า 3 รางวั ล จากเทศกาล ภาพยนตร์ ร็ อ ตเตอร์ ด ั ม 08 ฉากหนึ ่ ง ในหนั ง เรื ่ อ ง ‘ดาวคะนอง’ 09 ผู ้ ก ำ � กั บ จั ก รวาล นิ ล ธำ � รงค์

OPTIMISE | JANUARY 2017

33


STATE OF THE ARTS

เรทหนังมันคืองานเอกสารดีๆ นีเ่ อง”

การแทรกแซงของรัฐ

ผูก้ �ำ กับคนหนึง่ ซึง่ จำ�ใจต้องหันหลังให้ คนดูในประเทศคืออภิชาติพงศ์ เขาตัดใจไม่ ส่ง ‘รักทีข่ อนแก่น’ เข้ารับการจัดเรทหนังในไทย ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วจิ ารณ์หนาหู หนังซึง่ มี เนือ้ หาเกีย่ วกับทหารกลุม่ หนึง่ ทีเ่ ข้าโรงพยาบาล ด้วยภาวะโคม่าหลังไปลุกล�ำ้ สุสานบูรพกษัตริย์ เรือ่ งนี้ จึงไม่สามารถฉายในประเทศได้อย่างถูก ต้องตามกฎหมาย “ผมเสียใจทีต่ อ้ งตัดสินใจแบบนี้ ในฐานะ คนทำ�หนัง ผมย่อมอยากให้คนได้ดหู นังของผม ในโรงอยูแ่ ล้ว แต่เรามีเสรีภาพน้อยมากทีน่ ่ี มันไม่เต็มร้อย 10 ปีทแ่ี ล้วมันไม่ได้เป็นแบบนี้

มันมาถึงจุดทีผ่ มไม่อยากยือ้ กับบอร์ดภาพยนตร์ ไทยอีกต่อไป มันใช้เวลานานเกินไปกว่าจะ จัดการเรือ่ งทีพ่ วกเขาอาจจะเป็นกังวลได้ ไหน จะกระบวนการเซ็นเซอร์ ไหนจะตัดบางฉาก ทิง้ อีก ผมไม่อยากต้องมาผ่านกระบวนการ พวกนีแ้ ล้ว” อภิชาติพงศ์กล่าว สิง่ ทีเ่ ขาพูดจากประสบการณ์ของตัวเอง ทัง้ สิน้ กองเซ็นเซอร์เคยสัง่ ให้เขาตัดฉากจาก ภาพยนตร์ปี 2549 เรือ่ ง ‘แสงศตวรรษ’ ออก 4 ฉาก หากต้องการฉายในไทย ซึง่ เขาปฏิเสธ และตัดสินใจไม่น�ำ ออกฉายในประเทศ อย่างไร ก็ตาม ต่อมาหนังเรือ่ งนีไ้ ด้รบั อนุญาตให้ฉาย แบบจำ�กัดโรงโดยใส่ฟลิ ม์ ดำ�แทนฉากทีโ่ ดนตัด เพือ่ ตอกย�ำ้ ประเด็นเรือ่ งการเซ็นเซอร์ โดยเมือ่ ถึงฉากทีถ่ กู เซ็นเซอร์ คนดูจะต้องนัง่ จ้องจอมืดๆ เงียบๆ ตลอดระยะเวลาของฉากนัน้ ก้องเองก็ออกตัวชัดเจนว่าไม่เห็นด้วยต่อ ระบบการจำ�แนกเรทภาพยนตร์ของไทย โดยบอกว่า “รัฐยังสามารถแบนหนังได้ ซึง่ ถึง จะไม่ได้เกิดขึ้นบ่อย แต่กฎหมายก็ทำ�ให้เกิด วัฒนธรรมการเซ็นเซอร์ตวั เอง ปัญหาคือการ ตีความกฎหมายทีไ่ ม่ชดั เจน คุณบอกไม่ได้วา่ อะไรฉายได้ อะไรฉายไม่ได้ พอเป็นอย่างนีม้ นั ก็ ทำ�งานลำ�บาก” อย่างไรก็ตาม จักรวาลกลับมองสถานการณ์ 10 ส่ ว นรั บ รองของ Bangkok Screening Room ที ่ ม ี เ ลาจ์ ไว้ ค อยบริ ก ารนั ก ดู ห นั ง อิ ส ระ 11 อภิ ช าติ พ งศ์ ผู ้ ก ำ � กั บ หนั ง อิ ส ระ คนไทยที ่ ไ ด้ ร ั บ การยอมรั บ จาก นั ก ดู ห นั ง ทั ่ ว โลก 12 หนั ง เรื ่ อ ง ‘รั ก ที ่ ข อนแก่ น ’ ของอภิ ช าติ พ งศ์ 13 อโนชา สุ ว ิ ช ากรพงศ์ ผู ้ ก ำ � กั บ หนั ง ‘ดาวคะนอง’

34

OPTIMISE | JANUARY 2017

12

Photograph by Chai Siris Courtesy of Kick the Machine Films

10

11

รัฐยังสามารถแบนหนังได้ ซึง่ ถึงจะไม่ได้เกิดขึน้ บ่อย แต่กฎหมายก็ทำ�ให้เกิดวัฒนธรรมการเซ็นเซอร์ตวั เอง ปัญหาคือการตีความกฎหมายทีไ่ ม่ชดั เจน คุณบอกไม่ได้วา่ อะไรฉายได้ อะไรฉายไม่ได้ พอเป็นอย่างนีม้ นั ก็ทำ�งานลำ�บาก

13

Photograph by Chai Siris Courtesy of Kick the Machine Films

ซึง่ เฮ้าส์ไม่พอใจมาก ไม่มใี ครอยากถูกมองว่า เป็นโรงหนังชัน้ สอง” ก่อนการเปิดตัวของแบงค็อก สกรีนนิง่ รูม หนังค่ายเล็กนัน้ มีโรงฉายแค่ทส่ี กาล่าและเฮ้าส์ อาร์ซเี อ ซึง่ เป็นเพียงโรงภาพยนตร์ 2 แห่งใน กรุงเทพฯ ทีอ่ ทุ ศิ พืน้ ทีใ่ ห้กบั ภาพยนตร์นอก กระแสอย่างจริงจัง โดยมีตารางฉายสลับกับ หนังฝรัง่ ทำ�เงิน หนังไทย รวมถึงบรรดาหนัง แหวกแนวทีบ่ างครัง้ กลายมาเป็นกระแสอืน่ ๆ ศริญญา มานะมุติ ผูร้ ว่ มก่อตัง้ แบงค็อก สกรีนนิง่ รูม กล่าวว่า “เฮ้าส์ อาร์ซเี อทำ�หน้าทีไ่ ด้ดี มาโดยตลอด แต่กรุงเทพฯ ยังมีโรงฉายหนังอินดี้ ไม่พอ เราเป็นอีกตัวเลือกหนึง่ ทีเ่ พิม่ ขึน้ มา เป็น พืน้ ทีส่ �ำ หรับคนทำ�หนังรุน่ ใหม่ เราใช้ระบบแบ่ง ค่าตัว๋ 50/50 และยังเปิดโอกาสให้คนทำ�หนัง ร่วมส่งหนังของตนเพือ่ เข้ารับการคัดเลือกให้ฉาย และได้รบั ส่วนแบ่งจากการจำ�หน่ายตัว๋ ด้วย” เพือ่ ช่วยให้คนทำ�หนังรุน่ ใหม่เข้าถึงคน ดูในประเทศได้ ศริญญายังช่วยแนะนำ�เรือ่ ง กระบวนการส่งหนังให้กองเซ็นเซอร์ตรวจ พิจารณาก่อนนำ�ออกฉาย “เราต้องทำ�อย่าง นีก้ บั หนังทุกเรือ่ งทีเ่ ราฉาย เราพยายามจับ แนวทางว่าจะผ่านกองเซ็นเซอร์ได้ยงั ไง ซึง่ เป็น เรือ่ งทีค่ วรบอกต่อให้คนทำ�หนังรุน่ ใหม่รู้ การจัด

เรือ่ งการเซ็นเซอร์ในแง่บวกมากกว่า “ผมว่าทุกอย่างมัน กำ�ลังดีขน้ึ หนังใหม่ของเพือ่ นผม อโนชา สุวชิ ากรพงศ์ [‘ดาวคะนอง’] เล่นกับประเด็นรัฐประหารเมือ่ 40 ปี ทีแ่ ล้ว แต่กย็ งั จัดเรทได้ 15+ ทัง้ ๆ ทีต่ อนแรกนึกว่า จะไม่ได้เข้าฉายด้วยซ�ำ้ ” ปัจจุบนั จักรวาลกำ�ลังเตรียมถ่ายทำ� Departure Day ภาพยนตร์สารคดีทอ่ี อกสำ�รวจทัศนคติของคน ไทยต่อชนกลุม่ น้อยโรฮิงญาจากเมียนมาร์ โดยร่วม สร้างกับ Youku.com (Youtube ของเมืองจีน) โดย เขาหวังว่าหนังของเขาจะมีโอกาสได้ฉายในประเทศ แต่กว่าจะถึงขัน้ นัน้ เขาบอกว่าต้องรวมรวบเสียง สนับสนุนจากนานาชาติให้มากพอเสียก่อน “ขัน้ แรกเราจะส่งหนังไปปูซาน ซึง่ เราหวังว่าจะ สร้างกระแสได้ จากนัน้ ถึงค่อยขยายฐานคนดูไปยัง ยุโรปและทำ�ตลาดทีน่ น่ั ก่อนจะเอากลับมาฉายที่ ไทย” เขาเล่า สำ�หรับคนทำ�หนังอินดี้ เทศกาลเหล่านีเ้ ป็น เหมือนเครือ่ งช่วยต่อชีวติ โดยเปิดโอกาสให้งานได้ รับการชืน่ ชมจากโลกภายนอก และก็ใช้ความชืน่ ชม นัน้ กลับมาดึงดูดความสนใจของคนดูในประเทศอีก ต่อหนึง่ แต่มนั ก็ไม่เป็นเช่นนัน้ เสมอไป “เทศกาลหนัง นานาชาตินน้ั สำ�คัญกับเรา แต่ส�ำ หรับคนทัว่ ไป

หนังดีในเทศกาลพวกนีค้ อื หนังอาร์ตเข้าถึงยากทีค่ น ไม่อยากดู” ปราบดากล่าว โดยทัว่ ไป รัฐอาจเพิกเฉยต่อวงการหนังอินดี้ และไม่ได้เห็นความสำ�คัญเพราะยอดขายบัตรทีต่ �ำ่ แต่ในเมือ่ ปัจจุบนั รัฐบาลประกาศว่าจะมุง่ พัฒนา อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย ซึง่ ติดอันดับ 5 ของ ภูมภิ าคอาเซียน ให้เติบโตไปอีกขัน้ รัฐจึงไม่ควร มองข้ามศักยภาพของหนังอินดีใ้ นฐานะพืน้ ทีท่ ดลอง ทีอ่ าจนำ�ไปสูห่ นังทำ�เงินในอนาคตอีกต่อไป เพราะ หากคิดให้ดี การไม่แยแสหนังอินดี้ ย่อมไม่ได้เพียง แต่กระทบความเป็นอยูข่ องวงการหนังอินดี้ แต่ยอ่ ม หมายถึงการหันหลังให้กบั ความคิดและเทคนิค ใหม่ๆ ทีจ่ ะเป็นแต้มต่อสำ�คัญสำ�หรับวงการหนังไทย ทัง้ หมด อย่าลืมว่าผูก้ �ำ กับลือนามอย่างมาร์ตนิ สกอร์เซซี จอร์จ ลูคสั และเควนติน แทแรนติโน ล้วน มีจดุ เริม่ ต้นจากวงการหนังอิสระ ก่อนจะก้าวไปทำ� หนังฮอลลีวดู้ ทำ�รายได้ถล่มทลายทัง้ สิน้ และระหว่างนี้ อาจเป็นการดีทเ่ี ราจะสรรเสริญคน ทำ�หนังอิสระไทยให้มากกว่าทีเ่ ป็นอยู่ เพราะสุดท้าย นีค่ อื กลุม่ คนทีพ่ ร้อมจะสร้างสรรค์ผลงานอันเปีย่ ม ความหมายสำ�หรับสังคม ไม่วา่ สังคมจะสนับสนุน ผลงานของพวกเขามากน้อยเพียงใดก็ตาม

Essentials Bangkok Screening Room 1/3-7 ชัน้ 2 ซอยศาลาแดง 1 ถนนสีลม กรุงเทพฯ โทร. 090-906-3888 www.fb.com/ bangkokscreeningroom House RCA 31/8 ชัน้ 3 อาร์ซเี อ พลาซ่า ถนนเพชรบุรี กรุงเทพฯ โทร. 02-641-5177 www.houserama.com SF World Cinema 999/9 ชัน้ 7 เซ็นทรัลเวิลด์ ถนนราชดำ�ริ กรุงเทพฯ โทร. 02-268-8888 www.sfcinemacity.com

OPTIMISE | JANUARY 2017

35


SERVING YOU

01

In Search of Excellence

01 รางวั ล Platinum Awards ที ่ FinanceAsia มอบให้ บ ริ ษ ั ท หลั ก ทรั พ ย์ ภั ท ร ในประเภท Best Domestic Equity House, Best Domestic Investment Bank และ Best Domestic Private Bank

ค้นหาเบื้องหลังของ 3 รางวัล Platinum Awards ที่บ่งบอกความเป็นเลิศข้าม 2 ทศวรรษ ในโลกของการเงินการลงทุน ระยะเวลา 20 ปีถอื ว่ายาวนานอย่างยิง่ เพราะพัฒนาการต่างๆ ในตลาดอาจเกิดขึน้ และเปลีย่ นไปได้รวดเร็วกว่า รอบปีปฏิทนิ หลายเท่า โดยเฉพาะในช่วง 20 ปี ทีผ่ า่ นมา ตลาดเอเชียได้เห็นการเปลีย่ นแปลง ผันผวน ไม่วา่ จะเป็นวิกฤติเศรษฐกิจ การผงาด ขึน้ ของจีนและอินเดีย คลืน่ เทคโนโลยีทถ่ี าโถม เข้ามาสร้าง (และทำ�ลาย) อุตสาหกรรม หลากหลาย แม้กระทัง่ ประเทศไทยเอง ก็มกี าร เปลีย่ นกฎระเบียบเรือ่ ง Universal Banking ซึง่ ได้พลิกโฉมหน้าภาคการเงินไปอย่างมหาศาล ด้วยเหตุน้ี เพือ่ เป็นการจารึกถึงช่วงเวลาแห่ง ประวัตศิ าสตร์ FinanceAsia นิตยสารการเงิน ทีไ่ ด้รบั ความเชือ่ ถือของภูมภิ าคมานับแต่กอ่ ตัง้ ในปี 1996 จึงได้พจิ ารณาอดีต 2 ทศวรรษ และ มอบรางวัล Platinum Awards ให้แก่สถาบัน การเงินที่ ‘สร้างความแตกต่างมากทีส่ ดุ ’ ให้ กับประเทศ ผ่านทางบริการทางการเงินทีไ่ ด้ มาตรฐานและเปีย่ มนวัตกรรม ในโอกาสทีบ่ ริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษทั หลักทรัพย์ไทยเพียงแห่ง เดียวทีไ่ ด้รบั รางวัล Platinum Awards สำ�หรับ ประเทศไทย อีกทัง้ ยังได้รบั ถึง 3 รางวัลในสาขา Best Domestic Equity House, Best Domestic Investment Bank และ Best Domestic Private Bank เราสนทนากับพัชนี ลิม่ อภิชาต กรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่, กุลนันท์ ซานไทโว กรรมการ ผูจ้ ดั การ และหัวหน้าสายงานลูกค้าบุคคล, ตรัยรักษ์ เต็งไตรรัตน์ กรรมการผูจ้ ดั การและ 36

OPTIMISE | JANUARY 2017

หัวหน้าสายงานวานิชธนกิจและตลาดทุน และอนุวฒ ั น์ ร่วมสุข กรรมการผูจ้ ดั การและ หัวหน้าฝ่ายตลาดทุน เพือ่ ค้นหาสิง่ ทีอ่ ยูเ่ บือ้ ง หลังความสำ�เร็จตลอดระยะเวลาอันยาวนาน อีกทัง้ หยัง่ ถึงความท้าท้ายทีร่ ออยูใ่ นวันข้างหน้า

ทุกวันคือความท้าทาย

อย่างทีท่ ราบกันดี นิตยสาร FinanceAsia ได้การยอมรับในฐานะผูจ้ ดั ทำ�ผลสำ�รวจและ ให้รางวัลความเป็นเลิศแก่สถาบันการเงินเป็น ประจำ�ทุกปีอยูแ่ ล้ว ภายใต้ชอ่ื Achievement Awards แต่ความพิเศษของ Platinum Awards คือ รางวัลนีม้ ไิ ด้ให้แก่ความสำ�เร็จเฉพาะของ ปีใดปีหนึง่ หากให้แก่การรักษาสถานะอันเป็น เลิศได้อย่างต่อเนือ่ ง จนน่าสนใจว่าสิง่ ใดคือ ความยากของงานทีม่ รี ะยะยาวนานไม่ตา่ งกับ มาราธอนเช่นนี้ สำ�หรับตรัยรักษ์ สิง่ แวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นไปคือ ความท้าทาย “20 ปี ทีผ่ า่ นมา ถ้าจะมองง่ายๆ ว่าทุกอย่าง เหมือนเดิมก็ได้ เพราะงานวาณิชธนกิจก็คอื ทำ� IPO ทำ� M&A เหมือนเดิม แต่ความจริง 20 ปีท่ี ผ่านมา มีอะไรเปลีย่ นแปลงเยอะมาก ดีลแต่ละ ดีลไม่เคยเหมือนกัน กฎระเบียบเปลีย่ นทุกๆ 2-3 เดือน ตลาดก็ซบั ซ้อนมากขึน้ ผันผวนมากขึน้ วัฏจักรของบางอุตสาหกรรมจากเดิมใช้เวลา 6 ปีที เดีย๋ วนีแ้ ทบจะใช้แค่ 6 เดือน การแข่งขันก็ มากขึน้ เพราะธนาคารไทยหันมาทำ�วาณิชธนกิจ มากขึน้ นีค่ อื ความท้าทาย”

อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนในแง่ของการทำ�งาน ไม่มคี วามแตกต่างแต่อย่างใดระหว่างการ ทำ�งานในแต่ละวันและการทำ�งาน 20 ปี ดังที่ กุลนันท์บอกว่า “ความท้าทายไม่ได้อยูต่ รง 20 ปี แต่อยูต่ รง การทำ�งานปกติทกุ วัน เพราะตลาดทุนก็ยากใน ตัวเองอยูแ่ ล้ว ตืน่ ขึน้ มาไม่เคยเหมือนกัน อย่าง งาน private bank เราต้องนำ�เอาสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในโลก ทัง้ micro-macro เศรษฐกิจ การเมือง สังคมต่างๆ มาย่อยเพือ่ ทำ�เป็นคำ�ปรึกษาทีม่ ี คุณภาพให้กบั ลูกค้าทุกวัน ในขณะทีส่ ง่ิ เหล่านี้ มันเปลีย่ นตลอด ความท้าทายจึงอยูท่ ว่ี า่ เราจะ ตอบโจทย์ลกู ค้าให้ได้ยงั ไงในทุกวัน พอตอบได้ ทุกวัน เรือ่ ง 20 ปีกต็ ามมาเอง”

ลูกค้าคือเข็มทิศ

ท่ามกลางการเปลีย่ นแปลงทีส่ บั สน หลากหลาย สิง่ หนึง่ ทีท่ มี ของ บล. ภัทร ใช้เป็น เข็มทิศกำ�หนดแนวทางการทำ�งานหรือการปรับ ตัวทีจ่ ะต้องเกิดขึน้ ก็คอื ความต้องการของลูกค้า “ถ้าเราไม่เอาลูกค้าเป็นหลัก เราเข้าไปทำ�กี่ ดีลเราก็ท�ำ กระบวนการเดิม เปิดเผยข้อมูล แบบเดิม ทำ� valuation แบบเดิม แต่เมือ่ เรา เอาลูกค้าเป็นหลัก เราก็ตอ้ งนึกแล้วว่าถ้าลูกค้า อยากได้แบบนี้ จะต้องทำ�ยังไง บริหารกฎเกณฑ์ ทีเ่ กีย่ วข้องยังไง ให้ลกู ค้าขายของได้ และตลาด รับได้ เรือ่ งพวกนีท้ �ำ ให้เราต้องคิดอยูต่ ลอด ทำ�ให้พอมีสง่ิ ทีน่ า่ จะเรียกได้วา่ ความแหลมคม ในธุรกรรมแต่ละครัง้ ” ตรัยรักษ์กล่าวจากมุมมอง OPTIMISE | JANUARY 2017

37


SERVING YOU ทำ�งานตั้งแต่ระดับพนักงานไปจนกระทั่ง ผู้นำ�องค์กร “ถ้าคนทำ�งานบอกอยากยืนข้างลูกค้า แล้ว นายเอาแต่ไล่วา่ เป้าต้องเป็นเท่านีๆ้ คนทำ�งาน จะยึดถือผลประโยชน์ลกู ค้าจริงๆ ได้ยงั ไง แต่ทน่ี ่ี หลักการตรงกันหมดตัง้ แต่ผบู้ ริหารลงมา ก็ท�ำ ให้ ทุกคนทำ�งานได้งา่ ย”

02

ชิน้ ส่วนทีเ่ ป็นหนึง่ เดียว

งานวาณิชธนกิจซึง่ มีหน้าทีต่ อ้ งขายหุน้ หรือหลัก ทรัพย์ของลูกค้าให้ได้ในราคาและรูปแบบทีต่ รง ความต้องการ (sell side) โดยพัชนี ซึง่ รับผิดชอบ งานในด้านตรงกันข้าม คือการสนับสนุน นักลงทุนสถาบันสำ�หรับการซือ้ หลักทรัพย์ (buy side) ได้ชว่ ยทำ�หน้าทีเ่ ป็นอีกหนึง่ แรงต้าน ทีด่ ลุ ย์ให้การทำ�งานของฝัง่ ขายตอบโจทย์ยง่ิ ขึน้ “งานด้าน Equity House ของเราต้องเป็น ฝ่ายรับความต้องการจากนักลงทุนสถาบัน ทัง้ หมด ทัง้ ในและต่างประเทศ ทำ�ให้เรามีขอ้ มูล ทีจ่ ะกลับมาสือ่ สารกับทีมวาณิชธนกิจว่าความ ต้องการของตลาด ความต้องการของลูกค้าเป็น อย่างนีๆ้ ซึง่ เราตัง้ ใจให้ขอ้ มูลแบบ active เพือ่ ให้การทำ�งานของทุกคนตอบโจทย์ได้มากขึน้ ” แม้แนวคิดเรือ่ งการยึดถือผลประโยชน์ ลูกค้าเป็นหลักจะไม่ใช่เรือ่ งแปลกใหม่ แต่ใน ทางปฏิบตั แิ ล้ว ไม่ใช่เรือ่ งง่ายทีจ่ ะรักษาผล 38

OPTIMISE | JANUARY 2017

ประโยชน์ลกู ค้า ในเมือ่ มีผลประโยชน์ของบริษทั ให้ตอ้ งคำ�นึงถึง ดังทีอ่ นุวฒ ั น์อธิบายอย่างเห็น ภาพว่า “เวลาทีใ่ ห้บริการอะไรก็แล้วแต่ มันเป็นไป ได้วา่ ประโยชน์อาจเป็นของเรา หรือประโยชน์ เป็นของลูกค้า เช่นถ้าเราขายผลิตภัณฑ์การเงิน ของเรา เราอาจได้คา่ ธรรมเนียมเยอะกว่า ง่ายกว่า แต่ถา้ สำ�หรับลูกค้า ผลิตภัณฑ์นน้ั ไม่ใช่สง่ิ ทีด่ ที ส่ี ดุ คืออาจจะแค่ตอบโจทย์เขา ได้บา้ ง แต่ไม่ได้ตอบโจทย์ได้มากทีส่ ดุ เราก็ จะไม่ขาย แต่จะไปดูวา่ ในตลาดมีคนอืน่ ทีม่ ี ผลิตภัณฑ์ทด่ี กี ว่าสำ�หรับเขาหรือเปล่า เพราะ ต่อให้เราไม่ได้ประโยชน์ตรงนัน้ แต่ลกู ค้าได้ นัน่ คือสิง่ ทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ สำ�หรับเรา” กุลนันท์เสริมว่าหลักการยึดประโยชน์ของ ลูกค้าเป็นสำ�คัญสามารถเกิดได้อย่างแท้จริงที่ บล.ภัทร เพราะความสอดคล้องของปรัชญาการ

หากหลักการ Client Focus ถือเป็นหัวใจของ องค์กร คำ�ถามทีต่ ามมาคือในเมือ่ แต่ละสายงาน มีกลุม่ ลูกค้าทีม่ คี วามต้องการแตกต่างหรือแม้ กระทัง่ สวนทางกัน การทำ�งานร่วมกันจะเกิดขึน้ ได้อย่างไร ตรัยรักษ์ยกตัวอย่างงานของเขากับพัชนี ซึง่ ยืนอยูค่ นละข้างของการซือ้ ขายว่า “เราต้องคิด ร่วมกัน ผมก็อาจจะ challenge คุณพัชนีวา่ ‘ผมอยากจะขายของแบบนี้ ทำ�ไมจะขายไม่ ได้’ คุณพัชนีกจ็ ะไม่ได้ตอบ ‘ไม่’ คำ�เดียว แต่จะ อธิบาย ‘ก็ดอู ย่างดีลนัน้ สิ ก็ท�ำ อย่างนีแ้ ล้วขาย ไม่ได้ เพราะอย่างนีๆ้ ’ ผมก็ตอ้ งถามต่อ แล้วทำ� อย่างนีล้ ะ่ ขายได้ไหม ถ้ากลัวเรือ่ งนัน้ เราแก้ไข อย่างนีไ้ ด้ไหม คือต้อง challenge แต่ในขณะ เดียวกันก็เคารพในจุดยืนของกันและกัน มันก็ จะออกมาเป็นคำ�ตอบทีไ่ ปได้ทง้ั สองฝัง่ ” “คำ�ว่า ‘เคารพกัน’ สำ�คัญมากเลย เวลา ทำ�งาน พวกเราทีน่ ง่ั กันอยูน่ เ่ี ถียงกันให้ตายจริงๆ ไม่มใี ครยอมใคร และไม่เคยมีการใช้อ�ำ นาจทุบ โต๊ะ เราเชือ่ ว่าทุกคนมีความรู้ ความเชีย่ วชาญ ของเขาทีค่ นอืน่ ยังไงก็สไู้ ม่ได้ ดังนัน้ เราต้องคุย กันจนเข้าใจและตัดสินใจร่วมกัน เราไม่เคยคิด ว่าเราได้รางวัลเพราะเรามีโบรกเกอร์ทเ่ี ก่งทีส่ ดุ หรือมีอนิ เวสต์เมนต์ แบงกิง้ (ไอบี) ทีเ่ ก่งทีส่ ดุ แต่ เราได้เพราะเรามีองค์ประกอบครบ ทีมเซลส์ท่ี ครอบคลุมลูกค้าทุกกลุม่ ทำ�ให้ทมี ไอบีท�ำ งานได้ ทีมไอบีทช่ี �ำ นาญ ทำ�ให้ทมี เซลส์ขายของได้ ทีมรีเสิรช์ ทีแ่ ข็งก็สนับสนุนทุกคน เวลาเขาให้ รางวัล เขาอาจต้องแยกประเภท แต่ส�ำ หรับ พวกเราคือ เราทำ�ด้วยกันทีภ่ ทั ร” อนุวฒ ั น์เสริม ทัง้ นี้ การทำ�งานเป็นทีมไม่ได้จ�ำ กัดอยูเ่ ฉพาะ แต่ ‘งานหน้าบ้าน’ แต่ขยายไปถึงหน่วยงาน สนับสนุนทัง้ หมด เช่น ฝ่ายกำ�กับการปฏิบตั ติ าม กฎ ฝ่ายบริหารความเสีย่ ง หรือฝ่ายไอที อย่างที่

ตรัยรักษ์กล่าวว่า “ผมว่าทุกคนอยูใ่ นโหมด ‘can do’ คือทำ� ยังไงถึงจะทำ�ให้ได้ ไม่ใช่แค่ yes กับ no เช่น ฝ่ายกำ�กับฯ กับฝ่ายบริหารความเสีย่ ง แน่นอน เขาต้อง conservative ตามวิชาชีพเขา แต่เมือ่ ทำ�งานร่วมกันเรามักจะคุยว่าอันนีท้ �ำ ไม่ได้ แล้ว ถ้าจะทำ�ให้ได้ภายในกรอบต้องทำ�ยังไง ร่วมกัน หาทางออก ลองนึกสภาพว่าถ้าทำ�งานแล้วอีก ฝ่ายหลับหูหลับตาเป็นจิง้ จกทักอย่างเดียว งาน ก็ไม่มที างเกิดได้” พัชนีเสริมว่า “เราคิดว่าแพลตฟอร์มการ ทำ�งานทีเ่ ข้มแข็งและเป็นองค์รวมอย่างนี้ สำ�คัญทีส่ ดุ แล้วด้วยความทีค่ นของเราส่วน ใหญ่ท�ำ งานมานาน 20-30 ปี แพลตฟอร์มตรง นีจ้ งึ แน่นมากและเป็นฐานทีด่ สี �ำ หรับอนาคต เวลาเรารับคนเข้ามาใหม่ แทนทีจ่ ะเป็นการ เจือจางของเก่า เลยกลับกลายเป็นส่วนหนึง่ ทีท่ �ำ ให้แพลตฟอร์มแข็งแกร่งมากยิง่ ขึน้ โดย เฉพาะในเมือ่ เรามักจะชวนคนทีเ่ ก่งกว่าเราเข้า มาร่วมงาน ยิง่ มีทมี ใหม่ น้องใหม่ จึงยิง่ ช่วยให้ บริการได้ดยี ง่ิ ขึน้ ”

โลกทีไ่ ม่เหมือนเดิม

แม้จะได้รบั รางวัลยืนยันหลากหลาย แต่ อาจเป็นเพราะทุกคนคุน้ เคยกับสัจธรรมของ

เราพร้อมทีจ่ ะปรับตัวเพือ่ สร้างโอกาส หลายครัง้ เราเห็น โอกาสแล้วเราต้องรีบจัดสรรทรัพยากร ไม่ใช่แค่เรือ่ งเงิน แต่บางครัง้ เป็นเรือ่ งไอที เรือ่ ง compliance เรือ่ ง risk เราต้องรีบบริหารตัวเอง เพือ่ คว้าโอกาสให้ได้ มันอาจยาก ในตอนเริม่ แรก แต่ถา้ ทำ�ได้ มันก็ตอ่ ยอดไปได้เรือ่ ยๆ โลกแห่งการลงทุนเป็นอย่างดีวา่ ผลการดำ�เนิน งานในอดีต มิได้เป็นสิง่ ยืนยันถึงผลการดำ�เนิน งานในอนาคต ทุกคนจึงยังมองสถานการณ์ในวัน ข้างหน้าด้วยความตืน่ ตัวอย่างเต็มที่ ในส่วนงานลูกค้าส่วนบุคคลของกุลนันท์ เธอบอกว่า “นักลงทุนเอเชียส่วนใหญ่ยงั มี home bias คือลงทุนในบ้าน ยังไม่ออกไปข้างนอก นีค่ อื ปัจจัยช่วยซือ้ เวลาให้เรา แต่ยงั ไงโลกก็ตอ้ งเปลีย่ น ไป เราจึงนอนใจไม่ได้ ทีมรีเสิรช์ ของเราต้องรูจ้ กั asset class ทัว่ โลก ต้องรูจ้ กั สหรัฐฯ ต้องรูจ้ กั ยุโรป ต้องรูจ้ กั ตลาดเกิดใหม่ เพือ่ ทีเ่ ตรียมสำ�หรับ การออกไป global อย่างเต็มที”่ ตรัยรักษ์กเ็ ห็นทิศทางเดียวกันสำ�หรับงาน วาณิชธนกิจ “แน่นอนเราอยูใ่ นเมืองไทย เราต้อง รูเ้ รือ่ งในเมืองไทยมากทีส่ ดุ แต่การจะเป็น Best Domestic Bank หมายความว่าเราไม่สามารถ

มองแต่ domestic ทือ่ ๆ ได้ ต้องมองไปที่ มาตรฐานสากลอยูต่ ลอด อย่างวันนี้ สำ�หรับ ลูกค้าใหญ่ของเรา 10 รายแรก ประเทศไทย เล็กไปแล้ว เขาไปมีธรุ กิจอยูต่ า่ งประเทศ เขาไป ทำ� M&A ไปเปิดสาขา ดังนัน้ นีค่ อื challenge ในวันทีล่ กู ค้าเริม่ ออกไปข้างนอกมากขึน้ เรา ต้องคิดให้ได้วา่ เราจะบริการเขายังไงให้ดที ส่ี ดุ ” “เราพร้อมทีจ่ ะปรับตัวเพือ่ สร้างโอกาส หลายครัง้ เราเห็นโอกาสแล้วเราต้องรีบจัดสรร ทรัพยากร ไม่ใช่แค่เรือ่ งเงิน แต่บางครัง้ เป็น เรือ่ งไอที เรือ่ ง compliance เรือ่ ง risk เราต้อง รีบบริหารตัวเอง เพือ่ คว้าโอกาสให้ได้ มันอาจ ยากในตอนเริม่ แรก แต่ถา้ ทำ�ได้ มันก็ตอ่ ยอด ไปได้เรือ่ ยๆ” พัชนีเสริม เช่นเดียวกับทีท่ อม ปีเตอร์ส ผูแ้ ต่งหนังสือ ธุรกิจทีท่ รงอิทธิพลทีส่ ดุ เล่มหนึง่ อย่าง In Search of Excellence บอกเอาไว้วา่ “Excellent firms don’t believe in excellence­­—only in constant improvement and constant change.” ดูเหมือนทีมของ บล.ภัทร ไม่มคี วามสงสัยแต่อย่างใดเกีย่ วกับ ความเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะมาถึง อีกทัง้ ยังพร้อมจะปรับตัวอยูท่ กุ ขณะเพือ่ เปลีย่ นความเปลีย่ นแปลงนัน้ ให้เป็นโอกาส ของวันข้างหน้าต่อไป

02 ตรั ย รั ก ษ์ เต็ ง ไตรรั ต น์ กรรมการผู ้ จ ั ด การ และหั ว หน้ า สายงานวานิ ช ธนกิ จ และตลาดทุ น (ซ้ า ย) พั ช นี ลิ ่ ม อภิ ช าต กรรมการผู ้ จ ั ด การใหญ่ (กลาง) และอนุ ว ั ฒ น์ ร่ ว มสุ ข กรรมการผู ้ จ ั ด การและหั ว หน้ า ฝ่ า ยตลาดทุ น

03

03 กุ ล นั น ท์ ซานไทโว กรรมการผู ้ จ ั ด การ และหั ว หน้ า สายงานลู ก ค้ า บุ ค คล

OPTIMISE | JANUARY 2017

39


CLIENT VALUES

National Treasure เทวินทร์ วงศ์วานิช กับภารกิจการสร้างปตท. ให้เป็นสมบัติชาติที่ทุกคนสามารถชื่นชมและส่งเสียงเชียร์ บริษทั ปตท. จำ�กัด ( มหาชน ) หรือปตท. ถือเป็นหนึง่ ในเรือ่ งราวความสำ�เร็จน่าตืน่ ตา ของวงการธุรกิจไทย เพราะจากจุดเริม่ ต้น ในฐานะหน่วยงานของรัฐ ซึง่ ต้องรีบตัง้ ไข่ใน อุตสาหกรรมพลังงานเพือ่ หานํา้ มันให้ประเทศ ในช่วงวิกฤติการณ์นา้ํ มันโลกปี 2521 ทุกวันนี้ ปตท. ไม่เพียงเป็นบริษทั มหาชนขนาดใหญ่ ทีส่ ดุ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทีม่ ี อาณาจักรครอบคลุมตัง้ แต่ธรุ กิจสำ�รวจและ ผลิต ธุรกิจนํา้ มัน ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจ การกลัน่ ธุรกิจปิโตรเคมี ไปจนกระทัง่ ธุรกิจ โครงสร้างพืน้ ฐาน หากปตท. ยังเป็นบริษทั ไทย เพียงหนึง่ เดียวทีใ่ หญ่ตดิ อันดับบริษทั Fortune 500 และสามารถออกไปแข่งขันกับยักษ์ ประจำ�อุตสาหกรรม เช่น เชฟรอน เชลล์ คาลเท็กซ์ ฯลฯ ได้อย่างสมศักดิศ์ รี อย่างไรก็ตาม ภายใต้ภมู ทิ ศั น์ของ อุตสาหกรรมทีก่ �ำ ลังเปลีย่ น ทัง้ จากราคาและ วัฏจักรนา้ํ มันทีผ่ นั ผวน ความไม่มเี สถียรภาพ ทางการเมืองของประเทศแหล่งทรัพยากร เทคโนโลยีพลังงานทดแทนทีด่ ขี น้ึ เรือ่ ยๆ ตลอด จนปัญหาภาพลักษณ์อนั เกิดจากการทีบ่ างคน มองความใหญ่ของปตท.ด้วยความหวาดระแวง แล้ว เส้นทางของปตท.ในอนาคตยังห่างไกล จากคำ�ว่าเรียบง่าย เทวินทร์ วงศ์วานิช ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ของ ปตท. ให้สมั ภาษณ์แก่ Optimise พร้อมเผยให้ เห็นถึงเส้นทางการเพาะบ่มองค์กรนับแต่อดีต ทีย่ งั คงแตกกอต่อกิง่ อย่างไม่หยุดยัง้ เพือ่ รองรับ ความท้าทายในอนาคต 40

OPTIMISE | JANUARY 2017

ปัจจัยความสำ�เร็จ

ผมคิดว่าปัจจัยมาจาก 2-3 อย่าง หนึง่ ภารกิจการสร้างความมัน่ คงด้านพลังงาน ของปตท.เป็นสิง่ ทีต่ อ้ งแข่งขัน ต้องจัดซือ้ จัดหา จากต่างประเทศ ภารกิจนีจ้ งึ บีบให้องค์กร บุคลากร และการดำ�เนินธุรกิจของปตท. ต้อง ปรับตัวเทียบเคียงบริษทั ต่างประเทศให้ได้ สอง เราโชคดีทต่ี ง้ั แต่กอ่ ตัง้ มา ผูน้ �ำ องค์กร ทุกคนเป็นคนเก่ง มีวสิ ยั ทัศน์ และอยูใ่ นธุรกิจ พลังงานโดยตลอด ทำ�ให้การบริหารมีความ ต่อเนือ่ ง สุดท้าย คล้ายกับข้อแรก คือ การแข่งขันกับองค์กรต่างประเทศ ทำ�ให้เรามี โอกาสเรียนรู้ และพัฒนาตัวเองเพือ่ ให้สกู้ บั เขา ได้ เราเห็นปรากฎการณ์คล้ายๆ กันในบริษทั พลังงานแห่งชาติของประเทศอืน่ ซึง่ ไปไกล กว่ารัฐวิสาหกิจปกติ เพราะต้องทำ�ธุรกิจ แข่งขันระหว่างประเทศ บางทีจงึ ต้องกลับมา คิดว่าสำ�หรับหลายๆ กิจการ การคงสภาพ รัฐวิสาหกิจยังเหมาะสมหรือเปล่า หรือควร แปลงสภาพแปรรูปให้มคี วามคล่องตัวขึน้ แข่งขันมากขึน้

พลังของตลาด

พอแปรรูปแล้ว ผูบ้ ริหารของบริษทั ต้องพบ นักลงทุน นักวิเคราะห์ ต้องถูกตลาดติดตาม ตรวจสอบ เพราะฉะนัน้ การตัดสินใจทางธุรกิจ ต่างๆ ต้องสมดุลมากขึน้ ถ้าเป็นรัฐวิสาหกิจ นโยบายก็จะเป็นไปตามคำ�สัง่ ของภาครัฐ อย่างเดียว ซึง่ สำ�หรับรัฐบาลทีม่ วี าระด้าน การเมืองเยอะ การตัดสินใจก็จะไปตามเรือ่ ง

การเมืองหมด แต่พอเป็นบริษทั มหาชน นอกจาก ตอบสนองนโยบายรัฐแล้ว การใช้เงินลงทุนต้องมี เหตุผลเพียงพอ มีผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม ยัง่ ยืน ไม่ใช่ท�ำ ไปแล้ว เงินจมไปเรือ่ ยๆ อย่างเรือ่ งการ อุดหนุนราคาพลังงาน เป็นจุดตายสำ�คัญ เพราะ สเกลมันใหญ่มาก ถ้าไปอุดหนุนแล้ว พอราคา ตลาดโลกขึน้ ไปเยอะๆ ไม่มใี ครรับไหว กระทัง่ ประเทศส่งออกนา้ํ มัน ทุกวันนีก้ เ็ จ็บปวด เพราะ เวลาราคานา้ํ มันดี รัฐอาจมีก�ำ ลังอุดหนุนได้ แต่พอ ราคานา้ํ มันลง รายได้หาย คิดจะเลิกอุดหนุน ตอน นัน้ ผูบ้ ริโภคก็เสพติดแล้ว ยิง่ เราเป็นประเทศนำ�เข้า ไม่มรี ายได้แบบประเทศส่งออกพลังงาน ก็ตอ้ งไป เอารายได้จากทางอืน่ มาอุดหนุน ยิง่ เจ็บตัวใหญ่ ดังนัน้ การสร้างความสมดุลให้กบั การตัดสินใจทาง ธุรกิจคือประโยชน์อย่างแรกของการเข้าตลาด สอง การอยูใ่ นตลาดช่วยสร้างความน่าเชือ่ ถือ ในการลงทุนและการกูเ้ งินให้กบั บริษทั เพราะต่าง ประเทศมักจะดูวา่ บริษทั ทีม่ าลงทุนเป็นใคร เป็น บริษทั จดทะเบียนในตลาดทีม่ คี วามน่าเชือ่ ถือ หรือไม่ เครดิตเรตติง้ เป็นอย่างไร เพือ่ ให้มน่ั ใจว่า เป็นบริษทั ทีบ่ ริหารจัดการอย่างมืออาชีพ ไม่ได้ถกู สัง่ การจากการเมืองอย่างเดียว เมือ่ ได้รบั ความ เชือ่ ถือแล้ว เวลาเห็นโอกาส เราก็เริม่ ได้เร็ว เพราะ หาเงินมาดำ�เนินการได้สะดวกขึน้ สาม การเข้าตลาดช่วยพัฒนามาตรฐานการ กำ�กับดูแล ตลาดหลักทรัพย์ไทยถือว่ามีชอ่ื เสียงใน เรือ่ งการกำ�กับดูแลในระดับทีด่ มี าก ดังนัน้ จะเรียก ว่าเป็นความท้าทายหรือเป็นจุดเด่นของ ปตท.ก็ได้ สำ�หรับการเป็นรัฐวิสาหกิจด้วย เป็นบริษทั มหาชน ด้วย เพราะเราจะถูกกำ�กับ 2 ทาง ทางภาครัฐ กำ�กับปตท. โดยผ่านนโยบายของรัฐ การตรวจ สอบของสตง. ปปช. กระทรวงการคลัง และ กฎหมายของรัฐวิสาหกิจเกือบทุกฉบับ ในขณะที่ การเป็นบริษทั มหาชน ก็ท�ำ ให้ปตท. ต้องอยูภ่ าย ใต้พรบ.หลักทรัพย์ฯ พรบ.บริษทั มหาชนฯ และ การตรวจสอบโดย stakeholders ทัง้ หลาย ไม่วา่ นัก วิเคราะห์ นักลงทุน กลต. ตลาดหลักทรัพย์ สิง่ ทีต่ าม มาคือ เวลาทำ�อะไรทีม่ คี วามสำ�คัญต่อสถานะบริษทั ปตท. ก็ตอ้ งเปิดเผยข้อมูล มีความโปร่งใส ซึง่ ถือ เป็นการยกระดับ Good Governance ไปในตัว แต่มองไปพ้นปตท. การเป็นบริษทั มหาชน ก็ยงั เป็นประโยชน์ตอ่ ประเทศ เพราะแปลว่ารัฐ OPTIMISE | JANUARY 2017

41


CLIENT VALUES

เราอยูใ่ นเมืองไทย stakeholders ของเราคือคนไทย เวลาไปพม่า stakeholders ก็คอื คนพม่า ต้องไปดูแล สังคม ชุมชน สิง่ แวดล้อมของเขาด้วย ...ไม่วา่ เราจะไปไหน เราต้องไปเป็น good corporate citizen ของทีน่ น่ั กำ�ไร สมมติเราไปลงทุนช่วงราคานํา้ มัน 70-80 เหรียญ แล้วราคามันขึน้ ไป 100 เหรียญ เราก็ ดีใจ แต่เสร็จแล้วพอราคาลงมาเหลือ 30-40 เหรียญ เราจะบอกเจ๊งแล้วไม่ได้ เพราะวันนีม้ นั ก็กลับขึน้ มาแตะ 60 เหรียญอีก ยังมีเรือ่ งเทคโนโลยีอกี เนือ่ งจากเทคโนโลยี ในกิจการพลังงานต้องลงทุนเยอะ ก็เป็นความ ท้าทายว่าเราจะเลือกเทคโนโลยีทจ่ี ะมาใช้ อย่างไร ต้องมีการตัดสินใจทีร่ ดั กุม ถ้ารอนาน ไป ก็ไม่ได้ท�ำ เสียที ถ้าทำ�เร็วเกินไป เกิดมี เทคโนโลยีใหม่มาแทนอันทีเ่ ราลงทุนไปเลยก็ ความท้าทายในโลกกว้าง เสียหาย อย่างเรือ่ งกิจการสำ�รวจและผลิต มี 38 ปีกอ่ น เรามีแต่โรงกลัน่ ขายนํา้ มันเล็กๆ อยูย่ คุ หนึง่ นํา้ มันหายาก เราก็ไปลงทุนทำ� oil น้อยๆ แต่ตอนนีป้ ตท.ทำ�ธุรกิจครบวงจร ตัง้ แต่ sand ทีแ่ คนาดา แต่วนั ดีคนื ดีดนั มีเทคโนโลยี สำ�รวจและผลิต วางท่อก๊าซ สร้างโรงแยก โรง ทีเ่ อานํา้ มันออกจากชัน้ หินดินดานได้ ทัง้ ทีป่ กติ กลัน่ ทำ�ปิโตรเคมี เปิดปัม๊ และเริม่ มีธรุ กิจไฟฟ้า ผลิตไม่ได้ ราคานํา้ มันก็รว่ งลงมา ฉะนัน้ พวกที่ ในตลาดโลก ผูเ้ ล่นในกิจการเหล่านีเ้ ป็นระดับ ไปลงทุน oil sand รวมถึงเราก็เจ็บตัว ยักษ์ทง้ั นัน้ ไม่วา่ เชลล์ เอสโซ่ คาลเท็กซ์ โททาล เรือ่ งการเมือง การทูตก็เป็นความเสีย่ ง บีพี เราอาจคิดว่าปตท.ใหญ่แล้วในประเทศ เพราะเราลงกิจการพลังงานทัว่ โลก ไม่ใช่ แต่เราเล็กกว่าพวกนีเ้ ป็น 20-30 เท่า เล็กกว่า แค่ไทย แล้วจะโดยบังเอิญหรือไม่กไ็ ม่ทราบ เปโตรนาสของมาเลเซียในเชิงรายได้ 7-8 เท่า พืน้ ทีท่ ม่ี ที รัพยากรจะไม่คอ่ ยน่าพิสมัยเท่าไหร่ แล้วทำ�อย่างไรเราถึงจะมีทย่ี นื ของเราในตลาด ไม่ใช่ประเทศน่าเทีย่ วหรือมีความมัน่ คง อยู่ โลก ทำ�อย่างไรเราถึงจะมีจดุ ทีเ่ ราไปลงทุน ในตะวันออกกลางบ้าง อยูใ่ นแอฟริกาบ้าง เจรจาซือ้ ขายต่อรองได้ นีค่ อื ความท้าทายหลัก ประเทศดีๆ ในยุโรปส่วนใหญ่มเี จ้าใหญ่ไปลง ความท้าทายต่อมาคือธุรกิจพลังงานมี แน่นหมดแล้ว อย่างทีเ่ ราไปลงแอลจีเรียก็มี ลักษณะเป็น cyclical (วัฏจักร) ไม่วา่ ในเรือ่ ง ความอันตราย มีการก่อการร้าย มีการจับตัว ของราคา เรือ่ งเทคโนโลยี เรือ่ ง margin มีขน้ึ ลง ประกันต่างชาติ พวกนีก้ เ็ ป็นความท้าทาย ดีท่ี เป็นรอบอยูต่ ลอด นีค่ อื เหตุผลทีบ่ ริษทั นํา้ มัน ธรรมชาติของคนสำ�รวจและผลิต จะมีทศั นคติ ส่วนใหญ่ตอ้ งทำ�กิจการตลอด value chain ของนักสำ�รวจ ยากแค่ไหนก็อยากไป อยากไป เพือ่ ให้สามารถบริหารเอารายได้จากวงจร หาให้เจอ ยิง่ ท้าทาย ยิง่ ยากยิง่ รูส้ กึ ภูมใิ จ ต่างๆ ตลอดสายมาถัวกัน นอกจากนัน้ ก็ตอ้ ง ต้นทุนความเป็นไทย รูจ้ กั นิง่ มองระยะยาว มองพรุง่ นีไ้ ม่พอ ต้อง ประเทศไทยนีม่ ตี น้ ทุนทีด่ ี คือเราเป็นคนดี มองเป็นระยะ 20 ปี เพราะการลงทุนในธุรกิจ ในสายตาสังคมโลก ไม่ใช่ประเทศใหญ่ทจ่ี ะไป พลังงาน เป็นระยะยาวทัง้ นัน้ ไม่มปี สี องปีคนื จะมีปตท.เป็นกลไกสร้างเสถียรภาพราคา พลังงาน คอยช่วยเหลือผูม้ รี ายได้นอ้ ย ดูแล สังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม ได้มากกว่าธุรกิจ เอกชนทัว่ ไป เวลาลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐาน ดูแลความมัน่ คงพลังงานของประเทศก็ไม่เป็น ภาระงบประมาณรัฐ และสุดท้ายนีค่ อื การสร้าง ความสามารถแข่งขันของบริษทั ไทยและคน ไทยในกิจการพลังงานในเวทีโลก ซึง่ จะกลับมา เพิม่ รายได้ เพิม่ มูลค่าทรัพย์สนิ ให้รฐั ซึง่ เป็น ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่อกี ทีหนึง่

42

OPTIMISE | JANUARY 2017

เป็นภัยคุกคามใคร ในขณะเดียวกันก็ไม่ใช่ประเทศ เล็กทีจ่ ะถูกกดขีไ่ ด้ ฉะนัน้ เราค่อนข้างได้รบั การ ต้อนรับทีใ่ ห้เกียรติ เป็นมิตร ซึง่ เราก็ตอ้ งรักษาต้นทุน นี้ คือต้องไปด้วยความเป็นมืออาชีพ ด้วยแนวทาง การทำ�ธุรกิจที่ win-win คิดถึง stakeholders เราอยู่ ในเมืองไทย stakeholders ของเราคือคนไทย เวลา ไปพม่า stakeholders ก็คอื คนพม่า ไม่ใช่รกั ษา ประโยชน์ประเทศไทยอย่างเดียว อย่างนัน้ ก็ไปไม่ รอด ต้องไปดูแล สังคม ชุมชน สิง่ แวดล้อมของเขา ด้วย คือเราอาจจะภูมใิ จได้วา่ เราเป็นบริษทั จาก ประเทศไทย แต่ไม่วา่ เราจะไปไหนก็ตาม เราก็ตอ้ ง ไปเป็น good corporate citizen ของทีน่ น่ั นีค่ อื ไปด้วยใจทีด่ ี แต่ใจอย่างเดียวไม่พอ เราต้องเป็นบริษทั ทีม่ ฝี มี อื ดีดว้ ย ไม่งน้ั เขาก็ไปทำ�งานกับคนอืน่ ดีกว่า ปตท. โชคดีทท่ี �ำ ธุรกิจตลอดสายโซ่ มันก็มโี อกาสทีแ่ สดง ผลงานให้เห็นได้ โดยเฉพาะสำ�หรับหลายประเทศ เพือ่ นบ้านเราทีย่ งั ไม่ได้น�ำ ทรัพยากรมาใช้ตลอด สายโซ่อย่างเรา เราก็เอาโมเดลธุรกิจทีเ่ ราใช้ใน ประเทศไทยไปเสนอเขาได้วา่ เราทำ�มาแล้ว เราอาจ ไม่ได้มคี วามได้เปรียบบริษทั ใหญ่ แต่สง่ิ หนึง่ ทีเ่ ราพูด ได้คอื เราทำ�ในฐานะบริษทั แห่งชาติในประเทศไทย มาแล้ว ฉะนัน้ ถ้าเขาอยากมีแบบนี้ เราก็ยนิ ดีท�ำ งาน ร่วมกัน เราเข้าใจหัวอกว่าเขาก็อยากพัฒนาบริษทั แห่งชาติ เข้าใจหัวอกของพนักงานรัฐวิสาหกิจทีจ่ ะ ต้องพัฒนาตัวเองขึน้ มา นีก่ เ็ ป็นจุดขาย

แหล่งพลังงานยุคใหม่

โลกเปลีย่ นแหล่งพลังงานมาเรือ่ ย จากถ่านหิน เป็นนํา้ มัน เป็นก๊าซ จนวันนีก้ ก็ �ำ ลังดูวา่ จะเปลีย่ น เป็นพลังงานหมุนเวียน (renewable energy) หรือ จะเปลีย่ นเป็นพลังงานชีวมวล (biomass energy) นี่ คือการเปลีย่ นแปลงในส่วนของ ‘ทีม่ า’ นอกจากนัน้ ก็ยงั มีการเปลีย่ นแปลงในส่วนของ ‘ทีไ่ ป’ อีกว่าสิง่ ที่ จะมาใช้พลังงานคืออะไร คือรถนํา้ มัน รถไฟฟ้า ฯลฯ เราก็ตอ้ งวางแผนรองรับ ความท้าทายส่วนใหญ่อยูท่ ่ี energy storage เพราะพลังงานหมุนเวียนส่วนใหญ่ มันไม่ได้สมํา่ เสมอ ดังนัน้ ต้องมีวธิ กี ารเก็บพลังงาน ไว้ให้ได้ วันนีเ้ ราจึงไปลงทุนในกิจการด้าน energy storage เพือ่ รองรับการนำ�พลังงานหมุนเวียนมาใช้ อย่างยัง่ ยืน ถอยกลับมาในส่วนของถ่านหิน นํา้ มัน และก๊าซ จะเอายังไงกันต่อไป ถ่านหินท้าทายหน่อย เพราะมี

รูจ้ กั กับ เทวินทร์ วงศ์วานิช เทวินทร์เรียนจบด้านวิศวกรรม เคมีจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนศึกษาต่อปริญญาโทด้าน วิศวกรรมเคมีจากมหาวิทยาลัยไรซ์ และวิศวกรรมปิโตรเลียมจาก มหาวิทยาลัยฮุสตันในสหรัฐอเมริกา เริ่มต้นทำ�งานที่บริษัท ปตท. สผ. ก่อนมาเป็นประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงิน ปตท. จากนั้นได้รับ ตำ�แหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.สผ. และได้ขึ้นเป็นประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ปตท. ในที่สุด

ประเด็นเรือ่ งความเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม คงไม่ขยาย มากนัก คงไว้อย่างนี้ ส่วนนํา้ มันในระยะยาว น่าจะไม่ ใช้เป็นเชือ้ เพลิงแล้ว ใช้เป็นวัตถุดบิ ปิโตรเคมีมากกว่า โลกยังต้องใช้ปโิ ตรเคมีคอล เพราะไบโอเคมีคอลยัง มีปริมาณน้อยและต้นทุนสูงมาก พูดได้วา่ พวกถุงถัง กาละมังหวี ยังไงก็เป็นพลาสติกอยู่ พวกไบโอเคมีคอล อาจมีตลาดเพียงบางส่วน เช่นแก้วกาแฟ เพราะมันใช้ ใกล้ชดิ กับชีวติ คนและเป็นการแสดงความรับผิดชอบ ต่อสิง่ แวดล้อม ดังนัน้ ระยะยาวเราจะเปลีย่ นไปเป็น ปิโตรเคมีคอลมากขึน้ สำ�หรับก๊าซธรรมชาติคงใช้เป็นเชือ้ เพลิงผลิตไฟฟ้า เป็นหลัก ใช้ในภาคการขนส่งน้อย เพราะราคานํา้ มัน ไม่สงู การใช้แก๊สแทนมันไม่คมุ้ เป้าของก๊าซจึงเป็นการ ใช้ผลิตเชือ้ เพลิงสำ�หรับผลิตไฟฟ้า หรือเป็นวัตถุดบิ ปิโตรเคมี แต่พอจะใช้เป็นเชือ้ เพลิงผลิตไฟฟ้า ก็ตอ้ ง

มาดูวา่ ทิศทางของพลังงาน renewable เป็นอย่างไร เราเชือ่ ว่าก๊าซจะยังเป็นเชือ้ เพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้า ส่วน renewable เป็นเพียงส่วนเสริม เพราะปริมาณมัน น้อยมาก ดังนัน้ ธุรกิจก๊าซเดินต่อได้ พฤติกรรมการบริโภคจะเปลีย่ นไปใช้ไฟฟ้ามากขึน้ พวกอุปกรณ์ตา่ งๆ โทรศัพท์มอื ถือ คอมพิวเตอร์มนั เพิม่ การใช้ไฟฟ้า ต่อไปรถไฟฟ้าคงทยอยเข้ามาอีก เพราะ ฉะนัน้ เราก็เลยเตรียมลงทุนในเรือ่ งของ electricity value chain อย่างเช่น ลงทุนในธุรกิจโซลาร์ฟาร์มที่ ญีป่ นุ่ ลงทุนในธุรกิจ energy storage ทีอ่ เมริกา ทำ�เรือ่ ง EV Charger ทีจ่ ะมาใช้กบั รถไฟฟ้า ทำ�เรือ่ ง ซอฟต์แวร์ทจ่ี ะต้องเกีย่ วข้อง นีค่ อื สิง่ ทีเ่ ราพยายาม เตรียมเพือ่ รองรับความเปลีย่ นแปลง

OPTIMISE | JANUARY 2017

43


CLIENT VALUES จะสร้างองค์กรให้คล่องตัวสำ�หรับแข่งกับเอกชน และทำ�หน้าทีเ่ พือ่ ประเทศ ตัง้ แต่ผมรับตำ�แหน่ง ก็เห็นปัญหานีม้ าตลอด เรือ่ งความไว้วางใจของสังคม ถ้าเราสือ่ ไม่ชดั อธิบายไม่ทว่ั มันก็จะกลับมาเป็นอุปสรรคต่อ ภารกิจ ผมไม่หว่ งเรือ่ งธุรกิจ เพราะมีคนปตท. เก่งๆ อยูเ่ ยอะ แต่เรือ่ งการสือ่ สาร คนของเราทีค่ นุ้ แต่การทำ�ธุรกิจ ขายของ ซือ้ ของยังสูฝ้ า่ ยต่อต้าน ยังไม่ได้ โดยเฉพาะสิง่ ทีป่ ตท.ทำ� โดยธรรมชาติ มันจะไปกระทบกับความเป็นอยูข่ องคน ไม่รจู้ ะ ทำ�ยังไงไม่ให้กระทบคน เพราะว่าเราซือ้ มาขาย ไป ก็ตอ้ งทำ�ตามกลไกตลาด พอกระทบเขาอาจ รูส้ กึ ว่าเราไม่ได้ท�ำ เพือ่ ชาติ ลืมไปว่าเราแค่จดั หา มาให้ ไม่ได้เป็นเจ้าของทรัพยากรเอง

สมบัตชิ าติทค่ี นไทยภูมใิ จ

เร่งสร้างนวัตกรรม

เราตัง้ สถาบันวิจยั และเทคโนโลยีปตท. ทีว่ งั น้อยมา 20 ปีแล้ว สมัยแรกจะเป็นการวิจยั เรือ่ งการเพิม่ ประสิทธิภาพ การทำ�ไบโอดีเซล การลดสารตะกัว่ ในนา้ํ มัน แต่ตอนนีก้ �ำ ลังวิจยั ค้นหาเทคโนโลยีทจ่ี ะเป็น S Curve ใหม่ของ ปตท. แต่สถาบันวิจยั อย่างเดียวไม่พอ เราก็ ไปตัง้ สถาบันวิทยสิรเิ มธี ตัง้ โรงเรียนกำ�เนิด วิทย์ทส่ี นับสนุนให้นกั เรียนเรียนวิทยาศาสตร์ เพราะเรามองว่าประเทศไทยจะแข่งขันกับ ประเทศอืน่ ในอนาคตได้ ต้องมีฐานของงานวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นตัวสนับสนุน เหมือนกับทีญ ่ ป่ี นุ่ ทีเ่ กาหลีเขาทำ�มา ซึง่ อันนี้ ไม่ใช่แค่เพือ่ ปตท.เอง แต่เพือ่ ประเทศ 44

OPTIMISE | JANUARY 2017

นอกจากนี้ เราก็ตง้ั ทีม ExpresSo (Express Solutions) ขึน้ มาเป็นศูนย์กลางเอาความคิด สร้างสรรค์ เอานวัตกรรมในองค์กรขึน้ มาทำ� incubation process จนได้เป็น prototype สำ�หรับนำ�ไปทดลองว่าความคิดหรือนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์นน้ั ๆ ไปต่อได้ไหม เนือ่ งจากเวลาเรา ทำ�นวัตกรรมพวกนี้ มีไอเดียสักร้อย สุดท้ายอาจ จะเหลือแค่ 3-4 อันทีเ่ อามาใช้จริง ฉะนัน้ ต้องมี ความนิง่ ต้องเข้าใจว่าเราพร้อมทีจ่ ะคิดเยอะๆ และล้มเหลวได้เร็ว ได้บอ่ ย เพือ่ เรียนรูจ้ ากความ ล้มเหลวนัน้ ในขณะทีถ่ า้ เจออะไรทีใ่ ช่กต็ อ้ งมี กระบวนการต่อยอดไปจนถึงปลายทางให้เร็ว คียเ์ วิรด์ คือเร็ว ความคิดใครก็คดิ ได้ ถ้าคนอืน่ คิด ทีหลังเรา แต่เสร็จก่อน เราก็แพ้

พันธนาการของธุรกิจ

นอกจากข้อจำ�กัดหรือความยากของตัวงาน เอง ข้อจำ�กัดภายนอกก็คอื พวกเรือ่ งกฎหมาย เมือ่ สิบกว่าปีทแ่ี ล้ว ยุคนัน้ รูว้ า่ จะแปรรูปปตท. ให้มคี วามคล่องตัว จึงยกเว้นกฎระเบียบให้ ปตท. พอเวลาผ่านไปคนเริม่ มองว่าปตท. ใหญ่เกินไป กำ�ไรมากเกินไป เริม่ ไม่ไว้ใจว่าปตท. ทำ�ในสิง่ ทีถ่ กู ทีค่ วรหรือเปล่า ทีนพ้ี อไม่ไว้ใจก็ตอ้ ง ตรวจสอบ ดังนัน้ สิง่ ทีเ่ คยปล่อยให้เป็นไปตาม วิถกี ารแข่งขันก็เลิก เหมือนกับเคยปล่อยสายให้ ว่าวมันลอยไปติดลมบน แต่สกั พักก็เริม่ สาวกลับ มาด้วยกฎระเบียบและการตรวจสอบจากหน่วย งานต่างๆ โดยเฉพาะเวลามีแรงกดดันจากเอ็นจีโอหรือกลุม่ คนทีไ่ ม่เข้าใจ โดยลืมไปว่าเราตัง้ ใจ

ความใฝ่ฝนั ของผมคือ การทำ�ให้ปตท. เป็น Pride and Treasure of Thailand ให้ได้ คือ เป็นสมบัตขิ องชาติทค่ี นไทยภูมใิ จ เพราะผมอยู่ ในปตท.มานานพอสมควร ได้เห็นว่าคนปตท. มีความภูมใิ จในองค์กร ภูมใิ จในหน้าทีท่ เ่ี ขาทำ� เพือ่ ประเทศอยูแ่ ล้ว แต่คนข้างนอกกลับไม่คอ่ ย เข้าใจตรงนี้ และมองปตท.เป็นองค์กรทีห่ ว่ งแต่ ธุรกิจ ผมอยากให้ปตท.เป็นได้เหมือนทีมฟุตบอล ไทยทีท่ กุ คนเชียร์ เพราะถ้าคนเชียร์ นักฟุตบอล ก็มกี �ำ ลังใจเตะได้เต็มทีเ่ ลย ไม่เหนือ่ ย แต่ถา้ มี แต่คนโห่แล้วโห่อกี เราชนะคูต่ อ่ สูย้ งั ไงมันก็ไม่มี กำ�ลังใจ และก็จะทำ�ให้เตะพลาด เตะหลุดไป หมด ทีนท้ี �ำ ยังไงให้คนบนอัฒจันทร์เชียร์ปตท. ในด้านการสร้างความเป็น Treasure เราคิดว่า เราทำ�อยูแ่ ล้ว โดยพัฒนาองค์กรให้เป็นบริษทั ชัน้ นำ� เอาทรัพย์สนิ ทีเ่ รามีไปต่อยอดสร้างมูลค่า เพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ แต่สว่ นการสร้างความเป็น Pride คือความเป็นทีภ่ าคภูมใิ จ ผมว่าเรายังต้องสือ่ สาร ให้คนเข้าใจให้มากขึน้ ในอีกหลายเรือ่ ง เรือ่ งแรกคือภารกิจความมัน่ คงด้านพลังงาน ทีป่ ตท.ทำ� ความมัน่ คงในทีน่ แ้ี ปลว่าเพียงพอทัว่ ถึง-เป็นธรรม-ยัง่ ยืน ‘เพียงพอ’ คือคนไทยไม่ เคยขาดพลังงาน ไปปัม๊ ก็มนี า้ํ มัน เปิดสวิทช์ไฟ ไฟก็มา ‘ทัว่ ถึง’ คือไปอยูท่ ไ่ี หนในประเทศไทย คุณหาปัม๊ ปตท.ได้ มีทกุ จังหวัด เกือบทุกอำ�เภอ ปกติทไ่ี หนไกลๆ ปัม๊ จะไม่คอ่ ยอยากไป ลูกค้า น้อย ขนส่งไกล แต่ของเราไปทัว่ ถึง ‘เป็นธรรม’

ผมอยากให้ปตท.เป็นได้เหมือนทีมฟุตบอลไทยที่ทุกคน เชียร์ เพราะถ้าคนเชียร์ นักฟุตบอลก็มีกำ�ลังใจเตะได้ เต็มที่เลย ไม่เหนื่อย แต่ถ้ามีแต่คนโห่แล้วโห่อีก เราชนะ คู่ต่อสู้ยังไงมันก็ไม่มีกำ�ลังใจ คือราคาทีเ่ หมาะสม จุดนีค้ นไม่เข้าใจเยอะ คิดว่านํา้ มันแพงเมือ่ เทียบกับมาเลเซีย ทัง้ ที่ ความจริงราคาขายปลีกเราแพงกว่า เพราะ ภาษีทร่ี ฐั บาลเก็บ ถ้าดูเฉพาะราคาเทียบกับ ประเทศอืน่ ก็จะเห็นว่าเป็นธรรม สุดท้ายยาก สุดคือเรือ่ ง ‘ยัง่ ยืน’ ทำ�ยังไงให้เรามีทง้ั ทัว่ ถึง เพียงพอ เป็นธรรม ในระยะยาว สำ�หรับลูก หลานด้วย ซึง่ ผูบ้ ริโภคไม่คอ่ ยเข้าใจ อยากให้ วันนีร้ าคาถูกกว่านีอ้ กี หน่อย ให้เอากำ�ไรปตท. มาลดราคา แต่ความจริงเราต้องเอามาใช้ ลงทุนเพือ่ ความยัง่ ยืนต่อไปด้วย เรือ่ งต่อมาคือสร้างความโปร่งใสในการทำ� ธุรกิจ เพราะว่าเราเป็นทัง้ รัฐวิสาหกิจ เป็นทัง้ บริษทั มหาชน คนจึงมองว่าเราใช้สทิ ธิความ เป็นรัฐวิสาหกิจ ใช้อ�ำ นาจไปเอาเปรียบเพือ่ เอากำ�ไรไปให้ผถู้ อื หุน้ ทัง้ ทีใ่ นความเป็นจริงคือ เราต้องคอยสร้างสมดุลทัง้ โจทย์ทางนโยบาย และโจทย์ทางธุรกิจ ความจริงวันนีธ้ รุ กิจที่ แข่งขันส่วนใหญ่ไปอยูท่ บ่ี ริษทั ลูกหมดแล้ว ไม่วา่ สำ�รวจและผลิต โรงกลัน่ ปิโตรเคมี ไม่ได้ อาศัยภาครัฐอะไรเลย แม้กระทัง่ ตัวปตท.ซึง่ ทำ� ธุรกิจนํา้ มัน ต่อไปก็จะแยกเป็นบริษทั ลูกให้เห็น เลยว่าธุรกิจของปตท.ไม่มอี ภิสทิ ธิอ์ ะไรเลย นีค่ อื การพยายามจัดโครงสร้างให้โปร่งใสเพือ่ ให้คนเข้าใจ เรือ่ งทีส่ ามก็คอื เรือ่ งสำ�นึกความรับผิดชอบ ต่อสังคมชุมชนและสิง่ แวดล้อม เราทำ�เยอะ มาก ใครอยากทำ�กิจกรรมเพือ่ สังคมแล้ว จะหาสปอนเซอร์ ลองเดาว่าชือ่ ไหนมาก่อน ก็ปตท. ผมรับจดหมายพวกนีเ้ ยอะเลย ก็เป็น โครงการดีทง้ั นัน้ แต่เพือ่ ไม่ให้กระจัดกระจาย จนคนไม่รวู้ า่ ปตท.ทำ�อะไร ก็ตอ้ งพยายามเลือก เรือ่ งให้เป็นแพทเทิรน์ ชัดเจน หลักๆ ก็ท�ำ เรือ่ ง การศึกษา วิถชี วี ติ ชุมชน เศรษฐกิจชุมชน

กีฬา ศิลปะวัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม ทีน่ า่ จะ ใกล้ชดิ คนเมืองหน่อยคือคุง้ บางกระเจ้า ติดกรุงเทพฯ เลย เรือ่ งทีส่ ท่ี ก่ี �ำ ลังดำ�เนินอยูก่ ค็ อื การทำ� social enterprise ทำ�อย่างไรให้กจิ การ สนับสนุนชุมชนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีแ่ ล้วโตไปด้วยกัน เป็นแนวคิดการมีสว่ นร่วม ตอนนีก้ เ็ ลยกำ�ลังดู โครงการของแต่ละธุรกิจ เป็นธุรกิจก๊าซ ธุรกิจ นา้ํ มัน และธุรกิจโครงสร้างพืน้ ฐาน ทำ�ให้ชมุ ชน มีสว่ นร่วมในการทำ�กิจกรรมการลงทุนนัน้ เติบโตต่อมาแล้วสร้างรายได้กลับไปให้ ชุมชนนัน้ อีก

ขับเคลือ่ นด้วยคน

สุดท้าย ปัจจัยสำ�คัญทีส่ ดุ คือคน หลักของผมคือ ‘strengthen from inside’ คนข้างในต้องแสดงพฤติกรรมทีท่ �ำ ให้ คนข้างนอกมองปตท.ด้วยความภูมใิ จ องค์กร เรามีคา่ นิยมอยู่ 6 ตัว 3 ตัวแรกสะท้อนความ เก่ง 3 ตัวสุดท้ายสะท้อนความเป็นคนดี คือ Responsibility for Society ความรับผิดชอบ ต่อสังคม Integrity & Ethics คือจริยธรรม และจรรยาบรรณ และก็ Trust & Respect ความเชือ่ มัน่ น่าเชือ่ ถือ 3 เรือ่ งนี้ พนักงานต้อง เป็น ambassador ต้องประพฤติปฏิบตั ติ ลอด เหมือนศีลห้า และไปแสดงให้คนเห็น ทัง้ หมด นีเ้ พือ่ ให้คนในสังคมเข้าใจและภูมใิ จในความ เป็นองค์กรของปตท. แล้วพร้อมจะเชียร์ปตท. ได้เหมือนเชียร์ทมี ไทย วันนีเ้ หมือนเรากำ�ลังจะ ออกไปแข่งข้างนอก ถ้าข้างในยังยึดขากันอยู่ ไม่วา่ จะเป็นหน่วยงานตรวจสอบ หรือเอ็นจีโอ แล้วเราจะออกไปสูก้ บั คนอืน่ ได้ยงั ไง แต่ถา้ ช่วย กันให้ก�ำ ลังใจ ส่งเสียงเชียร์ เราพร้อมไปเต็มที่ พร้อมไปทำ�งานให้ประเทศ สูข้ าดใจเลย OPTIMISE | JANUARY 2017

45


THE GOOD LIFE

01

Wacky Workouts ในช่วงปีที่ผ่านมา มีฟิตเนสเปิดใหม่หลายแห่งที่เสนอ ทางเลือกการออกกำ�ลังกายในรูปแบบที่ต่างออกไป ตั้งแต่การเล่นกระดานเซิร์ฟจำ�ลองไปจนถึง สนามแทรมโพลีนขนาดยักษ์ ด้วยอุปนิสัยมุ่งมั่นและรักการแข่งขัน ทำ�ให้ พรรณพิมล จงประสิทธิผล เริ่มสนใจกีฬาโต้ คลื่น หญิงสาวร่างเพรียวสมส่วนแบบนักกีฬา ผู้นี้ได้ลิ้มรสกีฬาโต้คลื่นเป็นครั้งแรกในนคร ซิดนีย์เมื่อ 6 ปีก่อน เธอสารภาพว่า “เรารู้สึกว่า ตัวเองชอบบงการ ชอบให้ทุกอย่างได้ดั่งใจ แต่ ตอนว่ายทวนน้ำ�ออกไปรอคลื่น มันเป็นจังหวะ ที่ทำ�ให้รู้สึกว่าหลายๆ สิ่งอยู่เหนือการควบคุม ของเรา” ขณะพำ�นักอยู่ที่สิงคโปร์ ความรักในความ แปรปรวนนี้นำ�เธอให้มาพบกับ Surfset สตูดิโอ ฟิตเนสสอนออกกำ�ลังกายบนกระดานโต้คลื่น จำ�ลอง โดยมีตัวกระดานยึดอยู่กับแท่นที่ คอยสั่นให้ความรู้สึกเหมือนทรงตัวบนน้ำ� พรรณพิมลตัดสินใจทันทีว่าจะนำ�กีฬาชนิดนี้ เข้ามาในไทย ตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา เซิร์ฟเซ็ตเป็น เพียงหนึ่งในกีฬาทางเลือกสารพัดที่กำ�ลังสร้าง ความหวือหวาให้กับวงการฟิตเนสของคน กรุงเทพฯ ผู้คอยมองหาวิธีเรียกเหงื่อที่สนุกยิ่ง ขึ้นอยู่เสมอ โดยนอกจากเซิร์ฟเซ็ตก็คือ สตูดิโอแทรมโพลีนอย่าง Amped, Bounce และ Rockin’ Jump ตลอดจนผู้ให้บริการ ฟิตเนสระดับโลกอย่าง Virgin Active ซึ่งนำ�เอา ‘การออกกำ�ลังกายทางเลือก’ มาเป็นจุดขาย อาทิ โยคะต้านแรงโน้มถ่วง หน้าผาจำ�ลอง

52

OPTIMISE | JANUARY 2017

นอกจากเซิรฟ ์ เซ็ตก็คอื สตูดโิ อแทรมโพลีนอย่าง Amped, Bounce และ Rockin’ Jump ตลอดจนผูใ้ ห้บริการ ฟิตเนสระดับโลกอย่าง Virgin Active ซึง่ นำ� ‘การออกกำ�ลังกายทาง เลือก’ มาเป็นจุดขาย 01 Amped เปิ ด โอกาสให้ อ อกกำ � ลั ง กาย ท่ า ผาดโผนได้ อ ย่ า งสนุ ก สนาน

เป็นการออกกำ�ลังที่สาหัสพอๆ กับ HIIT (highintensity interval training) ซึ่งเป็นวิธีการ ออกกำ�ลังแบบหนักกับเบาสลับกันไปถี่ๆ เพื่อ เร่งอัตราการเผาผลาญของร่างกาย ในคลาส ฝึกหนัก เรียนใหม่ของเซิร์ฟเซ็ตที่ตั้งชื่อว่า BAM! (เน้น เซิร์ฟเซ็ตนั้นเหมือนกับการโต้คลื่นจริงๆ เผาผลาญไขมันและสร้างกล้ามเนื้อกลางลำ� ตรงที่เน้นการสร้างความแข็งแกร่งของกลาง ตัว) มีผู้เรียนประกอบด้วยนักศึกษาไปจนถึง ลำ�ตัว พัฒนาความทรงจำ�ในกล้ามเนื้อ และ ผู้ใหญ่วัย 50 ปลายๆ ทุกคนล้วนสวมชุดผ้า คาร์ดิโอที่เกิดขึ้นจากการดึงสายเคเบิล (จำ�ลอง ยืดรัดรูปและกำ�ลังฝึกกันหนักหน่วง ไม่น่าเชื่อ มาจากลักษณะการออกแรงว่ายทวนน้ำ�กลับสู่ ว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ยังคงทรงตัวอยู่ได้หลังผ่าน ทะเล) โดยด้วยความที่กีฬานี้ให้ความสนุกของ การฝึกนานกว่า 1 ชั่วโมง พรรณพิมลอธิบาย การโต้คลื่นได้โดยไม่ต้องลงทะเล คนกลัวน้ำ�จึง ว่าคนชอบเซิร์ฟเซ็ต เพราะมัน “ช่วยเร่งจังหวะ หมดข้ออ้างที่จะไม่เข้าคลาส การเต้นของหัวใจแต่ไม่ได้ถึงกับทำ�ให้คุณรู้สึก “คนทีม่ าเล่นควรรูส้ กึ สนุก แต่ในขณะเดียว เหมือนกำ�ลังจะตาย” (ซึ่งนักเรียนหลายคนที่ กันก็เห็นว่ามันท้าทายด้วย” พรรณพิมลกล่าว กำ�ลังหอบแฮ่กฟังแล้วแอบสั่นหัวพัลวัน) โดยเช่นเดียวกับลูกค้าหลายๆ กลุม่ ของเธอ ในลักษณะใกล้เคียงกัน จูเลียง วีกรู พรรณพิมลเองก็คอยสรรหากิจกรรมแปลกใหม่ ผู้ก่อตั้ง กรรมการผู้จัดการ และโค้ชอาวุโสของ มาเรียกเหงือ่ เสมอ นอกจากการเล่นเซิรฟ์ เซ็ต Asia Parkour ก็มีหุ่นนักกีฬา ชอบความ สัปดาห์ละ 3 ครัง้ แล้ว เธอยังฝึกปาร์กวั ร์ ท้าท้าย และฟิตอย่างยิ่ง โดยปากัวร์คือชื่อเรียก เต้นซุมบ้า รวมไปถึงเล่น ‘แอเรียลซิลค์’ ซึง่ โปรแกรมออกกำ�ลังกายที่มีพื้นฐานมาจาก เป็นการออกกำ�ลังกายโดยการห้อยโหนต้าน หลักสูตรข้ามสิ่งกีดขวางของทหารฝรั่งเศส แรงโน้มถ่วงเพือ่ เสริมสร้างกล้ามเนือ้ ไม่ผดิ กับ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นกิจกรรมยอดนิยมในหมู่ นักกายกรรมเซิรก์ ดูโซเลย์ พรรณพิมลอธิบาย หนุ่มสาวหัวขบถในปารีส จนในที่สุดก็ลาม ว่าเธอต้องทำ�อย่างนีเ้ พราะเธอ “ทนวิง่ หรือขี่ ไปถึงฮอลลีวูด ดังเห็นได้จากภาพยนตร์อย่าง จักรยานไม่คอ่ ยได้” Bourne Supremacy และ Casino Royale พึงทราบว่า การเล่นเซิร์ฟเซ็ตถือเป็น ซึ่งมีฉากที่มีตัวละครวิ่งกระโจนข้ามตึกและ และห้องจำ�ลองความกดอากาศ โดยแต่ละแห่ง ต่างก็หวังจะคว้าส่วนแบ่งตลาดในอุตสาหกรรม ทีม่ มี ลู ค่าสูงถึงกว่าหนึง่ พันล้านบาท ในปีน้ี

OPTIMISE | JANUARY 2017

53


THE GOOD LIFE

02

สตูดิโอทางเลือก เหล่านี้มักเน้น กิจกรรมออก กำ�ลังกายที่เหมาะ กับทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่รุ่นหลานไป จนถึงอากงอาม่าที่ ยังเดินคล่องอยู่ 02 จู เ ลี ย ง วี ก รู ผู ้ ก ่ อ ตั ้ ง สตู ด ิ โ อ ปากั ว ร์ ใ นกรุ ง เทพฯ 03 พื ้ น ที ่ ป ี น ป่ า ยสุ ด ท้ า ทายของ Bounce ที ่ ร อให้ นั ก ออกกำ � ลั ง กายขี ้ เ บื ่ อ มาประลองกำ � ลั ง 04 เขมิ ก า จิ ว ะพรทิ พ ย์ แห่ ง Physique 57 05 สวนแทรมโพลี น ที ่ Bounce

กำ�แพงสูงในแบบปากัวร์กันเป็นว่าเล่น อย่างไรก็ตาม สำ�หรับผู้เรียนหน้าใหม่ (คลาสเรียนมีตั้งแต่สำ�หรับเด็กอายุ 8-15 ปีไป จนถึงคลาสส่วนตัวสำ�หรับผู้ใหญ่) การกระโดด ข้ามตึกนั้นไม่ได้ถูกรวมอยู่ในหลักสูตร จูเลียง ผู้เป็นชาวฝรั่งเศสโดยกำ�เนิดเล่าว่า “สิ่งที่เรา เน้นสำ�หรับผู้ฝึกหน้าใหม่คือการปูพื้นฐานที่ แข็งแกร่งและการทำ�ความรู้จักกับร่างกาย กีฬาชนิดนี้มีอะไรมากกว่าที่คุณเห็นในโซเชียล มีเดีย พวกท่าวิ่งโลดโผนเสี่ยงตายบนหลังคา จริงๆ แล้วมันไม่ใช่ปากัวร์ ปากัวร์ไม่ได้ถูก สร้างมาแบบนั้น” ตรงกันข้าม สตูดิโอสำ�หรับฝึกปากัวร์ ซึ่ง ตั้งอยู่ในห้างสรรพสินค้ากลางกรุง เน้นให้ผู้ฝึก พยายามดึงเอารูปแบบการเคลื่อนไหวตาม ธรรมชาติของมนุษย์ซึ่งกำ�ลังถูกกลืนโดยวิถี ชีวิตแบบนั่งๆ นอนๆ มาใช้ อย่างเช่นการ ปีนป่าย ม้วนตัว ทรงตัว คลาน และกระโดด โดยคลาสเรียนเป็นกลุ่มอย่าง Parkour Spirit จะสอนให้ผู้เรียนได้ “รู้จักร่างกายของตนเองดี 54

OPTIMISE | JANUARY 2017

ร่างกายที่ดัดแปลงมาจากท่าที่นักเต้นทำ�บน ราวเกาะเพื่อรักษารูปร่างและสัดส่วน โดยจะ ช่วยสร้างกล้ามเนื้อและกระชับบริเวณต้นขา ด้านในและหน้าท้องส่วนล่าง “ผู้หญิงไทยไม่ได้อยากผอมอย่างเดียว แต่อยากหุ่นดีด้วย” เขมิกากล่าว เธอรู้จักกับ ฟิซีค 57 เป็นครั้งแรกเมื่อเขมินีชักชวนให้ไป ทำ�ความรู้จักร่างกาย ร่วมคลาสฝึกในนิวยอร์ก เธอเล่าว่าการฝึกด้วย การฝึกทรงตัวและเคลื่อนไหวร่างกาย ราวเกาะนั้นมีประโยชน์หลายประการ หลายๆ แบบคือหัวใจสำ�คัญของกีฬาทางเลือก ทั้งช่วยลดขนาดเอว กระชับแขนขา ปรับปรุง แต่ก็ใช่ว่ากีฬาทางเลือกทุกชนิดจะเหนื่อยยาก การทรงตัวและเผาผลาญไขมันส่วนเกินในจุด เหมือนปากัวร์หรือคลาส BAM! ของเซิร์ฟเซ็ต ที่การยกเวทและการวิ่งไม่ค่อยช่วยนัก “น่าจะ สำ�หรับผู้ที่มองหาการออกกำ�ลังกายแบบ มีแค่พิลาทิสและการออกกำ�ลังกายโดยใช้ราว ละมุนละม่อมและถนอมหัวเข่ากับข้อเท้า เกาะเท่านั้นที่เน้นบริเวณพวกนี้” เธอพูดขณะที่ มากกว่า เขมิกา จิวะพรทิพย์ และเขมินี พยายามเอานิ้วหยิกหน้าท้องที่แทบไม่ปรากฏ เกียรติสัมพันธ์ แห่ง Physique 57 ก็มีคำ�ตอบ ของเธอ ให้เรียบร้อยแล้ว โปรแกรมการออกกำ�ลังกาย การฝึกแต่ละครั้งจะใช้เวลา 1 ชั่วโมงและ นาน 57 นาที ซึ่งออกแบบโดยทันย่า เบเกอร์ แบ่งย่อยเป็น 4 ช่วง เริ่มต้นจากการฝึกกับ ครูฝึกเจ้าของสตูดิโอบนถนน East 57 ใน น้ำ�หนักเพื่อเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ต่อ แมนฮัตตัน (อันเป็นที่มาของชื่อ) เป็นท่าบริหาร ด้วยบริหารต้นขา (12-15 นาที) การฝึกในท่า

นัง่ ซึง่ เน้นกล้ามเนือ้ สะโพกและโคนต้นขาด้านหลัง การฝึกกล้ามเนือ้ หน้าท้อง (15 นาที) ก่อนจะปิด ท้ายด้วยการคูลดาวน์ (3 นาที) แม้วา่ การออกกำ�ลัง ทีโ่ ฟกัสเฉพาะจุดยากๆ อย่างนีจ้ ะทำ�ให้เหงือ่ ออก มาก แต่เขมินี อดีตพนักงานบริษทั การเงินในนคร นิวยอร์ก ก็ยนื ยันว่าผลลัพธ์ทไ่ี ด้นน้ั คุม้ ค่า “ส่วนตัว ถือว่าหุน่ ของตัวเองตอนนีด้ ที ส่ี ดุ ตัง้ แต่เกิดมา” เขมิกา อดีตที่ปรึกษาภาษีอากรระหว่าง ประเทศนั้นนิยมออกกำ�ลังด้วยการวิ่งและขี่ จักรยาน แต่บอกว่า ฟิซีค 57 ช่วยทำ�ให้การออก กำ�ลังกายครบถ้วนยิ่งขึ้น โดยแนะนำ�ว่าผู้ฝึกหน้า ใหม่ไม่ควรรู้สึกประหม่า “ครูฝึกของเราเป็นเหมือน เชียร์ลีดเดอร์ ฉะนั้นไม่ต้องกังวลว่าคุณจะตาม คนอื่นไม่ทัน เราดูแลทุกคนทั่วถึง” ในทำ�นองเดียวกัน สนามแทรมโพลีนแอมป์ เน้นเรื่องความเข้าถึงได้ง่ายและสนุกได้ทั้ง ครอบครัวมากกว่าการฝึกหนัก ที่นี่จึงไม่จำ�เป็น ต้องมีคลาสสอนจริงจัง แต่มีเพียงการแนะทักษะ พื้นฐานของแทรมโพลีนอย่างคร่าวๆ ให้กับลูกค้า ฟรีทุกคืนวันพุธแทน โดยอุปกรณ์เดียวที่จำ�เป็น ต้องใช้ก็คือถุงเท้า สตูดิโอแทรมโพลีนอื่นๆ เช่น

บ๊าวซ์ และร๊อคกิ้น จัมพ์ ก็ตกอยู่ในลักษณะ ใกล้เคียงกัน แน่นอน สตูดิโอออกกำ�ลังกายเหล่านี้ไม่ได้ ออกแบบมาสำ�หรับผู้ต้องการออกกำ�ลังกายแบบ เอาจริง และกลุ่มลูกค้าก็มักเป็นเด็กหรือกลุ่ม บริษัทที่ต้องการหาสถานที่ทำ�กิจกรรมสันทนาการ ให้กับพนักงานเสียมากกว่า กระนั้น สนามขนาด 5,000 ตารางเมตรเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของ สัญญาณที่ชี้ให้เห็นว่าคนกรุงกำ�ลังมองหาการ ออกกำ�ลังกายที่แหวกแนวมากขึ้นได้อย่างชัดเจน

ความท้าทายทางการตลาด

เห็นได้ชัดว่า แอมป์ เซิร์ฟเซ็ต และฟิซีค 57 ต่างกันโดยสิ้นเชิงจากการฝึกสุดหฤโหดอย่าง ครอสฟิตหรือการวิ่งอัลตร้ามาราธอน เพราะ สตูดิโอทางเลือกเหล่านี้มักเน้นกิจกรรมออกกำ�ลัง กายที่เหมาะกับทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่รุ่นหลานไป จนถึงอากงอาม่าที่ยังเดินคล่องอยู่ แม้กระทั่ง เอเชีย ปาร์กัวร์ ซึ่งดูเผินๆ เหมือนมีแต่คนที่ แข็งแรงประหนึ่งสตันท์ในภาพยนตร์ฮอลลีวูดถึง จะเล่นได้ ก็ยังพยายามชูประเด็นที่ว่าใครๆ

ขึ้น” ในขณะที่คลาสซึ่งสั้นกว่าอย่าง Parkour DNA จะผนวกทฤษฎีและเทคนิคร่วมกับการ ฝึกจริง ทุกคลาสจะกินเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง และฝึกอย่างหนัก กระนั้นครูผู้สอนจะปรับ การฝึกให้เข้ากับนักเรียนแต่ละคน โดยจูเลียง ยอมรับว่า “แต่ละคนมีพื้นฐานต่างกัน”

Essentials Amped 36/3 โครงการชวนิชย์ ซอยสุขมุ วิท 69 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 02-136-7858 www.ampedthailand.com Asia Parkour 496-502 ชัน้ 2 อมรินทร์พลาซ่า ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ โทร. 088-493-2075 www.asiaparkour.com Physique 57 494 ชัน้ 4 ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ โทร. 02-652-1703 www.physique57bangkok.com Surfset 46/4 ชัน้ 5 พิมาน 49 ซอยสุขมุ วิท 49 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 02-662-4566 www.surfsetthailand.com

04

03

05 OPTIMISE | JANUARY 2017

55


THE GOOD LIFE 06

07

06 พรรณพิ ม ล ผู ้ ห ลงรั ก การ ออกกำ � ลั ง กายเซิ ร ์ ฟ เซ็ ต 07 คลาสเรี ย นที ่ เ พิ ่ ม ความแข็ ง แกร่ ง ให้ ก ั บ กล้ า มเนื ้ อ ที ่ ส ตู ด ิ โ อ Physique 57

ก็เล่นได้มาเป็นจุดขาย อย่างไรก็ตาม แม้จะเล่นได้ง่าย แต่การ ทำ�การตลาดของการออกกำ�ลังกายทางเลือก ก็ไม่ใช่จะง่ายไปด้วย เช่นเซิร์ฟเซ็ตที่เพิ่งเปิด ตัวไปเมื่อเดือนกรกฎาคมปีที่แล้ว ยอมรับ ว่าการรักษาฐานลูกค้าชาวกรุงเทพฯ ไว้ให้ไม่ เลิกเห่อกระดานโต้คลื่นของพวกเขานั้นเป็น เรื่องท้าทาย “เดี๋ยวนี้มันยากมาก มีสตูดิโอออก กำ�ลังกายหลายแห่งและมีสารพัดเทรนด์เกิด ขึ้นตลอด” พรรณพิมลกล่าว และตั้งข้อสังเกต ว่าวงการฟิตเนสนั้นมาไกลอย่างมากจากการ เป็นเพียง “ยิมยกน้ำ�หนักของนักเพาะกาย” เมื่อ 10 ปีก่อน โดยปัจจุบันลูกค้าของเธอมี ทั้งหญิงและชาย ตั้งแต่วัย 60 ปีไปจนถึงวัย รุ่นตอนต้น แต่ละคลาสมีผู้เรียนราวๆ 6-7 คน และเปิดสอนวันละ 5-6 คลาส ทั้งนี้ สิ่งหนึ่งที่ เอื้อประโยชน์ให้กับเซิร์ฟเซ็ตเป็นอย่างมากคือ กระแสรักสุขภาพในอินสตาแกรม ทวิตเตอร์ และเฟซบุ๊กที่บรรดาผู้ใช้ต่างแห่กันโพสต์อวด ไลฟ์สไตล์สุขภาพดีมีความสุขของตัวเองเป็น ปกติ “มันเป็นเทรนด์ที่คนหันมาใส่ใจสุขภาพ แล้วก็อยากหุ่นดีขึ้น” 56

OPTIMISE | JANUARY 2017

เอเชีย ปาร์กัวร์ ก็ได้ประโยชน์จากโซเชียล มีเดียเช่นกัน แต่จูเลียงบอกว่ามันมีอะไรที่มาก กว่าการโหนกระแส “อุตสาหกรรมฟิตเนส แบบเดิมถึงจุดอิ่มตัว คนเริ่มเบื่อการใช้เครื่อง ดัมเบล หรืออุปกรณ์ซับซ้อนในการออกกำ�ลัง กายแล้ว” ปัจจุบัน เอเชีย ปากัวร์ มีลูกค้าทั้ง ชาวไทยและเทศ โดยแม้จูเลียงจะไม่ได้บอก ตัวเลขแน่ชัด แต่ก็ยืนยันว่าจำ�นวนผู้เข้าร่วม นั้นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง “ธุรกิจของเราอาจจะ เครื่องติดช้าหน่อย แต่ตอนนี้หลายๆ กำ�ลังดีขึ้น เรื่อยๆ คนเริ่มเข้าใจมากขึ้นว่าปากัวร์คืออะไร” ทางฝั่งฟีซิค 57 โจทย์ยากอยู่ที่การดึงดูด กลุ่มลูกค้าใหม่ๆ แม้เขมินีจะกล่าวว่าการออก กำ�ลังกายรูปแบบนี้ “เหมาะสำ�หรับทั้งหญิง และชาย” แต่เธอก็ยอมรับว่า 95% ของผู้เรียน ในแต่ละคลาสซึ่งมีประมาณ 15 คนนั้นเป็น ผู้หญิง “ความจริงเราไม่เคยบอกเลยว่ามัน เป็นกิจกรรมเฉพาะสำ�หรับผู้หญิง จริงๆ แล้ว มันเหมาะกับทุกเพศ” ยิ่งกว่านั้น เนื่องจาก สตูดิโอของฟีซิค 57 ตั้งอยู่ในศูนย์การค้า ซึ่ง ทำ�ให้ลูกค้าส่วนใหญ่มักจำ�กัดอยู่แค่นักเรียน นักศึกษาและคนในวงการแฟชั่น เขมิกาและ

เขมินีจึงวางแผนที่จะเปิดสตูดิโอแห่งที่ 2 ตรง บริเวณถนนสุขุมวิทต้นปีหน้า เพื่อขยายฐาน ลูกค้าให้กว้างขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม สุดท้ายแล้วโอกาสของธุรกิจ การออกกำ�ลังกายทางเลือกย่อมอยู่ที่การดึง คนให้หันมาดูแลสุขภาพได้มากกว่าเดิม เขมิกาและเขมินีอาศัยพื้นฐานจากที่เคยทำ� งานไฟแนนซ์​์ศึกษาข้อมูลและได้ข้อสรุปว่ามี ประชากรเพียง 1 % เท่านั้นที่ออกกำ�ลังกาย เป็นประจำ� และในจำ�นวนนั้น โดยเฉลี่ยออก กำ�ลังแค่สัปดาห์ละครั้งเท่านั้น ดังนั้น การมี ทางเลือกออกกำ�ลังที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ครอสฟิต โยคะต้านแรงโน้มถ่วง ไปจนถึง บรรดาคลาสแทรมโพลีนที่เปิดสอนใน กรุงเทพฯ ย่อมน่าจะแปลว่าในวันนี้ ผู้คนจะ สามารถเลือกกิจกรรมที่เหมาะกับรสนิยมและ ขีดความสามารถของตนเองได้มากขึ้น อันจะ นำ�ไปสู่การออกกำ�ลังกายที่บ่อยขึ้น ดังที่เขมิกาเสนอหลักง่ายๆ ไว้ว่า “หาสิ่งที่ คุณชอบให้เจอและทำ�ให้เป็นกิจวัตรไป ตลอดชีวิต”

OPTIMISE | JANUARY 2017

57


BEYOND BOUNDARIES

01

Burma Boating

พวกนัน้ มีแต่อยูช่ อ่ งแคบมะละกาเพือ่ มอง ก่อนปี 2540 ชาวต่างชาติไม่ได้รบั อนุญาตให้ยา่ งกราย หาเรือบรรทุกทีวจี อแบนต่างหาก” ตรงกันข้าม หลายคนคิดว่าข้อกำ�หนด เข้าไปในบริเวณนี้ จวบจนกระทัง่ แกรมและอดัม ฟรอสต์ มี คั คุเทศก์และทหารติดอาวุธคอย ผูใ้ ห้บริการทัวร์ดำ�น้ำ�ในภูเก็ตเจรจาต่อรองกับรัฐบาลทหาร ให้คุม้ มครองเรื อนัน้ มาจากความหวาดระแวง พม่าได้สำ�เร็จ จึงได้มกี ารจัดทัวร์ดำ�น้ำ�ในหมูเ่ กาะมะริดขึน้ ของรัฐบาลทหารเองเสียมากกว่า เพราะ เจ้าหน้าทีเ่ หล่านีม้ หี น้าทีต่ อ้ งคอยเขียน เป็นครัง้ แรก รายงานละเอียดยิบเกีย่ วกับนักท่องเทีย่ ว บนเรือเพือ่ ส่งให้กบั ทางรัฐบาล ‘เมืองลับแล’ ‘แดนสวรรค์’ ‘วิมานอันบริสทุ ธิ’์ เยือนเกาะสอง โดยเขาเล่าว่า “ตอนนัน้ มีแค่ อย่างไรก็ดี เมือ่ นายพลทัง้ หลายค่อยๆ เหล่านีล้ ว้ นแต่เป็นวลียอดนิยมทีส่ อ่ื ต่างๆ ใช้ นักท่องเทีย่ วชาวเยอรมันเพียงแค่ไม่กค่ี น” ผ่อนความเป็นเผด็จการ และปล่อยตัวออง อย่างไรก็ตาม แม้หมูเ่ กาะแห่งนีจ้ ะเริม่ แย้ม ซาน ซูจอี อกจากการคุมขังในปี 2554 ซูจี เรียกหมูเ่ กาะมะริด นับตัง้ แต่หมูเ่ กาะแห่งนีเ้ ริม่ เป็นทีร่ จู้ กั ในช่วงปี 2555 ซึง่ ต้องนับว่าไม่ใช่เรือ่ ง ประตูรบั ผูม้ าเยือน แต่ภายใต้ระบอบเผด็จการ ได้ยกเลิกคำ�ขอของเธอทีเ่ คยให้ชาวต่าง ง่ายในยุคทีแ่ ม้แต่สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีท่ รุ กันดาร ทหาร ย่อมเต็มไปด้วยกฎข้อบังคับทีเ่ ข้มงวด ชาติงดมาเทีย่ วพม่าเพือ่ คว�ำ่ บาตรรัฐบาล และเนือ่ งจากศูนย์กลางอำ�นาจอย่างเนปยีดอ ทีส่ ดุ ก็ยงั มีนกั ท่องเทีย่ วขวนขวายไปเยือนจน ทหาร ความเปลีย่ นแปลงเหล่านีไ้ ด้เปิดให้ นัน้ อยูห่ า่ งไกลออกไปมาก การวางแผนเดินทาง นักท่องเทีย่ วจำ�นวนมากหลัง่ ไหลเข้ามาใน หมดความแปลกใหม่ อย่าว่าแต่มะริดเองก็ใช่ ว่าจะอยูใ่ นพืน้ ทีร่ กร้างห่างไกลอย่างขัว้ โลกหรือ ไปทีน่ จ่ี งึ ต้องเผือ่ เวลาล่วงหน้าหลายสัปดาห์ ประเทศ บรรดาคำ�ขอวีซา่ ทีเ่ มือ่ หนึง่ ปีกอ่ น ใจกลางมหาสมุทรแปซิฟกิ อันทีจ่ ริงมะริดตัง้ อยู่ “ถ้ารัฐบาลบอกว่า 5 วัน ให้นบั ไปเลย 10 วัน” หน้าแทบถูกปฏิเสธยกหีบกลายเป็นได้รบั นอกชายฝัง่ ของพม่า ห่างจากจังหวัดระนองไป อ่อง จอ กล่าว อนุมตั ิ ข้อบังคับเรือ่ งมัคคุเทศก์กถ็ กู ยกเลิก หนึง่ ในกฎข้อบังคับทีว่ า่ ก็คอื ข้อบังคับให้เรือ การท่องเทีย่ วพม่าขยายตัวอย่างพุง่ พรวด เพียง 1 ชัว่ โมงครึง่ ทางเรือ ซึง่ หมายความว่าการ ท่องเทีย่ วต้องมีทหารติดอาวุธประจำ�อยูบ่ นเรือ จำ�นวนนักท่องเทีย่ วในปี 2556 เพิม่ ขึน้ เท่า ไปเยือนจุดขายของหมูเ่ กาะอย่างทะเลสาบ เพือ่ ช่วยรักษาความปลอดภัยจากบรรดา สีเขียวมรกตรูปหัวใจภายในอ้อมกอดของหิน ตัวจากปี 2555 เป็น 2 ล้านคน ก่อนจะพุง่ โจรสลัด ลอเรนท์ คึนซ์เลอร์ ซีอโี อแห่ง Asian ผาทีช่ อ่ื ว่า ‘เกาะหัวใจมรกต (Cock’s Comb)’ ขึน้ ไปแตะที่ 3 ล้าน และ 5 ล้านในปี 2557 เกือบจะง่ายกว่าการไปเกาะเต่า อย่างไรก็ตาม Trails บริษทั ทัวร์ส�ำ หรับตลาดระดับบนทีใ่ หญ่ และ 2558 ตามลำ�ดับ ทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ในภูมภิ าค ผูน้ ยิ มนัง่ เรือยอชต์ แม้ความใกล้ของระยะทาง ความสะดวกของ การผ่อนผันระเบียบวีซา่ ตัง้ แต่เดือน การขอวีซา่ เข้าพม่า ตลอดจนธรรมชาติ ส่วนตัวออกท่องไปตามหมูเ่ กาะตัง้ แต่ปี 2542 กุมภาพันธ์ ปี 2559 ทำ�ให้ชาวไทยไม่ตอ้ ง อันบริสทุ ธิ์ จะทำ�ให้การไปเยือนหมูเ่ กาะมะริด บอกว่าความกลัวโจรสลัดนัน้ ไร้มลู เหตุ “โจรสลัด ใช้วซี า่ เข้าพม่าอีกต่อไป และตัง้ แต่เดือน ดูนา่ ดึงดูดเป็นอย่างมาก ต้องบอกว่าการไป ทีไ่ หนจะมาสนใจนักท่องเทีย่ วในหมูเ่ กาะมะริด กันยายน เจ้าหน้าทีต่ รวจคนเข้าเมืองได้ มะริดมีความท้าทายกว่าการไปสิมลิ นั และ นักท่องเทีย่ วผูค้ ร�ำ่ หวอดแนะว่าทริปบุกเบิก 01 เกาะอันห่างไกล ร้างผู้คนใน หมูเ่ กาะมะริดอาจไม่ได้ถกู จริตของทุกคน หมู่เกาะมะริด

The Eden Next Door แหล่งท่องเที่ยวน้ำ�งามอย่างหมู่เกาะมะริดยังคงสภาพบริสุทธิ์ แม้ว่าปัจจุบันนักท่องเที่ยวจะสามารถไปเยือนหมู่เกาะแห่งนี้ได้ง่ายกว่าครั้งใดในอดีต 46

OPTIMISE | JANUARY 2017

ของพม่า

เปิดแล้ววันนี้

เหตุผลทีบ่ รรดานักท่องเทีย่ วต่างให้ความ สนใจกับหมูเ่ กาะมะริด เป็นเพราะครัง้ หนึง่ มัน เคยเป็นพืน้ ทีห่ วงห้าม ก่อนปี 2540 ชาวต่างชาติ ไม่ได้รบั อนุญาตให้ยา่ งกรายเข้าไปในบริเวณนี้ จวบจนกระทัง่ แกรมและอดัม ฟรอสต์ ผูใ้ ห้ บริการทัวร์ด�ำ น�ำ้ ในภูเก็ตเจรจาต่อรองกับรัฐบาล ทหารพม่าได้ส�ำ เร็จ จึงได้มกี ารจัดทัวร์ด�ำ น�ำ้ ในหมูเ่ กาะมะริดขึน้ เป็นครัง้ แรก อ่อง จอ ผูท้ �ำ หน้าทีม่ คั คุเทศก์ให้กบั บริษทั เรือเช่าเหมาลำ� Burma Boating ยังคงจำ�ได้ดถี งึ ครัง้ แรกทีไ่ ด้ไป

02 ชาวมอแกน ชนเผ่าแห่ง ท้องทะเล อันดามัน

02 OPTIMISE | JANUARY 2017

47


BEYOND BOUNDARIES Nicolas Claris

04

05

Grand Andaman

03

การเดินทาง

เกาะหลายร้อยแห่งซึง่ เกิดจากการเรียง ตัวของหินปูนและแกรนิตในหมูเ่ กาะมะริดนัน้ กระจัดกระจายอยูต่ ามชายฝัง่ ตอนใต้ของ พม่าในทะเลอันดามัน โดยถูกปกคลุมด้วยป่า ฝนและพืชเขตร้อนแน่นหนา หมูเ่ กาะนีม้ อี าณา บริเวณแผ่ตง้ั แต่เหนือหมูเ่ กาะสุรนิ ทร์ ขึน้ ไป ทางเหนือเกือบ 400 กิโลเมตร “ธรรมชาติบริสทุ ธิม์ าก เราล่องเรือไปตาม เกาะทีใ่ หญ่กว่าสิงคโปร์ แต่มแี ต่ตน้ ไม้กบั ป่า ชายเลน แล้วก็พวกหินหน้าตาแปลกๆ เต็ม

48

OPTIMISE | JANUARY 2017

ไปหมด สวยสุดยอดเลย” คึนซ์เลอร์กล่าว นอกจากชาวประมงและชาวมอแกนผูใ้ ช้ ชีวติ อยูบ่ นเรือ หมูเ่ กาะเหล่านีแ้ ทบไม่มคี นอยู่ อาศัย แม้แต่โครงการก่อสร้างรีสอร์ตทีไ่ ม่ค�ำ นึง ถึงเรือ่ งสิง่ แวดล้อมทีส่ ดุ ก็ยงั มีจ�ำ นวนเพียงไม่ก่ี แห่งและแทบไม่อาจสร้างรอยด่างให้กบั อาณา บริเวณอันไพศาลทีป่ ระกอบไปด้วยเกาะกว่า 800 แห่งนีไ้ ด้ ดูเหมือนนีจ่ ะเป็นหนึง่ ในน้อยครัง้ ทีค่ �ำ โฆษณาของสือ่ ท่องเทีย่ วไม่ได้เกินจริง หมูเ่ กาะมะริดถือเป็น ‘lost world’ หรือดินแดน ทีห่ ายสาบสูญไปอย่างชัดเจน ทางเบอร์มา โบ๊ตติง้ และเอเชียนเทรลส์ แนะนำ�ว่าการจะเริม่ ‘ชิมลอง’ สำ�รวจหมูเ่ กาะ อันกว้างขวางนี้ ควรใช้เวลาล่องเรือประมาณ 5-8 วัน ซึง่ ในข้อเท็จจริง แทบจะเป็นระยะเวลา ทีม่ แี ต่นกั นิยมไพรทีแ่ ข็งขันทีส่ ดุ เท่านัน้ ทีพ่ ร้อม จะอยูจ่ นจบ “ออกมามะริด คุณจะไม่ได้เจอใครเลยเป็น หลายๆ วัน มีเรือคุณอยูล่ �ำ เดียว เหมือนกับ โรบินสัน ครูโซ ซึง่ แปลว่าต้องชอบความเรียบ ง่ายจริงๆ ถ้าอยากแค่หาชายหาดไว้ถา่ ยเซลฟี่

เสร็จแล้วก็รบี กลับไปนอนตากแอร์ เกาะมะริด ไม่เหมาะแน่” คึนซ์เลอร์กล่าว ส่วนมากแล้ว การเดินทางไปหมูเ่ กาะมะริด จะเริม่ ต้นทีเ่ กาะสอง เมืองเล็กๆ ของพม่าซึง่ ตัง้ อยูอ่ กี ฝัง่ หนึง่ ของปากแม่น�ำ้ กระบุรขี องระนอง (สายการบินนกแอร์ให้บริการเทีย่ วบินตรง กรุงเทพฯ-ระนอง 2 เทีย่ วบินต่อวัน) โดย มีไฮไลท์เป็นหาดทรายสีขาวบริสทุ ธิข์ องเกาะ มะริด ตลอดจนส�ำ่ สัตว์และพืชพรรณท้องถิน่ บน เกาะจอมปีและลัมปี “ปกติถา้ เราเห็นเรือลำ�อืน่ จอดอยูต่ รงที่ เราคิดไว้วา่ จะจอดค้างแรม เราก็จะเลยไปหา บริเวณอืน่ ๆ ผมว่านีค่ อื เหตุผลทีค่ นมาทีน่ ่ี คือ อยากอยูต่ ามลำ�พัง ในช่วงฤดูทอ่ งเทีย่ ว คืนแรก คุณอาจจะเจอเรือ 4-5 ลำ�ทีจ่ ดุ ทอดสมอตรงทาง เข้าออกเกาะสอง แต่พน้ จากนัน้ ไปก็จะมีแต่คณ ุ คนเดียวแล้ว” อ่อง จอ เล่า

หลีกเร้นจากเมือง

การล่องเรือทีม่ ะริดเป็นกิจกรรมทีต่ ลาดค่อน ข้างแคบ เพราะไม่เพียงต้องหาเพือ่ นทีย่ นิ ดีจา่ ย

จากชายฝัง่ ระนองตอน 9 โมงเช้าและผ่านด่าน ตรวจคนเข้าเมืองแล้ว เรือสปีดโบ๊ตอลูมเิ นียม แบบ 4 เครือ่ งยนต์จะพานักท่องเทีย่ ววิง่ ฝ่าคลืน่ ไปถึงเกาะแรกภายใน 1 ชัว่ โมงครึง่ ซึง่ สำ�หรับ นักท่องเทีย่ วจากกรุงเทพฯ ทีต่ อ้ งตาลีตาลาน ตืน่ เช้ามาขึน้ เทีย่ วบิน 6 โมงเช้าของนกแอร์ ก็คงพอดีกบั เวลาดวดกาแฟเข้มๆ หรือเครือ่ ง ดืม่ ชูก�ำ ลังสักขวดพอดี แต่สวุ ชิ าญก็ยงั ยืนยันว่า ความพยายามเหล่านีค้ มุ้ ค่าเหนือ่ ยแน่นอน “ทริปแบบวันเดียวนีค่ วามจริงดีมาก เพราะ ช่วยจำ�กัดปริมาณขยะและจำ�นวนโรงแรม แต่ถา้ ไม่อยากเหนือ่ ยมาก ผมแนะนำ�ให้ไป นอนทีเ่ กาะสองสักคืนก็ก�ำ ลังดี” สำ�หรับผูท้ ไ่ี ม่มกี �ำ ลังทรัพย์มากพอสำ�หรับ การล่องเรือแต่อยากจะอยูเ่ ทีย่ วหลายๆ วัน สุวชิ าญแนะนำ�ให้ซอ้ื ทริปดำ�น�ำ้ แบบค้างคืน บนเรือ ซึง่ สนนราคาราวๆ 30,000 บาท สำ�หรับ 5-7 วัน “ราคานีถ้ อื ว่าคุม้ มาก” สุวชิ าญเชียร์

ความงามอันเปราะบาง

เกาะหลายแห่งในหมูเ่ กาะมะริดขาดแคลน ้น�ำ จืด ทำ�ให้ตอ่ ให้เป็นผูป้ ระกอบการโรงแรม ทีก่ ระเหีย้ นกระหือรือทีส่ ดุ ไม่วา่ จากพม่า จีน หรือไทย ก็ใช่วา่ จะปราบพืน้ ทีบ่ นเกาะเพือ่ สร้าง แหล่งเริงรมย์แบบป่าตองได้งา่ ยๆ สิง่ ทีค่ กุ คาม

การล่องเรือทีม่ ะริดเป็น กิจกรรมทีต่ ลาดค่อน ข้างแคบ เพราะไม่เพียง ต้องหาเพือ่ นทีย่ นิ ดีจา่ ย เงิน 2.5-4 แสนบาท สำ�หรับทริป 5 คืนให้ได้ ถึง 6-8 คน แต่เพือ่ น เหล่านัน้ ยังต้องรับได้กบั ‘บริการระดับ 5 ดาว’ บนเรือทีม่ นี ยิ ามค่อนข้าง ต่างกับรีสอร์ตบนบกใน ราคาใกล้เคียงกัน 03 เรือยอทช์ของ Burma Boating ที่ เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการชมความงาม ของหมู่เกาะมะริด 04 อ่อง จอ หนึ่งในผู้ที่คลุกคลีกับการท่อง เที่ยวในหมู่เกาะพม่ามาตั้งแต่แรกเริ่ม 05 เกาะหัวใจมรกต จุดหมายการท่องเที่ยว ใหม่ของคนไทย 06 ใต้ทะเลอันอุดมสมบูรณ์ของหมู่เกาะมะริด

Love Andaman

เริม่ ประกาศรับอีวซี า่ ทีด่ า่ นตรวจพรมแดนไทยพม่า 3 จุด ได้แก่ ท่าขีเ้ หล็ก เมียวดี รวมไปถึง เกาะสองซึง่ เป็นประตูสหู่ มูเ่ กาะมะริด อิเล็กทรอนิกวีซา่ ซึง่ ครัง้ หนึง่ เคยสงวนไว้ สำ�หรับนักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้าประเทศผ่านทางท่า อากาศยานนานาชาติ ปัจจุบนั สามารถยืน่ ขอได้ ทางออนไลน์และใช้เวลาดำ�เนินการเพียง 3 วัน เท่านัน้ การเดินทางไปยังหมูเ่ กาะมะริดในวันนี้ จึงง่ายพอๆ กับการไปเทีย่ วภูเก็ตหรือเชียงใหม่

เงิน 2.5-4 แสนบาทสำ�หรับทริป 5 คืนให้ได้ถงึ 6-8 คน แต่เพือ่ นเหล่านัน้ ยังต้องสามารถรับได้ กับ ‘บริการระดับ 5 ดาว’ บนเรือทีม่ นี ยิ ามค่อน ข้างต่างกับรีสอร์ตบนบกในราคาใกล้เคียงกัน ตัง้ แต่เมนูอาหารและเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ท่ี จำ�กัด การอยูโ่ ดยปราศจากเครือ่ งปรับอากาศ ทัง้ วัน ไปจนกระทัง่ เสียงเครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้าดัง หึง่ ในเวลากลางคืน ด้วยเหตุนเ้ี อง นโยบายผ่อนปรนเรือ่ งข้าม พรมแดนของเกาะสอง จึงช่วยเพิม่ จำ�นวนนัก ท่องเทีย่ วแบบเช้าไปเย็นกลับมากกว่านักล่อง เรือหลายวัน โดยปัจจุบนั ชาวไทยเริม่ เลือกทีจ่ ะ นัง่ เรือไปเกาะหัวใจมรกตแทนทีจ่ ะเป็นคาสิโน ความนิยมในหมูเ่ กาะมะริดนัน้ ล้นหลามชนิดที่ ว่าราคาตัว๋ เครือ่ งบินไประนองแบบเทีย่ วเดียว ของสายการบินนกแอร์ อาจพุง่ สูงถึง 6,500 บาทในช่วงสุดสัปดาห์ (แต่ถา้ วางแผนล่วงหน้า ดีพอ อาจซือ้ ตัว๋ ได้ในราคาถูกแค่ 2,000 บาท) สุวชิ าญ พลิคามินทร์ เจ้าของนามปากกา The Sixth Floor บล็อกเกอร์ทอ่ งเทีย่ วชือ่ ดัง ยืนยันว่าหมูเ่ กาะมะริดกำ�ลังเป็นกระแสมากขึน้ เมือ่ ปลายปีทแ่ี ล้ว โพสต์ของเขาเกีย่ วกับหมู่ เกาะแห่งนีม้ ผี อู้ า่ นถึง 1.1 ล้านครัง้ ซึง่ สุวชิ าญบอกว่ามากกว่ายอดวิวเฉลีย่ ซึง่ อยูท่ ่ี หลักพันหลักหมืน่ ไปไกลโข โดยโพสต์ดงั กล่าว เล่าถึงทริปของบริษทั ทัวร์ Love Andaman ซึง่ ปรากฏว่าได้รบั การตอบรับจากตลาดดีพอๆ กัน เฉพาะในงานไทยเทีย่ วไทยเมือ่ เดือนกันยายน ทีผ่ า่ นมา ยอดขายกว่า 60% ของยอดขาย ทัง้ หมดล้วนมาจากทริปหมูเ่ กาะมะริดทัง้ สิน้ สุวชิ าญเล่าว่า “คนทีต่ ามบล็อกผมต่างก็ แปลกใจทีม่ แี หล่งดำ�น�ำ้ สวยขนาดนีอ้ ยูใ่ กล้ๆ บ้านเรา มันเหมือนสวรรค์เลย แล้วประเด็นคือ ยังมีเกาะคล้ายๆ กันนีอ้ ยูอ่ กี ตัง้ หลายร้อยเกาะ ตัง้ แต่เกาะหัวใจมรกตเริม่ ถูกแชร์บนโซเชียล มีเดีย มันก็กลายเป็นจุดหมายยอดนิยมแห่ง ใหม่ของคนไทย” ด้วยราคา 3,900 บาท (ซึง่ รวมค่าออกหนังสือ ผ่านแดนไว้เรียบร้อย) เมือ่ มาถึงระนอง เลิฟ อันดามันจะพานักท่องเทีย่ วทัวร์โฉบเกาะมังกร เกาะลอร์ดเฮฟเวน และเกาะเวสต์มนิ สเตอร์ โดยไม่มกี ารอ้อยอิง่ กล่าวคือหลังออกเดินทาง

06 OPTIMISE | JANUARY 2017

49


BEYOND BOUNDARIES Love Andaman

ต่อให้เป็นผูป้ ระกอบการ โรงแรมทีก่ ระเหีย้ น กระหือรือทีส่ ดุ ไม่วา่ จาก พม่า จีน หรือไทย ก็ใช่วา่ จะปราบพืน้ ที่ บนเกาะเพือ่ สร้างแหล่ง เริงรมย์แบบป่าตองได้ ง่ายๆ สิง่ ทีค่ กุ คามความ งามของมะริดจึงมาจาก ใต้นำ้ �เสียมากกว่า

07

ความงามของมะริดจึงมาจากใต้น�ำ้ เสียมากกว่า โดย สำ�หรับบรรดานักดำ�น�ำ้ แล้ว การจับปลาด้วยระเบิดใน พม่าได้ลดเสน่หข์ องเกาะลงไปเกินกว่าครึง่ เพราะมัน ทำ�ลายปะการังทีเ่ คยปรากฏอยูอ่ ย่างสมบูรณ์ในช่วง ต้นทศวรรษไปเป็นจำ�นวนมาก “เรือประมงจะไประเบิดปลาแถวๆ ฐานทัพ ผมเคยโทรไปทีก่ องทัพขอให้ชว่ ยขัดขวาง แต่ตอน นัน้ กองทัพก็ไม่ยอมทำ�อะไร พอตอนนีม้ าเริม่ สัง่ ห้าม ความเสียหายมันก็เกิดขึน้ ไปแล้ว” วิธกี ารจับปลาด้วยอวนก็เป็นอีกหนึง่ ภัยคุกคาม ของบรรดาชีวติ ในท้องทะเล โดยนักดำ�น�ำ้ ไม่ใช่คน กลุม่ เดียวทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ หากยังมีชาวมอแกน กลุม่ คนเร่รอ่ นทีใ่ ช้ชวี ติ อยูบ่ นเรือและยังชีพด้วยของ ทะเลในบริเวณหมูเ่ กาะมะริด ทัง้ นีเ้ มือ่ 2-3 ทศวรรษ ก่อนเคยมีประชากรมอแกนอาศัยอยูห่ ลายพันคน แต่ปจั จุบนั อาจเหลือเพียงไม่ถงึ พัน “คนพวกนีใ้ สซือ่ มาก พวกเขาเอาอาหารทะเลมา ให้พวกเราทีเ่ รือ โดยทีเ่ ราจะให้ขา้ วให้น�ำ้ เป็นสินน�ำ้ ใจ แม้พวกเขาจะไม่ได้เรียกร้องสิง่ ตอบแทน อีกสัก 20 ปี คนพวกนีค้ งไม่เหลือแล้ว” อ่อง จอ กล่าว กระนัน้ อ่อง จอ ก็เล่าถึงการจัดตัง้ หน่วยยาม ชายฝัง่ ซึง่ เป็นสัญญาณทีด่ ที แ่ี สดงให้เห็นว่าเริม่ มี มาตรการอนุรกั ษ์เกิดขึน้ จริงจัง ภายหลังจากทีไ่ ด้มี 50

OPTIMISE | JANUARY 2017

การประกาศแต่งตัง้ ให้เกาะลัมปีเป็นอุทยานแห่งชาติ เมือ่ ปี 2539 ซึง่ ถือเป็นแห่งแรกในหมูเ่ กาะมะริด และ สำ�หรับบล็อกเกอร์อย่างสุวชิ าญ เขาคิดว่าอย่างไรเสีย หมูเ่ กาะมะริดก็ยงั คงสภาพสมบูรณ์กว่าเกาะน้อย ใหญ่ในไทย โดยเล่าว่า “ผมดำ�น�ำ้ มาเกือบทัว่ ไทยแล้ว แต่ผมว่ายังสูท้ น่ี ไ่ี ม่ได้เลย แนวปะการังทีน่ เ่ี หมือน กับทีเ่ กาะสุรนิ ทร์เมือ่ 20 ปีทแ่ี ล้ว ซึง่ เป็นสมัยก่อนที่ จะเกิดปะการังฟอกขาว ยิง่ แนวปะการังทีเ่ กาะเวสต์ มินสเตอร์มขี นาดใหญ่มาก กินพืน้ ทีย่ าวกว่าร้อยเมตร เหมือนกับป่าปะการังเลย ทีน่ ผ่ี มเจอดอกไม้ทะเลทีห่ า ได้ยากในไทย ทัง้ สีแดง น�ำ้ เงิน แถมยังมีปลาการ์ตนู เป็นพันๆ ตัว ทัง้ หมดนีเ้ ห็นได้จากการดำ�น�ำ้ แบบ สน๊อกเกิลลึกแค่เมตรสองเมตรเอง” สุดท้ายนี้ หมูเ่ กาะมะริดอาจเริม่ ปรากฏอยูใ่ น สเตตัสเฟสบุก๊ เชิญชวนจำ�พวก ‘สถานทีท่ ต่ี อ้ งไปก่อน จะสาย’ เป็นทีเ่ รียบร้อย กระนัน้ ในปัจจุบนั ต้องถือว่า หมูเ่ กาะแห่งนีย้ งั คงเสน่หแ์ ละความบริสทุ ธ์ไว้ได้เป็น อย่างดี ดังนัน้ หากไม่เกีย่ งทีจ่ ะละทิง้ ความสะดวก สบายไปบ้าง นักบุกเบิกผูไ้ ด้มาชมความงามของป่า เขียวขจีซง่ึ ลอยอยูบ่ นผืนน�ำ้ สีเทอร์ควอยส์แห่งนี้ ย่อมจะได้กลับบ้านไปพร้อมกับสเตตัสเชิญชวนเท่ๆ ในแบบของตัวเองแน่นอน

Essentials Asian Trails 161/1 เอสจี ทาวเวอร์ ซอยมหาดเล็กหลวง 3 ถนนราชดำ�ริ กรุงเทพฯ โทร. 02-626-2000 www.asiantrails.travel/thailand Burma Boating โทร. 02-107-0445 www.burmaboating.com Love Andaman 9/244 ซอยศักดิเดช 1 ถนนศักดิเดช ภูเก็ต โทร. 076-390-250, 081-999-8844 www.loveandaman.com

07 นักท่องเที่ยวแหวกว่ายท่ามกลาง ธรรมชาติอันบริสุทธิ์ของหมู่เกาะมะริด

OPTIMISE | JANUARY 2017

51


THE FAST LANE

Ready for Take-Off? ช่วงหลายปีทผ ่ี า่ นมา อุตสาหกรรมน้องใหม่อย่าง ธุรกิจอากาศยานส่วนบุคคลในไทยดูจะเติบโตไม่ทนั ตลาด ในประเทศอืน่ ๆ แต่พฒ ั นาการใหม่ๆ ทีเ่ ริม่ เกิดขึน้ อาจเป็น สัญญาณของความเฟือ่ งฟูทจ่ี ะตามมาในไม่ชา้ 01

02

เครื่องบินเหล่านี้ได้รับ อนุญาตให้บินสูงกว่า เครื่องบินพาณิชย์ทำ�ให้ สามารถเลี่ยงการจราจร และเลือกเส้นทางบินที่ เร็วที่สุดได้ ยิ่งกว่านั้น ผู้โดยสารสามารถมาถึง สนามบินได้โดยไม่จำ�เป็น ต้องเผื่อเวลาเกิน 15 นาทีกอ่ นเวลาเครือ่ งออก

01 เครื่องบิน Gulfstream G200 ของ Mjets ที่ธุรกิจโรงแรมรายใหญ่อย่าง X2 นำ�มาให้บริก ารสำ�หรับลูก ค้าระดับไฮเอนด์ 02 ความโอ่ โ ถงภายในห้ อ งโดยสารของเครื ่ อ ง Gulfstream G200 03 โรงเก็ บ เครื ่ อ งบิ น ของ Mjets ที ่ ส นามบิ น ดอนเมื อ ง

เมือ่ เดือนกันยายนปีทผ่ี า่ นมา บริษทั Mjets ในเครือไมเนอร์กรุป๊ ได้เปิดให้บริการ อาคารผูโ้ ดยสารอากาศยานส่วนบุคคลมูลค่า 300 ล้านบาท ซึง่ สามารถรองรับเครือ่ งบินเจ็ต ส่วนบุคคลได้ 10 ลำ� ทีท่ า่ อากาศยานดอนเมือง อาคารทีม่ าพร้อมกับห้องรับรองสุดหรูและ โฆษณากันว่าใหญ่ทส่ี ดุ ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้น้ี เป็นหนึง่ ในสัญญาณบ่งชีว้ า่ ในทีส่ ดุ ประเทศไทยอาจเริม่ ตระหนักถึงประโยชน์ของ ธุรกิจการบิน ไม่วา่ เครือ่ งบินเจ็ตหรือเฮลิคอปเตอร์ อีกทัง้ ราคาน�ำ้ มันทีล่ ดลงได้จดุ ประกายความหวัง ให้กบั ผูผ้ ลิตและผูป้ ระกอบการในประเทศถึง ศักยภาพของกรุงเทพฯ ในการก้าวไปเป็น ศูนย์กลางการบินแห่งภูมภิ าค ท่ามกลาง อุปสรรคด้านข้อบังคับและความไม่พร้อมทาง สนามบินซึง่ ยังไม่หนีหายไปไหน

ถึงก่อนมีสทิ ธิก์ อ่ น

จากข้อมูลของ General Aviation Manufacturers Association (GAMA) ปัจจุบนั มีเครือ่ งบินเจ็ตส่วนบุคคลมากกว่า 11,000 ลำ�บินวนเวียนอยูเ่ หนือน่านฟ้าสหรัฐฯ และ อีก 8,000 ลำ�ในประเทศอืน่ ๆ ทัว่ โลก การเป็น เจ้าของเครือ่ งบินส่วนบุคคลนัน้ ให้ประโยชน์ 2 ชัน้ กล่าวคือ เครือ่ งบินเหล่านีไ้ ด้รบั อนุญาตให้ บินสูงกว่าเครือ่ งบินพาณิชย์ ทำ�ให้สามารถเลีย่ ง

58

OPTIMISE | JANUARY 2017

03

การจราจรและเลือกเส้นทางบินทีเ่ ร็วทีส่ ดุ ได้ ยิง่ กว่านัน้ ผูโ้ ดยสารสามารถมาถึงสนามบิน ได้โดยไม่จ�ำ เป็นต้องเผือ่ เวลาเกิน 15 นาทีกอ่ น เวลาเครือ่ งออก “ในสหรัฐฯ เราเคยพูดว่าถ้าคุณต้องบิน สัก 300-400 ชั่วโมงต่อปี คุณควรซื้อเครื่องบิน เป็นของตัวเอง แถมตอนนี้ตัวเลขก็เปลี่ยนไป อีก ราคาน้ำ�มันที่ถูกลง ทำ�ให้ค่าใช้จ่ายในการ ซื้อและบินเครื่องบินหนึ่งลำ�ต่ำ�ลงมาก จนมัน เริ่มน่าสนใจที่ผู้บริหารจะซื้อเครื่องบินส่วนตัว โดยอาจปล่อยเช่าเหมาลำ�บ้างเพื่อคืนทุนบาง ส่วน” เทรเวอร์ เมอรส์เซย์ ซีอีโอของบริษัท OrientSKYS ประจำ�ประเทศไทย ผู้ขายและให้ บริการเช่าเหมาลำ�อากาศยานส่วนบุคคลมา ตั้งแต่ปี 2547 กล่าว นอกจากนี้ เทคโนโลยียงั ช่วยให้ธรุ กิจการบิน เข้าถึงผูบ้ ริโภคมากขึน้ ผ่านบรรดาสตาร์ทอัพที่ ต่างหาทางให้ผโู้ ดยสารได้สมั ผัสประสบการณ์ ทีเ่ คยแพงเกินเอือ้ มนี้ แอปพลิเคชันของสหรัฐฯ อย่าง Jetsmarter, BlackJet และ PrivateFly ใช้โมเดลบริหารจัดการฝูงบินทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ขายตัว๋ การเดินทางด้วยเครือ่ งบินส่วนบุคคล ในราคาทีถ่ กู กว่าโดยเปรียบเทียบ สำ�หรับประเทศไทย กล่าวได้วา่ ธุรกิจนีย้ งั แทบไม่มตี ลาด “ตามตัวเลขทางการแล้ว ในไทย มีเครื่องบินส่วนตัวอยู่ประมาณ 40 ลำ� และใน

จำ�นวนนี้ 1 ใน 4 เป็นของรัฐ เท่ากับว่าเป็นของ เอกชน 30 ลำ� แถมใน 30 ลำ�นี้ เป็นประเภทที่ ให้บริการแบบเช่าเหมาลำ�อีกครึ่งหนึ่ง” เมอรส์เซย์เล่า นอกจากนัน้ เครือ่ งบินส่วนบุคคลใน ประเทศไทยยังมีขนาดค่อนข้างเล็ก เครือ่ งบิน สำ�หรับเช่าเหมาลำ�ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในปัจจุบนั คือ Gulfstream V ซึง่ บรรทุกผูโ้ ดยสารได้สงู สุด 15-19 คนและลูกเรืออีก 2 คน ดังนัน้ ใครทีค่ ดิ จะขนคณะผูต้ ดิ ตามแบบมหาเศรษฐีน�ำ้ มัน จึง ต้องหาเช่าเครือ่ งบินจากนอกประเทศ ซึง่ แน่นอน ว่าทำ�ให้ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยเพิม่ เติมสำ�หรับเอา เครือ่ งบินเข้ามาอีกเทีย่ วหนึง่ ในทางตรงกันข้าม ท่าอากาศยานนานาชาติ ในสหรัฐฯ ในเวลาหนึง่ ๆ อาจต้องรองรับเครือ่ งบิน ส่วนตัวเป็นหลักหลายร้อยลำ� ซึง่ แน่นอนว่าเป็น เพราะความต้องการของผูบ้ ริโภคของไทยและ สหรัฐฯ นัน้ ยังต่างกันมาก ซีอโี อไทยสามารถ ทำ�งานส่วนใหญ่ได้ในกรุงเทพฯ ต่างจากเหล่า ซีอโี อในสหรัฐฯ ทีอ่ าจต้องวิง่ จากฮุสตันไปชิคาโก แล้วต่อเครือ่ งไปลอสแอนเจลิสในสัปดาห์ เดียวกัน อย่างไรก็ตาม ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนทีใ่ กล้เข้ามา อาจทำ�ให้ความจำ�เป็นทีจ่ ะ ต้องบินไปประเทศนัน้ ประเทศนีห้ ลายๆ ครัง้ ใน รอบหนึง่ อาทิตย์มแี ต่จะมากขึน้ เรือ่ ยๆ

OPTIMISE | JANUARY 2017

59


แม้จะถูกมองเป็นของหรู แต่หลายครัง้ ทีน่ ง่ั บนเครือ่ งบิน เจ็ตอาจมีขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าทีน่ ง่ั ชัน้ เฟิรส์ คลาสของ สายการบินพาณิชย์ กระนัน้ สิง่ หนึง่ ทีเ่ ครือ่ งบินเจ็ต ชนะขาดก็คอื ความเร็ว อุปสรรคระหว่างทาง

ปัญหาสารพันทำ�ให้ธรุ กิจเครือ่ งบินและ เฮลิคอปเตอร์สว่ นบุคคลของไทยขยับไปไม่ได้ มาก ประการแรก ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางด้วย เครือ่ งบินส่วนตัวนัน่ สูงลิว่ เมือ่ เทียบกับประเทศ ทางฝัง่ อเมริกาและยุโรป จากข้อมูลของ โอเรียนท์สกาย อัตราเครือ่ งบินเช่าเหมาลำ�ใน ไทยนัน้ เริม่ ต้นทีช่ ว่ั โมงละ 90,000 บาทสำ�หรับ เครือ่ งบินเจ็ตขนาดเล็กความจุ 4 ทีน่ ง่ั ขึน้ ไป จนถึงชัว่ โมงละ 210,000 บาทสำ�หรับเครือ่ งบิน เจ็ตขนาดใหญ่ซง่ึ บรรทุกผูโ้ ดยสารได้เกือบ 20 คน แถมตัวเลขนีย้ งั ไม่ใช่ราคาทัง้ หมดอีกด้วย “นอกจากค่าธรรมเนียมรายชัว่ โมงแล้ว ยังมีคา่ ใช้จา่ ยจิปาถะ เช่นค่าลูกเรือ ค่าจอดพัก ค้างคืน และค่าขัน้ ต�ำ่ ต่อวันอืน่ ๆ เอาเป็นว่าแค่ จะเอาเครือ่ งลงจอดทีเ่ ซีย่ งไฮ้ ค่าเบีย้ บ้าย รายทางเหล่านีก้ ป็ าเข้าไปกว่า 520,000 บาท แล้ว” เมอรส์เซย์อธิบาย เช่นเดียวกับในฮ่องกงและสิงคโปร์ สนามบิน ในไทยนัน้ มีลานจอดจำ�กัดมาก อย่างเส้นทาง บินยอดนิยมกรุงเทพฯ-ภูเก็ตนัน้ หากเครือ่ งบิน ไม่มที จ่ี อดพักค้างคืนบนเกาะได้ ผูโ้ ดยสารจะ ต้องจ่ายค่าตัว๋ ไป-กลับกรุงเทพฯ 2 รอบ โดยรอบ หนึง่ สำ�หรับบินไปส่ง และอีกรอบสำ�หรับบิน มารับ เช่นเดียวกันเอ็มเจ็ทคิดราคาเทีย่ วบินไป กลับกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ตอ่ วัน สำ�หรับผูโ้ ดยสาร 6 คน อยูท่ ่ี 300,000 บาท แต่ถา้ ค้างคืนราคา จะขึน้ เป็น 2 เท่า เนือ่ งจากเชียงใหม่ไม่มลี าน สำ�หรับจอดพักข้ามคืน ในปัจจุบนั เครือ่ งบินส่วนบุคคลส่วนมาก จอดเก็บอยูท่ โ่ี รงจอดเครือ่ งบินของเอ็มเจ็ท ณ ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง นอกจากนัน้ ก็มที างภูเก็ต ซึง่ กำ�ลังรอให้เครือเจริญโภคภัณฑ์ ก่อสร้างอาคารผูโ้ ดยสารอากาศยานส่วนบุคคล 60

OPTIMISE | JANUARY 2017

มูลค่ากว่า 200 ล้านบาทเสร็จสมบูรณ์ โดยถือ เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการพัฒนาท่าอากาศยาน ภูเก็ตทีม่ กี �ำ หนดเปิดให้บริการในต้นปี 2560

ศักยภาพในการเติบโต

ธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการและ ประธานคณะผูบ้ ริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ คือ ผูส้ นับสนุนโครงการก่อสร้างอาคารผูโ้ ดยสาร อากาศยานส่วนบุคคลทีภ่ เู ก็ตดังกล่าว เป็นที่ รูก้ นั ว่าเขามีเครือ่ งบินเจ็ตในครอบครองถึง 3 ลำ� ได้แก่ Gulfstream G650, Bombardier Global Express และ Dassault Falcon 2000 ทัง้ นี้ แม้จะถูกมองเป็นของหรู แต่หลายครัง้ ทีน่ ง่ั บน เครือ่ งบินเจ็ตอาจมีขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าทีน่ ง่ั ชัน้ เฟิรส์ คลาสของสายการบินพาณิชย์ กระนัน้ สิง่ หนึง่ ทีเ่ ครือ่ งบินเจ็ตชนะขาดก็คอื ความเร็ว เพราะผูโ้ ดยสารเพียงเดินทางมายังสนามบิน ยืน่ หนังสือเดินทางแก่พนักงานทีอ่ าคารผูโ้ ดยสาร จากนัน้ ก็ขน้ึ ลีมซู นี ไปลานจอดเครือ่ งบินส่วนตัว ได้เลย หากจะช้าก็มแี ต่เพราะการจราจรตอนไป สนามบินเท่านัน้ และในส่วนนีเ้ องทีเ่ ฮลิคอปเตอร์ ส่วนบุคคลอาจเข้ามาช่วยได้เป็นอย่างดี แม้จะมีสว่ นแบ่งทางการตลาดในธุรกิจ อากาศยานส่วนบุคคลทีค่ อ่ นข้างเล็ก แต่ธรุ กิจ เฮลิคอปเตอร์กโ็ ตขึน้ ในช่วงไม่กป่ี ที ผ่ี า่ นมา “เราเชือ่ มัน่ ในศักยภาพของประเทศไทย” ไลโอเนล ซีไน-ซีเนลนิคอฟฟ์กล่าว เขาเป็น หัวหน้าแผนกกลยุทธ์และการตลาดในภูมภิ าค เอเชียแปซิฟกิ ตะวันออกเฉียงใต้แห่งบริษทั แอร์บสั เฮลิคอปเตอร์ ผูผ้ ลิตเฮลิคอปเตอร์สว่ น บุคคลรายเดียวในประเทศไทย บริษทั เริม่ ขายเฮลิคอปเตอร์ล�ำ แรกใน ปี 2535 และค่อยๆ สร้างฐานลูกค้าย่อมๆ ใน ประเทศซึง่ รวมถึงกองทัพบกและกองทัพอากาศ “ในไทยมีคนเดินทางด้วยเครือ่ งบินเยอะมาก

04

ธุรกิจการท่องเทีย่ วทีน่ โ่ี ตวันโตคืน ความต้องการ ทางการแพทย์กส็ งู ขึน้ จีดพี ขี องประเทศเพิม่ ขึน้ เงินลงทุนก็หลัง่ ไหลเข้ามาเยอะขึน้ ” ไลโอเนลบอก ทีไ่ ลโอเนลพูดอย่างนี้ ก็เพราะการเดินทาง ด้วยเครือ่ งบินส่วนบุคคลนัน้ แปรตามตลาดการ เงินโลกมากกว่าการท่องเทีย่ ว อัตราการเติบโต ของเศรษฐกิจไทยทีช่ ะลอตัวในช่วงไม่กป่ี ที ผ่ี า่ น มาส่งผลให้การเดินทางด้วยอากาศยานส่วน บุคคลลดฮวบลงในไตรมาสแรกของปี 2559 กระนัน้ แอร์บสั เฮลิคอปเตอร์กไ็ ม่ยอ่ ท้อ หากได้ จัดแสดงเฮลิคอปเตอร์รนุ่ H145 สูส่ าธารณชน ในเดือนมีนาคม 2559 เครือ่ งบินดีไซน์ล�ำ้ รุน่ 2 เครือ่ งยนต์รนุ่ นีจ้ ผุ โู้ ดยสารได้ 11 คน นักบิน 1 คน และบินได้ไกลกว่า 800 กิโลเมตรที่ ความเร็วสูงสุด 246 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง และ สุดท้ายก็ปรากฏว่าเป็นรุน่ ทีข่ ายดีทส่ี ดุ ใน ประเทศในขณะนี้ (สนนราคาระหว่าง 250-350 ล้านบาท) ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นเพราะเฮลิคอปเตอร์ เครือ่ งยนต์เดีย่ วอย่างรุน่ H130 ไม่ได้รบั อนุญาต ให้บนิ หรือลงจอดบนตึกระฟ้าในกรุงเทพฯ ในอนาคตบริษทั มีแผนจะเปิดตัว H160 ทีม่ า คูก่ บั เครือ่ งยนต์ใบพัดกำ�ลังแรงสูง ซึง่ ทำ�ความเร็ว ได้สงู สุด 300 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง “มันคือการปฎิวตั ิ ทางเทคโนโลยีขนานใหญ่ และจะเป็นบรรทัดฐาน ใหม่ส�ำ หรับวงการการบินนานาชาติ นีข่ นาดยังอยู่ ในขัน้ ตอนการผลิตตอนนี้ ในไทยก็มลี กู ค้าแล้ว 5 รายทีส่ นใจ” แอร์เว โฟลรองต์ ผูจ้ ดั การฝ่าย

05

พัฒนาธุรกิจของแอร์บสั เฮลิคอปเตอร์คยุ แม้แอร์บสั จะไม่ยอมเปิดเผยรายชือ่ ลูกค้า แต่ไลโอเนลบอกว่ากลุม่ ลูกค้าของตลาดธุรกิจ เฮลิคอปเตอร์นน้ั ประกอบด้วยนักธุรกิจเป็นส่วนใหญ่ “พวกผูบ้ ริหารอยากได้เฮลิคอปเตอร์ เพราะมันเป็น เครือ่ งแสดงสถานภาพทางสังคมและทำ�ให้สามารถ เดินทางไปต่อไหนได้ในเวลาอันสัน้ ถ้าคุณอยูใ่ นเมืองที่ รถติดแบบกรุงเทพฯ คุณคงไม่อยากเสียเวลาบนถนน สองสามชัว่ โมง เฮลิคอปเตอร์เร็วแล้วก็ปลอดภัยกว่า กันเยอะ คุณจะมีเวลาให้งานและครอบครัวได้มากขึน้ ” อย่างไรก็ดี ด้วยข้อจำ�กัดเรือ่ งระยะทางและกฎ ข้อบังคับทีส่ ลับซับซ้อน ทำ�ให้มลี กู ค้าน้อยรายทีใ่ ช้ เฮลิคอปเตอร์สว่ นบุคคลในการบินระยะไกล จริงอยู่ ทีก่ ารเดินทางข้ามประเทศด้วยเฮลิคอปเตอร์สามารถ กระทำ�ได้ แต่กฎระเบียบทีต่ อ้ งทำ�นัน้ หนักกว่าเครือ่ ง บินส่วนตัวมากมาย ทำ�ให้จนถึงตอนนีก้ ารจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ไม่เป็นเหตุชว่ ย กระตุน้ อุตสาหกรรมเฮลิคอปเตอร์สว่ นบุคคลเท่าใดนัก แต่หากมีการผ่อนปรนกฎระเบียบต่างๆ ลง เป็นไปได้ ว่าสถานการณ์ในอนาคตจะเปลีย่ นไป ในทางกลับกันธุรกิจเครือ่ งบินเจ็ตส่วนบุคคลใน ประเทศไทยนัน้ มีบทบาทในภาคธุรกิจน้อยกว่า “คน ส่วนใหญ่บนิ เจ็ตมาไทยเพือ่ มาเทีย่ ว เนือ่ งจากทีน่ ่ี ไม่ใช่ศนู ย์กลางทางการเงินโลก เหมือนอย่างฮ่องกง หรือสิงคโปร์” เทรเวอร์กล่าว กระนัน้ เขาก็เห็นว่าการใช้ เครือ่ งบินเจ็ตเพือ่ ธุรกิจยังอาจเติบโตได้อกี โดยเฉพาะ ในบรรดากลุม่ นักธุรกิจทีเ่ ดินทางไปประเทศจีน ซึง่ กิน

พืน้ ทีร่ วมกันกว่า 9.3 ล้านตารางกิโลเมตรหรือกว่า 2 เท่าของพืน้ ทีภ่ มู ภิ าคอาเซียน “สมมติผบู้ ริหารคนหนึง่ ต้องการเยีย่ มชมโรงงาน 10 แห่งในจีน ถ้าใช้เครือ่ งบินพาณิชย์ อาจใช้เวลาถึง 3 สัปดาห์ แต่ถา้ ใช้เครือ่ งบินส่วนตัว เราสามารถรับส่ง เขาไปครบทุกทีภ่ ายในเวลา 2-3 วัน แล้วยังมีการวิจยั อันหนึง่ บอกว่า เทียบกับการนัง่ ทำ�งานในออฟฟิศแล้ว ผูบ้ ริหารทำ�งานได้มปี ระสิทธิภาพกว่าบนเครือ่ งบินส่วน ตัว” เขากล่าว แม้ยงั เป็นการยากทีจ่ ะหาซีอโี อชาวไทยสักคนทีม่ ี โรงงาน 10 แห่งกระจายอยูท่ ว่ั ภูมภิ าคอาเซียน แต่ เทรเวอร์กย็ งั มัน่ ใจในศักยภาพของภูมภิ าคนี้ “ตลาดทีน่ ่ี เริม่ ต้นจากก้าวเล็กๆ และเติบโตอย่างรวดเร็วใน 2 ปีท่ี ผ่านมา ผมว่านีค่ อื ตัวบ่งชีท้ ด่ี มี าก จำ�นวนเครือ่ งบินเช่า เหมาลำ�มีเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้เกิดการแข่งขันทางธุรกิจ ซึง่ เอือ้ ประโยชน์แก่ลกู ค้า จากทีเ่ มือ่ ก่อนการเช่าเครือ่ ง บินครัง้ หนึง่ นัน้ แพงกว่าในสหรัฐฯ หรือยุโรปอยูเ่ ท่าตัว แต่ตอนนีร้ าคาเริม่ ลดลงไปบ้างแล้ว” อาจยังต้องใช้เวลาอีกระยะหนึง่ กว่าทีบ่ รรดาผู้ บริหารชาวไทยจะมีอาณาเขตตลาดกว้างขวางจน จำ�เป็นต้องเรียกหาบริการเครือ่ งบินส่วนตัวผ่านมือถือ กระนัน้ หากวันหนึง่ สนามบินในบ้านเรามีศกั ยภาพ พอทีจ่ ะตอบสนองต่อความต้องการของอุตสาหกรรม ได้ เมือ่ นัน้ ความเป็นศูนย์กลางทางภูมศิ าสตร์ของ อาเซียนและจุดหมายท่องเทีย่ วยอดนิยมของประเทศ ย่อมทำ�ให้ธรุ กิจอากาศยานส่วนบุคคลของไทยผงาด ขึน้ เป็นผูน้ �ำ ของภูมภิ าคได้อย่างไม่ยากเย็น

06

Essentials Mjets ชัน้ 18 อาคาร Berli Jucker 99 ซอยรูเบีย ซอยสุขมุ วิท 42 ถนนสุขมุ วิท กรุงเทพฯ โทร. 02-365-7500 www.mjets.com OrientSKYS ห้อง 802A ชัน้ 8 อาคาร Liberty Square 287 ถ.สีลม กรุงเทพฯ โทร. 02-631-1974 www.orientskys.com

04 เฮลิคอปเตอร์ H160 ที่สามารถ ทำ�ความเร็วได้สูงถึง 300 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง 05 เครื ่ อ งบิน Gulfstream G650 06 เทรเวอร์ เมอรส์เซย์ ซีอีโอแห่งบริษัท OrientSKYS

OPTIMISE | JANUARY 2017

61


LIVING SPACE

01

In Their Names แบรนด์เฟอร์นิเจอร์ไทยจำ�นวนหนึ่งได้รับการยอมรับใน ต่างแดน เพราะการออกแบบอันเป็นเอกลักษณ์และ ความใส่ใจสิ่งแวดล้อม จนกลายเป็นแรงบันดาลใจสำ�หรับ ผู้เล่นรายอื่นๆ ที่ต้องการไปพ้นจากการเป็นเพียงผู้รับจ้าง ผลิตสินค้าให้แบรนด์นอก บทความข่าวของ CNN เมือ่ ปีทแ่ี ล้วเกีย่ วกับ งานแสดงผลงานศิลปะนานาชาติ Art Stage Singapore ซึง่ มีผเู้ ข้าชมถึง 450,000 คนนัน้ เริม่ ด้วยการบรรยายถึงผลงานของศิลปิน อานนท์ ไพโรจน์วา่ เป็น “ผืนผ้าใบติดแมลงสาบ ปลอมยัว้ เยีย้ ” แต่อานนท์ ไพโรจน์ไม่ได้เป็น แค่เพียงศิลปิน เขาสำ�เร็จการศึกษาในสาขา วิศวกรรมเครือ่ งกลและสถาปัตยกรรม ก่อนจะ กลายมาเป็นทีส่ นใจของสือ่ นานาชาติจากชิน้ งานออกแบบเชิงแนวคิด (conceptual art) ที่ ทลายเส้นกัน้ ระหว่างของใช้กบั งานศิลปะ และ ปัจจุบนั เขากำ�ลังร่วมงานกับกรมส่งเสริมการค้า ระหว่างประเทศ (DITP) เพือ่ ทำ�โครงการเสาะ หานักออกแบบรุน่ ใหม่ไฟแรง จนเป็นทีร่ จู้ กั ใน ฐานะนักออกแบบผูอ้ าจช่วยกอบกูอ้ ตุ สาหกรรม เฟอร์นเิ จอร์ไทยให้เข้มแข็งอีกครัง้ ทัง้ นี้ การให้ความสำ�คัญกับการออกแบบ และนักออกแบบนัน้ ถือเป็นเรือ่ งทีแ่ ตกต่าง อย่างสิน้ เชิงกับการรับจ้างผลิตตามคำ�สัง่ ผลิต หรือ OEM ของโรงงานไทยในยุคก่อน แต่ เนือ่ งจากแรงกดดันเรือ่ งค่าแรงทีส่ งู ขึน้ แบรนด์ อย่าง Deesawat หรือ Kenkoon จำ�เป็นต้องผัน ตัวเองขึน้ เป็นผูส้ ร้างแบรนด์และนวัตกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อม และเรียนรูท้ จ่ี ะทำ�งานร่วมกับนัก ออกแบบเปีย่ มความเป็นศิลปินอย่างอานนท์ แม้จะไม่ใช่เรือ่ งง่าย แต่เมือ่ ทำ�ได้ส�ำ เร็จ พวก เขาก็ได้กลายเป็นแบบอย่างชัน้ ดีให้กบั ผูผ้ ลิตที่

62

OPTIMISE | JANUARY 2017

แม้จะไม่ใหญ่ แต่เฟอร์นเิ จอร์ไทยกลับ มีความสามารถโดดเด่น ในการสร้างแบรนด์ออกไป ต่างประเทศได้ สังเกตได้ จากแบรนด์อย่าง Corner 43 และ Yothaka 01 เฟอร์นิเจอร์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุ ธรรมชาติของ Yothaka

ทีจ่ ะปรับตัวให้เข้ากับเงือ่ นไขของตลาดในต่าง ประเทศอีกด้วย ล้มลุกคลุกคลาน ไม่มใี ครจะบอกเล่าถึงเส้นทางอุตสาหในขณะทีไ่ ทยถือเป็นขาใหญ่ในอุตสาหกรรม กรรมเฟอร์นเิ จอร์ไทยได้ดไี ปกว่าจิรชัย อิเล็กทรอนิกส์และชิน้ ส่วนยานยนต์ กล่าวคือ ตัง้ กิจงามวงศ์ ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายการตลาดด้าน เมือ่ ก่อนอุทกภัยปี 2554 กว่า 60% ของ การวิจยั และพัฒนาแห่งบริษทั อุตสาหกรรม ฮาร์ดไดรฟ์ทผ่ี ลิตทัว่ โลกนัน้ มาจากประเทศไทย ดีสวัสดิ์ ปูข่ องจิรชัยเป็นพ่อค้าไม้สกั ในพม่า แต่เมือ่ เหลียวมาดูอตุ สาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์ ในปี 2515 ครอบครัวของเขาได้เข้าซือ้ โรงงาน ประเทศไทยกลับเป็นเพียงผูส้ ง่ ออกอันดับ 9 ผลิตเฟอร์นเิ จอร์สญ ั ชาติจนี ในสิงคโปร์ และ ของเอเชีย ด้วยมูลค่าการส่งออกราวๆ 4.2 หมืน่ ย้ายกิจการทัง้ หมดมาไว้ทก่ี รุงเทพฯ ปัจจุบนั นี้ ล้านบาท เทียบกับที่ 1 และ 2 ของภูมภิ าคอย่าง โรงงานดังกล่าวมีพนักงาน 400 คนและแปรรูป จีนและเวียดนาม ซึง่ มีมลู ค่าการส่งออกถึง 3.49 ไม้สกั แบบครบวงจร ตัง้ แต่กระบวนการอบไม้ไป แสนล้านบาทและ 2.7 แสนล้านบาท ตามลำ�ดับ จนถึงขัน้ ตอนสุดท้าย กระนัน้ แม้จะไม่ใหญ่ แต่เฟอร์นเิ จอร์ไทยกลับมี “เราเริม่ จากเฟอร์นเิ จอร์แบบจีน” จิรชัยกล่าว ความสามารถโดดเด่นในการสร้างแบรนด์ออก แต่เมือ่ มีการออกกฎหมายห้ามตัดไม้พะยูง ไปต่างประเทศได้ สังเกตได้จากแบรนด์อย่าง ดีสวัสดิจ์ งึ ต้องปรับเปลีย่ นรูปแบบและหันมาใช้ Corner 43 และ Yothaka ซึง่ กลายเป็น ไม้สกั แทน ซึง่ ในตอนนีจ้ ริ ชัยกลับเห็นเป็นเรือ่ งดี ขาประจำ�ตามงานแสดงสินค้าใหญ่ๆ ในกรุง “ไม้สกั มันทำ�อะไรได้เยอะกว่า แล้วก็โมเดิรน์ ปารีสและมิลาน เช่นเดียวกับอานนท์ ไพโรจน์ กว่า” ไม้สกั เป็นทีต่ อ้ งการมากกว่าในตลาด ดีไซน์เนอร์มอื ฉมัง สหรัฐฯ และยุโรป ดินแดนของแบรนด์ใหญ่ เบือ้ งหลังความสำ�เร็จนีอ้ าจไม่ได้เกิดขึน้ น้อยซึ่งเคยว่าจ้างดีสวัสดิผ์ ลิตเฟอร์นเิ จอร์แบบ เพียงเพราะคนไทยมีหวั ทางด้านศิลปะเหมือน OEM ให้มาแล้วนักต่อนัก ทีช่ อบอ้างๆ กัน เห็นได้จากทีอ่ ตุ สาหกรรม ดังเช่นทีส่ งิ คโปร์ได้เคยเดินทางมาถึงจุดที่ แฟชัน่ ของไทยก็ยงั ไม่สามารถปักธงในฝรัง่ เศส ค่าแรงสูงจนอุตสาหกรรมการผลิตไม่อาจแข่งขัน หรืออิตาลีได้ในลักษณะเดียวกับอุตสาหกรรม ราคาได้อกี ต่อไป ในทีส่ ดุ ประเทศไทยก็จะต้อง เฟอร์นเิ จอร์ แท้จริงแล้ว ผูผ้ ลิตเฟอร์นเิ จอร์ไม่ เผชิญกับสถานการณ์คล้ายๆ กัน ค่าแรงทีส่ งู อาจเพียงสร้างสรรค์ของหน้าตาดี หากยังต้องรู้ ขึน้ ทำ�ให้ผรู้ บั จ้างผลิตเฟอร์นเิ จอร์หลายราย แสวงหาความอยูร่ อดในยุคหลัง OEM

OPTIMISE | JANUARY 2017

63


LIVING SPACE

03

ต้องเปลีย่ นมาสร้างแบรนด์ของตัวเองตีตลาด ในประเทศ ในขณะทีผ่ ผู้ ลิตรายอืน่ ๆ ทยอยปิด กิจการลง ดีสวัสดิส์ งั เกตเห็นความเปลีย่ นแปลง ค่อยๆ คืบคลานเข้ามาเมือ่ 10 ปีกอ่ นและได้ท�ำ ทุกวิถที างเพือ่ สร้างอัตลักษณ์ของแบรนด์ขน้ึ มา “โชคดีทเ่ี ราเป็นบริษทั เล็ก ถ้าคุณเป็นโรงงาน ใหญ่ การกระโดดจาก OEM มาทำ�แบรนด์ของ ตัวเองเป็นอะไรทีย่ ากมาก” จิรชัยกล่าว จริงอยูท่ ด่ี สี วัสดิย์ งั คงรับจ้างผลิตเฟอร์นเิ จอร์ แต่ชว่ ง 6 ปีทผ่ี า่ นมา พวกเขาก็เดินทางไป เข้าร่วมงานมหกรรมเฟอร์นเิ จอร์ Salone del Mobile ทีก่ รุงมิลานอยูต่ ลอดเพือ่ สร้างชือ่ โดยการหันมาเน้นดีไซน์ของตัวเอง ได้น�ำ ดีสวัสดิ์ ไปสูก่ ารสร้างสรรค์เครือ่ งเรือนในแบบทีจ่ ดจำ�ได้ เช่น โต๊ะไม้สกั ทีต่ อ่ เข้ากับแท่งเหล็กอย่างแนบ เนียน โดยภาพลักษณ์ความเป็นเมืองร้อนของ ประเทศไทยก็ชว่ ยเสริมแบรนด์เป็นอย่างดี เพราะชาวต่างชาติมองว่าถ้าเก้าอีเ้ อนตัวหนึง่ สามารถทนอากาศร้อน 44 องศาเซลเซียสบวก กับความชืน้ สัมพัทธ์ 100 % ของประเทศไทย ได้ การนำ�มาใช้วางกลางแจ้งในฤดูรอ้ นของ นิวยอร์กหรือลอนดอนก็ยอ่ มไม่ใช่เรือ่ งเหนือบ่า กว่าแรง แบรนด์เฟอร์นเิ จอร์ไทยหลายราย อาทิ เคนคูน เพลโต โยธกา และคอร์เนอร์ 43 ก็ดงึ เอา 64

OPTIMISE | JANUARY 2017

04

ส่วนนีม้ าเป็นจุดขายและเน้นผลิตเฟอร์นเิ จอร์ สำ�หรับใช้งานนอกบ้านเช่นกัน “ผมมองเห็นสัญญาณแห่งความสำ�เร็จใน การสร้างแบรนด์ของเรา ทีญ ่ ป่ี นุ่ มีคนขายเก้าอี้ ดีสวัสดิม์ อื สองลงในเว็บ เขาไม่ได้เขียนว่ามัน เป็น ‘เก้าอีส้ นามทำ�จากไม้สกั ’ แต่เรียกเลยว่านี่ คือ ‘เก้าอีด้ สี วัสดิ’์ ” จิรชัยบรรยายถึงเส้นทางการ พยายามสร้างแบรนด์ของเขา แต่ในขณะทีด่ สี วัสดิไ์ ด้รบั การยกย่องจาก กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศว่าเป็นแบบ อย่างให้กบั ผูผ้ ลิตเฟอร์นเิ จอร์รายอืน่ ๆ จิรชัย กลับเตือนว่าเส้นทางแห่งความสำ�เร็จนัน้ เต็มไป ด้วยขวากหนาม “มีหลายโรงงานคิดว่าแค่จา้ ง กราฟิกดีไซน์เนอร์มาก็สร้างแบรนด์ได้ แต่ความ จริงมันยากกว่านัน้ และไม่ได้เกิดในปีสองปี ผมต้องเดินสายออกแสดงผลงาน ต้องทำ�งาน ใกล้ชดิ กับดีไซน์เนอร์ ไม่ใช่แค่ทมุ่ เงินแล้วก็จบ”

กาลเวลาทีเ่ ปลีย่ นไป

โยธกาเป็นอีกหนึง่ แบรนด์ไทยทีม่ ชี อ่ื เสียงขจรขจายในฐานะแบรนด์ทใ่ี ส่ใจกับการ ออกแบบอย่างยิง่ ทัง้ นี้ ภายใต้การนำ�ของ สุวรรณ คงขุนเทียน โยธกามีความต่างจาก แบรนด์เฟอร์นเิ จอร์อน่ื ตรงทีม่ ผี นู้ �ำ องค์กรเป็น

นักออกแบบมากกว่านักอุตสาหกรรมและตรง ทีโ่ ยธกาสามารถเล็งเห็นได้ตง้ั แต่เนิน่ ๆ ถึง ทิศทางการให้ความสำ�คัญเรือ่ งสิง่ แวดล้อมของ ตลาดในสหรัฐฯ และยุโรป ปัจจุบนั นี้ ผูผ้ ลิต เฟอร์นเิ จอร์สญ ั ชาติไทยอาจพากันขายภาพ ลักษณ์ตวั เองในฐานะแบรนด์ ‘สีเขียว’ ทีใ่ ช้ วัตถุดบิ จำ�พวกผักตบชวา เส้นใยสัปปะรด ต้นยางพารา และหวายเทียมกันเกือบทัง้ สิน้ แต่โยธกานัน้ คือผูบ้ กุ เบิกก่อนใคร สุวรรณเติบโตขึน้ ในเชียงใหม่กอ่ นย้ายไป เป็นดีไซน์เนอร์ประจำ�อยูส่ งิ คโปร์ในปี 2523 จนถึง 2532 แต่ดว้ ยความคิดถึงบ้านเกิด เขาจึง ย้ายกลับมาทีไ่ ทยและเริม่ ออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ จากผักตบชวา วัชพืชน�ำ้ ทีแ่ พร่พนั ธุอ์ ย่างรวดเร็ว ทำ�ให้การเก็บผักตบชวานอกจากจะแทบไม่ตอ้ ง ลงทุนสักบาทแล้ว (ถ้าไม่นบั ค่าแรง) ยังเป็นการ ช่วยรักษาระบบนิเวศของแม่น�ำ้ ลำ�คลองด้วย “เราโชคดีมาก ช่วงปีแรกๆ ยอมรับว่าลำ�บาก อยูพ่ อตัว แต่จๆู่ มันก็บมู ขึน้ มา เมือ่ 20 ปีกอ่ น ฝรัง่ บ้าเรือ่ งสิง่ แวดล้อมกันมาก มีอยูช่ ว่ งหนึง่ เราต้องเก็บผักตบชวากันประมาณ 5 แสนเมตร ต่อปี” สุวรรณกล่าว ในปี 2546 และ 2547 โยธกาชนะรางวัล G-Mark Award อันทรงเกียรติจากประเทศ

ญีป่ นุ่ ภายใต้ผลงานการออกแบบของสุวรรณ ซึง่ บอกเล่าวิถแี บบตะวันออกและการใช้ชวี ติ กลาง แจ้ง แต่เมือ่ ราวๆ ปี 2553 กระแสของตลาดกลับ เปลีย่ นไปอย่างสิน้ เชิง ซึง่ เป็นช่วงเวลาเดียวกับที่ สุวรรณเริม่ ตระเวนจัดแสดงผลงานในกรุงมิลาน และปารีส โดยไม่นา่ เชือ่ ว่า การไปงานเหล่านี้ นีเ่ องทีท่ �ำ ให้โยธกาอยูร่ อดมาจนถึงทุกวันนี้ “เดีย๋ วนีเ้ ราเลิกใช้ผกั ตบชวาแล้ว เรายังใช้ เทคนิคเดิมอยู่ แต่เปลีย่ นไปทำ�เฟอร์นเิ จอร์ กลางแจ้งจากพอลิเอทิลนี แทน (พลาสติก สังเคราะห์ประเภทหนึง่ ) โชคดีทเ่ี ราไหวตัวแต่ เนิน่ ๆ ก่อนตลาดจะเจ๊ง ไม่มใี ครบอกหรอกว่า มันจะเกิด คุณต้องอ่านพวกนิตยสารแล้วก็คอย สังเกตเทรนด์ตามงานต่างๆ” นอกจากผักตบชวาจะเสือ่ มความนิยมแล้ว จิรชัยแห่งดีสวัสดิ์ และอานนท์ ไพโรจน์ยงั ชีใ้ ห้ เห็นถึงความตกต�ำ่ ของตลาดธุรกิจเฟอร์นเิ จอร์ ไทยในช่วง 6 ปีทผ่ี า่ นมา เศรษฐกิจในยุโรปนัน้ ซบเซา ในขณะทีจ่ ดุ ขายของเฟอร์นเิ จอร์ไทย อย่างดีไซน์ทส่ี วยและความเป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อมก็ไม่ได้ถกู มองว่าเป็นเสน่หอ์ กี ต่อไป “เราเอาเรือ่ งสิง่ แวดล้อมมาใช้ในแง่การตลาด ไม่ได้ มันกลายเป็นมาตรฐาน พวกใบรับรอง ต่างๆ ทีเ่ รามีเราเอามันมาโฆษณาไม่ได้แล้ว มันกลายเป็นสิง่ พืน้ ฐาน” จิรชัยกล่าว อานนท์ ไพโรจน์ยงั เสริมด้วยว่าแม้กระทัง่ คุณภาพการ

ที่ญี่ปุ่นมีคนขายเก้าอี้ดีสวัสดิ์มือสองลงในเว็บ เขาไม่ได้เขียนว่ามันเป็น ‘เก้าอี้สนามทำ�จากไม้สัก’ แต่เรียกเลยว่านี่คือ ‘เก้าอี้ดีสวัสดิ์’ ผลิตทีเ่ หนือกว่า ก็ไม่ได้เป็นจุดทีส่ ร้างความแตก ต่างแล้วเช่นกัน “ตอนนีจ้ นี มีสนิ ค้าทุกเกรดตัง้ แต่งาน คุณภาพไปจนงานโหล จีนไม่ได้ผลิตแต่ของ ห่วยๆ แล้ว ตอนนีจ้ นี มีผผู้ ลิตรายใหญ่เยอะ ทำ�ให้เขาลงทุนด้านเทคโนโลยีได้มาก จีนใช้ เครือ่ งจักรเหมือนทีย่ โุ รปและวัตถุดบิ แบบเดียว กับอิตาลี ตอนนีจ้ นี จึงมีสนิ ค้าทีค่ ณ ุ ภาพดีกว่า โดยทีร่ าคาและค่าขนส่งถูกกว่าทีอ่ น่ื ”

รอดได้อย่างเข้มแข็ง “งานเราคือเป็นตัวกลาง เพราะหนทางทีพ่ วก เขาต้องเดินร่วมกันมันยาวมาก เราเลยพยายาม ลดความเสีย่ งสำ�หรับทัง้ สองฝ่ายให้นอ้ ยทีส่ ดุ และ คอยจับมือให้พวกเขาเดินกันไป อย่าลืมว่ามันมี ความวนเวียนของมันอยู่ ผูผ้ ลิตก็จะบ่นว่า นักออกแบบไม่เข้าใจความเป็นจริงของงาน แล้วพอนักออกแบบไม่ได้งาน เขาก็ไม่รคู้ วาม เป็นจริงทีว่ า่ เสียที” หม่อมหลวงคฑาทองกล่าว จิรชัยแห่งดีสวัสดิ์ สุวรรณแห่งโยธกา และ ความสัมพันธ์อนั ซับซ้อน อานนท์ ต่างเห็นพ้องกันว่านักออกแบบไทย ในความเห็นของหม่อมหลวงคฑาทอง ขาดความรูค้ วามเข้าใจในเรือ่ งการตลาดและ ทองใหญ่ ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักส่งเสริมนวัตกรรม กระบวนการผลิต “ช่วงหลังๆ มานี้ จะเห็นว่างาน และสร้างมูลค่าเพิม่ เพือ่ การค้า กรมส่งเสริมการ ออกแบบของไทยมีอทิ ธิพลจากสแกนดิเนเวีย ค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ การสร้าง อยูเ่ ยอะมาก เราจึงไม่ได้โดดเด่นจากคนอืน่ ความร่วมมือระหว่างนักออกแบบและผูผ้ ลิตคือ เวลาคนมองหาเฟอร์นเิ จอร์ไทย จะพบว่าเราไม่มี หัวใจของการผลักดันอุตสาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์ อัตลักษณ์ของแบรนด์ทช่ี ดั เจนอย่างญีป่ นุ่ หรือ ไทยให้พน้ จากธุรกิจ OEM ไปสูก่ ารสร้างแบรนด์ เกาหลี แล้วถามว่างานของนักออกแบบไทยถูก ของตนเอง และการช่วยให้แบรนด์เหล่านัน้ อยู่ กว่าคนอืน่ ไหม ถ้าไม่ ก็ตอ้ งถามว่าแล้วเรากะจะ ขายอะไร คุณค่ามันอยูต่ รงไหน ในเมือ่ ดีไซน์ก็ เหมือนๆ คนอืน่ ” อานนท์กล่าว หม่อมหลวงคฑาทองอธิบายว่าความไม่ลง รอยระหว่างนักออกแบบและผูผ้ ลิต ทำ�ให้ประเทศ ไทยพัฒนาระบบหุน้ ส่วนขึน้ มา แทนทีผ่ ผู้ ลิตจะ ว่าจ้างดีไซน์เนอร์ตรงๆ ทัง้ สองฝ่ายอาจจับมือกัน ออกคอลเลกชันและแบ่งกำ�ไรกัน อย่างคอร์เนอร์ 43 นัน้ ร่วมงานกับดีไซน์เนอร์มาแล้วหลายราย ไม่วา่ จิตริน จินตปรีชา อภิรฐั บุญเรืองถาวร หรือ 03 จิรชัย ตั้งกิจงามวงศ์ หัวเรือใหญ่งานออกแบบของดีสวัสดิ์ 04 เฟอร์นิเจอร์แบบมินิมอลที่ทำ�จากไม้สัก วัสดุอันเป็นเอกลักษณ์ของดีสวัสดิ์

05

05 สุวรรณ คงขุนเทียน แห่งแบรนด์โยธกา ผู้บุกเบิกการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ยุคใหม่ ของไทย

OPTIMISE | JANUARY 2017

65


LIVING SPACE ถิรวัฒน์ คุณวุฒฤิ ทธิรณ และออกใหม่ทกุ ๆ ปีไม่ ต่างจากพวกแบรนด์แฟชัน่ แล้วงานออกแบบ เหล่านีก้ ไ็ ม่ถกู ครอบงำ�โดยอิทธิพลสแกนดิเนเวียน เสียด้วย อย่างงานของจิตรินซึง่ ใช้หวายเป็น วัตถุดบิ หลักนัน้ แม้มที รวดทรงคมคายโมเดิรน์ แต่กส็ อ่ื ถึงความเป็นเมืองร้อนและวิถแี ห่ง ตะวันออกได้เป็นอย่างดี “เราเคยร่วมงานกับดีไซน์เนอร์ชาวญีป่ นุ่ อิตาเลียน และไทยมาแล้ว เราอยากเอา นักออกแบบรุน่ ใหม่และมืออาชีพมาไว้ในที่ เดียวกัน ไม่อย่างนัน้ ไม่สนุก ดีไซน์เนอร์ไทย มีหวั สร้างสรรค์ แต่อาจจะอ่อนความรูเ้ รือ่ ง โครงสร้างและมาร์เก็ตติง้ นีค่ อื เหตุผลทีเ่ รารับ เด็กมาฝึกงานทีโ่ รงงานตลอดและร่วมงานกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” จิรชัย แห่งดีสวัสดิก์ ล่าว แต่อานนท์ ชีว้ า่ นักออกแบบไม่ใช่ฝา่ ยเดียว ทีจ่ �ำ เป็นต้องพัฒนาตัวเอง อันทีจ่ ริง เขาเองมี ความคับข้องใจอยูห่ ลายข้อ ตัง้ แต่การทีผ่ ผู้ ลิต ไม่เห็นนักออกแบบเป็นส่วนหนึง่ ของทีม การ รับรองจากสำ�นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (TISI) ของไทยไม่เป็นทีย่ อมรับใน 06

อุตสาหกรรมการผลิตของไทยสุดท้ายย่อมไม่อาจอยูไ่ ด้ ด้วยเพียงการตามกระแสต่างประเทศแบบอืดอาด ทีก่ ว่าจะ เห็นและเริม่ ลงมือผลิตตามได้กระแสก็พน้ สมัยไปแล้ว ต่างประเทศ ความล่าช้าของหน่วยงานราชการ ต่างๆ (ซึง่ เปิดช่องให้เกิดคอร์รปั ชัน) และการ ขาดแคลนเทคโนโลยีทเ่ี ข้าขัน้ วิกฤติ หม่อมหลวงคฑาทองยอมรับว่าสถานการณ์ ของอุตสาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์ในตอนนีเ้ รียกได้ ว่าเป็นช่วงบรรเทาความเสียหาย มากกว่าจะ เป็นการก้าวนำ�ตลาดใดๆ แต่เขาก็เน้นย�ำ้ ว่า สำ�หรับแบรนด์ทป่ี รับตัวได้มากกว่าเพือ่ นอย่าง โยธกาและดีสวัสดิน์ น้ั ก็ได้ประสบความสำ�เร็จ จากการผันตัวเองไปรับงานจากบรรดาโครงการ ทีอ่ ยูอ่ าศัยและโรงแรมต่างๆ ไปแล้วเช่นกัน โดย แทนทีโ่ รงแรมเหล่านีจ้ ะซือ้ หาเฟอร์นเิ จอร์ราคา ถูกจากต่างประเทศ พวกเขาได้มองเห็นคุณค่า ของการร่วมมือกับนักออกแบบท้องถิน่ ซึง่ ไม่ เพียงจะสามารถออกแบบทีต่ อบโจทย์เฉพาะ

ของสถานทีไ่ ด้ แต่ยงั จะคอยดูแลเฟอร์นเิ จอร์ เหล่านัน้ ต่อเนือ่ งไปได้ในระยะยาวอีกด้วย ความมุง่ มัน่ ของแบรนด์ทพ่ี ยายามสร้าง ความสำ�เร็จในพืน้ ทีใ่ หม่ๆ นี้ ได้แสดงให้เห็นถึง องค์ประกอบทีล่ งตัวระหว่างความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจตลาด และในขณะเดียวกันก็ช้ี ให้เห็นว่าอุตสาหกรรมการผลิตของไทยสุดท้าย ย่อมไม่อาจอยูไ่ ด้ดว้ ยเพียงการตามกระแสต่าง ประเทศแบบอืดอาด ทีก่ ว่าจะเห็นและเริม่ ลงมือ ผลิตตามได้กระแสก็พน้ สมัยไปแล้ว ตรงกันข้าม การจะอยูร่ อดได้หมายความว่า ธุรกิจต้องรูท้ จ่ี ะยืดหยุน่ มีความคิดริเริม่ และอ่าน รสนิยมตลาดทีเ่ ปลีย่ นแปลงตลอดเวลาได้อย่าง ทันท่วงทีเท่านัน้ Essentials Arnon Pairot Design Studio www.fb.com/apdspages Corner 43 61/2 ซอยสุขุมวิท 53 ถนนสุขุมวิท กรุงเทพฯ โทร. 02-261-2528 www.corner43.com Deesawat 71/9 ซอยเคแอลเอ็ม ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ โทร. 02-521-1341 www.deesawat.com Yothaka 1028/5 ชั้น 3 อาคารพงษ์อมร ถนนพระราม 4 กรุงเทพฯ โทร. 02-679-8631-2 www.yothaka.com

06 อานนท์ ไพโรจน์ที่หันมาจับงานดีไซน์โคมไฟ

66

OPTIMISE | JANUARY 2017

OPTIMISE | JANUARY 2017

67


THE AGENDA

2

บล.ภัทร รับ 3 รางวัล Platinum Awards จาก FinanceAsia

บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) รับรางวัล Platinum Awards จาก FinanceAsia นิตยสารการเงินชั้นนำ�แห่งเอเชีย รางวัลดังกล่าวเป็น รางวัลที่มอบให้กับบริษัทที่ให้บริการทางการเงินคุณภาพบนมาตรฐานสากล และนำ�เสนอนวัตกรรมได้อย่างต่อเนื่องตลอด 20 ปี โดย บล.ภัทร ได้รับ รางวัลแห่งความเป็นเลิศรวม 3 รางวัล ได้แก่ Best Domestic Investment Bank, Best Domestic Private Bank และ Best Domestic Equity House โดยมี ตรัยรักษ์ เต็งไตรรัตน์ กรรมการผูจ้ ดั การและหัวหน้าสายงานวานิชธนกิจ และตลาดทุน อนุวฒ ั น์ ร่วมสุข กรรมการผูจ้ ดั การและหัวหน้าฝ่ายตลาดทุน ศุภโชค ศุภบัณฑิต กรรมการผู้จัดการและหัวหน้าฝ่ายวานิชธนกิจ และ ณฤทธิ์ โกสลาทิพย์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการและหัวหน้าทีมที่ปรึกษาทาง การเงินส่วนบุคคลเป็นผู้แทนรับรางวัลที่โรงแรมคอนราด ฮ่องกงเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559

3

บล.ภัทรคว้า 3 รางวัลในงาน Asia-Pacific Structured Products & Derivatives Awards 2016

บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) รับ 3 รางวัล จากงาน AsiaPacific Structured Products & Derivatives Awards 2016 จัดโดย Structured Retail Products (SRP) ได้แก่รางวัล Best Distributor (South and Southeast Asia), Best Distributor (Thailand) และ Best Performance (Thailand) ทัง้ นี้ รางวัลพิจารณาจากความสามารถในการ ให้บริการด้านธุรกิจตลาดทุนและความเชีย่ วชาญด้านธุรกิจ Structured Products & Derivatives โดยมี นภดล นิมมานพิภกั ดิ์ กรรมการผู้จัดการ และหัวหน้าฝ่ายค้าหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า และณฤทธิ์ โกสาลาทิพย์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการและหัวหน้าทีมที่ปรึกษาทางการ เงินส่วนบุคคล เป็นผูแ้ ทนรับรางวัลทีฮ่ อ่ งกง เมือ่ วันที่ 19 กันยายน 2559

1

กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรจัดพิธีรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณและ ถวายอาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรและบริษัทในเครือ ร่วมน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณและถวายอาลัยพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตลอดจนแสดงความจงรักภักดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ โดยเมือ่ วันที่ 17 ตุลาคม 2559 ได้จดั พิธที �ำ สมาธิ และตัง้ จิตอธิษฐานมุง่ นำ�พระบรมราโชวาทและพระราชดำ�รัสเป็นหลักในการปฏิบตั งิ าน ต่อมาในโอกาสวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพปีท่ี 89 เมือ่ วันที่ 22 พฤศจิกายน ได้จดั งานรวมพลังแห่งความภักดีโดยร่วมกันถวายสัตย์ปฏิญาณและร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีกบั เพลงความฝันอันสูงสุด และเนือ่ งในโอกาสปัญญาสมวาร (ครบรอบ 50 วัน) เมือ่ วันที่ 2 ธันวาคม 2559 ได้จดั พิธที �ำ บุญตักบาตรพระสงฆ์ 39 รูป เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช โดยมีพระราชญาณกวี (สุวทิ ย์ ปิยวิชโฺ ช ป.ธ. 9) ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก เป็นประธานสงฆ์ 68

OPTIMISE | JANUARY 2017

4

บล.ภัทร มอบรางวัลแก่ผู้ชนะการแข่งขัน Click2WIN DW@Phatra

วันที่ 8 ธันวาคม 2559 บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) จัดพิธมี อบประกาศนียบัตรแสดงความยินดีแก่นกั ศึกษาทีช่ นะการ แข่งขัน Click2WIN DW@Phatra โดยมี พัชนี ลิม่ อภิชาต กรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นตัวแทนมอบรางวัล ร่วมด้วยกฤติยา วีรบุรษุ กรรมการ ผูจ้ ดั การและหัวหน้าสายงานลงทุนและค้าหลักทรัพย์ และนภดล นิมมานพิภกั ดิ์ กรรมการผูจ้ ดั การและหัวหน้าฝ่ายค้าหลักทรัพย์และ สัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า ร่วมแสดงความยินดี โดย Click2WIN DW@ Phatra เป็นการแข่งขันซือ้ ขาย Derivative Warrant (DW) ภายใต้สภาวะ ตลาดจริงแบบเรียลไทม์ จัดโดย บล.ภัทร ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1-30 กันยายน 2559 สำ�หรับนักศึกษา ระดับมหาวิทยาลัยทั่วประเทศที่สนใจการลงทุนใน DW OPTIMISE | JANUARY 2017

69


5

ธนาคารเกียรตินาคิน รับรางวัลจาก 2 ผลงานไวรัลคลิป ‘พลอยนักสู้’ และ ‘The Dog’

ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) รับรางวัลจาก 2 ผลงานไวรัลคลิป ได้แก่ คลิป ‘พลอยนักสู้’ ได้รับรางวัล Silver ประเภท Internet Film, Branded Content and Digital จาก Adman Awards & Symposium 2016 ซึ่งจัดโดย สมาคมโฆษณาแห่งประเทศไทย โดยมี ดร.อนุชิต อนุชิตานุกูล ประธานสายพัฒนาระบบงาน ช่องทางขายและผลิตภัณฑ์ เป็นผู้แทนรับรางวัล เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2559 และคลิป ‘The Dog’ ซึ่งได้รับรางวัล Gold จากกลุ่ม Online Media หมวด Viral จาก The 7th Cannes Corporate Media & TV Awards 2016 โดยมี ฐิตินันท์ วัธนเวคิน กรรมการธนาคาร เป็นผู้แทนรับรางวัล ณ เมืองคานส์ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559 ทั้งนี้ ทั้ง 2 รางวัลสะท้อนรูปแบบ การใช้กลยุทธ์ Viral Marketing ผ่านอินเตอร์เน็ต และโซเชียลเน็ตเวิร์กที่เข้าถึงผู้บริโภคและกลุ่ม เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิด กระแสความนิยมในระยะยาวได้อย่างแท้จริง

6

กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรและมูลนิธิเกียรตินาคิน ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคีประจำ�ปี 2559 ถวายเป็น พระราชกุศล ณ วัดดงเค็ง (วัดป่าภูตคาม) จ.ขอนแก่น

เมือ่ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2559 กลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร และมูลนิธเิ กียรตินาคิน ร่วมกับธนาคารแห่งประเทศไทยภาคตะวันออก เฉียงเหนือ และชมรมธนาคารไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นำ�โดย ฐิตนิ นั ท์ วัธนเวคิน กรรมการธนาคาร และ ดร.อนุชติ อนุชติ านุกลู ประธาน สายพัฒนาระบบงาน ช่องทางขายและผลิตภัณฑ์ เป็นเจ้าภาพทอดกฐิน สามัคคี ประจำ�ปี 2559 ณ วัดป่าดงเค็ง (วัดป่าภูตคาม) จ.ขอนแก่น เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช โดยนำ�เงินทำ�บุญจากผูม้ จี ติ ศรัทธาทัง้ หมดถวายให้กบั วัดป่าดงเค็ง เพือ่ สมทบทุนสร้างองค์พระมหาธาตุรตั นเจดียศ์ รีสองห้องสำ�หรับเป็นที่ ประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ ซึง่ พระครูรตั นอุดมญาณ (หลวงปูใ่ บ รัตนญาโน) อัญเชิญมาจากศรีลงั กาเมือ่ ปี 2553 และปัจจุบนั ประดิษฐาน บนพระอุโบสถ (ชัว่ คราว) เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนได้กราบสักการบูชา 70

OPTIMISE | JANUARY 2017

OPTIMISE | JANUARY 2017

71


22 x 27.5 cm

san 4.5 mm

OPTIMISE | ISSUE 07 JANUARY 2017 KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP

59-11-119_Cover+In Optimise=5c new27-12 i_Coated.indd 2

Poklang = สีที่5

22 x 27.5 cm

Issue 07 January 2017

Beyond the Surface ชยสาโรภิกขุเผยแก่นแห่งพระศาสนา ที่ยังคงเรืองรองภายใต้ความเปลี่ยนแปลง

59-11-119_Cover+In=+5 Optimise=5c new27-12 i_Coated

12/27/2559 BE 8:29 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.