ASEAN Report Issue 3

Page 1



Executive

Summary คาเงินบาทที่แข็งคาขึ้นในปจจุบัน เปนหนึ่งในประเด็นทางเศรษฐกิจที่สําคัญ ที่กําลังเปนที่ถกเถียงและ วิพากษวิจารณในสังคม นโยบายของรัฐกับปญหาที่เกิดขึ้นเปนนโยบายที่แสดงถึงความไมสอดคลองกัน ของผูดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ นั่นคือธนาคารแหงประเทศไทยและกระทรวงการคลัง การศึกษาเปรียบเทีย บนี้จั ดทํา ขึ้น เพื่อ ศึกษาปญ หาค าเงิ นที่แ ข็งค าขึ้นของไทย โดยเปรียบเทีย บกั บ ประเทศผูสงออกที่แขงขันกับประเทศไทยในสินคาประเภทใกลเคียงกัน เพื่อทําความเขาใจวาในความ เปนจริงแลว ประเทศไทยจะเปนประเทศที่มีปญหาคาเงินแข็งคามากเพียงประเทศเดียวเทานั้น หรือ ประเทศคูแขงทางการคาอื่นๆก็ประสบกับปญหาเดียวกัน เพื่อใหการเปรียบเทียบเปนไปอยางถูกตอง เหมาะสม จึงไดจัดทําขอมูลการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย ควบคูไปกับการรับรู ถึงอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศในกลุมอาเซียน รวมถึงประเทศในกลุม BRICs โดยในกลุมอาเซียนนั้นได เปรียบเทียบกับ 7 ประเทศ โดยยกเวนประเทศพมา กัมพูชา และลาว เนื่องจากการเปรียบเทียบการ เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนในประเทศเหลานี้ไมไดแสดงนัยยะสําคัญทางเศรษฐกิจมากนัก ในสวน การเปรียบเทียบกับประเทศในกลุม BRICs นั้น เพื่อตองการที่จะทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนในประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เร็ว และเปนคูแขงทางการคาที่สําคัญของประเทศ ไทย ซึ่งประเทศเหล เหลานี้เปนประเทศกําลังพัฒนาที่พึ่งพาการสงออกเปนสัดสวนสําคัญของเศรษฐกิ ของ จ การเปรียบเทียบอัตราแลกเปลี่ยนของไทยกับประเทศตางๆ ทั้งหมดนี้ เพื่อแสดงใหเห็นวาปญหาคาเงิน ในประเทศที่แข็งคาขื้นนั้น เหมือนหรือแตกตางกับประเทศตางๆเหลานี้อยางไร รวมทั้งทําใหทราบถึง สภาวการณของอัตราแลกเปลี่ยนในประเทศเหลานี้ในแตละชวงเวลา รวมไปถึงสามารถวิเคราะหแนวโนม ของอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศเหลานี้ในอนาคต



Table of

CONTENTS pg.

4

pg.

pg.

3 months with ASEAN & BRICs

5 6 months with ASEAN

6 1 year with ASEAN 7 3 year with ASEAN 8 5 year with ASEAN 9 10 year with ASEAN pg.

pg.

pg.

10 6 months with ASEAN 11 1 year with ASEAN 12 3 year with ASEAN 13 5 year with ASEAN 14 10 year with ASEAN pg.

pg.

pg.

pg.

pg.


3

months with ASEAN & BRICs

3 Thailand

2.52%

2.52%

2.5

0.01%

2 1.5 1 0.5

Singapore

0 Feb-2013

Mar-2013

-0.5

0.01% -0.07%Brunei Apr-13 -0.34% Vietnam

-0.57%

Indonesia

-1

4

-0.34%

ในชวงเวลา 3 เดือนนับจากเดือนกุมภาพันธ 2013 อัตราแลกเปลี่ ยนของไทยแข็งคา เปนอันดับ 1 ใน กลุมอาเซียน โดยประเทศที่อัตราแลกเปลี่ยนแข็งคา รองลงมาคือประเทศมาเลเซีย อยูที่ 1.56% ประเทศ สิงคโปรเปนประเทศที่อัตราแลกเปลี่ยนแข็งคานอย ที่สุดคือ 0.01% สวนประเทศฟลิปปนสเปนประเทศ ที่ มี อั ต ราแลกเปลี่ ย นอ อ นค า ลงมากที่ สุ ด อยู ที่ 1.20%

Philippines

2.52%

-4.14%

-1.42%

0 0.74%

3

-0.95%

2.52% %

2

Thailand

1

0.74% % China

0 Feb-2013

Mar-2013

Apr-13 -0.95 95%

-1.42%

India

Brazil

-3 -4 -5

-0.07%

-1.20%

-1.5

-2

-1.20%

-0.57%

1.56% Malaysia

-1

1.56%

-4.14% Russia

เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุม BRICs พบวา ประเทศไทย มี อั ต ราการแข็ ง ค า ขอ ง อั ต รา แลกเปลี่ยนมากที่สุดเชนกัน คืออยูที่ 2.52% โดย ประเทศจีนเปนประเทศที่มีอัตราแลกเปลี่ยนแข็ ง คารองลงมาอยู ที่0.74% ส วนประเทศอินเดี ย รัสเซียและประเทศบราซิล มีอัตราแลกเปลี่ยนออน คาลงอยูที่ 0.95% 4.14% และ 1.42% ตามลําดับ


6

months with ASEAN 5.33% -1.21%

1.56 56% -0.05%

-1.12%

-1.32% -0.23%

6

5.33% 5

Thailand

5 4

3

2

1 Malaysia 0 Nov-2012 -1

Dec-2012

Jan-2013

Feb-2013

Mar-2013

1.56% -0.05%Philippines -0.23% Vietnam Apr-13

3.42% Brunei -1.21% Singapore

-1.32% -2

Indonesia

-3

เมื่อเปรียบเทียบในชวง 6 เดือนที่ผานมา (พฤศจิกายน 2012 – เมษายน 2013) พบวา อัตราแลกเปลี่ยนของ ไทยนั้นแข็งคาขึ้นเปนอันดับ 1 ในอาเซียน โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนหางกับอันดับที่ 2 คือ ประเทศมาเลเซีย โดยประเทศมาเลเซียมีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคาอยูที่ 1.56% สวนประเทศอื่นๆ มีอัตรา แลกเปลี่ยนออนคาลงจากเดิม โดยประเทศอินโดนีเซียเปนประเทศที่มีการออนคาของอัตราแลกเปลี่ยนมาก ที่สุด อยูที่ 1.32%


1 8

6

year with ASEAN

หากนับตั้งแตเดือนเมษายน 2012 พบวาประเทศไทยยังคงเปนประเทศที่อัตราแลกเปลีย่ นแข็ง คามากที่สุด ภายในอาเซีย น โดยตัวเลขอยู ที่ 5.84% % ซึ่ง ประเทศฟ ลิปป นส อยูในอั นดั บ รองลงมา แข็งคาขึ้น 3.55 % ประเทศสิงคโปรเปนประเทศที่คาเงินแข็งคานอยที่สุดที่ 1.03% สวนประเทศอินโดนีเซียมีอัตราแลกเปลี่ยนที่ออนคาลงมากที่สุด โดยลดลง 6.27%

4

Thailand

5.84%

Philippines

3.55%

6

2

Brunei

1.04% 1.03% Singapore 0.35%

0

Malaysia

-0.76%

Vietnam -2

-4

-6

-6.27% Indonesia -8

5.84% 1.03%

0.35% % 3.55%

1..04%

-6.27% -0.76%


15

3

year with ASEAN Singapore

10.40% 10.21% Brunei

10

9.95% Thailand

7.84% Philippines

5

4.88% Malaysia

Apr-2010 May-2010 Jun-2010 Jul-2010 Aug-2010 Sep-2010 Oct-2010 Nov-2010 Dec-2010 Jan-2011 Feb-2011 Mar-2011 Apr-2011 May-2011 Jun-2011 Jul-2011 Aug-2011 Sep-2011 Oct-2011 Nov-2011 Dec-2011 Jan-2012 Feb-2012 Mar-2012 Apr-2012 May-2012 Jun-2012 Jul-2012 Aug-2012 Sep-2012 Oct-2012 Nov-2012 Dec-2012 Jan-2013 Feb-2013 Mar-2013 Apr-13

0

-5

7 -5.86% Indonesia

-10

-9.67% Vietnam

-15

9.95% 10.40%

4.88 88% 7.84%

10 10.21%

-5.86% -9.67%

นับจากเดือนเมษายน 2010 ประเทศไทยและประเทศสิงคโปรมีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนอยูในระดับสูงที่สุดของ อาเซียน โดยมีตัวเลขอยูที่ 9.95 % และ 10.40 % ตามลําดับ โดยประเทศมาเลเซียมีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยน นอยที่สุดอยูที่ 4.88 % สวนทางกับอีก 2 ประเทศคือ อินโดนีเซียและเวียดนาม ที่มีอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลง 5.86 % และ 9.67 % ตามลําดับ


5

year with ASEAN

เมื่อพิจารณาในชวงระยะเวลา 5 ปที่ผานมา พบวาประเทศที่มีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคามากที่สุดคือ ประเทศบรูไนและประเทศสิงคโปร โดยมีตัวเลขที่ใกลเคียงกันอยูที่ 9.04 % และ 9.25 % ตามลําดับ ตามมาดวยประเทศไทยที่แข็งคาขึ้นประมาณ 7.92 % สวนประเทศเวียดนามเปนประเทศที่มีอัตรา แลกเปลี่ยนออนคาลงมากที่สุด ถึง 29.16 %

7.92% 8

3.55 55% 1.42%

9.25%

-5.87% -29.16%

9.04%

15 Singapore

9.25%

10

9.04% Brunei

7.92%

5

Thailand 3.55% Malaysia

1.42%

Philippines

Apr-13

Feb-2013

Dec-2012

Oct-2012

Aug-2012

Jun-2012

Apr-2012

Feb-2012

Dec-2011

Oct-2011

Aug-2011

Apr-2011

Jun-2011

Feb-2011 2011

Dec-2010

Oct-2010

Aug-2010

Jun-2010

Apr-2010

Feb-2010

Dec-2009

Oct-2009

Jun-2009

Aug-2009

Apr-2009

Feb-2009

Oct-2008

Dec-2008

Aug-2008

Jun-2008

-5

Apr-2008

0

-5.87% -10

Indonesia

-15

-20

-25

-30

-29.16% Vietnam

-35


40

10

year with ASEAN Thailand

32.31% Singapore

30

30.33% 28.76% Brunei

22.07%

Philippines

20

19.78%

Malaysia

10

Apr-2003 Jul-2003 Oct-2003 Jan-2004 Apr-2004 Jul-2004 Oct-2004 Jan-2005 Apr-2005 Jul-2005 Oct-2005 Jan-2006 Apr-2006 Jul-2006 Oct-2006 Jan-2007 Apr-2007 Jul-2007 Oct-2007 Jan-2008 Apr-2008 Jul-2008 Oct-2008 Jan-2009 Apr-2009 Jul-2009 Oct-2009 Jan-2010 Apr-2010 Jul-2010 Oct-2010 Jan-2011 Apr-2011 Jul-2011 Oct-2011 Jan-2012 Apr-2012 Jul-2012 Oct-2012 Jan-2013 Apr-13

0

-10

-10.87% Indonesia

-20

-30

-40

เมื่อพิจารณายอนหลังไป 10 ป พบวาประเทศที่มี อัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งคามากที่สุด 3 อันดับแรก คือ ไทย สิงคโปร และบรูไน มีการแข็งคาของ อั ต ราแลกเปลี่ ย นใกล เ คี ย งกั น คื อ 32.31% 30.33 % และ 28.76 % ตามลํ า ดับ ส วน ประเทศเวียดนามอัตราแลกเปลี่ยนออนคาลงมาก ที่สุดอยูที่ 31.52 %

32.31% 30.33%

-31.52% Vietnam

19.78 78% 22.07%

28.76%

-10.87% -31.52%

9


6

months with BRICs เมื่อประเทศกับประเทศในกลุม BRICs นับจาก เดือ นพฤศจิ กายน 2012 พบวา ประเทศไทยมี อัตราแลกเปลี่ยนแข็งคามากที่ สุดอยูที่ 5.33 % สวนประเทศบราซิลแข็งคามากเปนอับดับ 2 อยูที่ 3.15% และประเทศรัสเซี ย เปนประเทศที่ มี อัตราแลกเปลี่ยนใกลเคียงกับชวง 6 เดือนที่แลว มากที่สุด โดยแข็งคาขึ้นเพียง 0.0002 %

5.33%

10

0.0002%

0.76% %

3.15%

0.84% %

6

5.33% 5

Thailand

4

3.15%

3

Brazil

2 India

0.84% 0.76%

1

China

0 Nov-2012 -1

Dec-2012

Jan-2013

Feb-2013

Mar-2013

0.0002%

Apr-13Russia


1

10

year with BRICs 5.84%

5

Thailand

1.87% China

0

-5

-5.09% India

-8.03%

-10

Brazil

-15

11

-18.85%

-20

Russia -25

-30

5.84% -18.85%

1.87% %

-8.03%

-5.09% %

เมื่อย อนกลั บไป 1 ป พบวาประเทศไทย เป น ประเทศที่มีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนมาก ที่สุด โดยตัวเลขอยูที่ 5.84 % โดยประเทศจีนอยู ในอันดับ 2 มีตัวเลขอยูที่ 1.87 % สวนประเทศ บราซิล อินเดียและรัสเซีย มีอัตราแลกเปลี่ยนที่ ออนคาลง ซึ่งตัวเลขอยูที่ระดับ 8.03 % 5.09 % และ18.85 % ตามลําดับ


3

year with BRICs

9.95%

12

-7.57%

9.37% %

-13.90%

-22.22 22%

หากเปรี ย บเที ย บตลอด 3 ป ที่ผ า นมา พบว า ประเทศไทยและประเทศจี นเป น ประเทศที่มีอัต ราแลกเปลี่ ยนแข็ งค ามาก ที่สุดอยูที่ 9.95% และ 9.37 % ในขณะ ที่อีก 3 ประเทศมีอัตราแลกเปลี่ยนที่ออน คาลง โดยประเทศอินเดียอ อนค าลงมาก ที่สุด อยูที่ 22.22 %

15 Thailand 10

9.95% 9.37% China

5

-5

Apr-2010 May-2010 Jun-2010 Jul-2010 Aug-2010 Sep-2010 Oct-2010 Nov-2010 Dec-2010 Jan-2011 Feb-2011 Mar-2011 Apr-2011 May-2011 Jun-2011 Jul-2011 Aug-2011 Sep-2011 Oct-2011 Nov-2011 2011 Dec-2011 Jan-2012 Feb-2012 Mar-2012 Apr-2012 May-2012 Jun-2012 Jul-2012 Aug-2012 Sep-2012 Oct-2012 Nov-2012 Dec-2012 Jan-2013 Feb-2013 Mar-2013 Apr-13

0

-7.57% -10

-15

Russia

-13.90% Brazil

-20

-22.22% -25

-30

India


5

20

year with BRICs 11.62%

10

China

7.92%

Thailand

Apr-13

Feb-2013

Dec-2012

Oct-2012

Aug-2012

Jun-2012

Apr-2012

Feb-2012

Dec-2011

Oct-2011

Aug-2011

Jun-2011

Apr-2011

Feb-2011

Dec-2010

Oct-2010

Aug-2010

Jun-2010

Apr-2010

Feb-2010

Dec-2009

Oct-2009

Aug-2009

Jun-2009

Apr-2009

Feb-2009

Dec-2008

Oct-2008

Aug-2008

-10

Jun-2008

Apr-2008

0

-18.66%

-20

Brazil

13 -30

-33.58% Russia

-35.92%

-40

India

-50

-60

7.92% -33.58%

11.62 62%

-18.66%

-35.92 92%

เมื่อเปรียบเทียบในชวง 5 ปที่ผานมา ประเทศ จีนเปนประเทศที่มีอัตราแลกเปลี่ยนแข็งคามาก ที่สุด โดยมีตัวเลขอยูที่ 11.62 % และประเทศ ไทยอยูในอันดับ 2 ที่ตัวเลข 7.92 % สวนอีก 3 ประเทศคื อรั สเซีย บราซิ ลและอิ นเดีย มี อัต ราแลกเปลี่ ย นที่ อ อ นค า ลง โดยประเทศ อินเดียมีการออนคาของอัตราแลกเปลี่ยนมาก ที่สุดอยูที่ 35.92 %


60

10

year with BRICs

50

35.63%

40

Brazil

32.31%

30

Thailand

25.26% China

20

10

0

-10

-0.63% Apr-2003 Jul-2003 Oct-2003 Jan-2004 Apr-2004 Jul-2004 Oct-2004 Jan-2005 Apr-2005 Jul-2005 Oct-2005 Jan-2006 Apr-2006 Jul-2006 Oct-2006 Jan-2007 Apr-2007 Jul-2007 Oct-2007 Jan-2008 Apr-2008 Jul-2008 Oct-2008 Jan-2009 Apr-2009 Jul-2009 Oct-2009 Jan-2010 Apr-2010 Jul-2010 Oct-2010 Jan-2011 Apr-2011 Jul-2011 Oct-2011 Jan-2012 Apr-2012 Jul-2012 Oct-2012 Jan-2013 Apr-13

14

Russia

-14.62% -20

India

-30

32.31% -0.63% %

25.26%

35.63% %

-14.62%

เมื่อพิจารณาตัวเลขยอนกลับไป 10 ป พบวา ประเทศบราซิลเปนประเทศที่มีการแข็งคาของอัตราแลกเปลี่ยนสูง ที่สุด โดยมีตัวเลขอยูที่ 35.63 % อันดับสองคือประเทศไทย 32.31 % และประเทศจีนเปนอันดับที่ 3 อยูที่ระดับ 25.26 % สวนประเทศอินเดียและรัสเซียมีอัตราแลกเปลี่ยนที่ออนคาลง โดยมีตัวเลขอยูที่ 134.62 % และ 0.63 % ตามลําดับ


Concluding Remarks เมื่อพิจารณาอัตราการเปลี่ย นแปลงของคาเงินบาท เปรียบเทียบกับประเทศตางๆ ทั้งในกลุ ม ประเทศอาเซียนดวยกัน และประเทศในกลุม BRICs จะพบวาในชวงระยะเวลา 3 เดือนและ 6 เดือนที่ผานมา คาเงินบาทของไทยมีการแข็งคาในอัตราที่สูงกวาประเทศที่นํามาเปรียบเทียบดวย ทั้งหมด แตเมื่อ มองย อนกลั บไปในระยะเวลาที่ยาวขึ้น กลับพบวาอั ตราการเปลี่ยนแปลงใน คาเงินบาทของไทยนั้น มีความใกลเคียงกับประเทศผูสงออกสําคัญอื่นๆ นั่นแสดงใหเห็นวา หาก ผูประกอบการไทยมีการเตรียมความพรอมที่ดี การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศ ไทยในระยะยาวที่อยู ในระดับสู งไมแตกต างกับประเทศผูสงออกรายอื่นๆ ยอมไมส งผลกระทบ รุนแรงมากนักตอผูประกอบการของไทยที่มีการเตรียมความพรอมในระยะยาว ผูประกอบการไทยจึ งควรมีการเตรียมความพรอมและสั่งสมความพร อมในระยะยาว ผา นการ ปรั บ ตั ว บนพืพื้ นฐานของการเพิ่ มประสิ ทธิ ภ าพในการผลิ ต การลดต นทุ น รวมถึ ง การสร า ง นวัตกรรมใหมๆ ใหกับสินคาสงออก ทั้งหมดนี้เพื่อเพิ่มความสามารถทางการแขงขันในระยะยาว ของผูประกอบการ มากกวาที่จะคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของคาเงินในระยะสั้น 15

นอกจากการปรับตัวภายในธุรกิจของผูประกอบการแลว การลดความเสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลง ของอัตราแลกเปลี่ยนก็เปนหนึ่งในวิธีที่ชวยลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น วิธีการลด ความเสี่ยงทั้งการเลือกใชวิธีการซื้อขายสินคาโดยใชสกุลเงินทองถิ่น (Local invoicing) รวมไปถึง การปองกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (hedging) ลวนแลวแตเปนหนึ่งใน วิธีที่ชวยลดผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน แตถึงกระนั้น แนวทางที่ดีที่สุด สําหรับผูประกอบการในอนาคต คือการพัฒนาและสรางความสามารถในการแขงขันระยะยาวใน ธุรกิจใหเกิดขึ้น ซึ่งเปนแนวทางที่ทําใหผูประกอบการเติบโตไดอยางมั่นคงและทําใหเชื่อมั่นได วา ในอนาคตผูประกอบการจะสามารถแขงขันกับคูแขงในตลาดโลกไดแมวาจะมีปญหาความไม แนนอนของอัตราแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นมาก็ตาม


AKI’s ASEAN Business Center Dr. Suthikorn Kingkaew Executive Advisor suthikorn@akiedu.org Mr. Abhisit Thamkaew Consultant abhisit@akiedu.org Ms. Varitta Komalasen Graphic Designer varitta@akiedu.org




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.