สถาบันองค์ความรู้แห่งเอเชีย (Asian Knowledge Institute) เล็งเห็นถึงความสําคัญของการรวมตัวทาง เศรษฐกิจภายในภูมิภาคอาเซียน เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันต่อเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน การจัดทําเอกสารเผยแพร่ในครั้งนี้ ซึ่งเป็นฉบับแรกและเป็นหนึ่งในโครงการจัดตั้ง ASEAN Business Center จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้อ่านจะได้รับความรู้และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ในธุรกิจของท่าน เพื่อสร้างความ ตระหนักรับรู้ถึงโอกาสและความท้าทาย เมื่อประชาคมอาเซียนรวมตัวกันอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2558 นี้
ASEAN Business Center มุ่งหวังให้ผู้ประกอบการธุรกิจหรือผู้ที่สนใจทั้งภายในและภายนอกภูมิภาคอาเซียน ได้หยั่ง เห็นถึงศักยภาพและความสามารถของภูมิภาคอาเซียน โดยทางสถาบันมุ่งมั่นที่จะเป็นศูนย์กลางข้อมูล ในการเผยแพร่ องค์ความรู้ทสี่ ําคัญและข่าวสารความเคลือ่ นไหวในภูมิภาคอาเซียนทีก่ ําลังเติบโต โดยมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ เพื่อสร้างความตระหนักและความสนใจในภูมิภาคอาเซียน เพื่อสร้างความเข้าใจถึงความสามารถและความได้เปรียบในปัจจัยต่างๆของประเทศสมาชิกอาเซียน ที่ สามารถทําให้ประเทศสมาชิกมีความได้เปรียบทางการแข่งขันภายในภูมิภาคอาเซียนด้วย เพื่อวิเคราะห์เจาะลึกถึงปัจจัยที่สง่ ผลกระทบต่อจุดแข็งและจุดอ่อนของอาเซียน เพื่อเป็นศูนย์กลางในการระดมความคิดและต่อยอดไปสู่คาํ แนะนําเชิงนโยบายสําหรับประเทศไทย และกล ยุทธ์การปรับตัวของหน่วยธุรกิจ เพื่อสร้างความพร้อมในการรับมือกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ทั้งในระดับจุลภาคและมหภาค
สถาบันองค์ความรู้แห่งเอเชีย ได้จัดทําเอกสารฉบับนี้ขึ้น โดย มุ่ ง หวั ง ที่ จ ะสร้ า งความตระหนั ก รั บ รู้ แ ละเข้ า ใจต่ อ การรวมตั ว ของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อีกทั้งเพื่อเตรียมพร้อมต่อประโยชน์และ โอกาสที่จะเกิดขึ้น ความท้าทายในการแข่งขัน และสามารถตั้งรับต่อ อุปสรรคได้ รวมไปถึงยังมุ่งชี้ให้เห็นถึงปัจจัยสนับสนุนในมุมมองนัก ลงทุนต่างชาติต่อโอกาสในการขยายตลาดสู่ภูมิภาคอาเซียน ซึ่งสะท้อน จากการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ปริมาณการค้า และการบริโภคที่มากขึ้นจากจํานวนประชากรทีเ่ พิ่มขึ้น ในปัจจุบันนักลงทุนต่างชาติมักมองว่าภูมิภาคอาเซียนโดด เด่นในต้นทุนแรงงานที่ต่ํา ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ของน้ํามัน ก๊าซธรรมชาติ และความได้เปรีย บทางภู มิศาสตร์ ส่ง ผลให้อ าเซีย น สามารถเข้าถึงตลาดเกิดใหม่ ทั้ง จีน อินเดีย ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ การรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปรียบเสมือน การเปิดโอกาสใหม่ในการลงทุน เพื่อความเข้าใจมากขึ้น อุตสาหกรรม ยานยนต์ จึงเป็นตัวอย่างหนึ่งที่นํามาวิเคราะห์เพื่อชี้ให้เห็นว่าการลงทุน จากต่างชาติ เป็นการลงทุนเพื่อโอกาส หรือเพื่อแสวงหาผลประโยชน์
3
8
ห้วงเวลากว่า 40 ปีแห่งการรวมตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปของภูมิภาคอาเซียน ซึ่งได้ถือกําเนิดขึ้นมา ท่ามกลางข้อจํากัดของสงครามในอดีต จึงทําให้พัฒนาการของความร่วมมือกันเต็มไปด้วยความ ล่าช้า อีกทั้งเป้าหมายเดิมก็เพียงเพื่อสร้างความสมานฉันท์เท่านั้น อย่างไรก็ตาม เมื่อสถานการณ์ โลกมีความพลิกผันเปลี่ยนแปลง ภูมิภาคอาเซียนจึงเริ่มพัฒนาการรวมตัวเข้าสูร่ ะดับที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ทั้งภาคความมัน่ คงทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ โดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการลดบทบาท ของประเทศตะวันตก ทําให้ภูมิภาคเอเชียเปรียบเสมือนดินแดนที่ถอื กําเนิดขึ้นใหม่อีกครั้ง ซึ่งต้อง รวมตัวกันเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในเวทีการค้าโลกแห่งศตวรรษที่ 21 การประกาศรวมตัวอย่างเป็นทางการของประชาคมอาเซียน ทําให้แต่ละประเทศต้องเร่งดําเนิน แผนงานตาม AEC Blueprint เพื่อมุ่งให้เกิดประชาคมอาเซียนในปีพ.ศ. 2558 โดยปัจจุบันประเทศ สมาชิกได้พัฒนาความรับรู้และความเข้าใจเพิ่มมากยิ่งขึ้น จนกระทั่งเล็งเห็นถึงความสําคัญที่จะต้อง วิเคราะห์วิจยั ในเชิงลึก ที่จะประยุกต์ใช้ข้อได้เปรียบในด้านทรัพยากร แรงงานมีฝีมอื และต้นทุน ค่าจ้างที่ต่ํา ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากทว่าก็ยังไม่ละเลยข้อจํากัดอืน่ ๆ ที่ต้องช่วยกันปรับปรุงแก้ไข ทั้งหมดนี้ เพื่อให้ประเทศในอาเซียนสามารถรวมตัวและดําเนินการในแต่ละด้านร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด
1967 !
1992
"# $%
เพื่อสร้างสร้างสันติภาพและ เสถียรภาพระหว่างประเทศ เพื่อนบ้านในภูมิภาค
ขจัดอุปสรรคภาษีสาํ หรับ ประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศนอกกลุ่ม
2015
เศรษฐกิจอาเซียน มุ่งสู่การเป็นตลาด ร่วมเพื่อเคลือ่ นย้ายสินค้า บริการ แรงงานฝีมอื และเงินทุนอย่างเสรี
8
& ! ! ( !
& ! !' ( !
ข้อตกลงที่ผลักดัน ประเทศในอาเซียน ร่วมกันส่งเสริมให้เกิดการค้า โดย การลดภาษีในการเคลื่อนย้ายสินค้าระหว่างกันให้เหลือศูนย์ และขจัด อุปสรรคทีไ่ ม่ใช่ภาษีด้วย
ข้อตกลงที่อนุญาติให้นกั ลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นได้มากถึง ร้อยละ 70 ในธุรกิจท่องเที่ยว เทคโนโลยีการสือ่ สาร บริการสุขภาพ และการ ขนส่งทางอากาศ
ประเทศไทยมีขอ้ ตกลงเขตการค้าเสรี กับประเทศออสเตรเลีย อินเดีย และนิวซีแลนด์ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนประกอบตั้งแต่ปี
ผู้นําตลาดในธุรกิจห้างสรรพสินค้าอย่าง เซนทรัลกรุ๊ป,ได้เข้าถือหุน้ ใน เครือเพจวันโฮลดิ้ง ของประเทศสิงคโปร์เพื่อจัดตั้งบริษัทเซนทรัลเพจวัน ตั้งเป้าตีตลาดหนังสือต่างประเทศ โดยการเข้าซือ้ หุ้นกว่า ร้อยละ
2548
50.1%
( :
'+ , -. / % 01 ! 20XX . / % 01 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะพัฒนาสูก่ ารใช้สกุลเงิน เดียวกัน ร่วมกันกําหนดอัตรา ภาษี รวมทั้งนโยบายการเงิน และการคลัง
การใช้สกุลเงินร่วมกันเป็นเป็นทางเลือกหนึ่งที่อาเซียนควรพิจารณาหรือไม่? โอกาส :ในขณะนี้ ยังไม่มสี กุลเงินกลางของอาเซียนเลย ความท้าทาย : ความแตกต่างในโครงสร้างทางเศรษฐกิจของอาเซียน จะสามารถผลักดันให้ เกิดสกุลเงินอาเซียนได้หรือไม่
20XX
"# $3 & การหลอมรวมประเทศที่หลากหลาย ให้กลายเป็นชาติเดียวกัน โดยอาศัย การจัดตั้งระบบรัฐสภาร่วม ที่นําไปสู่ การสร้างระบอบการปกครองเพียง หนึ่งเดียว
โครงสร้างทางการเมืองที่แตกต่างกันของประเทศสมาชิกใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะสามารถจัดตั้งสหภาพทางการ เมืองร่วมกันได้หรือไม่? โอกาส : การพัฒนาโครงสร้างการเมืองที่มีเสถียรภาพ ย่อม ช่วยเพิ่มอํานาจในการตรวจสอบดูแลสมาชิกได้ดียิ่งขึ้น ความท้าทาย : แต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน จะเต็มใจลด อํานาจทางการเมืองของตน เพื่อการรวมตัวกันหรือไม่
& ! ! 3 3 ( !
& ! ! 45 & ( !
นโยบายเพือ่ เปิดเสรีดา้ นการลงทุนและการเคลื่อนย้ายเงินทุนในภูมภิ าค อาเซียน
ข้อตกลงยอมรับร่วมของคุณสมบัตนิ าชีพนําร่อง ได้แก่ แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี และนักสํารวจ ที่สามารถ เคลื่อนย้ายไปทํางานใน 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างเสรี
ในอนาคตนักลงทุนจากทั่วทุกมุมโลก สามารถซือ้ ขายหลักทรัพย์โดยผ่าน ศูนย์กลางตลาดหลักทรัพย์อาเซียน (ASEAN exchange)
7
ตลาดทุนในกลุ่มประเทศอาเซียน ได้แก่ มาเลเซีย ไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ฮานอยและโฮจิมินส์
40
ในอนาคต นายแพทย์ 100 คนของประเทศไทย อาจจะมี ถึง คน ซึ่งเป็นแพทย์จากมาเลเซีย ลาว และพม่า
3 3 !: ! " #$ % &%' $ ( $ )* " # +# + ,( - , &% * ' ( (# . # .
9
GDP
/0 GDP + ! " ( ,-(
6% 4 2012
Source: International Macroeconomic Data Set
6 #+789 # !: . 3% ! ( ! ! + ; < 8 #$ & 0 8 * , , , ( ' + GDP 42008
+ . ! GDP
10
ท่ามกลางเศรษฐกิจขาลงของสหรัฐและยุโรป ภูมิภาคอาเซียนกําลังเติบโตจากผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่มากขึ้น โดยเฉพาะจีนและอินเดีย มี GDP เพิ่มขึ้นในสัดส่วนสูงที่สุด แต่ขณะเดียวกันนั้นแม้มีจํานวนประชากรมาก มีต้นทุนในการผลิตต่ํา นัก ลงทุนก็ยังคงมองหาแหล่งการลงทุนที่มีความคุ้มค่ามากกว่า ตลาดอาเซียน คือ ทางเลือกหนึ่งซึ่งถือได้ว่าเป็น ตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุดของนักลงทุนด้วยโอกาสของกลุ่มตลาดเป้าหมาย ผู้บริโภค ทรัพยากร วัตถุดิบและอื่นๆ ซึ่งช่วยเพิ่มความน่าสนใจในการขยายการลงทุนเพิ่มเติม อีกทั้งการเพิ่มขึ้นของการบริโภค ภายในประเทศ การบริโภคภาคเอกชน การค้าทั้งภายนอกและภายในอาเซียนก็เป็นปัจจัยหลักที่นักลงทุนกําลังพิจารณา นอกจากนี้การ กระตุ้นการใช้จ่ายภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียนและการขจัดภาวะเงินเฟ้อ ยังเป็นสัญญานหนึ่งที่สามารถดึงดูดการลงทุนจาก ต่างประเทศอีกด้วย
. ! . - + &
" " ! . /
Source: ASEAN Finance and Macroeconomic Surveillance Database and IMF World Economic Outlook Database
=>
' (# # /
การค้าของอาเซียนมีระดับการเติบโตเรื่อยมาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยปริมาณการค้ากับกลุ่มประเทศนอกอาเซียนมี ปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการค้าภายในอาเซียนก็ขยายตัวเช่นกันจากนโยบายของแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นโยบายการค้าที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการรวมตัวของแต่ละภาคธุกิจมากขึ้น ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกส์และผลิตภัณฑ์ในหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งส่งผลดีแบบทวีคูณ ให้กับภาคอุตสาหกรรมและการค้าภายในอาเซียนมีการเชื่อมโยงที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ทําให้บริษัทข้ามชาติสามารถขยายระบบปฎิบัติการ กระบวนการการผลิตภายในอาเซียนได้ ยิ่งกว่านั้น ยังเป็นการเพิ่มโอกาสให้นักลงทุนทั้งหลาย ไม่เพียงแค่ขยายตลาดในการจําหน่ายสินค้าและบริการไปสู่ดินแดน และประชากรของอาเซียนที่กว้างใหญ่ แต่ยังสามารถระบุพฤติกรรมของผู้บริโภคในอาเซียนทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึกได้อีกด้วย ทั้งนี้ อิสรภาพทางการค้าที่ดีพร้อมเช่นนี้ ย่อมเกิดขึ้นได้เมื่อ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนรวมตัวกันสําเร็จในปี 2558
! - : . 3% 8 #$ : 0 8 *;
การค้าภายนอกอาเซียน
11
การค้าภายในอาเซียน Source: ASEAN Finance and Macroeconomic Surveillance Database and IMF World Economic Outlook Database
การแข่งขันของอาเซียน ในเวทีโลก ประเทศสมาชิกอาเซียนจําเป็นต้องสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมหลักและ ร่วมมือระหว่างกันเพื่ผลักดันให้อาเซียน เป็นแหล่งขุมทรัพย์ในการลงทุนแก่นักลงทุนต่างชาติ
( 3 ( ! #- # ! Source: ASEAN Trade Database
การค้าโดยรวม 1,710 การค้าภายนอกอาเซียน 1,252
การค้าภายในอาเซียน 458
หน่วย: พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
. / !
613
ยุโรป 0.8 เท่าของ อาเซียน
12
จีน 2.2 เท่าของ อาเซียน
อินเดีย 1.9 เท่าของ อาเซียน
สหรัฐ 0.5 เท่าของ อาเซียน
อาเซียน 613 ล้านคน
จํานวนประชากรอาเซียนรวมกัน มากกว่าใน สหรัฐ และยุโรป โอกาสในการขยายตลาดจากจํานวนประชากรของอาเซียน ในปี 2558 ย่อมเป็นที่ดึงดูดใจของนัก ลงทุนต่างชาติ ซึ่งจะยิ่งส่งผลเชิงบวกให้การบริโภคสูงขึ้นทั้งปริมาณและคุณภาพ ที่สาํ คัญยังทําให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นชุมชนเมืองและการมีทรัพยากรแรงงานเพิม่ มากขึ้นอีกด้วย
( 3 3 $ ;< . / !, . ในอดีตประเทศอาเซียนส่วนใหญ่ถูกจําแนกจากระดับรายได้ ให้เป็นประเทศที่มีรายได้ต่ํา ซึ่งหมายถึงอํานาจการซื้อที่ต่ํา ต้อยอีกด้วย ปัจจุบันนี้ สถานการณ์กําลังจะเปลี่ยนไป เพราะ การเติบโตของประชากรที่มีรายได้ปานกลางได้เพิ่มสูงขึ้น มาก ซึ่งคนกลุ่มนี้ย่อมมีอิสรภาพทางการเงินและเสรีภาพ การใช้จ่ายในชีวิตประจําวันที่มากกว่าประชากรรายได้ต่ําซึ่ง หาเช้ า กิ น ค่ํ า ดั ง นั้ น จึ ง เป็ น ปั จ จั ย ส่ ง เสริ ม ให้ ค นชั้ น กลาง สามารถลงทุนเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาได้มากกว่า ซึ่งเท่ากับเป็นการยกระดับแรงงานทักษะสูงทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพให้กับเศรษฐกิจอาเซียนอีกด้วย
13
นอกจากนี้เมื่อบุคคลที่มีระดับการศึกษาที่สูงกว่า กลับเข้าสู่ การทํางานในบ้านเกิดของตน ก็จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต และมาตรฐานความเป็นอยู่ของท้องถิ่นไปโดยปริยาย คน กลุ่ ม นี้ จึ ง เป็ น กุ ญ แจสํ า คั ญ ของการพั ฒ นาชนบทให้ เปลี่ยนแปลงสู่การเป็นสังคมเมืองในที่สุด Source: World Bank
' (# # !: ! & . !' 3 !' +' " +1 . / ! ( .
Source: World Bank, IMF,IHS Global Insights
( 3 3
14
Source: McKinsey Global
( 3 $+@ ,. - + & . 3%
/ ! + $ ;< : .5 2020
ประชากร (ล้านคน)
Source: UN-ESA Population Division
$+@ - / / & ภูมิภาคอาเซียน มีการพัฒนาที่ก้าวหน้ามากขึ้น ด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น รูปแบบในการพัฒนาสังคม การเข้าถึงเทคโนโลยี ระบบ การศึกษาที่พัฒนาขึ้น โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการดําเนิน ธุรกิจ และสิทธิประโยชน์ที่เอื้อต่อการลงทุนจากต่างประเทศ จากการคาดการณ์อัตราการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมเมือง พบว่า ประเทศอินโดนีเซียจะมีอัตราการขยายตัวของชุมชนเมืองสูง เป็นผลจากจํานวนประชากรหนาแน่นในจาการ์ตา โดยกลุ่ ม ครอบครัวทีมีรายได้ปานกลางและกลุ่มครอบครัวที่มีรายได้สูง มักเคลื่อนย้ายจากเมืองไปสู่พื้นที่รอบนอก ทําให้ชุมชนเมือ ง ขยายตัวมากขึ้น
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ก็เปรียบเสมือนการรวมตัวของหมู่เกาะในประเทศ อินโดนีเซีย ซึ่งจะช่วยพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันของแต่ละประเทศสมาชิก เพื่อเพิ่มโอกาสทางการค้าและเตรียมพร้อมเข้าสู่การแข่งขันในเวทีเศรษฐกิจโลก ต่อไป โดยเฉพาะการเชื่อมโยงภูมิภาคผ่านโครงสร้างพื้นฐานที่ได้มาตรฐานและมี คุณภาพร่วมกัน ทั้งการขนส่ง การกระจายสินค้าและห่วงโซ่อุปทาน การเปลี่ยนแปลงสู่สังคมเมือง ย่อมสร้างโอกาสให้นักลงทุนที่ต้องการแสวงหาศักยภาพในตลาดใหม่ และสร้าง ทางเลือกของสินค้าและบริการให้ผู้บริโภคได้มากขึ้น นอกจากนี้ความท้าทายและการแข่งขันระหว่างนักลงทุนเก่า และนักลงทุ นใหม่เ พื่อที่ จะแย่ง ชิง ตลาด จะก่ อให้ เกิ ดนวั ตกรรม ความคิดสร้า งสรรค์ ที่จ ะพั ฒนาคุณ ภาพของ ผลิตภัณฑ์ เพื่อดึงดูดลูกค้าได้มากขึ้น หากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน ทางรถไฟ และท่าอากาศยาน สามารถสนับสนุนแผนการพัฒนาชนบท และเชื่อมภูมิภาคอาเซียนเข้าด้วยกัน การเชื่อมโยงภายในอาเซียนก็จะเอื้อประโยชน์ต่อนักลงทุนในการขนส่งสินค้า และบริการมากขึ้นด้วย
15
Source: McKinsey Global
%+ !# $ : !
16
!
=
8 # < ! ' = 8 - ( # ' $# ในขณะที่ จี น และอิ น เดี ย ยั ง คงเป็ น แหล่ ง ที่ ม าหลั ก ของแรงงานโลก แต่ ปัจ จุ บั น นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ เริ่ ม มองเรื่ อ ง ย้ า ยฐานการผลิ ต ไปยั ง ประเทศอื่ น ใน อาเซี ย นมากขึ้ น ตั ว อย่ า งเช่ น บริ ษั ท Tsingtao Brewery ม อ ง ว่ า ต ล า ด อาเซียนกําลังเติบโต เพื่อเปิดรับโอกาสใน การลงทุน และค่าแรงที่ถูกลง
+ $ ;< A # ! +3 4 2010-2020
! - ( ,-(
15%
.
17 Source: ILO, Economically Active Population Estimates and Projections Database
กัมพูชา เวียดนาม อินโดนีเซีย จีนและ ไทย ถูก จัดเป็น อันดับต้ นๆของเอเชีย ให้อยู่ใ น กลุ่มประเทศที่มีค่าจ้างแรงงานต่ําสุด อย่ า งไรก็ ต ามค่ า จ้ า งแรงงานในจี น ที่ สูงขึ้น ทําให้นักลงทุนต้องพิจารณาถึงความคุ้ม ทุนและประสิทธิภาพต่อหน่วยของต้นทุนแรงงาน ที่อาจเปลี่ย นแปลงไปในอนาคต และส่ง ผลต่ อ การตัดสินใจย้ายฐานการผลิตในอนาคตได้ การเคลื่ อ นย้ า ยเสรี ใ นสิ น ค้ า บริ ก าร และแรงงานมี ฝี มื อ จากการรวมตั ว กั น ของ ประชาคมอาเซี ย น จะช่ ว ยดึ ง ดู ด ให้ อ าเซี ย น พัฒนาเป็นตลาดที่มีศักยภาพมากขึ้นในอนาคต
Source: International Macroeconomic Data Set
บริษัทข้ามชาติส่วนใหญ่ให้ความสนใจในภูมิภาคอาเซียน จากจุดเด่นในด้านแรงงานโดยเฉพาะค่าแรงงานที่ถูกกว่าและมี ฝีมือ เมื่อเกิดการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2015 (พ.ศ. 2558) การเคลื่อนย้ายของแรงงานไปสู่ประเทศที่ผลตอบแทนสูงกว่า ทําให้เกิดการแข่งขันและผลักดันให้แรงงานต้องพัฒนาฝีมือและประสิทธิภาพในการทํางานเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ภาคธุรกิจ สามารถมองหา แรงงานที่มีประสิทธิภาพมากกว่า ไปพร้อมๆกับต้นทุนของค่าจ้างที่คุ้มค่ามากขึ้น จากการวิจัยชี้ให้เห็นว่าปัจจุบันแรงงานจีนมีประสิทธิภาพในการทํางานเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการลงทุนของนักลงทุน ต่างประเทศที่เข้ามาในประเทศจีน ทําให้เกิดการเรียนรู้กระบวนการและทักษะในการทํางานจากต่างประเทศ จนกระทั่งเกิดการพัฒนา ประสิทธิภาพของแรงงานจีน และจากสถิติในปี 2009 จีนมีอัตราการเติบโตของประสิทธิภาพแรงงานอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ของ อาเซียนกลับลดลง สิงคโปร์มีอัตราการเคลื่อนย้ายของแรงงานต่างชาติเข้าสู่ประเทศมากที่สุด เนื่องจากปัจจัยของค่าจ้าง สวัสดิการ และ สิ่งแวดล้อม ส่งผลให้สิงคโปร์มีประสิทธิภาพของแรงงานสูงสุดในกลุ่มประเทศอาเซียน ในขณะที่แรงงานในประเทศไทย อินโดนีเซีย ลาว พม่า ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม มีแนวโน้มเคลื่อนย้ายไปสู่ประเทศที่ให้ผลตอบแทนมากกว่า ดังนั้นจึงจําเป็นอย่างยิ่งที่ประชากร อาเซียน จะต้องพัฒนาและเรียนรู้ให้เกิดทักษะและประสิทธิภาพมากขึ้น
. 3B # $ : ! ! 4 2000-2009
18
Source: The Conference Board and Groningen Growth and Development Centre Total Economy Database
. 3B # $ : . 3% / ! 4 2008
Source: The Conference Board and Groningen Growth and Development Centre Total Economy Database
ในอีก 5 ปีข้างหน้า นักลงทุนควรมองหาแรงงานใน ประเทศใด เพื่อตอบโจทย์ตามคุณสมบัติทตี่ ้องการ ? อัตราการ ขยายตัวของ แรงงาน
ต้นทุนแรงงาน ต่ํา
ประสิทธิภาพ ของต้นทุนใน ระยะยาว
ศักยภาพของ แรงงานสูง
แรงงานฝีมือ
อัตราการ ขยายตัวของ แรงงาน
ลาว
กัมพูชา
อินเดีย
ฟิลิปปินส์
กัมพูชา
ต้นทุนแรงงาน ต่ํา
กัมพูชา
กัมพูชา
จีน
จีน
กัมพูชา
ประสิทธิภาพ ของต้นทุนใน ระยะยาว
ฟิลิปปินส์
อินโดนีเซีย
มาเลเซีย
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
ศักยภาพของ แรงงานสูง
มาเลเซีย
จีน
มาเลเซีย
จีน
ไทย
แรงงานฝีมือ
กัมพูชา
กัมพูชา
อินโดนีเซีย
ไทย
ไทย Source: AKI
การรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน จะทําให้นักลงทุนต่างชาติมีโอกาสในการมองหาแรงงานที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าในด้าน ต้นทุนค่าแรง และฝีมือของแรงงาน ตัวอย่างเช่นธุรกิจอัญมณี ที่จําเป็นต้องใช้แรงงานที่มีฝีมือ สามารถมองหาแรงงานมีฝีมือใน ประเทศไทย ในขณะที่อุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ สามารถหาแรงงานที่มีค่าแรงต่ําในประเทศกัมพูชา
19
20
!
Source: World Fact Book
8 # + &
การค้าเสรีที่มาพร้อมกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 จะเปิดโอกาสให้กับนักลงทุนต่างชาติ เข้าถึงแหล่ง ทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ของภูมิภาคอาเซียน ซึ่ง 8 ใน 10 ประเทศของอาเซียนเต็มไปด้วยน้ํามันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะใน ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไน จัดอยู่ใน 6 อันดับแรกของผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติของโลก นอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ และ อินโดนีเซีย ตั้งอยู่ในวงแหวนแห่งไฟ ถือเป็นแหล่งทองคํา ทองแดงและถ่านหิน โดยประเทศอินโดนีเซียยังเป็นประเทศที่มีสัดส่วนการ สํารองทองคํามากที่สุดในโลก นอกจากนี้ภูมิภาคอาเซียน ยังเป็นแหล่งสินค้าเกษตรที่หลากหลายและส่งออกไปทั่วโลก ผู้เชี่ยวชาญยังระบุอีกว่า ความอุดม สมบู รณ์ข องอาเซียนโดยเฉพาะในมาเลเซีย อินโดนี เซีย และไทย สามารถปลู กปาล์มได้ดี เนื่อ งจากตั้ งอยู่ ใกล้เส้ นศูน ย์สู ตรและมี สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
: .C 3 +$! B / ! + $ ! ! 1 (
" & + . 79 : • อุปกรณ์สอื่ สารและสํานักงาน • อุปกรณ์ในการขนส่ง • อุปกรณ์อนื่ ๆ ถึงแม้ว่า อาเซียนจะมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และดึงดูดนักลงทุนทั้งในด้านวัตถุดิบ แรงงาน และต้นทุนอื่นๆ โดยเฉพาะ ความต้องการเป็นศูนย์กลางการผลิตของโลก อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมการผลิตทั้งยานยนต์และชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ ไม่ เพียงพอในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกลุ่มประเทศอาเซียน การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุตสาหกรรมจําเป็นต้องให้ความสนใจในด้าน การวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมการทําการตลาด หรือการกระจายสินค้าไปยังปลายน้ํา การสร้างมูลค่าเพิ่มยังเป็นการถ่ายโอนความรู้ จากนักธุรกิจและนักลงทุนต่างชาติสู่ประเทศซึ่งเป็นฐานการผลิตด้วย สิงคโปร์เป็นประเทศศูนย์กลางการค้าและมีการพัฒนา เศรษฐกิจก้าวหน้ากว่าประเทศอื่นๆในอาเซียน ในขณะที่ประเทศสมาชิกอื่นๆ ยังคงเป็นเพียงฐานการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์ ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งในห่วงโซ่อุปทาน
21
5 + +' !
มูลค่าทางตลาด
ผลิตภัณฑ์อาหารสดและเนื้อสัตว์
อุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ
วัสถุดิบ เชื้อเพลิงและน้ํามันหล่อลื่น
เครื่องจักร และอุปกรณ์
อุปกรณ์ในอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ์
การขยายตัวของตลาด Source: AKI
360° 360° !
, . !'3 #- % 9
! สถานที่ตั้งในจุดยุทธศาสตร์ของอาเซียน ทํา ให้ มี ค วามได้ เ ปรี ย บทางการแข่ ง ขั น ในการค้ า ที่ ไ ร้ พรมแดนมากขึ้น โดยเฉพาะการขยายขอบเขตการค้าสู่ ประเทศที่กําลังเติบโต ไม่ว่าจะเป็น จีน อินเดีย เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ เป็นต้น
22
การค้า 360° จะทําให้อาเซียนได้เปรียบใน การแข่ ง ขั น และส่ง เสริ ม การขนส่ ง โดยเฉพาะการ ขนส่งทางน้ํา ซึ่งขนส่งผ่านอาเซียนกว่าร้อยละ 60ของ การขนส่งทางน้ําของโลก
# !: #- # ! ความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคอาเซียน ส่งเสริมให้เกิดการขนส่งสินค้าผ่านเส้นทางนี้อย่างมาก การพัฒนาระบบขนส่ง จึงเป็นประเด็นสําคัญที่จะช่วยให้ภูมิภาคอาเซียนมีความได้เปรียบมากขึ้น โดยเฉพาะสาขาโลจิสติกส์เป็นหนึ่งในสาขาที่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนให้ความสําคัญเป็นลําดับแรก ซึ่งประกอบด้วยการเปิดเสรีบริการด้านโลจิสติกส์ การใช้ประโยชน์เส้นทางการค้ าใหม่ที่เชื่อมโยงกันภายในอาเซียนและระหว่างอาเซียนกับตลาดต่างประเทศ หากการรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สมบูรณ์ จะดึงดูดการขนส่งของโลกผ่านภูมิภาคอาเซียนมากขึ้น จึงจําเป็นที่จะต้องเร่งพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานในการขนส่ง ให้พร้อมรับมือกับโอกาสที่จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งระบบขนส่งทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ
“. / % 01 ! 6 $& ! $ +' & +'( 3 ;< ”
( $+@ & 3 % 01 : #- #
<A ( (Greater Mekong Sub Region: GMS) โครงการ GMS เป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ คือ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (ยูนนาน และกวางสี) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการจ้างงานและพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น โดยโครงการดังกล่าว ประกอบด้วยเส้นทางหลัก 3 โครงการ ได้แก่ 1. แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (NorthSouth Economic Corridor) เพือ่ เชื่อมจีน ไทย ลาว มาเลเซียและสิงคโปร์ 2. แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) เพื่อเชื่อมพม่า ไทย ลาวและเวียดนาม 3. แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor) เพื่อเชื่อม เวียดนาม กัมพูชา ไทย มาเลเซีย และสิงคโปร์
23
3 <A 3+ ( 6 #- # !
! 60 การพัฒนาระบบขนส่งทางน้ํา จึงเป็นประเด็นหนึ่งที่ต้องเร่งพัฒนาเพื่อ สร้างให้ อาเซียนเป็นศูนย์กลางการขนส่งของโลก (Logistics Hub)
. 3%,3! เป็นศูนย์กลางการบินและขนส่งทางอากาศ ซึ่งเป็นหนึ่งใน ภาคธุรกิจนําร่องในข้อตกลงการเปิดเสรีดา้ นบริการใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
6 . (!/ 9 / 3 Y" ! + # 0 ( ! B vs. ! !: . 'B (Ease of Doing Business)
24 Source: World Bank
จากผลการวิจัยนานาชาติ ส่วนหนึ่งของประเทศสมาชิกอาเซียนถูกจัดอันดับในกลุ่มประเทศที่เอือ้ ต่อการดําเนินธุรกิจมากที่สุด โดยกลุ่ม ประเทศเหล่านั้น สามารถดึงดูดนักลงทุนในแง่ของกฏหมายและกฎเกณฑ์ หรือประเด็นข้อบังคับอืน่ ๆที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสิ่งแวดล้อม ทําให้ภูมิภาคอาเซียนเป็นแหล่งลงทุนที่น่าดึงดูดใจมากขึ้น
.Z +!3 &< A B # 0 % 3 A กรมสรรพากรของประเทศไทย วางแผนที่จะ ลดอัตราภาษีของนิติบุคคลให้เท่ากับสิงคโปร์ เพื่ อ เพิ่ ม จุ ด แข็ ง และข้ อ ได้ เ ปรี ย บในการ แข่งขันกับประเทศอื่นๆ
Y ' !' '+ +'3 6 .
- : : ; - 3 /
รัฐบาลของอังกฤษ ได้ออกข้อตกลงเกี่ยวกับ การควบคุ ม และจํ า กั ด การปล่ อ ยก๊ า ซคอร์ บอนไดร์ออกไซด์ ซึ่งส่งผลต่อปรากฏการณ์ เรื อ นกระจก ทํ า ให้ นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ จํา เป็ น ต้ อ งเพิ่ ม งบประมาณการลงทุ น เพื่ อ พัฒ นากระบวนการผลิ ตให้ มีป ระสิท ธิภ าพ มากขึ้น
อาเซียนได้ออกกฎหมายเพื่อดึงดูดการลงทุน ต่างชาติ โดยการลดอัตราภาษีในกรณีจัดตั้ง ฐานการผลิตในประเทศนั้นๆ รวมถึงการเว้น ภาษีกรณีลงทุนในที่ดิน และเพิ่มสัดส่วนการ ถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติมากขึ้น
25
- 8 % $ 8 Q - 0 :
" ! ! 9:
!
Source: The Nation
26
อุตสาหกรรมยานยนต์ในไทยได้กลายเป็นอุตสาหกรรมรายใหญ่และ ก้าวหน้าที่สุดในอาเซียน ซึ่งไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตของบริษัท ยานยนต์หลักๆอย่างเช่น โตโยต้า , ฮอนด้า , มิตซูบิชิ ,อีซูซุ , บีเอ็ม ดั บ เบิ้ ล ยู ,เมอร์ ซิ เ ดส เบนซ์ ,ฟอร์ ด และ มาสด้ า ด้ ว ยจํ า นวน ประชากรอาเซียนที่มากกว่า 610 ล้านคน และผลผลิตกว่าหนึ่ง ล้านสามแสนคันในปี ค.ศ. 2003 จึงเป็นข้อพิสูจน์ได้ว่า ตลาด อุต สาหกรรมยานยนต์ที่ ผสมสานในอาเซี ยนนี้ จะนํ าประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนสู่การเป็นตลาดยานยนต์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 5 ของโลก
ข้อตกลงทางการค้ากับ อินเดีย ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์
บริษัทประกอบ รถจักรยานยนต์ มีกําลัง การผลิตรวมปี ละ 2,804,000 คันต่อปี
ลดข้อจํากัดในการนําเข้า ยานพาหนะ และชิ้นส่วน ยานยนต์
การบริโภคภายในประเทศ มีอัตราการเติบโตกว่า 12.36%
(
โอกาสสู่การเป็นฐานการ ผลิตยานยนต์และประตูสู่ อินโดจีน
แรงงานกว่า 34.1 ล้าน คน มีอายุต่ํากว่า 30 ปี โดยในแต่ละปี จะเพิ่มขึ้น ~800,000 คน ซึ่งร้อยละ 90 เป็นกลุ่มรู้หนังสือ
" . (!/ 9
• ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และถ่ายโอนทักษะ • ขยายตลาดมากขึ้น • ตลาดที่เปิดกว้างมากขึ้น และเป็นที่รู้จักในระดับ สากล
:
เข้าถึงการขนส่งทั้งทาง บก ทางทะเล และทาง อากาศ
อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย เป็นตลาดใหญ่ที่สุดใน อาเซียน อีกทั้งยังเป็นแหล่ง ซื้อขายและประกอบรถ กระบะ อันดับ2ของโลก รอง จากอเมริกา
• • • •
ประโยชน์จากการลดภาษี ความได้เปรียบจากต้นทุนแรงงานที่ลดลง ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการใช้ทรัพยากร ทําลายระบบนิเวศและสภาพแวดล้อมของอาเซียน
! < : ," ?
# . !6 " ! ! 9 อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย เป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึง จุดเด่นที่สามารถดึงดูดนักลงทุนต่ างชาติ โดยประเทศไทยถือเป็ น ศูนย์กลางอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์และส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์สู่ตลาดโลก ในขณะเดียวกันก็เป็นการเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ทักษะ และการถ่ายโอนความรู้สู่คนในท้องถิ่น แต่ยังคงมีคําถามว่า ในขณะที่ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตชิ้นส่วนและส่งออกไปประกอบในตรา สินค้าต่างชาติ เหตุใดประเทศไทยจึงไม่เคยพัฒนาหรือผลิตยานยนต์ในตราสินค้าของไทยเอง หรือเพราะแรงงานไทยขาดทักษะการเรียนรู้ จากต่างชาติ ในขณะที่มาเลเซียพัฒนารถโปรตอน(Proton) อินเดียพัฒนารถทาทา(Tata) เป็นต้น แล้วเมื่อไหร่ประเทศจะสามารถพัฒนา รถยนต์ด้วยตนเอง พร้อมๆกับการมีประสิทธิภาพสูง มีฝีมือ และมีต้นทุนแรงงานที่ถูกกว่า
27
'3 3
. / !
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สร้างความตื่นตัวให้กับทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียน จึงจําเป็นต้องเตรียมรับมือต่อโอกาส และอุปสรรคที่จะเกิดขึ้น ปัจจุบันนักลงทุนต่างชาติให้ความสนใจในการลงทุนในภูมิภาคอาเซียนมากขึ้น ซึ่งจะนํามาทั้ง โอกาสและการแสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ เช่น ช่องโหว่ของข้อกําหนดกฎหมาย ซึ่งเกิดขึ้นในหลายๆประเทศในปัจจุบัน
28
“ถึงแม้ว่ากระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม จะประสบความสําเร็จมากในหลายประเทศ แต่ ยังคงไม่ประสบความสําเร็จเท่าที่ควรในประเทศไทย ข้อจํากัดของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็นบทบัญญัติที่กําหนดเส้นตายในกระบวนการพิจารณา นอกจากนี้ยังขาดบทลงโทษต่อบุคคลที่มี อํานาจและไม่ปฎิบัติตามกฎเกณฑ์อีกด้วย ” - NUS, Thai Environment Law, pg, 8 -
ในขณะที่นักลงทุนต่างชาติจ้างแรงงานและใช้ทรัพยากรธรรมชาติในอาเซียน ได้มีการแบ่งปันความรู้ ทักษะและ ความชํานาญ ดังนั้น เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเศรษฐกิจโลก ประเทศในภูมิภาคอาเซียนจึงต้องมุ่งเน้นที่จะ เรียนรู้ทักษะและความรู้เหล่านี้ เพื่อต่อยอดในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกับผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะนําไปสู่การวิจัยและการพัฒนา ให้เกิดนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ในอนาคต ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันในระดับเศรษฐกิจโลก โดยอาศัยความร่วมมือ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคการศึกษา การผนึกกําลังของประเทศสมาชิกอาเซียนโดยสมบูรณ์จะสร้างมูลค่าให้กับ ประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ภูมิภาคอาเซียนควรให้ความสําคัญมากขึ้นในการวิจัยและพัฒนาเพือ่ สร้างมูลค่าเพิ่มทาง เศรษฐกิจ มากกว่าการเน้นการเป็นเพียงศูนย์กลางการผลิตของโลกเท่านั้น
AKI’s ASEAN Business Center ดร.ภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ poomporn@gmail.com ดร.การดี เลียวไพโรจน์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ karndee@gmail.com วิสสุตา แจ้งประจักษ์ นักวิจัย สถาบันองค์ความรูแ้ ห่งเอเชีย wisuta@akiedu.org ตวงภัทร์ วิสุทธิธรรม นักวิจัย สถาบันองค์ความรูแ้ ห่งเอเชีย tuangpat@akiedu.org วริษฐา โกมลเสน ผู้ออกแบบกราฟฟิค varitta@akiedu.org เจริญชัย ไชยไพบูลย์วงศ์ นักวิจัยอาวุโส Siam Intelligence Unit charoenchai.cha@gmail.com , www.siamintelligence.com ชัยพร เซียนพานิช นักวิจัยอาวุโส Siam Intelligence Unit chaismart@gmail.com , www.siamintelligence.com
, 0 $ 8#
+ W X (c) 2012 ASEAN Business Center - , 0 $ 8# $ + W X
399 ( 0 0 34
( 8 % +($ S , & 10110, . - : 66 2 611 2888 U 0: 66 2 611 2777