THESIS 2020 ARCH RMUTT - CANCER SPECIALIST HOSPITAL

Page 1

โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง

นายอธิปภัคคิ์ ตรีธีรโรจน์

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปีการศึกษา 2563


โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง

นายอธิปภัคคิ์ ตรีธีรโรจน์

วิทยานิพนธ์นเี้ ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปีการศึกษา 2563


Cancer Specialist Hospital

Mr. Athipphak Triteerarode

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Bachelor of Architecture Program in Architecture Faculty of Architecture Rajamangala University of Technology Thanyaburi Academic Year 2020


คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อนุมัติให้วิทยานิพนธ์เรื่อง “โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง” เสนอโดยนายอธิปภัคคิ์ ตรีธีรโรจน์ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม

...................................................................... (อาจารย์ณัฏฐกฤษฏ์ ศุภกรพินธคุปต์) คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที…่ ……เดือน………………พ.ศ. ………… อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ขจร สีทาแก คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์

………………………………………………ประธาน กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์นพศักดิ์ ฤทธิ์ด)ี

………………………………………………กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิติศักดิ์ วิทยาโกมลเลิศ)

………………………………………………กรรมการ (อาจารย์สุฑาลักษณ์ ตันติวงศ์)

………………………………………………กรรมการ (อาจารย์ประสพโชค หอปรีชากิจ)

………………………………………………กรรมการ (อาจารย์วิกันดา สีคง)

………………………………………………กรรมการ (อาจารย์ขจร สีทาแก)

………………………………………………กรรมการ (นายเอกลักษณ์ ศิริจริยวัตร) ค


115911001104-9: สาขาวิชาสถาปัตยกรรม นายอธิปภัคคิ์ ตรีธีรโรจน์: โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง คาสาคัญ: โรงพยาบาล, มะเร็ง, โรงพยาบาลเฉพาะทาง, บาบัด, ฟื้นฟู, รักษา อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : อาจารย์ขจร สีทาแก ปีการศึกษา: 2563

บทคัดย่อ จากสถิติอัตราการเสียชีวิตของทั้งชาวไทยและทั่วโลก ผลสถิตพิ บว่าโรคที่ทาให้เกิดการเสียชีวิตมาก ที่สุดอันดับ 1 คือโรคมะเร็ง และจะยิ่งสูงขึ้นเรื่อยๆ และการรักษามะเร็งในไทยพบว่ามีการรักษาที่ล่าช้ากว่า เกณฑ์ที่กาหนด (กระทรวงสาธารณสุข, 2563) รพ.เฉพาะทางมะเร็งจึงเป็นโครงการที่รวบรวมการรักษา ส่งเสริมฟื้นฟู ให้แก่ผู้ป่วยมะเร็งในทุกๆแบบ ในสภาพแวดล้อมที่ดแี ละสามารถแบ่งบาภาระจาก รพ.รัฐ โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งมีวัตถุประสงค์หลักของการศึกษาคือศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบพื้นที่ และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการรักษาและพักฟื้นสาหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง ศึกษาเกี่ยวกับการดาเนินงานและ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของ รพ.เอกชน เฉพาะทาง ศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการเลือกใช้งานระบบต่างๆ โดย มีกระบวนการในการศึกษาคือ 1.เริ่มต้นการศึกษาด้วยการตั้งคาถามว่า โรคอะไรที่ทาให้เกิดสาเหตุการตาย มากที่สุด 2.ทาการเก็บข้อมูล 3.วิเคราะห์ข้อมูล 4.ค้นหาทีต่ ั้งโครงการในระดับเขตสุขภาพและจังหวัด ตามลาดับ จนได้ที่ตั้งโครงการอยู่ที่ จ.ระยอง (เขตสุขภาพที่ 6) 5.ทาการสังเคราะห์แนวคิดในการออกแบบ 6.ทาทางเลือกในการออกแบบ 7.ทาแบบร่าง 8.ทาแบบสถาปัตย์ 9.นาเสนอผลงาน 10.อภิปรายและสรุปผล จากการศึกษาพบว่าผู้ทาการศึกษามีความรูแ้ ละเข้าใจแนวทางในการออกแบบพื้นที่สาหรับรักษา ผู้ป่วยโรคมะเร็ง เข้าใจแนวทางการออกแบบพื้นที่ที่มีองค์ประกอบทางกายภาพ บรรยากาศสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการรักษาและพักฟื้น มีความเข้าใจเกี่ยวกับ รพ.เฉพาะทางที่มีองค์ประกอบแตกต่างจาก รพ.ทั่วไป เข้าใจความซับซ้อนของการจัดพื้นที่ใช้สอยและทางสัญจรภายใน รพ. ในตัวโครงการมีการจัดสรรพืน้ ที่สีเขียวให้อยู่ในทุกๆจุดของโครงการและมีน้าสอดแทรกอยู่ทั้งใน ส่วนอาคารผู้ป่วยนอกและส่วนของหอพักผู้ป่วยใน และองค์ประกอบของโครงการที่แตกต่างจาก รพ.ทั่วไป คือมีแผนกรังสีรักษาและเคมีบาบัด เพิ่มขึ้นมาโดยทั้งสองแผนกนี้จะสามารถเชื่อมต่อกับพื้นที่สีเขียวได้ โดย แผนกเคมีบาบัดสามารถมองเห็นน้าและพื้นที่สีเขียว ส่วนของรังสีรักษา สามารถเห็นน้าและพื้นที่สีเขียว เพราะมีการเจาะ Courtyard ลงไปถึงชั้นใต้ดิน ส่วนของ OPD Clinic หรือโถงต้อนรับด้านหน้า ก็มี Courtyard ที่เชื่อมต่อการมองเห็นถึงโรงอาหาร และแผนกเภสัชกรรม ส่วนของพื้นที่พักผ่อนและอาคาร ทางศาสนา มีพื้นที่สีเขียวปรกคลุมและน้าล้อมรอบอาคาร ในส่วนของทางเดิน มีหลังคา FLAT SLAB ปก คลุม ส่วนของงานบริการมีส่วนของห้องงานระแบบแก๊สทางการแพทย์ แผนกจ่ายกลาง (CSSD) แผนกซัก รีด (LNDRY) มีที่จอดรถสาหรับพนักงานที่ชั้นใต้ดิน ส่วนของการตกแต่งวัสดุปิดผิวหลังคาเป็นปูนซิเมนต์ ปอร์ตแลนด์ ผสมใยสังเคราะห์ ที่มีลักษณะภายนอกเป็นแป้นเกล็ดลายไม้ลึก โครงการมีการรักษามะเร็งที่ ครบวงจรและมีหอพระ ห้องปฎิบัติทางศาสนา (คริสต์และอิสลาม) จึงทาให้เกิดการฟื้นฟูทางด้านร่างกาย และจิตใจ และสุดท้ายเป็นสถานพยาบาลเอกชนที่แบ่งเบาภาระการรักษาพยาบาลของ รพ.รัฐ เพราะอยู่ใน ทาเลที่ตั้งท่ามกลาง รพ.รัฐ ถึง 4 แห่ง โดยอยู่ห่างจาก รพ.ประจาจังหวัด ระยองเพียง 7.2 กม. ง


MR. ATHIPPHAK TRITEERARODE: CANCER SPECIALIST HOSPITAL KEYWORDS: HOSPITAL, CANCER, SPECIALIST HOSPITAL, TREATMENT, HEALING, HEALTH THESIS ADVISOR: MR. KHAJORN SEETAKAE ACADEMIC YEAR: 2020

Abtract From statistics of the mortality rate of Thai people and around the world. The statistics show that the disease that 1st causes of death is Cancer, and it will continue to rise. And the treatment of Cancer in Thailand found that the treatment was delayed than the prescribed criteria. (TH Ministry of Public Health, 2020) Cancer Hospital is a project that gathers treatment, promotes, rehabilitation to all types of Cancer patients in a good environment and can share the burden from the state Hospital The main objective of the study is to study the design of areas and environments that facilitate treatment and recovery for Cancer patients. To study the operation and analyze the feasibility of a specialized hospital in order to study guidelines for the selection of use of various systems the process of work is to begin the study by asking the question. What diseases are most likely to cause death? To collect data Data analysis Search for about Health Zone and provinces, respectively. Until the project is located at Rayong, Thailand to synthesize Design ideas, make drafts, make architectural drawings, Present results, Discussion and summarize results. This study provides knowledge and understanding of guidelines for designing treatment areas for cancer patients. Understand the approach to designing areas with physical elements. Atmosphere, an environment conducive to treatment and recovery. Understand Specialized hospital with different elements from the general hospital, including understanding the complexity of the use of space and the thoroughfare within the hospital. In the project, green space is allocated at every point of the project and water is inserted in both the OPD building and in the Ward. And the composition of the project that is different from the general Hospital is a Radiotherapy and Chemotherapy. These two depts will be able to connect with green spaces. By the chemotherapy depts. can see the central pond and the radiotherapy section You can see natural light and green spaces. Courtyard that penetrates into the basement. In the OPD Clinic or the front reception hall, there is a Courtyard that connects the cafeteria and pharmacy. The main medical systems are oxygen tank storage room the dispenser in the ICU room and the VACUUM PUMP room with the main SERVICE area divided at the back of the project. As for the roof covering material is Portland cement. Synthetic mix That has an external appearance as a deep wood grain key Will make the user feel different from being at the hospital, the project has a comprehensive cancer treatment and has a hall Religious building (Christ and Islam), thus resulting in physical and mental rejuvenation. And finally, it is also a private hospital that alleviates the burden of medical care of the state hospital because it is located in the midst of 4 public hospitals.


กิติกรรมประกาศ การจัดทาวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ สามารถสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับการอนุเคราะห์ ความช่วยเหลือ ความร่วมมือ และคาแนะนาที่ดีจากหน่วยงานต่างๆและบุคคลหลายๆท่าน ทางผู้จดั ทา วิทยานิพนธ์จึงขอขอบคุณดังกล่าวต่อไปนี้ ขอขอบคุณ คุณพ่อและคุณแม่ สาหรับทุกสิง่ ทุกอย่างทั้งแรงกายแรงใจ สมทุบทุนในการทา วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ขอขอบคุณ อาจารย์ขจร สีทาแก ที่คอยให้คาปรึกษา และคอยช่วยเหลือมาโดยตลอด ตั้งแต่เริ่ม ค้นคว้าหัวข้อวิทยานิพนธ์ คอยให้คาแนะนาทาให้งานออกมาดีที่สุด จนทาให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จ ลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณคณาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ที่ประสิทธิ์ประสาสน์วิชาความรู้อันมีค่า ตั้งแต่เข้ารับการศึกษาจนสาเร็จการศึกษา ขอขอบคุณพี่ๆ ที่คอยให้คาปรึกษาในขั้นตอนการคิดหัวข้อวิทยานิพนธ์ โดยมีรายชื่อดังนี้ นาย นันทิน อึ้งอักษรไพโรจน์ (พี่บูม), นายคุณะนนต์ ถังมณี (พี่เฟท), นางสาวณัฐสกานต์ คาสิริจรัส (พี่ดรีม), นายธาริต อิ่มอภัย (พี่เอิร์ธ) ขอขอบคุณน้องๆ ที่มีส่วนช่วยเหลือในการทาผลงานวิทยานิพนธ์ขั้นสมบูรณ์ โดยมีรายชื่อดังนี้ นายวันเฉลิม คาชาลี (ซัน), นายณัฐพงศ์ พันธ์ยาง (เอิท), นางสาวปิยะกมล สุโพธิ์ (ฟ้า), นายนภัทร ใสจุล (ตี)๋ , นางสาวนิชาพัฒน์ เกียรติเขมภัสร์ (นิ้ง), นางสาวอัมพิกา วงษ์ศรี (ออม), นายอดิศักดิ์ แก้วสุวรรณ์ (ฟอร์ด), นายฐาปนพงศ์ พรมลักษณ์ (เปียว), นางสาวมัธจีนท์ ลิ่วตระกูล (มัธ), นายสุพิชญะ สุนทร พิทักษ์กุล (เต้ย), นางสาวพัชรพร บุราณ (บีม), นางสาวขนิษฐา ขวัญนิล (ล่า), นายชานน พันธุ์นายัง (แบ้ง), นายวัชรวีร์ มหานิล (เวฟ), นางสาวศลิษา ชัยขันธ์ (พลอย) ขอขอบคุณผู้ทอี่ ยู่เบื้องหลังทุกคนที่อาจจะไม่ได้เอ่ยนามและไม่มีโอกาสขอบคุณด้วยตัวเอง ที่ทา ให้มีวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ขึ้นมา สุดท้ายนี้ขอขอบคุณ เพื่อนร่วมรุ่น BIVE26 ทุกคนที่อยู่ร่วมกัน มาคอยพูดคุยให้คาปรึกษา ช่วยเหลือเมื่อยามมีปัญหาในครั้งนีด้ ้วย

นายอธิปภัคคิ์ ตรีธีรโรจน์ 12 เมษายน 2564


สารบัญ บทคัดย่อภาษาไทย ................................................................................................................................... ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ............................................................................................................................. จ กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................................... ฉ สารบัญ ..................................................................................................................................................... ช สารบัญตาราง........................................................................................................................................... ฐ สารบัญภาพ ............................................................................................................................................ ฒ บทที่ 1 บทนา .......................................................................................................................................... 1 1.1 หลักการ เหตุผล และความสาคัญ....................................................................................... 1 1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา ........................................................................................................ 3 1.3 จุดมุ่งหมายของการศึกษา ................................................................................................... 3 1.4 ขอบเขตของการศึกษา ........................................................................................................ 3 1.5 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา..................................................................................................... 4 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา ........................................................................... 5 1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ ................................................................................................................ 5 1.7.1 นิยามศัพท์ ................................................................................................................ 5 1.7.2 คาย่อ ........................................................................................................................ 7 บทที่ 2 การศึกษาและวิเคราะห์สรุปโครงการ.......................................................................................... 9 2.1 ข้อมูลทั่วไปของโรคมะเร็ง ................................................................................................... 9 2.1.1 สาเหตุการเกิดโรคมะเร็ง .......................................................................................... 9 1 เกิดจากสิ่งแวดล้อมหรือภายนอกร่างกาย ............................................................ 9 2 เกิดจากความผิดปกติภายในร่างกาย (ซึ่งมีเป็นส่วนน้อย) .................................... 9 2.1.2 การแบ่งชนิดของโรคมะเร็ง .................................................................................... 10 2.1.3 ระยะของโรคมะเร็ง ................................................................................................ 10 2.1.4 วิธีการรักษาโรคมะเร็ง ............................................................................................ 11 2.1.5 ระยะเวลาในการรักษา ........................................................................................... 12 2.1.6 กระบวนการรักษามะเร็ง ........................................................................................ 12 2.2 หลักการออกแบบและองค์ประกอบโรงพยาบาล .............................................................. 16 2.2.1 คู่มือการออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพและสภาพแวดล้อม......................... 16 2.2.2 หนังสือการออกแบบโรงพยาบาล อ.อวยชัย วุฒิโฆสิต ........................................... 18 2.2.2.1.คลินิกอายุรกรรม ................................................................................................. 19 2.2.2.2.คลินิกเฉพาะทาง ................................................................................................. 19 2.2.3 คู่มือการออกแบบ OPD มีสุข................................................................................. 21


2.2.3.1 มาตราฐานแผนกผู้ปว่ ยนอก ................................................................................ 21 2.3.2.1.1 พื้นที่รับส่งผู้ป่วย ................................................................................... 21 2.3.2.1.2 ศูนย์เปล ................................................................................................ 21 2.3.2.1.3 พื้นที่นั่งพักรอ ....................................................................................... 22 2.3.2.1.4 ส่วนประชาสัมพันธ์ ............................................................................... 22 2.3.2.1.5 ส่วนซักประวัติ-คัดกรอง ....................................................................... 23 2.3.2.1.6 สุขาผู้รับบริการ ..................................................................................... 23 2.3.2.1.7 ส่วนตรวจโรคทั่วไป/ตรวจเฉพาะโรค .................................................... 24 2.3.2.1.8 ส่วนตรวจโรคติดต่อ .............................................................................. 24 2.3.2.1.9 ส่วนตรวจภายใน................................................................................... 25 2.3.2.1.10 ส่วนรักษาพยาบาล ............................................................................. 25 2.3.2.1.11 ส่วนผ่าตัดเล็ก ..................................................................................... 26 2.3.2.1.12 ส่วนให้คาปรึกษา ................................................................................ 27 2.3.2.1.13 ส่วนหัวหน้าแผนก............................................................................... 27 2.3.2.1.14 ส่วนทางาน พักแพทย์......................................................................... 27 2.3.2.1.15 ส่วนห้องประชุม.................................................................................. 27 2.3.2.1.16 พืน้ ที่อเนกประสงค์ พักเจ้าหน้าที่ ....................................................... 27 2.3.2.1.17 ส่วนเตรียมอาหารว่าง เครื่องดื่ม ......................................................... 28 2.3.2.1.18 พืน้ ที่/ส่วนเก็บอุปกรณ์ทางการแพทย์ ................................................ 28 2.3.2.1.19 ส่วนเก็บของสะอาด ............................................................................ 28 2.3.2.1.20 ส่วนเก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนชุด ..................................................... 29 2.3.2.1.21 ส่วนล้าง-เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร ...................................... 29 2.3.2.1.22 พืน้ ที่สุขาเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการ .......................................................... 29 2.2.3.2 แนวทางการปฏิบัติในการออกแบบและปรับปรุงพื้นที่แผนกผู้ป่วยนอก ............. 30 2.3 กรณีศึกษา......................................................................................................................... 33 2.3.1 กรณีศึกษา โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งในไทย.................................................... 33 2.3.1.1.โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต .......................................................... 34 2.3.1.2.โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา ..................................................................... 35 2.3.1.3.โรงพยาบาลนมะรักษ์ ............................................................................... 36 2.3.1.4.โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งกรุงเทพขนาดเล็ก ....................................... 38 2.3.1.5.โรงพยาบาลแคนเซอร์อลิอันซ์ ศรีราชา .................................................... 39 2.3.1.6.โรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ........................................................ 40 2.3.1.7.โรงพยาบาลจุฬาภรณ์............................................................................... 41 2.3.1.8.สถาบันมะเร็งแห่งชาติ .............................................................................. 42 2.3.2 กรณีศึกษา โรงพยาบาลที่มีการออกแบบที่น่าสนใจ ............................................... 44 2.3.2.1.โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - กทม, บางขุนเทียน .......................... 45 2.3.2.2.โรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น .......................................................... 50 2.3.2.3.ศูนย์การแพทย์พระรามเก้า - กทม, ห้วยขวาง ......................................... 55 2.3.2.4.โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา - อุบลราชธานี, อ.เมือง............................... 57 2.4 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการเบื้องต้น ................................................................. 59 2.4.1 ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจและสังคม ................................................................. 59 2.4.2 ความเป็นไปได้ด้านนโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง ......................................... 64 2.4.3 ความเป็นไปได้ด้านการตลาด ................................................................................. 65 ซ


2.4.4 ความเป็นไปได้ด้านการเงินและงบประมาณ .......................................................... 73 2.4.5 ความเป็นไปได้ด้านทาเลที่ตั้งโครงการโดยภาพรวม ............................................... 78 2.4.6 ความเป็นไปได้ด้านกฎหมายและข้อบังคับ ............................................................. 86 2.5 สรุปการจัดตั้งโครงการ...................................................................................................... 90 บทที่ 3 รายละเอียดโครงการ ................................................................................................................. 92 3.1 วัตถุประสงค์โครงการ........................................................................................................ 92 3.2 สภาพแวดล้อมของที่ตั้งโครงการ ....................................................................................... 92 3.2.1 สภาพแวดล้อมระดับจังหวัด................................................................................... 92 1.สัญลักษณ์ประจาจังหวัด .................................................................................... 93 2.ลักษณะทางกายภาพ ......................................................................................... 93 3.2.2 สภาพแวดล้อมที่ตั้ง ................................................................................................ 95 1.โรงพยาบาลข้างเคียง.......................................................................................... 95 2.การเข้าถึง (เส้นทางสัญจร)................................................................................. 95 3.สภาพแวดล้อม สาธารณูปโภค ........................................................................... 97 4.การใช้งานพื้นที่ข้างเคียง .................................................................................... 98 5.มุมมอง ............................................................................................................... 99 3.3 ผู้ใช้โครงการ ระบบกิจกรรม โครงสร้างการบริหาร ........................................................ 100 3.3.1 การกาหนดจานวนผู้ใช้โครงการ ........................................................................... 100 1.การหาจานวนแพทย์และพยาบาล ................................................................... 100 2.การกาหนดจานวนผู้รับบริการ(ผู้ป่วย) ............................................................. 102 3.3.2 กรณีศึกษา โครงสร้างการบริหาร ......................................................................... 103 1.โครงสร้างการบริหาร สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ................................................... 104 2.โครงสร้างการบริหาร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์................................................ 105 3.3.3 โครงสร้างการบริหารโครงการ ............................................................................. 106 3.3.4 ผู้ใช้โครงการ......................................................................................................... 107 1 ผู้รับบริการทางการแพทย์................................................................................ 107 2 ผู้ปฏิบัติงาน ..................................................................................................... 109 3.3.5 ระบบกิจกรรม ...................................................................................................... 114 3.4 ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย ................................................................................... 118 3.4.1 ฝ่ายวินิจฉัยและบาบัดรักษา ................................................................................. 120 3.4.2 ฝ่ายสนับสนุนทางคลินิก ....................................................................................... 121 3.4.3 ฝ่ายรักษาพิเศษ .................................................................................................... 123 3.4.4 ฝ่ายหอผู้ป่วยใน .................................................................................................... 125 3.4.6 ฝ่ายบริการทางการแพทย์ .................................................................................... 126 3.4.7 ฝ่ายอื่นๆ ............................................................................................................... 127 3.5 เกณฑ์การออกแบบและความต้องการพื้นที่ใช้สอย ......................................................... 128 3.5.1 ฝ่ายวินิจฉัยและบาบัดรักษา ................................................................................. 129 3.5.1.1 โถงต้อนรับและเวชระเบียน ................................................................... 129 ฌ


3.5.1.2 แผนกผู้ป่วยนอก (OPD)......................................................................... 131 3.5.1.3 แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน (ER) ............................................................. 132 3.5.2 ฝ่ายสนับสนุนทางคลินิก ....................................................................................... 133 3.5.2.1 แผนกเภสัชกรรม.................................................................................... 133 3.5.2.2 แผนกรังสีวิทยา ...................................................................................... 134 3.5.2.4 แผนกพยาธิวิทยา ............................................................................... 139 3.5.2.5 แผนกเคมีบาบัด ..................................................................................... 141 3.5.2.6 แผนกกายภาพบาบัด ............................................................................. 143 3.5.3 ฝ่ายรักษาพิเศษ .................................................................................................... 144 3.5.3.1 แผนกศัลยกรรม ..................................................................................... 144 3.5.3.2 หออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU)................................................................... 147 3.5.4 ฝ่ายหอผู้ป่วยใน .................................................................................................... 149 3.5.5 ฝ่ายบริหารและธุรการ .......................................................................................... 152 3.5.6 ฝ่ายบริการทางการแพทย์ .................................................................................... 153 3.5.6.1 แผนกโภชนาการ .................................................................................... 153 3.5.6.2 แผนกจ่ายกลาง ...................................................................................... 155 3.5.6.3 แผนกซักรีด ............................................................................................ 158 3.5.7 ฝ่ายบริการงานระบบ ........................................................................................... 160 3.5.8 พื้นที่ส่วนพาณิชยกรรม ........................................................................................ 161 3.5.9 ฝ่ายอื่นๆ ............................................................................................................... 161 3.6 ระบบวิศวกรรม และระบบบริการอาคารที่เกี่ยวข้อง ...................................................... 163 3.6.1 งานระบบไฟฟ้า .................................................................................................... 163 3.6.2 งานระบบทางการแพทย์ ...................................................................................... 163 3.6.3 งานระบบปรับอากาศ ........................................................................................ 165 3.6.4 งานระบบสุขาภิบาลและบาบัดน้าเสีย .................................................................. 166 3.6.5 ระบบกาจัดขยะ.................................................................................................... 167 3.6.6 ระบบสื่อสารและสัญญาณเตือนอัคคีภัย .............................................................. 167 3.6.7 ระบบท่อลมส่งเอกสารและวัสดุ ........................................................................... 167 3.7 ความต้องการด้านภูมิทัศน์และสภาพแวดล้อมบริเวณโครงการ ...................................... 168 3.7.1 องค์ประกอบด้านกายภาพของงานภูมิทัศน์ ......................................................... 168 3.7.2 องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการภูมิทัศน์........................................................ 169 3.8 การประมาณราคาก่อสร้าง.............................................................................................. 170 บทที่ 4 ที่ตั้งโครงการ ........................................................................................................................... 171 4.1 การเลือกที่ตั้งโครงการ .................................................................................................... 171 4.1.1 การเลือกที่ตั้งในระดับเขตสุขภาพ ........................................................................ 171 4.1.2 การเลือกที่ตั้งในระดับจังหวัด ............................................................................... 173 4.1.3 เกณฑ์การคัดเลือกที่ตั้งโครงการ .......................................................................... 176 ญ


4.1.3.1.ที่ดิน (31%)............................................................................................ 176 4.1.3.2.การเข้าถึง (19%) ................................................................................... 177 4.1.3.3.สาธารณูปการต่างๆ (11%) .................................................................... 177 4.1.3.4.สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (22%) ....................................................... 178 4.1.3.5.โรงพยาบาลข้างเคียง (11%) .................................................................. 178 4.1.3.6.มลพิษ (6%) ........................................................................................... 178 4.1.4 การให้คะแนนและคัดเลือกที่ตั้งโครงการ ............................................................. 179 4.2 การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ .............................................................................................. 189 4.2.1 ผังสีที่ดนิ ............................................................................................................... 189 4.2.2 การเข้าถึงและสภาพการใช้งานพื้นทีข้างเคียง...................................................... 190 4.2.3 มุมมองจากภายในสู่ภายนอกที่ตั้งโครงการ .......................................................... 195 4.2.4 มุมมองจากภายนอกสู่ภายในที่ตั้งโครงการ .......................................................... 196 4.2.5 พืชพรรณธรรมชาติ .............................................................................................. 197 4.2.6 ทิศแดดลมฝน ....................................................................................................... 198 4.2.6 ทิศแดดลมฝน (Orientation) .............................................................................. 198 4.2.7 ปัญหาและมลภาวะ .............................................................................................. 199 1.การถ่ายเทอากาศ และ ฝุ่น .............................................................................. 199 2. เสียง................................................................................................................ 199 3. ความร้อน........................................................................................................ 199 4. รูปร่างที่ดิน ..................................................................................................... 200 4.2.6 กฎหมาย............................................................................................................ 200 1.ที่ว่างและระยะร่น ............................................................................................ 200 4.3 สรุปศักยภาพที่ตั้งโครงการ ............................................................................................. 202 บริเวณที่ 1 .......................................................................................................... 202 บริเวณที่ 2 .......................................................................................................... 202 บทที่ 5 การออกแบบ ........................................................................................................................... 203 5.1 ปรัชญา แนวคิด ทฤษฎี ................................................................................................... 203 5.1.1 การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (Healing Environment) .............................................................................................................. 203 5.1.1.1 แสง - Environmental Light ............................................................... 204 5.1.1.2 สี - Color in The Environment ........................................................ 204 5.1.1.3 ภูมิทัศน์ - Environmental Landscape ............................................. 205 5.1.1.4 เสียง - Environmental Noise ............................................................ 205 5.1.1.5 คุณภาพของอากาศ - Air Quality......................................................... 206 5.1.2 แนวทางการออกแบบโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม ...... 206 5.2 การกาหนดแนวคิดในการออกแบบ ................................................................................. 208 5.2.1 แนวคิดในการวางผัง............................................................................................. 208 5.2.2 แนวคิดในการออกแบบตัวอาคาร......................................................................... 209 5.3 การสร้างทางเลือกในการออกแบบ ................................................................................. 213 ฎ


5.4 การออกแบบขั้นต้น ......................................................................................................... 215 5.5 การออกแบบ แบบร่าง และ การพัฒนาแบบร่าง ............................................................ 216 5.6 ผลการออกแบบงานสถาปัตยกรรม ................................................................................. 223 5.6.1 ผังแม่บท............................................................................................................... 223 5.6.2 ผังบริเวณ ............................................................................................................. 224 5.6.3 แปลนพืน้ และผังหลังคา ...................................................................................... 226 5.6.4 รูปด้าน และ รูปตัด .............................................................................................. 236 5.6.5 อื่นๆ...................................................................................................................... 242 5.6.6 แผ่นงานนาเสนอ .................................................................................................. 249 5.6.6 แผ่นงานนาเสนอ ................................................................................................. 249 5.6.7 หุ่นจาลองสถาปัตยกรรม ...................................................................................... 250 บทที่ 6 อภิปรายผล สรุปและข้อเสนอแนะ.......................................................................................... 258 6.1 อภิปรายผลการออกแบบ ................................................................................................ 258 6.1.1 อภิปรายผลการออกแบบที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์การศึกษา ............................. 258 6.1.2 อภิปรายผลการออกแบบที่เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา ........................ 259 6.1.3 อภิปรายผลการออกแบบที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ........................ 259 6.2 สรุปผลการศึกษา ............................................................................................................ 259 6.3 ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................... 260 บรรณานุกรม........................................................................................................................................ 261 ภาคผนวก............................................................................................................................................. 264 ภาคผนวก ก - ภาพส่วนหนึ่งของขั้นตอนการทาโมเดล ......................................................... 265 ภาคผนวก ข - ระหว่างการทางานและตรวจแบบ ................................................................. 266 ภาคผนวก ค - ภาพขณะสารวจที่ตั้งโครงการ (ระยอง) ......................................................... 267 ภาคผนวก ง – ภาพขณะสารวจกรณีศึกษาที่ รพ.จุฬาภรณ์ .................................................. 268 ภาคผนวก จ - ไฟล์และภาพ.................................................................................................. 269 ประวัตินักศึกษา ................................................................................................................................... 270


สารบัญตาราง ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่

1.7.1 2.3.1 2.3.2 2.3.3 2.3.4 2.3.5 2.4.1 2.4.1 2.4.2 2.4.3 2.4.4 2.4.5 2.4.6 2.4.7 2.4.8 2.4.9 2.4.11 2.4.12 2.4.13 2.4.14 2.4.15 2.4.10 2.4.11 2.4.12 2.4.13 3.3.1 3.3.2 3.3.3 3.3.4 3.3.5

คาย่อ ข้อมูลพื้นฐานกรณีศึกษาโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งในไทย สรุป กรณีศึกษาโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งในไทย สรุป กรณีศึกษา โรงพยาบาลที่มีการออกแบบที่น่าสนใจ ภาพประเภทห้องพัก IPD รพ.มะเร็งชีวามิตรา ตารางสรุปโรงพยาบาลที่มีการออกแบบที่น่าสนใจ สรุปกลยุทธ์ทางการตลาด เครือ รพ.เอกชน ในไทย ตัวเลขค่าใช้จ่ายการลงทุนต่อเตียงสาหรับโรงพยาบาลเอกชนชั้นดี (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) อัตรา รายได้โรงพยาบาลเอกชน อัตรา รายจ่ายโรงพยาบาลเอกชน การประเมินงบประมาณการก่อสร้างโครงการเบื้องต้น จานวนคนเข้าใช้โครงการเบื้องต้น รายได้ของแต่ละแผนก การประมาณการคืนทุนของโครงการภายในระยะเวลาที่กาหนด ร้อยละอัตราการตาายด้วยโรคมะเร็งต่อจานวนประชากรแบ่งตาม เขตสุขภาพเรียงจากมากไปน้อย (กระทรวงสาธารณสุข, 2561) รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนแบ่งตามเขตสุขภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดินและข้อห้าม ตามผังเมืองรวมจังหวัดระยอง การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามผังเมืองรวมเมืองระยอง ภาพตรา โรงพยาบาลลูกข่าย เครือ BCH ภาพตรา โรงพยาบาลเครืออื่นๆ ตารางสรุปความเป็นไปได้ด้านทาเลที่ตั้ง โดยเบื้องต้น การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามผังเมืองรวมจังหวัดระยอง ตารางการใช้ประโยชน์ที่ดิน 3 เขตอาเภอ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตารางเปรียบเทียบอัตราส่วนจานวนเตียง : จานวนบุคลากร ของ โรงพยาบาลเอกชนในต่างประเทศ ทฤษฎีในต่างประเทศของ MC GIBONY (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) ตารางแสดงการหาจานวนแพทย์และพยาบาล เป็นจานวนคน ตารางแสดงการหาจานวนแพทย์และพยาบาล เป็นร้อยละ ตารางแสดงการหาจานวนเตียงของแต่ละระดับของสถานพยาบาล ตารางกรณีศึกษา โครงสร้างการบริหาร

7-8 34 44 45 58 59 70-71 74 75 75 77 77 78 78 79 80 81 82 83 84 85 88.00 88.00 89.00 89-91 102.00 103.00 103.00 105.00 106-107


ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่

3.3.6 3.3.7 3.3.8 3.3.9 3.5.2 3.5.3 3.5.4 3.5.5 3.5.6 3.5.7 3.5.8 3.5.9 3.5.10 3.5.11 3.5.12 3.5.13 3.5.14 3.5.15 3.5.16 3.5.17 3.5.18 3.5.19 3.5.20 3.5.21 3.6.1 3.5.1 3.6.1 3.6.2 3.6.3 3.8.1 4.1.1 4.1.2 4.1.3 4.1.4 4.1.5 5.1.1

ผู้รับบริการทางการแพทย์ ตารางแสดงผู้ใช้โครงการ แพทย์ ตารางแสดงผู้ใช้โครงการ บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ใช้โครงการ พนักงาน ความต้องการพื้นที่ใช้สอย โถงต้อนรับและเวชระเบียน / MRD ความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกผู้ป่วยนอก / OPD ความต้องการพื้นที่ใช้สอย อุบัติเหตุและฉุกเฉิน / ER ความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกเภสัชกรรม ความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกรังสีวิทยา ความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกพยาธิวิทยา / LAB ความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกเคมีบาบัด ความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกกายภาพบาบัด ความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกศัลยกรรม ความต้องการพื้นที่ใช้สอย ICU ความต้องการพื้นที่ใช้สอย WARD / IPD ความต้องการพื้นที่ใช้สอย ฝ่ายบริหารและธุรการ ความต้องการพื้นที่ใช้สอย โภชนาการ / DND ความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกจ่ายกลาง / CSSD ความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกซักรีด / LNDRY ความต้องการพื้นที่ใช้สอย ฝ่ายบริการงานระบบ ประมาณการปริมาณการใช้ไฟฟ้าในโรงพยาบาล ความต้องการพื้นที่ใช้สอย ส่วนพาณิชยกรรม ความต้องการพื้นที่ใช้สอย ฝ่ายอื่นๆ ประมาณการปริมาณการใช้ไฟฟ้าในโรงพยาบาล ขนาดของระบบปรับอากาศ (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) ความต้องการพื้นที่ใช้สอยภาพรวมของโครงการ ประมาณการปริมาณการใช้ไฟฟ้าในโรงพยาบาล ปริมาณน้าสารองของโรงพยาบาลขนาดต่างๆ ขนาดบ่อบาบัดน้าเสีย (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) การประเมินงบประมาณการก่อสร้างโครงการเบื้องต้น การเลือกที่ตั้งในระดับเขตสุขภาพ การให้คะแนนการเลือกที่ตั้งในระดับเขตสุขภาพ การเลือกที่ตั้งในระดับจังหวัด การให้คะแนนการเลือกที่ตั้งในระดับจังหวัด การให้คะแนนการเลือกที่ตั้งโครงการ 7 ที่ แนวคิดเรื่องการจัด Healing Environment ในโรงพยาบาล ฑ

109-110 112.00 113-115 115.00 130-131 131.00 133.00 134-135 135-136 136-139 141-142 143-144 145.00 146-147 149.00 152.00 154-155 156.00 157-158 160.00 162.00 163.00 163.00 163.00 163.00 164.00 165.00 168.00 169.00 172.00 173-174 175.00 175-177 178.00 189.00 212


สารบัญภาพ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 2.1.1 2.1.2 2.1.3 2.1.4 2.2.1 2.2.2 2.2.3 2.2.4 2.2.5 2.2.6 2.2.7 2.2.8 2.2.9 2.2.10 2.2.11 2.2.12 2.2.13 2.2.14 2.2.15

อัตราการตายจาแนกตามสาเหตุ (สานักสถิติแห่งชาติ,2557) อัตราการตายจาแนกตามสาเหตุ (สานักสถิติแห่งชาติ,2561) ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา(การผ่าตัด)ภายในระยะเวลาที่กาหนด (4สัปดาห์) (กระทรวงสาธารณสุข ,2563) ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา(รังสีรักษา)ภายในระยะเวลาที่กาหนด (4สัปดาห์) (กระทรวงสาธารณสุข ,2563) ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา(เคมีบาบัด)ภายในระยะเวลาที่กาหนด (4สัปดาห์) (กระทรวงสาธารณสุข ,2563) การกระจายตัวของโรงพยาบาลเอกชนเฉพาะทางมะเร็ง(สีแดง), สถานบัน มะเร็งแห่งชาติ(สีชมพู), โรงพยาบาลที่มีศูนย์มะเร็ง(สีฟ้า) แผนผังแสดงขั้นตอนและวิธีการศึกษา มะเร็งประเภทต่างๆ ทีม่ า : Luma Health Insurance แผนภูมิระยะเวลาการรักษาเปรียบเทียบ แผนผังกระบวนการรักษามะเร็งเต้านม แผนผังกระบวนการรักษามะเร็งปอด ภาพคู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพ ระดับทุติยิม-ตติ ภู ยภูมิ ปีงบประมาณ 2560 ภาพโครงการคู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการ สุขภาพ ปีงบประมาณ 2559 ภาพโครงการคู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการ สุขภาพ ปีงบประมาณ 2559 หนังสือการออกแบบโรงพยาบาล OPD Clinic 1 OPD Clinic 2 คู่มือการออกแบบ OPD มีสุข พื้นที่รับส่งผู้ป่วย ศูนย์เปล (ส่งการใช้งานต่อจาก ค.1 พื้นที่รับส่งผู้ป่วย) ส่วนพักรอ (ส่งต่อการใช้งานจาก เส้นทางหลัก/ ลิฟท์/ บันได) ส่วนประชาสัมพันธ์ (ส่งต่อการใช้งานจาก เส้นทางหลัก/ ทางเดินของ แผนก) ส่วนซักประวัติ - คัดกรอง (ส่งต่อการใช้งานจาก เส้นทางหลัก/ ทางเดิน ของแผนก) ส่วนสุขา (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ) ส่วนตรวจโรค (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ คัดกรอง) ส่วนตรวจโรคติดต่อ (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ คัดกรอง) ฒ

1 1 2 2 2 2 4 10 12 15 16 17 18 19 19 20 20 22 20 23 23 24 24 25 25 26


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

2.2.16 2.2.17 2.2.18 2.2.19 2.2.20 2.2.21 2.2.22 2.2.23 2.2.24 2.2.25 2.2.26 2.2.27 2.2.28

2.2.29 2.2.30 2.2.31 2.3.1 2.3.2 2.3.3 2.3.4 2.3.5 2.3.6 2.3.7 2.3.7 2.3.8 2.3.9

ส่วนตรวจภายใน (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ คัดกรอง) ส่วนรักษาพยาบาล (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ ทางเดินแผนก) ส่วนผ่าตัดเล็ก (ส่งต่อการใช้งานจาก OPD, ER ทางสัญจรหลัก) ตัวอย่างห้องผ่าตัดเล็ก ส่วนผ่าตัดเล็ก (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ คัดกรอง) ส่วนหัวหน้าแผนก และ ส่วนทางาน/พักแพทย์ (ส่งต่อการใช้งานจาก ทางเดินแผนก) ส่วนห้องประชุม และ เอนกประสงค์/พัก จนท. (ส่งต่อการใช้งานจาก ทางเดินแผนก) ส่วนเตรียมอาหาร (ส่งต่อจาก เอนกประสงค์/พัก จนท.) และ พื้นที่เก็บ อุปกรณ์ทางการแพทย์ (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่ปฏิบัติงานในแผนก) ส่วนเก็บของสะอาด, เก็บของใช้ส่วนตัว, เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาด (ส่ง ต่อการใช้งานจาก ทางสัญจร (เจ้าหน้าที่) และพื้นที่ปฏิบัติงานในแผนก) พื้นที่สุขาเจ้าหน้าที่ และการส่งต่อการใช้งานจากพื้นที่อื่น ภาพทิศทางการวางอาคาร ภาพตัวอย่างแนวทางการขยายตัวและปรับเปลี่ยนพื้นที่ ภาพทิศทางลมในอาคาร - ควรระมัดระวังการวางผังพื้นภายในอาคาร การกั้นห้องและการจัดวางเฟอร์นิเจอร์ที่มีขนาดใหญ่และสูง (เช่น ตู้สูง และแผงกั้นห้อง) ซึ่งอาจลดประสิทธิภาพของการไหลเวียนของลมภายใน อาคาร ภาพตัวอย่างการจัดแยกพื้นที่บริการของผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าอาจเป็น โรคติดต่อทางเดินหายใจที่อาจแพร่กระจายเชื้อโรคผ่านระบบการระบาย อากาศภายในอาคารที่ขาดประสิทธิภาพ ภาพตัวอย่างการพิจารณาการแบ่งโซนพื้นทีใ่ ช้สอยเพื่อกาหนดระดับการ ใช้เสียงที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ภาพตัวอย่างการใช้สีในอาคารในแผนก OPD ภาพโรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต ภาพห้องพักโรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต ภาพโรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา ภาพโรงพยาบาลนมะรักษ์ ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลนมะรักษ์ แนวความคิด รพ.นมรักษ์ ภาพโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งกรุงเทพขนาดเล็ก ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งกรุงเทพขนาดเล็ก ณ

26 27 27 27 28 28 28 29 30 30 31 31

32 32 33 33 35 35 35 36 36 37 37 38 39 39


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

2.3.10 2.3.11 2.3.12 2.3.13 2.3.14 2.3.15 2.3.16 2.3.17 2.3.18 2.3.19 2.3.20 2.3.21 2.3.22 2.3.23 2.3.23 2.3.24 2.3.25 2.3.26 2.3.27 2.3.28 2.3.29 2.3.30 2.3.31 2.3.32 2.3.32 2.3.33 2.3.34 2.3.35 2.3.36 2.4.1 2.4.2 2.4.3 2.4.4 2.4.5 2.4.6 2.4.7

ภาพโรงพยาบาลแคนเซอร์อลิอันซ์ ศรีราชา ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลแคนเซอร์อลิอันซ์ ศรีราชา ภาพโรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ ภาพโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ภาพสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ภาพที่ตั้งสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ภาพโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ภาพโรงพยาบาลกลางน้า ภาพ FACADE โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ภาพ Main Circulation โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ภาพภายนอกโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ผังโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน แนวคิด รพ.ผู้สงู อายุบางขุนเทียน ภาพโรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ภาพระเบียงโรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ภาพตัดโรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ภาพด้านโรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ภาพรวมโรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ผัง Master Plan โรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ผังชั้น 2 โรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ผังชั้น 3 โรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ผังชั้น 4 โรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น แนวคิด รพ.ราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ภาพศูนย์การแพทย์ พระราม9 - กทม, ห้วยขวาง ภาพมุมสูงศูนย์การแพทย์ พระราม9 - กทม, ห้วยขวาง ภาพโรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา - อุบลราชธานี, อ.เมือง ภาพประเภทห้องพัก IPD รพ.มะเร็งชีวามิตรา ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาล แผนภูมิแสดงจานวนโรงพยาบาลแบ่งตามเครือข่ายโรงพยาบาลเอกชน แผนภูมิแสดงจานวนโรงพยาบาลเครือข่ายโรงพยาบาล BCH แผนภูมิแสดงจานวนโรงพยาบาลเครือข่ายโรงพยาบาล BDMS แผนภูมิแสดงจานวน โรงพยาบาลเฉพาะทาง (รัฐ) แยกตามจังหวัด แผนภูมิแสดงจานวน โรงพยาบาลเฉพาะทาง (เอกชน) แยกตามจังหวัด แผนภูมิ จานวน โรงพยาบาลเฉพาะทาง (รัฐ) แยกตามการรักษา(โรค) ด

40 40 41 41 42 42 43 43 44 46 46 47 48 49 50 51 51 52 52 53 53 53 54 54 55 56 57 58 59 61 62 62 62 63 63 64


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

2.4.8 2.4.9 2.4.10 2.4.11 2.4.12 2.4.13 2.4.14 2.4.15 2.4.16 2.4.17 2.4.18 2.4.19 2.4.20

แผนภูมิ จานวน โรงพยาบาลเฉพาะทาง (เอกชน) แยกตามการรักษา(โรค) ภาพหน้าปกแผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง ภาพตรา โรงพยาบาลเครือ BDMS ภาพตรา โรงพยาบาลลูกข่าย เครือ BDMS ภาพตรา โรงพยาบาลเครือ BCH ภาพตรา โรงพยาบาลลูกข่าย เครือ BCH ภาพตรา โรงพยาบาล PRINC ภาพตรา โรงพยาบาล CHG ภาพตรา โรงพยาบาล THG แผนภูมิแสดงอัตราการให้ค่าบริการห้องพัก/คืน Range = 0 – 200,000 บาท แผนภูมิแสดงอัตราการให้ค่าบริการห้องพัก/คืน Range = 0 – 20,000 บาท แผนภูมิจาแนกกลุ่มลูกค้าตามอัตราการให้ค่าบริการห้องพัก/คืน Range = 0 – 20,000 บาท กราฟเปรียบเทียบอัตราการครองเตียง เขตสุขภาพที่ 1-12 (กระทรวง สาธารณสุข, 2563) รายละเอียดตัวชี้วัด การรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลาที่กาหนด ภาพร้อยละอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งต่อจานวนประชากร

ภาพที่ ภาพที่

2.4.21 2.4.22

ภาพที่

2.4.23 ภาพร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย การผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ 2.4.24 ภาพผลลัพธ์การรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ 2.4.25 ภาพเขตสุขภาพที่รับการรักษาด้วยการผ่าตัดไม่ทัน 5 อันดับแรก 2.4.26 ภาพร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย เคมีบาบัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ 2.4.27 ภาพผลลัพธ์การรักษาด้วยการเคมีบาบัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ 2.4.28 ภาพเขตสุขภาพที่รับการรักษาด้วยการเคมีบาบัดไม่ทัน 4 อันดับแรก 2.4.29 แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2.5.1 ภาพรูปร่างและมิติของที่ตั้งโครงการ (เบื้องต้น) 2.5.1 ภาพรูปร่างและมิติของที่ตั้งโครงการ (เบื้องต้น) 3.2.6 รพ.ข้างเคียง 3.2.7 สภาพแวดล้อม เส้นทางสัญจร 3.2.8 สภาพเส้นทางสัญจร 3.2.9 สภาพแวดล้อม สาธารณูปโภค 3.2.10 สาธารณูปโภค

ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

64 65 66 66 66 67 67 69 69 72 72 73 73 73 81 83 83 84 84 84 86 86 92 93 97 97 98 99 99


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

3.2.13 3.2.14 3.2.15 3.2.16 3.3.1 3.3.2 3.3.9 3.3.4 3.3.5 3.3.6 3.4.0 3.4.1 3.4.2 3.4.3 3.4.4 3.4.5 3.4.6 3.4.7 3.4.8 3.4.9 3.4.10 3.4.11 3.4.12 3.4.13 3.4.14 3.3.1 3.3.2 3.3.3 3.3.6

ภาพที่พื้นที่ใกล้เคียงที่ตั้งโครงการ ภาพที่พื้นที่ใกล้เคียงที่ตั้งโครงการ มุมมองภายในสู่ภายนอก มุมมองภายนอกสู่ภายใน โครงสร้างการแบ่งงานภายในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ, กระทรวง สาธารณสุข, 25622.โครงสร้างการบริหาร สาขารังสีรักษาและมะเร็ง วิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ แผนภูมิแสดงจานวนบุคลากรภายในสาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จาแนกประเภทผู้ปฏิบัติงาน ภาพแสดงผังโครงสร้างการบริหาร – ผังองค์กรของโครงการ ระบบกิจกรรม การรักษามะเร็งที่พบใน จ.ระยอง ระบบกิจกรรม กับ กลุ่มผู้ใช้งาน ระบบกิจกรรมกลุ่มผู้ใช้งาน ในแต่ละช่วงเวลา ภาพสรุปความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอยโดยรวม (ในระดับฝ่าย) ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกผู้ป่วยนอก ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกฉุกเฉิน ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกเภสัชกรรม ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกเวชระเบียน ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกเคมีบาบัด ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกพยาธิวิทยา ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกรังสีวิทยา ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกศัลยกรรม ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย ICU ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย หอผู้ปว่ ยใน ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกโภชนาการ ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกซักฟอก ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย แผนกจ่ายกลาง ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย ห้องเก็บศพ สรุปผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน โรงพยาบาล – กระทรวง สาธารณสุข, 2560 สรุปผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน โรงพยาบาลระดับ M2 – กระทรวงสาธารณสุข, 256 สรุปผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน โรงพยาบาล – กระทรวง สาธารณสุข, 2560 ระบบกิจกรรมกลุ่มผู้ใช้งาน ในแต่ละช่วงเวลา

100 100 101 101 107 107 108 116 117 119 121 122 122 123 123 124 124 125 125 126 127 127 128 128 129 130 131 131 132


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

3.3.7 3.3.8 3.3.9 3.5.1 3.5.2 3.5.3 3.5.4 3.5.5 3.5.6 3.5.7 3.5.8 3.5.33 3.5.34 3.5.35 3.5.36 3.5.37 3.5.38 3.5.39 3.5.40 3.5.41 3.5.42 3.5.43 3.5.44 3.5.45 3.5.46 3.5.47 3.5.48 3.5.49 3.5.50 3.5.51 3.5.52 3.5.53 3.5.54

โครงสร้างการแบ่งงานภายในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ, กระทรวง สาธารณสุข, 2562 แผนภูมิแสดงจานวนบุคลากรภายในสาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จาแนกประเภทผู้ปฏิบัติงาน ผังโครงสร้างการบริหาร – ผังองค์กรของโครงการ พื้นที่ใช้สอยภาพรวม Ambulance Stretcher Ambulance Stretcher ตัวอย่างการจัด โถงต้อนรับและเวชระเบียน (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) Passenger Lift Lobby (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) BED Lift Lobby (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) OPD (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) OPD (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) ภาพตัวอย่างการใช้แถบสีบนพื้นหรือผนังเพื่อช่วยนาทาง หรือการใช้สีเพื่อ ระบุตาแหน่งและกาหนดขอบเขตพื้นที่ ตัวอย่างการจัดผังแผนก ER (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) ตัวอย่างการจัดผังแผนก Pharmacy (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) ภาพห้อง X RAY ภาพห้อง BONEDENSITY ภาพห้อง MAMMOGRAM ภาพห้อง ULTRA SOUND ภาพห้อง CT SCAN ภาพห้อง ANGIOGRAPHY ห้อง Hyperthermia ห้อง Oncothermia ห้อง VMAT ห้อง IMRT ห้อง Intracavitary Brachytherapy ห้อง Interstitial Brachytherapy CT and MRI Floor Plan (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) X-ray Floor Plan (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) ห้องปฏิบัติการส่วนกลาง (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) Chemotherapy Infusion (GRCC,2563) เคมีบาบัด ระยะสั้น เคมีบาบัด ระยะยาว ภาพตัวอย่างผังแผนกกายภาพบาบัด (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) ท

133 134 134 134 135 135 136 136 137 137 138 138 128 129 139 139 139 139 139 139 140 140 140 140 140 133 141 142 143 144 145 145 146


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

3.5.55 ตัวอย่างการวางผังกแผนกศัลยกรรม (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) 3.5.56 ทัศนียภาพภายในห้อง ICU ถ้าสามารถเปิดรับแสงและวิวถายนอกได้มาก เท่าใด จะช่วยให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกสบายใจและมีสุขภาพจิตดีขึ้น (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) 3.5.57 ห้อง ICU ที่ปิดทึบ มีการใช้ Electric Window Of Nature มาช่วยทาให้ เกิดภาพที่ปรากฎเหมือนมองผ่านหน้าต่างเห็นภาพเคลื่อนไหวตามเวลาที่ ผ่านไปตลอด 24 ชม. (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) 3.5.58 ทัศนียภาพภายในห้อง ICU 3.5.59 ทัศนียภาพ Nurse Station ในห้อง ICU 3.5.60 ตัวอย่างการจัดผังแผนก ICU 3.5.61 ตัวอย่างห้องพักผู้ป่วยใน 3.5.62 ภาพตัวอย่างการจัดผัง NURSE STATION 3.5.63 ภาพทัศนียภาพของห้องฝ่ายบริหารและธุรการ 3.5.64 ภาพตัวอย่างการจัดผังแผนกโภชนาการ 3.5.65 ภาพภายในห้องแผนกจ่ายกลาง 3.5.66 ตัวอย่างผังแผนกจากกลาง CSSD 3.5.69 ตัวอย่างผังพื้นที่เก็บศพ 3.5.67 ภาพตัวอย่างการจัดผังแผนกซักรีด 3.5.68 ตัวอย่างผังการเดินท่อ AIR ห้องผ่าตัด 3.6.1 ปั๊มสุญญากาศ (Vacuum Pump) 3.6.2 ระบบการจ่ายแก๊ส 3.6.3 ห้องเครื่องระบบปรับอากาศ 3.6.4 สุขาภิบาลและบาบัดน้าเสีย 3.8.1 ตั้งโครงการ เลขที่โฉนดและราคาประเมินที่ดิน (ที่มา : LandMaps , กรมธนารักษ์ http://dolwms.dol.go.th/) 4.1.1 ภาพรวมของที่ตั้งที่ได้รับการคัดเลือก 4.1.2 ภาพรวมที่ตั้งโครงการทั้ง 7 ที่ 4.1.4 SITE ที่ 1 4.1.5 SITE ที่ 2 4.1.6 SITE ที่ 3 4.1.7 SITE ที่ 4 4.1.8 SITE ที่ 5 4.1.9 SITE ที่ 6 4.1.10 SITE ที่ 7 4.1.11 ภาพรวม แสดงทาเลที่ตั้งของ SITE ทั้ง 7 ที่ 4.1.11 การให้คะแนนในเกณฑ์หัวข้อ ที่ดิน ธ

149 150 150 151 152 152 153 155 155 157 155 159 159 161 160 166 167 167 168 172 174 176 176 177 177 177 178 178 178 179 180


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

4.1.12 4.1.13 4.1.14 4.2.1 4.2.2 4.2.3 4.2.4 4.2.5 4.2.6 4.2.7 4.2.8 4.2.9 4.2.10 4.2.11 4.2.12 4.2.13 4.2.14 4.2.15 4.2.16 4.2.17 4.2.18 4.2.19 4.2.20 4.2.21 4.2.22 4.2.23 4.2.24 4.3.1 4.3.2 4.4.1 5.1.1 5.1.2 5.2.1

การให้คะแนนในเกณฑ์หัวข้อ การเข้าถึง การให้คะแนนในเกณฑ์หัวข้อ สาธารณูปการ การให้คะแนนในเกณฑ์หัวข้อ สภาพทางกายภาพ รพ.เดิม และ มลพิษ ผังเมืองรวมเมืองระยอง ตาแหน่งที่ตั้งโครงการและเขตพื้นที่แบ่งตามกฏหมายผังเมือง ตาแหน่งที่ตั้งโครงการในเขตพื้นที่ ช.1-3 เส้นทางการสัญจรทางบกและทางน้าบริเวณรอบที่ตั้งโครงการ บริบทโดยรอบที่ตั้งโครงการ Figure and Ground Invert ที่ตั้งโครงการ Figure and Ground ที่ตั้งโครงการ พื้นที่สีเขียวบริเวณโดยรอบที่ตั้งโครงการ สาธารณูการบริเวณใกล้เคียง เส้นทางจารจรบริเวณโดยรอบที่ตั้งโครงการ ภาพรวมที่ตั้งโครงการ การใช้งานพื้นที่ อาคารข้างเคียง (ภาพรวม) การใช้งานพื้นที่ อาคารข้างเคียง (แยกแต่ละจุด) เส้นทางและการเข้าถึง (ภาพรวม) เส้นทางและการเข้าถึง (แยกแต่ละจุด) มุมมองจากภายในสู่ภายนอกที่ตั้งโครงการ มุมมองจากภายนอกสู่ภายในที่ตั้งโครงการ รายละเอียดพืชพรรณและธรรมชาติ บริเวณโดยรอบที่ตั้งโครงการ รายละเอียดทิศแดดลมฝน บริเวณโดยรอบที่ตั้งโครงการ รายละเอียดมลภาวะและแนวทางการแก้ปัญหา เรื่องการภ่ายเทอากาศ และฝุ่น รายละเอียดมลภาวะและแนวทางการแก้ปัญหา เรื่องเสียง รายละเอียดมลภาวะและแนวทางการแก้ปัญหา ความร้อน รายละเอียดมลภาวะและแนวทางการแก้ปัญหา รูปร่างทีด่ ิน การวิเคราะห์กฎหมายที่ตั้งโครงการ ในด้านอื่นๆ บริบทโดยรอบเพื่อแนวทางการพัฒนาที่ตั้งโครงการ แนวทางการพัฒนาที่ตั้งโครงการโดยสังเขป ศักยภาพที่ตั้งโครงการ ภาพหนังสือการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการ เยียวยา แนวทางการออกแบบโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์ รวมโดยสรุป แนวคิดในการวางผัง น

181 182 183 172 172 173 174 174 175 175 175 176 176 177 178 178 179 179 180 181 182 183 184 184 184 185 186 187 187 188 205 209 210


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

5.2.2 5.2.3 5.2.4 5.3.1 5.3.2 5.3.2 5.4.1 5.5.1 5.5.2 5.5.3 5.5.4 5.5.5 5.5.6 5.5.7 5.5.8 5.5.9 5.5.10 5.5.11 5.5.12 5.5.13 5.6.1 5.6.2 5.6.3 5.6.4 5.6.5 5.6.6 5.6.7 5.6.8 5.6.9 5.6.8 5.6.9 5.6.10 5.6.11 5.6.12 5.6.13 5.6.14

แนวคิดในการวางผัง แนวคิดเรื่อง Site History Diagram แนวความคิดการออกอาคาร การวาง Zoning Zoning ทั้ง 4 แบบ Zoning ทั้ง 4 แบบ การตรวจแบบร่างขั้นต้น การตรวจแบบร่าง ครั้งที่ 1 การตรวจแบบร่าง ครั้งที่ 2 การตรวจแบบร่าง ครั้งที่ 3 การตรวจแบบร่าง ครั้งที่ 3 (ส่วน Coh.Ward) การตรวจแบบร่างครั้งที่ 4 (ส่วนใต้ดิน) การตรวจแบบร่างครั้งที่ 4 (ส่วน Ward) การตรวจแบบร่างครั้งที่ 5(Pinup : MasterPlan) การตรวจแบบร่างครั้งที่ 5(Pinup : isometric) การตรวจแบบร่างครั้งที่ 5(Pinup : ส่วนขยายอาคารอื่นๆ) การตรวจแบบร่างครั้งที่ 6 (size : A1) การตรวจแบบร่างครั้งที่ 7 (size : A1) การตรวจแบบร่างครั้งที่ 8 (size : A1) การตรวจแบบร่างครั้งที่ 9 (size : A1) ผังแม่บท ผังบริเวณ ผังพื้น OPD Building ชั้นใต้ดิน ผังพื้น OPD Building ชั้น 1 ส่วนหน้า ผังพื้น OPD Building ชั้น 1 ส่วนหลัง ผังพื้น OPD Building ชั้น 2 ผังหลังคา ส่วนหอพระ ส่วนศาสนา ผังพื้นชั้น 1 อาคาร isolated Ward ผังพื้นชั้น 2 อาคาร isolated Ward ผังหลังคา อาคาร isolated Ward ผังพื้นชั้น 1 อาคาร Cohort Ward ผังพื้นชั้น 2 อาคาร Cohort Ward ผังหลังคา อาคาร Cohort Ward รูปตัดอาคาร OPD ด้านขวางส่วนหน้า บ

210 211 214 215 216 217 217 218 218 219 219 220 220 221 221 222 222 223 224 224 225 227 228 229 230 231 232 233 234 235 235 235 236 236 237 237


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

5.6.15 5.6.16 5.6.17 5.6.18 5.6.19 5.6.26 5.6.20 5.6.21 5.6.22 5.6.23 5.6.24 5.6.25 5.6.26 5.6.27 5.6.28 5.6.30 5.6.31 5.6.34 5.6.35 5.6.36 5.6.38 5.6.37 5.6.39 5.6.40 5.6.41 5.6.42 5.6.43 5.6.44 5.6.45 5.6.46 5.6.47 5.6.48 5.6.49 5.6.50 5.6.51 5.6.52

รูปตัดอาคาร OPD ด้านขวางส่วนหลัง รูปตัดอาคาร OPD ด้านยาว รูปด้านอาคาร OPD ด้านยาว ภาพตัดบางส่วน อาคาร OPD (isometric) รูปด้านอาคารด้านทิศเหนือ (ส่วนด้านหลัง Service) Exterior Perspective รูปตัดอาคาร Cohort Ward รูปตัดอาคาร isolated Ward รูป interior Persepctive ส่วน IPD WARD รูปด้านอาคาร Cohort Ward รูปด้านอาคาร isolated Ward Section Perspective & Exploded Assymbly Exterior Perspective รูปตัด Wallsection Semi outdoor Interior Perspecive Detail Detail Wallsection Exploded Assymbly Cohort Ward Exploded Assymbly Isolate Ward ภาพแผ่นงานนาเสนอ ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 1-3 ภาพถ่ายแผ่นงานนาเสนอ ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 4 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 5 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 6 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 7 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 8 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 9 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 10 ภาพผู้ออกแบบและหุ่นจาลอง ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 11 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 12 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 13 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 14 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 15 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 16 ป

238 238 239 239 241 241 242 242 243 243 243 244 245 246 247 248 249 250 250 251 252 251 253 253 253 254 254 254 255 255 255 256 256 256 257 257


ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่

5.6.53 5.6.54 5.6.55 5.6.56 6.1.1

ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 17 ภาพระหว่างพรีเซ็นต์ ภาพถ่ายร่วมกับ Advicer ภาพระหว่างพรีเซ็นต์ ระยะทางระหว่าง Site และ รพ.รัฐ รองข้าง

257 258 258 258 259


1

บทที่ 1 บทนา ในส่วนของบทนาจะประกอบไปด้วย 7 ส่วนหลักๆ คือ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์การศึกษา จุดมุ่งหมายของการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา ขั้นตอนและวิธีการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ จากการศึกษา และนิยามศัพท์เฉพาะ โดยแต่ละส่วนจะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.1 หลักการ เหตุผล และความสาคัญ สถิติอัตราการเสียชีวิตของทั้งประชากรชาวไทยและทั่วโลก มีผลสถิติว่าโรคที่ทาให้เกิดการเสียชีวิต มากที่สุดในประเทศไทยอันดับ 1 คือโรคมะเร็ง และจะยิ่งสูงขึ้นเรื่อยๆตามภาพที่ 2.1 (สานักสถิติ แห่งชาติ,2557) มีอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 2.85 % และภาพที่ 2.2 (สานักสถิติ แห่งชาติ,2561) มีอัตราการตายด้วยโรคมะเร็ง 13% โดยโรคมะเร็งเป็นโรคที่เกิดจาก 2 สาเหตุหลัก คือ 1.จากพันธุกรรม(ปัจจัยภายใน) 2.จากพฤติกรรม(ปัจจัยภายนอก) ซึ่งปัจจัยหลักๆ ที่ทาให้เกิดโรคมะเร็ง กว่าร้อยละ 90 เป็นสาเหตุจากพฤติกรรม(ปัจจัยภายนอก) ไม่ใช่เรื่องพันธุกรรมในครอบครัวอย่างที่คน ส่วนใหญ่เข้าใจ การรักษามะเร็ง สามารถจาแนกวิธีการรักษาได้เป็น 5 วิธีหลักๆ คือ 1.การผ่าตัด 2.เคมี บาบัด 3.รังสีรักษา 4.การใช้ยามุ่งเป้า 5.ฮอร์โมนบาบัด เป็นต้น โดยผู้ป่วยที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ส่วนใหญ่คือผูท้ ี่ตรวจเจอมะเร็งในระยะเริ่มแรก จากสถิติการรักษามะเร็งเต้านม รพ.พญาไท ปี 2560 พบว่า ผู้ป่วยมะเร็งในระยะเริ่มแรก (มะเร็งขนาดเล็ก มะเร็งโตขึ้น มะเร็งลุกลามถึงต่อมน้าเหลืองแต่ยังมี จานวนน้อย)จะมีอัตรารอดอยู่ที่ 95,90,85% แต่ในระยะที่ 3(มะเร็งโตมากลุกลามเข้าต่อมน้าเหลือง มาก) จะมีอัตราการรอดอยู่ที่ 65% และระยะที่ 4 (แพร่กระจายเข้ากระแสเลือด สู่อวัยวะอื่นๆ) จะมี อัตราการรอดที่อยู่ที่ 0-20% และส่วนใหญ่อยู่ได้ไม่เกิน 3 ปี

ภาพที่ 1.1 อัตราการตายจาแนกตามสาเหตุ ภาพที่ 1.2 อัตราการตายจาแนกตามสาเหตุ (สานักสถิติแห่งชาติ,2557) (สานักสถิติแห่งชาติ,2561) โดยปัจจุบันสถานการณ์การรักษามะเร็งในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขมีการกาหนดตัวชี้วัด ของการรักษามะเร็ง ให้ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในระยะเวลาที่กาหนดไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จากข้อมูลสถิติ


2 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาในระยะเวลาที่กาหนด จาแนกตามการรักษาพบว่าการรังสีรักษา มี ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาตามระยะเวลาที่กาหนดร้อยละ 54.9 การรักษาแบบผ่าตัดมีผปู้ ่วยที่ได้รับการ รักษาตามระยะเวลาที่กาหนดร้อยละ 68.25 และเคมีบาบัดมีผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาตามระยะเวลาที่ กาหนดร้อยละ71.51% จากข้อมูลดังกล่าวพบว่า ผู้ป่วยได้รับการรักษาล่าช้ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด โดยมี เพียงเคมีบาบัดเท่านั้นที่ผ่านเกณฑ์ในภาพรวมของทุกๆเขตสุขภาพ แต่ก็ยังมีบางเขตสุขภาพที่ยังมีการ รับการรักษาที่นานกว่าเกณฑ์ที่กาหนด

ภาพที่ 1.3 ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา(การ ภาพที่ 1.4 ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา(รังสีรักษา) ผ่าตัด)ภายในระยะเวลาที่กาหนด(4สัปดาห์) ภายในระยะเวลาที่กาหนด(4สัปดาห์) (กระทรวง (กระทรวงสาธารณสุข ,2563) สาธารณสุข ,2563)

ภาพที่ 1.5 ร้อยละผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา(เคมีบาบัด)ภายในระยะเวลาที่กาหนด(4สัปดาห์) (กระทรวง สาธารณสุข ,2563)

ภาพที่ 1.6 การกระจายตัวของโรงพยาบาลเอกชนเฉพาะทางมะเร็ง(สีแดง), สถานบันมะเร็งแห่งชาติ(สีชมพู), โรงพยาบาลที่มีศูนย์มะเร็ง(สีฟ้า) ที่มา : สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข ,ไม่ระบุปี (สืบค้นเมื่อ 2563) ,โรงพยาบาลเฉพาะทาง, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), ไม่ระบุปี (สืบค้นเมื่อ 2563)


3 จากข้อมูลดังกล่าวเห็นได้ว่า ประเทศไทยมีสถาบันมะเร็ง โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง โรงพยาบาล ทั่วไปที่มีศูนย์มะเร็ง กระจายอยู่ตามเขตสุขภาพต่างๆมากกว่า 30 แห่ง แต่ยังไม่สามารถให้การรักษา ผู้ป่วยมะเร็งได้ทันเวลาตามตัวชี้วัดที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด การจัดการปัญหาของภาครัฐที่เกี่ยวกับโรคมะเร็งที่ผ่านมา จากแผนการป้องกันและควบคุม โรคมะเร็งแห่งชาติ พ.ศ.2561-2565,หน้า32 ระบุไว้ว่า "ผู้ป่วยที่ตรวจพบโรคมะเร็งควรได้รับการดูแลใน รูปแบบต่างๆไปตามระยะโรคภายในระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือของทีมบุคลากรทาง การแพทย์ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้องทุกระดับร่วมกันเพื่อจัดบริการที่ได้ มาตรฐานและมีคุณภาพ เท่าเทียม ทุกในระดับของสถานพยาบาล" และในยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการ รักษาผู้ป่วยมะเร็ง มุ่งเน้นให้มีการลดระยะเวลาการรอคอยของการวินิจฉัยและการรักษาให้อยู่ในเกณฑ์ ลดอัตราการเสียชีวิต และเพิ่มอัตราการอยู่รอดในโรคมะเร็งที่รักษาได้ โดยมีหน่วยงานที่รับผิดชอบร่วม ด้วยคือโรงพยาบาลเอกชน (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข,2561) ดังนั้น จากแนวทางการแก้ปัญหาดังกล่าวจึงก่อให้เกิดโครงการโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง เพื่อ รองรับการรักษามะเร็งให้ทนั ท่วงที โดยเน้นให้มีการออกแบบที่ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการรักษา และฟื้นฟูผู้ป่วยโรคมะเร็ง และแบ่งเบาภาระการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลรัฐ 1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบพื้นที่และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการรักษาและพักฟื้นสาหรับผู้ป่วย โรคมะเร็ง 1.2.2 เพื่อศึกษาการดาเนินงานของโรงพยาบาลเฉพาะทาง เพื่อนาไปสู่การกาหนดองค์ประกอบของ โครงการและออกแบบพื้นที่ใช้สอย 1.2.3 เพื่อศึกษาการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการโรงพยาบาลเฉพาะทาง 1.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการเลือกใช้งานระบบต่างๆ และการเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม 1.3 จุดมุ่งหมายของการศึกษา จุดมุ่งหมายของการศึกษาการออกแบบโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายในการ ออกแบบพื้นที่สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้เกิดการรักษาและฟื้นฟูทั้งสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ กับ ผู้ป่วยมะเร็งทั้งในระยะเริ่มแรก ตลอดจนระยะลุกลามหรือระยะแพร่กระจาย 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.4.1 ศึกษาการออกแบบพื้นที่และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการรักษาและพักฟื้นสาหรับผู้ป่วย โรคมะเร็ง 1.4.2 ศึกษาถึงการออกแบบโรงพยาบาลเฉพาะทาง 1.4.3 ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 1.4.4 ศึกษาการเลือกงานระบบต่างๆ และการเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม


4 1.5 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา เริ่มต้นการศึกษาด้วยการตั้งคาถามว่า อะไรที่ทาให้เกิดสาเหตุการตายมากที่สุด คาตอบคือมะเร็ง หลังจากนั้นก็เริ่มทาการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโรคมะเร็ง และสถิติการเกิดโรคมะเร็ง สถิติการตายด้วย โรคมะเร็ง ฯลฯ และทาการวิเคราะห์ข้อมูลว่าสถานที่ใดเกิดการตายด้วยโรคมะเร็งมากทีส่ ุด และทาการ หาที่ตั้งโครงการ สังเคราะห์แนวคิดในการออกแบบ แนวคิดในการวางผัง แนวคิดการออกแบบตัวอาคาร ทาแบบร่าง ทาแบบสถาปัตย์ นาเสนอผลงาน อภิปรายและสรุปผล

ภาพที่ 1.7 แผนผังแสดงขั้นตอนและวิธีการศึกษา


5 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา 1.6.1 รู้และเข้าใจแนวทางในการออกแบบพื้นที่สาหรับรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง 1.6.2 เข้าใจแนวทางการออกแบบพื้นที่ที่มีองค์ประกอบทางกายภาพ บรรยากาศสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการรักษาและพักฟื้น 1.6.3 รู้และเข้าใจแนวทางในการออกแบบโรงพยาบาลเฉพาะทางที่มีองค์ประกอบแตกต่างจาก โรงพยาบาลทั่วไป และเข้าใจการใช้งานพื้นที่ในโรงพยาบาลมากขึ้น 1.6.4 รู้และเข้าใจแนวทางในการเลือกใช้งานระบบต่างๆ และการเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม 1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ นิยามศัพท์เฉพาะจะจาแนกออกแบบ 2 ส่วนคือ ส่วนนิยามคาศัพท์และส่วนคาย่อ โดยแต่ละส่วนจะ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.7.1 นิยามศัพท์ เป็นการนิยามคาศัพท์ที่มีความเฉพาะกับตัวโครงการโดยมีรายละเอียดดังตารางด้านล่างนี้ 1.มะเร็ง (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2559) มะเร็ง คือ กลุ่มของ โรคที่เกิดเนื่องจากเซลล์ของร่างกายมีความผิดปกติ ที่ DNA หรือสารพันธุกรรม ส่งผลให้เซลล์มกี าร เจริญเติบโต มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ รวดเร็ว และมากกว่าปกติ ดังนั้น จึงอาจทาให้เกิดก้อน เนื้อผิดปกติ และในที่สุดก็จะ ทาให้เกิดการตายของเซลล์ในก้อนเนื้อนั้น เนื่องจากขาดเลือดไปเลี้ยง เพราะการ เจริญเติบโตของหลอดเลือด ถ้าเซลล์พวกนี้เกิดอยู่ในอวัยวะใดก็จะ เรียกชื่อ มะเร็ง ตาม อวัยวะนั้นเช่น มะเร็งปอด มะเร็งสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็ง เม็ดเลือดขาว มะเร็งต่อม น้าเหลือง และมะเร็งผิวหนัง เป็นต้น 2.มะเร็งระยะลุกลาม (thrive-thailand, 2560) มะเร็งระยะลุกลามมักเรียกกันว่ามะเร็งระยะ แพร่กระจาย (เรียกอีกชื่อว่ามะเร็งระยะที่ 4) มะเร็งระยะลุกลาม คือ มะเร็งที่แพร่กระจายไปยังบริเวณ ต่างๆ อาจรวมไปถึงบริเวณอวัยวะที่อยู่ไกล แต่ถ้าหากเป็นมะเร็งที่แพร่กระจายเฉพาะที่บริเวณรอบๆ ก้อนมะเร็ง แต่ยังไม่ไปถึงอวัยวะและเนื้อเยื่อที่อยู่ไกล มักเรียกกันว่า “มะเร็งระยะลุกลามเฉพาะที”่ (หรือมะเร็งระยะที่ 3) 3.มะเร็งระยะแพร่กระจาย (thrive-thailand, 2560) ส่วนใหญ่จะใช้เรียกกันในมะเร็งระยะที่ 1-4 4.มะเร็งระยะสุดท้าย (สมาคมรังสีรักษาและมะเร็งวิทยาแห่งประเทศไทย, 2556) มะเร็งระยะ สุดท้าย คือ ระยะที่มะเร็งได้แพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น ๆ ของร่างกาย โดยเซลล์มะเร็งจะขยายตัวใช้ พื้นที่และแย่งสารอาหารที่จาเป็นต่ออวัยวะในร่างกาย ทาให้ร่างกายไม่สามารถทางานตามปกติเป็นอย่าง มาก การรักษาโดยมุ่งกาจัดมะเร็งไม่ได้ผล และมีแนวโน้มทีผ่ ู้ป่วยจะเสียชีวิตในเวลาต่อมา 5.การดูแลผู้ปว่ ยแบบประคับประคอง(Palliative Care) (พบแพทย์ Pobpad.com, 2559) การ ดูแลแบบประคับประคอง หรือ Palliative Care คือ การดูแลที่มีมุ่งเน้นการเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และครอบครัว โดยลดความทุกข์ทรมานทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ เป็นการดูแล


6 ควบคู่กับการรักษาหลักที่มุ่งหวังกาจัดตัวโรค การดูแลแบบประคับประคองจะคานึงถึงความต้องการและ ความปรารถนาของผู้ป่วยและครอบครัวร่วมด้วยเสมอ 6.โรงพยาบาลทุติยภูมิ (เกณฑ์การแบ่งระดับสถานบริการในสังกัดสานักงานปลัด - กระทรวง สาธารณสุข, 2558) หน่วยบริการระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) จาแนกเป็น 3 ระดับ 1.หน่วยบริการระดับทุติยภูมิระดับต้น 2.หน่วยบริการระดับทุติยภูมิระดับกลาง 3.หน่วยบริการระดับทุติยภูมิระดับสูง 7.หน่วยบริการระดับทุติยภูมิระดับสูง (เกณฑ์การแบ่งระดับสถานบริการในสังกัดสานักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข, 2558) หน่วยบริการระดับทุติยภูมิระดับสูง หมายถึง โรงพยาบาลชุมชนขนาด ใหญ่ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ หรือหน่วยบริการอื่นๆ ทั้งหน่วยบริการของภาครัฐและเอกชน ซึ่งขยายขอบเขตการรักษาพยาบาล โรคที่มคี วามซับซ้อนมากขึ้น และจาเป็นต้องใช้แพทย์เฉพาะทาง สาขารอง นอกจากแพทย์เฉพาะทางในสาขาหลักเช่น จักษุวิทยา โสต นาสิก ลาลิงช์ รังสีวิทยา จิตเวช ศาสตร์ เวชศาสตร์ฟื้นฟู เวชบาบัดวิกฤต 8.โรงพยาบาลเฉพาะทาง (กฏกระทรวง - กาหนดลักษณะของสถานพยาบาลและลักษณะการ ให้บริการของสถานพยาบาล, 2558) โรงพยาบาลเฉพาะทาง หมายความว่า โรงพยาบาลที่จัดให้มีการ ประกอบวิชาชีพตามลักษณะเฉพาะทางด้านเวชกรรม ซึ่งดาเนินการโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม และ ผู้ประกอบวิชาชีพนั้นต้องได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติจากแพทยสภา เช่น โรงพยาบาลเฉพาะทางหู ตา คอ จมูก โรงพยาบาลเฉพาะทางโรคหัวใจ และโรงพยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง เป็นต้น 9.โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง (รพ.เฉพาะทางมะเร็งกรุงเทพขนาดเล็ก, 2559) โรงพยาบาลเฉพาะ ทางมะเร็ง เป็นโรงพยาบาลที่ให้บริการด้านการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งด้วยรังสีรักษา (Radiotherapy), เคมีบาบัด (Chemotherapy), การรักษาโดยใช้ฮอร์โมน (Hormonal Therapy), การรักษาแบบ จาเพาะเจาะจงต่อเซลล์มะเร็ง (Targeted Therapy) และการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Supportive Care, Palliative Care) รวมถึงการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิต (End of life care) โดยประสานงานกับแพทย์ต่างสาขาเพื่อให้การรักษาเป็นไปอย่างดีและเหมาะสม ที่สุด


7 1.7.2 คาย่อ คาย่อ เป็นคาย่อที่มีความเฉพาะเจาะจง ที่ทางผู้เขียนได้ทาการระบุไว้เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน คา หรือแผนกต่างๆ โดยมีรายละเอียดดังตารางด้านล่าง ตารางที่ 1.7.1 คาย่อ คาย่อ คาเต็ม ANES ANAESTHETIST, ANESTHESIOLOGIST วิสัญญีแพทย์ CPR CARDIO PULIMONARY RESUSCITATION CSSD แผนกจ่ายกลาง (CENTRAL STERILE SUPPLY DEPARTMENT) CTD CHEMOTHERPY DEPARTMENT หรือ แผนกเคมีบาบัด CX CUSTOMER: ผู้รับบริการ (ผู้ป่วยรับบริการตรวจวินิจฉัย, ผู้ป่วยรับบริการกา รักษา OPD, ผู้ป่วยรับบริการการรักษา IPD/ADMIT, ผู้ป่วยที่ส่งต่อมาจาก โรงพยาบาลอื่น, ญาติผู้ป่วย) ที่มา: ABBREVIATIONS.COM DEPTS. DEPARTMENT แผนก DND DEPARTMENT OF NUTRITION AND DIETETICS หรือ แผนกโภชนาการ ER EMERGENCY ROOM ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน IPD INPATIENT DEPARTMENT แผนกรักษาผู้ป่วยใน LAB LABORATORY ห้องปฏิบัติการ (เป็นส่วนหนึ่งของงานพยาธิวิทยา) LNDRY LAUNDRY หรือ แผนกซักรีด MED MEDICINE อายุรกรรม (การรักษาด้วยยา) MRD MEDICAL RECORDS DEPARTMENT หรือ แผนกเวชระเบียน NA NURSE ASSISTANCE พนักงานผู้ช่วยพยาบาล OB OBSTRETIC GYNECOLOGY สูต-ิ นรีเวชกรรม OFC OFFICER: ผู้ปฏิบัติงาน (แพทย์, บุคลากรทางการแพทย์, คณะผู้อานวยการ) ที่มา: ABBREVIATIONS.COM OPD OUTPATIENT DEPARTMENT แผนกผู้ป่วยนอก OR OPERATING ROOM ห้องผ่าตัด PE PHYSICAL EXAMINATION การตรวจร่างกาย PHA PHARMACY DEPARTMENT หรือ แผนกเภสัชกรรม PN PRACTICAL NURSE ผู้ช่วยพยาบาล P-REL PATIENT RELATIVE ญาติ/เพื่อน ผู้ป่วย


8 ตารางที่ 1.7.1 คาย่อ (ต่อ) คาย่อ คาเต็ม PT DEPARTMENT OF PHYSICAL THERAPY หรือ แผนกกายภาพบาบัด, PHYSICAL THERAPY แผนกกายภาพบาบัดและฟื้นฟู RAD RADIOLOGY DEPARTMENT หรือ แผนกรังสีวิทยา RAD-D RADIODIAGNOSTIC DEPARTMENT แผนกรังสีวินิจฉัย RAD-T RADIOTHERAPY DEPARTMENT แผนกรังสีรักษา RN REGISTERED NURSE พยาบาลวิชาชีพ SUR DEPARTMENT OF SURGERY หรือ แผนกศัลยกรรม, SURGICAL ศัลยกรรม (การรักษาด้วยการผ่าตัด) รพ. โรงพยาบาล รพ. นอก สธ. โรงพยาบาลนอกสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข รพ.สส. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ รพค. โรงพยาบาลค่าย


9

บทที่ 2 การศึกษาและวิเคราะห์สรุปโครงการ การศึกษาและวิเคราะห์สรุปโครงการ จะอธิบายถึงข้อมูลทั่วไปของโรค หลักการออกแบบและ องค์ประกอบโรงพยาบาล กรณีศึกษา (Case Study) การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility) และสรุปการจัดตั้งโครงการ(เป็นภาพรวมของโครงการทั้งหมด ส่วนในรายละเอียดจะ แสดงในบทที่ 4 และ 5 ต่อไป) โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.1 ข้อมูลทั่วไปของโรคมะเร็ง มะเร็ง คือ กลุม่ ของโรคที่เกิดเนื่องจากเซลล์ของร่างกายมีความผิดปกติที่ DNA หรือสารพันธุกรรม ส่งผลให้เซลล์มีการเจริญเติบโต มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์รวดเร็วและมากกว่าปกติ ดังนั้นจึงอาจ ทาให้เกิดก้อนเนื้อผิดปกติและในที่สุดก็จะทาให้เกิดการตายของเซลล์ในก้อนเนื้อนั้น เนื่องจากขาดเลือด ไปเลี้ยงเพราะการเจริญเติบโตของหลอดเลือด ถ้าเซลล์พวกนี้เกิดอยู่ในอวัยวะใดก็จะเรียกชื่อมะเร็งตาม อวัยวะนั้น ผู้เขียนได้ทาการอธิบายข้อมูลทั่วไปของโรคมะเร็งโดยแบ่งเป็น 6 หัวข้อ คือ สาเหตุการเกิด การแบ่ง ชนิดของโรค ระยะของโรค วิธีการรักษา ระยะเวลาในการรักษา และ กระบวนการรักษา โดยมี รายละเอียดดังนี้ 2.1.1 สาเหตุการเกิดโรคมะเร็ง 1 เกิดจากสิ่งแวดล้อมหรือภายนอกร่างกาย ซึ่งปัจจุบันนี้เชื่อกันว่ามะเร็งส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุได้แก่ - สารก่อมะเร็งที่ปนเปื้อนในอาหารและเครื่องดื่ม - รังสีเอ็กซเรย์ อุลตราไวโอเลตจากแสงแดด - ชื้อไวรัส ไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสฮิวแมนแพบพิลโลมา - การติดเชื้อพยาธิใบไม้ในตับ - จากพฤติกรรมบางอย่าง เช่น การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น 2 เกิดจากความผิดปกติภายในร่างกาย (ซึ่งมีเป็นส่วนน้อย) -เด็กที่มีความพิการมาแต่กาเนิดมีโอกาสเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว -การมีภูมิคุ้มกันที่บกพร่องและภาวะทุพโภชนาการ จะเห็นว่ามะเร็งส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อม ดังนั้น มะเร็งก็น่าจะเป็นโรคที่ สามารถ ป้องกันได้เช่นเดียวกับโรคติดเชื้ออื่นๆ ถ้าประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารก่อมะเร็งและสารช่วย หรือให้เกิดมะเร็งที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมแล้ว พยายามหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารเหล่านั้น เช่น งดสูบบุหรี่ หรือหลีกเลี่ยงจากบริเวณที่มีควันบุหรี่ เป็นต้น ข้อมูลดังกล่าวนามาจาก สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการ แพทย์ กระทรวงสาธารณสุข


10 2.1.2 การแบ่งชนิดของโรคมะเร็ง ประเภทของมะเร็ง โดยทั่วไปแล้ว มะเร็งสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ดังนี้ - มะเร็งคาร์ซิโนมา (Carcinoma) คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากผิวหนัง หรือเยื่อบุอวัยวะ - มะเร็งซาร์โคมา (Sarcoma) คือ มะเร็งที่มีจดุ กาเนิดมาจากกระดูก กระดูกอ่อน กล้ามเนื้อ ไขมัน หรือหลอดเลือด - มะเร็งไมอีโลมา (Myeloma) และมะเร็งลิมโฟมา (Lymphoma) คือ มะเร็งที่มีจุดกาเนิด มาจากเซลล์ของระบบภูมิคุ้มกัน - มะเร็งลูคีเมีย หรือมะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) คือ มะเร็งทีม่ ีจุดกาเนิดมาจากเซลล์ ต้นกาเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูก ทาให้เม็ดเลือดผิดปกติ - มะเร็งระบบสมองและไขสันหลัง (Central nervous system cancers) คือ มะเร็งที่เกิด ในสมอง อวัยวะในระบบประสาทส่วนกลาง หรือไขสันหลัง

carcinoma Sarcoma myeloma leukemia central nervous ภาพที่ 2.1.1 มะเร็งประเภทต่างๆ ที่มา : Luma Health Insurance 2.1.3 ระยะของโรคมะเร็ง ระยะโรคมะเร็ง คือ ตัวบอกความรุนแรงของโรค (การลุกลามและแพร่กระจาย) บอก แนวทางการรักษา และแพทย์ใช้ในการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็ง โดยทั่วไปโรคมะเร็งมี 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 – 4 ซึ่งทั้ง 4 ระยะ อาจแบ่งย่อยได้อีกเป็น อีกเป็น เอ (A) บี (B) หรือ ซี (C) หรือ เป็น (1) หรือ (2) เพือ่ แพทย์โรคมะเร็งใช้ช่วยประเมินการรักษา ส่วนโรคมะเร็งระยะศูนย์ (0) ยังไม่จัดเป็นโรคมะเร็งอย่างแท้จริง เพราะเซลล์เพียงมีลักษณะเป็นมะเร็ง แต่ยังไม่มีการรุกราน (Invasive) เข้าเนื้อเยื่อข้างเคียง - ระยะที่ 1 : ก้อนเนื้อ / แผลมะเร็งมีขนาดเล็ก ยังไม่ลุกลาม - ระยะที่ 2 : ก้อน / แผลมะเร็งขนาดใหญ่ขึ้น เริ่มลุกลามภายในเนื้อเยื่อ/อวัยวะ - ระยะที่ 3 : ก้อน / แผลมะเร็งขนาดใหญ่ขึ้น เริ่มลุกลามเข้าเนื้อเยื่อ / อวัยวะข้างเคียง และ ลุกลามเข้าต่อมน้าเหลืองที่อยู่ใกล้เนื้อเยื่อ / อวัยวะที่เป็นมะเร็ง - ระยะที่ 4 : ก้อน / แผลมะเร็งขนาดโตมาก และ / หรือลุกลามเข้าเนื้อเยื่อ / อวัยวะข้างเคียง จนทะลุ และ / หรือเข้าต่อมน้าเหลืองที่อยู่ใกล้ก้อนมะเร็ง โดยพบต่อมน้าเหลืองโตคลาได้ และ / หรือมีหลากหลายต่อม และ / หรือ แพร่กระจายเข้ากระแสโลหิต และ / หรือ หลอด น้าเหลือง / กระแสน้าเหลือง ไปยังเนื้อเยื่อ / อวัยวะที่อยู่ไกลออกไป เช่น ปอด ตับ สมอง


11 กระดูก ไขกระดูก ต่อมหมวกไต ต่อมน้าเหลืองในช่องท้อง ในช่องอก และ / หรือต่อมน้าเหลือง เหนือกระดูกไหปลาร้า 2.1.4 วิธีการรักษาโรคมะเร็ง การรักษามะเร็งในปัจจุบันมีวิธีการรักาที่หลากหลาย ทางผู้ออกแบบจึงหาข้อมูลจากหลาย ที่มาและพบข้อมูลจาก โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ได้จาแนกวิธีการรักษาไว้ดังนี้ 1.การผ่าตัด (Surgery) การผ่าตัดเป็นวิธีการรักษามะเร็งเฉพาะที่ เช่น การผ่าตัดผ่านกล้องในการรักษามะเร็งลาไส้ใหญ่ เป็นต้น ผู้ป่วยบางรายอาจมีการรักษาเสริม (Adjuvant therapy) เช่น การให้ยาเคมีบาบัด หรือในผู้ป่วยบางราย ไม่สามารถผ่าตัดได้ทันที เนื่องจากก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่ 2.รังสีรักษา (Radiotherapy) การรักษาด้วยรังสีบาบัด หรือ การฉายแสง เป็นการรักษามะเร็งเฉพาะตาแหน่งโดยใช้รังสีขนาดสูง (High Dose of Radiation) จากแหล่งกาเนิดรังสี โดยแสงนี้จะผ่านผิวหนังไปยังตาแหน่งที่ต้องการ โดย มีจุดประสงค์ต่างๆ 3.เคมีบาบัด (Chemotherapy) การรักษาด้วยยาเคมีบาบัด เป็นการรักษาด้วยสารเคมีที่มีผลทาลายเซลล์มะเร็งมากกว่าเซลล์ปกติ โดยที่ กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบาบัดนั้น จะขัดขวางการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง โดยสามารถกวาดล้าง มะเร็งที่หลบซ่อนตามจุดต่างๆ ของร่างกายได้ดี 4.ยาฮอร์โมนบาบัด (Hormonal Therapy) การใช้ยาฮอร์โมนบาบัด (Hormonal Therapy) มักจะให้ในเซลล์มะเร็งที่ตอบสนองต่อยาฮอร์โมนบาง ชนิด 5.การรักษามะเร็งแบบพุ่งเป้า (Targeted Cancer Therapy) ปัจจุบันยา Targeted Cancer Therapy มีบทบาทในการรักษามะเร็งอย่างมาก ด้วยประสิทธิภาพใน การรักษาสูงเมื่อเทียบกับการให้เคมีบาบัด แต่มีผลข้างเคียงน้อยกว่า แต่ไม่ใช่ว่าทุกคนที่เป็นมะเร็งจะ สามารถรับการรักษาด้วยยา Targeted Cancer Therapy ได้ มีความจาเป็นต้องพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อพิจารณาเป็นรายๆ ไปตามความเหมาะสม 6.การรักษาด้วยภูมิคุ้มกันบาบัด (Cancer Immunotherapy) สาหรับยาภูมิคุ้มกันบาบัดมีกลไกการออกฤทธิ์ ทาให้เม็ดเลือดขาวมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยให้ผลทีด่ ี เหมือนยา Targeted Cancer Therapy คือ มีผลข้างเคียงน้อยกว่าเมื่อเทียบกับการรักษาด้วยยาเคมี บาบัด แต่การที่เม็ดเลือดขาวมีความสามารถมากเกินไปบางครั้งอาจทาให้เกิดผลข้างเคียง เช่น ผิวเป็น ผื่น ลาไส้อักเสบ ท้องเสีย ปอดอักเสบ รวมถึงอาจส่งผลกระทบให้ไทรอยด์ทางานมากหรือน้อยเกินไป หรือน้าตาลในเลือดสูงขึ้นได้ แต่ร่างกายจะค่อยๆ ปรับตัวได้เอง ก่อนการรักษาแพทย์จะพิจารณา-การ


12 เลือกใช้ยาตามชนิดของมะเร็งและระยะของมะเร็ง ปัจจุบัน ยาภูมิคุ้มกันบาบัดเหมาะสาหรับการใช้รักษา มะเร็งได้หลายชนิด 2.1.5 ระยะเวลาในการรักษา การตรวจพบโรคมะเร็งได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกย่อมเป็นผลดีต่อการรักษา ซึ่งวิธีการรักษามี ดังต่อไปนี้

ภาพที่ 2.1.2 แผนภูมิระยะเวลาการรักษาเปรียบเทียบ - การผ่าตัด การเอาก้อนที่เป็นมะเร็งออกไป 4-8 สัปดาห์ - รังสีรักษา การให้รังสีกาลังสูงเพื่อฆ่าเซลล์มะเร็ง 4-7 สัปดาห์ - (คีโม)เคมีบาบัด การให้ยา (สารเคมี) เพื่อฆ่าเซลล์มะเร็ง 4-6 เดือน - ฮอร์โมนบาบัด การใช้ฮอร์โมนเพื่อยุติการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง 1-2 ปี โดยจากการกลุ่มตัวอย่างและระยะเวลาที่ใช้ในการรักษา จะกล่าวได้ว่า กลุ่มที่รักษาหายเร็วที่สุด (Minimum time) คือ 1 ปี 6 เดือน และกลุ่มที่รักาหายช้าที่สุด คือ 2 ปี 10 เดือน โดย ระยะเวลา ดังกล่าวเป็นระยะเวลาเฉลี่ยในการรักษาในโรคมะเร็งทุกชนิด 2.1.6 กระบวนการรักษามะเร็ง ในหัวข้อนีผ้ ู้เขียนจะอธิบายเกี่ยวกับวิธีการรักษามะเร็ง แบบพอสังเขป กล่าวได้ว่า โรคมะเร็ง มีหลายประเภทไม่ว่าจะเป็นการจาแนกประเภทด้วยชนิดของเซลล์ที่เป็นต้นกาเนิด ชนิดของอวัยวะที่ เป็น ชนิดของจุดกาเนิดเซลล์ ผู้เขียนจึงทาการเลือกอธิบาย กระบวนการรักษาโรคมะเร็งในกลุ่ม โรคมะเร็งที่มักพบมากที่สุดในมนุษย์จาแนกโดย เพศ โดยจะพบว่า มะเร็งที่พบมากที่สดุ ในเพศหญิง ได้แก่มะเร็งเต้านม (29%) และมะเร็งที่พบมากที่สุดในเพศชาย ได้แก่มะเร็งปอด (19%)


13 ในกระบวนการรักษามะเร็งของทั้ง 2 แบบจะมีส่วนที่คล้ายและแตกต่างกันอยู่ โดยส่วนที่ คล้ายกันได้แก่ การรักษาส่วนใหญ่เมื่อพบก้อนมะเร็ง จะเริ่มต้นที่การผ่าตัดเป็นหลัก ทาให้ต้องมีการพัก ฟื้นที่ รพ. และหลังจากฟื้นตัว ผู้ป่วยจะต้องได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าควรได้รับวิธีการรักษาแบบใด เป็นหลัก (เคมีบาบัดหรือรักสีรักษา) โดยส่วนมากจะเป็นการให้ยาเคมีบาบัด หรือในบางรายจะได้รับการ รักษาด้วยรักสีรักษาร่วมด้วย และ ในผู้ป่วยระยะแพร่กระจาย(ระยะ4เป็นต้นไป) ส่วนใหญ่จะได้รับการ รักษาแบบประคับประคอง ในโรคมะเร็งชนิดอื่นๆก็เช่นกัน ในส่วนที่มีความแตกต่างกันของกระบวนการ รักษาคือ ในโรคมะเร็งเต้านม จะมีการเพิม่ ยานอกเหนือจากการรับเคมีบาบัด เช่น ยาต้านฮอร์โมน และ ในบางรายหลังการผ่าตัดจะมีผลข้างเคียงคือ อาการแขนบวม ทาให้ต้องได้รับการนวดเพื่อกระตุ้นการ ไหลเวียนเลือดในบริเวณแขนของผู้ป่วย และในโรคมะเร็งชนิดอื่นในเพศหญิง เช่น มะเร็งปากมดลูก จะมี การรักษาที่เรยีกว่าการฝังแร่ ที่เพิ่มมเติมมาจาก การให้เคมีบาบัด และ การรับรักสีรักษา จึงสามารถ สรุปคร่าวๆได้ว่า กระบวนการรักษามะเร็งในเพศหญิง ส่วนใหญ่จะมีกระบวนการและการให้การรักษาที่ ละเอียดอ่อนกว่าเพศชาย ทั้งนี้ก็จะเห็นได้ว่า ค่าตรวจโรคมะเร็งในเพศหญิงจะมีราคาทีส่ ูงกว่าของเพศ ชายเฉลี่ยประมาณ 2 เท่า


ภาพที่ 2.1.3 แผนผังกระบวนการรักษามะเร็งเต้านม

ในส่วนของรายละเอียดกระบวนการรักษามะเร็งเต้านมและมะเร็งปอด จะมีรายละเอียดดังนี้ 1 มะเร็งเต้านม

14


2 มะเร็งปอด

ภาพที่ 2.1.4 แผนผังกระบวนการรักษามะเร็งปอด

15


16 2.2 หลักการออกแบบและองค์ประกอบโรงพยาบาล หลักการออกแบบ และองค์ประกอบโครงการ ผู้เขียนได้ทาการค้นคว้าจากตาราและคู่มอื ใน การออกแบบทั้งหมด 3 ชุดข้อมูลหลักๆ ได้แก่ 1.คูม่ ือการออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพและ สภาพแวดล้อม (กระทรวงสาธารณะสุข, 2558-2560) 2.หนังสือการออกแบบโรงพยาบาล อ.อวยชัย วุฒิโฆสิต และ 3. คู่มือการออกแบบ OPD มีสุข โดยในแต่ละชุดข้อมูลจะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.2.1 คู่มือการออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพและสภาพแวดล้อม จากการหาข้อมูลคู่มือการออกแบบโรงพยาบาลต่างๆ พบว่า กองแบบแผน กรมสนับสนุน บริการ กระทรวงสาธารณะสุข มีคู่มือในการออกแบบสถานพยาบาล 17 ฉบับใน 3 ปีงบประมาณตั้งแต่ 2558 - 2560 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.2.1.1.คูม่ ือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพระดับทุติยิม-ตติ ภู ย ภูมิ ปีงบประมาณ 2560 ในปีงบประมาณ 2560 กองแบบแผน ได้ด าเนินงานโครงการจัดท าคู่มือการออกแบบ อาคารและสภาพแวดล้อมของสถานบริการสุขภาพ ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 25582559 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรวิชาชีพด้านออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมของสถาน บริการสุขภาพ ทั้งในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนตลอดจนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถน าไปใช้เป็นแนวทางในการออกแบบปรับปรุง พัฒนา และประเมิน อาคารและสภาพแวดล้อมของสถานบริการสุขภาพ และใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการเกี่ยวกับการ พัฒนาอาคารและสภาพแวดล้อมของสถานบริการสุขภาพ เพื่อให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนดและ ส่งผลให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพอย่างเท่าเทียมกัน สาหรับปีงบประมาณ 2560 นี้ กองแบบแผนได้ดาเนินการจัดทาคู่มือการออกแบบแผนกดังต่อไปนี้ - แผนกจ่ายกลาง (Central Sterile Supply) - หออภิบาลผู้ป่วยหนัก (Intensive Care Unit) - แผนกซักฟอก/ซักรีด (Laundry) - แผนกโภชนาการ (Nutrition and Dietetics) - แผนกกายภาพบาบัด (Physical Therapy)

ภาพที่ 2.2.1 ภาพคู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพระดับทุติยิม-ตติ ภู ยภูมิ ปีงบประมาณ 2560


17 2.2.1.2.โครงการคู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ 2559 ในปงบประมาณ 2559 กองแบบแผน ไดดาเนินโครงการจัดทาคูมือการออกแบบอาคาร และสภาพแวดลอม ของสถานบริการสุขภาพ ซึ่งเปนโครงการตอเนื่องจากปงบประมาณ 2558 เพื่อใชเป นแนวทางในการออกแบบ ปรับปรุง พัฒนา และประเมินอาคารและสภาพแวดลอมของสถานบริการ สุขภาพ ใหมีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งจะสงผลใหประชาชนไดรับบริการดานสุขภาพ อยางเท่า เทียมกัน สาหรับปงบประมาณ 2559 นี้ ไดดาเนินการจัดทาคูมือการออกแบบดังต่อไปนี้ - แผนกเวชระเบียน - แผนกศัลยกรรม - แผนกสูติกรรม - แผนกทันตกรรม - แผนกธนาคารเลือด

ภาพที่ 2.2.2 ภาพโครงการคู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ 25593. 2.2.1.3 โครงการจัดทาคู่มือออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพและสภาพแวดล้อม ปี 2558 กลุ่มพัฒนาและกาหนดมาตรฐาน กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข ได้จัดทาคู่มือการออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพ และสภาพแวดล้อม จากการค้นคว้า รวบรวม หรังสือ เอกสาร ระเบียบ ข้อกาหนดทางกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและจากประสบการณ์การ ทางานของบุคลากรณ์กองแบบแผน ทุกสาขาวิชาชีพในการออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพ ทั้ง สถาปนิก วิศวกรโยธา วิศวกรไฟฟ้า วิศวกรสิ่งแวดล้อม วิศวกรเครื่องกล และมัณฑนากร เพื่อเป็นคู่มือ ออกแบบ โดยใช้ประกอบกับคู่มือการออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพ และสภาพแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดทาคู่มือเหล่านี้ สาหรับผู้ที่มีหน้าที่หรือได้รับมอบหมายให้ ออกแบบอาคาร ไม่ว่าจะเป็น นักศึกษา สถาปนิก และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดเป็นแนวทางการจัดทา


18 แบบอาคารสถานบริการสุขภาพ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือนาไปพัฒนา ปรับปรุงอาคารสถานที่ เดิม ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นส่วนหนึ่งที่จะทาให้ประชาชนผู้รับบริการ ได้รับการบริการที่เท่าเทียม กัน สาหรับปงบประมาณ 2558 นี้ ไดดาเนินการจัดทาคู่มือออกแบบทั้งสิ้น 7 ฉบับ ดังต่อไปนี้ - คู่มือออกแบบฉบับทั่วไป - คู่มือออกแบบแผนกผู้ป่วยนอก (OPD) - คูม่ ือออกแบบแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน (ER) - คู่มือออกแบบแผนกพยาธิวิทยา (LAB) - คู่มือออกแบบแผนกรังสีวินิจฉัย (X-RAY) - คู่มือออกแบบแผนกเภสัชกรรม (PHAMACY) - คู่มือออกแบบหอผู้ป่วยใน (WARD)

ภาพที่ 2.2.3 ภาพโครงการคู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ 2559 2.2.2 หนังสือการออกแบบโรงพยาบาล อ.อวยชัย วุฒิโฆสิต เรื่องราวของหนังสือการออกแบบโรงพยาบาลเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่จะใช้ ในการออกแบบโรงพยาบาล โดยเน้นถึงความเหมาะสม (PRACTICALNESS) ที่จะ ใช้สาหรับออกแบบโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย เพราะเท่าที่ทราบยังไม่มี การรวบรวมพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นเล่มที่ครบสมบูรณ์ ส่วนใหญ่จะเป็น รายละเอียดส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือห้องใดห้องหนึ่งโดยเฉพาะนิสิต นักศึกษา หรือ สถาปนิก จะใช้ตาราจากต่างประเทศในการศึกษาค้นคว้า ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเรื่อง ของโรงพยาบาลในอเมริกาหรือยุโรป การนามาใช้กับเมืองไทยค่อนข้างที่จะไม่ เหมาะสม ภาพที่ 2.2.4 หนังสือการออกแบบโรงพยาบาล ข้อมูลที่รวบรวมเป็นหนังสือเล่มนี้จะเป็นเรื่องของการออกแบบโรงพยาบาลที่เหมาะสมกับ สภาพของสังคม สิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ และสภาพเศรษฐกิจในเมืองไทย อาจจะมีการอ้างอิงข้อมูล จากต่างประเทศเปรียบเทียบบ้าง อาทิการพัฒนาทางด้านวิชาการในบางโอกาสเท่านั้นอนึ่ง ข้อมูลที่ใช้


19 ตัวเลขเปรียบเทียบในบางหัวข้อสาหรับประเทศไทยด้วยกันเองก็ดี หรือต่างประเทศก็ดีจะแตกต่างกันอยู่ เสมอ แม้แต่ขอ้ มูลจากกระทรวงสาธารณสุขก็ตาม การนามาอ้างอิงค่อนข้างจะมีปัญหากับข้อมูลในการ ปฏิบัติงานจริง ดังนั้น ข้อมูลส่วนใหญ่จึงนามาจากประสบการณ์ ในการปฏิบัติงานจริงของ อ.อวยชัย วุฒิโฆสิต แล้วนามาเรียบเรียงประกอบการเขียนเป็นหนังสือ โดยผู้เขียนได้ทาการดูข้อมูลการออกแบบ OPD Clinic จากหนังสือและนามาสรุปโดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.2.2.1.คลินิกอายุรกรรม เป็นคลินิกที่ตรวจรักษาโรคทั่วไปโดยวิธีจ่ายยารักษา เช่น โรคต่อมไร้ท่อ ทางเดินอาหาร ปิด ผิวหนัง ภูมิแพ้ หัวใจ เป็นต้น ถ้าผู้ป่วยมีอาการหนัก แพทย์จะแนะนาให้ ADMIT เพื่อรักษาต่อไป ในคลินิกอายุ รกรรม นอกจากจะมีห้อง TREATMENT เพื่อปลูกฝีฉีดยาทั่วไปแล้ว ควรมีห้อง SUPPORT เพิ่มเติมใน กรณีผู้ป่วยเกิดอาการฉุกเฉินระหว่างรอแพทย์ เช่น เป็นลม ปวดท้องอย่างรุนแรง หรือผูป้ ่วยที่สภาพไม่ น่าดู เป็นต้น

ภาพที่ 2.2.5 OPD Clinic 1 ภาพที่ 2.2.6 OPD (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551 " 2.2.2.2.คลินิก"เฉพาะทาง คือ สถานรักษาพยาบาล โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งจะเป็นแพทย์ที่สาเร็จการศึกษาเฉพาะทางใน ศาสตร์ที่ตัวเองถนัดและสนใจ มีด้วยกันหลายด้าน แพทย์ทุกท่านจะถูกอาจารย์แพทย์ทั้งอบทั้งรม บ่ม เพาะจนได้ที่ เป็นเวลาอย่างน้อย 3-5 ปี เพื่อที่จะผ่านด่านการสอบเพื่อ ใบวุฒิบัตรของการเป็นแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา โดยในตัวโครงการจะมีคลินิกเฉพาะทางดังนี้ 2.2.2.2.1 คลินิกมะเร็งนรีเวช - ให้บริการทางนรีเวชกรรม เช่น การตกขาว ติดเชื้อระบบสืบพันธุ์ ถุงน้ารังไข่ ก้อนเนื้อมดลูก มะเร็งทางนรีเวช รวมถึงการรักษาโดยการผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง และผ่าตัดผ่านกล้อง รวมถึงการดูแล ด้วยเคมีบาบัดและการดูแลคนไข้มะเร็งอย่างต่อเนื่อง


20 2.2.2.2.2 คลินิกโรคเลือด - ตรวจรักษาผูป้ ่วยที่มีความผิดปกติของเม็ดเลือดชนิดต่างๆ ได้แก่ ความผิดปกติของสารหรือความ ผิดปกติของปัจจัยต่อการแข็งตัวของเลือด โรคมะเร็งชนิดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเม็ดเลือด และโรคซีดจาก สาเหตุต่างๆ 2.2.2.2.3 คลินิกมะเร็งเต้านม - ตรวจคัดกรองและการวินิจฉัยที่แม่นยา โดยให้การวินิจฉัยสาหรับกรณีคลาพบความผิดปกติของ เต้านม และใช้เทคโนโลยีการถ่ายภาพเอกซเรย์เพื่อหาความผิดปกติในกรณีที่ไม่สามารถตรวจพบได้จาก การมองเห็นหรือคลาเต้านมโดยการวินิจฉัยปัญหาของเต้านม ได้แก่ - การสอบถามประวัติ และการตรวจร่างกายทั่วไป - การตรวจด้วยเครื่องแมมโมแกรมและอัลตราซาวนด์ - การตรวจโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) - การเก็บตัวอย่างชิ้นเนื้อ 2.2.2.2.4 คลินิกโรคทางเดินอาหารและตับ - มีหน้าที่ดูแลรักษา บริการให้คาปรึกษาปัญหาความผิดปกติ และตรวจวินิจฉัยโรคต่างๆ ที่เกิด ขึ้นกับอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ทวาร หนัก ตับ ถุงน้าดี และตับอ่อน ตรวจรักษาด้วยการเอ็กซเรย์ อัลตราซาวด์ และตรวจด้วยการส่องกล้อง (G.I. Endoscopy) ซึ่งแพทย์จะวินิจฉัยอาการและสาเหตุของโรคจากอวัยวะในระบบทางเดินอาหาร


21

2.2.3 คู่มือการออกแบบ OPD มีสุข ออกแบบปรับปรุง พื้นที่แผนกผู้ป่วยนอกเพื่อสุขภาวะของทุกคน จากข้อมูลกลุ่มวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างเพื่อสุขา ภาวะ คู่มือการออกแบบ OPD มีสุข คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รวบรวมความรู้และแนวทาง โดยทั่วไปในการออกแบบ ปรับปรุงและจัดการสิ่งแวดล้อมสรรค์ สร้างของแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลซึ่งประกอบไปด้วย ภาพที่ 2.2.7 คู่มือการออกแบบ OPD มีสุข 1.มาตรฐานแผนกผุ้ป่วยนอกโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง 2.หลักการและข้อพิจารณาในการออกแบบและจัดการพื้นที่แผนกผู้ป่วยนอก 3.แนวทางการปฎิบัติในการออกแบบและปรับปรุงพื้นที่แผนกผู้ป่วยนอก 4.ตัวอย่างการออกแบบปรับปรุงพื้นที่แผนกผู้ป่วยนอก และกรณีศึกษาในต่างประเทศ โดยในมาตรฐานแผนกผู้ป่วยนอกจะจาแนกพื้นที่ใช้สอยไว้ดังนี้ 2.2.3.1 มาตราฐานแผนกผู้ป่วยนอก 2.3.2.1.1 พื้นที่รับส่งผู้ป่วย ใช้จอดรถรับ-ส่งผู้ป่วยหรือผู้รับบริการซึ่ง เดินทางมาโดยรถยนต์ ขนาดของพื้นที่รวม ขึ้นอยู่กับจานวนรถที่ต้องการจอดสูงสุดและ เข้าถึงได้สะดวกจากถนนหลักภายใน 2.3.2.1.2 ศูนย์เปล (อาจใช้รวมกับแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ได้)ใช้สาหรับเจ้าหน้าที่ให้บริการ Wheelchair และ/หรือ Stretcher แก่ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ ที่ไม่สะดวกในการเดินไปยังจุดให้บริการต่าง ๆ ขนาดของพื้นที่รวมขึ้นอยู่กบั จานวนเจ้าหน้าที่ และ Wheelchair/ Stretcher สูงสุดที่ต้องการ สามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่รับ-ส่งผู้ปว่ ย

ภาพที่ 2.2.8 พื้นที่รับส่งผู้ป่วย


22

ภาพที่ 2.2.9 ศูนย์เปล (ส่งการใช้งานต่อจาก ค.1 พื้นที่รับส่งผู้ป่วย) 2.3.2.1.3 พื้นที่นั่งพักรอ ใช้สาหรับนั่งรอการรับบริการต่าง ๆ ของแผนก ขนาดของพื้นที่รวมขึ้นอยู่กับจานวนที่นั่งสูงสุดที่ ต้องการและสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากเส้นทางเดินหลัก ลิฟต์ และบันได อาจพิจารณาการจัดกลุ่มที่ นั่งให้เกิดการพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน

ภาพที่ 2.2.10 ส่วนพักรอ (ส่งต่อการใช้งานจาก เส้นทางหลัก/ ลิฟท์/ บันได) 2.3.2.1.4 ส่วนประชาสัมพันธ์ ใช้สาหรับผู้ป่วยหรือผู้รับบริการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับบริการ สถานที่ตงั้ แผนกให้บริการต่าง ๆ ขนาดของพื้นที่รวมขึ้นอยู่กบั จานวนเจ้าหน้าที่และสื่อประชาสัมพันธ์ที่ต้องการและสามารถเข้าถึงได้ สะดวกจากทางเข้าหลัก ทางเดินหลักของแผนก


23

ภาพที่ 2.2.11 ส่วนประชาสัมพันธ์ (ส่งต่อการใช้งานจาก เส้นทางหลัก/ ทางเดินของแผนก)หลัก/ 2.3.2.1.5 ส่วนซักประวัติ-คัดกรอง ใช้ในการซักประวัติ ชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันของผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่พยาบาลเพื่อเป็น ข้อมูลให้กับแพทย์ผู้ตรวจ ขนาดของพื้นที่รวมขึ้นอยู่กับจานวนเจ้าหน้าที่และจานวนของเครื่องชั่ง น้าหนัก วัดส่วนสูง และสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากทางเข้าหลัก ทางเดินหลัก และ/หรือโต๊ะ ประชาสัมพันธ์ของแผนก

ภาพที่ 2.2.12 ส่วนซักประวัติ - คัดกรอง (ส่งต่อการใช้งานจาก เส้นทางหลัก/ ทางเดินของแผนก) 2.3.2.1.6 สุขาผู้รับบริการ ใช้ทากิจวัตรส่วนตัว และ/หรือใช้ชาระล้างส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ขนาดของพื้นที่รวมขึ้นอยู่กับ จานวนและชนิดของสุขภัณฑ์ และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่พักรอ


24

ภาพที่ 2.2.13 ส่วนสุขา (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ) 2.3.2.1.7 ส่วนตรวจโรคทั่วไป/ตรวจเฉพาะโรค ใช้ในการตรวจโรคให้กับผู้ป่วยหรือผู้รับบริการโดยแพทย์ทั่วไป และแพทย์เฉพาะทางแต่ละสาขา โดยมีความดันอากาศภายในห้องเป็น บวก ขนาดของห้องตรวจควรมีขนาดกว้าง x ยาว ไม่น้อยกว่า 3.00 x 3.00 เมตร และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่พักรอ ส่วนคัดกรอง

ภาพที่ 2.2.14 ส่วนตรวจโรค (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ คัดกรอง) 2.3.2.1.8 ส่วนตรวจโรคติดต่อ ใช้ในการตรวจโรคให้กับผู้ป่วยหรือผู้รับบริการซึ่งป่วยด้วยโรคติดต่อโดยแพทย์ทั่วไป และแพทย์ เฉพาะทางแต่ละสาขา โดยมีความดันอากาศภายในห้องเป็นลบ ขนาดของห้องตรวจควรมีขนาดกว้าง x ยาว ไม่น้อยกว่า 3.00 x 3.00 เมตร และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่พักรอ ส่วนคัดกรอง


25

ภาพที่ 2.2.15 ส่วนตรวจโรคติดต่อ (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ คัดกรอง) 2.3.2.1.9 ส่วนตรวจภายใน ใช้ในการตรวจโรคทางสูติ - นรีเวชกรรม และการวางแผนครอบครัว ขนาดของห้องตรวจควรมี ขนาดกว้าง x ยาว ไม่น้อยกว่า 2.50 x 3.60 เมตร (ไม่รวมสุขา)และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจาก พื้นที่พักรอ ส่วนคัดกรอง

ภาพที่ 2.2.16 ส่วนตรวจภายใน (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ คัดกรอง) 2.3.2.1.10 ส่วนรักษาพยาบาล ใช้สาหรับทาหัตถการให้กบั ผูร้ ับบริการ โดยเจ้าหน้าที่พยาบาล ขนาดของพื้นที่รวมควรมีขนาดกว้าง x ยาว ไม่น้อยกว่า 3.50 x 3.80 เมตร และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่พักรอ เส้นทางเดิน หลักของแผนก


26

ภาพที่ 2.2.17 ส่วนรักษาพยาบาล (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ ทางเดินแผนก) 2.3.2.1.11 ส่วนผ่าตัดเล็ก อาจมีในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ใช้ในกรณีที่มีการผ่าตัดขนาดเล็กซึ่งไม่ยุ่งยากซับซ้อน หรือไม่ จาเป็นต้องใช้ทีมผ่าตัดขนาดใหญ่ เฉพาะห้องผ่าตัดขนาดของพื้นที่รวมควรมีขนาดกว้าง x ยาว ไม่น้อย กว่า 4.00 x 5.00 เมตร และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากเส้นทางสัญจรหลักระหว่างแผนกผู้ป่วย นอกกับแผนกฉุกเฉิน

ภาพที่ 2.2.18 ส่วนผ่าตัดเล็ก (ส่งต่อการใช้งานจาก OPD, ER ทางสัญจรหลัก)

ภาพที่ 2.2.19 ตัวอย่างห้องผ่าตัดเล็ก


27 2.3.2.1.12 ส่วนให้คาปรึกษา ใช้สาหรับให้คาปรึกษาแก่ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ และ/หรือญาติ ควรเก็บเสียงได้ดีและมีประตูเข้า ออกสาหรับผู้ป่วยแยกออกจากของเจ้าหน้าที่ ขนาดของพื้นที่รวมควรมีขนาดกว้าง x ยาว ไม่น้อยกว่า 3.00 x 3.00 เมตร หรือ 9.00 ตารางเมตรและต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่พักรอ คัดกรอง

ภาพที่ 2.2.20 ส่วนผ่าตัดเล็ก (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่พักรอ/ คัดกรอง) 2.3.2.1.13 ส่วนหัวหน้าแผนก ใช้ทางานด้านบริหารจัดการของผู้ทาหน้าที่หัวหน้าแผนก สามารถเข้าถึงได้สะดวกจาก เส้นทางสัญจรหลักของแผนก 2.3.2.1.14 ส่วนทางาน พักแพทย์ ใช้ทางานด้านวิชาการ เอกสารต่าง ๆ รวมทั้งใช้พักก่อนหรือหลังการปฏิบัติงานของแพทย์ ขนาดของพื้นที่รวมขึ้นอยู่กบั จานวนแพทย์ และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากเส้นทางสัญจรหลักของ แผนกไปยังห้องตรวจต่างๆ

ภาพที่ 2.2.21 ส่วนหัวหน้าแผนก และ ส่วนทางาน/พักแพทย์ (ส่งต่อการใช้งานจาก ทางเดินแผนก) 2.3.2.1.15 ส่วนห้องประชุม ใช้ประชุมหารือ และวางแผนการดาเนินงานด้านต่าง ๆ ของแผนก ขนาดของพื้นที่รวม ขึ้นอยู่กับจานวนคนที่ต้องการรองรับสูงสุด และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากเส้นทางสัญจรภายใน และพื้นที่ปฏิบัติงานต่าง ๆ ของแผนก 2.3.2.1.16 พืน้ ที่อเนกประสงค์ พักเจ้าหน้าที่ ใช้ประชุมหารืออย่างไม่เป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ภายในแผนก หรือใช้รับประทาน อาหารว่าง เครื่องดื่ม ระหว่างเวลาปฏิบัติงาน หรือใช้รับประทานอาหารกลางวันเวลาพักเที่ยง ขนาดของ


28 พื้นที่รวมขึ้นอยู่กับจานวนคนที่ต้องการรองรับการใช้งานสูงสุด และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจาก เส้นทางสัญจรภายในและพื้นที่ปฏิบัติงานต่างๆ ของแผนก

ภาพที่ 2.2.23 ส่วนเตรียมอาหาร (ส่งต่อจาก เอนกประสงค์/พัก จนท.) และ พื้นที่เก็บอุปกรณ์ทาง การแพทย์ (ส่งต่อการใช้งานจาก พื้นที่ปฏิบัติงานในแผนก) 2.3.2.1.17 ส่วนเตรียมอาหารว่าง เครื่องดื่ม ใช้สาหรับเตรียมเครื่องดื่ม อุ่นอาหารเก็บอาหาร (แช่เย็น) ของเจ้าหน้าที่ ใช้ล้างภาชนะที่ ใช้ในการรับประทานอาหาร และ/หรือเครื่องดื่ม สามารถเข้าถึงได้สะดวกจากห้องประชุม และห้อง เอนกประสงค์ พักเจ้าหน้าที่ 2.3.2.1.18 พืน้ ที่/ส่วนเก็บอุปกรณ์ทางการแพทย์ ใช้สาหรับเก็บอุปกรณ์ และ/หรือเครื่องมือทางการแพทย์ชนิดต่าง ๆ ขนาดของพื้นที่รวม ขึ้นอยู่กับจานวนตู้เก็บของ - ชั้นวางของ และอุปกรณ์ เครือ่ งมือที่ต้องการรองรับการใช้งานสูงสุด และ ต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่ปฏิบัติงานต่าง ๆ ของแผนก

ภาพที่ 2.2.24 ส่วนเก็บของสะอาด, เก็บของใช้ส่วนตัว, เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาด (ส่งต่อการใช้งาน จาก ทางสัญจร (เจ้าหน้าที่) และพื้นที่ปฏิบัติงานในแผนก) 2.3.2.1.19 ส่วนเก็บของสะอาด ใช้สาหรับเก็บวัสดุอุปกรณ์ และเครื่องผ้าที่ผ่านกระบวนการทาความสะอาดปราศจากเชื้อ แล้ว ขนาดของพืน้ ที่รวมขึ้นอยู่กับจานวนตู้เก็บของ - ชั้นเก็บของที่ต้องการรองรับการใช้งานสูงสุด และ ต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจากเส้นทางสัญจรภายในและพื้นที่ปฏิบัติงานต่าง ๆ ของแผนก


29

ภาพที่ 2.2.24 ส่วนเก็บของสะอาด, เก็บของใช้ส่วนตัว, เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาด (ส่งต่อการใช้งาน จาก ทางสัญจร (เจ้าหน้าที่) และพื้นที่ปฏิบัติงานในแผนก) 2.3.2.1.20 ส่วนเก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนชุด ใช้สาหรับเจ้าหน้าที่เก็บของใช้ส่วนตัวและเปลี่ยนชุด สวมเสื้อคลุม ก่อนเริ่มปฏิบัติงานใน ส่วนต่าง ๆ ของแผนก ขนาดของพื้นที่รวมขึ้นอยู่กับจานวนตู้เก็บของ - ตู้ Locker และจานวนห้อง เปลี่ยนชุดที่ต้องการรองรับการใช้งานสูงสุด และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวก 2.3.2.1.21 ส่วนล้าง-เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร ใช้สาหรับซักล้างอุปกรณ์ทาความสะอาดอาคาร และใช้เก็บอุปกรณ์ เครือ่ งมือทาความ สะอาดอาคารชนิดต่าง ๆ รวมทั้งน้ายาทาความสะอาด เข้าถึงได้สะดวกจากเส้นทางสัญจรภายในสู่พนื้ ที่ ปฏิบัติงานต่าง ๆ ของแผนก และต้องสามารถระบายอากาศได้ดีและมีแสงแดดส่องถึง 2.3.2.1.22 พืน้ ที่สุขาเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการ ใช้สาหรับเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการทากิจวัตรส่วนตัว และ/หรือใช้ชาระล้างส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย ขนาดของพื้นที่รวมขึ้นอยู่กับจานวนและชนิดของสุขภัณฑ์ และต้องสามารถเข้าถึงได้สะดวกจาก พื้นที่ปฏิบัติงานต่าง ๆ ของแผนก รวมทั้งห้องประชุมและห้องเอนกประสงค์

ภาพที่ 2.2.25 พื้นที่สุขาเจ้าหน้าที่ และการส่งต่อการใช้งานจากพื้นที่อื่น


30 2.2.3.2 แนวทางการปฏิบตั ิในการออกแบบและปรับปรุงพื้นที่แผนกผู้ป่วยนอก การออกแบบอาคารสถานที่ทเี่ ตรียมความพร้อมหรือเอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงนับเป็นแนวทางสากล แนวทางหนึ่งในการออกแบบสถานพยาบาลในปัจจุบัน เพือ่ ตอบรับกับการเปลี่ยนแปลงในทิศทางหรือ นโยบายการบริการสุขภาพของโรงพยาบาลความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและองค์ความรู้ในการ บาบัดรักษา และสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของชุมชนซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา แผนก ผู้ป่วยนอกซึ่งเป็นพื้นที่บริการสุขภาพพื้นฐานจึงพบกับสถานการณ์ที่ส่งผลถึงความเปลี่ยนแปลงในการ บริการและพื้นที่การให้บริการอยู่เสมอ

ภาพที่ 2.2.26 ภาพทิศทางการวางอาคาร

ภาพที่ 2.2.27 ภาพตัวอย่างแนวทางการขยายตัวและปรับเปลี่ยนพื้นที่


31 ควรระมัดระวังการวางผังพื้นภายใน อาคาร การกั้นห้องและการจัดวางเฟอร์นิเจอร์ ที่มีขนาดใหญ่และสูง (เช่น ตูส้ ูงและแผง กั้นห้อง) ซึ่งอาจลดประสิทธิภาพของการ ไหลเวียนของลมภายในอาคาร

ภาพที่ 2.2.28 ภาพทิศทางลมในอาคาร - ควร ระมัดระวังการวางผังพื้นภายในอาคาร การ กั้นห้องและการจัดวางเฟอร์นิเจอร์ที่มีขนาด ใหญ่และสูง (เช่น ตู้สูงและแผงกั้นห้อง) ซึ่ง อาจลดประสิทธิภาพของการไหลเวียนของลม ภายในอาคาร

ภาพที่ 2.2.29 ภาพตัวอย่างการจัดแยกพื้นที่บริการของผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าอาจ เป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจที่อาจแพร่กระจายเชื้อโรคผ่านระบบการระบาย อากาศภายในอาคารที่ขาดประสิทธิภาพ


32

ภาพที่ 2.2.30 ภาพตัวอย่างการพิจารณาการแบ่งโซนพื้นทีใ่ ช้สอยเพื่อกาหนดระดับการใช้เสียงที่ เหมาะสมในแต่ละพื้นที่

ภาพที่ 2.2.31 ภาพตัวอย่างการใช้สีในอาคารในแผนก OPD


33 2.3 กรณีศึกษา ผู้เขียนได้ทาการแบ่ง กรณีศึกษาเป็น 2 แบบคือ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งใน ประเทศไทย และ กรณีศึกษาโรงพยาบาลที่มีการออกแบบที่น่าสนใจ โดยจะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.3.1 กรณีศึกษา โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งในไทย การศึกษา กรณีศึกษาโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งในไทย มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ องค์ประกอบต่างๆ ของสถานพยาบาลที่ให้บริการในรูปแบบโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง เพื่อให้ทราบ ถึงการให้บริการในปัจจุบัน ว่ามีองค์ประกอบต่างๆอย่างไร เช่น หน่วยงานที่รับผิดชอบ (รัฐ, เอกชน) ชือ่ โรงพยาบาล จานวนเตียง ขนาดที่ตั้งโครงการ สถานที่ตั้งโครงการ(ที่อยู่) เวลา ทาการของโรงพยาบาล ตารางที่ 2.3.1 ตารางสรุป กรณีศึกษาโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งในไทย 1.โรงพยาบาลจุฬา รัตน์ 9 แอร์พอร์ต

เอกชน

450

Site (sq.m.) 2,800

2.โรงพยาบาลมะเร็ง ชีวามิตรา

เอกชน

27

14,000

อุบลราชธานี

7.0020.00

3.โรงพยาบาลนมะ รักษ์

เอกชน

10

585

ห้วยขวาง กรุงเทพฯ

8.0020.00

4.โรงพยาบาลเฉพาะ ทางมะเร็งกรุงเทพ ขนาดเล็ก

เอกชน

30

650

เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

8.0016.00

5.โรงพยาบาลแคน เซอร์อลิอันซ์ ศรีราชา 6.โรงพยาบาลมะเร็ง กรุงเทพ วัฒโนสถ

เอกชน

30

9,300

ชลบุรี

เอกชน

49

10,600

8.00 20.00 เขตห้วยขวาง กทม 24

7.โรงพยาบาลจุฬา ภรณ์

รัฐ

100

16,000

เขตหลักสี่ กรุงเทพ 24

8.สถาบันมะเร็ง แห่งชาติ

รัฐ

200

7,400

ราชเทวี กรุงเทพ

ชื่อ

สังกัด

LOGO

BED

Site shape

ที่อยู่

Time

สมุทรปราการ

24

6.3016.30


34 2.3.1.1.โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต ให้บริการรักษาพยาบาลเฉพาะสาขาต่างๆ ทั้ง อายุรกรรมทั่วไปและเฉพาะทาง, ศัลยกรรม ทั่วไปและเฉพาะทาง, โรคหัวใจ, โรคหลอด เลือดสมอง, ศัลยกรรมประสาท, ศัลยกรรม กระดูกและข้อ, สูต-ิ นารีเวชกรรม, กุมารเวช กรรม, จักษุ, หู คอ จมูก, ผิวหนัง, โรคระบบ ทางเดินปัสสาวะ และโรคระบบทางเดินอาหาร และตับ เป็นต้น ภาพที่ 2.3.1 ภาพโรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต ที่ตั้งโครงการ (สีแดง) ที่ตั้งโครงการ ขนาด 2800 ตร.ม. (สีน้าเงิน) พื้นที่จอดรถ 2300 ตร.ม. ประวัติและความเป็นมา ศูนย์ มะเร็งตรงเป้าโรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์ พอร์ต ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2556 ให้บริการ การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งทุกชนิด ตั้งแต่ การผ่าตัด การรักษาด้วยยาเคมีบาบัด ยา มะเร็งมุ่งเป้า ยาภูมิคุ้มกันบาบัด การตรวจ และรักษาทางรังสีวิทยา (Interventional Radiology) ภาพที่ 2.3.2 ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต เหมาะสาหรับผู้ป่วยมะเร็งในช่องท้องที่ไม่สามารถผ่าตัดได้ โดยใช้รักษา ร่วมกับการรักษามาตรฐานอื่น เพื่อให้ผลการรักษาที่ดียิ่งขึ้น ปริมาณ การให้บริการ ให้บริการการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งมากกว่า 1,000 รายต่อปี จาก 77 จังหวัดทั่วประเทศ บริการห้องพัก มีทั้งหมด 6 แบบ คือ Superior, VIP, Delux, ห้องเดี่ยว, ห้องDeluxeเด็ก, ห้องเดี่ยวเด็ก

ภาพที่ 2.3.3 ภาพห้องพักโรงพยาบาลจุฬา รัตน์ 9 แอร์พอร์ต

ภาพที่ 2.3.3 ภาพที่ตั้ง โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต


35 2.3.1.2.โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา

ภาพที่ 2.3.4 ภาพโรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา โรงพยาบาลเอกชนเฉพาะทางด้านการรักษาโรคมะเร็งแห่งแรกใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มุ่งเน้นประสิทธิภาพที่ดีในการดูแลรักษา ผสานคุณค่านวัตกรรมที่ได้มาตรฐาน เทียบเท่าสถาบันการแพทย์นานาชาติ ชีวามิตรา "ยึดหลักดาเนินชีวิตด้วยมิตรภาพ" มุ่งเน้นการมอบสิ่งที่ดีที่สุดในการรักษา... เพื่อสร้าง คุณค่าชีวิตที่ดีกว่าเดิม ด้วยปรัชญาการดาเนินงานด้วยความเอาใจใส่

ภาพที่ 2.3.6 ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา ที่ตั้งโครงการ มีขนาด 12,540 ตร.ม. โดยมี สภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สี เขียว เวลาทาการ รพ. - ประเภทผู้ป่วยนอก (OPD) เปิดให้บริการตั้งแต่ 08.00-20.00 น. - ประเภทผู้ป่วยใน (IPD) เปิดให้บริการ 24 ชั่วโมง ภาพที่ 2.3.5 ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา


36 2.3.1.3.โรงพยาบาลนมะรักษ์ นมะรักษ์ โรงพยาบาล เฉพาะทางเต้านม ก่อตั้งโดย รศ.พญ. เยาวนุช คงด่าน นพ.วลัญช์ วิไลหงษ์ และเภสัชกรอรอนงค์ สวัสดิ์พาณิชย์ มุ่งมั่นที่จะสร้างโรงพยาบาลที่มีการ ดูแลด้านเต้านม ด้วยแพทย์และ ทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญ ใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมด้วยราคาที่ เข้าถึงได้ ให้การดูแล แบบเฉพาะ บุคคล เหมือนคนในครอบครัว

ภาพที่ 2.3.6 ภาพโรงพยาบาลนมะรักษ์

ที่ตั้งโครงการมีขนาด 5,416 ตร.ม. โดยมีสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการส่วนใหญ่ เป็นที่พักอาศัย หรือเขตชุมชน และอยู่ห่างจาก โรงพยาบาลกรุงเทพเพียง 1.5 Km เวลาทาการ รพ. - ประเภทผู้ป่วยนอก (OPD) จันทร์-เสาร์ 08.00 - 20.00 อาทิตย์ 08.00 - 17.00 - ประเภทผู้ป่วยใน (IPD) เปิดให้บริการ ทุกวัน 24 ชั่วโมง

ภาพที่ 2.3.7 ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลนมะรักษ์

โดยในหน้าถัดไปจะเป็นรูปภาพ เกี่ยวกับแนวควาวมคิดของเจ้าของ โรงพยาบาล (คุณหมอนุช - รศ.พญ. เยาวนุช คงด่าน) ใน ตอนริเริ่มและลงทุนในโครงการ

ภาพที่ 2.3.8 ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลนมะรักษ์


37

ภาพที่ 2.3.8 ภาพแสดงแนวความคิด รพ.นมะ รักษ์


38 2.3.1.4.โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งกรุงเทพขนาดเล็ก โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง กรุงเทพขนาดเล็ก มีความมุ่งมั่นที่ จะรักษาผู้ป่วยมะเร็งให้หายขาด หากยังอยู่ในระยะของโรคที่ หายขาดได้ แต่หากผู้ป่วยมารับ การรักษาในระยะท้ายๆ ของโรค ซึ่งรักษาให้หายขาดไม่ได้ ทาง โรงพยาบาลมีความมุ่งมั่นที่จะ รักษามิให้ผู้ป่วยต้องทนทุกข์ ทรมาน ทั้งจากโรคและจากการ รักษา โดยมุ่งเน้นรักษาตามอาการ ภาพที่ 2.3.8ภาพโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งกรุงเทพขนาดเล็ก และตามความจาเป็น และเห็น คุณค่าของการตายอย่างสมศักดิ์ศรี โรงพยาบาลมีประสบการณ์มายาวนานถึง 30 ปี โดย ปราศจากการโฆษณาจากสื่อใดๆ ทั้งสิ้น แต่เราประสบ ความสาเร็จจากการบอกต่อจากปากต่อปาก ซึ่งสาคัญกว่า การโฆษณาทางธุรกิจมากมายนอกจากนี้เราเป็นโรงพยาบาล เล็กๆ ที่รวบรวมเฉพาะแพทย์ทางรังสีและเคมีบาบัด โดยตัด สิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกับการรักษา เหลือเท่าที่จาเป็น ที่ตั้งโครงการมีขนาด 1,900 ตร.ม. โดยมีสภาพแวดล้อม โดยรอบโครงการส่วนใหญ่เป็นที่พักอาศัย ตัวโครงการอยู่ติด กับคอนโด โนเบิล ไลท์ สูงประมาณ 40 ชั้น ภาพที่ 2.3.9 ที่ตั้งโรงพยาบาลเฉพาะทาง มะเร็งกรุงเทพขนาดเล็ก

ภาพที่ 2.3.10 ห้องพัก


39 2.3.1.5.โรงพยาบาลแคนเซอร์อลิอันซ์ ศรีราชา โรงพยาบาลแคนเซอร์อลิ อันซ์ ศรีราชา เริ่มต้นใน ระยะแรกด้วยอาคารสูง 4 ชัน้ พื้นที่ใช้สอยประมาณ 5,000 ตารางเมตร ให้บริการทั้งผู้ป่วย นอก และผู้ป่วยใน ใช้ งบประมาณในการลงทุนกว่า 500 ล้านบาท สาหรับการนา เทคโนโลยีชั้นสูงในระดับแนว หน้ามาให้บริการ ภาพที่ 2.3.10 ภาพโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งกรุงเทพขนาดเล็ก นอกจากนี้เพื่อผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการรักษาได้มากยิ่งขึ้น โรงพยาบาลมีแนวทางเปิดกว้างในการ รองรับผู้ป่วยส่งตัวในสิทธิ์การรักษาต่างๆ โดยพร้อมเปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2562

ภาพที่ 2.3.11 ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งกรุงเทพขนาดเล็ก ที่ตั้งโครงการมีขนาด 9,300 ตร.ม. โดยมีสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการส่วนใหญ่เป็นที่พักอาศัย ประเภทหมู่บ้านจัดสรร เป็นส่วนใหญ่ และมีศูนย์ ปกส. (สานักงานประกันสังคม) อยู่ดา้ นหน้าทางเข้า โรงพยาบาล


40 2.3.1.6.โรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ โรงพยาบาล มะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ เป็น นามพระราชทานจากสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น โรงพยาบาลเอกชนเฉพาะทาง ที่มีความรู้หลากหลายแขนง ภาพที่ 2.3.9 ภาพที่ตั้งโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งกรุงเทพ

ภาพที่ 2.3.10 ภาพแสดงตาแหน่งของโรงพยาบาล ที่ตั้งโครงการมีขนาด 33,300 ตร.ม. (รวมตึก กลาง) ถ้าเป็นเฉพาะตึกศูนย์มะเร็งจะมีพื้นที่ 5,800 ตร. ม. โดยมีสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการส่วนใหญ่เป็นที่ พักอาศัยใจกลางเมือง ภาพที่ 2.3.11 ภาพมุมสูง รพ.มะเร็งกรุงเทพฯ

ตัวโครงการอยู่ห่างกับ ศูนย์ซ่อมบารุง รถไฟฟ้า แอร์พอร์ต เรล ลิงค์ เพียง 850 เมตร


41 2.3.1.7.โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ โรงพยาบาลภายใต้ หน่วยงานวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ซึ่ง เป็นหน่วยงานในกากับของรัฐ สังกัดสานัก นายกรัฐมนตรี ภาพที่ 2.3.12 ภาพโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ โดยโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ทาหน้าที่ให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพดัานสุขภาพ ให้การ บริบาลรักษาพยาบาลผู้ป่วยทั่วไป ผู้ป่วยสิทธิเบิกจ่ายตรงข้าราชการ สิทธิประกันสังคมและบัตรทองที่ส่ง ต่อมาจากต้นสังกัด และให้บริการทางการแพทย์ด้วยศูนย์ความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านต่างๆ ด้วยทีม แพทย์และพยาบาลที่เชี่ยวชาญ ตลอดจนเทคโนโลยีและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัยระดับ มาตรฐานสากล และให้การสนับสนุนการวิจัย และการศึกษาในหลักสูตรต่างๆ ของวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์

ภาพที่ 2.3.13 ภาพแสดงตาแหน่งของ รพ.จุฬาภรณ์

ภาพที่ 2.3.14 ภาพมุมสูง รพ.จุฬาภรณ์

ที่ตั้งโครงการมีขนาด 16,000 ตร.ม. โดยมี สภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการส่วนใหญ่เป็นที่พักอาศัยใจ กลางเมือง ตัวโครงการอยู่ห่างกับ ศูนย์ไปรษณีด่วนพิเศษ กรุงเทพ เพียง 500 m. และติดกับสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์


42 2.3.1.8.สถาบันมะเร็งแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี อนุมัติเสนอจัดตั้งสถาบันมะเร็ง แห่งชาติ โดยเห็นว่า “งานป้องกัน และควบคุมโรคมะเร็ง”เป็นหน้าที่ ของกระทรวงสาธารณสุข และ เมื่อ วันที่ 28 ธันวาคม 2508 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้ กระทรวงสาธารณสุขดาเนินการ จัดตั้งสถาบันมะเร็งแห่งชาติ

ภาพที่ 2.3.15 ภาพสถาบันมะเร็งแห่งชาตื

โดยให้มีสานักงาน ไว้ในสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เริ่มโครงการในปี พ.ศ. 2509 และให้ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จัดโครงการดาเนินการ ไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 - 2514)

ภาพที่ 2.3.16 ภาพแสดงตาแหน่งสถาบันมะเร็งแห่งชาตื

ภาพที่ 2.3.17 ภาพมุมสูง สถาบันมะเร็งแห่งชาตื

ที่ตั้งโครงการ มีขนาด 11,200 ตร.ม. โดยมี สภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการส่วนใหญ่เป็นที่พักอาศัยใจ กลางเมือง ด้านข้างตัวโครงการติดกับ โรงพยาบาล รามาธิบดี , ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ , ฝั่งตรง ข้ามโครงการเป็น องค์การเภสัชกรรม (The Government Pharmaceutical Organization) และ โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ


เขตห้วยขวาง กทม

เขตหลักสี่ กรุงเทพ

ราชเทวี ที่อยู่ กรุงเทพ

ชลบุรี

30

10

เขตพญาไท ห้วยขวาง กรุงเทพมหาน กรุงเทพฯ คร

30

อุบลราชธานี

27

สมุทรปราการ

450

4.โรงพยาบาล 3.โรงพยาบาล 2.โรงพยาบาล 1.โรงพยาบาล เฉพาะทาง นมะรักษ์ มะเร็งชีวามิ จุฬารัตน์ 9 มะเร็ง ตรา แอร์พอร์ต กรุงเทพขนาด เล็ก

เน้นการรักษา รพ.เฉพาะ มีวิทยาลัย กลุ่มโรคทั่วไป แบบ ทางมะเร็ง ที่ แพทย์ กลุ่ม รพ. + มะเร็งทุก เป็นศูนย์กลาง กลุ่มโรคทั่วไป ประคับประค เน้นการรักษา แรกในภาค โรคทั่วไป + พระราชทาน ชนิด และ จุด ของโรคมะเร็ง + มะเร็งทุก อง มีจานวน มะเร็งเต้านม อีสาน เน้น มะเร็งทุกชนิด กลุ่มโรคทั่วไป มะเร็งในช่อง แพทย์เฉพาะ ในลูกค้าทุก การจัด ขาย ในประเทศ ชนิด มีภูมิ มีศูนย์วิจัย + มะเร็งทุก ท้องที่ไม่ ทางมาก สภาพแวดล้อ ไทย ทัศน์ที่ดี ระดับ เป็นของ ชนิด ต้องการการ ประสบการณ์ มและการ ตัวเอง ผ่าตัด ไม่เน้นการจัด เยียวยาด้าน ภูมิทัศน์ จิตใจร่วมด้วย

49

100

7.โรงพยาบาล 6.โรงพยาบาล 5.โรงพยาบาล จุฬาภรณ์ มะเร็ง แคนเซอร์อลิ กรุงเทพ วัฒ อันซ์ ศรีราชา โนสถ

BED 200

IMA GE

LO GO

ชื่อ

8.สถาบัน มะเร็ง แห่งชาติ

43

จากการศึกษากรณีศึกษา โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็งในประเทศไทยทั้งหมด 8 แห่ง พบว่าหลาย แห่งมีขอบเขตการรักษาที่เฉพาะมะเร็งเท่านั้น ถึงจาให้จานวนเตียงไม่มาก เฉลี่ยอยู่ที่ 30-40 เตียง แต่ใน รพ.ที่มีจานวนเตียงมากกว่านั้น ส่วนใหญ่เป็น รพ.ศูนย์ หรือ รพ.เฉพาะทางที่ต้องขยายฐานกลุ่มลูกค้าให้ มากขึ้น โดยดูได้จากตารางที่ ตารางที่ 2.3.2 ตารางสรุป กรณีศึกษา โรงพยาบาลที่มีการออกแบบที่น่าสนใจ


1

2

3

Image

จานวน เตียง Area (sq.m.)

Architect

Site Image

Site (ไร่)

117 23,000 SQ.M.

103,800 SQ.M.

Arsomsilp Community Spacetime Architect

10

สถาปนิก 110และ DYMAXION STUDIO 400

35

n/a SQ.M.

163

n/a

2.9

ชื่อ รพ. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - โรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ศูนย์การแพทย์พระรามเก้า - กทม, กทม, บางขุนเทียน ห้วยขวาง

NO.

ตารางที่ 2.3.4 ข้อมูลพื้นฐาน กรณีศกึ ษา โรงพยาบาลทีม่ กี ารออกแบบทีน่ า่ สนใจ

n/a

27

เจ้าของบริษัท Murphy/Jahn ผู้ออกแบบสนามบินสุวรรณภูมิ

8.5

โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา อุบลราชธานี, เมือง

4

44

2.3.2 กรณีศึกษา โรงพยาบาลที่มีการออกแบบที่น่าสนใจ การศึกษา กรณีศึกษาโรงพยาบาลที่มีการออกแบบที่น่าสนใจ มีจุดประสงค์เพื่อดูองค์ประกอบต่างๆ ของสถานพยาบาลที่ให้บริการในรูปแบบทีแ่ ตกต่างจากโรงพยาบาลทั่วไป โดนมีทั้งสิ้น 4 โรงพยาบาล แสดงรายละเอียดดังตารางด้านล่าง


45 1.โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - กทม, บางขุนเทียน โรงพยาบาลผู้สูงอายุ บางขุนเทียน โรงพยาบาลแห่งใหม่ ล่าสุดของสานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ที่เพิ่งก่อสร้างเสร็จ สมบูรณ์ไปเมื่อไม่กี่เดือนที่ผ่านมา และกาลังจะเป็นสถานที่ควบคุมโรค ซึ่งรองรับผู้ติดเชื้อไวรัส COVID-19 ที่อาการไม่รุนแรงได้ถึง 294 เตียง ที่นี่เป็นหนึ่งในโครงการที่ได้รับ ภาพที่ 2.3.18 ภาพโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน การอนุมัติเพื่อดาเนินการในสมัยผู้ว่า ราชการ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ตาม แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี จาก พ.ศ. 2556 สู่หมุดหมายปลายทางใน พ.ศ. 2575 โรงพยาบาลกลางน้า ในการ ออกแบบโรงพยาบาล ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีรูปแบบการ ใช้งานเฉพาะตัว โดยเฉพาะเมื่อเป็นโรงพยาบาลที่ มีผู้สูงอายุเป็นผู้ใช้งานหลักด้วยแล้ว จาเป็นต้อง อาศัยความเชี่ยวชาญในการออกแบบ บริษทั สถาปนิก 110 ที่มีผลงานการออกแบบ โรงพยาบาลมาแล้วนับร้อยแห่งทั่วประเทศไทย จึงเข้ามารับหน้าที่ในช่วงแรกร่วมกับ DYMAXION STUDIO ด้วย จริงๆแล้ว รพ.ลอย น้า คือไอเดียแรก แต่ด้วยข้อจากัดต่างๆ จึง กลายเป็น รพ.บนน้า ในการก่อสร้าง มีการถม พื้นที่แต่น้อยมาก (70% ของโครงการตั้งอยู่บนน้า , 30% ตั้งอยูบ่ นดินที่ถมใหม่) ส่วนใหญ่ส่นทีถ่ ม จะเป็นอาคารที่เชื่อมต่อกับถนน อย่างอาคารจอด ภาพที่ 2.3.19 ภาพโรงพยาบาลกลางน้า รถและตึก OPD


46 ธรรมชาติบาบัด คุณหมอบอกให้ใช้เครื่องปรับอากาศให้น้อยที่สุด เพราะอาคารที่ใช้ ระบบระบายอากาศแบบปิดมันมีความชื้นเยอะ ทาให้เชื้อโรคสะสมเยอะตามไปด้วย การใช้รูปแบบ Passive Air ลมจะพัดพาความชื้นและเชื้อโรคออกไป ทาให้การออกแบบอาคาร ออกแบบมาเป็นแบบ พื้นที่เปิดโล่งเพื่อรับลมและไม่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ โดยมีพื้นที่เปิดโล่งเป็นสวนหย่อมเล็กๆ ปลูกต้นไม้ กระจัดกระจายอยู่ตามตาแหน่งต่างๆ FACADE - ส่วนของอาคารที่หันหน้าไป ประจันกับทิศใต้และตะวันตก ซึ่งแดดบ่ายจะส่องเข้ามา เป็นพื้นที่ส่วนที่ได้รับความร้อนมากที่สุด ก็ออกแบบ Facade อีกหนึ่งชั้นซ้อนช่องเปิดต่างๆ เหล่านั้นเพื่อ ช่วยบังแดด ใช้เวลาทาแบบประมาณสองปี แม้ว่า หน้าตาของอาคารจะพัฒนา เปลี่ยนไปเรื่อยๆ แต่ แนวคิดในการนาระบบธรรมชาติเข้ามาในอาคารยังคง เหมือนเดิมตั้งแต่แรกเริ่ม พยายามออกแบบเพื่อให้ตึก อยู่ได้ด้วยพลังงานธรรมชาติ และนาพลังงานพวกนั้นมา ใช้ซ้าได้(น้า ลม แดด) ธรรมชาติไม่ได้ให้แค่พลังงาน แต่ยังให้ความสดชื่นร่มเย็น ไซต์ที่ตั้งโครงการเป็นแปลง ที่ดินที่สวยมากอยู่แล้ว เพราะอยู่บนน้า เมื่อออกแบบ อาคารไว้บนน้า ก็พยายามออกแบบให้ทุกห้องมองเห็น ผืนน้า ให้คนออกไปสวนเขียวได้ เพราะการอยู่ โรงพยาบาลมันเครียด นอกจากทีมหมอ พยาบาล แล้ว ภาพที่ 2.3.20 ภาพ FACADE โรงพยาบาล ธรรมชาตินี่แหละที่จะเยียวยาผู้คนได้ ผู้สูงอายุบางขุนเทียน เกษียณสาราญ - ส่วนบริการผู้สูงอายุเรียกว่าศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ซึ่งตั้งอยู่ที่ชั้น 1 และ 2 เท่านั้น เพื่อให้เข้าถึงได้สะดวกที่สุด นอกจากเยียวยาผู้สูงอายุแล้ว ยังให้บริการครอบคลุมไป จนถึงการสร้างเสริมสุขภาพกายใจ โดยมีพื้นที่สาหรับทากิจกรรมแและทากายภาพบาบัด ทั้งการฝึกเดิน ฝึกขึ้นบันได ฝึกอาบน้า ที่ออกแบบไว้สาหรับผู้สูงอายุโดยเฉพาะ (นักกีฬาขาหักไม่สามารถใช้ Medical Equipment เดียวกับผู้สูงอายุได้) สถานพักฟื้นผู้สูงอายุมีแค่สามสิบสองห้อง และรูปแบบเหมือนบ้าน กลางน้า ซึ่งจะช่วยให้ผู้สูงอายุที่มาใช้บริการรู้สึกผ่อนคลายมากกว่า


47 Main Circulation - ต้องการให้ โรงพยาบาลดูมีชีวิต จึงเลือกใช้รูปทรงออร์แกนิกมา เป็นองค์ประกอบใหญ่ ผู้ออกแบบชอบงานสไตล์ ญี่ปุ่น เลยนามาประยุกต์ใช้กับอาคารที่พัก โดยให้มี Open Court อยู่ตรงกลาง แล้วมีห้องพักล้อมรอบ แสงเข้าทาให้ระเบียงทางเดินสว่าง ไม่รู้สึกทึบหรือ อึดอัด ภาพที่ 2.3.21 ภาพ Main Circulation โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ระหว่างชั้นมีกระถางสาหรับพืชไม้เลื้อย ที่จะกลายเป็น Verticle Green เย็นตา - ผู้ออกแบบ เอาฝ้าออกหมด ทาให้อาคารมีความเป็น Industrial ข้อดีของการเอาฝ้าออก คือทาให้ระยะเพดานสูงขึ้น เปิดโล่ง โปร่ง อากาศถ่ายเทสะดวก โรงพยาบาลบางขุนเทียนจะรับเฉพาะผู้ป่วยที่ผ่านการส่งต่อจากโรงพยาบาลเครือข่ายเท่านั้น โดยโรงพยาบาลที่ตรวจพบผู้ติดเชื้อจะประสานโรงพยาบาลเครือข่าย เพื่อส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานที่ ควบคุมโรคตามหลักเกณฑ์ทมี่ ีอยู่หลายแห่ง รวมถึงที่โรงพยาบาลผู้สูงบางขุนเทียนด้วย

ภาพที่ 2.3.22 ภาพภายนอกโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน สาหรับการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน กรุงเทพมหานครได้ทาสัญญาจ้าง บริษัท อีเอ็มซี จากัด (มหาชน) เป็นผู้ดาเนินการโครงการก่อสร้างโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนตาม สัญญาเลขที่ สนย.47/2559 สิ้นสุดสัญญาวันที่ 12 มิถุนายน 2562 ระยะเวลาก่อสร้าง 1,080 วัน วงเงิน ค่าก่อสร้าง 2,990,999,915.00 บาท (สองพันเก้าร้อยเก้าสิบล้านเก้าแสนเก้าหมื่นเก้าพันเก้าร้อยสิบห้า บาทถ้วน)


48 โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ประกอบไปด้วย 6 อาคาร ได้แก่ - 1. อาคารโรงพยาบาลและศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ - 2. อาคารหอพักผู้ป่วย - 3. อาคารสถานพักฟื้นผู้สูงอายุ - 4. อาคารหอพักบุคลาการและอาคารบริการงานระบบ - 5. อาคารสถานที่ซ่อมบารุง/อาคารแก๊สทางการแพทย์ และอาคารพักขยะ - 6. หอพระ

ภาพที่ 2.3.23 ผังโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ในส่วนของผังอาคารผู้สูงอายุ สีส้มเป็นอาคารพักฟื้นของผู้สูงอายุ เป็นอาคารกลางน้าชั้นเดียวมี ทั้งหมด 32ห้อง 8หลัง และ อาคารอเนกประสงค์ 2 หลัง ภายในอาคาร เน้นออกแบบการใช้งานสาหรับ ผู้สูงอายุ ในส่วนสีเหลืองเป็นอาคารผู้ป่วยนอกมีทั้งหมด 5 ชั้น โครงสร้างใช้เป็น คสล และหลังคา Metal Sheet ในส่วนสีเขียวเป็นอาคารหอพักผู้ป่วยใน (IPD WARD) เป็นอาคารที่อยู่กลางน้าสูง 7 ชั้น ในส่วนสี ม่วงเป็นอาคารหอพักบุคลากรและอาคารบริการงานระบบ สูง 7 ชั้นและมีชั้นใต้ดิน 1 ชั้น และสุดท้าย ในส่วนสีแดงเป็นอาคารซ่อมบารุง เก็บแก๊สทางการแพทย์ และอาคารพักขยะ มีความสูง 2 ชั้น


49

ภาพที่ 2.3.24 แนวความคิดการออกแบบรพ.ผู้สูงอายุ บางขุนเทียน (ปี 2019)


50 2.โรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น พศ.2537 (1994) มีจานวน 50 เตียง เวลาต่อมามีจานวนคนเข้า มาใช้เยอะขึ้นทาให้ตัว รพ. เริ่มมีความหนาแหน่น จึงมี โครงการสร้างโรงพยาบาล ใหม่บนพื้นที่ 10 ไร่ ห่าง จาก รพ.เดิม 1 กิโลเมตร ภาพที่ 2.3.24 ภาพโรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น พศ.2555 (2012) มีการระดมความคิดว่า โรงพยาบาลในฝันคืออะไร ? จากผู้เชียวชาญที่ หลากหลายสู่สาระสาคัญของแนวคิดดังนี้ เปลี่ยน โรงพยาบาลที่น่ากลัวให้กลายเป็นบ้านที่ผู้คน คุ้นเคย” (จากโรงพยาบาลเป็นบ้าน) โดยมี กระบวนการคิดดังต่อไปนี้ ปัญหาที่พบเจอในโรงพยาบาลทั่วๆไป - บรรยากาศไม่เป็นมิตรต่อผู้ใช้งาน - เส่นทางที่ซับซ้อนในโรงพยาบาล - การรบกวนของผู้ป่วยฉุกเฉินกับ OPD การบาบัดทางธรรมชาติ - การสร้างพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ในใจกลาง ภาพที่ 2.3.25 ภาพ โครงการซึ่งเป็นเขตผู้ป่วยนอกและแผนกต้อนรับส่วนหน้า ระเบียงโรงพยาบาลราช (ชั้นสอง) ผ่านการก่อสร้างสนามขนาดใหญ่ที่มีพื้นที่สีเขียว พฤกษ์ - ขอนแก่น และต้นไม้และเพิ่มต้นไม้เพิ่มเติมที่ลานจอดรถ - การสร้างพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ บนชั้นห้าที่พื้นที่ ROOF GARDEN ซึ่งจะเป็นพื้นที่สาหรับผู้ป่วย ในที่จะรับรู้และใช้งาน - การจัดช่องระบายอากาศ (เข้า - ออก) ในทุกชั้นเพื่อให้ผู้ใช้สัมผัสกับลมหนาวเมื่ออยู่ในทางเดิน และสนามใด ๆ - การจัดบ่อน้าล้นและพื้นที่สีเขียวที่แผ่กระจายไปตามชั้นต่าง ๆ (ลานต้นไม้พนักงานที่ชั้นสี่สวน พื้นที่สนทนาข้างสานักงานบนชั้นที่สิบสามระเบียงและสวนบริเวณที่พักพนักงานบนชั้นสอง)


51 การใช้องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมโดยการใช้ วัสดุรูปแบบและสัดส่วนที่คนทั่วไปคุ้นเคยเพื่อสร้างบรรยากาศ ที่อบอุ่นเปรียบดั่ง“ รูส้ ึกเหมือนอยู่บ้าน” ศาลาที่มีหลังคาเสาไม้ชายคาต่าและล้อมรอบด้วย ระเบียงไม้ ยินดีต้อนรับพื้นที่ศาลบนชั้นสองเป็นหัวใจ สาคัญของโครงการสาหรับการต้อนรับผู้ใช้โครงการ มี สวนและต้นไม้อยู่ตรงกลาง นอกจากนี้เมื่อเข้าสู่บริเวณนี้ ผู้ใช้จะรับรู้ว่าอาคารมีเพียงสองชั้นเหมือนบ้าน -

-

-

ภาพที่ 2.3.26 ภาพตัด รพ.ราช พฤกษ์ - ขอนแก่น

สัดส่วนของอาคาร แม้นี่จะเป็นอาคารขนาด ใหญ่และสูง (14 ชั้น) แต่มันไม่ได้สัดส่วนกับอาคาร และลดสัดส่วนลงมาจากชั้นดาดฟ้าถึงชั้นล่างพร้อม กับแทรกพื้นทีส่ ีเขียวบนพื้นผิวอาคารเช่น เป็นผนัง / ต้นไอวี่เพื่อลดความแข็งของอาคาร ใช้วัสดุไม้และ Wall Pattern เพื่อให้อารมณ์อบอุ่น ในการออกแบบอาคาร ไม้เป็นวัสดุที่คุ้นเคยกับคนใน ท้องถิ่นและลวดลาย Chaleo (ลวดลายจากภูมิปัญญา ภาพที่ 2.3.27 ภาพด้าน รพ.ราช โบราณ) ยังสื่อความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองให้กับ พฤกษ์ - ขอนแก่น อาคารเช่นกัน มีศาลเจ้าพรหมและลานขนาดใหญ่ในชั้นหนึ่ง ใช้สิ่งศักดิ์สิทธิแ์ ละความเชื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจผ่านการกาหนดพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ตามจุดต่าง ๆ ในโรงพยาบาล มีการให้บริการห้องศาสนาสาหรับทุกศาสนา (พุทธ, คริสเตียน, อิสลาม) บนชั้นห้า

ภาพที่ 2.3.27 รพ.ราชพฤกษ์ - ขอนแก่น


52

ภาพที่ 2.3.28 ภาพโดยรวมโรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น ผังของโครงการจะมีดังต่อไปนี้ (หน้าถัดไป)

ภาพที่ 2.3.29 ผัง Master Plan โรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น


53

ภาพที่ 2.3.30 ผังชั้น 2 โรงพยาบาลราชพฤกษ์ – ขอนแก่นt

ภาพที่ 2.3.31 ผังชั้น 3 โรงพยาบาลราชพฤกษ์ - ขอนแก่น


54

ภาพที่ 2.3.32 ผังชั้น 4 โรงพยาบาลราชพฤกษ์ – ขอนแก่น

ภาพที่ 2.3.32 แนวความคิดในการออกแบบ รพ.ราชพฤกษ์ ขอนแก่น (ปี 2018)


55 3.ศูนย์การแพทย์พระรามเก้า - กทม, ห้วยขวาง โรงพยาบาล พระรามเก้า กับความเป็นผู้นาใน การรักษาโรคยากซับซ้อนมา ยาวนานกว่า 28 ปี ภายใต้แนวคิด “ใส่ใจสุขภาพ ดูแลด้วยมืออาชีพ” ได้ผ่านการดูแล รักษาชีวิตผู้ป่วย โรคยากซับซ้อนด้วยทีมแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญ ไม่ว่าจะเป็น ไต หัวใจ เบาหวาน ผ่าตัดแผลเล็ก ฯลฯ ภาพที่ 2.3.33 ภาพศูนย์การแพทย์ พระราม9 - กทม, ห้วยขวาง อาคารใหม่ ‘ศูนย์การแพทย์พระรามเก้า’ ที่มีสถาบัน Fix & Fit เป็นศูนย์รวมการดูแลสุขภาพ รับ New Normal นาทัพตะลุยแก้ปัญหา คอยดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด เพื่อการันตีให้ทุกคนในเมืองมี สุขภาพดีทั้งกายและใจได้แบบไม่ต้องรอป่วย โดยสถาบัน Fix & Fit อยู่ภายในอาคารใหม่ ‘ศูนย์การแพทย์พระรามเก้า’ เป็นสถาบันดูแล สุขภาพเชิงรุกที่เปิดให้บริการ 2 รูปแบบ ได้แก่ The Fix คือการรักษา และ The Fit คือการเสริมสร้าง ให้แข็งแรง มุ่งเน้นให้ความรู้และดูแลสุขภาพเกี่ยวกับปัญหาปวดเรื้อรังที่พบบ่อยในแต่ละช่วงอายุ โดยผู้ เข้ารับบริการจะได้รับการตรวจประเมินจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อวางแผนการรักษา จากนั้นแพทย์จะ รักษาตามโปรแกรมที่จัดไว้ให้ โดยมี 5 คลินิกหลัก จัดหนักจัดเต็มสาหรับแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอันเกิด จากไลฟ์สไตล์และพฤติกรรมของคนเมืองยุคใหม่ ดังต่อไปนี้ I.Office Syndrome Clinic คลินิกรักษากลุม่ อาการออฟฟิศซินโดรม - ภายในศูนย์จะมีบริการตรวจ ประเมินร่างกายโดยแพทย์ และวางแผนการรักษา ให้กับผู้ที่มารับบริการ โดยมีเครื่องมือการรักษาที่โดด เด่นคือคลื่นกระแทกช็อกเวฟ (Shockwave Therapy) ซึ่งเป็นการรักษาโดยใช้คลื่นกระแทกบนกล้ามเนื้อที่มี อาการปวด และปรับสภาพร่างกายในห้องเยือกแข็งที่ อุณหภูมิ -110 องศาเซลเซียส เพื่อช่วยลดอาการปวด เรื้อรัง และยังช่วยให้การนอนหลับดีขึ้น

ภาพที่ 2.3.34 ภาพมุมสูงศูนย์การแพทย์ พระราม9 - กทม, ห้วยขวาง


56 II.Sport Injury Clinic คลินิกรักษาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาและฟืน้ ฟูสมรรถภาพ - มี การตรวจประเมินประสิทธิภาพความแข็งแรงของกล้ามเนื้อด้วยเครื่อง Isokinetic และการรักษาด้วย เครื่องมือมือต่างๆ เช่น Shock Wave, Laser เป็นต้น และสามารถช่วยเร่งการฟื้นตัวจากการเล่นกีฬา หลังจากออกกาลังกายหนักด้วย Ice Lab (ห้องเยือกแข็งอุณหภูมิ -110 องศาเซลเซียส) เพื่อกระตุ้น ระบบต่างๆ ของร่างกายให้เกิดการฟื้นฟูได้อย่างรวดเร็ว III.Joint and Spine Clinic คลินิกรักษาอาการปวดข้อและกระดูกสันหลังเสื่อม - มุ่งเน้น รูปแบบ Hydrotherapy หรือการออกกาลังกายในน้า เลือกใช้ Underwater Treadmill (ลู่วิ่งสายพาน ใต้น้าระบบอัตโนมัติ) เป็นเครือ่ งมือหลัก เพื่อออกกาลังกายข้อสะโพก ข้อเข่า เพื่อลดอาการปวด และ ส่งเสริมให้ข้อต่อนั้นมีความแข็งแรงมากยิ่งขึ้น IV.Body Adjustment Clinic คลินิกจัดโครงสร้างร่างกาย - นักกายภาพบาบัดจะใช้เตียง Manuthera ซึ่งเป็นเตียงจัดกระดูกเข้ามาช่วยเพิ่มการรักษา V.Living Well Clinic คลินิกรักษาอาการปวดในผู้ที่เคยป่วยเป็นมะเร็ง - ผลกระทบต่อ ร่างกายจากกระบวนการรักษา ไม่ว่าจะทั้งอาการปวดและอาการชาจากการฉายแสง หรือการทาเคมี บาบัดบางชนิด เพื่อเป็นการฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยให้หายจากอาการปวดด้วยเครื่องกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้า (TMS) และมีการส่งเสริมร่างกายด้วยการออกกาลังกายให้กลับมามีความสมบูรณ์ยิ่งขึน้

ภาพที่ 2.3.34 ภาพมุมสูงศูนย์การแพทย์ พระราม9 - กทม, ห้วยขวาง


57 4.โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา - อุบลราชธานี, อ.เมือง โรงพยาบาลมะเร็ง ชีวามิตรา โรงพยาบาลเอกชนเฉพาะ ทางด้านการรักษาโรคมะเร็งแห่งแรกใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มุ่งเน้น ประสิทธิภาพที่ดีในการดูแลรักษา ผสานคุณค่านวัตกรรมที่ได้มาตรฐาน เทียบเท่าสถาบันการแพทย์นานาชาติ ภาพที่ 2.3.35 รพ.มะเร็งชีวามิตรา - อุบลราชธานี, อ.เมือง ชีวามิตรา "ยึดหลักดาเนินชีวิตด้วยมิตรภาพ" มุ่งเน้นการมอบสิ่งที่ดีที่สุดในการรักษา... เพื่อ สร้างคุณค่าชีวิตที่ดีกว่าเดิม ด้วยปรัชญาการดาเนินงานด้วยความเอาใจใส่ ประเภทห้องพักผู้ป่วยในและการให้บริการทางการแพทย์ ตารางที่ 2.3.4 ภาพประเภทห้องพัก IPD รพ.มะเร็งชีวามิตรา 1.ห้องพักเดี่ยวพิเศษ 2.ห้องพักเดี่ยว - DELUXE SUITE PRESIDENTIAL SUITE (53 ตร.ม.) (32 ตร.ม.)

3.ห้องพักเดี่ยวพิเศษ PRESIDENTIAL SUITE (52 ตร.ม.)

ภาพที่ 2.3.37 ภาพขอบเขตการให้บริการ รพ.มะเร็งชีวามิตรา


สรุป แนวความคิด

ผังต่างๆ

มีการแยกกลุ่มอาคารเพื่อให้ อากาศถ่ายเทและ เน้นการใช้ งานของผู้สูงอายุ ถึงขนาดมีการ แยก Ward อาคาร IPD ไว้สูง เพียง 1 ชั้น สาหรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะ มีการใช้รูปทรงออแก นิค เพื่อให้ รพ. ดูมีชีวิต

โรงพยาบาลบนน้า

IDENTITY CONCEPT.

IMAGE

โรงพยาบาลราชพฤกษ์ ขอนแก่น

โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุน เทียน - กทม, บางขุนเทียน

ชื่อ รพ.

แก้ปัญหาที่พบเจอใน รพ.ทั่วไป (บรรยากาศไม่เป็นมิตร เส้นทาง ซับซ้อน การรบกวนของผู้ป่วย ER) โดยการ บาบัดทางธรรมชาติ องค์ประกอบของบ้าน และการ บาบัดด้วยจิตปัญญา (เพิ่มพื้นที่ ทางศาสนา)

โรงพยาบาลที่เหมือนบ้าน

2

1

NO.

n/a มีการจัดภูมิทัศน์ให้เกิดการบาบัด ทางธรรมชาติ ตัว รพ.มีความสูง เพียง 1-2 ชั้น มีการออกแบบ อาคารในรูปแบบ อาคารแผ่ ห้องพักผู้ป่วยมีให้เลือก 3 แบบ โดยแต่ละแบบเน้นการจัดวางที่ ให้เกิดความเป็นส่วนตัวและเห็น พื้นที่ธรรมชาติมากที่สุด

การรักษาโรคที่ซับซ้อน และเน้น การรักษาโรคเฉพาะทางที่มักเกิด กับคนยุคใหม่ เช่น Office Syndrome , Sport Injury, Joint & Spine, จัดโครงสร้าง ร่างกาย ,และสุดท้ายคลินิกรักษา อาการปวดในผู้ป่วยที่เคยเป็น มะเร็ง

สภาพแวดล้อมในการรักษา มะเร็ง

โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา - อุบลราชธานี, เมือง

4

n/a

แก้ปัญหาสุขภาพคนเมือง

ศูนย์การแพทย์พระรามเก้า - กทม, ห้วยขวาง

3

ตารางที่ 2.3.3 ตารางสรุป กรณีศึกษา โรงพยาบาลที่มีการออกแบบที่น่าสนใจ (ต่อ)

58

จากการศึกษากรณีศึกษา โรงพยาบาลที่มีการออกแบบที่น่าสนใจ พบว่า ส่วนใหญ่ การออกแบบโรงพยาบาลในสมัยใหม่ นั้นมีแนวคิดที่คล้ายคลึงกันในส่วนของ การเน้นให้เกิดความรู้สึกที่ ไม่เหมือนกับอยู่ใน โรงพยาบาลไม่ว่าจะเป็น การออกแบบให้รู้สึกเหมือนบ้าน ให้รู้สึกเหมือนที่พักตาก อากาศ การใช้น้าเข้ามาทาให้เกิดความรู้สึกใกล้ชิดกับธรรมชาติ ทั้งนี้ก็เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยหรือผู้ที่เข้ามาใช้ โครงการรู้สึกเหมือนอยู่ในกล่องสี่เหลี่ยม จาเจ


59 2.4 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการเบื้องต้น การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility study) คือกระบวนการรวบรวมข้อมูลรอบด้านและนา ข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์เพื่อประกอบการตัดสินใจก่อนการลงทุนหรือเริ่มต้นธุรกิจใหม่ การศึกษา ความเป็นไปได้มักจะจัดทาขึ้นสาหรับการลงทุนในโครงการใหญ่ๆโดยเฉพาะโครงการอสังหาริมทรัพย์ เช่นโครงการสร้างคอนโดมิเนียม โรงแรม หมู่บ้านจัดสรร โรงพยาบาลเอกชน ฯลฯ นอกจากโครงการ อสังหาริมทรัพย์แล้วธุรกิจที่ตอ้ งใช้เงินลงทุนจานวนมากก็ต้องจัดทาด้วย เช่นธุรกิจขุดเจาะน้ามัน สร้าง โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โรงงานผลิตไฟฟ้าและพลังงาน ซึ่งโครงการระดับใหญ่ๆเหล่านี้มักต้องมี การป้องกันความเสี่ยง การจัดทาการศึกษาความเป็นไปได้ก็เพื่อลดความเสี่ยงนั่นเอง เพราะการลงทุนมี ความเสี่ยงทั้งสิ้นผู้ประกอบการใหม่ทจี่ ะเริ่มธุรกิจควรมีการศึกษาความเป็นไปได้ก่อนการลงทุนทุกครั้งบ เพราะนอกจากช่วยลดความเสี่ยงแล้วยังเป็นการวางแผนงานไปด้วย โดยการศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้นของโครงการโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง จะจาแนกได้ ทั้งหมด 6 หัวข้อคือ ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านนโยบายและแผนพัฒนา ด้านการตลาด ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านทาเลที่ตั้งโครงการ และด้านกฎหมายข้อบังคับ เป็นต้น โดยมี รายละเอียดทั้งหมดดังนี้ 2.4.1 ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจและสังคม การศึกษาความเหมาะสมของโครงการทางด้านเศรษฐศาสตร์เป็นการวิเคราะห์ในแง่มุมมองของ ประเทศหรือของสังคมโดยรวมเพื่อพิจารณาถึงการจัดสรรทรัพยากรทุกอย่างของประเทศที่มีอยู่อย่าง จากัด เพื่อใช้ในการดาเนินงานตามแผนงานและหรือโครงการต่างๆ ว่าการใช้ทรัพยากรดังกล่าวเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และให้ผลประโยชน์แก่ประเทศชาติและสังคมโดยรวม มีความคุ้มค่ากับ ทรัพยากรที่ได้จากการเสียสละไปในการใช้ก่อสร้างโครงการ การวิเคราะห์ทางสังคม เป็นส่วนหนึ่งของความเป็นไปได้ของโครงการโดย นาข้อมูลทางสังคม เข้าสู่ กระบวน การตัดสินใจเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของโครงการที่มีต่อสวัสดิการทางสังคม ช่วยกาหนดความ เหมาะสมของโครงการ ทาให้โครงการมีโอกาสสาเร็จ และประเมินผลกระทบทางสังคม ช่วยลด ผลกระทบทางลบ เพิ่มผลกระทบทางบวก โดยการศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้นด้านเศรษฐกิจและสังคมของโครงการโรงพยาบาลเฉพาะทาง มะเร็ง จะมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ 2.4.1.1.ความสาคัญของโรงพยาบาลเอกชน หลังจากการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีอิทธิพลในการใช้ชีวิตในประเทศไทย ในสมัย ร.2 คน ไทยที่ยังไม่คุ้นชินในสมัยนั้นก็ได้กลับไปใช้แพทย์แผนไทยตามเดิมเป็นระยะเวลากว่า 3 ศตวรรษ แต่เมื่อ มีผู้นาทางการแพทย์ (ดร.บรัดเลย์ และ ดร.เฮาส์) นาความเจริญทางการแพทย์แผนปัจจุบนั มาสู่ประเทศ ไทยจึงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ จน สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(ร.5) ได้ทรงซาบซึ้งและ มีพระราชดาริให้สร้าง "โรงศิรริ าชพยาบาล" จึงเกิดมาเป็นสถาบันการแพทย์แห่งแรกในไทย คือ


60 โรงพยาบาลศิริราช โดยก่อนที่จะเกิดโรงพยาบาลศิริราชบทบาทของโรงพยาบาลเอกชนสมัยนั้น นาโดย คณะมิชชันนารี ได้ทาการจัดตั้งโรงพยาบาลตามจังหวัดต่างๆ เช่น จ.เชียงใหม่(รพ.อเมริกันมัชชันนารี) จ. เพชรบุรี ฯลฯ

ภาพที่ 2.4.1 ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาล โดยยุคทองของโรงพยาบาลเอกชนจะอยู่ในช่วง พ.ศ. 25630-2539 เพราะโรงพยาบาลรัฐไม่ สามารถให้บริการหรือความต้องการความสะดวกกับผู้ป่วยได้เพียงพอ ดังนั้น จึงทาให้ รพ.เอกชนเป็น ทางออกที่เหมาะสมสาหรับผู้ป่วยในยุคที่เศรษฐกิจที่กาลังรุ่งเรืองและการให้บริการที่รวดเร็วกว่า โรงพยาบาลในภาครัฐและคุณภาพการเป็นอยู่ของผู้ป่วยที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ค่อนข้างมีความ สะดวกสบายและมีความเป็นส่วนตัวมากกว่า โรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทยเป็นโรงพยาบาลที่จัดตั้งโดยเอกชน มีทั้งที่เป็นบริษัทจากัด และ บริษัทมหาชนจากัดด้วย โรงพยาบาลเอกชนบางแห่งเป็นโรงพยาบาลเฉพาะด้าน เช่น โรงพยาบาล ทางด้านโรคตา โรงพยาบาลทันตกรรม เป็นต้น บางแห่งก็มีมากกว่าหนึ่งแห่งในกลุ่มบริษัทเดียวกัน โดย ในปัจจุบันประเทศไทยจะมีเครือโรงพยาบาลเอกชนหลักๆดังนี้ - เครือ กรุงเทพดุสิตเวชการ จากัด(มหาชน) / BDMS - เครือ บางกอก เชน ฮอสปิทอล จากัด(มหาชน) / BCH - เครือ ธนบุรี เฮลท์แคร์ กรุ๊ป จากัด / THG โดยในแต่ละเครือโรงพยาบาลก็จะมีกลยุทธ์หรือจุดขายที่แตกต่างกันตามเอกลักษณ์ของเครือ โรงพยาบาลนั้นๆ และมีจานวนและขอบเขตการให้บริการที่แตกต่างกันออกไป โดยเครือโรงพยาบาล เอกชนในปัจจุบัน มีจานวนการให้บริการดังต่อไปนี้


61

THG

19

BCH

14

BDMS

47 0

5

10

15

20

25

30

35

40

45

50

ภาพที่ 2.4.2 แผนภูมิแสดงจานวนโรงพยาบาลแบ่งตามเครือข่ายโรงพยาบาลเอกชน BCH 21 16 11 6 1 -4

21

BDMS

21 16

9

11

2

1

2

ภาพที่ 2.4.3 จานวนโรงพยาบาลเครือข่าย โรงพยาบาล BCH

6

9 5

4

5 1

1 -4

ภาพที่ 2.4.4 จานวนโรงพยาบาลเครือข่าย โรงพยาบาล BDMS

ดังนั้นโรงพยาบาลเอกชนจึงกลายเป็นผู้มีบทบาทสาคัญ ต่อระบบบริการสุขภาพและการพัฒนาของ ประเทศ โดยทีไ่ ม่ต้องใช้ภาษีของรัฐเข้ามาอุดหนุน ดังนั้นค่ารักษาของโรงพยาบาลเอกชนจึงไม่สามารถ เทียบโรงพยาบาลของรัฐได้ ในอีกด้านหนึ่ง โรงพยาบาลเอกชนยังช่วยรัฐบาลประหยัดงบประมาณในการ ลงทุนด้านสาธารณสุขของประเทศได้ กว่า 2.26 แสนล้านบาท พร้อมกันนั้นยังจ่ายภาษีกลับคือไปให้รฐั ในรูปภาษีนิติบุคคล ภาษีเงินได้พนักงาน และภาษีเงินได้ของแพทย์และพยาบาล ต่อปีไม่ต่ากว่า 7 พันล้านบาท เพื่อนาไปอุดหนุนพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศในอีกทอดหนึ่ง ภายใต้ระบบ เศรษฐกิจเสรีนยิ ม โรงพยาบาลเอกชนนับเป็นธุรกิจที่จาเป็นต่อประชาชนที่ เจ็บป่วย และยังมีบทบาท สาคัญในการการจ้างงานจานวนมาก เกิดรายได้จากอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง การลงทุนภาคเอกชนยัง ช่วยลดภาระการลงทุนของรัฐ ในหลาย ๆ ด้าน จึงเป็นธุรกิจที่รัฐพึงให้การส่งเสริมอย่างยิ่ง เพื่อให้ ประชาชนได้รับบริการที่ดีและมีประสิทธิภาพ (สมาคมโรงพยาบาลเอกชน, 2563)


62 2.4.1.2.ความสาคัญของโรงพยาบาลเฉพาะทาง โรงพยาบาลเฉพาะทาง (Specialized Hospital) เป็นโรงพยาบาลที่รับรักษาพยาบาลเฉพาะสาขา โรคมีขั้นตอนการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อน เน้นการรักษาเฉพาะสาขาอย่างน้อย 1 อย่าง อย่างมาก ไม่เกิน 2 สาขาในสถานที่เดียวกันตามที่ได้รับอนุญาติให้จัดตั้งและดาเนินการสถานพยาบาล จากข้อมูลของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข เกี่ยวกับโรงพยาบาลเฉพาะทางจะพบว่า โรงพยาบาล เฉพาะทางส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ใน กรุงเทพฯ มากกว่าต่างจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางของ ภาคเอกชน หรือโรงพยาบาลเฉพาะทางหรือศูนย์เฉพาะทางของภาครัฐ ดังแผนภูมิดังต่อไปนี้ 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0

ภาพที่ 2.4.5 จานวน โรงพยาบาลเฉพาะทาง (รัฐ) แยกตามจังหวัด 18 16 14 12 10 8 6 4 2 0 เชียงใหม่

อุบล

ชลบุรี

นนท

กทม

ภาพที่ 2.4.6 จานวน โรงพยาบาลเฉพาะทาง (เอกชน) แยกตามจังหวัด จากข้อมูลของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข เกี่ยวกับโรงพยาบาลเฉพาะทางจะพบว่า โรงพยาบาล เฉพาะทางส่วนใหญ่จะเป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางของ ภาคเอกชน หรือโรงพยาบาลเฉพาะทางหรือศูนย์เฉพาะทางของภาครัฐดังแผนภูมิดังต่อไปนี้


63 ไต เด็ก ผิวหนัง หัวใจและปอด ชีวเวชศาสตร์ (สุขภาพ) ตา หู คอ จมูก มะเร็ง ผูป้ ่ วย 0

2

4

6

8

10

12

ภาพที่ 2.4.7 จานวน โรงพยาบาลเฉพาะทาง (รัฐ) แยกตามการรักษา(โรค) จะเห็นได้ว่า รพ.เฉพาะทาง ของภาครัฐ ส่วนใหญ่จะเป็น โรงพยาบาลเฉพาะทางผู้ป่วยมากกว่า โรงพยาบาลเฉพาะทางโรค เพราะการรักษาในรูปแบบแยกประเภทผู้ป่วย (Special Patient Hospital) นั้นมีความหลากหลายของผู้ป่วยหลายๆ แบบรวมๆ กันอยูใ่ นชนิดของโรงพยาบาลเฉพาะ ทางผู้ป่วย เพียงประเภทเดียว เช่น รพ.สงฆ์ รพ.เด็ก รพ.จิตเวช ฯลฯ จึงทาให้ถ้านับว่าโรงพยาบาล เฉพาะทางรูปแบบไหนมีมากที่สุด ก็จะเป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง

มะเร็ง ศัลยกรรม ความงาม เด็ก ผิวหนัง ผูป้ ่ วย จักษู (ตา) หัวใจ สมอง ชีวเวชศาสตร์ (สุขภาพ) ตา หู คอ จมูก 0

1

2

3

4

5

6

7

ภาพที่ 2.4.8 จานวน โรงพยาบาลเฉพาะทาง (เอกชน) แยกตามการรักษา(โรค)


64 ในส่วนของภาคเอกชนนั้น รพ.เฉพาะทางที่มากที่สุด ก็คือ โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง รองลงมาก็จะเป็น โรงพยาบาลศัลยกรรมความงามเป็นหลัก เพราะ จากข้อมูล กรมส่งเสริมการค้า ระหว่างประเทศ, 2559 กล่าวว่าในปัจจุบันคนไทยให้ความสนใจในการศัลยกรมเสริมความงามเพิ่มมาก ขึ้น ทาให้ตลาดศัลยกรรมเสริมความงามของไทยในปี 2559 นั้นมีมูลค่าเพิ่มมากขึ้นเป็น 1.15 พัน ล้านดอลล่าร์ฯ จากปี 2558 ที่มูลค่า 959ล้านดอลล่าร์ฯโดยไทยถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 21 ของประเทศ ที่มีจานวนการศัลยกรรมเสริมความงามมากที่สุดในปี 2559 จึงทาให้เกิดแนวโน้มในการทาธุรกิจ เกี่ยวกับการศัลยกรรมความงามเพิ่มมากขึ้น 2.4.2 ความเป็นไปได้ด้านนโยบายและแผนพัฒนาที่เกีย่ วข้อง แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ (National Cancer Control Programme) คณะกรรมการ จัดทาแผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2561 - 2565) แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ (National Cancer Control Programme) เป็นแผนที่จัดทาขึ้นโดยผู้บริหารและนักวิชาการ จากทั้งภาครัฐ และ ภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็งในสาขาต่าง ๆโดยพิจารณาจาก ภาพที่ 2.4.9 ภาพหน้าปกแผนการ ปัญหาโรคมะเร็งที่มีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นของประเทศ ซึ่งการแก้ปัญหา ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง เรื่องนี้จาเป็นต้องมีแผนการป้องกันและควบคุมที่ชัดเจน สามารถ ปฏิบัติได้จริงตามความเหมาะสมกับสภาพปัญหาสังคมและเศรษฐกิจ ของประเทศ สอดคล้องกับสถานการณ์ ตลอดจนการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประโยชน์สูงสุด โดยยุทธศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการมี 2 ยุทธศาสตร์หลักๆดังนี้ 1.ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง - มุ่งเน้นให้มีการลดระยะเวลาการรอคอยการวินิจฉัยและการรักษาให้อยู่ในเกณฑ์ - ลดอัตราการเสียชีวิต - เพิ่มอัตราการอยู่รอดในโรคมะเร็งที่รักษาได้ 2.ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง - เพิ่มการรักษารูปแบบประคับประคองในระดับโรงพยาบาล - พัฒนาคลินิกเฉพาะทางเพิ่มใน โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลมะเร็ง โดยทั้งสองยุทธศาสตร์มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคือ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรมการแพทย์ โรงพยาบาลเอกชน และสมาคมโรงพยาบาลเอกชน องค์กรภาคีต่างๆ


65 จะเห็นได้ว่าตัวโครงการโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง สามารถตอบโจทย์หรือสอดคล้อง กับตัวยุทธศาสตร์ ที่ 3 และ 4 โดยตรงตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ระบุไว้ในยุทธศาสตร์ข้อนี้ด้วย 2.4.3 ความเป็นไปได้ด้านการตลาด ความเป็นไปได้ในด้านการตลาดจะสามารถจาแนกได้เป็น 2 ส่วน คือ 1.กลยุทธ์ของเครือ รพ.เอกชนในไทย 2.การกาหนดค่าบริการการรักษา เพื่อกาหนดกลุ่มลูกค้า เป็นต้น โดยจะมีรายละเอียด ดังนี้ 2.4.3.1 กลยุทธ์ของเครือโรงพยาบาลเอกชนในปัจจุบัน ปัจจุบัน ธุรกิจ รพ.เอกชนในไทย มีเครือข่ายการให้บริการที่สามารถจาแนกได้เป็น 3 กลุ่ม หลักๆ คือ 1.เครือ BDMS 2.เครือ BCH และ 3.เครือย่อยอื่นๆ โดยในส่วนของเครือ BDMS จะมีกลุ่ม รพ.ดังนี้

ภาพที่ 2.4.11 ภาพ โรงพยาบาลลูกข่าย เครือ BDMS ในส่วนของเครือ BCH จะมีกลุ่ม รพ.ดังนี้

ภาพที่ 2.4.13 ภาพตรา โรงพยาบาลลูกข่าย เครือ BCH และสุดท้าย ในส่วนของเครืออื่นๆ

ภาพที่ 2.4.14 ภาพตรา โรงพยาบาลเครืออื่นๆ โดยในส่วนรายละเอียดด้านกลยุทธ์ธุรกิจของเครือต่างๆ และลูกข่าย รพ. ต่างๆ มีดังนี้ (หน้าถัดไป)


66 1.1 เครือ กรุงเทพดุสิตเวชการ จากัด(มหาชน) / BDMS - พัฒนาเป็นโรงบาล Bangkok International Hospital ไปสู่ ภาพที่ 2.4.15 ภาพตรา Smart Hospital โดยจะเน้นการรักษาโรคเฉพาะทางอย่าง สมอง โรงพยาบาลเครือ BDMS กระดูก หัวใจ - ขยายโรงพยาบาลในกลุ่มให้ครบ 50 แห่งในปี 2564 - เพิ่ม International Hospital เพื่อรองรับชาวต่างชาติเพิ่มขึ้น (ปัจจุบันรายได้มาจาก 30%จาก ต่างชาติ,70%จากคนไทย) - ขยายกิจการไปสู่รูปแบบใหม่ คือ ทากับกลุ่มโรงแรมและภาคการท่องเที่ยว โดยร่วมกับ Movenpick Hotel & Resort โดยมีศูนย์ BDMS Wellness Clinic ให้บริการครบวงจร รองรับ กลุ่มลูกค้าที่ต้องการดูแลสุขภาพป้องกันก่อนการเจ็บป่วย - มีศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ Center of Excellence 10 แห่งเพื่อให้บริการกับโรคที่รักษา ยากและซับซ้อน ซึ่งมีลูกค้าชาวต่างชาตินิยมเข้ามารับบริการ และ ใช้ Movenpick Hotel & Resort เป็นทีพ่ ักอีกด้วย โดยกลยุทธ์ รพ.ลูกเครือของ BDMS มีทั้งสิ้น 6 แห่งหลักๆ ดังนี้ 1.1.1 SVH / โรงพยาบาลสมิติเวช – - ให้บริการแก่ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในตลอด 24 ชั่วโมง ในระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) และมี บริการรักษาพยาบาลแบบไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน (Out Patient Clinic ) ด้วย - การปรับแพ็กเกจการตรวจสุขภาพ ให้มีราคาถูกลงเช่น โปรแกรม มินิเช็คอัพ จาก 50,000 เหลือ 20,000 เพื่อรองรับลูกค้าในประเทศ - รองรับการ Technology Disruption ด้วยการ Trasnform องค์กร เช่น มีการนา Data , Ai , Machine Learning เข้ามาช่วยเรื่องการตัดสินใจ ฯลฯ 29 ส.ค. 2563 ที่มา : นายแพทย์ชัยรัตน์ ปัณฑุรอัมพร กรรมการผู้จัดการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มโรงพยาบาลสมิติเวช และ โรงพยาบาลบีเอ็นเอช 1.1.2 KDH โรงพยาบาลสมิติเวช ธนบุรี - ทีมแพทย์เฉพาะทาง และ ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง เช่น สถาบันเต้านมสมิติเวช ศูนย์กล้ามเนือ้ กระดูก และข้อ ศูนย์จกั ษุกรรมและเลสิก ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและลาไส้ ศูนย์สุขภาพ และแผนกฉุกเฉิน เป็นต้น 1.1.3 BH โรงพยาบาลบารุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล - ศูนย์บริการผู้ป่วยต่างชาติ ธุรกิจการแพทย์และธุรกิจที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ 1.1.4 BNH โรงพยาบาลบีเอ็นเอช - - ค่ารักษาพยาบาลแพง เครื่องมือทันสมัย การบริการที่ดี 1.1.5 PYT พญาไท


67 - - การยึดคนไข้เป็นศูนย์กลาง ให้ความสาคัญกับการรักษาโรคที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น หรือ ต้องอาศัยความรู้ความเชี่ยวชาญเชิงลึกในการรักษา ขับเคลื่อนโรงพยาบาลไปสู่ Center of Excellence ภายในปี 2020 มีความเชี่ยวชาญการรักษาโรคที่เกี่ยวข้องกับหัวใจ สมอง อุบัติเหตุ อาชีวอนามัย โดยตามแผนจะพัฒนาให้เป็นโรงพยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญการรักษา โรคมะเร็งเพิ่มเติมภายในปีหน้า และเพิ่มการพัฒนาเกี่ยวกับโรคทางด้านกระดูก และศูนย์ สุขภาพเด็กเพิ่มเติม บริการทีเ่ ทียบชั้นสิงคโปร์ แต่ค่ารักษาถูกกว่าถึง 30% เมื่อเทียบกับการ รักษาในโรคประเภทเดียวกัน 1.1.6 Paolo เปาโล - บริการด้านการแพทย์แบบครบวงจร การให้บริการด้านการรับผู้ป่วยฉุกเฉิน 1.2. เครือ บางกอก เชน ฮอสปิทอล จากัด(มหาชน) / BCH - เติบโตจากกลุ่มลูกค้าชาวต่างชาติ - กลุ่มลูกค้าประกันสังคม (34%ของรายได้รวม) - การแพทย์ระดับ ปฐมภูมิ-ตติยภูมิ - เตรียมเปิด 2 โรงพยาบาลแห่งใหม่ ภาพที่ 2.4.12 ภาพตรา - รพ. KH ปราจีนบุรี (คาดเปิดไตรมาส 4/63 งบ 650ล้านบาท) โรงพยาบาลเครือ BCH - รพ. KIH เวียงจันทร์ (คาดเปิดไตรมาส 1/64 งบ 1000ล้านบาท) - กาลังศึกษาการเปิดโรงพยาบาลมะเร็งขนาดเล็ก 10-20 เตียง (งบ200ล้าน) โดยกลยุทธ์ลูกเครือของ BCH มีดังนี้ 1.2.1 WMC – โรงพยาบาลเวิลดิ์เมดิคอล - ให้บริการแก่กลุ่มคนไข้เงินสดระดับบนและคนไข้ชาวต่างชาติ 1.2.2 KIH - กลุ่มโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล - ให้บริการแก่กลุ่มคนไข้เงินสดระดับกลางบน 1.2.3 KH – โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ - ให้บริการแก่กลุ่มคนไข้เงินสดระดับกลางและคนไข้ในโครงการประกันสังคม 1.2.4 KV – กลุ่มโรงพยาบาลการุญเวช - ให้บริการแก่กลุ่มคนไข้ในโครงการประกันสังคม


68 1.3 เครือย่อย 1.3.1 PRINC - ตั้งเป้าจะเพิ่มโรงพยาบาลให้ครบ 20 แห่ง ภายในปี 2566 และ เป็นพันธมิตรกับกลุ่มของ รพ. B - ปี2563 เพิ่มโรงพยาบาล 4 แห่งในเขตภาค ใต้ อีสาน และ กทม. (งบ 2,000ล้านบาท) 19 มิ.ย. 2563 ที่มา : share2trade.com 1.3.2 CHG (โรงพยาบาลจุฬารัตน์) - ปี 2563 อนุมตั ิลงทุนการก่อสร้างโรงพยาบาลมะเร็ง บนถนน กิ่งแก้ว (งบ 500 ล้าบาท) ทีม่ า : hoonsmart.com 1.3.3 THG โรงพยาบาลธนบุรี (เอกชน) - เตรียมเปิดโรงพยาบาลเฉพาะทาง (เบาหวาน ทันตกรรม ฯลฯ) - โครงการที่พักอาศัยสาหรับผู้สูงอายุ - โครงการโรงพยาบาลต่างประเทศ ที่มา : brandinside.asia

ภาพที่ 2.4.14 ภาพ ตรา โรงพยาบาล PRINC

ภาพที่ 2.4.15 ภาพตรา โรงพยาบาล CHG

ภาพที่ 2.4.16 ภาพตรา โรงพยาบาล THG

จากการศึกษาเรื่องของกลยุทธ์ของเครือ รพ.เอกชน ทาให้พบว่า กลยุทธ์ของ รพ.เอกชน ในส่วนใหญ่ทั้งเครือ BDMS และ BCH เน้นการเจาะตลาดกลุ่มเป็นถึงกลุ่มกลาง เป็นหลัก และมีการให้ ความสาคัญในการสนับสนุนให้เกิดศูนย์แพทย์เฉพาะทาง ศูนย์ความเป็นเลิศ และศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับ โรคมะเร็ง โดยส่วนใหญ่ รพ.ที่มีการรักษาและมีศูนย์รักษามะเร็งครบวงจร ยังมีไม่มาก ส่วนใหญ่จะเป็น ศูนย์มะเร็งเต้านมและปากมดลูกเป็นหลัก โดยสามารถดูตารางสรุปกลยุทธ์ด้านการตลาดของเครือ รพ.เอกชนได้ที่ ตาราง


มะเร็งเต้านม

1.SVH

• มะเร็งเต้านม

2.KDH

• •

3.BH

4.BNH

5.PYT

รพ.เฉพาะทางะเร็ง

6.Paolo

ตารางที่ 2.4.1 สรุปกลยุทธ์ทางการตลาด เครือ รพ.เอกชน ในไทย

กลุ่ม BDMS

ขยายกิจการในต่างประเทศ

ขยายกิจการในกลุ่มโรงแรมและภาค การท่องเที่ยว ขยายกิจการในหัวเมืองรอง หรือ ต่างจังหวัด

สนับสนุนให้เกิด ศูนย์ความเป็นเลิศ (Center of Excellence) สนับสนุนศูนย์การศึกษาในเรื่อง โรคมะเร็ง เตรียมเปิดโรงพยาบาลแห่งใหม่

สนับสนุนศูนย์แพทย์เฉพาะทาง

เน้นการให้บริการการรับผู้ป่วยฉุกเฉิน

บริการทางการแพทย์ครบวงจร

มีศูนย์โรคมะเร็งอยู่แล้ว

กลุ่มลูกค้าชนชั้นกลาง ภายในประเทศ กลุ่มลูกค้าประกันสังคม

กลุ่มคนไข้ลูกค้าระดับกลางบน

กลุ่มลูกค้าระดับบน - ชาวต่างชาติ

โรงพยาบาล / กลยุทธ์

69


รพ.เฉพาะทางะเร็ง

THG

เต้านม + ปากมดลูก

CHG PRINC (Rel.-BH) 4.KV โรงพยาบาลจุฬา โรงพยาบาล • รัตน์ จากัด การุญเวช (มหาชน) •

มะเร็งเต้านม

3.KH 2.KIH 1.WMC - โรง โรงพยาบาล โรงพยาบาล พยาบาลเวิลดิ์ เกษมราษฎร์ เกษมราษฎร์ เมดิ•คอล อินเตอร์ • เนชั่น แนล •

ตารางที่ 2.4.1 สรุปกลยุทธ์ทางการตลาด เครือ รพ.เอกชน ในไทย (ต่อ)

กลุ่ม BCH

ขยายกิจการในต่างประเทศ

ขยายกิจการในกลุ่มโรงแรมและ ภาคการท่องเที่ยว ขยายกิจการในหัวเมืองรอง หรือ ต่างจังหวัด

สนับสนุนให้เกิด ศูนย์ความเป็นเลิศ (Center of Excellence) สนับสนุนศูนย์การศึกษาในเรื่อง โรคมะเร็ง เตรียมเปิดโรงพยาบาลแห่งใหม่

เน้นการให้บริการการรับผู้ป่วย ฉุกเฉิน สนับสนุนศูนย์แพทย์เฉพาะทาง

บริการทางการแพทย์ครบวงจร

มีศูนย์โรคมะเร็งอยู่แล้ว

กลุ่มลูกค้าชนชั้นกลาง ภายในประเทศ กลุ่มลูกค้าประกันสังคม

กลุ่มคนไข้ลูกค้าระดับกลางบน

กลุ่มลูกค้าระดับบน - ชาวต่างชาติ

โรงพยาบาล / กลยุทธ์

70


71 2.4.3.2. ค่าบริการรักษาพยาบาล เพื่อกาหนดกลุ่มลูกค้า จากข้อมูลค่าบริการการรักษาพยาบาล ของ รพ.(ที่มีศูนย์ หรือมีการรักามะเร็งอยู่ใน ขอบเขตการให้บริการ) พบว่า สามารถจาแนกกลุ่มลูกค้าได้ 3 กลุ่มหลักๆ ดังนี้

ภาพที่ 2.4.17 อัตราการให้คา่ บริการห้องพัก/คืน Range = 0 – 200,000 บาท

ภาพที่ 2.4.18 อัตราการให้คา่ บริการห้องพัก/คืน Range = 0 – 20,000 บาท - ลูกค้าระดับบน/ชาวต่างชาติ (18,000บาท/คืน) เป็นกลุ่มลูกค้าที่มีกาลังจ่ายสูงเช่น ชาวต่างชาติ นักธุรกิจ เศรษฐี ฯลฯ - ลูกค้าระดับกลาง/ประกันสังคม (12,500บาท/คืน) เป็นลูกค้าที่อยู่ในระดับกลาง มีกาลังจ่ายได้ไม่มาก ไม่น้อย - ลูกค้าระดับล่าง/ประกันสังคม (6,250บาท/คืน) เป็นลูกค้าที่อยู่ในระดับล่าง มีกาลังจ่ายได้น้อย


ภาพที่ 2.4.19 จาแนกกลุ่มลูกค้า อัตราการให้ค่าบริการห้องพัก/คืน Range = 0 – 20,000 บาท

ตัวโครงการต้องการเจาะกลุ่มลูกค้าระดับ กลางถึงบนเป็นหลัก โดยระยะของค่าบริการจะอยู่ที่ประมาณ 10,000 – 20,000 .- / คืน ดังภาพที่ 2.4.19 ด้านล่างนี้

72


73 2.4.4 ความเป็นไปได้ด้านการเงินและงบประมาณ ความเป็นไปได้ด้านการเงินและงบประมารประกอบไปด้วย ผู้ลงทุนในธุรกิกจ การกาหนดรายได้/ จ่าย ของ รพ. และการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เป็นต้น โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.ผู้ลงทุนในธุรกิจโรงพยาบาลและสถานบริการพยาบาล ในกรณีที่โรงพยาบาลมีจานวนเตียงไม่มากนัก อาจร่วมกันจัดทาโดยคณะแพทย์ที่มีประสบการณ์ ทางธุรกิจเข้ามาบริหารโดยจัดการแต่งตั้งเป็นรูปคณะกรรมการเป็นฝ่ายต่างๆ เช่นฝ่ายบริหาร ฝ่าย การแพทย์ ประเภทที่มาของเงินทุนทั่วไปจะสามารถแบ่งได้ดังนี้ - จากคณะแพทย์และเอกชนผูร้ ิเริ่ม - คือคณะแพทย์และผู้มีเงินทุน ร่วมกันก่อตั้งบริษัทเพื่อจัดทา โครงการ รพ. โดยการลงทุนซื้อหุ้มตามราคาที่ทางบริษัทกาหนด - จากการเสนอขายหุ้น - โดยจะขายหุ้นให้กับ ปชช.ทั่วไป ซึ่งจะนามาใช้เป็นเงินร่วมลงทุนเริ่มต้น โดยแบ่งเป็นจานวนหุ้นตามราคาและสัดส่วนที่กาหนดโดยมีผลประโยชน์จากเงินปันผลที่จ่าย ให้แก่ผู้ที่ถือหุน้ ตามสัดส่วนจานวนหุ้นที่ซื้อไว้ - จากการกู้เงิน - จากข้อมูลของ อ.อวยชัย วุฒิโฆสิต บอกไว้ว่า การกู้เงินจากสถาบันการเงิน (ก่อน พ.ศ.2539) อัตราส่วนเงินกู้ DEBT:EQUITY = 1:1 อัตราดอกเบี้ยประมาณ MLR 14% นอกจากนี้ การยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุน (Board Of Investment ;BOI) จาก คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ก็จะได้รับสิทธิประโยชน์ดังนี้ - ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลในช่วง 5 ปีแรกของการดาเนินงานสาหรับ รพ.ที่ตั้งอยู่ใน Zone 1,2 (กทม, จังหวัดใกล้เคียง) ส่วนใน Zone อื่นๆ จะได้รับการยกเว้นในช่วง 8 ปีแรก ของการดาเนินงาน - ได้รับการยกเว้นภาษีนาเข้า ภาษีการค้า อุปกรณ์ที่ใช้ในอาคารเช่น ลิฟต์ เครื่องมือทาง การแพทย์ ฯลฯ เป็นระยะเวลา 2 ปี (หลังจากนั้นถ้าไม่ทันสามารถต่อได้ปีละครั้ง) จากข้อมูลในหนังสือการออกแบบโรงพยาบาล ของ อ.อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551 ระบุตัวเลข ค่าใช้จ่ายการลงทุนต่อเตียงสาหรับโรงพยาบาลเอกชนชั้นดี ไว้ดังนี้ ตารางที่ 2.4.1 ตารางตัวเลขค่าใช้จ่ายการลงทุนต่อเตียงสาหรับโรงพยาบาลเอกชนชั้นดี ค่าบริการ ค่าก่อสร้างอาคารรวมงานระบบ ค่าเครื่องมือแพทย์ ค่าเครื่องใช้ในสานักงานและเครื่องครัว ค่าตกแต่งภายในอาคาร ค่าที่ดิน (ประมาณ20%) ค่าดาเนินการ (ประมาณ20%) รวมค่าลงทุน รพ.เอกชนชั้นดี ราคาประมาณ

จานวนเงิน 1.50 0.75 0.50 0.30 0.60 0.60 4.25

หน่วย ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาทต่อเตียง


74 2.การกาหนดรายได้โรงพยาบาลเอกชน โดยเฉลี่ยทั่วไป รายได้ของโรงพยาบาลเอกชน จะมีตัวเลขโดยประมาณดังต่อไปนี้ ตารางที่ 2.4.1 ตารางอัตรารายได้โรงพยาบาลเอกชน รายได้ ค่ารักษาพยาบาล ค่าตรวจวิจัยฉัยโรค ค่าห้องพัก

จานวน

รายได้ ค่ายา เวชภัณฑ์ วัสดุแพทย์ อื่นๆ รวม

จานวน

22 - 27 % 10 - 12 % 10 - 14 % ตารางที่ 2.4.2 ตารางอัตรารายได้โรงพยาบาลเอกชน (ต่อ) 35 10

- 40 % - 15 % 100 %

3.การกาหนดรายจ่ายโรงพยาบาลเอกชน โดยเฉลี่ยทั่วไป รายจ่ายของโรงพยาบาลเอกชน จะมีตัวเลขโดยประมาณดังต่อไปนี้ ตารางที่ 2.4.3 ตารางอัตรา รายจ่ายโรงพยาบาลเอกชน รายจ่าย ต้นทุนค่าธรรมเนียมแพทย์ ต้นทุนค่าแรง เงินเดือน ต้นทุนค่ายา เวชภัณฑ์ ต้นทุนสาธารณูปโภค ต้นทุนอื่นๆ ค่าเสื่อมราคา รวม

จานวน

20 20 20 5 8

6 100

25 22 22 8 10 8

% % % % % % %

4.การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน องค์ประกอบที่สาคัญในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ประกอบไปด้วย 4.1 การประมาณเงินลงทุนโครงการได้แก่ ต้นทุนสิททรัพย์ถาวร และ ค่าใช้จ่ายก่อน ดาเนินการ ประกอบไปด้วย 4.1.1 ต้นทุนสินทรัพย์ถาวร - ค่าที่ดินและการปรับปรุงบริเวณ ประมาณ 20% ของมูลค่าโครงการ - ค่าก่อสร้าง ค่าก่อสร้างรวมงานระบบอย่างประหยัด จะตกอยู่ประมาณตารางเมตรละ 13,000 บาท


75 - ค่าใช้จ่ายในการตกแต่งภายใน ค่าใช้จ่ายในการตกแต่งภายในจะอยู่ที่ประมาณ 200,000 บาท ต่อ จานวนเตียง - ค่าเครื่องมือแพทย์ อุปกรณ์ต่าง ค่าเครื่องมือแพทย์ ค่าอุปกรณ์ ค่าเครือ่ งมือเครื่องใช้สานักงาน จะอยู่ที่ประมาณ 600,000 บาท ต่อ จานวนเตียง 4.1.2 ค่าใช้จ่ายก่อนการดาเนินการ - ค่าใช้จ่ายสาหรับฝึกอบรบพนักงาน - ค่าใช้จ่ายสาหรับพนักงานในช่วงแรก ก่อนการเปิดดาเนินการ ทั้งนี้โดยปรกติก่อนดาเนินการ 3 เดือน จะต้องให้บุคลากรระดับหัวหน้าเข้าปฏิบัติงานก่อนเพื่อ การเตรียมงาน การรับพนักงาน การฝึกพนักงาน - เงินทุนหมุนเวียน จะต้องกาหนด Cash Flow ไว้ในช่วงระยะเวลา 3-6 เดือน เพื่อกาหนดการ ใช้จ่ายในด้าน ค่ายา เวชภัณฑ์ต่างๆ และเงินเดือนพนักงานเป็นต้น 4.1.3 ศึกษาวงจรการก่อตั้งโรงพยาบาลเอกชน - 1.ศึกษาจานวนเตียง ที่ชุมชนขาดแคลนเบือ้ งต้น - 2.การรวมกลุ่ม ผู้ก่อตั้งดาเนินการ จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล - 3.ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (เงินทุน, ตลาด ,บุคลากร, อุปกรณ์) - 4.เลือกที่ตั้งโครงการ + ราคาที่ดิน - 5.จัดทาแบบก่อสร้าง - 6.ขออนุญาติปลูกสร้าง - 7.หลังก่อสร้างเสร็จ ทดสอบระบบต่างๆ - 8.เข้าบริหารโรงพยาบาล (บริหารทางด้านการแพทย์และด้านธุรการ - 9.จานวนผู้ป่วยเพิ่ม แนวโน้มธุรกิจดี - 10. เริ่มขยายโรงพยาบาล (วนกลับไปข้อ1) 4.2 รายได้จากการให้บริการ ได้แก่ รายได้จากยา รายได้จากห้องพัก รายได้จากค่า ตรวจ ฯลฯ โดยทุกๆ ส่วนจะต้องให้สอดคล้องกับ จานวนผู้ให้บริการ จานวนผู้รับบริการ ขนาดของ โรงพยาบาล จานวนเตียงของโรงพยาบาล ฯลฯ ดังตาราง


76 ตารางที่ 2.4.4 ตารางการประเมินงบประมาณการก่อสร้างโครงการเบื้องต้น รายการ ราคาค่าลงทุนโรงพยาบาลเอกชนชั้นดี เบื้องต้นไม่รวมค่าที่ดิน • ค่าก่อสร้างอาคารรวมงานระบบ • ค่าเครื่องมือแพทย์ • ค่าเครื่องใช้ในสานักงานและเครื่องครัว • ค่าตกแต่งภายใน • ค่าดาเนินการ พื้นที่ใช้สอยอาคารรวม (ประมาณ) จานวนเตียง 8 (ICU) + 60 (IPD) ราคาก่อสร้าง(บาท) ขนาดที่ดิน ราคาประเมินที่ดิน ราคาประเมินที่ดิน ราคาที่ดินรวม พื้นที่ก่อสร้างโดยประมาณ ค่าปรับปรุงที่ดิน ค่าปรับปรุงที่ดิน ค่าดาเนินการ ค่าดาเนินการรวม รวมงบประมาณการก่อสร้างเบื้องต้น

ค่า 3,650,000

หน่วย ล้านบาท/เตียง

ค่าใช้จ่าย(บาท) -

14,000 68 68 เตียง x 4.5 ล้าน 39,750 4,000 1,000 ราคาประเมิน x ขนาด 25 75,000 ขนาดที่ดิน x ค่า ปรับปรุง 20 20% x ราคาก่อสร้าง 339,465,000บาท

ตร.ม. เตียง บาท ตร.ม. บาท/ตร.ว. บาท/ตร.ม. บาท ไร่ บาท/ไร่ บาท

248,200,000 39,750,000 1,875,000

% ราคาก่อสร้าง บาท

49,640,000

ตารางที่ 2.4.5 ตารางแสดงจานวนคนเข้าใช้โครงการเบื้องต้น คนที่เข้าใช้งาน ผู้รับบริการ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายแพทย์และพยาบาล ฝ่ายสนับสนุนการแพทย์ ฝ่ายบริการ จานวนเตียง รวม

ค่า 397 39.00% 220.00% 28.00% 63.00% 68

หน่วย คน/รพ.ตติยภูมิ %/จานวนเตียง %/จานวนเตียง %/จานวนเตียง %/จานวนเตียง เตียง

จานวนคน 397 27 150 19 43 635


77

IPD

ตารางที่ 2.4.6 ตารางแสดงการประมาณการคืนทุนของโครงการภายในระยะเวลาที่กาหนด ราคาต่อ หน่วย/ คน/ รายได้/ รายได้/ แผนก รายได้ รายได้/ปี หน่วย วัน วัน วัน เดือน ห้องพักเดี่ยว 24,000 12 10 240000 7200000 86,400,000 พิเศษ ห้องพักเดี่ยว 18,000 32 27 486000 14580000 174,960,000 ห้องพักรวม 12,500 16 8 100000 3000000 36,000,000 ICU ห้องพักวิกฤต 8,000 8 6 48000 1440000 17,280,000 ตรวจคัดกรอง 2,800 1 4 11200 336000 4,032,000 ช ทั่วไป ตรวจคัดกรอง 3,500 1 4 14000 420000 5,040,000 ญ ทั่วไป ตรวจคัดกรอง 9,500 1 1 9500 285000 3,420,000 ช พิเศษ ตรวจคัดกรอง 19,000 1 1 19000 570000 6,840,000 ญ พิเศษ PH ค่ายา 1,200 397 200 240000 7200000 86,400,000 Total 420,372,000 ตารางที่ 2.4.7 แสดงรายได้ กาไร และจุดคืนทุน (ในปีที่7)

OPD

ปีที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 รวม

Occupancy รายได้ Rate 20% 25% 30% 35% 40% 45% 50% 50%

84,074,400 105,093,000 126,111,600 147,130,200 168,148,800 189,167,400 210,186,000 210,186,000

กาไร(40%ของ รายได้,หักค่า ดาเนินงาน 60%) 33,629,760 42,037,200 50,444,640 58,852,080 67,259,520 75,666,960 84,074,400 84,074,400

เอา10%ของ กาไรแบ่งเข้า กองทุน 3,362,976 4,203,720 5,044,464 5,885,208 6,725,952 7,566,696 8,407,440 8,407,440 49,603,896

กาไรคงเหลือ (ใช้หนี้) 30,266,784 37,833,480 45,400,176 52,966,872 60,533,568 68,100,264 75,666,960 75,666,960

หนี้คงเหลือ 309,198,216 271,364,736 225,964,560 172,997,688 112,464,120 44,363,856 - 31,303,104 - 106,970,064 - 18,554,808

จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่า ตัวโครงการจะสามารถคืนทุนได้ในการเปิดทาการ ปีที่ 7 เป็นต้นไป โดยมีอัตราการครองเตียง (Occupancy Rate) ดังตาราง แบ่งตามระยะปีต่างๆ


78

ปานกลาง

ดี

ดีมาก

2.4.5 ความเป็นไปได้ด้านทาเลที่ตั้งโครงการโดยภาพรวม ในการวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งในการกาเนิดโครงการโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง จาเป็นจะต้องดูปัจจัย ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น อัตราการครองเตียง ร้อยละการตายจาแนกตามสาเหตุ ตัวชี้วัดการเข้ารับการ รักษา สถานพยาบาลคู่แข่ง รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนแบ่งตามจังหวัด ทั้งนี้เพื่อค้นหาทาเลที่ตั้งโครงการที่ มีความเป็นไปได้มากที่สุด ตามความเหมาะสมของเกณฑ์การเลือกทาเลที่ตั้ง โดยการศึกษาความเป็นไปได้ด้านทาเลที่ตั้ง สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1.คุณภาพอากาศ (ค่าฝุ่น PM2.5 เฉลี่ย ปี 2019) เกณฑ์ของดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทย เวลาไหนที่คุณภาพอากาศเริ่มเป็น อันตรายต่อสุขภาพ สามารถตรวจเช็คดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI) ได้ทเี่ ว็บไซต์ของ กรมควบคุมมลพิษ โดยประเทศไทยแบ่งดัชนีคุณภาพอากาศเป็น 5 ระดับ ตั้งแต่ 0 ถึง 201 ขึ้นไป โดย ใช้สีเป็นตัวเปรียบเทียบระดับของผลกระทบต่อสุขภาพ โดยตัวผู้เขียนได้หาข้อมูลจากค่าฝุน่ PM2.5 จากเขต68เขตทั่วประเทศ โดยชุดข้อมูลที่ได้ เป็นตัวเลข (ภาพที่ 2.4.21) และนาไปทาเป็นค่าเฉลี่ย หลังจากนั้น นามาเทียบกับเกณฑ์การว่าคุฒภาพ อากาศด้วยค่าฝุ่น PM2.5 (ตารางที่ 2.4.7) และทาการเทสีในภาพกราฟฟิค (ภาพที่2.4.22) เพื่อให้ง่าย ต่อการมองภาพรวมดังนี้ ตารางที่ 2.4.7 ตารางแสดงค่าเฉลี่ยฝุ่น PM2.5 (2019) ทีม่ า iqair.com เกณฑ์ เขต ค่าเฉลี่ยฝุ่น กาหนด สุขภาพ PM2.5(2019) ใหม่ 11 13.97 12 18.43 ภาพที่ 2.4.21 ภาพข้อมูลดิบการแสดงค่าฝุน่ PM2.5 ในประเทศไทย 10 18.50 6 21.97 13 22.80 3 23.75 4 23.93 8 25.20 5 27.25 2 28.85 1 30.65 7 36.40 9 36.47 ภาพที่ 2.4.22 กราฟฟิคแสดงข้อมูลค่าฝุ่น เกณฑ์กาหนดใหม่ (ขวา) เกณฑ์สากล (ซ้าย)


79 ตารางที่ 2.4.8 ตารางแสดงการวัดคุณภาพอากาศ ค่าฝุ่น PM2.5 ที่มา: daikin.co.th AQI ค่าฝุ่น คุณภาพ สีที่ใช้ 0 - 25 0 - 25 ดีมาก 26 - 26 ดี 50 37

รายละเอียด

ฟ้า

เหมาะสาหรับกิจกรรมกลางแจ้งและการท่องเที่ยว

เขียว

สามารถทากิจกรรมกลางแจ้งและการท่องเที่ยวได้ตามปกติ

สามารถทากิจกรรมกลางแจ้งได้ตามปกติ แต่ถ้าเป็นผู้ที่ต้องดูแล 51 - 38 ปานกลาง เหลือง สุขภาพเป็นพิเศษ หากมีอาการเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และ 100 50 ระคายเคืองตา ไม่ควรทากิจกรรมกลางแจ้งนาน ควรเฝ้าระวังสุขภาพ ถ้ามีอาการเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ เริ่มมี ระคายเคืองตา ไม่ควรทากิจกรรมกลางแจ้งนาน หรือใช้อุปกรณ์ 101 - 51 ผลกระทบ ส้ม ป้องกัน ส่วนผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ แล้วมีอาการทางสุขภาพ 200 90 ต่อสุขภาพ เช่น ไอ หายใจลาบาก ตาอักเสบ แน่นหน้าอก ปวดศีรษะ หัวใจเต้น ไม่เป็นปกติ คลื่นไส้ อ่อนเพลีย ควรปรึกษาแพทย์ ทุกคนควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งทุกอย่างหลีกเลี่ยงพื้นที่ที่มี 201 91 ขึ้น มีผลกระทบ แดง มลพิษทางอากาศสูง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความ ขึ้นไป ไป ต่อสุขภาพ จาเป็น หากมีอาการทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย์ ดังนั้น จากตารางที่ 2.4.8 พบว่า ค่าฝุ่น สามารถจาแนกออกได้เป็น 5 แบบหลักๆ คือ ดี มาก ดี ปานกลาง เริ่มมีผลกระทบ และ มีผลกระทบ โดย กลุ่มเขตสุขภาพที่มีค่า PM2.5 เฉลี่ย (2019) ต่าสุดคือ เขตสุขภาพที่ 11 12 10 6 ตามลาดับจากอากาศดีไปแย่ 2.ร้อยละอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งต่อจานวนประชากร ร้อยละอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งต่อจานวนประชากรในพื้นที่ เป็นการบ่งบอกด้วย อัตราส่วนของ (ประชากรในพื้นที่ : จานวนผูเ้ สียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง) เพื่อใช้ในการค้นหาพื้นที่ ที่มีความ แน่นหนาของประชากรที่เป็นโรคมะเร็ง ไม่ใช่เพียงการดูจานวนการตายด้วยโรคมะเร็งที่มีจานวนมากใน พื้นที่นั้นๆ เพียงอย่างเดียวแต่มีการเอาจานวนประชากรในพื้นที่มาเปรียบเทียบด้วย เพื่อให้เห็นถึง ร้อย ละ หรือเปอร์เซ็นต์ การตายที่ควรค่าแก่การให้ความสาคัญมากกว่าเพียงจานวนตัวเลข จากแผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ National Cancer Control Programme คณะกรรมการจัดทาแผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข(พ.ศ. 2561 - 2565) หน้าที่ 56 ได้มกี ารระบุจานวนผู้ป่วยมะเร็งรวมตามเขต สุขภาพ นามาเปรียบเทียบกับจานวนประชากร จากสานักสถิติแห่งชาติ จะได้ร้อยละอัตราการตาายด้วย โรคมะเร็งต่อจานวนประชากรแบ่งตามเขตสุขภาพเรียงจากมากไปน้อย


80 หลังจากผู้ออกแบบทาการเรียงลาดับตามร้อยละจากมากไปน้อยแล้ว ก็นากราฟฟิคมา แบ่งเขตสุขภาพและนามาเทสีลงตามเขตสุขภาพต่างๆ ตามลาดับความรุนแรงจากมาก (เข้ม) ไปน้อย (อ่อน) ดังภาพที่ 2.4.22 ตารางที่ 2.4.8 ร้อยละอัตราการตาายด้วยโรคมะเร็งต่อจานวนประชากร แบ่งตามเขตสุขภาพเรียงจากมากไปน้อย (กระทรวงสาธารณสุข, 2561) เขต สุขภาพ 6 1 2 3 4 5 7 13 9 10 11 8 12 รวม

คิดเป็น ร้อยละ 0.28% 0.24% 0.24% 0.24% 0.24% 0.21% 0.15% 0.15% 0.14% 0.14% 0.14% 0.13% 0.13% 0.18%

จานวน ประชากร 5,797,595 5,704,200 3,452,022 3,012,608 5,171,756 5,147,570 5,037,075 7,978,436 6,717,985 4,564,711 4,344,510 5,490,561 4,825,452 67,244,481

จานวนผู้ป่วย มะเร็งรวม 16,097 13,829 8,305 7,193 12,314 10,850 7,492 12,107 9,619 6,173 6,033 7,179 6,169 123,360

ภาพที่ 2.4.22 ภาพร้อยละ อัตราการตายด้วยโรคมะเร็ง ต่อจานวนประชากร

โดยสรุปจะได้เขตสุขภาพที่อัตราการตายด้วยโรคมะเร็งต่อจานวนประชากรจากมากไปน้อยแบ่ง ตามเขตสุขภาพ 6, 1, 2, 3, 4 ตามลาดับ ซึ่งนาไปลงเป็นสีแดง จากเข้ม(มาก) ไป อ่อน(น้อย) ได้ดังภาพ 2.4.22 3.อัตราการครองเตียงในแต่ละเขตสุขภาพ อัตราการครองเตียง (Bed Occupancy Rate) เป็นการแสดงร้อยละของการใช้เตียง ทั้งหมดของสถานบริการพยาบาล ในช่วงเวลาที่กาหนด ทัง้ นี้จะใช้เตียงจริง แต่ไม่รวมถึงเตียง Observe, เตียงคลอด, Clip เด็ก หรือเตียงเสริมที่ไม่ได้ใช้ถาวร จากข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข


81 จะสามารถจาแนกอัตราการครองเตียงแบ่งตามเขตสุขภาพได้ดังนี้ จากแผนภูมิที่เปรียบเทียบอัตราการครองเตียงแบ่งตามเขต สุขภาพต่างๆ จะสามารถจัดอันดับ เขตสุขภาพ ที่มีอัตราการ ครองเตียงมากที่สุด 5 อันดับแรกจากมากสุดไปน้อยสุดได้ดังนี้ 1. เขตสุขภาพที่ 12 (ใต้) 2. เขตสุขภาพที่ 8 (ออก-เหนือ) 3. เขตสุขภาพที่ 2 (ตก-เหนือ) 4. เขตสุขภาพที่ 5 (ตะวันตก) 5. เขตสุขภาพที่ 1 (เหนือ) 6. เขตสุขภาพที่ 6 (ตะวันออก) โดยเพื่อให้เป็นการง่ายต่อการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ในข้อ อื่นๆ และเพื่อให้เห็นภาพรวมอย่างชัดเจน จึงทาการเทสีลงใน แผนที่แบ่งตามเขตสุขภาพ จากสีเข้ม(อัตราการครองเตียงมาก) ไปน้อย(อัตราการครองเตียงน้อย) ดังภาพด้านข้าง

ภาพที่ 2.4.21 รายละเอียดตัวชี้วัด การรักษาด้วย การผ่าตัดภายใน ระยะเวลา 4 สัปดาห์

เปรียบเทียบอัตราการครองเตียง เขตสุขภาพที่ 1-12 ประจาปี 2561-2563 (ทั้งหมด 32 เดือน,เดือนที่ 32 คือ พ.ค.2563) 100%

90%

80%

70%

60%

50% 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ภาพที่ 2.4.20 กราฟเปรียบเทียบอัตราการครองเตียง เขตสุขภาพที่ 1-12 (กระทรวงสาธารณสุข, 2563)


82 4.ตัวชี้วัดการเข้ารับการรักษาในระยะเวลาที่กาหนด กระทรวงสาธารณสุขมีการกาหนดตัวชี้วัดของการรักษามะเร็ง ให้ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาใน ระยะเวลาที่กาหนดไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จากข้อมูลสถิติร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาในระยะเวลา ที่กาหนด จาแนกตามการรักษาพบว่าการรังสีรักษา มีผู้ปว่ ยที่ได้รับการรักษาตามระยะเวลาที่กาหนด ร้อยละ 54.9 การรักษาแบบผ่าตัดมีผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาตามระยะเวลาที่กาหนดร้อยละ 68.25 และ เคมีบาบัดมีผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาตามระยะเวลาที่กาหนดร้อยละ71.51% จากข้อมูลดังกล่าวพบว่า ผู้ป่วยได้รับการรักษาล่าช้ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด โดยมีเพียงเคมีบาบัดเท่านั้นที่ผ่านเกณฑ์ในภาพรวมของ ทุกๆเขตสุขภาพ แต่ก็ยังมีบางเขตสุขภาพที่ยังมีการรับการรักษาที่นานกว่าเกณฑ์ที่กาหนด โดยเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขที่ตั้งเป้าไว้คือต้องการจานวนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธี ต่างๆ โดยใช้ระยะเวลาไม่เกิน 4 สัปดาห์ขั้นต่าร้อยละ70 ถึงจะเรียกว่าผ่าน เท่ากันทุกวิธีการรักษา (รังสี รักษา, เคมีบาบัด, ผ่าตัด) แสดงดังภาพ 4.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย การผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าเขตสุขภาพที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ไม่ผ่านเกณฑ์ จะมีอยู่ทั้งสิ้น 6 เขต ทาการจัดอันดับ 5 เขตและเทสีลงในแผนที่เขตสุขภาพเพื่อให้ง่ายต่อการ เปรียบเทียบข้อมูลดังภาพที่ 2.4.23

ภาพที่ 2.4.23 รายละเอียดตัวชี้วัดการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ 4.2 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย เคมีบาบัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าเขตสุขภาพที่ได้รับการรักษาด้วยการเคมีบาบัด ไม่ผ่าน เกณฑ์จะมีอยู่ทั้งสิ้น 4 เขต ทาการจัดอันดับ 4 เขตและเทสีลงในแผนทีเ่ ขตสุขภาพเพื่อให้ง่ายต่อการ เปรียบเทียบข้อมูลดังภาพที่ 2.4.36


83

ภาพที่ 2.4.26 ภาพร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย เคมีบาบัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ 4.3 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย รังสีรักษา ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าเขตสุขภาพที่ได้รับการรักษาด้วยการรังสีรักษา ไม่ผ่าน เกณฑ์จะมีอยู่ทั้งสิ้น 9 เขต ทาการจัดอันดับ 5 เขตและเทสีลงในแผนทีเ่ ขตสุขภาพเพื่อให้ง่ายต่อการ เปรียบเทียบข้อมูลดังภาพที่ 2.4.39

ภาพที่ 2.4.26 ภาพร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย รังสีรักษา ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ จากข้อมูลการรักษาด้วย การผ่าตัด การทาเคมีบาบัด การรังสีรักษา ทั้ง 3 จะได้ตาแหน่งพื้นที่ ที่มีแนวโน้มความเป็น ไปได้ในการจัดตั้งโครงการเกิดขึ้น ดังภาพที่ 2.4.27

ภาพที่ 2.4.27 เขตสุขภาพที่รับการรักษาไม่ทัน 5 แบ่งเป็น 3 วิธีการรักษา


84 ดังนั้น จากการศึกษาตัวชี้วิดการเข้ารับการรักษามะเร็ง ในระยะเวลาที่กาหนด พบว่า เขตสุขภาพที่มีการรักษาล่าช้า หรือไม่ ทันท่วงทีเรียงตามลาดับจากมากไปน้อย 3 อันดับ จะเรียงได้ดังนี้ - เขตสุขภาพที่ 4 - เขตสุขภาพที่ 11 ,12 - เขตสุขภาพที่ 3,9,6, 5.รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนแบ่งตามเขตสุขภาพ จากข้อมูลของสานักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2560 พบว่า รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนต่อเดือน ของคนไทย มีรายได้ 26,946 บาท/ เดือน/ครัวเรือน โดยแบ่งเป็นค่าใช้จ่าย 21,437 บาท/เดือน ขณะที่ ครัวเรือนร้อยละ 50.7 มีหนีส้ ินเฉลี่ย 178,994 บาท/ครัวเรือน โดยจะสามารถจาแนกรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนแบ่งตามเขตสุขภาพได้ดังนี้ ตารางที่ 2.4.9 รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนแบ่งตามเขตสุขภาพ (สานัก สถิติแห่งชาติ, 2562) เขตสุขภาพ รายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน 2562 13 39,459.36 4 30,334.31 11 29,353.29 5 26,102.33 6 24,928.23 8 22,169.21 2 21,690.40 3 21,141.48 12 20,904.61 ภาพที่ 2.4.36 รายได้เฉลี่ยต่อ 9 20,393.19 ครัวเรือนแบ่งตามเขตสุขภาพ (สานัก 7 19,838.11 สถิติแห่งชาติ, 2562) 1 18,849.17 10 18,293.12 เฉลี่ย 24,112.06 ดังนี้จึงจัดอันดับรายได้โดยเฉลี่ยต่อครัวเรือ 2562 แบ่งตามเขตสุขภาพ 5 อันดับแรกได้แก่ เขต สุขภาพที่ 13 4 11 5 6 ตามลาดับจากมากไปน้อย ดังภาพที่ 2.4.45


85 จากการศึกษาด้านความเป็นไปได้ด้านทาเลที่ตั้งในภาพรวม ทาให้ได้ตารางสรุปดังตารางด้านล่าง ตารางที่ 2.4.15 ตารางสรุปความเป็นไปได้ด้านทาเลที่ตั้ง โดยเบื้องต้น เกณฑ์ 1.คุณภาพอากาศ

(IQAir.com, 2562, ค่าฝุ่น PM2.5 ประเทศไทยแบ่งตามจังหวัด) 2.ร้อยละอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งต่อ จานวนปรชากร (กระทรวงสาธารณสุข, 2561, แผนการ ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2561-2565, กรมการแพทย์) 3.อัตราการครองเตียงตามเขตสุขภาพ (กระทรวงสาธารณสุข, 2563, กอง บริหารการสาธารณสุข CMI@MoPH)

รูปภาพ

ระดับความรุนแรง สีฟ้า ค่าฝุ่น 0 - 25(ดีมาก) (5คะแนน) สีเขียว ค่าฝุ่น 26 - 37 (ดี) (4คะแนน) สีเหลือง ค่าฝุ่น 38 - 50 (ปานกลาง) (3คะแนน) มีอัตราการตายสูงสุด (5คะแนน) มีอัตราการตายปานกลาง (4คะแนน) มีอัตราการตายน้อย (3คะแนน) มีอัตราการตายน้อยที่สุด (0-2 คะแนน) มีอัตราครองเตียงสูงสุด (5คะแนน) มีอัตราครองเตียงปานกลาง (4คะแนน) มีอัตราครองเตียงน้อย (3คะแนน) มีอัตราครองเตียงน้อยที่สุด (0-2 คะแนน)

4.เขตสุขภาพที่รับการมะเร็งรักษาไม่ทัน (กระทรวงสาธารณสุข, 2563, เขต สุขภาพที่รับการมะเร็งรักษาไม่ทันค่า KPI)

มีการรักษาล่าช้ามากสุด (5คะแนน) มีการรักษาล่าช้ามาก (4คะแนน) มีการรักษาล่าช้าปานกลาง (3คะแนน) มีการรักษาล่าช้าน้อย (0-2 คะแนน)

5.รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน (สานักสถิติแห่งชาติ, 2562, รายได้เฉลี่ย ต่อครัวเรือน)

มีรายได้เฉลี่ยสูงสุด (5คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยสูง (4คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยปานกลาง (3คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยค่อนข้างน้อย (0-2 คะแนน)

สรุป จากการซ้อนทับกันของเกณฑ์ต่างๆ จะ ทาให้เห็นได้ว่ามี 3 เขตสุขภาพที่มีการ ซ้อนทับกันมากที่สุดเรียงตามลาดับ คือ 1.เขตสุขภาพที่ 11 (ใต้) 2.เขตสุขภาพที่ 4 (กลาง) 3.เขตสุขภาพที่ 6 (ตะวันออก)

มีแนวโน้มมากที่สุด มีแนวโน้มมาก มีแนวโน้มปานกลาง มีแนวโน้มน้อย


86 2.4.6 ความเป็นไปได้ด้านกฎหมายและข้อบังคับ 1. ผังสี - ผังเมืองรวมจังหวัด ผังเมืองรวมจังหวัดระยอง 2560 เป็นผังที่มกี าร แก้ไขแล้วเป็นฉบับที่ 4 (พ.ศ.2558) โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้ และมีการจัดสรรการใช้ประโยชน์ที่ดินดังภาพที่ 2.4.46 มีการจัดสรรการใช้ประโยชน์ที่ดินของผังเมือง รวมจังหวัดทั้งสิ้น 8 เขตดังนี้ ภาพที่ 2.4.29 แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตารางที่ 2.4.10 ตารางการใช้ประโยชน์ที่ดินและข้อห้าม ตามผังเมืองรวมจังหวัดระยอง NO. สี การใช้ประโยชน์ที่ดิน 1 ที่ดินประเภทชุมชน 2 ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า 3 ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปที่ไม่เป็นมลพิษต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมและคลังสินค้า 4 ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม 5 ที่ดินปรเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม 6 ที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 7 ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 8 ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ 2. ผังสี – ผังเมืองรวมเมือง โดยในจังหวัดระยองจะมีกฎหมายผังเมืองรวมเมือง หรือ อาเภออีก 3 อาเภอหลักๆ คือ อ.เมืองระยอง อ.บ้านค่าย อ.แกลง เป็นต้น ดังตาราง ตารางที่ 2.4.11 ตารางการใช้ประโยชน์ที่ดิน 3 เขตอาเภอ อ.เมืองระยอง อ.บ้านค่าย อ.แกลง


87 โดยจากผังเมืองรวมเมืองระยอง จะสามารถจาแนกการใช้ประโยชน์ทดี่ ินได้ดังนี้ ตารางที่ 2.4.12 ตารางการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามผังเมืองรวมเมืองระยอง เขต สี การใช้ประโยชน์ที่ดิน 1 ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย 2 ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง 3 ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก 4 ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและสถานบริการ 5 ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า 6 ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ 7 ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม 8 ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 9 ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ 10 ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา 11 ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและการประมง 12 ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา 13 ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ 3. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 2.4.13 ตารางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎหมาย รายละเอียด กฎกระทรวงฉบับที่ 33 “อาคารขนาดใหญ่พิเศษ” หมายความว่า อาคารที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อใช้อาคารหรือ พ.ศ. 2535 อาคารสูง ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารเป็นที่อยู่อาศัยหรือประกอบกิจการประเภทเดียวหรือ และอาคารขนาดใหญ่ หลายประเภทโดยมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันตั้งแต่ พิเศษ 10,000ตารางเมตรขึ้นไป ที่ดินที่ใช้เป็นทีต่ ั้งของอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษที่มีพื้นที่อาคาร รวมกันทุกชั้นไม่เกิน 30,000 ตารางเมตร ต้องมีด้านหนึ่งด้านใดของที่ดินนั้นยาว ไม่น้อยกว่า 12.00 เมตร ติดถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า 10.00 เมตร ยาวต่อเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชื่อมต่อกับถนนสาธารณะอื่นที่มีเขตทาง กว้างไม่น้อยกว่า 10.00เมตร กฎกระทรวง “อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนได้ ฉบับที่ 55(พ.ศ. 2543) โดยทั่วไปเพื่อกิจกรรมทางราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม ออกตามความใน การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรมเช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด


88 กฎหมาย พระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. 2522 กฎกระทรวง ฉบับที่ 41(พ.ศ.2537) ออกตามความใน พระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ.2522 กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความ สะดวกในอาคารสาหรับ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราพ.ศ. 2558

รายละเอียด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคาร จอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็น ต้น กฎหมายเกี่ยวกับที่จอดรถ ในกรณีที่จอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถ ให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 5.00เมตร แต่ทั้งนี้ จะต้องไม่จัดให้มีทางเข้าออกของ รถเป็นทางเดินรถทางเดียว “สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา”หมายความ ว่า ส่วนของอาคารที่สร้างขึ้นและอุปกรณ์อนั เป็นส่วนประกอบของอาคารที่ติด หรือตั้งอยู่ภายในและภายนอกอาคารเพื่ออานวยความสะดวกในการใช้อาคารสา หรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา อาคารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัดให้มสี ิ่งอานวยความสะดวกสาหรับ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราตามที่กาหนดในกฎกระทรวงนี้ ในบริเวณที่ เปิดให้บริการแก่บุคคลทั่วไป (1) โรงพยาบาล สถานพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข สถานีอนามัย อาคารที่ ทาการของราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย สถานศึกษา หอสมุดและพิพธิ ภัณฑสถานของรัฐ สถานีขนส่งมวลชน เช่น ท่า อากาศยาน สถานีรถไฟ สถานีรถ ท่าเทียบเรือที่มีพื้นที่ส่วนใดของอาคารที่เปิด ให้บริการแก่บคุ คลทั่วไปเกิน 300 ตารางเมตร

พ.ร.บ. การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550

“มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษ ถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่ เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่ อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น และหมายความรวมถึง มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็น พิษหรืออันตรายจากชุมชน

กฎกระทรวง กาหนดลักษณะของ สถานพยาบาลและ ลักษณะการให้บริการ

“โรงพยาบาลเฉพาะทาง” หมายความว่า โรงพยาบาลที่จัดให้มีการประกอบ วิชาชีพเฉพาะทางด้านเวชกรรม ซึ่งดาเนินการโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม และผู้ประกอบวิชาชีพนั้นต้องได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติจากแพทยสภา


89 กฎหมาย ของสถานพยาบาล พ.ศ. 2558

รายละเอียด เช่น โรงพยาบาลเฉพาะทางหู ตา คอ จมูก โรงพยาบาลเฉพาะทางโรคหัวใจ และ โรงพยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง เป็นต้น

กฎกระทรวง กาหนดลักษณะของ สถานพยาบาลและ ลักษณะการให้บริการ ของสถานพยาบาล พ.ศ. 2558 (ต่อ)

โรงพยาบาลเฉพาะทางต้องประกอบด้วยหน่วยบริการและระบบสนับสนุนการ ให้บริการ ดังต่อไปนี้ (1) แผนกเวชระเบียน (2) แผนกผู้ป่วยนอก (3) แผนกผู้ป่วยใน (4) แผนกผู้ป่วยฉุกเฉิน (5) แผนกเภสัชกรรม (6) แผนกเทคนิคการแพทย์ (7) แผนกรังสีวิทยา (8) ระบบรับส่งผู้ป่วยฉุกเฉิน (9) ระบบควบคุมการติดเชื้อ (10) ระบบไฟฟ้าสารอง (11) ระบบน้าสารอง (12) หน่วยบริการหรือระบบสนับสนุนการ ให้บริการอื่นตามที่แจ้งไว้ในการขออนุญาต โรงพยาบาลเฉพาะทางขนาดเล็กอาจ ไม่มีหน่วยบริการตาม (6) หรือ (7) แต่จะต้องจัดให้มีบริการเท่าที่จาเป็นได้

4. องค์ประกอบด้านหน่วยบริการและระบบสนับสนุนการให้บริการของโรงพยาบาลเฉพาะ ทาง ตามกฎกระทรวง - สถานพยาบาล 2558 ข้อ ๑๓ โรงพยาบาลเฉพาะทางต้องประกอบด้วยหน่วยบริการและระบบสนับสนุนการให้บริการ ดังต่อไปนี้ (๑) แผนกเวชระเบียน (๘) ระบบรับส่งผู้ป่วยฉุกเฉิน (๒) แผนกผู้ป่วยนอก (๙) ระบบควบคุมการติดเชื้อ (๓) แผนกผู้ป่วยใน (๑๐) ระบบไฟฟ้าสารอง (๔) แผนกผู้ป่วยฉุกเฉิน (๑๑) ระบบน้าสารอง (๕) แผนกเภสัชกรรม (๑๒) หน่วยบริการหรือระบบสนับสนุนการ (๖) แผนกเทคนิคการแพทย์ ให้บริการอื่นตามที่แจ้งไว้ในการขออนุญาต (๗) แผนกรังสีวิทยา


90 2.5 สรุปการจัดตั้งโครงการ 1. ชื่อหัวข้อ (ภาษาไทย): โรงพยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง (ภาษาอังกฤษ) : Cancer Specialist Hospital 2) ประเภทอาคาร/โครงการ: อาคารสาธารณะ ประเภทโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง(31-90) หน่วย บริการระดับทุติภูมิระดับ ๒.๓ ที่ใช้แพทย์เฉพาะทางสาขารอง (รังสีวิทยา เวชศาสตร์ฟื้นฟู เวชบาบัด) 3) เจ้าของโครงการ: เอกชน 4) พื้นทีใ่ ช้สอยอาคารรวม: 14,202.27 ตร.ม. 5) องค์ประกอบโครงการ 1.ฝ่ายวินิฉัยและบาบัดรักษา (7%) 980.40 sq.m. 2.ฝ่ายสนับสนุนทางคลินิก (20%) 2,838.00 sq.m. 3.ฝ่ายรักษาพิเศษ(4%) 537.50 sq.m. 4.ฝ่ายหอผู้ป่วยใน (25%) 3,493.00 sq.m. 5.ฝ่ายบริหารและธุรการ (5%) 661.00 sq.m. 6.ฝ่ายบริการทางการแพทย์ (40%) 498.25 sq.m. 7.แผนกบริการงานระบบ (2.68%) 381.33 sq.m. 8.พื้นที่ส่วนพาณิชยกรรม (1.40%) 200.00 sqm 9. แผนกอื่นๆ (32.96%) 4,681.00 sqm 10.พื้นที่สัญจรภายในอาคาร (คิดเป็น 28.57% ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด) 4,057.79 sq.m. - ตาแหน่งที่ตั้ง: ต. เนินพระอ. เมืองระยอง จ. ระยอง 21000 (พิกัด : 12.683224, 101.210101) - เจ้าของที่ดิน: เอกชน - ขนาดพื้นที:่ 39,750 ตร.ม. - ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน: พื้นที่สีชมพู3.6 ที่ดินประเภทชุมชน

ภาพที่ 2.5.1 ภาพรูปร่างและมิติของที่ตั้งโครงการ (เบื้องต้น)


ภาพที่ 2.5.1 ภาพรูปร่างและมิติของที่ตั้งโครงการ (เบื้องต้น) 91


92

บทที่ 3 รายละเอียดโครงการ รายละเอียดโครงการเป็นส่วนที่จะกาหนดตั้งแต่ วัตถุประสงค์ของโครงการ สภาพแวดล้อมที่ตั้ง โครงการ ผู้ใช้งาน ระบบกิจกรรม โครงสร้างการบริหาร ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย ความ ต้องการพื้นที่ใช้สอย ความต้อการด้านภูมิทัศน์ จวบจนการประมาณราคาก่อสร้าง โดยมีรายละเอียดใน แต่ละหัวข้อดังนี้ 3.1 วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อให้การบริการทางการแพทย์เฉพาะทางมะเร็งครบวงจรทั้งการตรวจ วินิจฉัย บาบัดรักษาทั้ง สภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ 2. เพื่อเป็นสถานพยาบาลเอกชนที่แบ่งเบาภาระการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลรัฐ 3.2 สภาพแวดล้อมของที่ตั้งโครงการ สภาพแวดล้อมที่ตั้งโครงการสามารถแบ่งได้เป็น 2 หัวข้อหลักๆ คือ สภาพแวดล้อมระดับจังหวัด และ สภาพแวดล้อมที่ตั้งโครงการ โดยจะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.2.1 สภาพแวดล้อมระดับจังหวัด ระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็น จังหวัดที่มีรายได้ประชากรต่อหัวสูงที่สุดในประเทศ และผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัดอยู่ในอันดับ 2 ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยว ที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย และเป็นเมืองที่มีความสาคัญ ทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และการเกษตรกรรม คาว่าระยองเพี้ยนมาจาก "ราย็อง" เป็นภาษาชอง อาจมี ความหมายสองอย่าง คือ เขตถนน หรือ ไม้ประดู่ นอกจากนี้ชื่อ สถานที่ในจังหวัดระยองยังมีที่มาจากภาษาชอง เช่นคาว่า เพ, ชะ เมา, แกลง และข้อมูลพื้นฐานอื่นๆ ดังนี้ - พื้นที่ทั้งหมด 3,552.0 ตร.กม. (อันดับที่ 57) - ประชากร(พ.ศ.2562) 737,753 คน (อันดับที่ 37) - ความหนาแน่น 206.85 คน/ตร.กม. (อันดับที่ 14) - การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อาเภอ 58 ตาบล 439 หมู่บ้าน ภาพที่ 3.2.1 จังหวัดระยอง


93 1.สัญลักษณ์ประจาจังหวัด - ตราประจาจังหวัด : ต้นมะพร้าว เกาะเสม็ด และ พลับพลาที่ประทับในรัชกาลที่ 5 บนเกาะเสม็ด - ธงประจาจังหวัด : ธงพื้นสีแดง-เหลือง-น้าเงิน แบ่งตาม แนวตั้ง กลางธงมีภาพตราประจาจังหวัด - คาขวัญประจาจังหวัด : ผลไม้รสล้า อุตสาหกรรม ก้าวหน้า น้าปลารสเด็ด เกาะเสม็ดสวยหรู สุนทรภู่กวีเอก ภาพที่ 3.2.2 ตราจังหวัดระยอง - พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจาจังหวัด : ต้นกระทิงหรือสารภีทะเล (Calophyllum inophyllum) - ต้นไม้ประจาจังหวัด : ต้นประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) - ดอกไม้ประจาจังหวัด : ดอกประดู่ 2.ลักษณะทางกายภาพ ภูมิประเทศของจังหวัดระยอง เป็นที่ราบชายฝั่งที่เกิดจากการทับถมของตะกอนบริเวณแอ่งลุ่มน้า ระยอง และทีล่ าดสลับเนินเขาและภูเขา มีลักษณะเป็นลอนลูกคลื่นสูงต่าสลับกันไป โดยมีพื้นที่ ทิวเขา 2 แนว คือ ทิวเขาชะเมาทาง ทิศตะวันออก ซึ่งสูงจากระดับน้าทะเล 1,035 เมตร และทิวเขาที่อยู่ประมาณ กึ่งกลางของตัวจังหวัดเป็นแนวยาวจากอาเภอเมืองระยองขึ้นไปทางเหนือจนสุดเขตจังหวัด มีแม่น้าสาย สั้นๆ ซึ่งเกิดจากเทือกเขาจันทบุรีและเทือกเขาบรรทัด ไหลลงสู่อ่าวไทย แม่น้าที่สาคัญ ได้แก่ แม่น้าบาง ประกง แม่น้าจันทบุรี แม่น้าระยอง เป็นต้น ลักษณะชายฝัง่ ทะเลมีหาดทรายสวยงามและมีเกาะใหญ่ น้อยเรียงรายเลียบตามแนวชายฝั่งนับเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สาคัญของประเทศ จังหวัดระยองมีลักษณะภูมิอากาศ แบบมรสุมเขตร้อน ลมทะเลพัดผ่านตลอดปี อากาศอบอุ่นไม่ร้อนจัด บริเวณชายฝั่งทะเลเย็นสบาย ในฤดูฝนจะมีฝนตกชุกระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมของทุกปี สามารถเก็บน้าไว้ในอ่างเก็บน้าเพียงพอสาหรับการใช้อุปโภคบริโภคและอุตสาหกรรมได้ตลอดทั้งปี

3.2.5 แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดระยอง (สานักธรณีวิทยา, 2550)


94

3.2.3 แผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพ อ.เมืองระยอง ,The Toy Tour Rayong

3.2.4 แผนที่ทอ่ งเที่ยวจังหวัดระยอง (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2556)


95 3.2.2 สภาพแวดล้อมที่ตั้ง สภาพแวดล้อมที่ตั้งโครงการในบทนี้ มีเพียวการนาข้อมูลมาเสนอให้ชมว่า บริเวณโดยรอบ ที่ตั้งโครงการมีการใช้งานต่างๆอย่างไรโดย แบ่งเป็น 5 ประเด็นคือ 1.รพ. ข้างเคียง 2.การเข้าถึง 3. สภาพแวดล้อม สาธาณูปโภค 4.การใช้งานพื้นที่ข้างเคียง 5.มุมมอง เป็นต้น โยมีรายละเอียดดังนี้ 1.โรงพยาบาลข้างเคียง

ภาพที่ 3.2.6 รพ.ข้างเคียง ที่ตั้งโครงการอยู่ใกล้เคียงกับโรงพยาบาลรัฐ (รพ.ระยอง, 584 เตียง) ที่เป็นโรงพยาบาลศูนย์ซึ่งอยู่ ห่างกับที่ตั้งโครงการ 7.8 กม. (ใช้เวลาในการเดินทาง 10นาที) โดย โรงพยาบาลรัฐดังกล่าวมีแนวโน้มที่ จะช่วยโรงพยาบาลเอกชน(ตัวโครงการ) ในส่วนของกาลังแพทย์และการส่งต่อตัวผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล เฉพาะทาง และที่ตั้งโครงการยังอยู่ห่างกับโรงพยาบาลทั่วไปเอกชน (โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง) ซึ่ง เป็นเรื่องที่ดี สาหรับการส่งต่อตัวผู้ป่วยมายังแผนกเฉพาะทางของ โครงการ 2.การเข้าถึง (เส้นทางสัญจร)

ภาพที่ 3.2.7 สภาพแวดล้อม เส้นทางสัญจร


96 เข้าถึงได้ง่าย - การเข้าถึงจากถนนหลักหรือถนนรอง ที่มีความไหลลื่น ไม่มีอุปสรรคกีดขวาง หรือ การจราจรที่คบั ขัน การจราจร - การจราจรในพื้นที่เมืองมีแนวโน้มที่จะคับขันกว่า การจราจรในพื้นที่ชายเมืองหรือขอบ นอก การเดินทางด้วยขนส่งสาธารณะ - ในการเดินทางด้วยขนส่งสาธารณะ ถ้าอยู่ในถนนเส้นหลัก (สุขุมวิท) ย่อมมีแนวโน้มที่จะเดินทางได้ง่ายกว่า ที่อยู่บนถนนเส้นรอง ขนาดถนน - การที่อยู่ติดถนนเส้นใหญ่ ทาให้เดินทางไปมา ได้ง่าย ไม่แออัด ส่งผลต่อความสะดวก กับผู้ใช้โครงการ

ภาพที่ 3.2.8 สภาพเส้นทางสัญจร


97 3.สภาพแวดล้อม สาธารณูปโภค

ภาพที่ 3.2.8 สภาพแวดล้อม สาธารณูปโภค - สาธารณูปการ(การศึกษา)โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย - การอยู่ใกล้สถานศึกษา มีแนวโน้ม ที่ทางสถานศึกษาจะจัด Package การตรวจสุขภาพให้กับ นร. นศ. ทาให้ส่งผลดีต่อตัวโครงการ - สาธารณูปการ(ความปลอดภัย)สถานีตารวจ สถานีดับเพลิง – การอยู่ใกล้สาธารณูปการด้าน ความปลอดภัย เมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บมีแนวโน้มที่จะมีคนเข้าใช้โครงการเพิ่มเติม - สาธารณูปการ(สันทนาการ)สวนสาธารณะ สนามกีฬา ห้างสรรพสินค้า โรงแรม - การอยู่ใกล้ สาธารณูปการด้านสันทนาการ ต่างๆ ทาให้ส่งผลดีต่อตัวโครงการ

ภาพที่ 3.2.9 สภาพแวดล้อม สาธารณูปโภค - สภาพแวดล้อมที่เป็นโรงงาน เขตอุตสาหกรรม รวมถึงมีการใช้งานที่แตกต่างกันเช่น ปั้มน้ามัน ศูนย์อนามัย รพ.รัฐ รพ.เอกชน เป็นต้น


98 4.การใช้งานพื้นที่ข้างเคียง เป็นการบอกสภาพแวดล้อมและบริบทเดิมของพื้นที่ข้างเคียงว่ามี บริบทของผู้คนและการ ใช้งานอาคารอย่างไร เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการออกแบบ โดยมีรูปภาพดังนี้ มุมมองจากภายใน สู่ ภายนอก Site

ด้านหลังเป็นบ้านเดี่ยว

มุมมองถนนหน้า Site

ไม่มีสิ่งปลูกสร้างสูง

มุมมองหลัง Site

อาคารสานักงานบัญชีสหกรณ์ระยอง

ภาพที่ 3.2.13 ภาพที่พื้นที่ใกล้เคียงที่ตั้งโครงการ

ภาพที่ 3.2.14 ภาพที่พื้นที่ใกล้เคียงที่ตั้งโครงการ


99 5.มุมมอง ในส่วนของมุมมอง สามารถจาแนกได้เป็น 2 แบบหลักๆ คือมุมมองภายในสู่ภายนอก และ มุมมองภายนอกสู่ภายใน

ภาพที่ 3.2.15 มุมมองภายในสู่ภายนอก

ภาพที่ 3.2.16 มุมมองภายนอกสู่ภายใน


100 3.3 ผู้ใช้โครงการ ระบบกิจกรรม โครงสร้างการบริหาร 3.3.1 การกาหนดจานวนผู้ใช้โครงการ การกาหนดจานวนบุคลากรนี้ จะอ้างอิงจากการกาหนดอัตรากาลังและจานวนบุคลาทั่วไปของ กระทรวงสาธารณสุข และเพิม่ จานวนบุคลากรเข้าไปเพื่อเป็นการยกระดับให้เหมาะสมกับมาตรฐานของ โรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลเฉพาะทาง ตามความจาเป็น เพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะกองประกอบโรคศิลป์ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมโรงพยาบาลเอกชน มิได้มีการ กาหนดอัตรากาลังบุคลากรทีช่ ัดเจน มีแต่อัตรากาลังบังคับขั้นต่าเท่านั้น แต่โรงพยาบาลเอกชนส่วนใหญ่ ต้องมีการบริการที่ได้มาตรฐานสูงกว่าโรงพยาบาลรัฐ ดังนั้นอัตรากาลังของบุคลากรจึงมีมากกว่า ตารางที่ 3.3.1 ตารางเปรียบเทียบอัตราส่วนจานวนเตียง : จานวนบุคลากร ของโรงพยาบาลเอกชนใน ต่างประเทศ ทฤษฎีในต่างประเทศของ MC GIBONY (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) ขนาดของ รพ.(เตียง) จานวนบุคลากร (คน) อัตราส่วน 100 200 1:2 200 400 1:2 300 725 1:2.4 400 1,000 1:2.5 500 1,150 1:2.3 600 1,230 1:2 700 1,360 1:1.9 ดังตารางดังกล่าว ถ้าโรงพยาบาลมีจานวนเตียง 100 เตียงจะต้องมีบุคลากรไม่น้อยกว่า 200 คน เพื่อให้เพียงพอต่อการให้บริการบนมาตรฐานของโรงพยาบาลเอกชน 1.การหาจานวนแพทย์และพยาบาล จากหนังสือการออกแบบโรงพยาบาล อ.อวยชัยวุฒิ โฆสิต, 2551 กล่าวว่าตามค่าเฉลี่ยจานวน บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลเอกชนภายในประเทศ อัตราส่วนระหว่างกลุ่มบุคลากรที่ เกี่ยวข้องกับการบาบัดรักษาโดยตรงได้แก่ DR แพทย์ (DOCTOR) RN พยาบาล (REGISTERED NURSE) PN ผู้ช่วยพยาบาล (PRACTICAL NURSE) NA พนักงานผู้ช่วยพยาบาล (NURSE ASSISTANCE) โดยมีสัดส่วนดังนี้ = DR : RN+PN+NA : BED = 1 : 10 : 5 ดังนั้นถ้าเป็นโรงพยาบาลขนาด 100 เตียง จะมีสัดส่วนดังนี้


101 = DR : RN+PN+NA : BED = 1(20) : 10(20) : 5(20) = 20 : 200 : 100 กล่าวคือ แพทย์ 20คน, บุคลากรทางการแพทย์ 200คน , เตียง 100เตียง โดยการจาแนกบุคลากรทางการแพทย์จาแนกตามสัดส่วนได้ดังนี้ = RN : PN+NA = 1 : 1.5 = 80 : 120 คน เป็นต้น ตารางที่ 3.3.2 ตารางแสดงการหาจานวนแพทย์และพยาบาล เป็นจานวนคน กล่าวโดยสรุป โรงพยาบาลขนาด 100 เตียงจะมีจานวนบุคลากรโดยประมาณดังต่อไปนี้ บุคลากร แพทย์ พยาบาล ผู้ช่วย + พนังงานผู้ช่วยพยาบาล บุคลากรอื่นๆ รวม

จานวน (คน) 20 80 120 130 350

ตารางที่ 3.3.3 ตารางแสดงการหาจานวนแพทย์และพยาบาล เป็นร้อยละ หรืออีกวิธีในการค้นหาอัตราส่วนของจานวนบุคลากรใน รพ.โดยมีสัดส่วนดังนี้ ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายบริหาร ฝ่ายแพทย์และพยาบาล ฝ่ายสนับสนุนการแพทย์ ฝ่ายบริการ รวม

ร้อยละสัดส่วน 11% 63% 8% 18% 100%


102 2.การกาหนดจานวนผู้รับบริการ(ผู้ป่วย) จากคู่มือ เกณฑ์มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านอาคารและสภาพแวดล้อม 2560 ในหน้าที่ 39 (นับจากปก) สรุปผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน โรงพยาบาลในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ระดับ A, S, M1, M2 ในขอบเขตบริการระดับทุติยภูมิ ( Mid - Level Referral Hospital) ในขอบเขตขนาดจานวนเตียง(ผู้ป่วยใน) 60-90 เตียง จะสามารถจาแนกได้ดังนี้ - จานวนเตียง IPD เฉลี่ย = 70 เตียง - จานวนห้องตรวจ OPD เฉลี่ย = 6 เตียง - จานวนOP (ผู้รับบริการ) เฉลี่ย = 397 คน/วัน ตารางที่ 3.3.4 ตารางแสดงการหาจานวนเตียงของแต่ละระดับของสถานพยาบาล


103 3.3.2 กรณีศึกษา โครงสร้างการบริหาร การออกแบบโครงสร้างการบริหาร ควรอย่างในการศึกษา กรณีศึกษา (Case Study) เกี่ยวกับ โครงสร้างการบริหาร โดยจากการศึกษาจะมีโครงสร้างการบริหารของโครงการที่ความใกล้เคียงหลักๆ อยู่หลายแห่ง เช่น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 และสาขารังสีรักษามะเร็งทิยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ฯลฯ เป็นต้น ตารางที่ 3.3.5 ตารางกรณีศึกษา โครงสร้างการบริหาร ชื่อโรงพยาบาล ประเภท สัญลักษณ์ สังกัด จานวน ข้อมูล ผังองค์กร โครงสร้างการ เตียง รพ. รพ. บริหาร 167 โรงพยาบาล รัฐ มะเร็ง มะเร็งชลบุรี

โรงพยาบาล มะเร็งลพบุรี สถาบันมะเร็ง แห่งชาติ กรมการแพทย์

มะเร็ง

รัฐ

176

โรงพยาบาลศรี ธัญญา

ผู้ป่วย

รัฐ

750

ศูนย์รังสีรักษา และเคมีบาบัด โรงพยาบาล ขอนแก่น

รพ.ศูนย์

รัฐ

910


ตารางที่ 3.3.7 ตารางกรณีศึกษา โครงสร้างการบริหาร (ต่อ) สชื่อโรงพยาบาล ประเภท สัญลักษณ์ ข้อมูล ผังองค์กร โครงสร้างการ รพ. รพ. บริหาร สาขารังสีรักษา รพ. นอก และมะเร็งวิทยา สธ.

104 สังกัด จานวน เตียง ไม่ สังกัด

1433

รัฐ

200

โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์

สถาบันมะเร็ง แห่งชาติ, กรุงเทพฯ,ราช วิถี, 200เตียง

มะเร็ง

โรงพยาบาลจุฬา มะเร็ง รัตน์-9

เอกชน 450

พริ้นซิเพิล แคปิ รพ.ทั่วไป ตอล จากัด (มหาชน)

เอกชน 50 200

จากการศึกษา กรณีศึกษา โครงสร้างการบริหาร ดังตารางด้านบนแล้ว พบว่า โครงสร้างการ บริหารที่มีความใกล้เคียงและสามารถนามาปรับใช้กับตัวโครงการมีดังนี้ 1.โครงสร้างการบริหาร สถาบันมะเร็งแห่งชาติ จากข้อมูล จากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์สถาบันมะเร็งแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – 2565 หน้าที่ 20 (รวมปก) หัวข้อที่ 2.5 โครงสร้างองค์กร ได้จาแนกผังของสถาบนมะเร็งออกป็เนฝ่ายต่างๆ


105 โดยมีจานวนบุคลากรในโครงสร้างการแบ่งงานภายในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ รวมทั้งสิ้น 56 คน (ผู้ปฏิบัติงาน คณะผู้อานวยการ) โดยตัวเลขดังกล่าวยังไม่รวม ผู้ปฏิบัติงานของฝ่ายแพทย์ และ บุคลากรณ์ทางการแพทย์

ภาพที่ 3.3.1 โครงสร้างการแบ่งงานภายในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ, กระทรวงสาธารณสุข, 25622. โครงสร้างการบริหาร สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 2.โครงสร้างการบริหาร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่ทนั สมัยที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย มี หน้าที่ให้บริการทางการแพทย์ รักษาฟื้นฟูสมรรถภาพ ป้องกันโรคและส่งเสริสุขภาพที่ได้มาตรฐาน ให้ การฝึกอบรมและค้นคว้าวิจัยทางการแพทย์เพื่อสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยให้การ รักษาพยาบาลผู้ป่วยในทุกๆ ระบบ แบบครบวงจร จากข้อมูลภายในเว็บไซต์ของ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ นั้น ไม่ได้มีผังองกรค์ไว้ให้ แต่มีชื่อและ จานวนแพทย์ในสาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โดยแบ่งเป็นจานวนบุคลากรและแผนกดังนี้ นักรังสีการแพทย์ แพทย์รังสีรักษา นักฟิสิกส์การแพทย์ เจ้าหน้าที่ธุรการ พยาบาล คนงาน อายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา นายช่างไฟฟ้า

32

16 13 12 12 11 7 1 0

5

10

15

20

25

30

35

ภาพที่ 3.3.2 แผนภูมิแสดงจานวนบุคลากรภายในสาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ จาแนกประเภทผู้ปฏิบัติงาน


106 3.3.3 โครงสร้างการบริหารโครงการ จากการศึกษาโครงสร้างการบริหารองค์กร จาก กรณีศึกษาตามหัวข้อที่ 3.3.2 (หน้า 103) จึง เลือกใช้โครงสร้างองค์กร ในรุปแบบ โครงสร้างองค์กรตามสายงานหลัก (Line Organization Structure) การจัดรูปแบบโครงสร้างให้มสี ายงานหลัก และมีการบังคับบัญชาจากบนลงล่างลดหั่นเป็นขั้น ๆ จะ ไม่มีการสั่งการแบบข้ามขั้นตอนในสายงาน ซึ่งโครงสร้างแบบนี้เหมาะสมสาหรับองค์การต่าง ๆ ที่ ต้องการให้มีการขยายตัวในอนาคตได้ เพราะเพียงแต่เพิ่มเติมโครงสร้างในบางสายงานให้มีการควบคุม บังคับบัญชาลดหลั่นลงไปอีกได้ การจัดองค์การแบบนี้ อาจจะคานึงถึงสภาพของงานที่เป็นจริง เช่น แบ่ง ตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ หรือแบ่งตามอาณาเขต หรือแบ่งตามประเภทของลูกค้า หรือแบ่งตาม กระบวนการ ผลดีของโครงสร้างแบบนี้มีหลายประการ เช่น การจัดโครงสร้างด้วยรูปแบบที่เข้าใจง่าย การบังคับบัญชาตามสายงานเป็นขั้นตอน ฉะนั้นจุดใดที่มกี ารปฏิบัติงานล่าช้าก็สามารถตรวจสอบได้ รวดเร็ว จากผู้บังคับบัญชาในระดับนั้นได้ง่าย นอกจากนั้นผู้ปฏิบัติงานได้คลุกคลีกับสภาพของปัญหาที่ เป็นจริงและเกิดขึ้นเสมอ ทาให้การตัดสินใจต่าง ๆ มีข้อมูลที่แน่นอน และสามารถตัดสินใจได้ถูกต้อง รวดเร็ว ซึ่งส่งผลสะท้อนให้มีการปกครองบังคับบัญชาที่อยู่ในระเบียบวินัยได้ดี การติดต่อสื่อสารและการ ควบคุมการทางานทาได้ง่าย ตลอดจนเมื่อต้องการจะเปลี่ยนรูปโครงสร้างขององค์การก็สามารถที่จะ เปลี่ยนได้ค่อนข้างสะดวก เพราะการจัดรูปแบบองค์การนี้ ไม่มีอะไรสลับซับซ้อนมากนัก กล่าวคือ มีผู้รบั บริการ 397 คน และผู้ปฏิบัติงาน 239 คน รวมผู้ใช้งานในโครงการทั้งสิ้น 636 คน ดังนั้นการจัดการโครงสร้างการบริหารโครงการจึงมีรูปแบบ ดังภาพด้านล่าง

ภาพที่ 3.3.9 ภาพแสดงผังโครงสร้างการบริหาร – ผังองค์กรของโครงการ


107 3.3.4 ผู้ใช้โครงการ การบริหารโรงพยาบาลโดยเฉพาะโรงพยาบาลเอกชน เป็นธุรกิจที่ต้องมีการแข่งขันกันเหมือนธุรกิจ ทั่วไปดังนั้น จังต้องการนักบริหารที่ดี มีศักยภาพในการบริหารสูง จึงจะทาให้กิจการของโรงพยาบาล เจริญก้าวหน้า การจาแนกผู้ใช้งานภายในโรงพยาบาลโดยทั่วๆไปจะประกอบไปด้วย 2 หน่วยหลักๆ ดังนี้ 1 ผู้รับบริการทางการแพทย์ คือผู้ป่วย หรือ ญาติผู้ป่วย ที่เข้ามารับการให้บริการจากบุคลากรเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ จากตัวโครงการ ส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วย (1) ผู้ป่วยรับบริการตรวจวินิจฉัย (2) ผู้ปว่ ยรับบริการกา รักษา OPD (3) ผู้ป่วยรับบริการการรักษา IPD/ADMIT (4) ผู้ป่วยที่ส่งต่อมาจากโรงพยาบาลอื่น (5) ญาติผู้ป่วย โดยผู้รับบริการแต่ละประเภทมีการใช้งานโครงการที่แตกต่างกันไปดังนี้ ตารางที่ 3.3.6 ตารางแสดงผู้ใช้โครงการ ผู้รับบริการทางกานแพทย์ ประเภท ผู้รับบริการและ รูปแบบพฤติกรรม สัญลักษณ์ เป็นผู้ป่วยที่เจตนาต้องการตรวจวินิจฉัย เพื่อค้นหาว่าตนเองเป็นโรคมะเร็งหรือไม่ หรือมีความสงสัยว่าตนเป็นมะเร็งจึงเข้ามารับการวินิจฉัยโดยทีมแพทย์ 1.ผู้ป่วยรับบริการ ตรวจวินิจฉัย ผู้ป่วยที่รับการรักษาที่คลินิกหรือโรงพยาบาล โดยไม่ต้องนอนพักรักษาตัวใน โรงพยาบาล เช่นผู้ป่วยมะเร็งที่มีอาการไม่แย่มาก สามารถเดินทางไปไหนมาไหนเอง ได้ เข้ามารับยาเคมีบาบัดแบบนั่ง (รูปแบบการให้บริการเหมือนการฟอกไต) แล้วก็ 2.ผู้ป่วยรับบริการ กลับบ้าน หรือเดินทางไปทางานต่อได้ การรักษา OPD


108

(2003) (2004) (2005) (2006) (2007) (2008) (2009) (2010) (2011) (2012)

ตารางที่ 3.3.1 ตารางแสดงผู้ใช้โครงการ ผู้รับบริการ (ต่อ) ประเภท ผู้รับบริการและ รูปแบบพฤติกรรม สัญลักษณ์ ผู้ป่วยมะเร็งจาพวกนี้จาเป็นจะต้องเข้าแผนก 35,000 IPD เพื่อให้ผู้ป่วยค้างคืน 30,000 จากข้อมูลจานวนผู้ป่วยใน จาแนกตามกลุ่ม 25,000 สาเหตุป่วย 75 โรค จากสถานบริการ 3.ผู้ป่วยรับบริการ 20,000 สาธารณสุข ของกระทรวงสาธารณสุข สถิติ 15,000 การรักษา การเจ็บป่วยส่วนใหญ่ในผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องเข้า 10,000 IPD/ADMIT รับการ ADMIT จะเป็นผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็ง 5,000 ดังนี้ 0 1.มะเร็งตับ 2.มะเร็งปอด เนื้องอกร้ายที่ตับ 3.มะเร็งเต้านม เนื้องอกร้ายที่ปอด 4.มะเร็งปากมดลูก เนื้องอกร้ายที่เต้านม เนื้องอกร้ายที่มดลูก

4.ผู้ป่วยที่ส่งต่อ (Referral) มา จากโรงพยาบาล อื่น

5.ญาติผู้ป่วย

ผู้ป่วยประเภทนี้คือผู้ป่วยที่มอี าการที่จาเป็นต้องรักษาด้วยทีมแพทย์ที่มีความ เฉพาะทางหรือทีมแพทย์แผนกฉุกเฉินที่โรงพยาบาลที่นาส่งมีพื้นที่รองรับไม่เพียงพอ จึงจาเป็นต้องนาส่งผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลข้างเคียง การส่งต่อ (Referral) การส่งต่อการบริบาลผู้ป่วยจากแพทย์ฝ่ายรักษาหรือ สถานพยาบาลแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งโดยมีการร้องขอ กระบวนการรับ-ส่งต่อ ผู้ปว่ ย เป็นผู้ใช้งานที่ไม่ได้เข้ามารับบริการ แต่เป็นผูใ้ ช้งานที่เข้ามาเพื่อเยี่ยมเยียน ญาติ เพื่อน คนใกล้ชิด ที่กาลังป่วยอยู่ ผู้ใช้งานประเภทส่วนใหญ่จะทราบห้องที่ผู้ป่วยอยู่ แล้วเข้ามาเพื่อหาผู้ป่วยเลย โดยไม่ต้องผ่านแผนกอะไรมากมาย โดยส่วนใหญ่จะให้ เข้าเยี่ยมได้เป็นเวลา เช่น 10.00 – 22.00 น. เป็นต้น


109 2 ผู้ปฏิบัตงิ าน คือจะเป็นผู้ที่ให้การบริการหรือผู้ปฏิบัติงาน ไม่ว่าจะเป็นพนักงาน ผู้ทางานฝ่ายการแพทย์ (เป็นฝ่าย ที่ให้บริการได้การวินิจฉัยโรค รักษาโรค แก่ผู้ป่วยโดยตรงซึ่งจะมีผู้อานวยการด้านการแพทย์เป็น ผู้รับผิดชอบ) และ ฝ่ายบริหารโรงพยาบาล (เป็นฝ่ายธุรการที่ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานของฝ่าย การแพทย์เช่น ดูแลเรื่องการเงิน และการบริการ เป็นต้น เพื่อให้ธุรกิจสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี มี ผู้อานวยการด้านการบริหารเป็นผู้รับผิดชอบ (1) แพทย์ - กลุ่มงานศัลยศาสตร์ - ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็งลาไส้ - กลุ่มงานเคมีบาบัด - ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็งตับ - กลุ่มงานพยาธิวิทยา - ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็งเต้านม - กลุ่มงานวิสัญญีวิทยา - ศัลยผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งนรีเวช (มะเร็ง - กลุ่มงานเภสัชกรรม อุ้งเชิงกรานของสตรี) - กลุ่มงานอายุรศาสตร์ - ศัลยแพทย์เชี่ยวชาญด้านการรักษามะเร็ง - กลุ่มงานโภชนศาสตร์ แบบบาดแผลเล็ก - กลุ่มงานเวชศาสตร์นิวเคลียร์ - รังสีแพทย์ผู้เชีย่ วชาญด้านโรคมะเร็งเต้านม - กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ - รังสีแพทย์ร่วมรักษาโรคมะเร็ง - อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็ง - จิตแพทย์ - อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านทางเดินอาหาร - แพทย์โภชนบาบัด - ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านทางเดินปัสสาวะ และต่อมลูกหมาก (2) บุคลากรทางการแพทย์ - กลุ่มงานวิชาการพยาบาล - เภสัชกรผู้มีความเชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็ง - กลุ่มงานพยาบาลผู้ป่วยนอก และยาเคมีบาบัด - กลุ่มงานพยาบาลผู้ป่วยใน - นักรังสีเทคนิค - พยาบาลผู้มีความเชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็ง - นักจิตวิทยา - นักโภชนบาบัด (3) พนักงาน - ผู้อานวยการ โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง - ผู้ช่วยด้านสื่อสารองค์กร - รอง ผอ.ด้านการอานวยการ - ผู้ช่วยด้านลูกค้าสัมพันธ์และจัดหารายได้ - ผู้ช่วยด้านบริหาร - กลุ่มงานบริหารทั่วไป - ผู้ช่วยด้านการเงินและคลินิก - กลุ่มการเงินและบัญชี - ผู้ช่วยด้านพัฒนาคุณภาพ - กลุ่มพัสดุและบารุงรักษา - ผู้ช่วยด้านสถานที่สิ่งแวดล้อม - กลุ่มแผนงานและประเมินผล


110 1.แพทย์ ตารางที่ 3.3.7 ตารางแสดงผู้ใช้โครงการ แพทย์ ประเภทผู้ปฏิบัติงาน 1.แพทย์

1.1 ศัลยแพทย์

1.2 พยาธิแพทย์

1.3 วิสัญญีแพทย์

1.4 อายุรแพทย์

1.5 รังสีแพทย์

1.6 จิตแพทย์

รูปแบบพฤติกรรม เป็นผู้ให้บริการหลัก หรือทีมงานผู้ปฏิบัติงานหลักของโรงพยาบาล เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า ศัลยแพทย์ หรือที่เรียกกันภาษาชาวบ้านว่า ‘หมอผ่าตัด’ จัดว่าเป็นหมอที่มีรายได้ สูงสุดเลยทีเดียว แต่ก็ต้องแลกมาด้วยการทางานภายใต้ความกดดันและแข็งขันกับเวลา ที่ ทุกนาทีหมายถึงชีวิตของผู้ป่วยซึ่งฝากความหวังไว้กับมือหมอ ศัลยแพทย์แบ่งย่อยออกไปอีก หลายแขนง ไม่ว่าจะเป็นประสาทศัลยแพทย์ (หมอผ่าสมอง) ศัลยแพทย์อุบัติเหตุ กุมาร ศัลยศาสตร์ (หมอผ่าตัดเด็ก) และอื่นๆ อีกมากมาย แต่ที่คนทั่วไปคุ้นเคยกันมากที่สุดก็คือ ศัลยแพทย์ตกแต่งและเสริมสร้าง หรือที่เรียกกันว่าหมอเสริมความงาม พยาธิแพทย์คือแพทย์ที่มีบทบาทด้านการวินิจฉัยโรค โดยการตรวจวิเคราะห์เนื้อเยื่อ ของเหลวในร่างกายของผู้ป่วยหรือตรวจศพผู้ป่วยที่เสียชีวิตในโรงพยาบาล แล้วแปลผลสิ่งที่ ผิดปกติ ออกมาเป็นการวินิจฉัยโรค ซึ่งแพทย์ผู้รักษาจะนาผลการวินิจฉัยนั้นไปใช้ในการ รักษาคนไข้หรือเป็นองค์ความรู้ทางการแพทย์ต่อไป วิสัญญีแพทย์ (anaesthetist หรือ anesthesiologist) คือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญการให้ยา ชาและยาสลบ โดยมักทางานร่วมกับแพทย์ผ่าตัดเพื่อระงับความรู้สึกเจ็บปวดของคนไข้ก่อน ทาการผ่าตัดเพียงชั่วคราว ผู้ที่จะเป็นวิสัญญีแพทย์ได้ต้องจบการศึกษาแพทยศาสตร์บัณฑิต ก่อน แล้วจึงจะมาต่อเฉพาะทาง สาขาวิสัญญีวิทยา ใช้เวลาศึกษาประมาณ3ปี ส่วนพยาบาล ก็สามารถเรียนรู้ฝึกทักษะเกี่ยวกับวิสัญญีวิทยาได้ โดยการฝึกเป็นวิสัญญีวิทยา ใช้เวลาใน การศึกษาประมาณ 1 ปี และทางานภายในการควบคุมดูแลของวิสัญญีแพทย์ หมออายุรแพทย์คือหมอที่ดูแลในการวิเคราะห์โรค ค้นหาโรคว่าเป็นอะไร แล้วก็ พยายามใช้วิธีการรักษาโดยการใช้ยา หรือใช้หัตถการบางอย่างที่ไม่ใช่การผ่าตัด เช่นการส่อง กล้อง การสวนหัวใจ ส่วนมากที่ทางานก็จะเป็นห้องตรวจผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในทั่วๆ ไป เหมือนที่คนจะเจอกัน เพราะฉะนั้นคนไข้ทั่วๆไปก็จะเจอหมออายุรกรรมบ่อย รังสีแพทย์ (Radiologist) เป็นแพทย์ที่เรียนจบเฉพาะทางด้านรังสีวทิ ยา เชี่ยวชาญใน ด้านการวินิจฉัยโรคโดยอาศัยภาพวินิจฉัย (imaging) เช่น เอกซเรย์ อัลตราซาวด์ เอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ (CT) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) เพ็ท (PET) และการรักษาโรคโดยใช้ภาพ วินิจฉัยนาทางโดยไม่ต้องผ่าตัด เนื่องจากภาพวินิจฉัยบางชนิดใช้รงั สีเอ็กซ์ในการสร้างภาพ ดังนั้น รังสีแพทย์จึงได้รับการฝึกฝนให้เข้าใจและปรับใช้รังสีเอ็กซ์ให้เหมาะสมกับผู้ป่วย รวมทั้งการป้องกันอันตรายจากรังสีเอ็กซ์ด้วย จิตแพทย์(Adult Psychiatry) คือ แพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลรักษาผู้ที่มี อาการผิดปกติ หรือต้องการความช่วยเหลือทางจิตใจ ซึ่งผู้ที่เข้ามารับการรักษานั้นมีความ หลากหลายมาก บางคนอาจจะมีอาการทางจิตที่ผิดปกติชัดเจน เช่น อาการหูแว่ว หวาดระแวง พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป หรือมีอาการวิตกกังวล ซึมเศร้าท้อแท้ จนรบกวนต่อ การใช้ชีวิต ขณะที่บางคน อาจมีภาวะเครียด นอนไม่หลับ หรือต้องการคาปรึกษาเกี่ยวกับ ปัญหาในชีวิตบางอย่าง


111 2.บุคลากรทางการแพทย์ ตารางที่ 3.3.8 ตารางแสดงผู้ใช้โครงการ บุคลากรทางการแพทย์ ประเภทผู้ปฏิบัติงาน 2.บุคลากรทางการแพทย์

รูปแบบพฤติกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ได้แก่ แพทย์ทันตแพทย์เภสัชกร พยาบาล เทคนิค การแพทย์กายภาพบาบัด แพทย์แผนไทย นักสาธารณสุข ชุมชน รวมทั้งผู้ที่มีหน้าที่ในการ ดูแลรักษาผู้ป่วยในด้านอื่นๆ ด้วย ผู้เกี่ยวข้องกับคดีทางการแพทย์ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการ แพทย์ เป็นต้น พยาบาลวิชาชีพ (RN: Registered Nurse) ผู้สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรพยาบาล ศาสตร์ เพื่อสามารถประกอบอาชีพในด้านบริการสุขภาพอนามัยทั้งในส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือภาคเอกชน คุณสมบัติ : สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรพยาบาล ศาสตร์และผดุงครรภ์ชั้นสูงเทียบเท่าปริญญาตรี สายการพยาบาลหรือปริญญาบัณฑิต

2.1 พยาบาลวิชาชีพ

2.2 ผู้ช่วยพยาบาล

2.3 พนักงานผู้ช่วย พยาบาล

2.4 เภสัชกร

ผู้ช่วยพยาบาล (PN: Practical Nurse) หน้าที่ความรับผิดชอบ ดูแลด้านสุขอนามัย และสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย ช่วยเหลืองานหัตถการ อาทิ การทาความสะอาดแผล การถอด สายน้าเกลือ เป็นต้น จากข้อมูลของหน่วยงานกองการเจ้าหน้าที่ สายงานช่วยพยาบาลจะจาแนกผู้ช่วย พยาบาลออกเป็น 6 ระดับคือ C1 – C6 โดย PN ได้ผ่านการเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล โดยมีระยะเวลา การเรียน 1 ปี ซึ่งสถาบันได้การรับรองหลักสูตรจาก “สภาการพยาบาล” - หลักสูตรผู้ช่วย พยาบาล 1ปี, มหาวิทยาลัยราชธานี อุบลราชธานี, 2562 พนักงานผู้ช่วยพยาบาล (NA: Nurse Assistance) คือ พนักงานที่จบการเรียน หลักสูตร การดูแลเด็ก และผู้สูงอายุ จากสถาบันหรือโรงเรียนอาชีวะเอกชน โรงเรียนบริบาล บริรักษ์ ใช้เวลาเรียน ระยะสั้น 6 เดือน บางครั้งอาจจะเรียกกันว่า “พนักงานผู้ช่วย พยาบาล” หรือ “พนักงานผู้ช่วยการพยาบาล” NA นั้น เรียนตามโรงเรียน บริบาล บริรักษ์ ทั่วไป ในหลักสูตรดูแลผู้สูงอายุ ระยะเวลา 6 เดือน ถึง 1 ปี โดยหลักสูตรนั้นมาจากกระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนสอน อาชีพ "ไม่ใช่" โรงเรียนผู้ช่วยพยาบาล ตามที่เข้าใจกัน - หลักสูตรผู้ช่วยพยาบาล 1ปี, มหาวิทยาลัยราชธานี อุบลราชธานี, 2562 เภสัชกร (Pharmacist) คือผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข (health profession) ที่ มีความเชี่ยวชาญด้านยามากที่สุดในสาขาวิชาชีพด้านสุขภาพ ทั้งยาแผนปัจจุบันและยา สมุนไพรหรือยาแผนโบราณ เนื่องจากสาขาวิชาชีพเภสัชกรรมนั้นมีความหลากหลาย จึงทา ให้หน้าที่ของเภสัชกรจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแต่ละสายงาน ถ้าเป็นสายงานที่เกี่ยวข้องกับ การบริบาลผู้ป่วย เช่น เภสัชกรโรงพยาบาล อาจมีหน้าที่หลักเช่นการจ่ายยาให้ผู้ป่วย การ แนะนาการใช้ยา ติดตามการใช้ยาให้ผู้ป่วย แต่หากเป็นเภสัชกรที่เกี่ยวข้องกับสายงานด้าน เทคโนโลยีเภสัชกรรม การทางานอาจเป็นการควบคุมและดูแลกระบวนการในการผลิตยา โดยในตัวโครงการจะเน้นเภสัชกรที่เป็น เภสัชกรผู้มีความเชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็ง


112 ตารางที่ 3.3.3 ตารางแสดงผู้ใช้โครงการ บุคลากรทางการแพทย์ (ต่อ) ประเภทผู้ปฏิบัติงาน

รูปแบบพฤติกรรม เทคนิคการแพทย์ (Medical technologist/ Medical laboratory technologist/ Medical Laboratory Scientist) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ ที่ปฏิบัติงานด้านการ ตรวจทางเทคนิคการแพทย์ ภายในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ หรือ ห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ ชันสูตร ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. 2547 ได้ให้ความหมายของวิชาชีพ เทคนิคการแพทย์ไว้ว่าเป็นวิชาชีพที่กระทาต่อมนุษย์เพื่อให้ได้สิ่งตัวอย่างทางการแพทย์ และการ 2.5 นักเทคนิค ดาเนินการโดยวิธีทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการตรวจ ทดสอบ วิเคราะห์ วิจัย และการ การแพทย์ รายงานผลการตรวจ เพื่อวินิจฉัย การติดตามการรักษา การพยากรณ์โรค และการป้องกันโรค หรือเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ และใช้คานาหน้านามว่า ทนพ.หรือ ทนพญ. นาหน้าชื่อสกุล การเรียนการสอนในสาขาเทคนิคการแพทย์นั้น ครอบคลุมสาขาวิชาต่าง ๆ ดังนี้ สาขาเคมีคลินิก (Clinical chemistry) สาขาจุลชีววิทยาคลินิก (Clinical microbiology) สาขา จุลทรรศนศาสตร์คลินิก (Clinical Microscopy) สาขาเวชศาสตร์การธนาคารเลือด (Transfusion medicine) สาขาปรสิตวิทยาทางการแพทย์ (Medical parasitology) สาขา ภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก (Clinical immunology) สาขาโลหิตวิทยา (Hematology) นักกายกายภาพบาบัด (PT: Physical therapist/ Physiotherapist) เป็นวิชาชีพทางด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน รักษา และจัดการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวที่ ผิดปรกติ ที่เกิดขึ้นจากสภาพและภาวะของโรค ที่เกิดขึ้นในทุกช่วงของชีวิต เพราะว่าองค์ความรู้ทางด้านกายภาพบาบัดนั้น ค่อนข้างกว้าง นักกายภาพบาบัดบางคนจึง 2.6 นักกายภาพบาบัด ต้องศึกษาเพิ่มเติมในขอบเขตที่ลึกลงไป ในขณะที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ทาง กายภาพบาบัดให้ศึกษาหลากหลาย ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านทางที่เป็นที่รู้จักดังนี้ นักกายภาพบาบัดในระบบหลอดเลือดหัวใจและปอด (Cardiopulmonary) นักกายภาพบาบัด ในผู้สูงวัย (Geriatric) นักกายภาพบาบัดทางด้านระบบประสาท (Neurological) นัก กายภาพบาบัดระบบกล้ามเนื้อกระดูก (ออร์โธปิดิกส์: Orthopedic) นักกายภาพบาบัดในผู้ป่วย เด็ก (Pediatric) นักรังสีการแพทย์ หรือ นักรังสีเทคนิค (Radiologic technologist, Radiographer) คือ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการให้บริการทางรังสีเทคนิคในการตรวจ วิเคราะห์และรักษาด้วยเครื่องมือ ทางรังสีรวมทั้ง การป้องกันอันตรายจากรังสีแก่ผู้ป่วย ซึ่งปฏิบัติ งานเกี่ยวกับรังสีวินิจฉัย รังสี รักษา เวชศาสตร์ นิวเคลียร์และทางฟิสิกส์การแพทย์โดยกรรมวิธีพิเศษ รับผิดชอบในการ 2.7 นักรังสีการแพทย์ ถ่ายภาพส่วนต่าง ๆ ของร่างกายผู้ป่วยด้วยรังสีประเภทต่างๆ ตามคาสั่งแพทย์ ใช้อุปกรณ์ ถ่ายภาพ เช่น เครื่องเอกซเรย์ เครื่องฉายรังสีเครื่องนับวัดรังสี เครื่องอัลตราซาวนด์ ฯลฯ หรือนักรังสีเทคนิค จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในตาแหน่งที่เหมาะสมกับเครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการฉายรังสีบันทึกผล จากภาพถ่ายรังสี บันทึกจากการฉายรังสีเพื่อนาให้รังสีแพทย์ทาการรายงานผลเสนอแพทย์ผู้ทา การรักษา จัดเตรียมฟิล์มเอกซเรย์ และน้ายาล้างฟิล์ม รวมทั้งดูแลตรวจสอบคุณภาพของ ภาพรังสีการประกันคุณภาพและการบารุงรักษาเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในทางรังสีเทคนิคให้ อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดีและปลอดภัย


113 ตารางที่ 3.3.3 ตารางแสดงผู้ใช้โครงการ บุคลากรทางการแพทย์ (ต่อ) ประเภทผู้ปฏิบัติงาน

รูปแบบพฤติกรรม นักจิตวิทยาคลินิก (Clinical Psychology) เป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้ให้การรักษาทาง การแพทย์ อาทิงานจิตเวชศาสตร์(Psychiatry) งานระบบประสาทและสมอง(Neuroscience) งานเวชกรรมป้องกัน งานเวชศาสตร์ฟื้นฟู งานยาเสพติด จิตเวชเด็กและวัยรุ่น งานเวชศาสตร์ ครอบครัว งานนิติจิตเวช เป็นต้น บทบาทหน้าที่หลักของนักจิตวิทยาคลินิก ได้แก่ งานตรวจวินิจฉัยและการบาบัดรักษา ผู้ที่ 2.8 นักจิตวิทยาคลินิก มีปัญหาทางจิตใจ ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม และสัมพันธภาพ ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งผู้ป่วยจิตเวช หรือบุคคลทั่วไปที่อาจมีปัญหาดังกล่าว อาทิผู้มีสภาพจิตใจย่าแย่หลังจากประสบเหตุการณ์ ร้ายแรงหรือความเครียดต่างๆ ทั้งที่เป็นแบบชั่วคราวหรือถาวร การบาบัดรักษาจะช่วยให้อาการ เหล่านั้นบรรเทาลง และช่วยให้บุคคลเกิดการปรับตัวต่อสถานการณ์และใช้ชีวิตต่อไปได้อย่างมี ความสุขมากขึ้น นอกเหนือจากนี้ นักจิตวิทยาคลินิกยังมีบทบาทในงานส่งเสริมป้องกันหรืองาน จิตเวชชุมชน งานวิจัย ตลอดจนการดูแลฝึกอบรม นักโภชนบาบัด หรือนักกาหนดอาหาร (Dietitian) เป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความรู้ เฉพาะทางด้านอาหาร โดยเฉพาะอาหารบาบัดโรคที่เรียกว่า โภชนบาบัด ในโรงพยาบาลต่างๆ จะมีนักกาหนดอาหารประจาอยู่เสมอ เพื่อช่วยให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.9 นักโภชนบาบัด

3.พนักงาน ตารางที่ 3.3.9 ตารางแสดงผู้ใช้โครงการ พนักงาน ประเภทผู้ปฏิบัติงาน 3.คณะผู้อานวยการ 3.1 ผู้อานวยการ โรงพยาบาล

3.2 ผู้ช่วย ผอ. 3.3 รอง ผอ. ด้านการแพทย์ 3.4 พนักงาน อื่นๆ

รูปแบบพฤติกรรม ทาหน้าที่รับผิดชอบต่อการจัดบริการที่มีคุณภาพ โดยการกาหนดนโยบายของ โรงพยาบาล ดูแลการบริหารจัดการ การวางแผน และการติดตามผลการปฏิบัติงาน บังคับบัญชาพนักงานครูและบุคลากรในสถานพยาบาล มีอานาจหน้าที่บริหาร กิจการของสถานพยาบาลให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและ วัตถุประสงค์ของสถานพยาบาล วางแผนพัฒนา ประเมินและจัดทารายงานเกี่ยวกับ กิจการของสถานพยาบาล มีหน้าที่ช่วยแบ่งเบาภาระด้านต่างๆ ของ ผู้อานวยการ รพ. ดังนี้ ผู้ช่วยด้านบริหาร ผู้ช่วยด้านการเงินและคลินิก ผู้ช่วยด้านพัฒนาคุณภาพ ผู้ช่วยด้าน สถานที่สิ่งแวดล้อม ผู้ช่วยด้านระบบบริการเชิงรุก ผู้ช่วยด้านสื่อสารองค์กร ผู้ช่วยด้าน ลูกค้าสัมพันธ์และจัดหารายได้ รอง ผอ.ด้านการแพทย์จะทาการบริหารส่วนที่เป็นกลุ่มงานทางการแพทย์ ในกลุ่ม งานแผนกต่างๆเช่น ศัลยศาสตร์ เคมีบาบัด พยาธิวิทยา ฯลฯ โดยมุ่งเน้นให้มีการจัดการ บริหารจานวนแพทย์ ให้มีความเหมาะสมและเพียงพอต่อผู้ใช้บริการในโครงการ เช่นพนักงานบริการอาคารงานระบบ พนักงานดูแลรักษาความปลอดภัย พนักงาน ทาความสะอาด พนักงานต้อนรับ พนักงานเตรียมเอกสาร ฯลฯ


114 3.3.5 ระบบกิจกรรม ระบบกิจกรรมในตัวโครงการโรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง หลักๆ จะเป็นกิจกรรมที่ให้การ บริการ รักษาพยาบาล ที่เกี่ยวกับโรคมะเร็งเป็นหลัก โดยการรักษา ในส่วนของโรคมะเร็งที่ต้องได้รับการ ADMIT จากข้อมูลจานวนผู้ป่วยใน จาแนกตามกลุ่มสาเหตุป่วย 75 โรค จากสถานบริการสาธารณสุข ของกระทรวงสาธารณสุข สถิติการเจ็บป่วยส่วนใหญ่ในผูป้ ่วยมะเร็งที่ต้องเข้ารับการ ADMIT จะเป็น ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งเช่น 1.มะเร็งตับ 2.มะเร็งปอด 3.มะเร็งเต้านม 4.มะเร็งปากมดลูก

ภาพที่ 3.3.4 ภาพแสดงระบบกิจกรรม การรักษามะเร็งที่พบใน จ.ระยอง จากการวิเคราะห์ผใู้ ช้งานโครงการต่างๆ ทาให้สามารถเชื่อมโยงการใช้งาน ระบบกิจแรรม กับ ผู้ใช้งานต่างๆ เข้าด้วยกันได้ตามภาพที่ 3.3.5 – 3.3.7 (หน้าถัดไป)


ภาพที่ 3.3.5 ระบบกิจกรรม กับ กลุ่มผู้ใช้งาน 1/2

115


ภาพที่ 3.3.6 ระบบกิจกรรม กับ กลุ่มผู้ใช้งาน 2/2

116


ภาพที่ 3.3.6 ระบบกิจกรรมกลุ่มผู้ใช้งาน ในแต่ละ

117


118 3.4 ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย จากระบบกิจกรรมทาให้เกิดการใช้งาน โดยแยกเป็นแผนภูมิของแต่ละหน่วยงานเพื่อให้เห็น ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในหน่วยงาน จึงนามาประกอบกับหน่วยงานอื่นทั้งหมด เพื่อแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานในภาพรวม อย่างไรก็ตาม แผนภูมขิ องโรงพยาบาลจึงมีความสัมพันธ์กัน ค่อนข้างซับซ้อน ทั้งทางตรงและทางอ้อมการทาความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยต่างๆ ใน โรงพยาบาล จึงจาเป็นต้องเข้าใจความสัมพันธ์ของงานทั้งระบบ โดยก่อนจะเข้าสูก่ ารแสดงผังการใช้งาน ระหว่างพื้นที่ใช้สอย จะต้องจาแนกองค์ประกอบของโครงการก่อน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ➢ 1.ฝ่ายวินิฉัยและบาบัดรักษา - 1.1 โถงต้อนรับและเวชระเบียน - 1.2 แผนกผู้ป่วยนอก / OPD - 1.3 แผนกอุบตั ิเหตุและฉุกเฉิน / ER ➢ 2.ฝ่ายสนับสนุนทางคลินิก - 2.1 แผนกเภสัชกรรม - 2.2 แผนกรังสีวิทยา - 2.3 แผนกพยาธิวิทยา - 2.4 แผนกเคมีบาบัด - 2.5 แผนกกายภาพบาบัด ➢ 3.ฝ่ายรักษาพิเศษ - 3.1 แผนกศัลยกรรม - 3.2 หออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU) ➢ 4.ฝ่ายหอผู้ป่วยใน (WARD) - 4.1 ส่วนห้องพัก (Ward) - 4.2 พื้นที่สนับสนุนการบริการ - 4.3 ส่วนบริการผู้ป่วยและญาติ ➢ 5.ฝ่ายบริหารและธุรการ - สานักผู้บริหาร - ส่วนธุรการ - ส่วนการแพทย์และพยาบาล - ส่วนบัญชีและการเงิน - ส่วนทะเบียนและสถิติ

-

ส่วนสานักงานทั่วไป ส่วนงานพัสดุ ฝ่ายบุคลากร หน่วยประชาสัมพันธ์ ฝ่ายจัดซื้อ ศูนย์คอมพิวเตอร์ (ห้อง Server, ช่าง IT) - ส่วนบริการ ➢ 6.ฝ่ายบริการทางการแพทย์ - 6.1 แผนกโภชนาการ - 6.2 แผนกจ่ายกลาง - 6.3 แผนกซักรีด ➢ 7.แผนกบริการงานระบบ - 7.1 งานระบบไฟฟ้า ห้องเครื่องและ ระบบไฟฟ้า - 7.2 งานระบบทางการแพทย์ ห้องงาน ระบบทางการแพทย์ - 7.3 งานระบบปรับอากาศ - 7.4 แผนกความปลอดภัย - 7.5 งานระบบสุขาภิบาล ➢ 8.พื้นที่ส่วนพาณิชยกรรม ➢ 9. แผนกอื่นๆ (แผนกทาความสะอาด, เก็บ ศพ, ห้องพิธีทางศาสนา


119

ภาพที่ 3.4.0 ภาพสรุปความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอยโดยรวม (ในระดับฝ่าย

โดยในแต่ละส่วนจะมีรายละเอียดของความสัมพันธ์ของแต่ละส่วนของหน้าที่ใช้สอย กับผู้ใช้ดังนีโครงการ และแสดงเส้นทางการสัญจรในแต่ละประเภทดังนี้


120 3.4.1 ฝ่ายวินจิ ฉัยและบาบัดรักษา

ภาพที่ 3.4.1 ผังแผนกผู้ป่วยนอก (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)

ภาพที่ 3.4.2 ผังแผนกฉุกเฉิน (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)


121

ภาพที่ 3.4.4 ผังแผนกเภสัชกรรม (กระทรวงสาธารณสุข, 2560) 3.4.2 ฝ่ายสนับสนุนทางคลินิก

ภาพที่ 3.4.3 ผังแผนกเวชระเบียน (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)


122

ภาพที่ 3.4.5 ผังแผนกเคมีบาบัด (มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556)

ภาพที่ 3.4.6 ผังแผนกพยาธิวิทยา (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)


123

ภาพที่ 3.4.7 ผังแผนกรังสีวิทยา (กระทรวงสาธารณสุข, 2560) 3.4.3 ฝ่ายรักษาพิเศษ

ภาพที่ 3.4.8 ผังแผนกศัลยกรรม (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)


124

ภาพที่ 3.4.9 ผังหออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU) (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)


125 3.4.4 ฝ่ายหอผู้ป่วยใน

ภาพที่ 3.4.10 ผังหอผู้ป่วยใน (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)


126 3.4.6 ฝ่ายบริการทางการแพทย์

ภาพที่ 3.4.11 ผังแผนกโภชนาการ (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)

ภาพที่ 3.4.12 ผังแผนกซักฟอก (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)


127

ภาพที่ 3.4.13 ผังแผนกจ่ายกลาง (กระทรวงสาธารณสุข, 2560)

3.4.7 ฝ่ายอื่นๆ เป็นฝ่ายที่ทาง รพ. สามารถจ้าง Out Source อื่นๆ มาใช้งานได้ โดยไม่จาเป็นต้องมี พื้นที่ รองรับหรือ มีฝ่ายบุคคลรองรับทาให้ยากต่อการจัดการ เพราะตัว รพ.เองก็มี บุคลากรหลากหลายแผนก มากความอยู่แล้ว ผังแสดงความสัมพันธ์หลักๆของแผนกนีจ้ ะอยู่ที่ ส่วนเก็บศพดังภาพ

ภาพที่ 3.4.14 ผังความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใช้สอย ห้องเก็บศพ


128 3.5 เกณฑ์การออกแบบและความต้องการพื้นทีใ่ ช้สอย เกณฑ์การออกแบบของโครงการ รพ.เฉพาะทางมะเร็ง มีการนาเกณฑ์จากคู่มือการออกแบบต่างๆ มาช่วยในการออกแบบพื้นที่ใช้สอย โดยคู่มือดังกล่าวมีดังนี้ - (ปีจัดทา2560) คู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพระดับทุติย ภูิม-ตติยภูมิ ปีงบประมาณ 2560 (แผนก CSSD, ICU, LNDRY, DPT) - (ปีจัดทา2559) โครงการคู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ 2559 (แผนก MRD, DSX) - (ปีจัดทา2558) โครงการจัดทาคู่มือออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพและสภาพแวดล้อม ปี 2558 (แผนก OPD, ER, LAB, PD, RAD, WARD) - (ปีจัดทา2558) แนวทางในการออกแบบโรงพยาบาลต้นทุนต่า - อธิโชค โยธาภิรมย์, 2558, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - (ปีจัดทา2560) เกณฑ์มาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านอาคารและสภาพแวดล้อม ของสถาน บริการสุขภาพสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2560 - (ปีจัดทา2561) OPD มีสุข - ออกแบบปรับปรุงพื้นที่แผนกผู้ป่วยนอกเพื่อสุขภาวะของทุกคน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ,2561) โดยจากการศึกษาทาให้ตัวโครงการมีพื้นที่ใช้สอยรวมดังตารางด้านล่าง ตารางที่ 3.5.1 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอยภาพรวมของโครงการ ฝ่ายวินิจฉัยและบาบัดรักษา

พื้นที่(ตร. ม.)/คน 385.4

จานวน จานวน USER OFC CX รวม 43 136 179

พื้นที่รวม (ตร.ม.) 1010.9

1.1 1.2 1.3 2

โถงต้อนรับและเวชระเบียน แผนกผู้ป่วยนอก OPD แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ER ฝ่ายสนับสนุนทางคลินิก

39 82 264.4 383.54

12 13 18 171

107 9 20 338

119 22 38 509

415.5 204 391.4 2073

2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3

แผนกเภสัชกรรม แผนกรังสีวิทยา แผนกพยาธิวิทยา แผนกเคมีบาบัด แผนกกายภาพบาบัด ฝ่ายรักษาพิเศษ

38.36 180.83 77 15 72.35 140.34

38 49 38 16 30 65

129 31 3 79 96 67

167 80 41 95 126 132

343 612 196 438 484 537.5

3.1 3.2 4

แผนกศัลยกรรม หออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU) ฝ่ายหอผู้ป่วยใน (IPD,Ward)

85.26 55.08 146.7

49 16 120

38 29 109

87 45 229

274.5 263 2721

5

ฝ่ายบริหารและธุรการ

190.88

97

30

127

645

No

พื้นที่ใช้สอย

1


129 ตารางที่ 3.5.1 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอยภาพรวมของโครงการ (ต่อ) ฝ่ายบริการทางการแพทย์

พื้นที่(ตร. ม.)/คน 186.16

จานวน จานวน USER OFC CX รวม 50 0 50

พื้นที่รวม (ตร.ม.) 500.65

6.1 6.2 6.3 7

แผนกโภชนาการ แผนกจ่ายกลาง แผนกซักรีด ฝ่ายบริการงานระบบ

40.83 79 66.33 8.725

28 10 12 6

0 0 0 0

28 10 12 6

160.65 192 148 405.33

8

พื้นที่ส่วนพาณิชยกรรม

22

20

25

45

140

9

ฝ่ายอื่นๆ (ทาความสะอาด, เก็บศพ, ห้องพิธีทาง 7.5 ศาสนา, ฯลฯ) ส่วนพื้นที่สัญจรภายในอาคาร(ประมาณ 37%) 0

4

0

4

679

0

0

0

6056

576

705

1281

14,768.38

No

พื้นที่ใช้สอย

6

10 รวม

Avg= 1.15

โดยจาแนกรายละเอียดของพื้นที่ใช้สอยในฝ่ายและแผนกต่างๆได้ดังนี้ 3.5.1 ฝ่ายวินจิ ฉัยและบาบัดรักษา 3.5.1.1 โถงต้อนรับและเวชระเบียน ตารางที่ 3.5.2 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย โถงต้อนรับและเวชระเบียน No

พื้นที่ใช้สอย

1.1 โถงต้อนรับและเวชระเบียน 1.1.1 โถงต้อนรับ พักรอ ติดต่อสอบถาม คัดกรอง ซักประวัติ ผู้ป่วย (ชั่งน้าหนัก วัด ส่วนสูง) สุขา สุขาพิการ สุขา 1.1.2 เวชระเบียน โถงพักคอยประกันสังคม ซักประวัติผู้ป่วยประกันสังคม ตรวจประกันสังคม

พื้นที่(ตร.ม.)/คน 39.00 24.00 3.00 6.00 6.00 4.50 4.50 40.00 15.00 5.00 5.00 5.00

จานวน OFC 12.00 6 0 2 4

จานวน CX 107.00 101 90 0 0

USER รวม 119.00 107 90.00 2.00 4.00

พื้นที่รวม (ตร.ม.) 415.50 395.50 270.00 12.00

0 0 0 6 2 2 2

9 2 1 6 2 2 2

9.00 2.00 1.00 12 4.00 4.00 4.00

40.50 9.00 40.00 60.00 20.00 20.00 20.00

24.00

3.5.1.2 ทางเข้าอาคาร ทางเข้าใหญ่ของอาคารควรอยู่ด้านหน้าซึ่งบริเวณนี้จะต้องเป็นจุดเด่นที่ทุกคน สามารถมองเห็นได้ง่าย เป็น Approach จากภายนอกเข้าสู่ตัวอาคาร และส่วนหนึ่งของบริเวณนี้จะเป็น


130 ตาแหน่งที่วาง Wheel Chair & Stretcher ด้วยโดยจะต้องสามารถเข็นรับผู้ป่วยที่จาเป็นต้องใช้ บริการได้ทันที และจากจุดบริเวณเทียบรถ ผู้ป่วยจะต้องเข้าสู่ตัวอาคารได้โดยไม่เปียกฝน (อวยชัย วุฒิโฆ สิต,2551)

ภาพที่ 3.5.3 Ambulance Stretcher

ภาพที่ 3.5.1 Wheel Chair ภาพที่ 3.5.2 Stretcher 3.5.1.3 โถงต้อนรับ นอกจากมีหน้าที่ต้อนรับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย และคนทั่วไปแล้ว ยังต้องทาหน้าที่ประชาสัมพันธ์ไปในตัวด้วย จึงควรมี เจ้าหน้าที่ ทีมมี นุษย์สัมพันธ์ที่ดีซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นผู้หญิง 3.5.1.4 เวชระเบียน มีหน้าที่ติดต่อสอบถามซักถามประวัติผู้ป่วย เพื่อเป็นข้อมูล เบื้องต้นให้แพทย์ รวมทั้งคัดกรองผู้ป่วยไปพบแพทย์ตาม คลินิกต่างๆ เมื่อแพทย์ตรวจเสร็จ จะส่งแฟ้มประวัติเหล่านี้ไป ยังเจ้าหน้าที่แผนกเวชระเบียนเพื่อเก็บและดูแลแฟ้มผู้ป่วย ทั้งหมด จะจัดเรียงแฟ้มไว้ในห้องอย่างมีระบบ (ในบาง รพ. จะมีการเก็บแฟ้มผู้ป่วยไว้อย่างน้อยติด 10 ปี หากไม่มีการ เคลื่อนไหวจึงนาไปทาลายได้ ในต่างประเทศมีการเก็บแฟ้ม เหล่านี้ไว้ในคอมพิวเตอร์ แต่ในไทยยังไม่นิยมเพราะมี ค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง การสัญจรในทางตั้ง (ลิฟต์) - ลิฟต์ที่ ภาพที่ 3.5.4 ตัวอย่างการจัด โถงต้อนรับ ใช้กันใน รพ. ทั่วไปจะประกอบด้วย และเวชระเบียน (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) Passenger Lift - ความเร็ว BED Lift - ความเร็วประมาณ ประมาณ 90-105 เมตร/วินาที 60-90 เมตร/วินาที เพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วย โรคหัวใจ

Service Lift - ความเร็ว ประมาณ 60-90 เมตร/วินาที ในกรณีอาคารไม่สูงมากเพื่อเป็น การประหยัดราคาลิฟต์


131 ภาพที่ 3.5.6 ภาพที่ BED Lift 3.5.5 Lobby Passeng er Lift Lobby3.5.1.2 แผนกผู้ป่วยนอก (OPD) ตารางที่ 3.5.3 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกผู้ป่วยนอก OPD พื้นที่(ตร. ม.)/คน 82.00 30.00 6.00 6.00 6.00 6.00 6.00 32.00

จานวน OFC 13 5 1 1 1 1 1 4

จานวน USER CX รวม 9 22 5 10 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 4 8

พื้นที่รวม (ตร.ม.) 204.00 60.00 12.00 12.00 12.00 12.00 12.00 64.00

1

1

2

16.00

8.00

1

1

2

16.00

8.00

1

1

2

16.00

8.00

1

1

2

16.00

20.00

4

0

4

80.00

20.00

4

0

4

80.00

No

พื้นที่ใช้สอย

1.2 1.2.1

แผนกผู้ป่วยนอก OPD ห้องตรวจโรค ห้องตรวจทั่วไป 1 ห้องตรวจทั่วไป 2 ห้องตรวจทั่วไป 3 ห้องตรวจทั่วไป 4 ห้องให้คาปรึกษา ห้องตรวจพิเศษ (1) คลินิกมะเร็งนรีเวช (เป็นการตรวจมะเร็ง อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง (ปากช่องคลอด, ช่อง 8.00 คลอด, ปากมดลูก, มดลูก, ท่อนาไข่หรือรังไข่)

1.2.2

1.2.3

(2) คลินิกโรคเลือด โรคซีดจากสาเหตุต่างๆ และโรคมะเร็ง (มะเร็งเม็ดเลือดขาว/ลิวคีเมีย, มะเร็งต่อมน้าเหลือง,มะเร็งไขกระดูก) (3) คลินิกมะเร็งเต้านม พูดคุย สอบถาม ตรวจ ร่ายกายทั่วไป (ส่งต่อไปยังฝ่ายสนับสนุนทาง คลินิก MRI , Ultrasound , เก็บตัวอย่างชิ้น เนื้อ) (4) คลินิกโรคทางเดินอาหารและตับ (มะเร็ง ตับ,มะเร็งในกระเพาะอาหาร อาทิ ลาไส้ใหญ่ ลาไส้เล็ก หลอดอาหาร ตับอ่อน และถุงน้าดี) ส่วนสนับสนุน จนท. -พักแพทย์ -ทางเดิน (Corridor) หลังห้องตรวจ -สุขา จนท.


132 เป็นแผนกที่ให้การรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วยซึ่งไม่ได้เป็นผู้ป่วยหนัก เมื่อแพทย์วินิจฉัยและ บาบัดรักษา ก็จะให้ยาไปรับประทานที่บ้านหรือ นัดผู้ป่วยมาตรวจอาการในขั้นถัดๆไป โดยทั่วไปแผนกนี้ จะเปิด 24 ชม. แต่ในบางที่ ช่วงเวลา 20.00 - 8.00 อาจใช้การตรวจรักษาที่ห้องผู้ป่วยฉุกเฉิน (ER) แทน เพื่อเป็นการประหยัดพลังงานไฟฟ้าและเครื่องปรับอากาศรวมทั้งบุคลากรเนื่องจากมีผู้ป่วยไม่มากนัก และใน ER มีหอ้ งตรวจโรคและแพทย์เวรดูแลอยู่แล้ว คลินิกผู้ป่วยนอกจะจัดแบ่งออกตามประเภทของโรค จานวนห้องตรวจรักษา แต่ละคลินิกขึ้นอยู่กับ จานวนผู้ป่วย และความสามารถเฉพาะทางของแพทย์แต่ละสาขาซึ่งมักจะมีมาตรฐานของจานวนห้อง ตรวจอยู่ โดยคลินิก OPD ของ รพ.ทั่วไปมีดังนี้ - คลินิกอายุรกรรม (Medical Clinic) - คลินิกกุมารเวชกรรม (Pediatrics - คลินิกศัลยกรรม (Surgical Clinic) Clinic) - คลินิกสูติ-นรีเวชกรรม (Obstetrics & - คลินิกจักษุ (Eye Clinic) Gynaecology Clinic) - คลินิกโสต ศอ นาสิก (E.N.T. Clinic) - คลินิกทันตกรรม (Dental Clinic) 3.5.1.3 แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน (ER) ตารางที่ 3.5.4 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย อุบตั ิเหตุและฉุกเฉิน ER No

พื้นที่ใช้สอย

1.3 แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ER 1.3.1 พื้นที่บริการส่วนหน้า โถงห้องฉุกเฉิน พักรอ ศูนย์เปล ศุนย์พึ่งได้ เปลนอนและรถเข็น สุขา 1.3.2 พื้นที่ปฏิบัติงานหลักแผนกฉุกเฉิน -ห้องล้างตัว -ห้องล้างท้อง -ห้องช่วยฟื้นคืนชีพ -โถงบาบัดรักษา(เตียง+แพทย์+เคาท์เตอร์ทางาน+ จอดเตียงรอส่ง) -ห้องพักพยาบาล (จนท.เวร) -ห้องสังเกตอาการ (4 เตียง) -ห้องนิติเวช (ชันสูตร) -ห้องสุขาและเปลี่ยนเสื้อผ้า ชาย

พื้นที่(ตร.ม.)/ คน 264.40 25.00 3.00 1.00 4.00 12.00 1.00 4.00 235.40 235.40

จานวน OFC 18 8 4 0 1 1 0 2 10 10

จานวน USER พื้นที่รวม CX รวม (ตร.ม.) 20 38 391.40 19 27 140.00 0 4 12.00 8 8 8.00 0 1 4.00 0 1 12.00 6 6 6.00 5 7 28.00 1 11 235.40 1 11 235.40


133

ตารางที่ 3.5.4 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย อุบตั ิเหตุและฉุกเฉิน ER (ต่อ) No

พื้นที่ใช้สอย

-ห้องสุขาและเปลี่ยนเสื้อผ้า หญิง -ส่วนห้องปฏิบัติการชันสูตรฉุกเฉิน LAB 1.3.3 พื้นที่สนับสนุนการให้บริการ -ห้องพักพยาบาล (จนท.เวร) -ห้องล้างเครื่องมือ

พื้นที่(ตร.ม.)/ จานวน คน OFC

จานวน USER พื้นที่รวม CX รวม (ตร.ม.)

4.00 4.00

0 0

0 4

0 4

16.00 16.00

หน้าที่ของห้องฉุกเฉินคือ ใช้รบั พยาบาลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉิน เช่น ถูกรถชน หรือประสบ อุบัติเหตุต่างๆ ที่ต้องได้รับการรักษาด่วน ในขณะเดียวกันห้องฉุกเฉินก็อาจใช้เป็น OPD ในช่วงกลางคืน (Night OPD) ของ รพ. ไปด้วยในตัว ดังนั้นจึงต้องมีทั้งแผนกยา การเงิน และห้องตรวจรักษาผู้ป่วยด้วย โดยจะต้องมีแพทย์ประจา ตลอด 24 ชม. สามารถตรวจ ภายในได้ เย็บแผลได้ และมี ห้องผ่าตัดเล็ก (Minor OR) รวมอยู่ด้วย มีเตียงตรวจและ สังเกตอาการ (Observation) หลังการรักษา มี Nurse Station สามารถดูแลได้ทั่วถึง และจาหน่วยผูป้ ่วยออกสู่ Ward ทันที ทีผ่ ู้ป่วยมีอาการดี ขึ้น ภาพที่ 3.5.34 ตัวอย่างการจัดผังแผนก ER (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) 3.5.2 ฝ่ายสนับสนุนทางคลินิก 3.5.2.1 แผนกเภสัชกรรม ตารางที่ 3.5.5 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกเภสัชกรรม No

พื้นที่ใช้สอย

2.1 แผนกเภสัชกรรม 2.1.1 ส่วนปฏิบิตงิ านเภสัชกรรม คลังยา (ห้องเก็บยา) เตรียมยา ห้องการเงิน (รับเงิน) จ่ายยา ห้องปรุงยา

พื้นที่(ตร. จานวน ม.)/คน OFC 38.36 38.00 0.00 0 6.75 4 6.00 4 1.50 4 3.00 4 1.50 4

จานวน CX 129.00 0 0 0 2 2 0

USER รวม 167.00 0 4 4 6 6 4

พื้นที่รวม (ตร.ม.) 343.00 0.00 27.00 24.00 9.00 18.00 6.00


134 No

พื้นที่ใช้สอย

ห้องทาเอกสาร 2.1.2 เอนกประสงค์/พัก จนท 2.1.3 ส่วนบริการผู้ป่วยและญาติ ส่วนเภสัชกรรม รอจ่าย OPD ห้องสุขา

พื้นที่(ตร. จานวน จานวน ม.)/คน OFC CX 12.00 2 0 3.13 8 0 0.00 0 0 1.49 0 125 3.00 8 0

USER รวม 2 8 0 125 8

พื้นที่รวม (ตร.ม.) 24.00 25.00 0.00 186.00 24.00

แผนกเภสัชกรรม (Pharmacy) เป็นงานที่ครอบคลุมกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับยา และเวชภัณฑ์ ตั้งแต่กระบวนการคัดเลือก การจัดซื้อจัดหา การผลิต การกระจาย รวมทั้งการควบคุมการใช้ยาและ เวชภัณฑ์ภายในโรงพยาบาลและหน่วยงานอื่นที่อยู่ในความดูแลของโรงพยาบาล ซึ่งการทาให้เกิดความ มั่นใจในคุณภาพและมาตรฐานของงานเภสัชกรรมมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ ประสิทธิภาพในระบบ บริหารจัดการด้านยาและมาตรฐานความปลอดภัยด้านยา โดยเน้นการป้องกันความเสี่ยงและลดความ คลาดเคลื่อน รวมถึงการสร้างระบบเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในเรื่องการใช้ยาของผู้รับบริการโดยทั่วไป

ภาพที่ 3.5.35 ตัวอย่างการจัดผังแผนก Pharmacy (อวยชัย ิโฆสิต,2551) งานหลักของ แผนกเภสัชกรรม (Pharmacy)วุฒประกอบด้ วย งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก งาน บริการจ่ายยาผู้ป่วยใน งานให้บริการด้านเภสัชสารสนเทศ งานบริหารคลังเวชภัณฑ์ งานผลิตยา งาน สนับสนุนสถานบริการสาธารณสุขระดับรองโดยเป็นคลังเวชภัณฑ์ให้สถานีอนามัยในกลุ่มเครือข่าย และ งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบ 3.5.2.2 แผนกรังสีวิทยา ตารางที่ 3.5.6 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกรังสีวิทยา


135 No

พื้นที่ใช้สอย

พื้นที่(ตร. ม.)/คน 180.83 0.00 6.25 6.25 5.50 6.00 4.00 12.00 12.00 12.00 3.00 0.00 12.00

2.2 แผนกรังสีวิทยา 2.2.1 ส่วนปฏิบัติงาน (วินิจฉัย) ถ่ายภาพรังสี X-Ray ถ่ายภาพรังสี X-Ray + Fluoroscopy Bone Density Scan (Central DXA) Mammogram Ultrasound CT scan (Computed Tomography) MRI Angiography , DSA - Cath Lab ห้องเตรียมสารทึบรังสี 2.2.2 ส่วนปฏิบัติงาน (รักษา) Hyperthermia หรือ Thermaltherapy/Thermotherapy ด้วยเครื่อง Thermotron-RF8 เป็นหนึ่งในเทคนิคการรักษา โรคมะเร็ง ด้วยการอาศัยความร้อนที่เกิดจาก คลื่นวิทยุที่ความถี่ 8 MHz เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้กับ ร่างกายหรือเนื้อเยื่อเฉพาะที่ Oncothermia หรือ การรักษาโรคมะเร็งด้วยความ 12.00 ร้อน เป็นการเพิ่มอุณหภูมิไปเฉพาะก้อนมะเร็งด้วย ความร้อน 42-43 องศาเซลเซียส ระยะเวลารักษา 60 นาทีต่อครั้ง ซึ่งความร้อนระดับนี้จะทาให้ เซลล์มะเร็งสูญเสียการจาลองแบบของ DNA ทาให้ การแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งช้าลงและไปขัดขวาง การซ่อมแซมของตัวเซลล์มะเร็ง รวมถึงยับยั้งการ สร้างเส้นเลือดใหม่ที่ไปเลี้ยงเซลล์มะเร็ง ส่งผลให้มี การตายของเซลล์มะเร็งมากขึ้น VMAT หรือ Volumetric Modulated Arc 12.00 Therapy เป็นเทคนิคการฉายรังสีแบบปรับความ เข้ม IMRT (Intensity Modulated Radiation Therapy) ที่พัฒนาขึ้นโดยให้เครื่องฉายรังสี สามารถหมุนได้รอบตัวผู้ป่วย สามารถควบคุม ความเร็วของการหมุน ปริมาณของรังสี และการ เคลื่อนที่ของวัตถุกาบังรังสี จึงช่วยลดระยะเวลา

OFC

CX

USER

49.00 0 3 3 3 2 2 2 2 2 2 0 2

31.00 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1

(ตร.ม.) 80.00 612.00 0 0.00 4 25.00 4 25.00 4 22.00 3 18.00 3 12.00 3 36.00 3 36.00 3 36.00 3 9.00 0 0.00 3 36.00

2

1

3

36.00

2

1

3

36.00


136 No

พื้นที่ใช้สอย

พื้นที่(ตร. OFC ม.)/คน

CX

USER

(ตร.ม.)

ของการฉายรังสี รวมทั้งทาให้การฉายรังสีมีความ ถูกต้องแม่นยาและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ตารางที่ 3.5.6 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกรังสีวิทยา (ต่อ) No

พื้นที่ใช้สอย

IMRT (Intensity Modulated Radiation Therapy) เป็น การฉายรังสีโดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เป็นพัฒนาการอีกระดับ ของรังสีสามมิติ หรือ 3DCRT โดยให้รังสีเข้าสู่รอยโรคหลายๆ ทิศทางรอบตัวผู้ป่วย และในแต่ละทิศทางยังประกอบด้วยลา รังสีขนาดต่างๆ อีกจานวนมาก จึงทา ให้อวัยวะโดยรอบรอย โรคนั้นๆ ได้รับรังสีน้อยกว่าเทคนิคการฉายรังสีแบบเดิม สอดแร่ 1.1 Intracavitary Brachytherapy เป็นการสอดใส่แร่เข้าไป ในโพรงของอวัยวะที่เป็นโรค โดยวางแร่ใกล้กับก้อนมะเร็ง ได้แก่ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก มะเร็งช่อง คลอด มะเร็งหลังโพรงจมูก 1.2 Intraluminal Brachytherapy เป็นการสอดใส่แร่เข้าไป ในโพรงของอวัยวะที่เป็นโรค ได้แก่ มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งหลอดลม มะเร็งท่อน้าดี ที่มา : หน่วยรังสีรักษา ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ฝังแร่ 2.0 Interstitial Brachytherapy เป็นการเสียบใส่แร่เข้าไป ในก้อนมะเร็งโดยตรง ได้แก่ มะเร็งช่องปาก มะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปากช่องคลอด มะเร็งทวารหนัก โดยแบ่งเป็น 2 แบบ คือชั่วคราว(ให้แร่อยู่ในก้อนมะเร็งจนได้ ปริมาณรังสีที่ต้องการ และจึงนาแร่ออกจากก้อนมะเร็ง) และ ถาวร (ฝังแร่ไว้ในก้อนมะเร็งจนแร่สลายตัวหมด) 3.0 Mold (surface application) แร่จะถูกวางแนบชิดไป ตามผิวของก้อนมะเร็ง ได้แก้ มะเร็งบริเวณใบหูชั้นนอก มะเร็งผิวหนัง เป็นต้น ที่มา : หน่วยรังสีรักษา ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2.2.3 ส่วนสนับสนุนการให้บริการ

พื้นที่(ตร. จานวน จานวน USER พื้นที่รวม ม.)/คน OFC CX รวม (ตร.ม.)

12.00

2

1

3

36.00

8.33

2

1

3

25.00

8.33

2

1

3

25.00

0

0

0

0

63.00


137 สานักงาน ห้องหัวหน้าแผนกรังสีวินิจฉัย ห้องประชุมแผนกรังสีวินิจฉัย ล้างฟิล์ม+พิมพ์ฟิล์ม อ่านฟิล์ม+รายงานผล+เก็บฟิล์ม ส่วนสนับสนุน จนท. / -เก็บพัสดุ/ผ้า -ล้างทาความสะอาด เก็บของใช้ -สุขา จนท. -นอนเวร 2.2.4 ส่วนบริการผู้ป่วยและญาติ พักรอ ห้องสุขา

6.00 9.00 2.67 9.00 9.00 9.00

2 1 6 2 1 4

0 0 0 0 0 0

2 1 6 2 1 4

12.00 9.00 16.00 18.00 9.00 36.00

0.00 1.50 3.00

0 0 0

0 8 8

0 8 8

0.00 12.00 24.00

3.5.2.2.1 รังสีวินิจฉัย มีภารกิจให้บริการถ่ายและบันทึกภาพด้วยรังสีและคลื่นเสียงความ ถี่สูงแก่ผู้ป่วย/ผู้มาตรวจสุขภาพ ทั้งในและนอกเวลาทาการปกติ โดยครอบคลุมทั้งการบริการถ่ายและบันทึก ภาพรังสีทั่วไปในสถานที่ และการตรวจพิเศษทางรังสี ได้แก่การตรวจระบบทางเดินปัสสาวะ การตรวจระบบ ทางเดินอาหาร/ ระบบลาไส้ใหญ่ รวมทั้งให้บริการเคลื่อนที่ไปตามตึกผู้ป่วยและแผนกต่างๆ ในโรงพยาบาลด้วยเครื่อง Mobile X-Ray

ภาพที่ 3.5.36 ห้อง X-ray

ภาพที่ 3.5.37 ห้อง Bone Density Scan

ภาพที่ 3.5.38 ห้อง Mammogram Scan

ภาพที่ 3.5.41 ห้อง ภาพที่ 3.5.40 ห้อง CT ภาพที่ 3.5.39 ห้อง Angiography DSAScan Scan Ultrasound 3.5.2.2.2 รังสีรักษา รังสีรักษาคือ การรักษาโรคมะเร็ง (Malignant Tumor) และรอยโรคทีไ่ ม่ใช่โรคมะเร็ง (Benign tumor) ด้วยคลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้าหรือ อนุภาคซึ่งเป็นรังสี โดยอาศัยคุณลักษณะของรังสีแต่ละชนิดใน การทาลายเซลละ วิธีการรักษาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ - การใช้รังสีรักษาระยะไกล (Teletherapy) หมายถึง การรักษาที่มีต้นกาเนิดรังสีห่างจาก บริเวณที่จะรักษา เช่น เครื่องฉายรังสีโคบอลต์ 60 และเครื่องเร่งอนุภาค เป็นต้น


138 - การใช้รังสีรักษาระยะใกล้ (Brachytherapy) หมายถึง การรักษาที่มีต้นกาเนิดรังสีอยู่ชิดหรือ ภายในบริเวณที่จะรักษา รูปแบบเครื่องที่ใช้ในการรักษาและคุณสมบัติของเครื่องมีดังนี้ Hyperthermia เป็นหนึ่งในเทคนิคการรักษาโรคมะเร็ง ด้วยการ อาศัยความร้อนที่เกิดจากคลืน่ วิทยุที่ความถี่ 8 MHz

ภาพที่ 3.5.42 ห้องHyperthermia Oncothermia เป็นการเพิ่มอุณหภูมิไปเฉพาะก้อนมะเร็งด้วยความ ร้อน 42-43 องศาเซลเซียส ระยะเวลารักษา 60 นาทีต่อครั้ง

ภาพที่ 3.5.43 ห้อง Oncothermia

VMAT เป็นเทคนิคการฉายรังสีแบบปรับความเข้ม ที่พัฒนาขึ้น โดยให้เครื่องฉายรังสีสามารถหมุนได้ ช่วยลดระยะเวลาของการ ฉายรังสี รวมทัง้ ทาให้การฉายรังสีมีความถูกต้องแม่นยาและมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ภาพที่ 3.5.44 ห้อง VMAT IMRT เป็นการฉายรังสีโดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เป็น พัฒนาการอีกระดับของรังสีสามมิติ หรือ 3DCRT ทาให้ อวัยวะโดยรอบรอยโรคนั้นๆ ได้รับรังสีน้อยกว่าเทคนิคการ ฉายรังสีแบบเดิม

ภาพที่ 3.5.45 ห้อง IMRT

Intracavitary Brachytherapy เป็นการสอดใส่แร่เข้าไปในโพรง ของอวัยวะที่เป็นโรค โดยวางแร่ใกล้กับก้อนมะเร็ง

ภาพที่ 3.5.46 ห้อง Intracavitary Brachytherapy Interstitial Brachytherapy เป็นการเสียบใส่แร่เข้าไปใน ก้อนมะเร็งโดยตรง ได้แก่ มะเร็งช่องปาก มะเร็งเต้านมมะเร็ง ภาพที่ 3.5.47 ห้อง Interstitial Brachytherapy


139 ต่อมลูกหมาก มะเร็งปากช่องคลอด มะเร็งทวารหนัก

3.5.2.4 No

แผนกพยาธิวิทยา ตารางที่ 3.5.7 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกพยาธิวิทยา LAB พื้นที่ใช้สอย

2.3 แผนกพยาธิวิทยา 2.3.1 ส่วนปฏิบัติงาน เจาะเลือด เก็บสิ่งตรวจ รับสิ่งตรวจ จุลทรรศน์ศาสตร์และโลหิตวิทยา เคมีคลินิกและภูมิคุ้มกันวิทยา ปฏิบัติการ จุลชีววิทยา ล้างตา/ล้างตัว 2.3.2 ส่วนสนับสนุนการให้บริการ สานักงาน ห้องหัวหน้าแผนกพยาธิวิทยา ห้องประชุมแผนกพยาธิวิทยา ส่วนสนับสนุน จนท. -เก็บพัสดุ/ผ้า

พื้นที่(ตร.ม.)/คน

จานวน OFC

จานวน พื้นที่รวม USER รวม CX (ตร.ม.)

77.00 0.00 4.50 4.50 5.00 9.00 12.50 12.50 1.50 0.00 3.00 9.00 2.00 4.50

38.00 0 1 1 2 1 2 2 1 0 3 1 8 8

3.00 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0

41.00 0 2 2 2 1 2 2 2 0 3 1 8 8

196.00 0.00 9.00 9.00 10.00 9.00 25.00 25.00 3.00 0.00 9.00 9.00 16.00 36.00


140 No

พื้นที่ใช้สอย

พื้นที่(ตร.ม.)/คน

จานวน OFC

จานวน พื้นที่รวม USER รวม CX (ตร.ม.)

-ล้างทาความสะอาด -เก็บของใช้ -สุขา จนท. -นอนเวร -เอนกประสงค์+พัก 2.3.3 ส่วนบริการผู้ป่วยและญาติ

0.00 0 0 0 0.00 พักรอ 3.00 4 0 4 12.00 ห้องสุขา 6.00 4 0 4 24.00 แผนกพยาธิวิทยาคลินิก (Laboratory) มีภารกิจให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการแก่ ผู้ป่วย/ ผู้มาตรวจสุขภาพทั้งในและนอกเวลาทาการปกติ โดยครอบคลุมการตรวจชันสูตรทางด้านโลหิต วิทยาจุลทรรศน์ศาสตร์ ภูมิคมุ้ กันวิทยา เคมีคลินิก และจุลชีววิทยา เป็นหลัก นอกจากนี้อาจให้บริการตรวจทางเซลล์วิทยา ตรวจหาสารเสพติด ตรวจน้า/อาหาร เพื่อคุ้มครอง ผู้บริโภค และอื่นๆ ตามที่ได้รับการประสานงานบูรณาการกับหน่วยงานอื่นๆ และ/หรือตามที่ทรัพยากร ของโรงพยาบาลแต่ละแห่งจะเอื้ออานวย นอกจากนั้นยังให้บริการส่งต่อตัวอย่างสิ่งส่งตรวจทางห้อง ปฏิบัติที่ไม่มีให้บริการในโรงพยาบาลไปยังสถานบริการอื่นที่มีศักยภาพในการตรวจวิเคราะห์ขั้นสูงกว่า ขั้นตอนการให้ บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือขั้นตอนการ ให้บริการตรวจ วิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัติการสาหรับ ผู้ป่วยนอก และ ขั้นตอนการให้บริการ ตรวจวิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัติการสาหรับ ผู้ป่วยในและหน่วยงาน ภายนอก

ภาพที่ 3.5.49 X-ray Floor Plan (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551)


141

ภาพที่ 3.5.50 ห้องปฏิบัติการส่วนกลาง (อวยชัย วุฒิโฆสิต,2551) 3.5.2.5 แผนกเคมีบาบัด ตารางที่ 3.5.8 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกเคมีบาบัด No

พื้นที่ใช้สอย

2.4 แผนกเคมีบาบัด 2.4.1 ส่วนปฏิบัติงาน พบแพทย์/พยาบาล ให้คาแนะนา หน่วยบาบัดระยะสั้น (แบบนั่ง) หน่วยบาบัดระยะสั้น (แบบเตียงนอน) 2.4.2 ส่วนสนับสนุนการให้บริการ ส่วนสนับสนุน จนท. -เก็บพัสดุ/ผ้า -ล้างทาความสะอาด -เก็บของใช้ -สุขา จนท. -นอนเวร -เอนกประสงค์+พัก 2.4.3 ส่วนบริการผู้ป่วยและญาติ พักรอ ห้องสุขา

พื้นที่(ตร.ม.)/คน

จานวน OFC

จานวน พื้นที่รวม USER รวม CX (ตร.ม.)

15.00 0.00 4.50 1.50 2.00 0.00 3.00

16.00 0 4 0 0 0 12

79.00 0 4 40 15 0 0

95.00 0 8 40 15 0 12

438.00 96.00 36.00 60.00 30.00 108.00 36.00

0.00 1.00 3.00

0 0 0

0 12 8

0 12 8

36.00 12.00 24.00


142 การรักษาด้วยยาเคมีบาบัด หรือ ยาต้านมะเร็ง คือ การรักษาหลักที่สาคัญสาหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง ระยะลุกลามเฉพาะที่ หรือ มีการกระจายตัวไปตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแล้ว โดยสามารถบาบัดรักษา ร่วม กับการผ่าตัด หรือ รังสีรักษา เพื่อหวังให้ หายขาด ปราศจากโรค มีคุณภาพชีวิตที่ดี และ มีชีวิตยืน ยาว กลุ่มงานเคมีบาบัด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ) เป็นหน่วยงานหลักที่มีความสาคัญในด้านต่างๆดังนี้ - บาบัดรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งด้วยการใช้ยา โดย แพทย์เฉพาะทางที่มีความเชี่ยวชาญด้านการ บาบัดรักษา - ผู้ป่วยโรคมะเร็งด้วยยา เพื่อให้บรรลุถึง จุดมุ่งหมายในการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งอย่าง เหมาะสม ปลอดภัย คุ้มค่า ตามมาตรฐาน ประเทศไทย โดยเฉพาะมะเร็งที่พบบ่อยใน ประชากรไทย เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด มะเร็งทางเดินอาหาร มะเร็งปากมดลูก เป็น ต้น - ทาการศึกษาค้นคว้าวิจัย พัฒนาการรักษา โรคมะเร็งที่พบบ่อยในประเทศไทย ด้วยยา ร่วมกับการรักษา อื่นที่เกี่ยวข้อง - ถ่ายทอดเทคโนโลยีชั้นสูง และความรู้ ภาพที่ 3.5.54 Chemotherapy Infusion โรคมะเร็ง และการรักษาที่ทนั สมัยให้กับบุคลากร (GRCC,2563) ทางการแพทย์และ ประชาชนทั้งในและ ต่างประเทศ -

ภาพที่ 3.5.55 เคมีบาบัด ระยะสั้น

ภาพที่ 3.5.56 เคมีบาบัด ระยะยาว


143 3.5.2.6 แผนกกายภาพบาบัด ตารางที่ 3.5.9 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกกายภาพบาบัด No

พื้นที่ใช้สอย

พื้นที่(ตร. จานวน จานวน USER รวม ม.)/คน OFC CX

2.5 แผนกกายภาพบาบัด 72.35 30 2.5.1 ส่วนปฎิบิตการกายภาพบาบัด (พื้นที่บาบัด+เครื่องช่วย) 0.00 0 ตรวจคัดกรองวางแผนการรักษา 6.00 1 ออกกาลังกายเพื่อการรักษา 3.07 4 รักษาด้วยเครื่องมือไฟฟ้า 6.00 2 รักษาด้วยการนวด ประคบร้อน/เย็น 7.50 4 รักษาโดยการดึง 2.80 1 รักษาโดยการดัด 2.80 1 รักษาโดยพาราฟิน 5.08 1 รักษาด้วยน้า/ธาราบาบัด 3.60 1 ให้ความรู้ สอนสุขศึกษา 18.00 1 ห้องทางานหัวหน้าแผนกการภายบาบัด 4.50 1 2.5.2 ส่วนสนับสนุนการให้บริการ 0.00 0 เก็บ/เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักษา 6.00 1 ส่วนสนับสนุน จนท. 3.00 12 -เก็บพัสดุ/ผ้า -ล้างทาความสะอาด -เก็บของใช้ -สุขา จนท. -นอนเวร -เอนกประสงค์+พัก 2.5.3 ส่วนบริการผู้ป่วยและญาติ 0.00 0 พักรอ 1.00 0 ห้องสุขา 3.00 0

96 0 1 40 4 4 4 4 12 4 1 1 0 1 0

126.00 0 2 44 6 8 5 5 13 5 2 2 0 2 12

0 0 12 12 8 8

พื้นที่รวม (ตร.ม.)

484.00 0.00 12.00 135.00 36.00 60.00 14.00 14.00 66.00 18.00 36.00 9.00 0.00 12.00 36.00

0.00 12.00 24.00

เป็นแผนกหนึ่งในส่วนที่ให้การสนับสนุนรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย เพื่อช่วยให้หายหรือทุเลาจาก โรคตามระยะเวลาอันสมควร ปัจจุบันผู้ป่วยในแผนกนี้ไม่จาเป็นจะต้องพิการทางร่างกายอย่างเดียว เท่านั้น แต่อาจเป็นผู้ป่วยทางด้านจิตใจ ทาให้เครียดจนมีอาการป่วดเมื่อยตามร่างกายก็ได้


144 แผนกกายภาพบาบัดใน รพ. ทั่วไป จะรักษาผู้ป่วยที่พิการหรือประสานกล้ามเนื้อที่ทางานไม่ได้ จะ ได้รับการฝึกให้อวัยวะส่วนนั้นมีสภาพดีขึ้น หรือหายเป็นปรกติ ด้วยวิธีออกกาลังกายนวดด้วยไฟฟ้า เป็น ต้น ในแผนกนีจ้ ะแยกออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ (1) Exercise Room (2) Treament Room (3) Hydro Therapy

ภาพที่ 3.5.54 ภาพตัวอย่างผังแผนกกายภาพบาบัด (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) 3.5.3 ฝ่ายรักษาพิเศษ 3.5.3.1 แผนกศัลยกรรม ตารางที่ 3.5.10 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกศัลยกรรม No

พื้นที่ใช้สอย

3.1 แผนกศัลยกรรม 3.1.1 พื้นที่ปฏิบตั ิการศัลยกรรม ห้องผ่าตัดเล็ก ห้องผ่าตัดใหญ่ เปลี่ยนเสื้อผ้าผู้ป่วย พักรอผู้ป่วยก่อนผ่าตัด ทางานพยาบาล ประชุมทีมผ่าตัด

พื้นที่(ตร.ม.)/คน

จานวน OFC

จานวน CX

85.26 0.00 3.57 3.69 4.00 8.00 3.00 1.50

49.00 0 6 12 1 0 4 8

38 0 1 1 1 1 0 0

USER รวม

87 0 7 13 2 1 4 8

พื้นที่รวม (ตร.ม.)

274.50 0.00 25.00 48.00 8.00 8.00 12.00 12.00


145 ตารางที่ 3.5.10 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกศัลยกรรม จานวน No พื้นที่(ตร.ม.)/คน พื้นที่ใช้สอย OFC ห้องนอน จนท.อยู่เวร ประชุมทีมวิสัญญี พักฟื้นสังเกตอาการ ห้องน้าผู้ป่วยพักฟื้น 3.1.2 พื้นที่สนับสนุนการบริการ ทางานหัวหน้าแผนกศัลยกรรม ศัลยแพทย์ ทางาน/พัก พักพยาบาล หัวหน้าแผนกวิสัญญี ทางานเอกสาร 3.1.3 ส่วนบริการผู้ป่วยและญาติ พักรอ ห้องสุขา ส่วนสนับสนุน จนท. -เก็บพัสดุ/ผ้า -ล้างทาความสะอาด -เก็บของใช้ -สุขา จนท. -นอนเวร -เอนกประสงค์+พัก

9.00 2.25 8.00 4.50 0.00 9.00 4.50 2.25 12.00 3.00 0.00 1.00 3.00 3.00

1 4 1 0 0 1 2 4 1 4 0 0 0 0

จานวน CX

0 0 1 1 0 0 0 0 0 0 0 12 8 12

USER รวม

1 4 2 1 0 1 2 4 1 4 0 12 8 12

พื้นที่รวม (ตร.ม.)

9.00 9.00 16.00 4.50 0.00 9.00 9.00 9.00 12.00 12.00 0.00 12.00 24.00 36.00

แผนกศัลยกรรม (งานผ่าตัด+งานวิสัญญี) - แผนกที่ให้บริการบาบัดรักษาโดยวิธีผ่าตัด ผู้ที่มาใช้ บริการอาจเป็นผู้ป่วยนอกที่มาใช้บริการผ่าตัดเล็กซึ่งไม่จาเป็นต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล หรืออาจ เป็นผู้ป่วยจากแผนกอุบัตเิ หตุและฉุกเฉินที่ตอ้ งได้รับการผ่าตัดอย่างรีบด่วน แต่ส่วนใหญ่มักเป็นผู้ป่วยใน ซึ่งได้ลงทะเบียนรอเข้ารับการผ่าตัดตามผลการวินิจฉัยและได้รับการนัดหมายจากแพทย์ ดังนั้น เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการให้บริการ แผนกศัลยกรรมจึงควรตั้งอยู่เป็นสัดส่วน และมี ความสะดวกในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยระหว่างแผนกศัลยกรรมกับแผนกต่างๆ เช่น แผนกสูติกรรม หอ ผู้ป่วยหนัก หอผู้ป่วยใน ห้องฉุกเฉิน และห้องเอ็กซเรย์ เป็นต้น ห้องผ่าตัด (OR: Operating Room) มีหน้าที่ให้การบาบัดรักษาผู้ป่วยด้วยวิธีการผ่าตัด โดยผ่าตัด อวัยวะส่วนที่เป็นพิษ อันเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคร้ายแก่ ร่างกายออกโดยวิธีการผ่าตัด ในการออกแบบ ห้องผ่าตัด ควรต้องทราบถึงแนวทางการใช้งานของแผนกดังนี้


146 -

-

-

3.5.3.1.1 OUTER ZONE (ส่วนภายนอกสุด) Transfer Area - พื้นที่ที่ใช่เปลี่ยนเตียงผู้ป่วยจากบริเวณอื่นๆ นาผู้ป่วยมาสู่เตียงสะอาดของ แผนกเอง Preparation Room – ห้องที่เตรียมสาหรับผู้ป่วยรอการผ่าตัด กิจกรรมเช่น การเปลี่ยนชุด การล้างตัว Nurse Station - มีเคาน์เตอร์ สาหรับสอบถาม ติดต่อ จากประตูเข้าแผนก 3.5.3.1.2 INTERMEDIAT ZONE – ส่วนต้องการ ควาวมสะอาดมากขึ้น จุดผ่านเข้าสู่ห้องผ่าตัดของทีมแพทย์พยาบาล บริเวณ Lounge พักผ่อนซึ่งมีห้อง Oncall สาหรับแพทย์ เวร Corridor ที่หน้าห้องผ่าตัดจะต้องมี Sink สาหรับล้างมือก่อนผ่าตัดอีกครั้งหนึ่ง Recovery Room ห้องพักฟื้นสาหรับผู้ป่วยหลังการผ่าตัด Anesthetist Office ห้องทางานของแพทย์วิสัญญี ซึ่งต้องทางานอยู่ในห้องผ่าตัดตลอด ห้องเก็บของที่ส่งมาจาก CSSD 3.5.3.1.3 INNER ZONE - เป็นบริเวณในสุดของแผนก ปลอดเชื้อ อากาศบริสุทธิ์ ห้องผ่าตัด สาหรับผ่าตัดผู้ป่วย Case ต่างๆ ห้องขนาดใหญ่จะมีขนาด 6.00 x 8.00 m ขนาด เล็กจะมีขนาด 6.00 x 6.00m. ความสูง Floor to Ceiling ไม่ควรต่ากว่า 3.00 m. ส่วนสาคัญอื่นๆ ทีส่ ถาปนิกไม่ควรลืม เช่น 1.Outlet ของ Gap Pipe Line ชนิดฝังหรือห้อย บริเวณหัวเตียงผ่าตัด 2.ตู้เก็บเครื่องมือที่ทาความสะอาดแล้ว 3.X-ray View Box ฝังผนัง เพื่อ ใช้ดูฟิล์มประกอบการผ่าตัด 4.ตาแหน่งของสวิตซ์และเต้าเสียบปลั๊กไฟ 3.5.3.1.4 DIRTY ZONE - ส่วนสกปรก Soiled Corridor เป็น Corridor ด้านหลังห้องผ่าตัดทุกห้อง โดยจะนาสิ่งสกปรกออกทาง ด้านหลัง เพื่อส่งต่อไปยังแผนกจ่ายกลาง (CSSD) หรือห้องทาความสะอาดขั้นต้นก่อนส่งไปยัง CSSD Dirty Room เป็นห้องเก็บรวมรวบเครื่องมือก่อนส่งไปยังแผนกจ่ายกลาง CSSD Soiled Corridor จะต้องต่อยาวเข้าถึงตาแหน่ง Service Lift ห้องผ่าตัดติดเชื้อ (SEPTIC OR) แยกไว้ไม่ให้ปนกับส่วนใดๆ (เช่น ผู้ป่วยติดเชื้อ HIV)


147

ภาพที่ 3.5.55 ตัวอย่างการวางผังกแผนกศัลยกรรม (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551) 3.5.3.2 หออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU) ตารางที่ 3.5.11 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย ICU No

พื้นที่ใช้สอย

3.2 หออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU) 3.2.1 พื้นที่ปฏิบัติการ ICU พักรวมผู้ป่วย พักแยกผู้ป่วยหนัก ทางานหัวหน้าหออภิบาลผู้ป่วยหนัก ให้คาปรึกษา 3.2.2 พื้นที่สนับสนุนการบริการ ส่วนสนับสนุนอื่นๆ ทางานพยาบาล Nursestation 3.2.3 ส่วนบริการผู้ป่วยและญาติ พักรอ ห้องสุขา

พื้นที่(ตร.ม.)/คน

55.08 0.00 8.00 9.25 9.00 4.50 0.00 17.00 3.00 4.33

1.00 3.33

จานวน OFC

จานวน พื้นที่รวม USER รวม CX (ตร.ม.)

16.00 29.00 45.00 263.00 8 11 19 0.00 4 8 12 96.00 2 2 4 37.00 1 0 1 9.00 1 1 2 9.00 0 0 0 0.00 4 0 4 68.00 4 0 4 12.00 18 18 32.00 0 0 12 12 12.00 0 6 6 20.00


148 หออภิบาลผู้ป่วยหนัก (Intensive Care Unit; ICU) มีภารกิจหลักในการอภิบาลผู้ป่วยซึ่งมีอาการ หนักและอยู่ในภาวะวิกฤติซึ่งต้องการความดูแลอย่างใกล้ชิด มีการติดตาม/ เฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง อาการของผู้ป่วยอยู่ตลอดเวลา เพื่อวิเคราะห์และวินิจฉัยอาการและปัญหา รวมทั้งแก้ไขสถานการณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย โดยใช้เทคนิควิชาการทางการพยาบาลและใช้เครื่องมือพิเศษในการช่วยชีวิต ลักษณะของงานมีความยุ่งยากซับซ้อนกว่าการดูแลอาการผู้ป่วยปกติโดยทั่วไป จึงต้องปฏิบัติโดย พยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้ ความสามารถและมีประสบการณ์สูงโดยเฉพาะ นอกจากนี้ยังต้องจัดทา แผนปฏิบัติงาน การบริหารจัดการด้านต่างๆ รวมทั้งงานด้านวิชาการ การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติ ผู้ป่วยหนักโรคที่พบบ่อย โรคที่มีความเสี่ยงสูง โรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง และโรคที่มีความแปรปรวนในการ รักษาสูง - ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 2.1 ไม่ควรจัดให้มีหออภิบาลผู้ป่วยหนัก แต่ต้องมีกระบวนการ ดูแลผู้ป่วยในภาวะวิกฤตก่อนส่งต่อและระหว่างส่งต่อที่มีคุณภาพ - ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 2.2 กรณีที่มีบคุ ลากรและความสามารถเพียงพอ ควรมีหออภิบาล ผู้ป่วยหนัก(รวม) เพื่อดูแลผู้ป่วยในภาวะวิกฤต และส่งต่อผู้ป่วยในภาวะวิกฤตที่ต้องการความ ดูแลพิเศษหรือเกินขีดความสามารถ - ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 2.3 ควรมีหออภิบาลผู้ป่วยหนัก (แยกประเภท) อย่างน้อย 2 หอ ผู้ป่วย - ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 3.1 และ 3.2 ควรมีหออภิบาลผู้ป่วยหนักแยกสาขาตามความ เชี่ยวชาญของแพทย์ ตาแหน่งที่ตั้งของหออภิบาลผู้ป่วยหนัก ควรตั้งอยู่ในบริเวณที่เข้าถึงได้สะดวก ใกล้กับแผนกผ่าตัด แผนก ไตเทียม แผนกรังสีวินิจฉัย แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน และแผนกผู้ป่วยใน มีการระบายอากาศที่ดี ไม่อยู่ใกล้ กับบริเวณที่ก่อให้เกิดมลภาวะ รวมทั้งมีเส้นทางการสัญจรที่สามารถเชื่อมต่อระหว่างหน่วยงานและ อาคารต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นโดยสะดวกและสามารถป้องกันแดดและฝนได้ตลอดเส้นทาง

ภาพที่ 3.5.56 ทัศนียภาพภายในห้อง ICU ถ้า สามารถเปิดรับแสงและวิวถายนอกได้มากเท่าใด จะช่วยให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกสบายใจและมี สุขภาพจิตดีขึ้น (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551)

ภาพที่ 3.5.57 ห้อง ICU ที่ปิดทึบ มีการใช้ Electric Window Of Nature มาช่วยทาให้เกิดภาพที่ปรากฎ เหมือนมองผ่านหน้าต่างเห็นภาพเคลื่อนไหวตามเวลา ที่ผ่านไปตลอด 24 ชม. (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551)


149

ภาพที่ 3.5.58

ทัศนียภาพภายในห้อง ICU

ภาพที่ 3.5.60

ภาพที่ 3.5.59

ทัศนียภาพ Nurse Station ในห้อง ICU

ตัวอย่างการจัดผังแผนก ICU

3.5.4 ฝ่ายหอผู้ป่วยใน หอผู้ป่วยใน ( Ward ) เป็นสถานที่สาหรับผู้ป่วยที่พักค้างคืนเพื่อรักษาตัวในโรงพยาบาล โดยจะ ได้รับการรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคที่ได้มาตรฐาน และปลอดภัย ตลอด24 ชั่วโมง ตามสภาพปัญหาและความเจ็บป่วยของผู้ป่วยแต่ละราย และได้รับคาแนะนา ให้คาปรึกษาผู้ป่วยและ ญาติเกี่ยว กับการปฏิบัติงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการฟื้นฟูสภาพเพื่อให้กลับไปดูแลตนเอง และนาความรู้ที่ได้นี้ไปใช้กับบุคคลอื่นๆ ในครอบครัวและสังคม ตารางที่ 3.5.12 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย WARD / IPD


150 พื้นที่ใช้สอย

No

4.1 ฝ่ายหอผู้ป่วยใน (IPD,Ward) 4.1.1 ส่วนห้องพัก (Ward) IPD 60 BED ห้องพักเดี่ยวพิเศษ 12 ห้อง (รวม12เตียง) ห้องพักเดี่ยว 40 ห้อง (รวม40เตียง) ห้องพักรวม 2 ห้อง (8เตียง) ให้คาปรึกษา สอน/สาธิต รักษาพยาบาล (6ห้อง)

พื้นที่(ตร.ม.)/คน

จานวน OFC

จานวน CX

USER รวม

146.70 99.7 45.00 36.00 8.00 4.50 3.20 3.00

120 35 0 0 0 1 10 24

109 61 12 40 8 1 0 0

229 96 12 40 8 2 10 24

พื้นที่รวม (ตร.ม.)

2,721.00 2,157.00 540.00 1440.00 64.00 9.00 32.00 72.00

4.1.2 พื้นที่สนับสนุนการบริการ 43.5 85 0 85 396.00 ทางานพยาบาล Nursestation (6ห้อง) 3.00 24 0 24 72.00 ทางานหัวหน้าฝ่ายพยาบาล 12.00 1 0 1 12.00 เตรียมการพยาบาล 6.00 4 0 4 24.00 เก็บยาเวชภัณฑ์ 9.00 2 0 2 18.00 นอนเวร 9.00 6 0 6 54.00 ส่วนสนับสนุน จนท. 4.50 48 0 48 216.00 -เก็บพัสดุ/ผ้า -ล้างทาความสะอาด -เก็บของใช้ -สุขา จนท. -เอนกประสงค์+พัก 4.1.3 ส่วนบริการผู้ป่วยและญาติ 3.50 0 48 48 168.00 ห้องสุขา 3.50 0 48 48 168.00 โดยการออกแบบหอพักผู้ป่วยใน (WARD) โดยทั่วไปแล้ว จะเป็นในรูปแบบการฟื้นฟูร่างกาย แต่ ด้านจิตใจ ผู้ป่วยจะไม่ได้รับการฟื้นฟู อย่างเพียงพอ การออกแบบจึงต้องเน้นในเรื่องของ Healing Evironment ตัวอย่างดังรูปต่อไปนี้

ภาพที่ 3.5.61 ตัวอย่างห้องพักผู้ป่วยใน


151 พื้นที่สนับสนุนการบริการ หรือเรียกอีกชื่อว่า NURSE STATION (ที่ทาการหอผู้ป่วยใน) เป็นส่วน หนึ่งของหอผู้ป่วยใน ซึ่งควรตัง้ อยู่บริเวณศูนย์กลาง หรือจุดที่สามารถมองเห็นประตูห้องผู้ป่วยได้ทุกห้อง เพราะบริเวณนี้จะมี พยาบาลคอยประจาดูแล ให้บริการแก่ผู้ป่วยและญาตในชั้นนั้นๆ อัตราส่วนของ Nurse Station 1 จุด จะควบคุมดูแลผู้ป่วยได้ประมาณ 25-30 เตียงเป็นอย่างสูง ใน 1 ชั้น หากใน 1 ชั้นมีจานวนเตียงมากกว่านี้ควรเพิ่มจานวน Nurse Station กระจายการดูแล หรือ มิฉะนั้นต้องลดจานวนเตียงลงให้ได้มาตรฐาน แต่ถ้า 1 Nurse Station ดูแลผู้ป่วยไม่ถึง 20 เตียง จะถือ ว่าไม่คุ้ม

ภาพที่ 3.5.62 ภาพตัวอย่างการจัดผัง NURSE STATION


152 3.5.5 ฝ่ายบริหารและธุรการ ตารางที่ 3.5.13 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย ฝ่ายบริหารและธุรการ No

5 5.1

5.2 5.3

5.4

5.5

5.6 5.7

5.8 5.9

พื้นที่ใช้สอย ฝ่ายบริหารและธุรการ ห้อง ผอ. รพ. ห้อง รอง ผอ.ฝ่ายบริหารและธุรการ ห้อง รอง ผอ.ฝ่ายการแพทย์และ พยาบาล ห้องพักคอยรับแขก ห้องทางานฝ่ายธุรการ ห้องเก็บของ ห้องทางานฝ่ายการแพทย์และพยาบาล -ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายแพทย์ -ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายการพยาบาล -ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายสนับสนุนทาง คลินิก โถงพักคอยฝ่ายการเงิน ห้องหัวหน้าฝ่ายการเงิน ห้องทางานฝ่ายการเงิน โถงพักคอยฝ่ายสถิติ ห้องหัวหน้าฝ่ายสถิติ ห้องทางานฝ่ายสถิติ ห้องทางานสานักงานทั่วไป ห้องทางานฝ่ายพัสดุ ห้องหัวหน้าฝ่ายพัสดุ ห้องเก็บของ ห้องหัวหน้าฝ่ายบุคลาการ ห้องทางานฝ่ายประชาสัมพันธ์ ห้องประชุม ห้องทางานฝ่ายจัดซื้อ

5.1 5.11 ห้องทางานช่างเทคนิค (IT) ห้องเซิร์ฟเวอร์

พื้นที่(ตร.ม.)/ จานวน คน OFC

จานวน USER รวม CX

พื้นที่รวม (ตร.ม.)

190.88 16.00 16.00 16.00

97.00 1 1 1

30.00 0 0 0

127.00 645.00 1 16.00 1 16.00 1 16.00

2.50 7.50 6.00 6.67

0 6 0 3

8 0 0 0

8 6 0 3

20.00 45.00 6.00 20.00

2.67 12.00 6.00 2.00 12.00 6.00 5.00 5.00 12.00 6.00 16.00 5.00 3.75 4.00 8.00 10.00

0 1 10 0 1 10 12 9 1 0 1 12 12 4 2 0

6 0 0 8 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

6 1 10 8 1 10 12 9 1 0 1 12 12 4 2 0

16.00 12.00 60.00 16.00 12.00 60.00 60.00 45.00 12.00 6.00 16.00 60.00 45.00 16.00 16.00 10.00


153

ตารางที่ 3.5.13 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย ฝ่ายบริหารและธุรการ (ต่อ) No

พื้นที่ใช้สอย

พื้นที่(ตร.ม.)/ จานวน คน OFC

จานวน USER รวม CX

พื้นที่รวม (ตร.ม.)

5.12 ห้องสุขา

2.80 10 0 10 28.00 พักคอย 2.00 0 8 8 16.00 เป็นแผนกที่มหี น้าที่บริหารดูแลกิจการของโรงพยาบาลทั้งหมด โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 2 ฝ่ายด้วยกัน

คือ - ฝ่ายบริหารด้านการแพทย์ - มีหน้าที่ควบคุมดูแลงานเกี่ยวกับด้านการรักษาพยาบาลทั้งหมด ปัญหาทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้ป่วย แพทย์ พยาบาล รวมทั้งการให้ความรู้ทางด้าน วิชาการทางการแพทย์และสาธารณสุขทั่วไปแก่สาธารณชน - ฝ่ายบริหารด้านธุรการ - มีหน้าที่ควบคุมดูแลงานทางด้านบุคลากร เจ้าหน้าที่การเงินการบัญชี รายรับ รายจ่าย ประชาสัมพันธ์ พัสดุ ตลอดจนหน่วยทะเบียนและสถิติ เป็นต้น ทั้งสองฝ่ายนี้ต่างก็มีความสาคัญและจะต้องมีผู้แทนแต่ละฝ่ายเข้าไปนั่งประชุมร่วมกันในคณะ กรรมการบริหารใหญ่ (EXECUTIVE BOARD) ของโรงพยาบาลเพื่อบริหารและแก้ปญ ั หางานของ โรงพยาบาลให้มีความสาเร็จ ความรุ่งเรือง สามารถแข่งขันกับโรงพยาบาลอื่น ๆ ได้ ตาแหน่งที่ตั้งฝ่ายธุรการ ส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณ PODIUM ประมาณชั้นที่ 4 หรือ 5 หรืออยู่เหนือ ส่วนบาบัดรักษาก่อนจะขึ้นสู่บริเวณ DUCT FLOOR และ TOWER ของ WARD ผู้ป่วยใน ทั้งนี้เพราะ ต้องการพื้นที่กว้างและมี PRIVACY พอสมควร เจ้าหน้าที่สามารถจะติดต่อภายในชั้นเดียวกันได้ และ บุคคลภายนอกสามารถติดต่อทางลิฟต์หรือทางอาคารจอดรถ (PARK HOUSE) ได้โดยไม่ไกลนัก ควรมี ห้องประชุมใหญ่เพื่อการประชุมอบรม การประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งห้องนี้หลังคาควรใช้โครงสร้างช่วงกว้างไม่ มีเสาขึ้นภายในห้อง บางโรงพยาบาลจะแยก EXECUTIVE OFFICE ไว้ชั้นบนของ TOWER เหนือ WARD เช่นห้อง ประธานฯ รองประธานฯ ผู้อานวยการฝ่ายแพทย์ ผู้อานวยการฝ่ายธุรการ รองผู้อานวยการกรรมการ เลขานุการ ห้องรับแขก ห้องประชุมกรรมการ เป็นต้น เพื่อ PRIVACY และสามารถเห็นทัศนียภาพได้ สวยงามจากชั้นบน

ภาพที่ 3.5.63 ภาพทัศนียภาพของห้องฝ่ายบริหารและธุรการ 3.5.6 ฝ่ายบริการทางการแพทย์ 3.5.6.1 แผนกโภชนาการ


154

ตารางที่ 3.5.14 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย โภชนาการ / DND No

พื้นที่ใช้สอย

6.1 แผนกโภชนาการ 6.1.1 เขตปฏิบัติงาน 1.1 เขตปนเปื้อน -ตรวจรับวัตถุดับ -ล้าง เตรียมวัตถุดิบ -ล้างภาชนะ -ล้างรถขนส่ง -ที่พักขยะ 1.2 เขตกึ่งสะอาด -เก็บของแห่ง -ปรุงอาหาร -เก็บภาชนะ พัสดุ อุปกรณ์ 1.3 เขตควบคุมความสะอาดพิเศษ -เตรียมและผลิตอาหารทางสายอาหาร -เก็บภาชนะสะอาด -พักรถขนส่งของ -จัดอาหารปรุงสุก พร้อมบริโภค 6.1.2 เขตสานักงาน 2.1 สานักงาน 2.2 สอน สาธิต การปรุงอาหาร (ศึกษา+ ประชุม) 2.3 เอนกประสงค์ 2.4-2.8 ส่วนสนับสนุน จนท.

พื้นที่(ตร.ม.)/คน

จานวน จานวน USER OFC CX รวม

พื้นที่รวม (ตร.ม.)

40.83 25.56 14.13

28 12 4

0 0 0

28 0 4

6.81

4

0

4

27.25

4.63

4

0

4

18.50

15.27 4.00

16 4

0 0

16 4

250.40 16.00

3.00

4

0

4

12.00

160.65 102.25 56.50

4.80 2 0 2 9.60 3.47 6 0 6 20.80 แผนกโภชนาการ มีภารกิจและขอบเขตของงานครอบคลุมกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สาหรับผู้ป่วยตามแผนการรักษาทางการแพทย์ ตั้งแต่กระบวนการคัดเลือกและจัดซื้อวัตถุดิบที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัย การควบคุมคุณภาพการผลิต และการจัดส่งอาหารถึงผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพและ ปลอดภัย ตลอดจนการประเมินและการติดตามภาวะโภชนาการ การปฏิบัติงานร่วมกับทีมผู้ให้การรักษา ผู้ป่วย การเรียนการสอน และการวิจัยทางด้านโภชนาการ ตาแหน่งที่ตั้งของแผนกโภชนาการ ควรตั้งอยู่ใกล้แผนกผู้ปว่ ยใน และห่างไกลจากแผนกที่เป็นแหล่ง กระจายเชื้อโรค เช่น แผนกซักฟอก แผนกจ่ายกลาง อาคารพักขยะ อาคารเก็บศพ บ่อบาบัดน้าเสีย เป็น


155 ต้น ควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่มฝี ุ่นละอองมาก มีการถ่ายเทอากาศที่ดีระหว่างภายในและภายนอก แผนก รวมทั้งบริเวณโดยรอบไม่เป็นแหล่งที่เอื้อต่อการอยู่อาศัยและแพร่พันธุ์สัตว์ที่เป็นพาหะนาโรค

ภาพที่ 3.5.64 ภาพตัวอย่างการจัดผังแผนกโภชนาการ 3.5.6.2 แผนกจ่ายกลาง ตารางที่ 3.5.15 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกจ่ายกลาง / CSSD พื้นที่(ตร. จานวน จานวน USER No พื้นที่ใช้สอย ม.)/คน OFC CX รวม 6.2 แผนกจ่ายกลาง 79.00 10 0 10 6.2.1 เขตสกปรก 20.22 6 0 6 1.1 บริเวณรับเครื่องมืออุปกรณ์ใช้แล้ว 4.00 4 0 4 จากหน่วยต่างๆ -ห้องรับ -ห้องเก็บ -ห้องล้างรถเข็น 1.2 บริเวณล้างทาความสะอาดเครื่องมือ -ห้องล้าง เคาท์เตอร์ 3 หลุม -ห้องทาให้แห้ง -เตรียมถุงมือ -เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาด 6.2.2 เขตสะอาด

16.00

2

0

2

59.00

4

0

4

พื้นที่รวม (ตร.ม.) 192.00 48.00 16.00 32.00

118.00


156

ตารางที่ 3.5.15 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกจ่ายกลาง / CSSD (ต่อ) พื้นที่(ตร. จานวน จานวน USER พื้นที่รวม No พื้นที่ใช้สอย ม.)/คน OFC CX รวม (ตร.ม.) 2.1 ส่วนบริหารจัดการอานวยความ 38.00 2 0 2 76.00 สะดวก จนท. -สานักงาน -ห้องประชุม -ห้องพัก จนท. -บริเวณเปลี่ยนรองเท้า -เปลี่ยนเสื้อผ้า Locker -จอดรถเข็น -ห้องอาบน้า -เก็บอุปกรณ์ทาความสะอาด 2.2 ส่วนปฎิบัติงาน -เตรียมชุดห่ออุปกรณ์ -เก็บผ้าสารอง -พักชุดอุปกรณ์ก่อนเข้าเครื่อง -เครื่องทาให้ปราศจากเชื้อ 6.2.3 เขตเก็บของปราศจากเชื้อ 3.1 บริเวณพักห่ออุปกรณ์ฯ ทาให้เย็น ก่อนจัดเก็บ 3.2 ห้องจัดเก็บ 3.3 ห้องจัดเก็บ(แบบใช้แล้วทิ้ง) 3.4 ห้องจ่าย

21.00

2

0

2

0.00 0.00

0 0

0 0

0 0

42.00

26.00 26.00

แผนกจ่ายกลาง เป็นหน่วยงานในส่วนกลางที่ทาหน้าที่ทาความสะอาดอบฆ่าเชื้อโรค ให้กับ เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และพยาบาล สิ่งของที่จะมาที่แผนก CSSD ส่วนใหญ่จะมาจากแผนก OR DR ICU ไตเทียม โดยจะแยกมาตามเส้นทาง Soiled Corridor เข้าสู่ CSSD แนวทางในการออกแบบ ควรอยู่ในส่วนกลางสามารถเข้าออกได้สะดวกกับ OR ICU ไตเทียม ถ้าเป็นไปได้ จัด CSSD ให้อยูใ่ นชั้นเดียวกันกับส่วนที่กล่าวมา เพราะการใช้ Soiled Corridor จะสะดวก ช่วยแก้ปัญหาเรื่องการแพร่เชื้อที่อาจเกิดขึ้น แต่ตะตัดการค่อนข้างยาก กับ รพ.ที่มีพื้นที่ต่อชั้นค่อนข้าง น้อย ในกรณีนอี้ าจจาเป็นต้องแยก CSSD ออกมาอยู่ในส่วน SERVICE ติดกับแผนก LAUNDRY เพราะ การอบผ้าให้แห้งแล้ว ยังต้องมีการอบผ้าเพื่อฆ่าเชื้ออีก


157

ภาพที่ 3.5.66 ตัวอย่างผังแผนกจากกลาง CSSD

ภาพที่ 3.5.69 ตัวอย่างผังพื้นที่เก็บศพ


158 3.5.6.3 แผนกซักรีด ตารางที่ 3.5.16 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย แผนกซักรีด / LNDRY No

พื้นที่ใช้สอย

6.3 แผนกซักรีด 6.3.1 เขตสกปรก -โต๊ะทางาน จนท. -รถเข็นใส่ผ้า -เครื่องชั่ง นน.ผ้า -อ่าง ถังแช่ผ้า -ลาน ล้างรถ/จอดรถ/ตากภาชนะ 6.3.2 เขตพื้นที่ขจัดสิ่งปนเปื้อน -เครื่องซักผ้า(>50kg) -รถเข็นใส่ผ้า -ระบบกรองปรับสภาพน้า -ถังพักน้า -ลานเอนกประสงค์ (จอด/ล้าง/ตาก) 6.3.3 เขตพื้นที่สะอาด -เครื่องอบผ้า -เครื่องรีดผ้า -โต๊ะรีดผ้า -โต๊ะตรวจสอบผ้า -จักรเย็บผ้า -รถเข็นอุปกรณ์ซ่อมผ้า -โต๊ะพับ/จัดชุดเครื่องผ้า -โต๊ะทางาน จทน. -ชั้นเก็บเอกสาร -ชั้นวางผ้า -หน่วยแจกจ่าย 4.พื้นที่สาหรับส่วนสนับสนุน จนท. 6.3.4 (พักผ่อน)

พื้นที่(ตร.ม.)/ จานวน คน OFC 66.33 12 10.00 2

จานวน CX 0 0

USER พื้นที่รวม รวม (ตร.ม.) 12 148.00 2 20.00

10.00

2

0

2

20.00

15.50

2

0

2

31.00

15.50

2

0

2

31.00

37.00

2

0

2

74.00

37.00

2

0

2

74.00

3.83

6

0

6

23.00

แผนกซักรีดเป็นหน่วยงานที่สาคัญหน่วยหนึง่ ในโรงพยาบาล โดยมีกิจกรรมในงาน เกี่ยวกับเครื่องผ้าทั้งหมดซึ่งได้แก่ - จัดหาและจัดทาชุดเครื่องผ้า ได้แก่ เสื้อผ้าผูป้ ่วย เครื่องแบบในการปฏิบัติงาน เครื่องผ้าประจา เตียงผู้ป่วย (ผ้าปูเตียง ปลอกหมอน) และอืน่ ๆ


159 - การทาความสะอาดเครื่องผ้า ได้แก่ การคัดแยกชุดเครื่องผ้าที่ใช้แล้วตามประเภท ซักและทา ความสะอาดชุดเครื่องผ้า ตลอดจนการทาลายเชื้อ (แบบ high level disinfection) ซึ่งเป็น แบบpasteurization (ต้มในน้าร้อน 71 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 25 นาที)หรือใช้สารฟอกขาว (Sodiumhypochlorite) การทาให้แห้ง และรีดผ้า - การจัดเก็บและแจกจ่าย - การบารุงรักษาครุภัณฑ์ สาหรับตาแหน่งที่ตั้งของแผนกซักรีด ควรตั้งอยู่ไม่ไกลจากแผนกจ่ายกลาง แผนก ผ่าตัด แผนกสูติกรรมแผนกผูป้ ่วยหนัก และแผนกผู้ป่วยใน รวมทั้งมีเส้นทางการสัญจรที่สามารถ เชื่อมต่อระหว่างหน่วยงานและอาคารต่างๆดังกล่าวข้างต้นโดยสะดวก และสามารถป้องกันแดดและฝน ได้ตลอดเส้นทาง

ภาพที่ 3.5.67 ภาพตัวอย่างการจัดผังแผนกซักรีด


160 3.5.7 ฝ่ายบริการงานระบบ ตารางที่ 3.5.17 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย ฝ่ายบริการงานระบบ No 7 7.1

7.2

7.3

7.4

7.5

พื้นที่(ตร. ม.)/คน ฝ่ายบริการงานระบบ 8.725 งานระบบไฟฟ้า (ห้องเครื่องและระบบไฟฟ้า – EE) 0 ห้องเครื่องลิฟต์ 0 แท่นเครื่องลิฟต์ 0 ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (สารอง) 0 ห้องเครื่องไฟฟ้าและตู้ MDB 0 ห้องหม้อแปลงไฟฟ้า 0 ลิฟต์เตียง 2 ชุด (2ปล่องลิฟต์ จานวน8 ชั้น) 0 ลิฟต์โดยสาร 2 ชุด 0 งานระบบทางการแพทย์ 0 ห้อง VACUUM PUMP 0 ห้อง MANIFOLD 0 ระบบอัดอากาศ (Compressor Air Central 0 Supply Plant) ระบบสัญญาณเตือนแก๊ส (Gas Warning 0 System) งานระบบปรับอากาศ 0 ห้องเครื่องปรับอากาศ 0 บริเวณตั้งเครื่องระบบปรับอากาศ 0 แผนกความปลอดภัย 8.73 ช่องตู้ระบบดับเพลิง 3 ชุด 0 แผนกรักษาความปลอดภัย 4.00 ห้องระบบสื่อสาร และ ระบบ LAN 4.73 งานระบบสุขาภิบาล 0 Water Treatment Plant 1.บ่อสูบน้าเสีย 2.ถังเติมอากาศ 0 3.ถังตกตะกอน 4.ลานตะกอน 5.ถังฆ่าเชื้อโรคหรือถังสัมผัสคลอรีน บริเวณวางถังเก็บน้าบนอาคาร 0 ห้องเครื่องปั้มน้า ระบบสุขาภิบาล (ชั้นล่าง) 0

พื้นที่ใช้สอย

จานวน จานวน USER พื้นที่รวม OFC CX รวม (ตร.ม.) 6 0 6 05.33 0 0 0 203.98 0 0 0 9.45 0 0 0 12.60 0 0 0 30.80 0 0 0 11.38 0 0 0 12.00 0 0 0 103.25 0 0 0 24.50 0 0 0 42.20 0 0 0 6.65 0 0 0 11.55 0

0

0

12.00

0

0

0

12.00

0 0 0 6 0 4 2 0

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 6 0 4 2 0

72.80 18.20 54.60 32.45 7.00 16.00 9.45 53.90

0

0

0

0 0

0 0

0 0

23.80 30.10


161 ฝ่ายบริการงานระบบ หรือเรียกอีกชื่อนึงว่า แผนกไฟฟ้าและเครื่องกล เป็นหน่วยงานที่ควบคุมงาน ระบบต่างๆ ทุกระบบใน รพ. โดยทั่วไป รพ.แต่ละแห่งจะมีเจ้าหน้าที่ ที่เป็นวิศวกรหรือผู้ที่มีความ เชี่ยวชาญเกี่ยวกับงานช่างเทคนิคต่างๆ ทางานรับผิดชอบในการควบคุมดูแลงานระบบต่างๆ ที่กล่าวถึง รพ.ส่วนใหญ่จะรับสมัครวิศวกรที่เป็นหัวหน้าดูแลแผนกนีใ้ นช่วงที่ รพ. ก่อสร้างใกล้แล้วเสร็จ เพื่อทางาน ประสานกับผู้รับเหมางานระบบ ให้ทราบถึงข้อมูลได้ละเอียดและชัดเจนยิ่งขึ้น และเมื่อทางผู้รับเหมา ทางานเสร็จจะต้องส่ง As-Built Drawing ให้เพื่อศึกษาพร้อมทั้ง Chart งานระบบทั้งหลายเก็บติด Board ไว้เป็นข้อมูลเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงต่อไปในอนาคต 3.5.8 พื้นที่ส่วนพาณิชยกรรม ตารางที่ 3.5.19 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย ส่วนพาณิชยกรรม No 8 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6

พื้นที่ใช้สอย พื้นที่ส่วน พาณิชยกรรม ประเภท ร้านอาหารตาม สั่งทุกชนิด ประเภท ร้านข้าวราดแกง ประเภท ร้านก๋วยเตี๋ยว ประเภทร้านขนมไทย เบ เกอรี่ ผลไม้ ส้มตา ลูกชิ้น ประเภท ร้านเครื่องดื่ม พื้นที่นั่งรับประทานอาหาร

พื้นที่(ตร. จานวน จานวน OFC ม.)/คน CX

USER รวม

พื้นที่รวม (ตร.ม.)

22.00

20.00

25.00

45.00

140.00

4.00

4

1

5

20.00

4.00 4.00

4 4

1 1

5 5

20.00 20.00

4.00

4

1

5

20.00

4.00 2.00

4 0

1 20

5 20

20.00 40.00

3.5.9 ฝ่ายอื่นๆ ตารางที่ 3.5.20 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอย ฝ่ายอื่นๆ No พื้นที่ใช้สอย 9 9.1 9.2 9.3 9.4 9.5

ฝ่ายอื่นๆ แผนกทาความสะอาด ส่วนเก็บศพ ส่วนจัดสวน ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อม ส่วนจอดรถ (88คัน คนพิการ2คัน) ห้องพิธีกรรมทางศาสนา ส่วนพื้นที่สัญจรภายในอาคาร(ประมาณ 10 37%)

พื้นที่(ตร. จานวน จานวน USER ม.)/คน OFC CX รวม 7.50 4 0 4 0 0 0 0 7.50 4 0 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

พื้นที่รวม (ตร.ม.) 679.00 คิดแยก 30.00 9.00 600.00 40.00

0

4,056.00

0

0

0


162 ทาให้ได้ผลลัพธ์ของพื้นที่ใช้สอยภายในโครงการทั้งหมด รวมประมาณ 14,800 ตร.ม. โดยแบ่ง ออกเป็น 10 ส่วน ดังที่กล่าวไปข้างต้น โดยดูรายละเอียดได้ตามตารางที่ 3.5.1 ด้านล่าง ตารางที่ 3.5.1 ตารางแสดงความต้องการพื้นที่ใช้สอยภาพรวมของโครงการ 1

ฝ่ายวินิจฉัยและบาบัดรักษา

พื้นที่(ตร.ม.)/ คน 385.4

1.1 1.2 1.3 2

โถงต้อนรับและเวชระเบียน แผนกผู้ป่วยนอก OPD แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ER ฝ่ายสนับสนุนทางคลินิก

39 82 264.4 383.54

12 13 18 171

107 9 20 338

119 22 38 509

415.5 204 391.4 2073

2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3

แผนกเภสัชกรรม แผนกรังสีวิทยา แผนกพยาธิวิทยา แผนกเคมีบาบัด แผนกกายภาพบาบัด ฝ่ายรักษาพิเศษ

38.36 180.83 77 15 72.35 140.34

38 49 38 16 30 65

129 31 3 79 96 67

167 80 41 95 126 132

343 612 196 438 484 537.5

3.1 3.2 4

แผนกศัลยกรรม หออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU) ฝ่ายหอผู้ป่วยใน (IPD,Ward)

85.26 55.08 146.7

49 16 120

38 29 109

87 45 229

274.5 263 2721

5

ฝ่ายบริหารและธุรการ

190.88

97

30

127

645

6

ฝ่ายบริการทางการแพทย์

186.16

50

0

50

500.65

6.1 6.2 6.3 7

แผนกโภชนาการ แผนกจ่ายกลาง แผนกซักรีด ฝ่ายบริการงานระบบ

40.83 79 66.33 8.725

28 10 12 6

0 0 0 0

28 10 12 6

160.65 192 148 405.33

8

พื้นที่ส่วนพาณิชยกรรม

22

20

25

45

140

9

ฝ่ายอื่นๆ (ทาความสะอาด, เก็บศพ, ห้องพิธี ทางศาสนา, ฯลฯ) ส่วนพื้นที่สัญจรภายในอาคาร(ประมาณ 37%) รวม

7.5

4

0

4

679

0

0

0

0

6056

1281

14,768.38

No

10

พื้นที่ใช้สอย

Avg= 1.15

จานวน จานวน USER พื้นที่รวม OFC CX รวม (ตร.ม.) 43 136 179 1010.9

576

705


163 3.6 ระบบวิศวกรรม และระบบบริการอาคารทีเ่ กี่ยวข้อง 3.6.1 งานระบบไฟฟ้า จากตัวเลขการประมาณปริมาณการใช้ไฟฟ้าสามารถนามาพิจารณาเลือกขนาดหม้อแปลงและขนาด ห้อง MDB ได้ดังนี้ - ห้องไฟฟ้าหลักควรอยู่ใกล้ตัวอาคารหลักให้มากที่สุด เนื่องจากสายไฟฟ้าแรงต่ามีราคาต่อความ ยาวเมตรค่อนข้างแพง สาหรับ รพ. 150 เตียง ควรจัดให้อยู่ในตาแหน่งระบายอากาศได้ดี แต่ ไม่ให้มีฝนเข้า - ขนาดห้องเครื่องไฟฟ้าควรมีพื้นที่ประมาณ 50 ตร.ม. (กรณีมีหม้อแปลงอยู่นอกอาคาร) - ห้องควรมีควรมีความยาวมาก และมีความกว้าง 3.5-4.0 เมตร เช่น 4.0*12.0 เมตร (สาหรับ รพ.150เตียง) - ขนาดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (GEN, Generator) ควรขนาดประมาณ 4*6 เมตร (150เตียง) และ 4*8เมตร (300เตียง) จัดให้มีช่องระบายอากาศพร้อมเก็บเสียงโดยจัดช่องอากาศเข้าและ ออกอยู่คนละด้านเพื่อประสิทธิภาพการระบายความร้อน - มีตาแหน่งให้ห้อง DB ที่กระจายกระแสไฟฟ้ามาจาก MDB โดยทั่วไปห้องจ่ายไฟฟ้าย่อยใน อาคารจะมีขนาด 1.5*2.0 เมตร (ชั้น 1-4) และขนาดลดลงเป็น 1.5*1.5 (ในชั้น WARD) ตารางที่ 3.5.18 ตารางแสดงประมาณการปริมาณการใช้ไฟฟ้าในโรงพยาบาล

3.6.2 งานระบบทางการแพทย์ ระบบแก๊สทางการแพทย์หลักๆประกอบไปด้วย ไนตรัสออกไซด์ (ใช้ในการวางยาสลบ) ออกซิเจน (ใช้ในการช่วยหายใจ และ เครื่องวางยาสลบ) LOW PRESSURE AIR (ช่วยหายใจ และ วางยาสลบ) HIGH PRESSURE AIR (ใช้ในเครื่องมือแพทย์) VACUUM ระบบสูญญากาศใช้ดูดของเหลวต่างๆ โดยในแต่ละส่วนจะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.6.2.1 ห้อง VACUUM PUMP


164

ภาพที่ 3.6.1 ปั๊มสุญญากาศ (Vacuum Pump) ปั๊มสุญญากาศ คือ ปั๊ม (pump) ทีใ่ ช้เพื่อดูดอากาศออกจากห้องปิด (enclosed space) เพื่อทาให้ เกิดสุญญากาศ (vacuum) ปัม๊ สุญญากาศ เป็นส่วนประกอบของเครื่องจักรแปรรูป ทีใ่ ช้เพื่อการแปรรูป อาหารที่ต้องการแปรรูปในสภาวะสุญญากาศ เช่น เครือ่ งทอดสุญญากาศ (vacuum fryer) เครื่องทา แห้งแบบระเหิด (freeze drier) เครื่องอบสุญญากาศ (vacuum oven) 3.6.2.2 ห้อง MANIFOLD แมนิโฟลด์ คือชุดควบคุม การจ่ายแก๊ส สารอง เมื่อ แก๊สหลักหมด ทาให้เกิดความ ต่อเนื่อง ในการจ่ายแก๊สให้กบั ผู้ป่วยใน โรงพยาบาล หรือ งานอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น การจ่ายแก๊สออกซิเจน หรือ ไนตรัส ออกไซด์ เป็นต้น โดยจะเชื่อมต่อและ ควบคุมแหล่งจ่ายแก๊ส 2 ด้านซึ่ง มีทั้งแบบ Cylinder-Cylinder,LiquidCylinder,Liquid-Liquid, Reserved ภาพที่ 3.6.2 ระบบการจ่ายแก๊ส Mannifold แมนิโฟลด์ ของ TriTech เป็นอุปกรณ์ที่ได้ผ่านมาตรฐาน ทางการแพทย์ และอุตสาหกรรมจาก ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถรองรับงานติดตั้งระบบจ่ายแก๊สทั้งโรงพยาบาล และอุตสาหกรรม มี 3 รุ่น สาหรับความเหมาะสมในการใช้งานดังนี้ - แบบ Manual คือแบบที่ใช้คนไปโยกแกนเพื่อสลับให้แก๊สที่สารองอยู่ อีกด้านหนึ่งสามารถจ่าย แก๊สแทน


165 - แบบ Autonomous ุ่ชนิด Analog คือแบบที่ใช้การแสดงผลระดับแรงดันแก๊สเป็นเข็มวัด ระดับ (Guage) และใช้อุปกรณ์ Pressure Switch ในการควบคุมการสลับการทางาน - แบบ Autonomous ชนิด Digital คือแบบที่ใช้การทางานควบคุมด้วยระบบไมโครคอมพิวเตอร์ แสดงผลบนหน้าจอ LCD เป็นค่าแรงดันเป็นดิจิตอล ใช้อุปกรณ์ Transducer ในการวัดค่า แรงดันแก๊ส 3.6.3 งานระบบปรับอากาศ ระบบปรับอากาศทาหน้าที่ ปรับอุณหภูมิและความชื้นภายในอาคารให้เหมาะสมกับ สภาวะน่าสบาย โดยมีปัจจัยหลักๆดังนี้ 1.ขนาดของระบบปรับอากาศ (ตันความเย็น) 2.ประเภท 3.การ เตรียมพื้นที่ห้องเครื่อง 4.ระบบระบายอากาศ โดยใน รพ. ควรจัดให้มีระบบปรับอากาศในพื้นที่ต่างๆดังนี้ - โถง OPD และห้อง - ห้อง ICU (ห้องส่ง - NURSERY (ห้องส่ง ตรวจต่างๆ ลมเย็นประมาณ ลมเย็น 2.0*2.5 ถ้า - ห้องฉุกเฉิน 2.5*5ม. สาหรับ ไม่สามารถจัดการ - ห้องปฏิบัติการ ICU 20เตียง) พื้นที่ได้ ให้ทาการ - ห้อง X RAY - ห้องไตเทียม แขขวนเครื่องซ่อน - Zone ผ่าตัด - แผนก ไว้เหนือฝ้า - Zone ห้องคลอด กายภาพบาบัด - ห้องพักผู้ป่วย - CSSD

ห้องเครื่องระบบปรับอากาศขนาดของ ระบบปรับอากาศ ขึ้นอยู่กับ 1.ความร้อนและ ความชื้นจากภายนอกเข้าสู่อาคารในปริมาณที่ แตกต่างกันแล้วแต่รูปแบบอาคารและ รายละเอียดวัสดุของผนังที่ใช้ อาจจะมีผลต่อ ขนาดของระบบปรับอากาศถึง 50% 2.ความ ร้อนและความชื้นที่เกิดขึ้นภายในอาคาร

ภาพที่ 3.6.3 ห้องเครื่องระบบปรับอากาศ

ภาพที่ 3.5.68 ตัวอย่างผังการเดินท่อ AIR ห้องผ่าตัด


166 โดยขนาดของระบบปรับอากาศของโรงพยาบาลแต่ละขนาดโดยประมาณตามตารางด้านล่าง ตารางที่ 3.6.1 ตารางแสดงขนาดของระบบปรับอากาศ (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551)

3.6.4 งานระบบสุขาภิบาลและบาบัดน้าเสีย ระบบสุขาภิบาลและบาบัดน้าเสียสาหรับโรงพยาบาล จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับระบบสุขาภิบาลของโรงแรม ใน ที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะโครงหลักและส่วนทีม่ ีลักษณะเฉพาะ สาหรับโรงพยาบาล โดยมีข้อกาหนดการวางงานระบบุขาภิบาลและบาบัด น้าเสียดังนี้ ภาพที่ 3.6.4 สุขาภิบาลและบาบัดน้าเสีย 3.6.4.1. ปริมาณการใช้น้า ปริมาณการใช้น้าคิดประมาณจากจานวนเตียงผู้ป่วยประมาณ 1 ลบ.ม. /เตียง /วัน โดยทั่วไปจะคิด ปริมาณการสารองน้าใช้ 2 วัน บวกกับปริมาณน้าสารองสาหรับระบบดับเพลิงประมาณ 50 ลบ.ม. ซึ่งจะ ได้ปริมาณน้าสารองโดยประมาณตามตารางด้านล่าง ตารางที่ 3.6.2 ตารางปริมาณน้าสารองของโรงพยาบาลขนาดต่างๆ (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551)

*ปริมาณน้าสารองอาจมากน้อย ขึ้นอยู่กับสภาพท้องถิ่นว่ามีปัญหาการขาดแคลนน้ามากน้อยเพียงใด 3.6.4.2. ขนาดของระบบบาบัดน้าเสีย ขนาดของระบบบาบัดน้าเสียเป็นสัดส่วนกับปริมาณน้าใช้ โดยทั่วไปควรเตรียมพื้นที่สาหรับบ่อ บาบัดน้าเสีย โดยประมาณดังตารางด้านล่าง ตารางที่ 3.6.3 ตารางขนาดบ่อบาบัดน้าเสีย (อวยชัย วุฒิโฆสิต, 2551)


167

จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับระบบสุขาภิบาลของ โรงแรม ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะโครงหลักและส่วนที่ มีลักษณะเฉพาะของโรงพยาบาล ห้องปั้มน้า 50 ตร.ม. (100-150เตียง) 80 ตร.ม. (300เตียง) และเตรียมพื้นที่ประมาณ 2.5*4.0 เมตร สาหรับติดตั้ง BOOSTER PUMP บนชั้นหลังคา ในการออกแบบช่วงท่อ อาจออกแบบช่วงท่อเป็นแนวยาวซ่อนเข้าไปในผนัง และทาบานประตูเปิดออก หรือทาเป็นห้องขนาดประมาณ 2.5*2.5 ม. ต่อจานวน 2 ห้องผู้ป่วย 3.6.5 ระบบกาจัดขยะ ขยะทั่วไป จะจาแนกเป็น 3 อย่างคือ ขยะแห้ง ขยะเปียก ขยะติดเชื้อ(รวมถึงขยะจากโรง บาบัดน้าเสีย) โดยในที่นี้จะพูดถึงการกาจัดขยะติดเชื้อ ซึ่งของเหล่านี้จะถูกเก็บรวบรวมไปยังเตาเผา ขยะ โดยตรงเพื่อทาการเผาทาลายโดยเร็วที่สุด ในขยะบางชนิดที่มีกัมมันตภาพรังสี ISOTOPE ต้องทา การจัดเก็บส่งให้ สานักงานปรมาณูเพื่อสันติรับไปกาจัด ในการกาจัดขยะด้วยเครื่อง INCENERATOR จะใช้ความร้อนประมาณ 1200-1500 องศา C ส่งผ่านปล่องระบายอากาศขึ้นไปเหนืออาคารเพื่อเป็น การทาให้มลพิษเจือจาง มิให้เกิดอันตราย 3.6.6 ระบบสื่อสารและสัญญาณเตือนอัคคีภัย โดยระบบสื่อสารต่างๆใน รพ.จะประกอบไปด้วย ระบบโทรศัพท์ ระบบแจ้งเตือน อัคคีภัย ระบบประกาศเสียงรวม ระบบโทรทัศน์รวม (เป็น Splitter Signal ให้กับ TV ทั้ง รพ.) ระบบ เรียกพยาบาล (Master Station, Sub Station, Corridor Lamp-ไฟสว่างเมื่อมีการเรียกกดจากห้อง ผู้ป่วย) ระบบ Intercom (เป็นระบบใช้เฉพาะกลุ่ม พื้นที่ เช่นทางเข้า OR DR ICU NURSE STATION ของแผนก และระหว่าง NURSE STATION แต่ละแผนก) ระบบกริ่งสัญญาณทีห่ ้องปฏิบัติการ 3.6.7 ระบบท่อลมส่งเอกสารและวัสดุ (PNEUMATIC TUBE SYSTEM) ระบบท่อลมส่งเอกสาร วัสดุ นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายใน รพ. แม้จะมีราคาสูง เพราะสามารถส่งได้ ทางแนวราบและแนวดิ่งแล้ว ยังสามารถหักเลี้ยวไปมาได้ด้วย แต่การใช้ DUB WAITER ถึงแม้จะมีราคา ถูกกว่า แต่สามารถส่งได้เฉพาะแนวดิ่ง งานโรงพยาบาลเป็นงานที่ซับซ้อน บางครั้งการต่อเติมซึ่งไม่ได้มี การวางแผนล่วงหน้าเอาไว้ ดังนั้นจาเป็นจะต้องใช้ระบบ PNEUMATIC TUBE SYSTEM เพื่อแก้ปัญหา ดังกล่าว


168 3.7 ความต้องการด้านภูมิทศั น์และสภาพแวดล้อมบริเวณโครงการ จากเกณฑ์มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ด้านอาคารและสภาพแวดล้อม 2560 ในหน้า 148 ได้ระบุเกณฑ์มาตรฐานด้านภูมิทัศน์ ไว้ว่า เป็นการกาหนดรายละเอียดในการ ออกแบบพื้นที่ใช้สอยภายนอกอาคาร ด้านกายภาพ (เช่น ถนน ทางเท้า ลานจอดรถ และสวนย่อม ฯลฯ) โดยประกอบไปด้วย 3.7.1 องค์ประกอบด้านกายภาพของงานภูมิทัศน์ 3.7.1.1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (General Infrastructure) มีองค์ประกอบดังนี้ ถนน เป็นองค์ประกอบที่เชื่อมโยงพื้นที่ต่างๆ ประกอบด้วยถนนหลัก ถนนรอง เช่น ถนน ด้านหน้าโรงพยาบาล ถนนเชื่อมอาคารต่างๆและอาคารพักของบุคลากร ควรเพิ่มพื้นทีส่ ีเขียวด้านข้าง ถนน เพื่อให้ความร่มรื่น สวยงาม กับสภาพแวดล้อมภาพในโรงพยาบาล ทางเดินเท้า เป็นองค์ประกอบที่เชื่อมโยงการสัญจรในส่วนต่างๆ เช่น ทางเท้าจากทางเข้า หลักของโรงพยาบาลสู่อาคารต่างๆและสวน โดยยกระดับสูงกว่าถนน หรือผิวดินในสวนเพื่อความสะดวก ปลอดภัยในการใช้งานและปลูกต้นไม้เรียงรายให้ความร่มรื่นและสวยงาม ลานจอดรถ ควรปลูกต้นไม้ให้ความร่มรื่น ให้ร่มเงาและสร้างสรรค์บรรยากาศธรรมชาติ ให้กับโรงพยาบาล การระบายน้าฝน ควรจัดทาและก่อสร้างระบบที่สามารถระบายน้าออกไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพมีการออกแบบโดยหลักการ Water Sensitive Design (WSD) ให้มีพื้นที่ซึมน้าและช่วยลด ภาระการไหลลงท่อระบายน้า ระบบส่องสว่าง ไฟประดับ ควรเลือกใช้เสา ดวงโคม ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน เช่นใช้ บอกทิศทางของเส้นทางเดินในสวน เพื่อความสวยงามและความปลอดภัย ระบบการให้น้าพืชพรรณ มีการเก็บน้าเพื่อสารองใช้ เช่น บ่อหรือถังเก็บน้าฝน ฯลฯ และ มีการให้น้ากับพืชอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับสภาพภูมิทัศน์บริเวณนัน้ ๆ 3.7.1.2. ด้านภูมิทัศน์ มีองค์ประกอบดังนี Hardscape หมายถึง งานภูมิทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง การใช้วัสดุตกแต่งสวน ได้แก่ กาแพงกันเสียง บล็อกมีร่องปลูกหญ้าที่เป็นทางเท้าในสวน สระนา นาพุ ป้ายบอกทาง ป้ายเตือน ระวัง ป้ายสื่อความหมาย ป้ายชื่อพรรณไม้และป้ายชื่อสถานที่ทากิจกรรมเก้าอี สนาม ม้านั่ง ศาลา ถัง ขยะ ฯลฯ Softscape หมายถึงพืชพรรณไม้ต่างๆ ได้แก่ ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้คลุมดิน ไม้เลื้อย ไม้น้า และหญ้า ควรเลือกใช้พืชพรรณที่มีความเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอยของแต่ละพื นที่ดูแลรักษาง่าย และควรเลือกใช้พืชพรรณที่มีอยู่ในท้องถิ่น ให้ร่มเงา ความร่มรื่น มีสีสันหรือกลิ่นสร้างความสดชื่นรวมทั งใช้ประโยชน์ในการบาบัดรักษา เช่น พืชสมุนไพร ฯลฯ


169 รูปแบบสวน มีการออกแบบพืชพรรณตามหลักการออกแบบจัดสวนที่ดี ให้ความสาคัญกับ ผู้ใช้งานทุกประเภท รวมถึง เด็ก คนชรา และคนพิการ ซึ่งรูปแบบสวนมีหลายประเภทเช่น สวนสุขภาพ สวนหย่อม สวนสมุนไพร สวนแนวตั้ง ฯลฯ 3.7.2 องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการภูมิทัศน์ เป็นการวาง แผนการทางานด้านการดูลรักษาอย่างเป็นระบบ เช่น มีการจัดทาทะเบียนวัสดุ อุปกรณ์ ตารางเวลาการดูแลรักษา บันทึกการทางาน ฯลฯ จาแนกเป็นการตัดแต่งพรรณไม้ ช่วยให้ได้ ทรงพุ่ม รูปทรง และขนาดที่เหมาะสมตามต้องการ โดยทรงพุ่มที่บางและโปร่งขึ้น จะทาให้ความชืน้ แสง ลม สามารถพัดผ่านสะดวก บางครัง้ การตัดแต่งทรงพุ่มเป็นการซ่อมแซมและช่วยป้องกันเชื้อโรคเข้าทาง บาดแผลของกิ่งก้านที่หัก บางกรณีช่วยเพิ่มการออกดอกผลของต้นไม้บางชนิด โดยในที่นี้จะจาแนกการ บริหารจัดการภูมิทัศน์ได้เป็น 2 แบบ คือ 3.7.2.1.การให้น้า การจัดหาแหล่งน้า ประเภทของแหล่งน้า คุณภาพน้า ปริมาณและความถีใ่ นการรดน้า วิธีการรดน้า ควรให้เหมาะสมกับขนาดของต้นไม้ไม่ควรให้น้าตอนแดดจัด เพราะอาจทาให้ใบไหม้ได้เป็น จุด ๆ โดยเฉพาะพวกไม้ใบ 3.7.2.2.การให้ปุ๋ย มีวิธีการให้ปุ๋ยที่ถูกต้อง ดังเช่น การให้ปุ๋ยต้นไม้ขนาดใหญ่อยู่กลางสนามหญ้าโดยไม่ทา ให้สนามหญ้าเสียหาย จะใช้วิธีเจาะหลุมกว้างประมาณ ๕ - ๑๐ ซม. ลึก ๓๐ -๑๐ ซม. ลึก ๓๐ - ๕๐ ซม. เป็นวงกลมรอบๆ ริมทรงพุ่มใส่ปุ๋ยแล้วกลบดิน หากเป็นสวนทั่วไป ขุดเป็นร่องรูปตัววี ลึกประมาณ 60 -๑๕ ซม. วงกลมรอบๆ ริมทรงพุ่มใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อทาให้สภาพดินดีอยู่เสมอและ ช่วงเวลาให้ปุ๋ยควรมีแสง เช่น เวลาเช้าประมาณ ๔.๐๐ น. เนื่องจากแสงแดดจะให้พลังงานแก่พืช ทาให้ รากดูตปุ๋ยขึ้นมาสร้างความเจริญเติบโตแก่ต้นไม้ได้ดี


170 3.8 การประมาณราคาก่อสร้าง ตารางที่ 3.8.1 ตารางการประเมินงบประมาณการก่อสร้างโครงการเบื้องต้น รายการ

ค่า

ราคาค่าลงทุนโรงพยาบาลเอกชนชั้นดีเบื้องต้น ไม่รวมค่าที่ดิน (ค่าก่อสร้างอาคารรวมงาน ระบบ ค่าเครื่องมือแพทย์ ค่าเครื่องใช้ใน 3,650,000 สานักงานและเครื่องครัว ค่าตกแต่งภายใน ค่าดาเนินการ) พื้นที่ใช้สอยอาคารรวม (ประมาณ) จานวนเตียง 8 (ICU) + 70 (IPD) ราคาก่อสร้าง(บาท) ขนาดที่ดิน ราคาประเมินที่ดิน ราคาประเมินที่ดิน ราคาที่ดินรวม พื้นที่ก่อสร้างโดยประมาณ ค่าปรับปรุงที่ดิน ค่าปรับปรุงที่ดิน ค่าดาเนินการ ค่าดาเนินการรวม รวมงบประมาณการก่อสร้างเบื้องต้น

14,000 78 78 เตียง x 4.5 ล้าน 39,750 4,000 1,000 ราคาประเมิน x ขนาด 25 75,000 ขนาดที่ดิน x ค่าปรับปรุง 20 20% x ราคาก่อสร้าง 339,465,000

หน่วย

ค่าใช้จ่าย(บาท)

ล้านบาท/เตียง

-

ตร.ม. เตียง บาท ตร.ม. บาท/ตร.ว. บาท/ตร.ม. บาท ไร่ บาท/ไร่ บาท % ราคาก่อสร้าง บาท

248,200,000 39,750,000 1,875,000 49,640,000

ภาพที่ 3.8.1 ที่ตั้งโครงการ เลขที่โฉนดและราคาประเมินที่ดิน (ทีม่ า : LandMaps , กรมธนารักษ์ http://dolwms.dol.go.th/)


171

บทที่ 4 ที่ตั้งโครงการ เนื้อหาในส่วนของที่ตั้งโครงการในบทนี้จะประกอบไปด้วย การเลือกที่ตั้งโครงการ และ การ วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 4.1 การเลือกที่ตั้งโครงการ การเลือกที่ตั้งโครงการ ตัวผู้เขียน ได้ทาการคัดเลือกที่ตั้งในระดับภาพใหญ่/ประเทศ เลือกโดยการ เปรียบเทียบข้อมูลในแต่ละระดับเขตสุขภาพ ระดับจังหวัด และ ระดับที่ตั้งโครงการ โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 4.1.1 การเลือกที่ตั้งในระดับเขตสุขภาพ การเลือกที่ตั้งโครงการในระดับเขตสุขภาพ หรือในระดับภาพใหญ่ (ประเทศ) ในการที่จะมี โรงพยาบาลเฉพาะทางเกิดขึ้นจะต้องดูร้อยละอัตราการการตายด้วยโรคเฉพาะทางเหล่านั้น การแบ่งเบา ภาระของภาครัฐจะต้องดู อัตราการครองเตียง ตามเขตสุขภาพ สภาพอากาศมีส่วนสาคัญในการสร้าง สถานพยาบาลเพื่อรองรับการพักฟื้น/ฟื้นฟู ผู้ป่วยในระยะสุดท้าย จะต้องดูคุณภาพอากาศเพราะการ เข้าถึงสถานที่ที่มีคุณภาพอากาศทางกายภาพที่ดี ไม่สามารถสร้าง ได้เอง แต่ต้องเกิดขึ้นจากพฤติกรรม และสิ่งแวดล้อมบริเวณพื้นที่เหล่านั้น โดยรายละเอียดของแต่ละเกณฑ์สามารถดูได้จาก ข้อมูลของบทที่ 2 ข้อ 2.4.5 ความเป็นไปได้ ด้านทาเลที่ตั้งโครงการโดยภาพรวม (หน้า55 - 63) ดังนั้นจะต้องคานึงถึงค่าน้าหนักและเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 4.1.1 ตารางการเลือกที่ตั้งในระดับเขตสุขภาพ เกณฑ์ คุณภาพอากาศ

(IQAir.com, 2562, ค่าฝุ่น PM2.5 ประเทศไทยแบ่งตามจังหวัด)

ร้อยละอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งต่อ จานวนปรชากร (กระทรวงสาธารณสุข, 2561, แผนการ ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2561-2565, กรมการแพทย์)

ความสาคัญ

รูปภาพ

ระดับความรุนแรง

สาคัญมากที่สุด เพราะ สภาพอากาศของทาเล ที่ตั้งไม่สามารถสร้าง อะไรที่ทดแทนได้ ใน ส่วนของ Exterior

สีฟ้า ค่าฝุ่น 0 - 25(ดีมาก)

สาคัญมากที่สุด เพราะอัตราการตาย ด้วยโรคมะเร็ง สะท้อนให้เห็นถึง จานวนคนเป็นมะเร็ง ในพื้นที่นั้นๆ

มีอัตราการตายสูงสุด

(5คะแนน)

สีเขียว ค่าฝุ่น 26 - 37 (ดี) (4คะแนน)

สีเหลือง ค่าฝุ่น 38 - 50 (ปาน กลาง) (3คะแนน) (5คะแนน)

มีอัตราการตายปานกลาง (4คะแนน)

มีอัตราการตายน้อย (3คะแนน) มีอัตราการตายน้อยที่สุด (0-2 คะแนน)


172 ตารางที่ 4.1.1 ตารางการเลือกที่ตั้งในระดับเขตสุขภาพ (ต่อ) เกณฑ์

ความสาคัญ

รูปภาพ

ระดับความรุนแรง

อัตราการครองเตียงตามเขตสุขภาพ (กระทรวงสาธารณสุข, 2563, กอง บริหารการสาธารณสุข CMI@MoPH)

สาคัญมาก เพราะอัตราการครอง เตียงแสดงให้เห็นถึง จานวนผู้เข้าADMIT เฉลี่ยใน รพ.

มีอัตราครองเตียงสูงสุด (5คะแนน) มีอัตราครองเตียงปานกลาง (4คะแนน) มีอัตราครองเตียงน้อย (3คะแนน) มีอัตราครองเตียงน้อยที่สุด (0-2 คะแนน)

การเข้าถึงทางอากาศ (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2563, รายชื่อ ท่าอากาศยานในประเทศไทย)

สาคัญ เพราะการเข้าถึงทาง อากาศที่ดี บ่งบอกถึง แนวโน้มในการเดิน ทางเข้ามาใช้งานใน โครงการได้

มีท่าอากาศยานนานาชาติ (5คะแนน) มีท่าอากาศยานที่มีแผนหรือกาลัง ก่อสร้าง (4คะแนน) มีกรมท่าอากาศยาน (3คะแนน)

เขตสุขภาพที่รับการมะเร็งรักษาไม่ทัน (กระทรวงสาธารณสุข, 2563, เขต สุขภาพที่รับการมะเร็งรักษาไม่ทันค่า KPI)

ปานกลาง เพราะบ่งบอกถึง ปริมาณการเข้ารับการ รักษาในพื้นที่นั้นๆ

มีการรักษาล่าช้ามากสุด (5คะแนน) มีการรักษาล่าช้ามาก (4คะแนน) มีการรักษาล่าช้าปานกลาง (3คะแนน) มีการรักษาล่าช้าน้อย (0-2 คะแนน)

รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน (สานักสถิติแห่งชาติ, 2562, รายได้เฉลี่ย ต่อครัวเรือน)

ปานกลาง เพราะบ่งบอกถึงกาลัง ในการจ่ายของคนใน พื้นที่นั้นๆ

มีรายได้เฉลี่ยสูงสุด (5คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยสูง (4คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยปานกลาง (3คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยค่อนข้างน้อย (0-2 คะแนน)

สรุป จากการซ้อนทับกันของเกณฑ์ต่างๆ จะ ทาให้เห็นได้ว่ามี 3 เขตสุขภาพที่มีการ ซ้อนทับกันมากที่สุดเรียงตามลาดับ คือ 1.เขตสุขภาพที่ 11 (ใต้) 2.เขตสุขภาพที่ 4 (กลาง) 3.เขตสุขภาพที่ 6 (ตะวันออก)

.

มีแนวโน้มมากที่สุด มีแนวโน้มมาก มีแนวโน้มปานกลาง มีแนวโน้มน้อย


173 จากเกณฑ์ ค่าความสาคัญ ค่าน้าหนัก ดังตารางที่ ... ด้านบนจะสามารถ พิจารณาการเลือกที่ตั้งใน ระดับเขตสุขภาพที่ 11, 4, 6 ได้ดังตาราง ตารางที่ 4.1.2 ตารางการให้คะแนนการเลือกที่ตั้งในระดับเขตสุขภาพ เขต11 เขต4 เขต6 เกณฑ์ ค่าน้าหนัก คุณภาพอากาศ ร้อยละอัตราการตายด้วยโรคมะเร็ง ต่อจานวนประชากร อัตราการครองเตียงตามเขตสุขภาพ เขตสุขภาพที่รับการมะเร็งรักษาไม่ ทัน การเข้าถึงทางอากาศ (เพื่อรองรับ กลุ่มชาวต่างชาติ) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน TOTAL

6 6 4 2 1

30% 30% 20% 10%

Point

Total

Point

Total

Point

Total

5

30

3

18

4

24

2 2

12 8

3 2

18 8

5 4

30 16

4

8

5

10

4

8

4 4

4 4

4 5

4 5

3 3

3 3

5%

1 5% 20 100 %

62

58

81

4.1.2 การเลือกที่ตั้งในระดับจังหวัด การเลือกที่ตั้งโครงการในระดับจังหวัด ที่ต้องการมีโรงพยาบาลเฉพาะทางเกิดขึ้นจะต้องดูร้อยละ อัตราการการตายด้วยโรคเฉพาะทางเหล่านั้น การแบ่งเบาภาระของภาครัฐจะต้องดู อัตราการครองเตียง ตามเขตสุขภาพ สภาพอากาศมีส่วนสาคัญในการสร้างสถานพยาบาลเพื่อรองรับการพักฟื้น/ฟื้นฟู ผู้ป่วย ในระยะสุดท้าย จะต้องดูคุณภาพอากาศเพราะการเข้าถึงสถานที่ที่มีคุณภาพอากาศทางกายภาพที่ดี ไม่ สามารถสร้าง ได้เอง แต่ต้องเกิดขึ้นจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมบริเวณพื้นที่เหล่านัน้ ดังนั้นจะต้องคานึงถึงค่าน้าหนักและเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 4.1.3 ตารางการเลือกที่ตั้งในระดับจังหวัด เกณฑ์

ความสาคัญ

สาคัญมากที่สุด คุณภาพอากาศ เพราะสภาพอากาศ (IQAir.com, 2562, ค่าฝุ่น ของทาเลที่ตั้งไม่ PM2.5 ประเทศไทยแบ่ง สามารถสร้างอะไรที่ ตามจังหวัด) ทดแทนได้ ในส่วนของ Exterior

รูปภาพ

ระดับความรุนแรง สีฟ้า ค่าฝุ่น 0 - 25(ดีมาก) (5คะแนน) สีเขียว ค่าฝุ่น 26 - 37 (ดี) (4คะแนน) สีเหลือง ค่าฝุ่น 38 - 50 (ปาน กลาง) (0-2คะแนน)


174 ตารางที่ 4.1.3 ตารางการเลือกที่ตั้งในระดับจังหวัด (ต่อ) เกณฑ์ จานวนคู่แข่ง โรงพยาบาลเอกชนที่รองรับ การรักษามะเร็งในพื้นที่ ยิ่ง มีเยอะยิ่งไม่ดีเพราะแย่ง ลูกค้า (กระทรวงสาธารณสุข, 2563, รหัสหน่วยงาน บริการสุขภาพ) ร้อยละจานวนเตียง/ ประชากรในพื้นที่ ยิ่งน้อยยิ่งดี เพราะต้องมี เพิ่ม (กระทรวงสาธารณสุข, 2563, กองบริหารการ สาธารณสุข CMI@MoPH) (สานักสถิติแห่งชาติ, 2562, จานวนประชากรแบ่งตาม จังหวัด)

ความสาคัญ

รูปภาพ

ระดับความรุนแรง

สาคัญมาก เพราะบ่งบอกถึง ปริมาณการเข้ารับการ รักษาในพื้นที่นั้นๆ

มีการรักษาล่าช้ามากสุด (5คะแนน) มีการรักษาล่าช้ามาก (4คะแนน) มีการรักษาล่าช้าปานกลาง (3คะแนน) มีการรักษาล่าช้าน้อย (02คะแนน)

สาคัญ เพราะถ้ามีอัตรา จานวนเตียงต่อ ประชากรในพื้นที่ ที่ ต่า แปลว่า มีความ จาเป็นจะต้องเพิ่ม จานวนเตียงในพื้นที่

มีร้อยละจานวนเตียง/คน น้อยที่สุด (5คะแนน) มีร้อยละจานวนเตียง/คน น้อย (4คะแนน) มีร้อยละจานวนเตียง/คน ปานกลาง (3คะแนน) มีร้อยละจานวนเตียง/คน มากที่สุด (0-2คะแนน)

ร้อยละอัตราการตายด้วย โรคมะเร็งต่อจานวนปรชา กร (กระทรวงสาธารณสุข, 2561, แผนการป้องกันและ ควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2561-2565, กรมการ แพทย์)

สาคัญ เพราะอัตราการตาย ด้วยโรคมะเร็ง สะท้อนให้เห็นถึง จานวนคนเป็นมะเร็ง ในพื้นที่นั้นๆ

รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อ ครัวเรือน (สานักสถิติแห่งชาติ, 2562, รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน)

สาคัญ เพราะบ่งบอกถึงกาลัง ในการจ่ายของคนใน พื้นที่นั้นๆ

มีอัตราการตายสูงสุด (5คะแนน) มีอัตราการตายปานกลาง (4คะแนน) มีอัตราการตายน้อย (3คะแนน) มีอัตราการตายน้อยที่สุด (02คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยสูงสุด (5คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยสูง (4คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยปานกลาง (3คะแนน) มีรายได้เฉลี่ยค่อนข้างน้อย (0-2คะแนน)


175 ตารางที่ 4.1.3 ตารางการเลือกที่ตั้งในระดับจังหวัด (ต่อ) เกณฑ์

ความสาคัญ

สาคัญ อัตราการครองเตียงจังหวัด เพราะอัตราการครอง (กระทรวงสาธารณสุข, เตียงแสดงให้เห็นถึง 2563, กองบริหารการ จานวนผูเ้ ข้าADMIT สาธารณสุข CMI@MoPH) เฉลี่ยใน รพ. ปานกลาง เพราะมีแนวโน้มที่ จานวนโรงพยาบาลรัฐ รพ.รัฐ จะส่งต่อตัว (กระทรวงสาธารณสุข, ผู้ป่วยมายังโครงการ 2563, กองบริหารการ รวมถึงมีบุคลากร สาธารณสุข CMI@MoPH) (แพทย์) ที่มาก เพียงพอต่อตัว โครงการ จานวนสถานที่ท่องเที่ยว และที่พัก เพื่อดึงดูด ชาวต่างชาติ (wongnai.com, 2562)

ปานกลาง เพราะสามารถดึงดูด ลูกค้า นักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติ ที่เข้ามา ใช้บริการในระแว กดังกล่าว

สรุป จากการซ้อนทับกันของเกณฑ์ต่างๆ จะทา ให้เห็นได้ว่ามี 3 จังหวัดที่มีการซ้อนทับกัน มากที่สุดเรียงตามลาดับ คือ 1.จันทบุรี 2.ระยอง 3.ชลบุรี

รูปภาพ

ระดับความรุนแรง มีอัตราครองเตียงสูงสุด (5คะแนน) มีอัตราครองเตียงปานกลาง (4คะแนน) มีอัตราครองเตียงน้อย (3คะแนน) มีอัตราครองเตียงน้อยที่สุด(02คะแนน) มีจานวน รพ.รัฐ มากสุด (5คะแนน) มีจานวน รพ.รัฐ มาก (4คะแนน) มีจานวน รพ.รัฐ ปานกลาง (3คะแนน) มีจานวน รพ.รัฐ น้อย (02คะแนน) มีสถานที่ท่องเที่ยวและที่พัก มากสุด (5คะแนน) มีสถานที่ท่องเที่ยวและที่พัก มาก(4คะแนน) มีสถานที่ท่องเที่ยวและที่พัก ปานกลาง (3คะแนน) มีสถานที่ท่องเที่ยวและที่พัก น้อย(0-2คะแนน) มีแนวโน้มมากที่สุด มีแนวโน้มมาก มีแนวโน้มปานกลาง มีแนวโน้มน้อย

จากเกณฑ์ ค่าความสาคัญ ค่าน้าหนัก ดังตารางที่ 4.1.3 ด้านบนจะสามารถ พิจารณาการเลือกที่ตั้งในระดับจังหวัด (จันทบุรี ระยอง และชลบุรี) ได้ดังตารางหน้าถัดไป


176 ตารางที่ 4.1.4 ตารางการให้คะแนนการเลือกที่ตั้งในระดับจังหวัด เกณฑ์

ค่าน้าหนัก

จันทบุรี

ระยอง

ชลบุรี

Point Total Point Total Point Total

คุณภาพอากาศ จานวนคู่แข่ง (โรงพยาบาลเอกชนที่รองรับการรักษา มะเร็งในพื้นที่) (ยิ่งมีเยอะยิ่งไม่ดีเพราะแย่งลูกค้า) ร้อยละจานวนเตียง/ประชากรในพื้นที่ (ยิ่งน้อยยิ่งดี เพราะต้องมีเพิ่ม) ร้อยละอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งต่อจานวน ประชากร รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน อัตราการครองเตียงตามเขตสุขภาพ จานวนโรงพยาบาลรัฐ (ไม่ควรเยอะมากเพราะมี โอกาสโดนแย่งลูกค้า) จานวนสถานที่ท่องเที่ยวและที่พัก (เพื่อดึงดูด ชาวต่างชาติ) TOTAL

3 3 2 2 2 2 1 1

19% 19%

4

12

5

15

4

12

4

12

5

15

3

9

5

10

4

8

5

10

5 5 4

10 10 8

4 3 4

8 6 8

3 4 5

6 8 10

2

2

4

4

3

3

2

4 68

4

5 63

5

13% 13% 13% 13% 6% 6%

2 16 100% 66

4.1.3 เกณฑ์การคัดเลือกที่ตงั้ โครงการ

ภาพที่ 4.1.1 ภาพแสดงภาพรวมของที่ตั้งที่ได้รับการคัดเลือก จากจังหวัดระยอง ทาการเลือกเขตการให้บริการที่อาเภอเมือง และทาการค้นหาและให้ คะแนน โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังต่อไปนี้ 1.ที่ดิน (31%) 1.1 การใช้งานพื้นที่เดิม - ไม่มีอาคารเก่า / ให้ 5 คะแนน - มีอาคารเก่า / ให้ 3-4 คะแนน (ขึ้นอยู่กับจานวนและขนาด) - มีอาคารเก่าและการใช้งานเป็นอาคารขนาดใหญ่ / ให้ 2 คะแนน - มีการใช้งานในรูปแบบอาคารสาธารณะ / ให้ 1 คะแนน


177 1.2 พื้นที่ธรรมชาติรอบข้าง พื้นที่ธรรมชาาติ เป็นพื้นที่ที่สร้างบรรยากาศทาให้ ผู้ใช้งานโครงการได้สัมผัสบรรยากาศของบ้านใกล้ชิดธรรมชาติที่โปร่งสบาย ร่มรื่น ชวน ผ่อนคลาย ตั้งแต่การเดินทางมาโครงการ จนถึงการใช้งานภายในโครงการ 1.3 ขนาดที่ดนิ ขนาดของที่ดินขึ้นอยู่กับจานวนเตียงของโรงพยาบาล ตัวอย่าง ของอัตราส่วนขนาดโรงพยาบาลต่อขนาดที่ดิน ของ โรงพยาบาลในเขตชุมชน(FAR= 10:1) มีดังนี้ จานวนเตียง : ไร่ = 100: 3 , 200: 5 , 400: 8 (การออกแบบ โรงพยาบาล ,อวยชัย วุฒิโฆสิต ,2551) 1.4 ราคาที่ดิน เมื่อเป็นโครงการในรูปแบบเอกชน การเอาราคาที่ดินมาคิด เพื่อ ค้นหาจุดคุ้มทุนก็เป็นเรื่องที่สมเหตุสมผลแก่การเลือกที่ตั้งโครงการ 1.5 รูปร่างที่ดนิ ที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสามารถออกแบบได้ง่ายกว่าที่ดินรูปร่างไม่ เป็นระเบียบซึ่งทาให้ต้องใช้ขนาดที่ดินที่ใหญ่กว่ามาตรฐานทั่วไป 2.การเข้าถึง (19%) 2.1 เข้าถึงได้ง่าย - การเข้าถึงจากถนนหลักหรือถนนรอง ที่มีความไหลลื่น ไม่มี อุปสรรคกีดขวาง หรือการจราจรที่คับขัน 2.2 การจราจร - การจราจรในพื้นที่เมืองมีแนวโน้มที่จะคับขันกว่า การจราจร ในพื้นที่ชายเมืองหรือขอบนอก 2.3 การเดินทางด้วยขนส่งสาธารณะ - ในการเดินทางด้วยขนส่งสาธารณะ ถ้า อยู่ในถนนเส้นหลัก (สุขุมวิท) ย่อมมีแนวโน้มที่จะเดินทางได้ง่ายกว่า ที่อยู่บนถนนเส้น รอง 2.4 ขนาดถนน - การที่อยู่ติดถนนเส้นใหญ่ ทาให้เดินทางไปมา ได้ง่าย ไม่แออัด ส่งผลต่อความสะดวกกับผูใ้ ช้โครงการ 3.สาธารณูปการต่างๆ (11%) 3.1 สาธารณูปการ(การศึกษา)โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย - การอยูใ่ กล้ สถานศึกษา มีแนวโน้มที่ทางสถานศึกษาจะจัด Package การตรวจสุขภาพให้กับ นร นศ ทาให้ส่งผลดีต่อตัวโครงการ 3.2 สาธารณูปการ(ความปลอดภัย)สถานีตารวจ สถานีดับเพลิง – การอยู่ใกล้ สาธารณูปการด้านความปลอดภัย เมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บมีแนวโน้มที่จะมีคน เข้าใช้โครงการเพิ่มเติม 3.3 สาธารณูปการ(สันทนาการ)สวนสาธารณะ สนามกีฬา ห้างสรรพสินค้า โรงแรม - การอยู่ใกล้สาธารณูปการด้านสันทนาการ ต่างๆ ทาให้ส่งผลดีตอ่ ตัวโครงการ


178 4.สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (22%) 4.1 อาคารข้างเคียง - การใช้งานพื้นที่รอบ Site ว่ามีบริบทการใช้งานใกล้เคียง ในรูปแบบใดบ้าง 4.2 มุมมองจากภายใน(Site)สู่ภายนอก - เป็นมุมมองของผู้ใช้โครงการในช่วงที่ อยู่ภายในโครงการ ส่งผลต่อ View /มุมมอง 4.3 มุมมองจากภายนอก(Site)สู่ภายใน - เป็นมุมมองของผู้ใช้โครงการในช่วงที่ เดินทางเข้ามายังโครงการ ส่งผลต่อ Approach 5.โรงพยาบาลข้างเคียง (11%) 5.1 โรงพยาบาลรัฐ - การอยูใ่ กล้ รพ.รัฐ เป็นเรื่องที่ดี เพราะมีความสะดวกใน การอาศัยกาลังแพทย์จาก รพ.รัฐ มาช่วยเสริมคณะแพทย์ของ รพ.เอกชน 5.2 โรงพยาบาลทั่วไป เอกชน - การอยู่ใกล้ รพ.ทั่วไป เอกชน เป็นเรื่องที่ดี เพราะมีแนวโน้มที่ รพ.ทั่วไป จะส่งต่อตัวผู้ป่วย ที่มีความจาเป็นต้องรักษาด้วย การแพทย์เฉพาะทาง มายังตัวโครงการ 5.3 ศูนย์อนามัย - การอยู่ใกล้ ศูนย์อนามัย เป็นทางเลือกให้อนามัยส่งต่อตัว ผู้ป่วยมารักษาที่โครงการ 6.มลพิษ (6%) 6.1 การอยู่ใกล้เขตอุตสาหกรรมมีแนวโน้มว่าจะค่อนข้างมีอากาศที่เป็นมลพิษ ทาให้ส่งผลเสียแก่ผู้ใช้โครงการ ทั้งผู้ให้บริการ และผู้รับบริการ


179 4.1.4 การให้คะแนนและคัดเลือกที่ตั้งโครงการ จากเกณฑ์ทงั้ หมดดังกล่าวทาให้ผู้เขียนสามารถเลือกที่ตั้งโครงการได้ทั้งหมด 7 ที่ตั้งโดย ในส่วนของเกณฑ์การให้คะแนนจะแบ่งเป็น 6 หัวข้อหลักๆ ตามข้อ 4.1.3 ที่กล่าวมา ได้แก่ ที่ดิน การ เข้าถึง สาธารณูปการ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ โรงพยาบาลข้างเคียง และมลพิษ เป็นต้น โดยจะ แสดงการให้คะแนนให้เห็นได้ดังนี้

ภาพที่ 4.1.2 ภาพแสดงภาพรวมที่ตั้งโครงการทั้ง 7 ที่

ภาพที่ 4.1.3 ภาพรวม แสดงทาเลที่ตั้งของ SITE ทั้ง 7 ที่

ภาพที่ 4.1.4 SITE ที่ 1


ภาพที่ 4.1.7 SITE ที่ 4

ภาพที่ 4.1.6 SITE ที่ 3

ภาพที่ 4.1.5 SITE ที่ 2

180


ภาพที่ 4.1.10 SITE ที่ 7

ภาพที่ 4.1.9 SITE ที่ 6

ภาพที่ 4.1.8 SITE ที่ 5

181


ภาพที่ 4.1.11 การให้คะแนนในเกณฑ์หัวข้อ ที่ดิน

4.1.4.1 การให้คะแนนในเกณฑ์ ที่ดิน ประกอบไปด้วย การใช้งานที่ดินเดิม พื้นที่ธรรมชาติรอบข้าง ขนาดที่ดิน ราคาที่ดิน และรูปร่างที่ดิน

182


ภาพที่ 4.1.12 การให้คะแนนในเกณฑ์หัวข้อ การเข้าถึง

4.1.4.2 การให้คะแนนในเกณฑ์ การเข้าถึง ประกอบประกอบไปด้วย การเข้าถึง(เข้าถึงได้ง่าย) การจราจร การเดินทางด้วยขนส่งสาธารณะ และขนาดของถนน

183


ภาพที่ 4.1.13 การให้คะแนนในเกณฑ์หัวข้อ สาธารณูปการ

4.1.4.3 การให้คะแนนในเกณฑ์ สาธารณูปการ ประกอบไปด้วย โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย สถานีตารวจ สถานีดับเพลิง สวนสาธารณะ สนามกีฬา

184


ภาพที่ 4.1.14 การให้คะแนนในเกณฑ์หัวข้อ สภาพทางกายภาพ รพ.เดิม และ มลพิษ

4.1.4.4 การให้คะแนนในเกณฑ์ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ(อาคารข้างเคียง มุมมองภายใน/นอก) โรงพยาบาลข้างเคียง(รพ.เอกชนและรัฐ) และมลพิษ (อยู่ใกล้เขตอุตสาหกรรม)

185


ภาพที่ 4.1.2 ภาพแสดงภาพรวมข้อดีข้อเสียของที่ตั้งที่ได้รับการคัดเลือก

4.1.4.5 การสรุปข้อดีและข้อเสีย ของแต่ละที่ตั้งโครงการ ตั้งแต่ที่ตั้งที่ 1 - 7 ว่ามีข้อดีข้อเสียอย่างไร

186


187 ตารางที่ 4.1.5 ตารางแสดงการให้คะแนนการเลือกที่ตั้งโครงการ 7 ที่ พื้นที่รกร้างใจ ติด ข้างหลังติด ติดป่าสงวน การเลือกที่ตั้งโครงการ กลางเมือง ห้างสรรพสินค้า หนอง แห่งชาติ No.

Type

Site 2

Site 3

Site 4

Site 5

Site 6

Site 7

5 15 4 12 2 4 5 5 4 8 5 15 4 4

5 5 5 5 3 4 3

15 15 10 5 6 12 3

1 3 2 6 5 15 4 12 5 10 4 8 3 3 3 3 1 2 2 4 5 15 5 15 3 3 3 3

4 4 5 5 4 5 4

12 12 10 5 8 15 4

5

10

5

10

5 10

4

8

5 10 5 10

5

10

1

5

5

5

5

5

5

4

4

5

5

5

5

5

5

1

5

5

4

4

4

4

3

3

5

5

5

5

4

4

5

10

1

2

3

6

3

6

5 10 5 10

3

6

1

5

5

5

5

3

3

5

5

4

4

4

5

5

3

4

12

3

9

5 15

5

15 4 12 3

9

3

9

2

6

3

9

5 15

5

15 4 12 4 12

3

9

5

10

2

4

4

8

3

6

8

4

8

5

20

5

20

4 16

4

16 5 20 5 20

4

16

6%

มลพิษ

9 3 6 5 2 15 2

11%

รพ.

3 1 3 5 1 5 2

5

10

2

4

1

5

10 4

5

10

2

2

3

22%

สภาพแวดล้อมทางกาย ภาย

15 3 6 2 10 15 2

11%

สาธารณูปการต่างๆ

5 1 3 2 5 5 2

3 3 2 1 2 3 1

19%

การเข้าถึง

การใช้งานพื้นที่เดิม พื้นที่ธรรมชาติรอบข้าง ขนาดที่ดิน ราคาที่ดิน รูปร่างที่ดิน การเข้าถึง(เข้าถึงได้ง่าย) การจราจร การเดินทางด้วยขนส่ง สาธารณะ 9 ขนาดถนน 10 สาธารณูปการ(การศึกษา) โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย 11 สาธารณูปการ(ความปลอดภัย) สถานีตารวจ สถานีดับเพลิง 12 สาธารณูปการ(สันทนาการ) สวนสาธารณะ สนามกีฬา ห้างสรรพสินค้า โรงแรม 13 อาคารข้างเคียง (การใช้งาน พื้นที่ข้างเคียง) 14 มุมมองจากภายใน(Site)สู่ ภายนอก 15 มุมมองจากภายนอก(Site)สู่ ภายใน 16 สาธารณูปการ (โรงพยาบาล รัฐ+เอกชน+ศูนย์อนามัย ข้างเคียง) 17 อยู่ใกล้เขตอุตสาหกรรม(ไม่ดี)

Site 1

Weight Point Total Point Total Point Total Point Total Point Total Point Total Point Total

31%

ที่ดิน

1 2 3 4 5 6 7 8

Criteria

คลองใหญ่ คลองใหญ่ จุดกลางระหว่าง ฝั่งเหนือ ฝั่งใต้ รพ.รัฐ 2 แห่ง

2 4 2

2

4

4

8

8

4

4

8

100%

36 146 114 147 154 145 142 148 Total ที่ตงั้ โครงการที่ได้คะแนนสูงสุดคือ ที่ตั้งโครงการลาดับที่ 4 เนื่องจาก สภาพแวดล้อมที่ตั้งอ. มีพทัื้น้งทีในภาครั ่สีเขียวขนาดใหญ่ คือ จึป่งาทสงวน โดยเป็ ซึ่งไม่ สามารถมี สิ่ง่ม เมืโครงการ อง ระยอง ฐและเอกชน าให้มหนองสนม ีโอกาส ที่จะมี ผู้ป่วนยทีพื้น่ถูกทีส่​่เขตสงวน งตัวมาจาก รพ.ดั งกล่าวเพิ ปลูกสร้าง สร้างขึ้นบนเขตนั้นได้ ทาให้ส่งผลต่อตัวโครงการในอนาคตอย่างมือ กล่าวคือ ถ้าไม่สามารถ มีสิ่งปลูกสร้างเกิดขึ้นได้ในเขตนั้นๆ จะทาให้ตัวโครงการ ยังคงมีสภาพแวดล้อมธรรมชาติ คงเดิมไป อีกนาน จนกว่าจะมีการยกเลิกความเป็นป่าสงวนในพื้นที่นั้น และนอกจากเรื่องพื้นที่สีเขียว ตัว โครงการที่ 4 ยังเป็น ศูนย์กลาง ของ รพ.ใน อ.เมือง ระยอง ทั้งในภาครัฐและเอกชน จึงทาให้มีโอกาส ที่จะมีผู้ป่วยทีถ่ ูกส่งตัวมาจาก รพ.ดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น


188 มากขึ้น

ภาพที่ 2.5.1 ภาพรูปร่างและมิติของที่ตั้งโครงการ (เบื้องต้น)

ภาพที่ 2.5.1 ภาพรูปร่างและมิติของที่ตั้งโครงการ (เบื้องต้น) จากตารางที่ 4.1.5 จะแสดงให้เห็นการให้คะแนน ที่ตั้งโครงการที่ 1-7 โดยสรุปที่ตั้ง โครงการหมายเลข 4 (ติดป่าสงวนแห่งชาติ) เป็นที่ตั้งโครงการทีท่ ี่มีคะแนนมากที่สุด โดยมีข้อมูลพื้นฐาน คือ ต.เนินพระ อ.เมืองระยอง จ.ระยอง ขนาดที่ตั้ง 39,750 ตร.ม. ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน: พื้นที่สี ชมพู3.6 ที่ดินประเภทชุมชน พิกัด : 12.683224, 101.210101


189

4.2 การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 4.2.1 ผังสีที่ดนิ

ภาพที่ 4.2.1 ผังเมืองรวมเมืองระยอง และตาแหน่งที่ตั้งโครงการและเขตพื้นที่แบ่งตามกฏหมายผังเมือง ตามกฎหมายผังเมืองรวมจังหวัดระยอง 2560 ข้อ ๖ ที่ดินประเภท ช. ๑ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ การอยู่อาศัย พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบัน ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

SITE

จากกฎระเบียบในข้อ 5 วงเล็บ ก. กล่าวว่าที่ดินประเภท ช. ๑ มีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการอยู่อาศัย การค้าบริการ เขตอุตสาหกรรม และ อุตสาหกรรมที่ไม่มีผลกระทบอย่าง รุนแรงต่อชุมชน จาแนกเป็นบริเวณ ช. ๑ - ๑ ถึง ช. ๑ – ๔ ดังนั้นจากวิเคราะห์ในเรื่อง ของผังสีที่ดินพบว่า พื้นที่ดินอยู่ในเชต สีชมพูทาให้สามารถสร้าง โรงพยาบาล ขึ้นได้ โดนไม่บุกรุกเขตป่าสงวน

ภาพที่ 4.2.3 ตาแหน่งที่ตั้งโครงการในเขตพื้นที่ ช.1-3


190

SITE

4.2.2 การเข้าถึงและสภาพการใช้งานพื้นทีข้างเคียง การเข้าถึงและสภาพการใช้งานพื้นทีข้างเคียง เป็นตัวแปรสาคัญในการส่งผลต่อตัวโครงการ โดยจะมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

ภาพที่ 4.2.4 ภาพแสดงเส้นทางการสัญจรทางบกและทางน้าบริเวณรอบที่ตั้งโครงการ


191

ภาพที่ 4.2.6 ภาพแสดง Figure and Ground Invert ทีต่ ั้งโครงการ

ภาพที่ 4.2.7 ภาพแสดง Figure and Ground ที่ตั้งโครงการ

ภาพที่ 4.2.8 ภาพแสดงพื้นที่สีเขียวและบริบท บริเวณโดยรอบที่ตั้งโครงการ


192

ภาพที่ 4.2.9 ภาพแสดงสาธารณูการบริเวณใกล้เคียง

ภาพที่ 4.2.10 ภาพแสดงเส้นทางจารจรบริเวณโดยรอบที่ตั้งโครงการ


193

ภาพที่ 4.2.13 ภาพแสดงการใช้งานพื้นที่ อาคารข้างเคียง (แยกแต่ละจุด)


194

ภาพที่ 4.2.15 ภาพแสดงเส้นทางและการเข้าถึง (แยกแต่ละจุด)


195

4.2.3 มุมมองจากภายในสู่ภายนอกที่ตั้งโครงการ

ภาพที่ 4.2.16 ภาพแสดงมุมมองจากภายในสู่ภายนอกที่ตั้งโครงการ


196 4.2.4 มุมมองจากภายนอกสู่ภายในที่ตั้งโครงการ

ภาพที่ 4.2.17 ภาพแสดงมุมมองจากภายนอกสู่ภายในที่ตั้งโครงการ


197 4.2.5 พืชพรรณธรรมชาติ

ภาพที่ 4.2.18 ภาพแสดงรายละเอียดพืชพรรณและธรรมชาติ บริเวณโดยรอบที่ตั้งโครงการ


ภาพที่ 4.2.19 ภาพแสดงรายละเอียดทิศแดดลมฝน บริเวณโดยรอบที่ตั้งโครงการ

4.2.6 ทิศแดดลมฝน (Orientation)

198

4.2.6 ทิศแดดลมฝน


199 4.2.7 ปัญหาและมลภาวะ 1.การถ่ายเทอากาศ และ ฝุ่น - ลมร้อนพัดนาฝุ่นจากทางถนนเส้นรอง (ถ.ตรอกยายจัน กว้าง 14 ม.) พัดพาฝุ่นเข้าสู่โครงการ - ลมหนาว พัดผ่านป่าสงวน เข้าสู่โครงการ โดยตาแหน่งโครงการเป็นตาแหน่งที่ตากว่าป่า - แนวทางการแก้ปัญหา : ออกแบบอาคารเพื่อให้ขวางทิศทางลม และปลูกต้นไม้เป็นแนวกั้นฝุ่น

ภาพที่ 4.2.20 ภาพแสดงรายละเอียดมลภาวะและแนวทางการแก้ปัญหา เรื่องการภ่ายเทอากาศและฝุ่น 2. เสียง - ทิศเหนือมีเสียงรบกวนจากหมู่บ้าน - ทิศตะวันออกมีเสียงรกวนจากสานักงานเขตตาบล - ทิศใต้ มีเสียงรบกวนจากถนน และบ้านคน - แนวทางการแก้ปัญหา : วางอาคารให้ห่างจากระยะของเสียงรบกวน และปลูกต้นไม้เป็นแนวกัน เสียง

ภาพที่ 4.2.21 ภาพแสดงรายละเอียดมลภาวะและแนวทางการแก้ปัญหา เรื่องเสียง 3. ความร้อน - แดดร้อนช่วงบ่าย จากทิศตะวันตก ส่วนแดดในตอนเช้า(แดดจากทิศตะวันออก) มีต้นไม้จากป่า สงวนช่วยปกคลุม ทาให้เกิดความร้อนไม่มากนัก และความร้อนจากถนนบริเวณโดยรอบพื้นที่ โครงการ - แนวทางการแก้ปัญหา : วางอาคารในตาแหน่งที่ความร้อนเข้าถึงได้น้อย และสร้างต้นไม้เป็น แนวกั้น


200

ภาพที่ 4.2.22 ภาพแสดงรายละเอียดมลภาวะและแนวทางการแก้ปัญหา ความร้อน 4. รูปร่างที่ดิน - รูปร่างที่ดินมีลักษณะไม่เป็น 4 เหลี่ยมผืนผ้า สี่เหลี่ยมจัตุรัส ไม่เป็นแนวเส้นตั้งฉาก ทาให้ยาก ต่อการจัดผังอาคาร - แนวทางการแก้ปัญหา เปิดมุมมองทางทิศตะวันออกให้เห็นวิวป่าสงวนให้มากขึ้น และสร้าง พื้นที่สีเขียวภายในโครงการ

ภาพที่ 4.2.23 ภาพแสดงรายละเอียดมลภาวะและแนวทางการแก้ปัญหา รูปร่างที่ดิน 4.2.6

กฎหมาย 1.ที่ว่างและระยะร่น - กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 3 กล่าว่า "อาคารขนาดใหญ่พิเศษ (พท.  10,000 sq.m.) - อาคารสูง (สูง > 23.00 m) กาหนดให้มีถนนพื้นผิวจราจรซึ่งไม่มีสิ่งปกคุลม กว้างไม่น้อยกว่า 6 เมตรโดยรอบอาคาร เพื่อให้รถดับเพลิงสามารถเข้าออกเพื่อปฏิบัติหน้าที่ขณะเกิดเหตุเพลิงไหม้ ได้ - กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 4 กล่าวว่า ส่วนที่เป็นขอบเขตนอกสุดของตัวอาคาร ไม่ว่าจะเป็นบนดิน หรือใต้ดิน (ไม่นับรวมฐานรากของอาคาร) จะต้องห่างจากแนวเขตที่ดินและ ถนนสาธารณะ  6 เมตร


ภาพที่ 4.2.24 site set back 6.00 m

จากการวิเคราะห์ด้านกฎหมายพบว่า ถ้าเป็นอาคารขนาดใหญ่พิเศษ (สูงเกิน 23เมตร หรือ พท.ใช้สอยเกิน 10,000 ตร.ม.) จะต้องมี set back รอบอาคาร 6 เมตร เพื่อให้รถดับเพลิงสามารถเข้าไปทางานได้ ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ทาให้ควรแบ่งตัวอาคารแยกออกจากกันเป็นอย่างน้อย 2 กลุ่มอาคาร เพือ่ ทาให้ พท.ใช้สอย รวม 2 กลุ่มอาคารไม่เกิน 10,000 ตร.ม. จึงจะทาให้ไม่เสียพื้นที่ไปในส่วนของ Circulation มากนัก

201


202 4.3 สรุปศักยภาพที่ตั้งโครงการ การสรุปศักยภาพที่ตั้งโครงการ เป็นการแบ่งที่ตั้งโครงการเป็นพื้นที่ต่างๆ ที่มีศักยภาพ แตกต่างกัน ตามความเหมาะสม โดยอ้างอิงจากการ วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

ภาพที่ 4.4.1 ภาพแสดงศักยภาพที่ตั้งโครงการ บริเวณที่ 1 เป็นบริเวณที่ อยู่ติดถนนหลัก กว้าง 14เมตร เข้าถึงได้ง่าย มองเห็นได้ง่าย โดยบริเวณนี้ เหมาะ สาหรับจะเป็น Main Entrance, Parking, Public Area,ฝ่าย1 วินิจฉัยบาบัดรักษา: OPD MRD ER, ฝ่าย2 สนับสนุน ทางคลินิก: PT, ฝ่ายพาณิชยกรรม(CANTEEN) เป็นจุดหมายตาของผู้เข้ามาใช้บริการ เนื่องจากอยู่ทั้งบริเวณด้านหน้า และด้านข้างโครงการ สามารถติดต่อเข้าถึงได้ง่าย ถึงแม้จะมีปัญหาจากฝุ่นควัน บริเวณด้านหน้าเล็กน้อย แต่ควร คานึงถึงมุมมองที่เกิดขึ้น เพราะเป็นด้านหน้าของโครงการ บริเวณที่ 2 เป็นบริเวณที่อยู่ติดถนนรอง (6เมตร) อยู่ติดกับป่าสงวน มีเสียงรบกวนเล็กน้อย โดยบริเวณนี้ เหมาะ สาหรับเป็นทางเข้า/ออก รองโดยจะเห็นพื้นที่สีเขียวมากที่สุดใน Site องค์ประกอบโครงการที่เหมาะสมได้แก่ ส่วน ต้อนรับ Waiting Area , พื้นทีจ่ อดรถ , แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน เป็นต้น บริเวณที่ 3 เป็นบริเวณที่อยู่ติดหมู่บ้าน (ต้องระวังเรื่องการรบกวน) มีความร้อนสะท้อนจากอาคารสีขาวโดย บริเวณนี้เหมาะสาหรับเป็น อาคารสาหรับ Service ที่ไม่มีการเข้าออกบ่อย เช่น ฝ่ายงานระบบ ไฟฟ้า ประปา งานระบบ ทางการแพทย์ ห้องควบคุม ห้องเครื่อง ห้องเก็บศพ บริเวณที่ 4 เป็นบริเวณที่มีความเป็นส่วนตัวสูง มีฝุ่นละออง มีต้นไม้เดิมอยู่ในพื้นที่ค่อนข้างมาก พื้นที่ใช้สอยที่ เหมาะกับ บริเวณนี้คือพื้นที่ ที่มีการใช้งานของผู้คนเป็นเวลานาน เช่น IPD WARD และส่วนที่พักของผู้ป่วย ต่างๆ เพราะ เป็นพื้นที่ ที่มีความเป็นส่วนตัวสูง ส่วนเรื่องฝุ่นละออง ก็ใช้การออกแบบ Landscape เป็นตัวช่วย


203

บทที่ 5 การออกแบบ การออกแบบตะสามารถจาแนกส่วนต่างๆได้เป็น 6 ส่วนหลักๆ คือ 1.ปรัชญาต่างๆ 2.การกาหนด แนวคิดในการออกแบบ 3.การสร้างทางเลือกในการออกแบบ 4.การออกแบบขั้นต้น 5.การออกแบบ แบบร่าง 6.ผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรม โดยจะมีรายละเอียดต่างๆดังนี้ 5.1 ปรัชญา แนวคิด ทฤษฎี ปรัชญา แนวคิด และทฤษฎี คือ ศาสตร์เกี่ยวกับการหาความรู้ ความจริง เพื่ออธิบายเหตุการณ์และ สิ่งต่างๆ ตามหลักเหตุและผลอย่างกว้างๆ โดยใช้หลักการของวิชาตรรกวิทยาเป็นเครื่องมือ โดยผู้เขียน ได้นาหลักปรัชญามาใช้จาก 2 แหล่ง คือ 1.การออกแบบสภาพแวดล้อมให้เอต่อการเยียวยา และ 2.การ ออกแบบโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้ 5.1.1 การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (Healing Environment) ที่มา : Healing Environment : โกศล จึงเสถียรทรัพย์ , โกเมธ นาควรรณกิจ โรงพยาบาลไมได้เป็นเพียงโรงเรือนที่วางเตียงให้ผู้ป่วยนอน มีเครื่องมือแพทย์ ยา และผู้ให้การดูแลเพียงเท่านั้น การลงทุนสร้าง สิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา เป็นการลงทุนทีค่ ุ้มค่า เพราะเกิดผลกระทบ โดยตรงต่อผู้ป่วย ลงทุนครั้งเดียวแล้วสามารถใช้ได้นาน บางเรื่องไม่ต้องใช้ ทรัพยากรมาก เพียงเปิดใจรับรู้และใช้ความคิดสร้างสรรค์ก็ก่อให้เกิด ผลลัพธ์สุขภาพที่ดไี ด้ นอกจากจะให้ผลดีตอ่ ตัวผู้ป่วยแฃ้ว ยังส่งผลดีต่อทีม ผู้ปฎิบัติงานถึงสองชั้น ชั้นแรกคือการได้อยู่สภาพแวดล้อมของการทางาน ที่ดี ปลอดภัยและผ่อนคลาย ชั้นที่สองคืออาการของผู้ป่วยดีขึ้น เป็นการ บรรเทาภาระงานของผู้ให้บริการขณะเดียวกันก็เกิดปิติเห็นการ เปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย การจาแนกสภาพแวดล้อมให้สามารถประยุกต์ใช้ในเชิงการ ภาพที่ 5.1.1 ภาพหนังสือ การออกแบบสภาพแวดล้อม จัดการ จะแจกแจงได้ 2 แบบคือ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ Physical สถานพยาบาลให้เอื้อต่อการ Environment และ สภาพแวดล้อมทางสังคม Social Environment โดยในเชิงการออกแบบงานทางด้านสถาปัตยกรรม จะ เยียวยา สามารถนาเรื่องสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เข้ามามีบทบาททางงาน ออกแบบได้ เพราะเป็นสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา บางทีก็สังเกตเห็นได้ บางทีเราก็ไม่ได้ทันสังเกต มัน แต่สิ่งที่ปรากฎรอบกายเราทั้งหมดล้วนมีผลต่อสภาวะจิตใจทั้งสิ้น โดยจาแนกได้ดังนี้


204 5.1.1.1 แสง - Environmental Light แสงสว่างจากธรรมชาติ มีความสาคัญต่อมนุษย์ ห้องที่มีแสงสว่างจากดวงอาทิตย์สาดฉายเข้ามาได้ก็ เท่ากับว่าได้เชื่อมต่อกับธรรมชาติแล้วแสงแดดยังให้คุณประโยชน์หลายอย่างต่อสุขภาพ ที่รู้จักกันดีก็คอื เป็นแหล่งสาคัญของวิตามินดี ซึ่งช่วยสร้างความแข็งแรงให้กระดูกและฟัน ซึ่งเราจะได้รับวิตามินดีจาก อาหารเพียงบางส่วนเท่านั้น ส่วนที่เหลือนั้นร่างกายของเราสร้างขึ้นจากการได้รับแสงแดด นอกจากนี้ สิ่ง ที่หลายคนอาจยังไม่ค่อยรู้ก็คือ แสงแดดยังช่วยสร้างเสริมระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้แข็งแรงขึ้นการ ศึกษาวิจัยแสดงให้เห็นว่า การได้รับแสงอาทิตย์ช่วยเพิ่มจานวนเซลล์เม็ดเลือดขาว ซึ่งเป็นปราการด่าน แรกของร่างกายในการป้องกันการติดเชื้อและการต่อสู้กับโรค วิตามินดียังมีบทบาทสาคัญในการเพิ่ม จานวนออกซิเจนในเลือด ซึ่งผลที่ได้รับก็คือทาให้ระดับพลังงานเพิ่มขึ้น ร่างกายจึงสดชื่น กระปรี้กระเปร่าขึ้น 5.1.1.2 สี - Color in The Environment พลังของสีมีอิทธิพลต่อเราผ่านปฏิกิริยาในการตอบสนองของต่อมไพเนียล ส่งผลให้ความรู้สึก จิตใจ ฮอร์โมน และอารมณ์ในร่างกายของเราในขณะนั้นแตกต่างกันตามเฉดและความยาวคลื่นที่กระทบโสต สัมผัส แนวคิดนี้ได้กระตุ้นให้นักจิตวิทยานาพลังแต่ละสีมาปรับใช้เพื่อบาบัดอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ ของ ร่างกายและจิตใจให้กับผู้ป่วยมากมายในปัจจุบัน โดยเรียกศาสตร์แห่งการรักษานี้ว่า รงคบาบัด หรือ Color Therapy สีเขียว ให้ความรู้สึกร่มเย็น สบายตา ผ่อนคลาย ปลอดภัย ทาให้เกิดความหวังและความสมดุล พลังของสีเขียวสามารถทาให้ประสาทตาผ่อนคลายและความดันโลหิตของเราลดลงได้ ทั้งยังช่วยผ่อน คลายระบบประสาทป้องกันการจับตัวของก้อนเลือด ต่อต้านเชื้อโรค รักษาอาการของคนเป็นโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง สีนาเงิ ้ น เป็นสีที่สร้างความเยือกเย็น คลายความเหงา และกระตุ้น แรงบันดาลใจการแสดงออก ทางศิลปะ พลังของสีน้าเงินทาให้ระบบหายใจเกิดความสมดุลและแข็งแรงขึ้น ใช้ในการรักษาโรคความ ดันโลหิตสูง การรับพลังของสีน้าเงินอาจทาได้ด้วยการสวมเสื้อผ้า หรือชุดชั้นในสีน้าเงินที่ปกคลุมร่างกาย ช่วงอกซึ่งเกี่ยวกับระบบหายใจ และนับลมหายใจ สีฟ้า เป็นสีที่ให้ความรู้สึกสงบเยือกเย็น เป็นอิสระ ปลอดโปร่ง สบาย ปลอดภัย ใจเย็น และระงับความกระวนกระวายในใจได้ พลังของสีฟ้ามีคุณสมบัติในการรักษาอาการของโรคปอด ลด อัตราการเผาผลาญพลังงาน รักษาอาการเจ็บคอ และทาให้ชีพจรเต้นเป็นปกติ สีฟ้าเป็นสีที่เย็นทาให้ จิตใจสงบและผ่อนคลาย ใช้ในการรักษาไข้สีฟ้ามีคุณสมบัติในการลดความร้อนและอาการอักเสบต่าง ๆ เช่น รอยไหม้ทเี่ กิดจากแดดเผา เป็นต้น สีฟ้าจะช่วยลดอาการตึงเครียด สีแดง เป็นสีที่กระตุ้นระบบประสาทของเราได้รุนแรงที่สุด ให้ความรู้สึกเร้าใจ ตื่นเต้น ท้า ทาย และตื่นตัว สีแดงมีผลต่อร่างกาย ช่วยให้ฮอร์โมนอะดรีนาลินทางานได้ดี สร้างฮีโมโกลบินให้กบั เซลล์เม็ดเลือดแดง และช่วยให้ระดับความดันโลหิตเป็นปกติ ทาให้ร่างกายอบอุ่น กระตุ้นระบบประสาท ให้ตื่นตัว ลดอาการเฉื่อยชา และรักษาอาการซึมเศร้า มีประโยชน์มากสาหรับผู้ที่มีภูมติ ้านทานโรคต่า


205 สีส้ม เป็นสีแห่งความสร้างสรรค์ อบอุ่น สดใส มีสติปัญญา ความทะเยอทะยาน เต็มเปี่ยม ไปด้วยพลัง สีส้มมีประโยชน์ต่อระบบทางเดินหายใจ ทาให้หายใจได้คล่องขึ้นและลึกขึ้น สีส้มจะมีผล ต่อภาวะจิตใจ ระบบประสาท ระบบการหายใจ สีม่วง ช่วยให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย กระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจ และสร้างความสงบใน จิตใจได้เป็นอย่างดี สีม่วงช่วยเยียวยาสมองที่ถูกกระทบกระเทือน โรคลมบ้าหมู และอาการผิดปกติทาง ประสาทหรือจิตใจ เช่น ความผิดปกติที่เกิดจากความกดดัน และอาการทรงตัวไม่อยู่ นอกจากนั้นยังช่วย บรรเทาอาการปวดประสาท 5.1.1.3 ภูมิทัศน์ - Environmental Landscape โดยทั่วไปคาว่า “ภูมิทัศน์” (Landscape) หมายถึง ภาพรวมของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ที่มนุษย์รับรู้ได้ ถึงระยะห่างโดยทางสายตา อาจเป็นพื้นที่ธรรมชาติที่ประกอบด้วยรูปทรงของแผ่นดิน น้า ต้นไม้ สัตว์ และสรรพสิ่งทีม่ นุษย์สร้างที่เรียกว่าภูมิทัศน์ธรรมชาติ หรือภาพรวมของเมืองหรือส่วนของเมือง เรียกว่า ภูมิทัศน์เมือง บางทีเราอาจคุ้นเคยกับคาว่า “วิว” ซึ่งมีความหมายแคบเฉพาะภาพส่วนของธรรมชาติที่มี ความสวยงาม โดยที่ความหมายจากภาษาอังกฤษกับความเข้าใจแบบไทย ๆ ก็สื่อออกไปคนละแบบ ภูมิ ทัศน์หรือภูมิสถาปัตยกรรม ถ้ามองในแบบมหภาค ก็เป็นการออกแบบชุมชนเมืองกันเลยทีเดียว แต่ถ้า มองแบบจุลภาคก็อาจเป็นแค่การจัดสวนก็ได้ Healing Garden เป็นศัพท์อกี คาหนึ่งที่ได้ยินบ่อยขึ้น การจัดสวนการปรับภูมิทัศน์ ให้ดสู วยงาม มี ความงดงามของพรรณไม้ธรรมชาติน้อยใหญ่มีก้อนหิน บ่อน้า ลาธาร น้าพุ น้าตก รวมทั้งแสงแดด ธรรมชาติประกอบกัน Healing Garden อาจเป็นสวนสุขภาพ ซึ่งเป็นแนวทางการเยียวยาจิตใจผู้ป่วย ด้วยวิถีทางแบบธรรมชาติ นอกเหนือไปจากความช่วยเหลือของทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และเครื่องมือ ทางการแพทย์อันทันสมัย ว่ากันว่า ธรรมชาติคือยารักษาใจและกายที่ดีทสี่ ุด ประโยชน์ที่ได้จากต้นไม้ ดอกไม้ ใบหญ้านั้น มีคุณอเนกอนันต์ดังตัวอย่างที่เห็นกันง่ายๆคือ พืชสมุนไพรช่วยในการรักษอาการทาง กาย ส่วนกลิ่นหอมของดอกไม้และไม้หอมบางชนิด ก็ช่วยในแง่ของการเยียวยารักษาความเครียดหรือ ความเหนื่อยล้าทางอารมณ์ ที่เรียกกันว่า สุคนธบาบัดหรือ Aroma Therapy ความงามของสีสันไม้ดอก ตามธรรมชาติ ความเขียวสดของสนามหญ้า ต้นไม้ใบไม้ ทัง้ ความหลากหลายของสีสัน รูปทรง และ ขนาดของใบ ล้วนแต่ให้ความรื่นรมย์แก่สายตาและจิตใจโดยที่เราแทบไม่รู้ตัว 5.1.1.4 เสียง - Environmental Noise เสียงที่เกิดขึ้นจากแหล่งกาเนิดใด ๆ ก็ตาม สามารถจาแนกออกเป็นเสียงที่เป็นมลภาวะกับเสียงที่ฟัง แล้วเกิดสุขภาวะ หรือเสียงที่พึงประสงค์กับเสียงที่ไม่พึงประสงค์นั่นเอง ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วในตอนต้น ว่า ผัสสะทีม่ ากระทบโสตประสาทของเรานั้น ทันทีที่มันมากระทบ เราจะเปรียบเทียบกับชุดข้อมูลเดิมที่ มีอยู่ แล้วตัดสินว่าเสียงที่เราได้ยินนั้นมันไพเราะเสนาะหูหรือไม่ไพเราะ ความดัง (พื้นที่ที่อยู่ใกล้ห้องทางานเจ้าหน้าที่จะได้ยินเสียงเจ้าหน้าที่ทางานตลอดคืน) ความไพเราะ (เสียงเพลงกับเสียงเครื่องจักร แม้จะดังเท่า ๆ กันก็ทาให้เกิดความราคาญได้ไม่เท่ากัน) ความคุ้นเคย (เสียงของคนหรือกิจกรรมที่เรารู้ว่าเป็นอะไรกับเสียงแปลก ๆ ที่ไม่รู้ที่มาที่ไปก็ให้ความรู้สึกต่างกัน) การ


206 ควบคุมได้ (เสียงที่เรารู้ว่าเราจะปิดเสียเมื่อไรก็ได้กับเสียงที่เราไม่มีอานาจใด ๆ ในการควบคุมก่อให้เกิด ความราคาญต่างกัน) และความหมายของเสียง (เสียงแห่งความห่วงใยกับเสียงตาหนิติเตียนให้ความรู้สึก ไม่เหมือนกัน แม้จะดังเท่า ๆ กัน) เสียงที่เป็นมิตรกับสุขภาพ เช่น เสียงสายน้า เสียงลม เสียงจากสภาพแวดล้อมของชีวิตประจาวัน ของผู้ป่วยที่บ้าน ก็อาจช่วยสร้างสภาพแวดล้อมของผู้ป่วยให้กลับเข้าสู่ธรรมชาติและสภาพแวดล้อมทาง สังคมเดิมของผู้ป่วย การใช้เสียงที่มนุษย์คนุ้ เคย ฟังแล้วผ่อนคลาย นอกจากจะเป็นการเชื่อมโยงผู้ป่วย กลับเข้าสภาพแวดล้อมเดิมแล้ว ยังเป็นการสร้างสุขภาวะภายในจิตใจด้วยเสียงได้อีกด้วย ในขณะที่เรา สามารถใช้เสียงเพลง หรือ คีตบาบัด (Music Therapy) เพื่อการเยียวยาผู้ป่วยได้เช่นกัน 5.1.1.5 คุณภาพของอากาศ - Air Quality เป็นการปรับปรุงคุณภาพอากาศ และการเพิม่ มูลค่าของคุณภาพอากาศด้วยกลิ่นของน้ามันหอม ระเหยของบรรดาพืชพรรณสมุนไพรต่างๆ ที่มีคุณสมบัติในการเยียวยาด้านอารมณ์ได้เป็นอย่างดีที่เรา เรียกว่า สุคนธบาบัด (Aroma Therapy) 5.1.2 แนวทางการออกแบบโรงพยาบาลทีเ่ อื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม ทางผู้ออกแบบได้นาทฤษฎีที่เกี่ยวกับออกแบบโรงพยาบาลจาก สถาบันอาศรมศิลป์ เขียน โดย อภิเชษฐ์ อัศวบุญญาเดช ในบทความเรื่อง “แนวทางในการออกแบบโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการ เยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม กรณีศกึ ษาโรงพยาบาลราชพฤกษ์ ขอนแก่น” โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การ เยียวยา “สุขภาพแบบองค์รวม” ซึ่งกล่าวถึงความเชื่อมโยงของมิติทางด้านกาย จิตใจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการรักษามาใช้เป็นโจทย์ในการศึกษาวิจัย โดยใช้ระเบียบวิจัยเชิง ปฏิบัติการ (Action Research) ในการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมกับเจ้าของโครงการและผู้ใช้ โครงการในการศึกษาแนวทางการออกแบบโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม และ นาแนวทางการออกแบบมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบโรงพยาบาลราชพฤกษ์ จังหวัดขอนแก่น รวมทั้งมีการประเมินผลการออกแบบโรงพยาบาลร่วมกับเจ้าของโครงการและผู้ใช้โครงการ โดนสรุป จะสามารจาแนกหลักเกณฑ์ แนวทางในการออกแบบ รพ.ที่เอื้อต่อการเยียวยา สุขภาพแบบองค์รวมได้เป็น 6 ประเด็นหลักๆ คือ 1.การจัดพื้นที่ที่เอื้อต่อการเยียวยาด้านจิตใจ (พท.สี เขียวและลาน้า) 2.จัดพื้นที่สาหรับสิ่งยึดเหนียวทางจิตใจ (ห้องศาสนา) 3.จัดให้มีสภาพแวดล้อมที่อบอุ่น เหมือนบ้าน 4.จัดให้เป็น รพ.ประหยัดพลังงาน 5.จัดให้เป็นพื้นที่สร้างแรงบันดาลใจในการดูแลรักษา ผู้ป่วย โดยมีรายละเอียดดังภาพที่ 5.1.2 (หน้าถัดไป)


207

ภาพที่ 5.1.2 แนวทางการออกแบบโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวมโดยสรุป


208 5.2 การกาหนดแนวคิดในการออกแบบ ผู้เขียนได้กาหนดแนวคิดออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ คือ แนวคิดในการวางผัง และ แนวคิดในการออกแบบหน้าตาตัวอาคาร เพราะเนื่องจากโครงการนี้เป็น โครงการที่มีเนื้อที่ค่อนข้างใหญ่ จึงต้องมีแนวคิดในการวางผังที่มีทิศทางไป ในทางเดียวกันกับหน้าตาอาคาร จึงจาเป็นต้องทาการแยกคิดเป็น 2 ส่วน โดย มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 5.2.1 แนวคิดในการวางผัง 1.แนวคิดเกี่ยวกับพื้นที่สีเขียว และการบาบัดด้วยธรรมชาติ โรงพยาบาลโดยทั่วไปจะเป็นอาคารที่ใช้ประกอบธุรกิจเป็นหลักทาให้ หน้าตาของโรงพยาบาลส่วนใหญ่ เป็นไปในทิศทางคล้ายๆ กันคือ เน้นความคุ้ม ทุน หรือเรียกว่าเน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ ทาให้ รพ.ส่วนใหญ่ มีพื้นที่สี เขียวน้อย ทาให้ผู้เขียนเกิดแนวคิดในการออก รพ.ที่มพี ื้นที่สีเขียว รองรับ และเป็นพื้นทีส่ าหรับทุกๆคน ไม่ว่าจะเป็น ญาติผู้ป่วย หรือ ตัวผู้ป่วยเอง โดย ในการออกแบบมีการองแนวต้นไม้เดิม (Existing Tree) เป็นแกนหลัก เพราะ ไม่ต้องการให้สิ้นเปลืองกับงบประมาณในการเพิ่มเติมต้นไม้เข้าไปอีก 2.แนวคิดเกี่ยวกับรูปทรงอาคารและที่ว่าง ต่อจากแนวคิดเรื่องพื้นทีส่ ีเขียว ในการจะจัดให้มีพื้นที่สีเขียวก็จาเป็น จะต้องเว้นที่ว่างระหว่างอาคารเอาไว้ เพื่อทาให้เกิดเป็น Soft scape เป็นทั้ง พื้นทีส่ ีเขียวและพื้นที่ที่รองรับการสัญจรในทางเท้าและส่วนงาน Service ใน ส่วนต่างๆ เช่น CANTEEN , DND , MORGUE , อีกด้วย รูปทรงอาคารหลักๆ เกิดจากต้องการให้มีแสงธรรมชาติและความเป็น ธรรมชาติสอดแทรกเข้ามาในพื้นที่ใช้สอยภายในอาคารมากที่สุด เพื่อให้ ผู้ใช้งานในโครงการได้รับแสงธรรมชาติและพื้นที่สีเขียวอยู่ตลอดเวลา จึงทาให้ ลักษณะอาคารแยกออกจากกันคล้ายๆกับลักษณะกลุม่ เรือน ในสถาปัตยกรรม ไทย โดยตัวอาคารมีความสูงไม่มาก (ในเรือนที่สูงที่สุดความสูงจะอยู่ที่ ประมาณ 16.00-17.00 เมตร จากระดับ +0.00) จึงทาให้ผู้ใช้งานในอาคาร สามารถรับแสงธรรมชาติได้มากกว่า 3.แนวคิดเรื่อง Courtyard และการใช้น้า การใช้น้าในงานสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน รพ. หรือ โรงแรม ส่วนใหญ่ จะเป็นการใช้น้าที่เป็นรูปแบบ indoor เพื่อให้ง่ายต่อการควบคุมการ บาบัดน้า ให้มีความสะอาด อยู่ตลอดเวลา และมีบทความต่างๆมากมาย เกีย่ วกับน้า ว่า เสียงจากน้าธรรมชาติ ช่วยเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ ผ่อนคลาย ความกังวล และ ทาให้เกิดสมาธิและการจดจา

ภาพที่ 5.1.1 ภาพ แสดงแนวคิดในการ วางผัง


209 ผู้ออกแบบจึงมีการวางระบบน้าในโครงการเป็น 2 แบบ คือ ภายนอก(ระดับชั้นพื้น +0.00ม.) และ ภายใน (ระดับชั้นใต้ดิน -5.00ม.) โดยภายนอก จะเน้นในส่วนของพื้นที่ที่ค่อนข้างเป็น สาธารณะ หรือ พื้นที่ที่ คนภายนอก สามารถเข้าใช้งานได้บ่อย เช่น OPD , CANTEEN , WARD เป็นต้น และ ภายใน คือส่วนของแผนกรังสีรักษา ที่โดยปกติใน รพ.ที่มีแผนกนี้ ส่วนใหญ่เป็นพืน้ ที่ใช้สอยที่จะไม่ค่อยได้รับแสง จากธรรมชาติ 5.2.2 แนวคิดในการออกแบบตัวอาคาร แนวคิดในการออกแบบตัวอาคาร ผู้ออกแบบได้อ้างอิงวิธีการค้นหาแนวผลลัพธ์ทางกายภาพเพื่อให้ ตอบสนองต่อแนวความคิด โดยอ้างอิงวิธีการของ อ.วิมลสิทธิ์ หรยางกูร ผู้ออกแบบได้ทาคิดแนวคิดมูลฐานออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ แนวคิดมูลฐานที่ว่า 1.ทาให้ผู้ใช้งานมี ความรู้สึกเหมือนกับว่าไม่ได้อยู่ที่ รพ. 2.ดึงความเป็นวัฒนธรรมของพื้นถิ่นระยองมาใช้ และ 3.Healing Environment โดยจากแนวคิดมูลฐานจะสามารถจาแนกออกได้เป็นหลักเกณฑ์/แนวทางการแก้ปัญหา และจากแนวทางดังกล่าวก็สามารถแยกออกมาได้เป็น ผลลัพธ์ทางกายภาพ ดังภาพที่ 5.1.3 (หน้าถัดไป)

ภาพที่ 5.1.2 อาคารผู้ป่วยนอก isometric view


210

ภาพที่ 5.1.3 แนวคิดในการออกแบบตัวอาคาร


211 ตารางที่ 5.1.1 ตารางแสดงแนวคิดเรื่องการจัด Healing Environment ในโรงพยาบาล

ภาพที่ 5.1.4 Mind Map แสดงแนวคิดเรื่อง วัฒนธรรมสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น


ภาพที่ 5.1.5 ภาพแสดง Diagram แนวความคิดการออกอาคาร

212


213 5.3 การสร้างทางเลือกในการออกแบบ ในขั้นตอนแรกการวาง Zoning ของโครงการ แบ่ง ได้เป็น 4 Zone หลักๆดังนี้ ➢ Zoning 1 ข้อดี - ในส่วน Ward มีการกระจายตัวในแนวแผ่ ทาให้ อาคารมีสัดส่วนไม่สูงใหญ่มาก ให้ความรูส้ ึก เหมือนอยู่บ้าน - แผนก ER , ICU อยู่ชั้น 1 ทั้งหมด ทาให้ง่ายต่อ การ Service ผู้ป่วยฉุกเฉิน - ส่วนOPDOPDสามารถจัดให้มีพพื้นที่ผ่อนคลาย ได้มาก ข้อเสีย - เมื่อมีการกระจายตัวมาก ทาให้ต้องเพิ่มพื้นที่ การทาบันไดหนีไฟตามจุดต่างๆ ทาให้เปลือง พื้นที่ใช้สอย - จุด Drop OFF ของERERใกล้กับส่วนWARD ➢ Zoning 2 ข้อดี - Approach โครงการค่อนข้างดีและเห็นได้ง่าย - ประหยัดพื้นทีิ่ โครงการ มีผลต่อการเพิ่มเติม ส่วนอื่นๆ ในอนาคต (เช่น หอพัก OFC, ห้องพัก IPD WARD , ภาพที่ 5.2.1 ภาพแสดง Zoning ทั้ง 4 - พื้นที่ส่วน เคมีบาบัด แบบ (isometric) ข้อเสีย - สัดส่วนอาคารทาให้ดูเป็นโรงพยาบาล ไม่มีความเป็นกันเองเหมือนสัดส่วนบ้าน - การจัดกลุ่มอาคาร ยังกระชั้นชิดมากเกินไป ในส่วนของ Service ➢ Zoning 3 ข้อดี - พื้นที่ห้องพัก (Ward) กระจายตัวได้ และสามารถรับวิวได้ดี มีความเป็นส่วนตัวสูง


214 - ส่วน WARD ใกล้กับ DND สามารถแจกจ่ายอาหาร ให้ ผูร้ ับบริการได้ทัน - มีความแตกต่างที่มีการลอดใต้เส้นทางสัญจร ข้อเสีย ภาพที่ 5.2.2 ภาพแสดงการวาง - อาจมีการรบกวนความเป็นส่วนตัวของบ้านพักอาศัย Zoning ด้านทิศเหนือของโครงการ - Proportion ของอาคารไม่สูงมากนัก อาจมีผลเสีย ต่อ Approach - มีเส้นทางที่ตัดผ่าน พื้นที่ที่เป็นส่วน PT กับ Semi PUBLIC ทาให้เกิดการ Cross Circulation อาจทา ให้เกิดอันตรายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วน ER ที่ ต้องการความเร่งรีบ ➢ Zoning 4 ข้อดี - มีการกระจายตัวของพื้นที่ห้องพัก (Ward) แบบ Polar Array ทาให้ได้รับวิว/มุมมองที่หลากหลาย - ส่วน WARD ใกล้กับ DND สามารถแจกจ่ายอาหาร ให้ ผูร้ ับบริการได้ทันทั้งใน WARD ที่เป็น Villa และ Ward แนวตั้ง - มีสัดส่วนที่ดูมคี วามเป็นโรงพยาบาล - พื้นที่ Yard หน้าโครงการ (ทิศใต้) มีพื้นที่เหลือใน การจัดสวนเยอะ - จุด Drop Off แผนก ER มีทางเข้าออกที่ชัดเจน ข้อเสีย ภาพที่ 5.2.2 ภาพแสดง Zoning ทั้ง - OPD อาจได้แสงน้อย 4 แบบ (Topview) - แผนก PT อยู่ในส่วนที่ได้รับเสียงรบกวนค่อนข้างมาก จากการทดลองออกแบบ Zoning ทั้ง 4 รูปแบบ ทาให้ได้ รูปแบบที่ลง ตัวที่สุด คือการแยกโซนระหว่าง ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในออกจากกัน โดยมี Courtyard และพื้นทีส่ ีเขียว เป็นตัวกั้น และในส่วน Ward IPD ก็มีการแทรกธรรมชาติเข้าไปให้มากที่สุด ดังภาพที่ 5.2.3 (หน้าถัดไป)


215

ภาพที่ 5.2.3 ภาพแสดง Final Zoning ทั้ง 4 แบบ (Topview)

ภาพที่ 5.2.4 ภาพแสดง Final Zoning ทั้ง 4 แบบ (isometric view) 5.4 การออกแบบขั้นต้น การออกแบบขั้นต้น (Schematic Design) ตัวผู้ออกแบบได้ทาการออกแบบเป็น 3 ทางเลือกดังภาพ

ภาพที่ 5.3.1 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างขั้นต้น


216 5.5 การออกแบบ แบบร่าง และ การพัฒนาแบบร่าง การออกแบบ แบบร่าง และพัฒนาแบบร่าง ผู้ออกแบบได้ทาการตรวจแบบไปทั้งสิ้น ประมาณ 9 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 – 4 เป็นแบบร่าง 2D (2มิติ) และครั้งที่ 5 – 9 เป็นแบบร่าง 3D โดยครั้งที่ 5 คือแบบ ร่างที่ใช้ส่งตอน Pinup โดยในการตรวจแบบร่างแต่ละครั้งมีรายละเอียดดังนี้

ภาพที่ 5.3.1 ภาพแสดงการตรวจแบบร่าง ครั้งที่ 1

ภาพที่ 5.3.2 ภาพแสดงการตรวจแบบร่าง ครั้งที่ 2


217

ภาพที่ 5.4.3 ภาพแสดงการตรวจแบบร่าง ครั้งที่ 3

ภาพที่ 5.4.4 ภาพแสดงการตรวจแบบร่าง ครั้งที่ 3 (ส่วน Coh.Ward)


218

ภาพที่ 5.4.5 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 4 (ส่วนใต้ดิน)

ภาพที่ 5.4.6 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 4 (ส่วน Ward และ ชัน้ ใต้ดิน)


219

ภาพที่ 5.4.7 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 5 (Pinup : MasterPlan)

ภาพที่ 5.4.8 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 5 (Pinup : isometric)

ภาพที่ 5.4.9 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 5 (Pinup : isometric)


220

ภาพที่ 5.4.9 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 5(Pinup : ส่วนขยายอาคารอื่นๆ)


221

ภาพที่ 5.4.10 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 6 (size : A1)

ภาพที่ 5.4.11 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 7 (size : A1)


222

ภาพที่ 5.4.12 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 8 (size : A1)

ภาพที่ 5.4.13 ภาพแสดงการตรวจแบบร่างครั้งที่ 9 (size : A1)


223

5.6 ผลการออกแบบงานสถาปัตยกรรม ผลงานการออกแบบงานสถาปัตยกรรม ประกอบไปด้วย ผังแม่บท ผังบริเวณ แปลนพืน้ ทุกชั้น แปลนหลังคา รูปด้าน รูปตัด ภาพ 3 มิติ ภาพตัดทัศนียภาพ แผ่นงานนาเสนอ ขนาด A1 (แนวตั้ง 17 แผ่น) และ หุ่นจาลองสถาปัตยกรรม มาตราส่วน 1:250 โดนจะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 5.6.1 ผังแม่บท (Master Plan)

ภาพที่ 5.6.1 ผังแม่บท ในส่วนหน้า (ทิศตะวันออก) ของผังแม่บทจะเป็นการอธิบาย องค์ประกอบโครงการโดยคร่าวๆ กล่าวได้ว่า เมื่อขับรถเข้ามาในโครงการ ด้านซ้ายมือจะเป็นที่จอดรถสาธารณะ และมีจุด Drop-off 2 จุด คือ 1.OPD ด้านหน้าโครงการ (ทิศใต้) และ 2.ER ด้านข้าง(ทิศตะวันออก) โดยในส่วนของอาคาร OPD จะแบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆ คือ ส่วนที่มีชั้นเดียว (ส่วนหน้า) จะเป็น OPD Clinic (ขวา) Canteen (ซ้าย) เป็นต้น และส่วนหลังที่มีทั้งหมด 3 ชั้น (B1 1stFL 2ndFL) โดยในชั้น 1 มีการใช้งานหลักเป็นการ


224 วินิจฉัยและบาบัดรักษา (มีแผนก PHA, ER, RAD-D, CTD, PT) ในชั้นที่ 2 มีการใช้งานหลักเป็น การ บาบัดรักษา การบริการทางการแพทย์ และงานธุรการ (ICU, SUR, LNDRY, CSSD, LAB, ADMIN) และ ในส่วนของชั้น B1 ทั้งหมดล้วนเป็นการให้การบาบัดรักษาในส่วนของ รังสีรักษา (RAD-T) ล้วนๆ โดย ความพิเศษที่ว่า ชัน้ B1 ยังเป็นชั้นที่ได้รับแสงธรรมชาติค่อนข้างมาก เมื่อเทียบกับชั้น B1 ของ รพ.อื่นๆ เพราะได้มีการออกแบบ เปิด Courtyard ทีค่ ่อนข้างใหญ่และเชื่อมต่อกันได้ด้วยบันไดตรงกลางคอร์ท ระหว่างชั้น1 กับ B1 ในส่วนหลัง (ทิศเหนือ) ของโครงการจะเป็นส่วนที่ให้บริการด้านงานระบบต่างๆเป็นหลัก ไม่ว่าจะ เป็น ห้องระบบไฟฟ้า (EE : Eletrical Equipment) ระบบ HVAC (ที่ใช้เป็นระบบ Water Cool Water Chiller) และ ระบบบริการทางการแพทย์ต่างๆ รวมถึงในส่วนที่ติดกับฝั่งซ้ายบน (North-West) จะเป็น ส่วนงานระบบทางการแพทย์ในส่วนของงานอาหารสาหรับหอพักผู้ป่วยใน (DND : Dietatic & Nutrition Depts.) ในส่วนซ้าย (ทิศตะวันตก) ของโครงการจะเป็นส่วนของหอพักผู้ป่วยใน โดยจะจาแนกได้เป็น 2 ส่วนหลักๆคือ ส่วนของหอพักผู้ป่วยในแยกห้อง (Isolate Ward) และ ส่วนของหอพักผู้ป่วยในแยกตาม ชนิดโรค (Cohort Ward) โดย Cohort Ward จะอยู่ตรงกลางและมี Isolate Ward ประกบข้างขนาบ 2 ข้าง ในส่วนตรงกลางของที่ตั้งโครงการ จะมีอาคารหลังเล็ก 2 หลัง คือในส่วนบน ที่ติดกับ Cohort Ward (มีน้ากัน้ ระหว่างอาคาร) จะเป็นส่วนของหอพระพุทธรูป และส่วนที่ติดกับถนนและ Canteen คือ ส่วนของ อาคารศาสนา (คริสต์+อิสลาม) 5.6.2 ผังบริเวณ (Site Plan) ผังบริเวณจะเป็นการอธิบายพื้นที่โดยรอบโครงการ โดยพื้นที่โดยรอบโครงการส่วนใหญ่เป็น พื้นที่พักอาศัย ไม่สูงมากนัก (ที่สุดที่สุดที่สารวจพบ คือ อาคารบ้านแถว พาณิชย์ สูง 3 ชั้น) โดยในส่วน ด้านหน้าของโครงการฝั่งขวา (East) พบว่าเป็นบ้านพักอาศัย สูงประมาณ 2 ชั้น ฝั่งซ้าย (West) จะเป็น อาคารพาณิชย์ เช่น ร้านอาหาร และ ฝั่งริมซ้ายมือ (ติดขอบ Site) เป็นคลังเก็บสินค้า ในส่วนด้านบน (North) เป็นโครงการ หรือหมู่บ้านจัดสรร ที่เพิ่งสร้างเสร็จ โดยส่วนใหญ่ (ต้นปี 2562) โดยมีวัสดุปิดผิวอาคารเป็นสีขาว ทาให้ต้องระวังเรื่องการสะท้อนของแสงแดด อาจทาให้เกิด ความร้อนได้ และฝั่งขวาบน (North-West) เป็นส่วนที่สบายตาที่สุดกล่าวคือ เป็นส่วนที่เห็นป่าสงวน หนองสนม และสุดท้ายในส่วนของฝุ่งซ้ายมือ เป็นที่ดินรกร้าง ติดกับ Site ไม่ค่อยมีต้นไม้ใหญ่ปกคลุม ทาให้อาจมีระอองฝุ่น ที่พัดโดยลมมรสุม เข้าสู่ตัวโครงการได้ จึงจาเป็นต้องมีการจัดภูมิทัศน์เป็นแนวกัน ลม ในส่วนของขอบฝุ่งซ้ายของ Site ก่อนจะเป็นพื้นที่จอดรถเพื่อกั้นอีกครั้งหนึ่ง


225

ภาพที่ 5.6.2 ผังบริเวณ (แสดงระดับ Contour Interval = 0.50m)


226 5.6.3 แปลนพื้น และผังหลังคา (Floor Plans and Roof Plan)

ภาพที่ 5.6.3 ผังพื้น OPD Building ชั้นใต้ดิน


227

ภาพที่ 5.6.4 ผังพื้น OPD Building ชั้น 1 ส่วนหน้า (ระดับ +0.40 ม.)


228

ภาพที่ 5.6.5 ผังพื้น OPD Building ชั้น 1 ส่วนหลัง (ระดับ +1.20 ม.)


229

ภาพที่ 5.6.6 ผังพื้น OPD Building ชั้น 2 (ระดับ +5.40 ม.)


230

ภาพที่ 5.6.7 ผังหลังคา หลังคาในส่วนของอาคารผู้ป่วยนอก ใช้รูปแบบเป็น หลังคาปั้นหยาผสมจั่ว หรือเรียกว่ามนิลา โดย ผู้ออกแบบได้ออกแบบเป็นหลังคาซ้อนกัน 3 ชั้น คือชั้นที่ 1 เป็นปั้นหยา (ลาดเอียง 20 องศา) ชั้นที่ 2 เป็นปั้นหยา (ลาดเอียง 30 องศา) และชั้นสุดท้ายชั้นที่ 3(บนสุด) (ลาดเอียง 45 องศา) และหลังคาใน ส่วนผู้ป่วยในก็ทาในลักษณะเช่นเดียวกัน แต่มีบางส่วนของโครงการที่ไม่ได้ทาการซ้อนทับหลังคา 3 ชั้น เช่น ส่วนของที่จอดรถคนพิการและส่วนด้านหน้า Front OPD เนื่องจากสัดส่วนของตัวหลังที่เป็นจั่วไม่มี ความเปิดรับมากพอ เหมือนฝั่ง ER ที่สัดส่วนสามารถหันหน้าจั่วออกไปด้านหน้าของโครงการได้ จึงทา ให้ ดันจั่วเข้าไปข้างใน ในส่วนของโถงทางเข้าเพื่อเพิ่มแสงธรรมชาติแทน


231

ภาพที่ 5.6.8 isometric ส่วนหอพระ

ภาพที่ 5.6.9 ภาพผังพื้นและผังหลังคา ส่วนหอพระ ส่วนหอพระผู้ออกแบบได้ทาการออกแบบโดยอิงแนวแกน (Axis) เพื่อให้เกิดความสมมาตร โดยอยู่ ท่ามกลางพื้นที่สีเขียว ที่มีต้นไม้ปกคลุมอยู่ และแยกทางเดินเป็น 2 ทาง และมีต้นไม้อยูต่ รงกลางเพื่อให้ การใช้งานสามารถเข้าถึงธรรมชาติได้มากยิ่งขึ้น ในส่วนของศาลานั่งพักด้านหน้าหอพระ ในตอนแรกผู้ออกแบบและ อาจารย์ที่ปรึกษาต้องการให้ ส่วนหอพระนี้เป็นที่นั่งเล่น พักผ่อนสาหรับผูเ้ ข้ามาใช้โครงการ แต่มองในบริบทแล้ว พบว่าไม่สามารถ รวมเป็นอาคารกลุ่มเดียวกันได้ เพราะเนื่องจากคนที่เข้ามาสักการะ จะต้องมีหมุนเวียนเปลี่ยนถ่ายไป เรื่อย จึงทาให้คนที่ต้องการพักผ่อนหย่อนใจในส่วนอาคารนี้ ถึงแม้จะมีการแบ่งพื้นที่ด้วยระดับที่แตกต่าง กัน ก็ไม่เพียงพอ ผู้ออกแบบจึงได้ทาการแยกกลุ่มอาคารออกมาเป็น 3 หลัง เป็นศาลานั่งเล่น 2 หลัง ชนาบข้างทางเดินตามแนวแกนที่อ้างอิงภายในตัวที่ตั้ง เพื่อให้เกิดความสมมาตรอันเป็นต้น


232

ภาพที่ 5.6.33 isometric ส่วน ศาสนา Chris & islam

ภาพที่ 5.6.34 ภาพผังพื้นและผังหลังคา ส่วนศาสนา Chris & islam ส่วนของอาคารทางศาสนา ผู้ออกแบบพยายามทาให้อาคารทางศาสนาอิสลามหันไปในทาง isolate ward เพราะ 1.ในศาสนอิสลาม เวลาต้องทาพิธีละหมาด มีกฎอยู่ว่าระหว่างการละหมาดไม่ควรเดินผ่าน ด้านหน้าของผู้ละหมาด เป็นการรบกวนสมาธิ และ 2.ในไทยเวลาละหมาดต้องหันหน้าไปทางทิศ ตะวันตก ส่วนในส่วนของศาสนาคริสต์ ไม่ได้มีกฎเกณฑ์ที่เข้มงวดเท่าศาสนาอิสลาม ผู้ออกแบบจึงทาการนา ส่วนนี้หันหน้าเข้าหา Canteen ที่มีความวุ่นวายกว่าส่วนของ isolate ward แต่ในขณะเดียวกันก็มีลา ธารน้าและต้นไม้กั้น ทาให้พนื้ ที่ยังคงความสงบอยู่


233

ภาพที่ 5.6.8 ผังพื้นชั้น 1 อาคาร isolated Ward

ภาพที่ 5.6.9 ผังพื้นชั้น 2 อาคาร isolated Ward

ภาพที่ 5.6.10 ผังหลังคา อาคาร isolated Ward


234

ภาพที่ 5.6.11 ผังพื้นชั้น 1 อาคาร Cohort Ward

ภาพที่ 5.6.12 ผังพื้นชั้น 2 อาคาร Cohort Ward


235

ภาพที่ 5.6.13 ผังหลังคา อาคาร Cohort Ward ในส่วนของหลังคา ใช้วัสดุมุงหลังคาเป็นปูนซิเมนต์ปอร์ตแลนด์ ผสมเส้นใยสังเคราะห์ ผู้ผลิต : SCG หลังคารุ่น ไอยร่า ทิมเบอร์ ไม้แป้นเกล็ด โกลเด้นทีค โดยมีลักษณะทางกายเป็นกระเบื้องหลังคาลายไม้ ลึก พร้อมปลายตัดเหมือนปีกไม้สลับลายเหลื่อมกันอย่างเป็นธรรมชาติ ให้มิติที่แตกต่างดั่งวิถีใหม่ของ ความงามตามธรรมชาติ สาหรับบ้านสไตล์ธรรมชาติ (Natural Style)หรือสไตล์รีสอร์ท มีความหนาอยู่ ที่ 6 มม. สีสวย ทนทาน ยาวนานกว่าสีทั่วไป แกร่งทนและเหนียวไม่มีปัญหาการรั่วซึม องศา Slope หลังคาอยู่ที่ 15-40 องศา

ภาพที่ 5.6.13 หลังคารุ่น SCG ไอยร่า ทิมเบอร์ ไม้แป้นเกล็ด


ภาพที่ 5.6.15 รูปตัดอาคาร OPD ด้านขวางส่วนหลัง

ภาพที่ 5.6.14 รูปตัดอาคาร OPD ด้านขวางส่วนหน้า

236

5.6.4 รูปด้าน (Building Elevations) และ รูปตัด (Building Sections)


ภาพที่ 5.6.16 รูปตัดอาคาร OPD ด้านยาว

237


ภาพที่ 5.6.18 ภาพตัดบางส่วน อาคาร OPD (isometric)

ภาพที่ 5.6.17 รูปด้านอาคาร OPD ด้านยาว

238


ภาพที่ 5.6.22 รูป interior Persepctive ส่วน IPD WARD

ภาพที่ 5.6.19 รูปด้านอาคารด้านทิศเหนือ (ส่วนด้านหลัง Service)

239


ภาพที่ 5.6.21 รูปตัดอาคาร isolated Wardt

ภาพที่ 5.6.20 รูปตัดอาคาร Cohort Wardt

240


ภาพที่ 5.6.24 รูปด้านอาคาร isolated Ward

ภาพที่ 5.6.23 รูปด้านอาคาร Cohort Ward

241


242

5.6.5 อื่นๆ

ภาพที่ 5.6.25 Section Perspective และ Exploded Assymbly ของอาคาร OPD


243

ภาพที่ 5.6.26 Exterior Perspective


244

ภาพที่ 5.6.27 รูปตัด Wallsection


245

ภาพที่ 5.6.28 Semi outdoor Interior Perspecive


246

ภาพที่ 5.6.30 Detail


247

ภาพที่ 5.6.31 Detail Wallsection

ส่วนของแบบขยายในจุดนี้ จะเป็นการแสดงแบบขยายแบบภาพสามมิติ (isometric) โดยเน้น ให้เห็นถึงความเป็นเฉลียงและระเบียงของกลุ่มอาคารเรือนต่างๆ (ในภาพเป็นส่วนของชั้น 2 ส่วนหน้า ห้อง CENTRAL LAB) โดยในส่วนนี้จะแสดงให้เห็นว่า หลังคาด้านบนทางเดินเป็น FLAT SLAB และมี การปิดชายหลังคาด้วย ระแนงไม้ และส่วนด้านล่างของระแนงไม้ก็จะมีหลังคายื่น (1.00-1.50 ม. ความ ชัน 15-20 องศา) ออกมาเป็นให้เกิดความรู้สึกถึงความเป็นเฉลียงมากยิ่งขึ้น ถามว่าทาไมไม่ทาหลังคายื่น อีกมาจากตัวอาคารเลย เพราะว่าทางสัญจรหลักของอาคารมีความกว้างถึง 3.00 - 3.50 ม. ทาให้ถ้าทา การออกแบบหลังคายื่นออกมาจากตัวอาคาร จะทาให้ตัวหลังคา บีบระนาบแนวตั้งทางเดิน และความ ลาดชันของหลังคาจะต่ากว่าวัสดุมุงหลังคาจะทาได้ (<15องศา) และอาจทาให้เกิดน้ารั่วซึมได้


248

ภาพที่ 5.6.34 Exploded Assymbly Cohort Ward

ภาพที่ 5.6.35 Exploded Assymbly Isolate Ward


5.6.6 แผ่นงานนาเสนอ

ภาพที่ 5.6.36 ภาพแผ่นงานนาเสนอ

5.6.6 แผ่นงานนาเสนอ Presentation plate (A1 portrait x 17 page) วิธีการจัดวางแผนนาเสนอ ส่วนใหญ่มาจากการเรียงลาดับ (Squence) ในการพรีเซ้นต์ ว่าต้องการพูดในส่วน ไหนก่อนหลัง ตามลาดับ และการจัดการวางเนื้อหา ผู้ออกแบบได้จัดวางเนื้อหาให้อยู่ในขนาดที่พอเหมาะกับพื้นที่ ของหน้ากระดาษโดยในส่วนผังพื้น จะจัดวางให้อยู่ ในเพลทเพียง 1 แผ่นเท่านั้น เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจและดูแบบผัง

249


250

ภาพที่ 5.6.37 ภาพถ่ายแผ่นงานนาเสนอ 5.6.7 หุ่นจาลองสถาปัตยกรรม Architectural Scale Model (1.20 x 1.20m 1:250)

ภาพที่ 5.6.38 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 1-3


251

ภาพที่ 5.6.39 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 4

ภาพที่ 5.6.40 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 5


252

ส่วนของหุ่นจาลอง มาตร ส่วน 1: 250 มีส่วนหลักๆของ โมเดลด้วยกันอยู่ 4 ส่วนคือ 1. ส่วนฐานโมเดล 2.ส่วน Pavement หรือทางเท้า 3. ส่วนตัวอาคาร 4.ส่วนหลังคา และเป็นการตัดมือ 100% ไม่มี การใช้เครื่อง Laser cutting หรือ 3D Printing ในการช่วย เลย ในส่วนของฐานโมเดล ผู้ออกแบบได้ตัดและประกอบ ฐานไม้เอง (ทาในตึก Workshop ของคณะ) โดยใช้ไ ไม้เบญจพรรณขนาดหน้ากว้าง 1/2"(1.2ซม.) x ลึก 12/8"(4 ซม.) ตัดเป็นโครงและยิงด้วยปืน ลมแม็ก ขนาดลึก 30มม. ใน ส่วนของแผ่นไม้ปิดข้าง ใช้เป็น ไม้ MDF ขนาดความหนาที่ 3 มม. ในส่วนของ pavement หลักๆ ใช้พลาสวูดในการตัด ใน ส่วนของตัวอาคารใช้เป็นไม้บัล ซ่า และในส่วนของตัวหลังคาใช้ เป็นพลาสวูด โดยในแต่ละส่วน จะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ภาพที่ 5.6.41 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 6

ภาพที่ 5.6.42 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 7

ภาพที่ 5.6.43 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 8


253 ส่วนของหลังคา โดยผู้ออกแบบใช้วัสดุเป็นพลาสวูดหนา 1.00 มม. ตัดและใช้สันคัตเตอร์กรีด ให้เป็นร่อง (ตามแนวกระเบื้องหลังคา) พับเป็นหลังคา และใช้สีสเปรย์ฉีดทับ ส่วนของผนังใช้วัสดุใน การตัดเป็นไม้บัลซ่าหนา 1.00-1.50 มม.

ภาพที่ 5.6.44 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 9

ภาพที่ 5.6.45 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 10

ภาพที่ 5.6.46 ภาพผู้ออกแบบและหุ่นจาลอง


254 ในส่วนของพื้นถนน (Asphalt) ใช้วัสดุในการตัดเป็น พลาสวูด 1.00 มม. ในส่วนของพื้นทางเท้า (Pavement) ใช้แผ่นไม้ก๊อกสีแดง พ่นสเปรย์ สีครีมทับ ในส่วนของ Landscape ใช้ หญ้าสีขาว พ่นสี สเปรย์สีเขียว เพื่อไม่ให้ตัวสีของหญ้าโดดเด่นจนเกินไป และสุดท้ายในส่วนของ Flat Slab หรือหลังคา Slab ใช้วัสดุในการตัดเป็น กระดาษชานอ้อยหน้า 1.50มม.

ภาพที่ 5.6.48 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 12

ภาพที่ 5.6.49 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 13

ภาพที่ 5.6.50 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 14


255

ภาพที่ 5.6.51 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 15 จากการศึกษาเกี่ยวกับ การเกิดโรคมะเร็ง วิธีการตรวจโรคมะเร็ง ตลอดจนการรักษาโรคมะเร็ง พบว่า จะสามารถจาแนกผู้ปว่ ยเป็น 2 ประเภท หลักๆ คือ 1.ผู้ป่วยที่มาเช้าเย็นกลับ คือผู้ป่วยที่สามารถ เดินทางเองได้ หรือเป็นผู้ป่วยที่อาการไม่ร้ายแรง ผู้ป่วยประเภทนี้ ส่วนใหญ่จะเขามารับการรักษา ที่ แผนกเคมีบาบัด และรักสีรักษาเป็นหลัก โดยจะใช้เวลาเฉลี่ย 2 - 4 ชม. (รวมเวลาสังเกตการณ์แล้ว) ต่อ ครัง้ ซึ่งผู้ป่วยประเภทนี้ ไม่มีความจาเป็นต้องนอนพัก (Admit) ที่ รพ.แต่อย่างใด 2.ผู้ป่วยที่มีอาการ หนัก จาเป็นต้องนอนพักที่โรงพยาบาล ได้แก่ ผู้ป่วยที่ได้รบั การผ่าตัด คือ จะต้องมีการนอนพักฟื้นและ สังเกตการโดยคุณหมอและพยาบาล เพื่อให้รอให้อาการดีขึ้น

ภาพที่ 5.6.52 ภาพหุ่นจาลอง ภาพที่ 16

- 17


256 ผู้ออกแบบจึงเล็งเห็นความสาคัญของผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่มนี้ จึงได้ทาการออกแบบพื้นที่ใช้สอย ที่มีความใกล้ชิดกับธรรมชาติ โดยเฉพาะในส่วนของ OPD Clinic , แผนกเคมีบาบัด , แผนก กายภาพบาบัด , แผนกรักสีรักษา เป็นต้น โดยการเปิดทั้ง Courtyard และ การเพิ่มลาธารให้มีน้าไหล ผ่านเพื่อรองรับการใช้งานของผู้ป่วยกลุ่มที่ 1 (กลุ่มที่มาเช้า-เย็นกลับ) และ ได้ทาการออกแบบพื้นที่ของ Courtyard และเพิ่มลาธารน้าที่อยู่ใกล้ในส่วน IPD WARD เพื่อรองรับการใช้งานของผู้ป่วยกลุ่มที่ 2 (กลุ่มที่ต้อง นอนพัก รพ.) เพื่อให้การนอนพักของ ผู้ป่วยเกิดประสิทธิภาพใน การฟืน้ ฟู ทั้งสภาพ ร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยเองมากที่สุด

ภาพที่ 5.6.54 ภาพระหว่างพรีเซ็นต์

ภาพที่ 5.6.55 ภาพถ่ายร่วมกับ อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ (อ. ขจร สีทาแก)


ภาพที่ 5.6.56 ภาพระหว่างพรีเซ็นต์

257


258

บทที่ 6 อภิปรายผล สรุปและข้อเสนอแนะ 6.1 อภิปรายผลการออกแบบ การอภิปราบผลการออกแบบจาแนกได้เป็น 3 ส่วนหลักๆคือ การอภิปรายผลการออกแบบที่เป็นไป ตามวัตถุประสงค์การศึกษา เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ โครงการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 6.1.1 อภิปรายผลการออกแบบที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์การศึกษา ข้อ.1 เพื่อศึกษาการออกแบบพื้นที่และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการรักษาและพักฟื้น สาหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง - ในข้อนีต้ ัวโครงการมีการจัดสรรพื้นที่สีเขียวให้อยู่ในทุกๆจุดของโครงการและมี น้าสอดแทรกอยู่ทั้งในส่วนอาคารผู้ป่วยนอกและส่วนของ Ward แต่ในส่วนของใช้น้าเพื่อให้เกิดสภาวะที่ เอื้อต่อการรักษาและพักฟื้น ผู้ออกแบบคิดว่า ในส่วนของการศึกษาการออกแบบภูมิทัศน์เกี่ยวกับน้าตัว ผู้ออกแบบยังทาได้ไม่ละเอียดมากเพียงพอ ข้อ.2 เพื่อศึกษาการดาเนินงานของโรงพยาบาลเฉพาะทาง เพื่อนาไปสู่การกาหนด องค์ประกอบของโครงการและออกแบบพื้นที่ใช้สอย - ในข้อนี้ ผู้ออกแบบได้อ้างอิงองค์ประกอบของ โครงการและพื้นที่ใช้สอยจากคู่มือ(กระทรวงสาธารณสุข)และหนังสือการออกแบบโรงพยาบาล(อ.อวย ชัย) ทาให้ตัวองค์ประกอบของโครงการแตกต่างจากองค์ประกอบของโรงพยาบาลทั่วไป โดยมีในส่วน ของแผนก รังสีรักษาและเคมีบาบัดที่เพิ่มขึ้นมาโดยทั้งสองแผนกนี้จะสามารถเชื่อมต่อกับพื้นที่สีเขียวได้ โดยแผนกเคมีบาบัดสามารถมองเห็นบ่อน้ากลางที่ตั้ง และส่วนของรังสีรักษา สามารถเห็นแสงธรรมชาติ และพืน้ ที่สีเขียว Courtyard ที่ทาการเจาะลงไปถึงชั้นใต้ดิน ในส่วนของ OPD Clinic หรือโถงต้อนรับ ด้านหน้า ก็มี Courtyard ที่เชื่อมต่อการมองเห็นถึงโรงอาหาร และ เภสัชกรรม ข้อ.3 เพื่อศึกษาแนวทางการเลือกใช้งานระบบต่างๆ และการเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม ผู้ออกแบบได้ทาการ แยกพืน้ ที่การทางานของระบบอาคารไว้ในส่วนด้านหลัง และศึกษาข้อมูลจากคูม่ ือ และหนังสือการออกแบบ รพ. ทาให้รู้ว่า งานระบบทางการแพทย์หลัก ๆ มีอยู่ 2 ส่วนคือ ห้องเก็บถัง ออกซิเจน หัวจ่ายในห้อง ICU และห้อง VACUUM PUMP ที่ใช้ในการดูดของเหลว ของเสียต่างๆ แต่ใน ส่วนของการเดินท่องานระบบ ผู้ออกแบบยังไม่ได้มีการดูเส้นทางการเดินท่อ Service ต่างๆ และในส่วน ของวัสดุปิดผิวอาคาร ผู้ออกแบบได้ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่เหมาะสมกับการใช้งานในรูปแบบชายคา และมีความเป็นธรรมชาติ ทาให้พบว่า มีวัสดุที่น่าสนใจทีค่ วรนามาใช้ในส่วนของหลังคาคือ วัสดุปูนซิ เมนต์ปอร์ตแลนด์ ผสมใยสังเคราะห์ ที่มลี ักษณะภายนอกเป็นแป้นเกล็ดลายไม้ลึก จะทาให้ผู้ใช้งานมี ความรู้สึกเหมือนอยู่บ้านมากกว่าอยู่ที่โรงพยาบาล


259 6.1.2 อภิปรายผลการออกแบบที่เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา จากข้อ 1.3 (หน้า23) กล่าวว่า "มีจุดมุ่งหมายของการศึกษาคือ การออกแบบพื้นที่สภาพแวดล้อมที่ ส่งเสริมให้เกิดการรักษาและฟื้นฟูทั้งสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ กับผู้ป่วยมะเร็งทั้งในระยะเริ่มแรก ตลอดจนระยะลุกลามหรือระยะแพร่กระจาย" ผู้ออกแบบคิดว่าเป็นไปตามจุดมุ่งหมาย เพราะ ใน โครงการมีการแบ่งพื้นที่สีเขียวและแสงธรรมชาติ สามารถสอดส่องเข้าถึงหอพักผู้ป่วยในได้ทุกห้อง จึง ก่อให้เกิดการฟื้นฟูทางด้านร่างกาย และมีหอพระ และห้องปฎิบัติทางศาสนา จึงทาให้เกิดการฟื้นฟู ทางด้านจิตใจ ในขณะเดียวกันก็มี 6.1.3 อภิปรายผลการออกแบบที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ข้อ 1.เพื่อให้การบริการทางการแพทย์เฉพาะทางมะเร็งครบวงจรทั้งการตรวจ วินิจฉัย บาบัดรักษา ทั้งสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ – จากการดูกรณีศึกษาต่างๆ พบว่า โรงพยาบาลส่วนใหญ่ที่มีการ ให้บริการที่ครบวงจรที่อยู่ในกรุงเทพ ส่วนใหญ่จะให้ความสาคัญกับการรักษาทางด้านร่างกายมากกว่า ทางด้านจิตใจ อาจเป็นเพราะงบประมาณที่มีจากัด ผู้ออกแบบจึงแบ่งพื้นที่ของแผนกรังสีรักษา และเคมี บาบัด ให้เห็นธรรมชาติและมีพื้นที่เพียงพอเพื่อรองรับการรักษาที่ครบวงจร และมีส่วนอาคารศาสนา (อิสลามและคริสต์) และอาคารหอพระ เพื่อเยียวยาผู้ป่วยในด้านจิตใจ ข้อ 2.เพื่อเป็นสถานพยาบาลเอกชนที่แบ่งเบาภาระการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลรัฐ เนื่องจาก Site ที่เลือก อยูใ่ กล้ รพ.รัฐ อย่าง รพ.ระยอง เพียง 7.2 km และยังอยู่ท่ามกลาง รพ.รัฐอีก 3 แห่ง ดังภาพที่ 6.1.1 ดังนั้นจึงเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ภาพที่ 6.1.1 ภาพแสดงระยะทางระหว่าง Site และ รพ.รัฐ รองข้าง 6.2 สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาและทาวิทยานิพนธ์ทาให้ผู้ศึกษาได้มีความรู้และเข้าใจแนวทางในการออกแบบพื้นที่ สาหรับรักษาผูป้ ่วยโรคมะเร็งเพิ่มมากขึ้น เข้าใจแนวทางการออกแบบพื้นที่ที่มีองค์ประกอบทางกายภาพ บรรยากาศสภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการรักษาและพักฟื้น มีความเข้าใจในความเป็นโรงพยาบาลเฉพาะ


260 ทางที่มีองค์ประกอบแตกต่างจากโรงพยาบาลทั่วไป รวมถึงเข้าใจความซับซ้อนของการจัดพื้นที่ใช้สอย และทางสัญจรภายในโรงพยาบาล 6.3 ข้อเสนอแนะ ในส่วนของแนวคิดในการวางผัง ในการออกแบบ Courtyard ที่อิงแนวแกนต่างๆ และการจัดการ พื้นที่ ยังไม่ดีพอ ทาให้ตัว Courtyard เกิดการเชื่อมต่อที่ยังไม่ Flow มากพอ ถ้าทางที่ดีรอยต่อของ Courtyard แต่ละส่วน ควรมีระนาบที่ต่อเนื่องกันมากกว่านี้ ในส่วนของแนวคิดในการออกแบบอาคาร ในการพูดถึงตัวเรือนไทยภาคตะวันออก ควร ทาการศึกษา ที่มาที่ไปของเรือนไทยให้ลึกซึ้งกว่านี้ และทาการถอด Element ของเรือนไทยภาค ตะวันออกที่เหมาะสมกับตัวโครงการ นามาปรับใช้ทั้งในส่วนของ หลังคา และ องค์ประกอบทาง สถาปัตยกรรมอื่นๆ ในส่วนของการใช้งานของอาคารผู้ป่วยใน (IPD Ward) ควรมีการเพิ่มเติมห้อง Relative Discussion เป็นห้องที่ให้แพทย์และญาติผู้ป่วยได้มีพื้นที่ในการพูดคุยสอบถามเกี่ยวกับอาการต่างๆของ ผู้ป่วย ในกรณีที่ต้องให้ญาติมสี ่วนช่วยในการตัดสินใจ และ ในส่วนของ Cohort Ward ที่เป็นห้อง AIIR ควรมีการเพิ่มเติมห้องเยี่ยมญาติสาหรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อทางอากาศ เพื่อรองรับให้สามารถพบเจอ พูดคุย กับญาติได้ โดยอาจเป็นห้องแล้วมีกระจกกัน้ คุยผ่านอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนของทางสัญจร ภายในอาคารผู้ป่วยนอก ในส่วน ICU กับส่วน SERVICE ควรจัดให้มีความ ใกล้กันมากกว่านี้ เพราะ กรณีฉุกเฉินส่วนใหญ่จะเกิดที่หอ้ ง ICU แล้วถ้าทางสัญจร ระหว่าง ICU กับส่วน SERVICE อยู่หา่ งกันมาก จะทาให้เกิดความลาบาก ในการสัญจรได้ ตัวผู้ออกแบบคิดว่าแนวทางในการ แก้ไขในส่วนนี้คือ สลับพื้นทีข่ องแผนก ระหว่างแผนกศัลยกรรมกับ แผนก ICU เพื่อดันให้ตัว ICU ไปอยู่ ด้านหลัง จะทาให้เกิดการรบกวนการใช้งานทางสัญจรได้นอ้ ยลง ในภาพรวมของอาคาร พื้นที่ส่วนต่างๆ ที่เป็นจุดเด่นของโครงการ ควรมีการ Design หลังคาหรือ เพิ่มจุดเด่น เพื่อให้พื้นที่ในส่วนที่เป็น Highlight ของโครงการ ดูโดดเด่นกว่าจุดอื่นๆ รวมถึงหลังคาคลุม ทางเดิน (Cover way) ในส่วนที่เป็นจุดตัด(ทางแยก)หรือรอยต่อ ควรมีการเพิ่มการ Design หลังคาใน ส่วนนั้นๆ เพื่อให้เกิดเป็นจุดนาสายตา และเป็นสัญลักษณ์ของทางเชื่อม ทางแยก ของทางเดินมากยิ่งขึ้น


261

บรรณานุกรม Cancertreatmentthai. (2560). ธรรมชาติบาบัดและการรักษามะเร็งตามแนวธรรมชาติบาบัด. ศูนย์การแพทย์ . IAEA. (2557). Radiotherapy Facilities: Master Planning and Concept Design Considerations. International Atomic Energy Agency, Viennna. iHFG. (2560). International Health Facility Guidelines. TAHPI. njoy. (2552). เรือนไทยภาคตะวันออก - เรือนท้องถิ่นชนบท. bansongthai. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.t กนกภรณ์ ภู่พิพัฒน์ภาพ. (2562). ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ที่เกิดเชื้อราซ้า ในอาคารโรงพยาบาลแบบปรับ อากาศ. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. กลุ่มวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างเพื่อสุขภาวะ. (2561). OPD มีสุข: ออกแบบปรับปรุงพื้นที่แผนกผู้ป่วย นอกเพื่อสุขภาวะของทุกคน. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ . (2558). โครงการจัดทาคู่มือออกแบบอาคารสถานบริการ สุขภาพและสภาพแวดล้อม ปี 2558. กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ . (2559). โครงการคู่มือการออกแบบอาคารและ สภาพแวดล้อมสถานบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ 2559. กระทรวงสาธารณสุข. กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ . (2560). คู่มือการออกแบบอาคารและสภาพแวดล้อม สถานบริการสุขภาพระดับทุติยภูิม-ตติยภูมิ ปีงบประมาณ 2560. กระทรวงสาธารณสุข. โกศล จึงเสถียรทรัพย์, โกเมธ นาควรรณกิจ. (2553). HEALING ENVIRONMENT. สถาบันรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. โกศล จึงเสถียรทรัพย์, พุทธชาติ แผนสมบุญ, ธนวรรรณ สาระรัมย์. (2560). โครงการออกแบบสภาพแวดล้อม สถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (ปีที่2). สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สถาบันวิจัยระบบ สาธารณะสุข. กระทรวงสาธารณสุข กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. คณะผู้จัดทา. (2560). คู่มือแนวทางการพัฒนา ห้องแยกโรคผู้ป่วยแพร่เชื้อทางอากาศ. กระทรวง สาธารณสุข กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.


262 เจนยุทธ ล่อใจ. (2550). แนวแกนที่ไม่สามารถมองเห็นได้ในงานสถาปัตยกรรม. มหาวิทยาลัยศิลปากร. ชนิกานต์ ยิ้มประยูร และคณะผู้จัดทา. (2560). คู่มือการใช้กฎหมายอาคารเพื่อการออกแบบ. สถาบันสถาปนิก สยาม. Li-zenn. ณฤทัย เรียงเครือ. (2560). พื้นฐาน: การออกแบบสถาปัตยกรรม (Basics: Architectural Design) . Li-zenn. ไตรวัฒน์ วิริยศิริ, กุลธิดา แสงนิล, ธนเดช ศรีคราม. (2558). การศึกษาการใช้พื้นที่ส่วนงานบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. นภัส ชวัญเมือง. (2557). แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมไทย : กรณีศึกษาผลงานการออกแบบหอ พระพุทธรูป โดย รศ.ภิญโญ สุวรรณคีรี ราชบัณฑิต ศิลปินแห่งชาติ. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ปชารัฐ ศักดาอดิศัย. (2558). การใช้พื้นที่ภายในมัสยิด เพื่อประกอบศาสนกิจ: กรณีศึกษา มัสยิดท่าอิฐ จังหวัด นนทบุรี. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ปวีณ์กานต์ อินสว่าง. (2563). Rayong Time Ago. adaymagazine.com. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พิชญ์สินี จงยั่งยินวงศ์, . (2562). ลักษณะกายภาพของที่ทางานพยาบาล แผนกหอผู้ป่วยใน. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พิมพ์ชนก อร่ามเจริญ, ไตรวัฒน์ วิรยศิริ. (2562). การสัญจรทางตั้งภายในโรงพยาบาลที่มีหอผู้ป่วยในในรูปแบบ อาคารสูง. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. มนตรี รื่นรวย. (2557). การออกแบบภูมิทัศน์เบื้องต้น. วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตาก. ระยอง. (2525). ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาคจังหวัดระยอง. ธนชาติการพิมพ์. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุภาวรรณ ปันดิ. (2562). วัดบ้านเซเวียร์: สถาปัตยกรรมวัดโรมินคาทอลิกสมัยใหม่ ในประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุวิชา พิทักษ์กาญจนกุล. (2562). แกะรอบสกุลช่างระยองผ่านมุมมองของอาจารย์ประวัติศาสตร์ศิลปะ. adaymagazine.com. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. โสภาพร ดวงดี. (2552). บทบาทของสถาปัตยกรรมในการผสมผสานทางวัฒนธรรม: นาเสนอแบบจาลองอาคาร คริสต์จักรแบบพื้นเมืองในสไตล์บูรณาการสถาปัตยกรรมคริสเตียน. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.


263 อนงนาฎ เรืองดา, พัชราภรณ์ ทองวัชระ. (2554). สภาพวะด้านจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยมะเร็ง. HOCC-PSU. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. อนุวัฒน์ เติมเจิม. (2560). การออกแบบหอพระพุทธพิริยมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. อภิเชษฐ์ อัศวบุญญาเดช. (2556). แนวทางในการออกแบบโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม กรณีศึกษาโรงพยาบาลราชพฤกษ์ ขอนแก่น. สถาบันอาศรมศิลป์. อริยา อรุณินท์. (2541). การออกแบบก่อสร้างภูมิสถาปัตยกรรม 2. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. อวยชัย วุฒิโฆสิต. (2551). การออกแบบโรงพยาบาล. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. โอ๊ก ศรนิล, ชนิกานต์ ยิ้มประยูร, ภัทรนันท์ ทักชนนท์. (2562). การเพิ่มการระบายอากาศในหอผู้ป่วยรวมด้วยวิธี ผสานเพื่อควบคุมการติดเชื้อ. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.


264

ภาคผนวก (APPENDIX)


265 ภาคผนวก ก - ภาพส่วนหนึ่งของขัน้ ตอนการทาโมเดล


266 ภาคผนวก ข - ระหว่างการทางานและตรวจแบบ


267 ภาคผนวก ค - ภาพขณะสารวจที่ตั้งโครงการ (ระยอง) สามารถเข้าดูภาพ เพิ่มเติมได้ที่ URL และ QR Code ด้านล่างนี้ photos.app.goo.gl/zFeLt 3i27pv1Et339


268 ภาคผนวก ง – ภาพขณะสารวจกรณีศึกษาที่ รพ.จุฬาภรณ์ สามารถเข้าดูภาพเพิ่มเติมได้ที่ URL และ QR Code ด้านล่างนี้ photos.app.goo.gl/FxWtrgyEAZnk4Lh h6


269 ภาคผนวก จ - ไฟล์และภาพ

https://issuu.com/athipphak01/ docs/chart_isolate_a0_rdf

CHART PRESENTATION

https://issuu.com/athipphak0 1/docs/combinepdf

TOPIC PINUP

https://mega.nz/folder/UJNxBChT#GX QfYz8v9NOpTLgu5zFp0g

Case Study Analysis & CHART raw file (500MB)

https://photos.app.goo.gl/qFgZ7d1Hr2V3EGFd8

Architectural Model (1:250) & Present photo

https://issuu.com/athipphak 01/docs/03

THESIS PINUP

https://issuu.com/athipphak01/docs/sit e_user_all_diagram_binder

Site, Uer Analysis & ALL Diagram


270

ประวัตินักศึกษา

ชื่อ นามสกุล วัน เดือน ปี เกิด สถานที่เกิด ภูมิลาเนา ประวัติการศึกษา

นายอธิปภัคคิ์ ตรีธีรโรจน์ 9 มกราคม 2541 ถ.สมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555 - จบการศึกษาระดับประถมศึกษา - มัธยมศึกษาตอนต้นที่ โรงเรียนเทศบาลวัดราษฎร์นิยมธรรม จังหวัดชลบุรี อาเภอศรีราชา พ.ศ. 2558 - จบการศึกษาระดับมัธยมปลายที่ โรงเรียนศึกษานารีวิทยา กรุงเทพฯ เขตบางบอน ประสบการณ์ทาง นักศึกษาฝึกงาน ที่ บริษัท เจเอไอ กรุ๊ป จากัด (JAI Group Co., Ltd) ช่วง วิชาชีพ วันที่ 18 พ.ย. 2562 - 23 มี.ค. 2563 ที่อยู่ปัจจุบัน 56/272. หมู่บา้ น.ร่มเย็น ซ.เพชรเกษม63 ถ.เพชรเกษม ต.บางแค อ.บางแค กทม.10160 ที่อยู่หอพัก (คลอง6) เลิศวิจิตรอพาร์ทเม้นท์ 36/9 ห้องหมายเลข 20x ม.1 ซ.คลองหกตะวันออก 8 ต.คลองหก อ.คลอง หลวง จ.ปทุมธานี 12120 เบอร์โทรติดต่อ 061 541 7993 Email Athipphak01@gmail.com Facebook facebook.com/kasin.triteerarode Line id Bossexp7993

THIS THESIS BOOK QR CODE https://issuu.com/athipphak01/docs/athipphak-tri_thesis2020_arch_rmutt


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.