Thesis 2020 ETC analysis part and Diagram - ARCH RMUTT

Page 1

USER ANALYSIS TIMELINE ก่อนเช้า

เช้า

สาย

เที่ยง

บ่าย

เย็น

ค่า

ดึก

00.00 - 7.00

7.00 - 10.00

10.00 - 12.00

12.00 - 13.00

13.00 - 16.00

16.00 - 18.00

18.00 - 21.00

21.00 - 24.00

ญาติผุ้ป่วย

นอนหลับ

เดินทาง

ญาติเข้าเยี่ยม

รับประทานอาหาร

ญาติเข้าเยี่ยม

รับประทานอาหาร + เดินทาง

ญาติเข้าเยี่ยม

เดินทางกลับ/เข้านอนพั กกับผู้ป่วย

ผู้ป่วย OPD / ER

นอนหลับ

่ ผนกเวชระเบียน เข้าลงทะเบียน/ จองคิว ทีแ (ในเวลาราชการ ปิดรับ 10.30น.)

รับการตรวจ OPD + รับยา

ปิดรับผู้ป่วย OPD (18.00น)

ผู้ป่วยเข้าแผนก ER

ผู้ป่วยเข้าแผนก ER

ผู้ป่วย IPD/ADMIT ใน WARD

นอนหลับ

ตื่นนอน + รับประทานอาหารเช้า

พั กผ่อน + ญาติเข้าเยี่ยม

รับประทานอาหารกลางวัน

พั กผ่อน + ญาติเข้าเยี่ยม

รับประทานอาหารเย็น

พั กผ่อน + ญาติเข้าเยี่ยม

นอนหลับ

แพทย์ (ทั่วไป, GP)

นอนหลับ/ อยู่เวร

ราวน์คนไข้ (ตรวจดูอาการคนไข้ใน Ward) พร้อมกับ แพทย์เฉพาะทาง และ พยาบาล

เขียนออเดอร์ หลังการราวน์คนไข้ ว่าต้อง ทาอย่างไรต่อกับผู้ป่วย

รับประทานอาหารกลางวัน

ตรวจ OPD (คนไข้อายุรกรรมทั่วไป) ถ้า อาการไม่ดีต้อง ADMIT

กลับบ้าน / อยู่เวร (โดยทั่วไป 9 เวรต่อเดือน)

พั กผ่อน / อยู่เวร

นอนหลับ / อยู่เวร

แพทย์ผ่าตัด

นอนหลับ

เข้าแผนกศัลยกรรม, เปลี่ยนชุด+รองเท้า (ที่ทาง CSSD ซักให้ใหม่)

ผ่าตัด

ผ่าตัด + กินข้าวในแผนกผ่าตัด (ใน วันที่ยุ่งมาก)

ผ่าตัด

ผ่าตัด

เปลี่ยนชุด+รองเท้า ที่ใช้แล้ว (ทิ้งส่ง ต่อให้ CSSD), กลับบ้าน

พั กผ่อน

นอนหลับ/ อยู่เวร

เข้าแผนก +เปลี่ยนชุด ประเมินผู้ป่วย (ความพร้อม+ระยะเวลา)

บริหารยาสลบและยาชา ระหว่างผ่าตัด

บริหารยาสลบระหว่างผ่าตัด + กิน ข้าวในแผนกผ่าตัด (ในวันที่ยุ่งมาก)

บริหารยาสลบและยาชาระหว่าง ผ่าตัด

บริหารยาสลบและยาชาระหว่าง ผ่าตัด

เปลี่ยนชุด+รองเท้า ที่ใช้แล้ว (ทิ้งส่ง ต่อให้ CSSD), กลับบ้าน

พั กผ่อน / เข้าเวร

กลับบ้าน

พั กผ่อน

กลุ่มผู้ใช้งาน / เวลา

วิสัญญีแพทย์

จิตแพทย์

นอนหลับ

รับการตรวจ OPD + รับยา รับอาหารโดยผู้ช่วยพยาบาล

ราวน์คนไข้ + ประชุมกับทีมจิตแพทย์และ เข้าตรวจ OPD + เขียนออเดอร์ให้ ผู้อานวยการ บอกเล่าอาการคนไข้ คนไข้ บาบัดด้วยวิธีการต่างๆ

รับประทานอาหารกลางวัน

เข้าตรวจ OPD + เขียนออเดอร์ หาข้อมูล วิเคราะห์ วางแผนการ ให้คนไข้ บาบัดด้วยวิธีการต่างๆ รักษา

พยาบาลวิชาชีพ (RN)

นอนหลับ/ อยู่เวร

เปลี่ยนชุด + เข้าเวร

เข้าเวร

รับประทานอาหาร

เข้าเวร

เข้าเวร

กลับบ้าน / อยู่เวร

พั กผ่อน / อยู่เวร

นักรังสีเทคนิค

นอนหลับ/ อยู่เวร

เข้าแผนก + เปลี่ยนชุด

วางแผน + ถ่ายภาพเอกซเรย์ ร่วมกับรังสีแพทย์

รับประทานอาหาร

นาเสนอผลรังสีเทคนิค เพื่ อ ประกอบการวินิจฉัยของแพทย์

เข้า LAB เพื่ อวินิจฉัยและพยากรณ์ความ รุนแรงของโรค (เวชศาสตร์นิวเคลียร์)

กลับบ้าน

พั กผ่อน

นอนหลับ/ อยู่เวร

เช็คยาที่ห้องยาของแผนก ว่ามีพอจะจ่าย ให้ผู้ป่วยไหม ต้องเบิกตัวไหนอะไรยังไง

จัดยาตามใบสั่งแพทย์ + แนะนาการกินให้คนไข้ OPD

รับประทานอาหาร

พู ดคุย ปรึกษา เภสัชกรที่ห้อง ผลิตยา

จัดยาตามใบสั่งแพทย์ + แนะนา การกินให้คนไข้ OPD

กลับบ้าน / อยู่เวร (ตามแผนก OPD ปกติ 17.00-20.00 บางวันอาจอยู่ยัน เช้า)

พั กผ่อน / อยู่เวร

นอนหลับ

เข้าแผนก

ประชุมทีม + วางแผน

รับประทานอาหาร

ควบคุมนโยบาย

ควบคุมเงิน และทรัพยากรคน

กลับบ้าน

พั กผ่อน

เภสัชกร

คณะผู้อานวยการ


PUBLIC

GROUPING AND ZONING SERVICE

PRIVATE

8.CANTEEN

6.1 DND

9.MORGUE

2.2 RAD

6.2 CSSD

1.3 ER

9.MORGUE

7.ฝ่ายงานระบบ

SEMI-PRIVATE

2.5 PT

SEMI-PRIVATE 9.จอดรถ

MAIN ENTRY

จอดรถ

SERVICE ทางสัญจรผู้ปฏิบัติงาน (OFC;

แพทย์, บุคลากรแพทย์, คณะผู้บริหาร, ฯลฯ)

ทางสัญจรผู้รับบริการ (CX; ญาติผู้ป่วย, ผู้ป่วย, ฯลฯ)

SCALE 1:750

2.2 RAD

PUBLIC ZONE

2.5 PT

1.1 โถงต้อนรับ + เวชระเบียน

(Dietary)

2.4 Chemical Therapy D

SERVICE ENTRANCE

6.1 DND

2.1 PHA

1.2 OPD Clinics

2.3 LAB

PUBLIC

Function Circulation Diagram

3.2 ICU

SERVICE

3.1 SUR

3.2 ICU

6.3 LNDRY

2.4 Chemical Therapy D

6.2 CSSD

3.1 SUR

1.3 ER

MAIN ENTRANCE

2.3 LAB

6.3 LNDRY

9.RELIGION

7.ฝ่ายงานระบบ

9.RELIGION

SEMI-PUBLIC

2.1 PHA

SEMI-PUBLIC

(Dietary)

5. ฝ่ายบริหาร ธุรการ

8.CANTEEN

1.1 โถงต้อนรับ + เวชระเบียน

MAIN ENTRANCE

จอดรถ

4.ฝ่ายหอผู้ป่วยใน OPD/WARD

1.2 OPD Clinics

MAIN ENTRANCE

PRIVATE 5. ฝ่ายบริหาร ธุรการ

HALL

(โถงลิฟต์, ทางเดินหลัก)

4.ฝ่ายหอผู้ป่วยใน OPD/WARD


POSITION AND PROGRAM STUDY

ห้องประชุมทีมผ่าตัด

12 sqm.

96 sqm.

3.1 SUR 1.1 โถงต้อนรับ (HALL) และเวชระเบียน (MRD) ควรอยู่ในตาแหน่งทีเ่ ห็นได้ ชัดเจนและเข้าถึงได้ง่ายจากทางเข้าหลัก และห้องเก็บเอกสารของเวชระเบียน ไม่ควรอยู่ชั้น 1 เพราะจะะทาให้เปลืองพื้ นที่ และพบเจอความชื้นได้ง่าย (2551, อวยชัย วุฒิโฆสิต)

1.1 โถงต้อนรับ + เวชระเบียน (1) คลินิกมะเร็งนรีเวช

(2) คลินิกโรคเลือด

24 sqm

1.2 OPD Clinics

(3) คลินิกมะเร็งเต้านม 24 sqm

24 sqm

(4) คลินิกโรคทางเดินอาหารและ ตับ

้ วรอยู่ต่อจาก 1.2 แผนกผู้ป่วยนอก (OPD) แผนกนีค เวชระเบียน โดยอยู่ติดกับ LAB และ RAD เพราะ ความสะดวกในการตรวจเช็คร่างกายผู้ป่วย หลังจาก ได้รับการตรวจสามารถไปที่ PHA ได้โดยไม่ไกลมากนัก โดยมีการจัดให้มีพื้นที่นั่งคอยรวม และนั่งคอยรอรับยา โดยไม่ให้เกะกะ Main Circulation (2551, อวยชัย วุฒิโฆสิต)

ประชุมทีมวิสัญญี

9 sqm.

21 sqm.

ห้องหัวหน้าแผนก (ศัลฯ + วิสัญญี)

24 sqm

1.3 ER 1.3 แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน (ER) ตาแหน่งทางเข้า ER ควรแยกกับทางเข้าใหญ่ทั่วไป แต่ต้องมองเห็นทางเข้าได้ อย่างชัดเจน (เพราะถ้าผู้ป่วยที่จะมาเข้า ER ต้องผ่านแผนก HALL MRD OPD สภาพจะไม่น่าดูแก่ ประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ยังต้องจัดเตรียมพื้ นที่จอดรถสาหรับเทียบส่งผู้ป่วยและบริเวณจอดรถชั่วคราวของญาติ โดยแผนก ER ยังควรติดกับแผนก RAD SUR โดยมีเส้นทางที่ไม่ผ่านส่วน Public ได้จะเป็นการดี นอกจากนี้ควรติดต่อกับแผนก PHA ได้และมีเคาท์เตอร์จ่ายเงินและยาใน ER ด้วย (2551, อวยชัย วุฒิโฆสิต)

2.1 PHA

2.4 Chemical Therapy D 30 sqm.

• • •

เคมีบาบัด ระยะ สั้น

เคมีบาบัด ระยะ ยาว

3.1 แผนกศัลยกรรม (SUR) หรือห้องผ่าตัด (OR) ควรอยู่ ชัน ้ เดียวกันกับ ICU และ CSSD โดยควรอยู่ติดกับ ICU เพื่ อสามารถติดต่อได้ โดยตรง และไม่ควรอยู่ไกล จาก Circulation Core มาก นัก เพราะต้องรับผู้ป่วยจาก Ward และ ER โดยทั้งนี้ยังมี แผนกอื่นๆที่ควรติดต่อได้ สะดวก เช่น PHA เพื่ อความ สะดวกในการเบิกจ่ายยา , LAB เมื่อมีความต้องการ เลือด หรือตรวจชิ้นเนื้อ , RAD เพื่ อเช็คผลสแกนมาใช้ ประกอบการผ่าตัด (2551, อวยชัย วุฒิโฆสิต)

2.4 แผนกเคมีบาบัด (CTD) มี ลักษณะการออกแบบที่ คล้ายคลึงกับหน่วยฟอกไต คือ มีลักษณะการจัดพื้ นที่ให้ดู โปร่ง โล่ง สะดวกสบายต่อการใช้งาน มีเคาท์เตอร์และ Nurse Station รองรับดูแลผู้รับเคมี บาบัดอย่างทั่วถึง โดยปรกติ คนไข้ต้องใช้เวลาอยู่บนเตียง สาหรับเคมีบาบัดค่อนข้างนาน จึงควรมีการเพิ่ มไฟสาหรับการ อ่านหนังสือ รอสาหรับการให้ยา ของคนไข้ มีห้องสาหรับให้ คาปรึกษาเกี่ยวกับการให้ยาเคมี บาบัด สาหรับผู้ป่วยในระยะ ต่างๆ ร่วมกับญาติใกล้ชิด เพื่ อให้ได้ทางออกที่มีประโยชน์ ต่อตัวผู้รับบริการมากที่สุด

• •

หอผู้ป่วยใน (IPD/WARD) ส่วนใหญ่ตาแหน่งที่ตั้งของ WARD จะ ขึ้นอยู่กับตาแหน่งของ Circulation Core ซึ่งควรจะหนดให้ Serve จุดที่สาคัญและใกล้ที่สุดในส่วนของ Podium ก่อน (2551, อวยชัย วุฒิโฆสิต) Nurse Station Zone ใน WARD แต่ละชั้น ควรสามารถ Control จุด Circulation Core ได้ ตาแหน่ง Core นี้จะเป็นตัวกาหนด Shape ของอาคาร จากจุด Core และ Nurse Station ควรมีระยะทางเดินไม่เกิน 30 เมตรถึง Ward ห้องสุดท้าย Nurse Station 1 จุด จะสามารถดูแลผู้ป่วยได้ประมาณ 25-30 เตียง WARD ทุกห้องควรได้รับแสงสว่างธรรมชาติ

6.1 DND (Dietary)

6.2 CSSD

พื้ นที่พาณิชยกรรม โดยทั่วจะต้อง ออกแบบให้เข้าถึงได้ง่ายจาก ภายนอก และเอื้อต่อการใช้งานของ บุคลากรภายในด้วย

9.MORGUE

3.2 หออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU) อยู่ติดกับแผนก SUR หรือห้องผ่าตัด (OR) ถ้าเป็นไปได้ควรติดต่อถึง กันจาก Zone ภายใน ICU ควรอยู่ติดกับ Circulation Core จากผู้ มาติดต่อนอกแผนกได้ โดยสะดวก ถ้าเป็นไปได้ ห้อง ICU ควรมีแสง ธรรมชาติเข้าได้บ้างเพื่ อ สร้างบรรยากาศให้สว่าง สดใส เสริมสร้างกาลังใจ ให้กับผู้ป่วยและญาติ (2551, อวยชัย วุฒิโฆสิต)

37 sqm.

12 sqm.

ห้องพั กผู้ป่วยแพร่เชื้อ

ทางานพยาบาล Nurse Station

• •

• •

• •

5. ฝ่ายบริหาร ธุรการ

6.3 LNDRY

้ ะมีห้อง Control ของวิศวกรและเจ้าหน้าที่ทางานอยู่ 1 7.ฝ่ายงานระบบ โดยทั่วไปแผนกนีจ ห้อง โดยตาแหน่งจะแตกต่างกันไปตามการออกแบบ เช่น วางไว้ใต้อาคารจอดรถ แยก อาคารออกแบบ แต่ประเด็นสาคัญคือ ความสะดวกและประหยัดในการเดินท่อ น้าหนักของ เครื่องจักรกล ง่ายต่อการติดตั้ง และการ Service ต่างๆ (2551, อวยชัย วุฒิโฆสิต)

7.ฝ่ายงานระบบ

8.CANTEEN

3.2 ICU

4.ฝ่ายหอผู้ป่วยใน OPD/WARD

่ ั้ง 2.1 แผนกเภสัชกรรม (PHA, Pharmacy) ทีต ควรเป็นรูปแบบเคาท์เตอร์ Cashier ยาวติดต่อกัน ทั้งแผนก อยู่ในตาแหน่งที่มองเห็นจาก OPD ได้ ง่าย (ถ้า OPD มี 2 ชั้น ควรมีแผนกนี้ 2 ชั้นด้วย) และสามารถติดต่อกับห้องเก็บยาใหญ่ได้สะดวก (2551, อวยชัย วุฒิโฆสิต)

60 sqm.

พั กรวมผู้ป่วย (8 เตียง)

่ ับตา ไม่ควรอยู่ 9.ห้องเก็บศพ (MORGUE) ส่วนใหญ่จะอยู่ในส่วน Service และเป็นตาแหน่งทีล ติดกับแผนกโภชนาการ (DND) หรือส่วนที่มีคนทางานประจา เช่น LNDRY อาจอยู่ใกล้ๆ กับห้อง เครื่องต่างๆ เช่น ห้อง EE, HVAC, SAN เป็นต้น เพราะจะมีคนเข้าเป็นครั้งคราวเท่านั้น ทั้งนี้ เพื่ อไม่ให้เกิดความรังเกียจและหวาดกลัว ในแผนกนี้นอกจากจะมีที่จอดรถรับศพเตรียมไว้ ยังต้องมีที่จอดรถญาติอีกด้วย บางครั้งถ้ามี การเช่ารถขนส่งมาเป็นคันรถในกรณีที่ผู้ตายอยู่ต่างจังหวัด ดังนั้นควรมีการจัดเตรียมพื้ นที่ สาหรับที่จอดรถขนาดนี้ด้วย ควรมีทางเข้าออกแยกต่างหาก (SERVICE) ไม่ปะปนกับทางเข้าออกหลัก เช่น เข้า/ออก ทาง ด้านหลัง เฉพาะผู้มารับศพเท่านั้น

ฝ่ายบริหารและธุรการ ส่วนใหญ่จะ อยู่ในบริเวณ PODIUM (ประมาณ ชั้น 4-5) หรืออยู่เหนือส่วน บาบัดรักษาก่อนเข้าสู่บริเวณ Duct Floor และ Tower ของ WARD เพราะทัง ้ นี้ต้องการพื้ นที่ กว้างพอสมควรและ เจ้าหน้าที่ สามารถติตด่อกันภายในชั้นเดียว ได้ และคนภายนอกสามารถติดต่อ จากลิฟต์หรืออาคารจอดรถได้ มีห้องประชุมเพื่ อใช้ในการประชุม อบรม ประชุมผู้ถือหุ้น รพ.บางแห่นจะแยก Executive Office (ห้องประธานฯ ห้อง ผู้อานวยการ เลขานุการ รับแขก ฯลฯ) ไว้ชั้นบนของ Tower เหนือ WARD เพื่ อ Privacy และ สามารถเห็นทัศนียภาพได้สวยงาม

6.1 แผนกโภชนาการ (DND: Dietetics & Nutrition Department) ควร ตั้งอยู่ใกล้แผนกผู้ป่วยใน(IPD, WARD) และห่างไกลจากแผนกที่เป็นแหล่ง กระจายเชื้อโรค เช่น แผนกซักรีด (LNDRY) แผนกจ่ายกลาง (CSSD) อาคารพั ก ขยะ อาคารเก็บศพ (MORGUE) บ่อบาบัดน้าเสีย เป็นต้น ควรอยู่ใน สภาพแวดล้อมที่ไม่มีฝุ่นละอองมาก มีการถ่ายเทอากาศที่ดีระหว่างภายในและ ภายนอกแผนก รวมทั้งบริเวณโดยรอบไม่เป็นแหล่งที่เอื้อต่อการอยู่อาศัยและ แพร่พันธุ์สัตว์ที่เป็นพาหะนาโรค (2560, กระทรวงสาธารณสุข - คู่มือการออก สถานบริการสุขภาพ) 6.2 แผนกจ่ายกลาง CSSD ควรอยู่ห่างจากสถานที่ซึ่งก่อมลภาวะ เช่นแผนก ซ่อมบารุง แผนกโภชนาการ(DND) ที่พักขยะ เตาเผาขยะ ระบบบาบัดน้าเสีย ฯลฯ กรณีที่อยู่ติดถนน ห้องเก็บของปราศจากเชื้อ ควรมีประตู 2 ชั้น นอกจากนี้ควร ตั้งไม่ไกลจาก แผนกศัลยกรรม (SUR) แผนกสูติกรรม (NURSERY) แผนก อุบัติเหตุฉุกเฉิน (ER) และห้อง ICU รวมทั้งมีเส้นทางสัญจรสามารถเชื่อมต่อ ระหว่างหน่วยงานและอาคารต่างๆโดยสะดวก สามารถป้องกันแสดงแดดและฝน ได้ตลอดเส้นทาง (2560, กระทรวงสาธารณสุข - คู่มือการออกสถานบริการ สุขภาพ) 6.3 แผนกซักรีด (LNDRY) ควรตั้งอยู่ไม่ไกลจากแผนก SUR , CSSD , ICU, WARD รวมทั้งมีเส้นทางสัญจรที่สามารถเชื่อต่อระหว่างหน่วยงานต่างๆข้างต้น ได้สะดวก (2560, กระทรวงสาธารณสุข - คู่มือการออกสถานบริการสุขภาพ)



แนวความคิดในการออกแบบ โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง แนวคิดมูลฐาน

หลักเกณฑ์/แนว ทางการแก้ปัญหา

ผลลัพทธ์ทางกายภาพ

Case Study : 2019 โรงพยาบาลผู้สูงอายุ บางขุนเทียน

แนวความคิด ที่ก่อให้เกิด การ ลด/ ทาลาย เชื้อ โรค ที่สะสม ภายใน รพ.

1 จัดการใช้งาน ภายใน รพ. ให้มี ลมพั ดผ่านอยู่ เสมอ

1.1 ออกแบบอาคารโดย เน้นให้มีการเปิดช่องเปิดเพื่ อให้ธรรมชาติ พั ดผ่าน พื้ นที่ภายในห้องพั ก ผู้ป่วย เพื่ อกาจัดเชื้อโรคที่สะสมอยู่ภายใน • อาคารหลัก (OPD,ER,TREATMENT AND DIAGNosis) โครงสร้างบุนดินถม • อาคารรอง (WARD , หอพั ก บริการ)โครงสร้าง บนเสาในน้า • เรือนแพสาหรับส่วนขยาย อาคารดูแลผู้สูงอายุ

1 2,3

4

1.2 เพิ่ มเติม ระบบอาคารให้มี Ventilation System ภายในอาคาร โดยเติมอากาศ บริสุทธิ์อย่าง เหมาะสม ตาม พื้ นที่การใช้งาน

ลดความร้อน ภายในอาคาร

2.จัดให้มีส่วน บังแดด โดยเฉพาะส่วนที่ โดน Direct Light ของช่วง บ่าย

2.1 ออกแบบ FACADE ซ้อนตามช่องเปิดต่างๆ

2.2 เพิ่ มต้นไม้ ตามช่องเปิด เพื่ อใช้เงาร่มไม้ ในการลดความ ร้อน ไม่ว่าจะเป็น ไม้ยืนต้น , ไม้ เลื้อย


แนวความคิดในการออกแบบ โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง แนวคิดมูลฐาน

หลักเกณฑ์/แนว ทางการแก้ปัญหา

Case Study : 2019 โรงพยาบาลผู้สูงอายุ บางขุนเทียน

ต้องการ ให้ รพ.ดู มีชีวิต ชี วาฯ

3.ใช้รูปทรง อาคารเลียนแบบ ธรรมชาติ

ผลลัพทธ์ทางกายภาพ 3.1 ออกแบบอาคารบางส่วนของ รพ.ให้มีรูปทรง แบบ Organic Form เช่นรูปทรง หยดน้า ก้อน หิน ใบไม้ ฯลฯ เพื่ อให้ รพ.ดูมีชีวิตมากยิ่งขึ้น

Case Study : 2018 โรงพยาบาลราชพฤกษ์ ขอนแก่น

โรงพยาบ าลในฝัน

1.จัดองค์ประกอบ ต่างๆ ให้มี ความรู้สึกเหมือน อยู่บ้าน

2.ใช้ลม ธรรมชาติ เพื่ อ ลดบรรยากาศ ห้องแอร์ กลิ่น แอลกอฮอล์ ใน รพ.

1.1 องค์ประกอบที่ให้ความรูส ้ ึกเหมือนอยู่ บ้านเช่น เสาไม้ ชายคาเตี้ย ระเบียงไม้ เพิ่ มพื้ นที่สี เขียวริมระเบียง เพิ่ มความเป็นซุ้มประตู ติดตั้งพั ด ลมเพดานไว้ทั่วอาคาร

2.1 ออกแบบให้พื้นที่ส่วนกลาง (Reception, Waiting area, OPD, ICU) เป็นการระบายอากาศแบบ Hybrid System โดยการทา Simulation เรื่องลมที่พัดผ่านอย่าง ละเอียด และวางแนวอาคารตามแนวลม (ติดแอร์เฉพะบาง แผนก)

*มีงานวิจัยกล่าวว่าแม้คนไข้นอนไม่ได้สติ แต่ร่างกายสามารถรับรู้ได้ถึง สภาพแวดล้อม โดยรอบ(แสงอาทิตย์, อากาศ, ลม) การที่คนไข้อยู่ใน ห้องทึบเปิดแสงประดิษฐ์ตลอดเวลาทาให้เกิดการชะลอการฟื้ นตัวของ คนไข้ (มิ่งขวัญ รัตนคช, 2563)


แนวความคิดในการออกแบบ โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง แนวคิดมูลฐาน

หลักเกณฑ์/แนว ทางการแก้ปัญหา

Case Study : 2018 โรงพยาบาลนมะรักษ์ (นะ-มะ-รัก) ผู้ก่อตั้ง : หมอนุช (รศ. พญ. เยาวนุช คงด่าน)

ไม่ได้มุ่งหา กาไรสูงสุด แต่ก็ยัง ต้องการกาไร เพื่ อให้ธุรกิจ อยู่รอด อย่างมี คุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งเน้นให้ เกิดการรักษา กับผุ้ป่วย ทุก ระดับ ในราคา ที่จับต้องได้

1 ออกแบบและ ก่อสร้างใน งบประมาณที่ เหมาะสมกับ ราคา 2 เน้น Hight Touch ไม่เน้น Hight Tech

3 เน้นความเป็น รีสอร์ท / บ้าน

ผลลัพทธ์ทางกายภาพ 1.1. ศึกษาใช้เทคโนโลยีขึ้นโมเดลห้องผ่าตัดที่อิตาลีก่อนขนส่งชิ้นส่วนมา ติดตั้งแล้วเสร็จภายใน 1 เดือน ขณะที่การก่อสร้างห้องเอกซเรย์ทั่วไป ต้องก่อผนังอิฐหนามีแผ่นตะกั่วด้านใน คุณหมอนุชก็ศึกษาจนพบวัสดุ คุณภาพสูงมาใช้ทดแทน แถมยังมีโครงสร้างน้าหนักเบาปรับเปลี่ยนผัง ได้เร็วหากมีแผนขยับขยายพื้ นที่ใช้สอยในอนาคต ทุกอย่างดาเนินไป อย่างรวดเร็วและจริงจัง

• เนื่องจากมีทุนน้อย การ ก่อสร้างเลยรวดเร็ว (ใช้เวลา 13เดือน นับตั้งแต่ตอก เสาเข็มจน รพ.แล้วเสร็จ)

2.1. ใช้ความ Hight Touch แทน Hight Tech เป็นจุดขาย • Hight Touch ของหมอนุช ในที่นี้คือ หมายถึง การรักษาคนที่เป็นโรค ไม่ได้รักษาตัวโรค ไม่ได้ มองแค่ว่าจะจัดการกับก้อนเนื้อมะเร็งยังไง แต่ มองหาว่าใจผู้ป่วยนัน ้ เป็นยังไง เพื่ อให้เขาหายดี และกลับเข้าไปสู่สังคมอย่างมีคุณภาพ • เช่น ส่วนของห้องพั กที่แตกต่างจากห้องพั ก ทั่วไป คือห้องพั กจะอยู่ใกล้กับ Nurse Station มาก ไม่ว่าจะอยู่ห้องไหนเปิดประตูมาจะเจอ Counter พยาบาลตรงกลาง เสมอ (รศ. พญ. เยาวนุช คงด่าน, 2562) 3.1 มีการออกแบบ Waiting Area ให้เหมือนกับ Co-working Space มีโต๊ะทางาน พร้อมปลั๊กไฟ และอินเทอร์เน็ต

3.3 ไม่ได้เน้นความคุ้มทุน โดนปกติสามารถทา อาคารสูงได้ 5 ชั้นเป็นขั้นต่า แต่ด้วยทางเจ้าของ ต้องการให้อาคารมีความเป็นบ้านมากกว่านี้ (ตอน แรกต้องการ2 ชั้นแต่ด้วยข้อกาหนดกฎหมายต่าง และระบบความปลอดภัยต่างๆ) จึงทาให้ได้อาคาร ออกมาเป็น 3 ชั้น

3.2 มีห้องออกกาลังกายของ พนง. ห้องประชุม หลายขนาดสาหรับการจัดอบรม และเตรียมเป็น พื้ นที่เรียนในอนาคต


แนวความคิดในการออกแบบ โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง แนวคิดมูลฐาน

หลักเกณฑ์/แนว ทางการแก้ปัญหา

Case Study : แนวทางในการ ออกแบบโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการ เยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม (กรณีศึกษาโรงพยาบาลราชพฤกษ์ ขอนแก่น)

อภิเชษฐ์ อัศวบุญญาเดช, 2556

แนวทางการ ออกแบบ รพ.ที่เอื้อต่อ การเยียวยา สุขภาพแบบ องค์รวม

1.จัดให้มีพื้นที่ ที่ เอื้อให้เกิดการ เยียวยา ทางด้านจิตใจ

ผลลัพทธ์ทางกายภาพ 1.1 ออกแบบให้มีพื้นที่สีเขียวโดยรอบ เพื่ อให้เกิดร่มเงาและ บรรยากาศร่มรื่นชื่นใจ และช่วยป้องกันมลภาวะทางอากาศทัง ้ เสียง ควัน ฝุ่น โดยการปลูกต้นไม้เช่น • ปลูกต้นไม้รุกขชาติ เป็นแนวล้อมรอบโครงการ (ไม้ยาง ไม้ ตะเคียน) • ปลูกต้นไม้ติณชาติ เป็นรั้วรอบ รพ. อีกชั้น เช่น ข่อย เป็นต้น

1.2 สอดแทรกธรรมชาติเข้าไปยังงานสถาปัตยกรรมเช่น • ปลูกต้นไม้กระจายไปยังแผนกต่างๆ และปลูกไม้ยืนต้น บริเวณโถงภายในอาคาร โดยเปิดมุมมองจากพื้ นที่ต่างๆ เช่น Reception Hall, Waiting Area, ICU, ฟอกไต เพื่ อให้เกิดความสงบ ร่มรื่น • การใช้น้าเป็นส่วนตกแต่ง (บ่อน้า ผนังน้าตก น้าพุ )

2.จัดให้มีพื้นที่สาหรับ สิ่งยึดเหนี่ยวทาง จิตใจ เพื่ อให้จิตใจ ของผู้ใช้งานระลึกถึง ความดีงาม นาไปสู่ จิตใจอันเป็นกุศล

4.จัดให้มี สภาพแวดล้อมที่ อบอุ่นเหมือนบ้าน

5.จัดให้เป็น รพ. ประหยัดพลังงาน 6.จัดให้มีพื้นที่สร้าง แรงบันดาลใจในการ ทางานแก่ แพทย์ พยาบาล และ ผู้ปฏิบัติงานอื่นๆ

2.1 เตรียมพื้ นที่รองรับความเชื่อ 3 ศาสนา (ห้องสวดมนต์ นั่งสมาธิ ห้องสาหรับขอพรจากผู้ เป็นเจ้าของศาสนาคริสต์ และห้องละหมาดสาหรับอิสลาม 2.2 การออกแบบภูมิทิศน์ทเี่ อื้อให้เกิดความสงบและสอดแทรกคติคาสน ่ ั้นๆ 2.3 สร้างพื้ นที่ให้สอดคล้องกับความเชื่อท้องถิ่นของทีน

4.1 กาหนดสัดส่วนของอาคารให้มีลักษณะคล้ายบ้าน 4.2 ใช้วัสดุธรรมชาติในการตกแต่งทั้งภายในและภายนอก เช่น ไม้ หิน ฯลฯ เพื่ อสร้าง บรรยากาศที่กลมกลืนกับธรรมชาติ 4.3 งานภูมิทัศน์ เลือกพั นธ์ไม้ท้องถิ่นและพื ชสมุนไพร เช่น แคนา เสม็ดแดง ต้นติ้ว มะขามเทศ ฟ้าทะลายโจร ขมิ้นชัน ลูกใต้ใบ ผักแพ้ ว มะรุม เป็นต้น 5.1 การวางตาแหน่งอาคารตามตะวัน เพื่ อให้พื้นที่ใช้สอย (เช่น Waiting Area, Ward) ได้รับ ลมธรรมชาติและแสงแดดที่พอเหมาะ เหมาะสม ทาให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้า

6.1 การวางตาแหน่งสัญลักษณ์ รูปปั้น รูปภาพ บุคลลาสาคัญทางการแพทย์ ภาพถ่ายระหว่าง การทางานของแพทย์ เพื่ อระลึกถึง ความเอาใจใส่และรักในอาชีพการทางานของแพทย์ต่างๆ ่ ีคุณภาพและรักษาผู้ป่วยด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ เพื่ อหล่อหลอมให้เป็นบุคลากรทีม


Reference รพ. ผู้สูงอายุ บางขุนเทียน

แนวคิดมูลฐาน

ลดและทาลายเชื้อโรคที่ จัดพื้ นที่การใช้งายภายใน รพ. ให้ มีลมพั ดผ่านอยู่เสมอ สะสมภายใน โรงพยาบาล รพ.ที่ดูมีชีวิตชีวา

รพ.ราชพฤกษ์

รพ.นมะรักษ์

แนวทางการ ออกแบบ รพ.ที่ เอื้อต่อการ เยียวยาสุขภาพ แบบองค์รวม

หลักเกณฑ์/แนวทางการ แก้ปัญหา

รพ.ในฝัน

จัดรูปทรงอาคารเลียนแบบ ธรรมชาติ จัดองค์ประกอบให้เกิดความรู้สึก เหมือน "บ้าน"

ลดบรรยากาศห้องแอร์ และภาพ จาของ รพ. รักในอาชีพอย่างมี ออกแบบและก่อสร้างใน คุณธรรม จริยธรรม งบประมาณที่เหมาะสม การดูแลเอาใจใส่ ความเป็นรีสอร์ท การเยียวยาสุขภาพ แบบองค์รวม

จิตใจ

ผลลัพธ์ทางกายภาพ เพิ่ มช่องเปิด + Passive Air แยกกลุ่มก้อนอาคารเพื่ อให้อากาศถ่ายเทได้ดี โถงทางเดินหลัก ใช้เป็นรูปทรง Organic โค้ง

จัดพื้ นที่ส่วนกลางให้มีสภาวะต่างๆเช่น เสาไม้ ชายคาเตี้ย ระเบียงไม้ พั ดลมเพดาน ่ ีเขียวริมระเบียง จัดพื้ นที่ส่วนห้องพั กให้มีสภาวะต่างๆเช่น เพิ่ มความเป็นซุ้มประตู พื้ นทีส พื้ นที่ส่วนกลาง (MRD, OPD, ICU, ที่พักคอย) ใช้ระบบระบายอากาศแบบ Hybrid ใช้วัสดุคุณภาพสูงจากอิตาลี่ที่มีน้าหนักเบาสะดวกต่อการเคลื่อนย้าย ปรับเปลี่ยน แทนผนังอิฐหนาฝังแผ่น ตะกั่ว ในห้องผ่าตัด โดยยังคงประสิทธิภาพไว้ สัดส่วน Nurse Station ต่อ Ward ที่ทาให้ เปิดประตูห้องพั กมาก็เจอ Nurse Station ทันที ในส่วนพั กคอย เน้นการออกแบบให้มีพื้นที่การทางานเหมือน Co-working Space มีห้องออกกาลังกาย และห้องประชุมหลายขนาด พื้ นที่สีเขียวโดยรอบโครงการ ปลูกต้นไม้ตามแผนกต่างๆ เช่น ที่พักคอย ICU ห้องแผนกไตเทียม ใช้น้าเป็นส่วนตกแต่งทั้ง ใน-นอก เช่น บ่อน้า ผนังน้าตก น้าพุ ฯลฯ เตรียมพื้ นที่ทางศาสนาทั้ง 3 ศาสนา Landscape ที่สงบและแทรกคติคาสอน พื้ นที่สาหรับความเชื่อตามท้องถิ่น เช่น การบนบาน ประติมากรรมที่งดงามสะท้อนความเชื่อคนในท้องถิ่น

มิตรภาพบาบัด

อบอุ่น เหมือนบ้าน

กิจกรรมบาบัด ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ สอดคล้องกับวิถีชีวิต

Healing Environment

ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่ มพู นความรู้ สภาพแวดล้อมทาง กายภาพ

แสง

สี

ภูมิทัศน์

เสียง

คุณภาพอากาศ สภาพแวดล้อมทาง สังคม

ลดความเครียด

แนวโน้ม แนวทางการ ปรับปรุง

ส่วนผู้ป่วย

ส่วนผู้ปฏิบัติงาน

โครงการการ ออกแบบ สภาพแวดล้อม การออกแบบที่อิง สถานพยาบาลให้ หลักฐาน(ทางวิชาการ ; เอื้อต่อการ งานวิจัยที่น่าเชื่อถือสูง) เยียวยา (ปีที่ 2)

การเบี่ยงเบนความสนใจ การลดการติดเชื้อ

ความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย (น.20)

จัดเฟอร์ให้เกิดปฏิสัมพั นธ์ระหว่างคน พื้ นที่สาหรับทานข้าวของ ญาติ และ ผู้ป่วย ร่วมกัน พื้ นที่สาหรับ อาสา เช่น ห้องประชุม อบรมจิตอาสา พื้ นที่สาหรับปรับความเข้าใจ ระหว่าง แพทย์-คนไข้ สัดส่วนอาคาร ให้เหมือนบ้าน วัสดุธรรมชาติ (ไม้,หิน ฯลฯ) ในการตกแต่งอาคาร (ใน-นอก) Landscape จัดโดยพื ชพรรณไม้ท้องถิน ่ พื้ นที่ สัมนาให้ความรู้ พู ดคุย ชั่วคราว พื้ นที่สาหรับ พั กผ่อน ออกกาลังกาย สาหรับทั้งคนในและนอก พื้ นที่รองรับญาติผู้ป่วยที่เป็นคนชนบทที่มีความเป็นครอบครัวใหญ่ วางประติมากรรมที่เกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมในท้องถิ่น วัสดุ รูปทรง ลวดลาย จากท้องถิน ่ การต้มสมุนไพรให้ผู้มารับบริการ ทาให้ชาวบ้านที่คุ้นเคยกับการต้มสมุนไพร ไม่ต้องกังวลที่ต้องรีบกลับไป ต้มยาให้ผุ้ป่วยรับประทาน จัดให้มีห้องสมุด จัดห้องพั ก WARD ให้มีแสงธรรมชาติเข้าถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง ก่อน 9.00น และ หลัง 16.00น เพื่ อรับประโยชน์จากแสงธรรมชาติได้เต็มที่ และจัดให้สามารถ ปรับระดับความต้องการแสงได้ เช่น ม่าน บานเกล็ด ฯลฯ ในช่วงกลางคืน จัดแสงในห้องพั ก ไม้ให้แยงตาผู้ป่วย จัดสีของแต่ละพื้ นที่ให้เหมาะสม อาจเว้นพื้ นที่ส่วนกลางที่ควรใส่สีกลางไปแทน เช่น ขาว ฟ้าปนเทาอ่อนๆ สีครีม สีงาช้าง สีอ่อนๆในกลุ่มโทนเย็น/อุ่น จัดองค์ประกอบสีภายในห้องพั ก ไปตามเฉพาะอาการที่เหมาะกับกลุ่มสีนั้นๆ หรือ บอกญาติให้เอาของ เครื่องใช้ ที่เป็นกลุ่มสีที่เหมาะสมมาใช้ในห้องพั กผู้ป่วย เน้นการออกแบบที่ให้มุมมองภายในอาคาร สามารถมองเห็นบรรยากาศธรรมชาติ เพิ่ มธรรมชาติเข้ามาในอาคาร *จากงานวิจัยพบว่า 2/3 ของคนทั่วไปเลือกวิธีทางธรรมชาติในการผ่อนคลายความเครียด *จากการเก็บสถิติพบว่า ผุ้ป่วยที่รับการผ่าตัด ถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่เห็นวิวธรรมชาติ กับ กลุ่ม ที่เห็นแต่กาแพงทึบ ผลคือ กลุ่มแรกฟิ้นตัวได้เร็วกว่าและได้กลับบ้านก่อนกลุ่มหลัง ออกแบบโดยเน้นการหลีกเลี่ยง การเกิดเสียงรบกวน เช่น เสียงล้อรถเข็น เสียงอุปกรณ์ทางการแพทย์ เสียงประกาศเรียกชื่อ ในพื้ นที่ห้องพั กของคนไข้ และห้องทางาน เพิ่ มเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงสายน้า สายลม เสียงสภาพแวดล้อมชีวิตประจาวันของผู้ป่วย เสียงบุคคล ที่ผู้ป่วยคุ้นเคย เน้นการออกแบบที่ป้องกันความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร จะดีกว่าการใช้เครื่องปรับอากาศแบบท่อส่งลม เพราะ ท่อส่งลม ยากต่อการทาความสะอาด จากงานวิจัยพบว่า ท่อส่งลมมีมลพิ ษกว่า อากาศภายนอกถึง 2-5 ในบางที่อาจ 200 เท่า ทั้งๆที่เป็นที่ที่คนส่วนใหญ่ใช้เวลากับสิ่งนี้ 90% ของวัน เพิ่ มพื้ นที่ติดต่อทางธรรมชาติ เสนอทางเลือกให้กับผู้ป่วย โดยตัวผู้ป่วยเป็นผู้เลือกเอง เช่น ปรับแอร์ในห้องได้ ปรับแสงได้ ปรับเปลี่ยน เวลาการรับประทานอาหารได้ บรรยากาศนันทนาการ เพื่ อเบี่ยงเบนความเครียด เน้นการรักษา แบบห้องเดี่ยว และรักษาห้องเดียวจนจบ เพราะผุ้ป่วยได้ทั้งความเป็นส่วนตัว และได้ทั้งทีม พยาบาลที่คุ้นเคย อีกทั้ง ง่ายต่อการเยี่ยมของญาติ ไม่ต้องมีการถามเพื่ อ Update การเปลี่ยนห้องพั ก อยู่เรื่อยๆ จัดเคาท์เตอร์ พยาบาล ให้เข้ามาอยู่ในห้องพั ก เพื่ อสร้าง ปฏิสัมพั นธ์กับผู้ป่วย (HLENvi หน้า73) จัดส่วนของ DND (Dietetics & Nutrition Department) ให้อยู่ใกล้กับ WARD เพื่ อ ให้อาหารที่ส่ง ถึงมือผู้ป่วยยังมีความ อุ่น ร้อน น่ารับประทาน ไม่เย็นชืด จัดให้มีภาพศิลปะ วิวธรรมชาติ เน้นการออกแบบให้มีพื้นที่ใช้สอยต่อคนเพิ่ มขึ้น ออกแบบพื้ นผิวต่างๆให้ง่ายต่อการทาความสะอาด การจัดทาน้าพุ น้าตก โดยควบคุมอุณหภูมิ ไม่ให้เกิดการแพร่กระจายของละอองน้าที่มีเชื้อโรค เพิ่ มการกั้นผนังแบบฝาทึบในห้อง ICU (งานวิจัยบอกว่าทาให้ได้รับเสียงรบกวนเพี ยง 13% ซึ่งการแบ่ง ด้วยผ้าม่านได้รับเสียงรบกวนถึง 44%) - Karro, Dent and Farish, 2005) เพิ่ มสัดส่วนห้องพั กแบบห้องเดี่ยวขึ้น


Concept : Healing Environment Program / Function

Element of Healing Environment • • •

WARD ห้องพั กผู้ป่วยใน

• • • • • • • • • •

Waiting Area (OPD)

จัดให้มีแสงธรรมชาติเข้าถึง จัดให้สีของแต่ละห้องมีความเหมาะสมกับคนไข้หรือาการของโรคที่เกิดขึ้น (ถ้าจัดได้ยาก ก็บอกให้ญาติ ผู้ป่วยเอาของเครื่องใช้ที่ตรงกับการเยียวยา อาการของผู้ป่วย มาใช้ภายในห้องพั กผู้ป่วย) จัดสัดส่วนของ Nurse Station : WARD ให้มีความถี่มากขึ้น จาก รพ.ทัว ่ ไป สัดส่วน NS:WRD = 1 : 25-30 ก็มีการลดสัดส่วนลงมาเป็น NS:WRD = 1 : 10 เป็นต้น จัดให้มีพื้นที่สีเขียวริมระเบียง เพิ่ มเสียงธรรมชาติ (เสียงน้าตก สายลม ฯลฯ) เพื่ อลดทอนเสียงรบกวนจากภายนอก เพิ่ มเติมทางเลือกโดยให้ผู้ป่วยเลือกเองได้ เช่นการลด/เพิ่ ม แสงภายในห้องพั ก การปรับแอร์ ฯลฯ จัดให้มีแสงธรรมชาติเข้าถึง จัดให้มีพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้เช่น จัดให้มีส่วนห้องสมุด จัดพื้ นที่ให้เกิดการแลกเปลี่ยน เช่น การจัดให้มีพื้นที่คล้ายกับ Co working Space เพื่ อให้เกิดการ แลกเปลี่ยนต่างๆ จัดให้มีการใช้น้าเป็นส่วนตกแต่ง เช่น บ่อน้า ผนังน้าตก น้าพุ จัดให้มีพื้นที่ปรับความเข้าใจระหว่างแพทย์กับคนไข้ เช่น พื้ นที่สัมนาชัว ่ คราว ใช้วัสดุธรรมชาติในการตกแต่งทั้งภาย ใน/นอก อาคาร จัดพื้ นที่ให้มีความเป็นกันเองมากขึ้น เช่น การใช้เสาไม้ ชายคาเตี้ย ระเบียงไม้ พั ดลมเพดาน เพิ่ มความ เป็นซุ้มประตูบ้าน มีพื้นที่สีเขียวริมระเบียง ลดการใช้ แอร์ โดยหันมาใช้การระบายอากาศแบบ Passive แทนเครื่องปรับอากาศ ที่อาจส่งผลถึง การสะสมเชื้อโรคในอากาศภายในอาคาร

ห้อง ทางาน/พั ก แพทย์

• •

จัดให้มีแสงธรรมชาติเข้าถึง จัดให้มีพื้นที่สีเขียวริมระเบียง

พื้ นที่รักษา(Treatment)และ ห้องทางานฝ่ายอื่นๆ

• •

จัดให้มีแสงธรรมชาติเข้าถึง จัดให้มีพ้ื นที่สีเขียวริมระเบียง

Concept : Site History สถานปัตยกรรม ท้องถิน ่ (ไทย ภาค ตะวันออก)

เรือนไทยภาคกลาง

• • •

เรือนเครื่องผูก

เรือนไทย

เรือนไทยภาคตะวันออก

• •

เรือนไทยฝาสาหรวด/ เรือนไทยพนัสนิคม

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม เทศกาล และงานประเพณีจังหวัดระยอง งานเทศกาล ผลไม้และของ ดีจังหวัด ระยอง (พ.ค. – มิ.ย.)

งานวัน สุนทรภู่ (26 มิ.ย.)

งานเทศกาล เที่ยวทะเล หาดบ้านเพเกาะเสม็ด

ประวัติศาสตร์ คาว่าระยอง

• ชนเผ่านี้ตั้งรกรากอยู่ที่ ภาค ตะวันออกเฉียงใต้ ของไทย ในเขตจังหวัด ระยองและจันทบุรี • ภาษาที่เป็นเอกลักษณ์คือ คาว่า ฮิ ซึ่งหมายถึง ครับ/ค่ะ เป็นคาสุภาพ ของชาวชอง • นิยมใช้ลูกปัดสีต่างๆ และ ทองเหลือง เป็นเครื่องประดับ • จัดอยู่ในสายตระกูลมอญเขมร • ประเพณีการเล่น ผีโรง ผีหิ้ง

สิ่งของประจาจังหวัด

งานปีใหม่และ งานกาชาด (ม.ค.)

การตั้งถิ่นฐาน

ชนเผ่าชอง

คาขวัญประจาจังหวัด

งานเทศกาล กีฬา-กินปลา บ้านฉาง (6-10 ธ.ค.)

• •

การกู้ชาติของ พระ เจ้าตากสิน

• มาจากคาว่า ราย็อง ใน ภาษาชอง แปลว่า เขตแดน หมายถึง ดินแดน/เขตแดน ที่พวกชองตั้งรกรากอยู่ • อีกความหมาย ราย็อง แปลว่า ไม้ประดู่ เนื่องจาก บริเวณนั้นแต่ก่อนเต็มไปด้วย ต้น ประดู่ มีวัดเก่าแก่ชื่อว่า หลังจากนั้นพระ เจ้าตาก ก็ต่อสู้ วัดป่าประดู่ กับพม่าต่อไป

“ผลไม้รสล้ำ อุตสำหกรรมก้ำวหน้ำ

ต้นไม้ประจา จังหวัด ต้นประดู่

เกาะเสม็ด (เกาะแก้วพิ ศดาร)

เขาแหลมหญ้า

กะปิ ที่ทาจาก กุ้งตัวเล็กๆ (กุ้งเคย) ผลไม้ที่มีชื่อ ทุเรียน เงาะ มังคุด และ น้าปลา

น้ำปลำรสเด็ด เกำะเสม็ดสวยหรู

น้าตกเขาชะเมา

(น้าตกคลองน้าใส)

พิ พิธภัณฑ์หนังใหญ่วัดบ้านดอน

สุนทรภู่กวีเอก”

สัญลักษณ์

ดอกประดู่

มีการต่อชายคาทางด้านข้างของตัว เรือนให้ยื่นยาวออกมา (เพื่ อใช้จอด เกวียนของภาคตะวันออกที่มีขนาดสูง ใหญ่ ไม่สามารถจอดไว้ที่ใต้ถุนได้) มีการทาเสารับปลายของชายคา มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากเรือนไทย ภาคกลาง

สถานที่ท่องเที่ยว

ชื่อเสียงของระยอง

พระยาตาก เข้า ยึดเมืองระยอง ทาให้บรรดา ทหารยกย่องใน ความสามารถ จึงเรียกว่า “เจ้า ตากสิน” (สิน เป็นชื่อเดิมของ ท่าน)

ดอกไม้ประจา จังหวัด

เป็นรูปแบบประเภทเดียวกับเรือน ไทยภาคกลาง (เรือนเครื่องสับ) ปลูกด้วยไม้จริง สัดส่วน (เรือนไทยทั่วไป) คือ ยาว 3 ห้อง(ช่วงแถว) หลังคาทรงสูง มุงด้วยกระเบื้อง ริมเถา หน้าจั่วมีทั้ง จั่วภควัม จั่วใบปรือ มีทั้งใต้ถุนสูง และ ใต้ถุนเตี้ย (เพื่ อให้เกิดความั่นคงในเรือนที่อยู่ ใกล้ชายทะเล)

Rayong Aquarium

หาดแม่ราพึ ง


แนวความคิดในการออกแบบ โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง แนวคิดมูลฐาน ทาให้ผู้ใช้งาน รู้สึกเหมือนกับ ว่าไม่ได้อยู่ใน โรงพยาบาล

หลักเกณฑ์/แนว ทางการแก้ปัญหา 1 จัดการใช้งาน ภายใน รพ. ให้มี ลมธรรมชาติพัด ผ่านอยู่เสมอ

ผลลัพทธ์ทางกายภาพ 1.1 จัดให้อาคาร WARD ให้เป็นสัดส่วนบ้าน (1:3 เป็นสัดส่วนที่รับลมดีที่สุด ที่มา: terrabkk.com/articles/8508/บ้านรับลม) 1.2 แยก Ward ออกเป็นส่วนๆ ไม่ได้อยู่เป็นกระจุก IPD WARD

2 จัดองค์ประกอบ ให้เกิดความรู้สึก เหมือนอยู่บ้าน

3 จัดพื้ นที่ ที่ นอกเหนือจาก การให้ บริการใน รพ.ทั่วไป

ดึงความเป็น วัฒนธรรมและ พื้ นที่ของ ระยองมาใช้ใน งาน

1 นาเอาวัสดุในพื้ น ถิ่นมาใช้งาน

2.1 เสาไม้ ชายคาเตี้ย ในส่วน Waiting Area (OPD)

3.1 จัดพื้ นที่ในส่วน Waiting Area ให้มีความเป็น Co Working Space เพื่ อให้ เกิดการแลกเปลี่ยน ทั้งด้าน ความรู้และปฏิสัมพั นธ์ของผู้ ที่มาใช้บริการ

1.1 อาคารทาจากไม้ประดู่ ที่ ให้ทั้งความรู้สึกที่เป็นบ้าน และยังใช้ไม้ประดู่ที่เป็นไม้ ประจาจังหวัด หรือไม้พื้น ถิ่นของระยอง และถือ เป็นข้อดีเพราะช่างพื้ นถิน ่ ของระยองนั้น คุ้นเคยกับ งานไม้ดีมากกว่างานปูน 1.2 ในส่วน Landscape จัด ให้มีต้นประดู่ เป็นส่วนแรก ในทางเข้าเพิ่ อให้เกิด เอกลักษณ์ในโครงการ

2 นาเอารูปทรง Shape ที่เป็น เอกลักษณ์ใน พื้ นถิ่นมาใช้

Healing

Environment

1 ภาวะที่ก่อให้เกิด การเยียวยาใน ด้านจิตใจ

2.1 เน้นในส่วน Canopy ในส่วน ต้อนรับของอาคาร ให้มีการยื่น ยาวออกมา เหมือนชายคาบ้าน ของเรือนไทยฝาสาหรวด และ เรือยไทยพนัสนิคม ที่อยู่ในแถบ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของไทย 1.1 ใช้น้าเป็นส่วนตกแต่งทั้งภายใน และนอกโครงการ เช่น บ่อน้า ผนังน้าตก 1.2 ปลูกต้นไม้ใน แผนก ICU

1.3 เก็บต้นไม้เดิมที่มี อยู่แล้วในพื้ นที่

ตาแหน่งบ่อน้า

ต้นไม้ใหม่ ที่ แทรกเข้าไป

ต้นไม้เดิม ที่มีอยู่ แล้ว ภายใน SITE

IPD WARD

ตาแหน่งห้อง ICU


มุมมองจากภายใน

มุมมองจากภายนอก

K SCALE 1:4,000

SCALE 1:4,000

A

B

G

H

C

D

i

j

E

F

K

L


อาคารข้างเคียง 800m

A B

A บ้านเดี่ยว

ร้านอาหาร

H

บริษัท เอสทีอาร์ 2013 จากัด ศูนย์บริการรถยนต์

i

หมู่บ้าน สวนแก้ว

C

800m

800m

D

B

G

หมู่บ้าน สินอารมณ์เย็นซิตี้

H

E

F

G i

j

C

หมู่บ้าน อนันตรา กรีนวิลล์

D

สานักงานเขตตาบลเนินพระ

SCALE 1:4,000

E

800m

สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ระยอง

F บ้าน และ อาคารพาณิชย์ 3 ชั้น

j บ้าน และ อาคารพาณิชย์ 3 ชั้น


มุมมองเส้นทาง 800m

H

E 4 แยก

A 4 แยก

สานักงานเขตตาบลเนินพระ (ถ.ตรอกยายชา)

3 แยก

C

3 แยก

D

ถนนข้าง SITE กว้าง 6 ม.

800m

800m

B

F

SCALE 1:4,000

i

800m

ถนนหลักทางเข้า Site | ถ.ตรอกยายชา กว้าง 14 ม. - เบี่ยงซ้ายจาก ถ.สุขุมวิท,กว้าง 30 ม.

หน้า SITE (ถ.ตรอกยายชา)

G 4 แยก (ถ.ตรอกยายชา)

H ทางเข้ารอง ถ.กว้าง 10 ม.


ความกว้างของถนนสาธารณะ

ที่จอดรถ

กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 2 อาคารขนาดใหญ่พิเศษ (พท.  10,000 sqm.) ติดถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้าง  10 m.

กฎกระทรวงฉบับที่ 41 (พ.ศ.2537) ข้อ 2 One way ความกว้างถนน  3.50 ม. Two way ความกว้างถนน  6.00 ม.

กฎหมาย

ระยะห่างระหว่างอาคาร

ในเขตที่ดินเจ้าของเดียวกัน

กฎสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้พิการคนชรา (พ.ศ.2548) ข้อ 13,14 ขนาดของที่จอดรถรวม กว้าง  3.40 ม. / ยาว  6.00 ม. จัดไว้ใกล้ทางเข้าออกอาคาร มากที่สุด , มีสัญลักษณ์ชัดเจน สรุปประเภทอาคาร พื้ นทีใ่ ช้ สอย และจานวนที่จอดรถ

ที่ว่างและระยะร่น

นอกเขต กทม. • อาคารขนาด ใหญ่ (1คัน/240 ตร.ม.) • สานักงาน (1คัน/120 ตร. ม.)

กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 3

อาคารขนาดใหญ่พิเศษ (พท.  10,000 sqm.) อาคารสูง (สูง > 23.00 m) กาหนดให้มีถนนพื้ นผิวจราจรซึ่งไม่มีสิ่งปกคุลม กว้างไม่น้อย กว่า 6 เมตรโดยรอบอาคาร เพื่ อให้รถดับเพลิงสามารถเข้าออก เพื่ อปฏิบัติหน้าที่ขณะเกิดเหตุเพลิงไหม้ได้

ในเขต กทม. • สถานพยาบาลที่มีพื้นที่ ใช้สอยแต่ละหลัง 300 ตร.ม. ขึ้นไป (1คัน/120 ตร.ม.) • อาคารขนาดใหญ่ (1คัน/120 ตร.ม.)

กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ข้อ 48

เนื่องจากข้อกาหนดเรื่องนี้แยกออกเป็น 8 กรณีด้วยกันได้แก่ (1) ก,ข,ค (2) ก,ข,ค,ง (3) *การคานวณพื้ นที่ กรณีมีเศษ ให้ปัดขึ้น เป็นจานวนเต็ม *การคิดพื้ นที่ (เว้น ตึกแถว สถาน บริการ) ให้คิด พท.ทุกห้องที่ใช้สอย ประเภทเดียวกันในอาคาร โดยไม่รวม พท. ห้องน้า ส้วม ลิฟต์ ห้องนิรภัย ห้องเก็บเอกสารที่ไม่มีคนเข้าใช้สอย

ความสูงอาคาร กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ข้อ 44

เนื่องจากข้อกาหนดเรื่องนี้แยกออกเป็น 8 กรณีด้วยกันได้แก่ (1) ก,ข,ค (2) ก,ข,ค,ง (3)

800m

กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 4

กล่าวว่า ส่วนที่เป็นขอบเขตนอกสุดของตัวอาคาร ไม่ว่าจะเป็นบน ดิน หรือใต้ดิน (ไม่นับรวมฐานรากของอาคาร) จะต้องห่างจาก แนวเขตที่ดินและถนนสาธารณะ  6 เมตร

2*D2

400m

400m

2*D1

ระยะ Setback 6 ม. (กฎ.33 ข้อ 3,4)

การนับชั้นใต้ดิน กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 8

SCALE 1:4,000

ความสูง และ พท. ของ “อาคารขนาดใหญ่”

800m

่ องอาคารทีต ่ า่ กาหนดให้อาคารสูง, อาคารขนาดใหญ่พิเศษ มีพื้นทีข กว่าระดับถนนหน้าอาคารตั้งแต่ชั้นที่ 3 ลงไป (ระดับ -7.00 ม.) ต้องกาหนดให้มีลิฟต์ดับเพลิงและบันไดหนีไฟจากชั้นล่างสุดขึ้นสูพ ่ ื้ น ของอาคารที่มีทางออกสู่ภายนอกได้โดยสะดวก

ระยะห่างของบันได กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 22

บันได

สาหรับอาคารสูง กาหนดให้ต้องมีบันไดหนีไฟจากชั้นสูงสุดหรือ ดาดฟ้า ถึงพื้ นดินอย่างน้อยสองบันได โดยแต่ละบันไดมีระยะห่าง กันไม่เกิน 60 ม. เมื่อวัดจากแนวทางเดินภายในอาคาร กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 44 ในกรุงเทพฯ กาหนดว่าระยะห่างระหว่างประตูห้องสุดท้ายที่เป็นทาง ตัน ถึงประตูบันไดหนีไฟต้องมีระยะไม่เกิน 10 ม. Dimension บันได กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 23 สาหรับอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ ลูกตั้ง  20 cm ลูกนอน  22 cm และมีราวบันไดอย่างน้อย 1 ด้าน ช่องระบายอากาศ กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ข้อ 25 ต้องมีช่องระบายอากาศ พท.รวม 1.40 ตร.ม. ในกรณีไม่สามารถมีช่องระบายอากาศ กาหนดให้มีช่องอัดอากาศ แรงดัน  38.6 Pa (ปาสกาลมาตร)


สรุปศักยภาพของ SITE

SCALE 1: 1,800

1. Best Approach : เป็นบริเวณที่ติดกับถนน หลัก เหมาะสาหรับจะเป็น Main Entrance, Parking, Public Area,ฝ่าย1 วินิจฉัย บาบัดรักษา: OPD MRD ER, ฝ่าย2 สนับสนุน ทางคลินิก: PT, ฝ่าย9 พาณิชยกรรม (CANTEEN) เป็นจุดหมายตาของผู้เข้ามาใช้ บริการ เนื่องจากอยู่ทั้งบริเวณด้านหน้าและ ด้านข้างโครงการ สามารถติดต่อเข้าถึงได้ง่าย ถึงแม้จะมีปัญหาจากฝุ่นควัน บริเวณด้านหน้า เล็กน้อย แต่ควรคานึงถึงมุมมองที่เกิดขึ้น เพราะเป็นด้านหน้าของโครงการ

3

800m

800m

4 1

2. Best View: เป็นบริเวณที่สามารถรับ View ได้ดีท่ส ี ุด คือ View ฝั่งทิศตะวันออก ที่เป็นป่า สงวน หนองสนม จะเห็นพื้ นที่สีเขียวมากที่สุดใน Site เหมาะสาหรับเป็นพื้ นที่สาหรับ ส่วนต้อนรับ Waiting Area หลัก , ห้องพั ก (IPD Ward) เป็นพื้ นที่ให้บริการหลักสาหรับผู้ใช้บริการ เพื่ อให้ เกิดวิว พื้ นที่สีเขียว มากที่สุด ่ ย่ 3. Worst View:เป็นบริเวณที่มี View ทีแ ที่สุดคือ จะเห็นหมู่บ้าน อนันตรา เป็นบ้านที่ ลักษณะ หลังคาทรงปั้นหยา และ ผนังอาคาร ด้านนอกเป็นสีขาว การใช้สอยที่เหมาะสมกับ ส่วนนี้คือ 1.อาคารสาหรับ Service ที่ไม่มีการ เข้าออกของ พนง. หรือผู้ปฏิบัติงาน ที่เข้าออก บ่อย เช่น ฝ่ายงานระบบ ไฟฟ้า ประปา งานระบบ ทางการแพทย์ ห้องควบคุม ห้องเครื่อง ห้องเก็บศพ และ 2.อาคารปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ ที่มีการเข้าออกบ่อย เช่น แผนกจ่าย กลาง แผนกซักรีด แผนกโภชนาการ เป็นต้น *โดยข้อควรระวังในพื้ นที่นี้คือ การออกแบบควร คานึงถึงเรื่องเสียงที่อาจส่งผลต่อการรบกวน พื้ นที่ข้างเคียง (หมู่บ้านที่ทิศเหนือ) เพราะจะเป็น การรบกวนการอยู่อาศัยของคนในพื้ นที่

800m

4. Worst Approach : เป็นบริเวณที่มีผลต่อการดึงดูดน้อยที่สุดและ มีมลภาวะ มากที่สุดจากทุกๆ บริเวณ เพราะมีลมที่พัดจากทิศตะวันตก เฉียงใต้ พั ดพาฝุ่นละออง จากพื้ นที่ภายนอก SITE เข้าสู่โครงการ วิธีการแก้ปัญหาคือ ต้องปลูกต้นไม้เป็นกาแพงกันฝุ่น โดยพื้ นที่ใช้สอย ที่เหมาะกับ บริเวณนี้คือพื้ นที่ ที่ไม่มีการใช้งานของผู้คนเป็นเวลานาน เช่น ลานจอดรถ ฝ่ายบริการงานระบบ ห้องเก็บขยะ ห้องเก็บศพ และ พื้ นที่สาหรับทาการขยายตัวในอนาคต (หอพั กเจ้าหน้าที่ หอพั กผู้ป่วย วิทยาลัยการแพทย์ ศูนย์วิจัยสารสกัดทางเภสัชกรรม) เป็นต้น โดย เบื้องต้น พื้ นที่ดังกล่าวอาจทาการจัดพื้ นที่ Landscape เพื่ อให้เกิด ร่มเงาและความน่าใช้งานของพื้ นที่ไปก่อนได้

LEGENDS

เสียงรบกวน ความร้อน

จากการสะท้อนของ อาคารและถนน

ทิศทางลม ฝุ่นละออง


SITE ANALYSIS : ORIENTATION ทิศแดด ลม ฝน ฤดู ร้อน

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

MONTH

ฤดู ฝน

1

2

N

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

ฤดู หนาว

MONTH

1

2

N 4

W

3

E 2

W

4

5

6

7

8

9

10

11

12

8

7

6E

10

W

11

E 1

1

S

S

SCALE 1:4,000

เช้า

ดวงอาทิตย์ขึ้นทางด้านข้างโครงการ

แดดร้อนมากช่วง 13.00 – 15.00 น. และไม่มี อาคารปกคลุม

บ่าย

เช้า

W

ดวงอาทิตย์ขึ้นทางด้านข้างโครงการ แดดส่อง ผ่านพื้ นที่ป่า สงวน และสานักงานเขต

แดดส่องและไม่มีอาคารหรือต้นไม้ปกคลุม

เช้า

บ่าย

ดวงอาทิตย์ขึ้นทางด้านข้างโครงการ แดดส่อง ผ่านพื้ นที่ด้านหน้าโครงการ

แดดส่องและไม่มีอาคารหรือต้นไม้ปกคลุม

บ่าย N

E

SCALE 1:4,000

SCALE 1:4,000

N

S

ลมร้อนพั ดเอาฝุ่นละอองจากด้านหน้าโครงการเข้า ไปในตัวโครงการ โดยลมทั้งหมดมาจากทิศตะวันตกเฉียงใต้

W

SCALE 1:4,000

12

S

SCALE 1:4,000

MONTH

N 9

5

3

N

E

W

S

ลมพั ดเอาฝุ่นละอองจากด้านหน้าและด้านข้าง เข้าสู่ตัว โครงการ โดยลมส่วนใหญ่มาจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ รวมถึงทิศใต้ และตะวันตกในเดือนที่ 9

SCALE 1:4,000

E

S

ลมหนาวพั ดผ่านพื้ นที่ป่าสงวนและบ้านพั กอาศัยด้านทิศเหนือ เข้าสู่ตัวโครงการ โดยลมส่วนใหญ่มาจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงทิศ เหนือและตะวันออกเป็นบางส่วน


พื ชพรรณ และธรรมชาติ

มลภาวะ : การถ่ายเทอากาศ และ ฝุ่น

มลภาวะ : เสียง

SCALE 1:2,000

SCALE 1:2,000

ป่าสงวน หนองสนม

• ตั้งขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. 2552 โดยกรมป่าไม้ สวนรุกขชาติหนองสนม ใน • เป็นป่าที่อยู่ใกล้เมืองแห่ง เขตป่าสงวนแห่งชาติป่า เดียวที่เหลือ หนองสนม • พื้ นที่รวม 350 ไร่ • เพื่ องานค้นคว้าวิจัยทาง วิชาการ และเป็นแหล่ง สานักงาน ศึกษาหาความรู้ทาง เขตตาบล เนินพระ พฤกษศาสตร์ • เป็นแหล่งพั กผ่อนหย่อนใจ

ป่าสงวน

ป่าสงวน

• •

SCALE 1:3,000

ลมร้อนพั ดนาฝุ่นจากทางถนนเส้นรอง (ถ.ตรอกยาย • ทิศเหนือมีเสียงรบกวนจากหมูบ ่ ้าน จัน กว้าง 14 ม.) พั ดพาฝุ่นเข้าสู่โครงการ • ทิศตะวันออกมีเสียงรกวนจากสานักงานเขตตาบล ลมหนาว พั ดผ่านป่าสงวน เข้าสู่โครงการ โดย • ทิศใต้ มีเสียงรบกวนจากถนน และบ้านคน ตาแหน่งโครงการเป็นตาแหน่งที่ตากว่าป่า

แนวทางการแก้ปัญหา

• ออกแบบอาคารขวางทาง ลมเพื่ อให้ได้รับลมมากที่สุด และวางไว้ตรวงกลาง SITE เพื่ อลดมลภาวะจากฝุ่นที่พัด เข้าสู่โครงการ • วางแนวต้นไม้เพื่ อกันฝุ่น จากลมในทิศตะวันตก

สภาพภูมิประเทศ : ที่ราบลุ่ม สูงจากระดับทะเล 2-4 ม. มีน้าท่วมขังบางที่ใน ฤดูฝน สภาพดิน :

ดินทราย • มีตะกอนขนาดใหญ่ • อุ้มน้าได้ไม่ดี • มีแร่ธาตุที่จาเป็นต่อพื ช น้อย

ดินร่วน(ปนทราย) • เป็นส่วนผสมของดิน เหนียว+ทราย+ฮิวมัส • อุ้มน้าได้ดี • มีแร่ธาตุที่จาเป็นต่อพื ช

้ สภาพป่า : เป็นป่าชายหาด มีพรรณไม้ขนาด เล็ก-กลาง ขึน กระจัดกระจาย 60-70 ชนิด โดยมีพรรณไม้เด่นดังต่อไปนี้

แนวทางการแก้ปัญหา

อุทกธรณีวิทยา

• วางอาคารให้อยู่ตรง กลาง SITE เพื่ อ ลดทอนเสียงรบกวน จากภายนอก • วางแนวต้นไม้เพื่ อ กันเสียงรบกวนใน ตาแหน่งต่างๆ

SCALE 1:2,000

SCALE 1:2,000

ปัญหา : ความร้อน

ปัญหา : รูปร่างที่ดิน

SCALE 1:2,000

SCALE 1:2,000

SITE

1. ยางนา

4. ชะมวง

7. ลาดวน

เป็นแหล่งน้าบาดาลที่ราบตะกอนน้าพา (Alluvial Deposits) และ ชั้นทราย ชายหาด (Beach Sand)

2. พั นจา

5. กรวยป่า

8. ขันทอง

6. มะม่วงป่า 9. พยาบาท

แดดร้อนช่วงบ่าย จากทิศตะวัน แสดงแดดจากทิศตะวันออก มีต้นไม้จากป่าสงวนช่วย ปกคลุม ทาให้เกิดความร้อนไม่มากนัก

แนวทางการแก้ปัญหา

ที่ตั้งโครงการเป็นพื้ นที่หาดทรายเดิม และเป็น ชายฝั่งคงสภาพ (+/- 1 เมตร/ปี)

3. มะหาด

• •

จากข้อมูล กรมทัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2551 ในแผนที่ธรณีสัณฐานชายฝั่งทะเล และ แผนที่การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเล

่ มผืนผ้า สีเ่ หลีย ่ ม รูปร่างที่ดินมีลักษณะไม่เป็น 4 เหลีย จัตุรัส ไม่เป็นแนวเส้นตั้งฉาก ทาให้ยากต่อการจัดผัง อาคาร แนวทางการแก้ปัญหา

• วางอาคารในตาแหน่งที่ ความร้อนเข้าถึงได้น้อยและ สามารถรับลมได้ • วางแนวต้นไม้บนอาคารและ ภายใน SITE เพื่ อกัน แสงแดดในทิศตะวันตกและ ทิศใต้

• •

เปิดมุมมองทางทิศ ตะวันออกให้เห็นวิวป่า สงวน ให้มากขึ้น สร้างพื้ นที่สีเขียวและ จัดภูมิทัศน์ขึ้นเอง ภายในโครงการ


EXISTING TREE

Zoning 1 P

P

1.PUBLIC

2.Semi-PUBLIC

• • • •

• • • • •

Hall & MRD OPD Canteen PHA (pharmacy)

4.SemiPRIVATE

ER (Emergency Rm.) SUR (Surgical) • RAD (Radiology) CSSD • CTD LNDRY (Laundry) (Chemotherapy ICU Department) • PT (Physical 3.SERVICE Therapy) • LAB (Laboratory • Mechanical 5.PRIVATE ,Central LAB) • Electrical • WARD • Plumbing • ADMIN • MED. System (Administrator , • DND (Dietetics & Nutrition บริหารและธุรการ) Department) • MORGUE Upper FL (2,3,4,…,Top) Parking Future Expansion Area Lower FL (Basement)

ข้อดี

ข้อเสีย

• ในส่วน Ward มีการกระจายตัวในแนวแผ่ ทาให้อาคาร มีสัดส่วนไม่สูงใหญ่มาก ให้ความรู้สึกเหมือนอยู่บ้าน • แผนก ER , ICU อยู่ชั้น 1 ทั้งหมด ทาให้ง่ายต่อการ Service ผู้ป่วยฉุกเฉิน • ส่วน OPD สามารถจัดให้มีพพื้ นที่ผ่อนคลายได้มาก • เมื่อมีการกระจายตัวมาก ทาให้ต้องเพิ่ มพื้ นที่การทา บันไดหนีไฟตามจุดต่างๆ ทาให้เปลืองพื้ นที่ใช้สอย • จุด Drop OFF ของ ER ใกล้กับส่วน WARD


EXISTING TREE

Zoning 2 P P

P P

1.PUBLIC

2.Semi-PUBLIC

• • • •

• • • • •

Hall & MRD OPD Canteen PHA (pharmacy)

4.SemiPRIVATE

ER (Emergency Rm.) SUR (Surgical) • RAD (Radiology) CSSD • CTD LNDRY (Laundry) (Chemotherapy ICU Department) • PT (Physical 3.SERVICE Therapy) • LAB (Laboratory • Mechanical 5.PRIVATE ,Central LAB) • Electrical • WARD • Plumbing • ADMIN • MED. System (Administrator , • DND (Dietetics & Nutrition บริหารและธุรการ) Department) • MORGUE Upper FL (2,3,4,…,Top) Parking Future Expansion Area Lower FL (Basement)

ข้อดี

ข้อเสีย

• Approach โครงการค่อนข้างดีและเห็นได้ง่าย • ประหยัดพื้ นที่​่ โครงการ มีผลต่อการเพิ่ มเติมส่วนอื่นๆ ในอนาคต (เช่น หอพั ก OFC, ห้องพั ก IPD WARD , พื้ นที่ส่วน เคมีบาบัด

• สัดส่วนอาคารทาให้ดูเป็นโรงพยาบาล ไม่มีความเป็น กันเองเหมือนสัดส่วนบ้าน • การจัดกลุ่มอาคาร ยังกระชั้นชิดมากเกินไป ในส่วน ของ Service


EXISTING TREE

Zoning 3

P

P

P P

1.PUBLIC

2.Semi-PUBLIC

• • • •

• • • • •

Hall & MRD OPD Canteen PHA (pharmacy)

4.SemiPRIVATE

ER (Emergency Rm.) SUR (Surgical) • RAD (Radiology) CSSD • CTD LNDRY (Laundry) (Chemotherapy ICU Department) • PT (Physical 3.SERVICE Therapy) • LAB (Laboratory • Mechanical 5.PRIVATE ,Central LAB) • Electrical • WARD • Plumbing • ADMIN • MED. System (Administrator , • DND (Dietetics & Nutrition บริหารและธุรการ) Department) • MORGUE Upper FL (2,3,4,…,Top) Parking Future Expansion Area Lower FL (Basement)

2.40 m.

ข้อดี

ข้อเสีย

• พื้ นที่ห้องพั ก (Ward) กระจายตัวได้ และสามารถรับวิวได้ดี มีความเป็น ส่วนตัวสูง • ส่วน WARD ใกล้กับ DND สามารถแจกจ่ายอาหารให้ ผู้รับบริการได้ทัน • มีความแตกต่างที่มีการลอดใต้เส้นทางสัญจรรถ • อาจมีการรบกวนความเป็นส่วนตัวของบ้านพั กอาศัยด้านทิศเหนือของ โครงการ • Proportion ของอาคารไม่สูงมากนัก อาจมีผลเสียต่อ Approach • มีเส้นทางที่ตัดผ่าน พื้ นที่ที่เป็นส่วน PT กับ Semi PUBLIC ทาให้เกิดการ Cross Circulation อาจทาให้เกิดอันตรายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วน ER ที่ต้องการความเร่งรีบ


EXISTING TREE

Zoning 4

P

P

1.PUBLIC

2.Semi-PUBLIC

• • • •

• • • • •

Hall & MRD OPD Canteen PHA (pharmacy)

4.SemiPRIVATE

ER (Emergency Rm.) SUR (Surgical) • RAD (Radiology) CSSD • CTD LNDRY (Laundry) (Chemotherapy ICU Department) • PT (Physical 3.SERVICE Therapy) • LAB (Laboratory • Mechanical 5.PRIVATE ,Central LAB) • Electrical • WARD • Plumbing • ADMIN • MED. System (Administrator , • DND (Dietetics & Nutrition บริหารและธุรการ) Department) • MORGUE Upper FL (2,3,4,…,Top) Parking Future Expansion Area Lower FL (Basement)

ข้อดี

ข้อเสีย

• มีการกระจายตัวของพื้ นที่ห้องพั ก (Ward) แบบ Polar Array ทา ให้ได้รับวิว/มุมมองที่หลากหลาย • ส่วน WARD ใกล้กับ DND สามารถแจกจ่ายอาหารให้ ผู้รับบริการได้ ทันทั้งใน WARD ที่เป็น Villa และ Ward แนวตั้ง • มีสัดส่วนที่ดูมีความเป็นโรงพยาบาล • พื้ นที่ Yard หน้าโครงการ (ทิศใต้) มีพื้นที่เหลือในการจัดสวนเยอะ • จุด Drop Off แผนก ER มีทางเข้าออกที่ชัดเจน … • OPD อาจได้แสงน้อย • แผนก PT อยู่ในส่วนที่ได้รับเสียงรบกวนค่อนข้างมาก



OPD


ER


PHA


RAD


LAB


PT


SUR


SUR


ICU


CTD


IPD : WARD

NURSE STATION

ผู้ใช้หอผู้ป่วยจะมีบุคคล 4 ประเภทที่ใช้ NURSE STATION ตามเส้นทางที่แสดงไว้ข้างต้น คือ • 1. แพทย์ หลังจากตรวจเยี่ยม ผู้ป่วยแล้วจะนั่งเขียน REPORT ในบริเวณ COUNTERทางานของ NURSE STATION • 2. พยาบาล จะใช้ทุกส่วนของ NURSE STATION เพราะมี หน้าที่โดยตรง • 3. ญาติหรือผู้ป่วยส่วนใหญ่ ่ ยู่ในกาต้ม จะมาเอาน้าร้อนทีอ น้าห้อง PANTRY จึงควรจัด ห้องPANTRY ให้เข้าออกจาก ภายนอกได้ และควรมีพื้นที่ให้ ญาติผู้ป่วยมาอุ่นอาหารได้ ด้วย • 4. MAID ส่วนใหญ่จะใช้ส่วน SERVICE เช่น DIRTY STORAGE ล้าง MOP บริเวณเก็บถาดอาหารหรือ เตียงผู้ป่วย และ LINEN STORAGE เป็นต้น


DND

แนวทางการออกแบบ


LNDRY แนวทางการออกแบบ


CSSD

แนวทางการออกแบบ OR OB ICU

SOILED CORRIDOR

CSSD

OTHER DEPTS.

CLEANED CORRIDOR

RETURN TO DEPARTMENTS


MORGUE

MEP


Function Circulation Diagram SCALE 1:750 on A3 ทางสัญจร ผู้ปฏิบัติงาน

ABBREVIATIONS (ตัวย่อ) • OFC : Officer (ผู้ปฏิบัติงาน : แพทย์ พยาบาล ฯลฯ) • CX : Customers (ผูรับบริการ : ญาติ/เพื่ อน ผู้ป่วย , ผู้ป่วย) • Patient : (ผู้ป่วย) • P-REL : Patient Relatives (ญาติ/เพื่ อน ผู้ป่วย)

4.ฝ่ายหอผู้ป่วยใน OPD/WARD

9.จอดรถ Service

6.1 DND (Dietary)

(OFC; แพทย์, บุคลากรแพทย์, คณะ ผู้บริหาร, ฯลฯ)

5. ฝ่ายบริหาร ธุรการ

ทางสัญจรผู้รับบริการ

9.MORGUE

(CX; ผู้ปว ่ ย)

2.2 RAD

7.ฝ่ายงานระบบ

ทางสัญจรผู้รับบริการ (CX;ญาติผู้ปว ่ ย)

9.RELIGION

2.1 PHA

2.3 LAB

1.2 OPD Clinics

8.CANTEEN

2.4 Chemical Therapy D

3.1 SUR

6.3 LNDRY 6.2 CSSD

2.5 PT

1.1 โถงต้อนรับ + เวชระเบียน

3.2 ICU

9.จอดรถ Public

1.3 ER MAIN ENTRY

SERVICE

แบ่งกลุ่มตามการใช้งาน Facilities Grouping

แบ่งกลุ่มตามการเข้าถึง User Access Grouping

OFC only

OFC and Patient

1.OFC Only • LAB (OFC) • CTD (OFC) • PHA (OFC) • MEP • DND • LNDRY • CSSD • ADMIN

OFC and P-REL

2.OFC and Patient • ER • SUR • RAD

3.OFC and P-REL • MORGUE

ALL

4.ALL • HALL & MRD • OPD Clinic • PHA • PT • CTD • LAB • CANTEEN • RELIGION • ICU • WARD

1. Diagnostic & Therapeutic FAC

4.WARD

2.Clinic Support FAC

5.Service FAC

3..Special Unit FAC

6.Administration FAC

1.DIAG & THERA • HALL & MRD • OPD Clinic • ER • 3.SPEICAL U • ICU • SUR

2.CLINIC-Sup. • PHA • RAD • LAB • CTD • PT

4.WARD • OPD WARD • NURESTATION

6.ADMIN

ETC

5.SERVICE DND CSSD LNDRY MEP

• • • •

7.ETC MORGUE CANTEEN RELIGION PARKING


GOOD APPROACH จุดนาสายตา • เน้นการเข้าถึงจากภายนอก กล่าวคือ การเอา อาคารไปไว้ด้านหน้า จะทาให้เกิดการ Approach ของโครงการที่ดีกว่าการเอา อาคารหลัก (ส่วนกลาง) ไปไว้ด้านหลัง

1: 3,400

GOOD VIEW เก็บวิว

= ส่วนภูมิทัศน์เพิ่ มเติม

• อาคารที่เปิดรับทั้งวิวภายนอก วิวภายใน โครงการ •

1: 3,400

และ

วิวภายใน สร้างได้โดยการจัดส่วนภูมิทศ ั น์ให้เป็นสวน เพื่ อการบาบัด (Healing Garden) หรือสวนฟื้ นฟู (Restorative Garden) โดยมีองค์ประกอบของ ่ ต สวนโดยสังเขป คือ เป็นสวนทีม ี น ้ ไม้หลากหลาย ่ พั นธุ์ ดอกไม้นานาชนิด มีลาธารน้าตก มีความร่มรืน เงียบสงบ เพื่ อให้เกิดความสงบภายในจิตใจ โดยทุก คนสามารถเข้าถึงได้ (ทั้ง Wheel Chair , คนตา บอด ฯลฯ) ที่มา : ประพจน์ เภตรากาศ, 2547

GOOD VENTILATION เก็บทิศทางลม • เน้นการออกแบบที่ทาให้เกิดทิศทางลมพั ดผ่าน ส่วนของอาคาร โดยการหันทิศทางอาคาร (Orientation) รวมถึงการออกแบบสัดส่วน อาคารให้เกิดการรับลมมากที่คอ ื สัดส่วน 1:3

1: 3,400

ENVIRONMENTAL CONSERVATION เก็บต้นไม้ = Existing Tree

่ ีอยู่ ไว้ให้ได้มาก • เน้นให้เกิดการเก็บต้นไม้เดิมทีม ที่สุด เพื่ อเป็นการอนุรักษ์ พื ชพรรณเดิมใน พื้ นที่และทาการพั ฒนาส่วนภูมท ิ ัศน์เพิ่ มเติม

1: 3,400


Main Building

WARD •

หอพั กผู้ป่วย

Additional Tree

• • •

P

Existing Tree

P

Parking

Drop Off point

รักษา บริการทางการแพทย์ งานระบบ

GARDEN

POND

Foot Path

3.OFC and P-REL • MORGUE

1.OFC Only • LAB (OFC) • CTD (OFC) • PHA (OFC) • MEP • DND • LNDRY • CSSD • ADMIN 2.OFC and Patient • ER • SUR • RAD

^ USER Access Grouping

4.ALL • HALL & MRD • OPD Clinic • PHA • PT • CTD • LAB • CANTEEN • RELIGION • ICU • WARD

4.WARD • OPD WARD • NURESTATION

1.DIAG & THERA • HALL & MRD • OPD Clinic • ER

5.SERVICE DND CSSD LNDRY MEP

2.CLINIC-Sup. • PHA • RAD • LAB • CTD • PT

• • •

3.SPEIC AL U ICU SUR

• • • •

^ Facilities Grouping

7.ETC MORGUE CANTEEN RELIGION PARKING

6.ADMIN


OFC only

OFC and Patient

กลุ่มผู้ใช้งาน / เวลา

HALL & MRD

OPD

ER

PHA

RADDIAGNOSTIC RADTREATMENT

LAB

CTD

PT

ICU

SUR

WARD

DND

CSSD

LNDRY

ADMIN

CANTEEN

RELIGION

FUNCTION TIMELINE

ALL

ก่อนเช้า

เช้า

สาย

เที่ยง

บ่าย

เย็น

ค่า

ดึก

00.00 - 7.00

7.00 - 10.00

10.00 - 12.00

12.00 - 13.00

13.00 - 16.00

16.00 - 18.00

18.00 - 21.00

21.00 - 24.00


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.