Baccazine issue 08

Page 1

B A N G K O K

A R T

A N D

C U L T U R E

C E N T R E -

ห อ ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ ง ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร

issue 08

ASEAN ART

issue 08 baccazine

3 7


02

baccazine issue 08


baccazine says

หากเศรษฐกิจเป็นอาวุธส�ำคัญในการขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า เพือ่ การก้าวเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน การเชือ่ มโยงทางสังคมวัฒนธรรมนัน้ ก็ถอื ได้วา่ เป็นสิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะบุกเบิกไปสูก่ ารสร้างอัตลักษณ์ให้กบั ภูมภิ าคนี้ ได้เช่นเดียวกัน ซึง่ แน่นอนว่าย่อมแตกต่างไปจากภูมภิ าคอืน่ ๆ ไม่วา่ จะเป็น เอเชีย ยุโรป หรือ อเมริกา ศิลปะร่วมสมัยเกิดขึน้ จากมิตทิ างสังคม วัฒนธรรมอันเป็นรากฐานใน การสร้างสรรค์ พัฒนา เพือ่ ตอบสนองต่อความเป็นไปในสังคมยุคปัจจุบนั งานศิลปะร่วมสมัยจึงนับเป็นภาพสะท้อนอัตลักษณ์ทจี่ ะบ่งบอกถึงความคิด ของศิลปินที่มีต่อสังคม วัฒนธรรม ในพื้นถิ่นของตนเองได้เป็นอย่าง ดี ทั้งนี้ หากกล่าวถึงศิลปะร่วมสมัยในอาเซียน จึงมีความจ�ำเป็นต้อง อ้างอิงถึงพื้นฐานของความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรมระดับ ภูมิภาค ความคล้ายคลึง รวมไปถึงความแตกต่าง ภายใต้ความซับซ้อน และความทับซ้อนทางสังคมและวัฒนธรรม ซึง่ ส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลง และการมีจดุ ร่วมกันในยุคปัจจุบนั ภายใต้เงือ่ นไขทางเศรษฐกิจ บริบททาง สังคม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการเมืองที่แตกต่างกันด้วย ดังนัน้ ศิลปะร่วมสมัยจึงมีสว่ นในการสร้างความเข้าใจต่อความสัมพันธ์ ระหว่างกลุม่ ประเทศอาเซียนมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ในทีส่ ดุ แล้วเราจะได้สามารถ เปิดช่องทางในการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ผ่านทั้งในเชิงประวัติศาสตร์ สังคม และศิลปวัฒนธรรมร่วมกัน

If economy is an important tool to drive our nation towards joining the Association of South East Asian Nations or ASEAN, multiculturalism is a significant instrument to the development and strengthening of this region’s identity, which is unique from other Asian regions, Europe or America. Contemporary art originates from artists’ perception, reaction and creativity in response to the present social dimensions. Therefore it is a great tool to reflect their local identity, society and culture. It is vital, when talking about contemporary art in ASEAN, to take into consideration the multi-levels of social and cultural diversity backgrounds in the region. There are both similarities and differences in its economic, social, cultural and political contexts that lay an impact on the countries’ changes and convergence. It is a channel for us all to share and learn about one another’s historical, social, art and cultural dimensions. As such, it can be stated that contemporary art plays a valuable role in the establishment of understanding and strengthening of relationship among the ASEAN countries.

บรรณาธิการ

Editor

โดยหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร นิตยสารศิลปะเพื่อประชาชน, แจกฟรีรายสามเดือน ฉบับที่ 8 / 2557 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครอยู่ในความดูแลของมูลนิธิ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ด้วยการจัดตัง้ และสนับสนุนหลัก จากกรุงเทพมหานคร By Bangkok Art and Culture Centre (bacc) Magazine for people, three - month free copy Issue 8 / 2014 Bangkok Art and Culture Centre (bacc) is under the supervision of Bangkok Art and Culture Centre Foundation, set up and tremendously supported by Bangkok Metropolitan Administration

บรรณาธิการอ�ำนวยการ ลักขณา คุณาวิชยานนท์

Managing Editor Luckana Kunavichayanont

ที่ปรึกษา รัชนีภรณ์ เรืองดิษยรัตน์

Advisor Rachaneeporn Rueangditsayarat

บรรณาธิการ พิมพ์ ปวีณ์

Editor Pim Pawee

อาร์ตไดเรคเตอร์ กฤษณะ โชคเชาว์วัฒน์

Art Director Krisana Chokchaowat

ด�ำเนินการจัดท�ำและจัดพิมพ์ บริษัท แจสมิน มีเดีย จ�ำกัด โทรศัพท์ : 086 339 1181, 083 130 2744 โทรสาร : 02 254 6381

Producer Jazzmin Media Co.,Ltd. Tel : 086 339 1181, 083 130 2744 Fax : 02 254 6381

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : 02 214 6630 - 8 โทรสาร : 02 214 6639 Website : www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage

Bangkok Art and Culture Centre Tel : 02 214 6630 - 8 Fax : 02 214 6639 Email : pr@bacc.or.th

issue 08 baccazine

0 13


ºŒÒ¹àÃÒ

¡ÒûÃСǴ “ÈÔÅ»¡ÃÃÁªŒÒ§à¼×Í¡” ¤Ã˜œ§·Õè 3 rd

MY HOMELAND

The 3 White Elephant Art Award By Thai Beverage Public Company Limited

02

baccazine issue 08


contents

issue 08 flash light theme cover did you know world of art world artist in the mood of art

04 06 14 16 20 22

the sketch my studio places for passion network calendar bacc calendar art question

28 30 34 36 38 39

bacc exhibition idea of life art analyze your’s gallery

06

22

34

16

28

40

20

30

42 issue 08 baccazine

40 42 46 48

0 3


flash light

1

2

3

4

5

6 3 ตุลาคม 2556 bacc exhibition

1

ภราเดช พยัฆวิเชียร กรรมการมูลนิธหิ อศิลป วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เป็นประธานใน งานเปิดนิทรรศการศิลปะเพื่อภูมิทัศน์แห่งการ พัก “สถานพักตากอากาศ” BACC’s executive committee member, Pradech Phayakvichien presided over the opening ceremony of “Resort: An exhibition for landscape of rest” on 3 October 2013. __ 17 ตุลาคม 2556

2

บุญชัย เบญจรงคกุล (ขวา) นักธุรกิจชื่อดัง เจ้าของพิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะไทยร่วมสมัย หรือ MOCA ให้เกียรติเป็น ประธานในงานเปิดนิทรรศการ ชีวิตสายน�้ำ โดย วรสันต์ สุภาพ ที่ People’s Gallery Bunchai Benjarongkul (right), a famous business tycoon who is also the founder of Museum of Contemporary Art or MOCA, presided over the opening ceremony of the exhibition “Water of Life by Vorasan Supap” at People’s Gallery on 17 October 2013. 04

baccazine issue 08

19 ตุลาคม 2556

3

25 ตุลาคม 2556

4

ปรัชญา ปิ่นแก้ว ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ในงาน เสวนา “การเปิดเสรีในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ และแนวโน้มความร่วมมือในธุรกิจภาพยนตร์ ของกลุ่มประเทศอาเซียน” เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2556 The film director, Prachya Pinkaew, joined panel discussion on “Trade Liberalization in Film Industry and Coproduction Tendency among ASEAN Community” on 19 October 2013. __ ประดิษฐ ประสาททอง ศิลปินรางวัลศิลปาธร สาขาศิ ล ปะการแสดง ในงานแถลงข่ า วการ จัดงาน “เทศกาลละครกรุงเทพฯ” Pradit Prasatthong, Silapathorn Award Recipient in the field of performing arts, announced to the press about “Bangkok Theatre Festival 2013” on 25 October 2013. __

9 พฤศจิกายน 2556 bacc cinema

5

30 พฤศจิกายน 2556

6

คงเดช จาตุรันต์รัศมี (ขวาสุด) ผู้ก�ำกับ ภาพยนตร์ มาพูดคุยในงาน เทศกาลภาพยนตร์ คัดสรร “Cinema Diverse : Director’s ซึ่งน�ำ เสนอเรื่อง Synecdoche (New York) ร่วมด้วย ก้อง ฤทธิ์ดี (ซ้ายสุด) นักวิจารณ์ภาพยนตร์ Kongdej Jaturunrassamee (rightmost), film director, joined the movie critic, Kong Ritdee (leftmost), in giving an introduction to the film Synecdoche (New York) at the film festival “Cinema Diverse : Director’s” on 9 November 2013 __ โจว เถา ศิ ล ปิ น ท่ า นแรกที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล Han Nefkens Foundation - BACC Award for Contemporary Art in Asia พูดคุยในงาน ศิลปินเสวนา : โจว เถา : The Man who Plants Scenarios Zhou Tao, the first winner of Han Nefkens Foundation - BACC Award for Contemporary Art in Asia joined a panel


7

8

9 10

discussion titled “Zhou Tao : The Man who Frontier” ร่วมด้วยผู้บริหารหอศิลปกรุงเทพฯ Plants Scenarios” on 30 November 2013 และแขกผูม้ ีเกียรติจ�ำนวนมาก __ Apirak, Kosayodhin, BACC’s Chairman of the Executive Committee (3rd from right) 7 and Kobkarn Wattanavrangkul (2nd from 10 ธันวาคม 2556 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม right), BACC’s Board member and Executive ราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเปิดนิทรรศการภาพถ่าย Board Chairman of Toyota Motor Thailand ฝีพระหัตถ์ “รูปยาตรา ภาพทัศนาจร” Co., Ltd., along with other VIP guests joined H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn, the event “ASEAN Nights : ASEAN Beyond presided over the opening ceremony of Frontier” on 14 December 2013. photography exhibition by H.R.H. Princess __ Maha Chakri Sirindhorn, titled “Traveling Photos, Photos Traveling” on 10 December 20 ธันวาคม 2556 bacc exhibition 9 2013. เจตน์ โศภิษฐ์พงศธร กรรมการบริหารหอ __ ศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (ซ้าย) และ คาซึฮโิ ร ฟุคุดะ ผู้อ�ำนวยการ เจแปนฟาวน์เดชัน่ 8 กรุงเทพฯ (ขวา) ร่วมเป็นประธานเปิดนิทรรศการ 14 ธันวาคม 2556 อภิรกั ษ์ โกษะโยธิน (คนที่ 3 จากขวา) ประธาน นิทรรศการ “มีเดีย/อาร์ต คิชเช่น - สนาม มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร บิดเบือนความจริง (ฉบับกรุงเทพฯ) - สือ่ ก�ำหนด และกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร (คนที่ 2 จาก ความคิด : ความคิดก�ำหนดตัวเลือก : ตัวเลือก ขวา) กรรมการมูลนิธิฯ และประธานกรรมการ ก�ำหนดอนาคต” บริหาร บริษทั โตชิบา ไทยแลนด์ จ�ำกัด ร่วมเป็น Jate Sopitpongstorn, Executive เกียรติในงาน “ASEAN Nights : ASEAN Beyond Committee of BACC (left) and Kazuhiro

Fukuda Director of The Japan Foundation (right), Bangkok, jointly presided over the opening ceremony of “Media/Art Kitchen - Reality Distortion Field Exhibition” on 20 December 2013. __ 12 ธันวาคม 2556 bacc exhibition

10

อิโอลา เลนซี (กลาง) อากุง ฮูจานิกาเจนนง (ซ้าย) และวิภาช ภูริชานนท์ ภัณฑารักษ์ ร่วม กล่าวในงานเปิดนิทรรศการ มโนทัศน์ บริบท การ ต่อต้าน : ศิลปะและส่วนรวมในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ร่วมด้วยศิลปินทั้งไทยและอาเซียน I o l a Le n z i ( c e n t e r ) , A g u n g Hujatnikajennong (left), and Vipash Purichanont gave speeches at the opening ceremony of the exhibition “Concept Context Contestation : art and the collective in Southeast Asia”. Many Thai and Asean artists joined the event on 12 December 2013.

issue 08 baccazine

0 5


theme cover

ASEAN ART

ศิ ล ปะที ไ ่ ม่ ร ว ่ งสมั ย ในอาเซี ย น กับดอกไม้เเห่งเสรีภาพในพม่าที่ (เหมือน) ก�ำลังจะผลิบาน COLUMNIST : PARAMAPORN SIRIKULCHAYANONT,PH.D.

60 6

baccazine issue 08


Exhibition view Aung Ko Breakfast with my Enemy Courtesy Primo Marella Gallery ในช่วงยุค 1920 -1930 ซึง่ อยูใ่ นยุคทีพ ่ ม่าถูกปกครอง โดยอังกฤษ (ระหว่างปี 1885 - 1948) ถือได้ว่าเป็น ช่วงที่โลกศิลปะของพม่าตื่นตัวและอาจเป็นจุดเริ่มต้น ของพัฒนาการศิลปะพม่าที่เปลี่ยนแปลงจากศิลปะแบบ ประเพณีในราชส�ำนักในช่วงราชวงศ์สุดท้ายมาสู่การ รับอิทธิพลจากศิลปะตะวันตกจากอังกฤษ ในปี 1913 ข้าราชการชาวอังกฤษที่เชี่ยวชาญทางด้านศิลปะได้ร่วม กันก่อตั้ง Burma Art Club (สมาคมศิลปะพม่า) ขึ้น ในกรุงย่างกุ้ง ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น Myanmar Artists’ Association (สมาคมศิลปินพม่า) เพื่อ ถ่ายทอดงานจิตรกรรมแบบตะวันตกให้เป็นที่รู้จักผ่าน การเรียนการสอนศิลปะให้แก่บุคคลที่สนใจ ซึ่งถือได้ว่า เป็นก้าวแรกที่ส�ำคัญต่อการพัฒนางานจิตรกรรมของ พม่า ในช่วงยุคนั้น มีศิลปินพม่าที่ได้รับโอกาสในการ เดินทางไปศึกษาด้านศิลปะในประเทศอังกฤษ ซึ่งท�ำให้ เข้าใจต่อลักษณะและรูปแบบของงานศิลปะตะวันตกเป็น อย่างดี จนสามารถน�ำเทคนิควิธีนั้นกลับมาเผยแพร่แก่ ศิลปินหนุ่มสาว หลังจากอังกฤษคืนเอกราชให้แก่พม่า ฝีมือของศิลปินรุ่นหลังเหล่านั้นจึงฉายแววออกมาจาก การบ่มเพาะมาจากศิลปินชั้นครู ท�ำให้ส่วนใหญ่มีโอกาส ในการเดินทางออกไปยังประเทศต่างๆ ทั้งระยะสั้น ระยะ ยาว ต่างได้น�ำมุมมอง ประสบการณ์ และความรู้กลับมา ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนแก่ศิลปินรุ่นต่อไป ท�ำให้ช่วงปี 1950 - 1970 นั้นเกิดกลุ่มศิลปินรุ่นใหม่ขึ้นมา พร้อม การสร้างสรรค์งานที่มีมุมมองใหม่ๆ ศิลปินเหล่านี้ล้วน เป็นผลผลิตจากแนวคิดและการถ่ายทอดจากศิลปินรุ่น บุกเบิกทั้งสิ้น ในขณะเดียวกันในปี 1952 ได้มีการก่อตั้ง State School of Fine Arts ในย่างกุง้ และมัณฑะเลย์ ขึ้นด้วย

issue 08 baccazine

07 7


Aye Ko

จนถึงปี 1962 เมื่อนายพลเน วิน (General Ne Win) ก่ อ รั ฐ ประหาร และเปลี่ ย นการ ปกครองให้เป็นเผด็จการ พม่าถูกปกครองโดย รัฐบาลทหาร ซึ่งนายพล เน วิน ใช้ชื่อเรียกว่า เป็น สังคมนิยมวิถีพม่า (The Burmese Way to Socialism) ประเทศพม่าในยุคนั้นจึงกลายเป็น ประเทศปิดที่ปิดการติดต่อสื่อสารกับประเทศ อื่ น ๆในโลกไปในทั น ที สื่ อ ทุ ก ชนิ ด /การ แสดงออกทางความคิดในด้านต่างๆรวมทั้งการ ศึกษาล้วนถูกควบคุมโดยรัฐ ภาพของพม่าใน สายตาต่างชาติจึงช่วยไม่ได้ที่จะเป็นภาพในมุม ลบ เป็นภาพสังคมทีถ่ กู จ�ำกัด - มืด เข้มงวด และ กดดัน มีความขัดแย้งระหว่างประชาชนและกลุม่ ทีเ่ รียกร้องประชาธิปไตย และรัฐบาลทหารอย่าง ต่อเนื่อง Lokanat Art Gallery เป็นแกลลอรี่ แสดงงานศิลปะแห่งแรกที่เกิดขึ้นในประเทศ พม่า ในปี 1971 โดยความร่วมมือของศิลปินของ พม่ากลุม่ หนึง่ ซึง่ ในตอนต้นจัดแสดงผลงานของ ศิลปินที่เป็นสมาชิกเป็นหลัก จนเมื่อสถานการณ์การเมืองในประเทศเริ่ม คลี่คลายขึ้น ราวทศวรรษที่ 1980 พม่าค่อยเริ่ม เปิดประตูสู่นานาชาติมากขึ้น ยอมรับการลงทุน จากต่างชาติขึ้นทีละน้อย การเดินทางท่องเที่ยว ของชาวต่างชาติในพม่าท�ำได้งา่ ยขึน้ นักท่องเทีย่ ว 08 8

baccazine issue 08

สามารถเดินทางและพ�ำนักในประเทศได้ยาวถึง สองอาทิตย์ จนมาถึงราวต้นทศวรรษที่ 1990 รัฐบาลของนายพลอาวุโส ตาน ฉ่วย (Senior General Than Shwe) น�ำนโยบายใหม่ๆมาใช้ เช่น เปิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ อย่างเช่น การเกิด ขึ้นของมหาวิทยาลัยแห่งศิลปะและวัฒนธรรม (University of Art and Culture) ซึ่งเป็น มหาวิทยาลัยที่ผลิตศิลปินรุ่นใหม่ที่เป็นพลังขับ เคลื่อนศิลปะร่วมสมัยในพม่าในขณะนี้ ในช่วง เวลานั้น จึงเริ่มมีแกลลอรี่แสดงภาพ เปิดตัวขึ้น ตามๆกัน หนึ่งในนั้นคือ Inya Gallery of Art ซึ่ง เปิดขึ้นในปี 1989 โดยศิลปิน ออง หมิ่น (Aung Myint) ศิลปินผู้ฝึกฝนและพัฒนาทักษะทาง ศิลปะด้วยตนเอง เขาได้เปิดพืน้ ทีน่ ขี้ นึ้ เพือ่ ให้เป็น ที่แสดงงานศิลปะสมัยใหม่ (modern art) ซึ่ง เป็นแขนงศิลปะที่ไม่เป็นทีร่ จู้ กั กันนักในประเทศ พม่า หรือแม้แต่ทา่ มกลางจิตรกรในพม่าด้วยกัน ก็ตาม แต่อย่างไรก็ดี ผลงานศิลปะที่จัดแสดง อยู่ตามแกลลอรี่เหล่านี้ส่วนใหญ่ยังคงมีเนื้อหา ที่เรียบง่าย ไม่หวือหวา ไม่เป็นเนื้อหาที่พูดถึง ประเด็นสังคม เช่น ศิลปะร่วมสมัยส่วนใหญ่ อาจ เนือ่ งจากในการแสดงงานในพืน้ ทีแ่ กลลอรีเ่ หล่านี้ ถือได้ว่าเป็น พื้น ที่ที่อยู่ ในการดูแลของรัฐนั้น จ�ำเป็นต้องขออนุญาตไปทางกองงานเซ็นเซอร์

ที่ก�ำกับอยู่ภายใต้กระทรวงวัฒนธรรมของพม่า ทุกครั้ง โดยต้องแจ้งรายละเอียดผลงาน ขนาด เนื้อหา อย่างละเอียด หากทางรัฐบาลไม่ยอม ให้ผลงานนั้นผ่านการพิจารณา นิทรรศการทั้ง นิทรรศการอาจจะต้องล้มเลิกไปเลยก็ได้ ตลอดระยะเวลาทีร่ ฐั มีบทบาทในการควบคุม การแสดงออกทางศิลปะเช่นนี้ ท�ำให้กลุ่มศิลปิน กลุม่ หนึง่ พยายามทีจ่ ะผลักดันให้เกิดการสือ่ สาร ความคิดผ่านการสร้างสรรค์งานศิลปะได้อย่าง อิสระขึน้ ศิลปะแสดงสด (performance art) จึง ถูกน�ำมาใช้เป็นกลไกหนึง่ ในการสือ่ สารความคิด ทีเ่ ป็นอิสระและชัดเจน และหลีกเลีย่ งจากการถูก เซ็นเซอร์ (censor) โดยรัฐบาลทหาร เนื่องจาก การแสดงงานศิลปะในแกลลอรีต่ า่ งๆในประเทศ จ�ำเป็นต้องขออนุญาตจากรัฐบาลทุกครั้ง เอ โก (Aye Ko) เป็นหนึ่งในศิลปินกลุ่มแรกๆของพม่า ที่ น� ำ ศิ ล ปะแสดงสดนี้ ม าใช้ เ ป็ น สื่ อ และสร้ า ง ปรากฏการณ์ของศิลปะร่วมสมัยของพม่าอย่าง น่าสนใจจนท�ำให้ศิลปินรุ่นหลังสนใจน�ำศิลปะ ประเภทนี้ มาใช้เพือ่ สะท้อนสภาพสังคมการเมือง ในประเทศกันอย่างมากมาย เกือบจะเรียกได้วา่ ตัง้ แต่ชว่ งปี 2000 เป็นต้นมา งานศิลปะแสดงสด เกิดขึน้ และแทบจะบดบังงานศิลปะประเภทอืน่ ๆ ในสังคมศิลปะร่วมสมัยในพม่าเลยทีเดียว


New Zero Art Space

เอ โก เป็นที่รู้จักอย่างดีในระดับนานาชาติ เขามีโอกาสเข้าร่วมนิทรรศการและเทศกาล ศิลปะในระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง ยั ง มี โ อกาสเป็ น ศิ ล ปิ น ในพ� ำ นั ก ในประเทศ สหรัฐอเมริกาอีกด้วย ท�ำให้เขาเห็นความส�ำคัญ ในการพัฒนาสังคมศิลปะร่วมสมัยของพม่ากับ ความจ�ำเป็นทีต่ อ้ งมีพนื้ ทีท่ างศิลปะส�ำหรับศิลปิน รุ่นหลังและคนรุ่นใหม่ แต่แล้วรัฐบาลทหารได้ ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นในปี 2008 รัฐธรรมนูญฉบับนีแ้ ม้จะร่างด้วยรัฐบาลทหาร แต่ ก็ทำ� ให้บรรยากาศความเป็นไปในสังคมผ่อนคลาย ขึ้นอย่างมาก ประชาชนทั่วไปเริ่มมีความหวัง ถึงอะไรใหม่ๆที่อาจเกิดขึ้น แม้ว่าในความเป็น จริงจะเป็นรัฐธรรมนูญที่ท�ำให้เกิดค�ำถามต่อ การคงอ�ำนาจของรัฐบาลทหารก็ตาม สิ่งนี้อาจ ส่งผลให้เป็นจุดเริม่ ต้นของการเปลีย่ นแปลงไปสู่ สิ่งใหม่ๆในวงการศิลปะพม่าก็เป็นได้ เอ โก ได้ เปิดตัว New Zero Art Space ขึ้นในปีเดียวกัน ซึ่งถือได้ว่าเป็น พื้น ที่ส�ำหรับการแสดงผลงาน ศิลปะร่วมสมัยอย่างแท้จริงแห่งแรกในพม่า ไม่ เพียงแต่เป็น พื้น ที่ส�ำหรับแสดงออกของกลุ่ม ศิลปินร่วมสมัยแล้ว New Zero Art Space ยัง มีบทบาทเป็นพื้นที่แห่งการแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ทั้งของศิลปินในประเทศ

ศิลปินต่างประเทศ และคนทั่วไปผ่านกิจกรรม ทางศิลปะต่างๆ เวิร์คช้อปโครงการแลกเปลี่ยน กิจกรรมสาธารณะ การจัดเทศกาลทางศิลปะ ห้องสมุดศิลปะ รวมถึงการเป็นศูนย์กลางของ กิจกรรมการศึกษาทางด้านการจัดการศิลปะ อีกด้วย นอกจากพื้นที่ทางศิลปะร่วมสมัยอย่าง New Zero Art Space แล้ว ในปีเดียวกันนั้นเอง กลุ่มศิลปินรุ่นใหม่ยังรวมตัวกันก่อตั้งโครงการ Beyond Pressure Festival of Performance Art ขึ้น ให้เป็น พื้น ที่ส�ำหรับศิลปินรุ่นใหม่มา แสดงออกทางศิลปะในแขนงใหม่ นั่นคือศิลปะ แสดงสด โดยมี ศิ ล ปิ น รุ ่ น ใหม่ เ ป็ น หลั ก และ ท�ำงานร่วมกันกับศิลปินรับเชิญจากต่างประเทศ เทศกาลนีย้ งั ถือได้วา่ เป็นครัง้ แรกทีศ่ ลิ ปะแสดงสด ได้เผยแพร่ออกไปในสังคมอย่างเป็นทางการ และยังเป็นการจัดงานโดยกลุม่ ศิลปินรุน่ ใหม่ดว้ ย นับได้วา่ เป็นความพยายามของกลุม่ ศิลปินกลุม่ นี้ ที่ต้องการสื่อสารไปยังศิลปินรุ่นต่อๆไปให้กล้า ที่แสดงออกโดยใช้ศิลปะแสดงสดซึ่งยังไม่เป็นที่ รู้จักในพม่าขณะนั้นเป็นเครื่องมือ อาจกล่าวได้ว่า การเปลี่ยนแปลงทางศิลปะ ของพม่าและจุดยืนทีแ่ ข็งแรงในเวทีโลกนัน้ อาจ เกิดจากแรงผลักดันที่วิ่งคู่ขนานกันไป ทั้งการ เกิดพื้นที่ศิลปะร่วมสมัยอย่าง New Zero Art

Space เพือ่ รองรับการให้ความรูด้ า้ นศิลปะร่วมสมัย ภายในประเทศและการพัฒนาฝีมือและความ รู ้ ข องศิ ล ปิ น รุ ่ น ใหม่ ๆ และความพยายามที่ จะถ่ า ยทอดความคิ ดไปสู ่ สั ง คมวงกว้ า งและ นานาชาติ ข องศิ ล ปิ น รุ ่ น ใหม่ โ ดยไม่ ค� ำ นึ ง ถึ ง ข้อจ�ำกัดใดๆ ท�ำให้ศลิ ปะร่วมสมัยในพม่าสามารถ เข้ า ไปยื น อยู ่ ใ นโลกศิ ล ปะระดั บ นานาชาติ ได้อย่างโดดเด่น ทั้งๆที่มีข้อจ�ำกัดทางสังคม การเมืองมากกว่าหลายๆประเทศในภูมิภาคนี้ จนในที่สุดพม่าก็เริ่มมองเห็นความส�ำคัญ ในการเปิดประเทศเพื่อสร้างความสัมพันธ์ต่อ ประเทศต่างๆ โดยเฉพาะเมื่อประเทศต่างๆ ในภู มิ ภ าคนี้ เ ข้ าร่ ว มประเทศในกลุ ่ ม สมาชิ ก ASEAN ในช่วงปี 2011 ประธานาธิบดีเต็ง เส่ง (President Thein Sein) จึงประกาศการปฏิรูป ทางการเมืองและเศรษฐกิจขึ้น เอื้อให้เกิดความ ร่วมมือทางการลงทุนของต่างชาติ สร้างความ สัมพันธ์ในระดับนานาชาติกบั ประเทศต่างๆ มากขึน้ มูลค่าสินค้าในธุรกิจบริการและท่องเที่ยวสูงขึ้น อย่างก้าวกระโดด เม็ดเงิน สะพัดขึ้นจากชาว ต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศ ในขณะเดียวกัน พืน้ ทีท่ างศิลปะอย่างแกลลอรีเ่ อกชน หรือสตูดโิ อ ศิลปิน เริ่มเปิดตัวตามๆ กัน แม้จะดูเหมือนว่า พม่ า เปิ ด ประตู ต ้ อ นรั บ นานาประเทศอย่ า ง issue 08 baccazine

90 9


เต็มตัว เพราะกลายเป็นประเทศทีอ่ ยูใ่ นลิสต์สถานที่ ทีต่ อ้ งไปเยือนให้ได้สำ� หรับใครหลายๆคน แต่ใน ความเป็นจริงกลไกภายในประเทศยังไม่ได้เป็น เสรีตาม โครงสร้างของรัฐบาลก็ยังถือได้ว่าเป็น รัฐบาลทหารทีถ่ อื เสียงข้างมากอยู่ แม้ในปัจจุบนั จะมีภาพเป็นทางการว่าเปลีย่ นแปลงเป็นระบอบ ประชาธิปไตย มีการเลือกตั้งแล้วก็ตาม ในขณะทีส่ งั คมการเมืองมีพฒ ั นาการ ศิลปะ ร่วมสมัยก็เป็นสือ่ หนึง่ ทีส่ ะท้อนความเป็นไปของ พัฒนาการทางสังคมการเมืองนั้นๆด้วย ศิลปิน ร่วมสมัยอย่าง ออง โก (เกิด 1980) เป็นหนึ่ง ในศิลปิน พม่ารุ่นใหม่ที่โดดเด่น มากในระดับ นานาชาติ เขาจบการศึกษาด้านจิตรกรรมจาก National University of Art and Culture ใน กรุงย่างกุ้ง และเป็นหนึ่งในศิลปินรุ่นใหม่ที่มุ่ง ผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อสังคมศิลปะ ในพม่าอย่างมาก ผลงานศิลปะของ ออง โก ทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพถ่าย และ แนวจัดวางโดดเด่นในด้านแนวคิดที่สะท้อนภาพ ของสังคมของพม่า และสภาวะที่เกิดขึ้นภายใต้ รัฐบาลทหารได้อย่างลงตัว เขาได้รับเชิญให้ แสดงงานและเป็นศิลปินใปพ� ำนักในประเทศ ต่างๆอย่างสม�่ำเสมอ และยังเป็นหนึ่งในศิลปิน ที่เคลื่อนไหวอย่างสม�่ำเสมอในการท�ำกิจกรรม ด้านศิลปะเพื่อให้ศิลปะเข้าสู่สังคมและชุมชน ของเขามากขึ้น นอกจากเป็นศิลปินกลุ่มแรกๆ ที่ร่วมเผยแพร่ศิลปะแสดงสด และสร้างสรรค์ งานศิลปะเพือ่ แสดงในนิทรรศการต่างๆแล้ว เขา ยังเป็นผู้ริเริ่มโครงการศิลปะชุมชนในหมู่บ้าน Thuye’dan ซึ่งเป็นหมู่บ้านเล็กๆในชนบทของ พม่า โดยเริม่ ต้นตัง้ แต่ปี 2007 จนถึงปัจจุบนั เขา ท�ำงานร่วมกับเพือ่ นศิลปินในกลุม่ โดยสร้างสรรค์ ผลงานออกมาในลักษณะต่างๆกัน กระบวนการ ท�ำงานที่ท�ำในพื้นที่หมู่บ้านนั้นเริ่มต้นด้วยความ พยายามที่จะน�ำศิลปะเข้าสู่ชุมชน โดยให้ผู้คน ในชุมชนมีปฏิสมั พันธ์กบั ผลงานในลักษณะต่างๆ ทัง้ การน�ำผลงานศิลปะไปสร้างสรรค์รว่ มกับชาวบ้าน ในหมู่บ้าน การน�ำผลงานไปจัดแสดงไว้ หรือ การถ่ายทอดความเข้าใจด้านศิลปะผ่านกิจกรรม ต่างๆ เพื่อน�ำศิลปะเข้าไปใกล้ชิดชุมชนขึ้น ให้ ชุมชนมีความเข้มแข็งและมีพลังมากยิ่งขึ้น และ ยังเป็นความพยายามที่จะสื่อสารแนวคิดผ่าน ผลงานศิลปะโดยหนีห่างจากการควบคุมจาก รัฐบาลอีกด้วย ในงานจิ ต รกรรมชุ ด We are Moving (2012) เป็ น ผลงานจิ ต รกรรมสั จ นิ ย มแบบ 10

baccazine issue 08

ภาพถ่ายรวม 5 ชิน้ ด้วยการใช้เทคนิคสีอะคริลคิ บนผ้าใบขนาดใหญ่ด้านละเกือบ 2 เมตร เรา เห็นภาพผูค้ นเดินต่อกันอย่างเบียดเสียด มุง่ หน้า ไปทางเดียวกันอย่างรีบเร่งมองเห็นเงาชื้นของ น�้ำที่ชุ่มโชกบนผืนผ้า เสื้อผ้า หรือแม้แต่เส้นผม ของผูค้ นในภาพ เหตุการณ์นคี้ อื เหตุการณ์อะไร กัน ศิลปินผู้สร้างต้องการเพียงแค่แสดงทักษะ ฝีมือทางจิตรกรรมเท่านั้นเองหรือ โดยปกติ แล้ว งานจิตรกรรมแนวสัจนิยมแบบภาพถ่าย หรือที่มักทับศัพท์กันว่า photorealistic มักจะ สะท้อนภาพตรงๆของสิง่ ของ ผูค้ น หรือเหตุการณ์ หนึ่งๆ ที่เต็มไปด้วยรายละเอียดที่สมจริง เพื่อ

แสดงให้เห็นทักษะฝีมอื ทางจิตรกรรมของศิลปิน ที่ต้องการเอาชนะเทคนิคของภาพถ่าย หาก ชมเพียงเผินๆ อาจเห็นเพียงฝีมืออันฉกาจของ ศิลปิน แต่ในความเป็นจริง แนวคิดและเรือ่ งราว ที่ซ่อนอยู่นั้นกลับท�ำให้งานที่เราเห็นเบื้องหน้า นี้ไม่ใช่งานจิตรกรรมสัจนิยมแบบภาพถ่ายทั่วๆ ไป ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ (Thingyan) เมื่อ ปี 2010 บนถนนสายหนึ่งในกรุงย่างกุ้ง ขณะที่ ผู้คนสนุกสนานกับการเล่นน�้ำและรื่นเริงไปกับ เทศกาลสงกรานต์ (ไม่ต่างกับบ้านเรา) ได้เกิด เหตุระเบิดขึ้นกลางพื้นที่จัดงาน โศกนาฏกรรม ในครั้งนั้นคร่าชีวิตคนไปถึง 10 และบาดเจ็บถึง

Aung ko, We are moving #3, 2013, Acrylic on canvas, 182cm X 182cm


170 คน ออง โก หยุดเวลา ณ นาทีหนึง่ หลังเหตุการณ์ระเบิด ซึง่ ผูค้ นตืน่ กลัวรีบเร่ง ออกจากพืน้ ที่ และถ่ายทอดออกมาราวกับเป็นนักข่าวทีบ่ นั ทึกภาพได้อย่างทันท่วงที แต่ในความเป็นจริง ออง โก ยังต้องการสะท้อนนัยของการห้าม การริดรอนสิทธิ จากการตรวจสอบของรัฐ และการเซ็นเซอร์ เนื่องจากช่างภาพที่บันทึกภาพที่เกิด ขึ้นหลังเหตุการณ์ระเบิดนั้น ล้วนถูกจับเนื่องจากบันทึกภาพเหตุการณ์อย่างผิด กฎหมาย! แต่ออง โก ยังคงต้องการถ่ายทอดเรื่องราวของเหตุการณ์ระเบิดเมื่อปี 2010 นั้น เขาจึงสร้างผลงานต่อเนื่องเป็นงานประติมากรรมชุด How Should We Do? (2013) ออกมาเป็นหุน่ ขนาดเท่าคนจริงแสดงท่าทางหวาดกลัว ตระหนก ตกใจ แทนบุคคลต่างๆ ที่ปรากฎภาพในเหตุการณ์ครั้งนั้น โดยตั้งใจใช้ไฟเบอร์กลาสเป็น วัสดุ ซึง่ แทบไม่พบในงานประติมากรรมของพม่า นอกจากนัน้ ยังมีหนุ่ แทนตัวเขาใน วัยต่างๆ ที่พ่นทับเป็นสีทอง เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอยู่ทางสังคมของพม่า ความสุข ความขมขื่นในชีวิตของคนในสังคม

Aung ko

Aung ko, We are moving #4, 2013, Acrylic on canvas, 182cm X 182cm

issue 08 baccazine

1 1


NGE LAY, The Sick Classroom, 2013_2

เช่นเดียวกับ งี เลย์ (Nge Lay) ศิลปินหญิง ในกลุ่มเดียวกับ ออง โก และยังเป็นคู่ชีวิตของ เขา งี เลย์ ท�ำงานศิลปะร่วมสมัยที่เน้นการใช้ สือ่ ของภาพถ่าย ประติมากรรม การจัดวาง และ แสดงสด มาถ่ายทอดภาพสังคมที่เป็นอยู่จริงใน ประเทศของเธอและส่งสารนี้ออกไปยังผู้ชมใน สังคมอืน่ งี เลย์ ได้รบั เลือกให้เป็นหนึง่ ในศิลปิน ที่ ได้ร่วมแสดงงานใน Singapore Biennale 2013 If the World Changed โดยน�ำผลงานจาก The Sick Classroom project มาแสดง ผลงาน ชิ้ น นี้ ส ร้ า งขึ้ น จากการท� ำโครงการศิ ล ปะใน หมู่บ้าน Thuye’dan ซึ่งเธอได้ร่วมเข้าไปท�ำงาน ที่นั่นกับออง โก และเพื่อนศิลปินตั้งแต่ต้น ใน งานชุดนี้ งี เลย์ ได้ให้ช่างฝีมือในหมู่บ้านแกะไม้ ออกมาเป็นนักเรียนทั้ง 26 คนจากชั้น ป.1 ของ โรงเรียนเล็กๆในหมู่บ้าน หุ่นนักเรียนทั้ง 26 ตัว ถอดแบบออกมาจากนักเรียนแต่ละคน โดยมี ท่าทางเหมือนกับก�ำลังเรียนหนังสืออยู่ เพียง แต่ว่า สิ่งที่ขาดหายไปจากผลงานข้างหน้าคือ เครื่องเขียน แบบเรียน และอุปกรณ์การเรียน ต่างๆ เหลือเพียงอิริยาบถที่ว่างเปล่า งี เลย์ ตั้งใจที่จะสะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญของการ ศึกษาที่มีผลต่อสถานะทางสังคมของคนแต่ละ คน สภาวะของความไม่เท่าเทียมกันในการศึกษา การควบคุมของรัฐในเรื่องการศึกษา/เนื้อหา/ 12

baccazine issue 08

บทเรี ย นที่ เ ปรี ย บได้ กั บ การควบคุ ม อิ ส รภาพ ทางการเรียนรู้ของเยาวชน นักเรียนชั้น ป.1 ส�ำหรับ งี เลย์ คือ จุดเปลี่ยนที่หนึ่งของชีวิตคน จุดที่สามารถจะชี้ทางอนาคตให้คนๆหนึ่งได้ ผลงานของทั้ง อองโก และ งี เลย์ อาจช่วย ย�้ำให้เราเห็นถึงความคลุมเครือที่ยังเกิดขึ้นใน สังคมของพม่า และย�้ำให้เห็นว่าภาพลักษณ์ของ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมืองการ ปกครองที่เรารับรู้ว่าจะเป็นในทางบวกและเสรี นัน้ อาจสวนทางกับปัจจัยต่างๆ ในประเทศที่ไม่ได้ พัฒนาไปด้วยกันหรือเปลีย่ นแปลงไปอย่างฉับพลัน ตามกัน ไม่ว่าจะเป็นสภาพสังคม ชนกลุ่มน้อย การศึก ษา รวมทั้ ง ศิ ล ปะ ซึ่ ง สิ่ ง เหล่ า นี้ ยั ง คง อยู่ ในภาวะเปลี่ยนผ่านที่รอความหวังจากการ ปกครองประเทศ ที่มีการปฏิรูปที่แท้จริงว่าจะ ไปในทิศทางใด ศิลปินทัง้ สองสร้างสรรค์ผลงาน เพื่ อ จะส่ ง สารบางอย่ า งจากมุ ม มองของ คนในสังคมพม่า คนที่เติบโตและมองเห็นการ เปลี่ยนแปลงของสังคมนี้ ให้สารนี้ส่งออกไป สู่สังคมภายนอก ซึ่งแน่นอนที่สุดคือ สังคมใน ระดับนานาชาติ ศิลปินยังคงใช้ศิลปะเพื่อเป็น เครื่องมือในการพูดและการสะท้อนความคิด ที่ เกีย่ วกับรากทางสังคมวัฒนธรรมของตน ออง โก และ งี เลย์ ต่างเป็นศิลปินร่วมสมัยพม่าที่มี บทบาทเด่นชัดและสะท้อนภาพของความเป็นไป

ในศิลปะร่วมสมัยของพม่าในปัจจุบันได้อย่างดี หากจะตั้งค�ำถามว่างานศิลปะร่วมสมัยของพม่า เป็นอย่างไร คงต้องท�ำความเข้าใจต่อบริบททาง วัฒนธรรม สังคม การเมืองของพม่าเสียก่อน เพราะสิ่งเหล่านี้คือสิ่งที่หลอมให้ศิลปะเกิดขึ้น และด�ำเนินไปตามเส้นเวลา RISING CONTEMPORARY ART IN ASEAN AND THE BLOOMING FLOWER OF LIBERTY IN MYANMAR The period during 1920-1930 was the awakening period of Burmese art and also the transition from traditional art towards more Western influences. In 1913, a group of art-knowledgeable British aristocrats founded Burma Art Club in Yangon City, which later became Myanmar Artists’ Association to promote Western fine arts to the public through art education. After Burma declared independence from Britain, young generation of artists who received art education abroad transferred their experiences and knowledge to the


NGE LAY, The Sick Classroom, 2013_1

succeeding generations. In year 1952, the State School of Fine Arts was established in Yangon and Mandalay. From early 1960s to 1980, all kinds of media and expressions including education were under strict control and censorship by the military government. However, at the beginning of 1990, the government of Senior General Than Shwe implemented new policies such as the establishment of new universities, including the University of Art and Culture, which has constantly produced young contemporary artists in Myanmar. A number of galleries were open. Aung Myint, a self-taught artist, founded Inya Gallery of Art in 1989, hoping to provide space for modern art, which was not well known in the country yet. However, most of the works exhibited were still under some state censorship as they were displayed in the state area so their themes and stories were simple and avoiding social or political issue. Due to this great pressure by the

government on the artistic expressions, a group of artists tried to reinforce more freedom through performance art. It has become so popular among young generations of artists in the 2000s to reflect the socio-political situation in the country. The military government announced a new constitution in 2008, which allowed for a more relaxing environment. This constitution, though drafted by the military, promoted new beginnings in the art society. “New Zero Art Space” was established by the internationally renowned artist, Aye Ko, in 2008 as the first true space for contemporary art exhibition in the country. The place also plays a significant role in the exchange of knowledge, thoughts, and experiences among national and international artists as well as the common public through various art activities such as workshops, exchange programs, public events, art festivals, and art library. In addition to the New Zero Art Space, another group of young artists established the “Beyond Pressure Festival of

Performance Art” in the same year. It was a stage for new artists to do improvised art performances in collaboration with visiting artists from foreign countries. In the modern day Burma or Myanmar is an open country. President Thein Sein announced political and economic reform in 2011 to support direct foreign investment and strengthen its relationship with other countries. At the same time, private galleries and studios are booming. It seems that Myanmar has officially and fully opened its doors to the world. While the political form of the country is revolutionizing, its contemporary art constantly reflects its socio-political condition. Aung Ko (born 1980) is an internationally outstanding contemporary artist who used art in the forms of paintings, sculptures, photographs and installation arts to push for changes in the art society in Myanmar and reflect the Burmese society and conditions under the military government. His project with the villages empowered them to express themselves. In 2012, his photorealistic paintings in the serie “We are Moving” were displayed to provide honest pictures of the society and events including the catastrophic bombing during Songkran Festival in Yangon. Many photographers who published their work of the event were imprisoned. Hence his work wanted to raise the awareness for press freedom. Nge Lay, his wife, also uses art to convey messages about various social issues such as inequality of rights in education in rural areas, socio-economic changes, and political issues. Contemporary art in Myanmar reveal the snapshots of Burmese national development over a period of time since its British colonization period to the political reform and now the day that it has opened itself up to the world. It explores and communicates with the rest of the world on its messages related to its society and culture just like it is supposed to.

issue 08 baccazine

1 3


did you know?

ASEAN ART

COLUMNIST : MODDUM

ศิลปะร่วมสมัยในอินโดนีเซีย เริ่มต้นใน พ.ศ.2518 พร้อมการก่อตัง้ Gerakan Seni Rupa Baru Indonesia (Indonesian New Art Movement) • อินโดนีเซีย มีสถาบันทีม่ กี ารเรียนการสอน ด้านสถาปัตยกรรมกว่า 150 แห่ง มากเป็นอันดับ 2 ในเอเชีย รองจากญีป่ นุ่ • ยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) เป็นเมือง ศูนย์กลางศิลปะ (ร่วมสมัย) ของอินโดนีเซีย โดยมีหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนทางด้านศิลปะ และกิจกรรมต่างๆอย่างสม�ำ่ เสมอ ยังไม่นบั Art Gallery ซึง่ มีจำ� นวนหลายสิบแห่ง

1

• Contemporary art In Indonesia began in 1975 when Gerakan Seni Rupa Baru Indonesia (Indonesian New Art Movement) was founded. • Indonesia has more than 150 institutes that offer education in architecture, 2nd only to Japan. • Yogyakarta, the Indonesian capital of contemporary art, is home to dozens of art galleries. The city also receives great support from many organizations to promote and organize art events.

ศิลปะดั้งเดิมของผู้คนในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้เมือ่ ราว 2,500 ปีมาแล้ว มีลกั ษณะ คล้ายคลึงกัน จนเรียกได้วา่ เป็น “วัฒนธรรมร่วม” อาทิ ลวดลายต่างๆบนฆ้องสัมฤทธิ์ ซึง่ ปรากฏลาย คล้ายดวงอาทิตย์, นก, คนเป่าแคน รวมทัง้ กบอัน เป็นสัญลักษณ์สอื่ ถึงความอุดมสมบูรณ์ ลักษณะ เหล่านีพ้ บกระจายทัว่ ไปในแดนอุษาคเนย์กอ่ นเส้น พรมแดนประเทศจะถูกขีดขึน้ ในภายหลัง • Two thousand five hundred years ago, the styles of arts from different regions in Southeast Asia were much less distinguishable because of “shared culture”. For example, the decorative pattern on bronze gongs, featuring the sun, birds, man playing instrument, and frog which was the symbol of prosperity, could be found all over Southeast Asia before country boundaries were drawn.

4

5

2

Brunei Art Forum คือองค์กรศิลปะร่วมสมัย ที่ก่อตั้งขึ้นโดยชาวต่างชาติซึ่งอาศัยอยู่ ในบรูไน เมื่อ พ.ศ.2541 เพื่อสนับสนุนศิลปิน ท้องถิน่ ให้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ปัจจุบนั มีสมาชิก ราว 100 คน • น้อยกว่า 10 คือจ�ำนวนแฟชั่นดีไซเนอร์ ของบรูไนทัง้ ประเทศ • Brunei Art Forum is an organization founded by foreigners in 1998 to promote local artists and contemporary art. • There are less than 10 fashion designers in the whole country of Brunei. 14

baccazine issue 08

หลายคนคิดว่าเมืองแห่งศิลปะของเวียดนาม คือ ฮอยอัน เพราะภาพจ�ำอันแสนโรแมนติก แต่ความจริง ศูนย์รวมศิลปะ (และแฟชัน่ ) อยูท่ ี่ โฮจิมนิ ห์ ซิตี้ ต่างหาก • Because of the romantic image, people tend to think of Hoi An as the center of the arts in Vietnam. In fact, the true capital of the arts is at Ho Chi Min City.

3

ในสปป.ลาวมีสถาบันการศึกษา (แห่งชาติ) ด้ า นศิ ล ปะ ใช้ ชื่ อ ว่ า ‘สะถาบั น วิ จิ ด สิ น แห่งชาด’ อยู่ภายใต้สังกัดกระทรวงแถลงข่าว, วัฒนธรรมและท่องเทีย่ ว ประกอบด้วยภาควิชา จิตรกรรม, ประติมากรรม, ภาพพิมพ์, นิเทศศิลป์ และศิลปะพื้นเมือง เปิดสอนในระดับปริญญา ตรี มีสาขาในหลายจังหวัด อาทิ เวียงจันทน์, สะหวันนะเขต, หลวงพระบางและจ�ำปาสัก โดย มีแผนการเปิดหลักสูตรปริญญาโทภายใน พ.ศ. 2557 นี้ • The National Institute of Fine Arts in Vientiane is operating under the Ministry of Information, Culture and Tourism. It offers college education related to fine arts and folk arts with many branches in several provinces. It also has plan to offer master degrees beginning in 2014.


มาเลเซี ย มี ส มาคม Art malaysia Association (AMA) ซึง่ จัดกิจกรรมต่างๆ เกีย่ วกับงานศิลปะร่วมสมัย ทัง้ ในประเทศและต่าง ประเทศ นอกจากนี้ยังออกนิตยสารชื่อเดียวกัน คือ ArtMalaysia Magazine ซึง่ ปัจจุบนั มีให้อา่ น ออนไลน์ได้ทั่วโลก และในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 นีย้ งั จัดเทศกาลศิลปะอย่าง Langkawi Art Biennale อีกด้วย • Art Malaysia Association (AMA) organizes events to promote contemporary art both at the national and international levels, including Lankawi Art Biennale to be 9 แหล่งรวบรวมคอลเล็กชั่นงานศิลปะร่วม สมัยของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ ใหญ่ held in October 2014. In addition, it also produces Art Malaysia Magazine which is ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกอยู่ ในสิงคโปร์ นั่นก็คือ Singapore Art Museum (SAM) ซึง่ เปิดอย่าง now accessible online. เป็นทางการเมือ่ เดือนมกราคม พ.ศ. 2539 •The biggest contemporary art collection in Southeast Asia is housed at Singapore Art Museum (SAM) which opened in January 1996.

8

The National Arts Center (NAC) ของ ฟิลปิ ปินส์ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2519 ทีจ่ งั หวัด ลากูนา ทางตอนเหนือ โดยนางอิเมลด้า มาร์กอส (Imelda Marcos) อดีตสตรีหมายเลข 1 เพื่อ ส่งเสริมศิลปินรุน่ ใหม่ และสร้างแรงบันดาลใจให้ ศิลปินทัว่ ประเทศ • The National Arts Center (NAC) of the Phillipines was founded in 1976 by Imelda Marcos to promote new artists and inspire national art movement.

6

การแสดงออกทางการเมืองผ่านงานศิลปิน ร่วมสมัยในพม่าเป็นเรื่องร้ายแรง โดย เฉพาะช่วงก่อนเปิดประเทศ จึงมีศลิ ปินชาวพม่า สาขาต่างๆ ได้สัมผัสบรรยากาศแสนขื่นขมใน คุกมาแล้วมากมาย และในทางกลับกัน การเป็น นักโทษการเมือง ก็ทำ� ให้มผี หู้ นั มาแสดงออกผ่าน งานศิลปะ ดังเช่น Ay Ko ศิลปินหนุม่ ใหญ่ผกู้ อ่ ตัง้ New Zero Gallery ซึง่ ใช้เวลา 4 ปีหลังกรงขัง ครัน้ ถูกปล่อยตัวจึงสร้างผลงานศิลปะร่วมสมัยที่ เกีย่ วเนือ่ งกับการเมืองอย่างสม�ำ่ เสมอ • Political expression via arts was once considered a serious crime in Burma, and many artists were put in jail before the country opened up. On the other hand, political prisoners also turned into artists, such as Ay Ko, a famous contemporary artist who expresses political ideas through his art.

7

กง (Leang Sackon) คือชื่อของ 10 เล้ศิลงปินเซ็ร่กวมสมั ยชาวกัมพูชาทีม่ ชี อื่ เสียงระดับ

นานาชาติ เขาเกิดเมือ่ พ.ศ. 2517 ในยุคมืดหลัง สงครามกลางเมือง หลังเรียนจบจากมหาวิทยาลัย ศิลปะในกรุงพนมเปญ ก็ผลิตผลงานร่วมสมัย อย่างต่อเนือ่ ง โดยเน้นการใช้สอื่ หลากหลาย เคย สร้างผลงานถ่ายทอดความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา ผ่านภาพดาราสองชาติ และสัญลักษณ์อื่นๆ ที่ ลึกซึง้ และพยายามใช้ศลิ ปะสือ่ สารให้ชาวกัมพูชา ลืมอดีตทีเ่ จ็บปวด และก้าวเดินต่อไปข้างหน้าเพือ่ อนาคตอันรุง่ โรจน์ ทีม่ าภาพ

• Facebook.com/Jogja-Contemporary • facebook.com/Brunei-Art-Forum-Official • www.artvietnamgallery.com • www.vientianepe.com • http://arkitektura.ph

• Leang Sackon is a world renowned artist who was born in Cambodia in 1974 amidst the post-war depression. He became a prolific artist after graduating from an art school in Phnom Penh. He uses diverse mediums to encourage Cambodians to forget about the painful past and move on toward bright future. One of his memorable works portraits the relationship between Cambodia and Thailand via images of celebrities and other symbols.

• www.phnompenhpost.com • www.singaporeartmuseum.sg • www.irrawaddy.org • www.artmalaysiagroup.com • หนังสือศิลปะสุวรรณภูมิ โดย สุจติ ต์ วงษ์เทศ กระทรวงวัฒนธรรมจัดพิมพ์ เมือ่ พฤศจิกายน 2550

issue 08 baccazine

1 5


world of art Detritus, 2012 13, Oil on canvas, 240 x 570 cm./ Leslie De Chavez, Philippines Sorry for the Inconvenience - 5 Fingers, 2013, 5 - channel video installation and sound / Manny Montelibano, Philippines

SINGAPORE

WORLD OF ART

รายละเอียดภาพผลงาน Detritus

COLUMNIST : PROF.WUTIGORN KONGKA

ในการก้าวสูป ่ ระชาคมอาเซียน การค�ำนึงถึงเป้าหมายทางเศรษฐกิจถือได้วา่ เป็นจุดมุง่ หมาย ส�ำคัญในการจะสร้างความแข็งแกร่งให้กับภูมิภาคอาเซียน แต่การเชื่อมโยงทางสังคม วัฒนธรรม ก็ถอื ว่าเป็นอาวุธทีจ่ ะบุกเบิกไปสูก ่ ารสร้างอัตลักษณ์ให้กบ ั ภูมภ ิ าคนี้ ซึง่ แตกต่าง ไปจากภูมิภาคอื่น ๆ ทั้ง เอเชีย, ยุโรป หรือ อเมริกา

แน่นอนที่สุด งานศิลปะร่วมสมัยก็คือภาพ สะท้อนอัตลักษณ์ชั้นดีที่จะบ่งบอกถึงความคิด ของศิลปินที่มีต่อสังคม วัฒนธรรม ในพื้นที่ถิ่น ของตนเอง ซึง่ เมือ่ ถูกน�ำมาอยูร่ ว่ มกันในสถานที่ ที่จัดแสดงผลงาน ย่อมมองเห็นถึงภาพรวมของ การเคลื่อนตัวจากประเทศต่างๆ ในอาเซียน โดยมีความเป็นปัจเจกของศิลปินและภัณฑารักษ์ เป็นตัวก�ำหนด งานสิงคโปร์ เบียนนาเล่ ประจ�ำปี 2013 ถือได้ว่าเป็นงานที่พยายามสร้างอัตลักษณ์ของ ความเป็นอาเซียนในสภาวะปัจจุบันผ่านการคัด เลือกภัณฑารักษ์และศิลปินอาเซียนทั้งหมด ซึ่ง แตกต่างไปจากงานครั้งอื่นๆ ภั ณ ฑารั ก ษ์ ที่ ม าจากสิ ง คโปร์ 12 คน มาเลเซีย 2 คน อินโดนีเซีย 2 คน ฟิลิปปินส์ 16

baccazine issue 08

3 คน เวียดนาม 2 คน กัมพูชา 1 คน พม่า 1 คน ลาว 1 คน และไทย 2 คน ร่วมกันคัดเลือกศิลปิน 52 คน ซึ่งก�ำลั ง เป็ น ที่ จั บ ตาในวงการศิ ล ปะ ร่วมสมัย บ่งบอกได้ดีถึงการพยายามผลักดัน ศิลปินและภัณฑารักษ์ในภูมิภาคนี้ ให้ก้าวเข้าสู่ งานระดับนานาชาติ ทัง้ ยังเป็นการสร้างอัตลักษณ์ และก�ำหนดทิศทางของสังคม วัฒนธรรมแห่ง ภูมิภาคนี้ ในกรอบแห่งความเป็นศิลปะร่วมสมัย อีกด้วย ภายใต้ชื่องาน “If The World changed” ของงานสิงคโปร์ เบียนนาเล่ 2013 คือสิ่งที่ มองเห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับภูมิภาค นี้ ภ ายในบริ บ ทของศิ ล ปะร่ ว มสมั ย ความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ตั้งแต่ระดับปัจเจกของ ศิ ล ปิ น ไปจนถึ ง ความเปลี่ ย นแปลงของสั ง คม

เศรษฐกิ จ การเมื อ ง วั ฒ นธรรม ประเพณี ที่ เ คลื่ อ นตั ว ไปสู ่ สั ง คมของโลก และมั น คื อ อัตลักษณ์ทชี่ ดั เจนยิง่ ว่าความเป็นอยูข่ องผูค้ นใน สังคมอาเซียน ซึง่ แตกย่อยลงไปสูร่ ะดับประเทศ มีความเด่นชัดอย่างไร ภาพรวมของผลงานในงานนี้ จึงเปิดเผยให้ เห็นถึงผลกระทบของสังคมโลกที่ส่งต่อมายัง อาเซียนทั้งการเมืองภายในของแต่ละประเทศ ผลพวงจากระบบทุ น นิ ย มโลกาภิ วั ต น์ การ สูญสลายของโลกเก่าที่ถูกแทนที่ด้วยโลกใหม่ การกลายพันธุข์ ององค์ความรูใ้ นโลกศิลปะแบบ ดั้งเดิมของท้องถิ่นไปสู่องค์ความรู้ในโลกศิลปะ ระดั บ นานาชาติ ที่ ต ้ อ งสื่ อ สารด้ ว ยภาษาหรื อ ระบบเดียวกัน เหล่านี้ท�ำให้ผลงานเต็มไปด้วย สื่ อใหม่ ๆ สารพั ด ชนิ ด ที่ ป ะปนคลุ ก เคล้ า กั บ สื่อดั้งเดิมที่ถูกสร้างมาอย่างยาวนาน เราจึงมี โอกาสได้เห็นทั้ง Painting ในระบบภาษาแบบ เก่าที่น�ำเสนอเนื้อหาและสุนทรียศาสตร์ในขนบ รวมไปถึงกระบวนการผสมผสานแนวคิดใหม่ๆ เข้าไปใน Painting แบบเดิมๆ แล้วยังหมายรวมถึง สื่ อ อย่ า ง ภาพถ่ า ย วิ ดี โ อ อิ น สตอลเลชั่ น


รายละเอียด ผลงาน Between Worlds Between Worlds, 2013, Installation with leather puppets in glass bottles / Nasirun, Indonesia

Wag - wag Wonderland, 2013, Fabric & Vinyl mat / Carlo Villafuerte

AX ( iS) Art Project, Tiw - Tiwong: The odds to unends, 2013, Mix media installation ( 13 art, activities & artworks)

ผลงานของศิลปินไทย ประทีป สุธาทองไทย

ประติ ม ากรรม วั ส ดุ ส� ำ เร็ จ รู ป ฯลฯ ที่ ถู ก ดั ด แปลงให้ พ อเหมาะพอดี กั บ เนื้ อ หาของ ผลงาน ผลงาน Sorry for the Inconvenience - 5 Fingers ของศิ ล ปิ น ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ Manny Montelibano ทีส่ ร้างห้องฉายคลิปทีโ่ หลดมาจาก ยูทูป ในคลิปนั้นเราจะเห็นการกล่าวสุนทรพจน์ ของบรรดาคนมีชื่อเสียง เช่น นางอองซานซูจี นางคอราซอน อาควิโน เหมาเจ๋อตุง ฯลฯ ที่ ถูกน�ำมาตัดต่อใหม่ซงึ่ เป็นคลิปทีว่ า่ ด้วยการกล่าว ค�ำขอโทษ หรือการแสดงความเสียใจที่ถูกท�ำให้ บิดเบือนด้วยจังหวะและเวลาใหม่ โดยการฉาย พร้อมๆ กัน เราจะเห็นความแปลกประหลาด ของเมสเสจที่ถูกตกแต่งคล้ายกับการเยาะเย้ย ถากถางถึงความบิดเบี้ยวของข้อมูลข่าวสาร ที่ ทรงคุณค่าในรูปของสุนทรพจน์ ซึ่งถูกสร้างขึ้น อย่างสวยหรูเพือ่ สือ่ สารกับมวลชนจ�ำนวนมากว่า สิง่ ทีซ่ อ่ นอยูห่ ลังคาแรคเตอร์ดงั ๆ เหล่านัน้ มันจะ เป็นความจริงหรือไม่ ผลงาน Detritus คือภาพสีน�้ำมันขนาดใหญ่ กว่า 240 x 570 ซม. ของศิลปินฟิลปิ ปินส์ Leslie

De Chavez คือการใช้กลวิธีการวาดภาพแบบ เหมือนจริงที่ผสมปนเปกับความเหนือจริง เพื่อ อรรถาธิบายถึงการต่อต้านสารพิษบริเวณรอบๆ ผืนดินทีถ่ มใหม่ในกรุงมะนิลา ลัทธิทนุ นิยม การ บริโภคจนเกินพอดี การคอร์รปั ชัน่ ความยากจน สิง่ แวดล้อมทีถ่ กู ท�ำลายเพือ่ ผลประโยชน์ คือทีม่ า ของภาพที่สั่นสะเทือนด้วยอารมณ์ ศิลปินคนนี้ เติบโตในช่วงยุค 80 ภายหลังรัฐบาลทหารและ กระแสของศิลปะแนวสังคมเกิดขึ้น เขาสะท้อน ถึงปัญหาภายในเมืองใหญ่ ที่ยังคงคุกคามผู้คน ถึงแม้จะหมดอ�ำนาจของเผด็จการทหารแล้ว ก็ตาม ภาษาตากาล็อกในแสงสีชมพูที่ปรากฏใน ภาพกล่าวว่า “แค่พระเจ้าก็พอแล้ว” มองเห็นถึง ความขัดแย้งทีน่ า่ กลัวของประชาชนทีห่ มดอาลัย ตายอยากกับชีวิต มันเหมือนกับมหรสพแห่ง ความเศร้าหรือโศกนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ของผู้คน ในกรุงมะนิลา ผลงาน Between Worlds ของศิ ล ปิ น อินโดนีเซีย Nasirun คือ โหลแก้วจ�ำนวนมากเรียง ซ้อนขึ้นไป ในโหลนั้นบรรจุหุ่นเชิดคาแรคเตอร์ Wayang ซึ่งอยู่ในระเบียบแบบแผนของศิลปะ

The Great Puddle, 2009, Installation with Chinese ink and plywood, 800 x 500 cm. / Nguyen Huy, Vietnam

เชิดหุน่ ของอินโดนีเซีย เพียงแต่ Nasirun บรรจุ หลอดไฟเข้าไปเพือ่ ให้คาแรคเตอร์ และขวดแก้ว ใสสว่างจ้า ศิลปินต้องการสื่อสารถึงวัฒนธรรม ของทีวีที่แพร่กระจายในโลกยุคดิจิตอล มันคือ การตอบสนองความรื่นเริงบันเทิงใจให้กับผู้คน ในยามว่าง การใช้คาแรคเตอร์ Wayang คือการ ฟืน้ ความทรงจ�ำของโลกเก่าเข้ามาสูโ่ ลกใหม่และ เปลี่ยนความบันเทิงเสมือนจริงในจอแบนๆ ให้ กลายกลับเป็นความจริงในโลกแห่ง 3 มิติ ผลงาน The Great Puddle ของศิลปิน เวียดนาม Nguyen Huy An ได้สร้างแอ่งน�้ำ หมึกจีนสีด�ำสนิท เป็นรูปร่างของโต๊ะ ติดตั้งอยู่ กับพื้นให้คนได้เดินเข้าไปเห็นและได้กลิ่นหมึก อันตลบอบอวล แอ่งน�้ำหมึกจีนในไม้อัด คือการสะกดให้คน นิง่ กับความด�ำสนิททีเ่ รียบลึก มันคล้ายกับความ ขรึมขลังของวรรณกรรมในประวัติศาสตร์ที่อยู่ ในธรรมเนียมเก่าๆ ทว่าประวัติศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ โอ่อา่ คือภาพสะท้อนของความมืดมน คลุมเครือ ปิดบังซ่อนเร้นเหมือนกับจะเป็น นัยของการมี ความลับทีถ่ กู ปกปิด Nguyen Huy An อุปมาอุปไมย issue 08 baccazine

1 7


Untitled, 201113, 5 - Channel video, sound / Khvay Samnang, Cambodia

Your Eyes Are Stupid, 2013, Mixed media installation / Joo Choon Lin, Singapore

Exorcise Me, 2013, 4 - Channel video installation / Sookoon Ang, Singapore

ไปถึ งโต๊ ะ ของข้ าราชการที่ มี ก ารคอร์ รั ป ชั่ น ซึ่งเหมือนกับการซ่อนเงาของข้อตกลงที่สกปรก ผลงานวิดโี อของ Sookoon Ang ศิลปินสิงคโปร์ ในชือ่ ว่า Exoreise Me คือภาพของวัยรุน่ ทีก่ ำ� ลัง เปลีย่ นผ่านวัยจากเด็กเติบโตไปสูผ่ ใู้ หญ่ทเี่ ต็มไป ด้วยความแปลกแยก ความสับสน โดดเดีย่ ว และ ไม่เป็นมิตร ภายใต้ความปรารถนาและโหยหา ที่ จ ะก� ำ จั ด ความกลั ว กั บ อารมณ์ ที่ แ ปรปรวน Sookoon Ang จัดแจงแต่งหน้าให้เด็กสาวดู คล้ายกับผีร้ายที่ด�ำรงอยู่ ในโลกมนุษย์ที่แปลก ประหลาด การเปลี่ยนผ่านวัยเหมือนกับการไล่ ผีออกจากร่าง มันเหมือนกับการเปลี่ยนตัวตนที่ ดูเนิบช้า เฉื่อยชา และวิตกกังวล ผลงาน Untitled ผ่านวิดีโอของ Khvay Samnang ศิลปินชาวกัมพูชาที่ลงไปยืนแช่อยู่ ในทะเลสาบหลายแห่งในกัมพูชา และจัดแจง เททรายในถั ง ราดศี ร ษะของตั ว เอง Khvay Samnang ก�ำลังวิพากษ์วิจารณ์ผลกระทบจาก การที่รัฐบาลขายทะเลสาบให้เอกชนเพื่อถมที่ ด้วยทราย ในการพัฒนาเพื่อสิ่งก่อสร้างที่จะรับ ใช้ระบบทุน ที่ก�ำลังคืบคลานเข้ามาท�ำลายสิ่ง แวดล้อมและวิถีชีวิตของชุมชนที่ด�ำรงอยู่รอบๆ ทะเลสาบ โลกใหม่กำ� ลังมาทดแทนโลกเก่าทีเ่ งิน และอ�ำนาจ น�ำไปสู่การท�ำลาย มันคือสัญญาณ ของประเทศโลกทีส่ ามทีก่ ำ� ลังเปลีย่ นแปลงอย่าง ไม่อาจหวนคืน ผลงาน Toko Keperluan ของศิ ล ปิ น อินโดนีเซีย Anggun Priambodo คือร้านค้าเก่า ๆ 18

baccazine issue 08

ที่คล้ายกับร้านโชว์ห่วยของไทยเรา แต่มันคือ อัตลักษณ์ส�ำคัญของความเป็นอินโดนีเซีย ร้าน ลักษณะนี้จะอยู่ตามมุมถนนทั่วไปที่คล้ายกับ แฟรนไชส์ แต่ทว่าขายสิ่งละอัน พันละน้อยที่ บ่งบอกถึงวิถชี วี ติ แบบเก่า (ซึง่ แตกต่างไปจากร้าน สะดวกซือ้ จ�ำพวกเซเว่น อิเลฟเว่น) Priambodo ต้องการสื่อถึงวัฒนธรรมบริโ ภคนิยมของคน ยุคนี้ ที่ ใช้การช็อปปิ้งเป็นเครื่องบันเทิงเริงรมย์ สิ่งของที่ฟุ่มเฟือยไปจากการใช้ชีวิตประจ�ำวัน สื่อสารถึงความไร้สาระ ตุ๊กตากระดาษ หมวก กรงนก กระเป๋า ทีส่ ะท้อนอัตลักษณ์ทางท้องถิน่ ของอินโดนีเซีย คือของกระจุกกระจิกที่ ใคร ต่อใครต่างก็อยากจะซื้อ อันเป็นไลฟ์สไตล์ของ คนในโซนเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ผลงาน 2243 : Moving Forward โดย ศิลปิน ฟิลิปปิน ส์ Siete Pesos คือการน�ำสิ่ง เก่ากลับมาล้อเลียน นั่นคือการฟื้นคืนชีพของ Kagay-anons ที่พักพิงของ Cagayan de Oro ในเกาะมินดาเนา ในรูปรอยของยานพาหนะ ส�ำหรับการขนส่งสาธารณะ ทีม่ คี า่ โดยสารเพียง 8 เปโซ (20 เซนต์) ต่อ 1 เที่ยว ยานพาหนะนี้ได้ เยียวยาผูค้ นจากหายนะของไต้ฝนุ่ Sendong ใน ปี 2011 โปรเจ็กต์กค็ อื การ Workshop ช่วยชีวติ เด็กๆ ในการขับเคลือ่ นไปสูอ่ นาคตข้างหน้า โดย มีเรือช่วยชีวิตติดตั้งอยู่บนหลังคา Siete Pesos ผสมผสานระหว่างชีวติ กับวัตถุ (ยานพาหนะ) ให้ เกิดประสบการณ์กบั คนดูทสี่ ะท้อนถึงเหตุการณ์ ครั้งส�ำคัญเป็นผลงานอีกชิ้นที่หลอมรวมบริบท

ต่างๆ อย่างแยกไม่ออกระหว่างชีวิตจริงและ ความเป็นศิลปะ เหล่านี้เป็นเพียงตัวอย่างบางส่วนของผล งานในสิงคโปร์ เบียนนาเล่ 2013 ที่บรรจุความ หลากหลายของความคิดที่ครอบคลุมในหลายๆ มิติของความเป็น มนุษ ย์แห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ที่ต้องรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของ ระบบโลกทุ น นิ ย ม ลั ท ธิ บ ริ โ ภคนิ ย ม พิ ษ ภั ย ทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และแม้แต่ภัย ธรรมชาติ อันตกผลึกไปสู่เบื้องลึกของศิลปิน สะท้อนมาสู่งานศิลปะร่วมสมัย ที่ได้รับอิทธิพล ทางการสื่อสารจากประเทศตะวันตก มันคือ ส่วนผสมที่ส�ำคัญบนโลกแห่งศิลปะบนเวทีของ โลกทุน นิยมที่แทบจะไม่มีงานดั้งเดิมในขนบ หลงเหลืออยู่ ถ้าจะบอกว่าความเป็นท้องถิน่ ของ แต่ละชนชาติในอาเซียนได้หลอมรวมเป็นผลงาน ที่น่าศึกษาค้นหา ซึ่งมีบุคลิกที่แตกต่างออกไป จากงาน ชาวเกาหลี จีน หรือญีป่ นุ่ ก็ไม่นา่ จะผิด


world of art

Toko Keperluan, 2010,2013, Installation with wooden shop, Consumer, items Video and Performance / Anggun Priambodo, Indonesia

2243 :Moving Forward, 2013, Mixed Media with refurbished motorela banca with life, jackets, pop - up cards, video, motorela : 200 x 155 x 320 cm.

WORLD OF ART While economical strength is considered the main goal of ASEAN, intercultural connection is also very important for emphasizing this region’s identity and showing the rest of the world like Asia, Europe, and America, who we are. Contemporary art is definitely one of the best tools to reflect cultural identity. The artists’ thoughts and feelings on their own unique society and culture are revealed through their artwork. Once many are put together in the same exhibition, a big picture in cultural movement of all the ASEAN countries emerge, guided by individuality of the artists and the curator. Singapore Bienale 2013 aimed at creating ASEAN’s identity in the modern world via a collection of curators and artists, making it different from the other Singapore Bienale in the past. There are 12 curators from Singapore, 2 from Malaysia, 2 from Indonesia, 3 from the Philippines, 2 from Vietnam, 1 from Cambodia, 1 from Burma, 1 from Lao, and 2 from Thailand. Together, they chose 52 artists who are up and coming in the world of contemporary arts. The event attempts to push this region’s curators and artists to the international level. It also creates the regional identity and directs the cultural movement of the region within the frame of contemporary arts. The title of Singapore Bienale 2013 , “If the World Changed”, signifies the changes and accomodations that occured in this region via contemporary art. The changes include both personal experience of the artist and changes at the social, economical, political, cultural levels, as well as the movement traditions toward world community. It also makes very clear how each country within ASEAN has their own identity and different nuances. In general, this exhibition reveals how the transformed world of the 21st century has extended its influence to ASEAN countries and led to changes in internal politics, replacing the old world with the new world of capitalism and globalism. it also reflects how native and traditional forms of arts have adapted to join the global body of knowlege on arts that requires communication via universal language and system. This allows for use of many new medias, great diversity and mixing of the old and the new. The audience have an opportunity to see painings in the old language that presents traditional content and aesthetics as well as the process of combining new ideas into the old painting, not to mention other medias such as photography, video installation, sculpture, etc., that have been modified to suit the theme. Creativity shown by the artists in Singapore Bienale 2013 reflects the diversity of reactions that span into many dimensions of changes, such as how Southeast Asia responded to capitalism, consumerism, political and economical crisis, social crisis, and even crisis caused by natural disasters. The artists meditated and ruminated on these issues and reflect their thought via contemporary art that is influenced by Western way of communication. It is an important kind of cross pollination especially in the art scene of the capitalism era which is now almost devoid of anything traditional. One can say that through this exhibition, national and traditional identities of each ASEAN countries have melted together to form something intriguing, and truely different from that of say, chinese, korean, or japanese style.

issue 08 baccazine

1 9


world artist THAILAND

ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช COLUMNIST : PROF.WUTIGORN KONGKA

ในช่วงทศวรรษ 1990 โลกศิลปะร่วมสมัยได้ตื่นตะลึงกับศิลปินรุ่นใหม่ของอังกฤษที่ช็อค วงการด้วยการน�ำสื่อและความคิดใหม่ๆ อาทิ ซากฉลามที่ดองอยู่ในตู้ฟอร์มาลีนของ Damien Hirst หรือ ภาพแม่พระมารีผิวด�ำที่ถูกวาดด้วยสไตล์ใหม่กับการประดับภาพ ด้วยขี้ช้างของ Chris Ofili นอกจากนี้ในช่วงเดียวกัน งานศิลปะก็ได้ก้าวออกไปจาก สุนทรียศาสตร์แบบเดิมอย่างตืน่ เต้น นัน่ ก็คอื การขยายขอบเขตของการรับรู้ ซึง่ หมายความว่า งานศิลปะไม่ได้จ�ำกัดอยู่แค่การถูกสร้างให้ดูเพียงอย่างเดียว

ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช คือศิลปินแนวหน้าของ โลกที่บุกเบิกแนวทางการสร้างศิลปะใหม่ๆ งาน ของเขาคือการดึงคนดูเข้าไปมีสว่ นร่วมในผลงาน ด้วยการย้ายครัวที่บ้านเข้าไปสู่แกลลอรี่และ จัดการท�ำกับข้าว ซึ่งก็คือผัดไทยที่สร้างชื่อให้ กับเขา โดยคนดูมีโอกาสได้เห็น ทั้งการที่เขา ปรุงอาหาร ได้ยิน ได้กลิ่น และลิ้มรส ซึ่งก็คือ การขยายขอบเขตของการรับรู้ออกไปในทุกๆ ประสาทสัมผัสนั่นเอง งานของฤกษ์ฤทธิ์ และศิลปิน ที่ท�ำงานใน แนวทางนี้ ถูกเรียกแนวคิดรวมๆ ว่า ศิลปะ เชิ ง สั ม พั น ธ์ (Relational Art) ก่ อให้ เ กิ ด สุ น ทรี ย ศาสตร์ ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ( Relational Aesthetics) ซึ่งถูกบัญญัติขึ้นโดย Nicolas Bourriaud นั ก วิ จ ารณ์ แ ละภั ณ ฑารั ก ษ์ ช าว ฝรั่งเศส หัวใจของแนวความคิดสุนทรียศาสตร์ ชนิดนี้ คือความสัมพันธ์ของงานศิลปะกับสังคม ทีเ่ กีย่ วข้องกับบริบทของเวลา, พืน้ ที่ โดยผลงาน จะเกี่ ย วข้ อ งกั บ ประสบการณ์ จ ริ ง ๆ ของ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และบริบททางสังคม ในพื้นที่ๆ หนึ่ง ซึ่งใช้งานศิลปะเป็นตัวเชื่อมโยง ผลงานเป็ น การดึ ง คนดู เ ข้ าไปมี ส ่ ว นร่ ว มใน สถานการณ์ที่ศิลปินจะเป็นผู้วางโจทย์หรือสร้าง เงื่อนไข แน่นอนที่สุดไม่ใช่เพียงแค่ตาดู แต่อาจ จะ กิน ดื่ม ดม ฟัง สัมผัส เล่น หรือแม้แต่ ลงมือสร้างงานและเปลี่ยนแปลงงานที่ศิลปิน เปิดทางไว้ให้ ส�ำหรับฤกษ์ฤทธิ์แล้ว ด้วยความที่เขาเป็น คนไทยและคุ้นเคยกับการท�ำกับข้าวกินกันเอง ในครอบครัว จึงผูกพันกับวิถชี วี ติ ทีร่ ายล้อมด้วย 20

baccazine issue 08

คนใกล้ชิดในครอบครัวแบบไทยและการที่เขา เกิดและใช้ชีวิตอยู่ ในครอบครัวของนักการทูต จึงมีโอกาสได้เรียนรู้วัฒนธรรมของโลกในมิติ ของความเป็นสากล ตลอดจนได้ร�่ำเรียนศิลปะ ในแบบโลกตะวันตก จึงเข้าใจถึงประวัติศาสตร์ ศิลปะอย่างลึกซึ้ง เข้าใจขนบและวิถีชีวิตของ ตะวันตก จึงสามารถน�ำแนวคิดของชีวิตไทยๆ สร้างแง่มมุ ให้เกิดความแปลกใหม่แก่สายตาฝรัง่ ฤกษ์ฤทธิ์จึงเหมือนกับศิลปินที่ยืนอยู่ระหว่าง 2 โลก นั่นก็คือตะวันออกและตะวันตก ส�ำหรับแนวคิดนีข้ องฤกษ์ฤทธิ์ ถ้าจะย้อนถึง ต้ น ตอและที่ ม าก็ ต ้ อ งให้ เ ครดิ ต แก่ ง านของ Marcel Duchamp ซึง่ เป็นศิลปินคนแรกของโลก ที่ ใช้วัสดุส�ำเร็จรูป ในการขยายความคิดเกี่ยว กับค�ำว่า Art เปิ ด พรมแดนไปสู ่ วิ ธีคิดใหม่ ๆ ซึ่งก็คือศิลปินเป็นผู้ก�ำหนดลงไปเองว่าสิ่งใด คือ Art ขณะเดี ย วกั น ก็ ท ้ า ทายความเชื่ อต่ อ นิยามค�ำว่า Art แบบเดิมๆ ที่จะต้อง งาม สูงส่ง โดยการสร้างด้วยฝีมือและลักษณะเฉพาะของ ความเป็นตัวตนของศิลปิน ผลจากแนวคิดนีข้ อง Duchamp ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ได้ส่งผลมา ถึงทศวรรษที่ 1960-1970 ทั้งงาน Pop Art และ Conceptual Art ต่างรับอิทธิพลนี้ไปเต็มๆ ซึ่ง หมายถึงงานศิลปะไม่ใช่แค่วตั ถุทสี่ งู ส่งทีม่ ีไว้เพือ่ มอง แต่ศลิ ปะคือแนวความคิดใหม่ๆ ทีศ่ ลิ ปินจะ เป็นผูก้ ำ� หนด ในช่วงยุค 60-70 นีเ้ อง กลุม่ ศิลปิน ทีเ่ รียกตัวเองว่า Fluxus ทีม่ ศี ลิ ปินคนส�ำคัญอย่าง Joseph Beuys ทีท่ ำ� งานแนว Performance และ การปฏิสมั พันธ์กบั สังคม หรือ John Cage ซึง่ ท�ำ ดนตรีทดลองก็เป็นหนึง่ ในขบวนการทีร่ บั อิทธิพล

มาจาก Marcel Duchamp นั่นก็คือการขยาย ขอบเขตของงานศิลปะอย่างอิสระออกไปสู่สื่อ และการรับรูใ้ นแบบอืน่ ๆ ศิลปะกลายเป็นปรากฏ การณ์ใหม่ๆ ที่ศิลปินสร้างสถานการณ์ไปสู่ผู้ชม ดึงผู้ชมเข้ามาสู่สัมผัสทางสุนทรียะใหม่ๆ ไม่ใช่ แค่การใช้สายตาเพื่อดูเพียงอย่างเดียว ฤกษ์ฤทธิเ์ องก็ได้รบั อิทธิพลจากวิถที างแบบ นี้ เขาสร้างความเชื่อมโยงไปสู่ผู้คนที่มาชมงาน ซึ่งก็คือการย้ายครัวเข้ามาอยู่ในที่รโหฐานอย่าง หอศิลป์หรือแกลลอรีเ่ หมือนกับ Duchamp ทีส่ ง่ โถปัสสาวะเข้าไปท้าทายวงการศิลปะทีส่ งู ส่งหรือ John Cage ที่ท�ำลายเส้นแบ่งระหว่างคอนเสิร์ต กับปฏิกิริยาการรับรู้ทางด้านเสียงในพื้นที่ของ งานศิลปะ เส้นแบ่งของชีวติ จริงกับงานศิลปะในมุมมอง ของฤกษ์ฤทธิ์ จึงบรรจบมาสู่ในเส้นทางเดียวกัน ส�ำหรับฤกษ์ฤทธิ์แล้ว ประสบการณ์จริงใหม่ๆ ที่เราสัมผัสได้ในทุกๆ อณูของความรู้สึก และ ปฏิกิริยาการรับรู้ว่าอะไรคือศิลปะกลายเป็นสิ่ง ทีก่ ระตุน้ ให้ผคู้ นได้ตงั้ นิยามความหมายของงาน ศิลปะกันใหม่ นั่นก็คือ ศิลปะไม่ใช่แค่วัตถุที่ถูก จ้องมอง เพื่อแสวงหาความงามหรือความคิด ที่ก่อให้เกิดการตีความเท่านั้น แต่มันหมายถึง ประสบการณ์ ท างการรั บ รู ้ ที่ น� ำ พาผู ้ ช มไปสู ่ ความมีชีวิตในทุกๆ มิติ ซึ่งก็คือ บริบทต่างๆ ที่ แวดล้อมผลงานชิ้นนั้น นั่นเอง สุนทรียศาสตร์ปฏิสมั พันธ์ จึงก่อเกิดขึน้ ภาย ใต้สถานการณ์ทถี่ กู สร้างขึน้ ผัดไทยในแกลลอรี่ จึงมีความหมายในทาง Art เพราะมันอยู่ในพืน้ ที่ ที่ถูกก�ำหนดขึ้นมาใหม่และในทางกลับกันเมื่อ


1 2

3 4

5 6

1. ไม่มีชื่องาน 2. Untitled 2001 (DemoStation) Installation view, Portikus, Frankfurt am Main 3. Untitled (Tilted Teahouse with Coffee Machine), 2005, stainless steel, plywood,coffee machine, 430x300x300 cm. Installation view, Luna Park, Fantastic Art - Sculptures in the Park, Villa Manin, Codroipo 4. Untitled 2002 (He Promised) Installation view, Secession, Vienna 5. Untitled 1999 (Thai Pavilion) Installation view, dAPERTuttO, 48. Biennale di Venezia, Venice 6. Untitled 2004 (Nothing: A Retrospective) Installation view, Chiang Mai University Museum ภาพทั้งหมด 6 ภาพ จากหนังสือ100 Contemporary Artists/ ส�ำนักพิมพ์ Taschen

ผู้ คนที่เคยกินผัดไทยในแกลลอรี่เ มื่อออกมา สู่สังคมหรือร้านผัดไทยในตลาดก็ย่อมคิดถึง สุน ทรียะดังกล่าว ความเป็นศิลปะจึงปรากฏ อยู่ ในวิถีชีวิตและบริบทของสังคมเหมือนกับ ที่ Andy Warhol เคยท�ำให้ประสบการณ์ใน ซูเปอร์มาร์เก็ตของผู้คนที่ ได้เคยชื่นชมผลงาน ของเขาในแกลลอรี่ ได้เห็นความงามของผลงาน เขา แม้มนั จะไม่ได้อยู่ในหอศิลป์กต็ าม การแลก เปลี่ยนพื้นที่ที่น่าตื่นเต้น จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้ ผลงานในขบวนการแบบฤกษ์ฤทธิ์ ตอกย�้ำถึง ความหมายของค�ำว่า ศิลปะ อย่างชนิดทีเ่ รียกว่า ทลายก� ำ แพงสุ น ทรี ย ะแบบเดิ ม ๆ ได้ เ ป็ น ผล ส�ำเร็จ ฤกษ์ ฤ ทธิ์ ตี ร ะวนิ ช เกิ ด เมื่ อ ปี 2504 ที่ บัวโนสไอเรส อาร์เจนติน่า และเติบโตขึ้นใน เอธิโอเปีย แคนาดา และไทย เขาเรียนจบจาก Banff Center School of Fine Arts ในปี 1984 และ School of the Art Institute of Chicago ในปี 84-86 เขาเริ่มมีชื่อเสียงมาตั้งแต่ปี 1992 เมื่อท�ำแกงไทยให้ฝรั่งกินใน 303 Gallery ใน ย่าน Soho, New York และเป็นคนไทยที่มีชื่อ เสียงระดับโลกในการเชื่อมความเป็นตะวันออก และตะวันตก ล่วงเลยไปถึงการเปลี่ยนแปลง ประวัติศาสตร์ศิลปะร่วมสมัยได้อย่างถอนราก ถอนโคน RUEKRIT TEERAWANICH Ruekrit Teerawanich is one of the world’s pinoeers in a new form of art. His work incorporates the audience to become part of

the art itself. He did this by moving his whole kitchen into the gallery and started cooking. His famous dish, Padthai, made him famous because everyone got to see, hear, and smell his cooking and even taste the food, engaging all their senses. Ruekrit’s work and the works of other artists with similar form is called “relational art”, which creates “relational aesthetics”. The terms were coined by Nicolas Bourriaud, a French critic and curator. The heart and soul of this type of aesthetics lie in the relationship between the art and society under the context of time and space. The work translates to real experiences and interactions between humans under a certain social context within a confined space, mediated by art. The artwork draws people to participate in the situation designed and conditioned by the artist. Most importantly, the audience is not limited to just watching with their eyes. They are free to touch, taste, hear, smell, eat, play, or even tinker with the artwork itself. Because of his Thai root, Ruekrit is used to cooking with his family in his daily life. His Thai style kitchen is always crowded with family members. At the same time, because his parents are diplomats, he was influenced by international cultures.

His Western education in arts also gave him deep understanding in art history and western way of life and thinking. In the end, he is able to apply his Thai influence to create something new in the eyes of western audiences. Ruengrit is truely an artist who has his feet in both worlds, eastern and western. To Ruekrit, real life and art naturally converge at some point. Real new experiences, every feeling and reaction evoked while being a part of his art are what stimulate people to redefine what art is. Art needs not be just an object that people come to look at, admire, and interpret, but it can be an experience that leads the audience to perceive life in every dimension, through all the contexts surrounding the artwork. Ruekrit Teerawanich was born in 1961 at Buenos Aires, Argentina. He grew up in Ethiopia, Canada, and Thailand. He graduated from Banff Center School of Fine Arts in 1984 and went to School of the Art Institute of Chicago from 1984-1986. He became famous in 1992, when he started making Thai curry for the audience at 303 art galleries in Soho. He is now a world famous artist, known for linking eastern and western traditions and also for revolutionizing the history of contemporary arts.

issue 08 baccazine

2 1


in the mood of art

ประสบการณ์ (ใหม่)

4ณศิสิงลคโปร์ปิเบีนยนนาเล่ ไทย COLUMNIST : J-KaJ

สิงคโปร์เบียนนาเล่ ถือเป็นมหกรรมศิลปะที่ก้าวขึ้นมามีบทบาทและชื่อเสียงอยู่ในแถวหน้า ซึ่งทุกคนให้ความสนใจและตั้งตาคอย สิงคโปร์เบียนนาเล่จัดขึ้นทุกๆ 2 ปี โดยเริ่มจัดกันมา ตัง้ แต่ปี 2006 ไล่มาเรือ ่ ย ในปี 2008 แต่ครัง้ ที่ 3 กระโดดข้ามมาจัดในปี 2011 ส่วนครัง้ นี้ นับเป็นครัง้ ที่ 4 ซึง่ ได้ฤกษ์ตด ั ริบบิน ้ ไปเมือ่ 26 ตุลาคม 2013 ทีผ ่ า่ นมา และจะเปิดให้ชมผลงาน ศิลปะกันยาวๆ ไปจนถึง 16 กุมภาพันธ์ 2014 ดูเหมือนว่ามหกรรมศิลปะแห่งภูมิภาค อาเซียน “สิงคโปร์เบียนนาเล่” ยิง่ ทวีความคึกคักอย่างเห็นได้ชด ั โอกาสอันดีนม ี้ ศ ี ิลปินไทย 4 คน (จากศิลปินเกือบ 90 ชีวต ิ ) ได้รบ ั คัดเลือกให้เข้าร่วมแสดงผลงาน นับเป็นประสบการณ์ ล�้ำค่าของคนท�ำงานศิลปะที่จะน�ำมาแบ่งปันให้ผู้คนได้รับรู้ร่วมกัน

22

baccazine issue 08


1

นพไชย อังควัฒนะพงษ์

(เจ้าของผลงาน I Have Seen A Sweeter Sky จัดแสดง Peranakan Museum)

สิงคโปร์เบียนนาเล่มคี วามส�ำคัญต่อวงการศิลปะ ร่วมสมัยอาเซียนอย่างไร? “ตอนนี้เบียนนาเล่มีค่อนข้างเยอะ สิงคโปร์ เบียนนาเล่ก็เป็นหนึ่งในนั้น ซึ่งมันสามารถเชื่อม กับเบียนนาเล่อื่นๆ ได้ นั่นหมายถึงว่ามันคือตัว เชื่อมหาวงการศิลปะของโลก ท�ำให้คนท�ำงาน ศิลปะ หรือคนที่เสพศิลปะ ได้รับรู้ความเป็นไป ในวงการศิลปะ โดยเฉพาะความเป็นไปในวงการ ศิลปะย่านอาเซียน”

อะไรคือปรากฏการณ์ใหม่ในวงการศิลปะร่วมสมัย อาเซียนที่คุณเห็น? “ถ้าวัดจากส่วนตัวผม ผมเห็นทัง้ ข้อดีและข้อ ด้อย ข้อดีคือผมได้เห็นวิธีการจัดแบบมืออาชีพ ของคนจั ด งาน เห็ น กระบวนการท� ำ งานของ ศิลปินบางคนที่ต้องรู้จักแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ข้อด้อยก็คือความไม่พร้อมของศิลปิน เตรียม ตัวมาไม่ดี หลายคน แม้กระทั่งตัวผมเอง ก็ ถื อ ว่ า ประมาทกั บ การท� ำ งานชิ้ น ใหญ่ เ กิ น ไป โดยไม่เหมาะกับพื้น ที่ที่จัดแสดง รวมทั้งการ สื่อสารระหว่างคนจัดงานกับตัวศิลปิน ก็ค่อน ข้างมีปัญหา เมื่อไม่มีการตอบโต้กัน ก็ท�ำให้ เกิดการสะดุด” ผลงานทีน่ ำ� ไปร่วมแสดงมีความน่าสนใจอย่างไร? “คนอื่นอาจจะมองว่าเป็นงานจัดวาง แต่ผม ขอเรียกผลงานชุดนี้ว่าประติมากรรมแขวน ซึ่ง ความตั้งใจคืออยากให้ผู้ชมได้ชมกันเอง แล้วก็ คิดต่อกันเอง จะไม่มีการสรุป หรือคล้อยตาม ตัวศิลปิน ผมอยากให้เป็นผลงานที่ต้องเห็นต่าง จากสิ่งที่ผมคิด ไม่จ�ำเป็นต้องคิดเหมือนผมก็ได้ เพราะมันจะได้เป็นการชมงานศิลปะทีม่ ชี วี ติ ชีวา” ปี 2015 อาเซี ย นจะกลายเป็ น ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซ)ี ศิลปินไทยและวงการ ศิลปะไทยต้องปรับตัวเรื่องใด? “ผมว่าศิลปินไทยต้องขยัน ท�ำงานมากขึ้น ท� ำ งานให้ ส ม�่ ำ เสมอ แล้ ว จะสามารถเดิ น ไป พร้อมๆ กับเออีซีได้อย่างสง่างาม” issue 08 baccazine

2 3


2

กฤช งามสม

(เจ้าของผลงาน Light of Nature จัดแสดง National Library Building)

เป็นครั้งแรกที่ได้เข้าร่วมสิงคโปร์เบียนนาเล่? “ครับ ครั้งแรกที่ ได้น�ำผลงานของตัวเอง ไปร่วมแสดง ก่อนหน้าเคยไปในฐานะผู้ช่วย ศิลปิน ครั้งนี้ก็เลยน�ำเสนอผลงานกลางแจ้งใน สวนหย่อมเล็กๆ เล่นกับพื้นที่ที่ผมเป็นคนเลือก เอง” จ�ำเป็นเพียงใดที่ประเทศไทยควรมีอาร์ต เบียน นาเล่? “อยากให้มีครับ แต่ไม่รู้ว่าพอมีแล้วจะดีมั๊ย หรือยังไง อย่างสิงคโปร์เบียนนาเล่ต้องใช้งบ ประมาณสูง ซึ่งเป้าหมายของงานที่เจ้าภาพ วางไว้ มันไม่ ใช่ผลก�ำไรในฐานะเม็ดเงิน แต่ มันเป็นก�ำไรทางโสตประสาทที่ตอบแทนผู้ที่เข้า ชมงานมากกว่า เป็นการลงทุนในระยะยาว ถ้า ประเทศไทยคิดและท�ำได้แบบนี้ เบียนนาเล่ก็ ควรมี” 24

baccazine issue 08

อะไรคือปรากฏการณ์ใหม่ในวงการศิลปะร่วมสมัย อาเซียนที่คุณเห็น? “ผลงานมันคละเคล้ากันไปหมดเลย สังคม การเมือง วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ถือว่าเป็น งานที่มีธีมเปิดกว้างมากๆ งานหลายชิ้นเป็น งานทีพ่ บเห็นได้ทวั่ ไป บางชิน้ เป็นแค่งานพืน้ บ้าน เพียงแต่มนั ถูกน�ำมาจัดการด้วยทีมงานมืออาชีพ ถูกน�ำมาขยาย จัดวาง หรือแต่งโฉม ในพื้นที่ที่ เหมาะสม มันก็เลยเป็นงานที่น่าชม ดูมีค่า มี ราคา” ผลงานทีน่ ำ� ไปร่วมแสดงมีความน่าสนใจอย่างไร? “ผมได้ โจทย์ ใ ห้ จั ด แสดงผลงานบนพื้ น ที่ รอบๆ พิพิธภัณฑ์ มันเป็นพื้นที่สวนหย่อม ซึ่ง ผมเป็นคนเลือกพื้น ที่เอง มันอาจจะเป็น พื้น ที่ เล็กๆ แต่ส�ำหรับศิลปินคนหนึ่ง มันยิ่งใหญ่ครับ พื้น ที่ท�ำให้ผมเกิดแรงบันดาลใจที่จะน�ำเสนอ ผลงานได้อย่างที่ใจต้องการได้ โดยเฉพาะการเล่น กับพื้นที่กลางแจ้งที่มีแสงสว่างที่เอื้อต่องานจัด วางโคมไฟของผม”


in the mood of art

3

ประธีป สุธาทองไชย

(เจ้าของผลงาน Stillness of Reflection จัดแสดง Singapore Art Museum)

จ�ำเป็นเพียงใดที่ประเทศไทยควรมีอาร์ต เบียน นาเล่? “ต้องท�ำความเข้าใจก่อนครับว่าเบียนนา เล่คืออะไร อย่ามองว่ามันเป็นแค่แฟชั่น ทาง ศิลปะ ถ้าคิดอย่างนั้นมันก็จะมาแล้วก็ไป ไม่ได้ มีความหมายต่อวงการศิลปะใดๆ เลย ขณะที่ ประเทศไทย ผมมองว่าถ้าวัดกันในเรื่องความ เป็นนานาชาติ หลายนิทรรศการศิลปะที่เคยจัด แสดง ก็มีความเป็นนานาชาติอยู่แล้ว ซึ่งบาง อย่างก็สามารถปรับให้เทียบเท่าเบียนนาเล่ได้ แต่ก็ไม่มีใครผลักดันให้มันเกิด” อะไรคือปรากฏการณ์ใหม่ในวงการศิลปะร่วมสมัย อาเซียนที่คุณเห็น? “ประเด็น หลักคือผลงานส่วนใหญ่ได้ย้อน กลับไปศึกษารากเหง้าและประวัติศาสตร์ของ ตัวเอง ซึ่งสามารถแชร์กันได้ สามารถรับรู้และ เข้าใจได้ โดยเฉพาะสิงคโปร์ก็พยายามจะหาอัต ลักษณ์ส�ำหรับการนิยามความเป็นคนสิงคโปร์”

ผลงานทีน่ ำ� ไปร่วมแสดงมีความน่าสนใจอย่างไร? “มันเป็นผลงานที่ผมพัฒนาต่อเนื่องมาจาก ผลงานที่เคยจัดแสดงในประเทศไทยก่อนหน้า นั้น เป็นการพัฒนาคอนเซ็ปต์ที่มีอยู่แล้วให้น่า สนใจยิ่งขึ้น โดยผมได้โฟกัสไปเรื่องพื้นที่ พื้นที่ ที่ผมก�ำลังจัดแสดงผลงานชุดนี้ ซึ่งมันช่วยให้ เกิดแรงบันดาลใจในการที่จะท�ำให้ผลงานชุด นี้เป็นเสมือนกระจกสะท้อนพื้นที่นั้นๆ ได้ดี ยิ่ง เฉพาะพื้นที่ที่เหมาะสมกับการท�ำงานภาพถ่าย กลางแจ้ง เปิดโล่ง ไม่ได้อยู่ในแกลเลอรี ก็เป็น สิง่ ทีผ่ มไม่เคยท�ำมาก่อนและเป็นการเรียนรูอ้ ะไร ใหม่ๆ ไปในตัวด้วย” ปี 2015 อาเซี ย นจะกลายเป็ น ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซ)ี ศิลปินไทยและวงการ ศิลปะไทยต้องปรับตัวเรื่องใด? “โครงสร้างการศึกษาต้องปรับเยอะครับ ปรับเพื่อไปสู่วิธีคิด มุมมอง และการเรียนรู้ที่ สดและใหม่ ศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทยถือว่า มีความน่าสนใจกว่าหลายประเทศในอาเซียน ศิลปินไทยหลายคนได้รับการยอมรับในระดับ นานาชาติ ศักยภาพพร้อม เล่นประเด็นที่โลก สนใจ เพราะมันไม่ ใช่เวลาที่จะมาน�ำเสนอว่า เราคนไทยมีอะไร แต่มนั คือการประกาศให้ประเทศ อื่นๆ รู้ว่าคนไทยก็มีอะไรเด็ดมาแลกเปลี่ยน เหมือนกันนะ”

issue 08 baccazine

2 5


FOUR THAI ARTISTS’ EXPERIENCES AT THE SINGAPORE BIENNALE The 4th Singapore Biennale, which is proudly one of ASEAN’s largest art events, runs from 26 October 2013 to 16 February 2014. There are four Thai artists out of 90 total artists whose works are selected to present at this prestigious happening. They share with us their valuable experiences as follow. 1

Noppachai Angkawattanapong

4

(Creator of “I Have Seen A Sweeter Sky”, exhibited at Peranakan Museum)

นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์

(เจ้าของผลงาน Hope Brings Us Here จัดแสดง Singapore Art Museum)

อะไรคือปรากฏการณ์ใหม่ในวงการศิลปะร่วมสมัย อาเซียนที่คุณเห็น? “ต้องยอมรับว่ามีเวลาเดินดูงานน้อย แต่ถ้า ถอยหลังมานิดหนึ่งแล้ว ในแง่ที่ว่าเบียนนาเล่ ที่โฟกัสอาเซียนเป็นหลักใหญ่ อาจจะเป็นภาพ สะท้อนการก�ำลังเข้าสู่เออีซี ความพยายามบาง อย่างทีเ่ จ้าภาพจะส่งสัญญาณถึง ในเชิงอุดมคติ ก็เป็นโอกาสอันดีที่ศิลปินจะได้แลกเปลี่ยนกัน เห็นกันและกัน เห็นภาพบางอย่าง ซึ่งอาจจะไม่ ค่อยชัดเท่าไหร่ แต่มันก็เป็นค�ำถามต่อศิลปินใน เชิงทัศนคติวา่ มองเรือ่ งรอบตัวและความสัมพันธ์ อย่างไรกับธีมที่ถูกวางไว้” ผลงานทีน่ ำ� ไปร่วมแสดงมีความน่าสนใจอย่างไร? “โดยพื้นฐานการท�ำงานส่วนใหญ่ของผมยัง จะเกี่ยวข้องกับความทรงจ�ำและประวัติศาสตร์ ในเชิงพืน้ ทีอ่ ยู่ งานชุดนีก้ เ็ หมือนกัน ผมยังอยาก ท�ำงานทีเ่ ล่นกับพืน้ ทีท่ ผี่ มเอาตัวเข้าไปศึกษาและ ค้นหาอะไรบางอย่าง งานชุดนี้มันเริ่มต้นจาก ความคิดของผมทีอ่ ยากจะท�ำอะไรเกีย่ วกับคนตัว เล็กๆ ซึง่ ผมก็ตงั้ เป้าไปทีแ่ รงงานไทยในสิงคโปร์ โดยมีสมมุตฐิ านของตัวเองในความเป็นไปได้ ทีจ่ ะ สร้างพืน้ ที่ให้กบั คนตัวเล็กในบริบท หรือในพืน้ ที่ อื่นดูบ้าง ถือเป็นอีกครั้งหนึ่งที่ผมจะเชื่อมโยง ผู้คนและชุมนุมเข้าด้วยกัน ภายใต้การท�ำความ เข้าใจกับพื้นที่นั้นๆ” 26

baccazine issue 08

ปี 2015 อาเซี ย นจะกลายเป็ น ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซ)ี ศิลปินไทยและวงการ ศิลปะไทยต้องปรับตัวเรื่องใด? “ผมไม่รู้ว่าอนาคตจะเป็นยังไง ต่อให้เออีซี ไม่มา เราก็ควรเรียกร้องความเป็นมืออาชีพ ผม ไม่ได้หมายถึงตัวศิลปินอย่างเดียว แต่มันคือทั้ง วงการ คิดแบบมืออาชีพ ท�ำแบบมืออาชีพ แล้ว ก็จัดการแบบมืออาชีพ มีทัศนคติแบบมืออาชีพ ฟังดูอาจจะเวอร์นะครับ แต่ถา้ มีสงิ่ เหล่านีอ้ ยูม่ นั จะเป็นฐานเริ่มต้นที่ดี ต่อให้ไม่มีเออีซี ก็ควรจะ มีความเป็นมืออาชีพ เพราะเราก�ำลังพูดภาษา เดียวกันอยู่ ส�ำหรับผมมันคือการพูดกันอย่าง ซีเรียส ประเทศไทยยังไม่ชัดเรื่องนี้ ผมไม่ได้ หมายถึงผมชัด แต่ผมอยากให้ทกุ คนมีความเป็น มืออาชีพ และก็อยากให้มองศิลปะเป็นอะไรบาง อย่างที่มีความส�ำคัญที่แชร์กับคนอื่นได้” ในฐานะศิ ล ปิ น ไทย คุ ณ คิ ด จะต่ อ ยอดกั บ สิงคโปร์เบียนนาเล่อย่างไร? “ส�ำหรับผมไม่อยากใช้คำ� ว่าต่อยอด ตราบใด ที่ผมยังท�ำงานอยู่ในฐานะศิลปิน ยังต้องท�ำงาน ของผมอยู่อย่างสม�่ำเสมอ แล้วก็ท�ำมันอย่าง ซีเรียส แล้วก็พูดในภาษาที่เป็นสากล ผมไม่ได้ ปฏิเสธความเป็นไทยนะครับ เพราะผมไม่สนใจ เรื่องนี้อยู่แล้ว”

How significant is the Singapore Biennale to the ASEAN art circles? “The Singapore Biennale is linked to other biennales. It is a bridge that connects ASEAN arts to the rest of the world. It enables artists and art appreciators from other regions to see and follow art movements from our region, too.” What new phenomenon in ASEAN art circles have you witnessed? “I have seen both strengths and weaknesses. The strengths are the organizer’s professionalism in the management process. However, many artists, including myself, could have prepared our works much better to match its grand level.” What are the strengths of your work? “I’d like to call it ‘the hanging sculpture’. My intention is to let the audience see and interpret it by themselves without having to comply with my idea. I want my work to stimulate their thinking which may differ from mine so that it would become a dynamic art experience for them.” In year 2015, ASEAN will form the ASEAN Economic Community or AEC. How should Thai artists and the Thai art sector prepare themselves for this? “I think that Thai artists need to work


in the mood of art

harder and produce work more consistently. We would then be able to proudly walk with 3 AEC.” Pratheep Suthathongchai 2

Krit Ngamsom

(Creator of “Light of Nature”, exhibited at the National Library Building”

Is this your first time participating in the Singapore Biennale? “Yes, this is my first time presenting my own artwork. However, I used to participate as an artist assistant. For this biennale, my works are displayed in the middle of a small park, which I chose myself.” How necessary is it for Thailand to host an art biennale? “I would like that to happen but I’m not sure if it would be good or bad for Thailand. The cost for organizing the Singapore Biennale is very high but they understand that it’s not about profit or loss. It’s about aesthetic value to the audience that matters. If Thailand can realize its long-term benefit and is ready to make such an investment, then a Thailand Biennale should be organized.” What new phenomenon in the ASEAN art circles did you see? “There is a great diversity in the event through social, political, cultural and natural artworks. The theme is very wide. Several pieces are simple folk arts, but with professional management, their meaning and value have been significantly increased through appropriate elaboration, display and beautification.” What are the interesting points of your work? “I received the theme to arrange my display around the museum so I chose to use its park. It may be a small space but it inspires me as an artist to present work as imagined. Its natural light promotes the installation of my lamps.”

(Creator of “Stillness of Reflection”, exhibited at the Singapore Art Museum)

Is it necessary for Thailand to have an art biennale? “First, we need to understand what a ‘biennale’ is. Don’t look at it as just an art fad because that attitude won’t make it sustainable or meaningful to the art sector. Thailand has many art exhibitions that are already quite international. Many of these could be further developed to be comparable to a biennale but nobody has really pushed for it.” What new phenomenon in the ASEAN art circles have you seen? “The main point is that most artworks promote and enable people to study their root and history. This realization can be shared, acknowledged and understood across boundaries. Singapore has been trying to find its own identity for its people.” What are the interesting points of your work? “Its concept is a development from my previous work with a focus on space which is an inspiration for this collection. It is a reflection of the space conveyed through photography. This is my first time doing an open-space photo exhibition and I have learned many new things along the way.” In year 2015, ASEAN will form the ASEAN Economic Community or AEC. How should Thai artists and the Thai art sector prepare themselves for this? “Contemporary art in Thailand is more interesting than that in many other ASEAN countries. Several Thai contemporary artists have been well received in the international arena. They have great capability and skills to work on themes and issues that the world would be interested in. It is time to announce to the world that Thai people

have great things to share with them, too.” 4

Niphan Olanniwet

(Creator of “Hope Brings Us Here”, exhibited at the Singapore Art Museum)

What new art movement in ASEAN do you see? “The Biennale mainly focuses on ASEAN, maybe because we are entering the AEC. It is a great sign that artists will get to exchange their ideas and see the big picture together. It also raises questions to the artists on their perception of things and relations in connection to the themes.” What are the interesting elements of your work? “This collection originated from my idea to create art that addresses seemingly unimportant people. So I targeted Thai labor in Singapore and worked on my hypothesis to create space for them in other area or context. Once again, I have connected people and communities together by studying and understanding the space.” In year 2015, ASEAN will form the ASEAN Economic Community or AEC. How should Thai artists and the Thai art sector prepare themselves for this? “I don’t know what the future will be like, but whether we will have AEC or not, we should work on the level of all stakeholders’ professionalism throughout the whole value chain. We should develop professionalism in our thinking, creation and management process. As a Thai artist, what are your further plans in the Singapore Biennale? “I’d rather not think in that way. As long as I’m still an artist, I shall continue producing work consistently and seriously in the universal language. I don’t deny Thainess but I’m not obsessed with it either. Art is universal.”

issue 08 baccazine

2 7


the sketch

เอฟเอ็กซ์ ฮาร์โซโน

FX HARSONO พิสตอลครูปุคซีมูกะเท็นจาดิพิสตอล (คุณจะท�ำอย่างไรถ้าข้าวเกรียบเป็นจริง?)

งานจัดวางเน้นปฏิสัมพันธ์, ขนมแครกเกอร์ สมุดแสดงความคิดเห็น, 2556 (ผลงานต้นฉบับ 2520)

28

baccazine issue 08


Pistol Krupuk Semoga Menjadi Pistol Beneran (What Would You Do If These Crackers were Real Pistols?)

interractive installation, edible crackers and audience comments book, 2013 (original version 1977)

•

issue 08 baccazine

2 9


my studio

30

baccazine issue 08


ศิลปะง่ายๆ สไตล์โปป็อก COLUMNIST : CHANDRAKARN PHOTO : ANUCH

คอลัมน์ My Studio ฉบับนี้ เราได้รบ ั เกียรติ จากคุณ ตรี วาห์ยดุ ี (TRI WAHYUDI) หรือ โปป็อก (POPOK) ศิลปินนักวาดภาพชาว อินโดนีเซีย ทีก ่ �ำลังมาแรงและโด่งดังในระดับ อาเซียนและนานาชาติ ด้วยงานภาพวาด สไตล์การ์ตน ู ทีส ่ ะท้อนสังคมและการเมืองได้ อย่างน่าสนใจ โดยเขามักจะถ่ายทอดแนวคิด ของเขาลงบนผืนผ้าใบขนาดใหญ่หรือบน ก�ำแพง ซึ่งผลงานของเขาได้เคยจัดแสดง มาแล้ ว ในหลายประเทศ ทั้ ง เอเชี ย ยุ โ รป และสหรัฐอเมริกา ในช่วงจังหวะเวลาดีที่เขา เดิ น ทางมาร่ ว มแสดงผลงานกั บ หอศิ ล ป วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ในงาน “มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน:ศิลปะและส่วน รวมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” เมื่อช่วง เดือนธันวาคมที่ผ่านมา เราจึงได้เชื้อเชิญ เขามาร่วมพูดคุยถึงแนวคิดและสไตล์การ ท�ำงานของเขากัน

ภาพเขียนที่โปป็อกเรียกสั้นๆ ว่า “Role” หรือ “บทบาท” นั้น ถูกวาดลงบนผนังยาว ที่ อยู่สูงเกือบติดเพดาน บนชั้น 5 ของหอศิลป วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ที่เขาต้องใช้ รถกระเช้าไฟฟ้าขนาดเล็กมาช่วย พร้อมกับสีทา บ้านอีกชุดใหญ่ เพื่อท�ำให้งานส�ำเร็จลุล่วง ลาย เส้นภาพวาดของโปป็อกนั้นเรียบง่าย ใช้สีสัน ที่สดใส แต่ไม่จ�ำเป็นต้องเกิดจากวัตถุดิบราคา แพง เขานิยมความเรียบง่ายและสะดวกต่อการ ท�ำงาน อย่างงานนี้เขาก็ใช้สีทาบ้านที่หาซื้อได้ ตามร้านขายวัสดุก่อสร้างทั่วไป สิ่งที่ส�ำคัญกว่า คือ แนวคิดที่แฝงอยู่ในความเรียบง่ายนั้น โปป็ อ กอธิ บ ายถึ ง ที่ ม าของงานว่ า “ผม ประทับใจบทกวี ‘BE THE BEST OF WHATEVER YOU ARE’ ของนั ก ประพั น ธ์ ช าวอเมริ กั น Douglas Malloch ทีเ่ นือ้ หาใจความโดยย่อพูดถึง การท�ำสิ่งต่างๆ ในชีวิตให้ดีที่สุด ไม่ว่าคุณจะ เลือกเป็นอะไรก็ตาม” โปป็อกจึงได้นำ� มาเป็นแรง บันดาลใจ พร้อมกับคอนเซ็ปต์ว่า Role... which

issue 08 baccazine

3 1


role do you choose? เล่าเรื่องราวของมนุษย์ ที่พยายามแสวงหาบทบาทที่เขาต้องการในชีวิต ซึ่งล้วนแตกต่างกันไป “แน่ น อนว่ า ทุ ก คนไม่ ส ามารถมี บ ทบาท เดียวกันได้ อย่างในป่าแห่งหนึ่ง คงไม่ใช่มีแต่ ต้นไม้ใหญ่ ต้องมีต้นหญ้า มีล�ำธาร อาจจะมอง ว่าต้น หญ้าส�ำคัญน้อยกว่าต้นไม้ใหญ่ แต่ถ้า ไม่มีหญ้า ไม้ใหญ่ก็อยู่ไม่ได้ เพราะขาดสมดุล แต่หากคุณจะต้องเป็น หญ้า ก็ต้องเป็น หญ้า ให้ดีที่สุด ไม่ว่าบทบาทของคุณจะเป็นอย่างไร ก็มีความส�ำคัญในฐานะส่วนหนึ่งของสังคมที่ เกี่ยวเนื่องและเกื้อหนุนกัน ขอเพียงท�ำหน้าที่ใน บทบาทเหล่านั้นให้ดีที่สุด” เขามองว่าหากทุก คนรูถ้ งึ ความส�ำคัญของบทบาทหน้าทีข่ องตัวเอง และร่วมมือกัน แบ่งปันความรูแ้ ละประสบการณ์ กันด้วยมุมมองและทัศนคติที่เปิดกว้าง ก็ย่อม ท�ำให้สังคมนั้นๆ เจริญก้าวหน้าและอยู่ร่วมกัน อย่างดีแน่นอน แม้ ผ ลงานที่ ผ ่ า นมาของเขาส่ ว นใหญ่ จ ะ

เกี่ยวข้องอยู่กับเรื่องของสังคมและการเมือง แต่เขาบอกว่า ไม่ได้จำ� กัดตัวเองว่าจะต้องท�ำงาน เฉพาะแนวทางนีเ้ ท่านัน้ “ทีจ่ ริงแล้ว แรงบันดาล ใจของผมมาจากทุกที่รอบตัวนั่นล่ะ ขึ้นอยู่กับ ว่าช่วงนั้นผมก�ำลังสนใจอะไรอยู่ งานของผมก็ เหมือนการแสดงความคิดเห็น ต่อสิง่ ต่างๆ รอบตัว ที่ผมอาศัย คิดและเดินอยู่ท่ามกลางสิ่งเหล่านั้น อย่างอิสระเสรี” เขายั ง แชร์ ถึ ง ประสบการณ์ ก ารท� ำ งาน ในระดับนานาชาติที่ท�ำให้เห็นความแตกต่าง ของแนวทางการท�ำงานและแนวคิดของศิลปิน อาเซียนกับทางตะวันตกอย่างเด่นชัด “ผมเคยท�ำ โปรเจ็กต์หนึ่งในเยอรมนี เป็นแนวคิดที่รวมเอา ศิลปินและศิลปะแขนงต่างๆ เช่น นักเขียน และ จิตรกร มาท�ำงานร่วมกัน แต่พอเริ่มคุยเรื่อง แนวทางการท�ำงาน ก็เจออุปสรรคใหญ่ เรื่อง ของลิขสิทธิ์ของชิ้นงาน ที่ศิลปินตะวันตกจะให้ ความส�ำคัญมาก ว่าหากท�ำเสร็จแล้วใครจะเป็น เจ้าของลิขสิทธิ์หรือจะจัดการกันอย่างไร ผมก็

ผมว่าถ้าเรามีความสามารถและมีโอกาส เราก็น่าจะเอาสิ่งเหล่านั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ กับคนอื่นๆ ด้วย

32

baccazine issue 08

งงไปเลย เพราะทางบ้านเราไม่ค่อยมีปัญหาใน แบบนี้ สุดท้ายโปรเจ็กต์ก็ต้องล้มเลิกไป แต่ถ้า เป็นการท�ำงานกับศิลปินอาเซียน จะง่ายกว่าใน เรื่องของการร่วมมือกันท�ำงาน อย่างเช่นงาน ASEAN Nights นี่ก็ท�ำให้ผมเห็นชัดเจนถึงเรื่อง นี้มากขึ้นอีก “ส่ ว นเรื่ อ งสไตล์ ข องผลงาน ผมเห็ น ว่ า ศิลปินตะวันตกมักจะถ่ายทอด หรือน�ำเสนอ เรื่องราวของตัวเอง แนวคิดหรือประสบการณ์ ส่วนบุคคล ถ่ายทอดออกมาในงานแบบปัจเจกสูง ในขณะที่ศิลปินอาเซียนจะค่อนข้าง socialize กว่า เราจะใส่ใจกับสิ่งต่างๆ มากกว่าตัวเอง เรา แคร์สังคม ผู้คนและสิ่งแวดล้อมรอบตัว แล้วน�ำ มันมาใส่ในงานศิลปะ ครั้งหนึ่งเพื่อนศิลปินชาว อเมริกันเคยบอกผมว่า งานของผมท�ำให้เขา ระลึกได้ว่า เราไม่ได้อยู่คนเดียวในโลกนี้นะ ผมก็ยิ้มแล้วตอบเขาไปว่า ใช่ๆ แล้วผมว่าถ้าเรา มีความสามารถและมีโอกาส เราก็น่าจะเอาสิ่ง เหล่านั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับคนอื่นๆ ด้วย”


my studio

TRI WAHYUDI or POPOK Easy Art with Popok Tri Wahyud or Popok is a rising Indonesian star artist who is worldrenowned for his cartoons which portray witty social and political satire. His works have been featured in many exhibitions across the globe, e.g. Asia, Europe, and the U.S. Recently in December, the BACC was honoured to showcase his works in the event “Concept Context Contestation:art and the collective in Southeast Asia”. A painting Popok simply titled “Role” was created on the BACC’s fifth floor ceiling. He used a small electrical crane and many buckets of paints in the working process. His drawing style is actually very simple and he prefers bright colors and inexpensive materials. He really likes to

keep it simple when it comes to working process. He’d rather concentrate on the ideas behind the simplicity. The concept in this particular piece was “Role... Which role do you choose?”. It tells stories about how everyone is uniquely significant in their own role, identity and responsibility. He believes that the realization of their roles and open-minded exchanges of knowledge, the society will surely move toward peace and prosperity. Even though his works mostly address political and social issues, he said that he would not limit himself to just those. He also shared his working experiences at the international level, which gave him perspectives on how western artists are different from Asean. “I once worked on a project in Germany,” he said. “The

concept was to bring together artists from many sectors such as writers, painters, and have them work together. Once we started talking, it quickly became an issue over the intellectual property rights. The western artists were really concerned about who should own the copy rights after the work was finished. I was confused since we have not run into this kind of problem much at home. In the end, the project had to be canceled. Intellectual property rights would not be as big an issue among ASEAN artists. Like at this ASEAN Nights event, everything went smoothly.” “In terms of style, I think that westerners tend to convey their personal stories, thoughts and experiences. Their works have a high degree of individuality while ASEAN artists tend to be more socialized, incorporating people and things in our surrounding into art. Once my American artist friend told me that my work reminded him he was not alone in this world. I smiled and said yes. I think if we have the ability and opportunity to emphasize this message often, it will be benefitial to many people too.”

issue 08 baccazine

3 3


place for passion มื้อกลางวันของที่นี่ เขายังจัดเซตอาหาร พิเศษส�ำหรับคนท�ำงานที่ต้องการความเร็ว แต่ ไม่ขาดความอร่อย และยังมีเ มนูเครื่องดื่มที่ หลากหลาย รวมทั้งกาแฟหอมกรุ่นให้เลือกสั่ง มาเติมความกระปรี้กระเปร่าระหว่างวันอีกด้วย ร้านเปิดให้บริการวันอังคาร-วันอาทิตย์ (หยุด วันจันทร์) ตั้งแต่เวลา 11.00 - 21.00 น. ENJOY THE ATMOSPHERE AND ART AT ART CAFÉ BY BROWN SUGAR

ดืม ่ อารมณ์ ชมงานศิลป์ ที่

ART CAFÉ’ BY BROWN SUGAR COLUMNIST : NIRVANA PHOTO : ANUCH

จาก Brown Sugar The Jazz Boutique ร้าน อาหารสไตล์ผบั แจ๊ส ชือ่ ดังบนถนนพระสุเมรุ มา สู่ความอร่อยในบรรยากาศสบายๆ ช่วงกลางวัน ณ Art Café’ by Brown Sugar ซึง่ เพิง่ จะเปิดตัว อย่างเป็นทางการไปเมื่อเร็วๆ นี้ ณ บริเวณชั้น 1 ของ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หรือ BACC ด้วยคอนเซ็ปต์ที่อิงอยู่กับต้นแบบ อันเป็นการผสมผสาน เอาการท�ำอาหาร ดนตรีแจ๊ส และงานศิลป์เข้าไว้ด้วยกันอย่างลงตัว บริเวณร้านไม่ใหญ่ไม่โต แต่จัดสรรปันส่วน ให้นงั่ สบาย คุณณรชฎต์ มีสายญาติ หรือบราวน์ เจ้าของร้านเล่าให้ฟังว่า ร้านนี้เหมือนเป็นฉบับ ย่ อ ของ Brown Sugar แต่ ป รั บ ให้ ดู ส บายๆ เหมาะกับเป็นร้านอาหารกลางวัน ส�ำหรับคน

ท�ำงานหรือนักเรียนนักศึกษาที่สามารถมานั่ง ชิลล์ๆ ระหว่างที่มา BACC ได้ การตกแต่งร้าน เป็นในสไตล์ contemporary ที่มีความเท่และ ความสนุกสนานอยู่ในตัว และยังมีพนื้ ทีเ่ อาไว้ใช้ จัดแสดงผลงานของศิลปินต่างๆ ที่จะหมุนเวียน กันไป อาหารและเครื่องดื่มของที่นี่ ยังเป็น สูตร เดียวกับที่ Brown Sugar จึงรับประกันความ อร่อยได้ แต่เนื่องจากเป็นร้านนั่งกลางวัน เมนู จึงคัดมาเป็นอาาหารฝรั่งแบบฟิวชั่น ที่สั่งง่าย กินง่าย และราคาสบายกระเป๋า อย่างพิซซ่า และสปาเก็ตตี้ โดยคุณบราวน์แนะน�ำจานเด่น ของทางร้าน ที่แขกหลายๆ คนติดอกติดใจกัน มาตั้งแต่ดั้งเดิม คือ พิซซ่าเห็ดรวมมิโสะสไตล์ ญี่ปุ่น ที่มีเห็ดนานาชนิดเป็นตัวชูโรงและเสริม รสชาติให้โดดเด่นด้วยซอสมิโสะญี่ปุ่น เมนูนี้ คนที่กินมังสวิรัติก็ทานได้ หรือไม่กินมังสวิรัติ ก็ยังอร่อยได้ไม่แพ้กัน อีกหนึ่งเมนูโดนใจ คือ สปาเก็ตตีจ้ ต้มย�ำครีมชีส ทีน่ ำ� เอาความเผ็ดร้อน ของต้มย�ำแบบไทยมาคลุกเคล้ากับสปาเก็ตตี้ และซีฟู้ด และได้ซอสครีมชีสสไตล์ฝรั่งที่ช่วย เบลนด์รสชาติให้ไม่จัดจ้านจนเกินไป กลายเป็น ส่วนผสมของความอร่อยที่ลงตัวพอดี

Brown Sugar, a famous Jazz pub and restaurant on Phra Sumeru Road invites you to enjoy delicious food and spend a relaxing day at Art Café by Brown Sugar. We just had our official grand opening at BACC, 1st floor. The signature concept is still the same, a perfect blend of food and jazz. The space is well compartmentalized and not too big. It’s simply a great place for office workers and students to enjoy their lunch. You can sit and chill here during your visit to BACC. The restaurant is decorated in a cool and fun contemporary style. It also has space for artwork showcasing. Foods and drinks here are made from the same recipes as the original Brown Sugar branch, so the taste is guaranteed. The menu features western and fusion cuisine, simple dishes that are light on the wallet. Our specialties are pizza and spaghetti. The most popular menu is Japanese style pizza with mixed mushroom and miso sauce. People always come back for this one, and it is definitely a good choice for vegetarians and non-vegetarians alike. Another popular one is Spaghetti Tom Yum with cream cheese. This dish combines the spiciness of Thai Tom Yum soup with spaghetti and sea food, topped with Western style cream cheese that helps bring down the hotness, creating a perfect blend of tastes. We are open Tuesday-Sunday (closed on Monday) from 11.00 - 21.00

Art Café’ by Brown Sugar 1st Floor, Bangkok Art and Culture Centre. Tel. 089 499 1378 www.brownsugarbangkok.com ; www.facebook.com/brownsugarbangkok

34

baccazine issue 08


HARDCOVER : THE ART BOOK SHOP

ร้านหนังสือสำ�หรับคนรักงานศิลป์

COLUMNIST : NIRVANA PHOTO : ANUCH

HARDCOVER : The Art Book Shop อีก หนึ่ ง ทางเลื อ กส� ำ หรั บ หนอนหนั ง สื อ ที่ รั ก งาน ศิลปะ เพราะเป็นร้านหนังสือเฉพาะทาง ซึ่ง รวบรวมเอาหนังสือที่เกี่ยวข้องกับงานศิลปะ ดีไซน์ สถาปัตยกรรม ภาพถ่าย จากส�ำนักพิมพ์ ทั่วโลก รวมถึงสูจิบัตรงานศิลปินจากแกลลอรี ต่างๆ ในประเทศไทยมาน�ำเสนอ ร้าน HARDCOVER เป็นการต่อยอดมาจาก เซรินเดีย แกลลอรี (Serindia Gallery) ของเชน สุวิกะปกรณ์กุล เขาเคยจัดนิทรรศการหนังสือ ศิลปะของ Taschen ที่แกลลอรีและจุดประกาย เรื่องร้านหนังสือขึ้นมา เขายังมีประสบการณ์ ท�ำส�ำนักพิมพ์เซรินเดีย ที่มีชื่อเสียงด้านการ จัดพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับศิลปะจีน ทิเบต และ หิมาลัย และประจวบเหมาะกับที่ BACC ก�ำลัง ปรับปรุงและต้องการร้านหนังสือ เขาจึงได้ลอง มาคุยและลงตัวด้วยการเปิดสาขาหลักอยูท่ ี่ ชัน้ 3 ของ BACC โดยมี Pop-up shop อยู่ที่เซ็นทรัล เวิลด์อีกหนึ่งแห่ง

ภายในร้านที่ตกแต่งอย่างเรียบหรู อัดแน่น ด้วยหนังสือสวยๆ เกี่ยวกับงานศิลป์ ที่มาจาก ส�ำนักพิมพ์หนังสือศิลปะทั่วโลก อาทิ Taschen ของเยอรมนี Phaidon ของอั ง กฤษ หรื อ Kodansha จากญี่ปุ่น นอกจากเราจะสามารถ หาซื้อหนังสือเกี่ยวกับงานศิลป์ทั่วไปได้แล้ว เขา ยังมีมุมเฉพาะเอาใจนักสะสม ซึ่งส่วนใหญ่เป็น Limited Edition จากทางส�ำนักพิมพ์หรือศิลปิน มีหมายเลขและ/หรือลายเซ็นจริงของศิลปิน ประกอบ โดยราคาอาจจะสูงกว่าหนังสือธรรมดา ทั่วไปอยู่พอสมควร ไม่เพียงเท่านั้น ด้วยความที่เป็นนักสะสม หนังสือและคลุกคลีอยู่ในแวดวงศิลปะและส�ำนัก พิมพ์มานาน คุณเชนจึงมีคอลเล็กชั่น หนังสือ ศิลปะที่หายากอยู่มากพอสมควร โดยส่วนใหญ่ จะเป็น หนังสือเก่า ไม่มีการตีพิมพ์ซ�้ำอีกแล้ว เซตนี้จะถูกจัดไว้อยู่บนเชลฟ์พิเศษ ที่ชื่อเซฮันโด (Seihando Collection) ซึง่ บางเล่ม บางชุดอาจ จะราคาแตะเลข 6 หลักเลยทีเดียว อย่างเซตที่ แพงที่สุดในร้านตอนนี้คือ Les arts de l’Asie central I,II (หรือ The Arts of Central Asia) มี ทัง้ หมด 3 เล่มครบสมบูรณ์ (หนังสือ 2 เล่ม รวม สูจบิ ตั รแนะน�ำหนังสืออีก 1 เล่ม) เป็นหนึง่ ในเซต ทีน่ กั สะสมหนังสือศิลปะจากทัว่ โลกต้องการมาก ที่สุด ราคาขายทั้งเซตจึงอยู่ที่ประมาณแสนเก้า หมืน่ บาท! เนือ่ งจากชัน้ นีส้ ว่ นใหญ่จะเป็นหนังสือ เก่าและมีราคาแพง หากสนใจจะชม กรุณาแจ้ง

พนักงานร้านให้เป็นผู้หยิบให้จะดีที่สุด สนใจมองหาหนังสือศิลปะดีๆ สักเล่ม ก็ลอง แวะเวียนกันไปได้ที่ ห้อง 305 ชัน้ 3 ของหอศิลป์ฯ กรุงเทพ ร้านเปิดตัง้ แต่เวลา 11.00น - 20.00 น. วันอังคารถึงวันอาทิตย์ (หยุดวันจันทร์) HARDCOVER : The Art Book Shop

This shop is another great choice for bookworms who also love arts. This is a niche store that has a wide collection of books on designs, arts, architecture, photography from all around the world, and gallery catalogs from many artists and galleries from Thailand. The store is decorated in a sophisticated style. The shelves are packed with beautiful art books from all over the world, such as Taschen from Germany, Phaidon from the UK or Kodansha from Japan. Besides books on arts, collectors can also find rare items such as limited edition from the publishing companies or the artists with special serial number or authentic artist’s autograph. The prices of these rare items are reasonably higher than usual books. Not only that, Mr. Shane, the shop owner has been on the inside of art scene and publishing business for a long time, that is why the store has a collection of very hard-to-find books, most of which are out of prints. This set is arranged on the special shelf titled “Seihando Collection”. Some of the books in this collection are priced at 6 figures, for example, the most expensive set the store has currently is a set of 3 books called “Les arts de l’Asie central I,II (or The Arts of Central Asia)”. This is a set that collectors from around the world sought after, and it is priced at a hundred and ninety thousand bahts! Since precious books on this special shelf are mostly old and expensive, anyone who is interested is recommended to alert the staff.

HARDCOVER : The Art Book Shop open 11.00-20.00 Tuesday to Sunday (close on Monday) Room 305, 3rd Floor, Bangkok Art & Culture Centre. Tel. 089 495 5535 http://hardcoverartbookshop.com ; www.facebook.com/hardcoverartbookshop

issue 08 baccazine

3 5


network calendar Ten Years After วันนี้ –20 เมษายน 2557 100 ต้นสนแกลลอรี่ ซอยต้นสน กรุงเทพฯ

นิทรรศการพิเศษเนือ่ งในโอกาสครบรอบ 1 ปีของ 100 ต้นสนแกลลอรี่ โดย ได้รบั เกียรติจากฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวานิช ศิลปินไทยในเวทีระดับนานาชาติมาช่วย คัดเลือกผลงานทีน่ ำ� มาจัดแสดง จาก 61 นิทรรศการตลอด 10 ปีทผี่ า่ นมาบางส่วน ของศิลปินทีร่ ว่ มจัดแสดงผลงาน ได้แก่ Yayoi Kusama อารยา ราษฎร์จาํ เริญสุข ชาติชาย ปุยเปีย ยุรี เกนสาคู พิชญะ คุณวัฒน์ประทีป สุธา ทองไทย Andrew Stahl พินรี สัณพิทกั ษ์ สาครินทร์ เครืออ่อน ญาณวิทย์ กุญแจทอง และอีกมากมาย เข้าชมฟรีได้ทกุ วันพฤหัสบดี - อาทิตย์ ตัง้ แต่ 11.00-19.00 น. ข้อมูลเพิม่ เติม โทร. 0-2684-1527, 084-388-1488 www.facebook.com/100TonsonGallery Ten Years After Today until 20 April 2014 100 Ton Son Gallery, Soi Ton Son, Bangkok

This is a special exhibition to celebrate the first anniversary of 100 Ton Son Gallery. It is a collection from 61 exhibitions in the past decade selected by Rirkrit Tiravanija, Thai artist who is internationally renowned. Some of the pieces are by Yayoi Kusama, Araya Rasdjarmrearnsook, Chatchai Puipia, Yuree Kensaku, Pichaya Khunnawat, Prateep Suthathongthai, Andrew Stahl, Pinaree Sanpiyak Sakarin Krue-on, Yanawit Kunchaethong, among others. Open every Thursday-Sunday, 11.00-19.00 Free admission. For more information, please call 0-2684-1527, 084-388-1488 or visit www. facebook.com/100TonsonGallery.

36

baccazine issue 08


Lost in Paradise หลงสวรรค์ 1 มีนาคม - 27 เมษายน 2557 คัดมันดู โฟโต้ แกลเลอรี่ ถนนปั้น กรุงเทพฯ

นิทรรศการภาพถ่ายโดย เล็ก เกียรติศริ ขิ จร ช่างภาพมือรางวัล น�ำเสนอเรือ่ งราวของคนงาน ต่างจังหวัดทีล่ าจากฐานบ้านเกิดเพือ่ มาท�ำงาน และอาศัยอยูใ่ นกรุงเทพเมืองสวรรค์โดยคาดหวัง ถึงชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น หากแต่มันอาจ ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป ดังเช่นเรื่องราวที่บอก เล่าผ่านภาพถ่ายอันหดหูเ่ ศร้าสร้อยด้วยสถานที่ รกร้าง และคนงานก่อสร้างในย่านนั้น สื่อถึง การล่มสลายของสวรรค์ชาวกรุงทีส่ ร้างไม่เสร็จ ในขณะเดียวกันก็สะท้อนถึงความฝันที่ไม่เกิด ขึ้นจริงของแรงงานจากภาคเกษตรกรรมใน ชนบทอีกด้วย เข้าชมฟรีได้ทกุ วัน (เว้นวันจันทร์) 11.00 น.-19.00 น. ข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม โทร. 0-2234-6700 www.kathmandu-bkk.com Lost in Paradise 1 March – 27 April 2014 Kathmandu Photo Gallery, Pan Road, Bangkok

This photo exhibition by the award winner Lek Kiatsirikajorn presents the stories of labor workers who have left their hometown in the countryside to make a living in Bangkok. Despite their hope for a better living condition for themselves and their loved ones, things in reality have not been that easy. His photographs reveal the sad and depressing lives of these people at abandoned sites and construction places. They show the unrealized dreams of the rural agricultural labor. Open everyday, except Monday, 11.00 - 19.00. Free admission. For more information, please call 0-2234-6700 or visit www.kathmandu-bkk.com.

MY NAME IS DEE (BLAB BLAB BLAB)2014 15 - 23 มีนาคม 2557 ห้างสรรพสินค้าอินสแควร์ ชั้น 2 (ตรงข้าม ตลาดนัดจตุจักร) กรุงเทพฯ

Feed Me! 21 กุมภาพันธ์ – 30 มีนาคม 2557 อัตตาแกลลอรี่ ถนนเจริญกรุง กรุงเทพฯ

MY NAME IS DEE (BLAB BLAB BLAB)2014 15 - 23 March 2014 Insquare Shopping Mall (opposite to Chatuchak Market), 2nd Floor, Bangkok

Feed Me! 21 February – 30 March 2014 Atta Gallery, Charoenkrung Road, Bangkok

“ดี” ชาญณรงค์ ขลุกเอียด ศิลปินอิสระแนว Street Art และนักออกแบบซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั ผ่าน ผลงานเสือ้ ผ้าแบรนด์ Sweet Drug ได้รวบรวม ผลงานสร้างสรรค์หลากหลายรูปแบบ เช่น Graffiti Art, Sticker Art, Painting, Sculpture ฯลฯ พร้อมเปิดเผยผลงานศิลปะส่วนตัวที่ไม่เคย จัดแสดงที่ไหนมาก่อน ด้วยรูปแบบการน�ำเสนอ ทีส่ ามารถท�ำให้ผมู้ าชมสามารถร่วมสนุกไปกับ ผลงานได้ ทัง้ ยังมีพนื้ ทีส่ ำ� หรับบอกเล่าวิถชี วี ติ และการสร้างสรรค์งานศิลป์ของตัวศิลปินอีก ด้วย ชมฟรีทกุ วัน 10.00-18.00 น. ข้อมูลเพิม่ เติมโทร. 084-469-9542 www.facebook.com /MY NAME IS DEE (BLAB BLAB BLAB)

“DEE” Channarong Klugiad, the famous street artist and designer of “Sweet Drug” clothes brand, exhibits his creative collections of graffiti art, sticker art, paintings and sculptures that have never been shown anywhere else before. The audience will be engaged in his fun presentation style and learn more about the artist’s lifestyle and working process. Open daily 10.00 - 18.00. Free admission. For more information, please call 084-469-9542 or visit www.facebook. com/MY NAME IS DEE (BLAB BLAB BLAB).

นิทรรศการเครือ่ งประดับศิลป์รว่ มสมัย โดย Tabea Reulecke ศิลปินเครือ่ งประดับชัน้ แนวหน้า ของเนเธอร์แลนด์ ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจาก ความคิดถึงบ้านในเยอรมนีเมือ่ ครัง้ เดินทางไป ใช้ชวี ติ ในออสเตรเลีย จึงให้เพือ่ นส่งภาพอาหาร เช้าแบบเยอรมนีมาให้อย่างมากมายแล้วน�ำมา รังสรรค์อาหารเช้าในรูปแบบของตนเองผ่านงาน เครือ่ งประดับ เพือ่ ลดทอนความโหยหาบ้านเกิด และกลับมามีความสุขอีกครัง้ ผลงานโดดเด่น ด้วยเทคนิค “ลงยาร้อน” ทีเ่ ธอถนัด น่าสนใจ ด้วยการใช้วัสดุหลากหลาย มีเสน่ห์ด้วยความ เพ้อฝันอย่างน่าหลงใหล ชมฟรีทกุ วัน (เว้น วัน จันทร์) 13.00 - 19.30 น. (อา. ปิด 18.00 น.) ข้อมูลเพิ่มเติมโทร. 0-2238-6422 www. facebook.com/ATTA-Gallery

The contemporary jewelry exhibition by Tabea Reulecke, Netherland’s leading jewelry artist, was inspired by her homesickness for Germany while she was residing in Australia. In an attempt to cope with this loneliness, she asked her friend to send her pictures of German breakfast, which gave her new ideas for this fun collection. The pieces are fascinating outstanding for her signature enameling technique and the use of diverse materials. Open everyday except Monday, 13.00 - 19.30. Closed at 18.00 on Sunday. Free admission. For more information, please call 0-2238-6422 or visit www.facebook. com/ATTA-Gallery. • issue 08 baccazine

3 7


bacc calendar BACC WORKSHOP

โครงการอบรมวรรณกรรม Bangkok Creative Writing Workshop III ค่ายงานเขียนสร้างสรรค์กรุงเทพมหานคร ครัง้ ที่ 3 เสาร์ที่ 3 พฤษภาคม – เสาร์ที่ 14 มิถน ุ ายน 2557 (อบรมทุกวันเสาร์) เวลา 10.00-16.00 น. ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดย หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ร่วมกับ บุค ๊ โมบี้

เปิดโอกาสให้กลุ่มบุคคลที่สนใจงานด้านวรรณกรรมได้มีการเรียนรู้ และอบรมกับกลุ่มนักเขียนและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในงานวรรณกรรม แต่ละด้านทีแ่ ตกต่างกันอย่างน่าสนใจ อาทิ รุง่ วิทย์ สุวรรณอภิชน (นัก วิชาการ นักเขียน ผู้รู้เกี่ยวกับประวัติและผลงานของศรีบูรพา) สุชาติ สวัสดิ์ศรี (ศิลปินแห่งชาติ บรรณาธิการและผูก้ อ่ ตัง้ รางวัล “ช่อการะเกด” ผูร้ ดู้ า้ นวรรณกรรมทีโ่ ด่งดังจากนามปากกา “สิงห์ สนามหลวง”) แดนอรัญ แสงทอง (นักเขียน ผู้มีผลงานแปลเป็นภาษาฝรั่งเศส) โตมร ศุขปรีชา (บรรณาธิการ คอลัมนิสต์ นักแปล และพิธกี รโทรทัศน์) Pianissimo Press Shop (กลุม่ ผูส้ ร้างสรรค์ งานภาพพิมพ์) และปราบดา หยุน่ วิทยากรประจ�ำโครงการ กลุม่ ผูเ้ ข้าร่วมอบรมจะได้รว่ มอบรมในหลักสูตรต่างๆ อาทิ .ประวัตศิ าสตร์วรรณกรรมสร้างสรรค์ ไทย อิทธิพลศิลปะอาวองการ์ดในแวดวงวรรณกรรมไทย อะไรคือกระแสส�ำนึกและท�ำไม บทความ กับการเขียนสร้างสรรค์ และเห็นเรือ่ งเป็นภาพ โดยระหว่างการอบรมเหล่าผูเ้ ข้าร่วมในโครงการจะ ได้เขียนเรือ่ งสัน้ พร้อมพัฒนาเนือ้ หาของเรือ่ งสัน้ นัน้ ไปพร้อมกับวิทยากรและเพือ่ นร่วมค่าย และได้ตี พิมพ์ในหนังสือ “สะกด” เมือ่ จบโครงการฯ ผูส้ นใจสามารถส่งงานเขียนของคุณเองเป็นเรือ่ งแต่งในภาษาไทย ไม่กำ� หนดเนือ้ หา ความยาว ไม่เกิน 3 หน้ากระดาษ A4 พร้อมส่งประวัตสิ ว่ นตัวและข้อมูลติดต่อกลับมาที่ bcww32014@gmail. com ภายในวันที่ 10 เมษายน 2557 (ผูส้ มัครควรมีอายุระหว่าง 18-30 ปี) ค่าใช้จา่ ยในการอบรม ท่านละ 2,000 บาท ประกาศผลผูไ้ ด้เข้าร่วมอบรม จ�ำนวน 15 ท่าน หลังวันที่ 21 เมษายน 2557 ที่ www.bacc.or.th และ www.bookmoby.com สอบถามรายละเอียดของโครงการฯ โทร 0-2214-6630 ต่อ 530 BACC MUSIC

MAB : Music & Art Fest at bacc #3 24 - 25 พฤษภาคม 2557 เวลา 16.00 – 21.00 น. ลานด้านหน้าหอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร โดย ฝ่ายกิจกรรม หอศิลปกรุงเทพฯ

ขอเชิญทุกท่านพบกับเทศกาลดนตรีและ ศิลปะจากศิลปินและชุมชนคนรักศิลปะ ออก ค้นหาแรงบันดาลใจใหม่ๆ กับสินค้าที่ออกแบบ สร้างสรรค์โดยคนท�ำงานศิลป์ ชมการแสดงดนตรี จากศิลปินหลากหลายแนวเพลง เย็นย�ำ่ กลางเดือน กุมภาพันธ์ ณ ลานด้านหน้าหอศิลปกรุงเทพฯ มาค้นหาแรงบันดาลใจใหม่ๆ ชมการแสดงดนตรี จากหลากหลายศิลปิน อาทิเช่น O Pavee/ Seal Pillow/Part time musicians/Portrait & Stoondio/Desktop Error/Aerolips /สีเ่ ต่าเธอ/ Moderndog ภายในงานพบกับการออกร้านจากเพือ่ นพ้อง ในแวดวงคนท�ำงานดนตรีและศิลปะหลากหลาย แนว หนังสือคัดสรรทีน่ ำ� เสนอทัง้ สาระและบันเทิง ด้านดนตรี ซีดเี พลง T-shirt แนวคนดนตรี และ 38

baccazine issue 08

Bangkok Creative Writing Workshop III Every Saturday, 3 May – 14 June 2014 10.00-16.00, Bangkok Art and Culture Centre by Bangkok Art and Culture Centre and Book Moby

Workshop participants will be trained by experts in various programmes including creative writing about Thai history, the influence of avant garde art on Thai literature, stream of consciousness technique, and visualization. Their short stories will be developed together with other participants with advices from writing experts during the workshop. At the end of the event, these works will be published in “Sakod”. Interested individuals between 18-30 years old may submit their writing under any theme or topic in Thai, not exceeding 3 A4 pages, together with their bio and contact information to bcww32014@gmail.com. Deadline for submission is 10 April 2014. Workshop fee is 2,000 THB each. The list of 15 accepted applicants will be announced after 21 April 2014 on www.bacc.or.th and www. bookmoby.com. For more information, please call 0-2214-6630, extension number 530.

สินค้า handmade หลาย จาก BooKoo Studio แนว ร่วมพูดคุยสังสรรค์ • เลือกสรรช่อดอกไม้เท่ๆ จาก Plant House เรือ่ งราวทางดนตรี ศิลปะ แ ล ะ ส า ร พั ด ไ อ เ ดี ย MAB : Music & Art Fest at BACC #3 สร้างสรรค์ ไปพร้อมกัน 24 - 25 May 2014, 16.00-21.00 กับเรา In front of the Bangkok Art and Culture การออกร้ า นจาก Centre (BACC) แวดวงคนดนตรีและงาน By Activity Department, BACC ศิลปะหลากหลายแนว Find your new inspiration in musical • ซี ดี เ พลงและหนั ง สื อ คั ด สรร จาก performances by various artists such as O Pavee, happening และ Typhoon Studio Seal Pillow, Part Time Musicians, Portrait & • อิ่มอร่อยไปกับของกินเล่นจาก “อิ่มอุ่น” Stoondio, Desktop Error, Aerolips, Si Tao Ther, ไอศกรีมดับร้อนหลากรสจาก Me Gusta Gelato and Moderndog in the music and art fair for • เครือ่ งประดับแฮนด์เมดจากหินสี แบบละ art lovers. Enjoy a wide range of creative ชิน้ จาก A Bird Jewelry และ Ittibitti Jewelry products from circle of artists and musicians • ช้อปสนุกกับสินค้าแฮนด์เมดทีม่ ชี นิ้ เดียวใน with selected fictions and music books as well as โลก จากร้าน Child Labour CDs, t-shirts, and diverse handmade products in • เลื อ กซื้ อ เสื้ อ ยื ด จากภาพพิ ม พ์ แ กะไม้ these shops. Then in the evening, join in a fun เทคนิคพิเศษไม่เหมือนใครจากร้าน Print Now group discussion to share your creative ideas • ผลิตภัณฑ์เซรามิคดีไซน์เก๋ จาก Charm about art, culture and music at the space in Learn Studio front of the BACC. • ชมและช้อปประติมากรรมบนโต๊ะอาหาร


art question?

ภาพที่เราเห็นเมื่อมองดูงานศิลปกรรม ร่วมสมัยอาเซียนเป็นอย่างไร?

เป็นภาพความแตกต่างกันของรากทางวัฒนธรรม ประเพณี ประวัตศิ าสตร์ สังคม ผูค้ น ศาสนา แต่รอ้ ยเรียงเชือ่ มโยงความแตกต่างเหล่านัน้ ผ่านการสร้างสรรค์งานศิลปะ

What do you see when looking at ASEAN contemporary art?

I see diversity in cultural, traditional, historical, social, and religious backgrounds coming together through the creation of arts.

สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ข อ ง ก า ร เ รี ย น รู ้ แ ล ะ ท�ำความเข้าใจในศิลปะร่วมสมัยอาเซียน คืออะไร?

คือการยอมรับในความแตกต่างของสังคม วัฒนธรรม และการเมืองของแต่ละประเทศ เราอาจจะคล้ายกันบ้าง แต่เราไม่เหมือนกัน ยอมรับในความต่างเพือ่ เปิดโอกาสให้เราได้ เรียนรูซ้ งึ่ กันและกัน เมือ่ เรายอมรับและเรียนรูใ้ นความต่างนัน้ เราจะเข้าใจเขามากขึน้

What is the significance of learning and understanding about ASEAN contemporary art?

The most important thing is to accept the social, cultural and political differences of different countries. We may be similar to one another but it is important to be open to these differences so that we may learn and understand one another better.

อะไรคื อ ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ มี ผ ลต่ อ การ แ ส ด ง อ อ ก ข อ ง ศิ ล ป ิ น ร ่ ว ม ส มั ย ใ น อาเซียน?

การเมืองน่าจะเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดต่อการแสดงออกของศิลปินในภูมิภาคนี้ว่าจะเสรี แค่ไหน แต่มองในมุมกลับ การเมืองก็เป็นปัจจัยบวกที่เป็นแรงขับเคลื่อนต่อเนื้อหาของ การสร้างสรรค์งานด้วย ศิลปินส่วนหนึง่ จึงหาทางออกด้วยการแสดงออกแนวคิด/ผลงาน เหล่านัน้ ในสังคมอืน่ ๆแทน

What are the important factors that influence the expression of ASEAN contemporary artists?

Politics is probably the most influential factor on the artists’ level of freedom of expression in this region. However, from the other hand, politics is also a positive drive behind their creativity and ideas. A number of artists find their way to other societies to express their ideas and show their works.

ตอบค�ำถามโดย ดร.ปรมพร ศิรกิ ลุ ชยานนท์ ผูอ้ ำ� นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Answers by Paramaporn Sirikulchayanont, Ph.D., Director, Art Center, Silpakorn University issue 08 baccazine

3 9


bacc exhibition

อาเซียนจะรวม (ศิลปะ) เป็นหนึง่ เดียวกัน

COLUMNIST : G.I.J.

“มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนรวมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ปี 2015 พวกเราจะหลอมรวมเป็นหนึง่ เดียว พวกเรา ณ ทีน่ ี้ คือ 10 ชาติในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึง่ ก�ำลังจะหลอมรวมกันเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือเออีซี เพื่อให้การเข้าถึงและเข้าใจความเป็นเออีซี อย่างมีเอกภาพ นัน่ จึงเป็นทีม่ าการรวมตัวศิลปิน ในภูมภิ าคอาเซียน น�ำเสนอผลงานศิลปะในแบบ ฉบับแต่ละคนถนัด ภายใต้ชอื่ นิทรรศการ “มโน ทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนรวม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” (Concept Context Contestation : art and the collective in Southeast Asia หรือ CCC) ผลงานศิ ล ปะกว่ า 60 ชิ้ น เป็ น ฝี มื อ การ สร้างสรรค์โดยศิลปินระดับนานาชาติจากทั่ว ภูมิภาค 40 คน ถูกจัดวางเต็มพื้นที่ ละลานตา และเด่นตระหง่านท้าทายผูช้ มด้วยรูปแบบทีต่ า่ ง กันไป ตลอดจนขนาดก็เน้นใหญ่ชวนให้ตนื่ ใจได้ ไม่นอ้ ย ทุกๆ ผลงานที่จัดแสดง ล้วนมีหมุดหมาย เดี ย วกั น คื อ มุ ่ ง ส� ำรวจความสั ม พั น ธ์ ชิ ดใกล้ ระหว่างกระบวนการทางความคิดและอุดมการณ์ ทางสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยผ่าน สายใยส�ำคัญอันเรียกว่าการใช้ความคิดทีฝ่ งั ราก หยัง่ ลึกอยู่ในท้องถิน่ เพือ่ สร้างการมีสว่ นร่วมของ ผูช้ มในวิถเี อกลักษณ์เฉพาะแห่งอาเซียน อาจกล่าวได้ว่า ค�ำว่า “ส่วนรวม” จึงกลาย เป็นสัญญะการสื่อความหมาย โดยใช้มโนทัศน์ 40

baccazine issue 08

เชิงศิลปะร่วมสมัยเป็นแรงขับเคลือ่ น อันจะน�ำไป สูก่ ารท�ำงานแบบเพือ่ ส่วนรวม โดยส่วนรวม เน้น ส่วนรวม อีกทัง้ ยังค�ำนึงถึงประเด็นร่วมของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ในฐานะการเป็นชาติสมาชิก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สิง่ หนึง่ ทีเ่ ห็นได้ชดั ในนิทรรศการชุดนี้ ศิลปิน ต่างพร้อมใจพูดถึงความเป็นมาและเป็นไป จาก อดีตจวบปัจจุบันของศิลปะร่วมสมัยในภูมิภาค อาเซียน ทีส่ ร้างความตืน่ เต้นให้โลกศิลปะมากว่า 2 ทศวรรษ ท่ามกลางความหลากหลายด้าน วัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ ความเป็นศิลปะ ร่วมสมัยได้พสิ จู น์ให้ทกุ คนประจักษ์แจ้งแล้วว่า มนั สามารถหล่อหลอมและประสานให้ชาวอาเซียน ทัง้ หมดกลายเป็นสังคมแห่งทัศนศิลป์ทเี่ ข้มแข็ง ศิลปินต้นแบบจากสิงคโปร์ที่วิพากษ์สังคม ได้อย่างมีชนั้ เชิง “ลี เวน” กับ “อามันดา เฮง” ศิลปินผู้ก�ำหนดทิศทางทางสังคมในฟิลิปปินส์ “ไอเมลดา คาจิเป เอนดายา” กับ “อัลวิน รีอา มิลโล” ศิลปินรุน่ ใหญ่จากอินโดนีเซียทีเ่ ป็นเสมือน พลังเสียงทางการเมือง “เอฟเอ็กซ์ ฮาร์โซโน” “เอโค นูโกรโฮ” กับ “ดัคลิงค์ทัมบูยฮ์” และ “โปโปค ไตร-วายุทธ์” ฝัง่ ไทยมีศลิ ปินร่วมสมัยรุน่ บุกเบิกและรุน่ ใหม่ น�ำเสนอผลงานได้อย่างเข้มข้น “มานิต ศรีวานิชภูมิ” “สุธี คุณาวิชยานนท์” “วสันต์ สิทธิเขตต์” “พิสฏิ ฐ์กลุ ควรแถลง” และ “ประพัทธิ์ จิวะรังสรรค์” พวกเขาทุกคนล้วนสนุกกับความรู้สึกนึกคิด

ในรูปแบบที่ไม่ซำ�้ กัน งานจิตรกรรม ศิลปะจัดวาง ที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ชมได้อย่างใกล้ชิด ศิลปะ ที่ ใช้ตัวอักษร หรือข้อความ เกมก็มี กระทั่ง ผลงานที่จัดแสดงโดยอาศัยความสัมพันธ์กับ ระยะเวลาทีก่ ำ� หนด นอกจากนัน้ บางผลงานยัง เผยให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างแนวทางการ ท�ำงานเชิงมโนทัศน์ในศิลปะกับศิลปะทีม่ บี ทบาท เปลีย่ นแปลงสังคม เดินขนานคูก่ นั ไปในลักษณะ ผลงานทีม่ เี อกลักษณ์และสร้างสรรค์สดุ ขัว้ ความน่าสนใจโดยรวม ผลงานค่อนข้างเป็น ไปในลักษณะบทสนทนา ตัวศิลปินและผลงาน ต่างพูดคุยโต้ตอบกัน โดยน�ำพาผู้ชมให้ซึมซับ และสัมผัสกับรูปแบบและวิธกี ารสร้างสรรค์ อาจ จะพัฒนาไปตามกาลเวลา ทว่ากระบวนคิดอัน ซับซ้อน แยบยล และย้อนแย้ง รวมทัง้ กลวิธกี าร เปรียบเปรย ยังคงโดดเด้ง ซึ่งนั่นแหละ ก็ถือ เป็นลักษณะเด่นเชิงทัศนศิลป์อนั เปีย่ มไปด้วยจิต วิญญาณแห่งภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิทรรศการ “มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนรวมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ดูแลคอนเซ็ปต์โดยภัณฑารักษ์ 3 ชาติ “อิโอลา เลนซี ” (สิ ง คโปร์ ) “อากุ ง ฮู จ านิ ก าเจนนง” (อินโดนีเซีย) และ “วิภาช ภูริชานนท์” (ไทย) จั ด แสดงจนถึ ง 2 มี นาคม 2557 ณ ห้ อ ง นิทรรศการหลัก ชั้น 8 หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร


ASEAN arts as one “Concept Context Contestation: Art and the collective in Southeast Asia” or “CCC” More than 60 pieces of artwork displayed in the exhibition “Concept Context Contestation: Art and the collective in Southeast Asia” or “CCC” are created by 40 international artists from the region. They aim to examine the close interrelationship between the social ideologies and conceptual approaches in Southeast Asia. Thoughts and concepts deeply rooted in local communities are used to encourage visitor participation in the unique ASEAN identity and way of life. It may be stated that “participation” has become a significant symbol to

convey meanings and messages. Concepts in contemporary art are drives towards participatory approach to working for the benefits of the society, taking into consideration the commonalities and shared issues of Southeast Asia as ASEAN Economic Community (AEC) members. What can be seen from this exhibition is that all artists reflect the origin and evolution of contemporary art in the past two decades in ASEAN. Though each country is diverse in its cultural and ethnic background, contemporary art has proven that it can meld different people together and lead ASEAN towards a great visual arts society. Each artist has enjoyed working through his or her unique conceptual process. Fine

arts and installation arts closely interact with the audience. Art pieces that use alphabets or phrases as well as those that rely on given time period to convey their messages and meanings reveal the connection between conceptual approaches in artworks and arts that influence social changes. They are unique and extremely creative. This exhibition reflects the interaction between the artists and their artworks as if they are engaged in an active conversation with one another. The audience will get to feel and see forms and creative methods of art, which have evolved over time, yet still full of richness, complexity and contradiction, which make Southeast Asian art alive with spirituality.

issue 08 baccazine

4 1


idea of Life

MOVIE MUSIC BOOK COLUMNIST : G.I.J. PHOTO : EXACT

โตโน่

ภาคิน ค�ำวิลย ั ศักดิ์ คุ้นหน้าคุ้นเสียงกันดี นักแสดง-นักร้องขวัญใจวัยโจ๋ ผู้มีลุคชัดเจน วัดได้ด้วยทุกค�ำพูดและการกระท�ำ สะท้อนถึงความจริงจังและจริงใจ ในตัวตนได้ดียิ่ง “โตโน่-ภาคิน ค�ำวิลัยศักดิ์” ก�ำลังมีผลงานซิทคอม “ลูกพี่ลูกน้อง” (โมเดิร์นไนน์ ทีวี) แถมยังพ่วงต�ำแหน่งร้องน�ำวง “โตโน่ แอนด์ เดอะดัสต์” เปิดปากถึง 3 สิง่ ทีเ่ ขาชอบ หนัง เพลง หนังสือ ซึง่ ปฏิเสธไม่ได้วา่ สิง่ ทีเ่ ขาเสพล้วนมีอท ิ ธิพลต่อชีวต ิ เขาไม่มากก็นอ้ ย

MUSIC

MOVIE

“ผมชอบหนังแนวแอคชั่น-ดรามา เรื่องที่ ประทับใจ คือ Public Enemies สร้างจากชีวิต จริงของ “จอห์น ดิลลิงเจอร์” โจรปล้นธนาคาร จอนห์นี เด็ปป์เล่น หนังมีหลายแง่มุม มีมุมชี้ให้ เห็นถึงความดีความเลวทีอ่ ยู่ในตัวของคน แต่ละ คนมีเป้าหมายในชีวิตที่คล้ายๆ กัน อยากมีเงิน อยากมีความสุข อยากมีความรัก แต่วถิ ที างของ การด�ำรงชีวิตคนเราไม่เหมือนกัน บางคนเลือก ทางผิดก็กลายเป็นคนเลว เรื่องนี้ผมชอบนัย ปรัชญาที่สอดแทรกในหนัง สิ่งที่เขาต้องการ สื่อสารในหนังนั้นน่าสนใจ ทุกตัวละครมีวิธีคิด การด�ำเนินชีวิตที่มีเป้าหมาย หนั ง บางเรื่ อ งก็ เ ป็ น แนวคิ ดให้ เ ราใช้ ชี วิ ต ก็มีครับ อย่างตัวละคร “แบทแมน” ในหนัง 42

baccazine issue 08

“ต้องบอกว่าชอบเพลงของตัวเอง บ้าคิดถึง เป็นเพลงแรกที่ผมท�ำกับวงโตโน่ แอนด์ เดอะ ดัสต์ เนื้อหาเพลงนี้ก็ตรงๆ ตามชื่อเพลง แต่ สิ่งที่มีคุณค่ากว่าจะมาเป็นเพลงนี้ได้ มันมีความ หมายความส�ำคัญกับผมมาก มันเป็นความฝัน เหนื่อยหนักกว่าจะได้เพลงนี้ อีกเพลงที่ชอบมานานแล้ว คือ Don’t Cry ของวง Guns N’ Roses ผมชอบความหมาย คือ เวลาที่เขาปลอบคนที่เขารัก แม้เขาจะเสียคน ที่เขารักไป แต่ก็ไม่อยากให้คนที่เขารักเสียใจ ดูแมนมากและดูเจ็บมากด้วยครับ อีกวงที่ผม ชอบคือ Aerosmith ของไทยก็ชอบ อัสนี-วสันต์ Batman ผมก็ชอบ เป็นซูเปอร์ฮีโร่ มีรถหุ้ม ผมชอบร็อกสมัยเก่าๆ ดูมีเสน่ห์ ผมรู้สึกว่าเขา เกราะ เสื้อผ้าเท่ๆ แต่พ่อแม่โดนฆ่าตาย ผู้หญิง มีเอกลักษณ์ที่ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเสียงร้อง ที่รักโดนฆ่าตาย คนอื่นไม่รู้จัก ก็มองว่าเขาเป็น โจร แต่ทำ� ไมแบทแมนยังต้องท�ำความดี ปกป้อง เมือง ดูแล้วเราก็ตงั้ ค�ำถามกับตัวเอง การจะเป็น คนดีบางครั้ง ต้องแลกกับอะไรหลายๆ อย่าง ถ้าแลกชีวิตกัน เรายังอยากจะเป็นแบทแมนอยู่ ไหม” (Public Enemies ปี 2009 / ก�ำกับ ไมเคิล มานน์ / แสดงน�ำ จอนห์นี เด็ปป์, คริสเตียน เบล) (Batman ถูกท�ำออกมาหลายภาค แต่ภาคที่ ได้รับการตอบรับดี นั่นก็คือ The Dark Knight ปี 2008 และ The Dark Knight Rise ปี 2012 โดยทั้ง 2 ภาคก�ำกับโดย คริสโตเฟอร์ โนแลน)


แนวเพลง สไตล์การแต่งตัว ไม่เหมือนสมัยนี้ เราแยกไม่ออกว่าวงนี้ชื่ออะไร เพลงก็เหมือน กันหมด” (Guns N’ Roses วงร็อกจากแอล.เอ. ก่อตัง้ เมื่อ ปี 1985 / Aerosmith วงร็อกรุ่นเดอะจาก บอสตัน ก่อตั้งเมื่อ ปี 1970 / 2 พี่น้องคนดนตรี ชาว จ.เลย อัสนี-วสันต์ มีเพลงดังมากมาย และ ถือเป็นต�ำนานร็อกดูโอของประเทศไทย นับแต่ เปิดตัวตั้งแต่ พ.ศ.2529)

Tono-Pakin Kumvilaisak is the famous

BOOK

“ผมชอบอ่านหนังสือมาตัง้ แต่เด็ก เพราะบ้าน ลุง ทีข่ อนแก่นเปิดเป็นร้านเช่าหนังสือ ผมก็เลยได้ คลุกคลีอยูก่ บั หนังสือ การอ่านก็เลยเป็นเรือ่ งใกล้ ตัวผมมาก ผมชอบอ่านหนังสือนิยายก�ำลังภายใน จีน แต่เรือ่ งชอบทีส่ ดุ คือ สามก๊ก อ่านทัง้ ฉบับ ของ เจ้าพระยาพระคลัง (หน) และฉบับยาขอบ สามก๊กมีตัวละครเยอะมาก แต่ละตัวมีแนวคิด ลักษณะนิสยั บุคลิกของแต่ละคนทีต่ า่ งกันไป ซึง่ ผมก็สนุกไปกับตัวละครเหล่านัน้ ทีส่ ำ� คัญ เวลา เจอคนทีอ่ า่ นสามก๊ก แล้วมานัง่ คุยกันแลกเปลีย่ น ความคิดกันจะสนุกมาก เพราะมีเรื่องที่เราไม่รู้ ไม่เข้าใจอีกเยอะ สามก๊กเป็นหนังสือทีต่ คี วามกัน ได้หลากหลาย ส่วนตัวผมชอบ จูล่ง พอศึกษา ประวัตขิ องเขา เขาเป็นคนรักศักดิศ์ รีมากกว่าเงิน ทอง รักแผ่นดินเกิด อย่าง กวนอู เล่าปี่ เตียวหุย สาบานเป็นพีน่ อ้ งกัน แต่จลู ง่ ไม่จำ� เป็นต้องสาบาน เพราะทุกค�ำพูดของจูลง่ คือค�ำสาบาน เขาเป็นคน พูดจริงท�ำจริง อย่างเขาบอกจะดูแลราชวงศ์ แค่ พูดเล่าปีก่ ส็ บายใจก่อนตายแล้ว ด้วยวีรกรรมของ จูล่ง ท�ำให้ผมชื่นชอบ ยกย่องคนนี้แหละคือลูก ผูช้ าย คือแบบอย่างของเรา” (สามก๊ก วรรณกรรมจีนอิงประวัตศิ าสตร์สดุ ยิ่งใหญ่ ถูกแปลเป็น ภาษาไทยหลายเวอร์ชัน สามก๊กฉบับหลัวกวัน้ แปลโดย เจ้าพระยาพระคลัง (หน) พ.ศ. 2345 ขณะที่ฉบับวณิพก แปลโดย ยาขอบ พ.ศ. 2529)

Thai singer and actor whose sit-com “Lukphi Luknong” is currently on air via Modern Nine TV. He is also the lead singer of “Tono and the Dust”. He shared his three favorite movie, song and book which have influences on his life with Baccazine.

“Batman” is a superhero but some people who don’t know him well may perceive him as a villain when in fact he has to make so many sacrifices to protect his city. It raises the questions to the audience whether we would still like to be Batman or not if we knew we’d have to sacrifice so much.

I like action-drama movies. One of my favorites is ‘Public Enemies’ which was based on the true story of the infamous bank robber John Dillinger. The philosophy of this movie reflects that a person has both good and bad side. We all have a similar goal in life but our way of living may differ. If we make a mistake in choosing the wrong path, we may become a bad person.

I like my own song “Ba Kidtueng” which is the first song under my collaboration with the Tono and the Dust. The lyrics are straightforward just like its title. There is a story behind the making of it that is personally meaningful to me. It’s my dream and I went through a lot of things to produce this song. Another song that I like is ‘Don’t Cry’ by Guns N’Roses. I like its meaning.

MOVIE

MUSIC

It’s about a man losing the woman he loves, yet he consoles her and doesn’t want to see her cry. I also like Aerosmith. For a Thai band, I like Asanee-Wasan whose old-school rock music has a unique charm. I like their voices, style and looks. BOOK

I liked reading since I was young. My favorite is the Chinese novel ‘Romance of the Three Kingdoms’, both translation versions by Chao Phraya Khlang and Yakhop. Each of the various characters possesses their own way of thinking, character and personality. It’s become even more fun when I meet and exchange my ideas with other people who’ve read it, too.

issue 08 baccazine

4 3


MOVIE MUSIC BOOK COLUMNIST : MODDUM PIC : JEAB

เอม

พิชญา ศุภวานิช

ภัณฑารักษ์ หัวหน้าฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ท่ามกลางนิทรรศการน่าสนใจมากมาย นับแต่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครถือก�ำเนิดขึ้นเมื่อกว่า 4 ปีก่อน พิชญา ศุภวานิช หรือคุณเอม ภัณฑารักษ์คนเก่ง หัวหน้าฝ่ายนิทรรศการ คือก�ำลังส�ำคัญในการเติมเต็มพื้นที่ว่างเปล่าด้วยงานศิลปะหลากหลายแขนง ทั้งวางเนื้อหา สร้างสรรค์ธีมงานบริหารจัดการ พร้อมทั้งท�ำงานร่วมกับองค์กรอื่นๆ ด้วยลักษณะงานที่รับผิดชอบสูง ทั้งยังต้องมีไอเดียดีๆอยู่ตลอดเวลา หลายคนคงอยากทราบว่า ไลฟ์สไตล์ส่วนตัวของคุณเอมเป็น อย่างไร มาท�ำความรู้จักกับภัณฑารักษ์สาวมากความสามารถคนนี้ผ่านภาพยนตร์ที่เธอชม ดนตรีที่เธอชอบ และหนังสือที่เธออ่านกัน.

MOVIE เรียบง่าย มีพลัง หนังนอกกระแส

ส่วนตัวแล้วเป็นคนดูหนังเยอะ แต่ตอนเด็กๆ ยั ง สะเปะสะปะ พอเรี ย นจบค่ อ ยมี ร สนิ ย มที่ ‘เกลา’ ขึน้ ตอนแรกสนใจผูก้ ำ� กับอเมริกนั อาจ เพราะชอบแรงกระตุ้นหรือทัศนคติความเท่บาง อย่างของหนังแบบอเมริกา แต่พอรูจ้ กั อะไรมากขึน้ รสนิยมก็เปลีย่ นอีก มาแถบยุโรป ออสเตรีย หรือ ไม่กไ็ ปฝัง่ อิหร่านทีพ่ ดู กับเราได้ดพี อสมควร ช่วงนีท้ สี่ นใจจริงๆ คืองานของมิคาเอล ฮาเนเก้ (Michael Haneke) ผูก้ ำ� กับชาวออสเตรีย ซึง่ มี เรือ่ งหนึง่ เพิง่ ฉายในไทย คือ อามู (Amour) เป็น 44

baccazine issue 08

เรือ่ งราวเกีย่ วกับสามีภรรยาคูห่ นึง่ ภรรยาก�ำลัง จะเสียชีวติ สามีทนไม่ได้ จึงต้องฆ่าเธอทิง้ ฉาก ที่ท�ำให้น�้ำตาไม่ไหลออกข้างนอกแต่ตกใน คือ ฉากบนเตียงนอนตอนสามีเห็นอาการภรรยาแย่ ลงเรือ่ ยๆ พูดไม่รเู้ รือ่ ง จ�ำอะไรไม่ได้ เขาถึงจุดที่ ทนไม่ไหว ตัดสินใจเอาหมอนอุดหน้า ทีส่ ะเทือน ใจคือตอนแรกผู้ก�ำกับลวงคนดูให้คิดว่าภรรยา ไม่อยากอยู่แล้ว เธออยากตาย แต่ตอนอุดหน้า กล้องจับแค่ขาภรรยา เราได้เห็นการขัดขืน การ อยากมีชีวิตอยู่ มันเป็นฉากที่เรียบง่ายแต่มีพลัง มาก ทุกคนตั้งค�ำถามกับความตาย เพราะเป็น หัวข้อทีเ่ รารูไ้ ม่เยอะ ซึง่ จริงๆแล้วมันก็เชือ่ มโยงไป กับความหมายของการมีชวี ติ อยูอ่ กี ด้วย MUSIC เสียงจากความรูส้ ก ึ

ฟังเพลงหลากหลายเหมือนกัน ช่วงวัยรุน่ ฟัง ธเนศ วรากุลนุเคราะห์, เต๋อ เรวัติ พุทธินนั ท์, วง ตาวัน คือเป็นรุน่ ทีโ่ ตมากับเพลงยุค ’80s ตอนนีท้ ี่ สนใจมากคือ ดนตรีแบบนอยส์ (Noise) เพราะมี ช่วงหนึง่ ทีช่ อบวงดนตรีอย่าง Sonic Youth ที่ใช้ นอยส์เข้ามาในเพลง และปีทแี่ ล้วก็ทำ� นิทรรศการ เกีย่ วกับ Sound Art เชิญ ดร.อโนทัย นิตพิ น ซึง่ เป็นคอมโพสเซอร์มาท�ำงานด้วยกัน เลยท�ำให้ได้ รูจ้ กั ดนตรีอกี มุมหนึง่ นอยส์พดู ถึงเสียงปกติทเี่ จอในชีวติ ประจ�ำวัน

อย่างการใส่น�้ำตาลลงไปในแก้ว มันก็เกิดเสียง ตัวนอยส์มิวสิคก็จับเสียงแบบนี้เข้ามาเป็นดนตรี มีงานของนักประพันธ์เพลงชาวเยอรมนีที่ ใช้แค่ เสียงจุดไม้ขดี ฟึบ่ !แล้วเอาเสียงนัน้ เข้ามาในงาน ออเคสตร้า ซึ่งปกติเราไม่เคยให้คุณค่ากับเสียง แบบนี้ เพราะท�ำเองก็ได้ ไม่มเี มโลดี้ แต่เมือ่ ได้ ฟังความคิดของเขาจริงๆถึงเข้าใจปรัชญาว่าเสียง การจุดไม้ขดี มาจากนิทานเรือ่ งหนึง่ คือ เด็กขาย ไม้ขีดไฟซึ่งเศร้ามาก เสียงหรือดนตรีจึงควรมา จากความรู้สึกแล้วนักดนตรีค่อยหยิบความรู้สึก ตรงนั้นมาเป็นปรัชญา จากนั้นจึงมาถึงการเล่น ดนตรีอีกทีหนึ่ง คือไปให้สุดในความรู้สึกก่อน แล้วค่อยย้อนกลับมาว่าจะเล่นแบบไหนอะไรยัง ไง ซึง่ เป็นการเข้าถึงดนตรีทนี่ า่ สนใจ มันเปลีย่ น ความคิดของเราเกีย่ วกับเสียงไปเลย สิง่ นีเ้ ชือ่ ม กับดนตรีแบบอืน่ ที่ได้เจอ อย่างงานของ คริสตินา่ คูบชิ (Christina Kubisch)(01) ซาวน์อาร์ตสิ ท์ ที่เคยท�ำงานร่วมกัน เขาใส่เฮดโฟนเดินไปตาม ถนน แล้วเอาเสียงอิเล็กทรอนิกส์ทเี่ ป็นคลืน่ วิทยุ มาท�ำงานดนตรี เราเลยคิดว่า อ้าว! งัน้ ทุกอันไม่


idea of Life

จ�ำเป็นต้องเป็นโน้ตเพลงก็ได้ พอคิดได้แบบนีป้ บุ๊ จินตนาการอีกด้านหนึง่ มันเปิดเลย (ยิม้ ) หนังสือที่เป็นแรงบันดาลใจมีมาตั้งแต่เด็ก แล้ว เริ่มจากต้นส้มแสนรัก เจ้าชายน้อย ไล่มา ถึงตูห้ นังสือพ่ออย่างงานของเฮมมิง่ เวย์, โลกียชน ช่วงวัยรุ่นชอบอ่านงานชุดศิลปวัฒนธรรมของ สุจติ ต์ วงษ์เทศ, สุชาติ สวัสดิศ์ รี พอถึงวัยท�ำงาน วิธอี า่ นก็เปลีย่ น คืออ่านงานกว้างขึน้ แม้แต่ฉลาก ทีน่ า่ สนใจหรือประกาศคนหายก็อา่ น กลายเป็นว่า ข้อมูลของเราไม่ใช่ล�ำดับเดียวแบบวรรณกรรม แต่เป็นล�ำดับข้อมูล แล้วค่อยมาสังเคราะห์ขอ้ มูล ทีช่ อบ ส�ำหรับตอนนีส้ นใจเรือ่ งราวเกีย่ วกับการเดินทาง เพราะได้ท�ำงานกับศิลปิน ท่านหนึ่ง คือ คุณ สมบูรณ์ หอมเทียนทอง และงานทีจ่ ะท�ำถัดไปก็ เกีย่ วกับแลนด์สเคป วิว ทิวทัศน์ เลยสงสัยว่าท�ำไม คนส่วนใหญ่ถึงชอบที่จะออกไปอยู่ ในสถานที่ แปลกใหม่ สนใจจิตวิทยาตรงนี้ ช่วงนี้เลยมี หนังสือ 2 เล่มทีอ่ า่ นกลับไปกลับมา เพือ่ ท�ำความ เข้าใจ เล่มแรกคือ The Art of travel โดย

อแลง เดอ บูตง (Alian de Botton) ซึง่ สร้างแรง บันดาลใจหลายๆอย่าง เกี่ ย วกั บ การเดิ น ทาง อี ก เล่ ม หนึ่ ง คื อ Short Voyage to the Land of the People โดยฌาร์ค รองซีแยร์ (Jacques Rancière) นักปรัชญาชาว ฝรั่งเศส ซึ่งพูดถึงการเดินทางเพื่อรู้จักคน ให้ แง่มมุ ต่างๆเกีย่ วกับวิธที เี่ ราเดินทาง โดยเชือ่ มโยง ไปถึงคน แต่ไม่ต้องไปไกลที่จะรู้จักคน เรา สามารถหาความ exotic ได้ใกล้ๆตัวไม่จ�ำเป็น ต้องเป็นต่างประเทศ ทัง้ สองเล่มไม่ได้พดู ถึงการ เดินทางล้วนๆ แต่มนั เชือ่ มโยงกันถึงมุมมองเชิง ประวัตศิ าสตร์ เชิงชีววิทยา หรือเชิงศิลปะ นอกจากนี้ ก็มหี นังสือภาษาไทย 2 เล่มทีอ่ า่ น กลับไปกลับมาเหมือนกัน แต่ยังท�ำความเข้าใจ ไม่ได้ 100 เปอร์เซ็นต์คือ ‘ฤดูมรสุมบนสรวง สวรรค์ ’และ ‘กอปร’ โดย อุ เ ทน มหามิ ตร เล่มแรกเป็นการเขียนเชือ่ มกันกับงานของ แรงโบด์ ซึง่ เคยอ่านมาก่อนแล้ว พอมาอ่านงานของคุณอุเทน ก็ให้ความรู้สึกอีกแบบหนึ่ง ได้หามุมที่กลับไป

กลับมา ท�ำความเข้าใจระหว่าง 2 นักประพันธ์ เล่ม ทีส่ อง เป็นกวีนพิ นธ์เชิงวิทยาศาสตร์ ทีม่ เี ชิงอรรถ บอกรายละเอี ย ดเชื่ อ มกั บ เนื้ อ หา ซึ่ ง บทกวี โดยทัว่ ไปจะไม่ม ี พอมันให้ขอ้ มูลแบบนีท้ างเลือก ในการแปลความจึงอยูท่ คี่ นอ่าน ส่วนตัวคิดว่าคุณอุเทนเป็นนักเขียนส�ำหรับ นักเขียน คือมีนักเขียนส�ำหรับนักอ่านที่อาจจะ มีมุมป๊อปปูล่าร์ เข้าใจง่าย แต่เขามีมุมของการ เข้าถึงที่มีชั้นเลเยอร์เยอะขึ้นมานิดหนึ่ง พอเรา ลิงค์ไปกับตัวบท ท�ำให้รวู้ า่ จินตนาการของผูแ้ ต่ง ซับซ้อนมากแค่ไหน ก่อนหน้าเคยพยายามมองหา จิ น ตนาการบางอย่ า งจากงานทั ศ นศิ ล ป์ ใน มุมเกีย่ วกับแลนด์สเคป แต่ไม่เจอ กลับมาเจอใน วรรณกรรมแทน อีกสิง่ หนึง่ ทีน่ า่ สนใจคือ อารมณ์ ด้านลบของหนังสือมันไม่อยู่ในด้านเดียวกับบวก หรือรัก แต่ลกึ กว่านัน้ มันมีซอกซอยที่ไปได้เรือ่ ยๆ ตามจินตนาการ เหมือนเป็นแรงดึงดูดอย่างหนึง่ สิง่ ที่ได้รบั จากการอ่าน คือรากความคิดของการ วิเคราะห์ ซึง่ ได้ใช้กบั งานแน่นอน เพราะงานของ ตัวเองโดยรวมก็คอื การคิดวิเคราะห์ทมี่ ากไปกว่า การมองเห็นแบบฉาบฉวย เราต้องเสนอบางอย่าง ให้กบั คนทีเ่ ข้ามาชมนิทรรศการ

MOVIES, MUSIC AND BOOKS OF

MUSIC : Sound from the heart

So my kind of data is not the same order as literature but rather my own interpretation. Currently I am interested in traveling and wonder why people like to go to foreign places. I am curious about their psychology. Therefore, the two books that I have been rereading are “The Art of Travel” by Alian de Botton and “Short Voyage to the Land of the People” by the French philosopher Jacques Ranciere. They’re not only about traveling but also its association with historical, biological and artistic perspectives. Furthermore, there are two Thai books that I keep rereading but can’t fully understand yet. They are Typhoon Season in Paradise and Korb by Uten Mahamid. The first book is associated to Rimbaud’s work which I have read before. Reading Uten‘s work allows me to compare the writing and ideas of the two authors. The second book is a scientific poetry with footnotes that elaborate the content, which is unusal ingeneral poetry. The extra information provides readers more interpretation alternatives.

BOOK จินตนาการและความเชือ่ มโยง

Aime - Pichaya Suphavanij

I listen to many kinds of music. I grew CURATOR, HEAD OF EXHIBITION up with songs from the 1980s. Now I am DEPARTMENT, BANGKOK ART AND CULTURE interested in “Noise Music” because there CENTRE was a period when I liked the band Sonic MOVIES : Simple yet powerful indie Youth which used noises in their music. movies. What is the concept of “Noise Music”? Currently I am interested in films by Noisesare sounds we hear in our everyday the Australian director, Michael Haneke. lives. For example, the sound of pouring One of his recent films shown in Thailand sugar into a cup. Noise Music captures this called “Amour” is the story about a man who kind of sounds and makes music out of it. cannot stand to watch his wife die so he just Music should originate from emotions. kills her. One of the most emotional scenes Musicians shall pick up these emotions and is when he watches his bedridden wife’s turn them into music. It is important to condition worsens as she can’t remember focus on feelings first before worrying about anything now and what she saysno longer methodology or instrument. makes sense. He can’t stand that anymore so BOOKS : Imagination and association he decides to suffocate her with a pillow. It’s Books have long been my source of very emotional because the director made inspiration since young. I began with “My the audience believe at first that the wife Sweet Orange Tree”, “The Little Prince”, did not want to live anymore, but when she books by Hemmingway, and “Tortilla is suffocated, the camera focusing on her Flat”. As a teenager, I liked books by Sujit legs shows that she actually wants to live Wongthes and Suchart Sawasdsri. When I on. It’s a very simple yet powerful scene. started working, I read more kinds of things This movie makes people think about death including interesting labels and missing and the meaning of life. person announcements.

issue 08 baccazine

4 5


art analyze

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้-ใน-ศิลปะ

Terra Incognita, et cetera (Tintin Wulia 2009). Mural, installation and game-performance with DIY kit and singlechannel video. Image courtesy of the artist and 9th Sharjah Biennale. ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมากว่าสองปีที่ประเทศไทยตื่นตัวต่อการเปิดประตูทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศในอาเซียน เราได้เห็นความพยายามที่จะคิวเร็ตนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่หลายครั้ง ตัวอย่างเช่น นิทรรศการ “ร่องรอย (T R A C E S) : นิทรรศการงานวิดโี อ และภาพถ่าย ทีจ่ ะร่วมรือ้ ค้นความทรงจ�ำ ร่วมในสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ของหอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน เมื่อปี พ.ศ. 2555 ที่ ผ่านมา นิทรรศการ “WE=ME” ทีห ่ อศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ และนิทรรศการ “Currency Crisis: Southeast Asia Group Show” ของแกลลอรี่ Whitespace ยังไม่นับรวม กิจกรรม เสวนามากมายที่จัดโดยหอศิลป์กรุงเทพฯ ในโครงการ “เทศกาล ศิลปวัฒนธรรมอาเซียน กรุงเทพฯ” (BAAF) ซึ่งผมเองก็ได้มีโอกาสร่วมท�ำงานในฐานะ คิวเรเตอร์-ร่วม ของนิทรรศการ “มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนรวมในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้” ที่เปิดให้เข้าชมในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 ในอีกมุมหนึ่งของโลกโดย เฉพาะอย่างยิ่งในมหานครนิวยอร์ค เราอาจจะกล่าวได้ว่าปี พ.ศ.2556 ก็เป็นปีแห่งศิลปะ ร่วมสมัยจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างแท้จริง ในเมื่อในฤดูร้อนที่ผ่านมา

มหานครนิวยอร์คได้กลายเป็น สถานที่จัด งานของเทศกาลศิลปะขนาดใหญ่จากประเทศ กัมพูชาอย่าง “Season of Cambodia” รวม ไปทั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ศิ ล ปะชั้ น แนวหน้ า ของโลก อย่าง พิพิธภัณฑ์กุกเกนไฮม์ก็เปิดนิทรรศการ “No Country : Contemporary Art for South and Southeast Asia “ทีส่ ามารถจะแปลตรงตัว ว่านิทรรศการ “ไม่มีประเทศ : ศิลปะร่วมสมัย จากเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ซึง่ อาจจะนับได้ว่าเป็นนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย 46

baccazine issue 08

จากเอเชียครั้งส�ำคัญที่สุดในนิวยอร์คหลังจาก “Contemporary Art in Asia : Traditions/ Tensions” ของ ดร.อภินนั ท์ โปษยานนท์ ที่ Asia Society ในปี พ.ศ. 2539 จุน แย็ป (June Yap) คิวเรเตอร์ของนิทรรศการ “No Country” ได้ กล่าวเอาไว้วา่ เธอได้ควิ เร็ตงานนีข้ นึ้ ภายใต้ความ พยายามที่จะ “ท้าทายความได้เปรียบของการ เล่าเรื่องผ่านชาติและความเป็นชาติที่เป็นความ เข้าใจพื้นฐานของการท�ำงานเชิงสุนทรียศาสตร์ จากชาติตา่ งๆ ทีแ่ ตกต่าง [ในเอเชียใต้ และเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต้]” ข้อสังเกตหนึง่ จาก “เทรนด์” การจัดนิทรรศการลักษณะนี้คือมโนทัศน์เชิงพื้นที่ ความเป็นชาติ และนิยามทางภูมศิ าสตร์ ของค�ำว่า “- ใน/จาก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ที่กลาย เป็นเครื่องล้อมกรอบและสร้างข้อจ�ำกัดให้กับคิว เรเตอร์ในการคัดเลือกผลงานศิลปะหรือศิลปิน ที่เชิญมาร่วมท�ำงาน (ซึ่งนั่นไม่ได้หมายความว่า นิทรรศการทีผ่ มร่วมคิวเร็ตให้กบั หอศิลป์กรุงเทพฯ จะอยูน่ อกเหนือไปจากหลุมพรางทีถ่ กู ขุดขึน้ มานาน แล้วหลุมนี)้ ซึง่ อาจจะท�ำให้เราพลาดโอกาสทีจ่ ะน�ำ เสนอความสัมพันธ์ของความรู้รูปแบบอื่นๆ ทั้งที่ ความเป็นไปได้ใหม่ๆ อาจจะซ่อนอยู่ในทางกลับกัน หมายความว่าแทนทีเ่ ราจะคิดถึง “ศิลปะในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้” ที่เราคุ้นเคย ในบทความนี้ ผมอยากจะชวนคิดถึง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใน-ศิลปะ ในฐานะที่ “เอเชียตะวันออกเฉียงใต้” เป็นเพียงตัวบทหนึง่ ภายในโลกของศิลปะร่วมสมัย เท่านัน้ “เอเชียตะวันออกเฉียงใต้” แท้จริงแล้วไม่ได้ เป็นค�ำเก่าอย่างที่เราเข้าใจกันเสียทีเดียว เป็น เพียงค�ำจ�ำกัดความของพืน้ ทีซ่ งึ่ ถูกนิยามขึน้ ในสมัย สงครามโลกครั้งที่สองเพียงเท่านั้น ก่อนหน้านั้น ในสมัยของการล่าอาณานิคม ราวคริสต์ศตวรรษ ที่ 18-19 พืน้ ทีข่ อง ประเทศพม่า มาเลเซีย และ สิงคโปร์ ในปัจจุบัน ถูกเรียกว่า “บริติสอินเดีย ตะวันออก” โดย สหราชอาณาจักร ส่วนประเทศ ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ถูกเรียกว่า “อินโดจีน ของฝรั่งเศส” ในขณะที่หมู่เกาะที่รวมกันเป็น อินโดนีเซียในปัจจุบนั เป็นของ “อินเดียตะวันออก ของดัสต์” หมูเ่ กาะฟิลปิ ปินส์ เป็นอาณานิคมของ อาณาจักรสเปนทีข่ า้ มเข้ามายึดครองจากฝัง่ ทะเล แปซิฟกิ หรือจากพืน้ ทีแ่ ถบละตินอเมริกาในปัจจุบนั โดยเรียกพื้นที่แถบนั้นว่า “อินเดียตะวันออกของ สเปน” ซึ่งกินพื้นที่ ไปถึงหมู่เกาะต่างๆ ในทะเล แปซิฟกิ ในแง่นเี้ ราอาจจะกล่าวได้วา่ พืน้ ที่ “เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้” นั้นเป็นที่รู้จักโดยในโลกสมัย ใหม่ ในฐานะของพื้นที่ทางตะวันออกของอินเดีย และพืน้ ทีซ่ งึ่ อยูร่ ะหว่างอินเดียกับจีน สยามในฐานะ ประเทศเอกราชเพียงหนึง่ เดียวในบริเวณโดยรอบ จึงประสบปัญหาเชิงการจัดประเภทจากแผนที่อยู่ บ่อยครัง้ ในบริบทโลก ตัวอย่างเช่น ถูกจัดสรรให้ แสดงนิทรรศการร่วมกับประเทศเอกราชเล็กๆ จาก ตะวันออกกลางใน World Expo นิทรรศการแสดง เทคโนโลยี วัฒนธรรม และสินค้า ของโลกทีน่ ยิ ม


จัดขึน้ ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 เนือ่ งจากพืน้ ทีร่ อบข้าง นัน้ เป็นของประเทศมหาอ�ำนาจทีม่ ศี าลาของตนเอง ความเป็นเอกราชของสยามได้ดงึ สยามออกจากข้อ จ�ำกัดทางภูมิศาสตร์และถูกบรรจุลงในพื้นที่แสดง นิทรรศการที่คิวเร็ตโดย “อธิปไตย” แทน วิกฤติ ทางแผนที่ซึ่งอาณาจักรสยามเผชิญในนิทรรศการ การแสดงสินค้าของโลกในเวลาดังกล่าว นัน้ เป็นเค้า มูลทีด่ ีในการท�ำความเข้าใจปัญหาของค�ำว่า เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้-ใน-ศิลปะ ว่าอาจจะมีรากฐาน ทีแ่ ตกต่างกันอย่างสิน้ เชิงกับวิธคี ดิ แบบ “ศิลปะใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ของพิพธิ ภัณฑ์สร้างความ สามารถในการน�ำวัตถุทางวัฒนธรรมมาจัดจ�ำแนก หมวดหมูแ่ ละใส่ความเป็นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่เป็น ปัจจุบันลงไปในอดีตที่ “ความเป็นเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้” นั้นไม่มีอยู่ เอเชียตะวันออก เฉียงใต้-ใน-ศิลปะ อาจจะสร้างระบบปฏิบัติการ ใหม่ ให้กับการท�ำงานคิวเร็ต เมื่อขอบเขตที่ล้อม กรอบศิลปะถูกถอด แล้วเปลีย่ นให้เป็น “ประเด็น” หนึง่ ในศิลปะอย่างเช่นทีส่ ยามเคยถูกจัดการ Terra Incognita, et cetera งานศิลปะแบบผูช้ ม มีสว่ นร่วม ของตินติน วูเลียล์ (Tintin Wulia) ศิลปิน ชาวอินโดนีเซีย ที่เป็น ส่วนหนึ่งของนิทรรศการ “มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนรวม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” อาจจะเป็นตัวอย่าง ที่ ดี ใ นการเข้ า ใจวิ ธี คิ ด ของ เอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงใต้-ใน-ศิลปะ Terra Incognita เป็นศัพท์ ภาษาละตินที่ ใช้เป็นครั้งแรกในหนังสือภูมิศาสตร์ ของปโตเลมีชว่ ง 150ปี ก่อนคริสตกาล เพือ่ จ�ำแนก “ดินแดนที่ ไม่รู้จัก” ออกจากดินแดนที่ชาวกรีก รู้จัก ศัพท์ค�ำดังกล่าวยังหมายถึงดินแดนที่ยังไม่ ถูกส�ำรวจ ซึ่งต่อมาในสมัยของการล่าอาณานิคม ทีค่ วามรูค้ อื อ�ำนาจ ค�ำดังกล่าวก็หมายรวมถึงพืน้ ที่ ซึง่ ยังไม่ได้ถกู ครอบครอง (โดยจักรวรรดิแห่งความ รู้ทางวิทยาศาสตร์) et cetera หรือ “และอื่นๆ” เป็นค�ำตามทีท่ ำ� หน้าทีแ่ ทนแผนการต่างๆ หลังการ ยึดครอง ใน Terra Incognita, et cetera ศิลปิน ตัดแบ่งโลกจ�ำลองออกเป็นแผนที่ โดยคลีอ่ อกทาง ด้านขั้วโลกเหนือ แทนที่จะตัดแบ่งตรงกลางอย่าง ที่เห็นได้ทั่วไปในแผนที่โลกมาตรฐาน พร้อมทั้ง เชิญชวนให้ผู้ชมน�ำเอาชื่อของตนเองมาเขียนเพื่อ แสดงความเป็นเจ้าของพืน้ ทีบ่ นแผนทีโ่ ลกซึง่ เปลีย่ น สถานะของดินแดนที่ไม่รู้เป็นดินแทนที่ “รู้” (ว่ามี ใครเป็นเจ้าของ) ผ่านรูปแบบการเล่นเกมส์ทศี่ ลิ ปิน คิดขึน้ เอง การตัดแบ่งโลกจ�ำลองด้วยวิธกี ารอีกแบบ หนึ่งของตินตินนั้นท�ำให้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไม่ได้อยูท่ างตะวันออกเฉียงใต้อกี ต่อไป และท�ำให้ ตะวันออกเฉียงใต้ของเอเชียในแผนทีด่ งั กล่าว

กลายเป็นพืน้ ทีข่ องประเทศอืน่ ๆ นอกเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้เดิม อาจจะกล่าวได้วา่ งานของตินติน ได้ทำ� ให้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น “ดินแดน ที่ ไม่รู้จัก” อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเปิดให้เราได้รู้จัก “เอเชียตะวันออกเฉียงใต้” อย่างที่เราไม่เคยรู้ มาก่อน นอกจากนั้นแล้วการเชิญชวนให้ผู้ชม ครอบครองพืน้ ที่ในแผนทีโ่ ลกใหม่กเ็ ปลีย่ นวิธกี าร ที่เราจินตนาการถึงรัฐสมัยใหม่ที่เราเป็นผู้อาศัย อยูซ่ งึ่ ถือเอา “ดินแดน” เป็นส่วนประกอบทีส่ ำ� คัญ ทีส่ ดุ ส่วนหนึง่ ของการเป็นรัฐ เกมส์ของศิลปะเรา สามารถทีจ่ ะมีดนิ แดนของตนเองได้ตอกยํา้ ความ เข้าใจทีว่ า่ แท้จริงแล้ว “เขตแดน” เป็นเพียงการ นิยามเท่านั้น เช่นเดียวกับความเป็นจินตกรรม ของความเป็นชาติ เกมส์ของตินตินได้เปิดโอกาส ให้เราถอดรือ้ เอาความเป็นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออกไปทัง้ หมด ในพิธเี ปิดของ “มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนรวมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ผลงาน Terra Incognita, et cetera ของตินติน ซึ่งถูกบรรจุลงในกระเป๋าเดินทางไว้เสร็จสรรพ เพือ่ ทีจ่ ะน�ำไปแสดงทัว่ โลกจะถูกน�ำออกมาแสดง โดย อรวรรณ อรุณรักษ์ ศิลปินชาวไทย ในขณะนี้ ผมไม่ทราบว่ากระบวนการแบ่งแยกและครอบ ครองดินแดนที่ไม่รู้จักของผู้ชมชาวไทยจะท�ำให้ โลกของตินตินมีสภาพท้ายที่สุดเป็นอย่างไร ใน เมือ่ ความน่าสนใจของเกมส์ดงั กล่าวอยูต่ รงทีม่ นั เปลี่ยนแปลงไปทุกครั้งที่เปลี่ยนผู้เล่น หรือการ เล่น อย่างไรก็ตาม ผมหวังว่าผลงานของตินติน และผลงานศิลปะจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กว่า 40 ชิน้ จะท�ำให้ผชู้ มฉุกคิดถึงค�ำว่า เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้-ใน-ศิลปะ ไม่มากก็นอ้ ย วิภาช ภูรชิ านนท์ ลอนดอน, พฤศจิกายน 2013 เกีย่ วกับผูเ้ ขียน : วิภาช ภูรชิ านนท์ เป็นคิวเรเตอร์ อิสระ ก�ำลังศึกษาปริญญาเอกด้าน Curatorial / Knowledge อยู่ที่ Department of Visual Cultures สถาบัน Goldsmiths, University of London ART ANALYSIS ASEAN in Art In the past two years, Thailand has been actively preparing itself for the upcoming economic collaboration between ASEAN

member countries. We have witnessed many curatorial efforts on contemporary art exhibition themes related to the ASEAN. Furthermore, there have been several panel discussions organized by Bangkok Art and Culture Centre under the project “Bangkok ASEAN Art and Culture Festival” or “BAAF” which I have collaborated as a co-curator for the exhibition, “Concept Context Contestation: art and the collective in Southeast Asia” to be open in December 2013. On the other side of the world, especially in New York, it can be said that year 2013 has truly been a year of Southeast Asian contemporary art. Last summer, the event “No Country: Contemporary Art for South and Southeast Asia” was held at Guggenheim Museum in New York. It was the most significant Asian contemporary art festival in New York since Dr. Apinan Poshnanda’s “Contemporary Art in Asia: Traditions/Tensions” in 1996 at Asia Society. It has been observed that this kind of exhibition builds on the concept of space, nationalism, and geography. “Southeast Asia” is not an ancient word as many of us understood. It has been termed to define the area identified during the World War II. Dating back into the 18-19th century during the Colonization Period, Burma, Malaysia and Singapore were called “East India” by Britain; Laos, Cambodia and Viet Nam were France’s “Indochina”. Orawan Arunpong presented Indonesian artist Tintin Wulia’s interactive art “Terra Incognita, et cetera” as a part of the exhibition “Concept Context Contestation: art and the collective in Southeast Asia”. It is a game that allows audience to conquer the world on a newly drawn map. Their work promotes audiences to look at “Southeast Asia” from another angle with fresh eyes. As they can draw their own land, they may gain an understanding that “boundary” is just an imagination.

issue 08 baccazine

4 7


Your’s Gallery

ส่งภาพมาร่วมโพสต์ลง baccazine กันอย่างอุ่นหนาฝาคั่ง

คณะกรรมการถึงกับคัดเลือกกันเหงื่อตก ในที่สุดที่คัดเลือก 5 ภาพ ที่โดนใจคณะกรรมการมาได้ดังต่อไปนี้

ผู้โชคดีติดต่อรับของรางวัลได้ที่ baccthai@hotmail.com ส�ำหรับฉบับหน้าเรายังคงให้คุณๆได้ร่วมสนุกส่งภาพถ่ายที่คุณถ่ายเองและ ชอบที่สุด ไม่ว่าจะถ่ายจากกล้อง มือถือ มาโพสต์แบ่งปันกันใน baccazine ภายใต้หวั ข้อ “Asian Art” ตามแนวคิดของคุณเอง ระบุชอื่ นามสกุลทีแ่ ท้จริง ของคุณ เบอร์โทรศัพท์ และที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ ส่งมาที่ baccthai@ hotmail.com หมดเขตส่งผลงานภายในวันที่ 30 เมษายน 2557 นี้ หมายเหตุ : การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นการสิ้นสุด baccazine สามารถน�ำภาพถ่ายที่ส่งเข้าประกวดมาใช้ใน baccazine โดย ไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า

48

baccazine issue 08

We have been receiving an overwhelming number of photos. Many thanks to those who participated. It was very hard for our judges to pick the best of the best, but finally here are the 5 winners.

Congratulation to the winners. Please contact baccthai@ hotmail.com for your prizes. For those who missed the opportunity, don’t worry. The fun continues in the next Issue of Baccazine. You can still send in your photo under the theme “Asian Art”, no limitation on techniques and equipment. Please send the picture to baccthai@hotmail.com and don’t forget to tell us your full name, phone number, and address. Have fun, let your ideas fly. Deadline: 30 April 2014 Note : Our judges’ decision is considered final. Baccazine has the right to publish all photos sent in for the competition without advance notification. •


ที่ตั้งและการเดินทาง

bacc ตั้งอยู่หัวมุมสี่แยกปทุมวัน ตรงข้ามห้างมาบุญครอง และสยามดิสคัฟเวอรี่ ชั้น 3 ของหอศิลปกรุงเทพฯ มีทางเดินเชื่อมต่อกับทางยกระดับ รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ และมีบริการที่จอดรถบริเวณชั้นใต้ดินของอาคาร รถประจ�ำทาง : สาย 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73 ก, 79, 93, 141, 159, 204, ปอ.508 และ ปอ.529 เรือโดยสาร : เรือสายคลองแสนแสบ เส้นทางสะพานผ่านฟ้า - ประตูนำ�้ ขึน้ ทีท่ า่ เรือสะพานหัวช้าง เดิน 300 เมตร ถึงหอศิลป์กรุงเทพฯ สีแ่ ยกปทุมวัน เวลาเปิดบริการ : วันอังคาร-วันวันอาทิตย์ เวลา 10.00-21.00 น. (หยุดวันจันทร์) ค่าเข้าชม : ไม่เสียค่าเข้าชม ยกเว้นการจัดการกิจกรรมและการแสดงที่เป็นกรณีพิเศษ How to go to bacc

bacc is located at the Pathumwan Itersection, facing the MBK and Siam Discovery Center. The 3rd floor entrance is connected to the BTS, the National Stadium Station. Limited parking is available at level B1 and B2 Buses : 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73 ก, 79, 93, 141, 159, 204, air-con 508 and air-con 529 Boat : Saen-saeb canel route (Panfa Bridge-Pratumnam), use the Sapan Hua-Chang landing, 300 m. to the art Centre Opening hours : 10 a.m.-9 p.m. (closed Monday) Addmission : Free entry to exhibitions, except for special events. Charges to concerts and play will vary

issue 08 baccazine

4 9


กจิกรรมทน่ีา่สนใจ

— โปรแกรมการบรรยาย — ภาพยนตรเ์รอ ่ื ง “ตกึของคณ ุ หนกัเทา่ไหร่ มร.ฟอสเตอร?์ ” — การนำชมนท ิ รรศการและเวริค์ชอปสำหรบัเดก็

ขอ้มลูเพมิเตมิ ตดิตามที

www.bacc.or.th or www.artofarchitecture.org

Events include

Major partners / ผ ูส้น บัสนนุหลกั

Partners /

ผูส้น บัสนนุ

— Lecture programmes — Feature film “How Much Does Your Building Weigh, Mr Foster?” — Daily exhibition tour and children’s workshop For more information, visit www.bacc.or.th or www.artofarchitecture.org

Venue /

สถานที่

Main Gallery Level 7, Bangkok Art and Culture Centre 7, ห อ ศล ิ ปว ฒ ั น ธรรม แห ง่กร งุเ ทพม ห า น คร

แกลลอรช่ี ่ี ั น้ ั Supporters /

36

ผูร้ว่มสน บัสนนุ

Dates /

วนัท่ี

4 April — 29 June 2014 4 เม.ย.— 29 มิ . ย. 2557 baccazine issue 08


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.