baccazine issue 11

Page 1

เจ้าฟ้าศิลปิน สิรินธร

เจ้าฟ้าศิลปิน สิรินธร

ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

T H E A UTONOMOUS S P I RIT

B A N G K O K

A R T

A N D

C U L T U R E

C E N T R E -

ห อ ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ ง ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร

issue 11



ประเทศไทย 15 พฤษภาคม 2557 ที่อาคารชัยพัฒนา สวนจิตรลดา ภาพเนบิวลารูปหงส์ เป็นเนบิวลาในกลุ่มดาว คนยิงธนูขนาด 15 ปีแสง อยู่ห่างโลกประมาณ 5,000-6,000 ปีแสง บันทึกโดยกล้องโทรทัศน์ CTIO Thailand, 15 May 2014, at Chaipattana Building, Chitralada Palace. Swan Nebula (Omega Nebula) in the constellation Sagittarius, 5,000-6,000 light years away from earth, 15 light years across. Taken by the CTIO.

baccazine says 2 เมษายน 2558 นับเป็นปีมหามงคลของปวงชนชาวไทย เนื่องในโอกาสที่สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา หน้าปก Baccazine ฉบับนี้จึงได้อัญเชิญภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในภาพถ่ายชุด “อันมีทิพเนตรส่องไป” ด้วยส�านึก ในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ นอกเหนือจากพระราชกรณียกิจหลักที่พระองค์ทรงงานหนักเพื่อพสกนิกรชาวไทย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารียังทรงสนพระทัยในศิลปะทุกแขนง พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้าศิลปินอันเป็นแบบอย่างทีด่ ขี องการมุง่ มัน่ ทรงตัง้ พระทัยเรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ เพิ่มเติมตลอดเวลา และเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติเจ้าฟ้าศิลปินของพสกนิกรชาวไทย Baccazine ฉบับนี้จึงน�าเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับพระปรีชาสามารถของ พระองค์ โดยเฉพาะด้านการถ่ายภาพที่ทรงสนพระทัยมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ด้วยทรง เห็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงถ่ายภาพอย่างสม�่าเสมอมาตั้งแต่ทรงจ�าความได้ โดยคุณนิตกิ ร กรัยวิเชียร นายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ถ่ายทอดเรื่องราวดังกล่าวไว้ รวมทั้งศิลปินและประชาชนชาวไทยที่มาร่วมถ่ายทอด ถึงพระปรีชาสามารถและความรู้สึกที่มีต่อพระองค์ด้วยความส�านึกและซาบซึ้งในพระ มหากรุณาธิคุณ นั่นท�าให้ตระหนักอย่างแจ่มชัดว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงเป็นเจ้าฟ้าศิลปิน เจ้าฟ้าผู้เดินดิน เป็นที่เทิดทูนและจงรักภักดีของพสกนิกร ชาวไทยอย่างแท้จริง วราภรณ์ พวงไทย บรรณาธิการ

โดยหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร นิตยสารศิลปะเพื่อประชาชน, แจกฟรีรายสามเดือน ฉบับที่ 11 / 2558 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร อยู่ในความดูแลของมูลนิธิ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ด้วยการจัดตัง้ และสนับสนุนหลัก จากกรุงเทพมหานคร By Bangkok Art and Culture Centre (bacc) Magazine for people, three-month free copy Issue 11 / 2015 Bangkok Art and Culture Centre (bacc) is under the supervision of Bangkok Art and Culture Centre Foundation, set up and mainly funded by Bangkok Metropolitan Administration

On the special occasion to celebrate HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 60th Birthday Anniversary, the Baccazine’s cover features a photo taken by HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn, which was a part of her photo exhibition “Clairvoyance.” Besides her royal duties, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn has interests in many kinds of art. She is a role model as an artist who never stops learning new things. To celebrate her special Birthday anniversary, we proudly present the stories of Her Royal Highness’ artistic talents, especially in photography, via the experience of Mr. Nitikorn Kraivixien, President of the Royal Photographic Society of Thailand (RPST), as well as other artists and general public who admire the Princess’s talents and her devotion to the people. Waraporn Puangthai Editor

บรรณาธิการอ�านวยการ ลักขณา คุณาวิชยานนท์

Managing Editor Luckana Kunavichayanont

บรรณาธิการ วราภรณ์ พวงไทย

Editor Waraporn Puangthai

อาร์ตไดเรคเตอร์ กฤษณะ โชคเชาว์วัฒน์

Art Director Krisana Chokchaowat

ด�าเนินการจัดท�าและจัดพิมพ์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 939 ถ.พระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 02 214 6630 - 8 โทรสาร : 02 214 6639 Website : www.bacc.or.th baccpage baccbangkok

Producer Bangkok Art and Culture Centre (BACC) 939 Rama I Rd., Wang Mai, Pathumwan, Bangkok 10330. Thailand Tel : 02 214 6630 - 8 Fax : 02 214 6639 Email : info@bacc.or.th baccchannel baccnews

issue 11 baccazine

0 13



contents

issue 11 theme cover special interview flash light did you know? world of art

04 16 24 26 28

world artist in the mood of art my studio places for passion bacc exhibition

32 34 42 48 50

idea of life art analyze bacc calendar network calendar bacc shop

04

32

48

16

34

50

28

42

54 issue 11 baccazine

54 56 58 60 61

0 3


theme cover

แสง สี เงาฉาย COLUMNIST-PHOTO: นิติกร กรัยวิเชียร

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนพระราชหฤทัยในการถ่ายภาพมาแต่ทรงพระเยาว์ ด้วยทรงเห็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงถ่าย ภาพอย่างสม�่าเสมอมาตั้งแต่ทรงจ�าความได้ ในครั้ง กระนั้นแม้จะสนพระราชหฤทัยเพียงใด ก็ยังมิได้ทรง ถ่ายภาพมากและจริงจังดังเช่นปัจจุบน ั ทัง้ นีค ้ งจะเป็น เพราะการถ่ายภาพในยุคก่อนที่จะพัฒนาจากการใช้ ฟิลม ์ มาเป็นระบบดิจท ิ ลั ดังเช่นทุกวันนีม ้ ไิ ด้สะดวกสบาย และเห็นผลในทันที ยังต้องมีกระบวนการล้างฟิลม ์ และ อัดขยายภาพ ซึง่ ต้องใช้เวลาเป็นวันกว่าจะได้เห็นภาพ อีกทั้งการถ่ายภาพด้วยฟิล์มมีข้อจ�ากัดในเรื่องของ จ�านวนภาพ กล่าวคือ ฟิลม ์ ม้วนหนึง่ สามารถถ่ายภาพ ได้เพียง 36 ภาพเท่านัน ้

ด้ า นเนื้ อ หาของภาพที่ ท รงถ่ า ยในระยะแรกๆ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เคยรับสั่งว่า วัตถุประสงค์ส�าคัญประการหนึ่งที่ทรง ถ่ายภาพเพื่อจะได้น�าภาพถ่ายเหล่านั้นมาเป็นต้นแบบ ในการเขียนภาพ ซึ่งเป็นงานอดิเรกอีกอย่างหนึ่งที่ ทรงโปรดปรานเป็นพิเศษตั้งแต่ทรงพระเยาว์ตราบ จนปัจจุบัน เพราะก่อนหน้านั้นเมื่อจะทรงวาดภาพ แต่ละครั้ง ก็มักทรงน�าภาพต้นแบบมาจากภาพถ่าย หรือภาพวาดในหนังสือและสิ่งพิมพ์อื่นๆ ต่อมาทรง พระราชด�าริว่า หากพระองค์เป็นผู้ถ่ายภาพต้นแบบ เสียเองน่าจะเป็นการดีกว่า เพราะเท่ากับได้ทรงฝาก ฝีพระหัตถ์ไว้ในภาพถ่ายและภาพวาดไปพร้อมๆ กัน วัตถุประสงค์อกี ประการหนึง่ ทีม่ คี วามส�าคัญไม่แพ้กนั คือทรงใช้ภาพถ่ายเป็นเครือ่ งมือช่วยบันทึกความทรงจ�า ประกอบการจดบันทึกเรื่องราวที่เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจนานัปการทีท่ รงปฏิบตั อิ ย่างสม�า่ เสมอมาเป็น เวลายาวนาน

ประเทศไทย 21 ธันวาคม 2556 พลุที่หัวหิน Thailand, December 21, 2013 Fireworks in Hua Hin

ประเทศไทย 11 กุมภาพันธ์ 2557 กระดาษท�าด้วยหญ้าแฝก เชียงราย Thailand, February 11, 2014 Papers made from vetiver, Chiang Rai Province

04 4

baccazine issue 11 09


theme cover

อันดอร์รา 27 พฤศจิกายน 2556 อันดอร์ราเป็นที่คนมาเล่นสกี Andorra, November 27, 2013 Ski slopes in Andorra issue 11 baccazine

05 5


จีน 8 เมษายน 2557 ถ�้ำหยุนกั่ง เมืองต้ำถง มณฑลซำนซี China, April 8, 2014 Yungang grottoes in Datong, Shanxi Province

60 6

baccazine issue 11 09


theme cover

จีน 8 เมษายน 2557 วัดเสวียนคง “วัดแขวน” เมืองต้าถง มณฑลซานซี China, April 8, 2014 Xuankong, the Hanging Monastery in Datong, Shanxi Province

ต่อมาเมื่อวิวัฒนาการของการถ่ายภาพได้ เปลีย่ นจากการใช้ฟลิ ม์ มาเป็นระบบดิจทิ ลั ท�าให้ การถ่ายภาพเป็นเรื่องที่สะดวกสบาย สามารถ เห็นผลได้ทันที การถ่ายภาพจึงกลายเป็นส่วน หนึ่งของพระชนม์ชีพแต่ละวันไปในที่สุด ไม่ว่า จะเสด็จพระราชด�าเนินไปที่ใดก็ตามมักจะทรงมี กล้องถ่ายภาพติดพระองค์ไปด้วยเสมอ และทรง ถ่ายภาพทุกสิง่ ทุกอย่างทีส่ นพระราชหฤทัยเก็บไว้ เป็นจ�านวนมาก ความสนพระราชหฤทัยด้านการถ่ายภาพของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีดูจะเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ นับแต่มีเหตุการณ์ ส�าคัญเกิดขึน้ เมือ่ ปลาย พ.ศ. 2549 อันเป็นปีมหา มงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครอง สิรริ าชสมบัตคิ รบ 60 ปี ในปีนนั้ มีการเฉลิมฉลอง ครัง้ ยิง่ ใหญ่ องค์พระประมุขหรือองค์รชั ทายาท ของประเทศต่างๆ ทีม่ สี ถาบันพระมหากษัตริยท์ วั่ โลกต่างพากันเสด็จฯ มาร่วมในพระราชพิธอี ย่าง

พร้อมเพรียงกันและมีสอื่ มวลชนจากต่างประเทศ เดินทางมาท�าข่าวส�าคัญนี้เป็นจ�านวนมาก หนึ่ง ในสือ่ มวลชนจากต่างประเทศมีนางสาวริตา้ เจ้า นักข่าวและช่างภาพจากสาธารณรัฐประชาชน จีนรวมอยูด่ ว้ ย นางสาวริต้า เจ้า ได้มีโอกาสเฝ้าทูลละออง พระบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้กราบบังคมทูลว่า นอกจาก การมาท�าข่าวส�าคัญในครัง้ นีแ้ ล้ว ยังได้เดินทาง ไปทัว่ ประเทศไทยเพือ่ ถ่ายภาพเรือ่ งราวเกีย่ วกับ ประเทศไทย เพื่อน�าไปจัดนิทรรศการภาพถ่าย ทีก่ รุงปักกิง่ สาธารณรัฐประชาชนจีนในปีถดั ไป ด้วย และได้ทราบว่าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเคยเสด็จพระราชด�าเนินไป ที่สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นประจ�าทุกปีนับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2524 เป็ น ต้ น มา ดั ง นั้ น ตลอด ช่วงเวลาดังกล่าวก็น่าจะมีภาพที่ทรงถ่ายไว้ใน ประเทศจีนเป็นจ�านวนมากพอสมควร จึงใคร่ขอ

พระราชทานกราบบังคมทูลเชิญให้ทรงมีสว่ นร่วม ในนิทรรศการครัง้ นีด้ ว้ ย โดยขอให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีแสดงภาพ ที่ทรงถ่ายในประเทศจีน และนางสาวริต้า เจ้า แสดงภาพทีถ่ า่ ยในประเทศไทย ฝ่ายละ 100 ภาพ แม้จะกังวลพระราชหฤทัยด้วยมิได้เคยมี พระราชด�าริถา่ ยภาพเพือ่ น�าไปจัดนิทรรศการมา ก่อน แต่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีก็ทรงรับค�ากราบบังคมทูลเชิญ นัน้ โดยทรงคัดเลือก “ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์หลาก หลายแง่มุม” ทั้งชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนใน ท้ อ งถิ่ น ต่ า งๆ สภาพบ้ า นเมื อ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม ธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี จ�านวน 100 ภาพ พระราชทานไปจัดแสดง และเสด็จ พระราชด�าเนินไปทรงร่วมในพิธีเปิดงานแสดง ภาพถ่ายครัง้ นัน้ ทีม่ ชี อื่ ว่า “ร้อยภาพคล้องใจไทย จีน” ที ่ Capital Museum กรุงปักกิง่ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน เมือ่ พ.ศ. 2550 issue 11 baccazine

07 7


ประเทศไทย 17 กุมภาพันธ์ 2557 ปราสาทผึ้ง วิทยาลัยเกษตรอุบล Thailand, February 17, 2014 Bee’s wax art, Agricultural College, Ubon Ratchathani

นิ ท รรศการภาพถ่ า ยนี้ ไ ด้ รั บ ความสนใจ เป็นอย่างยิง่ จากประชาชนชาวจีน ต่อจากนัน้ มี การน�านิทรรศการดังกล่าวไปจัดแสดงหมุนเวียน ตามเมืองส�าคัญของจีนทีม่ สี ถานกงสุลใหญ่ไทย ตั้งอยู่ ผลตอบรับจากผู้ชมเป็นไปในทางที่ดียิ่ง ส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศเจริญ งอกงามในอีกมิตหิ นึง่ ด้วย และต่อมาในปีเดียวกัน เอกอัครราชทูต ไทย ณ กรุงนิวเดลี ได้ทราบข่าวความส�าเร็จ ของการจัดนิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ที่ สาธารณรัฐประชาชนจีน จึงได้กราบบังคมทูลขอ พระราชทานภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงถ่าย ในประเทศอินเดียไปจัดแสดงในวาระครบรอบ 50 ปีความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอินเดีย จึง ได้พระราชทานภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ไปจัดแสดง ที่ Indira Gandhi National Center for the Arts กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย และเสด็จ พระราชด�าเนินไปทรงเปิดนิทรรศการดังกล่าว ในปีนนั้ เอง ประชาชนชาวไทยจ�านวนมากเมื่อทราบ ข่าวนิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ที่จัดแสดง ขึน้ ณ ประเทศทัง้ สอง จึงเรียกร้องให้จดั แสดง ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ขึ้นในประเทศไทยเพื่อให้ คนไทยได้ชนื่ ชมบ้าง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานภาพถ่ายทัง้ 2 ชุดให้ สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์จดั แสดงในประเทศไทยเป็นครัง้ แรกที่ ศูนย์การค้าสยามพารากอนเมือ่ พ.ศ. 2550 โดย

08 8

baccazine issue 11 09

พระราชทานชื่อนิทรรศการครั้งนั้นว่า “แสงคือสี สีคอื แสง” จากนัน้ ใน พ.ศ. 2551 ได้พระราชทาน ภาพถ่ า ยชุ ด “ชี วิ ต ที่ ห มุ น ไปไม่ ห ยุ ด ยั้ ง ” โดย จัดแสดงเป็น ปฐมฤกษ์ในการเปิดใช้หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครซึง่ เพิง่ สร้างเสร็จ ในปีนั้น นับแต่นั้นเป็นต้นมาตราบจนถึงปัจจุบัน ได้พระราชทานภาพถ่ายฝีพระหัตถ์เป็นประจ�าทุก ปี ปีละ 1 ชุด เพื่อจัดแสดงที่หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร โดยมีชอื่ นิทรรศการดังนี้ พ.ศ. 2552 “ถ้าเดินเรือ่ ยไปย่อมถึงปลายทาง” พ.ศ. 2553 “สีแสงแสดงชีวติ ” พ.ศ. 2555 ครัง้ ที ่ 1 “อุปบัต ิ ณ โลกี” (งาน ภาพถ่ า ยฝี พ ระหั ต ถ์ ป ระจ� า ปี 2554 ได้ เ ลื่ อ น ก�าหนดการแสดงไปเป็นเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 ดังนัน้ ใน พ.ศ. 2555 จึงมีงานแสดง 2 ครัง้ ) พ.ศ. 2555 ครัง้ ที ่ 2 “ควงกล้องท่องโลก” พ.ศ. 2556 “รูปยาตราภาพทัศนาจร” พ.ศ. 2557 “อันมีทพิ เนตรส่องไป” อนึ่ง ใน พ.ศ. 2554 เกิดมหาอุทกภัยครั้ง ใหญ่ในประเทศไทย กระทรวงวัฒนธรรมได้จัด นิทรรศการภาพถ่ายเกีย่ วกับเหตุการณ์ครัง้ นัน้ ใน ชือ่ นิทรรศการ “น�า้ +ใจ 2554” ขึน้ และได้กราบ บังคมทูลขอพระราชทานภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไปจัดแสดงร่วมกับนักถ่ายภาพอืน่ ๆ อีกเป็นจ�านวน มาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงถ่ายภาพทางอากาศบริเวณโบราณสถาน ส�าคัญที่ถูกน�้าท่วมหลายแห่ง อันเป็นมุมมองที่ น้อยคนจะได้เห็น นับเป็นภาพทีท่ รงคุณค่ายิง่ ทาง ประวัตศิ าสตร์และโบราณคดี

ประเทศไทย 17 มีนาคม 2557 ชัยชนะของเจ้าแม่ นครศรีธรรมราช Thailand, March 17, 2014 Victory of the Lady, Nakhon Sri Thammarat Province


theme themecover cover

ประเทศไทย 15 มกราคม 2557 สาวชาวใต้ Thailand, January 15, 2014 Southern beauty issue issue1011baccazine baccazine

09 9


ประเทศไทย 13 กันยายน 2557 รูปที่โดรนถ่าย Thailand, September 13, 2014 A picture taken by a drone

ประเทศไทย 10 ธันวาคม 2556 งานซ้อน 3 Thailand, December 10, 2013 Seeing Triple

อินเดีย 25 กุมภาพันธ์ 2557 หมู่บ้านวัฒนธรรมที่นาคาแลนด์ India, February 25, 2014 Cultural village in Nagaland

ลาว 30 เมษายน 2557 ตลาดหลวงพระบาง Laos, April 30, 2014 Market in Luang Prabang

11 00

baccazine baccazineissue issue1111


theme themecover cover

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงเล่าพระราชทานผู้เฝ้าทูลละออง พระบาทในการทรงบรรยายภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ว่า ทรงได้รับพระราชทานค�าแนะน�าด้านการ ถ่ายภาพจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เป็น ครัง้ คราว อาทิ เทคนิคการถ่ายภาพจากหน้าต่าง เครื่องบิน หรือถ่ายภาพผ่านกระจกรถยนต์ พระที่นั่ง โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานค�าแนะน�าว่า การถ่ายภาพผ่าน กระจกนัน้ ตามปกติมกั จะมีเงาสะท้อนในภาพ หากไม่ต้องการให้เกิดเงาดังกล่าว สามารถ ท�าได้โดยน�าเลนส์ของกล้องแนบกับกระจก ภาพ ที่ถ่ายก็จะไม่มีเงาสะท้อนอีกต่อไป ทุกครั้งที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงจัดนิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ มักจะน�าหนังสือสูจิบัตรภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ที่ ร วบรวมภาพถ่ า ยทุ ก ภาพในนิ ท รรศการ ขึ้ น ทู ล เกล้ า ฯ ถวาย และพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวมักจะพระราชทานกระแสพระราชด�ารัสเกี่ยวกับภาพแต่ละภาพด้วยความสน พระราชหฤทัย ส�าหรับอุปกรณ์ถา่ ยภาพทีส่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงใช้นั้น นอกจากกล้องถ่ายภาพนานาชนิดทีม่ ผี ทู้ ลู เกล้าฯ ถวาย ทัง้ ทีเ่ ป็นกล้องขนาดใหญ่ทมี่ อื อาชีพใช้กนั และกล้องขนาดเล็กหลายชนิด ยังมีโทรศัพท์ มือถือทีส่ ามารถถ่ายรูปได้ กล้องถ่ายภาพส่วน ใหญ่ที่ทรงใช้คือกล้องขนาดเล็กกะทัดรัดแบบ ที่คนทั่วไปใช้กัน ทรงใช้กล้องขนาดใหญ่บ้าง เป็นครั้งคราว เนื่องจากกล้องขนาดใหญ่นั้นมี น�า้ หนักมาก ไม่คล่องตัว และมีกลไกทีซ่ บั ซ้อน โดยเฉพาะในกรณีทตี่ อ้ งทรงรีบถ่ายมักจะไม่ได้ ผลดีเท่ากับกล้องขนาดเล็ก ในแต่ละที่ที่เสด็จ พระราชด�าเนินไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจนั้น มักต้องทรงพบอุปสรรคนานาประการที่ไม่เอื้อ อ�านวยให้ทรงถ่ายภาพได้โดยง่ายเหมือนนัก ถ่ายภาพทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มผู้คนแวดล้อม พระองค์ที่มักจะบดบังมุมมองในการที่จะทรง ถ่ายภาพอยู่เสมอ รวมไปถึงข้อจ�ากัดของเวลา ท�าให้ไม่สามารถจะถ่ายภาพได้นานๆ ตามทีต่ งั้

พระราชหฤทัยไว้ จึงต้องทรงใช้พระปฏิภาณอัน ฉับไวในการถ่ายภาพแต่ละภาพอยูเ่ สมอๆ จุดเด่นของภาพถ่ายฝีพระหัตถ์จึงมิได้อยู่ที่ การใช้อปุ กรณ์ดเี ลิศเพือ่ ให้ได้ภาพทีส่ มบูรณ์แบบ เหมือนกับช่างภาพมืออาชีพ หากแต่อยูท่ มี่ มุ มอง จากสายพระเนตรอันเฉียบคม และเนือ้ หาสาระ ของภาพที่ทรงคิดขณะกดชัตเตอร์ในแต่ละภาพ รวมไปถึงการตัง้ ชือ่ ภาพ ซึง่ สะท้อนสิง่ ทีท่ รงรูส้ กึ นึกคิดในขณะนั้น ประกอบกับการที่ทรงมีพระ อารมณ์ขันเป็นที่ประจักษ์ ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ หลายภาพจึงแสดงให้เห็นพระอารมณ์ขนั อันเป็น เอกลักษณ์ประจ�าพระองค์ กล่าวได้ว่า ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็น ผลงานทีท่ รงคุณค่าในหลายบริบท นับตัง้ แต่ความ งดงามด้านศิลปะ ความลึกซึง้ ในเนือ้ หาของภาพ การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีงามระหว่าง ประเทศ รวมไปถึงคุณค่าในเชิงการบันทึกภาพ และเรือ่ งราวอันเนือ่ งด้วยพระราชกรณียกิจและ พระราชจริยวัตรในแต่ละวันของเจ้านายผู้ทรง เป็นทีร่ กั ของคนไทยและมิตรประเทศทัง้ ปวง เป็น ภาพประวัตศิ าสตร์ทคี่ นรุน่ ต่อๆ ไปสามารถศึกษา ค้นคว้าได้ตราบนานเท่านาน ยิ่งไปกว่านั้น การที่สนพระราชหฤทัยการ ถ่ายภาพอย่างจริงจังนี้ถือเป็นขวัญและก�าลังใจ แก่ผู้ที่รักการถ่ายภาพเป็นอย่างยิ่ง ไม่เพียงแต่ จะทรงสร้างสรรค์ผลงานภาพถ่ายพระราชทาน ให้สาธารณชนได้ชนื่ ชมอย่างสม�า่ เสมอแล้ว ยังมี พระมหากรุณาธิคุณแก่วงการถ่ายภาพของไทย อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ ดังจะเห็นได้จากทรงพระกรุณา พระราชทานถ้วยรางวัลในการประกวดภาพถ่าย ของสถาบันต่างๆ เสด็จพระราชด�าเนินไปทรง เปิดงานนิทรรศการภาพถ่าย รวมทัง้ พระราชทาน หัวข้อในการประกวดภาพถ่ายของสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์อย่าง ต่อเนือ่ งมาเป็นเวลาหลายปี หัวข้อทีพ่ ระราชทาน ในแต่ละครัง้ มีความหลากหลาย แปลกใหม่ และ ท้าทายให้ผถู้ า่ ยภาพต้องใช้ความคิดเป็นอย่างมาก นับเป็นการสร้างมิตใิ หม่ให้แก่วงการถ่ายภาพของ ประเทศไทยโดยแท้

issue issue1111baccazine baccazine

11 11


LIGHT, COLOUR AND SHADOW Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn has held an interest in photography since she was young, following His Majesty the King who often took photographs. But at that time, the princess did not take it as seriously as she does today due to the complicated method of taking photos and how time consuming it was to get printouts. Her Royal Highness also mentioned that she started taking photos because she wanted to use them for painting, her another favourite hobby. She liked to paint from photos or books, but later she thought if she started taking photographs by herself, then both would be her original works. The Princess would also use photographs to record memories and details of her royal duties. When the world of photography changed from film to digital, it made photography easier and more convenient, taking photographs became a part of the Princess’ daily routine. Wherever she goes, she will bring camera with her and take photos of everything that interests her. Her Royal Highness’ interest in photography seemed to dramatically increase during the Sixtieth Anniversary

11 22

baccazine baccazineissue issue1111

Celebrations of King Bhumibol Adulyadej’s Accession to the Throne in 2006, when there were big celebrations nationwide and foreign monarchs and royal representatives from around the world were in attendance. Many foreign media outlets also joined the event and one journalist from China received a chance to appear before the princess, she asked royal permission from Her Royal Highness to use some of the Princess’ photos during several visits to China for her exhibition in Beijing. The Princess kindly granted permission and selected 100 photos for the exhibition, she also went to China to preside over the grand opening of the photo exhibition titled “Two Journeys, One Destination” at Capital Museum in Beijing, China in 2007. The exhibition received great interest from local Chinese and was displayed in other big cities around China. In the same year, Thai Ambassador to India at New Delhi also asked for royal permission to use the Princess’ photos taken in India to hold a similar photo exhibition on the occasion of 50th Anniversary of ThaiIndian relations. She also kindly granted permission for her works to be exhibited at Indira Gandhi National Center for the Arts in New Delhi, India as well as presiding over

the opening ceremony that year. After hearing the news of 2 royal exhibitions abroad, Thai people also wanted to have a similar exhibition held in Thailand, Her Royal Highness kindly shared both sets of her photographic works with the Royal Photographic Society of Thailand (RPST) which held a royal exhibition at Siam Paragon with the title “Light is Color, Color is Light” in 2007. The following year, the Princess granted another set of her works called “Always Roaming with Hunger” to be displayed at the celebration of the grand opening of the Bangkok Art and Culture Centre (BACC) and since then she has continued to share her photographic works with RPST every year to showcase at the BACC as follows: 2009 – Destinations 2010 – The Colours of Life 2012 – 1st Exhibition, Born to This World (the 2011 exhibition was postponed, so there were 2 exhibitions in 2012) 2012 – 2nd Exhibition, Camera in Motion: A Global Perspective 2013 – Traveling Photos, Photos Traveling 2014 – Clairvoyance In 2011, there was a big flood in Thailand; later the Ministry of Culture held the photo


theme themecover cover

ประเทศไทย 22 มกราคม 2556 ถ่ายรูปดาวพฤหัสจากกล้องโทรทรรศน์ 2.4 ม. ที่หอดูดาวแห่งชาติดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ Thailand, January 22, 2013 Jupiter from 2.4 meter telescope taken at National Observatory, Inthanon Peak, Chiang Mai

สวิตเซอร์แลนด์ 28 มิถุนายน 2557 น�้าตกไรน์ฟาลส์ Switzerland, June 28, 2014 Rhinefalls

issue issue1111baccazine baccazine

11 33


มอลตา 27 สิงหาคม 26557 ถนนมองจากมหาวิหารเซนต์จอห์น โค-คาทรีดรัล Malta, August 27, 2014 Street view from St. Johns Co-Cathedral

ลาว 30 เมษายน 2557 ตลาดหลวงพระบาง Laos, April 30, 2014 Market in Luang Prabang

ประเทศไทย 11 มกราคม 2557 ใบตองอ่านบางกอกโพสต์ Thailand, January 11, 2014 Baitong, the cat, is reading Bangkok Post

26 พฤษภาคม 2557 รูปนี้เป็นรูปที่ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กทรอนแบบส่องกราด ณ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผิวใต้ใบของใบกะเพราแสดงให้เห็นกระเปาะ เก็บน�้ามันที่ให้กลิ่นของใบกะเพรา November 26, 2014 This photo is taken with scanning electronic microscope at the National Nanotechnology Center (NANOTEC), National Science and Technology Development Agency, Ministry of Science and Technology. Showing a basil leaf with aromatic oil capsules. (magnification 100x)

11 44

baccazine baccazineissue issue1111


theme themecover cover

exhibition entitled “WATER+EMPATHY 2011” which the Princess contributed photographs to, along with other artists. Her photos included aerial shots of some famous sites which had been flooded. Photos from this angle are quite rare so they would have some historical and archaeological significance in the future. Her royal Highness also said she often received some useful advice on photography techniques from His Majesty the King, and every time she has a photo exhibition, she would present a program collected all her photographs to HM the King and he would make careful comments on each photo. Her Royal Highness has various cameras, both DSLR cameras which have been presented to her or compact cameras as well as smart phones that can take photos. However, the Princess regularly uses a compact camera that is more convenient to carry and not complicated to use, as her royal duties do not give her much time to take photos, most of the time she has to be quick to snap some

good shots. So the most significant things about her work does not depend on great equipment, but her sharp eyes as well as the image she wanted to capture at the time she pressed the button. Also the titles she gives to each photo reflects her mind and sense of humor. Not only in terms of artistic or aesthetic aspects, Her Royal Highness’ photographs also contain valuable details concerning history, international relations, and her royal duties that contribute to Thailand and her people. Moreover, her interest in photography also serves as great support for art and photography lovers. Not only does she annually share her work to the public, but also generously grants awards to many photography contests. Her Royal Highness shares her idea with RPST for the topic of the photography contest each year, which varies in style and are always full of challenging new ideas that push Thailand’s photography society forward.

issue issue1111baccazine baccazine

11 55


special interview

นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์

“อันมีทพ ิ เนตรส่องไป (Clairvoyance)” นับตัง้ แต่พท ุ ธศักราช 2550 เป็นต้นมา สมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานภาพ ถ่ายฝีพระหัตถ์เพื่อน�ามาจัดแสดงนิทรรศการ อย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ เป็นความรูแ้ ก่นสิ ต ิ นักศึกษา ประชาชนทั่วไป เริ่มตั้งแต่นิทรรศการภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์ “แสงคือสี สีคือแสง” ในปี 2550 นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ “ชีวต ิ ทีห ่ มุนไป ไม่หยุดยั้ง” ในปี 2551 นิทรรศการภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์ “ถ้าเดินเรื่อยไปย่อมถึงปลายทาง” ในปี 2552 นิท รรศการภาพถ่ ายฝี พ ระหั ตถ์ “สี แสง แสดงชีวิต” ในปี 2553 นิทรรศการ ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ “อุปบัติ ณ โลกี” ในปี 2554 นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ “ควงกล้องท่อง โลก” ในปี 2555 นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ “รูปยาตรา ภาพทัศนาจร” ในปี 2556 และปี 2557 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์เพือ ่ จัดนิทรรศการในหัวข้อ “อันมีทพ ิ เนตรส่องไป”

นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ “อันมีทิพเนตรส่องไป” ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมจัดโดยสมาคมถ่าย ภาพแห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ กรุ ง เทพมหานคร หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุงเทพมหานคร และส�านักงานศิลปวัฒนธรรม ร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม เพือ่ เปิดโอกาสให้ ประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสร่วมตามรอยเสด็จฯ และชืน่ ชมพระอัจฉริยภาพด้านการถ่ายภาพของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึง่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ที่ทรงบันทึกไว้ระหว่างการ 11 66

baccazine baccazine issue issue 11 11

เสด็จพระราชด�าเนินไปยังสถานที่ต่างๆ ทั้งใน และต่างประเทศ “อัน มีทิพเนตรส่องไป” ใน ช่วงปี 2556-2557 เพื่อจัดแสดงในนิทรรศการ ครั้ ง นี้ จ� า นวน 158 ภาพ โดยในจ� า นวนนี้ มี ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ที่ถ่ายด้วยกล้องโทรทรรศน์ (telescope) ซึ่งพระองค์ทรงสนพระทัยให้ได้ ชมกันอีกด้วย นอกจากนีท้ างผูจ้ ดั งานฯ ยังได้รบั พระราชานุญาตให้นา� วีดทิ ศั น์ทสี่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงบรรยาย ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ดว้ ยพระองค์เองมาจัดฉายให้ แก่ผรู้ ว่ มชมนิทรรศการ’ได้ทราบแนวคิดและเกร็ด มุมมองของภาพถ่ายนัน้ ๆ ด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงเขียนค�าน�าไว้ในหนังสือภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์ “อันมีทพิ เนตรส่องไป” ว่า “สมุดภาพปีนี้แปลกกว่าเล่มก่อนๆ ที่ผ่าน มา คื อ มี ภ าพที่ ถ ่ า ยด้ ว ยกล้ อ งโทรทรรศน์ (telescope) เป็ น การถ่ า ยภาพสิ่ ง ใหญ่ คื อ ‘เทห์ฟากฟ้า’ (celestial bodies) ได้แก่ ดวงดาว กระจุกดาว (star cluster) และเนบิวลา ที่อยู่ ห่างไกลมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นหรือแทบไม่เห็น ท้องฟ้าเป็นเรื่องที่มนุษย์สนใจใคร่รู้ และศึกษา มาเป็นเวลาหลายพันปีมาแล้วจนถึงปัจจุบนั เมือ่ เทคโนโลยีก้าวหน้าขึ้นก็ศึกษาได้กว้างขวางลุ่มลึกยิ่งขึ้น ข้าพเจ้าเป็นคนมองฟ้ามาแต่เด็ก ถึง จะไม่ได้เรียนมากจนเป็นนักดาราศาสตร์ได้แต่ ก็มโี อกาสเรียนรูม้ ากขึน้ โดยอาศัยเครือ่ งมือสมัย ใหม่ที่มีในเมืองไทยเมื่อไม่นานมานี้ การได้เห็น ท้องฟ้าอันเป็นธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ ท�าให้คิดว่า ชีวิตมนุษย์ช่างน้อยนิด ทั้งความรู้ก็เพียงแค่ฝุ่น ธุลเี มือ่ เทียบกับสิง่ ทีเ่ ราไม่รทู้ ยี่ งั มีอยูไ่ ม่สนิ้ สุด

“การได้ใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิด ส่องกราด (Scanning Electronic Microscope) ทีศ่ นู ย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ท�าให้ ได้เห็นโครงสร้างเล็กๆ และได้รู้ ได้เห็นสิ่งที่ไม่ เคยทราบมาก่อน เช่น ใบของพืชทีเ่ รากลัน่ น�า้ มัน ออกมาได้เพราะมีกระเปาะน�้ามันให้กลิ่นซึ่งเป็น แคปซูลระดับนาโน (Nanoencapsulation) ตาม ธรรมชาติ ผีเสื้อบางชนิดไม่มีพิคเมนต์สีแต่เรา เห็นเป็นสีเพราะมีการสะท้อนแสง มีรปู จากยาน ไร้คนขับ หรือโดรน ที่ท�าให้เราได้เห็นภาพจาก ทีส่ งู ใช้ได้ในการวางแผนการพัฒนา เครือ่ งมือ เหล่านี้ท�าให้เรามีตาทิพย์ที่ได้เห็นสิ่งที่ไม่น่าเห็น ได้ เป็นทีม่ าของชือ่ สมุดภาพ ซึง่ มาจากบทกลอน เรือ่ งอิเหนาตอนจรการ�ากฤชทีว่ า่ ‘ยอกรขึน้ เพียงศิโรเพฐ ไหว้ไทเทเวศน้อยใหญ่ อันมีทพิ เนตรส่องไป อย่าได้เข้าด้วยคนร้าย’ “ส่วนภาพอืน่ ๆ มีลกั ษณะทีข่ า้ พเจ้าคิดว่าเป็น ศิลปะแปลกๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ และยังมีภาพจากประเทศที่ข้าพเจ้าเคยไปเป็น ครัง้ แรก ได้แก่ ติมอร์-เลสเต และมอลตา “หวังว่าท่านจะสนุกสนานกับภาพแนวใหม่ เหล่านี ้ และขอขอบคุณท่านผูม้ อี ปุ การคุณทุกท่าน เช่นกัน” นิทรรศการ “อันมีทพิ เนตรส่องไป” เปิดให้เข้าชม ตัง้ แต่วนั ที ่ 11 ธันวาคม 2557 ถึง 26 เมษายน 2558 (หยุดทุกวันจันทร์) ตั้งแต่เวลา 10.0021.00 น. ณ ห้องนิทรรศการ ชั้น 9 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (สีแ่ ยกปทุมวัน)


A PHOTOGRAPHY EXHIBITION BY HER ROYAL HIGHNESS PRINCESS MAHA CHAKRI SIRINDHORN: CLAIRVOYANCE Since 2007, Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn has continually shared her photographic works to be showcased for the public from “Light is Color, Color is Light” exhibition in 2007, “Always Roaming with Hunger” in 2008, “Destination” in 2009, “The Colours of Life” in 2010, “Born to This World” and “Camera in Motion: A Global Perspective” in 2012, “Traveling Photos, Photos Traveling” in 2013 and the latest exhibition “Clairvoyance” in 2014.

A Photography Exhibition by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn: Clairvoyance was organised jointly by the Royal Photographic Society of Thailand (RPST), Bangkok Art and Culture Centre, and Office of Contemporary Art and Culture (OCAC). The exhibition features 158 photographs taken by Princess Sirindhorn during her travels around Thailand and abroad. However, this year’s exhibition is different from previous ones as there are photos taken from a telescope the Scanning Electron Microscope, enabling shots of the microscopic structure. There is also a photo from a drone that allows us to see from high altitude. These machines give magical eyes to see unbelievable visions, hence the

name of this year’s exhibition, Clairvoyance, taken from Inao, traditional Thai epic, when Prince Joraka proclaims during his dagger dance for the gods: “My two hands held high in reverence for all gods big and small, For all those with clairvoyance, do not side with the villain” Other photos in this exhibition are sceneries and snapshots from Thailand and other countries. Among them are photos from Timor-Leste and Malta for the first time. The exhibition was held during December 10, 2014 to April 26, 2015 at Main Gallery, 9th floor, BACC. issue 11 baccazine

1 7


อลิสา ศรีสะอาด

นักศึกษามหาวิทยาลัยรามค�าแหง

“เมื่ อได้ ช มภาพถ่ า ยฝี พ ระหั ต ถ์ ข อง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีแล้วปลื้มใจมากค่ะ พระองค์ ทรงมีพระปรีชาสามารถหลายด้านและ เก่งในทุกๆ ด้าน ปกติหนูชอบถ่ายภาพ ตามสัญชาตญาณของตัวเอง พอมาเห็น ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์หลากหลายมุมหลาก หลายภาพของพระองค์แล้วรูส้ กึ มีแรงบันดาลใจมาก ชืน่ ชมพระองค์ทา่ น ตลอดระยะ เวลาทีผ่ า่ นมาพระองค์ทรงงานหนักอย่างไม่รเู้ หน็ดเหนือ่ ย พวกเราขอส่งก�าลังใจไปให้ พระองค์ทา่ น อยากให้พระองค์มพี ระพลานามัยแข็งแรง มีพระชนมายุยงิ่ ยืนนานค่ะ” ALISA SRISAARD Student, Ramkhamhaeng University “I was so impressed by Her Royal Highness’ photographs. I always like a style of instinctively shot photographs and seeing her various works at this exhibition gave me a lot of inspiration. Also I’m always appreciative of her hard work and devotion to Thai people, so I would want to show my support and best wishes to her. I wish a good health and long life for Her Royal Highness.” วีระชัย โลหวริตานนท์

Marketing บริ ษั ท Grand Asia Food จ�ากัด

“เวลาดูข่าวพระราชส�านักในโทรทัศน์จะเห็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสะพายกล้องตลอด พอได้มาเห็นภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์ในนิทรรศการอันมีทพิ เนตรส่องไปครัง้ นีผ้ มประทับใจมากครับ ผมมองในมุมที่พระองค์ ท่านทรงงาน อย่างภาพเด็กภาคใต้ เห็นแล้วผม ตื้นตันในน�้าพระทัยของพระองค์ที่ทรงงานเพื่อ ประชาชน ผมรักสมเด็จพระเทพฯ จากก้นบึง้ ของ หัวใจมากครับ รักในความดีงามของพระองค์ทา่ น เพราะทรงงานตลอดเวลาทัง้ ชีวติ เพือ่ พสกนิกรของพระองค์อย่างแท้จริง” WEERACHAI LOHAWARITANONT Marketing, Grand Asia Food Co., Ltd. “When I watch TV news, I usually see Her Royal Highness carrying a camera all the time, and when I see the photos, I was so amazed. I looked at them from the work aspect, like those photos of children in the South, and I truly appreciate her hard work. I love the Princess with all my heart and admire her virtue and what she has sacrificed for us.” 18

baccazine issue 11

วาริณี อุบล

นักศึกษามหาวิทยาลัยรามค�าแหง

“ได้มาดูภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แล้วรูส้ กึ ว่าพระองค์ทรงมีเทคนิคการ ถ่ายภาพที่ไม่เหมือนคนอืน่ บางทีมมุ นีค้ นอืน่ อาจจะมองว่าเป็น มุมธรรมดา แต่พระองค์ทรงถ่ายทอดออกมาได้อย่างน่าสนใจ ซึ่งไม่ใช่ทุกคนที่มองเห็นได้ แต่พระองค์ทรงเห็น ชอบเวลา ที่พระองค์ไปเยี่ยมชมประเทศต่างๆ แล้วถ่ายภาพที่เกี่ยวกับ ผูค้ น เด็กๆ การต้อนรับทีท่ รงพบเจอ ภาพวิวทิวทัศน์ เป็นภาพ ทีส่ วยงามมาก พระองค์ไปทรงงานแล้วเก็บภาพทุกช่วงเวลามา ให้พวกเราประชาชนทุกคนได้ด ู รูส้ กึ ปลืม้ ใจมากค่ะ พระองค์ ทรงมีพระปรีชาสามารถมาก ทรงมีสมุดมีปากกาคอยจดตลอด และมีกล้องติดตัวตลอดเวลา พระองค์โปรดการถ่ายรูป อ่าน หนังสือ หนูเห็นพระองค์ทรงส่งเสริมการอ่านหนังสือตั้งแต่ เด็กๆ เพราะว่าอยูโ่ รงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ของในหลวง พระองค์ทรงสนับสนุนให้เด็กๆ อ่านหนังสือ หนังสือเป็นเหมือน อีกโลกหนึง่ เวลาเราได้เข้าไปสัมผัสก็รสู้ กึ ดี หนูเป็นคนชอบอ่าน หนังสือ เวลาอ่านเหมือนหลุดเข้าไปในอีกโลกหนึง่ หนูจงึ เข้าใจ ว่าท�าไมพระองค์ทรงชอบอ่าน พระองค์ทรงเป็นแบบอย่างทีด่ ี เป็นไอดอลของหนู ขอให้พระองค์ทรงมีพระพลานามัยแข็งแรง เป็นมิ่งขวัญของปวงชนชาวไทยตราบนานเท่านาน อยากให้ พระองค์มคี วามสุขและพักผ่อนพระวรกายบ้างค่ะ” WARINEE UBON Student, Ramkhamhaeng University “I admire that Her Royal Highness has a unique style and technique of taking photos. Some photos may look so normal, but she could present it in interesting way, not everyone has an eye for beauty like that. I like to see her travel abroad and always carrying a notebook, pen, and camera, taking notes of details then sharing those images and knowledge with us (Thai people) later. Another thing that I admire the Princess for is her love of reading and how she encourages children to read as well, I know that because I used to study at a school under the royal patronage of the king and she’d try to inspire us to read. Books show us a new world and make me love reading. The Princess is my idol, and I wish her good health, happiness, and please, do not work too hard.”


special interview

วทันยา สมบูรณ์ธรรม

นักศึกษำมหำวิทยำลัยมหิดล

ศิโรจน์ หวัง

Sale Manager บริษท ั Grand Asia Food จ�ำกัด

“ผมมาชมงานนิทรรศการอันมีทพิ เนตรส่องไปเป็นครัง้ ทีส่ องแล้วครับ ด้วยความทีผ่ มเป็นคน ชอบถ่ายรูปอยูแ่ ล้ว พอมาเห็นภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ยิง่ มีความประทับใจ และปลืม้ ปีต ิ ภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์ของพระองค์สดุ ยอดมาก โดยเฉพาะ ภาพวิว ดูแล้วเหมือนอยู ่ ณ ขณะนัน้ เลย ภาพถ่าย ของพระองค์ช่วยปลุกพลังในตัวและสร้างแรง บันดาลใจให้ผมอยากไปถ่ายภาพให้ดยี งิ่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ครับ” SIROJ WANG Sale Manager, Grand Asia Food Co., Ltd. “This is my second time seeing this exhibition. I like to take photos and I’m so inspired after seeing Her Royal Highness’ work. Her photographs are amazing, especially landscape photos, it seems like we are there with her. Her work encourages me and gives me inspiration to improve my photography skills.”

“โดยส่วนตัวชอบงานศิลปะเพราะให้ความ รูส้ กึ สงบ และชอบถ่ายภาพเพือ่ เก็บไว้เป็นความ ทรงจ�า เวลาหยิบมาดูจะได้นกึ ถึงวันเก่าๆ ทีผ่ า่ น มา เมือ่ มีโอกาสได้มาชมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีแล้วมีความประทับใจมากๆ ค่ะ พระองค์ ทรงมีพระปรีชาสามารถหลายด้าน ทัง้ งานพระราชนิพนธ์ ดนตรี วาดรูป ถ่ายภาพ ภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์ของพระองค์ท่านเป็นแรงบันดาลใจ ให้อยากออกไปถ่ายรูปอีก ขอพระองค์ทรงพระเจริญค่ะ” WATANYA SOMBOONTHAM Student, Mahidol University “Personally I like art because it makes me feel peaceful and I like taking photos to record memories. Her Royal Highness’ photographic works are very impressive and I am amazed by how multi-talented she is, whether writing, music, painting, and photography. The exhibition is so inspiring and makes me want to go out and take photos. Long Live the Princess.”

พรนิภา องค์สรุ พงศ์

โรงเรียนสตรีวด ั มหำพฤฒำรำมฯ

“เห็นภาพถ่ายฝีพระหัตถ์แล้วสวยงามมาก ประทับใจมากค่ะ ได้เห็นในแต่ละที่ที่พระองค์ ท่านทรงเสด็จไป ท�าให้เกิดแรงบันดาลใจในการ ถ่ายภาพ อยากถ่ายทอดภาพถ่ายให้คนอืน่ ได้เห็น ในแบบทีห่ นูเห็นเหมือนกัน พระองค์ทา่ นทรงงาน หนัก ทรงมีพระปรีชาสามารถหลายด้านทัง้ ภาษา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ พระองค์ทรงเก่งมาก ขอให้ พระองค์ทรงพระเจริญยิง่ ยืนนานค่ะ” PORNNIPA ONGSURAPONG Student, Mahapruttaram Girl’s School “Her Royal Highness’ works are very beautiful and remarkable. They show her interesting journeys and places that can inspire people to travel as well as to take and share beautiful photos with others like she does. I always admire her talents in various things from language, art to science, and also her hard work. I wish all the best for the Princess.”

สิปราง ชัยกุลเสรีวฒ ั น์

โรงเรียนสตรีวด ั มหำพฤฒำรำมฯ

“ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีแต่ละภาพงดงามมาก มีองค์ประกอบทีด่ ี ดูแล้วรูส้ กึ ดึงดูดเหมือนเข้าไปอยู่ในเหตุการณ์นนั้ ด้วยค่ะ โดยปกติหนูชอบถ่ายรูป อยูแ่ ล้ว พอได้มาชมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของพระองค์ทา่ นแล้วอยากถ่ายให้ได้แบบนีบ้ า้ ง พระองค์ทรง เป็นแรงบันดาลใจ ทรงมีพระปรีชาสามารถ ทรงท�าได้หลายอย่าง และทรงเป็นแบบอย่างทีด่ ี โตขึน้ หนู อยากเป็นแบบพระองค์ทา่ นค่ะ พระองค์ทรงงานหนัก อยากให้ทรงงานน้อยลง กลัวพระองค์เหนือ่ ย อยากให้พระองค์ทา่ นมีพระพลานามัยแข็งแรงค่ะ” SIPRANG CHAIKULSERIWAT Student, Mahapruttaram Girl’s School “All of Her Royal Highness’ photos are very beautiful with great composition. She is very talented; I wish I could take great photos like her someday. The Princess is my role model and makes me want to follow her virtue when I grow up. My only concern about her is the Princess work very hard and would be too tired, I wish her good health.” issue 11 baccazine

1 9


ทิววัฒน์ ภัทรกุลวณิชย์ COLUMNIST: PIMPAWEE PHOTO: ANUCH

20

baccazine issue 11


special interview

ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างตัง้ ค�าถามกับตัวเองและสิ่งรอบข้าง คือลักษณะเฉพาะตัวของ นักวาดการ์ตูนไทยอันดับต้นๆ ในบ้านเราที่ชื่อ ทิววัฒน์ ภัทรกุลวณิชย์ หรือทีเ่ รียกกันว่า “หมอ” จึงไม่นา่ แปลกใจเลยว่าท�าไมการ์ตนู การเมืองของ เขาจึงมีรสชาติจดั จ้าน เข้มข้น และขบขันในครา เดียวกัน ไม่เฉพาะในเมืองไทยแต่ชื่อเสียงของ เขาได้รับการยอมรับไปไกลถึงนานาชาติ เห็น ได้จากรางวัลการันตี ไม่ว่าจะเป็น The ESCAP 50th Anniversary Cartoon Exhibition, Third Prize in 1997 ในวาระครบรอบ 50 ปี ESCAP และ The Aydin Dogan Foundation’s Cartoon Competition Award 2007, Success Award ที่ ประเทศตุรกี นอกจากนีย้ งั ได้รบั เชิญจาก Japan Foundation, Bangkok ให้นา� ผลงานร่วมแสดง ระดับนานาชาติ 2 ครัง้ คือ นิทรรศการการ์ตนู เอเชีย ครัง้ ที ่ 7 “จ้างงานอย่างเอเชีย” ใน พ.ศ. 2547 และนิทรรศการการ์ตูนเอเชีย ครั้งที่ 10 “สภาพแวดล้อมในเอเชีย” ใน พ.ศ. 2550 นอกจากชื่อที่ปรากฏในฐานะนักวาดการ์ตูน ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารมากมายเขายังเป็น อาจารย์พิเศษ วิทยากร ล่าสุดกับบทบาทผู้จัด รายการวิทยุ “เป็น อยู่ คือ” รายการเกี่ยวกับ ศิลปะ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนไทยใน สังคมปัจจุบนั ทางคลืน่ ความคิด FM 96.5 ในวันที่มีโอกาสได้พบกัน เขาบอกว่าความ ภาคภูมใิ จกับรางวัลต่างๆ ที่ได้มานัน่ ก็ใช่ แต่ไม่ ใช่ที่สุด เพราะที่สุดส�าหรับชีวิตคือการได้ร่วม เป็นทีมงานเขียนภาพประกอบพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เรือ่ งทองแดง ฉบับการ์ตนู พ.ศ.2547 และ ความปลาบปลืม้ ใจทวีคณ ู ยิง่ ขึน้ เมือ่ ได้เขียนภาพ ประกอบพระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ถึง 2 เล่ม ด้วยกัน คือ “เพียงวันพบวันนี้ที่ส�าคัญ” และ “ความฝัน” “หลังจากเสร็จสิ้นการเขียนภาพประกอบ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ภูมพิ ลอดุลยเดชเรือ่ งทองแดง ทางบริษทั นานมี ก็ติดต่อให้เขียนภาพประกอบพระราชนิพนธ์ แปลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เล่มแรกชื่อ ‘เพียงวันพบวันนี้ที่ ส�าคัญ’ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผมดีใจ ภาคภูมิใจที่สุดของ ชีวติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระปรีชาสามารถ ทรงแปลจาก ภาษาเยอรมัน และทรงเขียนไว้ในหนังสือเล่ม นี้ว่า ‘หนังสือเพียงวันพบวันนี้ที่ส�าคัญเป็นการ รวบรวมเรื่องที่ข้าพเจ้าแปลไว้ในเวลาต่างๆ กัน เห็นว่าน่าจะตีพมิ พ์เผยแพร่ให้ผอู้ นื่ ได้มโี อกาสได้ อ่านวรรณกรรมต่างประเทศทีม่ คี ณ ุ ค่า เป็นการ

จรรโลงความคิดและความเข้าใจในมนุษย์ได้ดี ยิง่ ขึน้ ’ และในหนังสือก็มกี ารเล่าด้วยว่าเมือ่ ตอน ทรงพระเยาว์ ช่วงปิดเทอม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงชอบฟังละคร วิทยุกับทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นาพรรณวดี พอผมได้รเู้ รือ่ งแบ็กกราวนด์ ก็สนุก ปกติเวลาท�างานถวายให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหรือเจ้านาย ชั้น สูงจะมีความรู้สึกเกร็งใช่ไหม แต่เวลาผม เขียนภาพประกอบให้กับบทพระราชนิพนธ์แปล ของพระองค์ทา่ นผมกลับรูส้ กึ สนุก อาจเป็นเพราะ เพิ่งท�างานถวายในหลวงตอนเล่มทองแดงเสร็จ หมาดๆ ซึ่งยอมรับเลยว่าตอนที่ท�างานเป็นหนึ่ง ในทีมเขียนภาพประกอบทองแดงนั้นเกร็งมาก

เนื่องจากเป็นพระราชนิพนธ์ของในหลวง และ ทีมงานก็มแี ต่ระดับฝีมอื ฉกาจทัง้ นัน้ แต่หลังจาก เข้าคอร์สฝึกอบรมหนึ่งปี ท�างานไปด้วยหนึ่งปี เมือ่ มาท�างานทูลเกล้าถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีความเกร็งจึงลดลง ตอนท�างานเมือ่ สเกตช์รอบแรกเสร็จแล้วก็จะทูลเกล้าถวายพระองค์ท่านเพื่อทรงทอดพระเนตร ซึง่ พระองค์ทา่ นก็ไม่ได้มขี อ้ ท้วงติงอะไร มีปรับแก้ เพียงเล็กน้อยเท่านัน้ หลังจากนัน้ ก็ได้เขียนภาพ ประกอบบทพระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีอีกหนึ่ง เล่มคือ ‘ความฝัน’ ครัง้ นีเ้ ป็นภาพสีทงั้ เล่ม มีตอน ใหม่ๆ มีเรือ่ งสนุกมากขึน้ เมือ่ ท�าไปทูลเกล้าถวาย ให้พระองค์ทา่ นทอดพระเนตรแล้วก็มปี รับแก้นดิ เดียว พระองค์ทา่ นทรงให้เกียรติ ให้อสิ ระกับคน ท�างานตรงนีม้ าก พระองค์ทา่ นทรงเป็นศิลปินที่ เข้าใจการท�างานของศิลปินด้วยกัน และเคารพ ในความคิดต่างและมุมมองทีแ่ ตกต่าง “ผมมองว่าศาสตร์ต่างๆ ในโลกนี้มีรากอัน เดียวกันหมด อยู่ที่ว่าเราจะไปเรียนรู้ได้แค่ไหน ในโลกนีม้ ีไม่กคี่ นทีท่ า� ได้ เช่น ดาวินชี ไอน์สไตน์ ท�าได้แต่ไม่ทงั้ หมด ส่วนในประเทศไทยอาจารย์ คึกฤทธิก์ ท็ า� ได้ แต่ทเี่ ห็นชัดมากๆ คือในหลวง ท่าน ทรงเรียนจบวิศวะ คือมีสมองซีกทีเ่ ป็นตรรกะและ เหตุผลเต็มเปี่ยม แต่ไม่ได้ทิ้งในเรื่องของสมอง ทางด้านจินตนาการ และอีกพระองค์หนึง่ ทีท่ า� ได้ คือ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระองค์ทา่ นทรงมีพระปรีชาสามารถ มาก ทรงใช้ความรู้จากศาสตร์และองค์ความรู้ เดียวกันแตกแขนงไปเรียนรู้ศาสตร์อื่นๆ ต่อได้ อีกมากมาย เช่น พระองค์ท่านทรงสนพระทัย เรือ่ งภาษา ซึง่ เป็นศิลปะชนิดหนึง่ เหมือนกัน จาก ศาสตร์จากองค์ความรู้หลักแล้ว พระองค์ก็ทรง แตกแขนงออกมา แปลหนังสือ เขียนหนังสือ แต่ง เพลงส้มต�า เล่นดนตรีไทย เล่นดนตรีฝรัง่ ตีระนาด เป่าทรัมเป็ต อีกทัง้ เขียนรูป นอกจากเขียนการ์ตนู พระองค์ทา่ นก็เพ้นต์ตงิ้ สีนา�้ มัน สีอะคริลกิ และ เซรามิกซึง่ ทรงท�าเป็นวาระ อย่างเซรามิกนีย่ อ้ น issue 11 baccazine

2 1


พระองค์ท่านท�าให้เห็นว่าศิลปะเป็นเรื่องปกติธรรมดา ที่ทุกคนถ้ารู้สึกสนุกก็ท�าได้ และพระองค์ท่านก็ทรงท�าให้เห็นว่า ความสุขนั้นหาง่าย คือคุณไม่ต้องไปไล่ซื้อความสุข แค่รู้จักศิลปะ เสพงานศิลปะ คุณก็มีความสุขแล้ว

ไปถึงสมเด็จย่า ผมเคยอ่านจากหนังสือ ‘แม่เล่า ให้ฟงั ’ ซึง่ สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ทรง เขียนไว้วา่ เมือ่ ครัง้ ทีอ่ ยูส่ วิตเซอร์แลนด์ตอนหลังๆ สมเด็จย่าท่านทรงท�างานฝีมือ ท�าเซรามิกเอง ตรงนีท้ า� ให้เห็นว่าตัง้ แต่สมเด็จย่า ในหลวง พระพีน่ างฯ จนถึงสมเด็จพระเทพฯ ล้วนทรงงานศิลปะ อยู่ตลอดเวลา พระองค์ท่านท�าให้เห็นว่าศิลปะ เป็นเรือ่ งปกติธรรมดาทีท่ กุ คนถ้ารูส้ กึ สนุกก็ทา� ได้ และพระองค์ท่านก็ทรงท�าให้เห็นว่าความสุขนั้น หาง่าย คือคุณไม่ตอ้ งไปไล่ซอื้ ความสุข แค่รจู้ กั ศิลปะ เสพงานศิลปะ คุณก็มคี วามสุขแล้ว เช่น รู้จักเปิดวิทยุคุณก็จะมีความสุขกับการฟังเพลง ซึ่งง่ายมาก ไม่จ�าเป็นต้องไปนั่งฟังในคอนเสิร์ต ฮอลล์ หรือไปซื้อเครื่องเสียงราคาเป็นแสนเป็น ล้าน ถ้าให้ดกี เ็ ล่นดนตรีเอง แต่งเพลงเอง ซึง่ ก็จะ สนุกมากขึน้ ใช่ไหม เท่าทีเ่ ห็นใครก็ตามทีท่ า� อะไร ด้วยความสุข คนอื่นๆ ที่รับสารตรงนั้นไปเขาก็ จะรับรูไ้ ด้ถงึ ความสุขด้วย พระองค์ทา่ นทรงสนุก กับสิง่ ใหม่ๆ ไม่ยอมล้าสมัย อย่างล่าสุดเมือ่ ต้นปี ใครจะคิดว่าจะมีสติกเกอร์ไลน์ของพระองค์ทา่ น ออกมา ทุกปีจะทรงเขียนการ์ตูนประจ�าปีต่างๆ และเขียนกลอน ซึง่ ตรงนีเ้ ป็นความสนุก ความซน และความน่ารักทีม่ อี ยู่ในตัวของทุกคน เป็นความ ธรรมดาที่ไม่จา� เป็นจะต้องมีฟอร์มอะไรมากมาย ก็แค่ทา� ออกมา แล้วผลที่ได้รบั ก็คอื คนเห็นแล้วมี ความสุข ซึง่ ทัง้ หมดนีเ้ ราเห็นในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระองค์ทา่ น ทรงเป็นเจ้าฟ้าศิลปิน เป็นเจ้าฟ้าเดินดินที่ท�าให้ ทุกคนสามารถเข้าถึงศิลปะได้ ศิลปะเป็นสิง่ ใกล้ ตัว ทุกคนท�าได้ พระองค์ท่านทรงเป็นตัวอย่าง ของความสุขทีค่ นธรรมดาทัว่ ไปสามารถท�าได้” 22

baccazine issue 11

Thiwawat Pattaragulwanit Mor or Thiwawat Pattaragulwanit, is a leading cartoonist in Thailand, focussing mainly on political cartoons, he has received many local and international awards for his outstanding works such as The ESCAP 50th Anniversary Cartoon Exhibition, Third Prize in 1997, the Aydin Dogan Foundation’s Cartoon Competition Award 2007, Success Award, and more. He also wears other hats, as a special instructor, lecturer, and a radio personality. However, what makes him proudest was joining a team of comic illustrators working for a bilingual comic “The Story of Thong Daeng” composed by His Majesty the King in 2004. He also had a chance to serve Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn by illustrating two of her translation works titled “Phiang Wan Phob Wan Nee Thee Samkan” and “Kwam Fan (Dream)” respectively. He recalled his impression while working for the Princess, besides feeling very lucky to work for the beloved Princess, he was also impressed by her talents in writing and her translating skills as the books were translated from original German and Chinese stories. Moreover, he appreciated that Her Royal Highness was open-minded, understanding and respected artists’ ideas, whether illustrators or original authors, so it made him work with less

pressure and he felt more creative. Mor praised Her Royal Highness’ multitalented skill set and how she could link from one skill to another. She might start from one thing, such as one language and expand to others, such as French, German, or Chinese. Then she uses those in translating, writing to compose songs, then expand it to playing music both traditional Thai and international music. In terms of art, she started from drawing cartoon to painting and doing ceramic works. It comes from the same root, same core knowledge – as art and aesthetics, but not many people can extend and improve those skills into something else, he said. The Princess is a good example of someone who never tries to make arts look so complicated and separate from life, he added. She learned to enjoy art in its simplest form and everywhere around her, even she is busy with her many royal duties, the cartoonist said, if you can learn that like the Princess does you can enjoy art and life more. The Princess also enjoys doing something new, like creating Line stickers which have been available for download since the beginning of this year. He said, Her Royal Highness’ cartoon drawing style is simple, but adorable, amusing and witty; no need for complex style, the audience can feel the good vibes and happiness in them.


special interview

เพียงวันพบวันนีท ้ ส ี่ ำ� คัญ หนังสือเล่มนีร้ วบรวมเรือ่ งทีส่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงแปลไว้ในช่วง เวลาต่างๆ ประกอบด้วย 3 เรือ่ ง คือ บทละครเรือ่ ง “ปลวก” ของกุนเธอร์ ไอช์ นักเขียนชาวเยอรมัน สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความเรียงเรื่อง “แสงโคมของไอ้ร์เค่อ” ของปาจิน นักเขียนชาวจีนสมัย คริสต์ศตวรรษที ่ 20 เช่นกัน และเรือ่ งสัน้ ขนาดยาว “สาวน้อยเสีย่ วหยูว” ของเหยียนเกอหลิง นักเขียน ชาวจีนร่วมสมัย ในการแปลวรรณกรรมทัง้ สามเรือ่ ง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงใช้ภาษาเรียบง่าย กระชับ และเป็นไทยๆ เนือ้ เรือ่ งชวนติดตาม สะเทือนใจ และให้ขอ้ คิดที่ สามารถน�ามาปรับใช้ในชีวติ ประจ�าวันได้เป็นอย่างดี

Phiang Wan Phob Wan Nee Thee Samkan (ai er ke de deng guang)

ควำมฝัน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงแปลจากบทละครวิทยุของกุนเธอร์ ไอช์ นักเขียนชาวเยอรมัน (ค.ศ. 1907-1972) ซึง่ เขียนเรือ่ งความฝันไว้ 5 เรือ่ ง ฉากของแต่ละเรือ่ งเกิดขึน้ ทัง้ ในเยอรมนี จีน ออสเตรเลีย รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา ในบทสนทนาสัน้ ๆ ของตัวละครเพียงไม่ กีต่ วั มีเนือ้ หาทีก่ ระชับ ชวนติดตาม พระองค์ทา่ นทรงใช้สญ ั ลักษณ์ในการสือ่ ความ ชวนให้ครุน่ คิด พิจารณาหาความหมายทีซ่ อ่ นแฝงอยู่ใน “ความฝัน” ทัง้ 5 เรือ่ งนัน้

This book is also the compilation of the translated works of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. The originals were radio dramas written by Gunter Eich, the German author.

This publication is the compilation of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 3 translated works including the German Radio Drama and Chinese Stories.

:

Kwam Fan (Dream)

issue 11 baccazine

2 3


flash light

2

1

4

2

3

4 10 ธันวาคม 2557

1

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเปิดนิทรรศการภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์ “อันมีทิพเนตรส่องไป” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร December 10, 2014 Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn graciously presided over the opening ceremony of Her Photography Exhibition “Clairvoyance” at Bangkok Art and Culture Centre. --21 มกราคม 2558

2

คุ ณ อภิ รั ก ษ์ โกษะโยธิ น ประธานคณะ กรรมการมู ล นิ ธิ ห อศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานคร พร้ อ มคณะผู ้ บ ริ ห ารหอศิลปกรุงเทพฯ ต้อนรับคุณศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ แ ละประธานคณะผู ้ บริหาร บริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (มหาชน) ที่มาเยี่ยมชมหอศิลปกรุงเทพฯ เมื่อวันพุธที่ 21 มกราคม 2558 ที่ผ่านมา January 21, 2015 Mr. Apirak Kosayodhin, Chairman of BACC Foundation Executive Board welcomed Mr. Suphachai Chearavanont, President and CEO of True Corporation PLC, 2 24 4 baccazine baccazineissue issue1111

who paid a visit to BACC on Wednesday 28, 8 มกราคม 2558 4 2015. เพื่อการศึกษาและความรู้ด้านศิลปะแก่เด็ก 3 ไทย คุณธาตรี ลิขนะพิชิตกุล ผู้จัดการกิจกรรม --8 มกราคม 2558 (bacc arts network) องค์กรเพื่อสังคม ธนาคารไทยพาณิชย์จ�ากัด คุณลักขณา คุณาวิชยานนท์ ผู้อ�านวยการ (มหาชน) มอบเงินหนึ่งล้านบาทเพื่อสนับสนุน หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (ซ้าย) กิ จ กรรมด้ า นการศึ ก ษาประจ� า ปี 2558 แก่ คุณฮิลด้า เทียร์ลงิ ค์ (คนที ่ 2 จากซ้าย) ประธาน ผศ.สรรเสริญ มิลิน ทสูต ประธานกรรมการ มูลนิธิฮาน เนฟเก้นส์ และคุณฮาน เนฟเก้นส์ บริหารหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (กลาง) พร้อมด้วยกรรมการอีก 2 ท่าน ร่วม (BACC) โดยมีอาจารย์จกั รพันธ์ วิลาสินกี ลุ และ กันตัดสินรางวัล “Han Nefkens Foundation- คุณฐิติพร ถาวรฉันท์ ร่วมรับมอบด้วย BACC Award for Contemporary Art” ซึ่งเป็น January 8, 2015 รางวัลด้านศิลปะร่วมสมัยนานาชาติครั้งที่ 2 ซึ่ง Siam Commercial Bank’s Mr. Thatri ปีนี้ได้แก่ศลิ ปินชาวอินเดีย อานูป แมทธิว โทมัส Likanapichitkul, Manager, Corporate Social Responsibilities, Corporate ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร Communications Division, gave 1 million January 8, 2015 (bacc arts network) Ms. Luckana Kunavichayanont, Director Baht in order to support and educate of Bangkok Art and Culture Centre (left), Art knowledge and activities among Thai Ms. Hilde Teerlinck, President of the Han youth in 2015 to Mr. Sansern Milindasuta, Nefkens Foundation (2nd from left), Mr. Chairman, BACC Executive Committee, Han Nefkens (middle), and 2 other jury joined by Mr. Jakapan Vilasineekul and members have chosen and announced the Ms. Thitiporn Thavorachant. 5 winner of the 2nd Han Nefkens Foundation- --BACC Award for Contemporary Art, which 11 กุมภาพันธ์ 2558 (bacc education) was given to Indian artist Anup Mathew ศ. ดร.อภินันท์ โปษยานนท์ ปลัดกระทรวง Thomas at BACC. วัฒนธรรม (คนที่ 5 จากขวา) ให้เกียรติเป็น --ประธานเปิดนิทรรศการการ Imply Reply ของ


5

8

6

7 ศิลปินจีน หวง หย่ง ผิง (คนที่ 6 จากขวา) และ สาศรินทร์ เครืออ่อน ศิลปินจากไทย (คนที่ 7 จากขวา) พร้อมด้วยผูบ้ ริหารหอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานครร่วมให้การต้อนรับ ณ ห้อง นิทรรศการหลัก ชั้น 8 February 11, 2015 (bacc education) Prof. Dr. Apinan Poshyananda, deputy permanent secretary of the Ministry of Culture (5th from right) presided over the opening ceremony of the exhibition “IMPLY REPLY” by Chinese Artist Huang Yong Ping (6th from right) and Thai Artist Sakarin Krue-on (7th from right). They were welcomed by BACC director at the Main Gallery, 8th floor of BACC. --14 มีนาคม 2558 (bacc cinema)

6

นวพล ธ� า รงรั ต นฤทธิ์ (ขวา) ผู ้ ก� า กั บ ภาพยนตร์ พร้อมด้วยก้อง ฤทธิ์ดี (กลาง) นัก วิจารณ์ภาพยนตร์และผู้ก�ากับภาพยนตร์สารคดี และอาทิตย์ อัสสรัตน์ (ซ้าย) โปรดิวเซอร์และ ผู้ก�ากับภาพยนตร์ ร่วมพูดคุยในงานเทศกาล ภาพยนตร์คดั สรร Cinema Diverse Director’s Choice 2015 ซึง่ ในครัง้ นีน้ า� เสนอภาพยนตร์เรือ่ ง Frances Ha (2012) จากสหรัฐอเมริกา ก�ากับโดย โนอาห์ บามบัค ณ ห้องออดิทอเรียม ชัน้ 5

March 14, 2015 (bacc cinema) Nawaphon Thamrongrattanarit, film director (first from right), Kong Rithdee, Film Critic and Documentary Film Director (middle), and Arthit Assarat, Film Producer and Director (left) joined together at the seminar of “Cinema Diverse Director’s Choice 2015”. The event presented the film Frances Ha (2012), from the USA, directed by Noah Baumbach at the Auditorium, 5th Floor. ---

21 มีนาคม 2558 (bacc education)

7

ผ่านไปแล้วกับโครงการอบรมอาสาสมัคร หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ปี 2558 ครัง้ ที ่ 1 ซึง่ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดีจากกลุม่ คนรุน่ ใหม่ผมู้ จี ติ อาสาทีร่ กั และชืน่ ชอบงานศิลปะ ณ ห้อง Friends of BACC และจะเปิดรุน่ สองอีก ครั้งช่วงเดือนสิงหาคม 2558 ติดตามข่าวได้ทาง bacc.or.th March 21, 2015 (bacc education) The first BACC’s 2015 Art Volunteer Training ended with great success and received a rapturous response from young people who had the volunteer spirit as well as art interest. The training took place at

the Friend of BACC room. Application will open again in August, 2015. For further info, check out bacc.or.th. --25 มีนาคม 2558 (bacc exhibition)

8

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ประธานมูลนิธิหอ ศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (คนที่ 8 จากซ้าย) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดนิทรรศการ Cross Over นิทรรศการที่ว่าด้วยเรื่องราวของ สะสมจากนักสะสมที่มีชื่อเสียงทั้งหมด 16 ท่าน จัดแสดงให้ได้ชมแล้ว ณ ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 7 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร March 25, 2015 (bacc exhibition) Mr. Apirak Kosayodhin, Chairman of BACC Foundation Executive Board (8th from left) presided over the opening ceremony of the exhibition Cross Over: The Unveiled Collection from 16 famous collectors which is now open to public at the Main Gallery, 7th floor of BACC. •

issue issue 11 11 baccazine baccazine 2 25 5


did you know?

เจ้าฟ้าศิลปิน สิรินธร

COLUMNIST : MODDUM

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เจ้าฟ้าผู้ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทั้งผอง ด้วยพระอัจฉริยภาพในด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านศิลปะหลากแขนง ไม่วา่ จะเป็นวิจต ิ รศิลป์ สถาปัตยกรรม การ ดนตรี รวมถึงศิลปะด้านการประพันธ์ และอืน ่ ๆ อีกมากมาย และต่อไปนีค ้ อ ื ส่วนหนึง่ ของพระปรีชาสามารถทีค ่ น ไทยควรได้รับรู้ Thailand’s beloved Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn possesses many remarkable talents. And to honour the Princess on the occasion of her 60th Birthday Anniversary this year, we have compiled an extensive list of HRH’s works and multiple talents as follows:

1

บทเพลงไพเราะชวนโยกย้ายร่างกายไปตาม จังหวะทีบ่ ง่ บอกขัน้ ตอนการปรุงอาหารเลิศ รสอย่างเพลง “ส้มต�า” ทีร่ อ้ งว่า “ต่อไปนีจ้ ะเล่า ถึงอาหารอร่อย คือส้มต�ากินบ่อยๆ รสชาติแซ่บดี” ไม่ได้แต่งขึ้นโดยครูเพลงลูกทุ่งท่านใด หากแต่ เป็นบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2513 พระองค์ทรงเลือกใช้ภาษาง่ายๆ แต่ ไพเราะคล้องจองในการประพันธ์จนกลายเป็นเพลง ที่ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ฉายให้เห็น ถึงพระปรีชาสามารถในด้านศิลปะการประพันธ์ เพลงอย่างเด่นชัด HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn composed a song about one of famous Thai dishes called “Som Tam” (Papaya Salad) in 1970. By using simple words that rhyme and easy to understand, together with a catchy melody, the song became a national hit in no time. สมเด็จพระเทพฯ ทรงเรียนดนตรีไทยตัง้ แต่ ทรงพระเยาว์ ทัง้ ยังทรงดนตรีกบั พระสหาย ในชมรมดนตรี ไทยที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทรงเชีย่ วชาญในซอด้วง ซอสามสาย ซออู้ จะเข้ ระนาด และขลุย่ นอกจากนีย้ งั ทรงเรียนขับร้อง เพลงไทยกับอาจารย์เจริญใจ สุนทรวาทิน HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn enjoys playing Thai classical instruments and has practiced since a young age. She is keen on playing Thai traditional fiddles (Saw Duang, Saw Sam Sai, Saw U), Jakhe (a crocodile-shaped fretted floor zither with three strings), Ranat (alto xylophone) and Khlui (a vertical duct flute made of

2

26

baccazine issue 11

1

bamboo or wood). She also learned to sing Thai traditional songs with a National artist, Charoenchai Sunthornwathin. สมเด็จพระเทพฯ เคยทรงทรัมเปตน�าวง ดุริยางค์ในงานคอนเสิร์ตสายใจไทย และ เคยทรงระนาดฝรั่งน�าวงดุริยางค์ในงานกาชาด คอนเสิรต์ พระองค์สนพระทัยในดนตรีสากล โดย 4 5 ทรงเริม่ เรียนเปียโนตัง้ แต่พระชนมายุ 10 พรรษา และได้ทรงฝึกเครือ่ งเป่าชนิดต่างๆ ในเวลาต่อมา HRH also enjoys international music, she 5 การถ่ายภาพเป็นศิลปะอีกแขนงทีส่ มเด็จพระstarted playing piano when she was 10 years เทพฯ ทรงให้ความสนพระทัย โดยทรงถ่าย old and later practiced other instruments. She ภาพไว้จ�านวนมากทั้งในเมืองไทยและต่างประเทศ used to play trumpet and xylophone with เช่น ภาพตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ไป orchestra bands at charity concerts. วัดพระแก้ว ภาพซ้อมงานพระเมรุ ภาพแม่โจ้ พิธี ท�าขวัญข้าว ภาพวัดปทุมวนาราม ภาพร้านตัดผม “แว่นแก้ว” คือพระนามแฝงของสมเด็จพระ- สระแก้ว ภาพพระราม-พระลักษมณ์ก่อนไปตาม 4 เทพฯ ซึ่งนักอ่านรู้จักกันดีจากหนังสือเด็ก กวางที่โรงละครแห่งชาติ ภาพกุญแจใจที่ประเทศ แสนสนุกอย่าง “แก้วจอมแก่น” และ “แก้วจอม เยอรมนี ภาพห้องพระในพิพิธภัณฑ์กระเบื้องแห่ง ซน” ที่ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นจากประสบการณ์ ชาติประเทศโปรตุเกส และภาพธงชาติตา่ งๆ ทีร่ ว่ ม จริงเมือ่ ครัง้ ยังทรงพระเยาว์ มีตวั ละครเอกคือแก้ว โอลิมปิก ณ ประเทศอังกฤษ เป็นต้น และเหล่าผองเพือ่ นซึง่ ไม่ได้ฝากเฉพาะวีรกรรมไว้ Photography is another art form that attracts ให้เท่านัน้ แต่ยงั ฝากทัง้ ข้อคิดและเกร็ดความรูใ้ ห้ HRH; she has taken many photos while travelling ผู้อ่านได้เรียนรู้ นับเป็นพระอัจฉริยภาพในด้าน and working both in Thailand and abroad. ศิลปะการประพันธ์ทสี่ ร้างความสุขให้เด็กไทยได้ Some are very rare to see in daily life; such อย่างแท้จริง as her following His Majesty the King to Wat Waen Kaew is the Princess’s pseudonym Phra Kaew, the rehearsal of Phra Meru, and when she wrote 2 famous children’s literatures a Buddha room at the National Tile Museum “Kaew Chom Kaen” and “Kaew Chom Son.” and Champalimaud Center for the Unknown in These children’s literatures were written Portugal. from HRH’s hands-on experience when she was young. The books are about a fun life of 6 บทกวีจนี โบราณสมัยราชวงศ์ถงั ของ “หลี่ไป๋” young girl named Kaew and her friends. คือแรงบันดาลใจในการวาดภาพฝีพระหัตถ์

3


2

6 “กวีคืนถิ่น” โดยสมเด็จพระเทพฯ ทรงบรรยาย ไว้ว่า “ข้าพเจ้าลองเขียนภาพบรรยายเรื่องตามที่ พรรณนาในบทกวีของหลี่ไป๋ กวีพูดถึงว่าตอนรุ่ง ออกจากเมืองไป๋ตี้ในท่ามกลางเมฆหลากสี ล่องเรือ พันลีก้ ลับถึงเมืองเจียงหลิงใช้เวลาวันเดียว และสอง ฟากฝัง่ มีลงิ ร้องเสียงไม่สนิ้ เรือน้อยเคลือ่ นคล้อยไป ตามหมืน่ ช่องผา” HRH’s painting called “Kawi Kuen Tin” or “The Return of the Poet” was inspired by the ancient Chinese poem “Through the YangZi Gorges” by a Chinese poet “Li Bai.” ว คือภาพทีส่ มเด็จพระเทพฯ ทรงวาด 7 ดอกบั ไว้จา� นวนมากเนือ่ งจากทรงโปรด อีกทัง้ พระ อัยยิกา (ยาย) ในพระองค์มีพระนามว่า ม.ล.บัว กิติยากร จึงทรงวาดรูปดอกบัวพระราชทานแด่ ม.ล.บัว อยูบ่ อ่ ยครัง้ HRH has painted many lotus pictures which is her favourite flower. Also her grandmother’s name is M.L. Bua Kittiyakorn, which means Lotus, so the Princess often paints the lotus flower and gives them to M.L. Bua.

7

8

พระองค์ทรงโปรดการวาดภาพตั้งแต่ทรง พระเยาว์ สมุดบันทึกส่วนพระองค์ในสมเด็จ พระเทพฯ ประกอบด้วยภาพลายเส้นรูปสัตว์ จ�านวนมาก ส่วนใหญ่เป็นสัตว์ในวังสระปทุม เช่น สุนขั แมว หนู เป็ด ห่าน กระรอก นก ปลา เป็นต้น HRH has enjoyed drawing and painting since she was young. Her personal sketch books are full of animal sketches from dogs, cats, ducks, birds, squirrels, etc; most of them live inside her Wang Sa Patum residence.

9

ภายในพระอุโบสถวัดอัมพวันเจติยาราม จ.สมุทรสงคราม มีภาพฝีพระหัตถ์สมเด็จ พระเทพฯ ซึ่งทรงลงฝีพระหัตถ์พระพักตร์ของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และ ต้นไม้ขา้ งป้อมริมก�าแพง เป็นต้น Inside the Ubosot, or main hall, at Wat Amphawan Chetiyaram in Samut Songkhram, there are some murals painted by HRH.

1

8

9

ทรงวาดภาพหอพระนาค พระอุโบสถปราสาทพระ เทพบิดร และพระมณฑป “One and a half hour” was the time that the Princess used to draw the “Wat Phra Kaew” picture, which featured a few significant buildings inside the temple. ศิษ ฏศิลปิน” เป็นพระสมัญญาที่คณะ 11 “วิกรรมการวั ฒนธรรมแห่งชาติทูลเกล้าฯ

ถวายสมเด็จพระเทพฯ เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2546 แปลว่า ผูเ้ ป็นเลิศทางศิลปะ ประเสริฐเลิศ กว่าศิลปินทัง้ ปวง HRH Princess was honoured with the titled Wisitasilapin, which means “the greatest artist”, by the National Culture Commission on February 24, 2003.

่วโมงครึ่ง” คือเวลาที่สมเด็จพระเทพฯ 10 “ชัทรงใช้ ในการวาดภาพ “วัดพระแก้ว” ซึ่ง issue 11 baccazine

2 7


world of art

Robert Rauschenberg

POP ART COLUMNIST : PROF. WUTIGORN KONGKA

เมือ่ มาร์เซล ดูชองป์ (Marcel Duchamp หนึง่ ในผูน ้ า� ของขบวนการศิลปะแบบ Dada ทีข่ น ึ้ ชัน ้ เรือ่ ง การแดกดันมนุษยชาติและความงามทางศิลปะว่าไม่ใช่สงิ่ ทีต ่ อ ้ งให้ความเคารพย�าเกรง เพราะมนุษย์ และศิลปะไม่ได้ดเี ด่หรือมีศลี ธรรมสูงส่งอย่างทีอ ่ วดอ้าง) ได้วางโถฉี่ (ชือ ่ งาน Fountain, 1917) ต่อ หน้ากรรมการคัดงานศิลปะในนิวยอร์ก และขยายออกไปสูค ่ นดูและนักวิจารณ์งานศิลปะในช่วงเกือบๆ 20 ปีแรกของศตวรรษที่ 20 นัน ่ ได้นา� พามาสูส่ งิ่ ใหม่ๆ ให้เกิดขึน ้ แก่วงการ ทว่าผลของแรงกระแทก จากสิง่ ใหม่นก ี้ ลับแตกแขนงออกไปสูง่ านศิลปะสายพันธุใ์ หม่ในอีก 30 กว่าปีตอ ่ มา

ในสายหนึง่ คือ ขบวนการ Conceptual Art แห่งยุค 1960 ที่สืบทอดแนวคิดของดูชองป์ โดยการสร้ า งงานที่ ใ ช้ ห ลั ก เกณฑ์ ก ารต้ า น สุนทรียศาสตร์งานแบบ Modernism ทีเ่ ผยแพร่ ครอบคลุมมาตัง้ แต่ตน้ ศตวรรษที่ 20 จนมาถึงยุค 1950 ด้วยสกุลสุดท้าย Abstract Expressionism ภายใต้กฎระเบียบทางความงามของเคลเมนต์ กรีนเบิรก์ (Clement Greenberg, 1909-1994) เจ้าพ่อใหญ่แห่งนักวิจารณ์งานศิลปะแห่งส�านัก นิวยอร์ก เพราะดูชองป์เองก็ต้านกฎแห่งความ งามนีม้ านานแล้ว งานกลุม่ Conceptual Art จึง ละทิง้ กฎเกณฑ์ทางความงามทัง้ ปวง (ทีเ่ กิดจาก จุด เส้น สี รูปทรง และการจัดวางองค์ประกอบ 28

baccazine issue 11

ศิลป์) ในงานศิลปะ เพือ่ ประกาศแถลงการณ์ใหม่ ว่า ศิลปะคือความคิดของศิลปิน ในอีกสายหนึ่ง รูปโฉมของวัตถุส�าเร็จรูปที่ คุ้นเคยอยู่ในชีวิตประจ�าวันอย่างโถฉี่กลับกลาย มาสร้างแรงบันดาลใจให้แวดวงศิลปินรุน่ ใหม่ใน ยุค 1950 ที่เล็งเห็นถึงคุณค่าของสิ่งรอบตัวซึ่ง กลมกลืนอยูก่ บั โลกยุคสมัยใหม่ทกี่ า� ลังพีคเต็มขัน้ เมื่อมนุษย์เดินทางมาสู่การบริโภคอย่างฟุ้งเฟ้อ ทั้งงานโฆษณาเพื่อการตลาด การสร้างสินค้า ในระบบอุตสาหกรรมเป็นจ�านวนมาก การสร้าง แบรนด์ให้คนจดจ�า การเชือ่ มโลกด้วยสินค้าทาง วัฒนธรรม ทัง้ ข้อมูลข่าวสาร ภาพยนตร์ ดนตรี สือ่ สิง่ พิมพ์ ภายใต้โลกแห่งทุนนิยมสุดขัว้ ทีก่ า� ลัง

แข่งขันอย่างเอาเป็นเอาตายกับโลกสังคมนิยม วัฒนธรรมแห่งการบริโภคก่อให้เกิดสินค้าและ รสนิยมของคนหมูม่ ากซึง่ ถูกเรียกว่า Pop Culture และวิวฒ ั นาการไปสูศ่ ลิ ปะสกุล Pop Art ทีโ่ ด่งดัง ทีส่ ดุ สกุลหนึง่ ของโลกศิลปะร่วมสมัย ในช่วงรอยต่อปี 1954-1955 ลอว์เรนซ์ อัลโลเวย์ (Lawrence Alloway, 1926-1990) นักวิจารณ์และคิวเรเตอร์ชาวอังกฤษคือผูค้ ิดค้น ค�าว่า Pop Art ขึน้ มันบ่งบอกถึงสุนทรียศาสตร์ หน้าใหม่ที่ ให้คุณค่าแก่ศิลปะท้องถิ่นที่ปนเปอยู่ ในชีวิตประจ�าวัน เมื่อของโหลๆ กลายเป็นของ สูงค่าอย่างงานศิลปะ เหมือนทีเ่ คลเมนต์ กรีนเบิรก์ ให้ความหมายผ่านค�าว่า “kitsch” ซึง่ หมายถึงของไร้คา่ ในวัฒนธรรมบริโภคนิยม งานศิลปะ สกุลนี้จึงเฉลิมฉลองอยู่บนความเคลื่อนตัวของ ยุคอุตสาหกรรมและการโฆษณาทีก่ า้ วไปสูค่ วาม ต้องการของคนหมูม่ าก ค�าว่าท้องถิน่ มลายหาย ไปในความหมายของกรีนเบิรก์ เพราะ Pop Art มีทมี่ าจากวัฒนธรรมเมืองใหญ่กระแสหลัก อย่างไรก็ตาม มีการสืบสานหลายสายจาก


Richard Hamilton

Jasper Johns

ต้นเค้าของดูชองป์ เมื่อโรเบิร์ต เราส์เชนเบิร์ก (Robert Rauschenberg) หนึง่ ในศิลปินทีบ่ กุ เบิก แนวทางที่ถูกเรียกว่า Neo-Dada ได้ยืนยันถึง การน�าไอเดียจากการใช้วัสดุส�าเร็จรูปที่เคยคุ้น มาปนเปกับภาพที่คุ้นเคยจากข่าวสารรอบตัว จัดแจงระบายสีโดยใช้ยุทธวิธีในแบบ Abstract Expressionism และจัดองค์ประกอบศิลป์ ใหม่ ท�าให้เกิดคุณลักษณะเฉพาะที่แปลกประหลาด ศิลปินอีกคนคือ แจสเปอร์ จอห์นส์ (Jasper Johns) ก็ใช้กลยุทธ์นี้ ผลที่ ได้คือสิ่งของรอบ ตัวได้กลายร่างไปสู่งานศิลปะอย่างเต็มภาคภูมิ Neo-Dada ถูกจัดหมวดหมู่ให้อยู่ในขบวนการ เดียวกับ Pop Art ด้วยทั้งเงื่อนไขของช่วงเวลา และการพลิกสิ่งของที่อยู่รอบตัวน�ามาเป็นสื่อ ศิลปะ ในอีกสายหนึ่ง ริชาร์ด แฮมิลตัน (Richard Hamilton) น�ากลวิธีการ “ปะติด” (Collage) จากกลุ่ม Dada มาใช้พูดถึงวัฒนธรรมบริโภค นิยมของอเมริกาที่ทะลุทะลวงเข้าไปในอังกฤษ เขาใช้ภาพส�าเร็จรูปจากนิตยสาร สื่อสิ่งพิมพ์

Roy Lichtenstein

และโปสเตอร์ ตัดออกมาจากหลายทางเพื่อต่อ ให้เป็นเรือ่ งใหม่ หรือเปลีย่ นคุณลักษณะของภาพ เหล่านั้นให้เป็นภาพใหม่ ขณะที่ ในอีกสายหนึ่ง ก็ได้เถลิงไปสูค่ วามป๊อปปูลาร์อย่างเต็มที่ แอนดี วอร์ฮอล (Andy Warhol) นัน้ ใช้ทงั้ กระป๋องซุป ขวดโค้ก ภาพมาริลิน มอนโร เอลวิส เพรสลีย์ น�ามาท�าด้วยระบบอุตสาหกรรมการพิมพ์อย่าง สวยงาม เก๋ไก๋ และฉาบฉวย เขาคนนี้ก้าวไปสู่ ความเป็นซูเปอร์สตาร์และเซเลบริตี้ด้วยความ โด่งดังสุดขีด ถัดมาศิลปินอย่างรอย ลิกเทนสไตน์ (Roy Lichtenstein) ได้นา� ภาพการ์ตนู ข้างถนนมา วาดใหม่อย่างงดงาม แคลส์ โอลเดนเบิรก์ (Claes Oldenburg) ขยายสิง่ ของรอบตัวให้ใหญ่โตเป็น ประติมากรรม ไม่เว้นแม้แต่อาหารการกิน โถส้วม ถูกสร้างใหม่ด้วยทั้งการจ�าลองและใช้วัสดุนุ่มนิ่มอย่างน่าขบขัน เจมส์ โรเซนควิสต์ (James Rosenquist) วาดภาพใหญ่ยักษ์ซึ่งมีที่มาจาก ป้ายบิลบอร์ดเพือ่ การโฆษณา ทอม เวสเซลมันน์ (Tom Wesselmann) ก็ใช้สงิ่ ละอันพันละน้อยใน ชีวติ แบบอเมริกนั สไตล์มาจัดวางและสร้างสีสดใส

Andy Warhol

สวยงาม โรเบิรต์ อินดีแอนา (Robert Indiana) ใช้ตวั หนังสือ ตัวเลข มาจัดวางและวาดด้วยเส้น ขอบคมทีเ่ นีย้ บสวย นีค่ อื ภาพรวมแห่งรอยต่อระหว่างยุค 19501960 ซึ่งศิลปินรุ่นใหม่ของอเมริกาและอังกฤษ ได้ลงหลักปักฐานสุนทรียศาสตร์แบบใหม่ บ้าง ก็ว่านี่คือประตูแห่งกรอบคิดแบบ Postmodern ในวงการศิลปะ ทีท่ า� ให้ผลงานอันมีทม่ี าจากท้องถนนขึ้นหิ้งสู่แกลเลอรี่และมิวเซียมชั้นสูง โดยมี ขนบทีต่ า้ นคุณค่าแบบ Modern ทว่าตัวของ Pop Art เองกลับพยายามทีจ่ ะสวยให้สมราคา จนแม้แต่ มาร์เซล ดูชองป์กเ็ หน็บแนมด้วยค�าพูดว่า “NeoDada, Pop Art เป็นความมักง่ายทีห่ ากินกับสิง่ ที่ Dada ท�าไว้ ผมค้นพบสิง่ ของส�าเร็จรูปทีค่ ดิ ว่าจะ ปรามสุนทรียศาสตร์ได้ แต่ Neo-Dada กลับค้น พบความงามแบบสุนทรียศาสตร์ในของส�าเร็จรูป ของผมแทน ผมโยนทีว่ างขวดและโถปัสสาวะใส่ หน้าผู้คนเพื่อแสดงความท้าทาย แต่ตอนนี้พวก เขากลับชืน่ ชมในความงามเชิงสุนทรียศาสตร์ของ มัน” (จากหนังสือ Introducing Postmodernism issue 11 baccazine

2 9


แปลโดย วรนุช จรุงรัตนาพงศ์) มาถึงยุคปัจจุบนั แห่งศตวรรษที่ 21 เจฟฟ์ คูนส์ (Jeff Koons) ศิลปินใหญ่มาตั้งแต่ยุค 1980 ที่ เป็นดาวค้างฟ้า ซูเปอร์สตาร์ และเซเลบริตี้ คือ ผูส้ บื ทอดของแนวคิดแบบ Neo-Dada และ Pop Art อย่างชัดเจนที่สุด ทั้งลูกบาส เครื่องดูดฝุ่น งานโฆษณา ของที่ระลึกราคาถูก ตุ๊กตาเป่าลม ภาพ Phonography ของเขากับอดีตภรรยาดารา หนังโป๊กลายเป็นของสูงค่า ด้วยทัง้ การขยายใหญ่ เปลี่ยนวัสดุให้สูงส่งแบบงานศิลปะ หรือแม้แต่ คงคุณสมบัติแบบเดิมๆ ของมันไว้ เหล่านี้สร้าง แบรนด์ให้กับเขา และคูนส์ก็ไม่ประนีประนอม

ใดๆ ต่อค�าพูดของดูชองป์ เมื่อเขาตั้งโรงงาน เพือ่ ผลิตงานศิลปะของเขาทุกๆ ชิน้ ทุกๆ สือ่ ทัง้ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพถ่าย ฯลฯ เพื่อ ให้ดสู วยกิก๊ สุดเนีย้ บสมใจ สูงค่าสมราคาแพงลิบ นับว่าไม่ตา่ งอะไรกับทากาชิ มุราคามิ (Takashi Murakami) ศิลปินญีป่ นุ่ ทีเ่ ริม่ โด่งดังในยุค 1990 จนถึงปัจจุบนั ทีก่ ลายเป็นซูเปอร์สตาร์เช่นกัน เขา หลงใหลในการ์ตนู สัญชาติของตัวเอง และสร้าง “มังงะ” ให้โดดเด่นด้วยสือ่ สารพัด แน่นอนว่ามังงะของมุราคามิสวยสดสุดเยีย่ ม เนีย้ บออกมาจาก โรงงานทีเ่ ขาตัง้ ขึน้ เพือ่ ผลิตงานศิลปะอย่างครบ วงจรออกสู่ท้องตลาด (หมายถึงแกลเลอรี่และ

James Rosenquist

Claes Oldenburg

Jeff Koons

30

baccazine issue 11

Tom Wesselmann

มิวเซียม) ในราคาอย่างทีซ่ เู ปอร์สตาร์ควรจะได้ โดยมีผู้เปรียบเปรยเสมอว่า ทั้งเจฟฟ์ คูนส์และ ทากาชิ มุราคามิลว้ นเดินตามรอยแอนดี วอร์ฮอล ทีน่ า่ สนใจมาก นัน่ คือเขาทัง้ คูท่ า� ส�าเร็จตัง้ แต่ยงั หนุม่ แน่น ชือ่ ของ Pop Art นัน้ คงเชือ่ มกับผูค้ นได้งา่ ย และด้วยงานที่สวย ดูง่าย บวกกับสื่อและสารที่ คุน้ เคย คนจ�านวนมากจึงย่อมหลงเสน่หอ์ นั งดงาม ของมัน ไม่วา่ ความป๊อปปูลาร์จะมีหรือไม่มสี าระ แต่ไม่เคยมีใครปฏิเสธพลังอ�านาจทีส่ งู ยิง่ เพราะ วัฒนธรรมบริโภคนิยมนีแ่ หละทีก่ ระตุน้ ฮอร์โมน ความอยากของมนุษย์ได้ชะงัดนัก

Robert Indiana


world of art

Takashi Murakami

POP ART When Marcel Duchamp (the leader of Dada which was a form of artistic anarchy that challenged the social, political and cultural values of the time) put a porcelain urinal (titled Fountain, 1917) in front of the committee at the art fair in New York to challenge the very notion of what art is, it sent shock waves across the art world that can still be felt today and also extend to many new art forms. In one way, the Dada ideas were inspiration for Conceptual Art in 1960s that link their work to a tradition of Duchamp, as well as adopting the Modernism and Abstract Expressionism style into their works. Conceptual Art abandoned all traditional aesthetic and made a new notion that an idea or concept of the artists is the essence of art. In another way, the infamous readymades, like the porcelain urinal, become an inspiration and new aesthetic aspect for artists in the 1950s that they found beauty in everything around them and developed this into the famous Pop Art style. The word was created by Lawrence Alloway in1954-55, it described the new art form that employs aspects of mass culture, such as advertising, comic books and mundane cultural objects, and the mass products can become high class or valuable art pieces. Another art style that was taken from Dadaism is NeoDada that uses modern materials, popular imagery, and absurdist contrast to create its

uniqueness. Neo-Dada is often classified as Pop Art because of its similar style that uses readymade materials for art. Richard Hamilton and his famous “collage” style usually reflected American life and consumerism that also invaded into the UK. He used magazine and newspaper clippings or posters to create a new way to tell his stories. Andy Warhol’s art used many types of media and any found objects; he was the Pop Art icon and one of the most successful artists of all time. Roy Lichtenstein’s work was heavily influenced by both popular advertising and the comic book style. While Claes Oldenburg is best known for his public art installations typically featuring very large replicas of everyday objects. James Rosenquist created the large-scale paintings using the advertising billboards. These samples of successful artists show us that British and American artists in the 1950s1960s found a new aesthetic standard. Some consider this as Post Modern Art that can put normal found objects into the gallery or high-class museums, but still challenge the traditions of fine arts. However, despite its concept of utilization of found objects and images similar to Dada, many Pop Art works (or materials) were newly and delicately produced (similar to traditional fine arts) that even Marcel Duchamp gave a sarcastic comment about it. “This Neo-Dada, which they call New Realism, Pop Art, Assemblage, etc., is an

easy way out, and lives on what Dada did. When I discovered the ready-mades I sought to discourage aesthetics. In NeoDada they have taken my readymades and found aesthetic beauty in them, I threw the bottle-rack and the urinal into their faces as a challenge and now they admire them for their aesthetic beauty.” Despite Duchamp’s comments, it seems like Pop Art is still going strong in the 21st Century and there are some successful artists following in Andy Warhol’s footsteps, like Jeff Koons, the Pop Art icon of this century, known for his reproductions of banal objects—such as balloon animals produced in stainless steel with mirror-finish surfaces. His works have sold for substantial sums of money, so that he has set up a factory-like studio and hired many assistants to produce fine art works to match those prices. So does Takashi Murakami, a popular Japanese Pop Art artist, known for blurring the line between high and low arts, Murakami’s work is among the most desired in the world, and he has a factory to produce fine work for sale. Maybe it’s because Pop Art can easily connect with people as they look beautiful, familiar, and easy to understand that makes it popular. And in the consumer society, no one can deny the power of popularity that can drive human desire, without even thinking what they really have to offer.

issue 11 baccazine

3 1


world artist INDIA

JITISH KALLAT COLUMNIST : PROF. WUTIGORN KONGKA

งานศิลปะที่พูดถึง Pop Culture คืองานที่เน้นการเข้าถึงคนหมู่มากได้ง่าย จะด้วยรูปแบบทีส ่ วยงาม หรือเนือ ้ หาทีค ่ นทัว่ ไปรับรูไ้ ด้งา่ ยก็แล้วแต่ ความทรงพลังของการสือ ่ สารที่ ปะทะกับคนดูอย่างตรงไปตรงมาท�าให้งานสกุลนีย ้ งั มีแรงดึงดูดสูง และสามารถสะท้อนภาพ วัฒนธรรมร่วมสมัยทีเ่ ชือ่ มต่อความเป็นท้องถิน ่ ให้โยงใยไปสูค ่ วามเป็นนานาชาติได้งา่ ยดาย

จิติช กัลลัต (Jitish Kallat) ศิลปินอินเดีย รุน่ ใหม่กเ็ ป็นอีกคนหนึง่ ที่ใช้ความป๊อปปูลาร์ของ สไตล์งานทีโ่ ดดเด่นมาตัง้ แต่ยคุ 1960 อย่าง Pop Art น�ามาแปลงร่างใหม่เพือ่ สัน่ สะทือนและเสียดสี สังคมอินเดียที่ก�าลังเติบโตไปสู่โลกแห่งทุนนิยม อย่างเต็มรูปแบบ ทัง้ นีป้ รากฏการณ์ของการก้าว กระโดดทางเศรษฐกิจของเมืองหลวง “มุมไบ” ท�าให้ประเทศอินเดียทั้งร�่ารวยและเสื่อมโทรม สิง่ นีค้ อื ปฏิปกั ษ์ของระบบทุนแห่งโลกเสรี ความ เหลื่ อ มล�้ า ของชนชั้ น วรรณะที่ เ คยมี ม าอย่ า ง ยาวนานในประวัติศาสตร์ของอินเดียได้กลาย พันธุ์ไปสู่วรรณะแห่งความร่วมสมัย เมื่อชนชั้น แรงงานคือพลังขับเคลื่อนการสร้างผลผลิตเพื่อ เสิรฟ์ คนรวย เจ้าของกิจการ และกลุม่ ทุนข้ามชาติ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมในโลกยุคหลัง อาณานิคมท�าให้ท้องถิ่นหรือประเทศที่ไกลจาก ศูนย์กลางของโลกอย่างยุโรปและอเมริกาก้าวไป สูค่ วามทัดเทียมในแง่เป็นฐานแห่งการผลิต วัฒนธรรมโลกาภิวัตน์ท�าให้ความไกลห่างถูกย่นย่อ ด้วยความต้องการบริโภคทุกสิง่ ทุกอย่างเหมือนๆ กัน อย่างไรก็ตามความทัดเทียมนีย้ งั คงมีชอ่ งว่าง ขนาดใหญ่ทถี่ มไม่เต็ม นัน่ คือปัญหาในเรือ่ งความ เหลือ่ มล�า้ ของพลเมือง จิติชท�างานทั้งสื่อจิตรกรรม ประติมากรรม อินสตอลเลชัน่ ภาพถ่าย และวิดโี ออาร์ต เขาใช้ 32

baccazine issue 11

ความรู้ทางสุนทรียศาสตร์ของทั้งในเอเชียและ ยุโรป หรือแม้แต่อเมริกา ที่พูดถึงความงามใน แบบสกุล Modernism ผ่านรูปร่างของคอมโพสิชัน่ ทีส่ วยสดงดงาม น�ามาเชือ่ มต่อกับความสับสน อลหม่านของวัฒนธรรมร่วมสมัยในเมืองหลวง มุมไบ อย่างไรก็ตามสุนทรียศาสตร์แบบ Pop Art ก็ถูกน�ามาเขย่าผสมรวมเป็นค็อกเทลสูตร พิสดาร ด้วยว่าจิติชไม่ได้น�าเสนอภาพลักษณ์ที่ สวยงามแบบป๊อปปูลาร์ แต่มงุ่ ไปสูค่ วามผันผวน ของคนชัน้ ล่างทีป่ รากฏโฉมหน้านิรนามทีเ่ สียดสี ไปถึงการโฆษณาชวนเชื่อ นี่คือการตบหน้างาน สกุล Pop ด้วยการเฉลิมฉลองอย่างมีชวี ติ ชีวา งานของจิตชิ เปรียบเหมือนเสียงของคนทีด่ อ้ ย โอกาส เขาสร้างประติมากรรมไฟเบอร์กลาส เหมือนจริงขนาดใหญ่ชื่อ “Eruda” เป็นรูปเด็ก หนุม่ ทีข่ ายหนังสืออยูข่ า้ งถนน เด็กหนุม่ ทีย่ นื หอบ หนังสือในอุง้ แขนคนนีม้ เี ท้าเป็นรูปบ้าน เขาสร้าง กระดูกด้วยไฟเบอร์แล้วก่อตัวเป็นรูปรถบรรทุก รถตุ๊กๆ รถเก๋ง ในงานจิตรกรรมของเขายังใช้ รูปร่างของกระดูกมนุษย์วาดอย่างสวยงามจัดวาง ร่วมกับภาพอวัยวะ เช่น หัวใจ และทีโ่ ดดเด่นคือ เขาใช้ภาพพอร์เทรตของเด็กเก็บขยะ ตลอดจน พลเมืองชัน้ ล่างหรือวรรณะแห่งชนชัน้ กรรมาชีพ ที่ต�่าเตี้ยเรี่ยดินมาสร้างเป็นภาพสกุล Pop Art แต่ที่ศีรษะของเขาเหล่านั้นเป็นภาพลายเส้นที่

แออัดไปด้วยความยุ่งเหยิง ไร้ระเบียบ สับสน วุ่นวายของคนและเมือง มันคือภาพแทนที่การ เยาะเย้ยถากถาง ซึ่งเดินทางคู่มากับความหวัง ที่สดสวยและความเจ็บปวดอันสลดหดหู่ เมื่อ ชนชั้นล่างต้องใช้ทั้งร่างกายที่เสื่อมทรุดเหมือน ซากแห่งอวัยวะต่อสู้ดิ้นรนไปบนความหวังของ ชีวิต ท่ามกลางเมืองใหญ่ที่พร้อมจะดูดซับและ กลืนกินความเป็นคน ในสภาวะของศิลปินหลังสมัยใหม่ จิตชิ ไม่ได้ จงใจทีจ่ ะสร้างอัตลักษณ์ให้กบั สไตล์ผลงานของ เขาอย่างเด่นชัดเพื่อสร้างความคุ้นเคยที่ติดตา เหมือนกับการเป็นศิลปินในขนบ Modernism อย่างคนอืน่ ๆ เขาใช้สญ ั ลักษณ์แทนความหมาย ของเรือ่ งจริงด้วยจินตนาการในการสร้างรูปทรง และจัดวางมันอย่างสนุกสนาน บางครัง้ ก็ดเู หนือ จริง และบางทีก็คล้ายกับภาพแอบส์แทร็กต์ที่ สดสวยในแบบงานกราฟิกเหมือนภาพโฆษณา วัฒนธรรมแห่งการตัดต่อพันธุกรรมทางรูปโฉม ที่ดาษดื่นอยู่ในสื่อยุคนี้กลายเป็นจุดเชื่อมต่อไป สู่การผสมผสานในผลงานของเขา ภาวะของ การไร้ระเบียบได้ก่อรูประเบียบบางอย่างขึ้นมา อย่างผิดฝาผิดตัว ทั้งกระดูกที่ผสมกับรถ ภาพ คนกับภาพเมือง ภาพสวยงามเหมือนกับดารา ทีเ่ ฉิดฉายในโปสเตอร์แบบ Pop Art กลับกลาย ไปสู่สถานะของดาราแห่งท้องถนนหรือตรอก


ซอกซอยของสลัม เหล่านี้น�าพาคนดูไปสู่ความ กระเจิดกระเจิงที่ปนเปกันไปหมดระหว่างความ จริงกับจินตนาการ ภาพลักษณ์แห่งทุนนิยมที่ หอมหวานกับความเสื่อมของชนชั้น การปะทะ และผสมพันธุ์กันจากสิ่งละอัน พันละน้อยของ สั ญ ลั ก ษณ์ ใ นวั ฒ นธรรมร่ ว มสมั ย จึ ง เปรี ย บ เสมือนความเป็นจริงทีเ่ ราพบเห็นได้ในยุคนี้ เมือ่ โลกประกอบสร้างจากสิง่ ทีถ่ กู ก�าหนดด้วยเงือ่ นไข ของการพัฒนา น�ามาสูร่ ปู ร่างทีป่ ระดักประเดิด จากสิง่ หนึง่ กลายเป็นอีกสิง่ หนึง่ ผลสะท้อนกลับ คือการสือ่ สารด้วยรูปแบบและเนือ้ หาใหม่ๆ ทว่า ไม่มีสิ่งที่สมบูรณ์แบบอีกต่อไป ความขัดแย้งใน ทุกๆ ภาพลักษณ์จะปรากฏตัวออกมาให้เห็นอย่าง ชาชิน จิ ติ ช กั ล ลั ต เกิ ด ปี 1974 ที่ เ มื อ งมุ ม ไบ ประเทศอินเดีย เขาเรียนจบจาก Sir Jamsetjee Jeejebhoy School of Art ในมุมไบ และยังคง ท�างานอยู่ในบ้านเกิดจนถึงปัจจุบนั JITISH KALLAT Jitish Kallat is a contemporary Indian artist, known for working with a variety of media, including painting, large-scale

sculpture installations, photography, and video art. He employs a bold and vivid visual language that references both Asian and European artistic traditions, along with popular advertising imagery that fuels urban consumerism. Kallat regularly exploits images and materials chanced upon around Mumbai’s sprawling metropolis, affording his works an inherent spontaneity and a handcrafted aesthetic. Approaching his work with aggressive impulsiveness, Kallat’s aesthetically created monumental canvases and sculptures reflect the fast-paced and ever changing face of Mumbai. His works also echoes the voices of the underprivileged and social disparities in the city. For instance, he unveiled “Eruda” a huge fiberglass sculpture of young boy covered with black lead. Eruda depicts the resilience of the street children of Mumbai eking a living by selling books at the traffic lights; the sculpture has feet shaped like homes. Kallat’s paintings also capture the portraits of poor young boys smiling; the hair of each boy almost merges together and is actually made

up of interconnecting images of people and streets. The brimming debris forms a linkage between the heads of the children seeming to signify their common overlapping reality. Kallat unites various media through themes that endure within his work, such as the relationship between the individual and the masses. He references his own personal experiences and those of Mumbai’s other inhabitants. His work speaks of both the self and the collective, fluctuating between intimacy and monumentality, and characterized by contrasting themes of pain, hope, and survival. Jitish Kallat was born in 1974 in Mumbai, India and received his Bachelor of Fine Arts degree in painting from the Sir Jamsetjee Jeejebhoy School of Art in Mumbai. He currently lives and works in his home town.

issue 11 baccazine

3 3


in the mood of art

34

baccazine issue 11


สนามตรึ ก หวง หย่ง ผิง & สาครินทร์ เครืออ่อน COLUMNIST : MODDUM PHOTO : CHALERMPON PANNANAWASAKUL

การโคจรมาพบกันของหวง หย่ง ผิง ศิลปินจีนระดับนานาชาติผขู้ บ ั เคลือ่ นแนวคิด “เซียะ เหมินดาดา” อันเปลีย ่ นแปลงวงการศิลปะร่วมสมัยของจีนไปตลอดกาล กับสาครินทร์ เครืออ่อน ศิลปินสัญชาติไทยระดับแถวหน้า ผู้น�าความเชื่อแบบ “ไทยๆ” มาใช้ในงาน ได้อย่างเฉียบคม ไม่เพียงเป็นการแลกเปลีย ่ นผลงานศิลปะระหว่างกันในภูมภ ิ าคเอเชีย เท่านัน ้ แต่ยงั ช่วยกระตุกต่อมคิดในประเด็นร่วมสมัยในซีกโลกตะวันออก ชวนให้ขบคิดวิเคราะห์-คิดต่อ หลังได้รับชมนิทรรศการ Imply Reply หรือที่มีชื่อภาษาไทยว่า “สนามตรึก” อันสือ่ ถึงเป้าหมายในการกระตุน ้ กระบวนการคิดทัง้ ในบริบทท้องถิน ่ ไปจน ถึงภาพกว้างของโลกนี้ ด้วยผลงานทีเ่ ร่งเร้ากระบวนการโต้ตอบทางความคิดระหว่าง ศิลปินและผู้ชมได้อย่างลึกซึ้งแยบคาย

ผลงานทีจ่ ดั แสดงมีทงั้ งานทีร่ วบรวมมาจากคอลเล็กชัน่ ศิลปะระดับโลกจากทัง้ นัก สะสมและสถาบันทางศิลปวัฒนธรรมอย่างศูนย์ศลิ ปะจอร์จ ปองปิด ู ปารีส และงาน ทีศ่ ลิ ปินตัง้ ใจสร้างสรรค์ขนึ้ ใหม่เพือ่ นิทรรศการครัง้ นีโ้ ดยเฉพาะ จากนี้ไปคือถ้อยค�าจากปาก 2 ศิลปินต่างวัย ต่างเชื้อชาติ ที่มีจุดร่วมคือความ หลงใหลในการสร้างผลงานศิลปะอย่างต่อเนือ่ งมานานนับ 10 ปี

01 ปฏิวตั ิ ต่อต้าน คัดค้านรูปแบบดัง้ เดิม หวง หย่ง ผิง: “ผลงานของผมด�าเนินไปในแนวทางทีม่ จี ดุ เริม่ ต้นมาตัง้ แต่ป ี 1996 ทีเ่ มืองเซียะเหมิน คือการท�างานของกลุม่ เซียะเหมินดาดา ทีก่ ระตุน้ ให้เกิดการปฏิวตั ิ ทางความคิดโดยใช้วธิ รี นุ แรงต่อต้านรูปแบบเดิม เช่น การเป็นขบถต่อแนวคิดสังคมนิยม และสัจนิยม หรือการก่อกวนรูปแบบดัง้ เดิมของภาพวาดจีนด้วยการแต่งเติมบางอย่าง เข้าไป ช่วงนัน้ มีการท�ากิจกรรมและความเคลือ่ นไหวมากมาย ทีค่ อ่ นข้างเข้มข้นก็คอื ตอนทีท่ างกลุม่ น�าผลงานทีจ่ ดั แสดงไปเผาไฟจนหมด แนวคิดนีย้ งั ส่งอิทธิพลถึงผมมา จนทุกวันนี้ แม้หัวข้อหรือสไตล์การท�างานจะเปลี่ยนไปมากเมื่อเทียบระหว่างตอนยัง อยู่ในจีนกับตอนทีอ่ อกไปต่างประเทศแล้ว”

issue 11 baccazine

3 5


02 มองปัญหา ตัง้ ค�าถาม ตีความผ่านสัญลักษณ์ สาครินทร์: “ผลงานของผมบางชิ้นเป็นการตั้งค�าถาม บางชิน้ อธิบายสภาพสังคมทีอ่ าศัยอยู่ การมองประเด็นปัญหา จะมองว่าเกิดจากอะไรแล้วถึงตีความออกมาโดยใช้ภาษาทาง ศิลปะ บางครั้งอธิบายอย่างตรงไปตรงมา บางครั้งก็อ้อม ผมพยายามน�าเสนอแก่นแท้ปญ ั หาตามประสบการณ์สว่ นตัว ไม่ใช่การบ่น” 03 ศาสนา วัฒนธรรม ความสัมพันธ์ไร้นยิ าม หวง หย่ง ผิง: “ถึงผมจะเป็นชาวจีน แต่ไม่ได้สร้าง งานศิลปะแนวจีน ยากนะครับถ้าต้องแสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างชิน้ งานกับวัฒนธรรมจีน เพราะมันเป็นความสัมพันธ์ ทีช่ ดั เจนแต่ไม่อาจหานิยามทีแ่ น่นอนได้ ผลงานส่วนใหญ่ของ ผมได้รับวิธีคิดจากลัทธิและปรัชญาเต๋า ชอบที่พวกเขาไม่ ไขว่คว้าหาค�าตอบ ไม่เคยต้องตอบค�าถาม งานชิน้ หนึง่ ทีน่ า� มาจัดแสดงเป็นเรือ่ งของเทพเจ้าแห่งนักปราชญ์ ซึง่ เดิมเป็น คนฉลาดแต่หน้าตาอัปลักษณ์ ท�าให้สอบจอหงวนไม่ผา่ นไม่ ว่าจะกีค่ รัง้ เลยฆ่าตัวตาย เขาเตะถังตวงข้าวทิง้ ซึง่ เป็นการ แสดงออกถึงการไม่ยอมรับการวัดค่าของคน ถังนีส้ มัยก่อน เอาไว้ใส่ม้วนหนังสือด้วย พอตายแล้วเทพเจ้าเง็กเซียนเลย บันดาลให้เป็นเทพเจ้า การน�าเทพองค์นมี้ าอยู่ในพืน้ ทีร่ ว่ มสมัยก็เพือ่ จุดประกายให้คนในสังคมขบคิดกันว่าความหมาย ที่แท้จริงของเทพเจ้าองค์นี้คืออะไร ที่ผ่านมาสังคมเรามี ปัญหาเยอะ การเข้าใจความหมายของการเป็นผูร้ มู้ อี ะไรบ้าง ส่วนงานอีกชิน้ หนึง่ ซึง่ มีแร้งจิกดึงล�าไส้พระศรีอริยเมตไตรย พูดถึงความกรุณาของท่าน คนจีนมีส�านวนว่า ผู่ซาซินฉาง แปลว่า หัวใจล�าไส้โพธิสตั ว์ คือคนทีเ่ ปีย่ มด้วยเมตตากรุณา” สาครินทร์: “ช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต�า่ (พ.ศ. 2540) ผม ได้สร้างประติมากรรมคล้ายเศียรพระพุทธเจ้าขึน้ มาโดยด้าน ในกลวง บอกเป็นนัยถึงธรรมชาติทวี่ า่ งเปล่าของการด�าเนิน ชีวติ สมัยใหม่ ความไม่มนั่ คงทางจิตใจของผูค้ นในสังคม เป็น ผลงานทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ ให้สมั ผัสได้ถงึ ความเงียบ ย้อนให้เห็นถึง ความจริงพื้นฐานที่ก่อรูปขึ้นมาจากความว่างเปล่า บ่งบอก ถึงความงามอันเรียบง่ายจากพื้นฐานศิลปะไทย โดยสื่อถึง นามธรรมและการมองเข้าไปภายในตัวเอง ผลงานชิ้นนี้จัด แสดงครัง้ แรกทีส่ ลี มแกลเลอรี่ ซึง่ สถานทีจ่ ดั แสดงเป็นสถานที่ ขายเศียรพระพุทธรูปเพื่อตกแต่งบ้าน เมื่อถูกน�ากลับมาใน พืน้ ที่ใหม่คอื นิทรรศการครัง้ นี้ จึงเกิดการตัง้ ค�าถามถึงความ เชือ่ มโยงและความหมายต่อความเป็นไปในปัจจุบนั ” 04 ประสบการณ์ + ประจักษ์พยาน หวง หย่ง ผิง: “งานทีผ่ มต้องพูดถึงก็คอื สถูปทัง้ สี่ (Four Towers) ซึง่ ท�าขึน้ เพือ่ นิทรรศการครัง้ นีโ้ ดยเฉพาะ ผมเห็น สถูปพวกนีต้ อนมากรุงเทพฯ ครัง้ ทีแ่ ล้ว เพือ่ นคนหนึง่ อธิบาย ว่ามันคือตึกทีส่ ร้างไม่เสร็จเพราะวิกฤติทางการเงิน จึงเปรียบ 36

baccazine issue 11


in the mood of art

issue 11 baccazine

3 7


38

baccazine issue 11


in the mood of art

เหมือนสัญลักษณ์ของแนวคิดทุนนิยม หรือที่เรียกกันว่า สัญลักษณ์แห่งความรวดเร็วของการพัฒนาเศรษฐกิจ ซึง่ เกิด ขึน้ กับสังคมเอเชีย ในจีนก็เช่นกัน ผมย่อส่วนตึกลงมาเลยดู เหมือนสถูป แต่ยงั เก็บลักษณะเด่นบางอย่างไว้ เช่น มุมลิฟต์ บันได ช่องว่างระหว่างบันได และออกแบบให้ผชู้ มอยู่ในจุด ของผูส้ งั เกตการณ์ทเี่ ป็นกลางได้ ไม่ใช่การมองจากเครือ่ งบิน และไม่ใช่มมุ ทีเ่ ราเงยหน้ามองจากด้านล่าง แต่เหมือนมุมมอง ของเมฆทีอ่ ยูส่ ภาวะกึง่ กลาง ชีวติ จริงมันยากทีจ่ ะหามุมมอง อย่างนัน้ ” สาครินทร์: “งานบางชิน้ ของผมได้แรงบันดาลใจมาจาก บ้านตัวเอง เพราะมีลงิ เข้าบ้านประจ�า (หัวเราะ) ชือ่ ผลงาน ‘ลิงในบ้าน’ เพราะบ้านของผมอยูท่ า่ มกลางฝูงลิงหลายร้อย ตัว วิธกี ารจะอยูร่ ว่ มกับมันคือจ�ากัดพืน้ ทีข่ องตัวเอง และรูจ้ กั วัฒนธรรมของลิง เราจะเปิดบ้านได้ตอนไหน อะไรทีจ่ ะวาง ไว้บนโต๊ะ งานชิน้ นีเ้ ป็นเรือ่ งของการเปรียบเทียบลิงกับจิตใจ ของเราเองซึง่ ควบคุมได้ยาก สับสนวุน่ วาย หรือจะมองว่าเป็น สถานการณ์บา้ นเมืองก็ได้” 05 ความสมดุลและทางเลือก สาครินทร์: “ผลงานชิ้นหนึ่งของผมพูดถึงความส�าคัญ ของชีวติ ว่ามีอะไรบ้างทีเ่ ราต้องรักษาไว้ เราต้องรักษาคุณค่า ของความงามของชีวติ ไหม หรือจะอยูไ่ ปวันๆ ศีลธรรมจรรยา ความดีงาม จะขาดอันใดอันหนึง่ ไปไม่ได้ ไม่อย่างนัน้ อีกอัน จะโดดเด่นกว่า ถ้าเหีย่ วทัง้ สองอย่างก็จบ ผลงานนีจ้ งึ ต้องการ อาสาสมัครสองคนมาปักดอกไม้สดในแจกันทัง้ สองใบทุกเช้า อย่าท�าให้ดอกไม้เหีย่ ว” หวง หย่ง ผิง: “ผมมีงานทีพ่ ดู ถึงการแบ่งแยกของมนุษย์ พูดถึงการจ�ากัดการตัดสินใจทีเ่ ป็นอิสระของมนุษย์ ผมได้รบั แรงบันดาลใจมาจากหอศิลป์เมืองกลาสตันเบอรีที่ประเทศ อังกฤษ ซึง่ มีประตูแบบทีม่ สี องบาน ทีจ่ ดุ ประกายให้ผมสร้าง ทางลอดสองทางขึ้นมา เหมือนเวลาผ่านด่านศุลกากรก็มี ทางแบบนี้ คือมีทางเลือกสองทาง ทางเลือกทัง้ สองทางแม้ ดูเหมือนแตกต่างกัน แต่ผมว่าไม่ได้ตา่ งกันเลย เพราะมันจะ พาคุณไปเจอกับปัญหาอย่างหนึง่ อยูด่ ”ี นิทรรศการ Imply Reply หรือสนามตรึก ได้รับการ สนับสนุนจากสถานทูตฝรั่งเศสประจ�าประเทศไทย และ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร โดยมีพิชญา ศุภวานิช ภัณฑารักษ์ฝีมือดีประจ�า หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครรับหน้าทีภ่ ณ ั ฑารักษ์ เข้าชมได้ตงั้ แต่วนั นี-้ 26 เมษายน 2558 ณ ชัน้ 8 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

issue 11 baccazine

3 9


IMPLY REPLY: HUANG YONG PING AND SAKARIN KRUE-ON

When renowned Chinese avant-garde artist Huang Yong Ping and distinctive contemporary Thai artist Sakarin Krue-on decided to come together for an “Imply Reply” exhibition, we should expect something far from an ordinary art show. Huang Yong Ping is a leading figure of the Xiamen Dada movement who shaped the new face of contemporary art in China, while Sakarin Krue-on is an artist with a unique approach to contemporary art, who blends Thai mythological narratives with an understanding of disciplines that allow him to navigate through the multi-platform format using his idiosyncratic approach. Not just an exchange of Art, but their “Imply Reply” exhibition juxtaposes critical thinking, both in local, regional, and global contexts, communicating reflexive works of both artists from differing generations to present a diverse worldview with a critical-ironic potential to address vital issues. It also aims to present reciprocal thinking processes between artists and audiences and an integrated provocative installation that challenges viewers to reconsider the idea of art and its relationship to national identity in recent history with current issues that are crucial to the current era. Below is an interview with the artists who have a different background, but share a decades long passion for art. 01 Revolution Huang Yong Ping: “My working style was formed in 1996 at Xiamen, China, working with the Xiamen Dada group when we tried to create a revolution mindset, adding the modern style and found objects into a traditional art style. During that time, we had many activities, movement, and exhibitions. The most controversial and significant one was when we burned our works at the end of the exhibition. However, that mindset still has strong influence in my works including those up to the present even though the style has changed over the years.” 40

baccazine issue 11

02 Identify, Question and Answer Sakarin: “Some of my works are questions and some are explanations of the society we are living in. I try to identify problems by looking deeper into its origin and then interpreting and explaining it by using the language of art. Sometimes I talk about it directly, sometimes indirectly. I try to present the core of real problems from my personal point of view, not complain about it.” 03 Religion and Culture – A Relationship without Definition Huang Yong Ping: “I’m Chinese, but I don’t make Chinese-style works. It’s difficult if you have to show the relationship between the work and Chinese culture, because it’s an obvious relationship without a clear definition. Most of my works are influenced by Taoism, I like that they don’t have to find the answers and never need to answer. “One work displayed here is the story of the god of Wisdom. He was a wise guy but ugly, so he never passed the Imperial


in the mood of art

Examination, finally he committed suicide. It shows him kicking a barrel that keeps books to express his feeling against the social norms that devalue people like him. After he died, the Highest God turned him into the God of Wisdom. Putting him in a contemporary space will make people think about the truth behind his story, problems in society, and consider what makes a person a true philosopher or wise man. Another work is showing vultures pecking and eating the intestines of Maitreya Bodhisattva – to show his great mercy, and there is a Chinese phrase saying ’heart and intestine of Bodhisattva’ means the person with kindness and mercy.” Sakarin: “During the economic downturn (1997), I built an extra-ordinary sized human head in a Buddha-like shape, but inside the head was empty, implying the emptiness of modern lifestyle and insecurity of people in the society. It was first shown at Silom Gallery, the nearby area has many shops selling Buddha Statue head for home decor, now it is a part of this exhibition. It may raise

another question about the connection to the we should keep. The morality and beauty in current situation.” life, you should try to balance them; don’t let one or both wilt. This work requires 2 04 Experience + Witnesses volunteers to put flowers into 2 vases every Huang Yong Ping: “The ‘Four Towers’ is a morning, and don’t let them wilt.” new work that I created especially for this Huang Yong Ping: “I have one work that exhibition. I saw these towers when I visited talks about discrimination against people, the Bangkok last time, my friend told me they limitation of freedom in decision making. I are abandoned buildings, remains of the was inspired by the entrance to Glastonbury economic calamity which is a symbol of Art Gallery in England which has two doors. I capitalism or the fast economic development built 2 archways that look different, it makes that happened around Asia including China.” you feel like you have choices, but actually Sakarin: “I have a work called ‘Monkeys in they lead you to face the same problems My House’ as there are hundreds of monkeys anyway.” living near my house and they like to come in. To deal with the problem, you should learn to limit your space and manage your house “Imply Reply” is supported by Embassy as well as nature/culture of monkeys. This of France and Faculty of Painting Sculpture work compares monkeys to our mind which and Graphic Arts, Silpakorn University, is hard to control, or the country’s situation.” and curated by Pichaya Suphavanij, BACC curator. The exhibition lasts until April 26, 05 Balance and Choices 2015, at 8th Floor of BACC. Sakarin: “One of my works talks about what’s the real important thing in our life that

issue issue1111baccazine baccazine

44 11


my studio

ภาพถ่ายแห่งชีวิตของ

นิติกร กรัยวิเชียร COLUMNIST : BARRY PHOTO : ANUCH

ด้วยฝีมอ ื การถ่ายภาพบุคคลทีพ ่ ถ ิ พ ี ถ ิ น ั ละเอียดลออ เป็นธรรมชาติ สามารถดึงอารมณ์ ชีวต ิ เอกลักษณ์เฉพาะตนของตัวแบบออกมาได้อย่างลุม ่ ลึก มีพลัง สะกดอารมณ์ผชู้ มได้ อย่างอยูห ่ มัด ท�าให้ชอ ื่ ของ นิตก ิ ร กรัยวิเชียร นายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์ เป็นทีย ่ กย่องชืน ่ ชมในฝีไม้ลายมือระดับอาชีพทางด้านการถ่ายภาพ บุคคลอันดับต้นๆ ของเมืองไทย

42

baccazine issue 11

ยิ่ งโดยเฉพาะภาพพระฉายาลั ก ษณ์ ข อง สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี ที่เราเห็นส่วนใหญ่ เช่น ภาพพระ ฉายาลักษณ์ทพี่ ระองค์ทรงซอสามสายทีเ่ รียกได้ ว่าเป็นภาพจ�าของหลายๆ คน ก็ลว้ นเป็นฝีมอื การ ถ่ายภาพของคุณนิตกิ ร กรัยวิเชียรแทบทัง้ สิน้ แม้จะไม่ได้มีโอกาสไปเยือนสตูดิโอท�างาน ของคุณนิติกรเพราะคิวอันแน่นขนัดโดยเฉพาะ ในเดือนเมษายนที่สื่อต่างๆ พากันจองคิวขอ สัมภาษณ์คุณนิติกรกันแบบยาวเหยียด อีกทั้ง ภารกิจทีต่ อ้ งเดินทางไปต่างประเทศอยูบ่ อ่ ยครัง้ แต่คณ ุ นิตกิ รก็ได้กรุณาสละเวลามานัง่ พูดคุยกับ


Baccazine ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครด้วยความเป็นกันเอง แรงบั น ดาลใจ แนวคิ ด การท� า งาน ถู ก ถ่ายทอดออกมาอย่างต่อเนื่อง น�้าเสียง สีหน้า แววตาของคุณนิติกรท�าให้เราสัมผัสได้ถึงความ มุง่ มัน่ ตัง้ ใจอย่างแท้จริง นีค่ อื สุดยอดของนักถ่ายภาพอีกบุคคลหนึง่ ที่ Baccazine อยากให้คณ ุ ได้สมั ผัสไปพร้อมๆ กัน กับเรา

เลย สมัยก่อนเวลาทีถ่ า่ ยภาพมาใหม่ๆ ต้องคอย ลุน้ ว่าจะมืดไปไหม สว่างไปไหม โฟกัสชัดหรือไม่ หรือจะดูดีไหม จะกดชัตเตอร์แต่ละทีตอ้ งคิดแล้ว คิดอีก เพราะมันเป็นเงินจ�านวนมาก แต่ปจั จุบนั แทบจะเรียกได้วา่ กดชัตเตอร์ไปเถอะไม่ตอ้ งห่วง แทบไม่ตอ้ งคิดอะไรเลย ไม่ตอ้ งอัดรูปก็ได้ ดูใน คอมพิวเตอร์ ในโทรศัพท์มือถือ ฉะนั้นเดี๋ยวนี้ จึงง่ายกว่ากันเยอะ อุปกรณ์ตา่ งๆ ก็ทนั สมัยกว่า ราคากล้องก็ถกู ลง ถ่ายปุบ๊ เห็นทันที”

01 จุดเริม่ ต้น คนถ่ายภาพ “ฮีโร่ในการถ่ายภาพของผมตอนเด็กๆ ก็คอื คุณพ่อ (ธานินทร์ กรัยวิเชียร) ผมได้รบั อิทธิพล จุ ด เริ่ ม ต้ น และแรงบั น ดาลใจมาจากคุ ณ พ่ อ เพราะคุณพ่อเป็นคนชอบถ่ายรูปมาตั้งแต่สมัย ที่เรียนหนังสือเหมือนกัน และก็ถ่ายภาพซีเรียส ขนาดว่าท�าห้องมืดเองสมัยเรียนทีอ่ งั กฤษ เพราะ ฉะนั้นคุณพ่อจะเล่าให้ฟังและจะมีรูปเราพี่น้อง ตอนเด็กๆ จ�านวนมาก ซึง่ ถือว่าเป็นโชคดี เพราะ หลายๆ บ้านสมัยนั้นไม่เหมือนกับสมัยนี้ที่ ใครๆ ก็ถา่ ยรูปได้ สมัยนัน้ ต้องเป็นคนทีส่ นใจจริงๆ มี อุปกรณ์ในการถ่ายภาพ ภาพถ่ายต่างๆ ของพวก เราตอนเด็กๆ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้เจริญรอย ตาม ช่วงแรกๆ คุณพ่อสอนบ้าง แต่คณ ุ พ่อก็ไม่ ได้เป็นคนทีร่ ลู้ กึ พอถึงจุดหนึง่ เราก็ตอ้ งไปศึกษา หาความรูเ้ พิม่ เติมด้วยตัวเอง “ช่วงแรกที่ผมถ่ายภาพผมถ่ายด้วยกล้อง อัตโนมัติง่ายๆ เป็นฟิล์มตลับขนาด 126 หนึ่ง ม้วนถ่ายได้ 12 รูป คุณภาพกล้องไม่คอ่ ยดีเท่าไร แต่เราก็สนุกของเรา พอเติบโตขึ้นก็พยายาม เก็บสตางค์ซอื้ กล้องไปเรือ่ ยๆ แต่จดุ ทีเ่ ห็นความ เปลีย่ นแปลงอย่างชัดเจนจริงๆ ก็คอื จุดทีเ่ ปลีย่ น จากฟิลม์ มาเป็นดิจทิ ลั โลกเปลีย่ นเลย เพราะเมือ่ ก่อนนีผ้ มยังจ�าได้เลยว่าค่าขนมเกือบทัง้ หมดต้อง หมดไปกับการถ่ายภาพ เพราะมันแพงมากถ้า เทียบกับเดี๋ยวนี้ สมัย 30 ปีก่อนอัดรูปใบหนึ่งก็ สามบาท เดีย๋ วนีอ้ าจจะสองบาท ซึง่ จริงๆ แล้วเงิน สามบาทเมือ่ 40 กว่าปีทผี่ มเริม่ ถ่ายรูป ผมเชือ่ ว่า ถ้าเป็นมูลค่าสมัยนี้ก็ต้องมีสามสิบบาท มันแพง ขนาดนั้น เพราะฉะนั้นถ้าเทียบโอกาสของเด็ก สมัยนัน้ ในการถ่ายภาพกับสมัยนีจ้ งึ เทียบกันไม่ได้

02 จากยุคฟิลม์ สูย่ คุ ดิจทิ ลั “การถ่ายภาพจากยุคก่อนมาสู่ยุคปัจจุบันมี ความเปลี่ยนแปลงไปเยอะ สมัยก่อนด้วยความ ที่ทุกอย่างยากหมด และทุกอย่างมีราคาแพง ไม่ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายในเรื่องฟิล์ม การล้างอัด ขยาย ต้องใช้ทนุ ทรัพย์คอ่ นข้างสูง ท�าให้เวลาถ่าย ภาพแต่ละครั้งจึงต้องใช้ความรอบคอบ ความ เข้าใจในเรือ่ งการปรับกล้อง ค่าต่างๆ ของกล้อง ต้องมีความแม่น แต่เดีย๋ วนีแ้ ทบจะเรียกได้วา่ กด ชัตเตอร์ไปเลย ไม่ต้องเข้าใจว่าทฤษฎีเป็นยังไง กดปุ๊บส่องดูว่ามันโอเค สว่างไป มืดไป ชัดลึก ชัดตืน้ เป็นยังไง เห็นได้ตอนนีเ้ ลย ฉะนัน้ ถ้าหาก เทียบกันแล้วความเข้าใจลึกซึ้งในเรื่องหลักการ ในการถ่ายภาพหรือกระบวนการในการสร้าง ภาพนั้น คนที่ถ่ายภาพในยุคก่อนจะมีพื้นฐานที่ แข็งแรงกว่า แต่ถา้ หากไม่ได้มองไปถึงเรือ่ งทาง เทคนิค ผมมองว่าก็ไม่ได้เป็นเรือ่ งทีซ่ เี รียสอะไร มากมาย เพราะสมัยนีเ้ น้นเรือ่ งมุมมองและแนว ความคิดกันมากกว่า เรือ่ งเทคนิคเป็นเรือ่ งรองไป แต่แน่นอนว่าถ้ามีพนื้ ฐานทีม่ น่ั คงประกอบเข้ามา ด้วยก็สามารถท�าให้ถา่ ยทอดสิง่ ทีเ่ ราจินตนาการ ออกมาเป็นภาพได้ดกี ว่าคนที่ไม่มพี นื้ ฐาน“ 03 ภาพถ่ายในบ้านเรา “ในยุคใหม่ตั้งแต่เปลี่ยนจากยุคฟิล์มมาเป็น ดิจทิ ลั ท�าให้ไม่ตอ้ งใช้ตน้ ทุนแพงอีกต่อไป เรียก ว่าซือ้ กล้องครัง้ เดียวทีเ่ หลือก็ฟรีแล้ว ฉะนัน้ การ ถ่ายภาพจึงแพร่หลายเป็นอย่างมาก ยังไม่นับ ถึงพวกสมาร์ตโฟนต่างๆ ซึง่ ใครๆ ก็ถา่ ยภาพได้ ท�าให้การถ่ายภาพกลายมาเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ประจ�าวันของคนไปโดยปริยาย ทางด้านวงการ

ถ่ายภาพก็เกิดการตืน่ ตัวขึน้ มากเช่นกัน จะมีแนวทางใหม่ๆ ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศเข้า มาด้วย จากความคิดสร้างสรรค์ของเด็กรุน่ ใหม่ เองด้วย ซึ่งถือว่าเป็นยุคทองของการถ่ายภาพ ก็ว่าได้ คือมีคนที่สนใจการถ่ายภาพจ�านวนมาก มีนิทรรศการภาพถ่ายดีๆ เกิดขึ้นในเมืองไทยปี หนึง่ หลายครัง้ ถือว่าเป็นช่วงทีก่ ารถ่ายภาพก�าลัง เจริญเติบโตอย่างมีนยั ยะส�าคัญในเมืองไทย” 04 วิวฒ ั นาการการถ่ายภาพปัจจุบนั ในฝัง่ ยุโรป อเมริกา กับเอเชีย “ถ้าพูดถึงเรือ่ งเทคนิคและอุปกรณ์คอื เหมือน กันทั้งโลก เพราะใช้ของเหมือนๆ กัน แต่ทาง ยุโรปและอเมริกาอาจล�้าหน้าเราไปในเรื่องแนว ความคิด เรื่องการเปิดกว้างในการยอมรับสิ่ง ใหม่ๆ มากกว่า ภาพถ่ายสมัยนี้มันก้าวไกลและ มีวิธีการแสดงออกในเชิงของความคิดมาก ใน ขณะที่สังคมของบ้านเรายังไม่ค่อยก้าวไปมาก เท่าไหร่ เนื่องจากความเข้าใจของคนหรือการ เปิดกว้างในการยอมรับสิง่ แปลกใหม่นนั้ ค่อนข้าง ยาก เหมือนกับศิลปะทุกแขนง แต่ผมว่าตอนนี้ เริม่ ดีขนึ้ เรือ่ ยๆ เราก็พยายามทีจ่ ะเปิดกว้าง คือ ผมคิดว่าเทคโนโลยีการถ่ายภาพมันเกิดมาเกือบ สองร้อยปีแล้ว ภาพแทบทุกแนวถูกถ่ายมาหมด แล้ว ดังนัน้ คนทีเ่ ป็นศิลปินหรือช่างภาพสมัยใหม่ ที่อยากมีความเป็นตัวของตัวเองก็ต้องพยายาม หาอะไรที่ไม่เหมือนเดิม ซึ่งแทบจะหายากมาก เพราะมองไปทางไหนก็มคี นถ่ายมาหมดแล้ว ถ่าย แนวนีก้ ไ็ ปซ�า้ กับคนนัน้ ถ่ายแนวนัน้ ก็ไปซ�า้ กับคน เก่า เลยเกิดภาพในเชิงแหวกแนวหลุดโลกออก ไปเลย ซึง่ ก็เป็นแนวทีน่ า่ สนใจ แต่ยากทีจ่ ะได้รบั การยอมรับในช่วงแรกๆ เพราะบางคนมองว่าท�า อะไรก็ได้ที่มันบ้าๆ มนุษย์มนาไม่ท�ากันแล้วถือ เป็นงานศิลปะ ซึง่ ก็ยงั ก�า้ กึง่ อยู่ แต่ผมว่ามันเป็น ที่มาของการพยายามหลีกให้พ้นจากความจ�าเจ หรือสิง่ ทีเ่ หมือนกับคนอืน่ มากกว่า ฉะนัน้ แนวนีจ้ งึ เป็นแนวใหม่ทผี่ มบอกว่าทางยุโรป อเมริกา หรือ แม้กระทั่งญี่ปุ่นเขาก็พยายาม ศิลปินที่ประสบ ความส�าเร็จคือใครก็ตามที่สามารถท�าอะไรที่ เข้าท่าเข้าทางโดยไม่ซ�้ากับสิ่งที่เคยเกิดขึ้นมา ก่อน และภาพถ่ายเดีย๋ วนี้ในต่างประเทศมีราคา issue 11 baccazine

4 3


แพงมาก เพราะมีนักสะสมที่ ให้ความส�าคัญกับ งานด้านถ่ายภาพมาก แต่ ในบ้านเราภาพถ่าย แทบจะขายเป็นงานศิลปะไม่ได้เลย เพราะอย่าง ที่บอก ประการแรกคือเรายังไม่มีนักสะสมที่ ให้ ความส�าคัญหรือเห็นคุณค่าของงานในลักษณะนี”้ 05 นักสะสม ดัชนีชวี้ งการภาพถ่าย “นักสะสมก็เป็นตัวชี้เหมือนกัน เพราะเขา เป็นคนซื้องาน ฉะนั้นช่างภาพที่ท�างานในแนว สมัยใหม่ท่ีจะประสบความส�าเร็จสูงจึงมักต้อง ไปขายงานในต่างประเทศ เพราะในประเทศนัน้ แทบจะเรียกได้วา่ ยังไม่เกิดขึน้ แต่เราก็พยายาม ที่จะท�าอยู่ อีกประการหนึ่งคือภาพถ่ายเป็นงาน ทีส่ ามารถผลิตออกมาจ�านวนไม่จา� กัด ไม่เหมือน ภาพเขียนทีเ่ ขียนเสร็จรูปหนึง่ ก็จบ หรืองานทีเ่ ป็น ชิน้ เดียว ในขณะทีน่ กั สะสมจะมีความรูส้ กึ ว่า ถ้า ซื้องานภาพถ่ายเดี๋ยวช่างภาพก็ไปท�าขายคนอื่น อีกสารพัดขนาด สารพัดจ�านวน ในต่างประเทศ จึงเกิดเรือ่ งของลิมเิ ต็ดอิดชิ นั่ ขึน้ คือการก�าหนด จ�านวนซึ่งเป็นเหมือนค�ามั่น สัญญาของศิลปิน ว่าภาพนี้เขาจะผลิตขึ้นมาจ�านวนไม่เกินกี่ภาพ สมมุติภาพนี้จะท�าแค่สิบภาพจากนั้นจะไม่ท�าอีก เลย แล้วก็เซ็นชื่อก�ากับ ซึ่งเป็นสิ่งหนึ่งที่ท�าให้ ภาพถ่ายมีคุณค่าขึ้นมาในท้องตลาด แต่ในบ้าน เรายังไม่ค่อยแพร่หลายนัก ขณะนี้ทางสมาคม ถ่ายภาพฯ ของเราก็พยายามรณรงค์ให้ชา่ งภาพ ทีส่ นใจด้านงานทีเ่ ป็นศิลปะพยายามสร้างคุณค่า โดยการก�าหนดจ�านวน เป็นการให้คา� มัน่ สัญญา ว่าเราจะท�าเพียงเท่านี้ ซึ่งเป็นส่วนที่ท�าให้นัก สะสมมีความรู้สึกว่าเอาล่ะ เขาซื้อภาพถ่ายไป แล้วไม่ใช่ว่าวันรุ่งขึ้นภาพที่เขาซื้อไปจะมีขายอยู่ ในทีอ่ นื่ ๆ ใบละร้อยสองร้อยบาท ในขณะทีช่ า่ งภาพก็อยากจะได้ใบละหมื่น คือหากขายใบละ หมื่นเสร็จแล้วมีจ�านวนไม่จ�ากัดมันก็ไม่มีคุณค่า สิ่งนี้ก�าลังเริ่มเกิดขึ้นในเมืองไทย คาดว่าอาจ จะต้องอาศัยเวลา เพราะจิตวิทยาของนักสะสม ภาพถ่ายอย่างหนึ่งคือ ต้องมีเพื่อนเล่น ต้องมี คูแ่ ข่ง ต้องมีคนเอาไว้อวด ของฉันมีแล้วของเธอมี หรือยัง ถ้าเรามีภาพถ่ายของช่างภาพคนนีค้ นอืน่ ก็ตอ้ งอยากมีบา้ ง หาไม่ได้ตอ้ งไปซือ้ คือมันต้อง มีแบบนี้ ในวงการภาพถ่าย แต่ตอนนี้ยังไม่เกิด 44

baccazine issue 11

ขึน้ เพราะยังมีความรูส้ กึ ว่าภาพถ่ายเป็นของง่ายๆ ต้นทุนถูก ท�าจ�านวนเท่าไรก็ได้ แต่ถ้าวันหนึ่งมี การรวมตัวกัน ประการแรกเลยคือผลงานต้องดี ก่อน เข้าระดับมาตรฐานสากล มีความสนใจของ นักสะสมทีเ่ หมือนเป็นกระแสขึน้ มา ก็จะสามารถ ท�าให้วงการนีเ้ จริญเติบโตไปข้างหน้าได้ “ผลงานที่ดีเกิดขึ้นจากปัจจัยหลายๆ อย่าง โดยปกติแล้วคือความชอบของบุคคล ถ้ารูปนัน้ ๆ มีคนชอบมากจนเป็นกระแส ก็อาจถือได้ว่าเป็น ผลงานที่ดีในสายตาคนส่วนมากและคนที่อยาก ได้ ส่วนปัจจัยทีส่ า� คัญอีกอย่างหนึง่ ในปัจจุบนั คือ คิวเรเตอร์ ซึง่ เข้ามามีบทบาทมาก ถ้าผลงานของ ช่างภาพคนใดไปเข้าตาคิวเรเตอร์แล้วคิวเรเตอร์ น�ามาเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริมให้เกิดการรับรู้ ขึน้ ในวงกว้าง ยิง่ กว้างเท่าไร ยิง่ ไปสูต่ า่ งประเทศ เท่าไร โอกาสก็จะดียงิ่ ขึน้ ” 06 ภาพถ่ายศิลปะในมุมมองของนิติกร กรัยวิเชียร “ผมจะไม่ระบุเลยว่าภาพไหนเป็นศิลปะ ภาพ ไหนไม่เป็นศิลปะ เพราะผมถือว่าคนที่ท�างาน ตัง้ ใจให้มนั เป็นงานศิลปะแล้วมีจติ ใจแบบนัน้ ผม ก็ถอื ว่าเป็นงานศิลปะ คือเราจะไปบอกว่างานนี้ใช่ งานนัน้ เชยไม่ใช่ศลิ ปะไม่ได้ มันเสีย่ งมาก แล้วเรา มีสทิ ธิอ์ ะไรทีจ่ ะไปบอกอย่างนัน้ ในบทบาทของ สมาคมถ่ายภาพฯ ที่ท�าอยู่ทุกวันนี้เราสนับสนุน ทุกแนวทาง คนที่ชอบถ่ายรูป ในลักษณะของ จารีตประเพณีแบบเดิมเขาก็มีความสุขของเขา แบบนัน้ เขามีกลุม่ คนทีช่ นื่ ชม คนทีเ่ บือ่ แบบนัน้ เขาก็มีสิทธิ์ที่จะไม่ชอบ มีสิทธิ์จะแหวกแนวไป ท�าอะไรใหม่ๆ ซึ่งเราไม่มีสิทธิ์ไปบอกว่าอันนั้น ดี อันนั้นเชย แต่เรามีสิทธิ์ที่จะชอบหรือไม่ชอบ แต่ละคนก็มีความชอบของตัวเองที่ ไม่เหมือน กัน ผมชอบงานหลายๆ แนวและพยายามเรียนรู้ อยู่เรื่อยๆ เพราะทุกวันมีอะไรที่เกิดใหม่ออกมา ตลอดเวลา จึงต้องพยายามท�าความเข้าใจ เช่น บางรูปทีม่ ชี อื่ เสียงโด่งดังในต่างประเทศแล้วเรา ไม่ได้เห็นคุณค่าหรือคิดว่าดียังไง เราก็พยายาม ท�าความเข้าใจว่ามันเกิดจากอะไร รูปนี้ดีเพราะ อะไร คือตัวผมเองยอมรับว่ายังใหม่กบั สิง่ เหล่านี้ แต่กพ็ ยายามเรียนรูท้ กุ วัน”

07 นักถ่ายภาพบุคคล “โดยส่วนตัวผมชอบถ่ายภาพคนมาตั้งแต่ เด็กๆ อาจเป็นเพราะว่ามีความสนใจเรือ่ งบุคคล ต่างๆ ที่เราถ่ายภาพ เวลาถ่ายรูปแล้วเอารูป ให้เขาดู เขาเกิดความรู้สึกประทับใจ อันนั้นก็ เป็นความสุขอย่างหนึ่งของเรา แต่ว่าเมื่อมา ท�างานแล้ว งานถ่ายภาพบุคคลเป็นงานหนึ่งซึ่ง มีเสน่ห์อยู่ในตัว เพราะคนเราทุกคนมีช่วงเวลา ทีเ่ ปลีย่ นแปลงตลอดเวลา และเปลีย่ นแปลงเร็ว ปีต่อปีก็เปลี่ยนแล้ว ไม่ว่าจากเด็กเป็นผู้ใหญ่ จากผูใ้ หญ่เป็นคนสูงอายุ เป็นคนแก่ แล้วก็จาก ไป ภาพถ่ายจะเก็บช่วงขณะเวลาทีเ่ ราถ่ายไว้ได้ ฉะนั้นเวลาที่ผ่านไปหลังจากที่เราถ่ายภาพนั้น แล้ว ภาพถ่ายทุกภาพก็จะมีค่าขึ้นมาในตัวของ มันเอง เพราะเป็นสิง่ บันทึกความทรงจ�า เป็นส่วน หนึง่ ของการบันทึกประวัตศิ าสตร์ โดยเฉพาะถ้า เป็นบุคคลซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั ของคนทัว่ ไปก็จะมีความหมายมากขึน้ เพราะว่าเวลาผ่านไปแล้วตัง้ แต่จาก


my studio

ผมจะไม่ระบุเลยว่า ภาพไหนเป็นศิลปะ ภาพไหนไม่เป็นศิลปะ เพราะผมถือว่าคนทีท ่ า� งาน ตัง้ ใจให้มน ั เป็นงานศิลปะ แล้วมีจต ิ ใจแบบนัน ้ ผมก็ถอ ื ว่าเป็นงานศิลปะ

วัยหนึ่งเปลี่ยนไปสู่อีกวัยหนึ่ง จนกระทั่งจากไป ความเปลี่ยนแปลงเห็นได้ชัดเจน สามารถเก็บ ภาพเหล่านี้ ไว้ให้คนรุ่นหลังที่ ไม่เคยเห็นบุคคล เหล่านี้ได้เห็น นี่จึงเป็นแรงบันดาลใจส่วนตัวที่มี ความประทับใจกับภาพถ่ายในเรือ่ งบุคคล” 08 ภาพถ่ายพระฉายาลักษณ์...ทีส่ ดุ ของชีวติ “สมัยผมไปเรียนทีเ่ มืองนอก กลับมาก็ตงั้ ใจ ว่าอยากถ่ายภาพบุคคลส�าคัญในเมืองไทยเก็บไว้ เพือ่ วันหนึง่ อาจแสดงนิทรรศการหรือท�าหนังสือ อะไรก็แล้วแต่ และท่านหนึง่ ทีผ่ มอยากถ่ายภาพ มากที่สุดตั้งแต่เด็กๆ ก็คือสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพราะทรงเป็น เจ้านายที่ผมเทิดทูนบูชา คนไทยทั้งประเทศรัก ท่าน และเป็นบุคคลทีท่ รงมีความน่ารัก คือเป็น เจ้านายที่ทรงมีพระเมตตามาก ผมใฝ่ฝันตลอด มา พอกลับมาเมืองไทยหลังจากทีเ่ รียนถ่ายภาพ ทีอ่ เมริกาแล้วจึงได้ทา� เรือ่ งขอพระราชทานพระ-

ราชานุญาตเพือ่ ถ่ายภาพท่าน ได้รบั พระราชทาน ครั้งแรกในปี 2532 จากที่ถ่ายครั้งแรกมีรูปที่ดี ออกมาก็นา� ไปทูลเกล้าถวาย และกราบบังคมทูล ว่าขอพระราชทานโอกาสมาถ่ายท่านอีกปีละครัง้ ท่านก็พระราชทานพระเมตตาให้ไปถ่ายเรือ่ ยมา แต่มาหลังๆ มีเว้นช่วงห่างไปบ้าง เพราะพระราชกรณียกิจท่านมากขึน้ จึงไม่มเี วลามากพอให้ถา่ ยได้ แต่ทกุ ครัง้ ทีถ่ า่ ยจนกระทัง่ ครัง้ สุดท้ายก็ยงั ตืน่ เต้น เหมือนครัง้ แรกทุกครัง้ และก็คอย คือเวลาทีถ่ า่ ย เสร็จแล้วท่านทรงน�าภาพของเราไปใช้งาน ไป พระราชทานให้หน่วยงานต่างๆ หรือตามหน่วยงานที่ขอมา เวลาท่านเสด็จพระราชด�าเนินไป ต่างประเทศ ไปพบแขกต่างประเทศ หรือผู้น�า ต่างประเทศ ท่านก็ใช้รปู ของเราพระราชทาน ซึง่ เป็นความภาคภูมใิ จของผมเป็นอย่างยิง่ ลักษณะ งานของผมจะเป็นออฟฟิเชียลพอร์เทรต คือการ เซตถ่ายอย่างเป็นทางการ ซึง่ เป็นงานทีผ่ มถนัด จริงๆ เวลาถ่ายจะเกร็งมาก ไม่มที ไี่ ม่ตนื่ เต้น เดีย๋ วนี้

ก็ยงั เป็นครับ ส�าหรับในโอกาสฉลองพระชนมายุ ห้ารอบ 2 เมษายน 2558 ผมได้ขอพระราชทาน พระราชวโรกาสไปฉายพระรูปท่านแล้ว ภายในปี นีน้ า่ จะได้มผี ลงานออกมา” 09 ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “ผมมองท่านว่าเป็นผู้ที่มีสายตาเป็นศิลปิน ท่านไม่ได้เป็นช่างภาพมืออาชีพ แต่ทรงมีสายตา ที่พิเศษ คือช่างสังเกตในสิ่งที่คนอื่นอาจมองไม่ เห็น ทรงต้องการเรียนรู้ในความแตกต่าง คือ พยายามหาสิง่ ใหม่ๆ แต่หลายๆ ภาพทีท่ า่ นถ่าย ท่านเป็นโดยธรรมชาติ คือท่านสนพระทัยในสิง่ ต่างๆ รอบตัวและถ่ายทอดออกมาได้อย่างน่า สนใจ ทั้งๆ ที่บางทีดูเป็นเรื่องธรรมดา เป็นรูป ธรรมดา นอกจากถ่ายภาพท่านยังทรงมีพระปรีชาสามารถอีกหลากหลาย ทรงพระปรีชา สามารถในทุกแขนง” issue 11 baccazine

4 5


“I started by using easy point-and-shoot cameras with 126 film, the quality wasn’t good but I really enjoyed it. I also saved some money to buy a better camera later. The turning point of photography world that I noticed was the arrival of the digital camera. It completely changed everything, before that photography was very expensive, the equipment and film developing both cost a lot, so you have to think and check everything before you click the shutter, and get a little nervous about the result. Today it’s much cheaper and easier; you just shoot and see the photo right there.”

PORTRAITS OF LIFE NITIKORN KRAIVIXIEN Nitikorn Kraivixien, President of the Royal Photographic Society of Thailand (RPST) under the Royal Patronage, is a renowned portrait photographer in Thailand, known especially for his royal portraits of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn that we normally see (in official usage) across Thailand. Baccazine had a chance to sit and talk with him about his work and life.

Tanin Kraivixien, Privy Councillor) as he also enjoyed taking photographs since his college years, he took it seriously to the point that he even had a dark room to develop his films while studying in England. He took lots of portraits of his kids and family and that’s quite rare during that time. Those childhood photos inspired me to follow my dad’s footsteps in photography, but he wasn’t a professional so he couldn’t teach me everything, so eventually, I had to study 01 The Beginning “My hero in photography is my dad (H.E more by myself. 46

baccazine issue 11

02 From Film to Digital “Like I said, before digital cameras, taking photos wasn’t easy and everything had high costs, so before you shoot any photos you’d have to be careful and understand all functions of the camera, but right now you can just point and shoot, theory or technique isn’t required. Compared to photographers in the film era, they’d have better fundamental knowledge and technique than the new generation, but if you aren’t concerned much about technique, I don’t think it’s a big deal. Nowadays, photography is more about perception and concept than technique, however, if you have a strong basis that would be even better as you can turn and present your imagination to real photos better than those who have no basis.” 03 Photography in Thailand “Digital cameras make photography cost less, buy a camera and the rest is almost free, so this makes photography more popular. Also smartphones allow people to shoot almost anywhere anytime and it has become a daily activity. The photography society also became more active both from foreign influences and younger generation’s new aspects. This could be called a golden time for photography since there are more and more people interested in photography, and also many nice exhibitions in Thailand, I think


my studio

this growth is very important to photography this limited edition system, which is like a in Thailand.” promise from the artists that they will produce their works in limited numbers and never do 04 Recent Photography Development in it again and also sign on the photographs, Europe, America, and Asia so that adds value to the photograph, but it “In terms of technique, I don’t think isn’t popular in Thailand yet. RPST is trying there’s much difference as most equipment to make this happen too, but it will definitely and technology is similar, but Europe and take time. America is significantly different from us in “Good art work consists of many factors. terms of concept and acceptance of new Normally, it’s based on ‘like’, if there’re ideas. It’s still quite difficult for Thai society many people who like that work, it can be to open to something new, but I can see considered a good work for a large group the situation is improving. Photography has of people or someone who wants to buy it. developed for more than 200 years and every Another key factor for today is the curator, style of photos is already taken or used so it’s if your works are selected and curated at a quite hard for new photographers who want gallery, public space, or abroad, then more to create their unique identities or styles. people will know more about you and your Then some of them try to take weird or crazy opportunities will increase.” photos, which are sometimes interesting, but it’s also quite difficult for public to accept 06 Art Photography in His Eyes or like them at the beginning. There’s still a “I won’t say which photograph is art, thin line between crazy stuff and art, but for which is not, because I think if someone , me it’s a way to escape the cliched things. has worked hard and thinks it is art, then it This is a new trend that artists in Europe, is. We don’t have the right to say this one America, or Japan use. Successful artists are is good, this one is bad. One of RPST’s roles those who can create something cool without is to support all kinds of styles, and each following the traditional or popular styles. person has their own style and interests. I like Now in western countries, photographs can various kinds of style, and always try to learn be sold for very high price because collectors something new as often as I can because see the importance of this art, but in Thailand there’s something new happening all the we rarely sell them as art pieces, like I say, time - such as photos where we don’t see we don’t have many collectors that see its beauty or value, but are very famous, so I’d importance or value.” try to learn the reason or its aesthetic that I might not realize yet.” 05 Collectors, Index of Photography World “Collectors are one of a key index to 07 Portrait Photographer value photography because they are buyers, “Personally, I liked taking portrait photos most of the new successful photographers since I was young. Maybe because I’m quite will go abroad to sell their works as it’s quite interested in those people, and when I showed difficult in our country, but RPST is also them the photos and they were impressed, it working on that. One factor is photography made me happy. Portrait photography has its can be reprinted or produced in unlimited own charms as people change all the time numbers, not like painting where there’s and it happened every year, photographs only one of a kind, so collectors may not help you record those moments and when feel the need to collect those works that can time passed each portrait will have more reproduce anytime or sell in a large volume. value because they contain memory, or So photographers abroad started setting up maybe part of history if those people are

famous. Younger generations can also see and learn about them in the future, so it’s one of my inspirations for portrait photography.” 08 The Royal Portraits “While I was studying abroad, I had the determination to take portraits of famous people in Thailand so someday I could have an exhibition or a book. One person that I wanted to take the portrait of since I was young is HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn, our beloved and kind princess, so when I returned to Thailand, I asked for royal permission to take the Princess’s portrait, which Her Royal Highness kindly gave me in 1989 and since then it became an annual activity, until lately due to busy schedule of her royal duties. I am still excited every time I take her portraits since the first time till today, and Her Royal Highness will use them as official portraits giving to organizations or those who asked for permission to use, or even to present them to foreign guests. It’s one of the proudest things in my life. “To celebrate the Occasion of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 60th Birthday, I also asked for permission to take the princess’ portraits, and think there should be an exhibition or show within this year.” 09 Photography by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn “HRH Princess has the eye of an artist, even she isn’t a professional, but she has keen eyes for details many people may not notice. She likes to learn something different, to find something new. You can see many of her photos look so natural that shows how she pays attention to everything around her and can present them in an interesting way even though some of them look quite normal or represent ordinary things in real life. Besides photography, she also has many other talents and I can say that the princess can do them all well.”

issue 11 baccazine

4 7


place for passion

SHANNTA

แฮนด์เมดจิวเวลรี่ จินตนาการไม่สน ้ิ สุด COLUMNIST : BARRY PHOTO : ANUCH

เรียกว่าเป็นนวัตกรรมใหม่ของเครือ่ งประดับเงินก็วา่ ได้ เมือ่ Shannta โดยคุณปัม๊ -ดิศนิติ โตวิวฒ ั น์ เจ้าของบริษทั ฌาณตา ร่วมกับอาจารย์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คิดค้น Silver Clay ซึง่ เป็นดินที่ ประกอบด้วยเนือ้ เงิน 93-96 เปอร์เซ็นต์ สารเติมแต่งและน�า้ 4-7 เปอร์เซ็นต์ เป็นวัสดุธรรมชาติ ไม่มี สารพิษ ง่ายต่อการขึน้ รูป ใช้เวลาผลิตน้อยลงเมือ่ เทียบกับเทคนิคการหล่อโลหะปกติ หลังจากเผาแล้ว ชิน้ งานจะกลายเป็นเงินบริสทุ ธิ์ 100 เปอร์เซ็นต์ เหมาะส�าหรับท�าเครือ่ งประดับ ของทีร่ ะลึก และของ ตกแต่ง การันตีมาแล้วด้วยรางวัลมากมายจากทัง้ ในและต่างประเทศ แม้ไม่ได้เรียนด้านจิวเวลรีด่ ีไซน์ แต่ทกุ คนก็สามารถมาเติมแต่งจินตนาการได้ดว้ ยสองมือและความคิดของตัวเอง เสก Silver Clay ให้ กลายเป็นชิน้ งานเฉพาะตัวทีม่ ชี นิ้ เดียวในโลก โดยคอลเล็กชัน่ ล่าสุดของ Shannta คือ Origami ซึง่ ปัน้ เป็นรูปนกกระดาษ ประดิษฐ์ออกมาเป็นแหวนและสร้อยทีท่ งั้ สวยงามและทรงคุณค่า นอกจากคิดค้นประดิษฐ์ชนิ้ งานเครือ่ งประดับสุดชิค ทีน่ ยี่ งั มีเปิดสอนเวิรก์ ช็อป D.I.Y. ตัง้ แต่เวลา 10.00-17.00 น. มีเหล่าผูม้ หี วั ใจศิลปะสนใจมาร่วมเรียนรูก้ รรมวิธกี นั มากมายตัง้ แต่เด็กๆ วัย 4 ขวบ ไปจนถึงผูใ้ หญ่วยั 70 กว่า มีคอร์สให้เลือกคือ “Silver Clay 5 กรัม” ค่าเรียน 1,800 บาท สามารถ สร้างสรรค์จหี้ รือตุม้ หูได้หนึง่ คู่ “Silver Clay 10 กรัม” ค่าเรียน 2,300 บาท ท�าแหวนได้หนึง่ วง และ “Silver Clay 15 กรัม” ค่าเรียน 2,500 บาท ท�าแหวนได้ 2 วง (ขึน้ อยูก่ บั ขนาดนิว้ มือ) โดยกระบวนการ ท�าจีแ้ ละตุม้ หูตงั้ แต่ปน้ั อบ จนกระทัง่ เผาจนออกมาเป็นชิน้ งานนัน้ ใช้เวลา 2 ชัว่ โมง แต่หากท�าแหวน จะใช้เวลา 5 ชัว่ โมงขึน้ ไป เนือ่ งจากต้องใช้เวลาในการขึน้ ตัวเรือน อบ และเผา หรือถ้าใครอยากกลับ ไปท�าเองทีบ่ า้ น ทีน่ กี่ ม็ ชี ดุ สตาร์เตอร์คติ ให้ดว้ ย ประกอบด้วยดิน 10 กรัม พร้อมอุปกรณ์ครบชุดจาก ต่างประเทศ ทีส่ ามารถน�าไปปัน้ แล้วเผากับเตาแก๊สได้ หลังจากเผาเสร็จใช้ดรายเป่าผมเป่าก็จะได้ชนิ้ งานออกมา อีกทัง้ ยังสามารถน�าเข้าไมโครเวฟได้ดว้ ย Silver Clay ให้ความสะดวกสบายในการเป็นดีไซเนอร์จิวเวลรี่ด้วยตัวเองอย่างนี้ ขอยกให้เป็น นวัตกรรมทีส่ ดุ ล�า้ กันไปเลย ใครสนใจอยากสร้างสรรค์ผลงานทีม่ ชี นิ้ เดียวในโลก ตรงดิง่ กันไปเลยที่ Shannta

SHANNTA…the endless imagination SHANNTA is a unique handmade jewellery made from silver clay. Dhiti Towiwat, the owner of SHANNTA, together with instructors from Chulalongkorn University, invented the nano silver clay that consists of 93-96% silver clay and 4-6% natural additives and water. This clay is non-toxic and easy for shaping and molding, and takes less time to produce than normal silver. Also after firing in the kiln, the silver clay turns into 99% silver jewellery. These qualities make the clay great for making jewellery, home decorations and other accessories. SHANNTA has delivered many unique handmade collections of well-crafted jewellery and accessories, as well as DIY silver making classes for those who are interested in making their own, beginners of all ages are also welcomed. Located on the 3rd floor of Bangkok Art and Culture Centre, SHANNTA provides the classroom, tools, and kiln, so you can make your own high quality jewellery within a few hours. Currently, three levels of classes are offered ranging from 1,300 baht for a 2-hour class where one silver piece is made to 3,800 baht for a 3-4 hour class where up to 4 items of silver jewellery are made.

SHANNTA 3rd floor of the Bangkok Art and Culture Centre Open: Tuesday-Sunday from 10.30 am-08.00 pm

Tel. 0-2214-3018 www.shannta.com www.facebook.com/shanntaclub

48

baccazine issue 11


ลานศิลปิน ศิลปะ COLUMNIST : BARRY PHOTO : ANUCH

ให้นยิ ามตัวเองว่าเป็นศิลปินข้างถนน ส�าหรับ กลุม่ 4 ศิลปิน ได้แก่ สุขมุ เกสรสิทธิ,์ ประเสริฐ พุทธสอน, นโรดม เขม้นเขตวิทย์ และกิติพัฒน์ เอกอนันต์สริ ี ทีเ่ คยเขียนรูปมาแล้วหลากหลายแห่ง ตัง้ แต่ตลาดนัดยันห้างสรรพสินค้าชือ่ ดัง และตาม งานอีเวนต์ตา่ งๆ ตอนนีพ้ บพวกเขาทัง้ สีค่ นได้แล้ว ที่ชั้น 2 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยศิลปินทัง้ สีย่ ดึ เอามุมด้านหนึง่ ไม่ไกลจากบันได เลือ่ นเป็นทีส่ ร้างสรรค์ผลงานภาพเขียน แต่ละท่าน

มีเทคนิคการเขียนรูปเฉพาะตัว ใครชอบแบบไหน สามารถเลือกให้ศลิ ปินเขียนได้ ทัง้ ชาโคล อะคริลิก สีนา�้ สีนา�้ มัน หมึกด�า ฯลฯ ราคาตัง้ แต่ 2001,500 บาทขึน้ อยูก่ บั เทคนิคที่ใช้ ราคาภาพวาดนี้ เมือ่ เทียบกับคุณค่าทางจิตใจบอกได้เลยว่าคุม้ สุด คุม้ ใครไม่สะดวกนัง่ นิง่ เป็นหุน่ ให้ศลิ ปินเขียนสด ก็สามารถทิง้ รูปถ่ายไว้ให้วาดได้เช่นกัน ส�าหรับใครทีช่ อบภาพการ์ตนู ล้อเลียนแนะน�า ให้ไปหาคุณประเสริฐ พุทธสอน เพราะลีลาการ วาดภาพการ์ตนู ล้อเลียนนัน้ สนุกสนานและน่ารัก ส่วนใครชอบภาพพอร์เทรตแบบสวยเนี้ยบต้อง ไปหาคุณสุขุม ที่โดดเด่นด้วยลายเส้นละเอียด นุม่ นวล ใครชอบลายเส้นแบบสดๆ มันๆ ฉับพลัน

จัดจ้าน โดยเฉพาะเทคนิคชาโคล แนะน�าให้ไป เป็นแบบให้คณ ุ นโรดมวาด ใช้เวลา 25 นาทีโดย ประมาณคุณก็จะได้ภาพพอร์เทรตเท่ๆ กลับไปไม่ ผิดหวัง ส่วนคุณกิตพิ ฒ ั น์หรือที่ใครๆ เรียกกันว่า โรเบิร์ตนั้น นอกจากวาดภาพได้ทุกเทคนิคและ รูปแบบแล้ว ยังมีความน่าสนใจตรงทีก่ ารน�าเศษ วัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นงานประติมากรรมได้ อย่างน่าทึง่ โดยมีผลงานต่างๆ โชว์ให้ได้ชมกันที่ หน้าลานวาดรูปด้วย อีกทัง้ ยังสอนศิลปะฟรีๆ ให้ ผูท้ สี่ นใจ มีลกู ศิษย์มากมายทีม่ าเรียนกับเขา หนึง่ ในนัน้ ได้ดบิ ได้ดเี อนทรานซ์ตดิ คณะวิศวกรรมไป แล้ว คุณกิติพัฒน์บอกว่านี่คือการให้ เนื่องจาก เขาเคยขาดมาก่อน ขาดโอกาส ไม่มเี งินติวศิลปะ ฉะนัน้ เมือ่ วันหนึง่ เขามี จึงอยากแบ่งปันความรูใ้ ห้ ลูกศิษย์โดยไม่มกี กั๊ และไม่คดิ เงินสักบาทเดียว แต่ละวันมีผคู้ นทัง้ ไทยและต่างชาติแวะเวียน ไปนั่งเป็นแบบให้ทั้งสี่ศิลปินวาดภาพกันอย่าง ครึกครื้น ทั้งศิลปินและนายแบบนางแบบต่างมี ความสุขกันถ้วนหน้า เหมือนทีศ่ ลิ ปินกลุม่ นีบ้ อก ไว้จริงๆ ว่า “ศิลปะคือความงาม นัง่ เขียนที่ไหน มันก็คอื ความงาม” LAAN SILAPIN–SILAPA The Playground of Art & Artists Sukhum Kesornsit, Prasert Buddhasorn, Narodom Kamenketwit, and Kitipat Ekanansiri – all are veteran artists who called themselves ‘Street artists’ - drawing or painting a likeness or caricatures. They had worked in many places, from flea markets, special events, to famous department stores, but now they decided to settle on the 2nd floor of BACC. Their place to create pieces of art is located at a corner, not far from the escalator. Each of them use different technique and style from charcoal sketching, water color painting, black ink, to mixed media and caricature. The price ranges from 200 to 1,500 Baht depending on the technique and details, so you can choose which one that match your interest and budget.

LAAN SILAPIN 2nd floor of the Bangkok Art and Culture Centre Open: Tuesday–Sunday from 10.30 am-08.00 pm

issue 11 baccazine

4 9


bacc exhibition

CROSSOVER

THE UNVEILED COLLECTION ศิลปะและนักสะสม

COLUMNIST : MODDUM

รสนิยมการสะสมงานศิลปะถือก�าเนิดขึ้นใน ชนชั้นสูง ณ ซีกโลกตะวันออกมาเป็นเวลานาน เหลือคณานับ ก่อนแพร่หลายเข้าสูแ่ ดนสยามเมือ่ ครั้งอดีตกาล โดยเฉพาะในยุครัตนโกสินทร์ท่ีมี การสะสมงานอาร์ตในฐานะ “ของเก่า” อันเปีย่ ม ด้วยคุณค่า กระทัง่ พระพุทธเจ้าหลวงรัชกาลที ่ 5 ทรงเปิดพระทีน่ งั่ ประพาสพิพธิ ภัณฑ์ให้ประชาชน ชื่นชมความงดงามของศิลปะซึ่งมีทั้งคุณค่าทาง ประวัตศิ าสตร์และสุนทรียะ เกริ่นย้อนหลังไปไกลให้หลับตาจินตนาการ ถึงความฮอตฮิตในการสะสมข้าวของที่ยังคงมี เสน่ห์ไม่เสื่อมคลายมาจนถึงปัจจุสมัย ณ ห้วง เวลาที่ศิลปะยังคงท�าหน้าที่ของมันเฉกเช่น ที่ เคยเป็นมา จึงมี “นักสะสม” ผลงานอันน่าทึ่ง 50

baccazine issue 11

จากศิลปินด้วยเหตุผลหลากหลาย และ “ครอสโอเวอร์” ก็คือนิทรรศการที่หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานครภูมใิ จน�าเสนอ เพือ่ ให้ผชู้ ม ได้สะสมความสุข แนวคิด และแรงบันดาลใจจาก งานศิลป์ในคอลเล็กชัน่ สุดพิเศษทีค่ รอบครองโดย เอกชนอย่างเป็นทางการเป็นครัง้ แรก นิทรรศการดังกล่าวถือก�าเนิดขึ้นเนื่องจาก แนวคิดที่มาบรรจบกันอย่างเหมาะเจาะระหว่าง “ประวัติศาสตร์ศิลปะ” ในเมืองไทยที่มีบริบท เฉพาะ กับ “ประวัตศิ าสตร์การสะสม” ทีเ่ กิดจาก ทรรศนะอันหลากหลายของผูค้ นในแวดวงศิลปะ เป็นเวลาหลายสิบปีที่ “นักสะสมกิตติมศักดิ์” หลายท่านทุ่มเทช่วงเวลาในชีวิตอย่างมากมาย ให้แก่การศึกษาข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ศิลป์

กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมนิทรรศการ มี ปฏิสัมพันธ์กับศิลปิน รวมถึงเก็บรักษางานของ ศิลปินอย่างทะนุถนอมไม่ให้สูญหายเสื่อมค่าไป ตามเข็มวินาทีที่เคลื่อนผ่าน อีกทั้งยังเป็นการ สนับสนุนวงการศิลปะให้สามารถด�ารงคงอยู่ได้ อย่างสง่างาม คงไม่มากเกินไปหากจะกล่าวว่านิทรรศการ ครั้งนี้พร้อมน�าเสนอผลงานล�้าค่าอย่างเหลือล้น ในวงการศิลปะไทย ดังเช่นภาพจิตรกรรมชุด “จักรวาล” ที่ชวนให้เพลิดเพลินกับความงดงาม อย่างเป็นอุดมคติทสี่ ะดุดตาด้วยสีสนั และรูปแบบ อันเป็นเอกลักษณ์ ภายใต้การสร้างสรรค์โดย ศิลปินชัน้ ครู “ประเทือง เอมเจริญ” และอีกหนึง่ ผลงานที่พลาดไม่ได้คือจิตรกรรม “ชุดทศชาติ”


issue 11 baccazine

5 1


โดยศิลปินแห่งชาติผู้ล่วงลับนาม “ถวัลย์ ดัชนี” ที่อยู่ภายใต้แนวคิดเรื่อง 10 ชาติสุดท้ายพระโพธิสตั ว์ ก่อนจะเสวยพระชาติเจ้าชายสิทธัตถะ แห่งศากยวงศ์หรือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อีกหนึง่ ไฮไลต์ของนิทรรศการฯ ยังอยูท่ กี่ าร “เปิดตัว” นักสะสมชาวไทยอย่างเป็นทางการ สิง่ ส�าคัญกว่าการได้พบปะท�าความรูจ้ กั บุคคลเหล่า นัน้ คือการได้ศกึ ษาเรือ่ งราวของนักสะสมผูเ้ ปรียบ เสมือน “นักบุกเบิก” และค้นพบดินแดนใหม่ของ ความงามอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมแห่งยุค สมัย เพราะงานศิลป์ทงั้ หลายในนิทรรศการจะพา ผู้ชมนั่งไทม์แมชชีนย้อนกลับไปในช่วงเวลาของ การรับอิทธิพลลัทธิสมัยใหม่ (Modernism) จาก ตะวันตก จนมาถึงผลงานในช่วงเวลาส�าคัญของ ศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย (Contemporary 52

baccazine issue 11

Art) ถือเป็นเส้นทางของการผสมผสานศิลปะด้วย รูปแบบและเทคนิคสากลที่อบอวลด้วยกลิ่นอาย ของจิตวิญญาณตะวันออกอย่างแท้จริง ด้วยเหตุนจี้ งึ ช่วยจุดประกายความคิดและแรง บันดาลใจให้ศิลปินรุ่นใหม่และบุคคลธรรมดาที่ ล้วนมีมุมพิเศษในตัวเองให้เรียนรู้สิ่งต่างๆ ผ่าน ผลงานศิลปะจากนักสะสมกว่า 10 ท่าน เช่น เพชร โอสถานุเคราะห์, ณรงค์ อิงค์ธเนศ, กิตติโชติ หริตวร, กิตติภรณ์ ชาลีจนั ทร์, ปริญญ์ จิราธิวฒ ั น์, ฉัตรวิชยั พรหมทัตตเวที, ชอง มิเชล, นพ.สมรัช หิรญ ั ยะวะสิต ฯลฯ ผ่านมุมมองและการคัดสรร จาก 2 ภัณฑารักษ์รบั เชิญ ได้แก่ ธวัชชัย สมคง และชล เจนประภาพันธ์ นีค่ อื นิทรรศการทีอ่ าจเปลีย่ นความรับรูท้ เี่ ชือ่ มโยงกับค�าว่า “นักสะสม” ของคุณไปตลอดกาล

Crossover

เข้าชมได้ตงั้ แต่วนั นี-้ 14 มิถนุ ายน 2558 ห้องนิทรรศการหลัก ชัน้ 7 สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โทร. 0-2214-6630-8 www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage Crossover: The Unveiled Collection Crossover: The Unveiled Collection started with the aim of merging the history of Thai art, which is characterized by its specific context, with the history of art collecting, which has


bacc exhibition

been formed by a variety of perspectives in the art scene. For several decades, many respected Thai collectors have devoted their time and effort studying art history, visiting exhibitions, meeting artists, and preserving works of art from the ravages of time. Some collectors can be considered as pillars of the Thai art community and now, with their help, we have the opportunity to present major works in Thai art history, including Pratuang Emjaroen’s “Jak Kra Wan” (The Universe), and Thawan Duchanee’s “The Nemi Jakata” (ten incarnations of the Buddha). This exhibition will be the first time for some prestigious works in private collections

to be shown to the public, as well as the first official introduction of some Thai collectors such as Petch Osathanugrah, Narong Intanate, Kittishote Haritaworn, Kittiporn Jalichandra, Prin Chirathivat, Chatvichai Promadhattavedi, Jean-Michel Beurdeley, Dr. Somratch Hiranyawasit, and more. All works were selected and curated by 2 guest curators: Tawatchai Somkong and Chol Janepraphaphan. Major works will bring the audience back to various periods in history, from the arrival of the western concept of modernism to important movements in Thai contemporary art. These works reveal an artistic path of combination between

the western forms and techniques and the eastern spirit and mind, while the collectors play the role of pioneers who discover the new aesthetic territory and unearth the cultural heritage of time.

Crossover

On view February 20th - June 14th, 2015 7th floor, Bangkok Art and Culture Centre (BACC) For inquiry on the exhibition: Bangkok Art and Culture Centre Tel. 0-2214-6630-8 www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage • issue 11 baccazine

5 3


idea of Life

FILM MUSIC BOOK

แพททริก ชัยนาม COLUMNIST : BARRY

ผู้ชายฝีปากจัดจ้าน ฝีปากกาคม ผู้เป็นทั้งดีเจคลื่น 93 Cool Fahrenheit คอลัมนิสต์ อาจารย์พเิ ศษคณะศิลปศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์และมหาวิทยาลัยราชภัฏอีกหลายแห่ง เป็นผู้บรรยายพิเศษด้าน สื่อสารมวลชน วิชาชีพดีเจ อีกทั้งปัจจุบันยังเป็นเจ้าของโรงเรียนสอนภาษา อังกฤษ Pat Eng ที่มีสไตล์เฉพาะตัว เน้นพูด อ่าน เขียนได้ในขั้นแอดวานซ์ และ เทคนิคแพรวพราวที่สามารถน�าไปใช้ในชีวิตจริงได้ ด้วยเชื่อว่าหัวใจของภาษา อังกฤษคือค�าศัพท์หรือ vocabulary นอกจากนี้เขายังชอบวาดรูปประกอบ การสอนเพือ ่ ให้ลก ู ศิษย์ลก ู หาวัยเยาว์เข้าใจและสนุกกับการเรียนภาษาอังกฤษใน แบบฉบับของเขามากยิ่งขึ้น

“วิธีการสอนภาษาอังกฤษของผมคือ สนุก จ�าง่าย พยายามไม่เน้นไวยากรณ์ (grammar) คนมักเข้าใจผิดคิดว่าแกรมมาร์คือหัวใจของภาษาอังกฤษ แต่ไม่ใช่ หัวใจ ของภาษาอังกฤษคือค�าศัพท์ ผมไม่ได้สอนเป็นอุตสาหกรรม เรียกว่าผมสอนนอกกรอบ มากๆ มีวาดภาพการ์ตูนประกอบด้วย มีวิชวลที่ท�าให้ดูสนุก พยายามใช้ค�าศัพท์แนวๆ อะไรที่เป็นประเด็นเด่นๆ ก็หยิบยกขึ้นมา พยายามอัพเดตให้บ่อยที่สุด แล้วก็ท�าเว็บไซต์ pat4eng.com และเฟซบุก๊ www.facebook.com/pat4eng ให้แข็งแรงควบคูก่ นั ไปด้วย” นอกจากฝีปากในการพูด ฝีไม้ลายมือในการสอน และการวาดรูปแล้ว ความคิดความ อ่านของเขาก็ไม่เบาเลยทีเดียว เขาชอบดูหนัง ฟังเพลง และอ่านหนังสือเป็นชีวิตจิตใจ ฉะนั้นเวลาถามว่าเขาชอบหนังเรื่องไหน เพลงของใคร และหนังสือเล่มไหนมากที่สุด ค�าตอบจึงคือ ยากที่สุด เพราะเขาชอบทุกเรื่อง ทุกเพลง ทุกเล่มที่เสพ แต่ถ้าต้องเลือก หนัง เพลง และหนังสือขึ้นมาจริงๆ เหล่านี้คือค�าตอบ และแน่นอนว่านี่คือวัตถุดิบชั้นดีที่ ช่วยต่อยอดการท�างานรวมไปถึงการใช้ชีวิตของเขาด้วย 54

baccazine issue 11

ภาพยนตร์

“The Wizard of Oz ผมชอบเรือ่ งนีม้ าก โดยเฉพาะที่ เป็นฉบับออริจนิ ลั ปี 1939 คลาสสิกสุดๆ ลูกสาวผม (น้อง นัน-ธัญพัตน์ ชัยนาม) ก็ชอบเรื่องนี้มากเหมือนกัน จาก นิยายสุดคลาสสิกสูภ่ าพยนตร์สดุ คลาสสิกว่าด้วยเรือ่ งราว การผจญภัยไปในดินแดนที่ไม่รู้จัก เพื่อตามหาความคิด หัวใจ ความกล้า และทางกลับบ้าน ผมว่ามันเป็นปรัชญา ที่ดี ดูเหมือนว่าหนังท�าออกมาเพื่อให้เด็กดู แต่แก่นแท้ คือหนังดึงความเป็นเด็กของคนดูออกมา เนื้อเรื่อง การ ด�าเนินเรื่อง ตัวละคร นอกจากจะสื่อสารกับเด็กๆ แล้ว ยังสือ่ สารกับผูใ้ หญ่โดยตรง ผ่านมุมมองของตัวละครเอก อย่างหุ่นไล่กาไม่มีสมอง มนุษย์ดีบุกไม่มีหัวใจ สิงโตที่ ไม่มคี วามกล้า โดโรที และพ่อมดออซที่ใจจดใจจ่อกับสิ่ง ทีต่ วั เองจากมา อีกทัง้ แม่มดชัว่ ร้ายแห่งทิศตะวันตกทีโ่ หย หาในสิ่งที่ตัวเองไม่มี ในมุมผู้ใหญ่ผมว่าหนังสื่อสารได้ ดี ให้เราได้รู้จักความส�าคัญของตัวเอง และถ้าเราคิดว่า ไม่มีอะไร ขอให้เชื่อว่าลึกๆ แล้วเรามีทางออกให้ชีวิตได้ ถ้ามองในมุมเด็กก็เป็นการปลุกให้มีความคิด ความฝัน ความหวัง และความกล้า จุดเด่นอีกอย่างของหนังเรือ่ งนี้ คือเพลงประกอบทีท่ า� ออกมาได้เหมือนมิวสิคลั กลายๆ ดู แล้วเพลิดเพลินสนุกสนาน แม้กลับมาดูสมัยนี้ก็ยังดีมาก เหมือนตอนเด็กที่เราไม่ค่อยเข้าใจ The Sound of Music แต่พอเริม่ โต โอ้โห มันเป็นหนังทีเ่ จ๋งมาก คลาสสิกมาก”


FILM/MUSIC/BOOK

หนังสือ

เพลง

“ผมชอบวง Craft Spells อัลบั้ม Nausea วงนี้เป็นวงอินดี้ เล็กๆ จากอเมริกา แต่ท�าซาวนด์เพลงได้เป็นอังกฤษมาก ท�าให้ ฟังแล้วนึกถึงยุคโพสต์พงั้ ก์ ยุคนิวเวสต์ เพลงมันเท่ ฟังเท่าไรก็ไม่ เบื่อ เมโลดี้สวยงาม อัลบั้ม Nausea ออกต่อมาจากอีพี Gallery ในปี 2012 พวกเขาได้เปลีย่ นดนตรีให้เบาลง และนุม่ นวลขึน้ กับ ซาวนด์สวยงามของดรีมป๊อปทีล่ อยล่องทัง้ อัลบัม้ เป็นงานทีผ่ มฟัง บ่อยที่สุด เวลาคิดอะไรไม่ออกหรือเวลาเขียนต้นฉบับส่งงานก็ ฟังวงนี ้ ผมว่าทุกวันนีห้ าคนท�าเพลงอย่างนี้ได้นอ้ ยลงเรือ่ ยๆ แล้ว คือเดี๋ยวนี้จะฮิตแบบ 3 ชิ้น อย่างเจสัน มราซนี่ผมฟังไม่เป็นนะ ผมไม่ชอบ ประหลาดไปหน่อยมั้ย (หัวเราะ)” PATRICK JAYANAMA is a famous radio DJ at 93 Cool Fahrenheit, but also wears several hats as a columnist, special instructor for several universities and mass communication lecturer. He also runs an English language school named “Pat Eng” which offers a fun and easy way to learn English. You can check out his website at pat4eng.com and on Facebook at www. facebook.com/Pat4Eng He is also an active reader as well as a music and film lover, so when asking him about his favourite book, film, or song, that’d be very difficult to answer because there are too many. However, here’s the list he chose that reflects his life and work. FILM

“The Wizard of Oz is my favorite film, especially the classic 1939 version. It’s also my daughter’s (Nun-Tanyapat Jayanama) favourite as well. I like the idea of an

“ผมชอบหลายเล่มมากๆ แต่ขอยกมาสัก 3 เล่มก็แล้วกันนะครับ เล่มแรกคือ พุทธศาสนาในเมืองไทยทีเ่ ต็มไปด้วยขวากหนาม ของอาจารย์สรุ กั ษ์ ศิวรักษ์ (ส.ศิวรักษ์) ท่านเขียนไว้ดีมาก ตรงมาก เล่มต่อมาคือ คนขี่เสือ เขียนโดย ดร.ภวาณี ภัฏฏาจารย์ แปลโดยทวีป วรดิลก เป็นหนังสือที่แฝงข้อคิดไว้มากมาย ทั้งผู้เขียน และผูแ้ ปลสามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรูส้ กึ ของตัวละครออกมาเป็นตัวหนังสือ ได้เป็นอย่างดี เป็นเนื้อเรื่องที่มีเหตุมีผลอยู่ในตัว สามารถหาค�าตอบให้กับทุก ค�าถามที่เกิดขึ้นในเรื่องนี้ได้ อีกเล่มคือ หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว เขียนโดย กาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ ผมอ่านหลายรอบ ชอบมาก เป็นหนังสือของยุคฮิปปี้ ยุคที่แสวงหาแสงสว่างของชีวิต ซึ่งผมก็ได้รับหนังสือเล่มนี้มาจากคนในยุคนั้น เรื่องราวที่เกิดขึ้นกับสมาชิกของครอบครัวหนึ่งในระยะเวลากว่าหนึ่งศตวรรษไม่ เพียงสะท้อนถึงปัญหาและชะตากรรมของผูค้ นพลเมืองในดินแดนละตินอเมริกา แต่ชว่ ยให้เราได้เห็นเนือ้ แท้ของเหตุการณ์ทางสังคม การเมือง ตลอดจนเรือ่ งราว อื่นๆ ที่น่าสนใจอีกด้วย ผมว่าเป็นหนังสือที่ยอดเยี่ยมมาก”

adventure in a foreign land to find hope, heart, courage and thought, and the way home – it’s a good philosophy. Seems like the film is made for children, but I think it also made for adults to enjoy and, once again, find the kid within you. At the same time it also tells us to believe in ourselves, you’ll always find the answers for your trouble or life. And for kids, it tells them to have hope, courage, dreams, and to be thoughtful. I also like the soundtrack that made the film looks like musical, it’s very entertaining and I can watch it over and over again.” MUSIC

“I like Craft Spells’ album, Nausea. They are an American indie band, but their sound is very British which reminds me of the Post-Punk, or New West period. It has both beautiful melody and sound. Before ‘Nausea’, they released ‘Gallery’

in 2012, their music became softer and more graceful, I listen to it very often. When I have writer’s block, I’ll listen to this band, unfortunately, there are less and less musicians who produce music like this.”

BOOK

“Among my many favourite books, here are my top three: the first is ‘Buddhism in Thailand and Conflicts’ by Ajarn Sulak Sivaraksa. The next one is ‘He Who Rrides The Tiger’ by Dr. Bhabani Bhattacharya and translated by Thaweep Voradiloke. The author (and translator) successfully portrays the character to reveal his affirmative vision of life. The last one is ‘One Hundred Years of Solitude’ by Gabriel Garciía Marquez that tells the multi-generational story of one family over a hundred years which reflect not only trouble and fate of Latin Americans, but also the political and interesting stories of the time.”

issue 11 baccazine

5 5


art analyze

ART ANALYZE COLUMNIST : VIPASH PURICHANONT

การเมืองการปกครองและศิลปะมีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่นในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ในขณะเดียวกันความเจริญของ ศิลปะเองก็เป็นหนึ่งในเครื่องบ่งชี้พัฒนาการของสังคมมาตั้งแต่สมัยโบราณ ดังนั้นจึงไม่แปลกที่ชนชั้นปกครองในแต่ละวัฒนธรรมจะมี ความสัมพันธ์เชิงอ�านาจกับศิลปะไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง

ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศไทยและประเทศกัมพูชา ได้รับกรอบความคิดทางด้านความสัมพันธ์ของ ราชวงศ์และอ�านาจอธิปไตยต่อศิลปะโดยตรงมา จากยุคอินเดียโบราณ เช่น จากวรรณกรรมอย่าง รามายณะ ทีแ่ สดงให้เห็นว่าผูอ้ ยู่ในวรรณะกษัตริย์ จ�าเป็นต้องเรียนรู้และฝึกฝนศิลปะแขนงต่างๆ จนช�า่ ชอง จึงให้ความส�าคัญกับการทีผ่ ถู้ อื อ�านาจ อธิปไตยเป็นผูฝ้ กึ ฝนและผูผ้ ลิตด้วย แตกต่างจาก ทัศนคติตามกรอบคิดของวัฒนธรรมตะวันตกที่ จ�ากัดอยูเ่ พียงการเป็นผูส้ นับสนุน อย่างไรก็ตาม ราชวงศ์ในระบอบราชาธิปไตยที่ถือว่ามีอิทธิพล ต่อศิลปะร่วมสมัยทีส่ ดุ ในปัจจุบนั ยังคงหนีไม่พน้ 56

baccazine issue 11

ราชวงศ์ในคาบสมุทรอาหรับอย่างประเทศกาตาร์ และรัฐดูไบกับรัฐชาร์จาห์ในสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ ที่มีความสัมพันธ์กับศิลปะในรูปแบบ ที่แตกต่างออกไป รั ฐ สมั ย ใหม่ ส ่ ว นใหญ่ ใ นพื้ น ที่ ค าบสมุ ท ร อาหรับเกิดจากการรวมตัวของชนเผ่าต่างๆ ที่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม พื้ น ที่ ป กครองแบบดั ง กล่าวเรียกตนเองว่า เอมิเรต (Emirate ดังเช่น ที่ปรากฏอยู่ในชื่อของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ใน ปัจจุบัน) มีการเรียกประมุขของรัฐว่า เอมิร์ (Emir) โดยมาจากรากศัพท์ภาษาอารบิกที่แปล ว่า “ผู้น�า” หรือ “ผู้บัญชาการ” นอกจากจะเป็น ต�าแหน่งของผู้ปกครองอาณาจักรในวัฒนธรรม

อาหรับแล้ว ยังเป็นชื่อยศทางทหารที่ปรากฏ ให้เห็นทั้งในอาณาจักรเปอร์เชียและอาณาจักร โมกุล เอมิร์จึงเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึง ทัศนคติต่ออ�านาจอธิป ไตยอีกรูปแบบ ซึ่งให้ ความส�าคัญต่อการที่ผู้น�าแสดงให้เห็นถึงความ สามารถทางการปกครองและการทหารเป็น หลัก ส่วนความสามารถในศิลปะนั้นเป็นเพียง คุณลักษณะรองลงมา การถอนตั ว ของจั ก รวรรดิ อั ง กฤษจาก คาบสมุ ท รอาหรั บ ใน ค.ศ. 1971 เนื่ อ งจาก ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ และการ ค้นพบทรัพยากรน�้ามัน ส่งผลให้อุตสาหกรรม น�้ามันกลายเป็นแหล่งน�ารายได้ที่ส�าคัญเข้ามา


พัฒนำประเทศในภูมิภำคดังกล่ำว ก่อให้เกิด กำรเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทำงเศรษฐกิจและ กำรพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนของประเทศอย่ำง ยิง่ ยวด ขณะเดียวกันผูน้ ำ� รัฐต่ำงๆ ในคำบสมุทร เปอร์เซียยังรับเอำวัฒนธรรมชัน้ สูงของเชือ้ พระวงศ์ในยุโรปเข้ำมำด้วยกำรเปลีย่ นตนเองไปเป็น ผู้สนับสนุนศิลปะร่วมสมัยทั้งทำงตรงโดยกำร เก็บสะสมและกำรจัดตัง้ มูลนิธิ และทำงอ้อมโดย กำรก�ำหนดนโยบำยจำกรัฐบำล ในขณะเดียวกัน ก็ พ ยำยำมรั กษำวัฒ นธรรมรวมไปถึงวิถีชีวิต ดั้งเดิมที่แตกต่ำงจำกตะวันตกอย่ำงสุดขั้วเอำไว้ คุณลักษณะของกำรสร้ำงข้อกังขำของศิลปะร่วม สมัยจึงก่อให้เกิดควำมลักลั่นระหว่ำงควำมคิดที่ ว่ำ ศิลปวัฒนธรรมเป็นงำนอดิเรกของชนชั้นสูง กับศิลปวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือในกำรวิจำรณ์ และขับเคลื่อนสังคม ปัจจุบันรำชวงศ์อัษษำนีของประเทศกำตำร์ ได้ด�ำรงต�ำแหน่งนักสะสมศิลปะสมัยใหม่และ ศิลปะร่วมสมัยอันดับหนึ่งของโลก โดยมีกำร รวบรวมและจัดแสดงผลงำนสะสมไว้ที่ Mathaf: Arab Museum of Modern Art ที่กรุงโดฮำ แต่วัฒนธรรมกำรบริโ ภคศิลปะแบบตะวันตก นั้นก็ยังจ�ำกัดอยู่เพียงแค่ ในรำชวงศ์ ในขณะ เดียวกัน เชคมูฮัมหมัด บิน รอชิด อัลมักตูม และรำชวงศ์อัลมักตูมก็เป็นผู้สนับสนุนกิจกรรม ทำงศิลปวัฒนธรรมทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในนครดูไบ โดย เชคมูฮมั หมัดได้กอ่ ตัง้ รำงวัล Patrons of the Arts Awards ขึ้นใน ค.ศ. 2009 เพื่อกระตุ้นให้เกิด กำรสนับสนุนกิจกรรมทำงศิลปวัฒนธรรมใน ภำคธุรกิจและภำคประชำชน อย่ำงไรก็ตำม Art Dubai ซึ่งเป็นอำร์ตแฟร์ ขนำดใหญ่ที่สุดในภูมิภำคตะวันออกกลำงก็ยัง คงขึ้ น ชื่ อ เรื่ อ งกำรเซ็ น เซอร์ ผ ลงำนศิ ล ปะที่ มี เนื้อหำหรือรูปแบบขัดกับกฎหมำยชำรีอะฮ์ ใน ค.ศ. 2012 ผลงำนศิลปะบำงส่วนที่เกี่ยวข้อง กับอำหรับสปริงถูกถอดออกจำกแฟร์ ในขณะ ที่เชคซุลฏอน บิน มูฮัมมัด อัลกอซิมี เอมิร์ของ รัฐชำร์จำห์ก็ได้ก่อตั้ง The Sharjah Biennial เทศกำลศิลปะชั้นแนวหน้ำของโลก ซึ่งจัดขึ้น ตั้งแต่ ค.ศ. 1993 ก่อนที่จะส่งต่อให้ลูกสำวเป็น ผู้บริหำร แม้ว่ำเทศกำลนี้จะถูกจัดขึ้นโดยมีจุด

ประสงค์ที่จะน�ำศิลปะร่วมสมัยมำเพื่อให้เข้ำถึง คนในท้องถิ่นโดยเฉพำะ แต่กลับถูกวิจำรณ์ว่ำ เป็นเทศกำลที่พยำยำมเลี่ยงไม่กล่ำวถึงประเด็น ที่เปรำะบำงในสังคมชำร์จำห์ สิ่ ง ที่ เ รำพบเห็ น ในคำบสมุ ท รอำหรั บ คื อ กระบวนกำรที่เอมิร์และเอมิเรตพยำยำมที่จะ จัดกำรกับกิจกรรมทำงศิลปะที่ตนเองสนับสนุน ให้เ ข้ำที่เ ข้ำ ทำงตำมระบอบของรั ฐ ในขณะ เดียวกันควำมท้ำทำยของศิลปะร่วมสมัยในโลก ตะวันออกกลำงคือ จะต่อกรหรือต่อรองกับ อ�ำนำจอธิปไตยที่มุ่งควบคุมศิลปะอย่ำงไร วิภำช ภูริชำนนท์ กุมภำพันธ์ 2015 Art and political power has had a strong relationship for a long time, occurring across historical epochs and cultures, whist art itself is also an indication of societal development. It is not surprising to see people in the ruling class trying to get involved with art in some way, and some use art as an expression of power. Rulers in Southeast Asia may need to practice and master different arts, whilst European rulers would only be patrons, not art producers. For the Monarchs in the Arab world, artistic skill is second to administrative and military prowess; however, they still have lots of influence and are active in the modern art world, especially the Emir of the State of Qatar and Royal Family of Sharjah, United Arab Emirates. Especially after the withdrawal of England from the Arabian Peninsula in 1971 due to an economic down turn, and the discovery of oil that became the biggest industry and source of income for the countries in this region. That was the turning point of the development of infrastructure in those countries, and leaders of the states in the peninsula also

adopted cultures from European royal houses to be the patrons and support modern and contemporary arts, whether by collecting those works or establishing art foundations or setting up government policies. Alongside that, they have tried to preserve their traditional cultures and traditions that are very different from the West. This created a great debate in contemporary art society as to whether art is the hobby of high class people or the tool to reflect society and drive social change. Now the Al-Thani family of Qatar is the no. 1 collector of modern and contemporary art pieces in the world, with most of the collections being displayed at Mathaf: Arab Museum of Modern Art of Doha, but art interest in Qatar is still limited in royal houses. Al Maktoum Monarch Family is also a great supporter of art and culture activities in Dubai, however, Art Dubai which is the largest art fair in the middleeast still has strict censorship for work that contains content against its laws -- some works which relate to Arab Springs were removed from the fair in 2012. Emir of Sharjar State has held ‘The Sharjah Biennial’ art festival since 1993, which aims to bring contemporary art to local communities, but the fair was criticized that it tried to avoid talking about any fragile issues in Sharjah society. What we see in Arabian Peninsula is that while their leaders have tried to manage art activities that they are supporting and keep them under the state’s control, the challenge of contemporary artists in the middle-east is to find a way out of that power.

issue 11 baccazine

5 7


bacc calendar นิทรรศการ: การแสดงภาพพิมพ์และวาดเส้นนานาชาติ ครั้งที่ 4

จัดแสดง: 14 พฤษภาคม - 2 สิงหาคม 2558 สถานที่: ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 8 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จัดโดย: มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมกับหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร และส�านักงาน ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม

เพื่อยกระดับและเผยแพร่ผลงานของศิลปิน ไทยให้เป็นทีย่ อมรับในระดับสากลมากขึน้ และ เพื่อแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมกับนานาชาติให้ ปรากฏในรูปแบบผลงานศิลปะ มหาวิทยาลัย ศิลปากรจึงได้จัด “การแสดงภาพพิมพ์และวาด เส้นนานาชาติ” ขึน้ เป็นครัง้ แรกเมือ่ พ.ศ. 2546 ซึง่ นับเป็นการจัดแสดงงานศิลปะระดับนานาชาติ ครัง้ แรกในประเทศไทยและภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การจัดแสดงในครัง้ นัน้ มีศลิ ปินจาก ทุกประเทศทัว่ โลกส่งผลงานเข้าร่วมประกวดเป็น จ�านวนมาก และเพื่อแสดงให้เห็นถึงศักยภาพ ของวงการศิลปะในประเทศไทยทีส่ ามารถพัฒนา ขึ้นถึงระดับที่ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ และมีความก้าวหน้าพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงจัดการแสดงภาพพิมพ์

และวาดเส้นนานาชาติ ครัง้ ที ่ 2 ขึน้ ระหว่าง พ.ศ. 2551-2553 และครัง้ ที ่ 3 ระหว่าง พ.ศ. 25542556 โดยก�าหนดจัดแสดงทุก 3 ปีครัง้ ส�าหรับปีน ี้ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาส ฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 และ เนือ่ งในโอกาสครบรอบ 72 ปีของมหาวิทยาลัย ศิลปากร จึงก�าหนดจัดการแสดงภาพพิมพ์และ วาดเส้นนานาชาติ ครัง้ ที ่ 4 ขึน้ เพือ่ เป็นกิจกรรม ร่วมฉลองในวาระส�าคัญดังกล่าว โดยมีศลิ ปิน 940 คนจาก 56 ประเทศทัว่ โลกจัดส่งผลงานเข้าร่วม ประกวดจ�านวนรวม 2,315 ชิน้ มีผลงานที่ได้รบั รางวัล 24 ชิน้ และร่วมแสดง 125 ชิน้ รวมผลงานทัง้ สิน้ จ�านวน 149 ชิน้ โดยเป็นผลงานประเภท ภาพพิมพ์ 94 ชิน้ และประเภทวาดเส้น 55 ชิน้

นอกจากนีม้ กี ารจัดกิจกรรมทางวิชาการสาธิต การพิมพ์ภาพพิมพ์เอทชิง่ (Etching) และขอเชิญ นักศึกษารวมทัง้ ผูส้ นใจเข้าร่วมปฏิบตั กิ ารท�าภาพ พิมพ์โมโนพริน้ ต์สนี า�้ (Monoprint) และภาพพิมพ์ โฟมอัด (Styrofoam Relief Print) โดยนักศึกษา ภาควิชาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ ห้อง นิ ท รรศการ ชั้ น 8 หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุงเทพมหานคร ทุกวันศุกร์และวันเสาร์ เวลา 14.00-17.00 น. ตัง้ แต่วนั ที ่ 22 พฤษภาคม - 31 กรกฎาคม 2558 ในโอกาสเดียวกันนีด้ ว้ ย

The 4th Bangkok Triennale International Print and in celebration of this memorable occasions. We had the opportunity to welcome 940 Drawing Exhibition artists from 56 countries around the world, Date: May 14 - August 02, 2015 with their 2,315 pieces of work participating Location: Main Gallery, 8th floor, Bangkok Art and Culture Centre in the initial selection, and there were 149 Organized by: Silpakorn University in cooperation with Bangkok Art and selected works in the final selection, with 24 Culture Centre and Office of Contemporary Art and Culture, Ministry of top award-winning works and 125 finalist Culture works on the exhibition categorized in print With the goal of pursuing the Thai art of modern art in Thailand to be able to totally 94 pieces of works and drawing totally scene’s rise to international standards and compete with the international standard 55 pieces of works. promoting the interactions and exchanges and be developed progressively, Silpakorn On this opportunity, Silpakorn University of diverse and dynamic artistic and cultural University has continually proceeded the 2nd will organize the academic activity during perspectives among people in all countries, and the 3rd Bangkok Triennale International the exhibition about the technical workshop Silpakorn University has initiated the first Print and Drawing Exhibition between 2008- of printmaking in Etching and Monoprint international print and drawing exhibition 2010 and 2011-2013 respectively, which including Styrofoam Relief Printmaking in Thailand since 2003. The first international was later scheduled to be held in every processes demonstrated by the students print and drawing exhibition obtained great three years. from Department of Graphic Arts, Faculty success and received strong feedback from To celebrate on the Auspicious Occasion of Painting Sculpture and Graphic Arts, a large number of artists and interested of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Silpakorn University. The workshop will public that was also widely recognized as Sirindhorn’s 5th Cycle Birthday Anniversary 2nd be organized on Fridays and Saturdays at a remarkable start for the international April 2015 and on the Occasion of celebrating 2.00-5.00 p.m. from 22nd May to 31st July print and drawing contest held in Thailand 72nd Anniversary of Silpakorn University, 2015 at the Exhibition Hall, 8th Floor of and Southeast Asia. In pursuing our strong the 4th Bangkok Triennale International Bangkok Art and Culture Centre (BACC), initiative to demonstrate a higher potential Print and Drawing Exhibition is held again Thailand.

58

baccazine issue 11



network calendar

นิทรรศการ “An Original by the Originals” นิทรรศการศิลปะภาพพิมพ์กลุ่ม โดยสตูดิโอภาพพิมพ์ The Archivist 7 พฤษภาคม - 6 มิถุนายน 2558 The Jam Factory Gallery

นิทรรศการเงาปริศนา (Riddle Shadows) 23 พฤษภาคม - 18 มิถุนายน 2558 ห้องนิทรรศการชั้น 1 ห้อง 1 หอศิลป์จามจุรี

กรดล กุลจารุสริ ิ ศิลปินผูไ้ ด้แรงบันดาลใจจากหนัง ตะลุง หนังใหญ่ ภาพจิตรกรรมไทย ภาพปริศนาธรรม จึงน�ามาสร้างสรรค์โดยใช้การจัดวางของรูปทรง จังหวะ การทับซ้อน ความเคลือ่ นไหวของจุด เส้น สี น�า้ หนัก แสง และเงา ประกอบกันเป็นภาพเรือ่ งราวทางพุทธศาสนาร่วมกับทัศนคติสว่ นตน เพือ่ แสดงความลีล้ บั ของ จิตวิญญาณซึง่ มีปริศนาบางอย่างซ่อนเอาไว้ให้คดิ ให้แก้ ท�าให้เกิดจินตนาการและเห็นแง่คดิ มุมมองของชีวติ ด้าน จิตวิญญาณ Riddle Shadows When: May 23 - June 18, 2015 Where: Exhibition Hall, 1st Floor, No.1, Chamchuri Art Gallery

The project is inspired by Nang Talung, Nang Yai, Thai traditional paintings and the Buddhist puzzles. This work which is a point of view about Buddhist ways reflects and illustrates the power of mysterious spirit by using the moving dots, the arrangement of form, line, colour, light and shade, as well as the superposition technique.

60

baccazine issue 11

นิทรรศการกลุม่ ครัง้ แรกของสตูดโิ อภาพพิมพ์ “ดิ อาร์คะวิสท์” สตูดโิ อทีม่ งุ่ เน้น กระบวนการพิมพ์ภาพพิมพ์มอื ด้วยเทคนิคสกรีนพริน้ ต์ ซึง่ ในครัง้ นีเ้ ป็นครัง้ แรกทีท่ าง สตูดโิ อเชิญศิลปิน 12 ท่าน หลากอาชีพตัง้ แต่รนุ่ เล็กไปจนถึงรุน่ ใหญ่ เช่น คิวเรเตอร์ และกราฟิกดีไซเนอร์อย่างสันติ ลอรัชวี, ธนพ หวังศิลปะกุล ฯลฯ มาร่วมสร้างสรรค์ ชิน้ งานอันเป็นเอกลักษณ์ผา่ นกระบวนการทางความคิดในเชิงเทคนิคภาพพิมพ์สกรีน พริน้ ต์ ให้เป็นงานภาพพิมพ์รว่ มสมัยทีน่ า่ สนใจและท้าทายให้ผชู้ มงานได้เห็นชัน้ เชิง ทางเทคนิคอันแยบยล และเห็นคุณค่าทีเ่ กิดจากการสร้างสรรค์ชนิ้ งานร่วมกัน รวม ไปถึงการต่อยอดทางความคิดทีส่ ง่ ผลสะท้อนกันไปมาระหว่างช่างพิมพ์และศิลปิน นิทรรศการกลุม่ ครัง้ นีม้ งุ่ เน้นกระตุน้ ให้เกิดการตัง้ ค�าถามถึงความเป็น Original ของ งานศิลปะแต่ละชิน้ ทีเ่ กิดขึน้ เพราะเมือ่ ผลงานชิน้ หนึง่ คือชิน้ งานภาพพิมพ์ดว้ ยมือ ซึง่ โดยกระบวนการแล้วแต่ละชิน้ เองก็เรียกได้วา่ เป็น Original ในตัวเอง และอีกชิน้ หนึง่ คือชิน้ ทีศ่ ลิ ปินน�าไปสร้างสรรค์เพิม่ เติมต่อ เมือ่ ศิลปินแต่ละท่านจัดแสดงงาน 2 ชิน้ คูก่ นั เราจะพบเสน่หแ์ ห่งชิน้ งานทีเ่ ป็น Original ผ่านความรูส้ กึ ทีแ่ สดงออกมาในแต่ละ ชิน้ งานด้วยความตัง้ ใจของช่างพิมพ์และศิลปิน AN ORIGINAL BY THE ORIGINALS by The Archivist A Contemporary Graphic Art Exhibition & Workshops Hand-picked and hand-printed by The Archivist When: 7 May - 6 June 2015 Where: The Jam Factory Gallery, Klongsarn

An ORIGINAL BY THE ORGINALS is the first group exhibition by The Archivist, a Bangkok-based printing studio specializing in hand-pulled screen prints. This exhibition consists of 12 invited artists, graphic designers, and illustrators that have expertise in various approaches (both emerging to the established) to collaborate and create unique pieces of works through the process of screen printing. This will allow the audience to see the artists’ thinking processes layer by layer, the values of creating the work together, developing, experimenting and influences between the printers and the artists. •


bacc shop

BACC SHOP ร้านจ�าหน่ายสินค้าของมูลนิธหิ อศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC Shop) เปิดให้บริการแล้วบริเวณโถงต้อนรับชัน้ 5 และบริเวณทางเข้าชัน้ 3 อาคาร หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยสินค้าต่างๆ ทีจ่ า� หน่ายในร้านมีทงั้ สินค้า ทีจ่ ดั ท�าขึน้ สืบเนือ่ งจากนิทรรศการต่างๆ ของหอศิลปฯ นอกจากนีย้ งั มีสนิ ค้าอืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจจากศิลปิน บุคคล และองค์กรภายนอกด้วย ทัง้ นีร้ ายได้จากการจ�าหน่าย สินค้าจะน�าเข้ามูลนิธหิ อศิลปกรุงเทพฯ เพือ่ สนับสนุนกิจกรรมอันมีประโยชน์ตา่ งๆ ของหอศิลปกรุงเทพฯ ต่อไป

Visit the BACC Shop on the 5th floor and the second shop, the BACC Kiosk, on the 3rd floor of the BACC for souvenirs inspired by various exhibitions that have been held here. Other products made by artists and other organizations can also be found here. Profits from the sales will be contributed to the BACC Foundation. • issue 11 baccazine

6 1




ที่ตั้งและการเดินทาง

bacc ตั้งอยู่หัวมุมสี่แยกปทุมวัน ตรงข้ามห้างมาบุญครอง และสยามดิสคัฟเวอรี่ ชั้น 3 ของหอศิลปกรุงเทพฯ มีทางเดินเชื่อมต่อกับทางยกระดับ รถไฟฟ้าบีทีเอส : ลงได้ที่สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ และออกทางประตูที่ 3 จอดรถ : สามารถจอดรถที่ชั้นใต้ดินของอาคารหอศิลปกรุงเทพฯ เข้าทางด้านถนนพญาไท (ที่จอดรถมีจ�านวนจ�ากัดและมีค่าบริการ) รถประจ�าทาง : สาย 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73ก, 79, 93, 141, 159, 204, ปอ.508 และ ปอ.529 เรือโดยสาร : เรือสายคลองแสนแสบ เส้นทางสะพานผ่านฟ้า-ประตูน�้า ขึ้นที่ท่าเรือสะพานหัวช้าง เดิน 300 เมตร ถึงหอศิลปกรุงเทพฯ สี่แยกปทุมวัน เวลาเปิดบริการ : วันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา 10.00-21.00 น. (หยุดวันจันทร์) ค่าเข้าชม : ไม่เสียค่าเข้าชม ยกเว้นการจัดกิจกรรมและการแสดงที่เป็นกรณีพิเศษ How to go to bacc

bacc is located at the Pathumwan Itersection, facing the MBK and Siam Discovery Center. The 3rd floor entrance is connected to the BTS, the National Stadium Station. Limited parking is available at level B1 and B2. Buses : 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73ก, 79, 93, 141, 159, 204, air-con 508 and air-con 529 Boat : Saen-saeb canel route (Panfa Bridge-Pratumnam), use the Sapan Hua-Chang landing, 300 m. to the art Centre Opening hours : 10 a.m.-9 p.m. (closed on Monday) Addmission : Free entry to exhibitions, except for special events. Charges to concerts and play will vary.

62

baccazine issue 10




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.