baccazine issue 10

Page 1



baccazine says ในยุคสมัยแหงทุนนิยมเบงบานและเทคโนโลยีทรี่ วดเร็วทันใจเพียงนิว้ มือคลิก แตอิทธิพลบางอยางทางวัฒนธรรมจากยุคกอนก็ยังคงมีผลสืบ เนื่องมาสูยุคปจจุบัน ฉะนั้นในขณะที่เราเห็นการเปดรับสื่อใหมๆ แตก็ยัง คงมีการขามไปขามมาหรือการเชือ่ มโยงกระทัง่ ผสมผสานกันอยูบ อ ยครัง้ จนกอใหเกิดเปนไลฟสไตลการใชชีวิตในรูปแบบใหมๆ ขึ้นมากมาย ในฟากฝง ดานศิลปะ ไมเฉพาะประเทศไทย แตหมายถึงทัว่ โลก ศิลปะ ไดขยายขอบเขตกวางไกลออกไป เรียกวาแทรกซึมอยูในทุกอณูของการ ดําเนินชีวติ ก็วา ไดโดยไมจาํ เปนตองปนบันไดดู แฟชัน่ ดนตรี วรรณกรรม สถาปตยกรรม อินทีเรียรดีไซน การเมือง การทําอาหาร การทําขนม ฯลฯ ทุกอยางลวนเชื่อมโยงอยูกับศิลปะที่แตกหนอตอยอดไปไดแบบไร ขีดจํากัด สําหรับเมืองไทยเองมีศิลปนรุนใหมหลายคนผลิดอกออกผล ทางความคิด แลวถายทอดผานงานศิลปะหลากแขนงดวยมุมมองที่มีตอ สังคมยุคปจจุบันในมิติตางๆ ออกมาไดอยางนาสนใจ ในขณะที่องคกร และบริษัทเอกชนตางๆ ก็ใหการสนับสนุนศิลปนรุนใหมมากขึ้น ดังนั้น ภาพรวมศิลปวัฒนธรรมของคนรุนใหมในบานเราจึงคึกคัก เบงบาน ซึ่ง แนนอนวาปรากฏการณดังกลาวบางคราวก็เปนเพียงกระแส ไดรับความ นิยมแคชวงหนึ่งแลวก็ผานไป คําถามคือ ทําอยางไรใหสิ่งดีๆ ไมเปนเพียงแคกระแส แตอยูแบบ ยั่งยืน ฐานสําคัญสวนหนึ่งนาจะมาจากการศึกษาที่ใหความรู ขอเท็จจริง และการวิพากษวิจารณเพื่อเปดพื้นที่ทางความคิดที่หลากหลาย แลวคัด กรองในสิ่งที่ตรงกับจริตเฉพาะตน ในขณะที่ “ความเชื่อ” กับ “ความรู” นั้นอาจไมจําเปนตองถูกแยกออกจากกันอยางสิ้นเชิงก็เปนได

In this modern society advanced technology allows us to do many things with just one click, but some traditions and culture from the old days still play an important role in our daily life, these old and new things are blending together and creating new interesting lifestyles. This also happens in the art world, not only in Thailand, but all over the world. Art is not just shown only in galleries or theatres, but expands into every details of life from fashion, music, literature, architecture, interior design, politics, cooking to baking, and much more, without limitation. In Thailand, new generations of artists project their interesting ideas and thoughts on society and country in several art forms, while the private sector also supports and offers more opportunities for them. The overall situation looks so bright and promising for Thai artists, but if we look closely, this can also be just a trend that may come and go in a flash of time. The question is how we can develop this in more sustainable way. The fundamental answer should come from education that offers the younger generations not only facts, but also knowledge sharing and criticism that will broaden their mind to a variety of ideas and opinions, and they will know how to screen and apply them for the best.

วราภรณ พวงไทย บรรณาธิการ

Waraporn Puangthai Editor

โดยหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร นิตยสารศิลปะเพื่อประชาชน, แจกฟรีรายสามเดือน ฉบับที่ 10 / 2557 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร อยู่ในความดูแลของมูลนิธิ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ด้วยการจัดตัง้ และสนับสนุนหลัก จากกรุงเทพมหานคร By Bangkok Art and Culture Centre (bacc) Magazine for people, three - month free copy Issue 10 / 2014 Bangkok Art and Culture Centre (bacc) is under the supervision of Bangkok Art and Culture Centre Foundation, set up and mainly funded by Bangkok Metropolitan Administration

บรรณาธิการอํานวยการ ลักขณา คุณาวิชยานนท์

Managing Editor Luckana Kunavichayanont

บรรณาธิการ วราภรณ์ พวงไทย

Editor Waraporn Puangthai

อาร์ตไดเรคเตอร์ กฤษณะ โชคเชาว์วัฒน์

Art Director Krisana Chokchaowat

ดําเนินการจัดทําและจัดพิมพ์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 939 ถ.พระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 02 214 6630 - 8 โทรสาร : 02 214 6639 Website : www.bacc.or.th baccpage baccbangkok

Producer Bangkok Art and Culture Centre (BACC) 939 Rama I Rd., Wang Mai, Pathumwan, Bangkok 10330. Thailand Tel : 02 214 6630 - 8 Fax : 02 214 6639 Email : info@bacc.or.th baccchannel baccnews

issue 10 baccazine

0 13


02

baccazine issue 10


contents

issue 10 flash light theme cover did you know? world of art world artist in the mood of art

04 06 14 16 20 24

the sketch my studio places for passion bacc calendar network calendar bacc shop

30 32 36 38 40 41

bacc exhibition idea of life art analyze your gallery

06

24

42

16

32

44

20

36

46 issue 10 baccazine

42 44 46 48

0 3


flash light

1

2

4

3

13 ตุลาคม 2557

1

คุณลักขณา คุณาวิชยานนท์ ผู้อ�ำนวยการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร กล่าว เปิดโครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารส�ำหรับครูสอน ศิลปะประจ�ำปี 2557 รุ่นที่ 1 ณ ศูนย์การเรียนรู้ ส�ำหรับครอบครัว พิพิธภัณฑ์เด็กทุ่งครุ 13 October 2014 Luckana Kunavichayanont, Director of BACC, gave an opening speech for an Art Teacher Workshop 2014 at the Children’s Discovery Museum in Thung Khru district. --11 กันยายน 2557

2

อินสนธิ์ วงศ์สาม ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ ประจ�ำปี พ.ศ. 2542 (คนกลาง) ถ่ายภาพ ร่วมกับ H.E. Mr. Francesco Saverio Nisio เอกอัครราชทูตอิตาลีประจ�ำประเทศไทย (คน ขวา) ในวันเปิดนิทรรศการอินสนธิ์ วงศ์สาม: จิต วิญญาณอิสระ ณ ห้องนิทรรศการหลักชัน้ 9 หอ ศิลปกรุงเทพฯ โดยมีผู้บริหารหอศิลปกรุงเทพฯ พร้อมเหล่าศิลปินและแขกผู้มีเกียรติมากมาย ร่วมแสดงความยินดี 11 September 2014 Inson Wongsam, a National Artist in 04

baccazine issue 10

Visual Arts in the field of Sculptures, 1999 (middle) and H.E. Mr. Francesco Saverio Nisio, Italian Ambassador to Thailand (right) at the opening of the exhibition ‘INSON WONGSAM: The Autonomous Spirit’ at Main Gallery, 9th floor, BACC. --20 สิงหาคม 2557

3

คุณจุมพล อภิสุข กรรมการมูลนิธิหอศิลป กรุงเทพฯ (คนขวา) และคุณเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ (คนที่ 2 จากซ้าย) ร่วมพูดคุยในเวที เสวนา: ปฏิรูปงานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ซึ่ง จัดโดยมูล นิธิ ส ร้ า งเสริ ม ศิ ล ปวั ฒนธรรมภาค ประชาชน หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร และพิทกั ษ์มรดกสยาม-สยามสมาคมฯ ณ ห้องอเนกประสงค์ ชัน้ 1 หอศิลปกรุงเทพฯ โดย ได้รับความสนใจจากประชาชนและสื่อมวลชน เข้าร่วมรับฟังเป็นจ�ำนวนมาก 20 August 2014 Chumpon Apisuk, BACC Board member (right) and Naowarat Pongpaiboon (2nd from left) joined a talk on ‘The promotion of Arts and Culture reforms’ held by the Foundation of Public Promotion of Arts and

Culture, BACC and Siamese Heritage Trust by the Siam Society at Multi-function room, 1st floor, BACC. ---

28 สิงหาคม 2557

4

นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี (คนที่ 5 จากขวา) ให้เกียรติมาเป็นประธานกล่าวเปิด นิทรรศการมนต์เสน่ห์ไทย โดยมีศาสตราจารย์ ดร.อภิ นั น ท์ โปษยานนท์ ปลั ด กระทรวง วัฒนธรรม (คนที่ 4 จากขวา) ในฐานะภัณฑารักษ์ของนิทรรศการกล่าวต้อนรับและพูดถึง ความโดดเด่นและความน่าสนใจของนิทรรศการ โดยมีผบู้ ริหารหอศิลปกรุงเทพฯ ร่วมแสดงความ ยินดี ณ ห้องนิทรรศการหลักชั้น 8 หอศิลป กรุงเทพฯ 28 August 2014 Palakorn Suwanrath, Privy Councillor (5th from right) presided over the opening ceremony of ‘Thai Charisma Exhibition’, and Guest curator of the exhibition, Prof. Dr. Apinan Poshyananda, Deputy Permanent Secretary, Ministry of Culture (4th from right) gave a welcome speech and introduced the exhibition to the guests.


6 5

The BACC management team also joined to by Furuya Minoru. offer congratulations at the opening event --6 at the Main Gallery, 8th floor, BACC. 7 ตุลาคม 2557 -- ภาพบรรยากาศจากกิจกรรม BACC สัญจร: 5 ฝึ ก สมาธิ แ ละความอดทนกั บ ภาพมานดาลา 20 กันยายน 2557 ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ โดยห้องสมุดศิลปะหอศิลปกรุงเทพฯ ร่วมกับ (คนกลาง) ร่วมพูดคุยเสวนากับคันฉัตร รังษี- วิทยากร ดร.อรุโณทัย ไชยช่วย (ครูเอ๋) งานนี้ กาญจน์ส่อง นักเขียนและนักวิจารณ์ภาพยนตร์ น้องๆ ทุกคนให้ความสนใจและตัง้ ใจกับกิจกรรม ชื่อดัง (คนขวา) ในเทศกาลภาพยนตร์คัดสรร ที่ทางหอศิลปกรุงเทพฯ จัดเตรียมไป ณ ศูนย์ Cinema Diverse Director’s Choice ณ ห้อง พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก วั ดไผ่ ตั น ซอยประดิ พั ท ธ์ 19 ออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปกรุงเทพฯ โดย กรุงเทพมหานคร ภาพยนตร์ ที่ น� ำ มาเสวนาในครั้ ง นี้ คื อ เรื่ อ ง 7 October 2014 Himizu (Japan, 2011) ซึ่งดัดแปลงมาจาก Photos of children enjoying ‘the BACC หนังสือการ์ตูนชื่อดังโดยฟุรุยะ มิโนรุ ว่าด้วย workshop: concentration and tolerance เรื่องราวหลังประเทศญี่ปุ่นประสบภัยแผ่นดิน practice with Mandala picture,’ created by BACC Art Library together with Dr. Arunothai ไหวและสึนามิ Film director Tanwarin Sukkhapisit Chaichuay, or Kru Ae. The workshop was (middle) and film critic and writer, Kanchat held at Wat Phai Tan Child Care Center at Rangseekansong (right), joined the seminar Soi Pradipat 19, Bangkok. talk at “Cinema diverse Director’s Choice” --7 festival at Auditorium Room, 5th floor, 17 กรกฎาคม 2557 BACC. This time, the selected film to be สเตฟาน ไฮสเลอร์ อัครราชทูตที่ปรึกษา shown was Himizu (Japan, 2011) which สถานทูตออสเตรีย (คนที่ 5 จากซ้าย) ให้เกียรติ was adapted from the same-name Manga มาเป็นประธานเปิดนิทรรศการ Experimental

7

Video Art, Thai-European Friendship 20042014 (EVA project) โดยมีคณ ุ ลักขณา คุณาวิชยานนท์ (คนที่ 6 จากซ้าย) ผูอ้ ำ� นวยการหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครให้การต้อนรับ พร้อมเหล่าศิลปิน ณ ห้องนิทรรศการหลักชั้น 7 หอศิลปกรุงเทพฯ 17 July 2014 Stephan Heisler, Counsellor of Austrian Ambassador to Thailand (5th from left) presided over the opening ceremony of ‘Experimental Video Art, Thai-European Friendship 2004-2014 (EVA project),’ and was welcomed by Luckana Kunavichayanont (6th from left), Director of BACC, and the artists at the Main Gallery, 7th floor, BACC. •

issue 10 baccazine

0 5


theme cover

YOUNG CU 60 6

baccazine issue 10 09


CULTURE COLUMNIST : PROF. WUTIGORN KONGKA

ในสังคมรวมสมัยซึง่ ลัทธิบริโภคนิยมกับเทคโนโลยีดา นขอมูลขาวสารกลมกลืนกันอยางเนียนสนิท ในยุคนี้ ทําใหวฒ ั นธรรมของคนไทยรุน  ใหมเดินไปสูก  ารพรอมทีจ่ ะรับสิง่ ใหมๆ ตลอดเวลา โดยเฉพาะ ไลฟสไตลทสี่ รางความบันเทิงใหในยามวาง ไมแปลกอะไรทีค ่ นรุน  นีส้ ามารถรับรูแ ละมีอารมณรว ม กับแฟชัน ่ ดนตรี ภาพยนตร งานศิลปะ วรรณกรรม หรือแมแตงานดีไซน งานโฆษณาของอีกซีก โลกไดอยางรวดเร็ว พอๆ กับทีจ่ ะออกมาเดินชอปปง ดูของในตลาดมือสอง หรือแบรนดเนมในหาง สรรพสินคา ดูคอนเสิรตที่อิมแพคอารีนา เปลี่ยนชองทีวีในประเทศดวยรีโมตในมือเพื่อดูทีวีตาง ประเทศ หรือตระเวนดูหอศิลปในกรุงเทพฯ อยางไรก็ตามผลของการรับรูอ ยางรวดเร็วและขาวสาร ทีม ่ ม ี ากมายทุกวัน ประกอบกับลัทธิบริโภคนิยมทีก ่ ระตุน  ใหผค ู นกระหายสิง่ ใหมตลอดเวลา ทําให หลายอยางทีผ ่ า นเขามาในวัฒนธรรมของคนรุน  ใหมกลายเปนกระแสเพียงชัว่ ขามคืน ทีพ ่ รอมจะ ถูกลืมเพือ ่ สรรหาสิง่ ใหมทดแทน

ไลฟ์สไตล์ของคนเมืองรุน่ ใหม่จงึ ผูกพันกับสิง่ บันเทิงใหม่ๆ กำรช้อปปิง และเดินดูเสือ้ ผ้ำในห้ำง สรรพสินค้ำคือกำรออกไปดูว่ำมีอะไรใหม่ๆ ในวงกำรแฟชั่น ดูหนังใหม่ตอนบ่ำย ตกเย็นหำร้ำน อำหำรและเพลงฟัง หรืองำนปำร์ตที้ อี่ ยู่ในกระแส อำจเป็นสถำนที่ใหม่ๆ ทีเ่ พิง่ ฮิต หรือติดตลำด แล้วแต่ยงั อยู่ในเทรนด์ นำนๆ ทีมเี ทศกำลดนตรีใหม่ๆ ก็พร้อมจะไปกันอย่ำงถล่มทลำย

issue 10 baccazine

07 7


ส�ำหรับในต่างประเทศนัน้ การเชือ่ มโยงของศิลปะทีข่ า้ มสายพันธุท์ งั้ ภาพยนตร์ ดนตรี แฟชัน่ ทัศนศิลป์ งานดีไซน์ทงั้ สถาปัตย์และตกแต่งภายในนัน้ มีมานานแล้ว ทว่าไม่ได้เป็นไปเพือ่ สร้างความเชือ่ มโยง ของกลุม่ ผูช้ มหลายแขนงให้มารวมตัวกันในพืน้ ทีห่ นึง่ แต่เป็นเพราะตัวงานเองทีศ่ ลิ ปินหรือนักออกแบบ ต้องการให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ทางความคิดสร้างสรรค์ นัน่ เพราะสังคมในต่างประเทศผูช้ มต่างเข้าใจ และเข้าถึงบทบาทของงานทุกแขนงดีอยูแ่ ล้ว หรืออาจมีกลุม่ ใครกลุม่ มันทีช่ ดั เจนและมีจำ� นวนมากเพียง พอทีจ่ ะสนับสนุนให้เกิดงานในสายของตัวเองโดยไม่จำ� เป็นต้องรวบรวมทุกแขนงเข้าด้วยกัน ผิดกับเมือง ไทยทีผ่ ชู้ มยังแบ่งแยกกันอยูท่ งั้ กลุม่ แฟชัน่ ศิลปะ ดนตรี ภาพยนตร์ หรืองานดีไซน์ และถ้าจะมองมุม นี้ สายแฟชัน่ และดนตรีดจู ะมีอทิ ธิพลต่อไลฟ์สไตล์สงู ทีส่ ดุ อย่างไรก็ตามในปัจจุบนั ถือได้วา่ การแบ่งแยก แบบนี้ของคนไทยมีการรวมกันมากขึ้นกว่าสมัยก่อน เพราะความเข้าใจและเข้าถึงของผู้ชมที่มีมากขึ้น อีกทัง้ มีหลากหลายกิจกรรมซึง่ มองเห็นความส�ำคัญของศิลปะทุกแขนง จนสามารถสร้างการเชือ่ มต่อของ สุนทรียศาสตร์ทแี่ ตกต่างกันเหล่านัน้ ได้

08 8

baccazine issue 10 09


Theme Cover

ถ้ำจะโฟกัสลงมำที่วงกำรแฟชั่นในเมืองไทย กำรมำถึงของแบรนด์หนังสือแฟชั่นชั้นน�ำระดับ โลกสูภ่ ำษำไทยหลำยต่อหลำยหัว เช่น Harper’s Bazaar, Vogue คือกระแสหลักระดับกะทิที่ ชี้น�ำเทรนด์ได้ ควบคู่กับหนังสืออย่ำง Cheeze หรือ Looker ที่ปลุกกระแสแฟชั่นในตลำดของ วินเทจมือสองจำกวัฒนธรรมนอกกระแสให้กลำย เป็นกระแสหลักเช่นเดียวกัน ส่วนในวงกำรดนตรี นอกจำกค่ำยใหญ่ๆ ทีม่ คี ำ่ ยเล็กๆ ในสังกัด หรือ ค่ำยเล็กๆ ที่เติบโตจำกกระแสรองจนกลำยเป็น กระแสหลัก แม้แต่วฒ ั นธรรมของ YouTube หรือ เทคโนโลยีในกำรท�ำเพลงด้วยตัวเอง ล้วนท�ำให้ เกิดศิลปินรุน่ ใหม่ๆ ซึง่ เป็นทีย่ อมรับและได้รบั กำร ติดตำมผ่ำนคอนเสิรต์ ใหญ่หรือโชว์ขนำดเล็กตำม พืน้ ทีต่ ำ่ งๆ ตัง้ แต่คลับ บำร์ ร้ำนอำหำร งำนปำร์ตี้

ไปจนถึงเทศกำลดนตรี นอกจำกนีว้ งกำรดีเจเปิด เพลงที่ได้รบั กำรยอมรับในระดับประเทศและโลก ซึง่ มีหลำยกลุม่ หลำยแนวเพลงก็ถกู น�ำเสนออย่ำง ต่อเนื่อง สร้ำงคนรุ่นใหม่ที่ติดตำมจนเป็นกลุ่ม ใหญ่ ท�ำให้จำกกระแสรองเริม่ เข้ำสูก่ ระแสหลัก เช่นเดียวกัน ไม่ตำ่ งอะไรจำกคอนเสิรต์ วงดนตรี ระดับโลกที่ได้รบั กำรยอมรับอย่ำงสม�ำ่ เสมอ ไม่ ต่ำงอะไรจำกวงกำรหนังทีม่ ที งั้ กระแสหลักอย่ำง GTH, สหมงคลฟิล์ม รวมไปถึงค่ำยหนังอิสระ พลังของหนังนอกกระแสได้บม่ เพำะคนทีต่ ดิ ตำม จนกลำยเป็นกระแสใหญ่เช่นเดียวกัน เหมือนเช่น เจ้ย-อภิชำติพงศ์ วีระเศรษฐกุล หรือเตอ-นวพล ธ�ำรงรัตนฤทธิ ์ ทีก่ ลำยเป็นไอดอลของนักท�ำหนัง รุน่ ใหม่โดยไม่จำ� เป็นต้องได้รบั กำรสนับสนุนจำก ค่ำยหนังใหญ่ๆ issue 10 baccazine

09 9


10

baccazine issue 10


Theme Cover

ท�ำงำนทัง้ สือ่ จิตรกรรม ประติมำกรรม ภำพถ่ำย วิดโี อ ดนตรี และกำรแสดง สด หรือจิตต์สงิ ห์ สมบุญ ทีผ่ สมผสำนระหว่ำงบทบำทของนักออกแบบเสือ้ ผ้ำที่ อิงอยูก่ บั แฟชัน่ และงำนศิลปะได้อย่ำงมีเอกลักษณ์ หรือแม้แต่สนั ติ ลอรัชวี นัก ออกแบบกรำฟิกที่สำมำรถข้ำมสำยมำสู่งำนศิลปะ ไปจนถึงนักออกแบบและ ศิลปินกรำฟฟิตอี้ ย่ำง P7, รักกิจ ควรหำเวช, MAMAFAKA ทีท่ ำ� งำนศิลปะซึง่ เชือ่ ม ไปสูง่ ำนดีไซน์ตำ่ งๆ เป็นต้น เหล่ำนีค้ อื ตัวอย่ำงของกำรเชือ่ มโยงด้วยผลงำนของ ผูท้ มี่ ชี อื่ เสียงอยู่ในวงกำรของตัวเอง แต่สำมำรถดึงผูช้ มวงกำรอืน่ ๆ เข้ำมำร่วมรับ ส�ำ หรับวงกำรทัศนศิล ป์ ศิล ปินรุ่นใหม่ ๆ ประสบกำรณ์ของกำรข้ำมศำสตร์ นอกจำกนีเ้ รำยังพบเห็นโปรเจ็กต์อนื่ ๆ อีก เช่น ของไทยมี ทั้ ง อยู ่ ใ นวงกำรประกวดที่ จั ดโดย สถำปนิก นักออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ นักดนตรี ทีก่ ำ้ วมำสูก่ ำรท�ำงำนด้ำนทัศนศิลป์ มหำวิทยำลัย เช่น ศิลปำกร และหน่วยงำนอืน่ ๆ สนำมแห่งศิลปวัฒนธรรมของคนรุน่ ใหม่ในประเทศไทยจึงขยับขยำยอย่ำง คึกคัก เมือ่ ทุกวงกำรต่ำงผสมผสำนกันอย่ำงแยกไม่ออกว่ำอะไรคือกระแสหลัก เช่น ธนำคำรกรุงเทพ มูลนิธเิ อสซีจ ี ซึง่ จะมีกลุม่ ั นำกำร นักศึกษำศิลปะที่มีแนวทำงถูกจริตกับสไตล์กำร อะไรคือกระแสรอง กำรผสมพันธุข์ องศำสตร์ทำ� ให้เกิดพันธุใ์ หม่ทมี่ วี วิ ฒ ประกวด นอกจำกนัน้ ยังมีกลุม่ ที่ไม่ตอ้ งกำรงำน ของนวัตกรรม ทว่ำท�ำอย่ำงไรจึงจะไม่ให้ปรำกฏกำรณ์เช่นนีเ้ กิดเป็นเพียงอีเวนต์ ประกวด แต่จะจัดแสดงงำนเองตำมพื้นที่ต่ำงๆ ทีฉ่ ำบฉวย เป็นเพียงเทรนด์ทเี่ กำะไปกับกระแสเพรำะควำมเกเท่เท่ำนัน้ แต่คอื หรือได้รับเชิญจำกคิวเรเตอร์ตำมนิทรรศกำรที่ ควำมลุม่ หลงและเสรีภำพของคนรุน่ ใหม่ทมี่ คี วำมสำมำรถและรอบรูใ้ นเรือ่ งรำว เหมำะสม แน่นอนทีส่ ดุ ว่ำกลุม่ ผูช้ มก็แตกต่ำงกัน ต่ำงๆ ทัง้ ตะวันออกและตะวันตก ในมิตทิ สี่ ำมำรถวิเครำะห์และท�ำควำมเข้ำใจใน ไปตำมรสนิยมและสังคม จึงปฏิเสธไม่ได้ถงึ กำร ระบบของมันได้ เพรำะต้องไม่ลมื ว่ำศิลปวัฒนธรรมไม่ใช่ควำมบันเทิงที่ไร้สำระ แบ่งแยกอย่ำงชัดเจน อย่ำงไรก็ตำมควำมหลำก หลำยต่อหลำยอย่ำงคืออำชีพทีม่ มี ลู ค่ำในทำงเศรษฐกิจ หลำยสิง่ คือภำพลักษณ์ หลำยเหล่ำนี้ได้สร้ำงกลุม่ และวัฒนธรรมของตัว- ของกลุม่ คน รสนิยมทีอ่ ำจสะท้อนไปถึงควำมเป็นชำติ และเป็นนวัตกรรมหนึง่ ที่ เองขึน้ มำไม่วำ่ กลุม่ ไหนจะถูกมองว่ำเป็นกระแส ขับเคลือ่ นสังคมได้ ภำยใต้สนุ ทรียศำสตร์ทสี่ ำมำรถเชือ่ มโยงมนุษย์ทหี่ ลำกหลำย ให้ยอมรับซึง่ กันและกัน หลักหรือกระแสรองก็ตำม ในส่วนของผลงำนนัน้ วงกำรศิลปะไทยร่วมสมัยก็ให้ควำมส�ำคัญกับกำร ข้ำมศำสตร์ข้ำมสำยไปสู่กำรบูรณำกำรเช่นกัน ศิลปินไทยบำงคน เช่น โลเล-ทวีศกั ดิ ์ ศรีทองดี issue 10 baccazine

1 1


YOUNG CULTURE Integrated art, like film, music, visual art and design, is not new to the western world, but it is still quite young in Thailand. However, today the line that divides them is thinner and sometime they can overlap each other because the understanding and art appreciation of the audience has improved, helped by several events and exhibitions held in Thailand that see the importance of integrated art and help link them together. In the Thai fashion world, the arrival of foreign mainstream magazines, like Harper’s Bazaar and Vogue, can lead the trend, but local independent magazines such as Cheeze or Looker can also bring vintage fashion into the mainstream consciousness as well. In the music industry, small music studios can become a big hit just like the big ones, or YouTube culture and selfrecording technology can create many new popular independent artists. Likewise the film industry relies on both blockbuster films from big studios as well art house-films

12

baccazine issue 10

from independent directors that acquire cult status and inspire a younger generation. In visual art circles, there are many new artists whose work fits art contests or competitions and those who don’t, but have their own exhibition displayed at private galleries or by invitation from curators. Their audience might be divided by interest and taste, but this difference also helps to form special interest groups and a sub-culture which cannot be clearly differentiated from the mainstream. Thai contemporary art circles are also thriving and supporting integrated art and artists. Some Thai artists such as Lolay Thaweesak Srithongdee created their works in painting, sculpture, photography, music or live performance. Jitsing Somboon also blends fashion, design, art and has generated a unique style of his own fashion. Artist Santi Lawrachawee, or graffiti artists like P7, Rukkit Kuanhawate and MAMAFAKA create art pieces that are linked to other several design works. These are some

examples of famous artists in their own field but can attract an audience from other fields to experience the integration as well. We can also find other art projects which allow architects, furniture designers and musicians to join the visual art project. This makes the art and culture field expand and look so promising when all kinds of art blends and integrates to mould innovation in the art world. However, there is the question of how we can develop this in more sustainable way, not just a quick trend that will be forgotten in a flash. But makes passion for art a good choice and a path to freedom for the new generation, who are well-informed and smart enough to understand and analyze it. As we shouldn’t forget that art and culture is not a nonsense entertainment, but has economic value, can create image value, reflects the art taste of that country, and drives innovation that can shape society and bring people from different backgrounds to respect each other.•


Theme Cover

ขอขอบคุณ จิตต์สงิ ห์ สมบุญ ทวีศกั ดิ ์ ศรีทองดี อภิชำติพงษ์ วีระเศรษฐกุล นวพล ธ�ำรงรัตนฤทธิ์

MAMAFAKA P7 รักกิจ ควรหำเวช Harper’s Bazaar

Vogue Cheeze Looker

issue 10 baccazine

1 3


did you know?

YOUNG ARTIST

COLUMNIST : MODDUM

ศิลปินรุ่นเก่าคือผู้สร้างแรงบันดาลใจฉันใด ศิลปินรุ่นใหม่ก็เป็นความหวังอันเรืองรองฉันนั้น...มาเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับ Young Artist ทั่วโลกกัน แล้วจะรู้ว่าในวงการศิลปะยังมีคลื่นลูกใหม่ที่พร้อมเติบโตสร้างสรรค์ ผลงานอย่างไม่หยุดยั้ง List of awards and programs for young artists from around the world.

1

รางวัลเกี่ยวกับศิลปินรุ่นเยาว์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย คือ รางวัลยุวศิลปนไทย (Young Thai Artist Award) เกิดขึน้ ครัง้ แรกเมือ่ พ.ศ. 2547 โดยมูลนิธเิ อสซีจี บริษทั ปูนซิเมนตไทย จํากัด เพื่อคนหาและสนับสนุนใหเยาวชนมีเวทีในการแสดงออกความสามารถเชิงศิลปะ โดยมอบ รางวัลใหศลิ ปนสาขาตางๆ ไดแก สาขาศิลปะ 2 มิติ ศิลปะ 3 มิติ ภาพถาย ภาพยนตร วรรณกรรม และการประพันธดนตรี ตัดสินโดยกรรมการผูท รงคุณวุฒกิ วา 60 ทาน ถือเปนการบมเพาะและสงเสริม ใหเยาวชนกาวขามผานไปเปนศิลปนเต็มตัวอยาง แทจริง The Young Thai Artist Award is an award bestowed by the SCG Foundation, to honor excellence of Thai young artists in the categories of 2D and 3D arts, photography, film, literature and music composition.

2

เมืองแห่งโลกเซลลูลอยด์อย่างฮอลลีวด ู้ สหรัฐอเมริกา มีสมาคมศิลปินเยาวชนที่ ชื่อว่า Young Artist Association กอตัง้

ขึน้ เมือ่ ค.ศ. 1978 โดยมอบรางวัล Young Artist Award ใหนักรอง นักดนตรี และนักแสดงรุน เยาวทมี่ อี ายุระหวาง 5-21 ป ใน 4 สาขา ไดแก ภาพยนตร โทรทัศน การละคร และดนตรี โดย หนึง่ ในศิลปนทีห่ ลายคนรูจ กั ซึง่ ควารางวัลนี้ไปเมือ่ ป 2002 คือเจมี่ เบลล (Jamie Bell) นักแสดงนํา เรือ่ ง Billy Elliot และสําหรับปลา สุดมีการประกาศ ผลไปเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผานมา ดูรายชื่อผู ไดรบั รางวัลไดที่ www.youngartistawards.org The Young Artist Award is an accolade bestowed by the Young Artist Association, to specifically recognize and award the contributions of performers under the age of 21 in the fields of film, television, theater and music. For more details, visit www. youngartistawards.org. 14

baccazine issue 10

3

ประเทศเพื่ อ นบ้ า นของเราอย่ า ง มาเลเซี ย ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ เยาวชน และงานศิ ล ปะถึ ง ขนาดก่ อ ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เยาวชนที่มีชื่อในภาษามาเลย์ว่า Muzium Belia Malaysia โดยเปดอยางเปนทางการ

เมือ่ ค.ศ. 1992 ตัง้ อยูในอาคารทรงดัตชเกาแก ใจกลางกรุงมะละกา ซึ่งนอกจากจะบอกเลา เรือ่ งราวเกีย่ วกับเยาวชนดีเดนและกิจกรรมตางๆ ตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั แลว ยังมีงานศิลปะสวยๆ จากฝมือศิลปนรุนใหมใหชมกันอยางละลานตา ในหอศิลปซงึ่ ตัง้ อยูในพิพธิ ภัณฑดงั กลาวอีกดวย Muzium Belia Malaysia or Youth Museum of Malaysia, in Malacca, Malaysia, is dedicated to the contributions made by youths to the country’s economic and social standing. Besides the displays of pictures, awards, information and handicrafts by young people, on the first floor locates an Art Gallery which houses a wide collection of artwork by Malaysian young artists.

4

Rhode Island School of Design วิทยาลัยด้านศิลปะที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่ง ของสหรัฐอเมริกา มีการจัดกิจกรรมเพื่อบ่มเพาะศิ ล ปิ น รุ ่ น เยาว์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและหลาก หลายรูปแบบ เชน แคมปยุวศิลปนในชวงปดภาค

เรียนหรือวันหยุด เนนการสรางทักษะในเชิงศิลปะ ความมัน่ ใจในตนเอง และความคิดสรางสรรค รวม ถึงเทคนิคตางๆ สําหรับศิลปะหลายแขนง เชน ประติมากรรมดินเผา ภาพพิมพ แอนิเมชัน่ ที่ใชหนุ ปน จากดินเหนียว เปนตน ปจจุบนั มีนกั เรียนนักศึกษา จากทัว่ โลกเดินทางขามนํา้ ขามทะเลไปเรียนศิลปะ ณ วิทยาลัยแหงนี้ Rhode Island School of Design, USA, offers a young artist program in varied courses providing the opportunity for kids and teens to develop art and design skills. Classes are offered all year round even during school vacation weeks and summer.


7

5

แคว้นเวลส์ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของสหราช อาณาจักร มีการจัดประกวดงานศิลปะ สําหรับเยาวชน Wales International Young Artist Award (WIYAA) ใน 7 สาขา

ไดแก ภาพยนตร ภาพถาย ภาพพิมพ กราฟก ดีไซน งานวาดเสน จิตรกรรม และประติมากรรม โดยเปดรับสมัครในชวงฤดูรอ นอันแสนสดใส และ ประกาศผลชวงปลายปราวเดือนพฤศจิกายน ผู ชนะจะไดรบั เงินรางวัล 500 ปอนด หรือประมาณ 25,000 บาท รางวัลนีส้ งวนไวสาํ หรับเยาวชนชาว เวลสอายุระหวาง 17-25 ปเทานัน้ Wales International Young Artist

Award was set up by British Council, Wales

to identify and nurture young Welsh artists. Young artists aged 17 to 25 can submit their work in one of seven categories; film, photography, graphic design, printmaking, drawing, painting and sculpture. The winner receives a cash prize of £500 as well as the opportunity to exhibit their work both in Wales and internationally.

6

วงปี่พาทย์ที่วัดขนอน อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี บรรเลงโดยศิลปนรุน  เยาว

อายุตงั้ แต 7-17 ป ทีน่ า สนใจคือสมาชิกเปนผูห ญิง เกือบทัง้ หมด เนือ่ งจากวงดังกลาวเลนประกอบ การแสดงหนังใหญ ซึง่ ตามธรรมเนียมโบราณหาม ผูห ญิงเชิดหนัง จึงหันมาฝกเลนดนตรีแทน กลาย เปนเอกลักษณแตกตางจากวงปพ าทยทวั่ ไป เสียง ดนตรีอนั ไพเราะของปพ าทยรนุ จิว๋ พรอมหนังใหญ มีขนึ้ ทุกวันเสาร เวลา 10.00 น. และวันอาทิตย เวลา 11.00 น. วันละ 1 รอบ ชมฟรี แตสามารถ บริจาคเงินเพือ่ สนับสนุนศิลปนเยาวชนเหลานี้ได ตามอัธยาศัย Khanon Temple in Ratchaburi has not only trained young people in the art of traditional shadow puppet performance (Nang Yai), but also Thai classical music, Pi Phat ensemble, which is used to accompany the shows. Most of the band members are aged between 7 and 17 years old and the temple offers free puppet shows performed by young artists and musicians every weekend.

ที่มาภาพ

Photo credits

ขอขอบคุณ

Special thanks

www.malacca-traveltips.com www.oneweirdglobe.com ce.risd.edu wales.britishcouncil.org อ.พิพฒ ั น กระแจะจันทร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เอือ้ เฟอ ขอมูลและภาพ กลุม เยาวชนบานสังกาอู

ชาวอูรักลาโว้ยซึ่งเป็นชาวเลพื้นเมือง ที่บ้านสังกาอู้ เกาะลันตา จังหวัดกระบี่

มีการแสดงรองเง็งที่ ใชเครื่องดนตรีตะวันตก อยางไวโอลินมาผสมผสาน โดยสืบทอดกันมา นานจากรุนสูรุนจนกลายเปนเอกลักษณ ทวา ปจจุบันนาเปนหวงวาศิลปะแขนงดังกลาวอาจ สูญหายในอนาคต เนื่องจากมีผูสีไวโอลินนอย ลงทุกที ลาสุดสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหิดล ไดเขาไปทํากิจกรรมเพื่อ สงเสริมดานวัฒนธรรมใหเยาวชน โดยทาง อบต. เกาะลันตา มีสวนรวมดวยการใหงบประมาณ สนับสนุน นับเปนการกระตุนศิลปนรุนเยาวให สานตอวัฒนธรรม และไมไดมแี ครองเง็งเทานัน้ ยังมีการแสดงนาชมอีกหนึง่ ประเภทคือ รํามะนา ซึง่ เมือ่ ไมนานมานีพ้ วกเขาไดโชวลลี าอันออนชอย พรอมจังหวะครึกครื้นในโครงการเสวนากลุม ชาติพนั ธุ นับเปนปรากฏการณเล็กๆ ของศิลปน รุน เยาวที่ไมควรมองขาม The people of Sang-ga-u village at Koh Lanta, Krabi have a unique Rong Ngeng dance which is accompanied by singing and the music of drums and violins. However, it is getting less popular and the performance is rare, so there is an attempt by Mahidol University and local government to continuously promote and train young people to prolong this traditional dance.

www.malacca-traveltips.com www.oneweirdglobe.com ce.risd.edu wales.britishcouncil.org Piphat Krajae-chan, Faculty of Arts, Thammasat Universaty for Sang-ga-u youth information and photos. issue 10 baccazine

1 5


world of art

Sam Griffin (1979)

WORLD OF ART COLUMNIST : PROF. WUTIGORN KONGKA

Mathew Weir (1977) ผลงานของศิลปนรุน  ใหมในศตวรรษที่ 21 ไดทะลุทะลวงไปสูป  ระสบการณใหมๆ ในการรับรู ขณะทีค ่ วามหมายของงานศิลปะไดขยายผลไปตามความตองการสรางสุนทรียศาสตรของแตละคน มีทั้งความ บันเทิงทีโ่ ฉบเฉีย ่ วไปในหลายๆ สือ ่ หรือบางทีกเ็ หมือนงานวิจย ั ทีส ่ าํ รวจสังคมและวิถชี วี ต ิ แมกระทัง่ การนําประวัตศ ิ าสตรทางสังคม การเมือง ศาสนา และศิลปะมาเปดมุมมองใหมดว ยพลังแหงจินตนาการ การตีความ การสํารวจตรวจตราเพือ่ ถอดรือ้ เพือ่ ไปสูอ าณาเขตใหมๆ ในการสรางปฏิกริ ย ิ าตอผูช ม โดยภาพกวางๆ ของศิลปนรุน  ใหมสามารถมองไดดงั นี้

กลุ่มที่ทํางานดานสื่อจิตรกรรม วาดเสน และภาพถ่าย เช่น ศิลปินอย่าง Kehinde Wiley (1977) เขาเป็นคนผิวด�า เกิดในอเมริกา และ วาดภาพคนด�าเหมือนจริงขนาดใหญ่ท่ามกลาง ลวดลายทีบ่ อกถึงรากเหง้าชาวแอฟริกนั วายลีย์ ต้องการแสดงภาพพจน์ที่ดูยิ่งใหญ่ของคนด�าซึ่ง ไม่เป็นที่รู้จัก ให้ผยองอ�านาจอยู่ ในบริบทแห่ง มายาคติของภาพเขียนบุคคลแบบเหมือนจริง ซึ่งเป็นโลกเฉพาะของคนขาวมาช้านานในระดับ ประวัติศาสตร์งานจิตรกรรม หรือผลงานของ Mickalene Thomas (1971) ศิลปินผิวด�าฝาย หญิงทีต่ อ้ งการทวงสิทธิข์ องหญิงผิวด�าทีถ่ กู กดขี่ ให้ได้เฉิดฉายเหมือนดารา ท่ามกลางบรรยากาศ แห่งอินทีเรียร์ดีไซน์และภาพยนตร์ยคุ 1970 ทีเ่ ธอ หลงใหล การวาดภาพบุคคลด้วยสไตล์ปอ ปและ 16

baccazine issue 10

การผสมผสานวัสดุลงไปอย่างสวยงามกลายเป็น ความหรูหราที่ได้รบั การประดับตกแต่งอย่างทรง อ�านาจ ผลงานของ Raqib Shaw (1974) ก็แสดง ถึงพลังอ�านาจแห่งเรือ่ งเล่า ต�านาน และทวยเทพ ทีป่ ะปนกันมาทัง้ พุทธ ฮินดู อิสลาม คริสต์ แออัด อยู่ในจินตนาการอันสุดกู่ ด้วยความทีช่ อว์เกิดใน อินเดียแต่ไปเรียนทีอ่ งั กฤษ จึงเป็นทีม่ าแห่งการ ผสมผสานผ่านรูปแบบสัญลักษณ์ทางความเชื่อ ซึ่งน�าไปสู่ความแฟนตาซีที่โน้มเอียงไปในเรื่อง เพศ นอกจากนี้ผลงานจิตรกรรมของ Mathew Weir (1977) ได้อา้ งอิงไปถึงงานจิตรกรรมสกุล ดัตช์ในศตวรรษที่ 17 ซึง่ เต็มไปด้วยรายละเอียด ของผลงานขนาดเล็ก ผ่านการวาดหุ่นนิ่ง คน และทิวทัศน์ ปรากฏเป็นภาพความหรูหราชุม่ ฉ�า่ ของสีน�้ามันที่พูดถึงความตาย ความสุข ความ

รัก หุน่ นิง่ ของเวียร์คอื ตุก ตาเซรามิกจากศตวรรษ ที่ 18-19 ที่น�ามาเล่าเรื่องแฟนตาซีซึ่งมาจาก วรรณกรรม ประวัติศาสตร์ และลักษณะทาง จิตวิทยาทีเ่ ขาสนใจ ในขณะเดียวกันผลงานวาด เส้นของ Sam Griffin (1979) คือการให้ความ ส�าคัญแก่ประวัติศาสตร์ของงานสถาปัตยกรรม ด้วยว่ามันคืองานดีไซน์ทโี่ ดดเด่นในสภาพแวดล้อม และบ่งบอกถึงความทะเยอทะยานของมนุษ ย์ เพื่อไปสู่อนาคต กริฟฟินจัดการวาดเส้นอย่าง ละเมียดละไมเพือ่ เก็บรายละเอียด เขาคิดว่าการ วาดเส้นคือจุดแรกเริม่ ของการใช้ไอเดียเพือ่ น�าไป สูง่ านศิลปะและงานดีไซน์ อย่างไรก็ตามผลงาน ภาพถ่ายของ Maurizio Anzeri (1969) ก็ได้ยอ้ น ไปสู่อดีตด้วยการน�าภาพถ่ายเก่าของบุคคลที่ไม่ เป็นทีร่ จู้ กั ซึง่ เขาสะสมจากแหล่งต่างๆ มาประดับ ประดาด้วยด้ายหลากหลายสีที่เย็บลงไป ผลคือ ภาพลักษณ์ที่แปลกประหลาดคล้ายหน้ากากที่ บดบังใบหน้าเดิม ส�าหรับอันเซรีประวัตศิ าสตร์คอื เครือ่ งมือชัน้ ดีในการเดินไปสูอ่ นาคต กลุม่ ทีท่ าํ งานประติมากรรมและศิลปะจัดวาง (Installation) เช่น Subodh Gupta (1964) เขา ใช้วัสดุส�าเร็จรูปคือเครื่องครัวทั้งสเตนเลสและ


Subodh Gupta (1964)

Kehinde Wiley (1977)

ทองเหลือง ซึง่ เกีย่ วข้องกับวัฒนธรรมการกินของชาวฮินดูในอินเดีย น�ำมาสร้างเป็นฟอร์มประติมากรรม ทีพ่ าคนดูไปสูก่ ารรับรูใ้ หม่ ทัง้ หม้อ กระทะ ถังทีก่ ลายเป็นกลุม่ ควันรูปดอกเห็ดจากระเบิดนิวเคลียร์ หรือจานบิน หรือถังนํา้ ทีม่ นี ำ�้ (ท�ำจากเครือ่ งครัวประกอบกันขึน้ ) ล้นออกมานอกถัง ขณะทีผ่ ลงานของ David Altmejd (1974) คือประติมากรรมทีส่ ดุ แสนประหลาด ทัง้ วัสดุหลากหลายชนิด เช่น หนังสัตว์ ดอกไม้ปลอม ต้นไม้ปลอม ขนสัตว์ ทีถ่ กู ประโคมเข้าใส่ กลายร่างไปสูม่ นุษย์ทเี่ น่าเปือ่ ยผุพงั และบาง ครัง้ ก็ถกู จัดให้เหมือนอยู่ในห้องวิทยาศาสตร์ทดี่ แู ฟนตาซีราวกับโลกแห่งสิง่ มีชวี ติ เหนือจริง กลุม่ วิดโี อและแอนิเมชัน่ เช่น ผลงานของ Amy Granat (1976) คือการเดินทางไปสูโ่ ลกของ ภาพยนตร์ในแบบนักทดลองที่ใช้หลากหลายวิธกี าร มันเปิดทางไปสูค่ วามสัมพันธ์และบทสนทนาใน รูปแบบใหม่ระหว่างสภาวะความเป็นจิตรกร ช่างภาพ นักเขียน นักดนตรี ศูนย์กลางขององค์ประกอบ ศิลป์ (elements) ในผลงานคือการท�ำลายระบบภาษาของความเป็นภาพยนตร์ไปสูก่ ารรับรูใ้ หม่ ผลงาน T.S.O.Y.W. (2007) คือการดัดแปลงนิยายของเกอเธ่เรือ่ ง Werther ไปสูภ่ าพยนตร์แนว Road Movie ทีเ่ ชือ่ มโยงสูธ่ รรมชาติในแบบภูมศิ ลิ ป์ (Land Art) หรือผลงานแอนิเมชัน่ ของ Nathalie Djurberg (1978) ทีส่ ร้างคาแร็กเตอร์และเรือ่ งราวอันพิลกึ พิลนั่ จากงานปัน้ และถ่ายท�ำด้วยเทคนิคสต็อปโมชัน่ ซึง่ พาผูช้ ม ไปสูด่ นิ แดนแห่งความฝันของจิตใต้สำ� นึกผูห้ ญิง ลักษณะภายในกลายเป็นความแฟนตาซีและเหนือจริง ทีท่ งั้ น่ารักและน่าเกลียดน่ากลัวไปพร้อมกัน ผลงานในสือ่ อืน่ ๆ ผลงานในแนวทางนีม้ กั ไม่ได้ถกู ยึดติดตายตัวจากศิลปิน หมายความว่าศิลปิน สามารถท�ำสื่ออะไรก็ได้ที่ตอบโจทย์ความคิดของเขา เช่น Cyprien Gaillard (1980) กับผลงานที่

ผสมผสานทั้งองค์ประกอบของประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมร่วมสมัยทีโ่ ดดเด่น เขาสร้างสรรค์ ทัง้ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย วิดีโอ ศิลปะการแสดง ภูมิศิลป์ หรือแม้แต่ การแทรกแซงอยู่ ในพื้นที่สาธารณะ เขาสนใจ ในสุนทรียศาสตร์ของการท�ำลาย เช่น ผลงาน จิตรกรรมทีอ่ า้ งอิงถึงงานในศตวรรษที่ 18 หรือ ภาพพิมพ์โลหะที่อ้างอิงถึงภาพพิมพ์สกุลดัตช์ ในศตวรรษที่ 17 ที่เป็น ภาพทิวทัศน์ของงาน สถาปัตยกรรมร่วมสมัย ซึ่งเหมือนซากปรักหัก พังแห่งยุคสมัยใหม่กำ� ลังถูกยึดครองและท�ำลาย ด้วยธรรมชาติ หรือผลงานทีเ่ ขาเรียงลังเบียร์ขนึ้ ไปสูค่ วามคล้ายคลึงรูปพีระมิดทีส่ วยงาม ก่อนจะ เปิดโอกาสให้ผคู้ นปีนขึน้ ไปรือ้ มากินจนพีระมิดนัน้ เละเทะไปด้วยซากขวดและลังที่กระจุยกระจาย รวมถึงผลงานของ Minerva Cuevas (1975) ที่ ท�ำงานศิลปะเชิงแนวคิด (Conceptual Art) ด้วย สือ่ ทัง้ Installation วิดโี อ ภาพถ่าย ซึง่ มีเนือ้ หา เกี่ยวกับบริบททางสังคมการเมือง เช่น เธอท�ำ วิจยั และโครงการต่อต้านบรรษัทด้วยการน�ำเสนอ บริการฟรีสำ� หรับทุกๆ คนทีร่ อ้ งขอ โดยผูข้ อรับ บริการจะเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเธอและขอไอดี การ์ดส�ำหรับใช้เป็นส่วนลดหรือรับบริการฟรี เพือ่ เข้าชมพิพธิ ภัณฑ์ ภาพยนตร์ หรือใช้บริการขนส่ง สาธารณะ นี่คือการเสียดสีระบบทุนนิยมของ บรรษัทใหญ่ๆ ทีข่ ายทุกอย่าง กล่าวโดยสรุป ผลงานของศิลปินรุน่ ใหม่ที่ได้ รับการยอมรับนัน้ สร้างปรากฏการณ์ทหี่ ลากหลาย ในสังคมศิลปะร่วมสมัย กระตุ้นให้คนได้ขบคิด ในขอบเขตของงานศิลปะที่ไม่มีวันหยุดนิ่ง และ อิสระอย่างถึงทีส่ ดุ issue 10 baccazine

1 7


WORLD OF ART Works by new generations of artists in the 21st century have led to new experiences in our perception. The meanings of art have been expanded through each artist’s desire to formulate his or her own aesthetic concept. Some of these works entertain us through various media, while some are like studies that scrutinise our society and lifestyle. Through the power of imagination, interpretation and deconstruction, they even open up new vistas to social, political, religious and art history as they seek to break new ground in interacting with the viewers. Here is an overview of these new generations of artists, categorised into groups according to their work media: Painting, drawing and photography: Artists in this category include Kehinde Willey, Mickalene Thomas, Raqib Shaw, Mathew Weir, Sam Griffin, and Maurizio Anzeri. An African-American painter of large realistic portraits against background designs that reflect his African roots, Kehinde Willey (1977) wants to project an unfamiliar and grandiose image of the African people by exploiting the European realistic portrait painting tradition that has been the exclusive domain of the European people throughout the long history of painting. Mickalene Thomas (1971) is an African-American artist who calls for the rights of the oppressed African-American women, whom she presents like celebrities against the background in the interior design and cinematic style of the ’70s, a period that fascinates her. She beautifully uses a combination of various materials in her pop-art style portraits to portray glamour and power. Works by Raqib Shaw (1974) reflect the power of mythology and legends from various sources -- Buddhist, Hindu, Muslim and Christian -- all fused in his far-out imagination. His multi-cultural experiences, as he was born in India and educated in the UK, have led to the fusion of religious symbols with fantasies that incline towards eroticism. Cyprien Gaillard (1980)

18

baccazine issue 10

Amy Granat (1976)

The intricate details in the miniature paintings of still lifes, portraits, and landscapes by Mathew Weir (1977) trace to the 17th century Dutch school. Opulent and rich in colours, his oil paintings make references to death, happiness, and love. The models for his still life paintings are the ceramic figurines from the 18th and 19th centuries, and they tell the fantastic stories from literature, history and psychological aspects that interest him. Cyprien Gaillard (1980)


Nathalie Djurberg (1978)

Mickalene Thomas (1971)

world of art

The drawings by Sam Griffin (1979) pay tributes to the history of architecture. Architectural creations are depicted as works of design that stand out in the environment and reflect man’s ambition for the future. Griffin draws with intricate details because he views that drawing is the first point where ideas became visualised before they develop into works of art and design. The photographic works by Maurizio Anzeri (1969) return to the past through the found vintage photographs that he collected from many sources and decorated by embroidering them with threads of various colours. The results are bizarre images, as if these faces wore masks. For Anzeri, history is the finest vehicle for the journey to the future. Sculpture and Installation: Artists in this category are Subodh Gupta and David Altmejd. Subodh Gupta (1964) uses everyday objects -- the stainless steel and the brass pots and pans in the Hindu culinary tradition of India -- to create sculptural forms that lead the viewers to a new perception. Pots, pans and buckets become the mushroom-

shape cloud of a nuclear bomb, a flying saucer, or a pail overflowing with water. Most bizarre are the works by David Altmejd (1974), who uses a wide variety of materials in his works, such as leather, artificial flowers and plants, and furs, which are transformed into rotting human corpses. Sometimes his works are installed as if they were in a science lab in a surrealistic, fantasy world. Video and Animation: Artists in this category include Amy Grant and Nathalie Djurberg. With her multi-media experiments, Amy Granat (1976) takes her audiences on a journey that introduces new relations and dialogues between painting, photography, writing, and music. The central element in her works is the destruction of the cinematic language and the introduction of the new perceptions. In T.S.O.Y.W (2007), she adapts Goethe’s The Sorrows of Young Werther and transforms it into the Road movie genre with a link to nature through Land Art. By using clay figures and stop-motion video technique, ‘claymation’, Nathalie

Djurberg (1978) creates bizarre characters and stories in her works that introduce her audiences into women’s sub-consciousness -- a surreal, fantasy world that is at the same time lovely and horrible. Mixed media: Artists in this category, which include Cyprien Gaillard and Minerva Cuevas, do not limit themselves to any specific medium, but using whichever medium that fulfill their requirements. Works by Cyprien Gaillard (1980) combine elements from history with those from the prominent contemporary culture. He engages in painting, sculpture, etching, photography, video, performance and Land Art or even interventions in public space. He is interested in the Ruinist aesthetics -- the 18th-century rugged landscape paintings or the 17thcentury Dutch landscape etchings -- and presents contemporary architecture as a modern ruin which is being taken over and destroyed by nature. In one of his works, crates of beer bottles were stacked into a pyramidal form and people were allowed to climb on it and loot. The structure was consequently demolished in the process, leaving behind a jumble of scattered empty bottles and crates. Minerva Cuevas (1975), a conceptual artist who engages in installation, video, and photographic works on the theme of social and political contexts. In her anti-corporation research and project she offers free services to anyone who asks for them through the visit to her website and the request for an identification card for reduced fees or free access to museums, cinemas, or public transportation. It is a parody of capitalism and the practice of large corporations that sell everything. In summary, works by the new generations of well-established artists have fostered diverse phenomena in the contemporary art scene. They stimulate people to reconsider the scope of art, which is forever progressing and is absolutely liberating. • issue 10 baccazine

1 9


world artist USA

ALLORA & CALZADILLA COLUMNIST : PROF. WUTIGORN KONGKA

ศิลปินรุ่นใหม่ยุคนี้ได้เดินทางมาถึงจุดของการพยายามท�ำให้งานศิลปะเชื่อมโยงไปสู่จุด อื่นๆ ความหมายของค�ำว่าบูรณาการกลายเป็นเงื่อนไขส�ำคัญที่ท�ำให้ศิลปะไม่เป็นแค่ เพียงความงามของรูปทรงที่ตาเห็นเท่านั้น แต่อาจเชื่อมไปสู่ประสาทสัมผัสชนิดอื่น อาจ เปลี่ยนประสบการณ์ทางการรับรู้ใหม่ อาจไปผสมพันธุ์กับองค์ความรู้ชนิดอื่นไม่ว่าจะเป็น วิทยาศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ งานออกแบบ งานสถาปัตยกรรม ปรัชญา แม้แต่ งานเกษตรกรรม อาหาร และอุตสาหกรรม ผ่านรูปแบบทางศิลปะทีบ ่ ก ุ เบิกไปสูส่ งิ่ ใหม่ๆ และ การค้นคว้าวิจย ั ในทางเนือ้ หาทีเ่ ข้มข้น ศิลปินรุน ่ ใหม่ยค ุ นีจ้ งึ เพียบพร้อมด้วยคุณสมบัตขิ อง ความเป็นผู้มีสติปัญญา (Intellectual)

ศิลปินคู่สามีภรรยา เจนนิเฟอร์ อัลโลรา (Jennifer Allora) และกีเยรโม กัลซาดิลยา (Guillermo Calzadilla) ในนาม Allora & Calzadilla คื อ คู ่ ดู โ อที่ โ ด่ ง ดั ง ที่ สุ ด คู ่ ห นึ่ ง ใน โลกศิลปะร่วมสมัยยุคนี้ ผลงานของทั้งคู่ท�ำ ด้วยสื่อแทบทุกประเภททั้งวิดีโอ สื่อการแสดง ประติมากรรม สือ่ ทางเสียง เช่น ดนตรี ภาพถ่าย เป็นต้น สุนทรียศาสตร์ในงานของพวกเขาเกี่ยว กับการเปลี่ยนประสบการณ์การรับรู้ที่คุ้นเคย ของวั ต ถุ ใ นรู ป ของประติ ม ากรรม เรื่ อ งราว ทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม ความเป็นชาติ สถานการณ์ทาง สงคราม ด้ ว ยการเสี ย ดสี อ ย่ า งมี อ ารมณ์ ขั น เลยไปถึ ง ความเป็ น บทกวี ที่ เ ปรี ย บเปรยและ จินตนาการได้ประหลาดน่าทึ่ง ผลงาน Returning a Sound ที่สร้างขึ้นใน ปี 2004 เป็นวิดีโอบันทึกภาพชายหนุ่มชื่อโฮมาร์ (Homar) ขับมอเตอร์ไซค์ขนาดเล็กของเขาไป ทั่วเกาะบีเยเกส (Vieques) ในเปอร์โตริโก ซึ่ง เป็นเกาะที่กองทัพเรือสหรัฐฯ ใช้เป็นที่ทดลอง ระเบิ ด มาตั้ ง แต่ ป ี 1941-2003 โดยติ ด ตั้ ง ทรัมเป็ตไว้ตรงท่อไอเสียของมอเตอร์ไซค์เพื่อ ระบายควันเสีย เมื่อชายหนุ่มสตาร์ตเครื่องและ บิดคันเร่ง เสียงทรัมเป็ตจะดังขึน้ อย่างน่าหัวเราะ นอกจากเป็นการทักท้วงถึงสิทธิของพลเมือง 20

baccazine issue 10

บนเกาะนี้ที่ถูกคุกคามจากอเมริกาซึ่งเป็นกรณี พิพาทในตอนนั้น พวกเขาทั้งคู่ยังสนใจเสียง ที่เกิดจากฟังก์ชั่นของประติมากรรมส�ำเร็จรูป (Ready-made) ของมอเตอร์ไซค์กับทรัมเป็ต ซึ่งแสดงตัวได้อย่างทรงพลัง ในฐานะที่ทั้งคู่มัก ใช้ไอเดียการผสมผสานของสองสิ่งเข้าด้วยกัน เสมอ การเรียกงานชิ้นนี้ว่าคือประติมากรรมจึง ตอกยํ้าความเชื่อมั่นดังกล่าวแม้ว่างานชิ้นนี้จะ เป็นวิดีโอก็ตาม พวกเขายังบอกอีกว่า งานชิ้นนี้ คือการวิจยั ประวัตศิ าสตร์ทางดนตรีกบั สนามรบ โดยในเรือ่ งราวของทหารบนแผ่นดินเปอร์โตริโก นี้ยังมีวัฒนธรรมดนตรีอีกด้วย และกับผลงานที่ ต่อเนื่องกันออกมาอย่าง Under Discussion ใน ปี 2005 เมื่อผลจากการต่อต้านของพลเมืองบน เกาะนี้ประสบความส�ำเร็จระดับหนึ่งโดยมีการ ลดก�ำลังทางทหารลง แต่ยงั อยู่ในช่วงเจรจาต่อรอง ใครกันที่เข้าไปเพื่อช่วงชิงผลประโยชน์ทั้ง การเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม หรือจะเจรจา กันอย่างไรเกีย่ วกับการพัฒนาในอนาคตเพือ่ ไปสู่ ความเสมอภาคอย่างแท้จริง Allora & Calzadilla จัดแจงน�ำโต๊ะเจรจามาควาํ่ ลง ติดเครือ่ งเรือ แล้ว ให้ชายหนุ่มขับวนรอบเกาะอย่างไร้จุดหมายไม่ ต่างจากมอเตอร์ไซค์ แม้จะดูคล้ายการประท้วง แต่จินตนาการใน การพลิกฟังก์ชั่นในเชิงประติมากรรมยังท�ำงาน

อยู่ มันคือเส้นทางคู่ขนาน เมื่อทางหนึ่งคืองาน วิจัยที่เข้มข้นในเชิงรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ กับเหตุการณ์ทางการเมืองและสิทธิพลเมือง ในเรื่องสิ่งแวดล้อมที่ถูกอุปมาอุปไมยไปถึงการ เผชิญหน้ากับบางสิ่งของนักแสดงน�ำทั้งสองคน ที่อยู่บนพาหนะอย่างไร้จุดหมาย นั่นอาจหมายถึงอ�ำนาจทีต่ อ้ งยอมรับบนพืน้ ทีท่ ี่ไม่มจี ริงในโลก ของวิดีโอ อาจมองเห็นได้ทั้งความไร้สาระ ไร้ เหตุผล เห็นความน่าขัน ความย้อนแย้ง ที่ผนวก ไปกับเส้นทางที่คู่ขนานกันของวัตถุ (Object) ในเชิงประติมากรรม นี่คือสุนทรียะของเครื่อง ดนตรีแนวใหม่และเรือที่สุดแสนจะประหลาด อย่างชวนหัวเราะทั้งคู่ การกลับหัวกลับหางและ เล่นแร่แปรธาตุคอื จุดแข็งของศิลปินคูน่ ี้ พวกเขา ยังบอกอีกว่า ทั้งมอเตอร์ไซค์และโต๊ะไม่ควรอยู่ ในแกลเลอรี่ แต่ต้องตอบกับภาระหน้าที่ของ มันในพื้นที่จริง และถ้าจะกลับมาในแกลเลอรี่ก็ ไม่ใช่ในรูปแบบของ Document ที่งานเวนิส เบียนนาเล่ ในปี 2011 ภายใน อาคารจัดแสดงอเมริกัน พาวิลเลียน คู่ศิลปิน Allora & Calzadilla น�ำเสนอผลงานที่ชวนให้ ตื่นเต้นอีกครั้ง กับผลงาน Algorithm คือตู้ เอทีเอ็มที่เป็นรูปหีบเพลงขนาดใหญ่ และเรียกร้องให้คนดูสอดเครดิตการ์ดเข้าไปแล้วกดปุ่ม เพื่อท�ำให้เกิดเสียงเหมือนออร์แกนในโบสถ์ มัน


1. Returning a Sound 2. Returning a Sound 3. Stop, Repair, Prepare: Variation on “Ode to Joy� for a Prepared Piano 4. Algorithm

1

2

3

4

issue 10 baccazine

2 1


5

6

คือการเล่นแร่แปรธาตุของสองสิ่งเข้าด้วยกัน นั่นคือเสียงดนตรีและการท�ำธุรกรรมทางการเงินที่คนทั่วไปเคยคุ้น งานชิ้นนี้ท�ำให้คิดถึงงาน ของพวกเขาก่อนหน้านี้ ในปี 2008 คือผลงาน Stop, Repair, Prepare: Variation on “Ode to Joy” for a Prepared Piano ทัง้ คูส่ ร้างเปียโน ให้มีล้อ และมีช่องให้นักเล่นสอดตัวเข้าไปเพื่อ เล่นและเคลือ่ นตัวไปพร้อมเปียโน เหมือนเปียโน และคนเล่นมีร่างกายเดียวกันที่เคลื่อนไปทั่วทั้ง ห้องแสดงงาน เสียงดนตรีและเครื่องดนตรี ใน รูปลักษณ์ที่ประหลาดยั่วเย้าประสบการณ์ใหม่ ได้อย่างน่าทึ่ง ผลงาน Body in Flight ทีป่ รากฏในงานเวนิส เบียนนาเล่ปี 2011 เช่นกันคืออีกชุดที่ชวนให้ ขบคิดและงดงามในความแปลกประหลาด เมื่อ นักยิมนาสติกระดับชาติ นานาชาติ และโอลิมปิก ได้มาเล่นยิมนาสติกบน Balance Beam แนว ใหม่ เพราะเป็นประติมากรรมจ�ำลองที่นั่งชั้น ธุรกิจ (Business Class) จากสองสายการบินคือ Delta Airlines และ American Airlines ศิลปิน ทัง้ คูบ่ อกว่า พวกเขาก�ำลังเปลีย่ นแปลงบางอย่าง ด้วยการรวมมันเข้าด้วยกัน ระหว่างกีฬาและ 22

baccazine issue 10

ทีน่ งั่ ทีจ่ ำ� กัด ฟอร์มและฟังก์ชนั่ ของประติมากรรม ท�ำงานอีกครัง้ เมือ่ มันถูกสือ่ ไปถึงความเป็นสาย การบินแห่งชาติ ความเป็นชาติถูกเถลิงอ�ำนาจ ด้วยทั้งนักกีฬาและภาพพจน์ของแบรนด์ที่ ไม่ เคยล้มละลายอย่าง American Airlines เหมือน สัญลักษณ์ของชาติที่รัฐต้องดูแลเอาใจใส่เพื่อ ด�ำรงไว้ซึ่งความเป็นมหาอ�ำนาจ ขณะที่ผลงาน Track and Field ที่ตั้งอยู่ด้าน หน้าอเมริกัน พาวิลเลียนพิสูจน์ ได้ดีถึงความคิดดังกล่าวของทั้งคู่ รถถังแห่งกองทัพสหรัฐฯ ถูกพลิกหงายเอาล้อชี้ฟ้าและติดตั้งเครื่องวิ่ง ออกก�ำลังแบบสายพานเข้าไป เมื่อเปิดเครื่อง วิ่ง สายพานรถถังจะหมุนและส่งเสียงกึงกัง บน สายพานคือนักวิ่งเหรียญโอลิมปิกที่สวมเสื้อ USA อัลโลราบรรยายถึงความรู้สึกที่มีต่อรูปลักษณ์ของประติมากรรมชิ้นนี้ว่ามันทั้งใหญ่โต ดูน่าเกลียด และชวนสะอิดสะเอียน อย่างไร ก็ตามผลงานชิน้ นี้ได้ทำ� หน้าทีเ่ ชือ่ มความสัมพันธ์ ระหว่างกองทัพกับกีฬาเข้าไว้ด้วยกัน นอกจาก ตอกย�ำ้ และเสียดสีความเป็นชาติมหาอ�ำนาจของ สหรัฐอเมริกาได้อย่างน่าขบขันและเจ็บแสบใน พาวิลเลียนของตัวเองแล้ว ศิลปินทั้งคู่บอกอีก

ว่า เพราะล้อที่ไม่ได้สัมผัสพื้น คุณจะได้ยินเสียง ทีค่ ณ ุ ไม่เคยได้ยนิ มาก่อน และรถถังทีพ่ ลิกหงาย กับเครื่องออกก�ำลังและนักวิ่งคุณก็ไม่มีวันเคย เห็นมาก่อนเช่นกัน ความหมายที่เกิดจากการ รวมกันของสองสิ่งปรากฏอีกครั้งบนฐานการ คิดถึงเรื่องความเป็นชาติ นี่ คื อ ตั ว อย่ า งผลงานของศิ ล ปิ น คู ่ นี้ ที่ มี แนวทางอย่ า งชั ด เจน พวกเขายั ง เคยสร้ า ง ประติมากรรมประหลาดขนาดใหญ่ที่มีนักร้อง โอเปร่าสอดตัวเข้าไปร้องอยู่ในนัน้ มันสือ่ ถึงซาก ปรักหักพัง และการเปล่งเสียงก็เหมือนกับเสียง จากชิน้ ส่วนของสุนทรพจน์ที่ไม่สมประกอบ การ ผสมผสานของสองสิ่งซึ่งผิดที่ผิดทางและโน้มเอียงไปทางประติมากรรมซึ่งผลิตด้วยคุณภาพ สุดยอดละเอียดและพิถีพิถันคือจินตนาการใน การเปรียบเปรยที่คมคาย ทว่างานวิจัยที่เข้มข้น ก็เป็นฐานที่แกร่งไม่แพ้กัน *เจนนิเฟอร์ อัลโลรา เกิดปี 1974 ที่เมือง ฟิลาเดลเฟีย ประเทศสหรัฐอเมริกา และกีเยรโม กั ล ซาดิ ล ยา เกิ ด ปี 1971 ที่ เ มื อ งฮาวานา ประเทศคิวบา*


world artist

7 5. Under Discussion 6. Body in Flight 7. Track and Field (ผลงาน 5, 6, 7 จากหนังสือ Art > Now Vol. 4)

ALLORA & CALZADILLA by the US government since the 1940s and on a piano with a hole cut through its harp Jennifer Allora and Guillermo Calzadilla locals were displaced for an environmentally and lid. The pianist stands inside the hole

are a collaborative duo of visual artists who live and work in San Juan, Puerto Rico. Allora & Calzadilla magnify areas of political tension in the public realm through a wide-ranging body of work. They identify and stress the hairline fractures in societal systems – nationhood, environmentalism, states of war and resistance – through sculpture, photography, performance, sound and video. Being thorough researchers as well as understanding the material are central to their practice and they home in on its symbolism, tracing the many marks of history, culture and politics. In their video series ‘Returning a Sound’ (2004) and ‘Under Discussion’ (2005) made during their involvement with a civil disobedience campaign in Vieques, Puerto Rico against a US military testing and training site. The island was controlled

disastrous military exclusion zone. Returning a Sound documents a symbolic reclaiming of the land by activist Homar, who travels by an adapted moped in areas that were forbidden to the Vieques residents for decades. A trumpet has been affixed to the muffler of the moped, which emits a call that varies in pitch according to the land’s terrain and the speed of the bike. Under Discussion follows a man who circles the island on a boat made from an overturned conference table powered by an outboard motor. His actions symbolize the need for a democratic process of discussion, rather than mandate from the US government or wealthy investors to determine the fate of the land. In 2008, the duo presents ‘Stop, Repair, Prepare: Variations on Ode to Joy for a Prepared Piano’ (2008), a live performance

and leans over the keyboard and plays upside down and backwards, while moving with the piano across the vast atrium. This extends the principle of variation as subversion beyond rhythm and mood to the performer’s relationships to composer, audience, and instrument. In 2011 Allora & Calzadilla represented the USA at the Venice Biennale. Their exhibition features a military tank turned upside down with a treadmill on top, an organ with a fully functioning credit card machine, and business class airline seats. Like many of the duo’s works, these balloons with irony or absurdity to American presumption and military and financial power, as well as nationalism and its various expressions, like Olympic sports. •

issue 10 baccazine

2 3


in the mood of art

“ยุร-ี เมธี” คูร่ ก ั นักศิลปิน THE PERFECT SYMBIOSIS COLUMNIST : ANABEL PHOTO : ANUCH

24

baccazine issue 10


บนโลกใบนี้ มี สิ่ ง มี ชี วิ ต ในระบบนิ เ วศหลายคู ่ ที่ อาศัยอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยและเกื้อกูล กัน ขณะที่ในโลกศิลปะ ศิลปินชั้นครูหลายท่านก็ เชื่อว่าศิลปะนั้นมีความสัมพันธ์กัน และสามารถ ส่องทางให้แก่กน ั และกันได้ ภาพการปฏิสม ั พันธ์ ในการท�ำงานศิลปะร่วมกันของคู่รักนักศิลปิน อย่างหนุ่มนักดนตรี “เมธี น้อยจินดา” กับสาว นักวาด “ยุรี เกนสาคู” น่าจะเป็นตัวอย่างทีด ่ ท ี สี่ ด ุ อีกภาพหนึ่งของค�ำว่า “ศิลปะส่องทาง” และ “Symbiosis” ซึง่ ถูกใช้เป็นชือ่ Art Book งาน เขียนที่ทั้งคู่ร่วมกันท�ำ โดยน�ำเอาความสัมพันธ์ แบบพึ่งพาและเกื้อกูลซึ่งกันและกันมาถ่ายทอด เป็ น ภาพการ์ ตู น รู ป สั ต ว์ สี สั น สดใสตามสไตล์ ของแต่ละคน

ไม่มีใครไม่รจู้ กั “เมธี” เพราะเขาเป็นหนึง่ ใน สมาชิกวง “โมเดิรน์ ด็อก” วงดนตรีรอ็ กทีม่ ผี ลงาน ต่อเนื่องมาอย่างยาวนานจนได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน ต�ำนานของเมืองไทย ในอีกด้านหนึ่งเขายังเป็น ศิลปินหนุ่มที่มีผลงานทั้งในแง่จิตรกรรมและสื่อ ผสม โดยมีการจัดแสดงงานอยู่บ่อยครั้ง และ มีส่วนร่วมในการแสดงผลงานของยุรีหลายครั้ง ด้วยเช่นกัน ส� ำ หรั บ ยุ รี ศิ ล ปิ น ลู ก ครึ่ งไทย-ญี่ ปุ ่ น ร่ า ง กะทัดรัด เธอเป็นศิลปินรุน่ ใหม่ของวงการศิลปะ ร่วมสมัยทีน่ า่ จับตามองอย่างยิง่ เนือ่ งจากความ โดดเด่นในการผสานเทคนิค ลูกเล่น สีสนั และ วัสดุที่หลากหลาย ถ่ายทอดมาเป็นภาพเขียนที่ ลงตัวและมีกิมมิกที่หลายคนหลงใหล ยุรีมักได้ รับเชิญให้เข้าร่วมแสดงนิทรรศการกลุม่ และเดีย่ ว ทัง้ ภายในและต่างประเทศอยูบ่ อ่ ยครัง้ ล่าสุดเธอ เพิง่ กลับจากการร่วมแสดงงานนิทรรศการทีก่ รุง มอสโก ประเทศรัสเซีย โดยเป็นหนึง่ ในศิลปินไทย รุน่ ใหม่ที่ได้เข้าร่วมนิทรรศการระดับโลกครัง้ นี้ สิง่ ทีน่ ำ� ไปจัดแสดงในนิทรรศการครัง้ นี้ ยุร:ี “นิทรรศการครัง้ นีจ้ ดั ภายใต้ธมี A Time for Dream มีศลิ ปินไทยได้รบั เชิญ 3 คน แต่ของ ยุรพี เิ ศษหน่อยคือเขาเชิญให้เราไปวาดใหม่ทนี่ นั่ งานหลักมี 2 ชิ้น เป็นเพ้นติ้งขนาดใหญ่ ถือว่า ค่อนข้างโหดเพราะเวลาจ�ำกัดด้วย เราต้องคิด

ภาพไปก่อนจากทีน่ ี่ ชิน้ แรกพูดเรือ่ งความฝันถึง โลกแห่งสันติในแบบของเรา ซึง่ ในภาพเราใช้สตั ว์ ที่ดูดุร้ายมาปรับให้ดูน่ารัก ผสมสัญลักษณ์ของ สันติภาพ เช่น นกกระดาษ (ออริกามิ) นกพิราบ ขาว ฯลฯ และสัญลักษณ์ของประเทศรัสเซีย เช่น บัลเลต์สวอนเลค (Swan Lake) และตุก๊ ตาแม่ลกู ดก ในวันเปิดงานพีเ่ มธีมาเป็นแขกรับเชิญแสดง งานแอนิเ มชั่นเรื่อง ‘12cats’ ประกอบเสียง ดนตรีท่ามกลางงานนิทรรศการ ซึ่งได้รับความ สนใจมากจนคูเรเตอร์น�ำงานแอนิเมชั่นของเรา ไปแสดงต่อทีเ่ ยอรมนี” สิง่ ทีป่ ระทับใจจากการแสดงนิทรรศการครัง้ นี้ เมธี: “ตอนท�ำงานอยูม่ ผี ชู้ มถามเราว่า คุณมา จากประเทศอะไร เราบอกมาจากเมืองไทย เขา บอกว่าการเมืองบ้านเมืองคุณวุน่ วายมาก ท�ำไม คุณยังมีอารมณ์วาดรูป แล้วรูปก็ดสู ดใสมาก เรา บอกว่าภาพนีช้ อื่ Hot Pot Sweet Dream ความหมายคือ แม้เราจะอยู่ ในกระทะร้อน แต่ก็ยัง สามารถฝันถึงสิง่ สวยงามได้ ในรูปมีนกออริกามิ ซึ่งเชื่อว่ามาจากเด็กญี่ปุ่นคนหนึ่งที่ป่วยจากสาร กัมมันตภาพรังสีสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เขา รู้ว่าตัวเองต้องตาย แต่ยังมีความหวังว่าจะรอด เขาขอพรด้วยการพับนกกระดาษให้ครบพันตัว นีจ่ งึ เป็นเรือ่ งสัญลักษณ์ของความหวังและความ ฝันทีส่ วยงาม” สไตล์ผลงานศิลปะของคุณยุรีมีความโดดเด่น ตรงไหน ยุร:ี “สไตล์ทชี่ อบคือ เราชอบสัตว์และชอบ การ์ตูน รู้สึกว่าการวาดภาพสามารถสร้างอะไร ก็ได้ ไม่ตอ้ งวาดภาพเหมือนจริง ซึง่ เรือ่ งราวของ ภาพวาดกับชีวติ มันไม่แยกจากกัน ประสบการณ์ อะไรทีม่ ผี ลต่อชีวติ และความรูส้ กึ ของเรามากใน ช่วงนัน้ ก็จะปรากฏอยู่ในภาพเขียนของเรา” เมธี: “ตอนท�ำบ้านแล้วโดนผูร้ บั เหมาโกง ยุรี เครียดและทุกข์มากนะ แต่นทิ รรศการ ‘ดวงตา เห็นท�ำ’ ของเขายังดูนา่ รักสดใส เราได้เห็นตัง้ แต่ เขามีเรื่องมากระทบแล้วแปลงมาเป็นงานเขียน ชืน่ ชมเขาทีส่ ามารถแปลงเรือ่ งร้ายมาเป็นภาพที่ สวยงามและมีความหวัง ไม่ได้เป็นภาพทีด่ เู ศร้า ไปด้วย ชื่นชมที่เขาสามารถแปลงพลังงานลบ

เป็นพลังงานบวก เอาความทุกข์มาแปลงเป็นงาน ศิลปะ แล้วขายกลับมาเป็นเงินได้ ต้องถือว่าเขา เป็นคนมีบญ ุ มาก” ยุรี: “ในความเห็นของยุรี ไม่ว่าจะพูดเรื่อง อะไรเราไม่จำ� เป็นต้องพูดด้วยความทุกข์ เพราะ ถ้าเราจมอยู่กับมันก็จะกลายเป็นว่ายิ่งเขียน ยิ่ง ทุกข์ ตัวเราก็ยงิ่ แย่ จริงๆ ศิลปะน่าจะเป็นอะไร ทีท่ ำ� ให้เราได้ใช้ชวี ติ อย่างมีความสุข ถึงเจอเรือ่ ง แย่ๆ มาแต่เราสามารถพูดให้ดีขึ้นได้ งานเขียน เลยออกมาประมาณว่า ถ้าไม่อ่านข้อความ ไม่ แกะสัญลักษณ์ ก็จะรู้สึกว่าหวาน น่ารัก สนุก สดใส แต่จริงๆ โคตรทุกข์” แล้วตัวตนในสไตล์งานศิลปะของคุณเมธีละ่ เป็น อย่างไร เมธี: “ช่วงแรกๆ ผมจะวาดผิดสเกลหน่อย สี แปร๋นๆ โย้ๆ ตามจินตนาการ เพราะเป็นภาพวาด รูส้ กึ ว่าศิลปะไม่จำ� เป็นต้องเหมือนก็ได้ ถ้าอยาก ได้ภาพเหมือนสมัยนี้ก็มีกล้องถ่ายรูป งานของ ผมจะเป็นแบบ Improvise คือผมสเกตช์ไม่เป็น ก็จะวางแผนคร่าวๆ ในหัว แล้วขณะวาดถ้าเกิด คิดอะไรออกก็เติมเข้าไป” ยุร:ี “งานของพีเ่ มธีจะมีความเป็น Figurative คือพอดูออกว่าวาดภาพอะไร แต่ไม่ใช่ภาพเหมือน เขาชอบวาดสิง่ ใกล้ตวั สัตว์เลีย้ ง คนทีส่ นใจ หรือ คนที่มีรูปหน้าพิเศษ งานส่วนใหญ่มีการด้นสด เยอะ เขาชอบมีโจทย์แปลกๆ ใหม่ๆ พอฟังไอเดีย เราจะชอบ ก็อยากท�ำด้วย เพราะสนุกดี” เมธี: “อาจเพราะผมไม่ได้ทำ� ศิลปะเป็นอาชีพ ไม่ได้คดิ ว่าต้องขายได้ ก็เลยคล้ายๆ ว่าสนุกกับ มันได้เต็มที่ จึงออกมาเป็นแนวศิลปะแบบทดลอง แต่เอาจริงๆ ก็ขายได้นะ” อยากให้พดู ถึงผลงานศิลปะทีท่ ำ� ร่วมกันและเป็น ชิน้ ทีพ่ วกคุณประทับใจ เมธี: “ตอนทีว่ งโมเดิรน์ ด็อกพัก ผมได้ไปท�ำ โปรเจ็กต์พเิ ศษชือ่ ‘Pry & May-T Project’ กับ พี่พราย-ปฐมพร ก็ให้ยุรีมาช่วยท�ำ MV ซึ่งเป็น แอนิเมชั่น ยุรีไม่เคยท�ำมาก่อน แต่พอออกมา แล้วชอบกันมาก หลังจากนัน้ อาจารย์สาครินทร์ เครืออ่อนมาเชิญให้ไปแสดงงานในถ�้ำจอมพลที่ จังหวัดราชบุรี ยุรีเลยคิดถึงสิ่งที่เคยท�ำคือภาพ

issue 10 baccazine

2 5


แอนิเมชัน่ กับเพลง จึงเป็นทีม่ าของ ‘12cats’ ซึง่ กลายเป็นว่างานทีเ่ ราท�ำสนุกๆ ชิน้ นี้ได้ไปแสดง ทีม่ อสโก อินโดนีเซีย และเบอร์ลนิ ” ยุรี: “แอนิเ มชั่นตัวแรกเป็นการท�ำเพื่อตัว เพลงของพีพ่ รายกับพีเ่ มธี แต่เราเริม่ รูส้ กึ อยาก ท�ำแอนิเมชัน่ เพือ่ ตอบสนองงานศิลปะโดยไม่ตอ้ ง ขึน้ กับเพลงหรือสิง่ ทีผ่ อู้ นื่ คิดมาให้กอ่ น แล้วพอดี โปรเจ็กต์ของอาจารย์สาครินทร์แสดงในถ�้ำ และ ชวนเพ้นเตอร์คนเดียวคือยุรี ท่านถามว่าถ้ามัดมือ มัดแขนไม่ให้วาดรูปจะท�ำอะไร เลยท�ำแอนิเมชัน่ โดยให้พเี่ มธีมาช่วยในเรือ่ งเสียงเพือ่ ให้งานออกมา สมบูรณ์ขนึ้ ” แล้วแอนิเมชัน่ เรือ่ ง “12cats” มีทมี่ าทีไ่ ปยังไง เมธี: “ตอนไปดูถ�้ำผมเอากีตาร์ไปตีๆ รู้สึก ว่าเสียงมันก้องดีเลยคิดโจทย์เป็นเรื่อง ‘sound’ ต่อมารู้ว่าถ�้ำนี้เคยเป็นสถานที่ถ่ายละครจักรๆ วงศ์ๆ เลยคิดถึงละครที่เคยดูคือ ‘นางสิบสอง’ เพราะเกี่ยวกับการโดนขังในถ�้ำ บวกกับยุรีชอบ วาดภาพสัตว์ ก็เลยเปลีย่ นเป็น ‘แมว’ ให้ดนู า่ รัก ขึน้ และแมวก็มคี วามเป็นผูห้ ญิงด้วย” ยุร:ี “เราเปลีย่ นตัวละครเด่นเป็นสัตว์หมด แต่ MV ไม่ได้เล่าเนือ้ เรือ่ ง เพียงแต่หยิบบางส่วนมาตี ความเป็นภาพ พีเ่ มธีตคี วามภาพกับเนือ้ เรือ่ งออก มาเป็นเสียง” เมธี: “มันเริม่ จากอยู่ในถ�ำ้ แล้วยังไงต่อ เรา ก็คิดมั่วๆ ว่าในถ�้ำมืดๆ น่าจะท�ำเพลงที่ดูลึกลับ ก็คดิ ถึงเพลงนักสืบเจมส์ บอนด์ แล้วต่อยอดไป เรือ่ ยๆ พอยุรสี ร้างตัวละครเป็นม้าเราก็ทำ� เสียง ม้าร้อง พอมีกระทิงก็ใส่เพลงท�ำนองสเปน หรือ ภาพทีล่ กู ของนางสิบสองไปเอาลูกตาของแม่จาก นางเมรีขเี้ มา เราก็คดิ ถึงเพลง Can’t Take My Eyes of You แต่ใช้จังหวะดิสโก้เลย จากเรื่อง เศร้ารันทดแบบเดิมๆ กลายเป็นตลกร้ายที่คนดู สนุกไปกับเรา และเราก็สนุกมาก เพราะผมกับ ยุรตี า่ งคนต่างไม่รเู้ รือ่ งงานแอนิเมชัน่ แต่กแ็ ถไป จนเสร็จ (หัวเราะ)” การน�ำศิลปะสองแขนงข้ามมาเจอกันช่วยสร้าง ความแปลกใหม่ในงานของคุณ ทั้งสองคนได้ อย่างไร เมธี: “จริงๆ วิธีการท�ำงานของผมกับยุรีจะ ค่อนข้าง Improvise มาก เหมือนด้นสด คือไหล ไปเรือ่ ยๆ” ยุรี: “ส่วนของยุรี จากงานที่อยู่บนพื้นฐาน ของงานวาด พอมีการเคลื่อนไหว มีเรื่องเสียง เข้ามา ก็ชว่ ยสร้างความรูส้ กึ อีกแบบให้งานเขียน 26

baccazine issue 10

ภาพ ส่วนของพีเ่ มธียรุ มี องว่าจากทีเ่ คยท�ำงานแต่ กับนักดนตรีดว้ ยกัน พอมาท�ำกับศิลปะอีกแขนง ก็ได้สร้างงานอีกแบบที่ไม่ตอ้ งอยูบ่ น ‘ขนบดนตรี’ แบบเดิม อยากจะเอาเสียงอะไรมาใส่กไ็ ด้” นอกจากงานแอนิเมชัน่ มีผลงานศิลปะทีท่ ำ� ร่วม กันอีกบ้างไหม ยุร:ี “มีโปรเจ็กต์หนังสือท�ำมือหรือ Art Book ซึง่ จัดขึน้ เมือ่ ปลายปีทแี่ ล้ว เขาเชิญยุรีไปท�ำ ทีนี้ ยุรีรู้สึกว่าท�ำคนเดียวไม่สนุก เลยชวนพี่เมธีไป ท�ำด้วยกัน งานนี้ยุรีให้พี่เมธีน�ำ เพราะอยากได้ ไอเดียใหม่ๆ และอยากให้เขาท�ำเต็มที”่ เมธี: “ผมมานัง่ คิดว่าเขียนภาพอะไรร่วมกัน ดี คิดว่าน่าจะเขียนเรื่องของเราที่แม้แตกต่าง กันแต่กเ็ ติมซึง่ กันและกัน เขาเป็นศิลปิน ผมเป็น นักดนตรี เหมือนว่ายุรสี ายตาดี สีเพีย้ นไม่เพีย้ น รู้หมด ส่วนผมสายตาไม่ดีแต่หูดี เสียงเพี้ยนไม่ เพี้ยนรู้หมด เลยมานึกถึงค�ำว่า Symbiosis คือ การพึ่งพาอาศัยที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ พอ ไปค้นข้อมูลพบว่ามีสตั ว์ในธรรมชาติเยอะมากที่ อาศัยร่วมกันแบบนี้ เลยน�ำมาวาด ผมวาดสัตว์ตวั หนึง่ ยุรจี ะวาดอีกตัวทีค่ กู่ นั เช่น ผมวาดม้าลาย ยุรีวาดนกกระจอกเทศ ซึ่งสัตว์ทั้งคู่ชอบอยู่ด้วย กันเพื่อช่วยระวังภัยให้กัน เพราะม้าลายสายตา สัน้ แต่หดู ี ส่วนนกกระจอกเทศสายตาดีแต่หไู ม่ดี เป็นต้น” งานศิลปะของทัง้ คูด่ มู ชี วี ติ ชีวา เพราะคุณต่างก็ จุดประกายและเติมเต็มให้แก่กนั ยุร:ี “นอกเหนือจากใช้ชวี ติ ประจ�ำวันด้วยกัน พอมาท�ำงานด้วยกันยุรรี สู้ กึ ว่าสนุกดี มันส่งเสริม กัน เวลาทีย่ รุ ที ำ� งานคนเดียวแล้วรูส้ กึ เหนือ่ ยมาก อยากได้มมุ มองใหม่ๆ ก็จะพยายามคิดโปรเจ็กต์ ที่ให้เราสองคนท�ำด้วยกันได้” ตลอดเวลาหลายปี ใ นวงการศิ ล ปะ คุ ณ เห็ น พัฒนาการของ Young Artist หรือ Young Culture อย่างไร ยุร:ี “ผลงานของศิลปินรุน่ ใหม่สนุกดี ความ หลากหลายในตัวศิลปินมีมากขึน้ ความกว้างใน การท�ำงานศิลปะก็มากขึ้น เพราะมีช่องทางให้ แสดงออกเยอะขึน้ ” เมธี: “ผมมองว่ายุคนี้เป็นยุคที่กว้างและไว มาก ศิลปินรุ่นใหม่สามารถหาแรงบันดาลใจได้ ง่ายขึน้ เพราะมีอะไรทีเ่ ปิดโลกทัศน์มากมาย แต่ ผมว่าบางทีความสร้างสรรค์หรือพรสวรรค์อาจไม่ ได้เกิดจากการทีม่ อี ะไรเยอะไปหมด แต่เกิดจาก การไม่มอี ะไรเลยก็ได้”


in the mood of art

บางทีความสร้างสรรค์หรือพรสวรรค์ อาจไม่ได้เกิดจากการที่มีอะไรเยอะไปหมด แต่เกิดจากการไม่มีอะไรเลยก็ได้

issue 10 baccazine

2 7


“YUREE-MATHEE”: AN ARTIST COUPLE THE PERFECT SYMBIOSIS

Couples of creatures in this world are living together with helpfulness. In the world of arts, artist masters believe that arts also related to each other and are able to illuminate each other as well. One of the best examples depicting the words “the mutual illumination” and “symbiosis” is this artist couple: “Mathee Noijinda”, the musician and “Yuree Kensaku”, the colorist; as they applied the mutual illumination into their own colorful cartoon animal paintings. No one is unfamiliar with “Mathee” since he is a member of “Moderndog”, a wellknown Thai rock band. In addition, he is also an artist creating paintings and mixed-media arts. He always exhibits his collections as well as takes part in Yuree’s exhibitions. “Yuree”, a Thai-Japanese artist, is a new generation of contemporary arts with her outstanding skills in blending techniques and variety of objects in her gimmick art works. She has always been invited to exhibit her collection within Thailand and abroad. The latest exhibition she joined was held at Moscow, Russia and she was one of the Thai young blood artists who was selected to joined. The collections displayed during this exhibition Yuree : The theme of this exhibition is “A time for dream”. 3 Thai artists were invited and I was invited to paint there. This was so special for me. It was a large painting and difficult for me to paint in a limited time; I had to plan what to paint from here. The first piece, it was about the dream of my own peaceful world. I painted by transforming wild animals into prettier looks, then blending with symbols of peace like origami cranes, white pigeon, etc. and the symbols of Russia such as “Swan Lake” and “Matryoshka Doll”. In the inauguration ceremony, Mathee was invited to arrange soundtrack for the animation entitled “12cats”. We received good feedback from audiences so the curator took our animation to exhibit in Germany. 28

baccazine issue 10

Impressions towards this exhibition Mathee : While we are working, the audience asked us where we came from. We answered “Thailand”. They said: “Your country now has political conflicts, why can you still paint and make it so colorful?” Then, we explained that this painting entitled “Hot Pot Sweet Dream” which meant we could dream beautifully even though we were in the hot pot. This painting was composed of origami cranes, the symbol of hope and beautiful dream; which originated from a Japanese girl who suffered from illness caused by radioactivity but she still wished she could alive, so she made her wish to stay alive by making 1,000 origamis. Highlights of Yuree’s artistic styles Yuree : I like animals and cartoons. I think that paintings can build anything. And paintings may not have to look so realistic. Stories in painting are parts of my life, so that any experiences influencing on my life will appear in my paintings. Mathee : When Yuree got cheated by the contractor, she was so stress. However, her paintings in the exhibition named “Karma Police” were still looked lively. I appreciate the way she can transform her bad situations into beautiful and hopeful paintings. I appreciate


in the mood of art

that she can change negatives into positives. She is such a good person. Yuree : In my opinion, it is not necessary to talk about everything with unhappiness. If we let unhappiness overcome our life, it will make us more and more unhappy. Actually, arts should make us live our life happily. Although we are facing bad situations, we can use arts to transform it into happiness. How about characteristics of Mathee’s art works? Mathee : I always paint in disorder scale using bright colors according to my imagination. The painting may not look realistic. I usually improvise my work. I cannot sketch so I just draft it in my head and add more details I want while I’m painting. Yuree : His art works are figurative. We can guess what it is but it’s not realistic. He likes painting animals, persons he is interested in or persons with outstanding face. Almost all of his art works are improvised, this is the way he loves. He always comes with new idea and when I hear about it I would like to join in his work; that sounds a great fun. Mathee : This is because I’m not create arts for a living. I don’t care whether it can be sold or not. I just want to be happy to try. However, I always find out that it can be sold. Can you talk about the art work that you work together and finally become the impressive one? Mathee : While “Moderndog” was taking a break, I organized the project call “Pry & May” with Mr.Pry-Pathomporn. I asked Yuree to arrange MV together. She had never made MV before; but after the project finished, we really loved it. Later, Ajarn Sakarin Krue-on invited her to exhibit her works at Jomphon Cave in Rajaburi Province, she then just thought about the animation and music. I would say that this has been the origin of the “12cats” which is now selected to present in Moscow, Indonesia and Berlin. Yuree : The first animation was for the song of Pry and Mathee. After that I would like to create an animation to support an art work. At that time, Ajarn Sakarin asked me, the only

one painter in his project, to exhibit my collections in the cave, so I asked Mathee to help creating the animation especially for this project. How about the origin of “12cats”? Mathee : Once I went inside the cave, I took a guitar with me. I tried playing guitar there and felt that the echo sound was really great. Moreover, I had realized that the cave was used as one of the TV serie’s scene entitled “the Twelve Ladies”: the story of 12 ladies captured inside the cave. In addition, Yuree loves painting animals. So I changed from the ladies into cats to make it prettier. Moreover, cats are lovely as ladies. Yuree: We changed all characters into cats. But the MV didn’t depict the story. Just a part of the story that we interpreted into paintings and Mathee just interpreted from paintings and story into sounds. Mathee : We started from the cave and imagined that mysterious sound like James Bond’s soundtrack should get along with the dark cave. Once Yuree created a horse as one of the characters, I adjusted the sound of horse in the melody. Once there was a gaur, we add Spanish music. Or the painting depicting the children of the twelve ladies stealing their mothers’ eyes from Maree, we use the song “Can’t Take My Eyes of You” but in a disco version. This was a dark comedy that could make audiences enjoy our exhibition. Also, we enjoyed improvising it a lot until the project finished (laughing). How the different field of arts help you two to innovate your art works? Mathee : Actually, Yuree and I love to improvise our art works which means do it consistently as we wish. Yuree : For me, my works base on painting. The addition of sounds and movements generate new feeling towards my paintings. For Mathee, he used to work incorporate with musicians, when he works with me, an artist, it is like getting out of the musical traditions. Apart from the animation, are there any art works that you two used to work together?

Yuree : It was “Art Book” happened at the end of last year. I was invited but I felt lonely, so I asked Mathee to join as a leader because I would like to get some new ideas and I just wanted him to do it perfectly. Mathee : I thought about what we should paint together and finally concluded that we should go for our story. We are so different buy we can fulfill and inspire each other very well. She is an artist, I am a musician. It is as if she has good eyesight but I have good ears. The word that inspires me is “symbiosis” meaning living together, helping each other and gaining benefits from each other. I went for further research and found out that many creatures have been living like this, therefore I applied into our works. When I paint one creature, Yuree would paint another as a couple of each other. For examples, I painted a zebra, she would paint an ostrich. These 2 species always live together to beware of danger for each other; because a zebra is short-sighted but good at listening, where as an ostrich has good eyesight but its hearing is very bad. Art works from both of you are so lively because you illuminate and fulfill each other. Yuree : Apart from daily life, I also enjoy working with him a lot because we support each other. Once I feel tired because of working alone, I will create a project that we can join and share our point of view. During many years in the world of arts, how do you think about the improvements of “Young Artists” or “Young Cultures”? Yuree : Their works are full of joy. Their characters are also various as well as their works because there are more channels to exhibit art works. Mathee : For me, nowadays we are in the dynamic society. Young artists can seek for inspirations easier because they can apply everything in the society to broaden their vision. However, I would say that the creativity and talent might not come from everything but from nothing. • issue 10 baccazine

2 9


the sketch

ประเสริฐ ยอดแก้ว

PRASERT YODKEAW

30

baccazine issue 10


issue 10 baccazine

3 1


my studio

ประเสริฐ ยอดแก้ว ผมเลือกเฉพาะที่ “รู้สึก” COLUMNIST : MODDUM PHOTO : ANUCH

ชิ้นส่วนเหล็กขึ้นสนิม เศษพลาสติกที่เคยเปนส่วนประกอบของอะไรสักอย่าง โครงลวด ตาข่าย จักรยานไม่มีล้อ ฯลฯ คนทั่วไปอาจนิยามสิ่งเหล่านี้ว่า “ขยะ” ทว่าส�าหรับบางคน นี่คือวัตถุดิบชั้นดีที่คัดสรรอย่างพิถีพิถันส�าหรับสร้างผลงานอันมีเอกลักษณ ชวนตั้ง ค�าถามและขบคิดไปพร้อมๆ กัน ประเสริฐ ยอดแก้ว วัย 27 ป คือศิลปินรุ่นใหม่เจ้าของ รางวัลศิลปินบัวหลวงยอดเยี่ยมป 2553 รวมถึงนิทรรศการทั้งในและต่างประเทศ หลาย คนคงเริ่มสงสัยว่าสตูดิโอแบบไหนที่เขาใช้เนรมิตวัสดุที่ไม่มีใครต้องการให้กลายเปนงาน ศิลปะอันโดดเด่นเช่นนั้น

บานเชาในซอยเล็ก หนึ่งชั่วโมงจากกรุงเทพฯ สู่ ใจกลางเมือง นครปฐม ที่ ตั้ ง ของมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วิ ท ยาเขตพระราชวั ง สนามจั น ทร์ สถาบั น ที่ ประเสริฐก�าลังศึกษาเพือ่ คว้าปริญญามหาบัณฑิต จากคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ พร้อมๆ กับเป็นศิลปินอาชีพทีน่ า่ จับตา ด้วยเหตุ นีห้ นุม่ สงขลาจึงยึดพืน้ ทีเ่ ล็กๆ ย่านนัน้ เองเป็นทัง้ ที่พักและสตูดิโอส่วนตัวเพื่อความสะดวกในการ เดินทาง ซอยเล็กๆ ในชุมชนที่หนาตาด้วยบ้านเรือน อันเรียบง่ายน�าไปสู่บ้านชั้นเดียวที่ประกอบด้วย โครงเหล็กหลังคาสูงด้านข้าง เมือ่ ประตูบานเล็ก ถูกเปิดออกก็เผยให้เห็นประติมากรรมแปลกตา จึงแน่ใจว่ามาถึงสตูดโิ อของศิลปินหนุม่ แล้ว ศิลปินหน้าคมสไตล์หนุ่มใต้ ยิ้มหวานจริงใจ ออกมาทักทายแล้วพาชมบ้านซึง่ แบ่งเป็น 2 ส่วน หลัก ส่วนแรกคือตัวบ้าน ประกอบด้วยห้องนอน และห้องท�างานที่เขาใช้สเกตช์ภาพ อีกส่วนคือ พื้นที่โล่งมีโครงหลังคาแข็งแรงที่ ใช้เป็นสตูดิโอ ท�างานศิลปะ ประเสริฐเล่าว่าเป็นบ้านที่เช่าต่อ จากรุน่ พีท่ เี่ รียนจบไปแล้ว “มาครั้งแรกก็มองเห็นภาพเลยว่าจะใช้งาน พืน้ ทีอ่ ย่างไรบ้าง ช่วงแรกผมมาอาศัยรุน่ พีอ่ ยูก่ อ่ น แล้วช่วยออกค่าเช่าบ้าง พอเขาเรียนจบก็อยู่คน เดียวเลย ชอบทีน่ เี่ พราะกว้างขวางดี เหมาะกับ งานของเราทีท่ า� ประติมากรรมและศิลปะจัดวาง ซึ่งใช้พื้นที่เยอะ ที่ส�าคัญคือราคาถูก ซึ่งหายาก มาก (ยิม้ )” 32

baccazine issue 10

รากเหงา-รวมสมัย ภาพฉายทีเ่ หลือ่ มซอน พืน้ ทีภ่ ายใต้โครงหลังคาขนาด 15x5 ตาราง เมตรถือว่ากว้างพอใช้ แต่เจ้าตัวอยากให้กว้าง กว่านี ้ เพราะผลงานส่วนใหญ่ใช้พนื้ ทีม่ าก พืน้ ที่ ยิ่งกว้างผลงานก็ยิ่งมีขนาดใหญ่ ดังเช่นขณะนี้ ประเสริฐก�าลังขลุกตัวอยู่กับงานศิลปะซึ่งเป็น วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทของตนเอง นัน่ คือ ประติมากรรมรูปเรือกว้าง 2.80 เมตร สูง 3.50 เมตร และยาวถึง 13 เมตร โดยสือ่ ถึงคติความ เชื่อที่ปรากฏในประเพณีชักพระ ความเป็นไทย ที่ถูกน�ามาท�าให้ร่วมสมัยตามที่เขาถนัดและให้ ความสนใจเป็นพิเศษจนกลายเป็นเอกลักษณ์ ไปแล้ว “ผมเรียนศิลปะไทยแต่สนใจงานร่วมสมัย เพราะสภาพแวดล้อมที่เราอยู่ทุกวัน นี้มีความ เหลือ่ มซ้อนทับกันระหว่างความทันสมัยกับความ เชือ่ และจินตนาการ จึงหยิบความเป็นไทยมาน�า เสนอโดยมีแนวคิดสังคมปัจจุบนั มาเสริม ความคิด ปรัชญา ความเชือ่ และสิง่ ทีพ่ สิ จู น์ไม่ได้นนั้ ชวน ให้เราตัง้ ค�าถาม ต่อยอด และสร้างสรรค์ อย่าง ตอนนีผ้ มก�าลังสร้างเรือซึง่ เกีย่ วข้องกับประเพณี ชักพระ เป็นทีสสิ ปริญญาโท และอยากน�าไปใช้ แห่ ในพิธีจริงที่สงขลาด้วย แต่กลัวชาวบ้านจะ ต่อต้านว่าลบหลู่ ผมสนใจในประเด็นที่คนหมู่ มากซึง่ ไม่รจู้ กั กัน แต่มารวมตัวกันด้วยความเชือ่ แบบเดียวกัน ส�าหรับขนาดของเรือนี่ไม่ได้ตั้งใจ ไว้แต่แรกว่าจะให้ใหญ่แค่ไหน แต่ท�าเท่าที่พื้นที่ ก�าหนด ถ้าสตูฯ ใหญ่กว่านี้เรือก็จะใหญ่กว่านี้ อีก (หัวเราะ)”

สตูดิโอด้านนอกนี้เป็นพื้นที่ที่เขาขลุกตัวอยู่ เกือบทั้งวันก่อนพระอาทิตย์ตก นั่นเป็นเพราะ ขั้นตอนการท�างานที่ ไม่อาจหลีกเลี่ยงทั้งกลิ่น และเสียงทีเ่ พือ่ นบ้านคงไม่ปลืม้ ไม่วา่ จะเป็นเสียง ตอก เลือ่ ย เชือ่ มโลหะ และกลิน่ เรซิน “งานพวกนีผ้ มท�าเองหมดครับ ยกเว้นขัน้ ตอน ที่ไม่ยากมากก็จา้ งรุน่ น้องช่วยท�า เช่น ติดกระจก ผสมและทาสี แต่บางอย่างต้องท�าเอง โดยเฉพาะ สิ่งที่เราต้องการให้เป็นร่องรอย ซึ่งควบคุมยาก


อยากให้เป็นรสนิยมของเรา เช่น การเว้นจังหวะ ถือเป็นความงามส่วนตัว” ทว่า ในความงามส่วนตัวนีบ้ างคนก็ตงั้ ค�าถาม ว่า ท�าไมผลงานออกมาดูนา่ กลัว เขาตอบอย่าง ไม่ตอ้ งคิดนานว่าอาจเพราะโทนสีนา�้ ตาลและขาว หม่น อีกทัง้ ยอมรับว่า “แค่วสั ดุกน็ า่ กลัวแล้วครับ (หัวเราะ)” เลือกเฉพาะที่ “รูส กึ ” วัสดุตา่ งๆ ส�าหรับสร้างเป็นเรือ รวมถึงงาน

ศิลป์ทุกชิ้นงานของเขานั้น มีสีสันและสไตล์ที่ ชัดเจน สนิมที่ไม่ให้ความรื่นรมย์ทางสายตาต่อ ผูอ้ นื่ นับเป็นความงามส�าหรับศิลปินหนุม่ รอยบุบ ของพลาสติกทิ้งร่องรอยของการใช้งาน ซึ่งนั่น หมายถึงชีวิตของใครบางคนที่เคยใช้มัน เขาจึง เป็นขาประจ�าของร้านขายขยะในนครปฐม แหล่ง ช้อปปิง ทีต่ อ้ งแวะเวียนไปทุก 1-2 สัปดาห์ “ผมชอบของเก่า เพราะมันมีเสน่ห์ที่ได้เห็น ชีวติ เห็นกาลเวลา วัสดุและร่องรอยทีแ่ ตกต่าง

กันให้ความหมายกับเราได้เยอะ เวลาไปซือ้ ของ จะเลือกชิ้นที่น่าสนใจ เช่น เหล็กชิ้นนี้ท�าไมจึง ถูกสนิมกินได้งามอย่างนั้น (หัวเราะ) งานผมดู เหมือนเอาขยะมาท�าอะไรก็ไม่รู้ แต่จริงๆ แล้ว เลือกเยอะ...เลือกเฉพาะทีเ่ รารูส้ กึ กับมัน “เวลาเลือกขยะจะมีอยู ่ 2 ส่วน คือส่วนทีต่ รง กับงานทีส่ เกตช์ไว้ เช่น เรือ โคมไฟ ก็เลือกขยะที่ ดูแล้วเป็นโคมไฟได้ อีกส่วนหนึง่ คือยังไม่รวู้ า่ จะ เอาไปท�าอะไร แต่เห็นว่าน่าสนใจก็ซื้อเก็บไว้ใน issue 10 baccazine

3 3


งานของผมเกิดขึ้นเพื่อตั้งค�ำถาม เราอาจมีค�ำตอบบ้าง แต่ไม่อยากสรุป เพราะอาจจะไม่ถูกต้องก็ได้ เลยเปิดปลาย ให้คนตั้งค�ำถามและตอบด้วยตนเอง

สตูดโิ อก่อน มันไม่มกี ลิน่ รบกวน เพราะส่วนใหญ่ เป็นพลาสติกกับเหล็ก เจ้าของบ้านเช่าเลยอาจ ยังไม่เห็น (หัวเราะ)” ความคิด “เคลือ่ นที”่ “ผมมักจะคิดออกบนสิ่งที่เคลื่อนที่ (ยิ้ม)” ประเสริฐเล่าอย่างอารมณ์ดวี า่ ตัวเองมักมีไอเดีย ดีๆ เกิดขึน้ ขณะเดินทาง ไม่วา่ จะบนรถเมล์ แท็กซี่ หรือแม้แต่เรือ ซึง่ หลายครัง้ ไม่ได้พกสมุดบันทึก ติดตัวจึงต้องสเกตช์บนตั๋วรถเมล์ ตั๋วเครื่องบิน หรือเศษกระดาษ จนกลายเป็นผลงานศิลปะที่ได้ เดินทางไปแสดงนิทรรศการที่พม่า และอีกหนึ่ง ประเสริฐ ยอดแก้ว

ช่วงเวลาทีค่ วามคิดมักไหลมาคือขณะก�ำลังเคลิม้ ใกล้หลับ “การเห็นสิง่ รอบข้างเยอะท�ำให้เกิดความคิด ทีป่ ง๊ิ ขึน้ มา นีอ่ าจเป็นสาเหตุทผี่ มมักคิดอะไรออก บนพาหนะทีเ่ คลือ่ นที่ หรือไม่กต็ อนเคลิม้ ๆ ใกล้ หลับซึง่ นึกอะไรไปเรือ่ ยเปือ่ ย พอคิดออกก็สะดุง้ ขึน้ มาจดไว้กนั ลืม อาจสเกตช์ในห้องนอนเลยหรือ ไม่กล็ กุ ไปทีห่ อ้ งท�ำงานอีกห้องหนึง่ ” ...และระหว่างทางเดินไปสูห่ อ้ งต่างๆ นัน้ ผนัง ที่ว่างเปล่าได้ถูกเติมเต็มด้วยงานศิลปะของเขา กลายเป็นแกลเลอรีส่ ว่ นตัวที่ได้เดินชมทุกวัน

ค�ำถามปลายเปิด นอกจากความเป็นไทยในแนวคิดร่วมสมัย อีกหนึง่ สิง่ ส�ำคัญในงานของประเสริฐก็คอื การตัง้ ค�ำถาม ซึง่ เขากล่าวชัดเจนว่า ค�ำตอบได้ถกู เปิด ไว้ให้คนตอบอย่างอิสระ “งานของผมเกิดขึน้ เพือ่ ตัง้ ค�ำถาม เราอาจมีคำ� ตอบบ้าง แต่ไม่อยากสรุป เพราะอาจจะไม่ถกู ต้องก็ได้ เลยเปิดปลายให้คน ตัง้ ค�ำถามและตอบด้วยตนเอง หลายครัง้ เคยลอง ถามคนทีม่ าชมงาน ปรากฏว่าค�ำตอบเขาดีกว่าที่ เราคิดด้วยซ�้ำ” ด้วยเหตุนี้ประเสริฐจึงสรุปว่า... “ถูกแล้วที่ไม่ดว่ นสรุป”

เกิดทีจ่ งั หวัดสงขลา หลังเรียนจบชัน้ ม.3 ได้เดินทางมาเรียนทีว่ ทิ ยาลัยช่างศิลป์ กรุงเทพฯ จนจบ ปวช. แล้วศึกษาต่อทีภ่ าควิชาศิลปะไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จนจบปริญญาตรีดว้ ยวิทยานิพนธ์ทผี่ คู้ นจดจ�ำในชุด “วิทยาศาสตร์ความเชือ่ ” ทีส่ ะท้อนความเป็นไทยร่วมสมัย การตัง้ ค�ำถาม และความเชือ่ ประเสริฐสนใจความเป็นไทยในแง่มมุ ของคติความเชือ่ มาตัง้ แต่ได้ดนู า้ ชายซึง่ เป็นนายหนังตะลุงเชิดหนังอยูห่ ลังฉาก ผลงานของเขาได้รบั รางวัลทัง้ ยัง เคยจัดแสดงทัง้ ในและต่างประเทศมาแล้วมากมาย เช่น “มุมมองในมุมเมือง” ได้รบั รางวัลศิลปินดาวเด่นบัวหลวงยอดเยีย่ ม 2553, “นารีผล” จัดแสดงใน งานนิทรรศการ Soul Sciences ที่ White Space Gallery กรุงเทพฯ, “How to get back to Heaven 2556” จัดแสดงที่ Tang Contemporary Art กรุง ปักกิง่ ประเทศจีน ฯลฯ ปัจจุบนั ประเสริฐก�ำลังศึกษาระดับปริญญาโททีค่ ณะจิตรกรรมฯ เช่นเดิม โดยก�ำลังสร้างเรือล�ำใหญ่ในพิธชี กั พระ ซึง่ คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือน ธันวาคมนี้ โดยจะเปิดแสดงเดีย่ วที่ Tang Gallery กรุงเทพฯ 34

baccazine issue 10


my studio

PRASERT YODKEAW I choose what I have ‘a feeling’ with Prasert Yodkaew is only 27 years old, but his unique style and distinctive ArtePovera sculptures using ready-made and salvaged materials (plaster casts, tires, etc) have gained him several awards and both local and international acclaim. Visiting his studio in Nakhon Pathom will allow us to learn more about his world and how he creates his exceptional pieces of Art. Prasert is now an MFA student at Silpakorn University, Sanam Chandra Palace Campus in Nakhon Pathom and rents a small house close to the campus for convenience. He also uses this one-storey house as his studio, so it is divided into a living area (his bedroom and a sketch room) and a studio which is an open space with a steel roof. “First time when I came here, I knew immediately how to use the space. I like that it has a large open area for my sculpture and installation works that need large space. And the most important is…it’s inexpensive (smile).” The studio covers the area of 15x5 sq.m. which is quite large, but Prasert wishes it was larger because most of his works take up a lot of space. The larger the working area is, the larger his work can be, he says, like now he is working on his final graduation project which is a huge boat 2.80 meters wide, 3.5 meters high and 13 meters long. The boat represents the “Chak Phra” ritual of Southern BIOGRAPHY

Thais and their beliefs, it appears in the form of contemporary Thai art which has become his unique style of work. “I studied Traditional Thai Art, but I’m also interested in contemporary style as today’s environment is overlapped with modernization, old beliefs and imagination. So I usually pick a ‘Thainess’ subject and add in ideas from modern society, philosophy, spirituality and some mysterious things that cannot be proven – this can make us question, develop ideas and be more creative. I’m working on this ‘Chak Phra Boat’ as my thesis which, actually, I want to use in the real ritual at Songkhla, but I’m afraid that the locals might not understand and will be against my works. I’m quite interested in the ritual or activities that unite many strangers to work together under the same belief.” Beauty is in the eye of beholder, salvaged materials may not be pleasant in other people’s eyes, but they can be the artist’s treasure. He is a regular customer at a junk shop in Nakhon Pathom where he goes to shop every 1 or 2 weeks. “I think junks are charming as you can learn someone’s lives and time through them. Each material and trace offers different stories and meanings

EDUCATION Now MFA student at Silpakorn University 2010 B.F.A. Painting, Silpakorn University 2006 College of Fine Arts

to me, and I choose only those pieces that I have a ‘feeling’ with. There’re 2 types of junk I usually pick, the first are those that are a fit for my sketch, like a lamp, and I’ll choose something that looks like a lamp. The other type is something I have no idea what to do with, but looks interesting, so I’ll buy it and keep them in my studio for future use. Most are plastic and steel, so they have no problem in keeping for a while.” The artist adds he usually find a new idea on moving objects like a bus, taxi or boat. If he did not have any sketchbooks with him, then he’d have to draw on a bus ticket, plane ticket, or any other papers he can find – which also became one of his exhibitions displayed in Myanmar. Another time that the ideas normally hit him is when he is about to fall asleep. Besides his distinguishing styles of Thai contemporary, another important thing in Prasert’s work is ‘questioning.’ However, the artist claims that he has no intention to provide reliable answers, but rather prefers to leave open the possibility of answers about his works to viewers. Many times Prasert finds those answers are better than he expected and makes him feel good that he does not “jump to conclusions” by himself.

SELECTED AWARDS & EXHIBITIONS 2013 How to get back to heaven? Exhibition, Tang Contemporary Art, Beijing, China 2013 Soul Sciences Exhibition, Whitespace Gallery, Bangkok 2010 Excellent Prize of the 3rd Bua Luang Painting competition, organized by the Bangkok Bank

NOTE : His “Chak Phra Boat” project is expected to be finished in December this year and will be shown in his solo exhibition at Tang Contemporary Art, Bangkok, Thailand • issue 10 baccazine

3 5


place for passion

ECOSHOP COMMON

ร้านของคนรักษ์สง่ิ แวดล้อม COLUMNIST : ARTIT PHOTO : ANUCH

ร้านรักษ์โลกของท็อป-พิพฒั น์ อภิรกั ษ์ธนากร ดารา พิธีกร และดีไซเนอร์หนุ่มที่อยากปลูกฝัง ให้ผู้คนหันมาใส่ใจสิ่งแวดล้อมแบบไม่ใช่แค่เป็น กระแสแต่อยากให้ยงั่ ยืน ด้วยการน�ำเศษวัสดุเหลือ ใช้มาแปลงร่างเป็นข้าวของเครือ่ งใช้ตา่ งๆ แถม ยังเปิดให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้งานออกแบบที่ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม” ทีร่ วบรวมแนวความคิด ทัง้ หมดทัง้ ในเรือ่ งนวัตกรรม เทคโนโลยี วัสดุที่ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และนักออกแบบทีท่ ำ� งาน ทางด้านนี้เอาไว้เพื่อให้ได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้กัน อีกด้วย เพราะอยากให้ทกุ คนตระหนักว่าเรือ่ งสิง่ แวดล้อมเป็นเรือ่ งของส่วนรวมทีท่ กุ คนต้องช่วยกัน รวมถึงเป็นเรือ่ งง่ายและสนุก อีกทัง้ การสร้างงาน ออกแบบเพือ่ สิง่ แวดล้อมนัน้ ก็ไม่ได้จำ� กัดอยูเ่ ฉพาะ แค่ขั้นตอนการผลิตเท่านั้น หากยังรวมไปถึงทั้ง วงจรของผลิตภัณฑ์ไม่วา่ จะเป็นการขนส่ง การใช้ งาน และการก�ำจัดด้วย ภายในร้านมีผลิตภัณฑ์แบรนด์ “OWL” ภายใต้ การออกแบบของท็อป-พิพัฒน์และนุ่น-ศิรพันธ์ วัฒนจินดา วัสดุโดดเด่นที่นุ่นน�ำมาใช้ออกแบบ คือ Hemp Fiber หรือใยกัญชง ซึง่ มีคณ ุ สมบัติ

เหนียว ทนทาน น�ำมาออกแบบเป็นกระเป๋าและ เสือ้ ทีส่ วยสะดุดตา ส่วน “อีโค่เลเล่” งานออกแบบ ของท็อปที่ได้รับรางวัล DEmark 2012 ก็มี ให้ ชมถึงความคิดสุดยอดด้านการรักษาสิง่ แวดล้อม หรืองานออกแบบสมุดชือ่ “0.4921” ซึง่ หมายถึง มิลลิเมตรของบรรทัดก็เฟี้ยวไม่น้อยเลย เพราะ ออกแบบให้มขี นาดเล็กลงเพือ่ ให้มจี ำ� นวนบรรทัด มากขึน้ เรียกว่าเป็นการใช้เนือ้ ทีก่ ระดาษได้อย่าง คุม้ ค่าทีส่ ดุ ไม่เพียงเท่านี้ ภายในร้านยังมีหลากหลาย สินค้าจากนักออกแบบฝีมือดีมาให้เลือกสรรกัน มากมายทัง้ Gray Ray ทีอ่ อกแบบเครือ่ งเขียนให้ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างน่าใช้ Concept Tree แบรนด์ทนี่ ำ� เปลือกข้าวโพดมาท�ำเป็นด้าม ปากกาทีท่ งั้ ทนทาน ย่อยสลายง่าย ตัวหมึกก็ไม่มี สารพิษปลอดภัยต่อผูใ้ ช้ Good Rak แบรนด์เก๋ที่ ใช้ปา้ ยปะเก็นจากกางเกงยีนส์มาออกแบบใส่ไอเดียใหม่เป็นของใช้อเนกประสงค์ ส่วน RE+PAIR ก็จดี๊ โดนใจ เพราะน�ำขวด กระป๋อง กระติบ๊ ฯลฯ มาแปลงร่างเป็นเครือ่ งขยายเสียงได้โดยไม่ตอ้ ง ใช้แบตเตอรี่ ขณะทีแ่ บรนด์ Rubber Killer ก็นำ� วัสดุยางในรถยนต์เหลือใช้มาออกแบบกระเป๋า และซองใส่ไอแพดสุดเท่ แบรนด์ Tua Pen Not น�ำกระสอบ กระดาษ และพลาสติกเหลือใช้กลับมา ออกแบบเป็นข้าวของที่น่าใช้เป็นอย่างยิ่ง หรือ แบรนด์ Mazmoizelle ทีน่ ำ� จุกไม้กอ๊ ก กระดาษ มาออกแบบกระเป๋าเก๋ๆ ให้สาวๆ ได้ใช้กนั ไอเดียเก๋ๆ ดีไซน์เด็ดๆ โดนๆ แบบนีม้ รี วบรวม

ไว้ที่ ECOSHOP common ไปช็อปกันได้ตาม อัธยาศัย ECOSHOP Common

After the success of his first ecofriendly product shop “Eco Shop,” now actor turned ecofriendly product designer Pipat “Top” Apiruktanakorn launches his new “Eco Shop Common” at the Bangkok Art and Culture Centre (BACC). Not only a retail shop for green products, the new shop also aims to be a learning center and material library for designers, industry or business, and members of the general public who are interested in products that do not destroy the environment. Located on the first floor of BACC, inside you will find a variety of ecofriendly products with innovative design by Top Pipat and Noon Sirapan Wattanajinda and other brands such as Concept Tree which produces pens from corn husk, or RE+PAIR which creates nonpower amplifiers from recycled products like plastic gallons or cans, or Rubber Killer which recycles the inner tube to create bags or iPad cases. There is also information corner and showcases of award winning eco-designed products for those who want to learn more or need some advice.

ECOSHOP Common 1st floor of BACC • Open from Tuesday to Sunday between 10.30 a.m. and 08.00 p.m. Tel. 08 7099 0639 • www.ecoshop.in.th • www.kidkid.co.th

36

baccazine issue 10


MIGNONIE ลวดถัก สลักดีไซน์ COLUMNIST : SAILOM_FON PHOTO : ANUCH

เพราะคุ ณ มน-นฤภร สรรพากิ จ วั ฒ นา ต้องการรังสรรค์เครือ่ งประดับที่ไม่ซำ�้ ใคร สามารถ ใส่จนิ ตนาการและผสมผสานงานฝีมอื ลงไปได้ จึง เกิดเป็นแบรนด์ Mignonie เครือ่ งประดับจากเส้น

ลวดเงินถักด้วยมือทีม่ เี อกลักษณ์เฉพาะตัว Mignonie (มินยองนี)่ มาจากภาษาฝรัง่ เศส แปลว่า น่ารัก หรือเล็กๆ น้อยๆ ก่อตัง้ ขึน้ มาเป็น เวลากว่า 5 ปีแล้ว เริม่ จากการออกแบบเอง ถัก เอง และขายเอง โดยกระบวนการหลักๆ คือการ ใช้ลวดเส้นเดียวถักขึ้นรูปกลายมาเป็นสร้อยคอ สร้อยข้อมือ สร้อยข้อเท้า แหวน ตุม้ หู เข็มกลัด และเพราะการออกแบบด้วยลูกเล่นทีด่ แู ปลกตา เช่น ตุม้ หูทมี่ คี วามยาวไม่เท่ากัน หรือการดีไซน์

ให้แต่ละข้างมีลวดลายไม่เหมือนกัน รวมถึงการ ใช้วัสดุอื่นๆ ทั้งหิน หยก ผ้า มุก และปะการัง มาผสมผสานลงในชิ้นงาน ท�ำให้สามารถตอบ โจทย์ตามสไตล์ความชอบของลูกค้าแต่ละคนได้ แบบไม่จ�ำกัด เมื่อมีลูกค้าสนใจมากขึ้น คุณมน จึงไปสอนการถักลวดให้ชาวบ้านจังหวัดอุดรธานี และนครนายก เป็นการช่วยสร้างรายได้ให้คนใน ชุมชนได้อกี ทางหนึง่ Mignonie ผลิตออกมาหลายคอลเล็กชั่น แล้ว ไม่วา่ จะเป็น “What if a ball is human?” ทีแ่ ฝงสัญลักษณ์ไว้ในการออกแบบจนได้ออกมา เป็นเซต Space, In Love, Single, Young Bitch และคอลเล็กชั่นล่าสุดคือ “Emotion Plays” ที่ ใช้ลวดถักเป็นหน้าคนเพือ่ แสดงอารมณ์ตา่ งๆ ทัง้ Happy, Moody, Chill Out และ Sleepy มีราคา เริ่มตั้งแต่ 180 บาทไปจนถึง 3,000 บาท โดย หากเป็นเงินแท้จะราคาสูง ในขณะทีท่ องเหลือง หรือเงินชุบราคาก็จะลดหลัน่ กันลงมา ใครที่หลงรักงานศิลปะและงานแฮนด์เ มด ต้องไม่พลาดการเป็นเจ้าของเครื่องประดับที่จับ เอางานศิลปะมาไว้คกู่ บั ชีวติ ประจ�ำวันของเราได้ อย่างลงตัวแบบนีแ้ น่นอน Mignonie

Mignonie is a designer brand of earrings and accessories, created by Narueporn Sanpakijwattana, which are inspired by and made of wire. At the shop you will find various styles of beautiful earrings, necklace, bracelet and other accessories which are quite unique in design and are handmade. Mignonie collections are also characteristic in their choice of semi-precious stones, pearls and other attractive stones and some collections are mixed with fabric. Moreover, the brand is not only designed for beauty and business, but also to give back to society as all accessories are designed by Narueporn, but hand-made by local artisans in Nakhon Nayok and Udonthani provinces who have been trained by Narueporn to help them get extra income and improve their quality of life. Mignonie 3rd floor of BACC • Open from Tuesday to Sunday between 10.30 a.m. and 08.00 p.m. www.facebook.com/mignonie • www.mignonie.com

issue 10 baccazine

3 7


bacc calendar

CROSSOVER : THE UNVEILED COLLECTION 20 กุมภาพันธ์ - 14 มิถุนายน 2558 ชั้น 7 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร พิธีเปดงาน วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558

นิทรรศการ crossover : The Unveiled Collection แสดงให้เห็นร่องรอยของการ “ทับ ซ้อน” ระหว่างพัฒนาการทางด้านศิลปะและวิธี การสะสมผลงานที่เกิดขึ้นกับวงการศิลปะใน ประเทศไทย สร้างความชัดเจนของแวดวงศิลปะ ที่ขับเคลื่อนอย่างมีพลวัตด้วยศิลปินไทยผ่าน สายตาของผูอ้ ปุ ถัมภ์ น�าเสนอหลักฐานสนับสนุน ที่ต้องการการส�ารวจย้อนกลับไปในวันที่ศิลปิน แถวหน้าของไทยเหล่านี้ร่วมกันสร้างอัตลักษณ์ ให้กับทิศทางศิลปะในประเทศไทยจนเข้มแข็ง จากความเป็น “สมัยใหม่” สู่ความ “ร่วมสมัย” ที่เต็มไปด้วยทั้งร่องรอยแห่งความขัดแย้ง และ การประนีประนอมระหว่างประเพณี วัฒนธรรม ท้องถิ่น และความเป็นสมัยใหม่ คุณค่าอันแฝง อยู่ในกิจกรรมการสะสมนั้นนอกเหนือจากเรื่อง ของมูลค่าแล้วยังสะท้อนวิถที างของสุนทรียภาพ

สัมพันธ์กบั กาลเวลา เหตุการณ์ สถานที ่ ฯลฯ สิง่ เหล่านีจ้ ะท�าให้เห็นว่าแท้ทจี่ ริงแล้วนักสะสมเป็น หนึ่งในบุคลากรหรือสถาบันที่ส�าคัญของแวดวง ศิลปะ กิจกรรมการสะสมต้องใช้เวลามากมายใน การศึกษาผลงาน การเข้าร่วมกิจกรรมทางศิลปะ และใช้ทนุ ทรัพย์เพือ่ การอุปถัมภ์ สิง่ เหล่านีจ้ งึ เป็น เสียงสะท้อนให้เกิดองค์ความรู้ด้านการจัดการ ต่างๆ ตามมาอีกมากมาย โดยเฉพาะในด้านการ ดูแลรักษา การขนย้าย และจัดเก็บอย่างเป็นระบบ ดังเช่นทีน่ ทิ รรศการนีม้ แี นวคิดริเริม่ เพือ่ เติมเต็ม ความยั่งยืนของผลงานศิลปะและประสิทธิภาพ ของการน�าออกแสดงต่อไปในอนาคต นักสะสม : กิตติโชติ หริตวร, กิตติภรณ์ ชาลีจันทร์, ฉัตรวิชยั พรหมทัตตเวที, ชนะ อัษฎาธร, ชอง มิเชล, ณรงค์ อิงค์ธเนศ, ดร.ดิสพล จันศิร,ิ ทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์, ปริญญ์ จิราธิวฒ ั น์,

พงศา อธิรกุล, พงษ์ชยั จินดาสุข, เพชร โอสถานุเคราะห์, ภัคพงศ์ เช็ง, เยาวณี นิรนั ดร ช่อวิเชียร, ดร.วุฒพิ งศ์ กิตติธเนศวร, นพ.สมรัช หิรญั ยะวะสิต, สุรพล บุญญาปะมัย ภัณฑารักษ์รบั เชิญ : ธวัชชัย สมคง, ชล เจนประภาพันธ์ นิทรรศการริเริ่มและด�าเนินงานโดย ฝ่าย นิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ท ี่ หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2214-6630-8 โทรสาร 0-2214-6639 www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage

CROSSOVER : THE UNVEILED COLLECTION On view February 20th - June 14th, 2015 7th floor, Bangkok Art and Culture Centre Opening ceremony on Thursday 19th February, 2015 at 6:30 pm

collecting lies in the aesthetics of the works in connection with time, events and places. Collectors should therefore be considered as one of the key components of the art world. They spend tremendous amount of time exploring works and participating in art events, as well as devote considerable financial resources. Collectors’ comments and feedbacks can also be useful for the improvement of art management, especially in shipping, handling and keeping systematic records of artworks. This corresponds with one of the objectives of this exhibition to develop sustainability of artworks and enhance effectiveness in organizing future exhibitions. This exhibition is intended to provide insights into the ever-changing relationship between society and the art world, and to raise the recognition of Thai collectors’ indispensable roles, including their influence in terms of aesthetic perspective. To achieve

this goal, collectors are invited to provide useful information and share historical works of art from their collections for the educational benefits of the public. Collectors : Kittishote Haritaworn, Kitiphon Chalichan, Chatvichai Promadhattavedi, Chana Asdathorn, Jean-Michel, Beurdeley, Narong Intanate, Dr. Disaphol Chansiri, Tachapong Pravesvararat, Prin Chirathivat, Pongsa Atirakul, Pongchai Jindasuk, Petch Osathanugrah, Phakphong Cheng, Yaowanee Nirundara, Dr. Wudhipong Kittitanasuan, Dr. Somratch Hiranyawasit, Surapon Bunjapamai Guest Curators : Tawatchai Somkong, Chol Janepraphaphan An exhibition by BACC Exhibition Department. For inquiry on the exhibition please contact : Bangkok Art and Culture Centre Tel. 0-2214-6630-8 Fax. 0-2214-6639 www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage

Crossover: The Unveiled Collection shows evidence of the “overlap” between the development of art and the collecting practice in Thai art scene. It depicts a concrete picture of the art community which has been dynamically driven by Thai artists with the support of art collectors. The project also presents supporting evidence from the time when leading Thai artists created and strengthened the identity of Thai art from “modern art” to “contemporary art”, along with conflicts and compromises among traditions, local culture and modernity. Apart from economic aspect, the value of art 38

baccazine issue 10


BACC Experimental Project DRIFT ซีรีส์กิจกรรมทดลองทางด้านเสียง Project #2: TOOL โดย ฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร ร่วมกับ SO::ON Dry FLOWER 31 มกราคม - 1 กุมภาพันธ์ 2558 ห้องอเนกประสงค์ ชั้น 1

BACC Experimental Project DRIFT A series of experimental sound project Project #2: TOOL By BACC exhibition dept. in collaboration with SO::ON Dry FLOWER 31 January - 1 February 2015, Multi-Function Room

ซีรีส์กิจกรรมทดลองทางด้านเสียงที่น�ำเสนอผ่านแนวคิด “Drift” หรือการไหลลืน่ อย่างเข้มข้นในความหมายทางเทคนิคของ การแข่งรถทีน่ กั แข่งขับไหลผ่านโค้งด้วยความเร็ว และลีลาของ การขับ ในขณะเดียวกันก็ยงั สามารถควบคุมสถานะของรถไว้ได้ จากแนวคิดนีเ้ ชือ่ มโยงถึงการไหลผ่านทางจิตวิทยาในภูมศิ าสตร์ ของเสียงจากแหล่งหนึง่ เข้าสูอ่ กี แหล่ง สือ่ สารเนือ้ หาทางเทคนิค และความคิดสร้างสรรค์ทปี่ ล่อยเชือ่ มด้วยหลากหลายวิธกี ารของ ศิลปินเพือ่ ให้ผชู้ มมองเห็นองค์ประกอบของดนตรีทดลองและเสียง ในฐานะรูปแบบของงานศิลปะทีเ่ ปิดกว้างต่อสถานการณ์ทเี่ อือ้ ต่อ การรับรูแ้ บบต่างๆ ผ่านการแสดงดนตรีสด ศิลปะการจัดวางทาง เสียง การแสดงเสียงอิมโพรไวส์ตอ่ เนือ่ ง รวมถึงปฏิบตั กิ ารและ การบรรยายทั้งจากศิลปินไทยและนานาชาติ ทั้งหมดน�ำเสนอ ด้วยรูปแบบทีแ่ ตกต่างแต่สร้างสรรค์รว่ มกันบนฐานของแนวคิด เชิงทดลอง ซีรสี ก์ จิ กรรมครัง้ นีต้ อ่ เนือ่ งมาถึง Project #2: TOOL Project #2: TOOL การเรียนรูแ้ ละเชีย่ วชาญในการใช้เครือ่ งมือเป็นปัจจัยส�ำคัญ ส�ำหรับศิลปินและนักดนตรีเพื่อสื่อสารถึงผลงาน เครื่องมือ เปลีย่ นความคิดเป็นเสียง เปลีย่ นเสียงเป็นวัสดุ สะท้อนความคิด สร้างสรรค์ของศิลปินที่แสดงศักยภาพของเครื่องมือที่ไม่ใช่ใน ฐานะวัตถุ แต่ในฐานะความคิด ศิลปินบางคนเปลีย่ นวัตถุในชีวติ ประจ�ำวันให้เป็นเครือ่ งผลิตเสียง บางคนมีปฏิสมั พันธ์กบั เครือ่ งมือธรรมดาด้วยวิธกี ารทีพ่ เิ ศษ บางคนใช้รา่ งกายตัวเองเปลีย่ นการ เคลือ่ นไหวให้กลายเป็นเสียง เปิดโลกแห่งความเป็นไปได้ในความหมายของเครือ่ งมือที่ใช้ผลิตเสียงด้วยหลากหลายจุดประสงค์ เมือ่ เครือ่ งดนตรีมวี วิ ฒ ั นาการ ก็เช่นเดียวกับประสบการณ์ในการฟัง แนวความคิดเกีย่ วกับงานคราวนีค้ อื การรับรูแ้ ละเข้าใจเครือ่ งมือ ในรูปแบบที่ศิลปินจะส�ำรวจความหมายปลายเปิด แลกเปลี่ยน ความรูใ้ นต่างรูปแบบ วิธกี าร และการน�ำเครือ่ งมือมาใช้เพือ่ ผลิต เสียงต่อผูช้ ม ภัณฑารักษ์ : โคอิชิ ชิมสิ ,ึ พิชญา ศุภวานิช ศิลปิน : Otomo Yoshihide, Sachiko M, DJ Sniff, Yuen Chee Wai, Yan Jun, Ryu Hankil, Alan Courtis ร่วมกับ Saowakorn Muangkruan และ Adisak Poung-ok ศิลปินงานเสียงจัดวาง : Duck Unit โครงการทดลองทางเสียงโดยฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ร่วมกับ SO::ON Dry FLOWER ในส่วนหนึง่ ของ BACC Experimental Project สอบถามข้อมูลเพิม่ เติม : ฝ่ายนิทรรศการ อีเมล exhibition@ bacc.or.th หรือ SO::ON Dry FLOWER อีเมล eastablishrec@ yahoo.com

An experimental sound project presents the intensity and tension using ‘Drift’ as in motor racing technique where the driver intentionally oversteers while maintaining control, the concept is to propose psychological digressing in geography of sounds from one area to the next and explore its diverse aspects through technical and creative contents that involves crossing platforms and various disciplines of the artists. The focus is to allow the audience to understand sound as an art form and open up to incidents and situations to arrive at their new listening experience. With combination of solo performances, sound installations, improvising sessions, workshops and lectures, the project investigates unheard perceptions of sound through works by international / local sound artists via different formats under experimental approach. A series of experimental sound project will begin with the first project: DURATION. Project #2: TOOL Knowing and mastering tools is one of important factor for sound artist and musician to express their own work. Tools transmit idea into sound, transmit sound into materials and often reflect artist’s creative approach that could perform not only as an object but also as a concept. Some artists turn daily objects into sound devices, some interact with typical instruments in their unique manner, some approach their body as a tool turning movements into sound, opening up possibilities of what could be an instrument based on various purposes. As instruments evolve so is the listening experience. The concept of tools for this session is to perceive instrument as a discipline in its own right that the artists will explore its open-ended interpretation and exchange knowledge of tools as sound making with the audience. Curators : Koichi Shimizu, Pichaya Aime Suphavanij Artists : Otomo Yoshihide, Sachiko M, DJ Sniff, Yuen Chee Wai, Yan Jun, Ryu Hankil, Alan Courtis with Saowakorn Muangkruan and Adisak Poung-ok Installation Artist : Duck Unit The project by BACC exhibition dept. in collaboration with SO::ON Dry FLOWER as part of BACC Experimental Project. For more information, please contact BACC exhibition dept.: exhibition@bacc.or.th or SO::ON Dry FLOWER: eastablishrec@yahoo.com

issue 10 baccazine

3 9


network calendar งานแสดงจิตรกรรมเครื่องกระเบื้อง นานาชาติ ครั้งที่ 2 6-9 มีนาคม 2558 ณ ศูนยสง เสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ (องคการมหาชน) อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สอบถามขอมูลเพิม ่ เติม โทร. 0-3536-7054-9, Call Center 1289, www.sacict.or.th นิทรรศการผลงานศิลปะ The Lost Paradise of Childhood 19 กันยายน - 14 ธันวาคม 2557 ณ G23 Art Gallery ชั้น 2 ศู​ูนยศิลปกรรมแหงประเทศไทย อาคาร นวัตกรรม: ศาสตราจารย ดร.สาโรช บัวศรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท 23

ผลงานศิลปนิพนธโดย 9 ศิลปนหญิง รุน ใหม ทีม่ ารวมถายทอดผลงานโดยมีแนว ความคิดจากความทรงจํา ความผูกพันตอสิง่ ตางๆ ทีศ่ ลิ ปนไดสมั ผัสและพบเห็นในวันวาน มาพัฒนา ตอยอด และสรางสรรคเปนผลงาน ศิลปะรูปแบบตางๆ เชน ภาพถาย ภาพพิมพ จิตรกรรม ประติมากรรม สื่อผสม และ วิ ดี โ ออาร ต โดยแสดงความเป น ป จ เจก ของแตละบุคคลเพื่อเปนแหลงการเรียนรู และพัฒนาศักยภาพดานทัศนศิลป พัฒนา คุณธรรม จริยธรรม และสงเสริมสุนทรียะ ทางศิลปะ อันเปนวัฒนธรรมที่ดีงาม ชวย ขัดเกลาจิตใจใหมคี วามออนโยนในทามกลาง กระแสสังคมที่เกิดความขัดแยงและวุนวาย ในปจจุบนั THE LOST PARADISE OF CHILDHOOD

Discover “The Lost Paradise of Childhood” from nine university art students that will express their childhood experiences through photography, sculpture, painting, silk screen, etching, mixed media, woodcut and short films. Duration: Now - 14 December 2014 from 11.00 a.m. - 6.00 p.m. Venue: G23 Art Gallery, 2nd Fl, Prof. Dr. Saroj Buasri Innovation Building, Srinakharinwirot University, Soi Sukhumvit 23 40

baccazine issue 10

โครงการรางวั ล ยุ ว ศิ ล ป น ไทย 2557 Young Thai Artist Award 2014

มู ล นิ ธิ เ อสซี จี จ ะประกาศผลผู  ไ ด รั บ รางวัลยอดเยีย่ ม (สาขาละ 1 รางวัล) และ รางวัลดีเดน (สาขาละไมเกิน 5 รางวัล) ในงานประกาศผล มอบรางวัล และเปด นิทรรศการ วั น ศุ ก ร ที่ 28 พฤศจิ ก ายน 2557 เวลา 16.00 น. เปนตนไป ณ อาคาร อเนกประสงค ชัน้ 10 SCG บางซือ่ กรุงเทพฯ สําหรับผูสนใจสามารถเขาชมนิทรรศการ แสดงผลงานที่ผานการคัดเลือกไดในชวง เดือนธันวาคม 2557 ณ หองนิทรรศการ 5-8 พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป ถนน เจาฟา กรุงเทพฯ สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ โทร. 0-2586-5214 หรือ www. facebook.com/YoungThaiArtistAward YOUNG THAI ARTIST AWARD 2014

SCG Foundation will announce the Grand prize winners of the Young Thai Artist Award 2014 and the runnerup winners, followed by an awards presentation and the opening of the exhibition displaying the winners and entries’ works on November 28, 2014 at 4.00 pm. on the 10th floor of Multi-purpose Building, SCG, Bangkok. The works will be on displayed at the National Gallery on Chao Fa Road in Bangkok from December 2014. For more information, call 0 2586 5214 or www. facebook.com/YoungThaiArtistAward

ศูนยสงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ (องคการ มหาชน) หรือ ศ.ศ.ป. รวมกับศูนยศลิ ปาชีพบางไทร จัด งานแสดงจิตรกรรมเครื่องกระเบื้องนานาชาติ ครั้งที่ 2 ภายในงานประกอบดวยนิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การแสดงผล งานจิตรกรรมเครือ่ งกระเบือ้ งจาก 8 จิตรกรระดับโลกทัง้ ไทย ญีป่ นุ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา บราซิล เม็กซิโก จีน พรอมชมการสาธิตเทคนิคการวาดภาพลงบนเครือ่ ง กระเบือ้ งโดยศิลปน นิทรรศการแสดงผลงานจิตรกรรม เครื่องกระเบื้องของศูนยศิลปาชีพบางไทร กิจกรรม D.I.Y. รวมถึงบูธจําหนายหนังสือ อุปกรณวาดภาพ และ เครือ่ งกระเบือ้ งคุณภาพดีใหเลือกซือ้ นอกจากนีย้ งั จัดให ศิลปนสงผลงานเขารวมประกวดเพือ่ ชิงถวยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีอกี ดวย THAILAND INTERNATIONAL PORCELAIN PAINTING CONVENTION 2015 (TIPP 2015)

The SUPPORT Arts and Crafts International Centre of Thailand (PLC) in co-operation with Bangsai Arts and Crafts Centre will hold the 2nd Thailand International Porcelain Painting Convention 2015 in honor of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn, as well as to promote Thai pottery, Benjarong ceramic wares and porcelain painting products. The highlights of the event include an exhibition of the masterpieces of porcelain painting art by eight world-class artists; International Porcelain Painting Contest; DIY Painting activities and sale booths and demonstrations of porcelain painting techniques by the artists are organized daily. Duration: 6-9 March 2015 from 10.00 a.m. 6.00 p.m. Venue: The SUPPORT Arts and Crafts International Centre of Thailand (Public Organization) Bangsai, Ayutthaya Province, Thailand For more information, call 0 3536 7054-9, Call Center 1289 or www.sacict.or.th


bacc shop

BACC SHOP ร้านจ�ำหน่ายสินค้าของมูลนิธหิ อศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC Visit the BACC Shop on the 5th floor and the Shop) เปิดให้บริการแล้วบริเวณโถงต้อนรับชัน้ 5 และบริเวณทางเข้าชัน้ 3 อาคาร second shop, the BACC Kiosk, on the 3rd floor หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยสินค้าต่างๆ ทีจ่ ำ� หน่ายในร้านมีทงั้ สินค้า of the BACC for souvenirs inspired by various ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ สืบเนือ่ งจากนิทรรศการต่างๆ ของหอศิลปฯ นอกจากนีย้ งั มีสนิ ค้าอืน่ ๆ exhibitions that have been held here. Other ทีน่ า่ สนใจจากศิลปิน บุคคล และองค์กรภายนอกด้วย ทัง้ นีร้ ายได้จากการจ�ำหน่าย products made by artists and other organizations สินค้าจะน�ำเข้ามูลนิธหิ อศิลปกรุงเทพฯ เพือ่ สนับสนุนกิจกรรมอันมีประโยชน์ตา่ งๆ can also be found here. Profits from the sales will ของหอศิลปกรุงเทพฯ ต่อไป be contributed to the BACC Foundation. • issue 10 baccazine

4 1


bacc exhibition

DRIFT ซีรีส์กิจกรรมทดลองทางด้านเสียง “การไหลรืน่ อย่างเข้มข้น” คือความหมายทาง เทคนิคของค�ำว่า Drift ตามนิยามของการแข่งรถ ที่นักแข่งตั้งใจขับไหลผ่านโค้งด้วยความรวดเร็ว ภายใต้ลลี าอันมีชนั้ เชิง ทีส่ ำ� คัญยังต้องสามารถ ควบคุมสถานะของรถไว้ได้ จากแนวคิดนีเ้ อง ซีรสี ก์ จิ กรรมการทดลองทาง ด้านเสียงโดยฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร ร่วมกับ SO::On Dry FLOWER ค่ายเพลงอิสระจากญี่ปุ่น จึงเกิดขึ้น ระหว่างวันที่ 7-8 พฤศจิกายนทีผ่ า่ นมา เพือ่ ให้ ผู้ชมมองเห็นองค์ประกอบของ “ดนตรีทดลอง” และ “เสียง” ในฐานะของ “งานศิลปะ” ที่เปิด กว้างต่อสถานการณ์ทเี่ อือ้ ต่อการรับรูใ้ นรูปแบบ ต่างๆ เช่น งานศิลปะการจัดวางทางเสียงให้สมั ผัส รับรูก้ นั บริเวณทางเข้า BTS โดยอานนท์ นงเยาว์ และบริเวณทางเข้าห้องอเนกประสงค์ โดยคริส โคล ศิลปินแคนาดา รวมถึงการแสดงอิมโพรไวส์ 42

baccazine issue 10

ต่อเนื่องโดยศิลปินทั้งไทยและต่างชาติไม่ว่าจะ เป็นโรเบิรต์ พิโอโทรวิกจากโปแลนด์, โก๊ะ ลี ควาง จากมาเลเซีย, โจ ฟองน�ำ้ , สุทธิภทั ร สุทธิวาณิช และวงอินดีด้ งั ของไทยอย่าง The Photo Sticker Machine เป็นต้น ที่ส�ำคัญยังมีเวิร์กช็อปและการบรรยายซึ่งมี ผูส้ นใจเข้าร่วมอย่างคึกคัก ก่อนปิดท้ายด้วยการ แสดงดนตรีสดในช่วงค�่ำเป็นต้นไปที่สร้างความ ประทับใจกันถ้วนหน้า โดยงานนี้ได้ภัณฑารักษ์ ฝีมอื ดีอย่างโคอิชิ ชิมสิ ึ ศิลปินทางด้านเสียงชาว ญีป่ นุ่ ผูก้ อ่ ตัง้ ค่าย SO::On Dry FLOWER และ พิชญา ศุภวานิช หัวหน้าฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ซึง่ สนใจงานทาง ด้านเสียงมาพักใหญ่ มาร่วมงานกัน ทีก่ ล่าวมานีค้ อื โปรเจ็กต์เริม่ ต้น “Duration” ที่ มีขอบเขตการทดลองเกี่ยวกับการรับรู้ในช่วง หนึ่งของเวลา ซึ่งมนุษย์รับรู้การด�ำเนินอยู่ของ

COLUMNIST : MODDUM

เหตุการณ์ที่ความยาวของเวลาขึ้นอยู่กับมุมมอง ของผูร้ ว่ มเหตุการณ์ ด้วยแนวคิดของเวลาในฐานะ พืน้ ฐานหนึง่ ของดนตรี ความต่างทางมุมมองของ การรับรูน้ คี้ อื โอกาสในการแตกย่อย ย่นระยะ ยืดขยาย ลื่นไหล เพื่อสื่อความหมายของช่วงเวลา ด้วยโทน จังหวะ รูปแบบต่างๆ ในภาษาของเสียง ในระหว่างจุดเริม่ ต้นและจุดจบศิลปินได้สำ� รวจ และทดลองเสียงที่สามารถเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ ไม่ใช่แค่สนั้ และยาว แต่เป็นเหตุการณ์ยอ่ ยหลาก เหตุการณ์ในความสัน้ และความยาว เพือ่ ขยายมุมมองน�ำเสนอความเป็นไปได้ทางการรับรูข้ องเวลา และเสียง ใครพลาดกิจกรรมในครั้งนี้ ไม่ต้องเสียใจ เพราะจะยังมีโปรเจ็กต์ต่อๆ ไปในซีรีส์น่าสนใจ ชุดนี้ออกมาอีกแน่นอน ติดตามข่าวสารได้ที่ www.bacc.or.th หรือ www.facebook.com/ baccpage


DRIFT : a series of experimental sound project Experimental sound projects are held by BACC exhibition dept. in collaboration with SO::ON Dry FLOWER from Japan, and curated by Koichi Shimizu, a famous sound artist who founded SO::ON Dry FLOWER, and Pichaya Aime Suphavanij from BACC. The project presents the intensity and tension using ‘Drift’ as in motor racing technique where the driver intentionally oversteers while maintaining control, the concept is to propose psychological digressing in geography of sounds from one area to the next and explore its diverse aspects through technical and

creative contents that involves crossing platforms and various disciplines of the artists. The focus is to allow the audience to understand sound as an art form and open up to incidents and situations to arrive at their new listening experience. With combination of solo performances, sound installations, improvising sessions, workshops and lectures, the project investigates unheard perceptions of sound through works by international / local sound artists via different formats under experimental approach. In the first project, Duration (exhibited on November 7-8), the length of audible mechanical waves were investigated and experimented with by Thai and international sound artists

including Crys Cole from Canada, Robert Piotrowicz from Poland, Goh Lee Kwang from Malaysia, as well as Joe Fongnaam, Sutthipat Sutthivanich and The Photo Sticker Machine from Thailand. For more information and future project, please check out www.bacc.or.th or www. facebook.com/baccpage •

issue 10 baccazine

4 3


idea of Life

FILM MUSIC BOOK วุน ้ เส้น

วิรฒ ิ พ ิ า ภักดีประสงค์ แย้มนาม COLUMNIST : MODDUM

บุคลิกทีส่ ดใสและมองโลกในแง่ดขี องดาราสาวและพิธก ี รมากความสามารถอย่าง วุน ้ เส้น-วิรฒ ิ พ ิ า ภักดีประสงค์ แย้มนาม ชวนให้อยากรู้ เหลือเกินว่า ภาพยนตร์ เพลง และหนังสือเล่มใดคือแรงบันดาลใจในการด�ำเนินชีวิตและชี้ทางแห่งความคิดให้เธอคนนี้

ภาพยนตร์

“ล่ า สุ ด ที่ ช อบมากคื อ The Railway Man เล่ า ถึ ง เหตุการณ์ชว่ งสงครามโลกครัง้ ที่ 2 พระเอกชือ่ อีรกิ โลแมกซ์ เป็นทหารอังกฤษที่ถูกญี่ปุ่นจับตัวเป็นเชลย แล้วส่งมาสร้าง ทางรถไฟสายมรณะ ระหว่างนัน้ เขาลองประกอบวิทยุขนึ้ มา แล้วถูกจับได้ นายทหารญีป่ นุ่ เลยทรมานเขาแบบทารุณมาก เพราะคิดว่าใช้สื่อสารกับอีกฝ่าย พอสงครามสงบพระเอกก็ กลับประเทศแล้วไปเจอนางเอก ตกหลุมรักและแต่งงานกัน ดูเหมือนเป็นหนังโรแมนติกเลยช่วงนี้ แต่ปรากฏว่าจู่ๆ เขา ก็เริ่มฝันร้ายถึงเหตุการณ์ในอดีตและควบคุมตัวเองไม่ได้ สุดท้ายจึงตัดสินใจเดินทางกลับมาที่สะพานข้ามแม่น�้ำแคว เพื่อเผชิญหน้ากับอดีต โดยตามหานายทหารญี่ปุ่นคนนั้น พระเอกแสดงดีมากทั้งสีหน้าและแววตาที่บอกถึงความ ปวดร้าวแบบฝังลึก บทสรุปของเรือ่ งนีท้ ำ� ให้รวู้ า่ การเยียวยา สภาพจิตใจตัวเองจะต้องปลดปล่อยความรู้สึกให้เป็นอิสระ และรูจ้ กั การให้อภัยซึง่ กันและกัน เมือ่ นัน้ ใจเราก็จะสงบ ซึง่ วุน้ คิดว่าหนังเรือ่ งนีส้ อื่ ออกมาได้ดมี าก ยิง่ สร้างจากชีวติ จริง ด้วยวุ้นเลยยิ่งอินมาก (ยิ้ม)” 44

baccazine issue 10


FILM/MUSIC/BOOK เพลง

“ส่วนตัวชอบฮิปฮอป ซึ่งมันไม่ใช่แค่แนวเพลงนะ แต่ เป็นวัฒนธรรมเลย เพราะมีรากฐานและพัฒนาขึ้นมาจน ฮิตในอเมริกาและแพร่หลายไปทัว่ โลก วุน้ ชอบจังหวะ ชอบ บีตของมัน แต่ถ้าเจาะจงศิลปินวุ้นชอบ David Usher ซึ่ง ผลงานของเขาเป็นแนวป๊อปร็อก (หัวเราะ) เพลงดังก็ตอ้ ง Alone in the Universe ซึ่งมีเวอร์ชั่นภาษาไทยด้วย ชอบ ท่อนฮุกที่ร้องว่า ‘เราอยู่กันตรงนี้กับค�ำถามในใจ กลาง จักรวาลยิง่ ใหญ่เราอยูก่ นั ล�ำพัง’ ฟังดูโรแมนติก แต่กอ็ อก แนวปรัชญาด้วย แบบว่าชีวิตต้องตั้งค�ำถาม”

หนังสือ

“ไม่ต้องคิดนาน ตอบเลยว่า Eat Pray Love ของ Elizabeth Gilbert เป็นหนังสือที่ดังมาก แปลเป็นภาษา ต่างๆ ตั้ง 30 ภาษา เล่าเรื่องของผู้หญิงยุคใหม่ที่ ใช้ชีวิต อย่างมีเป้าหมาย แต่เมื่อเดินมาถึงจุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ของ ชีวิตเธอก็ตัดสินใจพักงาน ก้าวออกจากสิ่งที่คุ้นเคย เพื่อ ออกเดินทางไปค้นหาตัวตนทีอ่ ติ าลี อินเดีย และบาหลี สาม สถานที่ซึ่งแตกต่างกันและมีเสน่ห์ในมุมของตัวเอง เรื่องนี้ อ่านไปอมยิ้มไป เพราะระหว่างบรรทัดมีทั้งเรื่องราวสนุกๆ และมุมมองดีๆ ให้ขบคิดตลอดทั้งเรื่อง ไม่แน่ว่าสิ่งที่เรา ตามหาอาจจะอยู่ไม่ไกล แต่อยู่ในความเรียบง่ายและในใจ ของเราเอง เล่มนี้วุ้นวางไม่ลงเลยค่ะ” WOONSEN -- VIRITHIPA PAKDEEPRASONG YAMNARM

he decides to return to the scene of his torture, after he has tracked down Japanese Actress and TV presenter, Virithipa officer Takashi Nagase. The film tells us to Pakdeeprasong Yamnarm or Woonsen, let go of bitterness and hate and learn to shares her favourite film, music and book forgive, then we can find a true inner peace. that inspire her life. It is also adapted from the true story, so I’m FILM totally into it (smile).” “My latest favourite film is ‘The Railway MUSIC Man’ which tells the story of Eric Lomax, “I like hip-hop, for me, it isn’t just a British officer who is captured by the another kind of music, but a culture that Japanese and sent to work on the Thai- was rooted and developed in America and Burma Railway. Lomax is tortured by spread across the world. I like hip-hop’s Japanese soldiers for building a radio beats, but my favourite artist is David Usher receiver from spare parts and is under who is a pop-rock singer (laugh). I like his suspected of being a spy. After the war song ‘Alone in the universe’ which also has a he gets married, but suffers psychological part of its lyric in Thai, ’I think we’re alone, trauma from his wartime experiences, finally left wondering why…I think we’re alone in

the universe tonight’, it sounds romantic and contains philosophical meaning, questioning about life.” BOOK

“Eat Pray Love by Elizabeth Gilbert, which is a story of a modern woman who has a good life, but at a turning point in her life, she chooses to leave it all behind and travel to search for the meaning of life in Italy, India and Bali, which are different, but each has their own charms. The book is great fun with many good thoughts that let us think maybe we don’t have to travel far to search for something we are missing in life, but can find it in the simple things around and inside us.”

issue 10 baccazine

4 5


art analyze

ความเยาว์วย ั ของศิลปะ COLUMNIST : VIPASH PURICHANONT

Amy Spencer, F L O A T O P I A, 2013-present, Cambridge, United Kingdom.

“Ars longa, vita brevis” เป็นวลีภาษาละตินทีแ่ ปลมาจากบันทึกตอนหนึง่ ของฮิปโปเครติส นักปรัชญา และนักคิดชาวกรีกโบราณ นิยมแปลเป็นไทยว่า “ศิลปะยืนยาว ชีวต ิ สัน ้ ” วลีดงั กล่าวเป็นหลักฐานทีด ่ ใี นการ แสดงให้เห็นว่าศิลปะกับชีวต ิ ถูกจับเป็นคูเ่ ปรียบเปรยมาตัง้ แต่โบราณ ความสัมพันธ์ของศิลปะตะวันตกก่อน สมัยใหม่กบ ั ชีวต ิ เป็นดังเช่นคําของฮิปโปเครติส คือถือศิลปะนัน ้ เป็นสิง่ ทีม ่ วี ถ ิ ป ี ฏิบต ั ท ิ ย ี่ าวนาน และชีวต ิ นัน ้ สัน ้ เกินไปทีจ่ ะเข้าใจทัง้ หมด ในขณะทีศ ่ ลิ ปะสมัยใหม่มท ี ศ ั นะว่าศิลปะนัน ้ จําเป็นต้องเป็นกบฏต่อขนบเดิม ศิลปะที่ ยืนยาวจึงดํารงอยูไ่ ด้ดว้ ยการต่อต้านทีท ่ าํ ให้ศลิ ปะ “เยาว์วย ั ” อยูเ่ สมอ กับศิลปะร่วมสมัยดูเหมือนว่าศิลปะ กับชีวต ิ เข้ามาคาบเกีย ่ วซํา้ ซ้อนกันมากขึน ้ จนเราไม่ทราบอีกต่อไปว่าอะไรคือศิลปะ อะไรคือชีวต ิ แต่สงิ่ ทีเ่ รา ยังแน่ใจอยู่เช่นเดิมคือ ชีวิตไม่เคยยืนยาวเกินไปสําหรับศิลปะ

46

baccazine issue 10


ปจจุบันศิลปนรวมสมัยสวนหนึ่งไมไดเห็น วาการทํางานศิลปะเปนงานหรืออาชีพที่มีเวลา และพื้นที่แนนอน เชน ตองเขียนสีบนผาใบใน สตูดิโอตั้งแตเชาถึงเย็นเทานั้น หากแตเปนการ ปฏิบัติที่เกิดขึ้นไปพรอมกับการใชชีวิต (หรืออีก นัยหนึ่ง ชีวิตคือการทํางานตลอดเวลา) ดังนั้น การทํางานของศิลปนรวมสมัยจึงมีความคาบเกี่ยวกับการใชชีวิตประจําวันอยางแยกไมออก ขอสังเกตที่เห็นไดชัดในปจจุบันคือ การเกิดขึ้น ของโครงการทีด่ าํ เนินการโดยศิลปน (artist-run project) ซึ่งบอยครั้งไมสามารถแยกการดํารง ชีวติ และการทํางานศิลปะออกจากกันได เราเริม่ ใชศพั ทในการเรียกการทํางานแบบนีว้ า ปฏิบตั -ิ การดวยการดํารงชีวิต (a lived practice) การ ทํางานดังกลาวยังคาบเกีย่ วกับสหวิทยาการทีถ่ กั ทอเปนชีวิต เชน วัฒนธรรมยอย วิทยาศาสตร กฎหมาย และศาสตรอนื่ ๆ ความเปนศิลปะจึงอยู ทีค่ วามสามารถของชีวติ ซึง่ จะมีทางเลือกทีแ่ ตกตางจากรูปแบบชีวิตที่เราเชื่อวาเปนปกติ ศิลปน รวมสมัยสวนหนึ่งในปจจุบันจึงทําหนาที่เปนนัก ตอสู นักเคลื่อนไหว และนักวิจัยที่แสวงหาวิธี การดํารงอยูในโลกรวมสมัยอยางแตกตางออก ไป ศิลปนบางคนคิดไปถึงการใหกําเนิดโลกใหม ภายในโลกเกา งานของศิลปนรุนใหมที่ผมอยากจะยกมา เปนตัวอยางในบทความฉบับนี้คือ โฟลโทเปย (F L O A T O P I A) พื้นที่ศิลปะกลางแมนํ้า ในเมืองเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ โครงการ ศิลปะดังกลาวเริ่มตนโดยเอมี่ สเปนเซอร (Amy Spencer) ศิลปนรุนเยาวชาวอังกฤษที่จบการ ศึกษาจากมหาวิทยาลัยในเมืองดังกลาว แลว ตกลงใจที่จะสรางโครงการศิลปะทันทีหลังจาก เรียนจบเพื่อ “หลบหนี” จากชีวิตบัณฑิตจบใหม แทนที่เอมี่จะเตรียมตัวสมัครงานในบริษัทตางๆ เหมือนเพื่อนๆ เธอกลับเลือกนําเงิน ที่ตนเอง เก็บสะสมไดขณะที่ศึกษาอยูมาซื้อซากเรือยนต ทองเที่ยวขนาดเล็ก นํามาซอมแซมและแปลง รางใหเปนพื้นที่ศิลปะและพื้นที่อยูอาศัยในเวลา เดียวกัน โฟลโทเปยเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมยอย ของคนที่อยูอาศัยบนเรือในแมนํ้าของเมือง ใน

บริเวณที่ชื่อวาพายแว็กเค็ต (Pyewacket) ซึ่ง ประกาศตนเองเปนประเทศโจรสลัดที่ไมจําเปน ตองจายคาเชาที่และภาษี ในรูปแบบใดก็ตาม ใหรัฐ นอกจากศิลปนจะใชโฟลโทเปยเปนที่อยู อาศัยถาวรแลว ยังใชพื้นที่ดังกลาวจัดกิจกรรม การศึกษาทางเลือกที่เกี่ยวของกับการดําเนิน ชีวิตในลักษณะดังกลาว เชน การอบรมเชิง ปฏิบัติการวิธีผูกเงื่อน การใหคําปรึกษาดาน กฎหมาย และกิจกรรมกลุมการอานที่เกี่ยวของ กับวัฒนธรรมทางนํ้า ปจจุบันโฟลโทเปยเปน เรือลําเดียวที่ทําหนาที่เปนตัวแทนแสดงวิธีการ ใชชีวิตของชุมชนกลางแมนํ้าที่ผูชมสามารถเดิน เขาไปดูไดทุกเมื่อที่เรือเปดอยู ราวกับตัวมันเอง เปนพิพธิ ภัณฑทางวัฒนธรรมทีท่ าํ ใหคนทัว่ ไปได เขาใจวัฒนธรรมยอยดังกลาวมากขึ้น เอมี่กลาว วาตนเองเปนศิลปนที่ ไมเคยผลิตชิ้นงานศิลปะ แตเห็นวาโฟลโทเปยเปน “งาน” ศิลปะของตน กลาวโดยสรุป โฟลโทเปยจึงเปนพื้นที่ทับซอนที่ ทําหนาที่เปนที่อยูอาศัย สถานศึกษาทางเลือก พื้นที่ศิลปะ พิพิธภัณฑทางวัฒนธรรม และผลงานศิลปะไปพรอมๆ กัน นอกจากนีแ้ ลวแมวา ตัว ศิลปนยังคงตองทํางานอื่นๆ เพื่อหาเงินจุนเจือ คาใชจาย แตโฟลโทเปยก็เปนตัวอยางที่ดีของ การทํางานศิลปะทางเลือกแบบหนึ่งแมจะไมได รับการเหลียวแลและสนับสนุนจากโครงสราง ทุนและสถาบันศิลปะกระแสหลัก ปจจุบันเอมี่ กําลังระดมทุนสําหรับซื้อซากเรือลําใหม เพื่อ นํามาซอมแซมและทําการทดลองการใชชวี ติ ทาง เรือโดยไมเทียบฝง ผมคิดวาโฟลโทเปยเปนตัวอยางที่ดีของการ ทํางานโดยศิลปนและคิวเรเตอรรุนเยาวที่เราไม คอยพบเห็นในประเทศไทย กลาวคือเปนการ ทํางานโดยไมไดพึ่งพาหรือคาดหวังวาจะไดรับ การชวยเหลือจากภาครัฐ หรือหวังวาจะไดรับ การปลุกปนจากแกลเลอรี่เชิงพาณิชยตางๆ แต พยายามหาแนวทางใหม ในการดํารงชีวิตและ ทํางานศิลปะไปพรอมๆ กันอยางเปนอันหนึ่งอัน เดียวกัน ความเปนกบฏที่แทจริงของโฟลโทเปย คือการปฏิเสธความเปนศิลปะในรูปแบบเดิมๆ ทีพ่ ยายามแยกคุณคาของศิลปะออกมาจากชีวติ โฟลโทเปยยังแสดงใหเห็นวาชีวติ อาจจะยังคงไม

ยืนยาวเกินไปสําหรับศิลปะ แตศิลปะกลับทําให ชีวิตเยาววัยอยูเรื่อยๆ นี่อาจจะเปนจิตวิญญาณ ที่แทจริงของศิลปะรวมสมัย วิภาช ภูริชานนท กันยายน 2014 THE YOUTH OF ART Ars Longa, vita brevis is an aphorism by Hippocrates, an Ancient Greek physician. At very least, it argued an inevitable connection between art and life that has remained crucial until a present day. Art maintains its longevity because every rebel in itself is, in the same time, a youthful renewal. Life, however, always appears to be too short for art. Contemporary Art, in particular, is a junction where art and life merges. The increasing number of artist-run projects is one of that proofs. Especially, projects that start to be called ‘a lived practice,’ which come from either an attempt to turn alternative living into artistic practice or reduces artistic practice into a way of living. F L O A T O P I A, a project by Amy Spencer in Cambridge is one of those examples. It is a project that the artist turned a sunken boat into a self-sustained lifeboat where she lives and works. A project like this is hardly found in Thailand, where young artists are bounded with a structure that drives by competitions and awards for artistic production: a structure that always forces art to alienate from life and transforms renewal into repetition. In a contrary, F L O A T O P I A is telling us that life is too short for art, but the youth of art makes life worth living. • issue 10 baccazine

4 7


Your Gallery

ร่วมสนุกกับ baccazine ฉบับที่ 10 พร้อมลุ้นรับของรางวัลเท่ๆ จาก Baccazine

SHARE

WITH...

เพียงคุณส่งรูปถ่ายคู่กับ Baccazine ฉบับที่ 10 เพียงคุณส่งรูปถ่ายคู่กับ Baccazine ฉบับที่10

มาร่วมสนุกบนอินสตาแกรม

baccbangkok

พร้อม hash tag #bacc, #baccbangkok และระบุว่าได้ Baccazine 10 มาจากที่ใด พร้อมคําติชม รูปไหนโดนใจทีมงาน รับของรางวัลสุดเท่จาก Baccazine ไปเลย *ตั้งค่าโปรไฟล์อินสตาแกรมของคุณเป็นแบบPudlic

หมดเขต 31 มกราคม 2558 ประกาศผลในเฟสบุคส์

www.facebook.com/baccpage

Come join our fun activity and get the chance to win free gifts from Baccazine. Submit your photo taken with Baccazine issue #10 and post it on our instagram page baccbangkok with #bacc and #baccbangkok. And tell us where you got the copy of the magazine as well as your comments about Baccazine. The activity lasts until January 31, 2015 and the winners will be announced on www.facebook.com/baccpage. 48

baccazine issue 10


ที่ตั้งและการเดินทาง

bacc ตั้งอยู่หัวมุมสี่แยกปทุมวัน ตรงข้ามห้างมาบุญครอง และสยามดิสคัฟเวอรี่ ชั้น 3 ของหอศิลปกรุงเทพฯ มีทางเดินเชื่อมต่อกับทางยกระดับ รถไฟฟ้าบีทีเอส : ลงได้ที่สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ และออกทางประตูที่ 3 จอดรถ : สามารถจอดรถที่ชั้นใต้ดินของอาคารหอศิลปกรุงเทพฯ เข้าทางด้านถนนพญาไท (ที่จอดรถมีจ�ำนวนจ�ำกัดและมีค่าบริการ) รถประจ�ำทาง : สาย 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73ก, 79, 93, 141, 159, 204, ปอ.508 และ ปอ.529 เรือโดยสาร : เรือสายคลองแสนแสบ เส้นทางสะพานผ่านฟ้า-ประตูน�้ำ ขึ้นที่ท่าเรือสะพานหัวช้าง เดิน 300 เมตร ถึงหอศิลปกรุงเทพฯ สี่แยกปทุมวัน เวลาเปิดบริการ : วันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา 10.00-21.00 น. (หยุดวันจันทร์) ค่าเข้าชม : ไม่เสียค่าเข้าชม ยกเว้นการจัดกิจกรรมและการแสดงที่เป็นกรณีพิเศษ How to go to bacc

bacc is located at the Pathumwan Itersection, facing the MBK and Siam Discovery Center. The 3rd floor entrance is connected to the BTS, the National Stadium Station. Limited parking is available at level B1 and B2. Buses : 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73ก, 79, 93, 141, 159, 204, air-con 508 and air-con 529 Boat : Saen-saeb canel route (Panfa Bridge-Pratumnam), use the Sapan Hua-Chang landing, 300 m. to the art Centre Opening hours : 10 a.m.-9 p.m. (closed on Monday) Addmission : Free entry to exhibitions, except for special events. Charges to concerts and play will vary.

issue 10 baccazine

4 9



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.