ก own อ ไ ชน่ ก า ง nat า บ ิ่น i
ถ kวน h์ ทา น ี C จ ko ยา่ นngย ่าน Ba
น่าเดิน
10 เส้นทาง ลัดตรอก เลาะคลอง ท่องริมน�้ำ ในย่านจีน
1
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
2
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
3
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
หนังสือ ไชน่าทาวน์ย่านน่าเดิน 10 เส้นทาง ลัดตรอก เลาะคลอง ท่องริมน�้ำ ในย่านจีน เขียนและเรียบเรียงโดย บริษัท ปั้นเมือง จ�ำกัด (โครงการฟื้นฟูย่านไชน่าทาวน์สู่การเป็นย่านสุขภาวะแห่งการเดิน) สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ปั้นเมือง จ�ำกัด (โครงการฟื้นฟูย่านไชน่าทาวน์สู่การเป็นย่านสุขภาวะแห่งการเดิน) ภายใต้การด�ำเนินงานของ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พิมพ์ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2561
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
จ�ำนวน 1,000 เล่ม 150 หน้า สนับสนุนการจัดท�ำหนังสือ : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สนับสนุนการจัดพิมพ์ : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผู้จัดท�ำและบรรณาธิการ : บริษัท ปั้นเมือง จ�ำกัด (โครงการฟื้นฟูย่านไชน่าทาวน์สู่การเป็นย่านสุขภาวะแห่งการเดิน) facebook fan page : ย่านจีนถิ่นบางกอก-Bangkok Chinatown
ภาพและออกแบบรูปเล่ม : ไอริน บุญนิมิตรภักดี (facebook fanpage : Irin_bun's Art Works) นภัสสร ลิมปพาณิชย์ (facebook fanpage : c r a y o n) ภาพสีน�้ำ : อภิรดา จาตุรนต์ ภาพถ่ายกิจกรรมเดิน Sketch ไชน่าทาวน์ ย่านน่าเดิน : สรธร ฐิตเจริญวงศ์
4
5
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
6
ก own อ ไ ชน่ ก า ง nat า บ ิ่น i
ถ kวน h์ ทา น ี C จ ko ยา่ นngย ่าน Ba
น่าเดิน
10 เส้นทาง ลัดตรอก เลาะคลอง ท่องริมน�้ำ ในย่านจีน
7
ค�ำน� ำ
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
8
หนังสือ ไชน่าทาวน์ย่านน่าเดิน 10 เส้นทาง ลัดตรอก เลาะคลอง ท่องริมน�้ำ ในย่านจีน เป็นการด�ำเนิน งานภายใต้ โครงการฟืน้ ฟูยา่ นไชน่าทาวน์สกู่ ารเป็นย่านสุขภาวะแห่งการเดิน (โครงการไชน่าทาวน์ยา่ น น่าเดิน ระยะที่ 2) ที่ด�ำเนินงานด้วยการใช้แนวทางการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ (Healthy Space) ตาม แนวคิดของส�ำนักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ที่มีเป้าหมายในการ ส่งเสริมกิจกรรม ทางกาย การออกก�ำลังกาย และกีฬาเพือ่ สุขภาพ ด้วยการสร้างทัศนคติ ค่านิยม และพฤติกรรมให้เกิด การเพิ่มจ�ำนวนผู้มีกิจกรรมทางกายในชีวิตประจ�ำวัน ทั้งในโรงเรียน ที่บ้าน ที่ท�ำงาน และเพิ่มจ�ำนวน ผู้ออกก�ำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพด้วยการเดิน
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เนื่องจากการเดินนั้นเป็นเครื่องมือส�ำคัญที่มีส่วนช่วยในการฟื้นฟูย่านด้วยการกระตุ้นให้ชุมชนและ สังคมรับรู้คุณค่า การส่งเสริมให้เขตสัมพันธวงศ์หรือย่านไชน่าทาวน์เป็นย่านน่าเดินจึงจะส่งผลให้เกิด การฟืน้ ฟูดา้ นสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และกายภาพ อีกทัง้ ยังเป็นการส่งเสริมการเปลีย่ นพฤติกรรม ทีล่ ดการบริโภคและใช้พลังงานจากการสัญจรไปในเวลาเดียวกัน ซึง่ ผลผลิตเบือ้ งต้นทีไ่ ด้จากการศึกษา โครงการ ได้น�ำมาต่อยอด เพื่อเผยแพร่เป็นหนังสือฉบับนี้ ที่รวบรวม 10 เส้นทางที่เหมาะสมแก่ การเดิน และเหมาะสมแก่การปรับปรุงให้น่าเดินต่อไปในอนาคต คณะผู้จัดท�ำ
9
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng a ้ ท�ำไมย่B านนี ถึงน่ าเดิน เมือ่ พูดถึงการเดินทางในย่านไชน่าทาวน์เยาวราช คนส่วนใหญ่มกั ใช้การเดินเป็นทางเลือกหลัก ไม่วา่ จะ เดินชอปปิ้ง เดินหาร้านอาหารยามค�่ำคืน เดินเพื่อท่องเที่ยว หรือเดินในชีวิตประจ�ำวัน แต่การเดินนั้น มักเกิดขึ้นบนเส้นทางหลักที่ทุกคนคุ้นเคยอย่างถนนเยาวราช ถนนราชวงศ์ ถนนวานิช 1 หรือตรอก การค้าส�ำเพ็ง แต่จริงๆ แล้ว ในย่านไชน่าทาวน์เยาวราชยังมีเส้นทางตรอกซอยอีกจ�ำนวนมากทีเ่ ป็นทีต่ งั้ ของอาคารส�ำคัญ เป็นเส้นทางลัด และยังเป็นเส้นทางทีส่ ามารถเชือ่ มต่อพืน้ ทีต่ า่ งๆ ของย่านไชน่าทาวน์ เยาวราช แม่น�้ำเจ้าพระยา และสถานีรถไฟฟ้า เส้นทางเหล่านี้ได้ถูกรวบรวมไว้ในหนังสือ ไชน่าทาวน์ ย่านน่าเดิน 10 เส้นทาง ลัดตรอก เลาะคลอง ท่องริมน�้ำ ในย่านจีน ที่ท่านถืออยู่ในมือนี้ หวังว่าท่านจะได้รับประสบการณ์สนุกๆ ได้เปิดหู เปิดตา เปิดใจ เปิดมุมมองใหม่ๆ ไปกับ 10 เส้นทาง ย่านไชน่าทาวน์ พา 2 เท้า 2 มือ ถือหนังสือ แล้วไปเดินสัมผัสประสบการณ์จริงด้วยกัน
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้นทาง
มารู้จัก
-1-
ทอดน่ องริมน�้ ำย่านจีน เส้นทางเดินริมน�้ำที่แสดงร่องรอย การตั้งถิ่นฐานของชุมชนการค้า ดั้งเดิมซึ่งเชื่อมย่านพระนครและ บางรักให้เดินถึงกันได้ ประกอบด้วย อาคารเก่า วิถีการค้า พื้นที่ศรัทธา และความเชื่อที่หลากหลาย อันเป็นต้นก�ำเนิดของย่านการค้า ส�ำคัญระดับประเทศ
10 เส้นทาง น่ าเดิน
เส้นทาง
-4-
หน้า 14
เส้นทาง
หน้า 56
หน้า 68
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba -5-
ริมคลองผดุงกรุงเกษม
ตรอก 200 ปีตลาดน้อย
เส้นทางเดินที่ให้บรรยากาศวิถีชีวิต ชุมชนตลาดและบ้านแถวแบบเก่าของ ตลาดน้อยและตลาดผลไม้จงสวัสดิ์ ที่มีชีวิตชีวาและร่มรื่นจากต้นไม้ใหญ่ มากมายบริเวณริมคลอง ผดุงกรุงเกษม เหมาะส�ำหรับการเดิน หลบร้อนใต้ร่มไม้ในเวลากลางวัน
เส้นทางเดินตรอกริมน�้ำตลาดน้อยที่แสดง บรรยากาศของจุดเริ่มต้นการตั้งถิ่นฐานของ ย่านตลาดน้อย ระหว่างทางจะพบอาคารที่ได้ รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมจีนมากมาย ทั้งศาลเจ้าและบ้านเรือนที่ทรงคุณค่า ซึ่งยังมีผู้คนอาศัยอยู่ เห็นวิถีชุมชน ดั้งเดิมที่สืบทอดกันมาหลาย ชั่วอายุคนโดยเฉพาะ ในเทศกาลกินเจ
เส้นทาง
-8-
MRT วัดมังกรกมลาวาส ท่าเรือสวัสดี
เส้นทาง
-9-
หน้า 108
MRT หัวล�ำโพง ท่าเรือสวัสดี
12
-2-
-3-
หน้า 28
หน้า 42
ตรอกอิศรานุภาพ
ตรอกภิรมย์
เส้นทางเดินตรอกเก่าแก่ใจกลางย่าน ที่บอกเล่าวิถีชีวิตและความเปลี่ยนแปลง ของย่านเยาวราชตั้งแต่ยุคสมัยการ ค้าส�ำเภาริมน�้ำ ยุครถราง จนมาถึง รถไฟฟ้าใต้ดินในยุคปัจจุบัน ที่ยังคง รักษาความเป็นศูนย์กลางการค้าและ วิถีชีวิตวัฒนธรรมของชาวไทย เชื้อสายจีน มาทุกยุคทุกสมัยโดยเฉพาะ วัตถุดิบด้านอาหาร ส�ำหรับ งานประเพณีต่างๆ
เส้นทางเดินศึกษาลักษณะชุมชนบริเวณ ปากคลองโอ่งอ่าง ซึ่งยังเห็นเค้าโครง ของชาวตรอกที่อาศัยอยู่กับท่าเรือ เช่น ตรอกโรงปลาทู นอกจากนั้นเส้นทางนี้ ยังเป็นประตูสู่เขตพระนครซึ่งสามารถ เดินผ่านชุมชนตรอกภิรมย์และข้าม สะพานบริเวณปากคลองโอ่งอ่าง ไปถึงปากคลองตลาดได้
กเส้นoทางwn อ ก ง nat-7า บ ิ่น Chi เส้นทาง ถ น ี -6- านจ ย่ ngkok Ba
หน้า 94
หน้า 80
MRT วัดมังกรกมลาวาส ท่าเรือราชวงศ์ เส้นทางเดินแห่งใหม่ของย่านที่เปิด พื้นที่โล่งริมคลองโอ่งอ่าง แล้วพา ลัดเลาะเข้าสู่ตรอกในชุมชนเพื่อสร้าง เป็นทางเลือกใหม่ในการเดินและหลีก หนีความวุ่นวายบนถนนเยาวราช ที่คับคั่งในเวลากลางวัน
MRT วังบูรพา-ท่าเรือราชวงศ์ เส้นทางเดินที่รวมจุดเปลี่ยนถ่าย การสัญจรไว้มากที่สุดและเดินได้รวดเร็ว มากที่สุดเส้นทางหนึ่งของย่าน ตลอด เส้นทางสามารถท�ำกิจกรรมต่างๆ ได้ ตั้งแต่การทานอาหาร ท�ำธุรกรรมการเงิน จับจ่ายซื้อของ ไหว้พระ ท�ำบุญ ตามความต้องการได้ทั้งสองฝั่งถนน จนถึงจุดหมายปลายทาง
หน้า 120
เส้นทางเดินที่ผ่านจุดหมายตาที่ส�ำคัญ หลายแห่งในไชน่าทาวน์หากในวันที่ไม่รีบ ร้อนนั้น สามารถท�ำกิจกรรมระหว่างทาง เดินได้หลากหลาย เช่น เยี่ยมชม ศาสนสถาน ทานอาหารหรือรับพลัง จากฟ้าที่ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติฯ เพื่อเติมพลังระหว่าง เส้นทางเดินสายนี้
เส้นทางเดินที่สามารถเดินได้ง่าย และรวดเร็วจากรถไฟฟ้ามุ่งตรงสู่ เรือข้ามฟาก ไปยังวัดทองธรรมชาติ ฝั่งธนบุรี ด้วยการเดินผ่านถนน ทรงเสริมอันเป็นถนนที่สั้นที่สุด ในกรุงเทพฯ บริเวณหน้า ท่าเรือสวัสดี
เส้นทาง
เส้นทาง
เส้นทาง
-10-
หน้า 134
MRT หัวล�ำโพง ท่าเรือสี่พระยา เส้นทางเดินที่ให้ประสบการณ์ ส�ำหรับการมาเยือนย่านตลาดน้อย อย่างแท้จริง โดยใช้เส้นทางสายหลัก จึงพบเจอร้านค้าและร้านอาหาร เก่าแก่มากมายให้ได้ทดลองแวะใช้ บริการชิมและช็อปปิ้งตลอดเส้นทาง 13
ตรีจ
28
สถานี หัวล�ำโพง
ิตต ์
ถ.เจริญกรุง
29
30
17 ด์ิ
7
10
8
ซ.เยาวพานิช
43
ร รีมิต
35
36
งวาด
44
ซ.ว
45
านิช
ถ.เ
จริญ
2
38
ถ.ทร
ท่าเรือ สวัสดี
กรุง
า
24
39 37
ยธ
25
46
4
3
ท่าเรือด่วน ราชวงศ์
42
กรุง
ท่าเรือด่วน กรมเจ้าท่า ท่าเรือ วัดทอง ธรรมชาติ
47
รุง
50 ท่าเรือ ่ ระยา สีพ
ท่าเรือ คลองสาน
14
ิญก
49 แม เจา้ ่น้� ำ พร ะยา
9 11.ท่าเรือราชวงศ์ 21.ศาลเจ้าปุนเถ่ากง 12.ตึกเก่าหัวมุมทรงวาด 22.ตรอกชัยภูมิ 13.วัดโลกานุเคราะห์ 23.ศาลเจ้าเซี้ยอึ้งกง 14.วัดกุศลสมาคร 24.ตึกผลไม้ 15.วัดกันมาตุยาราม 25.มัสยิดหลวงโกชาอิศหาก 16.วัดมังกรกมลาวาส26.ย่านการค้าเชือกและกระสอบ 17.ตลาดเล่งบ๊วยเอี๊ยะ27.วัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร 18.ศาลเจ้าเล่งบ๊วยเอี๊ย28.แยกเฉลิ ะ มบุรี 19.ศาลเจ้ากวนอู 29.แยกหมอมี 20.โรงเรียนเผยอิง 30.วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร และศูนย์ประวัติศาสตร์เยาวราช
จร
48
้� ำ แม่นพระยา เจา้
1.เวิ้งนาครเขษม 2.คลองโอ่งอ่าง 3.สะพานหัน 4.ตรอกยาฉุน 5.ย่านการค้าสมุนไพร 6.วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร 7.โรงเกลือจิบฮั่วเฮง 8.ตรอกภิรมย์ 9.โรงต้มปลาทู 10.ตึกแถวตรอกไกร
ถ.เ
า
22
จริญ
ะย
21
ถ.ต
26
13
23
ถ.เ
ถ.โ
20
34
่ ร ีพ
งวาด
ถ.ทร
ถ.ทรงสวัสดิ์
ถ.มังกร
ถ.ราชวงศ์
ถ.มหาจักร
ด์ิ ถ.จักรวรร
6
11
1
ถ.ทรงสวัส
ถ.มหาจักร ั รวรรด์ิ ถ.จก
ัตร ถ.บริพ อ่าง คลองโอ่ง
2
12
ซ.วานิ ช1(ส�ำเพ็ง)
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
วงเวียน โอเดียน
ราม ม ฒา กษ พฤ รุงเ หา ุงก ถ.ม องผด คล
5
13
40
์
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba ซ.วานิช1(ส�ำเพ็ง)
4
33
14 27
19
3
ช
าวรา
ถ.เย
ย ณิช พา
2
18
15
ซ.
6
1
5
41
32
ถ.ส
ถ.เจริญกรุง
10
ลาม
8
9
31
้าวห
16
ถ.ไม
ถ.ข
ธ์ ถ.บริพัน
สถานี หัวล�ำโพง
สถานี วัดมังกร
7 สถานี วังบูรพา
าพ
ติภ
ัน ถ.ส
4
ะราม
ถ.พร
ีน
พลา ถ.พลับ
่ ถ.เสือปา
จักร ถ.วร
ชัย
วงเวียน 22 กรกฎา
ถ.ม ิตรภ าพไ ทยจ
ลวง
ถ.ห
31.สถานีรถไฟหัวล�ำโพง 32.ตึกเก่าหัวมุมถนนข้าวหลาม 33.ซุ้มประตูจีน 34.ย่านถังไม้ั 35.ศาลเจ้าแม่ทับทิม 36.วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร 37.ศาลเจ้าเซียงกง 38.ศาลเจ้าโจวซือกง 39.วัดอุทัยราชบ�ำรุง(วัดญวน) 40.ตลาดผลไม้
41.คลองผดุงกรุงเกษม 42.ศาลเจ้าไทฮั้ว 43.วัดมหาพฤฒาราม 44.ซอยเจริญกรุง 22 45.บ้านโซวเฮงไถ่ 46.ศาลเจ้าฮ้อนหว่องกุง(ศาลเจ้าโรงเกือก) 47.ธนาคารไทยพาณิชย์(สาขาตลาดน้อย) 48.ส�ำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ 49.วัดแม่พระลูกประค�ำ(กาลหว่าร์) 50.ศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้
15
ท่าเรือด่วน สี่พระยา
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
16
เส้นทางงกอก town า ina บ น ่ ิ ถ 1k Ch น ี จ ยา่ นngko Ba ทอดน่ อง ริมน�้ ำ ย่านจีน
17
เส้นทางเดินริมน�้ำที่แสดงร่องรอยการ ตั้งถิ่นฐานของชุมชน การค้าดั้งเดิม ซึ่ ง เชื่ อ มย่ า นพระนครและบางรั ก ให้ เดินถึงกันได้ ประกอบด้วยอาคารเก่า วิถีการค้า พื้นที่ศรัทธาและความเชื่อ ที่หลากหลาย อันเป็นต้นก�ำเนิดของ ย่านการค้าส�ำคัญระดับประเทศ
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
18
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
19
เส้นทาง 1 ตึกแถวตรอกไกร
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
บริเวณท่าน�้ำจักรวรรดิหรือที่เรียกว่า “ตรอกไกร” ในปั จ จุ บั น ยั ง ปรากฏชุ ด อาคารตึ ก แถวเก่ า ที่ รั บ อิทธิพลงานสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ซึ่งเป็น ที่นิยมสร้างกันอย่างมากภายหลังจากการตัดถนน สายต่างๆ ในพระนครช่วงรัชกาลที่ 4-5 สันนิษฐานว่า อาคารตึกแถวดังกล่าวน่าจะสร้างขึ้นภายหลังจากมี การตัดถนนเชื่อมจากถนนราชวงศ์มายังบริเวณนี้ ในช่วง รัชกาลที่ 5 ในสมัยก่อนท่าน�้ำวัดจักรวรรดิมีบทบาทในการเป็น ท่าเรือขนถ่ายสินค้าพื้นเมืองจากต่างจังหวัด จ�ำพวก ของป่า ของแห้งต่างๆ เช่น หมาก มะขามเปียก เป็นต้น ต่อมา เมื่อการคมนาคมทางน�้ำลดบทบาทลง ท�ำให้ ไม่มีเรือสินค้ามาขึ้นในบริเวณนี้ ท่าน�้ำจักรวรรดิจึงไม่ ได้ใช้ประโยชน์ในการขนส่งและกลายเป็นบริเวณทีจ่ อด รถขนส่งสินค้าแทน
20
TIPS
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
มัสยิดหลวงโกชาอิศหาก
มัสยิดหลวงโกชาอิศหากหรือมัสยิดวัดเกาะตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยาด้านตะวันออกใกล้กับวัดเกาะ (วัดสัมพันธวงศ์) เป็นมัสยิดที่สร้างบนพื้นที่ของหลวงโกชาอิศหาก (เกิด บินอับดุลลาห์) ขุนนาง กรมท่าขวา บ้านของท่านอยู่ริมฝั่งเจ้าพระยาด้านตรงข้าม คือ บริเวณคลองสาน ในช่วงสมัยพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มัสยิดหลวงโกชาอิศหากเป็นสุเหร่าส่วนบุคคล แต่เปิดให้สาธารณชนได้ใช้เพือ่ ละหมาด เป็นมัสยิดทีต่ งั้ อยู่ใจกลางไชน่าทาวน์อย่างกลมกลืน ลักษณะมัสยิดเป็นอาคารสไตล์ยุโรป มีกุโบร์ส�ำหรับฝังพี่น้อง มุสลิม ผูด้ แู ลมัสยิดเป็นคนของตระกูลทีด่ แู ลสืบทอดกันมา ชือ่ มัสยิดเป็นชือ่ แบบไทย แสดงให้ลกู หลาน และผูเ้ ข้ามาละหมาดได้ทราบถึงประวัตขิ องบุคคลทีเ่ ริม่ ก่อสร้าง และได้แสดงถึงความเป็นคนไทยทีน่ บั ถือ ศาสนาอิสลาม อยูท่ า่ มกลางวัฒนธรรมชาวจีนอย่างสมานฉันท์และกลมเกลียว อันเป็นลักษณะเฉพาะ ของคนไทยที่มีความรัก สามัคคี ไม่มีความแตกต่างในเชื้อชาติ ศาสนา ความเป็นอยู่
รู ป แ บ บ บ้ า น เ รื อ น ใ น ต ร อ ก บริ เวณนี้ ยั ง เป็ นแบบดั้ ง เดิ ม ซึ่ ง ไม่เปลี่ยนแปลงจากอดีตมากนั ก ลองถ่ายรู ปรายละเอียดของงาน ปูนปั้นตามหน้าบันของอาคารดูซิ
21
เส้นทาง 1
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba ตึกผลไม้
ตึ ก ผลไม้ เ ป็ น อาคารเก่ า ที่ มี ก ารประดั บ ด้ ว ย ปู น ปั ้ น รู ป ผลไม้ ห ลากชนิ ด ซึ่ ง ยั ง คงรู ป แบบ ดั้ ง เดิ ม ไว้ ค ่ อ นข้ า งมากท� ำ ให้ ส ามารถเห็ น ภาพ ลั ก ษณะสิ น ค้ า บนถนนทรงวาดได้ เ ป็ น อย่ า งดี
TIPS
บนอาคารมีปูนปั้นรู ปผลไม้ หลากหลายชนิ ด ลองดูสิ
การค้ าบนถนนทรงวาดนั้ น แต่ เดิ ม จะเป็ น การ น�ำเข้าและส่งออกสินค้าทางเรือด้วยเรือกลไฟไป ยังหัวเมืองชายทะเลและแม่น�้ำ สินค้าที่ส�ำคัญของ ย่านนีค้ อื พืชผลทางการเกษตรดังทีพ ่ บเห็นได้จาก บริษทั ห้างร้านต่างๆ ทีย่ งั คงด�ำเนินกิจการมาตัง้ แต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน
ในละแวกนี้ มีอาคารทรงจีนเก่าๆ อีกเยอะแยะเลยนะ
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng TIPS Ba
ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย
ด้านในของธนาคารยังใช้การ จั ด วางและตกแต่ งดั้ ง เดิ ม อยู่ จนถึงปัจจุ บัน
ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ส าขาตลาดน้ อ ย เป็ น ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ส าขาแรกที่ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก าร ในยุคที่เศรษฐกิจในเยาวราชเจริญเติบโต ใช้เป็น ที่ ท� ำ การของธนาคารจนถึ ง ปั จ จุ บั น ตั ว อาคาร เป็นสถาปัตยกรรมแบบโบซาร์ผสมนีโอคลาสสิค ได้รับการอนุรักษ์ให้เป็นอาคารอนุรักษ์ดีเด่นเมื่อ ปี พ.ศ. 2525 โดยสมาคมสถาปนิกสยามฯ
QUIZ
สั ญ ลั ก ษณ์ ใบโพธิ์ ข องธนาคาร ไทยพาณิ ชย์มาจากที่ไหน
ธนาคารไทยพาณิชย์กอ่ ตั้งโดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย ในระยะแรกได้ทรงใช้ ตึกแถวของพระคลังข้างที่ที่ต�ำบลบ้านหม้อ ตั้ง เป็นธนาคารขนาดเล็กชื่อว่า บุคคลัภย์ ต่อมาได้ จดทะเบียนตั้งเป็นธนาคารพาณิชย์ในชื่อ บริษัท แบงก์ ส ยามกั ม มาจลทุ น จ� ำ กั ด ที่ ต ลาดน้ อ ย ก่อนจะเปลี่ยนชื่อเป็นธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ตอบ ต้นโพธิ์ริมรั้วติดแม่น�้ ำเจ้าพระยา 22
23
เส้นทาง 1
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า TIPS ยB่ ang วัดแม่พระลูกประค�ำ (กาลหว่าร์)
เอกลั กษณ์ของโบสถ์ฝรั่งในย่าน จีนคื อตั วอั กษรจีนบนผนั งเหนื อ ประตูทางเข้า
ชวนดูพระอาทิตย์ตกดินริมแม่น�้ ำ เจ้าพระยา อย่าลืมเก็บภาพสวยๆ ไปด้วยนะ
วัดแม่พระลูกประค�ำหรือโบสถ์กาลหว่าร์ ก่อตั้งขึ้น โดยชาวโปรตุเกสบนทีด่ นิ ทีไ่ ด้รบั พระราชทานในสมัย รัชกาลที่ 1 หลังจากอพยพมาจากกรุงศรีอยุธยา สมัยก่อน โบสถ์เป็นอาคารไม้ก่อนขยายใหญ่ขึ้นเป็น หลังที่สอง ต่อมาเมื่อเกิดเหตุไฟไหม้ในปี พ.ศ.2407 จึงได้สร้างโบสถ์หลังปัจจุบันนี้ขึ้นซึ่งนับเป็นหลังที่ 3 โบสถ์หลังนี้สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2434 มีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบโกธิค ศิลปะที่โดดเด่น คือ มียอดสูง ซุ้มหน้าต่างเป็นซุ้มโค้ง ภายในอาคาร มีรปู ปัน้ นักบุญ และรูปพระมหาทรมานของพระเยซูเจ้า 14 ภาพแขวนไว้โดยรอบ ด้านหน้าใกล้ประตูมรี ปู เทวดา ถือเปลือกหอยบรรจุน�้ำเสก บริเวณเหนือหน้าต่าง ทุกบานมีกระจกสีช่องแสงแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับ พระคัมภีรเ์ ก่าและใหม่ทมี่ คี วามสมบูรณ์และมีลวดลาย สวยงาม
24
ศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ศู น ย ์ ก า ร ค ้ า ริ เ ว อ ร ์ ซิ ตี้ เ ป ็ น ศู น ย ์ ก า ร ค ้ า ที่ รวบรวมร้ า นค้ า เกี่ ย วกั บ งานศิ ล ปะ สิ น ค้ า เชิ ง วัฒนธรรม และวัตถุโบราณไว้มากมาย นอกจาก นี้ ยั ง เป็ น ท่ า เรื อ ส� ำ คั ญ ที่ เ ป็ น ทั้ ง ท่ า เรื อ สาธารณะ และท่ า เรื อ ท่ อ งเที่ ย วซึ่ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วนิ ย มมา ล ง เ รื อ รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร กั น ใ น ย า ม ค�่ ำ คื น
ศู น ย ์ ก า ร ค ้ า ริ เ ว อ ร ์ ซิ ตี้ เ ป ิ ด ด� ำ เ นิ น ก า ร เ มื่ อ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2527 ซึ่งถือเป็นศูนย์การค้า แห่ ง แรกบริ เ วณริ ม แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา ออกแบบโดย ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ ร.อ. กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา เป็ น อาคารที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล สถาปั ต ยกรรมดี เ ด่ น ด้านการออกแบบในปี พ.ศ. 2527
25
TIPS
อาคารมีการปรับปรุ งหน้าตา ไปแล้วหลายรอบแต่ยังคงใช้ โครงสร้างเดิม ตอนนี้ เราอยู่ สุ ดเขตพระนคร ในสมัยรัชกาลที่ 4 แล้ว
เส้นทาง 1
เรื่องเล่า เดิน
1
เกด
" Living
Heritage
ส้ม
"
เป็นย่าน Heritage ที่ยังมีชีวิต อยู่ ยังไม่ตาย สามารถปรับตัวได้ กับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้ นทรงวาดมี ตึ ก อาคารเก่ าๆ มากมาย มี ห น้ าตาหลากหลาย มี อ าคารรู ป แบบใหม่ ๆ แทรกอยู่ ด้ วย โดยที่ ไ ม่ ดู แ ปลกปลอม ท� ำ ให้ เป็ นเสน่ห์ของย่านนี้ ถ้ามี การปรับปรุ งอาคาร เก่าที่ทรุ ดโทรมให้ดูสะอาดเรียบร้อย ก็จะท�ำให้ ถนนเส้ นนี้ เป็ นถนนที่ มี ค วามน่ าเดิ น มากยิ่ ง ขึ้น ระหว่างการเดินจะมีสิ่งที่ดึงดูดให้เดินเข้าไป ส� ำรวจตลอดเส้นทาง ลวดลายผสมผสานไทย จีน ฝรั่ง ช่องแสง ก็ ดึงดูดให้พวกเราเข้าไปดู ถึ งแม้บางที จะเป็ น มุมมืดก็ตาม ถ้ามีป้ายแนะน� ำสถานที่ก็จะดีมาก มีการผสมผสานของวัฒนธรรม ไทย จีน ฝรัง่ อย่างลงตัว กลมกลืน เช่น บ้านที่ดูมีความฝรั่ง แต่ก็ประดับโคมไฟจีน มีความ cross culture มีวิถีชีวิตแบบเก่าให้เห็นอยู่ เช่น การค้าขาย ผู้คนในพื้ นที่ มี ก ารเปิ ดรั บ กั บ นั ก ท่ องเที่ ย ว ถ้าเรากล้าที่จะไปพูดคุยกับเขา เขาก็จะพูดคุย กับเราให้ค�ำแนะน� ำเป็ นอย่างดี มีความเป็ นมิตร เปิ ดรัับคนภายนอก ได้พบความหลากหลายของประชากร คนไทย เชื้อสายจีน นั กท่องเที่ยวชาวต่างชาติ แรงงาน ชาวพม่า นั กท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในโซนนี้ ก็จะมีความ เป็ นมิตรอยากเรียนรู้ และเข้ามาทักทายพูดคุย กับนั กท่องเที่ยวคนอื่นๆ ด้วยกันเอง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ในพื้ นที่มีตรอกซอกซอยมากมาย อาคาร จะมี ป รั บ ตามแล้ วแต่ รู ป ที่ ดิ น และถนน แต่ ละอาคารจึ ง มี รู ปทรงที่ แปลกตา ไม่เหมือนกัน มีการใช้เวสป้าในการขนส่ง ของบริเวณนี้ มีร้านขายและซ่อมเวสป้า ท�ำให้พบมุมฮิปๆ ที่มีเวสป้าไปจอด
ผลงานโดย ปนัดดา เต็มไพบูลย์กุล (ส้ม)
เรื่องโดย: วิธุตา โลหิตโยธิน, ปนัดดา เต็มไพบูลย์กุล 26
27
เส้นทาง 1
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ร้ านขายปลาหมึ ก บริ เวณศาล เจ้าแม่ทั บทิ ม เลยได้พูดคุยกั บ พ่ อค้ าขายปลาหมึ ก ซึ่ ง เป็ น พ่อค้าขายปลาหมึกที่เคยเจอกัน มาก่อน เลยได้รู้เรือ ่ งราวขัน ้ ตอน การออกมาขายปลาหมึกของเขา
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
บริเวณศาลเจ้าทีม ่ เี จ้าแม่กวนอิม จากการเดินส�ำรวจท�ำให้เราพบว่า มี ศาลเจ้าหลายแบบ บางที ก็มี ความเป็ นศาลเจ้าจีนมากๆ บางที่ ก็มีความเป็ นศาลเจ้าที่ผสมกับ แบบทิเบต
ร้านขายถั งไม้โบราณที่ ยังมี อยู่ ซึ่งคิดว่าน่าจะมีคนที่ยังไปใช้อยู่ ไปแต่งบ้าน เป็ นกระถางต้นไม้ ตกแต่ง
บริเวณซอยวานิ ช 1 ซึ่งระหว่าง ตอนทีเ่ สก็ตภาพก็ต้องคอยหลบ รถอยู่ ตลอด
ผลงานโดย วิธตุ า โลหิตโยธิน (เกด) 28
29
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
30
ก own อ ก ง nat า บ เส้ น ทาง ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng 2 Ba ตรอก ภิรมย์
31
เส้ น ทางเดิ น ศึ ก ษาลั ก ษณะชุ ม ชน บริ เ วณปากคลองโอ่ ง อ่ า ง ซึ่ ง ยั ง เห็ น เค้ า โครงของชาวตรอกที่ อ าศั ย อยู ่ กั บ ท่ า เรื อ เช่ น ตรอกโรงปลาทู นอกจากนั้นเส้นทางนี้ยังเป็นประตูสู่ เขตพระนครซึง่ สามารถเดินผ่านชุมชน ตรอกภิ ร มย์ แ ละข้ า มสะพานบริ เ วณ ปากคลองโอ่งอ่าง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
32
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
33
เส้นทาง 2 ซอยภิรมย์
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ซอยภิรมย์ตงั้ อยูท่ แี่ ขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ สมัยรัชกาลที่ 5 พื้นที่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาในซอย ภิรมย์ใกล้กับวัดบพิตรพิมุขนั้นเคยเป็นที่ตั้งบ้าน เรือนของพระยาภิรมย์ภกั ดี (บุญรอดเศรษฐบุตร) ผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด หรือทีร่ จู้ กั กันดีในนาม “เบียร์สิงห์” ด้วยเหตุที่เป็นบุคคล ส�ำคัญในย่านนี้ นามของพระยาภิรมย์ภักดีจึง ถูกน�ำมาตั้งเป็นชื่อซอยและชุมชนที่อยู่ใกล้กับ บริเวณที่ตั้งบ้านของท่าน ชุมชนภิรมย์ภักดี น่าจะ เป็นชุมชนเก่าแก่ที่มีการอยู่อาศัยสืบเนื่องมากว่า 100 ปี ด้วยสภาพพื้นที่ติดริมแม่น�้ำเจ้าพระยา และอยู่ไม่ไกลจากปากคลองโอ่งอ่างอันเป็นย่าน การค้าส�ำคัญมาตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ถึงแม้ว่าในปัจจุบันภายในชุมชนภิรมย์ส่วนใหญ่ จะเป็นที่อยู่อาศัย แต่ยังคงหลงเหลือร่องรอย ร้านค้าเก่าแก่และอาชีพดั้งเดิมของคนในชุมชน ที่น่าสนใจ เช่น อาชีพต้มปลาทู
ตรอกยาฉุน
กTIPSown อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ลองสั ง เกตดู ว่ าคุ ณ ได้ กลิ่ น กี่ แ บบจาก สิ นค้าเหล่านี้
ตรอกยาฉุนเป็นตรอกที่เชื่อมจากสะพานหันเลียบ ไปตามคลองโอ่งอ่างจนถึง วัดบพิตรพิมุขวรวิหาร แต่เดิมภายในตรอกเป็นแหล่งท�ำยาฉุน ส่วนใหญ่เป็น กิจการของชาวจีนแต้จิ๋ว โดยรับยาฉุนหรือ ใบยาสูบ ตากแห้งที่หั่นเป็นฝอยมาจากชาวจีนแคะในจังหวัด กาญจนบุ รี แล้ ว น� ำ มามวนด้ ว ยเขี ย นใบตองหรื อ กระดาษมวนเป็นยาสูบ ผู้ที่มวนยามักจะเป็นผู้หญิง เพราะต้ อ งใช้ ค วามประณี ต ในการมวนและแยกใบ มวนหรือกระดาษมวนขายให้กับผู้ที่ต้องการซื้อไป มวนยาสูบเองซึ่งนอกจากยาฉุนแล้วที่นี่ยังจ�ำหน่าย ยาจืดส�ำหรับกินกับหมากด้วย ก่อนปี พ.ศ. 2500 ในตรอกยาฉุนมีรา้ นขายยา 100-150 เจ้า ส่วนใหญ่ เป็นร้านขายส่งทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ จนกระทัง่ เกิ ด ความนิ ย มในการสู บ บุ ห รี่ ที่ ผ ลิ ต จากโรงงาน เข้ามาแทนที่ ท�ำให้ยาฉุนลดความนิยมลง แต่ยังคง เหลือร้านจ�ำหน่ายยาฉุนทีเ่ ก่าแก่ภายในตรอกยาฉุน เช่น ร้านจิบฮั่วเซ็ง ปัจจุบันนอกจากอาคารห้องแถวไม้ที่ตั้งอยู่เรียงราย ภายในตรอกแล้ว ยังมีอาคารตึกเก่าอีกมากมาย ที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมจีนปรากฏอยู่ด้วย
34
35
ลองออกไปเดิ นเล่นริมคลองแล้วหามุม สวยถ่ายรู ปดูสิ ในละแวกนี้ จะมีอาคารทรงจีนเก่าๆ ซ่อน อยู่ หลายๆ หลัง ลองค้นหาดูสิ ตอนนี้ เราอยู่ นอกเขตพระนคร (ในสมัยรัตนโกสิ นทร์) แล้ว
เส้นทาง 2
วัดบพิตรพิมุขวรวิหาร วั ด บพิ ต รพิ มุ ข เป็ น วั ด โบราณมี ม าตั้ ง แต่ ส มั ย กรุงศรีอยุธยา เดิมเรียกว่า วัดเชิงเลนหรือวัด ตีนเลน เหตุทเี่ รียกเช่นนีเ้ พราะเดิมสภาพริมคลอง โอ่งอ่างทั้งสองฝั่งเป็นดินเลน ในสมัยพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ 1) สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข (วังหลัง) ได้ทรงบูรณปฏิสงั ขรณ์แล้วเสร็จเมือ่ ปี พ.ศ. 2328 และได้พระราชทานนามใหม่ว่า วัดบพิตรพิมุข ค� ำ เรี ย กชื่ อ ย่ า นวั ด บพิ ต รพิ มุ ข ว่ า “เชิ ง เลน” มีปรากฏอยูใ่ นนิราศสุพรรณของสุนทรภู่ แต่งขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2384 สะท้อนให้เห็นถึงย่านการค้า บริเวณปากคลองโอ่งอ่างที่เต็มไปด้วยเรือขนถ่าย สินค้าแน่นขนัดเต็มล�ำคลอง สมัยก่อนด้านหน้า วัดบพิตรพิมุขคือด้านที่อยู่ติดริมคลองโอ่งอ่าง จนกระทัง่ มีการตัดถนนจักรวรรดิและสร้างตึกแถว ขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ด้านหน้าวัดจึงเปลีย่ นมาเข้า ทางถนนดังเช่นในปัจจุบัน
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba TIPS
ห้องสมุดประชาชนวัดบพิ ตรพิ มุขนั้ นเคยใช้ เป็ นพลับพลารับเสด็จรัชกาลที่ 5 ลองสังเกต ที่หน้าบันจากทางเดินริมคลองข้างวัดดูสิ จะเห็นตราประจ�ำพระองค์ของรัชกาลที่ 5 ศาลรัฐธรรมนูญ และย่านลิตเติ้ลอินเดียนั้ น อยู่ ใกล้ๆ เพี ยงแค่เดินข้ามคลอง
36
โรงเกลือจิบฮั่วเฮง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng TIPS Ba
เมื่อเดิ นข้ามคลองโอ่งอ่าง จะพบ กั บ ไปรษณี ยาคาร บริ เ วณเชิ ง สะพานพระปกเกล้า
โรงเกลื อ จิ บ ฮั่ ว เฮง เป็ น โรงเกลื อ เก่ า แก่ ที่ ยั ง หลงเหลื อ อยู ่ ที่ ชุ ม ชนภิ ร มย์ ใกล้ ป ากคลอง โอ่งอ่างสมัยก่อนจะมีเรือเกลือจากสมุทรสาคร ล�ำเลียงเกลือเม็ดมาส่ง เพือ่ น�ำมาเข้าสูก่ ระบวนการ ล้ า งและโม่ เ กลื อ ก่ อ นจะบรรจุ เ กลื อ เป็ น ซอง ปั จ จุ บั น โรงเกลื อ แห่ ง นี้ ไ ม่ ไ ด้ ท� ำ กระบวนการโม่ เกลืออีกแล้ว แต่ยังมีโรงโม่เกลือที่มหาชัยและส่ง เกลือมาเก็บไว้ที่นี่เพื่อจ�ำหน่าย ซึ่งในอดีตนั้นริม แม่น้�ำเจ้าพระยาจะมีโรงเกลือเปิดกิจการอยู่ทั้ง ในฝั่งย่านวัดจักรวรรดิ และฝั่งตรงข้ามกันคือที่ ย่านท่าดินแดง คลองสาน ในบริเวณใกล้เคียง จะมี ร ้ า นขายขวดหรื อ บริ ษั ท อุ ต สาหกรรม กระดาษ ผู้เริ่มกิจการคือ นายเฮ้ง เจี๊ยบกี่ หรือ นายเจียม คันธมานนท์ ประธานกรรมการกล่อง กระดาษไทยที่ผลิตกล่องบรรจุเบียร์ส่งให้บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จ�ำกัด
บริ เ วณปากคลองจะเป็ นจุ ดที่ ดี ในการถ่ ายรู ปสะพานพุ ท ธและ พระอาทิตย์ตกดิน
37
เส้นทาง 2
โรงต้มปลาทู โรงต้มปลาทู ตั้งอยู่ในตรอกที่ชุมชนนิยมเรียก กันว่าตรอกโรงปลาทู ในอดีตตรอกนี้มีการท�ำ ปลาทู กั น กว่ า สิ บ หลั ง คาเรื อ น แต่ ใ นปั จ จุ บั น นี้ เหลือเพียงโรงต้มปลาทูอยู่สองครัวเรือนเท่านั้น โดยกรรมวิธีในการท�ำปลาทูนึ่งยังคงรักษาสูตร การท�ำแบบดั้งเดิมเอาไว้ นั่นคือการน�ำปลาทูสด ใส่เข่งลงต้มในน�ำ้ เกลือ ซึง่ วิธนี จี้ ะท�ำให้ปลาทูไม่บดู ง่าย
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ทางเดินเข้าซอยยังคงรูปแบบของการอยู่อาศัย แบบเรือนแถวไม้ขนาบทางเดินลงไปสูท่ า่ น�ำ้ ส�ำหรับ ขึ้นสินค้าจากแม่น�้ำบริเวณสุดซอย
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Ch2i ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba " เ ส้ น ท า ง เ ดิ น ศึ ก ษ า ลั ก ษณะชุ ม ชนบริ เ วณ ปากคลองโอ่งอ่าง ประตู สู่ เขตพระนคร"
TIPS
เครื่องมื อเครื่องใช้อุ ป กรณ์ การ ต้มปลาทู ยังเป็ นแบบดั้งเดิม ลอง สั งเกตดูสิ เวลาที่ ดี ในการเยี่ ย มชมคื อ ช่ วง บ่ ายๆ ที่ เขาก� ำ ลั ง เตรี ย มปลาทู ส� ำหรับขายในวันถัดไป
38
39
เส้นทาง 2
เรื่องเล่า เดิน
2
"เสนทางของ
เตย
้ น้องแมว โตเกียวดิฟ ในสะพานพุ ก ทoธwn อ ก ง nat า เส นทางนานาชาติ บ ้ ถิ่น hi ตั้ งแตเดินจากสะพานพุทธไปสะพานหันเจอ
เอมี่
ีน ok C จ น ยา่ ngk Ba
่ แมวเยอะมาก เหมือนการเดิ นเส้นทางตามแมว แมวทุกตัวมีความเป็ นมิตรสามารถเล่นด้วยได้ คนในพื้ นที่มีความเป็ นมิตร ระหว่างทางเดิน จะพบกับร้านค้ามากมาย ที่มีสินค้าหลากหลาย มาก มีตั้งแต่ร้านแบบเก่าดั้งเดิมจนร้านแบบใหม่ ได้พบผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ ระหว่างทาง ที่เดิน
พบแมวระหว่างทางมากมายระหว่าง เส้ น ทางจะมี ม อเตอร์ ไ ซด์ ค อยขั บ ขี่ อยู ่ ต ลอดเวลาและพบผู ้ ค นหลาก หลายเชื้ อ ชาติ คนไทยเชื้ อ สายจี น คนอินเดีย คนไทย นักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติ
เรื่องโดย: เอมาลีนี บาเหะ, จิราพร ใจงาม
"
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย เอมาลีนี บาเหะ (เอมี)่ 40
41
เส้นทาง 2
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย เอมาลีนี บาเหะ (เอมี)่ 42
ผลงานโดย จิราพร ใจงาม (เตย) 43
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
44
ก own อ ก เส้นิ่นทาง าง inat บ ถ k Ch น ี จ ยา่ นngko3 Ba ตรอก อิศรานุภาพ
45
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
46
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้นทางเดินตรอกเก่าแก่ใจกลางย่านที่บอก เล่าวิถีชีวิตและความเปลี่ยนแปลงของย่าน เยาวราชตั้งแต่ยุคสมัยการค้าส�ำเภาริมน�้ำ ยุ ค รถราง จนมาถึ ง รถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น ในยุ ค ปัจจุบัน ที่ยังคงรักษาความเป็นศูนย์กลาง การค้าและวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชาวไทย เชื้อสายจีน มาทุกยุคทุกสมัยโดยเฉพาะ วัตถุดิบด้านอาหาร ส�ำหรับงานประเพณี ต่างๆ
47
เส้นทาง 3
ศาลเจ้ากวนอู ตลาดเล่งบ๊วยเอี๊ยะ
ศาลเจ้ากวนอู ตั้งอยู่บริเวณ“เล่าตั๊กลัก” หรือ ตลาดเก่าเยาวราช ภายในศาลประดิษฐานเทพเจ้า กวนอูเป็นประธาน มีแผ่นศิลาจารึกว่าสร้างขึ้นใน ปี พ.ศ. 2435 ระบุ ว ่ า ผู ้ ส ร้ า งเป็ น ชาวจี น ชื่ อ อี้ซาน แซ่เฉิน มีต�ำแหน่งเป็นพระยาอาชาชาติ
ตลาดเล่งบ๊วยเอี๊ยะ เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งอยู่ที่เยาวราชซอย 6 (ตรอกอิศรานุภาพ) เขตสัมพันธวงศ์ ตลาดนี้มีชื่อเรียกตามศาลเจ้า ที่ตั้งอยู่ในตลาด สินค้าที่ขายภายในตลาดจะมี อาหารจีนหลากหลายประเภท ทัง้ ของคาว ของหวาน ของแห้ง ของสด โดยทุ ก ช่ ว งเทศกาลส� ำ คั ญ ของชาวจีีนจะมีผู้คนมาจับจ่ ายซื้ อของมากมาย นอกจากนี้ร้านพริกไทยง่วนสูน หรือพริกไทย ตรามื อ ที่ 1 ยั ง เป็ น บ้ า นเดิ ม ของเจ้ า สั ว เนี ย ม เจ้าของตลาดเก่า
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เทพเจ้ากวนอูทศี่ าลแห่งนีม้ เี ทพบริวารตัง้ อยูซ่ า้ ยขวา คือ เทพเจ้ากวนเพ้ง (บุตรชายของเทพกวนอู) และเทพเจ้าจิงชังกัง ซึ่งเป็นขุนพลของเทพกวนอู ส่วนทางด้านหน้ามีรูปปั้นม้า คือ ม้าเช็กเทาว์ ม้ า คู ่ บ ารมี ข องเทพกวนอู ต ามที่ ป รากฏอยู ่ ใ น วรรณกรรมเรื่องสามก๊ก
TIPS
หากต้องการ วัตถุดิบส� ำหรับ ท� ำ เมนู อ าหารจี น สามารถ หาซื้ อทุ ก อย่ างได้ ที่ ตลาด เล่งบ๊วยเอี๊ยะ
ศาลเจ้าเล่งบ๊วยเอี๊ยะ ศาลเจ้ า เล่ ง บ๊ ว ยเอี๊ ย ะตั้ ง อยู ่ ใ นตลาดเล่ ง บ๊ ว ย เอี๊ ย ะฝั ่ ง ใกล้ กั บ ถนนเจริ ญ กรุ ง มี ลั ก ษณะทาง สถาปัตยกรรมแบบตระกูลช่างแต้จวิ๋ แบบซีเ้ ตีย่ มกิม ภายในประดิษฐานเทพเล่งบ๊วยเอี๊ยะเป็นประธาน ภายในมีศลิ าจารึกเก่าแก่ทรี่ ะบุปสี ร้างเมือ่ พ.ศ. 2201 แต่ เ มื่ อ พิ จ ารณาจากชุ ม ชนชาวจี น ใกล้ เ คี ย งซึ่ ง มีอายุเพียง 200 ปี จึงสันนิษฐานว่าป้ายศิลานี้ อาจถู ก ย้ า ยมาจากที่ อื่ น นอกจากนี้ ภ ายในยั ง มี ก ระถางธู ป พระราชธานจากพระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
48
QUIZ
รู้หรือไม่ว่าท�ำไมคนมักเอาผักสด ไปโบกทีห ่ น้าศาลเจ้าพ่อม้า
ตอบ มีความเชื่อว่าหากเอาผักสดไปป้อนม้าเช็กเธาว์โดยการเอาไปโบกๆ ที่ปาก คล้ายการป้อนจะท�ำให้หน้าที่การงานของ ผู้ป้อนก้าวหน้าอย่างรวดเร็วคล้ายขีม ่ ้ าเช็กเธาว์
49
โรงเรียนเผยอิง
เส้นทาง 3
โรงเรียนเผยอิง เป็นโรงเรียนเอกชน ก่อตัง้ โดยกลุม่ ผูน้ ำ� สังคมชาวจีนเมือ่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2463 เพื่ อ เป็ น โรงเรี ย นสอนภาษา ขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี และวัฒนธรรมให้กับลูกหลานชาวจีนที่ เกิดในเมืองไทย โรงเรียนนี้มีพื้นที่ราว 2 ไร่ 14 ตารางวา ตัวอาคารสูง 3 ชัน้ ผังของอาคารเป็นรูป สีเ่ หลีย่ มผืนผ้า เน้นโถงทางเข้าตรงกลาง ด้านในมี พื้นที่เปิดโล่งแบบโคโลเนียล ประดับลวดลายปูน ปั้นแบบยุคฟื้นฟูศิลปะโรมัน บริเวณหัวเสาลอย หัวเสาอิง กรอบประตู หน้าต่าง หน้าบัน มีการ ประดับนาฬิกาบริเวณหน้าบันและปูนปั้นแจกัน บนยอดอาคาร
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba TIPS
ศาลเจ้าเล่าปูนเถ้ากง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นย่านชุมชนชาวจีน แต้จิ๋วขนาดใหญ่และอยู่ใกล้กับท่าเรือทรงวาด จึง มี ก ารตั้ ง ศาลเจ้ า เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชน ปรากฏหลักฐานว่าตัวศาลเดิมน่าจะมีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2367 ส่วนศาลในปัจจุบันสร้างขึ้นภายหลัง ตัวอาคารเป็นแบบซีเ้ ตีย่ มกิมหรือสีต่ ำ� แหน่งทองค�ำ (การนับตามส่วนทีแ่ บ่งประโยชน์ใช้สอย) ตามรูป แบบสถาปัตยกรรมสกุลช่างแต้จิ๋วโบราณ มีการ ประดับลวดลายไม้แกะสลักตามเสาและคาน
TIPS
ที่นี่มีเล่าปูนเถ้ากง 2 องค์ซึ่ง องค์เล็กเป็ นองค์ทีอ ่ ัญเชิญมา จากเมืองจีน
ภายในประดิษฐาน “ตัว่ เหล่าเอีย้ ” หรือ “เหีย่ งเทียง เสี่ยงตี่” ซึ่งเป็นเทพประธานที่ชาวแต้จิ๋วให้ความ เคารพศรัทธาอย่างมาก รวมถึงเทพเล่าปูนเถ้ากง เทพารักษ์หรือเจ้าที่ประจ�ำท้องถิ่นของชาวจีนด้วย ซึ่งเทพเล่าปูนเถ้ากงจะมีศาลประจ�ำอยู่ตามชุมชน ชาวจีนโพ้นทะเลโดยทั่วไป
โรงเรียนเผยอิงได้เปลี่ ยนชื่อ มาแล้ วหลายครั้ ง ตั้ ง แต่ เป็ น โรงเรียน ป้วยเอง-เผยอิ งเฉาโจวกงสวย จนกลั บ มา เป็ นโรงเรียนเผยอิงอีกครัง้ ซึ่ง เป็ นการปรับตัวตามยุ คสมัย
ศาลแห่งนี้ในอดีตเป็นที่พบปะสังสรรค์และเป็น ศูนย์รวมศรัทธาของชาวจีนแต้จ๋ิว จนมีการสร้าง โรงเรียนจีน (โรงเรียนเผยอิง) ขึ้นในบริเวณด้าน หลังของศาลเจ้าดังที่เห็นในปัจจุบัน และเป็นที่ตั้ง ของสมาคมแต้ จิ๋ ว แห่ ง ประเทศไทยก่ อ นจะย้ า ย ที่ท�ำการไปยังถนนจันทน์
50
51
เส้นทาง 3 ตรอกชัยภูมิ
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ตรอกชัยภูมิ เป็นตรอกเล็กๆ อยู่ด้านข้างศาลเจ้า เล่าปูนเถ่ากงและโรงเรียนเผยอิง เชื่อมต่อระหว่าง ถนนทรงวาดกับซอยวานิช 1 ภายในตรอกมีชุด อาคารห้องแถวซึ่งเป็นอาคารเก่าที่สร้างขึ้นตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 5 เรียกกันว่า “ตึกสิบห้อง” มีความ โดดเด่นที่ลวดลายไม้แกะสลักประดับอาคารที่ยัง คงหลงเหลืออยู่ จากค�ำบอกเล่าของคุณมนตรี สุขกมลสันติพร ผู้ดูแลศาลเจ้าหลักเมืองและคน เก่าแก่ในชุมชนมิตรชัยภูมิกล่าวว่า เดิมตรอก ชัยภูมิมีชื่อเรียกที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าตรอกแตง
TIPS
นั บแล้วหรือว่าตึกมี 10 ห้อง จริงๆ นะ
ประวัตแิ ละความส�ำคัญของตรอกแตงน่าจะมีความ เกี่ ย วข้ อ งกั บ “เจ้ า สั ว ติ ก ”คหบดี ช าวจี น แต้ จิ๋ ว ซึ่ ง มี บ ้ า นอยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา เจ้ า สั ว ติ ก ได้ อุปถัมภ์และจัดสรรที่อยู่ให้กลุ่มคนจีนโพ้นทะเล ที่มาจากต�ำบลเดียวกัน ให้มาตั้งหลักแหล่งอยู่ บริเวณตรอกแตง ในสมัยก่ อนตรอกแตงหรื อ ตรอกมิตรชัยภูมิยังเคยเป็นที่ตั้งของโรงยาฝิ่น รวมถึ ง แหล่ ง เริ ง รมย์ ส� ำ หรั บ บุ รุ ษ ซึ่ ง แหล่ ง ที่ ขึ้นชื่อภายในตรอกชัยภูมิคือ “กิมเทียนเหลา” โรงโสเภณี ที่ มี ห ญิ ง สาวชาวจี น กวางตุ ้ ง คอย ให้บริการ
ตรอกชัยภูมิมีอีกชื่อว่าตรอก แตงซึ่งเคยเป็ น ย่านโคมแดง ในอดีต
ปัจจุบันอาคารต่างๆ ภายในตรอกส่วนมากถูก ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและบางส่วนถูกปรับเป็นโกดัง ส�ำหรับเก็บสินค้าของร้านค้าในตลาดส�ำเพ็ง
ศาลเจ้าเซี้ยอึ้งกง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ศาลเจ้าเซีย้ อึง้ กงหรือศาลเจ้าพ่อหลักเมืองเป็นศาลเจ้า ขนาดเล็ก ตั้งอยู่ในชุมชนมิตรชัยภูมิ มีประวัติว่าศาล เจ้าแห่งนีส้ ร้างขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยแบ่งพืน้ ทีท่ ไี่ ด้ รับพระราชทานในการสร้างตึกแถวสร้างเป็นศาลเจ้า ขึ้นเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวจีน ตัวศาลในปัจจุบันถูกสร้างขึ้นใหม่ภายหลังจากเกิด เหตุเพลิงไหม้ใหญ่ในส�ำเพ็ง หลักฐานเก่าแก่ที่ยังหลง เหลื อ อยู ่ คื อ ระฆั ง โบราณที่ จ ารึ ก ปี ศั ก ราชกษั ต ริ ย ์ เต้ากวงปีที่ 22 แห่งราชวงศ์เซ็ง ภายในศาลประดิษฐาน เทพหลักเมือง มีลักษณะเป็นเทวรูปแต่งกายแบบ ขุนนางจีนโบราณ มีเทพบริวารซ้ายขวา
QUIZ
รู้หรือไม่ว่าของไหว้แบบพิเศษ ที่ใช้แก้บนที่ศาลเจ้าเซี้ยอึ้งกง มีอะไรบ้าง
เชือ่ กันว่าเทพหลักเมืองมีหน้าทีค่ อยควบคุมดูแลการ เข้าออกของดวงวิญญาณหากมีผู้เสียชีวิตจะต้องมา ไหว้เพื่อแจ้งบอกกล่าวองค์เทพหลักเมืองให้ทราบ ก่อนทุกครัง้ ทีจ่ ะมีการเคลือ่ นย้ายน�ำศพไปฝัง ส�ำหรับ ที่ศาลเจ้าเซี้ยอึ้งกงแห่งนี้มีคติความเชื่อเช่นเดียวกัน เมื่อมีคนที่อาศัยในบริเวณย่านนี้เสียชีวิต ลูกหลาน จะต้องมาไหว้แจ้งบอกกล่าวต่อเทพเจ้าเพื่อให้ช่วย คุ้มครองดวงวิญญาณ ซึ่งยังคงเป็นประเพณีปฏิบัติ ที่ยึดถือมาถึงปัจจุบัน ต อ บ บุ ห รี่ ก า แฟ ด� ำ ห รื อ ช า ร้ อ น เป็ น ข อ ง ที่ ค น นิ ย ม ม า ใช้ แ ก้ บ น ให้ ห า ย โร ค ภั ย ไข้ เจ็ บ เพ ร า ะ ค น ส มั ย ก่ อนนิ ยมเอายาฝิ่ นมาแก้ บนที่ ศ าลเทพบริ ว ารขององค์ เซี้ ย อึ้ ง กง จนบางครั้ ง คนเรี ย กศาลนี้ ว่ า "ศาลเจ้ าขี้ ย า"
52
53
เรื่องเล่า เดิน
เส้นทาง 3
3
จิง
" ปัจจุ บนั ที่
จิ้น
พาดผ่าน อดีตก
n อ w ก " o ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เป็ นเส้นทางการศึกษาตั้งแต่โรงเรียนเผยอิง จนถึงวัดมังกร ซึ่งก็มีการเรียนการสอนเช่นกัน ตลอดเส้นทางที่ เดิ นไปจะพบกั บศาลเจ้าเยอะ มาก มี วัด มี ชุมชน มี การค้าขาย เป็ นชุ มชนที่ ยังมีมีวิถีชีวิตอยู่ และยังคงเข้มแข็งมาก ซึ่งเกิด มาจากสามสิ่ ง รวมกั น คื อ บ.ว.ร. ที่ ห มายถึ ง บ้าน วัด โรงเรียน เมื่อสามอย่างครบลงตั วกัน ก็ ก ลายเป็ นชุ ม ชนที่ แ ข็ ง แรงและยั ง มี ชี วิ ต อยู่ ชุมชนจึงสามารถรักษาวัฒนธรรมเก่าๆ มาจนถึง ตอนนี้ จึงเกิดความใหม่และเก่าที่ผสมลงตัวกัน มีสถาปัตยกรรมเก่า บ้านเก่า เรื่องโดย: ธีรา ลื้อบาย, กวีวิรัญจ์ บัวสุวรรณ
สิ่งที่อยู่รอบๆมีความเป็นอดีต แต่ก็เห็นสิ่งที่เป็นปัจจุบันที่พาด ผ่ า นกั บ ความเป็ น อดี ต มี ก าร ผสมผสานกันอย่างกลมกลืน
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย ธีรา ลือ้ บาย (จิง) 54
55
เส้นทาง 3
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย ธีรา ลือ้ บาย (จิง) 56
57
เส้นทาง กอก wn ง nato า บ ิ่น Chi ถ น ี 4 จ kok น า ย่ ng Ba ตรอก 200 ปี ตลาดน้อย
59
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้ น ทางเดิ น ตรอกริ ม น�้ ำ ตลาดน้ อ ยที่ แสดงบรรยากาศของจุดเริ่มต้นการตั้ง ถิ่ น ฐานของย่ า นตลาดน้ อ ย ระหว่ า ง ทางจะพบอาคารที่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจาก สถาปัตยกรรมจีนมากมายทั้งศาลเจ้า และบ้านเรือนที่ทรงคุณค่าซึ่งยังมีผู้คน อาศัยอยู่ เห็นวิถชี มุ ชนดัง้ เดิมทีส่ บื ทอด กั น มาหลายชั่ ว อายุ ค นโดยเฉพาะใน เทศกาลกินเจ
60
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
61
เส้นทาง 4
ศาลเจ้าโจวซือกง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร
เดิมวัดปทุมคงคาฯ มีชื่อเรียกว่า “วัดสามเพ็ง” เป็น วัดโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในสมัย รั ช กาลที่ 1 ได้ รั บ การปฏิ สั ง ขรณ์ ใ หม่ โ ดยสมเด็ จ พระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท เพื่อทรงอุทิศถวาย เป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ พ ระปฐมบรมมหาชนกทองดี และได้รับพระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดปทุมคงคา”
พระอุโบสถของวัดเป็นแบบประเพณีนิยม ภายใน ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ทรงเครื่ อ งปางมารวิ ชั ย ทรงเครื่ อ งแบบกษั ต ริ ย ์ ซึ่ ง เป็ น ศิ ล ปะแบบอยุ ธ ยา และที่ น ่ า สนใจอี ก ประการหนึ่ ง คื อ ซุ ้ ม สี ม า ท� ำ เป็ น ลักษณะเจดีย์ทรงปรางค์ ซึ่งไม่พบในที่อื่น ทางด้าน ใต้ของพระอุโบสถเป็นทีต่ งั้ ของพระวิหาร มีรปู แบบทาง สถาปัตยกรรมแบบประเพณีเช่นกัน ในส่วนด้านหลัง พระวิหารจะมีรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง และทางด้าน หลังของพระระเบียงทิศตะวันตกมีพระเจดีย์โบราณ 7 องค์อยู่ด้านหลัง มีรูปแบบเป็นเจดีย์ทรงเครื่อง ซึ่ง นิยมสร้างกันมากในสมัยอยุธยาตอนปลายสืบมาถึง สมัยต้นรัตนโกสินทร์
ศาลเจ้าโจวซือกงสร้างขึน้ โดยกลุม่ ชาวจีนฮกเกีย้ น ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เดิมเป็นวัดชื่อว่า “ซุน่ เฮงยี”่ ภายในประดิษฐาน “เทพโจวซือกงหรือ พระหมอเช็งจุ้ยโจวซือ” และเทพส�ำคัญตามความ เชื่อของชาวจีน เช่น เทพกวนอู เจ้าแม่ทับทิม เทพ ตั่วเหล่าเอี้ย และ 36 ขุนพลเทพเจ้า ตัวศาลเจ้า เป็นสถาปัตยกรรมสมัยราชวงศ์ชิง ลักษณะของ หลังคาเป็นแบบซานเหมินติ่งซึ่งเป็นที่นิยมทาง ตอนใต้ของจีน ที่สันหลังคาและด้านหน้าของศาล ประดั บ ชิ้ น ส่ ว นกระเบื้ อ งเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ม งคล รูปมังกร หงส์ และลวดลายพันธุพ ์ ฤกษา นอกจากนี้ ภายในศาลยังมีงานจ�ำหลักไม้ฝีมือช่างจีนโบราณ ด้ ว ย งานประจ� ำ ปี ที่ ส� ำ คั ญ ของศาลเจ้ า คื อ งานแห่เจ้าในเทศกาลกินเจ และงานวันง่วนเซียว ที่จะมีจัดประเพณีไหว้เต่าในตลาดน้อย
TIPS
ลองแหงนมองบนหลังคาศาล เจ้าดูสิ จะพบกับงานปูนปั้น แบบสามมิติมากมาย
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba ความหลักแหลมในการเลือก ชั ย ภู มิ ที่ ตั้ ง อยู่ บนโค้ งแม่ น�้ ำ ท�ำให้เห็นแม่น�้ ำได้ยาวทั้งสอง ฝั่งราวกับได้ควบคุมแม่น�้ ำไว้
QUIZ
รู้หรือไม่ว่า ท�ำไมมีแท่นหินวาง อยู่ในศาลกรมหลวงรักษ์รณเรศ
นอกจากนี้บริเวณท่าน�้ำของวัดยังเคยใช้เป็นที่ลอย พระอังคารหลังงานพระศพของพระบรมวงศานุวงศ์ และเมื่อมีช้างเผือกล้มก็จะห่อผ้าขาวเอามาถ่วงน�้ำที่นี่ ตอบ สมัยก่อนการประหารเชื้อพระวงศ์ จะใช้วิธีทุบด้วยท่อนจันทร์บนแผ่นหินแทนการตัดคอ เพื่ อไม่ให้เลือดไหลลงแผ่นดิน
62
63
เส้นทาง 4
ศาลเจ้าฮ้อนหว่องกุง (ศาลเจ้าโรงเกือก)
บ้านโซวเฮงไถ่
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
บ้านโซวเฮงไถ่มีลักษณะเป็นคฤหาสน์เก๋งจีนที่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 2 โดยเจ้าสัวจาต (แซ่โซว) หรือ หลวงอภัยวานิช ผู้เป็นนายอากรรังนก ลักษณะของบ้านเป็นการวางผังเรือนแบบสี่เรือนล้อมลาน (ซือ่ เหอย่วน) เป็นสถาปัตยกรรมแบบฮกเกีย้ น-แต้จวิ๋ คือ มีเรือนหลังแรกเป็นซุม้ ประตูทางเข้า ถัดมา เป็นลานโล่งและเรือนประธาน ทางด้านซ้าย-ขวาของเรือนประธานเป็นเรือนเคียงซึ่งใช้เป็นที่อยู่อาศัย เดิมหน้าบ้านโซวเฮงไถ่เป็นท่าเรือส�ำหรับค้ารังนกซึง่ เป็นธุรกิจหลักของครอบครัว แต่ได้คอ่ ยๆ ลดความ ส�ำคัญลงหลังจากมีการเปิดการค้าเสรีจากสนธิสัญญาเบาว์ริ่งในสมัยรัชการที่ 4 และได้หยุดกิจการ ท่าเรือลงในเวลาต่อมา
ศาลเจ้าโรงเกือกหลังปัจจุบันเป็นหลังที่ 2 สร้าง ขึ้นแทนศาลเดิมที่เป็นไม้เมื่อปี พ.ศ. 2431 โดย ผู้น�ำชาวจีนฮากกา (จีนแคะ) ที่ได้รับบรรดาศักดิ์ เป็นพระยาโชฎึกราชเศรษฐี (เถียร) จากหลัก ฐานที่ปรากฏในศาลเจ้า จารึกปีศักราชจักรพรรดิ กวงสู ปีที่ 15 แห่งราชวงศ์ชงิ ระบุวา่ พ่อค้าจีนแคะ ได้อญ ั เชิญเทพประธานของศาลเจ้า คือ เทพฮัน่ อ้วง หรือฮ้อนหว่อง ผูเ้ ป็นกษัตริย์จนี พระองค์หนึ่งที่มี กฤษดาภินิหารมาประดิษฐานเพื่อเป็นที่สักการะ บูชามากว่า 100 ปี ก่อนที่จะมีการสร้างศาลเจ้า หลั ง ปั จ จุ บั น ขึ้ น ซึ่ ง ยั ง คงรั ก ษาความดั้ ง เดิ ม ไว้ จนถึงปัจจุบัน
TIPS
ลองสังเกตโครงสร้างหลังคาไม้แกะสลักดูสิ ลองสังเกตรอบศาลเจ้าจะพบกับเกีย ้ วขนาด เล็กในศาลและอาวุ ธไม้ที่อยู่ หน้าศาล
กQUIZown อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ใกล้ๆ นี้ ก็มี art street อยู่ ลองค้นหาดูสิ บริเวณที่สร้างศาลเล็ กริมแม่น�้ ำนั้ นเคยเป็ น อะไรมาก่อน
นอกจากนี้บริเวณริมแม่น�้ำจะมีศาลขนาดเล็กที่ ประดิษฐานเจ้าแม่ทับทิมและเทพเจ้าไฉ่ซิ่งเอี้ยะ ซึ่ง คนในละแวกใกล้เคียงนิยมมาขอพรเทพไฉ่ซงิ่ เอีย๊ ะ ในช่ ว งเทศกาลตรุ ษ จี น ให้ มี โ ชคลาภและร�่ำ รวย เงินทอง
ในปัจจุบัน บ้านโซวเฮงไถ่นอกจากจะเป็นบ้านส�ำหรับอยู่อาศัยของครอบครัวแซ่โซวแลัว ยังมีกิจกรรมที่ น่าสนใจคือ เป็นโรงเรียนสอนด�ำน�้ำและคาเฟ่ส�ำหรับผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชม โดยในอนาคตมีแผนที่จะฟื้นฟู บ้านให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของคนทั่วไป
TIPS
ทีน ่ ี่เป็ นเอกลักษณ์ทีส ่ �ำคัญอีกแห่ง หนึ่ งของย่าน อย่าลืมถ่ายรู ปแล้ว แบ่งปันในแวดวงเพื่ อนของคุณ อาคารนี้ เ ป็ นทรงจี น ที่ แ ตกต่ าง จากอาคารทั่วไปเพราะมีการแบ่ง ระดับชานทีช ่ น ั้ สอง ซึง่ เป็ นรูปแบบ ที่น�ำมาจากบ้านเรือนไทย ตอบ เคยเป็ นบริเวณที่พระยาโชฎึกราชเศรษฐี(เถียร) ใช้ส� ำหรับท�ำน�้ ำประปาขาย ก่อนที่จะมีประปาที่แม้นศรี
64
65
เรื่องเล่า เดิน
4
เส้นทาง 4
โฟม
แอ๋ว
"เส้นทางที่
มุก
แฝงร่องรอย แห่งอดีต
" ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba ยังมีการสืบสานวัฒนธรรม ตัง้ แต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน
ประทับใจบ้านโซวเฮงไถ่ ซึง่ มีอายุกว่า 220ปี เมื่ อ เดิ น เข้ าไปในบ้ านก็ สั ม ผั ส ได้ ถึ ง ความเป็ น อยู่ ในอดี ต ได้พูดคุยกั บคุณดวงตะวั นเจ้าของ บ้าน ซึ่งได้เล่าเรื่องความเป็ นมาของบ้านตั้ งแต่ ยุ คเฟื่ องฟูให้ฟัง รวมทั้งเรื่องภาระหน้าที่ที่คุณ ดวงตะวั นต้องแบกรับความเปลี่ ยนแปลงของ บ้านและสภาวะแวดล้อมในปัจจุ บัน ชุ มชนส่วนใหญ่อยู่ กันอย่างเป็ นครอบครัว ซึ่ ง ถึ ง จะอยู่ กั น คนละบ้ าน แต่ ก็ มี ค วามเป็ น ครอบครัวเดี ยวกัน สั งเกตจากการตากผ้าของ แต่ละบ้านที่ไม่มีความเคอะเขินใดๆ มีการรวม กลุ่มการท�ำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน เช่น การจับกลุ่ มกันเล่นหมากรุ กใต้ต้นไทร ความหลากหลายของความเชือ ่ ในชุมชน ไทย จีน ฝรั่ง เช่น ต้นไทรจะมีผ้าสามสี มาผูก สั งเกต เห็นตี่ จู้ เอี๊ยะในแต่ละบ้าน ศาลพระภูมิ ศาลตา ยาย พบต้นไม้ที่มีผ้าสามสีและมีเขียนว่าพระเยซู ไถ่บาปอยู่ ในต้นเดี ยวกัน ท�ำให้เห็นการทับซ้อน กันของความเชื่อ เป็ นชุมชนดั้งเดิมซึ่งน่าจะอาศัยอยู่ ต่อกันมา หลายรุ่ น บ้ านเรื อ นขนาดเล็ ก มี ต้ นไม้ ร่ มรื่ น มีอาหารหลากหลายดั้งเดิมอยู่ ในชุมชน
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เรื่องโดย: ทัศนีย์ คงฤทธิศึกษากร, มุกด์ตรา ทองเวส, ธนวัฒน์ ปานแจ่ม
ผลงานโดย ทัศนีย์ คงฤทธิศกึ ษากร (แอ๋ว) 66
67
เส้นทาง 4
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย ธนวัฒน์ ปานแจ่ม (โฟม)
ผลงานโดย มุกด์ตรา ทองเวส (มุก) 68
69
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
70
ก own อ ก เส้นทาง ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ ko5k น า ย่ ng Ba ริมคลอง ผดุงกรุงเกษม
71
เส้นทางเดินที่ให้บรรยากาศวิถีชีวิตชุมชน ตลาดและบ้านแถวแบบเก่าของตลาดน้อยและ ตลาดผลไม้จงสวัสดิ์ที่มีชีวิตชีวาและร่มรื่น จากต้นไม้ใหญ่มากมายบริเวณริมคลองผดุง กรุงเกษม เหมาะส�ำหรับการเดินหลบร้อนใต้ ร่มไม้ในเวลากลางวัน
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
72
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
73
คลองผดุงกรุงเกษม คลองผดุงกรุงเกษมถูกขุดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 ใน จดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์ ได้ระบุถึง สภาพการค้าริมคลองผดุงกรุงเกษม บริเวณสะพาน พิทยเสถียรว่า “บริเวณริมคลองเป็นตลาดสินค้า ประเภทต่างๆ และโรงสี มีเรือบรรทุกสินค้าเข้ามาจอด อยู่ตามริมคลองเป็นระยะ... ถัดไปจนถึงสะพานพิทย เสถียรมีสินค้าประเภทโอ่ง กระถาง ที่ผลิตในประเทศ และมาจากประเทศจีน และมีโรงสี โรงน�้ำแข็ง โกดัง สินค้าต่างๆ ตั้งรายสองฟากคลองไปจนจรดแม่น�้ำ เจ้าพระยา...”
เส้นทาง 5
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ศาลเจ้าไทฮั้ว
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng TIPS Ba
ศาลเจ้าไทฮั้วเป็นศาลเจ้าที่เคารพสักการะของชาว จีนไหหล�ำ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2408 ชื่อของ “ศาล เจ้าไทฮั้ว” แปลความได้ว่า ศาลเจ้าไทย-จีน ซึ่งแต่ เดิมนั้นชาวจีนไหหล�ำตั้งชุมชนอยู่บริเวณศาลเจ้า แม่ทับทิมและบริเวณซอยอิศรานุภาพ ครั้นเมื่อ ชุมชนของชาวจีนแต้จิ๋วขยายขึ้น ท�ำให้ชาวไหหล�ำ ต้องขยับมาสร้างชุมชนอยูร่ มิ คลองผดุงกรุงเกษม และสร้ า งศาลเจ้ า แห่ ง นี้ ขึ้ น เป็ น ศาสนสถานและ ศูนย์กลางของชุมชน
ลองออกไปเดิ นเล่นริมคลองแล้ว หามุมสวยถ่ายรู ปดูสิ
QUIZ
ด้านในศาลเจ้ามี อะไรที่ แตกต่าง จากศาลอื่นๆ ในตลาดน้อย
ในอดีตบริเวณนี้เป็นชุมชนอยู่อาศัยและตลาดตั้ง เรียงรายขนาบคลองไปจนถึงปากคลอง เต็มไป ด้วยบ้านเรือน แผงตลาด และเรือทีค่ า้ ขายกันอย่าง แน่นขนัด จนค่อยๆ หายไปเมือ่ มีการสร้างประตูนำ�้ ขึ้นที่บริเวณปากคลองเพราะเรือไม่สามารถเข้า ออกในคลองได้
ตลาดผลไม้ นอกจากนี้ ภายในคลองผดุงกรุงเกษมจะ มีเรือ พืชผักผลไม้จากฝั่งธนบุรี ไม่ว่าจากสวนในคลอง บางกอกใหญ่ บางกอกน้อย บางมด ล่องเข้ามา ค้าขายถึงบริเวณ “สะพานนีจ้ งสวัสดิ”์ ซึง่ เป็นแหล่ง ค้าผลไม้ที่ขึ้นชื่อของกรุงเทพฯ ในขณะนั้น มีการ ค้าขายอย่างคึกคัก จ�ำหน่ายทัง้ ผลไม้ทปี่ ลูกภายใน ประเทศและต่างประเทศ คนที่มาซื้อส่วนใหญ่มา จับจ่ายเนื่องในเทศกาลงานบุญต่างๆ โดยเฉพาะ ผลไม้ที่ใช้ในการแต่งงานของชาวจีน ปัจจุบันคง เหลือท�ำการค้าเพียงไม่กี่ร้าน ได้แก่ ร้านอาเฮ้ง
ในปั จ จุ บั น แม้ ส ภาพบ้ า นเรื อ นโดยรอบได้ เปลี่ยนแปลงไปมาก แต่ศาลเจ้าไท้ฮั้วนั้นแทบจะ ไม่มีความเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตเลยแม้แต่น้อย
ตอบ ซุ้มประตูทวารบาลสองชั้น ซึ่งเป็ นรู ปแบบดั้งเดิมที่พบได้ยาก
74
75
วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้นทาง 5
ซอยวานิช2/ซอยเจริญกรุง22
ซอยเจริญกรุง 22 มีอาคารแถวที่มีประตูบาน เฟี ้ ย มแบบเก่ า เรี ย งราย พร้ อ มทั้ ง มี ร ้ า นค้ า ร้านขายของช�ำในชุมชน ร้านขายกะหรีป่ บ๊ั ร้านขาย ขนมปังปิง้ หลากหลายหน้า ถ้ามาเดินเล่นในซอยนี้ ก็สามารถหามุมสวยๆ ถ่ายรูปได้ เมือ่ เดินจากซอย เจริญกรุง 22 มา จะเชื่อมต่อมายังซอยวานิช 2 ที่มีการท�ำเซียงกงที่มีอะไหล่วางเรียงรายอยู่ข้าง ถนน บางจุ ด กลายเป็ น มุ ม ที่ ถ ่ า ยรู ป สวยๆได้ นอกจากนี้ซอยวานิช 2 ยังมีร้านอาหารหลาก หลายให้ลองแวะชิมอีกด้วย
ตั้ ง อยู ่ ที่ ถ นนมหาพฤฒารามซึ่ ง เป็ น ถนน เ ลี ย บ ค ล อ ง ผ ดุ ง ก รุ ง เ ก ษ ม บ ริ เ ว ณ ใ ก ล ้ ปากคลองฝั ่ ง สี่ พ ระยา เมื่ อ เดิ น มาถึ ง แล้ ว จะ พบกั บ ซุ ้ ม ประตู ข องวั ด และโรงเรี ย นสตรี วั ด มหาพฤฒารามซึ่ ง อยู ่ ติด กั น เมื่ อ มองไปยั ง ฝั ่ ง ตรงข้ า มวั ด จะเห็ น สะพานพิ ท ยเสถี ย ร และอาคารชั ย พั ฒ นสิ น อยู ่ ต รงข้ า มฝั ่ ง คลอง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
TIPS
"วัดตะเคียน" เป็ นชื่อเดิมของวัดซึ่งเป็ นที่ คุ้นหูของชาวบ้านละแวกนี้ จิ ต รกรรมฝาผนั ง ของที่ นี่ มี ค วามพิ เ ศษ ตรงที่ เขีย น "ธุ ด งควั ต ร 13" และการ ไปสื บพระพุทธศาสนาที่ ลังกา แทนการ เขียนทศชาติชาดกหรือพุทธประวัติเหมือน วัดทั่วๆ ไป
QUIZ
ลองทายดู สิ ว่ า พระนอน มี ค วามยาว เท่าไหร่กันนะ
ตอบ พระนอนมีความยาว 19.25 เมตร ซึึ่งเป็ นรองแค่พระพุทธไสยาสน์ที่วัดโพธิ์เท่านั้ น
76
77
เรื่องเล่า เดิน
5
เส้นทาง 5
หยก
หมี
" เก่าแต่เก๋า
" ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผู้คนมีความเป็ นมิตร พูดคุยด้วยความเป็ น กันเอง ให้ข้อมูลเกีย ่ วกับเรือ ่ งราวของตนเอง เช่น การค้าขายของตนเอง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
พบความคิดสร้างสรรค์ของคนในชุมชน เช่น การประดิษฐ์ทีก ่ น ั้ รถด้วยตนเองให้เป็ นเลขทีบ ่ ้ าน ซึ่งก็ดูแปลกตาดี ท�ำให้ชวนสงสั ยว่าเป็ นรู ปทรง อะไรในตอนแรกที่พบเจอ
อาคารที่มีความหลากหลายมีหลายรู ปแบบ ดูน่าค้นหา มีของเก่า เช่นอะไหล่เก่าๆ ที่วางเรียงๆอยู่ ท�ำให้กลายเป็ นมุมถ่ายรู ปสวยๆได้ เรื่องโดย: นิรชา กาญจนศุภฤกษ์, วิกรานต์ รอดทุกข์
ที่กั้นรถที่สร้างสรรค์โดยเจ้าของบ้านให้เป็น เลขที่บ้านตนเอง
ผลงานโดย วิกรานต์ รอดทุกข์ (หมี) 78
79
เส้นทาง 5
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย นิรชา กาญจนศุภฤกษ์ (หยก) 80
81
เส้นทาง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
82
6 างกอก town บ hina น ่ ิ ถ C จีนMRT k น o า ย่ ngk Ba วังบูรพา ท่าเรือ ราชวงศ์
83
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้นทางเดินที่รวมจุดเปลี่ยนถ่ายการ สัญจรไว้มากที่สุดและเดินได้รวดเร็ว มากทีส่ ดุ เส้นทางหนึง่ ของย่าน ตลอด เส้นทางสามารถท�ำกิจกรรมต่างๆ ได้ ตั้งแต่การทานอาหาร ท�ำธุรกรรมการ เงิน จับจ่ายซื้อของ ไหว้พระ ท�ำบุญ ตามความต้องการได้ทั้งสองฝั่งถนน จนถึงจุดหมายปลายทาง
84
85
คลองโอ่งอ่าง
เวิ้งนาครเขษม
คลองโองอ่ า งคื อ ส่ ว นหนึ่ ง ของคลองรอบกรุ ง ที่ ต ่ อ จากคลองบางล� ำ พู ตรงสะพานผ่ า นฟ้ า ลีลาศ ปลายคลองไปออกแม่น�้ำเจ้าพระยาใกล้วัด บพิตรพิมุข เป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างเขตพระนคร กับเขตสัมพันธวงศ์ ชื่อ "คลองโอ่งอ่าง" เพราะ เคยเป็นแหล่งค้าขายเครื่องดินเผาของชาวมอญ และชาวจีน
นับเป็นเวลากว่า ๒๐๐ ปีมาแล้ว มีชุมชนที่ตั้งอยู่ บริ เ วณถนนเยาวราชกั บ ถนนเจริ ญ กรุ ง ในย่ า น เยาวราช ซึ่งเรียกขานกันทั่วไปว่า “เวิ้งนาครเขษม” เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของชุมชนชาวจีนที่อพยพมาตั้ง ถิน่ ฐานและประกอบกิจการค้ากันอย่างเนืองแน่นตัง้ แต่ สมัยต้นรัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบัน ท่ามกลางความ เปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้งของกรุงเทพมหานคร ท�ำให้พนื้ ทีท่ างประวัตศิ าสตร์ทสี่ ำ� คัญๆ ของกรุงเทพฯ ถู ก ท� ำ ลายไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ งซึ่ ง มี ลู ก หลานอาศั ย และสืบทอดวัฒนธรรมของบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น นับได้ว่าเป็นพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ที่มีชีวิตใจกลาง กรุงเทพมหานครทีม่ คี ณ ุ ค่าและมีความส�ำคัญอย่างยิง่ เวิ้งนาครเขษมมีเนื้อที่ 14 ไร่ 1 งาน 91 ตารางวา เป็นที่ดินที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่เจ้าฟ้าบริพัตร สุขุมพันธ์ เดิมที่ดิน แปลงนีเ้ ป็นเวิง้ น�ำ้ อยูห่ น้าวังบูรพาถัดจากคลองโอ่งอ่าง ลงมา หลังได้รบั พระราชทาน เจ้าฟ้าบริพตั ร สุขมุ พันธ์ ได้อนุญาตให้ชาวจีนซึ่งอพยพมาจากเมืองจีนมาใช้ ประโยชน์ โดยในช่วงแรกนี้ ชาวจีนน�ำสินค้ามาวาง ขายเรียงรายบริเวณรอบๆ เวิ้งน�้ำ ซึ่งเรียกเป็นภาษา จีนว่า “จุยเจี่ยเก็ง” แปลว่า “วังน�้ำทิพย์”นับได้ว่าเป็น จุดเริ่มต้นของการเป็นย่านการค้าของเวิ้งนาครเขษม
เส้นทาง 6
สะพานหัน
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ในสมัยรัชกาลที่ 1-3 (พ.ศ. 2325-2394) การ เติบโตของย่านจีนริมเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกหลัง จากพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก โปรดเกล้ า ฯ ให้ ย ้ า ยชุ ม ชนชาวจี น และญวนที่ ท่าเตียนและบริเวณใกล้เคียงไปอยู่นอกก�ำแพง พระนครด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ บริเวณตั้งแต่ คลองวั ด สามปลื้ ม หรื อ วั ด จั ก รวรรดิ ร าชาวาส ไปจนถึงคลองวัดส�ำเพ็งหรือวัดปทุมคงคาแล้วชาวจีน จากโพ้ น ทะเลยั ง คงอพยพเข้ า มาในสยามเพิ่ ม มากขึ้นเรื่อยๆ ตลอดช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่ อ งจากสยามมี น โยบายจู ง ใจชาวจี น ให้ เ ข้ า มา ประกอบอาชีพในประเทศเพราะต้องการอาศัยชาวจีน มาช่ ว ยสร้ า งความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ เพราะ ชาวจีนมีความรู้และประสบการณ์ด้านการค้าขาย การต่อเรือ และเดินเรือ ย่านที่ชาวจีนอพยพเข้า มาตั้งหลักแหล่งท�ำมาหากินมากที่สุดก็คือส�ำเพ็ง ท�ำให้ยา่ นนีเ้ ติบโตขึน้ อย่างรวดเร็วมีบา้ นเรือนปลูก ติดๆ กัน และมีคนอยู่อาศัยคับคั่งที่สุดบริเวณ หนึ่งของพระนคร อีกทั้งเกิดตลาดส�ำคัญๆ ใน ย่านหลายแห่ง ได้แก่ สะพานหัน ตลาดเก่า ตลาด สามเพ็ง ตลาดวัดเกาะ และตลาดน้อยซึง่ อยูท่ างใต้ สุด (แน่งน้อย : 2534)
86
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
87
ย่านการค้าสมุนไพรวัดจักรวรรดิ บริเวณแถบวัดจักรวรรดิเป็นแหล่งค้าส่งยาสมุนไพรขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ มีร้านจ�ำหน่าย ทั้งเครื่องยาสมุนไพรไทยและจีน ทั้งปลีก–ส่ง ตั้งอยู่หลายร้าน ทั้งที่อยู่ฝั่งเดียวกับวัดจักรวรรดิและ ฝั่งตรงข้าม
เส้นทาง 6
บริเวณใกล้เคียงมีร้านขายยาเก่าแก่ที่มีชื่อเสียง เช่น ร้านเจ้ากรมเป๋อ ตั้งอยู่ใกล้กับประตูทางเข้าวัด จักรวรรดิ เป็นร้านต�ำรับยาไทยที่ด�ำเนินกิจการมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2439) โดย นายเป๋อ สุวรณเตมีย์ ต�ำรับยาของร้านเป็นต�ำรับเดียวกับของสมเด็จพระพุฒาจารย์มา (หลวงปู่มา) เจ้าอาวาส วัดจักรวรรดิองค์ที่ 7 ซึง่ มีความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญในการน�ำสมุนไพรไทยมารักษาโรค และได้ถา่ ยทอด ความรู้เรื่องสมุนไพรให้กับนายเป๋อที่ได้รับใช้ใกล้ชิดและดูแลกิจการต่างๆ ภายในวัดจนได้รับต�ำแหน่ง เจ้ากรม ซึง่ เป็นต�ำแหน่งสูงสุดของฆราวาสทีเ่ ข้าไปช่วยงานในวัด (ในปัจจุบนั เรียกว่าไวยาวัจกร) ร้านเจ้า กรมเป๋อยังคงด�ำเนินกิจการมาถึงปัจจุบนั โดยต�ำรับยาของร้านมีกว่า 500 ชนิด ซึง่ ระบบการจัดยามีทงั้ ยาส�ำเร็จรูปของทางร้าน ยาหม้อตามใบยาของผู้ชื้อ ยาผงหรือยาบดที่ทางร้านมีไว้จ�ำหน่ายให้กับผู้ที่มา ซื้อเป็นจ�ำนวนมาก ภายในร้านยังมีตู้ไม้ส�ำหรับเก็บยาขนาดใหญ่ซึ่งเป็นของที่มีมาแต่สมัยเจ้ากรมเป๋อ รวมทั้งอุปกรณ์จัดยาและปรุงยาแบบดั้งเดิม ภาชนะบรรจุยารูปแบบต่างๆ ด้วย
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
นอกจากนีย้ งั มี ร้านขายยาฮุย่ จีต้ งึ๊ ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นตรอกหัวเม็ดทีเ่ ชือ่ มต่อกับถนนวานิช 1 ซึง่ เป็นย่านชุมชน ชาวจีนที่อยู่กันอย่างหนาแน่น แต่เดิมร้านค้าแห่งนี้ด�ำเนินกิจการน�ำเข้าสมุนไพรจีนและส่งออกสมุนไพร ไทย ท�ำให้ในละแวกมีรา้ นขายยาไทย-จีนอีกหลายร้าน เช่น ห้างขายยาป๋อเซ็ง ร้านตัง้ กิมเซียง ร้านไทยอั่ว จั่ว ร้านตั้งง่วนเซ้ง ร้านง่วนเฮงอัน และอีกหลายๆ ร้านค้าทั้งค้าปลีกและค้าส่งบริเวณซอยบพิตรพิมุข ที่ฝั่งตรงข้ามถนน รวมถึงร้านเวชพงศ์โอสถที่อยู่ตรงสี่แยกวัดตึกด้วย
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
TIPS
88
89
วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
วัดจักรวรรดิฯ เดิมมีชื่อว่า วัดนางปลื้มหรือวัดสามปลื้ม เป็นวัดราษฎร์ที่สร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ในสมัยรัชกาลที่ 1 มีพระราชพงศาวดารกล่าวถึงเหตุการณ์ไฟไหม้ในบริเวณวัดจักรวรรดิ ความว่า
เส้นทาง 6
"พ.ศ. 2343วันจันทร์ เดือนยี่ ขึ้น 8 ค�่ำ เวลา 5 โมงเย็น เกิดเพลิงไหม้ ที่วัดสามปลื้มตลอดลงไปถึง ตลาดน้อยวัดส�ำเพ็ง" การบูรณะวัดสามปลื้มปรากฏหลักฐานในปลายสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงต้นรัชกาลที่ 2 โดยเจ้าพระยา อภัยราชา (ปิ่น) เป็นผู้ริเริ่ม แต่ยังไม่แล้วเสร็จ ท่านได้ถึงแก่กรรมเสียก่อน ต่อมาในปี พ.ศ. 2362 เจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) จึงได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม ได้สร้างพระ อุโบสถ เสนาสนะสงฆ์ ศาลาการเปรียญ ตลอดจนขุดคูแม่น�้ำเจ้าพระยาเข้ามาจนถึงสระน�้ำซึ่งขุดไว้ใช้ ภายในวัด และอาราธนาพระสงฆ์จากวัดพระเชตุพน วัดราชบูรณะ มาจ�ำพรรษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2368 พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ได้ทรงรับไว้เป็นพระอารามหลวงและพระราชทานนาม ว่า “วัดจักรวรรดิราชาวาส”
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ 6 น ี จ kok น า ย่ ng Ba "เส้ นทางเดิ น ที่ ร วมจุ ด เปลี่ ย นถ่ ายการสั ญ จร ไว้ มากที่ สุ ด และเดิ น ได้ รวดเร็วมากที่สุดเส้นทาง หนึ่ งของย่าน"
TIPS
ล อ ง ถ่ า ย ภ า พ จ ร เ ข้ ที่ ส ร ะ ใ ต้ มณฑปพระพุทธบาทแล้วหรือยัง คุ ณ พ บ พ ร ะ พุ ท ธ ฉ า ย ที่ เ ข า พระพุทธฉายใกล้พระอุ โบสถ
90
91
เรื่องเล่า เดิน
6
จอย
" เส้นลูกผสม
เมษ์
ไทย+จีน+แขก
"
เส้นทาง 6
เอกลั ก ษณ์ แ ละวั ฒ นธรรมของการ เดินเส้นนี้ ซึ่งมี ทั้ง จีน ไทย แขก
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ชอบเอกลักษณ์และวัฒนธรรมทีพ ่ บเจอในการ เดินเส้นทางนี้ ซึ่งมีทั้ง จีน ไทย แขก ในแต่ละพื้ นที่มีเอกลักษณ์ เช่น ย่านคนไทย เชือ ้ สายจีนก็จะมีบรรยากาศของเพลงจีนคลอมา ตลอด เมื่อไปในย่านอินเดียก็จะได้ยินเพลงแขก ชอบทั ศนี ยภาพระหว่างทางที่ เดิ น ซึ่ งถื อว่า เป็ นเส้นทางที่เดินสะดวก ฟุตบาทดี ไม่ร้อนมาก เมื่อเดินไปถึงบริเวณสถานี วังบูรพา ก็พบกับ ย่านการขายปื นที่น่าตื่นตาตื่นใจ
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เรื่องโดย: จริยพร ประกอบ, ธนัชพร บัวหุ่ง
ผลงานโดย จริยพร ประกอบ (จอย) 92
93
เส้นทาง 6
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย ธนัชพร บัวหุง่ (เมษ์) 94
95
เส้นทาง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
96
7 างกอก town บ hina น ่ ิ ถ C จีนMRT k น o า ย่ ngk Ba วัดมังกร กมลาวาส ท่าเรือ ราชวงศ์
97
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
98
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba เส้นทางเดินแห่งใหม่ของย่านทีเ่ ปิด พื้นที่โล่งริมคลองโอ่งอ่าง แล้วพา ลัดเลาะเข้าสู่ตรอกในชุมชนเพื่อ สร้างเป็นทางเลือกใหม่ในการเดิน และหลีกหนีความวุน่ วายบนถนน เยาวราชที่คับคั่งในเวลากลางวัน
99
วัดมังกรกมลาวาส วัดมังกรกมลาวาส หรือ เล่งเน่ยยี่ (เล่ง แปลว่า มังกร - เน่ย แปลว่า ดอกบัว - ยี่ แปลว่า อาราม วัด) ตั้งชื่อวัดตามหลักโบราณจีน คือ การตั้ง ตามชัยภูมิ ฮวงจุย้ ท�ำเลนัน้ ๆ ซึง่ นับเป็นสังฆาราม ตามลั ท ธิ นิ ก ายมหายานที่ มี ศิ ล ปะงดงามและ เก่ า แก่ แ ห่ ง หนึ่ ง ในประเทศไทย เมื่ อ ปี พ.ศ. 2414 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้พระยาโชฎึกราชเศรษฐี เจ้ากรมท่าซ้าย ร่วมกับพุทธศาสนิกชนชาว จีนก่อสร้างวัดขึ้น โดยใช้ระยะเวลาในการก่อสร้าง ประมาณ 8 ปีจงึ แล้วเสร็จ ให้ชอื่ ว่าเล่งเน่ยยี่ ซึง่ ภาย หลังได้รับพระราชทานพระกรุณาโปรดเกล้าจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ 5 พระราชทานนามใหม่ว่า วัดมังกรกมลาวาส
เส้นทาง 7
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba วัดกุศลสมาคร
วัดกุศลสมาคร มีชอื่ ตามภาษาญวนว่า วัดโผเพือ้ กตือ่ สร้างในปี พ.ศ. 2483 สันนิษฐานว่าทีด่ นิ ซึง่ ตัง้ วัด นัน้ ได้รบั การถวายโดยตระกูลของพระเจริญราชธน (เท่ง เลาหเศรษฐี) เมื่อมีการปฏิสังขรณ์วัดนี้ใหม่ ในสมัยรัชกาลที่ 5 จึงได้รับพระราชทานนามว่า วัดกุศลสมาคร ซึ่งหมายถึง วัดที่มีแต่ความดี ความบริสุทธิ์ประดุจน�้ำในสาคร
TIPS
ในวัดมีเจดี ย์ที่สวยงามอยู่ นะ ลองเดินดูสิ
100
101
วัดกันมาตุยาราม วัดกันมาตุยาราม เป็นวัดราษฎร์ฝ่ายธรรมยุติ นิกายสร้างเมือ่ ปลายรัชสมัยพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ใน พ.ศ. 2407 ชื่อของวัดมีความหมายว่าวัดของมารดานายกัน ซึง่ หมายถึง นางกลีบ สาครวาสี มารดาพระดรุณรักษา (กัณฑ์ สาครวาสี) ผูส้ บื ทอดกิจการ โรงหญิงโคม เขี ย วชั้ น สู ง มาจากคุ ณ ยายแฟงซึ่ ง เป็ น ผู ้ ส ร้ า ง วัดคณิกาผล (วัดใหม่ยายแฟง) ซึง่ เป็นผูม้ ศี รัทธา ในพระพุทธศาสนาจนอุทิศที่สวนดอกไม้ส�ำหรับ สร้างวัดขึ้นตามศรัทธา วัดโลกานุเคราะห์
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
วัดโลกานุเคราะห์ มีชื่อในภาษาญวนว่า วัดตื้อ เต๊ตื่อ อยู่ในซอยผลิตผลใกล้สี่แยกราชวงศ์สร้าง ขึน้ โดยแรงศรัทธาของชาวญวนและชาวจีนในสมัย ร้ชกาลที่ 5
เส้นทาง 7
นอกจากภาพจิตรกรรมฝาผนังพระพุทธเจ้าหมื่น พระองค์แล้ว ภายในวัดยังมีภาพเขียนฝีมือหลวง อนุ ศ าสตร์ จิ ต รกร จิ ต รกรเอกประจ� ำ พระองค์ ล้นเกล้ารัชกาลที่ 6 ซึง่ เป็นฝีมอื เดียวกันกับ ภาพ เขียนในพระทีน่ งั่ พิมานปฐมพระราชวังสนามจันทร์
TIPS
คุณรู้ หรือไม่ว่าวั ดคณิ กาผล และวั ด กั น มาตุ ย ารามเป็ น วัดแม่-ลู กกัน
102
ตึกแถวหัวมุมถนนทรงวาด “ตึกแขก” เป็นชื่อที่คนในย่านทรงวาดใช้เรียก อาคารตึ ก แถวโบราณที่ โ ดดเด่ น อยู ่ ที่ หั ว ถนน ทรงวาดจรดกับถนนราชวงศ์ กล่าวกันว่าตึกแห่งนี้ เป็นของห้างเอ. ที. อี. มัสกาตี (A.T.E Maskati) เดิ ม ส� ำ นั ก งานใหญ่ แ ห่ ง แรกของบริ ษั ท ตั้ ง อยู ่ ที่ บริเวณถนนอนุวงศ์ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ราวสมัยรัชกาล ที่ 5 เป็นบริษัทที่น�ำเข้าผลิตภัณฑ์ผ้าจากอินเดีย ซึง่ บริษทั มัสกาตีมโี รงงานผลิตอยูท่ ปี่ ระเทศอินเดีย ก่อนจะน�ำเข้ามาขายยังประเทศในแถบเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ จากหลักฐานภาพถ่ายเก่าส�ำนักงานของ ห้างมัสกาตีที่ถนนอนุวงศ์จะเห็นว่ามีลักษณะใกล้ เคียงกับอาคารตึกแขกแห่งนี้ คือ มีการประดับ ลวดลายฉลุไม้แบบเรือนขนมปังขิง ซุ้มหน้าต่าง ท�ำเป็นทรงโค้งแหลม แบบสถาปัตยกรรมโกธิค
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
จากค�ำบอกเล่าของคุณชุณห์ คชพัชรินทร์ อดีต เจ้าของบริษัทค้าของป่าที่ย่านคลองสานกล่าวว่า ในช่วงหลัง ตึกแห่งนี้เปิดเป็นร้านจ�ำหน่ายสินค้า การเกษตร เช่น หอมแดง กระเทียม เป็นต้น แต่ ในปัจจุบันชั้นล่างของตึกถูกแบ่งเป็นร้านขายส่ง สินค้าแบบส�ำเพ็ง และเป็นทีท่ ำ� การของห้างหุน้ ส่วน จ�ำกัด เซ้งฮวด น�ำเข้าเครื่องใช้ เช่น ฝอยขัดหม้อ และ บริษทั อุตสาหกรรมวุน้ เส้นไทย จ�ำกัด ผูผ้ ลิต และจัดจ�ำหน่ายวุ้นเส้นตราสายฝน
103
TIPS
ถ น น ท ร ง ว า ด เ ป็ น แ ห ล่ ง รวมตึ กแถวเก่ าที่ น่ าสนใจ เรี ย ง ร า ย ต ล อ ด แนว ถ นน
ท่าเรือราชวงศ์ ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ การค้าส�ำเภาระหว่างจีนกับสยามเจริญรุ่งเรืองมากด้วยการอุปถัมภ์ของ พระมหากษัตริย์และเจริญถึงขีดสุดในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 3) เพราะ ทรงด�ำเนินการค้าเรือส�ำเภาด้วยพระองค์เอง ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ ย่านจีนริมฝัง่ แม่นำ�้ เจ้าพระยาตัง้ แต่ ส�ำเพ็งถึงตลาดน้อยจึงเป็นแหล่งการค้าใหญ่ในเมืองบางกอก เพราะเป็นแหล่งจ�ำหน่ายสินค้าที่น�ำเข้ามา จากเมืองจีนโดยเรือส�ำเภาของชาวจีนแทบทัง้ สิน้ เว้นแต่บางส่วนทีเ่ ป็นส�ำเภาหลวงและส�ำเภาของเจ้านาย รวมทั้งขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ดังที่หมอเฮาส์ (Dr. Samuel Reynolds House) มิชชันนารีชาวอเมริกันที่ เดินทางเข้ามาในสยามช่วงปลายรัชกาลที่ 3 บันทึกไว้วา่ “...จีนท�ำการค้าขายเกือบทัง้ หมดในกรุงเทพฯ ลมสินค้าประจ�ำครึ่งปีจะพาเอาเรือส�ำเภาออกจากประเทศจีนจ�ำนวนมาก บรรทุกเต็มไปด้วยผลิตภัณฑ์ เมืองจีน” เช่นเดียวกับที่ปรากฏในบันทึกของสังฆราชปาเลอกัวซ์ที่ว่า “ช่วงก่อนตรุษจีน จะเป็นเวลาที่ ส�ำเภาจากเมืองจีนเริ่มทยอยเข้ามาถึง ทั้งส�ำเภาไหหล�ำ ส�ำเภาแต้จิ๋วและส�ำเภาฮกเกี้ยน เข้ามาถึงก่อน หลังตามระยะทางที่ต้องเดินทางจากเมืองท่าต่างๆ ของจีน เรือเหล่านี้เข้าจอดทอดสมอกลางแม่น�้ำ จาก ท่าน�้ำราชวงศ์หรือที่ชาวจีนเรียก กงสีล้ง เรื่อยลงมาจนถึงปากคลองสาน ในฤดูที่ส�ำเภา 50-60 ล�ำเข้า มาจอดอยู่กลางล�ำน�้ำเจ้าพระยาหน้าส�ำเพ็ง กรุงเทพฯ มักจะจอแจขึ้นเป็นประจ�ำเมื่อเรือสินค้ามาถึง และ จากซินตึ๊งหน้าใหม่ๆ
"เส้ นทางเดิ น แห่ งใหม่ ของย่ านที่ เปิ ดพื้ น ที่ โ ล่ ง ริ ม คลองโอ่ งอ่ าง พา ลั ด เลาะเข้ าสู่ ตรอกใน ชุมชน"
เส้นทาง 7
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba 7
104
105
เรื่องเล่า เดิน
7
เต้
ฝ้าย
น�้ำ เชื่อม
"ปายบอกทาง
เส้นทาง 7
้ ที่หายไป คงความเป็ น n ก มี ถ นนทองค� ำ บนเส้ นทางส� ำ เพ็ ง ไปจนถึ ง อ w ก กษณ o ง เอกลั เยาวราช มีร้านทองเรียงราย บางร้านก็เป็ นร้าน t า ์ a บ ดั้งเดิมเก่าแก่จริงๆ n น ่ ิ i ถ h ถนนเส้นนี้ เมื่ อเดิ นไปจะถึ งโรงแรมแกรนด ีน ์ ok ผลไม C ้ พวง จ ไชน่าที่เปรียบเสมือนจุ ดศูนย์กลางของย ่ านนี้ น ป้ายบอกทางที่หายไปแต ยา่่ ก็มีคนในพืn้นgที่ที่ใkห้ ต๊ะ ตุง ตวง ข้อมูลเส้นทางแทน ย่านนี้ คงความเป็ นเอกลั Bกษณa์ คนไทยเชื้อ ณ เยาวราช สายจีน กับความเป็ นย่านเก่า อะไหล่บริเวณ เซียงกงมีการวางออกมาเป็ นรู ปแบบที่สวยงาม อย่างไม่ตั้งใจ พบร้านขายผลไม้ทีม ่ ก ี ารแขวนผลไม้เรียงราย ไว้อย่างน่าสนใจ เรื่องโดย: อาณันย์ พันธุเสวี, ขวัญฤทัย สุขเจริญ, ณัฐกานต์ พิทักษ์สฤษดิ์
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
"
ผลงานโดย อาณันย์ พันธุเสวี (เต้) 106
107
เส้นทาง 7
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย ณัฐกานต์ พิทกั ษ์สฤษดิ์ (น�ำ้ เชือ่ ม) 108
ผลงานโดย ขวัญฤทัย สุขเจริญ (ฝ้าย) 109
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
110
เส้นทาง 8 ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ MRT น ี จ kok น า ย่ nวัgดมังกร Ba กมลาวาส ท่าเรือ สวัสดี
111
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้ น ทางเดิ น ที่ ส ามารถเดิ น ได้ ง ่ า ย และรวดเร็ ว จากรถไฟฟ้ า มุ ่ ง ตรงสู ่ เรือข้ามฟาก ไปยังวัดทองธรรมชาติ ฝั ่ ง ธนบุ รี ด้ ว ยการเดิ น ผ่ า นถนน ทรงเสริ ม อั น เป็ น ถนนที่ สั้ น ที่ สุ ด ใน กรุงเทพฯ บริเวณหน้าท่าเรือสวัสดี
112
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
113
แยกหมอมี คนแถวนีม้ กั เรียกกันติดปากว่า สามแยก(หมอมี) แยกนี้ เ ป็ น แยกที่ มี ย ่ า นสามย่ า น ได้ แ ก่ ต ลาด น้ อ ย เยาวราช และวงเวี ย น 22 มาพบกั น จุ ด เด่ น ส� ำ คั ญ ของแยกนี้ น ่ า จะมาจากชื่ อ หมอมี โรงหนังสิงคโปร์ซงึ่ ปัจจุบนั เป็นต�ำแหน่งของธนาคาร จนเป็ น ที่ ม าของชื่ อ ของหวานอย่ า งลอดช่ อ ง สิ ง คโปร์ นอกจากนี้ ยั ง มี กิ จ การที่ น ่ า สนใจคื อ ร้านขายน�้ำขมและน�้ำหวาน ชื่อคั่นกี่น�้ำเต้าทอง ซึ่งเป็นน�้ำสมุนไพรเจ้าเก่าแก่ของย่านไชน่าทาวน์ มีกลุม่ ร้านขายลอตเตอรีซ่ งึ่ เป็นทีร่ จู้ กั ของคนแถวนี้ มานานว่าหากคิดจะซือ้ หวยหรือขึน้ รางวัลหวยก็จะ มาแถวนีเ้ พราะว่าเป็นยี่ปั๊วใหญ่ซึ่งแทบจะมีทุกเลข ส่วนวงเวียน22 ก็เป็นย่านขนส่งสินค้าทีเ่ น้นไปทาง ภาคตะวันออก โดยเฉพาะชลบุรี ระยอง จันทบุรี ซึง่ สมัยก่อนแถวนีม้ คี วิ รถเบนซ์ทเี่ ป็นรถเก๋งเบนซ์ ทรงวินเทจวิ่งตรงไปชลบุรีทุกวัน เรียกได้ว่ามา ก่อนจะมีบริการรถตู้แบบสมัยนี้
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
แยกเฉลิมบุรีเป็นเสมือนประตูสู่เยาวราชอย่างแท้จริง ในเวลากลางคืนบรรยากาศจะเปลี่ยนโทนไปด้วยแสง ไฟจากป้ายร้านอาหารริมถนนที่เริ่มขึ้นจากจุดนี้ทั้ง สองข้างทางไปจนถึงแยกราชวงศ์ถือเป็นสวรรค์ของ คนชอบกินเลยทีเเดียว
TIPS
แ ย ก นี้ เ ป็ น มุ ม ถ่ า ย รู ป ที่ สวยงาม มองเห็นป้ายที่เรียง รายบนถนนเยาวราช
TIPS
เส้นทาง 8
แยกเฉลิมบุรี
มาถึ ง ที่ แ ล้ ว ห้ ามพลาด ที่ จ ะลองชิ ม ต้ นต� ำหรั บ ลอดช่องสิ งคโปร์นะ
114
115
วัดสัมพันธวงศารามวริหาร
ย่านการค้าเชือกและกระสอบ
วัดสัมพันธวงศ์เป็นวัดโบราณเดิมชื่อวัดเกาะแก้วลังการาม ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ในสมัยรัชกาล ที่ 1 โดยสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี และได้รับพระราชทานนามในสมัยรัชกาลที่ 4 ว่า วัดสัมพันธวงศาราม ในอดีตวัดสัมพันธวงศ์มนี ำ�้ ล้อมรอบบริเวณทีต่ งั้ วัด จึงเป็นทีม่ าของชือ่ "วัดเกาะ" ตามที่ชาวบ้านเรียกกัน ซึ่งในพระราชพงศาวดาร รัชกาลที่ 5 กล่าวไว้ว่า ในคราวเสด็จพระราชทานผ้า พระกฐิน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 เสด็จถวายผ้าพระกฐินทีว่ ดั สัมพันธวงศ์ และวัดปทุมคงคาโดยทางชลมารค เรือพระทีน่ งั่ เทียบทีศ่ าลากลาง ท่าน�ำ้ วัดเกาะ เสด็จโดยลาดพระบาท ถวายผ้าพระกฐิน ณ พระอารามนี"้ ปัจจุบนั พระอุโบสถของวัดสัมพันธวงศ์เป็นหลังทีส่ ร้างขึน้ ใหม่โดยท�ำ เป็นอาคาร 3 ชัน้ เพือ่ เพิม่ พืน้ ทีใ่ ช้สอย ส่วนพระอุโบสถหลังเดิมทีร่ อื้ ไปแล้ว มีรปู แบบสถาปัตยกรรมแบบ พระราชนิยมสมัยรัชกาลที่ 3 นอกจากนีภ้ ายในวัดยังมีพพ ิ ธิ ภัณฑ์และมีอาคาร “ตึกพุม่ เทียนประสิทธิ”์ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2469 เป็นอาคารรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตก เดิมใช้เป็นอาคารเรียนปริยัติธรรม แต่ปัจจุบันอยู่ในสภาพทรุดโทรม
ภายหลังจากสงครามโลกครัง้ ที่ 2 สิน้ สุดลง ในช่วง ปี พ.ศ. 2490 เป็นต้นมา เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว อีกครั้งหนึ่งและเข้าสู่ช่วงการพัฒนาประเทศตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทมี่ กี ารส่งเสริม อุ ต สาหกรรมการเกษตร รั ฐ บาลได้ ส ่ ง เสริ ม ให้ เ กษตรกรปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ เช่ น ข้ า วสาร ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง ถั่วลิสง หอมแดง เป็นต้น เพือ่ ส่งขายในประเทศและส่งออกไปยังต่างประเทศ บริเวณย่านทรงวาด ตลอดจนพื้นที่ริมแม่น�้ำ เจ้าพระยาที่ต่อเนื่องกัน ซึ่งเป็นย่านค้าส่งสินค้า ประเภทพืชผลทางการเกษตรมาแต่เดิมนั้นจึงยัง คงมีบทบาทในการเป็นแหล่งร้านค้าและโกดังเก็บ พืชผลการเกษตรจากค�ำบอกเล่าของคนเก่าแก่ใน ย่านกล่าวตรงกันว่า บรรดาตึกแถวต่างๆ ริมถนน ทรงวาดตลอดจนโกดังริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ล้วน แต่เป็นกิจการขายส่งพืชผลทางการเกษตร โดย เฉพาะข้าวสาร ถั่วลิสง หอมแดง และกระเทียม ด้วยเหตุนี้จึงส่งผลให้มีความต้องการใช้กระสอบ ป่ า นเพื่ อ ใช้ บ รรจุ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น จ� ำ นวนมาก ตลอดถนนทรงสวัสดิ์และบริเวณใกล้วัดเกาะหรือ วัดสัมพันธวงศ์เป็นแหล่งจ�ำหน่ายกระสอบเพือ่ ส่ง ให้ร้านค้าในย่านนี้ใช้บรรจุสินค้า ในยุคหนึ่งร้าน เจริญโภคภัณฑ์ในเครือของห้างเจียไต๋ที่ตั้งอยู่บน ถนนทรงสวัสดิไ์ ด้รเิ ริม่ ธุรกิจผลิตกระสอบป่านมา จ�ำหน่ายในย่านนี้ด้วยเช่นกัน
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น TIPS า ย่ ng Ba เส้นทาง 8
หมอบรั ด เลย์ และโอสถศาลา เคยอยู่ ที่นี่ด้วยนะ
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
116
117
เรื่องเล่า เดิน
8
เกิ้ล
" อย่าไว้ใจทาง
ว่าว
อย่าวางใจ GPS
"n ก อ ก atow ง า บ hin น ่ ิ ถ ีน ok C จ น ยา่ ngk Ba
ประทับใจสีสันของสถาปัตยกรรม แต่ละบ้าน มีสีสันที่แตกต่างกันดูแล้วสนุก การแต่งตั วของคนในย่านนี้ ก็มีสีสันเช่นกั น ผู้ คนในย่ านนี้ ดู เป็ นคนไทยเชื้ อ สายจี นที่ อ ยู่ มา ตั้งแต่ดั้งเดิม หน้าตาคล้ายๆ กัน ดูอัธยาศัยดี วิถีชีวิตที่พบจะเป็ นการค้าขายเป็ นส่วนใหญ่ เป็ นการขายอะไหล่รถยนต์ ขายอาหาร ส่องพระ ระหว่างสเก็ตช์ภาพก็มีชาวชุมชนให้ความสนใจ ทุกตรอกซอกซอยสามารถเดินทะลุ ถึงกันได้
เพราะมีเส้นทางตรอกซอกซอย ที่แปลกใหม่อยู่ตลอดเวลาระหว่าง เดินทาง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้นทาง 8
เรื่องโดย: ทฤษฎี จิตติ์ภักดี, ณัฐดนัย สอนคุณ
ผลงานโดย ทฤษฎี จิตติภ์ กั ดี (เกิล้ ) 118
119
เส้นทาง 8
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย ณัฐดนัย สอนคุณ (ว่าว) 120
121
เส้นทาง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
122
9 างกอก town บ hina น ่ ิ ถ ีน C
จ MRT น า ย่ ngkok Ba หัวล�ำโพง ท่าเรือ สวัสดี
123
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
124
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba เส้นทางเดินทีผ่ า่ นจุดหมายตาทีส่ ำ� คัญ หลายแห่งในไชน่าทาวน์หากในวันที่ไม่ รีบร้อนนัน้ สามารถท�ำกิจกรรมระหว่าง ทางเดินได้หลากหลาย เช่น เยี่ยมชม ศาสนสถาน ทานอาหารหรือรับพลัง จากฟ้าที่ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติฯ เพือ่ เติมพลังระหว่างเส้นทางเดินสายนี้
125
ซุ้มประตูวัฒนธรรมไทย–จีน หรือซุ้มประตู เฉลิมพระเกียรติ
สถานีหัวล�ำโพง
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
สถานีรถไฟหัวล�ำโพง หรือ สถานีรถไฟกรุงเทพ เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่ เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 เริ่มใช้งานเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ลักษณะอาคารเป็นอาคารโค้งครึง่ วงกลมแบบศิลปะอิตาเลียน เรเนซองส์ คล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิรต์ ในประเทศเยอรมนี ออกแบบโดย มิสเตอร์ มาริโอ ตามันโญ ชาวอิตาลี สถาปนิกผู้ออกแบบพระที่นั่ง อนันตสมาคม ชื่อของสถานีรถไฟหัวล�ำโพงนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าตั้งชื่อตามต้นไม้ชนิดหนึ่ง ชื่อว่าต้นล�ำโพง ซึ่งเคยมี มากบริเวณนี้ จึงเรียกว่า "ทุ่งหัวล�ำโพง"
ในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ล อดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ 6 รอบ ในปี พ.ศ. 2542 ชาวไทยเชื้อสายจีน บริษัท ห้าง ร้าน กลุ่มมวลชน หน่วยงานราชการ ได้ร่วมใจกัน จัดสร้างซุ้มประตูวัฒนธรรมไทย–จีน หรือซุ้มประตู เฉลิ ม พระเกี ย รติ เพื่ อ ถวายเป็ น ราชสดุ ดี แ ด่ อ งค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเป็นสัญลักษณ์ ของไชน่าทาวน์ เพดานใต้ซมุ้ ประตูจารึกค�ำว่า “เทียน” หมายถึงฟ้า ตรงข้ามกับ “ตี้” หมายถึงดิน มุมทั้งสี่ มีรูปค้างคาวหรือ “ฟู่” พ้องเสียงกับค�ำว่า โชคลาภ ในภาษาจีนกลาง และ ต้นไผ่หรือ “เต็ก” ภาษาแต้จิ๋ว แปลว่าคุณธรรม และเนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระชนมายุครบ ๘๐ พรรษา รัฐบาลจีนมอบของขวัญล�้ำค่าและเป็น มงคลให้กับรัฐบาลไทยเป็นสิงโตหยกขาวแกะสลัก จ�ำนวน 1 คู่ มีนำ�้ หนักตัวละ 4 ตัน ซุม้ ประตูนตี้ งั้ อยูท่ ี่ วงเวียนโอเดียน ส่วนต้นของถนนเยาวราช ที่เปรียบ ดังหัวมังกรของถนนเส้นนี้
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน มีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันส�ำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจ�ำนวนมาก
TIPS
เส้นทาง 9
สิ งโตหยกขาว (เพศผู้) เท้าจะ เหยี ย บลู ก แก้ ว หมายถึ ง จะ มี ล าภยศ อ� ำ นาจบารมี ชื่ อ เสี ยง มีคนนิ ยมมาขอพรอย่าง มากมาย โดยการน� ำ กระเป๋า สตางค์ ไปวางไว้ ที่ ป ากสิ ง โต (ทั้ ง เพศผู้ และเพศเมี ย ) ด้ วย ความเชื่ อ ที่ ว่ าจะยิ่ ง ท� ำ ให้ เงิ น ทองไหลมาเทมา
126
127
วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร
ศูนย์ประวัติศาสตร์เยาวราช
วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร เป็นวัดโบราณที่ ไม่ได้ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึน้ ในสมัยใด เดิมวัด นี้มีชื่อว่าวัดสามจีน เนื่องจากมีชาวจีน 3 คน ได้ ช่วยกันสร้างวัดนี้ขึ้นมา ต่อมาในปี พ.ศ. 2482 ได้มีผู้คนช่วยกันปรับปรุงวัดและเปลี่ยนชื่อเป็น วัดไตรมิตรวิทยาราม ซึ่งหมายถึง เพื่อน 3 คน ช่วยกันสร้างวัดนี้ขึ้นมา
ศูนย์ประวัติศาสตร์เยาวราชตั้งอยู่ท่ีชั้น 2 ของ พระมหามณฑปในวัดไตรมิตร ภายในมีห้องจัด แสดงนิทรรศการเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ของย่านเยาวราชตั้งแต่การตั้งถิ่นฐาน วิถีชีวิต ของชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนตั้งแต่อดีตมา จนถึงปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ได้เคย ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินมานมัสการ พระพุทธ ทศพลญาณ พระประธานในพระอุโบสถ ซึ่งเป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัย ปูนปั้น ลงรักปิดทอง และได้ตรัสยกย่องว่า เป็นพระพุทธรูปทีม่ พ ี ระพุทธ ลักษณะงดงามยิ่งนัก
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
สิ่งส�ำคัญของวัด คือ พระสุโขทัยไตรมิตร เป็น พระพุ ท ธรู ป ทองค� ำ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด และได้ รั บ การ บั น ทึ ก ในหนั ง สื อ บั น ทึ ก สถิ ติโ ลก สั น นิ ษ ฐาน ว่าสร้างในสมัยสุโขทัย เดิมประดิษฐานอยู่ที่วัด มหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 ได้โปรดเกล้าฯ ให้กรมพระราชวังบวรมหาสุร สิงหนาท ไปอัญเชิญพระพุทธรูปมาจากเมืองเหนือ เพื่อน�ำมาประดิษฐานยังวัดส�ำคัญ
TIPS
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
TIPS
พระสุ โขทั ย ไตรมิ ต ร เป็ น พระพุ ท ธรู ปทองค� ำ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ดและได้ รั บ การบั น ทึ ก ในหนั งสื อบั น ทึ ก สถิ ติ โลก กินเนสส์บุ๊ค
เส้นทาง 9
ด้ านในมี โ มเดลจ� ำ ลองเรื่ อ ง ราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาว จี น ในเยาวราชให้ ดู ม ากมาย รวมทั้ ง บรรยากาศของย่ าน เยาวราช
128
129
ย่านถังไม้ ซอยวานิช 1 ได้กลายเป็นแหล่งรวมขายสินค้า ประเภทเชือกชนิดต่างๆ เช่น เชือกมะนิลาและ เชือกไนล่อน ซึ่งรองรับกิจการขนส่งสินค้าภายใน ย่านทีต่ อ้ งการพวกเชือกไว้สำ� หรับใช้ผกู รัดสินค้า นอกจากนี้ยังมีร้านจ�ำหน่ายแห อวน และเครื่อง มือประมง กลุ่มลูกค้าหลักในสมัยก่อนคือพวก เรือขนส่งสินค้าจากภาคใต้ที่เข้ามาในแถบย่าน ทรงวาด–ตลาดน้อย มักจะมารับซือ้ ในราคาส่งเพือ่ ไปขายต่อ นอกจากกระสอบที่เป็นบรรจุภัณฑ์ใส่ สินค้าต่างๆ แล้ว ยังมีกิจการท�ำถังไม้สักอีกอย่าง หนึ่งในแถบตลาดน้อย ซึ่งถังไม้ดังกล่าว ลูกค้า นิยมน�ำไปใส่ขา้ วสาร น�ำ้ เต้าหูแ้ ละแป้งมันส�ำปะหลัง (ธีรวัฒน์ อาภาสพิพัฒน์ : 2557) โดยเฉพาะใน ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงรุ่งเรืองของ กิจการท�ำถังไม้ เช่นเดียวกับงานตีเหล็กในย่าน ตลาดน้อย เนื่องจากเวลานั้นญี่ปุ่นท�ำโรงงานแป้ง มันส�ำปะหลัง จึงต้องการถังไม้จ�ำนวนมากเพื่อ บรรจุแป้ง แต่หลังจากสงครามจบลง กิจการท�ำ ถังไม้ก็ซบเซา ปัจจุบันเหลือเพียงร้านก้วงเส็งล้ง และร้านซุ้ยล้งหน้าวัดปทุมคงคาราม ที่ยังด�ำเนิน กิจการของบรรพบุรุษสืบมา
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ศาลเจ้าแม่ทับทิม ศาลเจ้าแห่งนี้ตั้งอยู่ในซอยเล็กริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ด้ า นหลั ง ตึ ก แถวริ ม ถนนทรงวาด และอยู ่ ใ กล้ กั บ ท่ า น�้ ำ สวั ส ดี สั น นิ ษ ฐานว่ า อาจสร้ า งขึ้ น ใน สมัยรัชกาลที่ 4 โดยพ่อค้าส�ำเภาชาวจีนท่าน หนึ่งในย่านตลาดน้อย องค์เจ้าแม่ทับทิมที่เป็น เทพประทานของศาลนั้นได้อัญเชิญลงเรือส�ำเภา มาจากเมื อ งซั ว เถา นอกจากนี้ ภ ายในศาลยั ง ประดิษฐานเทพท้อฮวยและเทพฮัวฮะ ซึ่งเป็นเทพ ที่ให้คุณในด้านคู่ครองและความปรองดอง ดัง ปรากฏหลักฐานเป็น “ฮวยน้า” (ตะกร้าแบบจีน) ที่มีผู้บนบานแล้วได้ผลสัมฤทธิ์ดังปรารถนาน�ำ ตะกร้าแบบนี้มาใช้ในพิธีแก้บน
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba TIPS
แถวนี้ มีโรงไข่ที่ชาวบ้านและ ร้านค้าละแวกนี้ นิยมมาซื้อกัน
เส้นทาง 9
เราสามารถข้ามไปเที่ยวฝั่งตรง ข้ามแม่น�้ ำที่ถนนเชียงใหม่ หรือ ล้ง 1919 ได้ที่ท่าเรือสวัสดี
130
131
เรื่องเล่า เดิน
9
ศิวะ
" อาแปะผู้ใจดี
เคน
กับเรื่องราว ของเซียงกง
"n ก อ ก atow ง า บ hin น ่ ิ ถ ีน ok C จ น ยา่ ngk Ba
ผู้คนในย่านนี้ เป็ นมิตรกับคนนอก มีอาแปะ ใจดีเรียกเข้าไปชมศาลเจ้าเซียงกง การเดิ นในย่านนี้ ท�ำให้ได้เห็ นอะไรใหม่ๆที่ หลากหลาย ได้เดิ นเข้าออกตามตรอกซอกซอย ได้พบ ประสบการณ์ที่ไม่ซ�้ำในการเดินทาง ถึงการเดิน ในย่านนี้ จะเหนื่ อยแต่ก็สนุก
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้นทาง 9
เรื่องโดย: ศิวะ เสงี่ยมเฉย, สุเมธ เสียงประเสริฐ
ผลงานโดย สุเมธ เสียงประเสริฐ (เคน) 132
133
เส้นทาง 9
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ผลงานโดย ศิวะ เสงีย่ มเฉย (ศิวะ) 134
135
เส้นทาง 10
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
136
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi MRT ถ น ี จ kok น า ย่ nหัgวล�ำโพง Ba ท่าเรือ สี่พระยา
137
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้ น ทางเดิ น ที่ ใ ห้ ป ระสบการณ์ ส� ำ หรั บ การมาเยื อ นย่ า นตลาด น้อยอย่างแท้จริง โดยใช้เส้นทาง สายหลั ก จึ ง พบเจอร้ า นค้ า และ ร้านอาหารเก่าแก่มากมายให้ได้ ทดลองแวะใช้บริการชิมและช็อปปิง้ ตลอดเส้นทาง
138
139
ย่านของกินตรอกโรงหมู ตึกเก่าหัวมุมถนนข้าวหลาม ตึกที่มีสถาปัตยกรรมแบบเก่า เป็นอาคารปูนตั้ง อยูต่ รงหัวถนนข้าวหลาม ลองสังเกตอาคารหัวมุม อีกทั้ง 3 ด้าน ที่มีรูปแบบแตกต่างกัน ถือเป็น ลักษณะเฉพาะของอาคารในย่านเก่า แดงราชาหอยทอด
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ข้าวหมูแดงสีมรกต
ก๋วยเตี๋ยวปากหม้อ หลบมุม
ก๋วยเตีย๋ วตรอกโรงหมู
เส้นทาง 10
Scroopp Homeade Ice Cream
โจ๊กตลาดน้อย เจ๊หมวยเกี๊ย-ดั้งเดิม 140
141
วัดอุทัยราชบ�ำรุง (วัดญวนตลาดน้อย) ศาลเจ้าฮกเลี่ยนเก็ง(ปุนเถ้าม่า) ศาลเจ้าฮกเลี่ยนเก็งเป็นศาลเจ้าของชาวฮกเกี้ยน อีกแห่งหนึ่งในตลาดน้อย โดยคนในชุมชนมักจะ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ศาลเจ้าปุนเถ้าม่า" ซึ่งคนใน ชุมชนนิยมมาขอพรหรือฝากลูกหลานให้อาม่าดูแล ไว้ เด็กๆ จะได้เลี้ยงง่ายและแข็งแรง
เส้นทาง 10
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
142
ไม่เพียงแต่ชาวจีนเท่านั้นที่ตั้งหลักปักฐานอยู่ใน ย่านนี้ ชาวญวนก็เป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่โยกย้ายมา พร้อมกับชาวจีน แถบตลาดน้อยเป็นถิ่นเดิมที่มี กลุ่มชาวญวนอาศัยอยู่มาแต่สมัยกรุงธนบุรีแล้ว ด้วยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้พระราชทานที่ดิน ตอนใต้ของวัดแม่พระลูกประค�ำหรือวัดกาลหว่าร์ (บริเวณสถานทูตโปรตุเกสในปัจจุบัน) ให้เป็น นิวาสสถานขององเชียงสือที่ได้เข้ามาพึ่งพระบรม โพธิสมภาร ปัจจุบันจึงปรากฏวัดญวนหรือวัด อุภยั ราชบ�ำรุงเป็นประจักษ์พยานอยูใ่ นแถบตลาด น้อย นอกจากนี้ ตัง้ แต่แถบจักรวรรดิมาจนถึงวัด ปทุมคงคาแต่เดิมน่าจะมีผู้คนอาศัยอยู่ริมแม่น�้ำ มาก่อนที่กลุ่มชาวจีนจะโยกย้ายเข้ามา ดังปรากฏ ให้เห็นผ่านกลุ่มวัดโบราณที่สร้างมาตั้งแต่สมัย ปลายกรุงศรีอยุธยาตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่ เช่น วัดเชิงเลนหรือวัดบพิตรพิมุขฯ วัดสามปลื้มหรือ วัดจักรวรรดิฯ
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
143
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng 10 Ba
ส�ำนักงานเขตสัมพันธวงศ์
เส้นทาง 10
ที่ตั้งของส�ำนักงานเขตสัมพันธวงศ์นั้นเคยเป็นที่ ตั้งของป้อมปิดปัจจนึกมาก่อน ซึ่งป้อมนี้ได้ถูก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อขยายอาณาเขต ของพระนคร ต่ อ มาจึ ง ได้ รื้ อ ป้ อ มลงและย้ า ย ส�ำนักงานเขตสัมพันธวงศ์จากถนนทรงวาดมาทีน่ ี่ โดยอ�ำเภอสัมพันธวงศ์นั้นได้เคยสร้างที่ว่าการ อ�ำเภอขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2475 ตั้งอยู่ที่สามแยก ถนนทรงวาดตัดกับถนนปทุมคงคา ต�ำบลศาล เจ้าแม่ทบั ทิม ซึง่ อยูใ่ นเขตวัดสัมพันธวงศาราม จึง สันนิษฐานได้วา่ อ�ำเภอสัมพันธวงศ์อาจตัง้ ชือ่ ตาม วัดที่ตั้งนั่นเอง
144
TIPS
ป้ อ มปิ ด ปั จ จนึ ก -ป้ อ มป้ อ ง ปัจจามิตร เป็นป้อมคู่กัน ตั้ง อยู ่ ส องฝั ่ ง แม่ น�้ ำ คอยดู แ ล ควบคุมเรือทีเ่ ข้าออกพระนคร
" เ ส้ น ท า ง เ ดิ น ที่ ใ ห้ ประสบการณ์ส�ำหรับการ มาเยื อ นย่ านตลาดน้ อย อย่างแท้จริง"
145
เรื่องเล่า เดิน
10
เต๋า
" เส้นทาง
ป้าย
ผสมผสาน เก่าใหม่ วัฒอ นธรรม ก
n w ก o ง nat " า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เกิดการแลกเปลี่ยนระหว่างการเดินทาง ได้ พบเจอพูดคุยกับชาวต่างชาติ ระหว่างที่สเก็ตช์ ภาพ
ในเส้นทางการเดิ นจะพบความซุ กซนที่ซ่อน อยู่ ในชุมชน เช่น บางบ้านมีสติ๊กเกอร์รู ปคนแปะ อยู่ มีภาพเพ้นท์ตามเสาไฟ
การผสมผสานเรือ่ งความเก่าใหม่ การใช้ชีวิต วัฒนธรรม
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ได้พบเจอผู้คนหลากหลาย คนรุ่นเก่า รุ่นใหม่ คนในชุมชน นั กท่องเที่ยว ชาวต่างชาติ
เส้นทาง 10
เรื่องโดย: กิตติธัช สาลัวงศ์, สมิทธ์ จริยโสภาคย์
ความน่าสนใจในการพบรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ใน ชุมชน โดย กิตติธัช สาลัวงศ์(เต๋า) ศาลเจ้าขนาดเล็กที่ล้อมรอบไปด้วยเซียงกง โดย สมิทธ์ จริยโสภาคย์ (ป้าย)
ผลงานโดย สมิทธ์ จริยโสภาคย์ (ป้าย) 146
147
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
เส้นทาง 10
ไ ด้ พู ด คุ ย แ ล ก เ ป ลี่ ย น กั บศิ ลปิ นชาวอิ ตาลี และ ฝรั่งเศส
ผลงานโดย กิตติธชั สาลัวงศ์ (เต๋า) 148
149
ที่มา
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
150
ขอขอบคุณส�ำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ อาจารย์เจริญ ตันมหาพราน ค�ำบอกเล่าของชาวชุมชนในเขตสัมพันธวงศ์ กลุ่มคนรักตลาดน้อย และนิทรรศการกินเจตลาดน้อย โดย กลุ่มคนรักตลาดน้อย สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. (2550). การศึกษา องค์ความรู้และแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน ย่านเยาวราชและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2555). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการ กรุงเทพมหานครน่าอยู่ยังยืน. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2556). วารสารย่านจีนถิน่ บางกอก ฉบับที่ 1. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2556). วารสารย่านจีนถิน่ บางกอก ฉบับที่ 2. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2556). วารสารย่านจีนถิน่ บางกอก ฉบับที่ 3. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2556). วารสารย่านจีนถิน่ บางกอก ฉบับที่ 4. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2557). วารสารย่านจีนถิน่ บางกอก ฉบับที่ 5. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2557). วารสารย่านจีนถิน่ บางกอก ฉบับที่ 6. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2557). วารสารย่านจีนถิน่ บางกอก ฉบับที่ 7. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2558). ทอดน่องท่อง 200 ปี. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2558). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการสร้าง เสริมสุขภาวะ (พื้นที่สร้างสรรค์) ระยะที่ 1. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2559). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการสร้าง เสริมสุขภาวะ (พื้นที่สร้างสรรค์) ระยะที่ 2. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2560). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการย่าน น่าเดิน. กรุงเทพมหานคร. ส�ำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร. (2558). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการอนุรกั ษ์ฟน้ื ฟูยา่ นตลาด น้อยและพืน้ ทีต่ อ่ เนือ่ ง. กรุงเทพมหานคร.
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
151
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
กิจกรรมเดิน Sketch ไชน่าทาวน์ ย่านน่าเดิน 10 เส้นทาง ลัดตรอกเลาะคลอง ท่องริมน�้ำ
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
กิจกรรมนีจ้ ดั ขึน้ เพือ่ รวบรวมข้อมูลและเรือ่ งราวทีน่ ำ� เสนอความน่าสนใจของย่านผ่านภาพถ่ายและภาพ วาด ส�ำหรับน�ำมาเป็นส่วนหนึ่งของการจัดท�ำหนังสือไชน่าทาวน์ 10 เส้นทางย่านน่าเดิน โดยกิจกรรม นี้ได้เปิดรับผู้เข้าร่วมทั้งหมด 22 คน จัดขึ้นในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 จุดประสงค์กิจกรรม
กระบวนการ
-รวบรวมและน�ำเสนอประสบการณ์การเดินใน 10 เส้นทาง ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
1. แนะน�ำความเป็นมาของ 10 เส้นทาง 2. แนะน�ำเกีย่ วกับการสเก็ตช์พร้อมยกตัวอย่าง และแนวคิดการน�ำไปใช้ -รวบรวมภาพถ่ายและความประทับใจในแง่มุม 3. แบ่งกลุ่มผู้เข้าร่วมเป็นกลุ่มละ 2-3 คน ต่างๆระหว่างเส้นทางที่เดินของผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 10 กลุ่ม พร้อมกับเลือกเส้นทางเดิน 4. ให้แต่ละกลุ่มเดินตามเส้นทางที่เลือก แล้ว -รวบรวมภาพสเก็ตช์ภาพสิ่งต่างๆ ที่ประทับใจ ท�ำการถ่ายภาพ บันทึกเรื่องราว และสเก็ตช์ภาพ ระหว่างการเดินของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ที่ตนเองสนใจ 5. ให้ แ ต่ ล ะกลุ ่ ม สรุ ป ประเด็ น ที่ ไ ด้ จ ากการ ท�ำงาน โดยให้ทุกกลุ่มกลับมารวมกันเพื่อสรุป ร่วมกันในหัวข้อ -สิ่งที่ประทับใจจากการเดินเส้นทางนี้ -ให้สรุปนิยามของเส้นทางที่ตนไปเดินเป็น ประโยคหรือค�ำพูดหรือค�ำส�ำคัญ 152
ภาพถ่ายโดย: สรธร ฐิตเจริญวงศ์ 153
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
154
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
155
ก own อ ก ง nat า บ ิ่น Chi ถ น ี จ kok น า ย่ ng Ba
156