สไลด์นำเสนอเรื่องสผกับการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณเมืองเก่า

Page 1











แนวทางการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ตามมติคณะรัฐมนตรี แนวทางการอนุรักษและพัฒนาทั่วไป

แนวทางการอนุรักษและพัฒนาสําหรับเขตพื้นที่ (zoning)

พื้นที่หลัก ๑. ดานการใชประโยชนที่ดิน ๑. การมีสวนรวมและการประชาสัมพันธ ๒. การสรางจิตสํานึกการอนุรักษและพัฒนาอยางยั่งยืน ๒. ดานอาคารและสภาพแวดลอม ๓. การสงเสริมกิจกรรมและวิถีชีวิตทองถิ่น ๓. ดานระบบการจราจรและ ๔. การสงเสริมคุณภาพชีวิต คมนาคมขนสง ๕. การปองกันภัยคุกคามจากมนุษยและธรรมชาติ ๔. ดานการพัฒนาภูมิทัศน ๖. การประหยัดพลังงานดานการสัญจรและ ๕. ดานการบริหารและ สภาพแวดลอม การจัดการ ๗. การดูแลและบํารุงรักษาอาคารและสาธารณูปการ

พื้นที่ตอเนื่อง ๑. ดานการใชประโยชนที่ดิน ๒. ดานอาคารและสภาพแวดลอม ๓. ดานระบบการจราจรและ คมนาคมขนสง ๔. ดานการพัฒนาภูมิทัศน


แนวทางการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ตามมติคณะฐมนตรี ขอ ๕ ดานการบริหารและการจัดการ

ขอ ๕.๑

ขอ ๕.๒

ใหจังหวัดจัดตั้งสํานักงานเลขานุการ คณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา เพื่อทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของ คณะอนุกรรมการ

ใหจังหวัดออกประกาศ เรื่อง มาตรการในการ ควบคุมการกอสรางอาคารภาครัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานของรัฐอยางอื่นที่อาจ พึงมีในบริเวณเมืองเกา

ทสจ. ทําหนาที่เปน “สํานักงานเลขานุการของคณะอนุกรรมการ อนุรักษและพัฒนาเมืองเกา” ยกเวนเมืองเกานาน เปน “สํานักงาน วัฒนธรรมจังหวัดนาน”

ออกประกาศจังหวัดแลว : เมืองเกานาน กําแพงเพชร สงขลา พิมาย ตะกั่วปา สุพรรณบุรี ราชบุรี และจันทบุรี


แนวทางการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ตามมติคณะฐมนตรี ขอ ๕ ดานการบริหารและการจัดการ

ขอ ๕.๓

ขอ ๕.๕

จัดทําแผนแมบทการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกา ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ออกมาตรการใน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอนุรักษ การควบคุมการกอสรางอาคารของภาคเอกชน และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร และเมืองเกา และ คณะรัฐมนตรี เพื่อเปนกรอบแนวทางในการ ดําเนินงาน จัดทําแผนแมบทฯ แลว ๓ เมือง : เมืองเกานาน ลําพูน และสงขลา อยูระหวางดําเนินการ ๒๑ เมือง และ ยังไมไดดําเนินการ ๗ เมือง

ออกเทศบัญญัติแลว ๒ เมือง : เมืองเกาเชียงใหม และสงขลา




















การพิจารณาโครงการก่อสร้างในพื้นที่เมืองเก่า ประเด็นการพิจารณาเบื้องต้น ศึกษารายละเอียดพื้นที่โครงการ และพื้นที่โดยรอบ รูปแบบ การก่อสร้าง ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ศึกษากฎ ระเบียบ มาตรการ และมติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาประวัติศาสตร์ คุณค่าความสําคัญของพื้นที่ *** ฝายเลขานุการ จัดทําความเห็นตอโครงการ เสนอคณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกาพิจารณาตอไป


การพิจารณาโครงการก่อสร้างในพื้นที่เมืองเก่า ประเด็นการพิจารณาผลกระทบดานสิ่งแวดลอม

 ศึกษาผลกระทบของพื้นที่โครงการฯ บริเวณโบราณสถาน และอาคารสําคัญ เช น แนวกํ า แพงเมื อ ง - คู เ มื อ ง โดยประสานสํ า นั ก ศิ ล ปากรในพื้ น ที่ เพื่ อ ตรวจสอบหรือขุดคนทางโบราณคดี รวมทั้งผลกระทบดานความสั่นสะเทือนตอ แหลงโบราณสถานและอาคารสําคัญบริเวณโดยรอบ  ประเมินผลกระทบที่เกิดจากการดําเนินโครงการฯ และกําหนดมาตรการปองกัน ผลกระทบทั้ง ในชวงก อสร า งและเป ดดํ า เนิ น การต อแหลง โบราณสถานและ อาคารสําคัญ  ศึกษารูปแบบโครงการฯ : ออกแบบใหมีลักษณะสถาปตยกรรมที่สงเสริมความ เปนเมืองเกา และไมบดบังโบราณสถานและอาคารสําคัญในพื้นที่เมืองเกา


การปรับปรุงอาคารศาลเยาวชนและครอบครัวกลางหลังเดิม เปนที่ทําการสํานักประธานศาลฎีกา (สํานักงานศาลยุติธรรม) (พ.ศ. ๒๕๕๙)

การพิจารณาขอมูลที่เกี่ยวของเบื้องตน รายละเอียดพื้นที่โครงการ : • อยูในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภายในกรุงรัตนโกสินทรชั้นในฯ • ขอกฎหมายและมติที่เกี่ยวของ

- ขอบัญญัติกรุงเทพมหานครฯ ภายในกรุงรัตนโกสินทรชั้นในฯ พ.ศ. ๒๕๒๘ - แผนการใชที่ดินของหนวยงานรัฐในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล - มติ ครม. เรื่อง มาตรการในการควบคุมการกอสรางอาคารของภาครัฐบาลใน บริเวณกรุงรัตนโกสินทร เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๘


การปรับปรุงอาคารศาลเยาวชนและครอบครัวกลางหลังเดิม เปนที่ทําการสํานักประธานศาลฎีกา (สํานักงานศาลยุติธรรม) (พ.ศ. ๒๕๕๙) ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง กําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง ใชหรือเปลี่ยน การใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภท ภายในบริเวณกรุงรัตนโกสินทรชั้นใน ในทองที่ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ กําหนดวา ขอ ๔ ภายในบริเวณที่ ๑ หามบุคคลใดกอสรางหรือดัดแปลงอาคารหองแถว ตึกแถว โรงงานตามกฎหมายวาดวยโรงงาน อาคารพาณิชย อาคารสาธารณะ หรือ อาคารอื่นใด ยกเวนอาคารทางศาสนา อาคารที่ทําการของทางราชการ โดยใหมีความ สูงไดไมเกินความสูงของอาคารเดิม และจะตองไมเกิน ๑๖ เมตร ทั้งนี้ ใหวัดจากระดับ ถนนหรือขอบทางเทาที่ใกลที่สุดถึงสวนที่สูงที่สุดของอาคาร ข อ ๘ อาคารที่ ก อ สร า งหรื อ ที่ มี ก ารใช ม าก อ นแล ว และขั ด กั บ ข อ บั ญ ญั ติ กรุงเทพมหานครนี้ หามดัดแปลง และหามเปลี่ยนการใชอาคาร เวนแตเปนการเปลี่ยน การใชอาคารเพื่อใหอาคารนัน้ ไมขัดกับขอ ๔


การปรับปรุงอาคารศาลเยาวชนและครอบครัวกลางหลังเดิม เปนที่ทําการสํานักประธานศาลฎีกา (สํานักงานศาลยุติธรรม) (พ.ศ. ๒๕๕๙) • แผนการใชที่ดินของหนวยงานรัฐในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ครม. มีมติเมื่อวันที่ ๑๒ ก.ค. ๓๑ เสนอแนะใหยายศาลคดีเด็กและเยาวชนกลาง และ สถานพิ นิ จ และคุ ม ครองเด็ ก กลาง ไปสร า งใหม ที่ ศู น ย ร าชการนครชั ย ศรี แลวปรับปรุงใหเปนพื้นที่โลงสีเขียว • มติ ครม. เรื่อง มาตรการในการควบคุมการกอสรางอาคารของภาครัฐบาลใน บริเวณกรุงรัตนโกสินทร เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๘


การปรับปรุงอาคารศาลเยาวชนและครอบครัวกลางหลังเดิม เปนที่ทําการสํานักประธานศาลฎีกา (สํานักงานศาลยุติธรรม) (พ.ศ. ๒๕๕๙)

การพิจารณาขอมูลที่เกี่ยวของเบื้องตน

คุณคาของอาคาร • อาคารศาลเยาวชนและครั ว ครั ว กลางหลั ง เดิ ม ไม ไ ด บ รรจุ ไ ว ใ นบั ญ ชี ร ายชื่ อ สิ่งกอสรางที่ควรอนุรักษและปฏิสังขรณในบริเวณกรุงรัตนโกสินทร : ประเภทอาคาร ของทางราชการ จึงเสนอใหรื้อและทําเปนพื้นที่โลงสีเขียว รูปแบบการปรับปรุงอาคาร • เปนการดําเนินการภายในโครงสรางอาคารเดิม ใหมั่นคงแข็งแรง เหมาะสมกับการ ใชประโยชนเปนที่ทําการ ไมมีรายการกอสรางตอเติมแตประการใด


การปรับปรุงอาคารศาลเยาวชนและครอบครัวกลางหลังเดิม เปนที่ทําการสํานักประธานศาลฎีกา (สํานักงานศาลยุติธรรม) (พ.ศ. ๒๕๕๙) การพิจารณาขอมูลที่เกี่ยวของเบื้องตน รายละเอียดพื้นที่โครงการ : • การวิเคราะหขอกฎหมายสําหรับใชประโยชนพื้นที่ - ไมขัดกับขอบัญญัติกรุงเทพมหานครฯ ภายในกรุงรัตนโกสินทรชั้นในฯ พ.ศ. ๒๕๒๘ เนื่องจากเปนการปรับปรุงภายในโครงสรางอาคารเดิม - ไมเปนไปตามขอเสนอแนะของแผนการใชที่ดินของหนวยงานรัฐในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มติ ครม. เมื่อวันที่ ๑๒ ก.ค. ๓๑ เสนอแนะใหยายศาล คดีเด็กและเยาวชนกลาง และสถานพินิจและคุมครองเด็กกลาง ไปสรางใหมที่ศูนย ราชการนครชัยศรี แลวปรับปรุงใหเปนพื้นที่โลงสีเขียว


การปรับปรุงอาคารศาลเยาวชนและครอบครัวกลางหลังเดิม เปนที่ทําการสํานักประธานศาลฎีกา (สํานักงานศาลยุติธรรม) (พ.ศ. ๒๕๕๙) ประเด็นเสนอเพื่อพิจารณา • ใหพิจารณาผลกระทบในภาพรวมทั้ง บริเ วณ ทั้ง รูป แบบสถาปตยกรรม ความ หนาแนนของอาคาร และการจราจร พบวา มีการกําหนดรูปแบบภายนอกอาคาร ให สอดคลองกับสถาป ตยกรรมของอาคารกระทรวงกลาโหม และรูปแบบการ กอสรางอาคารศาลฎีกาหลังใหม ออกแบบใหมีประตูเขา - ออก ดานริมคลอง หลอด เพื่อ ให ร องรับ กั บ โครงการปรั บ ปรุ ง ภู มิทั ศ น บ ริ เ วณริ มคลองหลอดของ กรุงเทพมหานครในอนาคต • ให พิ จ ารณาความเหมาะสมที่ จ ะใช ป ระโยชน พื้ น ที่ ต ามแผนการใช ที่ ดิ น ของ หน ว ยงานรั ฐ ฯ เนื่ อ งจากไม เ ป น ไปตามมติ ครม. ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งเสนอ ครม. เพื่อทบทวนมติดังกลาว


การปรับปรุงอาคารศาลเยาวชนและครอบครัวกลางหลังเดิม เปนที่ทําการสํานักประธานศาลฎีกา (สํานักงานศาลยุติธรรม) ความเห็นที่ประชุม • ดานกฎหมาย : เนื่องจากเปนการซอมแซมหรือเปลี่ยนสวนตางๆ ของอาคารใหคง สภาพเดิม ดังนั้น โครงการปรับปรุงอาคารฯ ถือวาไมขัดแยงกฎหมาย • ดานนโยบาย : ถือวาไมสอดคลองนโยบายการใชที่ดินของหนวยงานของรัฐในเขต พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล หากสํานักงานศาลยุติธรรมยืนยันที่จะใช ประโยชนอาคารศาลเยาวชนและครอบครัวกลางหลัง เดิม เปน ที่ทํา การสํา นัก ประธานศาลฎีกา จะตองขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี • ใหพิจารณาออกแบบการกอสรางอาคารใหม ที่มีรูปแบบสถาปตยกรรมกลมกลืน กับอาคารบริเวณโดยรอบ และมีพ้ืนที่โลงสีเขียว รวมทั้งผังบริเวณสอดคลองกับ บริเวณโดยรอบ


สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม โทรศัพท์/โทรสาร 0 2265 6584 E-mail : thaioldtown@yahoo.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.