คู่มือการนำเสนอแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและแหล่งมรดกทางธรรมชาติเป็นแหล่งมรดกโลก

Page 1

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

145


คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

147


คูมือการนําเสนอ

แหลงมรดกทางวัฒนธรรม และ แหลงมรดกทางธรรมชาติ เปน

แหลงมรดกโลก

สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

1


คูมือการนําเสนอ

แหลงมรดกทางวัฒนธรรม และ แหลงมรดกทางธรรมชาติ เปน แหลงมรดกโลก จัดทําโดย

กองจัดการสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 60/1 ซอยพิบูลวัฒนา 7 ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2265 6585 โทรสาร 0 2265 6586 คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหนาพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

เรียบเรียง กองบรรณาธิการ

ออกแบบรูปเลม ภาพปก ภาพกราฟก ภาพถาย ภาพถายมุมสูง จํานวนพิมพ พิมพที่ พิมพครั้งแรก

ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ - อิสรชัย บูรณะอรรจน นันทวรรณ มวงใหญ - อิสรชัย บูรณะอรรจน กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา - ปทม วงคประดิษฐ ปฏิพล ยอดสุรางค - ปาริฉัตร พรหมสวัสดิ์ ทรงวาด สุขเมืองมา - วรพจน บุญความดี - จิรวัฒน ทศศะ อิสรชัย บูรณะอรรจน กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา - อิสรชัย บูรณะอรรจน ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ - อิสรชัย บูรณะอรรจน อิสรชัย บูรณะอรรจน 1,000 เลม อี.ที.พับลิชชิ่ง ซ.ลาดพราว 101 แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร, 10240 มีนาคม พ.ศ.2561

ขอมูลทางบรรณานุกรม สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม. คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปนแหลงมรดกโลก. 2561 1. มรดกโลก 2. World Heritage ISBN 978-974-641-690-0 2

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

คําอธิบายภาพปก “แหลงมรดกโลก” ถือเปนมรดกของมนุษยชาติ จําแนก ไดเปน “แหลงมรดกทางธรรมชาติ” “แหลงมรดกทางวัฒนธรรม” และ “แหลงมรดกแบบผสม” จากคุณลักษณะดังกลาวจึงนํามาสูการ สรางสรรคภาพประกอบ เพือ่ แสดงถึงการดํารงอยูข องมนุษยชาตินนั้ ยอมมีความสัมพันธกับมรดกทั้งทางธรรมชาติ และวัฒนธรรม และ เมื่อมนุษยมีการตั้งถิ่นฐานลงหลักปกแหลงโดยการปรับตัวสัมพันธ กับทรัพยากรทางธรรมชาติ มนุษยยอมมีการออกแบบสรางสรรค ประเภทตางๆ เพื่อจรรโลงใหชีวิตมีความปกติสุขในบริบทแวดลอม อันมีลักษณะเฉพาะตัวของแหลงนั้นๆ กลายเปนสภาพแวดลอม สรรคสรางทางวัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณ และทรงคุณคาในมิตติ า งๆ และมี ห ลายแหล ง ที่ มี คุ ณ ค า โดดเด น อั น เป น สากลจนได รั บ การ ยกยองเปน “แหลงมรดกโลก”


สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ปรึกษา

1. ดร.รวีวรรณ ภูริเดช 2. พุฒิพงศ สุรพฤกษ 3. อินทิรา เอื้อมลฉัตร

เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รองเลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผูอํานวยการกองจัดการสิ่งแวดลอม ธรรมชาติและศิลปกรรม

คณะกรรมการกํากับโครงการ

1. กรพินธุ พยัคฆประการณ นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ 2. ศิริชัย เรืองฤทธิ์ นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ 3. มัณฑนา ศิริวรรณ

นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ

4. สวนิต เทียมทินกฤต

นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ

5. วรนิจ ไกรพินิจ 6. ทิพาวรรณ รักสงบ

นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ

7. จารุนันท ชุมจิตต

เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน

นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

1. ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ

หัวหนาโครงการ

2. ผศ.ดร. สุพิชชา โตวิวิชญ ผูเชี่ยวชาญดานการมีสวนรวม 3. กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา ผูเชี่ยวชาญดานการมีสวนรวม 4. กึกกอง เสือดี

ผูเชี่ยวชาญดานนิเวศวิทยา

5. อิสรชัย บูรณะอรรจน

ผูเชี่ยวชาญดานนิเวศวิทยา

6. ดร. ปฏิพล ยอดสุรางค

8. ปาริฉัตร พรหมสวัสดิ์

ผูเชี่ยวชาญดานการอนุรักษและการจัดการ วัฒนธรรม ผูเชี่ยวชาญดานการอนุรักษและการจัดการ วัฒนธรรม ผูเชี่ยวชาญดานการจัดการการทองเที่ยว

9. ทรงวาด สุขเมืองมา

ผูเชี่ยวชาญดานการจัดการการทองเที่ยว

10. วรพจน บุญความดี

ผูเชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม

11. ผศ. เดน วาสิกสิริ

ผูเชี่ยวชาญดานภาษาศาสตร (ดานการแปล)

12. ดร.นันทวรรณ มวงใหญ

ผูเชี่ยวชาญดานภาษาศาสตร (ดานการแปล)

7. ปทม วงคประดิษฐ

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

3


4

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

5


แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมเมืองประวัตศ ิ าสตรสโุ ขทัย และเมืองเกีย ่ วเนือ่ ง (Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns) ไดรบ ั การขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกในปพ.ศ.2534 | ค.ศ.1991 ุ านัสมบั ตต ิ ามเกณฑขอ ทีพ่ 1ยากรธรรมชาติ และ 3 6 โดยมีคสํณ กงานนโยบายและแผนทรั และสิ่งแวดลอม


คํานํา แหลงมรดกโลกเปนสมบัตริ ว มกันของมนุษยชาติ โดยมีรฐั ภาคีสมาชิกทีแ่ หลงมรดกโลก ดังกลาวนั้นตั้งอยูทําหนาที่เปนผูปกปองรักษาใหคุณคาโดดเดนอันเปนสากลนั้นธํารงอยูคูกับ แหลงมรดกโลกเพือ่ เปนตนทุนอันสําคัญของมนุษยชาติในการเรียนรู นอกจากนี้ แหลงมรดกโลก ยังมีคุณประโยชนในดานตางๆ มากมาย อาทิ คุณคาดานสังคมวัฒนธรรม คุณคาดานเศรษฐกิจ ตลอดจนความภาคภูมิใจของผูคนทั้งในรัฐภาคีสมาชิก และมนุษยชาติ จากคุณคาดังที่กลาวมาสังเขปขางตน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ในฐานะหนวยประสานงานกลาง อนุสัญญาคุมครองมรดกโลก เล็งเห็นความสําคัญในการเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การดําเนินการตามอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ใหกับทุกภาคสวน เพื่อสรางความตระหนักรูในคุณคาอันจะนําไปสูการอนุรักษและพัฒนา แหลงมรดกโลกอยางยั่งยืนตอไป นอกจากนี้ กระบวนการเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและ ธรรมชาติเพือ่ ขอรับการขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนัน้ มีขนั้ ตอนทีม่ รี ายละเอียดจํานวนมาก และมีความซับซอน ตลอดจนมีความเกี่ยวของกับหนวยงานในทุกระดับทั้งระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ และยังใชเวลาที่ยาวนานกวาจะสัมฤทธิ์ผล และเมื่อไดรับ การขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกแลว ยังตองมีการบริหารจัดการเพือ่ ธํารงรักษาคุณคาโดดเดน อันเปนสากลตามที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก และมีการประเมินสถานภาพของ แหลงตามชวงเวลาที่กําหนด ดวยเหตุปจจัยดังกลาวจึงมีความจําเปนที่ตองเสริมสรางความรู ความเขาใจแก ผูเกี่ยวของอยางตอเนื่อง สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม จึงจัดทําหนังสือ “คูมือการนําเสนอแหลงมรดก ทางวัฒนธรรมและแหลงมรดกทางธรรมชาติเปนแหลงมรดกโลก” เพื่อเปนกลไกในการเผยแพร และขยายตอองคความรู และสงเสริมการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของในทุกภาคสวน ภายใต “โครงการสงเสริมการมีสวนรวมในการบริหารจัดการแหลงมรดกโลก หรือแหลงมรดก ทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติที่มีคุณคาความโดดเดนในระดับสากลอยางยั่งยืน” สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หวังเปนอยางยิ่งวา “คูม อื การนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและแหลงมรดกทางธรรมชาติเปนแหลงมรดกโลก” จะเกิดประโยชนแกทุกภาคสวน ในการปกปองคุมครองแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม และ ทางธรรมชาติ ตลอดจนการเตรียมการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติที่ มีคุณคาโดดเดนอันเปนสากลเพื่อขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกแหลงใหมของ ประเทศตอไป สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

7


“นครประวัติศาสตรอยุธยา (Historic City of Ayutthaya)” ประเทศไทย ไดรับการขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปพ.ศ.2534 | ค.ศ.1991 มีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 3

8

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


สารบัญ บทนํา

แนวคิดการอนุรักษมรดกของมนุษยชาติและการจัดการมรดกโลก ประเภทของแหลงมรดกโลก คุณลักษณะของแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ประโยชนและความสําคัญของการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก

12 20 37 52

หนวยงานระดับนานาชาติ หนวยงานระดับชาติ

56 61

แนวคิดคุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value) เกณฑการพิจารณาแหลงมรดกโลก (World Heritage Criteria) ความครบถวนสมบูรณ (Integrity) ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity) การปกปองคุมครองและการบริหารจัดการ (Protection and Management)

68 70 73 75 77

ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) การกําหนดขอบเขตพื้นที่ในการนําเสนอ (Core Zone) และพื้นที่กันชน (Buffer Zone) การศึกษาเปรียบเทียบ (Comparative Study)

80 84

บทบาท และหนาที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของ

แนวคิดหลักในการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและแหลงมรดกทาง ธรรมชาติเปนแหลงมรดกโลก

การขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List)

การขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก

87

ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก การเสนอเพื่อรับการพิจารณาภายใตความเรงดวน การชวยเหลือหรือการรองขอความชวยเหลือจากคณะกรรมการมรดกโลก

90 100 101

กระบวนการประเมินขององคกรที่ปรึกษา กระบวนการประเมินของ ICOMOS ในการประเมินมรดกทางวัฒนธรรม กระบวนการประเมินของ IUCN ในการประเมินมรดกทางธรรมชาติ บัญชีมรดกโลกที่อยูในภาวะอันตราย การเพิกถอนแหลงมรดกโลกออกจากบัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลก

104 107 111 119 128

แหลงมรดกโลกในประเทศไทย แหลงมรดกในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) ของศูนยมรดโลก รายชือ่ แหลงมรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติในบัญชีรายชือ่ เบือ้ งตนของประเทศไทย

132 137 139

กระบวนการประเมินขององคกรที่ปรึกษา

แหลงมรดกโลก และแหลงในบัญชีรายชื่อเบื้องตนของประเทศไทย

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

9


มรดกโลก โลกใบนี้เปนมรดกของเราทุกคน โลกใบนี้เปนของฉัน และในขณะเดียวกันก็เปนของเธอ และพวกเรา มาเถิดพวกเรา มารวมดูแลโลกนี้ใหดี เพื่อประโยชนของนานาชาติในอนาคต ผืนนํ้าอันสงบนิ่งของทะเลสาบวิคตอเรีย นํ้าตกวิคตอเรียที่ยิ่งใหญ และลํานําดานูบที่สงางาม แลหมูมวลสกุณา และความคดเคี้ยวของสายธารามิสซิสซิปป และมิสซูรี ฉันเงยหนาขึ้นมอง ฉันมองเห็นสิ่งใด และสิ่งใดที่ฉันมองเห็น ฉันแลเห็นความงดงามของภูมิทัศน และซากปรักของปอมปราการแหงซิมบับเว ฉันแลเห็นความลึกลับแหงพีระมิดแหงอียิปต ในดินแดนแหงฟาโรหทั้งหลาย ฉันเห็นความเกาแกของปราการแหงเยรูซาเร็ม และความยิ่งยงแหงกําแพงเมืองจีน ฉันเงยหนาขึ้นมอง ฉันจึงไดเห็น เทือกเขาดราเกนสเบิรกที่ทรงพลัง ความสูงชันของผาตั้งแหงมูชินคา ทั้งเทือกเขาหิมาลัย และอูราลแหงรัสเซีย ฉันเฝานับยอดเขาร็อกกี้แหงแคนาดา และตื่นตากับยอดเขาคลิมันจาโร โอ เธอและฉัน แลผูคนทั้งหลายผูอยูอาศัยในที่แหงนั้น โลกใบนี้เปนมรดกของเราทุกคน เปนสมบัติที่พวกเราทั้งหลายตองพิทักษ โปรดอยาทําราย มรดกของเราทั้งหลาย โปรดอยาทําราย ความงดงามของทัศนียภาพ และขุนเขา โปรดอยาทําราย อุทยานธรรมชาติ และชีวิตทั้งหลายที่อิงอาศัย และอยาทํารายพงไพรแหงคองโก และอะเมซอน โปรดพิทักษรักษามรดกโลกของเราทุกคน ประพันธโดย Mauyaneyi Marebesa, Student, Zambia, World Heritage Youth Forum, Victoria Falls, Zambia and Zimbabwe

10

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


บทนํา

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

11


แนวคิดการอนุรักษมรดกของมนุษยชาติ และการจัดการมรดกโลก1 มนุษยชาติเดินทางผานกาลเวลามาอยางยาวนาน นับตั้งแต สมัยกอนประวัตศิ าสตรทมี่ นุษยยคุ โบราณเหลานัน้ ยังตัง้ ถิน่ ฐานสัมพันธกบั ธรรมชาติและระบบนิเวศอยางใกลชิด จวบจนกระทั่งสมัยประวัติศาสตร มนุษยสงั่ สมประสบการณ เรียนรู และเริม่ ตนสรางวัฒนธรรมมาจนกระทัง่ ปจจุบันสมัยของพวกเรา ประวัติศาสตรของมนุษยชาติเดินทางผานประสบการณมาอยาง ยาวนานและมีพฒ ั นาการกาวหนาในหลากหลายมิติ ประวัตศิ าสตรดงั กลาว มีทั้งชวงเวลาที่นาบันทึกจดจํา เนื่องจากเต็มไปดวยสันติภาพและกอให เกิดทั้งการสรางสรรคและการพัฒนา ทวาในขณะเดียวกันนั้นเองในหนา ประวัตศิ าสตรของมนุษยชาติกย็ งั เต็มไปดวยความขัดแยงและการสงคราม ซึ่งนาสนใจวาโลกสองมุมคูตรงขามหนามือและหลังมือดังกลาวนัน้ เกิดขึน้ ดวยมนุษยชาติเชนเดียวกัน ทั้งนี้ มนุษยในฝงตะวันตกนับตั้งแตยุคโบราณ มีพัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรมมาอยางยาวนานและตอเนื่องดวยเกิด จาก “การตั้งคําถาม” และ “การแสวงหาความจริง” เชนนั้นเอง จึงทําให วัฒนธรรมของโลกในฟากตะวันตกเจริญรุดหนาอยางรวดเร็วในทางวัตถุ จากปรัชญาของโลกยุคเกาที่เชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ และให ความหมายของการกําเนิดสรรพสิ่งวาเปนหนาที่ของพระผูเปนเจา หรือ สิ่งศักดิ์สทิ ธิ์เหนือธรรมชาติ ทวาไดมีความเปลี่ยนแปลงกรอบความคิดไป อันเนื่องมาจากการตั้งคําถามที่พัฒนาไปสูปรัชญาทางความคิด และดึง สิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติออกไปจากการอธิบายเหตุและผล จนเกิด การพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปอยางกาวกระโดด และนําโลก เขาสูความเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะผลพวงจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม และการแสวงหาทรัพยากรเพื่อตอบโจทยดังกลาว ในชวงรอยปที่ผานมา มนุษยชาติไดสูญเสียมรดกทางวัฒนธรรม จํานวนมากดวยสาเหตุแหงสงคราม เนื่องจากสงครามในโลกสมัยใหมนั้น มีอานุภาพทําลายลางมากกวาสงครามในโลกยุคโบราณหลายเทาตัวนัก เมืองประวัตศิ าสตรในยุโรปจํานวนมากไดรบั ผลกระทบจากภัยสงครามโลก ครั้งที่ 1 อาทิ ปารีส ลอนดอน เปนตน รวมทั้งในคราวสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่คูขัดแยงกวางขวางสงผลกระทบไปทั่วทั้งโลก ซึ่งมีเมืองประวัติศาสตร ในยุโรป เอเชีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใตก็ไดรับผลกระทบอยางมาก เชน เมืองตางๆ ในโปแลนดที่พังทลายลงเปนจํานวนมากจากสงครามโลก2 เมืองฮิโรชิมาไดสิ้นสูญลงดวยภัยจากสงครามและปรมาณูในครั้งสงคราม โลกครั้งที่ 2 รวมทั้งเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน เมียนมา ที่ได สูญเสียพระราชวังมัณฑะเลยลงจากการโจมตีทางอากาศในสงครามดวย

12

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1

ปรับปรุงเพิ่มเติมจาก เกรียงไกร เกิดศิริ, สังวาลยมรดกโลกในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตภาคพื้นทวีป: การ ศึ ก ษาโลจิ ส ติ ก ส ก ารท อ งเที่ ย วและ แนวทางการพั ฒ นาการเชื่ อ มโยง โดยให ป ระเทศไทยเป น ศู น ย ก ลาง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร 2559. หนา 75-83.

2

Anthony M. Tung. Preserving the World’s Great Cities: The Destruction and Renewal of the Historic Metropolis. New York: Three Rivers Press. 2001.


ภาพถายเกาแสดงพระราชวังกรุงวอรซอว (Warsaw Royal Palace) โปแลนดที่ไดรับความเสียหาย อยางใหญหลวงจากเหตุสงครามโลกครั้งที่ 2

นอกจากมรดกสถาปตยกรรมแลว มรดกศิลปะก็ยังถูกคุกคามจากสงครามดวยเชนกัน ภาพทหาร กําลังขนงานศิลปะ ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มา: National Archives and Records Administration (NARA)

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

13


จากผลกระทบจากสงครามอันเปนประวัติศาสตรบาดแผลของ มนุษยที่ไมนาจดจํา ดวยไดทําลายลางผูคน ตลอดจนมรดกทางวัฒนธรรม ทวาจําเปนตองบันทึกไวเปนบทเรียนเพื่อแสวงหาวิธีในการปองกันไมให เหตุอันรุนแรงนั้นเกิดขึ้นอีกในหนาประวัติศาสตรมนุษยชาติ ไมแตเพียงสงครามในระดับมหัพภาคที่สงผลตอความเสียหาย ใหกับมรดกทางวัฒนธรรม สงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้นในที่ตางๆ ที่บอย ครั้งที่ไดยึดเอาแหลงมรดกทางสถาปตยกรรมเปนหลักประกันซึ่งไดรับ ผลกระทบมากมาย นอกจากนี้ สภาวการณที่ไรระเบียบภายใตผลกระทบ จากสงครามยังนําพาใหเกิดการโจรกรรมโบราณวัตถุจากโบราณสถานที่ ถูกทิ้งรางอีกดวย สภาวการณสงคราม และการไรสันติภาพทําใหเกิดผลกระทบตอ ความมั่นคงในชีวิต และทรัพยสินจํานวนมากมาย เหตุอันควรวิตกกังวล ดังกลาวนํามาซึ่งการกําหนดทาทีระหวางกันของนานาอารยประเทศใน ชวงเวลาภายใตสภาวะแหงสงคราม ทั้งนี้ เมื่อสิ้นสุดของสงครามโลก ครั้งที่ 2 โดยไดเริ่มตนการรางอนุสัญญาระหวางประเทศฉบับใหมขึ้น รวมทั้งใหขอคิดเห็นที่เกี่ยวกับการอนุรักษมรดกแหงมนุษยชาติ ซึ่งเปนอนุสัญญาฉบับหนึ่งที่จัดทําขึ้นเพื่อพิทักษมรดกของมนุษยชาติใน สภาวะการณแหงสงคราม ซึ่งเริ่มตนครั้งแรกใน วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.2497 | ค.ศ.1954 นั่นคือ “อนุสัญญาสําหรับการคุมครองสมบัติ ทางวัฒนธรรมในกรณีที่มีความขัดแยงทางอาวุธ (the Convention for the Protection of Cultural Property in the Event of Armed Conflict)” ซึง่ รูจ กั กันในนามของ “อนุสญ ั ญากรุงเฮก ปค.ศ. 1954(1954 Hague Convention)” โดยมีพนื้ ฐานแนวคิดวา “ความเสียหายทีเ่ กิดขึ้น กับสมบัตทิ างวัฒนธรรมซึง่ ไมวา จะเปนของผูใ ด นับตัง้ แตใครคนใดคนหนึง่ ไดสรางสรรคงานชิ้นนั้นและเผยแพรสูสาธารณะ นั่นก็คือความเสียหาย ทีเ่ กิดขึน้ กับมรดกทางวัฒนธรรมของมวลมนุษยชาติ”3 ซึง่ การใหนยิ ามถึง มรดกทางวัฒนธรรมดังกลาวมานั้นไดครอบคลุมถึงมรดกสิ่งสรรคสรางที่ “เคลื่อนยายได (movable)” ซึ่งหมายถึงผลงานการสรางสรรคที่เกิดขึ้น จากความสนใจในแงของประวัติศาสตรและสุนทรียภาพ, ผลงานศิลปะ, ตัวอยางหรือสิง่ สะสมทางวิทยาศาสตร, หนังสือ หรือเอกสารจดหมายเหตุ ที่สําคัญ หรือแมกระทั่งผลลัพธของการทําซํ้าสิ่งตางๆ ที่กลาวมาขางตน และ “สิ่งเคลื่อนยายไมได (immovable)” อันไดแก สถาปตยกรรมที่เปน อนุสรณที่มีคุณคาทางศิลปะและประวัติศาสตร ทั้งที่เกี่ยวพันกับศาสนา หรือประชาชน; แหลงโบราณคดี; ยานอาคาร4 เปนตน ทั้งนี้จะเห็นไดวา อนุสัญญากรุงเฮกที่ลงสัตยาบันกันนั้นแมจะมีเปาหมายที่จะคุมครอง มรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ แตทวาก็จะครอบคลุมเฉพาะ “มรดก ทางวัฒนธรรมที่จับตองได (Tangible Cultural Heritage)” ไดเทานั้น

14

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

จารึกโรเซตตา (Rosetta Stone) อันเปนหัวใจสําคัญในการทําความ เขาใจภาษาอียิปตโบราณ ที่มา: British Museum

Convention for the Protection of Cultural Property in the Event of Armed Conflict with Regulations for the Execution of the Convention 1954. Hague: UNESCO. 1954. P.8. 4 เพิ่งอาง. 3


และก็เปนเงื่อนไขตกลงเฉพาะระหวางรัฐ ในการนี้จะเห็นไดวา ในแงของสงครามกลางเมือง หรือ สงครามภายในที่อยูนอกเหนือจากขอตกลงระหวางรัฐ แหลงมรดกทางวัฒนธรรม หรือสถานที่ เก็บรักษามรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติก็ถูกทําลายลงอยูดี ยอนกลับมาถึงอีกเหตุปจ จัย ในการทีโ่ ลกตะวันตกไดเขาครอบครองพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ เพือ่ แสวงหา ทรัพยากรมาเขาสูกระบวนการผลิต รวมทั้งการแสวงหาตลาดที่มีผูบริโภคเพื่อใหกระจายสินคา ออกไปไดในวงกวาง ซึ่งหมายความวาจะนําพาซึ่งความมั่งคั่งมาใหผูผลิตและผูคา ในขณะเดียวกัน การเปดตัวเพื่อแสวงหาทรัพยากรก็ทําใหผูคนในโลกฟากตะวันตกกลายเปนผูวางระเบียบโลกตั้งแต อดีตจนถึงปจจุบันไดการคนพบสิ่งตางๆมากมาย ทั้งที่หลายสิ่งหลายอยางเปนความรูเกาแกที่ถูก คิดคนโดยผูค นอีกกลุม หนึง่ มาอยางยาวนานแลว รวมไปถึงในบางพืน้ ทีย่ งั ก็เปนแหลงทีม่ สี งิ่ กอสราง ขนาดใหญโต จนทําใหผูไมไดอยูรวมรากวัฒนธรรมกับเจาของพื้นที่ยกใหเปนสิ่งมหัศจรรยที่มี ขอกังขาวามนุษยหรือผูใดสราง สําหรับพื้นที่แรกๆ ของซีกโลกฟากตะวันออกที่ทําใหชาวตะวันตก รูสึกพิศวงคงหนีไมพนพื้นที่แอฟริกาและเอเชีย โดยเฉพาะอารยธรรมไอยคุปตที่นอกจากจะมี การก อ สร า งมหาพี ร ะมิ ด ขนาดใหญ ยั ง มี ค วามลั บ ในวั ฒ นธรรมที่ แ ตกต า งไปจากแบบแผน การดําเนินชีวิตของผูคนในโลกซีกตะวันตก เชน การทํามัมมี่ เปนตน เพราะฉะนั้นเมื่อชาติ มหาอํ านาจตะวั นตกเข า ครอบครองพื้น ที่ ต  า งๆ ด ว ยความแตกตื่ น สงสั ย และความใคร รู  จึง มี การทํ าการศึ ก ษามรดกทางวั ฒ นธรรมตา งๆ อยา งลึก ซึ้ง และในหลายกรณีที่ ผู  ค นในดิน แดน ตนกําเนิดของวัฒนธรรมเหลานั้นไดหลงลืมวิถีวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนไปแลว แตการศึกษาอยาง ลึกซึ้งในชั้นหลังก็ไดไขปญหาตางๆ ไดมากมาย อาทิเชน การอานจารึกอียปิ ตจากศิลาจารึกโรเซตตา (Rosetta Stone) ทีช่ ว ยไขปญหาเรื่องความหมายของอักษรลิ่มอียิปตได ทวาความใครรูและ ความใครที่จะครอบครองความรูของชาวตะวันตกในอดีตนั้นไดนําพามาสูการเคลื่อนยายผลผลิต ทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติไปเก็บรักษายังดินแดนบานเกิดเมืองนอนของตนเพือ่ การศึกษา บางก็ เพื่อแสดงใหคนในชาติของตนเห็นวาพื้นที่ที่รัฐของตนแผขยายอํานาจเขาไปปกครองยังดินแดนอัน ไกลโพนนั้นมีวิถีวัฒนธรรมอยางไร ซึ่งในปจจุบันนั้นแนวคิดดังกลาวนี้ไมอาจเปนที่ยอมรับไดแลว จากมูลเหตุดังกลาวขางตนจะเห็นวา ความตื่นตัวในการแสวงหาความรูของโลกตะวันตก นําพามาซึง่ การเดินทางทองเทีย่ ว การเรียนรู และมีปลายทางเพือ่ การยกระดับคุณภาพชีวติ ของตน ดวยวิธีการตางๆ โลกอันแสนไกลที่ชาวตะวันตกหลงใหลเห็นจะหนีไมพนดินแดนที่ครอบครอง วิถีวัฒนธรรมที่ลี้ลับในโลกอดีต คือ “อียิปต” ซึ่งพื้นที่แหงนี้เองไดกลายมาเปนหมุดหมายสําคัญ ของบันไดกาวแรกสูแนวความคิดเรื่องการอนุรักษแหลงมรดกวัฒนธรรมภายใตความรวมมือใน ระดับนานาชาติ กลาวคือ ในราวพ.ศ. 2497 | ค.ศ.1654 กระแสในการพัฒนาดวยการสราง สิ่งกอสรางขนาดใหญโดยมีนัยเพื่อการชลประทานของ “เขื่อนสูงอาสวาน (Aswan High Dam)” ในชวงเวลาดังกลาวนั้นไดรับแนวคิดจากการพัฒนาขึ้นหลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในโลกฟาก ตะวันตกทีท่ าํ ใหเกิดการสรางและเพิม่ พูนปจจัยในการผลิตใหมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะเปนไปได การเกิดขึน้ ของเขื่อนอาสวานในครั้งนั้น ไดกอใหเกิดทะเลสาบเหนือเขื่อนผืนใหญมหึมาทวมทับหุบเขาแหง ลุมนํ้าไนลตอนบน และทวมทับเหนือแหลงโบราณคดีจํานวนมากมายที่ยังไมมีการสํารวจตอง จมหายไปใตบาดาลตลอดกาล

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

15


การตัดสินใจเลือกที่จะคงรักษาแหลงมรดกทางวัฒนธรรมบน พื้นที่กับการสรางความเปลี่ยนแปลงบนพื้นที่ ซึ่งหยิบยืมคําวา “พัฒนา” มาใชอธิบายนัน้ ดูเหมือนจะเปนคูต รงขามกันมาโดยตลอด และเกือบทุกครัง้ สิ่งที่เกิดขึ้นในพื้นที่จะบรรจบลงที่การเปลี่ยนแปลงมากกวาการรักษา ทวากรณีศึกษาของการสรางเขื่อนอาสวานนั้นแมวาจะเลือกยืนอยูขาง ความเปลีย่ นแปลง เนือ่ งจากมีความหวังวาความเปลีย่ นแปลงดังกลาวนัน้ จะสามารถสรางชีวิตความเปนอยูที่ดีใหแกผูคนได แตทวาก็มิไดทอดทิ้ง แหลงโบราณคดีใน “วัฒนธรรมนูเบีย (Nunia)” ซึ่งมีอายุราว 3,500 ป กอนคริสตกาลใหจมอยูใตโลกบาดาล กลาวคือ ในปพ.ศ.2502 | ค.ศ.1959 รัฐบาลอียิปตและซูดาน ไดตระหนักถึงผลกระทบทีก่ าํ ลังจะเกิดขึน้ ตอ “มหาวิหารอัมบูซมิ เบล และ ไฟเล (The Temple Complexes of Abu Simbel and Philae)” จึงได ดําเนินการรองขอความชวยเหลือจากนานาชาติผาน “องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization)” หรือที่เรียกชื่อ ยอวา “ยูเนสโก (UNESCO)” ทั้งนี้ ตอมาในปพ.ศ.2503 | ค.ศ.1960 ผูอ าํ นวยการสามัญขององคการยูเนสโกไดเรียกรองใหรฐั ภาคีสมาชิกเขาให ความชวยเหลือในโครงการรักษาแหลงโบราณคดีของนูเบีย ซึ่งไดลงมติ ใหมีการยายมหาวิหารทั้งสองขึ้นไปตั้งไวบ นหน า ผาที่ พ  น จากระดั บ ที่ นํา้ ทวมถึง รวมไปถึงมีการกอตัง้ หนวยงานความรวมมือทีม่ งุ บริหารจัดการ แหลงอยางยัง่ ยืนในมิตติ า งๆ รวมถึงการพิพธิ ภัณฑและการสือ่ ความหมาย แมวาโครงการรื้อยายแหลงโบราณคดีมหาวิหารอัมบูซิมเบล และไฟเลในครั้งนั้นจะประสบความสําเร็จอยางสูง ทวา ณ วันนี้ หลังจาก ที่ประชุมนานาชาติอิโคโมส ครั้งที่ 15 ณ เมืองซีอาน ประเทศจีน ซึ่งมี ประเด็นที่พิจารณาหารือและผลักดันการประกาศแนวทางการอนุรักษ ที่วาดวยเรื่อง “ที่ตั้ง (Setting)” ออกมา เพระฉะนั้น ในวันนี้ที่กระบวน ทั ศ นของการอนุ รั กษ มี ความเปลี่ ยนแปลงไปการไม พิ จารณารื้ อ ย ายก็ กลายเปนแนวทางที่ไมเหมาะสมสําหรับการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม อีกตอไป5 จากหมุดหมายความรวมมือในระดับนานาชาติที่เกิดขึ้นมาใน ครั้งนั้นองคการยูเนสโกไดเล็งเห็นแนวทางประสานความรวมมือระหวาง รัฐภาคีตางๆ โดยใชแนวคิดเรื่องการบริหารจัดการมรดกของมนุษยชาติ รวมกันเพื่อความยั่งยืน ในการนั้นองคการยูเนสโกจึงใชกลไกของธรรมนูญ ภายใตขอบัญญัติที่กําหนดใหมีภารกิจในการปกปองคุมครอง การศึกษา ความรู และเผยแพรความรูในการอนุรักษและคุมครองปองกันมรดกของ มนุษยชาติ โดยการจัดทําอนุสัญญาระหวางประเทศในการประชุมใหญ องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติสมัยสามัญ

16

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ICOMOS. Xi’an Declaration on the Conservation of Setting of Heritage Structures, Site and AresAdopted in Xi’an, China, by the 15th General Assembly of ICOMOS on 21 October 2005. 5


ภาพการรื้อยายแหลงโบราณคดีมหาวิหารอัมบูซิมเบล

า: Per-Olow Forskning Framsteg คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัที ฒ่มนธรรม และแหลงAnderson. มรดกทางธรรมชาติ เปน แหล&งมรดกโลก

1967 17


ครั้งที่ 17 ณ กรุงปารีส โดยที่ประชุมมีมติใหกอตั้งกลไกในการดําเนินงาน และมีมติรับรอง “อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการคุมครองมรดกโลก ทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ (Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage)” ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2515 | ค.ศ.1972 โดยมีสาระสําคัญที่เกี่ยวของกับการพิจารณามรดก ของมนุษยชาติทั้งมรดกทางธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรม โดยมี วัตถุประสงคเพื่อการสงเสริมการมองโลกอยางเปนองครวมระหวาง “มนุษย” กับ “สิ่งแวดลอม” ภายใตแนวคิดของ “มรดกแหงมวลมนุษยชาติ” แตทวา เมื่อมีการเสนอชื่อแหลงมรดกโลกนั้นกลับจําแนกออกเปนแหลง “มรดกโลก ทางวัฒนธรรม” และ “มรดกโลกทางธรรมชาติ” ทั้งนี้ คําวา “มรดกโลก (World Heritage)” มีความหมายถึง “สิ่งที่ สืบทอดมาจากอดีตทีด่ าํ รงอยูก บั เราในวันนี้ และเปนสิง่ ทีเ่ ราสงผานใหแกคนใน รุนตอไปมรดกทางวัฒนธรรมและมรดกทางธรรมชาติตางก็เปนตนธารอันไม อาจทดแทนไดของทั้งวิถีชีวิตและจิตวิญญาณ”6 ทั้งนี้ “มรดก (Heritage) ไม ไดเปนเพียงแคของเกา ไมไดเปนเพียงแคเรื่องราวในหนาประวัติศาสตร ทวา มรดก คือ รอยประทับทางวัฒนธรรมที่แสดงออกถึงอารยธรรมของมนุษยชาติ บางแสดงออกถึงเกียรติภูมิ และยังปรากฏอยูมาตั้งแตตนธารเริ่มตนของการ กอรางสรางตัวจนกระทั่งปจจุบัน”7 นอกจากนี้ การเขาสูสมัยใหมเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมไดในทุกสังคม แต ทวาการเขาสูการเปนสมัยใหมนั้นตองไมทําใหคุณคาดานตางๆ ของมรดกแหง มนุษยชาติตองดอยคาลง หากแตการเขาเปนสมัยใหมกลับจําตองทําใหเกิด การธํารงรักษาคุณคาของมรดกใหคงไวโดยใหเปนตัวบงชี้ของการพัฒนาที่ ยั่งยืนเพื่อเปนการสรางเสถียรภาพของสังคมอีกทั้งเปนประโยชนตอทั้งผูคนใน ปจจุบัน และอนุชนรุนหลังตอไปดวย สําหรับ “มรดก” ดังที่กลาวมาขางตนนั้น สามารถจําแนกออกไดเปน 2 ประเภท คือ “มรดกที่มีรูปลักษณ” บางก็เรียกวา “มรดกที่เปนรูปธรรม” บางก็เรียกวา “มรดกที่จับตองได” ซึ่งใชคําในภาษาอังกฤษวา “Tangible Heritage” ซึ่งในอดีตนั้นไดใชคําวา “Material” ซึ่งหมายถึงเปนรูปรางเปน วัสดุที่จับตองได และอีกประเภท คือ “มรดกที่ไรรูปลักษณ” บางก็เรียกวา “มรดกนามธรรม” บางก็เรียกวา “มรดกที่จับตองไมได” ซึ่งใชคําในภาษา อังกฤษวา “Intangible Heritage” หรือในอดีตใชคําวา “Immaterial” ทัง้ นี้ การพิจารณาในประเด็น “มรดก” จะสัมพันธกบั ประเด็นทีว่ า ดวย “พืน้ ที”่ หรือ “แหลง” กลาวคือ มรดกของมนุษยชาติทงั้ มวลตองมีความสัมพันธ กับพืน้ ที่ ทัง้ ในตําแหนงทางภูมศิ าสตร และเอกลักษณทางวัฒนธรรม นอกจากนี้ ยังมีความสัมพันธกบั บริบททางสังคม ตลอดจนโครงสรางชุมชน ทัง้ นี้ ในขอบเขต ทางพื้นที่ใดๆ ประกอบไปดวยวัฒนธรรม ประเพณี และสภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติ รวมไปถึงมีองคประกอบบางประการที่มีมิติเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับ จิตวิญญาณของพืน้ ที่ ซึง่ หมายถึงวามีทั้งมรดกที่เปนรูปธรรมและนามธรรม 18

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สัญลักษณโลสีฟา(Blue Shield) เป น สั ญ ลั ก ษณ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ทราบวา สิ่งที่มีสัญลักษณนี้ติด อยู  นั้ น จะได รั บ ความคุ  ม ครองใน ฐานะมรดกของมนุษยชาติ ดังที่ กลาวไวใน หัวขอที่ 8 บทที่ 16 และ 17 ในอนุสัญญากรุงเฮก 1954

http://whc.unesco.org/en/about เกรียงไกร เกิดศิริ. ลานนากับการ เปนมรดกโลก. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย. 2553.

6 7


ตราสัญลักษณ มรดกโลก (World Heritage Logo)

ตราสัญลักษณลอ มรอบดวยอักษร 3 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ (WORLD HERITAGE) ภาษาฝรัง่ เศส (PATRIMOINE MONDAIL) และภาษาของประเทศนัน ้ ๆ

ตราสัญลักษณ “มรดกโลก (World Heritage Logo)” ออกแบบ โดย Michel Olyff ศิลปนชาวเบลเยี่ยม ถูกนํามาใชอยางเปน ทางการในการประชุมมรดกโลกเมื่อปพ.ศ.2521 | ค.ศ. 1978 ตราสัญลักษณดังกลาวประกอบขึ้น โดยมีรูป “วงกลม” เปน สัญลักษณแทนสิง่ ทีบ่ งั เกิดขึน้ เองโดย “ธรรมชาติ” จึงจะมีรปู ทรง ขัน้ พืน้ ฐานอยูใ นรูปของทรงกลมอยูเ สมอๆ สําหรับรูป “สีเ่ หลีย่ ม” มีความหมายแทน “สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น” เนื่องจากเปนรูปทรงที่ ไมปรากฏขึ้นเองตามธรรมชาติ เพราะฉะนั้น รูปสี่เหลี่ยมที่ซอน อยูในรูปวงกลมจึงมีความหมายถึง “สิ่งที่มนุษยสรางสรรค อันหมายถึงมรดกทางวัฒนธรรมใดๆนั้น ยอมมีความจําเปน ตองอยูภายใตวงลอมของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ โดยไม อาจแยกขาดออกจากกันได”

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

19


ประเภทของแหลงมรดกโลก ในเอกสาร “อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ (Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage)” ไดกําหนดคุณลักษณะและนิยามของสิ่งตางๆที่ถือวาเปนมรดกโลกไว 2 ลักษณะคือ มรดกทาง วัฒนธรรม และมรดกทางธรรมชาติ7 อยางไรก็ตาม ใน “เอกสารแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญา คุมครองมรดกโลก (Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention)” ไดเพิ่มเติมแหลงมรดกที่มีคุณลักษณะแบบผสมระหวางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ดังนั้น ประเภทของแหลงมรดกโลกมีทั้งหมด 3 ประเภท คือ 1) มรดกโลกทางวัฒนธรรม (Cultural World Heritage) 2) มรดกโลกทางธรรมชาติ (Natural World Heritage) 3) แหลงมรดกโลกแบบผสมระหวางวัฒนธรรมและธรรมชาติ (Mixed Cultural and Natural World Heritage)” โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ UNESCO. Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage. Paris: UNESCO, 1972.p.2.

8

มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ใหนยิ าม “มรดกทางวัฒนธรรม” มีความหมายครอบคลุมถึงสิ่งตางๆ ดังนี้ อนุสรณสถาน (Monuments) ไดแก ผลงานสรางสรรคทางสถาปตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ที่ประกอบเขาดวยกันเปนอาคารที่มีคุณลักษณะของ อนุสรณสถาน หรือประกอบดวยแหลงโบราณคดี จารึก ถํ้าที่อยูอาศัย ตลอดจน การบูรณาการคุณคาของสิ่งตางๆ ดังกลาวมาขางตนอันทําใหเกิดคุณคาโดดเดนอัน เปนสากลในมิติทางประวัติศาสตร ศิลปะ หรือวิทยาศาสตร กลุมอาคาร (Group of Building) กลุมของสิ่งกอสรางที่แยกจากกัน หรือตอเนื่องกันโดยลักษณะทางสถาปตยกรรมหรือความสอดคลองกลมกลืน หรือ ที่ตั้งภูมิทัศน ซึ่งมีคุณคาโดดเดนอันเปนสากลในมิติทางประวัติศาสตร ศิลปะ หรือ วิทยาศาสตร แหลง (Sites) ผลงานที่เกิดจากมนุษย หรือการผสมผสานรวมกัน ระหวางผลงานของธรรมชาติและของมนุษยและรวมถึงแหลงโบราณคดีซึ่งมีคณ ุ คา โดดเดนอันเปนสากลในมิติทางดานประวัติศาสตร สุนทรียศาสตร, ชาติพันธุวิทยา หรือมานุษยวิทยา

20

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


เมมฟส และเนโครโพลิส - ทุงพีระมิดจากกีซาถึงดัชเชอร (Memphis and its Necropolis – the Pyramid Fields from Giza to Dahshur) เปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ประเภทอนุสรณสถาน (Monument) ไดรับการขึ้นทะเบียน เมื่อป พ.ศ.2522 | ค.ศ.1979 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอ ที่ 1, 3 และ 6 ที่มาของรูปภาพ: http://whc.unesco.org/en

กลุมศาสนสถานโบโรบูเดอร (Borobudur Temple Compound) ที่ชาวไทยรูจักกันในนามวา “บรมพุทธโธ” ประเทศ อินโดนีเซีย ไดรบ ั การขึน ้ ทะเบียนเปนมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมื่อป พ.ศ.2534 | ค.ศ.1991 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 1, 2 และ 6

ปราสาทนครธมหนึ่งในปราสาทหินสําคัญของแหลงมรดกโลกนครวัด (Angkor Wat) ประเทศกัมพูชา ไดรับการขึ้นทะเบียน เปนมรดกโลกทางวัฒนธรรมเมื่อป พ.ศ.2535 | ค.ศ.1992 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 1, 2, 3 และ 4

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

21


กลุมอนุสรณสถานคชุราโห (Khajuraho Group of Monuments) ประเทศอินเดีย แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ประเภท กลุม  อาคาร (Group of Building) ไดรบ ั การขึน ้ ทะเบียนเมือ่ ป พ.ศ.2530 | ค.ศ.1986 โดยมีคณ ุ สมบัตต ิ ามเกณฑ ขอที่ 1 และ 3

อนุสรณสถานทางประวัติศาสตร เมืองโบราณนรา (Historic Monuments of Ancient Nara) ประเทศญี่ปุน เปนแหลงมรดกโลกทาง วัฒนธรรม ประเภทกลุมอาคาร (Group of Building) ไดรับการขึ้น ทะเบียนเมื่อป พ.ศ.2541 | ค.ศ.1998 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 1, 3, 4 และ 6 22

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ฟูเจี้ยนถูโหลว (Fujian Tulou) ประเทศจีน แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ประเภทกลุมอาคาร (Group of Building) ไดรับ การขึ้นทะเบียนเมื่อป พ.ศ.2551 | ค.ศ.2008 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 3, 4 และ 5

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

23


เมืองประวัติศาสตรอยุธยา (Historic City of Ayutthaya) ประเทศไทย แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ประเภทแหลง (Sites) ไดรับการขึ้น ทะเบียนเมื่อป พ.ศ.2534 | ค.ศ.1991 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 3

24

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


แหลงมรดกโลกเมืองหลวงพระบาง (Town of Luang Prabang) ประเทศลาว แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ประเภทแหลง (Sites) ไดรคูบ ั มการขึ น ้ ทะเบี ยนเมืงอ่ มรดกทางวั ป พ.ศ.2538 | ค.ศ.1995 โดยมี คณ ุ สมบัตต ิ ามเกณฑ อที่ 2, 4 และ 25 5 ือการนํ าเสนอแหล ฒนธรรม และแหล งมรดกทางธรรมชาติ เปน แหลงขมรดกโลก


พื้นที่กลุมปาดงพญาเย็น-เขาใหญ (Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex) ประเทศไทย ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ทางธรรมชาติ เมื่อปพ.ศ. 2548 | ค.ศ.2005 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 10 ที่มา: วรพจน บุญความดี, อายุวัต เจียรวัฒนกนก

26

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


มรดกทางธรรมชาติ (Natural Heritage) อนุ สั ญ ญาว า ด ว ยการคุ  ม ครองมรดกโลกทางวั ฒ นธรรมและทาง ธรรมชาติ ใหนิยาม “มรดกทางธรรมชาติ” มีความหมายครอบคลุมถึงสิ่งตางๆ ดังนี้ ลักษณะทางกายภาพและทางชีวภาพ หรือกลุม ของสภาพทางธรรมชาติ ซึง่ มีคณ ุ คาโดดเดนอันเปนสากลในมิติทางสุนทรียศาสตร หรือวิทยาศาสตร สภาพองคประกอบทางธรณีวิทยา หรือธรณีสัณฐาน หรือบริเวณที่ พิสูจนทราบไดอยางชัดแจงวาเปนถิ่นที่อยูอาศัยของสายพันธุสัตวและพืชที่ กําลังไดรับการคุกคามซึ่งมีคุณคาโดดเดนอันเปนสากลในมิติทางวิทยาศาสตร หรือการอนุรักษ สภาพธรรมชาติหรือบริเวณที่พิสูจนทราบอยางชัดแจงวามีคุณคา โดดเดนเปนสากล ในมิตทิ างวิทยาศาสตร การอนุรักษ และความงดงามตาม ธรรมชาติ

อุทยานแหงชาติแกรนดแคนยอน (Grand Canyon National Park) ภูมิทัศนหินผาอันสวยงามตระการตา เกิดจากการ สึกกรอนของหิน ประกอบกับการยกตัวของเปลือกโลก จนกลายเปนรองเหวลึกสลับซับซอน ซึ่งตองใชเวลานับลานป ไดรับ การขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางภูมท ิ ศ ั นวฒ ั นธรรม เมือ่ ป พ.ศ.2522 | ค.ศ.1979 โดยมีคณ ุ สมบัตต ิ ามเกณฑ ขอที่ 7, 8, 9 และ 10 ที่มา: http://whc.unesco.org/en/list/75

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

27


มรดกผสมระหวางวัฒนธรรมและธรรมชาติ (Mixed Cultural and Natural Heritage) “มรดกแบบผสมระหวางวัฒนธรรมและธรรมชาติ” จะพิจารณาจาก แหลงที่มีคุณสมบัติตามเกณฑสวนใดสวนหนึ่งหรือทั้งหมดของคํานิยามของ มรดกทางวัฒนธรรมและมรดกทางธรรมชาติ

ภูเขาอาทอส (Mount Athos) ประเทศกรีซ ศาสนสถานบน ภูเขาศักดิ์สิทธอันเปนศูนยกลางทางจิตวิญญานของศาสนา คริสตนิกายออโธดอกซ สรางขึ้นในป พ.ศ.1597 | ค.ศ.1054 ได รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นเป น แหล ง มรดกโลกผสมระหว า ง วัฒนธรรมและธรรมชาติเมื่อปพ.ศ. 2531 | ค.ศ.1988 โดยมี คุณสมบัตต ิ ามเกณฑ ขอที่ 1, 2, 4, 5, 6 และ 7 ที่มา: https://whc.unesco.org/en/list/454

28

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ภูเขาไทซาน (Mount Taishan) ประเทศจีน ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ อันเปนภาพสะทอนคติทางความเชื่อในวัฒนธรรมจีน การ ปรับภูมิทัศนใหกลมกลืนกับสภาพแวดลอมธรรมชาติ ไดรับ การขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกผสมระหวางวัฒนธรรม และธรรมชาติเมื่อปพ.ศ. 2530 | ค.ศ.1987 โดยมีคุณสมบัติ ตามเกณฑ ขอที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 ที่มา: https://whc.unesco.org/en/list/437


จํานวนของแหลงมรดกโลก แบงตามประเภทของแหลง

ทีม ่ า: http://whc.unesco.org/en/list เขาถึงเมือ่ มีนาคม พ.ศ.2561

จากการศึกษาพบวา ในปจจุบัน (มีนาคม พ.ศ.2561 | ค.ศ.2018) มีแหลงมรดกที่ไดรับ การขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก จํานวนทั้งหมด 1,073 แหลงทั่วโลก หากจําแนกตามประเภทของ แหลงมรดกโลก พบวา แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม มีจํานวนสัดสวนมากที่สุดคือ 832 แหลง (รอยละ 77.53) รองลงมาคือ แหลงมรดกโลกประเภทธรรมชาติ จํานวน 206 แหลง (รอยละ 19.20) แหลงมรดกโลกแบบผสม มีจํานวนแหลงนอยที่สุดเพียง 35 แหลง (รอยละ 3.27) อยางไรก็ตาม มูลเหตุที่ “แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม” นั้นมีจํานวนมากเมื่อเทียบกับแหลง มรดกโลกประเภทอื่นๆ ทั้งนี้เนื่องมาจากมรดกทางวัฒนธรรมนั้นมีความเปนพลวัต ทําใหกระบวนการ การแลกรับปรับเปลี่ยนทางวัฒนธรรมเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดไมยากนัก และเมื่อวัฒนธรรมตางๆ เหลานั้นมี การพัฒนาปรับตัวใหสอดคลองกับบริบทก็ทําใหเกิดความเปนเอกลักษณ เพราะฉะนั้นแหลงมรดกโลกทาง วัฒนธรรมจึงมีจํานวนมากอันสะทอนใหเห็นถึงความหลากหลายของแหลงมรดกทางวัฒนธรรมที่ปรากฏ อยูบนโลก ในขณะที่ “แหลงมรดกโลกทางธรรมชาติ” นั้น มีกระบวนการกอรูปของภูมิลักษณ และ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางกายภาพเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดยากกวาและบางแหงตองใชระยะเวลายาวนาน หลายลานป อีกทั้งแหลงมรดกทางธรรมชาติมีหลักเกณฑการประเมินคุณคาที่ใชการบงชี้ทางวิทยาศาสตร เปนหลัก ดังนั้น ทําใหจํานวนของแหลงมรดกโลกทางธรรมชาติมีจํานวนนอยกวาแหลงมรดกโลกทาง วัฒนธรรมอยางเห็นไดชัด สําหรับ “แหลงมรดกโลกแบบผสม” เปนประเภทของแหลงมรดกโลกที่มีจํานวนของแหลงนอย ที่สุด เนื่องจากเปนประเภทของแหลงที่มีการประเมินคุณคาทั้งในเกณฑทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ทําใหมกี ระบวนการในการเตรียมการเอกสารที่ซับซอน อีกทั้งตองอธิบายคุณคาโดดเดนอันเปนสากลที่ แสดงถึงบริบทความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมและธรรมชาติควบคูกันไป คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

29


จํานวนของแหลมรดกโลก แบงตามภูมิภาค

ทีม ่ า: http://whc.unesco.org/en/list เขาถึงเมือ่ มีนาคม พ.ศ.2561/

เมื่อทําการพิจารณาแหลงมรดกโลกตามภูมิภาค ที่มีการจัดแบงภูมิภาคตางๆ ออกเปน 5 ภูมิภาค โดยเรียงลําดับมากไปหานอย พบวา ภูมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ มีแหลงมรดกโลก จํานวน 506 แหลง (รอยละ 47.16) ภูมภิ าคเอเชียและแปซิฟค มีแหลงมรดกโลก จํานวน 253 แหลง (รอยละ 23.58) ภูมภิ าค ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน แหลงมรดกโลก จํานวน 139 แหลง (รอยละ 12.95) ภูมิภาคแอฟริกา มีแหลง มรดกโลก จํานวน 93 แหลง (รอยละ 8.67) และ กลุม รัฐอาหรับ มีแหลงมรดกโลก จํานวน 82 แหลง (รอยละ 7.64) ตามลําดับ หากพิจารณาในประเด็นของจํานวนแหลงมรดกโลกที่กระจายตัวตามภูมิภาคตางๆ ที่มีสัดสวนไม เทากันนั้น มีมูลเหตุหลายประการ อาทิ ขนาดของภูมิภาคซึ่งทําใหมีความหลากหลายทางสภาพแวดลอมอันนํา ไปสูความหลากหลายทางนิเวศวิทยาซึ่งยอมนําไปสูความซับซอนหลากหลายของวัฒนธรรมซึ่งมีพื้นฐานที่ กอรูปขึ้นจากปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมที่มีลักษณะเฉพาะตัวดังกลาวดวยนั้นเอง ประเด็นถัดมา จะเห็นไดวาใน การแบงภูมิภาคนั้นมีขอบเขตพื้นที่ที่กวางขวางไมเทากัน ซึ่งประเด็นดังกลาวก็ทําใหในภูมิภาคตางๆ เหลานั้น มีจาํ นวนแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกมี จํานวนไมเทากันดวย นอกจากนี้ จะเห็นไดวาในภูมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือซึ่งเปนภูมิภาคที่ประกอบขึ้นจาก รัฐภาคีสมาชิกผูกําหนดทิศทางของมรดกโลกมาแตตน อันทําใหมีกลไกในการทําความเขาใจเกณฑตางๆ อันนํา ไปสูการเตรียมความพรอมดานตางๆ ไดอยางชัดเจน และตรงกับประเด็นที่ตองดําเนินการ ซึ่งยอมทําใหการ ดําเนินการตางๆ ในกระบวนการเสนอขอมูลเพื่อประกอบการพิจารณาดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดวยเชนกัน

30

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


สัดสวนประเภทของแหลงมรดกโลก แบงตามภูมิภาค

ทีม ่ า: http://whc.unesco.org/en/list เขาถึงเมือ่ มีนาคม พ.ศ.2561

ภูมภิ าคทีม่ ี “แหลงมรดกโลกทางธรรมชาติ” เรียงลําดับจากมากไปนอยไดแก ภูมภิ าคเอเชียและแปซิฟค 64 แหลง, ภูมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ 62 แหลง, ภูมิภาคลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 38 แหลง, ภูมิภาคแอฟริกา 37 แหลง และกลุมรัฐอาหรับ 5 แหลง ภูมิภาคที่มี “แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม” เรียงลําดับจากมากไปนอยไดแก ภูมิภาคยุโรปและ อเมริกาเหนือ 434 แหลง, ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟค 177 แหลง, ภูมิภาคลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 96 แหลง, กลุมรัฐอาหรับ 74 แหลง, และ ภูมิภาคแอฟริกา 51 แหลง ภูมิภาคที่มี “แหลงมรดกโลกแบบผสม” เรียงลําดับจากมากไปนอยไดแก ภูมภิ าคเอเชียและแปซิฟค 12 แหลง, ภูมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ 10 แหลง, ภูมิภาคลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 5 แหลง, ภูมิภาค แอฟริกา 5 แหลง และกลุมรัฐอาหรับ 3 แหลง จากขอมูลขางตนมีประเด็นที่นาสนใจ คือ แหลงมรดโลกทางธรรมชาติอยูในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก มากที่สุดเนื่องจากเปนพื้นที่มีความหลากหลายทางภูมิศาสตรอันทําใหเกิดชีวมณฑลที่แตกตางกัน ทั้งนี้ จะเห็น วา ภูมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือมีแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมมากกวาภูมิภาคอื่นๆ แตเมื่อพิจารณาแหลง มรดกโลกแบบผสมจะเห็นวาปรากฏในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟคมากกวา อันสะทอนถึงปรัชญาตะวันออกที่มี รากฐานความคิดเรื่องความเกื้อกูลระหวางการตั้งถิ่นฐานกับสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ซึ่งประเด็นดังกลาวนั้นมี ความนาสนใจและสามารถนํามาประยุกตเปนยุทธศาสตรของการนําเสนอแหลงมรดกโลกในเอเชียและแปซิฟก รวมทั้งประเทศไทยได คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

31


แหลงภูมิทัศนจางอาน (Trang An Landscape Complex) ประเทศเวียดนาม เปนแหลงมรดกโลกแบบ ภูมิทัศนวัฒนธรรม (Cutural Landscape) ที่แสดงปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอม โดยพบ หลักฐานการตั้งถิ่นฐานของมนุษยตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตรและมีพัฒนาการทางวัฒนธรรมมาอยาง ตอเนื่องภายใตสภาพแวดลอมที่สัมพัน ธกับวิวัฒนาการทางธรณีวิทยาของภูมิประเทศเทือกเขาหินปูน และไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางภูมิทัศนวัฒนธรรม เมื่อปพ.ศ.2557 | ค.ศ.2014 และมี การปรับปรุงขอบเขตพื้นที่เพิ่มเติมในปพ.ศ.2559 | ค.ศ.2016 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 5, 7 และ 8

32

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ภูมิทัศนวัฒนธรรม (Cultural Landscape)9 คําวา “ภูมิทัศนวัฒนธรรม (Cultural Landscape)” เปนคําศัพทที่ถูกใชครั้งแรก โดยนักประวัตศ ิ าสตรชาวเยอรมัน และนักภูมศ ิ าสตรชาวฝรัง่ เศส มาตัง้ แตชว งหลังศตวรรษ ที่ 19 แตเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายมากขึ้นในชวงศตวรรษที่ 20 โดยคารล ซาเออร สํานัก ภูมิศาสตรมนุษยแหงเบิรก  เลย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในชวงปพ.ศ.2463 | ค.ศ.1920 จนกระทั่งประมาณปพ.ศ.2533 | ค.ศ.1990 คณะกรรมการมรดกโลกไดเริ่มคํานึงแนวความคิดทางภูมิทัศนวัฒนธรรมและไดใชเวลาใน ทศวรรษที่ผานมาในการบุกเบิกการประยุกตใช จนกระทั่งมีการขึ้นทะเบียนแหลงมรดกโลก ทางภูมิทัศนวัฒนธรรมขึ้น ทั้งนี้ มีผูใหคําจํากัดความไวหลากหลาย เชน “ผลที่แสดงออกมาในรูปของ ภูมิทัศนธรรมชาติที่มองเห็น โดยการที่วัฒนธรรมเปนผูกระทํา, ธรรมชาติเปนสื่อกลาง และ ภูมิทัศนวัฒนธรรมคือผลของการกระทําดังกลาว” หรือ “ผลผลิตที่เห็น ไดอยางเดนชัด ของความเกีย ่ วเนือ่ งกันระหวางผลของการกระทําของชุมชนมนุษยชาติ โดยกอรูปขึน ้ จากผล ของวัฒนธรรม และความสามารถเทาที่จะเปนไปตามแตที่ธรรมชาติแวดลอมจะเอื้ออํานวย ซึ่งก็คือมรดกอันทรงคุณคาที่ตกทอดมาจากวิวัฒนาการทางธรรมชาติ และของความ พยายามของมนุษยตลอดทุกยุคทุกสมัย” เปนตน เอกสารแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก ใหคําจํากัดความ ของภูมท ิ ศ ั นวฒ ั นธรรมดังนี้ “ผลลัพธทเี่ กิดขึน ้ จากการผสานกันระหวางธรรมชาติและมนุษย โดยแสดงใหเห็นถึงวิวฒ ั นาการของสังคมมนุษย และการตัง้ ถิน ่ ฐานของมนุษยผา นกาลเวลา มาจนกระทัง่ ปจจุบน ั ภายใตอท ิ ธิพลของขอจํากัดทางกายภาพ และหรือโอกาสทีจ่ ะนําเสนอ ขึน ้ โดยที่สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติเปนตัวกําหนดรูปแบบ ตลอดจนเปน การสืบตอในทาง สังคม, เศรษฐกิจ และแรงกดดันทางวัฒนธรรม ทั้งปจจัยภายนอกและปจจัยภายใน โดย พื้นที่ดังกลาวไดผานการเลือกเฟนตามหลักเกณฑของคุณคาในความโดดเดนอัน เปน สากล (Universal Values) จนสามารถเปนตัวแทนที่ชัดเจนของภูมิวัฒนธรรม รวมไปถึง การแสดงใหเห็นถึงหัวใจสําคัญของวัฒนธรรมแหงภูมิภาค” จะเห็นไดวาสาระสําคัญของ “ภูมิทัศนวัฒนธรรม” คือ สภาพแวดลอมที่เกิดขึ้น จากการกระทําระหวางกันของวัฒนธรรมมนุษยกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ปรับปรุงจาก เกรียงไกร เกิดศิร.ิ (2553). “วัดพู: มรดกโลกทางภูมทิ ศั นวฒ ั นธรรมแหงเมืองจําปาสัก: คุณคาและแนวคิด ในการจัดการพืน้ ที”่ ใน ทรรศนะอุษาคเนย. หนาที่ 194-214.

9

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

33


ตําแหนงของแหลงมรดกโลก ประเภทภูมิทัศนวัฒนธรรม

34

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


Wold Heritage List: Cultural Landscape

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

35


“ภูมิทัศนวัฒนธรรมสวนเปอรเซีย (Persian Garden)” สาธารณรัฐอิสลามอิหราน เปนผลงานที่ไดรับ การออกแบบสรางสรรคอยางชาญฉลาดดวยความรูทางวิศกรรมและความงดงามทางสถาปตยกรรม และภูมส ิ ถาปตยกรรม โดยมีรากเหงาทางประวัติศาสตรมาอยางยาวนาน และไดรับการขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมื่อปพ.ศ.2554 | ค.ศ. 2011 มีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 1, 2, 3, 4 และ 6

36

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


คุณลักษณะของแหลงมรดกทางวัฒนธรรม แหลงมรดกทางวัฒนธรรมกอตัวขึน้ จากปจจัยแวดลอมทีห่ ลากหลาย และซั บ ซ อ น ซึ่ ง สั ม พั น ธ กั บ บริ บ ทของแต ล ะพื้ น ที่ อั น เป น ตั ว แทนของ “การผสมผสานรวมกันระหวางผลงานของธรรมชาติและของมนุษย” ซึง่ แสดงถึง พัฒนาการของสังคมมนุษยและการตั้งถิ่นฐานผานกาลเวลา ภายใตอิทธิพล ของขอจํากัดทางกายภาพและ/หรือโอกาสทีจ่ ะปรากฏตามปจจัยแวดลอมนัน้ ๆ และอิทธิพลของแรงขับเคลื่อนทางสังคมเศรษฐกิจและวัฒนธรรมทั้งภายใน และภายนอก ทั้งนี้ เอกสารแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก ในภาคผนวก 3 (Annex 3)10 ไดจาํ แนกประเภทและนิยามมรดกทางวัฒนธรรม และทางธรรมชาติที่มีลักษณะเฉพาะดังกลาวขึ้น เพื่อใหเกิดความสะดวกใน การประเมิน และเปนแนวทางสําหรับรัฐภาคีสมาชิกในการเตรียมเอกสารเพือ่ เสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก จําแนกไดเปน 4 ประเภท คือ 1. ภูมิทัศนวัฒนธรรม (Cultural Landscapes) 2. เมืองประวัติศาสตรและศูนยกลางของเมือง (Historic Towns and Town Centres) 3. มรดกลําคลอง (Heritage Canals) 4. มรดกเสนทาง (Heritage Routes)

ดูเพิ่มเติมใน Annex 3 อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. p. 80-87. 11 อางแลว หนาที่ 81. 12 UNESCO. Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage. Paris: UNESCO, 1972. p.1. 10

1. ภูมิทัศนวัฒนธรรม (Cultural Landscapes)11 “ภู มิ ทั ศ น วั ฒ นธรรม” เป น ผลผลิ ต ทางวั ฒ นธรรมที่ แ สดงถึ ง “การบูรณาการระหวางกันของธรรมชาติ และสิง่ ทีม่ นุษยสรางขึน้ ” มาตราที่ 112 ในอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ สิ่งเหลานั้นไดแสดงออกถึงวิวัฒนาการทางสังคมและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย ทีผ่ า นมาอยางยาวนาน โดยอยูภ ายใตอทิ ธิพลของสภาพแวดลอมทางกายภาพ และ/หรือโอกาสที่สภาพแวดลอมทางกายภาพเปดใหมนุษยเขาไปปฏิสัมพันธ ตลอดจนเงื่อนไขจากการวิวัฒนของสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ทั้งที่เกิด จากปจจัยภายในและปจจัยภายนอกพื้นที่ ทั้งนี้ ภูมิทัศนวัฒนธรรม แบงออกไดเปน 3 ประเภท ไดแก 1) ภูมิทัศนวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นจากออกแบบสรางสรรคอยางตั้งใจ เปนแบบแผนที่จําแนกไดชัดเจน โดยมีลักษณะเปนผลลัพธของการออกแบบ สรางสรรคโดยผานการพินจิ พิจารณาของมนุษย ครอบคลุมถึงสวนและภูมทิ ศั น ที่กอสรางขึ้นภายใตเหตุผลของความสุนทรีย และสวนใหญ (แตไมทุกกรณี ศึกษา) จะมีความสัมพันธกับศาสนา หรือสิ่งกอสรางที่มีคุณลักษณะของ การเปนอนุสรณสถานเพื่อการระลึกถึง และตัวอยางที่เกิดขึ้นภายใตเหตุผล ทั้ง 2 ประการที่กลาวมา คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

37


2) ภูมทิ ศั นวฒ ั นธรรมทีเ่ กิดจากพัฒนาการอยางคอยเปนคอยไป อันเปนผลมาจากความเปลีย่ นแปลงปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ การจัดการ และ/หรือศาสนา ซึ่งมีพัฒนาการอยางตอเนื่องมาจนถึงปจจุบันภายใต ความสัมพันธและตอบสนองตอเงื่อนไขทางธรรมชาติ ทั้งนี้ ภูมิทัศนนั้น สะทอนถึงพัฒนาการของรูปทรงและองคประกอบ ซึ่งสามารถจําแนกได เปน 2 กลุมยอย คือ “ภูมิทัศนวัฒนธรรมที่เปนซากมรดกวัฒนธรรม หรือซากโบราณ สถาน (Relic) หรือซากดึกดําบรรพ (Fossil)” ทั้งนี้ เปนแหลงที่มี คุณลักษณะของภูมิทัศนวัฒนธรรมที่กระบวนการพลวัตไดสิ้นสุดลงแลวใน ชวงเวลาใดเวลาหนึ่งในอดีต ซึ่งอาจเปนแหลงที่ไดยุติลงอยางกะทันหัน หรือคอยๆ หมดบทบาทลง โดยมีพฒ ั นาการครอบคลุมชวงเวลาระยะหนึง่ ทวาคงแสดงออกถึงคุณลักษณะทางกายภาพที่สําคัญใหเห็นอยางเดนชัด “ภูมิทัศนวัฒนธรรมที่มีความสืบเนื่อง และยังดํารงบทบาทอยู ในบริบทสังคมรวมสมัย” ที่สัมพันธกับประเพณีและวิถีชีวิตอยางใกลชิด ในขณะที่แหลงมรดกยังคงมีพลวัต ตลอดจนแสดงหลักฐานพัฒนาการ ของภูมิทัศนวัฒนธรรมที่สัมพันธกับชวงเวลาตางๆ

“ปราสาทวัดภู และแหลงการตั้งถิ่นฐานโบราณาที่เกี่ยวเนื่องในภูมิทัศนวัฒนธรรมจําปาสัก (Vat Phou and Associated Ancient Settlements within the Champasak Cultural 38Landscape)” สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


“ปราสาทวัดภู และแหลงการตั้งถิ่นฐานโบราณที่เกี่ยวเนื่องในภูมิทัศนวัฒนธรรม จําปาสัก (Vat Phou and Associated Ancient Settlements within the Champasak Cultural Landscape)” สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เปนภูมท ิ ศ ั น วัฒนธรรมโบราณที่แสดงออกถึงความสัมพันธระหวางมนุษยที่มีชุดความคิดทาง ศาสนาและการเคารพในสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ โดยมี การใหความหมายแก ยอดเขาธรรมชาติซึ่งมีภูมิลักษณที่แปลกตาในฐานะของลึงคบรรพต ซึ่งหมายถึง ภูเขาที่มีลักษณะเปนศิวะลึงคธรรมชาติ รวมทั้งมีการออกแบบองคประกอบภูมิทัศน และสถาปตยกรรมที่เกี่ยวเนื่องอยางงดงาม ทวาถือเปนภูมิทัศนวัฒนธรรมที่เปน ซากโบราณเนื่องจากมีความเปลี่ยนแปลงชุดความเชื่อจากเดิมไปแลว ทั้งนี้ แหลง ภูมิทัศนวัฒนธรรมแหงนี้ไดรับการขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลกในปพ.ศ.2544 | ค.ศ.2001 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 3, 4 และ 6

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

39


3) ภูมิทัศนวัฒนธรรมที่มีคุณคาเชิงบริบทที่สัมพันธ เปนแหลง ที่สัมพันธกับอิทธิพลอันทรงพลังของศาสนา สุนทรียภาพ หรือวัฒนธรรม ซึ่งผสมผสานกับองคประกอบสําคัญทางธรรมชาติ และแสดงออกอยาง โดดเดนมากกวาหลักฐานวัตถุทางวัฒนธรรม หรือแสดงใหเห็นวาหลักฐาน วัตถุทางวัฒนธรรมนั้นไดหมดความสําคัญลง หรือไมถูกมองเห็นเทากับ คุณคาของธรรมชาติ ทั้งนี้ ยังพิทักษคุณคาของ “มรดกที่จับตองไมได (Intangible Heritage)” 13 ซึ่งเปนคุณคาที่อยูคูแหลงภูมิทัศนวัฒนธรรม

Jessica Greis-Mills. The category of the Associative Cultural Landscape as a means to preserve intangible heritage, especially oral literature. Hawaii Volcanoes National Park as an example. Brandenburg: brandenburg university of technology. 2007.

13

“ภูเชาฟูจิ จิตวิญญาณสถาน และแหลงบันดาลใจในการสรางสรรคศิลปะ (Fujisan, sacred place and source of artistic inspiration)” ประเทศญี่ปุน เปนแหลงภูมิทัศนวัฒนธรรมที่เปนศูนยกลางทางจิตวิญญาณชาติญี่ปุนจนไดรับการขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม แสดงออกซึง่ ความยิง่ ใหญของสภาพทางธรรมชาติทม ี่ ผ ี ลตอทุกอณูทางวัฒนธรรมญีป ่ น ุ จนบดบังไมใหสภาพทางกายภาพอันเปนผลผลิตทางวัฒนธรรมของมนุษยโดดเดนขึน ้ มาเหนือกวาได จึงถือวาเปนมรดกโลก ทางภูมท ิ ศ ั นวฒ ั นธรรม ทัง้ นี้ ภูเขาฟูจไิ ดรบ ั การขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปพ.ศ.2556 | ค.ศ.2013 โดยมี คุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 3 และ 6 40

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


“สวนพฤกษศาสตรสิงคโปร (Singapore Botanic Gardens)” เปนแหลงตัวแทนทีแ่ สดงการสรางองคความรูเ กีย ่ ว กับพฤกษศาสตรเขตรอน อันเปนมรดกตกทอดมาตัง้ แตเมือ่ ครัง้ อังกฤษมีบทบาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเปน สวนหนึง่ ของสถาบันทีส ่ รางองคความรูท  างวิทยาศาสตรในโลกสมัยใหม ทัง้ ในแงของการอนุรก ั ษพน ั ธุพ  ชื และการศึกษา ภายในสวนยังประกอบดวยองคประกอบภูมิทัศนที่ออกแบบอยางงดงามมาตั้งแตปพ.ศ.2402 | ค.ศ.1859 รวมทัง้ ยังมี บทบาทสําคัญในการเพาะพันธุยางพาราเปนที่แรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตจนในเวลาตอมาไดกลายเปนพืข เศรษฐกิจที่สําคัญที่เปลี่ยนแปลงหนาประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใตและโลกสมัยใหม ทั้งนี้ แหลงภูมิทัศน วัฒนธรรมสวนพฤกษศาสตรสงิ คโปร ไดรบ ั การขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปพ.ศ.2558 | ค.ศ. 2015 มีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 2 และ 4

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

41


2. เมืองประวัติศาสตรและศูนยกลางของเมือง (Historic towns and Town Centers)14 กลุมของอาคารในเมืองที่มีศักยภาพตอการเสนอขอรับการขึ้น ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก สามารถจําแนกไดเปน 3 ประเภทหลัก ดังนี้ 1) เมืองโบราณไรพลวัต เปนเมืองที่ถูกทิ้งราง ปราศจากการอยู อาศัยมาอยางยาวนาน แตทวายังคงปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีของอดีต ซึง่ สามารถประเมินบนเงือ่ นไขของความเปนของแทดงั้ เดิม และระดับของ การอนุรกั ษอยูใ นสถานะของการดูแลไดโดยงาย 2) เมืองประวัติศาสตรที่ยังมีพลวัต เปนเมืองที่มีการตั้งถิ่นฐาน ที่ยังแสดงออกถึงความสัมพันธกับสภาพธรรมชาติอยางใกลชิด และมี การพัฒนาอยางตอเนื่องภายใตอิทธิพลของสังคม เศรษฐกิจ ตลอดจน ภายใตความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ทวาการประเมินเรื่องความเปน ของแทดั้งเดิมของแหลงยาก อีกทั้งนโยบายการอนุรักษก็มีปญหาตางๆ จํานวนมาก

42

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดูเพิ่มเติมใน “Annex 3” อางใน UNESCO. “Guidelines on the inscription of specific types of properties on the World Heritage List” in Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. p.82 ตีพมิ พเมือ่ มกราคม พ.ศ.2530 | ค.ศ.1987 ตาม การหารือรวมกันของคณะกรรมการ มรดกโลกในการประชุมสามัญครั้งที่ 8 (Buenos Aires, 1984) ตามสรุปผล การประชุมหารือของผูเ ชีย่ วชาญเกีย่ วกับ เมืองประวัตศิ าสตร ณ กรุงปารีส วันที่ 5-7 พฤศจิกายน พ.ศ.2527 | ค.ศ. 1984 จัดโดย ICOMOS 14


“เวนิส และทะเลสาบ (Venice and Its Lagoon)” ประเทศอิตตาลี เปนตัวอยางของ “มรดกโลกเมืองประวัตศ ิ าสตรมพ ี ลวัต” ซึง่ ยังคงมีการตัง้ ถิน ่ ฐานและความเคลือ่ นไหวกิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจ และการทองเทีย ่ ว ทวาในปจจุบน ั เวนิสประสบปญหา ตางๆ มากมาย ทัง้ นี้ เวนิสไดรบ ั การขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปพ.ศ.2530 | ค.ศ.1987 โดยมีคุณสมบัติ ตามเกณฑ ขอที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6

“เปอรเซโปลิส (Persepolis)” สาธารณรัฐอิสลามอิหราน ตัวอยางของ “มรดกโลกเมืองโบราณไร พลวัต” ที่อารยธรรมขาดชวงกลายเปนซากโบราณสถานแลว ทั้งนี้ เปอรเซโปลิสไดรับการขึ้น ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปพ.ศ.2522 | ค.ศ.1979 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ 43 มือการนํ ขอที่ 1, 2 คูและ 6 าเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก


3) เมืองสมัยใหมในศตวรรษที่ยี่สิบ ในนิยามคุณลักษณะนั้นยัง มีความยอนแยงอยูมาก เนื่องจากมีคุณลักษณะพื้นฐานบางประการที่ สัมพันธกับนิยามของเมืองทั้งสองประเภทที่กลาวมาขางตน เพียงแตชี้ชัด วาเมืองที่เขาเกณฑขอนี้ตองกอรางขึ้นมาในบริบทความเปนสมัยใหม และตัวเมืองยังคงรักษาคุณลักษณะใหรับรูไดอยางชัดเจน โดยเฉพาะใน ประเด็นเรือ่ งความเปนของแทดงั้ เดิม (Authenticity) อยางไรก็ดี เมืองทีม่ ี คุณลักษณะเชนนี้ เปนการยากที่จะบริหารจัดการเพื่อรักษาคุณคาโดดเดน อันเปนสากล เนื่องจากมักมีบริบทที่สัมพัทธกับการพัฒนาขนาดใหญทไี่ ม อาจควบคุมไดงาย เพราะเปนเมืองที​ี่ยังมีบทบาทอยูในสังคมรวมสมัยใน ปจจุบัน

“เมืองสมัยใหมแปมปูฮา (Pampulha Modern Ensemble)” ประเทศบราซิล เปนตัวอยางของ “มรดกโลกเมืองสมัยใหมใน ศตวรรษทีย ่ ส ี่ บ ิ ” ไดรบ ั การขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปพ.ศ.2559 | ค.ศ.2016 มีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 1, 2, และ 4ะ

44

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร (Historic Urban Landscape)15 “ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร (The Historic Urban Landscape)” คือ ทําเล ที่ ตั้ ง ของชุ ม ชนเมื อ งที่ มี ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานมาอย า งยาวนานสั่ ง สมเรื่ อ งราวผ า นหน า ประวัติศาสตร ทั้งนี้ แนวคิดดังกลาวนี้ ไดขยายพรมแดนทางความคิดเรื่อง “ศูนยกลาง ทางประวัติศาสตร (Historic Centre)” หรือ “ศูนยรวม” ออกไปสูการขยายแนวคิดให ครอบคลุมถึงบริบทที่เกี่ยวเนื่องตางๆ และสภาพภูมิศาสตรของที่ตั้งเมืองดวย ทั้งนี้ จากบริบทแวดลอมที่กวางขวางขึ้นนั้น ยอมตองประกอบดวยสภาพ ภูมิประเทศ ธรณีสัณฐาน อุทกวิทยา และลักษณะทางธรรมชาติที่โดดเดนของพื้นที่ ซึ่ง ฉายผานสภาพแวดลอมทีถ ่ ก ู สรางขึน ้ มาในอดีตและในบริบทรวมสมัย รวมไปถึงโครงสราง พื้นฐานที่อยูเหนือและใตพื้นดิน พื้นที่โลง และสวน รูปแบบการใชประโยชนที่ดิน และ การจัดการเชิงพืน ้ ที่ ตลอดจนการรับรู และความสัมพันธเชิงทัศนะ ตลอดจนองคประกอบ ทั้งหมดของโครงสรางเมือง นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงสังคม และการปฏิบัติการทาง วัฒนธรรมและคุณคา กระบวนการทางเศรษฐกิจ และหมายรวมไปถึงมิติของมรดกทาง วัฒนธรรมนามธรรมในฐานะของความสัมพัน ธกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม และอัตลักษณทางวัฒนธรรม คํานิยามนี้ไดใหหลักเกณฑพื้นฐานสําหรับวิธีการบงชี้ การประเมิน การสนทนา และการจัดการภูมท ิ ศ ั น ยานประวัตศ ิ าสตรทค ี่ รอบคลุมและสมบูรณ ภายในกรอบภาพรวม ของการพัฒนาที่ยั่งยืน แนวทางภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร จึงมีวัตถุประสงคที่จะอนุรักษคุณภาพของ สภาพแวดลอมของมนุษย เพิ่มศักยภาพการปรับปรุงการใชงานของพื้นที่ในเมืองใหมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน อีกทั้งการยอมรับลักษณะที่เปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในเมือง และ การสงเสริมความหลากหลายทางดานสังคมและการใชงานของพืน ้ ที่ รวมไปถึงเปาหมาย ของการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของเมือง การพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจซึ่งเปน รากฐานที่สมดุลและยั่งยืน ระหวางเมืองกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ความสัมพันธ ระหวางความตองการของคนรุนปจจุบันและอนาคตกับ มรดกที่ตกทอดมาจากอดีต ภูมท ิ ศ ั นเมืองประวัตศ ิ าสตร มีแนวคิดวาความหลากหลายทางวัฒนธรรม และ ความคิดริเริ่มสรางสรรคซึ่งเปนสินทรัพยที่สําคัญของมนุษย การพัฒนาสภาพสังคม และระบบเศรษฐกิจ และการหาเครื่องมือในการจัดการสภาพกายภาพของเมือง และการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม เพื่อทําใหมั่นใจวาการเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้นในลักษณะที่ กลมกลืน และบูรณาการเขากันไดกับมรดกวัฒนธรรมในที่ตั้งทางประวัติศาสตร และ สอดคลองกับบริบทของภูมิภาคดวย ทั้งนี้ แนวทาง “ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร” สําหรับการปกปองคุมครอง คุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลงมรดกทางวัฒนธรรม จึงตองเรียนรูจากประเพณี และแนวความคิดของชุมชนทองถิ่น ในขณะเดียวกัน ก็ใหความเคารพคุณคาชุมชนใน ระดับชาติและนานาชาติ คัดบางสวน และปรับปรุงจาก เกรียงไกร เกิดศิริ. “บทความแปล ขอแนะนําเกี่ยวกับภูมิทัศนเมือง ประวัติศาสตร” ใน วารสารหนาจั่ว วาดวยสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม. ฉบับที่ 30 (มกราคม-ธันวาคม 2559). หนาที่ D27-D36.

15

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

45


3. มรดกลําคลอง (Heritage Canals)16 แนวคิดเกี่ยวกับ ”มรดกลําคลอง” มีการอภิปรายลงรายละเอียด ในรายงานการประชุ ม ของผู  เ ชี่ ย วชาญเกี่ ย วกั บ มรดกทางลํ า คลองที่ ประเทศแคนาดา ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2537 | ค.ศ.1994 “ลําคลอง” เปนลํานํา้ ทีเ่ กิดจากวิศวกรรมชลประทานของมนุษย ซึ่งการบงชี้เรื่องคุณคาโดดเดนอันเปนสากลนั้น อาจมีหลักการประเมิน ใน 2 ประเด็น คือ มุมมองประวัตศิ าสตร และมุมมองเทคโนโลยี การพิจารณาคุณคาของมรดกลําคลองจึงอาจจะมีความหมายได ทั้งเปนอนุสรณอันเปนสิ่งระลึกถึงประวัติศาสตรภูมิปญญาของมนุษย นอกจากนี้ ลําคลองยังมีภูมิทัศนวัฒนธรรมตลอดแนวเสนทางซึ่งเกิดขึ้น จากลําคลองอีกดวย 4. มรดกเสนทาง (Heritage Routes)17 แนวคิดเกีย่ วกับ “เสนทาง” หรือ “วัฒนธรรมเกีย่ วกับการเดินทาง” ไดรบั การอภิปรายอยางกวางขวางและไดกาํ หนดรายละเอียดในการประชุม ผูเชี่ยวชาญดาน “เสนทางในฐานะเปนสวนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรม” (กรุงแมดริด ประเทศสเปน พฤศจิกายน พ.ศ.2537 | ค.ศ.1994) ทั้งนี้แนวคิดเกี่ยวกับมรดกเสนทางนั้นตองแสดงถึงความรุมรวย และสมบูรณนําเสนอเอกภาพของกรอบความคิดในการสรางความเขาใจ รวมกันบนพหุแนวทางอันหลากหลายของประวั​ัติศาสตรและวัฒนธรรม อันสันติ มรดกเสนทาง เปนปฏิสัมพันธระหวางมรดกทางวัฒนธรรม ที่จับตองไมได (Intangible Cultural Heritage) ที่ปฏิสัมพันธ หรือให ความหมายตอมรดกทางวัฒนธรรมทีจ่ บั ตองไมได (Tangible Cultural Heritage) เปนกระบวนการแลกเปลี่ยนและสนทนาทางวิถีวัฒนธรรม ระหวางผูค นทีร่ ว มเดินทาง และผูอ ยูอ าศัยบนเสนทาง ทัง้ นี้ เพือ่ สงเสริม ให เ กิ ด ความเขาใจความหลากหลายทางวัฒนธรรมดวยการกาวขาม พรมแดนทัง้ ทีเ่ ปนพรมแดนทางรัฐศาสตร และพรมแดนทางวัฒนธรรม

46

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดูเพิ่มเติมใน “Annex 3” อางใน UNESCO. “Guidelines on the inscription of specific types of properties on the World Heritage List” in Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. p.84. ซึ่งไดกลาว ถึงการประชุมของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ มรดกลําคลอง (Canada, 15-19 September 1994) (ดูเอกสาร WHC94/CONF.003/INF.10) และสืบเนือ่ ง จากการหารื อ ของคณะกรรมการ มรดกโลกในการประชุ ม สมั ย สามั ญ ครัง้ ที่ 19 (Berlin, Germany, 1995) (ดูเอกสาร WHC-95/CONF. 203/16) 17 UNESCO. Guidelines on the inscription of specific types of properties on the World Heritage List. Paris: UNESCO. 2017. p.85. ซึ่งไดกลาวถึงการประชุมของ ผูเชี่ยวชาญเรือ่ ง “เสนทางอันเปนสวน หนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของเรา” (กรุงแมดริด 24-25 พฤศจิกายน 1994) (ดูเอกสาร WHC-94/CONF. 003/INF.13) มีการหารือระหวาง คณะกรรมการมรดกโลกในการประชุม สมัยสามัญครัง้ ที่ 19 (กรุงเบอลิน 1995) (ดูเอกสาร WHC-95/CONF.203/16) 16


การขอรับการขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกประเภทอืน ่ ๆ18 ในการเสนอแหลงมรดกเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ตามปกติแลวนัน้ ตองมีทตี่ งั้ ในขอบเขตอธิปไตยของประเทศใดประเทศหนึง่ อยางไรก็ตาม ในกรณีที่มีสภาพของอาณาเขตที่ตั้งที่แตกตางออกไปจาก เงื่อนไขขางตน เชน แหลงมรดกที่อยูระหวางแนวพรมแดนของรัฐชาติ หรือแหลงมรดกที่มีอาณาเขตพื้นที่ของแหลงที่ไมตอเนื่องกัน ก็สามารถ เสนอขอรับการพิจารณาขึ้นทะเบียนได ทวาในการเสนอขอรับการขึ้น ทะเบียนตองมีการจัดทําเอกสารเพิ่มเติมในการขอพิจารณา ดังนี้ 1. แหลงมรดกทีม่ อี าณาเขตขามพรมแดน (Transboundary property) กรณีที่เปนแหลงมรดกที่มีอาณาเขตตั้งอยูระหวางพรมแดนของ รัฐชาติ ในเอกสารแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลกมี ขอแนะนําสําหรับแหลงที่มีคุณลักษณะของที่ตั้งดังกลาวไววา ควรมี การจัดตั้งคณะกรรมการหรือองคกร ที่ดําเนินการกิจกรรมตางๆ รวมกัน เพื่อดูแลบริหารจัดการแหลงมรดกที่ตั้งอยูขามพรมแดนนั้น ในภาพรวม นอกจากนี้ อ าจจะมี ก ารขยายเขตแดนจากแหล ง ที่ ไ ด รั บ ขึ้ น ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกจากเดิมทีต่ งั้ อยูใ นขอบเขตของรัฐภาคีสมาชิก รัฐใดรัฐหนึ่งอยูแลว ทวาเมื่อพิจารณาแลวเห็นสมควรเพิ่มเติมหรือธํารง รักษาคุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลงดวยการเสนอพื้นที่เพิ่มเติม ทวาพืน้ ทีท่ ผี่ นวกเพิม่ เติมนัน้ เปนพืน้ ทีข่ องอีกรัฐชาติกท็ าํ ใหแหลงมรดกโลก ดังกลาวนั้นมีสถานะเปน “แหลงมรดกโลกขามพรมแดน” ได

ดูเพิ่มเติมใน “Paragraph 134139” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp. 37-38.

18

2. แหลงที่มีความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยง (Serial property) ในเอกสารแนวทางการอนุวัติฯ ไดใหนิยามของคําวา “แหลงที่มี ความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยง (Serial Property)” วาเปนแหลงที่ประกอบ ดวยพื้นที่ 2 สวน หรือมากกวา โดยสามารถอธิบายถึงความสัมพันธ ทีเ่ ชือ่ มโยงกันไดอยางชัดเจน ในที่นี้เรียกวา “การนําเสนอแบบรวมกลุม” ดังมีรายละเอียดนี้ - องคประกอบแตละสวนของแหลงนั้น ตองแสดงใหเห็นถึง ความเชื่อมโยงสัมพันธตอกันในทางหนาที่ สังคม หรือวัฒนธรรม ตลอด ชวงเวลาที่ผานมาโดยแสดงถึงความสัมพันธระหวางกันในเชิงภูมิทัศน นิเวศวิทยา วิวัฒนาการ หรือถิ่นที่อยูอาศัยอยางใดอยางหนึ่ง - องคประกอบตางๆ ของแหลงนั้นตองแสดงความสัมพันธกับ หลักเกณฑ และภาพรวมของ “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)” ทั้งในแงกายภาพ วิทยาศาสตร และ คําจํากัดความที่สามารถแสดงใหเห็นไดชัดเจน รวมไปถึงคุณลักษณะที่ จับตองไมได คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

47


ทัง้ นี้ “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)” จะตองมีรายละเอียดที่สามารถเขาใจและสื่อสารไดงาย - เพื่อไมใหแหลงที่นําเสนอแบบรวมกลุมนั้นประกอบดวยเนื้อหาของ องคประกอบที่ซับซอนและมีมากจนเกินไป เพราะฉะนั้นกระบวนการขอรับการขึ้น ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกจึงกําหนดเกณฑการคัดเลือกองคประกอบที่จะเสนอ แบบรวมกลุมนั้น และตองแสดงถึงความสามารถในการบริหารจัดการของแหลง ตางๆ ที่ไดนําเสนอแบบรวมกลุมได นอกจากนี้ การนําเสนอแหลงแบบรวมกลุมนั้นตองคํานึงวาองคประกอบ ของแหลงที่นําเสนอนั้นจะตองแสดงถึงความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในเชิง “คุณคา โดดเดนอันเปนสากล(Outstanding Universal Value)” ที่มีรวมกัน ไมใชเพียง สวนขององคประกอบใดองคประกอบหนึ่ง โดยแหลงที่ขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกแบบรวมกลุมนั้น อาจมีลักษณะของอาณาเขตอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้ - กลุม ของแหลงทีน่ าํ เสนอเพือ่ ขอรับการขึน้ ทะเบียนนัน้ ตัง้ อยูใ นอาณาเขต ของรัฐภาคีสมาชิกใดหนึ่ง กรณีนี้ถือวาเปนกลุมของแหลงที่มี “ความตอเนื่อง เชื่อมโยงในระดับชาติ (Serial National Property)” - กลุมของแหลงที่นําเสนอเพื่อขอรับการขึ้นทะเบียนนั้น ทวามีทําเลที่ตั้ง อยูใ นแตละอาณาเขตของรัฐภาคีสมาชิก ทัง้ นี้ หากไมไดมพี นื้ ทีข่ องแหลงทีต่ อ เนือ่ ง เชื่อมโยงกัน แตทวาไดรับความเห็นชอบจากรัฐภาคีสมาชิกทั้งหมดที่เกี่ยวของ ในการเสนอขอเปนแหลงมรดกโลก กรณีนี้ ถือวาเปนแหลงที่มี “ความตอเนื่อง เชื่อมโยงระหวางชาติ (Serial Transnational Property)” สําหรับแหลงมรดกทีม่ กี ารแสดงคุณลักษณะของ “ความตอเนือ่ งเชือ่ มโยง” ในที่นี้เรียกวา “การเสนอแบบรวมกลุม” ทั้งในแงของทําเลที่ตั้งอยูในอาณาเขต รัฐชาติของรัฐภาคีสมาชิกเพียงแหลงเดียว หรืออาจมีทาํ เลทีต่ งั้ อยูใ นพืน้ ทีข่ องหลายๆ รัฐภาคีสมาชิก อาจจะมีการเสนอเพือ่ การประเมินในหลายๆ รอบของการนําเสนอ ซึ่งทําใหแหลงที่ไดรับการเสนอในครั้งแรกมีคุณคาโดดเดนอันเปนสากลในสิทธิของ รัฐภาคีสมาชิก นั้นเอง ทัง้ นี้ รัฐภาคีสมาชิกทีม่ แี ผนการเสนอแหลงมรดกเพือ่ ขอรับการขึน้ ทะเบียน ในลักษณะ “แหลงมรดกโลกแบบรวมกลุม” โดยผานการนําเสนอหลายรอบนั้น ควรแจงความจํานงดังกลาวใหกับคณะกรรมการมรดกโลกรับทราบ เพื่อใหเกิด ความมั่นใจเกี่ยวกับแผนของการดําเนินการ

48

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


เมืองมะละกา

เมืองจอรจทาวน

แหลงมรดกโลกมะละกาและจอรจทาวน เมืองประวัตศ ิ าสตรบนคาบสมุทรมะละกา (Melaka and George Town, Historic Cities of the Straits of Malacca) เปนตัวอยางของแหลงมรดกโลก ประเภทแหลงทีม ่ เี กีย ่ วเนือ่ งความเชือ่ มโยง (Serial property) โดยทําการผนวก รวมเมืองทาการคาชายทางทะเลนคาบสมุทรมะละกาจํานวน 2 เมืองคือ เมืองมะละกา และเมืองจอรจทาวน เพือ่ เพิม ่ ศักยภาพและคุณคา ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกในปพ.ศ.2554| ค.ศ.2011 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ โดดเดนอันเปนสากลของแหลงมรดก และไดรบ ั การขึน ขอที่ 2, 3, และ 4

แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมืองประวัตศ ิ าสตรสโุ ขทัยและเมืองบริวาร (Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns) เปนตัวอยางของแหลงมรดกโลก ประเภทแหลงที่มีความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยง (Serial property) ซึ่งนอกเหนือจากเมือง ประวัตศ ิ าสตรสโุ ขทัยแลว ไดทาํ การผนวกรวมเมืองในวัฒนธรรมรวมสุโขทัยอีก 2 แหลงคือ เมืองศรีสชั นาลัย เมืองกําแพงเพชร เขาไวใน ดวยกัน เพื่อเพิ่มศักยภาพและคุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลง และไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกในปพ.ศ.2534 | ค.ศ. 1991 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 1 และ 3

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

49


ตําแหนงของแหลงมรดกโลก ประเภทแหลงมรดกที่ตั้งอยูระหวางพรมแดน

50

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


Wold Heritage List: Transboundary property

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

51


ประโยชน และความสําคัญของ การขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก จากการศึกษาในรายงานวิจัยเรื่อง “The Costs and Benefits of World Heritage Site Status in the UK”19 เสนอวา การขึ้นทะเบียน แหลงมรดกเปนแหลงมรดกโลกนัน้ มีประโยชนในหลายมิติ ไดแก การสราง พันธมิตรในการดําเนินงาน (Partnership) การเพิม่ จํานวนของทุนสมทบ (Additional Funding) การอนุรกั ษ (Conservation) การฟน ฟูพนื้ ทีห่ รือ เมืองอันเปนที่ตั้งของแหลง (Regeneration) การทองเที่ยว (Tourism) การสรางความภาคภูมิใจของพลเมือง (Civic Pride) การสรางประโยชน ดานตนทุนทางสังคม (Social Capital) ในที่นี้ ขออธิบายขยายความเพื่อ สรางความเขาใจ ดังมีรายละเอียดดังนี้

Department of Culture, Media and Sport. The Costs and Benefits of World Heritage Site Status in the UK. UK: Department for culture, media and sport. 2007. 19

ประโยชนดานการอนุรักษ (Conservation) ประโยชนสาํ คัญทีส่ ดุ ของการทีแ่ หลงมรดกทางวัฒนธรรมและแหลงมรดกทางธรรมชาติไดรบั การขึน้ ทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก คือ ประโยชน “ดานการอนุรักษ (Conservation)” อันเนื่องมาจากการไดรับการขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลกนัน้ ตองดําเนินการดานตางๆ ทีเ่ ปนไปตามขอกําหนดของคณะกรรมการมรดกโลก ซึง่ มีเปาหมาย ใหแหลงมรดก ทีไ่ ดรบั การขึน้ ทะเบียนนัน้ ตองสามารถรักษา “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)” “ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity)” และ “ความครบถวนสมบูรณ (Integrity)” เพื่อธํารงรักษา สถานภาพของการเปนแหลงมรดกโลกเอาไวดวยนั่นเอง ประโยชนดานการสรางพันธมิตร (Partnership) สําหรับประเด็นวาดวย “พันธมิตร (Partnership)” ซึ่งในที่นี้ หมายรวมไปถึง “เครือขาย (Network)” การดําเนินการในประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการเปนแหลงมรดกโลกนั้น มีความสําคัญอยางยิ่งยวด ซึ่งหมาย รวมไปถึงพันธมิตรหรือเครือขายในทุกระดับ ทั้งระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ เพราะการเสนอชื่อ แหลงเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก หรือแมแตการบริหารจัดการแหลงอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหรักษา คุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลงเอาไวในขณะที่จะตองตอบโจทยการใชสอยรวมสมัยในดานตางๆ นั้น ตางก็ตองการความรวมมือจากหลายภาคสวน ทั้งภาคราชการ ภาคเอกชน ตลอดจนชุมชนทองถิ่น รวมไปถึง ความรวมมือในระดับนานาชาติ ทั้งนี้ หากมองในแงของหนาที่ที่เกี่ยวของก็อาจจะจําแนกไดเปน ภาคการบริหารจัดการ ซึ่งยอมหมายถึง หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออม ตลอดจนกลไกการบังคับใชกฎหมาย และแรงจูงใจตางๆ ที่นําไปสูการสรางบรรยากาศของการอนุรักษแหลงมรดกโลก สําหรับภาควิชาการ ซึ่งไดแก สถาบันการศึ​ึกษา ทุกระดับชั้น ตลอดจนหนวยวิจัยเฉพาะทางตางๆ ที่จะมีหนาที่ในการสราง และขยายตอองคความรูเกี่ยวกับแหลง อันเปนประโยชนเพื่อการศึกษา ซึ่งจะมีประโยชนสืบเนื่องไปสูการเสริมสรางการตระหนักรู และจิตสํานึกในคุณคา ที่นําไปสูการพัฒนาและอนุรักษแหลงมรดกโลกอยางยั่งยืนตอไป นอกจากนี้ ภาคสวนที่สําคัญอีกประการ คือ ภาคเอกชน ซึ่งเปนภาคสวนที่มีสวนรวมอยางมากในการสงเสริมกิจกรรมตางๆ ที่ทําใหเกิดการอนุรักษ และ การพัฒนาอยางสมดุลและยั่งยืน 52

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ทั้งนี้ มีกรณีศึกษาแหลงมรดกโลกจํานวนมากในตางประเทศ ซึ่งภาคเอกชนได เปนสวนหนึง่ ในการทําหนาทีส่ นับสนุนทุนในการศึกษาวิจยั เพือ่ พัฒนาองคความรูใ หมตา งๆ ที่เกี่ยวของกับแหลงมรดกโลก รวมไปถึงสนับสนุนการสรางและพัฒนาขีดความสามารถ (Capacity Building) ในการทํางานของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแหลง มรดกโลกใหไดรับการพัฒนาความรูที่ทันสมัย ตลอดจนมีอุปกรณเครื่องมือทันสมัยตางๆ ในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ ยังมีกรณีศึกษาแหลงมรดกโลกอีกเปนจํานวนมากที่ภาคเอกชนได ใหการสนับสนุนในการพัฒนาระบบการสื่อความหมายเพื่อการเรียนรูและการทองเที่ยว มรดกโลกและพิพิธภัณฑ เนื่องมาจากการเรียนรูและการสื่อความหมายนั้นตองการ การปรับปรุงใหทันสมัยอยูตลอดเวลา ทั้งในประเด็นขององคความรูใหม และเทคนิควิธใี น การสื่อสาร ซึ่งตางตองใชงบประมาณที่สูง และมีระยะเวลาที่ตองเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให ทันสมัยตลอดเวลา ในการนี้ ภาคเอกชนจึงเหมาะสมทีจ่ ะเขามามีสว นรวมในการสนับสนุน การดําเนินการในประเด็นดังกลาวมานี้ ประโยชนดานงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม (Additional Funding) สําหรับประเด็นเรื่อง “งบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม (Additional Funding)” จะเห็นไดวาแหลงมรดกโลกทั้งทางวัฒนธรรม และทางธรรมชาติจะไดรับการสนับสนุน ทรัพยากรประเภทตางๆ โดยเฉพาะการเงินจากภาครัฐทีเ่ ปนผูด แู ลแหลงมรดกโลกนัน้ เพือ่ ใชในการดําเนินการกิจกรรมตางๆ ของภาคสวนทีเ่ กีย่ วของทัง้ ในสวนทีเ่ กีย่ วของกับพันธกิจ ประจํา และพันธกิจเชิงยุทธศาสตรเพือ่ สงเสริมใหเกิดการอนุรกั ษและพัฒนาแหลงมรดกโลก อยางยั่งยืน ประโยชนดา นการฟน  ฟูพน ื้ ทีห ่ รือเมืองอันเปนทีต ่ งั้ ของแหลง (Regeneration) จากกรณีศึกษาของแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมหลายแหลงที่มีสถานะเปน เมืองหรืิอชุมชนที่เคยรุงเรืองมาในอดีต ทวาไดลดบทบาทลงไปดวยเหตุผลแวดลอมนานา เมื่อแหลงดังกลาวไดรับการขึ้นทะเบียนใหเปนแหลงมรดกโลกไดทําใหเกิดการพัฒนา ทางเศรษฐกิจที่สงอิทธิพลใหเกิดกระบวนการ “ฟนฟูพื้นที่หรือเมืองอันเปนที่ตั้งของแหลง (Regeneration)” จึงพบแหลงมรดกโลกในลักษณะเมืองที่ยังมีพลวัตไดมีใชการเปนแหลง มรดกโลกเปนเครือ่ งมือในการสงเสริมการฟน ฟูเมือง และชุมชน เพือ่ ทําใหเกิดการกลับมา ตั้งถิ่นฐานอยูอาศัย ประกอบธุรกิจการคาขาย ตลอดจนกิจกรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับ การทองเที่ยว และการใชสอยในบริบทรวมสมัยในดานตางๆ เชน การปรับประโยชน ใชสอยบานเรือนเปนที่พักในลักษณะเรือนพัก (Home Stay) ที่สงเสริมใหผูมาเยือนไดมี โอกาสเรียนรูวิถีวัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของทองถิ่น หรือการปรับเปนพิพิธภัณฑเพื่อ จัดแสดงขาวของเครื่องใช และวิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่น (Museum and Interpretation Center) ตลอดจนพื้นที่สําหรับเรียนรูและการทําความเขาใจในคุณคาทางวัฒนธรรมของ ชุมชนทองถิ่นที่เปนแหลงมรดกโลก เปนตน

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

53


ประโยชนดานการทองเที่ยว (Tourism) การที่แหลงมรดกทางวัฒนธรรมและแหลงมรดกทางธรรมชาติ ไดรบั การขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ยอมเปนกลไกสําคัญในการสราง แรงจูงใจใหมีผูมาเยี่ยมเยือนในฐานะของนักทองเที่ยว ซึ่งยอมสงผลตอ การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่แหลงมรดกโลกและพื้นที่โดยรอบ ดังตัวอยาง ของการพัฒนาการทองเที่ยวในประเทศกําลังพัฒนาในโครงการทองเที่ยว เพื่อลดผอนความยากไร (Pro Poor Touirsm)20 เชน โครงการใน กัมพูชา ลาว และเวียดนาม เปนตน ซึ่งนอกจากการทองเที่ยวที่เกิดขึ้นใน แหลงมรดกโลก องคประกอบตางๆ ที่เรียงรอยกันขึ้นเปนแหลงมรดกโลก ดังกลาวนั้นก็ไดทําหนาที่เปนแหลงดึงดูดใหเกิดการทองเที่ยว (Tourism Destination) ยังสงเสริมใหเกิดการทองเทีย่ วในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ขางเคียง ซึง่ เปน การกระจายรายไดที่ไดรับจากการทองเที่ยว และเศรษฐกิจเกี่ยวเนื่อง ไปยังชุมชนทองถิน่ ตางๆ ดวย อยางไรก็ตาม การทองเทีย่ วก็อาจกลายเปน ดาบสองคมไดหากมีการบริหารจัดการทีไ่ มมปี ระสิทธิภาพ และไมคาํ นึงถึง ความยั่งยืน หรือเนนการทองเที่ยวเชิงปริมาณ (Mass Tourism) ซึ่ง แมวาจะสรางรายไดอยางมากมาย แตอาจไมคุมกับทรัพยากรในมิติตางๆ ทีต่ อ งสูญเสียไป รวมไปถึงประเด็นวาดวยเรือ่ งคุณคาโดดเดนอันเปนสากล ความเปนของแทดงั้ เดิม และความครบถวนสมบูรณอนั เปนคุณสมบัตหิ ลัก ของแหลงมรดกโลกตองเสื่อมลงดวย ประโยชน ด  า นการเรี ย นรู  แ ละการศึ ก ษา (Learning and education) และการสร า งความภาคภู มิ ใ จของพลเมื อ ง (Civic Pride) และตนทุนทางสังคม (Social Capital) ประโยชนสาํ คัญของการไดรบั การขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก คือ การเปนตนทุนในการพัฒนาการศึกษาซึ่งไมเพียงแตเปนประโยชนตอ รัฐภาคีสมาชิกผูด แู ลรักษาแหลงเทานัน้ หากยังเปนสวนหนึง่ ของการสราง องคความรูของมนุษยชาติ นอกจากนี้ แหลงมรดกโลกยังนําพาไปสูการสราง “ความภาค ภูมิใจของพลเมือง” ซึ่งเชนเดียวกันกับที่กลาวมาขางตน เพราะมิเพียงแต การสรางความภาคภูมิใจของพลเมืองของรัฐภาคีสมาชิกเทานั้น หากแต ยังเปนคุณลักษณะของพลเมืองที่พึงประสงคของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง คุณลักษณะดังกลาวถือเปน “ทุนทางสังคม” อันเปนตนทุนสําคัญของ การศึกษา และการเรียนรู เพื่อการพัฒนาสังคมสูสังคมอุดมปญญาที่ใช มรดกทางวัฒนธรรมเปนตนทุนสําคัญในการพัฒนาที่ยั่งยืนของมนุษยชาติ และสิ่งแวดลอมตอไป ตลอดจนสันติภาพของมนุษยชาติอันเปนอุดมคติ ของ “แหลงมรดกโลก” ทั้งทางวัฒนธรรม และทางธรรมชาติ

54

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การทองเที่ยวเพื่อลดผอนความ ยากไร (Pro Poor tourism) เปนรูป แบบการทองเที่ยวสําคัญที่ขับเคลื่อน ในประเทศกํ า ลั ง พั ฒ นาเพื่ อ ส ง เสริ ม และยกระดับเศรษฐกิจในชุมชนทอง ถิ่นเพื่อคนทองถิ่น เปนความพยายาม เชื่อมโยงระหวางธุรกิจการทองเที่ยว เขากับชุมชนทองถิ่นที่ตองการพัฒนา คุณภาพชีวิต ซึ่งนอกจากสงเสริมการ จางงานในทองถิ่น และการคาขายที่ เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยวแลวยังมี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมกระบวนการ มี ส  ว นร ว มของคนในท อ งถิ่ น ในการ ตัดสินใจเชิงนโยบาย 20


บทบาท และหนาที่ ของหนวยงานที่เกี่ยวของ

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

55


หนวยงานระดับนานาชาติ คณะกรรมการมรดกโลก (The World Heritage Committee)

“ฎ

”คณะกรรมการมรดกโลก” เปนองคกรระหวางประเทศ ประกอบ ดวยสมาชิกตัวแทน 21 ประเทศ และมีการจัดประชุมอยางนอยปละ 1 ครั้ง ชวงเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม โดยหนาที่หลักของคณะกรรมการ มรดกโลกคือ 1) จําแนกโดยอาศัยพื้นฐานจากเอกสารบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) และขอเสนอที่ยื่นโดยรัฐภาคี ซึ่งแหลงมรดกทาง วัฒนธรรมและมรดกทางธรรมชาติทมี่ คี ณ ุ คาโดดเดนอันเปนสากลจะไดรบั การคุม ครองภายใตอนุสญ ั ญาคุม ครองมรดกโลก และไดรบั การขึน้ ทะเบียน แหลงดังกลาวนั้นไวในแหลงบัญชีมรดกโลก 2) ตรวจสอบสถานภาพการอนุรักษของแหลงมรดกที่ไดรับ การขึ้นทะเบียนในบัญชีแหลงมรดกโลก ผานกระบวนการ “ติดตาม ประเมินผล (Reactive Monitoring)” 21 และ “การรายงานประจํางวด (Periodic Reporting)” 22 3) ตัดสินวาแหลงมรดกทีไ่ ดรบั การขึน้ ทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ยังสมควรดํารงสถานภาพ หรือถอดถอนออกจากบัญชีมรดกโลกที่ตกอยู ในภาวะอันตราย 4) ตัดสินวาแหลงมรดกใด ที่สมควรถอดถอนออกจากบัญชี มรดกโลก23 5) กําหนดขั้นตอนการรองขอรับความชวยเหลือระดับนานาชาติ ที่ตองพิจารณาและดําเนินการศึกษาและใหคําปรึกษาตามความจําเปน กอนเขาสูข นั้ ตอนการพิจารณาตัดสินใจ24 6) กําหนดการใชทรัพยากรของกองทุนมรดกโลกใหเกิดประโยชน สูงสุดในการชวยเหลือรัฐภาคีสมาชิกในการคุมครองแหลงมรดกที่มีคุณคา โดดเดนอันเปนสากล 7) หาแนวทางทีจ่ ะเพิม่ จํานวนงบประมาณของกองทุนมรดกโลก 8) สงรายงานเกี่ยวกับกิจกรรมของคณะกรรมการทุกๆ สองป ตอคณะกรรมการกลางของรัฐภาคีและตอที่ประชุมสามัญของ UNESCO 9) ทบทวนและประเมินตามรอบทีก่ าํ หนดถึงการดําเนินงานของ อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ 10) ปรับปรุงและลงมติเกี่ยวกับแนวปฏิบัติเพื่อการดําเนินการ ตามอนุ สั ญ ญาว า ด ว ยการคุ  ม ครองมรดกโลกทางวั ฒ นธรรมและทาง ธรรมชาติ ทั้งนี้ เพื่ออํานวยความความสะดวกในการดําเนินการเกี่ยวกับ อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ

56

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดูเพิ่มเติมใน “Chapter IV” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp 169198. 22 ดูเพิ่มเติมใน “Chapter V” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp 199-210. 23 ดูเพิ่มเติมใน “Chapter IV” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp 169-198. 24 ดูเพิ่มเติมใน “Chapter VII” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp 223257. 21


คณะกรรมการมรดกโลก จําเปนตองพัฒนายุทธศาสตรของวัตถุประสงค และตองมีการทบทวนและปรับปรุงตามรอบ เพื่อกําหนดเปาประสงคและ วัตถุประสงคของคณะกรรมการมรดกโลก ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจไดวาปจจัย คุกคามใหมๆ ทีม่ ตี อ มรดกโลกจะไดถกู รับทราบอยางมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงคของกลยุทธ ในปจจุบันมีดังนี้ 1) เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นที่สูงมากขึ้นตอบัญชีมรดกโลก 2) เพื่อรับรองวาการอนุรักษแหลงมรดกโลกเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ 3. เพื่อสงเสริมการพัฒนาประสิทธิภาพในการสรางสมรรถนะ ในรัฐภาคีสมาชิก 4. ใชการสื่อสารเพื่อเพิ่มความตระหนักรูของสาธารณะ การมี สวนรวม และสนับสนุนสําหรับมรดกโลก 5. เพื่อเพิ่มบทบาทของชุมชนทองถิ่น ในการดําเนินการตาม อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ

ดูเพิ่มเติมใน “Article 14”. อางใน UNESCO. Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage. Paris: UNESCO, 1972. p.8. 26 UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp 14-15. 25

สํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการมรดกโลก (The Secretariat to the World Heritage Committee) หรือศูนยมรดกโลก (World Heritage Centre – WHC) สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลก หรือศูนยมรดกโลก กอตั้งขึ้นในปค.ศ.1992 | พ.ศ.2535 มีสํานักงานใหญอยูที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยไดรับการแตงตั้งจากผูอํานวยการใหญขององคการ การศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) เพื่อทําหนาที่เปนสํานักเลขานุการของคณะกรรมการมรดกโลก ทําหนาที่ ชวยเหลือ และดําเนินการประสานงานระหวางรัฐภาคีสมาชิกและองคกร ที่ปรึกษา เพื่อทําใหเกิดความรวมมืออยางใกลชิดระหวางภาคสวนที่ เกี่ยวของตางๆ25 ทั้งนี้ หนาที่หลักของศูนยมรดกโลก26 ประกอบดวย 1) การจัดการประชุมสมัยสามัญ และการประชุมคณะกรรมการ มรดกโลก 2) ดําเนินการตามมติของคณะกรรมการมรดกโลก และจากที่ ประชุมสมัยสามัญ และรายงานผลการดําเนินการ 3) รับหนังสือ การลงทะเบียน การตรวจสอบความสมบูรณของ เอกสาร การเก็บรักษาเอกสาร และสงเอกสารไปยังคณะกรรมการทีป่ รึกษา ผูรับผิดชอบเกี่ยวกับการนําแหลงเสนอเพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลง มรดกโลก 4) ประสานงานเพื่อการศึกษา และกิจกรรมที่เปนสวนหนึ่งของ ยุทธศาสตรระดับโลก สําหรับความเปนตัวแทนความสมดุล และความ นาเชื่อถือของแหลงมรดกโลก 5) จัดเตรียมรายงานประจํางวดตามที่กําหนด คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

57


6) ประสานงานและจัดการติดตามตรวจสอบ รวมไปถึงภารกิจติดตามตรวจสอบ และ การประสานความรวมมือในกระบวนการมีสวนรวมในการใหคําปรึกษาตามความเหมาะสม 7) ประสานการชวยเหลือในระดับนานาชาติ 8) หมุนเวียนทรัพยากรของกองทุนเสริมเพื่อการอนุรักษ และการบริหารจัดการแหลง มรดกโลก 9) ชวยเหลือรัฐภาคีสมาชิกในการดําเนินการโครงการทีค่ ณะกรรมการมรดกโลกกําหนด 10) เผยแพรขอ มูลขาวสารเพือ่ สงเสริมดานมรดกโลก และอนุสญ ั ญามรดกโลกแกรฐั ภาคี สมาชิกคณะอนุกรรมการมรดกโลก องคกรที่ปรึกษา ตลอดจนสาธารณะชน ทั้งนี้ กิจกรรมที่ดําเนินการตามยุทธศาสตรและวัตถุประสงคของคณะกรรมการมรดกโลก หรือตามมติของที่ประชุมสามัญของรัฐภาคีสมาชิก จะตองดําเนินการรวมกับองคกรที่ปรึกษาอยาง ใกลชิด

องคกรที่ปรึกษาของคณะกรรมการมรดกโลก27 (Advisory Bodies to the World Heritage Committee) องคกรทีป่ รึกษาของคณะกรรมการมรดกโลก ประกอบดวย 3 หนวยงานหลัก ไดแก 1) ศูนยระหวางชาติวาดวยการศึกษา การอนุรักษและปฏิสังขรณสมบัติทางวัฒนธรรม (the International Centre for Study of the Preservation and Restoration of Cultural Properties) หรือเรียกชื่อวา “อิคครอม (ICCROM)” 2) สภาการโบราณสถานระหวางประเทศ (the International Council on Monuments and Sites) หรือเรียกชื่อวา “ไอโคโมส (ICOMOS)” 3) สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ (the World Conservation Union) หรือเรียกชื่อ วา “ไอยูซีเอ็น (IUCN)” โดยบทบาทและหนาทีข่ ององคกรทีป่ รึกษาของคณะกรรมการมรดกโลก มีดังนี้ 1) ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการดําเนินการตามอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทาง วัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ตามความเชี่ยวชาญ 2) ใหคาํ แนะนําชวยเหลือสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการมรดกโลก ในการเตรียม เอกสารสําหรับคณะกรรมการ เตรียมวาระการประชุม และการดําเนินการใหเปนไปตามมติของ คณะกรรมการมรดกโลก 3) ใหคําแนะนําชวยเหลือในการพัฒนา และดําเนินการตามยุทธศาสตรสากล เพื่อให แหลงมรดกโลกนั้นทําหนาที่เปนตัวแทน มีความสมดุล ตลอดจนมีความนาเชื่อถือ นอกจากนี้ ยังกําหนดประเด็นยุทธศาสตรของการฝกอบรมในภาพรวม และจัดทํารายงานตามรอบที่กําหนด รวมทั้งการสรางประสิทธิภาพในการบริหารกองทุนมรดกโลก 4) ติดตามสถานะการอนุรกั ษมรดกโลก และปฏิบตั พิ นั ธกิจตามทีค่ ณะกรรมการมรดกโลก มอบหมาย และภารกิจทีป่ รึกษาตามการรองขอของรัฐภาคีสมาชิก และทบทวนขอเรียกรองสําหรับ ความชวยเหลือระดับนานาชาติ 5) ในกรณีของ ICOMOS และ IUCN ใหประเมินแหลงมรดกที่เสนอขอรับการขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก และใหคําแนะนําและรับฟงกับรัฐภาคีสมาชิกที่กําลังเสนอแหลงมรดกเพื่อขอ ขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก และเสนอรายงานการประเมินตอคณะกรรมการมรดกโลก 6) เขารวมการประชุมกับคณะกรรมการมรดกโลก และสถาบันที่เกี่ยวของที่ทําหนาที่ ที่ปรึกษา 58

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ICCROM (the International Centre for Study of the Preservation and Restoration of Cultural Properties) หรือ อิคครอม

ICOMOS (the International Council on Monuments and Sites) หรือ ไอโคโมส

UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp 15-16.

27

1. ศูนยระหวางชาติวาดวยการศึกษา การอนุรักษและปฏิสังขรณสมบัติ ทางวัฒนธรรม (the International Centre for Study of the Preservation and Restoration of Cultural Properties) หรือ อิคครอม (ICCROM) เปนองคกรระดับนานาชาติสําหรับการศึกษาการพิ​ิทักษรักษา และการบูรณะมรดกวัฒนธรรม สํานักงานตั้งอยูที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี จัดตั้งขึ้นโดย UNESCO ในปพ.ศ.2499 | ค.ศ.1956 ทั้งนี้ ICCROM มี บทบาททําหนาที่ดานการวิจัย การบันทึกขอมูล การใหความชวยทาง ดานเทคนิค การฝกอบรม และการโครงการสรางความตระหนักรูตอ สาธารณะในการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมทั้งที่เปนอสังหาริมทรัพย และสังหาริมทรัพย บทบาทหนาที่ของ ICCROM ที่สัมพันธกับอนุสัญญามรดกโลก คือ เปนผูมีสวนรวมหลักในการฝกอบรมที่เกี่ยวเนื่องกับมรดกทางวัฒนธรรม การติดตามผลสถานภาพการอนุรกั ษแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ศึกษาทบทวนขอเสนอเรียกรองความชวยเหลือในระดับนานาชาติที่เสนอ โดยรัฐภาคีสมาชิก จัดเตรียมการและการสนับสนุนกิจกรรมการสราง สมรรถนะประเภทตางๆ 2. สภาการโบราณสถานระหวางประเทศ (the International Council on Monuments and Sites) หรือ ไอโคโมส (ICOMOS) เปนองคกรระดับนานาชาติ ดานอนุสรณสถานและแหลง เปน หนวยงานอิสระ สํานักงานตั้งอยูที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส กอตั้งขึ้น เมือ่ ปพ.ศ.2508 | ค.ศ.1965 มีบทบาทหนาทีใ่ นการสงเสริมการใชทฤษฎี วิธีการ และเทคนิคทางวิชาการในการอนุรักษมรดกทางสถาปตยกรรม และโบราณคดีบนหลักการของสนธิสัญญาวาดวยการอนุรักษและบํารุง รักษาอนุสรณสถานและพื้นที่ประวัติศาสตร (International Charter on the Conservation and Restoration of Monuments and Sites (the Venice Charter)) ปพ.ศ.2507 | ค.ศ.1964 บทบาทหนาที่เฉพาะของ ICOMOS ที่สัมพันธกับอนุสัญญา มรดกโลกประกอบดวยการประเมินมรดกทางวัฒนธรรมที่เสนอเพื่อขอรับ การพิจารณาขึน้ ทะเบียนในบัญชีรายชือ่ มรดกโลก การติดตามผลสถานภาพ การอนุรักษแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ศึกษาทบทวนขอเสนอ เรียกรองความชวยเหลือในระดับนานาชาติทเี่ สนอโดยรัฐภาคีสมาชิก และ การเตรียมการและการสนับสนุนกิจกรรมการสรางสมรรถนะประเภทตางๆ

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

59


3. สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ (the International Union for Conservation of Nature) หรือ ไอยูซีเอ็น (IUCN) IUCN เปนสหภาพการอนุรกั ษธรรมชาติแหงแรกของโลก สํานักงาน ตั้งอยูที่เมือง Gland ประเทศสวิสเซอรแลนด กอตัง้ เมือ่ ปพ.ศ.2491 | ค.ศ.1948 จากการรวมขององคกรระดับรัฐ องคกรภาคเอกชน และ นักวิทยาศาสตรจากทั่วโลกมาทํางานรวมกัน โดยมีพันธกิจหลักเพื่อสราง การโนมนาว และการกระตุนเตือน ตลอดจนความชวยเหลือตอสมาคม ทางวิทยาศาสตรตางๆของโลก เพื่อการขับเคลื่อนประเด็นการอนุรักษ ความสมบู ร ณ แ ละความหลากหลายของธรรมชาติ แ ละทํ า ให เ ชื่ อ มั่ น ไดวาการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาตินั้นเปนไปอยางเทาเทียมและ ความยั่งยืนของระบบนิเวศ บทบาทหนาที่เฉพาะของ IUCN ที่สัมพันธกับอนุสัญญาคุมครอง มรดกโลกประกอบดวยการประเมินแหลงมรดกทางธรรมชาติที่เสนอเพื่อ ขอรับการพิจารณาขึ้นทะเบียนในบัญชีรายชื่อมรดกโลก การติดตาม ผลสถานภาพการอนุรักษแหลงมรดกโลกทางธรรมชาติ ศึกษาทบทวน ขอเสนอเรียกรองความชวยเหลือในระดับนานาชาติที่เสนอโดยรัฐภาคี สมาชิกและการเตรียมการและการสนับสนุนกิจกรรมการสรางสมรรถนะ ประเภทตางๆ

60

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สหภาพสากลว า ด ว ยการ อนุรักษ (the International Union for Conservation of Nature) หรือ ไอยูซีเอ็น (IUCN)


หนวยงานระดับชาติ คณะกรรมการแหงชาติวา ดวยอนุสญ ั ญาคุม  ครองมรดกโลก28

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 134 ตอนที่ 132ก วันที่ 29 ธันวาคม 2560. กฎกระทรวง แบงสวนราชการ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2560.

28

“คณะกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก” เรียกโดยยอวา “กอม.” มีองคประกอบ ประกอบดวย 1) รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายใหกํากับ การบริหารราชการของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนประธานกรรมการ 2) รัฐมนตรีวา การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม เปนรองประธานคนที่หนึ่ง 3) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ เปนรองประธาน คนที่สอง 4) รั ฐ มนตรี ว  า การกระทรวงวั ฒ นธรรม เป น รองประธาน คนที่สาม 5) ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เลขานุการสภาความมั่นคงแหงชาติ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ ผูบัญชาการทหารสูงสุด อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย เลขานุการ คณะกรรมการแหงชาติวาดวยการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรม แหงสหประชาชาติ และผูวาการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย เปน กรรมการโดยตําแหนง 6) ผูทรงคุณวุฒิ จํานวนไมนอยกวาหาคนแตไมเกินเจ็ดคน ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแตงตัง้ จากบุคคล ซึง่ มีความรูค วามสามารถ มีผลงาน หรือ ประสบการณดานวิทยาศาสตร ดานประวัติศาสตร ดานศิลปกรรมศาสตร ดานสิ่งแวดลอม ดานการอนุรักษ ดานสังคมศาสตร ดานมานุษยวิทยา หรือดานกฎหมาย เปนกรรมการ ทัง้ นี้ กรรมการผูท รงคุณวุฒมิ วี าระการ ดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป 7) เลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม เปนกรรมการและเลขานุการ 8) อธิบดีกรมศิลปากร อธิบดีกรมองคการระหวางประเทศ และ อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เปนกรรมการและผูชวย เลขานุการ โดยคณะกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

61


1) เสนอแนะนโยบายเกี่ยวกับการคุมครอง ปองกัน และอนุรักษมรดกโลกที่สอดคลอง ตามอนุสัญญาตอคณะรัฐมนตรี เพื่อใหความเห็นชอบ และเมื่อคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแลว ใหแจงหนวยงานของรัฐปฏิบัติตาม 2) กําหนดแผนงาน มาตรการและกลไกในการคุมครอง ปองกัน และอนุรักษมรดกทาง วัฒนธรรม มรดกทางธรรมชาติ และมรดกแบบผสม ที่ตั้งอยูในประเทศ 3) เสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีเพื่อใหความเห็นชอบเกี่ยวกับการกําหนดใหมรดกทาง วัฒนธรรม มรดกทางธรรมชาติ และมรดกแบบผสมทีต่ งั้ อยูใ นประเทศไทยเปนมรดกโลก กอนเสนอ ตอคณะกรรมการมรดกโลกเพื่อบรรจุไวในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) หรือบัญชีรายชื่อ มรดกโลก เพื่อใหเปนไปตามอนุสัญญา และสอดคลองกับแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาวาดวย การคุมครองมรดกโลก 4) ประสานงานและติดตามการปฏิบัติงานของหนวยงานของรัฐเพื่อดําเนินการใหเปนไป ตามนโยบายตามขอ (1) และแผนงาน มาตรการและกลไกตาม (2) รวมทั้งประสานความรวมมือ กับหนวยงานของรัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวของเพื่อสนับสนุน เรงรัด ติดตาม ประเมินผล และ แกไขปญหา อุปสรรคเกี่ยวกับการอนุรักษมรดกโลก 5) จัดทํารายงานผลการดําเนินงานของประเทศไทย เพื่อเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการ มรดกโลกสมั ย สามั ญ ตามระยะเวลาที่ กํ า หนด รวมทั้ ง จั ด ทํ า รายงานผลการดํ า เนิ น งานให คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่เห็นสมควร อยางนอยปละหนึ่งครั้ง 6) แตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานตามความจําเปนและเหมาะสมเพื่อดําเนิน การ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 7) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดเพือ่ ใหเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการดําเนินงาน ตามอนุสญ ั ญาวาดวยการคุม ครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ พ.ศ.2559 หรือตามที่ นายกรัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรี มอบหมาย ทั้งนี้ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทําหนาที่เปน สํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก (กอม.) ดําเนินการชวยเหลือ สนับสนุน การดําเนินงานตามอํานาจหนาที่ของ กอม. ดังนี้ 1) ติดตอประสานงานกับคณะกรรมการมรดกโลกในฐานะเปนหนวยประสานงานกลาง ภายใตอนุสัญญา 2) ประสานงานและใหการสนับสนุนหนวยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วของรวมทัง้ เอกชนเพือ่ คุม ครอง ปองกัน และอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม มรดกทางธรรมชาติ มรดกแบบผสม หรือภูมิทัศนทาง วัฒนธรรมที่อยูในพื้นที่ความรับผิดชอบ เพื่อใหสอดคลองกับพันธกรณีของอนุสัญญา และแนวทาง การอนุวัต ตามอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลก และระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย การดําเนินงานตามอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ พ.ศ. 2559 3) ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบาย แผนงานและมาตรการที่ตอง ดําเนินการตามอนุสัญญา ในการคุมครอง ปองกัน และอนุรักษมรดกโลก ของหนวยงานของรัฐ ที่เกี่ยวของ และรายงานตอ กอม.

62

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


4) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ กอม. มอบหมาย ในกรณีที่ กอม. เห็นวาการดําเนินงานของหนวยงานของรัฐ หนวยงานใดไมเปนไปตามพันธกรณีทกี่ าํ หนดในอนุสญ ั ญา หรือไมสอดคลอง กั บ แนวทางการอนุ วั ต ตามอนุ สั ญ ญาว า ด ว ยการคุ  ม ครองมรดกโลกที่ คณะกรรมการมรดกโลกกําหนด หรือไมสอดคลองกับนโยบาย แผนงาน หรือมาตรการและกลไกทีห่ นวยงานของรัฐเกีย่ วของตามอํานาจหนาทีข่ อง กอม. ในขอ 1) และ 2) หรือที่หนวยงานของรัฐ กําหนดขึ้นตามอํานาจ หนาที่ของตน เพื่อรองรับการปฏิบัติตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก ให กอม. แจงใหหนวยงานของรัฐ ดําเนินการแกไขหรือปฏิบัติใหถูกตอง ในกรณีที่หนวยงานของรัฐไมแกไขหรือไมปฏิบัติใหถูกตองตาม วรรคหนึ่ง หรือไมดําเนินการ ภายในระยะเวลาอันสมควรให กอม. รายงานปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นตอคณะรัฐมนตรีเพื่อวินิจฉัยสั่งการ ตามที่เห็นสมควร

คณะอนุกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรม คณะอนุกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรมของประเทศไทยมี รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม เปนประธาน และอธิบดีกรมศิลปากร เปนเลขานุการ มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบดานการเสนอชื่อ การพิจารณา ปรับปรุงเพิ่มเติม การกํากับดูแล การประสานงาน การยกรางรายงาน และพิจารณาดําเนินการอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับมรดกโลกทางวัฒนธรรม คณะอนุกรรมการมรดกโลกทางธรรมชาติ คณะอนุ ก รรมการมรดกโลกทางธรรมชาติ ข องประเทศไทยมี รัฐมนตรีวา การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม เปนประธาน และอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชเปนเลขานุการ มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบดานการ เสนอชื่อ การพิจาณาปรับปรุงเพิ่มเติม การกํากับดูแล การประสานงาน การยกรางรายงาน และพิจารณา ดําเนินการอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับมรดกโลกทางธรรมชาติ

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

63


สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม27 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนหนวยงานในสังกัดของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีพันธกิจดานการกําหนดนโยบายและแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพ สิง่ แวดลอม โดยเสนอแนะนโยบายและแผนการอนุรกั ษและบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งสนับสนุนการจัดการเพื่อนํา ไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม ตลอดจนติดตามตรวจสอบ มาตรการ เงื่อนไข ผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามรายงานการวิเคราะหผลกระทบ สิ่งแวดลอม เพื่อสรางความเขมแข็งดานเศรษฐกิจของประเทศ และ สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนและคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งนี้ ในภารกิจดานมรดกโลกนั้น จะมอบหมายให “กองจัดการ สิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม” เปนผูดําเนินการ โดยมีหนาที่รับ ผิดชอบในสวนที่เกี่ยวของกับงานดานมรดกโลก ดังตอไปนี้ 1) กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร แผน แนวทาง มาตรฐาน และ มาตรการการอนุรักษ คุมครอง และฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ และสิง่ แวดลอมศิลปกรรม ในพืน้ ทีแ่ หลงธรรมชาติ แหลงศิลปกรรม พืน้ ที่ กรุงรัตนโกสินทรและเมืองเกา และพื้นที่มรดกโลก รวมทั้งการจัดทําแผน แมบท แผนบูรณาการ และแผนปฏิบัติการที่คํานึงถึงการอนุรักษอยางมี ประสิทธิภาพ และการใชประโยชนอยางเหมาะสม 2) เสนอแนะแนวทาง และมาตรการในการบริหารจัดการเพื่อ ควบคุม ปองกัน แกไข และลดผลกระทบสิ่งแวดลอมธรรมชาติและ สิง่ แวดลอมศิลปกรรม รวมทัง้ มาตรการจูงใจในการอนุรกั ษ คุม ครอง และ พืน้ ฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมศิลปกรรมอยางมี ประสิทธิภาพ และการใชประโยชนอยางสมดุล เหมาะสม และยั่งยืน 3) ศึกษา วิเคราะห และประเมินคุณคาและคุณภาพสิ่งแวดลอม ของแหลงธรรมชาติ และ แหลงศิลปกรรมเพื่อจัดลําดับความสําคัญ การ ขึ้นทะเบียนและการประกาศเขตคุมครองแหลงธรรมชาติ แหลงศิลปกรรม อันควรอนุรักษ พื้นที่เมืองเกา และพื้นที่มรดกโลก 4) ประสานการอนุวัตตามพันธกรณี และประสานกับองคกร ระหวางประเทศที่เกี่ยวของ กับอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกทาง วัฒนธรรมและธรรมชาติของโลกและอนุสัญญาอื่นที่เกี่ยวของ 5) ปฏิบตั งิ านรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหนวยงาน อื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมาย

64

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สํ า นั ก งานนโยบายและแผน ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดลอม


หนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ จากเนื้อหาที่กลาวมาขางตนวาดวยหนวยงานระดับนานาชาติ และหนวยงานระดับชาติที่ เกี่ยวเนื่องกับแหลงมรดกและกระบวนการที่เกี่ยวเนื่องในขั้นตอนตางๆ ทวาในความเปนจริงแลว ยังมีหนวยงานอีกมากมายที่เกี่ยวเนื่องกับแหลงมรดกโลก ทั้งแหลงทางวัฒนธรรม แหลงทาง ธรรมชาติ และแหลงแบบผสม โดยเฉพาะในฐานะผูดูแลแหลงโดยตรงตามภาระหนาที่ ตลอดจน หนวยงานเกี่ยวเนื่อง อาทิเชน สําหรับ “แหลงมรดกทางธรรมชาติ” ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม และหนวยงานในสังกัด อาทิ กรมปาไม, กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื , กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซึง่ เปนหนวยงานทีเ่ กีย่ วของในฐานะของหนวยงานตามพันธกิจ มีหนาที่ดูแหลงโดยตรง นอกจากนี้ ยังมีหนวยงานที่เกี่ยวเนื่องที่ทําหนาที่สัมพันธในการธํารงรักษา คุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลงมรดก อาทิเชน กรมทรัพยากรธรณี, กรมทรัพยากรนํ้า, กรมทรัพยากรนํ้าบาดาล, กรมควบคุมมลพิษ, กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม เปนตน สําหรับ “แหลงมรดกทางวัฒนธรรม” ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับกระทรวงวัฒนธรรม ทั้งนี้ แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมของประเทศไทยในปจจุบนั คือ มรดกโลกนครประวัตศิ าสตรพระนคร ศรีอยุธยา, มรดกโลกเมืองประวัตศิ าสตรสโุ ขทัยและเมืองบริวาร, มรดกโลกแหลงโบราณคดีบา นเชียง ซึง่ จะเห็นไดวา แหลงตางๆ ทีก่ ลาวมาขางตนเปนแหลงในลักษณะทีเ่ ปน “ซากมรดกวัฒนธรรม หรือ ซากโบราณสถาน (Relic)” หรือเปน “โบราณสถาน” ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับกรมศิลปากรซึ่งมี บทบาทหนาที่ในการปกปองรักษามรดกทางวัฒนธรรมโดยตรง ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาในรายละเอียด จะเห็นไดวาในบางแหลงนั้นแมจะเปนแหลงโบราณสถานทวาก็มีการใชประโยชนในบริบทรวมสมัย เชน วัดวาอารามตางๆ ที่จดทะเบียนตามกฎหมาย ในการนี้ หนวยงานที่เกี่ยวเนื่องนั้นยังเกี่ยวของ กับกรมการศาสนา ซึง่ มีหนวยงานสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติซงึ่ มีบทบาทหนาทีใ่ นการกํากับ ดูแลวัดตางๆ อีกดวย สําหรับ “แหลงมรดกแบบผสม” ซึ่งแมวาในปจจุบัน ประเทศไทยยังไมมีแหลงมรดก ประเภทนี้ไดรับการขึ้นทะเบียน ทวาแนวโนมของคณะกรรมการมรดกโลกมีแนวโนมในการให ความสําคัญของแหลงมรดกโลกแบบผสมนัน้ มากขึน้ ซึง่ ในอนาคตนัน้ ประเทศไทยอาจมีการนําเสนอ แหลงในลักษณะดังกลาวเพือ่ ขอขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ทัง้ นี้ หนวยงานทีม่ หี นาทีเ่ กีย่ วของ กับแหลงจึงยอมมีความหลากหลาย และมีจํานวนมากขึ้นตามคุณลักษณะของแหลง ตลอดจน บริบทแวดลอมตางๆ ของที่ตั้งของแหลง สุดทาย ในการดําเนินการที่เกี่ยวเนื่องกับแหลงมรดกโลก นับตั้งแตการศึกษา วิเคราะห แหลงเพื่อคนควาในมิติตางๆ เพื่อหาคุณคาเพื่อประกอบการจัดเตรียมเอกสารตางๆ ยังสัมพันธ กับสถาบันการศึกษา และสถาบันตามความเชี่ยวชาญตางๆ นอกจากนี้ หนวยงานสวนทองถิ่นที่ แหลงมรดกดังกลาวนั้นตั้งอยูก็ยังเปนหนวยงานที่มีความสําคัญในการขับเคลื่อนใหแหลงไดรับ การขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก ตลอดจนการรักษาคุณคาโดดเดนอันเปนสากล อาทิเชน หนวยงาน ในระดับจังหวัด และหนวยงานในระดับทองถิ่น ตลอดจนภาคเอกชนตางๆ ในพื้นที่ดวย

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

65


หนวยงานที่เกี่ยวของในกระบวนการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก

อนุสัญญาคุมครองมรดกโลก

คณะกรรมการมรดกโลก องคกรที่ปรึกษา ของคณะกรรมการมรดกโลก

รัฐภาคีสมาชิก ประเทศไทย

สํานักเลขาธิการ ของคณะกรรมการมรดกโลก (ศูนยมรดกโลก)

ICCROM ศูนยระหวางชาติวาดวยการศึกษา การอนุรักษและปฎิสังขรณสมบัติ ทางวัฒนธรรม

ICOMOS

คณะกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญา คุมครองมรดกโลก รองนายกรัฐมนตรี ที่ไดรับมอบหมายใหดูแลกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ประธาน) เลขาธิการ สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (เลขานุการ)

สภาการโบราณสถานระหวาง ประเทศ

IUCN สหภาพสากล วาดวยการอนุรักษ

คณะอนุกรรมการมรดกโลก ทางวัฒนธรรม

คณะอนุกรรมการมรดกโลก ทางธรรมชาติ

รัฐมนตรีวาการ กระทรวงวัฒนธรรม

รัฐมนตรีวาการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (ประธาน)

(ประธาน) อธิบดีกรมศิลปากร (เลขานุการ)

66

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช (เลขานุการ)


แนวคิดเกี่ยวเนื่องในการนําเสนอ แหลงมรดกทางวัฒนธรรม และ แหลงมรดกทางธรรมชาติ เปน แหลงมรดกโลก

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

67


แนวคิดเรื่องคุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value) “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)” หมายถึงคุณคาทาง วัฒนธรรม และ/หรือทางธรรมชาติที่มีความสําคัญยิ่งอยูเหนือขอบเขตพรมแดนรัฐชาติ และเปน คุณคาสากลของมนุษยชาติ ทั้งในสถานการณปจจุบันและอนาคต ดังนั้นการปกปองคุมครองมรดก จึงเปนสิ่งสําคัญสูงสุดในฐานะที่เปนมรดกของมนุษยชาติ ในที่นี้ คณะกรรมการมรดกโลก จึงตอง จําแนกแหลงมรดกตามเงื่อนไขของการขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ทั้งนี้ รัฐภาคีสมาชิกตางๆ จะไดรับเชิญใหนําเสนอแหลงมรดกที่มีคุณคาทั้งทางวัฒนธรรม และ/หรือธรรมชาติที่ไดพิจารณาแลววามีคุณคาโดดเดนอันเปนสากลเพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลก ในการเสนอแหลงเพื่อรับการขึ้นทะเบียนสูบัญชีมรดกโลกนั้น คณะกรรมการมรดกโลก ตองมีการแถลงถึง “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล” ของแหลงดังกลาว เพื่อเปนขอมูลอางอิงสําคัญ ในการประกาศคุมครองปองกัน และการบริหารจัดการในอนาคต ทั้งนี้ เนื่องจากแนวทางของอนุสัญญาคุมครองมรดกโลกนั้น มิอาจมุงหวังที่จะใหสามารถ ทําการปกปองแหลงมรดกทุกแหลงบนโลกใบนี้ได ดังนั้นในการดําเนินการจะคัดสรรรเฉพาะแหลง มรดกที่มีคุณคาโดดเดนสูงสุดตามความคิดเห็นในระดับนานาชาติ ทั้งนี้ จึงไมควรคาดหวังวา แหลงมรดกที่มีความโดดเดนระดับชาติหรือภูมิภาคนั้น จะตองไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลง มรดกโลกเสมอไป ขัน้ ตอนการเสนอขอมูลของแหลงเพือ่ ขอขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกตอคณะกรรมการ มรดกโลกนัน้ รัฐภาคีสมาชิกตองแสดงใหเห็นถึงพันธะสัญญาอันมุง มัน่ ทีจ่ ะพิทกั ษรกั ษาแหลงมรดก ใหคงคุณคาไวตามพันธะสัญญาดังกลาว แสดงใหเห็นผานการดําเนินมาตรการตางๆ อาทิ นโยบาย กฎหมาย การศึกษาทางวิทยาศาสตร การศึกษาดานเทคนิค ดานการบริหารจัดการ และดานการเงิน ซึ่ ง ตั ว บ ง ชี้ เ หล า นี้ ถู ก นํ า ไปใช เ พื่ อ เป น แนวทางในการปกป อ งแหล ง มรดกและคุ ณ ค า ที่ โดดเดน อันเปนสากล ทัง้ นี้ กระบวนการประเมิน “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)” จะพิจารณาองคประกอบ 3 สวนหลัก คือ 1) เกณฑการพิจารณาแหลงมรดกโลก (World Heritage criteria) 2) ความครบถวนสมบูรณ และ/หรือ ความเปนของแทดั้งเดิม (Integrity and/or Authenticity) 3) การปกปองคุมครองและการบริหารจัดการ (Protection and Management)

68

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

69


เกณฑการพิจารณาแหลงมรดกโลก (World Heritage Criteria) ในการพิจารณาเพื่อเสนอแหลงเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปนแหลง มรดกโลกนั้น UNESCO ไดกําหนดใหมีเกณฑในการพิจารณา “คุณคา โดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)” ตาม “เอกสาร แนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก (Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention)” โดยเกณฑการพิจารณาคุณคาความโดดเดนอันเปนสากล ของแหลง เพื่อนําเสนอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนั้นจะมีเกณฑใน การพิจารณาจํานวน 10 ขอ โดยแบงเปนเกณฑทางดานวัฒนธรรม จํานวน 6 ขอ (i-vi) และเกณฑทางดานธรรมชาติจํานวน 4 เกณฑ (vii-x) โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี1้ สําหรับหลักเกณฑในการประเมิน “มรดกทางวัฒนธรรม” เพื่อ ขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกของคณะกรรมการมรดกโลก (The World Heritage Committee) มีอยู 6 ประการ คือ

สํานักนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติแลสิ่งแวดลอม. ชุดความรู ดานการอนุรกั ษ คุม ครองแหลงมรดก โลกเลมที่ 1 ความรูเ กีย่ วกับอนุสญ ั ญา คุมครองมรดกโลก. กรุงเทพฯ: สํานัก นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม. 2556. หนาที่ 1214.

1

เกณฑขอที่ 1 - i เปนตัวแทนที่แสดงถึงความเปนเอกลักษณดานศิลปกรรม หรือตัวแทนของความงดงามและ เปนผลงานชิ้นเอกที่จัดทําขึ้นดวยการสรางสรรคอันชาญฉลาดยิ่ง to represent a masterpiece of human creative genius

เกณฑขอที่ 2 - ii แสดงถึงความสําคัญของการแลกเปลีย ่ นคุณคาของมนุษยในชวงเวลาใดเวลาหนึง่ หรือในพืน ้ ที่ วัฒนธรรมใดๆ ของโลกผานการพัฒนาดานสถาปตยกรรมหรือทางเทคโนโลยี อนุสรณศล ิ ป การวางแผนบานเมือง หรือการออกแบบภูมท ิ ศ ั น to exhibit an important interchange of human values, over a span of time or within a cultural area of the world, on developments in architecture or technology, monumental arts, town-planning or landscape design

70

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


เกณฑขอที่ 3- iii เปนเอกลักษณ หายากยิ่ง หรือเปนของแทดั้งเดิม

to bear a unique or at least exceptional testimony to a cultural tradition or to a civilization which is living or which has disappeared

เกณฑขอที่ 4- iv เปนตัวอยางของลักษณะโดยทั่วไปของสิ่งกอสรางอันเปนตัวแทนของการพัฒนาทาง ดานวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี หรืออุตสาหกรรม

to be an outstanding example of a type of building, architectural or technological ensemble or landscape which illustrates (a) significant stage(s) in human history

เกณฑขอที่ 5 - v เปนตัวอยางลักษณะอันเดนชัด หรือของขนบธรรมเนียมประเพณีแหงสถาปตยกรรม วิธีการ กอสราง หรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษยที่มีความเปราะบางดวยตัวมันเอง หรือเสื่อมสลายได งายเพราะผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่ไมสามารถกลับคืนดัง เดิมได หรือการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ to be an outstanding example of a traditional human settlement, land-use, or sea-use

which is representative of a culture (or cultures), or human interaction with the environment especially when it has become vulnerable under the impact of irreversible change

เกณฑขอที่ 6- vi มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวของโดยตรงกับเหตุการณหรือบุคคลที่มีความสําคัญหรือ ความโดดเดนยิ่งในประวัติศาสตร

to be directly or tangibly associated with events or living traditions, with ideas, or with beliefs, with artistic and literary works of outstanding universal significance. (The Committee considers that this criterion should preferably be used in conjunction with other criteria)

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

71


สําหรับหลักเกณฑในการประเมิน “มรดกทางธรรมชาติ” เพื่อขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดก โลกของคณะกรรมการมรดกโลก (The World Heritage Committee) มีอยู 4 ประการ คือ เกณฑขอที่ 7 - vii เปน แหลงที่เกิดปรากฏการณทางธรรมชาติที่มีความโดดเดน เห็น ไดชัด หรือเปนพื้นที่ที่มี ความงามตามธรรมชาติหาพื้นที่อื่นเปรียบเทียบไมได to contain superlative natural phenomena or areas of exceptional natural beauty

and

aesthetic importance

เกณฑขอที่ 8- viii เปนตัวอยางทีม ่ ค ี วามโดดเดนสะทอนถึงวิวฒ ั นาการความเปนมาของโลกในชวงเวลาตางๆกัน ซึ่งรวมไปถึงรองรอยของสิ่งมีชีวิตหรือกระบวนการทางธรณีวิทยาที่สําคัญอันทําใหเกิดรูป ลักษณของแผนดินหรือลักษณะธรณีสัณฐาน หรือลักษณะภูมิประเทศที่สําคัญ to be outstanding examples representing major stages of earth’s history, including the

record of life, significant on-going geological processes in the development of landforms, or significant geomorphic or physiographic features

เกณฑขอที่ 9 - ix เปนตัวอยางที่มีความโดดเดนสะทอนถึงกระบวนการนิเวศวิทยา และชีววิทยาซึ่งกอใหเกิดและ มีพัฒนาการของระบบนิเวศทางบก หรือระบบนิเวศนํ้าจืด หรือระบบนิเวศชายฝงและทางทะเล และสังคมสัตวและพืช

to be outstanding examples representing significant on-going ecological and biological processes in the evolution and development of terrestrial, fresh water, coastal and marine ecosystems and communities of plants and animals

เกณฑขอที่ 10 - x เปนถิ่นที่อยูอาศัยที่มีความสําคัญสูงสุดสําหรับการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพใน ถิน ่ กําเนิด ซึง่ รวมไปถึงถิน ่ ทีอ่ าศัยของชนิดพันธุพ  ชื และ/หรือชนิดพันธุส  ต ั ว ทีม ่ ค ี ณ ุ คาโดดเดน เชิงวิทยาศาสตร หรือเชิงอนุรักษระดับโลก to contain the most important and significant natural habitats for in-situ conservation of

biological diversity, including those containing threatened species of outstanding universal value from the point of view of science or conservation.

72

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ความครบถวนสมบูรณ (Integrity)

บางครั้งแปลคําวา “Integrity” วา “บูรณภาพ” ซึ่งในที่นี้ พิจารณาวา ศัพทบญ ั ญัตดิ งั กลาวนัน้ ยังไมเปนทีร่ บั รู กวางขวาง ในการเรียบเรียงนี้ จึงใชคาํ อธิบายวา “ความครบถวนสมบูรณ”

2

ในกระบวนการเสนอขอขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก สิง่ ทีต่ อ ง พิจารณา คือ “ความครบถวนสมบูรณ (Integrity)” 2 ทั้งแหลงมรดกทาง วัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ตองไดรับการประเมินดานความสมบูรณ หรือความมีอยูอ ยางครบถวนของคุณสมบัตติ า งๆทีถ่ า ยทอด คุณคาทีโ่ ดดเดน เปนสากลดวยเหตุนเี้ อง การสรางความเขาใจอยางชัดเจนตอประเด็นดาน ศักยภาพคุณคาที่โดดเดนเปนสากลเปนสิ่งที่จะตองดําเนินการกอนที่จะ พิจารณาในประเด็นวาดวยความครบถวนของแหลงมรดก ความครบถวนสมบูรณเปนเครื่องบงชี้คุณสมบัติของลักษณะ ความเปนองครวม ตลอดจนการดํารงอยูอ ยางครบถวนสมบูรณของมรดก ทางวัฒนธรรมและ/หรือทางธรรมชาติ และคุณลักษณะประกอบ ทั้งนี้ ใน การตรวจสอบเงื่อนไขของความครบถวนสมบูรณจําเปนจะตองพิจารณา ถึงสิ่งที่เกี่ยวเนื่องของแหลงมรดกนั้นดวย กลาวคือ 1) มีความจําเปนที่ตองผนวกรวมทุกองคประกอบเขาดวยกัน เพื่อใหคุณคาที่โดดเดนเปนสากลของแหลงมรดกนั้นเปนประจักษ 2) แหลงตองมีขนาดใหญพอเพียงที่จะทําใหเชื่อมั่นไดวาจะมี คุณสมบัติเปนตัวแทนที่แสดงออกถึงความครบถวนสมบูรณของลักษณะ เดน ตลอดจนกระบวนการตางๆ ซึ่งถายทอดนัยสําคัญของแหลงมรดก 3) แหลงไดรับผลกระทบในทางลบจากการพัฒนาและ/หรือ การถูกทอดทิ้ง โดยแหลงมรดกทีน่ าํ เสนอภายใตเกณฑขอ ที่ 1 (i) - 6 (vi) นัน้ แหลงมรดกจะตองมีโครงสรางทางกายภาพและ/หรือองคประกอบสําคัญ ที่อยูในสภาพที่ดี รวมทั้งไดรับการควบคุมผลกระทบจากการเสื่อมสภาพ ทั้งนี้ สัดสวนขององคประกอบที่มีนัยสําคัญนั้นตองแสดงใหเห็น ถึงองครวมของคุณคาของแหลงมรดกทีค่ วรผนวกเขาไว ความสัมพันธและ พลวัตของหนาทีใ่ นบริบทรวมสมัยในภูมทิ ศั นวฒ ั นธรรมเมืองประวัตศิ าสตร หรือแหลงมรดกอื่นๆที่มีพลวัตที่มีคุณลักษณะเฉพาะที่แตกตางจากสิ่ง อื่นๆตองรักษาไวดวยเชนกัน สําหรับแหลงมรดกทีเ่ สนอภายใตขอ เกณฑขอ ที่ 7(vii) - 10(x) นัน้ แหลงมรดกตองมีกระบวนการทางชีวกายภาพ และการคุณลักษณะของ ภูมิลักษณตองอยูในสภาพสมบูรณ อยางไรก็ตามตองยอมรับวาพื้นที่ เกาแก และแหลงธรรมชาติใดๆ ตางมีพลวัตและมีความสัมพันธกับมนุษย และกิจกรรมตางๆของมนุษยซึ่งรวมไปถึงประเพณีของสังคมและชุมชน ทองถิ่น มักเกิดขึน้ ในพืน้ ทีธ่ รรมชาติ ซึง่ กิจกรรมตางๆ นัน้ ควรจะสัมพันธ กั บ การสร า งมั่ น คงให แ ก คุ ณ ค า โดดเด น อั น เป น สากลของพื้ น ที่ ซึ่ ง มี ความยั่งยืนทางระบบนิเวศวิทยา

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

73


นอกจากนี้ คุณสมบัติของแหลงมรดกที่ไดรับการเสนอชื่อภายใตเกณฑขอ 7 (vii) - 10 (x) ยังกําหนดเงื่อนไขที่สอดคลองกันสําหรับความสมบูรณไวสําหรับแตละเกณฑ แหลงมรดกที่นําเสนอภายใตเกณฑขอที่ 7 (vii) ตองมีคุณคาโดดเดนอันเปนสากลที่ ผนวกรวมถึงพื้นที่ที่จําเปนตอการรักษาความงามของแหลงมรดกนัน้ ตัวอยางเชน แหลงมรดกทีม่ ี คุณคาดานทิวทัศนซงึ่ สัมพันธอยูก บั นํา้ ตก เพราะฉะนัน้ เงือ่ นไขเรือ่ งความสมบูรณแบบนัน้ ตองผนวก รวมไปถึงพื้นที่ตนนํ้า และปลายนํ้าซึ่งความสมบูรณที่เกิดขึ้นนั้นตองเชื่อมโยงพื้นที่ดังกลาวเปน สวนหนึ่งของการปกปองคุมครองคุณภาพของสุนทรียภาพของแหลงมรดกไวดวย แหลงมรดกที่นําเสนอภายใตเกณฑขอที่ 8 (viii) ควรจะตองประกอบดวยองคประกอบ สําคัญที่สัมพันธกันทั้งหมดรวมทั้งองคประกอบที่เปนเอกเทศ ซึ่งตางก็สัมพันธกับธรรมชาติ เชน “ยุคนํ้าแข็ง” ตองอยูในเงื่อนไขของความครบถวนสมบูรณ โดยตองรวมถึงลานหิมะ ธารนํ้าแข็ง และตัวอยางของรอยตัด การทับถม และการรวมตัว ตัวอยางเชน ตําแหนงที่นํ้าแข็งพัดมาทับถม ซอนทับควรมีความสมบูรณ และควรมีตัวอยางของประเภทหินที่เกิดขึ้นจากการไหลของแมกมา และการระเบิดของภูเขาไฟ แหลงมรดกทีน่ าํ เสนอภายใตเกณฑขอ ที่ 9 (ix) ควรมีขนาดของแหลงที่เพียงพอ และมี องคประกอบทีจ่ าํ เปนเพือ่ แสดงใหเห็นถึงประเด็นสําคัญของกระบวนการทีจ่ าํ เปนสําหรับการอนุรกั ษ ในระยะยาวของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพที่อยูในแหลง เชน เงื่อนไขของ ความครบถวนสมบูรณของพื้นที่ปาดิบฝนเขตรอนจะสัมพันธอยูในกับระดับความสูงเหนือระดับนํา้ ทะเล และการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมปิ ระเทศ และชนิดของดิน ระบบแบบแผนและการสืบพันธุต าม ธรรมชาติ เชนเดียวกับแนวปะการังนั้นควรตองอยูรวมกับองคประกอบอื่นๆ ดวย เชน แหลงหญา ทะเล ปาชายเลน หรือระบบนิเวศที่เชื่อมโยงกันที่ทําหนาที่ควบคุมปริมาณธาตุอาหารและตะกอน ใหเขามาสูแนวปะการัง แหลงมรดกที่นําเสนอภายใตเกณฑขอที่ 10 (x) ควรเปนแหลงมรดกที่มีคุณสมบัติสําคัญ ยิ่งสําหรับการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะแหลงมรดกที่มีความหลากหลาย ทางชีวภาพ และ/หรือเปนตัวแทนที่สอดคลองกับเกณฑ โดยเปนแหลงมรดกทางธรรมชาติที่ทํา หนาทีพ่ ทิ กั ษรกั ษาพันธุพ ชื และพันธุส ตั วทหี่ ลากหลายอันเปนเอกลักษณเฉพาะของชีวมณฑล และ ระบบนิเวศ เชน ปาทุงเขตรอนตองมีสภาพตามขอกําหนดที่ครบถวนสมบูรณ กลาวคือตอง ประกอบดวยสัตวกินพืชและพืชที่มีการพัฒนารวมกัน ตัวอยาง แหลงมรดกระบบนิเวศหมูเกาะนั้น ตองเปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น และตองมีพื้นที่กวางขวางเพียงพอตอการอยูอาศัยของ สิ่งมีชีวิตที่อยูในภาวะวิกฤตใหมั่นใจไดวาประชากรของชนิดพันธุเหลานั้นจะดํารงเผาพันธุตอไปได สําหรับพื้นที่อันเปนที่พักพิงของสิ่งมีชีวิตที่มีการโยกยายถิ่น เปนแหลงที่ผสมพันธุและสรางรังตาม ฤดูกาล และเสนทางในการโยกยายถิ่น

74

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity)

ดูเพิ่มเติมใน “Annex 4” อางใน ๊์UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 1996. pp.88-92.

3

แหลงมรดกที่นําเสนอภายใตเกณฑขอ 1 (I) ถึง ขอ 6 (vi) นั้น จะตองเปนไปตามเงื่อนไขของความเปนของแทดั้งเดิม ตามที่กลาวไวใน ภาคผนวก 43 ในเอกสารแนวทางการอนุวตั ตามอนุสญ ั ญาคุม ครองมรดกโลก ซึง่ ไดผนวกแนวคิดจากเอกสารนาราวาดวยความเปนของแทดงั้ เดิม (Nara Document on Authenticity) ที่ใหประเด็นพื้นฐานสําหรับทดสอบ ประเด็นความเปนของแทดั้งเดิมของแหลง และไดสรุปไวดังตอไปนี้ - ความรับผิดชอบตอมรดกทางวัฒนธรรมและการจัดการที่ แหลงมรดกนัน้ ตัง้ อยู “ในชัน้ แรกเปนหนาทีข่ องชุมชนของวัฒนธรรมนัน้ ๆ” ที่ไดสรางและรักษาวัฒนธรรมนั้นไวตามลําดับ - ในการพิจารณาและตัดสินแหลงมรดก ตองอยูบนฐานของ การใหความเคารพตอทุกวัฒนธรรม และภายใตบริบทแวดลอมทีม่ รดกนัน้ สัมพันธอยู - ในแตละวัฒนธรรมนัน้ การยอมรับ [ตอง] สอดคลองกับลักษณะ เฉพาะของคุณคามรดกวัฒนธรรมนัน้ รวมถึงความนาเชือ่ ถือ และขอเท็จจริง ของแหลงขอมูลที่เกี่ยวของ - คุณคาของแหลงมรดก จะตองถูกประเมินจากคุณคาทีม่ ตี อ ชุมชน ผูเปนเจาของวัฒนธรรมนั้นๆ ที่ซึ่งสรางและ/หรือรักษาวัฒนธรรมนั้นไว ทั้งนี้ นัยสําคัญของแหลงมรดกขึ้นอยูกับการพิจารณา, ความเขาใและ ยอมรับตอสภาพความจําเพาะและบริบททางวัฒนธรรมที่แหลงมรดกนั้น สังกัดอยู สําหรับประเด็นวาดวย “ความเปนของแทดงั้ เดิม (Authenticity)” ของแหลงมรดกทางวัฒนธรรมจะถูกตัดสินจากความนาเชือ่ ถือ และความ เปนจริงในแงมุมตางๆ ที่ระบุไวในเอกสารประกอบการพิจารณา ทั้งนี้ ความสามารถในการทําความเขาใจคุณคาของแหลงมรดกนั้นจะขึ้นอยูกับ ระดับความนาเชื่อถือของขอมูลที่นาํ เสนอ ตลอดจนการสรางความเขาใจ เกี่ยวกับแหลงมรดกวัฒนธรรมที่สัมพันธกับคุณลักษณะของแหลงมรดก ทางวัฒนธรรมซึ่งหมายถึงคุณคาที่สั่งสมมายาวนาน ทั้งนี้ในการประเมิน จะพิจารณาความเปนของแทดงั้ เดิมในทุกมิตทิ เี่ กีย่ วเนือ่ งสัมพันธกบั แหลง การตัดสินในประเด็นเรื่องคุณคาที่อยูคูกับแหลงมรดกวัฒนธรรม อาจแตกตางกันไปตามอัตลักษณทางวัฒนธรรม เพราะแมแตวัฒนธรรม ประเภทเดียวกัน ก็ยังมีรายละเอียดที่แตกตางกัน ทั้งนี้ การประเมินอยู บนฐานของการเคารพในความแตกตางหลากหลายของวัฒนธรรม และใน การประเมินตองตัดสินอยูภายใตกรอบความคิดในบริบทวัฒนธรรมนั้น

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

75


นอกจากนี้ “ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity)” ยังขึ้นอยูกับประเภทของแหลง มรดกทางวัฒนธรรมและบริบททีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ทัง้ นี้ อธิบายผานโครงสรางการนําเสนอขอมูลดังนี้ 1) รูปทรง และการออกแบบ (Form and Design) 2) สาระ และสิ่งประกอบ (Materials and Substance) 3) การใชสอย และหนาที่ (Use and Function) 4) จารีตประเพณี เทคนิค และระบบการจัดการ (Traditions, Techniques and Management systems) 5) ทําเลที่ตั้ง และการตั้งถิ่นฐาน (Location and Setting) 6) ภาษาและรูปแบบอื่นๆของมรดกที่สัมผัสมิได (Language, and Other Forms of Intangible Heritage) 7) จิตวิญญาณ และความรูสึก (Spirit and Feeling) 8) ปจจัยภายในและภายนอกอื่นๆ (Other Internal and External Factors) คุณลักษณะเชน จิตวิญญาณและความรูส กึ มิไดเปนสิง่ พิจารณาไดโดยงายในทางปฏิบตั ทิ จี่ ะ นํามาใชเปนเงื่อนไขของความเปนของแทดั้งเดิม อยางไรก็ตาม คุณลักษณะดังกลาวก็มีความสําคัญ ในฐานะเครื่องบงชี้ถึงคุณลักษณะและสํานึกในถิ่นที่ เชน ในชุมชนที่ยังคงสืบทอดจารีตประเพณี และความตอเนื่องทางวัฒนธรรมเอาไว การใชขอ มูลเหลานีอ้ นุญาตใหสามารถอธิบายและขยายความคุณลักษณะทางสุนทรียภาพ ที่มีความเฉพาะเจาะจง ประวัติศาสตร สังคม และขอมูลวิทยาศาสตรดานตางๆ ของแหลงมรดก ทางวัฒนธรรมที่กําลังไดรับการพิจารณา ในที่นี้ “แหลงขอมูลสารสนเทศ” นั้นหมายรวมทั้งที่เปน สภาพทางกายภาพ การเขียน การพูดสัมภาษณ และขอมูลรูปภาพ ที่ทําใหสามารถทราบถึง คุณลักษณะตามธรรมชาติ ความเฉพาะเจาะจง ความหมาย และประวัติของมรดกทางวัฒนธรรม เมื่อเงื่อนไขของความเปนของแทดั้งเดิมไดรับการพิจารณาในขั้นตอนการเตรียมเอกสารเสนอเพื่อ ขอรับการพิจารณาขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก สิ่งแรกที่รัฐภาคีสมาชิกตองดําเนินการ คือ การจําแนกวาคุณลักษณะใดเปนความเปนของแทด้ังเดิมที่สําคัญที่สุด คําแถลงเกี่ยวกับความเปน ของแทดั้งเดิมควรประเมินระดับของความเปนของแทดั้งเดิม หรืออธิบายโดยจําแนกแตละสวน ประกอบของคุณลักษณะ โดยในสวนทีเ่ กีย่ วของกับความเปนของแทดงั้ เดิมนัน้ การปฏิสงั ขรณซากโบราณสถาน หรือ อาคารทางประวัติศาสตร หรือยานประวัติศาสตร เปนเรื่องที่เปนเงื่อนไขเฉพาะตัวของแตละกรณี จะยอมรับการปฎิสังขรณไดก็ตอเมื่ออยูบนพื้นฐานของการมีขอมูลหรือรายละเอียดที่ทําการบันทึก ไวโดยสมบูรณ และตองไมดําเนินการเกินขอบเขตไปดวยการคาดคะเน

76

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


การปกปองคุมครองและการบริหารจัดการ (Protection and management) การปกปองคุม ครองและการบริหารจัดการแหลงมรดกโลกนัน้ ตองสรางความเชือ่ มัน่ ไดวา สามารถรักษาคุณคาโดดเดนอันเปนสากล ตลอดจนเงื่อนไขของความครบถวนสมบูรณและ/หรือ ความเปนของแทดงั้ เดิมในชวงเวลาของการไดรบั การขึน้ ทะเบียนเอาไวได เพือ่ ใหรกั ษาคุณคาดังกลาว ไวตอไป การทบทวนทั่วไปของสถานภาพการอนุรักษแหลงมรดก และคุณคาโดดเดนอันเปนสากล ควรจะดําเนินการตามกรอบกระบวนการติดตามแหลงมรดกโลกตามที่ไดระบุไวในแนวปฏิบัติเพื่อ การดําเนินการตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก แหลงที่ไดรับการขึ้นทะเบียนในบัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลกนั้นตองไดรับการคุมครองใน ระยะยาว ทั้งในดานกฎหมาย ระเบียบ การจัดตั้งสถาบัน และ/หรือ การปกปองคุมครองประเพณี และการจัดการเพื่อใหแนใจแหลงมรดกโลกจะมีความยั่งยืน การปกปองคุมครองควรรวมถึง การกําหนดขอบเขตอยางเพียงพอ ในขณะเดียวกันในกระบวนการนําเสนอเพื่อขอรับการพิจารณา ขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก รัฐภาคีสมาชิกตองแสดงใหเห็นวามีการปกปองคุมครองทั้งใน ระดับชาติ ภูมิภาค ทองถิ่น และ/หรือ ในระดับของกลุมคนรวมวัฒนธรรมประเพณี และควร แนบเอกสารที่แสดงรายละเอียดที่ชัดเจนของแนวทางการปกปองคุมครองแหลงมรดกที่ขอรับ การพิจารณาขึ้นทะเบียน

มาตรการทางกฎหมาย ระเบียบ และสัญญาเพื่อชี้วัดการปกปองคุมครอง มาตรการทางกฎหมาย และระเบียบตางๆ ทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่นตองสราง ความเชือ่ มัน่ ไดวา จะเปนกลไกในการปกปองคุม ครองคุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลงมรดกโลก ใหรอดพนจากผลกระทบอันเกิดขึ้นจากความเปลี่ยนแปลงดานตางๆ อาทิ สังคม เศรษฐกิจ และ แรงกดดัน หรือความเปลี่ยนแปลงที่เปนผลกระทบดานลบ รวมทั้งประเด็นเรื่องความครบถวน สมบูรณ และ/หรือความเปนของแทดั้งเดิมของแหลงดวย โดยรัฐภาคีสมาชิกตองสรางใหเกิด ความเชื่อมั่นวาจะมีการดําเนินการอยางสมบูรณและมีประสิทธิภาพ

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

77


พุกาม (ฺBagan) ไดรบ ั การประกาศขึน ้ ทะเบียนบัญชีรายชือ่ เบือ้ งตน (Tentative list) ในป พ.ศ.2539 | ค.ศ.1996 เสนอดวยเกณฑขอ ที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 78

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


การขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List)

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

79


ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) คณะอนุกรรมการมรดกโลกทางธรรมชาติ/ทางวัฒนธรรม พิจารณา เอกสารการนําเสนอแหลงเพื่อบรรจุในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) ไมเห็นชอบ

ขั้นตอนภายในประเทศ

เห็นชอบ

คณะกรรมการแหงชาติ วาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก

ไมเห็นชอบ

เห็นชอบ

คณะรัฐมนตรี

ไมเห็นชอบ

เห็นชอบ

จัดสงเอกสารเพื่อขอบรรจุในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) ตอศูนยมรดกโลก (World Heritage Centre)

ขั้นตอนของศูนยมรดกโลก

ตรวจสอบเอกสาร

คณะกรรมการมรดกโลกพิจารณาการนําเสนอแหลงฯ เพื่อบรรจุในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) เห็นชอบ

รัฐภาคีรับทราบผลการพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลก และเตรียมการจัดทําเอกสารนําเสนอเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลก (ปที่ 1)

80

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หนวยงานเจาของเรื่อง นําเสนอแหลง


ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน บัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List)

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. ชุดความรู ดานการอนุรกั ษ คุม ครองแหลงมรดก โลก เลมที่ 3 การเตรียมการขึน้ ทะเบียน แหลงมรดกโลก. กรุงเทพฯ: สํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม. 2556. หนา 25.

1

“บัญชีรายชื่อเบื้องตน” ในภาษาอังกฤษเรียกวา “Tentative List” เปนการบรรจุชื่อแหลงที่ตองการเสนอรับการพิจารณาขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก ซึ่งการเตรียมการเสนอชื่อเพื่อบรรจุเขาไปในบัญชี รายชื่อเบื้องตน (Tentative List) นั้น รัฐภาคีสมาชิกจะตองทําการ ศึกษาสํารวจศักยภาพและคุณคาเบื้องตนของแหลงมรดกประเภทตางๆ เปนฐานขอมูลเบื้องตน และนําเสนอรายชื่อไปที่ศูนยมรดกโลก (World Heritage Centre) ทั้งนี้ อาจจะเสนอพรอมกันทีละหลายชื่อ แตควรจะ มีแผนการในการดําเนินการที่ชัดเจน กลาวคือ หากมีแผนการจะนําเสนอ ชื่อแหลงเพื่อขอรับการพิจารณาในอีก 5-10 ปขางหนา ก็มีความจําเปน ที่จะตองเสนอชื่อแหลงมรดกดังกลาวไวในบัญชีรายชื่อเบื้ อ งต น นี้ ก  อ น เนือ่ งจากเปนขัน้ ตอนแรกทีม่ คี วามสําคัญ กอนทีจ่ ะมีการเสนอแหลงมรดก เพือ่ ขอรับการขึน้ ทะเบียนใหเปนแหลงมรดกโลก ทั้งนี้ หากวาแหลงมรดกนั้นไมไดมีการขึ้นทะเบียนไวในบัญชี รายชือ่ เบือ้ งตน จะไมไดรบั การพิจารณาในการเสนอขอรับการขึน้ ทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก1 องคประกอบของการเสนอขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตนใน เอกสารแนวทางการอนุ วั ต ตามอนุ สั ญ ญาคุ  ม ครองมรดกโลกนั้ น ได กําหนดรายละเอียดของการจัดเตรียมเอกสารเพื่อการเสนอขึ้นทะเบียน บัญชีรายชื่อเบื้องตน ซึ่งประกอบดวยเอกสารทั้งหมด 4 สวน ไดแก 1) ชื่อของแหลงมรดก 2) ตําแหนงที่ตั้งทางภูมิศาสตร 3) รายละเอียดของแหลงมรดกโดยสังเขป 4) รายละเอียดของคุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลงมรดก ประกอบดวย - เกณฑที่จะนําเสนอ - ความเปนของแทดั้งเดิม - การเปรียบเทียบกับแหลงตางๆ ทั้งนี้ ในการจัดเตรียมเอกสารเพื่อการเสนอขึ้นทะเบียนบัญชี รายชื่อเบื้องตนนั้น รัฐภาคีสมาชิกควรสรางกระบวนการมีสวนรวมของ ผูที่มีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวนในพื้นที่ของแหลงมรดก เชน ผูจัดการ พื้นที่ องคกรปกครองระดับภูมิภาค หรือระดับทองถิ่น ชุมชนทองถิ่น องคกรภาคเอกชน รวมไปถึงภาคีของผูที่สนใจและผูมีสวนรวมอื่นๆ

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

81


กรอบเวลาการเสนอบัญชีรายชื่อเบื้องตน ในการนําเสนอรายชื่อของแหลงเพื่อบรรจุในบัญชีรายชื่อเบื้องตนหรือการปรับปรุงรายชื่อ ของแหลงที่เสนอบรรจุในบัญชีรายชื่อเบื้องตนไปแลวนั้น รัฐภาคีสมาชิกสามารถดําเนินการใน ชวงเวลาใดก็ได เนื่องจากขั้นตอนของการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนั้น รายชื่อของ แหลงดังกลาวจะตองไดรับการบรรจุเขาอยูในทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตนมาแลวไมนอยกวา 1 ป อยางไรก็ตาม ในกรณีของแหลงมรดกที่ไดรับการขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตนแลว แตยังไมมี แผนในการยื่นเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนแหลงเปนมรดกโลก จะตองมีกระบวนการตรวจสอบและ ทบทวนรายละเอียดของบัญชีรายชื่อเบื้องตน อยางนอยทุกๆ รอบ 10 ป การลงทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตน สําหรับบัญชีรายชือ่ เบือ้ งตนทีม่ กี ารจัดเตรียมเอกสารไวสมบูรณ และมีการลงนามโดยผูท ไี่ ด รับมอบอํานาจดําเนินการจากรัฐภาคีสมาชิกเรียบรอยแลว ใหนําสงตอไปยังสํานักงานเลขานุการ คณะกรรมการมรดกโลก (World Heritage Committee) ยังศูนยมรดกโลก (World Heritage Centre) แหงองคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) ซึ่งมี สํานักงานใหญอยูที่กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส หลังจากที่สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลกไดรับเอกสารเปนที่เรียบรอยแลว ในลําดับแรก จะดําเนินการการตรวจสอบวามีรูปแบบเปนไปตามมาตรฐานหรือไม หากในกรณีที่ไม สอดคลองกับรูปแบบมาตรฐาน เอกสารดังกลาวจะถูกสงกลับไปยังรัฐภาคีสมาชิก เพื่อใหดําเนิน การแกไขปรับปรุง สวนเอกสารทีผ่ า นการตรวจสอบรูปแบบเรียบรอยแลว จะมีการลงทะเบียนและ ดําเนินการในขั้นถัดไป แนวทางปฏิบต ั แิ ละการชวยเหลือเพือ่ การจัดเตรียมบัญชีรายชือ่ เบือ้ งตน การนําเสนอเพื่อขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องตนนั้น เปนขั้นตอนพื้นฐานที่จําเปนสําหรับ การเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนแหลงเปนมรดกโลก ทั้งนี้ มีแนวทางปฏิบัติ และแนวทางการชวย เหลือเพื่อการจัดเตรียมบัญชีรายชื่อเบื้องตน ดังนี้ 1) รัฐภาคีสมาชิก ควรดําเนินการตรวจสอบผลการวิเคราะหในสวนของบัญชีมรดกโลก และบัญชีรายชื่อเบื้องตนที่คณะกรรมการมรดกโลกไดประกาศไวแลว ซึ่งดําเนินการโดย ICOMOS และ IUCN ซึ่งเปนองคกรที่ปรึกษาของคณะกรรมการมรดกโลกดานมรดกทางวัฒนธรรม และทาง ธรรมชาติ ตามลําดับ โดยผลวิเคราะหดังกลาว จะเปนประโยชนตอการวิเคราะห เพื่อหาชองวางที่ ปรากฏอยูในบัญชีแหลงมรดกโลกเพื่อใชในการเปรียบเทียบกับแหลงมรดกที่ตองการจะนําเสนอ ขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก 2) รัฐภาคีสมาชิก ควรพิจารณาขอมูลรวมกับการศึกษาเฉพาะดานทีด่ าํ เนินการโดยองคกร ที่ปรึกษา โดยเปนการศึกษาที่มีผลมาจากการทบทวนเกี่ยวกับบัญชีรายชื่อเบื้องตนที่ถูกเสนอโดย รัฐภาคีสมาชิกตางๆ และขอมูลจากรายงานการประชุมทีเ่ กีย่ วของกับการจัดแบงกลุม ทีม่ คี ณ ุ ลักษณะ ที่สอดคลองกันของแหลงที่เสนออยูในบัญชี นอกจากนี้ ควรจะศึกษาเอกสารทางดานวิชาการอื่นๆ ขององคกรที่ปรึกษา รวมไปถึงองคกร และบุคคลที่ไดรับการรับรอง 82

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


3) รัฐภาคีสมาชิก ควรจัดแบงกลุมบัญชีรายชื่อเบื้องตนที่มีคุณลักษณะที่สอดคลองกัน ทั้งในระดับภูมิภาค และรายประเด็นหัวขอ ดวยการชวยเหลือขององคกรที่ปรึกษา เพื่อประเมิน ภาพรวมของบัญชีรายชื่อเบื้องตนเหลานั้น และคนหาชองวางและหัวขอที่มีประเด็นรวมกัน โดย การจัดแบงกลุมดังกลาว อาจนําไปสูการปรับปรุงบัญชีรายชื่อเบื้องตนที่นาสนใจ และอาจมีขอ เสนอใหมจากรัฐภาคีสมาชิกตางๆ รวมไปถึงการกอใหเกิดความรวมมือกันภายในกลุมของรัฐภาคี สมาชิกในการจัดเตรียมการขอรับการขึ้นทะเบียนแหลงเปนมรดกโลก 4) เพื่อดําเนินการตามยุทธศาสตรระดับนานาชาติ การขยายขีดความสามารถใน การสรางเสริมสมรรถนะของผูป ฏิบตั งิ าน และการฝกอบรมเปนสิง่ จําเปนในการชวยเหลือแกรฐั ภาคี สมาชิก เพื่อนําไปสูความเชี่ยวชาญในการจัดเตรียมความพรอมในดานตางๆ ที่สอดคลองกับ ความตองการในปจจุบนั ตลอดจนการสรางองคความรูท เี่ กีย่ วเนือ่ งกับแหลงทีอ่ ยูร ะหวางการขอรับ การขึ้นทะเบียนแหลงเปนมรดกโลก 5) รัฐภาคีสมาชิก สามารถขอความชวยเหลือดานตางๆ จากหนวยงานระดับนานาชาติ (International Assistance) เพื่อเตรียมการดานตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับแหลงที่บรรจุบัญชีรายชื่อ เบื้องตน (Tentative List) เพื่อขอรับการขึ้นทะเบียน 6) องคกรที่ปรึกษาทั้ง ICOMOS และ IUCN และสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการ มรดกโลก อาจจะมีการประเมินเพื่อจัดใหมีการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการในระดับภูมิภาคเกี่ยวกับ การจัดเตรียมบัญชีรายชือ่ เบือ้ งตนและการขอรับการขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก เพือ่ ชวยเหลือ รัฐภาคีสมาชิก

การชวยเหลือและการสรางสมรรถนะสําหรับรัฐภาคีสมาชิก ในการเตรียมบัญชี รายชื่อเบื้องตน เพื่อดําเนินการใหสอดคลองกับยุทธศาสตรระดับโลก ความรวมมือในการสรางสมรรถนะ และการฝกอบรมอาจมีความจําเปนในการชวยเหลือรัฐภาคีสมาชิกในการหาขอมูลและ/หรือ การรวบรวมขอมูลวาดวยความเชี่ยวชาญของตนในการจัดเตรียมขอมูล การปรับปรุงเอกสารใหมี เนื้อหาสาระที่เปนสถานภาพความรูปจจุบัน ตลอดจนการจัดทําเอกสารประกอบการขึ้นทะเบียน บัญชีรายชื่อเบื้องตนใหสมบูรณและเตรียมความพรอมสูการเสนอเอกสารประกอบการนําเสนอ แหลงเพื่อขอรับการพิจารณาเปนมรดกโลก รัฐภาคีสมาชิก สามารถรองขอรับความชวยเหลือจากระดับนานาชาติเพื่อการเตรียม การดานเอกสาร และการปรับปรุงเอกสารใหมเี นือ้ หาสาระทีเ่ ปนสถานภาพความรูป จ จุบนั ตลอดจน การบรรณาธิการเอกสารเพื่อใหไดคุณภาพ องคกรที่ปรึกษาและสํานักเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลกจะใชโอกาสนี้ในการปฏิบัติ ภารกิจในการประเมินการปฏิบัติงานดานการจัดการฝกอบรมและปฏิบัติการระดับภูมิภาคเพื่อ การชวยเหลือรัฐภาคีสมาชิก ในดานวิธีการสําหรับการเตรียมขอมูลสําหรับบัญชีรายชื่อชั่วคราว และเอกสารเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาเปนแหลงมรดกโลก

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

83


การกําหนดขอบเขตพื้นที่ศูนยกลาง(Core Zone) และพื้นที่กันชน (Buffer Zone) ขอบเขตของการปกปองคุมครองอยางมีประสิทธิภาพ (Boundaries for effective protection) การกําหนดขอบเขตพื้นที่ศูนยกลาง (Core Zone) เปนการดําเนินการขั้นพื้นฐานที่มีความจําเปน ตอการสรางกลไกการปกปองคุมครองแหลงอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ขอบเขตของพื้นที่ที่กําหนดตอง ครอบคลุมพื้นที่ที่แสดงถึงคุณลักษณะของคุณคาโดดเดนอันเปนสากล พรอมดวยความครบถวนสมบูรณ และ/หรือความเปนของแทด้งั เดิมของแหลงมรดกดังกลาว สําหรับแหลงมรดกที่นําเสนอภายใตเกณฑขอที่ 1 (i) - 6 (vi) ตองกําหนดขอบเขตใหครอบคลุม พื้นที่หลักและสิ่งเสริมคุณคาทั้งที่แสดงออกโดยตรงเปนรูปธรรมของคุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลง มรดกและเชนเดียวกันกับพื้นที่ที่มีศักยภาพที่จะดําเนินการศึกษาวิจัยในอนาคตที่จะนําไปสูการเสริมสราง ความเขาใจตอพื้นที่แหลงตอไป สําหรับแหลงมรดกที่นําเสนอภายใตเกณฑขอที่ 7 (vii) - 10 (x) ขอบเขตพื้นที่ตองสะทอนให เห็นถึงความตองการขั้นพื้นฐานของพื้นที่สําหรับถิ่นที่อยูอาศัย ชนิดพันธุ กระบวนการ หรือปรากฏการณ ของแหลงทีข่ อรับการพิจารณาขึน้ ทะเบียนบรรจุชอื่ ในบัญชีมรดกโลก ทัง้ นี้ ขอบเขต พืน้ ทีต่ อ งมีขนาดเพียงพอ ตอการปกปองคุม ครองคุณคาโดดเดนอันเปนสากล เพื่อปองกันผลกระทบทางตรงจากการบุกรุกของมนุษย และผลกระทบจากการใชประโยชนจากทรัพยากรนอกพื้นที่ศูนยกลางที่ไดนําเสนอ ขอบเขตของแหลงมรดกทีน่ าํ เสนอ อาจมีอาณาเขตทีต่ งั้ ทีต่ ดิ ตอกับพืน้ ทีค่ มุ ครองหนึง่ หรือหลายแหง เชน อุทยานแหงชาติตางๆ หรือพื้นที่อนุรักษธรรมชาติ พื้นที่อนุรักษชีวมณฑล หรือพื้นที่คุมครอง ประวัติศาสตร ในขณะที่พื้นที่ที่กอตั้งการปองกันนั้น อาจประกอบดวยเขตการจัดการหลายแบบ เฉพาะ บางสวนของพื้นที่เหลานั้นอาจเหมาะสมตามขอกําหนดในการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก พื้นที่แนวกันชน (Buffer zones) แนวคิดเรื่อง “พื้นที่แนวกันชน (Buffer zones)” เกิดขึ้นจากความจําเปนและความตองการ เพื่อการอนุรักษเฉพาะแหลงมรดกนั้นๆ โดยพื้นที่กันชนที่มีประสิทธิภาพจะถูกกําหนดขึ้นเพื่อการปกปอง คุมครองแหลงมรดกที่ไดนําเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก พื้นที่แนวกันชนคือ พืน้ ทีท่ ลี่ อ มรอบแหลงมรดกทีไ่ ดนาํ เสนอ โดยตองมีสงิ่ ประกอบทีเ่ ปนทางการ และ/หรือเปนธรรมเนียมประเพณีที่มีการกําหนดอยางเขมงวดไวในดานการใชประโยชนและการพัฒนาเพือ่ เพิม่ ระดับชัน้ ของการคุม ครองตอแหลงมรดกนัน้ ซึง่ เปนสิง่ ทีต่ อ งกําหนดโดยทันทีสําหรับแหลงที่จะนําเสนอ ขอรับการพิจารณาขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก โดยเฉพาะแหลงมรดกที่มีทิวทัศนที่สําคัญ และพื้นที่ หรือสวนประกอบอื่นๆ อันเปนองคประกอบสําคัญที่จะชวยสนับสนุนคุณคาของแหลงมรดกและการปกปอง คุมครอง ทั้งนี้ ขอบเขตของพื้นที่แนวกันชน ตองพิจารณาตามแตละกรณีดวยกลไก และเงื่อนไขตางๆ ที่ เหมาะสม ทั้งรายละเอียดดานขนาดของพื้นที่ คุณลักษณะและการอนุญาตใชพื้นที่ในเขตพื้นที่แนวกันชน

84

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


โดยใชแผนที่เปนเครื่องมือในการบงบอกความถูกตอง และความชัดเจน ของขอบเขตของพืน้ ทีแ่ หลงมรดกและพืน้ ทีแ่ นวกันชน ซึง่ เปนขอมูลทีต่ อ ง จัดเตรียมไวในเอกสารการเสนอขอรับการขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ทั้งนี้ ควรใสคําอธิบายรายละเอียดใหชัดเจนวาพื้นที่แนวกันชน ทําหนาทีป่ กปองแหลงมรดกนัน้ ไดอยางไร หากไมมกี ารกําหนดแนวกันชน ไวในเอกสาร การเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกจะตอง เตรียมขอชีแ้ จง วาเหตุใดจึงไมมีการกําหนดขอบเขตพื้นที่แนวกันชน แมวาพื้นที่แนวกันชนมิไดเปนสวนหนึ่งของแหลงมรดกที่จะนํา เสนอขอรับการขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก แตการดัดแปลงใดๆ ก็ตาม ในพื้นที่แนวกันชนของแหลงมรดกโลกนั้น จะตองไดรับการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการมรดกโลกตามแนวปฏิบตั วิ า ดวยการดัดแปลง/ปรับปรุง แนวเขตโดยไมกระทบสาระหลัก2 ทั้งนี้ การปรับเปลี่ยนแนวพื้นที่กันชน จะถือวาเปนการปรับเปลี่ยนแนวเขตเพียงเล็กนอย (Minor boundary modification)

UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2107. 30. 3 ดูเพิ่มเติมใน “Annex 11” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2107. 142143. 2

การปรับเปลี่ยนแนวเขตตามขอกําหนดในการใชประโยชน 1. การปรับปรุงแนวเขตพื้นที่เพียงเล็กนอย หากมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นแนวเขตพื้ น ที่ เ พี ย งเล็ ก น อ ยที่ ไ ม ส  ง ผล กระทบอยางมีนัยสําคัญตอขอบเขตของแหลงมรดกหรือกระทบตอคุณคา โดดเดนอันเปนสากล ใหดาํ เนินการแจงใหสาํ นักเลขานุการคณะกรรมการ มรดกโลกทราบ ในกรณีที่รัฐภาคีสมาชิกประสงคจะปรับแกแนวขอบเขตพื้นที่ ของแหลงมรดกทีม่ อี ยูใ นบัญชีมรดกโลก ใหจดั ทําเอกสารตามภาคผนวก 113 และตองยื่นขอภายในวันที่ 1 เดือนกุมภาพันธ ทั้งนี้ ผลการพิจารณาจะ มาจากองคกรที่ปรึกษาหรือหนวยงานที่เกี่ยวของอื่นๆ ซึ่งอาจตัดสินใหมี การแกไขเพียงเล็กนอย หรือไมมีการแกไข จากนั้นสํานักงานเลขานุการ คณะกรรมการมรดกโลกจะนําผลการพิจารณาขององคกรที่ปรึกษาเสนอ ตอคณะกรรมการมรดกโลก ซีง่ อาจมีมติอนุมตั ใิ หดาํ เนินการปรับแกแนวเขต พื้ น ที่ ดั ง กล า วหรื อ หากคณะกรรมการมรดกโลกพิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า การปรับแกแนวเขตพืน้ ทีด่ งั กลาวอาจสงผลกระทบตอแหลงมรดกโลกอยาง มีนัยสําคัญ ในกรณีนี้ รัฐภาคีสมาชิกอาจจะตองดําเนินการยื่นเอกสาร เพื่อขอพิจารณาใหม 2. การปรับแกแนวเขตพื้นที่ที่มีนัยสําคัญ ในกรณีที่รัฐภาคีสมาชิกตองการปรับแกแนวเขตแหลงมรดกที่ อยูในบัญชีมรดกโลกแลว ซึ่งการปรับแกแนวเขตดังกลาวนั้นมีผลกระทบ ตอแหลงมรดกโลกอยางมีนัยสําคัญ ทั้งนี้ รัฐภาคีสมาชิกตองยื่นเอกสาร เสนอใหมเชนเดียวกับการยื่นเสนอแหลงใหมเพื่อขอรับการพิจารณา โดย ตองยื่นเอกสารภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ และจะดําเนินการพิจารณา ภายในชวงรอบระยะเวลาหนึ่งป คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

85


ตัวอยาง เอกสารการกําหนดขอบเขตพื้นที่ศูนยกลาง (Core Zone) และพื้นที่กันชน (Buffer Zone) ในเมืองจอรจทาวน รัฐปนงั ประเทศมาเลเซีย ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของแหลงมรดกโลกมะละกาและจอรจทาวน เมืองประวัตศ ิ าสตรบนชองแคบมะละกา (Melaka and George Town, Historic Cities of the Straits of Malacca)

86

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


การศึกษาเปรียบเทียบ 3 (Comparative and Related studies)

UNESCO. Comparative and Related studies carried out by ICOMOS, 1992-1996. Mexico: UNESCO. 1996. pp.1-8. 4 ดูเพิ่มเติมใน “Chapter VI” อางถึง ใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 1996. p.3. 5 ดูเพิ่มเติมใน “Article 13(7)” และ “Article 14(2)” อางถึงใน UNESCO. Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage. Paris: UNESCO, 1972. p.8. 6 UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 1996. p.5. 7 ดูเพิ่มเติมใน “Paragraph 8” อาง ถึงใน Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 1996. p.4. 3

ในกระบวนการเสนอแหลงมรดกเพื่อขอรับการขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลกนั้นคณะกรรมการมรดกโลกจะทําการประเมินคุณสมบัติ ของแหลง โดยพิจารณาจาก “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล” อยางไรก็ตาม ดวยนโยบายจํากัดจํานวนของแหลงมรดกโลก4 ทําใหการประเมินโดยใช แนวคิดของ “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล” ถูกนํามาใชเปนหลักเกณฑ ในขั้นตอนการคัดเลือกแหลงเพื่อเปนแนวทางใหคณะกรรมการมรดกโลก พิจารณาแหลงที่เสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ในการนี้ คณะกรรมการมรดกโลก อาจรองขอใหองคกรที่ปรึกษา5 คือ ICOMOS และ IUCN เปนผูดําเนินการประเมินคุณสมบัติเบื้องตน สําหรับวัตถุประสงคของการศึกษาเปรียบเทียบนัน้ มีจดุ มุง หมาย เพื่อใหแนใจวาแหลงที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกมีคุณคาโดดเดน ที่สามารถเปนตัวแทนของแหลงมรดกแตละประเภททั้งนี้ กระบวนการ สําคัญทีจ่ ะไดมาซึง่ ขอเท็จจริงดังกลาวนัน้ องคกรทีป่ รึกษาจะพิจารณาจาก กระบวนการศึกษาเปรียบเทียบ ทั้งนี้ เอกสารแนวทางการอนุวัติตาม อนุสัญญาคุมครองมรดกโลก ระบุไววา “เมื่อแหลงมรดกที่อยูในขั้นตอน การขอรับการพิจารณาและนําเสนอขอมูล คณะทํางานตองเตรียมขอมูล เพื่อประกอบการพิจารณา และควรเตรียมขอมูลเพื่อทําการศึกษาเปรียบ เทียบกับแหลงมรดกอื่นที่อยูในรูปแบบที่คลายคลึงกัน”6 อยางไรก็ตาม คณะกรรมการมรดกโลกมีการสงเสริมใหรัฐภาคี สมาชิก ดําเนินการคัดกรองเกณฑคณ ุ สมบัตเิ บือ้ งตนอยูใ นขัน้ ตอนการนําเสนอ แหลงใน “บัญชีรายชือ่ เบือ้ งตน (Tentative list)” แลว ทัง้ นี้ กระบวนการ ขึน้ ทะเบียนบัญชีรายชือ่ เบือ้ งตนจะตัดสินจาก “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล” โดยใชวิธีการศึกษาเปรียบเทียบแหลงมรดกที่ตองการนําเสนอกับแหลง มรดกอื่นๆ ที่มีคุณลักษณะที่คลายกับแหลงที่อยูภายในและภายนอก ขอบเขตของรัฐภาคีสมาชิก7 ในกระบวนการศึกษาเปรียบเทียบนัน้ ควรประเมินและวิเคราะห จากขอมูลหลักฐานที่ไดรับการสนับสนุนดวยขอมูลทางวิชาการที่ดีที่สุด เทาทีจ่ ะหาไดทงั้ ในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ เพือ่ ใหการประเมิน มีความเที่ยงตรงและไมบิดเบือนขอเท็จจริง ทั้งนี้การศึกษาเปรียบเทียบ ควรมีขอบเขตการศึกษาทีก่ วางขวางครอบคลุม กลาวคือ นอกเหนือจาก การเปรียบเทียบในระดับภูมิภาคแลว ควรทําการเปรียบเทียบแหลงมรดก ทีม่ บี ริบทความสัมพันธกนั ในภูมภิ าคอืน่ ๆของโลกดวย เพือ่ ใหผลการศึกษา มีความครอบคลุมและสะท อ นระดั บ คุ ณ ค า โดดเด น อั น เป น สากลของ แหลงมรดกนั้นๆ ไดอยางเทีย่ งตรงและชัดเจน คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

87


การบงชี้คุณสมบัติของแหลงที่เสนอเปนมรดกโลกที่ตรงตามเกณฑการพิจารณามรดกโลก ขอหนึ่งหรือหลายขอ จะตองมีการประเมินสถานภาพในประเด็นดานการปกปองคุมครองโดย การศึกษาเปรียบเทียบกับแหลงมรดกอื่นๆ ที่มีลักษณะคลายคลึงกันและอยูในชวงเวลาเดียวกัน ทั้งที่เปนแหลงภายในและภายนอกพรมแดนของรัฐภาคีสมาชิก ทั้งนี้ การศึกษาเปรียบเทียบควรเลือกแหลงมรดกที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกันมาทําการ วิเคราะหเปรียบเทียบ เพือ่ ใหขอ เสนอในการขอขึน้ ทะเบียนบัญชีรายชื่อชั่วคราว และเอกสารเพื่อ เสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนั้น มีความเปนเอกภาพ ผลสรุปของการวิเคราะหเปรียบเทียบ สามารถจําแนกไดเปน 3 ลักษณะ ดังนี้ 1) แหลงมรดกที่มีคุณคาอยูในระดับสูง เมื่อเปรียบเทียบกับแหลงมรดกอื่นๆ ที่คลายกัน แหลงมรดกลักษณะนี้มีศักยภาพสูงในการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกและ สามารถเติมเต็มชองวางที่สําคัญของบัญชีมรดกโลก 2) แหลงมรดกที่มีคุณคาอยูในระดับเดียวกับแหลงมรดกอื่นๆ ที่คลายกัน แหลงมรดก ลักษณะนี้มีคุณคาอยูในระดับปานกลาง-นอย ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะไมไดรับการพิจารณาเปน แหลงมรดกโลก อยางไรก็ตาม แหลงมรดกดังกลาวนั้นอาจนําเสนอในลักษณะของ “แหลงที่มี ความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยง (Serial property)” หรือ “แหลงมรดกที่มีอาณาเขตขามพรมแดน (Transboundary property)” เพื่อเพิ่มศักยภาพในประเด็นดานคุณคาโดดเดนอันเปนสากลของ แหลงใหสูงขึ้น 3) แหลงมรดกที่มีคุณคาอยูในระดับตํ่า เมื่อเปรียบเทียบกับแหลงมรดกอื่นๆ ที่คลายกัน เปนแหลงมรดกที่ไมมีศักยภาพในการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก อีกทั้งยังไม สามารถเติมเต็มชองวางใดๆของบัญชีมรดกโลก ดังนั้น รัฐภาคีสมาชิก ควรพิจารณาการนําเสนอ และทบทวนแหลงมรดกอยางรอบคอบอีกครั้ง อยางไรก็ตาม ในบางกรณีทผี่ ลการศึกษาเปรียบเทียบไมหนักแนนและไมมีความนาเชื่อถือ เพียงพอ อันเนื่องมาจากการขาดเอกสารขอมูลสนับสนุน หรือขอบเขตของแหลงที่นํามาศึกษา เปรียบเทียบไมครอบคลุมเพียงพอ หรือมีการเปรียบเทียบกับแหลงมรดกที่มีความคุณคานอยกวา อยางชัดเจนเพื่อเพิ่มคุณคาใหกบั แหลงทีน่ าํ เสนอ หรือแหลงมรดกทีน่ าํ มาเปรียบเทียบมีคณ ุ สมบัติ ทีแ่ ตกตางกันสิน้ เชิง เหลานีท้ าํ ใหผลการวิเคราะหเปรียบเทียบไมมีความเที่ยงตรง ดังนัน้ กระบวนการทีด่ ี คือ เมือ่ รัฐภาคีสมาชิกดําเนินการจัดทํารางเอกสารการวิเคราะห เปรียบเทียบแลวควรสงตอยังผูเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวของทั้งในประเทศ และนอกประเทศ เพื่อ พิสจู นความนาเชือ่ ถือของผลการวิเคราะห และขอขอเสนอแนะเพิม่ เติม สําหรับพัฒนากระบวนการ วิเคราะหเปรียบเทียบ นอกจากนี้ รัฐภาคีสมาชิกสามารถรองขอ ไปยังองคกรทีป่ รึกษาของคณะกรรมการมรดกโลก คือ ICOMOS ในกรณีที่เปนแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และ IUCN ในกรณีของแหลงมรดกทาง ธรรมชาติ ในการนี้ องคกรทีป่ รึกษาจะทําการสรรหาผูเ ชีย่ วชาญทีม่ ปี ระสบการณซึ่งสามารถจะให ขอมูลหรือบทวิเคราะหที่ตรงประเด็น หรือมีการรวมตรวจสอบความถูกตอง และเที่ยงตรงของ ขอมูลได

88

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


การขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลก

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

89


แหลงโบราณคดีบา นเชียง (Ban Chiang Archaeological Site) ทัง้ นี้ ไดรบ ั การ ขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปพ.ศ.2535 | ค.ศ.1992 โดยมี คุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 3

90

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ศาสนสถานมีเซิน (My Son Sanctuary) เปนแหลง โบราณคดี เ นื่ อ งในวั ฒ นธรรมและศาสนาฮิ น ดู แ ห ง อาณาจักรจามปา ซึง่ สิน ้ สูญไปแลวจากเวียดนาม ขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปพ.ศ. 2542 | ค.ศ.1999 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 2 และ 3 กลุม  อนุสรณสถานแหงเว (Complex of Hué Monuments) มีโบราณสถานตางๆ ทัง้ ทีเ่ ปนเมือง พระราชวัง สุสานจักริพรรดิ์ ศาสนสถาน และภูมท ิ ศ ั นวฒ ั นธรรมที่ ประกอบสรางกันขึน ้ เปน “นครจักรพรรดิเ์ วแหงราชวงศ หงวน” ซึง่ ตัง้ อยูใ นพืน ้ ทีต ่ อนกลางของเวียดนาม ขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ในปพ.ศ. 2536 | ค.ศ.1993 โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ ขอที่ 4

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

91


หนวยงานเจาของเรื่องดําเนินการจัดทําเอกสารนําเสนอเพื่อ ขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก (Nomination Dossier)

ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก

(ดูรายละเอียดหนา 83)

คณะอนุกรรมการมรดกโลกทางทางวัฒนธรรม/ธรรมชาติ พิจารณาเอกสารการนําเสนอฯ

ไมเห็นชอบ

เห็นชอบ

คณะกรรมการมรดกโลกทางทางวัฒนธรรม/ธรรมชาติ พิจารณาเอกสารการนําเสนอฯ

ไมเห็นชอบ

เห็นชอบ

รัฐภาคีสมาชิก เจาของแหลง

เอกสาร ไมสมบูรณ

คณะรัฐมนตรี

ไมเห็นชอบ

เห็นชอบ

ชวงเวลา

จัดสงเอกสารนําเสนอฯ แหลงมรดกโลก ตอศูนยมรดกโลก

ภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ ของปที่ 1

(ดูรายละเอียดหนา 93)

ศูนยมรดกโลกตรวจสอบเอกสาร เอกสารสมบูรณ

องคกรที่ปรึกษาตรวจสอบเอกสารและประเมินแหลง

มีนาคมของปที่ 1 – พฤษภาคม ของปที่ 2

(ICOMOS ดูรายละเอียดหนา 102) (IUCN ดูรายละเอียดหนา 106)

องคกรที่ปรึกษาขอขอมูลเพิ่มเติมจากรัฐภาคี

ไมชากวาวันที่ 31 มกราคม ของปที่ 2

(ดูรายละเอียดหนา 101)

รัฐภาคีจัดสงขอมูลเพิ่มเติมตามที่องคกรที่ปรึกษารองขอ

ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ ของปที่ 2

องคกรที่ปรึกษาจัดสงผลการประเมินและขอเสนอแนะตอศูนยมรดกโลก

กอนการประชุม 6 สัปดาห ของปที่ 2

คณะกรรมการมรดกโลกพิจารณาเอกสาร เพือ่ ขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ผลพิจารณาและมติของคณะกรรมการมรดกโลก (ดูรายละเอียดหนา 104)

ประกาศขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก (Inscribed)

92

ไมไดรับการขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก (Not Inscribed)

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สงคืนรัฐภาคีเพื่อ เพิ่มเติมขอมูล (Referral/Deferral)

มิถุนายน-กรกฎาคม ของปที่ 2


ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ในขั้นตอนของการจัดเตรียมเอกสารเพื่อการเสนอขอรับการขึ้น ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก รัฐภาคีสมาชิกหรือผูที่ไดรับมอบอํานาจให ดําเนินการ ตองตระหนักอยูเสมอวา การพิจารณารับรองการเสนอขอรับ การขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนั้น จะพิจารณาจากขอมูลเอกสารที่ ปรากฏภายใตหลักเกณฑความมีคุณคาโดดเดนอันเปนสากลของ “แหลง มรดก” ที่รัฐภาคีสมาชิกไดนําเสนอ และเห็นวาสมควรไดรบั การพิจารณา ขึน้ ทะเบียนใหเปนแหลงมรดกโลก โดยในการพิจารณานัน้ จะเนนความเปน เหตุเปนผลบนพื้นฐานของความนาเชื่อถือของหลักฐานประกอบ ไมใช การพิจารณาจากรูปลักษณและปริมาณของเอกสารที่เสนอขอรับการขึ้น ทะเบียนแหลงเปนแหลงมรดกโลก ดังนัน้ ในกระบวนการจัดทําเอกสารเพือ่ เสนอขอขึน้ ทะเบียนเปน แหลงมรดกโลก ทั้งนี้ แหลงมรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติจําเปน ที่จะตองตรวจสอบ ทบทวนขอมูล รวมทั้งการสอบทวนกันระหวาง เอกสารตางๆ เปนอยางดี

ดูเพิ่มเติมใน “Chapter III.B” อาง ใน UNESCO. Operational Guide lines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp. 3437. 1

รายละเอี ย ดเอกสารประกอบการเสนอขอรั บ การขึ้ น ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก สําหรับเอกสารประกอบการเสนอแหลงเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลกนั้น ไดอางอิงมาจากเอกสาร “แนวทางการอนุวัตตาม อนุสัญญาคุมครองมรดกโลก” ซึ่งไดกําหนดรายละเอียดของการจัดเตรียม เอกสารเพื่อการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ประกอบ ดวยเอกสารทั้งหมด 9 สวน1 ไดแก 1) การจําแนกประเภทแหลงมรดก 2) คําบรรยายเกี่ยวกับแหลงมรดก 3) การใหเหตุผลเพื่อรับการขึ้นทะเบียน 4) สถานภาพของการอนุรักษและปจจัยที่มีผลตอแหลงมรดก 5) การปกปองคุมครอง และการบริหารจัดการ 6) การติดตามประเมินผล 7) เอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของ 8) ขอมูลสําหรับการติดตอกับผูที่มีอํานาจรับผิดชอบ 9) ลายมือชื่อในนามของรัฐภาคีสมาชิก (หรือกลุมของรัฐภาคี สมาชิก)

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

93


1. การจําแนกแหลงมรดก “แหลงมรดก” ทีต่ อ งการเสนอเพือ่ ขอขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ตองมีการกําหนด ขอบเขตของแหลงอยางชัดเจน ในกรณีที่มี “พื้นที่แนวกันชน (Buffer Zone)” ซึ่งหมายถึงพื้นที่ ที่อยูโดยรอบของแหลงมรดกที่ตองการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ตองจัดทํา แผนที่ประกอบเพื่อแสดงขอบเขตของแหลงมรดกที่มีรายละเอียดที่ชัดเจน โดยตองใชแผนที่ ภูมิประเทศฉบับลาสุดที่จัดทําขึ้นอยางเปนทางการของรัฐภาคีสมาชิก ทั้งนี้ เพื่อปองกันไมใหเกิด การบงชี้ขอบเขตที่มีความคลุมเครือระหวางแนวเขตของ “แหลง (Site, Core Zone)” กับ “พื้นที่แนวกันชน (Buffer Zone)” ซึ่งในแผนที่ที่ใชในการอางอิงนั้นจะตองระบุรายละเอียดของ แนวเขตของแผนดินและ/หรือผืนนํา้ ทีอ่ ยูใ นพืน้ ทีข่ อง “แหลง” ทีต่ อ งการเสนอขอรับการขึน้ ทะเบียน เปนแหลงมรดกโลกอยางชัดเจน ซึ่งหากการระบุขอบเขตของ “แหลง” ไมมีความชัดเจนจะถูก พิจารณาวา เอกสารประกอบการขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกแหลงนั้น “ไมสมบูรณ” 2. คําบรรยายเกี่ยวกับแหลงมรดก เปนเอกสารที่แสดงรายละเอียดของ “แหลงมรดก” ที่ตองการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก ประกอบดวย “การจําแนกประเภทของแหลงมรดก” “ภาพรวมความเปนมา ทางประวัติศาสตร” และ “พัฒนาการของแหลงมรดก” โดยจะตองแสดงรายละเอียด และอธิบาย องคประกอบทุกสวนที่ถูกระบุไวในขอบเขตของแผนที่ โดยเฉพาะกรณีของ “แหลงมรดก” ที่มี การขอรับการขึ้นทะเบียนในลักษณะของ “แหลงมรดกโลกแบบรวมกลุม (Serial Nomination)” ซึ่งจําเปนจะตองมีรายละเอียดขององคประกอบแตละสวนที่ชัดเจน นอกจากนี้ จะตองอธิบายความสัมพันธทแี่ สดงคุณคาของเชือ่ มโยงความเปนมาของแตละ แหลงไดอยางชัดเจน รวมถึงเหตุการณความเปลี่ยนแปลงที่สําคัญที่เกิดขึ้นกับ “แหลงมรดก” เหลานั้นดวย โดยรายละเอียดทั้งหมดจะตองแสดงใหเห็นถึง “ความจริงอันสําคัญ” ซึ่งเปนขอมูล ทีจ่ าํ เปนตองใชเปนเหตุผลในการสนับสนุนวา รายละเอียดของขอมูลมีความสอดคลองกับหลักเกณฑ การพิจารณาเรื่อง “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)” และ “ความครบถวนสมบูรณ (Integrity)” และ/หรือ “ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity)” 3. ขอเหตุผลในการขอรับการขึ้นทะเบียน เปนเอกสารที่แสดงรายละเอียดและอธิบายวา “แหลงมรดก” ที่ตองการเสนอขอรับ การขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก มีหลักเกณฑตรงตามคุณสมบัติขอใดของการพิจารณาเรื่อง “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล” โดยการอธิบายจะตองระบุใหชัดเจนถึงเหตุผลความสําคัญของ “แหลงมรดก” ที่สัมพันธกับหลักเกณฑนั้นๆ เพื่อแสดงใหเห็นถึงคุณคา และศักยภาพที่เพียงพอ ตอการไดรับการขึ้นทะเบียนใหเปนแหลงสําคัญในบัญชีมรดกโลก นอกจากนี้ ยังตองนําเสนอขอมูลวาดวยการวิเคราะหเชิงเปรียบเทียบแหลงที่นําเสนอ ขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก โดยทําการศึกษาเปรียบเทียบกับ “แหลงมรดก” แหงอื่นๆ ที่มีลักษณะที่แสดงออกถึงความสัมพันธระหวางกัน หรือมีคุณสมบัติที่แสดงความ คลายคลึงกัน ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ ทั้งนี้ อาจเปนแหลงที่ไดรับการขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลกก็ได หรือเปนแหลงที่ทรงคุณคาอื่นๆ ก็ได

94

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ทั้งนี้ ในการวิเคราะหเปรียบเทียบนั้น จําเปนตองอธิบายใหเห็น ถึงความสําคัญของแหลงที่ตองการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลง มรดกโลกในบริบททีส่ มั พันธกบั แหลงทีย่ กขึน้ มาเปนคูเ ปรียบเทียบ และจะ ตองเขียน “เอกสารแถลงการณ (Statement)” ที่แสดงรายละเอียดถึง “ความครบถวนสมบูรณ (Integrity)” และ “ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity)” ของ “แหลงมรดก” นั้น ใหมีความสอดคลองกับสภาพ ทีร่ ะบุไวในยอหนาที่ 79-95 ของเอกสารแนวทางการอนุวตั ตามอนุสัญญา คุมครองมรดกโลก2 4. สถานภาพของการอนุรกั ษและปจจัยทีม่ ผี ลตอแหลงทีเ่ สนอรายชือ่ เปนเอกสารขอมูลที่แสดงรายละเอียดตางๆ ของแหลงที่ตองการ เสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ทั้งในประเด็นที่เกี่ยวเนื่อง กับสภาพทางกายภาพ สถานภาพของการอนุรักษ ตลอดจนมาตรการ ในการอนุรักษแหลงที่นําเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก โดยเนื้อหาของเอกสารตองแสดงขอมูลทั้งปจจัยสนับสนุน (Opportunity) และปจจัยคุกคาม (Threat) ที่อาจสงผลกระทบตอแหลงที่นําเสนอ ทัง้ นี้ ในเนือ้ หาขอมูลสวนนีถ้ อื เปนขอมูลพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญในการประเมินผล การติดตามผล ตลอดจนการตรวจสอบ สถานการณการอนุรักษแหลงที่ นําเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกในอนาคตดวย

ดูเพิ่มเติมใน “Chapter II.E” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp.2529.

2

5.การปกปองคุมครอง และการบริหารจัดการ เอกสารแสดงขอมูลทางดาน “การปกปองคุมครอง” โดยระบุ รายละเอียดเกี่ยวกับแนวทางการปกปองคุมครองคุณคาของแหลงมรดก ทางวัฒนธรรมและแหลงมรดกทางธรรมชาติที่ตองการเสนอขอรับการขึ้น ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ซึ่งอาจประกอบดวยมาตรการทางกฎหมาย ระเบียบ สัญญา แผนงาน สถาบัน และ/หรือขนบธรรมเนียมประเพณีที่มี ผลโดยตรงตอการปกปองคุมครองที่ตองการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลกนั้น ทั้งนี้ตองระบุขอมูลโดยละเอียดที่แสดงถึงวิธีการ หรือแนวทางการปกปองคุม ครองทีส่ ามารถดําเนินการไดจริง ทัง้ นี้ เอกสาร ดังกลาว สามารถจัดทําไดทั้งเอกสารภาษาอังกฤษ หรือภาษาฝรั่งเศสที่มี รายละเอียดของแผนงาน และ/หรือเอกสารของสถาบัน หรือสาระสังเขป ทางกฎหมาย กฎระเบียบ และ/หรือสัญญา ในขณะที่เอกสารที่แสดงถึงขอมูลดาน “การบริหารจัดการ” เปน เอกสารที่ มี ร ายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ แผนการบริ ห ารจั ด การ หรื อ ระบบ การจัดการอื่นๆ ที่มีความเหมาะสมกับแหลงมรดก และสามารถนําไป ใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยแผนการบริหารจัดการ หรือระบบการจัดการดังกลาวนั้นตองแสดงถึงการบูรณาการที่มีฐานคิด

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

95


ของการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยเอกสารแผนการจัดการหรือเอกสารที่เกี่ยวกับระบบการบริหาร จัดการซึง่ ตองมีขอ มูลการวิเคราะหนนั้ จะตองผนวกรวมเขาไปในเอกสารเสนอขอรับการขึน้ ทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก ทั้งนี้ หากแผนการบริหารจัดการดังกลาวอยูในภาษาอื่นๆ ที่นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ หรือภาษาฝรัง่ เศส จะตองดําเนินการแปลเปนภาษาใดภาษาหนึง่ แนบไปดวย สําหรับการทําเอกสาร เพื่อการนําเสนอแหลงมรดกเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนั้น ตองแนบเอกสารที่แสดง แผนการบริหารจัดการหรือระบบการบริหารจัดการที่แสดงขอมูลการวิเคราะหในประเด็นที่วาดวย ประสิทธิภาพของแผนหรือระบบการบริหารจัดการเขาไวดว ย เนือ่ งจากเปนเอกสารทีม่ คี วามสําคัญ และจําเปนอยางยิ่งในการพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลก อยางไรก็ตาม หากรัฐภาคีสมาชิกที่นําเสนอเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกไม จัดเตรียมเอกสารดังกลาวแนบไปดวยนั้น คณะกรรมการมรดกโลกอาจพิจารณาวาเอกสารเสนอ ขอรับการขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนัน้ เปนเอกสารที่ “ไมสมบูรณ” และจะไมมกี ารดําเนินการ ใดๆ ตอ ยกเวนในกรณีที่มีเอกสารประกอบอื่นๆ ที่สามารถสื่อถึงแนวทางในการบริหารจัดการ แหลงมรดกที่นําเสนอนั้นตอไป 6. การตรวจสอบติดตามผลการดําเนินการ สําหรับเอกสารการเสนอแหลงมรดกเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก จะตองมี รายละเอียดเกี่ยวกับแนวทางในการติดตามและตรวจสอบผลการดําเนินการ โดยจะตองมีการระบุ ตัวชี้วัดหลักซึ่งอาจจะเปนตัวชี้วัดที่ไดดําเนินการอยูแลว หรืออาจมีการนําเสนอตัวชี้วัดใหมๆ ขึ้นมาเพิ่มเติมก็ได ทั้งนี้ เพื่อใชในการตรวจวัดและประเมินสภาพของการอนุรักษของแหลงมรดก ที่ขอรับการขึ้นทะเบียนวาไดรับการบริหารจัดการใหเปนไปตามมาตรการในการอนุรักษที่กําหนด หรือไม ชวงเวลาของการตรวจสอบ และเอกลักษณของผูรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมาย 7. การจัดทําเอกสาร ในการจัดทําเอกสารเพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนั้นจะตองมีมาตรฐาน ในรายละเอียดและคุณภาพของเอกสาร ดังตอไปนี้ - ไฟลภาพที่ประกอบในเอกสาร ตองมีคุณภาพเหมาะสมสําหรับการจัดพิมพ โดยมี ความละเอียดของภาพอยางนอย 300 dpi และหากเปนไปไดควรใชภาพสไลดขนาด 35 มิลลิเมตร นอกจากนี้ ยังสามารถใชสื่อวิดิทัศนอื่นๆ เชน ฟลม วิดีโอ หรือสื่อภาพและเสียงอื่นๆ ประกอบเปน หลักฐานได - ในเอกสารเพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ขอมูลการสํารวจที่จัดแสดงเปน ภาพ สื่อภาพ และเสียง พรอมทั้งแบบฟอรมการมอบอํานาจใหดําเนินการ จะตองอยูในรูปแบบ ของการจัดพิมพ หรือทําเปนเอกสารแบบอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบของ Word หรือ PDF 8. ขอมูลสําหรับการติดตอกับหนวยงานรับผิดชอบ ในเอกสารเพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนั้น ตองใหรายละเอียดขอมูล สําหรับติดตอกับหนวยงานที่รับผิดชอบและไดรับมอบอํานาจจากรัฐภาคีสมาชิก

96

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


9. ลายมือชื่อในนามของรัฐภาคีสมาชิก การจัดทําเอกสารเพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกนั้น เอกสารสมบูรณจะ ตองมีการลงลายมือชื่อตนฉบับของผูที่ไดรับมอบหมายอยางเปนทางการจากรัฐภาคีสมาชิก 10. จํานวนของสําเนาที่ตองนําเสนอ การจัดทําเอกสารเพือ่ เสนอขอขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกตองทําสําเนาของเอกสาร โดยมีจาํ นวนเอกสารในการทําสําเนาทีม่ คี วามแตกตางกันตามประเภทของแหลงมรดก ดังนี้ - การขอรับการขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมและแหลงมรดกทางธรรมชาติ (ไมรวมภูมทิ ศั นวัฒนธรรม) ใชเอกสารสําเนา จํานวน 2 ฉบับ - การขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกแบบผสม และภูมิทัศนวัฒนธรรม ใชเอกสารสําเนา จํานวน 3 ฉบับ 11. กระดาษและรูปแบบอิเล็กทรอนิกส เอกสารในการเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก จะตองนําเสนอบนกระดาษขนาด มาตรฐาน A4 ทั้งในลักษณะของการจัดพิมพ และเอกสารแบบอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบของ Word หรือ PDF 12. การจัดสง รัฐภาคีสมาชิกตองเสนอเอกสารเพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกที่จัดทําเปน ภาษาอังกฤษ หรือฝรั่งเศส ที่มีการลงนามจากผูมีอํานาจเกี่ยวของแลวและดําเนินการจัดสงที่ UNESCO World Heritage Centre เลขที่ 7, Place de Fontenoy 75352 Paris 07 SP, France Tel: +33 (0) 1 4568 1136 E-mail: wh-nominations@unesco.org ทั้งนี้ รัฐภาคีสมาชิก อาจจะเสนอรางเอกสารเพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ตอสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการมรดกโลก เพื่อขอความเห็นและขอรับการตรวจสอบใน ประเด็นตางๆ กอนที่จะนําเสนออยางเปนทางการตอคณะกรรมการมรดกโลก โดยมีกําหนดการสง ภายในวันที่ 30 กันยายนของแตละป ซึ่งในขั้นตอนการเสนอรางเพื่อขอความเห็นและตรวจสอบ เปนขั้นตอนที่รัฐภาคีสมาชิกจะดําเนินการหรือไมก็ไดตามความสมัครใจ โดยเอกสารที่เสนอขอรับ การขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทั้งหมด รวมทั้งที่เปนแผนที่ แผนผัง วัสดุภาพ ฯลฯ จะถูกจัด เก็บโดยสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลก

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

97


มติของคณะกรรมการมรดกโลก แหลงมรดกที่ตองการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกหลังจากที่ผานขั้นตอน การประเมินจากองคกรที่ปรึกษาเรียบรอยแลว ขั้นตอนถัดไปจะนําเขาสูวาระการประชุมเพื่อให คณะกรรมการมรดกโลกพิจารณาและตัดสินใจวาแหลงที่เสนอขอรับการพิจารณาดังกลาวนั้นมี คุณสมบัติเหมาะสมสมควรไดรับการขึ้นทะเบียนลงในบัญชีมรดกโลกหรือไม รวมทั้งขั้นตอนใน การสงกลับคืนไปยังรัฐภาคีสมาชิก หรือการเลื่อนการพิจารณาออกไป โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับ ผลการพิจารณา ดังนี้ 1) การพิจารณามีมติ “เห็นชอบใหขึ้นทะเบียน (Inscribe)” เปนแหลงมรดกโลก แสดงวา คณะกรรมการโดยการแนะนําขององคกรที่ปรึกษายอมรับเหตุผลเกีย่ วกับการมีคณ ุ คาโดดเดนอันเปน สากลของแหลงมรดกซึ่งรัฐภาคีสมาชิกไดนําเสนอขอมูล ตอจากนั้นคณะกรรมการมรดกโลกจะจัดทํา ขอแถลงของผลสรุปการพิจารณาอยางเปนทางการ โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑที่ระบุถึง คุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลงที่นําเสนอ รวมไปถึงรายละเอียดของการประเมินสภาพของ ความครบถวนสมบูรณ หรือความเปนของแทดั้งเดิม และแผนการปกปองคุมครองและการบริหาร จัดการที่มีผลบังคับใช และความตองการสําหรับการปกปองคุมครอง และการบริหารจัดการ ทั้งนี้ ขอแถลงการดังกลาวจะนําไปใชเปนพื้นฐานสําหรับการปกปองคุมครอง และ การจัดการแหลงที่นําเสนอในอนาคต นอกจากนี้ คณะกรรมการอาจใหคําแนะนําอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ การปกปองคุมครองและการบริหารจัดการซึ่งแหลงที่นําเสนอเปนมรดกโลกนั้น โดยขอแถลงขางตนมี การบันทึกไวในรายงานและตีพมิ พเผยแพรตอไป 2) การพิจารณามีมติ “ไมเห็นชอบใหขึ้นทะเบียน (Decides not to Inscribe)” ในกรณีที่ คณะกรรมการมรดกโลกมีมติไมเห็นชอบ แหลงที่นําเสนอดังกลาวนั้นจะไมสามารถยื่นขอเสนอเพื่อ พิจารณาขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกไดอีก ยกเวนวาแหลงดังกลาวนั้นไดมีการศึกษา ใหมและมีการคนพบหลักฐานใหม และพบขอมูลที่สําคัญที่มีหลักฐานและเปนวิทยาศาสตร หรือ การใชหลักเกณฑใหมที่ไมปรากฏอยูในขอเสนอเดิม ซึ่งในกรณีนี้ แหลงที่นําเสนอจะสามารถยื่น ขอเสนอเพื่อพิจารณาขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกใหมได 3) หากการพิจารณามีมติวาให “สงกลับคืน (Referral)” เกิดขึ้นในกรณีที่คณะกรรมการ มรดกโลกตองการขอมูลหลักฐานเพิ่มเติม โดยรัฐภาคีสมาชิกสามารถยื่นเอกสารเสนอใหมเพิ่มเติม เพื่อรับการตรวจสอบในวาระการประชุมถัดไป โดยเอกสารขอมูลเพิ่มเติมจะตองดําเนินการสงถึง สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลกภายในวันที่ 1 กุมภาพันธของป ทีค่ ณะกรรมการมรดกโลก ตองการตรวจสอบ จากนั้นสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลกจะดําเนินการสงตอไปยัง องคกรทีป่ รึกษาทีเ่ กีย่ วของเพือ่ ดําเนินการประเมินในทันที ทัง้ นี้ หากไมมยี นื่ เอกสารการเสนอเพิม่ เติม ภายใน 3 ปหลังการพิจารณา “สงกลับคืน” ของคณะกรรมการมรดกโลกในครั้งแรกแลว จะถือวา การยื่นเอกสารขอเสนอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกใหมนั้นเปนขอเสนอใหม ซึ่งเปนไปตามวิธีการ และกรอบเวลาตามปกติ 4) การมีมติ “เลื่อนการพิจารณา (Deferral)” เกิดขึ้นในกรณีที่คณะกรรมการมรดกโลก พิจารณาใหรฐั ภาคีสมาชิกทําการประเมินแหลงของตนเอง และทําการศึกษาหรือ ทบทวนรายละเอียด

98

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ของการประเมินใหม โดยองคกรที่ปรึกษามีความเห็นใหเพิ่มเติมในประเด็นตางๆ ในเชิงลึกมากขึ้น ทั้งนี้ รัฐภาคีสมาชิกสามารถยื่นเอกสารเสนอกลับเขาไปใหคณะกรรมการมรดกโลกพิจารณาใหมใน ปใดก็ได โดยเอกสารทีเ่ สนอกลับเขาไปใหม จะตองสงถึงสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลก ภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ โดยการขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกของ “แหลงมรดก” ที่เสนอกลับเขาไปใหมนั้น จะไดรับการประเมินใหมตามกรอบระยะเวลาปกติ

บรรยากาศการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้งที่ 39 ประจําปพ.ศ.2558 | ค.ศ. 2015 8 ณ เมืองบอนน ประเทศเยอรมัน (39th World Heritage Committee 2015 in Bonn, Germany)

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

99


จํานวนแหลงมรดกที่ไดรับการประกาศขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก จําแนกตามภูมิภาค

จํานวนแหลงมรดกที่ไดรับการประกาศขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก จําแนกตามประเภท

ที่มา: http://whc.unesco.org/en/list/stat/ 100

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp.22. 3

จากแผนภูมิเสน (Line Graph) แสดงขอมูลแหลงมรดกทั้งทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ตั้งแตปพ.ศ.2521 | ค.ศ.1978 จนถึง พ.ศ.2561 | ค.ศ.2017 นับเปนเวลา 40 ปผา นมา ซึง่ มีแหลง มรดกทั้งทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ทั้งสิ้น 1,073 แหลง ทั้งนี้ จากแผนภูมิเสน (Line Graph) จะเห็นวา ในปแรกของการพิจารณา แหลงมรดกโลกในปพ.ศ.2521 | ค.ศ.1978 นั้น ในภูมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ มีแหลงมรดกที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกมากที่สุด คือ จํานวน 7 แหลง, รองลงมา คือ ภูมิภาคแอฟริกา มีจํานวน 3 แหลง และภูมิภาคลาติน อเมริกาและแคริเบียน จํานวน 2 แหลง ในขณะที่กลุมอาหรับ และภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟกไมมีแหลงไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกเลย และในปถัดมา คือพ.ศ.2522 | ค.ศ.1979 เปนปที่มีการขึ้นทะเบียนแหลงเปนมรดกโลกจํานวน มาก โดยภูมภิ าคยุโรปและอเมริกาเหนือมีแหลงทีไ่ ดรบั การขึน้ ทะเบียนถึง 25 แหลง ในขณะที่กลุมอาหรับไดรับการขึ้นทะเบียนถึง 9 แหลง และเอเชียและแปซิฟก มีแหลงไดรับการขึ้นทะเบียน 5 แหลงจากที่ปกอนหนาไมมีแหลงไดรับการขึ้น ทะเบียนเลย ทั้งนี้ จะเห็นไดวาในปพ.ศ.2543 | ค.ศ.2000 นั้น มีแหลงมรดกโลกจาก ภูมิภาคตางๆ ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะแหลงในภูมิภาค ยุโรปและอเมริกาเหนือ ซึ่งมีแหลงไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกถึง 34 แหลง และมีอตั ราการเพิม่ จํานวนแหลงมาตัง้ แตกอ นหนาตัง้ แตปค .ศ.1991 | พ.ศ.2534 เปนตนมา ทั้งนี้ ในระยะเวลาตอมาในภูมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือก็มีแหลงไดรับ การขึ้นทะเบียนตอเนื่องกันทุกป และมีจํานวนแหลงที่ไดขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก มากกวาภูมภิ าคอืน่ ๆ ตลอดจนราวสองทศวรรษนับตัง้ แตทศวรรษที่ 1980 เปนตนมา จนกระทั่งปพ.ศ.2553 | ค.ศ.2010 ที่ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก มีแหลงมรดก ทางวัฒนธรรมและมรดกทางธรรมชาติไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก จํานวนที่สูงกวาภูมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ เนื่องมาจากการเขาเปนรัฐภาคี สมาชิกของประเทศตางในในเอเชียและแปซิฟกมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ตาม ในระยะเวลาตอมาไดมแี นวความคิดเรือ่ งการควบคุมจํานวน แหลงมรดกโลกดวยเกณฑเชิงคุณภาพ และเกณฑเชิงปริมาณ กลาวคือ มีขอกําหนด ในการพิจารณาแหลงเพือ่ ขอรับการพิจารณาเปนแหลงมรดกโลกไมเกินปละ 35 แหลง3 ดังจะเห็นไดจากแผนภูมิเสน หนาที่ 86 โดยเริ่มตนนับตั้งแตปพ.ศ.2548 | ค.ศ. 2005 เปนตนมา

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

101


การเสนอเพื่อรับการพิจารณาภายใตความเรงดวน กําหนดการทัว่ ไปในของการยืน่ นําเสนอแหลงมรดกเพือ่ ขอขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก รวมถึงการพิจารณาความสมบูรณของเอกสารสําหรับการยื่นนําเสนอ จะไดรับการยกเวนสําหรับ กรณีของแหลงมรดกที่กําลังตกอยูในสภาวะถูกคุกคาม เนื่องมาจากความเสียหาย หรือกําลังเผชิญ อันตรายอยางรายแรง เหตุฉกุ เฉินในทีน่ อี้ าจเกิดขึน้ ทัง้ จากปจจัยทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย ดังนั้นคณะกรรมการมรดกโลกมีความจําเปนที่จะตองแนใจวาสามารถปองกันคุณคาของแหลงที่ กําลังตกอยูสภาวะถูกคุกคามไดทันทวงที ทั้งนี้ รายงานของหนวยงานที่ปรึกษานั้นอาจสะทอนให เห็นคุณคาที่โดดเดนเปนสากลของแหลงที่อยูในภาวะถูกคุกคามได ดังนั้น ในกระบวนการยื่นเสนอ แหลงเพือ่ ขอขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก จะไดรบั การพิจารณาเปนกรณีฉกุ เฉินและการตรวจสอบ จะรวมอยูในวาระการประชุมของคณะกรรมการชุดถัดไป ดวยคุณสมบัติเหลานี้ แหลงดังกลาว อาจไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก และจะถูกจัดใหอยูในรายชื่อมรดกโลกที่อยูในภาวะ ถูกคุกคาม วิธีการสําหรับการแหลงที่ตองรีบดําเนินอยางเรงดวนมีดังนี้ 1) รัฐภาคีสมาชิกนําเสนอเอกสารเพื่อขอรับการพิจารณาเปนแหลงมรดกโลกพรอมทั้ง ขอเรียกรองใหดําเนินกระบวนการบนฐานของความเรงดวน ทั้งนี้ รัฐภาคีสมาชิกตองไดนําเสนอ แหลงมรดกดังกลาวอยูในบัญชีรายชื่อเบื้องตนเพื่อขอรับการพิจารณาอยูแลว 2) เอกสารเสนอเพื่อขอรับการพิจารณา ประกอบดวยโครงสรางเนื้อหาดังนี้ - คําอธิบายของแหลง และการกําหนดขอบเขตพื้นที่ที่ไมมีความคลาดเคลื่อน - การบงชี้คุณคาโดดเดนอันเปนสากลที่เปนไปตามเกณฑ - การบงชี้ความครบถวนสมบูรณและความเปนของแทดั้งเดิม - อธิบายการปกปองคุม ครอง และระบบการบริหารจัดการ - อธิบายถึงความจําเปนเรงดวน สภาพและขอบเขตของความเสียหาย หรือ สภาพการถูกคุกคาม และแสดงถึงการดําเนินการตามความจําเปนเรงดวนของคณะกรรมการ มรดกโลก ในการพิจารณาเพื่อใหมั่นใจวาจะเปนกลไกการปกปองคุมครองแหลงเอาไวได 3) สํานักงานเลขานุการคณะกรรมมรดกโลก ตองสงขอเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาไป ยังองคกรที่ปรึกษาเพื่อรองขอการประเมินคุณภาพของแหลงโดยทันที เพื่อใหการประเมินคุณภาพ ของแหลง และบงชีถ้ งึ คุณคาโดดเดนอันเปนสากล และคณะกรรมการมรดกโลก ดําเนินการตัดสินใจ ในประเด็นที่วาดวยลักษณะของการเสื่อมสภาพตามธรรมชาติและความจําเปนเรงดวน ทั้งนี้ ใน การสํารวจภาคสนามในพืน้ ทีอ่ าจมีความจําเปนถาหากองคกรทีป่ รึกษาเห็นวาสมควร และเหมาะสม ตลอดจนมีระยะเวลาเอื้ออํานวย 4) เมื่อดําเนินการตรวจสอบเอกสารเสนอขอรับการพิจารณาเพื่อขึ้นทะเบียนเปนแหลง มรดกโลก ในการนี้คณะกรรมการมรดกโลก มีหนาที่ตองพิจารณาถึง - ดําเนินการจัดสรรทรัพยากรในระดับนานาชาติแกรฐั ภาคีสมาชิก เพือ่ ชวยเหลือ ในการเรียบเรียงเอกสารเพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกใหมีความสมบูรณ - สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลก และองคกรที่ปรึกษาที่เกี่ยวของ ดําเนินการติดตามพันธกิจตามความจําเปนภายหลังที่แหลงมรดกที่ไดรับการขึ้นทะเบียนนั้น และ ดําเนินการอยางรวดเร็วที่สุดเทาที่เปนไปได ทวาอยูภายใตเงื่อนไขความเหมาะสม

102

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


การชวยเหลือหรือการรองขอความชวยเหลือจากคณะกรรมการมรดกโลก ในขัน้ ตอนของการเตรียมการทีเ่ กีย่ วกับการเสนอขอรับการขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก นัน้ รัฐภาคีสมาชิกสามารถติดตอ หรือประสานงานกับสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลก ไดตลอด ทั้งนี้ คณะกรรมการมรดกโลกไดกําหนดแนวทางการใหความชวยเหลือเพื่อการเตรียม การเอกสาร (Preparatory Assistance) เพื่อเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก โดย การใหความชวยเหลืออาจจะถูกรองขอในลักษณะตางๆ ซึง่ มีรายละเอียดเรียงลําดับตามความสําคัญ ไดดังนี้ 1) การจัดเตรียมหรือปรับปรุงบัญชีรายชื่อเบื้องตนของแหลงที่สมควรไดรับการขึ้น ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก โดยการรองขอลักษณะนี้ รัฐภาคีสมาชิกจะมีภาระผูกพันในการเสนอ แหลงเพื่อขอรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกตามขอแนะนําจากการศึกษาเฉพาะเรื่องที่ไดรับ การรับรอง เชน การศึกษาเฉพาะเรื่องที่จัดทําขึ้นโดยองคกรที่ปรึกษาที่สอดคลองกับผลการศึกษา ถึงชองวางของบัญชีมรดกโลก เปนตน 2) การจัดใหมกี ารประชุมเพือ่ การแบงกลุม หรือประเภทของบัญชีรายชือ่ เบือ้ งตนระดับชาติ ภายในเขตพื้นที่ภูมิวัฒนธรรมเดียวกัน 3) การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการนําเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก รวม ทั้งงานที่เกี่ยวเนื่องตางๆ เชน การเก็บรวบรวมขอมูลพื้นฐาน การศึกษาเพื่อกําหนดขอบเขต และ ความเปนไปไดในการแสดงถึงคุณคาโดดเดนอันเปนสากล ตลอดจนความครบถวนสมบูรณ (Integrity) และความเปนของแทดงั้ เดิม (Authenticity) ซึง่ การศึกษาเชิงเปรียบเทียบของแหลงอืน่ ๆ ที่มีลักษณะที่มีความคลายคลึงกัน รวมไปถึงการศึกษาวิเคราะหเกี่ยวชองวางของบัญชีมรดกโลก ที่จัดทําขึ้นโดยองคกรที่ปรึกษา ทั้งนี้ การใหความชวยเหลือดังกลาวยังมุงความสําคัญถึงแหลงที่ ไดรับการรับรองตามขอแนะนําจากการศึกษาเฉพาะเรื่อง (Thematic Framework) ซึ่งจะ สอดคลองกับชองวางของแหลงในบัญชีมรดกโลกในประเด็นที่ยังขาดหรือมีอยูนอย และ/หรือ เปนแหลงที่มีผลมาจากการสํารวจเบือ้ งตนทีแ่ สดงใหเห็นวา การสํารวจเพิม่ เติมจะทําใหไดขอ มูลที่ เพียงพอ โดยเฉพาะในกรณีของรัฐภาคีสมาชิกที่มีแหลงมรดกอยูนอยหรือมีความเปนตัวแทนนอย ในบัญชีมรดกโลกที่มีอยูในปจจุบัน 4) การขอความชวยเหลือในการจัดเตรียมขอมูลเกี่ยวกับการอนุรักษ และการบริหาร จัดการเพื่อนําขอมูลที่สมบูรณเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลก นอกจากนี้ คณะกรรมการมรดกโลกยังไดกําหนดแนวทางการใหความชวยเหลือแก รัฐภาคีสมาชิกในการจัดเตรียมเอกสารเพือ่ เสนอขอขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกในดานอืน่ ๆ ดังนี้ 1) ความชวยเหลือในการจําแนกแผนที่และภาพถายที่เหมาะสม รวมไปถึงขอมูลของ องคกรระดับชาติที่สามารถติดตอขอรับความชวยเหลือเกี่ยวกับขอมูลแผนที่และภาพถาย 2) ขอมูลตัวอยางตางๆ แหลงที่ประสบความสําเร็จในการขอรับการขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลก รวมไปถึงขอบัญญัติหรือขอกําหนดทางดานการบริหารจัดการและทางกฎหมาย 3) ขอแนะนําสําหรับการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ในกลุมของ แหลง ที่มีลักษณะแตกตางออกไป เชน แหลงภูมิทัศนวัฒนธรรมเมือง คลอง และเสนทางมรดก 4) ขอแนะนําสําหรับการขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกของแหลงทั้งที่มี ลักษณะความตอเนื่องเชื่อมโยงเปนกลุม รวมทั้งแหลงที่เสนอในลักษณะการรวมกลุมซึ่งมีตั้งอยูบน เขตแดนระหวางรัฐภาคี

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

103


ลําดับเวลาของกระบวนการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก

กระบวนการติดตามและรายงานตามกําหนดเวลา

104

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


กระบวนการประเมินของ องคกรที่ปรึกษา

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

105


กระบวนการประเมินขององคกรที่ปรึกษา สําหรับเอกสารการเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกที่มี ความครบถวนสมบูรณจะดําเนินการสงตอไปยังองคกรที่ปรึกษา เพื่อทํา การประเมินคุณคาและใหความเห็นวาแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและทาง ธรรมชาติที่ไดรับการเสนอ สมควรที่จะไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลง มรดกโลกหรือไม ทั้งนี้ องคกรที่ปรึกษามี 2 หนวยงานหลัก คือ 1) “สภาการโบราณสถานระหวางประเทศ (International Council on Monuments and Sites)” หรือทีเ่ รียกตัวยอวา “ICOMOS” ซึ่งทําหนาที่เปนองคกรที่ปรึกษาของคณะกรรมการมรดกโลกดานมรดก ทางวัฒนธรรม ดําเนินการพิจารณาและประเมินแหลงมรดกทางวัฒนธรรม 2) “สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ (International Union for Conservation of Nature and Natural Resources)” หรือที่เรียก ตัวยอวา “IUCN” ซึ่งเปนองคกรที่ปรึกษาของคณะกรรมการมรดกโลก ดานมรดกทางธรรมชาติ ดําเนินการพิจารณา และประเมินแหลงมรดก ทางธรรมชาติ นอกจากนี้ ในกรณีการขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ในกลุมของ “ภูมิทัศนวัฒนธรรม (Cultural Landscape)” จะดําเนินการ พิจารณาและประเมินโดย ICOMOS ภายใตการปรึกษาหารือกับ IUCN ในขณะที่ “แหลงมรดกแบบผสม (Mixed Cultural and Natural Heritage)” จะดําเนินการพิจารณาและประเมิน โดยความรวมมือกัน ระหวาง ICOMOS และ IUCN ทั้งนี้ หนวยงานปรึกษาจะทําการประเมินดานตางๆ ของแหลงที่ ไดนําเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ทั้งในประเด็นของ “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)” และ “ความครบถวนสมบูรณ (Integrity)” และ/หรือ “ความเปนของแทดงั้ เดิม (Authenticity)” ตลอดจนแผนบริหารจัดการ และขอกําหนดในการปกปอง คุมครองแหลง โดยขั้นตอน และรูปแบบของการประเมินของ ICOMOS และ IUCN จะดําเนินการตามเอกสารแนวทางการอนุวตั ตามอนุสญ ั ญาคุม ครอง มรดกโลก ซึ่งมีหลักการพื้นฐานในการประเมิน 10 ขอ ดังตอไปนี1้ 1) ตองเครงครัดตออนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทาง วัฒนธรรมและทางธรรมชาติ และปฏิบัติตามขอแนะนําในการดําเนินการ ที่เกี่ยวของ และนโยบายในภาคผนวกอื่นๆ ที่ไดกําหนดไวโดยมติของคณะ กรรมการมรดกโลก

106

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp.3940. 1


2) การประเมินจะตองยึดหลักเหตุผลและตั้งอยูบนพื้นฐานของหลักฐาน และความเขม งวดทางวิชาการ 3) การใหคําแนะนําแกรัฐภาคีสมาชิก ตองดําเนินการบนมาตรฐานของความเชีย่ วชาญ เทีย่ งตรง และโปรงใส 4) การดําเนินการตองเปนไปตามรูปแบบมาตรฐานที่กําหนดทั้งในสวนของการประเมิน และการนําเสนอ และเพื่อใหสอดคลองกับสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลก จึงตอง บันทึกชือ่ ของผูเ ชีย่ วชาญทีไ่ ดดาํ เนินการประเมิน ยกเวนเฉพาะผูท รงคุณวุฒพิ จิ ารณาทีใ่ หความเห็น ที่เปนความลับ โดยรายละเอียดภาคผนวกไดแสดงรายการคาใชจายของการประเมิน 5) การดําเนินการประเมินควรใชผูเชี่ยวชาญในภูมิภาคเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ใหผูเชี่ยวชาญมีความคุนเคยกับบริบทของแหลงที่ดําเนินการประเมิน 6) การประเมินตองมีความชัดเจนและสามารถชีแ้ จงรายละเอียดของแหลงทีน่ าํ เสนอวามี “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)” และ “ความครบถวนสมบูรณ (Integrity)” และ/หรือ “ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity)” มีแผนบริหารจัดการหรือระบบ การบริหารจัดการ และมีกฎเกณฑเพื่อการปกปองคุมครองตามกฎหมายหรือไม 7) ในการประเมินแหลงมรดกแตละแหลงตองดําเนินการอยางเปนระบบตามขอกําหนด ที่เกี่ยวของ รวมถึงสถานภาพการอนุรักษและความสัมพันธ โดยการศึกษาเปรียบเทียบกับแหลง มรดกโลกอื่นๆ ที่อยูในรูปแบบเดียวกัน ทั้งแหลงที่อยูในและนอกอาณาเขตของรัฐภาคีสมาชิก 8) ตองมีการอางอิงการตัดสินใจและขอเรียกรองตางๆ ของคณะกรรมการมรดกโลก เพื่อ ใชเปนสวนหนึ่งของการพิจารณา 9) ในการประเมินจะไมพิจารณาขอมูลหรือเอกสารอางอิงใดๆ ที่สงหลังจากวันที่ 28 กุมภาพันธ ทัง้ นี้ รัฐภาคีสมาชิกจะไดรบั แจงหากขอมูลเหลานัน้ มาถึงภายหลังกําหนดดังกลาว และขอมูลเหลานั้นจะไมถูกนําเขาสูการประเมิน ซึ่งการกําหนดวันดังกลาวจะตองมีการถือปฏิบัติ อยางจริงจัง 10) ตองเสนอขอมูลและความคิดเห็นของผูเ ชีย่ วชาญ จากบัญชีรายการอางอิง (เอกสาร) ที่ใชอยางเหมาะสม ตามความเปนจริง อยางไรก็ตาม ในระหวางกระบวนการของการประเมิน หากคณะกรรมการมรดกโลก พิจารณาเห็นสมควรวามีความจําเปนที่จะตองศึกษาเพิ่มเติม โดยจะมอบหมายให ICOMOS และ IUCN ทําการศึกษาเฉพาะเรื่อง (Thematic Studies) ซึ่งอาจจะเปนการประเมินแหลงที่เสนอใน บริบทระดับภูมิภาค ระดับโลก หรือระดับเฉพาะเรื่อง หรืออาจจะเปนการศึกษาเพื่อจัดแบงกลุม ประเภทของแหลงมรดกโลก ทั้งนี้ ระหวางการประเมินดานตางๆ หากองคกรที่ปรึกษามีขอสงสัย หรือมีการรองขอ ขอมูล ตลอดจนการรองขอเอกสารเพิ่มเติมนั้น จะมีการแจงใหรัฐภาคีสมาชิกทราบภายในวันที่ 31 มกราคมของปถัดไปเพื่อใหเตรียมขอมูลตามที่องคกรที่ปรึกษาตองการ

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

107


ทวาหากรัฐภาคีสมาชิกตรวจพบวามีขอผิดพลาดในเอกสารที่ เสนอไปในระหวางที่องคกรที่ปรึกษากําลังประเมินนั้น รัฐภาคีสมาชิก สามารถส ง เอกสารที่ แ สดงรายละเอี ย ดที่ ผิ ด พลาดที่ ต รวจพบตาม เอกสารแนบที่ 122 โดยตองสงเอกสารขอแกไขดังกลาวถึงศูนยมรดกโลก ภายในระยะเวลาไมนอยกวา 14 วัน กอนการเปดวาระการประชุมของ คณะกรรมการมรดกโลก พรอมทัง้ จะตองมีการสําเนาแจงองคกรทีป่ รึกษา ที่เกี่ยวของ และใหจัดเตรียมหนังสือดังกลาวสําหรับเปนเอกสารแนบทาย ในระเบียบวาระการประชุมที่สัมพันธกับเรื่องดังกลาว ไมชากวาวันแรก ของการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ทัง้ นี้ ศูนยมรดกโลกและองคกร ทีป่ รึกษาอาจเพิม่ เติมความเห็นในเอกสารดังกลาวในสวนที่เกี่ยวของกอน จะนําเสนอ รัฐภาคีสมาชิกสามารถยกเลิกการขอรับการขึ้นทะเบียนเปน แหลงมรดกโลกที่ไดยื่นเอกสารไวในชวงเวลาใดก็ได กอนที่จะถึงกําหนด วาระการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก โดยรัฐภาคีสมาชิกจะตองแจง ใหสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลกทราบเปนลายลักษณ อักษรถึงการที่จะขอถอนการขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ดังกลาว ทั้งนี้ แหลงมรดกที่ไดทําการยื่นถอนขอเสนอไปแลว สามารถ นํากลับมายื่นเสนอเอกสารเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกใหมได หลังจากที่องคกรที่ปรึกษาไดประเมิน และพิจารณาขอเสนอเพื่อ การขึน้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกเปนทีเ่ รียบรอยแลว จะมีผลการประเมิน และขอเสนอแนะอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้ 1) แหลงมรดกที่ “ผานการพิจารณา (Inscribe)” ใหไดรับ การขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกโดยปราศจากเงื่อนไขใดๆ 2) แหลงมรดกที่ “ไมผานการพิจารณา (Not-Inscribe)” ใหไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก 3) แหลงมรดกที่พิจารณาและมีขอเสนอแนะให “สงกลับคืน (Referral)” หรือ “เลื่อนการพิจารณา (Deferral)” ออกไป โดยขอเสนอแนะขององคกรที่ปรึกษาขางตนจะถูกเสนอเขาสู การพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลกในวาระการประชุมที่จะมาถึง เพื่อพิจารณาในขั้นสุดทายวาแหลงที่ไดทําการเสนอขอรับการขึ้นทะเบียน นั้ น มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมและจะได รั บ การประกาศขึ้ น ทะเบี ย นให เ ป น แหลงมรดกโลกหรือไม หรือในทีป่ ระชุมจะมีมติความเห็นเปนในแนวทางอืน่

108

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดูเพิ่มเติมใน “Annex 12” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. p.144.

2


กระบวนการประเมินของ ICOMOS ในการประเมินมรดกทางวัฒนธรรม การดําเนินการประเมินขอเสนอเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปนแหลง มรดกโลกของ ICOMOS (The international Council of Monuments and Sites) จะดําเนินการภายใตกรอบแนวทางจากเอกสารแนวทางการ อนุวัตตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก ตามหลักการพื้นฐาน 10 ขอ3 ที่ กลาวไวขางตน แหลงมรดกที่ยื่นเสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก นัน้ จะเริม่ ตนเขาสูก ระบวนการตรวจสอบความครบถวนโดยศูนยมรดกโลก โดยเอกสารเสนอเพื่อขอรับการพิจารณา (Nomination Dossier) ที่ไดรับ จากรัฐภาคีสมาชิกนั้น จะถือวาเปนเอกสารที่สมบูรณแบบ และจะถูกสง ตอไปยัง ICOMOS ซึ่งจัดการอยูภายใต “หนวยมรดกโลกของ ICOMOS” จากขั้นตอนนี้ การแลกเปลี่ยนองคความรูและการใหคําปรึกษากับรัฐภาคี สมาชิกจะเริ่มตนขึ้นและดําเนินการตอเนื่องไป4 ตลอดระยะเวลาของกระบวนการประเมิน ICOMOS จะใชโอกาสนี้ ในความพยายามกระจายโอกาสในการเขาถึงทรัพยากรอยางเที่ยงธรรม มีประสิทธิภาพ และขยายโอกาสในการสรางกลไกปรึกษาหารือกับรัฐภาคี สมาชิกที่นําเสนอแหลง

ดูเพิ่มเติมใน “Paragraph 148” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp.39-40. 4 ดูเพิ่มเติมใน “Annex 6” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp.106114. 3

1. การรองขอขอมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่จําเปนตองรองขอขอมูลเพิ่มเติมหรือเรียกรองใหมี การชี้แจงขอมูลที่มีอยู ICOMOS จะเริ่มตนกระบวนการหารือรวมกับ รัฐภาคีสมาชิกในการแสวงหาแนวทางปฏิบตั ทิ จี่ าํ เปน ซึง่ อาจมีวธิ กี ารหลาย รูปแบบ อาทิ การใชจดหมาย การประชุมรวมกัน การประชุมทางไกล หรือ การสื่อสารระหวางกันในรูปแบบอื่นๆ ตามที่ทั้ง ICOMOS และรัฐภาคี สมาชิกตกลงกัน ทั้งนี้ ในการประชุมเพื่อประเมินแหลงที่ขอรับการพิจารณานั้น จะประกอบดวยผูเชี่ยวชาญจํานวน 10 คน ซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิที่มี ความรอบรูเกี่ยวกับแหลงที่เสนอในบริบทเรื่องภูมิวัฒนธรรม และเปน ที่ปรึกษาในขอเสนอเรื่อง “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล” ของแหลงที่เสนอ ขอรับการพิจารณา สวนนี้อาจเรียกไดเปน “คลังองคความรู” ที่ผาน กระบวนการอภิปรายพิจารณาอยางลึกซึง้ โดยนักวิชาการทีเ่ ชีย่ วชาญ ทัง้ ที่ เป น สมาชิ ก ของ ICOMOS รวมทั้ง คณะทํ า งานระดั บ ชาติ แ ละระดั บ นานาชาติ ตลอดจนผูเชี่ยวชาญที่เปนปจเจกบุคคลตางๆ เพื่อสรางใหเกิด เครือขายผูเชี่ยวชาญเฉพาะหรือสถาบันที่จะไดรับประโยชนจากเครือขาย ผูเชี่ยวชาญดังกลาว คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

109


2. ปฏิบัติการในพื้นที่ หนาที่ในสวนนี้จะเกี่ยวของกับผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณใน ภาคปฏิบตั ิ ทัง้ ทางดานการบริหารจัดการ การอนุรกั ษ และคุณสมบัตดิ า น ความเปนของแทดั้งเดิมของแหลง ทัง้ นี้ ในกระบวนการคัดสรรผูเ ชีย่ วชาญ เพือ่ ใหเกิดประโยชนสงู สุดแกเครือขายของ ICOMOS ในการนี้ คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติวาดวยวิทยาศาสตร และสมาชิกปจเจก จะตองถูกเลือกเฟนเชนเดียวกันกับคณะผูเ ชีย่ วชาญที่ เปนพันธมิตรของ ICOMOS ตัวอยางเชน คณะกรรมการนานาชาติสําหรับ การอนุรักษมรดกทางอุตสาหกรรม (TICCIH) สหพันธนานาชาติวาดวย สถาปตยกรรมภูมทิ ศั น (IFLA) และคณะกรรมการนานาชาติเกี่ยวกับการ บันทึกขอมูลและการอนุรักษอนุสรณสถานและแหลงของอนุสรณสถานที่ เกิดขึ้นภายใตบริบทความเปนสมัยใหม (DoCoMoMo) นโยบายในการเลื อ กผู  เ ชี่ ย วชาญเพื่ อ ปฏิ บั ติ ก ารภาคสนาม ประเมินของ ICOMOS จะทําการเลือกผูเชี่ยวชาญในภูมิภาคที่แหลงมรดก ทีเ่ สนอนัน้ ตัง้ อยู โดยผูเ ชีย่ วชาญทีไ่ ดรบั การคัดเลือกจะตองมีประสบการณ ดานการจัดการและการอนุรักษมรดกในประเภทเดียวกันกับแหลงที่เสนอ ขอรับการพิจารณา ทั้งนี้ คณะผูเชี่ยวชาญนั้น อาจจะไมจําเปนตองเปน ผูเชี่ยวชาญทางวิชาการเสมอไป แตทวาความคิดหวังตอคณะผูเชี่ยวชาญ คือ สามารถอธิบายตอผูบริหารจัดการแหลงมรดกทางวัฒนธรรมที่เสนอ ขอรับการพิจารณาในประเด็นตางๆทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการบริหารจัดการแหลง อาทิ การประเมินแผนดานการบริหารจัดการ ปฏิบัติการดานการอนุรักษ การดําเนินการกับผูมาเยือน และอื่นๆ ทัง้ นี้ คณะผูเ ชีย่ วชาญจะไดรบั งานโดยสังเขป รวมถึงสําเนาขอมูล ทีเ่ กีย่ วของจากเอกสารประกอบขอรับการพิจารณา (Nomination Dossiers) ทั้งนี้ กําหนดการและรายละเอียดของการลงภาคสนามในพื้นที่ จะเปน การตกลงกันระหวางรัฐภาคีสมาชิกกับคณะผูเ ชีย่ วชาญของ ICOMOS ใน การเสนอรายงานที่อยูบนฐานของการประเมินสาระหลักของการปฏิบัติ การดานตางๆ ของแหลง ตลอดจนอาจมีการเพิ่มเติมความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะดานอื่นๆ ลงในรายงานการเสนอของรับการพิจารณาไดดวย 3. การประเมินทบทวนโดยผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญ (Peer Review) โดยคณะกรรมการมรดกโลกของ ICOMOS คณะกรรมการมรดกโลกของ ICOMOS ประกอบดวยสมาชิก ปจเจกของ ICOMOS ซึ่งเปนผูแทนจากภูมิภาคตางๆ และเปนผูมี ความสามารถ มีทักษะความชํานาญ และมีประสบการณที่เกี่ยวของกับ มรดกทางวัฒนธรรม ทั้งนี้ สมาชิกบางรายอาจถูกกําหนดใหเปนองคคณะ ที่มีกําหนดเวลาที่ชัดเจน ในขณะที่บางรายอาจมีกําหนดการเฉพาะกิจ

110

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


เปนระยะเวลา 1 ป ขึ้นอยูกับคุณลักษณะของแหลงที่นําเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาที่ตองใช ความรูความสามารถของผูเชี่ยวชาญนั้นๆ ในการประเมิน ทั้งนี้ ICOMOS จะผนวกรายชื่อเขากับ คณะกรรมการมรดกโลกของ ICOMOS ผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณในฐานะสมาชิกกิตติมศักดิ์จาก รัฐภาคีสมาชิก ทั้งนี้ หากผูเชี่ยวชาญทานใดไมไดรับการแตงตั้งเปนสมาชิกของคณะกรรมการ มรดกโลกนั้น ผูเชี่ยวชาญกลุมนี้จะปฏิบัติหนาที่ในฐานะสวนบุคคลและเปนผูเชี่ยวชาญเฉพาะ คณะกรรมการมรดกโลกของ ICOMOS (ICOMOS World Heritage Panel) จะดําเนินการ ประชุมตามกําหนด คือ 2 ครั้ง ในรอบปการดําเนินงาน ทั้งนี้ วาระของการประชุมครั้งที่ 1 จัดใน เดือนธันวาคม และครั้งที่ 2 จัดในเดือนมีนาคม สําหรับการประชุมครั้งที่ 1 นั้น คณะกรรมการ มรดกโลกของ ICOMOS จะประเมินขอมูลของแหลงที่เสนอชื่อเพื่อขอรับการพิจารณา โดยประเมิน จากเอกสารรายงานจากผูเชี่ยวชาญทางวิชาการ และผูเชี่ยวชาญที่ลงภาคสนามเพื่อตรวจสอบ ขอมูล โดยคณะกรรมการมรดกโลกของ ICOMOS มีวัตถุประสงคเพื่อหาขอตกลงรวมกันในการ นําเสนอขอคิดเห็นเกี่ยวกับแหลงที่ขอรับการพิจารณาโดยฉันทามติ ในกรณีที่คณะกรรมการมรดกโลกของ ICOMOS ไดพิจารณาและลงมติวาเปนแหลงที่ไมมี ศักยภาพในการบงชี้ถึงคุณคาโดดเดนอันเปนสากล ในการนี้ ICOMOS จะประสานงานตอไปยัง รัฐภาคีสมาชิกที่นําเสนอแหลงดังกลาวเพื่อแจงผลในขั้นตอนนี้ รายงานเบื้องตนขนาดสั้นของ แตละแหลงที่เสนอขอรับการพิจารณาจะถูกเตรียมในภาษาใดภาษาหนึ่งซึ่งเปนภาษาที่ถูกใชใน อนุสัญญาวาดวยการคุม ครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ โดยมีเนือ้ หาครอบคลุมไป ถึงสถานะและประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการประเมินผล และรวมไปถึงขอที่รองขอเพิ่มเติม ใหจัดทําขอมูลตางๆจะถูกจัดเตรียมใหแลวเสร็จภายในเดือนมกราคม เพื่อสงใหยังรัฐภาคีสมาชิก ผูเ สนอแหลงเพือ่ ขอรับการพิจารณา และสําเนาสงตอไปยังศูนยมรดกโลกเพือ่ นําสงตอไปยังประธาน คณะกรรมการมรดกโลก คณะกรรมการมรดกโลกของ ICOMOS ประชุมครั้งที่ 2 จะพิจารณาขอมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับการเสนอชื่อเพื่อขอรับการพิจารณา รวมทั้งผลการหารือกับรัฐภาคีสมาชิก โดยหลังจาก การประชุมของคณะกรรมการมรดกโลกของ ICOMOS ครั้งที่ 2 ผลการประเมินจะถือเปนที่สิ้นสุด และจะถูกสงไปยังศูนยมรดกโลกเพื่อสงตอใหกับรัฐภาคีสมาชิก ทั้งนี้ รายชื่อและคุณวุฒิของ คณะกรรมการจะถูกสงไปยังศูนยมรดกโลกและทําการเผยแพรในเว็บไซตของ ICOMOS การประเมินของ ICOMOS จะพิจารณาคุณคาโดดเดนอันเปนสากล รวมไปถึงคุณคาของ แหลงที่สอดคลองกับเกณฑการพิจารณา ตลอดจนประเด็นเรื่องความครบถวนสมบูรณ และ ความเปนของแทดั้งเดิม นอกจากนี้ ยังประเมินในประเด็นที่เกี่ยวกับบริหารจัดการวามีศักยภาพ เพียงพอตอการรักษาแหลงใหสามารถดํารงคุณคาไดหรือไม อาทิเชน กฎหมายเกีย่ วกับการปกปอง คุมครอง แผนการบริหารจัดการ และสถานภาพการอนุรักษของแหลง และรางรายงานขอแนะนํา ฉบับสมบูรณเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกจะถูกสงใหคณะกรรมการมรดกโลก

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

111


กระบวนการประเมินของ ICOMOS

ดูเพิ่มเติมใน “Annex 6” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. p.108.

112

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


กระบวนการประเมินของ IUCN ในการประเมินมรดกทางธรรมชาติ การประเมินของแหลงมรดกทางธรรมชาติของ IUCN จะดําเนินการตาม เอกสารแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก ทั้งนี้ กระบวนการประเมิน จะดําเนินไปในชวงระยะ 1 ป นับจากที่ IUCN ไดรับเอกสารการนําเสนอแหลงมรดก ทางธรรมชาติ ใ นเดื อ นมี น าคม และ IUCN จะนํา สง รายงานผลการประเมิน ไปยัง ศูนยมรดกโลก ภายในเดือนพฤษภาคมของปถัดไป โดยกระบวนการประเมิน IUCN ประกอบดวย 5 ขั้นตอน5 ดังตอไปนี้ 1. ขั้นตอนการจัดเก็บรวบรวมขอมูล หลังจากรับเอกสารการนําเสนอจากศูนยมรดกโลกแลว IUCN ตองดําเนินการ วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับแหลงมรดกที่เสนอขอรับการพิจารณา โดยใชฐานขอมูลที่ เกี่ยวของกับพื้นที่อนุรักษ และฐานขอมูลสากลของ IUCN และการศึกษาเฉพาะเรื่อง (Thematic Studies) โดยในขั้นตอนนึ้ อาจจะมีการวิเคราะหเปรียบเทียบกับคุณคา ความหลากหลายทางชีวภาพทีด่ าํ เนินการภายใตความรวมมือกับศูนยตดิ ตามตรวจสอบ การอนุรกั ษโลก โครงการสิง่ แวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP World Conservation Monitoring, UNEP-WCMC) ขอมูลที่สําคัญในการวิเคราะหขอมูลคือขอมูลที่ไดจาก การสนทนากับรัฐภาคีสมาชิกในระหวางภารกิจการประเมินผล และในขัน้ ตอนอืน่ ๆ ของ กระบวนการ 2. การประเมินทบทวนโดยบุคคลภายนอก เอกสารการนําเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาจะถูกสงใหผูเชี่ยวชาญอิสระที่มี ความรูเ กีย่ วกับแหลง และ/หรือ คุณคาขององคประกอบทีน่ าํ เสนอ โดยผูเ ชีย่ วชาญอิสระ อาจเปนสมาชิกผูเ ชีย่ วชาญและเครือขายของ IUCN หรือสมาชิกผูเ ชีย่ วชาญของเครือขาย พันธมิตรของ IUCN ทั้งนี้ เอกสารที่เปนแนวทางสําหรับผูเชี่ยวชาญในการพิจารณาจะ เผยแพรบนเว็บไซตของ IUCN ที่ www.iucn.org/worldheritage

ดูเพิ่มเติมใน “Annex 6” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. p.106. 5

3. ภารกิจการประเมินผล คณะผูเชี่ยวชาญของ IUCN ที่ทําการประเมินแหลงที่เสนอขอรับการพิจารณา แตละแหลงในภาคสนามจะมีจํานวน 1 หรือ 2 คน เพื่อพิจารณารายละเอียดตางๆ ของพืน้ ที่ ตลอดจนการประเมินการบริหารจัดการแหลง และปรึกษาหารือกับหนวยงาน และผูมสี วนไดสวนเสียของแหลงที่เสนอขอรับการพิจารณา ทั้งนี้ผูเชี่ยวชาญของ IUCN จะคัดเลือกจากทั่วโลกโดยพิจารณาจากประวัติในดานการอนุรักษและธรรมชาติ และ ความรูเ กีย่ วกับอนุสญ ั ญาวาดวยการคุม ครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ซึ่งมักเปนสมาชิกของคณะกรรมการพื้นที่อนุรักษในระดับโลกของ IUCN (IUCN World Commission on Protected Areas) ซึง่ ในบางกรณีจะตองดําเนินการรวมกับ ICOMOS ทั้งนี้ รูปแบบของรายงานภารกิจการประเมินผลภาคสนาม ของ IUCN ปรากฏบน เว็บไซต www.iucn.org/worldheritage คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

113


4. ขอมูลจากแหลงอื่นๆ IUCN อาจพิจารณาขอมูลเพิ่มเติมจากเอกสารและขอคิดเห็น จากองคกรอิสระระหวางประเทศ (NGOs) ชุมชน กลุมชนเผาพื้นเมือง (indigenous peoples) และภาคีที่มีความสนใจตอการเสนอแหลงเพื่อ ขอรับการพิจารณา รวมทั้ง IUCN ยังรวมมือกับหนวยงานการอนุรักษใน ระดับนานาชาติอื่นๆ เชน อนุสัญญาแรมซาร (Ramsar Convention)6 โครงการมนุษยและชีวมณฑล (Man and the Biosphere Program | MAB)7 เครือขายอุทยานธรณีโลก (Global Geoparks Network | GGN)8 ตลอดจนหารือรวมกับสถาบันอุดมศึกษา และสถาบันวิจัยตาง ๆ 5. การประเมินทบทวนโดยคณะกรรมการมรดกโลกของ IUCN คณะกรรมการมรดกโลกของ IUCN (IUCN World Heritage Panel) ที่แตงตั้งโดยผูอํานวยการ IUCN มีหนาที่ใหคําปรึกษาดานเทคนิค และวิทยาศาสตรอยางอิสระและมีคณ ุ ภาพสูง กับ IUCN ในการดําเนินงาน ในฐานะที่ปรึกษาของคณะกรรมการมรดกโลก และคําแนะนําเชิงกลยุทธ ในการปฏิบัติงานของ IUCN เกี่ยวกับมรดกโลกผานโครงการตางๆ ของ IUCN ทั้งนี้ หนาที่เฉพาะของคณะกรรมการมรดกโลกของ IUCN คือ เตรียมการประเมินผลแหลงมรดกทางธรรมชาติและแหลงมรดกแบบผสม (Mixed Site) ที่เสนอขอรับการพิจารณาขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก รวมไปถึงวางแนวทางในการใหคําแนะนําของ IUCN ตอแหลงมรดกตางๆ ทีเ่ สนอขอรับการพิจารณาตามแนวทางการดําเนินงานตามเอกสารแนวทาง การอนุวตั ตามอนุสญ ั ญาคุม ครองมรดกโลก นอกจากนี้ คณะกรรมการมรดกโลกของ IUCN ยังตองดําเนินการ ใหขอคิดเห็นกับ ICOMOS ในการพิจารณาแหลงมรดกแบบภูมิทัศน วัฒนธรรม ที่เสนอขอรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก โดยมีวาระ การประชุมอยางนอยปละ 2 ครั้ง วาระการประชุมครั้งที่ 1 จัดในเดือน ธันวาคม ของปที่ 1 และครัง้ ที่ 2 ในชวงเดือนมีนาคม/เมษายน ของปที่ 2 คณะกรรมการมรดกโลกของ IUCN จะประกอบดวย เจาหนาที่ อาวุโสของ IUCN สมาชิกคณะกรรมการ IUCN และผูเชี่ยวชาญภายนอก ซึง่ คัดเลือกจากผูม ปี ระสบการณสงู และผูเ ชีย่ วชาญชัน้ นําทีเ่ ปนทีร่ จู กั และ มีองคความรูท สี่ มั พันธกบั หัวของานที่ IUCN รับผิดชอบเกีย่ วกับมรดกโลก และความสมดุลของจํานวนผูมีสวนรวมในประเด็นตาง ๆ และ/หรือระดับ ภูมภิ าค รวมไปถึงผูเ ชีย่ วชาญทีม่ ปี ระสบการณในฐานะผูแ ทนรัฐภาคีสมาชิก ซึ่งปจจุบันไมไดดํารงตําแหนงกรรมการมรดกโลก คณะกรรมการมรดกโลกของ IUCN จะทําการประเมินรายงาน ภาคสนาม คําแนะนําของผูประเมิน ขอมูลการวิเคราะหจากศูนยติดตาม

114

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

อนุสัญญาแรมซาร (Ramsar Convention) คือ อนุสญ ั ญาระหวางประเทศ เพื่อการอนุรักษและเพื่อการใชพื้นที่ ชุมนํ้าอยางยั่งยืน 7 โครงการมนุษยและชีวมณฑล (Man and the Biosphere Programme | MAB) ไดเริมดําเนินการตั้งแตปพ.ศ. 2514 | ค.ศ.1971 เปนหนวยงานทาง วิ ท ยาศาสตร ใ นระดั บ นานาชาติ ที่ มี วัตถุประสงคเพื่อสรางองคความรูเพื่อ สงเสริมความสัมพันธระหวางมนุษย กับสิ่งแวดลอมรอบตัวโดยบูรณาการ แนวคิ ด ด า นธรรมชาติ เขากับสังคมศาสตร เศรษฐศาสตร และการศึกษา โดยมีวตั ถุประสงคยกระดับการแบงปน ของมนุษยชาติอยางเปนธรรม และ การรักษาสิ่งแวดลอม บริหารจัดการ นิเวศ และประชาสัมพันธการแนวทาง นวัตกรรมในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สั ง คมและวั ฒ นธรรมที่ เ หมาะสมกั บ ความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม ซึ่งพื้นที่ โครงการมนุษยและชีวมณฑล จํานวน 669 แหลง กระจายใน 120 ประเทศ รวมทั้ง 20 แหลงขามพรมแดน 8 เครือขายอุทยานธรณีโลก (Global Geoparks Network | GGN) กอตั้ง ขึ้นเมื่อค.ศ. 2004 | พ.ศ.2547 ดวย มุ  ง หมายของการเป น เครื อ ข า ยของ สมาชิกที่ปฏิญานวาจะรวมกับทํางาน เพื่อสรางการแลกเปลี่ยนแนวคิดของ แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี และการร ว มมื อ ใน โครงการตางๆ ที่สงเสริมมาตรฐานวา ดวยการสรางความรูเ กีย่ วกับธรณีวทิ ยา ตางๆ 6


ตรวจสอบการอนุรักษโลก โครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP World Conservation Monitoring, UNEP-WCMC) และขอมูลจากการวิเคราะหอื่นๆ ตลอดจนเอกสารประเภทตางๆ กอนที่จะจัดทําสรุปรายงานผลการประเมินของ IUCN ทั้งนี้ รายชื่อสมาชิก ขอกําหนดอางอิง และเครื่องมือในการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการมรดกโลกของ IUCN จะเผยแพรตอ สาธารณะชนในเว็บไซตของ IUCN และสงตอไปยังคณะกรรมการมรดกโลกตอไป รายงานการประเมินแตละฉบับจะนําเสนอบทสรุปที่สั้นกระชับในประเด็น ที่วาดวยเรื่องคุณคาโดดเดนอันเปนสากลของแหลงที่เสนอขอรับการขึ้นทะเบียน เป น แหล ง มรดกโลกที่ ดํ า เนิ น การศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บกั บ แหล ง อื่ น ที่ มี ลั ก ษณะ คลายคลึงกัน ทั้งแหลงที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกแลว และพื้นที่ อนุรักษอื่นๆ นอกจากนี้ ยังประเมินความครบถวนสมบูรณของแหลง และบริบท ดานการบริหารจัดการ รวมไปถึงการบงชี้คุณสมบัติของแหลงวาสอดคลองกับ เกณฑในการพิจารณาขอใด รวมทั้ง ขอแนะนําที่ชัดเจนเพื่อเสนอตอคณะกรรมการ มรดกโลก ทั้งนี้ รายชื่อของผูเชี่ยวชาญผูมีสวนรวมในการประเมินจะปรากฏอยูใน รายงานการประเมินขั้นสุดทาย ยกเวนในกรณีที่ผูประเมินไมประสงคจะใหเปดเผย IUCN จะทําการปรึกษาหารือกับรัฐภาคีสมาชิกในทุกๆ ขั้นตอนของ กระบวนการพิจารณา โดย IUCN จะดําเนินการโดยใชความพยายามที่ดีที่สุด ในการกระจายการเขาถึงทรัพยากรตางๆ อยางเปนธรรม และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสรางโอกาสสูงสุดสําหรับการปรึกษาหารือกับรัฐภาคีสมาชิก โดยการ ปรึกษาหารือจะเริม่ ตนตัง้ แตชว งแรกของกระบวนการประเมิน และเพิม่ ความเขมขน ขึ้นภายหลังจากการประขุมคณะกรรมการมรดกโลกของ IUCN ในเดือนธันวาคม โดยมีขั้นตอนที่ตองดําเนินการ ดังนี้ 1) กอนเขาสูกระบวนการการประเมิน IUCN จะรองขอใหเพิ่มเติมขอมูล เกี่ยวกับประเด็นคําถามตอเอกสารที่นําเสนอ ซึ่งรัฐภาคีสมาชิกตองชี้แจงประเด็น ดังกลาว และ IUCN จะติดตอกับรัฐภาคีสมาชิกเพื่อเตรียมนัดหมายการลงพื้นที่ เพื่อภารกิจการประเมิน 2) ในระหวางภารกิจการประเมิน คณะผูประเมินของ IUCN จะใช กระบวนการสนทนาเชิงลึกกับตัวแทนของรัฐภาคีสมาชิกและผูมีสวนไดสวนเสีย 3) ภายหลังจากภารกิจการประเมินของ IUCN แลวเสร็จ IUCN อาจจะ หารือหรือขอขอมูลเพิม่ เติมจากรัฐภาคีสมาชิกเกีย่ วกับประเด็นทีท่ บในการประเมิน 4) ภายหลังจากคณะกรรมการมรดกโลกของ IUCN ประชุมครั้งที่ 1 ใน เดือนธันวาคม IUCN อาจมีการหยิบยกประเด็นและขอขอมูลเพิ่มเติมจากรัฐภาคี สมาชิก และจัดทําเปนรายงานฉบับยอเกี่ยวกับการประเมินและขอมูลที่รองขอ เพิ่มเติม และจัดสงไปยังรัฐภาคีสมาชิก และสําเนาใหศูนยมรดกโลก เพื่อสงตอให ประธานคณะกรรมการมรดกโลก และอาจมีการสนทนาและปรึกษาหารือเพือ่ ตกลง รวมกันผานระบบการสื่อสารทางไกล และ/หรือการพบปะรวมกัน

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

115


ทัง้ นี้ IUCN จะพิจารณาประเมินผลขอมูลทัง้ หมดทีร่ ฐั ภาคีสมาชิก จัดสงอยางเปนทางการตอศูนยมรดกโลกภายในระยะเวลาที่กําหนด9 อยางไรก็ตาม ขัน้ ตอนทีก่ ลาวมาผูท เี่ กีย่ วของในกระบวนการนําเสนอแหลง เพือ่ ขอรับการพิจารณาเปนแหลงมรดกโลก สามารถประสานงานกับ IUCN เพื่อจัดเตรียมขอมูลตาง ๆ ใหไดตลอดเวลาตามที่ผูเกี่ยวของประสงค IUCN มีบทบาทสําคัญตอการตัดสินใจของคณะกรรมการมรดกโลก เกี่ยวกับการเสนอขอรับการพิจารณาเปนแหลงมรดกโลก รวมทั้งการนํา เสนอเพื่อ “ขอรับการพิจารณาใหม (Renominations)” ในกรณีที่มี การขยายหรือปรับปรุงแนวขอบเขตพื้นที่ของแหลงมรดกโลก และทํา หนาที่ในการพิจารณาเกี่ยวกับสถานภาพการอนุรักษของแหลงมรดกโลก ดวย

การจําแนกชีวภูมิศาสตรเพื่อการศึกษาเปรียบเทียบขั้นตน (Biogeographic classification systems as a basis for comparison) ในการประเมินของ IUCN จะใชระบบการจําแนกชีวภูมิศาสตร ของ Miklos D.F. Udvardy วาดวย “การจําแนกเขตพืน้ ทีช่ วี ภูมศิ าสตรโลก (A Classification Biogeographical Province of the World)” 10 ซึ่ง ระบบดังกลาวนี้ จะใชในการจําแนกสําหรับพื้นที่แหลงนํ้าจืด และบนบก ซึ่งสามารถคาดการณ และสมมติฐานที่จะทําไดสําหรับเขตชีวภูมิศาสตร ที่คลายกัน ทัง้ นี้ ระบบการจําแนกชีวภูมศิ าสตรของ Miklos D.F. Udvardy เตรียมไวเพื่อวัตถุประสงคเกี่ยวกับการเปรียบเทียบแหลงมรดกที่ นําเสนอกับสถานที่ที่มีสภาพภูมิอากาศและสภาพทางนิเวศวิทยาภายใต เงื่อนไขแบบเดียวกัน อยางไรก็ตาม ขอใหพึงระลึกอยูเสมอวา ระบบการจําแนก ชีวภูมิศาสตรนี้ถูกใชเพื่อเปนตัวชี้วัดในการศึกษาเปรียบเทียบเทานั้น ไมไดหมายความวาคุณสมบัติของแหลงมรดกโลกจะไดรับการเลือกบน พื้นฐานของขอกําหนดนี้เพียงอยางเดียว และมิไดเปนตัวแทนของระบบ การจําแนกทั้งหมดที่เปนพื้นฐานของกระบวนการคัดเลือก เนื่องจาก เกณฑหลักที่สําคัญของการเปนแหลงมรดกโลกคือ จะตองมี “คุณคาโดด เดนอันเปนสากล”

116

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดูเพิ่มเติมใน “Paragraph 148” อา งใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp.3940. 10 Miklos D.F. Udvardy. A Classification of the Biogeographical Provinces of the World. Switzerland: IUCN. 1975. 9


ระบบในการจําแนกลําดับความสําคัญกอนหลังของพื้นที่สําหรับการอนุรักษ (Systems to identify priority areas for conservation) IUCN ไดใชระบบตางๆ ในการจําแนกลําดับความสําคัญของพื้นที่อนุรักษ ดังตัวอยาง โครงการตางๆ อาทิ กองทุนสัตวปาโลกสากล (The Worldwide Fund for Nature’s, WWF), เขตภูมิภาคนิเวศของโลก (Global Ecoregions), ศูนยกลางของความหลากหลายทางชีวภาพ ของพืช (Centres of Plant Diversity), พื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ (Conservation International’s Biodiversity Hotspots), และพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษ นกเฉพาะถิ่น และพื้นที่สําคัญเพื่อการอนุรักษนกและความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งกําหนดโดย องคกรอนุรักษนกสากล (Birdlife International’s Endemic Bird Areas and Important Bird Areas) ทัง้ นีร้ ะบบไดจดั เตรียมขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับความสําคัญของการอนุรกั ษความหลากหลาย ทางชีวภาพในกระบวนการเสนอชื่อเพื่อขอรับการพิจารณาเปนแหลงมรดกโลก อยางไรก็ตาม ตองยอมรับวาไมใชทุกแหลงที่จะไดรับการพิจารณาเปนแหลงมรดกโลก เนื่องจากเกณฑหลักที่ สําคัญของการเปนแหลงมรดกโลกคือจะตองมีคุณคาโดดเดนอันเปนสากล การประเมินแหลงมรดกสําหรับคุณคาทางธรณีวิทยา (Systems to evaluate properties for earth science value) การประเมินแหลงมรดกที่นําเสนอเกี่ยวกับคุณคาทางธรณีวิทยานั้น IUCN ตองปรึกษา กับหนวยงานผูเชี่ยวชาญหลากหลายสาขา เชน สวนวิชาการดานธรณีขององคการ UNESCO (UNESCO-Earth Sciences Division), สหภาพนานาชาติเกี่ยวกับถํ้า (the International Union of Speleology) และสหภาพนานาชาติเกี่ยวกับศาสตรทางธรณี (the International Union of Geological Sciences, IUGS) เปนตน ทั้งนี้ กระบวนการประเมินนั้นตองใชเอกสารสิ่งพิมพอางอิงตางๆ ซึ่งดําเนินการจัดพิมพ เผยแพรโดย IUCN, UNEP, UNEP-WCMC ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1) ปริทศั นความรูเ กีย่ วกับระบบของพืน้ ทีอ่ นุรกั ษในภูมภิ าคโอเชเนีย, แอฟริกา และเอเซีย (Reviews of Protected Area Systems in Oceania, Africa, and Asia) 2) เอกสารแนะนําเกี่ยวกับพื้นที่อนุรักษของโลก (The Protected Area of the World) 3) แผนที่แนวปะการังโลก (The World Atlas of Coral Reefs) 4) ชุดแผนที่การอนุรักษ (Conservation Atlas Series) 5) ตัวแทนพื้นที่อนุรักษระบบนิเวศวิทยาชายฝง (A Global Representative System of Marine Protected Areas) 6) ศูนยความหลายหลายของพืชพันธุ (Centres of Plant Diversity) 7) ถิ่นฐานสําคัญของนก และถิ่นฐานของนกเฉพาะถิ่นโลก (Important Bird Areas and Endemic Bird Areas of the World)

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

117


กระบวนการประเมินเหลานี้เกิดขึ้นจากการศึกษาเปรียบเทียบ โดยอางอิงจากสิ่งตีพิมพของ IUCN ในหนังสือวาดวย “แหลงอนุรักษ ของโลก (World’s Protected Areas)” และหนวยงานการอนุรักษใน ระดับนานาชาติ ซึ่งชวยพัฒนามุมมองและกรอบทัศนในภาพรวมตอ การเปรียบเทียบการอนุรักษในแหลงตางๆของโลก นอกจากนี้ IUCN ยัง รับผิดชอบการจําแนกแหลงตามการศึกษาประเด็นเฉพาะ (Thematic Studies) เพือ่ คนหาชองวางของแหลงมรดกโลกทางธรรมชาติทมี่ ศี กั ยภาพ ทั้งนี้สามารถคนขอมูลไดจากเว็บไซตของ IUCN ที่ (http://www.iucn. org/world heritage

การประเมินภูมิทัศนวัฒนธรรม (Evaluation of Cultural Landscape) IUCN มีความสนใจแหลงมรดกหลายลักษณะดวยกัน โดยเฉพาะ แหลงมรดกทีน่ าํ เสนอในรูปของภูมทิ ศั นวฒ ั นธรรมรวมกับ ICOMOS ทัง้ นี้ ในการประเมินแหลงที่ดําเนินการโดย IUCN ไดใชเอกสาร “การประเมิน คุณคาทางธรรมชาติของภูมิทัศนวัฒนธรรม” เปนแนวทางในการประเมิน ซึ่งมีรายละเอียดอยูในเว็บไซตของ IUCN ที่ http://www.iucn.org/ themes /wcpa/wheritage/culturallandscape.htm เพื่ อ ความสอดคล อ งกั บ คุ ณ ภาพตามธรรมชาติ ข องภู มิ ทั ศ น วัฒนธรรมบางประเภทที่ระบุไวในภาคผนวก 3 ยอหนาที่ 1111 ทั้งนี้ การประเมินแหลงของ IUCN ใหความสําคัญกับปจจัยดังตอไปนี้ 1) การอนุรักษระบบธรรมชาติ และกึ่งธรรมชาติ ตลอดจนชนิด พันธุสัตวและพันธุพืช 2) การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพผานกระบวนการ ใชสอยอยางยั่งยืน เชน (การทําฟารมแบบดั้งเดิม, การประมงพื้นบาน และ การทําไมแบบดั้งเดิม) 3) การใชประโยชนที่ดิน และนํ้าอยางยั่งยืน 4) การยกระดับซึ่งความงดงามของทิวทัศน 5) การรวบรวมความหลากหลายทางชีวภาพสิ่งมีชีวิตนอกถิ่นที่ อาศัยเพื่อการศึกษาวิจัย เชน สวนพฤกษศาสตร หรือสวนรุกขชาติ 6) ตัวอยางที่โดดเดนที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางมนุษยกับ ธรรมชาติ 7) การคนพบความสําคัญทางประวัติศาสตร

118

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดูเพิ่มเติมใน “Annex 3” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp.80-87. 11


กระบวนการประเมินของ IUCN

ดูเพิ่มเติมใน “Annex 6” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. pp.113.

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

119


การทํางานขององคกรที่ปรึกษาในการประเมิน แหลงมรดกแบบผสม และภูมิทัศนวัฒนธรรม 1.การเสนอขอรับการพิจารณาของแหลงมรดกแบบผสมระหวางธรรมชาติ และวัฒนธรรม แหลงมรดกที่ไดนําเสนอเพื่อขอรับการขึ้นทะเบียนจะประกอบ ดวยคุณคาทั้งทางวัฒนธรรมและคุณคาทางธรรมชาติ ซึ่งเรียกรองใหมี ความรวมมือปฏิบัติงานรวมกันระหวางสองหนวยงานที่ทําหนาที่เปน องคกรที่ปรึกษา คือ IUCN และ ICOMOS ในการพิจารณาคุณคาของ แหลงมรดกนั้น หลังจากการปฏิบัติงานรวมกันดังกลาวนั้น IUCN และ ICOMOS จะดําเนินการเตรียมจัดทํารายงานการประเมินแหลงมรดกนั้น แยกจากกันตามขอกําหนดที่เกี่ยวของ 2. ภูมิทัศนวัฒนธรรม (Cultural Landscapes) แหลงมรดกที่นําเสนอในรูปแบบ “ภูมิทัศนวัฒนธรรม” จะตอง ไดรับการประเมินจาก ICOMOS ในเกณฑการพิจารณาความสอดคลอง ของคุณคาในขอที่ 1 (i) – 6 (vi)12 และสําหรับการประเมินของ IUCN จะทําหนาที่สํารวจตรวจสอบคุณคาทางธรรมชาติและการจัดการของ แหลงมรดกที่ไดนําเสนอสิ่งนี้เปนเรื่องที่เกี่ยวกับการตกลงกันระหวาง องคกรที่ปรึกษา ในบางกรณีการปฏิบัติการรวมกันอาจเปนความจําเปน เพื่อใหขอเสนอแนะสมบูรณขึ้น 3. ความเชื่อมโยงระหวางธรรมชาติและวัฒนธรรม แหลงมรดกสวนใหญที่ไดนําเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาเปน แหลงมรดกโลก รวมทั้งวัตถุประสงคในการบริหารจัดการแหลงที่สัมพันธ กับปฏิสัมพันธระหวางธรรมชาติและวัฒนธรรมนั้น องคกรที่ปรึกษาทั้ง 2 หนวยงาน คือ IUCN ที่รับผิดชอบพิจารณาขอมูลในสวนมิติทางธรรมชาติ และ ICOMOS ที่รับผิดชอบพิจารณาขอมูลในสวนมิติทางวัฒนธรรมนั้น อาจมีการขยายขอบเขตของการปรึกษาหารือกันในระหวางกระบวนการ ประเมินคุณคา

120

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดูเพิม่ เติมใน “paragraph 77” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017.

12


บัญชีมรดกโลกที่อยูในภาวะอันตราย (The List of World Heritage in Danger) ตามมาตรา 11 ยอหนาที่ 4 ของอนุสัญญาวาดวยการคุมครอง มรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาตินั้น ระบุวา คณะกรรมการ มรดกโลก อาจดําเนินการเสนอรายชือ่ แหลงเขาสูใ นบัญชีมรดกโลกทีอ่ ยูใ น ภาวะอันตราย เมื่อพิจารณาแลวเปนไปตามขอกําหนดดังตอไปนี13้ 1) แหลงมรดกนั้นถูกขึ้นทะเบียนอยูในบัญชีมรดกโลก 2) แหลงมรดกนั้นถูกคุกคามโดยปญหาที่รุนแรง และมีอันตราย เฉพาะบางประการ 3) ตองการไดรับการดําเนินการอนุรักษอยางมีนัยสําคัญ 4) แหลงมรดกโลกดังกลาวนั้นตองการความชวยเหลือภายใต อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ซึง่ ทางคณะกรรมการมรดกโลกไดพจิ ารณาแลวเห็นวา ความชวยเหลือทีม่ ี ประสิทธิภาพบางอยางอาจมีขอจํากัดที่ตองพิจารณาใหบรรจุชื่อเปน แหลงมรดกโลกที่ตกอยูในสภาวะอันตราย และคณะกรรมการมรดกโลก คนใดคนหนึ่ง หรือสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลก สามารถ รองขอใหมีความชวยเหลือได

ดูเพิม่ เติมใน “paragraph 177” อางใน UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. p.49.

13

ขอกําหนดเพื่อบรรจุรายชื่อในบัญชีมรดกโลกที่อยูในภาวะ อันตราย แหลงมรดกโลกที่จําแนกไวในมาตรา 1 และ 2 ของอนุสัญญา คุมครองมรดกโลกนั้น สามารถขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลกที่อยูในภาวะ อันตรายได โดยเมื่อคณะกรรมการมรดกโลก พิจารณาพบวา เงื่อนไข สถานการณของแหลงนั้นเปนไปตามขอกําหนดอยางนอยขอหนึ่ง จากขอ กําหนด 2 ขอ ดังตอไปนี้ 1. กรณีแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม อันตรายที่เกิดขึ้นแลว แหลงมรดกนั้นประสบกับอันตรายที่เกิด จริงหรือพิสูจนวากําลังจะมีอันตราย เชน - การเสื่อมสลายของวัสดุเกิดขึ้นอยางรุนแรง - การเสื่อมสลายของโครงสราง และ/หรือสิ่งประดับตกแตงเกิด ขึ้นอยางรุนแรง - การเสือ่ มสลายของสถาปตยกรรม หรือองคประกอบระดับเมือง เกิดขึ้นอยางรุนแรง - การเสื่ อ มสลายลงของชุม ชนเมือ ง หรื อ ชุ ม ชนชนบท หรื อ สิ่งแวดลอมทางธรรมชาตินั้นเกิดขึ้นอยางรุนแรง - ความเปนของแทดงั้ เดิมทางประวัตศิ าสตรเกิดการสูญสลายไป อยางมีนัยสําคัญ - ความสําคัญทางวัฒนธรรมเกิดการสูญสลายอยางมีนัยสําคัญ คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

121


ปจจัยที่ทําใหแหลงมรดกไดรับผลกระทบที่สงผลใหคุณลักษณะของแหลงเสื่อมสภาพ เชน - การปรับเปลีย่ นสถานภาพทางกฎหมายทีค่ มุ ครองแหลงมรดกทางวัฒนธรรม ที่แสดงใหเห็นถึงการลดระดับของการปกปองคุมครอง - ขาดนโยบายในการอนุรักษ - ไดรับผลกระทบจากโครงการวางผังระดับภาค - ไดรับผลกระทบจากการวางผังเมือง - เปนแหลงมรดกทางวัฒนธรรมภายใตสถานการณความขัดแยงที่มีการใชอาวุธ - การคุกคามจากการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ ภูมิลักษณ หรือปจจัยทางสิ่งแวดลอมอื่นๆ 2. กรณีแหลงมรดกโลกทางธรรมชาติ แหลงมรดกทางธรรมชาตินั้นกําลังประสบปญหาจนมีความเสี่ยงอันตรายที่เกิดแลว หรือ พิสูจนวากําลังจะมีอันตราย เชน - การลดลงของประชากรของชนิดพันธุท ใี่ กลสญ ู พันธุห รือชนิดพันธุอ นื่ ๆ ทีม่ คี ณ ุ คาโดดเดน อันเปนสากลจนเขาสูภาวะเสี่ยงตอการสูญพันธุ ซึ่งแหลงมรดกนั้นไดถูกกําหนดใหจัดตั้งขึ้นเพื่อ การปกปองรักษา ซึ่งผลกระทบดังกลาวนั้น อาจเกิดขึ้นจากปจจัยทางธรรมชาติ เชน โรคระบาด หรือปจจัยที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย เชน การลักลอบลา - เกิดการเสื่อมสภาพอยางรุนแรงของความงามตามธรรมชาติ หรือคุณคาของทิวทัศน อันเกิดขึน้ จากผลกระทบหลายอยาง เชน การตั้งถิ่นฐานของมนุษย การกอสรางอางเก็บนํ้าที่ทําให เกิดพื้นที่นํ้าทวมดานเหนือเขื่อนเก็บนํ้า และสงผลกระทบตอพื้นที่ของแหลงมรดกนั้น การพัฒนา อุตสาหกรรมและการเกษตร รวมถึงการใชยากําจัดศัตรูพืช และปุยเคมี ผลกระทบจากโครงสราง พื้นฐานสาธารณะ การทําเหมืองแร มลพิษ การทําปาไม การเก็บหาไมเพื่อทําเชื้อเพลิง และอื่นๆ - การบุกรุกของประชาชนเขาไปในเขตพิทักษรักษา หรือพื้นที่ตนนํ้าซึ่งเปนสิ่งคุกคามตอ ความครบถวนสมบูรณของแหลงมรดกดังกลาวนั้น ความเสี่ยงอันตรายที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น แหลงมรดกโลกทางธรรมชาติกําลังอยูใน สภาวะที่เผชิญกับผลกระทบที่มีแนวโนมวาจะมีผลตอการเสื่อมสภาพของแหลง เชน - การปรับเปลีย่ นสถานภาพทางกฎหมายทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการคุมครองปองกันพื้นที่นั้น - การตัง้ ถิน่ ฐาน หรือการพัฒนาโครงการตางๆ ภายในพื้นที่แหลงมรดกโลกซึ่งกอใหเกิด ผลกระทบคุกคามตอแหลงมรดก - แหลงมรดกทางธรรมชาติที่อยูภายใตสถานการณความขัดแยงที่มีการใชอาวุธ - แผนการบริหารจัดการ หรือระบบการบริหารจัดการไมมีหรือมีไมเพียงพอ หรือไมนํา แผนดังกลาวขับเคลื่อนไปสูการปฏิบัติอยางสมบูรณ - การคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศ ภูมิลักษณ หรือปจจัยทางสิ่งแวดลอม อื่นๆ สิ่งที่ตองพิจารณาเพิ่มเติม คือ การคุกคาม และ/หรือผลกระทบอันเปนอันตรายตอ ความครบถวนสมบูรณของแหลง ตองเปนสิ่งที่สามารถแกไขไดโดยการลงมือปฏิบัติของมนุษย ในกรณีของแหลงมรดกทางวัฒนธรรม ทั้งปจจัยทางธรรมชาติและปจจัยที่เกิดจากการกระทําของ มนุษยตา งก็กอ ใหเกิดผลกระทบขึน้ และกลายเปนการคุกคามทีเ่ กิดขึน้ ตอแหลงมรดกทางวัฒนธรรมได ในขณะที่แหลงมรดกทางธรรมชาตินั้น ปจจัยคุกคามสวนใหญเปนสิ่งที่เกิดจากการกระทําของ

122

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


มนุษย มีนอยมากที่เปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากปจจัยทางธรรมชาติ (เชน โรคระบาดจากภายนอกพื้นที่) ที่คุกคามตอความมั่นคงของแหลงมรดกทางธรรมชาติ ในบางกรณี ปจจัยที่คุกคามตอความมั่นคง ของแหลงมรดกนั้นอาจแกไขไดโดยการบริหารจัดการ หรือการออกกฎหมายที่มีผลบังคับใช เชน การยกเลิกโครงการสาธารณะขนาดใหญที่ดําเนินการกอสรางในพื้นที่ หรือการพัฒนายกระดับ กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของในการบังคับใชกับแหลง เปนตน คณะกรรมการมรดกโลก อาจตองคําถึงปจจัยอื่นๆ เมื่อพิจารณารวมกันของแหลงมรดก ทางวัฒนธรรมและมรดกทางธรรมชาติในบัญชีมรดกโลกที่อยูในสภาวะอันตราย คือ 1) การตัดสินใจที่สงผลกระทบตอแหลงมรดกโลกที่ดําเนินการโดยภาครัฐภายหลังจาก การปรับความสมดุลระหวางปจจัยทั้งหมด ทั้งนี้ ขอแนะนําของคณะกรรมการมรดกโลกจะเปน การชี้ชัด ถาหากไดกําหนดมากอนที่แหลงมรดกโลกไดรับการคุกคาม 2) ในกรณีที่ตรวจพบวาแหลงอยูในสภาวะอันตราย ทั้งนี้ การเสื่อมสภาพทางกายภาพ และทางวัฒนธรรมของแหลงมรดกโลกนั้นตองไดรับการพิจารณาตัดสินถึงลําดับความรุนแรงของ ผลกระทบและการวิเคราะหตามแตละกรณี 3) ในกรณีของความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดอันตรายตอแหลงมรดก ตองพิจารณาประเด็นตางๆ ดังนี้ - สิ่งคุกคามควรประเมินดวยวิธีการประเมินแบบปกติ ในแนวทางดานสังคม และเศรษฐกิจในบริบทของแหลงมรดกโลกดังกลาว - ในการประเมินภัยคุกคาม บอยครั้งที่ภัยคุกคามบางประการ เชน การคุกคาม จากการขัดแยงที่ใชอาวุธที่มีผลกระทบตอแหลงมรดกทางวัฒนธรรมหรือทางธรรมชาติไมอาจ ประเมินได - การคุกคามบางประการจากธรรมชาติอาจไมเกิดขึ้นในทันทีทันใด แตทําการ แกไดโดยการบริหารจัดการลวงหนาเชนในประเด็นเรื่องประชากร 4) ลําดับสุดทาย ในการประเมินนั้น คณะกรรมการมรดกโลก ตองคํานึงถึงวา มีสาเหตุที่ ไมอาจทราบได หรือเปนสาเหตุที่ไมไดคาดคิดถึงสาเหตุมากอน ซึ่งไดกอใหเกิดอันตรายตอแหลง มรดกทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ

ขัน ้ ตอนการบรรจุชอื่ แหลงในบัญชีรายชือ่ แหลงมรดกโลกทีอ่ ยูใ นภาวะอันตราย ในการพิจารณารายชื่อแหลงมรดกโลกในบัญชีรายชื่อแหลงที่ตกอยูในภาวะอันตราย คณะกรรมการมรดกโลก จะตองพิจารณาและลงความเห็นเทาทีจ่ ะเปนไปไดภายใตการปรึกษาหารือ กับรัฐภาคีสมาชิกที่เกี่ยวของตอสถานการณการอนุรักษอันพึงประสงค เพื่อใหเปนแนวทางสําหรับ รัฐภาคีสมาชิกในการถอนรายชื่อแหลงจากรายชื่อมรดกโลกที่อยูในภาวะอันตราย โดยใชโครงการ อนุรักษที่มีประสิทธิภาพเปนเครื่องบงชี้ การพัฒนาโครงการเพื่อการแกไขใหแหลงมรดกคงคุณคาและไดรับการถอดถอนออกจาก บัญชีรายชื่อมรดกโลกในภาวะอันตรายดังที่กลาวมาแลวในยอหนาที่ผานมานั้น คณะกรรมการ มรดกโลก ตองรองขอใหสาํ นักเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลก ดําเนินการประสานงานกับรัฐภาคี สมาชิกเกี่ยวกับสถานสภาพปจจุบันของแหลงมรดกโลก ความเสี่ยงอันเกิดขึ้นตอแหลงมรดกโลก ตลอดจนเครื่องบงชี้ผลลัพธที่มีความเปนไปได คณะกรรมการมรดกโลก อาจตัดสินใจดําเนินการประเมินเชิงรุกจากองคกรทีป่ รึกษา หรือ หนวยงานที่เกี่ยวของเขาไปยังแหลงเพื่อประเมินสภาพทางกายภาพ ปจจัยที่คุกคาม และแจงวิธี การบงชี้ที่จะใชในการชี้วัด ตลอดจนการสงผูสังเกตการณจากองคที่ปรึกษาหรือจากองคกรอื่นๆ คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

123


ลงภาคสนามเพือ่ พิจารณาแหลงมรดกโลกนัน้ เพือ่ ดําเนินการประเมินสภาพปจจุบนั และสิง่ คุกคาม พรอมทั้งเสนอมาตรการที่รัฐภาคีสมาชิกควรดําเนินการ ทั้งนี้ รัฐภาคีสมาชิกอาจเชิญผูไดรับ มอบหมายดังกลาวใหคําปรึกษาและแนวทางปฏิบัติได ขอมูลทีไ่ ดมารวมกับขอคิดเห็นตามความเหมาะสมของรัฐภาคีสมาชิกและองคกรทีป่ รึกษา หรือองคกรอืน่ ๆ ตองนําเสนอใหคณะกรรมการมรดกโลกพิจารณา โดยสํานักเลขาธิการคณะกรรมการ มรดกโลก ทั้งนี้ รวบรวมขอมูลและความเห็นจากรัฐภาคีสมาชิก องคกรที่ปรึกษาที่เกี่ยวของ และ หนวยงานอืน่ ๆ ดังกลาวนัน้ จะถูกเสนอตอไปยังคณะกรรมการมรดกโลกผานเลขานุการคณะกรรมการ มรดกโลก คณะกรรมการมรดกโลกจะดําเนินการพิจารณาตรวจสอบขอมูล และมีมติเกีย่ วกับคําอธิบาย ของแหลงมรดกโลกที่บรรจุในบัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลกในภาวะอันตราย มติดังกลาวตองดําเนิน การชี้ขาดโดยใชเสียงขางมาก 2 ใน 3 ของคณะกรรมการมรดกโลก ที่ปรากฏและออกเสียง จาก นั้นคณะกรรมการมรดกโลก จึงกําหนดแนวทางปฏิบตั ทิ เี่ หมาะสมทีร่ ฐั ภาคีสมาชิกพึงปฏิบตั ิ และจะ สงใหรัฐภาคีสมาชิกรับทราบและดําเนินการโดยเรงดวน รัฐภาคีสมาชิกที่เกี่ยวของตองแจงมติของคณะกรรมการมรดกโลก และขอสังเกตของ สาธารณะในการตัดสินใจอยางเรงดวนตอคณะกรรมการมรดกโลก ซึ่งเปนไปตามมาตรา 11.4 ของอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ สํ า นั ก เลขาธิ ก ารคณะกรรมการมรดกโลกดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง บั ญ ชี ม รดกโลกที่ อ ยู  ใ น สภาวะอันตรายใหมีขอมูลใหมและจัดพิมพเผยแพร รวมทั้งเผยแพรผานเว็บไซต http://whc.unesco.org/en/danger คณะกรรมการมรดกโลกต อ งบริ ห ารจั ด สรรทรั พ ยากรจากกองทุ น มรดกโลกไปใช ใ น ประเด็นเฉพาะ ในสัดสวนที่มีนัยสําคัญที่จะสามารถชวยเหลือทางการเงินตอแหลงมรดกโลกที่อยู ในบัญชีรายชื่อแหลงมรดกในภาวะอันตราย

การตรวจสอบสถานสภาพการอนุรักษแหลงมรดกในบัญชีรายชื่อแหลง มรดกโลกที่อยูในภาวะอันตราย คณะกรรมการมรดกโลกตองดําเนินการตรวจสอบสถานภาพการอนุรักษแหลงมรดกใน บัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลกในภาวะอันตรายเปนประจําทุกป รวมถึงวิธีการติดตามผล และขอมูล จากการลงปฏิบัติการของผูเชี่ยวชาญ โดยพิจารณาตามความจําเปนที่คณะกรรมการมรดกโลก เห็นวาสมควร พื้นฐานของการตรวจสอบทบทวนสถานภาพนั้น คณะกรรมการมรดกโลกตองตัดสินใจ ภายใตความรวมมือกับรัฐภาคีสมาชิกที่เกี่ยวของ ในประเด็นตางๆ ดังนี้ 1) มาตรการการอนุรักษแหลงมรดกโลกที่ตองการใหเพิ่มเติม 2) จะตัดรายชื่อของแหลงมรดกโลกออกบัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลกในภาวะอันตรายก็ ตอเมื่อประเมินแลวพบวาแหลงมรดกโลกดังกลาวไมอยูภายใตปจจัยคุกคามตอไป 3) การพิจารณาการตัดชื่อแหลงมรดกโลกออกจากบัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลกในภาวะ อันตรายและบัญชีมรดกโลก หากแหลงมรดกโลกนั้นมีสถานการณที่เสื่อมสภาพลงถึงระดับที่ได สูญเสียคุณลักษณะจากที่กลาวไวในคําอธิบายการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ซึ่งเปนไปตาม ขอบัญญัติในยอหนาที่ 192-198 ในเอกสารแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก

124

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


วิธี การในการประเมิน เพิกถอนแหลงมรดกออกจากบัญชีรายชื่อแหลง มรดกโลก หลักเกณฑในการเพิกถอนแหลงออกจากบัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลกในกรณี ตอไปนี้ 1) เมื่อแหลงนั้นเสื่อมสภาพจนถึงขั้นสูญเสียคุณคาโดดเดนอันเปนสากล และ คุณลักษณะอื่นๆ ซึ่งใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาการขอรับการพิจารณาขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก และ 2) เมื่อคุณคาของแหลงมรดกโลกไดรับการคุกคามจนสูญเสียไปจากคุณลักษณะ ที่ไดนําเสนอขอรับการพิจารณาขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก โดยเปนผลมาจากการ กระทําของมนุษย เมื่อรัฐภาคีสมาชิกไมดําเนินการแกไขตามมาตรการและระยะเวลาที่ คณะกรรมการมรดกโลกกําหนด เมื่ อ แหล ง มรดกที่ ไ ด รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นในบั ญ ชี ร ายชื่ อ แหล ง มรดกโลกนั้ น มี การเสื่อมสภาพอยางรุนแรง และเมื่อรัฐภาคีสมาชิกไมดําเนินการแกไขตามแนวทาง และ ในระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการมรดกโลกกําหนด รัฐภาคีสมาชิกตองแจงสถานการณดงั กลาว ตอคณะกรรมการมรดกโลก เมื่อสํานักเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลกไดรับรายงานผลจากแหลงอื่นๆ ที่ไมใชเปนรายงานผลของรัฐภาคีสมาชิกเองโดยตรง ตองมีการตรวจสอบขอเท็จจริง และ แหลงที่มาของขอมูลโดยเร็วที่สุดเทาที่จะเปนไปได โดยดําเนินการภายใตการปรึกษากับ รัฐภาคีสมาชิก สํานักเลขานุการคณะกรรมการมรดกโลกตองดําเนินการรองขอใหองคกรทีป่ รึกษา ซึง่ เกีย่ วของใหความคิดเห็นเกีย่ วกับขอมูลทีไ่ ดรบั ตอไป คณะกรรมการมรดกโลกตองพิจารณาขอมูลและมีมติ ทั้งนี้ การลงมติใดแลว ตองเปนไปตามมติดังกลาวนั้น ตามที่กําหนดในมาตรา 13(8) ของอนุสญ ั ญาวาดวยการ คุม ครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ทั้งนี้ มีมติโดยเสียงขางมากสองในสาม ของคณะกรรมการทีเ่ ขารวมประชุมและออกเสียง คณะกรรมการมรดกโลกตองไมตดั สินเพิก ถอนแหลงมรดกโลกใดออกจนกวาจะไดรับคําตอบจากขอซักถามกับรัฐภาคีสมาชิกเกี่ยว กับปญหาดังกลาวนั้นกอน รัฐภาคีสมาชิกตองไดรับแจงมติของคณะกรรมการมรดกโลก และตองประกาศ ตอประชาคมที่เกี่ยวของกับมติใหรับทราบโดยทันทีที่มีมติของคณะกรรมการมรดกโลก หากมติของคณะกรรมการมรดกโลกมีผลตอการเปลี่ยนแปลงรายชื่อแหลงมรดกในบัญชี รายชื่อแหลงมรดกโลก จะตองปรับปรุงเอกสารบัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลกและตีพิมพ เผยแพร

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

125


ปญหาที่สงผลทําใหแหลงมรดกโลกตกอยูในภาวะอันตราย จากการศึกษาสถิติของปญหาที่สงผลทําใหแหลงมรดกตกอยูในสภาวะอันตราย พบวา มีแหลงมรดกโลกทั้งสิ้น 54 แหลง ที่ตกอยูภายใตสภาวะอันตราย ที่ทําให “คุณคาโดดเดนอันเปน สากล (Outstanding Universal Value” “ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity)” และ “ความครบถวนสมบูรณ (Integrity)” อยูในสภาวะเสี่ยงตอการสิ้นสูญ หรือเปลี่ยนแปลงคุณคาไป จากคําประกาศขึน้ ทะเบียนใหเปนแหลงมรดกโลก ในที่นี้ จากการสํารวจแหลงมรดกโลกในสภาวะอันตราย พบวา เปนแหลงมรดกทาง วัฒนธรรม จํานวน 38 แหลง คิดเปนอัตราสวนรอยละ 70.37 และแหลงมรดกทางธรรมชาติ จํานวน 16 แหลงคิดเปนอัตราสวนรอยละ 29.63 ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาถึงปญหาที่สงผลตอการทําใหแหลงมรดกโลกอยูในสภาวะอันตราย ซึ่ง สามารถจําแนกมูลเหตุของปญหาไดดังนี้ คือ - ปญหาจากการบริหารจัดการ - ปญหาการจัดการที่ดิน และการพัฒนาที่อยูอาศัย - ปญหาขาดกฎหมายการอนุรักษ ขาดการบังคับใชกฎหมาย และการละเมิดกฎหมาย - ปญหาจากผลกระทบจากการพัฒนาอุตสาหกรรม - ปญหาขาดการเสริมสรางกระบวนการมีสวนรวม และการเสริมสรางความเขมแข็งใน ชุมชนทองถิ่น - ปญหาจากการขาดแคลนงบประมาณ - ปญหาขาดแคลนบุคลการในการอนุรักษ และพิทักษรักษาแหลง - ปญหาจากผลกระทบจากการทองเที่ยว - ปญหาจากการที่แหลงขาดการวิจัยผลกระทบของกิจกรรมของมนุษยที่สงผลกระทบ - ปญหาจากผลกระทบจากสงคราม - ปญหาการรุกรานจากพืชและสัตวตางถิ่น - ปญหาที่เกิดขึ้นจากผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ จะเห็นไดวา การบริหารจัดการแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมมีจํานวนสาเหตุของปญหา ทีม่ ากและมีความซับซอนเนือ่ งจากปฏิสมั พันธกบั การพัฒนา และกิจกรรมตางๆ ของมนุษยทเี่ กิดขึน้ ภายในพื้นที่แหลงมรดกโลก ทวาปญหาดังกลาวก็เปนปญหาที่อยูในวิสัยของการวางแผนปรับปรุง เพือ่ กาวขามไปไดหากมีการบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทวากรณีแหลงมรดกโลกทางธรรมชาตินนั้ แมจะมีจาํ นวนหัวขอของการคุกคามทีท่ าํ ใหตกอยูใ นภาวะอันตรายทีม่ จี าํ นวนนอยกวาแหลงมรดกโลก ทางธรรมชาติ ทวาปญหาที่เกิดขึ้นนั้นมักเปนปญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม และภูมิอากาศซึ่งเปนปญหาที่ใหญและซับซอนมากเกินกวาการแกปญหาดวยการบริหารจัดการ ที่ใชระยะเวลาอันสั้น เชน แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม

126

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


แหลงมรดกโลกภูมท ิ ศ ั นวฒ ั นธรรมและแหลงโบราณคดีแหงหุบเขาบามิยน ั (Cultural Landscape and Archaeological Remains of the Bamiyan Valley) ประเทศอัฟกานิสถาน ถูกขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทีต ่ กอยูใ นภาวะ อันตราย เนือ่ งมาจากภัยสงครามทีค ่ ก ุ คามจากการทําลายพระพุทธรูปขนาดยักษ การเสือ่ มสลายอยางรุนแรงของ จิตรกรรมฝาผนัง การขโมย ขนยายและลักลอบขุดคนทีผ ่ ด ิ กฎหมาย และเปนพืน ้ ทีภ ่ ายใตภาวะสงครามและการใช อาวุธ ซึง่ ยังมีวต ั ถุระเบิดตกคาง ทีม ่ า: http://whc.unesco.org/en/list/208

แหลงมรดกโลกเมืองการคาทางทะเลลิเวอรพล ู (Liverpool Maritime Mercantile City) สหราชอาณาจักร ถูกขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทีอ่ ยูใ นภาะอันตราย เนือ่ งมาจากการสรางสิง่ ปลูกสรางสมัยใหมบริเวณเมืองทา ทําใหเกิด เปลีย ่ นแปลงทัศนียภาพของเสนขอบฟา (Skyline) ซึง่ เปนการลดทอนคุณคาทีส ่ าํ คัญของแหลงมรดกโลกเมืองการคา ทางทะเลลิเวอรพล ู ทีม ่ า: http://http://whc.unesco.org/en/soc/3519

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

127


ตําแหนงของแหลงมรดกโลที่ตกอยูในสภาวะอันตราย

128

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


List of Wold Heritage in Danger

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

129


การเพิกถอนรายชือ่ แหลงมรดกโลกออกจากบัญชีรายชือ่ หลังจากทีค่ ณะกรรมการมรดกโลกมีกลไกการบรรจุรายชือ่ แหลง มรดกโลกใน “บัญชีรายชื่อแหลงมรดกโลกในภาวะอันตราย (World Heritage in Danger)” เพือ่ เตือนใหรฐั ภาคีสมาชิก วางแผนดําเนินการ และปฏิบัติการเพื่อการกูภัย หรือปฏิบัติการเพื่อเรงรัดใหมีการดําเนินการ ฟนฟู “คุณคาโดดเดนอันเปนสากล (Outstanding Universal Value)”, “ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity)” และ “ความครบถวนสมบูรณ (Integrity)” ของแหลงมรดกโลกใหมีคุณสมบัติตามที่ไดเสนอขึ้นทะเบียน เปนแหลงมรดกโลก มาตรการดังกลาวไดผลักดันใหรัฐภาคีสมาชิกตางก็ดําเนินการ วางแผนบริหารจัดการที่เหมาะสมเพื่อฟนฟูคุณคาโดดเดนอันเปนสากล ของแหลงมรดกโลกที่กําลังถูกคุกคามใหฟนคืน และมีการรายงานผล การดําเนินการตอคณะกรรมการมรดกโลกตามกลไกที่วางไว ทวาจากที่ ผานมามีแหลงที่ไมอาจสามารถรักษาคุณคาโดดเดนอันเปนสากล และ คุณลักษณะอื่นๆ ตามที่ไดกลาวไวในการขอรับการพิจารณาขึ้นทะเบียน จํานวน 2 แหลง คือ 1) เขตรักษาพันธุสัตวปาโอริกซสายพันธุอาระเบีย (Arabian Oryx Sanctuary) ซึ่งเปนพื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาที่มีระบบนิเวศที่ เปนเอกลักษณ มีชนิดพันธุพ ชื และสัตวเฉพาะถิน่ ทีใ่ กลสญ ู พันธุ โดยเฉพาะ โอริกซสายพันธุอาระเบียซึ่งเปนสัตวที่ใกลสูญพันธุตามประกาศ “IUCN Red List” หรือ “Red Data List” ของ IUCN และไดรบั การขึน้ ทะเบียน เปนแหลงมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครัง้ ที่ 18 เมือ่ ปพ.ศ.2537 | ค.ศ.1994 สาเหตุทแี่ หลงมรดกนี้ ถูกบรรจุ เปน “แหลงมรดกโลกในภาวะอันตราย (World Heritage in Danger)” เนื่องจากภัยคุกคามตอคุณคาโดดเดนอันเปนสากลที่เกิดจากนโยบาย การบริหารจัดการของรัฐภาคีสมาชิกที่เปนเจาของแหลงไดประกาศลด ขนาดของพื้นที่เขตรักษาพันธุใหมีขนาดเล็กลง อันเปนเหตุใหพื้นที่หากิน และดํารงชีวิตของโอริกซสายพันธุอารเบียซึ่งอยูในสภาวะใกลสูญพันธุนั้น ประสบปญหาสายเลือดชิดกันเนื่องจากผสมพันธุกันในกลุมยอย อันจะนํา ไปสูการสูญพันธุของโอริกซสายพันธุอาระเบียไดในอนาคต ดวยเหตุดงั กลาว คณะกรรมการมรดกโลกจึงไดลงมติเพิกถอนชือ่ “เขตรั ก ษาพั นธุ  สั ตว ป า โอริ ก ซ ส ายพั น ธุ อ าระเบี ย (Arabian Oryx Sanctuary)” ออกจากบั ญ ชี ร ายชื่ อ แหล ง มรดกโลก ในการประชุ ม คณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครั้งที่ 31 เมื่อป พ.ศ.2550 | ค.ศ. 2007 นับเปนแหลงแรกที่ถูกเพิกถอนการเปนแหลงมรดกโลก

130

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สัญลักษณ Red List ของ IUCN สําหรับสิ่งมีชีวิตที่เสี่ยงตอการ สูญพันธุ

โอริกซสายพันธุอ าระเบีย สิง่ มี ชีวต ิ ทีม ่ ส ี ถานะใกลสญ ู พันธุ


2) ภูมิทัศนวัฒนธรรมเดรสเดรนแหงหุบเขาเอลเบอ Dresden Elbe Valley) ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก ในการประชุม คณะกรรมการมรดกโลกมัยสามัญครั้งที่ 28 เมื่อปพ.ศ.2547 | ค.ศ. 2004 ตั้งอยูในประเทศเยอรมนี ดวยความงดงามของภูมิทัศนเมืองที่ ตั้งอยูสองฟากฝงของแมนํ้าเอลเบอความยาวกวา 18 กิโลเมตร และ องคประกอบของเมือง เชน สถาปตยกรรม และภูมิสถาปตยกรรม ที่มีอายุเกาแกตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 16-20 แตทวาจากการประชุมสภาเมือง เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2549 | ค.ศ.2006 ไดมแี ผนการจะกอสรางสะพานขนาดสีช่ อ งจราจร แหงใหมเพื่อขามแมนาํ้ เอลเบอ โดยมีมติผานเสียง 39 ตอ 29 ที่สนับสนุน ใหดําเนินการสรางสะพานดังกลาว ซึ่งสงผลกระทบตอคุณคาโดดเดน อันเปนสากล (Outstanding Universal Value) ความเปนของแทดั้งเดิม (Authenticity) และความครบถวนสมบูรณ (Integrity) ของแหลง ทัง้ นี้ คณะจากองคกรทีป่ รึกษาทีเ่ ขาไปประเมินผลกระทบไดเสนอ ใหสรางเปนอุโมงคเพือ่ ควบคุมมลทัศนทางสายตา ทวาเทศบาลเดรสเดรน ยังยืนกรานจะสรางสะพานขามแมนํ้าตามผลการลงมติ คณะกรรมการ มรดกโลกจึ ง ลงมติ ใ นการประชุ ม คณะกรรมการมรดกโลกสมั ย สามั ญ ครั้งที่ 33 เมื่อในปพ.ศ. 2552 | ค.ศ.2009 พิจารณาใหเพิกถอนชื่อออก จากการเปนแหลงมรดกโลกทางภูมิทัศนวัฒนธรรม

ภูมิทัศนวัฒนธรรมเดรสเดรนแหงหุบเขาเอลเบอ ทีถ ่ ก ู ถอดถอนจากการเปนแหลงมรดกโลก ทีม ่ า: Google Map

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

131


แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมืองประวัตศ ิ าสตรสโุ ขทัย และเมืองบริวาร (Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns) ไดรบ ั การขึน ้ ทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกในปพ.ศ.2534 | ค.ศ.1991 โดยมีคสํณ ุ านัสมบั ตต ิ ามเกณฑขอ ที่ พ1 ยากรธรรมชาติ และ 3 132 กงานนโยบายและแผนทรั และสิ่งแวดลอม


แหลงมรดกโลก และ แหลงในบัญชีรายชื่อเบื้องตน ของประเทศไทย

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

133


แหลงมรดกโลกในประเทศไทย จากธรรมนูญของ “องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (United Nation Educational, Scientific and Cultural Organization)” หรือที่รูจักกันในนาม วา “องคการยูเนสโก (UNESCO)” เปนทบวงการชํานัญพิเศษขององคการสหประชาชาติ (United Nations) มีพันธกิจเพื่อสรรคสรางสันติภาพของโลก ดวยการสรางความเขาใจซึ่งกันและกันของ มวลมนุษยชาติผานการศึกษาดานวิทยาศาสตร และดานวัฒนธรรม ดังที่กลาวมาแลวขางตนวา “สงครามเกิดขึ้นในจิตใจมนุษย ดังนั้นจึงตองสรางความหวงแหนสันติภาพใหเกิดขึ้นในจิตใจของ มนุษยดว ย” โดยมีหนาที่ คือ “เพือ่ ใหเกิดความเคารพในความยุตธิ รรม กฎหมาย สิทธิ และเสรีภาพ ที่มนุษยพึงมีโดยไมถือเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา ตามกฎบัตรสหประชาชาติ” ซึ่งกลไกใน การขึ้นะเบียนแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติเปน “แหลงมรดกโลก” จึงเปนกลไกสําคัญ ประการหนึ่งที่จะผลักดันใหวิสัยทัศนและพันธกิจขององคการยูเนสโกดังกลาวมาขางตนบรรลุ วัตถุประสงคที่ตั้งไว กอปรกับสถานการณปจจุบันที่แหลงมรดกทางธรรมชาติ และทางวัฒนธรรมตกอยูใน ภาวะอันตรายจากการถูกคุกคามดวยสาเหตุนานัปการ จนมรดกทั้งทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ อาจสิ้นสูญลงอยางไมอาจหวนคืน มูลเหตุดังกลาวทําใหองคการยูเนสโกไดสรางกลไกผลักดัน การประเมินและใหคณ ุ คาแหลงทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมใหมสี ถานภาพเปนแหลงมรดกโลก เพื่อสรางเสริมแรงจูงใจในการปกปองคุมครองแหลงมรดกทรงคุณคาเหลานั้นใหเปนสมบัติของ มวลมนุษยชาติสืบไป สําหรับประเทศไทยในปจจุบันมีแหลงมรดกโลกทั้งสิ้น 5 แหลง จําแนกออกไดเปน “แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม” จํานวน 3 แหลง และ “แหลงมรดกโลกทางธรรมชาติ” จํานวน 2 แหลง คือ แหลงมรดโลกทางวัฒนธรรม 1) เมืองประวัตศิ าสตรสโุ ขทัย และเมืองบริวาร (Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns) 2) เมืองประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา (Historic City of Ayutthaya) 3) แหลงโบราณคดีบานเชียง (Ban Chiang Archaeological Site) แหลงมรดโลกทางธรรมชาติ 1) เขตรักษาพันธุส ตั วปา ทุง ใหญนเรศวร-หวยขาแขง (Thungyai–Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries) 2) พื้นที่กลุมปาดงพญาเย็น-เขาใหญ(Dong Phayayen–Khao Yai Forest Complex) จากขอมูลขางตนจะเห็นวาแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมในประเทศไทยนัน้ มีลักษณะเปน แหลงโบราณคดีที่เปน “ซากปรักหักพังที่ยุติบทบาทลงแลว (Relic Cultural Properties)” และ อยูภายใตการกํากับดูแลของกรมศิลปากร ทวายังไมมีแหลงมรดกโลกประเภทภูมทิ ศั นวฒ ั นธรรม ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงคุณคาของแหลงที่แสดงออกถึงความสัมพันธกันระหวางมนุษยกับสภาพ แวดลอมทางธรรมชาติ ทัง้ ทีแ่ หลงมรดกหลายแหงในประเทศไทยนัน้ มีความโดดเดนอยางสูงยิง่ หาก แตถกู จัดใหสงั กัด หรือดูแลภายใตหนวยงานราชการตางกระทรวงกัน 134

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


แหลงมรดกโลกในประเทศไทย

มรดกโลกพื้นที่กลุมปาดงพญาเย็น-เขาใหญ (2548) Dong Phayayen–Khao Yai Forest Complex (2005) มรดกโลกเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร-หวยขาแขง (2534) Thungyai–Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries (1991) มรดกโลกเมืองประวัติศาสตรสุโขทัย และเมืองบริวาร (2534) Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns (1991) มรดกโลกนครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา (2534) Historic City of Ayutthaya (1991)

มรดกโลกแหลงโบราณคดีบานเชียง (2535) Ban Chiang Archaeological Site (1992)

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

135


แหลงมรดกโลกทางธรรมชาติ เขตรั ก ษาพั น ธุ  สั ต วว ป  า ทุ  ง ใหญ น เรศวร-ห ว ยขาแข ง (Thungyai–Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries) ปทไี่ ดรบ ั การขึน ้ ทะเบียน คุณสมบัติตามเกณฑ

พ.ศ.2534 | ค.ศ.1991 ขอที่ 7, 9 และ 10

เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร-หวยขาแขง ครอบคลุมพื้นที่ 622,200 เฮกตาร ทอดตัวตามแนวชายแดนไทย-พมา ทัง้ นี้ เขตรักษาพันธส ุ ต ั วปา ทุงใหญน เรศวร-หวยขาแขงยังคงรักษาสภาพของผืนปาไวไดอยางสมบูรณ ปรากฎตัวอยางและประเภทของปาเกือบทุกประเภทในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีความหลากหลายของพัน ธุสัตวจํานวนมาก โดยพบสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ขนาดใหญจํานวน 77% (โดยเฉพาะชางและเสือ) นกขนาดใหญจํานวน 50% และ คิดเปนสัตวบกมีกระดูกสันหลังจํานวน 33% ของจํานวนชนิดที่พบในภูมิภาคนี้

พืน ้ ทีก ่ ลุม  ปาดงพญาเย็น-เขาใหญ (Dong Phayayen–Khao Yai Forest Complex) ปทไี่ ดรบ ั การขึน ้ ทะเบียน คุณสมบัติตามเกณฑ

พ.ศ.2548 | ค.ศ.2005 ขอที่ 10

อุทยานแหงชาติดงพญาเย็น-เขาใหญ ครอบคลุมพืน ้ ที่ 615.500 เฮกตาร ในเขตอนุรักษ 5 พื้นที่ ไดแก อุทยานแหงชาติเขาใหญ อุทยานแหงชาติทับลาน อุทยานแหงชาติปางสีดา อุทยานแหงชาติตาพระยา และเขตรักษาพันธุส  ต ั วปา ดงใหญ โดยมีความหลากหลายของชนิดพันธุส  ต ั วมากกวา 800 ชนิด ไดแก สัตวเลีย ้ งลูกดวยนมจํานวน 112 สายพันธุ สายพันธุน  ก 392 ชนิด และสายพันธุ สัตวเลื้อยคลาน 200 ชนิด นับเปนแหลงทางธรรมชาติที่มีความสําคัญในระดับ สากล พื้นที่กลุมปาดงพญาเย็น-เขาใหญ เปนพื้นที่อนุรักษทางธรรมชาติ ที่สําคัญในระดับสากล เนื่องจากเปน แหลงอาศัยของสัตวที่มีความเสี่ยงใน การสูญพันธุ 19 สายพันธุ สัตวที่ใกลสูญพันธุ 4 ชนิด และสัตวอีก 1 ชนิดที่กําลัง จะสูญพันธุไ ปจากโลก โดยมีระบบนิเวศปาเขตรอนซึง่ เปนแหลงทีอ่ ยูอ าศัยสําคัญ ที่สามารถชวยใหสัตวที่ใกลสูญพันธุดังกลาวอยูรอดไดในระยะยาว

136

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมืองประวัตศ ิ าสตรสโุ ขทัย และเมืองบริวาร (Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns) ปทไี่ ดรบ ั การขึน ้ ทะเบียน คุณสมบัติตามเกณฑ

พ.ศ.2534 | ค.ศ.1991 ขอที่ 1 และ 3

เมืองประวัติศาสตรสุโขทัยและเมืองบริวาร ครอบคลุมพื้นที่ 11,852 เฮกตาร ประกอบดวยเมืองเกาทีส ่ าํ คัญ คือ เมืองสุโขทัย เมืองศรีสชั นาลัย และ เมืองกําแพงเพชร มีเมืองสุโขทัยเปนเมืองหลวงทางการบริหารและการเมืองของ อาณาจักรแหงแรกของอาณาจักรสยามในคริสตศตวรรษที่ 13-15 และเมือง ศรีสัชนาลัยเปนศูนยกลางทางศาสนาของอาณาจักร โดยมีวัดและศาสนสถาน จํานวนมาก นอกจากนัน ้ เมืองศรีสชั นาลัยยังเปนศูนยกลางของการผลิตเซรามิค เพื่อการสงออกที่สําคัญ สวนเมืองที่สามคือเมืองกําแพงเพชร ตั้งอยูในทิศใต ของอาณาจักรมีความสําคัญทางการทหาร โดยเปนปราการปองกันการรุกราน ของอาณาจักรทางทิศใต ซึ่งมีองคประกอบเมืองในการปกปองการรุกราน และ ยังเปนเมืองที่ชวยขยายโครงขายทางการคาของอาณาจักรอี กดวย รวมไปถึง เมืองทั้งสามไดแบงปนสาธารณูปโภครวมกัน คือ ควบคุมทรัพยากรนํ้าและ เชื่อมโยงกันดวยถนนหลักที่ชื่อวา “ถนนพระรวง”

นครประวัตศ ิ าสตรพระนครศรีอยุธยา (Historic City of Ayutthaya) ปทไี่ ดรบ ั การขึน ้ ทะเบียน คุณสมบัติตามเกณฑ

พ.ศ.2534 | ค.ศ.1991 ขอที่ 3

นครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา ครอบคลุมพื้นที่ 289 เฮกตาร ถูกสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ.1893 | ค.ศ.1350 โดยเปนเมืองหลวงแหงที่สองของ อาณาจักรสยาม ซึ่งรุงเรืองขึ้น ในชวงคริสตศตวรรษที่ 14-18 ดวยความเปน ศูนยกลางทางการคาและการทูตของเมือง สงผลใหในชวงเวลาดังกลาวอยุธยา เปนเมืองที่มีขนาดใหญที่สุดเมืองหนึ่งของโลก อยุธยาตั้งอยูบนเกาะที่ลอมรอบ ไปดวยแมนํ้าสามสายซึ่งเชื่อมเมืองเขาสูทะเล โดยพื้นที่ดังกลาวไดถูกเลือกใชใน การตั้งเมืองเพราะอยูเหนือขอบเขตของคลื่นทะเลหนุนจากอาวไทย จึงสามารถ หลี กเลี่ยงการโจมตีเมืองดวยเรือรบจากชาติอื่น ได และชวยปองกัน เมืองจาก นํ้าทวมตามฤดูกาล

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

137


แหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม แหลงโบราณคดีบา นเชียง (Ban Chiang Archaeological Site) ปทไี่ ดรบ ั การขึน ้ ทะเบียน คุณสมบัติตามเกณฑ

พ.ศ.2535 | ค.ศ.1992 ขอที่ 3

แหลงโบราณคดีบานเชียง ครอบคลุมพื้นที่ 30 เฮกตาร เปน แหลง โบราณคดีสมัยกอนประวัติศาสตร พบใตเนินดินบริเวณพื้นที่เกษตรกรรมใน ตําบลบานเชียง อําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี บริเวณสันปนนํา้ ของแมนาํ้ โขง โดยบริเวณเนินดินทีพ ่ บการตัง้ ถิน ่ ฐานของมนุษย มีขนาด 500 เมตร x 1,350 เมตร และมีความสูง 8 เมตร ถูกคนพบครั้งแรกเมื่อ ค.ศ.1966 ซึ่งไดเริ่มขยาย การขุดสํารวจ และสวนที่เหลือโดยนักวิชาการชาวไทยและนานาชาติ ตัง้ แต ค.ศ. 1966 การกําหนดชวงระยะเวลาของพื้นที่มี การเปลี่ยนแปลงตามการศึกษา วิเคราะหดว ยเครือ่ งมือทีท ่ น ั สมัย ทัง้ นี้ ไดตรวจพิสจู นคา อายุดว ยเทคนิคการ กําหนดอายุจากคารบอนกัมมันตรังสี (radiometric dating) ทําใหทราบชวง อายุทแี่ ทจริงจากการวิจย ั อยูท  ี่ 1,495 ปกอ นคริสตกาล รวมถึงการพบหลักฐาน การทําเกษตรกรรมในยุคเริม ่ แรกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จากหลักฐาน ของการปลูกขาวในที่ลุม ประกอบเขากับเทคโนโลยี การเลี้ยงสัตว การผลิต เซรามิค และเทคโนโลยีการผลิตเครือ่ งมือ เครือ่ งใชจากสําริด

แหลงมรดกโลกกับเกณฑคุณคาโดดเดนอันเปนสากล

138

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


แหลงมรดกในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) ของศูนยมรดโลก นอกจากแหลงมรดกโลกทั้งทางธรรมชาติ และทางวัฒนธรรมทั้ง 5 แหลง ที่กลาวมาขางตนนั้น ใน ปจจุบันมีแหลงมรดกทั้งทางธรรมชาติ และทางวัฒนธรรมอีก 6 แหลงที่ถูกบรรจุอยูใน “บัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List)” ของศูนยมรดกโลก ซึ่งอยูในระหวางการจัดทําแผนการบริหารจัดการ และเตรียมนําเสนอเพื่อ รอรับการพิจารณา และประกาศขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมในโอกาสตอไป คือ 1) เสนทางเชือ่ มตอทางวัฒนธรรม ปราสาทหินพิมายกับศาสนสถานทีเ่ กีย่ วของ ปราสาทหินพนมรุง และปราสาทเมืองตํ่า (Phimai, its Cultural Route and the Associated Temples of Phanomroong and Muangtam) ขึน้ ทะเบียนบัญชีเบือ้ งตนป พ.ศ.2547 | ค.ศ.2004 2) อุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี (Phuphrabat Historical Park) ขึ้นทะเบียน บัญชีเบื้องตนป พ.ศ.2547 | ค.ศ.2004 3) พื้นที่กลุมปาแกงกระจาน (Kaeng Krachan Forest Complex) ขึ้นทะเบียนบัญชีเบื้องตนป พ.ศ. 2554 | ค.ศ.2011 4) วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดพระบรมธาตุ) จังหวัดนครศรีธรรมราช (Wat Phra Mahathat Woramahawihan, Nakhon Si Thammarat) ขึ้นทะเบียนบัญชีเบื้องตนป พ.ศ.2555 | ค.ศ.2012 5) อนุสรณสถาน แหลงตางๆ และภูมทิ ศั นวฒ ั นธรรมของเชียงใหม นครหลวงของลานนา (Monuments, Sites and Cultural Landscape of Chiang Mai, Capital of Lanna) ขึ้นทะเบียนบัญชีเบื้องตนป พ.ศ. 2558 | ค.ศ.2015 6) พระธาตุพนม กลุม สิง่ กอสรางทางประวัตศิ าสตร และภูมทิ ศั นทเี่ กีย่ วของ (Phra That Phanom, its related historic buildings and associated landscape) ขึน้ ทะเบียนบัญชีเบือ้ งตนปพ.ศ.2560 | ค.ศ.2017 แหลงมรดกในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List)กับเกณฑคุณคาโดดเดนอันเปนสากล

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

139


แหลงมรดกในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) ของศูนยมรดโลก

พื้นที่กลุมปาแกงกระจาน (2554) Kaeng Krachan Forest Complex (2011) อนุสรณสถาน แหลงตางๆ และภูมิทัศนวัฒนธรรม ของเชียงใหม นครหลวงของลานนา (2557) Monuments, Sites and Cultural Landscape of Chiang Mai, Capital of Lanna (2015) อุทยานประวัติศาสตรภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี (2547) Phuphrabat Historical Park (2004) วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดพระบรมธาตุ) จังหวัดนครศรีธรรมราช (2555) Wat Phra Mahathat Woramahawihan, Nakhon Si Thammarat (2012) พระธาตุพนม กลุมสิ่งกอสรางทางประวัติศาสตร และภูมิทัศนที่เกี่ยวของ (2560) Phra That Phanom, its related historic buildings and associated landscape (2017) เสนทางเชื่อมตอทางวัฒนธรรม ปราสาทหินพิมายกับศาสนสถานที่ เกี่ยวของ ปราสาท หินพนมรุง และปราสาทเมืองตํ่า (2547) Phimai, its Cultural Route and the Associated Temples of Phanomroong and Muangtam (2004)

140

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


รายชื่อแหลงมรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ในบัญชีรายชื่อเบื้องตนของประเทศไทย คณะกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก เห็นชอบใหบรรจุแหลงมรดก ทางวัฒนธรรมและแหลงมรดกทางธรรมชาติ ไวในบัญชีรายชื่อเบื้องตนของประเทศไทย เพื่อ เตรียมการนําเสนอเพือ่ ขึน้ บัญชีรายชือ่ เบือ้ งตนแหลงมรดกโลก (Tentative List) ของศูนยมรดกโลก และขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกตอไป ดังนี้ แหลงมรดกทางวัฒนธรรม

1) สถาปตยกรรมสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ (รวมวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม) 2) ภูมิทัศนแหงแมนํ้าเจาพระยา 3) เสนทางรถไฟสายมรณะ จังหวัดกาญจนบุรี 4) อุทยานประวัติศาสตรศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ 5) วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และเสาชิงชา 6) วัดราชนัดดารามวรวิหาร และพื้นที่ตอเนื่อง 7) แหลงโบราณคดี และเเหลงวัฒนธรรมของจังหวัดนาน 8) เสนทางวัฒนธรรมไชยา นครศรีธรรมราช สทิงพระ ยะรัง ไทรบุรี (รัฐเกอดะฮ สหพันธรัฐมาเลเซีย) 9) แหลงโบราณคดีเมืองเกาเชียงแสน และสุวรรณโคมคํา (สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว) 10) พระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม แหลงมรดกทางธรรมชาติ

1) พื้นที่อนุรักษชายฝงทะเลอันดามัน ประกอบดวย อุทยานแหงชาติลํานํ้ากระบุรี หมูเ กาะระนอง แหลมสน หมูเ กาะสุรนิ ทร หมูเ กาะสิมลิ นั หมูเ กาะระ-เกาะพระทอง เขาหลัก-ลํารู เขาลําป-หาดทายเหมืองสิรินาถ (เฉพาะพื้นที่ชายฝงทะเล และพื้นที่ทะเล) อาวพังงา ธารโบกขรณี หาดนพรัตนธารา-หมูเกาะพีพี (เฉพาะพื้นที่ทะเล ชายหาดบริเวณสุสานหอยแหลมโพธิ์ หมูเกาะ ปอดะ เกาะพีพี และเกาะบิดะ) หมูเกาะลันตา หาดเจาไหม (ยกเวนพื้นที่ปาบก) หมูเกาะเภตรา (ยกเวนพื้นที่ทะเลระหวางเกาะเขาใหญและเกาะลิดี) ทะเลบัน ตะรุเตา (ยกเวนเกาะหลีเปะ และ พื้นที่รอบเกาะ 500 เมตร) เขตหามลาสัตวปาหมูเกาะลิบง (เฉพาะพื้นที่ทะเล) 2) พื้นที่กลุมปาเทือกเขาเพชรบูรณ ประกอบดวย อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา อุทยาน แหงชาติทุงแสลงหลวง เขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง อุทยานแหงชาติภูกระดึง อุทยานแหงชาติ นํ้าหนาว เขตรักษาพันธุสัตวปาภูเขียวและพื้นที่ตอเนื่อง

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

141


วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช (Wat Phra Mahathat Woramahawihan,Nakhon Si Thammarat) ไดรบ ั การประกาศขึน ้ ทะเบียนบัญชีรายชือ่ เบือ้ งตน (Tentative list) ในป พ.ศ.2555 | ค.ศ.2012 เสนอดพวยากรธรรมชาติ ยเกณฑขอ ที่ แ1,ละสิ 2 และ 5 อม 142 สํานักงานนโยบายและแผนทรั ่งแวดล


บรรณานุกรมประกอบการเรียบเรียง เอกสารภาษาตางประเทศ - Anthony M. Tung. Preserving the World’s Great Cities: The Destruction and Renewal of the Historic Metropolis. New York: Three Rivers Press. 2001. - Convention for the Protection of Cultural Property in the Event of Armed Conflict with Regulations for the Execution of the Convention 1954. Hague: UNESCO. 1954. - ICOMOS.XI'AN Declaration on the Conservation of the Setting of Heritage Structure, Sites and Areas. Adopted in Xi'an, China, by the 15th General Assembly of ICOMOS on 21 October 2005. - UNESCO. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. Paris: UNESCO. 2017. - UNESCO. Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage. Paris: UNESCO, 1972. เอกสารภาษาไทย - เกรียงไกร เกิดศิริ. ลานนากับการเปนมรดกโลก. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย. 2553. - เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ. สังวาลยมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใตภาคพื้นทวีป: การศึกษาโลจิสติกสการ ทองเทีย่ ว และแนวทางการพัฒนาการเชือ่ มโยงโดยใหประเทศไทยเปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ศิลปากร. 2560. - เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ. การศึกษาวิเคราะหคุณคา ศักยภาพ และแนวทางการเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อขอรับการพิจารณาเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรมเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2560. - เกรียงไกร เกิดศิริ. “บทความแปลขอแนะนําเกี่ยวกับภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตร” ใน วารสารหนาจั่ว ฉบับ สถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม, ฉบับที่ 30 ป 2559. หนาที่ D-29–D-36. - เกรียงไกร เกิดศิริ ,อิสรชัย บูรณะอรรจน และกุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา. “การวิเคราะหสภาพการณแหลงในบัญชี รายชือ่ เบือ่ งตนในราชอาณาจักรไทย: ศักยภาพและขอจํากัดบนเสนทางสูก ารเปนแหลงมรดกโลก” ใน วารสาร หนาจั่ว ฉบับสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม, ฉบับที่ 30 ป 2559. หนาที่ G-63– G-75. - เกรียงไกร เกิดศิริ และนันทวรรณ มวงใหญ. “การกําหนดคุณคาตามเกณฑการพิจราณาแหลงมรดกโลกในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตภาคพื้นทวีป (กลุม CLMV): การสังเคราะหความรูเพื่อเปนแนวทางสําหรับราชอาณาจักร ไทย” ใน วารสารหนาจั่ว ฉบับสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม, ฉบับที่ 30 ป 2559. หนาที่ G43–G-60. - เกรียงไกร เกิดศิร,ิ นันทวรรณ มวงใหญ และสุพจน จิตสุทธิญาณ. “ศักยภาพ แนวทางการจัดการแหลงมรดกทาง วัฒนธรรม และภูมทิ ศั นวฒ ั นธรรมในภาคเหนือเพือ่ เสนอขอรับการจารึกชือ่ เปนแหลงมรดกโลก” ใน วารสาร หนาจั่ว ฉบับสถาปตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอม, ฉบับที่ 26 ปการศึกษา 2554. หนา. 169-199. - กรมศิลปากร. 2538, แนวทางการจัดการโบราณสถานในบัญชีมรดกโลกทางวัฒนธรรมของโลก, กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร, 2535. - สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติแลสิ่งแวดลอม. ชุดความรูดานการอนุรักษคุมครองแหลงมรดกโลก เลม ที่ 1 ความรูเกี่ยวกับอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก. กรุงเทพฯ: สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม. 2556.

คูมือการนําเสนอแหลงมรดกทางวัฒนธรรม และแหลงมรดกทางธรรมชาติเปน แหลงมรดกโลก

143


สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 144

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร


146

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.