Petchburi Tassana

Page 1

เพชรบรี ั นา ุ ทศ การท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์และสร้างสรรค์ในจังหวัดเพชรบุร ี โครงการศึกษาแผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุร ี และเส้นทางเลียบชายทะเล

เพชรบุรีทัศนา

79


76

เพชรบุรีทัศนา


ฉบับร่าง

เพชรบรี ั นา ุ ทศ การท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์และสร้างสรรค์ในจังหวัดเพชรบุร ี

โครงการศึกษาแผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุร ี และเส้นทางเลียบชายทะเล

เพชรบุรีทัศนา

1


เพชรบุรีทัศนา: การทองเที่ยวเชิงประสบการณและสรางสรรคในจังหวัดเพชรบุรี โครงการศึกษาแผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยวเมืองเพชรบุร ี และเส้นทางเลียบชายทะเล

จัดทําโดย

สํานักงานการทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดเพชรบุรี สนามกีฬาดอนคาน ตําบลธงชัย อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000 คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหนาพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

เรียบเรียง กองบรรณาธิการ ออกแบบปกและรูปเลม กราฟก ภาพถาย ภาพถายมุมสูง จํานวนพิมพ พิมพที่ พิมพครั้งแรก

2

ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ - กิตติคุณ จันทรแยม - กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา ลัคนา อนงคไชย - อภัสนันท ทองใบ ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ - กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา - ธนิก หมื่นคําวัง ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ - อิสรชัย บูรณะอรรจน กุลพัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา - วิษณุ หอมนาน อิสรชัย บูรณะอรรจน 300 เลม อี.ที.พับลิชชิ่ง ซ.ลาดพราว 101 แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร, 10240 กรกฎาคม พ.ศ.2562

ขอมูลทางบรรณานุกรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. เพชรบุรีทัศนา: การทองเที่ยวเชิงประสบการณและสรางสรรค ในจังหวัดเพชรบุรี. 2562 1. เพชรบุรี 2. ทองเที่ยว ISBN XXX-XXX-XXX-XXX-X เพชรบุรีทัศนา


คํานํา

สํานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเพชรบุร ี

เพชรบุรีทัศนา

3


4

เพชรบุรีทัศนา


กลาวนํา

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โครงการศึกษาแผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุร ี และเส้นทางเลียบชายทะเล

เพชรบุรีทัศนา

5


6

เพชรบุรีทัศนา


เพชรบุรีทัศนา

7


8

เพชรบุรีทัศนา


เพชรบุรีในมิติประวัติศาสตร (สังเขปประวัติศาสตร์)

เพชรบุรีทัศนา

9


เพชรบุรใี นมิติประวัติศาสตร์ “เมืองเพชรบุรี” เปนเมืองสําคัญที่มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของผูคนมาอยาง ยาวนาน นับตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร จวบจนเขาสูสมัยประวัติศาสตร ซึ่งมีการ รับวัฒนธรรมอินเดียเขามาเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิตของผูคน ซึ่งรูจักกันในนามของ “สมัยทวารวดี” ดังหลักฐานเชิงประจักษของ “แหลงโบราณคดีเมืองทุงเศรษฐี” ซึ่ง ตั้งตรงที่ราบริมชายฝงทะเลเบื้องหนาเทือกเขาจอมปราสาทในเขตอําเภอชะอํา ตอมาในชวงที่เมืองพระนครอันเปนศูนยกลางของอาณาจักรเขมรโบราณ เรืองอํานาจในดินแดนลุมแมนํ้าโตนเลสาบ ในชวงเวลาดังกลาวนั้นเมืองเพชรบุรีก็ เปนอีกเมืองหนึ่งที่มีความสัมพันธทางการเมืองและวัฒนธรรมกับอาณาจักรเขมร โบราณดวย ดังปรากฏหลักฐานเชิงประจักษเปนโบราณวัตถุ-สถานแบบเขมรโบราณ อาทิ “โบราณสถานวัดกําแพงแลง” ซึ่งเปนกลุมปราสาทที่สรางดวยศิลาแลงเนื่องใน พุทธศาสนาแบบมหายาน ซึ่งกําหนดอายุไดในราวรัชสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ 7 มีอายุอยูในราวพุทธศตวรรษที่ 18-19 และสันนิษฐานวา คือ “เมืองศรีชัยวัชรปุระ” ที่พระเจาชัยวรมันที่ 7 ไดทรงประดิษฐานพระชัยพุทธมหานาถไว ซึ่งในที่นี้ คําวา “วัชร” ซึ่งหมายถึง “สายฟา” ก็สามารถเขียนดวยคําวา “พัชร” ซึ่งหมายถึง “เพชร” นั่นเอง ทั้งนี้ ในราวพุทธศตวรรษที่ 18 เมื่อมหาอาณาจักรใหญในเอเชียตะวันออก เฉียงใตทั้งหลายเสื่อมคลายอํานาจลง เปดโอกาสใหรัฐจารีตตางๆ ในดินแดนลุมแมนํ้า เจาพระยาและแมนํ้าสาขาเปดเผยตัวเองขึ้นมาแทนที่ในชองวางของขอบวงอํานาจที่ เดิมที่ลดบทบาทลง ดังการสถาปนาขึ้นของรัฐสุโขทัย รัฐลานนา และรัฐอโยธาศรี รามเทพนคร ในหลักฐานฝายสุโขทัยมีหลักฐานแสดงถึงการมีอยูข อง “เพชรบุร”ี ดังกลาวถึง ในศิลาจารึกสุโขทัย ๒ หลัก คือ ศิลาจารึกหลักที่ 1 และศิลาจารึกวัดเขากบ ในทั้งนี้ ในศิลาจารึกหลักที่ 1 ใหขอมูลวา “…เบื้องหัวนอน รอดคนที พระบาง แพรก สุพรรณ ภูมิ ราชบุรี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝงทะเลสมุทรเปนที่แลว…” ซึ่งใหขอมูลชื่อเมือง เพชรบุรีกับเมืองสําคัญแหงอื่นที่อยูรวมสมัยกัน ทั้งนี้ ในศิลาจารึกวัดเขากบไดให ขอมูลวา “…โสด ผสมสิบขาว ขามมาลุตะนาวศรี เพื่อเลือกเอาฝูงคนดี…. สิงหลทีป รอดพระพุทธศรีอารยไมตรี เพชรบุรี ราชบุรีน…ส อโยธยา ศรีรามเทพนคร…” ซึ่ง แสดงใหเห็นวาเพชรบุรีนั้นไดตั้งอยูบนเสนทางคมนาคมสําคัญที่เชื่อมตอไปยังอยุธยา

10

เพชรบุรีทัศนา


เมื อ งเพชรบุ รี ท วี ค วามสํ า คั ญ มากยิ่ ง ขึ้ น ในสมั ย ที่ ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป น ราชธานี เนื่องจากอยุธยานั้นเติบโตและรุงโรจนขึ้นจากการคาเปนสําคัญ กลาวคือ อยุธยาไดทํา หนาที่เปนเมืองกํากับควบคุมดินแดนตอนในของลุมแมนํ้าเจาพระยาและแมนํ้าสาขาได ทําใหสินทรัพยนานา ไมวาจะเปนสินคาปา หรือผลิตภัณฑตางๆ ที่ผลิตขึ้นในชุมชนตางๆ ไดกลายเปนสินคาที่อยุธยาไดรวบรวมไวและสงขายตอไปยังเครือขายการคามหาสมุทร เหตุดังกลาวทําใหเมืองเพชรบุรียิ่งทวีความสําคัญเพราะชวยรักษาเสถียรภาพในการคา ทางทะเลของกรุงศรีอยุธยานั่นเอง จากการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตรเกี่ยวกับเมืองเพชรบุรี พบวาไดถูกกลาว ถึงในบัญญัติหัวเมืองในกฎหมายตราสามดวงที่ตราขึ้นในรัชสมัยพระบรมไตรโลกนาถให ขอมูลเกี่ยวกับเพชรบุรีไววา “…ออกพระศรีสุริทฤาไชย เมืองเพชญบุรีย ขึ้นประแดงเสนฎ ขวา…” โดยมีฐานะเปนเมืองจัตวา และตอมาในชวงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา เมืองเพชรบุรี จัดอยูในหัวเมืองฝายตะวันตก นอกจากนี้ ยังมีเอกสารตางชาติยังใหขอมูลเกี่ยวกับเพชรบุรีไว เชน “โตเม ปเรส (Tome Pires)” นักเดินทางชาวโปรตุเกสทีเ่ ดินทางเขามายังอินเดียและมะละกา ในปพ.ศ. 2054 ไดบันทึกขอมูลเมืองทาการคาสําคัญตางๆ ที่มีความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจใน ชวงเวลานั้นไดกลาวถึง “เพเพ-ริม (Peperim)” หรือ “เพโพรี (Pepory)” วาเปนเมืองทา สําคัญเมืองหนึง่ ในทางตะวันออกมีผปู กครองทีม่ สี ถานะเชนกษัตริย และมีการสงเรือสําเภา ไปคาขายยังที่ตางๆ ดวย เรื​ื่องเกี่ยวกับเพชรบุรียังปรากฏใน “จดหมายเหตุการเดินทางของพระสังฆราช แหงเบริธประมุขมิสซังสูอาณาจักรโคชินจีน” เปนจดหมายเหตุบันทึกการเดินทางมากรุง ศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เมือ่ ป พ.ศ. 2205 กลาวถึงเมืองเพชรบุรี ความวา “จากเมืองปราณบุรี เรามาถึงเมืองเพชรบุรี (Pipili) เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ใช เวลา เดินทาง 4 วัน เมืองนี้เปนเมืองใหญและมีกําแพงเมืองกออิฐ” ทวากําแพงเมืองดัง กลาวไมเห็นรองรอยแลวในปจจุบัน ตอมา นิโกลาส แชรแวส (Nicolas Gervaise) ชาวฝรั่งเศสซึ่งเดินทางมายัง กรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ มหาราช ในปพ.ศ.2224-2229 กลาวถึง เมืองเพชรบุรีใน “ประวัติศาสตรธรรมชาติและการเมืองแหงราชอาณาจักรสยาม (Histoire Naturelle et Politique du Royaume de Siam)” กลาวถึงวา “เมืองพิพลี (Piply) …อยูไกลจากปากนํ้าเพียง 10 หรือ 12 ลี้ เทานั้น เปนเมืองที่เกาแกมาก และ กลาวกันวาเคยเปนเมืองที่งดงาม…”

เพชรบุรีทัศนา

11


“จดหมายเหตุมองซิเออรเซเบเรต” ซึ่งผูบันทึกเปนราชทูตฝรั่งเศสที่เดินทางเขา มาเจริญทางพระราชไมตรีในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ในป พ.ศ.2230 ไดบรรยาย เมืองเพชรบุรีขณะเดินทางไปยังมะริดเพื่อลงเรือวา “เมืองเพชรบุรีนี้เปนเมืองขนาดใหญ ในประเทศสยามและเดิมมาพระเจาแผนดินสยามก็เคยมาประทับอยูในเมืองนี้เสมอๆ เมืองนี้มีกาํ แพงกอดวยอิฐลอมรอบ และมีหอรบหลายแหง แตกําแพงนั้นชํารุดหักพังลง มากแลวยังเหลือดีอยูแถบเดียวเทานั้น บานเรือนในเมืองนี้ไมงดงามเลย เพราะเปนเรือน ปลูกดวยไมไผทั้งสิ้นสิ่งที่งามมีแตวัดวารามเทานั้น และวัดในเมือง นี้ก็มีเปนอันมาก…” ตอมาปพ.ศ.2233 เอ็งเงิลแบรท เค็มพเฟอร (Engellbert Kaempfer) ซึ่งเดิน ทางจากเมืองปตตาเวียในเกาะชวาจะไปประเทศญี่ปุนมีเปาหมายเพื่อทําสัญญาทางการ คากับประเทศญี่ปุนและไดแวะพํานักที่กรุงศรีอยุธยาเปนการชั่วคราว ไดบรรยายเสนทาง การเดินทางไวตอนหนึ่งวา “…ตอจากนั้นก็ถึงจาม (Czam) ถัดขึ้นไปคือเพชรบุรี (Putprib)” จากเอกสารตางชาติที่ยกมาขางตนนั้นแสดงถึง “เมืองเพชรบุรี” วามีบทบาทเปน เมืองชุมทางมาตัง้ แตครัง้ โบราณ ดวยสามารถเชือ่ มตอกับชายทะเลฝง อาวไทยไดโดยสะดวก ในขณะเดียวกันยังไดทําหนาที่เปนเสนทางเชื่อมตอขามคาบสมุทรไปยังฝงเมืองมะริดที่ตั้ง อยูริมอาวมะตะบัน และยิ่งรุงเรืองมากยิ่งขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา หลังจากสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาไปในป พ.ศ.2310 ซึ่งราชธานีอยุธยาได ปดฉากลมสลายลงไปดวยสงคราม ฟนไฟสงครามไดเผาทําลายบานเมือง ปราสาทราชวัง วัดวาอาราม และชุมชนลง และยิง่ มีการยายศูนยกลางการปกครองลงมาใกลทะเลมากขึน้ ยิ่งทําใหกรุงเกาอยุธยาลดบทบาทลงไปโดยสิ้นเชิง ทวาที่เมืองเพชรบุรีนั้นแมวาคงไดรับ ผลกระทบจากสงครามดวย แตกย็ งั คงรักษามรดกสถาปตยกรรมอยุธยาทีเ่ ปนโบสถ วิหาร การเปรียญ และเจดีย ไวจนมี​ีผูกลาวยกยองคุณคาของเมืองเพชรบุรีไววา “เมืองเพชรบุรี เปนอยุธยาที่ยังมีลมหายใจ” ดวยความที่เมืองเพชรบุรีไมเคยถูกทิ้งรางไป จวบจนกระทั่ตนกรุงรัตนโกสินทร เมืองเพชรบุรีก็ยังคงทําหนาที่เปนเมืองยุทธศาสตรสําคัญเชนเดียวกับอดีต กลาวคือใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 แหงกรุงรัตนโกสินทรไดทรง โปรดการเสด็จพระราชดําเนินแปรพระราชฐานมาประทับแรมทีเ่ พชรบุรี จึงทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชฐานที่ประทับอยูบนยอดเขาสมนเพื่อเปนที่ประทับยามเสด็จ พระราชดําเนินมาเมืองเพชรบุรี เมือ่ สรางแลวเสร็จไดทรงพระราชทานนามแกพระราชฐาน ที่ประทับบนยอดเขานี้วา “พระนครคีรี” อันหมายถึง “เมืองบนภูเขา” และโปรดเกลาฯ

12

เพชรบุรีทัศนา


ใหสรางสาธารณูปโภค สาธารณูปการ อันยังประโยชนแกชาวเมืองเพชรบุรี เชน ถนน สะพาน อันทําใหเกิดกระบวนการกลายเปนเมืองในพื้นที่ถนนตัดผานดวย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 เมืองเพชรบุรี ก็ยิ่งไดรับการพัฒนามากยิ่งขึ้น เนื่องจากเปนพื้นที่เปาหมายที่จะมีการตัดเสนทางรถไฟ เพื่อเชื่อมตอลงไปยังปกษใต และยังทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหนายคาล ดอหริง ผูเปน นายชางและสถาปนิกชาวเยอรมันสรางที่ประทับแบบตะวันตกอยูบนที่ราบริมฝงแมนํ้า เพชรบุรีทางตอนใตของเมืองเกาเพชรบุรีลงไป สําหรับการแปรพระราชฐานมาประทับใน ชวงระหวางฤดูฝน แตการกอสรางไมแลวเสร็จในแผนดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูห วั มาสรางแลวเสร็จในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 6 ในปพ.ศ. 2459 จึงโปรดเกลาฯ พระราชทานนามที่ประทับองคนี้วา “พระรามราชนิเวศน” ทั้งนี้ เมืองเพชรบุรีไดพัฒนาเจริญรุงเรืองมากขึ้นเมื่อเสนทางรถไฟสายใตตัดผาน เมือง และตอมาเมื่อเสนทางรถไฟสายใตตัดลงไปจนกระทั่งถึงเขตอําเภอชะอําที่มีชายหาด สวยงาม ในระหวางนั้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ไดมีพระราช ประสงคจะสรางทีป่ ระทับสําหรับแปรพระราชฐานริมทะเล จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให นายแอรโกเล มันเฟรดี (Ercole Manfredi) สถาปนิกชาวอิตาเลียนเปนผูออกแบบ และ สรางขึ้นระหวางปพ.ศ.2466-2467 ดวยเปนการออกแบบที่เนนใหสามารถกอสรางได อยางรวดเร็วดวยระบบประสานพิกัดซึ่งมีการเตรียมวัสดุกอสรางอยางเปนระบบจึง กอสรางเพียง 1 ปก็แลวเสร็จ ตอมาในเมื่อมีการตัดถนนเพชรเกษมซึ่งเปนกระดูกสันหลังของคาบสมุทรภาคใต ลงมาถึงเมืองเพรชบุรี ยังความเจริญรุงเรืองใหแกตัวเมืองเพชรบุรีมากขึ้น ถนนเพชรเกษม สายเดิมตัดเขาสูตัวเมืองทําใหมีการขยายชุมชน ตลาด และมีการกอสรางอาคารพาณิช ยกรรมจํานวนมากกลายเปนภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรอันเปนเอกลักษณของเมือง เพชรบุรี นอกจากนี้ ยังทําใหเกิดชุมชนเมืองตามจุดตางๆ อันเปนทีต่ งั้ ของหนวยการปกครอง ในระดับอําเภอ เชน เขายอย ทายาง ชะอํา เปนตน ซึ่งมีการสรางอาคารเรือนแถวไมและ ตึกแถวคอนกรีตเสริมเหล็กสําหรับการอยูอาศัยและพาณิชยกรรม ซึ่งในปจจุบันไดกลาย เปนยานเกาในอําเภอตางๆ กลายเปนแหลงดึงดูดนักทองเที่ยวและผูมาเยือน นอกจากนี้ การตัดถนนเพชรเกษมลงไปยังภาคใตทําใหเมืองเพชรบุรีกลายเปนจุด แวะพักรับประทานอาหาร หรือพักคางคืน ทําใหภูมปิ ญญาดานอาหารอันไดแกขนมหวาน นานาชนิดของชาวเพชรบุรีไดรับการพัฒนาเปนอุตสาหกรรมของครัวเรือนกลายเปนของ ฝากเลื่องชื่อของชาวเมืองเพชรบุรีมาจนปจจุบัน

เพชรบุรีทัศนา

13


14

เพชรบุรีทัศนา


เสนทางการทองเทีย ่ ว และ

แหลงทองเทีย ่ วทีน ่ า สนใจ

เพชรบุรีทัศนา

15


16

เพชรบุรีทัศนา


เพชรบุรีทัศนา

17


18

เพชรบุรีทัศนา


เพชรบุรีทัศนา

19


20

เพชรบุรีทัศนา


เพชรบุรีทัศนา

21


22

เพชรบุรีทัศนา


เพชรบุรีทัศนา

23


24

เพชรบุรีทัศนา


เพชรบุรีทัศนา

25


26

เพชรบุรีทัศนา


เพชรบุรีทัศนา

27


28

เพชรบุรีทัศนา


แหลงทองเที่ยวเชิงประสบการณ และ การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค ในจังหวัดเพชรบุรี

เพชรบุรีทัศนา

29


30

เพชรบุรีทัศนา


ทีป ่ ระทับแหงราชันย พระนครคีร ี

(อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีร)ี

พระรามราชนิเวศน์ (วังบ้านปืน)

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน

เพชรบุรีทัศนา

31


นิมิตรมณเฑียรบนยอด เมืองเพชรบุรน ี าม เขามหาสมณะนคร สามยอดยามเยื้องสร้าง บรมกษัตริยต ์ รัสสั่งเจ้า ศรีสุรยิ วงศ์แม่กอง เพชรพิสัยอนุชานายงาน พระปลัดเคยเมื้อด้าว

สิงขร ก่อนอ้าง คิรรี าชะ ทานแฮ ต่างกัน ฯ พระยาทหารเอกเอย โก่นสร้าง นวะกิจ เกรียงแฮ บริเตียน ฯ

โคลงลิลิตมหามงกุฎราชคุณานุสรณ พระนิพนธของพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ

32

วัดพระแก้วน้อยบนพระนครคีร ี มุมมองจากหอชัชวาลเวียงชัย เพชรบุรีทัศนา


พระนครคีร ี (เขาวัง)

“พระนครคีรี” เปนพระราชฐานที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาล ที่ 4 โปรดเกลาฯ ใหสรางเปนพระราชวังสําหรับประทับในยามเสด็จประพาสเมืองเพชรบุรี บนยอดเขาสมนซึ่งเปนแนวภูเขาที่ทอดตัวในแนวเหนือใตตั้งตะหงานอยูทามกลางที่ราบ อันกวางขวางริมแมนํ้าเพชรบุรี จึงเปนจุดหมายตาสําคัญมาตั้งแตโบราณ ในการกอสราง สถาปตยกรรมและภูมทิ ศั นนนั้ สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศ (ชวง บุนนาค) ทํา หนาที่เปนแมกองควบคุมการกอสราง และพระเพชรพิไสยศรีสวัสดิ์ (ทวม บุนนาค) เปน นายงานกอสราง สรางแลวเสร็จในปพ.ศ.๒๔๐๓ ปจจุบันพระนครคีรีไดทําหนาที่เปน “อุทยานประวัติศาสตร และพิพิธภัณฑสถาน แหงชาติพระนครคีรี” สังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

อุทยานประวัติศาสตรพระนครคีรี ที่อยู: เลขที่ 97 ถนนคีรีรัฐยา ตําบลคลองกระแชง อําเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 76000 โทรศัพท: 032-401 006, 032-425 600 อีเมล: kaowang_petch@hotmail.com เปดใหเขาชมทุกวัน เวลา 09.00-16.00 น. ไมเวนวันหยุดราชการและวัดหยุดนักขัตฤกษ อัตราคาเขาชม ชาวไทย 20 บาท ชาวตางชาติ 150 บาท อัตราคาบริการ คารถรางไฟฟา แบบขึ้น-ลง: - ชาวไทย ผูใหญ 50 บาท เด็ก 15 บาท -ชาวตางชาติ ผูใหญ 50 บาท เด็ก 15 บาท แบบเที่ยวเดียว -ชาวไทย ผูใหญ 30 บาท เด็ก 10 บาท -ชาวตางชาติ ผูใหญ 50 บาท เด็ก 15 บาท เพชรบุรีทัศนา

33


ความนาสนใจของการวางผัง “พระนครคีรี” หรือที่ชาวเพชรบุรีเรียกขานกันวา “เขา วัง” ประกอบไปดวยพื้นที่สวนสําคัญ 4 สวน คือ 1. วัดมหาสมณารามราชวรวิหาร “วัดมหาสมณารามราชวรวิหาร” สรางขึ้นตรงที่ลาดเชิงเขาทางดานตะวันออกอันเปน เสนทางขึ้นหลักของพระนครคีรี ซึ่งสันนิษฐานวาดวยทําเลที่ตั้งอันโดดเดนนั้นยอมตองเคยมีวัด โบราณตั้งอยูมากอนหนา สอดรับกับหลักฐานที่กลาวถึงในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 4 ฉบับ เจาพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี ความวารัชกาลที่ 4 โปรดเกลาใหบูรณปฏิสังขรณวัดที่ เนินเขาอีกแหงหนึ่ง ใหชื่อวา “วัดมหาสมณาราม” ภายในวัดมีศิลปสถาปตยกรรมควรชม คือ “พระอุโบสถ” ซึ่งมีเสมาแบบพระราชนิยม รัชกาลที่ 4 บนหนาบันมีพระบรมราชสัญลักษณรัชกาลที่ 4 เปนพระมหาพิชัยมงกุฎ กระหนาบ ดวยฉัตรซึ่งดานลางเปนรูปพระอาทิตย และพระจันทร ซึ่งหมายถึงสายสกุลบุนนาค นอกจากนี้ ภายในพระอุโบสถยังเขียนจิตรกรรมฝาผนังสีฝุนฝมือ “ขรัวอินโขง” ที่แสดงถึงปูชนียสถานใน การแสวงบุญของพุทธศาสนิกชนซึ่งแฝงดวยภาพปริศนาธรรมวาดวย “สัจธรรม” ของชีวิตที่ เกี่ยวกับการเกิด แก เจ็บ และตาย ซึ่งสื่อสารเปนรูปเหตุอคั คีภัยซึ่งมีความนาสนใจยิ่งนัก 2. กลุมพระที่นั่งตางๆ ถัดจากวัดสมนารามขึ้นไปผานสุมทุมพุมไมที่เต็มไปดวยตนลีลาวดีดอกสีขาวพราวตน และทางเดินปูดว ยอิฐสีสม มีปอ มปราการ และทิมองครักษ อยูเ ปนระยะตามธรรมเนียมของการ กําหนดขอบเขตของพระราชฐานที่ประทับของพระมหากษัตริย บนยอดที่สูงที่สุดเปนที่ตั้งของ กลุมพระที่นั่งตางๆ ที่มีนามคลองจองกันและมีความหมายที่ลึกซึ้ง อาทิ “พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน” หมายความวา “แผนดินเมืองเพชรอันรุงเรือง” “พระที่นั่งปราโมทยมไหสวรรย” หมายความวา “ความปติยินดีบนเขามไหสวรรย” “พระที่นั่งเวชยันตวิเชียรปราสาท” “หมายความวา “วิมานเพชรแหงพระอินทร” “พระที่นั่งราชธรรมสภา” หมายความวา “สถานที่ทรงธรรมของพระราชา” “พระที่นั่งสันถาคารสถาน” หมายความวา “สถานที่สําหรับผูที่มีไมตรีระหวางกัน” “หอชัชวาลเวียงชัย” “ประภาคารที่สองแสงเพื่อเปนชัยของเมือง” การกอสรางกลุมพระที่นั่งตางๆ ไดรับอิทธิพลจากศิลปสถาปตยกรรมแบบตะวันตกที่ เริ่มเขามามีบทบาทในสยายมผานสื่อสิ่งพิมพตางๆ ทวาแฝงกลิ่นอายความเปนจีนอยูในที และ ดําเนินการกอสรางโดยชางไทย จึงนับเปนรูปแบบทางสถาปตยกรรมที่สําคัญยิ่ง เนื่องจากเปน ตัวแบบของอาคารในยุคตนกอนที่จะรับอิทธิพลจากตะวันตกอยางเขมขนในชวงเวลาตอๆ มา ในปจจุบันนี้กลุมอาคารพระที่นั่งหลังตางๆ ไดปรับเปลี่ยนหนาที่ใชสอยมาเปนหองจัดแสดงของ พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติพระนครคีรี

34

เพชรบุรีทัศนา


วัดพระแก้วน้อย

พระธาตุจอมเพชร

กลุ่มพระที่น่ังต่างๆ

วัดมหาสมณารามราชวรวิหาร

3. พระธาตุจอมเพชร ถัดจากยอดเขาอันเปนที่ตั้งของกลุมอาคารพระที่นั่งตางๆ เดินลัดเลาะลงลาดเชิงเขาไปทางดานตะ วันออกเใตเฉียงใตผานสุมทุมของตนลีลาวดีตนเขื่อง แลวเดินไตระดับขึ้นยอดเขาอีกครั้งซึ่งบนยอดเขานี้เปน ที่ตั้งของ “พระธาตุจอมเพชร” ซึี่งเปนที่ตั้งของ “วัดอินทคีรี” ซึ่งโดยมีองคพระเจดียเกาแกมาแตเดิม ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ไดโปรดเกลาฯ ใหบูรณปฏิสังขรณดวยการสรางพระ เจดียทรงระฆังครอบพระเจดียเกาเดิมที่ชํารุดทรุดโทรม บนลานประทักษิณขององคเจดียสามารถมองเห็น ทิวทัศนของทุงราบทางทิศใตของเมืองเพชรบุรีไปไดไกลสุดตา 4. เขตพุทธสถานวัดพระแกว (นอย) ถัดจากยอดเขาอันเปนที่ตั้งของพระธาตุจอมเพชรไปทางทิศตะวันออก มียอดเขาอันเปนที่ตั้งของ กลุมอาคารที่ประกอบกันขึ้นเปน “วัดพระแกว (นอย)” อันเปรียบเปนวัดประจําพระราชฐานเชนเดียวกับ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวังที่กรุงเทพฯ นั่นเอง ประกอบดวยกลุม อาคารทีต่ งั้ อยูใ นแนวแกนเหนือ-ใต โดยอาคารทีอ่ ยูท างเหนือสุดของผัง คือ “พระ ปรางคแดง” ซึ่งมีลักษณะทางสถาปตยกรรมแบบพระปรางค ทวามีการลดทอนรายละเอียดองคประกอบ ตกแตงตางๆ ลงจนเรียบเกลี้ยงและทาดวยสีแดงชาด ทางดานทิศใตของผังบริเวณ ซึ่งมีฐานไพทีที่กอเสริม ขึ้นจากตัวยอดเขา เปนที่ตั้งของ “หอระฆัง” “พระวิหาร” และ “พระสุทธเสลเจดีย” ซึ่งหมายถึง “พระเจดีย ที่สรางจากหิน” ซึ่งเปนหินที่ชางชาวจีนนํามาจากเกาะสีชังจ.ชลบุรี มาประกอบสรางขึ้นเปนพระเจดีย

เพชรบุรีทัศนา

35


36

เพชรบุรีทัศนา


พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์

พระที่นั่งราชธรรมสภา

พระที่นั่งปราโมย์มไหสวรรย์

พระที่นั่งสันถาคารสถาน

โรงสูทกรรม

หอพิมานเพชรมเหศวร์

วัดพระแก้วน้อย

พระที่นั่งเวชยันต์วเิ ชียรปราสาท

เรือนครัวหลวง

หอชัชวาลเวียงชัย

ศาลาด่านหลัง

พระปรางค์แดง

เพชรบุรีทัศนา

37


พระรามราชนิเวศน์ (วังบานปน)

“พระรามราชนิเวศน” หรือที่ชาวเพชรบุรีเรียกขานกันวา “วังบานปน” เปนพระ ราชฐานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้น เพื่อสําหรับเปนที่ประทับเมื่อเสด็จแปรพระราชฐานมาประทับยังจังหวัดเพชรบุรีในยาม ฤดูฝน โดยพระองคเสด็จพระราชดําเนินทรงวางศิลาฤกษ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2453 และทรงมอบหมายใหสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรง ควบคุมการกอสรางทางสถาปตยกรรม และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาบริพัตร สุขุมพันธุ กรมพระนครสวรรควรพินิต ทรงควบคุมการกอสรางระบบไฟฟา สําหรับรูป แบบทางสถาปตยกรรมนั้นนายคารล ซีกฟรีด เดอหริง (Karl Siegfried Dohring) สถาปนิกชาวเยอรมันเปนผูออกแบบ โดยมีลักษณะทางสถาปตยกรรมในรูปแบบ “จุงเกน สติล (Jugendstil)” โดยมีแรงบันดาลใจจากพระราชไกเซอรแหงเยอรมัน พระราชฐานองคนี้มิอาจสรางแลวเสร็จทันเปนที่ประทับในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 โดยมาสําเร็จลุลวงในปพ.ศ.2461 ในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งแรกเริ่มเดิมทีนั้น พระองคไดพระราชทาน นามพระที่นั่งองคนี้วา “พระที่นั่งศรเพ็ชรปราสาท” ทวาตอมาไดพระราชทานนามใหมเปน “พระรามราชนิเวศน” และยังทรงโปรดเกลาฯ ใหหลอเทวรูป “พระนารายณทรงปน” ซึ่ง หมายถึง “พระนารายณทรงคันศร” ซึ่งปจจุบันประดิษฐานอยูที่ชานชลาหนาพระที่นั่ง พุทไทสวรรย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร กรุงเทพมหานคร

38

เพชรบุรีทัศนา


พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน “พระราชนิเวศนมฤคทายวัน” เปนพระราชฐานที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 โปรดเกลาฯ ใหสรางเพื่อเปนที่ประทับเมื่อเสด็จแปรพระราชฐาน ประทับพักผอนพระอริยาบถยามฤดูรอน และการรักษาพระองคจากอาการประชวรดวย โรครูมาติสซั่ม ซึ่งแพทยหลวงประจําพระองคไดกราบบังคมทูลใหเสด็จประทับยังสถานที่ ตากอากาศชายทะเล กอนหนาการกอสรางพระราชนนิเวศนมฤคทายวันนั้น ในปพ.ศ.2460 พระองค ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางที่ประทับแบบเรียบงายดวยวัสดุในทองถิ่นริมชายทะเล ที่ตําบลบางทะลุ และทรงพระราขทานนามพื้นที่บริเวณดังกลาววา “หาดเจาสําราญ” และ ทรงเสด็จแปรพระราชฐานมาประทับเพื่อทอดพระเนตรการฝกซอมรบของคณะเสือปา จังหวัดเพชรบุรี ทวาพื้นที่บริเวณดังกลาวมีความกันดารดวยขาดแหลงนํ้าจืด และอยูใกล กับหมูบานชาวประมงจึงมีแมลงวันหัวเขียวชุกชุม ตอมาหลังจากปพ.ศ.2566 พระองคก็ ไมทรงโปรดที่จะไปประทับอีก ตอมาเมื่อจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหทางเมืองเพชรบุรีทําการสํารวจเพื่อหา สถานที่สําหรับสรางพระราชฐานแหงใหม พบพื้นที่ชายทะเลในทองที่หวยทรายเหนือมี ชัยภูมิที่เหมาะสม กลาวคือ มีแหลงนํ้าซับใตดิน โดยรอบมีปาชายหาด และมีหาดทรายที่ สวยงาม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหนายมาริโอ ตามัญโญ (Mario Tamagno) ชาว อิตาลีที่เขามารับราชการเปนสถาปนิกกรมโยธาเปนสถาปนิกออกแบบพระราชฐานแหง ใหมนี้ โดยเริ่มสรางในปพ.ศ.2466 และพระองคเสด็จพระราชดําเนินมาประทับในปพ.ศ. 2467 และพระราชทานนามวา “พระราชนิเวศนมฤคทายวัน” ดวยทรงมีพระราชประสงค จะรักษาภูมนิ ามเดิมของทองทีไ่ ว เนือ่ งจากในพืน้ ทีม่ สี ตั วปา จําพวกเนือ้ ทรายอาศัยอยูเ ปน จํานวนมาก ภูมินามบริเวณนี้จึงมีชื่อวา “หวยทราย” สําหรับรูปแบบทางสถาปตยกรรมนั้น นายตามัญโญ สถาปนิกผูออกแบบเลือกใช การออกแบบที่สอดคลองกับภูมิอากาศแบบมรสุมริมชายทะเล จึงออกแบบใหประกอบ ดวยอาคารหลักและอาคารรองที่เชื่อมโยงเขาหากันดวยสะพานทางเดินมีหลังคาคลุมที่ ยกพืน้ สูงเพือ่ รักษาความปลอดภัย ทวามีความโปรงโลงเพือ่ รับลมใหพดั ทัว่ ถึงทัง้ ผังบริเวณ ของกลุมอาคาร และไมตานลมหากมีลมพายุใหญพัดมาจากทะเล นอกจากนี้ ดวยเหตุที่ ตองมีการกอสรางอยางรวดเร็ว นายตามัญโญจึงออกแบบเปนอาคารโครงสรางไมในระบบ ประสานพิกัด (Modular System) เปนระบบเดียวกันทั้งโครงการเพื่อใหชางฝมือแปรรูป ไม และกอสรางไดอยางรวดเร็ว

เพชรบุรีทัศนา

39


การวางผังของพระราชนิเวศนมฤคทายวันมีความโดดเดนที่พัฒนาตอเนื่องมาจากการวาง ผังของพระราชวังสนามจันทรที่ใชการกอสรางสะพานทางเดินมีหลังคาคลุมเชื่อมระหวา่งอาคารซึ่ง ชวยในการรักษาความปลอดภัยและทําใหการจัดวางผังแบบจารีตทีต่ อ งจัดสรรพืน้ ทีใ่ นเขตพระราชฐาน เปนฝายหนาและฝายในนั้นไมจําเปนตองสรางกําแพงกั้นแบงเขตเชนการวางผังพระบรมมหาราชวัง เพราะการเชื่อมตอระหวางพื้นที่ฝายหนากับฝายในซึ่งเปนเขตหวงหาม สามารถดูแลไดงายเพราะ รักษาความปลอดภัยเฉพาะจุดเชื่อมบนระเบียงมีหลังคาคลุมเทานั้น นอกจากนี้ ตัวอาคารยังมีการ ออกแบบที่มีรายละเอียดอยางนาสนใจ เชน โคนเสา และผนังอาคารที่ตอลงยังพื้นถูกออกแบบใหมี รองสําหรับหลอนํ้าเพื่อปองกันมด และแมลงขึ้นไปยังตัวอาคารชั้นบน ทั้งนี้ หมูพระที่นั่งประกอบดวยพระที่นั่งสําคัญ คือ “หมูพระที่นั่งสมุทพิมาน” หมายถึง “หมูพ ระวิมานกลางทองทะเล” ซึง่ มีความหมายเปน “ทีป่ ระทับของพระนารายณกลางเกษียรสมุทร บนสวรรคชั้นไวกูรณ” นั่นเอง “หมูพระที่นั่งพิศาลสาคร” หมายถึง “หมูพระวิมานที่ประทับบน มหาสมุทรที่กวางขวาง” และ “หมูพระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย” หมายถึง “ทองพระโรงสําหรับวา ราชการทามกลางเสนาอามาตย” ซึ่งใชเปนทองพระโรงประจําพระราชนิเวศน รวมทั้งยังใชในการ แสดงละครหนาพระที่นั่ง

5

3

6 1

40

เพชรบุรีทัศนา


1

หมู่พระที่น่ังสโมสรเสวกามาตย์

2 3 4 5 6 7

หมู่พระที่น่ังสมุทรพิมาน พระที่นั่งสมุทรพิมาน องค์ท่ี 1 พระที่นั่งสมุทรพิมาน องค์ท่ี 2 หอเสวยฝ่ายหน้า หอสรงฝ่ายหน้า เรือนพักเจ้าพระยารามราฆพ เรือนพักพระยาอนิรุทธเทวา

หมู่พระที่น่ังพิศาลสาคร 9 พระที่นั่งพิศาลสาคร 10 หอเสวยฝ่ายใน 11 หอสรงฝ่ายใน 12 เรือนพักคุณท้าววรคณานันท์ 13 เรือนพักข้าหลวงพระภูษา 14 เรือนพักพระสุจริตสุดา

11

14

9 10 12

2

13

7

4

พระราชนิเวศนมฤคทายวัน ที่อยู: 1281 (คายพระรามหก) ถนนเพชรเกษม ตําบลชะอํา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท: 032-508 443-5 / 081-941 2185 โทรสาร: 032-508 039 เว็บไซต: http://www.mrigadayavan.or.th/history.php อีเมล: mrigadayavanpalace@gmail.com วัน-เวลาทําการ: ทุกวันยกเวนวันพุธ | 08.30 - 16.00 น. อัตราคาเขาชม: 30 บาท เพชรบุรีทัศนา

41


ทธรูรปีทัศประธานในพระอุ โบสถวัดใหญ่สุวรรณาราม 42พระพุเพชรบุ นา


ลมหายใจแหงอยุธยา วัดใหญ่สุวรรณาราม วัดมหาธาตุวรวิหาร วัดเกาะแก้วสุธาราม วัดสระบัว วัดเขาบันไดอิฐ วัดพระพุทธไสยาสน์ หรือ วัดพระนอน

เพชรบุรีทัศนา

43


วัดใหญ่สุวรรณาราม “วัดใหญสุวรรณาราม” ชาวเพชรบุรีมักเรียกกันสั้นๆ วา “วัดใหญ” เปนวัดที่มี นามเลื่องลือในแงของการเปนแหลงรวมศิลปสถาปตยกรรมสกุลชางเพชรบุรีที่มีความ งดงามยิ่งนัก ทั้งนี้ วัดใหญสุวรรณารามมีชื่อเดิมวา “วัดนอย” หรือ “วัดนอยปกษใต” อัน แสดงใหเห็นวาเมื่อกอนการบูรณปฏิสังขรณและการกอสรางเสนาสนะจนเปนวัดที่มีขนาด ใหญเชนในปจจุบันนั้น แตเมื่อดั้งเดิมคงเปนวัดที่มีขนาดเล็กของชุมชน ทั้งนี้ วัดใหญสุวรรณารามสรางขึ้นเมื่อใดนั้นไมปรากฏประวัติชัดแจง ทวาเมื่อ พิจารณาจากมรดกศิลปสถาปตยกรรมเปนที่ประจักษตราบเทาทุกวันนี้ จะเห็นไดวามีอายุ เกาแกยอนไปราวสมัยกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี ทั้งนี้มีประวัติเลาสืบตอกันมาวา วัดแหง นี้เคยเปนที่เลาเรียนและจําพรรษาสามเณรนามวา “ทอง” ซึ่งเพื่อนฝูงตางเรียกขานกันวา “แตงโม” อันเนื่องมาจากเรื่องราวในวัยเยาวดวยครอบครัวมีฐานะยากจนจึงไดเก็บเปลือก แตงโมที่ลอยนํ้ามาแทะกินเพื่อประทังความหิว สามเณรทองเปนผูมีสติปญญาเฉียบแหลม และเมื่อรํ่าเรียนศาสนาจนมีความรูแตกฉาน จึงไดเดินออกเดินทางตอไปยังกรุงศรีอยุธยา เพื่อศึกษาธรรมขั้นสูง จนในที่สุดไดรับการสถาปนาขึ้นเปนสังฆราชาแหงกรุงศรีอยุธยา เมื่อสมเด็จพระสังฆราชทองไดรับการสถาปนาเปนสมเด็จพระสังฆราชแหงกรุง ศรีอยุธยาจึงเกิดสํานึกกตัญูตอถิ่นฐาน จึงไดเดินทางกลับมาบูรณปฏิสังขรณวัดนอย ปกษใตจนกลายเปนวัดขนาดใหญ จึงสันนิษฐานวาชื่อ “วัดใหญสุวรรณาราม” ก็คงเกิดขึ้น ในครานี้เอง ดวยเปนคําคุณศัพทที่อธิบายขนาดอันใหญโตของวัดภายหลังไดรับการบูรณ ปฏิสงั ขรณ และคําวา “สุวรรณาราม” ก็สนั นิษฐานวามาจากความหมายทีว่ า เปน “อาราม อันเปนที่จําพรรษาของสังฆราชทอง” นั่นเอง วัดใหญสุวรรณารามเปนแหลงรวมศิลปสถาปตยกรรมสมัยอยุธยาที่ทรงคุณคา ซึ่งรอดพนจากภัยสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยา และยังคงสภาพไดดีจนถึงปจจุบัน ดวย เหตุดังกลาววัดใหญสุวรรณารามจึงไดรับการขนานนามวาเปน “อยุ​ุธยาที่ยังมีลมหายใจ”

พระปรางค์หน้า 44

เพชรบุรีทัศนา

พระอุโบสถ ล้อมรอบด้วยศาลาคต


เมื่อนักทองเที่ยวเดินทางมาที่วัดใหญสุวรรณารามแลว ไมควรพลาดชมสิ่งตางๆ คือ “พระอุโบสถ” ที่เปนแหลงรวมศิลปสถาปตยกรรมอันวิจิตร อาทิ หนาบันปูนปนลาย กานขดศิลปะสมัยอยุธยาทีง่ ามเลือ่ งลือ ผนังภายในของอาคารเขียน “ภาพจิตรกรรมรูปเทพ ชุมนุม” ซึ่งสันนิษฐานวามีอายุราวสมัยอยุธยาตอนปลาย ความนาสนใจของจิตรกรรมฝา ผนังรูปเทพชุมนุมแหงนี้ คือ ใบหนาของทวยเทพและอสูรนั้นเขียนเปนหนาบุคคล ไมได เขียนใบหนาเทวดาหรือยักษแบบหัวโขนซึ่งเปนการแสดงออกของจิตรกรรมฝาผนังในชั้น หลัง

ศาลาการเปรียญ

เพชรบุรีทัศนา

45


ศาลาการเปรียญ พระอุโบสถ

ศาลาคตด้านตะวันออก

ศาลาคต

พระเจดียค ์ ู่หน้า การนําชม และกิจกรรมการเรียนรูงานชางในวัดใหญสุวรรณาราม กลุมลูกหวาเมืองเพชร สถานที่ติดตอ: หอศิลปสุวรรณาราม ขางลานจอดรถนักทองเที่ยว สอบถามขอมูล: Fan Page กลุมลูกหวา เพชรบุรี

พระปรางค์หน้า

ภายในอาคารประดิษฐาน “พระพุทธรูปประธาน” หลอดวยสําริดสมัยอยุธยาที่ลงรักปดทองสุก ปลั่งประดิษฐานบนฐานชุกชีที่ปนปูนตกแตงอยางงดงามยิ่ง เบื้องหนาของพระประธานมีรูปหลอสําริดพระ สงฆซึ่งเลาสืบตอกันมาวาเปน “รูปหลอของสมเด็จพระสังฆราชทอง” เบื้องหลังพระประธานมีพระพุทธ รูปหลอดวยสําริดที่มีพระบาทนิ้วพระบาท 6 นิ้ว ซึ่งทางวัดไดสรางบันไดอํานวยความสะดวกใหขึ้นไปสัก การะ ทั้งนี้ แมวาพระอุโบสถของวัดใหญสุวรรณารามเปนศิลปสถาปตยกรรมอยุธยา ทวา “ศาลาคต” ที่ ทํ า หน า ที่ โ อบล อ มพื้ น ที่ ส ร า งให เ กิ ด พื้ น ที่ ป  ด ล อ มอั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ต อนในนั้ น เป น สิ่ ง ก อ สร า งในสมั ย รัตนโกสินทร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ซึ่งเมื่อครั้งที่พระองค เสด็จพระราชดําเนินมาเยือนวัดใหญสุวรรณาราม และพบศาลาคตเปนหลังๆ ทวาวางเรียงตัวประกอบ กันลอมพื้นที่ตอนในอันมีพระอุโบสถเปนประธาน แทนที่จะออกแบบเปนระเบียงคดที่สรางเนื่องกันเปน พืดเดียวเชนวัดอื่นๆ ความงดงามของจังหวะจะโคนของการกอสรางศาลาคตที่ประกอบกันออมลอมพื้นที่ ดังกลาวนี้งดงามจนเลากันวาเปนที่พึงพอพระราชหฤทัยเปนอันมากจนตรัสชม “ขุนศรีวังยศ” นายชางผู ออกแบบกอสราง

46

เพชรบุรีทัศนา


ภายในศาลาคตแตละหลังประดิษฐานพระพุทธรูปประทับนัง่ ทวาในศาลาทิศทางดานตะวันออกซึง่ เปน ประตูทางเขาสูพ นื้ ทีต่ อนใน ภายในมีเจดียห ลอสําริดปดทองศิลปะรัตนโกสินทรทหี่ มายถึง “พระเจดียจุฬามณี” ซึ่งตามคัมภีรทางศาสนาใหขอมูลวาประดิษฐานพระเกศาธาตุของพุทธองคบนสวรรคชั้นดาวดึงสเปนที่สักการะ บูชาของพระอินทรและเหลาเทวดาบนสรวงสวรรค หนาบันของศาลาคตตกแตงดวยไมแกะสลักเปนรูปเลข ๕ เพื่อระลึกถึงการเสด็จพระราชดําเนินของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวมาที่วัดใหญสุวรรณาราม ทั้งนี้ พระองคเสด็จพระราชดําเนินมาวัด ใหญสุวรรณารามในปพ.ศ. 2452 นั้น ตอมาในปพ.ศ.2453 พระองคก็เสด็จสูสวรรคาลัยยังความโศกาอาดูร แกอาณาประชาราษฎร ขุนศรีวังยศจึงออกแบบ “หนาบันศาลาคตดานทิศเหนือเปนรูป ๕ กลับหลัง” อันแสดง นัยวา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดเสด็จสวรรคตจะมิไดกลับมายังวัดใหญสุวรรณารามอีก ทางหนาทางทิศตะวันออกของพระอุโบสถมี “พระปรางค” ซึ่งคงสรางพรอมกับศาลาคต ซึ่งจารีตใน วางผังแบบอยุธยาและรัตนโกสินทรตอนตนจะสรางพระปรางค หรือเจดียไ วดา นหลังพระวิหารหรือ อุโบสถ แต พระปรางคองคนี้กลับตั้งอยูดานหนาทางทิศตะวันออกของผังบริเวฯ สําหรับดานทิศใตของผังบริเวณมีสระนํ้า ขนาดใหญที่มีเตาปลาตัวใหญ กลางสระนํ้ามี “หอไตรทรงไทยสามเสา” ซึ่งไมมีที่ใดเหมือน ซึ่งในที่นี้ ตีความวา เสาสามตนที่รองรับอาคารนี้หมายถึง “พระไตรปฎ” นั่นเอง

หน้าบันเลข ๕ กลับหลัง

พระเจดียจ์ ฬ ุ ามณี

รูปหล่อสมเด็จเจ้าแตงโม เพชรบุรีทัศนา

47


ดานหลังของผังบริเวณดานทิศตะวันตกของผังบริเวณของพระอุโบสถเปนที่ตั้งของ “ศาลาการเปรียญ” ซึ่งเปนอาคารไมเกาแกตั้งแตสมัยอยุธยา “หนาบันดานทิศตะวันตก” มี รูปแบบทางสถาปตยกรรมแบบ “มุขประเจิด” อันเปนเอกลักษณสําคัญของศิลปสถาปตยกรรม สมัยอยุธยา นอกจากนี้ ในอาคารมีสิ่งควรชมหลายอยาง เชน “บานประตูจําหลักไมลายกานขด” “ฝาผนังภายในเขียนจิตรกรรมสีฝุน” “เสารวมในอาคารลงรักปดทอง” ที่ลวดลายบนเสาแตละคู นั้นแตกตางกันไปแสดงถึงพลังสรางสรรคของนายชางสมัยอยุธยา ภายใน อาคารยังมี “ธรรมมาสนทรงบุษบก” 2 องค ซึ่งธรรมมาสนองคหนึ่งเคยใชใน การพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร นอกจากนี้ ยังเคยมี “ธรรมมาสนสังเค็จ” ซึ่งปจจุบันไดถูก นําไปจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

รูปด้านข้างศาลาการเปรียญ

รูปด้านหน้าทางทิศตะวันตก แสดงหน้าบันแบบมุขประเจิด

48

เพชรบุรีทัศนา

รูปตัดอาคารแสดงภาพจําลอง แสดงการตั้งธรรมมาสน์สังเค็ต


ภาพจําลองแสดงภายในศาลาการเปรียญในยามที่มีธรรมมาสน์สังเค็ดตั้งอยู่ เพชรบุรีทัศนา

49


วัดมหาธาตุวรวิหาร “วัดมหาธาตุวรวิหาร” ถือเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์เปนหลักของเมืองเพชรบุรี ตาม คติของการสราง “พระมหาธาตุ” หรือ “พระปรางค” ไวใจกลางของเมือง เพื่อเปน ศู น ย ก ลางทางจิ ต วิ ญ ญาณของเมื อ งตามธรรมเนี ย มจะบรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ พระบรมศาสดาไวภายใน ซึ่งแนวความคิดดังกลาวมีบทบาทอยางมากในวัฒนธรรม อยุธยา สําหรับการวางผังของวัดมหาธาตุมีลักษณะเชนเดียวกับการวางผังวัดใน สมัยอยุธยา คือ ดานตะวันออกซึ่งเปนดานหนาจะมี “พระวิหารหลวง” อยูหนา “พระ มหาธาตุทรงปรางค” อันเปนศูนยกลางของผังบริเวณ มีการสรางระเบียงคตลอมรอบ องคพระมหาธาตุเพื่อกําหนดใหพื้นที่ภายในวงลอมของระเบียงคตเปนดั่งพื้นที่อัน ศักดิ์สิทธิ์ โดยวงลอมของระเบียงคตจะวกมาบรรจบมุขดานทายของพระวิหารหลวง ทําใหในอดีตนั้นหากจะเขาไปยังพื้นที่ตอนใน ตองผานเขาไปจากพระวิหารหลวง อัน เปนการกําหนดลําดับของการเขาถึงพื้นที่ตอนในโดยกํากับผานธรรมเนียมพิธีกรรมที่ ปฏิบัติ กลาวคือ พุทธศาสนิชนชนจะนมัสการพระพุทธรูปประธานในพระวิหารหลวง ซึ่งก็ถือเปนพระพุทธรูปประธานของวัดดวยนั่นเอง จากนั้นจึงเดินตอไปยังพื้นที่ตอนใน เพื่อสักการะพระมหาธาตุ สําหรับรูปแบบทางสถาปตยกรรมขององคพระมหาธาตุมี ลักษณะเปนพระปรางคหา ยอดซึง่ ไดรบั การบูรณะขึน้ ในปพ.ศ.2479 หลังจากเรือนยอด ไดพังลงมา นอกจากนี้ ภายในวัดมหาธาตุยังมีสิ่งควรชมที่นักทองเที่ยวไมควรพลาด คือ ประติมากรรมปูนปนสกุลชางเมืองเพชรบุรีที่ประดับตกแตงหนาบันและเครื่องบน หลังคาอาคารและรวมทั้งบริเวณฐานชุกชีภายในวิหารหลวงซึ่งประติมากรผูปนได ประยุกตนําเอาดวยชามเบญจรงคมาตกแตงรวมกับงานปูนปนดวย รวมทั้งอุโบสถที่ยัง เหลือใบเสมาสลักจากหินทรายสีแดงที่มีรูปแบบทางศิลปะสมัยอยุธยา และจิตรกรรม ฝาผนังฝมือครูชางคนสําคัญของเมืองเพชรบุรี คือ “ครูหวล ตาลวันนา” และ “ครูพิณ อินฟาแสง” เขียนประชันกัน ดวยพระมหาธาตุทําหนาที่เปนศูนยกลางทางจิตวิญญาณและเปนที่ยึดเหนี่ยว จิตใจของชาวเพชรบุรี จึงเห็นชาวเมืองเพชรบุรมี าสักการะกันไมขาดสาย และดานหนา วัดมีศาลาที่มีคณะละครชาตรีคอยรําแกบนถวายพระมหาธาตุดวย

50

เพชรบุรีทัศนา


ผังบริเวณวัดมหาธาตุวรวิหาร พระมหาธาตุทรงปรางค์ห้ายอด

พระอุโบสถ

ระเบียงคต พระวิหารหลวง ปูนปั้นสกุลช่างเมืองเพชรบุร ี บนหน้าบันวิหารหลวง

เพชรบุรีทัศนา

51


วัดเกาะแก้วสุทธาราม “วัดเกาะแกวสุทธาราม” ตั้งอยูริมแมนํ้าเพชรบุรีทางฟากตะวันออกอยูคอน ไปทางใตของเมืองเกาเพชรบุรี ชาวเพชรบุรเี รียกกันวา “วัดเกาะ” เนือ่ งจากเดิมพืน้ ที่ แหงนี้มีสภาพเปนเกาะมีแมนํ้าและคลองลอมทวาในปจจุบันสิ้นสภาพไปแลวคงเหลือ แตมีแมนํ้าเพชรบุรีอยูทางตะวันตกของผังบริเวณวัด สิ่งควรชมในวัดเกาะสําหรับนักทองเที่ยว คือ “พระอุโบสถ” สมัยอยุธยา ตอนปลายภายในเขียนจิตรกรรมฝาผนังและมีจารึกระบุ ปพ.ศ.2277 เทียบไดตรงกับ รัชกาลสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ สําหรับจิตรกรรมฝาผนังเขียนดวยสีฝุนแบงออก ไดเปน 4 สวน คือ ผนังดานตรงขามพระประธานเขียนภาพ “จักรวาล” อันมีเขา พระสุเมรุเปนประธาน ผนังดานหลังพระประธานเขียนภาพ “เหตุการณตอนชนะมาร” และผนังทางซายและขวาเขียนภาพ “พุทธประวัติ” และ “สัตตมหาสถาน” อันหมาย ถึงสถานที่สําคัญ 7 แหงที่สัมพันธกับเหตุการณสําคัญในพุทธประวัติ นอกจากพระอุโบสถสมัยอยุธยาตอนปลายที่งดงามดวยจิตรกรรมฝาผนังทรง คุณคา วัดเกาะยังมีมรดกทางสถาปตยกรรมสําคัญที่ควรชมอื่นๆ อาทิ “หมูกุฏิแบบ เพชรบุรี” ซึ่งเปนกุฏิสําหรับจําพรรษาของพระสงฆอันประกอบขึ้นจากเรือนไทยหลาย หลังประกอบเขารวมกันเปนผังขนาดใหญ โดยมีหอสวดมนต และหอฉันทอยูตรงกลาง ลอมรอบดวยกุฏิสําหรับพระสงฆจําพรรษา “ศาลาการเปรียญ” เปนอาคารไมยกใตถุน สูง ภายในศาลาการเปรียญมี “ธรรมมาสนวัดเกาะ” ที่มีชื่อเสียง และมี “จิตรกรรมสี ฝุนบนแผงไมคอสอง” ที่สอดแทรกภาพแสดงวิถีชีวิตชาวเพชรบุรีอยางนาสนใจ โดย เฉพาะวิถีของกลุมชนชาติพันธุตางๆ ที่ตั้งถิ่นฐานรวมกันในเมืองเพชรบุรี ตัวอยางเชน ภาพกลุมไทดํา เปนตน ที่ริมแมนํ้าเพชรบุรีมี “ศาลาทานํ้า” ที่มีทรวดทรงงดงาม เปน ที่นั่งพักผอนชมแมนํ้าเพชรบุรี นอกจากนี้ วัดเกาะยังเปนแหลงรวมชางฝมือประเภท ตางๆ โดยเฉพาะชางไมกอสราง “เมรุลอยเมืองเพชรบุรีสกุลชางวัดเกาะ” ซึ่งถือเปน สถาปตยกรรมเฉพาะกิจในประเพณีเนื่องในการวายชนมอันเปนเอกลักษณของเมือง เพชรบุรีดวย ทั้งนี้ เสนาสนะและมรดกสถาปตยกรรมทรงคุณคาทั้งหลายนั้นไมไดเปดใหนัก ทองเที่ยวชมตลอดเวลา ทวาสามารถติดตอประสานงานกับพระสงฆที่ทําหนาที่ดูแล ไดที่หมูกุฏิเรือนไทยเพื่อขอเขาชมในอาคารตางๆ ได ทวาดวยวัดมีความจําเปนตอง ดูและเสนาสนะตางๆ จากโจรภัยจึงตองเลี้ยงสุนัขไว ฉะนั้นผูมาเยือนจึงงตองมีความ ระมัดระวังดวย

52

เพชรบุรีทัศนา


จิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยา รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ ัวบรมโกศ ดังมีศักราช 2277 กํากับอยู่

เพชรบุรีทัศนา

53


วัดสระบัว “วัดสระบัว เปนวัดขนาดเล็กที่ตั้งอยูเชิงเขาวังทางดานทิศตะวันออก หาก ดูจากภายนอกอาจไมรูวาวัดแหงนี้มีความพิเศษซอนอยูภายใตความเล็กนอยที่รอ คอยใหนักทองเที่ยวเขาไปเยือน เนื่องจากวัดสระบัวนั้นโดดเดนดวยมี “พระอุโบสถ” ขนาดยอม ทวาเปนศิลปสถาปตยกรรมแบบอยุธยาตอนปลาย และเปนที่เลื่องลือใน แงของการเปนแหลงปูนปนอันวิเศษของเมืองเพชรบุรี นับตั้งแตซุมประตูทางเขาพระอุโบสถซึ่งเปน “ซุมประตูแบบมณฑป” ที่มีรูป ทรงงดงามและตกแตงดวยลวดลายปูนปน สําหรับ “หนาบันพระอุโบสถ” ที่บางวา เปนรูปพระนารายณทรงสุบรรณ หรือพระยาครุฑ บางก็วาเปนเทวดาทรงกุมภัณฑ ปนลอยตัวขึ้นมาเหนือลวดลายกานขดชองหางโตที่โบกสะบัดราวกับมีชีวิต และสิ่งที่ โดดเดนเลื่องลือ คือ “แทนเสมา” ที่ประดับดวยงานปูนปนรูปครุฑและยักษแบก เลา กันวาครูชางปูนปนเมืองเพชรผูเรืองนามทั้งหลายตางก็มาเรียนรูจากผลงานปูนปน เกาแกเหลานี้ไปเปนครูในการฝกปรือฝมือทั้งสิ้น

โบสถสมัยอยุธยา ณ วัดสระบัว 54 พระอุ เพชรบุรีทัศนา


วัดพระพุทธไสยาสน์ หรือ วัดพระนอน “วัดพระพุทธไสยาสน” หรือที่ชาวเพชรบุรีเรียกกันวา “วัดพระนอน” ตั้งอยู ทางตะวันออกเฉียงใตของเขาวัง สันนิษฐานวาพระพุทธไสยาสนขนาดใหญที่ประทับ อยูตรงฐานไพทียกสูงตรงเชิงเขาวังซึ่งแตเดิมนั้นเปนเชิงเขาธรรมชาติและมีการปรับ สภาพภูมิลักษณใหเหมาะสมแลวจึงกอสรางพระพุทธไสยาสนขนาดใหญที่มีขนาดยาว 21 วา 1 ศอก 1 คืบ 7 นิ้ว หรือราว 43 เมตร ทัง้ นี้ มีขอ สันนิษฐานวาแตเดิมนัน้ อาจเปนพระพุทธไสยาสนทปี่ ระทับกลางแจง ทวาหากเปรียบเทียบกับธรรมเนียมการสรางพระพุทธไสยาสนสําคัญในสมัยอยุธยาจะ พบวาลวนแลวแตมกี ารสรางวิหารประดิษฐานทัง้ สิน้ ในทีน่ ี้ จึงสันนิษฐานวามีการสราง วิหารประดิษฐานแตอาคารคงไดพังทลายลงจนหมดสิ้น จนกระทั่งเมื่อพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางพระนครคีรีขึ้นบนยอด เขามไหสวรรย ซึ่งในชวงเวลาดังกลาวนั้นพระองคทรงอุปถัมภการบูรณปฏิสังขรณวัด ในละแวดเขาวังหลายวัด ในการนั้นจึงทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางหลังคาเพื่อกันแดดกัน ฝนใหกับองคพระพุทธไสยาสน จนกระทั่งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว รัชกาลที่ 5 จึงทรงมีพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางวิหารประดิษฐานคลุมดังที่ เห็นในปจจุบัน ภายในวัดพระพุทธไสยาสนยังมีสิ่งควรชมอยางอื่น อาทิ วิหารพระพุทธฉาย อันเปนจารีตเนือ่ งตอมาจากสมัยอยุธยาจนรัตนโกสินทรทวี่ ดั วาอารามตางๆ นิยมสราง วิหารพระฉาย และวิหารพระพุทธบาท เพื่ออํานวยความสะดวกแกพุทธศาสนิกชนที่ ตองการไปนมัสการพระพุทธบาทและพระพุทธฉาย ทวามีความจํากัดดานกําลังทรัพย และกําลังกาย นอกจากนี้ บริเวณเขตสังฆาวาสหมูกุฏิทรงไทยยังมีหอไตรยกพื้นสูงมี หลังคาทรงจั่ว และมีมุขประเจิดอยางงดงามอีกหลังหนึ่งดวย

เพชรบุรีทัศนา

55


วัดเขาบันไดอิฐ “วัดเขาบันไดอิฐ” ตั้งอยูบนแนวภูเขาลูกโดดที่วางตัวในแนวเหนือ-ใตในที่ราบ ผืนกวาง คลายคลึงกับเขามไหสวรรยอันเปนที่ตั้งของพระนครคีรี ซึ่งเมื่อพิจารณาใน เชิงความหมายของภูมิลักษณแลว จะเห็นไดวาภูเขาทั้งสองนั้นยอมมีสถานะเปนภูเขา ศักดิ์สิทธิ​ิ์ของเมืองเพชรบุรีมาตั้งแตโบราณ ทวาเขาบันไดอิฐนั้นตั้งลึกจากฝงแมนํ้า เพชรบุรีเขามาในแผนดินมากกวาเขามไหสวรรย และตั้งหางออกมาจากชุมชนเมือง เพชรบุรี ในแงนี้จคงจะเห็นไดวาเขาบันไดอิฐจึงมีสถานะเปนอรัญญวาสีของเมืองดวย เชนกัน จากแม นํ้ า เพชรบุ รี ใ นเขตชุ ม ชนเมื อ งเก า เพชรบุ รี อั น มี พ ระมหาธาตุ เ ป น ศูนยกลางทางกายภาพและศูนยยกลางทางจิตวิญญาน หากพิจารณาในระดับเมืองจะ เห็นวาแนวที่ตั้งของวัดเขาบันไดอิฐนั้นเปนแกนที่ตรงมาจากวัดมหาธาตุกลางเมือง ซึ่ง ในอดีตนั้นเคยมีเสนทางสัญจรปูดวยอิฐจากในเมืองมายังเขาบันไดอิฐดวย นอกจากนี้ มีประวัติศาสตรบอกเลาวา เมื่อครั้งสมัยอยุธยาที่วัดเขาบันไดอิฐ มีพระภิกษุผูมีชื่อเสียงดานวิปสนาธุระนามวา “พระอาจารยแสง” ซึ่งเปนพระอาจารย ของสมเด็จพระเจาเสือแหงกรุงศรีอยุธยาดวย ซึง่ พระอาจารยแสงคงไดใชพนื้ ทีใ่ นถํ้าบน เขาบันไดอิฐเปนที่บําเพ็ญวิปสนาซึ่งปจจุบันเรียกวา “ถํ้าประทุน” เนื่องจากเปนที่เก็บ รักษาประทุนเรือโบราณซึ่งเชื่อกันวาเปนประทุนเรือที่สมเด็จพระเจาเสือไดถวายใหแก พระอาจารยแสงซึ่งเปนพระอาจารยของพระองค สิ่งควรชมที่วัดเขาบันไดอิฐ คือ เขตพุทธาวาสที่เปนที่ตั้งของ “พระอุโบสถ” และ “พระวิหาร” และ “เจดียป ระธาน” อยูบ นไหลเขาดานใตของเขาบันไดอิฐ ซึง่ มีบนั ได เชื่อมตอลงไปยังเชิงเขาดานลางที่เคยมีศาลาที่พักมาแตโบราณ นามวา “ศาลาแตงแง” ซึ่งปรากฏกลาวถึงในวรรณกรรมเรื่องขุนชางขุนแผนในคราที่มาซื้อหามาสีหมอกคูใจ สิ่งควรชมที่จะพลาดไมได คือ “งานปูนปนสมัยอยุธยาบนหนาบันพระอุโบสถ” ซึ่งมี ความงดงามเปนเลิศอีกแหงหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี สําหรับวัดเขาบันไดอิฐในปจจุบันยังมีชื่อเสียงเนื่องจากเปนวัดของ “หลวงพอ แดง” ซึ่งเปนพระเกจิอาจารยที่มีชื่อเสียงของจังหวัดเพชรบุรี และใกลๆกับพื้นที่สวน พัฒนาของวัดเพื่อเปนพื้นที่จอดรถสําหรับบริการผูมาเยือน มีอาคารเกาแกที่เชื่อกันวา เปน “กุฏิพระอาจารยแสง” ทวาไมไดเปดใหเขาชมทั่วไป ตองประสานงานเจาหนาที่ ของวัด ซึ่งภายในมีซุมประตูทรงมณฑปศิลปะอยุธยาที่งดงาม

56

เพชรบุรีทัศนา


ปูนปั้นตกแต่งหน้าบันศิลปะสมัยอยุธยา พระอุโบสถ วัดเขาบันไดอิฐ

พระอุโบสถ พระเจดีย์

พระวิหาร

เพชรบุรีทัศนา

57


58

ภาพถ่ ายมุมสูงย่านมหาธาตุ-พลับพลาชัย เพชรบุรีทัศนา


ภูมท ิ ศ ั นเมืองเกาเพชรบุรี ย่านวัดมหาธาตุ - วัดพลับพลาชัย และ ย่านตลาดสดเพชรบุร ี

เพชรบุรีทัศนา

59


ภูมิทัศน์เมืองเก่าเพชรบุร ี “เมืองเกาเพชรบุรี” มีที่ตั้งที่สัมพันธกับแมนํ้าเพชรบุรี ดวยทําเลทีต่ งั้ ซึง่ อยูไมไกลจากกรุงเทพมหานครจึงทําใหกษัตริยแหงราชวงศจักรีทรงสนพระทัย ในเมืองเพชรบุรี นับตั้งแตพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชฐานและพุทธสถานบนยอดเขามไหสวรรย และ พระราชทานนามวา “พระนครคีรี” ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ เมืองเพชรบุรีก็ยังดํารงบทบาทสําคัญ โดยพระองคไดเสด็จพระราชดําเนินมายัง เมืองเพชรบุรีหลายครา และทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางที่ประทับแบบตะวันตกขึ้น ที่ริมแมนํ้าเพชรบุรี เพื่อใชเปนที่ประทับในยามเสด็จพระราชดําเนินมายังเมือง เพชรบุรี ทวาสรางแลวเสร็จในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งไดพระราชทานนามพระที่นั่งวา “พระรามราชนิเวศน” หรือที่ เรียกกันโดยสามัญวา “วังบานปน” ตอมาในปพ.ศ.2437 เมืองเพชรบุรถี กู รวมกับมณฑลเทศาภิบาลราชบุรี และเมื่อมีการตัดเสนทางรถไฟเพื่อเชื่อมคาบสมุทรภาคใตเขากับกรุงเทพฯ ผาน ถึงเมืองเพชรบุรีในปพ.ศ.2446 ซึ่งไดสรางความรุงเรืองแกเมืองเพชรบุรี และ เกิดการชยายตัวของชุมชนการคาและตลาดขนาดใหญในเมืองแหงนี้ ตอมาในแผนดินพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 มีประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งจังหวัดเพชรบุรีขึ้น และในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ซึ่งเปน ชวงเวลาที่บานเมืองพัฒนและเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว อันทําใหเมืองเพชรบุรี เติบโตขึ้นเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจสําคัญของภาคกลางตอนลาง และยิ่งเมื่อ มีการตัดถนนเพชรเกษมจากกรุงเทพฯ ผานเมืองเพชรบุรีไปยังภาคใต ยิ่งเปน ปจจัยสงเสริมใหเกิดยานพาณิชยกรรมบริเวณตลาดสดริมแมนํ้าในเขตเมืองเกา ดั ง มี ป ระจั ก ษณ ห ลั ก ฐานอาคารพาณิ ช ย แ บบสมั ย ใหม ร ะยะต น ที่ มี รู ป แบบ สถาปตยกรรมอยางหลากหลาย ในขณะที่พื้นที่ฝงตรงขามในละแวกวัดมหาธาตุ และวัดพลับพลาชัยนั้นมีเรือนแถวไมที่ทรงคุณคาอยูเปนจํานวนมาก ทวาในเวลาตอเมื่อพื้นที่ในยานเมืองเกามีความคับคั่งจึงมีการตัดถนน เพชรเกษมสายเลี่ยงเมืองใหมผานทางตะวันตกของพระนครคีรี เพื่อเปนการลด ภาระความคับคั่งของการจราจรในเมืองลง ทําใหเมืองเกาเพชรบุรีสามารถรักษา คุณคาของเมืองเกาเปนอยางดี และสามารถดํารงบทบาทการเปนเมืองศูนยกลาง ทางศิลปวัฒนธรรมตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน 60

เพชรบุรีทัศนา


“ภูมิทัศนเมืองประวัติศาสตรเมืองเกายานวัดมหาธาตุ-วัดพลับพลาชัย” และพื้นที่ฝง ตรงกันขามแมนํ้าเพชรบุรี คือ “ตลาดสดเมืองเพชรบุรี” มีกิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรมทีน่ า สนใจ โดยเฉพาะการทองเที่ยวชิมอาหารของทองถิ่นเมืองเพชรบุรี จากวัดมหาธาตุวรวิหาร เมื่อเขาไปสักการะพระประธานในพระวิหารหลวง และพระ มหาธาตุแลว อยาลืมแวะชม “ละครชาตรี” แกบนที่อยูในปะรําดานหนาวิหารหลวง เนื่องจาก พระมหาธาตุเปนจุดยึดเหนีย่ วจิตใจของผูค น ละครชาตรีเปนการแสดงพืน้ เมืองของชาวเพชรบุรี ซึ่งนับวันจะหาดูไดยาก มักเลนกันตอนกลางวันมักใชบทละครและนิทานพื้นเมืองตางๆ เชน สังขทอง นางสิบสอง พระรถ-เมรี พระอภัยมณี มารองเลนกันในจังหวะทํานองซัดชาตรี และ บทสนทนาดวยนํ้าเสียงเหนออันเปนเอกลักษณชาวเพชรบุรี หนาวัดมหาธาตุเปนสามแยกที่ “ถนนดําเนินเกษม” ซึง่ ตัดผานหนาวัดมี “ถนนพระทรง” ที่ตัดมาจากฝงตรงกันขามของแมนํ้าเพชรบุรีมาบรรจบ ซึ่งฝงตรงกันขามนั้นเปนยานศูนยกลาง ทางเศรษฐกิจเปน “ตลาดสด” และ “อาคารพาณิชยกรรม” จากวัดมหาธาตุหากเดินเลี้ยวไปซายตามถนนดําเนินเกษมจะผานรานอาหารทองถิ่นที่ มืชื่อเสียงหลายราน อาทิ “รานกวยเตี๊ยวเนื้อเจกอา” และ “รานเจนกกวยเตี๊่ยวเนื้อ-หมู” ซึ่ง เปดขายตอนกลางวัน และ “รานขนมหวานนกนอย” ซึ่งเปดขายตอนชวงเย็นถึงหัวคํ่า ถัดไปจะ พบ “วัดพลับพลาชัย” ที่มีชื่อเสียงเรื่อง “หนังใหญ” ซึ่งในปจจุบันทางวัดรวมกับชุมชนไดปรับ อาคารวิหารเกาใหเปน “พิพิธภัณฑหนังใหญวัดพลับพลาชัย” ซึ่งหากสนใจเยี่ยมชมสามารถ ติดตอไดที่หมูกุฏิเจาอาวาสซึ่งอยูอีกฟากของถนน นอกจากนี้ ในผังเขตพุทธาวาสของวัดพลับพลาชัยยังมีอาคารทีน่ า สนใจหลายหลัง อาทิ “พระวิหาร” ซึ่งปจจุบันไดทําหนาที่เปนพิพิธภัณฑหนังใหญ และ “พระอุโบสถ” วัดพลับพลาชัย ซึ่งทําเลที่ตั้งนั้นเปนพระอุโบสถที่เกาแกทวาไดรับการบูรณปฏิสังขรณใหมเนื่องไดรับผลกระทบ จากเหตุการไฟไหมใหญในยานชุมชนริมคลองกระแชง ดานหนาทางทิศตะวันออกของพระอุโบสถ มีศาลาโถงแบบจีนอันแสดงใหเห็นถึงปฏิสัมพันธทางวัฒนธรรมระหวางกันในอดีตที่ผานมา นอกจากนี้ ยังมี “พระปรางคคู” ซึ่งเปนเครื่องยืนยันวาตรงทําเลที่ตั้งตรงนี้เคยเปนพระอุโบสถ มาแลวตั้งแตสมัยอยุธยา ออกนอกผังบริเวณเขตพุทธาวาสของวัดพลับพลาชัยจะเปนที่วางริมแมนํ้าเพชรบุรี ซึ่ง มีแมนํ้าเพชรบุรีที่ผานยานเกาเมืองเพชรบุรีนี้มีชื่อเรียกอีกชื่อวา “คลองกระแชง” ทําเลที่ตั้งจุด นี้เปนทานํ้าสําคัญของยาน ซึ่งเมื่อมีผูคนเดินทางมาจะมายังยานวัดมหาธาตุ-วัดพลับพลาชัยก็ จะตองมาขึ้นเรือที่ทานํ้าแหงนี้ รวมทั้ง “สุนทรภู” กวีเอกศรีรัตนโกสินทร จึงมีการกําหนดพื้นที่ ตรงนี้เปน “ลานสุนทรภู” เพื่อเปนเกียรติ และระลึกถึงเมื่อครั้งที่ทานเดินทางมายังเพชรบุรีและ ไดแตงวรรณคดีนิราศเมืองเพชรบุรี

เพชรบุรีทัศนา

61


ความนาสนใจและมีสีสันสําหรับการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการทองเที่ยวเชิง ประสบการณ คือ บานเรือนของชาวชุมชนเปดบานของตนเพื่อเชื้อเชิญใหผูสนใจเขาเยี่ยมชม อาทิ “บานมนัส จรรยงค” ซึง่ รวบรวมอัตถชีวประวัตั ขิ องมนัส จรรยงค ราชาเรือ่ งสัน้ นามอุโฆษ ซึง่ มีนิวาสสถานอยูที่ชุมชนริมคลองกระแชงแหงนี้ “พิพิธภัณฑสมบัติแมนํ้าเพชรบุรี” ที่มีทานํ้า ที่ยามนํ้าลดลงขอดคลองจะเห็นเศษภาชนะดินเผา ภาชนะเคลือบ หลากยุคหลากสมัยคราครํ่า อยูเต็มทองนํา้ อันแสดงใหเห็นความรุง เรืองของยานประวัตศิ าสตรแหงนีไ้ ดเปนอยางดี ถัดไปไม ไกลมีอาคารยกพื้นที่มีลักษณะคลายศาลาการเปรียญ เรียก “ศาลาคามวาสี” บางครั้งเรียกวา “ศาลากลางบาน” เปนตัวอยางของพืน้ ทีส่ าธารณะสวนกลางของชุมชนไทยภาคกลางแบบโบราณ ซึ่งเปนตัวอยางที่หลงเหลืออยูนอยมาก ถัดมา คือ “บานรวมผลงานมิตรชัยบัญชา” รวบรวม ผลงานของมิตรชัย บัญชา พระเอกหนังใหญชาวทายางเมืองเพชรบุรี หากเดินทางตามถนนริมคลองกระะแชงมุง ขึน้ ไปทางเหนือไปยัง “ถนนพงษสรุ ยิ า” แลว เลี้ยวซายจะพบกับ “สะพานจอมเกลา” ซึ่งเปนสะพานสําคัญของเมืองเพชรบุรี สะพานดั้งเดิม นั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้น เพื่ออํานวยความสะดวกแก ขาวเมืองเพชรบุรีใหสัญจรไปมาระหวางสองฟากฝงแมนํ้าไดโดยสะดวกโดยสรางเปนสะพานกอ อิฐ แตเดิมเรียกกันวา “สะพานชาง” ตอมาสะพานเดิมไดชํารุดลงและไดซอมเปลี่ยนเปนสะพาน คอนกรีตมาอยางนอยอีก 2 ครั้งแลว ตรงเชิงสะสะพานจอมเกลามีบานไมเกาแกมุงหลังคาดวย กระเบื้องวาวรูจักกันในนามของ “รานระเบียงริมนํ้า” ซึ่งเปนที่พักแบบเกสเฮาส และรานอาหาร และเคยเปนทําเลถายภาพยนตรักเมื่อราวทศวรรษที่ผานมา ฝงตรงกันขามเปนยานธุรกิจการคา ดวยเปนที่ตั้งของ “ตลาดสด” และ “ตึกแถวเพื่อ การพาณิชยกรรม” มีรานคามากมาย อาทิ รานขายสินคาผลิตภัณฑจากการประมงซึ่งจะอยูใน ตลาดสด รานขายของฝากขนมหวานเมืองเพชรบุรี ซึ่งกอนหนาที่รานคาขนมหวานเมืองเพชร จะขยับขยายออกไปสรางรานคาขนาดใหญริมถนนเพชรเกษม ลวนแตเคยมีหนารานอยูในยาน นี้ทั้งสิ้น นอกจากนี้ ยังเปนแหลงรวมของ “รานขาวแช” ซึ่งเปนอาหารโบราณอันเปนเอกลักษณ สําคัญของชาวเมืองเพชรไดในยานนี้ ไมวาจะเปน “รานปาเอื้อน” “รานเจแอด” “รานแมสาย บัว” “รานแมอร” “รานปาออน” เปนตน ยามลัดเลาะเยี่ยมชมตลาดอยาลืมมองผลงาน “ศิลปะ กับเมือง” ที่ศิลปนสรางสรรคไวตามจุดตางๆ ในชุมชนริมคลองกระแชง และในตลาดสดดวย นอกจากนี้ ยามมาเมืองเพชรบุรีลองมองหา “รานขนมจีนทอดมัน” ลองชิมลิ้มลอง เพราะชาวเมืองเพชรบุรีจะรับประทานขนมจีนกับทอดมัน โดยราดนํ้าอาจาดรสเปรี้ยวอมหวาน และมีรสชาติเผ็ดเล็กนอยจากพริกแดงตํา รวมทั้ง “กวยเตี๊ยวหมูนํ้าแดง” ซึ่งเปนกวยเตี๋ยวหมู ตุนที่ใชเครื่องเทศในการปรุงเชนเดียวกับกวยเตี๊ยวเนื้อ ซึ่งชาวเมืองเพชรบุรีเวลาปรุงกวยเตี๊ยว หมูนํ้าแดง และกวยเตี๋ยวเนื้อสิ่งที่ขาดไมไดที่ตองเติมลงไปคือ “ซอสพริก” ความสนุกของการทองเที่ยววัฒนธรรม และการทองเที่ยวเชิงประสบการณ คือ การ ไดเรียนรูวิถีวัฒนธรรมของชุมชนทองถิ่น อันเปนสิ่งสําคัญของการทําความเพื่อเขาใจและความ เคารพในความหลากหลายของวิถีวัฒนธรรมของผูคน นอกเหนือไปจากการไดชอมูลของแหลง ทองเที่ยวตางๆ 62

เพชรบุรีทัศนา


พิพิธภัณฑหนังใหญวัดพลับพลาชัย ที่อยู:

วัดพลับพลาชัย 106 ถ.ดําเนินเกษม ต.คลองกระแชง อ.เมือง จ.เพชรบุรี โทรศัพท: 032-410 076 อัตราคาเขาชม: ไมเสียคาธรรมเนียม หมายเหตุ: หากประสงคจะเยี่ยมชมกรุณาติดตอ สํานักงานเจาอาวาสวัดพลับพลาชัย

กลุมทองเที่ยวชุมชนยานเมืองเการิมแมนํ้าเพชรบุรี ที่อยู: อีเมล:

ชุมชนคลองกระแชง ต.คลองกระแชง อ.เมือง จ.เพชรบุรี Petchburicommunity@gmail.com เพชรบุรีทัศนา

63


เส้นทางศึ กษาธรรมชาติป่าชายเลนแหลมผักเบี้ย เพชรบุรีทัศนา

64


ทองเทีย ่ วเรียนรูน  เิ วศน โครงการศึกษาวิจยั และพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรน ิ ธร อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน

เพชรบุรีทัศนา

65


โครงการศึกษาวิจยั และพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ

“โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ” ตั้งอยูที่แหลมผักเบี้ยซึ่งมีลักษณะทางกายภาพเปนแหลมที่กอตัวขึ้น จากการสะสมของดินตะกอนทีพ่ ดั พามากับแมนาํ้ เพชรบุรี แมนาํ้ บางตะบูน และแมนาํ้ อื่นๆ ของเพชรบุรี เปนหาดโคลนคอยๆ ลาดเทลงสูทะเล ซึ่งปลายสุดของพื้นที่แหลม ผักเบี้ยนั้นคือ “แหลมหลวง” ซึ่งเปนตัวแบงเขตภูมิลักษณของชายฝงออกเปนสองรูป แบบ คือ ระบบนิเวศนหาดเลน และระบบนิเวศนหาดทราย กลาวคือ พื้นที่ทางดาน เหนือของแหลมหลวงเปนระบบนิเวศนหาดเลนอันอุดมบสมบูรณอันเกิดจากการตก ตะกอนของดินอันอุดม ในขณะทีด่ า นใตของแหลมหลวงเปนหาดทรายทีม่ คี วามงดงาม เหมาะสมกับการทองเที่ยว ดวยการเปนพื้นที่ที่มีระบบนิเวศนปาชายเลนอันอุดมสมบูรณและโดดเดนที่ เกิดจากการสะสมตะกอนดินจากแมนาํ้ สายตางๆ ทีไ่ หลจากดินแดนตอนในมาออกทะเล ในขณะเดียวกันเมื่อพื้นที่ตอนในพัฒนาเปนพื้นที่เมืองทําใหพื้นที่บริเวณแหลมผักเบี้ย กลายเปนพื้นที่รองรับนํ้าเสียจากเมืองไปโดยปริยาย จากมู ล เหตุ ดั ง กล า วพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช รัชกาลที่ 9 จึงทรงมีพระราชดําริ “ปญหาสําคัญ คือ เรื่องสิ่งแวดลอม เรื่องนํ้าเสียกับ ขยะ ไดศึกษามาแลวเหมือนกัน ทําไมยากนัก ในทางเทคโนโลยีทําได ในเมืองไทยเอง ก็ทําได หาเทคโนโลยีจากตางประเทศมาแลวในเมืองไทยเองก็ทําไดหรือจะจาง บริษัท ตางประเทศมาก็ทําได นี่แหละปญหาเดียวกัน เดี๋ยวนี้กําลังคิดจะทํา แตติดอยูที่ที่จะ ทํา” แหลมผักเบีย้ จึงทําหนาทีเ่ ปนพืน้ ทีท่ ดลองการกําจัดขยะและการบําบัดนํา้ เสีย ที่เคยสรางมลภาะวตอสิ่งแวดลอมมาในอดีต เพื่อใหเปนแหลงคนควาวิจัย และเรียนรู ตลอดจนเปนแหลงถายทอดเทคโนโลยีดานการบริหารจัดการขยะและการบําบัดนํ้า เสียจากเมืองกอนปลอยลงสูสภาพแวดลอม “โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ” จึงเปนพื้นที่กรณีศึกษาที่นาสนใจที่ตอบคําถามการทองเที่ยวในบริบท รวมสมัยที่ผูไปเยือนเมื่อกลับมาจะตองไดองคความรู และเปนสวนหนึ่งของกลไกที่ ขับเคลื่อนใหเกิดความเปนอยูที่ดีและมีความมั่นคงตามเปาหมายของการพัฒนาที่ ยั่งยืน (Sustainable Development Goals - SDGs) ตามแนวทาง “ศาสตรของพระ ราชา” สืบไป

66

เพชรบุรีทัศนา


โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ย ที่อยู: ต.แหลมผักเบี้ย อ.บานแหลม จ.เพชรบุรี โทรศัพท: 032-706 264 วัน-เวลาทําการ: ทุกวัน 06.00-18.00 น. อัตราคาเขาชม: ไมเสียคาธรรมเนียม การเที่ยวชม: มีรถรางพรอมการบรรยาย หรือเชา รถจักรยานปนดวยตนเอง อัตราคา บริการ คันละ 20 บาท

เพชรบุรีทัศนา

67


อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรน ิ ธร “อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร” ตั้งอยูที่คายพระรามหก อําเภอชะอํา ดวยสมเด็จพระกนิษฐาธิราช เจากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ไดพระราชทาน พระราชดําริเรื่องการจัดหาพื้นที่เพื่อทดลองปลูกและฟนฟูสภาพปาชายเลน เพื่อคืน ระบบนิเวศปาชายเลนกลับสูธรรมชาติ และพระองคไดเสด็จพระราชดําเนินทรงปลูก พันธุไมชายเลนตางๆ ที่คลองบางตราใหญ และคลองบางตรานอย อันเปนจุดเริ่มตน ของการจัดการพืน้ ทีเ่ พือ่ สงเสริมการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ซึง่ ได จัดตั้ง “อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติ” ซึ่งตอมาพระองคไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน พระราชานุญาตใหอัญเชิญพระนามาภิไธยเปนนามอุทยานวา “อุทยาน สิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร” อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธรมีแหลงเรียนรูตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการ สงเสริมการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม มีหอ งนิทรรศการภายในอาคาร และแหลงเรียนรูกลางแจง ดังตอไปนี้ “ศูนยพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม” “พลังงานแสง อาทิตย” “พลังงานลม” “ศูนยการเรียนรูพ ลังงานชุมชนเพือื่ สิง่ แวดลอม” “สวนปาชาย เลนทูลกระหมอม” “การปองกันการกัดเซาะชายฝง” และ “ระบบบําบัดนํ้าเสียแบบ ควบรวมบึงประดิษฐ” ซึง่ ตอนรับผูม าเยือนเพือ่ การทองเทีย่ วเรียนรู และการฝกอบรม เปนหมูคณะ เสร็จจากการเยี่ยมชมแหลงเรียนรูของอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร ยังสามารถรวมกิจกรรมการทองเที่ยวแบบผจญภัยที่ดําเนินการโดยคายพระรามหก อาทิ การกระโดดจากหอสูง การเรียนรูเ รือ่ งการโดดรม เปนตน นอกจากนี้ ยังสามารถ ไปทองเที่ยวเรียนรูที่ “พระราชนิเวศนมฤคทายวัน” ตออีกดวย

อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร ที่อยู: เลขที่ 1281 คายพระรามหก ตําบลชะอํา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท: 032-508-352, 099-474-0800, 065-218-0561 โทรสาร: 032-508-396 อีเมล: siep@sirindhornpark.or.th

68

เพชรบุรีทัศนา


อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน “อุทยานแหงชาติแกงกระจาน” อยูท างฟากตะวันตกของจังหวัดเพชรบุรี เปน อุทยานแหงชาติที่มีเนื้อที่กวางขวางที่สุดของไทย เปนผืนปาตนนํ้าแหลงกําเนิดแมนํ้า เพชรบุรีที่หลอเลี้่ยงเมืองเพชรบุรีตั้งแตตนนํ้า กลางนํ้าบริเวณพื้นที่ราบอันกวางขวาง และปลายนํ้าแถบบานแหลม-บางตะบูน ลักษณะทางกายภาพเปนเทือกเขาสลับซับซอนของเทือกเขาตะนาวศรีที่ ทอดตัวลงมาในแนวเหนือ-ใต ปกคลุมดวยปาดิบชื้นในสวนของผืนปาตนนํ้า และมี ปาดงดิบแลง ปาเบญจพรรณ แ่ละปาเต็งรังผสมอยูดวย ผืนปาแกงกระจานจึงมีความ หลากหลายทางชีวภาพของชนิดพันธุพืชและสัตว นอกจากนี้ ผืนปาแกงกระจานยังมี ระเบียงปาที่เชื่อมโยงกับพื้นที่ปาอนุรักษอื่นๆ รวมทั้งเชื่อมตอกับผืนปาในฝงเมียนมา ทําใหมคี วามสําคัญตอการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพไดเปนอยางดี จากคุณคา ดังกลาวนั้นจึงนําไปสูกระบวนการเสนอชื่อผืนปาแกงกระจานเปนแหลงมรดกโลกทาง ธรรมชาติ สําหรับแหลงทองเที่ยวในเขตอุทยานแหงชาติแกงกระจานที่นาสนใจมีหลาย แหลง อาทิ “นํ้าตกปาละอู” “นํ้าตกทอทิพย” ซึ่งตางก็เปนนํ้าตกที่มีความงดงาม และ เปนแหลงตนนํ้าสําคัญ สําหรับ “บานกราง” “เขาพะเนินทุง” เปนแหลงดูนกที่สําคัญ เปนที่รูจักกันในระดับนานาชาติ “โปงลึก-บางกลอย” เปนแหลงศึกษาเรียนรูวิถีกลุม ชาติพันธุปกาเกอะญอ และ “จุดชมทิวทัศนทะเลหมอก” ตรงกิโลเมตรที่ 36 บนเสน ทางไปนํ้าตกทอทิพย ซึ่งสามารถชมทะเลหมอกไดตลอดทั้งป นอกจากนี้ ที่บริเวณ ที่ทําการอุทยานแหงชาติแกงกระจานที่อยูบนสันเขื่อนแกงกระจานก็เปนพื้นที่ที่มี ทิวทัศนงดงาม และมีสิ่งอํานวยความสะดวกแกนักทองเที่ยวอยางครบถวน ทั้งเรือน พัก จุดกางเตนท หองสุขาและหองอาบนํ้า และรานอาหารสวัสดิการอุทยาน จึงเปน จุดที่มีนักทองเที่ยวนิยมมาพักคางแรมเปนจํานวนมาก อุทยานแหงชาติแกงกระจาน ที่อยู: ต.แกงกระจาน อ.แกงกระจาน จ.เพชรบุรี 76170 โทรศัพท: ศูนยบริการนักทองเที่ยว 091-050 4461, 032-772 311 ที่ทําการอุทยานฯ 032-772 312 อีเมล: k.krachan_np@hotmail.com อัตราคาธรรมเนียม ชาวไทย: ผูใหญ 100 บาท เด็ก 40 บาท ชาวตางชาติ: ผูใหญ 300 บาท เด็ก 200 บาท

เพชรบุรีทัศนา

69


70

หาดปึ กเตียน เพชรบุรีทัศนา


ชายทะเลเมืองเพชร หาดเจ้าสําราญ หาดปึกเตียน หาดชะอํา

เพชรบุรีทัศนา

71


หาดเจ้าสําราญ หาดปึกเตียน และหาดชะอํา “หาดเจาสําราญ” เปนชายหาดที่เปนที่รูจักกันมาตั้งแตอดีต ทั้งนี้ ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 6 ไดโปรดเกลาฯ ใหสรางทีป่ ระทับ บริเวณหาดเจาสําราญ ทวาในชวงเวลาดังกลาวนั้นทองที่แถบหาดเจาสําราญนั้นยัง ทุรกันดารยากลําบากเรื่องการเดินทาง และขาดแหลงนํ้าจืด ในการนั้นจึงโปรดเกลาฯ ใหหาสถานที่สําหรับสรางพระราชฐานแหงใหม อันเปนที่มาของการกอสรางพระราช นิเวศนมฤคทายวัน ทวาในปจจุบันทองที่แถบหาดเจาสําราญไดกลายเปนที่พักผอน หยอนใจของนักทองเทีย่ วจากทัว่ สารทิศ ในลักษณะมาเชาเย็นกลับมาเลนนํา้ ทะล และ รับประทานอาหารทะเล สําหรับการเดินทางนั้น หากเริ่มตนจากตัวเมืองเพชรบุรีใช เสนทางหลวงหมายเลข 3177 ลงมาตามถนนจนสุดสายก็จะบรรจบกับถนนเลียบ ชายทะเล “หาดปกเตียน” อยูถัดจากหาดเจาสําราญลงมาทางใตตามถนนที่เลาะเลียบ ชายทะเลลงมาจนถึ ง ทางเข า หาดป ก เตี ย นซึ่ ง เป น ชายหาดที่ มี นั ก ท อ งเที่ ย วไม พลุกพลานนักจึงเหมาะแกการพาครอบครัวมาพักผอน มีรานอาหารทะเลตั้งเรียงราย กันตลอดแนวหาด จุดที่นาสนใจของหาดปกเตียน คือ “ประติมากรรมรูปนางผีเสื้อ สมุทรกําลังแสดงความอาลัยตอพระอภัยมณี” ซึ่งประติมากรไดถอดบทบาทลักษณะ จากวรรณคดีเรื่องพระอภัยมณีซึ่งประพันธโดยสุนทรภูกวีเอกแหงกรุงรัตนโกสินทร ปจจุบันประติมากรรมนี้ไดกลายเปนจุดหมายตาและสัญลักษณของหาดปกเตียนที่ ใครๆ ก็ตองมาบันทึกภาพดวย “หาดชะอํา” ตั้งอยูในเขตอําเภอชะอําซึ่งเปนอําเภอใตสุดของจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งจะเชื่อมตอกับอําเภอหัวหินของจังหวัดประจวบคีรีขันธ การเขาถึงชายหาดชะอํา นั้นสามารถมาตามเสนทางเลียบชายทะเลที่ตอเนื่องมาจากทางหาดปกเตียนได หรือ อีกเสนทางที่สะดวก คือ มาตามถนนเพชรเกษมจนมาถึงตัวอําเภอชะอําจะมีถนนที่ ตัดลงมายังถนนเลียบชายหาด ที่บริเวณชายหาดมีรานอาหารทะเล มีเกาอี้ชายหาด ใหเชาบริการ และเปนแหลงเลนนํ้าทะเล ทั้ง 3 ชายหาดของเมืองเพชรบุรี คือ “หาดเจาสําราญ” “หาดปกเตียน” และ “หาดชะอํา” เปนชายหาดที่อยูฝงอาวไทยจึงอาจจะไมไดเปนแหลงทองเที่ยวเลื่องชื่อ เชนทะเลฝงอันดามัน ทวาเปนชายทะเลที่ตอบโจทยกับการทองเที่ยวแบบครอบครัว สามารถเดินทางมาจากกรุงเทพมหานครไดในวันหยุดสุดสัปดาห ทั้งมาโดยรถยนต สวนบุคคล และการโดยสารรถไฟ จึงไมแปลกที่สังคมไทยแทบทุกคนตางรูจักชายหาด ทั้งสามแหงนี้ในฐานะของแหลงทองเที่ยวเมื่อครั้งเยาววัยที่เดินทางมาพรอมหนา พรอมตากันของคนในครอบครัว

72

เพชรบุรีทัศนา


ภูมท ิ ศ ั นวฒ ั นธรรมชุมชนประมง บ้านแหลม บางขุนไทร

เพชรบุรีทัศนา

73


76

เพชรบุรีทัศนา


ความหลากหลายของ ชุมชนวิถช ี าติพน ั ธุ ชุมชนไทดํา เขาย้อย ชุมชนปะกาเกอะญอ

เพชรบุรีทัศนา

75


76

เพชรบุรีทัศนา


ภูมท ิ ศ ั นวฒ ั นธรรม ชุมชนเกษตร

เพชรบุรีทัศนา

77


โครงการศึกษาแผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุร ี และเส้นทางเลียบชายทะเล 78

เพชรบุรีทัศนา


76

เพชรบุรีทัศนา


80

เพชรบุรีทัศนา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.