Pbl

Page 1


คานา หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิ กส ์(E-book) ่ การจัดการเรียนรู ้แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน เรือง ้ อ ่ (Problem based Learning) จัดทาขึนเพื เป็ นแนวทางในการศึกษา ในด ้านของการจัด การเรียนรู ้ให ้กับผูเ้ รียนในห ้องเรียนและสถาน ศึกษา ่ าจะเป็ น ผูจ้ ด ั ทาหวังเป็ นอย่างยิงว่ ประโยชน์ตอ ่ ผูส้ นในศึกษาเป็ นอย่างมาก วไฬญา แปงถายะ ผูจ้ ด ั ทา




CONTENT

1 3 4 5 6 7 9 12

13 14 15

่ ทฤษฏีทเกี ี่ ยวข ้องกับการจัดการเรียนรู ้ แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน การจัดการเรียนรู ้แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน ้ แนวคิดพืนฐานของการจั ดการเรียนรู ้ แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน จุดหมายของการจัดการเรียนรู ้แบบใช ้ ปัญหาเป็ นฐาน ลักษณะของปัญหาในการจัดการเรียนรู ้ แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน การเตรียมตัวของครูกอ ่ นการจัดการเรียนรู ้ ้ ขันตอนการเรี ยนรู ้แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน การประเมินผลการเรียนรู ้แบบใช ้ปัญหา เป็ นฐาน บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู ้ แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน อ ้างอิง ผูจั้ ดทา


่ ทฤษฏีทเกี ี่ ยวข ้องกับการจัดการเรียนรู ้ แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน การจัดการเรียนรู ้แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน เป็ นการ ่ ดจากการลงมือทา (Learning Active) ซึงการ ่ เรียนรู ้ทีเกิ ้ พนฐานมาจากทฤษฎี ออกแบบการเรียนรู ้เช่นนี มี ื้ คอน สตร ัคติวส ิ ซึม ทฤษฎีคอนสตร ัคติวส ิ ต ์ (Constructivist Theory) เป็ น ่ ทฤษฎีทว่ี่ าด ้วยการสร ้างความรู ้ ได ้มีการเปลียนจาก ่ นการศึกษาปัจจัยภายนอกมาเป็ น สิงเร ่ ้าภายใน เดิมทีเน้ ่ ้แก่ ความรู ้ความเข ้าใจ หรือกระบวนการรู ้คิด ซึงได ่ วยส่งเสริมการ กระบวนการคิด(Cognitive processes) ทีช่ เรียนรู ้ จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภายในมีสว่ นช่วย ทาให ้เกิดการเรียนรู ้อย่างมีความหมาย และความรู ้เดิม ่ มีสว่ นเกียวข ้องและเสริมสร ้างความเข ้าใจของผูเ้ รียน แนวคิดของทฤษฎีคอนสตร ัคติวส ิ ซึม(Constructivism) ่ หรือ เรียกชือแตกต่ างกันไป ได ้แก่ สร ้างสรรค ์ความรู ้ นิ ยม หรือสรรสร ้างความรู ้นิ ยม หรือ การสร ้างความรู ้ (โครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู ้, 2544)


1 ่ จากการศึกษาแนวคิดเกียวกั บคอนสตร ัคติวส ิ ซึม สรุปเป็ นสาระสาคัญได ้ดังนี ้ 1. ความรู ้ของบุคคลใด คือโครงสร ้างทางปัญญา ่ ้างขึนจากประสบการณ์ ้ ของบุคคลนั้นทีสร ในการ ่ คลีคลายสถานการณ์ ทเป็ ี่ นปัญหาและสามารนาไปใช ้ เป็ นฐานในการแก ้ปัญหาหรืออธิบายสถานการณ์อนๆ ื่ ได ้ ่ างๆ 2. นักเรียนเป็ นผูส้ ร ้างความรู ้ด ้วยวิธก ี ารทีต่ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และโครงสร ้างทางปัญญา ่ อยู่เดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็ น ทีมี ่ ้น จุดเริมต ่ ดการให ้นักเรียนได ้ปร ับขยาย 3. ครูมห ี น้าทีจั โครงสร ้างทางปัญญาของนักเรียนเองภายใต ้ข ้อ สมมติฐานต่อไปนี ้


3.1 สถานการณ์ทเป็ ี่ นปัญหาและปฏิสม ั พันธ ์ทาง สังคมก่อให ้เกิดความขัดแย ้งทางปัญญา 3.2 ความขัดแย ้งทางปัญญาเป็ นแรงจูงใจภายใน ่ ให ้เกิดกิจกรรมการไตร่ตรองเพือขจั ดความขัดแย ้งนั้น ่ Dewey ได ้อธิบายเกียวกั บลักษณะการไตร่ตรอง (Reflection) เป็ นการพิจารณาอย่างรอบคอบ กิจกรรม ่ ้นด ้วยสถานการณ์ทเป็ การไตร่ตรองจะเริมต ี่ นปัญหา น่ าสงสัย งงงวย ยุ่งยาก ซ ับซ ้อน เรียกว่า สถานการณ์ ่ ก่อนไตร่ตรอง และจะจบลงด ้วยความแจ่มชัดทีสามารถ อธิบายสถานการณ์ดงั กล่าว สามารถแก ้ปัญหาได ้ ่ ้ร ับ ตลอดจนได ้เรียนรู ้และพึงพอใจกับผลทีได 3.3 การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และ ่ อยู่เดิมภายใต ้การมีปฎิสม โครงสร ้างทางปัญญาทีมี ั พันธ ์ ทางสังคม กระตุนให ้ ้มีการสร ้างโครงสร ้างใหม่ทางปัญญา


2 ้ จากแนวคิดข ้างต ้นนี กระบวนการเรี ยนการสอนใน ่ ้ แนวคอนสตร ัคติวส ิ ซึม จึงมักเป็ นไปในแบบทีให นักเรียนสร ้างความรู ้จากการช่วยกันแก ้ปัญหา (Cooperative problem solving) กระบวนการเรียนการสอน ่ ้นด ้วยปัญหาทีก่ ่ อให ้เกิดความขัดแย ้งทาง จะเริมต ปัญญา (Cognitive conflict) นั่นคือประสบการณ์และ ่ อยู่เดิม ไม่สามารถจัดการ โครงสร ้างทางปัญญาทีมี ่ แก ้ปัญหานั้นได ้ลงตัวพอดีเหมือนปัญหาทีเคยแก ้ ่ มทีเรี ่ ยกว่า “การปร ับ มาแล ้ว ต ้องมีการคิดค ้นเพิมเติ โครงสร ้าง” หรือ “การสร ้างโครงสร ้างใหม่” ทางปัญญา (Cognitive restructuring) โดยการจัดกิจกรรมให ้ผูเ้ รียน ่ ได ้ถกเถียงปัญหา ซ ักค ้านจนกระทังหาเหตุ ผล หรือ หลักฐานในเชิงประจักษ ์มาขจัดความขัดแย ้งทาง ปัญญาภายในตนเอง และระหว่างบุคคลได ้ (ไพจิตร, 2543)


การจัดการเรียนรู ้แบบใช ้ปัญหา

การจัดการเรียนรู ้ของครู ่ นกระบวนการจัดการ ทีเป็ เรียนรู ้แบบ Active Learning มีเทคนิ คการสอนที่ ่ ้เด็กเกิด หลากหลายเพือให ทักษะต่างๆ ทีจ่ าเป็ นในการ ดารงชีวต ิ เน้นให ้เด็กได ้ เรียนรู ้จากการปฏิบต ั จิ ริง และเรียนรู ้จากสถานการณ์ ้ งในชีวต ปัญหาทีเกิดขึนจริ ิ ่ ้ไดฝ ประจาวันเพือให ้ ึ กทักษะ ่ การคิดโดยมีการวางเงือนไข และกติกาในการร่วม ่ จกรรมการ กิจกรรม ซึงกิ ่ ดขึน้ เรียนรู ้ทีจั

เน้นให ้ผูเ้ รียนไดฝึ้ ก กระบวนการทางานกลุม ่ การร ับฟังความคิดเห็น ของผูอ้ น ื่ ตลอดจนทักษะ ่ ่ อว่ามีความ กาสือสารที ถื จาเป็ นแลสาคัญต่อการ ดารงชีวต ิ อย่างมาก โดย ่ ตนเอง ่ เด็กจะเสนอสิงที ้ อยากเรียนรู ้ขึนมาและครู มีบทบาทเป็ นผูช ้ แนะ ี้


เป็ นฐาน

3

(PROBLEM-BASED LEARNING)

การจัดการเรียนรู ้แบบ ใช ้ปัญหาเป็ นฐาน(ProblemBased Learning) เป็ นกระบวนกาจัดการเรียนรู ้แบบ ่ Active Learning ซึงในการจั ดทา คูม ่ อ ื จัดการเรียนรู ้แบบใช ้ ้ั ้ ขอ ปัญหาเป็ นฐานครงนี ่ นาเสนอสาระสาคัญเกียวกั บ ้ แนวคิดพืนฐาน

จุดมุ่งหมายของการจัดการ เรียนรู ้ ลักษณะของปัญหา ในการจัดการเรียนรู ้ การ เตรียมตัวของครูกอ ่ นการ ้ จัดการเรียนรู ้ ขันตอนการ จัดการเรียนรู ้ การประเมิน ผลการเรียนรู ้ และบทบาท ของครูในการจัดการเรียนรู ้


้ แนวคิดพืนฐานของการจัดการเรี ยนรู ้ แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน (PROBLEM-BASED LEARNING)


4

การจัดการเรียนรู ้แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐาน เป็ น ่ นในสิงที ่ เด็ ่ กอยากเรียนรู ้ โดยสิงที ่ ่ จัดการเรียนรู ้ทีเน้ ่ ่ ก อยากเรียนรู ้ดังกล่าวจะต ้องเริมมาจากปั ญหาทีเด็ ่ เนื อหาเกี ้ ่ สนใจหรือพบในชีวต ิ ประจาวันทีมี ยวข ้องกับ บทเรียน อาจเป็ นปัญหาของตนเองหรือปัญหาของ ่ จะต ้องมีการปร ับเปลียนแผนการจั ่ กลุม ่ ซึงครู ดการ เรียนรู ้ตามความสนใจของเด็กตามความเหมาะสม จากนั้นครูและเด็กร่วมกันคิดกิจกรรม การเรียนรู ้ ่ ่ ามาใช ้ในการ เกียวกั บปัญหานั้น โดยปัญหาทีจะน ้ั ่ เป็ น จัดการเรียนรู ้บางครงอาจเป็ นปัญหาของสังคมทีครู ผูก้ ระตุนให ้ ้เด็กคิดจากสถานการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ่ ดขึน้ จะเน้นทีกระบวนการเรี ่ ต่างๆ ทีเกิ ยนรู ้ของเด็ก เด็กต ้องเรียนรู ้จากการเรียน (learning to learn) เน้น ปฏิสม ั พันธ ์ระหว่างผูเ้ รียนในกลุม ่ การปฏิบต ั แิ ละการ เรียนรู ้ร่วมกัน (Collaborative Learning) นาไปสูก ่ าร ค ้นคว ้าหาคาตอบหรือสร ้างความรู ้ใหม่บนฐานความรู ้ ่ เ้ รียนมีมาก่อนหน้านี ้ เดิมทีผู


จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู รูปแบบกิจกรรมการจัดการ เรียนรู ้แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐานมี ่ กทักษะการคิด จุดมุ่งหมาย เพือฝึ แก ้ปัญหา อย่างมีเหตุผลและเป็ น ระบบให ้แก่นักเรียน


แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน

่ นทักษะกระบวนการ โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ทีเน้ คิดแก ้ปัญหา การคิดสร ้างสรรค ์ คิดวิจารณญาณ การสืบค ้นและรวบรวมข ้อมูลกระบวนการกลุม ่ การบันทึกและการอภิปราย

5


ลักษณะของปั ญหาในการ จัดการเรียนรู ้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน

้ เกิดขึนในชี วต ิ จริงและ เกิดจากประสบการณ์ ของผู เ้ รียนหรือผู เ้ รียน อาจมีโอกาสได้เผชิญกับ ้ ปั ญหานัน เป็ นปั ญหาที่ ส่งเสริมความรู ้ ้ ด้านเนื อหา ทักษะ สอดคล้อง กับหลักสู ตร การศึกษา

่ เป็ นปั ญหาทีพบบ่ อย มีความสาคัญมีขอ ้ มู ล เพียงพอสาหร ับการ ค้นคว้า

่ งไม่มค เป็ นปั ญหาทียั ี าตอบ ช ัดเจน ตายตัวหรือแน่ นอนและ ่ ความซ ับซ ้อน เป็ นปั ญหาทีมี คลุมเครือหรือผู เ้ รียนเกิดความ สงสัย

่ ประเด็นขัดแย้ง ข้อถกเถียง เป็ นปั ญหาทีมี ่ ่ใน ในสังคมยังไม่มข ี อ ้ ยุตเิ ป็ นปั ญหาทีอยู ่ อยากรู ่ ความสนใจ เป็ นสิงที ้แต่ไม่รู ้


6 ่ ร ับการยอมร ับจากผู อ ปั ญหาทีได้ ้ นว่ ื่ า ่ าจริง จริง ถู กต้อง แต่ผูเ้ รียนไม่เชือว่ ยังไม่สอดคล้องกับความคิดของผู เ้ รียน

่ ้างความ ปั ญหาทีสร เดือดร ้อน เสียหาย เกิด ่ ดี โทษภัย และเป็ นสิงไม่ หากมีการนาข้อมู ลมา ใช้โดยลาพังคนเดียว อาจทาให้ตอบปั ญหา ผิดพลาด เป็ นปั ญหา ่ ความ ทีมี ยากง่ าย เหมาะสมก ับ ้ พืนฐานของ ผู เ้ รียน

่ ปั ญหาทีอาจมี คาตอบ หรืแนวทาง การแสวงหาคาตอบ ได้หลายทางครอบคลุมการเรียนรู ้ที่ กว้างขวางหลาก้ หลายเนื อหา

่ สามารถหา เป็ นปั ญหาทีไม่ คาตอบของปั ญหาได้ทน ั ที ต้องมี การสารวจ ค้นคว้าแลรวบรวม ข้อมู ล หรือทดลองดู กอ ่ น จึงจะได้ คาตอบ ไม่สามารถคาดเดา หรือ ทานายได้ง่ายๆ ว่าต้องใช้ความรู ้ อะไร ยุทธวิธใี นการสืบเสาะหา ความรู ้เป็ นอย่างไร หรือคาตอบ หรือผลของความรู ้เป็ นอย่างไร


การเตรียมตัวของครู 1) ศึกษาหลักสู ตร ่ ้ครูเกิดความ เพือให เข ้าใจจุดประสงค ์ของ หลักสูตร ตลอดจน ตัวชีวั้ ดและมาตรฐาน การเรียนรู ้ต่างๆอย่าง ละเอียดและสามารถนา ความรู ้ดังกล่าวไปจัด กระบวนการเรียนรู ้ ให ้ สอดคล ้องกับหลักสูตร แกนกลางตาม เป้ าหมายการเรียนรู ้ได ้


7

ก่อนการจัดการเรียนรู ้

2) วางแผนผังการจัดการเรียนรู ้ ่ ้ องที ่ ่ เกียวก ับเนื อเรื จะสอน โดยครู ่ อมโยงกั ่ ้ องใน ่ ต ้องหาความรู ้ทีเชื บเนื อเรื การกาหนดแผนการจัดการเรียนรู ้ คือ มีการออกแบบกิจกรรมด ้วยตนเอง ใช ้ ่ ่ นการ สือและแหล่ งเรียนรู ้ชุมชนเพือเป็ สร ้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู ้ให ้กับ ่ ้ทันกับ เด็ก ออกแบบกิจกรรมใช ้สือให เหตุการณ์ปัจจุบน ั ทันกับคาตอบของ ่ ่ เด็ ่ ก เด็ก และเชือมโยงกั บสิงที เรียนรู ้ โดยเน้นออกแบบกิจกรรมการ สอนแบบบูรณาการรายวิชา



8

3) ออกแบบแผนการ จ ัดการเรียนรู ้ที่ เหมาะสม ครูผูส้ อนต ้องออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู ้อย่าง ร ัดกุมให ้รายละเอียดการ ่ จัดกิจกรรมทีชัดเจน คือ ไม่วา่ ครูท่านใดอ่าน แผนการจัดการเรียนรู ้ แล ้วสามารถจัดกิจกรรม การเรียนรู ้ตามแผน ดังกล่าวได ้

4) ครู ผูส ้ อนสอบถามความ ต้องการในการเรียนและสร ้าง ความคุน ้ เคยกับนักเรียน ครู จะต ้องสร ้างความคุนเคยกั ้ บ นักเรียนและถามความต ้องการ ของนักเรียนว่าอยากเรียนอะไรใน ่ ารวจความ ปี การศึกษานั้นเพือส ต ้องการของผูเ้ รียนไว ้เป็ นแนวทาง ในการออกแบบการจัดการเรียนรู ้ ให ้สอดคล ้องระหว่างหลักสูตร และความต ้องการของนักเรียน ่ เพือความสะดวกในการจั ด ่ ความ กิจกรรมการเรียนรู ้ทีมี เหมาะสมและเป็ นกิจกรรมที่ น่ าสนใจสาหร ับนักเรียนมากขึน้


้ ขันตอนการเรี ยนรู ้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน สาหร ับคูม ่ อ ื การจัดการเรียนรู ้แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐานนี ้ ้ ได ้นาขันตอนการจั ดการเรียนรู ้แบบใช ้ปัญหาเป็ นฐานที่ ่ ได ้จากการวิเคราะห ์ข ้อมูลการแลกเปลียนเรี ยนรู ้โดย ่ ่ โครงการพัฒนาโรงเรียนต ้นแบบและภาคีทเกี ี่ ยวข ้องเพือ ์ ์ การพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มูลนิ ธส ิ ดศรี-สฤษดิวงศ ้ั (มสส.) โดยมีขนตอนการจั ดการเรียนรู ้ ดังนี ้ ่ ้ ่ 1) ทดสอบความรู ้เกียวกั บเนื อหาที จะสอนก่ อน ่ ้ เรียน เพือจะได ้ทราบความรู ้พืนฐานของนั กเรียนเป็ น ่ งกล่าว และเป็ นแนวทางในการ รายบุคคลในเรืองดั ออกแบบหรือปร ับกระบวนการจัดการเรียนรู ้ของครูให ้ เหมาะสมและสอดคล ้องกับความต ้องการของนักเรียน ด ้วย


9 ้ ่ จกรรมการ 2) ให้ความรู ้เบืองต้ นก่อนเริมกิ ้ เรียนรู ้ ความรู ้พืนฐานจะน าไปสูก ่ ารเรียนรู ้ของเด็กใน ่ ้องลงมือปฏิบต กิจกรรมทีต ั ิ ดังนั้น ครูจงึ ต ้องอธิบาย ้ ่ ้เด็กเกิดความเข ้าใจในเบืองต ้ ้น เนื อหาคร่ าวๆ เพือให



10 ่ อยากเรี ่ 3) เปิ ดโอกาสให้เด็กเสนอสิงที ยนรู ้ โดย ่ ตนเองอยากเรี ่ ่ ่ ให ้เด็กเขียนถึงสิงที ยนรู ้ และสิงที ่ เด็ ่ กอยากเรียนรู ้อาจเป็ น ตนเองเรียนรู ้มาแล ้ว สิงที ปัญหาในชีวต ิ ประจาวัน หรือปัญหาของชุมชน หรือ ่ กกาหนดขึนในชั ้ แนวทางในการแก ้ปัญหาทีถู น้ ่ กช่วยกันคิดและอยากลงมือปฏิบต เรียน ทีเด็ ั ิ ่ ้เด็ก 4) แบ่งกลุ่มเด็กในการทากิจกรรม เพือให รู ้จักวางแผนคือ ให ้เด็กรู ้จักกาหนดกิจกรรมการ เรียนรู ้ของตนเอง โดยการทาปฏิทน ิ การเรียนรู ้ตาม ความต ้องการในการเรียนของตน วิธก ี ารดังกล่าว ่ ้เด็กรู ้หน้าทีของตนเองและในขณะเดี ่ เพือให ยวกัน ่ สามารถแบ่งหน้าทีความร ับผิดชอบให ้แก่ตนเองและ ่ เพือนในกลุ ม ่ ได ้ ้ั 5) สร ้างกติกาในการร่วมกิจกรรมในชน ่ ้เด็กรู ้จักเคารพในเงือนไขและกติ ่ เรียน เพือให กาที่ ้ ยนจะต ้องยอมร ับและ กาหนดขึน้ โดยทุกคนในชันเรี ปฏิบต ั ต ิ าม


6) ให้เด็กลงมือปฏิบต ั ก ิ จ ิ กรรมด้วยตนเอง ครูเปิ ดโอกาสให ้เด็กได ้เรียนรู ้และลงมือปฏิบต ั ไิ ด ้ กิจกรรมต่างๆด ้วยตนเอง โดยครูจะคอยเป็ นผู ้ แนะนา ตอบคาถามและสังเกตเด็กขณะทา กิจกรรม ่ เรี ่ ยนรู ้จากการทา 7) ครูให้เด็กสรุปสิงที กิจกรรมและให้เด็กได้นาเสนอผลงานของ ตน โดยครูเป็ นผูค้ อยสนับสนุ นให ้เกิดการนาเสนอ ่ ทีหลากหลายรู ปแบบและเป็ นไปอย่างสร ้างสรรค ์ ไม่จากัดแนวคิดในการนาเสนอ 8) ประเมินผลการจ ัดการเรียนรู ้ตามสภาพ จริง ประเมินผลการจัดการเรียนรู ้ของเด็ก จาก ่ กแสดงออกขณะร่วม ผลงานและพฤติกรรมทีเด็ กิจกรรม โดยกาหนดเกณฑ ์การประเมินผลการ ้ ่ เรียนรู ้ให ้สอดคล ้องกับเนื อหาที จะสอนเป็ นหลัก


11


การประเมินผลการเรียนรู ้ แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน การประเมินผลการเรียนรู ้โดยใช ้ปัญหาเป็ นฐานควร จะมีการประเมินผลตามสภาพจริง มีการกาหนด ่ ความสัมพันธ ์ในการประเมิน ได ้แก่ เป้ าหมายทีมี ่ ยวกั ่ 1) ควรทาความเข ้าใจด ้านกระบวนการทีเกี บ การเรียนรู ้โดยใช ้ปัญหาเป็ นฐาน 2) การพัฒนาการเรียนรู ้ด ้วยตนเองของผูเ้ รียน ่ ได ่ ้ร ับจากเนื อหาวิ ้ 3) สิงที ชา โดยทาการประเมินดังนี ้ 1) การประเมินตามสภาพจริง เป็ นการวัดผล หรือประเมินผลการปฏิบต ั งิ านของนักเรียนโดยตรง ผ่านชีวต ิ จริง เช่น การดาเนิ นการด ้านการสืบสวน ค ้นคว ้า การร่วมมือกันทางานกลุม ่ ในการแก ้ปัญหา การวัดผลจากการปฏิบต ั งิ านจริง เป็ นต ้น


12

่ 2) การสังเกตอย่างเป็ นระบบ เป็ นอีกวิธห ี นึ่ งทีมี ่ ความเกียวข ้องกับการประเมินผลในด ้านทักษะ กระบวนการของผูเ้ รียนในขณะเรียน ผูส้ อนต ้องมีการ กาหนดเกณฑ ์การประเมินให ้ชัดเจน เช่น การ แก ้ปัญหาทางวิทยาศาสตร ์นั้น ควรมีการกาหนด เกณฑ ์การประเมินไว ้ ได ้แก่ การสร ้างปัญหาหรือ คาถาม การสร ้างสมมติฐาน การระบุตวั แปรต ้น ตัว แปรตาม และตัวแปรควบคุม การอธิบายแนวทางใน การเก็บรวบรวมข ้อมูล และการประเมินผลสมมติฐาน ้ ่ บนพืนฐานของข ้อมูลทีดี


การจัดการเรียนรู ้แบบใช ้ปัญหาเป็ น ่ บสนุ นการ ฐานครูผูส้ อนจะทาหน้าทีสนั เรียนรู ้ของผูเ้ รียน คอย ให ้คาปรึกษา ่ อยูม กระตุ ้นให ้ผูเ้ รียนเอาความรู ้เดิมทีมี ่ า ้ าถาม ใช ้และเกิดการเรียนรู ้โดยการตังค ส่งเสริมให ้ผูเ้ รียนประเมินการเรียนรู ้ของ ้ นผูป้ ระเมินทักษะของ ตนเอง รวมทังเป็ ผูเ้ รียนและกลุม ่ พร ้อมให ้ข ้อมูลย ้อนกลับ ่ ้ผูเ้ รียนได ้เกิดการพัฒนาตนเอง เพือให


13

บทบาทของครูในการจัด การเรียนรู ้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน



14


15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.