พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
บทที่ 1 เป้าหมายโครงการ 1. เป้าหมายโครงการด้ านหน้ าที่ใช้ สอย 1.1. กลุ่มเป้าหมายผู้ใช้ โครงการ ก. กลุม่ ผู้ใช้ โครงการหลัก (Main User) - นักเรี ยน นักศึกษา - ประชาชนทัว่ ไป ข. กลุม่ ผู้ใช้ โครงการรอง (Sub User) - ผู้เข้ ามาฟั งบรรยายหรื อประชุม - นักท่องเที่ยวชาวไทย - นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ - เจ้ าหน้ าที่และเจ้ าของร้ านค้ า ค. กลุม่ ผู้บริ หารและเจ้ าหน้ าที่ของโครงการ (Administrators and Staffs) - ผู้อานวยการ 1 คน - ผู้จดั การ 1 คน - รองผู้จดั การ 1 คน - เลขานุการ 1 คน - เจ้ าหน้ าที่ฝ่ายต่างๆ 14 คน - พนักงานต้ อนรับ 2 คน 1.2. เป้าหมายองค์ ประกอบโครงการและพืน้ ที่ใช้ สอยโครงการ องค์ ประกอบหลักของโครงการ - ส่วนจัดนิทรรศการถาวร - ส่วนจัดนิทรรศการชัว่ คราว
เป้าหมายโครงการ
1- 1
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
องค์ ประกอบรองของโครงการ - โถงพักคอย - ห้ องสมุด - ส่วนบริ หาร ส่ วนสนับสนุนโครงการ - ร้ านอาหารและเครื่ องดื่ม - ร้ านขายของที่ระลึก - ส่วนบริ การโครงการ ส่ วนสาธารณะ - ลานสังเกตุปรากฏการณ์ - ลานวิทยาศาสตร์ - สวน องค์ ประกอบโครงการและพืน้ ที่ใช้ สอยโครงการ 1. องค์ประกอบของโครงการประกอบไปด้ วย - ส่วนนิทรรศการ 6840 ตารางเมตร - ส่วนเทคนิคและบริ การ 814 ตารางเมตร - ส่วนสนับสนุนโครงการ 1470 ตารางเมตร - ส่วนบริ หารโครงการ 438 ตารางเมตร - ที่จอดรถ (80 คัน) 1100 ตารางเมตร
เป้าหมายโครงการ
1- 2
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
1.3. เป้าหมายโครงการทางด้ านรูปแบบ 1.3.1. การเลือกทาเลที่ตงั ้ โครงการ เกณฑ์ การเลือกที่ตงั ้ โครงการ - ลักษณะทางกายภาพของที่ดิน - ศักยภาพในการสังเกตุปรากฎการณ์ตา่ งๆ บนท้ องฟ้า - ความเชื่อมโยงกับแหล่งธรรมชาติ - การเข้ าถึงของโครงการ - สภาพพื ้นที่โดยรอบ - มุมมองจากภายในโครงการ - การรองรับการขยายตัว - เป็ นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญ - กฏหมายที่เกี่ยวข้ อง ที่ตงั ้ และอาณาเขต A. เชียงราย ปั จจัยทางสภาพแวดล้ อมที่ ดีลกั ษณะภูมิประเทศสวยงาม เป็ นแหล่งท่องเที่ยวและทารายได้ ที่ สาคัญของภูมิภาค การคมนาคมและเข้ าถึงอยูใ่ นระดับปานกลาง มีวฒ ั นธรรมประเพณียาวนาน B. เชียงใหม่ ปั จจัยสภาพแวดล้ อมที่ดีมีลกั ษณะภูมิประเทศสวยงาม เป็ นเสมือนเมืองหลวงอันดับที่สองของ ประเทศ มีวฒ ั นธรรมประเพณที่ยาวนาน การคมนาคมสะดวกอยูใ่ นระดับดีมาก มีโรงเรี ยนและ มหาวิทยาลัยหลายแห่ง C. ลาปาง ปั จจัยทางสภาพแวดล้ อมปานกลางการคมนาคมอยูใ่ นระดับปานกลางมีวฒ ั นธรรมประเพณี ยาวนาน
ผังภาพ 1.1 แผนที่แสดงจังหวัดที่ตงโครงที ั้ ่พิจารณา เป้าหมายโครงการ
1- 3
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
เหตุผลในการเลือกที่ตงั ้ - บริ เวณที่ตงโครงการมี ั้ สภาพแวดล้ อมที่ยงั อุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพเหมาะแก่การตังโครงการที ้ ่ศกึ ษาธรรมชาติ - มีปัจจัยพื ้นฐานครบถ้ วน การคมนาคมเดินทางมายังจังหวัดมีความสะดวก มีเส้ นทางการบินและจานวนรอบการเดินทางทังวั ้ น - เชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางความเจริ ญอีกแห่งนึงของประเทศและเป็ นศูนย์กลาง การศึกษาของภาคเหนือ - มีวฒ ั นธรรมประเพณีที่สบื ทอดมายาวนานทังหมดเกิ ้ ดจากการอยูร่ ่วมกับธรรมชาติ อย่างกลมกลืน - เชียงใหม่มีนกั ท่องเที่ยวเป็ นอันดับต้ นของประเทศ และมีแนวโน้ มสูงขึ ้นเรื่ อย จังหวัดเชียงใหม่ ตังอยู ้ ท่ ี่ละติจูด 16 องศาเหนือ ลองติจูด 99 องศาตะวันออก สูงจากระดับน ้าทะเลประมาณ 310 เมตร ส่วนกว้ างจากตะวันตกจรดตะวันออกประมาณ 138 กิโลเมตร ส่วนยาวจากทิศเหนือจรดใต้ ประมาณ 428 กิโลเมตตังอยู ้ ภ่ าคเหนือของประเทศไทย ครอบคลุมพื ้นที่ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึง่ ใหญ่เป็ นอันดับสองของประเทศ และมีประชากร 1,655,642 คน มากเป็ นอันดับห้ าของประเทศ ทิศเหนือติดกับรัฐฉานของพม่า จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์ อนั ยาวนาน เคยเป็ นเมืองหลวงของอาณาจักรล้ านนาแต่โบราณ มีภาษาล้ านนา (คาเมือง) เป็ นภาษาท้ องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทังด้ ้ านประเพณีวฒ ั นธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจานวนมาก โดยเริ่ มวางตัวเป็ นนครสร้ างสรรค์และกาลังพิจารณาสมัครเข้ า เป็ นนครสร้ างสรรค์ของยูเนสโก ผังภาพ 1.2 แสดงอาณาเขตจังหวัดเชียงใหม่
เป้าหมายโครงการ
ผังภาพ 1.3 แสดงระยะทางจากกรุงเทพมหานคร
1- 4
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
อาณาเขตติดต่ อ ทิ ศเหนือ ติดต่อกับรัฐฉานของประเทศพม่า โดยมีดอยผีปันน ้าของดอยคา ดอยปกกลา ดอยหลัก แต่ง ดอยถ ้าป่ อง ดอยถ้ วย ดอยผาวอก และดอยอ่างขางอันเป็ นส่วนหนึง่ ของทิวเขาแดนลาว เป็ น เส้ นกันอาณาเขต ้ ทิ ศใต้ ติดต่อกับอาเภอสามงาว อาเภอแม่ระมาด และอาเภอท่าสองยาง (จังหวัดตาก) มีร่องน ้า แม่ตื่นและดอยผีปันน ้า ดอยเรี่ ยม ดอยหลวงเป็ นเส้ นกันอาณาเขต ้ ทิ ศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่สวย อาเภอเวียงป่ าเป้า (จังหวัดเชียงราย) อาเภอเมืองปาน อาเภอเมืองลาปาง (จังหวัดลาปาง) อาเภอบ้ านธิ อาเภอเมือง ลาพูน อาเภอป่ าซาง อาเภอเวียงหนองล่อง อาเภอบ้ านโฮ่ง และอาเภอลี ้(จังหวัดลาพูน) ส่วนที่ติดจังหวัดเชียงรายและลาปางมีร่องน ้าลึกของแม่น ้ากก สันปั นน ้าดอยซาง ดอยหลุมข้ าว ดอยแม่ววั น้ อย ดอยวังผา และดอยแม่โตเป็ นเส้ นกันอาณาเขต ้ ส่วนที่ติดจังหวัดลาพูนมีดอยขุน ห้ วยหละ ดอยช้ างสูง และร่องน ้าแม่ปิงเป็ นเส้ นกันอาณาเขต ้ ทิ ศตะวันตก ติดต่อกับ อาเภอแม่ฮ่องสอน อาเภอขุนยวม อาเภอแม่ลาน้ อย อาเภอแม่สะเรี ยง และอาเภอสบเมย (จังหวัดแม่ฮ่องสอน) มีดอยผีปันน ้า ดอยกิ่วแดง ดอยแปรเมือง ดอยแม่ยะ ดอย อังเกตุ ดอยแม่สรุ ิ นทร์ ดอยขุนยวม ดอยหลวง และร่องแม่ริด แม่ออย และดอยผีปันน ้าดอยขุนแม่ ตื่นเป็ นเส้ นกันอาณาเขต ้ ภูมิประเทศ จังหวัดเชียงใหม่มีพื ้นที่ 20,107.057 ตารางกิโลเมตรหรื อประมาณ 12,566,911 ไร่ มีพื ้นที่กว้ าง ใหญ่เป็ นอันดับที่ 1 ของภาคเหนือ และเป็ นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา ลักษณะภูมิประเทศโดยทัว่ ไปมีสภาพพื ้นที่เป็ นภูเขาและป่ าละเมาะ มีที่ราบอยูต่ อนกลางตามสอง ฟากฝั่ งแม่น ้าปิ ง มีภเู ขาที่สงู ที่สดุ ในประเทศไทยคือ ดอยอินทนนท์ สูงประมาณ 2,565.3355 เมตร อยูใ่ นเขตอาเภอจอมทอง นอกจากนี ้ยังมีดอยอื่นที่มีความสูงรองลงมาอีกหลายแห่ง เช่น ดอยผ้ า ห่มปก สูง 2,285 เมตร ดอยหลวงเชียงดาว สูง 2,170 เมตร ดอยสุเทพ สูง 1,601 เมตร สภาพพืน้ ที่แบ่ งออกได้ เป็ น 2 ลักษณะคือ พืน้ ทีภ่ ูเขา ส่วนใหญ่อยูท่ างทิศเหนือ และทิศตะวันตกของจังหวัด คิดเป็ นพื ้นที่ประมาณร้ อยละ 80 ของพื ้นที่จงั หวัดเป็ นพื ้นที่ป่าต้ นน ้าลาธาร ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก พืน้ ทีร่ าบลุ่มน้าและทีร่ าบเชิ งเขา กระจายอยูท่ วั่ ไประหว่างหุบเขาทอดตัวในแนวเหนือ -ใต้ ได้ แก่ ที่ ราบลุม่ น ้าปิ ง ลุม่ น ้าฝาง ลุม่ น ้าแม่งดั เป็ นพื ้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเกษตร
เป้าหมายโครงการ
1- 5
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
ภูมิอากาศ จังหวัดเชียงใหม่มีสภาพอากาศค่อนข้ างเย็นเกือบตลอดทังปี ้ มีอุณหภูมิเฉลีย่ ทังปี ้ 25.4 องศา เซลเซียส โดยมีคา่ อุณหภูมิสงู สุดเฉลีย่ 31.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุดเฉลีย่ 20.1 องศา เซลเซียส มีปริ มาณน ้าฝนเฉลีย่ 1,100-1,200 มิลลิเมตร สภาพภูมิอากาศจังหวัดเชียงใหม่อยู่ ภายใต้ อิทธิพลมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่ง ภูมิอากาศออกได้ เป็ น 3 ฤดู
ตาราง 1.1 แสดงอุณหภูมิเฉลีย่ ของจังหวัดเชียงใหม่ ภูมิอากาศมหภาคแบ่งออกเป็ น 3 ฤดู ฤดูฝน - เดือนมิถนุ ายน – ตุลาคม มีฝนตกชุกเนื่องจากมีสภาพเป็ นภูเขาสูงและมีป่าต้ นน ้าจานวนมากทาให้ ความชุ่มชื ้นในอากาศสูง โดยเฉพาะบนยอดดอยมีตกเกือบทุกวัย ฤดูหนาว - เดือนพฤษจิกายน – กุมภาพันธ์ อากาศหนาวท้ องฟ้าแจ่มใสมีแดดตลอดทังวั ้ นมีหมอกลงบ้ างตอนเช้ า เป็ นฤดูที่นกั ท่องเที่ยวนิยม ไปเที่ยวกันมากอุณหภูมิต่าสุดเฉลีย่ ประมาณ 14 องศาเซลเซียส แต่ถ้าบนยอดดอบอาจจะต่าลงถึง 4องศาเซลเซียส ฤดูร้อน - เดือนมีนาคม – พฤษภาคม อากาศจะร้ อนมากในเวลากลางวันเนื่องจากสภาพเป็ นแอ่งกระทะในกลางคืนจะเย็นลงอุณหภูมิ สูงสุดเฉลีย่ 34 องศาเซลเซียส
เป้าหมายโครงการ
1- 6
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
การคมนาคมขนส่ ง 1.การคมนาคมขนส่งทางรถยนต์ จากกรุงเทพมหานคร ใช้ ทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) แล้ วแยกเข้ าทางหลวง หมายเลข 32(สายเอเชีย) ผ่านอยุธยา อ่างทองนครสวรรค์ แล้ วใช้ ทางหลวงหมายเลข 117 ไปยัง พิษณุโลก แล้ วต่อด้ วยทางหลวงหมายเลข 11 ผ่านลาปาง ลาพูน ถึงเชียงใหม่ ระยะทางประมาณ 695 กิโลเมตร อีกทางหนึง่ คือจากนครสวรรค์ไปตามถนนหมายเลข 1 ผ่านกาแพงเพชร ตาก ลาปาง ถึงเชียงใหม่ ระยะทางประมาณ 696 กิโลเมตร คมนาคมขนส่งทางรถยนตร์ ของจังหวัดเชียงให่ระหว่างชนบท หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ และ จังหวัดต่างๆ มีความสะดวกเพราะมีเส้ นทางคมนาคมเชื่อมติดต่อกันหลายทาง รถประจาทาง มีรถประจาทางทังรถธรรมดาและปรั ้ บอากาศ บริ การระหว่างกรุงเทพ-เชียงใหม่ทกุ วัน ให้ เวลา เดินทางประมาณ 10 ชัว่ โมง รายระเอียดสอบถามได้ ที่สถานณีขนส่งสายเหนือ ถนนกาแพงเพชร 2 2.การคมนาคมทางรถไฟ ปั จจุบนั มีรถไฟสายกรุงเทพฯ-เชียงใหม่เพียงสายเดียว โดยผ่านจังหวัดอยุธยา ลพบุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ลาปาง ลาพูนและเปิ ดการเดินรถเร็ ว รถด่วน รถด่วนพิเศษ และรถ ดีเซลรางปรับอากาศ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่รวมวันละ 14 ขบวน(ไป 7 ขบวน กลับ 7 ขบวน)และ นครสวรรค์-เชียงใหม่ วันละ 2 ขบวน (ไป 1 ขบวน กลับ 1 ขบวน) 3.การคมนาคมทางอากาศ จังหวัดเชียงใหม่มีสนามบินนานาชาติขนาดใหญ่มีเส้ นทางบินไป-กลับวันละหลายเที่ยวบิน 3.1สายการบินภายในประเทศ 3.2สายการบินระหว่างประเทศ
เป้าหมายโครงการ
1- 7
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
การวิเคราะห์ ทาเลที่ตงั ้ โครงการ 1.ด้ านเศรษฐศาสตร์ และการเงิน 1.1ความเหมาะสมทางด้ านเศรษฐกิจส่วนรวม โครงการนี ้ก่อให้ เกิดผลดีตอ่ เศรษฐกิจของจังหวัด ส่งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่กาลังได้ รับความนิยมมากขึ ้นเรื่ อยๆในปั จจุบนั สามารถส่งเสริ ม การท่องเที่ยวประกอบกับแล่งท่องเที่ยวอื่นๆด้ วยอีกทังโครงการยั ้ งตังอยู ้ ใ่ กล้ แหล่งท่องเที่ยว มากมายและอยูใ่ นเขตเมืองสามารถเดินทางได้ สะดวก โครงการยังเป็ นแหล่งเสริ มสร้ างความรู้ทาง ปรากฎการณ์และประวัติศาสตร์ โลกให้ ประชาชนในจังหวัดได้ อีกด้ วย 1.2ความเหมาะสมทางด้ านการตลาด โครงการนี ้เป็ นโครงการที่ม่งุ เน้ นประโยชน์ทางด้ าน การศึกษา โดยจะได้ รับความเพลิดเพลินและความรู้ โครงการตังอยู ้ ใ่ กล้ แหล่งท่องเที่ยวและ สถานศึกษาจึงมีศกั ยภาพดึงดูดกลุม่ ผู้ใช้ หลักของโครงการ 1.3ความเป็ นไปได้ ทางด้ านการเงิน ที่ดินนี ้เป็ นของราชการจึงตัดงบประมาณส่วนค่าที่ดินได้ แหล่งเงินทุน โครงการนี ้เป็ นของรัฐจึงสามารถจัดของบประมาณในการก่อสร้ างได้ และอาจได้ รับ การสนับสนุนจากองค์กรต่างๆที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อม รายได้ หลักของโครงการมาจากรายได้ จากการขายบัตรเข้ าชม มีการจัดกิจกรรม และ ทัวร์ อาศัย การประชาสัมพันธ์ ของโครงการให้ กบั นักท่องเที่ยวและนักศึกษา ขอกจากนี ้ยังมีรายได้ จากการขาย ของที่ระลึก ขายอาหารและเครื่ องดื่ม และองศ์กรต่างๆที่สนับสนุนโครงการ 2.ด้ านสังคมและวัฒนธรรม 2.1 ความเหมาะสมทางด้ านลักษณะประชากร ประชากรในจังหวัดเชียงใหม่มีอาชีพและวัฒนธรรมที่มีความใกล้ ชิดสิง่ แวดล้ อมและธรรมชิมา ตลอดแม้ แต่ในสังคมเมือง แต่มีประชากรจานวนมากที่ขาดความรู้ความเข้ าใจในเรื่ องเหล่านี ้ โครงการนี ้จะเป็ นตัวช่วยที่จะทาให้ เกิดความรู้ความเข้ าใจสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจาวันและในอนาคต 2.2 ความเหมาะสมทางด้ านประเภทอาคาร สภาพแวดล้ อมที่ตงอยู ั ้ ใ่ นเขตการใช้ ที่ดินของราชการ ประกอบไปด้ วยอาคารและสถานศึกษา โครงการนี ้นับเป็ นแหล่งให้ ความรู้อย่างหนึง่ และยังเป็ นอาคารราชการด้ วยจึงมีความต่อเนื่องด้ าน ประเภทอาคารกับแหล่งข้ างเคียงนอกจากนี ้สภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติที่สวยงามส่งผลให้ เหมาะ แก่การจัดตังพิ ้ พิธภัณฑ์ที่เกี่ยวข้ องกับปรากฎการณ์
เป้าหมายโครงการ
1- 8
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
2.3 ความเหมาะสมด้ านเอกลักษณ์ของท้ องถิ่น วัฒนธรรมประเพณีของไทย รวมถึงของล้ านนานันมี ้ ความใกล้ ชิดกับธรรมชาติมาตลอดความเชื่อ ต่างๆที่สอดแทรกอยูก่ บั การดารงชีวิต การปลูกเรื อนความเป็ นอยูข่ องชาวล้ านนานันมี ้ ความผูกผัน กับสิง่ แวดล้ อมอย่างกลมกลืน สภาพภูมิประเทศที่เป็ นป่ าเขายังเป็ นเอกลักษณ์อย่างหนึง่ ของ เชียงใหม่อีกด้ วย ดังนันโครงการนี ้ ้จะช่วยส่งเสริ มเอกลักษณ์ดงั กล่าวของล้ านนาให้ ชดั เจนยิ่งขึ ้น 3.ด้ านเทคนิค 3.1ความเป็ นไปได้ ทางด้ านการผลิต ตังอยู ้ ใ่ นเขตอาเภอเมือง การลาเลียงขนส่งวัสดุก่อสร้ างมีความสะดวก ถนนหน้ าโครงการมีขนาดที่ สามารถขนส่งลาเลียงวัสดุได้ แหล่งวัสดุถกู นามาจากแหล่งจังหวัดข้ างเคียงหรื อแม้ แต่ กรุงเทพมหานครได้ 3.2ความเป็ นไปได้ ทางกฎหมายและความเหมาะสมด้ านผังเมือง เป็ นเขตอาคารของราชการซึง่ โครงการนี ้เป็ นของราชการเช่นกัน โดยขึ ้นกับศูนย์วิจยั และพัฒนา พื ้นที่สงู จังหวัดเชียงใหม่ 3.3ความพร้ อมทางด้ านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เนื่องจากทาเลที่ตงอยู ั ้ ใ่ นเขตเมือง จึงมีความพร้ อมทางโครงสร้ างด้ านสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการครบถ้ วน 4.ด้ านการเปลีย่ นแปลงของชุมชนในอนาคต เขตนี ้เป็ นเขตที่ดินอาคารราชการ ดังนันจึ ้ งไม่มีการขยายตัวของชุมชนเข้ ามานอกจากนี ้ทาเลที่ตงั ้ โครงการยังเป็ นรอยต่อกับป่ า จึงทาหม้ การขยายตัวในบริ เวณนี ้เป็ นไปได้ ยากปั ญหาเรื่ องสภาพ อาคารโดยรอบน้ อยมาก ส่วนชุมชนรอบนอกออกไปมีอตั ราการขยายตัวสูง มีประชากรเพิ่มขึ ้น อย่างต่อเนื่องดังนันเมื ้ องจะขยายตัวเรื่ อยๆ ส่งผลให้ จานวนผู้ใช้ งานบริ การของโครงการมีแนวโน้ ม ที่จะเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ 5.ด้ านสภาพแวดล้ อม สภาพแวดล้ อมของอาคารแม้ เป็ นสภาพธรรมชาติที่สมบูรณ์แต่พื ้นที่โครงการนันตั ้ งอยู ้ ใ่ นเขตเมือง ที่มีความพร้ อมทางด้ างสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ดังนันระบบการจั ้ ดการที่ดีจะไม่สง่ ผล กระทบกับสภาพแวดล้ อมโดยรอบ ต้ นไม้ คอ่ นข้ างหนาแน่นดังนันลั ้ กษณะอาคารจะกลมกลืนไปกับ อาคารโดยรอบ
เป้าหมายโครงการ
1- 9
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
เกณฑ์ ประเมินการเลือกที่ตงั ้ โครงการ โดยพิจารณาเบื ้องต้ นโดยประเมินจากสภาพที่ตงของโครงการเหมาะสมกั ั้ บโครงการ สภาพแวดล้ อมส่งเสริ มโครงการเนื่องจากส่วนนึงของโครงการจัดแสดงเกี่ยวกับธรรมชาติและ ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติตา่ งๆ การขยายตัวของโครงการมีความเป็ นไปได้ และเหมาสมแก่การ รองรับการขยายตัวในอนาคต
ผังภาพ 1.4 แสดงเกณฑ์การประเมินโครงการ
เป้าหมายโครงการ
1- 10
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
ผังภาพ 1.5 แสดงการใช้ ที่ดินของที่ตงโครงการ ั้
เป้าหมายโครงการ
1- 11
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
ผังภาพ 1.6 แสดงการศักยภาพของทาเลที่ตงที ั ้ ่ดิน สรุปผลการประเมิน เลือกที่ตงั ้ โครงการ หมายเลข 2
ผังภาพ 1.7 แสดงพื ้นที่โดยรอบของทาเลที่ตงั ้ เป้าหมายโครงการ
1- 12
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
เป้าหมายโครงการในจินตภาพ จินตภาพภายนอก จากการศึกษา จาก กรณีศกึ ษา และ อัตลักษณ์ของท้ องถิ่นผสานหลอมรวมเข้ ากับบริ บท
แสดงจินตภาพของโครงการ ด้ านการเชื่อมโยงกับลานกิจกรรมและบริบท
แสดงจินตภาพของโครงการ ด้ านรู ปแบบสถาปั ตยกรรม
แสดงจินตภาพของโครงการ ด้ านภาพลักษณ์อาคารกับธรรมชาติ
แสดงจินตภาพของกิจกรรม ที่จะเกิดขึ ้นบนลานกิจกรรม
เป้าหมายโครงการ
1- 13
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
จินตภาพภายใน (Interior) นาเสนอเป้าหมายจินตภาพที่เหมาะสมกับการใช้ งาน และกิจกรรมที่เกิดขึ ้นภายในโครงการแสดง ในส่วนแสดงนิทรรศการ ส่วนโถง ที่วา่ งภายในโครงการ
แสดงจินตภาพของโครงการ ด้ านการจัดวางและการใช้ พื ้นที่ภายในโครงการ
แสดงจินตภาพของโครงการ ด้ านเทคโนโลยีและหุน่ จาลอง
แสดงจินตภาพของโครงการ ด้ านปฏิสมั พันธ์ระหว่างผู้ใช้ การและเทคโนโลยี
แสดงจินตภาพของโครงการ ด้ านการใช้ พื ้นที่วา่ งภายในโครงการ
เป้าหมายโครงการ
1- 14
พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM
1.3. เป้าหมายโครงการด้ านเศรษฐศาสตร์ (Economy Goals) แหล่ งเงินทุนของโครงการ (Source of Investment) เจ้ าของโครงการพิพิธภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัติศาสตร์ โลก เป็ นโครงการที่จดั ขึ ้นเพื่อ ประโยชน์ด้านการศึกษาแก่เยาวชน นักเรี ยน นักศึกษา รวมไปถึงประชาชนทัว่ ไปที่สน นักท่องเที่ยว ทังชาวไทยและต่ ้ างประเทศ เพื่อเสริ มสร้ างการเรี ยนรู้และตระหนักถึงการอยูร่ ่วมกับธรรมชาติ ซึง่ จะช่วยส่งเสริ มจิตใต้ สานึกในการสังเกตุการเปลีย่ นแปลงในปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ การใช้ ชีวิต ให้ เชื่อมโยงและสอดคล้ องกับธรรมชาติอย่างยัง่ ยืนรวมถึงการเป็ นแหล่งศึกษานอกห้ องเรี ยนที่ ทันสมัยและเพลิดเพลิน เป็ นแหล่งพักผ่อนของคนในท้ องถิ่น พิพิธภัณฑ์ปรากฏการณ์และ ประวัติศาสตร์ โลกจึงเป็ นโครงการที่สอดคล้ องกับการพัฒนาด้ านการศึกษา และการท่องเที่ยว เจ้ าของโครงการที่รับผิดชอบโดยตรง คือกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีร่วมกับจังหวัด เชียงใหม่ งบประมาณเบือ้ งต้ น (Budget) งบประมาณเบื ้องต้ นโครงการ ราคาปรับปรุงที่ดิน (บาท/ไร่) 50,000 บาท/ไร่ ราคาค่าก่อสร้ าง (บาท/ตารางเมตร) 25,000 บาท/ตารางเมตร ค่าดาเนินการก่อสร้ าง (เปอร์ เซ็นต์) 4 เปอร์ เซ็นต์ ค่าปรับปรุงที่ดิน (16 ไร่) 800,000 บาท ค่าก่อสร้ าง (9,562 ตารางเมตร) 239,050,000 บาท ค่าดาเนินการก่อสร้ าง 9,562,000 บาท งบประมาณเบื ้องต้ นทังหมด ้ 249,412,000 บาท 1.4. เป้าหมายโครงการด้ านเทคโนโลยี (Technology Goal) - เป็ นอาคารที่ใช้ พลังงานเท่าที่จาเป็ น ประหยัดพลังงาน - ใช้ ระบบปรับอากาศประหยัดพลังงาน - ใช้ วสั ดุพื ้นถิ่นเข้ ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ - ใช้ เทคโนโลยีที่ทนั สมัยในการจัดแสดง (เช่น Hologram) - ใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ Solar Cell ทดแทนพลังงานไฟฟ้ า - ระบบท้ องฟ้าจาลองแสง สี นวัตกรรมที่ทนั สมัย
เป้าหมายโครงการ
1- 15