โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
บทที่ 1 เป้าหมายโครงการ
จิต เป็ นส่วนหนึง่ ที่สาคัญของมนุษย์ การที่มนุษย์จะได้ มาทาความเข้ าใจกับจิต และศึกษา เพื่อที่จะเข้ าใจตนเองให้ มากขึ ้น นับเป็ นการศึกษาที่สาคัญ เป็ นการสร้ างคุณค่าและคุณภาพให้ กบั ชีวิต มนุษย์ทกุ คนต่างมีศกั ยภาพในการพัฒนาตนเองพระพุทธเจ้ าทรงตรัสให้ มนุษย์ทกุ คนมุ่งมัน่ ในการฝึ กอบรมตนจนถึงที่สดุ โดยเน้ นในด้ านของปั ญญา เพราะตัวแทนหรื อจุดศูนย์รวมของการ พัฒนาอยูท่ ี่ปัญญา พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาแห่งภูมิปัญญาที่นาแนวทางในการดาเนินชีวิตของ มนุษย์ให้ ไปสูค่ วามสุขที่แท้ และยัง่ ยืนตามหลักเหตุและผล ซึง่ เป็ นพื ้นฐานของความเป็ น วิทยาศาสตร์ ซึง่ มีวิธีการสอนที่เริ่ มต้ นตังแต่ ้ ให้ มนุษย์ร้ ูจกั ศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองและเมื่อแต่ละ บุคคลเข้ าใจตนเองและสามารถพัฒนาตนเองได้ ดีแล้ วจะนาไปสูป่ ระโยชน์สว่ นรวม เป็ นการ วางรากฐานในการพัฒนาสังคม ทังในระดั ้ บท้ องถิ่นจนถึงระดับโลกพระพุทธศาสนาจึงมีความเป็ น สากล เป็ นไปตามหลักธรรมชาติ และความเป็ นจริ งของสรรพสิง่ ซึง่ ศูนย์ที่ทาการรวบรวมการศึกษา เกี่ยวกับจิตแบบครบวงจร คือเป็ นศูนย์การศึกษาทังการศึ ้ กษาด้ วยการฟั ง การอ่าน การศึกษาด้ วย การไตร่ตรองครุ่นคิดด้ วยเหตุผลรวมทังการศึ ้ กษาด้ วยการปฏิบตั ิด้วยตนเองนัน้ ยังมีไม่มากนักใน สังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมือง ในปั จจุบนั นี ้ส่วนใหญ่โครงการต่างๆ เท่าที่มีอยู่ จะเป็ นเพียง ศูนย์วิปัสสนา วัด แบบเถรวาท ซึง่ มีความพิธีการและพิธีกรรมมากมาย ทาให้ คนสมัยใหม่นนเบื ั ้ ่อ กับกระบวนการ เซน เป็ นนิกายหนึง่ ที่รวบรัดเอาความวุน่ วายให้ เกิดความเป็ นหนึง่ เดียว เน้ นไป ทางด้ านใดด้ านหนึง่ เลย ดังนันโครงการโบยบิ ้ นอิสระสถานจึงเป็ นโครงการที่ควรจะเกิดมีขึ ้นจริ ง เซน นิกายหนึง่ ในพระพุทธศาสนาอยูใ่ นฝ่ ายมหายาน แต่มีความคล้ ายคลึงกับเถรวาทใน สายป่ า เซนไม่นิยมสิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์ เน้ นการปฏิบตั ิธรรม ฝึ กการใช้ ปัญญาและสมาธิ เพื่อให้ เกิดพุทธ ปั ญญาจนเข้ าใจหลักธรรมด้ วยตัวเอง เซนยึดถือหลักปฏิบตั ิธรรมตามหลักของพระพุทธเจ้ า ตาม หลักของการฝึ กสติ อริ ยสัจ 4 และมรรค 8 เซน ได้ รับการยอมรับจากบุคคลที่ไม่ใช่พทุ ธศาสนิกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลนอกทวีปเอเชีย ที่สนใจในเซนสามารถศึกษาและปฏิบตั ิธรรมได้ และได้ เกิดนิกายสายย่อยออกมาที่เรี ยกว่าคริ สเตียนเซน โบยบินอิสระสถาน เป็ นสถานปฏิบตั ิธรรม รูปแบบเจริ ญสติ ปั ญญา สมาธิเพื่อให้ เกิดเป็ น ปรัชญาที่สอนการใช้ ชีวิตและเสริ มสร้ างด้ านที่วา่ งเปล่าของมนุษย์ในยามที่ต้องดารงชีวิตในสังคม สมัยใหม่ได้ เหมาะสมในช่วงเวลานันๆ ้ โดยมีพระอาจารย์ผ้ นู าเป็ นพระนิกายเซน
เป้าหมายโครงการ
1- 1
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
1. เป้าหมายโครงการด้ านหน้ าที่ใช้ สอย 1.1. กลุ่มเป้าหมายผู้ใช้ โครงการ ก. กลุม่ ผู้ใช้ โครงการหลัก (Main User) ผู้ใช้ โครงการหลักของโครงการ คือ ผู้เข้ าร่วมโครงการ(ฆราวาส) พระ เณร เนื่องจากเป็ นสถาน ปฏิบตั ิธรรมแบบนานาชาติ ดังนันนั ้ กปฏิบตั ินนเป็ ั ้ นทังชาวไทย ้ ชาวเวียดนาม ชาวญี่ปนุ่ ข. กลุม่ ผู้ใช้ โครงการรอง (Sub User) ผู้ใช้ โครงการรอง คือ นักท่องเที่ยวทังชาวไทยและต่ ้ างชาติ รวมไปถึงผู้ที่สนใจโครงการเบื ้องต้ นจาก ภายในจังหวัดกาญจนบุรี หรื อบริ เวณจังหวัดใกล้ เคียง และรวมไปถึงจังหวัดต่างๆ ในประเทศไทย เนื่องจากโครงการตังอยู ้ ใ่ นจังหวัดกาญจนบุรี ซึง่ เป็ นสถานที่ทอ่ งเที่ยวที่สาคัญๆ ของประเทศไทย ค. กลุม่ ผู้บริ หารและเจ้ าหน้ าที่ของโครงการ ( Administrators and Staffs) - ทีมทางาน จานวน 2 คน - ฝ่ ายประสานงาน (ตรวจสอบผู้เข้ าออกโครงการ) จานวน 1 คน - ฝ่ ายการจัดการเรื่ องขนส่งและซื ้อของ จานวน 2 คน - ฝ่ ายเทคนิค (ระบบแสง สี เสียง) จานวน 1 คน - ฝ่ ายปกครอง จานวน 1 คน - ฝ่ ายโรงครัว จานวน 3 คน - ฝ่ ายจัดการ (Organization) จานวน 1 คน *อ้ างอิงจากโปรแกรมจากหมู่บ้านพลัมแห่งประเทศไทย 1.2. เป้าหมายองค์ ประกอบโครงการและพืน้ ที่ใช้ สอยโครงการ เซนสอนให้ ผอ่ นคลายในการปฏิบตั ิ แต่ไม่ให้ ประมาทในความผ่อนคลาย การมีสติ ไม่ เคร่งครัดเกินไป และไม่ผอ่ นคลายเกินไป นัน่ คือ ทางสายกลาง ชุมชนการปฏิบตั ิธรรมแต่ละแห่ง มีวิถีการฝึ กปฏิบตั ิเพื่อดูแลสิง่ แวดล้ อม และดาเนินชีวิต ในวิถีที่จะช่วยลดภาวะโลกร้ อน โดยเลือกรับประทานอาหารมังสวิรัติ งดนมและผลิตภัณฑ์จากนม งดบริ โภคไข่ เพื่อลดการใช้ ทรัพยากรและลดมลภาวะต่างๆ ที่เกิดจากการเลี ้ยงปศุสตั ว์ ทังยั ้ งมีการ ฝึ กปฏิบตั ิ การฝึ กปฏิบตั ิเช่นนี ้เป็ นแรงบันดาลใจให้ กบั ผู้คนทัว่ ไป เพื่อช่วยกันเยียวยาโลกที่กาลังอยู่ ในภาวะวิกฤติทงสิ ั ้ ง่ แวดล้ อมทางธรรมชาติและความรุนแรงในสังคม โดยเริ่ มจากการฝึ กสติ ตระหนักรู้ มีสนั ติในตนเอง ผ่านการปรับเปลีย่ นวิถีชีวิต ผ่านการกระทาในชีวิตประจาวัน
เป้าหมายโครงการ
1- 2
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
โดยมีตารางปฏิบตั ิประจาวัน ดังนี ้
รูปที่ 1-1 แสดงตารางกิจกรรมภาวนาประจาวัน 5.00 ตื่น 5 .30 นัง่ สมาธิ สวดมนต์ เดินวิถีแห่งสติ 7.00 อาหารเช้ าในความเงียบ 9.00 ธรรมบรรยาย 11.30 รับประทานอาหารกลางวันในความเงียบร่วมกันเป็ นสังฆะ 13.30 การผ่อนคลายอย่างสมบูรณ์ (นอนสมาธิ) 14.30 สนทนาธรรมในกลุม่ ย่อย 16.30 ออกกาลังกายในวิถีแห่งสติ 17.30 อาหารเบามื ้อเย็น 19.30 นัง่ สมาธิ สวดมนต์ / นาเสนอ : ข้ อฝึ กอบรมสติ 5 ประการ / การสร้ างสังฆะ 22.00 สัมผัสความนิ่งเงียบภายในและภายนอก เข้ านอน ที่มา : ตารางกิจกรรมภาวนาประจาวันของ Case Study หมู่บ้านพลัม
เป้าหมายโครงการ
1- 3
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
กลุ่มผู้ใช้ โครงการ
ช่ วงเวลาของผู้ใช้
พระผู้นา
เฉพาะช่วงเวลาที่มีกิจกรรมภาวนา พระบางท่านอาจอยูป่ ระจา / ไป-กลับ หรื อเฉพาะช่วงเวลาที่มีกิจกรรมภาวนา เฉพาะช่วงเวลาที่มีกิจกรรมภาวนาและ สามารถเข้ ามาเที่ยวชมส่วนจัดนิทรรศการ ร้ านขายหนังสือ ของที่ระลึก ร้ านอาหาร ตังแต่ ้ เวลา 10.00 - 18.00 น. สามารถเข้ ามาเที่ยวชมส่วนจัดนิทรรศการ ร้ านขายหนังสือ ของที่ระลึก ร้ านอาหาร ตังแต่ ้ เวลา 10.00 - 18.00 น. อยูป่ ระจา ตารางที่ 1-1 แสดงตารางเวลาพร้ อมจานวนผู้ใช้ งาน
พระผู้ช่วย
ฆราวาส
นักท่องเที่ยว เจ้ าหน้ าที่
เวลา
กิจกรรม
ตื่น นัง่ สมาธิ สวดมนต์ เดินวิถีแห่งสติ 7.00 อาหารเช้ าในความเงียบ 9.00 ธรรมบรรยาย 11.30 รับประทานอาหารกลางวันในความ เงียบร่วมกันเป็ นสังฆะ 13.30 การผ่อนคลายอย่างสมบูรณ์ (นอนสมาธิ) 14.30 สนทนาธรรมในกลุม่ ย่อย
กลุ่มผู้ใช้ อาคาร
5.00 5.30
16.30 ออกกาลังกายในวิถีแห่งสติ เป้าหมายโครงการ
จานวน (รูป / คน) 1 25-30
250-300
15-20 10
ประเภทอาคาร ห้ องพัก ศาลาปฏิบตั ิธรรม ลานกิจกรรม
พระ, ฆราวาส
โรงครัว ศาลาปฏิบตั ิธรรม โรงครัว ศาลาปฏิบตั ิธรรม ศาลาปฏิบตั ิธรรม ลานธรรม ลานกิจกรรม 1- 4
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
17.30 อาหารเบามื ้อเย็น โรงครัว 19.30 นัง่ สมาธิ สวดมนต์ / ศาลาปฏิบตั ิธรรม นาเสนอ : ข้ อฝึ กอบรมสติ 5 ประการ / การสร้ างสังฆะ 22.00 สัมผัสความนิ่งเงียบภายในและ ห้ องพัก ภายนอก เข้ านอน ตารางที่ 1-2 แสดงตารางกิจกรรมพร้ อมด้ วยสถานที่ใช้ งาน 1. องค์ประกอบโครงการและพื ้นที่ใช้ สอยโครงการ องค์ประกอบของโครงการโบยบินอิสระประกอบไปด้ วย - ส่วนกลาง (Common Area) - ส่วนสนับสนุนโครงการ (Support Zone) - ส่วนพักอาศัย (Residential Zone) - ส่วนบริ หาร (Administration Zone) - ส่วนบริ การ (Service Zone) - ส่วนจอดรถ (Parking Zone) 2. พื ้นที่โครงการ การวิเคราะห์พื ้นที่โครงการของโครงการโบยบินอิสระได้ จากการคานวณหาพื ้นที่ใช้ งานจากก กิจกรรมที่เกิดขึ ้นในโครงการของแต่ละส่วน แล้ วนามารวมกับพื ้นที่สญ ั จร ซึง่ พื ้นที่สญ ั จรแต่ละส่วน ก็แบ่งเป็ นเปอร์ เซ็นต์ตา่ งกันออกไป องค์ ประกอบโครงการ พืน้ ที่ใช้ สอย (%) พืน้ ที่สัญจร (%) ส่วนกลาง 49 50 ส่วนสนับสนุนโครงการ 12 50 ส่วนพักอาศัย 19 40 ส่วนบริ หาร 2 40 ส่วนบริ การ 9 30 ส่วนจอดรถ 9 30 ตารางที่ 1-3 แสดงองค์ประกอบโครงการโดยแบ่งเป็ นเปอร์ เซ็นต์ของพื ้นที่ใช้ สอยและพื ้นที่สญ ั จร
เป้าหมายโครงการ
1- 5
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
1.
3. เป้าหมายโครงการทางด้ านรูปแบบ
รูปที่ 1-2 แสดงการเลือกทาเลที่ตงโครงการระดั ั้ บมหาภาค 1.3.1. การเลือกทาเลที่ตงั ้ โครงการ เนื่องจากโครงการโบยบินอิสระเป็ นสถานปฏิบัติธรรมเพื่อนักบวช และฆราวาสจากทั่ว โลก ดังนัน้ ประเทศไทยซึ่งตัง้ อยู่ท่ามกลางของประเทศเพื่อนบ้ านที่นับถือศาสนาพุทธเป็ น ส่ วนใหญ่ เช่ น พม่ า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย สิงค์ โปร ตลอดจนไปถึงอินเดีย และศรีลังกา - ลักษณะของกายภาพที่ตงโครงการ ั้ - ระบบการขนส่ง - สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ - ผลตอบแทนทางด้ านสังคมและคุณภาพชีวิต
รูปที่ 1-3 แสดงการเลือกทาเลที่ตงโครงการระดั ั้ บภาค เป้าหมายโครงการ
1- 6
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
กรุงเทพมหานคร เป็ นเมืองหลวงของประเทศไทย ซึง่ สามารถเดินทางโดยสารจากเครื่ องบินจาก จังหวัดเชียงใหม่ และภูเก็ตซึง่ เป็ นการสโคปจากทางภาคเหนือและใต้ เข้ าหาจุดศูนย์กลาง
รูปที่ 1-4 แสดงการเลือกทาเลที่ตงโครงการระดั ั้ บจังหวัด จากกรุงเทพมหานครและกาญจนบุรี ระยะห่าง 146 กิโลเมตร เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง 13 นาที ซึง่ กาญจนบุรีเป็ นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางด้ านภูมิประเทศ เนื่องจากแผนการพัฒนาการ ใช้ ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดกาญจนบุรีสว่ นใหญ่นนเป็ ั ้ นพื ้นที่อนุรักษ์ ป่าไม้ เสียส่วนใหญ่ ทาให้ มี แหล่งที่อุดมสมบูรณ์มีทงแม่ ั ้ น ้า ลาธาร ภูเขา และสภาพอากาศที่อุดมสมบูรณ์ อีกทังยั ้ งมีการ คมนาคมที่สะดวก และแผนพัฒนาโครงการสร้ างถนนของกรมทางหลวงอีกด้ วย
รูปที่ 1-5 แสดงการเลือกทาเลที่ตงโครงการระดั ั้ บจังหวัด
เป้าหมายโครงการ
1- 7
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
รูปที่ 1-6 แสดงการเลือกทาเลที่ตงโครงการระดั ั้ บอาเภอ
ตารางที่ 1-4 แสดงระยะทางจากอาเภอเมืองถึงอาเภอต่างๆ ในจังหวัดกาญจนบุรี จากตารางด้ านบนจะเห็นได้ วา่ อาเภอที่ตงอยู ั ้ ไ่ ม่หา่ งจากอาเภอเมืองกาญจนบุรีคือ อาเภอท่าม่วง อาเภอพนมทวน อาเภอท่ามะกา อาเภอด่านมะขามเตี ้ย อาเภอบ่อพลอย อาเภอไทรโยค อาเภอห้ วยกระเฉา อาเภอหนองปรื อ อาเภอเลาขวัญ อาเภอศรี สวัสดิ์ อาเภอทองผาภูมิ และอาเภอ สังขละบุรี ตามลาดับ ทาเลที่ตงโครงการโบยบิ ั้ นอิสระสถานตังอยู ้ ่ ต.ท่าเสา อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับ อาเภอทองผาภูมิ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อาเภอบ่อพลอย ทิศตะวันตก ติดต่อกับ สหภาพพม่า ทิศใต้ ติดต่อกับ อาเภอเมืองกาญจนบุรี การใช้ ประโยชน์ ท่ ดี ิน ข้ อ 11 ที่ดินประเภทอนุรักษ์ ป่าไม้ ให้ ใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและคุ้มครองดูแลรักษา หรื อบารุงป่ าไม้ สัตว์ป่า ต้ นน ้าลาธาร และธรรมชาติอื่นๆ ไว้ เพื่อความสมดุลของระบบนิเวศและ สภาพแวดล้ อมตามธรรมชาติตามมติคณะรัฐมนตรี และกฎหมายที่เกี่ยวกับการป่ าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้ อมแห่งชาติ และเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เท่านัน้
เป้าหมายโครงการ
1- 8
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
ที่ดินประเภทนี ้ซึง่ เอกชนเป็ นเจ้ าของหรื อผู้ครอบครองโดยชอบด้ วยกฎหมาย ให้ ใช้ ประโยชน์ที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม การท่องเที่ยวเชิงวิเวศ การอยูอ่ าศัยประเภทบ้ านเดี่ยวที่มิใช่การจัดสรรที่ดิน โดยมี ความสูงของอาคารไม่เกิน 6 เมตร ขนาดพื ้นที่อาคารไม่เกิน 200 ตารางเมตร หรื อพาณิชยกรรมที่ ไม่ใช่อาคารขนาดใหญ่ การวัดความสูงของอาคาร ให้ วดั จากระดับพื ้นดินที่ก่อสร้ างถึงพื ้นดาดฟ้า สาหรับอาคารทรงจัว่ หรื อปั น้ หยาให้ วดั จากระดับพื ้นดินที่ก่อสร้ างถึงยอดผนังชันสู ้ งสุด ที่ดินประเภทนี ้ ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้ วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมให้ ใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การใช้ ประโยชน์ที่ดินริ มฝั่ งแม่น ้า คลอง หรื อแหล่งน ้าสาธารณะ ให้ มีที่วา่ งตามแนวขนานริ มฝั่ งตาม ธรรมชาติของแม่น ้า คลอง หรื อแหล่งน ้าสาธารณะไม่น้อยกว่า 15 เมตร เว้ นแต่เป็ นการก่อสร้ างเพื่อการคมนาคมทางน ้าหรื อการสาธารณูปโภค สภาพการใช้ ประโยชน์ ท่ ดี ิน จังหวัดกาญจนบุรี สามารถจาแนกประเภทการใช้ ที่ดินที่สาคัญ คือพื ้นที่ป่าไม้ 6 ,553,356 ไร่ คิด เป็ นร้ อยละ 53.82 ของการใช้ ประโยชน์ที่ดินทังจั ้ งหวัด พื ้นที่ถือครองเพื่อการเกษตร 1 ,980,595 ไร่ คิดเป็ นร้ อยละ 16.26 ของการใช้ ประโยชน์ที่ดินทังจั ้ งหวัด โดยแบ่งออกเป็ นที่อยูอ่ าศัย 59 ,690 ไร่ พื ้นที่ทานา 402,123 ไร่ พื ้นที่ปลูกพืชไร่ 1,216,666 ไร่ พื ้นที่ไม้ ผลและไม้ ยืนต้ น 195 ,958 ไร่ พื ้นที่ สวนผักและไม้ ดอก 50 ,530 ไร่ ที่เลี ้ยงปศุสตั ว์ 18 ,690 ไร่ ที่รกร้ างว่างเปล่าและอื่นๆ 36 ,938 ไร่ และนอกจากนี ้ยังมีเขตหวงห้ ามของทางราชการทหารประมาณ 1,622,687.62 ไร่ โดยในพื ้นที่เขต หวงห้ ามของทางราชการทหารและพื ้นที่ป่าไม้ ได้ มีพื ้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรซ้ อนทับอยู่ โดยมี พื ้นที่ประมาณ 1,163,606 ไร่ การเปลีย่ นแปลงการใช้ ที่ดินของจังหวัด ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2527-2542 เนื ้อที่ป่าไม้ ของจังหวัด ลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึง่ พื ้นที่สว่ นใหญ่ของจังหวัดจะเป็ นพื ้นที่ป่าไม้ แล้ ว ยังมีพื ้นที่เขตหวงห้ ามที่ดิน เพื่อการทหารอีก ดังนันถึ ้ งจะเป็ นขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของประเทศ แต่ก็มีพื ้นที่ถือครองเพื่อ การเกษตรเป็ นสัดส่วนที่ต่า เมื่อเทียบกับพื ้นที่จงั หวัด และมีแนวโน้ มจะลดลงเรื่ อยๆ ลักษณะทางกายภาพที่ตงั ้ โครงการ ที่ตงั ้ จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นจังหวัดชายแดนติดกับประเทศพม่า ตังอยู ้ ใ่ นภาคกลางด้ านตะวันตก ของประเทศไทย ระหว่างละติจูดที่ 13 องศา 45 ลิปดาเหนือ กับ 15 องศา 40 ลิปดาตะวันออกและ ระหว่างลองจิจูดที่ 48 องศา 14 ลิปดาตะวันออก กับ 99 องศา 53 ลิปดาตะวันออก ระยะห่างจาก
เป้าหมายโครงการ
1- 9
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
กรุงเทพมหานครตามเส้ นทางสายเพชรเกษมประมาณ 129 กิโลเมตร และทางรถไฟประมาณ 133 กิโลเมตร ขนาดของพื ้นที่ มีเนื ้อที่ประมาณ 19,483 ตารางกิโลเมตร เป็ นจังหวัดที่มีพื ้นที่มากเป็ นอันดับ 3 ของประเทศไทย รองจากจังหวัดนครราชศรี มา และจังหวัดเชียงใหม่ ตามลาดับ เขตการปกครอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 จังหวัดกาญจนบุรี แบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคเป็ น 13 อาเภอ 98 ตาบล และ 920 หมู่บ้าน ได้ แก่ - อาเภอเมืองกาญจนบุรี - อาเภอทองผาภูมิ - อาเภอท่าม่วง - อาเภอท่ามะกา - อาเภอไทรโยค - อาเภอบ่อพลอย - อาเภอพนมทวน - อาเภอเลาขวัญ - อาเภอศรี สวัสดิ์ - อาเภอสังขละบุรี - อาเภอด่านมะขามเตี ้ย - อาเภอหนองปรื อ - อาเภอห้ วยกระเจา การปกครองส่วนท้ องถิ่นประกอบด้ วย องค์การบริ หารส่วนจังหวัด เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาล ตาบล 26 แห่ง และองค์การบริ หารส่วนตาบล 94 แห่ง อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดตาก จังหวัดอุทยั ธานี จังหวัดสุพรรณบุรี และสหภาพพม่า ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม และจังหวัดราชบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับสหภาพพม่า โดยมีทิวเขาตะนาวศรี เป็ นแนวเขตแดนระหว่างประเทศ ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดกาญจนบุรีมีลกั ษณะภูมิประเทศประกอบไปด้ วยทิวเขา หุบเขา ที่ราบ ลุม่ แม่น ้าโดยพื ้นที่ทางภาคเหนือ และตะวันตกของจังหวัดเป็ นเทือกเขา แล้ วค่อยๆ ลาดลงมา ทางด้ านตะวันออกและด้ านใต้ สามารถแบ่งออกเป็ น 3 เขต ลักษณะภูมิอากาศ เนื่องจากจังหวัดกาญจนบุรีมีสภาพพื ้นที่กว้ างขวางมาก ลักษณะภูมิอากาศจึง แตกต่างกันออกไป โดยบริ เวณที่ราบจะมีลกั ษณะภูมิอากาศคล้ ายจังหวัดทัว่ ๆ ไปในภาคกลาง ส่วนบริ เวณที่เป็ นป่ าและภูเขาจะแตกต่างออกไป คือฤดูร้อนจะร้ อนจัด ฤดูหนาวจะหนาวจัด จาก ของสถานีอุตนุ ิยมวิทยากาญจนบุรีประจาปี 2546 พบว่า มีอุณหภูมิเฉลีย่ ทังปี ้ ประมาณ 27.78 องศาเซลเซียส เมื่อเดือนธันวาคม ความชื ้นสัมพันธ์ เฉลีย่ 71.14% โดยมีความชื ้นเฉลีย่ สูงสุดใน เดือนกรกฎาคมและตุลาคม 98.0% ความชื ้นต่าสุดเฉลีย่ 19.0% ในเดือนมีนาคมและเมษายน ส่วนในฤดูฝนเนื่องจากมีทิวเขาตะนาวศรี กนทางทิ ั้ ศตะวันตกของจังหวัดได้ ปิดกันกระแสลมมรสุ ้ ม ตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงฤดูฝน ปริ มาณน ้าฝนจึงต่า เพราะอยูห่ ลังเขา โดยมีปริ มาณน ้าฝนรวม เป้าหมายโครงการ
1- 10
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
ตลอดปี 1,184.5 ม.ม. และฝนตกเฉลีย่ 104 วันในหนึง่ ปี เดือนที่มีฝนตกมากที่สดุ คือเดือน กันยายน มีปริ มาณน ้าฝนเฉลีย่ ประมาณ 244.9 ม.ม. เดือนที่มีฝนตกน้ อยที่สดุ คือเดือนมกราคม พฤศจิกายน และธันวาคม ไม่มีปริ มาณน ้าฝนเลย ทรัพยากรด้ านการท่องเที่ยว จังหวัดกาญจนบุรี มีแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ และเป็ นที่ร้ ูจกั ของ นักท่องเที่ยวชาวไทย และชาวต่างประเทศ โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม นอกจากนี ้เมืองกาญจนบุรียงั เป็ นเมืองสาคัญทางประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม สิง่ ที่ดงึ ดูด ความสนใจของนักท่องเที่ยวมาก ได้ แก่ น ้าตก ถ ้า ภูเขา และอ่างเก็บน ้าต่างๆ ระบบการขนส่ ง - รถยนต์ หรื อจักรยานยนต์สว่ นตัว จาก ถนนแสงชูโต (หมายเลข 323) - รถโดยสารประจาทาง (รถทัวร์ ) สาย อ.เมือง-อ.ไทรโยค - รถตู้ประจาทาง สายกรุงเทพ-กาญจนบุรี - รถไฟ สถานีวงั โพ (ตัวอาเภอไทรโยค) การกาหนดที่ตงั ้ และขนาดที่ตงั ้ โครงการ โบยบินอิสระสถานมีเนื ้อที่ทงหมด ั้ 25,600 ตารางเมตร หรื อประมาณ 16 ไร่
เป้าหมายโครงการ
1- 11
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
การวิเคราะห์ ทาเลที่ตงั ้ โครงการ โครงการที่ 1
เป้าหมายโครงการ
1- 12
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
การวิเคราะห์ ทาเลที่ตงั ้ โครงการ โครงการที่ 2
เป้าหมายโครงการ
1- 13
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
การวิเคราะห์ ทาเลที่ตงั ้ โครงการ โครงการที่ 3
เป้าหมายโครงการ
1- 14
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
สรุปการวิเคราะห์ ทาเลที่ตงั ้ โครงการทัง้ 3 โครงการ
สรุปได้ วา่ โครงการที่ 2 เหมาะสมที่สดุ ในจากการวิเคราะห์ทาเลที่ตงโครงการ ั้ เนื่องจากมีศกั ยภาพ พร้ อมทุกด้ าน ไม่วา่ จะเป็ นด้ านทัศนียภาพในโครงการ (Landscape View) ค่าที่ดิน การคมนาคม ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ตามลาดับ
มุมมองจากหน้ าด้ านโครงการ (Street Front View)
มุมมองจากภายในโครงการ-หน้ าโครงการ
ลักษณะความลาดชันภายในโครงการ
แม่น ้าแควน้ อย บริเวณทิศตะวันตกของโครงการ
เป้าหมายโครงการ
1- 15
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
จินตภาพโครงการ
รูปที่ 1-7 แสดงจินตภาพโครงการเบื ้องต้ น (First Idea of Sketch Design)
รูปที่ 1-8 แสดงจินตภาพโครงการเบื ้องต้ น (First Idea of Sketch Design) การจัดแบ่งส่วนระหว่างความเป็ นสาธารณะ (Public Zone) และ ความเป็ นส่วนตัว (Private Zone) ไว้ ด้านหน้ าและด้ านหลังเพื่อความปลอดภัยสาหรับนักบวชและฆราวาสที่เดินทางมาค้ าง คืนเป็ นเวลาหลายวันในโครงการ ให้ เกิดความเป็ นส่วนตัวมากขึ ้นจากการแบ่งดังกล่าว จากนัน้ มี การลาดับความสาคัญของแต่ละองค์ประกอบ การลาดับการเข้ าถึงของผู้ใช้ โครงการต่างๆ
เป้าหมายโครงการ
1- 16
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
โดยคานึงถึงทิศทางการเข้ าถึง เวลาใช้ งานของผู้ใช้ รวมไปถึงการจัดบรรยากาศการเข้ าถึงให้ สอดคล้ องกับบริ บทโดยรอบให้ เกิดความสงบ และเป็ นพิ ้นที่ที่สามารถปฏิบตั ิสมาธิได้ ตลอดวันทัว่ โครงการ 1. 3. เป้าหมายโครงการทางด้ านเศรษฐศาสตร์ โครงการศูนย์ศกึ ษาและปฏิบตั ิธรรมทางพุทธศาสนานี ้ เป็ นโครงการที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของ มูลนิธิเอกชน เป็ นโครงการที่สง่ เสริ มการศึกษา และอนุรักษ์ พทุ ธศาสนาซึง่ มุ่งให้ ประโยชน์แก่สงั คม ส่วนรวม จึงไม่ได้ ม่งุ หวังกาไรในเชิงพาณิชย์ หากแต่เน้ นด้ านการศึกษาและคุณค่าทางการอนุรักษ์ เป็ นผล อีกทังยั ้ งเป็ นสถานที่พกั ผ่อนของชาวบ้ านบริ เวณนัน้ และนักท่องเที่ยวที่จะช่วยส่งเสริ ม คุณภาพชีวิตที่ดีขึ ้นอีกด้ วย 1.4. เป้าหมายโครงการทางด้ านเทคโนโลยี มีการกาหนดการใช้ สอยเทคโนโลยีหรื องานระบบประกอบอาคารที่เหมาะสมกับประเภทของ อาคารและสอดคล้ องกับเป้าหมายอื่นๆ เช่น - ด้ านแสง สีของอาคาร - ด้ านเสียง - ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงาน - ด้ านการสอดแทรกงานระบบเข้ าไปในตัวอาคารอย่างกลมกลืน
เป้าหมายโครงการ
1- 17