โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
บทที่ 2 ข้ อมูลพืน้ ฐานโครงการ 2.1 ข้ อมูลพืน้ ฐานด้ านหน้ าที่ใช้ สอย ก. ผู้ใช้ โครงการ ข. กิจกรรม ก. ผู้ใช้ โครงการ 1. โครงสร้ างองค์ กร - ทีมทางาน จานวน 2 คน - ฝ่ ายประสานงาน (ตรวจสอบผู้เข้ าออกโครงการ) จานวน 1 คน - ฝ่ ายการจัดการเรื่ องขนส่งและซื ้อของ จานวน 2 คน - ฝ่ ายเทคนิค (ระบบแสง สี เสียง) จานวน 1 คน - ฝ่ ายปกครอง จานวน 1 คน - ฝ่ ายโรงครัว จานวน 3 คน - ฝ่ ายจัดการ (Organization) จานวน 1 คน 2. ปริมาณผู้ใช้ อาคาร จาก Case Study ของวัดสุนนั ทวนาราม เฉลีย่ ปริ มาณผู้เข้ าอบรมแต่ละรุ่น ครัง้ ละอย่าง น้ อยที่สดุ 150 คน มากที่สดุ 980 คนในช่วงเทศกาล เช่น วันปี ใหม่ วันสาคัญทางศาสนา และที่พกั รองรับผู้เข้ าอบรมโครงการประมาณ 1,500 คน และสามารถรับรองได้ มากกว่านี ้ โดยมีพื ้นที่สาหรับรองรับเป็ นที่พกั แบบกลางเต๊ นท์ในพื ้นที่โล่ง จาก Case Study ของหมู่บ้านพลัมแห่งประเทศไทย เฉลีย่ ปริ มาณผู้เข้ าอบรมอ้ างอิงจาก จานวนรองรับจานวนผู้เข้ าอบรมทัง้ 500 คน และในอนาคตจะต่อขยายถึง 1,500 คน กลุม่ ผู้ใช้ หลัก : พระผู้นา 1 รูป : พระผู้ช่วย 15-30 รูป กลุม่ ผู้ใช้ รอง : ฆราวาส 150-300 คน : นักท่องเที่ยว 10-20 คน เจ้ าหน้ าที่ : ทีมงาน และฝ่ ายต่างๆ 10 คน ที่มา : จากการวิเคราะห์หาปริ มาณผู้ใช้ โครงการจากบทที่ 1 และการวิเคราะห์จาก Case Study เป้าหมายโครงการ
1- 18
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
3. กิจกรรมของผู้ใช้ โครงการ ปริมาณผู้ใช้ ผู้ใช้
กิจกรรมหลัก
กิจกรรมรอง
ปฏิบตั ิธรรม ภาวนา นัง่ สมาธิ ปาฐกถาธรรม
ดื่มน ้าชา สนทนาธรรม
( คน / วัน )
พระผู้นา
1
ศึกษาธรรมมะ เพิ่มเติม พระผู้ช่วย 30 สนทนาธรรม ดื่มน ้าชา ปฏิบตั ิธรรม ศึกษาธรรมมะ ฆราวาส 300 ร่วมพิธีตา่ งๆ เพิ่มเติม เจ้ าหน้ าที่ 10 ติดต่อประสานงาน ผู้ติดตามพระ 5 รับใช้ พระผู้นา ตารางที่ 2-1 แสดงลักษณะของผู้ใช้ อาคาร กิจกรรมหลัก และกิจกรรมรอง ปฏิบตั ิธรรม ภาวนา นัง่ สมาธิ ช่วยงานพระผู้นา
ข. กิจกรรม 1. ประเภทของกิจกรรม กิจกรรม
ผู้ร่วมกิจกรรม
จานวน ผู้ใช้
ส่ วนที่เกิดกิจกรรม
1. การปฏิบตั ิธรรม - นัง่ สมาธิ พระ, ฆราวาส 30, 300 ศาลาปฏิบตั ิธรรม - สวดมนต์ พระ, ฆราวาส 30, 300 ศาลาปฏิบตั ิธรรม - เดินวิถีแห่งสติ พระ, ฆราวาส 30, 300 ศาลาปฏิบตั ิธรรม - นอนสมาธิ พระ, ฆราวาส 30, 300 ศาลาปฏิบตั ิธรรม 2. การแสดงธรรมเทศนา - ธรรมบรรยาย พระ, ฆราวาส 30, 300 ศาลาปฏิบตั ิธรรม - สนทนาธรรม พระ, ฆราวาส 30, 300 ลานกิจกรรม 4. งานจัดนิทรรศการ นักท่องเที่ยว 10-20 ห้ องโถง ตารางที่ 2-2 แสดงประเภทกิจกรรม จานวนผู้ร่วมกิจกรรม จานวนผู้ใช้ และส่วนที่เกิดกิจกรรม
เป้าหมายโครงการ
1- 19
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
2. รูปแบบและพฤติกรรมของผู้ใช้
รูปที่ 2-3 แสดงรูปแบบพฤติกรรมของพระผู้นา, พระผู้ช่วย, ฆราวาส ที่มา : ตารางกิจกรรมภาวนาประจาวันจาก Case Study ของหมู่บ้านพลัม 3. พฤติกรรมและสภาพแวดล้ อมของกิจกรรม สถานปฏิบตั ิธรรมที่มีความสัปปายะเป็ นสภาพแวดล้ อมตามองค์ประกอบ ดังนี ้ ก. ความสงบ ข. ความสะอาด ค. ความสว่าง 2.2 ข้ อมูลพืน้ ฐานด้ านรูปแบบ ก. ที่ตงและสภาพแวดล้ ั้ อม ข. จินตภาพโครงการ
เป้าหมายโครงการ
1- 20
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
ก. ที่ตงและสภาพแวดล้ ั้ อม ประเภทการ ประเด็นที่ศึกษา วิเคราะห์
1. ด้ านเศรษฐกิจ และการเงิน
2. ด้ านเทคนิค
เนื่องจากเป็ นโครงการประเภทศาสนา (อาคาร สาธารณะ) จึงมักได้ รับการสนับสนุนจากประชาชน - ราคาที่ดิน ทัว่ ไปผู้มีจิตศรัทธาและจากรัฐและเอกชน ดังนันจึ ้ ง ไม่มีผลต่อการเลือกทาเลที่ตงของโครงการมากนั ั้ ก เป็ นโครงการที่ไม่ม่งุ หวังผลกาไรในเชิงพาณิชย์ - สภาพการตลาดและ หากแต่วา่ มุ่งเน้ นแต่เพียงเพื่อรักษาและดารงไว้ ซงึ่ ส่วนแบ่ง พระพุทธศาสนาและอบรม สัง่ สอน ฝึ กฝนบุคคล เพื่อดารงในสังคมให้ ดีขึ ้นๆ ไป - การใช้ ที่ดิน ควรคานึงถึงเรื่ องของเสียงจากการทากิจกรรม - สาธารณูปโภคและ ต้ องมีความเพียงพอสาหรับกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ ้น สาธารณูปการ ภายในโครงการ ถนนเข้ ามาภายในโครงการค่อนข้ างลึก เนื่องจาก - ความสะดวกในการ ต้ องการพึง่ ศักยภาพของทาเลที่ตงที ั ้ ่เหมาะสมกับ เข้ าถึง โครงการ คือ ลาน ้า ทิวเขา ต้ นไม้ อากาศบริ สทุ ธิ์ - การคมนาคมและ สภาพการสัญจร
- ความปลอดภัย 3. ด้ านสังคมและ วัฒนธรรม
- ความเหมาะสมของ ประเภทอาคาร - การได้ รับการ สนับสนุนจากชุมชน
เป้าหมายโครงการ
ควรคานึงถึง
พื ้นที่โครงการอยูบ่ นถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 323 (ถนนแสงชูโต) สภาพการจราจรมีความ คล่องตัวสูง เน้ นความปลอดภัยของพระ ในส่วนของที่พกั และ ฆราวาส ในส่วนของที่พกั รวมไปถึงอาคาร สานักงานที่รวบรวมเอกสารข้ อมูล และของมีคา่ ที่ ประชาชนนามาถวาย เป็ นต้ น ไม่มีผลเสียใดๆ ต่อสภาพแวดล้ อมโดยรอบ เพราะ เดิมเป็ นพื ้นที่เกษตรกรรม แต่ต้องวิเคราะห์การวาง สัดส่วนและตาแหน่งของอาคารภายในโครงการ เพื่อให้ สง่ ผลกระทบต่อบริ บทโดยรอบ การสนับสนุนจากกันและกันเพื่อจะสามารถอยูบ่ น หนทางของพระพุทธองค์ เพื่อสืบต่อหนทางอัน 1- 21
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
4. ด้ านสภาวะ แวดล้ อม
5. ด้ านแนวโน้ ม โครงการ
เป้าหมายโครงการ
ประเสริ ฐของพระพุทธองค์ผ้ เู ป็ นครูของเรา - สภาพบริ เวณ บริ เวณโดยรอบเป็ นพื ้นที่เกษตรกรรม พื ้นที่โล่ง โดยรอบ หมู่บ้าน และแพริ มน ้า 1 แหล่ง มุมมองโดยรอบจากโครงการดีมาก เห็นทิวเขา ลา น ้า ต้ นไม้ ป่ าไม้ ซึง่ จัดว่าเป็ นมุมมองรอบโครงการที่ - ทิวทัศน์ ดีและส่งผลให้ ผ้ มู าปฏิบตั ิธรรมนันมี ้ สภาพจิตใจที่ดี ตามสภาพแวดล้ อมด้ วย เนื่องจากเป็ นโครงการที่เปิ ดให้ ประชาชนทัว่ ไป - การมองเห็นที่ตงและ ั้ สามารถเข้ ามาภายในโครงการได้ ด้วย ดังนัน้ การเชื ้อเชิญ โครงการต้ องง่ายต่อการมองเห็นและเชื ้อเชิญ การวางอาคารในแนวราบ เพื่อให้ ได้ สมั ผัสกับ - ความสัมพันธ์ กบั ธรรมชาติภายในโครงการ และมีพื ้นที่สเี ขียวหรื อ โครงการที่เกี่ยวข้ อง พื ้นที่โล่งเป็ นตัวเชื่อมระหว่างอาคารส่วนต่างๆ ทาเลที่ตงตั ั ้ งอยู ้ ท่ า่ มกลางธรรมชาติ ดังนันโครงการ ้ - ความสงบอยูใ่ น อาจไม่ต้องการการปิ ดล้ อมหรื อห่างจากภายนอก สภาพแวดล้ อมที่ดี มากนัก - การขยายตัวของ มีความเป็ นไปได้ แต่ไม่มาก เนื่องจากโครงการ โครงการ โดยรอบเป็ นพื ้นที่เกษตรกรรมของโครงการหลวง - แนวโน้ มของการ เปลีย่ นแปลงการใช้ มีการเปลีย่ นแปลงน้ อย ประโยชน์ที่ดิน - แนวโน้ มที่จะได้ รับ ระบบการขนส่งมีแนวโน้ มในการพัฒนาที่ดีขึ ้น ประโยชน์จากระบบ เพราะจังหวัดกาญจนบุรีกาลังมีโครงการของกรม การขนส่ง ทางหลวง ทาให้ มีการพัฒนาการขนส่งอย่างแน่นอน รูปที่ 2-4 แสดงที่ตงและสภาพแวดล้ ั้ อมโครงการ
1- 22
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
ข. จินตภาพ ลักษณะ 1. จินตภาพ ภายนอก
2. จินตภาพ ภายใน
เป้าหมายโครงการ
กรณีศึกษา
แสดงการวิเคราะห์ มีความสงบ ความเรี ยบง่าย ไม่ซบั ซ้ อน ต้ องการให้ - รูปร่างและรูปทรง เข้ าใจอาคารนันอย่ ้ างชัดเจน ถ้ าเป็ นโรงอาหารก็บง่ อาคาร บอกภายนอกเลยว่าเป็ นโรงอาหาร ไม่ต้องมีการ ออกแบบที่ซบั ซ้ อน หรื อยากต่อการเข้ าถึง รูปแบบและสไตล์ของอาคารภายนอกมีความเป็ น - รูปแบบและสไตล์ ญี่ปนและสี ุ่ ของอาคารค่อนข้ างมืด เพื่อให้ เกิดความ สงบเวลามอง สัดส่วนทังโครงการจั ้ ดอยูใ่ นระแนบเดียวกัน ไม่มี - สัดส่วน จังหวะ และ อาคารไหนโดดเด่นหรื อสูงกว่า ทุกอาคารจะมีความ ลาดับ สูงที่ไหล่เลียกัน บรรยากาศการเข้ าถึงนันส ้ าคัญจึงมีการจัดภูมิ สถาปั ตยกรรมให้ สร้ างบรรยากาศให้ เกิดความสงบ - การเข้ าถึง ระหว่างทางเดิน และการเข้ าถึงระหว่างอาคารและ อาคารต่างๆ ภายในโครงการ ที่วา่ งค่อนข้ างพอดีกบั การใช้ การพื ้นที่จริ งของผู้ใช้ อาคาร เพราะเนื่องจากเป็ นการประหยัด - ลักษณะและ งบประมาณแล้ วนัน้ ยังจะช่วยให้ ผ้ ใู ช้ อาคารเกิด คุณภาพของที่วา่ ง ความเกรงใจพื ้นที่และเกิดความตังใจ ้ ความสงบใน การสัญจรภายในอาคาร จังหวะหรื อลาดับภายในอาคารค่อนข้ างจะเป็ น กิจกรรมที่ติดอยูก่ บั ระดับพื ้นเสียส่วนใหญ่ การ ปฏิบตั ิธรรมก็นงั่ แนบกับพื ้นดิน การรับประทาน - จังหวะหรื อลาดับ อาหารโดยการนัง่ โต๊ ะรวมยาว เบาะติดพื ้น คล้ าย การกินแบบญี่ปนุ่ รวมไปถึงห้ องนอนที่ไม่ใช้ เตียง แตก แต่เป็ นการปูพื ้นนอนรวมกัน - จุดอ้ างอิง รูปที่ 2-5 แสดงจินตภาพโครงการ
1- 23
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
รูปที่ 2-6 กรณีศกึ ษา 1 ที่มา : จาก Case Study หอจดหมายเหตุพทุ ธทาส อินทปั ญโญ แขวงจัตจุ กั ร กรุงเทพฯ
รูปที่ 2-7 กรณีศกึ ษา 2 ที่มา : จาก Case Study วัดป่ าสุนนั ทวานาราม อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี เป้าหมายโครงการ
1- 24
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
รูปที่ 2-8 กรณีศกึ ษา 3 ที่มา : จาก Case Study หมู่บ้านพลัมแห่งประเทศไทย อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
รูปที่ 2-9 กรณีศกึ ษา 4 ที่มา : จาก Case Study วัดเขาพุทธโคดม อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี เป้าหมายโครงการ
1- 25
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
2.3 ข้ อมูลพืน้ ฐานด้ านเศรษฐศาสตร์ ก. แหล่งที่มาของเงินทุน ข. งบประมาณโครงการ ก. แหล่งที่มาของเงินทุน 1. เงินทุนของมูลนิธิ 2. เงินสนับสนุนจากสมาคมและเอกชนในรูปของการบริ จาค 3. เงินสนับสนุนจากองค์กรการต่างประเทศ 4. ทุนช่วยเหลือพิเศษซึง่ เป็ นเงินสนับสนุนจากรัฐบาล 5. ค่าบารุงจากสมาชิก (ส่วนของการเช่า-ยืมหนังสือในห้ องสมุด) 6. ค่าเช่าสถานที่จากการจัดแสดงกิจกรรม (ส่วนของลานจัดแสดงกิจกรรม) 7. รายได้ จากการขายหนังสือ ของที่ระลึก อาหาร เครื่ องดื่ม หรื อ ค่าบริ การอื่นๆ ข. งบประมาณโครงการ - ค่ าก่ อสร้ าง เนื ้อที่โครงการ 25,600 ตารางเมตร (16 ไร่) พื ้นที่อาคาร 11,007 ตารางเมตร สมมุติวา่ ราคาค่าก่อสร้ างต่อตารางเมตรละ 12,000 บาท = 132,084,000 บาท ค่าปรับปรุงที่ดิน ราคาต่อไร่ละ 80,000 บาท = 1,280,000 บาท ดังนัน้ งบประมาณค่าก่อสร้ างและดาเนินการ = 133,364,000 บาท - ค่ าใช้ จ่าย การประมาณการการก่อสร้ างโครงการ - ค่าที่ดิน - ค่าของก่อสร้ างของสถาปั ตยกรรม - ค่างานระบบต่างๆ เช่น ไฟฟ้ า ประปา ปรับอากาศ - ระบบเครื่ องกล และอุปกรณ์พิเศษ - ค่าออกแบบของสถาปนิกและวิศวกร - ค่างานปรับแต่งพื ้นที่และภูมิสถาปั ตยกรรม
เป้าหมายโครงการ
1- 26
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
งบประมาณในการดาเนินงานของโครงการ - เงินเดือนเจ้ าหน้ าที่ - งบประมาณการบริ หาร ได้ แก่ ค่าไฟฟ้า ประปา ฯลฯ - งบประมาณการดูแลรักษาอาคารและบริ เวณ - งบประมาณในการจัดกิจกรรมพิเศษต่างๆ - งบประมาณส่วนบริ การทางวิชาการ 2.4 ข้ อมูลพืน้ ฐานด้ านเทคโนโลยี ก. ระบบประกอบอาคาร ข. เทคโนโลยีพิเศษเฉพาะโครงการ ระบบวิศวกรรมโครงสร้ าง มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคือ 1. เหมาะสมกับกิจกรรมภายใน ทังในด้ ้ านการใช้ งาน และบรรยากาศของที่วา่ ง 2. เหมาะสมกับลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ 3. เหมาะสมกับวัสดุก่อสร้ างที่หาได้ ภายในประเทศ 4. สามารถรับน ้าหนักได้ เพียงพอและเหมาะสม
เป้าหมายโครงการ
1- 27
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
ดังนันจึ ้ งเลือกใช้ ระบบโครงสร้ างในโครงการดังนี ้
รูปที่ 2-10 แสดงระบบวิศวกรรมโครงสร้ างของอาคารภายในโครงการ 1. ระบบเสาและคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก และระบบสาเร็ จรูป ใช้ ในส่วนของโครงสร้ างช่วงสัน้ เนื่องจากอาคารมีความเรี ยบง่าย สะดวก ก่อสร้ างได้ รวดเร็ ว และประหยัดค่าก่อสร้ าง 2. ระบบโครงสร้ างช่วงกว้ าง ใช้ ในส่วนที่ต้องการที่วา่ งขนาดใหญ่เป็ นพิเศษ เช่น ส่วนโถงกลาง ส่วนนิทรรศการ และส่วนโถงปฏิบตั ิธรรม ระบบวิศวกรรมไฟฟ้า หม้ อแปลงไฟฟ้า ( Transformer) ตู้จ่ายไฟหลัก (Main Distribution Board) ระบบไฟฉุกเฉิน ใช้ ระบบเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าแบบใช้ น ้ามันดีเซล ซึง่ ทางานอัตโนมัติโดยจะมีสวิตซ์ สับเปลีย่ นจ่ายไฟฟ้ าภายใน 10 วินาทีหลังจากระบบไฟฟ้ าดับลง โดยจะจ่ายไฟฟ้ าสารองให้ กบั ระบบเตือนอัคคีภยั ระบบเครื่ องสูบน ้าดับเพลิง และระบบไฟส่องสว่าง 30% ของเวลาปกติ
เป้าหมายโครงการ
1- 28
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
ระบบแสงสว่ าง 1. แสงประดิษฐ์ ลักษณะหลอด
ชนิดหลอด
คุณสมบัติ
บริ เวณที่ติดตัง้ ใช้ กบั บริ เวณที่ต้องการ บรรยากาศที่สวยงาม มากกว่าใช้ แสงสว่างใน มีคณ ุ สมบัติให้ แสงสว่าง หลอด การทางาน เช่น โถง 10% ความร้ อน 90% ให้ Incandescent ทางเข้ า ห้ องรับรอง แสงสว่าง 14-18 ลูเมน ห้ องอาหาร หรื อห้ องจัด นิทรรศการที่ต้องการให้ แสงเน้ นเฉพาะจุด ใช้ ในส่วนพื ้นที่สานักงาน ส่วนห้ องพัก และส่วน ให้ แสง 25% ความร้ อน ห้ องสมุด เนื่องจากให้ 75% ในวัตต์ที่เท่ากันกับ หลอด ความร้ อนน้ อยกว่า แต่ Incandescent ให้ แสง Fluorescent แสงสว่างมากกว่าในวัตต์ สว่างมากกว่า 50-80 ลู ที่เท่ากัน จะทาให้ ประหยัด เมน/วัตต์ กว่าทังต่ ้ อระบบไฟฟ้ าและ ระบบปรับอากาศ
2. แสงธรรมชาติ หรื อแสงอาทิตย์ เป็ นทรัพยากรที่สามารถนามาใช้ ได้ โดยไม่มีการสิ ้นเปลือง หรื อหมดไป ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มี แสงสว่างแรงกล้ าตลอดปี จึงควรนาเอาแสงธรรมชาติมาใช้ ให้ ได้ มากที่สดุ เพื่อเป็ นการประหยัด ไฟฟ้ า นอกจากนี ้แสงธรรมชาติในจานวนที่พอเหมาะยังทาให้ ร้ ูสกึ สบายตากว่าแสงไฟ หลักการใช้ แสงธรรมชาติในอาคาร คือ การจัดประมาณการส่องสว่างภายในอาคาร โดยปราศจากแสงจ้ า สะท้ อนเข้ าตา ควรจัดให้ ความเข้ มของแสงภายในอาคารไม่ตา่ งจากภายนอกมากนัก เพื่อให้ สายตาสามารถปรับตัวได้ ทนั ท่วงที เมื่อออกไปนอกอาคารหรื อเข้ ามาในอาคาร ถ้ าภายนอกแสงจัด จ้ านมากเกินไปต้ องหาวิธีลดความแรงกล้ าของแสงด้ วยการปลูกต้ นไม้ และการยื่นชายคาออกไป และการจัดแปลนโดย วางผนังเข้ าข้ างใน แล้ วมีเสาลอยอยูน่ อกอาคาร แสงสว่างที่สอ่ งมาจากดวง
เป้าหมายโครงการ
1- 29
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
อาทิตย์โดยตรง เกิดขึ ้นควบคูก่ บั พลังงานความร้ อน แสงสว่างที่จ้ามาก ก็มีพลังงานความร้ อนมาก แสงสะท้ อนที่จ้าก็นาเอาพลังงานความร้ อนมาด้ วย เช่น ความร้ อนอันเกิดจาก การสะท้ อนแสงบน ถนนคอนกรี ต จึงต้ องควบคุมความร้ อนโดยการทาแผงบังแดดและกรองแสง เพื่อลดความร้ อนจาก การสะท้ อนแสง ควรจัดให้ มีแสงเข้ าทุกส่วนของอาคาร โดยให้ มีการกระจายแสงที่สม่าเสมอกัน มากเท่าที่จะทาได้ ห้ องที่ต้องการใช้ แสงเป็ นพิเศษ คือห้ องที่ต้องใช้ สายตามาก การใช้ แสง ธรรมชาติเพียงอย่างเดียวอาจเพียงพอในบางทีและบางเวลา เวลาอากาศมืดครึม้ ขมุกขมัว อาจใช้ แสงธรรมชาติควบคูไ่ ปกับแสงประดิษฐ์ ได้ ระบบโทรศัพท์ เริ่ มต้ นที่สายจากองค์กรโทรศัพท์เข้ าสูต่ ้ สู าขาในห้ องชุมสายโทรศัพท์เพื่อจัดระบบและแยก หมายเลขแล้ วส่งต่อไปยังแผงควบคุมในแต่ละอาคารหรื อแต่ละบริ เวณและแยกไปตามจุดต่างๆ ซึง่ ตู้สาขานี ้ต้ องใช้ ไฟฟ้ า ซึง่ จาเป็ นต้ องมีแบตเตอรี่ เพื่อสารองไฟในกรณีที่ไฟฟ้ าดับด้ วยในส่วนระบบ โทรศัพท์นี ้โดยทัว่ ไปจะประกอบด้ วย PABX แบตเตอรี่ และตู้แผงเสียบ ระบบวิศวกรรมเครื่องกล - ระบบปรับอากาศ เนื่องจากโครงการเป็ นโครงการที่มีรายได้ จากการรับบริ จาคจากผู้ใช้ โครงการจึงใช้ แต่ระบบระบาย อากาศธรรมชาติและติดตังพั ้ ดลมบริ เวณอาคารที่มีผ้ ใู ช้ งานเท่านัน้ ระบบวิศวกรรมสุขาภิบาล - ระบบประปา เนื่องจากโครงการนี ้เป็ นอาคาร Low-Rise การเลือกใช้ ระบบจ่ายน ้าจึงไม่ซบั ซ้ อนและไม่มีปัญหา การควบคุมแรงดันหรื อน ้ากระแทก มีถงั เก็บน ้าในระดับดิน เพื่อให้ น ้าจากท่อจ่ายน ้าของการประปา สามารถไหลเข้ ามาได้ สะดวก หากอยูต่ ่ากว่าระดับดินต้ องระวังการรั่วซึมน ้าจากภายนอก และมี เครื่ องสูบน ้าติดตังที ้ ่ระดับต่าสุดเพื่อให้ มีแรงดันน ้าช่วยเสริ มและติดตัง้ 2 เครื่ องเพื่อไม่ให้ เครื่ องสูบ น ้าทางานหนัก - ระบบระบายนา้ และบาบัดนา้ เสีย โครงการเลือกใช้ ระบบ Activated Sludge ซึง่ เป็ นระบบที่ใช้ เครื่ องกลมากที่สดุ แต่ใช้ พื ้นที่น้อย ที่สดุ เช่นกัน จึงมีความนิยมมาก ซึง่ ระบบนี ้ได้ ถกู ทาเป็ นระบบสาเร็ จรูปแบบถังแซทเนื่องจาก สามารถรับน ้าทิ ้งได้ ในปริ มาณมากในพื ้นที่ที่จากัด แต่ก็มีความจาเป็ นที่จะต้ องมีเจ้ าหน้ าที่คอย ดูแลการทางานด้ วย โดยระบบนี ้จะประกอบด้ วยถังเติมอากาศและถังตกตะกอน ถังเติมอากาศ เป็ นที่ให้ แบคทีเรี ยย่อยสลายอินทรี ย์สารในน ้าทิ ้งโดยใช้ ออกซิเจนที่ได้ จากเครื่ องเติมอากาศ ซึง่ เป็ น แบบใบพัดหรื อแบบเครื่ องเป่ าอากาศก็ได้ ถังเติมอากาศมีขนาดพอที่จะกักน ้าทิ ้งไว้ ได้ หลายชัว่ โมง เป้าหมายโครงการ
1- 30
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
ตามอัตราเร็ วของปฏิกิริยาการทาลายกากโดยแบคทีเรี ยในถังเติมน ้าผสมระหว่างน ้าทิ ้งกับตะกอน แบคทีเรี ย น ้าซึง่ ผสมระหว่างน ้าทิ ้งกับตะกอนแบคทีเรี ยจะไหลออกจากถังเติมอากาศเข้ าสูถ่ งั ตกตะกอนเพื่อให้ ตะกอนแบคทีเรี ยจมสูก่ นั ถังและสูบกลับไปหมุนเวียนใช้ ในถังเติมอากาศอีกเพื่อ รักษาประมาณแบคทีเรี ยให้ คงที่ น ้าที่ไหลออกจากถังตะกอนและการฆ่าเชื ้อด้ วยคลอรี นจะมีความ ใสสะอาดเพียงพอท่จะสามารถทิ ้งลงสูท่ อ่ ระบายน ้าสาธารณะได้ โดยในระบบน ้าเสียนี ้จะใช้ ระบบ ท่อ 3 ประเภทคือ 1. ท่อน ้าเสีย (Waste Pipe) เช่น ท่อระบายน ้าจากอ่างล้ างมือ 2. ท่อน ้าโสโครก (Soil Pipe) เช่น ท่อระบายน ้าจากโถส้ วม โถปั สสาวะ 3. ท่ออากาศ (Vent Pipe) เช่น ท่อระบายอากาศออกจากท่อน ้าเสียเพื่อป้องกันไม่ให้ น ้า ทิ ้งไหลย้ อนกลับเข้ าไปในสุขภัณฑ์ และจะระบายอากาศออกที่ดาดฟ้าเพื่อป้องกันกลิน่ - การระบายนา้ ฝน พิจารณาตามความลาดเอียง ความชื ้น การซึม และการป้องกันน ้าท่วม โดยระบบระบายน ้าจาก หลังคาจะมีการต่อท่อจากรางระบายน ้าให้ ไหลลงมายังพื ้นดิน และระบบระบายน ้ารอบๆ อาคาร จะเป็ นลักษณะของท่อระบายน ้าฝั งดินและบ่อพักรอบๆ โครงการแล้ วระบายออกสูท่ อ่ สาธารณะ
ระบบประปา
ระบบระบายน ้า และบาบัดน ้าเสีย
ระบบดับเพลิง - ระบบเตือนภัยอัตโนมัติ - ระบบดับเพลิง - ระบบสายฉีดน ้าดับเพลิง ระบบกาจัดขยะ ขยะที่เกิดขึ ้นมีหลายชนิด เช่น เศษอาหาร พลาสติก โลหะ แก้ ว ฯลฯ โดยมีระบบการจากัดโดยมี ห้ องเก็บขยะซึง่ มี 2 แบบ คือ เป้าหมายโครงการ
1- 31
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
- ห้ องเก็บขยะธรรมดา - ห้ องเก็บขยะเย็น สาหรับเก็บขยะที่สามารถเน่าสียและมีกลิน่ และระบบการขนส่งขยะออกไปทิ ้งที่มีความสะดวก เหมาะสม และไม่รบกวนส่วนอื่นๆ เพื่อส่งต่อไป ให้ ระบบการกาจัดขยะสาธารณะต่อไป ข. เทคโนโลยีพิเศษเฉพาะโครงการ ระบบหมุนเวียน (Eco Living)
รูปที่ 2-11 แสดงระบบหมุนเวียน ระบบผลิต BIO Gas ในครัวเรื อน โดยเริ่ มต้ นจากนาเศษอาหารในครัวเรื อนผสมกับน ้าเสียจาก ห้ องน ้ามาหมักให้ เกิดเป็ นปุ๋ยหมักชีวภาพให้ กบั พืชผักสวนครัว ส่วนน ้าเสียจะถูกนากลับมาใช้ ใหม่ โดยการนาน ้าทิ ้งและน ้าฝนไปลดน ้าต้ นไม้ โดยรอบโครงการ
รูปที่ 2-12 แสดงระบบผลิต BIO Gas ในครัวเรื อน
เป้าหมายโครงการ
1- 32
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
รายละเอียดด้ านภูมิสถาปั ตยกรรม งานสถาปั ตยกรรมที่สมบูรณ์ จะละเลยงานทางด้ านภูมิสถาปั ตยกรรมไม่ได้ งานทางภูมิ สถาปั ตยกรรมส่วนใหญ่เป็ นงานภายนอกอาคาร ซึง่ มีสว่ นช่วยในด้ านต่างๆ ดังนี ้ - ด้ านป้องกันเสียงรบกวน เนื่องจากการปลูกต้ นไม้ ให้ เกิดความหนาแน่น (Buffer) บริ เวณที่จอดรถและส่วนต้ อนรับให้ มีเกิด เป็ นเสมือนรัว้ ธรรมชาติที่กนระหว่ ั้ างความวุน่ วายนอกเพื่อเข้ าสูภ่ ายใน - ด้ านการส่งเสริ มบรรยากาศ ทางเดินสวนไม้ ไผ่ที่บริ เวณทางเข้ า เนื่องจากลาต้ นไผ่มีความสูง จึงทาให้ เวลาที่มีผ้ ใู ช้ งานบริ เวณ เกิดความรู้สกึ ถึงความสูงต่าระหว่างคนกับต้ นไม้ ทาให้ เกิดความเกรงใจสถานที่ และทาให้ เกิด ความสงบระหว่างการเดินในสวนไผ่นนไปโดยอั ั้ ตโนมัติ ตังแต่ ้ การเน้ นทางเข้ าโครงการ โดยการ สร้ างบรรยากาศที่เงียบสงบ ร่มรื่ น ในส่วนพักผ่อนการใช้ น ้าให้ เกิดการเคลือ่ นไหว ในส่วนของ กิจกรรม ลักษณะของทางเดินเชื่อมต่อส่วนต่างๆ รวมถึงลานโล่งนัน้ การจัดตกแต่งประติมากรรม การจัดระบบแสงภายนอกอาคารล้ วนเสริ มสร้ างให้ ผ้ ใู ช้ มีความซาบซึ ้งคล้ อยตาม เกิดความอบอุ่น สบายใจ ในบางพื ้นที่อาจจะต้ องการความเป็ นส่วนตัว ซึง่ งานภูมิสถาปั ตยกรรมจะเป็ นตัวช่วยลด ความแข็ง และลดความร้ อนจากดวงอาทิตย์ได้ เป็ นอย่างดี - ความปลอดภัย การที่ภมู ิสถาปั ตยกรรมเข้ ามามีสว่ นร่วมกันการป้องกันอันตรายจากส่วนหนึง่ จากอีกส่วนหนึง่ การ ทารัว้ น ้า และปลูกต้ นไม้ รอบโครงการแทนการทารัว้ คอนกรี ต หรื อลวดเหล็กนันเป็ ้ นรัว้ ธรรมชาติที่มี ความปลอดภัยเช่นกัน และบางพื ้นที่ต้องการความเป็ นส่วนตัว งานภูมิสถาปั ตยกรรมนันจะเป็ ้ นตัว ช่วยแบ่งอาณาเขต โดยการจัดวางต้ นไม้ หรื อสิง่ ต่างๆ บริ เวณภายนอกให้ เกิดความเป็ นสัดส่วนขึ ้น
เป้าหมายโครงการ
1- 33
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
กรณีศึกษาที่ 1 หมู่บ้านพลัมแห่ งประเทศไทย (Plum Village International Practice Center) เจ้ าอาวาส : หลวงปู่ ติช นัท ฮันห์ เจ้ าของ : มูลนิธิหมู่บ้านพลัมประเทศไทย สถาปนิก : สถาบันอาศรมศิลป์ ที่ตงั ้ : บ้ านสระน ้าใส ต.โป่ งตาลอง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา พื ้นที่รวม : 88 ไร่ พื ้นที่อาคาร : 6,488 ตารางเมตร ปี ที่ก่อสร้ าง : 2012 ท่านติช นัท ฮัน ได้ จดั ตัง้ “หมู่บ้านพลัม” (Plum Village) ขึ ้น ณ ประเทศฝรั่งเศสอันเป็ นชุมชน แบบอย่าง ของการปฎิบตั ิธรรมแห่งพุทธบริ ษัท 4 ที่เน้ นการเจริ ญสติในชีวิตประจาวัน อย่าง ตระหนักรู้แต่ละลมหายใจเข้ า ออก และกลับมาอยูก่ บั ปั จจุบนั ขณะเพื่อหาความสงบ ความสุขจาก ภายในจิตใจ ในปั จจุบนั มีหมู่บ้านพลัมจัดตังขึ ้ ้นในหลายประเทศ ฝรั่งเศส เยอรมัน อเมริ กา เป็ นต้ น และยังมีกลุม่ คนที่ ปฎิบตั ิตามแนวทางของท่านติช นัท ฮัน ที่เรี ยกว่า “สังฆะ”อีกหลายกลุม่ อยูใ่ น หลายประเทศ ทัว่ โลก มีการ จัดกิจกรรมภาวนาให้ กบั ผู้ที่สนใจได้ เข้ ามาร่วมฝึ กฝน เรี ยนรู้ อยูเ่ ป็ น ประจา รวมทังงานเขี ้ ยนหนังสือ บทความ ของท่านติช นัท ฮัน ที่ได้ ความนิยมและมีคนติดตาม อย่างต่อเนื่อง สาหรับประเทศไทยมีแนวคิดในการจัดตังหมู ้ ่บ้านพลัมขึ ้นที่จงั หวัดนครราชสีมา เพื่อให้ เป็ นศูนย์กลางของ การนาปฎิบตั ิในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยปั จจุบนั มีคณะ นักบวชกลุม่ แรกของหมู่บ้านพลัมจากประเทศ เวียดนามเข้ ามาเป็ นผู้นาการภาวนาในประเทศไทย หมู่บ้านพลัมแห่งประเทศไทยแห่งนี ้มีวตั ถุประสงค์โครงการดังนี ้ ถูกกาหนดขึ ้นเพื่อให้ หมู่บ้านพลัม ประเทศไทย ให้ เป็ น 1. เป็ นชุมชนแห่งการปฎิบตั ิตามแนวทางของท่านติช นัท ฮัน ในการเจริ ญสติใน ชีวิตประจาวัน มีความตระหนักรู้ในทุกลมหายใจเข้ า ออก การอยูร่ ่วมกันอย่างศานติ 2. เป็ นสถานปฎิบตั ิธรรมที่มีความใกล้ ชิดกับธรรมชาติ เพื่อเป็ นพลังในการส่งเสริ มการ ปฎิบตั ิทกุ ขณะ ให้ เกิดความตระหนักรู้ถึงการมีอยูข่ องธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่ 3. เป็ นสถานที่แสดงออกถึงภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้ องถิ่น ในการอยูอ่ าศัย วิถีชุมชน วิถีชีวิต ที่กลมกลืนกับสภาพภูมิอากาศ และภูมิประเทศ แสดงออกด้ วยความเรี ยบง่าย
เป้าหมายโครงการ
1- 34
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
4. เป็ นสถานที่เอื ้อต่อการดาเนินชีวิตที่ไม่เบียดเบียดโลก ลดปั ญหามลพิษ เป็ นตัวอย่างของ การพึง่ พาตนเองด้ วยความพอเพียง เพื่อรักษาสิง่ แวดล้ อม หมู่บ้านพลัมประเทศไทยเป็ นชุมชนแห่งการปฎิบตั ิที่อยูร่ ่วมกันอย่างศานติผา่ นกิจกรรม การเจริ ญสติที่สง่ เสริ มการเรี ยนรู้ฝึกฝนทางด้ านจิตวิญญาณให้ สามารถพร้ อมออกไปใช้ ใน ชีวิตประจาวันของทุกคนกลุม่ สังฆะที่ เกื ้อกูลการ ปฎิบตั ิของกันและกันให้ ขบั เคลือ่ นไปเหมือน สายน ้าสายหนึง่ ดังนันชุ ้ มชนแห่งนี ้จึงเป็ นแหล่งผลิตทรัพยากรบุคคลเพื่อเผยแพร่แนวทางของความสุขที่ เกิดจากภายใน ของบุคคลลดปั ญหาการเบียดเบียน ความขัดแย้ งต่อมวลมนุษย์ และทรัพยากร ของโลกใบนี ้ แนวความคิดในการวางผัง บนที่ดิน 88 ไร่ เพื่อสร้ างเป็ นสถานปฏิบตั ิธรรมของพุทธบริ ษัท 4 อันประกอบด้ วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เพื่อฝึ กเจริ ญสติตามแนวทางหมู่บ้านพลัมโดยแบ่งพื ้นที่เป็ น - วัดภิกษุและฆราวาสชาย - วัดภิกษุณีและฆราวาสหญิง - พื ้นที่สว่ นกลาง ซึง่ ประกอบด้ วย หอปฏิบตั ิธรรม ทางเดินสมาธิ และสวนธรรมชาติ รายละเอียดการก่อสร้ างและการสนับสนุน เฟสที่ 1 (กาหนดแล้ วเสร็ จในเดือนเมษายน 2556) - อาคารที่พกั นักบวช จานวน 3 หลัง รองรับนักบวชหลังละ 76 รูป - เรื อนพักหลวงปู่ ติช นัท ฮันห์ - ครัวและโรงอาหารกลาง - ห้ องน ้าและห้ องอาบน ้าส่วนกลาง จานวน 30 ห้ อง - โรงครัวและโรงอาหารวัดภิกษุ เฟสที่ 2 - หอระฆัง - หอปฏิบตั ิธรรม (สาหรับ 1,500 รูป) - อาคารที่พกั ฆราวาสชาย 1 หลัง - อาคารที่พกั ฆราวาสหญิง 2 หลัง - งานภูมิสถาปั ตยกรรมและปลูกต้ นไม้
เป้าหมายโครงการ
1- 35
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
แนวความคิดในด้ านการออกแบบประโยชน์ใช้ สอย
โดยแบ่ง Zoning จากภายนอกโครงการเข้ าสูส่ ว่ นภายในโครงการด้ วยลานจอดรถ (แทนด้ วยสีเทา ในภาพด้ านล่าง ซ้ ายมือ) และถัดมาคือส่วนสีเขียว ซึง่ ถูกจัดเป็ นพื ้นที่สาหรับพื ้นที่สว่ นกลาง (Common Area) ซึง่ เชื่อมโยงกับ 2 ส่วนหลักๆ ได้ แก่ Brother Hamlet และ Sister Hamlet โดย วางส่วนของ จุดบริ การ (Service) ไว้ ระหว่างพื ้นที่สว่ นกลางและวัดภิกษุและฆราวาสชาย
เป้าหมายโครงการ
1- 36
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
การวางผังการสัญจรภายในโครงการจากลานจอดรถ โยงเข้ าไปสูพ่ ื ้นที่สว่ นกลางที่สว่ นใหญ่เป็ น พื ้นที่สเี ขียว โดยการอาศัยกิจกรรมร่วมกับธรรมชาติเสียส่วนใหญ่ และจากนันค่ ้ อยเชื่อมต่อกับส่วน ที่เป็ นที่พกั ของวัดภิกษุและฆราวาสชายที่เชื่อมโยงกับส่วนบริ การ และวัดภิกษุณีและฆราวาสหญิง แนวความคิดในด้ านการออกแบบรูปทรงสถาปั ตยกรรม แนวความคิดการออกแบบของหมู่บ้านพลัมขันต้ ้ นเริ่ มจากการ แนวความคิดในด้ านการออกแบบระบบเทคโนโลยีและการใช้ วสั ดุ การเลือกใช้ วสั ดุที่อิงจากวัสดุท้องถิ่น
เป้าหมายโครงการ
1- 37
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
องค์ประกอบโครงการ สามารถแบ่งการใช้ งานพื ้นที่ตามกิจกรรม และลักษณะของผู้ใช้ งานแต่ละกลุม่ Common Area Brother Hamlet Bedrooms Meditation hall Library Dining hall PVF office
For 100-150max
Meditation Hall Classrooms Bell Tower
Sister Hamlet
Bedrooms Meditation hall Library
Dining Hall Library Book shop For 200-300max
พื ้นที่สว่ นกลาง (Common Area) เป็ นพื ้นที่สว่ นกลางของโครงการรองรับการภาวนาของกลุม่ ผู้ใช้ งานทุกกลุม่ เป็ นที่ตงของอาคารที ั้ ่ใช้ ทากิจกรรมหลักของหมู่บ้านพลัม ดังนี ้ - หอปฏิบตั ิธรรม รองรับผู้ปฎิบตั ิธรรม 500+ คน (ในอนาคตรองรับ 1,000 คน) อาคารหลักสาหรับการปฎิบตั ิ ธรรมะบรรยาย สนทนาธรรม กิจกรรมผ่อนคลายอย่างสมบูรณ์ (Total Relaxing) สาหรับกลุม่ ผู้ใช้ งานทุกกลุม่ รองรับการนัง่ หรื อนอนได้ อย่างสะดวก การใช้ งาน จะมีอาทิตย์ละ 2 ครัง้ ในเวลาปกติ คือ วันแห่งสติที่หลวงพี่จะมาร่วมกันปฎิบตั ิและในการจัดงาน ภาวนาใหญ่ที่มีบุคคลภายนอก เข้ ามาร่วม
เป้าหมายโครงการ
1- 38
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
- โรงอาหารกลาง รองรับ 500 คน อาคารสาหรับรับประทานอาหารร่วมกันทังพระภิ ้ กษุ ภิกษุณี ฆราวาส ซึง่ แบ่งเป็ น แบบทางการ และแบบไม่เป็ นทางการ ตังอยู ้ ใ่ กล้ พื ้นที่ของ Meditation Hall ที่การใช้ งานร่วมกันเสมอและ สามารถ เดินถึงกันได้ งา่ ย การใช้ งานจะพร้ อมกับการใช้ Meditation Hall แต่ในวันอื่นๆอาคารนี ้จะ เป็ นพื ้นที่สาหรับภิกษุณี ใช้ เป็ นโรงอาหารเพื่อประหยัดการก่อสร้ างส่วนปรุงอาหารอยูไ่ ม่ไกลจาก อาคารนี ้มากนักพื ้นที่สว่ นนี ้อาจเป็ นใต้ ถนุ ให้ กบั Meditation Hal lได้ แต่ต้องระวังเรื่ องรบกวนของ เสียงและกลิน่ จากส่วนอาหาร (ในกรณีนี ้สามารถใช้ โรงอาหารเป็ นพื ้นที่สนทนาธรรมได้ ในเวลาที่ ไม่ใช้ ทานอาหาร) - ห้ องเรี ยน (โครงการในอนาคต) รองรับ 50 ต่อห้ อง จานวน 10 ห้ อง ห้ องเรี ยนกลุม่ ย่อยใช้ สาหรับการจัดงานภาวนา รองรับกิจกรรม ล้ อมวงสนทนาธรรม นัง่ ฟั ง
- หอระฆัง หอระฆังแห่งสติ สัญลักษณ์แห่งพื ้นที่ และอุบายที่สาคัญอย่างหนึง่ ของหมู่บ้านพลัมในการฝึ ก เจริ ญสติ เสียงระฆังที่จะเตือนให้ กลับมาอยูก่ บั ลมหายใจปั จจุบนั มีการใช้ งานอยูต่ ลอดเวลา - ห้ องสมุด และร้ านขายหนังสือ (โครงการในอนาคต) ห้ องสมุดขนาดใหญ่ และร้ านหนังสือรวบรวมหนังสือ บทความ ทังภาษาไทยและภาษาอั ้ งกฤษเป็ น ที่สบื ค้ นข้ อมูลสาหรับผู้มาปฎิบตั ิที่หมู่บ้านพลัมสามารถเข้ ามาอ่านหนังสือได้ ระหว่างมาปฎิบตั ิ
เป้าหมายโครงการ
1- 39
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
พื ้นที่นกั บวช (Monastery) แบ่งออกเป็ น ฝั่ งภิกษุ และภิกษุณี เป็ นพื ้นที่รองรับกิจกรรมเฉพาะนักบวช Brother Hamlet รองรับภิกษุได้ 100 รูป (ในอนาคต150 รูป) : ปั จจุบนั มีประมาณ 50 รูป - ลานปฏิบตั ิธรรม รองรับ 100 - 150 คน สาหรับการภาวนาของพระภิกษุทกุ วันตอนเช้ าและเย็น เป็ นที่ถวายอาหารแด่พระพุทธเจ้ า ห้ องเรี ยน สนทนาธรรม ผ่อนคลายอย่างสมบูรณ์ - โรงอาหาร พื ้นที่ทานอาหารของพระภิกษุในวันธรรมดา จะใช้ ทานอาหารทัง้ 3 มื ้อ สามารถใช้ เป็ นที่เรี ยน สนทนาธรรม รวมไปถึงมีโรงครัวและห้ องเก็บของพ่วงอยูใ่ นส่วนนี ้ด้ วย - ห้ องสมุด พื ้นที่สาหรับการอ่าน เขียนหนังสือของพระภิกษุณีร่วมกัน - สานักงาน รองรับงานการจัดการภายในของวัด รับส่ง E-mail ข้ อมูลงานภาวนากับบุคคลภายนอก งาน ทะเบียน เอกสาร - สานักงานวัด ดูแลงานทะเบียนของเจ้ าหน้ าที่ผ้ มู าปฎิบตั ิที่มาพักที่โครงการเป็ นสถานที่ทางานหลักเวลามีงาน ปฎิบตั ิที่มีผ้ เู ข้ าร่วมจานวนมาก - สานักงานมูลนิธิหมู่บ้านพลัม รองรับ 10 คน ที่ทางานของคณะกรรมการดูแลวัดซึง่ มาจากพระและฆราวาส ในการประชุม วางแผนการ ดาเนินการ จัดการ มีพื ้นที่เอกสาร คอมพิวเตอร์ ในการดูแลภาพรวมของวัด นักบวช ผู้มาปฎิบตั ิ Sister Hamlet รองรับภิกษุณีได้ 200 รูป (ในอนาคต 300 รูป) : ปั จจุบนั มีประมาณ 80 รูป - ลานปฏิบตั ิธรรม รองรับ 200 - 300 คน สาหรับการภาวนาของพระภิกษุทกุ วันตอนเช้ าและเย็น เป็ นที่ถวายอาหารแด่พระพุทธเจ้ า ห้ องเรี ยน สนทนาธรรม ผ่อนคลายอย่างสมบูรณ์ (ท่านอน) - ห้ องสมุด พื ้นที่สาหรับการอ่าน เขียนหนังสือของพระภิกษุณีร่วมกัน
เป้าหมายโครงการ
1- 40
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
- สานักงาน รองรับงานการจัดการภายในของวัด รับส่ง e-mail ข้ อมูลงานภาวนากับบุคคลภายนอก งานทะเบียน - สานักงานวัด ดูแลเอกสารงานทะเบียนของเจ้ าหน้ าที่ ผู้มาปฏิบตั ิที่มาพักที่โครงการ - ห้ องตัดเย็บ สาหรับตัด ซ่อม แก้ ไขชุดนักบวช จีวร หรื อการทางานฝี มือ รองรับจักรอย่างน้ อย 6 ตัว อาคารนักบวช รองรับ 50 คน เป็ นอาคารหลักสาหรับนักบวชในการพักผ่อน ประกอบด้ วย ห้ องเก็บของ จานวน 1 ห้ อง ห้ องนอน 2 เตียง จานวน 2 ห้ อง (มีห้องน ้าในตัว) ห้ องนอน 4 เตียง จานวน 24 ห้ อง แบ่งเป็ น 2 กลุม่ โดยในแต่ละกลุม่ จะมีพื ้นที่ที่ใช้ ร่วมกัน ดังนี ้ - ห้ องอเนกประสงค์ รองรับ 50 คน มีโต๊ ะ เก้ าอี ้สาหรับอ่านหนังสือได้ - ห้ องดื่มชา รองรับ 25 คน - ห้ องน ้า และห้ องอาบน ้า สาหรับ 25 คน - พื ้นที่ซกั ชุดนักบวช หอพักผู้ปฎิบัติ สาหรับผู้ปฎิบตั ิที่มาเข้ าร่วมการปฏิบตั ิระยะสัน้ และระยะยาว ซึง่ จะแบ่งเป็ นฝั่ งชายและหญิง โดยแบ่งขนาดดังนี ้ - หอพักชาย รองรับ 50 - 100 คน (อยูใ่ นฝั่ ง Brother) - หอพักหญิง รองรับ 100 - 150 คน (อยูใ่ นฝั่ ง Sister) โดยแบ่งเป็ น ห้ องสาหรับ 6 / 4 / 2 คน และมีพื ้นที่สว่ นกลางเพื่อแลกเปลีย่ นพูดคุยระหว่างผู้ปฎิบตั ิ ห้ องน ้า และห้ องอาบ น ้าสาธารณะ
เป้าหมายโครงการ
1- 41
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
กรณีศึกษาที่ 2 วัดป่ าสุนันทวนาราม
เจ้ าอาวาส : พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก เจ้ าของ : มูลนิธิมายา โคตมี สถาปนิก : สถาบันอาศรมศิลป์ ที่ตงั ้ : บ้ านท่าเตียน ต.ไทรโยค อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี พื ้นที่รวม : 1,500 ไร่ พื ้นที่อาคาร : 6,488 ตารางเมตร ปี ที่ก่อสร้ าง : 2012 เป็ นวัดป่ าสาหรับปฏิบตั ิธรรมและเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยมี พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก เป็ น เจ้ าอาวาส ปั จจุบนั ประกอบด้ วยพระภิกษุสงฆ์จานวน 20 รูป สามเณรจานวน 2 รูป และคนงาน จานวนประมาณ 10 คน ปั จจุบนั วัดสุนนั ทวนาราม มีศาลาปฏิบตั ิธรรม 1 หลัง บรรจุคนได้ ประมาณ 150 คน กุฏิสงฆ์ถาวรและชัว่ คราวรวม 35 หลัง ที่พกั อุบาสกอุบาสิกา 10 หลัง บรรจุคน ได้ ประมาณ 150 คน มีโรงครัว ห้ องน ้า รวมทังชุ ้ ดปั กกลดที่รอง รับผู้ปฏิบตั ิธรรมประมาณ 200 ชุด และสิง่ อานวยความสะดวกอื่นตามแนวทางของวัดป่ า ในแต่ละปี จะมีผ้ เู ข้ าไปปฏิบตั ิธรรม เช่น ข้ าราชการตารวจ ทหาร ข้ าราชการฝ่ ายปกครองระดับสูง นักเรี ยน นิสติ นักศึกษา อุบาสก และ อุบาสิกา โดยเฉพาะในช่วงเข้ าพรรษา เฉลีย่ จานวนปี ละประมาณ 5,000 คน ชุมชนโดยรอบ ปริ มณฑลวัดส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาพืชไร่ เช่น ไร่อ้อย ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ละหุง่ มันสาปะหลัง ฯลฯ
เป้าหมายโครงการ
1- 42
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
วัดสุนนั ทวนารามแห่งนี ้มีวตั ถุประสงค์โครงการดังนี ้ ในปี พ.ศ. 2533 นางสุนนั ท์ บุษสาย คหบดีชาวจังหวัดกาญจนบุรี ผู้ประกอบธุรกิจเหมืองแร่และ ครอบครองกรรมสิทธิ์ที่ดินจานวนมากภายในจังหวัดกาญจนบุรี มีความศรัทธาในปฏิปทาและข้ อ วัตรอันเคร่งครัดของพระธุดงค์สายวัดป่ า (สายหลวงพ่อชา สุภทั โท) ผู้ซงึ่ เดินธุดงค์รอนแรมอยูใ่ น ป่ าเขาบริ เวณจังหวัดกาญจนบุรี จึงได้ ถวายที่ดินประมาณ 500 ไร่ ซึง่ หมดสภาพป่ า และทาไร่อ้อย มาประมาณ 20 ปี ณ บริ เวณบ้ านท่าเตียน ต.ไทรโยค อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี เพื่อจัดตังวั ้ ด ทังนี ้ ้ เพื่อพระสงฆ์จะได้ มีเสนาสนะ และชาวบ้ านจะได้ มีโอกาสเข้ าวัดปฏิบตั ิธรรมตามแนวทางของพระ ธุดงค์สายวัดป่ า อีกทัง้ เมื่อมีพระสงฆ์ผ้ ปู ฏิบตั ิดีปฏิบตั ิชอบเข้ าไปพานักจาพรรษาอยู่ จะสามารถ ยับยังการตั ้ ดไม้ ทาลายป่ าและการล่าสัตว์ในบริ เวณดังกล่าวได้ อีกด้ วย พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวส โก ผู้ได้ บวชบาเพ็ญเพียรมาหลายรูปแบบ ตังแต่ ้ เมื่อปี พ.ศ. 2518 ออกเดินธุดงค์มาแล้ วหลายแห่ง ทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ ทังที ้ ่อุดมสมบูรณ์และที่ทรุ กันดาร และเป็ นผู้ซงึ่ อยูใ่ นคณะผู้บุกเบิก วัดป่ านานาชาติ บ้ านบุง่ หวาย ต.บุง่ หวาย อ.วาริ นชาราบ จ.อุบลราชธานี ได้ รับมอบหมายให้ มา เป็ นผู้บุกเบิกก่อตังวั ้ ด ซึง่ รู้จกั กันทัว่ ไปในชื่อ “วัดป่ าสุนนั ทวนาราม” ในปี พ.ศ. 2533 ด้ วย เจตนารมณ์ในการเผยแผ่การปฏิบตั ิธรรมแก่พทุ ธศาสนิกชนในละแวกนันและละแวกใกล้ ้ เคียง ตลอดจน เพื่อให้ ราษฎรรู้จกั หวงแหนและร่วมกันอนุรักษ์ ป่าไม้ และสัตว์ป่า ตามแนวทางของ พระพุทธศาสนาด้ วยการสร้ างวัดป่ าให้ เป็ นวัดป่ าอย่างแท้ จริ ง ด้ วยข้ อวัตรอันเคร่งครัดและเรี ยบ ง่ายของความเป็ นพระป่ าของพระอาจารย์มิตซูโอะ ทาให้ ประชาชนเกิดความเลือ่ มใสศรัทธา จึงเข้ า วัดปฏิบตั ิธรรมเป็ นจานวนมาก การสถาปนาวัดสุนนั ทวนารามบนพื ้นที่ดงั กล่าว เป็ นไปด้ วยความ ยากลาบาก เพราะสถาบันวัดได้ เข้ าไปเป็ นอุปสรรคต่อการลักลอบตัดไม้ ทาลายป่ าและล่าสัตว์ ด้ วย ความเพียรไม่ยอ่ ท้ อต่ออุปสรรคของคณะผู้บุกเบิกนาโดยพระอาจารย์มิตซูโอะ จึงสามารถพัฒนา พื ้นดินซึง่ เป็ นป่ าเสือ่ มโทรมด้ วยการทาไร่อ้อย จนกระทัง่ เป็ นพื ้นที่ซงึ่ เขียวชอุ่มไปด้ วยต้ นไม้ ยืนต้ น น้ อยใหญ่ มีเสนาสนะอันสมควรแก่วดั ได้ แก่ ศาลาปฏิบตั ิธรรม โรงฉัน และที่พกั สาหรับพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ตามสมควร เป็ นต้ น แนวความคิดในการวางผัง สานักสงฆ์วดั ป่ าสุนนั ทวนาราม ประกอบด้ วยพี ้นที่ซงึ่ มีสถานะแตกต่างกัน 3 สถานะ คือ 1. ป่ าสงวนแห่งชาติ 2. อุทยานแห่งชาติศรี นคริ นทร์ 3. จังหวัดทหารบกกาญจนบุรี เนื่องจากพี ้นที่ก่อตังวั ้ ดสุนนั ทวนารามอยูใ่ นเขตป่ าสงวนแห่งชาติป่าเขาพระฤาษี และป่ าเขาบ่อแร่ แปลงที่ 1 ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 802 (พ.ศ. 2521) และอุทยานแห่งชาติเขื่อนศรี นคริ นทร์ เป้าหมายโครงการ
1- 43
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
สานักสงฆ์วดั ป่ าสุนนั ทวนารามจึงขอเข้ าร่วมโครงการของกรมป่ าไม้ ภายใต้ ชื่อ “พระสงฆ์ช่วยงาน ด้ านป่ าไม้ ” ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2536 เป็ นต้ นมา พ.ศ. 2545 กองทัพบกได้ ถวายที่ดินราชพัสดุ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ซึง่ ติดต่อกับเขตวัด สุนนั ทวนารามจานวน 12 ไร่ ให้ ใช้ เพื่อสร้ างวัดได้ และได้ ประกาศตังเป็ ้ นวัดในพระพุทธศาสนา ชื่อ “วัดสุนนั ทวนาราม” เมื่อวันที่ 11 มิถนุ ายน พ.ศ. 2545 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ทรงมี พระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้ าฯ พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2545 โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 และแต่งตังพระมิ ้ ตซูโอะ คเวสโก เป็ น เจ้ าอาวาสวัดสุนนั ทวนาราม ตังแต่ ้ วนั ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ในการนี ้สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ ทรงพระกรุณาเสด็จฯ เป็ นองค์ประธาน ประกอบพิธีผกู พัทธสีมา-ฝั งลูกนิมิตอุโบสถตามประเพณี ในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2545 และทรง ปลูกต้ นสาละเป็ นที่ระลึก ณ สวนสาละ บริ เวณทางเข้ าวัด วัดสุนนั ทวนาราม จึงได้ สถาปนาเป็ นวัดโดยสมบูรณ์แต่นนมา ั ้ และดารงสถานภาพเป็ นวัดสาขา ลาดับที่ 117 ของวัดหนองป่ าพง จ.อุบลราชธานี ปั จจุบนั วัดมีพื ้นที่ในความรับผิดชอบประมาณ 1,000 ไร่ สภาพทางภูมิศาสตร์ เป็ นที่ราบเชิงเขา ล้ อมรอบไปด้ วยภูเขา ภูเขาสาคัญ คือ เขารูงู ซึง่ เป็ นเทือกเขาสูงประมาณ 800 เมตร จากระดับน ้าทะเล และเขาเหมาะบาง สูงประมาณ 200 เมตร แนวความคิดในด้ านการออกแบบประโยชน์ใช้ สอย วัดสุนนั ทวนาราม ได้ รับการถวายที่ดินจากญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา และหน่วยงานต่าง ๆ เป็ นเนื ้อที่ รวม 1,500 ไร่ ทางวัดฯ ได้ สร้ างเสนาสนะที่พกั อาศัยสาหรับพระสงฆ์ และผู้ปฏิบตั ิธรรม ตาม วัตถุประสงค์ของผู้ถวาย พร้ อมทังยั ้ งเข้ าร่วม "โครงการพระสงฆ์ช่วยงานด้ านป่ าไม้ " ร่วมปลูกป่ า ถาวรเฉลิมพระเกียรติในเขตพื ้นที่วดั จนเต็มพื ้นที่ โดยได้ ปลูกพรรณไม้ น้อยใหญ่ไปแล้ วกว่า 100,000 ต้ น จากความร่วมมือของผู้มีจิตศรัทธา และหน่วยงานต่าง ๆ ทังภาครั ้ ฐและเอกชน ทังนี ้ ้พื ้นที่วดั ฯ ตามแผนที่ข้างต้ นทางวัดฯ ได้ จดั สรรเป็ น 4 ส่วน ดังนี ้
เป้าหมายโครงการ
1- 44
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
- ธุดงคสถาน (พื ้นที่สเี หลือง) เป็ นพื ้นที่ปลูกป่ าถาวร มีต้นไม้ ใหญ่หนาทึบ ใช้ สาหรับภิกษุ -สามเณร หรื อผู้ปฏิบตั ิธรรมที่ต้องการ ความสงบเป็ นพิเศษ โดยต้ องปั กกลดและเก็บตัวอยูภ่ ายในป่ าตามลาพัง - พื ้นที่ปลูกสมุนไพร และที่พกั อุบาสิกา (พื ้นที่สเี ขียว) เป็ นพื ้นที่ปลูกป่ าถาวร และสวนป่ าสมุนไพร เพื่อใช้ ศกึ ษาสมุนไพรนานาพรรณ รวมทังได้ ้ แบ่งพื ้นที่ บางส่วนเป็ นเขตที่พกั สาหรับอุบาสิกาที่มาอยูป่ ฏิบตั ิธรรม - พื ้นที่พกั อาศัย (พื ้นที่สสี ้ ม) เป็ นพื ้นที่ปลูกป่ าถาวร, พื ้นที่วดั เก่า และพื ้นที่พกั อาศัยสาหรับภิกษุ - สามเณรในปั จจุบนั รวมทัง้ สถานที่สาหรับต้ อนรับผู้มาปฏิบตั ิธรรม โดยมีสงิ่ ก่อสร้ างที่สาคัญของวัดอยูใ่ นบริ เวณนี ้ คือ พระ อุโบสถ, ศูนย์เยาวชน, ศาลากรรมฐาน, ศาลาปฏิบตั ิธรรม, หอฉัน และที่พกั ผู้ปฏิบตั ิธรรม เป็ นต้ น เป้าหมายโครงการ
1- 45
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
- พื ้นที่ปลูกป่ า (พื ้นที่สฟี ้ า): วัดสุนนั ทวนาราม (มูลนิธิมายา โคตมี) ดาเนินการปลูกป่ าถาวร และสวนสมุนไพรนานาพรรณมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปั จจุบนั ผลประโยชน์ตา่ ง ๆ ที่เกิดขึ ้นบนพื ้นที่ นี ้ ทางมูลนิธิฯ เป็ นผู้ดแู ลจัดการผลประโยชน์แทนวัด แนวความคิดในด้ านการออกแบบรูปทรงสถาปั ตยกรรม แนวคิดในการออกแบบคือ ยึดพุทธปรัชญาจากคาเทศนาสัง่ สอนของพระอาจารย์หลวงปู่ ชาที่ให้ ไว้ เป็ นแนวทางที่วา่ ”ไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ” ทาให้ วัดหนองป่ าพง เป็ นงานในแนวสมถะนิยม ที่เน้ นความ เรี ยบง่ายไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ กับรูปแบบใดเฉพาะ ได้ พยายามออกแบบให้ ผสมกลมกลืนกัน และการใช้ งานที่ตรงไปตรงมาเป็ นหลัก อาคารทุกหลังเกิดขึ ้นจากความจาเป็ นในการใช้ งานจริ งๆ ให้ เกิดเป็ น สถาปั ตยกรรมแห่งปั ญญา เพื่อค้ นหาแก่นแท้ ของพระศาสนา ยกระดับจิตใจของตน เป็ นกลไกใน การควบคุมตนเองผ่านสถาปั ตยกรรมธรรมดานี ้ ผลงานส่วนที่คิดพัฒนาขึ ้นมาใหม่ นอกเหนือจากแบบหรื อตัวอย่างเดิมเป็ นวัดที่ไม่มีโบสถ์ ไม่มีช่อ ฟ้า ใบระกา ไม่มีเจดีย์ แต่รองรับการปฏิบตั ิศาสนกิจได้ อย่างครบถ้ วน การจัดวางพระประธานให้ อยูใ่ นตาแหน่งกึ่งภายนอกที่แสงสว่างสามารถจับต้ ององค์ได้ ตลอดเวลาทังกลางวั ้ นและกลางคืน ลดการใช้ องค์ประกอบในเชิงประดับประดาทังภายนอกและภายในอาคาร ้ ให้ รับรู้และสัมผัสได้ อย่างใกล้ ชิดกับความธรรมดาๆที่เป็ นธรรมชาติซงึ่ ก็คือ ธรรมะ
เป้าหมายโครงการ
1- 46
โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER
แนวความคิดในด้ านการอกแบบระบบเทคโนโลยีอาคารและการใช้ วสั ดุ การออกแบบใช้ วสั ดุที่คงทนถาวรและสวยงาม สอดคล้ องกับธรรมชาติโดยทัว่ ไป ผนังทัว่ ไปเป็ น คอนกรี ตปูนไม่ทาสี และพื ้นภายใน
เป้าหมายโครงการ
1- 47